TICON: Annual Report 2013

Page 1

Harmony Under the same Roof

รายงานประจำป 2556



สารบัญ สารจากประธานกรรมการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ โรงงานและคลังสินค้า ความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูลทั่วไป นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ การกำ�กับดูแลกิจการ การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน งบการเงิน แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนทีจ่ า่ ยให้แก่ผสู้ อบบัญชี

4 6 9 10 12 14 20 23 28 40 44 45 55 65 69 73 86 87 170


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

สารจากประธานกรรมการ

นายชาลี โสภณพนิช ประธานกรรมการ 4

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปี 2556 เป็นปีทบี่ ริษทั มีการเติบโต และขยายการลงทุนอย่างก้าวกระโดด เพือ่ เสริมศักยภาพในการแข่งขัน ท่ามกลางความผันผวนของเศรษฐกิจโลก และความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ ธุรกิจการให้เช่าคลังสินค้า ของบริษัทมีการเติบโตอย่างน่าพอใจในขณะที่การให้เช่าโรงงานขยายตัว น้อยกว่าที่คาดไว้ การเร่งขยายการลงทุนไปในพื้นที่ที่มีศักยภาพเป็นสิ่ง ที่บริษัทให้ความส�ำคัญเป็นพิเศษในปีที่ผ่านมาเพื่อเตรียมพร้อมส�ำหรับ รองรับความต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าที่จะมีมากขึ้นตามการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจโลก และการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ตลอดจนโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ของรัฐบาล ธุรกิจโรงงานให้เช่า เศรษฐกิจโลกที่เริ่มฟื้นตัว ได้ส่งผลให้ความต้องการโรงงานให้เช่าของ บริษัทเริ่มเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น ในปี 2556 บริษัทให้เช่าโรงงานได้เพิ่มขึ้นรวม 82,900 ตารางเมตร ลดลงร้อยละ 39.8 จากปีกอ่ นหน้า อย่างไรก็ดี บริษทั สามารถให้เช่าโรงงานได้ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 44,575 ตารางเมตร ซึง่ สูงกว่าปี 2555 ทีม่ พ ี นื้ ทีเ่ ช่าเพิม่ ขึน้ สุทธิ เพียง 12,950 ตารางเมตรอันเนือ่ งมาจากเหตุอทุ กภัยปี 2554 ผูเ้ ช่าโรงงาน รายใหม่ของบริษัทกว่าครึ่งยังคงเป็นผู้ประกอบการจากประเทศญี่ปุ่น ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การให้เช่าโรงงานในพื้นที่จังหวัดอยุธยา และปทุมธานี ซึ่งเป็นพื้นที่ ทีเ่ คยเกิดอุทกภัยในปี 2554 มีแนวโน้มดีขนึ้ โดยล�ำดับ กว่าร้อยละ 30 ของ สัญญาเช่าใหม่เป็นการเช่าโรงงานในพืน้ ทีท่ เี่ คยเกิดอุทกภัย บริษทั สามารถ ปรับเพิ่มอัตราค่าเช่าในพื้นที่ดังกล่าวให้เหมาะสมได้ ซึ่งสะท้อนถึงการฟื้น ตัวของความต้องการเช่าโรงงานในบริเวณที่ราบลุ่มภาคกลาง อย่างไรก็ดี ได้มีเหตุอุทกภัยเกิดขึ้นในเดือนตุลาคม 2556 ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี และ ปราจีนบุร ี แต่กม็ ไิ ด้สร้างความเสียหายต่ออาคารโรงงานของบริษทั บริษทั ได้ติดตามสถานการณ์ในพื้นที่ดังกล่าวอย่างใกล้ชิด พร้อมทั้งให้ความ ช่วยเหลือแก่ผู้เช่าในการดูแลและป้องกันโรงงานรวมทั้งทรัพย์สินและ อุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างเต็มก�ำลัง บริษัทมีอัตราการเช่าโรงงานเฉลี่ยในปี 2556 ร้อยละ 73 โรงงานที่ว่าง ของบริษัทส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในปี 2554 ในขณะที่อัตราเช่าโรงงานในพื้นที่ทางด้านตะวันออกของบริษัทอยู่ในระดับ ค่อนข้างสูง เฉลี่ยที่ร้อยละ 92 ธุรกิจคลังสินค้าให้เช่า ในปี 2556 บริษทั ให้เช่าคลังสินค้าได้เป็นพืน้ ทีร่ วม 212,907 ตารางเมตร โดยเป็นพื้นที่เช่าเพิ่มขึ้นสุทธิ 196,357 ตารางเมตร มากกว่าการให้เช่า สุ ท ธิ ข องปี ก ่ อ นหน้ า ร้ อ ยละ 14.5 โดยผู ้ เ ช่ า คลั ง สิ น ค้ า รายใหม่ ก ว่ า ร้อยละ 70 เป็นกลุ่มผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ร้อยละ 40 เป็นผู้ประกอบการ จากประเทศญี่ปุ่น อุทกภัยครั้งใหญ่ในปี 2554 ได้ส่งผลให้ผู้ประกอบการหลายรายมี ความต้องการให้คลังเก็บสินค้าของตนเองกระจายอยู่ในพื้นที่ยุทธศาสตร์ ที่หลากหลายมากขึ้น การแข่งขันที่เข้มข้นขึ้นของธุรกิจค้าปลีกท�ำให้มี ความต้องการคลังสินค้าเพิ่มมากขึ้นในหลายพื้นที่ และแม้ว่าโครงการ รถคันแรกได้สิ้นสุดลงแล้ว อุตสาหกรรมรถยนต์ก็ยังคงมีแนวโน้มที่จะ ขยายตัวต่อไปเพือ่ เตรียมพร้อมส�ำหรับการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

ในปีทผี่ า่ นมา บริษทั มีการขยายโครงการคลังสินค้าไปในท�ำเลทีต่ งั้ ใหม่ ๆ ทีม่ ีศกั ยภาพมากขึ้นอีกหลายโครงการซึง่ รวมถึงพืน้ ทีต่ ามหัวเมืองส�ำคัญ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ เพื่อรองรับความต้องการคลัง สินค้าทีค่ าดว่าจะมีเพิม่ มากขึน้ และเพือ่ ความได้เปรียบในการแข่งขัน ท�ำให้ ณ ปัจจุบันกลุ่มบริษัทไทคอนมีคลังสินค้าอยู่ในท�ำเลที่ตั้งรวม 29 แห่ง เพิ่มขึ้นจากที่มีอยู่เดิม 21 แห่งในปีก่อนหน้า บริษัทมีอัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลี่ยในปี 2556 ร้อยละ 71 ซึ่งลดลง จากร้อยละ 89 ในปีก่อนหน้า บริษัทมองว่าการลดลงของอัตราการเช่า เป็นผลชั่วคราวจากการที่บริษัทมีการขยายพื้นที่คลังสินค้าให้เช่าอย่าง รวดเร็วในปีที่ผ่านมา การลงทุนของบริษัท ในปี 2556 บริษัทมีการลงทุนซื้อที่ดิน และพัฒนาโรงงานและคลังสินค้า รวมมูลค่าทั้งสิ้นกว่า 9 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 จากปีก่อนหน้า โดยกว่ า ครึ่ ง เป็ น การลงทุ น เพื่ อ ซื้ อ ที่ ดิน ส� ำ หรั บ พั ฒ นาโครงการ โลจิสติคส์พาร์ค ประมาณร้อยละ 40 เป็นเงินลงทุนส�ำหรับการพัฒนาอาคาร คลังสินค้า และส่วนทีเ่ หลือเป็นการลงทุนซือ้ ทีด่ นิ และก่อสร้างอาคารโรงงาน ให้เช่า การลงทุนด้วยเงินจ�ำนวนดังกล่าวเป็นการลงทุนที่มากที่สุดในรอบ 24 ปี เนื่ อ งจากบริ ษัท เล็ งเห็นการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจ โลกในไม่ช้านี้ ตลอดจนการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 และโอกาสของ แผนการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งทีไ่ ด้รบั การสนับสนุน จากภาครัฐ ในไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 บริษัทได้จัดตั้งบริษัทย่อยชื่อบริษัท ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด (TICON Management Company Limited : TMAN) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นผู้จัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Investment Trust : REIT) ในอนาคต TMAN ยังไม่มีการท�ำธุรกรรมในปัจจุบัน ส�ำหรับบริษัทย่อยอีก 2 แห่ง ที่จัดตั้งขึ้นในประเทศจีนและประเทศสหรัฐอเมริกานั้น บริษัทยังมิได้รีบเร่ง ด�ำเนินการลงทุนใด ๆ จากการศึกษาของบริษัทพบว่ายังไม่มีการลงทุน ใดที่ให้ผลตอบแทนตามที่คาดหวัง จนถึงปัจจุบันจึงยังคงไม่มีธุรกรรม ในประเทศดังกล่าว ในไตรมาสสุดท้ายของปีที่ผ่านมา บริษัทมีการโอนขาย/ให้เช่าโรงงาน และคลังสินค้ารวม 286,320 ตารางเมตร แก่กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอนอินดัสเทรียลโกรท (TICON Industrial Growth Leasehold Property Fund : TGROWTH) โดยบริษัทได้รับเงินจาก การขายทัง้ สิน้ 5.5 พันล้านบาท TGROWTH เป็นกองทุนใหม่ทถ่ี กู จัดตัง้ ขึน้ เพื่อลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ และหากการจัดตั้ง REIT สามารถด�ำเนินการได้ บริษทั มีแผนทีจ่ ะแปลงสภาพกองทุนดังกล่าวให้เป็น REIT ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2556 บริษัทมีการลงทุนใน TGROWTH ร้อยละ 28.5 ผลการด�ำเนินงาน ในปี 2556 บริษัทมีก�ำไรสุทธิ 1,414.2 ล้านบาท ซึ่งสูงที่สุดตั้งแต่จัดตั้ง บริษัทมา คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.1 จากปี 2555 รายได้จากการให้ เช่าโรงงานและคลังสินค้าซึง่ เป็นรายได้จากธุรกิจหลักของบริษทั ยังคงเพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทมีรายได้ดังกล่าว 1,109.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปี ก ่ อ นหน้ า ร้ อ ยละ 5.4 บริ ษั ท มี ร ายได้ จ ากการขายโรงงานและ คลังสินค้ารวม 4,663 ล้านบาท และมีรายได้รวม 6,310 ล้านบาท เพิ่มขึ้น

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

จากปีก่อนหน้า ร้อยละ 8 นอกจากนั้น บริษัทยังมีรายได้ค่าบริหารจัดการ ทรัพย์สินของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (TFUND) และกองทุน รวมอสังหาริมทรัพย์ทพ ี าร์คโลจิสติคส์ (TLOGIS) รวมทัง้ สิน้ 152.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 45.2 จากปีก่อนหน้า และมีส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุน ในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทั้งสองกองทุนอีกจ�ำนวน 216.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 28 จากการที่ทั้งสองกองทุนมีทรัพย์สินภายใต้การบริหาร จัดการมากขึ้น ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการลงทุ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น มากดั ง ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น ส่ ง ผลให้ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท ณ สิ้นปี 2556 เพิ่มสูงขึ้น มาอยู่ที่ระดับ 2 เท่า ในช่วงต้นปี 2557 บริษัทจะพิจารณามาตรการต่าง ๆ เพื่อลดอัตราส่วนดังกล่าว ซึ่งอาจรวมถึงการเพิ่มทุนของบริษัท แนวโน้มในอนาคต วิกฤตการณ์ทางการเมืองซึ่งส่งผลกระทบทางลบต่อการลงทุนจากต่าง ประเทศในประเทศไทยได้สร้างความกังวลให้แก่บริษทั อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ อย่างไรก็ดี ผมคาดว่าความวุ่นวายทางการเมืองที่ยืดเยื้อมานานจะจบลง ด้วยดี ท่ามกลางความยุ่งยากดังกล่าว ผมมีความมั่นใจว่าธุรกิจของ บริษัทจะเติบโตต่อไปได้เป็นอย่างดี ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่มี แนวโน้มชัดเจนขึน้ การรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โอกาสของ การใช้จา่ ยของภาครัฐในการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่ง นอกเหนือจากความได้เปรียบทางด้านภูมศิ าสตร์ของประเทศไทยซึง่ ตัง้ อยู่ บริเวณศูนย์กลางของภูมิภาค ในปี 2557 นี้ บริ ษั ท มี แ ผนที่ จ ะเติ บ โตและขยายธุ ร กิ จ ต่ อ ไปด้ ว ย เงินลงทุนจ�ำนวนน้อยกว่าในปี 2556 บริษัทจะยังคงให้ความส�ำคัญกับการ พัฒนาโรงงานและคลังสินค้าเพื่อรองรับความต้องการภายในประเทศที่จะ มีมากขึ้น โดยจะเป็นการพัฒนาบนที่ดินที่ได้จัดหาเตรียมไว้แล้วใน 1-2 ปี ที่ผ่านมาเป็นหลัก ส�ำหรับการลงทุนในต่างประเทศนั้น หากการลงทุน ให้ผลตอบแทนที่ดีต่อบริษัท บริษัท อาจพิจารณาการลงทุนดังกล่าว ในต่างประเทศ ในโอกาสนี้ ผ มขอขอบคุ ณ ท่ า นผู ้ ถื อ หุ ้ น หลั ก ของบริ ษั ท นั ก ลงทุ น พันธมิตรธุรกิจ ลูกค้า ผู้บริหารและพนักงาน ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับบริษทั ทุกท่าน ทีม่ สี ว่ นร่วมกับความส�ำเร็จของบริษทั ด้วยการสนับสนุน จากทุกท่านอย่างต่อเนื่อง ผมเชื่อว่าปี 2557 นี้จะเป็นปีแห่งความส�ำเร็จ อีกปีหนึ่งส�ำหรับบริษัท

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

5


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการ ของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2556

นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์, F.C.A. ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

6

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ตามที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ และมีประสบการณ์ทางด้านการบริหารธุรกิจและการเงิน มีความเป็นอิสระและมีคุณสมบัติเหมาะสม ตามข้อก�ำหนดและแนวทางการปฏิบัติที่ดีส�ำหรับคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบันสมาชิกของคณะกรรมการ ตรวจสอบประกอบด้วย นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ และนายตรีขวัญ บุนนาค คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และตามระเบียบของบริษัทว่าด้วยหลักเกณฑ์และแนวทาง การปฏิบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเน้นการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี การมีระบบการตรวจสอบภายในทีด่ ี และส่งเสริมแนวทางการตรวจสอบเชิงป้องกัน โดยครอบคลุมถึงการบริหารความเสีย่ ง และการปกป้อง ผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน ในปี 2556 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวม 4 ครัง้ กรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้าร่วมประชุม ทั้ง 4 ครั้ง โดยมีการหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้

1. การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2556 ของบริษัทและงบการเงินรวม รวมถึงรายการระหว่างกัน และ รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ร่วมกับฝ่ายจัดการ ผูต้ รวจสอบภายใน โดยมีผสู้ อบบัญชีรว่ มประชุมทุกครัง้ ทีม่ กี ารพิจารณาสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบถามผูส้ อบบัญชีเรือ่ งความถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน การปรับปรุงรายการบัญชีทสี่ �ำคัญทีม่ ผี ลกระทบต่องบการเงิน ความเหมาะสมของวิธีการบันทึกบัญชีและขอบเขตการตรวจสอบ และการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนเพียงพอ คณะกรรมการตรวจสอบมีความ เห็นว่า การจัดท�ำงบการเงินเป็นไปตามข้อก�ำหนดของกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง มีความครบถ้วน เป็นที่น่าเชื่อถือได้ สมเหตุสมผลตามที่ควรในสาระส�ำคัญตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการของบริษัท 1 ครั้ง เพื่อพิจารณา ขอบเขตแนวทางและความเป็นอิสระในการสอบบัญชีประจ�ำปีของผู้สอบบัญชี

2. การสอบทานประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและทบทวนระบบการควบคุมภายในร่วมกับผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีทกุ ไตรมาส โดยพิจารณาเรือ่ งการ ด�ำเนินงาน การดูแลรักษาทรัพย์สนิ และระบบการควบคุมภายในส�ำหรับระบบงานทีส่ ำ� คัญของบริษทั ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับ ผูส้ อบบัญชีวา่ บริษทั มีระบบการควบคุมภายในทีพ ่ อเพียง ไม่พบจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ มีการดูแลรักษาทรัพย์สนิ ทีเ่ หมาะสม และมีระบบ การติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงานเหมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล

3. การสอบทานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบตั งิ านตามระบบงานทีก่ ำ� หนดไว้ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบไม่พบประเด็นที่เป็นสาระส�ำคัญในเรื่องการไม่ปฏิบัติตาม ระบบงาน กฎหมาย และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบร่วมกับผู้สอบบัญชีได้สอบทานรายการที่เกี่ยวโยง กันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีความเห็นสอดคล้องกันว่า รายการค้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระส�ำคัญได้เปิดเผยและ แสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้วอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และรายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์ สูงสุดต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยรวมทั้งคณะ ซึ่งผล สรุปอยู่ในเกณฑ์ดี

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

7


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

4. การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่และความรับผิดชอบ อัตราก�ำลังคนและผลตอบแทนของพนักงาน ฝ่ายตรวจสอบภายใน และอนุมัติแผนการตรวจสอบประจ�ำปี รวมทั้งติดตามการปฏิบัติงานของบริษัทตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของฝ่ายตรวจสอบ ภายใน โดยฝ่ายตรวจสอบภายในจะรายงานการสอบทาน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในเรื่องที่ตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกไตรมาส ในปี 2556 ฝ่ายตรวจสอบภายในมุง่ เน้นทีร่ ะบบจัดซือ้ ระบบการจัดจ้างผูร้ บั เหมาก่อสร้าง และระบบควบคุมทรัพย์สนิ โดยได้สอบทาน ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านและระบบงานให้เป็นไปตามกฎและระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง และได้ให้คำ� ปรึกษาและข้อเสนอแนะเพือ่ ปรับปรุงขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการตรวจสอบภายในที่พอเพียง เหมาะสม และมีประสิทธิผล และฝ่ายตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน

5. การคัดเลือกผู้สอบบัญชี ปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้คัดเลือก และเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากผลการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของ ค่าตอบแทน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นชอบในการเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท ส�ำนักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จ�ำกัด ได้แก่ นางสาวรุง้ นภา เลิศสุวรรณกุล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3516 (ซึง่ เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั มาเป็นเวลา 4 ปีทผี่ า่ นมาติดต่อกัน) และ/หรือ นายโสภณ เพิ่มศิริวัลลภ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3182 (ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทในปี 2547 ถึงปี 2551) และ/หรือ นางสาวสุมาลี รีวราบัณฑิต ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 3970 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจ�ำปี 2556 พร้อมด้วยค่าตอบแทนเป็นจ�ำนวนเงินรวม 770,000 บาท ซึ่งเท่ากับปี 2555 และน�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา และขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2556 โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัท โดยใช้ความรู้ความสามารถ ความรอบคอบและระมัดระวัง มีความเป็นอิสระเพียงพอเพื่อปกป้องประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่าง เท่าเทียมกัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริษทั มีความถูกต้อง เชือ่ ถือได้ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ สอดคล้อง ตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป บริษัทมีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล มีการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท

ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ

นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์, F.C.A. ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

8

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ

หน่วย : ล้านบาท 2556

2555

2554

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์

4,663.04

4,364.45

1,076.47

ค่าเช่ารับและค่าบริการ

1,109.69

1,053.01

880.23

รายได้ค่าบริหารจัดการจาก property funds

152.59

105.07

113.44

ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนใน property funds

216.57

169.22

160.80

ก�ำไรที่รับรู้เพิ่มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ property funds

154.45

35.29

3.52

ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์

2,886.28

2,691.07

700.59

ต้นทุนการให้เช่าและบริการ

261.52

392.29

248.12

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

715.60

432.00

326.04

ก�ำไรสุทธิ

1,414.23

1,296.57

436.39

สินทรัพย์

26,451.39

19,736.00

15,288.73

หนี้สิน

17,763.63

11,839.27

9,548.54

ส่วนของผู้ถือหุ้น

8,687.76

7,896.73

5,740.19

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)

17.05

19.02

7.70

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (ร้อยละ)

10.06

12.90

7.11

อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ)

64.52*

70.35

71.59

*ค�ำนวณจากจ�ำนวนหุ้นช�ำระแล้ว ณ วันที่ 5 มีนาคม 2557

2552

2553

2554

2555

2556

ณ สิ�นป

2553

หนี้สิน

6,888

26,452 8,688

7,897

2552

5,740

12,485

2551

5,597

2550

11,843

2551

2550

9,549

2550

4,994 11,109

5,000

6,115

500

4,849 11,734

436

10,000

6,885

821

653

725

15,000

4,831 4,852 9,683

1,414

1,297

1,063

1,000

20,000

15,289

25,000

2,000

19,740

30,000

2,500

1,500

สินทรัพย

ล านบาท

2554

2555

17,764

กำไรสุทธิ

ล านบาท

2556

ส วนของผู ถือหุ น TICON รายงานประจำ�ปี

2556

9


รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

สารจากประธาน กรรมการ

โรงงาน และคลังสินค้า ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

โรงงานและคลังสินค้า TICON

ตารางเมตร 81%

500,000

78%

82%

77%

76%

400,000

500,000

2552

2553

2554

2555

2556

0%

500,000

82%

77%

71% 400,000

100%

600,000

80%

500,000

62%

60%

60%

87,435

2551

2552

2553

2554

2555

2556

พ�้นที่ขายให FUNDs

400,000

2549

2550

2551

2552

มีสัญญาเช าและรับรู รายได แล ว มีสัญญาเช าแต ยังไม รับรู รายได

2553

2556

0%

79%

2549

2550

2551

2552

55,230 2553

2554

2555

2556

73%

พ�้นที่ขายให FUNDs

ตารางเมตร 100%

94% 82%

0

สร างเสร�จพร อมให เช า อัตราการเช า

1,200,000 1,000,000

2555

TICON

ตารางเมตร 86%

2554

100,000

70,731

20%

100,000

200,000

0

200,000

19,600

40%

117,664

300,000

300,000

78%

76%

65%

800,000

80% 60%

600,000

1,200,000 1,000,000 800,000

2552

มีสัญญาเช าและรับรู รายได แล ว มีสัญญาเช าแต ยังไม รับรู รายได

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

2553

2554

สร างเสร�จพร อมให เช า อัตราการเช า

2555

2556

0%

0

2551

2552

2553

223,764

2550

55,230

2549

87,435

2551

0 70,731

2550

118,018

2549

200,000

102,475

20%

200,000

400,000

290,445

600,000 40%

400,000

0 ณ สิ�นป

2550

ตารางเมตร

97%

600,000 88%

2549

สร างเสร�จพร อมให เช า อัตราการเช า

TICON

ตารางเมตร

0

108,350

2551

182,095

2550

100,000

106,100

2549

98,418

20%

200,000

102,475

40%

มีสัญญาเช าและรับรู รายได แล ว มีสัญญาเช าแต ยังไม รับรู รายได

0 ณ สิ�นป

400,000 300,000

300,000

0 ณ สิ�นป

คลังสินค า

80% 60%

100,000

โรงงานและคลังสินค า

600,000

68%

200,000

10

100%

100,407

โรงงาน

93%

90%

100,407

600,000

พ�้นที่ขายให FUNDs

ตารางเมตร

2554

2555

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

KHONKAEN TPARK Khonkaen

PRACHINBURI Kabinburi Industrial Zone Rojana Industrial Park (Prachinburi) TPARK ROJANA (PRACHINBURI)

CHACHOENGSAO TPARK BANGNA TPARK BANGPAKONG

CHONBURI AYUDHYA

Rojana Industrial Park (Ayudhya) Hi-Tech Industrial Estate Bangpa-In Industrial Estate TPARK ROJANA (AYUDHYA) TPARK WANGNOI (3 Locations)

PATHUMTHANI

Factories Warehouses

Navanakorn Industrial Promotion Zone

BANGKOK

Ladkrabang Industrial Estate TPARK LADKRABANG

SAMUTPRAKARN Bangpoo Industrial Estate Asia Industrial Estate TPARK BANGPLEE (5 Locations)

Amata Nakorn Industrial Estate Hemaraj Chonburi Industrial Estate Laemchabang Industrial Estate Pinthong Industrial Estate TPARK AMATA NAKORN TPARK BOWIN TPARK SRIRACHA TPARK LAEMCHABANG (2 Locations) TPARK PHAN THONG (3 Locations) TPARK EASTERN SEABOARD 1 (2 Locations) TPARK EASTERN SEABOARD 2 (2 Locations) TPARK EASTERN SEABOARD 3

RAYONG Amata City Industrial Estate Rojana Industrial Park (Rayong) TPARK EASTERN SEABOARD 1 (1 Location)

SURAT THANI TPARK SURAT THANI

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

11


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ความรับผิดชอบต่อสังคม

บริษัทได้บริจาคถุงยังชีพ ให้แก่ผู้ประสบอุทกภัยในอ�ำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี

บริษทั ได้จดั โครงการ “ไทคอน กรีน ไลฟ์ ตอน อนุรกั ษ์และปลูกป่าชายเลน” โดยคณะผู้บริหาร และพนักงาน ร่วมกันปลูกป่าชายเลน ณ ศูนย์ศึกษา ธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ

12

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท ร่วมกันบริจาคสิ่งของและเงิน ช่วยเหลือให้แก่วัดศรีจันทาราม จังหวัดสมุทรปราการ และสถานสงเคราะห์ คนพิการและทุพพลภาพ “บ้านบางปะกง” จังหวัดฉะเชิงเทรา ในโครงการ ไทคอนมอบรัก ครั้งที่ 2

บริษัทได้บริจาคอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื่องใช้ส�ำนักงาน เช่น คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะและแบบพกพา เครื่องพิมพ์เอกสาร จอภาพ อุปกรณ์ส�ำรองไฟฟ้า โทรศัพท์ เป็นต้น ให้แก่มูลนิธิสวนแก้ว จังหวัด นนทบุรี

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

13


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการ และผู้บริหาร ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

คณะกรรมการและผู้บริหาร

นายชาลี โสภณพนิช

ประธานกรรมการ อายุ: 53 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ The University of Chicago • Director Accreditation Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 3.31 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2553 - ปัจจุบัน

กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน)

2540 - ปัจจุบัน

กรรมการผู้อ�ำนวยการ บจก. นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย (อสังหาริมทรัพย์)

2530 - ปัจจุบัน

กรรมการผู้อ�ำนวยการ บจก. ซิตี้เรียลตี้ (อสังหาริมทรัพย์)

นายจิระพงษ์ วินชิ บุตร

กรรมการ อายุ: 63 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ George Washington University • Director Accreditation Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Certification Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: - ไม่มี - (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: เป็นญาติกับนายชาย วินิชบุตร ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2555 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี (อสังหาริมทรัพย์)

2555 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 (อสังหาริมทรัพย์)

2553 - ปัจจุบัน

กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน)

2548 - ปัจจุบัน

ประธานกรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า)

2536 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ (อสังหาริมทรัพย์) 14

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

นายชาย วินชิ บุตร

กรรมการ อายุ: 40 ปี การศึกษา: • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ Boston University • Director Accreditation Program ปี 2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: - ไม่มี - (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: เป็นญาติกับนายจิระพงษ์ วินิชบุตร ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2556 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

2555 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

2554 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 3 (อสังหาริมทรัพย์)

2554 - ปัจจุบัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

นายไว เชง ควน

กรรมการและกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ อายุ: 56 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ The University of Chicago สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: - ไม่มี - (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: เป็นคู่สมรสของนางยุพดี ควน ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2555 - ปัจจุบัน

กรรมการ TICON Property, Inc. (ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

2553 - ปัจจุบัน

กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน)

2548 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า)

2544 - 2554

กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 4 (อสังหาริมทรัพย์)

2550 - ปัจจุบัน

กรรมการ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ (อสังหาริมทรัพย์)

2547 - ปัจจุบัน

กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. โรจนะ พร็อพเพอร์ตี้ (อสังหาริมทรัพย์)

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

15


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการ และผู้บริหาร ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

คณะกรรมการและผู้บริหาร

นางยุพดี ควน

กรรมการ อายุ: 52 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Michigan State University • Director Certification Program ปี 2556 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 3.55 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: เป็นคู่สมรสของนายไว เชง ควน ซึ่งเป็นกรรมการและกรรมการผู้อ�ำนวยการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2556 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

2555 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

นายวีรพันธ์ พูลเกษ

กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ อายุ: 53 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ University of Colorado • Director Certification Program (สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิอาวุโส) ปี 2545 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • DCP Refresher Course ปี 2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Audit Committee Program ปี 2553 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 1.22 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2556 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

2553 - ปัจจุบัน

กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน)

2548 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า)

2544 - ปัจจุบัน

กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

16

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ: 71 ปี การศึกษา: • Fellow of the Institute of Chartered Accountants in England & Wales • Director Accreditation Program ปี 2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 0.06 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผูบ้ ริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท:

2538 - ปัจจุบัน

กรรมการ Sakura Ventures Pte. Ltd. (อสังหาริมทรัพย์ ส�ำนักงาน และโรงแรม)

2551 - 2555

กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ (อสังหาริมทรัพย์)

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

นายตรีขวัญ บุนนาค

2547 - 2555

2551 - ปัจจุบัน

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ อายุ: 52 ปี การศึกษา: • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ University of Southern California • Director Accreditation Program ปี 2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง รุน่ ที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั : - ไม่มี - (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผูบ้ ริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั : ประธานกรรมการ บมจ. เมโทรสตาร์ พร็อพเพอร์ตี้ (อสังหาริมทรัพย์)

กรรมการและกรรมการตรวจสอบ อายุ: 57 ปี การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of North Texas • Director Certification Program ปี 2544 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Accreditation Program ปี 2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: ร้อยละ 0.13 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผูบ้ ริหาร: - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า)

2552 - 2555

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ (อสังหาริมทรัพย์)

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

17


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการ และผู้บริหาร ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

คณะกรรมการและผู้บริหาร ดร. สมศักดิ์ ไชยพร ผู้จัดการทั่วไป อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 62 ปี • ปริญญาเอกวิศวกรรมศาสตร์ Ecole Centrale de Lyon • ร้อยละ 0.01 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • 2544 - ปัจจุบัน ผู้จัดการทั่วไป บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ์ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุการบริษัท อายุ • 48 ปี การศึกษา • ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Company’s Secretary Program ปี 2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ร้อยละ 0.02 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร • - ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผู้จัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

18

นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ ผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 47 ปี • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Notre Dame de Namur University • - ไม่มี - (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นายสมศักดิ์ รัตนวิระกุล ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการตลาด 1 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 54 ปี • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • 2539 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายวางแผนและโครงการ บมจ. ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม (อสังหาริมทรัพย์)

นายชิเกยูกิ โฮริเอะ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการตลาด 2 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 55 ปี • ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ Tokyo Denki University • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • - ไม่มี -

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

นางยูโกะ โฮชิ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการตลาด 3 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 43 ปี • ปริญญาตรีสังคมศาสตร์ Chiba University • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายพัฒนาโครงการ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 45 ปี • ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ Texas A&M University, Kingsville • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นางสาวศิริพร สมบัติวัฒนา ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายธุรการ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 51 ปี • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ร้อยละ 1.77 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นายสิทธิศักดิ์ ธารีรัชต์ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายกฎหมาย อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 50 ปี • ปริญญาตรีนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • - ไม่มี - (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นางสาวรุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายบัญชี อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 43 ปี • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Monash University • - ไม่มี - (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • - ไม่มี -

นางสาวพรพิมล ศุภวิรัชบัญชา ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการเงิน อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

• 38 ปี • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) • - ไม่มี • - ไม่มี TICON รายงานประจำ�ปี

2556

19


ข้อมูลทั่วไป สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ข้อมูลทัว� ไป บริษทั ชื�อ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

เว็บไซต์ อีเมล ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ก่อสร้างโรงงานสําเร็จรูปเพื�อวัตถุประสงค์ในการให้เช่า 0107544000051 (บมจ. 666) ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ที าวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticon.co.th ticon@ticon.co.th 1,263,740,168 บาท (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 912,396,032 บาท (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 1 บาทต่อหุน้

บริษทั ย่อย บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จํากัด ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

20

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ก่อสร้า งโรงงานสําเร็จรู ปเพื�อวัตถุประสงค์ในการให้เช่าในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึ�งได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 100 49/32 หมูท่ �ี 5 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 50,000,000 บาท (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 50,000,000 บาท (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 10 บาทต่อหุน้

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

เว็บไซต์ อีเมล ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

พัฒนาคลังสินค้าสําเร็จรูปเพือ� วัตถุประสงค์ในการให้เช่า บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 100 ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ที าวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticonlogistics.com logistics@ticon.co.th 2,500,000,000 บาท (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 2,500,000,000 บาท (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 10 บาทต่อหุน้

Shanghai TICON Investment Management Company Limited ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว

บริหารการลงทุน บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 100 Rm. A512, Building 4, No.3288, Jinhai Road, Pudong New Area, Shanghai, China 2,800,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 2,800,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557)

TICON Property, Inc. ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนชําระแล้ว

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 100 2975 23RD ST San Francisco, CA 94110 6,000,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557)

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

21


ข้อมูลทั่วไป สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 100 ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ที าวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 10,000,000 บาท (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 10,000,000 บาท (ณ วันที� 5 มีนาคม 2557) 10 บาทต่อหุน้

ผูเ้ กี�ยวข้องอืน� ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259

ผูส้ อบบัญชี

นางสาวรุง้ นภา เลิศสุวรรณกุล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที� 3516 บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด (เดิมชื�อ บริษทั สํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด) ชัน� 33 อาคารเลครัชดาออฟฟิ ศคอมเพล็กซ์ เลขที� 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ (662) 264-0777 โทรสาร (662) 264-0789

ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) เพิ�มเติมได้จากแบบแสดง รายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) ของบริษทั ที�แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษทั

22

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1. วิสยั ทัศน์และเป้ าหมายการดําเนิ นธุรกิจ 1.1 วิสยั ทัศน์ วิสยั ทัศน์ของบริษทั คือ การเป็ นบริษทั ชัน� นําในการพัฒนาและให้บริการเช่าโรงงานและคลังสินค้าที�มี คุณภาพระดับสากล โดยคํานึงถึงสังคมและสภาพแวดล้อมเป็ นสําคัญและให้ผลตอบแทนที�ดที �สี ุดแก่ผูล้ งทุน 1.2 เป้ าหมายการดําเนิ นธุรกิจ เป้ าหมายการดํา เนินธุ ร กิจของบริษ ทั คือ การรัก ษาตําแหน่ งการเป็ นผู น้ ําด้านการก่ อสร้า งโรงงานและ คลังสินค้าเพื�อให้เช่าที�มคี ุณภาพระดับสากลควบคู่ไปกับการให้บริการครบวงจร โดยคํานึงถึงความต้องการของลูกค้าเป็ น สําคัญ และบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลเพื�อประโยชน์ของผูท้ �มี สี ่วนเกี�ยวข้องทุกฝ่ าย

2. การเปลี�ยนแปลงและการพัฒนาการที�สาํ คัญ ในปี 2556 บริษทั ได้ขยายการลงทุนมากกว่าทุกปี ท�ผี ่านมาด้วยการซื�อที�ดนิ และพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าเพิ�ม ในหลายทํา เลใหม่ท�ีมีศกั ยภาพ รวมมูลค่ า กว่า 9,000 ล้า นบาท โดยส่ วนใหญ่ เ ป็ นการลงทุ นในธุ ร กิจ คลังสินค้า เพื�อรองรับความต้อ งการเช่า ที�มีการขยายตัว อย่า งต่ อเนื�องและมีแนวโน้มการเติบโตที�ดี อันจะเห็นได้จากพื�นที�เ ช่า คลังสินค้าสุทธิของบริษทั ทีเ� พิ�มขึ�น 196,357 ตารางเมตร ซึ�งมากกว่าปี ก่อนหน้า นอกจากนี�บริษทั มีพ� นื ที�เช่าโรงงานสุทธิ เพิ�มขึ�น 44,575 ตารางเมตร ซึ�งมากกว่าการเพิ�มขึ�นสุทธิในปี ก่อนหน้าเช่นกัน บริษ ทั มีพ� ืนที�เช่าโรงงานสุทธิเพิ�มขึ�นจากปี ก่อ นหน้า เนื�องจากไม่มผี ลกระทบของการยกเลิก การเช่า จากเหตุ อุทกภัย ทําให้การยกเลิกการเช่าลดลงมาก สําหรับการให้เช่าพื�นทีใ� หม่และอัตราการเช่าเฉลีย� ของโรงงานได้รบั ผลกระทบ จากการชะลอการลงทุนของกลุ่ม อุต สาหกรรมอิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ และยานยนต์ซ�ึงเป็ น กลุ่ม ลู ก ค้า สํา คัญของบริษ ทั อย่างไรก็ตาม ผลกระทบดังกล่าวได้ถูกชดเชยด้วยการเติบโตอย่างมากของธุรกิจคลังสินค้าให้เช่าของบริษทั ในปี ท�ผี ่านมา พื�นที�เช่าคลังสินค้าสุทธิเพิ�มขึ�นสูงกว่าปี ก่อนหน้าร้อยละ 15 ตามความต้องการคลังสินค้าที�ขยายตัวจากการเติบโต ของกิจกรรมโลจิสติกส์ในประเทศ การขยายธุรกิจของกลุม่ ธุรกิจค้าปลีก และการกระจายความเสี�ยงด้านทําเลที�ตงั� ของ ผูป้ ระกอบการ ทําให้รายได้จากธุรกิจคลังสินค้ามีสดั ส่วนมากขึ�นเมือ� เทียบกับรายได้รวมของบริษทั ในปี ท�ผี ่านมา บริษทั ได้ร่วมสนับสนุ นการจัดตัง� กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (TICON Industrial Growth Leasehold Property Fund : TGROWTH) แทนการจัดตัง� กองทรัสต์เพื�อการ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Investment Trust : REIT) เนื�องจากมีขอ้ จํากัดด้านกฎระเบียบที�เกี�ยวข้อง และข้อจํากัดด้านระยะเวลาในการจัดตัง� REIT บริษทั ได้ทาํ การขาย/ให้เช่าโรงงานและคลังสินค้าเป็ นครัง� แรกให้แก่ TGROWTH รวมมูลค่า 5,515 ล้านบาท และได้มกี ารลงทุนใน TGROWTH นอกจากนี� บริษทั ได้จดั ตัง� บริษทั ย่อย ชื�อ บริษทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ จํากัด เพื�อเป็ นผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ โดยคาดว่าจะเริ�ม ดําเนินงานเมือ� มีการจัดตัง� กองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ได้สาํ เร็จ

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

23


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

3. โครงสร้างการถือหุน้ ของกลุ่มบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2556 บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน)

บริษัทร่วม

บริษัทย่อย บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด

100%

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

24%

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด

100%

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์

20%

Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd.

100%

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

29%

TICON Property, Inc.

100%

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด

100%

บริษทั มีบริษทั ย่อย 5 แห่ง ได้แก่ บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON Property, Inc. และบริษทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ จํากัด โดยบริษทั และบริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จํากัด เป็ นผูจ้ ดั สร้างโรงงานให้เช่า ส่วนคลังสินค้า ให้เช่าดํา เนินการโดยบริษทั ไทคอน โลจิสติ คส์ พาร์ค จํา กัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited และ TICON Property, Inc. จัดตัง� ขึ�นเพื�อรองรับการขยายธุ รกิจในประเทศจีน และประเทศสหรัฐอเมริกา สําหรับ บริษทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ จํากัด จัดตัง� ขึ�นเพื�อวัตถุประสงค์ในการเป็ นผูจ้ ดั การ กองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทัง� นี� รายละเอียดของบริษทั ย่อยมีดงั ต่อไปนี� 1. บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด (Eco Industrial Services Company Limited: EISCO) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน โดย EISCO ดําเนินธุ รกิจเช่นเดียวกับบริษทั และถูกจัดตัง� ขึ�น เพื�อ ขอรับการส่ ง เสริ มการลงทุน จากคณะกรรมการส่ง เสริ ม การลงทุ นในโครงการก่ อ สร้า งโรงงานสํา เร็ จ รู ป ใน นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังซึ�งเป็ นโครงการที�มรี ู ปแบบเช่นเดีย วกับโครงการของบริษ ทั โดยเริ�มดําเนินการในเดือ น เมษายน 2544 และได้รบั อนุมตั ิให้ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเมื�อเดือนสิงหาคม 2544 ณ วันที� 5 มีนาคม 2557 EISCO มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 50 ล้านบาทโดยในปี 2546 EISCO ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2000

24

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

2. บริษัท ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด (TICON Logistics Park Company Limited: TPARK) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน TPARK จัดตัง� ขึ�นในเดือนสิงหาคม 2548 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อ พัฒนาคลังสินค้าให้เช่า โดย TPARK ได้ร บั การส่งเสริมการลงทุนในการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมโลจิสติ คส์ไทคอน บางนา เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อ ย เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ศรีราชา เขตอุตสาหกรรม โลจิสติคส์ไทคอน แหลมฉบัง และการพัฒนาคลังสินค้าจํานวนหนึ�งในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) ณ วันที� 5 มีนาคม 2557 TPARK มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 2,500 ล้านบาท โดยในปี 2552 TPARK ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 3. Shanghai TICON Investment Management Company Limited ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน จัดตัง� ขึ�นในประเทศจีน ในเดือนกรกฎาคม 2553 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อรองรับการขยายธุ รกิจ เกี�ยวกับการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในประเทศจีน ซึ�งปัจจุบนั อยู่ระหว่างศึกษาความเป็ นไปได้สาํ หรับการลงทุน ณ วันที� 5 มีนาคม 2557 Shanghai TICON Investment Management Company Limited มีทุน จดทะเบียน 2.8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และมีทุนชําระแล้ว 2.8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 4. TICON Property, Inc. ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 จัดตัง� ขึ�นในประเทศสหรัฐ อเมริกา ในเดือ น มกราคม 2555 โดยมีว ตั ถุประสงค์เ พื�อ รองรับการขยายธุ ร กิจ เกี�ย วกับการลงทุนในอสังหาริมทรัพ ย์ใ นประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ�งปัจจุบนั อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็ นไปได้สาํ หรับการลงทุน ณ วันที� 5 มีนาคม 2557 TICON Property, Inc. มีทุนชําระแล้ว 6 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 5. บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด (TICON Management Company Limited: TMAN) ถือหุน้ โดย บริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน TMAN จัดตัง� ขึ�นในเดือนพฤษภาคม 2556 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อเป็ นผูจ้ ดั การ กองทรัสต์ ซึ�งปัจจุบนั อยู่ระหว่างการยื�นคําขอความเห็นชอบเป็ นผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ณ วันที� 5 มีนาคม 2557 TMAN มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 10 ล้านบาท นอกจากบริษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษทั ยังมีการลงทุนในบริษัทร่วม ได้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน กองทุ น รวมอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ทีพ าร์ค โลจิ ส ติ ค ส์ และกองทุ น รวมสิท ธิ ก ารเช่ า อสังหาริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน อินดัสเทรียล โกรท ซึ�งมีรายละเอียดดังนี� 

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (TICON Property Fund : TFUND)

TFUND จัดตัง� ขึ�นในเดือนเมษายน 2548 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กี�ยวเนื�องกับ กิจการอุตสาหกรรม (Industrial Properties) โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้าของ TFUND เป็ นกองทุนที�เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จํากัดเป็ นผูจ้ ดั การกองทุน

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

25


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจุบนั TFUND มีจาํ นวนเงินทุน 12,392 ล้านบาท TFUND มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2548 และได้ทาํ การเพิ�มทุนอีก 6 ครัง� ในปี 2549-2555 เพื�อซื�อโรงงานและคลังสินค้าจาก TICON และ TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีโรงงาน จํานวนรวม 237 โรงงาน (พื�นที�รวม 563,800 ตารางเมตร) และคลังสินค้า 8 หลัง (พื�นที�รวม 19,600 ตารางเมตร) ตามลําดับ ทัง� นี� TICON และ TPARK มิได้มขี ้อผูกพันในการซื�อโรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TFUND TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงานและคลังสินค้าที�ขายให้แก่ TFUND และ ได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TFUND TFUND มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ ผูถ้ ือหน่วยอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ� กว่าร้อ ยละ 90 ของกําไรสุทธิของกองทุน ซึ�งกําไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 TFUND มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 10.9737 บาทต่อหน่วย ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2556 บริษทั มีการลงทุนใน TFUND คิดเป็ นร้อยละ 23.63 ของจํานวนหน่วยลงทุน ที�ออกทัง� หมด 

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ (TPARK Logistics Property Fund : TLOGIS)

TLOGIS จัดตัง� ขึ�นในเดือนธันวาคม 2552 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กี�ยวเนื�อง กับกิจ การอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพ ย์ดงั กล่า วไม่จ ําเป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพ ย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้า ของ TLOGIS เป็ นกองทุนที�เ ป็ นหลัก ทรัพ ย์จ ดทะเบีย นในตลาดหลัก ทรัพ ย์แห่งประเทศไทย โดยมีบริษ ทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จํากัด เป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TLOGIS มีจาํ นวนเงินทุน 4,647 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2552 และทําการเพิ�มทุน อีก 2 ครัง� ในปี 2554-2555 เพื�อซื�อคลังสินค้า จาก TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีคลังสินค้าจํานวนรวม 63 หลัง (พื�นที�รวม 243,625 ตารางเมตร) โดยมี TICON เป็ นผูค้ าํ� ประกันค่าเช่าสําหรับการเช่าคลังสินค้าบางส่วนให้แก่ TLOGIS เป็ น จํานวนเงินเท่ากับปี ละ 187.5 ล้านบาท จนถึงวันที� 31 ธันวาคม 2559 ทัง� นี� TPARK มิได้มขี ้อผูกพันในการซื�อคลังสินค้า คืนจาก TLOGIS TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารคลังสินค้าที�ขายให้แก่ TLOGIS และได้รบั ค่าจ้าง บริหารจาก TLOGIS TLOGIS มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่วยอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ� กว่าร้อยละ 90 ของ กําไรสุทธิของกองทุน ซึ�งกําไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 TLOGIS มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 11.3202 บาทต่อหน่วย ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2556 บริษทั มีการลงทุนใน TLOGIS คิดเป็ นร้อยละ 20.04 ของจํานวนหน่วยลงทุน ที�ออกทัง� หมด

26

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสัง หาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (TICON Industrial Growth Leasehold Property Fund : TGROWTH) 

TGROWTH จัดตัง� ขึ�นในเดือ นธันวาคม 2556 เพื�อ วัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพ ย์ท�ี เกี�ยวเนื�องกับกิจการอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่า วไม่จาํ เป็ นต้อ งเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้าของ TGROWTH เป็ นกองทุนรวมสิทธิการเช่าที�เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย โดยมีบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนไทยพาณิชย์ จํากัด เป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบ นั TGROWTH มีจ ํานวนเงินทุน 5,550 ล้า นบาท มีก ารระดมทุนครัง� แรกในปี 2556 เพื�อ ลงทุน ในสิทธิการเช่าที�ดนิ กรรมสิทธิ� และสิทธิการเช่าอาคารจาก TICON และ TPARK ซึ�งปัจุบนั มีโรงงานรวม 38 โรงงาน (พื�นที�รวม 104,225 ตารางเมตร) และคลังสินค้า 50 หลัง (พื�นที�รวม 182,095 ตารางเมตร) ตามลําดับ ทัง� นี� TICON และ TPARK มิได้มขี ้อผูกพันในการซื�อโรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TGROWTH TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงานและคลังสินค้าที�ขาย/ให้เช่าแก่ TGROWTH และได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TGROWTH TGROWTH มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ ือหน่วยลงทุนอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ� กว่า ร้อยละ 90 ของกําไรสุทธิของกองทุน ซึ�งกําไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 TGROWTH มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 10.0488 บาทต่อหน่วย ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2556 บริษทั มีการลงทุนใน TGROWTH คิดเป็ นร้อยละ 28.52 ของจํานวนหน่วย ลงทุนที�ออกทัง� หมด การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่ TFUND TLOGIS และ TGROWTH ถือเป็ นช่องทางการระดมทุนของบริษทั ทางหนึ�ง เพื�อนําเงินที�ได้มาใช้ขยายกิจการของบริษทั นอกเหนือจากแหล่งเงินทุนจากผลการดําเนินงานของบริ ษทั และ แหล่งเงินทุนจากการกูย้ มื การพิจารณาขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND TLOGIS และ TGROWTH นัน� บริษทั จะ คํานึงถึงความเหมาะสมของปัจจัยต่ าง ๆ ที�เกี�ยวข้อ งในแต่ละช่วงเวลา โดยคํา นึงถึงผลตอบแทนสูงสุดต่อ ผูถ้ ือหุน้ ทัง� นี� ในอนาคตบริษทั มีแผนที�จะระดมทุนผ่านกองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Investment Trust) ซึ�งจะเป็ นทางเลือกหนึ�งที�ช่วยในการบริหารโครงสร้างเงินทุนของบริษทั ได้อย่างเหมาะสม บริษทั มีเงินลงทุนในบริษัทที�เกี�ยวข้อง คือ บริษทั บางกอกคลับ จํากัด เป็ นจํานวนเงินทัง� สิ�น 256,500 บาท คิดเป็ นร้อยละ 0.11 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั บางกอกคลับ จํากัด เพื�อวัตถุประสงค์ในการใช้บริการของบริษทั ดังกล่าว

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

27


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ลักษณะการประกอบธุรกิจ 1. ภาพรวมของธุรกิจ บริ ษ ทั ประกอบธุ ร กิ จ เป็ นผู ก้ ่ อ สร้า งโรงงานอุ ต สาหกรรมและคลัง สิ น ค้า ให้เ ช่ า ในนิ ค มอุ ต สาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรม เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และทําเลอื�นที�มศี กั ยภาพในประเทศไทย โดยโรงงาน ของบริษทั ตัง� อยู่ในนิคม/สวน/เขต/ เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม 15 แห่ง ดังต่อไปนี� ที�ตง�ั นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี นิคมอุตสาหกรรมปิ� นทอง นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต� ี นิคมอุตสาหกรรมบางปู นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ระยอง เขตอุตสาหกรรมกบินทร์บรุ ี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี

จังหวัด พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ระยอง สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร ระยอง ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

เขตส่งเสริมการลงทุน เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 3* เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 3* เขตส่งเสริมการลงทุนที� 1 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 1 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 1 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 1 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 3* เขตส่งเสริมการลงทุนที� 3 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 3

* ในกรณีทนี� กั ลงทุนยื�นขออนุ ญาตจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนระหว่างวันที� 1 มกราคม 2553 จนถึง วันที� 31 ธันวาคม 2557 โดยหลังจาก นัน� จะถือว่าอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุนที� 2

คลังสินค้าของบริษทั ตัง� อยู่ในพื�นที� 29 ทําเล ดังต่อไปนี� ที�ตง�ั เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางนา ศูนย์คลังสินค้าแหลมฉบัง เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน แหลมฉบัง เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย (3 แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ลาดกระบัง ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด (5 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ศรีราชา 28

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

จังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี กรุงเทพมหานคร ระยอง ชลบุรี ชลบุรี

เขตส่งเสริมการลงทุน เขตส่งเสริมการลงทุนที� 1 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 1 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

ที�ตง�ั นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) ศูนย์คลังสินค้าพานทอง (3 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางปะกง ศูนย์คลังสินค้าบางพลี (5 แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี ศูนย์คลังสินค้าขอนแก่น ศูนย์คลังสินค้าสุราษฎร์ธานี

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

จังหวัด ชลบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปราจีนบุรี ขอนแก่น สุราษฎร์ธานี

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

เขตส่งเสริมการลงทุน เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 2 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 1 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 3 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 3 เขตส่งเสริมการลงทุนที� 3

2. โครงสร้างรายได้ ปัจจุบนั รายได้จากการขายโรงงาน/คลังสินค้ามีสดั ส่วนสูงที�สุดเมื�อเทียบกับรายได้ร วมของบริษทั เนื�องจาก ปี ท�ีผ่านมาบริษทั มีก ารขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เป็ นจํานวนมากเพื�อนําเงินที�ได้มาใช้ ขยายธุรกิจของบริษทั อย่างไรก็ตาม รายได้ค่าเช่ารับและบริการยังคงเป็ นรายได้หลักที�สาํ คัญของบริษทั เนื� องจากการ ให้เช่าโรงงาน/คลังสินค้าเป็ นธุรกิจหลักของบริษทั รายได้ทงั� สองประเภทคิดเป็ นประมาณร้อยละ 80-90 ของรายได้รวมทัง� หมดของบริษทั บริษทั ยังมีรายได้อ�ืน ๆ อีกหลายประเภท ซึ�งมีสดั ส่วนมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละปี ทัง� นี� โปรดดูการวิเคราะห์โครงสร้างรายได้เพิ�มเติมใน หัวข้อ “คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ” โครงสร้างรายได้ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากการให้เช่าและการบริการ รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมตามวิธีส่วนได้เสีย กําไรที�รบั รูเ้ พิม� เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม รายได้อ�นื ๆ รวม

