TICON: Annual Report 2015

Page 1

LEADER OF SUPERIOR QUALITY

Warehouses and Factories for Lease

รายงานประจำป 2558

บร�ษัท ไทคอน อินดัสเทร�ยล คอนเน็คชั�น จำกัด (มหาชน)


9

12

10

สารบั ญ สารจากประธานกรรมการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ โรงงานและคลังสินค้า ความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูลทั่วไป นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ ลักษณะการประกอบธุรกิจ

4 6 8 9 10 12 14 21 25 32


59

44 106 ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ การกำ�กับดูแลกิจการ การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง รายการระหว่างกัน คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน งบการเงิน แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่ผู้สอบบัญชี

44 48 49 63 92 95 98 113 114 198


สารจากประธานกรรมการ ปี 2558 นับเป็นอีกปีทมี่ คี วามท้าทายทัง้ ส�ำหรับโลกและประเทศไทยไม่ตา่ งกับใน ปี 2557 อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกถดถอยลงเหลือเพียง 2.4% จากฐานข้อมูล ของธนาคารโลก มูลค่าการส่งออกสินค้าจากประเทศไทยลดลง 5.8% จากมูลค่าในปี 2557 ส่งผลให้ GDP ของประเทศไทยเติบโตขึน้ เพียง 2.8% ในปี 2558 ธุรกิจให้เช่าโรงงานอยูใ่ น ระดับดีพอใช้มีผู้เช่าใหม่ที่มาจากอุตสาหกรรมที่หลากหลายมากขึ้นซึ่งไม่ได้มีเพียงแค่ อุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิกส์และอุตสาหกรรมยานยนต์เท่านัน้ ธุรกิจให้เช่าคลังสินค้ายังคง มีผลงานทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ งในปี 2558 เป็นเพราะความต้องการคลังสินค้าให้เช่าทัง้ จากผูผ้ ลิต สินค้าใน AEC และจากอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ ในปี 2558 เราเน้นในเรือ่ งของการเพิม่ อัตราเช่าพืน้ ทีท่ งั้ ในส่วนของโรงงานและ คลังสินค้าเป็นส�ำคัญ เราจ�ำกัดงานก่อสร้างโดยท�ำการก่อสร้างอาคารเฉพาะในท�ำเลทีต่ งั้ ซึง่ ลูกค้ามีความต้องการสูงนอกจากนี้ เราได้เพิม่ การประกอบธุรกิจไปยังตลาดอืน่ ทีเ่ ป็น ตลาดใหม่โดยลงทุนในกิจการร่วมค้าในประเทศอินโดนีเซียเพือ่ ท�ำธุรกิจพัฒนาโรงงานและ คลังสินค้าให้กจิ การข้ามชาติทมี่ กี ารลงทุนในประเทศนัน้ ท�ำการเช่า

ธุรกิจให้เช่าโรงงาน ปี 2558 แตกต่างออกไปจากในปี 2557 ทีก่ ารเมืองแลดูมคี วามสงบเรียบร้อยดี ตลอดทัง้ ปี สันติสขุ ดูเหมือน จะกลับคืนสูส่ งั คมไทยอีกครัง้ หนึง่ ได้ อย่างไรก็ตาม การขยายตัว ที่น่าผิดหวังของเศรษฐกิจโลกและปริมาณการบริโภคภายในประเทศที่ต�่ำอันมีสาเหตุ เนือ่ งมาจากภาวะหนีค้ รัวเรือนทีส่ งู นัน้ มีผลกระทบในเชิงลบต่อเศรษฐกิจไทยท�ำให้การเติบโต เป็นไปอย่างเชือ่ งช้าในปี 2558 การลดลงของปริมาณการส่งออกสินค้าจากประเทศไทย ตลอดจนยอดขายทีอ่ อ่ นแอในตลาดยานยนต์เป็นสองสาเหตุหลักของการทีพ ่ นื้ ทีใ่ ห้เช่า โรงงานใหม่ของเราขยายตัวอยูใ่ นระดับปานกลาง การเพิม่ ขึน้ ของพืน้ ทีใ่ ห้เช่าโรงงานใหม่ใน ปี 2558 นัน้ เกิดจากการมีผเู้ ช่าเพิม่ ขึน้ จากอุตสาหกรรมอืน่ ๆทีม่ คี วามหลากหลายมากขึน้ กว่าเดิม ในปี 2558 เรามีพนื้ ทีใ่ ห้เช่าโรงงานใหม่ทงั้ หมด 40,300 ตารางเมตร เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 29.7 อย่างไรก็ดี มีผเู้ ช่ารายอืน่ ทีย่ กเลิกสัญญาเช่าและคืนพืน้ ทีใ่ ห้เช่าโรงงานมาใน ระหว่างปีคดิ เป็นจ�ำนวนพืน้ ทีท่ งั้ สิน้ 22,775 ตารางเมตร ท�ำให้พนื้ ทีใ่ ห้เช่าโรงงานใหม่เพิม่ ขึน้ สุทธิ 17,525 ตารางเมตร เปรียบเทียบกับในปีกอ่ นหน้าซึง่ เรามีพนื้ ทีใ่ ห้เช่าโรงงานใหม่เพิม่ ขึน้ สุทธิเป็นจ�ำนวนลบ 2,200 ตารางเมตร จากจ�ำนวนผูเ้ ช่าใหม่ทงั้ หมดในปี 2558 ประมาณ ร้อยละ 59 เป็นผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิกส์และอุตสาหรรมยานยนต์ ในส่วนของสัญชาติ ร้อยละ 35 ของผูเ้ ช่ามีสญ ั ชาติของประเทศในภูมภิ าคยุโรป ในขณะที่ ร้อยละ 24 เป็นผูเ้ ช่าทีม่ สี ญ ั ชาติญปี่ นุ่ อัตราการเช่าโรงงานเฉลีย่ ในปี 2558 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 49 โดยในปี 2557 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 62 ถึงแม้ว่าอัตราการเช่าโรงงานในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาซึ่งเป็นพื้นที่ซึ่งเคยเกิด อุทกภัยใหญ่ขนึ้ เมือ่ ปี 2554 จะอยูใ่ นระดับตำ �่ คือ ร้อยละ 35 แต่มผี ทู้ แี่ สดงความสนใจ ต้องการอยากจะเช่าพืน้ ทีโ่ รงงานซึง่ อยูใ่ นเขตดังกล่าวอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีอยูห่ ลายรายทีเ่ ป็น ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ หลายรายเป็นกิจการทีม่ าจากประเทศในภูมภิ าค ยุโรป ในขณะเดียวกัน อัตราการเช่าโรงงานในพืน้ ทีเ่ ขตอีสเทิรน์ ซีบอร์ดซึง่ ได้รบั ความนิยม มากกว่านัน้ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 72 ในปี 2558

ธุรกิจให้เช่าคลังสินค้า

4

ในปี 2558 การควบรวมในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ยงั คงมีอยู่ ท�ำให้เกิดการ ขยายตัวเป็นอย่างมากของกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมโลจิสติกส์แถวหน้าในประเทศไทย ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ยังเป็นผู้เช่ารายใหญ่ในอันดับต้นส�ำหรับคลังสินค้าของเราต่อไป ความต้องการคลังสินค้าขนาดใหญ่และศูนย์กระจายสินค้าทีส่ ว่ นใหญ่แล้วเป็นอาคารแบบ built to suit มีปริมาณสูง เรามีพนื้ ทีใ่ ห้เช่าคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าแบบ built to suit เพิม่ ขึน้ 97,896 ตารางเมตรในปี 2558 เทียบกับ 62,177 ตารางเมตรในปีกอ่ นหน้า อาคารคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าแบบ built to suit มีสดั ส่วนเท่ากับร้อยละ 41 ของ พืน้ ทีใ่ ห้เช่าคลังสินค้าใหม่ทงั้ หมดในปี 2558 ซึง่ ในปี 2557 สัดส่วนดังกล่าวอยูท่ รี่ อ้ ยละ 33 ในปี 2558 ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์มสี ดั ส่วนอยูท่ รี่ อ้ ยละ 61 ของจ�ำนวนผูท้ เี่ ช่าพืน้ ทีค่ ลังสินค้า ใหม่ทงั้ หมด และเป็น ผูเ้ ช่าสัญชาติไทยร้อยละ 37 ในขณะทีเ่ ป็นผูเ้ ช่าสัญชาติอนื่ จากภูมภิ าค ยุโรปร้อยละ 36


การลงทุน บริ ษั ท ท�ำการลงทุ น คิ ด เป็ น จ�ำนวนเงิ น ประมาณ 6.8 พันล้านบาทในปี 2558 เพือ่ ก่อสร้างโรงงานและคลังสินค้าใหม่ เป็นการ ก่อสร้างคลังสินค้าแบบ built to suit ในปริมาณพืน้ ทีซ่ งึ่ มากกว่าคลัง สินค้าแบบพร้อมใช้เพราะความต้องการของลูกค้า การซือ้ ทีด่ นิ เพิม่ ใน ปี 2558 มีปริมาณเพียงเล็กน้อยซึ่งแตกต่างจากในปี 2557 ทั้งนี้ เป็นเพราะว่าบริษัทได้ท�ำการซื้อที่ดินในท�ำเลที่ต้องการไว้ในปริมาณ ทีเ่ พียงพอต่อการด�ำเนินธุรกิจแล้ว ในไตรมาสทีส่ องของปี 2558 บริษทั ท�ำการก่อตัง้ บริษทั ลูก เพิม่ ขึน้ ใหม่อกี หนึง่ บริษทั ได้แก่ บริษทั ไทคอน (ฮ่องกง) จ�ำกัด เพือ่ ถือหุน้ ในธุรกิจพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าภายนอกประเทศไทย บริษทั ไทคอน (ฮ่องกง) จ�ำกัด ได้เข้าถือหุน้ ในกิจการร่วมค้า PT SLP Surya TICON Internusaหรื อ SLP ในประเทศอิ น โดนี เ ซี ย ร่ ว มกั บ Surya Semesta Internusa (SSIA) และ Mitsui & Co. เพื่อพัฒนา โรงงานและคลังสินค้าให้เช่าภายในประเทศอินโดนีเซีย บริษทั ไทคอน (ฮ่องกง) จ�ำกัด ถือหุ้นร้อยละ 25 โดยมีบริษัท Mitsui & Co. ถือหุ้นร้อยละ 25 เท่ากัน และ SSIA ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 50 ในกิจการร่วมค้าดังกล่าว ในไตรมาสทีส่ ขี่ องปี 2558 กองทรัสต์ TREIT ได้ท�ำการเพิม่ ทุน เพือ่ ซือ้ กรรมสิทธิใ์ นและเช่าอสังหาริมทรัพย์เป็นโรงงานและคลังสินค้า จ�ำนวนพื้นที่รวม 155,182 ตารางเมตร จากบริษัท มูลค่ารวมของ สินทรัพย์ทบี่ ริษทั ท�ำการขายให้กบั TREIT ในครัง้ นัน้ คือ 3.2 พันล้านบาท นอกจากนี้ บริษทั ยังได้ท�ำการขายทีด่ นิ เปล่าจ�ำนวน 23 ไร่ไปให้กบั ผูซ้ อื้ รายหนึง่ ในจ�ำนวนเงิน 260 ล้านบาท อีกด้วย ณ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีการลงทุนร้อยละ 20 ในกองทรัสต์ TREIT เพิม่ ขึน้ จากเดิมทีม่ อี ยูร่ อ้ ยละ 12 ในปี 2557

ผลการด�ำเนินงาน ในปี 2558 ก�ำไรสุทธิของบริษทั อยูท่ ี่ 769.7 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.2 จากก�ำไรสุทธิในปี 2557 รายได้ ค่าเช่าและบริการซึง่ เป็น รายได้จากธุรกิจหลักของบริษทั เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.5 จาก 966.1 ล้านบาท ในปี 2557 เป็น 1,048.5 ล้านบาทในปี 2558 รายได้จากการขาย สินทรัพย์ลดลงร้อยละ 26.6 จาก 4.56 พันล้านบาทในปี 2557 เป็น 3.35 พันล้านบาทในปี 2558 เนือ่ งจากบริษทั มีการขายสินทรัพย์ให้กบั TREIT ในปริมาณทีน่ อ้ ยลงกว่าในปีกอ่ นหน้า รายได้รวมลดลงร้อยละ 17.1 จาก 5.86 พันล้านบาทในปี 2557 เป็น 4.85 พันล้านบาทในปี 2558 ซึง่ มีสาเหตุมาจากการขายสินทรัพย์ทนี่ อ้ ยลงให้กบั TREIT บริ ษั ท ได้ ท�ำการจ�ำหน่ายเงินลงทุนบางส่วนในกองทุน อสังหาริมทรัพย์ TFUND, TLOGIS และ TGROWTH ในไตรมาสทีส่ ี่ ของปี 2558 และบันทึกก�ำไรมูลค่า 354 ล้านบาท ซึง่ รวมถึงก�ำไรทีไ่ ด้จาก

การลดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนทัง้ สาม รายได้คา่ บริหารจัดการ สินทรัพย์ซงึ่ บริษทั ได้รบั มาจากการเป็นผูบ้ ริหารสินทรัพย์ให้กบั กองทุน TFUND, TLOGIS และ TGROWTH และกองทรัสต์ TREIT เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 23.5 จาก 165.3 ล้านบาทในปี 2557 เป็น 204.1 ล้านบาทในปี 2558

แนวโน้มในอนาคต ส�ำหรับในปี 2559 เราคาดการณ์วา่ เศรษฐกิจโลกตลอดจน ของประเทศไทยน่าทีจ่ ะยังคงขยายตัวอย่างเชือ่ งช้าอยู่ การทีท่ วั่ โลก ยังมีก�ำลังการผลิตส่วนเกินอยู่ในระบบเศรษฐกิจจะสร้างแรงกดดัน ต่อเนือ่ งต่อปริมาณความต้องการโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนัน้ การเปลีย่ นแปลงเชิงโครงสร้างของการผลิตในประเทศไทยทีเ่ ปลีย่ นถ่าย จากอุตสาหกรรมทีใ่ ช้แรงงานมากไปสูอ่ ตุ สาหกรรมทีใ่ ช้จกั รกลอัตโนมัติ แทนแรงงานมนุษย์จะด�ำเนินต่อไป และการเข้าสู่ AEC หรือการรวมกลุม่ กันทางเศรษฐกิจของประเทศทีอ่ ยูใ่ นภูมภิ าค ASEAN จะยังก่อให้เกิด การขยายตัวของความต้องการคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า คุณภาพสูงได้อยู่ ภายใต้สถานการณ์เหล่านัน้ บริษทั มีกลยุทธ์ดงั ต่อไปนี:้ • ปรับปรุงอัตราเช่าของพื้นที่โรงงานให้ดีขึ้น (และลดปริมาณ การลงทุนเพือ่ ก่อสร้างโรงงานใหม่ในประเทศไทย) • ขยายธุรกิจคลังสินค้าของบริษทั เพือ่ รองรับโอกาสทางธุรกิจ ใหม่ทมี่ าพร้อมกันกับ AEC • ใช้ประสบการณ์จากการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทเพื่อเข้าไป ประกอบธุรกิจในตลาดใหม่ๆ เพิม่ บริษทั มีขอ้ ได้เปรียบคูแ่ ข่งชัดเจน ทัง้ ในเรือ่ งความร่วมมือ ระยะยาวกับผูเ้ ช่าในฐานะคูค่ า้ ทีด่ ี บริการซ่อมบ�ำรุงอาคารส�ำหรับผูเ้ ช่า ทีใ่ ห้บริการจากในพืน้ ที่ และทีมการตลาดทีส่ อื่ สารเป็นภาษาญีป่ นุ่ และ ภาษาจีนกับผูเ้ ช่าจนได้รบั ความไว้วางใจเป็นอย่างสูงในบริการ เป็นเรื่องส�ำคัญส�ำหรับบริษัทที่จะต้องมีคลังสินค้าไว้ให้ บริการในท�ำเลทีเ่ ป็นยุทธศาสตร์ในส่วนภูมภิ าค การก่อสร้างคลังสินค้า ในเขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ที่จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดล�ำพูน จะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2559 ท�ำเลดังกล่าวทัง้ สองนีเ้ ป็นพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย ล�ำดั บ ต้ น ๆ ที่ ลู ก ค้ า ของบริ ษั ท ต้ อ งการมี ศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า คลังสินค้าแบบครอสด็อก และคลังรวบรวม/กระจายสินค้า ตั้งอยู่ ในปี 2559 เป็นทีค่ าดหมายว่าลูกค้าทีเ่ ป็นผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ จะมี ความต้องการคลังสินค้าแบบ built to suit เพิม่ มากขึน้ อีกตามการ ขยายตัวของเครือข่ายทีอ่ ยูใ่ น AEC นอกจากสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทจ�ำนวนร้อยละ 25 ใน PT SLP Surya TICON Internusa ในประเทศอินโดนีเซียซึง่ ประกอบ ธุรกิจ ให้เช่าโรงงานและคลังสินค้าคุณภาพสูงในตลาดของประเทศ นั้นแล้ว บริษัทยังมีความสนใจที่จะลงทุนในประเทศเวียดนามและ อยูร่ ะหว่างการสรรหาผูร้ ว่ มลงทุนทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ เี่ หมาะสมในประเทศ ดังกล่าว รายได้ จากต่างประเทศจะมีบทบาทส�ำคัญต่อผลก�ำไรของบริษทั ภายในระยะเวลา 3 ถึง 5 ปีนบั จากนี้

นายชาลี โสภณพนิช ประธานกรรมการ

รายงานประจ�ำปี 2558

เราเชื่อว่าการควบรวมในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์และ ความต้องการทีม่ าจากผูเ้ ช่าทัง้ ทีเ่ ป็นผูเ้ ช่าสัญชาติไทยและผูเ้ ช่าต่างชาติ ทีต่ อ้ งการใช้คลังสินค้าคุณภาพสูงจะยังท�ำให้พนื้ ทีใ่ ห้เช่าคลังสินค้าใหม่ มีการเติบโตต่อไปได้อกี ผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็นธุรกิจข้ามชาติระดับโลก ที่มีขนาดใหญ่หลายรายมีความต้องการใช้คลังสินค้าคุณภาพสูง เพื่อเก็บรักษาสินค้าเพื่อรอที่จะกระจายออกไปสู่ตลาดใน AEC ความต้องการคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้ามีมากเป็นพิเศษในพืน้ ที่ บางนาและบางพลี ในปี 2558 เรามีเขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์รวมทัง้ สิน้ 33 เขต เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ที่ถูกตั้งขึ้นใหม่ในปี 2558 คือ เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ หรือ ทีพาร์ค บางพลี 6 อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 63 ในปี 2557 เป็นร้อยละ 68 ในปี 2558 สาเหตุหลักมาจากความต้องการอาคาร คลังสินค้าแบบ built to suit มีเพิม่ มากขึน้

5


รายงานการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2558 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ตามที่ได้รับการแต่งตั้ง จากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ และมีประสบการณ์ทางด้านการบริหารธุรกิจและการเงิน มีความเป็นอิสระ และมีคุณสมบัติเหมาะสมตามข้อก�ำหนดและแนวทางการปฏิบัติที่ดีส�ำหรับคณะกรรมการตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปัจจุบันสมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วย นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายตรีขวัญ บุนนาค และนายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และตามระเบียบของบริษัทว่าด้วยหลักเกณฑ์และ แนวทางการปฏิบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเน้นการปฏิบัติ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การมีระบบการตรวจสอบภายในที่ดี และส่งเสริมแนวทางการตรวจสอบเชิงป้องกัน โดยครอบคลุมถึง การบริหารความเสี่ยง และการปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน ในปี 2558 มีการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบรวม 4 ครัง้ กรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้าร่วมประชุมทัง้ 4 ครัง้ โดยมีการหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชี ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้

1. การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินราย ไตรมาสและงบการเงินประจ�ำปี 2558 ของบริษัทและ งบการเงินรวม รวมถึงรายการระหว่างกัน และรายการ ทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ร่วมกับฝ่ายจัดการ ผูต้ รวจสอบภายใน โดยมีผสู้ อบบัญชีรว่ มประชุมทุกครัง้ ที่มีการพิจารณาสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบถามผูส้ อบบัญชีเรือ่ งความถูกต้องครบ ถ้วนของงบการเงิน การปรับปรุงรายการบัญชีที่ส�ำคัญ ที่มีผลกระทบต่องบการเงิน ความเหมาะสมของวิธีการ บันทึกบัญชีและขอบเขตการตรวจสอบ และการเปิดเผย ข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนเพียงพอ คณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่า การจัดท�ำงบการเงินเป็นไปตาม ข้อก�ำหนดของกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง มีความครบถ้วน เป็นทีน่ า่ เชือ่ ถือได้ สมเหตุสมผลตามทีค่ วรในสาระส�ำคัญ ตามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไป นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการของบริษทั 1 ครัง้ เพือ่ พิจารณาขอบเขต แนวทางและความเป็นอิสระในการสอบบัญชีประจ�ำปี ของผูส้ อบบัญชี

นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์, F.C.A. ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

6


2. การสอบทานประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและทบทวนระบบการควบคุมภายในร่วมกับผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีทกุ ไตรมาส โดยพิจารณา เรือ่ งการด�ำเนินงาน การดูแลรักษาทรัพย์สนิ การป้องกัน หรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย และระบบการควบคุมภายในส�ำหรับระบบงาน ที่ส�ำคัญของบริษัท ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่พอเพียง ไม่พบ จุดอ่อนหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ มีการดูแลรักษาทรัพย์สินที่เหมาะสม และมีระบบการติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงานเหมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล

3. การสอบทานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบตั งิ านตามระบบงานทีก่ �ำหนดไว้ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบไม่พบ ประเด็นทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญในเรือ่ งการไม่ปฏิบตั ติ ามระบบงาน กฎหมาย และข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้องในการด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบร่วมกับผู้สอบบัญชีได้สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีความเห็นสอดคล้อง กันว่า รายการค้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระส�ำคัญได้เปิดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และรายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุสมผล และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยรวมทั้งคณะ ซึ่งผลสรุปอยู่ในเกณฑ์ดี

4. การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่และความรับผิดชอบ อัตราก�ำลังคนและผลตอบแทนของพนักงาน ฝ่ายตรวจสอบภายใน และอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบประจ�ำปี รวมทัง้ ติดตามการปฏิบตั งิ านของบริษทั ตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของผูต้ รวจสอบ ภายใน โดยผูต้ รวจสอบภายในจะรายงานการสอบทาน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในเรือ่ งทีต่ รวจสอบตามแผนการตรวจสอบตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกไตรมาส ในปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การตรวจสอบภายในโดยการใช้ผู้ตรวจสอบภายในจากการ ว่าจ้างบริการจากภายนอก เพื่อความมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับแผนการขยายการลงทุนของบริษัททั้งในและต่างประเทศ ในปีที่ผ่านมา ผู้ตรวจสอบภายในมุ่งเน้นการตรวจสอบระบบจัดซื้อจัดจ้าง ระบบควบคุมทรัพย์สิน และการประเมินความเสี่ยงในภาพรวมขององค์กร โดยได้ สอบทานขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านและระบบงานให้เป็นไปตามกฎและระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง และได้ให้ค�ำปรึกษาและข้อเสนอแนะเพือ่ ปรับปรุง ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษทั มีระบบการตรวจสอบภายในทีพ ่ อเพียง เหมาะสม และมีประสิทธิผล ผู้ตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระในการปฏิบัติงาน

5. การคัดเลือกผู้สอบบัญชี ประจ�ำปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบได้คดั เลือก และเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีจากผลการปฏิบตั งิ าน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของ ค่าตอบแทน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นชอบในการเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีจากบริษทั ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ได้แก่ นายโสภณ เพิม่ ศิรวิ ลั ลภ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 3182 (ซึง่ เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ในปี 2547 ถึงปี 2551) และ/หรือ นางสาวพิมพ์ใจ มานิตขจรกิจ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4521 และ/หรือ นางสาวรสพร เดชอาคม ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 5659 และ/หรือ นางสุมนา พันธ์พงษ์สานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5872 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจ�ำปี 2558 พร้อมด้วยค่าตอบแทนเป็นจ�ำนวนเงินรวม 800,000 บาท และ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา และขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2558

6. การเข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Collective Anti-Corruption:CAC)

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัทได้เข้าลงนามในค�ำประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต แล้วเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2558 ปัจจุบันอยู่ระหว่างการปรับปรุงนโยบายในเรื่องดังกล่าว เพื่อผู้ตรวจสอบภายในและคณะกรรมการตรวจสอบ จะได้ประเมินเพื่อขอรับการรับรองจากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตต่อไป โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับการอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท โดยใช้ความรู้ความสามารถ ความรอบคอบและระมัดระวัง มีความเป็นอิสระเพียงพอเพื่อปกป้องประโยชน์ต่อผู้มี ส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริษัทมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ มีการเปิดเผย ข้อมูลอย่างเพียงพอ สอดคล้องตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป บริษัทมีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล มีการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท

7


รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประจำ�ปี 2558 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ตามทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั สมาชิกของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งประกอบด้วย นายตรีขวัญ บุนนาค เป็นประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (กรรมการอิสระ) นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร.สมศักดิ์ ไชยพร นายปธาน สมบูรณสิน นางสาวลลิตพันธุ์ พิรยิ ะพันธุ์ นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ และนายพีระพัฒน์ ศรีสคุ นธ์ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และตามระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และแนวทาง การปฏิบตั ขิ องคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดยบริษทั มุง่ เน้นการบริหารความเสีย่ งทีส่ �ำคัญ ทัง้ 4 ด้านคือ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงด้านปฏิบตั ิการ (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ (Compliance Risk) และความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ในปี 2558 มีการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงรวม 4 ครั้ง ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้

1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) เนื่องจากเศรษฐกิจโลกยังอยู่ในสภาวะตกต�่ำอย่างต่อเนื่องทั้งในปี 2558 ต่อเนื่องมาถึงปี 2559 โครงสร้างทางการเงินของทุกภูมิภาคอยู่ในระดับ เปราะบาง เนื่ อ งจากการไหลเคลื่ อ นของกระแสเงิ น ทุ น ที่ พ ยายามหา ผลตอบแทนที่สูงขึ้น จึงเป็นความเสี่ยงอย่างยิ่งในการที่จะวางแผนกลยุทธ์ เพือ่ รองรับความเสีย่ งดังกล่าว อีกทัง้ การรวมตัวของอาเซียน (AEC) ยังเป็นทัง้ โอกาสและความเสี่ยงที่ จ ะเกิ ดขึ้ น แก่ อุ ตสาหกรรมการผลิ ต และธุ ร กิ จ โลจิสติกส์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ บริษัทจึงมีการพัฒนาทรัพยากรบุคคล อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งปรับเปลี่ยนกระบวนการท�ำงาน ซึ่งส่งผลให้การ ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและศักยภาพสูงขึ้น และยังเป็นการเตรียมพร้อม ด้านบุคคลากรส�ำหรับการเติบโตของบริษัทในอนาคต ทั้งนี้ เพื่อรักษา ความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมและความเป็นผูน้ �ำในอุตสาหกรรม เมือ่ พิจารณาการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment, FDI) แล้วประเทศไทยมีทงั้ ข้อบวกและข้อลบในการทีจ่ ะดึงดูด FDI ให้มาลงทุน ในประเทศไทยเมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศเพือ่ นบ้านของเราในกลุม่ อาเซีย่ น ข้อบวกหลัก ๆ ก็คือ ประเทศไทยมีระบบสาธารณูปโภคที่ดี และมีแรงงาน ที่มีฝีมือดี อีกทั้งยังมีภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับการกระจายสินค้าในภูมิภาค อาเซียน และมี Supply Chain ทีค่ อ่ นข้างจะเต็มรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในอุตสาหกรรมอีเล็กทรอนิกส์และอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ แต่ขอ้ ลบ หลัก ๆ ของประเทศไทยคือการมีค่าแรงที่สูงกว่าประเทศเพื่อนบ้านและ หาแรงงานได้ยาก อีกทั้งประเทศไทยก�ำลังจะกลายเป็นสังคมที่มีผู้สูงอายุ มากขึ้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวอุตสาหกรรมที่ต้องการแรงงานจ�ำนวนมาก จึงมีการย้ายการผลิตไปยังประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ คี า่ แรงถูกและยังหาแรงงาน ได้ง่าย เช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศกัมพูชา เป็นต้น เพื่ อ เป็ น การลดความเสี่ ย งและเพิ่ ม โอกาสในการเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ดังกล่าว บริษทั จึงมีนโยบายทีจ่ ะขยายไปยังประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคอาเซียน มากขึ้น ในปี 2558 บริษัทได้ลงทุนในอินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากร มากที่สุดในอาเซี่ยน บริษัทเลือกที่จะลงทุนโดยการมีพันธมิตรทางธุรกิจ และบริษัทท้องถิ่นในประเทศอินโดนีเซีย (Joint Venture Investment) ซึ่งช่วยบริหารจัดการความเสี่ยงของการลงทุนในต่างประเทศ (Foreign Investment Risk) ได้ ทั้งในเรื่องความแตกต่างด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทั้งนี้เพื่อให้การลงทุนในต่างประเทศเป็นไปอย่าง ระมัดระวัง และน�ำไปสู่การพัฒนาและ การเติบโตที่ยั่งยืน นอกจากนี้ เพื่ อ เป็ น การรองรั บ อุ ต สาหกรรมที่ ก�ำลั ง อยู ่ ใ นระหว่ า ง การปรับเปลี่ยนภายในประเทศไทยจากการใช้แรงงานเป็นอุตสาหกรรมที่มี เทคโนโลยีมากขึ้น บริษัทยังมุ่งเน้นการพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าตาม ความต้องการของลูกค้ามากขึ้น (Built-to-suit) มีการน�ำเทคโนโลยีใหม่ ๆ ตามมาตรฐานสากลมาใช้ มีการก่อสร้างอาคารตามมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environment Design) ซึ่งเป็นเกณฑ์ การก่อสร้างและออกแบบระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อมในอาคารตาม มาตรฐานอาคารสีเขียวในสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้บริษัทมีการว่าจ้างที่ปรึกษา ที่มีประสบการณ์และมีความช�ำนาญมาให้ค�ำแนะน�ำ นอกจากบริษัทจะ ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและเป็นการเจริญเติบโตแบบยั่งยืนแล้ว ยังเป็นการ ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ที่ ใ ห้ ค วามส�ำคั ญ เรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่นเดียวกัน

2. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk) ความเสีย่ งด้านการประสบอันตรายจากการท�ำงาน อุบตั เิ หตุ รวมถึงความเสีย่ ง จากความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง การเกิดภัยธรรมชาติต่างๆ และ ภัยอื่น ๆ ซึ่งบริษัทมีการจัดการความปลอดภัยในการท�ำงานโดยก�ำหนด ให้มีการตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน (คปอ.)

3. ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ (Compliance Risk) ความเสี่ยงจากข้อจ�ำกัดทางกฎหมาย เนื่องจากบริษัทมีนโยบายการเติบโต ทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีแผนการขยายธุรกิจไปในต่างประเทศ ซึ่งบริษัทได้ตระหนักถึงความเสี่ยงนี้และเตรียมพร้อม โดยมีทีมผู้เชี่ยวชาญ ทางกฎหมาย เพื่อศึกษาข้อจ�ำกัดทางกฎหมายต่าง ๆ ติดตามและวิเคราะห์ ผลกระทบซึ่ ง อาจเป็ น อุ ป สรรคต่ อ การขยายตั ว ของบริ ษั ท ทั้ ง ในและ ต่างประเทศ

4. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ ย งจากการหาแหล่ ง เงิ น ทุ น ได้ อ ย่ า งเพี ย งพอ เนื่ อ งจากธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนสูง เพื่อให้บริษัทคงศักยภาพ ในการด�ำเนินธุรกิจ จึงมีความจ�ำเป็นต้องจัดหาแหล่งเงินทุนที่พอเพียง โดยมีต้นทุนที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้บริษัทมีสภาพคล่องเพียงพอส�ำหรับ ใช้ในการขยายธุรกิจ ลดความเสี่ยงด้านการเงิน และแสดงสถานะการเงิน ทีแ่ ข็งแกร่ง บริษทั จึงบริหารความเสีย่ งด้านการเงินโดยจัดโครงสร้างเงินทุน ที่ มี อั ต ราหนี้ สิ น ที่ มี ภ าระดอกเบี้ ย ต่ อ ทุ น ในระดั บ ที่ เ หมาะสมร่ ว มกั บ ใช้ เครื่องมือทางการเงินใน การระดมทุน ซึ่งจะช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้บริษัท ในการจัดหาเงินทุนเพื่อใช้ขยายธุรกิจในอนาคตได้อย่างเพียงพอ จากการปฏิ บั ติ ง านในรอบปี ที่ ผ ่ า นมา เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจว่ า ระบบ การบริหารความเสีย่ งของบริษทั มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และได้ถกู น�ำไปปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้บริษทั สามารถจัดการ ความเสีย่ งทีส่ �ำคัญ ให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจึงมีการทบทวน กระบวนการบริหารความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ งและสมำ�่ เสมอ ซึง่ จะช่วยให้บริษทั สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน

นายตรีขวัญ บุนนาค ประธานกรรมการ บริหารความเสีย่ ง

8


ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ หน่วย : ล้านบาท 2558

2557

2556

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์

3,345.61

4,561.28

4,663.04

ค่าเช่ารับและค่าบริการ

1,048.55

966.06

1,109.69

รายได้ค่าบริหารจัดการจาก property funds/reit

204.12

165.34

152.59

ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนใน property funds/reit

248.47

267.13

216.57

ก�ำไรที่รับรู้เพิ่มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ property funds/reit

246.69

41.37

154.45

ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์

2,401.42

3,192.14

2,886.28

ต้นทุนการให้เช่าและบริการ

306.39

243.45

261.52

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

756.89

769.45

715.60

ก�ำไรสุทธิ

770.96

761.57

1,414.23

สินทรัพย์

36,293.76

31,209.12

26,451.39

หนี้สิน

24,604.26

19,743.50

17,763.63

ส่วนของผู้ถือหุ้น

11,689.50

11,465.62

8,687.76

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)

6.65

7.59

17.05

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (ร้อยละ)

4.63

5.15

10.06

71.40

72.15

64.61

อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ)

ก�ำไรสุทธิ

สินทรัพย์

ล้านบาท 2,500

ล้านบาท 31,209 26,452 19,743

24,604 11,689

17,764 8,688

11,466

19,740 11,843

15,289

12,485

7,897

0

2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 หนี้สิน

ส่วนของผู้ถือหุ้น

รายงานประจ�ำปี 2558

2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

15,000 10,000 5,000

9,549

436

5,740

0

762 771

6,888

625

821

5,597

653

11,109

1,297 1,250

30,000 25,000 20,000

1,414

4,994 6,115

1,875

36,293

40,000 35,000

9


โรงงานและคลังสินค้า โรงงาน TICON พื้นที่ขายให้ FUNDS/REIT

46%

200,000 100,000

500,000

60% 40% 20%

0 ณ สิ้นปี 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 มีสัญญาเช่า

0

400,000 300,000 200,000 100,000 0

27,225

52%

80%

74,250

400,000 300,000

68%

ตารางเมตร

108,350

76%

100%

106,100

93%

87,435

500,000

81% 78% 77% 82%

98,418

600,000

102,475

ตารางเมตร

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

อัตราการเช่า

สร้างเสร็จพร้อมให้เช่า

คลังสินค้า TICON พื้นที่ขายให้ FUNDS/REIT 500,000

60% 40%

200,000 100,000

20%

0 ณ สิ้นปี 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

0

มีสัญญาเช่า

สร้างเสร็จพร้อมให้เช้า

400,000 300,000 200,000 100,000 0

133,282

300,000

80%

160,523

71% 62% 65%

182,095

400,000

77%

71%

ตารางเมตร

117,664

60%

100%

55,230

500,000

88% 82%

70,731

600,000

97%

19,600

ตารางเมตร

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

อัตราการเช่า

โรงงานและคลังสินค้า TICON พื้นที่ขายให้ FUNDS/REIT 750,000

0 ณ สิ้นปี 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 มีสัญญาเช่า

สร้างเสร็จพร้อมให้เช้า

อัตราการเช่า

0

450,000 300,000 150,000 0

160,507

20%

600,000 234,773

60% 40%

400,000 200,000

10

80%

290,445

60% 61%

223,764

800,000 600,000

65%

ตารางเมตร

55,230

76%

100%

87,435

94% 73% 78%

70,731

1,000,000

82% 79%

118,018

1,200,000

102,475

ตารางเมตร

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558


NORTHEASTERN THAILAND ZONE ๐ TPARK KHONKAEN

EASTERN THAILAND ZONE • KABINBURI INDUSTRIAL ZONE • ROJANA INDUSTRIAL PARK (PRACHINBURI) ๐ TPARK ROJANA (PRACHINBURI)

๐ WAREHOUSES

NORTHERN THAILAND ZONE ๐ TPARK LAMPHUN

SOUTHERN THAILAND ZONE ๐ TPARK SURAT THANI

EASTERN SEABOARD ZONE • AMATA NAKORN INDUSTRIAL ESTATE • HEMARAJ CHONBURI INDUSTRIAL ESTATE • LAEMCHABANG INDUSTRIAL ESTATE • PINTHONG INDUSTRIAL ESTATE (4 LOCATIONS) • AMATA CITY INDUSTRIAL ESTATE • ROJANA INDUSTRIAL PARK (RAYONG) ๐ TPARK AMATA NAKORN ๐ TPARK BOWIN NORTHERN BANGKOK ZONE ๐ TPARK SRIRACHA • ROJANA INDUSTRIAL PARK ๐ TPARK LAEMCHABANG (2 LOCATIONS) (AYUDHYA) ๐ TPARK PHAN THONG (3 LOCATIONS) • HI – TECH INDUSTRIAL ESTATE ๐ TPARK EASTERN SEABOARD 1 • BANGPA – IN INDUSTRIAL ESTATE (3 LOCATIONS) • NAVANAKORN INDUSTRIAL ๐ TPARK EASTERN SEABOARD 2 PROMOTION ZONE (2 LOCATIONS) ๐ TPARK ROJANA (AYUDHYA) ๐ TPARK EASTERN SEABOARD 3 ๐ TPARK WANGNOI (3 LOCATIONS) ๐ TPARK AMATA CITY

รายงานประจ�ำปี 2558

• FACTORIES

EASTERN BANGKOK ZONE • LADKRABANG INDUSTRIAL ESTATE • BANGPOO INDUSTRIAL ESTATE • ASIA INDUSTRIAL ESTATE ๐ TPARK BANGNA ๐ TPARK BANGPAKONG ๐ TPARK LADKRABANG ๐ TPARK BANGPLEE (6 LOCATIONS) ๐ TPARK RAMA 2

11


ความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อสังคม / พนักงาน – สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ บริษทั มีกจิ กรรมสอนภาษาอังกฤษให้กบั พนักงานคนไทยโดยพนักงาน ที่เป็นชาวต่างชาติ เพื่อให้พนักงานมีทักษะที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษ ในการท�ำงานตลอดจนน�ำเอาไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวันได้อกี ด้วย

เพื่อสังคม / พนักงาน – ส่งเสริมให้เป็นองค์กรสุขภาพดี บริษัทท�ำการรณรงค์มาอย่างต่อเนื่องให้พนักงานรวม กลุม่ กันเล่นกีฬาเพือ่ ออกก�ำลังกาย นอกจากเป็นการส่งเสริม ให้ พนั ก งานมีสุขภาพที่ดีแล้วยัง ช่วยให้เ กิดความสามัคคี ในการท�ำงาน ช่วยสร้าง Teamwork ที่ดีในหมู่พนักงาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการท�ำงานของ พนักงานดียิ่งขึ้น บริษัทจึงจัดให้พนักงานเข้าไปใช้บริการ ฟิตเนสจากโครงการ Somerset Park Suanplu ได้โดย ไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยใดๆ นอกจากนี้ พ นั ก งานยั ง สามารถเข้ า ใช้ บริการสนามแบดมินตันและสนามฟุตซอลอีกที่ละ 1 แห่งโดย บริษัทจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายค่าเช่าสถานที่ให้กับพนักงาน

เพื่อสิ่งแวดล้อม – อาคารสีเขียวช่วยลดโลกร้อน บริษัทและบริษัทย่อยเป็นผู้พัฒนาโรงงานสีเขียวให้เช่ารายแรก และเป็นผู้พัฒนาคลังสินค้าสีเขียวให้เช่าเพียงหนึ่งในไม่กี่รายของ ประเทศไทย อาคารสีเขียวของบริษทั และบริษทั ย่อยทัง้ ทีเ่ ป็นโรงงาน และที่เป็นคลังสินค้าต่างได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการภายใต้ LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) certification program จากสถาบันระดับโลกว่ามีการก่อสร้าง ทีต่ รงตามมาตรฐานการเป็นอาคารสีเขียวหรือ green buildings

12

เครดิตภาพจาก www.somerset.com

โรงงานสีเขียว


เพื่อสังคม / ชุมชน – การให้คือการแบ่งปัน กุมภาพันธ์ 2558 บริษัทและบริษัทย่อยได้บริจาคเก้าอี้ ส�ำนักงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้กบั มูลนิธวิ ดั สวนแก้ว จังหวัดนนทบุรี เป็นกิจกรรมที่บริษัทกระท�ำเป็นประจ�ำทุกปี และกระท�ำติดต่อกันมาหลายปี

กุ ม ภาพั น ธ์ 2558 บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ น�ำ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง โต๊ ะ พร้ อ มกั บ โต๊ ะ คอมพิ ว เตอร์ จ�ำนวนหนึ่งไปมอบให้กับโรงเรียนศรีอุดมวิทยา ซึ่งตั้งอยู่ที่ ต�ำบลชีน�้ำร้าย อ�ำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี

พฤษภาคม 2558 บริษทั ได้บริจาคเงินสนับสนุนโครงการ นิคมอุตสาหกรรมไทยร่วมใจช่วยเนปาล จ�ำนวน 200,000 บาท โดยบริจาคให้กับมูลนิธินิคมอุตสาหกรรมไทย

ตุลาคม 2558 บริษัทและบริษัทย่อยได้บริจาคอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ เก้าอี้ส�ำนักงาน พร้อมด้วยฉากกั้นส�ำนักงาน อีกจ�ำนวนหนึ่งให้กับมูลนิธิวัดสวนแก้ว จังหวัดนนทบุรี

รายงานประจ�ำปี 2558

คลังสินค้าสีเขียว

13


คณะกรรมการและผู้บริหาร

นายชาลี โสภณพนิช ประธานกรรมการ

นายจิระพงษ์ วินิชบุตร กรรมการ

อายุ 55 ปี

อายุ 65 ปี

การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ The University of Chicago • Director Accreditation Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ George Washington University • Director Accreditation Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Certification Program ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ร้อยละ 3.29 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: • ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: 2553 - ปัจจุบัน • กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน) 2540 - ปัจจุบัน • กรรมการผู้อ�ำนวยการ บจก. นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย (อสังหาริมทรัพย์) 2530 - ปัจจุบัน • กรรมการผู้อ�ำนวยการ บจก. ซิตี้เรียลตี้ (อสังหาริมทรัพย์)

14

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ไม่มี (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: • เป็นญาติกับนายชาย วินิชบุตร ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: 2555 - ปัจจุบัน • กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี (อสังหาริมทรัพย์) • กรรมการผูจ้ ดั การ บจก. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 (อสังหาริมทรัพย์) 2553 - ปัจจุบัน • กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน) 2548 - ปัจจุบัน • ประธานกรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า) 2536 - ปัจจุบัน • กรรมการผูจ้ ดั การ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ (อสังหาริมทรัพย์)


นายชาย วินิชบุตร กรรมการ

นายเนตร จรัญวาศน์ กรรมการ

อายุ 42 ปี

อายุ 52 ปี

การศึกษา: • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ Boston University • Director Accreditation Program ปี 2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of New Haven • Director Accreditation Program ปี 2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: • เป็นญาติกับนายจิระพงษ์ วินิชบุตร ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ • บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า) 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ • TICON (HK) Limited (ลงทุนในกิจการในต่างประเทศ) 2556 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผู้จัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์) 2555 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า) 2554 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 3 (อสังหาริมทรัพย์) • กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 4 (อสังหาริมทรัพย์) 2550 - ปัจจุบัน • กรรมการ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ (อสังหาริมทรัพย์) 2547 - ปัจจุบัน • กรรมการผู้จัดการ บจก. โรจนะ พร็อพเพอร์ตี้ (อสังหาริมทรัพย์)

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ไม่มี (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: • ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: 2544 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 3 • กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 4

รายงานประจ�ำปี 2558

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ไม่มี (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559)

15


นายวีรพันธ์ พูลเกษ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ

นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ

อายุ 55 ปี

อายุ 73 ปี

การศึกษา: • ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ University of Colorado • Director Certification Program (สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิอาวุโส) ปี 2545 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • DCP Refresher Course ปี 2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Audit Committee Program ปี 2553 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • ประกาศนียบัตร National Association of Corporate Directors ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตร Master Class 18 - 19 สิงหาคม 2557

การศึกษา: • Fellow of the Institute of Chartered Accountants in England & Wales • Director Accreditation Program ปี 2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ร้อยละ 1.01 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: • ไม่มี

16

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: 2558 - ปัจจุบัน • กรรมการ TICON (HK) Limited (ลงทุนในกิจการในต่างประเทศ) 2556 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผู้จัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์) 2553 - ปัจจุบัน • กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน) 2548 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า) 2544 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ร้อยละ 0.08 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: • ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: 2538 - ปัจจุบัน • กรรมการ Sakura Ventures Pte. Ltd. (อสังหาริมทรัพย์ ส�ำนักงาน และโรงแรม) 2551 - 2555 • กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ (อสังหาริมทรัพย์)


นายตรีขวัญ บุนนาค กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

อายุ 54 ปี

อายุ 59 ปี

การศึกษา: • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ University of Southern California • Director Accreditation Program ปี 2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

การศึกษา: • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of North Texas • Director Certification Program ปี 2544 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Accreditation Program ปี 2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ไม่มี (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559)

สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ร้อยละ 0.13 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: • ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร: • ไม่มี

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: 2547 - 2555 • กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผู้จัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท: 2551 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค (สร้างคลังสินค้าให้เช่า) 2555 - ปัจจุบัน • กรรมการ บจก. เอ็มเมอรัลด์ เบย์ รีสอร์ท (อสังหาริมทรัพย์) • กรรมการ บจก. เอ็มเมอรัลด์ เบย์ วิลล่า (อสังหาริมทรัพย์) 2552 - 2555 • กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ (อสังหาริมทรัพย์)

รายงานประจ�ำปี 2558

นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

17


คณะกรรมการและผู้บริหาร ดร. สมศักดิ์ ไชยพร

ฃผู้จัดการทั่วไป อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

64 ปี ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ Ecole Centrale de Lyon ร้อยละ 0.01 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี 2540 - ปัจจุบัน ผู้จัดการทั่วไป บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า)

นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

รองผู้จัดการทั่วไป อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

47 ปี ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ Texas A&M University, Kingsville ปริญญาโท บริหารธุรกิจ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

นายกฤษณ์ วีรกุล

รองผู้จัดการทั่วไป ด้านพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ์

46 ปี ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ Oregon State University ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุการบริษัท อายุ 50 ปี การศึกษา ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Company’s Secretary Program ปี 2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส (สร้างโรงงานให้เช่า) 2558 -ปัจจุบนั กรรมการ TICON (HK) Limited (ลงทุนในกิจการในต่างประเทศ) 2556 - 2557 กรรมการ บจก. ไทคอน แมนเนจเม้นท์ (ผู้จัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)

18


นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

49 ปี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Notre Dame de Namur University ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

นายสมศักดิ์ รัตนวิระกุล

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการตลาด 1 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

56 ปี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี 2539 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายวางแผนและโครงการ บมจ. ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม (อสังหาริมทรัพย์)

นางยูโกะ โฮชิ

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการตลาด 2 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

45 ปี ปริญญาตรี สังคมศาสตร์ Chiba ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

นางสาวศิริพร สมบัติวัฒนา

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายธุรการ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

53 ปี ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ร้อยละ 1.53 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

นายสิทธิศักดิ์ ธารีรัชต์

52 ปี ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี รายงานประจ�ำปี 2558

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกฎหมาย อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

19


นางสาวรุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชี อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

45 ปี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Monash University ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

นางสาวพรพิมล ศุภวิรัชบัญชา

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงิน อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

40 ปี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

นายอภิณัฐ เมฆลอย

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

41 ปี ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

นางสาววรัญญา อินทรไพโรจน์

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายจัดซื้อ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

47 ปี ปริญญาตรี ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร้อยละ 0.02 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี

นางสาวปริ่มโอภา ณัชชาจารุวิทย์

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริหารอสังหาริมทรัพย์ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการ/ผู้บริหาร ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท

20

38 ปี ปริญญาตรี วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร้อยละ 0.00 (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2559) ไม่มี ไม่มี


ข้อมูลทัว� ไป บริษทั ชื�อ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

เว็บไซต์ อีเมล ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ก่อสร้างโรงงานสําเร็จรูปเพื�อวัตถุประสงค์ในการให้เช่า 0107544000051 (บมจ. 666) ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ที าวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticon.co.th ticon@ticon.co.th 1,115,941,811 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 1,099,142,375 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 1 บาทต่อหุน้

บริษทั ย่อย บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จํากัด

ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

ก่อสร้า งโรงงานสําเร็จรู ปเพื�อวัตถุประสงค์ในการให้เช่าในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึ�งได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 100 49/32 หมูท่ �ี 5 นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ตําบลทุ่งสุขลา อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 50,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 50,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 10 บาทต่อหุน้

รายงานประจ�ำปี 2558

ประเภทธุรกิจ

21


บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

เว็บไซต์ อีเมล ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

พัฒนาคลังสินค้าสําเร็จรูปเพือ� วัตถุประสงค์ในการให้เช่า บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 100 ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ที าวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticonlogistics.com logistics@ticon.co.th 19,500,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 19,500,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 10 บาทต่อหุน้

Shanghai TICON Investment Management Company Limited ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว

บริหารการลงทุน บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 100 Rm. A512, Building 4, No.3288, Jinhai Road, Pudong New Area, Shanghai, China 2,800,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 2,800,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559)

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

22

ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุนร้ ้ อยละ 70 ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ที าวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 10,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 10,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 10 บาทต่อหุน้


TICON (HK) Limited ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนชําระแล้ว

ลงทุนในกิจการในต่างประเทศ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 Room 337, 3/F South China C.S. Building 13-17 Wah Sing Street, Kwai Chung, N.T. Hong Kong 11,615,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559)

บริษทั ร่วมค้า บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

ผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ า บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ถือหุน้ ร้อยละ 51 59 หมูท่ �ี 1 ตําบลสวนพริกไทย อําเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ (662) 959-5811-5 โทรสาร (662) 959-5822 5,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 5,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 100 บาทต่อหุน้

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย)

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล้ว มูลค่าที�ตราไว้

ผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ า บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ถือหุน้ ร้อยละ 51 59 หมูท่ �ี 1 ตําบลสวนพริกไทย อําเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ (662) 959-5811-5 โทรสาร (662) 959-5822 4,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 4,000,000 บาท (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 100 บาทต่อหุน้

รายงานประจ�ำปี 2558

ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ที�ตงั� สํานักงานใหญ่

23


ผูเ้ กี�ยวข้องอืน� ๆ

24

นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259

ผูส้ อบบัญชี

นายโสภณ เพิ�มศิริวลั ลภ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที� 3182 บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด ชัน� 33 อาคารเลครัชดา เลขที� 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ (662) 264-9090 โทรสาร (662) 264-0789


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1. วิสยั ทัศน์และเป้ าหมายการดําเนิ นธุรกิจ 1.1 วิสยั ทัศน์ วิสยั ทัศน์ของบริษทั คือ การเป็ นบริษทั ชัน� นําในการพัฒนาและให้บริการเช่าโรงงานและคลังสินค้าที�มี คุณภาพระดับสากล โดยคํานึงถึงสังคมและสภาพแวดล้อมเป็ นสําคัญและให้ผลตอบแทนที�ดที �สี ุดแก่ผูล้ งทุน 1.2 เป้ าหมายการดําเนิ นธุรกิจ เป้ าหมายการดํา เนินธุ ร กิจของบริษ ทั คือ การรัก ษาตําแหน่ งการเป็ นผู น้ ําด้านการก่ อสร้า งโรงงานและ คลังสินค้าเพื�อให้เช่าที�มคี ุณภาพระดับสากลควบคู่ไปกับการให้บริการครบวงจรโดยคํานึงถึงความต้องการของลูกค้า เป็ นสําคัญและบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลเพื�อประโยชน์ของผูท้ �มี สี ่วนเกี�ยวข้องทุกฝ่ าย

2. การเปลี�ยนแปลงและการพัฒนาการที�สาํ คัญ ในปี 2558 บริษทั ขยายการลงทุนคิดเป็ นมูลค่ารวมทัง� สิ�น 6,800 ล้านบาท แบ่งเป็ นการลงทุนในธุ รกิจพัฒนา โรงงานสําเร็จรูปจํานวน 1,300 ล้านบาท และการลงทุนในธุ รกิจพัฒนาคลังสินค้าอีก 5,500 ล้านบาท เพื�อรองรับความ ต้องการเช่าคลังสินค้าที�ยงั มีการขยายตัวต่อเนื�องในพื�นที�รอบนอกกรุงเทพมหานครทัง� ทางทิศตะวันออก ในอําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ และทางทิศเหนือ ในอําเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอันจะเห็นได้จากพื�นที�เช่าคลังสินค้า สุทธิของบริษทั ที�เพิ�มขึ�น 203,812 ตารางเมตร ซึ�งมากกว่าปี ก่อนหน้า นอกจากนี�บริษทั มีพ� นื ที�เช่าโรงงานสุทธิเพิ�มขึ�น 17,525 ตารางเมตร ซึ�งมากกว่าการเพิ�มขึ�นสุทธิในปี ก่อนหน้าเช่นกัน พื�นที�เช่าคลังสินค้าสุทธิเพิ�มขึ�นสูงกว่าปี ก่อนหน้าร้อยละ 21 ตามความต้องการคลังสินค้า/ศูนย์กระจายสินค้าที� ขยายตัวจากการเติบโตของอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ในประเทศ และการขยายธุ รกิจของกลุม่ ธุ รกิจค้าปลีก ทํา ให้รายได้ จากธุรกิจคลังสินค้ามีสดั ส่วนมากขึ�นเมือ� เทียบกับรายได้รวมของบริษทั

นอกจากนี�ในปี ท�ผี ่านมา บริษทั ได้จดั ตัง� บริษทั ย่อยชื�อ บริษทั TICON(Hong Kong) จํากัด เพื�อทําการถือหุน้ ใน กิจการร่วมค้า ชื�อ บริษทั PT SLP Surya TICON Internusa จํากัดซึ�งบริษทั เป็ นผูร้ ่วมก่อตัง� ขึ�นในประเทศอินโดนีเซีย ดําเนินธุรกิจพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าให้เช่าภายในประเทศอินโดนีเซีย โดยกิจการร่วมค้าดังกล่าวมีการดําเนินงาน แล้วตัง� แต่ปลายปี 2558

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษ ทั มีพ� นื ที�เ ช่า โรงงานสุทธิเ พิ�มขึ�น เล็กน้อย โดยในปี ก่อ นหน้า พื�นที�เ ช่า โรงงานสุทธิของบริษทั เป็ นลบ ทัง� นี� เนื�องจากบริษทั มีพ�นื ที�เช่าโรงงานใหม่มากกว่าในปี 2557 ในขณะที�พ�นื ที�เช่าโรงงานทีบ� ริษทั ถูกผูเ้ ช่าบอกเลิกสัญญากลับมี จํานวนที�ลดลงสําหรับการให้เช่าพื�นทีใ� หม่และอัตราการเช่าเฉลีย� ของโรงงานยังคงได้รบั ผลกระทบจากการชะลอการลงทุน ของกลุม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และยานยนต์ซ�งึ เป็ นกลุม่ ลูกค้าสําคัญของบริษทั อย่างไรก็ตาม ผลกระทบดังกล่าว ได้ถูกชดเชยด้วยการเติบโตอย่างมากของธุรกิจคลังสินค้าให้เช่าของบริษทั ในปี ท�ผี ่านมา

25


3. โครงสร้างการถือหุน้ ของกลุ่มบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2558 บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน)

บริษัทร่วม

บริษัทย่อย

18%

บริษทั อีโคอินดัสเทรียลเซอร์วสิ เซสจํากัด

100%

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด

100%

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ 16%

Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd.

100%

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอนอินดัสเทรียลโกรท

25%

TICON(Hong Kong) Co.,Ltd.

