THAIBEV: ANNUAL REPORT 2007 (THAI)

Page 1

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

1

03 04 20 24 28

ÊÒúÑÞ

ขอมูลสำหรับ นักลงทุน ขอมูลสำคัญ ทางการเงิน สารจากประธานกรรมการ โครงสรางการถือหุน รายงานจาก คณะกรรมการบริษัท

60

40 42 44 52 58

รายชื่อและตำแหนงของ คณะกรรมการบริษัท รายชื่อและตำแหนงของ คณะกรรมการบริหาร รายละเอียดประวัติ กรรมการและผูบริหาร โครงสรางองคกร ผลิตภัณฑหลักใน กลุมบริษัทไทยเบฟ

รายงานการดำเนินงานและ สถานะทางการเงิน

94 96 98 100 108 112 116 117

พนักงานของเรา… ความสำเร็จของเรา ประกาศการจัดอันดับ เครดิตองคกร

รางวัล รายงานการกำกับ ดูแลกิจการ

ความรับผิดชอบ ตอสังคมของไทยเบฟ PR Talk รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานผูตรวจสอบบัญชี อนุญาต

118 149 213 215 216

งบการเงิน รายงานรายการกับ กิจการที่เกี่ยวของ นโยบายคูมือปฏิบัติงาน ดานบัญชีและการเงิน/ โครงการวางระบบ SAP รวบรวมสารสนเทศ ที่เปดเผยไปยังตลาดหลักทรัพย สิงคโปร (SGX) ในป 2550 ขอมูลทั่วไป


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

2

3

¢ŒÍÁÙÅÊÓËÃѺ¹Ñ¡Å§·Ø¹ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงสิงคโปร (SGX-ST)

ปริมาณ การซื้อขาย (ลานหุน)

ราคา (S$) ราคาปด Thaibev

ปริมาณซื้อขาย

0.3

1600 1400

0.25

1200 1000 800

0.2

600 400

0.15

ธันวาคม

พฤศจิกายน

ตุลาคม

กันยายน

สิงหาคม

กรกฎาคม

0

มิถุนายน

200 พฤษภาคม

ฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการผูอำนวยการใหญ

áÅŒ Ç ¶Œ Ò ¤¹·ÓÁÕ ¤ ÇÒÁÊØ ¢ àÃÒ¡ç ¨ ÐàËç ¹ ¾ÃÒ¿ͧ àºÕ  à áÅÐà§ÒÊзŒ Í ¹ÊÕ · ͧ໚ ¹ ÃÙ » ÃÍÂÂÔé Á â´ÂäÁ‹ μ Œ Í §¡Ñ § ¢ÒàÅÂÇ‹ Ò ¤ÇÒÁÊØ ¢ ¹Ñé ¹ ¨Ð¶‹ Ò Â·Í´ ÊÙ‹ÅÙ¡¤ŒÒ¢Í§àÃÒ·ÑèÇâÅ¡´ŒÇ áÅÐàÁ×è ͤÇÒÁ¾Ö§ã¨ ¡Ãзºä»·ÑèÇâÅ¡ ¡ÒÃŧ·Ø¹ ·Õè ¼ÙŒ ¶×Í ËØŒ ¹μ‹Ò§änj㨠ãËŒàÃÒ´ÙáÅ ¡ç¨ÐÊ‹§¼Å´Õ·Ñ駷ҧ¸ØáԨáÅФÇÒÁÊØ¢ ä»´ŒÇ¾ÌÍÁæ ¡Ñ¹ »‚ 2007 ¨Ö§¶×Í໚¹»‚·Õè·Ø¡¤¹ ÁÕ ¤ ÇÒÁÂÔ ¹ ´Õ à ‹ Ç Á¡Ñ ¹ Í‹ Ò §á·Œ ¨ ÃÔ § ...¨¹ÍÂÒ¡ãËŒ ˹Öè§ÇѹÁÕÁÒ¡¡Ç‹Ò 24 ªÑèÇâÁ§¹Ð¤ÃѺ

30 พฤษภาคม 2549 S$ 0.28 31 ธันวาคม เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ไมต่ำกวารอยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังหักเงินสำรองที่จัดสรรแลว

ราคาหุนบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)

เมษายน

¤¹ºÍ¡Ç‹ Ò àÇÅÒÁÑ ¡ ¨ÐËÁØ ¹ àÃç Ç àÇÅÒ¤¹àÃÒÁÕ ¤ ÇÒÁÊØ ¢ ¹Ñ é ¹ ...¼ÁÇ‹ Ò ¨ÃÔ § ·Õè Ê Ø ´ ! »‚ ·Õè ¼ ‹ Ò ¹ÁÒàËÁ× Í ¹Ç‹ Ò ¨Ð¼‹ Ò ¹ä»àÃç Ç ÁÒ¡ á»´¾Ñ ¹ ¡Ç‹ Ò ªÑè ÇâÁ§¹Ñ é ¹ ´Ù ¨ Ð äÁ‹ à ¾Õ Â §¾Í¡Ñ º ¾ÅÑ § ·Õè ¾ Ç¡àÃÒ “¤¹ä·Â຿” ¨ÐºÃÃ¨Ø Å §ä»ã¹¢Ç´¢Í§ ¼ÅÔ μ ÀÑ ³ ± ¡ÒÃàμÔ ºâμ·Õè ÁèÑ ¹ ¤§·Õè à ¡Ô ´ ¢Öé ¹ ã¹·Ø ¡ ÀҤʋ Ç ¹¹Ñé ¹ μŒ Í §àÃÕ Â ¡Ç‹ Ò ÁÒ¨Ò¡¤ÇÒÁ·Ø‹Áà·ã¹¡Ò÷ӧҹ¢Í§·Ø¡¤¹¨ÃÔ§æ

มีนาคม

áË‹§¤ÇÒÁÊØ¢

วันที่เสนอขายหลักทรัพย ราคาเสนอขายหลักทรัพย สิ้นปงบการเงิน บริษัทผูสอบบัญชี นโยบายการจายเงินปนผล

กุมภาพันธ

8,760 ªÑèÇâÁ§

THBEV tbev.si thbev sp SIN:Y92

STI ticker Reuters Bloomberg Google Finance

มกราคม

President’s Talk

0.1

2007

ราคาหุน* ราคาสูงสุดในรอบป S$ 0.29 ราคาต่ำสุดในรอบป S$ 0.24 * ขอมูลตั้งแต 3 มกราคม 2550 ถึง 31 ธันวาคม 2550 ที่มาของขอมูล: www.shareinvestor.com ติดตอแผนกนักลงทุนสัมพันธ แผนกนักลงทุนสัมพันธ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ริชารด โจนส โทรศัพท: +662 127 5035 โทรสาร: +662 272 2280 อีเมล: richard.j@thaibev.com น้ำฝน อังศุธรรังสี โทรศัพท: +662 127 5037 อีเมล: namfon.a@thaibev.com อาริยา ศิลากร โทรศัพท: +662 127 5036 อีเมล: ariya.s@thaibev.com เว็บไซต: www.thaibev.com เว็บไซตนักลงทุนสัมพันธ: www.thaibev.com/set/investor.html


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

4

5

¢ŒÍÁÙÅÊÓ¤ÑÞ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ รายงานประจำป 2550 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)

ป 2550 งบกำไรขาดทุน (ลานบาท) รายไดจากการขาย รายไดรวม ตนทุนขาย กำไรขั้นตน กำไรจากการดำเนินงาน กำไรกอนดอกเบี้ยจาย และภาษีเงินได กำไรสุทธิ คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี กำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี งบดุล (ลานบาท) สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพย ไมหมุนเวียน สินทรัพยรวม หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน หนี้สินและสวนของผูถือหุน อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย อัตราหมุนเวียนเจาหนี้ ระยะเวลาชำระหนี้ วงจรเงินสด

97,798 97,956 69,325 28,473 15,789 15,946 10,055 4,652

94,903 95,190 65,188 29,715 16,534 16,822 10,337 4,432

21,251

20,598

21,254

1.74 0.27 0.86 72.20 5.06 2.51 145.16 31.32 11.65 138.57

33,522 52,058 85,580 26,151 6,875 33,026 52,554 85,580 1.28 0.20 0.55 70.32 5.19 2.43 150.22 34.95 10.44 144.97

ป 2550

ป 2548

100,541 100,839 70,873 29,668 15,979 16,277 10,383 4,974

33,129 46,398 79,527 19,049 5,568 24,617 54,910 79,527 เทา เทา เทา เทา วัน เทา วัน เทา วัน วัน

งบการเงินรวม ป 2549

36,349 50,788 87,137 55,228 195 55,423 31,714 87,137 0.66 0.14 0.52 60.51 6.03 2.09 174.37 35.20 10.37 170.03

อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากำไร อัตรากำไรขั้นตน อัตรากำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดบัญชี อัตรากำไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได อัตรากำไรอื่น อัตราสวนเงินสดตอการทำกำไร อัตรากำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนตอผูถือหุน

งบการเงินรวม ป 2549

ป 2548

%

29.51

29.11

31.31

% % % % % %

21.14 16.19 0.30 101.02 10.33 19.32

21.06 16.31 0.16 90.07 10.28 23.86

22.40 17.73 0.30 169.82 10.89 31.58

อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร อัตราการหมุนของสินทรัพย

% % เทา

12.58 22.41 1.22

11.64 20.22 1.13

11.35 21.17 1.04

อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนเงินกูยืมตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนความสามารถชำระดอกเบี้ย อัตราการจายเงินปนผล

เทา เทา เทา %

0.45 0.29 20.29 70.13

0.63 0.46 13.13 54.94

1.75 1.43 12.20 51.08


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

6

7

á¡Ð¡Å‹Í§ª¹á¡ŒÇ

What's New

àºÕÂà ªŒÒ§·ÕèàÁ×ͧ¼ÙŒ´Õ áμ‹´Õ¡ÃÕáçẺä·Â

ºØ¡μÅÒ´Íѧ¡ÄÉ´ŒÇ Premium Look ¨¹à»š¹·ÕèÂÍÁÃѺ¡Ñ¹·Ñé§à¡ÒÐ Í‹Òá»Å¡ã¨¶ŒÒ¤Ø³ä»Å͹´Í¹ μ͹¹Õé áŌǨÐàËç¹½ÃÑè§ “ª¹ªŒÒ§” ¡Ñ¹·Ø¡¼Ñº

เบียรอาชา

ÍÒªÒ à¢ŒÒ Horse ã¹ËÁÒ¡à¡Á¹Õé

ᤋ»Å‹ÍÂμÑÇäÁ‹¹Ò¹ ½‚à·ŒÒ “ÍÒªÒ” μÑǹÕé ·ÓàÍÒ¤¹ÍÖé§ä»·Ñ駡Ãдҹ ´ŒÇÂÂÍ´¢Ò·Õè¾Ø‹§áç¡Ç‹Ò 600% ¨¹¤Ù‹á¢‹§¾ÅÔ¡μÓÃÒàÅ‹¹μÒÁäÁ‹·Ñ¹

áʧâÊÁ㹢ǴãËÁ‹

ค.ศ. 1998 Gold Medal from International Beer Awards Australia เบียรชาง

ค.ศ. 1983 Gold Medal from International Spirit Awards in Madrid สุราแสงโสม

ค.ศ. 1982 Gold Medal from International Spirit Awards in Madrid สุราแสงโสม

ÊØÃÒÃÊàÅÔȤ،¹ÅÔé¹ ¶Ù¡á싧μÑÇãËÁ‹ áÅзӡÒà Rebranding ¨¹´ÙàËÁ×͹˹؋Á਌Òàʹ‹Ë ·Õè¨Ð¡ÃЪҡ㨠ã¤ÃËÅÒÂæ ¤¹ä´Œá¹‹æ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

8

Special Report

ã¤Ã¤Íá¢ç§ÊØ´ ã¹μÅÒ´ à¤Ã×èͧ´×èÁ áÍÅ¡ÍÎÍÅ ?

9

àºÕÂà : »ÃÔÁÒ³¢Ò จำนวนรวม ลานลิตร

2550 : 957

2549 : 923

เบียรที่มีปริมาณ แอลกอฮอลต่ำ

เบียรที่มีปริมาณ แอลกอฮอลต่ำ

102

313

ชาง

ชาง

644

821

2550

ÃÒÂä´ŒÃÇÁ

2549

ŌҹºÒ· 110,000

100,541 97,798

100,000 90,000

ÊØÃÒ: »ÃÔÁÒ³¢Ò จำนวนรวม ลานลิตร

2550 : 446

2549 : 476

80,000

368

70,000

329 60,000

ã¹»‚ 2550 ¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·ÁÕÃÒÂä´ŒÃÇÁ 100.5 ¾Ñ¹ÅŒÒ¹ºÒ·

50,000 จากธุรกิจเบียร และน้ำดื่ม

รกิจแอลกอออล 1% จากธุ ที่ ใชในอุตสาหกรรมและอื่นๆ

40,000

117

30,000

47% ธุรกิจสุรา

108

20,000

52%

10,000 0

สุราขาว 2550

2549

สุราสี 2550

สุราขาว 2549

สุราสี


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

10

Time Travels

¤Öä ¡Á‹¤Ñ¡ÁÕ

ÇÑ ¹ Ë ÂØ ´

ã¹¢³Ð·Õèáʧä¿ã¹ Êӹѡ§Ò¹¢Í§àÃÒ·Õè¡Ãا෾ àÃÔèÁ´ÑºÅ§ áʧä¿ã¹Êӹѡ§Ò¹ ·Õ蹤ùÔÇÂÍà ¤¡çàÃÔèÁÊÇ‹Ò§ áÅСçà¾Õ§໚¹¤ÃÖ觷ҧ·Õè áʧä¿ã¹Êӹѡ§Ò¹·ÕèáÍ´ÃÕ ¨ÐàÃÔèÁ»ÃÒ¡¯ «Öè§äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ àÇÅÒã´ËÃ×Í·Õèã´ã¹âÅ¡¡çμÒÁ ¡ÒôÓà¹Ô¹¸ØáԨ¢Í§ ä·Â຿äÁ‹à¤ÂËÂØ´¹Ôè§

11


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

12

13

Hot Issue

ÊØÃÒ

àºÕÂÃ

ÀÒÇÐâÅ¡ ¤ÃÖéÁ...Í¡ ¤ÃÖéÁ...ã¨

μÅÒ´à¤Ã×èͧ´×èÁáÍÅ¡ÍÎÍŠÌ͹ÃÐÍØÁÔ㪋à¡Ô´¨Ò¡ÀÒÇÐâšÌ͹áμ‹»ÃСÒÃã´ â´Â੾ÒÐÍ‹ҧÂÔè§ã¹»‚·Õ輋ҹÁÒ ä·Â຿à¢Â‹Òǧ¡ÒÃäÁ‹Ç‹Ò¨Ð»ÃѺâ©Á¼ÅÔμÀѳ± áÅСÒúءμÅÒ´μ‹Ò§»ÃÐà·È


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

14

15


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

16

17

สุขุมวิท 21.00 น. เชียงใหม 22.30 น.

Lifestyle ถนนขาวสาร 20.22 น. สีลม ซอย 4 20.38 น.

ภูเก็ต 18.30 น.

อโศก 21.46 น.

àÇÅÒáË‹ § ¤ÇÒÁÊØ ¢

หลังสวน 23.00 น.

กรุงเทพฯ 18.30 น. รัชดาภิเษก 19.13 น

รามอินทรา 18.26 น.


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

18

19

Society

´Ñè § ÊÒ½¹ËÅÑè § ໚¹Ë¹ŒÒ·Õè¢Í§àÃÒ·Õè¨ÐÁÕº·ºÒ·ÊÓ¤ÑÞã¹ÃдѺªÒμÔ㹡ÒþѲ¹ÒÊѧ¤Á áÅЪ‹ÇÂàËÅ×ͼٌ·Õè¢Ò´á¤Å¹ ä·Â຿ÁÕ»ÃÐÇÑμÔÍѹÂÒǹҹ㹡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁª‹ÇÂàËÅ×Íã¹â¤Ã§¡ÒÃμ‹Ò§æ Íѹ໚¹¡ÒÃáÊ´§¶Ö§ ¤ÇÒÁ¨§ÃÑ¡ÀÑ¡´Õμ‹ÍÃÒªÇ§È ¡ÒþѲ¹ÒÊѧ¤Á ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ¡ÒáÕÌÒ ¡ÒÃÊÒ¸ÒóÊØ¢ áÅÐÊÇÑÊ´ÔÀÒ¾¢Í§»ÃЪҪ¹ ÃÇÁ件֧¡ÒáÃШÒª×èÍàÊÕ§¢Í§»ÃÐà·Èä·ÂãËŒá¾Ã‹ä» ·Õè¨Ð¡Å‹ÒÇμ‹Í仹Õé ໚¹ÊÔ觷ÕèáÊ´§ãËŒàË繶֧¡Ò÷ӧҹã¹â¤Ã§¡ÒÃμ‹Ò§æ ¢Í§àÃÒã¹»‚ 2550


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

20

ÊÒèҡ»Ãиҹ ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

àÃÕ¹·‹Ò¹¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ นับตั้่งแตบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยสิงคโปร เมื่อเดือนพฤษภาคม 2549 บริษัทไดเริ่ม วางแผนเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงตางๆ เพื่อแขงขันเยี่ยง มืออาชีพยิ่งขึ้นทั้งในและนอกประเทศ คณะกรรมการบริษัทมีความ มุงหมายวาเมื่อใดที่เราจดทะเบียนเปนบริษัทมหาชน เราจะมี ธรรมาภิบาลและความเปนมืออาชีพอยางเต็มที่ ถึงแมวาโครงการ ภายในบริษัทเหลานี้จะมิไดมีการรายงานอยางละเอียดกอนหนา นี้ เราเชื่อวาการปรับปรุงโครงสรางทรัพยากรบุคคลใหมีความ รับผิดชอบในทุกระดับของการจัดการจะชวยใหเราสามารถใชบรรดา ยุทธศาสตรตางๆ ที่เราไดประกาศไวเมื่อครั้งจดทะเบียนบริษัท ดังนั้นผมใครขอเลาเรื่องยุทธศาสตรเหลานี้ อันจะมีผลสำคัญยิ่ง ตออนาคตของเรา

·ÔÈ·Ò§àªÔ§¡ÅÂØ·¸

กลยุทธสำคัญประการหนึ่งของเราก็คือการพัฒนาตลาดในทองถิ่น และรักษาความเปนผูนำโดยบริหารจัดการสินคาตางๆ ของบริษัท ในตลาด (marketing mix) ตลอดจนการตั้งราคาสินคายี่หอตางๆ และเพื่อชวยใหเราสามารถนำเสนอเครื่องดื่มประเภทสุรา ณ ทุกระดับราคา บริษัทจึงเขาซื้อกิจการเหลาขาวตราเสือขาวและ

หมีขาวเพื่อชวยขยายโอกาสขายสุราราคาประหยัดและแขงขันกับ เหลาโรงของชุมชนและสุรากลั่นเอง ดังนั้นในขณะนี้บริษัทจึง สามารถแขงขันไดในทุกระดับราคา เรายังคงดำเนินนโยบายของสินคาพรีเมี่ยม (premiumisation) โดย การสงสินคาที่ใหผลกำไรสูงขึน้ เขาไปอยูในกลุม สินคาราคามาตรฐาน และราคาสูง ไมวาจะเปนสุราหรือเบียรก็ตาม เพื่อชวยใหเรามีผล กำไรสูงขึ้นและรองรับลูกคาที่จะมีรสนิยมสูงขึ้นเมื่อสภาพเศรษฐกิจ ดีขน้ึ ในระยะยาว นอกจากนีเ้ พือ่ ใหบรรลุเปาหมายเรายังคงลงทุนใน สินคาแบรนดตา งๆ ผานวิธกี ารสือ่ สารการตลาดและแนวนโยบายสินคา พรีเมีย่ ม ตัวอยางทีด่ กี ค็ อื กลองของขวัญสำหรับผลิตภัณฑสรุ า เชน แสงโสม และแมโขง นอกจากนี้เรายังเปดตัวเบียรชนิดใหมๆ สู ตลาดไทย ไดแก เบียรชางไลทและชางดราฟทบรรจุขวด ซึ่งขาย ดีกวาคูแขงจากตางประเทศบางรายที่เริ่มขายเบียร ในประเทศไทย เปนเวลาหลายปกอนหนานั้นเสียอีก จุดแข็งของบริษัทคือการมีเครือขายจัดจำหนายที่ดีเยี่ยมครอบคลุม ทั้งประเทศ ซึ่งเราจะตองใชประโยชนจากขอดีนี้ ในการแขงขัน โดยพัฒนาเครือขายของเราใหทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ในการนี้

21


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

22

บริษัทเริ่มงานกอสรางศูนยจัดจำหนายถึง 5 ภูมิภาคเมื่อเดือน สิงหาคม 2550 และโดยการประยุกตซอฟตแวรวางแผน (SAP enterprise resource planning software) ทั่วทั้งกลุมบริษัท เราก็ คาดวาจะสามารถพยากรณปริมาณสินคาคงคลังของผูจัดจำหนาย ของเรา เพื่อใหแนใจวามีการจัดสงสินคาผานเครือขายของเราอยาง มีประสิทธิภาพสูงสุด

¡ÅÂØ·¸ ¡ÒâÂÒÂÊÙ‹μÅÒ´μ‹Ò§»ÃÐà·È

นอกจากนี้เรายังเริ่มตระเตรียมการขยายสูตลาดตางประเทศในเชิง กลยุทธ ขณะนี้เราสงสินคาไปขายยัง 80 ประเทศทั่วโลก ผมมีความ ยินดีที่จะแจงใหทานทราบวาการเขาซื้อกิจการบริษัท Inver House เมือ่ เดือนตุลาคม 2549 ขณะนีเ้ ริม่ เห็นผลแลว เชน การทีเ่ ราสามารถ ใชสำนักงานใหญของบริษัทดังกลาวที่เมือง Airdrie เปนฐาน ปฏิบัติการทั่วสหราชอาณาจักรไดชวยประหยัดคาใชจายอยางมาก รวมทั้งการจัดจำหนายเบียรชางในประเทศออสเตรเลียก็ไดอาศัย เครือขายของบริษัทดังกลาว ในรายงานประจำปฉบับนี้เราจะเลาถึง ยุทธศาสตรในตางประเทศอยางละเอียด อยางไรก็ดี ขอกลาว ณ ที่นี้ แตเพียงวาบริษัทมีแผนสงสินคาพรี่เมี่ยมออกมากขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้ง แผนการเขาซื้อกิจการซึ่งจะเปนการเพิ่มมูลคาใหกับกิจการของเรา ทั้งนี้โดยจะยึดหลักการที่วาอัตราผลตอบแทนการลงทุนจะมีระดับ ที่เหมาะสม ทั้งนี้ในฐานะบริษัทมหาชนเรามิไดเขาครอบงำกิจการ ในตางประเทศในปทผ่ี า นมา แตมงุ เนนภูมภิ าคเอเชีย เนือ่ งจากความ คลายคลึงกันทางวัฒนธรรมและลูกคาหลายประการ ภูมิภาคเอเชีย จึงเปนทีน่ า สนใจสำหรับเราในระยะแรกเริม่ นี้ ซึง่ เราไดเบิกทางเขาสู ประเทศสิงคโปรและมาเลเซียบางแลว แตตลาดที่สำคัญๆ เชน ประเทศจีนและอินเดียนั้นจะมองขามไมได เนื่องจากตลาดเหลานี้ มีการเติบโตที่นาสนใจอยางยิ่ง สำหรับในยุโรป สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลียนั้น บริษัทไดเริ่ม ขายเบียรชางในรูปแบบเบียรชั้นดี ในขณะที่เหลารัมแมโขงนั้นเรา วางตำแหนงใหอยูระดับสูงของตลาดผูบริโภค จึงจะเห็นไดวาเปน การแสดงความมั่นใจในคุณภาพสินคาของเรา เราคาดวาจะเขาสู ตลาดยุโรปหลังจากไดวางเครือขายการจัดจำหนายแลว ซึ่งการวาง ขายในระยะแรกนาจะผานภัตตาคารอาหารไทยและอาหารเอเชีย จากนั้นก็คงจะพยายามเจาะตลาดเครื่องดื่มสำหรับผูบริโภคทั่วไป

»˜¨¨ÑÂÀÒÂã¹»ÃÐà·È

ท า นผู  ถ ื อ หุ  น ส ว นใหญ ค งทราบดี ถ ึ ง สถานการณ ก ารเมื อ งใน ประเทศไทย ซึ่งทำใหทั่วทั้งประเทศตกอยูในสภาวะที่ขาดความ ชัดเจนเปนเวลานานกวา 1 ปแลว เราหวังวาหลังจากการเลือกตั้ง ทั่วไปเมื่อเดือนธันวาคม 2550 ปญหาเหลานี้ไดบรรเทาลงไปบาง ความอึมครึมดังกลาวนำมาซึ่งภาวะเศรษฐกิจซบเซาซึ่งมีผลกระทบ ตอกิจการของบริษทั รวมทัง้ บริษทั อืน่ ๆ ในอุตสาหกรรมนี้ สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คาดวาอัตรา การเจริญเติบโตในป 2551 จะอยูในระดับปานกลาง (รอยละ 4.5 - 5.5) อยางไรก็ดีการที่ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค ณ สิ้นป 2550 เพิ่มขึ้นเปน 119 (ขอมูล: สำนักดัชนีเศรษฐกิจการคา กระทรวง พาณิชย) ก็นาจะเปนนิมิตหมายที่ดี เนื่องจากตลาดในประเทศยังคงมีสวนถึงรอยละ 96.4 ของยอดขาย ทั้งหมด ผมจึงใครเนนยอดขายที่โตขึ้นถึงรอยละ 2.8 ในป 2550 เทียบกับปกอนหนานั้น และยอดผลกำไรสุทธิรอยละ 3.3 เมื่อ เทียบกับชวงเดียวกัน นี่คือความแข็งแกรงของบริษัท แมภายใต สถานการณเศรษฐกิจที่ไมคอยดีนัก นอกจากนี้อยาลืมวาชวง ปลายป 2549 ถึงครึ่งปแรกของ 2550 นั้น สถานการณน้ำทวม ในหลายภาคของประเทศสงผลใหตัวแทนจำหนายหลายรายไม สามารถรับคำสั่งซื้อปริมาณมากในชวงแหงความตองการสูงสุด แตถึงกระนั้นเราก็ยังมีรายไดเพิ่มขึ้น มีการขึน้ ภาษีในประเทศถึง 2 ครัง้ เมือ่ เดือนสิงหาคม 2550 และเดือน มกราคม 2551 ครั้งแรกมีการเกริ่นมาเปนเวลานานพอสมควร ดังนั้นบริษัทจึงเตรียมพรอมรับการขึ้นภาษีดังกลาว แตสำหรับ การขึน้ ในครัง้ ที่ 2 ทีอ่ ตั รารอยละ 1.5 นัน้ รัฐบาลดำเนินการเพือ่ จัดตัง้ โทรทัศนสาธารณะ ทานผูถ อื หุน เองคงอยากทราบวามีทางคาดการณ การขึ้นภาษีในอนาคตหรือไม คำตอบขอนี้คงขึ้นกับนโยบายของ รัฐบาลและเปาการเก็บภาษี ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ ดังนั้นจึงสรุปไดวาการคาดการณการขึ้นภาษีทำไดยาก

¡ÒáŒÒÇÊÙ‹μÅÒ´à¤Ã×èͧ´×èÁ»ÃÒȨҡáÍÅ¡ÍÎÍÅ

กลยุทธประการหนึ่งที่มิไดกลาวมาขางตนคือการเพิ่มความหลาก หลายของสินคาสูตลาดเครื่องดื่มปราศจากแอลกอฮอล ขอนี้เปน

23

นโยบายที่บริษัทตั้งใจจะดำเนินการ เพื่อใหแนใจวาเราไดสำรวจ หาสินคาอื่นๆ ที่เหมาะกับผลิตภัณฑตาง ๆ ที่มีอยู ตัวอยางเชน เมื่อตนปที่ผานมานี้บริษัทซื้อกิจการเครื่องดื่มแรงเยอร ซึ่งเปน การเขาสูตลาดเครื่องดื่มใหพลังงาน ซึ่งมีอัตราการเติบโตถึงรอยละ 3-4 ตอป ซึ่งก็อาศัยเครือขายการจัดจำหนายของเราไดอยางดี และการกอสรางศูนยจัดจำหนายทั้ง 5 แหงที่กลาวขางตนก็จะ มีสวนชวยเพิ่มสินคาของบริษัทไดเชนเดียวกัน บริษัทจะยังคง พิจารณาเครื่องดื่มประเภทน้ำผลไมรวมทั้งเครื่องดื่มปราศจาก แอลกอฮอลอยางใกลชิด และจะแจงใหท่านผูถือหุนทราบเกี่ยวกับ การซื้อกิจการเมื่อใกลความเปนจริง

¾Ñ²¹Ò¡ÒôŒÒ¹Í§¤ ¡Ã

ในป 2551 นี้ วิสัยทัศนเกี่ยวกับพัฒนาการของตัวบริษัทเองถือวา เปนเรื่องสำคัญสำหรับผูถือหุน เราตองการปรับปรุงโครงสรางการ จัดการอยางตอเนื่องและสรางทีมงานที่มีความคลองตัวตลอดจนมี วิสัยทัศน เพราะการบริหารจัดการแบบมืออาชีพเปนสิ่งที่จำเปน มากขึน้ เรือ่ ยๆ เพือ่ ยังความเติบโตใหกบั บริษทั ทัง้ ยังเปนการชวยให เราสามารถตอบสนองตอตัวแทนจำหนายของเราไดดีขึ้นโดยผาน บริการแบบมืออาชีพยิ่งขึ้น วิสัยทัศนของผมคือการทำใหไทยเบฟเปนบริษัทชั้นนำในภูมิภาค อาเซียน จึงขอใหทานผูถือหุนมั่นใจไดวาเราไดพิจารณากลยุทธ ดั ง กล า วอย า งถ ว นถี ่ แ ละอยู  ใ นวิ ส ั ย ที ่ จ ะสามารถดำเนิ น การให สัมฤทธิ์ผลได และนั่นยอมหมายถึงการเติบโตของรายไดและผล กำไรนั่นเอง ในสวนของความสัมพันธกบั ผูถ อื หุน และนักลงทุนนัน้ เราตองพยายาม ใหบรรลุเปาหมายของการเปนแบบอยางแหงความโปรงใสและการ ปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใหทานไดรับทราบแผนงานและ ความสำเร็จของบริษัทจากนี้ไป ผมเชื่อวาภายใน 5 ปจากนี้ ไทยเบฟจะเปนบริษัทที่ดียิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งผมและคณะกรรมการบริษัทจะพยายามอยางสุดความสามารถ เพื่อใหมั่นใจวาไมเพียงแตเราจะสามารถนำบริษัทบรรลุเปาหมาย เทานั้นแตจะสามารถสรางความพึงพอใจใหกับผูมีสวนไดเสียทุก ทานไดดวย

นายเจริญ สิริวัฒนภักดี ประธานกรรมการ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

24

25

â¤Ã§ÊÌҧ¡Òö×ÍËØŒ¹ รายงานประจำป 2550 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)

ºÃÔÉÑ· ä·Â຿àÇÍàè ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ทุนจดทะเบียน 29,000,000,000 บาท ทุนชำระแลว 25,110,025,000 บาท โดยมีหุนสามัญ 25,110,025,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท 100%

¡ÅØ‹Áâç§Ò¹àºÕÂÃ

¡ÅØ‹Áà¤Ã×èͧËÁÒ¡ÒäŒÒ

ºÁ¨. ä·ÂáÍÅ¡ÍÎÍÅ

¡ÅØ‹Áâç§Ò¹ÊØÃÒ 1

¡ÅØ‹Áâç§Ò¹ÊØÃÒ 2

บจ. เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) บจ. คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) บมจ. เบียร ไทย (1991) - บจ. วิทยาทาน

บจ. ที.ซี.ซี.สากลการคา บจ. เบียรชาง บจ. เบียรอาชา

บจ. บางเลนการเกษตร บจ. สินเอกพาณิชย

บจ. แสงโสม บจ. เฟองฟูอนันต บจ. มงคลสมัย บจ. ธนภักดี บจ. กาญจนสิงขร บจ. สุราพิเศษทิพราช

บจ. สุราบางยี่ขัน บจ. อธิมาตร บจ. เอส.เอส. การสุรา บจ. แกนขวัญ บจ. เทพอรุโณทัย

¡ÅØ‹Á¡ÒÃμÅÒ´àºÕÂÃ

¡ÅØ‹Á¡ÒÃμÅÒ´ÊØÃÒ

¡ÅØ‹ÁμÑÇá·¹¨Ó˹‹ÒÂ

บจ. ปอมทิพย บจ. ปอมกิจ บจ. ปอมโชค บจ. ปอมเจริญ บจ. ปอมคลัง บจ. ปอมบูรพา

บจ. นำยุค บจ. นำธุรกิจ บจ. นำเมือง บจ. นำนคร บจ. นำพลัง บจ. นำกิจการ

บจ. ทิพยชโลธร บจ. กฤตยบุญ บจ. สุราทิพย บจ. สุนทรภิรมย บจ. ภิรมยสุรางค

ºÃÔÉÑ· ºÃÔÉÑ· ºÃÔÉÑ· ºÃÔÉÑ·

ä·Â຿àÇÍàè ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ä·Â຿àÇÍàè¡ÅØ‹Á¸Ø¨Ó¡Ñ ´ (ÁËÒª¹) áԨμ‹Íà¹×èͧ ä·Â຿àÇÍàè ¨Ó¡Ñค´ (ÁËÒª¹) บจ. ปุยไบโอนิ บจ. อาหารเสริม บจ. จรัญ¨Ó¡Ñ ธุรกิจ ´ 52 (ÁËÒª¹) ä·Â຿àÇÍàè บจ. ธนสินธิ

¡ÅØ‹Áâç§Ò¹ÊØÃÒ 3 บจ. สุรากระทิงแดง (1998)* บจ. สีมาธุรกิจ บจ. นทีชัย บจ. หลักชัยคาสุรา บจ. ยู ไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนดดัสทิลเลอรี่ * บจ. สุราพิเศษภัทรลานนา 80.82% - บจ. ประมวลผล 83.20% - บจ. เอส.พี.เอ็มอาหารและเครื่องดื่ม 58.55% - บจ.สุราพิเศษสหสันต 100%

ºÃÔÉÑ·¢¹Ê‹§ บจ. ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก

บจ. ทศภาค บจ. มหาราษฎรการเกษตร(1) บจ. บางนา โลจิสติค บจ. ไทยโมลาส บจ. ถังไมโอคไทย** บจ. แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) - บจ. เมืองกิจ 100%

ºÃÔÉÑ·¡ÒÃμÅÒ´

¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·μ‹Ò§»ÃÐà·È

บจ. ไทยเบฟเวอเรจ มารเก็ตติ้ง

International Beverage Holding Limited***

93.50% 36.57% 33.83%

บจ. ถังไมโอคไทย**

บจ. สุราไทยทำ บจ. สุราพิเศษสหสันต 58.63% - บจ. สุราพิเศษสัมพันธ

(1)

บจ. สุรากระทิงแดง (1988)*

7.54% 100% บริษัท มหาราษฎรการเกษตร จำกัด ไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท เครื่องดื่มแรงเยอร (2008) จำกัด เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2551

บจ. แพนแอลกอฮอล


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

26

27

â¤Ã§ÊÌҧ¡Òö×ÍËØŒ¹ รายงานประจำป 2550 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)

Thai Beverage Public Company Limited - 100% Thai company listed in Singapore Exchange

International Beverage Holdings Limited ***

100% International Beverage Holdings (UK) Limited

100% Best Spirits Company Limited

100% InterBev (Singapore) Limited

100% InterBev Malaysia Sdn. Bhd.

100% InterBev (Cambodia) Co.,Ltd.

*** Name Changed from Pacific Spirits (UK) Limited on Dec 2, 2007

100% International Beverage Holdings Limited USA, Inc. ** Name Changed from InterBev USA Inc. on Jan 30, 2007

100% Blairmhor Limited 100% Blairmhor Distillers Limited

100% Inver House Distillers Limited 49.49% Liquorland Limited

100% The Knockdhu Distillery Company Limited

100% Speyburn-Glenlivet Distillery Company Limited

100% 6 non-trading subsidiaries 44% Inver House Polska Limited

100% Wee Beastie Limited

100%

100%

The Pulteney Distillery Company Limited

The Balblair Distillery Company Limited

50.02% Inver House Distribution SA

100% Moffat & Towers Limited

Note : Figures circa Dec 12, 2007


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

28

29

ÃÒ§ҹ¨Ò¡ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· รายละเอียดเกี่ยวกับจำนวนหุนและชนิดของหุน ชื่อบริษัท / สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

ชนิดของ หุน

ทุนที่เรียกชำระแลว (บาท)

จำนวนหุนที่ จำนวนหุนที่ถือ สัดสวน หมายเหตุ ออกจำหนาย (โดยตรง/ การถือหุน % โดยออม)

1 บริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตเบียร น้ำดื่ม และน้ำโซดา

สามัญ

5,550,000,000.00 555,000,000

554,999,985 100.00%

11 บริษัท แกนขวัญ จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตสุรา

สามัญ

800,000,000.00

80,000,000

79,999,994

100.00%

2 บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตเบียร น้ำดื่ม และน้ำโซดา

สามัญ

6,600,000,000.00 660,000,000

659,999,940 100.00%

ผลิตสุรา

สามัญ

700,000,000.00

70,000,000

69,999,994

100.00%

3 บริษัท แสงโสม จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตสุรา

สามัญ

7,500,000,000.00 750,000,000

749,999,994 100.00%

12 บริษัท เทพอรุโณทัย จำกัด 99 หมูที่ 4 ตำบลหาดคำ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย 43000

ผลิตสุรา

สามัญ

5,000,000,000.00 500,000,000

499,999,940 100.00%

4 บริษัท เฟองฟูอนันต จำกัด 333 หมูที่ 1 ตำบลทาตูม อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี 25140

ผลิตสุรา

สามัญ

900,000,000.00

90,000,000

89,999,994

100.00%

13 บริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตสุรา

สามัญ

1,800,000,000.00 180,000,000

179,999,994 100.00%

5 บริษัท มงคลสมัย จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตสุรา

สามัญ

700,000,000.00

70,000,000

69,999,994

100.00%

14 บริษัท ยูไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนดดิสทิลเลอรี่ จำกัด 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

6 บริษัท ธนภักดี จำกัด 315 หมูที่ 4 ตำบลแมแฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม 50290

ผลิตสุรา

สามัญ

700,000,000.00

70,000,000

69,999,994

100.00%

15 บริษัท สีมาธุรกิจ จำกัด 1 หมูที่ 6 ตำบลบานแดน อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค 60180

ผลิตสุรา

สามัญ

900,000,000.00

90,000,000

89,999,994

100.00%

7 บริษัท กาญจนสิงขร จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตสุรา

สามัญ

700,000,000.00

70,000,000

69,999,994

100.00%

16 บริษัท นทีชัย จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตสุรา

สามัญ

800,000,000.00

80,000,000

79,999,994

100.00%

8 บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด 82 หมูที่ 3 ตำบลบางคูวัด อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12130

ผลิตสุรา

สามัญ

4,000,000,000.00 400,000,000

399,999,994 100.00%

17 บริษัท หลักชัยคาสุรา จำกัด 46 หมูที่ 1 ตำบลหนองกลางนา อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี 70000

ผลิตสุรา

สามัญ

800,000,000.00

80,000,000

79,999,994

100.00%

9 บริษัท อธิมาตร จำกัด 170 หมูที่ 11 ตำบลนิคม อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย 31150

ผลิตสุรา

สามัญ

900,000,000.00

90,000,000

89,999,994

100.00%

18 บริษัท สุราพิเศษทิพราช จำกัด 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตสุรา

สามัญ

500,000,000.00

5,000,000

4,999,994

100.00%

10 บริษัท เอส.เอส.การสุรา จำกัด 101 หมูที่ 8 ตำบลแกงโดม กิ่งอำเภอสวางวีระวงศ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

ผลิตสุรา

สามัญ

800,000,000.00

80,000,000

79,999,994

100.00%

สามัญ

800,000,000.00

160,000,000

159,999,986 100.00%

ชื่อบริษัท / สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

19 บริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน) ผลิตแอลกอฮอล 31-35 ถนนเฉลิมเขตร 1 แขวงวัดเทพศิรินทร เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ 10100

ชนิดของ หุน

ทุนที่เรียกชำระแลว จำนวนหุนที่ จำนวนหุนที่ถือ สัดสวน หมายเหตุ (บาท) ออกจำหนาย (โดยตรง/ การถือหุน % โดยออม)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

30 ชื่อบริษัท / สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

ชนิดของ หุน

ทุนที่เรียกชำระแลว จำนวนหุนที่ จำนวนหุนที่ถือ สัดสวน หมายเหตุ (บาท) ออกจำหนาย (โดยตรง/ การถือหุน % โดยออม)

31 ชื่อบริษัท / สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

ชนิดของ หุน

ทุนที่เรียกชำระแลว (บาท)

หมายเหตุ จำนวนหุนที่ จำนวนหุนที่ถือ สัดสวน ออกจำหนาย (โดยตรง/ การถือหุน % โดยออม)

20 บริษัท ปอมทิพย จำกัด 2194 ถนนเจริญกรุง แขวงวัดพระยาไกร เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120

ผูจัดจำหนายเบียร

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

34 บริษัท สุราทิพย จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ตัวแทนจำหนายสุรา สามัญ

1,200,000.00

120,000

119,940

100.00%

21 บริษัท ปอมกิจ จำกัด 48,50,52 ถนนสุรนารี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000

ผูจัดจำหนายเบียร

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

35 บริษัท สุนทรภิรมย จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ตัวแทนจำหนายสุรา สามัญ

5,000,000.00

500,000

499,994

100.00%

22 บริษัท ปอมคลัง จำกัด ผูจัดจำหนายเบียร 80/13-14 ถนนเอกาทศรฐ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

36 บริษัท ภิรมยสุรางค จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ตัวแทนจำหนายสุรา สามัญ

5,000,000.00

500,000

499,994

100.00%

23 บริษัท ปอมโชค จำกัด 16/1 หมู 1 ถนนอูทอง ตำบลทาวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000

ผูจัดจำหนายเบียร

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

37 บริษัท ปุยไบโอนิค จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

จำหนายปุย

สามัญ

860,000,000.00

8,600,000

8,599,994

100.00%

ปลูกขาวญี่ปุน

สามัญ

2,000,000.00

200,000

199,940

100.00% เมื่อวันที่ 25 ม.ค.51

24 บริษัท ปอมเจริญ จำกัด 135/3 หมูที่ 4 ถนนกาญจนวิถี ตำบลบางกุง อำเภอเมืองสุราษฎรธานี จังหวัดสุราษฎรธานี 84000

ผูจัดจำหนายเบียร

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

38 บริษัท มหาราษฎรการเกษตร จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

25 บริษัท ปอมบูรพา จำกัด 51/42 หมูที่ 3 ถนนสุขุมวิท ตำบลบานสวน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000

ผูจัดจำหนายเบียร

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

26 บริษัท นำยุค จำกัด 95/390-391 ตรอกนอกเขต ถนนพระราม 3 แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

ผูจัดจำหนายสุรา

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00% จัดจำหนาย กากน้ำตาล

สามัญ

40,000,000.00

40,000

39,885

99.72%

27 บริษัท นำกิจการ จำกัด 1,3,5 ตรอกวัดมวง ถนนสุรนารี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000

ผูจัดจำหนายสุรา

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

39 บริษัท ไทยโมลาส จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 40 บริษัท อาหารเสริม จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

จัดจำหนาย อาหารสัตว

สามัญ

1,000,000.00

10,000

9,994

100.00%

28 บริษัท นำพลัง จำกัด ผูจัดจำหนายสุรา 1/7-8 ถนนพระยาสุรสีห ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

จัดจำหนายวัสดุ และบริการจัดซื้อ จัดจาง

สามัญ

1,000,000.00

10,000

9,994

100.00%

29 บริษัท นำเมือง จำกัด 16/2 หมูที่ 1 ถนนอูทอง ตำบลทาวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000

ผูจัดจำหนายสุรา

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

41 บริษัท แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 42 บริษัท จรัญธุรกิจ 52 จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตอิฐ

สามัญ

121,800,000.00

1,218,000

1,217,994

100.00%

30 บริษัท นำนคร จำกัด 149/3 ถนนจุลจอมเกลา ตำบลทาขาม อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี 84130

ผูจัดจำหนายสุรา

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

43 บริษัท ถังไมโอคไทย จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตถังไมโอค

สามัญ

300,000,000.00

30,000,000

29,999,940

100.00%

31 บริษัท นำธุรกิจ จำกัด 51/40-41 หมูที่ 3 ถนนสุขุมวิท ตำบลบานสวน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000

ผูจัดจำหนายสุรา

สามัญ

10,000,000.00

1,000,000

999,994

100.00%

44 บริษัท บางนา โลจิสติค จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

จัดจำหนายขวด

สามัญ

123,000,000.00

1,230,000

1,229,994

100.00%

32 บริษัท ทิพยชโลธร จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ตัวแทนจำหนาย เบียรและสุรา

สามัญ

1,000,000.00

100,000

99,994

100.00%

45 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

บริการขนสง

สามัญ

12,000,000.00

1,200,000

1,199,940

100.00% เมื่อวันที่ 28 ก.พ.51

33 บริษัท กฤตยบุญ จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ตัวแทนจำหนาย เบียรและสุรา

สามัญ

5,000,000.00

500,000

499,994

100.00% 46 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ มารเก็ตติ้ง จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

นำเขาและสงออก สุรา/ทำการตลาด ในตางประเทศ

สามัญ

300,000,000.00

30,000,000

29,999,940

100.00%

จดทะเบียนเพิ่มทุน เป น 20,000,000 หุน@ 10 บาท เปนจำนวนเงิน 200,000,000 บาท และเปลี่ยนชื่อจาก บจ.มหาราษฎร การเกษตร เปน บจ. เครื่องดื่มแรงเยอร (2008) เมือ่ วันที่ 19 ก.พ. 51

จดทะเบียนเพิ่มทุน เปน101,200,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท เปนจำนวนเงิน 1,012,000,000 บาท


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

32 ชื่อบริษัท / สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

ชนิดของ หุน

ทุนที่เรียกชำระแลว (บาท)

จำนวนหุนที่ จำนวนหุนที่ถือ สัดสวน หมายเหตุ ออกจำหนาย (โดยตรง/ การถือหุน % โดยออม)

47 บริษัท ธนสินธิ จำกัด 949/6-8 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพ 10300

กอสราง

สามัญ

20,000,000.00

20,000

19,994

100.00%

48 บริษัท ทศภาค จำกัด 195 อาคารเอ็มไพร ทาวเวอร ชั้น 25 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพ 10120

ธุรกิจโฆษณา

สามัญ

25,000,000.00

2,500,000

2,499,994

100.00%

49 International Beverage Holdings Limited. Room 901-2, Silvercord, Tower 1 30 Canton Road, Tsim Sha Tsui Kowloon, Hong Kong

ธุรกิจลงทุน

สามัญ

HK$ 1,470,000,000 1,470,000,000 100.00% 1,470,000,000.00 1,666,666,500.00

ประเภทธุรกิจ

ชนิดของ หุน

61 บริษัท บางเลนการเกษตร จำกัด* กิจการเพาะปลูก 31-35 ถนนเฉลิมเขตร 1 แขวงวัดเทพศิรินทร พืชผลทางการ เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพ 10100 เกษตร

สามัญ

ทุนที่เรียกชำระแลว (บาท)

จำนวนหุนที่ จำนวนหุนที่ถือ สัดสวน หมายเหตุ ออกจำหนาย (โดยตรง/ การถือหุน % โดยออม)

20,000,000.00

20,000

20,000

100.00%

62 บริษัท วิทยาทาน จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ประชาสัมพันธ สามัญ อนุรักษสิ่งแวดลอม

5,000,000.00

500,000

500,000

100.00%

63 บริษัท ประมวลผล จำกัด 56 ถนนสุขาภิบาล ตำบลนครชัยศรี อำเภอนครชัยศรี นครปฐม 73120

ผลิตและจำหนาย สุรา

สามัญ

350,000,000.00

3,500,000

2,828,850

80.82%

64 บริษัท เอส.พี.เอ็มอาหารและเครื่องดื่ม จำกัด 79 หมูที่ 3 ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม นครปฐม 73150

ผลิตและจำหนาย สามัญ น้ำดื่มและเครื่องดื่ม ชูกำลังและตัวแทน จำหนายสุรา

100,000,000.00

1,000,000

832,000

83.20%

65 InterBev (Singapore) Limited 3 Philip Street # 13-04 Commerce Point, Singapore

จำหนายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล

สามัญ

SGD 3,000,000.00 3,000,000

3,000,000

100.00%

66 InterBev (Cambodia) Co., Ltd. จำหนายเครื่องดื่ม 140 Nehru (Street # 215) Sankat Vealvong แอลกอฮอล Khan 7 Makara, Phnom Penh Kingdom of Cambodia

สามัญ

USD 200,000.00

1,000

1,000

100.00%

67 InterBev Malaysia Sdn. Bhd. จำหนายเครื่องดื่ม Suite 6.01, 6th Floor, Plaza See Hoy Chan แอลกอฮอล Jalan Raja Chulan, 50200 Kuala Lumpur Malaysia

สามัญ

MYR 100,000.00

100,000

100,000

100.00%

68 International Beverage Holdings Limited USA, Inc. 405 Lexington Avenue, 25th Floor, Suite 2532, New York, USA

จำหนายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล

สามัญ

USD 2,600,000.00 2,600,000

2,600,000

100.00% เปลี่ยนชื่อจาก

69 Best Spirits Company Limited Room 901-2, Silvercord Tower 1 30 Canton Road, Tsim Sha Tsui Kowloon, Hong Kong

จำหนายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล

สามัญ

HKD 15,300,000.00

15,300,000

15,300,000

100.00%

70 International Beverage Holding (UK) Limited Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

ธุรกิจลงทุน

สามัญ

£68,500,000.00

68,500,000

68,500,000

100.00% เปลี่ยนชื่อจาก

71 Blairmhor Limited* ธุรกิจลงทุน Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland

สามัญ

£9,009,406.7

900,940,670

900,940,670 100.00%

สามัญ

51 บริษัท ที.ซี.ซี. สากลการคา จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ถือครอง เครื่องหมายการคา

สามัญ

5,000,000.00

50,000

49,940

100.00%

52 บริษัท เบียรชาง จำกัด 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ถือครอง เครื่องหมายการคา และผลิตหัวเชื้อ เบียร

สามัญ

1,000,000.00

10,000

9,940

100.00%

53 บริษัท เบียรอาชา จำกัด 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ถือครอง เครื่องหมายการคา และผลิตหัวเชื้อ เบียร

สามัญ

1,000,000.00

100,000

99,940

100.00%

54 บริษัท สุราพิเศษภัทรลานนา จำกัด 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ธุรกิจลงทุน

สามัญ

600,000,000.00

6,000,000

5,999,994

100.00%

55 บริษัท สุราไทยทำ จำกัด* 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

จัดจำหนายสุรา

สามัญ

17,500,000.00

17,500

17,483

99.90%

56 บริษัท สุราพิเศษสหสันติ์ จำกัด* 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตและจำหนาย สุรา

สามัญ

57 บริษัท สุราพิเศษสัมพันธ จำกัด* 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ผลิตและจำหนาย สุรา

สามัญ

100,000,000.00

1,000,000

1,000,000

100.00%

72 Inver House Distillers Limited ผลิตและจำหนาย Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland สุรา

สามัญ

£10,000,000

10,000,000

10,000,000

100.00%

58 บริษัท เมืองกิจ จำกัด* 9 ถนนดาวคนอง-จอมทอง แขวงบางคอ เขตจอมทอง กรุงเทพ 10150

จัดหาไมโอค

สามัญ

3,810,000.00

38,100

38,100

100.00%

73 Blairmhor Distillers Limited* หยุดดำเนินกิจการ Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

สามัญ

£200.00

2,000

2,000

100.00%

74 Wee Beastie Limited ผลิตและจำหนาย สามัญ Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล

£100.00

100

100

100.00%

75 Speyburn-Glenlivet Distillery หยุดดำเนินกิจการ Company Limited* Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland

สามัญ

£100.00

100

100

100.00%

76 The Knockdhu Distillery Company Limited* หยุดดำเนินกิจการ Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland

สามัญ

£100.00

100

100

100.00%

1,000,000

166,666,590 100.00%

ชื่อบริษัท / สถานที่ตั้ง

ผลิตเบียร น้ำดื่ม 50 บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด และน้ำโซดา 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

100,000,000.00

166,666,650

33

1,000,000

100.00%

59 บริษัท สินเอกพาณิชย จำกัด* ประกอบกิจการ 31-35 ถนนเฉลิมเขตร 1 แขวงวัดเทพศิรินทร เหมืองแร เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพ 10100

สามัญ

9,000,000.00

90,000

90,000

100.00%

60 บริษัท แพนแอลกอฮอล จำกัด* 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

สามัญ

2,000,000.00

20,000

20,000

100.00%

“ผลิตและ จัดจำหนาย น้ำสมสายชู”

“InterBev USA Inc.” เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2550

“Pacific Spirits (UK) Limited” เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2550


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

34 ชื่อบริษัท / สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

ชนิดของ หุน

ทุนที่เรียกชำระแลว (บาท)

จำนวนหุนที่ จำนวนหุนที่ถือ สัดสวน หมายเหตุ ออกจำหนาย (โดยตรง/ การถือหุน % โดยออม)

77 The Pulteney Distillery Company Limited* หยุดดำเนินกิจการ Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland

สามัญ

£2.00

2

2

100.00%

78 The Balblair Distillery Company Limited* Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£2.00

2

2

100.00%

79 R. Carmichael & Sons Limited* Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£30,000.00

30,000

30,000

100.00%

80 J. MacArthur Junior & Company Limited* Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£100.00

100

100

100.00%

81 Mason & Summers Limited* 10 Foster Lane, London, EC2V 6HH, England

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£10,030.00

10,030

10,030

100.00%

82 Hankey Bannister & Company Limited* Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£100.00

100

100

100.00%

83 James Catto & Company Limited* Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£50,000.00

50,000

50,000

100.00%

84 Glen Calder Blenders Limited* Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£100.00

100

100

100.00%

85 Moffat & Towers Limited* Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£1.00

100

100

100.00%

86 Liquorland Limited 8 Westbank Road, Belfast, BT3 9JL Northern Ireland

ลิขสิทธิ์

สามัญ

£495,000

495,000.00

245,000.00 49.49%

87 Inver House Polska Limited ul. Obodrzycw 34 A/1, 81-812 Sopot, Poland

จำหนายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล

สามัญ

700,000.00 zl

700,000

308,000

44.00%

88 Inver House Distribution SA* Avenue des Tilleuls, 62140 Marconne, France

หยุดดำเนินกิจการ

สามัญ

£24,450.00

2,493.00

1,247.00

50.02%

35

ÃÒ¡ÒÃáÊ´§¼Å»ÃÐ⪹ â´ÂμçáÅмŻÃÐ⪹ â´ÂÍŒÍÁ¢Í§¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ³ Çѹ·Õè 21 Á¡ÃÒ¤Á 2551

รายชื่อผูถือหุน 1. นายเจริญ สิริวัฒนภักดี

หมายเหตุ * ปจจุบันบริษัทเหลานี้ไมไดประกอบกิจการ

ผลประโยชนโดยตรง

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) Good Show Holdings Limited (2) Risen Mark Enterprise Ltd.(3) บริษัท สิริวนา จำกัด (4) Golden Capital (Singapore) Limited (5) MM Group Limited 2. คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) Good Show Holdings Limited (2) Risen Mark Enterprise Ltd.(3) บริษัท สิริวนา จำกัด (4) Golden Capital (Singapore) Limited (5) MM Group Limited 3. นายณรงค ศรีสอาน บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 4. นายโกเมน ตันติวิวัฒนพันธ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 5. นายภุชชงค ชาญธนากิจ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 6. นายสถาพร กวิตานนท 7. ศาสตราจารยคนึง ไชย 8. นายมนู เลียวไพโรจน 9. นายอึ๊ง ตัก พัน 10. นายไมเคิล เลา ไวย เคียง 11. ศาสตราจารยนายแพทยพรชัย มาตังคสมบัติ 12. พลเอกนายแพทยชูฉัตร กำภู ณ อยุธยา 13. นายศักดิ์ทิพย ไกรฤกษ 14. นายวิวัฒน เตชะไพบูลย บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 15. นายปณต สิริวัฒนภักดี(1) 16. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 17. นายสมุทร หัตถสิงห บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 18. นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 19. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) 20. นายอวยชัย ตันทโอภาส 21. ดร. พิษณุ วิเชียรสรรค 22. นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)

จำนวนหุน

รอยละของ การถือหุน 3,156,500,000 12.57 199,999,997 50.00 25,000 50.00 3,156,500,000 12.57 199,999,997 50.00 25,000 50.00 1 0.00 34,068,668 0.14 1 0.00 291,541,500 1.16 107,000,000 0.43 107,000,000 0.43 1 0.00 1 0.00 1 0.00 1 0.00

ผลประโยชนทางออม จำนวนหุน รอยละของ การถือหุน MM Group Limited 5,000 100 MM Group Limited 50,000 100 MM Group Limited 10,000,000 100 MM Group Limited 5,000 100 MM Group Limited 50,000 100 MM Group Limited 10,000,000 100 -

หมายเหตุ (1) นายปณต สิริวัฒนภักดี ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2550 (2) Good Show Holdings Limited ถือหุนในบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จำนวน 3,492,720,000 หุน (3) Risen Mark Enterprise Ltd. ถือหุนในบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จำนวน 3,193,150,000 หุน (4) บริษัท สิริวนา จำกัด ถือหุนในบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จำนวน 2,197,200,000 หุน (5) Golden Capital (Singapore) Limited ถือหุนในบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จำนวน 608,638,000 หุน


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

36

¢ŒÍÁÙżٌ¶×ÍËØŒ¹

¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ÃÒÂãËÞ‹ 20 ÃÒÂáá

ณ วันที่ 12 มีนาคม 2551 ขอมูลหุนทุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและเรียกชำระคาหุนแลว ชนิดของหุน จำนวนหุนที่ออกและเสนอขาย สิทธิในการออกเสียง การวิเคราะหขอมูลผูถือหุน จำนวนหุนที่ถือ 1 - 999 1,000 - 10,000 10,001 - 1,000,000 1,000,001 ขึ้นไป รวม

37

29,000,000,000 บาท 25,110,025,000 บาท หุนสามัญ มูลคาหุนละ 1 บาท 25,110,025,000 หุน หนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง

จำนวนผูถือหุน 8 ไมมี 23 86 117

รอยละของผูถือหุน 6.84 ไมมี 19.66 7.50 100

จำนวนหุน 8 ไมมี 6,491,469 25,103,533,523 25,110,025,000

รอยละของหุน 0.00 ไมมี 0.03 99.97 100

ดังนั้น รอยละ 19.67 ของหุนทั้งหมดของบริษัท จึงถือโดยผูถือหุนรายยอย ซึ่งเปนถือไดวาบริษัทไดปฎิบัติตามกฎระเบียบของ ตลาดหลักทรัพยสิงคโปรขอ 723 แลว

ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. รวม

รายชื่อผูถือหุน THE CENTRAL DEPOSITORY (PTE) LTD GOOD SHOW HOLDINGS LIMITED นายเจริญ สิริวัฒนภักดี คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี RISEN MARK ENTERPRISE LTD., บริษัท สิริวนา จำกัด นายสุชิน วรวงศวสุ นางศิริลักษณ ไมไทย นายวิวัฒน เตชะไพบูลย นางสาวสมฤดี ศิระวงศประเสริฐ นายไพศาล ชีวะศิริ GOLDEN CAPITAL (SINGAPORE) LIMITED นางวันทนีย ชีวะศิริ นางวงศชนก ชีวะศิริ นายฐาปน สิริวัฒนภักดี นายปณต สิริวัฒนภักดี นางอาทินันท พิชานนท นางฐาปณี เตชะเจริญวิกุล นางวัลลภา ไตรโสรัส นายสุเทพ โอภาสพาณิชย

จำนวนหุน 6,325,659,920 3,492,720,000 3,156,500,000 3,156,500,000 2,359,815,000 2,197,200,000 900,000,000 338,519,080 291,541,500 213,188,000 150,000,000 116,480,000 110,236,750 110,236,750 107,000,000 107,000,000 107,000,000 107,000,000 107,000,000 80,000,000 23,533,597,000

รอยละ 25.19 13.91 12.57 12.57 9.40 8.75 3.58 1.35 1.16 0.85 0.60 0.46 0.44 0.44 0.43 0.43 0.43 0.43 0.43 0.32 93.72


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

38

ขอมูลการกระจายการถือหุนภายใตชื่อผูถือหุน The Central Depository (Pte) Limited จำนวนหุนที่ถือ จำนวนผูถือหุน รอยละของผูถือหุน จำนวนหุน 1 - 999 9 0.08 1,802 1,000 - 10,000 8,224 69.85 36,420,764 10,001 - 1,000,000 3,550 29.81 213,724,054 1,000,001 ขึ้นไป 31 0.26 6,075,513,300 รวม 11,774 100.00 6,325,659,920

39

ÊÑÞÞÒ·ÕèÊÓ¤ÑÞ«Ö觷ӡѺ¡Ô¨¡Ò÷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹ÊÓËÃѺ»‚ 2550 »ÃСͺ´ŒÇ รอยละของหุน 0.00 0.58 3.38 96.04 100.0

สัญญาซื้อขายขวดระหวางบริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนกิจการที่เกี่ยวของกัน เปนผูขาย กับ บริษัท บางนา โลจิสติค จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ถือหุนทั้งหมดโดยบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) เปนผูซื้อ เปนระยะเวลาสองป แปดเดือน เริ่มตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ยอดซื้อขายขวดในป 2550 เปนจำนวนเงิน 2,247.08 ลานบาท มูลคาสุทธิทางบัญชีของที่ดินและอาคารซึ่งเปนกรรมสิทธิ์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีดังนี้

¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ÃÒÂãËÞ‹ 20 ÃÒÂááÀÒÂãμŒª×èͼٌ¶×ÍËØŒ¹ The Central Depository (Pte) Limited ลำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. รวม

รายชื่อผูถือหุน DBS Nominees Pte Ltd Risen Mark Enterprise Limited Citibank Nominees Singapore Pte Ltd UOB Kay Hian Pte Ltd DBSN Services Pte Ltd HSBC (Singapore) Nominees Pte Ltd United Overseas Bank Nominees Pte Ltd Golden Capital (Singapore) Limited Raffles Nominees Pte Ltd DB Nominees (S) Pte Ltd Merrill Lynch (Singapore) Pte Ltd Morgan Stanley Asia (S’pore) Securities Pte Ltd OCBC Securities Private Ltd ING Nominees (S’pore) Pte Ltd DBS Vickers Securities (S) Pte Ltd CLSA Singapore Pte Ltd Chang Kuei Chue Freddie Tan Poh Chye Yala Pte Ltd Liauw Lee Lee @ Kartini Djantin @ Iskandar Lilianti

จำนวนหุน 2,479,016,824 833,335,000 761,301,938 565,234,500 496,837,414 438,217,570 270,171,461 75,000,000 51,261,451 36,396,000 21,702,000 6,542,000 6,520,000 5,148,000 3,336,500 3,130,000 2,110,000 2,000,000 1,954,642 1,900,000 6,061,115,300

รอยละ 39.19 13.17 12.04 8.94 7.85 6.93 4.27 1.19 0.81 0.58 0.34 0.10 0.10 0.08 0.05 0.05 0.03 0.03 0.03 0.03 95.81

ที่ดิน สวนตีราคาเพิ่มของที่ดิน สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร รวม

(ลานบาท) 8,145 4,389 741 10,693 23,968

ไดมีการตีราคาที่ดินใหมในป 2550 โดยผูประเมินอิสระ บริษัทไดเชาสถานที่หลายแหงเพื่อใชเปนสำนักงานสาขาและคลังสินคา การเชาทั้งหมดนี้ถือเปนสัญญาเชาดำเนินงานไมใชสัญญา เชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลคาที่ดินซึ่งเปนกรรมสิทธิ์ของบริษัทที่ถือครองไวเพื่อการดำเนินธุรกิจในอนาคตมีจำนวนเงิน 1,721 ลานบาท ซึ่งเปน 11.3% ของกำไรกอนภาษีเงินได


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

40

41

ÃÒª×èÍáÅÐ μÓá˹‹§¢Í§ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔÉÑ·

1. นายเจริญ สิริวัฒนภักดี

2. คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี

3. นายณรงค ศรีสอาน

4. นายโกเมน ตันติวิวัฒนพันธ

5. นายภุชชงค ชาญธนากิจ

6. นายสถาพร กวิตานนท

7. ศาสตราจารยคนึง ไชย

8. นายมนู เลียวไพโรจน

9. นายอึ๊ง ตัก พัน

ประธานกรรมการ

1

2

3

4

5

รองประธานกรรมการ

รองประธานกรรมการ

กรรมการ

กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ

10. นายไมเคิล เลา ไวย เคียง 6

7

8

9

10

กรรมการอิสระ

14

15

กรรมการอิสระ

15. นายปณต สิริวัฒนภักดี

16. นายสมุทร หัตถสิงห

17. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี

18. นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย

19. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร

20. นายอวยชัย ตันทโอภาส

21. ดร. พิษณุ วิเชียรสรรค

กรรมการ

กรรมการผูอำนวยการใหญ

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ

13

กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ

13. พลเอกนายแพทยชูฉัตร กำภู ณ อยุธยา 14. นายวิวัฒน เตชะไพบูลย กรรมการ

12

กรรมการอิสระและประธาน กรรมการตรวจสอบ

11. ศาสตราจารยนายแพทยพรชัย มาตังคสมบัติ 12. นายศักดิ์ทิพย ไกรฤกษ

กรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ

11

รองประธานกรรมการ

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ

กรรมการ

กรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญ กรรมการผูช ว ยกรรมการผูอ ำนวยการใหญ

22. นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ

16

17

18

19

20

นายฐาปน สิริวัฒนภักดี ไดรับแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัทใหดำรงตำแหนงกรรมการผูอำนวยการใหญ เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2551

นางแววมณี โสภณพินิจ

เลขานุการบริษัท / เลขานุการคณะกรรมการ 21

22

นายธิติ สุวรรณรัตน

รองเลขานุการคณะกรรมการ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

42

43

ÃÒª×èÍáÅÐ μÓá˹‹§¢Í§ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔËÒÃ

ÃÒª×èÍ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒà 1. นายเจริญ สิริวัฒนภักดี

2. คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี

3. นายณรงค ศรีสอาน

4. นายโกเมน ตันติวิวัฒนพันธ

5. นายสมุทร หัตถสิงห

6. นายภุชชงค ชาญธนากิจ

7. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี

8. นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย

9. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร

ประธานกรรมการบริหาร

รองประธานกรรมการบริหาร คนที่ 3 กรรมการผูอำนวยการใหญ

2

3

4

5

รองประธานกรรมการบริหาร คนที่ 4

กรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญ

รองประธานกรรมการบริหาร คนที่ 2 รองประธานกรรมการบริหาร คนที่ 5

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ่

10. นายอวยชัย ตันทโอภาส

11. ดร. พิษณุ วิเชียรสรรค

12. นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ

13. นายสวัสดิ์ โสภะ

14. นายไซแกว วงศพิเศษกุล

15. นายฌอง เลอเบรอตง

กรรมการผูชวยกรรมการ ผูอำนวยการใหญ

1

รองประธานกรรมการบริหาร คนที่ 1

รองกรรมการผูอำนวยการใหญ

กรรมการผูชวยกรรมการ ผูอำนวยการใหญ

ผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ

กรรมการผูชวยกรรมการ ผูอำนวยการใหญ

ผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ

* นายสวัสดิ์ โสภะ นายไซแกว วงศพิเศษกุล นายฌอง เลอเบรอตง ไดรับการแตงตั้งในวันที่ 27 กุมภาพันธ 2551