2554 ล้านบาท 1,076.47 880.23 113.44 160.80 3.52 61.25 2,295.71

ร้อยละ 46.89 38.34 4.94 7.01 0.15 2.67 100.00

2555 ล้านบาท 4,364.45 1,053.01 105.07 169.22 35.29 321.45 6,048.49

ร้อยละ 72.16 17.41 1.74 2.80 0.58 5.31 100.00

2556 ล้านบาท 4,663.04 1,109.69 152.59 216.57 154.45 384.70 6,681.04

ร้อยละ 69.80 16.61 2.28 3.24 2.31 5.76 100.00

3. ผลิตภัณฑ์และบริการ 3.1 ผลิตภัณฑ์ ก. โรงงานสําเร็จรูป บริ ษ ทั ได้จ ดั สร้า งโรงงานสํา เร็ จ รู ป ที�มีคุณ ภาพระดับ สากลเพื�อ ตอบสนองความต้อ งการของ ผูป้ ระกอบการที�เข้ามาตัง� ฐานการผลิตในประเทศไทยโดยไม่ต อ้ งการถือ กรรมสิทธิ�ในโรงงาน เพื�อลดต้นทุนในการ ดํา เนินการ และลดความเสี�ย งจากความไม่แน่ นอนต่ า ง ๆ ที�อ าจเกิดขึ�น บริษ ทั ได้เ ลือ กสร้า งโรงงานในทํา เลที�ต งั� ที�มีศกั ยภาพ และก่ อ สร้างโรงงานที�มรี ู ปแบบมาตรฐานเหมาะสมสํา หรับผู ป้ ระกอบการที�หลากหลายอุตสาหกรรม

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

29


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

นอกจากนี� เนื�องจากกลุม่ ผูเ้ ช่าโรงงานของบริษทั เกือบร้อยละ 90 เป็ นผูป้ ระกอบการชาวต่างชาติ บริษทั จึงได้เน้นการ ให้บริการให้ความช่วยเหลือในเรื�องต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับการเริ�มต้นประกอบการผลิตในประเทศไทย บริษทั เลือกทําเลที�ตงั� สําหรับการพัฒนาโรงงานโดยพิจารณาจากความต้องการของลูกค้าในปัจจุบนั และการคาดการณ์ในอนาคต นอกจากนัน� ยังพิจารณาถึงเขตส่งเสริมการลงทุนของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ความสะดวกในการเดินทางไปยังท่าเรือ สนามบิน ระยะห่างจากกรุงเทพมหานคร ตลอดจนระบบโครงสร้างพื�นฐานที�ได้ มาตรฐานของทําเลที�ตงั� นัน� ๆ บริษทั มีการพัฒนาโรงงานทัง� ในเขตส่งออกและเขตทัว� ไปตามความต้องการของลูกค้า ซึ�งจะแตกต่าง กันในแต่ละทําเลที�ตงั� ตัวอย่างเช่น ความต้องการโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังซึ�งอยู่ติดกับท่าเรือนํา� ลึกทีส� าํ คัญ ของประเทศไทย โดยส่วนใหญ่จะเป็ นความต้องการของโรงงานในเขตส่งออก โรงงานของบริษ ทั มีลกั ษณะเป็ นอาคารชัน� เดีย วพร้อมชัน� ลอยเพื�อ ใช้เ ป็ นสํา นัก งาน ซึ�งก่ อสร้า ง ในบริเวณพื�นที�ดนิ ที�มรี วั� กัน� เป็ นสัดส่วน พร้อมด้วยป้ อมยาม พื�นที�จอดรถ และพื�นที�สาํ หรับขนถ่ายสินค้า ทัง� นี� โรงงานที� บริษทั พัฒนาขึ�นเป็ นแบบมาตรฐาน แต่สามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าได้ ขนาดของโรงงาน มีตงั� แต่ 1,200 ถึง 14,250 ตารางเมตร ซึ�งโดยส่วนใหญ่มีขนาดประมาณ 2,000 ถึง 3,000 ตารางเมตร พื�นโรงงาน สามารถรับนํา� หนักได้ตงั� แต่ 1 ถึง 3 ตันต่อตารางเมตร ตัวอาคารก่อสร้าง โดยใช้โครงสร้างหลังคาเหล็ก ซึ�งไม่ตอ้ งมีเสา รองรับหลังคาโรงงาน ทําให้ได้พ�นื ที�ใช้สอยสูงสุด นอกจากโรงงานสําเร็จรูปแล้ว บริษทั ยังให้บริการสร้างโรงงานตามแบบที�ลูกค้าต้องการ ซึ�งโดยทัว� ไป จะมีขนาดใหญ่กว่าโรงงานสําเร็จรูปของบริษทั สัญญาเช่าระหว่างลูกค้ากับบริษทั เกือบทัง� หมดมีอายุสญั ญา 3 ปี โดยเปิ ดโอกาสให้ลูกค้ามีทางเลือก ในการต่อสัญญาเช่าได้ นอกจากนัน� บริษทั ยังให้ทางเลือกแก่ลูกค้าในการเปลีย� นไปเช่าโรงงานอื�นของบริษทั ในทําเลที�ตงั� หรือขนาดที�แตกต่างไป ตลอดจนให้ทางเลือกแก่ลูกค้าในการซื�อโรงงาน บริษ ทั กํา หนดให้ลูก ค้า ชํา ระเงินมัด จํา จํา นวน 3-6 เดือ นของค่ า เช่า และค่ า บริก ารตามแต่ จ ะ ตกลงกัน ณ สิ�นปี 2554 2555 และ 2556 บริษ ทั มีโรงงานให้เช่าแก่ลูกค้า โรงงานที�มีสญั ญาเช่าแล้วแต่ย งั ไม่ถงึ กําหนดรับรูร้ ายได้ โรงงานว่างพร้อมให้เช่า และโรงงานที�อยู่ระหว่างการพัฒนา ดังนี�

30

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

โรงงานให้เช่า โรงงานทีม� สี ญั ญาเช่าแต่ยงั ไม่ถงึ กําหนดรับรู ร้ ายได้ โรงงานว่างพร้อมให้เช่า โรงงานทีอ� ยูร่ ะหว่างการพัฒนา โรงงานทีอ� ยูใ่ นแผนการพัฒนา รวม

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

สิ�นปี จํานวน โรงงาน 137 6 10 15 56 224

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

2554 สิ�นปี พื�นที�เช่ า จํานวน (ตรม.) โรงงาน 387,515 95 15,900 19 31,800 34 38,245 11 144,239 62 617,699 221

งบการเงิน

2555 พื�นที�เช่ า (ตรม.) 261,840 51,025 101,225 24,625 173,775 612,490

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

สิ�นปี จํานวน โรงงาน 78 8 41 14 160 301

2556 พื�นที�เช่ า (ตรม.) 214,890 37,300 119,475 39,300 421,975 832,940

ตารางขา้ งต้นแสดงข้อ มูล ของโรงงานภายหลังการขายโรงงานจํา นวนหนึ�ง ซึ�งเกื อ บทัง� หมดมี ผูเ้ ช่าแล้ว ให้แก่ TFUND และ TGROWTH ทัง� นี� ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีการขายโรงงาน ให้แก่ TFUND และ TGROWTH ดังนี�

โรงงานทีข� ายให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์

ปี 2554 จํานวน พื�นที�เช่ า โรงงาน (ตรม.) -

ปี 2555 จํานวน พื�นที�เช่ า โรงงาน (ตรม.) 38 106,000

ปี 2556 จํานวน พื�นที�เช่ า โรงงาน (ตรม.) 40 108,350

อัตราการเช่า โรงงานของบริษทั โดยเฉลี�ย (Occupancy rate) ในปี 2556 ลดลงจากปี 2555 เนื�องจากในปี ท�ผี ่านมาบริษทั มีพ�นื ทีเ� ช่าใหม่เพิ�มขึ�นน้อยลง และยังมีโรงงานว่างจํานวนหนึ�งในพื�นที�เคยประสบอุทกภัย ประกอบกับบริษทั มีการขายโรงงานที�ส่วนใหญ่ มผี ูเ้ ช่าแล้วให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพ ย์คิดเป็ นพื�นที�ก ว่า 100,000 ตารางเมตร โดยการเพิ�มขึ�น ที�ลดลงของพื�นที�เ ช่า ใหม่มีสาเหตุ หลัก มาจากการชะลอการลงทุนของลู ก ค้า ในกลุ่ม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ท�พี �งึ พิงการส่งออกเป็ นหลัก ซึ�งได้รบั ผลกระทบจากความต้องการในตลาดโลกที�ลดลง และ กลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ท�ไี ด้รบั ผลกระทบจากการลดลงของยอดขายภายในประเทศหลังจากสิ�นสุดมาตรการคืนภาษี รถยนต์คนั แรก อย่างไรก็ตาม พื�นที�เช่าโรงงานสุทธิของปี 2556 ยังคงเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้า อัตราการเช่าโรงงานเฉลีย� ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา มีดงั นี� อัตราการเช่าโรงงานเฉลี�ย (ร้อยละ)

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2556

88

81

73

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

31


รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

สารจากประธาน กรรมการ

หลายประเภท ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5.

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ณ สิ�นปี 2556 ลูกค้าที�เช่าโรงงานของบริษทั เป็ นผูผ้ ลิตชิ�นส่วนจากประเทศต่าง ๆ ในอุตสาหกรรม

อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ และเครื�องใช้ไฟฟ้ า ยานยนต์ เครื�องจักรทางการเกษตร อาหาร อื�น ๆ (เช่น พลาสติก เครื�องกรองในอุตสาหกรรม) รวม

ร้อยละ 28.2 26.3 11.4 4.2 29.9 100.0

ประเทศ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ญี�ป่ นุ ยุโรป ไทย แคนาดา สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา อื�น ๆ (เช่น ออสเตรเลีย จีน ฯลฯ) รวม

ร้อยละ 40.2 27.7 12.3 7.3 6.7 4.1 1.7 100.0

หมายเหตุ : สัดส่วนข้างต้นคํานวณจากรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการในเดือนธันวาคม ปี 2556

ข. คลังสินค้า บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั เป็ นผูพ้ ฒั นาอาคารคลังสินค้า สําเร็จรูปที�มคี ุณภาพระดับสากลเพื�อให้เช่า โลจิสติกส์นบั เป็ นกิจกรรมที�สาํ คัญในการกระจายวัตถุดิบ ชิ�นส่วนอุปกรณ์ สินค้าสําเร็จรู ป และ ผลผลิตอื�น ๆ ปัจจุบนั กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ถอื เป็ นกิจกรรมที�ผูป้ ระกอบการให้ความสําคัญเป็ นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ผูป้ ระกอบการตลอดจนผูใ้ ห้บริการด้า นโลจิสติก ส์ส่วนใหญ่จ ําเป็ นต้องใช้เ งินจํานวนมากสํา หรับการลงทุนในระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ยานพาหนะและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที�สาํ คัญ รวมทัง� บุคคลากรที�เกี�ยวข้อง บริษทั จึงเล็งเห็นโอกาสของ การพัฒนาคลังสินค้าที�มคี ุณภาพเพื�อให้ผูป้ ระกอบการเหล่านัน� เช่าแทนการลงทุนสร้างเพื�อเป็ นเจ้าของเอง คลังสินค้าของบริษทั ตัง� อยู่ในทําเลที�เป็ นยุทธศาสตร์ท�สี าํ คัญ เหมาะแก่การเป็ นศูนย์กระจายสินค้า ที�ดี อาคารคลังสินค้าสามารถรองรับการจัดการคลังสินค้า สมัยใหม่ การออกแบบตัวอาคารจะคํา นึงถึงระยะห่างของ ช่วงเสา การรับนํา� หนักของพื�นอาคาร ความสูงของอาคาร จํานวนประตูสาํ หรับขนถ่ายสินค้า และอุปกรณ์ช่วยปรับระดับ พื�นให้มคี วามลาดชันที�เหมาะสมกับความสูงของรถขนสินค้า นอกจากคลังสินค้า สําเร็จ รู ปที�บริษทั ได้พ ฒั นาขึ�นพร้อ มให้เช่าเช่นเดียวกับโรงงานสํา เร็ จรู ปแลว้ (Ready-built warehouses) บริษทั ยังมีการสร้างคลังสินค้าตามรู ปแบบและในทําเลที�ลูกค้าต้องการ (Custom-built warehouses) อีกทัง� มีบริการซื�อคลังสินค้าจากลูกค้าเพื�อให้เช่ากลับคืน (Sale and Leaseback) อีกด้วย สัญญาเช่ า ส่ว นใหญ่ มีอ ายุ 3 ปี โดยมีก ารเปิ ดโอกาสให้ลู ก ค้า ต่ อ สัญญาได้ และบริ ษ ทั มีก าร กําหนดให้ลูกค้าชําระค่ามัดจําเป็ นจํานวน 3-6 เดือนของค่าเช่า

32

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ณ สิ�นปี 2554 2555 และ 2556 บริษทั มีคลังสินค้าให้เช่าแก่ลูกค้า คลังสินค้าที�มสี ญั ญาเช่าแล้ว แต่ยงั ไม่ถงึ กําหนดรับรูร้ ายได้ คลังสินค้าว่างพร้อมให้เช่า และคลังสินค้าที�อยู่ระหว่างการพัฒนา ดังนี�

คลังสินค้าให้เช่า คลังสินค้าที�มสี ญั ญาเช่าแต่ยงั ไม่ถงึ กําหนดรับรูร้ ายได้ คลังสินค้าว่างพร้อมให้เช่า คลังสินค้าที�อยู่ระหว่างการพัฒนา คลังสินค้าที�อยู่ในแผนการพัฒนา รวม

สิ�นปี 2554 สิ�นปี 2555 สิ�นปี จํานวน พื�นที�เช่า จํานวน พื�นที�เช่า จํานวน คลังสินค้า (ตรม.) คลังสินค้า (ตรม.) คลังสินค้า 52 205,352 62 257,108 33 4 33,481 11 38,670 14 34 1 8,450 86,713 62 19 49 157,186 159,082 31 94 96 769,976 838,904 207 202 1,174,445 220 1,380,477 347

2556 พื�นที�เช่า (ตรม.) 153,873 155,999 187,963 176,604 1,537,082 2,211,521

ตารางข้างต้นแสดงข้อมูลภายหลังการขายคลังสินค้าจํานวนหนึ�ง ซึ�งเกือบทัง� หมดมีผูเ้ ช่าแล้วให้แก่ TFUND TLOGIS และ TGROWTH โดยมีรายละเอียดของการขายคลังสินค้า ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา ดังนี�

คลังสินค้าที�ขายให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์

ปี 2554 จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 13 55,230

ปี 2555 จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 36 117,664

ปี 2556 จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 50 182,095

อัตราการเช่า คลังสินค้าของบริษ ทั โดยเฉลี�ยในปี 2556 ลดลงจากปี 2555 ส่วนหนึ�งเนื�องมาจาก การซื�อที�ดิน และมีท าํ เลที�ต งั� เพิ�มมากขึ�น จึงมีคลังสินค้า ที�สร้า งเสร็จ พร้อ มให้เ ช่า เพิ�มขึ�น ประกอบกับบริษทั มีก าร ขายคลังสินค้าที�มผี ูเ้ ช่าแล้วให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์คิดเป็ นพื�นที� 182,095 ตารางเมตร เพิ�มขึ�นจาก 117,664 ตารางเมตร ในปี ก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม พื�นที�เช่าคลังสินค้าสุทธิของปี 2556 ยังคงเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้า เนื�องจาก มีความต้องการใช้พ�นื ที�คลังสินค้ามากขึ�น โดยเฉพาะอย่างยิง� ในกลุม่ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์และกลุม่ ธุรกิจค้าปลีก อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย� ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา มีดงั นี� อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย� (ร้อยละ)

ปี 2554 88

ปี 2555 89

ปี 2556 71

ณ สิ�น ปี 2556 ลู ก ค้า ที�เ ช่ า คลัง สิน ค้า ของบริ ษ ทั เป็ น ผู ป้ ระกอบการจากประเทศต่ า ง ๆ ใน อุตสาหกรรมหลายประเภท ดังนี�

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

33


รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

สารจากประธาน กรรมการ

1. 2. 3. 4.

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

อุตสาหกรรม ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ ยานยนต์ ค้าปลีก/ค้าส่ง อื�น ๆ (เช่น อาหาร)

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ร้อยละ 53.8 27.0 15.1 4.1

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

ประเทศ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ญี�ป่ นุ สวิตเซอร์แลนด์ ไทย เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี

รวม 100.0 รวม หมายเหตุ : สัดส่วนข้างต้นคํานวณจากรายได้ค่าเช่าและค่าบริการของบริษทั ในเดือนธันวาคม ปี 2556

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ร้อยละ 34.9 19.6 15.4 15.1 10.4 4.6 100.0

3.2 บริการ บริการที�เสนอให้ลูกค้า ได้แก่ 

การดัดแปลงงานอาคารโรงงาน/คลังสินค้า

บริษทั มีทีมงานออกแบบ ก่ อสร้าง ตลอดจนบริหารโครงการด้วยตนเอง ทําให้บริษทั สามารถให้ ความช่วยเหลือลูกค้าในการออกแบบ และดัดแปลงอาคารโรงงาน/คลังสินค้าให้มคี วามเหมาะสมกับความต้องการเฉพาะ ของลูกค้าได้ 

การจัดหาสาธารณู ปโภค บริษทั ให้ความช่วยเหลือในการจัดหาระบบสาธารณูปโภคทีเ� พียงพอกับความต้องการของลูกค้า

การขออนุ ญาตกับหน่ วยงานราชการ

บริษทั ให้ความช่วยเหลือเพื�อให้ได้รบั ใบอนุ ญาติท�จี าํ เป็ นต่อการเริ�มดําเนินการในเวลาอันรวดเร็ว เช่น ใบอนุญาตประกอบการ นอกจากนัน� บริษทั ยังมีบริการให้ความช่วยเหลือลูกค้าในการขอ และต่อใบอนุ ญาตทํางาน ในราชอาณาจักรสําหรับพนักงานของลูกค้าซึ�งเป็ นคนต่างด้าว 

บริการอื�น ๆ

นอกจากทีก� ล่าวข้างต้น บริษทั มีการให้ความช่วยเหลือแก่ลูกค้าในเรื�องต่าง ๆ ตามความต้องการ เฉพาะของลูกค้าเท่าที�จะสามารถกระทําได้ เช่น การแนะนําผูจ้ าํ หน่ายสินค้า และแนะนําบุคคลากรที�สาํ คัญให้แก่ลูกค้า

34

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

4. ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน 4.1 แนวคิด อุปทาน/อุปสงค์ และสภาวะการแข่งขัน 4.1.1 โรงงานสําเร็จรูปให้เช่า ก. แนวคิดของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยทัว� ไปจะเริ�มต้นจากการพัฒนาที�ดินอุตสาหกรรม การจัดสร้าง โครงสร้างพื�นฐานในที�ดนิ อุตสาหกรรม และการขายที�ดนิ ให้แก่ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมเพื�อก่อสร้างโรงงานผลิตสินค้า ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมอาจจัดสรรเงินลงทุนเพื�อเป็ นเจ้าของโรงงานเอง หรืออาจเลือกเช่า โรงงานเพื�อ ลดต้นทุนในการดํา เนินการ และลดความเสี�ย งจากความไม่แน่ นอนต่ า ง ๆ ที�อ าจเกิดขึ�น โดยเฉพาะ อย่างยิ�งหากการให้เช่าโรงงานมีบริการแบบครบวงจร เพื�ออํานวยความสะดวกในการประกอบการให้แก่ผูป้ ระกอบการ ทัง� นี� ในอดีตที�ผ่านมาจนถึงปัจจุบ นั มีผู ป้ ระกอบการชาวต่างชาติจ ํานวนมากที�เ ข้ามาตัง� ฐานการผลิตในประเทศไทย โดยไม่ตอ้ งการถือกรรมสิทธิ�ในโรงงาน ข. อุปทานของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า ผูพ้ ฒั นาโรงงานอุตสาหกรรมเพือ� ขาย/ให้เช่า แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี� 

อุตสาหกรรม

ผู พ้ ฒ ั นาโรงงานบนที�ดิ น อุ ต สาหกรรมที�ต นเองพัฒ นาขึ�น ได้แ ก่ เจ้า ของนิ ค ม

ผู พ้ ฒ ั นาโรงงานบนที�ดิ น อุ ต สาหกรรมที�ซ� ื อ /เช่ า จากเจ้า ของที�ดิ น อุ ต สาหกรรม เช่น บริษทั ซึ�งสร้างโรงงานสําเร็จรูปเพื�อให้เช่าบนที�ดนิ ที�ซ�อื จากเจ้าของที�ดนิ อุตสาหกรรมในทําเลที�ตง�ั ที�หลากหลาย 

ค. อุปสงค์ของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า การเลือกเช่าโรงงานเป็ นทางเลือ กหนึ�งของผู ป้ ระกอบการที�ไม่ตอ้ งการเป็ นเจ้า ของโรงงาน เพื�อลดต้นทุนของโครงการ และเพื�อเพิ�มความยืดหยุ่นในการทําธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ�งในช่วงที�มคี วามไม่แน่นอนของ สถานการณ์ต่ าง ๆ ที�มีอิทธิพ ลต่ อ บรรยากาศการลงทุน นอกจากนัน� วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ท�ีมแี นวโน้มสัน� ลง ตลอดจนการให้ความสําคัญกับอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนล้วนแต่เป็ นปัจจัยเสริมให้ผูป้ ระกอบการมีความต้องการ เช่าโรงงานแทนการลงทุนเป็ นเจ้าของโรงงานเอง ประเทศไทยตัง� อยู่ในทําเลที�ตงั� ที�ดีสาํ หรับการลงทุน เนื�องจากตัง� อยู่ศูนย์กลางของภูมภิ าค อาเซียน นอกจากนัน� ประเทศไทยยังมีแรงงานที�มที กั ษะ มีระบบโครงสร้างพื�นฐานที�ดี รวมทัง� มีกฎระเบียบต่าง ๆ ที�เอื�ออํานวยต่อการลงทุน การเติบโตของการลงทุนจากต่างประเทศในประเทศไทย จะส่งผลให้มคี วามต้องการเช่าโรงงาน มากขึ�น

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

35


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ง. สภาวะการแข่งขัน การสร้า งโรงงานสํา เร็จ รู ปให้เช่าในปัจจุบนั ถือว่า มีการแข่งขันไม่สูงนัก ปัจ จุบนั มีบริษทั ที� จัดสร้างโรงงานอุตสาหกรรมให้เช่าที�มกี ลุม่ ลูกค้าเป้ าหมายใกล้เคียงกันกับบริษทั ได้แก่ บริษทั เหมราชพัฒนาที�ดนิ จํากัด (มหาชน) บริษทั ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) บริษทั อมตะ ซัมมิท เรดดี� บิลด์ จํากัด และบริษทั สวนอุตสาหกรรมปิ� นทอง จํากัด อย่างไรก็ตาม บริษทั เป็ นรายเดีย วที�ทาํ ธุ รกิจพัฒนาโรงงานให้เช่า เป็ นธุ รกิจหลัก บริษทั มี ความได้เปรียบคู่แข่งขัน เนื�องจากบริษทั ให้ความสําคัญกับธุ รกิจการสร้างโรงงานเพื�อให้เช่าในทําเลที�ต งั� ที�หลากหลาย และมีบริการที�ช่วยอํานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าแบบครบวงจร (One stop service) ทัง� การติดต่อขอใบอนุ ญาต ต่าง ๆ กับหน่วยงานราชการที�ช่วยให้ลูกค้า ซึ�งส่วนใหญ่เป็ นชาวต่างชาติสามารถเริ�มดําเนินงานได้ในระยะเวลาอันสัน� การช่วยเหลือเพื�อขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน รวมทัง� บริการหลังการขายที�ให้การ ดูแลอย่า งใกล้ชิดและรวดเร็ว นอกจากนัน� การที�บริษ ทั อยู่ในธุ ร กิจ นี�มากว่า 20 ปี และมีส่วนแบ่งตลาดประมาณ ร้อยละ 54 บริษทั จึงมีความได้เปรียบจากการประหยัดต่อขนาด (Economies of scale) อีกด้วย 4.1.2 คลังสินค้าให้เช่า ก. แนวคิดของคลังสินค้าให้เช่า ปัจ จุบ นั ต้นทุนจัดการด้า นโลจิสติ ก ส์ของประเทศไทยคิดเป็ นสัดส่วนที�สูงเมื�อ เทีย บกับ ประเทศอื�น ๆ ในโลก ซึ�งส่งผลเสียต่อความสามารถในการแข่งขันของผูป้ ระกอบการในประเทศไทย การพัฒนาการ จัดการด้านโลจิสติกส์ให้มปี ระสิทธิภาพ จะทําให้ตน้ ทุนสินค้าลดลง และยกระดับคุณภาพการบริการ อันจะช่วยเพิ�มขีด ความสามารถในการแข่งขันด้านการส่งออกของประเทศไทยได้มากขึ�น และยังช่วยให้สินค้าอุปโภคบริโภคของตลาด ภายในประเทศมีราคาลดลง นอกจากนี� ระบบการจัดการด้านโลจิสติ กส์ของประเทศที�มีประสิทธิภาพจะเป็ นปัจจัย ที�ส่งเสริมให้มกี ารลงทุนทางตรงจากต่างประเทศเพิ�มขึ�น คลังสินค้าถือเป็ นส่วนประกอบหนึ�งที�สาํ คัญของกิจกรรมโลจิสติกส์ คลังสินค้าที�มคี ุณภาพได้ มาตรฐานสากลจะช่วยทําให้ระบบโลจิสติกส์มปี ระสิทธิภาพมากยิ�งขึ�น บริษทั ผูป้ ระกอบธุ รกิจการจัดการด้านโลจิสติกส์จดั ว่าเป็ นผูเ้ ชี�ยวชาญเฉพาะด้านที�มจี าํ นวน เพิ�มขึ�น และมีความสําคัญมากขึ�น เนื�องจากผูผ้ ลิตสินค้า ผูค้ า้ ส่ง ผูค้ า้ ปลีก และผูป้ ระกอบการมีแนวโน้มที�จะใช้บริการ จากผูใ้ ห้บริการด้านโลจิสติกส์เพิ�มมากขึ�นแทนการมีหน่วยงานภายในเพื�อดําเนินการในเรื�องดังกล่าวเอง อย่า งไรก็ดี ผู ป้ ระกอบการรวมทัง� บริษ ทั ที�เ ชี�ย วชาญด้า นโลจิสติ ก ส์เ หล่า นี� ส่วนใหญ่ มี นโยบายไม่ ต อ้ งการลงทุ น เพื�อ เป็ นเจ้า ของในอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ เช่ น คลัง สิน ค้า เนื� อ งจากเห็น ว่ า การลงทุ น ใน อสังหาริมทรัพย์มใิ ช่กิจกรรมหลักของกิจการ บริษทั เหล่านี�ตอ้ งการจํากัดการลงทุนเฉพาะสําหรับยานพาหนะ อุปกรณ์ ระบบสารสนเทศต่า ง ๆ รวมทัง� การพัฒนาบุคลากรที�เ กี� ยวข้องในการดํา เนินธุ ร กิจ อันเป็ นสินทรัพ ย์หลักที�จ ําเป็ น ต่อ กิจการ และการรักษาความสามารถในการแข่งขันของกิจ การเท่า นัน� นอกจากนี� การลงทุนในอสังหาริมทรัพ ย์ ก่อให้เกิดต้นทุนคงที�จาํ นวนมากเป็ นระยะเวลานาน เป็ นการเพิ�มความเสี�ยงของกิจการในกรณี ท�ลี ูกค้ายกเลิกสัญญา

36

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

อีกทัง� บริษทั เหล่านี�ยงั ไม่ชาํ นาญในการลงทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ดว้ ยตนเองเนื�องจากมิใช่ธุรกิจหลัก เมื�อเป็ นเช่นนี� ภาคอุตสาหกรรมด้านโลจิสติ กส์โดยรวมจึงมุ่งหวังให้ภาคธุ รกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็ นผูพ้ ฒั นาพื�นที�สาํ หรับ กิจการขนส่งและคลังสินค้าเพื�อให้เช่า ข. อุปทานของคลังสินค้าให้เช่า ปัจจุบนั มีผูใ้ ห้บริการคลังสินค้าให้เช่ากระจายอยู่ในเขตกรุงเทพฯ รอบนอก และปริมณฑล โดยอาคารคลังสินค้าส่วนใหญ่จะตัง� อยู่บริเวณถนนสายเอเซีย ถนนบางนา-ตราด และถนนพระราม 2 คลังสินค้าดังกล่าว ส่วนใหญ่มคี ุณภาพไม่ได้มาตรฐาน เช่น พื�นอาคารรับนํา� หนักได้นอ้ ย มีรูปแบบอาคารที�ไม่สะดวกต่อการขนถ่ายสินค้า พื�นที�จดั เก็บไม่เหมาะสม ทําให้จดั เก็บสินค้าได้นอ้ ย หรือค้นหาสินค้าได้ยาก ซึ�งส่งผลให้เกิดการขนย้ายที�ไม่จาํ เป็ นมาก เกินไป คลังสินค้าดังกล่าวไม่มรี ะบบสาธารณู ปโภคที�สามารถตอบสนองความต้องการของธุ รกิจขนส่งและคลังสินค้าได้ เช่น ระบบระบายนํา� ทีด� ี ระบบถนนที�สามารถรองรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ นอกจากนี� อาคารคลังสินค้าส่วนใหญ่จะตัง� อยู่ ในเขตชุมชนและเขตที�อยู่อาศัยซึ�งไม่อยู่ในเขตผังเมืองสําหรับที�ดนิ ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ทําให้เกิดปัญหา ต่าง ๆ ตามมา เช่น ปัญหาจราจร อุบตั ิเหตุ ความเสียหายของผิวจราจร รวมทัง� มลภาวะทางอากาศและทางเสียง ค. อุปสงค์ของคลังสินค้าให้เช่า กลุม่ ผูต้ อ้ งการใช้อาคารคลังสินค้า ได้แก่ 1. ธุ รกิจขนส่งและบริหารคลังสินค้า (Logistics service providers) ซึ�งโดยส่วนใหญ่ จะเป็ นบริษทั ชัน� นําจากในประเทศและต่างประเทศ บริษทั เหล่านี�จะมีความสามารถในการบริหารและจัดการโดยใช้ ระบบ software และระบบจัดการที�ทนั สมัย และโดยทัว� ไปบริษทั ในธุ รกิจขนส่งและบริหารคลังสินค้าจะไม่ลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ แต่มคี วามต้องการเช่าคลังสินค้า 2. ผู ป้ ระกอบการประเภทศู นย์ก ระจายสินค้า ระหว่ า งประเทศด้วยระบบที�ท นั สมัย (International distribution center) กิจการศูนย์จดั หาจัดซื�อชิ�นส่วนและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ (International procurement office) และกิจการศูนย์กระจายสินค้าด้วยระบบที�ทนั สมัย (Distribution center) 3. ผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ โดยกลุ่มนี�มคี วามต้องการที�จ ะจัดตัง� ศูนย์ก ระจาย สินค้า เพื�อจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าและผูบ้ ริโภคทัง� ในเขตกรุงเทพฯ และภูมภิ าคต่าง ๆ 4. กลุ่มบริษ ทั นํา เข้า และส่งออก ซึ�งมีค วามต้อ งการใช้อ าคารคลังสินค้า ที�ต ง�ั อยู่ใ กล้ สนามบินและท่าเรือ โดยเฉพาะอย่างยิ�งพื�นที�เขตปลอดอากร 5. ธุรกิจโลจิสติกส์สนับสนุ นการกระจายสินค้าและกิจการอื�น ๆ เช่น ผูใ้ ห้บริการขนส่ง สินค้าและบริการขนส่ง ผูใ้ ห้บริการบรรจุสนิ ค้าและถ่ายบรรจุสนิ ค้า ผูใ้ ห้บริการสร้างมูลค่าเพิ�ม (การตรวจสอบคุณภาพ การติดฉลาก การซ่อมแซม และการประกอบ/บรรจุสินค้า) รวมถึงผูใ้ ห้บริการเช่าอุปกรณ์ขนถ่าย ผูใ้ ห้บริการแรงงาน ชัว� คราวและยกขนสินค้า เป็ นต้น

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

37


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ง. สภาวะการแข่งขัน ปัจ จุบ นั ผู พ้ ฒั นาอาคารคลังสินค้า ที�มีคุณภาพซึ�งถือ ว่าเป็ นคู่แข่งกับบริ ษ ทั ได้แก่ บริษ ทั ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั เหมราชพัฒนาที�ดนิ จํากัด (มหาชน) อย่างไรก็ดี บริษทั มีความ ได้เปรียบคู่แข่งขันจากการที�บริษทั มีการพัฒนาคลังสินค้าในทําเลที�ตงั� ที�หลากหลายและมีศกั ยภาพ ในขณะที�คู่แข่งขัน มีทาํ เลที�ตงั� ของคลังสินค้าเพียงไม่ก�ีแห่ง 4.2 กลยุทธ์การแข่งขัน 

ตําแหน่ งทางการตลาด

บริษทั มีส่วนแบ่งในตลาดการให้เช่าโรงงานอุตสาหกรรมสําเร็จรู ปร้อยละ 53.6 (รวมส่วนที�บริษทั บริหารให้แก่ TFUND ร้อยละ 30.4) ตามการสํารวจของบริษทั ซีบี ริชาร์ด เอลลิส (ประเทศไทย) จํากัด ณ สิ�นไตรมาส 3/2556 บริษทั ได้กาํ หนดตําแหน่งทางการตลาดในการเป็ นผูส้ ร้างโรงงานให้เช่ารายใหญ่ในประเทศไทย บริษทั มีความมุ่งมัน� ที�จะรักษาและพัฒนาตําแหน่งทางการตลาดให้ดีย�งิ ขึ�นด้วยการเพิ�มขนาดธุ รกิจโดยการขยายฐาน ลูกค้า และรักษาคุณภาพของการให้บริการที�ตอบสนองความต้องการของลูกค้าซึ�งจะส่งผลให้บริษทั มีความได้เปรียบ จากการประหยัดต่อขนาด ได้ผลตอบแทนที�เพิ�มมากขึ�น และส่งเสริมตําแหน่งทางการตลาดของบริษทั ให้ดยี �งิ ขึ�นในที�สุด สําหรับอาคารคลังสินค้านัน� บริษทั มีความมุง่ มันที � �จะเป็ นผูส้ ร้างอาคารคลังสินค้าที�มคี ุณภาพและ มาตรฐานสูงที�มสี ่วนแบ่งทางการตลาดมากที�สุดเช่นเดียวกับตําแหน่งทางการตลาดของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า 

กลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย

ลูกค้าเป้ า หมายของโรงงานสําเร็จ รู ปให้เ ช่า คือ ผูผ้ ลิตชิ�นส่วนให้แก่ผู ป้ ระกอบการขนาดใหญ่ อย่า งไรก็ดี บริษ ทั สามารถสร้า งโรงงานที�มีลกั ษณะเฉพาะให้ตามความต้อ งการของลู ก ค้า ซึ�งส่วนใหญ่ จ ะมีขนาด กลาง-ใหญ่ สําหรับกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายที�เช่าอาคารคลังสินค้าของบริษทั ได้แก่ ผูผ้ ลิต ผูค้ า้ ส่งและค้าปลีก และผูป้ ระกอบการรวมถึงผูใ้ ห้บริการขนส่ง และบริหารคลังสินค้า 

กลยุทธ์ดา้ นราคา

ค่าเช่าโรงงาน และคลังสินค้าของบริษทั ถูกกําหนดจากต้นทุนการก่อสร้างและต้นทุนทางการเงิน เป็ นหลัก อย่า งไรก็ดี ในการกํา หนดค่ าเช่า บริษ ทั ยังได้คํานึงถึงราคาค่ า เช่า โรงงานและคลังสินค้า ของคู่ แข่งขันด้วย โดยบริษทั ได้มกี ารตรวจสอบสภาวะตลาดอยู่เสมอ เพื�อให้แน่ใจว่าค่าเช่าโรงงานและคลังสินค้าของบริษทั อยู่ในระดับ ที�สามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้

38

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

กลยุทธ์ดา้ นการส่งเสริมการตลาด

กิจกรรมการส่งเสริมการตลาดที�สาํ คัญ ได้แก่ การติดต่อลูกค้าเป้ าหมายเองโดยตรง และการ ติดต่อผ่านตัวกลางต่าง ๆ เช่น ติดต่อผูผ้ ลิตรายใหญ่เพื�อเสนอบริการให้เช่าโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่คู่คา้ ของผูผ้ ลิต เหล่านัน� การติดต่อผ่านหน่วยงานรัฐบาล สถานทูต สํานักงานการค้า สมาคมหอการค้า เจ้าของนิคมอุตสาหกรรม ตัวแทนซื�อขายอสังหาริมทรัพย์ และตัวกลางอื�น ๆ บริษทั มีการพัฒนาสื�อเพื�อส่งเสริมการตลาด อันได้แก่ สิ�งพิมพ์เอกสารเชิญชวน การโฆษณา ในหนังสือต่าง ๆ อินเทอร์เน็ตเว็บไซต์ แผ่นป้ ายโฆษณาที�ติดตัง� บริเวณหน้าโครงการ แผ่นป้ ายโฆษณาขนาดใหญ่ขา้ ง ทางด่วน และการส่งจดหมายทางไปรษณีย ์ นอกจากนี�ยงั มีการใช้ส�ือทางการตลาดประเภทอื�นที�มปี ระสิทธิผลตามความเหมาะสม ได้แก่ การเข้าร่วมงานสัมมนางานแสดงสินค้า และการประชุมต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องทัง� ภายในและต่างประเทศ 4.3 แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันในอนาคต 4.3.1 แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรม ความต้องการเช่าทัง� โรงงานและคลังสินค้ามีแนวโน้มการเติบโตที�ดจี ากการเติบโตของอุตสาหกรรม ยานยนต์เพื�อการส่งออกไปยังตลาดในประเทศภูมภิ าคเอเซียแปซิฟิค การขยายการลงทุนของผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ไปตาม ทํา เลที�มีศกั ยภาพในจังหวัดที�สาํ คัญตามภาคต่า ง ๆ เพิ�มมากขึ�น รวมทัง� การขยายธุ ร กิจ ของผู ใ้ ห้บริก ารโลจิสติก ส์ นอกจากนี� การย้ายฐานการผลิตเข้ามาในประเทศแถบเอเชียเพิ�มขึ�นโดยเฉพาะอย่างยิ�งอุตสาหกรรมยานยนต์ รวมทัง� การ จัดตัง� ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ�งจะทําให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที�หลากหลายในภูมภิ าค นอกจากนัน� แนวโน้มที�ผู ป้ ระกอบการไม่ต อ้ งการลงทุ นในสินทรัพ ย์ถ าวร แต่ ต อ้ งการใช้เ งิน ทุน ที�มีอ ยู่ใ ห้เ ป็ น ประโยชน์ท�ีสุ ด จะเป็ นปัจจัยสนับสนุนให้มคี วามต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าเพิ�มมากขึ�น 4.3.2 การแข่งขัน ผูเ้ ข้ามาแข่งขันรายใหม่จะต้องใช้เงินทุนสูง และต้องใช้ระยะเวลานานในการพัฒนาโครงการที�มี ความหลากหลายทัง� ในด้านทําเลที�ตงั� รู ปแบบ และขนาด ที�มลี กั ษณะเช่นเดียวกับของบริษทั ตลอดจนการให้บริการ ที�เกี�ยวข้องดังเช่นที�บริษทั ดําเนินการอยู่ในปัจจุบนั

5. การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษ ทั สร้า งโรงงาน/คลังสินค้าบนที�ดินที�มศี กั ยภาพ ด้วยทีมงานออกแบบและทีมงานก่อ สร้างของบริษทั เอง ซึ�งช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารงานก่อสร้าง อีกทัง� ช่วยให้ตน้ ทุนการก่อสร้างของบริษทั อยู่ในระดับตํา� วัสดุก่อสร้างที�สาํ คัญในการก่อสร้างโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ได้แก่ เหล็ก และคอนกรีต ทัง� นี� บริษทั สามารถ สัง� ซื�อวัสดุก่อสร้างได้จากผูผ้ ลิตหลายรายด้วยคุณภาพและราคาที�ใกล ้เคียงกัน

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

39


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ปัจจัยความเสีย� ง 1.

ความเสี�ยงจากสัญญาเช่าระยะสัน�

จากการที�สญั ญาเช่าโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ส่วนใหญ่มอี ายุ 3 ปี (โดยมีทางเลือกในการต่อสัญญา) จึงอาจ ทําให้นกั ลงทุนกังวลว่าบริษทั จะได้รบั ผลกระทบหากลูกค้าไม่ต่อสัญญาเช่า อย่างไรก็ดี โดยทัว� ไปเมือ� ลูกค้าเริ�มทําการผลิตแล้วมักจะไม่ยา้ ยออกจากโรงงานของบริษทั นอกจากจะมีเหตุผล ที�สมควรอื�น ซึ�งโดยปกติการต่อสัญญาเช่ามีเกินกว่าร้อยละ 80 ของสัญญาเช่าที�ครบกําหนด การที�บริษทั มีโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าในหลายทําเลที�ตงั� อีกทัง� ผูเ้ ช่าก็เป็ นผูป้ ระกอบการในธุ รกิจที�หลากหลาย และมาจากหลายประเทศ จึงเป็ นการกระจายความเสี�ยงของการยกเลิกสัญญาของผูเ้ ช่า นอกจากนัน� โรงงาน/คลังสินค้า ของบริษทั ยังถูกออกแบบมาเป็ นแบบมาตรฐาน และอยู่ในพื�นที�ท�ไี ด้รบั ความนิยมจากผูเ้ ช่า ดังนัน� หากมีการยกเลิก สัญญาของผูเ้ ช่า บริษทั จะสามารถหาผูเ้ ช่าใหม่ได้ไม่ยาก 2.

ความเสี�ยงจากการที�โรงงาน/คลังสินค้าบางส่วนตัง� อยูใ่ นเขตที�มคี วามเสี�ยงต่อการเกิดอุทกภัย

ในช่วงไตรมาสที� 4 ของปี 2554 บริษทั ได้รบั ผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยในพื�นที�จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี โดยโรงงาน/คลังสินค้าในพื�นที�ดงั กล่า วได้ร บั ความเสีย หาย ส่งผลให้ผู เ้ ช่าต้อ งหยุดการดําเนินธุ ร กิจ และไม่ส ามารถชํา ระค่ า เช่า ให้แก่ บริ ษ ทั รวมทัง� ผู เ้ ช่ า ได้มีก ารยกเลิก สัญญาเช่า เป็ นจํา นวนมาก ในขณะเดีย วกั น ผูป้ ระกอบการรายใหม่ยงั คงชะลอการตัดสินใจเช่าโรงงานในพื�นที�ดงั กล่าวจนถึงปัจจุบนั ทัง� นี� เหตุอุทกภัยอาจทําให้ นักลงทุนมีความกังวลว่าบริษทั มีความเสี�ยงที�จะเผชิญกับเหตุอุทกภัยได้อีกในอนาคตและมีความเสี�ยงที�จะไม่มผี ูเ้ ช่า โรงงานที�ตงั� อยู่ในพื�นที�บริเวณนี� อันจะส่งผลให้บริษทั มีโรงงานว่างเป็ นระยะเวลาหนึ�ง บริษทั ได้มกี ารทําประกันภัยคุม้ ครองความเสียหายที�เกิดกับทรัพย์สิน รวมทัง� การประกันรายได้จากกรณี ธุรกิจ หยุดชะงัก (Business Interruption) เพื�อลดผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวขึ�นอีก ซึ�งแมบ้ ริษทั จะต้องชําระ ค่าเบี�ยประกันภัยในอัตราที�สูงขึ�นจากเดิม แต่บริษทั สามารถเรียกเก็บค่าเบี�ยประกันภัยจากผูเ้ ช่าที�เช่าโรงงาน/คลังสินค้า ของบริษทั ได้ พร้อมกันนี�บริษทั ได้หยุดการพัฒนาโรงงานในพื�นที�จงั หวัดพระนครศรีอยุธยาและปทุมธานี เพื�อลดการ เพิ� ม ขึ�น ของพื� น ที� ว่ า ง นอกจากนั�น ผู พ้ ัฒ นานิ ค มอุ ต สาหกรรมรวมทั�ง เขตอุ ต สาหกรรมของบริ ษ ัท ในพื� น ที� จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และปทุมธานีมกี ารสร้างแนวคอนกรีตป้ องกันนํา� ซึ�งสร้างเสร็จแล้ว ในช่วงปลายปี 2555 ซึ�งแนวป้ องกันนํา� ดังกล่าวจะสามารถปกป้ องทรัพย์สนิ ที�อยู่ในพื�นที�ดงั กล่าวได้ จากการที�บริษทั มีโรงงาน/คลังสินค้าตัง� อยู่ในทําเลที�ตงั� ที�หลากหลาย โดยส่วนใหญ่ อยู่ทางภาคตะวันออก ทําให้ บริษทั สามารถรองรับ ความต้องการของลู กค้าทัง� ที�เ ป็ นลูกค้าใหม่ และลูก ค้าที�ตอ้ งการย้ายการผลิตจากพื�นที�ท�ไี ด้ร บั ผลกระทบจากอุทกภัยในขณะนัน� ไปยังพื�นที�ท�ปี ลอดภัย ความเสียหายอย่างกว้างขวางจากเหตุการณ์นาํ� ท่วมในปี 2554 ทําให้รฐั บาลให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการนํา� อย่างจริงจัง บริษทั เชื�อมัน� ว่าปัจจัยต่าง ๆ ที�กล่าวมาจะช่วยสร้าง ความเชื�อมันให้ � แก่ผูป้ ระกอบการในการกลับมาให้ความสนใจเช่าโรงงาน/คลังสินค้าในพื�นที�ดงั กล่าวอีกครัง� ในระยะเวลา อัน ใกล้ รวมทัง� ศัก ยภาพของพื�น ที�ด งั กล่า วในการเป็ นศู น ย์ก ลางของการผลิต ในอุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์

40

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

และอุตสาหกรรมอาหาร ซึ�งเป็ นอุตสาหกรรมที�ตอ้ งใช้นาํ� เป็ นจํานวนมาก นอกจากนัน� พื�นที�ดงั กล่าวยังเป็ นพื�นที�เหมาะสม สําหรับการกระจายสินค้าไปยังภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอีกด้วย ในช่วงไตรมาสที� 4 ของปี 2556 ได้เกิดเหตุอุทกภัยในบางพื�นทีท� างภาคตะวันออกซึ�งรวมทัง� จังหวัดระยอง ชลบุรี และปราจีนบุรี อย่างไรก็ตาม เหตุอุทกภัยมิได้รุนแรงดังเช่นในปี 2554 โรงงานและคลังสินค้าของบริษทั ในพื�นที�ดงั กล่าว ไม่ได้รบั ความเสียหาย และผูเ้ ช่าสามารถดําเนินธุรกิจได้ตามปกติ โดยในช่วงเวลาดังกล่าว บริษทั ได้ให้ความช่วยเหลือ ผูเ้ ช่าในการป้ องกันความเสียหายอย่างเต็มกําลัง และร่วมติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ทัง� นี�ผูเ้ ช่ายังคงมีความเชื�อมัน� ในศักยภาพของพื�นที�ดงั กล่าว และไม่ได้มกี ารย้ายออกจากพื�นที� 3.

ความเสี�ยงจากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่า

ณ 31 ธันวาคม 2556 ลู กค้า ที�เ ช่าโรงงานของบริษทั ร้อยละ 40 เป็ นผู ป้ ระกอบการจากประเทศญี�ป่ ุน โดยมี สัดส่วนร้อยละ 28 เป็ นผู ผ้ ลิตชิ�นส่วนในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์/เครื�องใช้ไฟฟ้ า และร้อยละ 26 เป็ นผูผ้ ลิต ชิ�นส่วนยานยนต์ นอกจากนี� ลูกค้าที�เช่าคลังสินค้าของบริษทั ร้อยละ 35 เป็ นผูป้ ระกอบการจากประเทศญี�ป่ ุนเช่นกัน โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 54 เป็ นผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ ดังนัน� หากมีการลดลงของการลงทุนในอุตสาหกรรมดังกล่าว และมี การลดลงของการลงทุนจากประเทศญี�ป่ ุน อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ของบริษทั อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื�อว่าผลกระทบดังกล่าวจะมีไม่มากนัก เนื�องจากลูกค้าของบริ ษทั ในกลุม่ อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์/เครื�องใช้ไฟฟ้ า เป็ นผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ท�หี ลากหลายซึ�งรวมถึงเครื�องใช้ไฟฟ้ า ซึ�งส่วนใหญ่เป็ นอุตสาหกรรมที�ไม่มคี วามเกี�ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมรับจ้างผลิตชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ทวั� ไป (Electronic Manufacturing Services) อุตสาหกรรมผลิตชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในเครื�องใช้ไฟฟ้ า อุตสาหกรรม ผลิต Hard Disk Drive อุตสาหกรรมเครื�องใช้ไฟฟ้ าต่าง ๆ เป็ นต้น นอกจากนี� กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ยงั เป็ น อุตสาหกรรมที�มีแนวโน้มการเติบโตที�ดี จากการฟื� นตัวของตลาดโลกและการย้ายฐานการผลิตของผู ผ้ ลิตรายใหญ่ มายังประเทศไทยในการผลิตรถยนต์เพื�อการส่งออก ส่งผลให้ความต้องการชิ�นส่วนยานยนต์มโี อกาสเติบโตได้อีกมาก นอกจากนี� การที�ผู เ้ ช่าในอุตสาหกรรมชิ�นส่วนยานยนต์มีสดั ส่วนเพิ�มขึ�นมาอยู่ในระดับใกล้เคีย งกับผูผ้ ลิตชิ�นส่วน ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื�องใช้ไฟฟ้ า มีส่วนช่วยลดความเสี�ยงจากการพึ�งพิงผูเ้ ช่าเพียงอุตสาหกรรมใด อุตสาหกรรมหนึ�ง นอกจากความเสี�ย งจากการกระจุก ตัวของกลุ่มอุตสาหกรรมที�เช่า โรงงานแล้ว ธุ ร กิจ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติก ส์ เป็ นธุ รกิจ ที�มสี ดั ส่วนการเช่าคลังสินค้าของบริษทั สูงที�สุด อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื�อว่าผลกระทบดังกล่าวจะมีไม่มาก เช่นกัน เนื�องจากบริษทั ในกลุม่ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์มกี ารให้บริการจัดเก็บ และ/หรือขนส่งสินค้าที�หลากหลายและไม่มี ความเกี�ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น ชิ�นส่วนยานยนต์ เครื�องใช้ไฟฟ้ า ชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าอุปโภค-บริโภค เอกสาร สินค้าเพื�อสุขภาพและความงาม สารเคมีต่าง ๆ เป็ นต้น สําหรับการลงทุนจากประเทศญี�ป่ ุนนัน� ผูป้ ระกอบการจากประเทศญี�ป่ ุนเป็ นผูล้ งทุนอันดับหนื�งในประเทศไทย จึงเป็ นเหตุให้บริษทั ซึ�งมีส่วนแบ่งการตลาดของโรงงานสําเร็จรูปสูงที�สุดและเป็ นผูใ้ ห้เช่าคลังสินค้ารายใหญ่ของประเทศ มีลูก ค้า เช่าโรงงานและคลังสินค้าจากประเทศญี�ป่ ุนมากเป็ นไปตามสัดส่วน บริษ ทั มีความเห็นว่า ในภูมภิ าคเอเชีย

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

41


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ประเทศไทยยังคงเป็ นประเทศในลําดับต้น ๆ ที�นกั ลงทุนมีความสนใจเข้ามาลงทุนจากความได้เปรียบในด้านต้นทุนการ ผลิต ความเสี�ยงจากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่าที�มาจากประเทศญี�ป่ นุ จึงเป็ นความเสี�ยงที�รบั ได้ นอกจากนัน� จากการที�โรงงานและคลังสินค้าของบริษทั มีรูปแบบมาตรฐานจึงสามารถรองรับความต้องการของ ผูป้ ระกอบการจากทุก ๆ อุตสาหกรรม 4.

ความเสี�ยงจากการไม่มีผเู ้ ช่าโรงงาน/คลังสินค้าที�อยูใ่ นแผนการก่อสร้างในปัจจุบนั

ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2556 บริษทั มีโรงงาน 160 โรง และคลังสินค้า 207 หลัง ที�อยู่ในแผนการก่อสร้าง โดย บริษ ทั อาจมีความเสี�ย งจากการไม่มผี ู เ้ ช่า โรงงาน/คลังสิน ค้า ที�จ ะสร้า งแล้วเสร็ จ ตามแผนการก่ อ สร้า งในปัจ จุบ นั อันจะส่งผลให้บริษทั มีภาระต้นทุนการก่อสร้างในช่วงเวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื�อว่าจะสามารถควบคุมความเสี�ยงดังกล่าวได้ เนื�องจากบริษทั มิได้มนี โยบายในการสร้าง โรงงาน/คลังสินค้าเพื�อปล่อยทิ�งไว้ให้ว่างจํานวนมาก กล่าวอีกนัยหนึ�งก็คือ บริษทั จะสร้างโรงงาน/คลังสินค้าเตรียมไว้ พร้อมให้เช่าในแต่ละทําเลโดยเฉลีย� ประมาณ 3 - 4 โรง และจะชะลอการก่อสร้างหากมีโรงงาน/คลังสินค้าที�สร้างเสร็จ พร้อมให้เช่ามากกว่าจํานวนที�ตอ้ งการ ทัง� นี� การที�บริษทั มีทมี งานก่อสร้างของตนเอง ทําให้การบริหารการก่อสร้างทําได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความยืดหยุ่นในการเร่ง/ชะลอ/หยุดการก่อสร้าง หรือโยกย้ายคนงานไปก่อสร้างในทําเลที�มี ความต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าได้โดยง่าย 5.