100%

กองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

20%

- บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (51%) - บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (51%)

- PT SLP Surya TICON Internusa

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด

(25%)

70%

บริษทั มีบริษทั ย่อย 5 แห่ง ได้แก่ บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัดบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON (Hong Kong) Company Limited และบริ ษ ทั ไทคอน แมนเนจเม น้ ท์ จํา กัด โดยบริ ษ ทั และบริ ษ ทั อี โ คอิ น ดัส เทรีย ลเซอร์วิสเซส จํา กัด เป็ นผู จ้ ัด สร้า งโรงงานให้เ ช่ า ส่ ว นคลัง สิ น ค้า ให้เ ช่ า ดํา เนิ น การโดยบริ ษ ัท ไทคอน โลจิ ส ติ ค ส์ พาร์ค จํา กัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited และ TICON (Hong Kong) Company Limited จัดตัง� ขึ�นเพื�อรองรับการขยายธุรกิจในประเทศจีน และประเทศอื�นๆ สําหรับ บริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด จัดตัง� ขึ�นเพื�อวัตถุประสงค์ในการเป็ นผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทัง� นี� รายละเอียดของ บริษทั ย่อยมีดงั ต่อไปนี� 1. บริษัทอีโคอินดัสเทรียลเซอร์วิสเซสจํากัด (Eco Industrial Services Company Limited: EISCO) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน โดย EISCO ดําเนินธุ รกิจเช่นเดียวกับบริษทั และถูกจัดตัง� ขึ�น เพื�อ ขอรับ การส่ ง เสริ ม การลงทุ น จากคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในโครงการก่ อ สร้า งโรงงานสํา เร็ จ รู ป ในนิ คมอุต สาหกรรมแหลมฉบังซึ�งเป็ น โครงการที�มีรู ปแบบเช่น เดีย วกับ โครงการของบริษ ทั โดยเริ� มดํา เนิน การ ในเดือนเมษายน 2544 และได้รบั อนุ มตั ิให้ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเมื�อเดือน สิงหาคม 2544 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 EISCO มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 50 ล้านบาทโดยในปี 2546 EISCO ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 26


2. บริษัท ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด (TICON Logistics Park Company Limited: TPARK) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน TPARK จัดตัง� ขึ�นในเดือนสิงหาคม 2548 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อ พัฒนาคลังสินค้า ให้เ ช่า โดย TPARK ได้ร บั การส่งเสริมการลงทุนในการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมโลจิสติ คส์ไทคอน บางนา เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอนวังน้อ ยเขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ศรีร าชา เขตอุตสาหกรรม โลจิสติคส์ไทคอนแหลมฉบัง และการพัฒนาคลังสินค้าจํานวนหนึ�งในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 TPARK มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 19,500 ล้านบาท โดยในปี 2552 TPARK ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 3. Shanghai TICON Investment Management Company Limited ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน จัดตัง� ขึ�นในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ในเดือนกรกฎาคม 2553 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อรองรับ การขยายธุรกิจเกี�ยวกับการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในประเทศจีนซึ�งปัจจุบนั อยู่ระหว่างศึกษาความเป็ นไปได้ส าํ หรับ การลงทุน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 Shanghai TICON Investment Management Company Limited มีทุนจดทะเบียน 2.8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และมีทุนชําระแล้ว 2.8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 4. TICON (Hong Kong) Company Limited ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 จัดตัง� ขึ�นในเขตปกครองพิเศษ ฮ่องกง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ในเดือนเมษายน 2558 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อรองรับการขยายธุ รกิจเกี�ยวกับ การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในต่างประเทศที�นอกเหนือจากสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ�งล่าสุดบริษทั ได้ทาํ การลงทุนใน กิจการร่วมค้า PT SLP Surya TICON Internusa ทีป� ระเทศอินโดนีเซีย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 TICON (Hong Kong) Company Limited มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระ แล้ว 11.6 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ 5. บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด (TICON Management Company Limited: TMAN) ถือหุน้ โดย บริษทั ร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียน TMAN จัดตัง� ขึ�นในเดือนพฤษภาคม 2556 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อเป็ นผูจ้ ดั การ กองทรัสต์โดยได้ร บั การอนุ มตั ิในการเป็ นผู จ้ ดั การกองทรัสต์ จากสํา นัก งานคณะกรรมการกํา กับหลัก ทรัพ ย์และ ตลาดหลักทรัพย์ตงั� แต่วนั ที� 6 สิงหาคม 2557 ในเดือนตุลาคม 2557 บริษทั ได้จาํ หน่ายเงินลงทุนใน TMAN จํานวน 300,000 หุน้ หรือเท่ากับร้อยละ 30 ของทุนจดทะเบียนให้กบั Mitsui & Co. (Asia Pacific) Company Limited นอกจากบริษ ทั ย่อยดังกล่า วข้างต้นแล้ว บริษ ทั ยังมีการลงทุนในบริษัทร่วมค้า ได้แก่ บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด และ บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด เพื�อวัตถุประสงค์ในการเป็ นผูพ้ ฒั นาโครงการผลิตและ จําหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ บริษทั PT SLP Surya TICON Internusa เพื�อวัตถุประสงค์ในการ ดําเนินธุรกิจพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าให้เช่าภายในประเทศอินโดนีเซีย ซึ�งรายละเอียดของบริษทั ร่วมค้า มีดงั ต่อไปนี�

รายงานประจ�ำปี 2558

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558T MAN มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 10 ล้านบาท

27


1. บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (TICON DEMCO Power 6 Company Limited: TICON DEMCO 6) ถือหุน้ โดย TPARK ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน โดย TICON DEMCO 6 ดําเนินธุ รกิจพัฒนา โครงการผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 TICON DEMCO 6 มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 5 ล้านบาท 2. บริษัท ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11จํากัด (TICON DEMCO Power 11 Company Limited: TICON DEMCO 11) ถือหุน้ โดย TPARK ร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียน โดย TICON DEMCO 11 ดําเนินธุ รกิจ พัฒนาโครงการผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์เช่นเดียวกับ TICON DEMCO 6 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 TICON DEMCO 11 มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 4 ล้านบาท 3. PT SLP Surya TICON Internusa ถือหุน้ โดย TICON (Hong Kong) Company Limited ร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียน โดย PT SLP Surya TICON Internusa ดําเนินธุ รกิจพัฒนาโรงงานและคลังสินค้า ให้เช่าภายในพื�นที�โครงการสวนอุตสาหกรรมที�อยู่ภายในประเทศอินโดนีเซีย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 PT SLP Surya TICON Internusa มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 46.4 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ นอกจากนี� บริ ษ ัท มีก ารลงทุ น ในบริ ษ ทั ร่ ว ม ได้แ ก่ กองทุ น รวมอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน กองทุ น รวม อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรทและกองทรัสต์เพื�อ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน ซึ�งมีรายละเอียดดังนี� 

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (TICON Property Fund : TFUND)

TFUND จัดตัง� ขึ�นในเดือนเมษายน 2548 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กี�ยวเนื�องกับ กิจการอุตสาหกรรม (Industrial Properties) โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท�ี TICON หรือ TPARKเป็ นเจ้าของ TFUND เป็ นกองทุนที�เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จํากัดเป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TFUND มีจาํ นวนเงินทุน 11,825 ล้านบาท TFUND มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2548 และได้ทาํ การเพิ�มทุนอีก 6 ครัง� ในปี 2549-2555 เพื�อซื�อโรงงานและคลังสินค้าจาก TICON และ TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีโรงงาน จํานวนรวม 236 โรงงาน (พื�นที�รวม 561,000ตารางเมตร) และคลังสินค้า 8 หลัง (พื�นที�รวม 19,600 ตารางเมตร) ตามลําดับ ทัง� นี� TICON และ TPARK มิได้มขี ้อผูกพันในการซื�อโรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TFUND TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงานและคลังสินค้าที�ขายให้แก่ TFUND และ ได้รบั ค่าจ้างบริหารจากTFUND TFUND มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่วยอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ� กว่าร้อยละ 90 ของ กําไรสุทธิของกองทุน ซึ�งกําไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 TFUND มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 11.2685 บาทต่อหน่วย 28


ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2558 บริษทั มีการลงทุนใน TFUND คิดเป็ นร้อยละ 18.5 ของจํานวนหน่วยลงทุน ที�ออกทัง� หมด 

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ (TPARK Logistics Property Fund : TLOGIS)

TLOGIS จัดตัง� ขึ�นในเดือนธันวาคม 2552 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กี�ยวเนื�อง กับกิจ การอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพ ย์ดงั กล่า วไม่จ ําเป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพ ย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้า ของ TLOGIS เป็ นกองทุนที�เ ป็ นหลัก ทรัพ ย์จ ดทะเบีย นในตลาดหลัก ทรัพ ย์แห่งประเทศไทย โดยมีบริษ ทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จํากัดเป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TLOGIS มีจาํ นวนเงินทุน 4,469 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2552 และทําการเพิ�มทุน อีก 2 ครัง� ในปี 2554-2555 เพื�อ ซื�อคลังสินค้าจาก TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีคลังสินค้า จํานวนรวม 63 หลัง (พื�นที�รวม 243,625 ตารางเมตร) โดยมี TICON เป็ นผูค้ าํ� ประกันค่าเช่าสําหรับการเช่าคลังสินค้าบางส่วนให้แก่ TLOGISเป็ นจํานวน เงินเท่ากับปี ละ 187.5 ล้านบาท จนถึงวันที� 31 ธันวาคม 2559 ทัง� นี� TPARK มิได้มขี อ้ ผูกพันในการซื�อคลังสินค้าคืน จาก TLOGIS TPARK ได้ร บั การว่า จ้า งให้เ ป็ นผู บ้ ริหารคลัง สินค้า ที�ข ายให้แก่ TLOGIS และได้ร บั ค่ า จ้า งบริหาร จาก TLOGIS TLOGIS มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่วยอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ� กว่าร้อยละ 90 ของ กําไรสุทธิของกองทุน ซึ�งกําไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 TLOGIS มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 11.7246 บาทต่อหน่วย ณ สิ�นเดือนธันวาคม2558บริษทั มีการลงทุนใน TLOGIS คิดเป็ นร้อยละ 16.2 ของจํานวนหน่วยลงทุน ที�ออกทัง� หมด กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอนอินดัสเทรียลโกรท (TICON Industrial Growth Leasehold Property Fund : TGROWTH) 

ปัจจุบนั TGROWTH มีจาํ นวนเงินทุน 5,550 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2556 เพื�อลงทุน ในสิทธิการเช่าที�ดินกรรมสิทธิ� และสิทธิการเช่าอาคารจาก TICON และ TPARK ซึ�งปัจุบนั มีโรงงานรวม 40 โรงงาน (พื�นที�รวม 121,175 ตารางเมตร) และคลังสินค้า 50 หลัง (พื�นที�รวม 182,095 ตารางเมตร) ตามลําดับ ทัง� นี� TICON และ TPARK มิได้มขี ้อผูกพันในการซื�อโรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TGROWTH TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงานและคลังสินค้าที�ขาย/ให้เช่าแก่ TGROWTH และได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TGROWTH

รายงานประจ�ำปี 2558

TGROWTH จัดตัง� ขึ�นในเดือนธันวาคม2556 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กี�ยวเนื�อง กับกิจการอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ น เจ้าของ TGROWTHเป็ นกองทุนรวมสิทธิการเช่าที�เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนไทยพาณิชย์ จํากัด เป็ นผูจ้ ดั การกองทุน

29


TGROWTH มีนโยบายจ่า ยเงินปันผลให้แก่ ผูถ้ ือ หน่วยลงทุนอย่างน้อยปี ละ 2ครัง� ในอัตราไม่ตาํ� กว่า ร้อ ยละ 90ของกํา ไรสุทธิข องกองทุน ซึ�งกํา ไรสุทธิข องกองทุนดัง กล่า วเป็ นกํา ไรที�ได้ร บั การยกเว้นภาษี ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 TGROWTH มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 10.1960 บาทต่อหน่วย ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2558 บริษทั มีการลงทุนใน TGROWTH คิดเป็ นร้อยละ 25.5ของจํานวนหน่วยลงทุน ที�ออกทัง� หมด กองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน(TICON Freehold and Leasehold Real Estate Investment Trust Fund : TREIT) 

TREITจัดตัง� ขึ�นในเดือนธันวาคม 2557 เพื�อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท�เี กี�ยวเนื�องกับ กิจการอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท�ี TICON หรือ TPARK เป็ น เจ้าของ TREIT เป็ นกองทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ท�ีเป็ นหลัก ทรัพ ย์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีบริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด (TICON Management Company Limited: TMAN) เป็ นผู จ้ ดั การกองทรัสต์และบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จํากัด เป็ นทรัสตี ปัจจุบนั TREIT มีจาํ นวนเงินทุน 5,542ล้านบาท มีการระดมทุนครัง� แรกในปี 2557 เพื�อซื�อโรงงานและ คลังสินค้าจาก TICON และ TPARK และลงทุนในสิทธิการเช่าที�ดินกรรมสิทธิ� และสิทธิการเช่าอาคารจาก TICON และ TPARK ซึ�งปัจจุบนั มีโรงงานจํานวน 27 หลัง (พื�นที�รวม 75,900 ตารางเมตร) และคลังสินค้าจํานวน 71 หลัง (พื�นที�รวม 293,805 ตารางเมตร) ตามลําดับ ทัง� นี� TICON และ TPARK มิได้มขี อ้ ผูก พันในการซื�อ โรงงานและ คลังสินค้าคืนจาก TREIT TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงานและคลังสินค้าที�ขาย/ให้เช่าแก่ TREIT และ ได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TREIT TREIT มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่วยทรัสต์อย่างน้อยปี ละ 2 ครัง� ในอัตราไม่ตาํ� กว่าร้อยละ 90 ของกําไรสุทธิหลังปรับปรุงแล้วของกองทรัสต์ ซึ�งกําไรสุทธิของกองทรัสต์ดงั กล่าวเป็ นกําไรที�ได้รบั การยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ทัง� นี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 TREIT มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 9.8823 บาทต่อหน่วย ทัง� หมด

ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2558 บริษทั มีการลงทุนใน TREITคิดเป็ นร้อยละ 20.0ของจํานวนหน่วยทรัสต์ท�อี อก

การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT ถือเป็ นช่องทางการระดมทุนของ บริษทั ทางหนึ�ง เพื�อนําเงินที�ได้มาใช้ขยายกิจการของบริษทั นอกเหนือจากแหล่งเงินทุนจากผลการดําเนินงานของบริษทั และแหล่งเงินทุนจากการกูย้ มื การพิจารณาขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT นัน� บริษทั จะคํานึงถึงความเหมาะสมของปัจจัยต่างๆ ที�เกี�ยวข้องในแต่ละช่วงเวลา โดยคํานึงถึงผลตอบแทนสูงสุดต่อผูถ้ อื หุน้

30


รายงานประจ�ำปี 2558

บริษทั มีเงินลงทุนในบริษัทที�เกี�ยวข้อง คือ บริษทั บางกอกคลับ จํากัด เป็ นจํานวนเงินทัง� สิ�น 256,500 บาท คิดเป็ นร้อยละ 0.11 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั บางกอกคลับ จํากัด เพื�อวัตถุประสงค์ในการใช้บริการของบริษทั ดังกล่าว

31


ลักษณะการประกอบธุรกิจ 1.

ภาพรวมของธุรกิจ

บริษทั ประกอบธุรกิจเป็ นผูก้ ่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าให้เช่า ในนิคมอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรม เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และทําเลอื�นที�มศี กั ยภาพในประเทศไทย โดยโรงงานของบริษทั ตัง� อยู่ในนิคม/สวน/ เขต/เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม 15 แห่ง ดังต่อไปนี� ที�ตง�ั นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี นิคมอุตสาหกรรมปิ� นทอง นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต� ี นิคมอุตสาหกรรมบางปู นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ระยอง เขตอุตสาหกรรมกบินทร์บรุ ี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี

จังหวัด พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ระยอง สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร ระยอง ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

คลังสินค้าของบริษทั ตัง� อยู่ในพื�นที� 33 ทําเล ดังต่อไปนี� ที�ตง�ั เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางนา ศูนย์คลังสินค้าแหลมฉบัง เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน แหลมฉบัง เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย (3 แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ลาดกระบัง ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด (5 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ศรีราชา

32

จังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี กรุงเทพมหานคร ระยอง ชลบุรี ชลบุรี


ที�ตง�ั นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) ศูนย์คลังสินค้าพานทอง (3 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางปะกง ศูนย์คลังสินค้าบางพลี (6 แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี ศูนย์คลังสินค้าขอนแก่น ศูนย์คลังสินค้าสุราษฎร์ธานี นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต� ี ศูนย์คลังสินค้าสมุทรสาคร ศูนย์คลังสินค้าลําพูน

2.

จังหวัด ชลบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปราจีนบุรี ขอนแก่น สุราษฎร์ธานี ระยอง สมุทรสาคร ลําพูน

โครงสร้างรายได้

ปัจจุบนั รายได้จากการขายโรงงาน/คลังสินค้ามีสดั ส่วนสูงที�สุดเมือ� เทียบกับรายได้รวมของบริษทั เนื�องจากหลายปี ท�ผี ่าน มาบริษทั มีการขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการ เช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอนเป็ นจํานวนมาก เพื�อนําเงินที�ได้มาใช้ขยายธุรกิจของบริษทั อย่างไรก็ตาม รายได้ค่าเช่ารับและบริการ ยังคงเป็ นรายได้หลักที�สาํ คัญของบริษทั เนื�องจากการให้เช่าโรงงาน/คลังสินค้าเป็ นธุรกิจหลักของบริษทั รายได้ทงั� สองประเภทคิดเป็ นประมาณร้อยละ 80-90 ของรายได้รวมทัง� หมดของบริษทั บริษทั ยังมีรายได้อ�นื ๆ อีกหลาย ประเภท ซึ�งมีสดั ส่วนมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละปี ทัง� นี� โปรดดูการวิเคราะห์โครงสร้างรายได้เพิ�มเติมในหัวข้อ “คําอธิบาย และการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ” 2556 ล้านบาท รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากการให้เช่าและการบริการ รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่ วมตามวิ ธี ส่วนได้เสีย กําไรทีร� บั รูเ้ พิม� เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ บริษทั ร่วม รายได้อนื� ๆ รวม

2557 ร้อยละ

ล้านบาท

2558 ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

4,663.04 1,109.69 152.59 216.57

69.80 16.61 2.28 3.24

4,561.28 966.06 165.34 267.13

73.98 15.67 2.68 4.33

3,345.61 1,048.55 204.12 248.47

62.55 19.60 3.81 4.65

154.45

2.31

41.37

0.67

246.69

4.61

384.70 6,681.04

5.76 100.00

163.79 6,164.97

2.67 100.00

255.65 5,349.09

4.78 100.00

รายงานประจ�ำปี 2558

โครงสร้างรายได้

33


3.

ผลิตภัณฑ์และบริการ 3.1 ผลิตภัณฑ์ ก. โรงงานสําเร็จรูป

บริษทั ได้จดั สร้างโรงงานสําเร็จรูปที�มคี ุณภาพระดับสากลเพื�อตอบสนองความต้องการของผูป้ ระกอบการที� เข้ามาตัง� ฐานการผลิตในประเทศไทยโดยไม่ตอ้ งการถือกรรมสิทธิ�ในโรงงาน เพื�อลดต้นทุนในการดําเนินการ และลดความเสี�ยง จากความไม่แน่นอนต่าง ๆ ที�อาจเกิดขึ�น บริษทั ได้เลือกสร้างโรงงานในทําเลที�ตง�ั ที�มศี กั ยภาพ และก่อสร้า งโรงงานที�มรี ู ปแบบ มาตรฐานเหมาะสมสําหรับผูป้ ระกอบการที�หลากหลายอุตสาหกรรม นอกจากนี� เนื�องจากกลุ่มผูเ้ ช่าโรงงานของบริษ ทั มากกว่า ร้อยละ 90 เป็ นผูป้ ระกอบการชาวต่างชาติ บริษทั จึงได้เน้นการให้บริการให้ความช่วยเหลือในเรื�องต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับการ เริ�มต้นประกอบการผลิตในประเทศไทย บริษทั เลือกทําเลที�ตงั� สําหรับการพัฒนาโรงงานโดยพิจารณาจากความต้องการของลูกค้าในปัจจุบนั และการ คาดการณ์ในอนาคต นอกจากนัน� ยังพิจารณาถึงเขตส่งเสริมการลงทุนของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ความสะดวกใน การเดินทางไปยังท่าเรือ สนามบิน ระยะห่างจากกรุงเทพมหานคร ตลอดจนระบบโครงสร้างพื�นฐานที�ได้มาตรฐานของทําเลที�ตงั� นัน� ๆ บริษทั มีการพัฒนาโรงงานทัง� ในเขตส่งออก และเขตทัว� ไปตามความต้องการของลูกค้า ซึ�งจะแตกต่างกันใน แต่ละทําเลที�ตงั� ตัวอย่างเช่น ความต้องการโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังซึ�งอยู่ติดกับท่าเรือนํา� ลึกที�สาํ คัญของประเทศ ไทย โดยส่วนใหญ่จะเป็ นความต้องการของโรงงานในเขตส่งออก โรงงานของบริษทั มีลกั ษณะเป็ นอาคารชัน� เดียวพร้อมชัน� ลอยเพื�อใช้เป็ นสํานักงาน ซึ�งก่อสร้างในบริเวณพื�น ที�ดนิ ที�มรี วั� กัน� เป็ นสัดส่วน พร้อมด้วยป้ อมยาม พื�นที�จอดรถ และพื�นที�สาํ หรับขนถ่ายสินค้า ทัง� นี� โรงงานที�บริษทั พัฒนาขึ�นเป็ น แบบมาตรฐาน แต่สามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าได้ ขนาดของโรงงานมีตงั� แต่ 550 ถึง 12,000 ตาราง เมตร ซึ�งโดยส่วนใหญ่มขี นาดประมาณ 1,500 ถึง 3,000 ตารางเมตร โรงงานของบริษทั ที�สร้างมีขนาดเล็กลง เนื�องจากปัจจุบนั แนวโน้มความต้องการโรงงานขนาดเล็กของลูกค้ามีสูงขึ�น นอกจากนี�พ� นื โรงงานสามารถรับนํา� หนักได้ตงั� แต่ 1 ถึง 3 ตันต่อ ตารางเมตร ตัวอาคารก่อสร้าง โดยใช้โครงสร้างหลังคาเหล็ก ซึ�งไม่ตอ้ งมีเสารองรับหลังคาโรงงาน ทําให้ได้พ�นื ที�ใช้สอยสูงสุด นอกจากโรงงานสําเร็จรูปแล้ว บริษทั ยังให้บริการสร้างโรงงานตามแบบที�ลูกค้าต้องการ ซึ�งโดยทัว� ไปจะมี ขนาดใหญ่กว่าโรงงานสําเร็จรูปของบริษทั สัญญาเช่าระหว่างลูกค้ากับบริษทั เกือบทัง� หมดมีอายุสญั ญา 3 ปี โดยเปิ ดโอกาสให้ลูกค้ามีทางเลือกในการ ต่อสัญญาเช่าได้ นอกจากนัน� บริษทั ยังให้ทางเลือกแก่ลูกค้าในการเปลี�ยนไปเช่าโรงงานอื�นของบริษทั ในทําเลที�ตงั� หรือขนาดที� แตกต่างไป ตลอดจนให้ทางเลือกแก่ลูกค้าในการซื�อโรงงาน บริษทั กําหนดให้ลูกค้าชําระเงินมัดจํา จํานวน 3 - 6 เดือนของค่าเช่า และค่าบริการตามแต่จะตกลงกัน ณ สิ�นปี 2556 2557 และ 2558 บริษทั มีโรงงานให้เช่าแก่ลูกค้า โรงงานว่างพร้อมให้เช่า และโรงงานที�อยู่ ระหว่างการพัฒนา ดังนี� 34


โรงงานที�มสี ญั ญาเช่า โรงงานว่างพร้อมให้เช่า โรงงานที�อยู่ระหว่างการพัฒนา โรงงานที�อยู่ในแผนการพัฒนา รวม

สิ�นปี 2556 จํานวน พื�นที�เช่า โรงงาน (ตรม.) 86 252,190 41 119,475 14 39,300 160 421,975 301 832,940

สิ�นปี 2557 จํานวน พื�นที�เช่า โรงงาน (ตรม.) 64 175,080 55 160,200 28 67,325 175 431,350 322 833,955

สิ�นปี 2558 จํานวน พื�นที�เช่า โรงงาน (ตรม.) 64 165,380 71 195,250 21 41,850 157 404,100 313 806,580

ตารางข้างต้นแสดงข้อมูลของโรงงานภายหลังการขายโรงงานจํานวนหนึ�ง ซึ�งเกือบทัง� หมดมีผูเ้ ช่าแล้ว ให้แก่ TFUND TGROWTH และ TREIT ทัง� นี� ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีการขายโรงงานให้แก่ TFUND TGROWTH และ TREIT ดังนี� ปี 2556

โรงงานที�ขายให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ โรงงานที�ขายให้ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

จํานวน โรงงาน 40 -

พื�นที�เช่า (ตรม.) 108,350 -

ปี 2557 จํานวน พื�นที�เช่า โรงงาน (ตรม.) 3 20,250 20 54,000

ปี 2558 จํานวน พื�นที�เช่า โรงงาน (ตร.ม.) 2 5,325 7 21,900

อัตราการเช่าโรงงาน (Occupancy rate) ของบริษทั โดยเฉลีย� ในปี 2558 ลดลงจากปี 2557 เนื�องจากในปี ก่อนหน้าบริษทั มีการขายโรงงานที�ส่วนใหญ่มผี ูเ้ ช่าแล้วให้ TREIT กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ และผูเ้ ช่า รวมเป็ นพื�นที� 78,400 ตารางเมตร และยังคงมีโรงงานว่างจํานวนหนึ�งในพื�นที�ท�เี คยประสบอุทกภัย นอกจากนี�ผลกระทบจากปัจจัยเศรษฐกิจทัง� ในและ ต่างประเทศ ทําให้เกิดการชะลอการลงทุนของผูผ้ ลิตในกลุม่ อุตสาหกรรมต่าง ๆ อย่างไรก็ตามในช่วงปี ท�ผี ่านมาบริษทั มีพ�นื ที�ให้ เช่าสุทธิเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้า เนื�องจากการเพิ�มขึ�นของพื�นที�ให้เช่าใหม่ของกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ และการเพิ�มขึ�นของพื�นที� ให้เช่าใหม่ในพื�นที�ท�เี คยประสบอุทกภัยเพิ�มขึ�นสูงกว่าปี ก่อนหน้า

อัตราการเช่าโรงงานเฉลี�ย (ร้อยละ)

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

73

62

49

รายงานประจ�ำปี 2558

อัตราการเช่าโรงงานเฉลีย� ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา มีดงั นี�

35


หลายประเภท ดังนี�

ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2558 ลูกค้าที�เช่าโรงงานของบริษทั เป็ นผูผ้ ลิตจากประเทศต่าง ๆ ในอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม

ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เครื�องใช้ไฟฟ้ า อาหาร พลาสติก เหล็ก อื�น ๆ รวม

ร้อยละ 35.0 27.0 6.5 4.4 3.8 23.3 100.0

ประเทศ / ภูมภิ าค ญี�ป่ นุ ยุโรป อเมริกาเหนือ สิงคโปร์ จีน ไทย อื�น ๆ

รวม

ร้อยละ 42.2 27.5 11.3 6.7 4.4 4.2 3.7 100.0

หมายเหตุ: สัดส่วนข้างต้นคํานวณจากรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการในเดือนธันวาคม ปี 2558

ข. คลังสินค้า บริษ ทั ไทคอน โลจิสติ คส์ พาร์ค จํา กัด ซึ�งเป็ นบริษ ทั ย่อ ยของบริษ ทั เป็ นผู พ้ ฒั นาอาคารคลังสินค้า สําเร็จรูปที�มคี ุณภาพระดับสากลเพื�อให้เช่า โลจิสติกส์นบั เป็ นกิจกรรมที�สาํ คัญในการกระจายวัตถุดบิ ชิ�นส่วนอุปกรณ์ สินค้าสําเร็จรูป และผลผลิตอื�น ๆ ปัจจุบนั กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ถือเป็ นกิจกรรมที�ผูป้ ระกอบการให้ความสําคัญเป็ นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ผูป้ ระกอบการ ตลอดจนผู ใ้ ห้บริการด้านโลจิสติก ส์ส่วนใหญ่ จาํ เป็ นต้องใช้เงินจํานวนมากสําหรับการลงทุนในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ยานพาหนะและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที�สาํ คัญ รวมทัง� บุคคลากรที�เกี�ยวข้อง บริษทั จึงเล็งเห็นโอกาสของการพัฒนาคลังสินค้าที�มี คุณภาพเพื�อให้ผูป้ ระกอบการเหล่านัน� เช่าแทนการลงทุนสร้างเพื�อเป็ นเจ้าของเอง คลังสินค้าของบริษ ทั ตัง� อยู่ในทําเลที�เ ป็ นยุ ทธศาสตร์ท�ีสาํ คัญ เหมาะแก่ การเป็ นศูนย์ก ระจายสินค้าที�ดี อาคารคลังสินค้าสามารถรองรับการจัดการคลังสินค้าสมัยใหม่ การออกแบบตัวอาคารจะคํานึงถึงระยะห่างของช่วงเสา การรับ นํา� หนักของพื�นอาคาร ความสูงของอาคาร จํานวนประตูสาํ หรับขนถ่ายสินค้า และอุปกรณ์ช่วยปรับระดับพื�นให้มคี วามลาดชันที� เหมาะสมกับความสูงของรถขนสินค้า นอกจากคลังสินค้าสําเร็จรู ปที�บริษทั ได้พฒั นาขึ�นพร้อมให้เช่าเช่นเดียวกับโรงงานสําเร็จรู ปแล้ว (Readybuilt warehouses) บริษทั ยังมีการสร้างคลังสินค้าตามรูปแบบและในทําเลที�ลูกค้าต้องการ (Custom-built warehouses) อีก ทัง� มีบริการซื�อคลังสินค้าจากลูกค้าเพื�อให้เช่ากลับคืน (Sale and Leaseback) อีกด้วย สัญญาเช่าส่วนใหญ่มอี ายุ 3 ปี โดยมีการเปิ ดโอกาสให้ลูกค้าต่อสัญญาได้ และบริษทั มีการกําหนดให้ลูกค้า ชําระค่ามัดจําเป็ นจํานวน 3 - 6 เดือนของค่าเช่า อย่างไรก็ดี สัญญาเช่าที�มอี ายุเกิน 3 ปี เริ�มมีสดั ส่วนเพิ�มขึ�น สําหรับลูกค้าที�เช่า คลังสินค้าทีม� รี ูปแบบเฉพาะ

36


ณ สิ�นปี 2556 2557 และ 2558 บริษ ทั มีคลังสินค้า ให้เ ช่า แก่ ลูก ค้า คลังสินค้า ว่า งพร้อ มให้เ ช่า และ คลังสินค้าที�อยู่ระหว่างการพัฒนา ดังนี�

คลังสินค้าที�มสี ญั ญาเช่า คลังสินค้าว่างพร้อมให้เช่า คลังสินค้าที�อยู่ระหว่างการพัฒนา คลังสินค้าที�อยู่ในแผนการพัฒนา รวม

สิ�นปี 2556 จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 47 309,872 62 187,963 31 176,604 207 1,537,082 347 2,211,521

สิ�นปี 2557 จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 73 324,927 65 173,923 37 151,797 193 1,865,281 368 2,515,928

สิ�นปี 2558 จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 80 418,307 66 174,207 34 110,641 196 2,142,313 376 2,845,468

ตารางข้า งต้นแสดงข้อ มูลภายหลังการขายคลังสินค้า จํา นวนหนึ�ง ซึ�งเกือ บทัง� หมดมีผู เ้ ช่า แล้ว ให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT โดยมีรายละเอียดของการขายคลังสินค้า ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา ดังนี� ปี 2556

คลังสินค้าที�ขายให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ คลังสินค้าที�ขายให้ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

จํานวน คลังสินค้า 50

พื�นที�เช่า (ตรม.) 182,095

-

-

ปี 2557 จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 25

160,523

สิ�นปี 2558 จํานวน พื�นที�เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 46

133,282

อัตราการเช่าคลังสินค้า (Occupancy rate) ของบริษทั โดยเฉลีย� ในปี 2558 เพิ�มขึ�นจากปี 2557 ส่วนหนึ�ง เนื�องมาจาก ในปี ท�ผี ่านมาบริษทั มีพ� นื ที�เช่าใหม่สุทธิเพิ�มขึ�นร้อยละ 21 จากปี ก่อนหน้า จากการที�ตลาดมีความต้องการพื�นที� คลังสินค้าในปริมาณมาก โดยเฉพาะอย่างยิ�งในกลุม่ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ กลุม่ ธุรกิจค้าปลีก และโดยเฉพาะอย่างยิ�งในธุ รกิจอี คอมเมิรซ์ ซึ�งมีการขยายตัวอย่างมากในปี ท�ผี ่านมา ประกอบกับบริษทั มีการขายคลังสินค้าที�มผี ูเ้ ช่าแล้วให้กบั TREIT ลดลงจาก ปี ก่อนหน้าร้อยละ 17 อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย� ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา มีดงั นี� ปี 2557 63

ปี 2558 68

รายงานประจ�ำปี 2558

อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย� (ร้อยละ)

ปี 2556 71

37


ณ สิ�นเดือนธันวาคม 2558 ลู กค้าที�เ ช่า คลังสินค้า ของบริษทั เป็ นผูป้ ระกอบการจากประเทศต่าง ๆ ใน อุตสาหกรรมหลายประเภท ดังนี� อุตสาหกรรม ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ ยานยนต์ ค้าส่งระหว่างประเทศ ค้าปลีก อาหาร อื�น ๆ

รวม

ร้อยละ 60.3 8.4 7.6 7.2 5.1 11.4 100.0

ประเทศ/ภูมภิ าค ยุโรป ไทย ญี�ป่ นุ ออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ เกาหลี

รวม

ร้อยละ 51.9 23.2 14.8 5.2 3.3 1.6 100.0

หมายเหตุ : สัดส่วนข้างต้นคํานวณจากรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการของบริษทั ในเดือนธันวาคม ปี 2558

3.2 บริการ บริการที�เสนอให้ลูกค้า ได้แก่ 

การดัดแปลงงานอาคารโรงงาน/คลังสินค้า

บริ ษ ทั มีทีม งานออกแบบ ก่ อ สร้า ง ตลอดจนบริ ห ารโครงการด้ว ยตนเอง ทํา ให้บ ริ ษ ทั สามารถให้ ความช่วยเหลือลูกค้าในการออกแบบ และดัดแปลงอาคารโรงงาน/คลังสินค้าให้มคี วามเหมาะสมกับความต้องการเฉพาะของ ลูกค้าได้ 

การจัดหาสาธารณู ปโภค บริษทั ให้ความช่วยเหลือในการจัดหาระบบสาธารณูปโภคทีเ� พียงพอกับความต้องการของลูกค้า

การขออนุ ญาตกับหน่ วยงานราชการ

บริษ ทั ให้ความช่วยเหลือเพื�อให้ได้รบั ใบอนุ ญาติท�ีจาํ เป็ นต่อการเริ�มดํา เนินการในเวลาอันรวดเร็ว เช่น ใบอนุ ญาตประกอบการ นอกจากนัน� บริษ ทั ยังมีบริก ารให้ความช่วยเหลือ ลู ก ค้า ในการขอและต่ อ ใบอนุ ญาตทํา งานใน ราชอาณาจักรสําหรับพนักงานของลูกค้าซึ�งเป็ นคนต่างด้าว 

บริการอื�น ๆ

นอกจากทีก� ล่าวข้างต้น บริษทั มีการให้ความช่วยเหลือแก่ลูกค้าในเรื�องต่าง ๆ ตามความต้องการเฉพาะของ ลูกค้าเท่าที�จะสามารถกระทําได้ เช่น การแนะนําผูจ้ าํ หน่ายสินค้า และแนะนําบุคคลากรที�สาํ คัญให้แก่ลูกค้า

38


4.

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน 4.1 แนวคิด อุปทาน/อุปสงค์ และสภาวะการแข่งขัน 4.1.1 โรงงานสําเร็จรูปให้เช่า ก. แนวคิดของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า

การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยทัว� ไปจะเริ�มต้นจากการพัฒนาที�ดนิ อุตสาหกรรม การจัดสร้างโครงสร้าง พื�นฐานในที�ดนิ อุตสาหกรรม และการขายที�ดนิ ให้แก่ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมเพือ� ก่อสร้างโรงงานผลิตสินค้า ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมอาจจัดสรรเงินลงทุนเพื�อเป็ นเจ้าของโรงงานเอง หรืออาจเลือกเช่าโรงงาน เพื�อลดต้นทุนในการดําเนินการ และลดความเสี�ยงจากความไม่แน่นอนต่าง ๆ ที�อาจเกิดขึ�น โดยเฉพาะอย่างยิ�งหากการให้เช่า โรงงานมีบริการแบบครบวงจร เพื�ออํานวยความสะดวกในการประกอบการให้แก่ผูป้ ระกอบการ ทัง� นี� ในอดีตที�ผ่านมาจนถึง ปัจจุบนั มีผูป้ ระกอบการชาวต่างชาติจาํ นวนมากที�เข้ามาตัง� ฐานการผลิตในประเทศไทยโดยไม่ตอ้ งการถือกรรมสิทธิ�ในโรงงาน ข. อุปทานของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า ผูพ้ ฒั นาโรงงานอุตสาหกรรมเพือ� ขาย/ให้เช่าแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทดังนี� 

ผูพ้ ฒั นาโรงงานบนที�ดนิ อุตสาหกรรมที�ตนเองพัฒนาขึ�น ได้แก่ เจ้าของนิคมอุตสาหกรรม

ผูพ้ ฒั นาโรงงานบนที�ดินอุตสาหกรรมที�ซ� อื /เช่าจากเจ้าของที�ดินอุตสาหกรรม เช่นบริษทั ซึ�ง สร้างโรงงานสําเร็จรูปเพื�อให้เช่าบนที�ดนิ ที�ซ�อื จากเจ้าของที�ดนิ อุตสาหกรรมในทําเลที�ตงั� ที�หลากหลาย 

ค. อุปสงค์ของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า การเลือกเช่าโรงงานเป็ นทางเลือกหนึ�งของผูป้ ระกอบการที�ไม่ตอ้ งการเป็ นเจ้าของโรงงาน เพื�อลด ต้นทุนของโครงการ และเพื�อเพิ�มความยืดหยุ่นในการทําธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ�งในช่วงที�มคี วามไม่แน่นอนของสถานการณ์ต่าง ๆ ที�มอี ิทธิพลต่อบรรยากาศการลงทุน นอกจากนัน� วงจรชีวติ ของผลิตภัณฑ์ท�มี แี นวโน้มสัน� ลง ตลอดจนการให้ความสําคัญกับ อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนล้วนแต่เป็ นปัจจัยเสริมให้ผูป้ ระกอบการมีความต้องการเช่าโรงงานแทนการลงทุนเป็ นเจ้าของ โรงงานเอง ประเทศไทยตัง� อยู่ในทําเลที�ตงั� ที�ดสี าํ หรับการลงทุน เนื�องจากตัง� อยู่ศูนย์กลางของภูมภิ าคอาเซียน นอกจากนัน� ประเทศไทยยังมีแรงงานที�มที กั ษะมีระบบโครงสร้างพื�นฐานที�ดี รวมทัง� มีกฎระเบียบต่าง ๆ ที�เอื�ออํานวยต่อการ ลงทุนการเติบโตของการลงทุนจากต่างประเทศในประเทศไทย จะส่งผลให้มคี วามต้องการเช่าโรงงานมากขึ�น การสร้างโรงงานสําเร็จรู ปให้เช่าในปัจจุบนั ถือว่ามีการแข่งขันไม่สูงนัก ปัจจุบนั มีบริษทั ที�จดั สร้าง โรงงานอุตสาหกรรมให้เช่าที�มกี ลุ่มลูกค้าเป้ าหมายใกล้เคียงกันกับบริษทั ได้แก่ บริษทั เหมราชพัฒนาที�ดิน จํากัด (มหาชน) บริษทั ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) บริษทั ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน) บริษทั อมตะ ซัม มิท เรดดี� บิลด์ จํากัด และบริษทั สวนอุตสาหกรรมปิ� นทอง จํากัด อย่างไรก็ตาม บริษทั เป็ นรายเดียวที�ทาํ ธุรกิจพัฒนาโรงงานให้

รายงานประจ�ำปี 2558

ง. สภาวะการแข่งขัน

39


เช่าเป็ นธุรกิจหลัก บริษทั มีความได้เปรียบคู่แข่งขัน เนื�องจากบริษทั ให้ความสําคัญกับธุ รกิจการสร้างโรงงานเพื�อให้เช่าในทําเล ที�ตงั� ที�หลากหลายและมีบริการที�ช่วยอํานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าแบบครบวงจร (One stop service) ทัง� การติดต่อขอ ใบอนุญาตต่าง ๆ กับหน่วยงานราชการที�ช่วยให้ลูกค้า ซึ�งส่วนใหญ่เป็ นชาวต่างชาติสามารถเริ�มดําเนินงานได้ในระยะเวลาอันสัน� การช่วยเหลือเพื�อขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน รวมทัง� บริการหลังการขายที�ให้การดูแลอย่าง ใกล้ชิดและรวดเร็ว นอกจากนัน� การที�บริษทั อยู่ในธุรกิจนี�มากว่า 20 ปี และมีส่วนแบ่งตลาดประมาณร้อยละ 44 บริษทั จึงมี ความได้เปรียบจากการประหยัดต่อขนาด (Economies of scale) อีกด้วย 4.1.2 คลังสินค้าให้เช่า ก. แนวคิดของคลังสินค้าให้เช่า ปัจจุบนั ต้นทุนจัดการด้านโลจิสติกส์ของประเทศไทยคิดเป็ นสัดส่วนที�สูงเมือ� เทียบกับประเทศอื�น ๆ ในโลกซึ�งส่งผลเสียต่อความสามารถในการแข่งขันของผูป้ ระกอบการในประเทศไทย การพัฒนาการจัดการด้านโลจิสติกส์ให้มี ประสิทธิภาพจะทําให้ตน้ ทุนสินค้าลดลงและยกระดับคุณภาพการบริการ อันจะช่วยเพิ�มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการ ส่งออกของประเทศไทยได้มากขึ�น และยังช่วยให้สนิ ค้าอุปโภคบริโภคของตลาดภายในประเทศมีราคาลดลง นอกจากนี� ระบบ การจัดการด้านโลจิสติกส์ของประเทศที�มปี ระสิทธิภาพจะเป็ นปัจจัยที�ส่งเสริมให้มกี ารลงทุนทางตรงจากต่างประเทศเพิ�มขึ�น คลังสินค้า ถือ เป็ นส่วนประกอบหนึ�งที�สาํ คัญของกิจ กรรมโลจิสติ ก ส์ คลังสินค้า ที�มีคุณภาพได้ มาตรฐานสากลจะช่วยทําให้ระบบโลจิสติกส์มปี ระสิทธิภาพมากยิ�งขึ�น บริษทั ผูป้ ระกอบธุรกิจการจัดการด้านโลจิสติกส์จดั ว่าเป็ นผูเ้ ชี�ยวชาญเฉพาะด้านที�มจี าํ นวนเพิ�มขึ�น และมีความสําคัญมากขึ�น เนื�องจากผูผ้ ลิตสินค้า ผูค้ า้ ส่ง ผูค้ า้ ปลีก และผูป้ ระกอบการมีแนวโน้มที�จะใช้บริการจากผูใ้ ห้บริการ ด้านโลจิสติกส์เพิ�มมากขึ�นแทนการมีหน่วยงานภายในเพื�อดําเนินการในเรื�องดังกล่าวเอง อย่า งไรก็ดี ผูป้ ระกอบการรวมทัง� บริษ ทั ที�เ ชี�ย วชาญด้า นโลจิสติ กส์เ หล่า นี� ส่วนใหญ่มีนโยบาย ไม่ตอ้ งการลงทุนเพื�อเป็ นเจ้าของในอสังหาริมทรัพย์ เช่น คลังสินค้า เนื�องจากเห็นว่าการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์มใิ ช่กิจกรรม หลักของกิจการ บริษทั เหล่านี�ตอ้ งการจํากัดการลงทุนเฉพาะสําหรับยานพาหนะ อุปกรณ์ ระบบสารสนเทศต่าง ๆ รวมทัง� การ พัฒนาบุคลากรที�เกี�ยวข้องในการดําเนินธุรกิจ อันเป็ นสินทรัพย์หลักที�จาํ เป็ นต่อกิจการ และการรักษาความสามารถในการแข่งขัน ของกิจการเท่านัน� นอกจากนี� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ก่อให้เกิดต้นทุนคงที�จาํ นวนมากเป็ นระยะเวลานาน เป็ นการเพิม� ความ เสี�ยงของกิจการในกรณีท�ลี ูกค้ายกเลิกสัญญาอีกทัง� บริษทั เหล่านี�ยงั ไม่ชาํ นาญในการลงทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ดว้ ยตนเอง เนื� องจากมิ ใ ช่ ธุ รกิ จ หลัก เมื� อ เป็ นเช่ น นี� ภาคอุ ต สาหกรรมด้า นโลจิ ส ติ ก ส์ โ ดยรวมจึ ง มุ่ ง หวัง ให้ภ าคธุ รกิ จ การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็ นผูพ้ ฒั นาพื�นที�สาํ หรับกิจการขนส่งและคลังสินค้าเพื�อให้เช่า ข. อุปทานของคลังสินค้าให้เช่า ปัจจุบนั มีผูใ้ ห้บริการคลังสินค้าให้เช่ากระจายอยู่ในเขตกรุงเทพฯ รอบนอก และปริมณฑล โดย อาคารคลังสินค้าส่วนใหญ่จะตัง� อยู่บริเวณถนนสายเอเซีย ถนนบางนา-ตราด และถนนพระราม 2 คลังสินค้าดังกล่าวส่วนใหญ่มี คุณภาพไม่ได้มาตรฐาน เช่น พื�นอาคารรับนํา� หนักได้นอ้ ย มีรูปแบบอาคารที�ไม่สะดวกต่อการขนถ่ายสินค้า พื�นที�จดั เก็บไม่ เหมาะสม ทํา ให้จ ดั เก็บสินค้าได้นอ้ ย หรือค้นหาสินค้าได้ยาก ซึ�งส่งผลให้เกิดการขนย้ายที�ไม่จ ําเป็ นมากเกินไปคลังสินค้า 40


ดังกล่าวไม่มรี ะบบสาธารณูปโภคที�สามารถตอบสนองความต้องการของธุ รกิจขนส่งและคลังสินค้าได้ เช่น ระบบระบายนํา� ที�ดี ระบบถนนที�สามารถรองรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ นอกจากนี� อาคารคลังสินค้าส่วนใหญ่จะตัง� อยู่ในเขตชุมชนและเขตที�อยู่อาศัย ซึ�งไม่อยู่ในเขตผังเมืองสําหรับที�ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ทําให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น ปัญหาจราจร อุบตั ิเหตุ ความเสียหายของผิวจราจร รวมทัง� มลภาวะทางอากาศและทางเสียง ค. อุปสงค์ของคลังสินค้าให้เช่า กลุม่ ผูต้ อ้ งการใช้อาคารคลังสินค้า ได้แก่ 1. ธุ รกิจขนส่งและบริหารคลังสินค้า (Logistics service providers) ซึ�งโดยส่วนใหญ่จะเป็ น บริษทั ชัน� นําจากในประเทศและต่างประเทศ บริษทั เหล่านี�จะมีความสามารถในการบริหารและจัดการโดยใช้ระบบ software และระบบจัดการที�ทนั สมัยและโดยทัว� ไปบริษทั ในธุ รกิจขนส่งและบริหารคลังสินค้าจะไม่ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ แต่ มคี วาม ต้องการเช่าคลังสินค้า 2. ผูป้ ระกอบการประเภทศูนย์กระจายสินค้าระหว่างประเทศด้วยระบบที�ทนั สมัย (International distribution center) กิจการศูนย์จดั หาจัดซื�อชิ�นส่วนและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ (International procurement office) และกิจการศูนย์กระจายสินค้าด้วยระบบที�ทนั สมัย (Distribution center) 3. ผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ โดยกลุม่ นี�มคี วามต้องการที�จะจัดตัง� ศูนย์กระจายสินค้า เพื�อ จัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าและผูบ้ ริโภคทัง� ในเขตกรุงเทพฯ และภูมภิ าคต่าง ๆ 4. กลุม่ บริษทั นําเข้าและส่งออก ซึ�งมีความต้องการใช้อาคารคลังสินค้าที�ตงั� อยู่ใกล้สนามบินและ ท่าเรือโดยเฉพาะอย่างยิ�งพื�นที�เขตปลอดอากร 5. ธุรกิจโลจิสติกส์สนับสนุนการกระจายสินค้าและกิจการอื�น ๆ เช่น ผูใ้ ห้บริการขนส่งสินค้าและ บริการขนส่งผูใ้ ห้บริการบรรจุสนิ ค้าและถ่ายบรรจุสนิ ค้า ผูใ้ ห้บริการสร้างมูลค่าเพิ�ม (การตรวจสอบคุณภาพ การติดฉลาก การ ซ่อมแซม และการประกอบ/บรรจุสนิ ค้า) รวมถึงผูใ้ ห้บริการเช่าอุปกรณ์ขนถ่าย ผูใ้ ห้บริการแรงงานชัว� คราวและยกขนสินค้า เป็ น ต้น ง. สภาวะการแข่งขัน

รายงานประจ�ำปี 2558

ปัจจุบนั ผูพ้ ฒั นาอาคารคลังสินค้าที�มคี ุณภาพซึ�งถือว่าเป็ นคู่แข่งกับบริษทั ได้แก่ บริษทั ดับบลิวเอช เอคอร์ปอเรชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั เหมราชพัฒนาที�ดนิ จํากัด (มหาชน) อย่างไรก็ดี บริษทั มีความได้เปรียบคู่แข่งขัน จากการที�บริษทั มีการพัฒนาคลังสินค้าในทําเลที�ตงั� ที�หลากหลายและมีศกั ยภาพ ในขณะที�คู่แข่งขันมีทาํ เลที�ตงั� ของคลังสินค้า เพียงไม่ก�แี ห่ง แม ้ว่าปัจจุบนั คู่แข่งทัง� 2 รายจะมีการรวมเป็ นกลุม่ เดียวกัน

41


4.2 กลยุทธ์การแข่งขัน 

ตําแหน่ งทางการตลาด

บริษทั มีส่วนแบ่งในตลาดการให้เช่าโรงงานอุตสาหกรรมสําเร็จรู ปร้อยละ 44.2 (รวมส่วนที�บริษทั บริหาร ให้แก่ TFUND TGROWTH และ TREIT ร้อยละ 29.6) ตามการสํารวจของบริษทั ซีบี ริชาร์ด เอลลิส (ประเทศไทย) จํากัด ณ ไตรมาส 3/2558 บริษทั ได้กาํ หนดตําแหน่งทางการตลาดในการเป็ นผูส้ ร้างโรงงานให้เช่ารายใหญ่ในประเทศไทยบริษทั มีความ มุง่ มันที � �จะรักษาและพัฒนาตําแหน่งทางการตลาดให้ดยี �งิ ขึ�นด้วยการเพิ�มขนาดธุรกิจโดยการขยายฐานลูกค้า และรักษาคุณภาพ ของการให้บริการที�ตอบสนองความต้อ งการของลู กค้าซึ�งจะส่งผลให้บริษทั มีความได้เปรียบจากการประหยัดต่ อขนาด ได้ ผลตอบแทนที�เพิ�มมากขึ�น และส่งเสริมตําแหน่งทางการตลาดของบริษทั ให้ดยี �งิ ขึ�นในที�สุด สําหรับอาคารคลังสินค้านัน� บริษทั มีความมุง่ มันที � �จะเป็ นผูส้ ร้างอาคารคลังสินค้าที�มคี ุณภาพและมาตรฐาน สูงที�มสี ว่ นแบ่งทางการตลาดมากที�สุดเช่นเดียวกับตําแหน่งทางการตลาดของโรงงานสําเร็จรูปให้เช่า 

กลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย

ลูกค้าเป้ าหมายของโรงงานสําเร็จรู ปให้เช่า คือ ผูผ้ ลิตชิ�นส่วนให้แก่ผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่ อย่างไรก็ดี บริษทั สามารถสร้างโรงงานที�มลี กั ษณะเฉพาะให้ตามความต้องการของลูกค้า ซึ�งส่วนใหญ่จะมีขนาดกลาง-ใหญ่ สํา หรับกลุ่มลู ก ค้า เป้ า หมายที�เช่า อาคารคลังสินค้าของบริษ ทั ได้แก่ ผูผ้ ลิต ผู ค้ า้ ส่งและค้าปลีก และ ผูป้ ระกอบการรวมถึงผูใ้ ห้บริการขนส่ง และบริหารคลังสินค้า 

กลยุทธ์ดา้ นราคา

ค่าเช่าโรงงานและคลังสินค้าของบริษทั ถูกกําหนดจากต้นทุนการก่อสร้างและต้นทุนทางการเงินเป็ นหลัก อย่างไรก็ดีในการกํา หนดค่า เช่าบริษทั ยังได้คาํ นึงถึงราคาค่าเช่าโรงงานและคลังสินค้าของคู่แข่งขันด้วย โดยบริษทั ได้ม กี าร ตรวจสอบสภาวะตลาดอยู่เสมอเพื�อให้แน่ใจว่าค่าเช่าโรงงานและคลังสินค้าของบริษทั อยู่ในระดับทีส� ามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ 

กลยุทธ์ดา้ นการส่งเสริมการตลาด

กิจกรรมการส่งเสริมการตลาดที�สาํ คัญได้แก่ การติดต่อลูกค้าเป้ าหมายเองโดยตรง และการติดต่อผ่า น ตัวกลางต่าง ๆ เช่นติดต่อผูผ้ ลิตรายใหญ่เพือ� เสนอบริการให้เช่าโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่คู่คา้ ของผูผ้ ลิตเหล่านัน� การติดต่อผ่าน หน่วยงานรัฐบาล สถานทูต สํานักงานการค้า สมาคมหอการค้า เจ้าของนิคมอุตสาหกรรม ตัวแทนซื�อขายอสังหาริมทรัพย์ และ ตัวกลางอื�น ๆ บริษทั มีการพัฒนาสื�อเพื�อส่งเสริมการตลาด อันได้แก่ สิ�งพิมพ์เอกสารเชิญชวน การโฆษณาในหนังสือต่าง ๆ อินเทอร์เน็ตเว็บไซต์ แผ่นป้ ายโฆษณาที�ติดตัง� บริเวณหน้าโครงการ แผ่นป้ ายโฆษณาขนาดใหญ่ขา้ งทางด่วน และการส่ง จดหมายทางไปรษณีย ์

42


นอกจากนี� ยังมีการใช้ส�อื ทางการตลาดประเภทอื�นทีม� ปี ระสิทธิผลตามความเหมาะสมได้แก่ การเข ้าร่วมงาน สัมมนางานแสดงสินค้า และการประชุมต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องทัง� ภายในและต่างประเทศ 4.3 แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันในอนาคต 4.3.1 แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรม ความต้องการเช่าทัง� โรงงานและคลังสินค้ามีแนวโน้มการเติบโตที�ดีจากการเติบโตของอุตสาหกรรมยาน ยนต์เพื�อการส่งออกไปยังตลาดในประเทศภูมภิ าคเอเซียแปซิฟิค การขยายการลงทุนของผู ค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ไปตามทําเลที�มี ศักยภาพในจังหวัดที�สาํ คัญตามภาคต่างๆเพิ�มมากขึ�น รวมทัง� การขยายธุรกิจของผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ นอกจากนี�การย้ายฐาน การผลิตเข้ามาในประเทศแถบเอเชียเพิ�มขึ�นโดยเฉพาะอย่างยิ�งอุตสาหกรรมยานยนต์ รวมทัง� การจัดตัง� ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ซึ�งจะทําให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที�หลากหลายในภูมภิ าค นอกจากนัน� แนวโน้มที�ผูป้ ระกอบการไม่ตอ้ งการ ลงทุนในสินทรัพย์ถาวร แต่ตอ้ งการใช้เงินทุนที�มอี ยู่ให้เป็ นประโยชน์ท�สี ุด จะเป็ นปัจจัยสนับสนุนให้มคี วามต้องการเช่าโรงงาน/ คลังสินค้าเพิ�มมากขึ�น 4.3.2 การแข่งขัน ผูเ้ ข้ามาแข่งขันรายใหม่จะต้องใช้เงินทุนสูง และต้องใช้ระยะเวลานานในการพัฒนาโครงการที�มคี วาม หลากหลายทัง� ในด้านทําเลที�ตงั� รูปแบบ และขนาด ที�มลี กั ษณะเช่นเดียวกับของบริษทั ตลอดจนการให้บริการที�เกี�ยวข้องดังเช่น ที�บริษทั ดําเนินการอยู่ในปัจจุบนั

5.

การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ

บริษทั สร้างโรงงาน/คลังสินค้าบนที�ดนิ ที�มศี กั ยภาพ ด้วยทีมงานออกแบบและทีมงานก่อสร้างของบริษทั เอง ซึ�งช่วยให้ เกิดความคล่องตัวในการบริหารงานก่อสร้าง อีกทัง� ช่วยให้ตน้ ทุนการก่อสร้างของบริษทั อยู่ในระดับตํา�

รายงานประจ�ำปี 2558

วัสดุก่อสร้างที�สาํ คัญในการก่อสร้างโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ได้แก่เหล็ก และคอนกรีตทัง� นี�บริษทั สามารถสัง� ซื�อวัสดุ ก่อสร้างได้จากผูผ้ ลิตหลายรายด้วยคุณภาพและราคาที�ใกล้เคียงกัน

43


ปัจจัยความเสี�ยง 1.

ความเสี�ยงจากสัญญาเช่าระยะสัน�

จากการที�สญั ญาเช่าโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ส่วนใหญ่มอี ายุ 3 ปี (โดยมีทางเลือกในการต่อสัญญา) จึงอาจทําให้ นักลงทุนกังวลว่า บริษทั จะได้รบั ผลกระทบหากลูกค้าไม่ต่อสัญญาเช่า อย่างไรก็ดี โดยทัว� ไปเมือ� ลูกค้าเริ�มทําการผลิตแล้วมักจะไม่ยา้ ยออกจากโรงงานของบริษทั นอกจากจะมีเหตุผลทีส� มควร อื�น ซึ�งโดยปกติการต่อสัญญาเช่ามีเกินกว่าร้อยละ 80 ของสัญญาเช่าที�ครบกําหนด การที�บริษทั มีโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าในหลายทําเลที�ตงั� อีกทัง� ผูเ้ ช่าก็เ ป็ นผูป้ ระกอบการในธุ รกิจที�หลากหลาย และ มาจากหลายประเทศ จึงเป็ นการกระจายความเสี�ยงของการยกเลิกสัญญาของผูเ้ ช่า นอกจากนัน� โรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ยัง ถูกออกแบบมาเป็ นแบบมาตรฐาน และอยู่ในพื�นที�ท�ไี ด้รบั ความนิยมจากผูเ้ ช่า ดังนัน� หากมีการยกเลิกสัญญาของผูเ้ ช่า บริษทั จะสามารถหาผูเ้ ช่าใหม่ได้ไม่ยาก 2.

ความเสี�ยงจากการที�โรงงาน/คลังสินค้าบางส่วนตัง� อยูใ่ นเขตที�มคี วามเสี�ยงต่อการเกิดอุทกภัย

ในช่วงไตรมาสที� 4 ของปี 2554 บริษทั ได้รบั ผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยในพื�นที�จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา และ ปทุมธานี โดยโรงงาน/คลังสินค้าในพื�นที�ดงั กล่าวได้รบั ความเสียหาย ส่งผลให้ผูเ้ ช่าต้องหยุดการดําเนินธุ รกิจ และไม่สามารถ ชําระค่าเช่าให้แก่บริษทั รวมทัง� ผูเ้ ช่าได้มกี ารยกเลิกสัญญาเช่าเป็ นจํานวนมาก ในขณะเดียวกันผูป้ ระกอบการรายใหม่ยงั คงชะลอ การตัดสินใจเช่าโรงงานในพื�นที�ดงั กล่าวจนถึงปัจจุบนั ทัง� นี� เหตุอุทกภัยอาจทําให้นกั ลงทุนมีความกังวลว่าบริษทั มีความเสี�ยง ที�จะเผชิญกับเหตุอุทกภัยได้อีกในอนาคตและมีความเสี�ยงที�จะไม่มผี ูเ้ ช่าโรงงานที�ตงั� อยู่ในพื�นที�บริเวณนี� อันจะส่งผลให้บริษทั มีโรงงานว่างเป็ นระยะเวลาหนึ�ง บริษทั ได้มกี ารทําประกันภัยคุม้ ครองความเสียหายที�เกิดกับทรัพย์สนิ รวมทัง� การประกันรายได้จากกรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption) เพื�อลดผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวขึ�นอีก ซึ�งแมบ้ ริษทั จะต้องชําระค่าเบี�ยประกันภัยใน อัตราที�สูงขึ�นจากเดิม แต่บริษทั สามารถเรียกเก็บค่าเบี�ยประกันภัยจากผู เ้ ช่าที�เช่าโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ได้ พร้อมกันนี� บริษทั ได้หยุดการพัฒนาโรงงานในพื�นที�จงั หวัดพระนครศรีอยุธยาและปทุมธานี เพื�อลดการเพิ�มขึ�นของพื�นที�ว่าง นอกจากนัน� ผูพ้ ฒั นานิคมอุตสาหกรรมรวมทัง� เขตอุตสาหกรรมของบริษทั ในพื�นที�จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา และปทุมธานีมกี ารสร้างแนว คอนกรีตป้ องกันนํา� (Concrete Dike) ซึ�งสร้างเสร็จแล้ว ในช่วงปลายปี 2555 ซึ�งแนวป้ องกันนํา� ดังกล่าวจะสามารถปกป้ อง ทรัพย์สนิ ที�อยู่ในพื�นที�ดงั กล่าวได้ จากการที�บริษทั มีโรงงาน/คลังสินค้าตัง� อยู่ในทําเลที�ตงั� ที�หลากหลาย โดยส่วนใหญ่อยู่ทางภาคตะวันออก ทําให้บริษทั สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าทัง� ที�เป็ นลูกค้าใหม่ และลูกค้าที�ตอ้ งการย้ายการผลิตจากพื�นที�ท�ไี ด้รบั ผลกระทบจาก อุทกภัยในขณะนัน� ไปยังพื�นที�ท�ีปลอดภัย ความเสีย หายอย่างกว้า งขวางจากเหตุการณ์นาํ� ท่วมในปี 2554 ทําให้ร ฐั บาลให้ ความสํา คัญกับการบริหารจัดการนํา� อย่างจริงจังบริษ ทั เชื�อ มัน� ว่า ปัจ จัยต่ า ง ๆ ที�ก ล่า วมาจะช่วยสร้างความเชื�อ มัน� ให้แก่ ผูป้ ระกอบการในการกลับมาให้ความสนใจเช่าโรงงาน/คลังสินค้าในพื�นที�ดงั กล่าวอีกครัง� ในระยะเวลาอันใกล้ รวมทัง� ศักยภาพ ของพื�นที�ดงั กล่าวในการเป็ นศูนย์กลางของการผลิตในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมอาหาร ซึ�งเป็ นอุตสาหกรรม 44


ทีต� อ้ งใช้นาํ� เป็ นจํานวนมาก นอกจากนัน� พื�นที�ดงั กล่าวยังเป็ นพื�นที�เหมาะสมสําหรับการกระจายสินค้าไปยังภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอีกด้วย ในช่วงไตรมาสที� 4 ของปี 2556 ได้เกิดเหตุอุทกภัยในบางพื�นที�ทางภาคตะวันออกซึ�งรวมทัง� จังหวัดระยอง ชลบุรี และ ปราจีนบุรี อย่างไรก็ตาม เหตุอุทกภัยมิได้รุนแรงดังเช่นในปี 2554 โรงงานและคลังสินค้าของบริษทั ในพื�นที�ดงั กล่าวไม่ได้รบั ความเสียหาย และผู เ้ ช่าสามารถดําเนินธุ รกิจได้ตามปกติ โดยในช่วงเวลาดังกล่า ว บริษทั ได้ให้ความช่วยเหลือผู เ้ ช่าในการ ป้ องกันความเสียหายอย่างเต็มกําลัง และร่วมติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ทัง� นี�ผูเ้ ช่ายังคงมีความเชื�อมัน� ในศักยภาพของ พื�นที�ดงั กล่าว และไม่ได้มกี ารย้ายออกจากพื�นที� 3.

ความเสี�ยงจากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่า

ณ 31 ธันวาคม 2558 ลูกค้าที�เช่าโรงงานของบริษทั ร้อยละ 42 เป็ นผูป้ ระกอบการจากประเทศญี�ป่ นุ และร้อยละ 28 เป็ น ผูป้ ระกอบการจากภูมภิ าคยุโรป โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 35 เป็ นผูผ้ ลิตชิ�นส่วนยานยนต์ และร้อยละ 27 เป็ นผูผ้ ลิตชิ�นส่วนในกลุม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิคส์/เครื�องใช้ไฟฟ้ า นอกจากนี� ลูกค้าที�เช่าคลังสินค้าของบริษทั ร้อยละ 15 เป็ นผูป้ ระกอบการจากญี�ป่ ุน และร้อยละ 52 เป็ นผูป้ ระกอบการจากภูมภิ าคยุโรป โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 60 เป็ นผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ และร้อยละ 8 เป็ นผูเ้ ช่า คลังสินค้าที�เกี�ยวข้องกับยานยนต์ ดังนัน� หากมีการลดลงของการลงทุนในอุตสาหกรรมดังกล่าว และมีการลดลงของการลงทุน จากประเทศญี�ป่ นุ และภูมภิ าคยุโรป อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ของบริษทั อย่ า งไรก็ ตาม บริษ ทั เชื�อ ว่ า ผลกระทบดัง กล่า วจะมีไม่มากนัก เนื�อ งจากลู ก ค้า ของบริ ษ ทั ในกลุ่ม อุต สาหกรรม อิเล็กทรอนิคส์/เครื�องใช้ไฟฟ้ า เป็ นผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิคส์ท�หี ลากหลายซึ�งรวมถึงเครื�องใช้ไฟฟ้ า ซึ�งส่วน ใหญ่เป็ นอุตสาหกรรมที�ไม่มคี วามเกี�ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมรับจ้างผลิตชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ทวั� ไป (Electronic Manufacturing Services) อุตสาหกรรมผลิตชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ในเครื�องใช้ไฟฟ้ า อุตสาหกรรมผลิต Hard Disk Drive อุตสาหกรรมเครื�องใช้ไฟฟ้ าต่าง ๆ เป็ นต้น นอกจากนี� กลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ยงั เป็ นอุตสาหกรรมที�มแี นวโน้มการเติบโตที�ดี จากการฟื� นตัวของตลาดโลกและการย้ายฐานการผลิตของผูผ้ ลิตรายใหญ่มายังประเทศไทยในการผลิตรถยนต์เพื�อการส่งออก ส่งผลให้ความต้องการชิ�นส่วนยานยนต์มโี อกาสเติบโตได้อีกมาก นอกจากนี� การที�ผู เ้ ช่าในอุตสาหกรรมชิ�นส่วนยานยนต์ มีสดั ส่วนอยู่ในระดับใกล้เคียงกับผูผ้ ลิตชิ�นส่วนในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิคส์และเครื�องใช้ไฟฟ้ า มีส่วนช่วยลดความเสี�ยงจาก การพึ�งพิงผูเ้ ช่าเพียงอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ�ง

สําหรับการลงทุนจากประเทศญี�ป่ ุนนัน� ผูป้ ระกอบการจากประเทศญี�ป่ ุนเป็ นผูล้ งทุนอันดับหนื�งในประเทศไทย จึงเป็ น เหตุให้บริษทั ซึ�งมีส่วนแบ่งการตลาดของโรงงานสําเร็จรู ปสูงที�สุดและเป็ นผูใ้ ห้เช่าคลังสินค้ารายใหญ่ของประเทศมีลูกค้าเช่า โรงงานและคลังสินค้าจากประเทศญี�ป่ นุ มากเป็ นไปตามสัดส่วน บริษทั มีความเห็นว่าในภูมภิ าคเอเชียโดยเฉพาะอย่างยิ�งเอเชีย

รายงานประจ�ำปี 2558

นอกจากความเสี�ยงจากการกระจุกตัวของกลุม่ อุตสาหกรรมที�เช่าโรงงานแล้ว ธุ รกิจผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์เป็ นธุ รกิจที�มี สัดส่วนการเช่าคลังสินค้าของบริษทั สูงที�สุด อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื�อว่าผลกระทบดังกล่าวจะมีไม่มากเช่นกัน เนื�องจากบริษทั ใน กลุม่ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์มกี ารให้บริการจัดเก็บ และ/หรือขนส่งสินค้าที�หลากหลายและไม่มคี วามเกี�ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น ชิ�นส่วนยานยนต์ เครื�องใช้ไฟฟ้ า ชิ�นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ สินค้าอุปโภค-บริโภค เอกสาร สินค้าเพื�อสุขภาพและความงาม สารเคมี ต่าง ๆ เป็ นต้น

45


ตะวันออกเฉียงใต้เมือ� มีการรวมกลุม่ กันทางเศรษฐกิจหรือ ASEAN Economic Cooperation (AEC) แล้ว ประเทศไทยจะ ยังคงเป็ นประเทศที�อยู่ในลําดับต้น ๆ ที�นกั ลงทุนมีความสนใจเข้ามาลงทุนจากความได้เปรียบในด้านต้นทุนการผลิต ความเสี�ยง จากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่าที�มาจากประเทศญี�ป่ นุ จึงเป็ นความเสี�ยงที�บริษทั ยอมรับได้ นอกจากนัน� จากการที�โรงงานและคลังสินค้า ของบริษ ทั มีรู ปแบบมาตรฐานจึงสามารถรองรับ ความต้อ งการของ ผูป้ ระกอบการจากทุก ๆ อุตสาหกรรม 4.