6

7

8

9

10

ÃÒª×èÍ ¤³Ð¨Ñ´¡ÒúÃÔÉÑ· 11

12

13

14

15

1. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี

2. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี

3. นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย

4. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร

5. นายอวยชัย ตันทโอภาส

6. ดร.พิษณุ วิเชียรสรรค

7. นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ

8. นายสวัสดิ์ โสภะ

9. นายไซแกว วงศพิเศษกุล

กรรมการผูอำนวยการใหญ สายพัฒนาธุรกิจ

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ สายการเงินและบัญชี

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ สายงานบริหารทั่วไป

10.นายฌอง เลอเบรอตง

ผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ สายงานแผนกลยุทธ

* จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนมกราคม 2551

กรรมการผูอำนวยการใหญ สายบริหารการขาย

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ สายบริหารการตลาด รองกรรมการผูอำนวยการใหญ สายการผลิตสุรา

กรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญ สายงานสนับสนุน กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ สายการผลิตเบียร

ผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ สายการผลิตเครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

44

ÃÒÂÅÐàÍÕ´ »ÃÐÇÑμÔ¡ÃÃÁ¡Òà áÅмٌºÃÔËÒÃ

45

¹ÒÂà¨ÃÔÞ ÊÔÃÔÇѲ¹ÀÑ¡´Õ

¹Ò³ç¤ ÈÃÕÊ͌ҹ

ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการบริหาร นายเจริญ สิริวัฒนภักดี ไดรับการแตงตั้งเปนประธานกรรมการ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) เมื่อป 2546 ดำรงตำแหนง ประธานกรรมการบริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) และ ประธานกรรมการกลุมบริษัท สุรากระทิงแดง ตั้งแตป 2547 ประธานกรรมการบริษัท ที.ซี.ซี. แลนด จำกัด ตั้งแตป 2545 ประธานกรรมการบริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ตั้งแต ป 2544 และประธานกรรมการบริษัท ที.ซี.ซี แคปปตอล จำกัด ตั้งแตป 2540 นอกจากนี้ยังดำรงตำแหนงประธานกรรมการ บริษัท ที.ซี.ซี. โฮลดิ้ง จำกัด ตั้งแตป 2530 ทานไดรับปริญญาดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิส์ าขาบริหารธุรกิจการเกษตร จากสถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแมโจ ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเทคโนโลยี อุตสาหกรรมจากมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ไดรับพระราชทาน เครือ่ งราชอิสริยาภรณมหาปรมาภรณชา งเผือก เครือ่ งราชอิสริยาภรณ มหาวชิรมงกุฏ และเครื่องราชอิสริยาภรณปฐมดิเรกคุณากรณ และ เครื่องราชอิสริยาภรณทุติยจุลจอมเกลา

รองประธานกรรมการ / รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 2

¤Ø³ËÞÔ§ÇÃÃ³Ò ÊÔÃÔÇѲ¹ÀÑ¡´Õ

รองประธานกรรมการ / รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 1 คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี ไดรับการแตงตั้งเปนรองประธาน กรรมการ เมื่อป 2546 ดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริษัท เบียรทิพยบริวเวอรี่ (1991) จำกัด และประธานกรรมการกลุมบริษัท แสงโสม ตั้งแตป 2547 ดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริษัท ที.ซี.ซี. แคปปตอล แลนด จำกัด ตั้งแตป 2546 ตำแหนงรองประธาน กรรมการบริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2544 และ ดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริหารเครือบริษทั ที.ซี.ซี. ตัง้ แต ป 2515 ทานไดรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเทคโนโลยี ชีวภาพ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจการเกษตร จากมหาวิทยาลัยแมโจ และปริญญา บริหารธุรกิจบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนรอง ประธานกรรมการมูลนิธิสิริวัฒนภักดี กรรมการศิริราชมูลนิธิและ กรรมการมูลนิธริ ามาธิบดี นอกจากนี้ยังไดรับรางวัลตางๆ มากมาย รวมทั้งไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยิ่ง ชางเผือก (มหาปรมาภรณชางเผือก) เครื่องราชอิสริยาภรณอันมี เกียรติยศยิ่งมงกุฏไทย (ประถมาภรณมงกุฏไทย) เครือ่ งราชอิสริยาภรณ จุลจอมเกลา (ทุติยจุลจอมเกลา) และเครื่องราชอิสริยาภรณอนั เปนที่ สรรเสริญยิง่ ดิเรกคุณาภรณ (ปฐมดิเรกคุณาภรณ)

นายณรงค ศรีสอาน ไดรับการแตงตั้งเปนรองประธานกรรมการเมื่อ ป 2546 มีประสบการณในวงการธนาคารมา 44 ป ดำรงตำแหนง รองประธานบริหาร ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2497 ถึงป 2541 นอกจากนีย้ งั ดำรงตำแหนงประธานบริษทั มหาชนอีกหลาย บริษทั ในประเทศไทย รวมถึงรองประธานกรรมการบริษทั เบอรล่ี ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริษทั แอดวานซอะโกร จำกัด (มหาชน) และเปนกรรมการอิสระบริษัท ทรูคอรปอรเรชั่น จำกัด (มหาชน) ไดรับปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร

¹ÒÂâ¡àÁ¹ μѹμÔÇÔÇѲ¹¾Ñ¹¸

รองประธานกรรมการ / รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 3 นายโกเมน ตันติววิ ฒ ั นพันธ ไดรบั การแตงตัง้ เปนรองประธานกรรมการ เมื่อป 2546 มีประสบการณในการบริหารบริษัทในอุตสาหกรรมสุรา มากกวา 40 ป ดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริษทั สหสันติ์ (2529) จำกัด ตัง้ แตป 2529 และดำรงตำแหนงกรรมการผูช ว ยผูอ ำนวยการใหญ บริษทั สุรามหาราษฎร จำกัด (มหาชน) ตัง้ แตป 2529 ถึง 2542 ทานจบ การศึกษาชั้นมัธยมปลายจากประเทศจีน

¹ÒÂÀتª§¤ ªÒÞ¸¹Ò¡Ô¨

กรรมการ / รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 5 นายภุชชงค ชาญธนากิจ ไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการและรองประธาน กรรมการบริหารเมื่อป 2546 ดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท แอล เอส พี วี จำกัด ตั้งแตป 2531 ถึง 2546 ตำแหนงผูอำนวยการบริหาร (การเงิน) กลุม บริษทั ที.ซี.ซี. ในป 2526 ถึง 2531 ตำแหนงผูอ ำนวยการ ฝายบริหาร บริษัท โรบินา เครดิต จำกัด ในป 2523 ถึง 2525 และเปนรองผูจัดการ บริษัท เอเชีย เครดิต จำกัด ตั้งแตป 2518 ถึง 2522 ทานสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีบริหารธุรกิจและปริญญาโท ทางบัญชี จาก California State University


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

46

¹ÒÂÁ¹Ù àÅÕÂÇä¾âè¹

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

¹ÒÂʶҾà ¡ÇÔμÒ¹¹·

กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ นายสถาพร กวิตานนท ไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการอิสระเมือ่ ป 2547 มีประสบการณมากมายดานการบริหารบริษัท และเปนกรรมการของ บริษัท และคณะอนุกรรมการในหลายบริษัท เชน ธนาคารกรุงเทพ เบอรฮัด บริษัท กันยงอิเลคทริก จำกัด (มหาชน) และบริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ในป 2537 ถึง 2542 ทานดำรงตำแหนง รองประธานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ทานสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรและปริญญาโท เศรษฐศาสตรจาก Vanderbilt University

ÈÒÊμÃÒ¨Òह֧ äªÂ

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ศาสตราจารยคนึง ไชย ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระเมื่อป 2548 มีประสบการณมากมายในภาครัฐและในวงการกฎหมาย เปน อัยการผูชวยและอัยการประจำกรม กรมอัยการ ในป 2489 ถึง 2514 และเปนผูอำนวยการสำนักนโยบายและแผนมหาดไทย กระทรวง มหาดไทย ในป 2514 ถึง 2516 เปนรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ในป 2516 ถึง 2517 และเปนรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย ป 2517 ถึง 2518 ทานเริ่มงานดานกฎหมายที่บริษัท Bangkok International Law Offices ตั้งแตป 2519 ถึง 2528 และที่บริษัท Kanung-Prok Law Office ในป 2529 ถึง 2535 ปจจุบันเปน กรรมการบริษัทสำนักงานกฎหมายคนึง แอนด พารทเนอรส จำกัด กรรมการบริษทั สำนักงานกฎหมาย คนึง แอนด พารทเนอรส อินเตอร เนชั่นแนล คอนซัลแตนท จำกัด ประธานกรรมการบริษัท ไทยแลนด ไอออนเวิคส จำกัด (มหาชน) และกรรมการธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ในป 2544 ยังไดรับรางวัลนักกฎหมายดีเดน ภาคเอกชน กองทุน ศ. สัญญา ธรรมศักดิ์ ทานสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีและโททางกฎหมาย มหาวิทยาลัยเคมบริจด และเปนสมาชิก สมาคมเนติบัณฑิตยสภา

นายมนู เลียวไพโรจน ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระเมื่อป 2547 มีประสบการณมากมายในภาครัฐ โดยเปนผูอำนวยการกอง เลขาธิการผูต รวจราชการ และอธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม ระหวาง ป 2511 ถึง 2542 และปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมในป 2542 ถึง 2547 ประธานกรรมการบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ในป 2542 ถึง 2547 ประธานกรรมการเทคโนเน็ตเอเชีย ในป 2537 ถึง 2547 และ เปนประธานคณะมนตรีองคการน้ำตาลระหวางประเทศแหงประเทศ อังกฤษ (The International Sugar Organization Council of England) ในป 2538 ถึง 2539 นอกจากนี้เคยเปนอาจารยพิเศษ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เปนนายกสมาคมธรรมศาสตรในพระบรม ราชูปถัมภ ในป 2545 ถึง 2547 และเปนนายกสมาคมเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ระหวางป 2543 ถึง 2549 ทานสำเร็จการ ศึกษาปริญญาตรีเศรษฐศาสตร (เกียรตินิยมดี) จากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร และปริญญาโทเศรษฐศาสตร จาก University of Kentucky สหรัฐอเมริกา และไดรับรางวัล Asian Productivity Organization ในป 2548

¹ÒÂÍÖê§ μÑ¡ ¾Ñ¹

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ นายอึ๊ง ตัก พัน ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระเมื่อป 2549 ทานมีประสบการณมากมายในวงการธนาคารและการเงิน ปจจุบัน เปนที่ปรึกษาอาวุโสของธนาคาร UBS AG, Singapore เคยเปน กรรมการผูจัดการธนาคาร UBS AG, Sigapore จากป 2546 ถึง 2548 ทานเริ่มตนการทำงานดานการธนาคารที่ธนาคารซิตี้แบงค สิงคโปร เมื่อป 2514 และเปนรองประธานเมื่อป 2525 จากนั้น ดำรงตำแหน ง อาวุ โ สในสถาบั น การเงิ น ทั ้ ง ในประเทศและต า ง ประเทศ เปนรองประธานกรรมการบริหารธนาคาร OCBC ดูแล ดานธุรกิจการธนาคารระหวางประเทศและสถาบันการเงิน เมื่อป 2541 ทานไดรับการแตงตั้งเปนผูอำนวยการบริหารและเปนประธาน เจาหนาที่บริหาร OCBC Bank Malaysia ทานเคยเปนกรรมการ ผูจัดการที่ JP Morgan Chase จากป 2542 ถึง 2545 นอกจากนี้ ยังเปนกรรมการอิสระที่ Engro Corporation Limited และ SP Chemicals Ltd. ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีศิลปศาสตร (เศรษฐศาสตรและ ประวัติศาสตร) จาก University of Singapore

47

¹ÒÂäÁà¤ÔÅ àÅ‹Ò äÇ à¤Õ§ กรรมการอิสระ

นายไมเคิล เลา ไวย เคียง ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระใน ป 2549 ปจจุบันเปนกรรมการผูจัดการบริษัท Advisory Services of Octagon Advisors (บริษัทที่ปรึกษาดานธุรกิจและการบริหาร ความเสี่ยง) ในระหวางเดือนมิถุนายน 2543 ถึงกันยายน 2547 เปนรองประธานบริหารธนาคาร United Overseas Bank จำกัด รับผิดชอบงานดานการบริหารและบรรษัทภิบาลในการดำเนินงาน ธนาคารตางประเทศ ทานเคยเปนที่ปรึกษาบริษัท Asia Pulp and Paper Limited จากเดือนกุมภาพันธ 2542 ถึงพฤษภาคม 2543 ทานดำรงตำแหนงหลายตำแหนงที่ Monetary Authority of Singapore (MAS) จากเดือนกุมภาพันธ 2528 ถึงกรกฎาคม 2532 และจากเดือนเมษายน 2534 ถึงสิงหาคม 2540 ตำแหนง สุดทายที่ MAS คือรองผูอำนวยการอาวุโสดาน Development and Domestic Institutions จากเดือนสิงหาคม 2532 ถึงมีนาคม 2534 เปนผูจัดการอาวุโส (Institutional Sales) ที่บริษัทจัดจำหนาย หลักทรัพย J M Sassoon & Company และเปนรองประธานบริหาร บริษัท The Central Depository (Pte) Limited จากเดือนพฤศจิกายน 2540 ถึงกุมภาพันธ 2542 ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีบริหารธุรกิจ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง)จาก National University of Singapore และ Chartered Financial Analyst (CFA) charter

ÈÒÊμÃÒ¨Òà¹ÒÂá¾·Â ¾ÃªÑ ÁÒμѧ¤ÊÁºÑμÔ กรรมการอิสระ ศาสตราจารยนายแพทยพรชัย มาตังคสมบัติ ไดรับการแตงตั้งเปน กรรมการอิสระเมื่อป 2549 ปจจุบันเปนอธิการบดีมหาวิทยาลัย มหิดล ตั้งแต ป 2542 กอนหนานั้นเปนศาสตราจารยที่มหาวิทยาลัย มหิดล เปนสมาชิก International Union of Immunological Societies ตั้งแตป 2514 และเปนคณะกรรมการบริหาร International Union of Microbiological Societies ตั้งแตป 2529 ถึง 2533 ท า นได ร ั บ พระราชทานเครื ่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ ส ู ง สุ ด ในตระกู ล ชางเผือก (มหาปรมาภรณชางเผือก ม.ป.ช.) และสูงสุดในตระกูล มงกุฏไทย (มหาวชิรมงกุฏ ม.ว.ม.) และจุลจอมเกลา (ตติยจุลจอมเกลา วิเศษ) และไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณ Palmes Academiques (Commandeur) จากรัฐบาลสาธารณรัฐฝรั่งเศส นอกจากนี้ ยังเปน นักวิจัยกิตติมศักดิ์ที่มหาวิทยาลัยฮารวารด และศาสตราจารยรับเชิญ ที่มหาวิทยาลัยโอซากา และมหาวิทยาลัยไซงอน ทานสำเร็จการ ศึกษาปริญญาตรีและปริญญาเอกแพทยศาสตร และปริญญาเอก ทางวิทยาศาสตรจาก University of Wisconsin

¹ÒÂÈÑ¡´Ôì·Ô¾Â ä¡ÃÄ¡É กรรมการอิสระ

นายศักดิ์ทิพย ไกรฤกษ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระเมื่อป 2548 เปนผูมีประสบการณอยางมากจากการรับราชการในกระทรวง ตางๆ หลายกระทรวง เริ่มตนในป 2514 สังกัดกระทรวงมหาดไทย ในป 2522 ถึง 2547 เปนนักการทูต กระทรวงการตางประเทศ ไดดำรงหลายตำแหนง อาทิ ตำแหนงเลขานุการรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศ อัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน สหรัฐ อเมริกา อธิบดีกรมพิธีการทูต อธิบดีกรมสารนิเทศ โฆษกกระทรวง การตางประเทศ และเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ กรุงโตเกียว และกรุงวอชิงตัน เคยเปนที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีเมื่อป 2547 ป 2547 ถึงกันยายน 2550 เปนปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีรัฐศาสตรบัณฑิตจากมหาวิทยาลัย บอสตัน สหรัฐอเมริกา และวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ทานไดรับ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณทั้งประเทศไทยและตางประเทศ อาทิ เครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติยศยิง่ มงกุฏไทย (มหาวชิรมงกุฏ) เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก (มหาปรมาภรณ ชางเผือก) เครือ่ งราชอิสริยาภรณจลุ จอมเกลา (ทุตยิ จุลจอมเกลา) และ เครื่องราชอิสริยาภรณตางประเทศ ไดแก Order of the Sacred Treasure, Gold and Silver Star และ the Grand Cordon of the Order of the Rising Sun จากประเทศญี่ปุน ปจจุบันทานดำรงตำแหนง ประธานคณะกรรมการการทองเที่ยวแหงประเทศไทย และนายกสภา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

48

49

¹Ò°һ¹ ÊÔÃÔÇѲ¹ÀÑ¡´Õ กรรมการผูอำนวยการใหญ

¾ÅàÍ¡¹ÒÂá¾·Â ªÙ©Ñμà ¡ÓÀÙ ³ ÍÂظÂÒ กรรมการอิสระ

พลเอกนายแพทยชูฉัตร กำภู ณ อยุธยา ไดรับการแตงตั้งเปน กรรมการอิสระในป 2549 รับราชการในกองทัพบกตั้งแตป 2516 ถึง 2530 ในตำแหนงเจากรมการแพทยทหารบก ดำรงตำแหนง หัวหนาภาควิชากายวิภาคศาสตร วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฏเกลา ตั้งแตป 2530 ถึง 2534 จากนั้นในป 2537 ถึง 2547 ดำรง ตำแหนงหลายตำแหนงในกองทัพบก อาทิ ผูอำนวยการสถาบัน วิจัยวิทยาศาสตรการแพทยทหาร กรมแพทยทหารบก ผูชวย เจากรมแพทย รองเจากรมแพทย เจากรมแพทยทหารบก และผูทรง คุณวุฒพิ เิ ศษ ปจจุบนั เปนศัลยแพทยอาวุโสและแพทยประจำราชสำนัก ทานไดรับปริญญาตรีแพทยศาสตรบัณฑิตจาก Westf. Wilhelms Universitat zu Munster และปริญญาเอกแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิต จาก Georg-August Universitat zu Goettingen ไดรับ ประกาศนียบัตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐรวมเอกชน และได ร ั บ ประกาศนี ย บั ต รผู  เ ชี ่ ย วชาญด า นศั ล ยกรรมทั ่ ว ไปจาก ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย นอกจากนี้ยังเปนสมาชิก ถาวรของราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย และแพทยสมาคม แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภอกี ดวย ทานไดรบั พระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณจุลจอมเกลา (ทุติยจุลจอมเกลาวิเศษ) และ เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนที่เชิดชูยิ่งชางเผือก (มหาปรมาภรณ ชางเผือก)

¹ÒÂÇÔÇѲ¹ àμªÐ侺ÙÅ กรรมการ

นายวิวัฒน เตชะไพบูลย ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการในป 2546 มีประสบการณ ในวงการธนาคารมากวา 18 ป ดำรงตำแหนงสำคัญ หลายตำแหนงในธนาคารศรีนคร จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2522 ถึง 2541 อาทิ เลขานุการกรรมการผูจัดการ รองผูอำนวยการ ฝายการคา ผูอ ำนวยการสาขา และรองประธาน ทานสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีนิติศาสตร จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และปริญญาโท จาก Fairleigh Dickinson University ประเทศสหรัฐอเมริกา

¹Ò»³μ ÊÔÃÔÇѲ¹ÀÑ¡´Õ กรรมการ

นายปณต สิริวัฒนภักดี ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการเมื่อเดือน กุมภาพันธ 2550 เปนกรรมการบริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) เมื่อป 2543 ถึงป 2547 เปนกรรมการบริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด เมื่อป 2547 และเปนกรรมการกลุมบริษัท สุราบางยี่ขัน ตั้งแตป 2545 ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขา Manufacturing Engineering จาก Boston University และปริญญาโทสาขา Analysis, Design and Management of Information System จาก London School of Economics and Political Science

¹ÒÂÊÁØ·Ã ËÑμ¶ÊÔ§Ë

กรรมการ / รองประธานกรรมการคนที่ 4 นายสมุทร หัตถสิงห ไดรับการแตงตั้งเปนรองประธานกรรมการ คนที่ 4 ของบริษัทตั้งแตเดือนมกราคม 2551 และเคยดำรงตำแหนง กรรมการผูอำนวยการใหญตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2547 ถึงเดือน ธันวาคม 2550 โดยรวมงานกับกลุมบริษัทในป 2529 และดำรง ตำแหนงทางการตลาดหลายตำแหนงในกลุมบริษัท เคยเปนผูจัดการ ฝายการคาบริษัท สุรามหาราษฎร จำกัด (มหาชน) ในป 2529 ถึง 2542 และเปนกรรมการรองกรรมการผูจัดการกลุมบริษัท สุราบางยี่ขัน ตั้งแตป 2543 ถึง 2546 ในป 2523 เปนผูจัดการ ระดับจังหวัดของกลุมบริษัทสุราทิพย ป 2524 ถึง 2528 เปน ผูจัดการฝายการตลาดบริษัท สุราทิพย จำกัด ป 2522 เปน ผูจัดการฝายอาวุโสบริษัท พีทีไอ จำกัด ป 2520 ถึง 2521 เปน หัวหนาสวนงานสินเชื่อภาคเกษตรกรรม ธนาคารทหารไทย ป 2510 ถึง 2519 เปนผูชวยผูจัดการสาขา ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณการเกษตร ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีเศรษฐศาสตร บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และไดรับเกียรติบัตรการเขา รวมการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program กับ สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

นายฐาปน สิรวิ ฒ ั นภักดี ไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการผูอ ำนวยการใหญ ตั้งแตเดือนมกราคม 2551 โดยกอนหนาที่จะดำรงตำแหนงนี้ ทานได ดำรงตำแหนงกรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญของบริษัท ตั้งแตป 2546 ถึงเดือนมกราคมป 2551 นอกจากนี้ ทานยัง ดำรงตำแหนงในบริษัทชั้นนำอีกหลายแหงในปจจุบัน อาทิ ดำรง ตำแหนงรองประธานกรรมการบริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด ตั้งแตป 2547 และกรรมการบริหารบริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ตั้งแตป 2544 นอกจากนี้ในป 2547 ทานไดรับการ แตงตั้งใหดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน) กรรมการบริหารบริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) และรองประธานกรรมการบริษัท ทศภาค จำกัด และในป 2549 ทานเขารับตำแหนงรองประธานกรรมการกลุมบริษัท โออิชิ กรุป จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ในป 2550 ทานไดดำรงตำแหนง เพิ่มเติมโดยเปนกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัท ยูนิเวนเจอร จำกัด (มหาชน) และรองประธานกรรมการบริษัท อาหารสยาม จำกัด (มหาชน) รวมทั้งทานยังเปนกรรมการของ บริษัทยอยของบริษัทอีกหลายแหง ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน และปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจ การเงิน การธนาคาร เศรษฐศาสตร จากมหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐ อเมริกา

¹Ò§ÊÒÇ¡¹¡¹Ò¯ ÃѧÉÕà·Õ¹äªÂ

กรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญ นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการ รองกรรมการผูอำนวยการใหญเมื่อป 2546 มีประสบการณมากมาย ทางดานการเงินและการบัญชี เคยเปนกรรมการผูชวยกรรมการ ผูจัดการกลุมบริษัทแสงโสมตั้งแตป 2543 ถึง 2546 และเปน ผูอำนวยการฝายบัญชีการเงินกลุมบริษัทสุราทิพย ตั้งแตป 2526 ถึง 2542 เปนผูจัดการฝายบัญชีกลุมบริษัท ที.ซี.ซี. ในป 2518 ถึง 2525 และเปนสมุหบัญชีบริษัท เจ แอนด เจเอชโอ จำกัด ระหวางป 2513 ถึง 2518 ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรี พาณิชยศาสตรและการบัญชี จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และไดรับ เกียรติบัตรการเขารวมการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program กับสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

¹ÒÂÊÔ·¸ÔªÑ ªÑÂà¡ÃÕ§ä¡Ã

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการผูชวย กรรมการผูอำนวยการใหญเมื่อป 2547 ไดเขารวมงานกับกลุม บริษัท ที.ซี.ซี. ในป 2533 และเปนประธานของศูนยกลางการเงิน กลุมบริษัท ที.ซี.ซี. ตั้งแตป 2546 มีประสบการณ ในแวดวงการเงิน มากวา 23 ป รวมถึงดำรงตำแหนงผูจัดการฝายการเงินและการบัญชี บริษัท Asia Voyages & Pansea Hotel จำกัด ตั้งแตป 2526 ถึง 2533 เปนนักวิเคราะหการเงินของบริษัท กูดเยียร (ประเทศไทย) จำกัด ระหวางป 2523 ถึง 2526 และเปนผูสอบบัญชีภายนอก บริษัท Coopers & Lybrand ตั้งแตป 2520 ถึง 2523 ทาน สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีบัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และไดรับวุฒิบัตรคอมพิวเตอร บริหาร จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และไดรับเกียรติบัตรการเขา รวมการอบรมหลักสูตร Director Certification Program กับสมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย นอกจากนี้ยังไดรับวุฒิบัตร Mini M.B.A. สาขา Leadership Management จากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร

¹ÒÂÍǪѠμѹ·âÍÀÒÊ

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ นายอวยชัย ตันทโอภาส ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการบริษัทตั้งแต เดือนกันยายน 2548 เคยเปนประธานเจาหนาที่บริหารและเปน กรรมการผูอำนวยการ บริษัท ริชมอนเด (กรุงเทพฯ) จำกัด ในเดือน กรกฎาคม 2538 ถึงธันวาคม 2545 และเดือนมกราคม 2531 ถึงกุมภาพันธ 2537 ตามลำดับ เคยเปน กรรมการผูจัดการบริษัท สารินพรอพเพอรตี้ จำกัด ในเดือนมีนาคม 2537 ถึงมิถุนายน 2538 เปนผูจัดการกลุมผลิตภัณฑ บริษัท คอลเกตปาลมโอลีฟ (ประเทศไทย) จำกัด ในเดือนกันยายน 2522 ถึงมิถุนายน 2526 และเดือนพฤษภาคม 2516 ถึงสิงหาคม 2522 ดำรงตำแหนง ดานการขายและการตลาดหลายตำแหนงในบริษทั กรรณสูตเจเนอรัล แอสเซมบลี จำกัด ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรี Accounting จาก St. Louis University ปริญญาโทบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร และไดรบั เกียรติบตั รการรวมการอบรมหลักสูตร Advanced Management Program จาก INSEAD ประเทศฝรั่งเศส


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

50

51

´Ã. ¾ÔÉ³Ø ÇÔàªÕÂÃÊÃä

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ ดร. พิษณุ วิเชียรสรรค ไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการผูช ว ยกรรมการ ผูอำนวยการใหญเมื่อเดือนกุมภาพันธ 2547 โดยดำรงตำแหนง หลายตำแหนงในกลุม บริษทั รวมถึงตำแหนงผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ ในป 2543 ถึง 2546 และเปนรองกรรมการผูจัดการ ตั้งแตป 2546 ถึง 2547 ในบริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) ปจจุบันดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการ บริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) เคยเปนผูอ ำนวยการฝายพัฒนาและคนควาวิศวกรรม ตั้งแตป 2540 ถึง 2543 และเปนผูชวยผูอำนวยการโรงงาน ในป 2537 ถึง 2539 บริษัท คารลสเบิรกบริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด เคยเปนที่ปรึกษาของบริษัท แพนเอ็นจิเนียริ่งคอนซัลแทนต จำกัด ในป 2535 ถึง 2537 และในป 2520 ถึง 2536 เปน อาจารย รวมถึงเคยเปนผูบริหารคณะวิทยาศาสตรอาหารและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เมื่อป 2535 ถึง 2536 และ เปนผูบริหารคณะเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยขอนแกน ในป 2532 ถึง 2535 เปนอาจารยสอนดานเทคโนโลยีอาหารทีม่ หาวิทยาลัย ขอนแกน ในป 2520 ถึง 2533 ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรจาก Technical University Berlin ประเทศ เยอรมัน ปริญญาโทดานเทคโนโลยี (เกียรตินิยมอันดับสอง) สาขา เทคโนโลยีชีวภาพจาก Massey University และปริญญาตรี วิทยาศาสตร (วิทยาศาสตรอาหาร) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

¹ÒªÙà¡ÕÂÃμÔ μÑ駾§È »ÃÒªÞ

กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการผูชวย กรรมการผูอ ำนวยการใหญ และเลขานุการคณะกรรมการเมือ่ ป 2546 เปนทนายความเมื่อป 2506-2526 จากนั้นระหวางป 2526 ถึง 2529 ดำรงตำแหนงผูจัดการสำนักงานกฎหมาย และตอมาดำรงตำแหนง กรรมการบริหารบริษทั สุราทิพยแสนสุโข จำกัด ในระหวางป 2530 ถึง 2542 ดำรงตำแหนงกรรมการบริหาร และตอมาดำรงตำแหนง ผูอำนวยการฝายธุรการ บริษัท สุรามหาราษฎร จำกัด (มหาชน) ดำรงตำแหนงผูอำนวยการฝายบุคคลและธุรการ บริษทั สุราบางยีข่ นั จำกัด เมื่อป 2543 สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และเนติบัณฑิตไทย จากสำนักอบรม ศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา ไดรับเกียรติบัตรการเขารวม การอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program กับสมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย นอกจากนี้ยังเปนสมาชิกเนติ บัณฑิตยสภาและเปนสมาชิกสภาทนายความแหงประเทศไทย

¹ÒÂÊÇÑÊ´Ôì âÊÀÐ

รองกรรมการผูอำนวยการใหญ นายสวัสดิ์ โสภะ ไดรับการแตงตั้งเปนรองกรรมการผูอำนวยการใหญ เมื่อป 2547 รับผิดชอบงานดานการผลิตสุราและเทคนิค เคยเปน กรรมการผูจัดการบริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด ในป 2535 ถึง 2538 และเปนรองประธานกรรมการบริหารบริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด เมื่อป 2538 ถึงปจจุบันเปนผูอำนวยการบริหารกลุม บริษัท 43 และเปนผูชวยประธานกรรมการบริหาร รับผิดชอบดาน สุราและการผลิตแอลกอฮอลตั้งแตป 2523 ถึง 2535 ทานเริ่มชีวิต วิศวกรเมื่อป 2507 ถึง 2518 ตอมาไดเลื่อนเปนหัวหนาวิศวกร บริษัท สยามเคมี จำกัด ในชวงป 2506 ถึง 2507 เปนวิศวกร ที่โรงกลั่นน้ำมันบางจาก เปนกรรมการในหลายองคกร รวมทั้งมูลนิธิ แถบนีละนิธิ สมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สมาคม ยิมนาสติกแหงประเทศไทย และวิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมาธิการวิสามัญ ประจำสำนักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร รับหนาที่พิจารณา รางพระราชบัญญัติเรื่องการคุมครองการทำงานหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย และภาษีสรรพสามิต เปนผูชำนาญการใหแกคณะ กรรมาธิการสภาผูแ ทนราษฎรดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และเป น กรรมการด า นการเงิ น และอนุ กรรมการโครงการการผลิต แอลกอฮอลเพื่อเปนเชื้อเพลิง โครงการสวนพระองค กระทรวง วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิง่ แวดลอม ทานสำเร็จการศึกษาปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมีวศิ วกรรม จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และได ร ั บ เกี ย รติ บ ั ต รการเข า ร ว มการอบรมหลั ก สู ต ร Director Accreditation Program กับสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย นอกจากนี้ยังไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปน ทีเ่ ชิดชูยง่ิ ชางเผือก (เบญจมาภรณชา งเผือก) และเครือ่ งราชอิสริยาภรณ อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฏไทย (จัตุรถาภรณมงกุฏไทย)

¹ÒÂä«á¡ŒÇ Ç§È ¾ÔàÈÉ¡ØÅ

ผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ นายไซแกว วงศพิเศษกุล ไดรับการแตงตั้งเปนผูชวยกรรมการ ผูอำนวยการใหญเมื่อป 2549 มีประสบการณดานการบริหารกวา 39 ป โดยดำรงตำแหนงรองกรรมการผูจัดการบริษัท ไทยน้ำทิพย จำกัด ตั้งแตป 2510 ถึง 2549 เปนที่ปรึกษาสมาคม Association for Overseas Technical Scholarship ตั้งแตป 2534 ถึง 2536 นอกจากนี้ยังเปนกรรมการโลจิสติกสและกรรมการสิ่งแวดลอม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ตัง้ แตป 2524 ทานสำเร็จการศึกษา ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

¹Ò¬ͧ àÅÍàºÃÍμ§

ผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ สายงานแผนกลยุทธและพัฒนาธุรกิจ นายฌองไดรวมงานกับกลุมบริษัท The Boston Consulting Group (BCG) ตั้งแตป 2532 ถึง 2548 และไดเปนหุนสวนของบริษัท ดังกลาวตั้งแตป 2538 หลังจากรวมงานกับ BCG ในประเทศฝรั่งเศส เปนระยะเวลา 5 ป ไดเดินทางมาประเทศไทยในป 2537 เพื่อเปด สำนักงาน BCG ในประเทศไทย หลังจากที่ไดลาออกจาก BCG ในป 2548 นายฌองทำงานอิสระเปนระยะเวลาหลายปกอนที่จะ รวมงานกับบริษัทในเดือนมกราคม 2551 นายฌองมีประสบการณ ในการทำงานในภูมิภาคเอเชียอยางกวางขวาง รวมถึงประสบการณ ในการทำงาน ณ นครเซี่ยงไฮ ประเทศจีน เปนเวลาหลายป และ ยังไดเปนที่ปรึกษาใหหลายหนวยงานในหลายอุตสาหกรรม เชน ธุรกิจสินคาอุปโภคบริโภค ธนาคาร และธุรกิจพลังงาน โดยใหคำ ปรึกษาครอบคลุมประเด็นตาง ๆ เชน การพัฒนาตลาด การทำวิจัย ผูบริโภค การปรับโครงสรางองคกร และการจัดการคุณคา (Value Management) นายฌองจะรวมปฏิบตั งิ านกับผูบ ริหารระดับสูงทานอืน่ ๆ เพือ่ พัฒนาและนำกลยุทธตา งๆ มาปรับใชในการดำเนินงานของบริษทั รวมถึงทำใหการควบรวมกิจการอื่นๆ ในอนาคตของบริษัทดำเนินไป อยางราบรื่น นายฌองสำเร็จการศึกษาปริญญาโทบริหารธุรกิจจาก โรงเรียนวารตันสคูล มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย (Wharton School, University of Pennsylvania)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

53

52

â¤Ã§ÊÌҧͧ¤ ¡Ã รายงานประจำป 2550 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

สำนักตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน

สำนักประธานกรรมการบริหาร

กรรมการผูอำนวยการใหญ และประธานเจาหนาที่บริหาร

สายงานบริหารทั่วไป

สายงานธุรกิจตางประเทศ

สำนักกรรมการผูอำนวยการใหญ สำนักสื่อสารองคกร สำนักเลขานุการบริษัท สำนักประสานงานภายนอก สำนักกฎหมาย

สายงานสนับสนุน

สายงานแผนกลยุทธ

- สำนักทรัพยากรบุคคล - สำนักแผนกลยุทธ - สำนักสารสนเทศ - สำนักพัฒนา ความเปนเลิศ - สำนักบริการกลาง

สายการเงินและบัญชี - สำนักบัญชีและ งบประมาณ - สำนักการเงิน

สายงานบริหาร การขาย

สายงานบริหาร การตลาด

- สำนักสนับสนุน การขาย

- สำนักการตลาด

สายพัฒนาธุรกิจ - สำนักพัฒนาธุรกิจ

สายการผลิตเครื่องดื่ม ไมมีแอลกอฮอล - สำนักการผลิตเครื่องดื่ม ไมมีแอลกอฮอล

สายการผลิตเบียร - สำนักการผลิตเบียร

สายการผลิตสุรา - สำนักการผลิตสุรา - สำนักเทคนิคงานสุรา และสิ่งแวดลอม - สำนักวิศวกรรม - สำนักผลิตหัวเชื้อสุรา *มีผลบังคับ ณ วันที่ 18 มกราคม 2551


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

54

¢Íºà¢μ˹ŒÒ·Õè ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº ¢Í§áμ‹ÅÐÊӹѡ

Êӹѡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃ

ประสานงานและกลั่นกรองงานเสนอ ประธานกรรมการบริหารและรับผิดชอบ งานเลขานุการประธานกรรมการบริหาร

Êӹѡ¡ÃÃÁ¡ÒüٌÍӹǡÒÃãËÞ‹

ปฏิบัติงานเลขานุการกรรมการ ผูอำนวยการใหญ จัดเตรียมและจัดเก็บ ขอมูลที่สำคัญ สำหรับงานดานการบริหาร และการวางแผนกลยุทธ ติดตอ ประสานงานกับหนวยงานภายในและ ภายนอกทั้งในประเทศและตางประเทศ จัดเตรียมการประชุมของคณะทำงาน เฉพาะเรื่อง ตามที่ไดรับมอบหมาย

ÊӹѡμÃǨÊͺÀÒÂã¹

ชวยคณะกรรมการบริษัทในการสงเสริม การบริหารใหบริษัทมีธรรมาภิบาล รายงานคณะกรรมการตรวจสอบในเรื่อง ที่เกี่ยวของกับการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และกระบวนการ บริหารจัดการที่ดี ใหคำปรึกษาและ วิธีการแกปญหาในประเด็นของระบบ การควบคุมภายใน สงเสริมให หนวยงานในองคกรมีการดำเนินการ เรื่องความเสี่ยง

Êӹѡ¡ÒüÅÔμÊØÃÒ

บริหารและกำกับดูแลการดำเนินงาน การผลิตของกลุมบริษัทสุราทั้ง 3 กลุม ใหเปนไปตามเปาหมายที่กำหนด และเปนไปตามนโยบายของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) รวมทั้งสงเสริมการพัฒนาการผลิตและ ทักษะบุคลากร เพื่อผลประโยชนที่ยั่งยืน ของบริษัท

55

Êӹѡ෤¹Ô¤§Ò¹ÊØÃÒáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

กำหนดกรรมวิธีการผลิตสุราและควบคุม การผลิตสุราของโรงงานสุราของบริษัท รวม 17 โรงงาน ใหเปนไปตาม ขอกำหนดของสุราแตละชนิดและมี คุณภาพตามมาตรฐานสุราของสำนักงาน มาตรฐานอุตสาหกรรม รวมทั้งการ กำหนดกรรมวิธีจัดการดานสิ่งแวดลอม และควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียของ โรงงานสุรา

ÊӹѡÇÔÈÇ¡ÃÃÁ

Êӹѡ¡ÒüÅÔμà¤Ã×èͧ´×èÁ äÁ‹ÁÕáÍÅ¡ÍÎÍÅ

บริหารและกำกับดูแลการดำเนินงาน การผลิตของกลุมเครื่องดื่มไมมี แอลกอฮอล ใหเปนไปตามเปาหมาย ที่กำหนด และเปนไปตามนโยบายของ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) รวมทั้งสงเสริมการพัฒนาการผลิต และทักษะบุคลากร เพื่อผลประโยชน ที่ยั่งยืนของบริษัท

Êӹѡ¾Ñ²¹Ò¸ØáԨ

ÊӹѡºÑÞªÕáÅЧº»ÃÐÁÒ³

ควบคุม ดูแล การดำเนินงานของบริษัท ในดานบัญชีและงบประมาณ เพื่อให มั่นใจวามีการปฏิบัติที่ถูกตองตาม หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศ ไทย สามารถใหขอมูลทางการเงิน อยางครบถวนถูกตองและทันเวลา และเปนไปตามระบบที่กำหนด โดยคณะกรรมการบริษัท

Êӹѡ¡ÒÃà§Ô¹

กำกับดูแลงานดานวิศวกรรมเพื่อ สนับสนุนกิจกรรมของกลุมโรงงานสุรา และบริษัทในเครือ ใหเปนไปตาม เปาหมายและเกิดประโยชนสูงสุด ของกลุม

ควบคุม ดูแล การดำเนินธุรกิจของ บริษัทยอยทั้งหมดใหเปนไปตามนโยบาย ที่บริษัทกำหนด รวมถึงการใหคำแนะนำ และวางแผนทางธุรกิจเพื่อพัฒนาใหธุรกิจ ดังกลาวเกิดผลประโยชนสูงสุดตอบริษัท

ควบคุม ดูแล การดำเนินงานดาน สนับสนุนของบริษัทในดานการเงิน เพื่อใหมั่นใจวาธุรกิจมีการดำเนินงาน ที่ถูกตองตามหลักการ กฎระเบียบ และเปนไปตามระบบที่กำหนด โดยคณะกรรมการบริษัท

Êӹѡ¼ÅÔμËÑÇàª×éÍÊØÃÒ

Êӹѡ¡ÒÃμÅÒ´

ÊӹѡἹ¡ÅÂØ·¸

ควบคุมดูแลกระบวนการผลิตหัวเชื้อสุรา ใหไดคุณภาพตามที่กำหนดไวและ ปริมาณความตองการ

วางแผนงานดานการตลาด การขาย การโฆษณาประชาสัมพันธ การพัฒนา ผลิตภัณฑ การกระจายสินคา และ สนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ ของกลุมบริษัท Êӹѡ¡ÒüÅÔμàºÕÂà ตลอดจนบริหารงบประมาณ กำหนด บริหารและกำกับดูแลการดำเนินงาน และควบคุมยอดการจำหนายผลิตภัณฑ การผลิตของกลุมบริษัทเบียรทั้ง 3 บริษัท ของบริษัท ใหเปนไปตามเปาหมาย ใหเปนไปตามเปาหมายที่กำหนด และ รวมถึงวิเคราะหและกำหนดกลยุทธ เปนไปตามนโยบายของบริษัท ดานการตลาดใหสอดคลองกับสภาพ การแขงขัน ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) รวมทั้งสงเสริมการพัฒนาการผลิต ÊӹѡʹѺʹع¡ÒâÒ และทักษะบุคลากร เพื่อผลประโยชน ควบคุม ดูแล การดำเนินงานสนับสนุน ที่ยั่งยืนของบริษัท การขาย โดยการประสานงานกับสำนัก การตลาด เพื่อใหมั่นใจวาการขายสินคา เปนไปตามแผนงานที่กำหนด

หนวยงานโครงการพิเศษซึ่งอยูภายใต สำนักงานบริหารโครงการ ทำหนาที่กำกับ ดูแลและประสานงานการดำเนินงาน โครงการตางๆ เพื่อนำไปสูการ เปลี่ยนแปลงในบริษัท เปนศูนยกลาง การบริหารจัดการเรื่องการควบรวม กิจการ โดยทำงานอยางใกลชิดกับสำนัก การเงินในการประเมินความคุมคาและ การบริหารจัดการหลังการควบรวม และเปนผูนำในโครงการสำคัญตางๆ ในการกำหนดกลยุทธและการดำเนินการ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

56

Êӹѡ¾Ñ²¹Ò¤ÇÒÁ໚¹àÅÔÈ

หนวยงานพัฒนาความเปนเลิศ มีหนาที่ รับผิดชอบเรื่องงบประมาณและการจัดทำ รายงานทางการเงิน กำกับดูแลแผนก นักลงทุนสัมพันธ และรวบรวมตัวอยาง การดำเนินการที่ดีพรอมกับสื่อสาร ใหพนักงานในบริษัทไดทราบและ นำไปปฏิบัติ

Êӹѡ·ÃѾÂҡúؤ¤Å

วางระบบงานทรัพยากรบุคคลใหมีความ เปนสากลและมีการสอดประสานกัน ทั้งสวนกลางและภูมิภาค โดยตระหนัก ถึงคุณคาของทรัพยากรบุคคล ถือมั่นใน จริยธรรมขององคกร ตลอดจนขอกำหนด ของกฎหมาย

ÊӹѡÊÒÃʹà·È

รับผิดชอบในการใหบริการดานสารสนเทศ แกหนวยงานตาง ๆ รวมถึงการพัฒนา ระบบสารสนเทศใหทนั กับการเปลีย่ นแปลง ของตลาดอยูเสมอ เพื่อหนวยธุรกิจ จะไดมีขอมูลและเครื่องมือในการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขันใหกับ บริษัท

ÊӹѡºÃÔ¡ÒáÅÒ§

รับผิดชอบงานธุรการของบริษัทและ บริษัทในเครือทั้งหมด เชน ดูแลรักษา ความสะอาดและทำนุบำรุง ซอมแซม อาคารสำนักงาน จัดใหมีอุปกรณการ ทำงานอยางเพียงพอ รวมทั้งใหมี การรักษาความปลอดภัย และประกันภัย อยางเหมาะสม เปนตน โดยดำเนินการ ใหสอดคลองกับนโยบายและกฎขอบังคับ ของบริษัท เพื่อใหสามารถสนับสนุน ธุรกิจหลักของกลุมบริษัทได

ÊӹѡÊ×èÍÊÒÃͧ¤ ¡Ã

ควบคุม ดูแล และรับผิดชอบในการ ดำเนินงานของสำนักสื่อสารองคกร การประชาสัมพันธ การสื่อสารทั้งภายใน และภายนอกองคกร และการสื่อสาร อิเล็กทรอนิกส และทางดานนักลงทุน สัมพันธ ใหไดประโยชนสูงสุดสำหรับ บริษัททางดานภาพพจนและความ สัมพันธที่ดี ทั้งนี้ก็เพื่อเปนการสนับสนุน ธุรกิจและกิจกรรมตางๆ ของบริษัทให ดำเนินไดอยางมีประสิทธิภาพ

ÊӹѡàŢҹءÒúÃÔÉÑ·

จัดการประชุมคณะกรรมการ และผูถือหุน ของบริษัทและบริษัทในเครือ กำกับ ดูแลการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑของกฎหมาย หลักทรัพย และกฎเกณฑของตลาด หลักทรัพยสิงคโปร ควบคุมการเปดเผย ขอมูลที่สำคัญ เพื่อใหสอดคลองกับ กฎเกณฑและกฎระเบียบของ ตลาดหลักทรัพยและสอดคลองตาม นโยบายของบริษัท ใหคำแนะนำแก กรรมการทุกทานและผูบริหารหลัก ตามสมควรแกกรณี ดูแลขอมูลของ บริษัท และวิเคราะหกฎหมายหลักทรัพย ที่เกี่ยวของกับบริษัท ดูแลเรื่อง ทะเบียนหุนของบริษัทและบริษัทในเครือ และประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ในงานทะเบียนหุน และดูแลการจัดทำ รายงานประจำปของบริษัท

57

Êӹѡ»ÃÐÊÒ¹§Ò¹ÀÒ¹͡

กำกับดูแลการประสานงานการติดตอ สื่อสารภายนอกองคกร และสรางความ สัมพันธอันดีตอคูคาทางธุรกิจทั้งทาง ตรงและทางออมใหเกิดความประทับใจ อันนำมาซึ่งโอกาสทางการคาและเพื่อ การสนับสนุนการเจรจาและการติดตอ ธุรกิจในระยะสั้นและระยะยาว อีกทั้ง สรางความสัมพันธที่ดีกับหนวยงาน ราชการและองคกรทางดานสังคม เพื่อวางแผนในการเสริมสรางโครงการ ที่เปนประโยชน ใหกับชุมชน

Êӹѡ¡®ËÁÒÂ

พิจารณาวิเคราะห ใหคำแนะนำปรึกษา ในประเด็นทางกฎหมายกับหนวยงาน ตางๆ ของบริษัท เพื่อใหหนวยงาน นั้นๆ สามารถปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง ตามกฎหมาย และเกิดประโยชนสูงสุด กับบริษัท รวมทั้งดูแลรับผิดชอบงาน ดานคดีความ งานนิติกรรมสัญญา งานจดทะเบียนหางหุนสวนบริษัท และงานจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา


Í×è¹æ

นิ ย มไทย 40 ดี กรี

ÊØÃÒ¼ÊÁ

ÊØÃÒ¢ÒÇ ÊØÃÒÊÕ

59 58

นิ ย มไทย 35 ดี กรี นิ ย มไทย 30 ดี กรี นิ ย มไทย 28 ดี กรี เสื อ ขาว 40 ดี ก รี เสื อ ขาว 35 ดี ก รี เสื อ ขาว 30 ดี ก รี เสื อ ขาว 28 ดี ก รี ไผ ท อง 35 ดี ก รี ไผ ท อง 30 ดี ก รี รวงข า ว 40 ดี ก รี รวงข า ว 35 ดี ก รี รวงข า ว 30 ดี ก รี รวงข า ว 28 ดี ก รี

เบลนด 285 บู ล คราวน 99 หงส ท อง มั ง กรทอง แม โ ขง ซู พ ี เ รี ย แม โ ขง แสงโสม สิ ม ิ ร ั น แสงโสม พรี เ มี ย ม แสงโสม ซู พ ี เ รี ย แสงโสม เหรี ย ญทอง

àºÕÂÃ

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

¼ÅÔμÀѳ± ËÅÑ¡ 㹡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·ä·Â຿

โซดาช า ง

น้ ำ ดื ่ ม ช า ง

ชิ โ นบุ ชู ส ิ บ นิ ้ ว

ชู ส ามนิ ้ ว

เสื อ ดำ เซี ่ ย งชุ น

อาชา

ช า งไลท

ช า งดร า ฟท

ช า ง

อาชา

ช า งไลท

ช า งดร า ฟท

ช า ง


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

60

61

ÃÒ§ҹ¡Òà ´Óà¹Ô¹§Ò¹áÅÐʶҹР·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ »ÃСͺ´ŒÇ ภาพรวม วิสัยทัศนขององคกร ธุรกิจในประเทศไทย ธุรกิจตางประเทศ รายงานวิเคราะหและคำชี้แจงของฝายบริหาร ผลตอบแทนตอผูถือหุน ปจจัยความเสี่ยง

ÇÔ ÊÑ Â ·Ñ È ¹ Í §¤ ¡ Ã

“àÃÒ¨Ð໚ ¹ ºÃÔ ÉÑ · ¼ÅÔ μ à¤Ã×è Í §´×è Á ÃÐ´Ñ º á¹Ç˹Œ Ò â´ÂÁØ ‹§ ์ ¹ ·Õè ¤ ÇÒÁ໚ ¹ àÅÔ È àªÔ § ¾Ò³Ô ª  ¤ÇÒÁμ‹ Í à¹×è Í §ã¹¡ÒÃ¾Ñ ² ¹Ò¤Ø ³ ÀÒ¾ÊÔ ¹ ¤Œ Ò ãËŒ Í ÂÙ‹ ã ¹ÃÐ´Ñ º ¾ÃÕ à ÁÕè  Á áÅФÇÒÁ໚ ¹ Á× Í ÍÒªÕ¾ ”

ÀÒ¾ÃÇÁ

¾Ñ¹¸¡Ô¨

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) หรือ “ไทยเบฟ” จดทะเบียนกอตั้งขึ้นเปนบริษัทมหาชนจำกัดในประเทศไทยเมื่อเดือนตุลาคม 2546 โดยมีจดุ ประสงคเพือ่ ประกอบธุรกิจทีเ่ กีย่ วของกับการผลิตและจำหนายเบียร สุรา น้ำดืม่ น้ำโซดา แอลกอฮอลท่ีใชในอุตสาหกรรม และผลิตภัณฑพลอยไดอื่นๆ รวมทั้งธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของผานบริษัทยอยตางๆ โดยมีบริษัทเปนศูนยกลางในการบริหารจัดการ ดานงานสนับสนุนตางๆ และกำกับดูแลภาพรวมกลุมบริษัท ตอมาไทยเบฟไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยสิงคโปร (“SGX”) เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2549 การจดทะเบียนครั้งนั้นไดรับความสนใจอยางมาก และเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย สิงคโปรที่ใหญที่สุดในชวง 10 ปที่ผานมา โดยระดมทุนได 1,574 ลานเหรียญสิงคโปร หรือ 38,080 ลานบาท

เราจะประสาน “สัมพันธภาพ” กับผูมีสวนไดเสียที่มีความสำคัญกับบริษัทในทุกๆ ดาน โดยมอบคุณคาที่สำคัญ 6 ประการ • มอบผลิตภัณฑคุณภาพสูงสุดใหลูกคาทุกกลุม • ใหบริการอยางมืออาชีพเพื่อตอบสนองความตองการของผูแทนจำหนาย • ใหความสำคัญเรื่องผลตอบแทนจากการลงทุนใหแกผูถือหุน ดวยอัตราการเติบโตของรายไดและผลกำไรที่อยูในระดับสูง อยางตอเนื่อง • เปนแบบอยางในดานความเปนมืออาชีพ ความโปรงใส และการดำเนินธุรกิจดวยหลักธรรมาภิบาล • มอบความไววางใจ อำนาจ และรางวัลแกพนักงาน เพื่อสรางความรวมรับผิดชอบ • ทำประโยชน ใหแกสวนรวม และสังคมทองถิ่น

ผูถือหุนรายใหญของไทยเบฟ คือนายเจริญ สิริวัฒนภักดี ครอบครัว และบุคคลที่เกี่ยวของซึ่งถือหุนจำนวนประมาณรอยละ 64.94 ของ เงินทุนที่เรียกชำระแลว (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550) หุนสวนที่เหลือถือโดยกลุมนักลงทุน ผูลงทุนสถาบัน และนักลงทุนรายยอย ไทยเบฟไมเพียงแตเปนผูผลิตเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอลที่ใหญที่สุดในประเทศไทย แตยังเปนผูผลิตที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต โดยรอยละ 96.4 ของรายไดบริษัทมาจากธุรกิจในประเทศไทย ตั้งแตจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยสิงคโปร ไทยเบฟไดวางแผนกลยุทธเพื่อขยายกิจการไปยังตางประเทศผาน International Beverage Holdings Limited (“IBHL”) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ถือหุนโดยบริษัททั้งหมดเปนผูดำเนินการ ปจจุบัน IBHL ไดตั้งสำนักงานขาย ใน 6 ประเทศ และเริม่ สงเสริมการขายผลิตภัณฑหลัก 2 ชนิดคือ เบียรชา งและสุราแมโขง ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และอื่นๆ รวมไปถึงการขยายตลาดสุราสก็อตวิสกี้ โดย Inver House Distillers Limited ซึ่งเปนบริษัทยอยของ IBHL

ÇÔÊÑ·Ñȹ ͧ¤ ¡Ã “เราจะเปนบริษัทผลิตเครื่องดื่มระดับแนวหนาโดยมุงเนนที่ความเปนเลิศเชิงพาณิชย ความตอเนื่องในการพัฒนาคุณภาพสินคาให อยูในระดับพรีเมี่ยม และความเปนมืออาชีพ”

¡ÅÂØ·¸ ¾Ñ²¹Òͧ¤ ¡Ã กลยุทธพัฒนาองคกรของบริษัทจะเนนที่การพัฒนาคุณภาพสินคาใหอยูในระดับพรีเมี่ยม (Premiumisation) การพัฒนาองคกรสูระดับ สากล (Internationalization) และความเปนมืออาชีพ (Professionalism) อยางไรก็ตาม การพัฒนาคุณภาพบุคลากรในระดับบริหาร และทรัพยากรบุคคลดานอื่นๆ ใหมีความเปนมืออาชีพไดเขามามีบทบาทตอความสำเร็จของบริษัทมากขึ้นเรื่อยๆ และจากการที่ บริษัทมีฐานะเปนบริษัทมหาชน ตลอดจนมีมาตรการที่จะตามมาที่จะมอบความรับผิดชอบใหแกทีมผูบริหารในการสรางองคกรที่มี ประสิทธิภาพ และมุงเนนที่ความเปนเลิศในการดำเนินธุรกิจ ความเปนมืออาชีพเชื่อมโยงกับหลักธรรมาภิบาล ซึ่งจะเปนหลักที่ ยืนยันในนามของผูถือหุนวาการดำเนินธุรกิจของบริษัทเปนไปดวยดี บริษัทมีความประสงคที่จะแจงใหผูลงทุนรับทราบวา บริษัทได เริ่มนำมาตรฐานการดำเนินงานในระดับสากลมาประยุกต ใช มาตรฐานดังกลาวจะชวยผูบริหารตรวจสอบการดำเนินงานของตนเอง ซึ่งจะชวยพัฒนาการดำเนินงานในอนาคตใหดีขึ้น


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

62

¸ØáԨ㹻ÃÐà·Èä·Â ในขณะที่ป 2550 มีแนวโนมการแขงขันสูงตอเนื่องจากป 2549 แตตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอลก็ยังเติบโตตอไป ไทยเบฟเล็งเห็น ความตองการของเบียรแอลกอฮอลต่ำและสุราสี แมวาสุราขาวไดรับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว แตปจจุบันก็ยังคงเปน ผลิตภัณฑสำคัญที่ทำกำไรใหไทยเบฟ

63

บริโภคภายในประเทศในป 2550 คอยๆ ปรับตัวเพิ่มขึ้น สวนการเติบโตดานการสงออกลดลง แตมีอัตราการคาเกินดุลในระดับสูง เนื่องจากการนำเขาลดลง การเติบโตทางเศรษฐกิจในป 2550 เติบโตขึ้นประมาณรอยละ 4.5 ซึ่งเปนผลจากความตองการบริโภค ภายในประเทศ ปจจัยลบที่คาดวาจะทำใหความตองการภายในประเทศลดลงในอนาคต คือราคาน้ำมัน และราคาสินคาอุปโภคบริโภค ที่สูงขึ้น เนื่องจากคาขนสงที่ปรับตัวสูงขึ้น

¡ÅÂØ·¸ ÊÓËÃѺμÅÒ´ã¹»ÃÐà·È กลยุทธสำหรับตลาดในประเทศของไทยเบฟ เนนที่การปองกันธุรกิจเบียรและสุราซึ่งเปนธุรกิจหลักของบริษัท โดยมุงมั่นที่จะเพิ่ม ความหลากหลายใหกับผลิตภัณฑของบริษัท และจะเปนผูนำเครื่องดื่มแอลกอฮอลทุกชนิดในอนาคต บริษัทเชื่อมั่นเปนอยางยิ่งวา บริษัทยังสามารถเพิ่มอัตราการเติบโตของบริษัทในตลาดไทยได เนื่องจากผูบริโภคยังขาดตัวเลือกในเรื่องของแบรนด และกลุมของ แบรนดที่ยังคงจำกัดอยูในวงแคบ ผูบริโภคชาวไทยมีแนวโนมที่จะบริโภคเครื่องดื่มที่มีคุณภาพสูงขึ้นทั้งเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลและ เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล ไทยเบฟมีความมุงมั่นจะผลิตสินคาเพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภค ในวันนี้ บริษัทเปนผูนำในตลาดเบียรและสุราในกลุมสินคาราคาประหยัด (Economy Segment) ในอนาคต บริษัทจะนำสินคาในระดับ คุณภาพมาตรฐาน (Standard) และคุณภาพพรีเมี่ยม (Premium) ที่จะเพิ่มความหลากหลายใหแกผลิตภัณฑของบริษัทออกสูตลาด แผนการนี้จะชวยเพิ่มผลกำไรใหบริษัท เปนที่สังเกตุไดวาตลาดสุราโดยรวมมีแนวโนมที่จะประกอบไปดวยสัดสวนของสุราสีมากขึ้น ซึ่งจะชวยใหบริษัทสามารถบริหารความเสี่ยงไดดีขึ้นจากการมีสินคาในหลายกลุม บริษัทมุงมั่นที่จะยกระดับคุณภาพสินคาใหอยูในระดับพรีเมี่ยมอยางตอเนื่อง โดยในป 2550 บริษัทไดเปดตัวสุราตางๆ ในบรรจุภัณฑ ใหม เชน แสงโสมในกลองของขวัญหรือ “Gift Box” และไดเปดตัวสุราหงสทองใหมอีกครั้งในป 2549 ดวยบรรจุภัณฑแบบใหม ที่ไดรับการตอบรับที่ดีจากผูบริโภค ขั้นตอนตางๆ เหลานี้จะชวยยกระดับการรับรูสินคาของบริษัทในตลาด และนำมาซึ่งการเติบโต อยางยั่งยืนในอนาคต เพื่อเปนการเพิ่มความหลากหลายใหกับผลิตภัณฑของบริษัทอยางตอเนื่อง บริษัทมีแผนการที่จะขยายธุรกิจไปสูตลาดเครื่องดื่มไมมี แอลกอฮอล เพื่อครอบคลุมเครื่องดื่มทุกประเภท บริษัทไดเขาซื้อสินทรัพย ในการผลิตเครื่องดื่มใหพลังงานและกาแฟพรอมดื่มของ บริษัท แรงเยอร เบฟเวอเรจ จำกัด ในเดือนมกราคม 2551 เปนที่เรียบรอยแลว และบริษัทไดแจงใหตลาดรับทราบวาบริษัทกำลัง เจรจาตอรองการเขาซื้อกิจการเครื่องดื่มใหพลังงานอีกหนึ่งกิจการ ตลาดเครื่องดื่มใหพลังงานมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยตอปที่รอยละ 3 และกำไรสุทธิอยูที่ประมาณรอยละ 10 ขอมูลดังกลาวสงผลใหบริษัทสนใจที่จะเริ่มเจาะตลาดเครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล หนึ่งในเครือขายกระจายสินคาที่ใหญที่สุดในประเทศไทยเปนของบริษัท และเครือขายนี้จะสามารถใหบริการกับบุคคลภายนอกได ในขั้นแรกบริษัทเห็นวาจะตองพัฒนาประสิทธิภาพและศักยภาพในการจัดการกับประเภทของสินคาที่เพิ่มมากขึ้น ดวยเหตุนี้ บริษัทจึงได แนะนำโครงการโลจิสติกส ในเดือนสิงหาคม 2550 หนึ่งในวัตถุประสงคของโครงการนี้ คือการเปดตัวศูนยกระจายสินคายักษ ใหญ หาแหงทั่วประเทศไทย ที่สามารถจัดเก็บสินคาไดมากขึ้น และกระจายไปยังภูมิภาคใกลเคียงไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

àÈÃÉ°¡Ô¨ä·Â

เศรษฐกิจไทยชะลอตัวเล็กนอยในป 2550 แตในชวงปลายปคาดการณวาเศรษฐกิจจะฟนตัวขึ้น หลังจากวันเลือกตั้งทั่วประเทศใน วันที่ 23 ธันวาคม การลงทุนภาคธุรกิจในป 2550 ลดลงรอยละ 0.81 ปตอป (Year-on-year) ในป 2550 การลงทุนดานเครื่องจักร เพิ่มขึ้นเห็นไดจากการนำเขาสินคาที่ใชในการผลิตในชวงหลังของปที่เพิ่มสูงขึ้น อยางไรก็ตามยังคงมีการกอสราง สวนการบริโภค ในภาคธุรกิจเพิ่มขึ้นรอยละ 1.3 ปตอป (Year-on-year) แตยังคงต่ำกวาประมาณการ สภาพธุรกิจคอนขางคงที่ โดยมีดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (Business Sentiment Index : BSI) อยูที่ระดับ 44.5 ในเดือนธันวาคม 2550 อยางไรก็ตาม คาดวาเศรษฐกิจจะมีแนวโนมดีขึ้นเนื่องจากประชาชนสวนใหญ พึงพอใจผลของการเลือกตั้ง ความตองการ 1

ที่มา: ประมาณการโดยธนาคารแหงประเทศไทย

เงินเฟอ การขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน ประชากร การบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล เบียร สุรา

รอยละ 0.8-1.3 (2550) รอยละ 4.3-4.8 (2550) 34.5367 บาท / เหรียญสหรัฐ (เฉลี่ยป 2550) 65.6 ลานคน (2548) 31.3 (ลิตรตอคนตอป, 2549) 10.4 (ลิตรตอคนตอป, 2549)

ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย, Canadean, รายงานประจำปเดอะเบียรเซอรวิส 2007

¡®ËÁÒÂ

พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลผานการพิจารณาเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแหงชาติในเดือนธันวาคม 2550 คณะ กรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอลแหงชาติไดรับการจัดตั้งขึ้นเพื่อพิจารณาขอบขายการบังคับใชพระราชบัญญัติดังกลาว รัฐสภา ไดใหความเห็นชอบรางสุดทายของพระราชบัญญัติดังกลาวเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ 2551 และไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ 2551 ขอบังคับหลายประการในพระราชบัญญัติที่กลาวในรายงานนี้ เปนไปตามความคาดหมายของบริษัท และบริษัทไดเตรียมการเพื่อ ปฏิบัติตามกฎหมายดังกลาว พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล ไดจำกัดสถานที่สำหรับจำหนายและบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล โดยหามจำหนาย หรือบริโภคในวัด และศาสนสถานอื่นๆ สถานที่ที่เกี่ยวของกับสุขภาพ โรงพยาบาล และรานขายยา นอกจากนี้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล ยังถูกหามจำหนายในสถานที่ราชการ ที่พักราคาถูก (hostel) และสถานศึกษา อยางไรก็ตาม เครื่องดื่มแอลกอฮอลสามารถจำหนาย ในรานคา บริเวณพักผอนสวนบุคคล และสโมสรที่อยูในสถานที่ราชการ เชนเดียวกับสถานที่สำหรับการดื่มและการบริโภค นอกจากนี้ เครื่องดื่มแอลกอฮอลถูกหามจำหนายในสถานีบริการน้ำมัน หรือรานคาที่ตั้งอยูในสถานีบริการน้ำมันและสวนสาธารณะ ของรัฐบาล อยางไรก็ตาม กฎกระทรวงซึ่งกำหนดหามการจำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล ในรานคาที่ตั้งอยูในสถานีบริการน้ำมัน ไดถูกกำหนดมาเปนระยะเวลาหนึ่งแลว ถึงแมวากระทรวงสาธารณสุขไดประกาศงดจำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล ในวันและเวลาที่กำหนด การประกาศนี้เปนสวนเพิ่มเติม จากเวลาหามจำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอลที่มีอยูเดิม เชน โดยปกติแลว เครื่องดื่มแอลกอฮอลจะถูกหามจำหนายในชวงเย็นกอน วันเลือกตั้ง ในปจจุบันนี้ ผูที่จะซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล ไดตองมีอายุไมต่ำกวา 20 ป


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

64

พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลยังหามการจำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล โดยใชเครื่องจำหนายอัตโนมัติ โดยหาบเร หรือโดยการนำเสนอสวนลดสงเสริมการขาย หามมอบของขวัญ รางวัลสมนาคุณ หรือรางวัลใดๆ ก็ตามแกผูซื้อ หรือเสนอการแลก ของรางวัล เชนนำฝาขวดมาแลก บริษัทไมสามารถชี้ชวนใหผูบริโภคหันมาดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล หรือเสนอเงื่อนไขพิเศษใดๆ ที่จะสงเสริมการขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล ดานโฆษณา ไดมีการหามการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอลโดยตรง หรือแสดงการดื่มแอลกอฮอล บริษัทผูผลิตไมสามารถแสดงชื่อ หรือตราสินคาของผลิตภัณฑเพื่อเนนขอดีของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล หรือชี้ชวนใหประชาชนหันมาดื่ม ขอบังคับนี้มีผลบังคับ ใชมาชวงหนึ่งแลว และบริษัทไดปฏิบัติตามขอบังคับดังกลาวมาโดยตลอด

65

คณะรัฐมนตรีอนุมัติการขึ้นเพดานภาษีสรรพสามิต ตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังเสนอ จากอัตราตามมูลคารอยละ 60 และอัตราจำเพาะ 400 บาทตอลิตรของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ เปนอัตราตามมูลคารอยละ 99 และอัตราจำเพาะขึ้นเปน 1,000 บาทตอ ลิตรของแอลกอฮอลบริสุทธิ์ วัตถุประสงคของการขึ้นเพดานภาษีนี้ก็เพื่อกอใหเกิดความคลองตัวในการบริหารจัดการภาษีสรรพสามิต ในอนาคต ซึ่งพระราชบัญญัตินี้จะตองผานความเห็นชอบจากรัฐสภา เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลจากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 พระราชบัญญัติฉบับนี้จะตองไดรับการเสนอเพื่อขอรับความเห็นชอบจากรัฐสภาใหมอีกครั้ง เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2550 รัฐบาลอนุมัติและประกาศการขึ้นภาษีสรรพสามิต ซึ่งครอบคลุมถึงสุราขาว สุราผสม และบรั่นดี การขึ้น ภาษีนี้มีผลตอไทยเบฟในสวนของสุราขาวและสุราผสม 3 ชนิด คือ มังกรทอง หงสทอง Blend 285 และเหลาสมุนไพรจีน • อัตราจำเพาะของสุราขาว เพิ่มจาก 70 บาทตอลิตรสำหรับแอลกอฮอล 100% เปน 110 บาทตอลิตร สำหรับแอลกอฮอล 100% ขณะที่อัตราตามมูลคาเพิ่มขึ้นจากรอยละ 25 เปนรอยละ 50 • อัตราจำเพาะของสุราผสมและเหลาสมุนไพรจีน เพิ่มจาก 240 บาทตอลิตรสำหรับแอลกอฮอล 100% เปน 280 บาท ตอลิตรสำหรับแอลกอฮอล 100% แตอัตราตามมูลคายังคงที่ที่รอยละ 50 ตามราคาสินคาที่โรงงาน • อัตราจำเพาะของบรั่นดีไมเปลี่ยนแปลงที่ 400 บาทตอลิตร สำหรับแอลกอฮอล 100% แตอัตราตามมูลคาเพิ่มขึ้นจาก รอยละ 40 เปนรอยละ 45 ของราคาสินคาที่โรงงาน