ความเสี�ยงจาก Dilution Effect จากการใช้สทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6

ในเดือนตุลาคม 2555 บริษทั ได้มกี ารออกใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 จํานวน 32,883,000 หน่วย ให้แก่ กรรมการและพนักงานที�ได้รบั คัดเลือกของบริษทั (ออกเพื�อทดแทน TICON-W5 ที�ทาํ การยกเลิก) ปัจจุบนั TICON-W6 มีอตั ราแปลงสภาพ 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิต่อ 1.02997 หุน้ สามัญ และราคาแปลงสภาพหุน้ ละ 7.767 บาท ซึ�ง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ยังคงเหลือใบสําคัญแสดงสิทธิท�ยี งั ไม่ได้ใช้สทิ ธิจาํ นวนทัง� สิ�น 3,800,310 หน่วย ในการนี�หากผูถ้ ือใบสําคัญแสดงสิทธิได้ทาํ การใช้สิทธิซ� ือหุน้ สามัญของบริษทั เต็มจํานวน ผูถ้ ือหุน้ สามัญของ บริษทั อาจได้รบั ผลกระทบจาก Dilution Effect ทัง� ในเรื�องของราคาหุน้ ในตลาดที�อาจปรับตัวลดลง และสัดส่วนการ ถือหุน้ ที�ลดลง ดังต่อไปนี�

42

ก่อนการใช้สทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเต็มจํานวน (31 ธันวาคม 2556) จํานวนหุน้ สามัญที�เรียกชําระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ ของผู ้ถือหุน้ ก่อนการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ

912,376,439 หุน้ 100 %

หลังการใช้สทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิเต็มจํานวน (TICON-W6) จํานวนหุน้ สามัญที�เรียกชําระแล้ว สัดส่วนการถือหุน้ ของผู ้ถือหุน้ ภายหลังการใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ สัดส่วนการถือหุน้ ของผู ้ถือหุน้ ที�ลดลง

916,290,644 หุน้ 99.57 % 0.43 %

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

6.

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ความเสี�ยงจากการปรับราคาการใช้สทิ ธิและอัตราการใช้สทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6

การปรับราคาการใช้สทิ ธิและอัตราการใช้สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 ตามเงื�อนไขการปรับสิทธิท�ี ระบุในหนังสือ ชี�ชวนเสนอขายหลักทรัพ ย์ของบริษ ทั ในกรณี ท�ีบริษ ทั มีการเสนอขายหลัก ทรัพ ย์อ อกใหม่ท�ีให้สิทธิ ในการซื�อหรือ แปลงสภาพเพื�อซื�อหุน้ สามัญต่ อผูถ้ ือหุน้ เดิมและ/หรือ ต่อประชาชนทัว� ไปในอนาคต วิธีการปรับสิทธิ ดังกล่าวอาจไม่สามารถชดเชยสิทธิประโยชน์ของผูถ้ ือใบสําคัญแสดงสิทธิได้อย่างครบถ้วน เนื�องจากสูตรการคํานวณ การปรับสิทธิคาํ นึงถึงเพียงราคาหลักทรัพย์แปลงสภาพที�ออกใหม่ ณ วันปรับสิทธิเท่านัน� มิได้คาํ นึงถึงมูลค่าตามเวลา ของหลักทรัพย์แปลงสภาพแต่อย่างใด

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

43


รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

สารจากประธาน กรรมการ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

โครงสร้างการถือหุน้ รายชื�อผูถ้ ือหุน้

1. บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) 2. กลุ่มซิต� เี รียลตี�

บริษทั ซิต� ี วิลล่า จํากัด นางสิรญ ิ า โสภณพนิช บริษทั ซิต�เี รียลตี� จํากัด นายชาลี โสภณพนิช

3. กรรมการ/ผูบ้ ริหาร/ผูท้ �เี กี�ยวข้อง นางยุพดี ควน (กรรมการ) นางสาวศิรพิ ร สมบัตวิ ฒั นา (ผู ้อํานวยการฝ่ ายธุรการ) และคู่สมรส นายวีรพันธ์ พูลเกษ (กรรมการผูจ้ ดั การ) และคู่สมรส นายตรีขวัญ บุนนาค (กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ) และคู่สมรส นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ (กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ) นางสาวลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์ (ผู ้อํานวยการอาวุโสฝ่ ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุการบริษทั ) ดร. สมศักดิ� ไชยพร (ผู ้จัดการทัว� ไป) นางสาวพรพิมล ศุภวิรชั บัญชา (ผู ้อํานวยการฝ่ ายการเงิน) นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ (ผู ้อํานวยการฝ่ ายพัฒนาโครงการ) นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล (ผู ้อํานวยการฝ่ ายการตลาด 1) นางยูโกะ โฮชิ (ผู ้อํานวยการฝ่ ายการตลาด 3) นางมาลินี โฮริเอะ (คู่สมรสของผู ้อํานวยการฝ่ ายการตลาด 2) 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

บริษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด นายจตุพล เกรียงไชยกิจกุล Nortrust Nominees Limited Group นายประชา กิจวรเมธา State Street Bank Europe Limited นางสุชาดา ลีสวัสดิ�ตระกูล Chase Nominees Limited Group อื�น ๆ รวม

ณ วันที� 14 มีนาคม 2557 จํานวนหุน้ ร้อยละ 187,578,756 20.56

32,140,125 9,548,938 2,152,237 20,644,925 64,486,225

3.52 1.05 0.24 2.26 7.07

32,388,000 16,141,600 11,073,715 1,186,969 515,912 185,432

3.55 1.77 1.22 0.13 0.06 0.02

101,746 40,890 20,000 12,011 78 7 61,666,360 56,279,545 37,158,000 35,890,062 32,589,903 26,136,259 24,577,475 18,257,004 367,776,443 912,396,032

0.01 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 6.76 6.17 4.07 3.93 3.57 2.87 2.69 2.00 40.31 100.00

บริษทั มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ตาํ� กว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี โดยบริษทั จะพิจารณา จ่ายเงินปันผลโดยคํานึงถึงผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน และปัจจัยอื�น ๆ ที�เกี�ยวข้องในการบริหารงานของบริษทั ทัง� นี� ในปัจจุบนั ไม่มสี ญั ญากูย้ มื เงินระหว่างบริษทั กับสถาบันการเงินใด ๆ ที�มขี ้อจํากัดของอัตราการจ่ายเงินปันผลของบริษทั 44

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายพัฒนาโครงการ

(นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์)

(นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล) (นายชิเกยู กิ โฮริเอะ) (นางยู โกะ โฮชิ) (นายสิทธิศกั ดิ� ธารีรชั ต์)

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายกฎหมาย

(นายวีรพันธ์ พูลเกษ) (รักษาการ)

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายการลงทุน

(น.ส.รุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย)

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายบัญชี

(น.ส.พรพิมล ศุภวิรชั บัญชา)

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายการเงิน

(น.ส.วุฒนิ ี พิทกั ษ์สงั ข์)

ผู ้จัดการ ฝ่ ายตรวจสอบภายใน

งบการเงิน

(น.ส.ศิรพิ ร สมบัตวิ ฒั นา)

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายธุรการ

ผู ้อํานวยการอาวุโส ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ (นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์)

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายการตลาด

(ดร. สมศักดิ� ไชยพร)

ผู ้อํานวยการอาวุโส ฝ่ ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ (น.ส.ลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ)์

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

ผู ้จัดการทัว� ไป

รายการ ระหว่างกัน

คณะกรรมการบริหารความเสีย� ง

กรรมการผูจ้ ดั การ (นายวีรพันธ์ พูลเกษ)

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คณะกรรมการกําหนดค่ าตอบแทน

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ (นายไว เชง ควน)

คณะกรรมการตรวจสอบ

การกำ�กับดูแล กิจการ

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการบริษทั

โครงสร้าง การจัดการ

คณะกรรมการบริหาร

1. โครงสร้างการจัดการ ณ 31 ธันวาคม 2556

โครงสร้างการจัดการ

โครงสร้าง การถือหุ้น แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

45


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

บริษทั มีคณะกรรมการบริษทั 1 ชุด และคณะอนุกรรมการ 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา และคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง

2. คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒิ 9 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายไว เชง ควน นางยุพดี ควน* นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

* นางยุพดี ควน ได้รบั แต่งตัง� เป็ นกรรมการของบริษทั เมื�อวันที� 19 เมษายน 2556

กรรมการผู ม้ ีอ ํา นาจลงลายมือ ชื�อ ผู ก พันบริษ ทั ประกอบด้วยนายชาลี โสภณพนิช นายจิร ะพงษ์ วินิชบุต ร นายชาย วินิชบุตร นายไว เชง ควน และนายวีร พันธ์ พูลเกษ โดยกรรมการสองในห้า ท่านนี�ลงลายมือ ชื�อ ร่ วมกัน พร้อมประทับตราสําคัญของบริษทั ทัง� นี� นายชาลี โสภณพนิช เป็ นตัวแทนของกลุ่มซิต� ีเรียลตี� นายจิระพงษ์ วินิชบุตร และนายชาย วินิชบุตร เป็ นตัวแทนของกลุม่ โรจนะ บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั 1. กรรมการใหม่ควรเข ้ารับการปฐมนิเทศความรูเ้ กี�ยวกับการประกอบธุรกิจของบริษทั 2. ปฏิบตั ิหน้าที�ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนมติท�ปี ระชุมของผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซื�อสัตย์ สุจริต ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั และมีความรับผิดชอบเป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกราย 3. กํา หนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานของบริษทั และกํา กับควบคุมดู แลให้ฝ่ ายบริหารดําเนินการ เป็ นไปตามนโยบาย และระเบีย บของบริษ ทั อย่า งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใต้การกํา กับดูแลกิจการที�ดี เพื�อเพิ�มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการ และความมังคั � ง� สูงสุดให้แก่ผูถ้ อื หุน้ 4. รายงานให้ผูถ้ อื หุน้ ทราบถึงผลประกอบการของบริษทั ในที�ประชุมผูถ้ อื หุน้ และในรายงานประจําปี ของบริษทั 5. ดําเนินการให้บริษ ทั มีร ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ที�มปี ระสิทธิผลและเชื�อถือได้ 6. ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดเี ป็ นประจําอย่างสมํา� เสมอ 46

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การจัดการ โครงสร้าง การถือหุ้น

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

7. ควบคุม ดูแล ให้ฝ่ายบริหารมีการปฏิบตั ิต่อผูม้ สี ่วนได้เสียทุกฝ่ ายอย่างมีจริยธรรมและมีความเท่าเทียมกัน 8. กรรมการที�เป็ นอิสระและกรรมการจากภายนอกอื�น มีความพร้อมที�จะใช้ดุลยพินิจของตนอย่างเป็ นอิสระ ในการพิจารณากําหนดกลยุ ทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การแต่งตัง� กรรมการ และการกํา หนดมาตรฐาน การดําเนินกิจการ ตลอดจนพร้อมที�จะคัดค้านการกระทําของกรรมการอื�น ๆ หรือฝ่ ายจัดการ ในกรณี ท�มี คี วามเห็น ขัดแย้งในเรื�องที�มผี ลกระทบต่อความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ ทุกราย 9. ในกรณีท�จี าํ เป็ น คณะกรรมการสามารถขอคําแนะนําหรือความเห็นทางวิชาชีพจากที�ปรึกษาภายนอกเกี�ยวกับ การดําเนินกิจการ โดยบริษทั เป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่าย 10. จัดให้มเี ลขานุการบริษทั เพื�อช่วยดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการและบริษทั อันได้แก่ การประชุม กรรมการและผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนการให้คาํ แนะนําแก่กรรมการและบริษทั ในการปฏิบตั ิตนและดําเนินกิจการให้ถูกต้อง ตามกฎหมายและระเบียบที�เกี�ยวข้องต่าง ๆ อย่างสมํา� เสมอ อีกทัง� ดูแลให้กรรมการและบริษทั มีก ารเปิ ดเผยข้อมูล สารสนเทศอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลา 11. หากกรรมการได้ร บั ทราบข้อ มูลภายในที�เป็ นสาระสําคัญอันจะมีผ ลต่ อ การเปลี�ย นแปลงราคาหลักทรัพ ย์ กรรมการจะต้องระงับการซื�อขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วงระยะเวลาที�เหมาะสมก่อนที�ขอ้ มูลภายในนัน� จะเปิ ดเผย ต่อสาธารณชน และจะต้องไม่เปิ ดเผยข้อมูลที�เป็ นสาระสําคัญนัน� ต่อบุคคลอื�น โดยผูฝ้ ่ าฝื นอาจได้รบั โทษตามกฎหมาย 12. รายงานข้อมูลตาม “แบบรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ/ผูบ้ ริหาร” ต่ อบริษทั ตามเกณฑ์ท�บี ริษ ทั กําหนด การแต่งตัง� คณะกรรมการบริษทั การแต่ ง ตั�ง กรรมการบริ ษ ัท เป็ น ไปตามข้อ บัง คับ ของบริ ษ ทั และพระราชบัญ ญัติ บ ริ ษ ทั มหาชนจํา กัด โดยคณะกรรมการสรรหาของบริษทั จะเป็ นผูเ้ สนอชื�อบุคคลเข ้าเป็ นกรรมการต่อคณะกรรมการและผูถ้ อื หุน้ เพื�อพิจารณา ตามลําดับ ทัง� นี� ข้อบังคับของบริษทั กําหนดให้ก ารแต่งตัง� กรรมการบริษทั เป็ นไปโดยสอดคล้อ งกับพระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจํากัด ดังนี� 1. ที�ประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นผูแ้ ต่งตัง� กรรมการเพิ�มเติม หรือแทนกรรมการที�ตอ้ งออกตามวาระ ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการ ดังต่อไปนี� ก. ผูถ้ อื หุน้ หนึ�งคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ�งเสียงต่อหนึ�งหุน้ ข. ผู ถ้ ือ หุน้ แต่ ละคนจะต้อ งใช้คะแนนเสีย งที�มีอ ยู่ท งั� หมดตาม (ก) เลือ กบุคคลคนเดีย วหรือ หลายคน เป็ นกรรมการก็ได้แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผูใ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ ค. บุคคลซึ�งได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รบั เลือกตัง� เป็ นกรรมการเท่ากับจํานวนกรรมการ ที�จะมีในการเลือกตัง� ครัง� นัน� ในกรณี ท�บี ุคคลซึ�งได้รบั การเลือกตัง� ในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจํานวน กรรมการที�จะมีได้ในการเลือกตัง� ครัง� นัน� ให้ประธานในที�ประชุมเป็ นผูอ้ อกเสียงชี�ขาด

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

47


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

2. คณะกรรมการเป็ นผูเ้ ลือกบุคคลเข้าเป็ นกรรมการแทนตําแหน่งกรรมการทีว� า่ งลงเพราะสาเหตุอ�นื ใด นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ

3. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ณ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยสมาชิก 5 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5.

นายไว เชง ควน นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร ดร. สมศักดิ� ไชยพร

ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหารและเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. ปฏิบตั ิหน้าที�ตามทีไ� ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั 2. ปฏิบตั ิหน้าที�ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ตลอดจนระเบียบของบริษทั โดยเคร่งครัด

4. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี� 1. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 3. นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

ทัง� นี� กรรมการตรวจสอบทัง� สามท่านมีความรู แ้ ละประสบการณ์เพียงพอที�จะสามารถทําหน้าที�ในการสอบทาน ความน่าเชื�อถือของงบการเงิน บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั มีระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารความเสี�ยงมีความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพเพียงพอ 3. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง� และประเมินผลการปฏิบตั ิงานของหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายใน รวมทัง� ความเป็ นอิสระของฝ่ ายตรวจสอบภายใน 4. สอบทานให้บริษ ทั ปฏิบ ตั ิ ตามกฎหมายว่ า ด้ว ยหลัก ทรัพ ย์และตลาดหลัก ทรัพ ย์ ข้อ กํา หนดของตลาด หลักทรัพย์ และกฎหมายที�เกี�ยวข้องกับธุรกิจของบริษทั 5. พิจารณารายการระหว่า งกันหรือ รายการที�อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามกฎระเบีย บ และข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง� กฎหมายที�เกี�ยวข้องกับธุรกิจของบริษทั 48

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การจัดการ โครงสร้าง การถือหุ้น

การกำ�กับดูแล กิจการ

จัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

6. สอบทานและพิจารณาร่วมกับฝ่ ายจัดการในเรื�องข้อบกพร่องสําคัญที�ตรวจพบและการสนองตอบจากฝ่ าย

7. มีอ ํา นาจในการตรวจสอบและสอบสวนผู ท้ �ีเ กี�ย วข้อ ง ภายใต้ขอบเขตอํา นาจหน้า ที�ของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และมีอาํ นาจในการว่าจ้างผูเ้ ชี�ยวชาญเฉพาะด้านมาช่วยงานตรวจสอบและสอบสวน โดยปฏิบตั ิตามระเบียบ ของบริษทั 8. จัดทํา รายงานการกํา กับดู แลกิจ การของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกํา หนดรายละเอีย ดขัน� ตํา� คื อ การปฏิบตั ิงาน จํานวนครัง� การประชุม ผูเ้ ข้าร่วมประชุม รวมถึงความเห็นโดยรวมโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจํา ปี ของบริษทั ซึง� รายงานดังกล่าวมีการลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 9. พิจ ารณา คัด เลือ ก เสนอแต่ ง ตัง� เสนอค่ า ตอบแทนของผู ส้ อบบัญ ชีข องบริษ ทั รวมทัง� จัด ประชุมกับ ผูส้ อบบัญชีอย่างอิสระ โดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปี ละหนึ�งครัง� 10. พิจ ารณาขอบเขตการตรวจสอบและแผนการตรวจสอบของผู ส้ อบบัญชี และฝ่ ายตรวจสอบภายในให้มี ความสัมพันธ์และเกื�อกูลกัน และลดความซํา� ซ้อนในส่วนที�เกี�ยวกับการตรวจสอบด้านการเงิน 11. ให้ความเห็นชอบ กฎบัตร แผนงาน งบประมาณ และอัตรากําลังของฝ่ ายตรวจสอบภายใน 12. สอบทานความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที�เกี�ยวข้องกับการควบคุม ภายในและการบริหารความเสี�ยง 13. ในการปฏิบตั ิหน้าที�ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือ มีขอ้ สงสัย ว่า มีร ายการหรือการกระทํา ซึ�ง อาจมีผลกระทบอย่างมีนยั สําคัญต่อฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงาน ต่อคณะกรรมการบริษทั เพื�อดําเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที�คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 14. ปฏิบตั ิหน้าที�อ�นื ใดทีค� ณะกรรมการของบริษทั มอบหมายตามที�คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระของบริษทั อย่างน้อย 3 ท่านซึ�งไม่เป็ นผูบ้ ริหารบริษทั และได้รบั การแต่งตัง� จากคณะกรรมการบริษทั หรือผูถ้ อื หุน้ 2. คณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่านต้องเป็ นผูม้ คี วามรู ค้ วามเข้าใจหรือมีประสบการณ์ดา้ นการบัญชี หรือการเงินอย่างเพียงพอที�จะทําหน้าที�ในการสอบทานความน่าเชื�อถือของงบการเงิน หลักเกณฑ์การเสนอชื�อและแต่งตัง� คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาเป็ นผูเ้ สนอชื�อสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบเพื�อให้ผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั เป็น ผูค้ ดั เลือกและแต่งตัง� โดยคณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคุณสมบัติดงั นี� 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจํานวนหุน้ ที�มสี ทิ ธิออกเสียงทัง� หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือบริษทั ที�เกี�ยวข้อง ทัง� นี�ให้นบั รวมหุน้ ที�ถอื โดยผูท้ �เี กี�ยวข้องด้วย

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

49


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

2. ห้ามผูท้ �มี คี วามสัมพันธ์กบั บริษทั และบริษทั ที�เกี�ยวข้องในลักษณะที�มสี ่วนได้เสีย หรือได้ผลประโยชน์ในด้าน การเงินหรือการบริหารงาน ทัง� ในปัจจุบนั และช่วง 2 ปี ก่อน เป็ นกรรมการอิสระ โดยลักษณะความสัมพันธ์ดงั กล่า ว มีตวั อย่างเช่น 

เป็ นกรรมการที�มสี ่วนร่วมในการบริหารงาน พนักงาน ลูกจ้าง ที�ปรึกษาที�รบั เงินเดือนประจําหรือผูม้ อี าํ นาจ

เป็ นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ เช่น เป็ นผูส้ อบบัญชี ที�ปรึกษากฎหมาย ที�ปรึกษาทางการเงิน หรือผูป้ ระเมิน

ควบคุม ราคาทรัพย์สนิ

เป็ นผูท้ �มี คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจ เช่น ซื�อ/ขายสินค้าหรือบริการ ซื�อขายสินทรัพย์ ให้/รับความช่วยเหลือ ทางการเงิน เป็ นต้น 

3. หากดํา รงตํา แหน่ ง เป็ น กรรมการอิส ระของบริ ษ ทั อื� นในกลุ่ม ด้วย จะต้อ งเปิ ด เผยข้อ มูล ดัง กล่า วและ ค่าตอบแทนที�ได้รบั จากบริษทั นัน� ด้วย 4. ห้ามกรรมการตรวจสอบเป็ นกรรมการใด ๆ ในบริษทั อื�นในกลุม่ ที�เป็ นบริษทั จดทะเบียน 5. เป็ นกรรมการที�ไม่ใช่เป็ นผูท้ �เี กี�ยวข้องหรือญาติสนิทของผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั 6. เป็ นกรรมการที�ไม่ได้รบั การแต่งตัง� ขึ�นเป็ นตัวแทนเพื�อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึ�งเป็ นผูท้ �เี กี�ยวข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั 7. สามารถปฏิบ ตั ิ หน้า ที� แสดงความเห็นหรือ รายงานผลการปฏิบ ตั ิงานตามหน้า ที�ท�ีได้ร บั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั รวมทัง� ผูท้ �เี กี�ยวข้องหรือ ญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว ผูท้ �เี กี�ยวข้อง หมายรวมถึง ผูท้ �มี คี วามสัมพันธ์หรือเกี�ยวข้องกับบริษทั จนทําให้ไม่สามารถทําหน้าที�ได้อย่างอิสระ หรือคล่องตัว เช่น คู่คา้ ลูกค้า เจ้าหนี� ลูกหนี� หรือผูท้ �มี คี วามเกี�ยวข้องทางธุรกิจ อย่างมีนยั สําคัญ เป็ นต้น

5. คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี� 1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน กรรมการกําหนดค่าตอบแทน กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน 1. เสนอนโยบายและหลัก เกณฑ์การจ่ า ยค่ า ตอบแทน ค่ า เบี�ย ประชุม โบนัส สวัสดิก าร และผลประโยชน์ ตอบแทนอื�น ๆ ทัง� ที�เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินที�จ่ายให้แก่คณะกรรมการและคณะอนุ กรรมการของบริษทั โดยคํานึงถึง ค่าตอบแทนที�ปฏิบตั ิอยู่ในอุตสาหกรรม 50

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การจัดการ โครงสร้าง การถือหุ้น

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

2. พิจารณากําหนดสวัสดิการและผลประโยชน์ตอบแทนอื�น ๆ ทัง� ที�เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินให้แก่พนักงาน ของบริษทั

6. คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4.

นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการสรรหา รองประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหากรรมการบริษทั และอนุกรรมการ รวมทัง� กรรมการผูอ้ าํ นวยการ และ กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั เพื�อความโปร่งใสในการสรรหาผูท้ �จี ะมาดํารงตําแหน่งดังกล่าว 2. เสนอชื�อกรรมการ และ/หรือ อนุกรรมการ เพื�อให้คณะกรรมการ และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง� 3. คัดเลือกผูส้ มัครเพื�อแต่งตัง� เป็ นกรรมการผูอ้ าํ นวยการและกรรมการผูจ้ ดั การบริษทั

7. คณะกรรมการบริหารความเสีย� ง คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยสมาชิก 6 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5. 6.

นายตรีขวัญ บุนนาค นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นายปธาน สมบูรณสิน นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

ประธานกรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริ ห ารความเสี� ย งและเลขานุ การ คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง 1. พิจ ารณานโยบายการบริหารความเสี�ย งของบริษ ทั ให้ครอบคลุมความเสี�ย งด้า นเครดิต (Credit Risk) ความเสี�ยงด้านตลาด (Market Risk) ความเสี�ยงด้านการปฏิบตั ิการ (Operational Risk) ความเสี�ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี�ย งด้า นสภาพคล่อ ง (Liquidity Risk) และความเสี�ย งด้า นอื�น ๆ อาทิ ความเสี�ย ง ด้านกฎหมายและกฎระเบียบ (Regulatory Risk) เป็ นต้น 2. พิจารณาประเมินความเสี�ยงของบริษทั ให้ครอบคลุมธุรกรรมตามข้อ 1.

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

51


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

3. พิจารณาและทบทวนแนวทางและเครื�องมือในการบริหารจัดการความเสี�ยงให้มปี ระสิทธิภาพ และเหมาะสม กับลักษณะและขนาดความเสี�ยงแต่ละด้านของธุรกรรมที�บริษทั ดําเนินการ 4. พิจารณาและทบทวนการกําหนดเพดานความเสี�ยง (Risk Limits) และมาตรการในการดําเนินการกรณี ท�ี ไม่เป็ นไปตามเพดานความเสีย� งที�กาํ หนด (Corrective Measures) 5. ติดตามผลการประเมินความเสี�ยงทัง� ในภาวะปกติและภาวะวิกฤต (Stress Testing) 6. ประเมินความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�นจากผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�นสําหรับธุรกรรมที�จะจัดตัง� ขึ�น ใหม่ รวมถึงกําหนดแนวทางการป้ องกันความเสี�ยงที�อาจจะเกิดขึ�นกับธุรกรรม 7. ทบทวนและปรับปรุงแก้ไขเปลีย� นแปลง (ถ้าจําเป็ น) กฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง โดยให้รายงาน การปรับปรุงดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ

8. ผูบ้ ริหาร รายชื�อผูบ้ ริหารของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2556 มีดงั นี� 1. 2. 3. 4.

นายไว เชง ควน นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์

5. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์* 6. นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล 7. นายชิเกยูกิ โฮริเอะ 8. นางยูโกะ โฮชิ 9. นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ 10. นางสาวศิริพร สมบัติวฒั นา 11. นายสิทธิศกั ดิ� ธารีรชั ต์ 12. นางสาวรุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย** 13. นางสาวพรพิมล ศุภวิรชั บัญชา

กรรมการผูอ้ าํ นวยการ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การทัว� ไป ผูอ้ าํ นวยการอาวุโสฝ่ ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุการบริษทั ผูอ้ าํ นวยการอาวุโสฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 1 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 2 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 3 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายพัฒนาโครงการ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายธุรการ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายกฎหมาย ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบัญชี ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการเงิน

* นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ ได้รบั แต่งตัง� เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมื�อวันที� 4 พฤศจิกายน 2556 ** นางสาวรุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย ได้รบั แต่งตัง� เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือ� วันที� 1 พฤษภาคม 2556

52

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การจัดการ โครงสร้าง การถือหุ้น

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ขอบเขตและอํานาจหน้าที�ของผูบ้ ริหาร ผูบ้ ริหารมีอาํ นาจหน้าที�ดาํ เนินการตามที�คณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั ทัง� นี� การใช้อาํ นาจของผูบ้ ริหารดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทําได้หากผูบ้ ริหารมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใด ๆ กับบริษทั หรือบริษทั ย่อยตามที�สาํ นักงาน ก.ล.ต. กําหนด

9. ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร เกณฑ์การกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการ บริษทั กําหนดค่าตอบแทนกรรมการตามหน้าที�และความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละท่าน โดยได้คาํ นึงถึงผล ประกอบการของบริษ ทั รวมถึง ค่ า ตอบแทนกรรมการของบริ ษ ทั จดทะเบีย นที�อ ยู่ ในอุ ตสาหกรรมเดีย วกัน ทัง� นี� ค่าตอบแทนกรรมการจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และอนุมตั ิโดยผูถ้ อื หุน้

9.1 ค่าตอบแทนที�เป็ นตัวเงิน ดังนี�

ในปี 2556 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ (ตามเกณฑ์คงค้าง) หน่วย : บาท กรรมการ นายชาลี โสภณพนิช นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายไว เชง ควน นางยุพดี ควน* นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายตรีขวัญ บุนนาค นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ รวม

เบี�ยประชุม คณะกรรมการ 100,000 40,000 50,000 50,000 30,000 50,000 50,000 40,000 410,000

เบี�ยประชุม โบนัสกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ 2,039,000 40,000 1,753,000 1,642,000 1,642,000 1,685,000 1,685,000 40,000 1,320,000 40,000 704,000 120,000 12,470,000

หมายเหตุ * นางยุพดี ควน ได้รบั แต่งตัง� เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการบริษทั เมื�อวันที� 19 เมษายน 2556

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

53


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

สําหรับผูบ้ ริหารของบริษทั นัน� ในปี 2556 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผูบ้ ริหาร (ตามเกณฑ์คงค้าง)

ดังนี�

เงินเดือน โบนัส กองทุนสํารองเลี�ยงชีพและกองทุนประกันสังคม รวม

จํานวนเงิน (บาท) 23,480,200 4,008,750 829,992 28,318,942

9.2 ค่าตอบแทนอื�น ๆ ในปี 2556 บริษทั มิได้มกี ารจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบอื�นให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั

54

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การจัดการ โครงสร้าง การถือหุ้น

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

การกํากับดูแลกิจการ 1. การปฏิบตั ติ ่อผูถ้ ือหุน้ บริษทั ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดยได้คาํ นึงถึงสิทธิข อง ผูถ้ อื หุน้ ในการได้รบั ข้อมูลข่าวสารของบริษทั อย่างเพียงพอและทันเวลา อันได้แก่ การส่งข้อมูลข่าวสารของบริษทั ผ่านทาง สื�อ อิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ของตลาดหลัก ทรัพ ย์แ ห่ งประเทศไทย การลงข่า วสารทางหนัง สือ พิม พ์ต ามพระราชบัญ ญัติ บริษทั มหาชนจํากัด และการลงประกาศในเว็บไซต์ของบริษทั www.ticon.co.th นอกจากข่าวสารข้อมูลที�ให้แก่ผูถ้ ือหุน้ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษ ทั ยังได้ให้ความสําคัญกับการประชุมผู ถ้ ือหุน้ โดยเฉพาะอย่างยิง� องค์ประกอบต่าง ๆ ของการประชุมเพื�อให้เกิดความเท่าเทียมกันในระหว่างผูถ้ อื หุน้ อันได้แก่ การจัด ประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยกําหนดให้วนั เวลา และสถานที�ประชุมไม่เป็ นอุปสรรคในการเข้าร่วมประชุม พร้อมจัดส่งแผนที�ตงั� ของสถานที�ประชุมให้แก่ ผู ถ้ ือ หุน้ การส่งหนังสือ นัดประชุมที�มีวตั ถุประสงค์และเหตุผ ลของแต่ละวาระการประชุม ตลอดจนความเห็นของคณะกรรมการประกอบในแต่ละวาระเสนอให้แก่ผูถ้ อื หุน้ ก่อนการประชุมอย่างน้อย 7 วันสําหรับ วาระปกติและอย่างน้อย 14 วันสําหรับวาระพิเศษตามข้อบังคับของบริษทั หนังสือนัดประชุมของบริษทั มีข ้อมูลสําคัญที�เกี�ยวข้องกับวาระการประชุม เพื�อให้ผูถ้ ือหุน้ มีขอ้ มูลประกอบการ พิจารณาลงคะแนนเสียงในการประชุมได้ครบถ้วนมากยิ�งขึ�น บริษทั ได้จดั ส่งรายงานประจําปี ซ�งึ รวบรวมข้อมูลสําคัญของ บริษทั ในปี ท�ผี ่านมาให้แก่ผูถ้ ือหุน้ พร้อมกับหนังสือนัดประชุม รวมถึงได้จดั ส่งหนังสือมอบฉันทะที�ให้ผูถ้ ือหุน้ สามารถ กําหนดทิศทางการออกเสียงในแต่ละเรื�องได้โดยหนังสือมอบฉันทะดังกล่าวมีขอ้ มูลกรรมการตรวจสอบเพื�อให้ผูถ้ ือหุน้ เลือ กเป็ นผู ร้ บั มอบฉันทะในการเข้า ประชุมในกรณี ท�ผี ู ถ้ ือ หุน้ ไม่สามารถเข้า ร่วมประชุมได้ นอกจากนี�บริษทั ได้แนบ ข้อ บังคับ บริษ ทั ส่ว นที� เ กี� ย วข้อ งกับ การประชุม ผู ถ้ ือ หุน้ ไปกับ หนัง สือ นัด ประชุมด้ว ย พร้อ มทัง� การให้ขอ้ มู ล และ รายละเอียดเกี�ยวกับเอกสารที�ตอ้ งใช้เพื�อเป็ นหลักฐานในการเข้าประชุมผูถ้ อื หุน้ ในหนังสือนัดประชุม บริษทั ได้เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิเสนอเพิ�มวาระการประชุมและเสนอชื�อผูท้ �ีมคี ุณสมบัติเหมาะสมที�จะมาเป็ น กรรมการบริษทั ล่วงหน้า โดยบริษทั ได้ช�แี จงหลักเกณฑ์และวิธีการในการเสนอเรื�องดังกล่าวบนเว็บไซต์ของบริษ ทั โดย เริ�มในปี 2550 เป็ นปี แรก ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั มีคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบรวมทัง� ผูบ้ ริหารของบริษทั และผูส้ อบบัญชีของบริษทั เข้าร่วมประชุมด้วย โดยประธานกรรมการของบริษทั หรือบุคคลที�ท�ปี ระชุมผูถ้ ือหุน้ อนุ มตั ิให้ เป็ นประธานในที�ประชุม จะดําเนินการให้มกี ารพิจารณาวาระการประชุมและลงคะแนนเสียงเป็ นไปตามลํา ดับวาระ ที�กาํ หนดในหนังสือนัดประชุมอย่างโปร่งใส นอกจากนัน� บริษทั ได้แจ้งวิธีการลงคะแนนให้ผูถ้ ือหุน้ ทราบก่อนลงคะแนน และระหว่างประชุมได้เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ อื หุน้ มีส่วนร่วมอย่างเต็มที�และบริษทั ได้ตอบคําถามอย่างครบถ้วน คณะกรรมการบริษ ทั ได้ดูแลให้มกี ารบันทึก รายงานการประชุมผูถ้ ือ หุน้ ให้มีสาระสํา คัญครบถ้วน อันได้แก่ คําชี�แจงที�เป็ นสาระสําคัญ คําถาม ข้อคิดเห็นต่าง ๆ รวมทัง� คะแนนเสียงที�ตอ้ งการในแต่ละวาระ นอกจากนัน� ในส่วนของ รายงานการประชุมบริษทั มีการจัดทํารายงานการประชุมให้เสร็จ สมบูรณ์ในเวลาที�กฎหมายกําหนด รวมทัง� มีระบบ

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

55


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

การจัดเก็บรายงานการประชุมที�ดีสามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ ทัง� นี� เพื�อให้ร ายงานการประชุมมีความครบถ้ว น สมบูรณ์มากยิ�งขึ�น บริษทั ได้จดั ให้มกี ารบันทึกผลการลงคะแนนเสียง เพิ�มเติมในรายงานการประชุมด้วย ทัง� นี� บริษทั ได้เผยแพร่เอกสารและข้อมูลต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับการประชุมผูถ้ ือหุน้ บนเว็บไซต์ของบริษทั ทัง� ใน รูปแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ได้แก่ เอกสารเชิญประชุมซึ�งเผยแพร่ลว่ งหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 1 เดือน และ รายงานการประชุมที�เผยแพร่ภายใน 14 วัน นับแต่วนั ประชุม รวมทัง� วีดที ศั น์ซ�งึ บันทึกภาพในวันประชุม เพื�อให้ผูถ้ ือหุน้ สามารถเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้สะดวกและรวดเร็ว ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2556 ของบริษทั บริษทั ได้จดั การประชุมขึ�นเมื�อวันที� 19 เมษายน 2556 เวลา 14.30 น. ณ ห้องแกรนด์ฮอลล์ บางกอกคลับ ชัน� 28 อาคารสาธรซิต� ีทาวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวง ทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร โดยมีกรรมการเข้าร่วมประชุม 5 ท่าน และลาประชุม 3 ท่าน

2. การปฏิบตั ติ ่อผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสีย บริษ ทั ตระหนักดีว่า ความสําเร็จ ในการดํา เนินธุ ร กิจ ของบริษ ทั เกิดขึ�นจากการสนับสนุ นจากผูม้ ีส่วนได้เ สี ย กลุม่ ต่าง ๆ อันได้แก่ พนักงานบริษทั คู่คา้ ลูกค้า สถาบันการเงินผูใ้ ห้กูย้ มื เงิน ชุมชนและสังคม ตลอดจนแรงผลักดัน จากคู่แข่งของบริษทั บริษทั จึงได้ให้ความสําคัญต่อสิทธิของผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุม่ กล่าวคือ การปฏิบตั ติ ่อพนักงานอย่าง เท่าเทียมและเป็ นธรรม การปฏิบตั ิต่อคู่คา้ ตามสัญญาและเงื�อนไขทางการค้า การจัดหาผลิตภัณฑ์ท�ไี ด้มาตรฐานให้แก่ ลูกค้า มีความรับผิดชอบต่อลูกค้าทัง� ในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการให้บริการหลังการขาย ตลอดจนการรักษา ความลับของลูกค้า การปฏิบตั ิตามเงือ� นไขการกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงินอย่างเคร่งครัด การปฏิบตั ิตามกรอบกติกา การแข่งขันที�ดี ไม่ทาํ ลายคู่แข่งขันด้วยวิธีการไม่สุจริต และการรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมของชุมชนและสังคม บริษทั ให้ความสําคัญต่อพนักงาน เนื�องจากพนักงานเป็ นปัจจัยแห่งความสําเร็จที�มคี ุณค่า บริษทั ให้การปฏิบ ตั ิ อย่างเท่า เทียมและเป็ นธรรมต่อ พนัก งาน ทัง� ในด้า นโอกาส ผลตอบแทน สวัสดิก ารที�จาํ เป็ น การแต่งตัง� โยกย้า ย การพัฒนาศักยภาพ การดูแลรักษาสภาพแวดล้อม ในการทํางานให้มคี วามปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน อยู่เสมอ บริษทั ดําเนินการตามมาตรการด้า นความปลอดภัย พร้อ มทัง� จัดให้มสี �ิงอํานวยความสะดวกในการทํางาน อย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื�อป้ องกันการสูญเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุ ป้ องกันการบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยอันเนื�องจาก การทํางาน นอกจากนี� บริษทั ได้จดั ให้มกี ิจกรรมสันทนาการ เพื�อความสามัคคีและเป็ นรางวัลสําหรับพนักงาน ในส่วนของลูกค้า บริษทั มีความมุง่ มันที � �จะแสวงหาวิธีการที�จะสนองความต้องการของลูกค้าให้มปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผลยิ�งขึ�นตลอดเวลา บริษทั ยึดมัน� ในการรักษาและปฏิบตั ิตามสัญญาที�ทาํ ไว้กบั ลูกค้าอย่างเคร่งครัด โดยการ ส่งมอบผลิตภัณฑ์ และให้บริก ารหลังการขายที�มคี ุณภาพ ตรงตามความคาดหมายของลูก ค้า ในราคาที�เป็ นธรรม นอกจากนี� ยังเน้นถึงการรัก ษาความลับของลูกค้าและไม่นาํ ไปใช้เ พื�อประโยชน์โดยมิชอบ รวมทัง� ผ่อนปรนและร่ว ม ช่วยเหลือลูกค้ายามที�เกิดความเดือดร้อน สําหรับคู่คา้ และ/หรือเจ้าหนี� บริษทั ปฏิบตั ิต่อคู่คา้ และ/หรือเจ้าหนี�อย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม คํานึงถึงประโยชน์ สูงสุดของบริษทั และตัง� อยู่บนพื�นฐานของการได้รบั ผลตอบแทนที�เป็ นธรรมต่อทัง� สองฝ่ าย หลีกเลีย� งสถานการณ์ท�ที าํ ให้ เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง� ปฏิบตั ิตามพันธะสัญญาที�ตกลงกันไว้

56

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


การกำ�กับดูแล กิจการ โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

สําหรับคู่แข่งทางการค้า บริษทั ปฏิบตั ิต่อคู่แข่งทางการค้าตามหลักสากล ไม่ละเมิดความลับหรือล่วงรู ค้ วามลับ ทางการค้าของคู่คา้ ด้วยวิธีฉอ้ ฉล บริษทั ยึดมัน� ในการดําเนินธุ รกิจด้วยความเป็ นธรรมโดยปฏิบตั ิตามแนวปฏิบ ตั ิทาง จริยธรรมในการดําเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด ในปี ท�ผี ่านมา บริษทั ไม่มขี ้อพิพาทใด ๆ ในเรื�องที�เกี�ยวกับคู่แข่งทางการค้า ส่วนชุมชนและสังคมนัน� บริษทั มีนโยบายที�จ ะดํา เนินธุ ร กิจ ที�เ ป็ นประโยชน์ต่ อเศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม มุง่ สร้างสมดุลระหว่างการเติบโตทางธุรกิจ และการพัฒนาของชุมชน สังคมและสิ�งแวดล้อมไปพร้อมกัน อย่า งไรก็ตาม ผู ม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย อาจร้องเรีย นต่อ บริษทั ในกรณี ท�ีไม่ได้ร บั ความเป็ นธรรมจากการปฏิบ ตั ิ ของบริษทั กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานของบริษทั โดยติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ หรือเว็บไซต์ของบริษทั ได้

3. คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั มี 9 ท่าน โดย 3 ท่านเป็ นกรรมการอิสระและมีตาํ แหน่งเป็ นกรรมการตรวจสอบของบริษทั ทัง� นี� บริษทั มีการแยกอํานาจหน้าที�ของประธานกรรมการบริษทั กรรมการผูอ้ าํ นวยการ และกรรมการผู จ้ ดั การออก จากกันอย่างชัดเจนเพื�อมิให้ผูใ้ ดผูห้ นึ�งมีอาํ นาจโดยไม่จาํ กัด คณะกรรมการบริษทั มีการประชุมเพื�อพิจารณากิจการทัว� ไปของบริษทั อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง� โดยบริษทั กําหนดการจัดประชุมคณะกรรมการ และส่งหนังสือนัดประชุมซึ�งระบุถึงวาระการประชุมอย่างชัดเจนรวมทัง� เอกสาร ประกอบการประชุม ให้แก่คณะกรรมการล่วงหน้าก่อนการประชุมโดยทัว� ไปไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ยกเว้นกรณี เร่งด่วนตาม ข้อบังคับของบริษทั ในปี 2556 กรรมการบริษทั แต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี�

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร 4. นายชาย วินิชบุตร 5. นายไว เชง ควน 6. นางยุพดี ควน* 7. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 8. นายตรีขวัญ บุนนาค 9. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2556 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 5 ครัง� ) 5 4 5 5 1 3 5 5 4

หมายเหตุ * นางยุพดี ควน ได้รบั แต่งตัง� เป็ นกรรมการของบริษทั เมื�อวันที� 19 เมษายน 2556

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

57


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ในการประชุมคณะกรรมการบริษ ทั ทุกครัง� เลขานุ ก ารบริษทั จะเป็ นผูจ้ ดั การประชุม จัดเตรียมระเบีย บวาระ การประชุม และเอกสารเพื�อ ส่งให้แก่คณะกรรมการบริษทั ก่ อนการประชุม เป็ นผู บ้ นั ทึก รายงานการประชุมโดยมี รายละเอียดของสาระสําคัญและข้อคิดเห็นต่าง ๆ ครบถ้วน และเสร็จสมบูรณ์ภายใน 14 วัน ภายหลังการประชุม รวมทัง� มีหน้าที�จดั เก็บเอกสารเกี�ยวกับการประชุมให้ถกู ต้องครบถ้วน นอกจากนัน� ยังมีหน้าที�ให้คาํ แนะนําแก่คณะกรรมการ บริษทั ในกฎระเบียบต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับวาระการประชุม คณะกรรมการของบริษทั มีบทบาทสําคัญในเรื�องต่าง ๆ เพื�อทําให้บริษทั มีการกํากับดูแลกิจการที�ดดี งั ต่อไปนี� ในทุก ๆ ต้นปี คณะกรรมการบริษทั จะมีการประชุมเพื�อพิจารณากําหนดกลยุทธ์ และเป้ าหมายการดําเนิน ธุรกิจของบริษทั รวมทัง� มีการติดตามผลการดําเนินงานและทบทวนผลการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริหารในช่วงปี ท�ผี ่านมา ว่าเป็ นไปตามเป้ าหมายที�วางไว้ในช่วงต้นปี หรือไม่ ผลงานที�ไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายจะถูกทบทวนเพื�อประโยชน์ในการ วางนโยบาย และการกําหนดเป้ าหมายที�เหมาะสมสําหรับปี ต่อ ๆ ไป 

เพื�อให้การทํางานเกิดประสิทธิผลมากยิง� ขึ�น คณะกรรมการบริษทั จะมีการทบทวนผลงาน รวมทัง� การวิเคราะห์ ปัญ หาและอุ ป สรรคต่ า ง ๆ ในระหว่ า งปี ที� ผ่ า นมา เพื� อ ให้มีข อ้ มู ล ที� จ ะนํา ไปปรับ ปรุ ง การกํา กับ ดู แ ลและ การดําเนินการในเรื�องต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง� นี� คณะกรรมการบริษทั ได้ทาํ การประเมินผลการดําเนินงาน ของตนเองประจําปี ดว้ ย 

คณะกรรมการบริษทั จะเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ เพื�อพิจารณากําหนดค่าตอบแทนที�บริษทั จ่ายให้แก่คณะกรรมการ บริษทั (ซึ�งได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนแล้ว) เพื�อเป็ นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเสนอ ให้แก่ ผู ถ้ ือ หุน้ ทัง� นี� ที�ผ่า นมาผูถ้ ือ หุน้ ได้พิจารณาอนุ มตั ิค่าตอบแทนกรรมการตามหน้า ที�และความรับผิดชอบของ กรรมการแต่ละท่าน กล่าวคือ ประธานกรรมการจะได้รบั ค่าตอบแทนมากกว่ากรรมการท่านอื�น ๆ และกรรมการที�มี หน้าที�และความรับผิดชอบมากขึ�นก็จะได้รบั ค่าตอบแทนเพิ�มขึ�น เช่น กรรมการที�มตี าํ แหน่งเป็ นกรรมการตรวจสอบ จะได้รบั ค่าตอบแทนสําหรับหน้าที�ตอ้ งรับผิดชอบเพิ�มเติมด้วย 

บริษทั ได้เปิ ดเผยข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการที�บริษทั จ่ ายให้แก่กรรมการและกรรมการตรวจสอบในปี 2556 ที�ผ่านมาไว้ในหัวข้อ “ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร” เพื�อให้การบริหารงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรอบคอบ คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารกําหนดหน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารในเรื�องของระดับอํานาจดําเนินการทางการเงิน ที�สาํ คัญ ได้แก่ อํานาจอนุมตั ิในการซื�อ/เช่าทรัพย์สนิ อํานาจอนุมตั ิในการขาย/ให้เช่าทรัพย์สนิ อํานาจในการลงนามในสัญญาเงินกู ้ กับสถาบันการเงิน เป็ นต้น โดยได้กาํ หนดวงเงินที�กรรมการและผูบ้ ริหารในแต่ละระดับมีอาํ นาจในการอนุ มตั ิไว้อย่าง ชัดเจน และได้แจ้งให้แก่คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ ผู บ้ ริหาร และพนักงานที�เกี�ย วขอ้ งทราบ ถึงอํานาจ หน้าที� และความรับผิดชอบดังกล่าวแล้ว และทุกฝ่ ายได้มกี ารปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด 

คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารติดตามดูแล และรับทราบถึงรายการระหว่างกัน และรายการที�อ าจก่ อ ให้เ กิ ด ความขัด แย้งทางผลประโยชน์ โดยได้มีก ารพิจ ารณาความเหมาะสมของรายการ อย่างรอบคอบ ควบคุมดูแลให้รายการดังกล่าวเกิดขึ�นตามราคาตลาด รวมทัง� ดูแลให้บริษทั มีการปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ 

58

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


การกำ�กับดูแล กิจการ โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ที�เกี�ยวข้องอย่างเคร่งครัด ทัง� นี� ในการพิจารณารายการระหว่างกัน กรรมการผูม้ สี ่วนได้เสียจะไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในเรื�อง ดังกล่าว บริษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกัน ซึ�งมีความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อ ความ เหมาะสมของการทํารายการดังกล่าวไว้ในหัวข้อ “รายการระหว่างกัน” คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทํารายงานความรับผิดชอบต่อการจัดทํา และการเปิ ด เผยรายงานทางการเงิน ของกิ จ การ ดังที�แสดงไว้ก่ อ นรายงานของผู ส้ อบบัญ ชี ทัง� นี� เพื�อ แสดงให้เ ห็นว่ า รายงานทางการเงินของบริ ษ ทั ครบถ้วน เชื�อถือได้ สมเหตุผล และปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีท�รี บั รองทัว� ไป และกฎระเบียบต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้อง โดย ใช้นโยบายบัญชีท�เี หมาะสมและถือปฏิบตั ิโดยสมํา� เสมอ 

แม ้ว่าประธานกรรมการของบริษทั จะเป็ นตัวแทนจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ แต่บริษทั ก็มคี ณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูก้ าํ กับดูแลให้การตัดสินใจอนุมตั กิ ารทํารายการใด ๆ ของคณะกรรมการเป็ นไปอย่างถูกต้อง โปร่งใส และเป็ นธรรม ต่อทุก ๆ ฝ่ ายที�เกี�ยวข้อง 

ในปี 2552 คณะกรรมการบริษ ทั ได้จ ัดทํา นโยบายการกํา กับดู แ ลกิจ การ ซึ�งได้ประมวลนโยบายและ ข้อ ปฏิบ ตั ิหลัก ๆ ที�ก รรมการผู บ้ ริหารและพนัก งาน จะยึดถือ ในการปฏิบ ตั ิหน้า ที�ของตน ตามความรับ ผิดชอบ ที�ได้รบั มอบหมาย รวมทัง� แนวทางการปฏิบตั ิต่อผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียฝ่ ายต่าง ๆ โดยเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั ที� www.ticon.co.th 

4. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบ 3 ท่านที�มคี วามเป็ นอิสระ ถือหุน้ ในบริษทั น้อยกว่า ร้อยละ 1 มิได้เ ป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั และมีความรู ค้ วามเข้าใจ รวมทัง� มีประสบการณ์ดา้ นบัญชีและ/หรือ การเงิน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที�แบ่งเบาภาระหน้าที�ของคณะกรรมการบริษทั ในการดูแลให้บริษทั มีระบบ การกํากับดูแลกิจการที�ดี โดยเฉพาะอย่างยิ�งหน้าที�ในการให้วิสยั ทัศน์ และให้ความเห็นที�ตรงไปตรงมาต่อรายงานทาง การเงิน และระบบการควบคุมภายในของบริษทั การปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎเกณฑ์และระเบียบที�เกี�ยวข้อง ตลอดจน ดูแลให้มกี ารเปิ ดเผยรายงานทางการเงินอย่างครบถ้วน และเป็ นไปตามมาตรฐานและข้อกําหนดที�เกี�ยวข้อง ซึ�งส่งผลให้ รายงานทางการเงินมีความน่าเชื�อถือ มีคุณภาพที�ดี และมีมลู ค่าเพิ�มต่อองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีบทบาทสําคัญในเรื�องต่าง ๆ เพื�อทําให้บริษทั มีการกํากับดูแลกิจการที�ดี ดังต่อไปนี� คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีการประชุมอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง� เพื�อกํากับดูแล และติดตาม เรื�องต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น โดยมีผูส้ อบบัญชีของบริษทั เข้าร่ วมประชุมด้วยทุกครัง� ในวาระที�มกี ารพิจารณารายงาน ทางการเงิน 

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

59


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ในปี 2556 กรรมการตรวจสอบแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี�

1. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 2. นายตรีขวัญ บุนนาค 3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2556 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 4 ครัง� ) 4 4 4

ในปัจ จุบ นั ผูต้ รวจสอบภายในของบริษ ทั เป็ นผูด้ ู แลกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผู จ้ ดั ประชุม จัดเตรีย มระเบีย บวาระการประชุม จัดเตรียมเอกสารต่ า ง ๆ ที�เ กี�ย วข้อ งในการประชุม ส่งวาระการประชุมให้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนัน� ยังมีหน้าที�บนั ทึกรายงานการประชุม ตลอดจนเป็ นผูด้ ูแลจัดเก็บเอกสารการประชุม ด้วย คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานกิจกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ตนรับผิดชอบทัง� หมดแก่คณะกรรมการ บริษทั ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ซึ�งจัดขึ�นอย่างน้อยทุกไตรมาส และมีนโยบายจะรายงานต่อคณะกรรมการทันที ที�มเี หตุการณ์สาํ คัญเกิดขึ�น นอกจากนี� คณะกรรมการตรวจสอบยังได้จดั ทํารายงานเพื�อเสนอต่อผูถ้ ือหุน้ ในรายงาน ประจําปี ดว้ ย 

บริษทั มีการกําหนดหลักเกณฑ์ของกรรมการตรวจสอบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื�อให้เกิดความชัดเจนในเรื�อง ต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ�งบทบาทหน้าที�และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ อันเป็ นประโยชน์ ในการเพิ�มประสิทธิภาพการปฏิบตั ิหน้าที�ของกรรมการตรวจสอบ 

5. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษทั ประกอบด้วยสมาชิก 5 ท่าน ซึ�งแต่งตัง� โดยคณะกรรมการบริษทั เพื�อปฏิบตั ิ หน้าที�ตามที�ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

6. คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกํา หนดค่ า ตอบแทนของบริ ษ ทั ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่ า น ซึ�งแต่ งตัง� โดยผู ถ้ ือ หุน้ หรื อ คณะกรรมการบริ ษ ทั โดยคณะกรรมการกํา หนดค่ า ตอบแทนมีห น้า ที�ดู แลให้บ ริ ษ ทั มีก ารดํา เนิ นการที�โ ปร่ ง ใส และเป็ นธรรม ในการให้ผลตอบแทนต่อกรรมการและผูบ้ ริหาร รวมทัง� การจัดหาสวัสดิการที�เหมาะสมและเป็ นธรรม ต่อพนักงานของบริษทั ในการพิจารณาค่าตอบแทนนัน� คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนจะพิจารณาจากหลายองค์ประกอบ ได้แก่ การเปรียบเทียบกับระดับที�ปฏิบตั อิ ยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลประกอบการของบริษทั รวมทัง� หน้าที�ความรับผิดชอบ