ความเสี�ยงจากการไม่มีผเู ้ ช่าโรงงาน/คลังสินค้าที�อยูใ่ นแผนการก่อสร้างในปัจจุบนั

ณ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีโรงงาน 178 โรง และคลังสินค้า 230 หลัง ที�อยู่ในแผนการก่อสร้าง โดยบริษทั อาจ มีความเสี�ยงจากการไม่มผี ูเ้ ช่าโรงงาน/คลังสินค้าที�จะสร้างแล้วเสร็จตามแผนการก่อสร้างในปัจจุบนั อันจะส่งผลให้บริษทั มีภาระ ต้นทุนการก่อสร้างในช่วงเวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื�อว่าจะสามารถควบคุมความเสี�ยงดังกล่าวได้ เนื�องจากบริษทั มิได้มนี โยบายในการสร้างโรงงาน/ คลังสินค้าเพื�อปล่อยทิ�งไว้ให้วา่ งจํานวนมาก กล่าวอีกนัยหนึ�งก็คือ บริษทั จะสร้างโรงงาน/คลังสินค้าเตรียมไว้พร้อมให้เช่าในแต่ ละทําเลโดยเฉลีย� ประมาณ 3 - 4 โรง และจะชะลอการก่อสร้างหากมีโรงงาน/คลังสินค้าที�สร้างเสร็จพร้อมให้เช่ามากกว่าจํานวน ที�ตอ้ งการ ทัง� นี� การที�บริษทั มีทมี งานก่อสร้างของตนเอง ทําให้การบริหารการก่อสร้างทําได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความ ยืดหยุ่นในการเร่ง/ชะลอ/หยุดการก่อสร้าง หรือโยกย้ายคนงานไปก่อสร้างในทําเลที�มคี วามต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าได้ โดยง่าย 5.

ความเสี�ยงจากการลงทุนในต่างประเทศ

ในปี 2558 บริษทั ทําการลงทุนในต่างประเทศโดยเข้าถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 25 ของกิจการร่วมค้า PT SLP Surya TICON Internusa ผ่านบริษทั ย่อยในฮ่องกงซึ�งได้แก่ Ticon (Hong Kong) Company Limited เพื�อพัฒนาโรงงานและ คลังสินค้าให้เช่าในประเทศอินโดนีเซีย การลงทุนดังกล่าวทําให้บริษทั มีสินทรัพย์ในสกุลเงินต่างประเทศ กิจ การร่วมค้าซึ�งจด ทะเบียนในประเทศอินโดนีเซียมีทุนจดทะเบียน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 คิดเป็ นมูลค่า 46.4 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ แม ้ประเทศอินโดนีเซียจะมีสกุลเงินรูเปี ยะห์แต่ได้มกี ารกําหนดอัตราค่าเช่าและกําหนดให้ผูเ้ ช่าโรงงานและคลังสินค้าที� กิจการร่วมค้าของบริษทั เป็ นผูพ้ ฒั นาขึ�นในประเทศอินโดนีเซียทําการชําระค่าเช่าเป็ นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐฯดังนัน� บริษทั จึงมี ความเสี�ยงจากอัตราแลกเปลีย� นในสกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯเท่านัน� โดยบริษทั จะทําการปิ ดความเสี�ยงดังกล่าวด้วยวิธีทาํ สัญญา ซื�อขายล่วงหน้า (Forward) อัตราแลกเปลีย� นกับธนาคารพาณิชย์ กิจการร่วมค้าของบริษทั ในประเทศอินโดนีเซียจะทําการก่อสร้างโรงงาน/คลังสินค้าพร้อมให้เช่าโดยเฉลี�ยปี ละ 50,000 51,000 ตารางเมตร ในระยะเวลา 2 ปี ซึ�งจะสิ�นสุดลงในปี 2560 และจะชะลอการก่อสร้างหากมีโรงงาน/คลังสินค้าที�สร้างเสร็จ พร้อ มให้เช่า มากกว่า จํา นวนที�ลูก ค้า ต้อ งการ ทัง� นี�เ พื�อลดความเสี�ย งจากการไม่มีผูเ้ ช่า โรงงาน/คลังสินค้าที�อ ยู่ในประเทศ อินโดนีเซียอันเนื�องมาจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของประเทศนัน�

46


รายงานประจ�ำปี 2558

สําหรับความเสี�ยงจากผูร้ ่วมลงทุนในต่างประเทศ ปัจจุบนั บริษทั ควบคุมความเสี�ยงนี�โดยวิธีคดั เลือกผู ร้ ่วมลงทุนที�มี ประสบการณ์ ความพร้อม ความน่าเชื�อถือ และมีจริยธรรมในการทําธุรกิจเป็ นที�ยอมรับของตลาดที�บริษทั มีความสนใจต้องการ จะเข้าไปลงทุน บริษทั มีความสัมพันธ์ท�ดี มี านานทัง� กับบริษทั Mitsui & Coและบริษทั Surya Semesta Internusaก่อนที�จะตก ลงร่วมทุนกันก่อตัง� กิจการร่วมค้าPT SLP Surya TICON Internusaในประเทศอินโดนีเซียการดําเนินธุ รกิจร่วมกันจึงเป็ นไป ด้วยความราบรื�น บริษทั ยังมีกระบวนการคัดเลือกผูร้ ่วมลงทุนในต่างประเทศที�ให้ความสําคัญกับความสัมพันธ์ระยะยาวด้วย ทัง� นี�เพื�อทําความรูจ้ กั ตระหนัก และเข้าใจในผูร้ ่วมลงทุนแต่ละรายก่อนที�จะตกลงทําการลงทุนร่วมกัน

47


โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ รายชื�อผูถ้ อื หุน้ 1. บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) 2. กลุ่มซิต� เี รียลตี� บริษทั ซิต� ี วิลล่า จํากัด นายชาลี โสภณพนิช นางสิรญ ิ า โสภณพนิช บริษทั ซิต� เี รียลตี� จํากัด 3. กรรมการ/ผูบ้ ริหาร/ผูท้ �เี กี�ยวข้อง นางสาวศิรพิ ร สมบัติวฒั นา (ผู อ้ าํ นวยการฝ่ ายธุ รการ) และคู่สมรส นายวีรพันธ์ พูลเกษ (กรรมการผูจ้ ดั การ) และคู่สมรส นายตรีขวัญ บุนนาค (กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ) และคู่สมรส นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ (กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ) นางสาววรัญญา อินทรไพโรจน์ (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายจัดซื�อ) นางสาวพรพิมล ศุภวิรชั บัญชา (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการเงิน) นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 1) นางสาวลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์ (ผูอ้ าํ นวยการอาวุโสฝ่ ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุ การบริษทั ) นางยูโกะ โฮชิ (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 2) นางสาวปริ�มโอภา ณัชชาจารุวทิ ย์ (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบริหารอสังหาริมทรัพย์) 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

นางสุชาดา ลีสวัสดิ�ตระกูล นายจตุพล เกรียงไชยกิจกุล บริษัท ไทยเอ็นวีดอี าร์ จํากัด Nortrust Nominees Limited Group นางยุพดี ควน กองทุนรวมสาทรซิต� ที าวเวอร์ East Fourteen Limited Group อื�น ๆ รวม

ณ วันที� 14 มีนาคม 2559 จํานวนหุน้ ร้อยละ 478,699,619 43.55 38,568,150 24,773,910 11,458,725 2,582,684

3.51 2.25 1.04 0.24

77,383,469

7.04

16,777,500 11,073,823 1,449,362 844,135 230,000 40,890 12,011 79

1.53 1.01 0.13 0.08 0.02 0.00 0.00 0.00

78 61 30,427,939 43,422,970 38,803,200 33,588,500 33,489,332 21,469,904 19,503,194 18,684,588 303,669,660 1,099,142,375

0.00 0.00 2.77 3.95 3.53 3.06 3.05 1.95 1.77 1.70 27.63 100.00

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษทั มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ตาํ � กว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี โดยบริษทั จะพิจารณาจ่ ายเงินปันผลโดย คํานึงถึงผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน และปัจจัยอื�น ๆ ที�เกี�ยวข้องในการบริหารงานของบริษทั ทัง� นี� ในปัจจุบนั ไม่มีสญั ญากูย้ มื เงิน ระหว่างบริษทั กับสถาบันการเงินใด ๆ ทีม� ขี ้อจํากัดของอัตราการจ่ายเงินปันผลของบริษทั

48


49

น.ส.ศิรพิ ร สมบัตวิ ฒั นา

นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล นางยูโกะ โฮชิ

รายงานประจ�ำปี 2558

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายธุรการ

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายการตลาด

นายกฤษณ์ วีรกุล

ผูจ้ ดั การทัวไป �

น.ส.ปริม� โอภา ณัชชาจารุวทิ ย์

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายบริหารอสังหาริมทรัพย์

นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

รองผูจ้ ดั การทัวไป �

คณะกรรมการสรรหา

ดร. สมศักดิ� ไชยพร

รองผูจ้ ดั การทัวไป � และพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ

คณะกรรมการบริหาร

1. โครงสร้างการจัดการ ณ 31 ธันวาคม 2558

นายสิทธิศกั ดิ� ธารีรชั ต์

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายกฎหมาย

คณะกรรมการ กําหนดค่าตอบแทน

นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายพัฒนาโครงการ

นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

นายวีรพันธ์ พูลเกษ

กรรมการผูจ้ ดั การ

คณะกรรมการบริษทั

โครงสร้างการจัดการ

น.ส.วรัญญา อินทรไพโรจน์

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายจัดซื�อ

คณะกรรมการ บริหารความเสีย� ง

น.ส.รุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายบัญชี

ผูต้ รวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบ

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายการเงิน

น.ส.ลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์

นายอภิณัฐ เมฆลอย

ผู ้อํานวยการ ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ

น.ส.พรพิมล ศุภวิรชั บัญชา

คณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการทีด� ี


บริษ ทั มีคณะกรรมการบริษ ทั 1 ชุด และคณะอนุ ก รรมการ 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง และคณะกรรมการกํากับ ดูแลกิจการที�ดี

2.

คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒิ 8 ท่านดังนี� 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายเนตร จรัญวาศน์* นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

* นายเนตร จรัญวาศน์ ได้รบั แต่งตัง� เป็ นกรรมการบริษทั เมื�อวันที� 22 เมษายน 2558

กรรมการผูม้ อี าํ นาจลงลายมือชื�อผูกพันบริษทั ประกอบด้วยนายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิช บุตร นายวีรพันธ์ พูลเกษ และนายเนตร จรัญวาศน์ โดยกรรมการสองในห้าท่านนี�ลงลายมือชื�อร่วมกันพร้อมประทับตราสําคัญ ของบริษทั ทัง� นี� นายชาลี โสภณพนิช เป็ นตัวแทนของกลุ่มซิต� ีเรียลตี� นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร และนายเนตร จรัญวาศน์ เป็ นตัวแทนของกลุม่ โรจนะ บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการเปรียบเสมือนตัวแทนของผูถ้ ือหุน้ เป็ นผูก้ าํ หนดทิศทางการเจริญเติบโตและตัดสินใจเรื�องสําคัญของ บริษทั คณะกรรมการจึงต้องทําหน้าที�ในการดูแลผลประโยชน์ของทุกฝ่ าย ดูแลการทํางานและผลประกอบการของฝ่ ายจัดการ การบริหารความเสี�ยง รวมทัง� การกําหนดค่าตอบแทน 1. กรรมการใหม่ควรเข้ารับการปฐมนิเทศความรูเ้ กี�ยวกับการประกอบธุรกิจของบริษทั 2. ปฏิบตั ิหน้าที�ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนมติท�ปี ระชุมของผูถ้ ือหุน้ ด้วย ความซื�อสัตย์สุจริต ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั และมีความรับผิดชอบเป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกราย 3. คณะกรรมการต้อ งทุ่มเทเวลา และให้ความสําคัญในการกําหนดวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษทั โดย ร่วมกันทบทวนวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษทั ทุก ๆ 5 ปี มีการแสวงหาข้อมูลที�เป็ นประโยชน์ต่อการกําหนดทิศทาง ดังกล่าว รวมถึงมีการพิจารณาถึงประเด็นความเสี�ยงที�อาจจะเกิดขึ�น เพื�อให้มนใจได้ ั� ว่าผูบ้ ริหารจะสามารถนําวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ทก�ี าํ หนดขึ�นไปปฏิบตั ิให้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 50


4. กําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานของบริษทั และกํากับควบคุมดูแลให้ฝ่ายบริหารดําเนินการเป็ นไปตาม นโยบาย และระเบียบของบริษทั อย่า งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใต้ก ารกํา กับดู แลกิจการที�ดี เพื�อ เพิ�มมูลค่ าทาง เศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการและความมังคั � ง� สูงสุดให้แก่ผูถ้ อื หุน้ 5. เป็ นผูน้ าํ และเป็ นแบบอย่างในการปฏิบตั งิ านที�ดี ปฏิบตั ิตามกฎหมายและสอดคล้องกับแนวทางการกํากับดูแลกิจการ ที�ดขี องบริษทั 6. เป็ นแบบอย่างในการเพิ�มเติมความรูค้ วามสามารถ เพื�อให้การปฏิบตั ิงานในฐานะกรรมการบริษทั มีศกั ยภาพมากขึ�น โดยบริษทั มีการสนับสนุนให้กรรมการเข้าร่วมอบรมหรือสัมมนาในหลักสูตรต่าง ๆ อย่างต่อเนื�อง 7. ดําเนินการให้บริษทั มีร ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน การสอบบัญชี การควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายในที�มปี ระสิทธิผลและเชื�อถือได้ 8. จัดให้มกี ารพิจารณาปัจจัยเสี�ยงสําคัญที�อาจเกิดขึ�น และกําหนดแนวทางการบริหารจัดการความเสี�ยงดังกล่าวอย่าง ครอบคลุม ดูแลให้ผูบ้ ริหารมีระบบหรือกระบวนการที�มปี ระสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสี�ยง รวมถึงการแสวงหาโอกาส ทางธุรกิจที�อาจจะเกิดขึ�นจากความเสี�ยงดังกล่าว 9. จัดให้มกี ารปันผลกําไรเมือ� บริษทั มีกาํ ไรพอสมควรและไม่มขี าดทุนสะสม 10. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ท�อี าจจะเกิดขึ�น รวมถึงรายการที�เกี�ยวโยงกัน และ ให้ความสําคัญกับการพิจารณาธุรกรรมหลักที�มคี วามสําคัญ โดยมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผูถ้ ือหุน้ และผูม้ สี ่วนได้เสีย โดยรวม 11. กรรมการที�เป็ นอิสระและกรรมการจากภายนอกอื�น มีความพร้อมที�จะใช้ดุลยพินิจของตนอย่างเป็ นอิสระ ในการ พิจารณากําหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การแต่งตัง� กรรมการ และการกําหนดมาตรฐานการดําเนินกิจ การ ตลอดจนพร้อมที�จะคัดค้านการกระทําของกรรมการอื�น ๆ หรือฝ่ ายจัดการ ในกรณีท�มี คี วามเห็นขัดแย้งในเรื�องที�มผี ลกระทบต่อ ความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ 12. รายงานข้อมูลตาม “แบบรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ/ผูบ้ ริหาร” ต่อบริษทั ตามเกณฑ์ท�บี ริษทั กําหนด 13. หากกรรมการได้รบั ทราบข้อมูลภายในที�เป็ นสาระสําคัญอันจะมีผลต่อการเปลี�ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ กรรมการ จะต้องระงับการซื�อขายหลักทรัพย์ของบริษทั อย่างน้อย 15 วันก่อนที�ข ้อมูลภายในนัน� จะเปิ ดเผยต่อสาธารณชน และจะต้องไม่ เปิ ดเผยข้อมูลที�เป็ นสาระสําคัญนัน� ต่อบุคคลอื�น โดยผูฝ้ ่ าฝื นอาจได้รบั โทษตามกฎหมาย 14. ควบคุม ดูแล ให้ฝ่ายบริหารมีการปฏิบตั ิต่อผูม้ สี ่วนได้เสียทุกฝ่ ายอย่างมีจริยธรรมและมีความเท่าเทียมกัน 16. กําหนดนโยบายและกํากับดูแลให้บริษทั มีระบบที�สนับสนุนการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ที�มปี ระสิทธิภาพ เพื�อให้ มันใจว่ � าฝ่ ายบริหารได้ตระหนักและให้ความสําคัญกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และปลูกฝังจนเป็ นวัฒนธรรมองค์กร

รายงานประจ�ำปี 2558

15. ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดเี ป็ นประจําอย่างสมํา� เสมอ

51


17. กําหนดนโยบายและกํากับดูแลการรับเรื�องร้องเรียน พร้อมทัง� ดําเนินการให้บริษทั มีกระบวนการรับเรื�องร้องเรียน 18. ปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และมีบทลงโทษเมือ� ไม่ปฏิบตั ิตาม 19. จัดให้มีเ ลขานุ ก ารบริษทั เพื�อ ช่วยดํา เนินกิจกรรมต่ า ง ๆ ของคณะกรรมการและบริษ ทั อันได้แก่ การประชุม กรรมการและผูถ้ ือหุน้ ตลอดจนการให้คําแนะนํา แก่กรรมการและบริษทั ในการปฏิบตั ิตนและดําเนินกิจการให้ถูก ต้อ งตาม กฎหมายและระเบียบที�เกี�ยวข้องต่าง ๆ อย่างสมํา� เสมอ อีกทัง� ดูแลให้กรรมการและบริษทั มีการเปิ ดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลา 20. รายงานให้ผูถ้ อื หุน้ ทราบถึงผลประกอบการของบริษทั ในที�ประชุมผูถ้ อื หุน้ และในรายงานประจําปี ของบริษทั 21. จัดให้มชี ่องทางในการสื�อสารกับผูถ้ อื หุน้ แต่ละกลุม่ อย่างเหมาะสม 22. คณะกรรมการบริษทั ต้องมีการประเมินผลงานประจําปี ของทัง� คณะ เพื�อใช้เป็ นกรอบในการตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน ในหน้า ที�ของคณะกรรมการบริษทั และให้เปิ ดเผยในรายงานประจําปี ดว้ ย และประเมินผลงานประจําปี ของผู บ้ ริหารสู งสุด รวมทัง� กําหนดค่าตอบแทนผูบ้ ริหารสูงสุดให้สอดคล้องกับผลการดําเนินงาน 23. ในกรณีท�จี าํ เป็ น คณะกรรมการสามารถขอคําแนะนําหรือความเห็นทางวิชาชีพจากที�ปรึกษาภายนอกเกี�ยวกับการ ดําเนินกิจการ โดยบริษทั เป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่าย การแต่งตัง� คณะกรรมการบริษทั การแต่งตัง� กรรมการบริษทั เป็ นไปตามข้อบังคับของบริษทั และพระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจํากัด โดยคณะกรรมการ สรรหาของบริษทั จะเป็ นผูเ้ สนอชื�อบุคคลเข้าเป็ นกรรมการต่อคณะกรรมการและผูถ้ อื หุน้ เพื�อพิจารณาตามลําดับ ทัง� นี� ข้อบังคับ ของบริษทั กําหนดให้การแต่งตัง� กรรมการบริษทั เป็ นไปโดยสอดคล้องกับพระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจํากัด ดังนี� 1. ที�ประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นผูแ้ ต่งตัง� กรรมการเพิ�มเติม หรือแทนกรรมการที�ตอ้ งออกตามวาระ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี� ก. ผูถ้ อื หุน้ หนึ�งคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ�งเสียงต่อหนึ�งหุน้ ข. ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงที�มอี ยู่ทงั� หมดตาม (ก) เลือกบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็ นกรรมการก็ ได้แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผูใ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ ค. บุคคลซึ�งได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รบั เลือกตัง� เป็ นกรรมการเท่ากับจํานวนกรรมการที�จะมี ในการเลือกตัง� ครัง� นัน� ในกรณีท�บี ุคคลซึ�งได้รบั การเลือกตัง� ในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจํานวนกรรมการที�จะมีได้ ในการเลือกตัง� ครัง� นัน� ให้ประธานในที�ประชุมเป็ นผูอ้ อกเสียงชี�ขาด 2. คณะกรรมการเป็ นผูเ้ ลือกบุคคลเข้าเป็ นกรรมการแทนตําแหน่งกรรมการที�วา่ งลงเพราะสาเหตุอ�นื ใด นอกจากถึงคราว ออกตามวาระ

52


3.

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ณ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยสมาชิก 4 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4.

นายวีรพันธ์ พูลเกษ* นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร ดร. สมศักดิ� ไชยพร

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหารและเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

* นายวีรพันธ์ พูลเกษ ได้รบั แต่งตัง� เป็ นประธานกรรมการบริหาร เมื�อวันที� 18 สิงหาคม 2558

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. ปฏิบตั ิหน้าที�ตามทีไ� ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั 2. ปฏิบตั ิหน้าที�ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ตลอดจนระเบียบของบริษทั โดยเคร่งครัด

4.

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี� 1. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 3. นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ

ทัง� นี� กรรมการตรวจสอบทัง� สามท่านมีความรู แ้ ละประสบการณ์เพียงพอที�จะสามารถทําหน้าที�ในการสอบทานความ น่าเชื�อถือของงบการเงิน บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั มีระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน กระบวนการกํากับดูแลกิจการที�ดี และการบริหาร ความเสี�ยงที�มคี วามเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอ 3. สอบทานความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที�เกี�ยวข้องกับการควบคุมภายในและ การบริหารความเสี�ยง

5. พิจ ารณารายการระหว่า งกันหรือรายการที�อ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามกฎระเบีย บและ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง� กฎหมายที�เกี�ยวข้องกับธุรกิจของบริษทั

รายงานประจ�ำปี 2558

4. สอบทานให้บริษทั ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ และ กฎหมายที�เกี�ยวข้องกับธุรกิจของบริษทั

53


6. สอบทานการประเมินความเสี�ยงต่อการทุจริตคอร์รปั ชัน� และให้คาํ แนะนําต่อคณะกรรมการบริษทั เกี�ยวกับการปฏิบตั ิ ที�ควรมีเพื�อลดความเสี�ยงนัน� โดยผูบ้ ริหารต้องนําคําแนะนําไปปฏิบตั ิ 7. สอบทานและพิจารณาร่วมกับฝ่ ายจัดการในเรื�องข้อบกพร่องสําคัญที�ตรวจพบและการสนองตอบจากฝ่ ายจัดการ 8. มีอาํ นาจในการตรวจสอบและสอบสวนผูท้ �เี กี�ยวข้อง ภายใต้ขอบเขตอํานาจหน้าที�ของคณะกรรมการตรวจสอบและมี อํานาจในการว่าจ้างผูเ้ ชี�ยวชาญเฉพาะด้านมาช่วยงานตรวจสอบและสอบสวน โดยปฏิบตั ิตามระเบียบของบริษทั 9. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง� /เลิกจ้าง เสนอค่าตอบแทนของผู ส้ อบบัญชีของบริษทั รวมทัง� จัดประชุมกับผูส้ อบ บัญชีอย่างอิสระ โดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปี ละหนึ�งครัง� 10. พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบและแผนการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี และฝ่ ายตรวจสอบภายในให้มคี วามสัมพันธ์ และเกื�อกูลกัน และลดความซํา� ซ้อนในส่วนที�เกี�ยวกับการตรวจสอบด้านการเงิน จําเป็ น

11. ประสานงานเกี�ยวกับผลการตรวจสอบกับผูส้ อบบัญชีและอาจเสนอแนะให้สอบทานหรือตรวจสอบรายการใดทีเ� ห็นว่า

12. ในการปฏิบ ตั ิหน้า ที�ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือ มีขอ้ สงสัย ว่า มีร ายการหรือ การกระทํา ซึ�งอาจมี ผลกระทบอย่า งมีน ัย สํา คัญต่ อ ฐานะการเงินและผลการดํา เนิ นงานของบริษ ทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่ อ คณะกรรมการบริษทั เพื�อดําเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาที�คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 13. กํากับดูแลการควบคุมภายใน การจัดทํารายงานทางการเงิน และกระบวนการอื�นที�เกี�ยวข้องกับมาตรการต่อต้านการ ทุจริตคอร์รปั ชัน� รวมทัง� กํากับดูแลการปฏิบตั ิตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� 14. สอบทานมาตรการและการควบคุมภายในที�เกี�ยวข้อง เพื�อให้มนั� ใจว่ามาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� มีความ เพียงพอและมีประสิทธิผล 15. รายงานผลการตรวจสอบภายในเกี�ยวกับมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ของบริษทั ต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างสมํา� เสมอ และให้คาํ แนะนําข้อควรปฏิบตั ิแก่คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร 16. ดําเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มกี ระบวนการรับและกํากับดูแลการรับเรื�องร้องเรียน 17. ประธานกรรมการตรวจสอบหรือกรรมการตรวจสอบควรเข้าร่วมประชุมผูถ้ ือหุน้ บริษทั เพื�อชี�แจงและ/หรือตอบข้อ ซักถามในเรื�องที�เกี�ยวกับคณะกรรมการตรวจสอบ หรือการแต่งตัง� ผูส้ อบบัญชีดว้ ย 18. ประเมินผลการดําเนินงานเกี�ยวกับการตรวจสอบภายในของคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปี บญั ชีการเงินละ 1 ครัง� และรายงานให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ 19. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกําหนดรายละเอียดขัน� ตํา� คือ การปฏิบตั ิงาน จํานวนครัง� การประชุม ผูเ้ ข้าร่วมประชุม รวมถึงความเห็นโดยรวม โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปี ของบริษทั ซึ�งรายงาน ดังกล่าวมีการลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

54


20. ควบคุม ดูแล ให้มกี ารเปิ ดเผยค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีในรายงานประจําปี ของบริษทั 21. ให้ความเห็นชอบ กฎบัตร แผนงาน งบประมาณ และอัตรากําลังของฝ่ ายตรวจสอบภายใน 22. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง� และประเมินผลการปฏิบตั ิงานของหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายใน รวมทัง� ความเป็ น อิสระของฝ่ ายตรวจสอบภายใน 23. ปฏิบตั ิหน้าที�อ�นื ใดที�คณะกรรมการของบริษทั มอบหมายตามที�คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระของบริษทั อย่างน้อย 3 ท่าน ซึ�งไม่เป็ นผูบ้ ริหารบริษทั และ ได้รบั การแต่งตัง� จากคณะกรรมการบริษทั หรือผูถ้ อื หุน้ 2. คณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่าน ต้องเป็ นผูม้ คี วามรู ค้ วามเข้าใจหรือมีประสบการณ์ดา้ นการบัญชีหรือ การเงินอย่างเพียงพอ ที�จะทําหน้าที�ในการสอบทานความน่าเชื�อถือของงบการเงิน หลักเกณฑ์การเสนอชื�อและแต่งตัง� คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาเป็ นผูเ้ สนอชื�อสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบเพื�อให้ผูถ้ ือหุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั เป็ นผู ้ คัดเลือกและแต่งตัง� โดยคณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคุณสมบัติดงั นี� 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจํานวนหุน้ ที�มสี ทิ ธิออกเสียงทัง� หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือ บริษทั ที�เกี�ยวข้อง ทัง� นี�ให้นบั รวมหุน้ ที�ถอื โดยผูท้ �เี กี�ยวข้องด้วย 2. ห้ามผูท้ �มี คี วามสัมพันธ์กบั บริษทั และบริษทั ที�เกี�ยวข้องในลักษณะที�มสี ่วนได้เสีย หรือได้ผลประโยชน์ในด้านการเงิน หรือการบริหารงาน ทัง� ในปัจจุบนั และช่วง 2 ปี ก่อน เป็ นกรรมการอิสระ โดยลักษณะความสัมพันธ์ดงั กล่าวมีตวั อย่างเช่น 

เป็ นกรรมการที�มสี ่วนร่วมในการบริหารงาน พนัก งาน ลู กจ้า ง ที�ปรึกษาที�ร บั เงินเดือ นประจําหรือผู ม้ อี าํ นาจ

เป็ นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ เช่น เป็ นผูส้ อบบัญชี ที�ปรึกษากฎหมาย ที�ปรึกษาทางการเงิน หรือผูป้ ระเมินราคา

ควบคุม ทรัพย์สนิ

เป็ นผู ท้ �มี คี วามสัมพันธ์ทางธุ รกิจ เช่น ซื�อ/ขายสินค้าหรือบริการ ซื�อขายสินทรัพย์ ให้/รับความช่วยเหลือทาง การเงิน เป็ นต้น 

3. หากดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการอิสระของบริษทั อื�นในกลุ่มด้วย จะต้องเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวและค่าตอบแทนที� ได้รบั จากบริษทั นัน� ด้วย 5. เป็ นกรรมการที�ไม่ใช่เป็ นผูท้ �เี กี�ยวข้องหรือญาติสนิทของผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั

รายงานประจ�ำปี 2558

4. ห้ามกรรมการตรวจสอบเป็ นกรรมการใด ๆ ในบริษทั อื�นในกลุม่ ที�เป็ นบริษทั จดทะเบียน

55


6. เป็ นกรรมการที�ไม่ได้รบั การแต่งตัง� ขึ�นเป็ นตัวแทนเพื�อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู ้ ถือหุน้ ซึ�งเป็ นผูท้ �เี กี�ยวข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั 7. สามารถปฏิบตั ิหน้าที� แสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบตั ิงานตามหน้าที�ท�ไี ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษทั โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั รวมทัง� ผูท้ �เี กี�ยวข้องหรือญาติสนิทของบุคคล ดังกล่าว ผูท้ �เี กี�ยวข้อง หมายรวมถึง ผูท้ �มี คี วามสัมพันธ์หรือเกี�ยวข้องกับบริษทั จนทําให้ไม่สามารถทําหน้าที�ได้อย่างอิสระหรือ คล่องตัว เช่น คู่คา้ ลูกค้า เจ้าหนี� ลูกหนี� หรือผูท้ �มี คี วามเกี�ยวข้องทางธุรกิจ อย่างมีนยั สําคัญ เป็ นต้น

5.

คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี� 1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน กรรมการกําหนดค่าตอบแทน กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน 1. เสนอนโยบายและให้คาํ แนะนําแก่คณะกรรมการบริษทั เกี�ยวกับหลักเกณฑ์การจ่า ยค่า ตอบแทน ค่ าเบี�ยประชุม โบนัส สวัสดิการ และผลประโยชน์ตอบแทนอื�น ๆ ทัง� ที�เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินที�จ่ายให้แก่คณะกรรมการ คณะอนุ กรรมการ ของบริษทั และผูบ้ ริหารสูงสุด โดยคํานึงถึงค่าตอบแทนที�ปฏิบตั ิอยู่ในอุตสาหกรรม 2. พิจารณากําหนดค่าตอบแทนให้แก่ผูบ้ ริหารสูงสุด 3. พิจารณากําหนดสวัสดิการและผลประโยชน์ตอบแทนอื�น ๆ ทัง� ที�เป็ นตัวเงินและมิใช่ตวั เงินให้แก่พนักงานของบริษทั 4. กํากับดูแลให้บริษทั มีการเปิ ดเผยนโยบายเรื�องค่าตอบแทนกรรมการ รวมทัง� หลักการและเหตุผล

6.

คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4.

56

นายชาลี โสภณพนิช นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการสรรหา รองประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา


บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการบริษทั อนุกรรมการ และผูบ้ ริหารสูงสุด เพื�อความโปร่งใสในการสรรหาผูท้ �จี ะ มาดํารงตําแหน่งดังกล่าว 2. เสนอชื�อกรรมการ และ/หรือ อนุกรรมการ เพื�อให้คณะกรรมการ และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง� 3. คัดเลือกผูส้ มัครในตําแหน่งผูบ้ ริหารสูงสุด เพื�อให้คณะกรรมการเป็ นผูแ้ ต่งตัง�

7.

คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยสมาชิก 7 ท่าน ดังนี� 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นายตรีขวัญ บุนนาค นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นายปธาน สมบูรณสิน นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

ประธานกรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง และเลขานุ การคณะกรรมการ บริหารความเสี�ยง

ทัง� นี� ณ ปัจจุบนั สมาชิกคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง มีการเปลีย� นแปลง เป็ นดังนี� 1. 2. 3. 4.

นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

5. นายปธาน สมบูรณสิน 6. นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

ประธานกรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง และเลขานุ การคณะกรรมการ บริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง กรรมการบริหารความเสี�ยง

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง

2. พิจารณานโยบายการบริหารความเสี�ยงของบริษทั ให้ครอบคลุมความเสี�ยงด้านเครดิต (Credit Risk) ความเสี�ยงด้าน ตลาด (Market Risk) ความเสี�ยงด้านการปฏิบตั ิการ (Operational Risk) ความเสี�ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความ เสี�ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) และความเสี�ยงด้านอื�น ๆ อาทิ ความเสี�ยงด้านกฎหมายและกฎระเบียบ (Regulatory Risk) เป็ นต้น

รายงานประจ�ำปี 2558

1. กํากับดูแลและสนับสนุนให้มกี ารดําเนินงานด้านการบริหารความเสี�ยงให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้ าหมายทางธุรกิจ รวมถึงสภาวการณ์ท�เี ปลีย� นแปลงไป

57


3. พิจารณาประเมินความเสี�ยงของบริษทั ให้ครอบคลุมธุรกรรมตามข้อ 2. 4. พิจารณาและทบทวนแนวทางและเครื�องมือ ในการบริหารจัดการความเสี�ย งให้มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับ ลักษณะและขนาดความเสี�ยงแต่ละด้านของธุรกรรมที�บริษทั ดําเนินการ 5. พิจารณาและทบทวนการกําหนดเพดานความเสี�ยง (Risk Limits) และมาตรการในการดําเนินการกรณี ท�ไี ม่เป็ นไป ตามเพดานความเสี�ยงที�กาํ หนด (Corrective Measures) 6. ติดตามผลการประเมินความเสี�ยงทัง� ในภาวะปกติและภาวะวิกฤต (Stress Testing) 7. ประเมินความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�นจากผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�นสําหรับธุ รกรรมที�จะจัดตัง� ขึ�นใหม่ รวมถึงกําหนดแนวทางการป้ องกันความเสี�ยงที�อาจจะเกิดขึ�นกับธุรกรรม 8. ทบทวนและปรับปรุงแก้ไขเปลี�ยนแปลง (ถ้าจําเป็ น) กฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง โดยให้รายงานการ ปรับปรุงดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ 9. รายงานผลการบริหารความเสี�ยงให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบ และในกรณีท�มี ปี จั จัยหรือเหตุการณ์สาํ คัญ ซึ�งอาจ มีผลกระทบต่อบริษทั อย่างมีนยั สําคัญ ต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพื�อทราบและพิจารณาโดยเร็วที�สุด 10. ประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี�ยง อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง� 11. กํากับดูแล และสนับสนุนให้มกี ารบริหารความเสี�ยงด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� โดยการประเมินความเสี�ยง ด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และทบทวนมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ให้เพียงพอเหมาะสม 12. รายงานผลการบริหารความเสี�ยงด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� แก่คณะกรรมการตรวจสอบ 13. ประเมินผลการปฏิบตั ิ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง� เพื�อนําผลการประเมินมาปรับปรุง การดําเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพและบรรลุวตั ถุประสงค์ท�กี าํ หนดไว้ 14. ปฏิบตั ิหน้าที�อ�ืนใดตามที�คณะกรรมการบริษทั มอบหมาย 8.

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี

คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติให้แต่งตัง� คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด� ี เมือ� วันที� 26 กุมภาพันธ์ 2558 ประกอบด้วย สมาชิก 7 ท่าน โดยฝ่ ายบริหารของบริษทั สามารถเข้าร่วมเป็ นสมาชิกคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดไี ด้ดงั นี� 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 58

นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นายปธาน สมบูรณสิน นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ นางสาวทัศนีย ์ คาดสนิท

ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี


ทัง� นี� ณ ปัจจุบนั สมาชิกคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี มีการเปลีย� นแปลง เป็ นดังนี� 1. นายตรีขวัญ บุนนาค 2. นายวีรพันธ์ พูลเกษ

ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี กรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี

3. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

กรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดแี ละเลขานุการคณะกรรมการ บริหารความเสี�ยง

บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี 1. จัดทํานโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดี เพื�อเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 2. ให้คาํ แนะนําแก่คณะกรรมการบริษทั ในเรื�องเกี�ยวกับการกํากับดูแลกิจการที�ดี 3. ดูแลการปฏิบตั งิ านของกรรมการ และฝ่ ายจัดการ เพื�อให้เป็ นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดี 4. ทบทวนแนวทางของหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดขี องบริษทั โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ิของสากล และเสนอแนะ ต่อคณะกรรมการบริษทั 5. จัดทํานโยบายและแนวปฏิบตั ิในการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการความยัง� ยืน (Sustainability Management : SM) ซึ�งรวมถึงการดําเนินงานด้านการดูแลสังคม ชุมชน และสิ�งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื�อ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 6. ติดตามการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการความยัง� ยืน 7. วางกรอบแนวทาง และกํากับดูแลการดําเนินงาน ที�เกี�ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ของบริษทั

รายงานประจ�ำปี 2558

8. จัดทําและทบทวนนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ให้ขอ้ เสนอแนะ แนวทาง ติดตาม และประเมินผลการ ดําเนินงานที�เกี�ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� โดยรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง�

59


9.

ผูบ้ ริหาร รายชื�อผูบ้ ริหารของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2558 มีดงั นี� 1. 2. 3. 4. 5.

นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร. สมศักดิ� ไชยพร นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์* นายกฤษณ์ วีรกุล** นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์

6. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ 7. นายสมศักดิ� รัตนวิระกุล 8. นางยูโกะ โฮชิ 9. นางสาวศิริพร สมบัติวฒั นา 10. นางสาววรัญญา อินทรไพโรจน์* 11. นายสิทธิศกั ดิ� ธารีรชั ต์ 12. นางสาวรุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย 13. นางสาวพรพิมล ศุภวิรชั บัญชา 14. นายอภิณฐั เมฆลอย*** 15. นางสาวปริ�มโอภา ณัชชาจารุวทิ ย์*

กรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การทัว� ไป รองผูจ้ ดั การทัว� ไป และผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายพัฒนาโครงการ รองผูจ้ ดั การทัว� ไป และพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ ผู อ้ ํา นวยการอาวุโ สฝ่ ายบัญ ชี การเงิน และสารสนเทศ และ เลขานุการบริษทั ผูอ้ าํ นวยการอาวุโสฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 1 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการตลาด 2 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายธุรการ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายจัดซื�อ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายกฎหมาย ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบัญชี ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการเงิน ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบริหารอสังหาริมทรัพย์

* นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ นางสาววรัญญา อินทรไพโรจน์ และนางสาวปริ�มโอภา ณัชชาจารุวทิ ย์ ได้รบั แต่งตัง� เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมื�อวันที� 1 เมษายน 2558 ** นายกฤษณ์ วีรกุล ได้รบั แต่งตัง� เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมื�อวันที� 1 ตุลาคม 2558 *** นายอภิณฐั เมฆลอย ได้รบั แต่งตัง� เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมื�อวันที� 1 มีนาคม 2558

ขอบเขตและอํานาจหน้าที�ของผูบ้ ริหาร ผูบ้ ริหารมีอาํ นาจหน้าที�ดาํ เนินการตามที�คณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั ทัง� นี� การใช้อาํ นาจของผูบ้ ริหารดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทําได้หากผูบ้ ริหารมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือ ความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใด ๆ กับบริษทั หรือบริษทั ย่อยตามที�สาํ นักงาน ก.ล.ต. กําหนด

60


10. ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร เกณฑ์การกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการ บริษ ทั กํา หนดค่ า ตอบแทนกรรมการตามหน้า ที�และความรับผิดชอบของกรรมการแต่ ละท่า น โดยได้คํา นึงถึงผล ประกอบการของบริษทั รวมถึงค่าตอบแทนกรรมการของบริษทั จดทะเบียนที�อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ทัง� นี� ค่าตอบแทน กรรมการจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และอนุมตั ิโดยผูถ้ อื หุน้ 10.1 ค่าตอบแทนที�เป็ นตัวเงิน ในปี 2558 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ (ตามเกณฑ์คงค้าง) ดังนี� หน่วย : บาท กรรมการ นายชาลี โสภณพนิช นายเดวิ ด เดสมอนด์ แทร์ เร้นท์ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายไว เชง ควน* นางยุพดี ควน* นายเนตร จรัญวาศน์** นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายตรีขวัญ บุนนาค นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ รวม

100,000 50,000

เบี�ยประชุม คณะกรรมการ ตรวจสอบ 40,000

40,000 40,000 10,000 30,000 50,000 50,000 50,000 420,000

40,000 40,000 120,000

เบี�ยประชุม คณะกรรมการ

โบนัสกรรมการ 1,084,000 936,000 892,000 870,000 870,000 892,000 710,000 401,000 6,655,000

รายงานประจ�ำปี 2558

* นายไว เชง ควน และนางยุพดี ควน ไม่ขอรับการต่อวาระกรรมการ จากการครบวาระในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2558 ** นายเนตร จรัญวาศน์ ได้รบั แต่งตัง� เป็ นกรรมการบริษทั เมื�อวันที� 22 เมษายน 2558

61


สําหรับผูบ้ ริหารของบริษทั นัน� ในปี 2558 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผูบ้ ริหาร (ตามเกณฑ์คงค้าง) ดังนี� เงินเดือน โบนัส กองทุนสํารองเลี�ยงชีพและกองทุนประกันสังคม รวม

จํานวนเงิน (บาท) 44,375,782 4,062,060 1,191,775 49,629,617

10.2 ค่าตอบแทนอื�น ๆ ในปี 2558 บริษทั มิได้มกี ารจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบอื�นให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั

62


การกํากับดูแลกิจการ 1.

การปฏิบตั ิต่อผูถ้ อื หุน้

บริษทั ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบตั ิต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดยได้คาํ นึงถึงสิทธิของผูถ้ ือหุน้ ใน การได้รบั ข้อมูลข่าวสารของบริษทั อย่างเพียงพอและทันเวลา อันได้แก่ การส่งข้อมูลข่าวสารของบริษทั ผ่านทางสื�ออิเล็กทรอนิกส์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การลงข่าวสารทางหนังสือ พิมพ์ตามพระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจํากัด และการลง ประกาศในเว็บไซต์ของบริษทั www.ticon.co.th นอกจากข่าวสารข้อมูลที�ให้แก่ผูถ้ อื หุน้ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษทั ยังได้ให้ความสําคัญกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยเฉพาะ อย่างยิ�งองค์ประกอบต่าง ๆ ของการประชุมเพื�อให้เกิดความเท่าเทียมกันในระหว่างผูถ้ ือหุน้ อันได้แก่ การจัดประชุมผูถ้ ือหุน้ โดยกําหนดให้วนั เวลา และสถานที�ประชุมไม่เป็ นอุปสรรคในการเข้าร่วมประชุม พร้อมจัดส่งแผนที�ตงั� ของสถานที�ประชุมให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ การส่งหนังสือนัดประชุมที�มวี ตั ถุประสงค์และเหตุผลของแต่ละวาระการประชุม ตลอดจนความเห็นของคณะกรรมการ ประกอบในแต่ละวาระเสนอให้แก่ผูถ้ อื หุน้ ก่อนการประชุมอย่างน้อย 7 วันสําหรับวาระปกติและอย่างน้อย 14 วันสําหรับวาระ พิเศษตามข้อบังคับของบริษทั หนังสือนัดประชุมของบริษทั มีข ้อมูลสําคัญที�เกี�ยวข้องกับวาระการประชุม เพื�อให้ผูถ้ อื หุน้ มีขอ้ มูลประกอบการพิจารณา ลงคะแนนเสียงในการประชุมได้ครบถ้วนมากยิ�งขึ�นบริษทั ได้จดั ส่งรายงานประจําปี ซ�งึ รวบรวมข้อมูลสําคัญของบริษทั ในปี ท�ผี ่าน มาให้แก่ผูถ้ อื หุน้ พร้อมกับหนังสือนัดประชุม รวมถึงได้จดั ส่งหนังสือมอบฉันทะที�ให้ผูถ้ อื หุน้ สามารถกําหนดทิศทางการออกเสียง ในแต่ละเรื�องได้โดยหนังสือมอบฉันทะดังกล่าวมีข ้อมูลกรรมการตรวจสอบเพื�อให้ผูถ้ ือหุน้ เลือกเป็ นผูร้ บั มอบฉันทะในการเข้า ประชุมในกรณีท�ผี ูถ้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ นอกจากนี�บริษทั ได้แนบข้อบังคับบริษทั ส่วนที�เกี�ยวข้องกับการประชุมผู ้ถือ หุน้ ไปกับหนังสือนัดประชุมด้วย พร้อมทัง� การให้ขอ้ มูลและรายละเอียดเกี�ยวกับเอกสารที�ตอ้ งใช้เพื�อเป็ นหลักฐานในการเข้า ประชุมผูถ้ อื หุน้ ในหนังสือนัดประชุม บริษ ทั ได้เ ปิ ดโอกาสให้ผู ถ้ ือ หุน้ มีสิทธิเ สนอเพิ�มวาระการประชุมและเสนอชื�อผู ท้ �ีมีคุณสมบัติเ หมาะสมที�จ ะมาเป็ น กรรมการบริษทั ล่วงหน้า โดยบริษทั ได้ช�แี จงหลักเกณฑ์และวิธีการในการเสนอเรื�องดังกล่าวบนเว็บไซต์ของบริษทั

คณะกรรมการบริษทั ได้ดูแลให้มกี ารบันทึกรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้มสี าระสําคัญครบถ้วน อันได้แก่ คําชี�แจงที�เป็ น สาระสําคัญ คําถาม ข้อคิดเห็นต่าง ๆ รวมทัง� คะแนนเสียงที�ตอ้ งการในแต่ละวาระ นอกจากนัน� ในส่วนของรายงานการประชุม บริษทั มีการจัดทํารายงานการประชุมให้เสร็จสมบูรณ์ในเวลาที�กฎหมายกําหนด รวมทัง� มีระบบการจัดเก็บรายงานการประชุมทีด� ี

รายงานประจ�ำปี 2558

ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั มีคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบรวมทัง� ผูบ้ ริหารของบริษทั และ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั เข้าร่วมประชุมด้วย โดยประธานกรรมการของบริษทั หรือบุคคลที�ท�ปี ระชุมผูถ้ ือหุน้ อนุ มตั ิให้เป็ นประธาน ในที�ประชุม จะดําเนินการให้มกี ารพิจารณาวาระการประชุมและลงคะแนนเสียงเป็ นไปตามลําดับวาระที�กาํ หนดในหนังสือนัด ประชุมอย่างโปร่งใส นอกจากนัน� บริษทั ได้แจ้งวิธีการลงคะแนนให้ผูถ้ ือหุน้ ทราบก่อนลงคะแนน และระหว่างประชุมได้เปิ ด โอกาสให้ผูถ้ อื หุน้ มีส่วนร่วมอย่างเต็มที�และบริษทั ได้ตอบคําถามอย่างครบถ้วน

63


สามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ ทัง� นี� เพื�อให้รายงานการประชุมมีความครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ�งขึ�น บริษทั ได้จดั ให้มกี ารบันทึก ผลการลงคะแนนเสียง เพิ�มเติมในรายงานการประชุมด้วย ทัง� นี� บริษทั ได้เผยแพร่เอกสารและข้อมูลต่างๆ ที�เกี�ยวข้องกับการประชุมผูถ้ ือหุน้ บนเว็บไซต์ของบริษทั ทัง� ในรู ปแบบ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ได้แก่ เอกสารเชิญประชุมซึ�งเผยแพร่ล่วงหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 1 เดือน และรายงานการ ประชุมที�เผยแพร่ภายใน 14 วัน นับแต่วนั ประชุม รวมทัง� วีดีทศั น์ซ�ึงบันทึกภาพในวันประชุม เพื�อให้ผูถ้ ือหุน้ สามารถเข้าถึง ข้อมูลต่าง ๆ ได้สะดวกและรวดเร็ว ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี 2558 ของบริษทั บริษทั ได้จดั การประชุมขึ�นเมื�อวันที� 22 เมษายน 2558 เวลา 14.30 น. ณ ชาเทรียมบอลรูม ชัน� 4 โรงแรมชาเทรียม ริเวอร์ไซด์ เลขที� 28 ซอยเจริญกรุง 70 ถนนเจริญกรุง แขวงบางคอ แหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร โดยมีกรรมการเข ้าร่วมประชุม 7 ท่าน

2.

การปฏิบตั ิต่อผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย

บริษทั ตระหนักดีว่าความสําเร็จในการดําเนินธุ รกิจของบริษทั เกิดขึ�นจากการสนับสนุ นจากผูม้ สี ่วนได้เสียกลุ ่มต่าง ๆ อันได้แก่ พนักงานบริษทั คู่คา้ ลูกค้า สถาบันการเงินผูใ้ ห้กูย้ มื เงิน ชุมชนและสังคม ตลอดจนแรงผลักดันจากคู่แข่งของบริษทั บริษทั จึงได้ให้ความสําคัญต่อสิทธิของผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่ม กล่าวคือ การปฏิบตั ิต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมและเป็ นธรรม การปฏิบตั ิต่อคู่คา้ ตามสัญญาและเงือ� นไขทางการค้า การจัดหาผลิตภัณฑ์ท�ไี ด้มาตรฐานให้แก่ลูกค้า มีความรับผิดชอบต่อลูกค้า ทัง� ในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการให้บริการหลังการขาย ตลอดจนการรักษาความลับของลูกค้า การปฏิบตั ิตามเงื�อนไข การกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงินอย่างเคร่งครัด การปฏิบตั ิตามกรอบกติกาการแข่งขันที�ดี ไม่ทาํ ลายคู่แข่งขันด้วยวิธีการไม่สุจริต และการรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมของชุมชนและสังคม บริษทั ให้ความสําคัญต่อพนักงาน เนื�องจากพนักงานเป็ นปัจจัยแห่งความสําเร็จที�มคี ุณค่า บริษทั ให้การปฏิบตั ิอย่างเท่า เทียมและเป็ นธรรมต่อพนักงาน ทัง� ในด้านโอกาส ผลตอบแทน สวัสดิการที�จาํ เป็ น การแต่งตัง� โยกย้าย การพัฒนาศักยภาพ การดูแลรักษาสภาพแวดล้อม ในการทํางานให้มคี วามปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงานอยู่เสมอ บริษทั ดําเนินการ ตามมาตรการด้านความปลอดภัย พร้อมทัง� จัดให้มสี �งิ อํานวยความสะดวกในการทํางานอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพือ� ป้ องกัน การสูญเสียชีวติ จากอุบตั ิเหตุ ป้ องกันการบาดเจ็บและการเจ็บป่ วยอันเนื�องจากการทํางาน นอกจากนี� บริษทั ได้จดั ให้มกี ิจกรรม สันทนาการ เพื�อความสามัคคีและเป็ นรางวัลสําหรับพนักงาน ในส่วนของลู กค้า บริษทั มีความมุ่งมัน� ที�จะแสวงหาวิธีก ารที�จะสนองความต้องการของลูก ค้าให้มปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผลยิ�งขึ�นตลอดเวลา บริษทั ยึดมันในการรั � กษาและปฏิบตั ิตามสัญญาที�ทาํ ไว้กบั ลูกค้าอย่างเคร่งครัด โดยการส่งมอบ ผลิตภัณฑ์ และให้บริการหลังการขายที�มคี ุณภาพ ตรงตามความคาดหมายของลูกค้าในราคาที�เป็ นธรรม นอกจากนี� ยังเน้นถึง การรักษาความลับของลูกค้าและไม่นาํ ไปใช้เพื�อประโยชน์โดยมิชอบ รวมทัง� ผ่อนปรนและร่วมช่วยเหลือลูกค้ายามที�เกิดความ เดือดร้อน สําหรับคู่คา้ และ/หรือเจ้าหนี� บริษทั ปฏิบตั ิต่อคู่คา้ และ/หรือเจ้าหนี�อย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม คํานึงถึงประโยชน์สูงสุด ของบริษทั และตัง� อยู่บนพื�นฐานของการได้รบั ผลตอบแทนที�เป็ นธรรมต่อทัง� สองฝ่ าย หลีกเลี�ยงสถานการณ์ท�ที าํ ให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง� ปฏิบตั ิตามพันธะสัญญาที�ตกลงกันไว้ 64


สําหรับคู่แข่งทางการค้า บริษทั ปฏิบตั ิต่อคู่แข่งทางการค้าตามหลักสากล ไม่ละเมิดความลับหรือล่วงรูค้ วามลับทางการค้า ของคู่คา้ ด้วยวิธีฉอ้ ฉล บริษ ทั ยึดมัน� ในการดําเนินธุ รกิจด้วยความเป็ นธรรมโดยปฏิบตั ิตามแนวปฏิบตั ิทางจริย ธรรมในการ ดําเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด ในปี ท�ผี ่านมา บริษทั ไม่มขี ้อพิพาทใด ๆ ในเรื�องที�เกี�ยวกับคู่แข่งทางการค้า ส่วนชุมชนและสังคมนัน� บริษทั มีนโยบายที�จะดําเนินธุ รกิจ ที�เป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม มุ่งสร้า ง สมดุลระหว่างการเติบโตทางธุรกิจ และการพัฒนาของชุมชน สังคมและสิ�งแวดล้อมไปพร้อมกัน อย่างไรก็ตาม ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียอาจร้องเรียนต่อบริษทั ในกรณี ท�ไี ม่ได้รบั ความเป็ นธรรมจากการปฏิบตั ิของบริษทั กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานของบริษทั โดยติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ หรือเว็บไซต์ของบริษทั ได้

3.

คณะกรรมการบริษทั

คณะกรรมการบริษทั มี 8 ท่าน โดย 3 ท่านเป็ นกรรมการอิสระและมีตาํ แหน่งเป็ นกรรมการตรวจสอบของบริษทั ทัง� นี� บริษทั มีการแยกอํานาจหน้าที�ของประธานกรรมการบริษทั กรรมการผูอ้ าํ นวยการ และกรรมการผู จ้ ดั การออกจากกันอย่าง ชัดเจนเพื�อมิให้ผูใ้ ดผูห้ นึ�งมีอาํ นาจโดยไม่จาํ กัด คณะกรรมการบริษ ทั มีก ารประชุมเพื�อ พิจ ารณากิจ การทัว� ไปของบริษ ทั อย่า งน้อ ยไตรมาสละ 1 ครัง� โดยบริษ ทั กําหนดการจัดประชุมคณะกรรมการ และส่งหนังสือนัดประชุมซึ�งระบุถงึ วาระการประชุมอย่างชัดเจนรวมทัง� เอกสารประกอบการ ประชุม ให้แก่คณะกรรมการล่วงหน้าก่อนการประชุมโดยทัว� ไปไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ยกเว้นกรณีเร่งด่วนตามข้อบังคับของบริษทั ในปี 2558 กรรมการบริษทั แต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี�

หมายเหตุ * นายไว เชง ควน และนางยุพดี ควน ไม่ขอรับการต่อวาระกรรมการ จากการครบวาระในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี 2558 ** นายเนตร จรัญวาศน์ ได้รบั แต่งตัง� เป็ นกรรมการบริษทั เมื�อวันที� 22 เมษายน 2558

รายงานประจ�ำปี 2558

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร 4. นายชาย วินิชบุตร 5. นายไว เชง ควน* 6. นางยุพดี ควน* 7. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 8. นายตรีขวัญ บุนนาค 9. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 10. นายเนตร จรัญวาศน์**

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมในปี 2558 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 5 ครัง� ) 5 5 4 4 1 5 5 5 3

65


ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง� เลขานุการบริษทั จะเป็ นผูจ้ ดั การประชุม จัดเตรียมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารเพื�อส่งให้แก่คณะกรรมการบริษทั ก่อนการประชุม เป็ นผูบ้ นั ทึกรายงานการประชุมโดยมีรายละเอียดของสาระสําคัญ และข้อคิดเห็นต่าง ๆ ครบถ้วน และเสร็จสมบูรณ์ภายใน 14 วัน ภายหลังการประชุม รวมทัง� มีหน้าที�จดั เก็บเอกสารเกี�ยวกับการ ประชุมให้ถูกต้องครบถ้วน นอกจากนัน� ยังมีหน้าที�ให้คาํ แนะนําแก่คณะกรรมการบริษทั ในกฎระเบียบต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องกับ วาระการประชุม คณะกรรมการของบริษทั มีบทบาทสําคัญในเรื�องต่าง ๆ เพื�อทําให้บริษทั มีการกํากับดูแลกิจการที�ดดี งั ต่อไปนี� ในทุก ๆ ต้นปี คณะกรรมการบริษทั จะมีการประชุมเพือ� พิจารณากําหนดกลยุทธ์ และเป้ าหมายการดําเนินธุรกิจของ บริษทั รวมทัง� มีการติดตามผลการดําเนินงานและทบทวนผลการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริหารในช่วงปี ท�ผี ่านมา ว่าเป็ นไปตาม เป้ าหมายทีว� างไว้ในช่วงต้นปี หรือไม่ ผลงานที�ไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายจะถูกทบทวนเพื�อประโยชน์ในการวางนโยบาย และการ กําหนดเป้ าหมายที�เหมาะสมสําหรับปี ต่อ ๆ ไป 

เพื�อให้การทํางานเกิดประสิทธิผลมากยิง� ขึ�น คณะกรรมการบริษทั จะมีการทบทวนผลงาน รวมทัง� การวิเคราะห์ปญั หา และอุปสรรคต่าง ๆ ในระหว่างปี ท�ผี ่านมา เพื�อให้มขี ้อมูลที�จะนําไปปรับปรุงการกํากับดูแลและการดําเนินการในเรื�องต่าง ๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง� นี�คณะกรรมการบริษทั ได้ทาํ การประเมินผลการดําเนินงานของตนเองประจําปี ดว้ ย 

คณะกรรมการบริษทั จะเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ เพื�อพิจารณากําหนดค่าตอบแทนที�บริษทั จ่ายให้แก่คณะกรรมการบริษทั (ซึง� ได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนแล้ว) เพื�อเป็ นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเสนอให้แก่ผูถ้ อื หุน้ ทัง� นี� ที� ผ่านมาผู ถ้ ือหุน้ ได้พิจ ารณาอนุ มตั ิค่าตอบแทนกรรมการตามหน้าที�และความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละท่าน กล่า วคือ ประธานกรรมการจะได้รบั ค่าตอบแทนมากกว่ากรรมการท่านอื�น ๆ และกรรมการที�มหี น้าที�และความรับผิดชอบมากขึ�น ก็จะ ได้รบั ค่าตอบแทนเพิ�มขึ�น เช่น กรรมการที�มตี าํ แหน่งเป็ นกรรมการตรวจสอบจะได้รบั ค่าตอบแทนสําหรับหน้าที�ตอ้ งรับผิดชอบ เพิ�มเติมด้วย 

บริษทั ได้เปิ ดเผยข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการที�บริษทั จ่ายให้แก่กรรมการและกรรมการตรวจสอบในปี 2558 ไว้ในหัวข้อ “ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร” เพื�อให้การบริหารงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรอบคอบ คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารกําหนดหน้าที�และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารในเรื�องของระดับอํานาจดําเนินการทางการเงิน ที�สาํ คัญได้แก่ อํานาจอนุ มตั ิ ในการซื�อ/เช่าทรัพย์สนิ อํานาจอนุมตั ิในการขาย/ให้เช่าทรัพย์สนิ อํานาจในการลงนามในสัญญาเงินกูก้ บั สถาบันการเงิน เป็ นต้น โดยได้กาํ หนดวงเงินที�กรรมการและผูบ้ ริหารในแต่ละระดับมีอาํ นาจในการอนุมตั ิไว้อย่างชัดเจน และได้แจ้งให้แก่คณะกรรมการ บริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริหาร และพนักงานที�เกี�ยวข้องทราบถึงอํานาจ หน้าที� และความรับผิดชอบดังกล่าวแล้ว และทุกฝ่ ายได้มกี ารปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด 

คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารติดตามดูแล และรับทราบถึงรายการระหว่างกัน และ รายการที�อ าจก่ อให้เ กิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยได้มีก ารพิจ ารณาความเหมาะสมของรายการอย่า งรอบคอบ ควบคุมดู แลให้รายการดังกล่าวเกิดขึ�นตามราคาตลาด รวมทัง� ดูแลให้บริษ ทั มีการปฏิบ ตั ิตามหลักเกณฑ์ท�ีเกี�ยวข้อ งอย่า ง เคร่งครัด ทัง� นี� ในการพิจารณารายการระหว่างกัน กรรมการผูม้ สี ่วนได้เสียจะไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในเรื�องดังกล่าว 

66


บริษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกัน ซึ�งมีความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อความเหมาะสมของ การทํารายการดังกล่าวไว้ในหัวข้อ “รายการระหว่างกัน” คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทํารายงานความรับผิดชอบต่อการจัดทํา และการเปิ ดเผยรายงานทางการเงินของกิจการ ดังที�แสดงไว้ก่อนรายงานของผูส้ อบบัญชี ทัง� นี� เพื�อแสดงให้เห็นว่ารายงานทางการเงินของบริษทั ครบถ้วน เชื�อถือได้ สมเหตุผล และปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีท�รี บั รองทัว� ไป และกฎระเบียบต่างๆที�เกี�ยวข้อง โดยใช้นโยบายบัญชีท�เี หมาะสมและถือปฏิบตั ิ โดยสมํา� เสมอ 

แม ้ว่าประธานกรรมการของบริษทั จะเป็ นตัวแทนจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ แต่บริษทั ก็มคี ณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผู ้ กํากับดูแลให้การตัดสินใจอนุมตั ิการทํารายการใด ๆ ของคณะกรรมการเป็ นไปอย่างถูกต้อง โปร่งใส และเป็ นธรรมต่อทุก ๆ ฝ่ ายที�เกี�ยวข้อง 

ในปี 2552 คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทํานโยบายการกํากับดูแลกิจการ ซึ�งได้ประมวลนโยบายและข้อปฏิบตั ิหลัก ๆ ที�กรรมการผูบ้ ริหารและพนักงาน จะยึดถือในการปฏิบตั ิหน้าที�ของตน ตามความรับผิดชอบทีไ� ด้รบั มอบหมาย รวมทัง� แนวทาง การปฏิบตั ิต่อผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียฝ่ ายต่าง ๆ โดยเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั ที� www.ticon.co.th และได้มกี ารปรับปรุง ล่าสุดในปี 2558 

4.