การโฆษณา และการประชาสัมพันธเครื่องดื่มแอลกอฮอลสามารถกระทำได แตมีขอยกเวนเกี่ยวกับเนื้อหาของการโฆษณาซึ่งขึ้นอยู กับกฏกระทรวง (ยังไมการออกกฎกระทรวงครอบคลุมประเด็นนี้) เนื้อหาในการโฆษณาจะถูกจำกัดอยูเพียงแคการทำประโยชน ให แกสังคม โดยไมแสดงรูปภาพผลิตภัณฑ หรือบรรจุภัณฑของเครื่องดื่มแอลกอฮอล ยกเวนสัญญลักษณหรือตราสินคาหรือตราบริษัท เทานั้น โดยหลักการ ขอหามนี้สามารถอนุมานไดวาในตอนนี้ การโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอลสามารถกระทำได แตเนื้อหาตอง เนนไปที่กิจกรรมที่เปนประโยชนตอสังคม เชน การชวยเหลือสังคมโดยไทยเบฟไดดำเนินการอยางไร โดยยกตัวอยางจากการสงเสริม ศิลปะ หัตถกรรม กิจกรรมสงเสริมสุขภาพ กีฬา กิจกรรมทางศาสนา โครงการเยาวชน และกิจกรรมอื่นๆ เพื่อชวยเหลือผูยากไร และผูดอยโอกาสในสังคมที่ไทยเบฟไดกระทำอยางตอเนื่องมาเปนระยะเวลาหลายป ดังนั้น ตราบใดที่โฆษณาไมไดแสดงขวดหรือ ฉากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล การโฆษณาเปนสิ่งที่พึงกระทำได การโฆษณานี้จะเปนสิ่งที่ชวยใหไทยเบฟสามารถสรางภาพลักษณ องคกรที่ดีในประเทศไทยไดตอไป

เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2551 รัฐบาลไดเพิ่มอัตราภาษีสรรพสามิตขึ้นอีกรอยละ 1.5 สำหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอลทุกชนิด เพื่อนำ รายไดไปใชจายกับองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย

กฏหมายมิไดมีผลครอบคลุมโฆษณาที่ผลิตจากตางประเทศ บริษัทใครขอแจงใหนักลงทุนทราบวา ไทยเบฟเปนผูสนับสนุนเสื้อเชิ้ต สโมสรฟุตบอลเอฟเวอตันในสหราชอาณาจักร และการเปนผูสนับสนุนนี้จะไมไดรับผลกระทบจากกฎหมายใหมในประเทศไทย

ตารางการขึ้นภาษีสรรพสามิตของสินคาของบริษัท แสดงอัตราที่เพิ่มขึ้นในเดือนสิงหาคม 2550 ที่สงผลกระทบตอสินคาบางรายการ และอัตราที่เพิ่มขึ้นรอยละ 1.5 ในเดือนมกราคม 2551

หลังจากที่ไดพิจารณาขอหามตางๆ ภายใตพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล ไทยเบฟเชื่อวาในขณะที่พระราชบัญญัติสงผล กระทบตอกิจกรรมสงเสริมการขาย เครือขายการกระจายสินคาของบริษัทที่มีความครอบคลุมจะชวยบรรเทาการสูญเสียเครื่องมือทาง การตลาดบางอยางไป นอกจากนี้ แมวาการจำกัดสถานที่ในการจำหนายและบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลนั้นจะมีความสมเหตุสมผล แตในปจจุบันผลิตภัณฑสวนใหญของไทยเบฟเปนผลิตภัณฑที่บริโภคภายในครัวเรือน โดยสรุปแลว พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนขอจำกัดที่มีผลตอความสามารถของบริษัทในการสงเสริมการขาย หรือวางตำแหนงสินคาในตลาด แตไมไดเปนอุปสรรคตอการขาย เพราะไมมีขอใดในกฎหมายที่หามผูบริโภคซื้อและดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล แนนอนวาบริษัทรายใหมจะตองประสบกับความเสี่ยงที่จะไมสามารถทำตลาดใหผูบริโภครูจักตัวสินคา ในกรณีที่สามารถ โฆษณาตราสินคา และการทำประโยชนตอสังคมเพียงอยางเดียว เนื่องจากขาดเครือขายกระจายสินคา ที่จะชวยทำใหแบรนดและ ตัวสินคาเปนที่รูจักอยางกวางขวาง แตไทยเบฟมีเครือขายการกระจายเครื่องดื่มแอลกอฮอลที่สมบูรณแบบมากที่สุด ซึ่งจะเปน ผลดีตอการขายผลิตภัณฑ ใหมๆ ในอนาคต

ÀÒÉÕ

นอกจากภาษีเงินไดที่บริษัทชำระใหรัฐบาลไทยที่อัตรารอยละ 30 แลว บริษัทยังชำระภาษีสรรพสามิตสำหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล ภาษีดังกลาวไดรับการชำระกอนที่สินคาจะเดินทางออกจากโรงงาน และนี่เปนเหตุผลวาทำไมบริษัทจึงตองมีอัตราการใชเงินสด ระยะสั้น (Short term cash) ที่คอนขางสูง รัฐบาลกำหนดอัตราการเสียภาษีของบริษัทไวสองประเภท ซึ่งคำนวณจากปริมาณ แอลกอฮอลตอลิตร ที่เรียกวา อัตราจำเพาะ (Specific Rate) และคำนวณจากราคาโรงงาน เรียกวาอัตราตามมูลคา (Ad Valorem Rate) สรรพสามิตจะใชอัตราจำเพาะ หรืออัตราตามมูลคาขึ้นอยูกับวาอัตราใดจะสูงกวา

ผลิตภัณฑ

เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอลหมัก เบียร ไวนและไวนรสซาจากองุน เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอลหมัก อื่นๆ เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอลกลั่น สุราขาว* สุราผสม (หงสทอง มังกรทอง เหลาสมุนไพรจีน)* สุราปรุง (แมโขง) สุราพิเศษ บรั่นดี* วิสกี้ อื่นๆ (แสงโสม, Crown99, Blue) แอลกอฮอลบริสุทธิ์ ใชในอุตสาหกรรม ใชในการแพทย เภสัชกรรม และวิทยาศาสตร อื่นๆ

อัตราตามมูลคา (ราคาสินคาที่โรงงาน)

หนวย

อัตราจำเพาะ

บาท/หนวย

55% 60% 25% 25%

ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์ ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์ ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์ ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์

100 100 70 70

25% - >50% 50% 50%

ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์ ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์ ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์

70 - >110 240 - >280 400

40% - >45% 50% 50%

ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์ ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์ ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์

400 400 400

2% 0.10% 10%

ลิตร ลิตร ลิตร / แอลกอฮอลบริสุทธิ์

1 0.05 6

+ ภาษีเทศบาล: รอยละ 10 ของภาษีสรรพสามิต + กองทุนสงเสริมสุขภาพ: รอยละ 2 ของภาษีสรรพสามิต + กองทุนองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย : รอยละ 1.5 ของภาษีสรรพสามิต** * อัตราภาษีใหมมีผลบังคับใชวันที่ 28 สิงหาคม 2550 เปนตนไป ** กองทุนองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทยมีผลบังคับใชวันที่ 14 มกราคม 2551 เปนตนไป


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

66

¸Ø à ¡Ô ¨ àºÕ  Ã

àºÕÂà ÍÒªÒ໚¹àºÕÂà ä·Âª¹Ô´à´ÕÂÇ ·Õèä´ŒÃѺÃÒ§ÇÑÅàËÃÕÂ޷ͧ㹻‚¹Õé ¡‹Í¹Ë¹ŒÒ¹Ñé¹ã¹»‚ 2541 àºÕÂà ªŒÒ§ ໚¹àºÕÂà ä·ÂÃÒÂáá·Õ誹ÐàÅÔÈ áÅÐä´ŒÃѺÃÒ§ÇÑŹÕé ·ÓãËŒä·Â຿ ໚¹ºÃÔÉÑ·¼ÙŒ¼ÅÔμàºÕÂà ä·ÂÃÒÂáá ·Õèä´ŒÃѺÃÒ§ÇÑÅàËÃÕÂ޷ͧ AIBA

67

บริษัทนำเบียรชางเขาสูตลาดในป 2538 ถือเปนการเพิ่มทางเลือกใหผูบริโภคใน ตลาดเบียร ซึ่งมีสินคาใหเลือกไมมากนัก และไดเปดตัวเบียรอาชาในป 2549 ซึ่งมี แอลกอฮอลต่ำกวาเบียรชาง ตามมาดวย ชางไลทและชางดราฟท ซึ่งไดรับการ ตอบรับอยางดีในกลุมผูบริโภคที่ชื่นชอบ เบียรที่มีแอลกอฮฮล ในระดับที่ต่ำกวา สงผลให ยอดจำหนายเบียรอาชา ชางไลท และชางดราฟท ในป 2550 พุงสูงขึ้นถึง 956.8 ลานลิตร โดยเปนยอดจำหนายสุทธิ ของเบียรอาชาถึงรอยละ 31 ของยอดขาย รวมของเบียรทุกชนิดของไทยเบฟ เบียรอาชาสามารถชนะใจกรรมการกวา 20 ทาน จนควารางวัลเหรียญทองประเภท เบี ย ร ลาเกอร ข องยุ โ รปในการประกวด เบียรนานาชาติที่ออสเตรเลีย (Australian International Beer Awards) จัดขึ้นในป 2550 เบียรอาชาไดรบั ยกยองใหเปน “เบียร ดีเดนที่มีผสานรสชาติกลมกลอม กลิ่น หอมและเทคนิ ค การปรุ ง ยอดเยี ่ ย มได อยางลงตัว” เบียรอาชาเปนเบียร ไทยชนิดเดียวที่ ได รับรางวัลเหรียญทองในปน้ี กอนหนานัน้ ในป 2541 เบียรชา งเปนเบียรไทยรายแรก ทีช่ นะเลิศ และไดรบั รางวัลนี้ ทำใหไทยเบฟ เปนบริษัทผูผลิตเบียร ไทยรายแรก ที่ได รับรางวัลเหรียญทอง AIBA

จากปรากฏการณ ก ารเติ บ โตของเบี ย ร แอลกอฮฮลต่ำที่เพิ่มสูงขึ้นเปนประวัติการณทว่ั โลก ไทยเบฟจึงมุง มัน่ ทีจ่ ะสานตอ ความสำเร็จนี้โดยแนะนำผลิตภัณฑเบียร ใหมๆ ในชวงเวลาที่เหมาะสม ดวยการวาง สินคาใหอยูในตำแหนงสินคาระดับสูงและ สามารถทำกำไรไดสูงขึ้น เพื่อใหสอดคลอง กั บ นโยบายพั ฒ นาสิ น ค า ให เ ป น สิ น ค า พรีเมี่ยม หรือ Premiumisation ในป 2547 บริษัทตัดสินใจขยายกำลังการ ผลิ ต ของโรงงานในภาคเหนื อ ที ่ จ ั ง หวั ด กำแพงเพชร เนือ่ งจากเปนชวงทีต่ ลาดเบียร เติบโตมากจนกระทัง่ ทำใหโรงงานผลิตเบียร ทั้ง 3 แหงผลิตเต็มกำลัง ดวยแผนการเพิ่ม กำลังการผลิตเพื่อการสงออก การขยาย กำลังการผลิตในครั้งนี้จึงเกิดขึ้นในชวงที่ เหมาะแกการตอบสนองความตองการของ ผูบริโภคเปนอยางดี โครงการมูลคา 7,200 ล า นบาทนี ้ แ ล ว เสร็ จ ในป 2550 ส ง ผล ให ก ำลั ง การผลิ ต ที ่ โ รงงานในจั ง หวั ด กำแพงเพชรเพิ่มสูงขึ้นเปน 900 ลานลิตร และเมื ่ อ รวมกั บ โรงงานที ่ ว ั ง น อ ยและ บางบาลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา บริษทั จะมีกำลังการผลิตรวม 1,550 ลานลิตร ตอป โดยเปนโรงผลิตเบียรที่ใหญที่สุด แหงหนึง่ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษทั ใชกำลังการผลิตเฉลี่ยที่รอยละ 68 ของ กำลังผลิตทั้งหมดตอป และผลิตสูงสุดที่ รอยละ 95 กอนและในระหวางที่ตลาดมี

ความตองการสินคาสูง (High Season) ุ ภาพ บริษทั ยังคงนโยบายนำจะเบียรทม่ี คี ณ สดใหมสูผูบริโภค โดยจะไมผลิตและเก็บ สินคาไวลวงหนานานๆ ดวยการใชกำลัง การผลิตระดับนี้ และอัตราการเติบโตของ อุตสาหกรรมเบียร ในป 2550 ที่รอยละ 6 ไทยเบฟคาดวาจะใชกำลังการผลิตอยาง เต็มที่ภายในประมาณ 6 ปจากนี้ไป


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

68

¸Ø à ¡Ô ¨ ÊØ Ã Ò ยอดขายประมาณรอยละ 52 ของไทยเบฟ มาจากสุรา ผลิตภัณฑนี้ทำกำไรสุทธิ ให บริ ษ ั ท ถึ ง ร อ ยละ 85 สุ ร าของไทยเบฟ สามารถแบงเปน 2 ประเภทคือสุราสีและ สุราขาว สุราขาวของบริษัททั้งหมดทำจาก โมลาส (กากน้ำตาลจากออย) เชนเดียวกับ สุราสีที่ผลิตในประเทศ มีเพียง Crown99 และ Blue เทานั้นที่เปนวิสกี้ สุราขาวเปน สินคาในกลุมราคาประหยัด (Economy Segment) นิยมดื่มกันตามตางจังหวัดและ ในหมูผูบริโภคที่ใชแรงงาน สวนสุราสีนั้น เปนที่นิยมของผูบริโภคทั่วๆ ไป

69

ในปที่ผานมาเศรษฐกิจไทยเติบโตชะลอตัว อยางมาก โดยผลกระทบสวนใหญตกอยูที่ ประชากรที ่ อาศั ย ในเขตต า งจั ง หวั ด และ ผูใชแรงงาน เมื่อระดับความเชื่อมั่นของ ผูบริโภคตอภาคเศรษฐกิจลดลง บริษัทก็ ไดรับผลกระทบจากยอดขายสุราขาว ซึ่ง เปนมาตรวัดเศรษฐกิจในภูมิภาค ยอดขาย สุราขาวเริ่มลดลงเมื่อผูบริโภคหันมาซื้อ สุราขวดเล็กหรือสั่งดื่มเปนกั๊ก ในบางกรณี สุราขาวของบริษัทถูกแทรกแซงจากสุรา ทองถิ่น อยางไรก็ตามสุราขาวเปนที่นิยม ในหมูผูบริโภคสุรารุนเกา สวนคนรุนใหม คงไมสืบทอดประเพณีความนิยมนี้ตอไป เพราะโดยธรรมชาติแลว คนรุนใหมนิยม สุราสีและเบียรมากกวา และตลาดสุราสีและ เบียรคือตลาดที่บริษัทตองเนนมากขึ้นใน อนาคต

ในเดือนตุลาคม 2549 ไทยเบฟไดเปดตัว ผลิตภัณฑ Blend 285 ออกสูตลาด โดยมุง ไปยังลูกคาที่ตองการเครื่องดื่มคุณภาพสูง ขึ้นในราคาที่สามารถซื้อหาได ความเปน พรี เ มี ่ ย มของผลิ ต ภั ณ ฑ น ี ้ ส ื ่ อ ออกมาใน รูปแบบตางๆ เชน กลองของขวัญพิเศษ จุกขวดที่ไมสามารถเติมได (Non Refillable Cap) และการออกแบบบรรจุ ภ ั ณ ฑ ท ี ่ ด ู ทันสมัยสไตลตะวันตก ผลิตภัณฑนี้ไดรับ ความนิยมตลอดป 2550 และมียอดจำหนาย รวมที่ 14.8 ลานลิตรนับเปนความสำเร็จที่ สามารถสื่อถึงความแข็งแกรงของเครือขาย กระจายสินคาที่ทำใหผลิตภัณฑ ใหมๆ ของ บริษัทสามารถเจาะตลาดไดในระยะเวลา อันสั้นไดเปนอยางดี

ไทยเบฟครองส ว นแบ ง ตลาดประมาณ รอยละ 74 ของตลาดสุรา ในเดือนพฤษภาคม 2550 ราคาสุราสีบางรายการเพิ่มขึ้นตาม ตารางขางลางนี้ บริษัทไดเขาซื้อกิจการบริษัท ประมวลผล จำกัด (“บริษัทประมวลผล”) และบริษัท บริษัท เอส.พี.เอ็มอาหารและเครื่องดื่ม จำกัด (“บริษัท เอส.พี.เอ็ม”) ในเดือน กันยายน 2550

ÃÒ¤Ò¢ÒÂμ‹ÍÅѧ (12 ¢Ç´) à¾ÔèÁ¢Öé¹ (ºÒ·) หงสทอง แสงโสม แมโขง Blend 285 มังกรทอง

ขวดกลม 110 (+7.1%) 120 (+5.5%) 110 (+7.7%) 150 (+8.5%) ไมเปลี่ยนแปลง

ขวดแบน 118 (+15.3%) 60 (+5.6%) 55 (+7.7%) 118 (+16.6%)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

70

71

¸ØáԨáÍÅ¡ÍÎÍÅ ·Õè㪌ã¹ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ บริษัทประมวลผล ประกอบธุรกิจหลักในการดำเนินธุรกิจ ผลิตและจำหนายสุรา รวมทั้งรับจางกลั่นสุรา ผลิตภัณฑของ บริษัทประมวลผลมีหลากหลายชื่อไดแกสุราขาวตราหมีขาว สุราขาวตรามังกร วิสกี้โนเบิลลอรดส (Noble Lords) และ วิสกี้ทัมเบลอร (Tumbler) และอื่นๆ โดยมีโรงกลั่นสุราตั้งอยู ที่จังหวัดนครปฐม ซึ่งไมหางจากกรุงเทพมากนัก มีกำลัง การผลิตสุราผสมแอลกอฮอล 50 ดีกรีโดยรวมอยูที่ประมาณ 30,000 ลิตรตอวัน ในป 2550 บริษัทประมวลผลใชกำลัง การผลิตที่ประมาณรอยละ 35 ของกำลังการผลิตทั้งหมด โดยใชผลิตสุราขาวรอยละ 90.18 และอีกรอยละ 9.82 ใช ผลิตสุราพิเศษชื่อ Barcadi Breezer ภายใตชื่อของ Bacardi บริษัทไดตกลงตอทำสัญญากับ Bacardi อีก 1 ป และกำลัง อยูในระหวางการดำเนินการเพื่อขยายระยะเวลาของสัญญา ใหยาวนานมากขึ้น บริษัทเอส.พี.เอ็ม ประกอบธุรกิจหลักในการดำเนินธุรกิจผลิต และจำหนายน้ำแร เครื่องดื่มเกลือแร น้ำผลไม และซอส ปรุงรส รวมทั้งผลิตสินคาที่มีบุคคลอื่นวาจางตามสัญญา (OEM) เชน เครื่องดื่มเกลือแรตรา “เกเตอเรด” (Gatorade) น้ำผลไมผสมเยลลี่ตรา “ฟรุตเน็ต เจลลี่ ดริงค” (Fruitnette Jelly Drink) น้ำผลไมตรา “SPM” และซอสปรุงรสตรา “ฮูหยิน” บริษัทกำลังพิจารณาการตอสัญญาการผลิตเครื่องดื่ม เกลือแรตราเกเตอเรดใหมีผลถึงกลางป 2551 ทั้งนี้ โรงงาน ของบริษัทเอส.พี.เอ็ม ตั้งอยูที่จังหวัดนครปฐมเชนเดียวกัน จากการเข า ซื ้ อ กิ จ การนี ้ จ ะมี ผ ลทำให บ ริ ษ ั ท สามารถขยาย ฐานลูกคาของไทยเบฟใหครอบคลุมผูบริโภคทุกกลุม และผลิต สุราภายใตตราใหมๆ โดยเฉพาะสุราขาว และขยายธุรกิจ จากปจจุบันที่มีเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เพิ่มเติมเปนเครื่องดื่ม ที่ไมมีแอลกอฮอลดวย ไทยเบฟมีความตั้งใจที่จะทำใหบริษัทเปนผูผลิตครอบคลุม เครื่องดื่มประเภทตางๆ ทั้งเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล และ เครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล ซึ่งถือเปนกลยุทธหนึ่งของบริษัท ในการขยาย Portfolio และมีผลตอบแทนการลงทุนที่สูงขึ้น

ไทยเบฟซื้อโรงงานผลิตแอลกอฮอลที่ใชในอุตสาหกรรมในป 2545 เพื่อรวมธุรกิจแอลกอฮอล ใหครบวงจร ปจจุบัน บริษัทเพิ่มการ สงออกผลิตภัณฑแอลกอฮอล ไปยังตลาดสำคัญๆ เชน ญี่ปุน และอินเดีย และตั้งแตเดือนกันยายน 2549 บริษัทไดผลิตเอทานอล เพื่อใชผสมเปนเชื้อเพลิงแกสโซฮอล ทดแทนน้ำมันเบนซินออกเทน 95 การเพิ่มกำลังการผลิตเอทานอลนี้เพื่อตอบสนองความ ตองการแกสโซฮอลและลงทุนตามนโยบายพลังงานสะอาดของรัฐบาล ในป 2550 ยอดจำหนายเอทานอลอยูที่ 42.6 ลานลิตร เทียบกับยอดขายในป 2549 ที่ 46.6 ลานลิตร อยางไรก็ตาม ยอดขายรวม ของแอลกอฮอลที่ใชในอุตสาหกรรมในป 2550 สูงกวาป 2549 เล็กนอยเนื่องจากการหยุดผลิตชั่วคราวหลังจากพบวามีกำไร ไมมากนักในไตรมาสแรกของป 2549 ธุรกิจแอลกอฮอลที่ใชในอุตสาหกรรมตลอดป 2550 ยังอยูภายใตสภาวะกดดัน การเลื่อนการหามนำเขาเบนซินออกเทน 95 ออกไป ในชวงที่มีการเปลี่ยนรัฐบาลสงผลกระทบโดยตรงตอความตองการแอลกอฮอลที่ใชในอุตสาหกรรมในประเทศไทย ผูผลิตแอลกอฮอล เพื่อธุรกิจในประเทศสวนใหญประสบปญหาสินคาคงคลังสูง สงผลใหตองลดราคาลงเพื่อระบายสินคา บริษัทน้ำมันจึงทำกำไรไดสูง จากวัตถุดิบที่เปนแอลกอฮอลซึ่งมีราคาต่ำ แตก็ยังไมเพียงพอที่จะกระตุนใหบริษัทเหลานั้นสงเสริมการขายแกสโซฮอล การสงออก แอลกอฮอลที่ใชในอุตสาหกรรมจึงเปนหนทางเดียวของไทยเบฟ อยางไรก็ตาม แอลกอฮอลที่ใชในอุตสาหกรรมในตลาดโลกมีสภาวะ การแขงขันสูง เนื่องจากอุปทานที่ลนเหลือจากประเทศบราซิล ทามกลางความยากลำบากนี้ ไทยเบฟสามารถจำหนายแอลกอฮอล ไปได 59.5 ลานลิตร เพิ่มขึ้นรอยละ 23 จากยอดขายสุทธิในชวงเดียวกันปกอน ไทยเบฟจะมุงเนนการสงออกในการทำธุรกิจใน ชวงเวลาที่เหลือของปนี้ ยอดขายในประเทศของป 2550 คิดเปนจำนวน 36.7 ลานลิตร ซึ่งต่ำกวายอดขายในป 2549 รอยละ 9.4 สำหรับราคาขายเฉลี่ย คิดเปน 24.97 บาทตอลิตรในป 2549 ลดลงจำนวน 16.14 บาทตอลิตรในป 2550 ทั้งนี้ ในป 2550 บริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน) สงออกไปจำนวนทั้งสิ้น 22.8 ลานลิตร โดยสงออกไปยังประเทศญี่ปุนเปนสวนใหญ อยางไรก็ดี ในป 2549 บริษัทไมมี การสงออก ทำใหในปดังกลาวมียอดขาดทุนขั้นตนอยูที่ 6 ลานบาทเมื่อเปรียบเทียบกับปที่ผานบริษัทมียอดกำไรขั้นตนจำนวน 211 ลานบาท

¸ØáԨà¡ÕèÂÇà¹×èͧ สัญญาซื้อขายขวดแกวที่ทำขึ้นระหวางบริษัท บางนา โลจิสติกส จำกัด (ซึ่งเปนบริษัทยอยของไทยเบฟ) กับบริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ไดสิ้นสุดลงในวันที่ 30 เมษายน 2550 โดยคูสัญญาไดตกลงทำสัญญาซื้อขายขวดแกวฉบับใหมขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2550 โดยกำหนดระยะเวลาของสัญญาไวจำนวน 2 ป 8 เดือน (โดยมีผลบังคับตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552)


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

72

73

¸ØáԨ㹠μ‹Ò§»ÃÐà·È International Beverage Holdings Limited (IBHL: www.interbevgroup.com) กอตั้งขึ้นเพื่อดำเนินธุรกิจในตางประเทศของไทยเบฟ โดยบริหารงานจาก สำนักงานภูมิภาค 4 แหงที่ฮองกง สิงคโปร อเมริกาเหนือ และสหราชอาณาจักร รวมทั้งบริหารธุรกิจสก็อตชวิสกี้ ณ โรงกลั่น 5 แหงในประเทศสก็อตแลนด ไทยเบฟสงออกผลิตภัณฑ ไปกวา 80 ประเทศทั่วโลก ทั้งบริหารโดยตรงจาก ทีมขายและทีมการตลาดของบริษัทเอง และโดยบริหารผานผูแทนจำหนาย ในพื้นที่นั้นๆ ตามความเหมาะสม ความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มทั่วโลกจะสรางโอกาสการพัฒนา ใหกับบริษัทในอนาคต ผูบริโภคตองการสินคาระดับพรีเมี่ยมมากขึ้นและชอบ ลิ้มลองผลิตภัณฑใหมๆ ซึ่งเชื่อวาจะชวยให IBHL เติบโตไดดีในตางประเทศ IBHLจดทะเบียนที่ประเทศฮองกง และปจจุบันถือหุนอยูในบริษัทยอยหลาย แหงใน 6 ประเทศ ดังนี้

• • • • •

InterBev (Singapore) Limited InterBev Malaysia Sdn. Bhd. InterBev (Cambodia) Co., Ltd. International Beverage Holdings Limited USA, Inc. International Beverage Holdings (UK) Ltd. และบริษัทในเครือรวมทั้ง Inver House Distillers Limited • Best Spirits Company Limited

IBHL ดูแลรับผิดชอบธุรกิจของไทยเบฟในตางประเทศครอบคลุมทั้งดานการผลิต การตลาด และการจัด จำหนายผลิตภัณฑเครื่องดื่มแอลกอฮอลทั้งที่ผลิตในประเทศและสก็อตชวิสกี้

¡ÅÂØ·¸ ·Ò§¸ØáԨ ¡ÅÂØ·¸

กลยุทธ ในการขยายไปยังตลาดตางประเทศยังคงเปนไปในทิศทางเดิม บริษัทเชื่อวาจะตองดำเนินการตาม แนวทางที่เหมาะสมในการเขาสูตลาด โดยอาจเปนเจาของกิจการทั้งหมด หรือรวมกับพันธมิตรทางธุรกิจ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความมุงมั่นในการเจาะตลาด และสถานการณของตลาดนั้น บริษัทเฟนหาพันธมิตรในการ กระจายสินคา และเมื่อเริ่มเขาไปในตลาดประเทศใด บริษัทจะพิจารณาวาควรจางผลิตหรือซื้อโรงงานใน ประเทศนั้นสำหรับตลาดที่มีอยู บริษัทกำลังพิจารณาการลงทุนเพิ่มหรือกอตั้งบริษัทใหม โดยในการลงทุน ใดๆ บริษัทจะพิจารณาถึงอัตราผลตอบแทนในระดับที่เหมาะสมและประโยชนที่จะสงเสริมซึ่งกันและกัน มากกวาพิจารณาเพียงราคา ในเบื้องตน IBHL จะมุงเนนไปที่ผลิตภัณฑที่ติดตลาดแลวอยางเบียรชาง และแมโขง ซึ่งสรางชื่อใน ตางประเทศในฐานะ “สุราไทย” รวมทั้งซิงเกิลมอลทวิสกี้เชน Balblair, Old Pulteney, Speyburn, AnCnoc และสก็อตชวสิ กีผ้ สม (Blended Scotch Whiskies) อยาง Hankey Bannister อีกทั้งวิสกี้ใหมที่จะ เขาสูตลาดตนป 2551 IBHL ไดกำหนดตลาดหลัก ของแตละผลิตภัณฑ ไวอยางชัดเจน และทุมเท จัดสรรทรัพยากรใหสำหรับผลิตภัณฑในตลาดนัน้ ๆ ทัง้ นี้ IBHL มุง มัน่ ทีจ่ ะเขาสูต ลาดโลก ดวยผลิตภัณฑ หลากชนิดที่ครอบคลุมครบครัน บริษัทเชื่อวาพันธมิตรทองถิ่นและผูบริหารใน แตละประเทศเปนหนทางที่จะเขาสูตลาดใหมได โดยไมตอ งใชเวลาในการเรียนรูส ภาพตลาดมากนัก บริษทั จึงไดเฟนเลือกผูบ ริหารงานตำแหนงสำคัญๆ ในตางประเทศจากผูที่มีประสบการณยาวนานใน ธุรกิจนี้จากทั่วโลก นอกจากนั้นยังรวมผูมีความ สามารถในดานการขาย และการตลาดจากผูที่มี ประสบการณกวางขวางทั้งในอุตสาหกรรมเบียร และสุรา โดยสรรหาและรวมทีมธุรกิจของ Inver House ในขณะเดียวกันก็สรางพืน้ ฐานทีแ่ ข็งแกรง จากทีมงานที่เชี่ยวชาญดานการตลาด


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

74

ด ว ยที ม งานที ่ เ ป  ย มด ว ยคุ ณ ภาพและประสบการณ ใ นการ บริหารงาน IBHL จึงมุงมั่นที่จะขยายธุรกิจใหเร็วกวาที่คาดไว ในบางตลาด บริษัทจะหาพันธมิตรทองถิ่นที่เชี่ยวชาญเพื่อชวย ประสานงานกับเครือขายกระจายสินคาในทองถิ่น ซึ่งจะทำให บริษัทสามารถฟนฝาอุปสรรคดานวัฒนธรรมและรูปแบบการ ดำเนินธุรกิจในสภาพตลาดนั้นๆ ได ความสำเร็ จ ในการออกแบบผลิ ตภั ณ ฑ ห ลั ก ของไทยสำหรั บ ตลาดสงออกสำคัญ บริษัทมุงมั่นที่จะสรางแบรนดที่แข็งแกรงและโดดเดนใหเปน ที่รูจักในตลาดเปาหมายหลักทั่วโลก และในป 2550 จึงมีการ ปรับโฉมบรรจุภัณฑ และนำเบียรชางและสุราแมโขงอันเลื่อง ชื่อสูเวทีตลาดโลกซึ่งประสบความสำเร็จเปนอยางดี

เบียรชาง ไดรับการปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ ใหมและนำออกสู ตลาดที ่ ส ำคั ญ ทางซี ก โลกตะวั น ตก ได แ ก ส หรั ฐ อเมริ ก า สหราชอาณาจักร ยุโรป และออสเตรเลีย โดยเนนตลาดเบียร นำเขาระดับพรีเมี่ยม สวนแมโขงไดรับการปรับปรุงใหมเพื่อดึงดูดนักดื่มสุรา โดย จัดจำหนายในภัตตาคารระดับบนและในบาร ค็อกเทลในทวีป ยุโรปและอเมริกาเหนือ ดวยการเสนอสูตรค็อกเทลที่มีแรง บันดาลใจจากความเปนไทย

75

Inver House

Inver House Distillers Limited (www.inverhouse.com) เปนบริษัทระดับแนวหนาในการดำเนินธุรกิจโรงกลั่นสก็อตช วิสกี้ มีสำนักงานใหญ ในประเทศสก็อตแลนดตอนกลางและ สงออกผลิตภัณฑ ไปยัง 80 ประเทศทั่วโลก IBHL ถือหุน บริษัทโดยผาน International Beverage Holdings (UK) Limited บริษัทมีธุรกิจหลักคือการกลั่นและจำหนายสก็อตช วิสกี้ Inver House Distillers Limited มีโรงกลั่นวิสกี้ซิงเกิลมอลท 5 โรงและผลิตซิงเกิลมอลทสก็อตชวิสกี้คุณภาพ ระดับที่รับรอง โดยรางวัลจากหลากสถาบัน ไดแก Old Pulteney, Balblair, anCnoc (ออกเสี ย งว า “a-nock”) และ Speyburn เพื ่ อ จำหนายในตลาด นอกจากนั้นยังกลั่น ผสม และบรรจุขวด สก็ อ ตช ว ิ ส กี ้ ผ สม (Blended Scotch Whisky) อี ก หลาย แบรนด ไดแก Hankey Bannister, Inver House Green Plaid, Catto’s และ McArthur’s ซึ่งไดวางตลาด และจำหนายในกวา 78 ประเทศ

¤Ø³ÀÒ¾Íѹ໚¹·ÕèÂÍÁÃѺ

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2551 Inver House Distillers Limited ที่มีสำนักงานใหญอยูที่เมือง Airdrie ไดรับรางวัล “โรงกลั่นสุราดีเดนแหงป” อันทรงเกียรติ ในงานที่จัดขึ้น ณ กรุงลอนดอน โดยสามารถเอาชนะคูแขงชื่อดังจากทั่วโลก ไดแก ญี่ปุน ไอรแลนด แคนาดา อินเดีย สวีเดน และสหรัฐ อเมริกา เมื่อปที่ผานมา Inver House ไดปรับโฉมซิงเกิลมอลทสก็อตช วิสกี้และเปดตัวใหมในชื่อ Balblair Single Malt ออกสูตลาด โลกในรูปแบบสุรา ‘Vintage’ ระดับซุปเปอรพรีเมี่ยม สามารถ ผานเขาสูรอบสุดทายในการแขงขัน “Icons of Whisky” โดยเริ่ม จากเอาชนะคูแขงเชน Glenmorengie, Bowmore และ William Grant & Sons ฯลฯ กอนที่จะไดรับรางวัลสูงสุดของสุราประเภท วิสกี้ โดยเอาชนะคูแขงในรอบสุดทายเจ็ดราย การแขงขัน ชิงรางวัลนี้ไดรับการจัดขึ้นเพื่อยกยองบริษัทที่ “แสดงความ รับผิดชอบในการพัฒนาคุณภาพวิสกี้ ในทุกระดับ และเปนที่ ตองการของผูบริโภคมากที่สุด” รางวัล “Icons of Whisky” ไดรับการประกาศในงานเลี้ยง อาหารค่ำ ซึ่งจัดขึ้นในคืนกอนงาน “Whisky Live London” เพื่อเฉลิมฉลองใหแกบุคคลที่ทำงานอยูเบื้องหลังบริษัทวิสกี้ ที่ยิ่งใหญของโลก คณะกรรมการผูตัดสินจากทั่วโลกยกยอง Inver House ที่ไดนำ “ความรักที่เปยมไปดวยชีวิตชีวา ความ ทุมเท และแรงบันดาลใจ” มาสูโลกแหงวิสกี้

àËμØ¡Òó ÊÓ¤ÑÞ: 2546 ตุลาคม กอตั้งบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) เพื่อเปนบริษัทโฮลดิ้งในกิจการ เกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล

2547 มิถุนายน เริ่มการขยายโรงงานเบียร กำแพงเพชร

2549 พฤษภาคม ประสบความสำเร็จในการนำหุน ของไทยเบฟจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยสิงคโปร

หมายเหตุ: ในเดือนมกราคม 2551 บริษัทไดเขาซื้อกิจการเครื่องดื่มชูกำลัง และกาแฟพรอมดื่ม จากบริษัท เครื่องดื่มแรงเยอร จำกัด

2550 ตุลาคม เขาซื้อโรงงานสุราจากบริษัท สินสุรางคการสุรา จำกัด ผูผลิตสุราตราเสือขาว เขาซื้อบริษัท Pacific Spirits (UK) Limited ซึ่งมี กิจการโรงกลั่นสุรา Inver House Distillers ในประเทศ สก็อตแลนด และเขาซื้อบริษัท Best Spirits Company Limited

กันยายน เขาซื้อบริษัท ประมวลผล จำกัด และ บริษัท เอส.พี.เอ็มอาหารและเครื่องดื่ม จำกัด ผูผลิตสุราตราหมีขาว และสินคาอื่น ๆ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

76

¡ÒûÃѺâ©Áà» ´μÑÇãËÁ‹¢Í§ÁÍÅ· ÇÔÊ¡Õéª×èʹѧ

Balblair (www.balblair.com) ซึ่ ง เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ร ะดั บสู ง ประสบความสำเร็จในการปรับโฉมบรรจุภัณฑ ใหม และไดจัด งานเปดตัวในป 2550 อยางยิ่งใหญที่สุดที่เคยจัดมาสำหรับ การเปดตัวซิงเกิลมอลทวิสกี้ เอกลักษณ ใหมที่โดดเดนของ ผลิตภัณฑนี้ไดรับแรงบันดาลใจมาจากหินพิคทิช อายุ 4,000 ป ที่ตั้งตระหงานอยูหนาโรงกลั่น ซึ่งไดรับการสลักชื่ออยาง ประณีต บงบอกถึงมนตขลังของผลิตภัณฑชั้นเลิศ สื่อถึงผูดื่ม วิสกี้ทั่วทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ และเอเชียที่เติบโตเร็วมาก กลยุทธของบริษัทคือวางตำแหนง Balblair เปนซิงเกิลมอลท วิสกี้ระดับซุปเปอรพรีเมี่ยม Balblair ไดรับความสำเร็จจาก การเป ด ตั ว ในสหราชอาณาจั กร ประเทศเม็ ก ซิ โ ก ฝรั ่ ง เศส ฮอลแลนด กรีซ และญี่ปุน กิ จ กรรมส ว นหนึ ่ ง ของแผนการเป ด ตั ว ก็ ค ื อ การจั ด รายการ ขายตรงแนวใหม เสนอขายผลิ ต ภั ณ ฑ Balblair ร ว มกั บ ผลิตภัณฑหรูหราอื่นๆ ผานบริษัทพันธมิตร ไดแก Mackintosh (www.mackintoshrainwear.com) ซึ่งเปน ผูผลิตเสื้อกันฝน ดั้งเดิม ที่ในขณะนี้ไดปรับโฉมรูปแบบของผลิตภัณฑ ใหมใน กลุมสินคาพรีเมี่ยมที่รูจักกันดีในญี่ปุน และเปนแบรนดที่ “ยอด นิยม” แบรนดหนึ่งในญี่ปุน พันธมิตรอีกรายหนึ่งคือ John Lowrie Morrison (www.jolomo.com) ศิลปนที่มีชื่อเสียง ที ่ ส ุ ด คนหนึ ่ ง ในสหราชอาณาจักร ซึ่งมีผลงานออกแสดงทั่ว สหราชอาณาจักร ฮองกง และสหรัฐอเมริกา วิ ส กี ้ ร ะดั บ พรี เ มี ่ ย มของบริ ษ ั ท คื อ Old Pulteney (www. oldpulteney.com) anCnoc (www.ancnoc.com) และ มอลท ว ิ ส กี ้ ท ี ่ เ ริ ่ ม เข า มาในระดั บ พรี เ มี ่ ย มนี ้ ค ื อ Speyburn (www.speyburn.com) ปจจุบัน Inver House สามารถเจาะตลาดดวยการวางตำแหนง ผลิตภัณฑหลักไวอยางชัดเจน สุราผสมสก็อตชวิสกี้จะชวย สรางชื่อเสียงใหกับบริษัทในตลาดโลก คาดวาสุราผสมมอลท สก็อตชวิสกี้ชนิดใหมจะเขาสูตลาดเมืองไทยในป 2551

Inver House Distillers Limited ที่ IBHL ซื้อกิจการมาเมื่อ เดือนตุลาคม 2549 นั้น ไดรับประโยชนจากการเขาสูตลาด สก็อตชวิสกี้ที่กำลังไปไดดี รวมทั้งการปรับเปลี่ยนกลยุทธ ที่เนนไปยังผลิตภัณฑมอลทหลัก สงผลใหไดกำไรกอนภาษี สูงขึ้นถึง 4 ลานปอนด เพิ่มขึ้นรอยละ 121 เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันในป 2549

77


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

78

79

¡ÒÃà» ´μÑÇã¹ÊËÃÑ°ÍàÁÃÔ¡Ò IBHL สหรัฐอเมริกาเปดดำเนินการแลว International Beverage Holdings Ltd. USA, Inc. (IBHL USA) กอตั้งขึ้นโดยเปนสำนักงานภูมิภาค เพื่อเปดตลาดธุรกิจในทวีป อเมริกาเหนือ โดยตั้งอยูที่มหานครนิวยอรก IBHL USA มีหนาที่และความรับผิดชอบในการกระจายสินคาของบริษัทซึ่งประกอบ ดวยผลิตภัณฑคุณภาพระดับสากลตางๆ ทั้งสุราและเบียรของเอเชีย เขาสูตลาดอเมริกาเหนือ ทั้งนี้ หุนของ IBHL USA ทั้งหมดถือโดย IBHL ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ ไทยเบฟถือหุนอยูทั้งหมด

¡ÅÂØ·¸

สินคาของบริษัทไดเริ่มเขาสูตลาดในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2550 โดยเริ่มจากตลาดกลุมลูกคารานอาหารประมาณ 5,000 แหง ทั้งรานอาหารไทย เวียดนาม กัมพูชา และเอเซียนในสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ นำเสนอเบียรชางอยูในระดับซุปเปอรพรีเมี่ยม ในตลาดสหรัฐอเมริกาซึ่งตางจากตลาดประเทศไทย เพื่อเปนอีกทางเลือกใหกับผูบริโภค บริษัทเชื่อวาเบียรชางจะสามารถขยาย ตลาดไดดีเชนเดียวกับเบียรเม็กซิกัน ญี่ปุน และอิตาเลียน โดยจะขยายตลาดทางฝงตะวันออกและตะวันตกเสียกอน แลวจึงรุก ตลาดใจกลางของอเมริกาเมื่อตลาดทั้งสองฝงนี้โตถึงระดับที่มีผูบริโภคมากพอ ในขณะที่บริษัทเริ่มขยายตลาดในสหรัฐอเมริกาไป ยังตลาดรานอาหารไทยและรานอาหารอาเซียนชาติอื่นๆ แลว ตอไปจะขยายสินคาของบริษัทใหเปนที่รูจักในรานคา (off-premise) และเมื่อเบียรชางติดตลาดมากขึ้นแลว บริษัทจะเจาะใหถึงตลาดที่บริโภค ณ จุดขาย (on-premise) ในวงกวางตอไป ทั้งนี้ กลยุทธ ในการมุงสูระดับโลกของ IBHL นั้น ไมไดจำกัดเพียงการนำเบียรชางเขาสูตลาดสหรัฐอเมริกาเทานั้น ยังรวมถึงแผนใหตลาดสหรัฐ อเมริกาเปนตลาดหลักของซิงเกิลมอลทวสิ กีด้ ว ย โดยในชวงตนป 2551 ไทยเบฟมีแผนทีจ่ ะเปดตัวแมโขงในตลาดสหรัฐอเมริกา ซึง่ เปน สวนหนึ่งของกลยุทธ ในการเขาถึงตลาดตางประเทศในฐานะผูผลิตเบียรและสุราที่สมบูรณแบบ โดยจะนำเสนอแมโขงในฐานะที่เปน เอกลักษณของสุราไทย โดยใชสูตรค็อกเทลหลากหลายที่ปรุงแตงขึ้นมาอยางสรางสรรคเพื่อดึงดูดความสนใจในผลิตภัณฑ เบียรชางมีจำหนายในกลองบรรจุ 6 ขวด ทั้งในแบบขวดละ 330 มิลลิลิตร (11.2 ออนซ) และ 640 มิลลิลิตร (22 ออนซ) ทั้งนี้ ปริมาณเบียรที่สงออกไปยังสหรัฐอเมริกาในชวง 6 เดือนที่เปดตัว จนถึงปลายป 2550 รวมทั้งสิ้นประมาณ 240,000 ลิตร และ จำหนายไปแลวกวา 30,000 ลัง

¤ÇÒÁÊÓàÃç¨ËÅÑ¡ã¹»‚ 2550 ความสำเร็จหลักของ IBHL ในป 2550 เกิดจากความสำเร็จของ การรวม Inver House เขามาและจากการปรับปรุงการดำเนิน ธุรกิจ IBHL สามารถซื้อ Best Spirits Company Limited ซึ่ง จดทะเบียนในประเทศฮองกงและพัฒนาการดำเนินธุรกิจของ บริษัทดังกลาวไดสำเร็จ การตลาดดานผลิตภัณฑของบริษัทและ การนำเสนอสินคาชื่อดังไดรับการพัฒนาอยางเห็นไดชัด และมี รายไดเพิ่มในอัตราที่สูงกวาปริมาณการจำหนาย อันเปนผลจาก การวางตำแหนงสินคาใหอยูระดับพรีเมี่ยม ผสานกับการบริหาร จัดการที่ดียิ่งขึ้น ทายที่สุดนี้ บริษัทสามารถดำเนินธุรกิจในสหรัฐ อเมริกา สหราชอาณาจักร และออสเตรเลีย ไดเปนผลสำเร็จ ซึ่งไมเปนเพียงแคความสำเร็จเทานั้น แตยังเปนสัญญาณชี้วา บริษัทมีศักยภาพในการเจาะตลาดที่เห็นวาสามารถเพิ่มรายได และผลกำไรใหบริษัท

ในชวงแรกเริ่ม บริษัทมุงกลุมเปาหมายไปที่รัฐสำคัญๆ ไดแก แคลิฟอรเนีย วอชิงตัน โอเรกอน แอริโซนา เนวาดา เท็กซัส จอรเจีย วอชิงตันดีซี เพนซิลเวเนีย นิวยอรก นิวเจอรซ่ี คอนเนคติคตั แมสซาชูเสท และอิลลินอยส โดยตลาดหลักคือ ยานตัวเมืองนิวยอรกซิต้ี และแคลิฟอรเนีย ทั้งสองตลาดนี้คาดวาจะทำยอดขายไดเกือบรอยละ 30 ของเบียรชางที่นำเขาทั้งหมด จากขอเท็จจริงที่วาในรัฐ นิวยอรก แคลิฟอรเนีย ฮาวาย เท็กซัส และอิลลินอยสมีคนเอเชียอเมริกันอาศัยอยูรอยละ 66 อาศัยอยู และในเมืองลอสแอนเจลิส นิวยอรกซิตี้ ซานฟรานซิสโก ฮอนโนลูลู โคลัมเบีย บัลติมอร และชิคาโกมีคนเอเชียอเมริกันอาศัยอยูกวาครึ่ง ทั้งนี้ อัตราการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอลสูงสุดของอเมริกาอยูที่รัฐนิวยอรก เพนซิลเวเนีย ฟลอริดา อิลลินอยส เท็กซัส และแคลิฟอรเนีย ปจจุบันตลาดเบียรชางอยูใน 16 รัฐ 26 เมืองในสหรัฐอเมริกา โดยเนนเมืองทางฝงตะวันออกและฝงตะวันตก ในชวงเวลาหลายปที่ผานมานี้ ผูบริโภคในสหรัฐอเมริกานิยมดื่มเบียรนำเขาระดับซุปเปอรพรีเมี่ยมและเบียรที่มีเอกลักษณเฉพาะ ผลิตโดยโรงเบียรขนาดเล็กในทองถิ่น หรือ Craft Beer โดยมีปจจัยผลักดันคือสภาพเศรษฐกิจที่ปรับตัวดีขึ้นและผูบริโภคที่มองหา รสชาติใหมๆ ที่แตกตางจากเดิม รวมทั้งราคาเบียรนำเขาและ Craft Beer และเบียรที่ไดรับความนิยมในประเทศมีราคาใกลเคียง กัน เบียรชางขนาดบรรจุ 330 มิลลิลิตรขายประมาณขวดละ 4-5 เหรียญสหรัฐฯ ตามภัตตาคาร แตราคาขายตามรานคา (off-premise) 7.99 เหรียญตอกลองบรรจุ 6 ขวด


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

80

ในเดือนพฤษภาคม 2550 บริษัทไดเพิ่มทุนใน IBHL USA จาก 1,000 เหรียญสหรัฐ เปน 2.6 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งเงินนี้จะนำมา ใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานของ IBHL USA ใน ป 2550

¡ÒÃà» ´μÑÇã¹ÊËÃÒªÍҳҨѡÃ

เมื่อเดือนพฤษภาคม 2550 International Beverage Holdings (UK) Limited เปดตัวเบียรชางและในตลาดสหราชอาณาจักร ภายหลังจากที่ผลิตภัณฑ ไดรับการตอบรับเปนอยางดี ในตลาด ปจจุบัน เบียรชางในขวดบรรจุขนาด 330 มิลลิลิตรจำหนาย ในภัตตาคาร ราคาเฉลี่ยขวดละ 3 ปอนด และไดรับการวาง ตำแหนงใหเปนเบียรนำเขาระดับพรีเมี่ยม สำหรับการจำหนายที่ สนามฟุตบอลของสโมสรเอเวอรตัน (“Everton FC’s Goodison Park”) เบียรชางกระปองบรรจุ 330 มิลลิลิตร จำหนายในราคา 1.90 ปอนด และเบียรสดชางขนาด 1 ไพนท (568 มิลลิลิตร) จำหนายในราคา 3.00 ปอนด โดยเบียรชางจะมีเฉพาะในจุดขาย ของสนามที่ไมมีเบียรสดชางจำหนาย เมื่อครั้งที่เบียรสดของชางเขาไปจำหนายในสนามฟุตบอลกูดิสัน พารคของสโมสรเอเวอรตันเมื่อปลายป 2549 นั้น สามารถทำสถิติ ปริมาณจำหนายสูงสุดตั้งแตในนัดแรก และเปนที่รูจักอยางรวดเร็ว เบียรชา งเปนทีช่ น่ื ชอบของแฟนฟุตบอล ยอดจำหนายทีส่ นามกีฬา พุงขึ้นจาก 33,185 ลิตรเมื่อปลายป 2549 เปน 50,400 ลิตร ในป 2550 เพิ่มขึ้นรอยละ 52 หากพิจารณาการจำหนายเบียรชางทั่วสหราชอาณาจักรเติบโต ขึ้นอยางเห็นไดชัดจากยอดจำหนาย เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 138 จาก ปกอนหนา

¡ÅÂØ·¸

International Beverage Holdings (UK) Limited ไดเปดตัว เบียรชางผานชองทางรานอาหารไทย แลวจะขยายชองทางขาย เพิ่มขึ้นโดยเขาไปในชองทางรานอาหารทั่วไปมากขึ้น เชน ผับ และบาร บริษัทอาศัยความไดเปรียบดานการจัดจำหนายโดยผาน บริษัทในเครือของ Inver House และกำลังขยายตลาดครอบคลุม ทั่วสหราชอาณาจักร สวนแมโขงที่ไดรับการกลาวขานวาเปน

81

“จิตวิญญาณของไทย” ไดรับการเปดตัวในเดือนมกราคม 2551 ไดเริ่มเขาสูค็อกเทลบาร และถูกจัดใหอยูในประเภทเครื่องดื่มระดับ พรีเมี่ยม มีการริเริ่มแนวคิดใหมๆ ในการทำตลาดวิสกี้ของ Inver House เพื่อใหเปนเครื่องดื่มชั้นนำในตลาดสหราชอาณาจักร และ จะนำกลยุทธนี้ไปใชกับตลาดอื่นที่เหมาะสมตอไป

ÍÍÊàμÃàÅÕÂ

ในป 2550 ออสเตรเลียไดเขามาเปนสวนหนึ่งในเครือขายการจัด จำหน า ยผลิ ต ภั ณ ฑ ข องไทยเบฟ ผ า นความสั ม พั น ธ อ ั น ดี ก ั บ Woolworths ซึ่งเปนรานคาปลีกที่ใหญที่สุดของออสเตรเลีย เพื่อ จัดจำหนายเบียรชาง ซึ่งเปนการสรางรากฐานที่สำคัญ เพราะ หมายถึงเบียรชางจะมีวางจำหนายทั่วประเทศออสเตรเลีย โดย Woolworths มีรานในเครือขายกวา 3,000 รานทั่วประเทศและ มีพนักงานกวา 175,000 คน

ÂØâû

ยอดจำหนายเบียรชางในยุโรป โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศ เนเธอรแลนด อยูในระดับคงที่มาตั้งแตป 2549 แตหลังจากป 2550 ซึ่งถือเปนปที่แข็งแกรงของบริษัท บริษัทจะขยายตลาดเบียรชาง ในยุโรป โดยอาศัยกลยุทธบุกตลาดแบบใหม รวมกับกิจกรรมเปด ตัวสุราแมโขง

μÅÒ´ãËÁ‹

ถึงแมวาตลาดหลักของไทยเบฟเปนตลาดในประเทศไทย แตบริษัท มีแผนการทำตลาดในตางประเทศ ณ วันนี้ ผลิตภัณฑของบริษทั ได วางจำหนายในตลาดตางประเทศแลว 19 ประเทศ บริษัทเล็งเห็นวา ตลาดเอเชียโดยรวม และตลาดอาเซียนนั้น มีศักยภาพสูงนาสนใจ ขอไดเปรียบประการหนึ่งของการสงออกไปยังตลาดเสรีการคา อาเซียน (ASEAN Free Trader Area - AFTA) คืออัตราภาษีการคาต่ำ ตลอดจนมีวัฒนธรรมทางการคาคลายคลึงกัน ในภูมิภาคนี้ สุรา ทองถิ่นที่ผลิตจากกากน้ำตาลหรือออย สามารถพบเห็นไดทั่วไป อีกทัง้ แนวโนมความนิยมบริโภคเบียรกม็ สี งู ขึน้ ตลาดเวียดนามและ ฟลิปปนสนั้นมีศักยภาพและควรเขาไปสำรวจ นอกจากนั้นตลาด ประเทศจีนและอินเดีย ซึง่ เปนยักษใหญทางเศรษฐกิจ ก็เปนตลาดที่ บริษทั จะมองขามไปไมได การลงทุนในตางประเทศจะไดรบั การศึกษา ในรายละเอียดอยางรอบคอบเพื่อใหมั่นใจไดวาคุมคาตอการลงทุน


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

82

83

ÃÒ§ҹÇÔà¤ÃÒÐË áÅФӪÕéᨧ¢Í§½†ÒºÃÔËÒà บริษัทไดเขาซื้อหุนของบริษัท ประมวลผล จำกัด ซึ่งประกอบกิจการโรงงานสุรา และหุนของบริษัท เอส.พี.เอ็มอาหารและเครื่องดื่ม จำกัด ซึ่งประกอบกิจการโรงงานน้ำผลไม จำนวน 81% และ 83% ตามลำดับ ผลการดำเนินงานของทั้งสองบริษัทไดรวมอยูใน งบการเงินของกลุมบริษัทตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2550 เปนตนมา

กำไรสุทธิจำนวน 10,383 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2549 จำนวน 328 ลานบาท หรือประมาณ 3.3% เนื่องจากผลกำไรของธุรกิจ สุราเปนสวนใหญ

กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลังไดปรับขึ้นอัตราภาษีสรรพสามิตสุราขาว สุราผสม และบรั่นดี (ซึ่งจัดอยูในประเภทภาษีสุรา พิเศษ) ในวันที่ 28 สิงหาคม 2550 โดยปรับขึ้นประมาณ 16.7% สำหรับสุราผสมและประมาณ 57.1% ถึง 70.8% สำหรับสุราขาว เมื่อเทียบกับอัตราภาษีสรรพสามิตเดิม อยางไรก็ตาม บริษัทมีสุราคงเหลือที่ผลิตเสร็จ และชำระภาษีในอัตราเดิมอยูจำนวนหนึ่ง บริษัทไดปรับขึ้นราคาขายสินคาใหสอดคลองกับอัตราภาษีที่เพิ่มขึ้นดังกลาวแลว

หนวย:ลานบาท % รวม เทียบกับ รายได 100,541 100.0 70,873 70.5 29,668 29.5

บริษัทกำลังดำเนินโครงการขนสงสินคา (Logistics Project) เพื่อพัฒนาเครือขายกระจายสินคา และลดคาใชจาย โดยการสราง ศูนยกระจายสินคา 5 แหง ซื้อรถขนสงลำเลียงดานขางที่มีประสิทธิภาพสูง และใชระบบบริหารหวงโซอุปทาน (Supply Chain) โครงการนี้จะใชเงินลงทุนประมาณ 2,541 ลานบาทในชวงไตรมาส 4 ป 2550 ถึงป 2552 บริษัทกำลังดำเนินโครงการขยายกำลังการผลิตน้ำดื่มบรรจุขวดพลาสติก PET (Polyethylene Terephthalate) จากปจจุบันที่ประมาณ 7 ลานลิตรตอปเปนประมาณ 70 ลานลิตรตอป โครงการนี้จะใชเงินลงทุนประมาณ 194 ลานบาท ในชวงไตรมาส 4 ป 2550 ถึง ไตรมาส 3 ป 2551 บริษัทไดดำเนินการตามนโยบายบัญชีที่ใชในปจจุบันซึ่งกำหนดใหมีการประเมินราคาที่ดินโดยผูประเมินอิสระทุกๆ สามถึงหาป เพื่อ ใหราคาที่ดินของบริษัทและบริษัทยอยในกลุมใกลเคียงกับมูลคายุติธรรม และไดบันทึกผลจากการประเมินไวแลวในงวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 การประเมินราคาที่ดินครั้งกอนกระทำในป 2546 การประเมินราคาที่ดินใหมมีผลใหมูลคาลดลงสุทธิ 2,121.6 ลานบาท โดยบันทึกในสวนของผูถือหุนจำนวน 2,062.7 ลานบาทและในงบกำไรขาดทุนจำนวน 58.9 ลานบาท บริษัทไดจัดทำขอมูลจำแนกตามสวนงานธุรกิจใหมเริ่มตั้งแตไตรมาส 3 ป 2550 เปนตนมา เพื่อใหการรายงานมีความชัดเจน ยิ่งขึ้น โดยสวนงานธุรกิจเกี่ยวเนื่องซึ่งมีรายการสวนใหญเกิดขึ้นภายในกลุม จะไมแยกแสดงแตกระจายเขาในสวนงานธุรกิจหลัก ซึ่งประกอบดวยธุรกิจเบียร โซดาและน้ำดื่ม ธุรกิจสุรา และธุรกิจแอลกอฮอล ขอมูลแยกตามสวนงานธุรกิจในชวงเดียวกันของ ป 2549 ไดปรับปรุงใหมเพื่อใชเปรียบเทียบกับป 2550

¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ· ในป 2550 กลุมบริษัทมีรายไดรวมจำนวน 100,541 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2549 ซึ่งมีรายไดรวม 97,798 ลานบาท จำนวน 2,743 ลานบาท หรือประมาณ 2.8 % เนื่องจากรายไดของธุรกิจสุราเพิ่มขึ้น 2.6% รายไดของธุรกิจเบียร โซดาและน้ำดื่มเพิ่มขึ้น 3.2% กำไรขั้นตนจำนวน 29,668 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2549 จำนวน 1,195 ลานบาท หรือประมาณ 4.2 % เนื่องจากอัตรากำไรใน สินคาขายของธุรกิจสุราเพิ่มขึ้น กำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี (EBITDA) จำนวน 21,251 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2549 จำนวน 652 ลานบาท หรือประมาณ 3.2 % เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของกำไรขั้นตนของธุรกิจสุรา

ป 2550 รายได ตนทุนขาย กำไรขั้นตน คาใชจายในการขาย และบริหาร กำไรจาการดำเนินงาน รายไดอื่น กำไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไรสุทธิ คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี กำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี

ป 2549 รายได ตนทุนขาย กำไรขั้นตน คาใชจายในการขาย และบริหาร กำไรจาการดำเนินงาน รายไดอื่น กำไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไรสุทธิ คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี กำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี

เบียร % โซดา เทียบกับ น้ำดื่ม รายได 47,557 100.0 37,040 77.9 10,517 22.1

% แอลกอฮอล % % สุรา เทียบกับ ที่ใชใน เทียบกับ รายการ เทียบกับ รายได อุตสาหกรรม รายได ตัดบัญชี รายได 52,940 100.0 966 100.0 (922) 100.0 33,924 64.1 972 100.6 (1,063) 115.3 19,016 35.9 (6) (0.6) 141 (15.3)

6,456 4,061 111 4,172 278 2,192 1,702 2,364

13.6 8.5 0.2 8.8 0.6 4.6 3.6 5.0

7,055 11,961 237 12,198 731 2,652 8,815 2,418

13.3 22.6 0.4 23.0 1.4 5.0 16.7 4.6

140 (146) 19 (127) 38 3 (168) 192

14.5 (15.1) 2.0 (13.1) 3.9 0.3 (17.4) 19.9

38 103 (69) 34 34 -

(4.1) (11.2) 7.5 (3.7) (3.7) -

13,689 15,979 298 16,277 1,047 4,847 10,383 4,974

13.6 15.9 0.3 16.2 1.0 4.8 10.3 4.9

6,536

13.7

14,616

27.6

65

6.7

34

(3.7)

21,251

21.1

เบียร % โซดา เทียบกับ น้ำดื่ม รายได 46,103 100.0 35,944 78.0 10,159 22.0

สุรา 51,576 33,470 18,106

% แอลกอฮอล % % เทียบกับ ที่ใชใน เทียบกับ รายการ เทียบกับ รายได อุตสาหกรรม รายได ตัดบัญชี รายได 100.0 1,205 100.0 (1,086) 100.0 64.9 994 82.5 (1,083) 99.7 35.1 211 17.5 (3) 0.3

หนวย:ลานบาท % รวม เทียบกับ รายได 97,798 100.0 69,325 70.9 28,473 29.1

5,768 4,391 70 4,461 309 1,989 2,163 2,226

12.5 9.5 0.2 9.7 0.7 4.3 4.7 4.8

6,740 11,366 106 11,472 1,202 2,325 7,945 2,300

13.1 22.0 0.2 22.2 2.3 4.5 15.4 4.5

178 33 6 39 62 9 (32) 126

14.8 2.7 0.5 3.2 5.1 0.7 (2.7) 10.5

(2) (1) (24) (25) (4) (21) -

0.2 0.1 2.2 2.3 0.4 1.9 -

12,684 15,789 158 15,947 1,569 4,323 10,055 4,652

13.0 16.1 0.2 16.3 1.6 4.4 10.3 4.8

6,687

14.5

13,772

26.7

165

13.7

(25)

2.3

20,599

21.1


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

84

เพิ่มขึ้น(ลดลง) รายได ตนทุนขาย กำไรขั้นตน คาใชจายในการขาย และบริหาร กำไรจาการดำเนินงาน รายไดอื่น กำไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไรสุทธิ คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี กำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี

เบียร % โซดา เทียบกับ น้ำดื่ม รายได 1,454 3.2 1,096 3.0 358 3.5

% แอลกอฮอล % % สุรา เทียบกับ ที่ใชใน เทียบกับ รายการ เทียบกับ รายได อุตสาหกรรม รายได ตัดบัญชี รายได 1,364 2.6 (239) (19.8) 164 15.1 454 1.4 (22) (2.2) 20 1.8 910 5.0 (217) (102.8) 144 4,800.0

% รวม เทียบกับ รายได 2,743 2.8 1,548 2.2 1,195 4.2

688 (330) 41 (289) (31) 203 (461) 138

11.9 (7.5) 58.6 (6.5) (10.0) 10.2 (21.3) 6.2

315 595 131 726 (471) 327 870 118

4.7 5.2 123.6 6.3 (39.2) 14.1 11.0 5.1

1,005 7.9 190 1.2 140 88.6 330 2.1 (522) (33.3) 524 12.1 328 3.3 322 6.9

(151)

(2.3)

844

6.1

(38) (21.3) (179) (542.4) 13 216.7 (166) (425.6) (24) (38.7) (6) (66.7) (136) (425.0) 66 52.4 (100)

(60.6)

40 2,000.0 104 10,400.0 (45) (187.5) 59 236.0 4 100.0 55 261.9 59

236.0

652

3.2

¸ØáԨàºÕÂà ⫴ÒáÅйéÓ´×èÁ รายไดของธุรกิจเบียร โซดาและน้ำดื่ม จำนวน 47,557 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 1,454 ลานบาท หรือประมาณ 3.2% เนื่องจาก ปริมาณขายเบียรทั้งหมดในปนี้จำนวน 956.8 ลานลิตรเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 3.7% จากป 2549 โดยการเพิ่มขึ้นที่สำคัญมาจากการ เติบโตของปริมาณขายเบียรที่มีแอลกอฮอลต่ำจำนวน 312.6 ลานลิตร เพิ่มสูงขึ้นประมาณ 206.9% ปริมาณขายโซดาอยูที่ 10.6 ลานลิตร ลดลง 15.6% และปริมาณขายน้ำดื่มอยูที่ 43.8 ลานลิตร เพิ่มขึ้น 2.9% กำไรขั้นตนจำนวน 10,517 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 358 ลานบาทหรือประมาณ 3.5% จากป 2549 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ ปริมาณขายเบียร กำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี (EBITDA) จำนวน 6,536 ลานบาท ลดลงจำนวน 151 ลานบาท หรือประมาณ 2.3% จากปกอน เนื่องจากคาใชจายที่สำคัญดานพนักงาน ดานการตลาด และคาขนสงเพิ่มขึ้นในอัตรา ที่สูงกวาการเพิ่มขึ้นของกำไรขั้นตน ปริมาณแถมเบียรเพื่อสงเสริมการจำหนายในป 2550 อยูที่ 8.2 % เทียบกับยอดขาย ใกลเคียงกับยอด 8.1% ในป 2549 กำไรสุทธิ จำนวน 1,702 ลานบาท ลดลงจำนวน 461 ลานบาท หรือประมาณ 21.3% เนื่องจาก EBITDA ลดลง และคาเสื่อมราคา เพิ่มขึ้นเนื่องจากเริ่มคิดคาเสื่อมราคาเครื่องจักรและอาคารสวนขยายโรงเบียรกำแพงเพชรในขณะที่ดอกเบี้ยจายลดลง

¸ØáԨÊØÃÒ รายไดของธุรกิจสุราในป 2550 จำนวน 52,940 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2549 จำนวน 1,364 ลานบาท หรือประมาณ 2.6% เนื่องจาก ปริ ม าณขายสุ ร าสี เ พิ ่ ม ขึ ้ น และการขึ ้ น ราคาขายในเดื อ นพฤษภาคมและเดื อ นสิ ง หาคม ปริ ม าณขายสุ ร าทั ้ ง หมดจำนวน 446.3 ลานลิตร ลดลงประมาณ 6.2% ปริมาณขายสุราขาวจำนวน 329.4 ลานลิตร ลดลงประมาณ 10.3% และปริมาณขาย สุราสีจำนวน 116.9 ลานลิตร เพิ่มขึ้นประมาณ 8.1%

85

กำไรขั้นตนจำนวน 19,016 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 910 ลานบาท หรือประมาณ 5% เนื่องจากการปรับขึ้นราคาขายทำใหอัตรา กำไรในสินคาขายสูงขึ้นและราคากากน้ำตาลซึ่งเปนวัตถุดิบหลักลดลง กำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี (EBITDA) จำนวน 14,616 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 844 ลานบาท หรือประมาณ 6.1% เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของกำไรขั้นตนทำใหสามารถชดเชยการเพิ่มขึ้นของคาใชจายดานพนักงาน และดานการตลาดที่เพิ่มขึ้นจากปริมาณแถมสุราที่ใชสงเสริมการจำหนาย ปริมาณแถมสุราเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยจาก 1.3% ในป 2549 เปน 1.7% ในป 2550 กำไรสุทธิ จำนวน 8,815 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 870 ลานบาท หรือประมาณ 11% เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ EBITDA และ ดอกเบี้ยจายลดลงซึ่งสามารถชดเชยการเพิ่มขึ้นของคาเสื่อมราคา