60

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


การกำ�กับดูแล กิจการ โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในปี 2556 กรรมการกําหนดค่าตอบแทนแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี�

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2556 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 1 ครัง� ) 1 1 1

7. คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาของบริ ษ ทั ประกอบด้ว ยกรรมการ 4 ท่ า น ซึ� ง แต่ ง ตั�ง โดยคณะกรรมการบริ ษ ัท โดยคณะกรรมการสรรหามีหน้าที�กาํ หนดหลัก เกณฑ์และวิธีการในการคัดเลือกกรรมการ อนุ กรรมการ กรรมการ ผูอ้ าํ นวยการ และกรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั เพือ� ให้เกิดความโปร่งใสในการสรรหาผูท้ �จี ะมาดํารงตําแหน่งดังกล่าว ในปี 2556 กรรมการสรรหาแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี�

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร 3. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 4. นายตรีขวัญ บุนนาค

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2556 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 2 ครัง� ) 2 2 2 2

8. คณะกรรมการบริหารความเสีย� ง คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงจัดตัง� ขึ�นเมือ� วันที� 13 พฤษภาคม 2556 ตามมติท�ปี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครั�งที� 2 ของปี 2556 คณะกรรมการบริห ารความเสี�ย งของบริษ ทั ประกอบด้วยสมาชิก 6 ท่า น ซึ�ง แต่ งตั�งโดย คณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการบริหารความเสี�ยงมีหน้าที�พจิ ารณาประเมินและติดตามความเสี�ยงในด้านต่าง ๆ และทบทวนแนวทางและเครื�องมืออย่างสมํา� เสมอเพื�อใช้ในการบริหารความเสี�ยงอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ต่อการดําเนินธุรกรรมด้านต่าง ๆ ของบริษทั

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

61


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ในปี 2556 สมาชิกคณะกรรมการบริหารความเสี�ยงแต่ละท่านมีการเข้าประชุม ดังนี� จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2556 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 3 ครัง� ) 3 3 3 3 3 3

1. นายตรีขวัญ บุนนาค 2. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 3. ดร. สมศักดิ� ไชยพร 4. นายปธาน สมบูรณสิน 5. นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ 6. นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

9. คณะอนุ กรรมการอืน� ๆ - ไม่มี รายละเอียดเกี�ยวกับรายชื�อ หน้าที�ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และคณะอนุ กรรมการชุดต่าง ๆ ระบุไว้ ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ”

10. จริยธรรมทางธุรกิจ บริษ ทั มีแนวทางเกี�ย วกับจริยธรรมธุ รกิจ หรือ จรรยาบรรณของบริษ ทั ที�ร ะบุอ ยู่ในคู่ มือบริษ ทั และนโยบาย การกํากับดูแลกิจการ ซึ�งแนวทางดังกล่าวได้รวมถึงแนวทางการเก็บรักษาและป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั เพื�อประโยชน์ส่วนตนด้วย

11. ความสัมพันธ์กบั ผูเ้ กี�ยวข้อง บริษทั ได้ให้ความสําคัญกับการเปิ ดเผยข้อมูลของบริษทั ที�ถูกต้อง ครบถ้วน และในเวลาที�เหมาะสม เนื�องจาก บริษทั ตระหนักดีถงึ สถานภาพการเป็ นบริษทั มหาชนจํากัด และบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง� นี� ผูส้ นใจสามารถติดต่อบุคคลดังต่อไปนี� ซึ�งเป็ นผูด้ ูแลงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั เพื�อสอบถามข้อมูลของบริษทั ชื�อ

ที�อยู่ ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ที าวเวอร์ ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ samart.r@ticon.co.th ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153

62

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ตําแหน่ ง

อีเมล


การกำ�กับดูแล กิจการ โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

นอกเหนือ จากการเปิ ดโอกาสให้นกั วิเคราะห์หลัก ทรัพย์ นัก ลงทุน เข้าพบผูบ้ ริหารของบริษ ทั เพื�อสอบถาม ผลการดําเนินงาน และเข้าเยี�ยมชมโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั รวมทัง� การจัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และจัด แถลงข่าวแก่ส�อื มวลชนเพื�อชี�แจงผลประกอบการและภาพรวมธุรกิจแล้ว บริษทั ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริษทั จดทะเบียนพบ ผูล้ งทุน (Opportunity day) ซึ�งจัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็ นประจําทุกไตรมาส และกิจกรรมพบปะ นักลงทุน/นักวิเคราะห์ท�จี ดั โดยบริษทั หลักทรัพย์ เพื�อเป็ นการส่งเสริมการให้ข ้อมูล และสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่าง ผูบ้ ริหารและนักลงทุน และเพื�อให้มีความเข้า ใจในธุ ร กิจ ของบริษ ทั มากขึ�น นอกจากนัน� บริษทั ยังมีก ารเดินทางไป ต่างประเทศเพื�อให้ข ้อมูลแก่นกั ลงทุนที�มไิ ด้อยู่ในประเทศไทยด้วย ในปี 2556 บริษทั ได้จดั ให้มกี ารนําเสนอข้อมูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนรายย่อย และ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ดังนี� กิจกรรมการนําเสนอข้อมูล บริษทั จดทะเบียนพบผูล้ งทุน นักลงทุนพบผูบ้ ริหารของบริษทั ประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และจัดแถลงข่าวแก่สอ�ื มวลชน ให้ข ้อมูลแก่นกั ลงทุนในประเทศ ให้ข ้อมูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ

จํานวนครัง� 3 70 3 6 9

12. การดูแลเรื�องการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั มีนโยบายและวิธกี ารดูแลผู ้บริหารในการนําข ้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพื�อประโยชน์ส่วนตน ดังนี� ให้ความรูแ้ ก่กรรมการ และผูบ้ ริหาร เกี�ยวกับหน้าที�ท�ตี อ้ งรายงานการถือหลักทรัพย์และการเปลีย� นแปลงการ ถือหลักทรัพย์ของบริษทั ตามมาตรา 59 แห่ง พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และบทกําหนดโทษ ตาม พรบ. ดังกล่าว 

บริษทั ได้แจ้งให้ผูบ้ ริหารทราบว่า หากผูบ้ ริหารได้ร บั ทราบข้อมูลภายในที�เ ป็ นสาระสําคัญอันจะมีผลต่ อ การเปลีย� นแปลงราคาหลักทรัพย์ ผูบ้ ริหารจะต้องระงับการซื�อขายหลักทรัพย์ของบริษทั ในช่วงระยะเวลาที�เหมาะสม ก่อ นที�ขอ้ มูลภายในนัน� จะเปิ ดเผยต่ อ สาธารณชน และจะต้อ งไม่เ ปิ ดเผยข้อ มูลที�เ ป็ นสาระสํา คัญนัน� ต่ อ บุคคลอื� น โดยผูฝ้ ่ าฝื นอาจได้รบั โทษตามกฎหมาย 

บริษทั จะชี�แจงต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนผ่านทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในทันทีในกรณี ท�มี ขี ่าวสาร ใด ๆ ทัง� ที�เป็ นจริงและไม่เป็ นจริงรัว� ไหลออกสู่สาธารณชน ทัง� นี� เพื�อไม่ให้เกิดความไม่เป็ นธรรมต่อผูถ้ ือหุน้ และผูล้ งทุน ทัว� ไป 

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

63


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

13. ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ตระหนักถึงความสําคัญของสังคม ชุมชน และสิ�งแวดล้อ ม โดยในปี 2556 ได้มีการจัดกิจ กรรมเพื�อ สาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื�อง ดังนี� ในเดือนมีนาคม 2556 บริษทั ได้บริจาคอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื�องใช้สาํ นักงาน จํานวน 73 รายการ เช่น คอมพิวเตอร์แบบพกพา เครื�องพิมพ์เอกสาร จอภาพ และอุปกรณ์สาํ รองไฟฟ้ า เป็ นต้น ให้แก่มูลนิธิสวนแก้ว จังหวัด นนทบุรี 

ในเดือนตุลาคม 2556 บริษ ทั ได้บริจ าคถุงยังชีพ จํานวนกว่า 400 ชุด ให้แก่ผู ป้ ระสบอุทกภัยในอําเภอ บ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี 

ในเดือนพฤศจิกายน 2556 บริษทั ได้จดั โครงการ “ไทคอน กรีน ไลฟ์ ตอน อนุ รกั ษ์และปลูกป่ าชายเลน” โดยคณะผู บ้ ริหาร และพนัก งาน ร่ วมกันปลู ก ป่ าชายเลน ณ ศู นย์ศึ ก ษาธรรมชาติก องทัพ บก (บางปู ) จังหวัด สมุทรปราการ 

ในเดือนพฤศจิกายน 2556 ผูบ้ ริหารและพนักงานของบริษทั ร่วมกันบริจาคสิ�งของและเงินช่วยเหลือให้แก่ วัดศรีจนั ทาราม จังหวัดสมุทรปราการ และสถานสงเคราะห์คนพิการและทุพพลภาพ “บ้านบางปะกง” จังหวัดฉะเชิงเทรา ในโครงการ ไทคอนมอบรัก ครัง� ที� 2 

ในเดือนธันวาคม 2556 บริษทั ได้บริจาคอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครื�องใช้สาํ นักงาน จํานวน 38 รายการ เช่น คอมพิวเตอร์แบบตัง� โต๊ะ เครื�องพิมพ์เอกสาร และโทรศัพท์ เป็ นต้น ให้แก่มลู นิธิสวนแก้ว จังหวัดนนทบุรี 

64

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


การกำ�กับดูแล กิจการ โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย� ง บริษทั ให้ความสําคัญต่ อ ระบบควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี�ยงที�มปี ระสิทธิภาพ เหมาะสม พอเพียง ทัง� ในระดับบริหารและระดับปฏิบตั ิงาน ซึ�งถือว่าเป็ นกระบวนการที�สาํ คัญของการดําเนินธุรกิจของบริษทั ทําให้ การปฏิบ ตั ิงานมีประสิทธิภาพ และเกิดความมัน� ใจอย่า งสมเหตุสมผลว่า การดํา เนินงานของบริษ ทั สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ สร้า งผลประโยชน์ตอบแทนในระยะยาว การรายงานข้อมูลทางการเงินและการดําเนินงานครบถ้วน น่าเชื�อถือ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ และป้ องกันความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�น โดยที� ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 1/2557 ได้มกี ารพิจารณาทบทวนการประเมินความเพียงพอและความเหมาะสมของ ระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยอ้างอิง “แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน” ของสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบที�เข้าร่วม ประชุมมีความเห็นว่า บริษทั มีระบบการควบคุมภายในที�เพียงพอและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบนั และครอบคลุม ใน 5 เรื�อง คือ องค์ก รและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี�ยง การควบคุมการปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศและ การสื�อสารข้อมูล และระบบการติดตาม โดยสรุปสาระสําคัญได้ดงั ต่อไปนี� 1.

องค์กรและสภาพแวดล้อม

บริษทั ส่งเสริมและสนับสนุ นให้เกิดสภาพแวดล้อมของการควบคุมภายในที�ดี โดยกํา หนดเป้ าหมาย การดําเนินธุรกิจของบริษทั ที�ชดั เจนและวัดผลได้ในรู ปของกําไรต่อหุน้ ประจําปี นนั� ๆ รวมทัง� ได้มกี ารเปรียบเทียบผล การดําเนินงานในปี ท�ผี ่านมากับเป้ าหมายที�กาํ หนด โดยหากไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย บริษทั จะทําการวิเคราะห์หาสาเหตุ เพื�อประโยชน์ในการปรับปรุงการบริหารงานในปี ต่อไป ทัง� นี� โครงสร้างองค์กรของบริษทั มีสายการบังคับบัญชา มีการ กําหนดอํานาจอนุมตั ิของฝ่ ายบริหารในการทํารายการต่าง ๆ อย่างชัดเจน โดยผูม้ สี ่วนได้เสียในเรื�องใด จะไม่สามารถให้ การอนุ มตั ิในเรื�องนัน� ๆ ได้ นอกจากนัน� ยังมีการแบ่งแยกหน้า ที�ความรับผิดชอบอย่า งเด็ดขาดระหว่างการอนุ มตั ิ การบันทึกรายการทางบัญชี และการดูแลทรัพย์สนิ เพื�อเป็ นการตรวจสอบซึ�งกันและกัน บริษทั กําหนดโครงสร้า งการบริหารประกอบด้วยคณะกรรมการ 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษ ทั คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดค่ าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา และ คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง โดยคณะกรรมการแต่ละชุดมีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เกี�ยวกับการดําเนินธุรกิจของ บริษทั และกํากับดูแลให้การบริหารจัดการเป็ นไปตามเป้ าหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผูถ้ ือหุน้ อยู่ในกรอบของการมี จริยธรรมทีด� ี และรับผิดชอบต่อผูม้ สี ่วนได้เสีย ตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษทั (Corporate Governance Policy)

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

65


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

2.

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

การบริหารความเสี�ยง

บริษทั ให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการความเสี�ยงในบริษทั โดยที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 2/2556 ได้อนุ มตั ิก ารจัดตัง� คณะกรรมการบริหารความเสี�ย ง และอนุ มตั ิกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี�ย ง คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงมีหน้าที�พจิ ารณากําหนดนโยบายบริหารความเสี�ยง ดูแลการกําหนดประเภทความเสี�ยง ที�อาจเกิดขึ�นจากการดําเนินธุรกิจของบริษทั การประเมินโอกาสของการเกิดความเสี�ยง และการกําหนดมาตรการและ เครื�องมือในการบริหารจัดการความเสี�ยง พร้อมทัง� ติดตามผลการบริหารจัดการความเสี�ยงอย่างเป็ นระบบและต่อเนื�อง ทัง� ที�มาจากภายในและภายนอก เพื�อให้ทนั ต่อความเสี�ยงที�อาจมีการเปลี�ยนแปลง รวมทัง� กําหนดผูม้ หี น้าที�รบั ผิดชอบ ในการดู แลให้มกี ารปฏิบตั ิตามมาตรการดังกล่า วเพื�อ ลด และ/หรือ หลีกเลี�ย งความเสี�ย งที�อ าจเกิดขึ�น โดยเน้นให้ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของบริษทั รวมทัง� จัดการให้ความรู ก้ บั พนักงานให้มคี วามเข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญ ในการบริหารความเสี�ยงให้มากยิ�งขึ�น 3.

การควบคุมการปฏิบตั ิงาน

บริษ ทั มีมาตรการควบคุมภายในที�มีความเหมาะสมกับความเสี�ย ง ลัก ษณะเฉพาะขององค์ก ร และ ครอบคลุมกระบวนการต่าง ๆ อย่างเหมาะสม เช่น มีนโยบายและระเบียบปฏิบตั ิงานเกี�ยวกับการจัดซื�อ การเงิน และการ บริหารทัว� ไป ตลอดจนกําหนดขอบเขตอํานาจหน้า ที�และอํานาจอนุ มตั ิของฝ่ ายบริหารในการทํารายการต่าง ๆ อย่า ง ชัดเจน โดยผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียในเรื�องใดจะไม่สามารถให้การอนุมตั ิในเรื�องนัน� ๆ ได้ เพื�อให้สามารถป้ องกันการทุจริตได้ เช่น มีก ารกํา หนดวงเงิน และอํา นาจอนุ มตั ิของผู บ้ ริหารแต่ละระดับ ขัน� ตอนในการอนุ มตั ิโครงการลงทุน ขัน� ตอน การจัดซื�อและวิธีการคัดเลือกผูข้ าย เป็ นต้น นอกจากนัน� ยังมีการแบ่งแยกหน้าที�ความรับผิดชอบอย่างเด็ดขาดระหว่าง การอนุมตั ิ การบันทึกรายการทางบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และการดูแลทรัพย์สนิ เพื�อเป็ นการตรวจสอบซึ�งกันและกัน รวมทัง� ควบคุมดูแลให้ทุกหน่วยงานมีการปฏิบตั ิตามนโยบาย ระเบียบปฏิบตั ิงาน ข้อกฎหมายและข้อ บังคับที�เกี�ยวข้อง อย่างเคร่งครัด โดยบริษทั มีการทบทวนนโยบาย และกระบวนการปฏิบตั ิให้มคี วามเหมาะสมอยู่เสมอ สําหรับระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการปฏิบตั ิงาน บริษทั มีการควบคุมดูแลด้านการพัฒนา การบํารุงรักษา และด้านความ ปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีให้มคี วามเหมาะสมอยู่เสมอ บริษทั มีการรวบรวมข้อมูลเกี�ยวกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และผูท้ �ีเกี�ยวข้องกับบุคคล ดังกล่าว รวมทัง� บุคคลที�เกี�ยวโยงกัน เพื�อประโยชน์ในการติดตามและสอบทานการทํารายการระหว่างกัน หรือรายการ ที�อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง� มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั เสมอ เมือ� มีการพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรม ระหว่างกันนัน� บริษทั มีนโยบายให้คาํ นึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษทั เป็ นสําคัญ และพิจารณาโดยถือเสมือนเป็ นรายการ ที�กระทํากับบุคคลภายนอก และต้องกระทําโดยผูท้ �ไี ม่มสี ่วนได้ส่วนเสียในธุรกรรมนัน� เพื�อป้ องกันการหาโอกาสหรือนํา ผลประโยชน์ของบริษทั ไปใช้ส่วนตัว สําหรับบริษทั ในเครือ บริษทั มีกระบวนการติดตามดูแลการดําเนินการ รวมทัง� กําหนดแนวทางให้บุคคลที�บริษทั แต่งตัง� ให้เ ป็ นกรรมการหรือผูบ้ ริหารในบริษทั ในเครือ นัน� ถือปฏิบตั ิ เพื�อให้บรรลุ เป้ าหมายในการลงทุนของบริษทั

66

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

4.

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ระบบสารสนเทศและการสื�อสารข้อมูล

บริษทั ให้ความสําคัญต่อระบบสารสนเทศและการสื�อสารข้อมูลที�ได้รบั ทัง� จากภายในและภายนอก ซึ�งถือ เป็ นเครื�องมือสําคัญในการดําเนินธุ รกิจของบริษทั โดยเฉพาะอย่างยิ�งข้อมูลเกี�ยวกับผลการปฏิบตั ิงาน และรายงาน ทางการเงิน เพื�อให้ก ารตัดสินใจของคณะกรรมการฝ่ ายบริหาร ผูถ้ ือหุน้ และผู เ้ กี� ยวข้อ ง อยู่บนพื�นฐานของข้อ มูล ที�เพียงพอ ถูกต้องสมบูรณ์ เป็ นปัจจุบนั เชื�อถือได้ เข้าใจง่าย เพื�อเพิ�มศักยภาพในการดําเนินธุรกิจและการแข่งขัน บริษทั ได้จดั ให้มขี ้อมูลที�สาํ คัญต่าง ๆ อย่างเพียงพอเพื�อให้คณะกรรมการใช้ประกอบการตัดสินใจ โดยการ จัดทํารายงานเชิงวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักการและเหตุผล พร้อมเอกสารประกอบข้อเท็จจริง จัดส่งข้อมูลเพื�อศึกษา ประกอบการตัดสินใจเป็ นการล่วงหน้า 7 วัน โดยมีเลขานุการบริษทั ซึง� มีหน้าที�ให้คาํ แนะนําด้านข้อบังคับและกฎเกณฑ์ ต่าง ๆ ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษทั ตลอดจนประสานงานให้มกี ารปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการบริษทั รวมทัง� เป็ นหน่ วยงานที�เ ป็ นศูนย์กลางในการจัดทําและจัด เก็บเอกสารสําคัญ ได้แก่ ทะเบีย นกรรมการ หนังสือ นัดประชุม คณะกรรมการบริษทั รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ไว้เป็ นระบบ เพื�อให้ผูถ้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบความเหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้าที�ของกรรมการได้ บริษทั มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ ซึ�งรวมถึงขัน� ตอนการจัดเก็บข้อมูลเพื�อจัดทํารายงาน ทางการเงิน การตรวจสอบ/สอบทานของผูส้ อบบัญชี การพิจารณา ทบทวน รายงานทางการเงินของคณะกรรมการ ตรวจสอบร่วมกับผูส้ อบบัญชีของบริษทั โดยให้ใช้นโยบายบัญชีตามหลักเกณฑ์ท�รี บั รองทัว� ไปและเหมาะสมกับลักษณะ ธุ รกิจ และการพิจ ารณาทบทวนของคณะกรรมการบริษ ทั ก่อนการเผยแพร่ รายงานทางการเงินต่ อสาธารณชน ทัง� นี� เพื�อเป็ นการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ตลอดจนการดูแลให้มกี ารเปิ ดเผยขอ้ มูลอย่างครบถ้วนและ โปร่งใส 5.

ระบบการติดตาม

บริษทั มีระบบการติดตามการดําเนินงานในระดับบริหารและในระดับปฏิบตั ิงาน ให้เป็ นไปตามเป้ าหมาย ที�กาํ หนด คณะกรรมการบริษ ทั และฝ่ ายบริหารจะแก้ไขปัญหาที�อ าจเกิดขึ�น และกําหนดแนวทางที�ชดั เจนในกรณี ท�ี ไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย กรณีมปี ระเด็นสําคัญที�อาจมีผลกระทบต่อองค์กร จะกําหนดให้ผูร้ บั ผิดชอบนําเสนอรายงาน เพื�อ ทบทวนการปฏิบ ตั ิ งานและการวิเ คราะห์สาเหตุต ลอดจนร่ ว มพิจ ารณาเพื�อ อนุ ม ตั ิ แก้ไ ขปัญ หาภายในเวลา ที�คณะกรรมการเห็นว่าเหมาะสม และให้รายงานการปฏิบตั ิและติดตามผลอย่างต่อเนื�อง บริษทั มีฝ่ายตรวจสอบภายในเป็ นหน่วยงานอิสระซึ�งรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทําหน้าที� สอบทานข้อ มูล การดํา เนินงานและการควบคุมภายในเพื�อ ประเมินความเพีย งพอเหมาะสมและประสิทธิ ผ ลของ การควบคุมภายในซึ�งครอบคลุมระบบงานที�สาํ คัญของบริษ ทั และบริษ ทั ในเครือ โดยผู ต้ รวจสอบภายในได้ท าํ การ วิเ คราะห์ผ ลจากการตรวจสอบและสรุ ปประเด็น ที�มีสาระสํา คัญ และนํา เสนอให้ค ณะกรรมการตรวจสอบทราบ โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเป็ นผูพ้ จิ ารณาประเด็นที�ตรวจพบร่วมกับฝ่ ายบริหาร เพื�อวางแนวทางในการปรับปรุง อันเป็ นการสร้างแนวทางเชิงป้ องกัน คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษทั ทราบเป็ น ประจํา

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

67


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ผูด้ าํ รงตําแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริษทั คือนางสาววุฒินี พิทกั ษ์สงั ข์ ซึ�งเป็ นผูท้ �ีมคี วามรู ้ และประสบการณ์การทํางานด้านงานตรวจสอบภายในของบริษทั มาเป็ นระยะเวลา 10 ปี ซึ�งได้รบั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ ทัง� นี�ในการแต่งตัง� โยกย้าย และเลิกจ้าง หัวหน้างานตรวจสอบภายใน จะต้องได้รบั ความ เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

68

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

รายการระหว่างกัน 1. รายละเอียดของรายการระหว่างกัน 1.1 การซื�อที�ดินจากบริษทั ที�เกี�ยวข้อง 1.1.1 บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) ตลอดหลายปี ท�ีผ่า นมา บริษ ทั มีก ารซื�อ ที�ดินเพื�อ พัฒนาอาคารโรงงาน/คลังสินค้า จากบริษ ทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) ซึ�งถือ ว่าเป็ นบุคคลที�อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เนื�องจากบริษ ทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํา กัด (มหาชน) เป็ นผู ถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริษทั และมีก รรมการดํา รงตําแหน่งกรรมการ ของบริษทั คือ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร และนายชาย วินิชบุตร ในปี 2556 บริษทั ไม่มกี ารซื�อที�ดนิ จากบริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) 1.1.2 บริษทั นิ คมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด บริษ ทั มีก ารซื�อที�ดินจากบริษ ทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํา กัด ซึ�งมีก รรมการดํา รงตําแหน่ ง กรรมการของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช ในปี 2556 บริษทั ซื�อที�ดนิ จากบริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด มูลค่ารวม 42.22 ล้านบาท ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้พจิ ารณารายการระหว่างกันดังกล่าวข ้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณา จากราคาตลาดของที�ดนิ บริเวณใกล้เคียง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นรายการที�มคี วาม จําเป็ นและสมเหตุสมผล และเกิดขึ�นตามราคาตลาด บนเงือ� นไขที�ปฏิบตั ิกนั อยู่โดยทัว� ไป 1.2 การเช่าพื�นที�สาํ นักงานจากบุคคลเกี�ยวข้อง บริษทั มีการเช่าพื�นที�สาํ นักงานจากกองทุนรวมสาธรซิต� ีทาวเวอร์ ซึ�งกองทุนดังกล่าวมีผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ซ�งึ มี ความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ และกรรมการของบริษทั ดังนี� 1. กลุม่ ซิต� เี รียลตี� ซึ�งเป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของกองทุนรวมสาธรซิต� ีทาวเวอร์ ถือหุน้ ในบริษทั ทัง� ทางตรง และทางอ้อม ร้อยละ 7.07 (ณ วันที� 14 มีนาคม 2557) ซิต� เี รียลตี�

2. นายชาลี โสภณพนิช เป็ นผู ถ้ ือหุน้ และเป็ นกรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนามของบริษทั และบริษทั ในกลุ่ม ในปี 2556 บริษทั มีการชําระค่าเช่าพื�นที�สาํ นักงานให้แก่กองทุนดังกล่าวรวม 15.01 ล้านบาท ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ไม่มยี อดคงค้างของรายการดังกล่าวข้างต้น

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

69


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้พจิ ารณารายการดังกล่าวแล้ว โดยมีการพิจารณาประกอบกับข้อมูล อัตราค่าเช่าอาคารสํานักงานที�อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับอาคารสํานักงานของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น ว่า รายการระหว่า งกันดังกล่า วมีความสมเหตุสมผลและเกิดขึ�นตามราคาตลาด โดยมีก ารให้บริก ารและมีเ งื�อ นไข เช่นเดียวกับผูเ้ ช่ารายอื�นทัว� ไป 1.3 การทําธุรกรรมทางการเงินกับบริษทั ที�เกี�ยวข้อง บริษ ทั มีการทําธุ ร กรรมทางการเงินกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) โดยธนาคารดังกล่า วมีกลุ่ม โสภณพนิชเป็ นผู ถ้ ือหุน้ ใหญ่ และกลุ่มโสภณพนิชมีความสัมพันธ์กบั ผูถ้ ือหุน้ และกรรมการของบริษ ทั คือ นายชาลี โสภณพนิช ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มียอดคงค้างของการใช้บริการทางการเงิน กับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ดังนี� รายการ

อัตราดอกเบี�ย/ค่าธรรมเนี ยม (ร้อยละต่อปี )

จํานวนเงิน (ล้านบาท)

เงินกูร้ ะยะยาว หนังสือคํา� ประกัน เงินฝากประจํา เงินฝากออมทรัพย์

อัตราดอกเบี�ยสําหรับลูกค้าชัน� ดี (MLR) ลบอัตราคงที� ตามประกาศของธนาคาร ตามประกาศของธนาคาร ตามประกาศของธนาคาร

707.30 197.22 1.49 123.71

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั มียอดดอกเบี�ยเงินกูค้ า้ งจ่ายทางบัญชีจาํ นวน 0.09 ล้านบาท โดยยอด ค้างจ่ายดังกล่าวได้มกี ารชําระแล้วในต้นปี 2557 ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารพิจารณาความเหมาะสมของรายการดังกล่าวข้างต้น และมีความเห็นว่า รายการดังกล่าวข้างต้นเป็ นรายการที�มคี วามสมเหตุสมผล และเกิดขึ�นตามราคาตลาด นอกจากนี�ขอ้ กําหนดและเงื�อนไข ต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องมีความเหมาะสมและปฏิบตั ิกนั โดยทัว� ไป 1.4 การทําธุรกรรมด้านการซื�อขายหลักทรัพย์กบั บริษทั ที�เกี�ยวข้อง บริษทั มีการซื�อขายหน่วยลงทุนกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์ค โลจิสติคส์ และกองทุน รวมสิทธิก ารเช่า อสัง หาริมทรัพ ย์ไทคอน อิน ดัสเทรีย ล โกรท ผ่า นบริษ ทั ที�เ กี�ย วข้อ ง คื อ บริษทั หลักทรัพย์ เอเซียพลัส จํากัด (มหาชน) ซึ�งมีกรรมการดํารงตําแหน่ งกรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนามของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช และในปี 2556 บริษ ทั มีก ารซื�อ หน่วยลงทุนกองทุนรวมสิทธิก ารเช่าอสังหาริมทรัพ ย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท จากบริษทั ดังกล่าว

70

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในระหว่ า งปี 2556 บริ ษ ทั มีก ารจ่ า ยค่ า ตอบแทนในการซื�อ หน่ วยลงทุ น และการใช้บ ริก ารซื�อ ขาย หลักทรัพย์ ให้แก่บริษทั หลักทรัพย์ เอเซียพลัส จํากัด (มหาชน) ดังนี� รายการ

ราคา/ค่าธรรมเนี ยม

มูลค่าหน่วยลงทุนที�ซ�อื ราคาทีต� กลงร่วมกัน ค่าธรรมเนียมนายหน้าการซื�อขายหลักทรัพย์ ราคาตลาด

จํานวนเงิน (ล้านบาท) 450.00 0.53

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ไม่มยี อดคงค้างของรายการดังกล่าว ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้มกี ารพิจารณาการซื�อหน่วยลงทุน และค่าธรรมเนียมการซื�อขาย หลัก ทรัพ ย์ดงั กล่า ว และมีความเห็นว่ า รายการดังกล่า วเป็ นรายการที� มีความจํา เป็ น และเกิ ดขึ�นตามราคาตลาด บนเงือ� นไขที�ปฏิบตั ิกนั อยู่โดยทัว� ไป ทัง� นี� ที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 4/2551 เมือ� วันที� 13 สิงหาคม 2551 ได้มมี ติอนุมตั ิในหลักการ ให้ฝ่ายจัดการของบริษทั มีอาํ นาจทํารายการระหว่างกันซึ�งเป็ นข้อตกลงทางการค้าที�มเี งือ� นไขทางการค้าโดยทัว� ไป

2. ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล การทํารายการระหว่างกันดังกล่าวข้างต้นเป็ นความจําเป็ นเพื�อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษทั และบริษทั ได้ จ่าย/รับค่าตอบแทนในราคาตลาดที�ยุติธรรมและสมเหตุสมผล ดังที�คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นในการทํา รายการไว้แล้วข้างต้น

3. มาตรการหรือขัน� ตอนการอนุ มตั กิ ารทํารายการระหว่างกัน คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการตรวจสอบรายการระหว่างกันของบริษทั ให้เป็ นรายการที�เกิดขึ�น ตามราคาและเงื�อนไขที�ยุติธรรม โดยคํา นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษ ทั อีกทัง� ดูแลการเปิ ดเผยข้อมูลให้ถูกต้อ ง ครบถ้วนตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง� นี� บริษทั มีมาตรการเกี�ยวกับการทํารายการระหว่างกัน ดังนี� ที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 4/2551 ในวันที� 13 สิงหาคม 2551 ได้มมี ติอนุ มตั ิในหลักการให้ฝ่าย จัดการของบริษทั มีอาํ นาจในการทํารายการระหว่างกันซึ�งเป็ นข้อตกลงทางการค้าที�มเี งือ� นไขการค้าโดยทัว� ไป ทัง� รายการ ที�อยู่ระหว่างดําเนินการในขณะนัน� และรายการที�จะเกิดขึ�นในอนาคต โดยฝ่ ายจัดการจะมีการรายงานสรุปการทํารายการ ดังกล่าวต่อที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ภายหลังการทํารายการ 

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

71


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั จะดูแลให้รายการดังกล่าวเป็ นไปตามราคาตลาด หรือราคายุติธรรม โดยคณะกรรมการหรือผูถ้ ือหุน้ ของบริษ ทั จะเป็ นผูอ้ นุ มตั ิการทํารายการระหว่างกันในกรณี ท�รี ายการดังกล่าวไม่เป็ น เงื�อ นไขทางการค้าโดยทัว� ไป ทัง� นี� กรรมการหรือ ผูถ้ ือหุน้ ซึ�งมีส่วนได้เ สีย ในเรื�อ งใด ไม่มีสิทธิออกเสีย งลงคะแนน ในเรื�องนัน� 

เปิ ดเผยรายละเอี ย ดของรายการระหว่ า งกัน ตามประกาศและข้อ กํา หนดของตลาดหลัก ทรัพ ย์ แห่งประเทศไทย และ/หรือสํานักงาน ก.ล.ต. ดังที�ได้ระบุไว้ในข้อบังคับของบริษทั 

เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันตามมาตรฐานการบัญชีท�กี าํ หนดโดยสมาคมนักบัญชี

4. นโยบายหรือแนวโน้มการทํารายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันจะยังคงเกิดขึ�นอย่างต่อเนื�องในอนาคตตราบเท่าที�รายการนัน� ยังคงเป็ นประโยชน์ต่อบริษทั

72

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ 1. ผลการดําเนิ นงาน 1.1 รายได้ บริ ษ ทั มีธุ ร กิ จ หลัก คื อ การพัฒนาอสัง หาริ มทรัพ ย์เ พื� อ การอุ ต สาหกรรมโดยการสร้า งโรงงานและ คลังสินค้าเพื�อให้เช่า และขายเมือ� มีโอกาสเหมาะสม ซึ�งในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีรายได้จากการให้เช่าและค่าบริการ คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 41.3 ร้อยละ 18.0 และร้อยละ 17.6 เมือ� เทียบกับรายได้รวม ตามลําดับ ขณะที�รายได้ จากการขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่ TFUND/TLOGIS/TGROWTH ยังคงมีสดั ส่วนที�สูงที�สุดเมื�อเทียบกับรายได้รวม คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 44.3 ร้อยละ 74.1 และร้อยละ 73.9 ตามลําดับ การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่กองทุน ดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์เพื�อนําเงินมาใช้ในการขยายธุรกิจของบริษทั ในแต่ละปี ในบางช่ วงเวลาบริ ษ ทั มีร ายได้จ ากการขายโรงงานให้แก่ ลูก ค้า ที�สามารถใช้สิท ธิใ นการซื�อ โรงงาน ตามเงือ� นไขที�ได้ระบุไว้ในสัญญาเช่า อย่างไรก็ตาม บริษทั ไม่สามารถคาดการณ์รายได้ดงั กล่าวได้ ทัง� นี� ขึ�นอยู่กบั การ ตัดสินใจของลูกค้าเป็ นหลัก สําหรับรายได้จากการลงทุนในกองทุน TFUND/TLOGIS/TGROWTH ประกอบด้วย ส่วนแบ่งกําไรจาก เงินลงทุน รายได้ค่าบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ กําไรจากการขายหน่วยลงทุน และกําไรที�รบั รู เ้ พิ�มเติมจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทุน นอกจากนี� บริษ ทั มีรายได้จ ากงานรับเหมาก่ อสร้า ง และรายได้ค่าสาธารณู ปโภค ซึ�งโดยปกติจะเป็ น สัดส่วนน้อยเมือ� เทียบกับรายได้รวม 1.1.1 รายได้จากการให้เช่าและค่าบริการ ในช่วง 3 ปี ท�ีผ่านมารายได้ค่าเช่ารับและค่าบริการมีจาํ นวน 880.2 ล้านบาท 1,053.0 ล้านบาท และ 1,109.7 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 3.5 ร้อยละ 19.6 และร้อยละ 5.4 ตามลําดับ ตามความ ต้องการเช่า โรงงานและคลังสินค้าที�เ พิ�มขึ�น ขณะที�ตน้ ทุนจากการให้เ ช่าและบริก ารมีจาํ นวน 248.1 ล้านบาท 392.3 ล้านบาท และ 261.5 ล้านบาท ตามลําดับ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2555 เพิ�มขึ�นอย่างมาก แม ้ว่าในช่วงไตรมาส 1 บริษทั จะสูญเสีย รายได้ค่าเช่า และมีการยกเลิกสัญญาเช่าจํานวนหนึ�งจากเหตุการณ์อุทกภัย เนื�องจากการขยายการลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ท�เี กิดจากการดําเนินนโยบายรถยนต์คนั แรกของรัฐบาล กระแส ความต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าได้หลังไหลไปยั � งพื�นที�ทางฝัง� ตะวันออกของประเทศ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2556 ยังคงเพิ�มขึ�น แม ้จะเป็ นอัตราการเพิ�มที�นอ้ ยกว่าปี ก่อนหน้า เนื�องจากความต้องการเช่า โรงงานเติบโตน้อ ยกว่า ที�คาดหมายไว้ อย่างไรก็ตาม ความต้องการคลังสินค้า ของบริษ ทั ได้เพิ�มขึ�นอย่า งมากตามการขยายตัวของธุ รกิจโลจิสติก ส์ และธุ รกิจ ค้าปลีก ในปี 2556 บริษ ทั สามารถให้เ ช่าพื�นที� โรงงานและคลังสินค้าได้เพิ�มขึ�นสุทธิรวม 240,932 ตารางเมตร TICON รายงานประจำ�ปี

2556

73


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

1.1.2 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ในช่ ว ง 3 ปี ท�ี ผ่ า นมา บริ ษ ทั มีร ายได้จ ากการขายอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ใ ห้ TFUND TLOGIS และ TGROWTH มูลค่า 943.5 ล้านบาท 4,332.9 ล้านบาท และ 4,663.0 ล้านบาท คิดเป็ นการลดลงร้อยละ 45.7 เพิ�มขึ�นร้อยละ 359.2 และเพิ�มขึ�นร้อยละ 7.6 ตามลําดับ ในปี 2555 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เพิ�มขึ�นอย่างมากจาก ปี 2554 เนื�องจากมีการขายโรงงานซึ�งเลือ� นมาจากแผนการขายในไตรมาส 4/2554 มาขายในไตรมาส 1/2555 และมีการ โอนขายอสังหาริมทรัพย์อีก 2 ครัง� ให้แก่ TFUND และ TLOGIS ในไตรมาส 4/2555 ในปี 2556 บริษทั มีการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND จํานวน 2 โรงงาน มูลค่า 104.8 ล้านบาทในเดือ นกันยายน และขาย/ให้เ ช่าโรงงานและคลังสินค้า ให้แก่ TGROWTH ในเดือนธันวาคม เป็ นมูลค่ า 5,514.5 ล้านบาท สูงกว่าการขายในทุกปี ท�ผี ่านมา แต่บนั ทึกเป็ นรายได้จากการขายเพียง 4,558.2 ล้านบาท การขาย อสังหาริมทรัพย์ท�มี ากกว่าทุกปี ดงั กล่าวถูกใช้เป็ นแหล่งเงินทุนในการขยายธุรกิจที�มากกว่าทุกปี เช่นกัน ซึ�งสอดคล้องกับ ความต้องการเช่าที�เพิ�มขึ�นอย่างมาก การขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND และ TLOGIS นัน� เป็ นการขายขาดในกรรมสิทธิ�ของทัง� ที�ดนิ และอาคารโรงงาน/คลังสินค้า บริษทั จึงบันทึกรายการขายสินทรัพย์ดงั กล่าวเป็ นรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ในงบกําไรขาดทุนได้ทงั� จํานวน ในขณะที�การขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TGROWTH ในปี 2556 เป็ นการให้เช่า ที�ดนิ ระยะยาว พร้อมการขาย/ให้เช่าอาคารโรงงาน/คลังสินค้า โดยบริษทั บันทึกการให้เช่าที�ดินเป็ นรายได้ค่าเช่าที�ดิน รับล่วงหน้าในงบแสดงฐานะการเงินทัง� จํานวน ซึ�งจะทยอยรับรูเ้ ป็ นรายได้ค่าเช่าตามอายุสญั ญาเช่าที�ดิน และบันทึกการ ขายขาดในกรรมสิทธิ� และการให้เ ช่า อาคารโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นรายได้จากการขายในงบกําไรขาดทุนทัง� จํา นวน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 17 (ปรับปรุง 2552) ทีถ� อื ว่าการให้เช่าอาคารระยะยาวเป็ นการขายตามสัญญาเช่าการเงิน อย่างไรก็ตาม การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ในแต่ละปี จะมากหรือน้อย ยังขึ�นอยู่กบั ความต้องการใช้เงินเพื�อขยายธุรกิจของบริษทั 1.1.3 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลหรือกิจการอื�น นอกจากรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แล ้ว บริษทั ยังมีรายได้ จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ลูกค้าที�เป็ นผูเ้ ช่า รวมถึงบุคคล/กิจการอื�นตามโอกาสที�เหมาะสม ทัง� นี�ในปี 2556 บริษทั ไม่มีการขายอสังหาริมทรัพ ย์ให้แก่ บุคคลหรือกิจการอื�น จึงไม่มรี ายได้

ดังกล่าว

อย่างไรก็ตาม รายได้จากการขายโรงงานให้แก่ลูกค้าเป็ นรายได้ท�มี ไิ ด้เกิดขึ�นอย่างสมํา� เสมอ ทัง� นี� ขึ�นอยู่ก บั การตัดสินใจของลู ก ค้า ในการใช้สิทธิซ� ือ โรงงานตามเงื�อ นไขที�ร ะบุ ในสัญญาเช่า เป็ นสํา คัญ นอกจากนั�น กําไรขัน� ต้นของการขายโรงงานแต่ละโรงงานมีความแตกต่างกัน ขึ�นอยู่กบั หลายปัจจัย เช่น อายุ ขนาด ลักษณะของ โรงงาน รวมทัง� ทําเลที�ตงั� ของโรงงานที�ขาย

74

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

1.1.4 รายได้ท�ีเกี�ยวเนื� องกับบริษทั ร่วม (TFUND TLOGIS และ TGROWTH) 1) ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS และ TGROWTH ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS และ TGROWTH ขึ�นอยู่กบั สัดส่วนการ ลงทุนของบริษทั และกําไรของ TFUND TLOGIS และ TGROWTH ในช่วง 3 ปี ท�ีผ่า นมา บริษ ทั มีส่ว นแบ่งกํา ไรจากเงินลงทุนในบริ ษ ทั ร่ วมจํา นวน 160.8 ล้านบาท 169.2 ล้านบาท และ 216.6 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการลดลงร้อยละ 4.6 เพิ�มขึ�นร้อยละ 5.2 ต่อปี และ เพิ�มขึ�นร้อยละ 28.0 ต่อปี ตามลําดับ เหตุการณ์อุทกภัยในปี 2554 ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อผลการดําเนินงานของ กองทุนในปี 2555 ทําให้ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TFUND และ TLOGIS ของปี 2555 อยู่ในระดับที�ใกล้เคียงกับ ปี 2554 แม ้ว่าในปี 2555 บริษทั จะมีการลงทุนในกองทุนทัง� สองเพิ�มขึ�นก็ตาม ในปี 2556 บริษทั มีส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในกองทุนดังกล่าวเท่ากับ 216.6 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจากปี 2555 จํานวน 47.4 ล้านบาท เนื�องจาก TFUND และ TLOGIS มีผลประกอบการดีข�นึ และบริษทั มีเงิน ลงทุนใน TGROWTH ในระหว่างปี TGROWTH

2) รายได้จ ากการเป็ นผู บ้ ริหารอสังหาริมทรัพ ย์ท�ีบริษทั ขายให้แก่ TFUND TLOGIS และ

ในปี 2556 บริษทั มีร ายได้ดงั กล่าวเพิ�มขึ�น เนื�อ งจากกองทุน TFUND และ TLOGIS มีผลประกอบการดีข�นึ รวมทัง� กองทุน TLOGIS ได้รบั เงินชดเชยประกันความเสียหายจากนํา� ท่วม ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีรายได้จากการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์จาํ นวน 113.4 ล้านบาท 105.1 ล้านบาท และ 152.6 ล้านบาท ตามลําดับ รายได้ดงั กล่าวในปี 2555 มีจาํ นวนลดลงจากปี ก่อนหน้า เนื�องจากการลดลงของรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ ของกองทุนจากผลกระทบจากเหตุการณ์อทุ กภัย ในการเป็ นผู บ้ ริหารอสังหาริมทรัพ ย์ให้ก องทุนดังกล่าวนัน� บริ ษ ทั มีภาระผู ก พันในเรื�อ ง การคํา� ประกันรายได้ค่าเช่าคลังสินค้าบางส่วนให้แก่ TLOGIS และคํา� ประกันรายได้ให้แก่ TGROWTH เป็ นระยะเวลา 1 ปี หากไม่มผี ูเ้ ช่าโรงงานและคลังสินค้า 3) กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีการขายเงินลงทุนบางส่วนใน TFUND และ TLOGIS เพื�อการ บริหารกระแสเงินสดของบริษทั ทําให้บริษทั มีกาํ ไรจากการขายเงินลงทุนดังกล่าว จํานวน 2.0 ล้านบาท 36.5 ล้านบาท และ 170.1 ล้านบาท ตามลําดับ ซึ�งบันทึกกําไรดังกล่าวเป็ นรายได้อ�นื 4) กําไรทีร� บั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH บริษทั จะสามารถรับรู ก้ าํ ไรเพิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND TLOGIS และ TGROWTH เมื�อกองทุนมีการขายสินทรัพย์ท�ซี � อื จากบริษทั ให้แก่บุคคล/กิจการอื�น หรือเมื�อบริษทั ลดสัดส่วน การลงทุนในกองทุนดังกล่าว

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

75


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีกาํ ไรที�รบั รู เ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND TLOGIS และ TGROWTH จํานวน 3.5 ล้านบาท 35.3 ล้านบาท และ 154.5 ล้านบาท ตามลําดับ ซึ�งโดยส่วนใหญ่ เกิดขึ�นจากการที�บริษทั ลดสัดส่วนการลงทุนใน TFUND และ TLOGIS โดยสัดส่วนการลงทุนใน TFUND และ TLOGIS ณ 31 ธันวาคม 2556 ลดลงจากร้อยละ 27.9 และร้อยละ 26.1 เป็ นร้อยละ 23.6 และร้อยละ 20.0 ตามลําดับ 1.1.5 รายได้อ�นื ๆ นอกจากรายได้ท�กี ล่าวข้างต้น บริษทั ยังมีรายได้ประเภทอื�นอีก ซึ�งประกอบด้วย 1) รายได้จากงานรับเหมาก่อสร้าง รายได้ดงั กล่าวเกิดจากการที�บริษทั ได้รบั ว่าจ้างจากลูกค้าที�เช่าโรงงานของบริษทั ให้ทาํ การ ต่อเติม/ดัดแปลงโรงงานที�เช่าอยู่ ซึ�งปกติบริษทั มีรายได้จากงานรับเหมาก่อสร้างจํานวนน้อยเมื�อเทียบกับรายได้รวม อย่างไรก็ตาม การที�รายได้จากงานรับเหมาก่อสร้างในปี 2555 มีจาํ นวนเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้า เนื�องจากผูเ้ ช่าโรงงาน/ คลังสินค้าว่าจ้างบริษทั ให้ทาํ การซ่อมแซมปรับปรุงอาคารที�ได้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัย ในขณะที�ปี 2556 รายได้ดงั กล่าวเกิดจากการที�ผูเ้ ช่าจ้างบริษทั ให้ทาํ การซ่อมแซม ต่อเติมอาคาร ตามการใช้งานปกติของผูเ้ ช่า จึงทําให้ รายได้ดงั กล่าวมีจาํ นวนลดลงมากเมือ� เทียบกับปี 2555 2) รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้ค่าสาธารณูปโภคเกิดจากการที�บริษทั เป็ นผูจ้ ดั หาสาธารณูปโภคเป็ นการชัว� คราวให้แก่ ลูกค้าที�เช่าโรงงานในระหว่างที�ลูกค้าอยู่ระหว่างดําเนินการขอสาธารณูปโภคประเภทนัน� ๆ จากหน่วยงานที�เกี�ยวข้อง ทัง� นี� โดยปกติบริษทั มิได้แสวงหากําไรจากการให้บริการดังกล่าวจากลูกค้า 3) ค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัย ในปี 2555 และ 2556 บริษทั ได้รบั เงินค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัย เพื�อชดเชย ความเสียหายในทรัพย์สินและชดเชยการสูญเสีย รายได้กรณี ธุรกิจหยุดชะงักของบริษทั ที�เกิดจากเหตุการณ์อุทกภัย จํานวน 82.7 ล้านบาท และ 69.7 ล้านบาท ตามลําดับ 1.2 ค่าใช้จา่ ย 1.2.1 ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารมีจาํ นวน 326.0 ล้านบาท 432.0 ล้านบาท และ 715.6 ล้านบาท ตามลําดับ เพิ�มขึ�นร้อยละ 10.6 ร้อยละ 32.5 และร้อยละ 65.6 ต่อปี ตามลําดับ ทัง� นี� องค์ประกอบหลักของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ได้แก่ ค่าใช้จ่ายเกี�ยวกับพนักงาน และ ค่าเสื�อมราคาของโรงงาน/คลังสินค้าที�สร้างเสร็จแต่ยงั ไม่มผี ูเ้ ช่า โดยคิดเป็ นสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 50.1

76

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในปี 2556 บริษทั มีค่า ใช้จ่ ายในการขายและบริหารเพิ�มขึ�น มาก ส่วนใหญ่ เป็ นการเพิ�มขึ�นของ ค่าเสื�อมราคา และค่าใช้จ่ายในการรักษาความปลอดภัยของทรัพย์สนิ ในโรงงาน/คลังสินค้าที�ว่างพร้อมให้เช่า การเพิ�มขึ�น ของค่าใช้จ่ายทีเ� กี�ยวข้องกับพนักงาน ตามการขยายธุรกิจของบริษทั รวมทัง� ค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวกับการจัดตัง� TGROWTH ซึ�งส่วนใหญ่ บ นั ทึก เป็ นค่ า ใช้จ่ ายในการขาย ค่ า ใช้จ่ า ยดังกล่า วจะเกิดขึ�นเฉพาะเมื�อมีก ารจัดตัง� กองทุนใหม่เท่า นัน� อย่างไรก็ตาม บริษทั ได้รบั การชดเชยอยู่ในส่วนของรายได้จากการขายและรายได้อ�ืน 1.2.2 ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา ค่าใช้จ่ายทางการเงินมีจาํ นวน 267.2 ล้านบาท 410.8 ล้านบาท และ 546.4 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 2.2 ร้อยละ 53.7 และร้อยละ 33.0 ต่อปี ตามลําดับ องค์ประกอบหลักของค่า ใช้จ่ายทางการเงิน คือ ดอกเบี�ย จ่าย คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 98.3 ส่วนที�เหลือเป็ นค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับการจัดหาเงินกูย้ มื ของบริษทั ค่าใช้จ่ายทางการเงินในปี 2555 และ 2556 เพิ�มขึ�นมาก เนื�องจากบริษทั มีการกูย้ มื เงินเพิ�มขึ�นเป็ น จํานวนมากเพื�อใช้ในการขยายธุรกิจโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าของบริษทั 1.2.3 ค่าเผื�อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ในปี 2555 บริษทั มีการโอนกลับรายการค่าเผื�อการด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์ เนื�องจากบริษทั มีก ารบันทึกค่ า เผื�อการด้อยค่ าของที�ดินจํานวน 2 แปลงในจังหวัดพระนครศรีอ ยุ ธยา รวมจํา นวน 15.4 ล้า นบาท ในปี 2554 แต่ต่อมาในปี 2555 ที�ดนิ ดังกล่าวมีมลู ค่ายุติธรรมสูงกว่ามูลค่าตามบัญชี ในปี 2556 ไม่มรี ายการดังกล่าว 1.3 กําไร 1.3.1 กําไรขัน� ต้น บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ต้นจากการดําเนินธุรกิจ (จากการให้เช่าและจากการขายโรงงาน/คลังสินค้า) ในรอบ 3 ปี ท�ผี ่านมาเท่ากับร้อยละ 51.5 ร้อยละ 43.1 และร้อยละ 45.5 ตามลําดับ ในปี 2555 อัตรากําไรขัน� ต้นจากการดําเนินธุรกิจลดลงอย่างมากจากปี 2554 เนื�องจากการสูญเสีย รายได้ค่าเช่าและค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมทรัพย์สินที�เสียหายจากเหตุการณ์อุทกภัย รวมทัง� การเพิ�มขึ�นของสัดส่ว น รายได้จากการให้เช่าคลังสินค้า ในปี 2556 บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ต้นจากการดําเนินธุรกิจเพิ�มขึ�นเล็กน้อยจากปี ก่อนหน้า เนื�องจาก บริษทั มีรายได้จากการให้เช่าเพิ�มขึ�น การปรับขึ�นราคาค่าเช่าและบริการ การลดลงของค่าซ่อ มแซมทรัพ ย์สินในส่วน ที�ได้รบั ผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 และการหยุดคิดค่าเสื�อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อ การลงทุนให้เช่าที�จดั ประเภทเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถือไว้เพื�อขายตัง� แต่ไตรมาส 2 จนถึงเดือนธันวาคมที�บริษทั ได้ขายสินทรัพย์ดงั กล่าวเสร็จสิ�น

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

77


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

1.3.2 กําไรสุทธิ บริษ ทั มีก ําไรสุทธิซ�งึ คิดตามวิธีส่วนได้เสียและแสดงอยู่ในงบการเงินรวมในช่วง 3 ปี ท�ีผ่า นมา เท่ากับ 436.4 ล้านบาท 1,296.6 ล้านบาท และ 1,414.2 ล้านบาท ตามลําดับ กําไรสุทธิต่อหุน้ เท่ากับ 0.57 บาท 1.62 บาท และ 1.56 บาท ตามลําดับ และอัตรากําไรสุทธิของบริษทั เท่ากับร้อยละ 20.5 ร้อยละ 22.2 และร้อยละ 22.4 ตามลําดับ ในปี 2555 บริษทั มีกาํ ไรสุทธิเพิ�มขึ�นจากปี 2554 จํานวน 860.2 ล้านบาท เพิ�มขึ�นร้อยละ 197.11 โดยหลักเกิดจากการเพิ�มขึ�นของรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS รวมถึงการเพิ�มขึ�นของรายได้ จากการให้เ ช่ า และบริก าร จากการรับ เหมาก่ อ สร้า ง ส่ วนแบ่ งกํา ไรจากการลงทุ นใน TFUND/TLOGIS กํา ไรที� รับรูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS และกําไรจากการขายเงินลงทุนในกองทุน นอกจากนี� บริษทั ยังได้รบั ประโยชน์จากการปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เป็ นร้อยละ 23 ในปี 2556 บริษทั มีกาํ ไรสุทธิเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้าจํานวน 117.6 ล้านบาท หรือเพิ�มขึ�นร้อยละ 9.1 เนื�องจากบริษทั มีกาํ ไรขัน� ต้นจากการให้เช่าและบริการเพิ�มขึ�นดังที�กล่าวข้างต้น รวมทัง� มีกาํ ไรจากขายอสังหาริมทรัพย์ เพิ� ม ขึ�น จากปี ก่ อ นหน้า นอกจากนี� บริ ษ ัท มีร ายได้ค่ า บริ ห ารจัด การ และส่ ว นแบ่ ง กํ า ไรจากเงิ น ลงทุ น ใน TFUND/TLOGIS/TGROWTH เพิ� ม ขึ�น เนื� อ งจากกองทุ น TFUND/TLOGIS มีผ ลประกอบการดี ข� ึน อี ก ทั�ง บริษ ทั มีกาํ ไรที�ร บั รู เ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS และกํา ไรจากการขายหน่วยลงทุน TFUND/TLOGIS เพิ�มขึ�นจากการลดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนดังทีก� ล่าวข้างต้น นอกจากนี�บริษทั ยังได้รบั ประโยชน์ จากการปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 23 เป็ นร้อยละ 20 2.