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบ 3 ท่านที�มคี วามเป็ นอิสระ ถือหุน้ ในบริษทั น้อยกว่า ร้อ ยละ 1 มิได้เ ป็ นผู บ้ ริหารของบริษ ทั และมีความรู ค้ วามเข้า ใจ รวมทัง� มีประสบการณ์ดา้ นบัญชีและ/หรือ การเงิน โดย คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที�แบ่งเบาภาระหน้าที�ของคณะกรรมการบริษทั ในการดูแลให้บริษทั มีระบบการกํากับดูแลกิจการที� ดี โดยเฉพาะอย่างยิ�งหน้าที�ในการให้วสิ ยั ทัศน์ และให้ความเห็นที�ตรงไปตรงมาต่อรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุม ภายในของบริษทั การปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎเกณฑ์และระเบียบที�เกี�ยวข้อง ตลอดจนดูแลให้มกี ารเปิ ดเผยรายงานทางการเงิน อย่างครบถ้วน และเป็ นไปตามมาตรฐานและข้อกําหนดที�เกี�ยวข้อง ซึ�งส่งผลให้รายงานทางการเงินมีความน่าเชื�อถือ มีคุณภาพที� ดี และมีมลู ค่าเพิ�มต่อองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีบทบาทสําคัญในเรื�องต่าง ๆ เพือ� ทําให้บริษทั มีการกํากับดูแลกิจการที�ดี ดังต่อไปนี� คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีการประชุมอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง� เพื�อกํากับดูแล และติดตามเรื�องต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น โดยมีผูส้ อบบัญชีของบริษทั เข้าร่วมประชุมด้วยทุกครัง� ในวาระที�มกี ารพิจารณารายงานทางการเงิน 

1. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 3. นายตรีขวัญ บุนนาค

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมปี 2558 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 4 ครัง� ) 4 4 4

รายงานประจ�ำปี 2558

ในปี 2558 กรรมการตรวจสอบแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี�

67


ในปัจจุบนั ผูต้ รวจสอบภายในของบริษทั เป็ นผูด้ ูแลกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผู จ้ ดั ประชุม จัดเตรียม ระเบียบวาระการประชุม จัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้องในการประชุม ส่งวาระการประชุมให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนัน� ยังมีหน้าที�บนั ทึกรายงานการประชุม ตลอดจนเป็ นผูด้ ูแลจัดเก็บเอกสารการประชุมด้วย คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานกิจกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ตนรับผิดชอบทัง� หมดแก่คณะกรรมการบริษทั ใน การประชุมคณะกรรมการบริษทั ซึ�งจัดขึ�นอย่างน้อยทุกไตรมาส และมีนโยบายจะรายงานต่อคณะกรรมการทันทีท�มี เี หตุการณ์ สําคัญเกิดขึ�น นอกจากนี� คณะกรรมการตรวจสอบยังได้จดั ทํารายงานเพื�อเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ในรายงานประจําปี ดว้ ย 

บริษทั มีการกําหนดหลักเกณฑ์ของกรรมการตรวจสอบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื�อให้เกิดความชัดเจนในเรื�องต่าง ๆ ที�เกี�ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ�งบทบาทหน้าที�และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ อันเป็ นประโยชน์ในการเพิ�ม ประสิทธิภาพการปฏิบตั ิหน้าที�ของกรรมการตรวจสอบ 

5.

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหารของบริษทั ประกอบด้วยสมาชิก 4 ท่าน ซึ�งแต่งตัง� โดยคณะกรรมการบริษทั เพื�อปฏิบตั ิหน้าที�ตามที� ได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

6.

คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ซึ�งแต่งตัง� โดยผูถ้ ือหุน้ หรือคณะกรรมการ บริษ ทั โดยคณะกรรมการกํา หนดค่ า ตอบแทนมีหน้า ที�ดูแลให้บริษ ทั มีการดํา เนินการที�โปร่ งใส และเป็ นธรรม ในการให้ ผลตอบแทนต่อกรรมการ และผูบ้ ริหาร รวมทัง� การจัดหาสวัสดิการทีเ� หมาะสมและเป็ นธรรมต่อพนักงานของบริษทั ในการพิจ ารณาค่า ตอบแทนนัน� คณะกรรมการกําหนดค่า ตอบแทนจะพิจ ารณาจากหลายองค์ประกอบ ได้แก่ การ เปรียบเทียบกับระดับที�ปฏิบตั ิอยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลประกอบการของบริษทั รวมทัง� หน้าที�ความรับผิดชอบ ในปี 2558 กรรมการกําหนดค่าตอบแทนแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี�

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

68

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมปี 2558 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 2 ครัง� ) 2 2 1


7.

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ซึ�งแต่งตัง� โดยคณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการ สรรหา มีหน้าที�กาํ หนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการคัดเลือกกรรมการ อนุ กรรมการ กรรมการผูอ้ าํ นวยการ และกรรมการ ผูจ้ ดั การของบริษทั เพื�อให้เกิดความโปร่งใสในการสรรหาผูท้ �จี ะมาดํารงตําแหน่งดังกล่าว ในปี 2558 กรรมการสรรหาแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี�

1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร 3. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 4. นายตรีขวัญ บุนนาค

8.

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมปี 2558 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 2 ครัง� ) 2 1 2 2

คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง

คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงจัดตัง� ขึ�นเมื�อวันที� 13 พฤษภาคม 2556 ตามมติท�ปี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 2/2556 คณะกรรมการบริหารความเสี�ยงของบริษ ทั ประกอบด้วยสมาชิก 7 ท่าน ซึ�งแต่งตัง� โดยคณะกรรมการบริษ ทั โดย คณะกรรมการบริหารความเสี�ย งมีหน้าที�พิจารณาประเมินและติดตามความเสี�ย งในด้า นต่ าง ๆ และทบทวนแนวทางและ เครื�องมืออย่างสมํา� เสมอเพื�อใช้ในการบริหารความเสี�ยงอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อการดําเนินธุรกรรมด้านต่าง ๆ ของ บริษทั ในปี 2558 สมาชิกคณะกรรมการบริหารความเสี�ยงแต่ละท่านมีการเข้าประชุม ดังนี�

รายงานประจ�ำปี 2558

1. นายตรีขวัญ บุนนาค 2. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 3. ดร. สมศักดิ� ไชยพร 4. นายปธาน สมบูรณสิน 5. นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ 6. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ 7. นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมปี 2558 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 4 ครัง� ) 4 4 3 4 4 4 4

69


9.

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี

คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติให้แต่งตัง� คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด� เี มือ� วันที� 26 กุมภาพันธ์ 2558 ประกอบด้วย สมาชิก 7 ท่าน โดยคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี มีหน้าที�จดั ทํานโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดี และให้คาํ แนะนําแก่ คณะกรรมการบริษทั ดู แล ทบทวน ติดตามแนวทางการปฏิบตั ิงาน เพื�อให้เ ป็ นไปตามของหลักการกํา กับดูแลกิจการที�ดี นอกจากนี� คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดีมหี น้าที�ในการจัดทํานโยบายและแนวปฏิบตั ิในการดําเนินงานด้านการบริหาร จัดการความยัง� ยืน (Sustainability Management : SM) ซึ�งให้ความสําคัญในการดูแลสังคม ชุมชน และสิ�งแวดล้อ ม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื�อเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั รวมทัง� จัดทําทบทวน ให้ข ้อเสนอแนะ แนวทาง ปฏิบตั ิ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานที�เกี�ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ในปี 2558 สมาชิกคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดแี ต่ละท่านมีการเข ้าประชุม ดังนี�

1. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 2. ดร. สมศักดิ� ไชยพร 3. นายปธาน สมบูรณสิน 4. นางสาวลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์ 5. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ 6. นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ 7. นางสาวทัศนีย ์ คาดสนิท

จํานวนครัง� ที�เข้าร่วมประชุมปี 2558 (มีการประชุมรวมทัง� สิ�น 3 ครัง� ) 3 3 2 2 3 3 3

10. คณะอนุ กรรมการอื�นๆ -ไม่ม-ี

11. จริยธรรมทางธุรกิจ บริษทั มีแนวทางเกี�ยวกับจริยธรรมธุรกิจหรือจรรยาบรรณของบริษทั ที�ระบุอยู่ในคู่มอื บริษทั และนโยบายการกํากับดูแล กิจการ ซึ�งแนวทางดังกล่าวได้รวมถึงแนวทางการเก็บรักษาและป้ องกันการใช้ข ้อมูลภายในของบริษทั เพื�อประโยชน์ส่วนตนด้วย

70


12. ความสัมพันธ์กบั ผูเ้ กี�ยวข้อง บริษทั ได้ให้ความสําคัญกับการเปิ ดเผยข้อมูลของบริษทั ที�ถูกต้อง ครบถ้วน และในเวลาที�เหมาะสม เนื�องจากบริษทั ตระหนักดีถงึ สถานภาพการเป็ นบริษทั มหาชนจํากัด และบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง� นี� ผูส้ นใจ สามารถติดต่อบุคคลดังต่อไปนี� ซึ�งเป็ นผูด้ ูแลงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั เพื�อสอบถามข้อมูลของบริษทั ชื�อ

ตําแหน่ ง

นายสามารถ รัศมีโรจน์ วงศ์

ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

อีเมล

ที�อยู่ ห้อง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ี ทาวเวอร์ 175 ถนนสาทรใต้ samart.r@ticon.co.th แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153

นอกเหนือจากการเปิ ดโอกาสให้นกั วิเคราะห์หลัก ทรัพย์ นัก ลงทุน เข้าพบผู บ้ ริหารของบริษ ทั เพื�อ สอบถามผลการ ดําเนินงาน และเข้าเยี�ยมชมโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั รวมทัง� การจัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์พร้อมกับการจัดแถลงข่าว แก่ ส�ือมวลชน เพื�อชี�แจงผลประกอบการและภาพรวมธุ ร กิจแล้ว บริษ ทั ได้เ ขา้ ร่ วมกิจ กรรมบริษทั จดทะเบีย นพบผูล้ งทุน (Opportunity day) ซึ�งจัดโดยตลาดหลัก ทรัพ ย์แห่งประเทศไทย เป็ นประจําทุกไตรมาส และกิจกรรมพบปะนักลงทุน / นักวิเคราะห์ท�จี ดั โดยบริษทั หลักทรัพย์ เพื�อเป็ นการส่งเสริมการให้ข ้อมูล และสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผูบ้ ริหารและนัก ล ง ทุ น แ ล ะ เ พื� อ ใ ห้มี ค ว า ม เ ข้า ใ จ ใ น ธุ ร กิ จ ข อ ง บ ริ ษั ท ม า ก ขึ� น น อ ก จ า ก นั� น บ ริ ษั ท ยั ง มี ก า ร เ ดิ น ท า ง ไปต่างประเทศเพื�อให้ข ้อมูลแก่นกั ลงทุนที�มไิ ด้อยู่ในประเทศไทยด้วย ในปี 2558 บริษทั ได้จดั ให้มีการนําเสนอข้อมูลแก่นกั ลงทุนต่ างประเทศ นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนรายย่อย และ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ดังนี� จํานวนครัง� 3 35 2 30 6 4

รายงานประจ�ำปี 2558

กิจกรรมการนําเสนอข้อมูล บริษทั จดทะเบียนพบผูล้ งทุน นักลงทุนพบผูบ้ ริหารของบริษทั ประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และจัดแถลงข่าวแก่ส�อื มวลชน ให้ข ้อมูลแก่นกั ลงทุนในประเทศ ให้ข ้อมูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ นักลงทุนเยี�ยมชมโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั

71


13. การดูแลเรื�องการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั มีนโยบายและวิธกี ารดูแลผู ้บริหารในการนําข ้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพื�อประโยชน์ส่วนตน ดังนี� ให้ความรูแ้ ก่กรรมการ และผูบ้ ริหาร เกี�ยวกับหน้าที�ท�ตี อ้ งรายงานการถือหลักทรัพย์และการเปลี�ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ของบริษทั ตามมาตรา 59 แห่ง พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และบทกําหนดโทษตาม พรบ. ดังกล่าว 

บริษ ทั ได้แจ้งให้ผู บ้ ริหารทราบว่า หากบุคลากรที�ได้ร บั ทราบข้อ มูลภายในที�เ ป็ นสาระสํา คัญอันจะมีผ ลต่ อ การ เปลีย� นแปลงราคาหลักทรัพย์ ต้องระงับการซื�อขายหลักทรัพย์ของบริษทั อย่างน้อย 15 วันก่อนที�ข ้อมูลภายในนัน� จะเปิ ดเผยต่อ สาธารณชน และจะต้องไม่เปิ ดเผยข้อมูลที�เป็ นสาระสําคัญนัน� ต่อบุคคลอื�น โดยผูฝ้ ่ าฝื นอาจได้รบั โทษตามกฎหมาย 

บริษทั จะชี�แจงต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนผ่านทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในทันทีในกรณีท�มี ขี ่าวสารใด ๆ ทัง� ที�เป็ นจริงและไม่เป็ นจริงรัว� ไหลออกสู่สาธารณชน ทัง� นี� เพื�อไม่ให้เกิดความไม่เป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว� ไป 

14. ผลการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ตลอดปี 2558 บริษทั ได้ปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดี ยกเว้นเรื�องดังต่อไปนี� มิได้มกี ารกําหนดนโยบายความหลากหลายในโครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Diversity) ทัง� นี�เนื�องจากธุ รกิจ ให้เช่าอาคารโรงงานและคลังสินค้าสําเร็จรูปเป็ นธุรกิจที�ตอ้ งอาศัยบุคลากรที�มคี วามเชี�ยวชาญเฉพาะด้านในการพัฒนาโรงงานและ คลังสินค้าสํา เร็จ รู ป เพื�อ นําพาบริษ ทั ให้บรรลุ ผลสํา เร็จที�ได้ต งั� ไว้ก ารกํา หนดนโยบายความหลากหลายในโครงสร้า งของ คณะกรรมการจึงเป็ นการจํากัดโอกาสของบริษทั ในการสรรหาบุคลากรที�มคี วามเหมาะสมที�สุดดังกล่าว 

มีกรรมการอิสระดํารงตําแหน่งอยู่ในวาระเกินกว่า 9 ปี ธุ รกิจให้เช่าอาคารโรงงานสําเร็จรู ปและคลังสินค้าสําเร็จรู ป เป็ นธุรกิจที�ตอ้ งอาศัยบุคลากรที�มปี ระสบการณ์ในธุ รกิจที�ต่อเนื�องและยาวนาน เพื�อนําพาบริษทั ให้บรรลุผลสําเร็จที�ได้ตงั� ไว้ อย่างไรก็ตามการดําเนินการของบริษทั และคณะกรรมการของบริษทั ตัง� อยู่บนหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดีตามแนวทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนัน� แม ้กรรมการอิสระจะดํารงตําแหน่งอยู่ในวาระเกินกว่า 9 ปี ก็มไิ ด้มผี ลทําให้สามารถใช้ อํานาจกระทําการเกินกว่าขอบเขตอํานาจที�ได้รบั มอบหมายซึ�งอยู่ภายใต้กฎระเบียบและข้อบังคับของบริษทั และอยู่ภายใต้การ กํากับดูแลของคณะกรรมการบริษทั 

กรรมการและกรรมการผูอ้ าํ นวยการ นายไว เชง ควน มีสดั ส่วนของการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการน้อยกว่า ร้อยละ 75 ของการประชุมทัง� ปี เนื�องจากนายไว เชง ควน มีความประสงค์ท�จี ะยุติบทบาทกรรมการของตนในบริษทั และได้ทาํ การลาออกจากบริษทั ไปในระหว่างปี 2558 โดยภายหลังจากการลาออกของนายไว เชง ควน คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติให้ กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การนายวีรพันธ์ พูลเกษ ทําหน้าที�แทนกรรมการผูอ้ าํ นวยการ 

72


15. ความรับผิดชอบต่อสังคม 1. การสนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� คณะกรรมการบริษทั ยึดมันในการดํ � าเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใสและรับผิดชอบ โดยอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย หลัก จริยธรรม และแนวทางการกํากับดูแลกิจการที�ดี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้กาํ หนดแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม ของกิจการที�จดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยให้ครอบคลุมหัวข้อทัง� 10 ดังต่อไปนี� • การกํากับดูแลกิจการที�ดี • การประกอบกิจการด้วยความเป็ นธรรม • การต่อต้านการทุจริต • การเคารพสิทธิมนุษยชน • การปฏิบตั ิต่อแรงงานอย่างเป็ นธรรม • ความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค • การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม • การจัดการสิ�งแวดล้อม • นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมจากการดําเนินความรับผิดชอบต่อสังคม • การจัดทํารายงานแห่งความยัง� ยืน ปัจจุบนั ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้ความสําคัญอย่างยิ�งกับการต่อต้านการทุจริต และผลักดันให้ทุกกิจการที� จดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีนโยบายและมาตรการต่อต้านการทุจริตที�เป็ นรู ปธรรม คณะกรรมการ บริษ ทั ตระหนัก ดีว่ า การทุจ ริตส่งผลกระทบร้า ยแรงต่ อ การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ สัง คม และความมัน� คงของประเทศ จึงสนับสนุนการต่อต้านการทุจริตโดยกําหนดเป็ นนโยบายต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน� ดังนี�

รายงานประจ�ำปี 2558

นโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ห้ามกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั เรียกร้อง ดําเนินการ หรือยอมรับการทุจริตคอร์รปั ชัน� ในทุกประเทศ และทุกหน่วยงานทัง� ภาครัฐและภาคเอกชนที�ธุรกิจของบริษทั เข้าไปเกี�ยวข้อง โดยร่วมกันส่งเสริมค่านิยมความซื�อสัตย์สุจริต และ ความรับผิดชอบให้เ ป็ นวัฒนธรรมองค์ก ร อีก ทัง� ให้มกี ารสอบทานการปฏิบตั ิตามนโยบายต่อ ต้า นคอร์รปั ชัน� นี� อย่า ง สมํา� เสมอ ตลอดจนทบทวนแนวทางการปฏิบตั ิ และข้อกําหนดในการดําเนินการเพื�อให้สอดคล้องกับการเปลี�ยนแปลงของ ธุรกิจ ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อกําหนดของกฎหมาย

73


คํานิ ยาม “คอร์รปั ชัน� (Corruption)” หมายถึง การติดสินบนไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใด ๆ ดังนี� 1. การให้ การเสนอ ให้คาํ มัน� หรือสัญญาว่าจะให้ 2. การรับ การเรียกร้อง ซึ�งเงิน ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อ�ืนใดซึ�งไม่เหมาะสมกับเจ้าหน้าที�ของรัฐ หรือเอกชน หรือผูม้ หี น้าที�เกี�ยวข้องไม่ว่า จะโดยทางตรงหรือทางอ้อม เพื�อให้บุคคลดังกล่าวกระทําหรือละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที�อนั เป็ นการให้ได้มาหรือ รักษาไว้ซ�งึ ธุ รกิจ หรือผลประโยชน์อ�นื ใดที�ไม่เหมาะสมในทางธุ รกิจทัง� นี�เว้นแต่เป็ นกรณี ท�กี ฎหมายระเบียบ ประกาศข้อบังคับขนบธรรมเนียม ประเพณีของท้องถิ�นหรือจารีตทางการค้าให้กระทําได้ บริษทั หมายถึง บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) บริษทั ย่อย หมายถึง บริษทั ที�มลี กั ษณะใดลักษณะหนึ�งดังนี� (ก) บริษทั ที�บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) (“ไทคอน”) มีอาํ นาจควบคุมกิจการ (ข) บริษทั ที�บริษทั ตาม (ก) มีอาํ นาจควบคุมกิจการ (ค) บริษทั ที�อยู่ภายใต้อาํ นาจควบคุมกิจการของบริษทั ตาม (ข) ต่อไปเป็ นทอด ๆ โดยเริ�มจากการอยู่ภายใต้อาํ นาจ ควบคุมกิจการของบริษทั ตาม (ข) บริษทั ร่วม หมายถึง บริษทั ที� ไทคอน หรือ บริษทั ย่อยมีอาํ นาจในการมีส่วนร่วมตัดสินใจเกี�ยวกับนโยบายทางการเงินและการดําเนินงาน ของบริษทั แต่ไม่ถงึ ระดับที�จะมีอาํ นาจควบคุมนโยบายดังกล่าว และไม่ถอื เป็ นบริษทั ย่อยหรือกิจการร่วมค้า ในกรณีท�ี ไทคอน หรือบริษทั ย่อยถือหุน้ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมรวมกันตัง� แต่รอ้ ยละยี�สิบแต่ไม่เกินร้อยละห้าสิบ ของจํานวนสิทธิออกเสียงทัง� หมดของบริษทั นัน� ให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่า ไทคอน หรือบริษทั ย่อยมีอาํ นาจในการมีส่วนร่ว ม ตัดสินใจตามวรรคหนึ�ง เว้นแต่จะพิสูจน์ให้เห็นเป็ นอย่างอื�น อํานาจควบคุมกิจการ หมายถึง การมีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ�งดังนี� (ก) การถือหุน้ ที�มสี ทิ ธิออกเสียงในบริษทั เกินกว่าร้อยละห้าสิบของจํานวนสิทธิออกเสียงทัง� หมดของบริษทั นัน� (ข) การมีอาํ นาจควบคุมคะแนนเสียงส่วนใหญ่ในที�ประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือไม่ว่าเพราะ เหตุอ�ืนใด โดยอ้อม

74

(ค) การมีอาํ นาจควบคุมการแต่งตัง� หรือถอดถอนกรรมการ ตัง� แต่ก�ึงหนึ�งของกรรมการทัง� หมดไม่ว่าโดยตรงหรือ


บุคลากร หมายถึง กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั กรรมการ หมายถึง กรรมการของบริษทั ผูบ้ ริหาร หมายถึง ผูบ้ ริหารของบริษทั ตัง� แต่ระดับผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายขึ�นไป พนักงาน หมายถึง พนักงานลําดับถัดลงมาจากผูบ้ ริหารทัง� ที�เป็ นพนักงานประจํา และพนักงานรายวันของบริษทั คู่คา้ หมายถึง ผูจ้ ดั หาสินค้าและบริการให้กบั บริษทั ผูอ้ อกแบบ ที�ปรึกษา ผูร้ บั เหมา ผูร้ บั เหมาช่วง ผูม้ ีสว่ นได้เสีย หมายถึง ผูถ้ อื หุน้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน เจ้าหนี� ลูกค้า คู่คา้ คู่แข่ง ชุมชนและสังคม การช่วยเหลือทางการเมือง หมายถึง การช่วยเหลือทางการเงินหรือในรู ปแบบอื�น ไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อมเพื�อ สนับสนุ นกิจกรรมทางการเมือง เช่น การให้กูเ้ งิน การให้ส�งิ ของหรือบริการ การบริจาคเงินเพื�อร่วมกิจกรรมต่างๆ ของ หน่วยงานที�มคี วามสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพรรคการเมืองในลักษณะก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่างตอบแทนในทางมิชอบ เป็ นต้น ค่าบริการรับรอง หมายถึง ค่าอาหาร ค่าเครื�องดื�ม ค่าของขวัญ ค่าพิมพ์เอกสาร ค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวเนื�องในการเลี�ยง รับรองรวมทัง� ค่าบริการ และค่าใช้จ่ายอื�น ๆ ซึ�งจําเป็ นต้องจ่ายที�เกี�ยวกับการรับรองเพื�อเป็ นค่ารับรองในการต้อนรับบุคคลหรือ คณะบุคคลที�ไปตรวจงานหรือเยี�ยมชมหรือทัศนศึกษาดูงาน หน่ วยงานรัฐ หมายถึง กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที�เรียกชื�ออย่างอื�นและมีฐานะเป็ นกรม ราชการ ส่วนภูมภิ าค ราชการส่วนท้องถิ�นและรัฐวิสาหกิจ ที�ตงั� ขึ�นตามพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกา การบริจาคเพื�อการกุศล หมายถึง การเสียสละ หรือ การสละเงิน หรือสิ�งของให้องค์กร หรือบุคคล โดยไม่หวังสิ�ง ตอบแทนหรือก่อให้เกิดความได้เปรียบทางธุรกิจแก่ผูบ้ ริจาค เงินสนับสนุ น หมายถึง เงินที�ให้โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อธุ รกิจ ตราสินค้า หรือชื�อเสียงของบริษทั เท่านัน� โดยไม่มี จุดประสงค์แอบแฝง เพื�อใช้เป็ นข้ออ้างในการให้สนิ บน หรือทุจริตคอร์รปั ชัน� หน้าที�ความรับผิดชอบ 1. คณะกรรมการบริษทั กําหนดนโยบายและกํากับดูแลให้บริษ ทั มีระบบที�สนับสนุ นการต่อต้า นการทุจ ริตคอร์รปั ชัน� ที�มปี ระสิทธิภาพ เพื�อให้มนใจว่ ั� าฝ่ ายบริหารได้ตระหนักและให้ความสําคัญกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และปลูกฝังจนเป็ นวัฒนธรรม องค์กร

รายงานประจ�ำปี 2558

75


กํา หนดนโยบายและกํา กับดู แลการรับเรื�องร้องเรียน พร้อ มทัง� ดํา เนินการให้บริษ ทั มีก ระบวนการรับเรื�อ ง

ปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และมีบทลงโทษเมือ� ไม่ปฏิบตั ิตาม

ร้องเรียน

2. คณะกรรมการตรวจสอบ กํากับดูแลการควบคุมภายใน การจัดทํารายงานทางการเงิน และกระบวนการอื�นที�เกี�ยวข้องกับมาตรการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� รวมทัง� กํากับดูแลการปฏิบตั ิตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน�  สอบทานมาตรการและการควบคุมภายในที�เกี�ยวข้อง เพื�อ ให้มน ั� ใจว่ามาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� มี ความเพียงพอ และมีประสิทธิผล  สอบทานการประเมินความเสี�ยงต่อการทุจริตคอร์รป ั ชัน� และให้คาํ แนะนํา ต่อคณะกรรมการบริษทั เกี�ยวกับ การปฏิบตั ิท�คี วรมี เพื�อลดความเสี�ยงนัน� โดยผูบ้ ริหารต้องนําคําแนะนําไปปฏิบตั ิ  รายงานผลการตรวจสอบภายในเกี�ยวกับมาตรการต่ อ ต้า นการทุจ ริต คอร์รป ั ชัน� ของบริษทั ต่อคณะกรรมการ บริษทั อย่างสมํา� เสมอ และให้คาํ แนะนําข้อควรปฏิบตั ิแก่คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร  ดําเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มก ี ระบวนการรับและกํากับดูแลการรับเรื�องร้องเรียน 

3. คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี วางกรอบแนวทาง และกํากับดูแลการดําเนินงาน ที�เกี�ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ของบริษทั  จัดทําและทบทวนนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน� ให้ข ้อเสนอแนะ แนวทาง ติดตาม และประเมินผลการ ดําเนินงานที�เกี�ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� โดยรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง� 

4. คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง กํากับดูแลและสนับสนุนให้มกี ารบริหารความเสี�ยงด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� โดยการประเมินความ เสี�ยงด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และทบทวนมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ให้เพียงพอเหมาะสม  รายงานผลการบริหารความเสี�ยงด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน� แก่คณะกรรมการตรวจสอบ 

5. ผูบ้ ริหาร 

คอร์รปั ชัน�

กําหนดให้มกี ารประเมินความเสี�ยงด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ในกระบวนการปฏิบตั ิงานที�อาจก่อให้เกิดการทุจริต

กําหนดให้มกี ระบวนการส่งเสริม และสนับสนุนนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และสื�อสารไปยังบุคลากร ของบริษทั และ ผูม้ สี ่วนได้เสีย  นํานโยบายและกรอบการป้ อ งกันการทุจ ริตคอร์รป ั ชัน� ให้บุคลากรของบริษทั ถือปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัด และ ต่อเนื�อง  กําหนดให้มก ี ารประเมินผล และรายงานผลการปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านคอร์รปั ชัน� ต่อคณะกรรมการกํากับ ดูแลกิจการที�ดอี ย่างสมํา� เสมอ 

76


กําหนดให้มกี ระบวนการรับ และกํากับดูแลการรับเรื�องร้องเรียน  ทบทวนความเหมาะสมของกระบวนการและมาตรการต่ า ง ๆ เพื�อ ให้สอดคล้อ งกับการเปลี�ยนแปลงของธุ รกิจ ระเบียบข้อบังคับและข้อกําหนดของกฎหมาย แนวปฏิบตั ิ 1. บุคลากรของบริษทั ต้องไม่ดาํ เนินการหรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการทุจริตคอร์รปั ชัน� การให้หรือ รับสินบน ทุก รูปแบบ ทัง� ทางตรงและทางอ้อม โดยมีหน้าที�ปฏิบตั ิตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� คู่มอื การกํากับการ ดูแลกิจการที�ดี และมาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุ รกิจของบริษทั รวมทัง� ระเบียบ และข้อกําหนดอื�นๆ ที�เกี�ยวข ้อง 2. บุคลากรของบริษทั ต้องปฏิบตั ิดว้ ยความระมัดระวังเกี�ยวกับการรับ การให้ของขวัญ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ อื�นใด รวมถึงค่าบริการรับรอง และค่าใช้จ่ายอื�นๆ ทัง� นี� การให้หรือรับของขวัญและการเลี�ยงรับรอง ต้อง เป็ นไป เพื�อวัตถุประสงค์ทางธุ รกิจหรือตามประเพณี นิยมเท่านัน� โดยมีมูลค่าที�เหมาะสม และต้องไม่ส่งผล กระทบต่อการตัดสินใจในการปฏิบตั ิหน้าที� 3. การบริจาคเพื�อการกุศล และการให้เงินสนับสนุนของบริษทั ต้องมีขนั� ตอนการตรวจสอบ อนุมตั ิ และสอบทาน โดยต้องมีเอกสารหลักฐานชัดเจน เพื�อให้มนใจว่ ั� าการบริจาคเพื�อการกุศลและเงินสนับสนุนนัน� ไม่ถกู นําไปใช้ เป็น ข้ออ้างสําหรับการทุจริตคอร์รปั ชัน� 4. บริษทั ต้องจัดให้มกี ระบวนการตรวจสอบระบบและขัน� ตอนการปฏิบตั ิการงานขายและการตลาด รวมทัง� งาน จัดหาพัสดุและทําสัญญาอย่างสมํา� เสมอ รวมถึงการประเมินความเสี�ยงต่อการเกิดทุจริตคอร์รปั ชัน� และบริหาร จัดการ ให้มวี ธิ ีการแก้ไขที�เหมาะสม 5. บริษ ทั ต้อ งมีก ระบวนการบริหารทรัพ ยากรบุคคล ที�สะท้อ นถึงความมุ่งมัน� ต่ อ มาตรการต่ อ ต้านการทุจ ริต คอร์รปั ชัน� และมีนโยบายที�จะไม่ลดตําแหน่ง ลงโทษ หรือให้ผลทางลบต่อบุคลากรของบริษทั ที�ปฏิเสธการ คอร์รปั ชัน� แมว้ ่าการกระทํานัน� จะทําให้บริษทั สูญเสียโอกาสทางธุ รกิจ โดยบริษทั มีกระบวนการสื�อสารอย่า ง ชัดเจนเกี�ยวกับนโยบายดังกล่าว 6. บริษทั ต้องจัดให้มขี นั� ตอนในการเก็บรักษาเอกสารและบันทึกต่างๆ ให้พร้อมต่อการตรวจสอบเพื�อยืนยันความ ถูกต้องและความเหมาะสมของรายงานทางการเงิน ตลอดจนขัน� ตอนการปฏิบตั ิเพื�อให้มนั� ใจว่าไม่มรี ายการใดที� ไม่ได้รบั การบันทึก หรือไม่สามารถอธิบายได้ หรือเป็ นรายการเท็จ 7. บริษทั ต้องจัดให้มขี น�ั ตอนเพื�อให้เกิดความมันใจว่ � าการควบคุมภายในของกระบวนการทําบัญชี และการเก็บรักษา ข้อ มูลได้ร บั การตรวจสอบภายในเพื�อ ยืนยันประสิทธิ ผ ลของกระบวนการตามมาตรการต่ อ ต้า นการทุจ ริ ต คอร์รปั ชัน� และเพื�อ ให้เ กิดความมัน� ใจว่า การบันทึก รายการทางเงินมีหลักฐานอย่า งเพีย งพอเพื�อ ใช้ในการ ตรวจสอบ 8. บริษทั ต้องจัดให้มกี ารสื�อสารหรือฝึ กอบรมอย่างต่อเนื�องแก่บุคลากรของบริษทั เพื�อให้เกิดความรู ค้ วามเข้าใจ อย่างแท้จริงเกี�ยวกับมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และบทลงโทษหากไม่ปฏิบตั ิตามมาตรการนี�

รายงานประจ�ำปี 2558

77


9. บริษทั ต้องสื�อสารนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� และแนวปฏิบตั ิไปยังบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั อื�นที� บริษทั มีอาํ นาจในการควบคุมคู่คา้ ทางธุ รกิจ และผูม้ สี ่วนได้เสีย เพื�อทราบและนํามาตรการต่อต้านการทุจริ ต คอร์รปั ชัน� ไปปฏิบตั ิ 10. บุคลากรของบริษทั ไม่พงึ ละเลยหรือเพิกเฉยเมือ� พบการกระทําที�อาจฝ่ าฝื นมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� โดยบริษทั ต้องจัดให้มชี ่องทางการแจ้งเบาะแสและคุม้ ครองผูใ้ ห้ข ้อมูลหรือเบาะแสเมือ� บุคลากรต้องการแจ้งข้อมูล หรือเบาะแส รวมทัง� เมือ� บุคลากรต้องการคําแนะนําเกี�ยวกับการปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� 11. คณะกรรมการการกํากับดูแลกิจการที�ดขี องบริษทั มีหน้าที�รายงานผลการดําเนินการตามมาตรการต่อต้านการ ทุจริตคอร์รปั ชัน� นี�ต่อคณะกรรมการบริษทั โดยรายงานอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง� 12. ฝ่ ายตรวจสอบภายในสามารถรายงานประเด็นที�พบอย่างเร่ งด่วนต่อกรรมการผูจ้ ดั การ และคณะกรรมการ ตรวจสอบเพื�อรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั นโยบายการรับและให้ของขวัญ บริการรับรอง หรือประโยชน์อ�นื ๆ นโยบายการรับและให้ของขวัญ บริการรับรอง หรือประโยชน์อ�ืนใด สามารถกระทํา ได้โดยต้อ งมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี�  ดําเนินการอย่างถูกต้อ งเปิ ดเผย และโปร่ งใส โดยไม่ขด ั ต่อหลักศีลธรรม เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ปฏิบตั ิของบริษทั รวมถึงหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื�นๆ ที�เกี�ยวข้องมีความเหมาะสม กับสถานการณ์ เทศกาล และขนบธรรมเนียมประเพณีในแต่ละท้องถิ�น รวมทัง� ไม่ใช้เป็ นข้ออ้างสําหรับการ ทุจริตคอร์รปั ชัน�  ห้ามรับหรือให้ของขวัญ บริการรับรอง หรือประโยชน์อ�ืนๆ หากการกระทําเหล่านัน � จะมีผลกระทบเกี�ยวกับ การดําเนินงานของบริษทั  ต้องจัดทําบันทึกเพื�อขออนุ มตั ิโดยระบุวต ั ถุประสงค์และชื�อบุคคล/หน่วยงานผูร้ บั หรือให้ของขวัญ บริการ รับรอง หรือประโยชน์อ�ืนๆ อย่างชัดเจนพร้อมแนบเอกสารที�เกี�ยวข้องเพื�อนําเสนอผูม้ อี าํ นาจของบริษทั พิจารณาอนุมตั ิก่อนดําเนินการ  เป็ นการให้ในนามบริษท ั ไม่ใช่ในนามของพนักงาน  เป็ นการให้อย่างเปิ ดเผย ไม่ปกปิ ด  ของขวัญซึ�งมีมล ู ค่าไม่เกิน 3,000 บาท ต้องแจ้งให้ผูบ้ งั คับบัญชาทราบโดยใช้แบบรายงานการรับของขวัญ ใน กรณี ท�ขี องขวัญมีมูลค่าเกินกว่า 3,000 บาท ต้องนําส่งของขวัญดังกล่าวแก่เลขานุ การบริษทั โดยใช้แบบ รายงานการรับของขวัญ เพื�อนําไปเป็ นรางวัลให้แก่พนักงาน หรือบริจาคเพื�อการกุศลตามความเหมาะสม ต่อไป

78


นโยบายการบริจาคเพื�อการกุศลหรือการให้เงินสนับสนุ น การบริจาคเพื�อการกุศลหรือการให้เงินสนับสนุนทุกประเภทต้องมีลกั ษณะดังนี�  ดําเนินการอย่างถูกต้อง เปิ ดเผย และโปร่งใสโดยไม่ขด ั ต่อหลักศีลธรรม เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบปฏิบตั ิ ของบริษทั รวมถึงหน่ วยงานราชการ รัฐ วิสาหกิจ และหน่วยงานอื�นๆ ที�เกี�ย วข้อ งรวมทัง� ไม่ใช้เ ป็ นข้ออ้า ง สําหรับการทุจริตคอร์รปั ชัน�  สอดคล้องกับนโยบายด้านสังคม ชุมชนและสิ�งแวดล้อ ม หรือ กิจ กรรมเพื�อ ส่งเสริมการพัฒนาสู่ความยัง� ยืน ของบริษทั หรือเป็ นกิจกรรมที�ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริงหรือ เพื�อเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของการดําเนินงานด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR)  ไม่มวี ต ั ถุประสงค์แอบแฝงเพื�อสร้างความได้เปรียบหรือสร้างแรงจูงใจในการเอื�อประโยชน์ทางธุรกิจ  ต้องจัดทําบันทึกเพื�อขออนุ มตั ิโดยระบุวต ั ถุประสงค์และชื�อบุคคล/หน่วยงานผูร้ บั บริจาคหรือรับเงินสนับสนุน อย่างชัดเจน พร้อมแนบเอกสารที�เกี�ยวข้องเพื�อนําเสนอผูม้ อี าํ นาจของบริษทั พิจารณาอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ และพิสูจน์ได้ว่ามีกิจกรรมตามโครงการเพื�อการกุศลดังกล่าวจริง และมีก ารดํา เนินการเพื�อสนับสนุ นให้ วัตถุประสงค์ของโครงการประสบผลสําเร็จ นโยบายการมีสว่ นร่วมทางการเมือง 

บริษทั เป็ นองค์กรที�เป็ นกลางทางการเมือง สนับสนุนการดําเนินการใด ๆ ที�เป็ นไปตามระบอบการปกครอง ในประเทศนั�น ๆ ทัง� นี� บริ ษ ัท สนับ สนุ น ให้บุ ค ลากรของบริ ษ ทั ยึ ด มัน� ในระบอบประชาธิ ป ไตยอัน มี พระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข และใช้สทิ ธิทางการเมืองของตนตามครรลองของกฎหมาย บริษทั ไม่อนุญาตให้บุคลากรของบริษทั นําทรัพยากร ตราสัญลักษณ์ และเครื�องหมายทางการค้าของบริษทั ไปสนับสนุนกิจกรรมทางการเมือง ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม บุคลากรสามารถใช้สทิ ธิทางการเมืองนอกเวลาทํางานได้

การบันทึกและเก็บรักษาข้อมูล

สําหรับแนวทางการดําเนินการเกี�ยวกับการบันทึกและเก็บรัก ษาข้อมูลให้เ ป็ นไปตามมาตรฐานทางจริยธรรมและ จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ และนโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดี ประกาศ ระเบียบ และมาตรฐานทางบัญชี ตลอดจน นโยบายอื�น ๆ ที�เกี�ยวข้อง

รายงานประจ�ำปี 2558

ขัน� ตอนการบันทึกและเก็บรักษาข้อมูลทางการเงินและบัญชีของบริษทั ต้องเป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถ ตรวจสอบได้ โดยมีระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในทีม� ปี ระสิทธิภาพและเชื�อถือได้ ภายใต้ การกํากับ ดูแลของคณะกรรมการตรวจสอบ

79


การสื�อสารและการฝึ กอบรม 1. การสื�อสาร  จัดให้มก ี ารสื�อสารนโยบายและมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ให้แก่บุคลากรของบริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และผูม้ สี ่วนได้เสีย  จัดให้มก ี ารสื�อสารไปยังบุคลากร บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม เกี�ยวกับบทลงโทษหากไม่ปฏิบตั ติ ามนโยบาย ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน�  จัดให้มก ี ารสื�อสารไปยังบุคลากร บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม เกี�ยวกับนโยบายการไม่ลดตําแหน่ง ลงโทษ หรือให้ผลทางลบต่อบุคลากรของบริษทั ที�ปฏิเสธการทุจริตคอร์รปั ชัน� แมว้ ่าการกระทํา นัน� จะทําให้บริษ ทั สูญเสียโอกาสทางธุรกิจ ทัง� นี� เมือ� มีการจัดทําหรือปรับปรุงนโยบายและมาตรการที�เกี�ยวข้อง ให้มกี ารสื�อสารและเปิ ดเผยข้อมูลทุก ครัง� ตามช่องทางการสื�อสารที�เหมาะสม อาทิ จดหมาย อีเมล เว็บไซต์ อินทราเน็ต สื�อสิ�งพิมพ์ แผ่นป้ ายประชาสัมพันธ์ เป็ นต้น 2. การฝึ กอบรม  จัดให้มก ี ารปฐมนิเทศและฝึ กอบรมเกี�ยวกับนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ให้แก่บุคลากรของบริษทั  สนับสนุ น ให้กรรมการและผู บ้ ริ หารมีส่ วนร่ วมในการให้ความรู แ้ ก่ พ นักงาน และเป็ นแบบอย่า งที�ดีในการ ปฏิบตั ิตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� นโยบายการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน� บริษทั คาดหวังว่า บุคลากรของบริษทั จะร่วมกันสอดส่องดูแลการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดแี ละมาตรฐาน ทางจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุ รกิจของบริษทั โดยสนับสนุ นให้มกี ารสอบถามกรณี มขี อ้ สงสัยหรือข้อข้องใจ รวมทัง� เปิ ดโอกาสให้บุ คลากรทุก คนร้อ งเรีย นเมื�อ พบพฤติก รรมที�ไม่เ หมาะสมหรือ ขัดต่ อ มาตรฐานทางจริย ธรรมและ จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษทั หรือสอบถามข้อข ้องใจได้ท�คี ณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจ้ ดั การ เลขานุการ บริษทั ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ หรือผูบ้ งั คับบัญชา บริษทั จะรับฟังทุกข้อ ร้อ งเรีย นอย่างเสมอภาคโปร่ งใส และเอาใจใส่รวมทัง� ให้ความเป็ นธรรมแก่ทุกฝ่ าย กําหนด ระยะเวลาสอบสวนอย่างเหมาะสม ชื�อของผูร้ อ้ งเรียนจะถูกปิ ดเป็ นความลับ ผูร้ อ้ งเรียนจะได้รบั ความคุม้ ครองไม่ให้ถูกกลัน� แกล้งทัง� ในระหว่างการสอบสวนและภายหลังการสอบสวน

80


1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื�อ ส่งเสริมให้บุคลากรของบริษ ทั ดําเนินธุ รกิจ อย่างถูกต้อง โปร่งใส ยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได้ โดยสอดคล้องกับหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดี มาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุ รกิจของบริษทั โดย บริษทั คาดหวังให้ทุกคนรายงานโดยสุจริตถึงการปฏิบตั ิท�ขี ดั หรือสงสัยว่าจะขัดต่อเรื�องดังกล่าวให้บริษทั รับทราบ ซึ�งบริษทั จะได้ ปรับปรุงแก้ไข หรือดําเนินการให้เกิดความถูกต้อง เหมาะสม โปร่งใส ยุติธรรม และเป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ท�มี กี ารให้ความคุม้ ครองผูใ้ ห้ข ้อมูลโดยสุจริตแก่ผูร้ บั เรื�องร้องเรียนด้วย 1.2 เพื�อให้มนใจว่ ั� าผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ของบริษทั ทําหน้าที�ดูแล และให้คาํ แนะนํา ตลอดจน สอดส่องการกระทําต่าง ๆ ของบุคลากรของบริษทั ให้เป็ นไปโดยถูกต้อง และผูแ้ จ้งเรื�องดังกล่าวจะได้รบั ความคุม้ ครอง หากเป็ น การกระทําด้วยสุจริตใจ 2. ขอบเขตการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน� 2.1 เมือ� มีข ้อสงสัย หรือพบเห็นการกระทําที�ฝ่าฝื นหลักปฏิบตั ิท�ดี ใี นเรื�องต่อไปนี�  การฝ่ าฝื นการปฏิบต ั ิตามหลักการ และแนวปฏิบตั ิของนโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดี  การฝ่ าฝื นกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษท ั  การได้รบ ั ความไม่เป็ นธรรมในการปฏิบตั ิงาน  การกระทําทุจริตคอร์รป ั ชัน� 2.2 พบการกระทําที�ทาํ ให้เกิดความสงสัย และเกิดผลเสียต่อบริษทั 3. ช่องทางในการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน� ของผูม้ ีสว่ นได้เสียทุกกลุ่ม 3.1 ไปรษณีย ์ นําส่งที� คณะกรรมการบริษัท หรือ คณะกรรมการตรวจสอบ หรือเลขานุ การบริษัท หรือ ฝ่ ายทรัพยากร มนุ ษย์ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ห้อ ง 1308 ชัน� 13/1 อาคารสาธรซิต� ีท าวเวอร์ เลขที� 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่ง มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

รายงานประจ�ำปี 2558

3.2 โทรศัพท์ : (662) 679-6565 โทรสาร : (662) 287-3153

81


3.3 อีเมล คณะกรรมการบริษทั

: whistleblowing.director@ticon.co.th

คณะกรรมการตรวจสอบ

: whistleblowing.ac@ticon.co.th

เลขานุ การบริษทั

: whistleblowing.secretary@ticon.co.th

ฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์

: whistleblowing.hr@ticon.co.th

3.4 เว็บไซต์ : www.ticon.co.th/th/ir 4. เงื�อนไขและการพิจารณาเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน� 4.1 รายละเอียดของเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน� ต้องเป็ นความจริง มีความชัดเจน พอที�จะสืบหา ข้อเท็จจริงเพื�อดําเนินการต่อไปได้ 4.2 ผูท้ �แี จ้งเบาะแส หรือผูร้ อ้ งเรียน สามารถเลือกที�จะไม่เปิ ดเผยชื�อ ที�อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ท�ตี ิดต่อได้ หากเห็น ว่าการเปิ ดเผยนัน� จะทําให้เกิดความไม่ปลอดภัยหรือเกิดความเสียหายใดๆ แต่หากมีการเปิ ดเผยตนเอง จะทํา ให้สามารถรายงานความคืบหน้า สอบถามข้อมูลที�เป็ นประโยชน์เพิ�มเติม ชี�แจงข้อเท็จจริงให้ทราบ หรือบรรเทา ความเสียหายได้สะดวก และรวดเร็วยิ�งขึ�น 4.3 ข้อมูลทีไ� ด้รบั จะถือเป็ นความลับ และไม่มกี ารเปิ ดเผยชื�อผูท้ �แี จ้งเบาะแส หรือผูร้ อ้ งเรียนหากไม่ได้รบั ความ ยินยอม 4.4 ผูท้ �แี จ้งเบาะแส หรือร้องเรียน จะได้รบั ความคุม้ ครอง ไม่ว่าจะเป็ นพนักงาน หรือบุคคลภายนอก 4.5 ระยะเวลาในการดําเนินการเรื�องร้องเรียน ขึ�นอยู่กบั ความซับซ้อนของเรื�อง ความเพียงพอของเอกสารหลักฐาน ที�ได้รบั จากผูร้ อ้ งเรียน รวมถึงเอกสารหลักฐาน และคําชี�แจงของผูถ้ ูกร้องเรียน 4.6 ผูร้ บั ข้อร้องเรียน และผูม้ สี ่วนเกี�ยวข้องกับกระบวนการตรวจสอบหาข้อเท็จจริง ต้องเก็บข้อมูลที�เกี�ยวข้องเป็ น ความลับจะเปิ ดเผยเท่าที�จาํ เป็ น โดยคํานึงถึงความปลอดภัย และความเสียหายของผูร้ อ้ งเรียน หรือผูใ้ ห้ความ ร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง แหล่งที�มาของข้อมูล หรือบุคคลที�เกี�ยวข้อง 4.7 บริษทั จะไม่รบั เรื�องร้องเรียนการกระทําทุจริต ดังต่อไปนี� 4.7.1 เรื�องที�คณะกรรมการสืบสวนสอบสวนตามระเบีย บของบริษทั รับไว้พิจารณาเสร็จสิ�นแล้ว และไม่มี พยานหลักฐานใหม่ซ�งึ เป็ นสาระสําคัญเพิ�มเติม 4.7.2 เรื�องที�ผูถ้ ูกร้องเรียนพ้นจากการเป็ นพนักงานของบริษทั ก่อนถูกกล่าวหาเกินกว่าห้าปี 4.7.3 เรื�องที�ไม่ระบุพยานหลักฐานหรือระบุพฤติการณ์การกระทําการทุจริตที�ชดั แจ้งเพียงพอที�จะดําเนินการ สืบหาข้อเท็จจริงได้

82


4.7.4 เรื�องที�ลว่ งเลยมาเกินกว่าห้าปี นบั ตัง� แต่วนั ที�กระทําการทุจริตจนถึงวันที�แจ้งเรื�องร้องเรียน และเป็ นเรื�อง ที�ไม่อาจหาพยานหลักฐานเพียงพอที�จะดําเนินการต่อไปได้ 5. กลุ่มบุคคลที�เกี�ยวข้อง 5.1 ผูแ้ จ้งข้อมูล

หมายถึง ผูท้ �แี จ้งเบาะแส หรือร้องเรียน

5.2 ผูร้ บั เรื�องร้องเรียน

หมายถึง คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจ้ ดั การ เลขานุ ก าร บริษทั ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์หรือผูบ้ งั คับบัญชา

5.3 ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน

หมายถึง ผูท้ าํ หน้าที�เก็บข้อมูลเบื�องต้น ประสานงาน และเก็บผลสรุป ของการดําเนินงาน ได้แก่ เลขานุการบริษทั ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์

5.4 ผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียน

หมายถึง ผูบ้ งั คับบัญชาโดยตรงของผูท้ �ถี ูกร้องเรียน หรือผูบ้ งั คับบัญชา เหนือขึ�นไปของฝ่ ายงานที�ถูกร้องเรียน

5.5 ผูด้ ูแลเรื�องระเบียบวินยั

หมายถึง ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์

5.6 กรรมการผูจ้ ดั การ 5.7 คณะกรรมการตรวจสอบ 6. กระบวนการในการจัดการกับเรื�องที�มีการร้องเรียน 6.1 การลงทะเบียน และส่งเรื�อง 6.1.1 ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน ลงทะเบียนรับเรื�องร้องเรียน และกําหนดวันแจ้งความคืบหน้าของเรื�องที� ร้องเรียนแก่ผูร้ อ้ งเรียน ดังนี�  กรณี ท�ม ี ผี ลกระทบต่อชื�อเสียงของบริษทั อย่างร้ายแรง ให้ดาํ เนินการโดยด่วนที�สุด  กรณี อ�น ื ให้ดาํ เนินการโดยเร็ว  กรณี ท�ีเ ป็ น การสอบถามทัว� ไป เช่ น คํา ถามเกี� ย วกับ ราคาหุ น ้ การจ่ า ยเงิน ปันผล จะไม่มีก าร ลงทะเบียนรับเรื�องแต่จะส่งเรื�องให้กบั ฝ่ ายงานที�รบั ผิดชอบเรื�องนัน� ๆ โดยตรงเพื�อตอบข้อซักถาม แก่ผูส้ อบถาม    

ชื�อผูร้ อ้ งเรียน ยกเว้นกรณีท�ไี ม่ได้ระบุช�อื วันที�รอ้ งเรียน ชื�อบุคคล หรือเหตุการณ์ท�รี อ้ งเรียน ข้อมูลที�เกี�ยวข้องอื�น ๆ

รายงานประจ�ำปี 2558

6.1.2 ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน ลงบันทึกข้อมูลจากผูร้ อ้ งเรียน ดังนี�

83


6.1.3 เมือ� ลงทะเบียนรับเรื�องร้องเรียนแล้ว ให้กาํ หนดขัน� ความลับตามเนื�อหาของเรื�อง (ยกเว้นกรณีท�เี ป็ นการ สอบถามทัว� ไป) และดําเนินการดังนี�  

ส่งให้ผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียนดําเนินการหาข้อเท็จจริง และสัง� การตามอํานาจหน้าที�ท�มี ี ส่งสําเนาเรื�องให้ฝ่ายทรัพยากรมนุ ษย์ทราบเบื�องต้น เพื�อเตรียมให้คาํ แนะนําการดําเนินการด้าน ระเบียบวินยั หรืออื�น ๆ ส่งสําเนาเรื�องให้กรรมการผูจ้ ดั การ และคณะกรรมการตรวจสอบทราบเรื�อง

6.2 การรวบรวมข ้อเท็จจริง และสัง� การ 6.2.1 ผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียน ดําเนินการหาข้อเท็จจริง และให้ขอ้ แนะนําผูท้ �เี กี�ยวข้องให้มกี ารประพฤติ หรือ ปฏิบตั ิ ที�เหมาะสมต่อไป หากต้องมีการลงโทษทางวินยั สัง� ลงโทษโดยปรึกษากับฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ เพื�อให้การลงโทษเป็ นไปตามมาตรการลงโทษ และหากผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียนไม่มอี าํ นาจสัง� ลงโทษให้ เสนอเป็ นลําดับชัน� ไปจนถึงผูม้ อี าํ นาจแล้วแต่กรณี และให้ส่งผลการหาข้อเท็จจริง การดําเนินการและ การสัง� ลงโทษแล้วแต่กรณีไปให้กรรมการผูจ้ ดั การ โดยผ่านผูบ้ งั คับบัญชาตามลําดับชัน� เพื�อทราบ หรือ พิจารณาสัง� การ 6.2.2 กรณี เป็ นเรื�องร้องเรีย นจากผูไ้ ม่ร ะบุช�อื และไม่สามารถหาข้อมูลเพิ�มเติมได้เ พียงพอ ให้ผูด้ ูแลเรื�อ ง ร้องเรียนส่งรายงานผลการตรวจสอบข้อมูล และความเห็นเกี�ยวกับเรื�องร้องเรียนนัน� ไปที�กรรมการ ผูจ้ ดั การ โดยผ่านผูบ้ งั คับบัญชาตามลําดับชัน� เพื�อขอแนวทางการดําเนินการที�เหมาะสมต่อไป หาก กรรมการผูจ้ ดั การเห็นว่าไม่สามารถดําเนินการตามข้อร้องเรียนได้ ข้อร้องเรียนนัน� จะถูกปิ ดเรื�องไป และให้ผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียนส่งสําเนาให้ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียนทราบ เพื�อรายงานแก่คณะกรรมการ ตรวจสอบ 6.2.3 หากผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียนตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วพบว่า ผูถ้ ูกร้องเรียนไม่มคี วามผิด หรือเป็ นเรื�องที� เกิดจากความเข้าใจผิด หรือได้ให้ข ้อแนะนําแก่ผูถ้ ูกร้องเรียน หรือผูท้ �เี กี�ยวข ้องให้มกี ารประพฤติ หรือ ปฏิบตั ิท�ีเหมาะสมแล้ว และพิจารณาเห็นว่า ควรให้ปิดเรื�องโดยไม่ มกี ารลงโทษใด ๆ ให้ผูด้ ูแลเรื�อ ง ร้องเรียนเสนอเรื�องดังกล่าวแก่ผูบ้ งั คับบัญชาลําดับเหนือขึ�นไป เพื�อขออนุมตั ิปิดเรื�อง และสําเนาเรื�องให้ ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน เพื�อแจ้งแก่ผูร้ อ้ งเรียนทราบ จากนัน� รายงานแก่คณะกรรมการตรวจสอบ ต่อไป 6.3 การสอบสวนข้อเท็จจริง 6.3.1 ในกรณี ท�ีผู ด้ ู แ ลเรื� อ งร้อ งเรี ย น และฝ่ ายทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ เห็น ว่ า จะต้อ งมีก ารลงโทษทางวิน ัย ให้ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์เสนอเรื�องต่อกรรมการผูจ้ ดั การ สอบสวนข้อเท็จจริงต่อไป 6.3.2 เมือ� มีผลสัง� การของกรรมการผูจ้ ดั การแล้ว ให้แจ้งผลให้ผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียนทราบ เพื�อดําเนินการตาม ขัน� ตอนต่อไป

84


6.4 การแจ้งผลสรุปต่อผูร้ อ้ งเรียน และการปรับปรุงแก้ไข 6.4.1 ผูด้ ูแลเรื�องร้องเรียน ดําเนินการตามคําสัง� ของกรรมการผูจ้ ดั การ ให้ขอ้ แนะนําให้มกี ารประพฤติ หรือ ปฏิบตั ิท�เี หมาะสมต่อไป แล้วแจ้งผลการดําเนินการให้ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียนทราบ 6.4.2 ผู ป้ ระสานงานเรื� อ งร้อ งเรี ย น แจ้ง ผลการดํา เนิ น การให้ก ับ ผู ร้ อ้ งเรี ย นทราบ และบัน ทึ ก ผล ของการดําเนินการเกี�ยวกับเรื�องร้องเรียนไว้ โดยนําเสนอคณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็นรายไตรมาส 6.4.3 ผูป้ ระสานงานเรื�องร้องเรียน ติดตามผลการปรับปรุงแก้ไข (ถ้ามี) และรายงานให้กรรมการผูจ้ ดั การ และคณะกรรมการตรวจสอบทราบ 7. การร้องเรียนโดยไม่สุจริต หากการแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียน ให้ถอ้ ยคํา หรือให้ข ้อมูลใด ๆ ที�พสิ ูจน์ได้ว่าเป็ นการกระทําโดยไม่สุจริตกรณี เป็ นบุคลากรของบริษทั จะได้รบั การลงโทษทางวินยั แต่หากเป็ นบุคคลภายนอกที�เป็ นผูก้ ระทําให้บริษทั ได้รบั ความ เสียหาย บริษทั จะดําเนินคดีกบั บุคคลนัน� ต่อไป 8. มาตรการคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแส หรือผูร้ อ้ งเรียน 8.1 บริษทั จะเก็บข้อมูลและตัวตนของผูแ้ จ้งเบาะแส ผูร้ อ้ งเรียน และผูถ้ ูกร้องเรียน เป็ นความลับ 8.2 บริษทั จะเปิ ดเผยข้อมูลเท่าที�จาํ เป็ น โดยคํานึงถึงความปลอดภัย และความเสียหายของผูร้ ายงานแหล่งทีม� าของ ข้อมูล หรือบุคคลทีเ� กี�ยวข้อง 8.3 ผูท้ �ไี ด้รบั ความเสียหายจะได้รบั การบรรเทาความเสียหายด้วยกระบวนการที�เหมาะสมและเป็ นธรรม 8.4 กรณีท�ผี ูร้ อ้ งเรียน หรือผูท้ �ใี ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง เห็นว่าตนอาจได้รบั ความไม่ปลอดภัย หรืออาจเกิดความเดือดร้อนเสียหาย ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูใ้ ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงสามารถร้อง ขอให้บริษทั กําหนดมาตรการคุม้ ครองที�เหมาะสมก็ได้ หรือบริษทั อาจกําหนดมาตรการคุม้ ครองโดยผูร้ อ้ งเรียน หรือผูท้ �ใี ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงไม่ตอ้ งร้องขอก็ได้ หากเห็นว่าเป็ นเรื�องที�มแี นวโน้มที�จะเกิด ความเดือดร้อนเสียหาย หรือความไม่ปลอดภัย

รายงานประจ�ำปี 2558

8.5 บริษ ทั จะไม่ก ระทํา การใดอันไม่เ ป็ นธรรมต่อ ผูแ้ จ้งเบาะแส หรือผู ร้ อ้ งเรีย น ไม่ว่า จะโดยการเปลี�ย นแปลง ตําแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที�ทาํ งาน สัง� พักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบตั งิ าน เลิกจ้าง หรือกระทําการอื�นใด ที�มีลกั ษณะเป็ นการปฏิบตั ิอ ย่า งไม่เป็ นธรรมต่ อผู แ้ จ้งเบาะแส ผู ร้ อ้ งเรีย น หรือ ผูใ้ ห้ความร่ วมมือ ในการ ตรวจสอบข ้อเท็จจริง