¸ØáԨáÍÅ¡ÍÎÍÅ ·Õè㪌ã¹ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ ในป 2550 รายไดของธุรกิจแอลกอฮอลที่ใชในอุตสาหกรรม จำนวน 966 ลานบาทลดลงจำนวน 239 ลานบาท หรือประมาณ 19.8% เนื่องจากราคาขายสินคาลดลงตามสภาวะอุปทานลนตลาด ปริมาณขายเอธานอลจำนวน 42.6 ลานลิตร ลดลงประมาณ 8.5% ราคา ขายเฉลี่ยลดลงจากประมาณ 24.94 บาทตอลิตรในป 2549 มาอยูที่ประมาณ 16.63 บาทตอลิตรในป 2550 ปริมาณขายแอลกอฮอล 95 จำนวน 16.8 ลานลิตร เพิ่มขึ้นประมาณ 1,032.7% ซึ่งสวนใหญมาจากการสงออก ราคาขายเฉลี่ยลดลงจากประมาณ 24.60 บาทตอลิตรในป 2549 มาอยูที่ประมาณ 14.81 บาทตอลิตรในป 2550 ธุรกิจแอลกอฮอลที่ใชในอุตสาหกรรมมียอดขาดทุนขั้นตนจำนวน 6 ลานบาท ในขณะที่ป 2549 มียอดกำไรขั้นตน 211 ลานบาท เนื ่ อ งจากปริ ม าณขายเอธานอลลดลงและอั ต รากำไรในสิ น ค า ขายต่ ำ ลงเนื ่ อ งจากราคาขายลดลงถึ ง แม ร าคากากน้ ำ ตาลซึ ่ ง เปนวัตถุดิบจะลดลงก็ตาม กำไรกอนดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดบัญชี (EBITDA) จำนวน 65 ลานบาท ลดลงจำนวน 100 ลานบาท หรือประมาณ 60.6% จากปกอน เนื่องจากการลดลงของกำไรขั้นตนตามที่ไดกลาวแลวขางตน ในขณะที่รายไดอื่นเพิ่มขึ้น ขาดทุนสุทธิจำนวน 168 ลานบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 136 ลานบาท หรือประมาณ 425% เนื่องจากการลดลงของอัตรากำไรในสินคาขาย และคาเสื่อมราคาเพิ่มขึ้นในขณะที่ดอกเบี้ยจายลดลง

°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ ÊÔ¹·ÃѾ สินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 79,527 ลานบาท ลดลงจำนวน 6,053 ลานบาท หรือประมาณ 7.1% เมื่อ เทียบกับ ณ สิ้นป 2549 สินทรัพยหมุนเวียนลดลง 393 ลานบาท สาเหตุหลักเนื่องจากสินคาสำเร็จรูปลดลง สินทรัพย ไมหมุนเวียน ลดลง 5,659 ลานบาท สาเหตุหลักเนื่องจากการขายที่ดินและสิ่งกอสรางโครงการไทยเบฟทาวเวอร ผลจากการตีราคาที่ดิน และการ หักคาเสื่อมราคา อาคารและอุปกรณ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

86

˹ÕéÊÔ¹

87

ÍÑμÃÒʋǹ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 24,617 ลานบาท ลดลงจำนวน 8,409 ลานบาท หรือประมาณ 25.5% เมื่อเทียบกับ ณ สิ้นป 2549 สาเหตุหลักจากการชำระคืนเงินกูยืมและหุนกู ระยะเวลาชำระคืนเงินกูยืมและหุนกู

อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) มูลคาสินทรัพยสุทธิตอหุน (บาท)

จำนวนเงิน (ลานบาท)

ภายในเดือน ธันวาคม 2551 ภายในเดือน ธันวาคม 2552 ภายในเดือน มกราคม 2553 รวม

10,753 5,025 375 16,153

อายุหนี้เฉลี่ยของลูกหนี้การคา (วัน) อัตราการหมุนเวียนสินคา (วัน) ธุรกิจเบียร โซดาและน้ำดื่ม สินคาสำเร็จรูป วัตถุดิบ ธุรกิจสุรา สินคาสำเร็จรูป (ไมรวมสุราเดิม) วัตถุดิบ

ʋǹ¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ สวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 54,910 ลานบาท เพิ่มขึ้น 2,356 ลานบาท หรือประมาณ 4.5% เมื่อเทียบกับ ณ สิ้นป 2549 สาเหตุหลักจากการเพิ่มขึ้นของกำไรสะสมถึงแมสวนปรับปรุงจากการประเมินราคาที่ดินจะลดลง 2,062.7 ลานบาทก็ตาม

¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 2,189 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากตนงวดจำนวน 269 ลานบาท จากรายการดังตอไปนี้ จำนวนเงิน (ลานบาท)

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน เงินสดสุทธิ( ใชไปใน)กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิ(ใชไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน การแปลงคางบการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นงวด

16,444 (715) (15,271) (189) 269 1,920 2,189

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงานจำนวน 16,444 ลานบาท สวนใหญมาจากกำไรสุทธิจำนวน 10,383 ลานบาท และรายการ ปรับปรุงที่ไมใชเงินสดจากคาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนายจำนวน 4,975 ลานบาท เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุนจำนวน 715 ลานบาท สวนใหญมาจากยอดสุทธิจากการซื้อทรัพยสินและการขายโครงการ ไทยเบฟทาวเวอร เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 15,271 ลานบาท สวนใหญมาจากการจายเงินปนผลจำนวน 5,775 ลานบาทและ การชำระคืนเงินกูยืมและหุนกู

2550

2549

1.74 0.45 2.19

1.28 0.63 2.21

2550

2549

5

5

15 4

12 4

79 12

75 8

¼Åμͺ᷹¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ à§Ô¹»˜¹¼Å คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายที่จะเสนอตอผูถือหุนใหจายเงินปนผลในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของกำไรสุทธิหลังจากหัก ทุนสำรองตางๆ โดยพิจารณาประกอบกับแผนการลงทุน และความจำเปนเหมาะสมอื่น ๆ ที่คณะกรรมการเห็นสมควร สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 คณะกรรมการเสนอใหจายเงินปนผลเปนจำนวนเงินรวมทั้งสิ้น 7,281.91 ลานบาท

เงินปนผลสำหรับป (ลานบาท) จำนวนหุนที่ออก (ลานหุน) เงินปนผลระหวางกาลตอหุน (บาท) เงินปนผลงวดสุดทายตอหุน (บาท) เงินปนผลรวมตอหุน (บาท) อัตราการจายเงินปนผลตอกำไรสุทธิประจำปจาก งบการเงินรวม (%) ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน ผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนเฉลี่ย (%) กำไรตอหุน กำไรตอหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก (บาท) จำนวนหุนถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักสำหรับป (ลานหุน)

2007

2006

2005

7,281.91 25,110 0.12 0.17 0.29

5,524.21 25,110 0.11 0.11 0.22

5,280.00 22,000 0.24 0.24

70.13%

54.94%

51.08%

19.3%

23.9%

31.6%

0.41 25,110

0.42 23,785

0.47 22,000


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

88

»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕè§

89

¤ÇÒÁàÊÕ觴ŒÒ¹¡ÅÂØ·¸

¤ÇÒÁàÊÕè§㹡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹

การเติบโตของบริษัทอาจไดรับผลกระทบ หากไมขยายธุรกิจไปสูตลาดผลิตภัณฑเบียรและสุรา ที่มีราคาจำหนายในระดับสูงขึ้น หรือไมสามารถขยายธุรกิจไปยังตลาดตางประเทศได

การขึ้นราคาและการขาดแคลนวัตถุดิบหรือพัสดุบรรจุจะทำใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นและอาจสงผลกระทบตอธุรกิจของบริษัท

กลยุทธที่สำคัญประการหนึ่ง ไดแก การขยายฐานตราผลิตภัณฑดวยการเปดตัวตราผลิตภัณฑ ใหม เพื่อขยายตลาดที่มีระดับราคาจำหนายสูงขึ้น ซึ่งจะทำใหมีรายไดเพิ่มขึ้น ตลาดผลิตภัณฑเบียร และสุราในประเทศสวนที่มีราคาจำหนายสูงกวาราคาผลิตภัณฑของบริษัท ในปจจุบันนั้นเชื่อวา มีศักยภาพในการขยายตัวเปนอยางมาก เพราะผูบริโภคไดเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคจากเบียร และสุราอีโคโนมี่เปนเบียรและสุราในกลุมที่มีราคาสูง แตการขยายธุรกิจไปสูตลาดกลุมดังกลาว นั้นแขงขันกันสูง ซึ่งจะตองใชเงินลงทุนเปนจำนวนมากเพื่อทำการตลาด สงเสริมตราผลิตภัณฑ พัฒนาการจัดจำหนายและการจำหนายผลิตภัณฑ เนื่องจากบริษัทมีประสบการณดานการตลาด ตอผลิตภัณฑ ในกลุมนี้ไมมากนัก ดังนั้น หากไมพัฒนา สงเสริมและจำหนายผลิตภัณฑเบียรหรือ สุราที่ ใชตราผลิตภัณฑ ใหม ในตลาดที่มีระดับราคาจำหนายสูงกวาที่บริษัทจำหนายในประเทศ ในปจจุบันแลว อาจกระทบตอโอกาสเติบโตในอนาคตของบริษัท โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากความ ตองการบริโภคเบียร ในตลาดกลุมดังกลาวไดเพิ่มมากขึ้น จะทำใหความตองการบริโภคผลิตภัณฑ ของบริษัทลดลง และอาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและ โอกาสในทางธุรกิจของบริษัท การขยายกำลังการผลิตของโรงผลิตเบียรกำแพงเพชรซึ่งแลวเสร็จในป 2550 นี้ทำใหกำลังการ ผลิตเบียร โดยรวมของบริษัทเพิ่มเปนประมาณ 1,550.0 ลานลิตรตอป กลยุทธประการหนึ่งคือ การขายเบียรที่ผลิตไดเพิ่มนี้ไปยังตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งไปยังประเทศกัมพูชา ลาว และประเทศในภูมิภาคใกลเคียง อยางไรก็ดี บริษัทยังไมมีประสบการณ ในการจำหนายเบียร ใน ปริมาณสูงอยางตอเนื่องในตลาดตางประเทศมากนัก ดังนั้น จึงไมมั่นใจนักวาจะประสบความ สำเร็จในการเพิ่มยอดขายเบียร ในตางประเทศได นอกจากนี้ก็ยงั ไมแนใจวาจะสามารถจำหนายเบียรจากการขยายกำลังการผลิตไดเพิ่มขึ้น การขยาย กำลังการผลิตนี้ทำใหมีคาใชจายคงที่เพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งราคาจำหนายผลิตภัณฑเบียรดังกลาวอาจ จะไมไดกำไรในระดับทีย่ อมรับไดในเชิงพาณิชยหรือในราคาทีอ่ าจจะขาดทุน หากไมสามารถจำหนาย เบียรสวนที่ผลิตเพิ่มไดในเงื่อนไขเชิงพาณิชยที่ยอมรับได อาจจำเปนตองลดการผลิตลง ซึ่งจะ สงผลกระทบในทางลบตอการใชกำลังการผลิตของโรงผลิตเบียร และทำใหมีสวนตางกำไรลดลง ดังนั้น หากไมสามารถจำหนายผลิตภัณฑเบียรสวนที่ผลิตไดเพิ่ม อาจสงผลกระทบในทางลบตอ ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสในทางธุรกิจของบริษัท บริ ษ ั ท ได ท ำการลดความเสี ่ ย งดั ง กล า วโดยการจั ด ตั ้ ง ที ม งานขายต า งประเทศขึ ้ น ภายใต ช ื ่ อ International Beverage Holdings Limited (IBHL) เพื่อรับผิดชอบการขยายธุรกิจไปยัง ตางประเทศทั่วโลก นอกจากนั้น บริษัทไดเพิ่มประสิทธิภาพการขายใหกับพนักงานขาย โดยฝก อบรมวิธีการขายสินคาที่มีระดับราคาสูงใหกับพนักงานขายในประเทศดวย

บริษัทซื้อวัตถุดิบและพัสดุบรรจุที่จำเปนในการผลิตและจำหนายผลิตภัณฑสวนใหญจากผูจำหนายที่เปนบุคคลภายนอก ซึ่งไม อาจรับรองไดวาผูจำหนายดังกลาวจะสามารถสงวัตถุดิบและพัสดุบรรจุตามที่ตองการได ดังนั้นการดำเนินงานอาจไดรับผลกระทบ จากการขาดแคลนหรือการขึ้นราคา วัตถุดิบและพัสดุบรรจุดังกลาวไดแก กากน้ำตาล มอลต ฮอปส น้ำ ขวดแกว ฉลาก ฝาปด และ ผลิตภัณฑบรรจุหีบหออื่นๆ วัตถุดิบและพัสดุบรรจุบางประเภทซื้อขายเปนเงินสกุลอื่นนอกจากเงินบาท ดังนั้นอัตราแลกเปลี่ยน เงินตรา การควบคุมเงินตรา การควบคุมของรัฐบาล การเปลี่ยนแปลงของอุปสงคและอุปทานในตลาดโลก สภาพอากาศ อาจสง ผลกระทบตอราคาของวัตถุดิบและพัสดุบรรจุดังกลาว การเพิ่มขึ้นของราคาวัตถุดิบและพัสดุบรรจุเหลานี้จะทำใหตนทุนการผลิต สูงขึ้น ซึ่งจะทำใหผลกำไรของบริษัทลดลง ถาไมสามารถชดเชยตนทุนการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้นนี้จากผูบริโภคได นอกจากนี้ ในกรณีที่การจัดสงประสบปญหาอยางตอเนื่องอาจสงผลใหวัตถุดิบและพัสดุบรรจุมีราคาเพิ่มสูงขึ้นมาก หรืออาจมีผลกระทบตอ กระบวนการผลิตได หากไมสามารถจัดหาสิ่งทดแทนที่เหมาะสมได ปจจัยตางๆ เหลานี้อาจทำใหคาใชจายในการผลิตสูงขึ้น ซึ่งจะ กอใหเกิดผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสในทางธุรกิจของบริษัท การบริหารความเสี่ยงนี้ทำโดยการจัดซื้อวัตถุดิบและพัสดุบรรจุที่สำคัญบางประเภทลวงหนา และลดความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน โดยใชเครื่องมือทางการเงินที่เหมาะสม และไมมีนโยบายในการแสวงหากำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน การดูแลและใหความสำคัญกับบุคลากรฝายบริหารอาวุโส และการสรรหาบุคลากรทดแทน การบริหารงานในปจจุบันกระทำโดยกลุมผูบริหารและพนักงานอาวุโสจำนวนหนึ่งซึ่งมีประสบการณการทำงานที่ยาวนานในบริษัทยอย ที่ประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม หากจะตองสูญเสียบุคลากรอาวุโส หรือหาบุคลากรใหมที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมาทดแทน ไมได ก็จะเกิดผลกระทบในทางลบตอธุรกิจของบริษัท การเติ บ โตอย า งต อ เนื ่ อ งและความสำเร็ จ ของบริ ษ ั ท นั ้ น จะขึ ้ น อยู  ก ั บ ความสามารถที ่ จ ะรั ก ษาบุ ค ลากรที ่ ม ี ค ุ ณ สมบั ต ิ และมี ประสบการณดานการบริหาร การขาย การตลาด และการผลิตไวได รวมถึงการฝกอบรมพนักงานเพื่อใหสามารถปฏิบัติงาน ดานการผลิตและการจำหนายผลิตภัณฑ ไดอยางมีประสิทธิภาพ หากไมสามารถดึงดูด รักษาและจูงใจบุคลากรที่มีความชำนาญ มีคุณสมบัติและมีประสบการณสูงไวได และไมสามารถพัฒนาหรือสรรหาบุคลากรที่เหมาะสมทดแทนไดทัน ก็อาจสูญเสียลูกคาและ มีผลกำไรลดลง อยางไรก็ตาม ถึงแมวาจะประสบความสำเร็จในการดึงดูดและรักษาบุคลากรเหลานี้ไวได แตยังตองระวังถึงการ แยงชิงตัวบุคคล ทำใหตองจายคาตอบแทนเพิ่มสูงขึ้นมากเพื่อรักษาบุคลากรเหลานี้ไว ซึ่งอาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะ ทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสในทางธุรกิจของบริษัท สำนักทรัพยากรบุคคลไดริเริ่มโครงการตางๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลดานการสรรหา พัฒนา และรักษาบุคลากรที่มี ความสำคัญตอบริษัทอยางตอเนื่องและยั่งยืน


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

90

91

¤ÇÒÁàÊÕ觴ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹áÅСÒÃŧ·Ø¹ การดำเนินธุรกิจและการขยายงานของบริษัทตองใชเงินลงทุนจำนวนมาก ซึ่งมีความเสี่ยงและความไมแนนอนหลายประการ ธุรกิจของบริษัทเปนอุตสาหกรรมที่ใชเงินลงทุนจำนวนมาก การคิดคนหาผลิตภัณฑ ใหมๆ สรางโรงงานใหม บำรุงรักษาและพัฒนา โรงงานเดิมนั้น ตองใชจายในการลงทุนอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ จะตองมีคาใชจายในการติดตามการพัฒนาตลาดผลิตภัณฑเครื่องดื่ม ในประเทศและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยูตลอดเวลา การลงทุนที่ผานมาไดอาศัยเงินกูจากแหลงภายนอก จากการเพิ่มทุน และจากการใชกระแสเงินสดภายในของบริษัท บริษัท คาดวาแหลงเงินทุนที่จะใชขยายธุรกิจในอนาคต หรือใชปรับปรุงโรงผลิตเบียรและโรงงานสุรา จะมาจากการกูเงินเพิ่ม และจากการ ใชกระแสเงินสดภายใน หากไมสามารถหาแหลงเงินกูเพิ่มเติมในเงื่อนไขทางการคาที่ยอมรับได ก็อาจตองระดมทุนโดยการเพิ่มทุน ซึ่งจะสงผลกระทบทำใหสัดสวนการถือหุนลดลง นอกจากนี้ ถาไมสามารถจัดหาแหลงเงินทุนที่จำเปนเพื่อใชบำรุงรักษาหรือขยาย โรงงานได ก็อาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสในทางธุรกิจของบริษัท การบริหารความเสี่ยงดังกลาวนี้จัดการโดยใหสายงานการเงินของบริษัทเขามามีสวนวางแผนการลงทุนตางๆ อยูเสมอ เพื่อที่จะ ไดรับทราบขอมูลสำหรับใชในการจัดเตรียมโครงสรางทางการเงินที่เหมาะสมตอไป

¤ÇÒÁàÊÕè§㹡Òû¯ÔºÑμÔμÒÁ¡®ÃÐàºÕºμ‹Ò§æ การขึ้นภาษีหรือการเปลี่ยนแปลงวิธีการคำนวณภาษีอาจสงผลกระทบตอปริมาณความตองการบริโภคผลิตภัณฑของบริษัท ธุรกิจนี้จะตองชำระภาษีสรรพสามิตสำหรับการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล ภาษีมหาดไทยและเงินบำรุงกองทุนสนับสนุนการเสริมสราง สุขภาพ การขึ้นอัตราภาษีหรือการกำหนดวิธีการคำนวณภาษีใหมอาจสงผลใหตองจำหนายผลิตภัณฑที่ผลิตออกมาในราคาสูงขึ้น ซึ่งอาจมีผลทำใหปริมาณการบริโภคลดลง และรายไดจากการขายลดลงตามไปดวย นอกจากนี้ บริษัทอาจตองเปนผูรับภาระภาษี ที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดหรือบางสวน ดังนั้น เหตุการณดังกลาวขางตนอาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และโอกาสในทางธุรกิจของบริษัท กลยุทธ ในการขยายธุรกิจไปในผลิตภัณฑที่มีราคาสูงขึ้นและการขยายธุรกิจไปตางประเทศ จะมีสวนสำคัญในการลดผลกระทบตอ การเปลี่ยนแปลงทางภาษีที่มีผลตอการดำเนินงาน และฐานะทางการเงินของบริษัท การดำเนินงานในธุรกิจนี้ขึ้นอยูกับกฎระเบียบหลายประเภท การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับกฎระเบียบตางๆ อาจทำใหตนทุนสูงขึ้นหรือ มีขอจำกัดในการทำธุรกิจ การผลิตผลิตภัณฑเครื่องดื่มนั้นจะตองปฏิบัติตามมาตรฐานในการผลิต การบรรจุ การรักษาคุณภาพ การติดฉลาก และการกระจาย สินคาในประเทศ อีกทั้งตองปฏิบัติตามกฎระเบียบตางๆ ของประเทศทีส่ ง ออกไปจำหนายดวย การผลิตและการจัดจำหนายสินคานัน้ ถูกควบคุมโดยกฎหมายขอบังคับเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและสภาพในการทำงานหลายฉบับของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย และกระทรวงการคลัง การไมปฏิบัติตามหรือการฝาฝนกฏหมายหรือขอบังคับ ทั้งในปจจุบันและในอนาคตอาจทำใหมีคาใชจาย

เกิดขึ้นเปนจำนวนมาก หรืออาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและ โอกาสในทางธุรกิจของบริษัท นอกจากนี้ บริษัทยังตองปฏิบัติตามกฎเกณฑการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑเบียรและสุรา กฎเกณฑการควบคุมในปจจุบันหรือกฎเกณฑที่จะเขมงวดขึ้นในอนาคตอาจมีผลตอความสามารถ ในการทำการตลาดของผลิตภัณฑ ในปจจุบันและในอนาคตได ซึ่งอาจสงผลกระทบในทางลบตอ ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสในทางธุรกิจของบริษัท กฎขอบังคับของรัฐบาลที่จำกัดเวลาและสถานที่ขายปลีกเครื่องดื่มแอลกอฮอล หรือขอจำกัดใดๆ ที่อาจมีขึ้นในอนาคตที่ใชบังคับกับการขายปลีก จะสงผลกระทบตอการขายผลิตภัณฑ ซึ่งอาจกอ ใหเกิดผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสในทางธุรกิจของ บริษัท คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดใหหนวยงานที่เกี่ยวของติดตาม และรายงานเกี่ยวกับกฎหมาย ขอบังคับตางๆ ที่ประกาศใหมอยางตอเนื่อง เพื่อใหหนวยงานธุรกิจและหนวยผลิตสามารถพัฒนา กลยุทธการตลาด และปรับปรุงกระบวนการผลิตที่จะลดผลกระทบตอบริษัทไดอยางมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติและการยกเวนการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม อาจ สงผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสทางธุรกิจของบริษัท การดำเนินงานในธุรกิจนี้อยูภายใตกฎหมายดานสิ่งแวดลอม สุขภาพและความปลอดภัย รวมทั้ง กฎระเบียบที่เกี่ยวกับการปลอยมลพิษในอากาศ การปลอยน้ำเสียลงในแหลงน้ำและเรื่องอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ กฎหมายและกฎระเบียบดังกลาวไดกำหนดใหโรงงานตองตออายุหรือแกไขใบอนุญาต ในการดำเนินงาน การละเมิดกฎจะมีความผิดทั้งทางแพงและทางอาญา ซึ่งอาจทำใหถูกเพิกถอน ใบอนุญาตและตองปดโรงงาน ถึงแมวาบริษัทอาจมิใชผูทำผิด แตอาจตองเปนผูรับภาระคาใชจาย ในการตรวจสอบขอเท็จจริงและการกำจัดสารปนเปอนนั้น การปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม สุขภาพและความปลอดภัย รวมทั้งกฎระเบียบตางๆ จะตองมีคา ใชจา ย หากมีกฎใหมทเ่ี ขมงวดมากขึน้ หรือเปลีย่ นแปลงไปจากทีเ่ ปนอยูในปจจุบนั หรือ หากพิสูจนพบวาการดำเนินงานในอดีตไดเคยปลอยสารปนเปอน โดยที่บริษัทไมเคยทราบ หรือมี การกำหนดขอบังคับในการทำความสะอาดสารปนเปอนใหมอาจทำใหมีคาใชจายเพิ่มขึ้นในอนาคต ในจำนวนมากเกินกวาที่คาดไว อาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะการเงิน ผลการดำเนินงานและ โอกาสทางธุรกิจของบริษัท คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดใหหนวยงานที่เกี่ยวของติดตาม และรายงานเรื่องกฎหมาย ขอบังคับตางๆ อยางตอเนื่อง เพื่อใหหนวยผลิตมีเวลาปรับปรุงกระบวนการผลิตใหสามารถ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับตางๆ และลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

92

93

IBHL HIGHLIGHTS ºÃÔÉÑ· ÍÔ¹àμÍà ๪Ñè¹á¹Å ຿àÇÍàè âÎÅ´Ôé§Ê ¨Ó¡Ñ´ บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล เบฟเวอเรจ โฮลดิ้งส จำกัด (IBHL) กอตั้งขึ้นเพื่อดำเนินธุรกิจในตางประเทศใหกับ ThaiBev ผูผลิตเครื่องดื่ม ชั้นนำของเอเซีย โดยนำเครื่องดื่มแอลกอฮอลประเภทสุรา ไวน และเบียรเปยมไปดวยคุณภาพอันโดดเดนออกสูตลาดโลก ธุรกิจระดับสากลบริหารจัดการโดยสำนักงานภูมิภาคสี่แหงที่ฮองกง สิงคโปร อเมริกาเหนือ และสหราชอาณาจักร ผสานกับการผลิต สุราสก็อตชวิสกี้ชั้นแนวหนาจากโรงกลั่น 5 แหงในสก็อตแลนด ThaiBev สงออกเครื่องดื่มภายใตตราสินคาตางๆ ไปจำหนายในตางประเทศกวา 80 ประเทศทั่วโลก โดยใชการดำเนินงานจาก ทีมขายและทีมการตลาดของบริษัทโดยตรง รวมทั้งการขายผานตัวแทนจำหนายทองถิ่นในตางประเทศตามความเหมาะสม โฉมหนาที่เปลี่ยนแปลงไปของอุตสาหกรรมเครื่องดื่มโลกจะสรางโอกาสทางธุรกิจใหกับบริษัทในภายหนา ผูบริโภคตองการสินคา ระดับพรีเมีย่ มมากขึน้ อีกทัง้ มีแนวคิดทีเ่ ปดกวาง พรอมรับสินคาใหมๆ ทีม่ คี วามนาสนใจ นีเ่ ปนเพียงสองตัวอยางของความเปลีย่ นแปลง ซึ่งเราเชื่อวาจะชวยให IBHL เติบโตไดอยางแข็งแกรงในตางประเทศตามเปาหมายที่วางไว ¤ÇÒÁÊÓàÃ稢ͧ¡ÒþѲ¹ÒÃÙ»Åѡɳ ¼ÅÔμÀѳ± ËÅÑ¡¢Í§ä·Âà¾×èÍÊ‹§ä»¨Ó˹‹ÒÂÂѧμÅÒ´Ê‹§ÍÍ¡·ÕèÊÓ¤ÑÞ การออกกฎหมายตอตานการผูกขาดทางการคาของประเทศไทยในป 2542 อาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน การดำเนินงานและโอกาสในทางธุรกิจของบริษัท พระราชบัญญัติการแขงขันทางการคา พ.ศ. 2542 หามปฏิบัติสิ่งที่ตอตานการแขงขันทางการคา และใหอำนาจคณะกรรมการ การแขงขันทางการคา สั่งใหผูประกอบธุรกิจที่มีอำนาจเหนือตลาด ระงับ หยุด หรือเปลี่ยนแปลงสวนแบงในตลาด นอกจากนี้ ยังมี อำนาจสั่งใหผูที่ประกอบธุรกิจอยางไมเปนธรรม ระงับ หยุดหรือแกไขเปลี่ยนแปลงการกระทำดังกลาว หากผูมีอำนาจเหนือตลาด กระทำการอันไมเปนธรรม เชน กำหนดราคาหรือกำหนดเงื่อนไขในลักษณะที่เปนการบังคับ คณะกรรมการการแขงขันทางการคา มีอำนาจตามพระราชบัญญัติในการสั่งใหผูประกอบธุรกิจ ระงับ หยุด หรือเปลี่ยนแปลงการกระทำดังกลาวได ดวยเหตุที่บริษัท เปนผูผลิตเบียรและสุรารายใหญที่สุดในประเทศ ผลิตภัณฑหลายประเภทมีสวนแบงในตลาดสูง จึงอาจถูกคูแขงและบุคคลอื่นใด ฟองรองได โดยกลาวหาวาปฏิบัติผิดกฎหมาย ดังนั้น พระราชบัญญัติดังกลาวและกฎเกณฑที่ประกาศใชภายใตพระราชบัญญัตินี้ จึงอาจมีผลกระทบในทางลบตอฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสในทางธุรกิจของบริษัท คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดมอบหมายใหสำนักกฎหมาย ศึกษา ติดตาม กฎหมายดังกลาวอยางใกลชิด และใหสำนักกฎหมาย ใหความรูแกหนวยงานตางๆ ของบริษัท เพื่อปองกันไมใหเกิดการกระทำผิดขึ้น บริษัทไดมีการจัดการบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดจัดประชุมเพื่อพิจารณาทบทวน ระดับความเสี่ยงตางๆ รวมทั้งออกมาตรการ และอนุมัติงบฉุกเฉินในการบริหารจัดการความเสี่ยงปละ 4 ครั้งเปนอยางนอย เพื่อให เกิดความมั่นใจวาความเสี่ยงเหลานั้นมีผูรับผิดชอบ และมีการวางแผนการดำเนินงานอยางรอบคอบ เพื่อหากกรณีเกิดเหตุสุดวิสัย ความเสียหายที่เกิดขึ้นก็จะบรรเทาลง

เรามุงมั่นที่จะสรางแบรนดผลิตภัณฑ ใหมีความแข็งแกรงและมีเอกลักษณ โดดเดนใหเปนที่ประจักษ ในตลาดเปาหมายหลักทั่วโลก โดยในป 2550 ที่ผานมา เราสามารถพัฒนาโฉมบรรจุภัณฑเบียรชางกับสุราแมโขงใหโดดเดนและเปดตัวใหมเขาสูเวทีตลาดโลก ไดอยางประสบผลสำเร็จ • เบียรชาง ซึ่งเปนเบียรยอดนิยมอันดับหนึ่งของไทย ไดรับการปรับโฉมบรรจุภัณฑ ใหมและนำออกสูตลาดในโลกตะวันตก ที่สำคัญไดแกสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ยุโรป และออสเตรเลีย โดยเนนไปที่ตลาดนำเขาเบียรระดับพรีเมี่ยม • สุราแมโขงก็ไดรับการปรับรูปโฉมใหดึงดูดผูชื่นชอบการดื่มสุรามากยิ่งขึ้น โดยจัดจำหนายในภัตตาคารระดับหรูหราและใน บารค็อกเทลที่ยุโรปและอเมริกาเหนือ พรอมกับการนำสูตรการผสมค็อกเทลที่ถูกพัฒนาขึ้นจากแรงบันดาลใจในความ เปนไทย ¡ÒûÃѺâ©Áà» ´μÑÇãËÁ‹¢Í§ÁÍÅμ ÇÔÊ¡Õéª×èʹѧ บริษัทประสบความสำเร็จในการปรับโฉมบรรจุภัณฑ Balblair ซึ่งเปนหนึ่งในผลิตภัณฑมอลตวิสกี้ระดับพรีเมี่ยมของบริษัทและ ทำการเปดตัวใหมออกสูตลาดในงานเปดตัวที่จัดขึ้นในป 2550 ซึ่งจัดขึ้นอยางยิ่งใหญที่สุดที่เคยจัดมาสำหรับการเปดตัวมอลตวิสกี้ ชนิด Single Malt เอกลักษณใหมท่โี ดดเดนนี้ไดรบั การจัดทำอยางประณีตและนำเสนอในรูปแบบของปทผ่ี ลิตบงบอกถึงความเปนเลิศของผลิตภัณฑทม่ี อบให ผูดื่มวิสกี้ทั่วยุโรป อเมริกาเหนือและผูดื่มในเอเชียซึ่งเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว โรงกลั่นอินเวอรเฮาสที่ InterBev ซื้อกิจการมาในป 2549 นั้นไดรับประโยชนจากการเติบโตของตลาดสก็อตชวิสกี้ รวมทั้งการ ปรับเปลี่ยนกลยุทธที่เนนในการสรางมอลตวิสกี้แบรนดสำคัญๆ มากขึ้น จึงสงผลใหกำไรกอนหักภาษีเพิ่มสูงขึ้นอยางมากเมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของป 2549


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

94

95

¾¹Ñ¡§Ò¹¢Í§àÃÒ.... ¤ÇÒÁÊÓàÃ稢ͧàÃÒ

เราเชือ่ มัน่ เสมอมาวา พนักงานของเราเปนกลไกสำคัญในการผลักดัน ใหเกิดการเจริญเติบโตอยางยั่งยืนสูความสำเร็จในอนาคต นับไดวา ทุนดานทรัพยากรบุคคล เปนเสาหลักที่สำคัญยิ่งตอยุทธศาสตรการ เติบโตขององคกร เรามุง มัน่ พัฒนาใหทมี งานมีความสุข มีความมุง มัน่ และมีผลการปฎิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ พรอมกับมีความรับผิดชอบ ตอสังคม ตามคำจำกัดความของเรานั้น บุคลากรที่มีศักยภาพสูง หมายถึง ผูท ม่ี สี ว นทำประโยชนใหองคกรประสบความสำเร็จ และสราง ประโยชนใหกบั สังคม บุคลากรของเราจะเติบโตไปพรอมๆ กับธุรกิจ ขององคกรทัง้ ในดานการพัฒนาทักษะ และโอกาสทางอาชีพ เราไดรเิ ริม่ โครงการพัฒนาองคกรและบริหารทรัพยากรบุคคล เพือ่ ทำใหการบริหาร จัดการและการพัฒนาบุคคลากรสอดคลองกับกลยุทธทางธุรกิจและ ทิศทางขององคกร โครงการนีจ้ ะทำใหแนวทางการบริหารและพัฒนา บุ ค ลากรตอบสนองต อ ความต อ งการทางธุ ร กิ จ ขององค กรโดย ครอบคลุมทุกองคประกอบ ไดแก การวางแผนกำลังคน การวางแผน และการบริหารทรัพยากร บริหารจัดการบุคลากร ซึ่งอยูบนพื้นฐาน ของวัฏจักรการเติบโตของบุคลากรในองคกร ไดแก การวางแผนความ กาวหนาในอาชีพ การบริหารจัดการผลการปฏิบัติงาน การบริหาร จัดการผลตอบแทน การเรียนรูและการพัฒนา การรักษาบุคคลากร และการบริหารจัดการสถานที่ในการทำงาน

¡ÒèѴ¡ÒúÃÔËÒúؤÅÒ¡Ã

เราใสใจความตองการที่แตกตางกันของบุคลากรแตละกลุมงาน โดย คำนึงถึงความแตกตางของงานที่ปฏิบัติ เราจัดแบงบุคลากรเปน กลุมตามลักษณะของเนื้องาน และความถนัดที่แตละงานตองการ เพื่อใหสามารถพัฒนากลไกการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย ให

ตรงกับความตองการของกลุมบุคลากร ขณะเดียวกันก็สามารถ จั ด สรรโอกาสในการพั ฒ นาอาชี พ ตามความเหมาะสมของ ลักษณะงาน นอกจากนั้น ไดมีการวางแผนการพัฒนาอาชีพที่ เหมาะสมกับบุคลากรแตละกลุมงาน ซึ่งตองสอดคลองกับความ ตองการของบุคลากรตอความกาวหนาในอาชีพและการเติบโต ทางธุรกิจขององคกร

âÍ¡ÒÊ¡ŒÒÇ˹ŒÒ·Ò§ÍÒªÕ¾

โอกาสในความกาวหนาของบุคลากรจะดำเนินไปพรอมๆ กับการ เติบโตทางธุรกิจขององคกร ซึ่งเอื้อใหบุคลากรของเราไดรับโอกาส ที่กวางขึ้น ไมเพียงแตเฉพาะในธุรกิจที่ทำอยูในปจจุบันเทานั้น แตโอกาสยังเปดกวางไปสูธุรกิจอื่นๆ ในกลุมของ ThaiBev ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ โอกาสสำหรับบุคลากรของเรา ไรขีดจำกัด โครงการ ‘แลกเปลี่ยนพนักงาน’ กับบริษัทในเครือ ที่มีวัตถุประสงค ใหบุคลากรของเราสามารถพัฒนาประสบการณและองคความรู ด ว ยการทำงานกั บ องค กรและผู  ร  ว มงานที ่ ม ี ความหลากหลาย ทั้งหมดนี้ไมเปนเพียงแคโอกาสทางอาชีพ แตเปนโอกาสในการ เรียนรู ซึ่งไดพิสูจนแลววามีคุณคาตอบุคลากรและธุรกิจของเรา

¡ÒúÃÔËÒüšÒû®ÔºÑμÔ§Ò¹

โดยเราไดนำระบบตัวชี้วัด (Key Performance Indicators - KPI) มาใชในการบริหารจัดการผลการปฏิบัติงานของทั้งหนวยงานและ บุคลากร ซึ่งกระบวนการนี้จะชวยใหเกิดความสอดคลองระหวาง ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรกับเปาหมายขององคกร นอกจากนั้น ยังสนับสนุนใหเกิดวัฒนธรรมในการทำงานที่มุงเนนผลลัพธของงาน

ทั้งนี้ผูบริหารทั้งระดับสูง ระดับกลาง และบุคลากร มีสวนใน การกำหนด กำกับดูแล และผลักดันใหเกิดผลลัพธ รวมทัง้ กระบวนการ ในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานเพื่อใหเกิดการบริหาร จัดการอยางเปนระบบ

¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ áÅоѲ¹Ò¡ÒÃ

เราเชื่อมั่นที่จะใหโอกาสแกบุคลากรในการเรียนรูและพัฒนาตนเอง ในการวางแผนพัฒนาบุคลากรนัน้ ไดกำหนดใหมคี วามสอดคลองกับ แผนกลยุทธขององคกร เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่สำคัญ และจำเปนตอการเติบโตทางธุรกิจ การพัฒนาบุคลากรดำเนินการใน หลากหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนการฝกอบรมทั้งในประเทศและตาง ประเทศ การฝกฝนภายใตกระบวนการทำงาน โดยมีผมู ปี ระสบการณ ใหคำแนะนำ รวมทัง้ โครงการ Mini MBA เพือ่ เตรียมความพรอมการ พัฒนาผูบริหารระดับกลาง ซึ่งดำเนินการรวมกับจุฬาลงกรณมหา วิทยาลัย นอกจากนัน้ ยังมีโครงการพัฒนาผูเ ชีย่ วชาญในการผลิตสุรา และเบียร ที่ไดมาตรฐานระดับโลก โดยผานการทดสอบจนไดรบั การ รับรองจากองคกรระดับสากล บุคลากรของ ThaiBev มีโอกาสฝกฝน ทีจ่ ะเรียนรูจ ากโครงการพัฒนาประสิทธิภาพ โดยแตละหนวยงานจะทำ การวิเคราะหและเสนอแนะแนวทางใหมๆ ในการดำเนินงานเพือ่ กอให เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลทีเ่ พิม่ ขึน้ แนวคิดและขอเสนอแนะ ตางๆ เหลานั้นจะถูกรวบรวมอยูในฐานขอมูลที่เปนองคความรูของ องคกร (knowledge database) เพื่อใหเปนประโยชนแกผูอื่นใน องคกรและสรางใหเกิดเปนองคกรแหงการเรียนรูต อ ไป

¾Åѧ¢Í§¡Ò÷ӧҹ໚¹·ÕÁ : ¾Åѧ¢Í§¤ÇÒÁ໚¹Ë¹Öè§

ในองคกร ThaiBev เรา เชือ่ มัน่ ในการทำงานเปนทีม เรายึดถือพลังจาก การเปนน้ำหนึ่งใจเดียวกัน และพลังจากพนักงานทุกคนเมื่อมารวม แบงปนความรูแ ละทำงานรวมกัน โครงสรางองคกร กระบวนการทำงาน และการมอบหมายงาน สงเสริมใหเกิดการทำงานเปนทีมทัว่ ทัง้ องคกร ทั้งภายในและระหวางหนวยงาน ดังนั้น ความหมายของเรากับการ ทำงานเปนทีมก็คอื การทำงานเปนทีมเดียวกันไดอยางมีประสิทธิภาพ จากหลากหลายหนวยงาน นอกจากนัน้ แนวทางการเรียนรูแ ละพัฒนา บุคลากรยังเนนการพัฒนาการทำงานเปนทีม และการสรางทีมที่มี ประสิทธิภาพ ดังนั้นในการประเมินการผลปฏิบัติงานของบุคลากร ปจจัยหนึง่ ทีเ่ รานำมาใช คือ ความสามารถในการทำงานเปนทีมและ การประสานสัมพันธกับบุคลากรอื่นๆ ทั้งในหนวยงานเดียวกันและ ตางหนวยงาน เราตัง้ เปาหมายในการปลูกฝงการทำงานเปนทีมอยาง ตอเนือ่ งและยึดถือเปนคานิยมในองคกรของเรา พลังของความเปนหนึง่ จะเกิดขึ้นไดอยางแทจริงเมื่อบุคลากรของเราทำงานรวมกันไดอยาง มีประสิทธิภาพ และเราจะทำทุกอยางใหสิ่งนี้เกิดขึ้นใหไดในองคกร กาวหนา องคกรสมรรถนะสูง (High Performance Organization) เกิดขึ้นไดจากบุคลากรที่มีศักยภาพสูง และมีผลการปฏิบัติงานที่มี ประสิทธิภาพ การสรางและพัฒนาบุคคลากรใหมีทักษะ ความรู ความสามารถ เปนความมุง มัน่ ของ ThaiBev เพือ่ ใหบคุ ลากรไดมโี อกาส ในการเติบโตทางอาชีพอยางเต็มที่ไปพรอมกับการเติบโตขององคกร ทัง้ ในประเทศและตางประเทศ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

96

97

»ÃСÒÈ¡ÒèѴ Íѹ´Ñºà¤Ã´Ôμͧ¤ ¡Ã

àÁ×èÍÇѹ·Õè 18 ¡ØÁÀҾѹ¸ 2551 㹡Ò÷º·Ç¹¡ÒèѴ Íѹ´Ñºà¤Ã´Ôμ»ÃШӻ‚¹Ñé¹ ºÃÔÉÑ· ·ÃÔ Ê à÷μÔ é §

¨í Ò ¡Ñ ´ (“Tris”) ¤§ÍÑ ¹ ´Ñ º à ¤ à ´Ô μ ͧ¤ ¡ à áÅÐËØŒ ¹ ¡ÙŒ ÁÕ ¡ Òäíé Ò » à Р¡Ñ ¹ «Ö觤§¤ŒÒ§ÍÂÙ‹¨íҹǹ 3,000 ŌҹºÒ· ã¹ÃÐ´Ñ º à´Ô Á ·Õè AA-áÅÐ Outlook à·‹ Ò ¡Ñ º Stable และเพื่อสรางความคลองตัวในตลาดการเงินระดับสากล บริษัทไดใหสถาบันจัดอันดับเครดิตที่มี ชื่อเสียงในสากล Standard and Poors (“S&P”) และ Moody’s Investors Service Pty Limited (“Moody’s”) มาจัดอันดับเครดิตใหบริษัท ซึ่งเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2550 S&P ประกาศผลการ จัดอันดับเครดิตองคกร ที่ระดับ BBB และ Outlook เทากับ Stable และในวันเดียวกัน Moody’s ประกาศผลการจัดอันดับเครดิตองคกร ที่ระดับ Baa2 และ Outlook เทากับ Stable หมายเหตุ: Tris ไดจัดอันดับเครดิตใหประเทศไทยเทากับ AAA , S&P ให BBB+ และ Moody’s ให Baa1 ผลการจัดอันดับเครดิตของ Tris, S&P และ Moody’s สามารถเปลี่ยนแปลงเพิกถอน เมื่อมีเหตุการณอยางหนึ่งอยางใดเกิดขึ้น อันอาจมีผลกระทบตอการจัดอันดับเครดิต และ/หรือทุกๆ ป และ/หรือทบทวนผลการจัดอันดับเครดิตตามที่บริษัทจัดอันดับเครดิตเห็นสมควร


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

98

99

ÃÒ§ÇÑÅ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ไดจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยสิงคโปรดวยความมุงมั่นที่จะพัฒนาใหบริษัทเปนบริษัท มหาชนทีย่ ดึ หลักธรรมาภิบาลในการประกอบธุรกิจ ในคราวทีบ่ ริษทั ดำเนินการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยสิงคโปร บริษัทไดแสดง เจตนารมยที่จะยึดมั่นในการปฎิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของ ตลาดหลักทรัพย ในการเปดเผยขอมูลและความโปรงใส รวมถึง ความพยายามที่จะปฏิบัติใหดียิ่งกวาที่กฎระเบียบขอบังคับกำหนด ไวดวย ความพึงพอใจของผูถือหุนที่ไดรับบริการจากเราตั้งแต แรกเริ่ม คือตัววัดความสำเร็จของบริษัท บริษัทฯ มีความภูมิใจ ที ่ ไ ด ร ั บ การยอมรั บ ในเวลาเพี ย งไม นานหลั ง จากจดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพยสิงคโปร โดยไดรับรางวัล “Merit Award” สาขา บริ ษ ั ท ที ่ โ ปร ง ใสสู ง สุ ด สำหรั บ บริ ษ ั ท จดทะเบี ย นใหม ใ นตลาด หลักทรัพยสิงคโปร ในป 2549 จากสมาคมนักลงทุนหลักทรัพย แหงสิงคโปร (Securities Investor Association of Singapore หรือ SIAS) การที่บริษัทไดรับรางวัลนี้แสดงใหเห็นถึงความโปรงใสใน การดำเนินธุรกิจในอันดับตนๆ ของกลุมบริษัทจดทะเบียนใหม จาก การจัดกิจกรรมเพื่อเผยแพรขอมูลใหกับนักลงทุนและสื่อมวลชน เปนประจำอยางตอเนื่อง และการดำเนินธุรกิจอยางโปรงใส

“รุดหนาสูความเปนหนึ่งกับ ไทยเบฟเวอเรจ ความภูมิใจ ของธุรกิจไทย”

Thai Beverage PLC. wins the “2006 Merit Award for Transparency among Newly-listed Companies (New Issue) on the Singapore Exchange”

ทั้งนี้ บริษัทที่มีคุณสมบัติไดรับรางวัลนักลงทุนสัมพันธยอดเยี่ยม จะไมไดจำกัดเพียงการเปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย สิงคโปรตามที่เขาใจกันทั่วไปเทานั้น แตการพิจารณาจะรวมถึง บริษัทในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้งหมดที่ดำเนินกิจกรรม ดานนักลงทุนสัมพันธไมวาในรูปแบบใดในประเทศสิงคโปรในปนั้นๆ ในป 2550 ไมปรากฏวามีบริษัทอื่นไดรับการประกาศชื่อในตำแหนง รองลงมา Acclaim for “Capital Markets Deal of the Year 2006”

Whisky Magazine for “Icons of Whisky Distiller of the Year 2008”

IR Magazine accolades for “Best Investor Relations” 2006 and 2007

หลังจากที่ไดรับรางวัลดังกลาว บริษัทไดรับรางวัลสาขาบริษัทไทย ที่มีสวนนักลงทุนสัมพันธที่ดีที่สุดประจำป 2549 (2006 Best Investor Relations in the Singapore Market by a Thai Company) จากนิตยสาร IR Magazine ซึ่งเปนนิตยสารเกี่ยวกับ งานนักลงทุนสัมพันธจากสหราชอาณาจักรที่เผยแพรไปทั่วโลก และยิ่งไปกวานั้น การไดรับรางวัลเดียวกันนี้ ในป 2550 เปนป ที่สอง ไดแสดงใหเห็นวาบริษัทไมไดลดละความพยายามในการ รักษาระดับมาตรฐานดานการสื่อสารกับนักลงทุน คณะกรรมการ ผูตัดสินรางวัลไดเผยถึงสาเหตุที่มอบรางวัลดังกลาวใหกับบริษัท วา “บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) มีบุคลากรที่มีความ สามารถในงานดานนักลงทุนสัมพันธ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดาน การใหขอมูลเกี่ยวกับธุรกิจ การเปดเผยขอมูล และความรอบรูใน เรื่องธุรกิจของบริษัท”

และแนะนำโดย Council on Corporate Disclosure and Governance และ Institute of Certified Public Accountants of Singapore เพื่อยกระดับการรับรู โดยสงเสริมการรายงานความรับ ผิดชอบตอสังคม ที่กลาวถึงความรับผิดชอบของบริษัทและองคกร ที่มีตอชุมชน ทั้งในฐานะผูจางงาน และพลเมือง” นอกจากบรรษัทภิบาลแลว ผลิตภัณฑของไทยเบฟยังไดรับการ ยอมรับเรือ่ งคุณภาพในระดับสากล ไทยเบฟภาคภูมิใจกับเบียรอาชา ที ่ ช นะรางวั ล เหรี ย ญทองจากการประกวดเบี ย ร นานาชาติ แ ห ง ประเทศออสเตรเลีย (Australian International Beer Awards หรือ AIBA) ในป 2550 ในประเภทเบียรลาเกอรสไตลยุโรป (European Lager Division) บริษัทฯ ยังไดรับเกียรติในฐานะที่ เปนบริษัทไทยบริษัทแรก ที่ไดรับรางวัลเหรียญทองจากสถาบัน AIBA สำหรับเบียรชาง ในป 2541 ซึ่งเปนการประกวดเบียรที่ เปนที่ยอมรับทั่วโลก

นอกจากนี้ การที่บริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยสิงคโปร โดยเปนหนึ่งในบริษัทที่มีมูลคาตลาดรวมสูงสุด จึงทำใหการเขา จดทะเบียนครั้งนี้เปนที่รับรูและไดรับการเสนอชื่อสำหรับรางวัล IFR Asia Awards ประจำป 2549 ในเดือนกุมภาพันธ 2550 นิตยสาร IFR Asia ไดมอบรางวัล “บริษัทที่มีการระดมทุนในตลาด สิงคโปรที่ยิ่งใหญ และยอดเยี่ยมที่สุดแหงป 2549” (Thailand Capital Market Deal of the Year - Singapore IPO 2006) จาก การเสนอขายหลักทรัพยเปนการทั่วไปครั้งแรกตอประชาชนใน ประเทศสิงคโปร มูลคา 1.37 พันลานเหรียญสิงคโปร

โรงกลั่นสุรา Inver House ไดรับยกยองใหเปน “โรงกลั่นสุราดีเดน แหงป” ในเดือนกุมภาพันธ 2551 โดยสามารถเอาชนะคูแขงโรงกลั่น สุราชั้นนำทั่วโลกรวมถึงโรงกลั่นสุราจากประเทศญี่ปุน ไอรแลนด แคนาดา อินเดีย สวีเดน และสหรัฐอเมริกา โรงกลัน่ สุรา Inver House ที่ไดเปดตัววิสกี้ Single Malt ภายใตแบรนด Balblair ออกสูต ลาดโลก อีกครั้ง ในฐานะวิสกี้ระดับซุปเปอรพรีเมี่ยม (Super-premium ‘vintage’) เมื่อปที่ผานมา สามารถผานเขารอบสุดทายในการ แขงขัน ‘Icons of Whisky’ โดยเริ่มจากชัยชนะจากการแขงขัน ที่จัดขึ้นที่ประเทศสก็อตแลนด โดยสามารถเอาชนะโรงกลั่นคูแขง Glenmorangie, Bowmore และ William Grant & Sons กอนที่จะไดรับรางวัลชนะเลิศ จากการเอาชนะคูแขงในรอบสุดทาย จากเจ็ดประเทศทั่วโลก จุดประสงคของรางวัลที่ไดรับการลงคะแนน จากผูเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมดังกลาวคือเพื่อยกยองบริษัทที่ “มีพันธะสัญญาตอการพัฒนาคุณภาพวิสกี้ในทุกระดับมากที่สุด” และสินคาเปนที่ตองการของผูบริโภคมากที่สุด

และเมื่อไมนานมานี้ ไทยเบฟไดรับรางวัลเหรียญเงินรายงาน ประจำปยอดเยีย่ ม ในประเภทบริษทั จดทะเบียนใหม จาก Singapore Corporate Awards รางวัลดังกลาว จัดขึ้นโดย Business Times ดวยความรวมมือกับ UBS, AG และโดยการสนับสนุนจากตลาด หลักทรัพยสิงคโปร รางวัลนี้จัดขึ้นเพื่อ “สนับสนุนการรายงานผล การดำเนินงานทางการเงินที่ยอดเยี่ยม และการเปดเผยขอมูลมาก กวาที่ขอกำหนดขั้นตนระบุ…เพื่อสรางการรับรูบทบาทของทั้ง มาตรฐานการบัญชีที่เปนพื้นฐานบังคับ และที่ไมไดบังคับซึ่งกำหนด

คณะกรรมการผูตัดสินยกยอง Inver House ที่ไดมอบ “ความรักที่ เปยมไปดวยชีวิตชีวา แรงบันดาลใจและความทุมเท” สูโลกแหงวิสกี้ คณะกรรมการทานหนึ่งกลาววา “Inver House ไดบุกเบิกโลกแหง วิสกี้อยางสรางสรรค และเราเชื่อวาทีมงาน Inver House ลวนมี ความรักในงานทีท่ ำอยางแทจริง และไดใสความคิดทีม่ ชี วี ติ ชีวาลงไป ในงานทุกชิ้นที่ทำ พวกเขาไดสรางสรรคงานที่ยอดเยี่ยม และคณะ กรรมการทุ ก ท า นล ว นสนั บ สนุ น ชั ย ชนะของ Inver House อยางจริงใจ”


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

100

101

ÃÒ§ҹ ¡ÒáӡѺ ´ÙáÅ¡Ô¨¡ÒÃ

วันที่ 30 พฤษภาคม 2549 เปนวันที่จะอยูในความทรงจำของเรา ตลอดไป เพราะเปนวันที่ชื่อ THBEV เริ่มปรากฏบนกระดานหุน ของตลาดหลักทรัพยสิงคโปรเปนครั้งแรก THBEV ประกอบธุรกิจ ดวยความมุงมั่นที่จะเพิ่มมูลคาหุนเพื่อสรางผลประโยชน ใหแก ผูมีสวนไดเสียของบริษัท และไมวาวันเวลาจะผานไปนานเพียงใด ความมุง มัน่ ในการกำกับดูแลกิจการตามหลักบรรษัทภิบาลของบริษทั จะไมมีวันเปลี่ยนแปลง บริษัทยึด Singapore Code of Corporate Governance 2005 เปนแนวทางในการกำกับดูแลกิจการเสมอมา ในป 2551 นี้ บริษัทมีความภาคภูมิ ใจอยางยิ่งที่ ไดรับรางวัล บริษัทไทยที่มีสวนนักลงทุนสัมพันธที่ดีที่สุดประจำป 2550

¡Òû¯ÔºÑμÔ§Ò¹¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ËÅѡࡳ± ·Õè 1

คณะกรรมการบริ ษ ั ท มี ห น า ที ่ ก ำกั บ ดู แ ลธุ ร กิ จ และภารกิ จ ของ บริ ษ ั ท ให เ ป น ไปตามที ่ ผ ู  ถ ื อ หุ  น อนุ ม ั ต ิ แ ละตามกฎหมายที ่ ใ ช บังคับกับบริษัท ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทจะตองใชวิจารณญาณ และความรอบคอบในการตัดสินใจทางธุรกิจ และปฏิบัติหนาที่ ดวยความสุจริตเพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดของบริษัท

ในป น ี ้ มี การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ั ท รวม 10 ครั ้ ง ดั ง มี ร ายละเอี ย ดในการเข า ประชุ ม ของกรรมการแต ล ะท า น นั บ ถึ ง วั น ที ่ 31 ธันวาคม 2550 ตอไปนี้ ชื่อ ตำแหนง จำนวนครั้งที่เขาประชุม/จำนวนการประชุมทั้งหมด 1. นายเจริญ สิริวัฒนภักดี ประธานกรรมการ 9/10 2. คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี รองประธานกรรมการ 9/10 3. นายณรงค ศรีสอาน รองประธานกรรมการ 9/10 4. นายโกเมน ตันติวิวัฒนพันธ รองประธานกรรมการ 10/10 รองประธานกรรมการ 1/10 5. นายไพศาล ชีวะศิริ (1) 6. นายภุชชงค ชาญธนากิจ กรรมการ 10/10 7. นายสถาพร กวิตานนท กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 7/10 8. ศาสตราจารยคนึง ไชย กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 10/10 9. นายมนู เลียวไพโรจน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 9/10 10. นายอึ๊ง ตัก พัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 6/10 11. นายไมเคิล เลา ไวย เคียง กรรมการอิสระ 9/10 กรรมการอิสระ 8/10 12. ศาสตราจารยนายแพทยพรชัย มาตังคสมบัติ 13. นายศักดิ์ทิพย ไกรฤกษ กรรมการอิสระ 7/10 14. พลเอกนายแพทยชูฉัตร กำภู ณ อยุธยา กรรมการอิสระ 9/10 15. นายวิวัฒน เตชะไพบูลย กรรมการ 4/10 16. นายปณต สิริวัฒนภักดี (2) กรรมการ 6/10 17. นายสมุทร หัตถสิงห กรรมการ 8/10 18. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี (3) กรรมการผูอำนวยการใหญ 9/10 19. นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย กรรมการ 10/10 20. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร กรรมการ 10/10 21. นายอวยชัย ตันทโอภาส กรรมการ 9/10 22. ดร. พิษณุ วิเชียรสรรค กรรมการ 8/10 23. นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ กรรมการ 10/10 หมายเหตุ (1) นายไพศาล ชีวะศิริ ลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 (2) นายปณต สิริวัฒนภักดี ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการบริษัทแทน นายไพศาล ชีวะศิริ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2550 (3) นายฐาปน สิริวัฒนภักดี ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการผูอำนวยการใหญ โดยคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2551


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

102

เรื่องที่ตองไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีหนาที่รับผิดชอบสูงสุดในการบริหาร จัดการธุรกิจ การดำเนินงานของบริษัท รวมทั้งกำกับดูแลให กิจการของบริษทั ดำเนินไปตามกฎหมาย หนังสือบริคณหสนธิและ วัตถุประสงคของบริษทั นอกจากการกำกับดูแลใหการบริหารงาน เปนไปตามมติของผูถือหุนโดยสุจริตแลว คณะกรรมการบริษัท ยังมีหนาที่กำกับดูแลใหทั้งบริษัทและบริษัทยอยทั้งหมดปฏิบัติ ตามกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพยสิงคโปรอกี ดวย ทั้งนี้จะตองมีการประชุมคณะกรรมการบริษัทไมนอยกวา 4 ครั้ง ตอปตามกฎหมาย โดยในระหวางป 2550 คณะกรรมการบริษัท ไดมีการประชุมมากคราวกวาที่กฎหมายกำหนดเพื่อพิจารณา วาระพิเศษตางๆ กลาวโดยสรุปคือคณะกรรมการบริษัทมีหนาที่กำกับดูแลการ ดำเนินกิจการใหเปนไปตามแผนธุรกิจหลักของบริษัท รวมถึง ควบคุมดูแลการบริหารงานของบริษัทยอยดวย การฝกอบรม กรรมการบริษัททุกทานไดผานการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) จากสมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย นอกจากนี้ กรรมการบางทานยังไดผา นการ อบรมในหลักสูตร Director Certification Program (DCP) จากสถาบันเดียวกันอีกดวย นอกจากนี้ บริษัทยังสงเสริมและ สนับสนุนใหกรรมการบริษัทเขาใจกฎหมายของประเทศสิงคโปร และกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพยสิงคโปรที่มีผลบังคับใชกับ บริษัท โดยการจัดฝกอบรมภายในบริษัท และการแจงขอมูล ขาวสารตางๆที่เกี่ยวของใหกรรมการทราบอยูเสมอ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัททุกทานไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับ บทบาทหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการ ณ วันทีเ่ สนอให แตงตั้งใหเปนกรรมการบริษัท

ͧ¤ »ÃСͺ áÅÐá¹Ç·Ò§»®ÔºÑμԢͧ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ËÅѡࡳ± ·Õè 2 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทของบริษัทประกอบดวยกรรมการ 22 ทาน และในจำนวนนี้มีกรรมการอิสระ 8 ทาน ซึ่งมากกวาหนึ่งใน

สามของจำนวนกรรมการทั้งหมด กรรมการบริษัททุกทานลวน เปนผูมีประสบการณทางธุรกิจเปนเวลานาน หรือเปนผูที่มี ตำแหนงอันทรงเกียรติ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษทั แตงตัง้ คณะกรรมการบริหาร จำนวน 12 ทาน จากคณะกรรมการบริ ษ ั ท บางท า นดำรงตำแหน ง ผู  บ ริ ห าร ระดับสูงของบริษัท และเพื่อชวยในการพัฒนาการบริหารงาน ของบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดมอบอำนาจแกคณะกรรมการ บริหารในการทำหนาที่บริหารกิจการแทนคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารยังแตงตั้งคณะกรรมการอื่น ๆ อีกสี่คณะ ประกอบดวยคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง คณะกรรมการสรรหา และคณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทน ทั้งนี้เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหนาที่ของ คณะกรรมการบริ ษ ั ท ในการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษ ั ท ให ดำเนินไปดวยดี โดยปกติ คณะกรรมการบริหารจะประชุมกันเดือนละหนึ่งครั้ง เพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัท หรือมาก กวาหนึ่งครั้งหากจำเปนตองพิจารณาและอนุมัติเรื่องสำคัญ หรือเรงดวน นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังแตงตั้งกรรมการบริหารให ดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทในเครือ ทั้งที่อยูในประเทศและ ตางประเทศเพื่อรักษาผลประโยชนของบริษัท หนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร มีดังตอไปนี้ • จั ด ทำและนำเสนอแผนธุ ร กิ จ กำหนดเป า หมาย แผนปฏิบัติงาน กลยุทธทางธุรกิจ ตลอดจนงบประมาณ ประจำป เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัท • กำหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และขอบขายอำนาจของ ผูบริหาร เพื่อขออนุมัติตอคณะกรรมการบริษัท • ติดตามผลการบริหารงานภายในกลุมบริษัทใหเปนไป ตามแผนการ เป า หมาย แผนปฏิ บ ั ต ิ ง าน กลยุ ท ธ งบประมาณ และอำนาจการบริหารตามที่คณะกรรมการ บริษัทไดอนุมัติ เพื่อสรางเสริมประสิทธิภาพโดยรวม ขององคกร และเอื้อตอเงื่อนไขทางธุรกิจ • เสนอแผนการลงทุน การกูยืม หรือการใหกูยืม รวมทั้งการ เปนผูค้ำประกัน หากธุรกรรมนั้นๆ สอดคลองกับแนวทาง ธุรกิจปกติของกลุมบริษัท

103

• พิจารณาอนุมัติสั่งจายตามที่คณะกรรมการบริษัทกำหนด • กำหนดโครงสรางองคกรและการบริหารของกลุมบริษัทตอคณะกรรมการบริษัท • กำกับดูแลและพิจารณาอนุมัติการวาจางและผลตอบแทนที่เกี่ยวของกับบริษัท (ที่นอกเหนือจากประเด็นที่อยูในความดูแล ของคณะกรรมการสรรหา) • อนุมัติการแตงตั้งผูแทนของบริษัทเขาดำรงตำแหนงเปนกรรมการ และ/หรืออนุกรรมการในบริษัทยอย เพื่อควบคุมใหการ ดำเนินงานเปนไปตามนโยบายทางธุรกิจ เปาหมาย แผนงาน กลยุทธ งบประมาณ และอำนาจการบริหารอื่นๆ ตามที่คณะ กรรมการบริษัทไดอนุมัติ ทั้งนี้เพื่อเสริมประสิทธิภาพและความคลองตัวของธุรกิจ • กำกับดูแลและอนุมัติเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท โดยสามารถแตงตั้งหรือมอบอำนาจใหบุคคลอื่นดำเนินการ แทนคณะกรรมการบริหาร หรือแตงตั้งคณะอนุกรรมการยอยที่มีความรูความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เพื่อบริหารและกลั่นกรอง ประเด็นตางๆ กอนที่จะเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้คณะกรรมการบริหารมีสิทธิเพิกถอนหรือแกไข ขอบเขตแหงการมอบอำนาจดังกลาวได และ • ปฏิบัติหนาที่อื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท อนึ่ง คณะกรรมการบริหารหรือบุคคลใดก็ตามไมมีอำนาจอนุมัติการเขาทำรายการที่คณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลใดก็ตามมีหรือ อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน หรือธุรกรรมที่ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และ/หรือจากที่ประชุมผูถือหุนเสียกอน ในระหวางป 2550 คณะกรรมการบริหารมีการประชุม 18 ครั้ง โดยมีรายละเอียดของการเขาประชุมของกรรมการแตละทาน นับถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ดังนี้ ชื่อ ตำแหนง จำนวนครั้งที่เขาประชุม/จำนวนการประชุมทั้งหมด 1. นายเจริญ สิริวัฒนภักดี ประธานบริหาร 13/18 2. คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 1 10/18 3. นายณรงค ศรีสอาน รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 2 15/18 4. นายโกเมน ตันติวิวัฒนพันธ รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 3 17/18 5. นายสมุทร หัตถสิงห (1) รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 4 16/18 6. นายภุชชงค ชาญธนากิจ รองประธานกรรมการบริหารคนที่ 5 17/18 (2) กรรมการผูอำนวยการใหญ 11/18 7. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี 8. นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย กรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญ 18/18 9. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ 18/18 10. นายอวยชัย ตันทโอภาส กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ 13/18 11. ดร.พิษณุ วิเชียรสรรค กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ 16/18 12. นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ กรรมการผูชวยกรรมการผูอำนวยการใหญ 17/18 หมายเหตุ (1) นายสมุทร หัตถสิงห ลาออกจากตำแหนงกรรมการผูอำนวยการใหญ โดยมีผลบังคับ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 และไดรับแตงตั้งจาก คณะกรรมการบริหาร ใหดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริหารคนที่ 4 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 (2) นายฐาปน สิริวัฒนภักดี เดิมดำรงตำแหนงกรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญและตอมาไดรับการแตงตั้งใหดำรงตำแหนงกรรมการ ผูอำนวยการใหญ เมื่อ วันที่ 18 มกราคม 2551 (3) เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2551 คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติการแตงตั้งผูบริหารเขาดำรงตำแหนงกรรมการบริหาร 3 ทาน คือ นายสวัสดิ์ โสภะ นายไซแกว วงศพิเศษกุล และ นายฺฌอง เลอเบรอตง

วันที่ 18 มกราคม 2551 คณะกรรมการบริษัทอนุมัติการแกไของคประกอบของคณะกรรมการบริหาร ดังนั้น ในการเลือก กรรมการบริหารอาจจะเลือกจากกรรมการบริษัท และ/หรือบุคคลอื่นๆ ตามที่ประธานกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควร และเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติแตงตั้งตอไป


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

104

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยนายสถาพร กวิตานนท ศาสตราจารยคนึง ไชย นายมนู เลียวไพโรจน และนายอึ๊ง ตัก พัน โดยมีนายสถาพร กวิตานนท เปนประธานกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบจะจั ด ประชุ ม อย า งน อ ยไตรมาสละ 1 ครั้ง โปรดพิจารณาในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงประกอบดวยกรรมการบริษัท และพนักงาน กรรรมการบริษัทไดแก นายณรงค ศรีสอาน นายสมุ ท ร หั ต ถสิ ง ห นางสาวกนกนาฏ รั ง ษี เ ที ย นไชย นายฐาปน สิ ร ิ ว ั ฒ นภั ก ดี นายชู เ กี ย รติ ตั ้ ง พงศ ป ราชญ นายอวยชัย ตันทโอภาส นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร ดร.พิษณุ วิเชียรสรรค นายภุชชงค ชาญธนากิจ และพนักงานไดแก นายเฉลิม พรรัชกิจ นายพิชิต บูรพวงศ นายมหินทร กรัยวิเชียร และนายธิติ สุวรรณรัตน โดยมีนายณรงค ศรีสอาน เปนประธาน และนายธิติ สุวรรณรัตน เปนเลขานุการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีหนาที่หลายอยาง โดยรวมถึง ภาระหนาที่สำคัญในการตรวจวิเคราะหความเสี่ยงทั้งภายใน และภายนอก ระบุระดับความเสี่ยงที่องคกรสามารถรับได โดย ทบทวนเกณฑบริหารความเสี่ยงในชวงเวลาอันเหมาะสม คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาประกอบด ว ยนายสถาพร กวิ ตานนท นายมนู เลียวไพโรจน และคุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี โดยมีนายสถาพร กวิตานนท เปนประธานกรรมการ คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนประกอบดวยนายสถาพร กวิตานนท นายมนู เลียวไพโรจน และศาสตราจารยคนึง ไชย โดยมีนายสถาพร กวิตานนท เปนประธานกรรมการ