ฐานะทางการเงิน 2.1 สินทรัพย์

ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีสนิ ทรัพย์รวมทัง� สิ�น 26,451.4 ล้านบาท ซึ�งร้อยละ 65.3 ของสินทรัพย์รวมเป็ น อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน และร้อยละ 12.3 เป็ นเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS และ TGROWTH สินทรัพย์รวมของบริษทั เพิ�มขึ�นจากปี 2555 ประมาณ 6,715.4 ล้านบาท คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 34.0 สาเหตุหลักมาจากการเพิ�มขึ�นของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน และการเพิ�มขึ�นของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม จากการ ลงทุนใน TGROWTH 2.1.1 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ประกอบด้วยอสังหาริมทรัพย์ท�อี ยู่ในระหว่างการพัฒนา/พร้อมให้ เช่า /ให้เช่า ในช่วง 3 ปี ท�ีผ่า นมา บริษ ทั มีอสังหาริมทรัพ ย์เ พื�อ การลงทุนรวมจํานวน 10,989.9 ล้า นบาท 13,688.3 ล้านบาท และ 17,261.3 ล้านบาท ตามลําดับ

78

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ก า ร เ พิ� ม ขึ� น ข อ ง อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ เ พื� อ ก า ร ล ง ทุ น ( สุ ท ธิ จ า ก ส่ ว น ที� ข า ย ใ ห้แ ก่ TFUND/TLOGIS/TGROWTH) ในปี 2556 ประมาณร้อยละ 26.1 สะท้อนให้เห็นถึงการขยายธุรกิจของบริษทั ผ่านการ ลงทุนในที�ดินและการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้า เพิ�มเป็ นจํา นวนมากเพื�อ ตอบสนองความต้อ งการที�เ พิ�มขึ�นมาก ซึ�งในปี 2556 บริษทั มีการขยายการลงทุนมากกว่าทุกปี ท�ผี ่านมา 2.1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขาย ประกอบด้วยอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�พร้อมให้เช่า/ ขาย และ/หรือ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าที�คาดว่าจะขายในระยะเวลา 1 ปี ข ้างหน้า ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั มีสินทรัพย์ไม่หมุนเวีย นที�ถือ ไว้เ พื�อขาย จํา นวน 2,684.0 ล้านบาท ตามที�ได้มมี ติอนุ มตั ิจากที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ในไตรมาส 1/2557 ให้ขายและ/หรือ ให้เช่าโรงงาน/ คลังสินค้าเพิ�มเติมให้แก่ TGROWTH รวมทัง� การขายและ/หรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทรัสต์เพื�อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ (REIT) ที�จะถูกจัดตัง� ขึ�นภายหลัง 2.1.3 ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ประมาณร้อยละ 81.5 ของที�ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ คือที�ดินและส่วนปรับปรุงที�ดิน ในปี 2556 ที�ดนิ อาคาร และอุปกรณ์เพิ�มขึ�นร้อยละ 26.4 จากปี ก่อนหน้า โดยหลักเกิดจากการขยายการพัฒนาโครงการ ตามที�ได้ กล่าวข้างต้น 2.1.4 เงินลงทุนชัว� คราว ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีเงินลงทุนชัว� คราวจํานวน 420.7 ล้า นบาท เป็ นตัวแลกเงิ � นที�ออกโดย ธนาคารพาณิชย์ในประเทศ จํานวน 419.1 ล้านบาท ซึ�งการลงทุนดังกล่าวจัดว่ามีความเสี�ยงตํา� และถือเป็ นทางเลือก ทางหนึ�งในการบริหารเงินของบริษทั ที�ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนในอัตราที�สูงกว่าการฝากเงินประเภทออมทรัพย์กบั ธนาคาร 2.1.5 ลูกหนี� การค้า-สุทธิ ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มียอดลูกหนี�การค้า-สุทธิ จํานวน 98.0 ล้านบาท 82.4 ล้านบาท และ 43.5 ล้านบาท ตามลําดับ สําหรับปี 2555 ลู กหนี�การค้า-สุทธิ ลดลงจากปี ก่อนหน้า จํานวน 15.6 ล้า นบาท โดยส่วนใหญ่ เกิดจากการลดลงของลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานที�ยงั ไม่เรียกชําระ จํานวน 14.8 ล้านบาท เนื�องจากในปี 2555 มีสญั ญาเช่าจํานวนหนึ�งถูกยกเลิกซึ�งเป็ นผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัย ในปี 2556 ลูกหนี�การค้า-สุทธิ ลดลงจากปี ก่อนหน้าจํานวน 38.9 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เกิดจาก การลดลงของลู ก หนี�ตามสัญญาเช่า ดํา เนินงานที�ย งั ไม่เ รีย กชํา ระ จํา นวน 31.3 ล้า นบาท อันเนื�อ งมาจากการขาย อสังหาริมทรัพย์จาํ นวนหนึ�งให้แก่ TGROWTH

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

79


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการเก็บค่ามัดจําการเช่าโรงงานเป็ นเงินสดจํานวน 3-6 เดือนของค่าเช่าและ ค่าบริการจากผูเ้ ช่าทุกรายเพื�อบรรเทาความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�นจากการผิดนัดของผูเ้ ช่า 2.1.6 เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีย อดเงินฝากประจํา จํานวน 0.2 ล้า นบาทที�วางไว้ก บั ธนาคารเพื�อ เป็ น หลักประกันวงเงินหนังสือคํา� ประกันที�ธนาคารออกให้แก่หน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ และบริษทั เอกชน 2.1.7 เงินลงทุนในบริษทั ย่อย/ร่วม ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีเงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษทั ที�เกี�ยวข้อง ดังนี� ก. บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุน ชําระแล้วของบริษทั ย่อย ทัง� นี� เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 50.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.2 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั ข. บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระ แล้วของบริษ ทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่า วคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 2,515.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 10.5 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั ค. Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วน ร้อยละ 100 ของทุนชําระแล้วของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 85.4 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 0.4 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั ง. TICON Property, Inc. (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระแล้วของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 189.2 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.8 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั จ. บริษทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ จํากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระแล้ว ของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 10.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.04 ของสินทรัพย์รวม ของบริษทั ฉ. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วนร้อยละ 23.63 ของทุนชําระแล้ว ของ TFUND เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 1,512.8 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 5.7 ของสินทรัพย์ รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย และคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 2,807.9 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 11.7 ของสินทรัพย์ รวมของบริษทั ช. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วนร้อยละ 20.04 ของ ทุนชําระแล้วของ TLOGIS เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 641.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.4 ของ สิน ทรัพ ย์ร วมของบริ ษ ทั และบริ ษ ทั ย่ อ ย คํา นวณตามวิธีร าคาทุ น เท่ า กับ 916.1 ล้า นบาท คิ ด เป็ น ร้อ ยละ 3.8 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั

80

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ซ. กองทุ น รวมสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน อิ น ดัส เทรี ย ล โกรท (บริ ษ ทั ร่ ว ม) ในสัดส่วนร้อ ยละ 28.52 ของทุนชํา ระแล้วของ TGROWTH เงินลงทุนดังกล่า วคํา นวณตามวิธีส่วนได้เ สียเท่า กับ 1,088.6 ล้า นบาท คิดเป็ นร้อ ยละ 4.1 ของสินทรัพย์ร วมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 1,581.1 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 6.6 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั ฌ. บริษทั บางกอกคลับ จํากัด (บริษทั ที�เกี�ยวข้อง) ในสัดส่วนร้อยละ 0.11 ของทุนจดทะเบียน ของบริษทั ดังกล่าว คิดเป็ นเงินลงทุนหลังหักค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุน 0.26 ล้านบาท 2.1.8 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจาํ นวน 108.8 ล้านบาท ซึง� เกือบทัง� หมดเป็ นการรอ ตัดบัญชีของภาษีเงินได้ท�เี กิดจากกําไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH สิ น ทรัพ ย์ภ าษี เ งิ น ได้ร อตัด บัญ ชี เ กิ ด ขึ� น เนื� องจากการที� บ ริ ษ ัท ไม่ ส ามารถรับ รู ้ ก ํ า ไร จา ก ก าร ขา ยอ สั ง หา ริ ม ทรั พ ย์ ใ ห้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH ต าม สั ด ส่ ว น ที� บริ ษั ท มี ก า ร ลงทุ น ใ น TFUND/TLOGIS/TGROWTH การบัน ทึก ภาษีในงบกํา ไรขาดทุน จึง มิได้บ นั ทึก ภาษีท งั� จํา นวน แต่ ห กั ด้ว ยภาษี จํานวนหนึ�งตามสัดส่วนที�บริษทั มีการลงทุนใน TFUND/TLOGIS/TGROWTH อย่างไรก็ดี ภาษีท�เี กิดจากกําไรจากการ ขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH ทัง� จํานวนได้ถูกจ่ายชําระเป็ นเงินสด ดังนัน� จึงเกิดรายการ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เท่ากับผลต่างระหว่างภาษีท�ชี าํ ระแล้วเป็ นเงินสดกับภาษีท�บี นั ทึกในงบกําไรขาดทุน ทัง� นี� หากบริษทั มีการรับรูก้ าํ ไรเพิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH ยอดภาษีเงินได้รอ ตัดบัญชีจะถูกปรับลดลง ทัง� นี�สนิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีท�แี สดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน เป็ นยอดสุทธิจากหนี�สิน ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีแล้ว 2.1.9 เงินมัดจําที�ดิน ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีเ งินมัดจํา ค่าที�ดินจํา นวน 610.8 ล้านบาท โดยเป็ นการมัดจําค่า ที�ดินที� บริษทั ได้ลงนามในสัญญาจะซื�อจะขายที�ดนิ 2.1.10 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีสนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�นจํานวน 368.3 ล้านบาท เพิ�มขึ�น 351.9 ล้านบาท จากสิ�นปี 2555 ซึ�งส่วนใหญ่เป็ นรายการค่าเช่าที�ดินจ่ายล่วงหน้าที�เกิดจากการเช่าที�ดินระยะยาวเพื�อพัฒนาคลังสินค้า ทัง� นี�รายการดังกล่าวจะถูกทยอยรับรูเ้ ป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุสญั ญาเช่า

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

81


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

2.2 หนี� สิน ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีหนี�สินรวมทัง� สิ�น 17,763.6 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจํานวน 5,924.4 ล้า นบาท หรือ ร้อยละ 50.0 จากสิ�นปี 2555 หนี�สินรวมของบริษ ทั มีเงินกูย้ ืมและหุน้ กูเ้ ป็ นส่วนประกอบหลัก คิดเป็ นร้อ ยละ 88.3 ของหนี�สินรวม การเพิ�มขึ�นของหนี�สนิ รวม เกิดจากรายการที�สาํ คัญดังต่อไปนี� 2.2.1 เงินกูย้ มื เงินกูย้ มื ทัง� หมดของบริษทั ณ สิ�นปี 2556 มีจาํ นวน 15,679.2 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจํานวน 5,079.4 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 47.9 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการกูย้ ืมเพื�อใช้ลงทุนซื�อที�ดินและการขยายงานก่อสร้า ง โรงงาน/คลังสินค้าเป็ นจํานวนมากในระหว่างปี เงินกูย้ ืมของบริษทั ประกอบด้วยเงินกูย้ ืมระยะสัน� ร้อยละ 13.4 เงินกูย้ มื ระยะยาวร้อยละ 12.5 และหุน้ กูร้ อ้ ยละ 74.1 ของเงินกูย้ มื ทัง� หมด ในการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ซึ�งถือว่าเป็ นการลงทุนระยะยาวนัน� บริษทั จะใช้เงินจาก แหล่งเงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู ้ และเงินสดจากการดําเนินงานของบริษทั ในส่วนของเงินกู ร้ ะยะสัน� นัน� บริษ ทั จะใช้เป็ น เงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ�ง สําหรับจ่ายชําระค่าที�ดนิ ในช่วงก่อนที�บริษทั จะได้รบั อนุมตั ิวงเงินกู ้ ระยะยาวจากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม การกูย้ มื ระยะสัน� เป็ นจํานวนมากในบางช่วงเวลาเป็ นการบริหารกระแสเงินสด ของบริษทั ทัง� นี� คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้มกี ารตรวจสอบอย่างสมํา� เสมอให้สดั ส่วนของเงินกูร้ ะยะสัน� ต่อ เงินกูร้ วมของบริษทั อยู่ในอัตราที�เหมาะสม ระหว่าง 2 ถึง 10 ปี

ณ สิ�นปี 2556 ยอดคงค้างของหุน้ กู ้ มีจาํ นวน 11,610.0 ล้านบาท ซึ�งหุน้ กูท้ งั� หมดที�ออกมีอายุ

บริษทั มีการตกลงในเงือ� นไขของการกูย้ มื เงินกับสถาบันการเงินบางแห่งและผู ถ้ ือหุน้ กูท้ �สี าํ คัญคือ การดํารงอัตราส่วนหนี�สนิ /หนี�สินที�มภี าระดอกเบี�ยต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ ในอัตราไม่เกิน 2.5-3.0 เท่า ซึ�งที�ผ่านมาบริษทั ไม่เคยผิดเงือ� นไขของการกูย้ มื ที�สาํ คัญดังกล่าว 2.2.2 เจ้าหนี� การค้า ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มียอดเจ้าหนี�การค้าจํานวน 554.1 ล้านบาท ซึ�งเกือบทัง� จํานวนของเจ้าหนี� การค้าเป็ นเจ้าหนี�ค่าก่อสร้าง บริษทั มียอดเจ้าหนี�การค้าเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้าจํานวน 104.0 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 23.1 โดยมีสาเหตุมาจากการขยายธุรกิจของบริษทั เพื�อตอบสนองความต้องการของเช่าโรงงาน/คลังสินค้าที�เพิ�มขึ�น

82

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

2.2.3 ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ณ สิ�นปี 2556 บริษ ทั มีย อดภาษีเ งินได้นิติบุคคลค้างจ่ายจํานวน 2.2 ล้า นบาท ลดลงจํานวน 139.5 ล้า นบาท หรื อ คิ ด เป็ นร้อ ยละ 98.4 จากปี ก่ อ นหน้า เนื� อ งจากกํา ไรจากขายอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ใ ห้แ ก่ TGROWTH และ TFUND ส่วนใหญ่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุน จึงได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล นอกจากนี� อัตรา ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลได้ลดลงจากร้อยละ 23 เป็ นร้อยละ 20 2.2.4 หนี� สินที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขาย ณ สิ�นปี 2556 บริษ ทั มีหนี�สินที�เ กี�ย วข้อ งโดยตรงกับสินทรัพ ย์ไม่หมุนเวีย นที�ถือ ไว้เ พื�อ ขาย จํานวน 112.7 ล้านบาท ซึ�งเป็ นเงินมัดจําจากลูกค้า สําหรับอสังหาริมทรัพ ย์ท�จี ดั ประเภทเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวีย น ที�ถอื ไว้เพื�อขาย 2.2.5 สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ สิ�น ปี 2556 บริ ษ ทั มีจ ํา นวนเงิน สํา รองผลประโยชน์ร ะยะยาวของพนัก งานซึ� ง เป็ น การ ประมาณการภาระของบริษทั ในการจ่ายเงินชดเชยให้แก่พนักงานเมือ� ออกจากงาน จํานวน 25.3 ล้านบาท บริษทั ได้ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 19 เรื�อง ผลประโยชน์ของพนักงาน ตัง� แต่ ปี 2554 เป็ นต้นมา โดยบันทึกส่วนที�เป็ นยอดสะสมที�คาํ นวณจนถึงสิ�นปี 2553 รับรู เ้ ป็ นหนี�สิน และบันทึกส่วนที�เป็ น การกันสํารองผลประโยชน์ของพนักงานในแต่ละปี เป็ นค่าใช้จ่าย 2.2.6 รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีรายได้ค่าเช่าที�ดนิ รับล่วงหน้า จํานวน 922.8 ล้านบาท จากการให้เช่าที�ดิน แก่ TGROWTH เป็ นระยะเวลา 30 ปี โดยบริษทั จะทยอยรับรูเ้ ป็ นรายได้จากการให้เช่าในงบกําไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรง ตลอดอายุสญั ญาเช่า 2.3 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมจํานวน 8,687.8 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจากสิ�นปี ก่อนจํานวน 791.0 ล้า นบาท หรื อ เพิ� ม ขึ�น ร้อ ยละ 10.0 เนื� อ งจากการใช้สิท ธิ ซ� ือ หุ น้ สามัญ ตามใบสํา คัญ แสดงสิท ธิ TICON-W6 และ TICON-W3 ในระหว่างปี เป็ นจํานวนเงินทัง� สิ�นประมาณ 326.1 ล้านบาท รวมถึงการเพิ�มขึ�นของกําไรสะสมในปี 2.4 ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที�สาํ คัญของบริษทั คือ การจัดให้มซี �งึ โครงสร้างทุนที�เหมาะสมเพื�อ สนับสนุนการดําเนินธุรกิจของบริษทั และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในอดีตที�ผ่านมาบริษ ทั มีแหล่งเงินทุนหลัก เพื�อใช้ในการขยายธุ รกิจการจัดสร้างโรงงานและคลังสินค้า คือ เงินทุนจากการดําเนินงาน เงินเพิ�มทุนจากผู ถ้ ือหุน้ และเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี ในช่วง 8-9 ปี ที�ผ่า นมาซึ�งธุ ร กิจ โรงงานมาตรฐานและคลังสินค้า ให้เ ช่า มีก ารขยายตัว อย่างมาก บริษ ทั ได้มีส่วนร่วมในการจัด ตัง� กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนในปี 2548 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ในปี 2552 และกองทุนรวม TICON รายงานประจำ�ปี

2556

83


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ในปี 2556 เพื�อเป็ นการเพิ�มช่องทางระดมทุนของบริษทั ซึ�งทําให้ บริษทั ลดการพึง� พาการจัดหาเงินทุนจากการกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงินและการเพิ�มทุนซึ�งมีค่าใช้จ่ายที�มากกว่า นอกจากแหล่งเงินทุนดังกล่าว บริษ ทั ยังมีก ารออกหุน้ กูอ้ ายุ 2-10 ปี ซึ�งถือเป็ นแหล่งเงินทุนที�สาํ คัญ อีกแหล่งหนึ�งของบริษทั ที�มตี น้ ทุนตํา� กว่าการกูย้ มื เงินระยะยาวจากสถาบันการเงิน นอกจากนี� บริษทั มีใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 ซึ�งออกเมื�อปี 2555 คงเหลือจํานวน 3,800,310 หน่วย ซึ�งใบสําคัญแสดงสิทธิดงั กล่าวจะหมดอายุในปี 2557 ทัง� นี� หากผูถ้ อื ใบสําคัญแสดงสิทธิใช้สิทธิซ� อื หุน้ สามัญของ บริษทั เต็มจํานวน บริษทั จะได้รบั เงินรวมทัง� สิ�นประมาณ 30.4 ล้านบาท 2.5 สภาพคล่อง ในปี 2556 บริษทั มีกระแสเงินสดสุทธิท�ไี ด้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน 5,066.3 ล้านบาท มีกระแสเงินสด สุทธิใช้ไปในกิจกรรมการลงทุน 9,851.9 ล้านบาท และมีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการจัดหาเงิน 4,436.6 ล้านบาท จากข้อ มูล การได้ม าและใช้ไปของกระแสเงินสดตามที�ก ล่า วข้า งต้น จะพบว่า บริ ษ ัท มีส ภาพคล่อ ง ทางการเงินเพียงพอสําหรับการดําเนินธุ รกิจ (การคํานวณอัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratio) ไม่สามารถอธิบาย สภาพคล่องของบริษทั ได้ เนื�องจากบริษทั ไม่มกี ารบันทึกรายการสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน (เนื�องจากลักษณะ สินทรัพย์ของบริษทั ส่วนใหญ่เป็ นที�ดนิ และโรงงานซึ�งจะไม่บนั ทึกเป็ นสินทรัพย์หมุนเวียนของบริษทั ) ในขณะที�รายการ เจ้าหนี�การค้าค่าที�ดนิ และค่าก่อสร้างจะถูกบันทึกเป็ นหนี�สนิ หมุนเวียน จึงทําให้อตั ราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี�สิน หมุนเวียนมีค่าตํา� ) ณ สิ�นปี 2556 บริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ที�มภี าระดอกเบี�ยต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ซึ�งคํานวณจาก (เงินกูย้ มื +หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 1.80 เท่า เพิ�มขึ�นจาก ณ สิ�นปี 2555 ซึ�งเท่ากับ 1.34 เท่า เนื�องจากบริษทั มีการกูย้ มื เงินเพื�อใช้ซ�อื ที�ดนิ และพัฒนา อาคารโรงงานและคลังสินค้าเป็ นจํานวนมาก เพื�อรองรับโอกาสในการเติบโตในอนาคต ซึ�งแสดงถึงความสามารถในการ บริหารโครงสร้างเงินทุนของกิจการที�มสี ดั ส่วนหนี�ท�มี ภี าระดอกเบี�ยเมือ� เทียบกับฐานเงินทุนของบริษทั ได้อย่างเหมาะสม ภายใต้เงือ� นไขการดํารงอัตราส่วนหนี�สนิ /หนี�สนิ ที�มภี าระดอกเบี�ยต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในปัจจุบนั อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี�ย คํานวณจาก (กําไรสุทธิ+ดอกเบี�ยจ่าย+ภาษีเงินได้นิติบุคคล+กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บริษทั ร่วม) ดอกเบี�ยจ่าย บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี�ยเท่ากับ 5.02 เท่า แสดงได้ถงึ ความสามารถในการชําระดอกเบี�ยของ บริษทั ได้เป็ นอย่างดี ซึ�งบริษทั ไม่เคยประสบปัญหาในการชําระดอกเบี�ย

84

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

อัตราส่วนความสามารถในการชําระภาระผูกพัน คํานวณจาก (เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน+ดอกเบี�ยจ่าย) (จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กู+้ เงินปันผล+ดอกเบี�ยจ่าย) บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถในการชําระภาระผูกพันเท่ากับ 1.43 เท่า แสดงถึงความสามารถในการชําระภาระผูกพัน ของบริษทั

3. แนวโน้มในอนาคต - โปรดดูใน “สารจากประธานกรรมการ” -

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

85


สารจากประธาน กรรมการ

86

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงิน แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย รายงาน และ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2556

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

87


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาต เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษ ทั ย่อ ย ซึ�ง ประกอบด ว้ ย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วัน ที� 31 ธันวาคม 2556 งบกําไรขาดทุนรวม งบกํา ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผู ถ้ ือ หุน้ รวมและงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปี ส� นิ สุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีท�สี าํ คัญและหมายเหตุเรื�องอื�น ๆ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผูบ้ ริหารต่องบการเงิน ผูบ้ ริหารเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินเหล่านี�โดยถูกต้องตามที�ควรตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและรับผิดชอบเกี�ย วกับการควบคุมภายในที�ผู บ้ ริหารพิจารณาว่าจําเป็ นเพื�อให้สามารถจัดทํางบการเงิน ที�ปราศจากการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี ข้าพเจ้าเป็ นผู ร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่อ งบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ขา้ พเจ้าได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ�งกําหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิตามขอ้ กําหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึง วางแผนและปฏิบตั ิงานตรวจสอบเพื�อให้ได้ความเชื�อมันอย่ � างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลทีข� ดั ต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ ีการตรวจสอบเพื�อให้ได้มาซึ�งหลักฐานการสอบบัญชีเกี�ยวกับจํานวนเงินและการเปิ ดเผย ข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที�เลือกใช้ข�นึ อยู่กบั ดุลยพินิจของผูส้ อบบัญชี ซึ�งรวมถึงการประเมินความเสี�ยงจาก การแสดงข ้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการ ประเมินความเสี�ยงดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีพจิ ารณาการควบคุมภายในที�เกี�ยวข้องกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน โดยถูกต้องตามที�ควรของกิจการ เพื�อออกแบบวิธีการตรวจสอบที�เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื�อวัตถุประสงค์ ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสม ของนโยบายการบัญชีท�ผี ูบ้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท�จี ดั ทําขึ�นโดยผูบ้ ริหาร รวมทัง� การ ประเมินการนําเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้า เชื�อว่า หลักฐานการสอบบัญชีท�ีขา้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสมเพื�อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น ของข้าพเจ้า

88

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี�แสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด สําหรับปี ส�นิ สุดวันเดียวกันของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรีย ล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะ ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที�ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน

รุง้ นภา เลิศสุวรรณกุล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3516 บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด (เดิมชื�อ บริษทั สํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด) กรุงเทพฯ: 26 กุมภาพันธ์ 2557

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

89


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั�น จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินรวม หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั�วคราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถือไว้เพื�อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานที�ยังไม่เรียกชําระ เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทที�เกี�ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนในบริษัทที�เกี�ยวข้องกัน อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและ พร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินมัดจําค่าที�ดิน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

90

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

2556

2555

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2556

6, 7 8 6, 9 6

347,864,631 420,658,704 90,671,676 185,704,039 1,044,899,050 2,683,965,029 3,728,864,079

361,543,112 731,117,724 119,238,832 126,077,056 1,337,976,724 1,337,976,724

93,287,464 410,000,000 128,123,998 59,305,291 690,716,753 750,965,029 1,441,681,782

120,475,731 730,000,000 62,571,613 47,070,307 960,117,651 960,117,651

6, 10

240,000 30,268,027 3,242,406,082 256,500

2,017,560 53,838,183 2,755,075,515 256,500

6,293,445 9,075,955,242 2,849,573,800 5,305,173,765 256,500

12,105,472 5,389,749,050 2,815,853,840 4,493,445,080 256,500

14,685,597,884 2,575,653,294 1,094,903,173 5,388,657 108,755,499 610,794,845 368,261,077 22,722,525,038 26,451,389,117

7,805,277,037 5,883,050,643 866,015,568 5,631,454 266,970,115 743,498,972 16,387,716 18,398,019,263 19,735,995,987

2,683,772,171 1,937,368,030 84,084,008 3,500,712 515,521,970 17,947,403 22,479,447,046 23,921,128,828

2,717,231,621 2,535,609,262 31,105,693 4,899,829 5,110,384 442,472,722 14,966,286 18,462,805,739 19,422,923,390

6 11 12

13.1 13.2 14 15 26 6 6

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินรวม หมายเหตุ หนี� สนิ และส่วนของผูถ้ ือหุน้ หนี� สนิ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน� และหนี�สนิ ภายใต้สญั ญาทรัสต์รีซีทส์ เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อน�ื เงินกูย้ มื ระยะยาวที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี หุน้ กูท้ �ถี งึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี�สินหมุนเวียนอื�น รวมหนี� สนิ หมุนเวียน หนี�สินที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ทีถ� ือไว้เพือ� การขาย หนี� สนิ ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู ้ สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี�สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินมัดจําจากลูกค้า รายได้ค่าเช่าที�ดนิ รับล่วงหน้า รวมหนี� สนิ ไม่หมุนเวียน รวมหนี� สนิ

6, 16 6, 17 18 19 6

6 18 19 20 26 6

2556

2555

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

2,108,000,000 765,622,145 45,000,000 1,080,000,000 2,224,369 62,517,447 4,063,363,961

745,084,297 666,062,956 2,350,000,000 141,692,270 43,060,764 3,945,900,287

2,108,000,000 311,154,002 45,000,000 1,080,000,000 2,224,369 32,846,446 3,579,224,817

745,084,297 312,585,654 2,350,000,000 128,201,336 26,202,214 3,562,073,501

112,742,000 4,176,105,961

3,945,900,287

60,942,000 3,640,166,817

3,562,073,501

707,300,000 1,208,866,487 10,530,000,000 25,344,785 193,261,702 922,750,806 13,587,523,780 17,763,629,741

354,660,000 7,150,000,000 21,572,729 367,134,981 7,893,367,710 11,839,267,997

306,245,312 10,530,000,000 22,351,025 105,231,151 107,085,577 328,094,445 11,399,007,510 15,039,174,327

105,840,000 7,150,000,000 18,327,569 204,688,276 7,478,855,845 11,040,929,346

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

91


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินรวม หมายเหตุ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 1,263,740,168 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนทีอ� อกและชําระแล้ว หุน้ สามัญ 912,376,439 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (2555: หุน้ สามัญ 877,469,834 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื�นของส่วนของผูถ้ ือหุน้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวมหนี� สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

2556

21

1,263,740,168

1,263,740,168

1,263,740,168

1,263,740,168

21 22 21

912,376,439 4,669,471,944

877,469,834 56,841,422 4,378,270,708

912,376,439 4,669,471,944

877,469,834 56,841,422 4,378,270,708

23

126,374,017 2,983,901,837 (4,364,869) 8,687,759,368 8 8,687,759,376 26,451,389,117

126,374,017 2,482,182,021 (24,410,060) 7,896,727,942 48 7,896,727,990 19,735,995,987

126,374,017 3,173,732,101 8,881,954,501 8,881,954,501 23,921,128,828

126,374,017 2,943,038,063 8,381,994,044 8,381,994,044 19,422,923,390

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

กรรมการ

92

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

2555

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกําไรขาดทุน สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 หมายเหตุ รายได้ รายได้จากการให้เช่าและบริการทีเ� กี�ยวข้อง รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าสินไหมทดแทนรับจากการประกันภัย รายได้อื�น รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ย ต้นทุนการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง ต้นทุนการรับเหมาก่อสร้าง ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเสื�อมราคา โอนกลับรายการค่าเผือ� การด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์ เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา ค่าใช้จ่ายอื�น รวมค่าใช้จา่ ย กําไรก่อนส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จา่ ยทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กําไรที�รบั รูเ้ พิม� เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษี เงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสําหรับปี

6, 24 6, 11 6, 12 6 6

24 6

12 12 12 6 26

การแบ่งปันกําไร ส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนทีเ� ป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย กําไรต่อหุน้ กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนที�เป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรส่วนที�เป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

2556

งบการเงินรวม

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

2555

1,109,690,372 56,450,230 4,663,038,146 25,987,752 152,590,550 7,153,132 69,653,654 225,449,458 6,310,013,294

1,053,011,998 117,206,493 4,364,450,000 23,015,817 105,073,728 13,326,110 82,705,443 85,189,768 5,843,979,357

586,236,312 49,621,915 1,737,477,744 8,638,237 38,249,878 216,547,435 133,370,948 391,156,242 10,000,000 186,032,040 3,357,330,751

557,134,778 101,716,220 2,365,550,000 7,088,937 28,749,908 218,224,151 101,700,831 234,872,405 72,705,443 69,065,058 3,756,807,731

261,519,013 40,680,629 2,886,282,933 24,375,726 159,411,491 381,802,386 174,382,134

392,292,470 97,949,065 2,691,065,147 23,015,817 41,566,456 274,177,819 116,258,338

116,832,717 36,918,346 929,046,587 8,629,486 62,314,590 265,396,107 52,411,331

195,763,003 80,173,248 1,305,481,161 7,088,937 22,654,474 194,167,367 55,910,370

9,649,755 3,938,104,067

(15,420,000) 1,439,375 3,622,344,487

(36,142) 1,471,513,022

(15,420,000) 47 1,845,818,607

2,371,909,227 216,570,828 154,452,915 (505,069,153) 2,237,863,817 (546,426,733) 1,691,437,084 (277,202,089) 1,414,234,995

2,221,634,870 169,219,346 35,289,017 (458,693,126) 1,967,450,107 (410,830,000) 1,556,620,107 (260,048,035) 1,296,572,072

1,885,817,729 1,885,817,729 (514,575,342) 1,371,242,387 (227,175,599) 1,144,066,788

1,910,989,124 1,910,989,124 (402,784,121) 1,508,205,003 (274,892,117) 1,233,312,886

1,414,234,953 42 1,414,234,995

1,296,571,968 104 1,296,572,072

1,144,066,788

1,233,312,886

1.56

1.62

1.26

1.54

1.54

1.59

1.24

1.51

28

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี� TICON รายงานประจำ�ปี

2556

93


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 2556 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น: ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� นจากการแปลงค่างบการเงิน ทีเ� ป็ นเงินตราต่างประเทศ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี การแบ่งปันกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนทีเ� ป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

94

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

งบการเงินรวม

2555

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

1,414,234,995

1,296,572,072

1,144,066,788

1,233,312,886

20,045,191

(5,324,486)

-

-

(451,634) 19,593,557

(5,324,486)

(1,309,247) (1,309,247)

-

1,433,828,552

1,291,247,586

1,142,757,541

1,233,312,886

1,433,828,510 42 1,433,828,552

1,291,247,482 104 1,291,247,586

1,142,757,541 1,142,757,541

1,233,312,886 1,233,312,886


(56,841,422) -

912,376,439

4,669,471,944

291,201,236

4,378,270,708

4,378,270,708

-

868,181,679

126,374,017

-

126,374,017

14,648,725 126,374,017

-

-

(912,063,503) 1,413,783,319 2,983,901,837

-

2,482,182,021

(14,648,725) 2,482,182,021

(156,200,840) 1,296,571,968

-

(20,050,000)

-

(20,050,000)

(20,050,000)

-

-

20,045,191 15,685,131

-

(4,360,060)

(4,360,060)

(5,324,486)

-

20,045,191 (4,364,869)

-

(24,410,060)

(24,410,060)

(5,324,486)

-

(56,841,422) (912,063,503) 1,433,828,510 8,687,759,368

326,107,841

7,896,727,942

7,896,727,942

56,841,422 (156,200,840) 1,291,247,482

964,646,310

40 (122) 42 8

-

48

48

(92) 104

-

(56,841,422) 40 (912,063,625) 1,433,828,552 8,687,759,376

326,107,841

7,896,727,990

7,896,727,990

56,841,422 (156,200,932) 1,291,247,586

964,646,310

รวมส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ 5,740,193,604

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

-

34,906,605

56,841,422

877,469,834 56,841,422

56,841,422 -

-

877,469,834

-

96,464,631

-

กําไรสะสม จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร 111,725,292 1,356,459,618

ส่วนของผูม้ ี ส่วนได้เสียทีไ� ม่มี อํานาจควบคุม ของบริษทั ย่อย 36

รายการ ระหว่างกัน คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 เพิม� ทุนหุน้ สามัญจากการแปลงสิทธิ ที�จะซื�อหุน้ สามัญ (หมายเหตุ 21) เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ ทีโ� อนเป็ น หุน้ สามัญระหว่างปี เพิม� ทุนจัดตัง� บริษทั ย่อย เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2554 เพิม� ทุนหุน้ สามัญจากการแปลงสิทธิ ที�จะซื�อหุน้ สามัญ (หมายเหตุ 21) เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ จากการใช้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 22) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี โอนกําไรสะสมที�ยงั ไม่ได้จดั สรร เป็ นสํารองตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555

ส่วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ 3,510,089,029

รวมส่วนของ ผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั ฯ 5,740,193,568

(หน่วย: บาท) การกำ�กับดูแล กิจการ

เงินรับล่วงหน้า ค่าหุน้

องค์ประกอบอื�นของส่วนของผูถ้ อื หุน้ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น ส่วนเกินมูลค่า ผลต่าง เงินลงทุนที�สูงกว่า จากการแปลงค่า มูลค่าตามบัญชี งบการเงินที�เป็ น รวมองค์ประกอบอื�น บริษทั ย่อย เงินตราต่างประเทศ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ (20,050,000) 964,426 (19,085,574)

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

งบการเงินรวม

โครงสร้าง การจัดการ

ทุนเรือนหุน้ ที�ออกและชําระแลว้ 781,005,203

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผูถ้ ือหุน้ สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2556

โครงสร้าง การถือหุ้น การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง งบการเงิน แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

95


96

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

(56,841,422) -

912,376,439

4,669,471,944

291,201,236

126,374,017

-

126,374,017

(912,063,503) 1,142,757,541 3,173,732,101

-

2,943,038,063

(56,841,422) (912,063,503) 1,142,757,541 8,881,954,501

326,107,841

8,381,994,044

56,841,422 (156,200,840) 1,233,312,886 8,381,994,044

964,646,310

ข้อมูลทั่วไป นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

-

34,906,605

4,378,270,708

(156,200,840) 1,233,312,886 (14,648,725) 2,943,038,063

-

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

56,841,422

14,648,725 126,374,017

-

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

877,469,834

4,378,270,708

868,181,679

รวม ส่วนของผู ้ถือหุ ้น 6,283,394,266

โรงงาน และคลังสินค้า

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 เพิม� ทุนหุ ้นสามัญจากการแปลงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ (หมายเหตุ 21) เงินรับล่วงหน้าค่าหุ ้นทีโ� อนเป็ น หุ ้นสามัญระหว่างปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556

56,841,422 56,841,422

877,469,834

-

เงินรับล่วงหน้า ค่าหุน้

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

96,464,631

ทุนเรือนหุน้ ที�ออก และชําระแล ้ว 781,005,203

งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม ส่วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ จัดสรรแล ้ว ยังไม่ได้จดั สรร 3,510,089,029 111,725,292 1,880,574,742

(หน่วย: บาท)

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2554 เพิม� ทุนหุ ้นสามัญจากการแปลงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ (หมายเหตุ 21) เงินรับล่วงหน้าค่าหุ ้นจากการใช้ใบสําคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 22) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี โอนกําไรสะสมทีย� งั ไม่ได้จดั สรรเป็ นสํารองตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555

สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2556

งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ต่อ)

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

สารจากประธาน กรรมการ ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด สําหรับปี ส� ินสุดวันที� 31 ธันวาคม 2556

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนิ นงาน กําไรก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไรก่อนภาษีเป็ นเงินสดรับ(จ่าย) จากการดําเนินงาน ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย โอนกลับรายการค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญ เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม ต้นทุนของอสังหาริมทรัพย์ส่วนทีข� าย ขาดทุน (กําไร) จากการขาย/ตัดจําหน่ายอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนให้เช่า โอนกลับรายการค่าเผื�อการด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์เพื�อ การลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กําไรทีร� บั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรทีย� งั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลีย� นแปลง ในสินทรัพย์และหนี�สนิ ดําเนินงาน สินทรัพย์ดาํ เนินงาน (เพิม� ขึ�น) ลดลง ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น หนี�สนิ ดําเนินงานเพิ�มขึ�น (ลดลง) เจ้าหนี�อ�นื หนี�สนิ หมุนเวียนอื�น เงินมัดจําจากลูกค้า รายได้ค่าเช่าทีด� นิ รับล่วงหน้า เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน รับดอกเบี�ย จ่ายดอกเบี�ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนิ นงาน

2556

งบการเงินรวม

2555

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

1,691,437,084

1,556,620,107

1,371,242,387

1,508,205,003

376,495,056 (663,089) 2,766,100,581

389,442,859 (4,089,210) 2,540,966,518

146,708,312 (637,602) (38,249,878) (216,547,435) 912,270,854

171,490,110 (4,089,210) (28,749,908) (218,224,151) 1,225,995,187

6,212,627

211,407

(2,997,006)

(890,937)

(170,095,589) 3,320,422 (216,570,828) (154,452,915) 505,069,153 (7,153,132) 537,221,635

(15,420,000) (39,761,897) 2,639,200 (169,219,346) (35,289,017) 458,693,126 (13,326,110) 402,343,490

(143,900,862) 2,714,209 (391,156,242) 505,770,699

(15,420,000) (24,143,339) 2,160,190 (234,872,404) 394,572,298

5,336,921,005

5,073,811,127

2,145,217,436

2,776,032,839

52,571,121 (38,578,122) (351,873,361)

(43,749,821) (61,511,998) (1,035,057)

(59,317,247) 4,196,803 (2,981,117)

(4,588,239) (7,829,270) (999,128)

(28,157,268) 17,951,120 (61,131,279) 922,750,806 5,850,454,022 7,382,413 (528,431,682) (263,072,448) 5,066,332,305

72,004,537 24,460,764 (25,564,576) 5,038,414,976 13,136,123 (340,846,713) (215,539,144) 4,495,165,242

(53,033,486) 5,138,670 (36,660,699) 328,094,445 2,330,654,805 6,017,198 (497,335,392) (242,811,032) 1,596,525,579

76,062,156 13,194,771 (67,038,057) 2,784,835,072 12,010,637 (333,208,091) (157,264,235) 2,306,373,383

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

97


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินรวม 2556 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชัว� คราวเพิม� ขึ�น เงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิ�มขึ�น เงินลงทุนในบริษทั ย่อยเพิ�มขึ�น เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินฝากสถาบันการเงินที�มภี าระคํา� ประกันลดลง รับคืนเงินให้กยู ้ ืมระยะยาวแก่บริษทั ย่อย เงินสดจ่ายให้กูย้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ย่อย เงินสดจ่ายซื�ออสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนทีอ� ยู่ในระหว่างการพัฒนา พร้อมให้เช่า/ขาย เงินสดจ่ายซื�ออุปกรณ์ เงินสดจ่ายเงินมัดจําค่าทีด� นิ เงินสดจ่ายซื�อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รับดอกเบี�ยจากบริษทั ย่อย รับเงินปันผลจากบริษทั ย่อย รับเงินปันผลจากบริษทั ร่วม เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� และหนี�สนิ ภายใต้สญั ญาทรัสต์รีซีทส์ (ลดลง) เพิ�มขึ�น เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมระยะยาว เงินสดรับจากหุน้ กู ้ เงินสดรับจากเงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาว ชําระคืนหุน้ กู ้ เงินสดรับจากการเพิ�มทุน เงินสดรับจากการเพิ�มทุนจัดตัง� บริษทั ย่อย เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน (ลดลง) เพิ�มขึ�น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม� ขึ�น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี (หมายเหตุ 7) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

98

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

2555

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

(8,540,980) (1,630,933,858) 963,106,035 1,777,560 -

(1,117,724) (1,647,504,186) 357,660,980 38,420,320 -

(1,630,933,858) (33,719,960) 963,106,035 4,753,293,808 (8,439,500,000)

(1,647,504,186) (226,078,000) 357,660,980 128,000 2,033,820,000 (4,282,501,050)

(8,210,375,777) (22,400,444) (1,160,221,442) (4,930,941) 216,547,435 4,069,155 (9,851,903,257)

(5,231,255,112) (59,589,478) (869,812,482) (389,545) 218,224,151 974,752 (7,194,388,324)

(993,788,102) (14,419,912) (263,967,440) (3,091,636) 385,353,535 38,249,878 216,547,435 3,618,905 (5,019,251,312)

(1,172,939,680) (9,126,139) (540,490,232) (355,134) 221,700,000 28,749,908 218,224,151 972,182 (5,017,739,200)

1,362,915,703 1,028,556,675 4,460,000,000 707,300,000 (129,350,188) (2,350,000,000) 269,266,419 40 (912,050,090) 4,436,638,559 16,253,912 (332,678,481) 1,091,543,112 758,864,631

(861,011,391) 913,393,000 4,200,000,000 (1,000,534,000) (558,733,000) (850,000,000) 1,021,487,732 (156,196,058) 2,708,406,283 (4,468,725) 4,714,476 1,086,828,636 1,091,543,112

1,362,915,703 374,755,500 4,460,000,000 (129,350,188) (2,350,000,000) 269,266,419 (912,049,968) 3,075,537,466 (347,188,267) 850,475,731 503,287,464

(775,011,391) 105,840,000 4,200,000,000 (1,000,534,000) (850,000,000) 1,021,487,732 (156,195,966) 2,545,586,375 (165,779,442) 1,016,255,173 850,475,731

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 2556

2555

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

53,366,921

30,406,867

44,816,796

29,524,284

2,766,100,581 554,073,293

2,540,966,518 450,086,550

912,270,854 136,778,790

1,225,995,187 108,552,022

งบการเงินรวม ข้อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิ�มเติม เงินสดจ่ายระหว่างปี : ดอกเบี�ยจ่ายที�บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสินทรัพย์ รายการที�ไม่ใช่เงินสด: โอนอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ พร้อมให้เช่า/ขายและอสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนให้เช่าเป็ น ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ รายการซื�ออสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�ยงั ไม่ได้จ่ายชําระ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

99


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 1. ข้อมูลทัว� ไป บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เป็ นบริษทั มหาชนซึ�งจัดตัง� และมีภูมลิ าํ เนา ในประเทศไทย โดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีธุรกิจหลักคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื�อการอุตสาหกรรมโดยการสร้าง โรงงานและคลังสินค้าเพื�อให้เช่าและขายเมือ� มีโอกาสเหมาะสมและธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ที�อ ยู่ ตามที�จ ดทะเบีย นของบริ ษ ทั ฯ อยู่ ท�ี อาคารสาธรซิต� ี ท าวเวอร์ เลขที� 175 ชัน� 13/1 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร

2. เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงิน 2.1 งบการเงินนี�จ ดั ทํา ขึ�นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที�กาํ หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข ้อกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที� 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็ นงบการเงินฉบับที�บริษทั ฯ ใช้เ ป็ นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับ ภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี� งบการเงินนี�ได้จดั ทําขึ�นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื�นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี�ได้จดั ทําขึ�นโดยรวมงบการเงินของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย (“กลุม่ บริษทั ”) โดยมีการเปลีย� นแปลงโครงสร้างของกลุม่ บริษทั ในระหว่างปี ปจั จุบนั ดังต่อไปนี� เมื�อวันที� 20 พฤษภาคม 2556 บริษ ทั ฯ ได้มกี ารจัดตัง� บริษทั ย่อยหนึ�งแห่งในประเทศไทย คือ บริ ษ ทั ไทคอน แมนเนจเม น้ ท์ จํา กัด โดยมีว ตั ถุป ระสงค์ห ลัก ในการเป็ น ผู จ้ ัด การกองทรัส ต์เ พื�อ การลงทุ น ในอสังหาริมทรัพย์ ด้วยทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท โดยเมื�อวันที� 17 พฤษภาคม 2556 บริษทั ฯ ได้ชาํ ระทุนครัง� แรก จํานวน 2.5 ล้านบาท และเมือ� วันที� 10 กรกฎาคม 2556 บริษทั ฯ ได้ชาํ ระค่าหุน้ ส่วนที�เหลือจํานวน 7.5 ล้านบาท

100

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

การถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบริษทั ย่อยสรุปได้ดงั นี� บริษทั

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

ลักษณะธุรกิจ

ร้อยละ ของการถือหุน้ 2556 2555 (ร้อยละ) (ร้อยละ) 99.99 99.99

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด

ไทย

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างโรงงานเพื�อให้เช่า/ขาย

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด

ไทย

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างคลังสินค้าเพื�อให้เช่า/ขาย

99.99

99.99

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ จํากัด

ไทย

99.99

-

Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON Property, Inc.

จีน

ผู ้จัดการกองทรัสต์เพื�อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจบริหารการลงทุน

100.00

100.00

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ทวั � ไป

100.00

100.00

สหรัฐอเมริกา

งบการเงินสําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ของ Shanghai TICON Investment Management Company Limited (“บริษทั ย่อย”) ซึ�งรวมในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี ภายนอก งบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีตงั� แต่วนั ที� 18 มกราคม 2555 ถึงวันที� 31 ธันวาคม 2555 และ สําหรับปี ส� ินสุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 ของ TICON Property, Inc. (“บริษทั ย่อย”) ซึ�งรวมอยู่ในงบการเงินรวม ของบริษทั ฯ จัดทําขึ�นโดยฝ่ ายบริหารของบริษทั ย่อย และยังมิได้ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีภายนอก ทัง� นี� บริษทั ย่อย ดังกล่าวยังมิได้เริ�มดําเนินงาน ข) บริษทั ฯ นํางบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตัง� แต่วนั ที�บริษทั ฯ มีอาํ นาจ ในการควบคุมบริษทั ย่อย จนถึงวันที�บริษทั ฯ สิ�นสุดการควบคุมบริษทั ย่อยนัน� ค) งบการเงินของบริษทั ย่อยได้จดั ทําขึ�นโดยใช้นโยบายการบัญชีท�สี าํ คัญเช่นเดียวกันกับของบริษทั ฯ ง) สินทรัพ ย์และหนี�สินตามงบการเงินของบริษ ทั ย่อ ยซึ�งจัดตัง� ในต่ างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาท โดยใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลีย� นถัวเฉลีย� รายเดือน ผลต่างซึ�งเกิดขึ�นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็ นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่า งบการเงินที�เป็ นเงินตราต่างประเทศ” ในงบแสดงการเปลีย� นแปลงในส่วนของผูถ้ อื หุน้ จ) ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันที�มสี าระสําคัญได้ถูกตัดออกจาก งบการเงินรวมนี�แล้ว ฉ) ส่วนของผู ม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุม คือ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของ บริษทั ย่อยส่วนที�ไม่ได้เป็ นของบริษทั ฯ และแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในส่วนของกําไรหรือขาดทุนรวมและส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

101


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

2.3 บริษทั ฯ จัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื�อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และ บริษทั ร่วมตามวิธีราคาทุน

3. มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการบัญชีทเ�ี ริ�มมีผลบังคับในงวดบัญชีปจั จุบนั และที�จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียดดังนี� ก.

มาตรฐานการบัญชีท�ีเริ�มมีผลบังคับในงวดบัญชีปจั จุบนั มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 12 ฉบับที� 20 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที� 21 (ปรับปรุง 2552)

ภาษีเงินได้ การบัญชีสาํ หรับเงิน อุ ดหนุ น จากรัฐ บาล และการเปิ ดเผยข้อ มูล เกี�ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี�ย นแปลงของอัต ราแลกเปลี�ย นเงิน ตรา ต่างประเทศ

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 8 ส่วนงานดําเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 10 ฉบับที� 21

ความช่ วยเหลือ จากรัฐ บาล - กรณี ท�ีไ ม่มีความเกี�ย วข้อ งอย่า ง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน ภาษี เ งิ น ได้ - การได้ร ับ ประโยชน์ จ ากสิ น ทรัพ ย์ ท�ี ไ ม่ ไ ด้คิ ด ค่าเสื�อมราคาที�ตีราคาใหม่

ฉบับที� 25

ภาษีเงินได้ - การเปลีย� นแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของ ผูถ้ อื หุน้ แนวปฏิบตั ิทางบัญชีเกี�ยวกับการโอนและการรับโอนสินทรัพย์ทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบตั ิทาง บัญชีข ้างต้นไม่มผี ลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินนี�

102

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

ข.