85


บทลงโทษเมื�อไม่ปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� นโยบายและมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน� ถือเป็ นส่วนหนึ�งของวินยั ในการปฏิบตั ิงาน กรรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงานที�ไม่ปฏิบตั ิตามย่อมถูกสอบสวน และพิจารณาโทษทางวินยั ตามระเบียบข้อบังคับของบริษทั พระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจํากัด พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที�เกี�ยวข้องต่อไป 2. การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจก บริษทั มีความใส่ใจเป็ นอย่างยิ�งต่อ ความเปลี�ย นแปลงที�เ กิดขึ�นกับสิ�งแวดล้อม โดยเฉพาะความเปลี�ยนแปลงในชัน� บรรยากาศโลกอันเป็ นผลมาจากการเพิ�มขึ�นของปริมาณก๊าซเรือนกระจกที�เกิดจากอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ�งได้ส่งผลให้อุณหภูมบิ น พื�นผิวโลกเพิ�มสูงขึ�นทุกปี ในปี 2558 บริษทั ได้มอบหมายให้ผูเ้ ชี�ยวชาญทําการวิจยั หาปริมาณก๊าซเรือนกระจกที�กิจการได้ปล่อย ออกสู่ชนั� บรรยากาศโลกเพื�อศึกษาหาแนวทางในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซดังกล่าวในปี ต่อๆไป ผลการวิจยั ดังกล่าวปรากฏ อยู่ในรายงานสรุปผลการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกของบริษทั โดยมีรายละเอียดดังนี� รายงานสรุปผลการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกขององค์กร บริษทั ไทคอน อินดัสเตรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)เป็ นบริษทั ที�ประกอบธุ รกิจก่อสร้างโรงงานและคลังสินค้า สําเร็จรูปเพื�อวัตถุประสงค์ในการเช่า โดยมีการจัดตัง� บริษทั เมื�อปี พ .ศ.2533 และในปัจจุบนั มีท�ตี งั� กระจายอยู่ตามแหล่งนิคม อุตสาหกรรมและเขตพื�นที�สาํ คัญทางเศรษฐกิจ จํานวน 17 แห่ง และมีหลากหลายขนาดเพื�อตอบสนองความต้องการอย่างเต็มที� ของลูกค้า ทางบริษทั ให้ความสําคัญทัง� ด้านคุณภาพ การบริการ ความปลอดภัยในการทํางาน ด้านสิ�งแวดล้อมได้ดาํ เนินกิจกรรม ลดการใช้พลังงานและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื�อรองรับการพัฒนาและการขยายตัวของธุรกิจ จากภาวะสภาพภูมอิ ากาศ เปลีย� นแปลงและโลกร้อนซึ�งทวีความรุนแรงมากขึ�นในปัจจุบนั ทางบริษทั ฯได้ตระหนักถึงความสําคัญของปัญหาที�เกิดขึ�นจาก ผลกระทบของภาวะสภาพภูมอิ ากาศเปลีย� นแปลงและโลกร้อน ทําให้บริษทั ฯ ตื�นตัวในการดําเนินงานเพื�อลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกการจัดทําคาร์บอนฟุตพริ�นท์ขององค์กร (Carbon Footprint for Organization : CFO หรือ Corporate Carbon Footprint: CCF) เป็ นวิธีการประเภทหนึ�งในการแสดงข้อมูลปริมาณก๊าซเรือนกระจกที�ปล่อยจากการดําเนินงานขององค์กรอัน จะนําไปสู่การกําหนดแนวทางการบริหารจัดการเพื�อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื�อกําหนดแนวทางและหลักเกณฑ์การประเมินคาร์บอนฟุตพริ�นท์ขององค์กรสําหรับใช้เป็ นเครื�องมือในการประเมิน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที�เกิดขึ�นจากการดําเนินกิจกรรมต่างๆ ในการผลิตขององค์กรและเป็ นการช่วยเสริมสร้า งศักยภาพ ให้กบั องค์กรสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลกและเป็ นการเตรียมความพร้อมหากภาครัฐจําเป็ นต้องมีรายงานปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas Reporting) ขององค์กรการประเมินคาร์บอนฟุตพริ�นท์องค์กรของบริษทั ฯมีวตั ถุประสงค์ ในการดําเนินการให้สอดคล้อ ง “แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ�นท์องค์ก ร (องค์การบริหารจัดการก๊า ซเรือ นกระจก (องค์การมหาชน), 2556)” ใน scope 1 และ scope 2 ซึ�งพิจารณาขอบเขตขององค์กร (Organization boundary) ในลักษณะควบคุม (Operation control) และกําหนดค่าของความคลาดเคลือ� นที�สามารถยอมรับได้ท�ี 5 เปอร์เซ็นต์

86


นอกจากนี�การประเมินคาร์บอนฟุตพริ�นท์องค์กร ยังมีการใช้มาตรฐานที�เป็ นที�ย อมรับในระดับระหว่า งประเทศ คื อ ISO14064-1 (2006) และ The GHG Protocol (WRI/WBCSD) ขอบเขตการดําเนิ นงาน (Operational Boundary) Operational Boundary แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากขอบเขตการดําเนิ นงานประเภทที� 1 

 

การเผาไหม ้อยู่กบั ที� (Stationary Combustion) - การใช้นาํ� มันเชื�อเพลิงในเครื�องกําเนิดไฟฟ้ าและอุปกรณ์ท�ใี ช้ในพื�นที�ก่อสร้าง (ระบบ เบิกจ่ายทางบัญชี) การเผาไหม ้ที�มกี ารเคลือ� นที� (Mobile Combustion) - รถยนต์และยานพาหนะอื�นๆ (ระบบ Fleet card) - รถยนต์และยานพาหนะอื�นๆ (ระบบ เบิกจ่ายทางบัญชี) การรัว� ไหล (Fugitive Emission) : ไม่มี กระบวนการและปฏิกิริยา (Process Emission):ไม่มี แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากขอบเขตการดําเนิ นงานประเภทที� 2

 

ปริมาณไฟฟ้ าที�ใช้ในสํานักงานใหญ่ ปริมาณไฟฟ้ าที�ใช้ในพื�นที�ก่อสร้างและระบบบริหารงานส่วนกลางในแต่ละพื�นที� แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากขอบเขตการดําเนิ นงานประเภทที� 3

ปริมาณไฟฟ้ าที�ใช้ในพื�นที�ก่อสร้างในแต่ละพื�นที� ที�ได้มกี ารคิดค่าใช้จ่ายจากผูร้ บั เหมาหรือผูเ้ ช่า  ปริมาณการใช้กระดาษ โดยพิจารณาเฉพาะกระดาษขาวเท่านัน �  ปริมาณการใช้นาํ � โดยพิจารณาเฉพาะที�สาํ นักงานใหญ่เท่านัน � (เนื�องจากว่าปริมาณการใช้นาํ� ในพื�นที�ก่อสร้างจะเป็ นส่วนที�จดั หามาเองโดยผูร้ บั เหมา โดยไม่สามารถประเมินหาแหล่งที�มา ของนํา� ได้) 

แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกที�ไม่ได้รวมเข้ามาในขอบเขต พร้อมเหตุผล 

การเผาไหม ้อยู่กบั ที� (Stationary Combustion): การใช้นาํ� มันเชื�อเพลิงในเครื�องกําเนิดไฟฟ้ าและอุปกรณ์ดบั เพลิง ของสํานักงานใหญ่ (นํา� มันดีเซล) เนื�องจากทางองค์กรไม่สามารถควบคุมการดําเนินการของตัวอุปกรณ์ได้โดยตรงและ ในกรณีหากมีค่าใช้จ่ายที�เกิดขึ�นจากการใช้งานของอุปกรณ์ก็จะไม่ได้พจิ ารณาเป็ นค่าใช้จ่ายโดยตรงขององค์กร

การรัว� ไหล (Fugitive Emission) : การใช้สารทําความเย็น (Refrigerants) ของสํานักงานใหญ่ เนื�องจากทางองค์กรไม่สามารถควบคุมการดําเนินการของตัวอุปกรณ์ทาํ ความเย็นส่วนกลางได้โดยตรงและในกรณีหาก มีค่า ใช้จ่ า ยที�เ กิดขึ�นจากการใช้งานของอุปกรณ์ก็จ ะไม่ได้พิจ ารณาเป็ นค่า ใช้จ่ า ยโดยตรงขององค์ก ร โดยที�ทางองค์ก รจะ

รายงานประจ�ำปี 2558

87


รับผิดชอบเพียงปริมาณไฟฟ้ าที�ใช้ในอุปกรณ์ทาํ ความทําเย็น (AHU) ประจําชัน� เท่านัน� (ซึ�งรวมไว้เป็ นปริมาณไฟฟ้ าสําหรับ สํานักงานใหญ่ใน Scope2) อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ.2557 ฝ่ ายอาคารได้ยนื ยันว่าไม่มกี ารบํารุงรักษาที�ตอ้ งมีการเพิ�มปริมาณของสารทําความเย็นเข้า สู่ระบบทําความเย็นส่วนกลาง ส่วนเครื�องทําความเย็นแบบแยกส่วน (Split type) ที�ใช้ในห้องควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ มีการ ใช้นาํ� ยาทําความเย็นประเภท R-22 ซึ�งไม่อยู่ในขอบข่ายการรายงาน การรัว� ไหล (Fugitive Emission) : ระบบบําบัดนํา� เสียและการกําจัดกากตะกอน (สํานักงานใหญ่) เนื�องจากทางองค์กรไม่สามารถควบคุมการดําเนินการของระบบบําบัดนํา� เสียได้โดยตรงและกระบวนการบําบัดที�ใช้เป็ นแบบใช้ อากาศ (Activated Sludge) และการกําจัดตะกอนจะมีการนําไปกําจัดภายนอกเป็ นประจํา 

ผลการตรวจติดตาม Result of monitoring Scope

Details

Diesel (Stationary Combustion) Diesel (Mobile Combustion) Scope 1 Gasoline (Mobile Combustion) Total Electricity (Own Consumption) Scope 2 Total Electricit (Client Consumption) Tap Water (H/O Usage) Scope 3 Paper Usage (Stencil,Wax) Paper Usage (Writing, Printing) Total

Emission (tCO2e) 286.47 644.65 190.90 1,122.02 2,068.78 2,068.78 2,857.25 2.79 0.22 5.77 2,866.03

Proportion (internal scope) 26% 57% 17% 100% 100% 100% 100% 0% 0% 0% 100%

Proportion (Scope1 + 2 ) 9% 20% 6% 35% 65% 65% 90% 0% 0% 0% 90%

จากผลการตรวจติดตามจะเห็นได้ว่า แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกที�มสี ดั ส่วนจากมากไปน้อยดังนี� 1. การใช้ไฟฟ้ าภายในองค์กร 2. การใช้นาํ มันเชื�อเพลิงสําหรับการเดินทางด้วยยานพาหนะ 3. การใช้นาํ� มันในอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื�องกําเนิดไฟฟ้ าและปั �มนํา� ดังนัน� การจัดการและการทําโครงการเพื�อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงควรมุง่ เน้นไปในหัวข้อสําคัญเหล่านี�

88


การพิจารณาผลการตรวจติดตามขององค์กร เทีย บกับ องค์ก รอื�นในประเทศไทยที�มกี ารรายงานและแสดงค่ า สู่ สาธารณะผ่านระบบของ CDP (Carbon Disclosure Project) สามารถสรุปได้ดงั ตารางข้างล่างนี� CDP-2015 Organization Score

GHG Emission (tCO2e) 5,126,229 7,456,926 886,907

per FTE (tCO2e/person)

per Revenue (tCO2e/M THB)

per Net Profit (tCO2e/M THB)

PTT EP 100A 1,980 19.69 PTT GC 100A1,359 12.86 CPF 92C 14 2.02 BANPU 91C Non disclosure TRUE 88C 262,262 20 2.23 PTT 87C 34,182,568 8,054 11.92 KBANK 84D 75,397 3 0.33 RATCH 56E 6,515,490 1,278 110.34 BBL 47 Not yet calculation TICON 3,191 21 0.52 Reference: https://www.cdp.net/CDPResults/CDP-HK-SE-climate-change-report-2015.pdf

238.54 495.94 83.97 184.01 612.65 1.63 1,037.66 4.19

ด้วยในขณะนี�ทางภาครัฐ ยังไม่มกี ฎหมายออกมาบังคับให้มกี ารรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของทุก องค์ก ร ข้อมูลที�ได้จึงยังคงเป็ นข้อมูลขององค์กรที�มคี วามสมัครใจและรายงานอยู่ในระบบของต่างประเทศ ซึ�งในที�น� ีทางที�ปรึกษาได้ พิจารณานําข้อมูลที�มจี ากระบบของ CDP ที�เป็ นที�ยอมรับกันในระดับสากลเพื�อใช้ในการประเมิน โดยจากการประเมินเบื�องต้น ของทางที�ปรึกษา คาดการณ์ว่า ถ้ามีการนําส่งข้อมูลและการดําเนินงานของTICONเพื�อจัดอันดับกับทาง CDP คะแนนที�ได้น่าจะ อยู่ในช่วง 50 – 75 และเกรดที�ได้คือ E – D ซึ�งยังคงค่อนข้างตํา� แต่ถอื ว่าดีสาํ หรับองค์กรที�พ�งึ ได้เริ�มดําเนินการในปี แรก ซึ�งจะ สามารถพัฒนาต่อยอดให้สามารถเพิ�มคะแนนและเกรดดังจะสรุปในส่วนถัดไป

โดยหากทางองค์กร พิจารณาปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทียบกับองค์กรอื�น ในสัดส่วนต่อรายได้หรือผลกําไรจะ เห็นได้ว่า ปริมาณการปล่อยของ TICON อยู่ในช่วงที�ค่อนข้างดี คือ สามารถสร้างรายได้หรือผลกําไรจากการปล่อยก๊าซเรือน กระจกในปริมาณที�นอ้ ย แต่อาจจะน้อยกว่าทาง KBANK

รายงานประจ�ำปี 2558

เมือ� เปรียบเทียบจากปริมาณของก๊าซเรือนกระจกที�องค์กรได้ปล่อยในปี 2014 เทียบกับองค์กรอื�นๆ จะเห็นได้ว่ามี ความแตกต่างกันค่อนข้างสูง เนื�องจาก TICON เองเป็ นองค์กรที�ไม่มกี ระบวนการผลิตที�จาํ เป็ นต้องใช้พลังงาน ซึ�งจะมีความ คล้ายคลึงกับ TRUE และ KBANK ซึ�งจะเป็ นลักษณะองค์กรที�ใช้การจัดการและบริหารงานผ่านสํานักงาน โดยเมือ� เปรียบเทียบ ปริมาณการปล่อยกาซเรือนกระจกต่อจํานวนพนักงานประจํา จะพบว่า มีความสอดคล้องและใกล้เคียงกับองค์กรที�มกี ารใช้ พนักงานค่อนข้างมาก นัน� คือCPF และ TRUE แต่เมือ� เทียบกับองค์กรที�มพี นักงานจํานวนมากอย่าง KBANK จะเห็นได้ว่าจะมี ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเฉลีย� ต่อ FTE ที�ตาํ� กว่าTICON มากเช่นกัน

89


แนวทางในการจัดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสําหรับ TICON ในอนาคต 1. จัดตัง� คณะทํางานที�มหี น้าที�รบั ผิดชอบโดยตรงในส่วนของการบริการจัดการก๊าซเรือนกระจกขององค์กร โดยต้องมี ผูบ้ ริหารระดับสูงเป็ นหัวหน้าคณะทํางาน และมีการรายงานสรุปผลการดําเนินงานและออกแนวนโยบายเป็ นประจํา โดยต้องมีการกําหนดเป้ าหมายขององค์กรทัง� ในระยะยาวและระยะสัน� เพื�อวัดผลของการดําเนินงาน 2. เพิ�มประสิทธิภาพการจัดเก็บข ้อมูล เพื�อให้ได้ข ้อมูลที�มคี วามน่าเชื�อถือเพียงพอในการประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกขององค์กร เนื�องจากปัจจุบนั ข้อมูลบางตัวยังคงใช้สมมติฐานประกอบการประเมิน 3. จัดทําการตรวจทวนสอบปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากองค์กรภายนอกเพื�อยืนยันความถูกต้องเหมาะสมของ ข้อมูลที�ใช้และผลของการประเมิน 4. นําผลการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกไปรายงานสู่สาธารณะและผูม้ สี ่วนเกี�ยวข้องเพื�อให้ได้รบั ทราบข้อมูล 5. จัดทําโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในขอบเขตขององค์กร โดยให้พนักงานมีส่วนร่วมและร่วมดําเนินการ โครงการ เช่น การรณรงค์ใช้พลังงานให้มปี ระสิทธิภาพสูงที�สุด ซึ�งจะเป็ นผลโดยตรงต่อการลดค่าใช้จ่ายขององค์กร ด้วย 6. ร่วมผลักดันโครงการและมีแนวนโยบายการจัดซื�อสีเขียวออกสู่ผูใ้ ห้บริการ,ผูร้ บั บริการและผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกับ องค์กรเพื�อการพัฒนาที�ยงั� ยืน 7. ให้ความร่วมมือกับองค์กรของรัฐในการจัดการข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก หรือ ร่วมเข้าโครงการเพื�อรับรู ข้ อ้ มูล ข่าวสารและประเมินผลกระทบในอนาคตที�อาจจะเกิดขึ�นกับองค์กร แนวนโยบายของการจัดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที�อาจจะมีผลกระทบต่อการดําเนิ นงานขององค์กร การกําหนดให้มกี ารรายงานค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร ต่อหน่วยงานรัฐ ลูกค้า หรือ ผูร้ บั บริการ ซึ�ง ปัจจุบนั เริ�มมีการขยายตัวมากในกลุม่ องค์กรที�มกี ารผลิตสินค้า โดยถือเป็ นหนึ�งปัจจัยในการพิจารณาสัง� ซื�อสินค้า หรือแม ้กระทัง� เจ้าของเงินทุนหรือองค์กรทางการเงินที�จะพิจารณาส่วนนี�เพิ�มเติมสําหรับการอนุมตั ิต่างๆ 1. ภาษีคาร์บอน ในบางประเทศเริ�มมีการออกข้อจํากัดในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรแต่ละประเภท ซึ�งจะต้อง เสียภาษีเพิ�มเติมหากมีการปล่อยที�มากกว่าจํานวนทีจาํ กัดไว้ ซึ�งในปัจจุบนั ประเทศไทยกําลังศึกษาความเป็ นไปได้ใน การจํากัดการปล่อยในกลุม่ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น ผลิตไฟฟ้ า ปูนซีเมนต์ ปิ โตรเคมี และจะมีการเพิ�มเติมขยาย ออกไปเรื�อยๆ 2. PPP (Polluter Pay Principle) คือ หลักการที�กาํ หนดให้ผูท้ �กี ่อให้เกิดมลพิษต้องเป็ นผูท้ �รี บั ผิดชอบในส่วนของมลพิษ ที�ปล่อย โดยอาจจะมีการนําหลักการเหล่านี�มาใช้ร่วมกับของที�ใช้อยู่ในชีวติ ประจําวันเช่น นํา� ประปา หรือ ไฟฟ้ า ซึ�งจะมี ผลทําให้ตอ้ งมีการเสียค่าใช้จ่ายที�สูงขึ�นจากค่าปลดปล่อ ยมลพิษ ที�แฝงเข้ามาในค่าบริการโดยองค์ก รใดหากมีการ ดําเนินงานควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีด� กี ็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี�ได้อีกทางหนึ�งด้วย

90


3. การพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าตามมาตรฐานการก่อสร้างอาคารสีเขียว ในปี 2558 บริษทั มีการพัฒนาอาคารขึ�นใหม่เพื�อเป็ นต้นแบบตามมาตรฐานการก่อสร้างอาคารสีเขียวโดยแบ่งเป็ นอาคาร โรงงานจํานวน 1 หลังและคลังสินค้าอีก 1 หลัง การก่อสร้างอาคารทัง� สองหลังดังกล่าวได้รบั การรับรองอย่างเป็ นทางการจากสถาบัน ในต่างประเทศว่าเป็ นไปตามมาตรฐานการก่อสร้างอาคารสีเขียวภายใต้โครงการรับรองมาตรฐานที�มชี �อื ว่า LEED หรือ Leading Energy and Environmental Design อาคารโรงงานสีเขียวต้นแบบตัง� อยู่ท�ภี ายในนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย มีขนาดพื�นที� 33,000 ตารางเมตร เป็ นอาคารประหยัด พลังงานและใช้วสั ดุในการก่อสร้างที�เป็ นมิตรกับสิ�งแวดล้อม ซึ�งจะช่วยลูกค้าประหยัดต้นทุนในการประกอบกิจการภายในโรงงานและ ยังช่วยลดปริมาณของก๊าซเรือนกระจกในสิ�งแวดล้อม ทําให้ชมุ ชนที�อยู่โดยรอบได้รบั ความเดือดร้อนน้อยลงจากอากาศร้อน สําหรับ อาคารคลังสินค้าสีเขียวต้นแบบนัน� มีขนาดพื�นที� 25,380 ตารางเมตร และตัง� อยู่ภายในเขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ไทคอน บางนา เป็ นคลังสินค้าที�ถอื ได้ว่ามีขนาดค่อนข้างใหญ่ สามารถช่วยให้ลูกค้าประหยัดต้นทุนในการประกอบกิจการได้ในระดับหนึ�ง โรงงานสําเร็จรูปที�บริษทั ทําการพัฒนาขึ�นนี�ถอื เป็ นแห่งแรกในประเทศไทยที�ได้รบั การรับรองภายใต้โครงการรับรอง LEED ของประเทศสหรัฐอเมริกา บริษทั คาดว่าจะทําการพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าสําเร็จรูปให้เช่าที�เป็ นอาคารสีเขียวตามความต้องการ ของลูกค้าต่างประเทศที�เริ�มมีความต้องการอาคารในลักษณะนี�เพิ�มมากขึ�นเรื�อยๆ

4. การส่งเสริมให้พนักงานมีทกั ษะที�เป็ นประโยชน์ต่อการดําเนิ นชีวิตและเข้าถึงบริการสันทนาการขัน� พื�นฐานเพื�อ สุขภาพกายและจิตที�ดี บริษทั ส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานทุกคนที�ขาดทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศได้เรียนภาษาอังกฤษจากชาวต่างชาติซ�งึ เป็ นพนักงานของบริษทั เช่นกัน โดยเปิ ดเป็ นชัน� เรียนภายในบริษทั พนักงานทุกระดับทุกคนสามารถขอเข้าเรียนได้โดยไม่มคี ่าใช้จ่าย

รายงานประจ�ำปี 2558

นอกจากนี� พนักงานยังได้ร บั การสนับสนุ นจากบริษทั ให้เล่นกีฬาเพื�อออกกําลังกาย ไม่ว่าจะเป็ นการออกกํา ลังกายแบบ รายบุคคลหรือเป็ นหมูค่ ณะ โดยบริษทั เป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการเป็ นสมาชิกสโมสรกีฬา เพื�อให้พนักงานเข้ารับบริการได้โดยไม่มี ค่าใช้จ่าย พนักงานสามารถเลือกเข้าใช้บริการฟิ ตเนส สระว่ายนํา� และสนามเทนนิส ภายในโครงการ Somerset Park Suanplu หรือเลือกใช้บริการที�สนามแบดมินตันโดยบริษทั จะเป็ นผูอ้ อกค่าเช่าสนามให้ทงั� หมด หรือในอีกกรณี เลือกใช้บริการที�สนามฟุตซอล โดยมีบริษทั เป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่ายให้เช่นเดียวกัน ทัง� นี�เพราะบริษทั เชื�อว่าการออกกําลังกายจะนํามาซึ�งสุขภาพกายและจิตที�ดี สําหรับพนักงานซึ�งเป็ นสิ�งจําเป็ นทัง� ในชีวติ การทํางานและชีวติ ประจําวันของพนักงานทุกคน

91


การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี�ยง บริษทั ให้ความสําคัญต่อระบบควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย� งที�มปี ระสิทธิภาพ เหมาะสมพอเพียง ทัง� ใน ระดับบริหารและระดับปฏิบตั ิงาน ซึ�งถือว่าเป็ นกระบวนการที�สาํ คัญของการดําเนินธุ รกิจ ของบริษทั ทําให้การปฏิบตั ิงานมี ประสิทธิภาพ และเกิดความมันใจอย่ � างสมเหตุสมผลว่าการดําเนินงานของบริษทั สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ สร้างผลประโยชน์ ตอบแทนในระยะยาว การรายงานข้อมูลทางการเงินและการดําเนินงานครบถ้วนน่าเชื�อถือ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ และป้ องกันความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�น โดยที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 1/2559 ได้มกี าร พิจารณาทบทวนการประเมินความเพีย งพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยอ้างอิง “แบบ ประเมิ น ความเพี ย งพอขอ งระบบการควบคุ ม ภายใน” ของสํา นัก งานคณะกรรมการกํ า กับ หลัก ทรัพ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบทีเ� ข้าร่วมประชุมมีความเห็นว่า บริษทั มีระบบการควบคุม ภายในที�เพียงพอและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบนั และครอบคลุมใน 5 เรื�อง คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหาร ความเสี�ยง การควบคุมการปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศและการสื�อสารข้อมูล และระบบการติดตาม โดยสรุปสาระสําคัญได้ ดังต่อไปนี� 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษทั ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดสภาพแวดล้อมของการควบคุมภายในที�ดี โดยกําหนดเป้ าหมายการดําเนินธุรกิจ ของบริษทั ที�ชดั เจนและวัดผลได้ในรูปของกําไรต่อหุน้ ประจําปี นน�ั ๆ รวมทัง� ได้มกี ารเปรียบเทียบผลการดําเนินงานในปี ท�ผี ่านมา กับเป้ าหมายที�กาํ หนด โดยหากไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย บริษทั จะทําการวิเคราะห์หาสาเหตุเพื�อประโยชน์ในการปรับปรุงการ บริหารงานในปี ต่อไป ทัง� นี� โครงสร้างองค์กรของบริษทั มีสายการบังคับบัญชา มีการกําหนดอํานาจอนุมตั ิของฝ่ ายบริหารในการ ทํารายการต่าง ๆ อย่างชัดเจน โดยผูม้ สี ่วนได้เสียในเรื�องใด จะไม่สามารถให้การอนุมตั ิในเรื�องนัน� ๆ ได้ นอกจากนัน� ยังมีการ แบ่งแยกหน้าที�ความรับผิดชอบอย่างเด็ดขาดระหว่างการอนุมตั ิการบันทึกรายการทางบัญชี และการดูแลทรัพย์สนิ เพือ� เป็ นการ ตรวจสอบซึ�งกันและกัน บริษทั กําหนดโครงสร้างการบริหารประกอบด้วยคณะกรรมการ 7 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง และคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี โดยคณะกรรมการแต่ละชุดมีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เกี�ยวกับการดําเนินธุรกิจของ บริษทั และกํากับดูแลให้การบริหารจัดการเป็ นไปตามเป้ าหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผูถ้ อื หุน้ อยูใ่ นกรอบของการมีจริยธรรม ที�ดี และรับผิดชอบต่อผูม้ สี ่วนได้เสีย ส่งเสริมและติดตามความคืบหน้าของกระบวนการพัฒนาการกํากับดูแลกิจการที�ดีและ ความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื�อง โดยการพิจารณาปรับปรุงคู่มอื การกํากับดูแลกิจการที�ดี และจรรยาบรรณในการดําเนิน ธุรกิจ รวมทัง� ให้แนวทางและข้อเสนอแนะอื�นทีจ� าํ เป็ นเพื�อการพัฒนา บริษทั ได้เข้าลงนามในคําประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต ปัจจุบนั อยู่ระหว่างการปรับปรุงนโยบายในเรื�องดังกล่าว เพื�อผูต้ รวจสอบภายใน และคณะกรรมการ ตรวจสอบจะได้ประเมินเพื�อขอรับการรับรองจากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต ต่อไป 92


2. การบริหารความเสี�ยง บริษทั กําหนดนโยบายการบริหารความเสี�ยงเป็ นนโยบายสําคัญ โดยได้แต่งตัง� คณะกรรมการบริหารความเสี�ยง ซึ�ง ประกอบด้วย กรรมการและผูบ้ ริหาร ทําหน้าที�ในการประเมินปัจจัยเสี�ยงทัง� จากปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจ นโยบาย ภาครัฐ และความผันผวนของราคาวัตถุดบิ และปัจจัยภายในที�มผี ลกระทบต่อเป้ าหมายและการดําเนินธุ รกิจของบริษทั และ กําหนดผูร้ บั ผิดชอบความเสี�ยงในหน่วยงานต่ าง ๆ พร้อมทัง� มอบหมายให้การบริหารความเสี�ย งเป็ นความรับผิดชอบของ ผูบ้ ริหารทุกคน มีการวางแผนและกําหนดมาตรการบริหารความเสี�ยง มีการประเมินปัจจัยความเสี�ยง ที�อาจส่งผลกระทบต่อการ ดําเนินธุรกิจและเป้ าหมายของบริษทั จัดให้มกี ารติดตามการบริหารความเสี�ยงของหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร เป็ นประจํา ทุกไตรมาส และรายงานผลต่อคณะกรรมการบริษทั บริษทั มีการจัดการให้ความรู ก้ บั พนักงานทุกระดับให้มคี วามเข้าใจและ ตระหนักถึงความสําคัญในการบริหารความเสี�ยงอย่างต่อเนื�อง 3. การควบคุมการปฏิบตั ิงาน บริษทั มีมาตรการควบคุมภายในที�มคี วามเหมาะสมกับความเสี�ยง ลักษณะเฉพาะขององค์กร และครอบคลุม กระบวนการต่าง ๆ อย่างเหมาะสม เช่น มีนโยบายและระเบียบปฏิบตั ิงานเกี�ยวกับการจัดซื�อ การเงิน และการบริห ารทัว� ไป ตลอดจนกําหนดขอบเขตอํานาจหน้าที�และอํานาจอนุมตั ิของฝ่ ายบริหารในการทํารายการต่าง ๆ อย่างชัดเจน โดยผูม้ สี ่วนได้สว่ น เสียในเรื�องใดจะไม่สามารถให้การอนุมตั ิในเรื�องนัน� ๆ ได้ เพื�อให้สามารถป้ องกันการทุจริตได้ เช่น มีการกําหนดวงเงิน และ อํานาจอนุมตั ิของผูบ้ ริหารแต่ละระดับ ขัน� ตอนในการอนุมตั ิโครงการลงทุน ขัน� ตอนการจัดซื�อและวิธีการคัดเลือกผูข้ าย เป็ นต้น นอกจากนัน� ยังมีการแบ่งแยกหน้าที�ความรับผิดชอบอย่างเด็ดขาดระหว่างการอนุ มตั ิ การบันทึกรายการทางบัญชีแ ละข้อมูล สารสนเทศ และการดูแลทรัพย์สนิ เพื�อเป็ นการตรวจสอบซึ�งกันและกัน รวมทัง� ควบคุมดูแลให้ทุกหน่วยงานมีการปฏิบตั ิตาม นโยบาย ระเบีย บปฏิบ ตั ิ ง าน ข้อ กฎหมายและข้อ บัง คับที�เ กี� ย วข้อ งอย่ า งเคร่ ง ครัด โดยบริ ษ ทั มีก ารทบทวนนโยบาย และกระบวนการปฏิบตั ิให้มคี วามเหมาะสมอยู่เสมอ สําหรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการปฏิบตั ิงาน บริษทั มีการ ควบคุมดูแลด้านการพัฒนา การบํารุงรักษา และด้านความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีให้มคี วามเหมาะสมอยู่เสมอ บริษทั มีการรวบรวมข้อมูลเกี�ยวกับผู ถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และผูท้ �เี กี�ยวข้องกับบุคคลดังกล่า ว รวมทัง� บุคคลที�เกี�ยวโยงกัน เพื�อประโยชน์ในการติดตามและสอบทานการทํารายการระหว่า งกัน หรือรายการที�อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง� มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั เสมอ เมือ� มีการพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรมระหว่างกันนัน� บริษทั มีนโยบายให้คาํ นึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษทั เป็ นสําคัญ และพิจารณาโดยถือเสมือนเป็ นรายการที�กระทํากับบุคคลภายนอก และต้องกระทําโดยผูท้ �ไี ม่มสี ่วนได้ส่วนเสียในธุรกรรมนัน� เพื�อป้ องกันการหาโอกาสหรือนําผลประโยชน์ของบริษทั ไปใช้ส่วนตัว สําหรับบริษทั ในเครือ บริษทั มีกระบวนการติดตามดูแลการดําเนินการ รวมทัง� กําหนดแนวทางให้บุคคลที�บริษทั แต่งตัง� ให้เป็ น กรรมการหรือผูบ้ ริหารในบริษทั ในเครือนัน� ถือปฏิบตั ิ เพื�อให้บรรลุเป้ าหมายในการลงทุนของบริษทั บริษ ทั ให้ความสําคัญต่ อระบบสารสนเทศและการสื�อสารข้อมูลที�ได้ร บั ทัง� จากภายในและภายนอก ซึ�งถือ เป็ น เครื�องมือสําคัญในการดําเนินธุ รกิจของบริษทั โดยเฉพาะอย่างยิ�งข้อมูลเกี�ยวกับผลการปฏิบตั ิงาน และรายงานทางการเงิน

รายงานประจ�ำปี 2558

4. ระบบสารสนเทศและการสื�อสารข้อมูล

93


เพื�อให้การตัดสินใจของคณะกรรมการฝ่ ายบริหาร ผูถ้ อื หุน้ และผูเ้ กี�ยวข้อง อยูบ่ นพื�นฐานของข้อมูลที�เพียงพอ ถูกต้องสมบูรณ์ เป็ นปัจจุบนั เชื�อถือได้ เข้าใจง่าย เพื�อเพิ�มศักยภาพในการดําเนินธุรกิจและการแข่งขัน บริษทั ได้จดั ให้มขี ้อมูลที�สาํ คัญต่าง ๆ อย่างเพียงพอเพื�อให้คณะกรรมการใช้ประกอบการตัดสินใจ โดยการจัดทํา รายงานเชิงวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักการและเหตุผล พร้อมเอกสารประกอบข้อเท็จจริง จัดส่งข้อมูลเพื�อศึกษาประกอบการ ตัดสินใจเป็ นการล่วงหน้า 7 วัน โดยมีเลขานุการบริษทั ซึง� มีหน้าที�ให้คาํ แนะนําด้านข้อบังคับและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ดูแลกิจกรรม ของคณะกรรมการบริษ ทั ตลอดจนประสานงานให้มีการปฏิบ ตั ิตามมติคณะกรรมการบริษ ทั รวมทัง� เป็ นหน่วยงานที�เ ป็ น ศูนย์กลางในการจัดทําและจัดเก็บเอกสารสําคัญ ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษทั รายงานการ ประชุมคณะกรรมการบริษทั หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ ไว้เป็ นระบบ เพื�อให้ผูถ้ ือหุน้ สามารถ ตรวจสอบความเหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้าที�ของกรรมการได้ บริษ ทั มีก ารจัดทํา รายงานทางการเงินอย่า งเป็ นระบบ ซึ�งรวมถึงขัน� ตอนการจัดเก็บข้อ มูลเพื�อ จัดทํา รายงาน ทางการเงิน การตรวจสอบ/สอบทานของผูส้ อบบัญชี การพิจารณา ทบทวน รายงานทางการเงินของคณะกรรมการตรวจสอบ ร่วมกับผูส้ อบบัญชีของบริษทั โดยให้ใช้นโยบายบัญชีตามหลักเกณฑ์ท�รี บั รองทัว� ไปและเหมาะสมกับลักษณะธุ รกิจ และการ พิจารณาทบทวนของคณะกรรมการบริษทั ก่อนการเผยแพร่รายงานทางการเงินต่อสาธารณชน ทัง� นี� เพื�อเป็ นการตรวจสอบความ ถูกต้องของรายงานทางการเงิน ตลอดจนการดูแลให้มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วนและโปร่งใส 5. ระบบการติดตาม บริษทั มีระบบการติดตามการดําเนินงานในระดับบริหารและในระดับปฏิบตั ิงาน ให้เป็ นไปตามเป้ าหมายที�กาํ หนด คณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารจะแก้ไขปัญหาที�อาจเกิดขึ�น และกําหนดแนวทางที�ชดั เจนในกรณีท�ไี ม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย กรณีมปี ระเด็นสําคัญที�อาจมีผลกระทบต่อองค์กร จะกําหนดให้ผูร้ บั ผิดชอบนําเสนอรายงาน เพื�อทบทวนการปฏิบตั ิงานและการ วิเคราะห์สาเหตุตลอดจนร่วมพิจารณาเพื�ออนุมตั ิแก้ไขปัญหาภายในเวลาที�คณะกรรมการเห็นว่าเหมาะสม และให้รายงานการ ปฏิบตั ิและติดตามผลอย่างต่อเนื�อง บริษทั มีนโยบายใช้ผูต้ รวจสอบภายในโดยว่าจ้างบุคคลภายนอก (Outsource) ให้ทาํ หน้าที�สอบทานข้อมูลการ ดําเนินงาน และการควบคุมภายในเพื�อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของการควบคุมภายในซึ�งครอบคลุม ระบบงานที�สาํ คัญของบริษทั และบริษทั ในเครือ โดยได้ทาํ การวิเคราะห์ผลจากการตรวจสอบและสรุปประเด็นที�มสี าระสําคัญ และนําเสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบ โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเป็ นผู พ้ ิจารณาประเด็นที�ตรวจพบร่วมกับฝ่ าย บริหาร เพื�อวางแนวทางในการปรับปรุงอันเป็ นการสร้างแนวทางเชิงป้ องกัน คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบ ให้คณะกรรมการบริษ ทั ทราบเป็ นประจํา โดยบริษ ทั ได้ว่า จ้า ง บริษ ทั แกรนท์ ธอนตัน เซอร์วิสเซส จํา กัด ตัง� แต่ เ ดือ น พฤษภาคม 2558 ที�ผ่านมา ทัง� นี�ในการแต่งตัง� โยกย้าย และเลิกจ้าง ผูต้ รวจสอบภายใน จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบ ผูด้ าํ รงตําแหน่งเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั คือนางสาวนุสรา วงศ์สุขศิริ ซึ�งได้รบั ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการตรวจสอบ

94


รายการระหว่างกัน 1.

รายละเอียดของรายการระหว่างกัน 1.1 การซื�อที�ดินจากบริษทั ที�เกี�ยวข้อง 1.1.1 บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน)

ตลอดหลายปี ท�ี ผ่ า นมา บริ ษ ัท มีก ารซื� อ ที�ดิ น เพื� อ พัฒ นาอาคารโรงงาน/คลัง สิ น ค้า จากบริ ษ ัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํา กัด (มหาชน) ซึ�ง ถือ ว่า เป็ น บุคคลที�อ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ เนื�อ งจากบริษ ทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั และมีกรรมการดํารงตําแหน่งกรรมการของบริษทั คือ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร และนายชาย วินิชบุตร ในปี 2558 บริษทั ไม่มกี ารซื�อทีด� นิ จากบริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (มหาชน) 1.1.2 บริษทั นิ คมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด บริษทั มีการซื�อที�ดนิ จากบริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด ซึ�งมีกรรมการดํารงตําแหน่งกรรมการของ บริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช ในปี 2558 บริษทั ไม่มกี ารซื�อที�ดนิ จากบริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้พจิ ารณารายการระหว่างกันดังกล่าวข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณาจาก ราคาตลาดของที�ดนิ บริเวณใกล้เคียง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นรายการที�มคี วามจําเป็ นและ สมเหตุสมผล และเกิดขึ�นตามราคาตลาด บนเงือ� นไขที�ปฏิบตั ิกนั อยู่โดยทัว� ไป 1.2 การเช่าพื�นที�สาํ นักงานจากบุคคลเกี�ยวข้อง บริษ ทั มีก ารเช่า พื�นที�สาํ นัก งานจากกองทุน รวมสาธรซิต� ี ทาวเวอร์ ซึ�งกองทุน ดัง กล่า วมีผู ถ้ ือ หุ น้ ใหญ่ ซ�ึง มี ความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ และกรรมการของบริษทั ดังนี� 1. กลุม่ ซิต� เี รียลตี� ซึ�งเป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของกองทุนรวมสาธรซิต� ีทาวเวอร์ ถือหุน้ ในบริษทั ทัง� ทางตรง และ ทางอ้อม ร้อยละ 7.04 (ณ วันที� 14 มีนาคม 2559) 2. นายชาลี โสภณพนิช เป็ นผูถ้ อื หุน้ และเป็ นกรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนามของบริษทั และบริษทั ในกลุม่ ซิต� เี รียลตี� ในปี 2558 บริษทั มีการชําระค่าเช่าพื�นที�สาํ นักงานให้แก่กองทุนดังกล่าวรวม 15.92 ล้านบาท รายงานประจ�ำปี 2558

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ไม่มยี อดคงค้างของรายการดังกล่าวข้างต้น

95


ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้พจิ ารณารายการดังกล่าวแล้ว โดยมีการพิจารณาประกอบกับข้อมูลอัตรา ค่าเช่าอาคารสํานักงานที�อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับอาคารสํานักงานของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายการ ระหว่างกันดังกล่าวมีความสมเหตุสมผลและเกิดขึ�นตามราคาตลาด โดยมีการให้บริการและมีเงื�อนไขเช่นเดียวกับผูเ้ ช่ารายอื�น ทัว� ไป 1.3 การทําธุรกรรมทางการเงินกับบริษทั ที�เกี�ยวข้อง บริษทั มีการทําธุรกรรมทางการเงินกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) โดยธนาคารดังกล่าวมีกลุ่มโสภณพนิช เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ และกลุม่ โสภณพนิชมีความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ และกรรมการของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช ณ สิ�นปี 2558 บริษทั มียอดคงค้างของการใช้บริการทางการเงิน กับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ดังนี� รายการ หนังสือคํา� ประกัน เงินกูย้ มื ระยะยาว เงินฝากออมทรัพย์

อัตราดอกเบี�ย/ค่าธรรมเนี ยม จํานวนเงิน (ร้อยละต่อปี ) (ล้านบาท) ตามประกาศของธนาคาร 197.22 อัตราดอกเบี�ยสําหรับลูกค้าชัน� ดี (MLR) ลบอัตรา 748.38 96.21 คงทีต� ามประกาศของธนาคาร

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มียอดดอกเบี�ยเงินกูค้ า้ งจ่ายทางบัญชีจาํ นวน 0.08 ล้านบาท โดยยอดค้างจ่าย ดังกล่าวได้มกี ารชําระแล้วในต้นปี 2559 ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารพิจารณาความเหมาะสมของรายการดังกล่าวข้างต้น และมีความเห็นว่ารายการ ดังกล่าวข้า งต้น เป็ นรายการที�มคี วามสมเหตุสมผล และเกิดขึ�นตามราคาตลาด นอกจากนี�ขอ้ กําหนดและเงื�อนไขต่าง ๆ ที� เกี�ยวข้องมีความเหมาะสมและปฏิบตั ิกนั โดยทัว� ไป 1.4 การทําธุรกรรมด้านการซื�อขายหลักทรัพย์กบั บริษทั ที�เกี�ยวข้อง บริษทั มีการซื�อขายหน่วยลงทุนกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์คโลจิ สติคส์ และกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท รวมทัง� หน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื�อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน ผ่านบริษทั ที�เกี�ยวข้อง คือ บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส กรุป๊ โฮลดิ�ง จํากัด (มหาชน) ซึ�งมีกรรมการดํารงตําแหน่งกรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนามของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช บริษทั มีการชําระค่าธรรมเนียมการซื�อขายหลักทรัพย์ให้แก่ บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส กรุ๊ป โฮลดิ�ง จํากัด (มหาชน) ในปี 2558 เป็ นจํานวนรวมทัง� สิ�น 0.08 ล้านบาท

96


ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้มกี ารพิจารณาการซื�อหน่วยลงทุน และค่าธรรมเนียมการซื�อขายหลักทรัพย์ ดังกล่าว และมีความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นรายการที�มคี วามจําเป็ น และเกิดขึ�นตามราคาตลาด บนเงื�อนไขที�ปฏิบตั ิกนั อยู่ โดยทัว� ไป ทัง� นี� ที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 4/2551 เมือ� วันที� 13 สิงหาคม 2551 ได้มมี ติอนุมตั ิในหลักการให้ฝ่าย จัดการของบริษทั มีอาํ นาจทํารายการระหว่างกันซึ�งเป็ นข้อตกลงทางการค้าที�มเี งือ� นไขทางการค้าโดยทัว� ไป

2.

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

การทํารายการระหว่างกันดังกล่าวข้างต้นเป็ นความจําเป็ นเพื�อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษทั และบริษทั ได้จ่าย/รับ ค่าตอบแทนในราคาตลาดที�ยุติธรรมและสมเหตุสมผล ดังที�คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นในการทํารายการไว้แล้ว ข้างต้น

3.

มาตรการหรือขัน� ตอนการอนุ มตั ิการทํารายการระหว่างกัน

คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการตรวจสอบรายการระหว่างกันของบริษทั ให้เป็ นรายการทีเ� กิดขึ�นตามราคา และเงื�อ นไขที�ยุ ติธ รรม โดยคํานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษ ทั อีก ทัง� ดู แลการเปิ ดเผยข้อมูลให้ถูก ต้อ ง ครบถ้วนตาม ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง� นี� บริษทั มีมาตรการเกี�ยวกับการทํารายการระหว่างกัน ดังนี� ที�ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง� ที� 4/2551 ในวันที� 13 สิงหาคม 2551 ได้มมี ติอนุมตั ิในหลักการให้ฝ่ายจัดการของ บริษทั มีอาํ นาจในการทํารายการระหว่างกันซึ�งเป็ นข้อตกลงทางการค้าที�มเี งื�อนไขการค้าโดยทัว� ไป ทัง� รายการที�อยู่ระหว่า ง ดําเนินการในขณะนัน� และรายการที�จะเกิดขึ�นในอนาคต โดยฝ่ ายจัดการจะมีการรายงานสรุปการทํารายการดังกล่าวต่อทีป� ระชุม คณะกรรมการบริษทั ภายหลังการทํารายการ 

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั จะดูแลให้รายการดังกล่าวเป็ นไปตามราคาตลาด หรือราคายุติธรรม โดย คณะกรรมการหรือผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั จะเป็ นผูอ้ นุ มตั ิการทํารายการระหว่างกันในกรณี ท�รี ายการดังกล่าวไม่เป็ นเงื�อนไขทาง การค้าโดยทัว� ไป ทัง� นี� กรรมการหรือผูถ้ อื หุน้ ซึ�งมีส่วนได้เสียในเรื�องใด ไม่มสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรื�องนัน� 

เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันตามประกาศและข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ/ หรือสํานักงาน ก.ล.ต. ดังที�ได้ระบุไว้ในข้อบังคับของบริษทั 

นโยบายหรือแนวโน้มการทํารายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันจะยังคงเกิดขึ�นอย่างต่อเนื�องในอนาคตตราบเท่าที�รายการนัน� ยังคงเป็ นประโยชน์ต่อบริษทั รายงานประจ�ำปี 2558

4.

เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันตามมาตรฐานการบัญชีท�กี าํ หนดโดยสมาคมนักบัญชี

97


การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ 1.

ผลการดําเนิ นงาน 1.1 รายได้

บริษทั มีธุรกิจหลักคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื�อการอุตสาหกรรมโดยการสร้างโรงงานและคลังสินค้าเพื�อให้ เช่า และขายเมือ� มีโอกาสเหมาะสม ซึ�งในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีรายได้จากการให้เช่าและค่าบริการคิดเป็ นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 17.6 ร้อยละ 16.5 และ ร้อยละ 21.6 เมือ� เทียบกับรายได้รวม ตามลําดับ ขณะที�รายได้จากการขายโรงงาน/คลังสินค้า ให้แก่ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ยังคงมีสดั ส่วนที�สูงที�สุดเมือ� เทียบกับรายได้รวม คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อย ละ 73.9 ร้อยละ 76.2 และร้อยละ 62.6 ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมาตามลําดับ การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่กองทุนและทรัสต์ ดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์เพื�อนําเงินมาใช้ในการขยายธุรกิจของบริษทั ในแต่ละปี ในบางช่วงเวลาบริษทั มีรายได้จากการขายโรงงานให้แก่ลูกค้าที�สามารถใช้สทิ ธิในการซื�อโรงงาน ตามเงื�อนไขที�ได้ ระบุไว้ในสัญญาเช่า อย่างไรก็ตามบริษทั ไม่สามารถคาดการณ์รายได้ดงั กล่าวได้ ทัง� นี� ขึ�นอยู่กบั การตัดสินใจของลูกค้าเป็ นหลัก สําหรับรายได้จากการลงทุนใน TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ประกอบด้วย ส่วนแบ่งกําไรจากเงิน ลงทุ น รายได้ค่ า บริ ห ารจัด การอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ กํา ไรจากการขายหน่ ว ยลงทุ น และกํา ไรที�ร ับ รู เ้ พิ�ม เติ มจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทุน/ทรัสต์ นอกจากนี� บริษทั มีรายได้จากงานรับเหมาก่อสร้าง และรายได้ค่าสาธารณูปโภค ซึ�งโดยปกติจะเป็ นสัดส่วนน้อย เมือ� เทียบกับรายได้รวม 1.1.1 รายได้จากการให้เช่าและค่าบริการ ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา รายได้ค่าเช่าและค่าบริการมีจาํ นวน 1,109.7 ล้านบาท 966.1 ล้านบาท และ 1,048.5 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 5.4 ลดลงร้อยละ 12.9 และเพิ�มขึ�นร้อยละ 8.5 ตามลําดับ ขณะที�ตน้ ทุนจากการ ให้เช่าและบริการมีจาํ นวน 261.5 ล้านบาท 243.5 ล้านบาท และ 306.4 ล้านบาท ตามลําดับ ซึ�งคิดเป็ นกําไรขัน� ต้นจากการให้เช่า และบริการเท่ากับ ร้อยละ 76.4 ร้อยละ 74.8 และร้อยละ 70.8 ตามลําดับ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2556 เพิ�มขึ�น แมจ้ ะเป็ นอัตราการเพิ�มที�นอ้ ยกว่าปี ก่อนหน้าเนื�องจาก ความต้องการเช่าโรงงานเติบโตน้อยกว่าที�คาดหมายไว้ อย่างไรก็ตามความต้องการคลังสินค้าของบริษทั ได้เพิ�มขึ�นอย่างมากตาม การขยายตัวของธุรกิจโลจิสติกส์ และธุรกิจค้าปลีกในปี 2556 บริษทั สามารถให้เช่าพื�นที�โรงงานและคลังสินค้าได้เพิ�มขึ�นสุทธิ รวม 240,932 ตารางเมตร รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2557 ลดลง เนื�องจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TGROWTH เป็ น จํานวนมากในช่วงไตรมาส 4/2556 และการขายบางส่วนในไตรมาส 1/2557 นอกจากนี�ความต้องการเช่าโรงงานลดลง และ ความต้องการเช่าคลังสินค้ามีการขยายตัวน้อยลงเมื�อเทียบกับปี ก่อนเป็ นผลมาจากการปรับลดต้นทุนของภาคการผลิตและ สภาวะเศรษฐกิจทีช� ะลอตัว

98


รายได้ค่า เช่าและค่ าบริก ารในปี 2558 เพิ�มขึ�น เนื�อ งจากความต้อ งการเช่า คลังสินค้า ของบริษทั มีการ ขยายตัวเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้า โดยเฉพาะธุรกิจโลจิสติกส์ ส่งผลให้บริษทั มีพ�นื ที�ให้เช่าใหม่ของคลังสินค้าสุทธิเพิ�มขึ�น ซึ�งพื�นที� ให้เช่าใหม่ส่วนใหญ่เป็ นคลังสินค้าที�สร้างตามความต้องการของลูกค้า (Built-to-suit) 1.1.2 รายได้จ ากการขายอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ใ ห้ก องทุ น รวมอสัง หาริ ม ทรัพ ย์/ทรัส ต์เ พื�อ การลงทุ น ใน อสังหาริมทรัพย์ ในช่วง 3 ปี ท�ีผ่านมา บริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT มูลค่า 4,663.0 ล้านบาท 4,460.1 ล้านบาท และ 3,037.3 ล้านบาท คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 7.6 ลดลงร้อยละ 4.4 และลดลงร้อยละ 31.9 ตามลําดับ ในปี 2556 บริษทั มีการขายอสังหาริมทรัพย์สูงกว่าการขายในทุกปี ท�ีผ่านมา การขายอสังหาริมทรัพย์ท�ี มากกว่าทุกปี ดงั กล่าวถูกใช้เป็ นแหล่งเงินทุนในการขยายธุรกิจที�มากกว่าทุกปี เช่นกัน เพื�อรองรับความต้องการเช่าที�เพิ�มขึ�นอย่าง มาก โดยเป็ นการขายให้แก่ TFUND มูลค่า 104.8 ล้านบาทในเดือนกันยายน และขาย/ให้เช่า โรงงานและคลังสินค้าให้แก่ TGROWTH ในเดือนธันวาคม ซึ�งบันทึกเป็ นรายได้จากการขายจํานวน 4,558.2 ล้านบาท ในปี 2557 บริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงจากปี 2556 เนื�องจากมีความต้องการใช้ เงินทุนน้อยกว่าปี ก่อนหน้าจึงขายพื�นที�ลดลง โดยเป็ นการให้เช่าอาคารโรงงานให้แก่ TGROWTH และการขายโรงงานให้แก่ TFUND ในช่วงไตรมาส 1/2557 มูลค่ารวม 498.2 ล้านบาท และเป็ นการขายอาคารโรงงานและขาย/ให้เช่าคลังสินค้าให้แก่ TREIT ในช่วงไตรมาส 4/2557 ซึ�งบันทึกเป็ นรายได้จากการขายจํานวน 3,961.9 ล้านบาท ในปี 2558 บริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงมาก เนื�องจากมีความต้องการใช้เงินทุนเพื�อ ซื�อที�ดนิ น้อยลง แต่เป็ นการใช้เงินทุนเพื�อการพัฒนาโครงการจากที�ดินที�ซ� อื ไว้แล้วจากปี ก่อน โดยเป็ นการขายให้แก่ TFUND มูลค่า 126.0 ล้านบาท ในเดือนกันยายน 2558 และเป็ นขาย/ให้เช่าอาคารโรงงานและคลังสินค้าให้แก่ TREIT เดือนธันวาคม ซึ�งบันทึกเป็ นรายได้จากการขายจํานวน 2,911.3 ล้านบาท

อย่างไรก็ตาม การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้กองทุนรวม/ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในแต่ละปี จะมากหรือน้อยยังขึ�นอยู่กบั ความต้องการใช้เงินเพื�อขยายธุรกิจของบริษทั

รายงานประจ�ำปี 2558

การขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND และ TLOGIS นัน� เป็ นการขายขาดในกรรมสิทธิ�ของทัง� ที�ดนิ และ อาคารโรงงาน/คลังสินค้า บริษทั จึงบันทึกรายการขายสินทรัพย์ดงั กล่าวเป็ นรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ในงบกําไรขาดทุน ได้ทงั� จํานวน ในขณะที�การขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TGROWTH และ TREIT เป็ นการขาย/ให้เช่าที�ดิน พร้อมการ ขาย/ให้เช่าอาคารโรงงาน/คลังสินค้า โดยบริษทั บันทึกการให้เช่าที�ดนิ เป็ นรายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้าในงบแสดงฐานะการเงิน ทัง� จํานวน ซึ�งจะทยอยรับรูเ้ ป็ นรายได้ค่าเช่าตามอายุสญั ญาเช่าที�ดนิ และบันทึกการขายขาดในกรรมสิทธิ� และการให้เช่าอาคาร โรงงาน/คลังสินค้าเป็ นรายได้จากการขายในงบกําไรขาดทุนทัง� จํานวน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 17 (ปรับปรุง 2552) ที�ถือ ว่าการให้เช่าอาคารระยะยาวเป็ นการขายตามสัญญาเช่าการเงิน

99


1.1.3 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลหรือกิจการอื�น นอกจากรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แล ้ว บริษทั ยังมีรายได้จากการ ขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ลูกค้าที�เป็ นผูเ้ ช่า รวมถึงบุคคล/กิจการอื�นตามโอกาสที�เหมาะสม ในปี 2557 บริษทั มีการขายที�ดนิ พร้อมอาคารโรงงาน ให้แก่บุคคลหรือกิจการอื�น มูลค่า 101.2 ล้านบาท ในปี 2558 บริษทั มีการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลหรือกิจการอื�น ประกอบด้วยการขายที�ดินพร้อม อาคารโรงงานมูลค่า 48.2 ล้านบาท และขายที�ดนิ เปล่า มูลค่า 260.1 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม รายได้จากการขายโรงงานให้แก่ลูกค้าเป็ นรายได้ท�มี ไิ ด้เกิดขึ�นอย่างสมํา� เสมอ ทัง� นี� ขึ�นอยู่ กับการตัดสินใจของลูกค้าในการใช้สทิ ธิซ�อื โรงงานตามเงือ� นไขที�ระบุในสัญญาเช่าเป็ นสําคัญ นอกจากนัน� กําไรขัน� ต้นของการขาย โรงงานแต่ละโรงงานมีความแตกต่างกัน ขึ�นอยู่กบั หลายปัจจัย เช่น อายุ ขนาด ลักษณะของโรงงาน รวมทัง� ทําเลที�ตงั� ของโรงงาน ที�ขาย 1.1.4 รายได้ท�ีเกี�ยวเนื� องกับบริษทั ร่วม (TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และ SLP) 1) ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และ SLP ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และ SLP ขึ�นอยู่กบั สัดส่วนการลงทุนของบริษทั และกําไรของ TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และ SLP ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมจํานวน 216.6 ล้านบาท 267.1 ล้านบาท และ 248.5 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 28.0 ร้อยละ 23.3 ต่อปี และลดลงร้อยละ 7.0 ต่อ ปี ตามลําดับ ในปี 2556 บริษทั มีส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมเท่ากับ 216.6 ล้านบาทเพิ�มขึ�นจากปี 2555 จํานวน 47.4 ล้านบาท เนื�องจาก TFUND และ TLOGIS มีผลประกอบการดีข�นึ และบริษทั มีเงินลงทุนใน TGROWTH ในระหว่างปี ในปี 2557 บริษทั มีส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิ�มขึ�นจากปี 2556 จํานวน 50.5 ล้าน บาท เนื�องจากบริษทั ได้รบั ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TGROWTH จากผลการดําเนินงานทัง� ปี 2557 (TGROWTH จัดตัง� ขึ�นเมือ� ปลายปี 2556) รวมทัง� จาก TREIT จัดตัง� ขึ�นเมือ� ปลายปี 2557 ในปี 2558 บริษทั มีส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมลดลงจากปี 2557 เนื�องจากสัดส่วนการ ลงทุน และผลประกอบการใน TFUND TLOGIS TGROWTH ลดลง นอกจากส่วนแบ่งกําไรจากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ และทรัสต์ข ้างต้นแล้ว บริษทั ได้รบั ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน SLP จากการเข้าร่วมลงทุนในโครงการโรงงานและคลังสินค้า เพื�อให้เช่า/หรือขายในประเทศอินโดนีเซียระหว่างปี 2558 เป็ นจํานวน 1.8 ล้านบาท TREIT

100

2) รายได้จากการเป็ นผู ้บริหารอสังหาริมทรัพย์ท�บี ริษทั ขายให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH


ในช่วง 3 ปี ท�ีผ่านมาบริษทั มีรายได้จากการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์จาํ นวน 152.6 ล้านบาท 165.3 ล้านบาท และ 204.1 ล้านบาท ตามลําดับ ในปี 2556 บริษทั มีรายได้ดงั กล่าวเพิ�มขึ�นร้อยละ 45.2 เนื�องจากกองทุน TFUND และ TLOGIS มีผลประกอบการดีข�นึ รวมทัง� กองทุน TLOGIS ได้รบั เงินชดเชยประกันความเสียหายจากนํา� ท่วม ในปี 2557 บริษทั มีรายได้จากการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์จาํ นวน 165.3 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจาก ปี ก่อนหน้าร้อยละ 8.3 เนื�องจากการเป็ นผูบ้ ริหารทรัพย์สนิ ให้แก่ TGROWTH ซึ�งจัดตัง� ขึ�นเมือ� ไตรมาส 4/2556 ในปี 2558 บริษทั มีรายได้จากการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์จาํ นวน 204.1 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจาก ปี ก่อนร้อยละ 23.5 เนื�องจากการเป็ นผูบ้ ริหารทรัพย์สนิ ให้แก่ TREIT ซึ�งจัดตัง� ขึ�นเมือ� ไตรมาส 4/2557 ในการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT นัน� บริษทั มีภาระ ผูกพันในเรื�องการคํา� ประกันรายได้ค่าเช่าคลังสินค้าบางส่วนให้แก่ TLOGIS จนถึงสิ�นปี 2559 และคํา� ประกันรายได้ให้แก่ TGROWTH สําหรับโรงงานที�ไม่มี ผูเ้ ช่า ณ วันโอนกรรมสิทธิ�ให้กองทุน โดยคํา� ประกันรายได้เป็ นระยะเวลา 1 ปี (สิ�นสุดสิ�นปี 2557) ส่วนการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT บริษทั มีภาระผูกพันในการคํา� ประกันรายได้ รวมถึงรายการอื�นๆ ให้แก่ TREIT (ดูเพิ�มเติมที�หวั ข้อ 1.2.1 ประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องโดยตรงกับการขายอสังหาริมทรัพย์) 3) กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ในช่วง 3 ปี ท�ผี า่ นมา บริษทั มีการขายเงินลงทุนบางส่วนใน TFUND TLOGIS และ TGROWTH เพื�อการบริหารกระแสเงินสดของบริษทั ทําให้บริษทั มีกาํ ไรจากการขายเงินลงทุนดังกล่าว จํานวน 170.1 ล้านบาท 1.5 ล้านบาท และ 126.30 ล้านบาท ตามลําดับ ซึ�งบันทึกกําไรดังกล่าวเป็ นรายได้อ�นื 4) กําไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT บริ ษ ทั จะสามารถรับ รู ก้ ํา ไรเพิ�ม เติ มจากการขายอสังหาริ มทรัพ ย์ใ ห้แ ก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT เมือ� กองทุนมีการขายสินทรัพย์ท�ซี �อื จากบริษทั ให้แก่บคุ คล/กิจการอื�น หรือเมือ� บริษทั ลดสัดส่วนการ ลงทุนในกองทุนดังกล่าว ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา บริษทั มีกาํ ไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND TLOGIS TGROWTHและ TREIT จํานวน 154.5 ล้านบาท 41.4 ล้านบาท และ 246.7 ล้านบาท ตามลําดับ

ในปี 2557 บริษทั มีกาํ ไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติมลดลง เนื�องจากบริษทั มีการลดสัดส่วนการลงทุนน้อยกว่า การลดลงของปี ก่อนหน้า โดยมีการลดสัดส่วนการลงทุนใน TGROWTH เพียงร้อยละ 1.2 และ TFUND มีการขายโรงงานให้ บุคคลอื�นเพียง 1 โรงงาน

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษทั มีกาํ ไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติม เพิ�มขึ�นเป็ นจํานวนมากในปี 2556 เนื�องจาก TFUND มีการขายโรงงาน ให้บุคคลอื�น 3 โรงงาน และบริษทั ลดสัดส่วนการลงทุนใน TFUND และ TLOGIS ร้อยละ 4.3 และร้อยละ 6.1 ตามลําดับ