»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅлÃиҹ਌Ò˹ŒÒ·ÕèºÃÔËÒà ËÅѡࡳ± ·Õè 3 ประธานกรรมการบริษัทดำรงตำแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร ดวย ประธานกรรมการบริษัทสงเสริมความสัมพันธระหวาง

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร และฝายจัดการ ประธานกรรมการบริ ษ ั ท เป น ผู  อ นุ ม ั ต ิ การกำหนดวาระของ การประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหาร ทั้งเปนผูควบคุมคุณภาพ ปริมาณของขอมูลเพื่อใหคณะผูบริหาร และคณะกรรมการบริ ษ ั ท ได ร ั บ ข อ มู ล ตามกำหนดระยะเวลา นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่เปนชาวสิงคโปร ไดรับการแตงตั้ง ให ด ำรงตำแหน ง ผู  น ำกรรมการอิ ส ระเพื ่ อ กำกั บ ดู แ ลการทำ ธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสียของกลุมบริษัท เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2551 นายฐาปน สิริวัฒนภักดี ไดรับ แตงตั้งใหดำรงตำแหนงกรรมการผูอำนวยการใหญ เพื่อกำกับ ดูแลการดำเนินธุรกิจใหสอดคลองกับโครงสรางองคกรใหม ของบริษัท

ÊÁÒªÔ¡ÀÒ¾¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ËÅѡࡳ± ·Õè 4 เพื่อใหเกิดความโปรงใสในการแตงตั้งกรรมการใหมของบริษัท บริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการสรรหา เพื่อทบทวนและประเมิน คุณสมบัติของผูที่จะเปนกรรมการ (รวมทั้งกรรมการบริหาร) ก อ นที ่ จ ะเสนอชื ่ อ ต อ คณะกรรมการบริ ษ ั ท นอกจากนี ้ คณะกรรมการสรรหายังมีหนาทีท่ บทวนการครบวาระ และการตอ วาระการดำรงตำแหนงของกรรมการแตละทานใหคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาในการประชุมสามัญประจำป เพื่อใหเปนไปตาม ที่ขอบังคับของบริษัทกำหนดคณะกรรมการสรรหาประกอบดวย กรรมการ 3 ทาน โดยกรรมการขางมากเปนกรรมการอิสระ รวมถึงประธานคณะกรรมการสรรหาดวย ทั้งนี้คณะกรรมการ สรรหาไดจัดทำกฎระเบียบวาดวยการปฏิบัติงาน และนำเสนอ ตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ นอกจากนี ้ บริ ษ ั ท ยั ง ได แ ต ง ตั ้ ง คณะกรรมการพิ จ ารณา ผลตอบแทน เพื่อนำเสนอนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการ กำหนดผลตอบแทนกรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการ ผูอำนวยการใหญ กรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญ และกรรมการผู  ช  ว ยกรรมการผู  อ ำนวยการใหญ ต อ คณะ กรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ ในการดำเนินงานตามหนาที่ที่รับผิดชอบนั้น คณะกรรมการ สรรหา และคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนไดปฏิบัติตาม

105

กฎหมายและกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพยสิงคโปรที่มีผล บังคับใชกับบริษัท

¼Å¡Òû¯ÔºÑμÔ§Ò¹¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· ËÅѡࡳ± ·Õè 5 กรรมการทุ ก ท า นมี ก ารประเมิ น ผลตนเอง โดยคำนึ ง ถึ ง ผลประกอบการของบริษทั ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษทั แสดงความ คิ ด เห็ น และตั ้ ง คำถามในที ่ ป ระชุ ม ในการปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ด  ว ย ความระมัดระวัง

¡ÒÃࢌҶ֧¢ŒÍÁÙÅ ËÅѡࡳ± ·Õè 6 บริ ษ ั ท มี ความมุ  ง มั ่ น ให ค ณะกรรมการบริ ษ ั ท ได ร ั บ ข อ มู ล ที ่ เพียงพอ ครบถวน ตอเนื่อง และทันเวลากอนการประชุม คณะกรรมการบริษัททุกครั้ง ทั้งนี้ กรรมการบริษัทสามารถ ติ ด ต อ เลขานุ การบริ ษ ั ท ได โ ดยตรงอย า งอิ ส ระ เลขานุ การ บริษัทมีหนาที่ใหคำปรึกษาแกคณะกรรมการบริษัทในเรื่องที่ เกี่ยวของกับการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบตางๆ โดย ผานทางประธานกรรมการบริษัท โดยการประสานงานและ ปรึกษาหารือกับสำนักกฎหมาย เพื่อใหเกิดความแนนอน ในการปฏิ บ ั ต ิ ตามกฎหมายและกฎระเบี ย บที ่ ม ี ผ ลบั ง คั บ ใช กับบริษัท บริษัทจึงไดจัดตั้งสายงานกำกับดูแล (Compliance Unit) โดยมี ผ ู  จ ั ด การสายงานกำกั บ ดู แ ล (Compliance Manager) เปนผูดูแลรับผิดชอบหนวยงานดังกลาว ภายใตการ กำกับของเลขานุการบริษทั คณะกรรมการบริษทั จะเปนผูอ นุมตั ิ การแตงตั้ง และถอดถอนเลขานุการบริษัท ในปนี้เลขานุการ บริษัทไดเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ บริหารทุกครั้ง

¹âºÒ¾Ѳ¹Ò¼Åμͺ᷹ ËÅѡࡳ± ·Õè 7 คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนมีหนาที่ดูแลการจัดการ ผลตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั กรรมการผูอ ำนวยการใหญ กรรมการรองกรรมการผูอำนวยการใหญ และกรรมการผูชวย กรรมการผูอำนวยการใหญ โดยการปรึกษาหารือกับประธาน กรรมการบริษัท

ในกรณีที่กรรมการในคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนมีสวน ไดสวนเสียกับเรื่องที่กำลังพิจารณา กรรมการทานนั้นจะไมรวม พิจารณาและอนุมัติเรื่องดังกลาว

ÃдѺáÅлÃÐàÀ·¢Í§¼Åμͺ᷹ ËÅѡࡳ± ·Õè 8 การกำหนดระดับและประเภทของผลตอบแทนสำหรับกรรมการ บริษัทและกรรมการบริหารนั้นเปนไปตามผลประกอบการของ บริษัทและผลงานเฉพาะบุคคล ซึ่งรวมถึงผูบริหารระดับสูง อีกสองทานของบริษัทดวย ระดับของผลตอบแทนนั้นพิจารณา จากประสบการณและความทุมเทใหกับการทำงาน และแบงได 3 ระดับจาก A ถึง C ดังตอไปนี้ ระดับของอัตราคาตอบแทน “A” หมายถึงอัตราคาตอบแทนที่ต่ำกวา 250,000 ดอลลาร สิงคโปร หรือเทียบเทา “B” หมายถึงอัตราคาตอบแทนระหวาง 250,000 และ 499,999 ดอลลารสิงคโปร หรือเทียบเทา “C” หมายถึงอัตราคาตอบแทนระหวาง 500,000 หรือเทียบเทา หรือสูงกวานั้น อนึง่ บริษทั ไดทำสัญญาวาจางระยะยาวกับ ดร.พิษณุ วิเชียรสรรค ซึ่งเปนกรรมการบริษัท กรรมการผูจัดการบริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) และเปนผูเชี่ยวชาญอาวุโสดานเทคนิค การผลิตเบียร


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

106

¡ÒÃà» ´à¼Â¢ŒÍÁÙżÅμͺ᷹ ËÅѡࡳ± ·Õè 9

(หมายเหตุ : 1 ดอลลารสิงคโปร = 24 บาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ผลตอบแทนประจำป 2550 ของกรรมการและผูบริหารระดับสูงอีกสองทาน มีดังตอไปนี้ ชื่อ ระดับผลตอบแทน 1. นายเจริญ สิริวัฒนภักดี C 2. คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี B 3. นายณรงค ศรีสอาน C 4. นายโกเมน ตันติวิวัฒนพันธ B A 5. นายไพศาล ชีวะศิริ (1) 6. นายภุชชงค ชาญธนากิจ B 7. นายสถาพร กวิตานนท A 8. ศาสตราจารยคนึง ไชย A 9. นายมนู เลียวไพโรจน A 10. นายอึ๊ง ตัก พัน A 11. นายไมเคิล เลา ไวย เคียง A 12. ศาสตราจารยนายแพทยพรชัย มาตังคสมบัติ A 13. นายศักดิ์ทิพย ไกรฤกษ A 14. พลเอกนายแพทยชูฉัตร กำภู ณ อยุธยา A 15. นายวิวัฒน เตชะไพบูลย A 16. นายปณต สิริวัฒนภักดี (2) A 17. นายสมุทร หัตถสิงห C 18. นายฐาปน สิริวัฒนภักดี C 19. นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย C 20. นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร C 21. นายอวยชัย ตันทโอภาส C 22. ดร. พิษณุ วิเชียรสรรค C 23. นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ B ระดับผลตอบแทน ผูบริหารระดับสูง 1. นายสวัสดิ์ โสภะ B 2. นายไซแกว วงศพิเศษกุล A หมายเหตุ (1) นายไพศาล ชีวะศิริ ไดลาออกจากคณะกรรมการบริษัท มีผลวันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 (2) นายปณต สิริวัฒนภักดี ไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการบริษัท มีผลวันที่ 27 กุมภาพันธ 2550

¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº ËÅѡࡳ± ·Õè 10 คณะกรรมการบริษัทมีหนาที่รับผิดชอบดูแลใหการประเมินผลประกอบการของบริษัทมีความสมดุลและงายตอการทำความ เขาใจ นอกจากนั้นยังมีหนาที่จัดทำรายงานการเงินรายไตรมาสและประจำปใหกับผูถือหุนของบริษัท ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผย งบการเงินรายไตรมาสของสามไตรมาสแรกใหผูถือหุนทราบภายใน 45 วันนับจากวันสิ้นสุดแตละไตรมาส และรายงานผล

107

ประกอบการประจำปภายใน 60 วันนับจากวันสิน้ สุดปรอบปบญั ชี นอกจากนี้ ผูบริหารระดับสูงยังไดเขารวมในการบรรยายสรุปผล ประกอบการประจำไตรมาส และรวมประชุมผานทางโทรศัพท เพื่อใหเปนที่แนใจวานักลงทุนไดรับขอมูลทันตอเวลา

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺ ËÅѡࡳ± ·Õè 11 คณะกรรมการบริษทั แตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบ ดวยกรรมการอิสระ 4 ทาน เปนสัญชาติไทย 3 ทาน และ สัญชาติสิงคโปร 1 ทาน โดยมีหนาที่ความรับผิดชอบตามที่ กำหนดไวในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ อาทิเชน ทำหนาที่ดูแลใหบริษัทมีระบบการตรวจสอบและการควบคุม ภายในที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ การจัดทำและเปดเผย ขอมูลในรายงานทางการเงิน ตลอดจนการพิจารณาทบทวน การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และตลาดหลักทรัพยสิงคโปร รวมถึงการ ตรวจสอบและพิ จารณาการทำธุ ร กรรมระหว า งผู  ม ี ส  ว นได สวนเสีย เพื่อปองกันมิใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน

¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹ ËÅѡࡳ± ·Õè 12 คณะกรรมการบริษทั ยึดมัน่ ในระบบควบคุมการบริหารงานภายใน ที่เหมาะสม ดังนั้นเพื่อรักษาผลประโยชนจากการลงทุนของ ผูถือหุนและทรัพยสินของบริษัท คณะกรรมการบริษัทจึงได แตงตั้งคณะกรรมการบริหาร ซึ่งแตละทานรับผิดชอบดูแล สายงานและหน ว ยธุ ร กิ จ ต า งๆ ให ม ี การควบคุ ม ในระดั บ ที ่ เหมาะสมทั้งดานการเงิน การดำเนินงานและการปฏิบัติตาม กฎหมายและระเบียบตางๆ รวมทั้งนโยบายดานการบริหาร ความเสี่ยง เพื่อเปนการสนับสนุนการควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัท จึงไดมอบหมายใหสำนักเลขานุการบริษัททำหนาที่ในการกำกับ ดูแลการปฏิบัติตามกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพยสิงคโปร อีกดวย จากขอมูลที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับ คณะกรรมการ ตรวจสอบเชือ่ วาบริษทั มีระบบการควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยงที่เพียงพอ

¡ÒÃμÃǨÊͺÀÒÂã¹ ËÅѡࡳ± ·Õè 13 บริษัทจัดตั้งสำนักตรวจสอบภายในขึ้น เพื่อสนับสนุนการ ดำเนินงานของคณะกรรมการบริษทั ผานคณะกรรมการตรวจสอบ ในการบริหารความเสี่ยง และการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล โดยการประเมินความเหมาะสมและประสิทธิภาพของระบบ ควบคุ ม ภายในสำหรั บ ธุ ร กิ จ และการดำเนิ น งานหลั ก ของ กลุ  ม ธุ ร กิ จ ของบริ ษ ั ท ตามที ่ ไ ด ก ำหนดไว ใ นแผนงานการ ตรวจสอบ ในการนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดแตงตัง้ ผูอ ำนวยการ สำนักตรวจสอบภายใน ใหดำรงตำแหนงเลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ และไดจดั ทำแผนการตรวจสอบภายในประจำป เพือ่ ให การตรวจสอบภายในเปนไปอยางถูกตองเที่ยงตรง

¡ÒÃÊ×èÍÊÒáѺ¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ ËÅѡࡳ± ·Õè 14 การสื่อสารกับผูถือหุนนั้นมิใชมีเพียงแคการประกาศผานระบบ SGX-NET เทานั้น แตนายริชารด ดับเบิลยู โจนส ซึ่งดำรง ตำแหนงรองผูอำนวยการฝายนักลงทุนสัมพันธ ยังไดทำงาน อยางใกลชิดกับผูบริหารระดับสูง เพื่อใหสามารถสงขอมูลตางๆ ถึงผูถือหุนในเวลาที่เหมาะสม หนวยงานดังกลาวมีหนาที่สรุป ผลประกอบการประจำไตรมาส หลังจากที่บริษัทไดเปดเผย ผลประกอบการรายไตรมาสและรายปแลว เพื่อใหผูถือหุน สามารถสอบถามผูบ ริหารเกีย่ วกับประเด็นทางการเงิน การตลาด หรือกลยุทธอื่นๆ นอกจากนี้ ในระหวางไตรมาส หนวยงาน นักลงทุนสัมพันธยังไดพบกับนักลงทุนเปนประจำเพื่อสื่อสาร ถึงนโยบายและกลยุทธของบริษัทเพื่อชวยใหนักลงทุนสามารถ เขาใจการดำเนินงานของบริษัทไดเปนอยางดี และยังนำเสนอ รายละเอียดตางๆ ผานทางเว็บไซตของบริษัท โดยปรับเปลี่ยน ขอมูลใหมีความทันสมัยอยูเสมอ ในขณะเดียวกัน หนวยงานนักลงทุนสัมพันธยังมีหนาที่รายงาน ใหผูบริหารทราบความคิดเห็นหรือขอกังวลใจของนักลงทุนดวย ท า นสามารถหารายละเอี ย ดที ่ อ ยู  แ ละข อ มู ล การติ ด ต อ ได จากรายงานประจำปฉบับนี้ หรือจากเว็บไซตของบริษัทที่ http://www.thaibev.com/set/investor.html.


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

108

109

¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº μ‹ÍÊѧ¤Á ¢Í§ä·Â຿

“¤¹ä·ÂãËŒ ¡Ñ ¹ ä´Œ ” ä·Â຿à¾×è Í ÊÑ § ¤Áä·Â ตั้งแตการกอตั้งบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) (ไทยเบฟ) ซึ่งเกิดจากการควบรวมบริษัทในเครือ ทั้งหมดเขาไวดวยกัน เมื่อป พ.ศ. 2546 เปนตนมา บริษัทมีปณิธานหลักคือมุงวางนโยบาย และจัดทำโครงการ ที่เปนประโยชนตอสังคมไทย คนไทย ความเปนไทย และน้ำใจไทย เพราะบริษัทมีความเชื่อมั่นวา “คนไทย ไมทิ้งกัน” คนไทยพรอมจะใหกันไดเสมอ ดังที่ ไดสะทอนภาพผานโครงการและกิจกรรมเพื่อสังคมของบริษัท มากมายซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 4 ดานหลัก ไดแก ดานการศึกษา ดานกีฬา ดานสาธารณสุข และดาน ศิลปวัฒนธรรม ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ทางบริษัทไดพยายามสงเสริมใหภาคธุรกิจไดตอบแทนตอสังคม การกาวเดินนับจาก วันนี้ของโครงการ Corporate Social Responsibility (CSR) ก็จะแข็งแรงและมั่นคงขึ้น เพราะทุกภาคสวนที่ ประกอบเปนบริษัท ทั้งผูบริหาร พนักงานระดับสูง และพนักงานทั่วไป ในบริษัท ก็ตระหนักถึงการทำประโยชน เพื่อสังคมรวมกัน ซึ่งเปนสิ่งที่บริษัทเริ่มปลูกจิตสำนึกตั้งแตภายในองคกร แลวขยายออกไปสูภาคสวนอื่น ๆ ของประเทศ ในป พ.ศ. 2550 มีกิจกรรมโครงการตามปณิธานที่ยึดมั่นมาโดยตลอดวา “สังคมใหเรา เราก็ตองตอบแทนใหแก สั ง คม” โครงการทางด า นสั ง คมซึ ่ ง ถื อ ได ว  า เป น โครงการที ่ ท างบริ ษ ั ท ได ด ำเนิ น การมาอย า งต อ เนื ่ อ งหลาย โครงการเชน โครงการ “ไทยเบฟ…รวมใจตานภัยหนาว” ซึ่งจัดอยางตลอดเนื่องจนถึงปที่ 8 แลว ในปนี้ก็ไดมี การมอบผาหมจำนวน 200,000 ผืน ใหกับผูประสบภัยหนาวในจังหวัดทางภาคเหนือและภาคอีสานรวม 15 จังหวัด โครงการ “ขับขี่ปลอดภัยกับไทยเบฟ” ดำเนินการปที่ 2 รวมกับสำนักงานตำรวจแหงชาติ รณรงค ให ผูใชรถใชถนนรวมกันลดอุบัติเหตุ และใชรถใชถนนอยางถูกวิธี โดยจัดทำคูมือ “ขับขี่อยางปลอดภัยกับไทยเบฟ” และจัดทำหมวกกันน็อกมอบใหกับผูใชรถใชถนน นอกจากนั้น ยังมีกิจกรรมและการสนับสนุนชวยเหลือทาง ดานสังคมอื่น ๆ อาทิชวยเหลือผูประสบภัยน้ำทวม ทางดานการศึกษา บริษัทไดรวมกับภาคเอกชนไทยจัดตั้งโครงการทุนเปรม ติณสูลานนท (The Prem Tinsulanonda Fellowship Program) ขึ้น เพื่อที่จะไดชวยสนับสนุนทุนการศึกษาแกนักศึกษาและนักวิชาการไทยที่ตองการ ไปศึกษาตอที่ The Paul H. Nitze School of Advanced International Studies (SAIS) ของมหาวิทยาลัย Johns Hopkins รวมทั ้ ง เป น ทุ น ในการจั ด กิ จ กรรมที ่ จ ะเป น ประโยชน ต  อ การส ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ ร ะหว า ง ไทยและสหรัฐ นอกจากนั้น ยังไดสรางอาคารเรียนแสงโสม มอบใหกับทางโรงเรียนวัดหอมเกร็ด อ.สามพราน จ.นครปฐม เพื ่ อ ใช เ ป น ประโยชน ใ นการศึ ก ษาของเด็ ก นั ก เรี ย น นอกจากนี ้ ยั ง มี โ ครงการและกิ จ กรรม อีกหลายโครงการทีบ่ ริษทั สนับสนุนทัง้ ทุนการศึกษา อาหารกลางวัน อุปกรณการศึกษา อุปกรณกฬี า ฯลฯ

ในส ว นของศิ ล ปวั ฒ นธรรม ได ด ำเนิ น การบู ร ณะจิ ต รกรรมฝาผนั ง ณ พระวิ ห ารพุ ท ธไสยาสน วั ด พระเชตุ พ นวิ ม ลมั ง คลารามหรื อ พระวิ ห ารพระนอน วั ด โพธิ ์ ซึ ่ ง เป น ต น แบบศิ ล ปะรั ต นโกสิ น ทร และเปนภาพจิตรกรรมฝาผนังที่มีอายุไมนอยกวา 150 ป การบูรณะ ซึ่งใชเวลาถึง 10 ปไดแลวเสร็จและเปดใหประชาชนทั่วไปไดเขาชม ในป น ี ้ และได ถ  า ยภาพจิ ต รกรรมฝาผนั ง ในพื ้ น ที ่ ส ู ง ซึ ่ ง มี โ อกาส มองเห็ น ได ย าก มาจั ด แสดงเป น นิ ท รรศการและจั ด ทำเป น ปฎิ ท ิ น ประจำป พ.ศ. 2551 ของบริษัทใหประชาชนทั่วไปไดชื่นชม ทางดานสาธารณสุข บริษัทมอบเครื่องมือแพทย สำหรับอาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาฯ มูลคา 3,000,000 บาท เพื่อใหโรงพยาบาล มี อ ุ ป กรณ เ ครื ่ อ งมื อ รั ก ษาคนไข ท ี ่ ท ั น สมั ย สามารถรั ก ษาผู  ป  ว ยได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ นอกจากนั้น ยังดำเนินโครงการตอเนื่อง “โครงการชางคลีนิก” ที่จังหวัดกำแพงเพชร โดยมี การนำคณะแพทย ผ ู  เ ชี ่ ย วชาญในด า นต า ง ๆ สลั บ สั บ เปลี ่ ย นกั น ไปตรวจรั ก ษาประชาชน โดยไม ค ิ ด ค า รั ก ษา ซึ ่ ง เป น เจตนารมณ ข องบริ ษ ั ท ในการช ว ยเหลื อ ประชาชนผู  ด  อ ยโอกาส ทางการแพทย และยังมีโครงการอื่นๆ ที่บริษัทเขาไปสนับสนุนทางดานสาธารณสุข ซึ่งมีทั้ง การมอบรถฉุกเฉินใหโรงพยาบาล ใหการสนับสนุนหนวยแขน-ขาเทียมเคลื่อนที่ ของมูลนิธิ มหาวชิราลงกรณ ฯลฯ ในดานกีฬา บริษัทไดดำเนินการสนับสนุนวงการมาตลอดทั้งฟุตบอล วอลเลยบอล เทนนิส สนุกเกอร ฯลฯ ซึ่งเปนกีฬาที่คนไทยใหความสนใจ และมีความคาดหวังใหประสบผลสำเร็จ ในระดับโลกในโอกาสตอไป นอกจากนี้ บริษัทไดเปดตัวโครงการ “ไทยเบฟ…ไทยทาเลนท” เพื่อสนับสนุนและสงเสริม ความสามารถและพรสวรรคของคนไทยในแขนงตางๆ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการชวยเหลือ สังคม โดยแบงการใหการสนับสนุนความสามารถ (Talent) ใน 4 หมวดหมู คือ กลุมดนตรี กลุมกีฬา กลุมศิลปวัฒนธรรม และกลุมการศึกษา “ไทยเบฟ” ใหการสนับสนุนกลุมทาเลนท เหล า นี ้ ใ นหลากหลายรู ป แบบ ไม ว  า จะเป น การให ท ุ น การศึ ก ษา การสนั บ สนุ น ค า ใช จ  า ย สำหรั บ การเดิ น ทางไปแข ง ขั น รายการต า งๆ หรื อ การให ง บประมาณสนั บ สนุ น เป น รายป แนวคิดในการสนับสนุนทาเลนทแตละราย คือ ตองเปนคนไทย มีความสามารถและพรสวรรค มีวินัยในการฝกซอม และรักเชื่อมั่นในสิ่งที่ทำ เพราะเราเชื่อวาองคประกอบดังกลาว เปน พื้นฐานของการกาวไปสูความสำเร็จของทุกอาชีพ ทุกยุค และทุกสมัย ดังนั้นจึงควรสงเสริม สนับสนุนใหโอกาสพวกเขาใหไปสูจุดสำเร็จไดเร็วยิ่งขึ้น

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จัดทำโครงการ “ไทยเบฟ…รวมใจตานภัยหนาว ปที่ 8” โดยมอบผาหม 2 แสนผืน ใหชาวบานใน 15 จังหวัด ในเขตพื้นที่ภาคเหนือและอีสาน รวมมูลคากวา 30 ลานบาท


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

110

คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) สงมอบ อาคารเรียน แสงโสม โรงเรียนวัดหอมเกร็ด อ.สามพราน จ.นครปฐม ใหกับ คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

คุณพลภัทร สุวรรณศร ผูอำนวยการสำนักประสานงานภายนอก ตัวแทนบริษัท ผูผลิตและจำหนายเครื่องดื่มตรา “ชาง” สนับสนุน คาใชจายการเดินทางเพื่อไปแสดงคอนเสิรตที่ประเทศเยอรมนี และสวิตเซอรแลนด ใหกับวงดนตรีแซกเชมเบอรออรเคสตรา แกเยาวชนที่มีพรสวรรคและความสามารถดานดนตรี ภายใต โครงการ “ไทยเบฟ…ไทยทาเลนท” ซึ่งเปนโครงการที่มุงใหการ สนับสนุนแกเยาวชนไทยที่มีพรสวรรค ในดานตาง ๆ ทั้งดนตรี กีฬา ศิลปวัฒนธรรม และการศึกษา โดยมี รองศาสตราจารย ดร. สุกรี เจริญสุข ผูอำนวยการวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล เปนตัวแทนในการรับมอบทุน ณ วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) โดย คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี มอบเครื่องมือแพทย สำหรับอาคาร เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลาฯ มูลคา 3,000,000 บาท โดย ฯพณฯ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี (ในขณะนั้น) เปนผูรับมอบ

111

โครงการ “ขับขี่ปลอดภัย กับ ไทยเบฟ” ครั้งที่ 2 มอบ “หมวกกันน็อก” จำนวนทั้งสิ้น 10,000 ใบ มอบใหกับประชาชนในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด นอกจากนี้ยังมอบผานรายการโทรทัศน และวิทยุ รวมตลอดจนถึงมูลนิธิตางๆ เพื่อใหถึงมือผูที่มีความตองการอยางทั่วถึง ซึ่งหมวกกันน็อกที่บริษัทไดทำ การมอบในครั้งนี้ เปนหมวกกันน็อกที่มีคุณภาพ และผานการรับรองโดย สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม ดังนั้นจึงไมแปลกใจเลยที่บรรยากาศในวันมอบ เต็มไปดวยผูคนมากมายที่ตางมารับกันอยางหนาชื่นตาบาน ทำใหผูมอบในฐานะ ตัวแทนบริษัทมีความภูมิใจเปนอยางมากที่ไดมอบสิ่งดีๆ ใหกับสังคม

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) โดยกรรมการ ผูอำนวยการใหญ คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี (ซาย) แถลงขาว การแสดงภาพถายจิตรกรรมฝาผนัง ในวิหารพระพุทธไสยาสน วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) หลังการบูรณะซอมแซม ไดดำเนินการแลวเสร็จในป พ.ศ. 2550 ใชเวลาบูรณะทั้งสิ้น เกือบ 8 ป โดยมีเจาอาวาส วัดเชตุพนฯ พระธรรมปญญาบดี (กลาง) และชางภาพมือระดับตน ของไทย คุณนิติกร กรัยวิเชียร (ขวา) รวมแถลงขาว

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) โดยกรรมการผูอำนวยการใหญ คุณ ฐาปน สิริวัฒนภักดี มอบเงินใหทีม ฟุตบอลชาติไทยเปนจำนวน 2 ลานบาท โดยคุณฐาปนกลาววา ไดมอบเงินจำนวนนี้ เพื่อเปนขวัญและกำลังใจ ใหกับนักเตะ ทีมชาติไทยที่ทำผลงานไดดี คุณเจริญ สิริวัฒนภักดี ประธานกรรมการบริหาร (แถวหลังซาย) และ คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี รองประธานกรรมการบริหาร (แถวหลังที่ 2 จากซาย) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) รวมกับภาคเอกชนไทย จัดตั้งโครงการ ทุนเปรม ติณสูลานนท ขึ้น เพื่อชวยสนับสนุนทุนการศึกษาแกนักศึกษาและ นักวิชาการไทยที่ตองการไปศึกษาตอที่ The Paul H. Nitze School of Advanced International Studies (SAIS) มหาวิทยาลัย Johns Hopkins รวมทั้งเปนทุน ในการจัดกิจกรรมที่จะเปนประโยชนตอการสงเสริมความสัมพันธระหวางไทยและสหรัฐ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

112

113

PR Talk

ในปที่ผาน นับวาเปนปมหามงคลที่คนไทยไดมีโอกาสแสดงออกถึงความจงรักภักดี และเทิดทูนพระมหา กษัตริยนักพัฒนาที่ทรงทุมเทเพื่อพสกนิกรของพระองค เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เจริญพระชนมายุ 80 พรรษา บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) เปนสวนหนึ่งที่ไดมีโอกาสแสดง ออกถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  ห ั ว โดยได เ ข า ร ว มกิ จ กรรม “รวมใจภักดิ์ รักในหลวง” ดำเนินการจัดทำ “บานนิทรรศการ คนไทยรักในหลวง” ถายทอดเรื่องราวความ ผูกพันระหวางพระมหากษัตริยกับประชาชนชาวไทย ความเหนื่อยยากที่พระองคทานทรงทุมเทใหกับ พสกนิ กร โดยเสด็ จ พระราชดำเนิ น ในถิ ่ น ทุ ร กั น ดาร และดำเนิ น การพั ฒ นาช ว ยเหลื อ ประชาชน ผานโครงการพระราชดำริของพระองค นอกจากนั ้ น บริ ษ ั ท ยั ง ร ว มกั บ สมาคมถ า ยภาพแห ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ภ จั ด โครงการ ประกวด “ภาพถายแหงแผนดิน” ชิง 4 ถวยพระราชทาน ในวโรกาส 80 พรรษาของพระบาทสมเด็จ พระเจ า อยู  ห ั ว นั บ เป น ครั ้ ง แรกในประวั ต ิ ศ าสตร ว งการถ า ยภาพที ่ ม ี การชิ ง ชนะเลิ ศ สู ง ถึ ง 4 ถ ว ย พระราชทาน ได แ ก ถ ว ยพระราชทานพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  ห ั ว ในหั ว ข อ “คนไทยรั ก พระเจาอยูหัว” ถวยพระราชทานสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ หัวขอ “รูรักสามัคคี” ถวย พระราชทานสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช สยามมกุ ฏ ราชกุ ม าร หั ว ข อ “รั ก ษ ป า รั ก ษ น ้ ำ ” ถ ว ย พระราชทานสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ดา สยามบรมราชกุ ม ารี หั ว ข อ “เกษตรวิ ถ ี ไ ทย” โดยได ร ั บ เกียรติจาก ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา เปนประธานคณะกรรมการตัดสิน นอกจากนี้ ยังเชิญชวนคนไทยทุกคนรวมชื่นชมพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในดานการถายภาพ ในนิทรรศการภาพถายฝพระหัตถพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่จัดแสดง ณ Lifestyle Hall ชั้น 2 สยามพารากอน ตั้งแต 4 - 12 ธันวาคม 2550 และในป 2550 ทางประเทศไทยยังไดรับโอกาสใหเปนเจาภาพกีฬามหาวิทยาลัยโลก ฤดูรอนครั้งที่ 24 บริษัทในฐานะที่เปนผูสนับสนุนหลักการจัดการแขงขันใครั้งนี้ ไดรวมกับสมาคมกีฬาไทยในพระบรม ราชูปถัมภ จัดสราง “หมูบานกีฬาไทย” ขึ้นเพื่อเผยแพรเอกลักษณดานกีฬาพื้นบานไทยใหผูมาเยือนได ชื ่ น ชมและประทั บ ใจในวิ ถ ี ช ี ว ิ ต ไทยที ่ ส ะท อ นออกมาทางกี ฬ าพื ้ น บ า น ประวั ต ิ ศ าสตร รู ป แบบ และ เอกลักษณของกีฬาไทย ภายในหมูบานประกอบไปดวยสวนของนิทรรศการประวัติกีฬาไทย การสาธิต กีฬาไทยพื้นบาน เชน ตะกรอลอดหวง การเลนวาว กระบี่กระบอง มวยไทย หมากรุก หมากฮอส สกา

ในงาน “รวมใจภักดิ์ รักในหลวง” บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จัดทำบานนิทรรศการคนไทยรักในหลวง เนื่องในปมหามงคลเฉลิมพระชนมายุครบ 80 พรรษา เพื่อบอกเลาเรื่องราวและแสดงถึงความหวงใยตอพสกนิกรของพระองค

นวดไทย และนาฏศิ ล ป ไ ทย รวมไปถึ ง มี ก ิ จ กรรมฝ ก สอน การทำวาว การเลนกระบี่กระบอง และการชกมวยไทย นอกจากนั้น บริษัทยังดำเนินโครงการกิจกรรมและสนับสนุน การจั ด กิ จ กรรมร ว มกั บ หน ว ยงานภาครั ฐ เอกชนและ สื่อมวลชนที่เปนประโยชนกับสังคมสวนรวม อาทิ การเขารวม รณรงคตอสูกับภาวะโลกรอน (Global Warming) ซึ่งเปน ปญหาที่องคกรตางๆ ทั่วโลก และในประเทศไทยเอง ตาง ตระหนักถึงปญหาที่กำลังเกิดขึ้น ระยะนี้เราจึงเห็นกิจกรรม ในรูปแบบตางๆ ที่ ไดออกมารณรงค ใหประชาชน คนทั่วไป ในสั ง คมได ม ี ส  ว นเข า มาช ว ยกั น เพื ่ อ หวั ง ที ่ จ ะชะลอความ รุนแรงของภาวะโลกรอน บริษัทเห็นความสำคัญของปญหา ดังกลาว จึงเตรียมตัวในสวนขององคกร และบริษัทในเครือ มาตั้งแตตน รวมถึงการใหความรวมมือกับหนวยงานตางๆ เพื ่ อ ช ว ยกั น รณรงค ใ ห ส ั ง คมภายนอกหั นมาร ว มมื อ ร ว มใจ กันในการลดภาวะโลกรอน บริษัทไดเชิญสื่อมวลชน นักลงทุน ในต า งประเทศเข า ชมการผลิ ต สิ น ค า ที ่ ม ี ค ุ ณ ภาพมาตรฐาน จากกระบวนการผลิตที่ทันสมัยของโรงงานอุตสาหกรรมที่มี

ความรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม สิ ่ ง แวดล อ ม การใช พ ลั ง งาน ที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และการใช พ ลั ง งานทดแทนจากระบบ บำบัดน้ำเสีย ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่บริษัทมีความภาคภูมิ ใจใน ความรับผิดชอบตอสังคม


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

114

115

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) รวมกับ สมาคมถายภาพแหงประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติที่ยิ่งใหญ แหงป คือ โครงการภาพถายแหงแผนดิน ครั้งที่ 1 ชิง 4 ถวยพระราชทานขึ้น ในวโรกาสพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา ซึ่งเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรวงการถายภาพ ที่มีการชิงชนะเลิศสูงถึง 4 ถวยพระราชทาน ในงานแถลงขาวโครงการ มีคุณฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการผูอำนวยการใหญ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) (กลาง) ขึ้นแถลงรวมกับ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา (ที่ 2 จากซาย) ประธานคณะกรรมการตัดสิน

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) เล็งเห็นความสำคัญ ของปญหาภาวะโลกรอน (Global Warming) จึงไดให ความรวมมือกับหนวยงานตางๆ เพื่อชวยกันรณรงค ให สังคมทั่วไป หันมารวมมือรวมใจกันลดภาวะโลกรอน โดยได สนับสนุนกิจกรรม “Cosmopolitan & GM Single Party 2007” ในโครงการ “100 คูขวัญวันสูโลกรอน” ซึ่งเปน การปลูกฝงความคิดเรื่องปญหาภาวะโลกรอนใหกับคน รุนใหมจำนวน 200 คน ที่จะเปนตัวแทนในการรวมรณรงค ลดภาวะโลกรอนตอไป คณะสื่อมวลชนเขาเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) จังหวัดกำแพงเพชร และเขาชมกระบวนการ ผลิตเบียรชางและเบียรอาชา ในโอกาสที่ เบียรอาชาไดรับรางวัลเหรียญทองในการ ประกวดเบียรนานาชาติ Australian International Beer Awards (AIBA) ประจำป 2007

คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี กรรมการผูอำนวยการใหญ (ที่ 3 จากซาย) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ในฐานะหนึ่งในผูสนับสนุนหลัก กีฬามหาวิทยาลัยโลก ครั้งที่ 24 รวมกับสมาคมกีฬาไทยในพระบรมราชูปถัมภ จัดสราง “หมูบานกีฬาไทย” ขึ้น โดยเปดบานใน วันที่ 6 สิงหาคม 2550 กอนพิธีเปดการแขงขันอยาง เปนทางการ เพื่อตอนรับนักกีฬาและเจาหนาที่จากทั่วโลก ภายในหมูบานมีนิทรรศการแสดงการสาธิตกีฬาพื้นบานไทย และนาฏศิลป ไทย รวมถึงการฝกสอนกีฬาไทย พรอม มอบประกาศนียบัตรใหหลังผานหลักสูตร

คณะนักลงทุนในประเทศไทย และจาก ตางประเทศ เยี่ยมชมกระบวนการผลิต เบียรชางและเบียรอาชา ที่ โรงงานบริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) จังหวัดกำแพงเพชร


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

116

ÃÒ§ҹ¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺ

117

ÃÒ§ҹ¢Í§¼ÙŒÊͺºÑÞªÕÃѺ͹ØÞÒμ

รายงานประจำป 2550 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)

เสนอ ผูถือหุน บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยคณะกรรมการ 4 ทาน ตามรายชื่อดังตอไปนี้

ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุน เฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการ และ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบ ตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาว จากผลการตรวจสอบของขาพเจา

1. 2. 3. 4.

นายสถาพร กวิตานนท นายคนึง ๅไชย นายมนู เลียวไพโรจน นายอึ้ง ตัก พัน

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบแตละทานเปนกรรมการอิสระ ซึ่งมีความเปนอิสระ มีประสบการณ และคุณสมบัติอื่นๆ ตามขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานและพิจารณางบการเงินที่ไดตรวจสอบแลวโดยรวมกับฝายบริหารและบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ซึ่งเปนผูสอบบัญชีของบริษัทป 2550 เพื่อแสดงความคิดเห็นตองบการเงินของบริษัทวาเปนไปตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป รวมทั้งไดสอบทานและใหความเห็นตอแผนการตรวจสอบและพิจารณาผลการตรวจสอบของฝายตรวจสอบภายในของ บริษัทเพื่อใหมั่นใจวาระบบควบคุมภายในมีความเพียงพอและเหมาะสม คณะกรรมการตรวจสอบไดใหขอเสนอแนะในการเสนอชื่อบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทอีก ในป 2551 และเสนอคาตอบแทนตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อนำเสนอใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำปพิจารณาอนุมัติตอไป จากการสอบทานและพิจารณาขางตน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา ระบบควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและ งบการเงินของบริษัทไดจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให ไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธี การทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของ หลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้น ตลอดจน การประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุป ที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสด เฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ตามที่อธิบายไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 29 งบการเงินของบริษัทสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ไดรับการ ปรับปรุงใหม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม จากวิธีสวนไดเสียเปน วิธีราคาทุนและเรียกชื่อใหมวา “งบการเงินเฉพาะกิจการ” การเป ด เผยข อ มู ล ถึ ง ความแตกต า งที่ ส ำคั ญ ระหว า งหลั ก การบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไปในประเทศไทยและมาตรฐานการบั ญ ชี ร ะหว า ง ประเทศไมใชขอมูลที่ตองเปดเผยในงบการเงินพื้นฐานตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย แตไดแสดงไวในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอที่ 36 เพื่อเปนการใหขอมูลเทานั้น ขาพเจาไมไดตรวจสอบหรือสอบทานขอมูลเหลานั้น ดังนั้นจึงไมสามารถ แสดงความเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบหรือสอบทานตอการเปดเผยขอมูลเหลานั้นได

สถาพร กวิตานนท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2551

(นายนิรันดร ลีลาเมธวัฒน) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2316 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด กรุงเทพมหานคร 27 กุมภาพันธ 2551


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

118

119

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

§º´ØÅ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

สินทรัพย

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2549

(ปรับปรุงใหม)

2550

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินใหกูยืมระยะยาวและลูกหนี้กิจการ ที่เกี่ยวของกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพย ไมมีตัวตน สินทรัพย ไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

6 7 5, 8 5 9 10

2,188,991,774 7,685,085 1,467,001,317 4,371,057 28,056,925,651 1,403,965,020 33,128,939,904

1,919,576,970 4,358,600 1,317,930,493 50,951,648 28,315,158,270 1,914,238,542 33,522,214,523

9,168,240

15,622,582

-

-

3,916,012,461

11,035,118,471

-

-

8,481,487 3,933,662,188

16,988,878 11,067,729,931

124,518,368 3,633,579

135,490,042 3,753,619

71,470,329,894

63,594,730,188

-

-

5 12 13 14

1,172,250 43,216,507,663 978,770,498 2,073,413,637 46,398,015,995

13,563,000 49,428,039,362 354,876,536 2,121,574,962 52,057,297,521

9,411,471,969 71,600,623 16,165,989 351,336,250 81,320,904,725

5,500,898,900 845,926,385 12,353,346 357,128,650 70,311,037,469

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

79,526,955,899

85,579,512,044

2550

2549

(ปรับปรุงใหม) (บาท)

11 7

รวมสินทรัพย

2549

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

(บาท) สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา เงินใหกูยืมระยะสั้นและลูกหนี้กิจการ ที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

85,254,566,913

81,378,767,400

หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและ เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา หุนกูระยะสั้นมีประกัน หุนกูระยะยาวมีประกันที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระ ภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะสั้นและเจาหนี้กิจการ ที่เกี่ยวของกัน ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หุนกูระยะยาวมีประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

15 16 15

5,998,233,815 2,249,329,022

4,797,684,522

3,029,559,266

-

-

-

6,753,305,295 2,275,670,644 2,200,000,000

2,200,000,000

15

3,000,000,000

2,300,000,000

3,000,000,000

2,300,000,000

15

1,755,000,000

1,500,000,000

1,755,000,000

1,500,000,000

5, 15

69,141,215 2,773,848,081 3,203,278,986 19,048,831,119

4,837,042,378 2,180,870,323 4,103,314,358 26,150,202,998

2,115,288,548 146,248,940 161,542,579 11,975,764,589

13,084,828,757 47,791,738 394,209,562 22,556,389,323

-

-

5,400,000,000

3,000,000,000 3,755,000,000

-

-

3,000,000,000 3,755,000,000 4,372,200,000

168,184,325 5,568,184,325 24,617,015,444

120,753,208 6,875,753,208 33,025,956,206

17

15 15 5, 15

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

5,400,000,000 6,540,500,000 117,900 11,940,617,900 23,916,382,489

11,127,200,000 33,683,589,323


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

120 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

121 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

§º´ØÅ

§º¡íÒäâҴ·Ø¹

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2549

2550

2549

2550

(ปรับปรุงใหม) (บาท)

18 29,000,000,000 29,000,000,000 29,000,000,000 25,110,025,000 25,110,025,000 25,110,025,000 (17,141,406,365) (17,141,406,365)

29,000,000,000 25,110,025,000

-

19 17,215,736,603 17,215,736,603 17,215,736,603 (19,508,334) (208,076,374) 4,388,935,374 19

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

2,900,000,000 22,644,726,217 54,909,940,455 79,526,955,899

6,586,263,579 1,700,000,000 19,102,445,355 52,553,555,838 85,579,512,044

2,900,000,000 16,112,422,821 61,338,184,424 85,254,566,913

17,215,736,603

134,521,429 1,700,000,000 3,534,895,045 47,695,178,077 81,378,767,400

รายได รายไดจากการขาย ดอกเบี้ยรับ รายไดคาธรรมเนียมการจัดการ เงินปนผล รายไดอื่น สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจาย กำไรกอนดอกเบี้ยจายและภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได

5

21

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน

100,540,895,079 40,834,243

97,797,921,895 56,452,361

-

-

775,352,387 2,577,305,358 18,985,153,408 89,527,428

858,621,337 3,432,470,973 8,055,408,868 4,873,832

-

-

228,524,668 28,641,891 100,838,895,881

77,938,829 23,684,083 97,955,997,168

-

-

22,427,338,581

12,351,375,010

70,872,565,833 13,689,414,856 84,561,980,689

69,325,121,958 12,684,556,582 82,009,678,540

-

-

1,154,217,891 1,154,217,891

943,322,290 943,322,290

16,276,915,192 1,047,277,561 4,846,572,448

15,946,318,628 1,568,651,172 4,322,890,312

21,273,120,690 1,577,560,366 277,248,227

11,408,052,720 2,253,267,473 149,318,355

10,383,065,183

10,054,777,144

19,418,312,097

9,005,466,892

0.41

0.42

0.77

0.38

5 22

24 25

กำไรสุทธิ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

2549

(ปรับปรุงใหม)

(บาท) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำระแลว ผลตางจากการปรับโครงสรางทางธุรกิจ สวนเกินทุน สวนเกินมูลคาหุน การแปลงคางบการเงิน การตีราคาและการเปลี่ยนแปลง ในมูลคายุติธรรม กำไรสะสม จัดสรรเปนสำรองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

26

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


หมายเหตุ

25,110,025,000

-

3,110,025,000 25,110,025,000

-

-

22,000,000,000

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชำระแลว

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแลว การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสำหรับป 2549 กำไรสุทธิ สำรองตามกฎหมาย เงินปนผล หุนสามัญที่ออกเพิ่ม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแลว การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสำหรับป 2550 สวนเกินสุทธิจากการตีราคาสินทรัพยถาวร กำไรสุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู สำรองตามกฎหมาย เงินปนผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2549

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

28

29

28 18

29

หมายเหตุ

-

-

-

25,110,025,000

-

25,110,025,000

17,215,736,603 17,215,736,603 17,215,736,603

-

-

-

สวนเกิน มูลคาหุน

-

17,215,736,603

-

(17,141,406,365) 17,141,406,365 - 17,215,736,603

-

ผลตางจากการ ปรับโครงสราง ทางธุรกิจ

22,000,000,000

3,110,025,000 25,110,025,000 25,110,025,000

(17,141,406,365) 17,215,736,603

-

(15,979,264,833) 15,979,264,833 -

-

-

สวนเกิน มูลคาหุน

(1,505,240,976) 27,039,805 - 17,215,736,603 (17,141,406,365) 17,215,736,603

(8,543,855) (8,543,855) (23,871,663) (32,415,518) -

-

22,000,000,000

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชำระแลว

ผลตางจากการ ปรับโครงสราง ทางธุรกิจ (15,630,789,676)

§ºáÊ´§¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ã¹Ê‹Ç¹¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสำหรับป 2549 สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยถาวร - สุทธิ ขาดทุนจากการแปลงคางบการเงินของหนวยงานในตางประเทศ คาใชจายสุทธิของรายการที่รับรูโดยตรงในสวนของผูถือหุน กำไรสุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู สำรองตามกฎหมาย เงินปนผล 28 คาตอบแทนที่จายแกผูถือหุนของบริษัทยอย ในการปรับโครงสรางธุรกิจ การเพิ่มทุนในบริษัทยอยกอนการปรับโครงสรางทางธุรกิจ หุนสามัญที่ออกเพิ่ม 18 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสำหรับป 2550 สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยถาวร - สุทธิ ขาดทุนจากการแปลงคางบการเงินของหนวยงานในตางประเทศ คาใชจายสุทธิของรายการที่รับรูโดยตรงในสวนของผูถือหุน กำไรสุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู สำรองตามกฎหมาย เงินปนผล 28 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2549

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

§ºáÊ´§¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ã¹Ê‹Ç¹¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

2,900,000,000

-

1,200,000,000

-

1,700,000,000

-

1,528,135 (22,710,718) (21,182,583) 10,054,777,144 10,033,594,561

31,714,503,595

(1,505,240,976) 27,039,805 20,325,761,603 52,553,555,838 (2,062,806,776) (188,568,040) 134,521,429 (2,251,374,816) 10,383,065,183 10,383,065,183 10,517,586,612 8,131,690,367 (1,200,000,000) (5,775,305,750) (5,775,305,750) 22,644,726,217 54,909,940,455 -

134,521,429

19,102,445,355

-

10,078,648,807 10,078,648,807 (590,000,000) (8,042,102,750) (8,042,102,750)

-

17,655,899,298

รวมสวนของ ผูถือหุน

-

(19,508,334) 19,508,334 -

-

(134,521,429) (134,521,429) -

134,521,429 6,586,263,579 (6,451,742,150) 134,521,429

-

2,900,000,000

-

1,200,000,000

-

1,700,000,000

-

1,700,000,000 1,700,000,000

-

590,000,000

-

134,521,429 19,418,312,097 19,552,833,526 (1,200,000,000) (5,775,305,750) 16,112,422,821

(5,775,305,750) 61,338,184,424

19,418,312,097 19,418,312,097

-

9,005,466,892 9,005,466,892 (590,000,000) (8,042,102,750) (8,042,102,750) - 20,325,761,603 3,534,895,045 47,695,178,077 19,102,445,355 52,553,555,838 (15,567,550,310) (4,858,377,761) 3,534,895,045 47,695,178,077

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม) สวนเกินทุน กำไรสะสม รวมสวนของ การตีราคาและ จัดสรรเปน ผูถือหุน การแปลงคา การเปลี่ยนแปลง สำรอง เฉพาะบริ ษัท งบการเงิน ในมูลคายุติธรรม ตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร (บาท) (5,341,471) 6,584,735,444 1,110,000,000 17,655,899,298 31,366,028,438 5,341,471 (6,450,214,015) - (14,494,368,395) (4,959,976,106) 134,521,429 1,110,000,000 3,161,530,903 26,406,052,332

(2,197,328,205) (2,197,328,205) (2,197,328,205) 4,388,935,374

6,586,263,579

(19,508,334) (188,568,040) (188,568,040) (188,568,040) (208,076,374)

-

-

590,000,000

-

1,528,135

-

1,528,135

-

-

1,110,000,000

กำไรสะสม จัดสรรเปน สำรอง ตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร

1,528,135

-

(14,166,863) (14,166,863) (14,166,863) -

-

การตีราคาและ การแปลงคา การเปลี่ยนแปลง งบการเงิน ในมูลคายุติธรรม (บาท) (5,341,471) 6,584,735,444

สวนเกินทุน

งบการเงินรวม


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

124

125

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

§º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´

สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

(ปรับปรุงใหม)

(ปรับปรุงใหม)

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิ รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ตัดจำหนายเงินจายลวงหนาแกผูชำนาญการ คาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพและลาสมัย คาเผื่อการดอยคาของที่ดิน (กำไร)ขาดทุนจากการจำหนายและตัดบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณและสินทรัพย ไมมีตัวตน กำไรจากการขายเงินลงทุน เงินปนผล สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ภาษีเงินได

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

10,383,065,183 4,974,695,900 (40,834,243) 1,047,277,561 5,841,586 50,000,000 145,536,197 58,768,300

10,054,777,144 4,651,978,462 (56,452,361) 1,568,651,172 11,720,775 50,000,000 354,960,794

-

2549

(บาท)

19,418,312,097

9,005,466,892

28,966,567 (775,352,387) 1,577,560,366 1,164,320 9,375,000

24,071,862 (858,621,337) 2,253,267,473 16,321,434 9,375,000

-

-

การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดำเนินงาน ลูกหนี้การคา ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินจายลวงหนาแกผูชำนาญการ จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน

3,190,891 (63,880,601) 50,309 (70,105,694) 708,828 (6,044) - (18,985,153,408) (8,055,408,868) (23,684,083) (28,641,891) 4,846,572,448 4,322,890,312 277,248,227 149,318,355 21,372,175,347 20,938,741,934 1,488,234,137 2,543,841,120

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(95,274,423) 57,800,991 240,314,893 543,222,112 (52,736,803) (152,525,782) (1,220,696,777) 4,841,922 (4,253,594,691) 16,443,526,789

143,293,100 35,968,778 76,897,733 657,219,479 583,226,076 45,335,778 (1,444,554,668) (2,775,617) (2,000,000,000) (4,671,000,532) 14,362,352,061

1,293,629,337

8,507,390

16,230,422 (139,223,931) 117,900

(178,791,025) 2,488,704,230

(354,909,409) (7,432,139) 5,885,734 78,444,379 (375,000,000) (198,576,232) 1,692,253,453


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

126

127

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

§º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´

สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

(ปรับปรุงใหม)

(ปรับปรุงใหม)

(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปนผล เงินลงทุนชั่วคราว เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม คาตอบแทนที่จายแกผูถือหุนของบริษัทยอย ในการปรับโครงสรางธุรกิจ การเพิ่มทุนในบริษัทยอย กอนการปรับโครงสรางทางธุรกิจ ขายเงินลงทุนระยะยาว ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ ที่ดิน อาคารและอุปกรณลดลง ซื้อสินทรัพย ไมมีตัวตน สินทรัพย ไมมีตัวตนลดลง สินทรัพย ไมหมุนเวียนอื่น เงินจายสุทธิจากการซื้อบริษัทยอยทางออม เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

40,930,836

(3,326,485) 39,613,566

58,093,432 16,975,616 5,640,990 40,850,000

-

780,791,231 20,290,212,836

847,583,522 8,055,408,868

-

-

1,908,300,440 (1,144,799,640) (9,180,660,910) (509,999,340)

-

27,039,805 120,039 26 7,820 (9,205,674) (1,454,554,671) (4,231,904,150) 933,321,336 51,883,323 819,205,608 (12,511,963) (8,595,148) (26,925,503) 11,202,717 37,899 (24,843,220) (3,582,600) (1,211,354) (253,908,978) (714,738,497) (5,573,979,218) 14,596,473,603

-

-

(1,505,240,976)

(บาท)

-

-

2549

(129,607,370) 58,906 (6,666,764) (4,716,900) 7,107,261,282

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายดอกเบี้ย (1,139,354,066) จายเงินปนผล (5,775,305,750) เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน (1,140,914,252) เงินสดรับจากหุนกูระยะสั้นมีประกัน ชำระคืนหุนกูระยะสั้นมีประกัน (2,200,000,000) เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน (4,615,231,380) เงินสดรับจากหุนกูระยะยาวมีประกัน ชำระคืนหุนกูระยะยาวมีประกัน (2,300,000,000) เงินสดรับจากการออกหุนทุน 5,400,000,000 เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ชำระคืนเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (3,500,000,000) เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (15,270,805,448) สำรองจากการแปลงคางบการเงิน (188,568,040) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น 269,414,804 (ลดลง) สุทธิ 1,919,576,970 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป 6 2,188,991,774

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(1,420,545,600) (1,708,451,681) (2,086,173,156) (8,042,102,750) (5,775,305,750) (8,042,102,750) (33,405,319,840) 4,700,000,000 (2,500,000,000) 629,727,420 5,300,000,000 20,325,761,603 26,600,000,000 (22,431,600,000) (10,244,079,167) (22,710,718) (1,478,417,042) 3,397,994,012 1,919,576,970

1,768,125,256 (33,570,440,734) - 4,700,000,000 (2,200,000,000) (2,500,000,000) (8,776,000,000) 1,815,500,000 - 5,300,000,000 (2,300,000,000) - 20,325,761,603 5,400,000,000 26,600,000,000 (3,500,000,000) (21,345,000,000) (17,091,632,175) (8,802,455,037)

-

-

(6,454,342) 15,622,582 9,168,240

(2,940,302) 18,562,884 15,622,582


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

128

129

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

ËÁÒÂàËμØ»ÃСͺ§º¡ÒÃà§Ô¹ สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากกรรมการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2551

1. ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» หมายเหตุ สารบัญ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทำงบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สำคัญ การปรับโครงสรางทางธุรกิจ รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพย ไมมีตัวตน สินทรัพย ไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น ทุนเรือนหุน

หมายเหตุ สารบัญ 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

สวนเกินทุนและสำรองตามกฎหมาย ขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน รายไดอื่น คาใชจายในการขายและบริหาร คาใชจายพนักงาน ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไรตอหุน สิทธิประโยชนจากการสงเสริมการลงทุน เงินปนผล การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันกับบุคคลหรือกิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ขอพิพาททางกฎหมาย เหตุการณภายหลังวันที่ในงบดุล มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช การจัดประเภทรายการใหม ความแตกตางที่สำคัญระหวางหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไปในประเทศไทยและมาตรฐานการบัญชี ระหวางประเทศ

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และจดทะเบียนเปนบริษัทมหาชนเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2546 โดยมีที่อยูจดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยสิงคโปรเมื่อเดือนพฤษภาคม 2549 บริษัทและบริษัทยอยดำเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการผลิตและการจัดจำหนาย เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอลและไมผสมแอลกอฮอล ผลิตภัณฑ แอลกอฮอลเพื่อการอุตสาหกรรม และผลิตภัณฑพลอยไดอื่นๆ รายละเอียดของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดังนี้

ชื่อกิจการ บริษัทยอยทางตรง 1. บริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) 2. บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด 3. บริษัท แสงโสม จำกัด 4. บริษัท เฟองฟูอนันต จำกัด 5. บริษัท มงคลสมัย จำกัด 6. บริษัท ธนภักดี จำกัด 7. บริษัท กาญจนสิงขร จำกัด 8. บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด 9. บริษัท อธิมาตร จำกัด 10. บริษัท เอส. เอส. การสุรา จำกัด 11. บริษัท แกนขวัญ จำกัด 12. บริษัท เทพอรุโณทัย จำกัด 13. บริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด 14. บริษัท ยูไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนด ดิสทิลเลอรี่ จำกัด

บริษัทถือหุนรอยละ

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

2550

2549

ผลิตเบียร น้ำดื่มและน้ำโซดา ผลิตเบียร น้ำดื่มและน้ำโซดา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

ผลิตสุรา

ไทย

100.00

100.00


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

130

15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46.

ชื่อกิจการ

ลักษณะธุรกิจ

บริษัท สีมาธุรกิจ จำกัด บริษัท นทีชัย จำกัด บริษัท หลักชัยคาสุรา จำกัด บริษัท สุราพิเศษทิพราช จำกัด บริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน) บริษัท ปอมทิพย จำกัด บริษัท ปอมกิจ จำกัด บริษัท ปอมคลัง จำกัด บริษัท ปอมโชค จำกัด บริษัท ปอมเจริญ จำกัด บริษัท ปอมบูรพา จำกัด บริษัท นำยุค จำกัด บริษัท นำกิจการ จำกัด บริษัท นำพลัง จำกัด บริษัท นำเมือง จำกัด บริษัท นำนคร จำกัด บริษัท นำธุรกิจ จำกัด บริษัท ทิพยชโลธร จำกัด บริษัท กฤตยบุญ จำกัด บริษัท สุราทิพย จำกัด บริษัท สุนทรภิรมย จำกัด บริษัท ภิรมยสุรางค จำกัด บริษัท ปุยไบโอนิค จำกัด บริษัท มหาราษฎรการเกษตร จำกัด บริษัท ไทยโมลาส จำกัด บริษัท อาหารเสริม จำกัด บริษัท แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท จรัญธุรกิจ 52 จำกัด บริษัท ถังไมโอคไทย จำกัด บริษัท บางนาโลจิสติค จำกัด บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จำกัด (เดิมชื่อ บริษัท สหทิพยการขนสง จำกัด) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ มารเก็ตติ้ง จำกัด

ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตสุรา ผลิตแอลกอฮอล ผูจัดจำหนายเบียร ผูจัดจำหนายเบียร ผูจัดจำหนายเบียร ผูจัดจำหนายเบียร ผูจัดจำหนายเบียร ผูจัดจำหนายเบียร ผูจัดจำหนายสุรา ผูจัดจำหนายสุรา ผูจัดจำหนายสุรา ผูจัดจำหนายสุรา ผูจัดจำหนายสุรา ผูจัดจำหนายสุรา ตัวแทนจำหนายเบียรและสุรา ตัวแทนจำหนายเบียรและสุรา ตัวแทนจำหนายสุรา ตัวแทนจำหนายสุรา ตัวแทนจำหนายสุรา จำหนายปุย ปลูกขาวญี่ปุน จัดจำหนายกากน้ำตาล จัดจำหนายอาหารสัตว จัดจำหนายวัสดุและบริการ จัดซื้อจัดจาง ผลิตอิฐ ผลิตถังไมโอค จัดจำหนายขวด บริการขนสง นำเขาและสงออกสุรา/ ทำการตลาดในตางประเทศ

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุนรอยละ 2550

2549

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 99.72 100.00

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 99.72 100.00

ไทย ไทย ไทย ไทย

100.00 100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00 100.00

ไทย

100.00

100.00

ไทย

100.00

100.00

131

ชื่อกิจการ 47. 48. 49. 50.

บริษัท ธนสินธิ จำกัด บริษัท ทศภาค จำกัด International Beverage Holdings Ltd. บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด 51. บริษัท ที.ซี.ซี.สากลการคา จำกัด 52. บริษัท เบียรชาง จำกัด 53. บริษัท เบียรอาชา จำกัด 54. บริษัท สุราพิเศษภัทรลานนา จำกัด ##

บริษัทยอยทางออม 55. บริษัท สุราไทยทำ จำกัด # 56. บริษัท สุราพิเศษสหสันติ์ จำกัด # 57. บริษัท สุราพิเศษสัมพันธ จำกัด # 58. บริษัท เมืองกิจ จำกัด # 59. บริษัท สินเอกพาณิชย จำกัด # 60. บริษัท แพนแอลกอฮอล จำกัด # 61. บริษัท บางเลนการเกษตร จำกัด # 62. บริษัท วิทยาทาน จำกัด 63. 64. 65. 66. 67. 68. 69. 70.

InterBev (Singapore) Limited InterBev (Cambodia) Co., Ltd. InterBev Malaysia Sdn. Bhd. International Beverage Holdings Limited USA, Inc. (เดิมชื่อ InterBev USA Inc.) Best Spirits Company Limited International Beverage Holdings (UK) Limited (เดิมชื่อ Pacific Spirits (UK) Limited) บริษัท ประมวลผล จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารและ เครื่องดื่ม จำกัด

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุนรอยละ 2550

2549

ไทย ไทย ฮองกง

100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00

ไทย ไทย

100.00 100.00

100.00 100.00

ไทย

100.00

100.00

ไทย ไทย

100.00 100.00

100.00 100.00

จัดจำหนายสุรา ผลิตและจำหนายสุรา ผลิตและจำหนายสุรา จัดหาไมโอค ประกอบกิจการเหมืองแร ผลิตและจำหนายน้ำสมสายชู กิจการเพาะปลูกพืชผล ทางการเกษตร ประชาสัมพันธ อนุรักษ สิ่งแวดลอม จำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล จำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล จำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

99.90 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

99.90 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

ไทย

100.00

100.00

ไทย สิงคโปร กัมพูชา มาเลเซีย

100.00 100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00 100.00

จำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล จำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล

สหรัฐอเมริกา ฮองกง

100.00 100.00

100.00 100.00

ธุรกิจลงทุน ผลิตและจำหนายสุรา ผลิตและจำหนาย น้ำดื่มและเครื่องดื่มชูกำลัง และตัวแทนจำหนายสุรา

สหราชอาณาจักร 100.00 ไทย 80.82

100.00

ลักษณะธุรกิจ กอสราง ธุรกิจโฆษณา ธุรกิจลงทุน ผลิตเบียร น้ำดื่มและน้ำโซดา ถือครองเครื่องหมายการคา ถือครองเครื่องหมายการคา และผลิตหัวเชื้อเบียร ถือครองเครื่องหมายการคา และผลิตหัวเชื้อเบียร ธุรกิจลงทุน

ไทย

83.20

-


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

132

ชื่อกิจการ บริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม * 71. Blairmhor Limited # 72. Inver House Distillers Limited 73. Blairmhor Distillers Limited # 74. Wee Beastie Limited

ลักษณะธุรกิจ

ประเทศที่ กิจการจัดตั้ง

บริษัทถือหุนรอยละ 2550

76. 77. 78. 79. 80. 81. 82. 83. 84. 85.