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

มาตรฐานการบัญชีท่จี ะมีผลบังคับในอนาคต วันทีม่ ผี ลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555)

การนําเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได้ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลีย่ นอัตราแลกเปลีย่ นของอัตรา แลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ การเปิ ด เผยข้อ มู ล เกี่ ย วกับ บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

การจ่ายโดยใช้หนุ ้ เป็ นเกณฑ์ การรวมธุรกิจ สัญญาประกันภัย สิน ทรัพ ย์ไ ม่ ห มุน เวีย นที่ถ ือ ไว้เ พื่อ ขายและการ ดําเนินงานทีย่ กเลิก ส่วนงานดําเนินงาน

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2559 1 มกราคม 2557

สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิง่ จูงใจทีใ่ ห้แก่ผูเ้ ช่า การประเมิน เนื้อ หาสัญ ญาเช่ า ที่ท ํา ขึ้น ตามรู ป แบบ กฎหมาย การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 4 ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555)

1 มกราคม 2557

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 ฉบับที่ 27 ฉบับที่ 29 ฉบับที่ 32

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

103


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 ฉบับที่ 4 ฉบับที่ 5 ฉบับที่ 7

ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 13 ฉบับที่ 17 ฉบับที่ 18

การเปลี่ย นแปลงในหนี้สิน ที่เ กิด ขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สนิ ทีม่ ลี กั ษณะคล ้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดล ้อม การปรับ ปรุ ง ย้อ นหลัง ภายใต้ม าตรฐานการบัญ ชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพ เศรษฐกิจทีม่ ภี าวะเงินเฟ้ อรุนแรง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ข้อตกลงสัมปทานบริการ โปรแกรมสิทธิพเิ ศษแก่ลูกค้า การจ่ายสินทรัพย์ทไ่ี ม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557

ฝ่ ายบริหารของบริษทั ฯ เชื่อว่ามาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐาน การบัญชีและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินขา้ งต้นจะไม่มผี ลกระทบอย่ างเป็ นสาระสําคัญต่ องบการเงิน เมือ่ นํามาถือปฏิบตั ิ

4. นโยบายการบัญชีท่สี าํ คัญ 4.1 การรับรูร้ ายได้ รายได้จากการขาย รายได้จ ากการขายรับ รู เ้ ป็ น รายได้ท งั้ จํา นวนเมื่อ บริ ษ ัท ฯ และบริ ษ ัท ย่ อ ยได้โ อนความเสี่ย งและ ผลประโยชน์ทม่ี นี ยั สําคัญในสินทรัพย์ใหแ้ ก่ผูซ้ ้ อื แลว้ รายได้จากการให้เช่าและบริการที่เกี่ยวข้อง รายได้ค่าเช่าและค่าบริการรับรูเ้ ป็ นรายได้ในส่วนของกําไรหรือขาดทุนตามวิธเี ส ้นตรงตลอดอายุสญั ญาเช่ า รายได้ท่รี บั รูแ้ ลว้ แต่ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระตามสัญญาเช่ าดําเนินงานแสดงไว้เป็ น “ลูกหนี้ตามสัญญาเช่ าดําเนินงานที่ย งั ไม่เรียกชําระ” ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการรับเหมาก่ อสร้างรับรู เ้ ป็ นรายได้ตามวิธีอตั ราส่วนของงานที่ทาํ เสร็จ (percentage of completion method) อัตราส่วนของงานทีท่ าํ เสร็จคํานวณโดยการเปรียบเทียบต้นทุนงานที่เกิดขึ้นจริงจนถึงวันสิ้นงวด กับต้นทุนงานพัฒนาทัง้ หมดทีค่ าดว่าจะใช้ในการก่อสร้างตามสัญญา

104

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็ นรายได้เมือ� บริษทั ฯ มีสทิ ธิในการรับเงินปันผล ดอกเบี�ยรับ ดอกเบี�ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที�เเท้จริง 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทีย บเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน� ที�มี สภาพคล่องสูง ซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที�ได้มาและไม่มขี ้อจํากัดในการเบิกใช้ 4.3 ลูกหนี� การค้า ลูกหนี�การค้าแสดงมูลค่าตามจํานวนมูลค่าสุทธิท�ีจะได้รบั บริษทั ฯ บันทึกค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญสําหรับ ผลขาดทุนโดยประมาณที�อาจเกิดขึ�นจากการเก็บเงินจากลูกหนี�ไม่ได้ โดยพิจารณาจากประสบการณ์ในการเก็บเงินและ การวิเคราะห์อายุหนี� 4.4 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในตราสารหนี�ท�จี ะครบกําหนดชําระในหนึ�งปี รวมทัง� ที�จะถือจนครบกําหนดแสดงมูลค่า ตามวิธีราคาทุนตัดจําหน่าย บริษ ทั ฯ ตัดบัญชีส่วนเกิน/รับรู ส้ ่วนตํา� กว่ามูลค่าตราสารหนี�ตามอัตราดอกเบี�ยที�แท้จริง ซึ�งจํานวนที�ตดั จําหน่าย/รับรูน้ � จี ะแสดงเป็ นรายการปรับกับดอกเบี�ยรับ ข) เงินลงทุนในตราสารทุนที�ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็ นเงินลงทุนทัว� ไป ซึ�งแสดงในราคา ทุนสุทธิจากค่าเผื�อการลดลงของมูลค่า (ถ้ามี) ค) เงินลงทุนในบริษทั ร่วมที�แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธสี ่วนได้เสีย ราคาทุน

ง) เงินลงทุนในบริษทั ย่อ ย และบริษทั ร่วมที�แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธี บริษทั ฯ ใช้วธิ ีถวั เฉลีย� ถ่วงนํา� หนักในการคํานวณต้นทุนของเงินลงทุน

เมื�อมีก ารจํา หน่ายเงินลงทุน ผลต่ างระหว่า งสิ�งตอบแทนสุทธิท�ีได้รบั กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุน 4.5 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกมูลค่าเริ�มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนในราคาทุนซึ�งรวมต้นทุน การทํารายการ หลังจากนัน� บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสือ� มราคา สะสมและค่าเผื�อการด้อยค่า (ถ้ามี)

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

105


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

ค่า เสื�อ มราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อ การลงทุนคํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเ ส้นตรงตามอายุ ก ารให้ ประโยชน์โดยประมาณ 20 ปี ค่าเสื�อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนรวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไม่มกี ารคิดค่าเสื�อมราคาสําหรับที�ดนิ และงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูผ้ ลต่างระหว่างจํานวนเงินที�ได้รบั สุทธิจากการจําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์ในส่วนของกําไรหรือขาดทุนในงวดที�ตดั รายการอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนออกจากบัญชี 4.6 ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื�อมราคา ที�ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื�อมราคาสะสมและ ค่าเผื�อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื�อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คาํ นวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณของสินทรัพย์ดงั ต่อไปนี� อาคาร ส่วนปรับปรุงที�ดนิ สินทรัพย์ถาวรอื�น

20 ปี 20 ปี 5 ปี

ค่าเสื�อมราคารวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไม่มกี ารคิดค่าเสื�อมราคาสําหรับที�ดนิ และงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยตัดรายการที�ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื�อจําหน่ายสินทรัพย์หรือ คาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจําหน่ายสินทรัพย์ รายการผลกําไรหรือขาดทุ น จากการจําหน่ายสินทรัพย์จะรับรูใ้ นส่วนของกําไรหรือขาดทุนเมือ� บริษทั ฯ ตัดรายการสินทรัพย์นนั� ออกจากบัญชี 4.7 ต้นทุนการกูย้ มื ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ �ใี ช้ในการได้มา หรือการก่อสร้างสินทรัพย์ท�ตี อ้ งใช้ระยะเวลานานในการทําให้อยู่ ในสภาพพร้อมใช้หรือขาย ได้ถูกนําไปรวมเป็ นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนั� จะอยู่ในสภาพพร้อมที�จะใช้ได้ ตามทีม� งุ่ ประสงค์ ส่วนต้นทุนการกูย้ มื อื�นถือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที�เกิดรายการ ต้นทุนการกูย้ มื ประกอบด้วยดอกเบี�ยและ ต้นทุนอื�นที�เกิดขึ�นจากการกูย้ มื นัน� 4.8 สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อยบันทึกมูลค่ าเริ�มแรกของสินทรัพ ย์ไม่มตี วั ตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรู ้ รายการเริ�มแรก สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและค่าเผื�อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นนั�

106

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

บริษทั ฯ และบริษทั ย่ อยตัดจํา หน่ ายสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอ ายุ การให ป้ ระโยชน์จาํ กัดอย่ างมีระบบ ตลอดอายุการใหป้ ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นนั้ และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดงั กล่าวเมื่อมีขอ้ บ่งชี้ ว่าสินทรัพย์นนั้ เกิดการด้อยค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหน่ ายและวิธีการตัดจําหน่ ายของ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนดังกล่าวทุกสิ้นปี เป็ นอย่างน้อย ค่าตัดจําหน่ายรับรูเ้ ป็ นค่าใช้จ่ายในส่วนของกําไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ายุการใหป้ ระโยชน์จาํ กัดมีดงั นี้ อายุการใหป้ ระโยชน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์

3, 5 และ 10 ปี

4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กี่ยวขอ้ งกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี าํ นาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูก บริษทั ฯ ควบคุมไม่ว่าจะเป็ นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษทั ฯ นอกจากนี้ บุค คลหรื อกิ จการที่เ กี่ย วข อ้ งกัน ยัง หมายรวมถึงบริษ ทั ร่ วมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสีย ง โดยทางตรงหรือทางอ้อมซึ่งทําใหม้ อี ทิ ธิพลอย่างเป็ นสาระสําคัญต่อบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของ บริษทั ฯ ทีม่ อี าํ นาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษทั ฯ 4.10 สัญญาเช่าระยะยาว บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยในฐานะผูใ้ หเ้ ช่า สัญญาเช่าทีค่ วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปใหผ้ ูเ้ ช่ าถือเป็ นสัญญาเช่ า การเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเ่ี ช่าหรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิของ จํานวนเงินที่ตอ้ งจ่ ายตามสัญญาเช่ าแลว้ แต่ มูลค่ าใดจะตํา่ กว่า ภาระผู กพันตามสัญญาเช่ าหักค่ าใช้จ่ายทางการเงิน จะบันทึกเป็ นหนี้สนิ ระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่ า สินทรัพย์ ทีไ่ ด้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสือ่ มราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ทเ่ี ช่า สัญญาเช่าสินทรัพย์ทค่ี วามเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปใหก้ บั ผูเ้ ช่ า ถือเป็ นสัญญาเช่าดําเนินงาน รายได้ค่าเช่าจากสัญญาเช่าดําเนินงานจะรับรูใ้ นส่วนของกําไรหรือขาดทุนโดยใช้วธิ ีเสน้ ตรง ตลอดอายุสญั ญาเช่า 4.11 เงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นสกุลเงินบาท ซึ่งเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในการ ดําเนินงานของบริษทั ฯ รายการต่ าง ๆ ของแต่ ละกิจการที่รวมอยู่ ในงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ใช้ในการ ดําเนินงานของแต่ละกิจการนัน้

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

107


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

รายการที�เป็ นเงินตราต่า งประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วันที�เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี�สินที�เป็ นตัวเงินซึ�งอยู่ในสกุลเงินตราต่า งประเทศได้แปลงค่ า เป็ นเงินบาทโดยใช้อ ตั ราแลกเปลี�ย น ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที�เกิดจากการเปลีย� นแปลงในอัตราแลกเปลีย� นรวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน 4.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทําการประเมินการด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์ เพื�อการลงทุน ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ท�ไี ม่มตี วั ตนของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย หากมีข ้อบ่งชี�ว่าสินทรัพย์ ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรู ข้ าดทุนจากการด้อยค่าเมื�อมูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์ มีมลู ค่าตํา� กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั� ทัง� นี�มลู ค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการ ขายของสินทรัพย์หรือมูลค่า จากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพ ย์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที�กิจการคาดว่าจะได้รบั จากสินทรัพย์และคํานวณคิดลด เป็ นมูลค่าปัจจุบ นั โดยใช้อ ตั ราคิดลดก่อนภาษีท�ีสะท้อ นถึงการประเมินความเสี�ยงในสภาพตลาดปัจ จุบนั ของเงินสด ตามระยะเวลาและความเสี�ยงซึ�งเป็ นลัก ษณะเฉพาะของสินทรัพย์ท�กี าํ ลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่า ยุติธรรม หัก ต้นทุนในการขาย บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยใช้แบบจํา ลองการประเมิน มูลค่ า ที�ดีท�ีสุดซึ�งเหมาะสมกับสินทรัพ ย์ ซึ�งสะท้อ นถึงจํา นวนเงินที�กิจการสามารถจะได้มาจากการจํา หน่ ายสินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนในการจํา หน่า ย โดยการ จําหน่ายนัน� ผูซ้ � อื กับผู ข้ ายมีความรอบรู แ้ ละเต็มใจในการแลกเปลี�ยนและสามารถต่อ รองราคากันได้อย่า งเป็ นอิสระ ในลักษณะของผูท้ �ไี ม่มคี วามเกี�ยวข้องกัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรูร้ ายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของกําไรหรือขาดทุน หากในการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ มีขอ้ บ่งชี�ท�แี สดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อยค่าของ สินทรัพย์ท�ีรบั รู ใ้ นงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะประมาณมูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนของ สินทรัพย์นนั� และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าที�รบั รู ใ้ นงวดก่อนก็ต่อเมื�อมีการเปลี�ยนแปลงประมาณการ ที�ใช้กาํ หนดมูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนภายหลังจากการรับรูผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่าครัง� ล่าสุด โดยมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์ท�เี พิ�มขึ�นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าต้องไม่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีท�คี วรจะเป็ นหากกิจการ ไม่เคยรับรู ผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่า ของสินทรัพ ย์ในงวดก่อ น ๆ บริษทั ฯ และบริษ ทั ย่อยจะบันทึก กลับรายการ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์โดยรับรูไ้ ปยังส่วนของกําไรหรือขาดทุนทันที 4.13 ผลประโยชน์พนักงาน ผลประโยชน์ระยะสัน� ของพนักงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อ ยรับรู เ้ งินเดือ น ค่าจ้าง โบนัสและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่ าใช้จ่า ย เมือ� เกิดรายการ

108

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่ อ ยและพนัก งานได้ร่ วมกันจัดตัง� กองทุ นสํา รองเลี�ย งชีพ ซึ�งประกอบด้วยเงิน ที�พนักงานจ่ายสะสมและเงินที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบให้เป็ นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนสํารองเลี�ยงชีพ ได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เงินที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี�ยงชีพ บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในปี ท�เี กิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที�ตอ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมื�อออกจากงานตามกฎหมาย แรงงาน ซึ�งบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสําหรับพนักงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยคํานวณหนี�สนิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธี คิดลดแต่ ละหน่ วยที�ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู เ้ ชี�ย วชาญอิ สระได้ท าํ การประเมิน ภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรูท้ นั ทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น 4.14 ประมาณการหนี� สิน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนี�สนิ ไว้ในบัญชีเมือ� ภาระผูกพันซึ�งเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีตได้เกิดขึ�นแล้ว และมีความเป็ นไปได้ค่อนข ้างแน่นอนว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไป เพื�อปลดเปลื�องภาระผูกพันนัน� และบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนัน� ได้อย่างน่าเชือ� ถือ 4.15 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปจั จุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปจั จุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปจั จุบนั ตามจํานวนที�คาดว่าจะจ่ายให้กบั หน่วยงานจัดเก็บภาษี ของรัฐ โดยคํานวณจากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ท�กี าํ หนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว� คราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์และหนี�สนิ ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องนัน� โดยใช้อตั รา ภาษีท�มี ผี ลบังคับใช้ ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

109


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

บริษทั ฯ และบริษ ทั ย่อยรับรู ห้ นี�สินภาษีเงินได้ร อการตัดบัญชีของผลแตกต่ างชัว� คราวที�ต อ้ งเสียภาษี ทุกรายการ แต่รบั รูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษี รวมทัง� ผลขาดทุนทางภาษี ที�ยงั ไม่ได้ใช้ในจํานวนเท่าที�มคี วามเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ท�บี ริษทั ฯ จะมีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที�จะใช้ประโยชน์ จากผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทางภาษีท�ยี งั ไม่ได้ใช้นนั� บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ ทุกสิ�นรอบ ระยะเวลารายงานและจะทําการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดงั กล่าว หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะไม่มกี าํ ไรทางภาษีเพียงพอต่อการนําสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทงั� หมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยจะบันทึกภาษีเ งินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผู ถ้ ือ หุน้ หากภาษี ที�เกิดขึ�นเกี�ยวข้องกับรายการที�ได้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้

5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีท�สี าํ คัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ ายบริหารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณ การในเรื�องที�มคี วามไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดลุ ยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี�ส่งผลกระทบต่อจํานวนเงินที�แสดง ในงบการเงินและต่อข้อมูลที�แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที�เกิดขึ�นจริงอาจแตกต่างไปจากจํานวนที�ประมาณ การไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที�สาํ คัญมีดงั นี� สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็ นสัญญาเช่าดํา เนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ ายบริหารได้ใช้ ดุลยพินิจในการประเมินเงือ� นไขและรายละเอียดของสัญญาเพื�อพิจารณาว่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้โอนหรือรับโอน ความเสี�ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ทใ�ี ห้เช่าหรือเช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสูญของลูกหนี� ในการประมาณค่ า เผื�อ หนี�สงสัย จะสู ญของลู ก หนี� ฝ่ ายบริหารจํา เป็ นต้อ งใช้ดุลยพินิจ ในการประมาณการ ผลขาดทุนที�คาดว่าจะเกิดขึ�นจากลูกหนี�แต่ละราย โดยคํานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี�ท�คี งค้างและ สภาวะเศรษฐกิจที�เป็ นอยู่ในขณะนัน� เป็ นต้น มูลค่ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงินที�ไม่มกี ารซื�อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ใน ตลาดซื�อขายคล่อง ฝ่ ายบริหารต้องใช้ดุลยพินจิ ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้ เทคนิคและแบบจําลองการประเมินมูลค่า ซึ�งตัวแปรที�ใช้ในแบบจําลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที�มอี ยู่ในตลาด โดยคํานึงถึงสภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลีย� นแปลงของมูลค่าของเครื�องมือทางการเงินในระยะยาว

110

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ บริษทั ฯ จะตัง� ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื�อขายและเงินลงทุนทัว� ไปเมื�อมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญและเป็ นระยะเวลานานหรือเมื�อมีขอ้ บ่งชี�ของการด้อยค่า การที�จ ะสรุปว่า เงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญหรือเป็ นระยะเวลานานหรือไม่นน�ั จําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ ายบริหาร ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม บริษทั ฯ จะตัง� ค่า เผื�อการด้อ ยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษ ทั ร่วม เมื�อ มูลค่า ยุติธรรมของเงินลงทุน ดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญและเป็ นระยะเวลานานหรือเมื�อมีขอ้ บ่งชี�ของการด้อยค่า การที�จะสรุปว่าเงินลงทุน ดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญหรือเป็ นระยะเวลานานหรือไม่นนั� จําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ ายบริหาร อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า และที�ดิน อาคารและ อุปกรณ์และค่าเสื�อมราคา ในการคํานวณค่าเสื�อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ให้เช่า อาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริหารจําเป็ นต้องทําการประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื�อเลิกใช้งาน ของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า อาคารและอุปกรณ์ และต้อง ทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลีย� นแปลงเกิดขึ�น นอกจากนี� ฝ่ ายบริหารจํา เป็ นต้องสอบทานการด้อ ยค่ าของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าและที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลา และบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่า หากคาดว่ามูลค่าทีค� าดว่าจะได้รบั คืนตํา� กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั� ในการนี�ฝ่ายบริหารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจ ทีเ� กี�ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ�งเกี�ยวเนื�องกับสินทรัพย์นนั� สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษีและ ขาดทุนทางภาษีท�ไี ม่ได้ใช้เมื�อ มีความเป็ นไปได้ค่อ นข้างแน่ว่า บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยจะมีก ําไรทางภาษีในอนาคต เพียงพอทีจ� ะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว� คราวและขาดทุนนัน� ในการนี�ฝ่ายบริหารจําเป็ นต้องประมาณการว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยควรรับรูจ้ าํ นวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็ นจํานวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจํานวนกําไรทางภาษี ที�คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี�สนิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ�นตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ซึ�งต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่าง ๆ ในการประมาณการนัน� เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ�นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลีย� นแปลงในจํานวนพนักงาน เป็ นต้น

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

111


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

6. รายการธุรกิจกับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน 6.1 ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกันสามารถสรุปได้ดงั นี�

รายชื�อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด บริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON Property, Inc. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จํากัด (มหาชน) กองทุนรวมสาธรซิต� ที าวเวอร์ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

ร้อยละ ของการถือหุน้ ของบริษทั ฯ 99.99% 99.99% 99.99% 100.00%

ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ร่วม บริษทั ร่วม

100.00% 23.63% 20.04% 28.52%

ผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน ผูถ้ อื หุน้ ร่วมกัน มีกรรมการเป็ นสมาชิกในครอบครัว เดียวกัน มีกรรมการร่วมกัน

บริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด

-

6.2 รายละเอียดของรายการธุรกิจกับกิจการที�เกี�ยวข้องกันที�สาํ คัญ ในระหว่า งปี บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยมีร ายการธุ ร กิ จ ที�ส ํา คัญกับบุค คลหรือ กิ จ การที�เ กี� ย วข้อ งกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็ นไปตามเงื�อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที�ตกลงกันระหว่างบริษทั ฯ และบุคคลหรือกิจการ ที�เกี�ยวข้องกันเหล่านัน� ซึ�งเป็ นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดงั นี� (หน่ วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 2556 2555

112

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้ค่าบริหารจัดการ

-

-

1

รายได้ค่าบริการก่อสร้าง

-

-

7

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

นโยบายการกําหนดราคา

1 ร้อยละ 2 ของรายได้ค่าเช่าและบริการ ของบริษทั ย่อย 4 ร้อยละ 2 ของค่ าใช้จ่ายทีเ� กี�ยวข้องกับ การก่ อสร้างทีเ� กิดขึ�นระหว่างปี ของ บริษทั ย่อย


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่ วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ดอกเบี�ยรับ

-

-

2556 385

เงินปันผลรับ รายได้ค่าเช่าทีด� นิ

-

-

38 5

รายได้อนื� ค่ าบริหารจัดการทัวไป �

-

-

1 7

ค่ าบริหารส่วนกลาง รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ร่วม

-

-

1

1,737

2,334

1,737

รายได้ค่าบริหารจัดการจาก กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

107

96

107

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์ค โลจิสติคส์

25

6

25

ขายทีด� ินและอาคารโรงงาน

2555

นโยบายการกําหนดราคา

2555 223 ก่ อ นวัน ที� 1 มิ ถุ น ายน 2556 อัต รา ดอกเบี� ย ถัว เฉลี� ย ของหุ น้ กู ้ที� อ อก ในไตรมาสสามปี 2553 บวกอัตราคงที� และตัง� แต่ ว นั ที� 1 มิ ถุ น ายน 2556 อัตราดอกเบี�ยถัวเฉลีย� ของหุน้ กูแ้ ละเงิน กูย้ ืมระยะสัน� บวกอัตราร้อยละ 0.15 29 ตามทีบ� ริษทั ย่อยประกาศจ่าย 5 ร้อยละ 4 ของราคาทีด� ินทีบ� ริษทั ฯ ซื�อจาก บริษทั ย่อย - มูลค่ าตามสัญญา 6 ร้อยละ 3 ของรายได้ค่าเช่ าและค่ าบริการ ของบริษทั ร่วม - ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า 2,334 ใกล้เคียงราคาประเมิน (หมายเหตุ12.3) 96 ร้อยละ 4 ของรายได้ค่าเช่าและบริการของ กองทุ น ฯ และอัต ราผัน แปรระหว่ า ง ร้อ ยละ 0-19.5 ของกํา ไรจากการ ดําเนิ นงานและค่ า นายหน้ารับในอัตรา 2 เดือนของค่ าเช่าและค่ าบริการ และค่ า นายหน้า จากการขายในอัต ราสู ง สุ ด ไม่เกินร้อยละ 3 ของราคาขาย 6 ร้อยละ 55 ของรายได้ค่าเช่ าและบริการ ของกองทุ น ฯ ที� เ กิ ด ขึ� น จริ ง หลัง หัก รายได้ข ั�น ตํา� ตามสัญ ญารับ ประกั น รายได้ค่ าเช่ า และบริก าร ค่ าใช้จ่ ายใน การบริหาร และเงินสํารองต่าง ๆ สิ�นสุ ด วันที� 31 ธันวาคม 2559 หลังจากนั�น คิ ด ร้อ ยละ 3 ของรายได้ค่ า เช่ า และ ค่ า บริ การของกองทุ นฯ และอัต ราผัน แปรระหว่ า งร้อ ยละ 0-10 ของกํา ไร ขัน� ต้น

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

113


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

(หน่ วย: ล้านบาท)

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

เงินปันผลรับ เงินประกันรายได้ค่าเช่า และค่ าบริการ รายได้จากการรับเหมาก่ อสร้าง รายได้ค่าเช่าทีด� นิ

งบการเงินรวม 2556 2555 1 -

2

-

5 1

2 -

5 1

64 332 15

124 450 14

64 305 13

2 42 5

1 7 1 -

1 42 5

1,999 2

-

รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน ซื�อทีด� ิน เงินมัดจําค่ าทีด� ิน 124 ซื�อเงินลงทุน 450 ค่ าเช่าสํานักงานและค่ าบริการ 15 ทีเ� กี�ยวข้อง ดอกเบี�ยรับ 2 ดอกเบี�ยจ่าย 23 ค่ านายหน้าซื�อหลักทรัพย์ 1 ค่ าธรรมเนียมอื�น รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ย่อยกับบริษทั ร่วม ขายทีด� ินและอาคารคลังสินค้า 2,926 รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม 2 อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

114

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการกําหนดราคา 2556 2555 1 - ร้อ ยละ 4 ของรายได้สุ ท ธิ ที� ไ ด้จ าก กองทุ น ฯ และอัต ราผัน แปรระหว่ า ง ร้อ ยละ 0-19.5 ของกํา ไรจากการ ดําเนินงานและค่ านายหน้ารับในอัตรา 2 เดือนของค่ าเช่ าและค่ าบริการ และ ค่ านายหน้าจากการซื�อ ขาย โอนสิทธิ การ เ ช่ าและ รั บ โ อ น สิ ท ธิ ก าร เ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ในอัตราสู งสุ ดไม่ เกิ น ร้อยละ 3 ของมูลค่ า ดังกล่าว 217 218 ตามทีก� องทุนฯ ประกาศจ่าย 2 - ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า 2 มูลค่ าตามสัญญารับเหมา - มูลค่ าตามสัญญา

ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า ราคาทีต� กลงร่วมกัน ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า อัตราตลาด MLR ลบอัตราคงที,� อัตราตลาด ราคาตลาด ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า

- ใกล้เคียงราคาประเมิน (หมายเหตุ 12.3) - ร้อยละ 2 ของรายได้ค่าเช่าและบริการของ กองทุ น ฯ และอัต ราผัน แปรระหว่ า ง ร้อยละ 0.5-10.5 ของกําไรจากการ ดําเนินงาน และค่ านายหน้ารับในอัตรา 2 เดือนของค่ าเช่ าและค่ าบริการ และ ค่ านายหน้าจากการขายในอัตราสู งสุ ด ไม่เกินร้อยละ 3 ของราคาขาย

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่ วย: ล้านบาท)

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม อสังหาริม ทรัพ ย์ทีพาร์ค โลจิ สติค ส์

งบการเงินรวม 2556 2555 16 1

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

1

-

เงินประกันรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการ ค่ าบริการส่วนกลาง รายได้จากการรับเหมาก่ อสร้าง รายได้ค่าเช่าทีด� นิ

3 1 2 1

3 1 2 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการกําหนดราคา 2556 2555 - ร้อยละ 3 ของรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการ ของกองทุนฯ และอัตราผันแปรระหว่าง ร้อ ยละ 0-10 ของกํ า ไรขั�น ต้น และ ค่ า นายหน้า รับ ในอัต รา 2 เดื อ นของ ค่ าเช่าและค่ าบริการ - ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายได้สุทธิทไี� ด้จาก กองทุ น ฯ และอัต ราผัน แปรระหว่ า ง ร้อ ยละ 0-10.0 ของกํา ไร จากการ ดําเนินงานและค่ านายหน้ารับในอัตรา 2 เดือนของค่ าเช่ าและค่ าบริการ และ ค่ านายหน้าจากการซื�อ ขาย โอนสิท ธิ การ เ ช่ าและ รั บ โอ น สิ ท ธิ ก าร เ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ในอัตราสู งสุ ดไม่ เกิ น ร้อ ยละ 3 ของมู ล ค่ า ดัง กล่า ว และ ค่ าใช้จ่ายในการดําเนินงานในอัตราคงที� เท่ากับ 1 ล้านบาทต่อปี - ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า - ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า - มูลค่ าตามสัญญารับเหมา - มูลค่ าตามสัญญา

6.3 ยอดคงเหลือของรายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน งบการเงินรวม 2556 2555 เงินฝากธนาคาร (แสดงภายใต้เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) 124,963 163,113 ลูกหนี� อื�น - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (แสดงภายใต้ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อื�น) (หมายเหตุ 9) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 44,173 12,967 บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) 21,255 รวม 44,173 34,222

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

86,495

108,636

73,522 30,161 103,683

3,614 11,121 21,255 35,990

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

115


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2556 2555 ดอกเบี�ยค้างรับ (แสดงภายใต้ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อื�น) (หมายเหตุ 9) บริษทั ย่อย ดอกเบี�ยจ่ายล่วงหน้า (แสดงภายใต้สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน)

1,101

1,047

32

1,182

32

1,182

เงินทดรองจ่าย (แสดงภายใต้สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น) บริษทั ร่วม

2,096

127

1,954

127

เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน)

240

2,018

-

-

-

-

9,075,955

5,389,749

132,586 323,128 455,714

132,586 198,929 331,515

106,193 323,128 429,321

106,193 198,929 305,122

3,705 214 3,919

3,705 3,705

3,705 214 3,919

3,705 3,705

เจ้าหนี� อื�น - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น) (หมายเหตุ 17) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 3,288 57,080 รวม 3,288 57,080

2,395 3,032 5,427

1,711 56,211 57,922

-

-

-

113

-

113

3,093 3,206

214 214

3,093 3,206

เงินให้กูย้ ืมระยะยาวแก่บริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั ย่อย เงินมัดจําค่าที�ดิน บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (ผู ้ถือหุน้ /มีกรรมการ ร่วมกัน) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) รวม เงินมัดจํา (แสดงภายใต้สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (ผู ้ถือหุน้ ร่วมกัน) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (ผู ้ถือหุน้ /มีกรรมการร่วมกัน) รวม

ดอกเบี�ยค้างจ่าย (แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น) (หมายเหตุ 17) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) 85 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น) (หมายเหตุ 17) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (ผู ้ถือหุน้ ร่วมกัน) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (ผู ้ถือหุน้ /มีกรรมการร่วมกัน) 214 รวม 214

116

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2556 2555 ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า (แสดงภายใต้หนี� สินหมุนเวียนอื�น) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

31,875 31,875

-

3,281 11,334 14,615

3,281 3,281

-

-

139

139

เงินกูย้ ืมระยะสัน� จากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน)

50,000

110,000

50,000

110,000

เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน)

707,300

-

-

-

รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า บริษทั ร่วม

922,751

-

328,094

-

ค่าเช่าอุปกรณ์รบั ล่วงหน้า (แสดงภายใต้หนี� สินหมุนเวียนอื�น) บริษทั ย่อย

6.4 ยอดคงเหลือและการเปลีย� นแปลงของเงินให้กูย้ มื และเงินกูย้ มื ระหว่างบริษทั ฯ และกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 เงินกูย้ ืมระยะสัน� ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จํากัด (มหาชน) เงินกูย้ ืมระยะยาว ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

เพิม� ขึ�น ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556

ลดลง ระหว่างปี

110,000 110,000

1,480,000 250,000 1,730,000

(1,480,000) (310,000) (1,790,000)

50,000 50,000

-

707,300

-

707,300

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

117


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 เงินให้กูย้ ืมระยะยาว บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด เงินกูย้ ืมระยะสัน� ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จํากัด (มหาชน)

เพิม� ขึ�น ระหว่างปี

ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556

5,389,749

8,439,500

(4,753,294)

9,075,955

110,000 110,000

1,480,000 250,000 1,730,000

(1,480,000) (310,000) (1,790,000)

50,000 50,000

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 เงินให้กูย้ ืมระยะยาวจํานวน 9,076 ล้านบาท (2555: 5,390 ล้านบาท) เป็ นเงินให้กูย้ มื ที�ไม่มหี ลักประกันแก่บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด (บริษทั ย่อย) ซึ�งมีอตั ราดอกเบี�ยเท่ากับ ร้อยละ 3.94 ถึง 4.35 ต่อปี (2555: ร้อยละ 4.35 ต่อปี ) ยอดคงเหลือของเงินกู ย้ ืมระยะยาวที�ได้รบั จากสถาบันการเงินแห่งหนึ�งซึ�งเป็ นกิจ การที�เ กี�ยวข้องกัน มีรายละเอียดดังนี� (หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินรวม ลําดับ ที� วันที�ทาํ สัญญา 1. 23 เมษายน 2556 เงินกูย้ ืมระยะยาว

2556 707 707

เงือ� นไขที�สาํ คัญของสัญญาเงินกูย้ ืม

ระยะเวลา 2555 เงินกู ้ - 9 ปี

งวดชําระคืน เงินต้น ทุก 6 เดือน

ระยะเวลาชําระคืนเงินต้น พฤศจิกายน 2559 - พฤษภาคม 2565

อัตราดอกเบี�ย MLR ลบอัตราคงที�

-

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย และอสัง หาริ ม ทรัพ ย์เ พื�อ การลงทุ น ให้เ ช่ า และที�ดิน และอาคารของบริ ษ ทั ย่ อ ยแห่ ง หนึ� ง ซึ�ง มีร าคาตามบัญชีร วม 944 ล้านบาท ถูกจดจํานองเป็ นประกันการกูย้ มื ดังกล่าวข้างต้น ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ย่อยคงเหลือจํานวนเงินที�ยงั มิได้เบิกใช้ของวงเงินกูย้ ืมจากกิจการ ที�เกี�ยวข้องกันดังกล่าวเป็ นจํานวนรวมประมาณ 152 ล้านบาท 6.5 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร ในระหว่างปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ พนักงานที�ให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหาร ดังต่อไปนี�

118

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

ผลประโยชน์ระยะสัน� ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

งบการเงินรวม 2556 2555 49,426 47,325 1,245 1,279 50,671 48,604

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 41,538 41,436 1,095 979 42,633 42,415

6.6 ภาระคํา� ประกันกับบริษทั ย่อย และ 32.3

บริษทั ฯ มีภาระจากการคํา� ประกันให้แก่บริษทั ย่อยตามที�กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 18

7. งบกระแสเงินสด เพื�อวัตถุประสงค์ในการจัดทํางบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายความรวมถึง เงินสดและ เงินฝากธนาคารและเงินลงทุนชัว� คราวซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืนในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดตามที�แสดงอยู่ในงบกระแสเงินสด ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี�

เงินสด เงินฝากสถาบันการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว - ตัวแลกเงิ � น ซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืน ในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ในงบกระแสเงินสด

งบการเงินรวม 2556 2555 569 398 347,296 361,145 347,865 361,543

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 285 220 93,002 120,256 93,287 120,476

411,000

730,000

410,000

730,000

758,865

1,091,543

503,287

850,476

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 เงินฝากออมทรัพ ย์ เงินฝากประจําและเงินลงทุนชัว� คราวซึ�งถึงกําหนดจ่ ายคืน ในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน มีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ 0.1 ถึง 3.0 ต่อปี (2555: ร้อยละ 0.4 ถึง 3.0 ต่อปี )

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

119


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

8. เงินลงทุนชัว� คราว (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

งบการเงินรวม 2556 2555 หลักทรัพย์เพื�อค้า หน่วยลงทุน ตราสารหนี� ที�จะถือจนครบกําหนด ภายใน 1 ปี ตัวแลกเงิ � น รวมเงินลงทุนชัว� คราว

1,593

1,118

-

-

419,066 420,659

730,000 731,118

410,000 410,000

730,000 730,000

9. ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อน�ื 9.1 ยอดคงเหลือของลูกหนี�การค้าจําแนกตามอายุหนี�คงค้าง งบการเงินรวม 2556 2555 ลูกหนี�การค้า - กิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน อายุหนี�คงค้างนับจากวันทีถ� งึ กําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน 3 เดือน ค้างชําระ 3 - 6 เดือน ค้างชําระ 6 - 12 เดือน ค้างชําระ มากกว่า 12 เดือน รวม ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานทีย� งั ไม่เรียกชําระ หัก: ค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี�การค้า - กิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน, สุทธิ ลูกหนี�อ�นื ลูกหนี�อ�นื แก่กจิ การที�เกี�ยวข้องกัน ลูกหนี�อ�นื แก่กจิ การที�ไม่เกี�ยวข้องกัน ดอกเบี�ยค้างรับจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน ดอกเบี�ยค้างรับจากกิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน รายได้คา้ งรับ รวมลูกหนี�อ�นื รวมลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อน�ื - สุทธิ

120

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

13,380 2,476 15,773 590 32,219 11,844 (565) 43,498

30,837 2,944 4,926 1,445 40,152 43,098 (847) 82,403

10,753 2,154 1,327 590 14,824 7,549 (565) 21,808

7,488 1,788 4,925 1,445 15,646 9,202 (847) 24,001

44,173 238 171 2,592 47,174 90,672

34,222 1,065 401 1,148 36,836 119,239

103,683 72 1,101 132 1,328 106,316 128,124

35,990 770 1,047 401 363 38,571 62,572


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

9.2

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ลูกหนี�การค้าจําแนกตามประเภทธุรกิจ (หน่วย: พันบาท) ประเภทลูกหนี�

งบการเงินรวม 2556 21,256 22,242 43,498

ลูกหนี�ค่าเช่าและค่าบริการ ลูกหนี�จากการรับเหมาก่อสร้าง

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 14,159 16,512 7,649 7,489 21,808 24,001

2555 58,359 24,044 82,403

10. เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้นาํ เงินฝากสถาบันการเงินจํานวน 0.2 ล้านบาท (2555: 2 ล้านบาท) ไปวางไว้กบั ธนาคารเพื�อเป็ นหลักประกันวงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิตและทรัสต์รีซีทส์ พร้อมวงเงินสําหรับ จองอัตราแลกเปลีย� นและหนังสือคํา� ประกันที�ธนาคารออกให้แก่หน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจและบริษทั เอกชน

11. เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษทั ย่อยตามที�แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี� (หน่วย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั

ประเภทกิจการ

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างโรงงานให้ เช่า/ขาย บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พาร์ค จํากัด โดยการสร้างคลังสินค้า ให้เช่า/ขาย บริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ� การ จํากัด ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ Shanghai TICON Investment ธุรกิจบริหารการลงทุน Management Company Limited* TICON Property, Inc.** ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทัวไป � รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

ไทย

ไทย

ทุนเรียกชําระแล ้ว 2556 2555 50,000

สัดส่วนเงินลงทุน 2556 2555 (ร้อยละ) (ร้อยละ) 50,000 99.99 99.99

2,500,000 2,500,000

99.99

เงินปันผลทีบ� ริษทั ฯ รับระหว่างปี 2556 2555

เงินลงทุนตามราคาทุน 2556 2555 50,000

50,000

38,250

28,750

99.99 2,515,000

2,515,000

-

-

ไทย

10,000

-

99.99

-

10,000

-

-

-

จีน

85,384

61,664

100.00

100.00

85,384

61,664

-

-

31

31

100.00

100.00

189,190

189,190

-

-

2,849,574

2,815,854

38,250

28,750

สหรัฐ อเมริกา

* ตรวจสอบแล้วโดยผูส้ อบบัญชีอื�น ** งบการเงินถูกจัดทําโดยฝ่ ายบริหารของบริษทั ย่อย

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

121


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ในระหว่างปี 2556 มีการเปลีย� นแปลงเกี�ยวกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อย ดังนี� (ก) เมื�อวันที� 26 กุมภาพันธ์ 2556 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 1/2556 ของบริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ได้มมี ติอนุมตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรประจําปี 2555 ในส่วนที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรากึ�งหนึ�งในจํานวนหุน้ ละ 3.25 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 16.3 ล้านบาท โดยมีการ จ่ายเงินปันผลในวันที� 27 กุมภาพันธ์ 2556 (ข) เมือ� วันที� 28 กุมภาพันธ์ 2556 ที�ประชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ ครัง� ที� 1/2556 มีมติอนุ มตั ิการเพิ�มทุน จดทะเบียนใน Shanghai TICON Investment Management Company Limited ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย จํานวน 0.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา คิดเป็ นเงินไทย 24 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้มกี ารชําระเงินเพิ�มทุนในวันที� 13 มีนาคม 2556 โดยบริษทั ย่อยได้จดทะเบียนเพิ�มทุนเมือ� วันที� 25 เมษายน 2556 (ค) เมื�อวันที� 20 พฤษภาคม 2556 บริษ ทั ฯ ได้จดทะเบียนจัดตัง� บริษทั ย่อ ยแห่งหนึ�ง ชื�อ บริษ ทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ จํากัด โดยมีวตั ถุประสงค์หลักในการเป็ นผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ด้วยทุน จดทะเบียน 10 ล้านบาท ซึง� บริษทั ฯ ได้ชาํ ระเงินลงทุนครัง� แรกจํานวนเงิน 2.5 ล้านบาทแล้ว เมื�อวันที� 17 พฤษภาคม 2556 ทัง� นี�บริษทั ฯ ได้ถอื หุน้ ในบริษทั ย่อยดังกล่าวสัดส่วนร้อยละ 99.99 (ง) เมือ� วันที� 14 มิถุนายน 2556 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 1/2556 ของบริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย มีมติอนุมตั ิให้เรียกชําระค่าหุน้ ส่วนที�เหลือจํานวนเงิน 7.5 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ ได้ชาํ ระเงิน ลงทุนแล้วในวันที� 10 กรกฎาคม 2556 (จ) เมื�อ วันที� 2 กรกฎาคม 2556 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 3/2556 ของบริษ ทั อีโค อินดัสเทรีย ล เซอร์วสิ เซส จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ได้มมี ติอนุมตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรประจําปี 2555 และผลกําไร สําหรับไตรมาสแรกปี 2556 ในส่วนที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรากึ�งหนึ�งในจํานวนหุน้ ละ 1.75 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 8.8 ล้านบาท โดยมีการจ่ายเงินปันผลในวันที� 3 กรกฎาคม 2556 (ฉ) เมื�อ วันที� 20 กันยายน 2556 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 4/2556 ของบริษ ทั อีโค อิน ดัสเทรีย ล เซอร์วสิ เซส จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ได้มมี ติอนุมตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรบางส่วนของปี 2556 ในส่วน ที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรากึ�งหนึ�งในจํานวนหุน้ ละ 1.40 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 7.0 ล้านบาท โดย มีการจ่ายเงินปันผลในวันที� 23 กันยายน 2556 (ช) เมื�อ วัน ที� 19 ธัน วาคม 2556 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 5/2556 ของบริษ ทั อีโค อินดัส เทรีย ล เซอร์วสิ เซส จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ได้มมี ติอนุมตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรบางส่วนของปี 2556 ในส่วน ที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรากึ�งหนึ�งในจํานวนหุน้ ละ 1.25 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 6.3 ล้านบาท โดยมี การจ่ายเงินปันผลในวันที� 20 ธันวาคม 2556

122

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในระหว่างปี 2555 มีการเปลีย� นแปลงเกี�ยวกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อย ดังนี� (ก) เมื�อ วันที� 14 พฤษภาคม 2555 ที�ประชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ ครัง� ที� 2/2555 มีมติให้สตั ยาบัน การเพิ�มทุนชําระแล้วครัง� ที�สามใน Shanghai TICON Investment Management Company Limited ซึ�งเป็ น บริษทั ย่อย จํานวน 1.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา คิดเป็ นเงินไทย 37 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้มกี ารชําระเงินเพิ�มทุน ในวันที� 6 มีนาคม 2555 โดยบริษทั ย่อยดังกล่าวได้จดทะเบียนเพิ�มทุนเมื�อวันที� 9 พฤษภาคม 2555 ทัง� นี� การเพิ�มทุน ชําระแล้วในครัง� นี� ทําให้บริษทั ย่อยดังกล่าวมีทุนชําระแล้วเต็มจํานวน (ข) เมื�อวันที� 19 มีนาคม 2555 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 2/2555 ของบริษทั อีโค อินดัสเทรีย ล เซอร์วสิ เซส จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อยได้มมี ติอนุ มตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรประจําปี 2553 และ 2554 ในส่วนที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรากึ�งหนึ�งในจํานวนหุน้ ละ 2.0 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 10 ล้านบาท โดยทําการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวในวันที� 20 มีนาคม 2555 (ค) เมื�อวันที� 18 มกราคม 2555 บริษทั ฯ ได้มกี ารจัดตัง� บริษ ทั ย่อยหนึ�งแห่งในประเทศสหรัฐ อเมริกาคือ TICON Property, Inc. เพื�อรองรับการขยายธุรกิจเกี�ยวกับการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในประเทศสหรัฐอเมริกาด้วย ทุนจดทะเบียน 1 พันหุน้ โดยเมือ� วันที� 19 เมษายน 2555 บริษทั ฯ ได้มกี ารชําระเงินลงทุนเป็ นจํานวน 1 ล้านดอลลาร์ สหรัฐอเมริกา คิดเป็ นเงินไทย 31 ล้านบาท (ง) เมือ� วันที� 14 พฤษภาคม 2555 ที�ประชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ ครัง� ที� 2/2555 ได้มมี ติอนุ มตั ิให้ลงทุน เพิ�มเติมใน TICON Property, Inc. จํานวน 5.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา คิดเป็ นเงินไทย 158 ล้านบาท และบริษทั ฯ ได้มกี ารชําระเงินลงทุนเพิ�มเติมจํานวนดังกล่าวในวันที� 24 พฤษภาคม 2555 (จ) เมื�อ วันที� 12 มิถุนายน 2555 ที�ประชุมคณะกรรมการครั�งที� 3/2555 ของบริษ ทั อีโค อิ นดัสเทรีย ล เซอร์วสิ เซส จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อยได้มมี ติอนุมตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล (ครัง� ที�สอง) จากผลกําไรประจําปี 2554 ในส่วนที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรากึ�งหนึ�ง ในจํา นวนหุน้ ละ 1.75 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 8.75 ล้านบาท โดยทําการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวในวันที� 13 มิถนุ ายน 2555 (ฉ) เมือ� วันที� 3 ตุลาคม 2555 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 4/2555 ของบริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อยได้มมี ติอนุมตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล (ครัง� ที�สาม) จากผลกําไรประจําปี 2554 และผลกําไร สําหรับครึ�งปี แรกของปี 2555 ในส่วนที�ได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรากึ�งหนึ�ง ในจํานวนหุน้ ละ 2.00 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 10.0 ล้านบาท โดยทําการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวในวันที� 4 ตุลาคม 2555 (ช) เมือ� วันที� 12 ธันวาคม 2555 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 2/2555 Shanghai TICON Investment Management Company Limited ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อยมีมติอนุมตั ิเพิ�มทุนจํานวน 0.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกา

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

123


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

12. เงินลงทุนในบริษทั ร่วม 12.1 รายละเอียดของบริษทั ร่วม ประเภทกิจการ

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

ไทย

11,824,790

11,824,790

271,583

320,142

23.63

27.85

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และ/หรือสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์

ไทย

4,469,062

4,469,062

82,920

107,902

20.04

26.07

ไทย

5,550,000

-

158,301

-

28.52

-

บริษทั

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

ทุนเรียกชําระแล้ว 2556 2555 (พันบาท) (พันบาท)

จํานวนหน่วยลงทุนทีบ� ริษทั ฯ ถือ 2556 2555 (พันหน่วย) (พันหน่วย)

สัดส่วนการลงทุน 2556 2555 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

12.2 รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (ก) มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (หน่วย: พันบาท) บริษทั

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

วิธีส่วนได้เสีย

ราคาทุน

2556 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุน - สุทธิ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์ เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุน - สุทธิ

124

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

2555

2556

2555

2,641,187

3,109,839

2,807,921

3,302,838

(1,128,400)

(1,237,842)

-

-

1,512,787

1,871,997

2,807,921

3,302,838

897,498

1,176,546

916,129

1,190,607

(256,485)

(293,467)

-

-

641,013

883,079

916,129

1,190,607


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

การกำ�กับดูแล กิจการ

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: พันบาท)

บริษทั

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

วิธีส่วนได้เสีย

ราคาทุน

2556

กองทุนรวมสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์

2555

2556

2555

1,585,647

-

1,581,124

-

(497,041)

-

-

-

1,088,606

-

1,581,124

-

3,242,406

2,755,076

5,305,174

4,493,445

มูลค่าต่อหน่ วยของเงินลงทุน (บาท) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

5.57

5.85

10.34

10.32

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์

7.73

8.18

11.05

11.03

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

6.88

-

9.99

-

เงินลงทุน - สุทธิ รวมเงินลงทุนในบริษัทร่วม - สุทธิ

กําไรจากการขายที�ดนิ อาคารโรงงานและคลังสินค้าในสัดส่วนเดียวกับที�บริษทั ฯ ได้ถือหุน้ ในกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ หรือกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (“กองทุน”) เป็ นกําไรที�ย งั ไม่เกิดขึ�นจริง โดยแยกแสดงเป็ นรายการต่างหากในงบกําไร ขาดทุนภายใต้หวั ข้อ "กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม" (ข) ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม บริษทั กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท รวม

สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 2555 157,653 140,614 54,396 28,605 4,522 216,571

169,219

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

125


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

(ค) เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั

สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 2555 156,750 181,800 59,797 36,424 216,547 218,224

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ รวม

12.3 การเปลีย� นแปลงของบัญชีเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (หน่วย: ล ้านบาท)

เงินลงทุนในบริษัทร่วม ยอดยกมาต้นปี ซื�อเงินลงทุน ขายเงินลงทุน ส่วนแบ่งกําไรในเงินลงทุน เงินปันผลรับ ยอดคงเหลือปลายปี กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ยอดยกมาต้นปี เพิ�มขึ�นระหว่างปี ลดลงระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี เงินลงทุนในบริษัทร่วม - สุทธิ

งบการเงินรวม 2556 2555 4,286 1,631 (793) 217 (217) 5,124

3,005 1,648 (318) 169 (218) 4,286

1,531 505 (154) 1,882 3,242

1,107 459 (35) 1,531 2,755

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 4,493 1,631 (819) 5,305

3,179 1,648 (334) 4,493

กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ทเ�ี พิ�มขึ�นระหว่างปี เกิดจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ กองทุนฯ ส่วนกําไรที�ย งั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพ ย์ท�ีลดลงระหว่า งปี เกิดจากการที�กองทุนฯ มีการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลภายนอก และจากการที�บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการถือหน่วยลงทุนในกองทุนฯ ลดลง

126

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ในระหว่า งปี 2556 และ 2555 การเปลี�ยนแปลงในกํา ไรที�ย งั ไม่เ กิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพ ย์ ให้บริษทั ร่วมที�สาํ คัญมีดงั นี�

วันที�

รายการที�เกิดขึ�นระหว่างปี 2556

27 ก.ย. 56

บริษทั ฯ ขายที�ดนิ และโรงงานให้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน 12-13 ธ.ค. 56 บริษทั ฯ ให้เช่าที�ดนิ พร้อมโรงงานและให้เช่าที�ดนิ และขายโรงงานให้แก่กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท 13 ธ.ค. 56 บริษทั ย่อยให้เช่าที�ดนิ พร้อมคลังสินค้าและให้เช่า ที�ดนิ และขายคลังสินค้าให้แก่กองทุนรวมสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท 28 ก.พ. 56 2 ม.ค. 17 ก.ย.56 3 ม.ค. 3 พ.ค.56 21 มิ.ย. 56 19 ธ.ค. 56

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนขายที�ดนิ และ โรงงานที�ซ�อื จากบริษทั ฯ ให้บคุ คลภายนอก จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ไทคอน จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนขายที�ดนิ และ โรงงานที�ซ�อื จากบริษทั ฯ ให้บคุ คลภายนอก กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนขายที�ดนิ และ โรงงานที�ซ�อื จากบริษทั ฯ ให้บคุ คลภายนอก

จํานวนที�ดนิ และอาคาร/จํานวน หน่วยลงทุน

ราคาขาย/ ให้เช่า (ลา้ นบาท)

กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจาก การขายอสังหาริมทรัพย์ เพิม� ขึ�น (ลดลง) (ลา้ นบาท)

2 โรงงาน

105

8 *

38 โรงงาน

1,973

221 **

50 คลังสินค้า

3,542

276 *** 505

1 โรงงาน

45

(3)

52 ลา้ นหน่วย

639

(109)

26 ลา้ นหน่วย

324

(37)

1 โรงงาน

48

(2)

1 โรงงาน

47

(3) (154)

*

มูลค่ายุตธิ รรมของที�ดนิ และโรงงานประเมินตามวิธีพจิ ารณาจากรายได้โดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 104 ลา้ นบาท และ 106 ลา้ นบาท ** มูลค่ายุตธิ รรมของการให้เช่าที�ดนิ พร้อมโรงงานและให้เช่าที�ดนิ และขายโรงงานประเมินตามวิธีพจิ ารณาจากรายได้โดยผูป้ ระเมินราคา อิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 2,115 ลา้ นบาท และ 2,198 ลา้ นบาท *** มูล ค่ายุติธรรมของการให้เช่ าที�ดิน พร้อมคลังสินค้าและให้เช่ าที�ดิน และขายคลังสินค้าประเมินตามวิธี พจิ ารณาจากรายได้โดย ผู ้ประเมินราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 3,340 ลา้ นบาท และ 3,406 ลา้ นบาท

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

127


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

วันที� 29 มี.ค. 55 29 พ.ย. 55

24 ธ.ค. 55

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

รายการที�เกิดขึ�นระหว่างปี 2555 บริษทั ฯ ขายที�ดนิ และโรงงานให้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน บริษทั ย่อยขายที�ดนิ และคลังสินค้าให้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์ บริษทั ฯ ขายที�ดนิ และโรงงานให้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

17 ก.พ. จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวม 28 ธ.ค. 55 อสังหาริมทรัพย์ไทคอน 17 ก.พ. จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวม 28 ธ.ค. 55 อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ 16 ส.ค. 55 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนขาย ที�ดนิ และโรงงานที�ซ�อื จากบริษทั ฯ ให้ บุคคลภายนอก