101


ในปี 2558 บริษทั มีกาํ ไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติม จํานวน 246.7 ล้านบาท เกิดขึ�นจากการที�บริษทั ลดสัดส่วน การลงทุนใน TFUND TLOGIS และ TGROWTH ร้อยละ 5.2 ร้อยละ 3.8 และ 1.9 ตามลําดับ และ TFUND มีการขาย โรงงานให้บุคคลอื�น 3 โรงงาน 1.1.5 รายได้อ�นื ๆ นอกจากรายได้ท�กี ล่าวข้างต้น บริษทั ยังมีรายได้ประเภทอื�นอีก ซึ�งประกอบด้วย 1) รายได้จากงานรับเหมาก่อสร้าง รายได้ดงั กล่าวเกิดจากการที�บริษทั ได้รบั ว่าจ้างจากลูกค้าที�เช่าโรงงานของบริษทั ให้ทาํ การต่อเติม / ดัดแปลงโรงงานที�เช่าอยู่ ซึ�งปกติบริษทั มีรายได้จากงานรับเหมาก่อสร้างจํานวนน้อยเมือ� เทียบกับรายได้รวม รายได้ดงั กล่าวเกิด จากการที�ผูเ้ ช่าจ้างบริษทั ให้ทาํ การซ่อมแซม ต่อเติมอาคารตามการใช้งานปกติของผูเ้ ช่า 2) รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้ค่าสาธารณูปโภคเกิดจากการที�บริษทั เป็ นผูจ้ ดั หาสาธารณูปโภคเป็ นการชัว� คราวให้แก่ลูกค้าที� เช่าโรงงานในระหว่างที�ลูกค้าอยู่ระหว่างดําเนินการขอสาธารณู ปโภคประเภทนัน� ๆ จากหน่วยงานที�เกี�ยวข้อง ทัง� นี� โดยปกติ บริษทั มิได้แสวงหากําไรจากการให้บริการดังกล่าวจากลูกค้า 3) ค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัย ในปี 2556 บริษทั ได้ร บั เงินค่า สินไหมทดแทนจากการประกันภัย เพื�อชดเชยความเสียหายใน ทรัพย์สนิ และชดเชยการสูญเสียรายได้กรณีธุรกิจหยุดชะงักของบริษทั ที�เกิดจากเหตุการณ์อุทกภัย เมื�อปลายปี 2554 จํานวน 69.7 ล้านบาท ในขณะทีใ� นปี 2557 บริษทั ได้รบั ค่าสินไหมทดแทนประกันภัยจากความเสียหายในทรัพย์สนิ จํานวน 2.4 ล้านบาทจากเหตุการณ์อุทกภัยเมือ� ปี 2556 ในปี 2558 ไม่มรี ายได้ดงั กล่าว 1.2 ค่าใช้จา่ ย 1.2.1 ประมาณการหนี� สินที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2557 บริษทั มีประมาณการหนี�สินที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์จาํ นวน 118.0 ล้านบาท บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกํา ไรขาดทุน ซึ�งเกิดจากการขาย/ให้เช่า อสังหาริมทรัพ ย์ให้แก่ TREIT เมื�อ เดือนธันวาคม 2557 เนื�องจากบริษทั มีภาระผูกพันในการชดเชยรายได้ให้แก่ TREIT สําหรับอาคารที�ไม่มผี ูเ้ ช่า ณ วันโอนกรรมสิทธิ�เป็ นระยะเวลา 1 ปี และบางส่วนเกิดจากการที�บริษทั มีภาระผูกพันในการชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาใช้สิทธิสาํ หรับกรณี ท�ี ผูเ้ ช่าใช้สทิ ธิในการซื�ออสังหาริมทรัพย์ (Option to buy) หากราคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์นนั� ณ วันที�ผูเ้ ช่าใช้สิทธิซ� อื สูง กว่าราคาใช้สทิ ธิ รายการดังกล่าวถูกบันทึกเป็ นประมาณการหนี�สนิ ระยะสัน� และระยะยาว ในงบแสดงฐานะการเงิน รวมทัง� สิ�น

102


จํานวน 133.2 ล้านบาท ทัง� นี�ส่วนต่างจํานวน 15.2 ล้านบาท ถูกแสดงในกําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ บริษทั ร่วมตามสัดส่วนการลงทุนใน TREIT (ร้อยละ 12.0) ในปี 2558 บริษทั มีประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ 33.3 ล้านบาท บันทึกเป็ น ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุน ซึ�งเกิดจากการขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT เมือ� เดือนธันวาคม 2558 เนื�องจากบริษทั มี ภาระผูกพันในการชดเชยรายได้ให้แก่ TREIT สําหรับอาคารที�ไม่มผี ูเ้ ช่า ณ วันโอนกรรมสิทธิ� และรายการดังกล่าวถูกบันทึก เป็ นประมาณการหนี�สนิ ระยะสัน� และระยะยาว ในงบแสดงฐานะการเงิน จํานวน 50.3 ล้านบาท ทัง� นี�ส่วนต่างจํานวน 9.9 ล้าน บาท ถูกแสดงในกําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ บริษทั ร่วมตามสัดส่วนการลงทุนใน TREIT (ร้อยละ 19.6) และในระหว่ า งปี 2558 บริษ ทั มีก ารโอนกลับ รายการประมาณการหนี� สินที�เ กี�ย วขอ้ งกับ การขาย อสังหาริมทรัพย์จาํ นวน 8.1 ล้านบาท จากการที�ภาระผูกพันในการชดเชยส่วนต่างกรณี Option to buy ของบริษทั ลดลง ซึ�ง เป็ นผลมาจากการที�ผูเ้ ช่าโรงงานยกเลิกสัญญาเช่าในระหว่างปี 1.2.2 ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ในช่วง 3 ปี ท�ีผ่านมา ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารมีจาํ นวน 715.6 ล้านบาท 769.5 ล้านบาท และ 756.9 ล้านบาท ตามลําดับ เพิ�มขึ�นร้อยละ 65.6 ร้อยละ 7.5 และลดลงร้อยละ 1.6 ต่อปี ตามลําดับ ทัง� นี� องค์ประกอบหลักของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ได้แก่ ค่าใช้จ่ายเกี�ยวกับพนักงาน และค่า เสื�อมราคาของโรงงาน/คลังสินค้าที�สร้างเสร็จแต่ยงั ไม่มผี ูเ้ ช่า โดยคิดเป็ นสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 65.1 ในปี 2556 บริษทั มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ�มขึ�นมาก ส่วนใหญ่เป็ นการเพิ�มขึ�นของค่าเสื�อมราคา และค่ าใช้จ่ายในการรัก ษาความปลอดภัยของทรัพย์สินในโรงงาน/คลังสินค้าที�ว่า งพร้อมให้เช่า การเพิ�มขึ�นของค่ าใช้จ่ายที� เกี�ยวข้องกับพนักงาน ตามการขยายธุรกิจของบริษทั รวมทัง� ค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวกับการจัดตัง� TGROWTH ซึ�งส่วนใหญ่บนั ทึกเป็ น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะเกิดขึ�นเฉพาะเมือ� มีการจัดตัง� กองทุนใหม่เท่านัน� อย่างไรก็ตามบริษทั ได้รบั การชดเชย อยู่ในส่วนของรายได้จากการขายและรายได้อ�ืน ในปี 2557 บริษทั มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 769.5 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจากปี ก่อน 53.9 ล้าน บาท หรือคิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 7.5 ซึ�งส่วนใหญ่เป็ นการเพิ�มขึ�นของค่าเสื�อมราคาของทรัพย์สินในโรงงาน/คลังสินค้าที�ว่าง พร้อมให้เช่าและการเพิ�มขึ�นของค่าใช้จ่ายทีเ� กี�ยวข้องกับพนักงาน ตามการขยายธุรกิจของบริษทั

รายงานประจ�ำปี 2558

ในปี 2558 บริษทั มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 756.9 ล้านบาท ลดลง 12.6 ล้านบาทจากปี ก่อนหน้า เกิดจากการลดลงของค่าใช้จ่ายในการขาย ซึ�งส่วนใหญ่ เป็ นค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ และในปี 2557 บริษทั มีค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT เป็ นจํานวนมากกว่าการขายในปี 2558 นอกจากนี� ในปี 2558 บริษทั มีค่าใช้จ่ายในการบริหารลดลง จากการลดลงของค่าซ่อมแซม และบํารุงรักษาอาคารโรงงาน/คลังสินค้าว่าง

103


1.2.3 ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา ค่าใช้จ่ายทางการเงินมีจาํ นวน 546.4 ล้านบาท 642.6 ล้านบาท และ 762.2 ล้านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 33.0 ร้อยละ 17.6 และ ร้อยละ 18.6 ต่อปี ตามลําดับ องค์ประกอบหลักของค่าใช้จ่ายทางการเงิน คือ ดอกเบี�ยจ่าย คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 98.6 ส่วน ที�เหลือเป็ นค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับการจัดหาเงินกูย้ มื ของบริษทั ค่าใช้จ่ายทางการเงินเพิ�มขึ�นมากในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา เนื�องจากในปี 2556 และ 2557 บริษทั มีการกูย้ ืม เงินเป็ นจํานวนมากเพื�อใช้ในการขยายธุรกิจโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าในประเทศไทย ทัง� การซื�อที�ดิน และการพัฒนาโครงการ อย่างไรก็ตามในปี 2558 บริษทั มีการขยายธุรกิจโรงงาน/คลังสินค้า ในจํานวนที�นอ้ ยกว่าเมือ� เทียบกับช่วง 2 ปี ก่อนหน้า แต่มกี าร ใช้เงินทุนเพื�อเข้าร่วมทุนกับคู่คา้ จากต่างประเทศ ในการขยายธุรกิจโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าในประเทศแถบอาเซียนมากขึ�น 1.3 กําไร 1.3.1 กําไรขัน� ต้น บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ต้นจากการดําเนินธุรกิจ (จากการให้เช่าและจากการขายโรงงาน/คลังสินค้า) ในรอบ 3 ปี ท�ผี ่านมาเท่ากับร้อยละ 45.5 ร้อยละ 37.8 และร้อยละ 38.4 ตามลําดับ ในปี 2556 บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ต้นจากการดําเนินธุรกิจเพิ�มขึ�นเล็กน้อยจากปี ก่อนหน้า เนื�องจากบริษทั มีรายได้จากการให้เช่าเพิ�มขึ�น การปรับขึ�นราคาค่าเช่าและบริการ การลดลงของค่าซ่อมแซมทรัพย์สินในส่วนที�ได้รบั ผลกระทบ จากเหตุการณ์อุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 และการหยุดคิดค่าเสื�อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าที�จดั ประเภท เป็ นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขายตัง� แต่ไตรมาส 2 จนถึงเดือนธันวาคมที�บริษทั ได้ขายสินทรัพย์ดงั กล่าวเสร็จสิ�น ในปี 2557 บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ต้นจากการดําเนินธุ รกิจลดลงจากปี 2556 เป็ นผลมาจากอัตรากําไร ขัน� ต้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงเนื�องจากบริษทั มีการขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ท�เี ป็ นคลังสินค้าในสัดส่วนที�สูงกว่า อาคารโรงงานซึ�งคลังสินค้ามีอตั รากําไรขัน� ต้นจากการขายตํา� กว่าโรงงาน นอกจากนี�คลังสินค้าที�ขาย/ให้เช่า เป็ นคลังสินค้าที�สร้าง ตามความต้องการของลูกค้ามากขึ�น ซึ�งมีอตั รากําไรขัน� ต้นตํา� กว่าคลังสินค้าสําเร็จรูป นอกจากนี�มอี ตั รากําไรขัน� ต้นจากรายได้ค่า เช่าลดลง ในปี 2558 บริษทั มีอตั รากําไรขัน� ต้นจากการดําเนินธุรกิจเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้าเล็กน้อย เนื�องจากบริษทั มีกาํ ไรจากการขายที�ดนิ เปล่าให้แก่บุคคลอื�น ซึ�งมีอตั รากําไรขัน� ต้นสูง ในขณะที�ปีก่อนไม่มกี าํ ไรดังกล่าว อย่างไรก็ตาม อัตรา ขัน� ต้นจากการให้เช่า และขายสินทรัพย์ลดลงจากปี 2557 เนื�องจากบริษทั มีรายได้ค่าเช่าจากคลังสินค้าเป็ นสัดส่วนที�สูงกว่า รายได้ค่าเช่าจากอาคารโรงงาน และมีการขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ท�เี ป็ นคลังสินค้าในสัดส่วนที�สูงกว่าอาคารโรงงาน ซึ�งรายได้ ค่าเช่า และรายได้จากการขายคลังสินค้ามีอตั รากําไรขัน� ต้นตํา� กว่าอาคารโรงงาน เนื�องจากมีตน้ ทุนก่อสร้างคลังสินค้าสูงกว่า อาคารโรงงาน

104


1.3.2 กําไรสุทธิ บริษ ทั มีกาํ ไรสุทธิซ�ึงคิดตามวิธีส่วนได้เสียและแสดงอยู่ในงบการเงินรวมในช่วง 3 ปี ท�ีผ่า นมาเท่ากับ 1,414.2 ล้านบาท 761.7 ล้านบาท และ 769.7 ล้านบาท ตามลําดับ กําไรสุทธิต่อหุน้ เท่ากับ 1.56 บาท 0.76 บาท และ 0.70 บาท ตามลําดับ ในปี 2556 บริษ ทั มีกาํ ไรสุทธิเพิ�มขึ�นจากปี ก่อ นหน้า จํานวน 117.6 ล้านบาท หรือเพิ�มขึ�นร้อยละ 9.1 เนื�องจากบริษทั มีกาํ ไรขัน� ต้นจากการให้เช่าและบริการเพิ�มขึ�นดังที�กล่าวข้างต้นรวมทัง� มีกาํ ไรจากขายอสังหาริมทรัพย์เพิ�มขึ�นจาก ปี ก่อนหน้า นอกจากนี�บริษทั มีรายได้ค่าบริหารจัดการ และส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน TFUND/TLOGIS/TGROWTH เพิ�มขึ�น เนื�อ งจากกองทุน TFUND/TLOGIS มีผ ลประกอบการดีข� ึน อีก ทัง� บริ ษ ทั มีก ํา ไรที�ร บั รู เ้ พิ�มเติม จากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS และกําไรจากการขายหน่วยลงทุน TFUND/TLOGIS เพิ�มขึ�นจากการลดสัดส่วนการ ลงทุนในกองทุนดังทีก� ล่าวข้างต้น นอกจากนี�บริษทั ยังได้รบั ประโยชน์จากการปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 23 เป็ นร้อยละ 20 ในปี 2557 บริษทั มีกาํ ไรสุทธิลดลงจากปี ก่อ นหน้าจํา นวน 652.5 ล้า นบาท หรือลดลงร้อยละ 46.1 เนื�องจากมีรายได้จากการให้เช่า และรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงจากปี ก่อนหน้า ดังที�กล่าวข้างต้น รายได้อ�ืนลดลง เนื�องจากบริษทั ไม่มกี ารขายเงินลงทุนใน TFUND/TLOGIS ในระหว่างปี ในขณะที�ปี 2556 มีการขายเงินลงทุนเป็ นจํานวนมาก และปี 2557 บริษทั มีการลดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนน้อยกว่าปี 2556 ทําให้มกี าํ ไรที�รบั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้กองทุนลดลง นอกจากนี�บริษทั มีค่าใช้จ่ายที�เกิดจากการตัง� ประมาณการหนี�สินที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ในช่วงปลายปี 2557 เป็ นจํานวนมาก รวมทัง� มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารและค่าใช้จ่ายทางการเงินทีเ� พิ�มขึ�นตามการ ขยายการพัฒนาโครงการของบริษทั ในปี 2558 บริษทั มีกาํ ไรสุทธิเพิ�มขึ�นจากปี ก่อนหน้าเล็กน้อย หรือคิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 1.1 โดย บ ริ ษั ท มี อ ั ต ร า กํ า ไ ร จ า ก ก า ร ดํ า เ นิ น งา น ใ ก ล้เ คี ย งกั บ ปี ก่ อ น ห น้า และ มี ก ํ า ไ ร จ า ก ก า ร ขา ย เ งิ น ล งทุ น ใ น TFUND/TLOGIS/TGROWTH เป็ นจํา นวนมากในระหว่า งปี รวมทัง� มีร ายได้จ ากการบริหารจัดการบริษ ทั ร่ วมเพิ�มขึ�น นอกจากนี�บริษทั สามารถบริหารจัดการค่าใช้จ่ายได้ดขี �นึ จึงทําให้ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารลดลง

2.

ฐานะทางการเงิน 2.1 สินทรัพย์

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีสนิ ทรัพย์รวมทัง� สิ�น 36,293.8 ล้านบาท ซึง� ร้อยละ 82.9 ของสินทรัพย์รวม เป็ นอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ร้อยละ 9.9 เป็ นเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และ SLP

รายงานประจ�ำปี 2558

สินทรัพย์รวมของบริษทั เพิ�มขึ�นจากปี 2557 ประมาณ 5,084.6 ล้านบาท คิดเป็ นการเพิ�มขึ�นร้อยละ 16.3 สาเหตุ หลักมาจากการเพิ�มขึ�นของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม และเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

105


2.1.1 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ประกอบด้วยอสังหาริมทรัพย์ท�อี ยู่ในระหว่างการพัฒนา/พร้อมให้เช่า/ให้ เช่า ในช่วง 3 ปี ท�ผี ่านมา และ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนรวมจํานวน 17,261.3 ล้าน บาท 23,914.3 ล้านบาท และ 30,074.9 ล้านบาท ตามลําดับ ก า ร เ พิ� ม ขึ� น ข อ ง อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ เ พื� อ ก า ร ล ง ทุ น ( สุ ท ธิ จ า ก ส่ ว น ที� ข า ย ใ ห้ แ ก่ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT) ในปี 2556 ประมาณร้อยละ 26.1 ในปี 2557 ร้อยละ 38.5 และ ในปี 2558 ร้อยละ 25.8 สะท้อนให้เห็นถึงการขยายธุ รกิจของบริษทั ผ่านการลงทุนในที�ดินและการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นจํา นวนมาก โดยเฉพาะในปี 2557 และส่วนหนึ�งเกิดจากการเปลีย� นแปลงการบันทึกบัญชีของพื�นที�ส่วนกลางของโครงการต่างๆ ของบริษทั จากหมวดที�ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ มาบันทึกเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน 2.1.2 ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ในปี 2556 และปี 2557 ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์เพิ�มขึ�นร้อยละ 26.4 และร้อยละ 45.5 โดยหลักเกิดจาก การขยายการพัฒนาโครงการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีท�ดี ิน อาคาร และอุปกรณ์ จํานวน 183.2 ล้านบาท ลดลงจากสิ�น ปี 2557 จํานวน 1,410.2 ล้านบาท หรือลดลงเป็ นร้อยละ 88.5 เนื�องจากมีการเปลีย� นแปลงการบันทึกบัญชีของพื�นที�ส่วนกลาง ในโครงการที�บริษทั พัฒนา ซึ�งเดิมบันทึกอยู่ในที�ดนิ และส่วนปรับปรุงที�ดนิ ไปบันทึกในอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน รวมทัง� สิ�น จํานวน 1,333.05 ล้านบาท 2.1.3 เงินลงทุนชัว� คราว ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีเ งินลงทุนชัว� คราวจํา นวน 22.2 ล้านบาท ลดลงจากสิ�นปี 2557 จํานวน 235.5 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 91.4 เนื�องจากมีการขายหน่วยลงทุน รวมทัง� การครบกําหนดของตัวแลกเงิ � นที�ออก โดยธนาคารพาณิชย์ในประเทศ เงินลงทุนชัว� คราวที�เหลืออยู่ประกอบด้วยเงินฝากประจํากับธนาคารพาณิชย์ การลงทุนดังกล่าว จัดว่ามีความเสี�ยงตํา� และถือเป็ นทางเลือกทางหนึ�งในการบริหารเงินของบริษทั ที�ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนในอัตราที�สูงกว่า การฝากเงินประเภทออมทรัพย์กบั ธนาคาร 2.1.4 ลูกหนี� การค้า-สุทธิ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 ลูกหนี�การค้า-สุทธิ จํานวน 55.1 ล้านบาท ประกอบด้วย ลูกหนี�คา้ งชําระไม่ เกิน 3 เดือน จํานวน 22.1 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 40.1 ของลูกหนี�การค้า-สุทธิ และเป็ นลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานที� ยังไม่เรียกชําระ จํานวน 14.3 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 26.0 ของลูกหนี�การค้า-สุทธิ อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการเก็บค่ามัดจําการเช่าโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นจํานวน 3-6 เท่าของค่าเช่าและ ค่าบริการรายเดือนที�บริษทั ได้รบั จากผู ้เช่าเพื�อบรรเทาความเสี�ยงที�อาจเกิดขึ�นจากการผิดนัด/ผิดสัญญาของผูเ้ ช่า

106


2.1.5 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีเงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง จํานวน 73.9 ล้านบาท ลดลง 96.5 ล้าน บาท จากสิ�นปี 2557 โดยเป็ นเงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่ผูร้ บั เหมาเพือ� ก่อสร้างอาคารคลังสินค้าให้เช่า 2.1.6 เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มียอดเงินฝากสถาบันการเงินที�มภี าระคํา� ประกันจํานวน 57.4 ล้านบาท เกิดจากบริษทั ได้วางเงินฝากประจําเพื�อเป็ นหลักประกันสําหรับชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาใช้สิทธิสุทธิให้แก่ TREIT กรณีท�ผี ูเ้ ช่าใช้สทิ ธิในการซื�ออสังหาริมทรัพย์ นอกจากนี�มกี ารวางเงินสดบางส่วนเพื�อเป็ นหลักประกันสําหรับวงเงินเลต เตอร์ออฟเครดิตและทรัสต์รีซที ส์พร้อมวงเงินสําหรับจองอัตราแลกเปลีย� นและหนังสือคํา� ประกันที�ธนาคารออกให้แก่หน่วยงาน รัฐ รัฐวิสาหกิจ และบริษทั เอกชน โดยเงินฝากดังกล่าวลดลงจํานวน 13.2 ล้านบาทจากปี 2557 เนื�องจากประมาณการหนี�สินที� เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลง บริษทั จึงวางเงินฝากเพื�อเป็ นหลักประกันสําหรับชดเชยส่วนต่างลดลงดังกล่าว 2.1.7 เงินลงทุนในบริษทั ย่อย/ร่วม/ร่วมค้า เกี�ยวข ้อง ดังนี�

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษ ทั มีเงินลงทุนในบริษ ทั ย่อย บริษ ทั ร่ วม บริษ ทั ร่ วมค้า และบริษทั ที�

1) บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระแล้ว ของบริษทั ย่อย ทัง� นี� เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 50.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.1 ของสินทรัพย์รวมของ บริษทั 2) บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระแล้วของ บริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 19,515.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 56.6 ของสินทรัพย์รวมของ บริษทั 3) Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชําระแล้วของบริษ ทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 85.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.2 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั 4) บริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํา กัด (บริษทั ย่อ ย) ในสัดส่วนร้อยละ 70 ของทุนชําระแล้วของ บริษทั ย่อยเงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 7.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.02 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั

6) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วนร้อยละ 18.46 ของทุนชําระแล้วของ TFUND เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 994.9 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.7 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย และคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 2,194.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 6.4 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั

รายงานประจ�ำปี 2558

5) TICON (HK) Ltd. (บริษ ทั ย่อ ย) ในสัดส่วนร้อ ยละ 100 ของทุนชําระแล้วของบริษ ทั ย่อ ย เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 413.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.2 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั

107


7) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วนร้อยละ 16.21 ของทุนชําระ แล้วของ TLOGIS เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 457.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.3 ของสินทรัพย์รวม ของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 741.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.2 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 8) กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วนร้อยละ 25.48 ของทุนชําระแล้วของ TGROWTH เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 837.3 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.3 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 1,414.2 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 4.1 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั 9) ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (บริษทั ร่วม) ถือโดย บริษทั ย่อยในสัดส่วนร้อยละ 19.62 ของทุนชําระแล้วของ TREIT เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 863.3 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.4 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 1,113.6 ล้านบาท คิด เป็ นร้อยละ 3.2 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั ย่อย 10) PT SLP Surya TICON Internusa ([บริษทั ร่วม) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย ในสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนชําระแล้วของ SLP เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 421.6 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.2 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 414.2 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 99.9 ของสินทรัพย์รวม ของบริษทั ย่อย 11) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด (บริษทั ร่วมค้า) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อยในสัดส่วนร้อยละ 51 ของทุนชําระแล้วของบริษทั ร่วมค้า เงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 2.2 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 2.6 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวม ของบริษทั ย่อย 12) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด (บริษทั ร่วมค้า) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อยในสัดส่วนร้อยละ 51 ของทุนชําระแล้วของบริษทั ร่วมค้าเงินลงทุนดังกล่าวคํานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 1.8 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คํานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 2.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวม ของบริษทั ย่อย 13) บริษทั บางกอกคลับ จํากัด (บริษทั ที�เกี�ยวข้อง) ในสัดส่วนร้อยละ 0.11 ของทุนจดทะเบียนของ บริษทั ดังกล่าว คิดเป็ นเงินลงทุนหลังหักค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุน 0.26 ล้านบาท 2.1.8 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจาํ นวน 28.3 ล้านบาท ซึง� ส่วนใหญ่เป็ นการรอ ตัดบัญชีของภาษีเงินได้ท�เี กิดจากกําไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT และส่วนหนึ�ง เกิดจากประมาณการค่าใช้จ่ายที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์

108


สิน ทรัพ ย์ภ าษีเ งิน ได้ร อตัด บัญ ชีเ กิ ด ขึ�น เนื� อ งจากการที�บ ริ ษ ัท ไม่ส ามารถรับ รู ก้ ํา ไรจากการขาย อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ใ ห้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/ TREIT ต า ม สั ด ส่ ว น ที� บ ริ ษั ท มี ก า ร ลงทุ น ใ น TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT การบันทึกภาษีในงบกําไรขาดทุนจึงมิได้บนั ทึกภาษีทงั� จํานวน แต่หกั ด้วยภาษีจาํ นวน หนึ�งตามสัดส่วนที�บริษทั มีการลงทุนใน TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREITอย่างไรก็ดี ภาษีท�เี กิดจากกําไรจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ทัง� จํานวนได้ถูกจ่ายชําระเป็ นเงินสด ดังนัน� จึงเกิดรายการ สินทรัพ ย์ภาษีเงินได้ร อตัดบัญชีเ ท่า กับผลต่ างระหว่า งภาษีท�ีชาํ ระแล้วเป็ นเงินสดกับภาษีท�ีบนั ทึกในงบกํา ไรขาดทุน ทัง� นี� หากบริษทั มีการรับรูก้ าํ ไรเพิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ยอดภาษีเงินได้รอ ตัดบัญชีจะถูกปรับลดลง ได้รอตัดบัญชีแล ้ว

ทัง� นี�สนิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีท�แี สดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน เป็ นยอดสุทธิจากหนี�สนิ ภาษีเงิน

2.1.9 เงินมัดจําที�ดิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ไม่มยี อดคงค้างเงินมัดจําค่าที�ดิน ในขณะที� ณ สิ�นปี 2557 บริษทั มี ยอดคงค้างเงิน มัดจําค่าที�ดนิ จํานวน 461.7 ล้านบาท โดยเป็ นการมัดจําค่าที�ดนิ ที�บริษทั ได้ลงนามในสัญญาจะซื�อจะขายที�ดนิ 2.1.10 ค่าเช่าที�ดินจ่ายล่วงหน้า ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีค่าเช่าที�ดนิ จ่ายล่วงหน้าจํานวน 714.9 ล้านบาท ลดลง 43.3 ล้านบาท จากสิ�นปี 2557 ค่าเช่าที�ดนิ จ่ายล่วงหน้าเป็ นรายการที�เกิดจากการเช่าที�ดนิ ระยะยาวเพื�อพัฒนาคลังสินค้า ทัง� นี� รายการดังกล่าว จะถูกทยอยรับรูเ้ ป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุสญั ญาเช่า 2.2 หนี� สิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีหนี�สนิ รวมทัง� สิ�น 24,604.3 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจํานวน 4,860.8 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 24.6 จากสิ�นปี 2557 หนี�สินรวมของบริษทั มีเงินกูย้ ืมเป็ นส่วนประกอบหลัก คิดเป็ นร้อยละ 89.4 ของหนี�สินรวม การเพิ�มขึ�นของ หนี�สนิ รวม เกิดจากรายการที�สาํ คัญ ดังต่อไปนี� 2.2.1 เงินกูย้ มื

เงินกูย้ มื ของบริษทั ประกอบด้วยเงินกูย้ มื ระยะสัน� ร้อยละ 9.3 เงินกูย้ มื ระยะยาวร้อยละ 8.1 และหุน้ กูร้ อ้ ย ละ 82.6 ของเงินกูย้ มื ทัง� หมด

รายงานประจ�ำปี 2558

เงินกูย้ ืมทัง� หมดของบริษทั ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 มีจาํ นวน 22,005.3 ล้านบาท เพิ�มขึ�นจํานวน 4,779.5 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 27.8 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการกูย้ มื เพื�อใช้ในพัฒนาโครงการในประเทศไทย รวมทัง� ขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ ตามที�ได้กล่าวข้างต้น

109


ในการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ซึ�งถือว่าเป็ นการลงทุนระยะยาวนัน� บริษทั จะใช้เงินจากแหล่ง เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู ้ และเงินสดจากการดําเนินงานของบริษทั ในส่วนของเงินกูร้ ะยะสัน� นัน� บริษทั จะใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียน ในการดําเนินงานโดยเฉพาะอย่างยิ�ง สําหรับจ่ายชําระค่าที�ดนิ ในช่วงก่อนที�บริษทั จะได้รบั อนุ มตั ิวงเงินกู ร้ ะยะยาวจากสถาบัน การเงิน อย่า งไรก็ ตาม การกู ย้ ืม ระยะสัน� เป็ น จํา นวนมากในบางช่ วงเวลาเป็ น การบริ หารกระแสเงินสดของบริษ ทั ทัง� นี� คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้มกี ารตรวจสอบอย่างสมํา� เสมอให้สดั ส่วนของเงินกูร้ ะยะสัน� ต่อเงินกูร้ วมของบริษทั อยู ่ใน อัตราที�เหมาะสม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 ยอดคงค้างของหุน้ กู ้ มีจาํ นวน 18,190.0 ล้านบาท ซึ�งหุน้ กูท้ งั� หมดที�ออกมี อายุระหว่าง 2 ถึง 10 ปี บริษทั มีการตกลงในเงื�อนไขของการกูย้ ืมเงินกับสถาบันการเงินบางแห่งและผูถ้ อื หุน้ กูท้ �สี าํ คัญคือ การ ดํารงอัตราส่วนหนี�สิน/หนี�สินที�มภี าระดอกเบี�ยต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ ในอัตราไม่เกิน 2.5-3.0 เท่าซึ�งที�ผ่านมาบริษทั ไม่เคยผิด เงือ� นไขของการกูย้ มื ที�สาํ คัญดังกล่าว 2.2.2 เจ้าหนี� การค้า ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มียอดเจ้าหนี�การค้าจํา นวน 345.2 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อนหน้า จํานวน 59.9 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 14.8 ซึ�งเกือบทัง� จํานวนของเจ้าหนี�การค้าเป็ นเจ้าหนี�ค่าก่อสร้าง 2.2.3 ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มียอดภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่ายจํานวน 0.7 ล้านบาท ลดลงจากสิ�น ปี 2557 จํานวน 82.8 ล้านบาท เนื�องจากบริษทั มีขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ในช่วงปลายปี 2558 ในลักษณะของการให้ เช่า มากกว่าการขายขาดในกรรมสิทธิ�ทงั� ที�ดนิ และอาคารโรงงาน จึงทําให้ในปี 2558 มีภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่ายน้อยกว่าปี ก่อนหน้า ซึ�งมีการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ในช่วงปลายปี 2557 ในลักษณะของการขายขาดเป็ นจํานวนมาก 2.2.4 ประมาณการหนี� สิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มียอดประมาณการหนี�สนิ ทัง� สิ�นจํานวน 136.0 ล้านบาท ประกอบด้วย ประมาณการหนี�สินระยะสัน� จํา นวน 76.3 ล้า นบาท และประมาณการหนี�สินระยาวจํา นวน 59.7 ล้า นบาท จากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ตามที�ได้กล่าวในข้อ 1.2.1 2.2.5 สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษ ทั มีจาํ นวนเงินสํา รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ�งเป็ นการ ประมาณการภาระของบริษทั ในการจ่ายเงินชดเชยให้แก่พนักงานเมือ� ออกจากงาน จํานวน 32.2 ล้านบาท บริษทั ได้ถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 19 เรื�อง ผลประโยชน์ของพนักงาน ตัง� แต่ปี 2554 เป็ น ต้นมาโดยบันทึกส่วนที�เป็ นยอดสะสมที�คาํ นวณจนถึงสิ�นปี 2553 รับรูเ้ ป็ นหนี�สนิ และบันทึกส่วนที�เป็ นการกันสํารองผลประโยชน์ ของพนักงานในแต่ละปี เป็ นค่าใช้จ่าย

110


2.2.6 รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีรายได้ค่าเช่าที�ดนิ รับล่วงหน้า จํานวน 1,382.5 ล้านบาท ซึ�งเกิดจาก ในปี 2556 บริษทั มีการให้เช่าที�ดนิ แก่ TGROWTH เป็ นระยะเวลา 30 ปี ในปี 2557 และ 2558 มีการให้เช่าที�ดินแก่ TREIT เป็ นระยะเวลา 28-30 ปี โดยบริษทั จะทยอยรับรูเ้ ป็ นรายได้จากการให้เช่าในงบกําไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสญั ญาเช่า 2.3 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวมจํานวน 11,689.5 ล้านบาทเพิ�มขึ�นจากสิ�นปี 2557 จํานวน 223.9 ล้านบาท หรือเพิ�มขึ�นร้อยละ 2.0 เนื�องจากกําไรสะสมจากผลการดําเนินงานของปี 2558 2.4 ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที�สาํ คัญของบริษ ทั คือ การจัดให้มีซ�งึ โครงสร้า งเงินทุนที�เหมาะสมเพื�อ สนับสนุนการดําเนินธุรกิจของบริษทั และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในอดีตที�ผ่านมาบริษทั มีแหล่งเงินทุนหลักเพื�อใช้ในการขยายธุรกิจการสร้างโรงงานและคลังสินค้า คือ เงินทุนจาก การดําเนินงาน เงินเพิ�มทุนจากผูถ้ ือหุน้ และเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี ในช่วง 10 ปี ท�ีผ่านมาซึ�งธุ รกิจโรงงาน สําเร็จรูปและคลังสินค้าให้เช่ามีการขยายตัวอย่างมาก บริษทั ได้มสี ่วนร่วมในการจัดตัง� TFUND ในปี 2548 TLOGIS ในปี 2552 TGROWTH ในปี 2556 และ TREIT ในปี 2557 เพื�อเป็ นการเพิ�มช่องทางระดมทุนของบริษทั ซึ�งทําให้บริษทั ลดการ พึ�งพาการจัดหาเงินทุนจากการกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงินและการเพิ�มทุนซึ�งมีค่าใช้จ่ายที�มากกว่า นอกจากแหล่งเงินทุนดังกล่าว บริษทั ยังมีการออกหุน้ กูอ้ ายุ 2-10 ปี ซึ�งถือเป็ นแหล่งเงินทุนที�สาํ คัญอีกแหล่งหนึ�ง ของบริษทั ที�มตี น้ ทุนตํา� กว่าการกูย้ มื เงินระยะยาวจากสถาบันการเงิน นอกจากนี�บริษทั มีใบแสดงสิทธิ TICON-T2 ที�ออกเมื�อช่วงไตรมาส 2/2557 ซึ�งใบแสดงสิทธิดงั กล่าวมีการใช้ สิทธิและหมดอายุแล้วในปี 2557 2.5 สภาพคล่อง

จากข้อมูลการได้มาและใช้ไปของกระแสเงินสดตามที�กล่าวข้างต้น จะพบว่าบริษทั มีสภาพคล่อ งทางการเงิน เพียงพอสําหรับการดําเนินธุรกิจ (การคํานวณอัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratio) ไม่สามารถอธิบายสภาพคล่องของบริษทั ได้ เนื�องจากบริษทั ไม่มกี ารบันทึกรายการสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน (เนื�องจากลักษณะสินทรัพย์ของบริษทั ส่วนใหญ่ เป็ นที�ดนิ และโรงงานซึ�งจะไม่บนั ทึกเป็ นสินทรัพย์หมุนเวียนของบริษทั ) ในขณะที�รายการเจ้าหนี�การค้าค่าที�ดนิ และค่าก่อสร้างจะ ถูกบันทึกเป็ นหนี�สนิ หมุนเวียน จึงทําให้อตั ราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี�สนิ หมุนเวียนมีค่าตํา� )

รายงานประจ�ำปี 2558

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีกระแสเงินสดสุทธิท�ีได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน 3,247.3 ล้านบาท มี กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมการลงทุน 6,672.4 ล้านบาท และมีก ระแสเงินสดสุทธิ ได้มาจากกิจกรรมการจัดหาเงิน 4,230.1 ล้านบาท

111


ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ที�มภี าระดอกเบี�ยต่อส่วนของผู ้ถือหุน้ ซึ�งคํานวณจาก (เงินกูย้ มื +หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เท่า กับ 1.88 เท่า เพิ�มขึ�นจาก ณ สิ�นปี 2557 ซึ�งเท่ากับ 1.50 เท่า เนื�องจากบริษ ทั มีก ารกู ย้ ืมเงินเพื�อใช้พฒั นาคลังสินค้า เพื�อรองรับโอกาสในการเติบโตในอนาคต ซึ�งแสดงถึงความสามารถในการบริหารโครงสร้างเงินทุนของกิจการที�มสี ดั ส่วนหนี�ท�มี ี ภาระดอกเบี�ยเมือ� เทียบกับฐานเงินทุนของบริษทั ได้อย่างเหมาะสม ภายใต้เงื�อนไขการดํารงอัตราส่วนหนี�สิน/หนี�สินที�มภี าระ ดอกเบี�ยต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในปัจจุบนั อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี�ย คํานวณจาก (กําไรสุทธิ+ดอกเบี�ยจ่าย+ภาษีเงินได้นิติบุคคล+กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บริษทั ร่วม) ดอกเบี�ยจ่าย บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบี�ยเท่ากับ 2.35 เท่า แสดงได้ถงึ ความสามารถในการชําระดอกเบี�ยของบริษทั ได้เป็ นอย่างดี ซึ�งบริษทั ไม่เคยประสบปัญหาในการชําระดอกเบี�ย อัตราส่วนความสามารถในการชําระภาระผูกพัน คํานวณจาก (เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน+ดอกเบี�ยจ่าย) (จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กู+้ เงินปันผล+ดอกเบี�ยจ่าย) บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถในการชําระภาระผูกพันเท่ากับ 1.02 เท่า แสดงถึงความสามารถในการชําระภาระผูกพันของ บริษทั

3.

แนวโน้มในอนาคต - โปรดดูใน “สารจากประธานกรรมการ” -

112


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มกี ารจัดทํางบการเงินเพื�อแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั ประจําปี 2558 ภายใต้พระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงภาระหน้าที�และความรับผิดชอบในฐานะกรรมการของบริษทั จดทะเบีย น ในการกํากับดูแลให้รายงานทางการเงินของบริษทั มีข ้อมูลทางบัญชีท�ถี ูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และเพียงพอที�จ ะดํารง รัก ษาไว้ซ�ึงทรัพ ย์สินของบริษทั ป้ อ งกันการทุจ ริตและการดํา เนินการที�ผิดปกติ รวมทัง� ได้ถือ ปฏิบ ตั ิตามมาตรฐาน การบัญชีท�รี บั รองโดยทัว� ไป เพื�อเป็ นประโยชน์ต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว� ไปที�จะได้รบั ทราบข้อมูลที�แสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานที�เป็ นจริงและสมเหตุสมผล คณะกรรมการบริษ ทั มีค วามเห็น ว่า งบการเงิน รวมประจํา ปี 2558 ของบริ ษ ทั ไทคอน อิ น ดัส เทรี ย ล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ที�คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานร่วมกับฝ่ ายบริหารและผูส้ อบบัญชี ของบริษทั คือ บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด (เดิมชื�อ บริษทั สํานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จํากัด) ได้แสดงฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน ครบถ้วน และเชื�อถือได้ สมเหตุสมผล โดยถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีท�รี บั รองโดยทัว� ไป มีการใช้นโยบายบัญชีท�เี หมาะสมและถือปฏิบตั ิสมํา� เสมอ เปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ และปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมาย และกฎระเบียบที�เกี�ยวข้อง

รายงานประจ�ำปี 2558

(นายชาลี โสภณพนิ ช) ประธานคณะกรรมการ

113


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย รายงาน และ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2558

114


รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาต เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษ ทั ย่อ ย ซึ�ง ประกอบด ว้ ย งบแสดงฐานะการเงิน รวม ณ วัน ที� 31 ธันวาคม 2558 งบกํา ไรขาดทุนรวม งบกํา ไรขาดทุ น เบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผู ถ้ ือ หุน้ รวมและงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปี ส� นิ สุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีท�สี าํ คัญและหมายเหตุเรื�องอื�น ๆ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผูบ้ ริหารต่องบการเงิน ผูบ้ ริหารเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินเหล่านี�โดยถูกต้องตามที�ควรตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและรับผิดชอบเกี�ย วกับการควบคุมภายในที�ผู บ้ ริหารพิจารณาว่าจําเป็ นเพื�อให้สามารถจัดทํางบการเงิน ที�ปราศจากการแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี ข้าพเจ้าเป็ นผู ร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่อ งบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ�งกําหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิตามขอ้ กําหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึง วางแผนและปฏิบตั ิงานตรวจสอบเพื�อให้ได้ความเชื�อมัน� อย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที� ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ ีการตรวจสอบเพื�อให้ได้มาซึ�งหลักฐานการสอบบัญชีเกี�ยวกับจํานวนเงินและการเปิ ดเผย ข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที�เลือกใช้ข�นึ อยู่กบั ดุลยพินิจของผูส้ อบบัญชี ซึ�งรวมถึงการประเมินความเสี�ยงจาก การแสดงข้อมูลที�ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการ ประเมินความเสี�ยงดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีพจิ ารณาการควบคุมภายในที�เกี�ยวข้องกับการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน โดยถูกต้องตามที�ควรของกิจการ เพื�อออกแบบวิธีการตรวจสอบที�เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื�อวัตถุประสงค์ใน การแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสม ของนโยบายการบัญชีท�ผี ูบ้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท�จี ดั ทําขึ�นโดยผูบ้ ริหาร รวมทัง� การ ประเมินการนําเสนองบการเงินโดยรวม

รายงานประจ�ำปี 2558

ข้าพเจ้าเชื�อว่าหลักฐานการสอบบัญชีท�ขี ้าพเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสมเพื�อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของ ข้าพเจ้า

115


ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี�แสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสด สําหรับปี ส�นิ สุดวันเดียวกันของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรีย ล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเฉพาะ ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที�ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน

รสพร เดชอาคม ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 5659 บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2559

116


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินที�มภี าระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานที�ยงั ไม่เรียกชําระ เงินให้กยู ้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ทีเ� กี�ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินลงทุนในบริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและ พร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า ที�ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินมัดจําค่าที�ดนิ ค่าเช่าที�ดนิ จ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

6, 7 8 6, 9 6

6, 10 6 11 12 13

14.1 14.2 15 16 26 6 6

2558

2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

1,133,889,840 22,183,200 94,959,070 73,932,586 223,656,949 1,548,621,645

202,079,981 257,684,596 87,093,174 170,400,699 142,859,537 860,117,987

1,068,081,086 42,333,851 10,848,835 47,784,824 1,169,048,596

77,842,107 130,000,000 45,465,470 20,414,776 18,935,794 292,658,147

57,430,970 80,315,732 4,068,278 3,574,453,894 256,500

70,622,500 49,649,272 4,204,581 3,316,426,735 256,500

57,190,970 10,064,616 20,070,806,949 5,463,660,270 256,500

70,382,500 9,228,637 1,820,000,000 14,846,573,800 5,240,529,157 256,500

20,305,645,310 9,769,269,931 183,226,195 3,759,395 28,296,844 714,983,875 23,430,829 34,745,137,753 36,293,759,398

17,179,746,392 6,734,568,197 1,593,453,385 5,175,770 90,974,343 461,741,775 758,269,438 83,914,681 30,349,003,569 31,209,121,556

5,618,829,175 2,048,887,014 20,145,842 2,347,916 16,267,445 33,308,456,697 34,477,505,293

4,462,940,954 2,083,528,053 116,464,973 3,572,530 228,385,200 15,511,425 28,897,373,729 29,190,031,876

รายงานประจ�ำปี 2558

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

117


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม หมายเหตุ หนี� สินและส่วนของผูถ้ ือหุน้ หนี� สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน� เงินกูย้ มื ระยะสัน� จากบริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อ�นื หนี�สินตามสัญญาเช่าการเงินที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที�เกี�ยวข้องกันทีถ� ึงกําหนดชําระภายในหนึ�งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี หุน้ กูท้ �ถี งึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ประมาณการหนี�สนิ ระยะสัน� หนี�สินหมุนเวียนอื�น รวมหนี� สินหมุนเวียน หนี� สินไม่หมุนเวียน หนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู ้ สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนี�สนิ ระยะยาว หนี�สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินมัดจําจากลูกค้า รายได้ค่าเช่าที�ดนิ รับล่วงหน้า รวมหนี� สินไม่หมุนเวียน รวมหนี� สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

118

6, 17 6 6, 18 19 6 20 21 24.2 6

19 6 20 21 22 24.2 26 6

2558

2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

2,040,000,000 606,336,905 1,149,769 71,600,000 304,899,175 3,250,000,000 684,258 76,327,864 134,226,163 6,485,224,134

660,000,000 660,753,670 685,676 55,000,000 2,170,000,000 83,498,409 39,406,040 139,188,168 3,808,531,963

2,040,000,000 291,500,000 270,619,153 140,000,000 3,250,000,000 10,769,472 39,907,439 6,042,796,064

660,000,000 329,307,500 55,000,000 2,170,000,000 83,430,230 5,562,097 38,844,639 3,342,144,466

2,910,640 676,780,000 721,980,935 14,940,000,000 32,204,791 59,690,523 302,984,207 1,382,486,942 18,119,038,038 24,604,262,172

2,531,583 748,380,000 952,383,116 12,640,000,000 28,404,540 93,785,312 283,718,574 1,185,761,781 15,934,964,906 19,743,496,869

671,980,935 14,940,000,000 25,299,855 46,421,498 173,160,411 103,652,982 428,745,850 16,389,261,531 22,432,057,595

451,501,941 12,640,000,000 24,581,796 65,228,113 138,730,407 119,271,715 355,203,635 13,794,517,607 17,136,662,073


บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม หมายเหตุ ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 1,115,941,811 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนทีอ� อกและชําระแล้ว หุน้ สามัญ 1,099,142,375 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื�นของส่วนของผูถ้ ือหุน้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนี�สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

23

2558

2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

1,115,941,811

1,115,941,811

1,115,941,811

1,115,941,811

1,099,142,375 7,343,380,077

1,099,142,375 7,343,380,077

1,099,142,375 7,343,380,077

1,099,142,375 7,343,380,077

126,374,017 3,052,854,276 65,265,091 11,687,015,836 2,481,390 11,689,497,226 36,293,759,398

126,374,017 2,831,850,724 63,613,940 11,464,361,133 1,263,554 11,465,624,687 31,209,121,556

126,374,017 3,476,551,229 12,045,447,698 12,045,447,698 34,477,505,293

126,374,017 3,484,473,334 12,053,369,803 12,053,369,803 29,190,031,876

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

รายงานประจ�ำปี 2558

กรรมการ

119


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกําไรขาดทุน สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 หมายเหตุ รายได้ รายได้จากการให้เช่าและบริการทีเ� กี�ยวข้อง รายได้จากการให้บริการ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ รายได้อ�นื รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ย ต้นทุนการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง ต้นทุนการให้บริการ ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนค่าสาธารณูปโภค ประมาณการหนี�สินที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ (โอนกลับรายการ) ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเสื�อมราคา ค่าใช้จ่ายอื�น รวมค่าใช้จา่ ย กําไรก่อนส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และการร่วมค้า กําไรที�รบั รูเ้ พิม� เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้บริษัทร่วม กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้บริษัทร่วม ค่าใช้จา่ ยทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษี เงินได้ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า กําไรทีร� บั รูเ้ พิ�มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรทีย� งั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษี เงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กําไรสําหรับปี

6 6 6, 24.1 6, 11 6, 13 6 6

24.1 24.2 6

13 12 13 13 6 26

การแบ่งปันกําไร ส่วนที�เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนที�เป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย กําไรต่อหุน้ กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนทีเ� ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรส่วนทีเ� ป็นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

120

2558

งบการเงินรวม

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

2557

1,048,547,425 30,157,752 3,345,605,866 35,624,500 204,123,010 6,521,222 183,350,353 4,853,930,128

966,056,776 54,158,944 4,561,275,648 37,951,787 165,340,654 8,248,646 63,424,910 5,856,457,365

357,462,904 22,666,536 652,330,421 8,726,644 458,499,966 367,643,459 128,274,086 65,498,489 85,816,186 2,146,918,691

456,144,938 40,936,996 1,989,763,854 10,960,052 16,749,946 380,516,435 127,295,354 439,467,930 115,057,280 3,576,892,785

306,394,792 22,955,582 2,401,415,858 29,089,888 33,316,822 36,437,352 435,853,810 284,594,909 9,693,406 3,559,752,419

243,451,489 46,922,933 3,192,138,735 34,495,282 117,963,265 68,110,148 445,599,126 255,745,555 4,012,381 4,408,438,914

79,784,653 20,402,889 341,092,339 8,709,589 (8,037,142) 11,228,063 284,289,201 90,903,449 586,296 828,959,337

87,454,875 35,590,085 999,061,233 10,712,901 70,928,113 16,405,787 290,688,690 63,707,423 3,986,426 1,578,535,533

1,294,177,709 248,467,200 (136,303) 246,687,892 (166,262,378) 1,622,934,120 (762,212,682) 860,721,438 (89,762,276) 770,959,162

1,448,018,451 267,126,079 (385,419) 41,367,476 (213,420,009) 1,542,706,578 (642,612,985) 900,093,593 (138,523,135) 761,570,458

1,317,959,354 1,317,959,354 (744,241,629) 573,717,725 (33,964,332) 539,753,393

1,998,357,252 1,998,357,252 (621,190,504) 1,377,166,748 (152,639,352) 1,224,527,396

769,741,292 1,217,870 770,959,162

761,735,050 (164,592) 761,570,458

539,753,393

1,224,527,396

0.70

0.76

0.49

1.22

0.70

0.76

0.49

1.22

28


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2558

2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

770,959,162

761,570,458

539,753,393

1,224,527,396

1,651,151

(592,999)

-

-

1,000,559 (200,112)

-

2,328,361 (465,672)

-

2,451,598 2,451,598

(592,999) (592,999)

1,862,689 1,862,689

-

773,410,760

760,977,459

541,616,082

1,224,527,396

772,192,890 1,217,870 773,410,760

761,142,051 (164,592) 760,977,459

541,616,082 541,616,082

1,224,527,396 1,224,527,396

งบการเงินรวม

กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� : รายการทีจ� ะไม่ถูกบันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลีย� นจากการแปลงค่างบการเงิน ทีเ� ป็ นเงินตราต่างประเทศ กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน หัก: ผลกระทบของภาษีเงินได้ รายการทีจ� ะไม่ถกู บันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจากภาษีเงินได้ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน� สําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี การแบ่งปันกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที�เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนที�เป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ย่อย

รายงานประจ�ำปี 2558

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

121


122 7,343,380,077

1,099,142,375

1,099,142,375 1,099,142,375

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

2,673,908,133 -

186,765,936 -

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี เพิ�มทุนหุน้ สามัญจากการแปลงสิทธิ ที�จะซื�อหุน้ สามัญ เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) ส่วนเกินทุนจากการเปลีย� นแปลงสัดส่วน การถือหุน้ ในบริษทั ย่อย (หมายเหตุ 11) ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 7,343,380,077 7,343,380,077

ส่วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ 4,669,471,944 -

ทุนเรือนหุน้ ทีอ� อกและชําระแล้ว 912,376,439 -

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2558

126,374,017 126,374,017

126,374,017

-

2,831,850,724 769,741,292 800,447 770,541,739 (549,538,187) 3,052,854,276

2,831,850,724

(913,786,163)

กําไรสะสม สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร 126,374,017 2,983,901,837 761,735,050 761,735,050

15,092,132 1,651,151 1,651,151 16,743,283

15,092,132

-

48,521,808 48,521,808

68,571,808 48,521,808

-

63,613,940 1,651,151 1,651,151 65,265,091

68,571,808 63,613,940

-

องค์ประกอบอื�นของส่วนของผูถ้ อื หุน้ กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื�น ผลต่าง ส่วนเกินทุน (ขาดทุน) จากการแปลงค่า จากการเปลี�ยนแปลง งบการเงินทีเ� ป็ น สัดส่วนการถือหุน้ รวมองค์ประกอบอื�น เงินตราต่างประเทศ ในบริษทั ย่อย ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ 15,685,131 (20,050,000) (4,364,869) (592,999) (592,999) (592,999) (592,999)

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

งบการเงินรวม

11,464,361,133 769,741,292 2,451,598 772,192,890 (549,538,187) 11,687,015,836

68,571,808 11,464,361,133

2,860,674,069 (913,786,163)

รวมส่วนของ ผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั ฯ 8,687,759,368 761,735,050 (592,999) 761,142,051

1,263,554 1,217,870 1,217,870 (34) 2,481,390

1,428,192 1,263,554

(54)

ส่วนของผูม้ ี ส่วนได้เสียทีไ� ม่มี อํานาจควบคุม ของบริษทั ย่อย 8 (164,592) (164,592)

11,465,624,687 770,959,162 2,451,598 773,410,760 (549,538,221) 11,689,497,226

70,000,000 11,465,624,687

2,860,674,069 (913,786,217)

รวมส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ 8,687,759,376 761,570,458 (592,999) 760,977,459

(หน่วย: บาท)


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ต่อ) สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2558

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2556 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี เพิ�มทุนหุน้ สามัญจากการแปลงสิทธิที�จะซื�อหุน้ สามัญ เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 31) ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558

ทุนเรือนหุน้ ที�ออก และชําระแล้ว 912,376,439 186,765,936 1,099,142,375

ส่วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ 4,669,471,944 2,673,908,133 7,343,380,077

1,099,142,375 1,099,142,375

7,343,380,077 7,343,380,077

งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร 126,374,017 3,173,732,101 1,224,527,396 1,224,527,396 (913,786,163) 126,374,017 3,484,473,334 126,374,017 126,374,017

3,484,473,334 539,753,393 1,862,689 541,616,082 (549,538,187) 3,476,551,229

(หน่วย: บาท) รวม ส่วนของผูถ้ อื หุน้ 8,881,954,501 1,224,527,396 1,224,527,396 2,860,674,069 (913,786,163) 12,053,369,803 12,053,369,803 539,753,393 1,862,689 541,616,082 (549,538,187) 12,045,447,698

รายงานประจ�ำปี 2558

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

123


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2558

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนิ นงาน กําไรก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไรก่อนภาษีเป็ นเงินสดรับ(จ่าย) จากการดําเนินงาน ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย หนี�สงสัยจะสูญ (โอนกลับรายการ) เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ขาดทุน (กําไร) จากการขาย/ตัดจําหน่ายที�ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ย่อย กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายเงินลงทุนในบริษทั ทีเ� ลิกกิจการ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินจากการเลิกกิจการบริษทั ย่อย กําไรจากอัตราแลกเปลีย� นทีย� งั ไม่เกิดขึ�นจริง ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวขอ้ งกับการขายอสังหาริมทรัพย์ (โอนกลับรายการ) ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า กําไรทีร� บั รูเ้ พิม� เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กําไรทีย� งั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลีย� นแปลง ในสินทรัพย์และหนี�สินดําเนินงาน สินทรัพย์ดาํ เนินงาน (เพิ�มขึ�น) ลดลง ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อื�น เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น ค่าเช่าที�ดินจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น หนี�สนิ ดําเนินงานเพิ�มขึ�น (ลดลง) เจ้าหนี�อื�น หนี�สนิ หมุนเวียนอื�น ประมาณการหนี�สนิ เงินมัดจําจากลูกค้า รายได้ค่าเช่าทีด� ินรับล่วงหน้า เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน รับดอกเบี�ย จ่ายดอกเบี�ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนิ นงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

124

2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

860,721,438

900,093,593

573,717,725

1,377,166,748

522,574,498 2,280,414,365 8,767,850 (126,299,966) 5,150,496 (12,722,177) (3,385) 4,800,810

432,867,339 3,954,503 3,037,013,320 (299,240) (1,495,500) 3,059,755

151,124,519 (458,499,966) (367,643,459) 323,331,160 582,899 (44,423,878) 4,962,247 (3,385) 3,046,420

132,926,353 3,986,423 (16,749,946) (380,516,435) 929,985,556 (303,014) (67,000,000) (4,473,250) 2,230,771

33,316,822 (248,467,200) 136,303 (246,687,892) 166,262,378 (6,521,222) 751,327,944

117,963,265 (267,126,079) 385,419 (41,367,476) 213,420,009 (8,248,645) 634,410,604

(8,037,142) (65,498,489) 733,356,892

70,928,113 (439,467,930) 612,988,124

3,992,771,062

5,024,630,867

846,015,543

2,221,701,513

(38,522,116) 96,468,113 (11,501,452) (36,198,914) (543,910)

(19,881,793) (37,446,691) (32,440,954) (409,334,079) (64,588,964)

1,201,546 9,565,941 (557,776) (756,021)

75,695,067 1,535,640 (503,247) 2,435,979

(28,778,732) (4,962,006) (39,388,346) 19,265,633 196,725,161 4,145,334,493 6,514,367 (721,660,943) (182,923,079) 3,247,264,838

(6,689,258) (57,412,398) 133,191,352 (22,285,128) 263,010,975 4,770,753,929 8,373,193 (563,679,674) (117,105,232) 4,098,342,216

(22,561,643) 1,062,799 (5,562,097) (15,618,733) 73,542,215 886,331,774 5,807,967 (703,528,682) (107,292,937) 81,318,122

3,537,143 (64,963,873) 70,790,210 (48,755,862) 27,109,190 2,288,581,760 7,509,774 (541,984,336) (38,980,648) 1,715,126,550

2558

งบการเงินรวม


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2558 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชัว� คราวลดลง (เพิม� ขึ�น) เงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิ�มขึ�น เงินลงทุนในบริษทั ย่อยเพิม� ขึ�น เงินลงทุนในการร่วมค้าเพิม� ขึ�น เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินสดรับจากการจ่ายคืนมูลค่าหน่วยทรัสต์จากการลดทุน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินฝากสถาบันการเงินที�มภี าระคํา� ประกันลดลง (เพิ�มขึ�น) รับคืนเงินให้กยู ้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ย่อย เงินสดจ่ายให้กยู ้ ืมระยะยาวแก่บริษทั ย่อย เงินสดจ่ายซื�ออสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่าง การพัฒนาสินทรัพย์พร้อมให้เช่า/ขาย เงินสดจ่ายซื�ออุปกรณ์ เงินสดจ่ายเงินมัดจําค่าทีด� นิ เงินสดจ่ายซื�อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รับดอกเบี�ยจากบริษทั ย่อย รับเงินปันผลจากบริษทั ย่อย รับเงินปันผลจากบริษทั ร่วม เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน� (ลดลง) เพิ�มขึ�น เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสัน� จากบริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวขอ้ งกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาว เงินสดรับจากหุน้ กู ้ ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาว ชําระคืนหุน้ กู ้ เงินสดรับจากการเพิม� ทุน เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิ�มขึ�น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ�มขึ�น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี (หมายเหตุ 7)

งบการเงินรวม

2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

103,001,396 (1,136,478,852) 955,472,500 15,786,399 7,571,681 13,191,530 -

(115,525,892) (701,749,642) (4,590,000) 359,867,500 70,000,000 (70,382,500) -

(1,141,697,259) (5,413,423,149) 955,472,500 7,517,524 184,187,221 13,191,530 6,879,999,850 (5,059,999,850)

(290,749,642) (12,000,000,000) 359,867,500 70,000,000 (70,382,500) 14,182,955,242 (6,927,000,000)

(6,924,837,057) (13,519,342) (73,914,283) (177,849) 376,942,736 4,522,573 (6,672,438,568)

(7,038,526,606) (18,412,444) (876,368,665) (1,790,931) 380,516,435 582,907 (8,016,379,838)

(1,338,655,824) (4,873,103) (152,673) 60,828,534 458,499,966 367,643,459 2,781,525 (4,028,679,749)

(1,788,187,992) (11,153,435) (218,230,620) (1,737,613) 432,000,000 16,749,946 380,516,435 582,569 (5,864,770,110)

1,380,000,000 488,721,977 5,550,000,000 (469,224,983) (2,170,000,000) (549,378,422) 4,230,118,572 (5,634,983) 799,309,859 334,579,981 1,133,889,840 1,133,889,840

(1,448,000,000) 41,080,000 791,774,000 4,280,000,000 (1,038,257,371) (1,080,000,000) 2,860,674,069 (913,732,549) 3,493,538,149 214,823 (424,284,650) 758,864,631 334,579,981

1,380,000,000 291,500,000 438,721,977 5,550,000,000 (133,242,983) (2,170,000,000) (549,378,388) 4,807,600,606 860,238,979 207,842,107 1,068,081,086 1,068,081,086

(1,448,000,000) 491,774,000 4,280,000,000 (336,517,371) (1,080,000,000) 2,860,674,069 (913,732,495) 3,854,198,203 (295,445,357) 503,287,464 207,842,107

รายงานประจ�ำปี 2558

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

125


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

60,842,762

109,507,758

25,363,825

51,904,966

2,280,414,365

3,037,013,320

323,331,160

929,985,556

-

544,528,831

-

29,405,771

1,330,557,783

-

89,414,797

-

349,288,052 535,656,058

407,514,013 1,025,421,735

29,797,124 -

100,340,384 505,367,390

งบการเงินรวม 2558 ขอ้ มูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิม� เติม เงินสดจ่ายระหว่างปี : ดอกเบี�ยจ่ายที�บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสินทรัพย์ รายการที�ไม่ใช่เงินสด: โอนอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนทีอ� ยู่ในระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ พร้อมให้เช่า/ขายและอสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนให้เช่าเป็ น ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ โอนอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนทีอ� ยู่ในระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ พร้อมให้เช่า/ขายและอสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนให้เช่าไปเป็ นทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์ โอนทีด� นิ อาคารและอุปกรณ์ไปเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนทีอ� ยู่ ในระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์พร้อมให้เช่า/ขายและอสังหาริมทรัพย์ เพื�อการลงทุนให้เช่า รายการซื�ออสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุน และที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที�ยงั ไม่ได้จ่ายชําระ เงินมัดจําค่าที�ดนิ ที�บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

126


บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 1. ข้อมูลทัว� ไป บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) เป็ นบริษทั มหาชนซึ�งจัดตัง� และมีภูมลิ าํ เนา ในประเทศไทย โดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีธุรกิจหลักคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื�อการอุตสาหกรรมโดยการสร้าง โรงงานและคลังสินค้าเพื�อให้เช่าและขายเมือ� มีโอกาสเหมาะสมและธุรกิจการให้บริการที�เกี�ยวเนื�องกับการให้เช่า ที�อ ยู่ ตามที�จ ดทะเบีย นของบริ ษ ทั ฯ อยู่ ท�ี อาคารสาธรซิต� ี ท าวเวอร์ เลขที� 175 ชัน� 13/1 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริ ษ ทั ฯ มีบ ริษ ทั สวนอุต สาหกรรมโรจนะ จํา กัด (มหาชน) ซึ�งเป็ นบริ ษ ทั ที� จดทะเบียนจัดตัง� ในประเทศ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ โดยถือหุน้ ร้อยละ 43.55 (2557: ร้อยละ 43.45)

2. เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงิน 2.1 งบการเงินนี�จดั ทํา ขึ�นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�กาํ หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข ้อกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที� 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็ นงบการเงินฉบับที�บริษทั ฯ ใช้เ ป็ นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับ ภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี� งบการเงินนี�ได้จดั ทําขึ�นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื�นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินรวม

รายงานประจ�ำปี 2558

ก) งบการเงินรวมนี�ได้จดั ทําขึ�นโดยรวมงบการเงินของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย (“กลุม่ บริษทั ”) โดยการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบริษทั ย่อย สรุปได้ดงั นี�

127


บริษทั

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด บริษทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON Property, Inc. TICON (HK) Limited

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

ไทย ไทย ไทย จีน สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง

ลักษณะธุรกิจ

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างโรงงานเพื�อให้เช่า/ขาย ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างคลังสินค้าเพื�อให้เช่า/ขาย ผู ้จัดการกองทรัสต์เพื�อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจบริหารการลงทุน ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ทวั � ไป ลงทุนในกิจการในต่างประเทศ

ร้อยละ ของการถือหุน้ 2558 2557 (ร้อยละ) (ร้อยละ) 99.99 99.99 99.99

99.99

69.99

69.99

100.00

100.00

100.00

100.00 -

งบการเงินสําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ของ Shanghai TICON Investment Management Company Limited (“บริษทั ย่อย”) ซึ�งรวมในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีอ�นื งบการเงินสํา หรับงวดหกเดือ นสิ�นสุดวันที� 30 มิถุนายน 2558 และงบการเงินสํา หรับปี ส� ินสุดวันที� 31 ธันวาคม 2557 ของ TICON Property, Inc. (“บริษทั ย่อย”) ซึ�งรวมอยู่ในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ จัดทําขึ�นโดย ฝ่ ายบริหารของบริษทั ย่อ ย และยังมิได้ตรวจสอบโดยผู ส้ อบบัญชีอ�ืนและเมื�อวันที� 30 มิถุนายน 2558 บริษทั ย่อ ย ดังกล่าวได้เลิกกิจการและเสร็จสิ�นการชําระบัญชีแล้ว งบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีตงั� แต่วนั ที� 16 เมษายน 2558 ถึงวันที� 31 ธันวาคม 2558 ของ TICON (HK) Limited (“บริษทั ย่อย”) ซึ�งรวมในงบการเงินรวมของบริษทั ฯ จัดทําขึ�นโดยฝ่ ายบริหารของบริษทั ย่อย และยังมิได้ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีอ�ืน ข) บริษทั ฯ จะถือว่ามีการควบคุมกิจการที�เข้าไปลงทุนหรือบริษทั ย่อยได้ หากบริษทั ฯ มีสทิ ธิได้รบั หรือ มีส่วนได้เสียในผลตอบแทนของกิจการที�เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อาํ นาจในการสัง� การกิจกรรมที�ส่งผลกระทบอย่าง มีนยั สําคัญต่อจํานวนเงินผลตอบแทนนัน� ได้ ค) บริษทั ฯ นํางบการเงินของบริษทั ย่อยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตัง� แต่วนั ที�บริษทั ฯ มีอาํ นาจ ในการควบคุมบริษทั ย่อย จนถึงวันที�บริษทั ฯ สิ�นสุดการควบคุมบริษทั ย่อยนัน� ง) งบการเงินของบริษทั ย่อยได้จดั ทําขึ�นโดยใช้นโยบายการบัญชีท�สี าํ คัญเช่นเดียวกันกับของ บริษทั ฯ จ) สินทรัพย์และหนี�สินตามงบการเงินของบริษ ทั ย่อ ยซึ�งจัดตัง� ในต่า งประเทศแปลงค่า เป็ นเงินบาท โดยใช้อตั ราแลกเปลี�ยน ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลีย� นถัวเฉลีย� รายเดือน ผลต่างซึ�งเกิดขึ�นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็ นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่า งบการเงินที�เป็ นเงินตราต่างประเทศ” ในงบแสดงการเปลีย� นแปลงในส่วนของผูถ้ อื หุน้

128


ฉ) ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันที�มสี าระสําคัญได้ถูกตัดออกจาก งบการเงินรวมนี�แล้ว ช) ส่วนของผูม้ สี ่วนได้เสียที�ไม่มอี าํ นาจควบคุม คือ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของ บริษทั ย่อยส่วนที�ไม่ได้เป็ นของบริษทั ฯ และแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในส่วนของกําไรหรือขาดทุนรวมและส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3 บริษทั ฯ จัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมตามวิธีราคาทุน

3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ดังนี�

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เริ�มมีผลบังคับในปี บญั ชีปจั จุบนั และที�จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียด ก.