บริษัทรวมของบริษัทยอยทางออม ** 86. Liquorland Limited 87. Inver House Polska Limited 88. Inver House Distribution SA # * ** # ##

2. ࡳ± ¡ÒèѴ·Ó§º¡ÒÃà§Ô¹

2549

งบการเงินนี้นำเสนอเพื่อวัตถุประสงคของการรายงานเพื่อใชในประเทศไทย และจัดทำเปนภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษ ไดจัดทำขึ้นเพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย ธุรกิจลงทุน ผลิตและจำหนายสุรา หยุดดำเนินกิจการ ผลิตและจำหนายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล

สหราชอาณาจักร 100.00 สหราชอาณาจักร 100.00 สหราชอาณาจักร 100.00

100.00 100.00 100.00

สหราชอาณาจักร 100.00

100.00

หยุดดำเนินกิจการ

สหราชอาณาจักร 100.00

100.00

75. Speyburn-Glenlivet Distillery

Company Limited # The Knockdhu Distillery Company Limited # The Pulteney Distillery Company Limited # The Balblair Distillery Company Limited # R. Carmichael & Sons Limited # J MacArthur Junior & Company Limited # Mason & Summers Limited # Hankey Bannister Limited # James Catto & Company Limited # Glen Calder Blenders Limited # Moffat & Towers Limited #

133

หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ หยุดดำเนินกิจการ

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย ในระหวางป 2550 สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศใชมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม ซึ่งใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 ดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม การใชมาตรฐานการบัญชีฉบับใหมเหลานี้ ทำใหเกิดมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท สำหรับ สวนไดเสียของเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวไดเปดเผยไวแลวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 29 นอกจากการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีดังกลาวขางตน ในระหวางป 2550 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี ใหมหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับสำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 และไมไดมีการนำมาใช สำหรับการจัดทำงบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ไดออกและปรับปรุงใหมเหลานี้ไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 34 งบการเงินนี้แสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท และมีการปดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อใหแสดงเปนหลักลานบาท ยกเวน ที่ระบุไวเปนอยางอื่น งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนที่กลาวไวในนโยบายการบัญชี

ลิขสิทธิ์ จำหนายเครื่องดื่มแอลกอฮอล หยุดดำเนินกิจการ

สหราชอาณาจักร โปแลนด ฝรั่งเศส

49.49 44.00 50.02

49.49 44.00

50.02

บริษัทยอยของ International Beverage Holdings (UK) Limited บริษัทรวมของ International Beverage Holdings (UK) Limited ปจจุบันบริษัทเหลานี้ไมไดประกอบกิจการ เปลี่ยนจากบริษัทยอยทางออมเปนบริษัทยอยทางตรงในเดือนตุลาคม 2550 และเปนบริษัทที่ไมไดประกอบกิจการ

ในป 2550 บริษัท สุราพิเศษภัทรลานนา จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยแหงหนึ่งซื้อหุนสามัญของบริษัท ประมวลผล จำกัด จำนวน 2.8 ลานหุน ซึ่งเทากับรอยละ 80.82 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกลาว เปนจำนวนเงินรวม 285.54 ลานบาท และของบริษัท เอส พี เอ็ม อาหาร และเครื่องดื่ม จำกัด จำนวน 0.8 ลานหุน ซึ่งเทากับรอยละ 83.20 ของทุนจดทะเบียนของบริษัทดังกลาว เปนจำนวนเงินรวม 0.08 ลานบาท จากผูถือหุนเดิมของบริษัททั้งสองแหง

ในการจัดทำงบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ผูบริหารตองใชการประมาณและขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบ ตอการกำหนดนโยบายและการรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย การประมาณและขอสมมติฐาน มาจากประสบการณ ในอดีต และปจจัยตางๆ ที่ผูบริหารมีความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลภายใตสภาวการณ ซึ่งไมอาจอาศัยขอมูล จากแหลงอื่นและนำไปสูการตัดสินใจเกี่ยวกับการกำหนดจำนวนสินทรัพยและหนี้สินนั้นๆ ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางจากที่ ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทำงบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึก ในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและ งวดในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปจจุบันและอนาคต


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

134

3. ¹âºÒ¡ÒúÑÞªÕ·ÕèÊÓ¤ÑÞ (ก) เกณฑในการทำงบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท และบริษัทยอย (รวมกันเรียกวา “กลุมบริษัท”) และสวนไดเสียของกลุมบริษัทใน บริษัทรวม รายการที่มีสาระสำคัญซึ่งเกิดขึ้นระหวางบริษัทและบริษัทยอยไดถูกตัดรายการในการทำงบการเงินรวม บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อบริษัทมีอำนาจควบคุมทั้งทางตรงหรือทางออมในการ กำหนดนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของบริษัทนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชนจากกิจกรรมของบริษัทยอย งบการเงินของ บริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง บริษัทรวม บริษัทรวมเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีอิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญโดยมีอำนาจเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทาง การเงินและการดำเนินงานแตไมถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกลาว งบการเงินรวมของกลุมบริษัทไดรวมสวนแบงกำไรหรือขาดทุน ของบริษัทรวมตามวิธีสวนไดเสีย นับจากวันที่มีอิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญจนถึงวันที่การมีอิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญสิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุมบริษัทไดรับปนจากบริษัทรวมมีจำนวนเกินกวาเงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเปนศูนยและ หยุดรับรูสวนผลขาดทุน เวนแตกรณีที่กลุมบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือยินยอมที่จะชำระภาระผูกพันของบริษัทรวม การรวมธุรกิจ การรวมธุรกิจที่อยูภายใตการควบคุมเดียวกันจะถูกบันทึกบัญชีดวยวิธีที่คลายคลึงกับการใชวิธีสวนไดเสีย โดยสินทรัพย หนี้สินและ หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นเหลานั้น จะถูกบันทึกดวยมูลคาตามบัญชีของกิจการที่รับโอนมา การรวมธุรกิจบันทึกบัญชีโดยวิธีซื้อธุรกิจ ตนทุนการซื้อธุรกิจบันทึกดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่สงมอบ ตราสารทุนที่ออกและ หนี้สินที่เกิดขึ้นจนถึง ณ วันที่มีการแลกเปลี่ยน รวมถึงรายจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของโดยตรงกับการซื้อธุรกิจ (ข) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ

135

กิจการในตางประเทศ สินทรัพยและหนี้สินของกิจการในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ย ณ วันที่ในงบดุล รายไดและคาใชจายของกิจการในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยที่ ใกลเคียงกับอัตรา ณ วันที่ เกิดรายการ ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงคา บันทึกไวเปนรายการแยกตางหากในสวนของผูถือหุน จนกวามีการจำหนาย เงินลงทุนนั้นออกไป (ค) เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศลวงหนา ไดแสดงเปนรายการนอกงบดุล (ฆ) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพ คลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะตองชำระคืนเมื่อทวงถามถือเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ง) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (รวมยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน) แสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชำระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชำระหนี้ในอนาคตของลูกคา ลูกหนี้ จะถูกตัดจำหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ (จ) สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ำกวา ตนทุนของวัตถุดิบ พัสดุบรรจุ สินคาระหวางผลิตและสินคาสำเร็จรูปคำนวณโดยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก ตนทุนสินคาประกอบดวย ตนทุนที่ซื้อ ตนทุนในการดัดแปลงหรือตนทุนอื่นเพื่อใหสินคาอยูในสถานที่และสภาพปจจุบัน ในกรณีของสินคาสำเร็จรูปและสินคา ระหวางผลิตที่ผลิตเอง ตนทุนสินคารวมการปนสวนของคาโสหุยการผลิตอยางเหมาะสม โดยคำนึงถึงระดับกำลังการผลิตตามปกติ มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนการประมาณราคาที่จะขายไดจากการดำเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จำเปนในการขาย

รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ในงบดุล แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไรหรือขาดทุนจากการแปลงคาจะบันทึกในงบกำไรขาดทุน สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศและบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลงคาเปน เงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ

(ฉ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บันทึกบัญชีโดยใชวิธีราคาทุน วิธีการบันทึกบัญชีดังกลาว ถือเปนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ซึ่งผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 29 สวนการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบการเงินรวมใชวิธีสวนไดเสีย


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

136

เงินลงทุนในตราสารทุนอื่น ตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพย ในความตองการของตลาด จัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขายและแสดงในมูลคายุติธรรม กำไรหรือ ขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย ไดบันทึกในสวนของผูถือหุนโดยตรง ยกเวนขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุนจะรับรูในงบกำไร ขาดทุน

137

สำหรับมูลคาที่ลดลงเฉพาะจำนวนที่ลดลงมากกวาสวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยที่เคยบันทึกไวครั้งกอนในสวนของผูถือหุนของ สินทรัพยชิ้นเดียวกันนั้น ในกรณีที่มีการจำหนายสินทรัพยที่เคยตีราคาใหม สวนเกินทุนจากการตีราคาของสินทรัพยที่จำหนายจะโอน จากสวนของผูถือหุนไปยังกำไรสะสมและไมรวมในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนจากการจำหนายสินทรัพย

มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินสำหรับหลักทรัพยเผื่อขายจะใชราคาเสนอซื้อ ณ วันที่ในงบดุล

รายจายฝายทุนที่เกิดขึ้นภายหลัง รายจายที่เกิดขึ้นภายหลังซึ่งเกี่ยวของกับ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ จะถูกบันทึกเพิ่มในบัญชีของสินทรัพยที่เกี่ยวของ หากมีความ เปนไปไดคอนขางแนนอนวาจะกอใหเกิดประโยชนเชิงเศรษฐกิจเพิ่มเติมในอนาคตแกกลุมบริษัทเกินกวาที่ ไดเคยประเมินไดจาก ทรัพยสินที่เกี่ยวของนั้น รายจายที่เกิดขึ้นในภายหลังอื่นๆ จะบันทึกเปนคาใชจายในงวดที่เกิดขึ้น

การจำหนายเงินลงทุน เมื่อมีการจำหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางจำนวนเงินสุทธิที่ไดรับและมูลคาตามบัญชีและรวมถึงกำไรหรือขาดทุนจากการตีราคา หลักทรัพยที่เกี่ยวของที่เคยบันทึกในสวนของผูถือหุน จะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน

คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพยแตละ รายการ ประมาณการอายุการใชงานของสินทรัพยแสดงไดดังนี้

(ช) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ

สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง สวนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ ถังไมโอค เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ

เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไมใชหลักทรัพย ในความตองการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการดอยคา

ที่ดิน อาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา ยกเวนที่ดินที่แสดงดวยราคาที่ตีใหม ราคาที่ตีใหมหมายถึงมูลคายุติธรรม สินทรัพยซึ่งอยูระหวางการสรางและพัฒนาเพื่อใชเองในอนาคต จะจัดประเภทบัญชีภายใตหมวด ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และแสดง ในราคาทุนจนกวาการสรางหรือพัฒนาแลวเสร็จ

5-20 10-40 5-20 4-40 10-20 3-10 3-10

ป ป ป ป ป ป ป

กลุมบริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง สินทรัพยที่เชา การเชาซึ่งกลุมบริษัทไดรับสวนใหญของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพยสินที่เชานั้นๆ ใหจัดประเภทเปนสัญญาเชา ทางการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดมาโดยทำสัญญาเชาทางการเงินบันทึกเปนสินทรัพยดวยมูลคายุติธรรมหรือมูลคาปจจุบัน ของจำนวนเงินขั้นต่ำที่จะตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา หักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาเชาที่ชำระจะแยกเปนสวนที่เปนคาใชจายทางการเงิน และสวนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อทำใหอัตราดอกเบี้ยแตละงวดเปน อัตราคงที่สำหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน คาใชจายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกำไรขาดทุน สินทรัพยที่ตีราคาใหม การตีราคาใหมดำเนินการโดยผูประเมินอิสระอยางสม่ำเสมอพอ กลุมบริษัทมีนโยบายในการประเมินราคาที่ดินทุกๆ สามถึงหาปหรือ เมื่อมีปจจัยที่มีผลกระทบอยางมีสาระสำคัญตอมูลคาที่ดิน เพื่อใหมั่นใจวาราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ไดรับการประเมินไมแตกตาง อยางเปนสาระสำคัญจากมูลคายุติธรรม ณ วันที่ในงบดุล มูลคาของสินทรัพยสวนที่ตีเพิ่มขึ้นจะบันทึกไปยังสวนของผูถือหุนภายใต “สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย” ยกเวนกรณีที่เคย ประเมินมูลคาของสินทรัพยลดลงและรับรูขาดทุนในงบกำไรขาดทุนแลว จะบันทึกเฉพาะสวนที่ตีมูลคาเพิ่มในครั้งหลังเกินกวาสวนที่ เคยบันทึกมูลคาลดลงของสินทรัพยชิ้นเดียวกัน ในกรณีที่มูลคาของสินทรัพยลดลงจากการตีราคาใหมจะบันทึกในงบกำไรขาดทุน

(ซ) สินทรัพยไมมีตัวตน คาความนิยม คาความนิยมจากการรวมธุรกิจ ไดแก ตนทุนการไดมาของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดสวนที่เกินกวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธินั้น คาความนิยมแสดงในราคาทุนหักดวยคาตัดจำหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา สินทรัพย ไมมีตัวตนอื่นๆ สินทรัพย ไมมีตัวตนอื่นๆ ที่กลุมบริษัทซื้อมาแสดงในราคาทุน หักดวยคาตัดจำหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาตัดจำหนาย คาตัดจำหนายบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเสนตรงและวิธีจำนวนผลผลิตตามเกณฑระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย ไมมีตัวตนแตละประเภท ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจแสดงไดดังนี้


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

138

คาความนิยม โปรแกรมคอมพิวเตอร เครื่องหมายการคา ลิขสิทธิ์ถายทอดสด สิทธิการเชา

ป ป ป ป ตามอายุสัญญาเชา 20 3-10 10 4

(วิธีเสนตรง) (วิธีเสนตรง) (วิธีเสนตรง) (วิธีจำนวนผลผลิต) (วิธีเสนตรง)

139

การขายสินคาและใหบริการ รายไดรับรูในงบกำไรขาดทุนเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสำคัญไปใหกับผูซื้อแลว และจะ ไมรับรูรายไดถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้นหรือมีความไมแนนอนที่มีนัยสำคัญในการไดรับประโยชน เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินคาหรือใหบริการนั้น ไมอาจวัดมูลคาของจำนวนรายไดและตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยางนาเชื่อถือหรือมีความ เปนไปไดคอนขางแนนอนที่จะตองรับคืนสินคา รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ

(ฌ) การดอยคา ยอดสินทรัพยตามบัญชีของกลุมบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวา มีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้ จะทำการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน

เมื่อผลงานบริการตามสัญญาที่ใหสามารถประมาณไดอยางนาเชื่อถือรายไดตามสัญญาจะถูกรับรูในงบกำไรขาดทุนโดยคำนวณจาก ความสำเร็จของกิจกรรมบริการตามสัญญา ณ วันที่ในงบดุล หากมูลคาของผลงานตามสัญญาไมอาจประมาณไดอยางนาเชื่อถือ รายได ตามสัญญาจะบันทึกเทากับตนทุนที่คาดวาจะไดรับคืน

ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดสูงกวา มูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในงบกำไรขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลคาของสินทรัพยเพิ่ม ของสินทรัพยชิ้นเดียวกันที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลาตอมา ในกรณีนี้ใหรับรูในสวนของผูถือหุน

รายไดตามสัญญากอสราง เมื่อผลงานการกอสรางตามสัญญาสามารถประมาณไดอยางนาเชื่อถือ รายไดตามสัญญาและตนทุนที่เกิดขึ้นจะถูกรับรูในงบกำไรขาดทุน โดยคำนวณจากความสำเร็จของกิจกรรมงานกอสรางตามสัญญา ณ วันที่ในงบดุล ขั้นความสำเร็จของงานกอสรางคำนวณโดยวิธีอัตรา รอยละของความสำเร็จของงานกอสรางซึ่งประเมินโดยวิศวกรของโครงการ ในกรณีที่มีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาตนทุนทั้งสิ้น ของโครงการเกินกวามูลคารายไดตามสัญญา กลุมบริษัทจะรับรูประมาณการขาดทุนดังกลาวเปนคาใชจายทันทีในงบกำไรขาดทุน

(ญ) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลคายุติธรรมหักคาใชจายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการบันทึกหนี้สินที่มีภาระ ดอกเบี้ยจะบันทึกตอมาโดยวิธีราคาทุนตัดจำหนาย ผลตางระหวางยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบกำหนดไถถอน จะบันทึกใน งบกำไรขาดทุนตลอดอายุการกูยืมโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (ฎ) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น (รวมยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน) แสดงในราคาทุน (ฏ) ประมาณการหนี้สิน การประมาณการหนี้สินจะรับรูในงบดุลก็ตอเมื่อกลุมบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบันหรือที่กอตัวขึ้นอันเปนผล มาจากเหตุการณ ในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชำระภาระหนี้สินดังกลาว และสามารถประมาณจำนวนภาระหนี้สินไดอยางนาเชื่อถือ ถาผลกระทบดังกลาวมีจำนวนที่เปนสาระสำคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณา จากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอนคำนึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจำนวนที่อาจ ประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน (ฐ) ผลตางจากการปรับโครงสรางทางธุรกิจ ผลตางจากการปรับโครงสรางทางธุรกิจ เกิดขึ้นจากการปรับโครงสรางทางธุรกิจที่อยูภายใตการควบคุมเดียวกันของผูถือหุนรายใหญ ของบริษัท ซึ่งเปนผลตางระหวางตนทุนในการรวมธุรกิจกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ระบุไดสุทธิ ณ วันที่รวมธุรกิจ (ยกเวน กิจการที่ไมไดอยูภายใตการควบคุมเดียวกัน จะปรับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดใหเปนมูลคายุติธรรม) โดยบริษัทได ปรับปรุงผลตางจากการปรับโครงสรางทางธุรกิจแสดงไวภายใตสวนของผูถือหุน และจะตัดจำหนายเมื่อขายเงินลงทุนออกไป (ฑ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มหรือภาษีขายอื่นๆ และแสดงสุทธิจากสวนลดการคา

ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง เงินปนผลรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนในวันที่กลุมบริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล ซึ่งตามปกติ ในกรณีเงินปนผลที่จะไดรับจากหลักทรัพย ในการความตองการของตลาดจะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิการ รับปนผล (ฒ) คาใชจาย สัญญาเชาดำเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดำเนินงานบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา ประโยชนที่ไดรับตามสัญญาเชาจะ รับรูในงบกำไรขาดทุนเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนในรอบบัญชีที่มีรายการ ดังกลาว รายจายทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทำนองเดียวกันบันทึกในงบกำไรขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น ยกเวนในกรณีที่มีการบันทึก เปนตนทุนสวนหนึ่งของสินทรัพย อันเปนผลมาจากการใชเวลายาวนานในการจัดหา กอสราง หรือการผลิตสินทรัพยดังกลาวกอนที่ จะนำมาใชเองหรือเพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเปนสวนหนึ่งของคางวดตามสัญญาเชาการเงินบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง การวิจัยและพัฒนา คาใชจายในการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งคาใชจายในการพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ ใหม ถูกบันทึกเปนคาใชจายในรอบระยะเวลา บัญชีที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น รายไดและคาใชจายอื่นรับรูตามเกณฑคงคาง


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

140

(ณ) ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจากกำไรหรือขาดทุนสำหรับปประกอบดวยภาษีเงินไดปจจุบัน ซึ่งไดแกภาษีที่คาดวาจะจายชำระโดยคำนวณจากกำไร ประจำปที่ตองเสียภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใช ณ วันที่ในงบดุล ซึ่งเกี่ยวกับรอบบัญชีที่คำนวณภาษีเงินได ตลอดจนการปรับปรุง ทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ

4. ¡ÒûÃѺâ¤Ã§ÊÌҧ·Ò§¸ØáԨ บริษัทไดจัดตั้งขึ้นในป 2546 เพื่อรวมธุรกิจที่เกี่ยวกับเครื่องดื่มของกลุมผูถือหุนรายใหญเดียวกันคือ ครอบครัว สิริวัฒนภักดี ซึ่งเปน สวนหนึ่งของการดำเนินงานของบริษัทตางๆ จำนวน 89 บริษัท ที่มีการดำเนินงานแยกตางหากจากกันมารวมกันเปนกลุมบริษัทเดียวกัน ในจำนวนนี้ 65 บริษัทถูกโอนในระหวางป 2546 และ 2547 4 บริษัทถูกโอนในระหวางป 2548 และ 20 บริษัทถูกโอนในระหวางป 2549 โดยกอนการปรับโครงสรางทางธุรกิจ ธุรกิจดังกลาวอยูภายใตการควบคุมเดียวกันของผูถือหุนรายใหญที่เปนผูควบคุมบริษัท เนื่องจากผูถือหุนรายใหญที่เปนผูควบคุมบริษัทมีอำนาจในการควบคุมธุรกิจและการดำเนินงานของกิจการที่ โอนมาใหแกบริษัททั้ง กอนและหลังปรับโครงสรางทางธุรกิจ งบการเงินรวมจึงไดจัดทำขึ้นตามเกณฑการรวมธุรกิจที่อยูภายใตการควบคุมเดียวกัน ดังนั้น การโอนธุรกิจและการดำเนินงานจะถูกบันทึกบัญชีดวยวิธีที่คลายคลึงกับวิธีการรวมสวนไดเสีย โดยสินทรัพย หนี้สิน และหนี้สินที่อาจ จะเกิดขึ้นเหลานั้นจะถูกบันทึกดวยมูลคาตามบัญชีของกิจการที่รับโอนมา ผลตางระหวางตนทุนในการรวมธุรกิจกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ระบุไดสุทธิ ณ วันที่รวมธุรกิจ (ยกเวนกิจการที่ไมไดอยูภายใต การควบคุมเดียวกัน จะปรับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดใหเปนมูลคายุติธรรม) แสดงเปน “ผลตางจากการปรับโครงสราง ทางธุรกิจ” เปนรายการหักในสวนของผูถือหุน ในการจัดทำงบการเงินรวม สินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจายที่สามารถระบุไดชัดเจนวาเกี่ยวของกับธุรกิจและการดำเนินงานของ บริษัทที่รับโอนมา จะถูกนำมารวมในงบการเงินรวมในมูลคาเดิมที่บันทึกไวโดยบริษัทเหลานั้นภายหลังการปรับปรุงรายการระหวางกัน กับผูถือหุนใหญที่ควบคุมบริษัทเหลานั้น สำหรับคาใชจายที่ไมสามารถระบุเจาะจงไดจะถูกปนสวนตามเกณฑรอยละของยอดขาย ผูบริหารเชื่อวาเกณฑ ในการปนสวนคาใชจายดังกลาวเปนเกณฑที่สมเหตุสมผลแลว

5. ÃÒ¡Ò÷Õèà¡Ô´¢Öé¹áÅÐÂÍ´¤§àËÅ×͡ѺºØ¤¤ÅËÃ×Í¡Ô¨¡Ò÷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดแก บุคคลหรือกิจการตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับกลุมบริษัทและบริษัท โดยการเปนผูถือหุน หรือมีผูถือหุนรวมกัน หรือมีกรรมการรวมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันไดกำหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือ ในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไมมีราคาตลาดรองรับ รายละเอียดความสัมพันธที่กลุมบริษัทมีกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันซึ่งมีการควบคุมหรือควบคุมรวมกันในบริษัท หรือเปนกิจการ ที่บริษัทควบคุมหรือควบคุมรวมกัน หรือเปนบุคคลหรือกิจการที่มีรายการบัญชีกับ กลุมบริษัท

141

ชื่อกิจการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31.

บริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด บริษัท แสงโสม จำกัด บริษัท เฟองฟูอนันต จำกัด บริษัท มงคลสมัย จำกัด บริษัท ธนภักดี จำกัด บริษัท กาญจนสิงขร จำกัด บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด บริษัท อธิมาตร จำกัด บริษัท เอส. เอส. การสุรา จำกัด บริษัท แกนขวัญ จำกัด บริษัท เทพอรุโณทัย จำกัด บริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนด ดิสทิลเลอรี่ จำกัด บริษัท สีมาธุรกิจ จำกัด บริษัท นทีชัย จำกัด บริษัท หลักชัยคาสุรา จำกัด บริษัท สุราพิเศษทิพราช จำกัด บริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน) บริษัท ปอมทิพย จำกัด บริษัท ปอมกิจ จำกัด บริษัท ปอมคลัง จำกัด บริษัท ปอมโชค จำกัด บริษัท ปอมเจริญ จำกัด บริษัท ปอมบูรพา จำกัด บริษัท นำยุค จำกัด บริษัท นำกิจการ จำกัด บริษัท นำพลัง จำกัด บริษัท นำเมือง จำกัด บริษัท นำนคร จำกัด บริษัท นำธุรกิจ จำกัด

ประเทศที่ จัดตั้ง/ สัญชาติ

ลักษณะความสัมพันธ

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

142

ชื่อกิจการ 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54. 55. 56. 57. 58. 59. 60. 61. 62.

บริษัท ทิพยชโลธร จำกัด บริษัท กฤตยบุญ จำกัด บริษัท สุราทิพย จำกัด บริษัท สุนทรภิรมย จำกัด บริษัท ภิรมยสุรางค จำกัด บริษัท ปุยไบโอนิค จำกัด บริษัท มหาราษฎรการเกษตร จำกัด บริษัท ไทยโมลาส จำกัด บริษัท อาหารเสริม จำกัด บริษัท แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท จรัญธุรกิจ 52 จำกัด บริษัท ถังไมโอคไทย จำกัด บริษัท บางนาโลจิสติค จำกัด บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จำกัด บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ มารเก็ตติ้ง จำกัด บริษัท ธนสินธิ จำกัด บริษัท ทศภาค จำกัด International Beverage Holdings Ltd. บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ที.ซี.ซี.สากลการคา จำกัด บริษัท เบียรชาง จำกัด บริษัท เบียรอาชา จำกัด บริษัท สุราพิเศษภัทรลานนา จำกัด บริษัท สุราไทยทำ จำกัด บริษัท สุราพิเศษสหสันติ์ จำกัด บริษัท สุราพิเศษสัมพันธ จำกัด บริษัท เมืองกิจ จำกัด บริษัท สินเอกพาณิชย จำกัด บริษัท แพนแอลกอฮอล จำกัด บริษัท บางเลนการเกษตร จำกัด บริษัท วิทยาทาน จำกัด

ประเทศที่ จัดตั้ง/ สัญชาติ

ลักษณะความสัมพันธ

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 99.72 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ฮองกง

เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางตรง บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 99.90 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100

143

ชื่อกิจการ 63. 64. 65. 66. 67. 68. 69. 70. 71.

InterBev (Singapore) Limited InterBev (Cambodia) Co., Ltd. InterBev Malaysia Sdn. Bhd. International Beverage Holdings Limited USA, Inc. (เดิมชื่อ InterBev USA Inc.) Best Spirits Company Limited International Beverage Holdings (UK) Limited (เดิมชื่อ Pacific Spirits (UK) Limited) บริษัท ประมวลผล จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารและเครื่องดื่ม จำกัด Blairmhor Limited

ประเทศที่ จัดตั้ง/ สัญชาติ

ลักษณะความสัมพันธ

สิงคโปร กัมพูชา มาเลเซีย

เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100

สหรัฐอเมริกา ฮองกง

เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100

สหราชอาณาจักร ไทย ไทย สหราชอาณาจักร

เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 80.82 เปนบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 83.20 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100

72. Inver House Distillers Limited

สหราชอาณาจักร

73. Blairmhor Distillers Limited

สหราชอาณาจักร

74. Wee Beastie Limited

สหราชอาณาจักร

75. Speyburn-Glenlivet Distillery

สหราชอาณาจักร

Company Limited 76. The Knockdhu Distillery Company Limited

สหราชอาณาจักร

77. The Pulteney Distillery Company Limited

สหราชอาณาจักร

78. The Balblair Distillery Company Limited

สหราชอาณาจักร

79. R. Carmichael & Sons Limited

สหราชอาณาจักร

80. J MacArthur Junior & Company Limited

สหราชอาณาจักร

81. Mason & Summers Limited

สหราชอาณาจักร

เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

144

ชื่อกิจการ

ประเทศที่ จัดตั้ง/ สัญชาติ

82. Hankey Bannister Limited

สหราชอาณาจักร

83. James Catto & Company Limited

สหราชอาณาจักร

84. Glen Calder Blenders Limited 85. Moffat & Towers Limited

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร

86. Liquorland Limited

สหราชอาณาจักร

87. Inver House Polska Limited

โปแลนด

88. Inver House Distribution SA

ฝรั่งเศส

89. บริษัท พิเศษกิจ จำกัด 90. บริษัท โออิชิ เทรดดิ้ง จำกัด 91. บริษัท พี เอส รีไซเคิล จำกัด

ไทย ไทย ไทย

92. บริษัท อาคเนยประกันภัย (2000) จำกัด 93. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและสิทธิ 94. 95. 96. 97. 98.

เรียกรองนิวโนเบิล บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลแมวัง จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลชลบุรี จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลอุตรดิตถ จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลสุพรรณบุรี จำกัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและสิทธิ เรียกรองไดนามิค แอสเส็ทส

99. บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน)

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

ไทย

100. บริษัท ไทย เบเวอรเรจ แคน จำกัด

ไทย

101. บริษัท อาคเนย แคปปตอล จำกัด

ไทย

145

ลักษณะความสัมพันธ เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 100 เปนบริษัทรวมของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 49.90 เปนบริษัทรวมของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 40.00 เปนบริษัทรวมของบริษัทยอยทางออม บริษัทถือหุนรอยละ 50.00 กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญเปนญาติกับ ผูมีอำนาจควบคุม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหนวยลงทุน สวนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหนวยลงทุน สวนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญเปนกรรมการและ ถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนทางออม รอยละ 50 กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม

ชื่อกิจการ 102. บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จำกัด 103. บริษัท ที.ซี.ซี. แคปปตอล แลนด จำกัด 104. Great Oriole Limited 105. Madigral Trading Limited

ประเทศที่ จัดตั้ง/ สัญชาติ ไทย ไทย British Virgin Islands British Virgin Islands

ลักษณะความสัมพันธ กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม มีผูถือหุนรายใหญรวมกัน กรรมการและผูถือหุนเปนกรรมการของบริษัทยอย

106. บริษัท อุตสาหกรรมทำเครื่องแกวไทย 107. 108. 109. 110.

จำกัด (มหาชน) บริษัท บางนากลาส จำกัด บริษัท พลาซาแอทธินี โฮเต็ล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ทีซีซี โฮเทลคอลเล็คชั่น จำกัด บริษัท สยามประชาคาร จำกัด

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญเปนกรรมการและ ถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม กรรมการและผูถือหุนรายใหญถือหุนใหญทางออม

นโยบายการกำหนดราคาสำหรับรายการแตละประเภทอธิบายไดดังตอไปนี้ รายการ

นโยบายการกำหนดราคา

ขายสินคาสำเร็จรูป การใหบริการ ซื้อวัตถุดิบ การรับบริการ ซื้อขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซื้อขายเงินลงทุน ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจาย

ราคาที่ตกลงรวมกันโดยอางอิงจากอัตราตลาด ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงรวมกันโดยอางอิงจากอัตราตลาด ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา อัตราที่ตกลงรวมกันกับผูถือหุนโดยอางอิงจากอัตราดอกเบี้ย จากธนาคารพาณิชย


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

146

รายการที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันสำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม 2550

ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดังนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

147

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

2549

(ลานบาท) บริษัทยอย รายไดคาธรรมเนียมการจัดการ เงินปนผล ซื้อเงินลงทุน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย รายไดอื่น คาใชจายอื่น กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ ซื้อวัตถุดิบและพัสดุบรรจุ โสหุยการผลิต ขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ รายไดอื่น คาใชจายอื่น สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย คาตอบแทนในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ ดอกเบี้ยจาย คาตอบแทนกรรมการ

งบการเงินรวม 2550

-

-

2,577 18,985 9,180 773 732 9 67

3,432 8,055 510 844 885 5 28

144 14 4,826 225 819 32 104 296 29

-

-

66

146 33 4,800 177 1 4 18 274 24 1,505 109

264

265

-

819

64 73

37

-

-

262

255

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

-

-

(ลานบาท) กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท โออิชิ เทรดดิ้ง จำกัด บริษัท พิเศษกิจ จำกัด บริษัท พี เอส รีไซเคิล จำกัด อื่นๆ รวม

4 3 3 4 14

2 4 7 8 21


2 4 4

2 4 4

-

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท พิเศษกิจ จำกัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและสิทธิเรียกรองนิวโนเบิล บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลแมวัง จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลชลบุรี จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลอุตรดิตถ จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลสุพรรณบุรี จำกัด อื่นๆ รวมกิจการที่เกี่ยวของกัน รวม

2

-

-

-

รวม

-

-

-

เงินใหกูยืม ระยะสั้น

-

เงินใหกูยืม ระยะสั้น

งบการเงินรวม

-

รวม

2

-

ลูกหนี้อื่น

2550

-

ลูกหนี้อื่น

-

เงินใหกูยืม ระยะสั้น

-

เงินใหกูยืม ระยะสั้น

2550

บริษัทยอย (ตอ) บริษัท นำพลัง จำกัด บริษัท นำเมือง จำกัด บริษัท นำนคร จำกัด บริษัท นำธุรกิจ จำกัด บริษัท ทิพยชโลธร จำกัด บริษัท กฤตยบุญ จำกัด บริษัท สุราทิพย จำกัด บริษัท สุนทรภิรมย จำกัด บริษัท ภิรมยสุรางค จำกัด บริษัท ปุยไบโอนิค จำกัด บริษัท มหาราษฎรการเกษตร จำกัด บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จำกัด (เดิมชื่อ บริษัท สหทิพยการขนสง จำกัด) International Beverage Holdings Ltd. บริษัท ที.ซี.ซี. สากลการคา จำกัด บริษัท สุราพิเศษภัทรลานนา จำกัด รวมบริษัทยอย

เงินใหกูยืมระยะสั้นและ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน

บริษัทยอย บริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด บริษัท แสงโสม จำกัด บริษัท เฟองฟูอนันต จำกัด บริษัท มงคลสมัย จำกัด บริษัท ธนภักดี จำกัด บริษัท กาญจนสิงขร จำกัด บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด บริษัท อธิมาตร จำกัด บริษัท เอส.เอส.การสุรา จำกัด บริษัท แกนขวัญ จำกัด บริษัท เทพอรุโณทัย จำกัด บริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนด ดิสทิลเลอรี่ จำกัด บริษัท สีมาธุรกิจ จำกัด บริษัท นทีชัย จำกัด บริษัท หลักชัยคาสุรา จำกัด บริษัท สุราพิเศษทิพราช จำกัด บริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน) บริษัท ปอมทิพย จำกัด บริษัท ปอมกิจ จำกัด บริษัท ปอมคลัง จำกัด บริษัท ปอมโชค จำกัด บริษัท ปอมเจริญ จำกัด บริษัท ปอมบูรพา จำกัด บริษัท นำยุค จำกัด บริษัท นำกิจการ จำกัด

เงินใหกูยืมระยะสั้นและ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม

7 3 6 8 7 12 8 51 51

-

-

ลูกหนี้อื่น

2549

-

ลูกหนี้อื่น

2549

-

85

-

124

-

519 219 431

-

182

-

1,786

7 3 6 8 7 12 8 51 51

-

-

368

3,548

2 368

-

1

3,916

-

67 13 3 2 3,916

-

-

8 9 5 7 158 42 17 3 1

รวม

9,367

-

9,367

-

50 1,276

23 13

-

85

-

เงินใหกูยืม ระยะสั้น

-

70 477 197 760 244

-

2,477

-

314

-

348 1,494

-

1,539

เงินใหกูยืม ระยะสั้น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

1,840 26 6 2 1 1 185 8 3 3 4 3 9 1 524 222 438 3 131 9 16 7 9 5 7 97 21

รวม

8 9 5 7 38 42 17 3 1

ลูกหนี้อื่น

2550

54 26 6 2 1 1 3 8 3 3 4 3 9 1 5 3 7 3 7 9 16 7 9 5 7 12 21

ลูกหนี้อื่น

-

3,548

-

67 12 3

-

120

-

เงินใหกูยืม ระยะสั้น รวม (ลานบาท)

-

เงินใหกูยืม ระยะสั้น รวม (ลานบาท)

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

1,668

-

1,668

-

8

-

-

39 47 25 30 203 190 72 61 14

ลูกหนี้อื่น

2549

136 146 47 12 3 4 6 45 13 12 14 10 32 7 9 12 11 2 14 37 107 40 48 21 35 67 89

ลูกหนี้อื่น

2549

11,035

-

11,035

-

50 1,284

39 47 25 30 288 190 72 61 14 23 13

รวม

1,675 146 47 12 3 4 354 1,539 13 12 328 10 2,509 7 79 489 208 762 258 37 107 40 48 21 35 67 89

รวม


กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและ สิทธิเรียกรองไดนามิค แอสเส็ทส รวม

บริษัทยอย บริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) บริษัท ธนภักดี จำกัด บริษัท กาญจนสิงขร จำกัด บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด บริษัท แกนขวัญ จำกัด บริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด บริษัท สีมาธุรกิจ จำกัด บริษัท นทีชัย จำกัด บริษัท หลักชัยคาสุรา จำกัด บริษัท สุราพิเศษทิพราช จำกัด บริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน) บริษัท นำยุค จำกัด International Beverage Holdings Ltd. บริษัท สุราพิเศษภัทรลานนา จำกัด รวมบริษัทยอย

เงินใหกูยืมระยะยาวและ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน

1 1

-

-

-

ลูกหนี้อื่น

เงินใหกูยืม ระยะยาว

2550 เงินใหกูยืม ระยะยาว

-

-

รวม -

1 1

งบการเงินรวม

14 14

-

ลูกหนี้อื่น

2549

14 14

-

9,411

-

4,210 7 286 785 106 565 96 61 859 600 1,145 155 196 340 9,411

เงินใหกูยืม ระยะยาว รวม (ลานบาท)

-

-

9,411

4,210 7 286 785 106 565 96 61 859 600 1,145 155 196 340 9,411

รวม

-

ลูกหนี้อื่น

2550

5,501

-

5,501

-

208

-

436

-

64 425 16 485 600 217 963

-

2,087

เงินใหกูยืม ระยะยาว

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

2,087

-

5,501

-

5,501

-

208

-

436

-

64 425 16 485 600 217 963

-

รวม

ลูกหนี้อื่น

2549

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

151

สรุปเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินรวม

2550

เงินใหกูยืมระยะสั้น เงินใหกูยืมระยะยาว รวมเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน -

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2549

(ลานบาท)

-

งบการเงินรวม 2549

เงินใหกูยืมระยะสั้น บริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 9,367 1,070 (6,889) 3,548 8,430 3,396 (2,459) 9,367

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 1 มกราคม ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 41 (41)

-

รวมเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 41 9,367 1,070 (6,889) 3,548 8,430 3,396 (2,459) 9,367

-

-

(41) -

2550 2549

3,548 9,411 12,959 9,367 5,501 14,868

รายการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันสำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดังนี้ เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550 2549

(ลานบาท)


554 126 74 60 5 819 2549

-

-

-

เจาหนี้อื่น

-

-

100 65 189 10 81 64

9 5 1 1

2

406

100 65 198 15 82 65

-

408

-

-

-

193 39 80 29 25

-

1 2 2 4 2 2 1 1

-

141

รวม

45 50 1 195 41 84 31 27 1 1

45 50

12

-

เจาหนี้อื่น

129

เงินกูยืม ระยะสั้น รวม (ลานบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

(ลานบาท) 2550

เงินกูยืม ระยะสั้น

เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

-

471 139 46 10 14 680 2549

5,310 964 (773) 5,501

รวม

งบการเงินรวม

5,501 4,686 (776) 9,411

บริษัทยอย บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด บริษัท แสงโสม จำกัด บริษัท เฟองฟูอนันต จำกัด บริษัท มงคลสมัย จำกัด บริษัท ธนภักดี จำกัด บริษัท อธิมาตร จำกัด บริษัท เอส.เอส.การสุรา จำกัด บริษัท เทพอรุโณทัย จำกัด บริษัท ยูไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนด ดิสทิลเลอรี่ จำกัด บริษัท ปอมทิพย จำกัด บริษัท ปอมกิจ จำกัด บริษัท ปอมคลัง จำกัด บริษัท ปอมโชค จำกัด บริษัท ปอมเจริญ จำกัด บริษัท ปอมบูรพา จำกัด บริษัท นำยุค จำกัด บริษัท นำกิจการ จำกัด บริษัท นำพลัง จำกัด บริษัท นำเมือง จำกัด บริษัท นำนคร จำกัด บริษัท นำธุรกิจ จำกัด บริษัท กฤตยบุญ จำกัด บริษัท สุราทิพย จำกัด บริษัท สุนทรภิรมย จำกัด บริษัท ภิรมยสุรางค จำกัด

2550

-

2549

2550

964 1,052 200 92 130 193 396 286 50 305 1,395 311 323 123 333 120 1,249 95 170 126 175 474 594 1,012 674

เงินกูยืม ระยะสั้น

1 3 3 6 4

-

1

-

5

-

1 2 1 2 2 7 1 2 1 2

-

18 5 1

เจาหนี้อื่น

2549

982 1,057 201 92 130 194 398 287 52 307 1,402 312 325 124 335 120 1,254 95 171 126 176 477 597 1,018 678

รวม

152

เจาหนี้อื่น

(ลานบาท) 2550

เงินกูยืม ระยะสั้น

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทย เบเวอรเรจ แคน จำกัด บริษัท พี เอส รีไซเคิล จำกัด บริษัท พิเศษกิจ จำกัด อื่นๆ รวม -

2549

เงินใหกูยืมระยะยาว บริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549

2550

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินกูยืมระยะสั้นและ เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550


กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน บริษัท อาคเนยประกันภัย (2000) จำกัด บริษัท อาคเนยแคปปตอล จำกัด บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จำกัด บริษัท ทีซีซี โฮเทลคอลเล็คชั่น จำกัด (เดิมชื่อ บริษัท ควีนสปารค โฮเต็ล กรุป จำกัด) บริษัท พลาซาแอทธินี โฮเต็ล (ประเทศไทย) จำกัด Great Oriole Limited อื่นๆ รวมกิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน รวม

บริษัทยอย (ตอ) บริษัท ปุยไบโอนิค จำกัด บริษัท ไทยโมลาส จำกัด บริษัท อาหารเสริม จำกัด บริษัท แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ถังไมโอคไทย จำกัด บริษัท บางนาโลจิสติก จำกัด บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ มารเก็ตติ้ง จำกัด บริษัท ทศภาค จำกัด International Beverage Holdings Ltd. บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เบียรชาง จำกัด บริษัท เบียรอาชา จำกัด รวมบริษัทยอย

เงินกูยืมระยะสั้นและ เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน

-

-

-

เงินกูยืม ระยะสั้น

5 69 69

-

10 10

19 14 11

-

เจาหนี้อื่น

2550

5 69 69

4,615 4,615

4,615

-

-

10 10

7 11 129 7 222 222

41 17 10

-

-

-

19 14 11

เจาหนี้อื่น

เงินกูยืม ระยะสั้น

2549 รวม

งบการเงินรวม

7 11 4,744 7 4,837 4,837

41 17 10

-

2,040

-

-

35 2,040

-

177

-

30 150

-

121 22

เงินกูยืม ระยะสั้น รวม (ลานบาท)

10 75

-

1

2 7

-

65

-

1 14 1 3 1

-

เจาหนี้อื่น

2550

10 2,115

-

1

2 7

-

30 151 14 1 180 1 35 2,105

-

121 22

รวม

12,984

-

-

1,690 100 20 12,984

-

30

-

61 25 55 161

-

เงินกูยืม ระยะสั้น

งบการเงินเฉพาะกิจการ

7 101

-

2 5

7 13,085

-

2 5

-

-

94

-

1,701 101 20 13,078

-

11 1

43

13

-

1

-

-

61 25 55 162

รวม

เจาหนี้อื่น

2549

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น )

155

ยอดเงินกูยืมระยะสั้นและเจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินรวม

2550

สกุลเงินบาทและสกุลเงินที่ใชใน การดำเนินงานของบริษัทยอย สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม

บริษัทยอย บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด บริษัท เฟองฟูอนันต จำกัด บริษัท มงคลสมัย จำกัด บริษัท เทพอรุโณทัย จำกัด บริษัท ยูไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนด ดิสทิลเลอรี่ จำกัด บริษัท ปอมทิพย จำกัด บริษัท ปอมกิจ จำกัด บริษัท ปอมคลัง จำกัด บริษัท ปอมโชค จำกัด บริษัท ปอมเจริญ จำกัด บริษัท ปอมบูรพา จำกัด บริษัท กฤตยบุญ จำกัด บริษัท สุนทรภิรมย จำกัด บริษัท ภิรมยสุรางค จำกัด บริษัท ไทยโมลาส จำกัด บริษัท แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ถังไมโอคไทย จำกัด บริษัท จรัญธุรกิจ 52 จำกัด บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ มารเก็ตติ้ง จำกัด บริษัท ทศภาค จำกัด บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เบียรชาง จำกัด บริษัท เบียรอาชา จำกัด รวม

69

-

69

2550

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2549

(ลานบาท)

4,621 216 4,837

งบการเงินรวม 2549

-

2550 2549

2,115 13,085

-

2,115 13,085

เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ลานบาท) 2550 2549

2,910 90 104 133 210 329 682 309 426 115 284 101 178 78 2,525

-

10 71 10 50 10 320 107 13 6,540

-

344 140 208

-

250

-

163

-

189 99 22

-

15

-

10 407

-

4,372


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

156

157

สรุปเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินรวม งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2550

รายการเคลื่อนไหวของเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกันสำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 มีดังนี้ เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

สัญญาสำคัญที่ทำกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน

4,615

2,040 6,540 8,580

4,615

งบการเงินรวม 2550

12,984 4,372 17,356

กิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2549

-

-

4,372 2,443 (275) 6,540

2,733 1,704 (65) 4,372

2550

2549

สัญญาใหบริการดานงานสนับสนุน บริษัททำสัญญากับบริษัทยอยหลายแหงในการใหบริการดานงานสนับสนุนซึ่งไดแก งานดานทรัพยากรบุคคล ธุรการ บัญชี การเงิน ประชาสัมพันธ ประสานงานภายนอก เทคโนโลยี กฎหมาย เลขานุการและทะเบียนหุน และตรวจสอบภายใน มีกำหนดระยะเวลา 1 ป เริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2547 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2547 และหากไมมีการแจงยกเลิกสัญญากอนสัญญาหมดอายุภายใน 30 วัน ใหถือวาสัญญาฉบับนี้มีผลใชบังคับกันตอไปอีกคราวละหนึ่งป โดยบริษัทยอยมีภาระผูกพันที่จะตองจายคาบริการในอัตรารอยละ 0.5 ของรายไดหลักของบริษัทยอย

-

-

12,984 459 (11,403) 2,040

12,808 3,638 (3,462) 12,984

4,615

4,015 630 (30) 4,615

-

-

สัญญาบริการดูแลรักษาและพัฒนาระบบคอมพิวเตอร บริษัทไดทำสัญญากับบริษัท ที.ซี.ซี.เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งเปนกิจการที่เกี่ยวของกันในการรับบริการการดูแลรักษาและพัฒนาระบบ คอมพิวเตอร โดยจะตองจายชำระคาเชาระบบ อุปกรณคอมพิวเตอร ลิขสิทธิ์ซอฟแวรและคาบริการเปนรายเดือน ตลอดอายุสัญญา เปนระยะเวลา 5 ป

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สัญญาบริการจัดซื้อจัดจาง กลุมบริษัททำสัญญากับบริษัท แพน อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทเพื่อใหทำหนาที่ในการ จัดซื้อสินคาและจัดหาบริการตางๆ ที่จำเปนใหแกกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทมีภาระผูกพันที่จะตองจายคาบริการในอัตรารอยละ 1 ของ มูลคาสินคาและบริการที่ซื้อมา ภายใตสัญญาจัดซื้อจัดจางนี้

(4,615) -

งบการเงินรวม 2550

2549

2550

2549

12,984 459 (11,403) 2,040

12,808 3,638 (3,462) 12,984

(ลานบาท) รวมเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2549

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ลานบาท)

เงินกูยืมระยะสั้น บริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2550

(ลานบาท) เงินกูยืมระยะยาว บริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

2549

2549

(ลานบาท) เงินกูยืมระยะสั้น เงินกูยืมระยะยาว รวมเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

4,615

(4,615) -

4,015 630 (30) 4,615

จนปจจุบันมีการปรับอัตราคาบริการดานงานสนับสนุนดังกลาวเปนรอยละ 1 ของรายไดหลัก การปรับอัตราคาบริการเกิดจากการพัฒนา สินคาใหม การทดลองและทดสอบคุณภาพ วิเคราะห วิจัยและสำรวจตลาดสำหรับสินคาใหมและการจัดหาขอมูลตางๆ

สัญญาซื้อขายกากน้ำตาล บริษัท ไทยโมลาส จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทไดทำสัญญาซื้อขายกากน้ำตาลกับบริษัทที่เกี่ยวของกันหลายแหงเพื่อนำมา จำหนายใหกับบริษัทยอยอื่นในกลุมบริษัท ซึ่งกำหนดวาผูขายจะขายกากน้ำตาลใหแกผูซื้อดังกลาวตามเงื่อนไขตางๆ ดังนี้ จำนวน ราคา คุณภาพ การสงมอบและรับมอบ การชำระเงิน ความรับผิดชอบ การชั่งน้ำหนักและเก็บตัวอยางวิเคราะหกากน้ำตาล และการตรวจ วิเคราะหคุณภาพของกากน้ำตาล เปนตน ซึ่งไดตกลงรวมกัน โดยผูขายตองจัดหากากน้ำตาลตามสัญญาดังกลาว


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

158

สัญญาซื้อขายขวดแกว บริษัท บางนาโลจิสติค จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทไดทำสัญญาซื้อขายขวดแกวกับบริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนกิจการที่เกี่ยวของกันเพื่อนำมาจำหนายใหกับบริษัทยอยอื่นในกลุมบริษัท เปนระยะเวลาสองปแปดเดือน เริ่มตั้งแต 1 พฤษภาคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยตกลงซื้อขวดแกวในราคาและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา สัญญาอนุญาตใหใชสิทธิเครื่องหมายการคา บริษัทยอยสามบริษัทไดทำสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิเครื่องหมายการคากับบริษัท เบียรชาง จำกัดและบริษัท เบียรอาชา จำกัด ซึ่งเปน บริษัทที่เกี่ยวของกันของบริษัท บริษัทยอยจะไดรับสิทธิเครื่องหมายการคา “ตราชาง” และ “ตราอาชา” สำหรับ เครื่องดื่ม น้ำ น้ำโซดา เบียร เบียรสดและเบียรทำจากขาวมอลท โดยตองจายคาธรรมเนียมอนุญาตใหใชสิทธิในอัตรารอยละ 2 ของยอดขายสุทธิ ณ หนาโรงงาน (กอนภาษีมูลคาเพิ่ม) หักดวยภาษีสรรพสามิต และเงินกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ

159

7. à§Ô¹Å§·Ø¹Í×è¹ งบการเงินรวม 2550

เงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากระยะสั้นกับสถาบันการเงิน

บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทไดทำสัญญากับบริษัทยอย 12 บริษัทในการใหใชสิทธิเครื่องหมายการคา สำหรับสุราขาวและสุราผสมเชี่ยงชุนตามที่ระบุไวในสัญญา โดยตกลงเรียกเก็บคาธรรมเนียมอนุญาตการใชเครื่องหมายการคาในอัตรา ขวดละ 0.50-1.50 บาท ตามขนาดบรรจุ

6. à§Ô¹Ê´áÅÐÃÒ¡ÒÃà·Õº෋Òà§Ô¹Ê´

8. Å١˹Õé¡ÒäŒÒ 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

33 1,203 786 167 2,189

33 1,186 412 289 1,920

-

-

1 8

1 15

-

-

9

16

ยอดเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

9

16

-

-

9

16

(ลานบาท) สกุลเงินบาทและสกุลเงินที่ใชใน การดำเนินงานของบริษัทยอย สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร รวม

2,015 174

2,189

1,899 15 6 1,920

2550

2549

8

4

-

-

8 (4) 4 12

8 (4) 4 8

-

-

งบการเงินรวม หมายเหตุ

(ลานบาท) เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง รวม

2549

(ลานบาท)

เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตราสารทุนอื่นที่ไมอยูในความตองการของตลาด หัก คาเผื่อการลดมูลคาของเงินลงทุน สุทธิ รวม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

-

-

(ลานบาท) กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่นๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวม หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญสำหรับป

5

14 1,608 1,622 (155) 1,467 20

21 1,321 1,342 (24) 1,318 35


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

160

การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคามีดังนี้ งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

161

9. ÊÔ¹¤ŒÒ¤§àËÅ×Í

2549

งบการเงินรวม

(ลานบาท) กิจการที่เกี่ยวของกัน ยังไมครบกำหนดชำระ เกินกำหนดชำระ : นอยกวา 3 เดือน

กิจการอื่นๆ ยังไมครบกำหนดชำระ เกินกำหนดชำระ : นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม

2550

10

18

-

-

4 14

3 21

-

-

979

940

-

-

353 64 72 140 1,608 (155) 1,453 1,467

340 17 19 5 1,321 (24) 1,297 1,318

-

-

สินคาสำเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ พัสดุบรรจุ สุราเก็บบม อะไหล อื่นๆ หัก คาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพและลาสมัย รวม

2550

2549

14,659 3,423 1,390 582 8,161 489 251 28,955 (640) 28,315

-

-

ตนทุนของสินคาคงเหลือที่บันทึกเปนคาใชจายและไดรวมในบัญชีตนทุนขายสำหรับป 2550 มีจำนวน 69,685 ลานบาท (2549: 67,560 ลานบาท)

10. ÊÔ¹·ÃѾ ËÁعàÇÕ¹Í×è¹

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

-

-

3

9

-

-

4

1

-

-

1 8

7 17

-

-

8

17

(ลานบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

(ลานบาท) 1,376 90 1

1,259 24

-

30 5 1,318

1,467

13,487 3,769 1,938 593 8,310 455 290 28,842 (785) 28,057

งบการเงินรวม

ยอดลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้

สกุลเงินบาทและสกุลเงินที่ใชใน การดำเนินงานของบริษัทยอย สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินเหรียญออสเตรเลีย สกุลเงินยูโร สกุลเงินอื่นๆ รวม

2549

(ลานบาท)

โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษัทมีระยะเวลาตั้งแต 7 วันถึง 180 วัน

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

-

ภาษีสรรพสามิตจายลวงหนา ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน ภาษีโรงเรือนจายลวงหนา ภาษีสรรพสามิตรอเรียกคืน คาใชจายจายลวงหนา เงินมัดจำ อื่นๆ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

583 207 154 135 103 92 148 1,422 (18) 1,404

688 381 152 102 56 374 179 1,932 (18) 1,914


ณ วันที่ 1 มกราคม สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ซื้อเงินลงทุน จำหนาย คืนทุน ผลตางจากการแปลงคาในการจัดทำงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 (ปรับปรุงใหม)

(ลานบาท)

135 29 129 24 63,595 63,085

-

9,180 510

(33) (7) (18) -

-

124 135

(1,305) 71,470 63,595

บริษัทยอยทางตรง บริษัท เบียร ไทย (1991) จำกัด (มหาชน) บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด บริษัท แสงโสม จำกัด บริษัท เฟองฟูอนันต จำกัด บริษัท มงคลสมัย จำกัด บริษัท ธนภักดี จำกัด บริษัท กาญจนสิงขร จำกัด บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด บริษัท อธิมาตร จำกัด บริษัท เอส.เอส.การสุรา จำกัด

2550 69 8 2 79

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

2550

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

(รอยละ)

2549

สัดสวนความเปนเจาของ

69 8 2 79

งบการเงินเฉพาะกิจการ

49.49 44.00 50.02

11. à§Ô¹Å§·Ø¹ã¹ºÃÔÉѷ‹ÍÂáÅкÃÔÉѷËÇÁ

49.49 44.00 50.02

51 4 1 56

135

124

5,550 6,600 7,500 900 700 700 700 4,000 900 800

2550

5,550 6,600 7,500 900 700 700 700 4,000 900 800

2549

12,500 12,500 7,500 900 700 700 700 4,000 900 800

2550

12,500 12,500 7,500 900 700 700 700 4,000 900 800

(ลานบาท)

2549

135

2549

124

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม) ทุนชำระแลว วิธีราคาทุน

18 4 1 23

17

(ลานบาท)

8 2549

-

2550

-

บริษัทรวม ถือหุนโดยบริษัทยอยของบริษัทยอยทางออม Liquorland Limited Inver House Polska Limited Inver House Distribution SA รวม

2549

17

(รอยละ)

งบการเงินรวม

8

2549

1,913 1 1,914

2549

2550

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2549

(ลานบาท) 2550 วิธีสวนไดเสีย

821 1,089 840 104 25 25 32 60 109 129

2549

17

-

17

162

57 85 628 273 398

-

2,259 2,277 750 307

2550

เงินปนผลรับ

-

2549

เงินปนผลรับ 2550

ยอดสินทรัพยหมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้

2550

1,403 1 1,404

2549

ทุนชำระแลว

2550

สัดสวนความเปนเจาของ

สกุลเงินบาทและสกุลเงินที่ใชใน การดำเนินงานของบริษัทยอย สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม

งบการเงินรวม วิธีราคาทุน

งบการเงินรวม

เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 และเงินปนผลรับสำหรับแตละปมีดังนี้

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550 บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

163


บริษัทยอยทางตรง (ตอ) บริษัท สุนทรภิรมย จำกัด บริษัท ภิรมยสุรางค จำกัด บริษัท ปุยไบโอนิค จำกัด บริษัท มหาราษฎรการเกษตร จำกัด บริษัท ไทยโมลาส จำกัด บริษัท อาหารเสริม จำกัด บริษัท แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท จรัญธุรกิจ 52 จำกัด บริษัท ถังไมโอคไทย จำกัด บริษัท บางนาโลจิสติค จำกัด บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จำกัด (เดิมชื่อ บริษัท สหทิพยการขนสง จำกัด) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ มารเก็ตติ้ง จำกัด บริษัท ธนสินธิ จำกัด บริษัท ทศภาค จำกัด International Beverage Holdings Ltd. บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ที.ซี.ซี.สากลการคา จำกัด บริษัท เบียรชาง จำกัด บริษัท เบียรอาชา จำกัด บริษัท สุราพิเศษภัทรลานนา จำกัด รวม

บริษัทยอยทางตรง (ตอ) บริษัท แกนขวัญ จำกัด บริษัท เทพอรุโณทัย จำกัด บริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนด ดิสทิลเลอรี่ จำกัด บริษัท สีมาธุรกิจ จำกัด บริษัท นทีชัย จำกัด บริษัท หลักชัยคาสุรา จำกัด บริษัท สุราพิเศษทิพราช จำกัด บริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน) บริษัท ปอมทิพย จำกัด บริษัท ปอมกิจ จำกัด บริษัท ปอมคลัง จำกัด บริษัท ปอมโชค จำกัด บริษัท ปอมเจริญ จำกัด บริษัท ปอมบูรพา จำกัด บริษัท นำยุค จำกัด บริษัท นำกิจการ จำกัด บริษัท นำพลัง จำกัด บริษัท นำเมือง จำกัด บริษัท นำนคร จำกัด บริษัท นำธุรกิจ จำกัด บริษัท ทิพยชโลธร จำกัด บริษัท กฤตยบุญ จำกัด บริษัท สุราทิพย จำกัด 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

(รอยละ)

2549

100.00 100.00 100.00 100.00 99.72 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

(รอยละ)

2549

100.00 100.00 100.00 100.00 99.72 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

2550

สัดสวนความเปนเจาของ

100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

2550

สัดสวนความเปนเจาของ

800 700 3,000 1,800 900 800 800 500 800 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 1 5 1

2549

800 700 5,000 1,800 889 800 766 510 1,374 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 3 27 7

2550

(ลานบาท)

12 300 20 25 6,760 1,667 5 1 1 600 50,917

5 5 350 2 40 1 1 122 300 123

2550

41,752

-

12 300 20 25 535 1,667 5 1 1

5 5 10 2 40 1 1 122 300 123

2549

12 300 24 61 6,760 4,212 39 4,301 130 615 71,470

25 24 354 2 35 32 34 84 296 134

2550

-

12 300 24 61 535 5,150 39 4,301 130

25 24 14 2 35 38 54 84 300 134

2549

63,595

(ลานบาท)

2549

800 700 3,000 1,800 900 800 800 510 1,666 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 3 27 7

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม) ทุนชำระแลว วิธีราคาทุน

800 700 5,000 1,800 900 800 800 500 800 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 1 5 1

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ปรับปรุงใหม) ทุนชำระแลว วิธีราคาทุน

67 23 38 24

120 100 116 74 155

70 138 157 35

66 292 570 275 534 26 382 858 1,424 387 528 238 413 573 359 649

63 12 19

8 30

165 42 60

28 75

18,985

-

672 5 277 72

-

8,055

-

96 1

-

257

-

23 7 8

-

-

118 100 27 20

437 350

2549

93 247 604 170 267 119 196 233 234 413

1,075 711

2550

เงินปนผลรับ

-

-

-

122 95

2549

340 190

2550

เงินปนผลรับ

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550 บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

164 165


คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 คาเสื่อมราคาสำหรับป โอน จำหนาย ผลตางจากการแปลงคาในการจัดทำ งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 คาเสื่อมราคาสำหรับป โอน จำหนาย ผลตางจากการแปลงคาในการจัดทำ งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ตนทุนการกูยืมที่รับรูเปนสวนหนึ่งของ สินทรัพย รับรูในป 2549 (หมายเหตุ 24) อัตราดอกเบี้ยที่รับรูในป 2549 (รอยละตอป) รับรูในป 2550 (หมายเหตุ 24) อัตราดอกเบี้ยที่รับรูในป 2550 (รอยละตอป)

ราคาทุน/ราคาประเมินใหม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 เพิ่มขึ้น สวนเกินทุนจากการตีราคา โอน จำหนาย ผลตางจากการแปลงคาในการจัดทำ งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น สวนเกินทุนจากการตีราคา กลับรายการสวนเกินทุนจากการตีราคา ขาดทุนจากการตีราคา โอน จำหนาย ผลตางจากการแปลงคาในการจัดทำ งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

12. ·Õè´Ô¹ ÍÒ¤ÒÃáÅÐÍØ»¡Ã³

12,534

รวม

6,587

731 (2,794)

(135) 4,389

ที่ดิน สวนตี ราคาเพิ่ม

8,260 357

(59) (2) (410) (1) 8,145

ราคาทุน

-

-

-

-

-

(1)

(1)

3

-

-

-

-

-

(1)

14,847 357 731 (2,794) (59) (2) (545)

-

-

-

-

-

14,421 424 3

รวม

6,585

7,836 424

ราคาทุน

ที่ดิน สวนตี ราคาเพิ่ม

งบการเงินรวม

43,569

(28) 26,440

6,425 558

22,881 3,666 (16) (63)

-

19,672 3,171 86 (48)

121 5.82 9 5.97

(19)

5,654 792 6 (8)

(2)

5,188 733 (261) (4)

33 5.82 4 5.97

อาคารและ สวนปรับปรุง เครื่องจักรและ อาคาร อุปกรณ (ลานบาท)

17,118

(46)

2,191 (85)

-

41,310 199

-

5,439 (92)

-

34,890 1,073

-

-

477 81

-

201 53 224 (1)

-

สวนปรับปรุง ที่ดิน

1,299

(1)

(62)

719 (12)

145

-

-

16,388 85

(4)

796 (7)

-

15,402 201

-

1,154 1

-

434 (2)

-

720 2

สวนปรับปรุง ที่ดิน

อาคารและ สวนปรับปรุง เครื่องจักรและ อาคาร อุปกรณ (ลานบาท)

งบการเงินรวม

1,501

(8)

-

1,375 134

-

-

1,241 134

-

ถังไมโอค

2,788

(17)

(5)

-

2,784 26

-

-

2,753 31

ถังไมโอค

432

-

346 83 11 (8)

-

313 76 (34) (9)

-

เครื่องติดตั้ง และเครื่องใช สำนักงาน

659

-

12 (9)

-

596 60

-

(35) (11)

-

562 80

เครื่องติดตั้ง และเครื่องใช สำนักงาน

2,515

-

2,370 167 (1) (21)

-

2,093 314 (15) (22)

-

ยานพาหนะ

2,695

-

(1) (26)

-

2,699 23

-

(21) (25)

-

2,716 29

ยานพาหนะ

-

-

-

-

-

งานระหวาง กอสราง

425

-

(3,064) (210)

-

2,753 946

-

(6,613) (1)

-

7,168 2,199

งานระหวาง กอสราง

37,871

(55)

(100)

-

33,103 4,923

(2)

(84)

-

28,708 4,481

154 5.82 13 5.97

รวม

(127) 81,087

(892)

82,531 1,697 731 (2,794) (59)

(4)

(139)

78,632 4,039 3

รวม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550 บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

166 167


8,145

-

8,260 8,145

-

8,260

4,389

-

6,587 4,389

-

6,587

10,734 10,693

-

677

677 741

741

รวม

14,847

14,847 12,534

12,534

10,693

10,734

สวนปรับปรุง ที่ดิน

17,129

-

18,429 17,129

-

18,429

อาคารและ สวนปรับปรุง เครื่องจักรและ อาคาร อุปกรณ (ลานบาท) 1,409

1,287

-

1,409 1,287 227

-

250 227

-

250

ถังไมโอค

-

เครื่องติดตั้ง และเครื่องใช สำนักงาน

318 11 329 171 9 180

ยานพาหนะ

425

-

2,753 425

-

2,753

งานระหวาง กอสราง

49,417 11 49,428 43,207 9 43,216

รวม

มูลคาตามบัญชีของที่ดินที่ถือครองไวเพื่อการดำเนินธุรกิจในอนาคตแตยังมิไดใชประโยชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีจำนวนเงิน 1,721 ลานบาท (2549: 1,516 ลานบาท)

ที่ดิน อาคารและอุปกรณของบริษัทยอยบางแหงที่อยูภายใตขอตกลง Negative Pledge ตามที่เปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ 15 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีมูลคาตามบัญชีสุทธิรวม 31,238 ลานบาท (2549: 34,530 ลานบาท)

ราคาตามบัญชีกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณ ซึ่งไดหักคาเสื่อมราคาเต็มจำนวนแลวแตยังคงใชงานจนถึง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีจำนวน 4,264 ลานบาท (2549: 3,026 ลานบาท)

มูลคาสุทธิทางบัญชี ภายใตกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ภายใตสัญญาเชาการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ภายใตกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท ภายใตสัญญาเชาการเงิน รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ราคาทุน

ที่ดิน สวนตี ราคาเพิ่ม

งบการเงินรวม

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550 บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

168 169

ราคาทุน/ราคาประเมินใหม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 เพิ่มขึ้น จำหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น จำหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 คาเสื่อมราคาสำหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 คาเสื่อมราคาสำหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

ราคาทุน ที่ดิน สวนตี ราคาเพิ่ม

411 134 545

-

411 134 545

-

(411) (134) (545) -

-

-

สวนที่บันทึกเปนตนทุนการผลิต สวนที่บันทึกเปนคาใชจายในการขายและบริหาร รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องติดตั้ง และเครื่องใช งานระหวาง รวม สำนักงาน ยานพาหนะ กอสราง (ลานบาท)

2550

3,086 1,837 4,923

68 27

-

2,880 1,601 4,481

24

-

95 5 24

(1)

100 23

210 1 (210) 1

5 17 2 4

7 21

22 19 41 6 5 11

28 24 52

411 134 545

-

73 59 18 12 210 1 846 72

-

งบการเงินรวม 2549

รวม

121 100 (11) 758 127 (11)

874 6 (756) 124

คาเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ประกอบดวย งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ลานบาท) 2550 2549

-

24 24 21 21


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

170

171

งบการเงินเฉพาะกิจการ โปรแกรมคอมพิวเตอร (ลานบาท)

13. ÊÔ¹·ÃѾ äÁ‹ÁÕμÑÇμ¹ งบการเงินรวม คาความ โปรแกรม เครื่องหมาย ลิขสิทธิ์ นิยม คอมพิวเตอร การคา ถายทอดสด (ลานบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น ลดลง ผลตางจากการแปลงคาในการ จัดทำงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คาตัดจำหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 คาตัดจำหนายสำหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 คาตัดจำหนายสำหรับป ลดลง ผลตางจากการแปลงคาในการ จัดทำงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

426

สิทธิ การเชา

รวม

912 13

307 3

162

-

16 9

-

1 1

426 659

25 10

310 17

162

2

-

-

-

-

(162)

-

925 686 (162)

(19)

-

-

-

(19)

1,066

35

327

-

2

1,430

175 18

2 4

183 25

38 124

1

193 18

6 6

208 27

162

1

-

-

-

-

(162)

-

570 51 (162)

(8)

-

-

-

(8)

203

12

235

-

1

451

233 863

19 23

102 92

-

1 1

355 979

-

399 171

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

9 7 16 9 25

คาตัดจำหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 คาตัดจำหนายสำหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 1 มกราคม 2550 คาตัดจำหนายสำหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

1 3 4 5 9

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

12 16

14. ÊÔ¹·ÃѾ äÁ‹ËÁعàÇÕ¹Í×è¹ งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

343

352

-

-

8

5

-

-

351

357

-

-

351

357

(ลานบาท) เงินจายลวงหนาแกผูชำนาญการ ที่ดินที่มิไดใชประโยชน แผนแสตนเลส เงินมัดจำ อื่นๆ หัก คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย สุทธิ

31

1,829 106 67 65 20 2,087 (14) 2,073

1,879 106 71 58 13 2,127 (5) 2,122


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

172

173

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย แสดงตามระยะเวลาครบกำหนดการจายชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ไดดังนี้

15. ˹ÕéÊÔ¹·ÕèÁÕÀÒÃд͡àºÕé งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

2550

(ลานบาท) สวนที่หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร สวนที่มีหลักประกัน สวนที่ไมมีหลักประกัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

11,593 11,940 23,533

22,014 11,127 33,141

(ลานบาท) 10,753 5,400 16,153

17,368 6,755 24,123

899 101

1,516 367

-

30

4,998

4,870

4,798

3,000

5,998

6,753

4,798

3,030

-

2,200

-

2,200

(ก) เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารกำหนดชำระคืนทันทีที่เรียกคืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กลุมบริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีรวมเปนเงิน จำนวน 3,714 ลานบาท (2549: 3,705 ลานบาท) ซึ่งบางสวนค้ำประกันโดยบริษัทยอย 5 บริษัท

หุนกูระยะยาวมีประกันที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สวนที่มีการค้ำประกัน/ ทำ Negative Pledge

3,000

2,300

3,000

2,300

เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สวนที่มีการค้ำประกัน/ ทำ Negative Pledge

1,755

1,500

1,755

1,500

(ข) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 กลุมบริษัทมีวงเงินกูยืมระยะสั้นกับสถาบันการเงินหลายแหงรวม เปนเงินจำนวน 25,010 ลานบาท (2549: 20,820 ลานบาท) อัตราดอกเบี้ยตามที่สถาบันการเงินกำหนดเปนครั้งๆ กลุมบริษัทเบิก ใชวงเงินกูยืมระยะสั้นประกอบดวยตั๋วสัญญาใชเงินที่ออกโดยกลุมบริษัทใหแกสถาบันการเงินภายในประเทศ รวมเปนเงินจำนวน 3,000 ลานบาท (2549: 4,870 ลานบาท)