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

จํานวนที�ดนิ และอาคาร/จํานวน หน่วยลงทุน

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ราคาขาย

กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจาก การขายอสังหาริมทรัพย์ เพิม� ขึ�น (ลดลง)

(ลา้ นบาท)

(ลา้ นบาท)

11 โรงงาน

762

110 *

36 คลังสินค้า

1,999

160 **

27 โรงงาน

1,572

189 *** 459

24 ลา้ นหน่วย

265

(10)

8 ลา้ นหน่วย

92

(18)

1 โรงงาน

74

(7) (35)

*

มูลค่ายุตธิ รรมของที�ดนิ และคลังสินค้าประเมินตามวิธีพจิ ารณาจากรายได้โดยผู ้ประเมินราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 748 ลา้ นบาท และ 766 ลา้ นบาท ** มูลค่ายุตธิ รรมของที�ดนิ และคลังสินค้าประเมินตามวิธีพจิ ารณาจากรายได้โดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ 2 ราย เท่ากับ 1,983 ลา้ นบาท และ 1,990 ลา้ นบาท *** มูลค่ายุตธิ รรมของที�ดนิ และโรงงานประเมินตามวิธีพจิ ารณาจากรายได้โดยผู ้ประเมินราคาอิสระ 2 ราย เท่ากับ 1,564 ลา้ นบาท และ 1,571 ลา้ นบาท

12.4 มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนในบริษทั ร่วมที�เป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชื�อบริษทั

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุ น รวมสิท ธิ ก ารเช่ าอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ ไ ทคอน อินดัสเทรียล โกรท รวม

128

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

มูลค่ายุตธิ รรม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 2555 (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) 2,906 3,650 912 1,273 1,393 5,211

4,923

มูลค่ายุตธิ รรมต่อหน่วย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 2555 (บาท) (บาท) 10.7 11.4 11.0 11.8 8.8

-

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

12.5 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 หน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน 66 ล้านหน่วย (2555: 101 ล้า นหน่ วย) ซึ�งมีมูลค่ าตามวิธีส่วนได้เ สีย 370 ล้า นบาท (2555: 588 ล้านบาท) และมีมูลค่ า ตามราคาตลาด 712 ล้านบาท (2555: 1,146 ล้านบาท) ถูกจํานําไว้กบั ธนาคารเพื�อคํา� ประกันเงินกูย้ ืมระยะสัน� และเงินกูย้ ืมระยะยาว และหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์จาํ นวน 22 ล้านหน่วย (2555: 22 ล้านหน่วย) ซึ�งมี มูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย 172 ล้านบาท (2555: 182 ล้านบาท) และมีมูลค่าตามราคาตลาด 245 ล้านบาท (2555: 263 ล้านบาท) ถูกจํานําไว้กบั ธนาคารเพื�อคํา� ประกันรายได้ค่าเช่าและบริการตามที�กล่าวไว้ในหมายเหตุ 32.5 12.6 ในระหว่างปี 2556 มีการเปลีย� นแปลงเกี�ยวกับเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ดังนี� (ก) เมื�อวันที� 9 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ ลงทุนในกองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (“กองทุนฯ”) เป็ นจํานวน 111 ล้านหน่วย ในราคา 1,110 ล้านบาท โดยเป็ นสัดส่วนการถือหน่วย ลงทุนร้อยละ 20 ของหน่วยลงทุนของกองทุนฯ เมือ� วันที� 11 ธันวาคม 2556 กองทุนฯ ได้จดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็ นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์กบั สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยมีหน่วยลงทุน 555 ล้านหน่วย คิดเป็ นทุนจดทะเบียน จํานวน 5,550 ล้านบาท ในเดือนธันวาคม 2556 บริษทั ฯ ได้ซ� ือหน่วยลงทุนเพิ�มเติมในกองทุนฯ เป็ นจํานวน 47.3 ล้านหน่วย ในราคา 471 ล้านบาท โดยจํานวน 45 ล้านหน่วย คิดเป็ นเงินจํานวน 450 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้ซ�อื หน่วยลงทุนจากบริษทั ที�เกี� ยวข้อ งกันแห่งหนึ�ง ผลของรายการซื�อหน่ วยลงทุนนี� ทําให้สดั ส่วนการถือ หน่ วยลงทุนของบริษทั ฯ ในกองทุนฯ เพิ�มขึ�นจากร้อยละ 20 เป็ นร้อยละ 28.52 12.7 ในระหว่างปี 2555 มีการเปลีย� นแปลงเกี�ยวกับเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ดังนี� (ก) เมือ� วันที� 28 มีนาคม 2555 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (กองทุนฯ) ได้ออกหน่วยลงทุน เพิ�มเติมจํานวน 74 ล้านหน่วย ในราคาเสนอขายหน่วยละ 10.25 บาท เป็ นผลให้กองทุนฯ มีหน่วยลงทุนจดทะเบียน เป็ นเงิน 10,250 ล้า นบาท ซึ�งบริษทั ฯ ได้ลงทุนในหน่วยลงทุนเพิ�มทุนดังกล่าวจํานวน 37 ล้า นหน่วย ในราคา 375 ล้านบาท (ข) เมือ� วันที� 10 กรกฎาคม 2555 ที�ประชุมผูถ้ อื หน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์ค โลจิสติคส์ (“กองทุน”) ครัง� ที� 1/2555 ได้มมี ติดงั ต่อไปนี� 1. อนุ มตั ิให้เ พิ�มเงินลงทุนของกองทุนฯ เพื�อ ลงทุนในอสังหาริมทรัพ ย์เ พิ�มเติม โดยการซื�อ ทรัพย์สนิ ได้แก่ ที�ดนิ และอาคารคลังสินค้าจํานวน 13 หลัง แบ่งเป็ น 37 คูหา จาก บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด (บริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน) ในราคารวมทัง� สิ�นไม่เกิน 2,250 ล้านบาท 2. อนุมตั ิให้เพิ�มเงินทุนของกองทุนฯ จํานวนไม่เกิน 2,250 ล้านบาท จากมูลค่าเงินกองทุนรวม เดิม 2,468 ล้านบาท เป็ นเงินลงทุนใหม่จาํ นวนไม่เกิน 4,718 ล้านบาท โดยการออกและเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ�มเติม ในจํานวนไม่เกิน 225 ล้านหน่วย และราคาไม่ตาํ� กว่าหน่วยละ 10 บาท

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

129


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

(ค) เมื�อ วันที� 3 กันยายน 2555 ที�ประชุมผูถ้ ือหน่ วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทุน”) ครัง� ที� 1/2555 ได้มมี ติดงั ต่อไปนี� 1. อนุ มตั ิให้เ พิ�มเงินลงทุนของกองทุนฯ เพื�อ ลงทุนในอสังหาริมทรัพ ย์เ พิ�มเติม โดยการซื�อ ทรัพย์สนิ ได้แก่ ที�ดนิ และอาคารโรงงานจํานวน 27 โรง จาก บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) (บริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน) ในราคารวมทัง� สิ�นไม่เกิน 1,650 ล้านบาท 2. อนุมตั ิให้เพิ�มเงินทุนของกองทุนฯ จํานวนไม่เกิน 1,650 ล้านบาท จากมูลค่าเงินกองทุนรวม เดิม 10,250 ล้านบาท เป็ นเงินลงทุนใหม่จาํ นวนไม่เกิน 11,890 ล้านบาท โดยการออกและเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ�มเติม ในจํานวนไม่เกิน 165 ล้านหน่วย และราคาไม่ตาํ� กว่าหน่วยละ 10 บาท (ง) เมือ� วันที� 29 พฤศจิกายน 2555 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ (“กองทุนฯ”) ได้ออก หน่วยลงทุนเพิ�มเติมจํานวน 176 ล้านหน่วย ในราคาเสนอขายหน่วยละ 11.35 บาท เป็ นผลให้กองทุนฯ มีหน่วยลงทุน จดทะเบียนเป็ นเงิน 4,469 ล้านบาท ซึง� บริษทั ฯ ได้ลงทุนในหน่วยลงทุนเพิ�มทุนดังกล่าวจํานวน 62 ล้านหน่วย ในราคา 706 ล้านบาท (จ) เมือ� วันที� 24 ธันวาคม 2555 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทุนฯ”) ได้ออกหน่วยลงทุน เพิ�มเติมจํานวน 151 ล้านหน่วย ในราคาเสนอขายหน่วยละ 10.45 บาท เป็ นผลให้กองทุนฯ มีหน่วยลงทุนจดทะเบียน เป็ นเงิน 11,825 ล้านบาท ซึ�งบริษทั ฯ ได้ลงทุนในหน่วยลงทุนเพิ�มทุนดังกล่าวจํา นวน 43 ล้า นหน่วย ในราคา 448 ล้านบาท

13. อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน 13.1 อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย 13.1.1 การเปลีย� นแปลงของมูลค่าสุทธิตามบัญชี

130

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง อาคารโรงงาน ที�ดิน และคลังสินค้า รวม

อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง งานระหว่าง ที�ดิน ก่อสร้าง รวม ราคาทุน 1 มกราคม 2555 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2555 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขาย ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2555

ยอดรวม

3,241,061 1,958,288 (9,618) (1,108,884)

896,291 3,830,712 (3,441,967)

4,137,352 5,789,000 (9,618) (4,550,851)

205,812 (15,207) 591,577

402,765 (98,708) 1,564,351

608,577 (113,915) 2,155,928

4,745,929 5,789,000 (123,533) (2,394,923)

6,859 4,087,706 5,195,551 (900,796)

23,548 1,308,584 4,359,116 (2,990,928)

30,407 5,396,290 9,554,667 (3,891,724)

782,182 148,387

1,868,408 (57,462) 1,269,805

2,650,590 (57,462) 1,418,192

30,407 8,046,880 9,554,667 (57,462) (2,473,532)

-

(96,022)

(96,022)

-

-

-

(96,022)

16,023 8,398,484

37,344 2,618,094

53,367 11,016,578

930,569

3,080,751

4,011,320

53,367 15,027,898

-

-

-

-

56,122 64,392

56,122 64,392

56,122 64,392

-

-

-

-

(10,322) 131,411 241,603 125,221

(10,322) 131,411 241,603 125,221

(10,322) 131,411 241,603 125,221

-

-

-

-

(3,624) (20,900) 342,300

(3,624) (20,900) 342,300

(3,624) (20,900) 342,300

3,225,641

896,291

4,121,932

205,812

346,643

552,455

4,674,387

31 ธันวาคม 2555

4,087,706

1,308,584

5,396,290

782,182

1,626,805

2,408,987

7,805,277

31 ธันวาคม 2556

8,398,484

2,618,094

11,016,578

930,569

2,738,451

3,669,020

14,685,598

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2555 2556

64,392 125,221

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

131


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง อาคาร ที�ดิน โรงงาน รวม

อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา

ราคาทุน 1 มกราคม 2555 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2555 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขาย ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2556

ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง ที�ดิน

งานระหว่าง ก่อสร้าง

ยอดรวม

826,218 654,308 (9,618) (347,803)

280,340 720,524 (585,149)

1,106,558 1,374,832 (9,618) (932,952)

130,114 (4,406) 358,031

231,284 (8,361) 658,469

361,398 (12,767) 1,016,500

1,467,956 1,374,832 (22,385) 83,548

6,859 1,129,964 344,769 (374,191)

22,665 438,380 823,346 (785,197)

29,524 1,568,344 1,168,115 (1,159,388)

483,739 (17,685)

881,392 (57,462) 104,301

1,365,131 (57,462) 86,616

29,524 2,933,475 1,168,115 (57,462) (1,072,772)

-

(96,022)

(96,022)

-

-

-

(96,022)

16,023 1,116,565

28,794 409,301

44,817 1,525,866

466,054

928,231

1,394,285

44,817 2,920,151

-

-

-

-

43,772 35,658

43,772 35,658

43,772 35,658

-

-

-

-

(2,597) 139,410 216,243 46,417

(2,597) 139,410 216,243 46,417

(2,597) 139,410 216,243 46,417

-

-

-

-

(3,624) (22,657) 236,379

(3,624) (22,657) 236,379

(3,624) (22,657) 236,379

810,798

280,340

1,091,138

130,114

187,512

317,626

1,408,764

31 ธันวาคม 2555

1,129,964

438,380

1,568,344

483,739

665,149

1,148,888

2,717,232

31 ธันวาคม 2556

1,116,565

409,301

1,525,866

466,054

691,852

1,157,906

2,683,772

ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2555

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2555 2556

132

รวม

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

35,658 46,417


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

13.1.2 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน

ทีด� นิ และส่วนปรับปรุงทีด� นิ ที�อยูใ่ นระหว่างการ พัฒนา ทีด� นิ และส่วนปรับปรุงทีด� นิ พร้อมอาคาร โรงงานและคลังสินค้าพร้อมให้เช่า

งบการเงินรวม 2556 2555

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

8,924,067

7,338,079

1,165,993

1,320,436

6,111,801

4,373,972

2,845,628

2,306,016

ในปี 2556 มูลค่ายุตธิ รรมใช้ราคาประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย 2 แห่ง ขณะที�ในปี 2555 มูลค่า ยุติธ รรมใช้ร าคาประเมินเทียบเคีย งจากราคาประเมินโดยผูป้ ระเมิน ราคาอิสระของ บริษทั ร่วม ซึ�งประเมินอสังหาริมทรัพย์ประเภทเดียวกันในบริเวณหรือนิคมอุตสาหกรรมเดียวกันกับของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย ทัง� นี�การประเมินมูลค่า ยุติธรรมดังกล่าวจะใช้เกณฑ์ราคาตลาดสําหรับที�ดินรอการพัฒนาและ/หรือที�ดิน อยู่ระหว่างการพัฒนา และใช้เกณฑ์วธิ ีพจิ ารณาจากรายได้ (Income Approach) สําหรับอาคารโรงงานและคลังสินค้า พร้อ มให้เ ช่า /ขาย ข้อ สมมติฐ านหลัก ที�ใช้ในการประเมินราคาอาคารโรงงานและคลังสินค้า ดังกล่าวประกอบด้วย อัตราผลตอบแทน อัตราพื�นที�วา่ ง และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า 13.1.3 รายจ่ายทางการเงินที�บนั ทึกเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา งบการเงินรวม 2556 2555 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยูใ่ น ระหว่างการพัฒนา ดอกเบี�ยจ่ายจากเงินกูย้ มื สถาบัน การเงินและหุนกู ้ ท้ �ถี อื เป็ นต้นทุน สินทรัพย์ อัตราการตัง� ขึ�นเป็ นทุน (ร้อยละ)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

11,112,600

5,396,290

1,621,888

1,568,344

53,367 4.21

30,407 4.23

44,817 4.18

29,524 4.05

13.1.4 ภาระคํา� ประกันของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและอสังหาริมทรัพย์ เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม 2556 อสัง หาริ ม ทรัพ ย์เ พื�อ การลงทุ น ในระหว่ า งการพัฒ นาและ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขายของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึ�งมีราคาตามบัญชีจาํ นวน 4,676 ล้านบาท (2555: 2,952 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1,682 ล้านบาท 2555: 1,159 ล้านบาท) ใช้เป็ นหลักประกัน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน� และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

133


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

13.1.2 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน

ที่ดนิ และส่วนปรับปรุงที่ดินที่อยู่ในระหว่าง การพัฒนา ที่ดนิ และส่วนปรับปรุงที่ดิน พร้อมอาคาร โรงงานและคลังสินค้าพร้อมให้เช่า

งบการเงินรวม 2556 2555

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

8,924,067

7,338,079

1,165,993

1,320,436

6,111,801

4,373,972

2,845,628

2,306,016

ในปี 2556 มูลค่ายุติธรรมใช้ราคาประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย 2 แห่ง ขณะที่ในปี 2555 มูลค่ ายุติธรรมใช้ราคาประเมินเทียบเคียงจากราคาประเมินโดยผู ป้ ระเมินราคาอิสระของ บริษทั ร่วม ซึ่งประเมินอสังหาริมทรัพย์ประเภทเดียวกันในบริเวณหรือนิคมอุตสาหกรรมเดียวกันกับของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย ทัง้ นี้ก ารประเมินมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวจะใช้เกณฑ์ราคาตลาดสําหรับที่ดนิ รอการพัฒนาและ/หรือที่ดิน อยู่ระหว่างการพัฒนา และใช้เกณฑ์วธิ พี จิ ารณาจากรายได้ (Income Approach) สําหรับอาคารโรงงานและคลังสินค้า พร้อ มใหเ้ ช่ า/ขาย ข อ้ สมมติฐ านหลัก ที่ใ ช้ในการประเมิน ราคาอาคารโรงงานและคลัง สิน ค้าดังกล่า วประกอบด้ว ย อัตราผลตอบแทน อัตราพื้นทีว่ า่ ง และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า 13.1.3 รายจ่ายทางการเงินทีบ่ นั ทึกเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่างการพัฒนา งบการเงินรวม 2556 2555 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่อยู่ใน ระหว่างการพัฒนา ดอกเบี้ยจ่ายจากเงินกูย้ มื สถาบัน การเงินและหุน้ กูท้ ่ถี อื เป็ นต้นทุน สินทรัพย์ อัตราการตัง้ ขึ้นเป็ นทุน (ร้อยละ)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

11,112,600

5,396,290

1,621,888

1,568,344

53,367 4.21

30,407 4.23

44,817 4.18

29,524 4.05

13.1.4 ภาระคํา้ ประกันของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนที่อยู่ในระหว่างการพัฒนาและอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุนพร้อมให ้เช่า/ขาย ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556 อสัง หาริ ม ทรั พ ย์เ พื่ อ การลงทุ น ในระหว่ า งการพัฒ นาและ อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนพร้อมให ้เช่า/ขายของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึ่งมีราคาตามบัญชีจาํ นวน 4,676 ลา้ นบาท (2555: 2,952 ลา้ นบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 1,682 ลา้ นบาท 2555: 1,159 ลา้ นบาท) ใช้เป็ นหลักประกัน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

134

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

13.2 อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนให้เช่า 13.2.1 การเปลีย� นแปลงของมูลค่าสุทธิตามบัญชี (หน่วย: พันบาท) ทีด� นิ และ ส่วนปรับปรุงทีด� นิ ราคาทุน 1 มกราคม 2555 2,051,462 จําหน่าย (716,563) โอนเข้า/โอนออก 418,630 31 ธันวาคม 2555 1,753,529 จําหน่าย (20,007) โอนเข้า/โอนออก 698,045 โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ทีถ� อื ไว้เพื�อขาย (497,000) 31 ธันวาคม 2556 1,934,567 ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเข้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ� อื ไว้เพื�อขาย 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2555 2,051,462 31 ธันวาคม 2555 1,753,529 31 ธันวาคม 2556 1,934,567 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี 2555 (268 ล ้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนเช่าและบริการทีเ� กี�ยวข้อง ส่วนทีเ� หลือรวมอยู ่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2556 (รวมอยูใ่ นต้นทุนเช่าและบริการทีเ� กี�ยวข้อง)

งบการเงินรวม อาคารโรงงาน และคลังสินค้า

รวม

5,169,467 (1,973,915) 1,729,396 4,924,948 (3,012,401) 1,508,231

7,220,929 (2,690,478) 2,148,026 6,678,477 (3,032,408) 2,206,276

(2,253,943) 1,166,835

(2,750,943) 3,101,402

905,466 282,405 (262,963) (129,482) 795,426 196,939 (320,146) 16,530 (163,000) 525,749

905,466 282,405 (262,963) (129,482) 795,426 196,939 (320,146) 16,530 (163,000) 525,749

4,264,001 4,129,522 641,086

6,315,463 5,883,051 2,575,653

282,405 196,939

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

135


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ทีด� นิ และ ส่วนปรับปรุงทีด� นิ ราคาทุน 1 มกราคม 2555 จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2555 จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ทีถ� อื ไว้เพื�อขาย 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเข้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ� อื ไว้เพื�อขาย 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2555 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี 2555 (111 ล ้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนเช่าและบริการทีเ� กี�ยวข้อง ส่วนทีเ� หลือรวมอยู ่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2556 (รวมอยูใ่ นต้นทุนเช่าและบริการทีเ� กี�ยวข้อง)

136

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

อาคารโรงงาน

รวม

1,586,173 (488,488) (18,068) 1,079,617 (20,007) 366,751

2,897,725 (881,119) (77,059) 1,939,547 (946,962) 660,846

4,483,898 (1,369,607) (95,127) 3,019,164 (966,969) 1,027,597

(256,000) 1,170,361

(451,943) 1,201,488

(707,943) 2,371,849

-

661,411 124,954 (163,400) (139,410) 483,555 89,806 (108,537) 22,657 (53,000) 434,481

661,411 124,954 (163,400) (139,410) 483,555 89,806 (108,537) 22,657 (53,000) 434,481

1,586,173 1,079,617 1,170,361

2,236,314 1,455,992 767,007

3,822,487 2,535,609 1,937,368

124,954 89,806

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

13.2.2 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน

ที่ดนิ และส่วนปรับปรุงที่ดนิ พร้อม อาคารโรงงานและคลังสินค้าให้เช่า

งบการเงินรวม 2556 2555

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

9,210,799

5,302,713

10,356,070

5,126,472

ในปี 2556 มูลค่ายุติธรรมใช้ราคาประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย 2 แห่ง ขณะที่ในปี 2555 มูลค่ ายุ ติธรรมใช้ราคาประเมินเทียบเคียงจากราคาประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระของ บริษทั ร่ วม ซึ่งประเมินอสังหาริมทรัพย์ประเภทเดียวกันในบริเวณหรือนิคมอุตสาหกรรมเดียวกันกับของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย ทัง้ นี้การประเมินมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวจะใช้เกณฑ์ราคาตลาดสําหรับที่ดนิ รอการพัฒนาและ/หรือที่ดิน อยู่ระหว่างการพัฒนา และใช้เกณฑ์วธิ พี จิ ารณาจากรายได้ (Income Approach) สําหรับอาคารโรงงานและคลังสินค้า พร้อ มใหเ้ ช่ า /ขาย ข อ้ สมมติฐ านหลัก ที่ใ ช้ใ นการประเมิน ราคาอาคารโรงงานและคลัง สิน ค้า ดัง กล่ าวประกอบด้ว ย อัตราผลตอบแทน อัตราพื้นทีว่ า่ ง และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า 13.2.3 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนใหเ้ ช่าตามสัญญาเช่าดําเนินงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสญั ญาเช่ าดําเนินงานที่เกี่ยวขอ้ งกับการใหเ้ ช่ าที่ดนิ อาคารโรงงานและ คลังสินค้า อายุของสัญญามีระยะเวลาตัง้ แต่ 6 เดือน ถึง 12 ปี โดยอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนทีใ่ หเ้ ช่าตามสัญญาเช่ า ดําเนินงานดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จะก่อใหเ้ กิดรายได้ค่าเช่าขัน้ ตํา่ ในอนาคตดังนี้ (หน่วย: ลา้ นบาท)

ภายใน 1 ปี

งบการเงินรวม 2556 2555 407 486

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 237 252

13.2.4 ภาระคํา้ ประกันของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนใหเ้ ช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนใหเ้ ช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซึ่งมี ราคาตามบัญชีจาํ นวน 2,302 ลา้ นบาท (2555: 3,232 ลา้ นบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 979 ลา้ นบาท 2555: 1,230 ลา้ นบาท) ได้ใช้เป็ นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน 13.2.5 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนใหเ้ ช่าทีผ่ ูเ้ ช่ามีสทิ ธิเลือกซื้อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าตามบัญชีสาํ หรับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนใหเ้ ช่ าที่บริษทั ฯ ใหผ้ ูเ้ ช่ามีสทิ ธิเลือกซื้อมีดงั นี้

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

137


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท) ปี ท�เี ริ�มมีสทิ ธิ 2557 2558 รวม

451,199 25,238 476,437

ทัง� นี� อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าที�ผูเ้ ช่า มีสิทธิเลือกซื�อ หมายถึง ที�ดินพร้อมอาคาร โรงงาน หรืออาคารโรงงานที�บริษทั ฯ ให้สทิ ธิผูเ้ ช่าเลือกที�จะซื�อตามที�ระบุไว้ในสัญญา (lease agreement with option to buy) โดยราคาซื�อขายที�ดินกําหนดจากราคาตลาดยุติธรรม ณ วันที�เกิดรายการ และราคาซื�อขายอาคารโรงงาน กําหนดจากราคาตลาด ณ วันที�เสนอสิทธิเลือกซื�ออาคารโรงงานแก่ผูเ้ ช่า

14. ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์

ราคาทุน 1 มกราคม 2555 ซื�อเพิม� จําหน่าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2555 ซื�อเพิม� จําหน่าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2556

138

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ที�ดนิ และส่วน ปรับปรุงที�ดนิ

อาคาร

งบการเงินรวม เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์สาํ นักงาน

(หน่วย: พันบาท)

ยานพาหนะ

รวม

564,351 212,301

48,704 38,621 (1,419) 3,609

52,770 5,548 (2,131) 32,971

41,229 9,778 (2,001) -

19,106 5,643 (2,603) -

726,160 59,590 (8,154) 248,881

776,652 203,278

(758) 88,757 64,851

89,158 10,858 (15,511) 1,603

(21) 48,985 9,141 (1,465) 588

(100) 22,046 2,401 (3,185) -

(879) 1,025,598 22,400 (20,161) 270,320

979,930

3,791 157,399

86,108

128 57,377

252 21,514

4,171 1,302,328

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

(หน่วย: พันบาท)

ค่าเสื�อมราคาสะสม 1 มกราคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2555 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556

ที�ดนิ และส่วน ปรับปรุงที�ดนิ

อาคาร

งบการเงินรวม เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์สาํ นักงาน

ยานพาหนะ

รวม

38,455 20,696

6,868 3,556

42,448 3,071

29,067 6,419

12,299 3,397

129,137 37,139

(2,609)

(88) (516)

(2,130) 3,180

(1,916) -

(2,593) -

(6,727) 55

56,542 28,368

(5) 9,815 5,958

46,569 6,084

(10) 33,560 6,220

(7) 13,096 2,531

(22) 159,582 49,161

2,603

520

(5,824) 5,058

(1,380) -

(2,675) -

(9,879) 8,181

87,513

252 16,545

51,887

42 38,442

86 13,038

380 207,425

525,896 720,110 892,417

41,836 78,942 140,854

10,322 42,589 34,221

12,162 15,425 18,935

6,807 8,950 8,476

597,023 866,016 1,094,903

ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2555 2556

37,139 49,161 (หน่วย: พันบาท)

ที�ดนิ และส่วน ปรับปรุงที�ดนิ ราคาทุน 1 มกราคม 2555 ซื�อเพิม� จําหน่าย/ตัดจําหน่าย โอนเขา้ /โอนออก 31 ธันวาคม 2555 ซื�อเพิม� จําหน่าย/ตัดจําหน่าย โอนเขา้ /โอนออก 31 ธันวาคม 2556

12,950 12,950 47,290 60,240

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์สาํ นักงาน 24,168 2,760 (1,317) 25,611 6,618 (1,763) 30,466

28,924 2,844 (1,860) 29,908 5,400 (783) 34,525

ยานพาหนะ 16,660 3,523 (2,603) 17,580 2,401 (1,970) 18,011

รวม 69,752 9,127 (5,780) 12,950 86,049 14,419 (4,516) 47,290 143,242

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

139


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

(หน่วย: พันบาท)

ที�ดนิ และส่วน ปรับปรุงที�ดนิ

ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วน ทีจ� าํ หน่ าย/ตัดจําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วน ทีจ� าํ หน่าย/ตัดจําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์สาํ นักงาน

ยานพาหนะ

รวม

174

19,989 -

22,004 3,225

10,953 2,925

52,946 6,324

174 1,026

(1,317) 1,371 20,043 -

(1,788) 23,441 2,869

(2,593) 11,285 2,100

(5,698) 1,371 54,943 5,995

1,200

(1,723) 2,115 20,435

(712) 25,598

(1,460) 11,925

(3,895) 2,115 59,158

-

4,179

6,920

5,707

16,806

31 ธันวาคม 2555

12,776

5,568

6,467

6,295

31,106

31 ธันวาคม 2556

59,040

10,031

8,927

6,086

84,084

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2555

6,324

2556

5,995

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีอุปกรณ์จาํ นวนหนึ�งซึ�งตัดค่าเสื�อมราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื�อมราคาสะสมของทรัพย์สนิ ดังกล่าวมีจาํ นวน 87 ล้านบาท (2555: 69 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 63 ล้านบาท 2555: 47 ล้านบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ที�ดนิ ส่วนปรับปรุงที�ดนิ และอาคารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึ�งมีราคาตามบัญชี จํานวน 462 ล้านบาท (2555: 394 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 23 ล้านบาท 2555: 13 ล้านบาท) ได้ใช้เป็ น หลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน� และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

140

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

15. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ราคาทุน ณ วันที� 1 มกราคม 2555 ซื�อเพิ�มระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 ซื�อเพิ�มระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 ค่าตัดจําหน่ายสะสม ณ วันที� 1 มกราคม 2555 ค่าตัดจําหน่ายระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 ค่าตัดจําหน่ายระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที� 1 มกราคม 2555 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ

23,372 389 23,761 4,931 28,692

19,548 355 19,903 3,092 22,995

12,624 5,506 18,130 5,173 23,303

10,449 4,554 15,003 4,491 19,494

10,748 5,631 5,389

9,099 4,900 3,501

16. เงินกูย้ มื ระยะสัน� และหนี� สนิ ภายใต้สญั ญาทรัสต์รีซีทส์ (หน่วย: พันบาท)

เงินกูย้ มื ระยะสัน� หนี�สนิ ภายใต้สญั ญาทรัสต์รซี ที ส์ รวม

อัตราดอกเบี�ย (ร้อยละต่อปี ) 2.93 – 3.06 -

งบการเงินรวม 2556 2555 2,108,000 740,000 5,084 2,108,000 745,084

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2,108,000 740,000 5,084 2,108,000 745,084

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ มีวงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน� ที�ยงั มิได้เบิกใช้เป็ นจํานวน 1,055 ล้านบาท (2555: 390 ล้านบาท)

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

141


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า /ขายและ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึ�งมีราคาตามบัญชีรวม 746 ล้านบาท (2555: 833 ล้านบาท) และหน่วยลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนบางส่วน ซึ�งมีมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย 370 ล้านบาท (2555: 588 ล้านบาท) และมีมูลค่าตามราคาตลาด 712 ล้านบาท (2555: 1,146 ล้านบาท) ถูกจดจํานองหรือจํานํา เป็ นประกันหนี�สนิ ภายใต้สญั ญาทรัสต์รีซที ส์ วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน� จากสถาบันการเงิน

17. เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อน�ื งบการเงินรวม 2556 2555 554,073 450,087 3,288 57,080 85 120,649 95,512 214 3,206 87,313 60,178 765,622 666,063

เจ้าหนี�การค้า - กิจการที�ไม่เกี�ยวข้องกัน เจ้าหนี�อ�นื - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน ดอกเบี�ยค้างจ่ายแก่กจิ การที�เกี�ยวข้องกัน ดอกเบี�ยค้างจ่ายแก่กจิ การที�ไม่เกีย� วข้องกัน ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - กิจการที�ไม่เกี�ยวข้องกัน รวมเจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อ�นื

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 136,779 108,552 5,427 57,922 120,246 95,379 214 3,206 48,488 47,527 311,154 312,586

18. เงินกูย้ มื ระยะยาว 18.1 ยอดคงเหลือของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หน่วย: ล ้านบาท) เงินกูย้ มื คงเหลือ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ลําดับที � วันทีท� าํ สัญญา 1. 2 กรกฎาคม 2555 2. 29 สิงหาคม 2555 3. 5 กันยายน 2555 4. 30 ตุลาคม 2555 5. 22 พฤศจิกายน 2555 6. 29 พฤศจิกายน 2556 รวมเงินกูย้ มื หัก ส่วนทีถ� งึ กําหนดชําระภายในหนึง� ปี รวมเงินกูย้ มื ระยะยาว – สุทธิ

142

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

2556 74 108 300 603 164 5 1,254 (45) 1,209

2555 23 249 83 355 355

2556 74 108 164 5 351 (45) 306

ระยะเวลา 2555 เงินกู ้ 8 ปี 23 7 ปี 9 ปี 10 ปี 83 8 ปี 9 ปี 106 106

เงือ� นไขทีส� าํ คัญของสัญญาเงินกูย้ มื งวดชําระ คืนเงินต้น ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน

ระยะเวลาชําระคืนเงินต้น ธันวาคม 2556 - มิถนุ ายน 2563 มิถนุ ายน 2558 - ธันวาคม 2562 กันยายน 2558 - กันยายน 2565 มกราคม 2559 - กรกฎาคม 2565 มิถนุ ายน 2559 – ธันวาคม 2563 มิถนุ ายน 2560 – ธันวาคม 2565

อัตราดอกเบี�ย MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที �

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

18.2 การเปลีย่ นแปลงของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บวก: กูเ้ พิม่ ระหว่างปี หัก: จ่ายคืนระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

งบการเงินรวม 354,660 1,028,557 (129,350) 1,253,867

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 105,840 374,756 (129,350) 351,246

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยแห่งหนึ่งมีวงเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ทีย่ งั มิได้เบิกใช้เป็ นจํานวนรวมประมาณ 4,866 ลา้ นบาท (2555: 5,044 ลา้ นบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมใหเ้ ช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนใหเ้ ช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และทีด่ นิ และอาคารของบริษทั ย่อยแห่งหนึ่ง ซึ่งมีราคา ตามบัญชีรวม 5,750 ลา้ นบาท (2555: 5,745 ลา้ นบาท) ถูกจดจํานองเป็ นประกันเงินกูย้ ืมระยะยาว นอกจากนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ มีภาระคํา้ ประกันวงเงินสินเชื่อจากสถาบันการเงินของบริษทั ย่อยในวงเงิน 4,067 ลา้ นบาท (2555: 2,961 ลา้ นบาท) ภายใต้สญั ญาเงินกู ้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยต้องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทางการเงินบางประการ เช่น การดํารง อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในอัตราทีก่ าํ หนดไว้ในสัญญา เป็ นต้น

19. หุน้ กู ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ มียอดคงเหลือของหุนกู ้ ร้ วม 11,610 ลา้ นบาท (2555: 9,500 ลา้ นบาท) โดย หุน้ กูท้ งั้ จํานวนเป็ นหุน้ กูช้ นิดระบุช่ือผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ และไม่มหี ลักประกัน มีมูลค่าที่ตราไว้หน่ วยละ 1,000 บาท และมีราคาเสนอขายหน่ วยละ 1,000 บาท ทัง้ นี้หุน้ กู ด้ งั กล่าวมีข อ้ กําหนดที่สาํ คัญบางประการ เช่ น การดํารง อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ เป็ นต้น โดยรายละเอียดทีส่ าํ คัญของหุน้ กูม้ ดี งั นี้

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

143


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ครัง� ที�

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

วันที�ออก

3/2552 1/2553 1/2553 2/2553 3/2553 3/2553 4/2553 4/2553 1/2554 2/2554 3/2554 4/2554 1/2555 2/2555 3/2555 4/2555 5/2555 5/2555 6/2555 1/2556 2/2556 2/2556 2/2556 3/2556 3/2556 4/2556

19 พฤศจิกายน 2552 12 กุมภาพันธ์ 2553 12 กุมภาพันธ์ 2553 5 กรกฎาคม 2553 3 กันยายน 2553 3 กันยายน 2553 29 กันยายน 2553 29 กันยายน 2553 20 พฤษภาคม 2554 8 กรกฎาคม 2554 28 ธันวาคม 2554 30 ธันวาคม 2554 10 มกราคม 2555 20 มกราคม 2555 18 พฤษภาคม 2555 5 กรกฎาคม 2555 17 สิงหาคม 2555 17 สิงหาคม 2555 26 กันยายน 2555 11กุมภาพันธ์ 2556 15 พฤษภาคม 2556 15 พฤษภาคม 2556 15 พฤษภาคม 2556 12 กันยายน 2556 12 กันยายน 2556 8 ตุลาคม 2556

5/2556

18 ตุลาคม 2556

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

จํานวนหน่วย 2556 2555 (ล ้านหน่วย) (ล ้านหน่วย) 1.00 0.55 0.25 0.25 0.50 0.30 0.20 0.20 0.28 0.28 0.22 0.22 0.65 0.65 0.35 0.35 0.65 0.65 0.35 0.35 0.10 0.10 0.80 0.80 0.80 0.80 0.50 0.50 0.70 0.70 0.30 0.30 1.00 1.00 0.50 0.30 1.20 0.50 0.60 0.30 0.44 0.62 11.61

9.50

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

จํานวน

อัตราดอกเบี�ย

2556 (ล ้านบาท)

2555 (ล ้านบาท) 1,000 550 250 250 500 300 200 200 280 280 220 220 650 650 350 350 650 650 350 350 100 100 800 800 800 800 500 500 700 700 300 300 1,000 1,000 500 300 1,200 500 600 300 440 -

620 11,610

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

9,500

อายุหนุ ้ กู ้

(ร้อยละต่อปี ) 4.300% 3.5 ปี 3.400% 3 ปี 4.280% 5 ปี 3.100% 3 ปี 3.350% 3 ปี 3.730% 5 ปี 3.400% 4 ปี 3.520% 5 ปี 4.230% 5 ปี 4.780% 7 ปี 4.500% 5 ปี 4.500% 5 ปี 4.500% 5 ปี 4.000% 2 ปี 4.280% 3 ปี 4.490% 5 ปี 4.050% 3 ปี 4.170% 5 ปี 4.800% 10 ปี 3.620% 3 ปี 3.600% 3 ปี 4.000% 5 ปี 4.300% 7 ปี 4.130% 3 ปี 4.730% 5 ปี 4.490% 3 ปี 11 เดือน 12 วัน 4.850% 6 ปี

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

วันครบกําหนด ไถ่ถอน

19 พฤษภาคม 2556 12 กุมภาพันธ์ 2556 12 กุมภาพันธ์ 2558 5 กรกฎาคม 2556 3 กันยายน 2556 3 กันยายน 2558 29 กันยายน 2557 29 กันยายน 2558 20 พฤษภาคม 2559 8 กรกฎาคม 2561 28 ธันวาคม 2559 30 ธันวาคม 2559 10 มกราคม 2560 20 มกราคม 2557 18 พฤษภาคม 2558 5 กรกฎาคม 2560 17 สิงหาคม 2558 17 สิงหาคม 2560 26 กันยายน 2565 11 กุมภาพันธ์ 2559 15 พฤษภาคม 2559 15 พฤษภาคม 2561 15 พฤษภาคม 2563 12 กันยายน 2559 12 กันยายน 2561 20 กันยายน 2560 18 ตุลาคม 2562

19.1 ยอดคงเหลือของหุน้ กู ้

หุน้ กู ้ หัก: หุน้ กูท้ �ถี งึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี หุน้ กู ้ - สุทธิจากส่วนที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี

144

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 11,610,000 9,500,000 (1,080,000) (2,350,000) 10,530,000 7,150,000

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

19.2 การเปลีย่ นแปลงของหุน้ กู ้ (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 9,500,000 6,150,000 4,460,000 4,200,000 (2,350,000) (850,000) 11,610,000 9,500,000

ยอดคงเหลือต้นปี บวก: ออกเพิม่ ระหว่างปี หัก: ไถ่ถอนระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี

20. สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน จํานวนเงินสํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึง่ เป็ นเงินชดเชยให ้แก่พนักงานเมือ่ ออกจากงานแสดงได้ดงั นี้

ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ตน้ ปี ต้นทุนบริการในปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ทจ่ี ่ายในระหว่างปี ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัย ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ปลายปี

งบการเงินรวม 2556 2555 21,573 18,934 2,541 1,952 859 757 (80) (70) 452 25,345

21,573

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 18,328 16,167 2,028 1,584 766 647 (80) (70) 1,309 22,351

18,328

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยู่ในส่วนของกําไรหรือขาดทุนแสดงได้ดงั นี้

ต้นทุนบริการในปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย รวมค่าใช้จ่ายที่รบั รูใ้ นส่วนของกําไรหรือขาดทุน ค่าใช้จ่ายดังกล่าวรับรูใ้ นรายการต่อไปนี้ในส่วนของ กําไรหรือขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

งบการเงินรวม 2556 2555 2,541 1,952 859 757 3,400 2,709 3,400

2,709

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 2,028 1,584 766 647 2,794 2,231 2,794

2,231

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

145


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสะสมของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยที�รบั รู ใ้ นกําไร ขาดทุน เบ็ด เสร็จ อื�นและรับ รู เ้ ป็ นส่ วนหนึ�ง ของกํา ไรสะสม ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม 2556 มีจ ํา นวน 0.5 ล้า นบาท (เฉพาะบริษทั ฯ: 1.3 ล้านบาท) สมมติฐานที�สาํ คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดงั นี� งบการเงินรวม

อัตราคิดลด อัตราการขึ�นเงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลีย� นแปลงในจํานวน พนักงาน (ขึ�นกับช่วงอายุ) - สํานักงานใหญ่ - หน่วยงานก่อสร้าง

2556 (ร้อยละต่อปี) 3.9 4.0 - 14.0

2555 (ร้อยละต่อปี) 4.0 3.5 - 5.0

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 (ร้อยละต่อปี) (ร้อยละต่อปี) 3.9 4.0 4.0 - 14.0 3.5 - 5.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

จํานวนเงินภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ และจํานวนภาระผูกพันที�ถูกปรับปรุงจากผลของประสบการณ์ สําหรับปี ปจั จุบนั และสามปี ยอ้ นหลังแสดงได้ดงั นี� (หน่วย: พันบาท) จํานวนภาระผูกพันตามโครงการ จํานวนภาระผูกพันทีถ� ูกปรับปรุงจาก ผลประโยชน์ ผลของประสบการณ์ งบการเงิน งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ 25,345 22,351 (553) 516 ปี 2556 21,573 18,328 ปี 2555 18,934 16,167 ปี 2554 16,400 14,081 ปี 2553

21. ทุนเรือนหุน้ 21.1 ทุนจดทะเบียน การเปลีย� นแปลงในทุนจดทะเบียนระหว่างปี 2555 สรุปได้ดงั นี� เมือ� วันที� 3 กรกฎาคม 2555 ที�ประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง� ที� 1/2555 ได้มมี ติดงั ต่อไปนี� ก) อนุมตั ิการออกหุน้ สามัญจํานวน 15.0 ล้านหุน้ เพื�อสํารองไว้สาํ หรับรองรับการปรับสิทธิ และ/หรือ การใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทุกชุดที�มอี ยู่ในปัจจุบนั ของบริษทั ฯ และใบสําคัญแสดงสิทธิทุกชุดที�จะมีการออก ในอนาคต 146

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ข) อนุมตั ิการลดทุนจดทะเบียนจาก 1,117.3 ล้านบาท เป็ น 1,037.3 ล้านบาท โดยยกเลิกหุน้ สามัญ ที�ยงั มิได้ออกจํานวน 80.0 ล้านหุน้ มูลค่าที�ตราไว้หนุ ้ ละ 1 บาท รวม 80.0 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนการลดทุน ดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมือ� วันที� 13 กรกฎาคม 2555 ค) อนุมตั ิการเพิ�มทุนจดทะเบียนจาก 1,037.3 ล้านบาท เป็ น 1,263.7 ล้านบาท โดยการออกหุน้ สามัญ จํานวนรวม 226.49 ล้านหุน้ มูลค่าที�ตราไว้หนุ ้ ละ 1 บาท ทัง� นี�เพื�อจัดสรรไว้สาํ หรับการใช้สทิ ธิของ TSRs จํานวนไม่เกิน 97.63 ล้านหุน้ การใช้สิทธิของ TICON-W6 จํานวนไม่เกิน 33.86 ล้านหุน้ การปรับสิทธิและ/หรือการใช้สิทธิตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิของบริษทั ฯ จํานวนไม่เกิน 15.0 ล้านหุน้ และเพื�อรองรับการออก Taiwan Depository Receipts (TDRs) จํา นวนไม่เ กิน 80.0 ล้า นหุ น้ บริษทั ฯ ได้จ ดทะเบีย นการเพิ�มทุนดังกล่า วกับกระทรวงพาณิ ชย์เ มื�อ วันที� 16 กรกฎาคม 2555 21.2 รายการกระทบยอดทุนที�ออกและชําระแล้ว รายการ หุน้ สามัญที�ออกและชําระแลว้ ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2554 การใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซ�อื หุน้ สามัญ ครัง� ที� 1/2555 TICON-T1 ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 การใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซ�อื หุน้ สามัญ ครัง� ที� 4/2555 TICON-W6 ครัง� ที� 1/2556 TICON-W3 ครัง� ที� 1/2556 TICON-W6 ครัง� ที� 2/2556 TICON-W6 ครัง� ที� 3/2556 TICON-W3 ครัง� ที� 3/2556 TICON-W6 ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556

ส่วนเกิน มูลค่าหุน้ (พันบาท)

วันที�จดทะเบียนกับ กระทรวงพาณิชย์

จํานวนหุน้ (พันหุน้ )

ทุนชําระแลว้ (พันบาท)

781,005

781,005

3,510,089

96,465 877,470

96,465 877,470

868,182 4,378,271

7,316

7,316

49,525

4 มกราคม 2556

4,958

4,958

88,473

4 เมษายน 2556

22,366

22,366

151,392

4 เมษายน 2556

170

170

1,152

1

1

8

4 ตุลาคม 2556

96 912,377

96 912,377

651 4,669,472

4 ตุลาคม 2556

1 พฤศจิกายน 2555

5 กรกฎาคม 2556

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

147


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

22. ใบสําคัญแสดงสิทธิและใบแสดงสิทธิ 22.1 รายละเอียดทีส่ าํ คัญของใบสําคัญแสดงสิทธิ มีดงั นี้

ใบสําคัญ แสดงสิทธิ ออกใหแ้ ก่ วันทีอ่ อก TICON-W3 ผูถ้ อื หุนเดิ ้ ม 3 กุมภาพันธ์ 2552

จํานวนหน่วย ทีอ่ อก 219,353,636

อายุ 5 ปี

อัตราใช้สทิ ธิ ทีม่ ผี ลบังคับใช้ ล่าสุดต่อ 1 หน่วย 1.06150

32,883,000

2 ปี

1.02997

TICON-W6 กรรมการและ 4 ตุลาคม 2555 พนักงาน รวม

ราคาใช้สทิ ธิ ทีม่ ผี ลบังคับใช้ ล่าสุด ต่อ 1 หุนสามั ้ ญ วันทีใ่ ช้สทิ ธิ 18.841 วันทําการสุดท ้ายของแต่ละไตรมาส ตัง้ แต่วนั ที่ 31 มีนาคม 2553 เป็ นต้นไป 7.767 วันทําการสุดท ้ายของแต่ละไตรมาส ตัง้ แต่วนั ที่ 28 ธันวาคม 2555 เป็ นต้นไป

252,236,636

เมือ่ วันที่ 3 กรกฎาคม 2555 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2555 มีมติดงั ต่อไปนี้ ก) อนุ มัติ ใ ห บ้ ริ ษ ัท ฯ ออกใบแสดงสิ ท ธิ ใ นการซื้ อ หุ น้ เพิ่ ม ทุ น ที่ โ อนสิ ท ธิ ไ ด้ (Transferable Subscription Rights: TSRs) หรือ TICON-T1 จํานวน 97,625,081 หน่ วย เพื่อจัดสรรใหแ้ ก่ ผูถ้ ือหุน้ เดิม โดยมี รายละเอียดดังนี้ จํานวนใบแสดงสิทธิทอ่ี อก: จํานวนหุน้ ทีร่ องรับการใช้สทิ ธิ: อายุใบแสดงสิทธิ: วันทีอ่ อกใบแสดงสิทธิ: วันสิ้นสุดอายุของใบแสดงสิทธิ: ราคาเสนอขายต่อหน่วย: ราคาการใช้สทิ ธิ: อัตราการใช้สทิ ธิ: ลักษณะการเสนอขาย:

97,625,081 หน่วย 97,625,081 หุน้ 60 วัน นับจากวันทีอ่ อกใบแสดงสิทธิ 28 สิงหาคม 2555 26 ตุลาคม 2555 0 บาท 10.000 บาทต่อหุน้ ใบแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซ้ อื หุน้ สามัญได้ 1.00000 หุน้ จัดสรรใหแ้ ก่ผูถ้ อื หุน้ เดิม

ข) อนุ มตั ิใหบ้ ริษทั ฯ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 จํานวน 32,883,000 หน่ วย เพื่อจัดสรร ในลักษณะการเสนอขายต่อประชาชน ใหแ้ ก่กรรมการ/พนักงานและเพือ่ ทดแทนใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W5 โดยมี รายละเอียดดังนี้

148

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิท�อี อก: จํานวนหุน้ ที�รองรับการใช้สทิ ธิ: อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ: วันที�ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ: วันสิ�นสุดอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ: ราคาเสนอขายต่อหน่วย: ราคาการใช้สทิ ธิ: อัตราการใช้สทิ ธิ: ลักษณะการเสนอขาย:

ระยะเวลาห้ามใช้สทิ ธิ (Lock-up period):

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

32,883,000 หน่วย (ซึ�งเป็ นจํานวนที�เท่ากับใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W5 ที�ออกทัง� หมด) 33,861,598 หุน้ 2 ปี นับจากวันที�ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ 4 ตุลาคม 2555 3 ตุลาคม 2557 0 บาท 7.769 บาทต่อ หุน้ (ราคาการใช้สิทธิอ าจเปลี�ยนแปลงได้ตาม เงือ� นไขการปรับสิทธิ) ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซ� อื หุน้ สามัญได้ 1.02976 หุน้ (อัตราการใช้สทิ ธิอาจเปลีย� นแปลงได้ตามเงือ� นไขการปรับสิทธิ) จัดสรรในลักษณะการเสนอขายต่อประชาชนให้แก่กรรมการและ พนักงาน ซึ�ง ปัจ จุบนั เป็ นผู ถ้ ือ ใบสําคัญ แสดงสิทธิ TICON-W5 รวมถึงผู ถ้ ือ TICON-W5 ที�ได้ลาออกจากการเป็ นกรรมการและ พนักงานแล้ว และที�อ าจจะลาออกจากการเป็ น กรรมการและ พนักงานก่ อ นวันที�อ อกใบสําคัญ แสดงสิทธิ ที�มีความประสงค์ ที�จะรับการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 เพื�อทดแทน ใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W5 3 กรกฎาคม 2555 ถึง 27 ธันวาคม 2555

มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณของใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 ที�ออกเท่ากับ 3.789 บาทต่อหน่วย และ TICON-W5 เท่ากับ 3.825 บาทต่อหน่วย (ปรับลดโดยคํานึงถึงจํานวนหุน้ ที�จะเกิดจากการใช้สทิ ธิของ TICON-W3 และ TICON-W6 เต็มจํานวน) ข้อมูลเกี�ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรมของใบสําคัญแสดงสิทธิ สรุปได้ดงั นี� แบบจําลองที�ใช้ อัตราเงินปันผล ความผันผวนของหุน้ (2 ปี ) อัตราดอกเบี�ยปลอดความเสี�ยง ราคาหุน้ สามัญรองรับ (ณ วันที�อนุมตั ิให้ออก ใบสําคัญแสดงสิทธิ) อัตราการยกเลิกสิทธิในการใช้สทิ ธิซ�อื หุน้ ภายหลังการพ้นสภาพพนักงาน จํานวนวันที�ซ�อื ขายได้ในตลาดหลักทรัพย์ (เฉลีย� 2 ปี )

-

Binomial option pricing model ร้อยละ 5.05 ต่อปี ร้อยละ 29.56 ต่อปี ร้อยละ 3.17 ต่อปี 12.90 บาทต่อหุน้

- ร้อยละ 0 ต่อปี - 243 วันต่อปี

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

149


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ในระหว่างปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ฯ มิได้บนั ทึกมูลค่ายุติธรรมส่วนเพิ�มสําหรับโครงการ ออกใบสํา คัญแสดงสิทธิให้แก่ก รรมการ/พนักงานดังกล่า วข้า งต้น เนื�อ งจากมูลค่ ายุ ติธ รรมของใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 (ตราสารทุนทดแทน) ตํา� กว่ามูลค่ายุติธรรมของใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W5 (ตราสารทุนที�ยกเลิก) ใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W5 (ตราสารทุนที�ยกเลิก) ถูกยกเลิกในวันที� 4 ตุลาคม 2555 โดยวัน ดังกล่าวเป็ นวันที�มกี ารออกใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 (ตราสารทุนทดแทน) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยได้รบั ใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W6 (ตราสารทุนทดแทน) ของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 12 ตุลาคม 2555 22.2 การเปลีย� นแปลงใบสําคัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ในระหว่างปี

ใบสําคัญแสดงสิทธิ TICON-W3 TICON-W6 รวม

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ คงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 219,349,803 25,778,000 245,127,803

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ ที�มกี ารใช้สทิ ธิ ในระหว่างปี (4,672,034) (21,977,690) (26,649,724)

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิ คงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 214,677,769 3,800,310 218,478,079

เมื�อวันที� 29 มีนาคม 2556 ผูถ้ ือ ใบสํา คัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W3 ได้ใช้สิทธิตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 4,671,573 หน่วย แปลงเป็ นหุน้ สามัญจํานวน 4,957,887 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 18.845 บาท และผูถ้ ือใบสําคัญแสดงสิทธิท�ีจะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W6 ได้ใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 21,719,090 หน่วย แปลงเป็ นหุน้ สามัญจํานวน 22,365,442 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 7.769 บาท บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนชําระแล้ว เป็ นจํานวนเงิน 912,109,603 บาทกับกระทรวงพาณิชย์เมือ� วันที� 4 เมษายน 2556 และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้รบั หุน้ สามัญข้างต้นของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 10 เมษายน 2556 เป็ นต้นไป เมื�อวันที� 28 มิถุนายน 2556 ผูถ้ ือใบสําคัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W3 ได้ใช้สิทธิตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 61 หน่วย แปลงเป็ นหุน้ สามัญจํานวน 64 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 18.841บาท และผูถ้ อื ใบสําคัญ แสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W6 ได้ใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 165,200 หน่วย แปลงเป็ นหุน้ สามัญ จํานวน 170,149 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 7.767 บาท บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนชําระแล ้วเป็ นจํานวนเงิน 912,279,816 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมื�อวันที� 5 กรกฏาคม 2556 และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รบั หุน้ สามัญข้างต้น ของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 10 กรกฎาคม 2556 เป็ นต้นไป เมื�อวันที� 30 กันยายน 2556 ผูถ้ ือใบสําคัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W3 ได้ใช้สิทธิตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 400 หน่วย แปลงเป็ นหุน้ สามัญจํานวน 424 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 18.841 บาท และผูถ้ ือ ใบสําคัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญ TICON-W6 ได้ใช้สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 93,400 หน่วย แปลงเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 96,199 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 7.767 บาท บริษทั ฯ ได้จดทะเบีย นเพิ�มทุนชําระแล้วเป็ นจํานวนเงิน

150

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

912,376,439 บาท กับกระทรวงพาณิชย์เมือ� วันที� 4 ตุลาคม 2556 และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รบั หุน้ สามัญ ข้างต้นของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนตัง� แต่วนั ที� 10 ตุลาคม 2556 เป็ นต้นไป

23. สํารองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรกําไร สุทธิประจําปี ส่วนหนึ�งไว้เป็ นทุนสํารองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี หกั ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสํารองนี�จะมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนําไป จ่ายเงินปันผลได้

24. รายได้และต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ (หน่วย: ล้านบาท)

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ขายอาคารและที�ดนิ ขายอาคารตามสัญญาเช่าการเงิน ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ขายอาคารและที�ดนิ ขายอาคารตามสัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

3,037 1,626 4,663

4,364 4,364

481 1,256 1,737

2,366 2,366

1,993 893 2,886

2,691 2,691

223 706 929

1,305 1,305

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

151


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

25. ค่าใช้จา่ ยตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายทีส่ าํ คัญดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท)

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อ่นื ของพนักงาน ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา ค่าเช่าจ่ายตามสัญญาเช่าดําเนินงาน โอนกลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่าของ อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนทีอ่ ยู่ใน ระหว่างการพัฒนา

งบการเงินรวม 2556 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

169,986 376,495 62,283 43,712

146,818 389,443 107,326 39,894

126,834 146,708 27,579 33,988

111,291 171,490 73,736 29,441

-

(15,420)

-

(15,420)

26. ภาษี เงินได้ 26.1 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 สรุปได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท) 2

ภาษีเงินได้ปจั จุบนั : ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลสําหรับปี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผล แตกต่างชัว่ คราวและการกลับรายการผล แตกต่างชัว่ คราว ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ท่แี สดงอยู่ในงบกําไร ขาดทุน

152

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

งบการเงินรวม 2556 2555

4

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

118,987

332,328

116,834

277,913

158,215

(72,280)

110,342

(3,021)

277,202

260,048

227,176

274,892

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

รายการกระทบยอดจํานวนเงินระหว่างค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้กบั ผลคูณของกําไรทางบัญชีกบั อัตราภาษีท�ีใช้ สําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 สามารถแสดงได้ดงั นี� (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม กําไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล อัตราภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล: บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย กําไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิตบิ คุ คลคูณ อัตราภาษี ผลกระทบทางภาษีสาํ หรับ: การส่งเสริมการลงทุน (หมายเหตุ 26) เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ค่าใช้จ่ายและรายได้ท�ไี ม่สามารถนํามา (หัก) บวกทางภาษีได้ รวม ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ท�แี สดงอยู่ในงบกําไรขาดทุน

2556 1,691,437

20%

2555 1,556,620

23%

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 1,371,242 1,508,205

20%

23%

338,287

358,023

274,248

346,887

(173,895) -

(99,484) -

(3,986) (49,834)

(2,083) (55,666)

112,810 (61,085) 277,202

1,509 (97,975) 260,048

6,748 (47,072) 227,176

(14,246) (71,995) 274,892

ในเดือนตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีได้มมี ติให้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็ นร้อยละ 23 ในปี 2555 และเป็ นร้อยละ 20 ตัง� แต่ปี 2556 เป็ นต้นไป และในเดือนธันวาคม 2554 ได้มพี ระราช กฤษฎีกาประกาศลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเพื�อให้เป็ นไปตามมติคณะรัฐมนตรีดงั กล่าวสําหรับปี 2555 ถึง 2557 บริษทั ฯ ได้สะท้อนผลกระทบของการเปลี�ยนแปลงอัตราภาษีดงั กล่าวในการคํานวณภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตามที� แสดงไว้ข ้างต้นแล้ว 26.2 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี�สนิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี�สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี� .