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เริ�มมีผลบังคับในปี บัญชีปจั จุบนั

บริษทั ฯ ได้นาํ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2557) และฉบับใหม่ท�อี อกโดย สภาวิชาชีพบัญชี ซึ�งมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีท�เี ริ�มในหรือหลังวันที� 1 มกราคม 2558 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐาน การรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รบั การปรับปรุงหรือจัดให้มขี �นึ เพื�อให้มเี นื�อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่ เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคําและคําศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบตั ิทางการบัญชีก ับ ผูใ้ ช้มาตรฐาน การนํามาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบ ตั ิน� ีไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญ ต่ อ งบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินตามที�กล่าวข้างต้นบางฉบับมีการ เปลีย� นแปลงหลักการสําคัญซึ�งสามารถสรุปได้ดงั นี� มาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 19 (ปรับปรุง 2557) เรื�อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานฉบับปรับปรุ งนี�ก ําหนดให้กิจการต้องรับรู ร้ ายการกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ประกันภัยทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นในขณะที�มาตรฐานฉบับเดิมอนุ ญาตให้กิจการเลือกรับรู ร้ ายการ ดังกล่าวทันทีในกําไรขาดทุน หรือในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น หรือทยอยรับรูใ้ นกําไรขาดทุนก็ได้ มาตรฐานฉบับปรับปรุงดังกล่าวไม่มผี ลกระทบต่องบการเงินนี� เนื�องจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรู ร้ ายการ กําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นอยู่แต่เดิมแล้ว มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 10 กําหนดหลักเกณฑ์เกี�ยวกับการจัดทํางบการเงินรวม โดยใช้แทน เนื�อหาเกี�ยวกับการบัญชีสาํ หรับงบการเงินรวมที�เดิมกําหนดอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 27 เรื�อง งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับนี�เปลีย� นแปลงหลักการเกี�ยวกับการพิจารณาว่าผู ล้ งทุนมีอาํ นาจการควบคุมหรือไม่ กล่าวคือ ภายใต้มาตรฐานฉบับนี�ผูล้ งทุนจะถือว่าตนควบคุมกิจการที�เข้าไปลงทุนได้ หากตนมีสิทธิได้รบั หรือมีส่วนได้เสีย ในผลตอบแทนของกิจการที�เข้าไปลงทุน และตนสามารถใช้อาํ นาจในการสัง� การกิจกรรมที�ส่งผลกระทบต่ อจํานวนเงิน ผลตอบแทนนั�นได้ ถึงแม ว้ ่ า ตนจะมีส ัดส่ วนการถือ หุ น้ หรื อ สิทธิ ในการออกเสีย งโดยรวมน้อ ยกว่ า กึ� งหนึ� งก็ ตาม

รายงานประจ�ำปี 2558

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 10 เรื�อง งบการเงินรวม

129


การเปลีย� นแปลงที�สาํ คัญนี�ส่งผลให้ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจอย่างมากในการทบทวนว่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีอาํ นาจ ควบคุมในกิจการที�เข้าไปลงทุนหรือไม่ และจะต้องนําบริษทั ใดในกลุม่ กิจการมาจัดทํางบการเงินรวมบ้าง การเปลีย� นแปลงหลักการนี�ไม่มผี ลกระทบต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 11 เรื�อง การร่วมการงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที� 11 ใช้แทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที� 31 เรื�อง ส่วนได้เสียในการ ร่วมค้าซึ�งได้ถูกยกเลิกไป มาตรฐานฉบับนี�กาํ หนดให้กิจการที�ลงทุนในกิจการใด ๆ ต้องพิจารณาว่าตนมีการควบคุมร่วม (Joint control) กับผูล้ งทุนรายอื�นในกิจการนัน� หรือไม่ หากกิจการมีการควบคุมร่วมกับผูล้ งทุนรายอื�นในกิจการที�ถูกลงทุน นัน� แล้วให้ถอื ว่ากิจการนัน� เป็ นการร่วมการงาน (Joint arrangement) หลังจากนัน� กิจการต้องใช้ดุลยพินิจในการกําหนด ประเภทของการร่วมการงานนัน� ว่าเป็ น การดําเนินงานร่วมกัน (Joint operation) หรือ การร่วมค้า (Joint venture) และ บันทึกส่วนได้เสียจากการลงทุนให้เหมาะสมกับประเภทของการร่วมการงาน กล่าวคือ หากเป็ นการดําเนินงานร่ วมกัน ให้กิจการรับรูส้ ่วนแบ่งในสินทรัพย์ หนี�สิน รายได้ และค่าใช้จ่ายแต่ละรายการของการดําเนินงานร่วมกันตามส่วนที�ตนมี สิทธิตามสัญญาในงบการเงินเฉพาะกิจการของตน แต่หากเป็ นการร่วมค้า ให้กิจการรับรู เ้ งินลงทุนในการร่วมค้าตามวิธี ส่วนได้เสียในงบการเงินทีแ� สดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย หรืองบการเงินรวม (หากมี) และรับรูเ้ งินลงทุนในการร่วมค้าตาม วิธีราคาทุนในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับนี�ไม่มผี ลกระทบต่องบการเงินนี� เนื�องจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยใช้วิธีส่วนได้เสียในการ บันทึกเงินลงทุนในการร่วมค้าอยู่แต่เดิมแล้ว มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 12 เรื�อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี�ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื�น มาตรฐานฉบับนี�กาํ หนดเรื�องการเปิ ดเผยข้อมูลที�เกี�ยวข้องกับส่วนได้เสียของกิจการในบริษทั ย่อย การร่วม การงาน บริษทั ร่วม รวมถึงกิจการที�มโี ครงสร้างเฉพาะตัว มาตรฐานฉบับนี�ไม่มผี ลกระทบทางการเงินต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที� 13 เรื�องการวัดมูลค่ายุติธรรม มาตรฐานฉบับนี�กาํ หนดแนวทางเกี�ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรมและการเปิ ดเผยขอ้ มูลที�เกี�ยวกับการวัด มูลค่ายุติธรรม กล่าวคือ หากกิจการต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรือหนี�สินใดตามข้อกําหนดของมาตรฐาน ที�เกี�ยวข้องอื�น กิจการจะต้องวัดมูลค่ายุติธรรมนัน� ตามหลักการของมาตรฐานฉบับนี�และใช้วิธีเปลี�ยนทันทีเป็ นต้นไป ในการรับรูผ้ ลกระทบจากการเริ�มใช้มาตรฐานนี� มาตรฐานฉบับนี�ไม่มผี ลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

130


ข.

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที�จะมีผลบังคับในอนาคต

ในระหว่า งปี ป จั จุบนั สภาวิชาชีพ บัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุง 2558) และฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางบัญชีจาํ นวนหลายฉบับ ซึ�งมีผลบังคับใช้สาํ หรับงบการเงินที�มรี อบ ระยะเวลาบัญชีท�เี ริ�มในหรือหลังวันที� 1 มกราคม 2559 มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รบั การปรับปรุงหรือ จัดให้มขี �นึ เพื�อให้มเี นื�อหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ฝ่ ายบริหารของบริษทั ฯ เชื�อว่า มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงและฉบับใหม่ รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางบัญชีดงั กล่าวจะไม่มผี ลกระทบอย่าง เป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินเมือ� นํามาถือปฏิบตั ิ

4. นโยบายการบัญชีท�สี าํ คัญ 4.1 การรับรูร้ ายได้ รายได้จากการขาย รายได้จ ากการขายรับ รู เ้ ป็ น รายได้ท งั� จํา นวนเมื�อ บริ ษ ทั ฯ และบริ ษ ทั ย่ อ ยได้โ อนความเสี�ย งและ ผลประโยชน์ท�มี นี ยั สําคัญในสินทรัพย์ให้แก่ผูซ้ �อื แล้ว รายได้จากการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง รายได้จากการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้องรับรู เ้ ป็ นรายได้ในส่วนของกําไรหรือขาดทุนตามวิธีเส้นตรง ตลอดอายุสญั ญาเช่า รายได้ท�รี บั รูแ้ ล้วแต่ยงั ไม่ถงึ กําหนดชําระตามสัญญาเช่าดําเนินงานแสดงไว้เป็ น “ลูกหนี�ตามสัญญา เช่าดําเนินงานที�ยงั ไม่เรียกชําระ” ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็ นรายได้เมือ� บริษทั ฯ มีสทิ ธิในการรับเงินปันผล ดอกเบี�ยรับ ดอกเบี�ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที�เเท้จริง 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสัน� ที�มสี ภาพ คล่องสูง ซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที�ได้มาและไม่มขี ้อจํากัดในการเบิกใช้ ลูกหนี�การค้าแสดงมูลค่าตามจํานวนมูลค่าสุทธิท�จี ะได้รบั บริษทั ฯ บันทึกค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญสําหรับ ผลขาดทุนโดยประมาณที�อาจเกิดขึ�นจากการเก็บเงินจากลูกหนี�ไม่ได้ โดยพิจารณาจากประสบการณ์ในการเก็บเงินและ การวิเคราะห์อายุหนี�

รายงานประจ�ำปี 2558

4.3 ลูกหนี� การค้า

131


4.4 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลัก ทรัพย์เพื�อค้าแสดงตามมูลค่ ายุติธ รรม การเปลี�ย นแปลงในมูลค่ายุ ติธรรมของ หลักทรัพย์บนั ทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุน ข) เงินลงทุนในตราสารหนี�ท�จี ะครบกําหนดชําระในหนึ�งปี รวมทัง� ที�จะถือจนครบกําหนด แสดงมูลค่า ตามวิธีราคาทุนตัดจําหน่าย บริษ ทั ฯ ตัดบัญชีส่วนเกิน/รับรู ส้ ่วนตํา� กว่ามูลค่าตราสารหนี�ตามอัตราดอกเบี�ยที�แท้จริง ซึ�งจํานวนที�ตดั จําหน่าย/รับรูน้ � ีจะแสดงเป็ นรายการปรับกับดอกเบี�ยรับ ค) เงินลงทุนในตราสารทุนที�ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็ นเงินลงทุนทัว� ไป ซึ�งแสดงในราคา ทุนสุทธิจากค่าเผื�อการด้อยค่า (ถ้ามี) ง) เงินลงทุนในการร่วมค้า และบริษทั ร่วมที�แสดงอยู่ในงบการเงินรวม แสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย จ) เงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมที�แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ แสดงมูลค่าตามวิธี ราคาทุนสุทธิจากค่าเผื�อการด้อยค่า (ถ้ามี) บริษทั ฯ ใช้วธิ ีถวั เฉลีย� ถ่วงนํา� หนักในการคํานวณต้นทุนของเงินลงทุน เมื�อ มีก ารจํา หน่ า ยเงิน ลงทุ น ผลต่ า งระหว่ า งสิ�งตอบแทนสุ ทธิ ท�ีไ ด้ร ับ กับมูล ค่ า ตามบัญ ชีข อง เงินลงทุนจะถูกบันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุน 4.5 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกมูลค่าเริ�มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนในราคาทุนซึ�งรวมต้นทุน การทํารายการ หลังจากนัน� บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนด้วยราคาทุนหักค่าเสื�อมราคา สะสมและค่าเผื�อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่า เสื�อ มราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อ การลงทุนคํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเ ส้นตรงตามอายุ ก ารให้ ประโยชน์โดยประมาณ 20 ปี ค่าเสื�อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนรวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไม่มกี ารคิดค่าเสื�อมราคาสําหรับที�ดนิ และงานระหว่างก่อสร้าง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูผ้ ลต่างระหว่างจํานวนเงินทีไ� ด้รบั สุทธิจากการจําหน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์ในส่วนของกําไรหรือขาดทุนในงวดที�ตดั รายการอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนออกจากบัญชี 4.6 ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื�อมราคา ที�ดนิ แสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคาร และอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื�อมราคาสะสมและ ค่าเผื�อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื�อมราคาของอาคาร และอุปกรณ์คาํ นวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณของสินทรัพย์ดงั ต่อไปนี�

132


อาคาร สินทรัพย์อ�ืน

20 ปี 3 และ 5 ปี

ค่าเสื�อมราคารวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไม่มกี ารคิดค่าเสื�อมราคาสําหรับที�ดนิ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยตัดรายการที�ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื�อจําหน่ายสินทรัพย์หรือ คาดว่าจะไม่ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรือการจําหน่ายสินทรัพย์ รายการผลกําไรหรือ ขาดทุนจากการจําหน่ายสินทรัพย์จะรับรูใ้ นส่วนของกําไรหรือขาดทุนเมื�อบริษทั ฯ ตัดรายการสินทรัพย์นนั� ออก จากบัญชี 4.7 ต้นทุนการกูย้ มื ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ �ใี ช้ในการได้มาหรือการก่อสร้างสินทรัพย์ท�ตี อ้ งใช้ระยะเวลานานในการทําให้อยู่ ในสภาพพร้อมใช้หรือขาย ได้ถูกนําไปรวมเป็ นราคาทุนของสินทรัพย์จนกว่าสินทรัพย์นนั� จะอยู่ในสภาพพร้อมที�จะใช้ได้ ตามที�มงุ่ ประสงค์ ส่วนต้นทุนการกูย้ มื อื�นถือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที�เกิดรายการ ต้นทุนการกูย้ ืมประกอบด้วยดอกเบี�ย และต้นทุนอื�นที�เกิดขึ�นจากการกูย้ มื นัน� 4.8 สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อยบันทึกมูลค่ าเริ�มแรกของสินทรัพ ย์ไม่มตี วั ตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรู ้ รายการเริ�มแรก สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและค่าเผื�อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นนั� บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยตัดจําหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนที�มอี ายุการให้ประโยชน์จาํ กัดอย่างมีระบบตลอด อายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นน�ั และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดงั กล่าวเมื�อมีขอ้ บ่งชี�ว่า สินทรัพย์นนั� เกิดการด้อยค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหน่ายและวิธีการตัดจําหน่ายของ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนดังกล่าวทุกสิ�นปี เป็ นอย่างน้อย ค่าตัดจําหน่ายรับรูเ้ ป็ นค่าใช้จ่ายในส่วนของกําไรหรือขาดทุน สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนที�มอี ายุการให้ประโยชน์จาํ กัดมีดงั นี�

รายงานประจ�ำปี 2558

โปรแกรมคอมพิวเตอร์

อายุการให้ประโยชน์ 3, 5 และ 10 ปี

133


4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้องกันกับบริษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที�มอี าํ นาจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูก บริษทั ฯ ควบคุมไม่ว่าจะเป็ นโดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษทั ฯ นอกจากนี� บุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษทั ร่วม ผูร้ ่วมค้าและบุคคลที�มสี ิทธิออก เสียงโดยทางตรงหรือทางอ้อมซึ�งทําให้มอี ิทธิพลอย่างเป็ นสาระสําคัญต่อบริษทั ฯ ผูบ้ ริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงาน ของบริษทั ฯ ที�มอี าํ นาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษทั ฯ 4.10 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าที�ความเสี�ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่า การเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ท�เี ช่าหรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิของ จํานวนเงินที�ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะตํา� กว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะ บันทึกเป็ นหนี�สนิ ระยะยาว ส่วนดอกเบี�ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ ที�ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื�อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ท�เี ช่า สัญญาเช่าสินทรัพย์ท�คี วามเสี�ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่า ถือเป็ นสัญญาเช่าดําเนินงาน รายได้ค่าเช่าจากสัญญาเช่าดําเนินงานจะรับรูใ้ นส่วนของกําไรหรือขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรง ตลอดอายุสญั ญาเช่า 4.11 เงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นสกุลเงินบาท ซึ�งเป็ นสกุ ลเงินที�ใช้ในการ ดําเนินงานของบริษ ทั ฯ รายการต่าง ๆ ของแต่ละกิจการที�รวมอยู่ในงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที�ใช้ในการ ดําเนินงานของแต่ละกิจการนัน� รายการที�เ ป็ นเงินตราต่ างประเทศแปลงค่ า เป็ นเงินบาทโดยใช้อ ตั ราแลกเปลี�ยน ณ วันที�เ กิดรายการ สินทรัพย์และหนี�สินที�เป็ นตัวเงินซึ�งอยู่ในสกุลเงินตราต่า งประเทศได้แปลงค่ า เป็ นเงินบาทโดยใช้อ ตั ราแลกเปลี�ย น ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที�เกิดจากการเปลีย� นแปลงในอัตราแลกเปลีย� นรวมอยู่ในการคํานวณผลการดําเนินงาน 4.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทําการประเมินการด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์ เพื�อการลงทุน ที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ท�ไี ม่มตี วั ตนของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย หากมีข ้อบ่งชี�ว่าสินทรัพย์ ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรูข้ าดทุนจากการด้อยค่าเมื�อมูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์ มีมลู ค่าตํา� กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั� ทัง� นี�มลู ค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการ ขายของสินทรัพย์หรือมูลค่า จากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพ ย์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที�กิจการคาดว่าจะได้รบั จากสินทรัพย์และคํานวณคิดลด 134


เป็ นมูลค่าปัจจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนภาษีท�สี ะท้อนถึงการประเมินความเสี�ยงในสภาพตลาดปัจจุบนั ของเงินสดตาม ระยะเวลาและความเสี�ยงซึ�งเป็ นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ท�กี าํ ลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุน ในการขาย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยใช้แบบจําลองการประเมินมูลค่าที�ดีท�สี ุดซึ�งเหมาะสมกับสินทรัพย์ และสะท้อนถึง จํานวนเงินที�กิจการสามารถจะได้มาจากการจําหน่ายสินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนในการจําหน่าย โดยการจําหน่ายนัน� ผูซ้ �อื กับ ผูข้ ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจในการแลกเปลี�ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็ นอิสระในลักษณะของผูท้ �ไี ม่มี ความเกี�ยวข้องกัน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรู ร้ ายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของกําไรหรือขาดทุน หากในการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ มีขอ้ บ่งชี�ท�แี สดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อยค่าของ สินทรัพ ย์ท�ีรบั รู ใ้ นงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลง บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะประมาณมูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนของ สินทรัพย์นนั� และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าที�รบั รู ใ้ นงวดก่อนก็ต่อเมื�อมีการเปลี�ยนแปลงประมาณการ ที�ใช้กาํ หนดมูลค่าทีค� าดว่าจะได้รบั คืนภายหลังจากการรับรูผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่าครัง� ล่าสุด โดยมูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์ท�เี พิ�มขึ�นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าต้องไม่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีท�คี วรจะเป็ น หากกิจการ ไม่เ คยรับรู ผ้ ลขาดทุนจากการด้อยค่ า ของสินทรัพ ย์ในงวดก่อ น ๆ บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยจะบันทึกกลับรายการ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์โดยรับรูไ้ ปยังส่วนของกําไรหรือขาดทุนทันที 4.13 ผลประโยชน์พนักงาน ผลประโยชน์ระยะสัน� ของพนักงาน เกิดรายการ

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรูเ้ งินเดือน ค่าจ้าง โบนัสและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้จ่ายเมื�อ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน

บริษ ทั ฯ และบริษทั ย่อยและพนัก งานได้ร่ วมกันจัดตัง� กองทุนสํา รองเลี�ยงชีพ ซึ�งประกอบด้ว ยเงินที� พนักงานจ่ายสะสมและเงินที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบให้เป็ นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนสํารองเลี�ย งชีพ ได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เงินที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจ่ายสมทบกองทุนสํารองเลี�ยงชีพ บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในปี ท�เี กิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยคํานวณหนี�สนิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานโดยใช้วิธี คิดลดแต่ละหน่วยที�ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชี�ยวชาญอิสระได้ทาํ การประเมินภาระ ผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที�ตอ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมื�อออกจากงานตามกฎหมาย แรงงาน ซึ�งบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสําหรับพนักงาน

135


ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรูท้ นั ทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น 4.14 ประมาณการหนี� สิน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนี�สนิ ไว้ในบัญชีเมือ� ภาระผูกพันซึ�งเป็ นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดีตได้เกิดขึ�นแล้ว และมีความเป็ นไปได้ค่อนข ้างแน่นอนว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไป เพื�อปลดเปลื�องภาระผูกพันนัน� และบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนัน� ได้อย่างน่าเชื�อถือ 4.15 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปจั จุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปจั จุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปจั จุบนั ตามจํานวนที�คาดว่าจะจ่ายให้กบั หน่วยงานจัดเก็บภาษี ของรัฐ โดยคํานวณจากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ท�กี าํ หนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัว� คราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์และหนี�สนิ ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องนัน� โดยใช้อตั รา ภาษีท�มี ผี ลบังคับใช้ ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษ ทั ย่อยรับรู ห้ นี�สินภาษีเงินได้ร อการตัดบัญชีของผลแตกต่ างชัว� คราวที�ต อ้ งเสียภาษี ทุกรายการ แต่รบั รูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษี รวมทัง� ผลขาดทุนทางภาษี ที�ยงั ไม่ได้ใช้ในจํานวนเท่าที�มคี วามเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ท�บี ริษทั ฯ จะมีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที�จะใช้ประโยชน์ จากผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทางภาษีท�ยี งั ไม่ได้ใช้นนั� บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ ทุกสิ�นรอบ ระยะเวลารายงานและจะทําการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดงั กล่าว หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะไม่มกี าํ ไรทางภาษีเพียงพอต่อการนําสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทงั� หมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยจะบันทึกภาษีเ งินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผู ถ้ ือ หุน้ หากภาษี ที�เกิดขึ�นเกี�ยวข้องกับรายการที�ได้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ 4.16 การวัดมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาที�คาดว่าจะได้รบั จากการขายสินทรัพย์หรือเป็ นราคาที�จะต้องจ่ายเพื�อโอน หนี�สนิ ให้ผูอ้ �นื โดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการที�เกิดขึ�นในสภาพปกติระหว่างผูซ้ �อื และผูข้ าย (ผูร้ ่วมในตลาด) ณ วันที�วดั มูลค่า บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยใช้ราคาเสนอซื�อขายในตลาดที�มสี ภาพคล่องในการวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และ หนี�สนิ ซึ�งมาตรฐานการรายงานทางการเงินที�เกี�ยวข้องกําหนดให้ตอ้ งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณี ท�ีไม่มี ตลาดที�มสี ภาพคล่องสํา หรับสินทรัพ ย์หรือหนี�สินที�มลี กั ษณะเดีย วกันหรือ ไม่สามารถหาราคาเสนอซื�อ ขายในตลาด 136


ที�มสี ภาพคล่องได้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าที�เหมาะสมกับ แต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ข ้อมูลที�สามารถสังเกตได้ท�เี กี�ยวข้องกับสินทรัพย์หรือหนี�สนิ ที�จะวัดมูลค่ายุติธรรมนัน� ให้มากที�สุด ลําดับชัน� ของมูลค่ายุติธรรมที�ใช้วดั มูลค่าและเปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี�สนิ ในงบการเงิน แบ่งออกเป็ นสามระดับตามประเภทของข้อมูลที�นาํ มาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี� ระดับ 1 ใช้ข ้อมูลราคาเสนอซื�อขายของสินทรัพย์หรือหนี�สนิ อย่างเดียวกันในตลาดที�มสี ภาพคล่อง ทางอ้อม

ระดับ 2 ใช้ขอ้ มูลอื�นที�สามารถสังเกตได้ของสินทรัพ ย์หรือ หนี�สิน ไม่ว่า จะเป็ นข้อ มูลทางตรงหรือ ระดับ 3 ใช้ข ้อมูลทีไ� ม่สามารถสังเกตได้เช่น ข้อมูลเกี�ยวกับกระแสเงินในอนาคตที�กิจการประมาณขึ�น

ทุก วันสิ�นรอบระยะเวลารายงาน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อ ยจะประเมินความจําเป็ นในการโอนรายการ ระหว่างลําดับชัน� ของมูลค่ายุติธรรมสําหรับสินทรัพย์และหนี�สนิ ที�ถอื อยู่ ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงานที�มกี ารวัดมูลค่า ยุติธรรมแบบเกิดขึ�นประจํา

5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีท�สี าํ คัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ ายบริหารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณ การในเรื�องที�มคี วามไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดลุ ยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี�ส่งผลกระทบต่อจํานวนเงินที�แสดง ในงบการเงินและต่อข้อมูลที�แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที�เกิดขึ�นจริงอาจแตกต่างไปจากจํานวนทีป� ระมาณ การไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที�สาํ คัญมีดงั นี� การรับรู เ้ งินลงทุนในการร่วมค้าตามวิธีสว่ นได้เสียในงบการเงินรวมของการร่วมค้าที�บริษัทฯ มีสดั ส่วนการ ถือหุน้ เกินกว่ากึ�งหนึ� ง ฝ่ ายบริหารของบริษทั ฯ พิจารณาว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มอี าํ นาจควบคุมในบริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด และบริษ ทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด ถึงแมว้ ่า บริษทั ย่อยจะถือหุ น้ และมีสิทธิออกเสียงในบริษ ทั ดังกล่าวในสัดส่วนร้อยละ 51 ซึ�งเป็ นสัดส่วนที�เกินกว่ากึ�งหนึ�ง ทัง� นี� เนื�องจากบริษทั ย่อยและผูถ้ อื หุน้ อีกฝ่ ายหนึ�งมีอาํ นาจ ในการควบคุมบริษทั ดังกล่าวร่วมกัน โดยผูถ้ อื หุน้ ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ�งไม่สามารถสัง� การกิจกรรมที�สาํ คัญของบริษทั ดังกล่าว ได้โดยปราศจากความเห็นสนับสนุนจากผูถ้ อื หุน้ อีกฝ่ ายหนึ�ง ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็ นสัญญาเช่าดํา เนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ ายบริหารได้ใช้ ดุลยพินิจในการประเมินเงือ� นไขและรายละเอียดของสัญญาเพื�อพิจารณาว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้โอนหรือรับโอน ความเสี�ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ท�ใี ห้เช่าหรือเช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่

รายงานประจ�ำปี 2558

สัญญาเช่า

137


ค่าเผื�อหนี� สงสัยจะสูญของลูกหนี� ในการประมาณค่ า เผื�อ หนี�สงสัย จะสู ญของลู ก หนี� ฝ่ ายบริหารจํา เป็ นต้อ งใช้ดุลยพินิจ ในการประมาณการ ผลขาดทุนที�คาดว่าจะเกิดขึ�นจากลูกหนี�แต่ละราย โดยคํานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี�ท�คี งค้างและ สภาวะเศรษฐกิจที�เป็ นอยู่ในขณะนัน� เป็ นต้น มูลค่ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงินที�ไม่มกี ารซื�อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้ใน ตลาดซื�อขายคล่อง ฝ่ ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้ เทคนิคและแบบจําลองการประเมินมูลค่า ซึ�งตัวแปรที�ใช้ในแบบจําลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที�มอี ยู่ในตลาด โดยคํานึงถึงความเสี�ย งทางด้า นเครดิต (ทัง� ของธนาคาร และคู่ สญั ญา) สภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการ เปลีย� นแปลงของมูลค่าของเครื�องมือทางการเงินในระยะยาว การเปลีย� นแปลงของสมมติฐานที�เกี�ยวข้องกับตัวแปรทีใ� ช้ใน การคํานวณ อาจมีผลกระทบต่อมูลค่ายุติธรรมที�แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน และการเปิ ดเผยลําดับชัน� ของมูลค่า ยุติธรรม ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะตัง� ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื�อขายและเงินลงทุนทัว� ไป เมือ� มูลค่า ยุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญและเป็ นระยะเวลานานหรือเมือ� มีข ้อบ่งชี�ของการด้อยค่า การที� จะสรุปว่าเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญหรือเป็ นระยะเวลานานหรือไม่นนั� จําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ าย บริหาร ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย การร่วมค้า และบริษทั ร่วม บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะตัง� ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย การร่วมค้า และบริษทั ร่วม เมื�อมูลค่า ยุติธ รรมของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่า งมีสาระสํา คัญและเป็ นระยะเวลานานหรือ เมื�อ มีขอ้ บ่งชี�ของการด้อ ยค่ า การที�จะสรุปว่าเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสําคัญหรือเป็ นระยะเวลานานหรือไม่นนั� จําเป็ นต้องใช้ดุลยพินจิ ของ ฝ่ ายบริหาร อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า และที�ดิน อาคารและ อุปกรณ์ และค่าเสื�อมราคา ในการคํานวณค่าเสื�อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ให้เช่า อาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริหารจําเป็ นต้องทําการประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื�อเลิกใช้งาน ของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า อาคารและอุปกรณ์ และต้อง ทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลีย� นแปลงเกิดขึ�น

138


นอกจากนี� ฝ่ ายบริหารจํา เป็ นต้องสอบทานการด้อ ยค่ าของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า /ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า และที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลา และบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่า หากคาดว่ามูลค่าที�คาดว่าจะได้รบั คืนตํา� กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนั� ในการนี�ฝ่ายบริหารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจ ที�เกี�ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ�งเกี�ยวเนื�องกับสินทรัพย์นนั� สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกต่างชัว� คราวที�ใช้หกั ภาษีและ ขาดทุนทางภาษีท�ไี ม่ได้ใช้เมื�อ มีความเป็ นไปได้ค่อ นข้างแน่ว่า บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยจะมีก ําไรทางภาษีในอนาคต เพียงพอที�จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว� คราวและขาดทุนนัน� ในการนี�ฝ่ายบริหารจําเป็ นต้องประมาณการว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยควรรับรูจ้ าํ นวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็ นจํานวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจํานวนกําไรทางภาษี ที�คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี�สนิ ตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ�นตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ซึง� ต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่าง ๆ ในการประมาณการนัน� เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ�นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลีย� นแปลงในจํานวนพนักงาน เป็ นต้น ประมาณการหนี� สินที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ในการบันทึก ประมาณการหนี�สินที�เ กี�ย วข้อ งกับการขายอสัง หาริมทรัพ ย์ ฝ่ ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการ ประมาณผลประกอบการของอสังหาริมทรัพ ย์โ ดยพิจ ารณาจากข้อ มูลรายได้ค่า เช่ า และค่ า ใช้จ่ า ยที�เ กี� ย วข้อ งกับ อสังหาริมทรัพย์ในอดีตประกอบกับข้อมูลที�มอี ยู่ในปัจจุบนั รวมถึงการประมาณเงินชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรม กับราคาใช้สทิ ธิสุทธิแก่ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) สําหรับกรณี ท�ผี ูเ้ ช่ารายย่อยใช้สิทธิเลือกซื�อทรัพย์สินดังกล่าว (Option to buy) โดยใช้ขอ้ มูลการประเมินมูลค่ า อสังหาริมทรัพย์โดยผูป้ ระเมินอิสระ และบันทึกประมาณการหนี�สนิ ตามจํานวนเงินที�คาดว่าจะจ่ายให้แก่กองทรัสต์ฯ

6. รายการธุรกิจกับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน

รายงานประจ�ำปี 2558

6.1 ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกันสามารถสรุปได้ดงั นี�

139


รายชื�อกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด บริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ จํากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON (HK) Limited บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน PT SLP Surya TICON Internusa บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะจํากัด (มหาชน) บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จํากัด บริษทั โรจนะ อินดัสเตรียล แมเนจเม ้นท์ จํากัด บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จํากัด (มหาชน) บริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จํากัด บริษทั เอสวีไอ จํากัด (มหาชน) กองทุนรวมสาธรซิต� ที าวเวอร์ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

ความสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย

ร้อยละ ของการถือหุน้ ของบริษทั ฯ 99.99% 99.99% 69.99% 100.00%

บริษทั ย่อย การร่วมค้า (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) การร่วมค้า (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) บริษทั ร่วม บริษทั ร่วม บริษทั ร่วม

100.00% 51.00% 51.00% 18.46% 16.21% 25.48%

บริษทั ร่วม

19.62%

บริษทั ร่วม (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) ผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมการร่วมกัน มีผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมการร่วมกัน มีผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน ผูถ้ อื หุน้ ร่วมกัน มีกรรมการเป็ นสมาชิกในครอบครัว เดียวกัน

25.00% -

6.2 รายละเอียดของรายการธุรกิจกับกิจการที�เกี�ยวข้องกันที�สาํ คัญ ในระหว่างปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีรายการธุรกิจที�สาํ คัญกับบุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้องกัน รายการ ธุรกิจดังกล่าวเป็ นไปตามเงือ� นไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที�ตกลงกันระหว่างบริษทั ฯ และบุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้อง กันเหล่านัน� ซึ�งเป็ นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดงั นี�

140


งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557

(หน่ วย: ล้านบาท) นโยบายการกําหนดราคา

รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้ค่าบริหารจัดการ

-

-

10

1 ร้อยละ 2 ของรายได้ค่าเช่ าและบริการ ของบริ ษทั ย่ อยและร้อ ยละ 2.5 ของ รายได้ค่ า เช่ า โรงงานและค่ า บริ ก าร ที�เ กี� ย วข้อ งของทรัส ต์เ พื�อ การลงทุ น ในอสัง หาริ มทรัพ ย์แ ละสิท ธิ ก ารเช่ า อสัง หาริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน และอัต รา ผันแปรระหว่ า งร้อ ยละ 0-19.5 ของ กํา ไรจากการดําเนิ น งาน หัก ร้อยละ 8.3 ของอัตราผันแปร และค่ านายหน้า รับจากการจัดหาผูเ้ ช่ารายย่อยในอัตรา 2-3 เดือนของค่ าเช่าและค่ าบริการและ ค่ า นายหน้า จากการขาย/โอนสิ ท ธิ การเช่า ร้อยละ 3 ของมูลค่ าดังกล่าว

รายได้ค่าบริการ

-

-

-

2 ร้อยละ 2 ของค่ า ใช้จ่ายที�เ กี� ยวข้อ งกับ การบริ ก ารที� เ กิ ด ขึ� น ระหว่ า งปี ข อง บริษทั ย่อย

ดอกเบี�ยรับ

-

-

60

เงินปันผลรับ รายได้ค่าเช่าทีด� นิ

-

-

459 5

รายได้อนื� ค่ าบริหารจัดการทัวไป �

-

-

8 6

432 อัตราดอกเบี�ยถัวเฉลี�ยของหุน้ กู แ้ ละเงิน กูย้ ืมระยะสัน� บวกอัตราร้อยละ 0.15 17 ตามทีบ� ริษทั ย่อยประกาศจ่าย 5 ร้อ ยละ 4 ของราคาที�ดิ นที�บ ริษ ทั ฯ ซื�อ จากบริษทั ย่อย 3 มูลค่ าตามสัญญา 7 ร้อยละ 3 ของรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการ ของบริษทั ร่วม

604

1,889

604

93

86

93

รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ร่วม รายได้ค่าบริหารจัดการจาก กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

1,889 ใกล้เคียงราคาประเมิน (หมายเหตุ13.3) 86 ร้อยละ 4 ของรายได้ค่ าเช่ าและบริ การ ของกองทุ น ฯ และอัต ราผัน แปร ระหว่ างร้อยละ 0-19.5 ของกําไรจาก การดําเนิ น งานและค่ านายหน้า รับใน อัตรา 2 เดือนของค่ าเช่าและค่ าบริการ และค่ านายหน้าจากการขายในอัตรา สูงสุดไม่เกินร้อยละ 3 ของราคาขาย

รายงานประจ�ำปี 2558

ขายทีด� นิ และอาคารโรงงาน

141


งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557

142

(หน่ วย: ล้านบาท) นโยบายการกําหนดราคา

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์ค โลจิสติคส์

6

13

6

13 ร้อยละ 55 ของรายได้ค่าเช่ าและบริการ ของกองทุ น ฯ ที�เ กิ ดขึ� น จริ งหลัง หัก รายได้ข นั� ตํา� ตามสัญ ญารับ ประกัน รายได้ค่ า เช่ า และบริ ก าร ค่ า ใช้จ่ า ย ในการบริห าร และเงินสํา รองต่ าง ๆ จนถึงสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2559 หลังจากนัน� คิ ดร้อยละ 3 ของรายได้ ค่ า เช่ า และค่ า บริ ก ารของกองทุ น ฯ และอัต ราผัน แปรระหว่ า งร้อ ยละ 0-10 ของกําไรขัน� ต้น 29 ร้อ ยละ 4 ของรายได้สุ ท ธิ ที� ไ ด้จ าก กองทุนฯ และอัตราผัน แปรระหว่ า ง ร้อยละ 0-19.5 ของกําไรจากการ ดําเนินงานและค่ านายหน้ารับในอัตรา 2 เดือนของค่ าเช่ าและค่ าบริการและ ค่ านายหน้าจากการซื�อ ขาย โอนสิทธิ การเช่ าและ รับ โอน สิ ท ธิ ก ารเช่ า อสังหาริมทรัพย์ในอัตราสู งสุ ดไม่ เกิ น ร้อยละ 3 ของมูลค่ าดังกล่าว 381 ตามทีก� องทุนฯ ประกาศจ่าย 8 ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า 5 มูลค่ าตามสัญญา 13 มูลค่ าตามสัญญา

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

29

29

29

เงินปันผลรับ เงินประกันรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการ รายได้จากการให้บริการ 7 รายได้ค่าเช่าทีด� นิ 13 รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินมัดจําค่ าทีด� ิน ค่ าเช่าสํานักงานและค่ าบริการ 18 ทีเ� กี�ยวข้อง ดอกเบี�ยรับ 3 ดอกเบี�ยจ่าย 33 ค่ าบริการสาธารณูปโภค 4 รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ย่อยกับบริษทั ร่วม ขายทีด� ินและอาคารคลังสินค้า 2,433 รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม 2 อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

8 5 13

368 7 13

56 17

18

1 32 3

2 2 3

1 อัตราตลาด 1 MLR ลบอัตราคงทีแ� ละอัตราตลาด 3 ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า

2,572 2

-

- ใกล้เคียงราคาประเมิน (หมายเหตุ 13.3) - ร้อยละ 2 ของรายได้ค่าเช่ าและบริการ ของกองทุ น ฯ และอัต ราผัน แปร ระหว่ างร้อยละ 0.5 - 10.5 ของกําไร จากการดําเนินงาน และค่ านายหน้ารับ ในอัต รา 2 เดื อ นของค่ าเช่ า และ ค่ าบริการและค่ านายหน้าจากการขาย ในอัตราสู งสุ ดไม่ เกิ นร้อยละ 3 ของ ราคาขาย

56 ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า 17 ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า


รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์

12

14

-

รายได้ค่าบริหารจัดการจากกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

19

21

-

รายได้ค่าบริหารจัดการจากทรัสต์ เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน รายได้ค่าบริหารจัดการทรัพย์สนิ จาก ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

12

-

-

31

-

-

- ร้อยละ 3 ของรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการ ของกองทุ น ฯ และอัต ราผัน แปร ระหว่างร้อยละ 0-10 ของกําไรขัน� ต้น และค่ า นายหน้ารับ ในอัต รา 2 เดือ น ข อ ง ค่ า เ ช่ า แ ล ะ ค่ า บ ริ ก า ร แ ล ะ ค่ านายหน้าจากการขายในอัตราสู งสุ ด ไม่เกินร้อยละ 3 ของราคาขาย - ไม่เกินร้อยละ 3 ของรายได้สุทธิทไี� ด้จาก กองทุ นฯ และอัต ราผัน แปรระหว่ า ง ร้อ ยละ 0-10.0 ของกํา ไรจากการ ดําเนินงานและค่ านายหน้ารับในอัตรา 2 เดือนของค่ าเช่ าและค่ าบริการและ ค่ านายหน้าจากการซื�อ ขาย โอนสิทธิ การ เช่ า และ รับ โอน สิ ท ธิ ก าร เช่ า อสังหาริมทรัพย์ในอัตราสู งสุ ดไม่ เกิ น ร้อยละ 3 ของมูล ค่ าดังกล่า ว และ ค่ า ใช้จ่ ายในการดํา เนิ น งานในอัต รา คงทีเ� ท่ากับ 1 ล้านบาทต่อปี - ร้อยละ 0.25 ต่อปี ของมูลค่ าสินทรัพย์รวม ของกองทรัสต์ฯ

- ร้อ ยละ 2 และ 4 ของรายได้สุ ท ธิจ าก สัญ ญาเช่ าและสัญ ญาบริ การสําหรับ ทรัพย์สนิ ในส่วนอาคารคลังสินค้าและ ในส่วนอาคารโรงงาน ตามลําดับ และ ค่ า ตอบแทนส่ ว นเพิ� ม อัต ราร้อ ยละ 0-10.5 ต่ อ ปี และร้อ ยละ 0-19.5 ต่อปี ของกําไรจากการดําเนิ นงานของ กองทรัสต์ฯ ในส่วนอาคารคลังสินค้า และในส่วนอาคารโรงงาน ตามลําดับ และค่ า นายหน้า รับ ตามสัดส่ ว นตาม ร ะ ย ะ เ ว ล า ทํ า สั ญ ญ า เ ช่ า แ ล ะ สัญ ญาบริ ก ารของผู เ้ ช่ า รายย่ อ ย รายใหม่ แต่ ไ ม่ เ กิ น 3 เดื อ นของ อัต ราค่ า เช่ า และค่ า บริ ก ารและค่ า นายหน้า จากการซื� อ ขายโอนสิ ท ธิ การ เช่ า และ รับ โอน สิ ท ธิ ก าร เช่ า อสัง หาริ ม ทรัพ ย์ใ นอัต ราร้อ ยละ 3 ของมูลค่ าดังกล่าว

รายงานประจ�ำปี 2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557

(หน่ วย: ล้านบาท) นโยบายการกําหนดราคา

143


งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557 เงินประกันรายได้ค่าเช่าและค่ าบริการ ค่ าบริการส่วนกลาง รายได้จากการให้บริการ รายได้ค่าเช่าทีด� นิ

50 5 41

(หน่ วย: ล้านบาท) นโยบายการกําหนดราคา

63 3 2 21

-

-

ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า ราคาทีเ� ป็ นปกติทางการค้า มูลค่ าตามสัญญา มูลค่ าตามสัญญา

6.3 ยอดคงเหลือของรายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯ กับกิจการที�เกี�ยวข้องกัน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557 เงินฝากธนาคาร (แสดงภายใต้เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน)

96,210

97,340

34,865

62,757

ลูกหนี� อื�น - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน (แสดงภายใต้ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อ�นื ) (หมายเหตุ 9) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 33,011 17,498 รวม 33,011 17,498

1,752 20,378 22,130

521 10,317 10,838

ดอกเบี�ยค้างรับ (แสดงภายใต้ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อื�น) (หมายเหตุ 9) บริษทั ย่อย

-

-

-

1,152

57,431

70,623

57,191

70,383

เงินให้กูย้ ืมระยะยาวแก่บริษทั ที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั ย่อย

-

-

-

1,820,000

เงินมัดจําค่าที�ดิน บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน)

-

65,785

-

65,785

4,267

45 3,705

4,267

45 3,705

1,173 2,054 7,494

1,315 2,025 7,090

1,173 2,054 7,494

1,267 2,025 7,042

เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน)

เงินมัดจํา (แสดงภายใต้สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น) บริษทั ร่วม บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (ผู ้ถือหุน้ ร่วมกัน) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (ผู ้ถือหุน้ /มีกรรมการร่วมกัน) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) รวม

144


งบการเงินรวม 2558 2557 เจ้าหนี� อื�น - กิจการที�เกี�ยวข้องกัน(แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น) (หมายเหตุ 18) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 6,364 7,867 รวม 6,364 7,867

524 1,963 2,487

564 1,848 2,412

ดอกเบี�ยค้างจ่าย (แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น) (หมายเหตุ 18) บริษทั ย่อย บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) 82 รวม 82

-

80

-

87 87

80

-

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (แสดงภายใต้เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อื�น) (หมายเหตุ 18) บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (ผู ้ถือหุน้ /มีกรรมการ ร่วมกัน) 133

-

133

-

50,918 50,918

42,639 42,639

3,281 15,676 18,957

3,281 12,699 15,980

ค่าเช่าอุปกรณ์รบั ล่วงหน้า (แสดงภายใต้หนี� สินหมุนเวียนอื�น) บริษทั ย่อย

-

-

438

139

เงินกูย้ ืมระยะสัน� จากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั ย่อย

-

-

291,500

-

676,780

748,380

-

-

1,382,487

1,185,762

428,746

355,204

รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า (แสดงภายใต้หนี� สินหมุนเวียนอื�น) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม รวม

เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน บริษทั ที�เกี�ยวข ้องกัน (มีกรรมการเป็ นสมาชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) รายได้ค่าเช่าที�ดินรับล่วงหน้า บริษทั ร่วม

รายงานประจ�ำปี 2558

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

145


6.4 ยอดคงเหลือและการเปลีย� นแปลงของเงินให้กูย้ มื และเงินกูย้ มื ระหว่างบริษทั ฯ และกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 เงินให้กูย้ ืมระยะยาว บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด

เพิม� ขึ�น ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558

ลดลง ระหว่างปี

1,820,000

5,060,000

(6,880,000)

-

291,500 5,840,000 6,131,500

(5,840,000) (5,840,000)

เงินกูย้ ืมระยะสัน� บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

-

291,500 291,500

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 เงินให้กู ย้ ืมระยะยาวจํา นวน 1,820 ล้า นบาท เป็ นเงินให้กู ย้ ืมที�ไม่มี หลักประกันแก่บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ซึ�งเป็ นบริษทั ย่อย โดยมีอตั ราดอกเบี�ยเท่ากับร้อยละ 4.05 ถึง 4.23 ต่อปี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557

เพิม� ขึ�น ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558

ลดลง ระหว่างปี

เงินกูย้ ืมระยะสัน� ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

-

5,840,000

(5,840,000)

-

เงินกูย้ ืมระยะยาว ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

748,380

-

-

748,380

ยอดคงเหลือของเงินกู ย้ ืมระยะยาวที�ได้รบั จากสถาบันการเงินแห่งหนึ�งซึ�งเป็ นกิจการที�เกี�ยวข้อ งกันมี รายละเอียดดังนี�

146


(หน่วย: ล ้านบาท) เงือ� นไขที�สาํ คัญของสัญญาเงินกูย้ ืม

งบการเงินรวม ลําดับ ที� วันที�ทาํ สัญญา 1. 23 เมษายน 2556 2. 3 เมษายน 2557 3. 3 เมษายน 2557 รวมเงินกูย้ ืม หัก ส่วนที�ถอื กําหนดชําระ ภายใน 1 ปี รวมเงินกูย้ ืมระยะยาว-สุทธิ

2558 707 20 21 748 (72) 676

2557 707 20 21 748

ระยะเวลา งวดชําระคืน เงินกู ้ เงินต้น ระยะเวลาชําระคืนเงินต้น 9 ปี ทุก 6 เดือน พฤศจิกายน 2559 - พฤษภาคม 2565 9 ปี ทุก 6 เดือน พฤศจิกายน 2560 - พฤษภาคม 2566 9 ปี ทุก 6 เดือน พฤศจิกายน 2560 - พฤศจิกายน 2565

อัตราดอกเบี�ย MLR ลบอัตราคงที� MLR ลบอัตราคงที� MLR ลบอัตราคงที�

748

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าที�ดินและอาคารของบริษทั ย่อยแห่งหนึ�งซึ�งมีราคาตามบัญชีรวม 2,924 ล้านบาท (2557: 3,201 ล้านบาท) ถูกจดจํานองเป็ นประกันการกูย้ มื ดังกล่าวข้างต้น ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ย่อยคงเหลือจํานวนเงินที�ยงั มิได้เบิกใช้ของวงเงินกูย้ ืมจากกิจการ ที�เกี�ยวข้องกันดังกล่าวเป็ นจํานวนรวมประมาณ 4,324 ล้านบาท (2557: 4,605 ล้านบาท) 6.5 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร ในระหว่างปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ พนักงานที�ให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหาร ดังต่อไปนี�

ผลประโยชน์ระยะสัน� ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม

งบการเงินรวม 2558 2557 74,965 71,414 4,150 2,800 79,115 74,214

(หน่วย:พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 55,758 54,381 2,826 1,992 58,584 56,373

6.6 ภาระคํา� ประกันกับบริษทั ย่อย

รายงานประจ�ำปี 2558

และ 32.3

บริษทั ฯ มีภาระจากการคํา� ประกันให้แก่บริษทั ย่อยตามที�กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20

147


7. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพื�อวัตถุประสงค์ในการจัดทํางบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายความรวมถึง เงินสดและ เงินฝากธนาคารและเงินลงทุนชัว� คราวซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืนในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดตามที�แสดงอยู่ในงบกระแสเงินสดประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี�

เงินสด เงินฝากสถาบันการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว - ตัวแลกเงิ � น ซึ�งถึงกําหนดจ่ายคืน ในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ในงบกระแสเงินสด

งบการเงินรวม 2558 2557 587 637 1,133,303 201,443 1,133,890 202,080

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 295 365 1,067,786 77,477 1,068,081 77,842

-

132,500

-

130,000

1,133,890

334,580

1,068,081

207,842

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจําและเงินลงทุนชัว� คราวซึ�งถึงกําหนดจ่ ายคืน ในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน มีอตั ราดอกเบี�ยร้อยละ 0.1 ถึง 1.7 ต่อปี (2557: ร้อยละ 0.1 ถึง 2.5 ต่อปี )

8. เงินลงทุนชัว� คราว

เงินฝากประจํา หลักทรัพย์เพื�อค้า หน่วยลงทุน ตราสารหนี� ที�จะถือจนครบกําหนด ภายใน 1 ปี ตัวแลกเงิ � น รวมเงินลงทุนชัว� คราว

148

งบการเงินรวม 2558 2557 22,183 -

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 -

-

124,685

-

-

22,183

133,000 257,685

-

130,000 130,000


9. ลูกหนี� การค้าและลูกหนี� อน�ื ยอดคงเหลือของลูกหนี�การค้าจําแนกตามอายุหนี�คงค้าง แสดงได้ดงั นี� งบการเงินรวม 2558 ลูกหนี�การค้า - กิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน อายุหนี�คงค้างนับจากวันทีถ� งึ กําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน 3 เดือน ค้างชําระ 3 - 6 เดือน ค้างชําระ 6 - 12 เดือน ค้างชําระ มากกว่า 12 เดือน รวม ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานทีย� งั ไม่เรียกชําระ หัก: ค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี�การค้า - กิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน, สุทธิ ลูกหนี�อ�นื ลูกหนี�อ�นื - กิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน ลูกหนี�อ�นื - กิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน ดอกเบี�ยค้างรับจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน ดอกเบี�ยค้างรับจากกิจการทีไ� ม่เกี�ยวข้องกัน รายได้คา้ งรับ รวมลูกหนี�อ�นื รวมลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อน�ื - สุทธิ

2557

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

22,062 6,256 2,782 13,738 44,838 14,274 (4,050) 55,062

42,909 2,132 7,074 4,050 56,165 11,026 (4,114) 63,077

2,936 2,204 13,738 18,878 1,855 (4,050) 16,683

21,845 1,560 7,072 4,050 34,527 1,540 (4,114) 31,953

33,011 4,618

17,498 1,683 47 4,788 24,016 87,093

22,130 3,009 54 458 25,651 42,334

10,838 967 1,152 40 515 13,512 45,465

54 2,214 39,897 94,959

10. เงินฝากสถาบันการเงินที�มีภาระคํ�าประกัน

รายงานประจ�ำปี 2558

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้นาํ เงินฝากสถาบันการเงินจํานวน 57.4 ล้านบาท (2557: 70.6 ล้านบาท) ไปวางไว้กบั ธนาคารเพื�อเป็ นหลักประกันเงินชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาใช้สิทธิสุทธิ แก่ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอนสําหรับกรณี ท�ผี ูเ้ ช่ารายย่อยใช้สิทธิ เลือกซื�อทรัพย์สนิ (Option to Buy) วงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิตและทรัสต์รีซที พร้อมวงเงินสําหรับจองอัตราแลกเปลีย� น และหนังสือคํา� ประกันที�ธนาคารออกให้แก่หน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจและบริษทั เอกชน

149


11. เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษทั ย่อยตามที�แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี� (หน่วย:พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั ย่อย

ลักษณะธุรกิจ

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างโรงงานให้ เช่า/ขาย บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ พาร์ค จํากัด โดยการสร้างคลังสินค้า ให้เช่า/ขาย บริษทั ไทคอน แมนเนจเมน้ ท์ ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพือ� การ จํากัด ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ Shanghai TICON Investment ธุรกิจบริหารการลงทุน Management Company Limited* TICON Property, Inc.** ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ทัวไป � TICON (HK) Limited** ลงทุนในกิจการในต่างประเทศ

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

ทุนเรียกชําระแล ้ว 2558 2557

สัดส่วนเงินลงทุน 2558 2557 (ร้อยละ) (ร้อยละ) 50,000 99.99 99.99

ไทย

50,000

ไทย

19,500,000

14,500,000

ไทย

10,000

จีน

สหรัฐ อเมริกา

ฮ่องกง

เงินปันผลทีบ� ริษทั ฯ รับระหว่างปี 2558 2557

เงินลงทุนตามราคาทุน 2558 2557

10,000

16,750

99.99

99.99 19,515,000 14,515,000 448,500

-

10,000

69.99

69.99

7,000

7,000

-

-

85,384

85,384

100.00

100.00

85,384

85,384

-

-

-

31

-

100.00

-

189,190

-

-

413,423

-

100.00

-

413,423

-

-

-

20,070,807 14,846,574 458,500

16,750

รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย

50,000

50,000

* งบการเงินตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีอื�นแล้ว ** งบการเงินถูกจัดทําโดยฝ่ ายบริหารของบริษทั ย่อย

ในระหว่างปี 2558 มีการเปลีย� นแปลงเกี�ยวกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อย ดังนี� (ก) เมือ� วันที� 26 มีนาคม 2558 ที�ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ครัง� ที� 1/2558 มีมติอนุมตั ิให้เพิ�มทุนจดทะเบียนจํานวน 3,000 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้ลงทุนเพิ�ม ในวันที� 27 มีนาคม 2558 และ บริษทั ย่อยได้จดทะเบียนเพิ�มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมือ� วันที� 30 มีนาคม 2558 (ข) เมือ� วันที� 16 เมษายน 2558 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง� บริษทั ย่อยแห่งหนึ�งในฮ่องกงคือ TICON (HK) Limited โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อการลงทุนในกิจการในต่างประเทศ และมีทุนจดทะเบียนเริ�มแรกจํานวน 1 ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา บริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของบริษทั ย่อยดังกล่าว ในเบื�องต้นบริษ ทั ฯ ให้บริษทั ย่อ ยดังกล่าวเข้า ลงทุน ในโครงการในประเทศอินโดนีเซีย ทัง� นี�บริษทั ฯ ได้ชาํ ระทุนในบริษทั ย่อยจํานวน 1 ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา คิดเป็ นจํานวน 33 บาท เมือ� วันที� 21 เมษายน 2558 (ค) เมือ� วันที� 13 พฤษภาคม 2558 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 3/2558 ของบริษทั ฯ ได้มมี ติให้เลิก TICON Property, Inc. ในประเทศสหรัฐอเมริกา และเมือ� วันที� 30 มิถนุ ายน 2558 บริษทั ย่อยดังกล่าวได้เลิกกิจการและเสร็จ สิ�นการชําระบัญชีแล้ว โดยบริษทั ฯ ได้รบั เงินคืนทุนเป็ นจํานวน 184 ล้านบาท

150


(ง) เมื�อ วัน ที� 17 มิถุนายน 2558 ที�ประชุม คณะกรรมการครั�งที� 2/2558 ของบริษ ทั อีโค อิ นดัส เทรีย ล เซอร์วิสเซส จํากัด มีมติอนุ มตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรบางส่วนปี 2557 ในส่วนที�ได้รบั ลดหย่อนภาษี เงินได้นิติบุคคลในอัตรากึ�งหนึ�งและจากผลกําไรบางส่วนปี 2558 จํา นวนหุน้ ละ 0.80 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 4.0 ล้านบาท โดยมีการจ่ายเงินปันผลในวันที� 18 มิถนุ ายน 2558 (จ) เมือ� วันที� 4 กันยายน 2558 ที�ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ครัง� ที� 4/2558 มีมติอนุมตั ิให้เพิ�มทุนจดทะเบียนจํานวน 2,000 ล้านบาท บริษทั ฯ ได้ลงทุนเพิ�ม ในวันที� 4 กันยายน 2558 และ บริษทั ย่อยได้จดทะเบียนเพิ�มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมือ� วันที� 10 กันยายน 2558 (ฉ) เมื�อ วันที� 23 กันยายน 2558 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 3/2558 ของบริษ ทั อีโค อินดัสเทรีย ล เซอร์วสิ เซส จํากัด มีมติอนุมตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรบางส่วนปี 2558 จํานวนหุน้ ละ 0.60 บาท รวมเป็ น เงินทัง� สิ�น 3.0 ล้านบาท โดยมีการจ่ายเงินปันผลในวันที� 24 กันยายน 2558 (ช) เมือ� วันที� 20 ตุลาคม 2558 TICON (HK) Limited ได้จดทะเบียนเพิ�มทุนเป็ นจํานวนเงิน 11.6 ล้านหุน้ ตามมูลค่าที�ตราไว้หนุ ้ ละ 1 ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา คิดเป็ นจํานวน 413 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ ได้ชาํ ระเงินเพิ�มทุนดังกล่าว เรียบร้อยแล้ว (ซ) เมือ� วันที� 22 ธันวาคม 2558 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 8/2558 ของบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด มีมติอนุมตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลกําไรบางส่วนปี 2558 จํานวนหุน้ ละ 0.23 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 448.5 ล้านบาท โดยมีการจ่ายเงินปันผลในวันที� 22 ธันวาคม 2558 (ฌ) เมื�อ วันที� 23 ธันวาคม 2558 ที�ประชุมคณะกรรมการครัง� ที� 4/2558 ของบริษ ทั อีโค อินดัสเทรีย ล เซอร์วิสเซส จํากัด ได้มมี ติอนุ มตั ิจ่ายเงินปันผลระหว่า งกาลจากผลกํา ไรบางส่วนปี 2558 จํา นวนหุน้ ละ 0.60 บาท รวมเป็ นเงินทัง� สิ�น 3.0 ล้านบาท โดยมีการจ่ายเงินปันผลในวันที� 24 ธันวาคม 2558

12. เงินลงทุนในการร่วมค้า 12.1 รายละเอียดของการร่วมค้า เงินลงทุนในการร่วมค้าเป็ นเงินลงทุนในกิจการที�บริษทั ฯ โดยบริษทั ย่อยและบริษทั อื�นควบคุมร่วมกัน มีรายละเอียดดังนี� ประเภทกิจการ

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด ผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ า ไทย บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด ผลิตและจําหน่ายกระแสไฟฟ้ า ไทย