10,753

4,615 17,368

2,040 11,593

12,984 22,014

-

3,000

-

3,000

-

3,755

-

3,755

5,400

-

5,400

-

-

-

5,400 16,153

6,755 24,123

6,540 11,940 23,533

4,372 11,127 33,141

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืม ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หุนกูระยะสั้นมีประกัน สวนที่มีการค้ำประกัน/ ทำ Negative Pledge

เงินกูยืมระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนที่ไมมีหลักประกัน

5

สวนที่ไมหมุนเวียน หุนกูระยะยาวมีประกัน สวนที่มีการค้ำประกัน/ ทำ Negative Pledge เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สวนที่มีการค้ำประกัน/ ทำ Negative Pledge สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินกูยืมระยะยาวกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนที่ไมมีหลักประกัน รวม

-

ครบกำหนดภายในหนึ่งป ครบกำหนดหลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป รวม

5

กลุมบริษัทมีวงเงินสินเชื่อซึ่งยังมิไดเบิกใช ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เปนจำนวนเงินรวม 24,724 ลานบาท (2549: 17,790 ลานบาท) ลักษณะที่สำคัญตางๆ ของเงินกูยืม มีดังนี้

ในระหวางเดือนกันยายน 2550 บริษัทไดออกและเสนอขายตั๋วแลกเงินระยะสั้น จำนวนเงินตามหนาตั๋วรวม 5,000 ลานบาท กับสถาบันการเงินสองแหง ตั๋วแลกเงินดังกลาวเปนตั๋วแลกเงินระยะสั้นที่เสนอขายและเปลี่ยนมือภายในกลุมนักลงทุนสถาบันและ/ หรือผูลงทุนรายใหญนิยามตามประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และมีภาระตั๋วแลกเงินตามหนาตั๋ว เปนจำนวนเงินรวม 2,000 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 (ค) หุนกูมีประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 และ 2549 เปนหุนกูที่มีบริษัทยอย 4 บริษัทค้ำประกันรวมเต็มมูลคาหุนกู และบริษัทไดทำ Negative Pledge โดยดำเนินการใหบริษัทยอย 17 บริษัท ใหความยินยอมในการไมนำที่ดิน อาคาร โรงงานและเครื่องจักรไปจำหนาย จายโอน จำนอง จำนำ วางประกัน หรือกระทำดวยประการใดๆ อันเปนเหตุใหเกิดภาระผูกพัน หรือบุริมสิทธิใดๆ ขึ้นกับสินทรัพยดังกลาว บริษัทตองดำรงอัตราสวนหนี้สินรวม (หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย) ตอสวนของผูถือหุนรวม (ไมรวมกำไรหรือขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ) ในอัตราสวน ไมเกิน 2.5 ตอ 1 โดยพิจารณาจากงบการเงินรวมประจำปที่จัดทำขึ้นตาม หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

174

หุนกูดังกลาวมีเงื่อนไขการชำระคืน ดังตอไปนี้

ชุดที่หนึ่ง ชุดที่สอง ชุดที่สาม ชุดที่สี่

จำนวนเงิน (ลานบาท) 2,500 2,200 2,300 3,000

175

16. ਌Ò˹Õé¡ÒäŒÒ อัตราดอกเบี้ยคงที่ (รอยละตอป) 4.95 5.40 5.55 5.75

วันครบกำหนดไถถอน 22 สิงหาคม 2549 22 กุมภาพันธ 2550 22 สิงหาคม 2550 22 กุมภาพันธ 2551

เงินตนชำระคืนทั้งจำนวนในวันครบกำหนดไถถอน ดอกเบี้ยชำระทุกๆ 6 เดือน เริ่มชำระดอกเบี้ยครั้งแรกในวันที่ 22 สิงหาคม 2549 (ฆ) เงินกูยืมระยะยาวและสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 เปนเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน 8 แหง โดยบริษัทกูยืมเงินระยะยาวจำนวนเงินรวม 26,600 ลานบาท ในจำนวนนี้ เงินกูยืมจำนวนเงิน 23,600 ลานบาท มีระยะเวลา ปลอดชำระคืนเงินตน 2 ป โดยเงินตนมีกำหนดชำระคืนเปนรายเดือนจำนวน 36 งวด งวดละ 654.22 ลานบาท สำหรับ 35 งวดแรก และจำนวน 702.20 ลานบาท สำหรับงวดสุดทาย เริ่มชำระตั้งแตวันที่ 28 เมษายน 2551 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2554 ดอกเบี้ยกำหนดชำระเปนรายเดือน ที่อัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 5.75 และรอยละ 6 ตอป สำหรับปแรกและปที่สอง ตามลำดับ และอัตราดอกเบี้ยรอยละ MLR-1.5 ถึง MLR-1.75 ตอป ตั้งแตปที่สามเปนตนไป เริ่มชำระเดือนมีนาคม 2549 เงินกูยืม สวนที่เหลือจำนวนเงิน 3,000 ลานบาท กำหนดชำระคืนเปนรายไตรมาสจำนวน 8 งวด งวดละ 375 ลานบาท เริ่มตั้งแตวันที่ 28 มิถุนายน 2549 ถึงวันที่ 28 มีนาคม 2551 ดอกเบี้ยกำหนดชำระเปนรายไตรมาส ที่อัตราดอกเบี้ยคงที่รอยละ 5.70 ตอป เริ่มชำระเดือนมิถุนายน 2549 เงินกูยืมดังกลาวมีบริษัทยอย 4 บริษัท ค้ำประกันรวมเต็มมูลคาเงินกู และมีบริษัทยอย 17 บริษัท ทำ Negative Pledge โดยให ความยินยอมในการไมนำที่ดิน อาคาร โรงงานและเครื่องจักรไปจำหนาย จายโอน จำนอง จำนำ วางประกัน หรือกระทำดวยประการใดๆ อันเปนเหตุใหเกิดภาระผูกพัน หรือบุริมสิทธิใดๆ ขึ้นกับสินทรัพยดังกลาว ในป 2549 และเดือนพฤษภาคม 2550 บริษัทจายชำระคืนเงินกูระยะยาวกอนกำหนดบางสวนจำนวนเงิน 20,220 ลานบาท และ จำนวนเงิน 2,000 ลานบาท ตามลำดับ พรอมดอกเบี้ยคงคางใหกับสถาบันการเงิน 7 แหง และอัตราดอกเบี้ยในปที่สองไดปรับลดจาก รอยละ 6 ตอป เปนอัตรารอยละ 5 ตอป ในระหวางเดือนกุมภาพันธ 2550 บริษัททำสัญญาเงินกูยืมระยะยาวจำนวนเงิน 4,500 ลานบาท กับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง กำหนด ชำระคืนเปนรายเดือนจำนวน 12 งวด งวดละ 375 ลานบาท โดยเริ่มชำระงวดแรกในเดือนกุมภาพันธ 2552 ดอกเบี้ยกำหนด ชำระเปนรายเดือน ในอัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.60 ตอป สำหรับปแรก และรอยละ 5.75 ตอป สำหรับระยะเวลาหลังจากนั้น ตอมาเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2550 บริษัทไดรับการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเปนอัตรารอยละ 4.50 ตอป สำหรับปแรก และอัตรารอยละ 4.75 ตอป สำหรับระยะเวลาหลังจากนั้น โดยมีคาธรรมเนียมในการเปลี่ยนแปลงดังกลาวจำนวนเงิน 11.25 ลานบาท ในระหวางเดือนธันวาคม 2550 บริษัททำสัญญาเงินกูยืมระยะยาวจำนวนเงิน 900 ลานบาท กับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง กำหนดชำระ คืนในป 2552 ดอกเบี้ยกำหนดชำระเปนรายเดือน ในอัตรารอยละ 3.9625 ตอป

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

-

-

(ลานบาท) กิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการอื่นๆ รวม

5

680 1,569 2,249

819 1,457 2,276

ยอดเจาหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

-

-

(ลานบาท) สกุลเงินบาทและสกุลเงินที่ใชใน การดำเนินงานของบริษัทยอย สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินปอนดสเตอรลิง สกุลเงินออสเตรเลีย รวม

2,039 94 69 46 1 2,249

1,984 104 108 74 6 2,276

17. ˹ÕéÊÔ¹ËÁعàÇÕ¹Í×è¹ งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

9 35

90 105

-

-

(ลานบาท) คาใชจายคางจาย ภาษีมูลคาเพิ่มคางจาย เงินรับลวงหนาคาสินคาจากลูกคา เจาหนี้คาสินทรัพย เช็คจายคาภาษีสรรพสามิตรอเรียกเก็บ คาสงเสริมการขายคางจาย ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายรอนำสง ดอกเบี้ยคางจาย เงินมัดจำและเงินประกันผลงาน อื่นๆ รวม

737 672 506 372 281 252 128 71 38 146 3,203

883 687 1,005 418 295 133 79 163 273 167 4,103

30 67

21 162

5

22 157 3 12 394


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

176

ยอดหนี้สินหมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินตราไดดังนี้ งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

160

357

-

-

(ลานบาท) สกุลเงินบาทและสกุลเงินที่ใชใน การดำเนินงานของบริษัทยอย สกุลเงินยูโร สกุลเงินปอนดสเตอรลิง สกุลเงินสิงคโปร สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินอื่นๆ รวม

3,126 72 4 1

3,829 212 16 1 42 3 4,103

3,203

1 1

-

37

162

394

-

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม และ 31 ธันวาคม หุนที่ออกและชำระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

มูลคาหุน ตอหุน (บาท)

จำนวนหุน

1

29,000

1 1 1

2549

จำนวนเงิน จำนวนหุน (ลานหุน / ลานบาท) 29,000

25,110

25,110

-

-

25,110

25,110

29,000

22,000 3,110 25,110

บริษัทเขาระดมทุนในตลาดหลักทรัพยสิงคโปรเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2549 และไดรับเงินสุทธิจำนวนเงิน 16,191.60 ลานบาท จากการออกหุนสามัญเพิ่มทุนจำนวน 2,444.45 ลานหุนขายใหแกประชาชนเปนครั้งแรกในราคาขายหุนละ 0.28 สิงคโปรดอลลาร คาใชจายที่เกี่ยวของโดยตรงกับการขายหุนใหกับประชาชนครั้งแรกจำนวนเงิน 676.49 ลานบาท แสดงหักจากสวนเกินมูลคาหุนที่ ไดรับจากการขายหุนครั้งนี้ บริษัทดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชำระแลวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2549 จากเดิมจำนวน 22,000 ลานบาท เปนจำนวนเงิน 24,444.45 ลานบาท เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2549 บริษัทไดออกหุนสามัญเพิ่มทุนอีกจำนวน 665.58 ลานหุน เนื่องจากเปนการจัดสรรหุนสวนเกินจาก การขายใหกับประชาชนเปนครั้งแรกซึ่งบริษัทไดรับเงินเพิ่มทุนสุทธิจำนวน 4,390.54 ลานบาท บริษัทไดดำเนินการจดทะเบียน เปลี่ยนแปลงทุนชำระแลวกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2549 จากเดิมจำนวนเงิน 24,444.45 ลานบาท เปนจำนวนเงิน 25,110.03 ลานบาท

19. ʋǹà¡Ô¹·Ø¹áÅÐÊÓÃͧμÒÁ¡®ËÁÒ สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุนสูงกวามูลคาหุนที่ จดทะเบียนไว บริษัทตองนำคาหุนสวนเกินนี้ตั้งเปนทุนสำรอง (“สวนเกินมูลคาหุน”) สวนเกินมูลคาหุนนี้จะนำไปจายเปนเงินปนผล ไมได

18. ·Ø¹àÃ×͹ËØŒ¹ 2550

177

จำนวนเงิน

การแปลงคางบการเงิน สวนเกินทุนจากการแปลงคางบการเงินที่บันทึกในสวนของผูถือหุนประกอบดวย ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ เกิดจากการแปลงคางบการเงินของกิจการในตางประเทศใหเปนเงินบาทเพื่อนำไปรวมในงบการเงินของกิจการ

29,000

22,000 3,110 25,110

การตีราคาและการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม สวนเกินทุนจากการตีราคาและการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมที่บันทึกไปยังสวนของผูถือหุน รวมผลสะสมของสวนเกินทุนจากการ ตีราคาที่ดินและการเปลี่ยนแปลงสุทธิในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายจนกระทั่งมีการจำหนายเงินลงทุนนั้น สำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสำรอง (“สำรองตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสำรองดังกลาวมีจำนวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสำรองนี้จะนำไปจายเปนเงินปนผลไมได

20. ¢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹¨ÓṡμÒÁʋǹ§Ò¹ กลุมบริษัทไดนำเสนอขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงานธุรกิจและสวนงานภูมิศาสตร รูปแบบหลักในการรายงานคือสวนงานธุรกิจ พิจารณาจากระบบการบริหารจัดการและโครงสรางการรายงานทางการเงินภายในของกลุมบริษัทเปนเกณฑ ในการกำหนดสวนงาน


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

15,947 1,569 4,323 10,055

97,798 56 102 97,956

16,277 1,047 4,847 10,383 34

-

(25) (4) (21) 34

38 3 (168)

39 62 9 (32)

(127)

11,472 1,202 2,325 7,945 12,198 731 2,652 8,815

38 (1,025)

37,040 6,456 43,496

4,172 278 2,192 1,702

ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร รวมคาใชจาย

กำไร(ขาดทุน)กอนดอกเบี้ยจาย และภาษีเงินได ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กำไร(ขาดทุน)สุทธิ

4,461 309 1,989 2,163

70,873 13,689 84,562

(1,083) (2) (1,085) (1,063)

994 178 1,172 972 140 1,112 33,470 6,740 40,210 33,924 7,055 40,979

1,205 2 4 1,211 966 1 18 985 51,576 30 76 51,682 52,940 17 220 53,177 46,103 28 42 46,173 47,557 23 88 47,668

ขอมูลเกี่ยวกับผลได(เสีย)ตามสวนงานธุรกิจ

ธุรกิจเบียรและน้ำดื่ม

ในการนำเสนอการจำแนกสวนงานภูมิศาสตร รายไดตามสวนงานแยกตามเขตภูมิศาสตร ไดกำหนดจากสถานที่ตั้งของลูกคา สินทรัพย ตามสวนงานแยกตามสถานที่ตั้งทางภูมิศาสตรของสินทรัพย

2549

2550

ธุรกิจสุรา

สวนงานภูมิศาสตร กลุมบริษัทมีฐานการดำเนินธุรกิจเปนสวนใหญอยูในประเทศไทย โดยสวนหนึ่งของสินคาที่ผลิตไดจะสงไปจำหนายโดยตรงหรือผาน ทางบริษัทยอยในตางประเทศใหกับลูกคาภายนอก สำหรับฐานการดำเนินธุรกิจในตางประเทศจะเปนของบริษัทยอย

รายไดจากการขาย ดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น รวมรายได

(ลานบาท) 2550 2549

ผลิตและจำหนายเบียรและน้ำดื่มยี่หอตางๆ (สวนใหญขายภายนอกกลุมบริษัท) ผลิตและจำหนายสุรายี่หอตางๆ (สวนใหญขายภายนอกกลุมบริษัท) และ ผลิตและจำหนายแอลกอฮอล (สวนใหญขายภายนอกกลุมบริษัท)

2550

ธุรกิจเบียรและน้ำดื่ม ธุรกิจสุรา ธุรกิจแอลกอฮอล

ธุรกิจแอลกอฮอล

สวนงานธุรกิจ กลุมบริษัทเสนอสวนงานธุรกิจที่สำคัญดังนี้

2549

รายการบัญชีที่สำคัญระหวางกันของสวนงานไดถูกตัดรายการในการจัดทำงบการเงินรวมแลว

35,944 5,768 41,712

100,541 41 257 100,839

(922) (69) (991)

2549

ในการจัดทำขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน หนี้สินและดอกเบี้ยจายที่ไมสามารถปนสวนไดวาเกี่ยวของกับสวนงานใด จะถูก ปนสวนตามเกณฑรอยละของสินทรัพยสุทธิของแตละสวนงาน โดยผูบริหารเชื่อวาเกณฑดังกลาวไดแสดงหนี้สินของแตละสวนงานได อยางเหมาะสมและใกลเคียงกับความเปนจริง

2550

ตัดรายการระหวางกัน

ผลได (เสีย) สินทรัพยและหนี้สินตามสวนงาน รวมรายการที่เกี่ยวของโดยตรงกับสวนงานหรือที่สามารถปนสวนใหกับสวนงาน ไดอยางสมเหตุสมผล

(1,086) (4) (20) (1,110)

2550

รวม

69,325 12,684 82,009

179 2549

178


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

2549

28,315 49,428 7,837 85,580

24,123 8,903 33,026

4,039 13 4,481 171

28,057 43,216 8,254 79,527

16,153 8,464 24,617

1,697 686 4,923 51

181

-

126

-

69

693 50 743

275 2,209 567 3,051

2549

สวนงานภูมิศาสตร รายละเอียดขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงานภูมิศาสตร ในงบการเงินรวมสำหรับป 2550 และ 2549 มีดังนี้ งบการเงินรวม

2,612 8 2,255 45 1,277 675 2,371 47

11,041 4,357 15,398

23,988 23,137 5,921 53,046

2550

-

192

-

59

668 42 710 17,797 3,604 21,401

25,202 26,600 5,364 57,166

2549

ธุรกิจสุรา 2550

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ 2549

ประเทศไทย ตางประเทศ รวม

97,200 3,639 100,839

95,106 2,850 97,956

2550

1,358 5 2,100 126 361 11 2,360 4

5,633 5,249 10,882 4,444 4,065 8,509

2,838 20,619 1,906 25,363 3,588 17,910 1,817 23,315

2549 2550

2549

41,613 1,603 43,216

47,928 1,500 49,428

21. ÃÒÂä´ŒÍ×è¹ งบการเงินรวม

ธุรกิจเบียรและน้ำดื่ม

2550

(ลานบาท)

(ลานบาท)

481 2,169 516 3,166

รายได 2550

ธุรกิจแอลกอฮอล

รวม 2550

180

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

-

-

(ลานบาท) รายไดจากการขายเศษวัสดุ กำไรจากการจำหนายทรัพยสิน อื่นๆ รวม

42 84 102 228

32 2 44 78

64 26 90

5 5

22. ¤‹Ò㪌¨‹ÒÂ㹡ÒâÒÂáÅкÃÔËÒà งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

144 577

98 522

-

-

24 29 10 73 297 1,154

19 24 5 77 198 943

รายจายฝายทุน - ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สินทรัพย ไมมีตัวตน คาเสื่อมราคา คาตัดจำหนาย

เงินกูยืมรวม หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน

สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยอื่น รวมสินทรัพย

ขอมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงินตามสวนงานธุรกิจ

(ลานบาท) คาใชจายการตลาดและโฆษณาประชาสัมพันธ คาใชจายพนักงาน กำลังการผลิตวางเปลา คายานพาหนะและคาใชจายเดินทาง คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย คาเชา เงินบริจาค อื่นๆ รวม

4,205 3,498 2,001 1,228 467 325 274 1,691 13,689

3,993 3,095 1,679 1,118 516 282 241 1,760 12,684


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

182

23. ¤‹Ò㪌¨‹Ò¾¹Ñ¡§Ò¹ งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

342 171 13 6 45 577

321 154 11 5 31 522

366

335

(ลานบาท) เงินเดือนและคาแรง โบนัส คาลวงเวลาและเบี้ยเลี้ยง จายสมทบเขากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อื่นๆ รวม

3,548 721 266 11 557 5,103

3,265 637 246 9 541 4,698

(จำนวนคน) จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

22,590

22,412

บริษัทในกลุมบริษัทไดจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับพนักงานของบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานในการเปน สมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจายเงินสะสมในอัตรารอยละ 2 ถึง อัตรารอยละ 3 ของเงินเดือนทุกเดือน และบริษัทจายสมทบ ในอัตรารอยละ 2 ถึง อัตรารอยละ 3 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้ไดจดทะเบียนเปนกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพตามขอกำหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผูจัดการกองทุนที่ไดรับอนุญาต

183

(ก) ความแตกตางระหวางการรับรูรายไดและคาใชจายทางบัญชี และรายไดและคาใชจายทางภาษีบางรายการสำหรับป 2550 มีจำนวน 233 ลานบาท (2549: (102) ลานบาท) (ข) กลุมบริษัทมีขาดทุนทางภาษียกมาจากปกอน และไดถูกนำมาใชเพื่อลดจำนวนกำไรเพื่อเสียภาษี ในปปจจุบันสำหรับป 2550 มีจำนวน 64 ลานบาท (2549: 31 ลานบาท) (ค) ขาดทุนของบริษัทยอยบางแหงไมสามารถจะนำมาสุทธิกับกำไรของบริษัทยอยแหงอื่นๆ ของกลุมบริษัทในการคำนวณภาษีเงินได สำหรับป 2550 มีจำนวน 103 ลานบาท (2549: 144 ลานบาท) จำนวนภาษีเงินไดในงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการนอยกวาจำนวนภาษีเงินไดที่คำนวณโดยการใชอัตราภาษีเงินไดคูณกับยอดกำไรสุทธิ ตามบัญชีสำหรับป โดยมีสาเหตุหลักมาจาก (ก) บริษัทมีเงินปนผลที่ไมตองเสียภาษีเงินไดสำหรับป 2550 มีจำนวน 5,696 ลานบาท (2549: 2,417 ลานบาท) (ข) ความแตกตางระหวางการรับรูรายไดและคาใชจายทางบัญชี และรายไดและคาใชจายทางภาษีบางรายการสำหรับป 2550 มีจำนวน 65 ลานบาท (2549: (180) ลานบาท)

26. ¡ÓäÃμ‹ÍËØŒ¹ กำไรตอหุนขั้นพื้นฐานสำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม คำนวณจากกำไรสุทธิสวนของผูถือหุนสามัญและหุนสามัญที่ออกจำหนาย แลวถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักระหวางปในแตละปดังนี้

24. ´Í¡àºÕ騋ÒÂ

งบการเงินรวม งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

(ลานบาท)

สวนที่บันทึกเปนตนทุนของสินทรัพย ระหวางกอสราง สุทธิ

กำไรสุทธิสวนของผูถือหุนสามัญ (ขั้นพื้นฐาน) 5

12

66 723 271 1,060

109 1,179 435 1,723

732 574 271 1,577

885 947 421 2,253

(13)

(154) 1,569

-

-

1,577

2,253

1,047

25. ÀÒÉÕà§Ô¹ä´Œ จำนวนภาษี เ งิ น ได ใ นงบกำไรขาดทุ น รวมมากกว า จำนวนภาษี เ งิ น ได ที่ ค ำนวณโดยการใช อั ต ราภาษี เ งิ น ได คู ณ กั บ ยอดกำไรสุ ท ธิ ตามบัญชีสำหรับป โดยมีสาเหตุหลักมาจาก

2549

(ปรับปรุงใหม)

2549

(ลานบาท) ดอกเบี้ยจายที่เกี่ยวกับ กิจการที่เกี่ยวของกัน สถาบันการเงิน กิจการภายนอกอื่นๆ

2550

10,383

10,055

19,418

9,005

หุนสามัญที่ออกจำหนายแลวระหวางปตามวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก (ขั้นพื้นฐาน) งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

25,110

22,000 1,453 332 23,785

(ลานหุน) หุนสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากหุนที่ออกจำหนายวันที่ 29 พฤษภาคม 2549 ผลกระทบจากหุนที่ออกจำหนายวันที่ 3 กรกฎาคม 2549 หุนสามัญตามวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก (ขั้นพื้นฐาน)

25,110

25,110

22,000 1,453 332 23,785

25,110


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

184

27. ÊÔ·¸Ô»ÃÐ⪹ ¨Ò¡¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃŧ·Ø¹ สิทธิประโยชนตามบัตรสงเสริมการลงทุน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนอนุมัติใหบริษัทยอยแหงหนึ่งไดรับสิทธิประโยชนหลายประการในฐานะผูไดรับการสงเสริมการลงทุน ตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับการผลิตแอลกอฮอลหรือเชื้อเพลิงจากผลผลิตการเกษตร ซึ่งพอสรุปสาระ สำคัญไดดังนี้

185

ในการประชุมสามัญประจำปของผูถือหุนของบริษัท เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2550 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไรเปนเงินปนผล ในอัตราหุนละ 0.22 บาท เปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 5,524 ลานบาท ซึ่งสวนหนึ่งไดจายเปนเงินปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.11 บาท รวมเปนจำนวนเงิน 2,762 ลานบาท เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2549 และบริษัทจายเงินปนผลสวนที่เหลือในอัตราหุนละ 0.11 บาท รวมเปนจำนวนเงิน 2,762 ลานบาท เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2550 ในการประชุมสามัญประจำปของผูถือหุนของบริษัท เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2549 ผูถือหุนมีมติอนุมัติการจัดสรรกำไรเปนเงินปนผล ในอัตราหุนละ 0.24 บาท เปนจำนวนทั้งสิ้น 5,280 ลานบาท เงินปนผลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนในระหวางป 2549

(ก) ใหไดรับยกเวนอากรขาเขาและภาษีสำหรับเครื่องจักรที่ไดรับอนุมัติโดยคณะกรรมการสงเสิรมการลงทุน

29. ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¹âºÒ¡ÒúÑÞªÕ (ข) ใหไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมมีกำหนดเวลาแปดป นับแต วันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น (ค) ใหไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลรอยละ 50 สำหรับกำไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมมีกำหนดเวลา หาป นับแตวันที่สิ้นสุดสิทธิประโยชนตามขอ (ข) และ (ง) ใหไดรับยกเวนไมตองนำเงินปนผลจากกิจการที่ไดรับการสงเสริมซึ่งไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษี เงินไดตลอดระยะเวลาที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลแปดปนั้น เนื่องจากเปนกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน บริษัทยอยจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอกำหนดตามที่ระบุไวในบัตรสงเสริม การลงทุน

การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทตอไปนี้ไมมีผลกระทบตองบการเงินรวมของกลุมบริษัท จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทบันทึกเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในงบการเงินโดยใชวิธีสวนไดเสีย ในระหวางป 2550 สภาวิชาชีพไดประกาศใชมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม ซึ่งใหถือปฏิบัติกับงบการเงิน สำหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 ดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม

ในป 2550 คณะกรรมการสงเสริมการลงทุนอนุมัติใหบริษัทยอยอีกแหงหนึ่งไดรับสิทธิประโยชนซึ่งมีสาระสำคัญเชนเดียวกับที่ไดกลาว แลวขางตนในฐานะผูไดรับการสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ.2520 เกี่ยวกับผลิตกาซชีวภาพ

มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหมเหลานี้กำหนดใหบริษัทใหญซึ่งมีเงินลงทุนในบริษัทยอยหรือบริษัทรวมที่ ไมจัดจำแนกเปนการ ลงทุนสำหรับ “การถือเพื่อขาย” บันทึกเงินลงทุนดังกลาวตามวิธีราคาทุน หรือตามเกณฑการรับรูและการวัดมูลคาตราสารทางการเงิน (เมื่อมีการบังคับใช) แทนวิธีสวนไดเสียซึ่งใชอยูในปจจุบัน

สิทธิประโยชนที่ใหแกผูประกอบกิจการในเขตปลอดอากร ในป 2547 บริษัทยอยอีกแหงหนึ่งไดรับอนุมัติจากกรมศุลกากรใหเปนผูประกอบกิจการในเขตปลอดภาษีอากร และใหจัดตั้งพื้นที่โรงงาน ของบริษัทดังกลาวเปนเขตปลอดอากร โดยบริษัทยอยดังกลาวจะไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีอากร ทั้งอากรนำเขาและสงออก ภาษี มูลคาเพิ่ม ภาษีสรรพาสามิต ตลอดจนสิทธิประโยชนอื่นตามที่กฎหมายกำหนด

ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2550 บริษัทไดเปลี่ยนนโยบายการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทยอยหรือบริษัทรวมในงบการเงินของบริษัท จากวิธีสวนไดสวนเสียเปนวิธีราคาทุน การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีนี้ทำใหตองมีการปรับปรุงงบการเงินของบริษัทยอนหลัง และ งบการเงินของบริษัทสำหรับป 2549 ที่นำไปแสดงในงบการเงินสำหรับป 2550 เพื่อการเปรียบเทียบจึงไดรับการปรับปรุงใหม ผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีตองบการเงินที่จัดทำในระหวางป 2550 และ 2549 มีดังนี้

28. à§Ô¹»˜¹¼Å ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2550 คณะกรรมการมีมติอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลป 2550 สำหรับจำนวนหุนสามัญทั้งหมด 25,110 ลานหุน ในอัตราหุนละ 0.12 บาท รวมเปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 3,013 ลานบาท เงินปนผล ระหวางกาลดังกลาวไดจายใหแกผูถือหุนเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2550


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

186

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2550

กำไรสะสม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม กอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี รับเงินปนผลจากบริษัทยอยและบริษัทรวมเพิ่มขึ้น สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียลดลงสุทธิ ลดลงสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรสุทธิ กำไรสุทธิกอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี รับเงินปนผลจากบริษัทยอยและบริษัทรวมเพิ่มขึ้น สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียลดลงสุทธิ เพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ กำไรสุทธิหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี กำไรตอหุนเพิ่มขึ้น(ลดลง) (บาท)

69,391 (15,567) (6,452) 20 17,141 (938) (5,796) 63,595

30. à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

2549

(ลานบาท) เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม กอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี กำไรสะสมลดลง สวนเกินจากการตีราคาลดลง การแปลงคาของอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น ผลตางจากการปรับโครงสรางทางธุรกิจเพิ่มขึ้น ผลขาดทุนสวนล้ำเงินลงทุนในบริษัทยอยลดลง ลดลงสุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

187

68,046 (14,494) (6,450) 5 15,979 (1) (4,961) 63,085

นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางดานการเงิน กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากการดำเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ และจากการไมปฏิบัติตามขอกำหนดตามสัญญาของคูสัญญา กลุมบริษัทไมมีการถือหรือออกเครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เพื่อการเก็งกำไรหรือการคา ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งสง ผลกระทบตอการดำเนินงานและกระแสเงินสดของกลุมบริษัท เนื่องจากดอกเบี้ยของเงินกูยืมสวนใหญมีอัตราคงที่ กลุมบริษัทมี ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกูยืม (หมายเหตุขอ 15) กลุมบริษัทไดลดความเสี่ยงดังกลาวโดยทำใหแนใจวาดอกเบี้ยที่ เกิดจากเงินกูยืมสวนใหญมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของเงินใหกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกำหนดชำระหรือกำหนดอัตราใหมมีดังนี้

19,102 14,358 (29,925) (15,567) 3,535

10,383 18,985 (9,950) 9,035 19,418 0.36

17,656 6,302 (20,796) (14,494) 3,162

10,079 8,055 (9,129) (1,074) 9,005 (0.05)

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) ป 2550 หมุนเวียน เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รวม ป 2549 หมุนเวียน เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ ภายใน 1 ป หลังจาก 1 ป แตภายใน 5 ป (ลานบาท)

รวม

5.96

3,548

-

3,548

5.96

3,548

9,411 9,411

9,411 12,959

5.68

9,367

-

9,367

5.68

-

5,501 5,501

5,501 14,868

9,367


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

188

อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะที่ครบกำหนดชำระหรือกำหนดอัตราใหม มีดังนี้ งบการเงินรวม รวม อัตราดอกเบี้ย ภายใน 1 ป หลังจาก 1 ป ที่แทจริง แตภายใน 5 ป (รอยละตอป) (ลานบาท) ป 2550 หมุนเวียน 6.75 1,000 1,000 เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน 3.64 6,753 6,753 หุนกูระยะยาวมีประกันที่ถึงกำหนด 5.75 3,000 3,000 ชำระภายในหนึ่งป ไมหมุนเวียน 4.41 5,400 5,400 เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน รวม 10,753 5,400 16,153 ป 2549 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน หุนกูระยะสั้นมีประกัน หุนกูระยะยาวมีประกันที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน หุนกูระยะยาวมีประกัน รวม

7.16 5.41 5.40 5.55 2.80 5.75 5.75

1,883 6,370 2,200 2,300 4,615

17,368

3,755 3,000 6,755

1,883 6,370 2,200 2,300 4,615 3,755 3,000 24,123

189

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) ป 2550 หมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน หุนกูระยะยาวมีประกันที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน รวม ป 2549 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน หุนกูระยะสั้นมีประกัน หุนกูระยะยาวมีประกันที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน หุนกูระยะยาวมีประกัน เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ ภายใน 1 ป หลังจาก 1 ป แตภายใน 5 ป (ลานบาท)

รวม

4.05

6,553

-

6,553

5.75 5.75

3,000 2,040

-

3,000 2,040

4.41 5.75

11,593

5,400 6,540 11,940

5,400 6,540 23,533

8.28 5.54 5.40

30 4,500 2,200

-

30 4,500 2,200

5.55 6.00

2,300 12,984

-

2,300 12,984

5.74 5.75 6.00

-

3,755 3,000 4,372 11,127

3,755 3,000 4,372 33,141

22,014


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

190

ความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศ กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ซึ่งเกิดจากการซื้อสินคาและการขายสินคาที่เปนเงินตราตางประเทศ กลุมบริษัทไดทำสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา เพื่อปองกันความเสี่ยงของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่เปนเงินตรา ตางประเทศ สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ณ วันที่ในงบดุลเปนรายการที่เกี่ยวของกับรายการซื้อและขายสินคาที่เปน เงินตราตางประเทศในงวดถัดไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศอันเปนผลมาจากการมีสินทรัพยและหนี้สิน ที่เปนเงินตราตางประเทศดังนี้ งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

ประมาณการยอดขายสินคา ประมาณการยอดซื้อสินคา ยอดรวมความเสี่ยงทั้งสิ้น สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

6 8 10 16 5 17

174 90 1 (94)

171 286 (2,994) (2,537) 2,508 (29)

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

(69) (72) (141)

6 30 (108) (212) (284)

-

-

ประมาณการยอดซื้อสินทรัพย ประมาณการยอดซื้อสินคา ยอดรวมความเสี่ยงทั้งสิ้น

(25) (1,158) (1,324)

(137) (454) (875)

-

-

สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

1,173 (151)

773 (102)

-

-

(46) (4) (50)

(74) (16) (90)

-

-

ประมาณการยอดซื้อสินคา ยอดรวมความเสี่ยงทั้งสิ้น

(288) (338)

(462) (552)

สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

287 (51)

472 (80)

1 (1)

-

(ลานบาท) เงินยูโร เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง

6 8 16 17

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

-

-

(ลานบาท) เงินเหรียญสหรัฐอเมริกา เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นและเจาหนี้ กิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง

191

15 24 1 (104)

(216) (42) (322)

-

-

-

(1,917) (2,239) 1,929 (310)

-

(37) (37) -

เงินปอนดสเตอรลิง เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น ยอดบัญชีในงบดุลที่มีความเสี่ยง

16 17

(1) (1) (1)

-

(37) -

(1)

-

-

(6) (6)

-

-

1 1

25 19

-

-

(37) เงินเหรียญออสเตรเลีย ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคา ยอดรวมความเสี่ยง สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

8 16


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

192

งบการเงินรวม หมายเหตุ

2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

(1)

-

208 207

1,484 1,484

(208) (1)

(1,484) -

(ลานบาท) เงินเหรียญสิงคโปร หนี้สินหมุนเวียนอื่น ประมาณการยอดรับคืนเงินกูยืม ยอดรวมความเสี่ยงทั้งสิ้น

17

สัญญาขายเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

(1) (1)

(1) (1)

-

-

(1)

(1)

193

มูลคายุติธรรม มูลคายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยหรือหนี้สินกันในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรูและ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนกันและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน ในการพิจารณา มูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน กลุมบริษัทมีการพิจารณาสถานการณปจจุบันของตนทุนที่เกิดจากการ แลกเปลี่ยนหรือชำระหนี้สินภายใตเครื่องมือทางการเงิน

31. ÀÒÃм١¾Ñ¹·ÕèÁաѺºØ¤¤ÅËÃ×Í¡Ô¨¡Ò÷ÕèäÁ‹à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹ งบการเงินรวม 2550

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2549

2550

2549

-

-

435

392 846 11 1,249

165 157 322

142 70 212

9 14 23

1 1

86 524 5,036 247 4,386 296 53 154 60 10,842

332 1,505 3,330 102 2,815 1,596 96 105 43 9,924

-

-

217

1,505

-

-

31

154

-

-

53

96

-

-

(ลานบาท) เงินเยนญี่ปุน ประมาณการยอดซื้อสินทรัพย สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ เงินสกุลอื่นๆ ลูกหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น ยอดรวมความเสี่ยง

(5) 5

-

8 17

-

-

5 (3) 2

-

-

-

-

ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ ความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่ลูกคาหรือคูสัญญาไมสามารถชำระหนี้แกกลุมบริษัทตามเงื่อนไขที่ตกลงไว เมื่อครบกำหนด ฝายบริหารไดกำหนดนโยบายทางดานสินเชื่อเพื่อควบคุมความเสี่ยงทางดานสินเชื่อดังกลาวโดยสม่ำเสมอ โดยการวิเคราะหฐานะ ทางการเงินของลูกคาทุกรายที่ขอวงเงินสินเชื่อในระดับหนึ่งๆ ณ วันที่ ในงบดุลไมพบวามีความเสี่ยงจากสินเชื่อที่เปนสาระสำคัญ ความเสี่ยงสูงสุดทางดานสินเชื่อแสดงไวในราคาตามบัญชีของสินทรัพยทางการเงินแตละรายการ ณ วันที่ในงบดุล อยางไรก็ตาม เนื่องจากกลุมบริษัทมีฐานลูกคาจำนวนมาก ฝายบริหารไมไดคาดวาจะเกิดผลเสียหายที่มีสาระสำคัญจากการเก็บหนี้ไมได ความเสี่ยงจากสภาพคลอง กลุมบริษัทมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลองโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดใหเพียงพอ ตอการดำเนินงานของกลุมบริษัท และเพื่อทำใหผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง

ภาระผูกพันรายจายฝายทุน สัญญาที่ยังไมไดรับรู ที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสรางอื่น เครื่องจักรและอุปกรณ โปรแกรมคอมพิวเตอร รวม ภาระผูกพันตามสัญญาเชาดำเนินงานที่ยกเลิกไมได ภายในหนึ่งป หลังจากหนึ่งปแตไมเกินหาป รวม ภาระผูกพันอื่นๆ เลตเตอรออฟเครดิตที่ยังไมไดใช สัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนา สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา หนังสือค้ำประกันจากธนาคาร สัญญาซื้อสินคาและวัตถุดิบ สัญญาซื้อกากน้ำตาล สัญญาจางติดตั้งระบบคอมพิวเตอร สัญญาโฆษณาและสปอนเซอร สัญญาอื่นๆ รวม

217 218

-

1 302

11 11

-

1,755


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

194

(ก) ในระหวางป 2547 บริษัทและบริษัทยอย 4 บริษัท ทำสัญญาวาจางผูชำนาญการผูหนึ่งในการควบคุมดูแลการผลิตและปรุงสุรา “หัวเชื้อสุรา” โดยมีระยะเวลาจาง 40 ป นับแตวันที่ 1 สิงหาคม 2547 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2587 ภายใตเงื่อนไขของสัญญา บริษัท และบริษัทยอยมีภาระตองจายคาจางแกผูชำนาญการเปนรายเดือน รวมเดือนละ 4.3 ลานบาท โดยเพิ่มคาจางในอัตรารอยละ 5 ทุกๆ รอบ 12 เดือน ในชวงเวลา 20 ปแรก นับตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2547 หลังจากนั้น นับตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2567 เปนตนไป จนครบกำหนดตามสัญญา จะจายคาจางเหมาเปนรายเดือน รวมเดือนละ 250,000 บาท คาจางภายใตสัญญาเปนจำนวนเงินรวม 1,766.2 ลานบาท ตอมามีการทำบันทึกขอตกลงแนบทายเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2549 ใหบริษัทและบริษัทยอยจายเงินจำนวนรวม 2,000 ลานบาท ใหแกผูชำนาญการทานนี้เพิ่มเติม ดังนั้นคาจางทั้งสิ้นภายใตสัญญาทั้งสวนที่บริษัทและบริษัทยอยไดจายไปแลวและ สวนที่ยังไมไดจายมีจำนวนเงินรวม 3,766.2 ลานบาท

195

(ข) เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2551 บริษัท แพนแอลกอฮอล จำกัด บริษัทยอยทางออมของบริษัทไดลงนามในบันทึกความเขาใจเพื่อซื้อ หุนสามัญสวนใหญในบริษัท คาราบาวตะวันแดง จำกัด ผูประกอบธุรกิจผลิตและจำหนายเครื่องดื่มชูกำลัง ซึ่งขณะนี้อยูในระหวาง ดำเนินการ (ค) ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารของบริษัทเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2551 มีมติเปนเอกฉันทอนุมัติในเรื่องดังตอไปนี้ อนุมัติหลักการใหบริษัท เอส พี เอ็ม อาหารและเครื่องดื่ม จำกัด ลดทุนจดทะเบียนรอยละ 75 จำนวน 2 ครั้งและดำเนินการเพิ่มทุน หลังจากนั้น การลดทุนจดทะเบียนครั้งแรกจากเดิมจำนวน 100 ลานบาท เปนจำนวน 25 ลานบาท และการลดทุนครั้งที่สองจากจำนวน 25 ลานบาท เปนจำนวน 6.25 ลานบาท หลังจากนั้นจึงเพิ่มทุนจดทะเบียนจำนวน 600 ลานบาท รวมเปนจำนวน 606.25 ลานบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คาจางที่จะจายตลอดอายุสัญญาคงเหลือมีจำนวนเงิน 1,579 ลานบาท (ข) ในระหวางป 2548 บริษัทยอยแหงหนึ่งไดตอสัญญาสปอนเซอรกับสโมสรฟุตบอลเอฟเวอรตันในสหราชอาณาจักร เปนเวลา 3 ป นับแตวันที่ 1 มิถุนายน 2548 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2551 เพื่อทำการประชาสัมพันธธุรกิจของกลุมบริษัทไปทั่วโลก ภายใตเงื่อนไข ของสัญญา บริษัทยอยดังกลาวมีภาระผูกพันตองจายเงินขั้นต่ำจำนวน 0.5 ลานปอนดสเตอรลิง และสูงสุดจำนวน 2.9 ลานปอนด สเตอรลิงตอป โดยขึ้นอยูกับผลงานของทีมฟุตบอลเอฟเวอรตันในแตละป ตอมาเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2551 ไดมีการตอสัญญาออกไปอีกเปนระยะเวลา 3 ป นับแตวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 โดยมีภาระผูกพันตองจายเงินขั้นต่ำ 0.5 ลานปอนดสเตอรลิงและสูงสุดจำนวน 3.5 ลานปอนดสเตอรลิง โดยขึ้นอยูกับผลงาน ของทีมฟุตบอลเอฟเวอรตันในแตละป

32. ¢ŒÍ¾Ô¾Ò··Ò§¡®ËÁÒ บริษัทยอยแหงหนึ่งยื่นฟองตอศาลภาษีอากรกลางเพื่อใหเพิกถอนการประเมินคาภาษีโรงเรือนและที่ดินตั้งแตป 2545 ถึง 2550 ตอมา เมื่อวันที่ 12 และ 13 กุมภาพันธ 2551 ศาลฎีกาไดพิพากษาใหบริษัทยอยดังกลาวไดรับภาษีโรงเรือนและที่ดินคืนจำนวนเงิน 128 ลานบาท จากเงินที่ไดจายไปแลวจำนวน 128.5 ลานบาท

33. àËμØ¡Òó ÀÒÂËÅѧÇѹ·Õè㹧º´ØÅ (ก) เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2551 บริษัท มหาราษฎรการเกษตร จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิมจำนวน 2 ลานบาท เปนจำนวน 200 ลานบาท โดยการออกหุนใหมเปนหุนสามัญจำนวน 19.8 ลานหุน มูลคาหุนละ 10 บาท รวมเปนจำนวนเงิน 198 ลานบาท ตอมาเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2551 บริษัทยอยทำสัญญาซื้อขายเพื่อซื้อทรัพยสินในการประกอบธุรกิจผลิตและจำหนายเครื่องดื่มชูกำลัง และกาแฟพรอมดื่มของบริษัท เครื่องดื่มแรงเยอร จำกัด ในมูลคา 420 ลานบาท โดยใชเงินทุนสวนหนึ่งจากการเพิ่มทุนจดทะเบียน จำนวนเงิน 200 ลานบาท

อนุมัติหลักการให International Beverage Holdings Limited เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิมจำนวนเงิน 1,470 ลานเหรียญฮองกง เปนจำนวน 1,490 ลานเหรียญฮองกง เพื่อเพิ่มทุนใน International Beverage Holdings Limited USA, Inc. (ง) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2551 มีมติเปนเอกฉันทใหความเห็นชอบเพื่อเสนอการจายเงินปนผลในอัตรา หุนละ 0.29 บาท รวมเปนเงินปนผลจำนวนเงิน 7,282 ลานบาท ซึ่งสวนหนึ่งไดจายเปนเงินปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 0.12 บาท รวมเปนจำนวนเงิน 3,013 ลานบาท คงเหลือการจายเงินปนผลอีกในอัตราหุนละ 0.17 บาท รวมเปนจำนวนเงิน 4,269 ลานบาท

34. ÁÒμðҹ¡ÒúÑÞªÕ·ÕèÂѧäÁ‹Áռźѧ¤ÑºãªŒ กลุมบริษัทยังไมไดใชมาตรฐานการบัญชีตอไปนี้ ณ วันที่ในงบดุล เนื่องจากยังไมมีการบังคับใช มาตรฐานการบัญชีตอไปนี้กำหนดให ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 51 เรื่อง

งบกระแสเงินสด สัญญาเชา สินคาคงเหลือ ตนทุนการกูยืม การนำเสนองบการเงิน นโยบายการบัญชีการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและขอผิดพลาด งบการเงินระหวางกาล การรวมธุรกิจ สัญญากอสราง สินทรัพย ไมมีตัวตน

บริษัทคาดวาการกำหนดใหใชมาตรฐานการบัญชีดังกลาวขางตน จะไมมีผลกระทบตองบการเงินรวมหรืองบการเงินเฉพาะกิจการอยางมี สาระสำคัญ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

196

35. ¡ÒèѴ»ÃÐàÀ·ÃÒ¡ÒÃãËÁ‹ รายการในงบการเงินของป 2549 บางรายการไดจัดประเภทใหมใหสอดคลองกับรายการในงบการเงินของป 2550

36. ¤ÇÒÁáμ¡μ‹Ò§·ÕèÊÓ¤ÑÞÃÐËÇ‹Ò§ËÅÑ¡¡ÒúÑÞªÕ·ÕèÃѺÃͧ·ÑèÇä»ã¹»ÃÐà·Èä·Â áÅÐÁÒμðҹ¡ÒúÑÞªÕÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È (äÁ‹ä´ŒμÃǨÊͺËÃ×ÍÊͺ·Ò¹) งบการเงินรวมนี้จัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไปในประเทศไทย (“มาตรฐานการบัญชีไทย”) ซึ่งมีขอแตกตางที่สำคัญ บางประการจากมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ (“IFRS”) การเปดเผยขอมูลตอไปนี้เปนการสรุปขอแตกตางที่สำคัญบางประการ ระหวางมาตรฐานการบัญชีไทยและ IFRS ที่เกี่ยวของกับงบการเงินรวมของกลุมบริษัท และรายการกระทบยอดของกำไรสุทธิและ สวนของผูถือหุนตามมาตรฐานการบัญชีไทยเปน IFRS ขอมูลทั้งที่สรุปไวและรายการกระทบยอดมีวัตถุประสงคเพียงเพื่อเปนการให ขอมูลเทานั้น แตไมอาจถือไดวาเปนการสรุปไวอยางถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญ (ก) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ปจจุบันยังไมมีมาตรฐานการบัญชีไทยเกี่ยวกับภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่มีผลบังคับใช ในขณะที่มาตรฐานการบัญชีไทยยังไมมีการ ใชวิธีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี กลุมบริษัทไดบันทึกภาษีเงินไดตามเกณฑของภาษีเงินไดที่ตองจายตามงวดบัญชีภายใตขอกำหนด ของประมวลรัษฎากรของประเทศไทย กลุมบริษัทจึงไมมีการบันทึกสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีในงวดปจจุบัน ภายใต IFRS ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีใชงบดุลเปนหลัก ซึ่งภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีคำนวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้น ระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินและจำนวนสินทรัพยและหนี้สินที่ใชเพื่อความมุงหมายทางภาษี รายการภาษีเงินได ตัดบัญชีพิจารณาจากการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีในระหวางงวด สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี รับรูเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนที่จะมีกำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอตอการนำผลแตกตางชั่วคราวมาใชประโยชน (ข) ผลประโยชนของพนักงาน ปจจุบันยังไมมีมาตรฐานการบัญชีไทยเกี่ยวกับการบัญชีสำหรับผลประโยชนของพนักงาน รวมถึงผลประโยชนจากการเลิกจาง การเกษียณอายุ และผลประโยชนหลังเกษียณอายุ กลุมบริษัทมีขอผูกพันในการจายผลประโยชน ใหกับพนักงาน คือ การจายเงิน สมทบเขากองทุนสำรองเลี้ยงชีพสวนที่ออกใหกับพนักงาน การจายผลตอบแทนในการเกษียณอายุและการจายเงินชดเชยจากการ เลิกจางโดยไมสมัครใจตามที่กฎหมายกำหนด ผลประโยชนจากการเลิกจางหรือการเกษียณอายุนั้นแตกตางกันขึ้นอยูกับหลายปจจัย รวมถึงระยะเวลาในการทำงานและเงินเดือนของพนักงาน ขณะที่ยังไมไดมีมาตรฐานการบัญชีไทยในเรื่องดังกลาว การจายเงินสมทบ เขากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ การจายผลตอบแทนในการเกษียณอายุและการจายชดเชยจากการเลิกจางโดยไมสมัครใจตามที่กฎหมาย กำหนดจะรับรูเปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ ภายใต IFRS ผลประโยชนพนักงานจะบันทึกตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน ดังนั้น ผลประโยชนของพนักงานเมื่อเลิกจางงานจะบันทึกเปนหนี้สินและคาใชจายตอเมื่อกิจการมีภาระผูกพันโดยชัดเจนที่จะเลิกจางพนักงาน หรื อ กลุ ม พนั ก งานก อ นวั น เกษี ย ณอายุ ตามปกติ ห รื อ ให ผ ลประโยชน ใ นการเลิ ก จ า งเนื่อ งมาจากการเสนอให มี การลาออกจากงาน ดวยความสมัครใจ

197

ผลประโยชนจากการเกษียณอายุของพนักงานรับรูเปนหนี้สินดวยจำนวนสุทธิรวมของมูลคาปจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที่ในงบดุล หักดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยตามแผนผลประโยชน และรับรูคาใชจายดวยจำนวนสุทธิรวมของคาบริการในปจจุบัน คาดอกเบี้ย คาบริการในอดีต และกำไรขาดทุนจากการคำนวณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย (ค) เครื่องมือทางการเงิน มาตรฐานการบัญชีไทยไดมีขอกำหนดในเรื่องการเปดเผยขอมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน แตมีแนวทางอยางจำกัดเกี่ยวกับการ รับรูและวัดมูลคาเครื่องมือทางการเงิน กลุมบริษัทไมไดรับรูเครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธในงบดุล อยางไรก็ตาม สินทรัพย และหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศที่ไดมีการปองกันความเสี่ยงแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล ภายใต IFRS เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธรับรูในงบดุลเปนสินทรัพยหรือหนี้สินทางการเงินเมื่อเริ่มแรกดวยราคาทุน ซึ่งเปนมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่จายไป (ในกรณีที่เปนสินทรัพย) หรือสิ่งตอบแทนที่ไดรับ (ในกรณีที่เปนหนี้สิน) โดยตนทุน ในการจัดทำรายการจะรวมเปนสวนหนึ่งของมูลคาเริ่มแรกของสินทรัพยหรือหนี้สินทางการเงิน ภายหลังจากการรับรูในเริ่มแรก ตราสารอนุพันธทางการเงินจะถูกรับรูดวยมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงของมูลคายุติธรรมจะรับรูในงบกำไรขาดทุนรวม (ฆ) สินทรัพยลงทุน ตามมาตรฐานการบัญชีไทย ที่ดินที่ถือไวเพื่อกอใหเกิดรายไดคาเชาจัดประเภทเปนสวนหนึ่งของที่ดิน อาคารและอุปกรณ ที่ดินดังกลาว แสดงดวยราคาที่ตีใหมหักขาดทุนจากการดอยคา การเปลี่ยนแปลงของมูลคายุติธรรมที่เกิดจากการตีราคาเพิ่มขึ้นแสดงในสวนทุน ภายใต IFRS สินทรัพยที่ถือไวเพื่อกอใหเกิดรายไดคาเชาจัดประเภทเปนสวนหนึ่งของสินทรัพยลงทุนและสอดคลองกับมาตรฐาน การบัญชีระหวางประเทศฉบับที่ 40 เรื่อง สินทรัพยลงทุน ซึ่งมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศฉบับที่ 40 อนุญาตใหกิจการเลือกที่จะ ใชวิธีการบัญชีตามมูลคายุติธรรมหรือตามวิธีราคาทุนในการวัดมูลคาสินทรัพยลงทุน วิธีการบัญชีตามมูลคายุติธรรมกิจการจะวัดมูลคาสินทรัพยลงทุนทั้งหมดดวยราคายุติธรรม กำไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง มูลคายุติธรรมของสินทรัพยลงทุนจะถูกบันทึกในกำไรหรือขาดทุนสุทธิในงวดที่มีการเปลี่ยนแปลงมูลคายุติธรรม ตามวิธีราคาทุน ที่ดินและอาคารที่ถือไวเพื่อเปนสินทรัพยลงทุนจะวัดมูลคาในราคาทุนหักดวยขาดทุนจากการดอยคา เพื่อวัตถุประสงค ในการเปดเผยขอมูลตาม IFRS กลุมบริษัทเลือกใชวิธีราคาทุน ซึ่งสินทรัพยลงทุนประกอบดวยที่ดินและอาคาร แตการ จัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทยมีการตีราคาเฉพาะที่ดินไมรวมอาคาร (ง) การรวมธุรกิจ (คาความนิยม) มาตรฐานการบัญชีไทยกำหนดใหคาความนิยมจากการรวมธุรกิจตองถูกตัดจำหนายอยางมีระบบตลอดอายุการใหประโยชนของ คาความนิยมนั้น อยางไรก็ตาม อายุการใหประโยชนของคาความนิยมจะไมเกิน 20 ป นับจากวันที่เริ่มรับรูคาความนิยมดังกลาว ภายใตมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ กำหนดใหคาความนิยมที่ไดมาตองถูกวัดคา และแสดงดวยราคาทุนหักขาดทุนจากการ ดอยคาสะสม ดังนั้น คาความนิยมจะไมถูกตัดจำหนายแตจะมีการทดสอบการดอยคาทุกป และเมื่อมีขอบงชี้เรื่องการดอยคา


บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

199

198 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)

ÃÒ§ҹÃÒ¡ÒáѺ¡Ô¨¡Ò÷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹ สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550

กำไรสุทธิรวม 2550

2549

(ลานบาท) ตามที่แสดงในงบการเงินรวมที่จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย บวก (หัก) : ผลแตกตางระหวางมาตรฐานการบัญชีไทย และตาม IFRS (สุทธิจากภาษีเงินได) 1. ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี 2. ผลประโยชนพนักงาน 3. เครื่องมือทางการเงิน 4. สินทรัพยลงทุน 5. การรวมธุรกิจ (คาความนิยม) จำนวนที่แสดงภายใตการปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ - IFRS

10,383

10,055

107 (60) 82 3 29

16 (62) (45)

10,544

9,983

19

สวนของผูถือหุนรวม 2550

2549

(ลานบาท) ตามที่แสดงในงบการเงินรวมที่จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย บวก (หัก) : ผลแตกตางระหวางมาตรฐานการบัญชีไทย และตาม IFRS (สุทธิจากภาษีเงินได) 1. ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี 2. ผลประโยชนพนักงาน 3. เครื่องมือทางการเงิน 4. สินทรัพยลงทุน 5. การรวมธุรกิจ (คาความนิยม) จำนวนที่แสดงภายใตการปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ - IFRS

54,910

(636) (581) 12 (47) 102 53,760

52,554

(1,429) (521) (70) (51) 73 50,556

มูลคารวมของรายการกับกิจการ มูลคารวมของรายการกับกิจการ ที่เกี่ยวของกันสำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ที่เกี่ยวของกันตามที่ไดรับอนุมัติ ธันวาคม 2550 (ไมรวมรายการที่มีมูลคา ตาม General Mandate นอยกวา 100,000 เหรียญสิงคโปร* และรายการ (ไมรวมรายการที่มีมูลคานอยกวา 100,000 เหรียญสิงคโปร) ที่ดำเนินการตามที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน) (หนวย : พันบาท) (หนวย : พันบาท)

ก. รายไดจากการขายและรายไดคาบริการ 1 บริษัท พิเศษกิจ จำกัด 2 บริษัท พี เอส รีไซเคิล จำกัด 3 บริษัท โออิชิ เทรดดิ้ง จำกัด 4 บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลชลบุรี จำกัด 5 บริษัท ทีซีซี โฮเทลคอลเล็คชั่น จำกัด (**) ข. รายไดอื่นๆ 1 บริษัท พิเศษกิจ จำกัด 2 บริษัท อุตสาหกรรมทำเครื่องแกวไทย จำกัด (มหาชน) 3 Liquorland Limited ค. ตนทุนขาย 1 บริษัท พี เอส รีไซเคิล จำกัด 2 บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลชลบุรี จำกัด 3 บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลแมวัง จำกัด 4 บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลสุพรรณบุรี จำกัด 5 บริษัท น้ำตาลทิพย (1999) จำกัด 6 บริษัท อาคเนยแคปปตอล จำกัด 7 บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จำกัด 8 บริษัท ไทย เบเวอรเรจ แคน จำกัด 9 บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) 10 บริษัท อาคเนยประกันภัย (2000) จำกัด 11 บริษัท อาคเนยประกันชีวิต จำกัด 12 บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลอุตรดิตถ จำกัด 13 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและสิทธิเรียกรองนิวโนเบิล 14 บริษัท บีเจซี อินดัสเตรียล แอนด เทรดดิ้ง จำกัด (***) 15 บริษัท ทีซีซี โฮเทลคอลเล็คชั่น จำกัด (**) 16 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและสิทธิเรียกรองไดนามิค แอสเส็ทส 17 T.C.C. Ningbo Best Spirits Co., Ltd. 18 บริษัท อาหารสยาม จำกัด (มหาชน)

-

21,780.45 100,526.82

17,422.58

-

-

3,424.38

3,506.41

-

-

11,369.29 3,843.76

22,069.48

-

-

1,185,082.81 31,293.89 21,587.07 53,596.63 15,601.26 7,612.98 30,923.00 1,211,761.35 2,247,081.29 111,024.07 4,020.37 29,223.90 14,071.60 2,723.56

2,884.82 44,880.40 9,795.79 14,984.00

-


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

200

มูลคารวมของรายการกับกิจการ มูลคารวมของรายการกับกิจการ ที่เกี่ยวของกันสำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ที่เกี่ยวของกันตามที่ไดรับอนุมัติ ธันวาคม 2550 (ไมรวมรายการที่มีมูลคา ตาม General Mandate นอยกวา 100,000 เหรียญสิงคโปร* และรายการ (ไมรวมรายการที่มีมูลคานอยกวา 100,000 เหรียญสิงคโปร) ที่ดำเนินการตามที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน) (หนวย : พันบาท) (หนวย : พันบาท)

ง. ดอกเบี้ยจาย 1 Great Oriole Limited จ. คาใชจายอื่นๆ 1 บริษัท อาคเนยแคปปตอล จำกัด 2 บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จำกัด 3 บริษัท อาคเนยประกันภัย (2000) จำกัด 4 บริษัท อาคเนยประกันชีวิต จำกัด 5 บริษัท พลาซาแอทธินี โฮเต็ล (ประเทศไทย) จำกัด 6 กองทุนรวมรีเจนท โกลดพร็อพเพอรตี้ฟนด 7 บริษัท นอรธปารค กอลฟแอนดสปอรตคลับ จำกัด 8 บริษัท ที.ซี.ซี. แคปปตอล แลนด จำกัด 9 บริษัท ที.ซี.ซี. โฮเทลคอลเลคชั่น จำกัด (**) 10 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและสิทธิเรียกรองไดนามิค แอสเส็ทส 11 Best Wishes co Ltd 12 T.C.C. International Limited ฉ. ขายสินทรัพย 1 บริษัท ที.ซี.ซี. โฮเทลคอลเลคชั่น จำกัด (**) ช. ซื้อสินทรัพย 1 บริษัท สยามประชาคาร จำกัด * อัตราแลกเปลี่ยน 23 บาท ตอ 1 เหรียญสิงคโปร ** เดิมชื่อ : บริษัท ควีนสปารค โฮเต็ล กรุป จำกัด *** เดิมชื่อ : บริษัท บีเจซี เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

161,024.95

-

-

109,629.64 44,969.75 30,661.14 5,136.26 30,706.72 5,331.15 10,581.56

5,218.50 25,251.67 4,135.36 5,494.44 3,399.86

-

819,000.00

-

30,810.06

-

201

ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¡ÒÃμ‹ÍÍÒÂظØáÃÃÁ·Õèä´ŒÃѺ͹ØÁÑμÔ¨Ò¡¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ÊíÒËÃѺ¸ØáÃÃÁ·Õè·íҡѺºØ¤¤Å·ÕèÁÕʋǹ䴌àÊÕ 1. ความเดิม

คณะกรรมการของ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) อางถึง (ก) หนังสือเชิญประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัท ฉบับลงวันที่ 10 เมษายน 2551 (“หนังสือเชิญประชุม”) พรอมกับรายงานประจําป 2550 ในการเรียกประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัท (“การประชุมสามัญผูถือหุน”) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2551 และ (ข) มติการประชุมที่ 9 เกี่ยวกับ “ธุรกิจพิเศษ” ตามที่กําหนดไว ในหนังสือเชิญประชุม 2. ธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน

ตามหนังสือชี้ชวนของบริษัท ฉบับลงวันที่ 19 พฤษภาคม 2549 (“หนังสือชี้ชวน”) ธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนนั้น ถือเสมือนวา ไดรับความเห็นชอบจากผูถือหุน ทั้งนี้ บริษัทและบริษัทยอยที่เปนบริษัทที่มีความเสี่ยง (Entity at Risk) ตามความหมายที่กําหนดไว ในขอ 904 (2) ของคูมือเกี่ยวกับการขอใหรับหลักทรัพยเปนหลักทรัพยจดทะเบียน (“คูมือเกี่ยวกับการรับหลักทรัพย”) ในตลาดหลักทรัพย ประเทศสิงคโปร (“ตลาดหลักทรัพยประเทศสิงคโปร”) สามารถเขาทําธุรกรรมซึ่งเปนกิจการอันเปนปกติธุรกิจของบริษัทกับบุคคลที่มี สวนไดเสียได โดยการเขาทําธุรกรรมดังกลาวจะตองเปนธุรกรรมที่ไดกระทําขึ้นเสมือนหนึ่งเปนธุรกรรมที่ทํากับบุคคลภายนอกและ เปนไปตามขอกําหนดทางการคาปกติ ทั้งนี้ รายละเอียดของธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย และธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจาก ผูถือหุนไดเปดเผยไวในหนา 124-148 ของหนังสือชี้ชวนของบริษัท การแกไขเพิ่มเติมธุรกรรมนี้ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญ ผูถือหุนปกอน ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2550 ตามรายละเอียดที่ระบุไวในหนา 180 ของรายงานประจำปของบริษัทสำหรับ รอบปบัญชี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2549 (ธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน (ฉบับแกไขเพิ่มเติม) “ธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจาก ผูถือหุน”) 3. การนําเสนอการตออายุธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน

เนื่องจากธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนนั้นมีผลใชบังคับจนถึงการปดประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทครั้งถัดไป กรรมการบริษัท จึ ง เสนอให มี การพิ จารณาอนุ มั ติ การต อ อายุ ธุ ร กรรมที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ จากผู ถื อ หุ น ในการประชุ ม สามั ญ ผู ถื อ หุ น ของบริ ษั ท ครั้ ง ถั ด ไป ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 28 เมษายน 2551 เพื่อใหธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนดังกลาวมีผลบังคับใชจนกระทั่งถึงการประชุมสามัญ ผูถือหุนของบริษัทครั้งถัดไป 4. รายละเอียดของธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน

รายละเอียดของธุรกรรมที่ ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน รวมถึงพื้นฐานของเหตุผล และผลประโยชนตอบริษัท ขั้นตอนการตรวจสอบ การกําหนดราคาของธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย และขอมูลทั่วไปที่เกี่ยวกับหมวด 9 ของคูมือเกี่ยวกับการรับหลักทรัพย ไดระบุไวในเอกสารแนบของภาคผนวกนี้ 5. คําแถลงของคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาขอกําหนดของธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนแลวและขอยืนยันวา


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

202

203

(ก) ขั้นตอนการตรวจสอบการกําหนดราคาของธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนนั้นนับจากวันที่ 19 พฤษภาคม 2549 ซึ่งเปนวันที่ ที่ระบุไวในหนังสือชี้ชวน ไมมีการเปลี่ยนแปลง

ตามเหตุผลที่ไดระบุไวในเอกสารแนบของภาคผนวกนี้ กรรมการอิสระแนะนําใหผูถือหุนออกเสียงลงคะแนนเพื่อเห็นชอบกับวาระที่ 9 ซึ่งเปนมติสามัญเกี่ยวกับการเสนอการตออายุของธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2551

(ข) ขั้นตอนการตรวจสอบตามที่กลาวไวในเอกสารแนบนั้นมีความเพียงพอที่จะทําใหแน ใจวาธุรกรรมดังกลาวจะไดดําเนินไปตาม ขอกําหนดทางการคาอันเปนปกติ และจะไมกอใหเกิดความเสียหายใดๆ ตอผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนรายยอย

9. คําแถลงความรับผิดชอบของกรรมการ

ในระหวางการตรวจสอบ หากคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวาขั้นตอนการตรวจสอบที่กําหนดนั้นไมเหมาะสมหรือไมเพียงพอ ที่จะทําใหแนใจวาธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียเปนธุรกรรมที่ไดทําขึ้นตามขอกําหนดทางการคาอันเปนปกติ และไมกอใหเกิด ความเสียหายใดๆ ตอผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนรายยอย บริษัทจะดําเนินการขออนุมัติธุรกรรมจากผูถือหุนใหม โดยพิจารณา จากขั้นตอนการตรวจสอบครั้งใหม 6. ผลประโยชนของกรรมการและผูถือหุนหลัก

ผลประโยชนของกรรมการและผูถือหุนหลักของบริษัทในหุนทุนของบริษัท ณ วันที่ 21 มกราคม 2551 และวันที่ 12 มีนาคม 2551 ตามลําดับ สามารถพบไดจากรายงานประจําปในสวนที่เกี่ยวกับงบการเงิน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ซึ่งบริษัทจะไดแจกจาย หรือ ไดแจกจายใหผูถือหุน 7. การงดออกเสียง

เนื่องจากนายเจริญ สิริวัฒนภักดี คุณหญิงวรรณา สิริวัฒนภักดี นายฐาปน สิริวัฒนภักดี และนายปณต สิริวัฒนภักดี ผูซึ่ง ดํารงตําแหนงกรรมการของบริษัท มีสวนไดเสียในหุนของบุคคลที่มีสวนไดเสีย (ตามที่ไดอธิบายไวในเอกสารแนบของภาคผนวกนี้) อีกทั้งยังดํารงตําแหนงเปนกรรมการ และ/หรือ ผูบริหารระดับสูงในบุคคลที่มีสวนไดเสีย ดังนี้ บุคคลดังกลาวและผูที่เกี่ยวของของ บุคคลดังกลาวจะงดออกเสียงในวาระที่ 9 ซึ่งเปนมติสามัญเกี่ยวกับการเสนอการตออายุของธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนในสวน ที่เกี่ยวกับโครงสรางการถือหุนของบริษัท (ถามี) ในการประชุมสามัญผูถือหุนครั้งถัดไป 8. คําแนะนําของกรรมการ