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

153


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

งบการเงินรวม 2556 สินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม รายได้ทย�ี งั ไม่รบั รูจ้ ากการ รับเหมาก่อสร้าง สํารองผลประโยชน์ของพนักงาน หนี�สงสัยจะสู ญ รายได้รบั ล่วงหน้า เงินมัดจําจากลูกค้า รวม หนี� สินภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน รายได้จากการขายอาคารตามสัญญาเช่า การเงิน รวม

2555

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555

247,537

260,422

-

-

5,069 106 9,682 262,394

4,318 4,314 234 1,535 270,823

4,470 106 6,703 11,279

3,548 3,665 234 1,004 8,451

2,390

3,853

2,107

3,341

151,248 153,638 108,756

3,853 266,970

114,403 116,510 (105,231)

3,341 5,110

-

27. การส่งเสริมการลงทุน บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่ อ ยสองแห่ งได้ร บั สิท ธิประโยชน์ทางภาษีจ ากคณะกรรมการส่ งเสริม การลงทุน ตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนภายใต้เงือ� นไขต่าง ๆ ที�กาํ หนดไว้ ดังนี� บริษทั บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)

154

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

เลขทีบ� ตั ร ส่งเสริม 2321(2)/2555

วันทีเ� ริม� ได้ รับการส่งเสริม 24 พฤษภาคม 2555

ระยะเวลาได้รบั ยกเว้นภาษี เงินได้นิตบิ คุ คล 7 ปี

ระยะเวลาได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลกึ�งหนึ�ง -

2320(2)/2555

24 พฤษภาคม 2555

7 ปี

-

2322(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2324(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2325(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2323(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2326(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

2327(2)/2555

29 มิถุนายน 2555

7 ปี

-

ประเภทสิทธิประโยชน์ทางภาษี จากคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (โรจนะ) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (โรจนะ) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ไฮเทค) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร)


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

บริษทั

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

เลขทีบ� ตั ร ส่งเสริม 2407(2)/2555

วันทีเ� ริม� ได้ รับการส่งเสริม 31 กรกฎาคม 2555

ระยะเวลาได้รบั ยกเว้นภาษี เงินได้นิตบิ คุ คล 7 ปี

ระยะเวลาได้รบั ลดหย่อนภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลกึ�งหนึ�ง -

2408(2)/2555

31 กรกฎาคม 2555

7 ปี

-

2760(2)/2555

16 ตุลาคม 2555

7 ปี

-

2931(2)/2555

29 ตุลาคม 2555

7 ปี

-

1129(2)/2556

18 ธันวาคม 2555

7 ปี

-

1128(2)/2556

20 ธันวาคม 2555

7 ปี

-

1282(2)/2556

10 มกราคม 2556

7 ปี

-

1283(2)/2556

10 มกราคม 2556

8 ปี

5 ปี

1363(2)/2556

25 มกราคม 2556

7 ปี

-

1676(2)/2556

7 มีนาคม 2556

7 ปี

-

1814(2)/2556

30 เมษายน 2556

7 ปี

-

2482(2)/2556

6 สิงหาคม 2556

8 ปี

5 ปี

2616(2)/2556

13 กันยายน 2556

8 ปี

5 ปี

1720(1)/2544

20 ธันวาคม 2544

8 ปี

5 ปี

2142(2)/2550 1766(2)/2551 1648(2)/2553

1 กรกฎาคม 2550 1 กรกฎาคม 2551 1 สิงหาคม 2553

8 ปี 8 ปี 7 ปี

-

2529(2)/2554

26 ตุลาคม 2554

7 ปี

-

2480(2)/2556 2481(2)/2556 2677(2)/2556

16 กรกฎาคม 2556 30 กรกฎาคม 2556 17 ตุลาคม 2556

8 ปี 8 ปี 7 ปี

-

อก 0908/014863*

26 ธันวาคม 2556

8 ปี

5 ปี

* อยู่ระหว่างการรับบัตรการส่งเสริมการลงทุน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ประเภทสิทธิประโยชน์ทางภาษี จากคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (เหมราช) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (กบินทร์บรุ )ี การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะนคร) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (ปิ� นทอง) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (กบินทร์บรุ )ี การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และหรือคลังสินค้า (อมตะซิต�)ี การพัฒนาอาคารโรงงานอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (บางนา-ตราด) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (วังน้อย) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมและ หรือคลังสินค้า (โรจนะ) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมและ หรือคลังสินค้า (อมตะนคร) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (ศรีราชา) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (แหลมฉบัง 2) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมและ หรือคลังสินค้า (เหมราช) การพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมและ หรือคลังสินค้า (โรจนะ ปราจีนบุร)ี

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

155


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

รายได้ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจําแนกตามกิจกรรมที�ได้รบั การส่งเสริมและไม่ได้รบั การส่งเสริมสําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 แยกเป็ นส่วนดังต่อไปนี� (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม

รายได้จากการให้เช่าและบริการที� เกีย� วข ้อง รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้ค่าบริหารจัดการ จากบริษทั ร่วม กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าสินไหมทดแทนรับจาก การประกันภัย รายได้อนื� รวม

ส่วนที�ได้รบั การส่งเสริม 2556 2555

ส่วนที�ไม่ได้รบั การส่งเสริม 2556 2555

2556

2555

613,661 3,732,764 1,222

496,029 56,450 930,274 24,766

605,278 117,207 3,271,108 21,756

1,109,690 56,450 4,663,038 25,988

1,053,012 117,207 4,364,450 23,016

-

152,591

105,074

152,591

105,074

2,470

461

170,096 4,683

39,762 12,865

170,096 7,153

39,762 13,326

12,074

315

69,654 43,279

82,705 45,112

69,654 55,353

82,705 45,427

4,362,191

1,543,112

1,947,822

4,300,867

6,310,013

5,843,979

447,734 1,093,342 1,260

-

รวม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนที�ไม่ได้รบั การส่งเสริม

ส่วนที�ได้รบั การส่งเสริม รายได้จากการให้เช่าและบริการที� เกี�ยวข ้อง

2556

2555

รวม

2556

2555

2556

2555

146,373

24,794

439,864

532,341

586,237

557,135

-

-

49,622

101,716

49,622

101,716

807,203

-

930,274

2,365,550

1,737,477

2,365,550

-

-

8,638

7,089

8,638

7,089

เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย

-

-

38,250

28,750

38,250

28,750

เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม

-

-

216,548

218,224

216,548

218,224

-

-

133,371

101,701

133,371

101,701

-

-

143,901

24,143

143,901

24,143

1,644

-

389,512

234,872

391,156

234,872

-

-

10,000

72,705

10,000

72,705

-

-

42,131

44,923

42,131

44,923

955,220

24,794

2,402,111

3,732,014

3,357,331

3,756,808

รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค

รายได้ค่าบริหารจัดการ จากบริษทั ร่วม กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าสินไหมทดแทนรับจาก การประกันภัย รายได้อนื� รวม

156

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

28. กําไรต่อหุน้ กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐานคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปี ท�เี ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื�น) ด้วยจํานวนถัวเฉลีย� ถ่วงนํา� หนักของหุน้ สามัญที�ออกอยู่ในระหว่างปี กําไรต่อหุน้ ปรับลดคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปี ท�เี ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น) ด้วยผลรวมของจํา นวนถัวเฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก ของหุน้ สามัญที�ออกอยู่ในระหว่างปี ก บั จํา นวนถัวเฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก ของ หุน้ สามัญที�บริษทั ฯ อาจต้องออกเพื�อแปลงหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทัง� สิ�นให้เป็ นหุน้ สามัญ โดยสมมติว่าได้มกี ารแปลง เป็ นหุน้ สามัญ ณ วันต้นปี หรือ ณ วันออกหุน้ สามัญเทียบเท่า กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐานและกําไรต่อหุน้ ปรับลด แสดงการคํานวณได้ดงั นี� (หน่วย: พันบาท)

กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนของบริ ้ ษทั ฯ ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ ทีจ� ะซื�อหุนสามั ้ ญ TICON-W3 TICON-W5 TICON-T1 TICON-W6 กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนสามั ้ ญสมมติ ว่ามีการใช้สิทธิซ� อื หุนสามั ้ ญจาก ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ

งบการเงินรวม จํานวนหุนสามั ้ ญ ถัวเฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก 2556 2555 (พันหุน)้ (พันหุน)้

กําไรสําหรับปี 2556 2555 (พันบาท) (พันบาท) 1,414,235

1,296,572

905,709

798,744*

-

-

9,504 5,792

10,266 3,478 3,274

1,414,235

1,296,572

921,005

815,762

กําไรต่อหุน้ 2556 2555 (บาท) (บาท) 1.56

1.62

1.54

1.59

* รวมหุน้ สามัญทีเ� กิดจากการแปลงสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ณ วันที� 28 ธันวาคม 2555

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

157


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

งบการเงินเฉพาะกิจการ

กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนของบริ ้ ษทั ฯ ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ ทีจ� ะซื�อหุนสามั ้ ญ TICON-W3 TICON-W5 TICON-T1 TICON-W6 กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนสามั ้ ญสมมติ ว่ามีการใช้สิทธิซ� อื หุนสามั ้ ญจาก ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ

กําไรสําหรับปี 2556 2555 (พันบาท) (พันบาท)

จํานวนหุนสามั ้ ญ ถัวเฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก 2556 2555 (พันหุน)้ (พันหุน)้

กําไรต่อหุน้ 2556 2555 (บาท) (บาท)

1,144,067

1,233,313

905,709

798,744*

1.26

1.54

-

-

9,504 5,792

10,266 3,478 3,274

1,144,067

1,233,313

921,005

815,762

1.24

1.51

* รวมหุน้ สามัญทีเ� กิดจากการแปลงสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ณ วันที� 28 ธันวาคม 2555

ใบสําคัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ที�จดั สรรให้แก่ผูถ้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ (TICON-W3) สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2555 ไม่ถูกนํามาใช้ในการคํานวณกําไรต่อหุน้ ปรับลด เนื�องจากราคาใช้สทิ ธิของใบสําคัญแสดง สิทธิสูงกว่ามูลค่ายุติธรรมเฉลีย� ของหุน้ สามัญ

29. ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน ข้อมูลส่วนงานดําเนินงานที�นาํ เสนอนี�สอดคล้องกับรายงานภายในของบริษทั ฯ ที�ผูม้ อี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดด้าน การดํา เนินงานได้ร บั และสอบทานอย่า งสมํา� เสมอเพื�อ ใช้ใ นการตัดสิน ใจในการจัดสรรทรัพ ยากรให้ก บั ส่ วนงาน และประเมินผลการดําเนินงานของส่วนงาน ทัง� นี�ผูม้ อี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนินงานของบริษทั คือ กรรมการ ผูจ้ ดั การ เพื�อวัตถุประสงค์ในการบริหารงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัดโครงสร้างองค์กรเป็ นหน่วยธุ รกิจตามประเภท ของผลิตภัณฑ์และบริการ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีส่วนงานทีร� ายงานทัง� สิ�น 4 ส่วนงาน ดังนี�    

158

TICON รายงานประจำ�ปี

ส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้างโรงงาน ส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้างคลังสินค้า ส่วนงานธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ส่วนงานบริหารจัดการทัว� ไป

2556


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ฯ และบริ อยไม่ กี ารรวมส่ วนงานดํ นงานเป็ วนงานที ร่ ายงานข บริบริ ษทั ษฯทั และบริ ษทั ษย่ทั อย่ยไม่ มกี มารรวมส่ วนงานดํ าเนิานเนิงานเป็ นส่นวส่นงานที ร่ ายงานข า้ งต้า้ งต้ นน ผูม้ ผูอี ม้ าํ อนาจตั ดสิดนสิใจสู งสุงดสุสอบทานผลการดํ าเนิานเนิงานของแต่ ละหน่ วยธุวยธุ รกิรจกิแยกจากกั นเพืนเพื ่อวั่อตวัถุตปถุระสงค์ ในการ ี าํ นาจตั นใจสู ดสอบทานผลการดํ นงานของแต่ ละหน่ จแยกจากกั ประสงค์ ในการ ตัดตัสิดนสิใจเกี ่ยวกั บการจั ดสรรทรั พยากรและการประเมิ นผลการปฏิ บตั บิงตั านิงานบริบริ ษทั ษฯทั ฯประเมิ นผลการปฏิ บตั บิงตั านของส่ วนวน นใจเกี ่ยวกั บการจั ดสรรทรั พยากรและการประเมิ นผลการปฏิ ประเมิ นผลการปฏิ ิงานของส่ งานโดยพิ จารณาจากกํ าไรหรื อขาดทุ นจากการดํ าเนิาเนิ นงานและสิ นทรั พย์พรย์วมซึ ่งวั่งดวัมูดลมูค่ลาค่โดยใช้ เกณฑ์ เดีเยดีวกั บทีบ่ใทีช้่ใช้นใน งานโดยพิ จารณาจากกํ าไรหรื อขาดทุ นจากการดํ นงานและสิ นทรั รวมซึ าโดยใช้ เกณฑ์ ยวกั การวั ดกํดากํไรหรื อขาดทุ นจากการดํ าเนิานเนิงานและสิ นทรั พย์พรย์วมในงบการเงิ นน การวั าไรหรื อขาดทุ นจากการดํ นงานและสิ นทรั รวมในงบการเงิ การบั นทึนกทึบักญบัชีญสชีาํ สหรัาํ หรั บรายการระหว่ างส่างส่ วนงานที ่รายงานเป็ นไปในลั กษณะเดี ยวกั บการบั นทึนกทึบักญบัชีญสชีาํ สหรัาํ หรั บบ การบั บรายการระหว่ วนงานที ่รายงานเป็ นไปในลั กษณะเดี ยวกั บการบั รายการธุ รกิรจกิกัจบกับุบคบุคลภายนอก รายการธุ คคลภายนอก ขอ้ ขมูอ้ ลมูรายได้ นทรั พย์พรย์วมของส่ วนงานของบริ ษทั ษฯทั และบริ ษทั ษย่ทั อย่ยสํ าหรัาหรั บปีบสปี้ นิ สสุ้ นิ ดสุวัดนวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวาคม ลรายได้กํากํไราไรและสิ และสิ นทรั รวมของส่ วนงานของบริ ฯ และบริ อยสํ นวาคม 2556 ้ ้ 2556และและ2555 2555มีดมีงั ดต่งัอต่ไปนี อไปนี (หน่(หน่ วย:วลย:้านบาท) ล ้านบาท)

สําหรั ปี สิบ้ นปีสุสิด้ นสุด สําบหรั

รายการ รายการ ปรับปรั ปรุบงปรุ และงและ รวมส่ วนงาน น น รวมส่ วนงาน ตัดรายการ ตัดรายการ งบการเงิ งบการเงิ

พัฒพันาอสั งหา-งหา- พัฒพันาอสั งหา-งหาบริหบริารหาร ฒนาอสั ฒนาอสั ริมทรั รับเหมา จัดการ ริมพทรัย์โพดยการ ย์โดยการริมทรั ริมพทรัย์โพดยการ ย์โดยการ ธุรกิธุจรรักิบจเหมา จัดการ

วันทีวั่ น31ที่ ธั31นวาคม 25562556 ธันวาคม รายได้ จากลูจากลู กค้ากภายนอก รายได้ ค้าภายนอก

สร้าสร้ งโรงงาน งคลั งสินงค้สิานค้า างโรงงาน สร้าสร้ างคลั

ก่อสร้ ง าง ก่อาสร้

2,375 2,375 391391 (506)(506)

3,430 3,430 1 1 (319)(319)

56 56

(96)(96) 48 48

(103)(103) (182)(182)

- - -

ค่าใช้ค่จาใช้ ่ายภาษี เงินได้ จ่ายภาษี เงินได้

(192)(192)

(38)(38)

กําไรของส่ วนงาน กําไรของส่ วนงาน

734734

สินทรั วนงาน สินพทรัย์รพวมของส่ ย์รวมของส่ วนงาน เงินลงทุ นในบริ ษทั ร่ษวทั มร่วและ เงินลงทุ นในบริ ม และ กิจการร่ วมค้วามค้ ทีบ่ านัทีทึบ่ กนั ตามวิ ธสี ่วธนได้ เสียเสีย กิจการร่ ทึกตามวิ สี ่วนได้ การเพิ ม่ ขึ้นม่ ของสิ นทรันพทรัย์ไพม่ย์หไมุม่นหเวีมุนยนเวียน การเพิ ขึ้นของสิ

ดอกเบี ้ยรับ้ยรับ ดอกเบี ดอกเบี ้ยจ่า้ยยจ่าย ดอกเบี ค่าเสืค่​่อาเสื มราคาและค่ าตัดาจํตัาดหน่ ย าย ่อมราคาและค่ จําาหน่ ส่วนแบ่ งผลกํ าไรหรื อขาดทุ นจากบริ ษทั ร่ษวทั มร่วม ส่วนแบ่ งผลกํ าไรหรื อขาดทุ นจากบริ ทีบ่ นัทีทึบ่ กนั ตามวิ ธสี ่วธนได้ เสียเสีย ทึกตามวิ สี ่วนได้

- - -

ทัวไป ่ ทัวไป างกัานงกัน ่ อื่น อืๆ่น ๆ ทีร่ ายงาน ทีร่ ายงาน ระหว่ระหว่ 153153 295295 6,309 6,309 - - - - 392392 - - - - (825)(825) - - -

(6) (6)

รวมรวม

(385)(385) 288288

6,303 6,303 7 7 (537)(537)

- - -

(199)(199) (134)(134)

2 2 - -

(197)(197) (134)(134)

- -

(17)(17) (30)(30)

(277)(277)

- -

(277)(277)

458458

(3) (3)

84 84 225225 1,498 1,498

8,769 8,769 1,919 1,919

17,673 17,673 1,323 1,323

- - -

- - -

- - 26,442 26,442 - - 3,242 3,242

9 9 26,451 26,451 - - 3,242 3,242

1,272 1,272

8,452 8,452

- -

- -

- - 9,724 9,724

- -

(84)(84) 1,414 1,414

9,724 9,724

ทีไ่ ม่ทีรไ่ วม เครืเครื ่องมื่อองมื ทางการเงิ น และ ม่รวม อทางการเงิ น และ สินทรั อตัรดอตั บัญดบัชีญชี สินพทรัย์ภพาษี ย์ภเงิาษีนได้ เงินรได้

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

159


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

(หน่วย: ล ้านบาท) รายการ สําหรับปี สิ�นสุด วันที� 31 ธันวาคม 2555

พัฒนาอสังหา- พัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการ ริมทรัพย์โดยการ

ธุรกิจรับเหมา

บริหาร จัดการ ทัว� ไป

รวมส่วนงาน อืน� ๆ

ปรับปรุงและ ตัดรายการ งบการเงิน

สร้างโรงงาน

สร้างคลังสินค้า

ก่อสร้าง

2,978

2,469

117

105

168

5,837

(6)

5,831

ดอกเบี�ยรับ

235

1

-

-

-

236

(223)

13

ดอกเบี�ยจ่าย

(394)

(184)

-

-

-

(578)

176

(402)

ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย

(118)

(154)

-

-

-

(272)

4

(268)

ส่วนแบ่งผลกําไรหรือขาดทุนจากบริษทั ร่วม

(141)

(113)

-

-

-

(254)

-

(254)

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

(216)

(38)

-

-

(6)

(260)

-

(260)

กําไรของส่วนงาน

717

390

(8)

80

152

1,331

(34)

1,297

8,929 1,872

10,727 883

-

-

-

19,656 2,755

80 -

19,736 2,755

1,731

4,375

-

-

-

6,106

40

6,146

รายได้จากลูกค้าภายนอก

ที�รายงาน

ระหว่างกัน

รวม

ที�บนั ทึกตามวิธีส่วนได้เสีย

สินทรัพย์รวมของส่วนงาน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม และ กิจการร่วมค้าที�บนั ทึกตามวิธีส่วนได้เสีย การเพิ�มขึ�นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที�ไม่รวม เครื�องมือทางการเงิน และ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

ข้อมูลเกี�ยวกับเขตภูมศิ าสตร์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยดําเนินธุรกิจในเขตภูมศิ าสตร์เดียว คือประเทศไทย ดังนัน� รายได้และสินทรัพย์ท�แี สดงอยู่ ในงบการเงิน จึงถือเป็ นการรายงานตามเขตภูมศิ าสตร์แล้ว ข้อมูลเกี�ยวกับลูกค้ารายใหญ่ ในปี 2556 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จาํ นวนหนึ�งราย เป็ นจํานวนเงินประมาณ 4,560 ล้านบาท ซึ�งมาจากส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้างโรงงาน และส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยการสร้าง คลังสินค้า (ในปี 2555 มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จาํ นวนสองราย เป็ นจํานวนเงิน 2,334 ล้านบาท และ 1,999 ล้านบาท ซึ�งมาจากส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพ ย์โดยการสร้า งโรงงาน และส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพ ย์โดยการสร้า ง คลังสินค้า)

30. กองทุนสํารองเลี�ยงชีพ บริษทั ฯ บริษทั ย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตัง� กองทุนสํารองเลี�ยงชีพ ซึ�งประกอบด้วยเงินที�พนักงานจ่ายสะสม และเงินที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบให้ในอัตราร้อยละ 2 - 4 ของค่าจ้าง กองทุนสํารองเลี�ยงชีพนี�บริหารโดย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ในระหว่างปี 2556 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเป็ นจํานวน 4 ล้านบาท (2555: 3 ล้านบาท)

160

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

31. เงินปันผล เงินปันผลสําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประกอบด้วย เงินปันผล

อนุ มตั โิ ดย

เงินปันผลจากผลการดําเนินงาน ของปี 2555 รวมเงินปันผลสําหรับปี 2556

ทีป� ระชุมสามัญผูถ้ อื หุนประจํ ้ าปี เมื�อวันที� 19 เมษายน 2556

เงินปันผลจากผลการดําเนินงาน สําหรับครึ�งปี หลังของปี 2554 รวมเงินปันผลสําหรับปี 2555

ทีป� ระชุมสามัญผูถ้ อื หุนประจํ ้ าปี เมื�อวันที� 25 เมษายน 2555

เงินปันผลจ่าย (พันบาท)

เงินปันผลต่อหุน้ (บาท)

912,064 912,064

1.0 1.0

156,201 156,201

0.2 0.2

32. ภาระผูกพันและหนี� สนิ ที�อาจจะเกิดขึ�น 32.1 สัญญาเช่าระยะยาว ก) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ทาํ สัญญาเช่าที�ดนิ กับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยรวม 6 ฉบับ เพื�อประกอบกิจการสร้างโรงงานมาตรฐานให้เช่า สัญญาดังกล่าวสรุปได้ดงั นี� สัญญาเลขที� 21/2538-นฉ 14/2540-นฉ 8/2542-นฉ 9/2544-นฉ นฉ.ค 002/2548 นฉ. 005/2549

ระยะเวลาเช่า 13 ธันวาคม 2538 - 12 ธันวาคม 2568 14 พฤศจิกายน 2540 - 13 พฤศจิกายน 2570 18 สิงหาคม 2542 - 17 สิงหาคม 2572 6 มิถนุ ายน 2544 - 31 ธันวาคม 2561 25 มกราคม 2548 - 31 ธันวาคม 2561 25 เมษายน 2549 - 31 ธันวาคม 2561

อัตราค่าเช่า 4.70 ลา้ นบาทต่อปี 0.66 ลา้ นบาทต่อปี 2.21 ลา้ นบาทต่อปี 5.59 ลา้ นบาทต่อปี 0.75 ลา้ นบาทต่อปี 2.08 ลา้ นบาทต่อปี

(ก) (ก) (ก) (ข) (ข) (ข)

(ก) ค่ าเช่าจะถูกปรับเพิม� ทุก ๆ 10 ปี ในอัตราไม่เกินร้อยละ 10 ของค่ าเช่าเดิม (ข) ค่ าเช่าจะถูกปรับเพิม� ทุก ๆ 5 ปี ในอัตราไม่เกินร้อยละ 10 ของค่ าเช่าเดิม

ข) บริษ ทั ฯ ได้ทาํ สัญญาเช่า พื�นที�สาํ นัก งานและบริการที�เกี� ยวข้องกับบริษ ทั ที�เกี�ย วข้องกันแห่งหนึ� ง โดยมีค่าเช่าและค่าบริการคิดเป็ นจํานวนเงินรวม 14-15 ล้านบาทต่อปี สัญญาดังกล่าวมีกาํ หนดระยะเวลา 3 ปี โดยเริ�ม ตัง� แต่เดือนกรกฎาคม 2555 ถึงมิถนุ ายน 2558

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

161


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีจาํ นวนเงินขัน� ตํา� ที�ตอ้ งจ่ายในอนาคตภายใต้สญั ญาเช่าดําเนินงานดังนี�

จ่ายชําระ ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี

งบการเงินรวม 2556 2555 498 86 67

33 99 86

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 25 56 67

25 68 79

32.2 ภาระผูกพันเกี�ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุน

สัญญาซื�อที�ดนิ เพื�อสร้างโรงงานและ คลังสินค้าในอนาคต สัญญาจ้างผู ้รับเหมาก่อสร้าง สัญญาถมที�ดนิ สัญญาจ้างซ่อมโรงงานและคลังสินค้า รวม

งบการเงินรวม 2556 2555 1,168 1,625 16 3 2,812

2,809 1,234 7 4,050

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 850 42 3 895

842 30 6 878

32.3 หนังสือคํ�าประกันธนาคาร (ก) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ มีการคํา� ประกันวงเงินหนังสือคํา� ประกันที�ออกโดยธนาคาร ให้แก่บริษทั ย่อยในวงเงิน 111 ล้านบาท (2555: 116 ล้านบาท) (ข) ยอดคงเหลือ ของหนัง สือ คํา� ประกัน ที�อ อกโดยธนาคารในนามของบริ ษ ทั ฯ และบริ ษ ทั ย่ อ ย ซึ�งเกี�ยวเนื�องกับภาระผูกพันในการดําเนินงานมีดงั นี� วัตถุประสงค์เพื�อคํา� ประกัน สัญญาเช่าที�ดินระยะยาว สาธารณู ปโภคในโครงการ การดําเนินงานในการก่อสร้างอาคารโรงงาน รวม

162

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

งบการเงินรวม 2556 2555 35 35 16 15 12 11 63 61

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2556 2555 24 24 5 5 8 8 37 37


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

32.4 สินทรัพย์ท�ีตดิ ภาระจํายอม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีท�ดี ินที�ติดภาระจํายอมรวมจํานวนประมาณ 108 ไร่ (2555: 108 ไร่) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 68 ไร่ 2555: 68 ไร่) ซึ�งที�ดนิ ที�ติดภาระจํายอมดังกล่าวมีมูลค่าตามบัญชี เป็ นจํานวน 245 ล้านบาท (2555: 245 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 152 ล้านบาท 2555: 152 ล้านบาท) และ แสดงภายใต้หวั ข้อ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า และที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ 32.5 การคํ�าประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ บริษทั ฯ ในฐานะผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์รายหนึ�งของกองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ทีพาร์ค โลจิสติคส์ (“กองทุนฯ”) เป็ นจํานวน 27 คลังสินค้า ได้รบั ประกันค่าเช่าและบริการขัน� ตํา� หลังหักค่าบริการส่วนกลางของคลังสินค้า จํา นวนหนึ�งที�ไม่มีผู เ้ ช่า ให้แก่ ก องทุนฯ ในช่วงระยะเวลาตัง� แต่ ว นั ที� 1 มกราคม 2555 ถึงวันที� 31 ธันวาคม 2559 เป็ นจํานวนเงิน 188 ล้านบาทต่อปี กล่าวคือ ในกรณีท�รี ายได้ค่าเช่าและบริการของกองทุนฯ หลังหักค่าบริการส่วนกลาง ของคลังสินค้าที�ไม่มผี ูเ้ ช่ามีจาํ นวนตํา� กว่าจํานวนเงินรับประกันข้างต้น บริษทั ฯ จะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบจ่ายชดเชยส่วนต่าง ดังกล่าวให้แก่กองทุนฯ บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ในฐานะผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์อีกรายหนึ�ง ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ (“กองทุนฯ”) ได้รบั ประกันค่าเช่าและบริการของอาคารคลังสินค้า จํานวน 6 หลังเป็ นระยะเวลา 1 ปี ส�นิ สุดวันที� 28 พฤศจิกายน 2556 ในอัตราเดียวกับค่าเช่าของผู เ้ ช่าในปัจจุบนั สําหรับ ช่วงเวลาดังกล่าว หากไม่มผี ูเ้ ช่าคลังสินค้า ทัง� นี�ไม่รวมถึงการผิดนัดหรือไม่ชาํ ระค่าเช่าของผูเ้ ช่า บริษทั ฯ และบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย ในฐานะผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ ของกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ("กองทุนฯ") ได้รบั ประกันค่าเช่าและบริการ ของโรงงานจํา นวน 38 หลัง และคลังสินค้าจํานวน 50 หลัง เป็ นระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี โดยเริ�มตัง� แต่ 12 และ 13 ธันวาคม 2556 ถึงวันที� 11 และ 12 ธันวาคม 2557 ในอัตราเดียวกับค่าเช่าของผูเ้ ช่ารายสุดท้ายก่อนหน้าที�กองทุนฯ จะลงทุนในโรงงานและคลังสินค้าดังกล่าว หากไม่มผี ูเ้ ช่าโรงงานและคลังสินค้า ณ วันที� 31 ธัน วาคม 2556 บริ ษ ทั ฯ จํา นํา หน่ วยลงทุ น ของกองทุน รวมอสังหาริม ทรัพ ย์ทีพ าร์ค โลจิสติคส์ จํานวน 22 ล้านหน่วย (2555: 22 ล้านหน่วย) ซึ�งมีมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย 172 ล้านบาท (2555: 182 ล้านบาท) และมีมูลค่าตามราคาตลาด 245 ล้านบาท (2555: 263 ล้านบาท) ไว้กบั ธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ�งเพื�อเป็ น หลักประกันสําหรับการรับประกันค่าเช่าและบริการดังกล่าว 32.6 ภาระผูกพันเกี�ยวกับเงินลงทุน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 บริษทั ฯ มีส่วนของเงินลงทุนที�ยงั ไม่เรียกชําระในบริษทั ย่อยเป็ นจํานวนเงิน ประมาณ 0.8 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

163


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

33. เครื�องมือทางการเงิน 33.1 นโยบายการบริหารความเสี�ยง เครื�องมือทางการเงินที�สาํ คัญของบริษทั ฯ ตามที�นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 107 “การแสดง รายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับเครื�องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุน ชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อ�นื ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานที�ยงั ไม่เรียกชําระ เงินให้กูย้ ืม เงินลงทุน เงินกูย้ ืม ระยะสัน� เงินกูย้ มื ระยะยาว และหุน้ กู ้ บริษทั ฯ มีความเสี�ยงที�เกี�ยวข้องกับเครื�องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบาย ในการบริหารความเสี�ยงดังนี� ความเสี�ยงด้านการให้สนิ เชื�อ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสี�ยงด้านการให้สินเชื�อที�เกี�ยวเนื�องกับการให้เช่า/ขายโรงงาน คลังสินค้า และการรับเหมาก่อสร้าง ฝ่ ายบริหารควบคุมความเสี�ยงนี�โดยการกําหนดให้มนี โยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื�อ ที�เ หมาะสม ดังนัน� บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยจึงไม่คาดว่า จะได้ร บั ความเสีย หายที�เ ป็ นสาระสํา คัญจากการให้สินเชื�อ นอกจากนี�การให้สนิ เชื�อของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มกี ารกระจุกตัว เนื�องจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีฐานของลูกค้า ที�หลากหลายและมีอยู่จาํ นวนมากราย จํา นวนเงินสู งสุดที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื�อ คือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี�ท�แี สดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี�ยงจากอัตราดอกเบี�ย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสี�ยงจากอัตราดอกเบี�ยที�สาํ คัญอันเกี�ยวเนื�องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ ืมระยะยาว และหุน้ กูท้ �มี ดี อกเบี�ย สินทรัพย์และหนี�สินทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบี�ย ที�ปรับขึ�นลงตามอัตราตลาด หรือมีอตั ราดอกเบี�ยคงที�ซ�งึ ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั สินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินที�สาํ คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี�ย และสําหรับสินทรัพย์และ หนี�สินทางการเงินที�มอี ตั ราดอกเบี�ยคงที�สามารถแยกตามวันที�ครบกําหนดหรือวันที�มกี ารกําหนดอัตราดอกเบี�ยใหม่ (หากวันที�มกี ารกําหนดอัตราดอกเบี�ยใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี�

164

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อนื� ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ หนี� สินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� และหนี�สนิ ภายใต้ สัญญาทรัสต์รีซที ส์ เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาว

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายการ ระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

งบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 อัตราดอกเบี�ยคงที� อัตราดอกเบี�ย ไม่มี ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึ�นลง อัตรา 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี�ย (ล้านบาท)

รวม

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

422 -

-

-

345 -

1 79

768 79

0.30, 2.43 -

422

-

-

345

42 122

42 889

-

2,108 1,080 45 3,233

8,410 358 1,209 9,977

2,120 349 2,469

-

766 766

2,108 766 11,610 707 1,254 16,445

3.03 4.18 4.50 4.95

งบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 อัตราดอกเบี�ยคงที� ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อนื� เงินฝากสถาบันการเงินทีม� ีภาระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ หนี� สินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� และหนี�สนิ ภายใต้ สัญญาทรัสต์รีซที ส์ เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาว

อัตราดอกเบี�ย ปรับขึ�นลง ตามราคาตลาด (ล้านบาท)

ไม่มี อัตรา ดอกเบี�ย

รวม

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

731 -

-

-

359 2

3 76 -

1,093 76 2

0.62, 3.03 2.20

731

-

-

361

97 176

97 1,268

-

740 2,350 3,090

5,800 5,800

1,350 355 1,705

-

5 666 671

745 666 9,500 355 11,266

3.68 4.17 5.11

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

165


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป

ปัจจัย ความเสี่ยง

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 อัตราดอกเบี�ยคงที� ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อนื� ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ เงินให้กยู ้ ืมระยะยาวแก่ บริษทั ทีเ� กี�ยวข้องกัน หนี� สินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� และหนี�สนิ ภายใต้ สัญญาทรัสต์รีซที ส์ เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาว

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อนื� ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ เงินให้กยู ้ ืมระยะยาวแก่ บริษทั ทีเ� กี�ยวข้องกัน หนี� สินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� และหนี�สนิ ภายใต้ สัญญาทรัสต์รีซที ส์ เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาว

166

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

อัตราดอกเบี�ย ปรับขึ�นลง ตามราคาตลาด (ล้านบาท)

ไม่มี อัตรา ดอกเบี�ย

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

รวม

412 -

-

-

91 -

121

503 121

0.60, 2.43 -

-

-

-

-

14

14

-

412

-

-

9,076 9,167

135

9,076 9,714

4.12

2,108 1,080 45 3,233

8,410 306 8,716

2,120 2,120

-

311 311

2,108 311 11,610 351 14,380

3.03 4.18 4.93

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2555 อัตราดอกเบี�ยคงที� อัตราดอกเบี�ย ไม่มี ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึ�นลง อัตรา 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี�ย (ล้านบาท)

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

รวม

731 -

-

-

119 -

53

850 53

0.85, 3.03 -

-

-

-

-

21

21

-

731

5,390 5,390

-

119

74

5,390 6,314

4.35

740 2,350 3,090

5,800 5,800

1,350 106 1,456

-

5 313 318

745 313 9,500 106 10,664

3.68 4.17 4.56


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

ความเสี�ยงจากอัตราแลกเปลี�ยน บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่ อ ยมีความเสี�ย งจากอัตราแลกเปลี�ย นที�สาํ คัญอันเกี�ย วเนื� อ งจากการซื�อ สินค้า เป็ นเงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ตกลงทําสัญญาซื�อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึ�งมีอายุสญั ญา ไม่เกินหนึ�งปี เพื�อใช้เป็ นเครื�องมือในการบริหารความเสี�ยง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมียอดคงเหลือของหนี�สนิ ทางการเงินที�เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศดังนี� สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา

หนี�สนิ ทางการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 2555 (ล ้าน) (ล ้าน) 0.2

อัตราแลกเปลีย� นเฉลี�ย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 2555 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ) 30.7775

33.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงิน เนื�องจากสินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสัน� เงินให้กูย้ มื และเงินกูย้ มื มีอตั ราดอกเบี�ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี�ยในตลาด บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงประมาณมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีท�แี สดงในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่ายุตธิ รรม หมายถึง จํานวนเงินที�ผูซ้ �อื และผูข้ ายตกลงแลกเปลี�ยนสินทรัพย์กนั หรือจ่ายชําระหนี�สิน ในขณะที�ทงั� สองฝ่ ายมีความรอบรู ้ และเต็มใจในการแลกเปลีย� นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็ นอิสระในลักษณะ ที�ไม่มคี วามเกี�ยวข้องกัน วิธีการกําหนดมูลค่ายุติธรรมขึ�นอยู่กบั ลักษณะของเครื�องมือทางการเงิน มูลค่า ยุติธรรมจะ กําหนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกําหนดขึ�นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที�เหมาะสม

34. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุน ที�สาํ คัญของกลุ่มบริ ษ ทั คือ การจัดให้มีซ�ึงโครงสร้า งทุนที�เ หมาะสม เพื�อสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของกลุม่ บริษทั และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ ือหุน้ โดย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 กลุม่ บริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ต่อทุนเท่ากับ 2.0:1 (2555: 1.5:1) และเฉพาะบริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ต่อทุนเท่ากับ 1.7:1 (2555: 1.3:1)

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

167


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

35. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน (ก) เมื�อวันที� 17 มกราคม 2557 บริษ ทั ฯ ได้ออกหุน้ กูร้ วม 1.6 ล้านหน่วย หรือเป็ นจํานวนเงินรวม 1,600 ล้านบาท โดยหุน้ กูท้ งั� จํานวนเป็ นหุน้ กูช้ นิดระบุช�อื ผูถ้ อื ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มหี ลักประกัน ไม่มสี ทิ ธิแปลงสภาพ และ ไม่มผี ูแ้ ทนผูถ้ ือหุน้ กู ้ หุน้ กุด้ งั กล่าวมีมูลค่าที�ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท และมีราคาเสนอขายหน่วยละ 1,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี� ครัง� ที�

วันที�ออก

1/2557 1/2557

17 มกราคม 2557 17 มกราคม 2557

จํานวนหน่วย จํานวน (ลา้ นหน่วย) (ลา้ นบาท) 1.00 1,000 0.60 600

อัตราดอกเบี�ย (ร้อยละต่อปี) 3.890% 4.710%

อายุหนุ ้ กู ้

วันครบกําหนดไถ่ถอน

3 ปี 5 ปี

17 มกราคม 2560 17 มกราคม 2562

(ข) ในเดือนมกราคม 2557 บริษทั ฯ ได้ซ� ือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท จํานวน 25.1 ล้านหน่วย ในราคา 251 ล้านบาท (ค) เมื�อ วันที� 31 มกราคม 2557 ผูถ้ ือ ใบสําคัญแสดงสิทธิท�จี ะซื�อ หุน้ สามัญ TICON-W3 ได้ใช้สิทธิตาม ใบสําคัญแสดงสิทธิจาํ นวน 18,461 หน่วย แปลงเป็ นหุน้ สามัญจํานวน 19,593 หุน้ ในราคาหุน้ ละ 18.841 บาท บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนชําระแล้วเป็ นจํานวนเงิน 912,396,032 บาท กับกระทรวงพาณิ ชย์เมื�อวันที� 4 กุมภาพันธ์ 2557 และตลาดหลัก ทรัพ ย์แห่งประเทศไทยได้ร บั หุน้ สามัญข้า งต้นของบริษ ทั ฯ เป็ นหลัก ทรัพ ย์จ ดทะเบีย นตัง� แต่ ว นั ที� 11 กุมภาพันธ์ 2557 เป็ นต้นไป (ง) เมือ� วันที� 12 กุมภาพันธ์ 2557 บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จํากัด ในฐานะบริษทั จัดการ ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ (“กองทุนฯ”) ซึ�งเป็ นบริษทั ร่วม ได้แจ้งการจ่ายเงินปันผลจากกําไร สะสมและผลการดําเนินงานของกองทุนฯ ระหว่างวันที� 1 ตุลาคม 2556 ถึงวันที� 31 ธันวาคม 2556 ในจํานวนหน่วย ลงทุนละ 0.226 บาท โดยกําหนดจ่ายเงินปันผลในวันที� 14 มีนาคม 2557 (จ) เมือ� วันที� 13 กุมภาพันธ์ 2557 บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จํากัด ในฐานะบริษทั จัดการ ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทุนฯ”) ซึ�งเป็ นบริษทั ร่วม ได้แจ้งการจ่ายเงินปันผลจากกําไรสะสมและ ผลการดําเนินงานของกองทุนฯ ระหว่างวันที� 1 ตุลาคม 2556 ถึงวันที� 31 ธันวาคม 2556 ในจํานวนหน่วยลงทุนละ 0.185 บาท โดยกําหนดจ่ายเงินปันผลในวันที� 14 มีนาคม 2557 (ฉ) เมือ� วันที� 26 กุมภาพันธ์ 2557 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 1/2557 ของบริษทั ฯ ได้มมี ติดงั ต่อไปนี� 1. ให้เสนอต่อที�ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2557 ซึ�งจะจัดขึ�นในวันที� 22 เมษายน 2557 เพื�ออนุ มตั ิ จ่ายเงินปันผลจากกําไรสุทธิประจํา ปี 2556 ให้แก่ผู ถ้ อื หุน้ ในอัตราหุน้ ละ 1 บาท โดยกําหนดจ่า ยเงินปันผลในวันที� 16 พฤษภาคม 2557

168

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

ปัจจัย ความเสี่ยง


งบการเงิน โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี

2. อนุ ม ตั ิ ก ารออกและเสนอขายใบแสดงสิท ธิ ใ นการซื�อ หุน้ เพิ�ม ทุ น ที�โ อนสิท ธิ ไ ด้ (Transferable Subscription Rights “TSRs”) ให้แก่ผูถ้ ือหุน้ เดิมตามสัดส่วนการถือหุน้ (Right Offering) จํานวนไม่เกิน 182.5 ล้านหน่วย โดยไม่คิดมูลค่าในอัตราส่วนหุน้ สามัญเดิม 5 หุน้ ได้รบั การจัดสรร TSRs 1 หน่วย ซึ�ง TSRs มีอายุไม่เกิน 2 เดือน นับจากวันที�ออก โดย TSRs 1 หน่วย ใช้สทิ ธิซ�อื หุน้ สามัญของบริษทั ได้ 1 หุน้ 3. อนุ มตั ิการลดทุนจดทะเบียนจาก 1,263.7 ล้านบาท เป็ น 932.7 ล้านบาท โดยยกเลิกหุน้ สามัญที� ยังมิได้ออกจํานวน 331 ล้านหุน้ มูลค่าที�ตราไว้หนุ ้ ละ 1 บาท รวม 331 ล้านบาท 4. อนุมตั ิการเพิ�มทุนจดทะเบียนจาก 932.7 ล้านบาท เป็ น 1,115.2 ล้านบาท โดยการออกหุน้ สามัญ จํานวนรวม 182.5 ล้านหุน้ มูลค่าที�ตราไว้หนุ ้ ละ 1 บาท ทัง� นี�เพื�อจัดสรรไว้สาํ หรับการใช้สิทธิของ TSRs จํานวนไม่เกิน 182.5 ล้านหุน้ 5. อนุมตั ิการเสนอขายและ/หรือการให้เช่าที�ดนิ พร้อมอาคารโรงงาน และ/หรือคลังสินค้า รวมประมาณ 52 หลัง และมีพ�นื ที�ใช้สอยรวมประมาณ 255,850 ตารางเมตร ให้แก่กองทรัสต์เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Investment Trust “REIT”) ทัง� นี� บริษทั ฯ คาดว่าจะขายและ/หรือให้เช่าทรัพย์สินดังกล่าวในไตรมาส 3 ปี 2557

36. การอนุ มตั งิ บการเงิน งบการเงินนี�ได้รบั อนุมตั ิให้ออกโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ� วันที� 26 กุมภาพันธ์ 2557

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

169


สารจากประธาน กรรมการ

รายงานการกำ�กับ ดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ข้อมูลทางการเงิน ที่สำ�คัญ

โรงงาน และคลังสินค้า

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

คณะกรรมการ และผู้บริหาร

ข้อมูลทั่วไป

นโยบายและภาพรวม การประกอบธุรกิจ

ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ

ปัจจัย ความเสี่ยง

แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที�จ่ายให้แก่ผูส้ อบบัญชี รอบปี บญั ชีส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) รายการที�

ชื�อบริษัทผูจ้ ่าย

ชื�อผูส้ อบบัญชี

1

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

ค่าสอบบัญชี (บาท)

บริษทั สํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด (โดยนางสาวรุง้ นภา เลิศสุวรรณกุล)

1,583,000

รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี

1,583,000

ค่าบริการอื�น (Non-audit fee)

รายการที�

ชื�อบริษทั ผูจ้ ่าย

ประเภทของงานบริการอื�น ( Non-audit service )

รวมค่าตอบแทนสําหรับงานบริการอื�น ( Non-audit fee )

ผูใ้ ห้บริการ

ค่าตอบแทนของงานบริการอื�น (บาท) ส่วนที�จ่ายไป ส่วนที�จะต้อง ในระหว่างปี จ่ายในอนาคต บัญชี -

-

-

-

ข้อมูลข้างต้น   ถูกต้องครบถ้วนแล ้ว ทัง� นี� ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าไม่มีขอ้ มูลการให้บริการอื�นที�บริษทั จ่ ายให้ขา้ พเจ้า สํานักงานสอบบัญชีท�ี

ข้าพเจ้าสังกัด และบุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้องกับข้าพเจ้า และสํานักงานสอบบัญชีท�ขี า้ พเจ้าสังกัด ที�ขา้ พเจ้าทราบและ ไม่มกี ารเปิ ดเผยไว้ข้างต้น  ไม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน กล่าวคือ………………………………………………………………………………………..………………………

เมื�อปรับปรุงข้อมูลข้างต้น (ถ้ามี) แลว้ ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทัง� หมดในแบบฟอร์มนี�แสดงค่ าตอบแทนสอบบัญชี และค่าบริการอื�นทีบ� ริษทั จ่ายให้ข้าพเจ้าและสํานักงานสอบบัญชีดงั กล่าว ทีถ� กู ต้องครบถ้วน

(นางสาวรุง้ นภา เลิศสุวรรณกุล) บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด (เดิมชื�อบริษทั สํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด) ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)

170

TICON รายงานประจำ�ปี

2556


โครงสร้าง การถือหุ้น

โครงสร้าง การจัดการ

การกำ�กับดูแล กิจการ

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

รายการ ระหว่างกัน

คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้อง ครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้ แก่ผู้สอบบัญชี งบการเงิน

แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที�จ่ายให้แก่ผูส้ อบบัญชี รอบปี บญั ชีส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2556 ค่าบริการอื�น (Non-audit fee)

รายการที�

1

ชื�อบริษทั ผูจ้ ่าย

ประเภทของงานบริการอื�น (Non-audit service)

ผูใ้ ห้บริการ

การตรวจสอบข้อมูลเพื�อ ประกอบการยื�นแบบกับ บริษทั บาลานซ์ ฟิ กเกอร์ ออดิท จํากัด สํานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) รวมค่าตอบแทนสําหรับงานบริการอื�น (Non-audit fee)

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

ค่าตอบแทนของงานบริการอื�น (บาท) ส่วนที�จ่ายไป ส่วนที�จะต้อง ในระหว่างปี จ่ายในอนาคต บัญชี 415,000

-

415,000

-

ข้อมูลข้างต้น  ถูกต้องครบถ้วนแลว้ ทัง� นี� ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าไม่มีขอ้ มูลการให้บริการอื�นที�บริษทั จ่ ายให้ขา้ พเจ้า สํานักงานสอบบัญชีท�ี 

ข้าพเจ้าสังกัด และบุคคลหรือกิจการทีเ� กี�ยวข้องกับข้าพเจ้า และสํานักงานสอบบัญชีท�ขี า้ พเจ้าสังกัด ที�ขา้ พเจ้าทราบและไม่มี การเปิ ดเผยไว้ข้างต้น  ไม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน กล่าวคือ …………………………………………………………………………………………..……………………… เมื�อปรับปรุงข้อมูลข้างต้น (ถ้ามี) แลว้ ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทัง� หมดในแบบฟอร์มนี�แสดงค่ าตอบแทนสอบบัญชี และ ค่าบริการอื�นทีบ� ริษทั จ่ายให้ข้าพเจ้าและสํานักงานสอบบัญชีดงั กล่าว ทีถ� กู ต้องครบถ้วน

(นางศิรณ ิ ี นาควิจิตร์) สังกัดสํานักงาน บริษทั บาลานซ์ ฟิ กเกอร์ ออดิท จํากัด ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)

TICON รายงานประจำ�ปี

2556

171


ห อง 1308 ชั้น 13/1 อาคารสาธรซ�ตี้ทาวเวอร เลขที่ 175 ถนนสาทรใต แขวงทุ งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticon.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.