กรรมการดังตอไปนี้ พิจารณาไดวาเปนอิสระและไมมีสวนไดเสียในการเสนอการตออายุของธุรกรรมที่ ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน นายโกเมน ตันติวิวัฒนพันธ นายณรงค ศรีสอาน นายสมุทร หัตถสิงห นางสาวกนกนาฏ รังษีเทียนไชย นายชูเกียรติ ตั้งพงศปราชญ นายอวยชัย ตันทโอภาส นายสิทธิชัย ชัยเกรียงไกร นายพิษณุ วิเชียรสรรค นายวิวัฒน เตชะไพบูลย นายภุชชงค ชาญธนากิจ พลเอกชูฉัตร กําภู ณ อยุธยา นายพรชัย มาตังคสมบัติ นายไมเคิล เลา ไวย เคียง นายศักดิ์ทิพย ไกรฤกษ นายสถาพร กวิตานนท นายคนึง ๅไชย นายมนู เลียวไพโรจน และนายอึ๊ง ตัก พัน (“กรรมการอิสระ”) กรรมการอิสระมีความเห็นวาการเขาทําธุรกรรม ที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนตามที่ไดระบุไวในเอกสารแนบของภาคผนวกนี้ และบุคคลผูมีสวนไดเสียดังกลาว (ตามที่ไดอธิบายไวใน เอกสารแนบของภาคผนวกนี้) เปนธุรกรรมที่ไดทําขึ้นตามขอกําหนดทางการคาปกติเพื่อกอใหเกิดความมีประสิทธิภาพของกลุมบริษัท และเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท

คณะกรรมการและกรรมการแตละทานตางรับผิดชอบสําหรับความถูกตองของขอมูลตามที่ระบุไวในเอกสารฉบับนี้ โดยกรรมการ ไดดําเนินการสอบถามขอมูลตางๆ ที่จําเปนและเหมาะสมทั้งหมดตามความรูและความเชื่อของตนอยางดีที่สุด และขอยืนยันวา ขอเท็จจริงและความเห็นที่ไดระบุไวในเอกสารฉบับนี้เพียงพอและถูกตอง และไมมีการละเวนไมเปดเผยขอเท็จจริงที่เปนสาระสําคัญ ที่จะกอใหเกิดความเขาใจผิด 10. การกระทําของผูถือหุน

ผูถือหุนผูที่ไมสามารถเขาประชุมสามัญผูถือหุนดวยตนเองควรจัดเตรียมหนังสือมอบฉันทะใหสมบูรณ และยื่นหนังสือมอบฉันทะ ดังกลาวตอประธานในที่ประชุมกอนเขารวมประชุม 11. ตลาดหลักทรัพยประเทศสิงคโปร

ตลาดหลักทรัพยประเทศสิงคโปร จะไมรับผิดชอบสําหรับความถูกตองของคําแถลงหรือความเห็นที่ไดกระทําในภาคผนวกฉบับนี้


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

204

àÍ¡ÊÒÃṺ¢Í§ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¡ÒÃ͹ØÁÑμÔâ´Â·ÑèÇä»ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹¸ØáÃÃÁ¡ÑººØ¤¤Å·ÕèÁÕʋǹ䴌àÊÕ บริษัทคาดวาในการดําเนินธุรกรรมตามปกตินั้น บริษัทอาจยังคงตองเขาทําธุรกรรมบางประเภทกับบุคคลที่มีสวนไดเสียของบริษัท ซึ่งรวมถึงแตไมจํากัดเพียงประเภทของธุรกรรมที่จะกลาวถึงดังตอไปนี้ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาถึงลักษณะของธุรกรรมดานธุรกิจการคา ที่ตองการความรวดเร็ว บริษัทเห็นวานาจะเปนประโยชนตอบริษัทที่จะตองไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนใหเขาทําธุรกรรมกับบุคคลที่มี สวนไดเสียดังกลาวสําหรับการดําเนินการธุรกรรมตามปกติของบริษัท หากวาธุรกรรมดังกลาวทําขึ้นตามขอกําหนดทางการคาอันเปน ปกติ และไมกอใหเกิดความเสียหายใดๆ ตอผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนรายยอย

205

บริษัทที่มีความเสี่ยง (Entities at Risk) เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน “บริษัทที่มีความเสี่ยง” หมายความถึง • บริษัท • บริษัทยอยของบริษัทที่ไมไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยประเทศสิงคโปร หรือตลาดหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาต • บริษัทในเครือของบริษัทที่ไมไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยประเทศสิงคโปร หรือตลาดหลักทรัพยที่ไดรับอนุญาต ทั้งนี้ กลุม หรือ กลุมและบุคคลที่มีสวนไดเสียมีอํานาจควบคุมเหนือบริษัทในเครือ ประเภทของบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับอนุมัติ ธุรกรรมที่ ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนสามารถนํามาใชไดกับธุรกรรมของกลุมบริษัทที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียตามรายชื่อที่กําหนด ในตาราง 1 – รายชื่อบุคคลที่มีสวนไดเสียและบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับอนุมัติ (“บุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับอนุมัติ” และ “บุคคล ที่มีสวนไดเสียที่ไดรับอนุมัติแตละราย”)

ตามที่กําหนดไวในหมวด 9 ของคูมือเกี่ยวกับการรับหลักทรัพย บริษัทจดทะเบียนสามารถขออนุมัติจากผูถือหุนในการทําธุรกรรมประจํา กับบุคคลที่มีสวนไดเสีย โดยธุรกรรมดังกลาวมีลักษณะเปนไปในทางการคาหรือกอใหเกิดรายได หรือจําเปนในการดําเนินกิจการ ประจําวัน ธุรกรรมเหลานี้อาจไมรวมถึงธุรกรรมเกี่ยวกับการซื้อหรือขายสินทรัพย การเขาทําขอตกลง หรือการดําเนินธุรกิจตางๆ ที่มิได เปนสวนหนึ่งของการดําเนินกิจการประจําวันของบริษัท

ธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับอนุมัติซึ่งไมไดอยูภายในขอบเขตของธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน จะตองอยูภายใต กฎเกณฑที่กําหนดไวในหมวด 9 ของคูมือเกี่ยวกับการรับหลักทรัพย

ตามที่กําหนดไวในขอ 920(2) ของคูมือเกี่ยวกับการรับหลักทรัพย อาจถือไดวาบริษัทไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนของบริษัท (“ธุรกรรม ที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน”) ในการเขาทําธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสียของบริษัทได หากขอมูลตามที่กําหนดไวในขอ 920(1)(ข) ของคูมือเกี่ยวกับการรับหลักทรัพย ไดระบุไวในเอกสารฉบับนี้ ในสวนที่เกี่ยวกับบริษัทนั้น ขอมูลตามที่กําหนดไวในขอกําหนด 920(1)(ข) มีดังตอไปนี้

ธุรกรรมที่ไดรับการอนุมัติจากผูถือหุน (Mandated Transactions) ธุ ร กรรมที่ เ กี่ ย วกั บ การให ห รื อ การได รั บ ซึ่ ง สิ น ค า และบริ การในกิ จ การอั น เป น ปกติ ธุ ร กิ จ ของกลุ ม บริ ษั ท หรื อ ที่ จํ า เป น สํ า หรั บ การ ดําเนินกิจการประจําวันของกลุมบริษัทที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย (Interested Persons) (ทั้งนี้ไมรวมถึงการซื้อหรือขายสินทรัพย การเขาทําขอตกลง หรือการดําเนินธุรกิจทั้งหลายที่มิไดเปนสวนหนึ่งของการดําเนินกิจการประจําวันของบริษัท) ซึ่งเปนธุรกรรมที่ได รับอนุมัติจากผูถือหุนแลว (Shareholders’ Mandate) (“ธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุน (Mandated Transactions)”) ไดแก

(ก) ประเภทของบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ซึ่งบริษัทที่มีความเสี่ยง (ตามคํานิยามที่กลาวไวขางทายนี้) จะดําเนินธุรกรรมดวย (ข) ลักษณะของธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติ

(ก) การซื้อวัตถุดิบและวัสดุในการบรรจุหีบหอ (Packaging Material) จากบุคคลที่มีสวนไดเสีย รวมถึงขวดแกวใหมและขวดแกว ที่ใชแลว กระปองอลูมิเนียม กากน้ำตาล สมุนไพรเพื่อใชในการผลิตหัวเชื้อเบียร (Beer Concentrate) กลองกระดาษ (Carton) และฝาครอบ (Cap)

(ค) พื้นฐานของเหตุผลและผลประโยชนที่มีตอบริษัทที่มีความเสี่ยง

(ข) การทําประกันและการบริการธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการทําประกันกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย

(ง) วิธีหรือขั้นตอนในการกําหนดราคาธุรกรรม

(ค) การซื้อของใชเพื่อการบริโภคทุกประเภทในสํานักงานและในสถานที่เก็บสินคาจากบุคคลที่มีสวนไดเสีย รวมถึงกระดาษชําระและ น้ำตาลสําหรับใชในสํานักงาน เศษเหล็ก ถุงใสมอลท และแผนไม

(จ) ความเห็นของที่ปรึกษาการเงินอิสระวาวิธีหรือขั้นตอนดังกลาวในขอ (ง) เพียงพอหรือไมเพื่อใหแนใจไดวาธุรกรรมทั้งหลายจะมี การดําเนินการตามขอกําหนดในทางการคาปกติและจะไมทําใหผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนรายยอยเสียหาย

(ง) การไดรับบริการตางๆ จากบุคคลที่มีสวนไดเสีย รวมถึงบริการที่เกี่ยวกับการจัดเตรียมสถานที่พัก พาหนะ และสิ่งอํานวยความสะดวก สําหรับกรรมการของบริษัท และ/หรือ ของบริษัทยอย การฝกอบรมพนักงาน การติดตอสื่อสารดานโทรคมนาคม และการอนุญาต ใหใชซอฟทแวร ตลอดจนบริการทําการตลาด การโฆษณา และการบริหารงาน รวมถึงการบริการการผลิตและการจัดจําหนาย สินคา

(ฉ) ความเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบ ในกรณีคณะกรรมการตรวจสอบมีความคิดเห็นที่แตกตางออกไปจากความเห็นของที่ปรึกษา การเงินอิสระ และ

(จ) การเชา หรือการเชาชวง สํานักงาน คลังสินคา รถโดยสาร และที่ดินจากบุคคลที่มีสวนไดเสีย

(ช) คําแถลงจากบริษัทวาบริษัทจะดําเนินการขออนุมัติจากผูถือหุนของบริษัทอีกครั้ง หากวิธีหรือขั้นตอนการดําเนินการในขอ (ง) ขางตนนั้นเปนวิธีหรือขั้นตอนที่ไมเหมาะสม

(ฉ) การใหบริการกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย รวมถึงการจัดซื้อจัดจาง การใหบริการพัฒนาสินทรัพย การโฆษณาประชาสัมพันธ และ บริการการขาย ตลอดจนการใหบริการการผลิต

ธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนหากไดรับการตออายุ จะมีผลบังคับใชจนถึงการประชุมสามัญผูถือหุนครั้งถัดไป

(ช) การใหเชาหรือใหเชาชวงสํานักงาน คลังสินคา รถยนต โดยสาร และที่ดินกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย (ซ) การขายผลผลิตพลอยไดใหแกบุคคลที่มีสวนไดเสีย รวมถึงปุย ขวดแกวที่ใชแลว และเศษวัสดุจากโรงงาน เชน อลูมิเนียม เศษแกว และเศษกระดาษ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

206

(ณ) การขายเบียร สุรา น้ำดื่ม โซดา และสินคาอื่นๆ ใหแกบุคคลที่มีสวนไดเสีย และ (ญ) การใหหรือรับซึ่งสินคาและ/หรือบริการอื่นๆ ที่เกิดขึ้นจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการใหหรือรับซึ่งสินคาและ/หรือบริการตามขอ (ก) ถึง (ฌ) ดังกลาวขางตน ขั้นตอนการตรวจสอบธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย (Review Procedures for Interested Person Transactions) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทไดพิจารณา ตรวจสอบ และอนุมัติ (หากมีขอกําหนดระบุไว) ธุรกรรมที่กลุมบริษัททํากับบุคคล ที่มีสวนไดเสีย ทั้งนี้ เพื่อวัตถุประสงค ในการตรวจสอบธุรกรรมดังกลาว คณะกรรมการของบริษัทไดแตงตั้งนายอึ๊ง ตัก พัน (Mr. Ng Tat Pun) ในฐานะกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ใหเปนหัวหนาคณะกรรมการตรวจสอบในสวนของการทําธุรกรรม ระหวางกลุมบริษัทกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย (Lead Independent Director for Interested Person Transactions) (“หัวหนากรรมการ อิสระในการพิจารณาการทําธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย”) นอกจากนี้ บริษัทยังกําหนดขั้นตอนการอนุมัติในการทําธุรกรรมเพื่อ ใหแนใจวาธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียไดกระทําขึ้นเสมือนหนึ่งเปนธุรกรรมที่ทําตามเงื่อนไข และขอกําหนดทางการคาปกติ (On an Arm’s Length Basis and Commercial Terms) ขั้นตอนการตรวจสอบและขอจํากัดในการอนุมัติ โดยทั่วไป กลุมบริษัทไดกําหนดขั้นตอนการอนุมัติในการทําธุรกรรมเพื่อใหแนใจวาธุรกรรมที่กลุมบริษัททํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย รวมถึงธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับการอนุมัติ (Mandated Interested Persons) ไดกระทําขึ้น เสมือนหนึ่งเปนธุรกรรมที่ทํากับบุคคลภายนอกและเปนไปตามขอกําหนดทางการคาปกติ สอดคลองกับนโยบายและขอปฏิบัติในทาง การคาปกติของกลุมบริษัท และบนเงื่อนไขที่มิไดเอื้อประโยชนตอบุคคลที่มีสวนไดเสียมากไปกวาที่ไดใหแกหรือที่ไดรับจากบุคคล ภายนอก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ไดมีการนําขั้นตอนในการตรวจสอบตอไปนี้มาบังคับใช (1) การจัดหาและการจัดซื้อสินคาและการไดรับบริการ (ก) การจัดหาและการจัดซื้อสินคาทั้งหลายที่กระทําเปนประจําโดยกลุมบริษัท ซึ่งเปนไปตามทางการคาปกติของกลุมบริษัท หรือที่จําเปนสําหรับการดําเนินกิจการประจําวันของกลุมบริษัท ซึ่งรวมถึงการจัดหาและการจัดซื้อซึ่งเปนธุรกรรมที่ไดรับ การอนุมัติจากผูถือหุนที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับการอนุมัติ (เชน ธุรกรรมที่กลาวถึงในขอ (ก) (ข) (ค) (ง) และ (ญ) ขางตน ภายใตหัวขอ “การอนุมัติโดยทั่วไปในการดําเนินธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย-ธุรกรรมที่ไดรับการอนุมัติจาก ผูถือหุน (General Mandate for Interested Person Transactions-Mandated Transactions)”) ธุรกรรมดังกลาวจะอยู ภายใตบังคับของขั้นตอนการควบคุมภายใน (Internal Control Procedures) ซึ่งระบุถึงรายละเอียดในประเด็นตางๆ เชน องคประกอบของอํานาจในการอนุมัติภายใน ขอจํากัดในการอนุมัติ จํานวนคูคาที่เปนผูเสนอราคา (อยางนอยสองราย) และ ขั้นตอนในการตรวจสอบ โดยหลักการดังกลาวนี้กําหนดขึ้นเพื่อใหบริษัทไดรับสินคาและ/หรือบริการที่ดีที่สุดภายใตเงื่อนไข ที่ดีที่สุดจากการเสนอราคาแขงขัน (ตามที่เหมาะสม) ดังนั้น ในการกําหนดวาราคาและเงื่อนไขที่บุคคลที่มีสวนไดเสียนําเสนอนั้น ยุติธรรมและสมเหตุสมผลหรือไมนั้น จะนําปจจัยตางๆ มาใชในการพิจารณา ซึ่งรวมถึง แตไมจํากัดเพียงปจจัยเกี่ยวกับ ตารางเวลาการสงมอบ การปฏิบัติตามรายละเอียดที่กําหนด ความเปนมาในอดีต (Track Record) ประสบการณและ ความเชี่ยวชาญ การใหราคาพิเศษ (Preferential Rate) สวนลดหรือการคืนเงินกรณีที่มีการซื้อจํานวนมาก นอกจากนี้ จะมีการตรวจสอบธุรกรรมแตละธุรกรรมที่กลุมบริษัททํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย ซึ่งธุรกรรมดังกลาวอาจจะตองไดรับการอนุมัติ เปนการลวงหนาจากผูมีอํานาจอนุมัติที่เปนกรรมการหรือผูดํารงตําแหนงจัดการของกลุมบริษัท (ซึ่งไมเปนบุคคลที่มีสวน ไดเสียหรือไมเปนบุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย) และเปนบุคคลที่ ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมดังกลาว ไมวา โดยตรงหรือโดยออม (“ผูมีอํานาจอนุมัติ”) ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับมูลคาของธุรกรรม ดังนี้

207

ขอจํากัดในการอนุมัติ

ผูมีอํานาจอนุมัติ

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาไมเกิน 500,000 บาท

รองกรรมการผูจัดการหรือเจาหนาที่ในตําแหนง ที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 500,000 บาทแตไมเกิน 5,000,000 บาท

กรรมการผูจัดการหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 5,000,000 บาทแตไมเกิน 10,000,000 บาท

รองประธานหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 10,000,000 บาทแตไมเกิน 20,000,000 บาท

ประธานหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 20,000,000 บาทแตไมเกินรอยละ 3 ของมูลคาสินทรัพย มีตัวตนสุทธิของกลุมบริษัทที่ไดรับการตรวจสอบลาสุด

รองประธาน และ/หรือประธานจํานวนสองทาน หรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน รอยละ 3 ของมูลคาสินทรัพยมีตัวตนสุทธิของกลุมบริษัท ที่ไดรับการตรวจสอบลาสุด

กรรมการตรวจสอบ จํานวนสองทาน โดยหนึ่งในจํานวน ดังกลาวจะตองเปนหัวหนากรรมการอิสระในการ ทําธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย

ในสวนที่เกี่ยวกับขอ (ญ) ขางตน ภายใตหัวขอ “การอนุมัติโดยทั่วไปในการดําเนินธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย – ธุรกรรม ที่ไดรับการอนุมัติจากผูถือหุน” ผูมีอํานาจอนุมัติ (พิจารณาจากมูลคาของธุรกรรม) จะยังตองประเมินและอนุมัติวาธุรกรรม ที่เสนอเปนธุรกรรมที่เกิดขึ้นจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการใหหรือการรับสินคาและ/หรือบริการตามขอ (ก) (ข) (ค) และ (ง) ของหัวขอดังกลาวขางตน (ข) ในกรณีที่บริษัทไมไดรับขอเสนอราคาแขงขัน (Competitive Quotations) (ตัวอยางเชน ไมมีผูขายสินคาและบริการที่ คลายคลึงที่เปนบุคคลภายนอกที่ไมมีความเกี่ยวของใดๆ (โดยพิจารณาถึงจํานวน รายละเอียดตารางการสงมอบ และอื่นๆ) หรือหากสินคานั้นโดยลักษณะแลวเปนสินคาที่มีลักษณะเฉพาะ) ผูมีอํานาจอนุมัติตามที่ระบุไวขางตน (ซึ่งไมเปนบุคคลที่มี สวนไดเสียหรือไมเปนบุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย) และเปนบุคคลที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมดังกลาว ไมวา โดยตรงหรือโดยออม จะเปนผูกําหนดวาราคาและเงื่อนไขที่ผูมีสวนไดเสียนําเสนอนั้นยุติธรรมและสมเหตุสมผลหรือไม ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับมูลคาของธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่เกี่ยวของ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

208

(ค) การซื้อขวดแกวตามเงื่อนไขของสัญญาซื้อขวดแกว ฉบับลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2550 ระหวาง บริษัท บางนา โลจิสติค จํากัด และ บริษัท เบอรลี่ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) (“สัญญาซื้อขายขวดแกว”) (Glass Bottle Purchase Agreement) นั้นจะอยู ภายใตธุรกรรมที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนแลว ทั้งนี้ หากวามีการแกไขเงื่อนไขที่เปนสาระสําคัญใดๆ รวมถึงการปรับเปลี่ยน เกี่ยวกับราคาซื้อขวดแกวตามที่สัญญาไดอนุญาตไว และการตออายุหรือการขยายระยะเวลาของสัญญาซื้อขวดแกว เงื่อนไข ดังกลาวจะตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการและคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท (2) ธุรกรรมอื่นๆ ที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียอันมีลักษณะที่เกิดขึ้นเปนประจํา (ก) บริษัทมีความประสงคที่จะดําเนินธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไมไดระบุรวมไวในขอ (1) ขางตน ซึ่งธุรกรรมดังกลาว ตองเปนธุรกรรมที่มีลักษณะเปนธุรกรรมที่เกิดขึ้นเปนประจํา และเปนไปในทางการคาปกติของกลุมบริษัท และจําเปน ตอการดําเนินกิจการประจําวันของกลุมบริษัท โดยธุรกรรมดังกลาวรวมถึงธุรกรรมที่เกี่ยวกับการขายสินคา และการใหบริการ แกบุคคลที่มีสวนไดเสีย การใหเชาหรือการใหเชาชวงทรัพยสินใหแก หรือการเชาหรือการเชาชวงทรัพยสินจากบุคคลที่มี สวนไดเสีย และธุรกรรมที่ไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับการอนุมัติตามที่อางถึงในขอ (จ) (ฉ) (ช) (ซ) (ฌ) และ (ญ) ภายใตหัวขอ “การอนุมัติทั่วไปในการดําเนินธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย-ธุรกรรมที่ได รับการอนุมัติจากผูถือหุน” ขางตน โดยบริษัทประสงคที่จะเขาทําธุรกรรมโดยใชราคาตลาดหรือราคาสินคาหรือบริการที่จะให ในขณะนั้น และในราคาตลาดในขณะนั้นสําหรับการเชา/ใหเชาและการเชา/ใหเชาชวงทรัพยสินตามเงื่อนไขทางการคาปกติ ที่มิไดเอื้อประโยชนตอบุคคลที่มีสวนไดเสียมากไปกวาที่มีตอบุคคลภายนอก (เทาที่สามารถปรับใชได) (รวมทั้ง (เทาที่ สามารถปรับใช ได) การใหราคาพิเศษ สวนลดที่ ใหแกลูกคาพิเศษ (favored customer) หรือในกรณีที่มีการซื้อสินคา เปนจํานวนมาก (เทาที่สามารถปรับใชได)) หรือประการอื่นใดตามวิธีปฏิบัติทางอุตสาหกรรมที่นํามาบังคับใช ทั้งนี้ (1) ในส ว นของการขายสิ น ค า และการให บ ริ ก ารให แ ก บุ ค คลที่ มี ส ว นได เ สี ย โดยมิ ไ ด มี ก ารเสนอขายหรื อ ให บ ริ ก ารแก บุคคลภายนอก รายการดังกลาวจะตองจัดใหมีราคาของผูจัดสงสินคาหรือบริการที่คลายคลึงกันอยางนอยสองราย ซึ่งเปนบุคคลภายนอกที่มิใชบุคคลที่มีสวนไดเสียที่เกี่ยวของหรือบุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลที่มีสวนไดเสียและ (2) ในสวนของการเชาหรือเชา/ใหเชาชวงทรัพยสิน บริษัทจะตองสอบถามจากผูใหเชาและ/หรือผูเชาทรัพยสินที่มีขนาด สถานที่ตั้ง และการใชประโยชนอยางเดียวกันอยางนอยสองรายซึ่งเปนบุคคลภายนอกที่มิใชบุคคลที่มีสวนไดเสียหรือ บุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย นอกจากนี้ จะมีการตรวจสอบธุรกรรมแตละธุรกรรมที่กลุมบริษัททํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย และ ธุรกรรมดังกลาวอาจจะตอง ไดรับการอนุมัติเปนการลวงหนาจากผูมีอํานาจอนุมัติที่เปนกรรมการหรือผูดํารงตําแหนงจัดการของกลุมบริษัท (ซึ่งไมเปน บุคคลที่มีสวนไดเสียหรือเปนบุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย) และเปนบุคคลที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมดังกลาว ไมวาโดยตรงหรือโดยออม ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับมูลคาทางธุรกรรม

209

ขอจํากัดในการอนุมัติ

ผูมีอํานาจอนุมัติ

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาไมเกิน 200,000 บาท

รองกรรมการผูจัดการหรือเจาหนาที่ในตําแหนง ที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 200,000 บาท แตไมเกิน 500,000 บาท

กรรมการผูจัดการหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 500,000 บาท แตไมเกิน 5,000,000 บาท

รองประธานหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 5,000,000 บาท แตไมเกินรอยละ 3 ของมูลคาสินทรัพย มีตัวตนสุทธิของกลุมบริษัทที่ไดรับการตรวจสอบลาสุด

ประธานหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน รอยละ 3 ของมูลคาสินทรัพยมีตัวตนสุทธิของกลุมบริษัท ที่ไดรับการตรวจสอบลาสุด

กรรมการตรวจสอบ จํานวนสองทาน โดยหนึ่งในจํานวน ดังกลาวจะตองเปนหัวหนากรรมการอิสระในสวนของ การทําธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย

ในสวนที่เกี่ยวกับขอ (ญ) ขางตน ภายใตหัวขอ “การอนุมัติโดยทั่วไปในการดําเนินธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย – ธุรกรรม ที่ไดรับการอนุมัติจากผูถือหุน” ผูมีอํานาจอนุมัติ (พิจารณาจากมูลคาของธุรกรรม) จะยังตองประเมินและอนุมัติวาธุรกรรม ที่เสนอเปนธุรกรรมที่เกิดขึ้นจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการใหหรือการรับสินคาและ/หรือบริการตามขอ (จ) (ฉ) (ช) (ซ) และ (ฌ) ภายใตหัวขอดังกลาวขางตน (ข) ในกรณีที่ ไมมีอัตราหรือราคาตลาดในขณะนั้น ไมวาเนื่องมาจากลักษณะของสินคาที่เสนอขายหรือการใหบริการ หรือ เนื่องมาจากการไมมี หรือไมสามารถหาราคาจากบุคคลภายนอกหรือแหลงอื่นใดในทางปฏิบัติได กลุมบริษัทจะกําหนดราคา สํ า หรั บ สิ น ค า และบริ ก ารเหล า นี้ ต ามหลั ก ปฏิ บั ติ ใ นทางการค า ปกติ แ ละตามนโยบายการกํ า หนดราคาของกลุ ม บริ ษั ท ซึ่งจะสอดคลองกับสวนตางกําไร (Margin) ปกติที่กลุมบริษัทจะไดรับจากสินคาและบริการที่มีลักษณะคลายคลึงที่กลุมบริษัท ทํากับบุคคลภายนอก โดยในการกําหนดราคาสําหรับธุรกรรมที่พึงชําระโดยบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับการอนุมัติสําหรับ สินคาหรือบริการดังกลาวนี้ บริษัทจะนําปจจัยตางๆ ตอไปนี้มาพิจารณา ซึ่งรวมถึงแตไมจํากัดเพียง จํานวน ปริมาณ การบริโภค ขอกําหนดของลูกคา รายละเอียด ระยะเวลาของสัญญาและกลยุทธ (Strategic Purpose) ของธุรกรรม ในสวนของการเชา/ใหเชาและการเชา/ใหเชาชวงทรัพยสินนั้น หากไมมีราคาตลาดของคาเชาในขณะนั้น ไมวาเนื่องจาก การไมมีหรือไมสามารถหาราคาคาเชาเปรียบเทียบไดในทางปฏิบัติหรือโดยเหตุประการอื่น กลุมบริษัทจะกําหนดอัตราคาเชา ตามวิธีปฏิบัติในทางธุรกิจอันเปนปกติและตามนโยบายการกําหนดราคาของกลุมบริษัท นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาถึงมูลคา ของธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย ผูมีอํานาจใหการอนุมัติที่ระบุไวในขอ (ก) ขางตน (ซึ่งไมเปนบุคคลที่มีสวนไดเสีย หรือไมเปนบุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย) และเปนบุคคลที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมดังกลาว ไมวาโดยตรงหรือ โดยออม จะเปนผูกําหนดวาราคาและเงื่อนไขตางๆ ที่บุคคลที่มีสวนไดเสียเสนอมานั้นยุติธรรมและสมเหตุสมผลหรือไม


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

210

(3) ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา บริษัทอาจทําธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไมไดระบุรวมไวในขอ (1) และ (2) ขางตน และไมไดเปนสวนหนึ่งของธุรกรรม ที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนแลวเปนครั้งคราว ซึ่งธุรกรรมดังกลาวไมไดเกิดขึ้นเปนประจําหรือเปนธุรกรรมที่มิไดทําขึ้นตามทางการคา ปกติของกลุมบริษัท หรือไมจําเปนสําหรับการดําเนินกิจการประจําวันของกลุมบริษัท ทั้งนี้ ธุรกรรมดังกลาวรวมถึง ธุรกรรม เกี่ยวกับการซื้อหรือขายสินทรัพย การเขาทําขอตกลง หรือการดําเนินธุรกิจทั้งหลายที่มิไดเปนสวนหนึ่งของการดําเนินกิจการ ประจําวันของบริษัท ดังนั้น บริษัทจึงประสงคที่จะเขาทําธุรกรรมดังกลาวโดยปฏิบัติตามขอกําหนดของคูมือเกี่ยวกับการขอให รับหลักทรัพยเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยประเทศสิงคโปร (Listing Manual) รวมถึงขอจํากัดการอนุมัติ การไดรับอนุมัติ และขอกําหนดตางๆ ที่เกี่ยวของภายใตขอ 905 และ 906 ของคูมือเกี่ยวกับการขอใหรับหลักทรัพยเปนหลักทรัพย จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยประเทศสิงคโปร นอกจากนี้ บริษัทจะตรวจสอบแตละธุรกรรมที่ไดกระทํา และแตละธุรกรรมที่ได กระทํ า จะต อ งได รั บ อนุ มั ติ เ ป น การล ว งหน า จากผู มี อํ า นาจอนุ มั ติ ที่ เ ป น กรรมการหรื อ ผู ดํ า รงตํ า แหน ง จั ด การของกลุ ม บริ ษั ท ตามที่กําหนดไวขางทายนี้ (ซึ่งไมเปนบุคคลที่มีสวนไดเสียและไมเปนบุคคลที่เกี่ยวของกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย) และเปนบุคคล ที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมดังกลาว ไมวาโดยตรงหรือโดยออม โดยผูมีอํานาจอนุมัติจะตองทําการตรวจสอบธุรกรรม เพื่อให แน ใจวาธุรกรรมดังกลาวเปนธุรกรรมที่กระทําขึ้นตามขอกําหนดทางการคาปกติและไมมีผลกระทบตอผลประโยชนของบริษัท และผูถือหุนรายยอยของบริษัท

ขอจํากัดในการอนุมัติ

ผูมีอํานาจอนุมัติ

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาไมเกิน 200,000 บาท

รองกรรมการผูจัดการหรือเจาหนาที่ในตําแหนง ที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 200,000 บาท แตไมเกิน 500,000 บาท

กรรมการผูจัดการหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 500,000 บาท แตไมเกิน 5,000,000 บาท

รองประธานหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน 5,000,000 บาท แตไมเกินรอยละ 3 ของมูลคาสินทรัพย มีตัวตนสุทธิของกลุมบริษัทที่ไดรับการตรวจสอบลาสุด

ประธานหรือเจาหนาที่ในตําแหนงที่เทียบเทา

ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่มีมูลคาเกิน รอยละ 3 ของมูลคาสินทรัพยมีตัวตนสุทธิของกลุมบริษัท ที่ไดรับการตรวจสอบลาสุด

กรรมการตรวจสอบ จํานวนสองทาน โดยหนึ่งในจํานวน ดังกลาวจะตองเปนหัวหนากรรมการอิสระในสวนของ การทําธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย

ในกรณีที่ธุรกรรมที่กระทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียตองไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนของบริษัท ในกรณีเชนวานี้อาจตองมีการให ขอมูลเพิ่มเติมแกผูถือหุนและอาจตองทําการแตงตั้งที่ปรึกษาทางการเงินอิสระเพื่อใหความเห็นในธุรกรรมดังกลาว

211

ขั้นตอนในการตรวจสอบอื่นๆ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทที่นําโดยหัวหนากรรมการอิสระในการทําธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสียนั้น จะตองดําเนินการ ตรวจสอบธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียทุกธุรกรรม รวมถึงธุรกรรมที่ไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนดวย ทั้งนี้ เพื่อใหแนใจวา กลุมบริษัทไดปฏิบัติตามกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพยสิงคโปร (โดยเฉพาะ หมวด 9 ของคูมือการจดทะเบียน) นอกจากนี้ กลุมบริษัทจะตองดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้ เพื่อระบุธุรกรรมของบุคคลที่มีสวนไดเสีย (รวมถึงธุรกรรมที่ไดรับการ อนุมัติจากผูถือหุน) และบุคคลที่มีสวนไดเสีย (รวมถึงบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับการอนุมัติ) รวมถึงการบันทึกธุรกรรมที่ทํากับบุคคล ที่มีสวนไดเสียทุกธุรกรรม (ก) ประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน (Chief Financial Officer) ของกลุมบริษัทจะตองเก็บรักษาทะเบียนธุรกรรมทั้งหลายที่กลุมบริษัท ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสีย รวมทั้งบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ ไดรับการอนุมัติ (และเกณฑ ในการเขาทําธุรกรรมดังกลาวรวมทั้ง ขอเสนอราคาเพื่อใชสนับสนุนเกณฑดังกลาว) วาเปนธุรกรรมที่ไดรับการอนุมัติหรือไมไดรับการอนุมัติจากผูถือหุน และ (ข) ประธานเจาหนาที่ฝายการเงินของกลุมบริษัทจะจัดสงรายงานธุรกรรมที่กลุมบริษัทเขาทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียทุกธุรกรรม ซึ่งไดมีการบันทึก ตลอดจนหลักเกณฑการเขาทําธุรกรรมที่กลุมบริษัททํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียซึ่งไดมีการบันทึกไวใหแก คณะกรรมการตรวจสอบเปนรายไตรมาส นอกจากนี้แผนการตรวจสอบภายในประจําปของบริษัทจะระบุครอบคลุมถึงการตรวจสอบ ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียทั้งหลาย รวมทั้งขั้นตอนการตรวจสอบที่กําหนดขึ้นเพื่อตรวจสอบธุรกรรมที่กลุมบริษัททํากับ บุคคลที่มีสวนไดเสีย รวมทั้งธุรกรรมที่ ไดรับการอนุมัติจากผูถือหุน หรือธุรกรรมที่กลุมบริษัททํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ ดําเนินการอยู ที่ไดมีการตออายุหรือแกไขใหมในระหวางรอบปบัญชีปจจุบัน ตามที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนแลว นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบที่นําโดยหัวหนากรรมการอิสระในการทําธุรกรรมกับบุคคลที่มีสวนไดเสียนั้น จะดําเนินการตรวจสอบ การควบคุมภายในและขั้นตอนในการตรวจสอบสําหรับธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียเปนรายไตรมาส เพื่อกําหนดวาธุรกรรม เหลานั้นมีการควบคุมภายในและขั้นตอนในการตรวจสอบที่เพียงพอ และ/หรือสามารถปฏิบัติไดในทางการคา ทั้งนี้ เพื่อใหแนใจวา การทํ า ธุ ร กรรมระหว า งกลุ ม บริ ษั ท และบุ ค คลที่ มี ส ว นได เ สี ย ได ทํ า ขึ้ น ตามข อ กํ า หนดอั น เป น ปกติ ใ นทางการค า และไม มี ผลกระทบตอผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนรายยอยของบริษัท โดยในสวนที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบนั้น คณะกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทจะตองดําเนินการใหแนใจวาบริษัทไดปฏิบัติตามขั้นตอนการตรวจสอบที่กําหนดไวแลวหรือไม นอกจากนี้ ในระหวาง การตรวจสอบที่กระทําขึ้นเปนครั้งคราวโดยคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท หากคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทมีความเห็นวา การควบคุมภายในและขั้นตอนการตรวจสอบสําหรับธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียนั้นไมเหมาะสมหรือไมเพียงพอที่จะแนใจ ไดวาธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียนั้นจะทําขึ้นตามขอกําหนดปกติในทางการคาและจะไมกระทบตอผลประโยชนของบริษัท และผูถือหุนรายยอยของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทจะนําเรื่องกลับไปยังผูถือหุนเพื่อขอใหผูถือหุนมีมติเกี่ยวกับธุรกรรม ที่ไดรับอนุมัติจากผูถือหุนแลวใหม ซึ่งจะอยูบนหลักเกณฑของการควบคุมภายในและขั้นตอนในการตรวจสอบธุรกรรมกับบุคคลที่มี สวนไดเสียที่ไดรับการอนุมัติชุดใหม (ตามกฎขอ 920 (1)(ข)(4) และ (7) ของคูมือการจดทะเบียน) ทั้งนี้ ในระหวางระยะเวลาที่ ขออนุมัติจากผูถือหุนอีกครั้งนั้น ธุรกรรมที่ทํากับบุคคลที่มีสวนไดเสียทั้งหมดจะตองไดรับการตรวจสอบและไดรับการอนุมัติเปน การลวงหนาจากคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการตรวจสอบการควบคุมภายในและขั้นตอนในการตรวจสอบดังกลาวขางตน สมาชิกรายใดๆ ของ คณะกรรมการตรวจสอบที่ไมเปนอิสระ จะตองละเวนจากการมีสวนรวมในการตรวจสอบการควบคุมภายในและขั้นตอนในการตรวจสอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทจะมีความรับผิดชอบโดยรวมในการกําหนดขั้นตอนการตรวจสอบ และมีอํานาจในการมอบหมาย อํานาจใหแกบุคคลหรือคณะกรรมการอื่นๆ ภายในกลุมบริษัทตามที่เห็นสมควร


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

212

¹âºÒ¤ًÁ×Í¡Òû¯ÔºÑμÔ§Ò¹´ŒÒ¹ºÑÞªÕáÅСÒÃà§Ô¹

รายชื่อบุคคลที่มีสวนไดเสียที่ไดรับอนุมัติ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

บริษัท ทีซีซี โฮลดิ้ง จํากัด บริษัท บางนากลาส จํากัด บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร เซลล็อกซ จํากัด บริษัท บีเจซี อินดัสเตรียล แอนด เทรดดิ้ง จํากัด (1) บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร ฟูดส จํากัด บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร โลจิสติกส จํากัด บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร สเปเชียลตี้ส จํากัด บริษัท บีเจซี มารเก็ตติ้ง จํากัด บริษัท บีเจซี เฮลทแคร จํากัด (2) บริษัท ชลิตลาภ จํากัด บริษัท ทิพยน้ำตาล (1999) จํากัด บริษัท โกลเดนเวลธ จํากัด บริษัท อินทรประกันภัย จํากัด (มหาชน) บริษัท เลควิว กอลฟ แอนด ยอรช คลับ จํากัด บริษัท เลควิว แลนด จํากัด บริษัท โรงแรมแมปง (1988) จํากัด บริษัท เอ็น. ซี. ซี. แมนเนจเมนท แอนด ดิเวลลอปเมนท จํากัด 19. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและสิทธิเรียกรองนิวโนเบิล 20. บริษัท หนองคาย คันทรี กอลฟคลับ จํากัด 21. บริษัท นอรธปารค กอลฟแอนดสปอรตคลับ จํากัด 22. บริษัท พี เอส รีไซเคิล จํากัด

หมายเหตุ (1) (2) (3) (4)

บริษัทนี้เดิมชื่อ บริษัท บีเจซี เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด บริษัทนี้เดิมชื่อ บริษัท บีเจซี เทรดดิ้ง จำกัด บริษัทนี้เดิมชื่อ บริษัท ธารา โฮเต็ล จำกัด บริษัทนี้เดิมชื่อ บริษัท ทีซีซี อะโกร จำกัด

213

23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36.

บริษัท พิเศษกิจ จํากัด บริษัท พลาสติคเอกชน จํากัด บริษัท พลาซาแอทธินี โฮเต็ล (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ควีนสปารค โฮเต็ล จํากัด กองทุนรวมรีเจนทโกลดพร็อพเพอรตี้ฟนด บริษัท สยามประชาคาร จํากัด บริษัท อาคเนยแคปปตอล จํากัด บริษัท อาคเนยประกันภัย (2000) จํากัด บริษัท อาคเนยประกันชีวิต จํากัด บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลสุพรรณบุรี จํากัด บริษัท ที.ซี.ซี. เซอรวิสอพารทเมนท จํากัด (3) บริษัท เทอราโกร จํากัด (4) บริษัท ที.ซี.ซี. แคปปตอล จํากัด บริษัท ที.ซี.ซี. คอมเมอรเชียล พร็อพเพอรตี้ แมนเนจเมนท จํากัด 37. บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด 38. บริษัท ไทยเบเวอรเรจแคน จํากัด 39. บริษัท ไทยเจริญประกันภัย จํากัด (มหาชน) 40. บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลชลบุรี จํากัด 41. บริษัท อุตสาหกรรมทำเครื่องแกวไทย จํากัด (มหาชน) 42. บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลแมวัง จํากัด 43. บริษัท นิวอิมพีเรียล โฮเต็ล จํากัด (มหาชน) 44. บริษัท อุตสาหกรรมน้ำตาลอุตรดิตถ จํากัด

รายงานประจำป 2550 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)

¤Ù‹Á×Í¡Òû¯ÔºÑμÔ§Ò¹´ŒÒ¹ºÑÞªÕáÅСÒÃà§Ô¹ กลุมบริษัทไทยเบฟในประเทศไทยไดเริ่มใชคูมือการปฏิบัติงานดานบัญชีและการเงิน ซึ่งพัฒนาโดยมีที่ปรึกษาคือ บริษัทดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ ที่ปรึกษา จำกัด (“ดีลอยท”) ซึ่งเปนหนึ่งในสี่บริษัทผูสอบบัญชีชั้นนำของโลกแลว คูมือปฏิบัติงานดานบัญชีและ การเงินนี้จะชวยใหบริษัทในกลุมไทยเบฟทั้งหมดมีความเขาใจและปฏิบัติงานดานบัญชีและการเงินเปนแนวทางเดียวกัน คูมือนี้ จะรวบรวมนโยบายบัญชี ผังบัญชี โครงสรางองคกร กระบวนการปฏิบัติงานดานบัญชีและการเงิน ตัวอยางเอกสารและรายงานตางๆ ที่ไดรับและทำขึ้นในการปฏิบัติงานดานบัญชีและการเงิน และอื่นๆ อยางเปนระเบียบ กลุมบริษัทไทยเบฟในตางประเทศจะพัฒนาและเริ่มใชคูมือการปฏิบัติงานดานบัญชีและการเงินภายในป 2551

â¤Ã§¡ÒÃÇÒ§Ãкº SAP â¤Ã§¡ÒÃÇÒ§Ãкº SAP ¢Í§¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·ä·Â຿ áÅÐʶҹТͧâ¤Ã§¡Òà ในป 2544 บริษัท เบียร ไทย จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ไดเริ่มนำระบบ SAP มาประยุกต ใช ในกลุมบริษัทผลิตเบียร ทำใหบริษัทไดรับประโยชนจากขอมูลที่นาเชื่อถือเนื่องจากระบบมีการใชขอมูลจากฐานขอมูลเดียวกัน และยัง สงเสริมใหมีการประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ ในบริษัท แมวาระบบอื่นที่ใชในปจจุบันในบริษัทกลุมอื่นๆ ในเครือไทยเบฟ จะสามารถรองรับการดำเนินงานทั้งดานการเงินและการบริหาร รวมทั้งสามารถรองรับการปดบัญชีไดทันกาลก็ตาม แตบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ก็มีความประสงคที่จะนำระบบ SAP มาใชงานเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการประสานงานระหวางหนวยธุรกิจ ตลอดจนการปรับกระบวนการดำเนินธุรกิจในบริษัทตางๆ มีความสอดคลองกันมากยิ่งขึ้น บริษัทจึงไดเห็นชอบอนุมัติงบประมาณป 2549 เพื่อการพัฒนาระบบดังกลาว โดยในระยะแรก จะดำเนินการพัฒนาระบบใหกับ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอยในประเทศซึ่งดำเนินธุรกิจหลักของบริษัท รวม 33 บริษัท 2549 2550 2551 (แผน) จำนวนบริษัทในกลุม - บริษัทยอยโดยตรง - บริษัทยอยโดยออม - บริษัทยอยตางประเทศโดยตรง - บริษัทยอยตางประเทศ (ไมไดประกอบกิจการ) - บริษัทรวมตางประเทศโดยออม

51 10 2

-

52 9 7 11 3

54 9 7 11 3


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

214

บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) บริษัทยอยโดยตรง

บริษัทยอยโดยออม

2549

2550

2551 (แผน)

ระบบปจจุบัน

ระบบปจจุบัน 1

ระบบ SAP 1

ระบบ SAP 2 ระบบปจจุบัน 49

ระบบ SAP 34 ระบบปจจุบัน 18

ระบบ SAP 42 ระบบ BC-Accounting เชื่อมตอกับระบบ SAP 12

ระบบปจจุบัน 10

ระบบปจจุบัน 9

ระบบ SAP 9

ระบบปจจุบัน 2

ระบบปจจุบัน 11

ระบบปจจุบัน 11

บริษัทยอยตางประเทศ (ไมไดประกอบกิจการ)

-

ระบบปจจุบัน 11

ระบบปจจุบัน 11

บริษัทรวมตางประเทศโดยออม

-

ระบบปจจุบัน 3

ระบบปจจุบัน 3

บริษัทยอยตางประเทศ

การพัฒนาระบบ SAP ของบริษัท ไทยเฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ในระยะเริ่มตนนี้สามารถดำเนินการไดเร็วกวากำหนดการเดิมเล็กนอย และมีผลครอบคลุมบริษัทตางๆ ไดมากกวาที่กำหนดไวในแผนเดิมที่เสนอ ในป 2550 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ประสบความสำเร็จในการใชระบบ SAP กับบริษัทยอย 32 บริษัททั่วประเทศ ซึ่งรวมถึงโรงกลั่นสุรา 16 โรง โรงกลั่นแอลกอฮอลสำหรับ อุตสาหกรรม 1 โรง ตัวแทนจำหนายเบียรและสุรา 5 แหง และบริษัทที่เกี่ยวของอีก 10 บริษัท นอกจากนี้ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) กำลังจะเริ่มวางระบบ SAP กับอีก 3 บริษัท คือบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จำกัด บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด และ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ในวันที่ 1 มกราคม 2551 เพื่อเพิ่มความเขาใจ และการใชระบบงานที่เปนมาตรฐานเดียวกันทั่วทั้งกลุมธุรกิจ ในป 2551 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) วางแผนที่จะขยายขอบเขตการพัฒนาระบบ SAP ไปยังบริษัทยอยโดยตรง และบริษัทยอยโดยออมในประเทศอีก 15 บริษัท ซึ่งรวมถึง บริษัทผลิตสุราที่เพิ่งเขาซื้อกิจการ นอกจากนี้จะมีการเชื่อมโยงขอมูลการขายและการบัญชีที่สำคัญๆ จากระบบ BC Accounting ที่ใชในบริษัทผูจัดจำหนายทั้ง 12 แหงเขากับระบบ SAP เพื่อใหผูใชสามารถมองเห็นภาพรวมของการดำเนินธุรกิจในประเทศไดชัดเจน มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้การขยายขอบเขตการวางระบบ SAP ในป 2551 โดยการพัฒนาระบบในป 2551 จะดำเนินการโดยทีมงานเทคโนโลยี สารสนเทศของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) เปนหลัก และยังคงไดรับความสนับสนุนจากทีมงานที่ปรึกษาตามความจำเปน ซึ่งจะทำคาใชจายในการขยายขอบเขตโครงการดังกลาวจะอยูภายในงบประมาณที่ผานความเห็นชอบเดิม เนื่องจากความหลากหลายของธุรกิจ และของระบบบัญชีของบริษัทยอยในตางประเทศ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จึงยังคงพิจารณาการลงทุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศในบริษัทยอยเหลานี้ โดยจะคำนึงถึงระบบที่ใชอยูเดิม ขนาดธุรกิจ หลักบัญชีและ กฎหมายทองถิ่น ตลอดจนสภาพแวดลอมทางสังคม ในขณะเดียวกันบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จะพัฒนากระบวนการ รวบรวมขอมูลจากบริษัทยอยทั้งในและตางประเทศโดยนำระบบ Consolidated Performance Management System มาใชงาน โดยพัฒนาตอยอดจากระบบ SAP ที่ใชในประเทศเพื่อรวบรวมขอมูลสำคัญดานบัญชีและการดำเนินธุรกิจทั้งจากระบบ SAP และระบบ อื่นที่บริษัทยอยใชอยูในปจจุบัน

215

ÃǺÃÇÁÊÒÃʹà·È·Õèà» ´à¼Âä»ÂѧμÅÒ´ËÅÑ¡·ÃѾ ÊÔ§¤â»Ã (SGX) ã¹»‚ 2550 ¡Òû¯ÔºÑμÔμÒÁ¡®à¡³± μÅÒ´ËÅÑ¡·ÃѾ ÊÔ§¤â»Ã บริษัทเล็งเห็นถึงความสำคัญของความโปรงใสในการเปดเผยขอมูล ในป 2550 บริษัทไดรายงานตอตลาดหลักทรัพยสิงคโปร รวมทั้งสิ้น จำนวน 265 ครั้ง ในเรื่องดังตอไปนี้ 1. รายงานเกี่ยวกับงบการเงินและการจายเงินปนผลรวม 6 ครั้ง 2. รายงานเรื่องสวนไดเสียของผูถือหุนรายใหญ (Substantial Shareholders) และของกรรมการ และการเปลี่ยนแปลงสวนไดเสีย รวม 202 ครั้ง ในกรณีที่เลขานุการบริษัทไดรับรายงานการเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียจากกรรมการทานใด จะรายงานใหกรรมการ

ทานอื่นทราบ 3. รายงานเรื่องการเกี่ยวของกับการดำรงตำแหนงของกรรมการและผูบริหารระดับสูงตางๆ รวม 3 ครั้ง คือ

(1) นายปณต สิ ริ วั ฒ นภักดี ไดรั บ การแตงตั ้งใหดำรงตำแหนง กรรมการ บริษ ัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) แทนนายไพศาล ชีวะศิริ ซึ่งไดลาออกจากตำแหนงดังกลาว (2) นายเกษมสันต วีระกุล ลาออกจากตำแหนง ผูอำนวยการสำนักสื่อสารองคกร บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) และลาออกจากตำแหนงกรรมการของบริษัทยอย (3) รายงานเกี่ยวกับการดำรงตำแหนงระดับบริหารของบุคคลซึ่งมีความเกี่ยวของกับผูบริหาร ประธานกรรมการและผูถือหุน 4. รายงานเรื่องการไดมาซึ่งทรัพยสินรวม 1 ครั้ง จากการที่บริษัทในเครือเขาซื้อกิจการของบริษัทอื่น 5. รายงานเรื่องอื่นๆ ทั้งที่เปนการปฏิบัติตามกฎเกณฑตลาดหลักทรัพยสิงคโปร และเปนขอมูลใหแกนักลงทุน รวม 53 ครั้ง ซึ่งเปน

รายละเอียดการเพิ่มทุนของบริษัทในเครือ การเปลี่ยนแปลงชื่อของบริษัทในเครือ สรุปรายละเอียดผลประกอบการในไตรมาสตางๆ สำหรับนักลงทุน ชี้แจงขอเท็จจริงของขาวซึ่งเกี่ยวของกับบริษัท การเปดเผยการทำรายการระหวางกันของผูมีสวนไดเสีย เปนตน


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

216

217

¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» รายงานประจำป 2550 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ชื่อบริษัท บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)

ที่อยู

รหัส ไปรษณีย

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

โทรศัพท (02) 127 5555

แฟกซ

หมายเหตุ

(02) 272 2328

กลุมแอลกอฮอล 1. บริษัท ไทยแอลกอฮอล จำกัด (มหาชน)

เลขที่ 31-35 ถนนเฉลิมเขตร 1 10100 แขวงวัดเทพศิรนิ ทร เขตปอมปราบศัตรูพา ย กรุงเทพมหานคร

(02) 223 6679 (02) 223 6626

(02) 225 4205

เลขที่ 2 หมูที่ 5 ตำบลบางไทรปา อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม

(034) 391 021-4

(034) 234 909

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต 10900 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร

(02) 617 9500-29

(02) 127 5555

เลขที่ 349 หมูที่ 2 ตำบลแมลาด อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร

(055) 728 400-15

(055) 728 416

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต 10900 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5555

(02) 617 9546

เลขที่ 68 หมูที่ 2 ตำบลน้ำเตา 13250 อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

(035) 289 333-47

(035) 289 371

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต 10900 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5555

(02) 617 9685

เลขที่ 77 หมูที่ 1 ถนนพหลโยธิน กม. 54 13170 อำเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

(035) 362 175-8

(035) 362 179

73130

โรงงาน

ชื่อบริษัท

2. บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จำกัด

3. บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จำกัด

62120

โรงงาน

โรงงาน

1. บริษัท แสงโสม จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5384

(02) 272 2330

เลขที่ 49 หมูที่ 4 ตำบลหอมเกร็ด อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

73110

(034) 321 777-9

(034) 321 777

โรงงาน 1

เลขที่ 37/3 หมูที่ 7 ตำบลวังขนาย อำเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี

71110

(034) 611 053

(034) 611 778

โรงงาน 2

2. บริษัท เฟองฟูอนันต จำกัด

เลขที่ 333 หมูที่ 1 ตำบลทาตูม อำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี

25140

(037) 285 016-20

(037) 285 237

3. บริษัท มงคลสมัย จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5382

(02) 272 2330

เลขที่ 149 หมูที่ 5 ถนนวังสี่สูบ-งิ้วงาม 53000 ตำบลผาจุก อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ

(055) 449 126-30

(055) 449 131

(053) 849 550-3

(053) 849 555

หมายเหตุ

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5383

(02) 272 2330

เลขที่ 50 หมูที่ 7 ตำบลวังขนาย อำเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี

71110

(034) 611 783-5

(034) 611 786

เลขที่ 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5386

(02) 272 2330

เลขที่ 488 หมูที่ 1 ตำบลวังดง อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

71190

(034) 527 100

(034) 527 111

โรงงาน

7. บริษัท สุราบางยี่ขัน จำกัด

เลขที่ 82 หมูที่ 3 ตำบลบางคูวัด อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี

12000

(02) 598 2850-9

(02) 598 2858

โรงงาน

8. บริษัท อธิมาตร จำกัด

เลขที่ 170 หมูที่ 11 ตำบลนิคม อำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย

31150

(044) 627 200-3 (044) 681 011-2

(044) 627 202

9. บริษทั เอส.เอส. การสุรา จำกัด

เลขที่ 101 หมูที่ 8 ตำบลแกงโดม 34190 กิง่ อำเภอสวางวีระวงศ จังหวัดอุบลราชธานี

(045) 202 210-1 (045) 442 006-8

(045) 202 212

10. บริษัท แกนขวัญ จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5555

(02) 272 2321 (02) 272 2295

เลขที่ 309 หมูที่ 6 ถนนน้ำพอง-กระนวน ตำบลน้ำพอง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแกน

40310

(043) 441 013-5

(043) 441 017, 441 438

11. บริษัท เทพอรุโณทัย จำกัด

เลขที่ 99 หมูที่ 4 ตำบลหาดคำ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย

43000

(042) 462 657 (042) 012 521, 012 525

(042) 012 524

12. บริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 272 2330

เลขที่ 8 หมูที่ 5 ถนนเศรษฐกิจ 1 74000 ตำบลนาดี อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

(034) 830 213-6

(034) 830 213-6

เลขที่ 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 272 2321 (02) 272 2334

เลขที่ 54 หมูที่ 2 ถนนสุขาภิบาล ตำบลนครชัยศรี อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

73120

(034) 331 954 (034) 227 754-7

(034) 331 955

13. บริษัท ยูไนเต็ด ไวนเนอรี่ แอนดดิสทิลเลอรี่ จำกัด

โรงงาน

แฟกซ

5. บริษัท กาญจนสิงขร จำกัด

6. บริษัท สุราพิเศษทิพราช จำกัด

50290

โทรศัพท

เลขที่ 315 หมูที่ 4 ตำบลแมแฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม

โรงงาน

กลุมโรงงานสุรา

รหัส ไปรษณีย

4. บริษัท ธนภักดี จำกัด

กลุมโรงงานเบียร 1. บริษัท เบียรไทย (1991) จำกัด (มหาชน)

ที่อยู

โรงงาน

โรงงาน

โรงงาน

โรงงาน


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

218

ชื่อบริษัท

ที่อยู

รหัส ไปรษณีย

แฟกซ

(056) 279 088-9

(056) 350 660

14. บริษัท สีมาธุรกิจ จำกัด

เลขที่ 1 หมูที่ 6 ตำบลบานแดน อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค

15. บริษัท นทีชัย จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5555

(02) 272 2330

เลขที่ 1 หมูที่ 2 ถนนทางหลวง หมายเลข 41 ตำบลทาโรงชาง อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฏรธานี

84130

(077) 357 170-3

(077) 357 174

เลขที่ 46 หมูที่ 1 ตำบลหนองกลางนา อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

70000

เลขที่ 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

16. บริษัท หลักชัยคาสุรา จำกัด 17. บริษัท สุราพิเศษภัทรลานนา จำกัด

60180

โทรศัพท

219

หมายเหตุ

ชื่อบริษัท

รหัส ไปรษณีย

โทรศัพท

แฟกซ

กลุมการตลาดสุรา

โรงงาน

(032) 321 791-2 (032) 313 611-2

(032) 321 793

(02) 127 5555

(02) 272 2584 # 1722 ไมไดประกอบ

1. บริษัท นำยุค จำกัด

เลขที่ 95/390-391 ตรอกนอกเขต ถนนพระราม 3 แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร

10120

(02) 291 9711-5

(02) 289 4751

2. บริษัท นำธุรกิจ จำกัด

เลขที่ 51/40-41 หมูที่ 3 ถนนสุขุมวิท 20000 ตำบลบานสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี

(038) 287 268-9

(038) 272 525

3. บริษัท นำเมือง จำกัด

เลขที่ 16/2 หมูที่ 1 ถนนอูทอง 13000 ตำบลทาวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

(035) 242 691

(035) 242 691

4. บริษัท นำนคร จำกัด

เลขที่ 149/3 ถนนจุลจอมเกลา ตำบลทาขาม อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี

84130

(077) 224 771-4

(077) 224 775

5. บริษัท นำพลัง จำกัด

เลขที่ 1/7-8 ถนนพระยาสุรสีห ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

65000

(055) 241 132

(055) 243 610

6. บริษัท นำกิจการ จำกัด

เลขที่ 1, 3, 5 ตรอกวัดมวง ถนนสุรนารี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

30000

(044) 242 496

(044) 241 747

1. บริษัท ทิพยชโลธร จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 272 2584

2. บริษทั กฤตยบุญ จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02)127 5555

(02) 272 2584

3. บริษัท สุราทิพย จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02)127 5555

(02) 272 2584

4. บริษัท สุนทรภิรมย จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02)127 5555

(02) 272 2584 (02) 272 2584

5. บริษัท ภิรมยสุรางค จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02)127 5555

(02) 272 2584

1. บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ มารเก็ตติ้ง จำกัด

เลขที่ 15 หมู 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5203

(02) 617 9600

2. บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ โลจิสติก จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5840, (02) 127 5555, (02) 272 2051-5

(02) 617 9619, (02) 272 2316

กิจการ

18. บริษัท ประมวลผล จำกัด

เลขที่ 56 ถนนสุขาภิบาล ตำบลนครชัยศรี 73120 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

(034) 331 157

(034) 331 787

โรงงาน

19. บริษัท เอส.พี.เอ็มอาหารและเครื่องดื่ม จำกัด

เลขที่ 79 หมูที่ 3 ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม

(034) 302 194-5

(034) 302 194

โรงงาน

73150

ที่อยู

กลุมตัวแทนจำหนาย

กลุมการตลาดเบียร 1. บริษัท ปอมทิพย จำกัด

เลขที่ 2194 ถนนเจริญกรุง แขวงวัดพระยาไกร เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร

10120

(02) 291 9711

(02) 289 4751

2. บริษัท ปอมกิจ จำกัด

เลขที่ 48, 50, 52 ถนนสุรนารี ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

30000

(044) 242 496

(044) 241 747

3. บริษัท ปอมโชค จำกัด

เลขที่ 16/1 หมู 1 ถนนอูทอง 13000 ตำบลทาวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

(035) 241 678

(035) 241 313

4. บริษัท ปอมเจริญ จำกัด

เลขที่ 135/3 หมูที่ 4 ถนนกาญจนวิถี ตำบลบางกุง อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฏรธานี

84000

(077) 224 774

(077) 224 775

5. บริษัท ปอมคลัง จำกัด

เลขที่ 80/13-14 ถนนเอกาทศรฐ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

65000

(055) 241 132

(055) 243 610

6. บริษัท ปอมบูรพา จำกัด

เลขที่ 51/42 หมูที่ 3 ถนนสุขุมวิท 20000 ตำบลบานสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี

(038) 287 268

(038) 272 525

กลุมนำเขา - สงออก & ขนสง 10900

หมายเหตุ


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

220

ชื่อบริษัท

ที่อยู

รหัส ไปรษณีย

โทรศัพท

แฟกซ

กลุมธุรกิจตอเนื่อง 1. บริษัท ทศภาค จำกัด

เลขที่ 195 อาคารเอ็มไพรทาวเวอร ชั้น 25 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

10120

(02) 670 2525

(02) 670 2551

2. บริษัท แพนอินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 617 9685

3. บริษัท ปุยไบโอนิค จำกัด

10900

(02) 127 5555

(02) 272 3038

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

4. บริษัท ไทยโมลาส จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5555

(02) 272 2432

5. บริษัท อาหารเสริม จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 617 9647

6. บริษัท จรัญธุรกิจ 52 จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5323-4

(02) 617 9688

7. บริษัท ถังไมโอคไทย จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 617 9500-29

(02) 617 9530

8. บริษัท ธนสินธิ จำกัด

เลขที่ 949/6-8 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร

10300

(02) 241 0127 (02) 241 0858

(02) 243 1607

9. บริษัท บางนา โลจิสติค จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5511

(02) 617 9549

หมายเหตุ

221

ชื่อบริษัท 2. InterBev (Singapore) Limited

3 Philip Street # 13-04 Commerce Point, Singapore

3. InterBev (Cambodia) Co., Ltd.

140 Nehru (Street # 215) Sankat Vealvong, Khan 7 Makara, Phnom Penh, Kingdom of Cambodia

4. InterBev Malaysia Sdn. Bhd.

No 9-1, Jalan USJ 1/1B, Regalia Business Centre, 47620 Subang Jaya, Selangor, Malaysia.

5. International Beverage Holdings Limited USA, Inc.

60 East 42nd Street, Suite 2134, New York, NY

6. Best Spirits Company Limited

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5497

(02) 272 2584

* จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัทจากบริษัท มหาราษฎรการเกษตร จำกัด เมื่อวันที่ [xx] กุมภาพันธ 2551

กลุมบริษัทตางประเทศ 1. International Beverage Holdings Limited

Room 901-2, Silvercord Tower 1, 30 Canton Road, Tsim Sha Tsui, Kowloon, Hong Kong

(852) 2375 6648

(852) 2375 6188

รหัส ไปรษณีย 048693

โทรศัพท

แฟกซ

หมายเหตุ

(65) 6435 2880

(65) 6436 9930

(855) (23) 881 484

(855) (23) 881 484

47620

(603) 8023-4923

(603) 8023-5923

10165

(646) 896 3800

(1) 646 896 3801

Room 901-2, Silvercord Tower 1, 30 Canton Road, Tsim Sha Tsui, Kowloon, Hong Kong8

(852) 2375 6648

(852) 2375 618

7. International Beverage Holdings (UK) Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 779001

8. Blairmhor Limited

Moffat Distillery, Airdrie ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

9. Blairmhor Distillers Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

10. Inver House Distillers Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

11. Liquorland Limited

8 Westbank Road, Belfast, BT3 9JL, Northern Ireland

(44) 289 077 3990

(44) 289 037 0566

Dormant

12. Inver House Polska Limited

ul. Obodrzyców 34 A/1, 81-812 Sopot Poland

(48) 585 502 111

(48) 585 502 111

Dormant

13. Wee Beastie Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

14. Inver House Distribution SA

Avenue des Tilleuls, 62140 Marconne, France

(33) 2 181 6170

(33) 2 181 1321

Dormant

15. Moffat & Towers Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotlandnt

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dorma

16. The Knockdhu Distillery Company Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

17. Speyburn-Glenlivet Distillery Company Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

กลุมเครื่องดื่มไมมีแอลกอฮอล 1. บริษัท XXX จำกัด *

ที่อยู

Dormant


ร า ย ง า น ป ร ะ จํ า ป 2550

บ ริ ษั ท ไ ท ย เ บ ฟ เ ว อ เ ร จ จํ า กั ด ( ม ห า ช น)

222

ชื่อบริษัท

ที่อยู

รหัส ไปรษณีย

โทรศัพท

แฟกซ

หมายเหตุ

18. The Pulteney Distillery Company Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

19. The Balblair Distillery Company Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

20. Glen Calder Blenders Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

21. Hankey Bannister & Company Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

22. R. Carmichael & Sons Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

23. J. MacArthur Junior & Company Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

24. Mason & Summers Limited

10 Foster Lane, London, EC2V 6HH, England

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

25. James Catto & Company Limited

Moffat Distillery, Airdrie, ML6 8PL, Scotland

(44) 1236 769377

(44) 1236 769781

Dormant

223

ชื่อบริษัท

ที่อยู

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 272 2584

2. บริษัท เบียรอาชา จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5555

(02) 272 2584

3. บริษัท เบียรชาง จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 272 2584

4. บริษัท เมืองกิจ จำกัด

เลขที่ 9 ถนนดาวคนอง-จอมทอง แขวงบางคอ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร

10120

(02) 127 5328

(02) 272 2584

5. บริษัท บางเลนการเกษตร จำกัด

เลขที่ 31-35 ถนนเฉลิมเขตร 1 10100 แขวงวัดเทพศิรินทร เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

(02) 223 3125

(02) 225 4205

6. บริษัท สินเอกพาณิชย จำกัด

เลขที่ 31-35 ถนนเฉลิมเขตร 1 10100 แขวงวัดเทพศิรินทร เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร

(02) 223 3125

(02) 225 4205

7. บริษัท วิทยาทาน จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 617 9500-29

(02) 617 9530

10900

ไมไดประกอบ กิจการ

แฟกซ

หมายเหตุ

เลขที่ 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 272 2330

ไมไดประกอบ กิจการ

9. บริษัท สุราพิเศษสัมพันธ จำกัด

เลขที่ 14 อาคารแสงโสม ซอยยาสูบ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

10900

(02) 127 5555

(02) 272 2330

ไมไดประกอบ กิจการ

10. บริษัท สุราไทยทำ จำกัด

เลขที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล 10900 เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5555

(02) 272 2330

ไมไดประกอบ กิจการ

11. บริษัท แพนแอลกอฮอล จำกัด

เลขที่ 15 หมูที่ 14 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(02) 127 5555

(02) 272 2330

ไมไดประกอบ กิจการ

บริษัทที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ไวท แอนด เคส (ประเทศไทย) จำกัด ชั้น 22 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร 540 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ไมไดประกอบ กิจการ

โทรศัพท

8. บริษัท สุราพิเศษสหสันติ์ จำกัด

กลุมอื่นๆ 1. บริษัท ที.ซี.ซี. สากลการคา จำกัด

รหัส ไปรษณีย

บริษัทที่ปรึกษาการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ของตลาดหลักทรัพยสิงคโปร Venture Law LLC, 50 Raffles Place #31-01 Singapore Land Tower Singapore 048623 ผูสอบบัญชีรับอนุญาต นายนิรันดร ลีลาเมธวัฒน ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2316 หรือ นายสุพจน สิงหเสนห ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2526 หรือ นางสาวนิตยา เชษฐโชติรส ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4439 คนใดคนหนึ่งของบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ไดรับการแตงตั้งเปนผูสอบบัญชีรับอนุญาตของบริษัท เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2549

10900


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.