งบการเงินรวม ทุนเรียกชําระ สัดส่วน ทุนจดทะเบียน แล ้ว เงินลงทุน 2558 2557 2558 2557 2558 2557 (ล ้านบาท) (ล ้านบาท) (ล ้านบาท) (ล ้านบาท) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 5.00 5.00 5.00 5.00 51.00 51.00 4.00 4.00 4.00 4.00 51.00 51.00

รายงานประจ�ำปี 2558

กิจการที�ควบคุม ร่วมกัน

151


12.2 รายละเอียดของเงินลงทุนในการร่วมค้า (ก) มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในการร่วมค้า (หน่วย: พันบาท)

กิจการที�ควบคุมร่วมกัน บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด รวม

งบการเงินรวม ราคาทุน มูลค่าตามวิธสี ่วนได้เสีย 2558 2557 2558 2557 2,550 2,550 2,218 2,282 2,040 2,040 1,850 1,923 4,590 4,590 4,068 4,205

(ข) ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า

กิจการที�ควบคุมร่วมกัน บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด รวม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม สําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 (64) (268) (72) (117) (136) (385)

12.3 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที�ควบคุมร่วมกัน จํานวนรวมของส่วนได้เสียในสินทรัพย์ หนี�สิน รายได้และค่ าใช้จ่ายที�บริษทั ฯ มีอยู่ในบริษ ทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด และบริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด เป็ นดังนี�

152


สรุปรายการฐานะทางการเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน� หนี�สนิ หมุนเวียนอื�น เงินกูย้ มื ระยะยาว สินทรัพย์สทุ ธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการ ในสินทรัพย์ – สุทธิ ผลดําเนิ นงานก่อนการร่วมค้า มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสีย ของกิจการในการร่วมค้า

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 465 4,916 1,777 2,221 11,637 14,685 16,927 18,774 (900) (1,801) (2,623) (11,763) (9,963) (12,664) (14,386) 4,263 4,388 51.00 51.00

(หน่วย: พันบาท) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 935 2,091 1,159 1,583 11,032 8,810 13,126 12,484 (526) (3,319) (2,008) (5,735) (6,788) (9,580) (8,796) 3,546 3,688 51.00 51.00

2,174 44

2,238 44

1,808 42

1,881 42

2,218

2,282

1,850

1,923

รายได้ ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายดอกเบี�ย กําไร (ขาดทุน)

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จํากัด สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 1,258 (499) (230) (329) (654) (196) (125) (525)

(หน่วย: พันบาท) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จํากัด สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 943 (369) (339) (117) (377) (113) (142) (230)

รายงานประจ�ำปี 2558

สรุปรายการกําไรขาดทุน

153


13. เงินลงทุนในบริษทั ร่วม 13.1 รายละเอียดของบริษทั ร่วม บริษทั ร่วม

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน PT SLP Surya TICON Internusa

ประเภทกิจการ

จัดตัง� ขึ�น ในประเทศ

จํานวนหน่วยลงทุนทีบ� ริษทั ฯ/ บริษทั ย่อยถือ 2558 2557 (พันหน่วย) (พันหน่วย)

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์

ไทย

11,824,790

11,824,790

212,238

271,583

18.46

23.63

ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และ/หรือสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และ/หรือสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โรงงานและคลังสินค้า โดยให้เช่า/ขาย

ไทย

4,469,062

4,469,062

67,098

82,920

16.21

20.04

ไทย

5,550,000

5,550,000

141,395

151,834

25.48

27.36

ไทย

5,459,588

3,425,000

111,181

41,100

19.62

12.00

อินโดนีเชีย

1,656,633

-

11,600

-

25.00

-

ทุนเรียกชําระแล้ว 2558 2557 (พันบาท) (พันบาท)

สัดส่วนการลงทุน 2558 2557 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

เมื�อวันที� 18 สิงหาคม 2558 TICON (HK) Limited (“บริษทั ย่อย”) ได้ซ� ือหุน้ สามัญของ PT SLP Surya TICON Internusa จํานวน 11.6 ล้านหุน้ ตามมูลค่าทีต� ราไว้หุน้ ละ 1 ดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา คิดเป็ นจํานวนเงิน 11.6 ล้านดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา ซึ�งการถือหุน้ ดังกล่าวคิดเป็ นร้อยละ 25.00 ของหุน้ ที�ออกและเรียกชําระแล้ว 13.2 รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (ก) มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม

บริษทั ร่วม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุน – สุทธิ

154

งบการเงินรวม วิธีส่วนได้เสีย 2558 2557

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน 2558 2557

1,970,463

2,578,543

2,194,425

2,807,921

(975,613) 994,850

(1,132,590) 1,445,953

2,194,425

2,807,921


กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์ เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุน – สุทธิ กองทุนรวมสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุน – สุทธิ ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิ การเช่ าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน เงินลงทุน หัก: กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ บวก: ค่าใช้จ่ายทีย� งั ไม่เกิดขึ�นจาก ประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้อง กับการขายอสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุน – สุทธิ

681,575

869,897

741,352

916,129

(224,146) 457,429

(256,485) 613,412

741,352

916,129

1,345,974

1,494,324

1,414,235

1,516,479

(508,715) 837,259

(550,136) 944,188

1,414,235

1,516,479

1,103,403

411,555

1,113,648

-

(265,079)

(114,767)

-

-

24,984 863,308

16,086 312,874

1,113,648

-

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษทั ร่วม

งบการเงินรวม วิธีส่วนได้เสีย 2558 2557

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน 2558 2557

155


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม บริษทั ร่วม PT SLP Surya TICON Internusa เงินลงทุน รวมเงินลงทุนในบริษัทร่วม-สุทธิ มูลค่าต่อหน่ วยของเงินลงทุน (บาท) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ทีพาร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน PT SLP Surya TICON Internusa

วิธีส่วนได้เสีย

ราคาทุน

2558

2557

2558

2557

421,608 3,574,454

3,316,427

5,463,660

5,240,529

4.69

5.32

10.34

10.34

6.82

7.40

11.05

11.05

5.92

6.22

10.00

9.99

7.76

7.61

10.02

-

36.35

-

-

-

กําไรที�ย งั ไม่เกิดขึ�นจากการขายที�ดิน อาคารโรงงานและคลังสินค้า ให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพ ย์ ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (“กองทุนฯ”) และทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) คํานวณตามสัดส่วนที�บริษทั ฯ ถือหน่วยในกองทุนฯ และกองทรัสต์ฯ และถือเป็ นกําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจริง โดยแสดงเป็ น ส่วนหักจากเงินลงทุนในงบแสดงฐานะการเงิน และแสดงเป็ นส่วนหักจากกําไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม ในงบกําไรขาดทุนของงวดที�เกิดรายการ

156


(ข) ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (หน่วย: พันบาท) บริษทั ร่วม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน PT SLP Surya TICON Internusa รวม

งบการเงินรวม สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 115,812 131,538 36,142 42,549 75,236 92,484 19,487 555 1,790 248,467 267,126

(ค) เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม

บริษทั ร่วม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน รวม

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 175,426 194,182 63,634 70,150 124,240 116,184 4,343 367,643

380,516 (หน่วย: พันบาท)

ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษทั ร่วมของบริษทั ย่อย

งบการเงินรวม สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 9,299 -

157


13.3 การเปลีย� นแปลงของบัญชีเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (หน่วย: ล ้านบาท)

เงินลงทุนในบริษัทร่วม ยอดยกมาต้นปี ซื�อเงินลงทุน ขายเงินลงทุน รับคืนเงินจากการลดมูลค่าหน่วยทรัสต์ ส่วนแบ่งกําไรในเงินลงทุน เงินปันผลรับ ผลต่างจากการแปลงค่ างบการเงิน ยอดคงเหลือปลายปี กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ยอดยกมาต้นปี เพิ�มขึ�นระหว่างปี ลดลงระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี

งบการเงินรวม 2558 2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

5,354 1,136 (829) (16) 248 (377) 6 5,522

5,124 702 (358) 267 (381)

5,241 1,142 (911) (8) -

5,305 291 (355) -

5,354

5,464

5,241

2,054 166 (247) 1,973

1,882 213 (41) 2,054

ค่าใช้จ่ายที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากประมาณการหนี� สินที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ยอดยกมาต้นปี 16 เพิ�มขึ�นระหว่างปี 10 16 ลดลงระหว่างปี (1) 16 ยอดคงเหลือปลายปี 25 เงินลงทุนในบริษัทร่วม - สุทธิ 3,316 3,574

กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์และค่าใช้จ่ายที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการประมาณการหนี�สิน ที�เ กี�ย วข้อ งกับการขายอสังหาริมทรัพ ย์ท�ีเ พิ�มขึ�นระหว่า งปี เกิดจากการขายอสังหาริมทรัพ ย์ให้แก่ ก องทุนฯ และ กองทรัสต์ฯ ส่วนกําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์และค่าใช้จ่ายที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการประมาณการหนี�สิน ที�เ กี� ย วข้อ งกับ การขายอสัง หาริม ทรัพ ย์ท�ีล ดลงระหว่ า งปี เกิ ดจากการที�ก องทุน ฯ และกองทรัส ต์ฯ มีก ารขาย อสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลภายนอก และจากการที�บริษทั ฯ มีสดั ส่วนการถือหน่วยลงทุนในกองทุนฯ และกองทรัสต์ฯ ลดลง สําคัญมีดงั นี�

158

ในระหว่างปี 2558 การเปลี�ยนแปลงในกําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วมที�


วันที�

รายการทีเ� กิดขึ�นระหว่างปี 2558

28 ก.ย. 58

บริษทั ฯ ขายทีด� นิ และโรงงานให้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน 18, 21 ธ.ค. 58 บริษทั ฯ ให้เช่าทีด� นิ และโรงงานและขายทีด� นิ และโรงงานให้แก่ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน 18, 21 ธ.ค. 58 บริษทั ย่อยให้เช่าทีด� นิ และเช่าคลังสินค้า ให้เช่า ทีด� นิ และขายคลังสินค้า และขายทีด� นิ และ คลังสินค้าให้แก่ทรัสต์เพือ� การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน 21 ม.ค. และ จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวมสิทธิการเช่า 13 ก.พ. 58 อสังหาริมทรัพย์ไทคอนอินดัสเทรียล โกรท 20 มี.ค., 26- จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ 30 พ.ย. และ 2230 ธ.ค. 58 9 ก.ย. 58 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนขายทีด� นิ และโรงงานทีซ� �อื จากบริษทั ฯ ให้ บุคคลภายนอก 26-30 พ.ย. จําหน่ายเงินลงทุนในกองทุนรวม และ 1-30 อสังหาริมทรัพย์ไทคอน ธ.ค. 58 23 ธ.ค. 58 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนขายทีด� นิ และโรงงานทีซ� �อื จากบริษทั ฯ ให้ บุคคลภายนอก

** ***

ราคาขาย/ ให้เช่า (ล้านบาท)

กําไรทีย� งั ไม่เกิดขึ�นจาก การขายอสังหาริมทรัพย์ เพิม� ขึ�น (ลดลง) (ล้านบาท)

2 โรงงาน

126

16

*

7 โรงงาน

568

44

**

46 คลังสินค้า

2,592

106 166

***

11 ล้านหน่วย

129

(42)

16 ล้านหน่วย

191

(32)

1 โรงงาน

111

(12)

60 ล้านหน่วย

635

(154)

2 โรงงาน

103

(7) (247)

มูลค่ายุตธิ รรมของที�ดนิ และโรงงานประเมินตามวิธีพจิ ารณาจากรายได้โดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 121 ลา้ นบาท และ 123 ลา้ นบาท มูลค่ายุตธิ รรมของการให้เช่าที�ดนิ และโรงงาน และขายที�ดนิ และโรงงานประเมินตามวิธีพจิ ารณาจากรายได้โดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 511 ลา้ นบาท และ 529 ลา้ นบาท มูลค่ายุติธรรมของการให้เช่าที�ดนิ และเช่าคลัง สินค้า เช่าที�ดิน และขายคลังสิน ค้า และขายที�ดินและคลังสินค้า ประเมินตามวิธี พิจารณาจากรายได้โดยผู ้ประเมินราคาอิสระ 2 ราย เป็ นจํานวน 2,416 ลา้ นบาท และ 2,428 ลา้ นบาท

รายงานประจ�ำปี 2558

*

จํานวนทีด� นิ และอาคาร/จํานวน หน่วยลงทุน

159


13.4 มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนในบริษทั ร่วมที�เป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชื�อบริษทั ร่วม

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ� การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน รวม

มูลค่ายุตธิ รรม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) 2,250 2,824 812 978

มูลค่ายุตธิ รรมต่อหน่วย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 (บาท) (บาท) 10.6 10.4 12.1 11.8

1,555

1,655

11.0

10.9

1,106 5,723

5,457

9.95

-

13.5 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 หน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน 66 ล้านหน่วย (2557: 66 ล้านหน่วย) ซึ�งมีมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย 312 ล้านบาท (2557: 355 ล้านบาท) และมีมูลค่าตามราคาตลาด 705 ล้านบาท (2557: 692 ล้านบาท) ถูกจํานําไว้กบั ธนาคารเพื�อคํา� ประกันเงินกูย้ มื ระยะสัน� และเงินกูย้ มื ระยะยาว และหน่วย ลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์จาํ นวน 22 ล้านหน่วย (2557: 22 ล้านหน่วย) ซึ�งมีมลู ค่าตามวิธี ส่วนได้เสีย 152 ล้านบาท (2557: 165ล้านบาท) และมีมูลค่าตามราคาตลาด 269 ล้านบาท (2557: 263 ล้านบาท) ถูกจํานําไว้กบั ธนาคารเพื�อคํา� ประกันรายได้ค่าเช่าและบริการตามที�กล่าวไว้ในหมายเหตุ 32.5 13.6 ข้อมูลทางการเงินของบริษทั ร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที�แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษทั ร่วมโดยสรุปมีดงั นี� (ก) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน สรุปรายการฐานะทางการเงิน

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี�สนิ หมุนเวียน หนี�สนิ ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ – สุทธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการในสินทรัพย์ - สุทธิ การตัดรายการระหว่างกัน มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกิจการในบริษทั ร่วม

160

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 13,315,174 12,990,910 6,914 6,526 (47,323) (37,634) (321,139) (312,405) 12,953,626 12,647,397 18.46 23.63 2,391,239 2,988,580 (1,396,389) (1,542,627) 994,850 1,445,953


สรุปรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

รายได้ กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

(หน่วย: พันบาท) สําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 899,070 951,377 707,981 774,136 339,703 80,435 1,047,684 854,571

(ข) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ สรุปรายการฐานะทางการเงิน

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี�สนิ หมุนเวียน หนี�สนิ ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ – สุทธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการในสินทรัพย์ - สุทธิ การตัดรายการระหว่างกัน มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกิจการในบริษทั ร่วม

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 4,965,846 4,920,363 2,262 1,800 (17,826) (19,104) (98,170) (93,378) 4,852,112 4,809,681 16.21 20.04 786,527 963,860 (329,098) (350,448) 457,429 613,412

สรุปรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

รายงานประจ�ำปี 2558

รายได้ กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

(หน่วย: พันบาท) สําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 382,301 414,406 319,693 345,814 49,671 129,234 369,364 475,048

161


(ค) กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท สรุปรายการฐานะทางการเงิน

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี�สนิ หมุนเวียน หนี�สนิ ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ – สุทธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการในสินทรัพย์ - สุทธิ การตัดรายการระหว่างกัน มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกิจการในบริษทั ร่วม

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 6,319,524 6,368,111 2,568 2,345 (19,359) (14,533) (643,914) (659,764) 5,658,819 5,696,159 25.48 27.36 1,441,867 1,558,469 (604,608) (614,281) 837,259 944,188

สรุปรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

รายได้ กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

(หน่วย: พันบาท) สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 596,037 609,194 490,638 515,779 (44,795) 15,568 445,843 531,347

(ง) ทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน สรุปรายการฐานะทางการเงิน

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี�สนิ หมุนเวียน หนี�สนิ ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ – สุทธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการในสินทรัพย์ - สุทธิ

162

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 7,623,238 4,462,787 64,199 43,987 (93,118) (111,155) (1,993,004) (962,646) 5,601,315 3,432,973 19.62 12.00 1,098,978 411,957


การตัดรายการระหว่างกัน มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกิจการในบริษทั ร่วม

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 (235,670) (99,083) 863,308 312,874

สรุปรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

รายได้ กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม2558 415,646 286,552 (126,289) 160,263

(หน่วย: พันบาท) สําหรับรอบระยะเวลาตัง� แต่ วันที� 12 ธันวาคม 2557 ถึงวันที� 31 ธันวาคม 2557 11,698 7,973 7,973

(จ) PT SLP Surya TICON Internusa สรุปรายการฐานะทางการเงิน

รายงานประจ�ำปี 2558

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี�สนิ หมุนเวียน หนี�สนิ ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ – สุทธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการในสินทรัพย์ - สุทธิ การตัดรายการระหว่างกัน มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกิจการในบริษทั ร่วม

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 392,338 1,571,158 (36,415) (234,946) 1,692,135 25.00 423,034 (1,426) 421,608

163


สรุปรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย: พันบาท) สําหรับปี ส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 29,197 7,169 7,169

รายได้ กําไร กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

14. อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน 14.1 อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย 14.1.1 การเปลีย� นแปลงของมูลค่าสุทธิตามบัญชี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง อาคารโรงงาน ที�ดิน และคลังสินค้า รวม

อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง งานระหว่าง ที�ดิน ก่อสร้าง รวม ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก โอนออกเป็ นสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนที�ถอื ไว้เพื�อขาย ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2557 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี

164

ยอดรวม

8,243,772 3,040,560 (1,183,404)

1,873,806 4,782,607 (4,149,045)

10,117,578 7,823,167 (5,332,449)

915,569 (15,552) 252,263

3,035,751 (327,097) 1,128,549

3,951,320 (342,649) 1,380,812

14,068,898 7,823,167 (342,649) (3,951,637)

7,648 10,108,576 2,631,779 (158,558) (1,484,759) 11,097,038

101,860 2,609,228 4,877,124 (3,223,632) 60,843 4,323,563

109,508 12,717,804 7,508,903 (158,558) (4,708,391) 60,843 15,420,601

1,152,280 (27,798) 390,864 1,515,346

3,837,203 (173,727) 423,364 4,086,840

4,989,483 (201,525) 814,228 5,602,186

109,508 17,707,287 7,508,903 (360,083) (3,894,163) 60,843 21,022,787

-

-

-

-

342,300 192,436

342,300 192,436

342,300 192,436

-

-

-

-

(13,124) 5,929 527,541 203,300

(13,124) 5,929 527,541 203,300

(13,124) 5,929 527,541 203,300


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง อาคารโรงงาน ที�ดิน และคลังสินค้า รวม

อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง งานระหว่าง ที�ดิน ก่อสร้าง รวม

ยอดรวม

ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2557

34,745 34,745

5,303 5,303

40,048 40,048

14,005 14,005

(10,533) (57,219) 663,089

(10,533) (43,214) 677,094

(10,533) (3,166) 717,142

8,243,772

1,873,806

10,117,578

915,569

2,693,451

3,609,020

13,726,598

31 ธันวาคม 2557

10,108,576

2,609,228

12,717,804

1,152,280

3,309,662

4,461,942

17,179,746

31 ธันวาคม 2558

11,062,293

4,318,260

15,380,553

1,501,341

3,423,751

4,925,092

20,305,645

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2557

192,436

2558

203,300 (หน่วย: พันบาท)

ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ

อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง งานระหว่าง ที�ดิน ก่อสร้าง รวม

ยอดรวม

997,853 1,362,197 (209,792) 7,648 2,157,906 898,389 (245,846) 2,810,449

276,013 843,015 (536,287) 44,257 626,998 572,745 (656,170) 25,364 568,937

1,273,866 2,205,212 (746,079) 51,905 2,784,904 1,471,134 (902,016) 25,364 3,379,386

466,054 (9,414) 184,917 641,557 (8,529) 203,682 836,710

928,231 (10,820) 439,928 1,357,339 (20,448) 471,245 1,808,136

1,394,285 (20,234) 624,845 1,998,896 (28,977) 674,927 2,644,846

2,668,151 2,205,212 (20,234) (121,234) 51,905 4,783,800 1,471,134 (28,977) (227,089) 25,364 6,024,232

-

-

-

-

236,379 55,798

236,379 55,798

236,379 55,798

-

-

-

-

(6,700) 35,382 320,859 82,490

(6,700) 35,382 320,859 82,490

(6,700) 35,382 320,859 82,490

รายงานประจ�ำปี 2558

ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2557 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย โอนเข ้า/โอนออก ดอกเบี�ยจ่ายที�ถอื เป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง อาคาร ที�ดิน โรงงาน รวม

165


(หน่วย: พันบาท)

ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเข ้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา พร้อมให้เช่า/ขาย ที�ดินและ ที�ดินและ ส่วนปรับปรุง งานระหว่าง ส่วนปรับปรุง อาคาร ที�ดิน ก่อสร้าง รวม ที�ดิน โรงงาน รวม (2,654) (2,654) 178 792 3,738 4,530 178 178 792 404,433 405,225 178

ยอดรวม (2,654) 4,708 405,403

997,853

276,013

1,273,866

466,054

691,852

1,157,906

2,431,772

31 ธันวาคม 2557

2,157,906

626,998

2,784,904

641,557

1,036,480

1,678,037

4,462,941

31 ธันวาคม 2558

2,810,271

568,937

3,379,208

835,918

1,403,703

2,239,621

5,618,829

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2557 2558

55,798 82,490

14.1.2 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน

ทีด� นิ และส่วนปรับปรุงทีด� นิ ที�อยูใ่ นระหว่างการ พัฒนา ทีด� นิ และส่วนปรับปรุงทีด� นิ พร้อมอาคาร โรงงานและคลังสินค้าพร้อมให้เช่า

งบการเงินรวม 2558 2557

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

11,881,984

10,326,387

3,104,368

2,332,795

7,505,589

6,916,978

4,144,479

3,383,922

ในปี 2558 และ 2557 มูลค่ ายุ ติธ รรมของอสังหาริมทรัพ ย์เ พื�อ การลงทุนใช้ร าคาประเมิน โดยผู ป้ ระเมินราคาอิสระของบริษ ทั ฯ และบริษทั ย่อ ย 2 แห่ง ทัง� นี�ก ารประเมินมูลค่า ยุติธรรมดังกล่าวจะใช้เกณฑ์ ราคาตลาดสําหรับที�ดนิ รอการพัฒนาและ/หรือที�ดนิ อยู่ระหว่างการพัฒนา และใช้เกณฑ์วธิ ีพจิ ารณาจากรายได้ (Income Approach) สําหรับอาคารโรงงานและคลังสินค้าพร้อมให้เช่า /ขาย ข้อสมมติฐานหลักที�ใช้ในการประเมินราคาอาคาร โรงงานและคลังสินค้าดังกล่าวประกอบด้วย อัตราผลตอบแทน อัตราพื�นที�ว่าง และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า อย่างไรก็ตาม มูลค่ายุติธรรมดังกล่าวไม่รวมงานระหว่างก่อ สร้างซึ�งมีมูลค่าตามบัญชีจาํ นวน 4,318 ล้านบาท (2557: 2,609 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 569 ล้านบาท 2557: 627 ล้านบาท)

166


14.1.3 รายจ่ายทางการเงินที�บนั ทึกเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนา

อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยูใ่ นระหว่างการ พัฒนา ดอกเบี�ยจ่ายจากเงินกูย้ มื สถาบัน การเงินและหุนกู ้ ท้ ถ�ี อื เป็ นต้นทุนสินทรัพย์ อัตราการตัง� ขึ�นเป็ นทุน (ร้อยละ)

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557 15,380,553

12,717,804

3,379,208

2,784,904

60,843 4.04

109,508 4.28

25,364 4.03

51,905 4.26

14.1.4 ภาระคํา� ประกันของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและอสังหาริมทรัพย์ เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย ณ วัน ที� 31 ธัน วาคม 2558 อสัง หาริ ม ทรัพ ย์เ พื� อ การลงทุ น ในระหว่ า งการพัฒ นาและ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขายของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึ�งมีราคาตามบัญชีจาํ นวน 6,074 ล้านบาท (2557: 5,520 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 958 ล้านบาท 2557: 1,092 ล้านบาท) ใช้เป็ นหลักประกันเงินเบิกเกิน บัญชีเงินกูย้ มื ระยะสัน� และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน 14.1.5 จํานวนเงินที�เกี�ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้ เช่า/ขาย ที�ได้รบั รูใ้ นกําไรหรือขาดทุน มีรายละเอียดดังนี�

รายได้จากการให้เช่าและบริการทีเ� กีย� วข้อง ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานโดยตรง ทีเ� กิดจากอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ซึ�งก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าสําหรับปี ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานโดยตรง ทีเ� กิดจากอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน ซึ�งไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าสําหรับปี

งบการเงินรวม 2558 2557 -

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 -

-

-

-

-

217,856

215,453

90,262

69,930

14.2 อสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนให้เช่า

รายงานประจ�ำปี 2558

14.2.1 การเปลีย� นแปลงของมูลค่าสุทธิตามบัญชี

167


(หน่วย: พันบาท) ทีด� นิ และ ส่วนปรับปรุงทีด� นิ ราคาทุน 1 มกราคม 2557 จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2557 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558

รวม

2,104,279 (90,223) 817,627 2,831,683 (298,091) 2,590,046 5,123,638

1,956,123 (897,401) 3,610,166 4,668,888 (1,766,752) 2,819,523 5,721,659

4,060,402 (987,624) 4,427,793 7,500,571 (2,064,843) 5,409,569 10,845,297

(424) 119,701 119,277

525,749 175,129 65,125 766,003 235,152 (113,221) 68,816 956,750

525,749 175,129 65,125 766,003 235,152 (113,645) 188,517 1,076,027

2,104,279 2,831,683 5,004,361

1,430,374 3,902,885 4,764,909

3,534,653 6,734,568 9,769,270

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในต้นทุนเช่ าและบริการที�เกี�ยวข้อง) 2557 2558

168

งบการเงินรวม อาคารโรงงาน และคลังสินค้า

175,129 235,152


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ทีด� นิ และ ส่วนปรับปรุงทีด� นิ ราคาทุน 1 มกราคม 2557 จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 จําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วนทีจ� าํ หน่ าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2557 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558

อาคารโรงงาน

รวม

1,289,073 (17,279) 8,227 1,280,021 (58,790) 133,120 1,354,351

1,334,776 (106,302) 31,731 1,260,205 (275,676) 188,397 1,172,926

2,623,849 (123,581) 39,958 2,540,226 (334,466) 321,517 2,527,277

(133) 4,043 3,910

434,481 67,564 (9,966) (35,381) 456,698 58,844 (37,323) (3,739) 474,480

434,481 67,564 (9,966) (35,381) 456,698 58,844 (37,456) 304 478,390

1,289,073 1,280,021 1,350,441

900,295 803,507 698,446

2,189,368 2,083,528 2,048,887

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในต้นทุนเช่ าและบริการที�เกี�ยวข้อง) 2557 2558

67,564 58,844

14.2.2 มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน งบการเงินรวม 2558 ทีด� นิ และส่วนปรับปรุงทีด� นิ พร้อม อาคารโรงงานและคลังสินค้าให้เช่า

13,502,310

2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

8,348,743

4,132,087

3,405,696

รายงานประจ�ำปี 2558

(หน่วย: พันบาท)

169


ในปี 2558 และ 2557 มูลค่ายุติธรรมใช้ราคาประเมินโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระของบริษทั ฯ และ บริษทั ย่อย 2 แห่ง ทัง� นี�การประเมินมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวจะใช้เกณฑ์ราคาตลาดสําหรับที�ดินรอการพัฒนาและ/หรือ ที�ดินอยู่ระหว่างการพัฒนา และใช้เกณฑ์วิธีพิจ ารณาจากรายได้ (Income Approach) สําหรับอาคารโรงงานและ คลังสินค้าพร้อมให้เช่า/ขาย ข้อสมมติฐานหลักที�ใช้ในการประเมินราคาอาคารโรงงานและคลังสินค้าดังกล่าวประกอบด้วย อัตราผลตอบแทน อัตราพื�นที�วา่ ง และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า 14.2.3 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าตามสัญญาเช่าดําเนินงาน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสญั ญาเช่าดําเนินงานที�เกี�ยวข้องกับการให้เช่าที�ดิน อาคารโรงงานและ คลังสินค้าอายุของสัญญามีระยะเวลาตัง� แต่ 10 เดือนถึง 12 ปี โดยอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�ให้เช่าตามสัญญาเช่า ดําเนินงานดังกล่าว ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 จะก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าขัน� ตํา� ในอนาคตดังนี�

ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี

งบการเงินรวม 2558 2557 845 758 2,052 1,692 717 614

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 269 290 327 423 52 86

14.2.4 ภาระคํา� ประกันของอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซึ�ง มีราคาตามบัญชีจาํ นวน 2,397 ล้านบาท (2557: 2,297 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 534 ล้านบาท 2557: 626 ล้านบาท) ได้ใช้เป็ นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน� และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน 14.2.5 จํา นวนเงินที�เ กี�ย วข้อ งกับ อสังหาริมทรัพ ย์เ พื�อ การลงทุนให้เ ช่า ที�ได้ร บั รู ใ้ นกํา ไรหรื อ ขาดทุ น ประกอบด้วย รายได้จากการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้อง และต้นทุนการให้เช่าและบริการที�เกี�ยวข้องตามจํานวนทัง� หมด ที�แสดงในงบกําไรขาดทุน

170


15. ที�ดิน อาคาร และอุปกรณ์

อาคาร

ยานพาหนะ

รวม

979,930 503,204

157,399 191 30,581

86,108 5,037 (682) 13,976

57,377 5,015 (1,081) -

21,514 8,169 -

1,302,328 18,412 (1,763) 547,761

1,483,134 (1,225) (1,451,059)

(839) 187,332 (12,874) (87,272)

104,439 3,940 (4,625) 21,714

(31) 61,280 4,730 (1,430) 451

(17) 29,666 5,693 (6,842) -

(887) 1,865,851 14,363 (26,996) (1,516,166)

30,850

1,895 89,081

125,468

77 65,108

(67) 28,450

1,905 338,957

87,513 36,708

16,545 8,775

51,887 7,313

38,442 7,596

13,038 2,918

207,425 63,310

(664)

(14)

(565) 3,910

(925) -

-

(1,490) 3,232

123,557 48,973

(55) 25,251 11,143

62,545 11,091

(12) 45,101 7,429

(12) 15,944 3,713

(79) 272,398 82,349

(172,530)

(5,043) (16,647)

(3,924) 3,588

(1,353) -

(3,384) -

(13,704) (185,589)

-

266 14,970

73,300

52 51,229

(41) 16,232

277 155,731

892,417 1,359,577 30,850

140,854 162,081 74,111

34,221 41,894 52,168

18,935 16,179 13,879

8,476 13,722 12,218

1,094,903 1,593,453 183,226

ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2557 2558

63,310 82,349

รายงานประจ�ำปี 2558

ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื�อเพิม� จําหน่าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2557 ซื�อเพิม� จําหน่าย/ตัดจําหน่าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื�อมราคาสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสือ� มราคาสําหรับ ส่วนที�จาํ หน่าย/ ตัดจําหน่าย โอนเขา้ /โอนออก ผลต่างจากการ แปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2557 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558

ที�ดนิ และส่วน ปรับปรุงที�ดนิ

งบการเงินรวม เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์

(หน่วย: พันบาท)

171


ราคาทุน 1 มกราคม 2557 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย/ตัดจําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 ซื�อเพิ�ม จําหน่าย/ตัดจําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสือ� มราคาสะสม 1 มกราคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสือ� มราคาสําหรับส่วน ทีจ� าํ หน่ าย/ตัดจําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2557 ค่าเสื�อมราคาสําหรับปี ค่าเสื�อมราคาสําหรับส่วน ทีจ� าํ หน่าย/ตัดจําหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกราคม 2557 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558

ทีด� นิ และส่วน ปรับปรุงทีด� นิ 60,240

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื�องตกแต่ง เครื�องมือ ติดตัง� และ และเครื�องใช้ อุปกรณ์สาํ นักงาน

(หน่วย: พันบาท)

ยานพาหนะ

รวม

31,939 92,179 (1,224) (90,955) -

30,466 3,853 (486) 33,833 735 (3,241) 31,327

34,525 2,888 (1,027) 504 36,890 1,781 (968) 37,703

18,011 4,413 22,424 2,357 (3,626) 21,155

143,242 11,154 (1,513) 32,443 185,326 4,873 (9,059) (90,955) 90,185

1,200 1,684

20,435 -

25,598 4,196

11,925 2,029

59,158 7,909

2,884 2,128

(369) 3,038 23,104 -

(875) 28,919 3,876

13,954 2,408

(1,244) 3,038 68,861 8,412

(5,012) -

(3,018) 3,473 23,559

(927) 31,868

(1,750) 14,612

(5,695) (1,539) 70,039

59,040 89,295 -

10,031 10,729 7,768

8,927 7,971 5,835

6,086 8,470 6,543

84,084 116,465 20,146

-

ค่าเสือ� มราคาสําหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2557 2558

7,909 8,412

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ย่อยมียอดคงเหลือของยานพาหนะซึ�งได้มาภายใต้สญั ญาเช่าการเงิน โดยมี มูลค่าสุทธิตามบัญชีเป็ นจํานวนเงิน 4 ล้านบาท (2557: 3 ล้านบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีอุปกรณ์จาํ นวนหนึ�งซึ�งตัดค่าเสื�อมราคาหมดแล้วแต่ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื�อมราคาสะสมของทรัพย์สนิ ดังกล่าวมีจาํ นวน 78 ล้านบาท (2557: 74 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 46 ล้านบาท 2557: 46 ล้านบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 ที�ดนิ ส่วนปรับปรุงทีด� นิ และอาคารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ซึ�งมีราคาตามบัญชี จํานวน 25 ล้านบาท (2557: 575 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: ไม่มี 2557: 46 ล้านบาท) ได้ใช้เป็ นหลักประกัน เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน� และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน 172


16. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ งบการเงินรวม ราคาทุน ณ วันที� 1 มกราคม 2557 ซื�อเพิ�มระหว่างปี จําหน่าย/ตัดจําหน่ายระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ซื�อเพิ�มระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 ค่าตัดจําหน่ายสะสม ณ วันที� 1 มกราคม 2557 ค่าตัดจําหน่ายระหว่างปี จําหน่าย/ตัดจําหน่ายระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ค่าตัดจําหน่ายระหว่างปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที� 1 มกราคม 2557 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

28,692 1,791 (15) 30,468 177 30,645

22,995 1,737 (15) 24,717 152 24,869

23,303 1,994 (5) 25,292 1,594 26,886

19,494 1,655 (5) 21,144 1,377 22,521

5,389 5,176 3,759

3,501 3,573 2,348

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์จาํ นวนหนึ�งซึ�งตัดค่าตัดจําหน่าย หมดแล้วแต่ย งั ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่ อนหักค่า ตัดจําหน่ายสะสมของทรัพย์สินดังกล่าวมีจาํ นวน 23 ล้านบาท (2557: 22 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 20 ล้านบาท 2557: 19 ล้านบาท)

17. เงินกูย้ มื ระยะสัน� อัตราดอกเบี�ย (ร้อยละต่อปี ) 1.71-2.85

งบการเงินรวม 2558 2557 2,040,000 660,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 2,040,000 660,000

รายงานประจ�ำปี 2558

เงินกูย้ มื ระยะสัน�

(หน่วย: พันบาท)

173


ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มีวงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ ืมระยะสัน� ที�ยงั มิได้เบิกใช้เป็ นจํานวน 755 ล้านบาท (2557: 755 ล้านบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขายและ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยซึ�งมีราคาตามบัญชีรวม 146 ล้านบาท (2557: 187 ล้านบาท) และหน่วยลงทุนในกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอนบางส่วน ซึ�งมีมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย 312 ล้านบาท (2557: 354 ล้านบาท) และมีมูลค่าตามราคาตลาด 705 ล้านบาท (2557: 692 ล้านบาท) ถูกจดจํานองหรือจํานําเป็ น ประกันหนี�สนิ ภายใต้สญั ญา ทรัสต์รีซที วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน� จากสถาบันการเงิน

18. เจ้าหนี� การค้าและเจ้าหนี� อน�ื

เจ้าหนี�การค้า - กิจการที�ไม่เกี�ยวข้องกัน เจ้าหนี�อ�นื - กิจการที�เกีย� วข้องกัน ดอกเบี�ยค้างจ่าย: กิจการที�เกี�ยวข้องกัน กิจการที�ไม่เกี�ยวข้องกัน ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย: กิจการที�เกี�ยวข้องกัน กิจการที�ไม่เกีย� วข้องกัน รวมเจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อ�นื

งบการเงินรวม 2558 2557 345,228 405,112 6,364 7,867

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 29,797 100,340 2,487 2,412

82 205,509

87 171,409

80 205,458

171,281

133 49,021 606,337

76,279 660,754

133 32,664 270,619

55,274 329,307

19. หนี� สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน งบการเงินรวม หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก : ดอกเบี�ยรอตัดจําหน่าย รวม หัก : ส่วนที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี หนี�สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน-สุทธิจากส่วนที�ถงึ กําหนด ชําระภายในหนึ�งปี

174

2558

4,727 (666) 4,061 (1,150) 2,911

(หน่วย: พันบาท) 2557

3,850 (632) 3,218 (686) 2,532


บริษทั ย่อยได้ทาํ สัญญาเช่าการเงินเพื�อเช่ายานพาหนะใช้ในการดําเนินงานของกิจการโดยมีกาํ หนดการชําระค่าเช่า เป็ นรายเดือน และอายุของสัญญามีระยะเวลา 4 ปี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ย่อยมีภาระผูกพันที�จะต้องจ่ายค่าเช่าขัน� ตํา� ตามสัญญาเช่าการเงินดังนี� (หน่วย: พันบาท) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 ไม่เกิน 1 ปี มากกว่า 1 ถึง 5 ปี รวม ผลรวมของจํานวนเงินขัน� ตํา� ที�ตอ้ งจ่ายทัง� สิ�นตาม สัญญาเช่าการเงิน ดอกเบี�ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปัจจุบนั ของจํานวนเงินขัน� ตํา� ที�ตอ้ งจ่ ายทัง� สิ�นตามสัญญาเช่า การเงิน

1,391 (241)

3,336 (425)

4,727 (666)

1,150

2,911

4,061

20. เงินกูย้ มื ระยะยาว 20.1 ยอดคงเหลือของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

(หน่วย: ล ้านบาท)

เงินกูย้ มื คงเหลือ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ลําดับที � วันทีท� าํ สัญญา 1. 2 กรกฎาคม 2555 2. 30 ตุลาคม 2555 3. 22 พฤศจิกายน 2555 4. 29 พฤศจิกายน 2556 5. 27 สิงหาคม 2558 รวมเงินกูย้ มื หัก ส่วนทีถ� งึ กําหนดชําระ ภายในหนึง� ปี รวมเงินกูย้ มื ระยะยาว – สุทธิ

2558 113 165 298 401 50 1,027

2557 182 500 319 6 1,007

2558 113 298 401 812

2557 182 319 6 507

(305) 722

(55) 952

(140) 672

(55) 452

เงือ� นไขทีส� าํ คัญของสัญญาเงินกูย้ มื ระยะเวลา เงินกู ้ 8 ปี 10 ปี 8 ปี 9 ปี 9 ปี

งวดชําระคืน เงินต้น ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน

ระยะเวลาชําระคืนเงินต้น ธันวาคม 2556 – ธันวาคม 2560 มกราคม 2559 – ธันวาคม 2563 มิถนุ ายน 2559 - ธันวาคม 2562 มิถนุ ายน 2560 – มิถนุ ายน 2565 มีนาคม 2562 - กันยายน 2567

อัตราดอกเบี�ย MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที � MLR ต่อปีลบอัตราคงที �

20.2 การเปลีย� นแปลงของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยแห่งหนึ�งมีวงเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที�ยงั มิได้เบิกใช้เป็ นจํานวนรวมประมาณ 4,783 ล้านบาท (2557: 4,074 ล้านบาท)

รายงานประจ�ำปี 2558

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 บวก: กูเ้ พิ�มระหว่างปี หัก: จ่ายคืนระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558

งบการเงินรวม 1,007,384 488,721 (469,225) 1,026,880

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 506,502 438,721 (133,243) 811,980

175


ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนที�อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่าของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และที�ดนิ และอาคารของบริษทั ย่อยแห่งหนึ�ง ซึ�งมีราคา ตามบัญชีรวม 5,426 ล้านบาท (2557: 5,004 ล้านบาท) ถูกจดจํานองเป็ นประกันเงินกูย้ มื ระยะยาว นอกจากนี� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มีภาระคํา� ประกันวงเงินสินเชื�อจากสถาบันการเงินของบริษทั ย่อยในวงเงิน 4,067 ล้านบาท (2557: 4,067 ล้านบาท) ภายใต้สญั ญาเงินกู ้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยต้องปฏิบตั ิตามเงือ� นไขทางการเงินบางประการ เช่น การดํารง อัตราส่วนหนี�สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในอัตราที�กาํ หนดไว้ในสัญญา เป็ นต้น

21. หุน้ กู ้ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มียอดคงเหลือของหุน้ กูร้ วม 18,190 ล้านบาท (2557: 14,810 ล้านบาท) โดยหุน้ กูท้ งั� จํานวนเป็ นหุน้ กูช้ นิดระบุช�อื ผูถ้ อื ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ และไม่มหี ลักประกัน มีมลู ค่าที�ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท และมีร าคาเสนอขายหน่วยละ 1,000 บาท ทัง� นี�หุน้ กูด้ งั กล่าวมีขอ้ กําหนดที�สาํ คัญบางประการ เช่น การดํารง อัตราส่วนหนี�สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ เป็ นต้น โดยรายละเอียดที�สาํ คัญของหุน้ กูม้ ดี งั นี� วันครบกําหนด

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม ครัง� ที�

วันที�ออก

จํานวนหน่วย 2558 (ล ้านหน่วย)

176

จํานวน

1/2553 3/2553 4/2553 1/2554 2/2554 3/2554 4/2554 1/2555 3/2555 4/2555 5/2555 5/2555 6/2555 1/2556 2/2556 2/2556 2/2556 3/2556 3/2556 4/2556

12 กุมภาพันธ์ 2553 3 กันยายน 2553 29 กันยายน 2553 20 พฤษภาคม 2554 8 กรกฎาคม 2554 28 ธันวาคม 2554 30 ธันวาคม 2554 10 มกราคม 2555 18 พฤษภาคม 2555 5 กรกฎาคม 2555 17 สิงหาคม 2555 17 สิงหาคม 2555 26 กันยายน 2555 11กุมภาพันธ์ 2556 15 พฤษภาคม 2556 15 พฤษภาคม 2556 15 พฤษภาคม 2556 12 กันยายน 2556 12 กันยายน 2556 8 ตุลาคม 2556

0.65 0.35 0.65 0.35 0.10 0.50 0.30 1.00 0.50 0.30 1.20 0.50 0.60 0.30 0.44

2557 (ล ้านหน่วย) 0.25 0.20 0.22 0.65 0.35 0.65 0.35 0.10 0.80 0.50 0.70 0.30 1.00 0.50 0.30 1.20 0.50 0.60 0.30 0.44

5/2556 1/2557 1/2557

18 ตุลาคม 2556 17 มกราคม 2557 17 มกราคม 2557

0.62 1.00 0.60

0.62 1.00 0.60

2558 (ล ้านบาท)

อัตราดอกเบี�ย

650 350 650 350 100 500 300 1,000 500 300 1,200 500 600 300 440

2557 (ล ้านบาท) 250 200 220 650 350 650 350 100 800 500 700 300 1,000 500 300 1,200 500 600 300 440

620 1,000 600

620 1,000 600

อายุหนุ ้ กู ้

ไถ่ถอน

(ร้อยละต่อปี ) 4.28 5 ปี 12 กุมภาพันธ์ 2558 3.73 5 ปี 3 กันยายน 2558 3.52 5 ปี 29 กันยายน 2558 4.23 5 ปี 20 พฤษภาคม 2559 4.78 7 ปี 8 กรกฎาคม 2561 4.60 5 ปี 28 ธันวาคม 2559 4.60 5 ปี 30 ธันวาคม 2559 4.60 5ปี 10 มกราคม 2560 4.28 3 ปี 18 พฤษภาคม 2558 4.49 5 ปี 5 กรกฎาคม 2560 4.05 3 ปี 17 สิงหาคม 2558 4.17 5 ปี 17 สิงหาคม 2560 4.90 10 ปี 26 กันยายน 2565 3.62 3 ปี 11 กุมภาพันธ์ 2559 3.60 3 ปี 15 พฤษภาคม 2559 4.00 5 ปี 15 พฤษภาคม 2561 4.30 7 ปี 15 พฤษภาคม 2563 4.13 3 ปี 12 กันยายน 2559 4.73 5 ปี 12 กันยายน 2561 4.49 3 ปี 11 เดือน 20 กันยายน 2560 12 วัน 4.85 6 ปี 18 ตุลาคม 2562 3.89 3 ปี 17 มกราคม 2560 4.71 5 ปี 17 มกราคม 2562


วันครบกําหนด

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม ครัง� ที�

2/2557 2/2557 3/2557 4/2557 1/2558 2/2558 2/2558 3/2558 3/2558 3/2558

วันที�ออก

18 กรกฎาคม 2557 18 กรกฎาคม 2557 21 กรกฎาคม 2557 3 ธันวาคม 2557 19 มกราคม 2558 15 พฤษภาคม 2558 15 พฤษภาคม 2558 14 สิงหาคม 2558 14 สิงหาคม 2558 14 สิงหาคม 2558

จํานวนหน่วย

จํานวน

อัตราดอกเบี�ย

อายุหนุ ้ กู ้

ไถ่ถอน

2558 2557 (ล ้านหน่วย) (ล ้านหน่วย) 1.15 1.15 0.80 0.80 0.53 0.53 0.20 0.20 1.55 1.00 1.00 0.70 0.60 0.70 18.19 14.81

2558 2557 (ล ้านบาท) (ล ้านบาท) 1,150 1,150 800 800 530 530 200 200 1,550 1,000 1,000 700 600 700 -

(ร้อยละต่อปี ) 3.82 4.80 3.82 2.90 3.08 2.91 3.69 2.44 3.22 4.03

3 ปี 7 ปี 3 ปี 4 วัน 2 ปี 4 วัน 3 ปี 4 ปี 7 ปี 3 ปี 5 ปี 8 ปี

18 กรกฎาคม 2560 18 กรกฎาคม 2564 25 กรกฎาคม 2560 7 ธันวาคม 2559 19 มกราคม 2561 15 พฤษภาคม 2562 15 พฤษภาคม 2565 14 สิงหาคม 2561 14 สิงหาคม 2563 14 สิงหาคม 2566

18,190

14,810

21.1 ยอดคงเหลือของหุน้ กู ้

หุน้ กู ้ หัก: หุน้ กูท้ �ถี งึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี หุน้ กู ้ - สุทธิจากส่วนที�ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ�งปี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 18,190,000 14,810,000 (3,250,000) (2,170,000) 14,940,000 12,640,000

21.2 การเปลีย� นแปลงของหุน้ กู ้

รายงานประจ�ำปี 2558

ยอดคงเหลือต้นปี บวก: ออกเพิ�มระหว่างปี หัก: ไถ่ถอนระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 14,810,000 11,610,000 5,550,000 4,280,000 (2,170,000) (1,080,000) 18,190,000 14,810,000

177


22. สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ดังนี�

จํานวนเงินสํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานซึ�งเป็ นเงินชดเชยให้แก่พนักงานเมื�อออกจากงานแสดงได้ (หน่วย: พันบาท)

ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ตน้ ปี ส่วนทีร� บั รูใ้ นกําไรหรือขาดทุน : ต้นทุนบริการในปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี�ย ส่วนทีร� บั รูใ้ นกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น : (กําไร) ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย ส่วนทีเ� กิดจากการเปลี�ยนแปลงข้อสมมติ ด้านประชากรศาสตร์ ส่วนทีเ� กิดจากการเปลี�ยนแปลงข้อสมมติ ทางการเงิน ส่วนทีเ� กิดจากการปรับปรุงจากประสบการณ์ ผลประโยชน์ทจ�ี ่ายในระหว่างปี ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ปลายปี

งบการเงินรวม 2558 2557 28,405 25,345

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 24,582 22,351

5,107 810

2,365 775

3,543 620

1,649 662

(4,164)

-

(3,479)

-

1,978 1,186 (1,117) 32,205

(80) 28,405

1,833 (682) (1,117) 25,300

(80) 24,582

ค่าใช้จ่ายเกี�ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรูใ้ นรายการต่อไปนี�ในส่วนของกําไรหรือขาดทุน

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

งบการเงินรวม 2558 2557 5,917 3,140

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 4,163 2,311

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีจาํ นวนสะสมของผลกําไรจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยซึ�งรับรูใ้ นกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นมีจาํ นวน 1.0 ล้านบาท (2557: ไม่ม)ี (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 2.3 ล้านบาท 2557: ไม่ม)ี และระยะเวลาเฉลี�ยถ่วงนํา� หนักในการจ่ายชําระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานของ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยประมาณ 19 - 24 ปี (2557: 19 - 21 ปี ) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 19 ปี 2557: 19 ปี ) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มจี าํ นวนที�คาดว่าจะจ่ายชําระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปี ขา้ งหน้า (2557: 1 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: ไม่มี 2557: ไม่ม)ี สมมติฐานที�สาํ คัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดงั นี� 178


งบการเงินรวม อัตราคิดลด อัตราการขึ�นเงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลี�ยนแปลงในจํานวนพนักงาน (ขึ�นกับช่วงอายุ) - สํานักงานใหญ่ - หน่วยงานก่อสร้าง

2558 (ร้อยละต่อปี ) 2.92 - 3.74 4.0 - 5.0

2557 (ร้อยละต่อปี ) 3.9 4.0 - 5.0

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 (ร้อยละต่อปี ) (ร้อยละต่อปี ) 2.92 3.9 4.0 - 5.0 4.0 - 5.0

0.0 - 18.0 21.0 - 40.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

0.0 - 13.0 21.0 - 40.0

0.0 - 18.0 35.0 - 50.0

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 ผลกระทบของการเปลีย� นแปลงสมมติฐานที�สาํ คัญต่อมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน สรุปได้ดงั นี�

อัตราคิดลด อัตราการขึ�นเงินเดือน อัตราการเปลี�ยนแปลงในจํานวน พนักงาน(ขึ�นกับช่วงอายุ)

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ�มขึ�น 1% ลดลง 1% (2) 2 2 (2)

งบการเงินรวม เพิ�มขึ�น 1% ลดลง 1% (3) 3 3 (3) (3)

2

(2)

1

23. สํารองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรกําไร สุทธิประจําปี ส่วนหนึ�งไว้เป็ นทุนสํารองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี หกั ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสํารองนี�จะมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนําไป จ่ายเงินปันผลได้

24. รายได้และต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ 24.1 รายได้และต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี�

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ขายอาคารและทีด� นิ ขายอาคารตามสัญญาเช่าการเงิน

2,216 1,130 3,346

3,159 1,402 4,561

353 299 652

1,576 414 1,990

รายงานประจ�ำปี 2558

งบการเงินรวม 2558 2557

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

179


(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557 ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ขายอาคารและทีด� นิ ขายอาคารตามสัญญาเช่าการเงิน

1,550 851 2,401

2,017 1,175 3,192

202 139 341

853 146 999

24.2 ประมาณการหนี�สนิ ที�เกี�ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ (หน่วย: พันบาท)

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 เพิ�มขึ�นในระหว่างปี ลดลงจากรายจ่ายที�เกิดขึ�นจริง ลดลงจากการโอนกลับรายการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 ปี 2558 หมุนเวียน ไม่หมุนเวียน

ประกันรายได้ ค่าเช่าและค่าบริการ 67,963 50,270 (39,388) (18) 78,827 65,558 13,269 78,827

งบการเงินรวม ประกันราคาซื�อจากการ ใช้สทิ ธิเลือกซื�อจาก ผูเ้ ช่ารายย่อยด้วย ราคาตลาด 65,228 (8,037) 57,191 10,770 46,421 57,191

รวม 133,191 50,270 (39,388) (8,055) 136,018 76,328 59,690 136,018 (หน่วย: พันบาท)

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 ลดลงจากรายจ่ายที�เกิดขึ�นจริง ลดลงจากการโอนกลับรายการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558

180

ประกันรายได้ ค่าเช่าและค่าบริการ 5,562 (5,562) -

งบการเงินเฉพาะกิจการ ประกันราคาซื�อจากการ ใช้สทิ ธิเลือกซื�อจาก ผูเ้ ช่ารายย่อยด้วย ราคาตลาด 65,228 (8,037) 57,191

รวม 70,790 (5,562) (8,037) 57,191


(หน่วย: พันบาท)

ประกันรายได้ ค่าเช่าและค่าบริการ ปี 2558 หมุนเวียน ไม่หมุนเวียน

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ ประกันราคาซื�อจากการ ใช้สทิ ธิเลือกซื�อจาก ผูเ้ ช่ารายย่อยด้วย ราคาตลาด 10,770 46,421 57,191

รวม 10,770 46,421 57,191

ยอดประมาณการหนี�สนิ ดังกล่าวได้รวมส่วนที�บริษทั ฯ ลงทุนในทรัสต์เพื�อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) จํานวน 25 ล้านบาท (2557: 16 ล้านบาท) ซึ�งเป็ นค่าใช้จ่ายที� ยังไม่เกิดขึ�นในงบการเงินรวม ประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรับรู ป้ ระมาณการหนี�สินสําหรับอสังหาริมทรัพย์ท�ีว่างจากการมีผูเ้ ช่า โดยใช้ สมมติฐ านในการคํา นวณประมาณการหนี�สินสํา หรับ การประกัน รายได้ค่า เช่า และค่ า บริก าร โดยอิง จากจํา นวน อสังหาริมทรัพ ย์ท�ีว่า งและอัตราค่ า เช่า และค่ า บริก ารปัจ จุบ นั ทัง� นี�บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยรับประกันการมีผู เ้ ช่า แก่กองทรัสต์ฯ เป็ นเวลาหนึ�งปี และสี�ปี เป็ นจํานวนเงิน 60 ล้านบาท และ 19 ล้านบาท ตามลําดับ ประกันราคาซื�อจากการใช้สทิ ธิเลือกซื�อจากผูเ้ ช่ารายย่อยด้วยราคาตลาด บริษทั ฯ รับรู ป้ ระมาณการหนี�สินสําหรับการประกันราคาซื�อจากการใช้สิทธิเลือกซื�อจากผูเ้ ช่ารายย่อย ด้วยราคาตลาด โดยประมาณเงินชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาใช้สิทธิสุทธิแก่กองทรัสต์ฯ สําหรับผูเ้ ช่า รายย่อยใช้สิทธิเลือกซื�อทรัพย์สินดังกล่าว (Option to buy) โดยใช้ขอ้ มูลการประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์โดย ผูป้ ระเมินอิสระ และบันทึกประมาณการหนี�สนิ ตามจํานวนเงินที�คาดว่าจะจ่ายให้แก่กองทรัสต์ฯ ทัง� นี�บริษทั ฯ รับประกัน ราคาซื�อดังกล่าวสําหรับผูเ้ ช่ารายย่อยจํานวนสามรายแก่กองทรัสต์ฯ โดยผูเ้ ช่ารายย่อยสองรายจะต้องใช้สิทธิเลือกซื�อ ภายในไตรมาสที� 1 ของปี 2559 และผูเ้ ช่ารายย่อยอีกรายสามารถใช้สทิ ธิเลือกซื�อได้จนถึงไตรมาสที� 2 ของปี 2562

25. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายงานประจ�ำปี 2558

รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที�สาํ คัญดังต่อไปนี�

181


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557

เงินเดือนและค่าแรงและ ผลประโยชน์อ�นื ของพนักงาน ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา ค่าเช่าจ่ายตามสัญญาเช่าดําเนินงาน

212,585 522,574 44,415 65,682

196,897 432,867 56,252 60,739

143,299 151,125 16,454 37,152

137,345 132,926 21,713 37,886

26. ภาษีเงินได้ 26.1 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สรุปได้ดงั นี� (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 ภาษี เงินได้ปจั จุบนั : ภาษีเงินได้นิติบคุ คลสําหรับปี ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี : ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผล แตกต่างชัว� คราวและการกลับรายการผล แตกต่างชัว� คราว ค่าใช้จ่ายภาษี เงินได้ท�แี สดงอยู่ในงบกําไร ขาดทุน

2557

27,285

120,742

-

119,140

62,477

17,781

33,964

33,499

89,762

138,523

33,964

152,639

จํานวนภาษีเงินได้ท�เี กี�ยวข้อ งกับส่ว นประกอบแต่ละส่วนของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น สําหรับปี ส� นิ สุด วันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สรุปได้ดงั นี� (หน่วย:พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

งบการเงินรวม 2558 2557 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีท�เี กี�ยวข้องกับ กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน

182

200 200

-

466 466

-


รายการกระทบยอดจํานวนเงินระหว่างกําไรทางบัญชีกบั ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้มดี งั นี� งบการเงินรวม กําไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล อัตราภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล: กําไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิตบิ คุ คลคูณ อัตราภาษี ผลกระทบทางภาษีสาํ หรับ: การส่งเสริมการลงทุน เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ค่าใช้จ่ายและรายได้ท�ไี ม่สามารถนํามา (หัก) บวกทางภาษีได้ รวม ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ท�แี สดงอยู่ในงบกําไรขาดทุน

2558 860,721 20%

2557 900,094 0%-20%

(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 573,718 1,377,167 20%

20%

172,144

180,019

114,744

275,433

(60,460) -

(82,435) -

(161,681)

(41,879) (79,022)

(21,922) (82,382) 89,762

40,939 (41,496) 138,523

80,901 (80,780) 33,964

(1,893) (122,794) 152,639

26.2 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี�สนิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ส่วนประกอบของสินทรัพ ย์ภาษีเ งินได้ร อการตัดบัญชีและหนี�สินภาษีเ งินได้ร อการตัดบัญ ชี ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี� (หน่วย: พันบาท)

สินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี กําไรที�ยงั ไม่เกิดขึ�นจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม สํารองผลประโยชน์ของพนักงาน หนี�สงสัยจะสู ญ ประมาณการหนี�สนิ เงินมัดจําจากลูกค้า การตัดจําหน่ ายทีด� นิ และอาคาร ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ขาดทุนทางภาษี รวม หนี� สินภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน รายได้จากการขายอาคารตามสัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557

229,372 6,374 903 28,623 16,158 1,811 22,640 297 306,178

250,966 5,638 903 31,907 12,137 301,551

5,060 903 13,937 6,431 245 558 27,134

4,917 903 16,777 6,614 29,211

4,301 273,580

3,352 207,225

2,146 198,148

1,689 166,252

รายงานประจ�ำปี 2558

งบการเงินรวม 2558 2557

183


(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2558 2557 277,881 210,577 28,297 90,974

รวม สินทรัพย์ (หนี�สนิ ) ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 200,294 167,941 (173,160) (138,730)

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มีรายการขาดทุนทางภาษีท�ียงั ไม่ได้ใช้จาํ นวน 340 ล้านบาท ซึ�ง บริษทั ฯ ไม่ได้บนั ทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เนื�องจากบริษทั ฯ เห็นว่าบริษทั ฯ อาจมีกาํ ไรทางภาษีในส่วนของ รายการที�ไม่ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนไม่เพียงพอในอนาคตที�จะนําผลขาดทุนทางภาษีดงั กล่าวมาใช้ประโยชน์ได้ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มีผลขาดทุนทางภาษีทย�ี งั ไม่ได้ใช้มจี าํ นวนเงิน 340 ล้านบาท ซึ�งจะ ทยอยสิ�นสุดระยะเวลาการให้ประโยชน์ภายในปี 2563

27. การส่งเสริมการลงทุน บริ ษ ทั ฯ และบริ ษ ทั ย่ อ ยสองแห่ ง ได้ร ับ สิท ธิ ป ระโยชน์ท างภาษีจ ากคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนสําหรับการพัฒนาอาคารสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม และ/หรือคลังสินค้าจํานวน 42 โครงการและ 15 โครงการ ตามลําดับ สิทธิประโยชน์ท�ไี ด้รบั รวมถึงการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นระยะเวลา 3 ปี ถึง 8 ปี และการได้รบั การได้ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลกึ�งหนึ�งเป็ นระยะเวลา 5 ปี หลังจากสิ�นสุดระยะเวลา ที�ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนสําหรับบริษทั ฯ จํานวน 14 โครงการ และสําหรับบริษทั ย่อยจํานวน 4 โครงการ รายได้ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจําแนกตามกิจการที�ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนและไม่ได้รบั การส่งเสริมการ ลงทุนสําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 สามารถสรุปได้ดงั นี�

(หน่วย: พันบาท)

รายได้จากการให้เช่าและบริการที� เกี�ยวข ้อง รายได้จากการให้บริการ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้ค่าบริหารจัดการ จากบริษทั ร่วม กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม ดอกเบี�ยรับ ค่าสินไหมทดแทนรับจาก การประกันภัย รายได้อนื� รวม

184

งบการเงินรวม ส่วนที�ไม่ได้รบั การส่งเสริม 2558 2557

ส่วนที�ได้รบั การส่งเสริม 2558 2557

รวม 2558

2557

502,445 1,490,022 -

466,336 2,766,569 1,128

546,102 30,158 1,855,584 35,625

499,721 54,159 1,794,706 36,824

1,048,547 30,158 3,345,606 35,625

966,057 54,159 4,561,275 37,952

-

-

204,123

165,341

204,123

165,341

215

191

126,300 6,306

1,496 8,058

126,300 6,521

1,496 8,249

1,992,682

700 3,234,924

170 56,880 2,861,248

2,428 58,800 2,621,533

170 56,880 4,853,930

2,428 59,500 5,856,457


(หน่วย: พันบาท)

รายได้จากการให้เช่าและบริการที� เกี�ยวข ้อง รายได้จากการให้บริการ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณูปโภค เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม รายได้ค่าบริหารจัดการ จากบริษทั ร่วม กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริษทั ย่อย ดอกเบี�ยรับ ค่าสินไหมทดแทนรับจาก การประกันภัย รายได้อนื� รวม

ส่วนที�ได้รบั การส่งเสริม 2558 2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนที�ไม่ได้รบั การส่งเสริม 2558 2557

2558

2557

รวม

80,948 494,314 -

133,416 1,481,349 -

276,515 22,667 158,016 8,727 458,500 367,643

322,729 40,937 508,415 10,960 16,750 380,516

357,463 22,667 652,330 8,727 458,500 367,643

456,145 40,937 1,989,764 10,960 16,750 380,516

-

-

128,274

127,295

128,274

127,295

-

-

44,424

4,473

44,424

4,473

-

-

65,498

67,000 439,468

65,498

67,000 439,468

575,262

1,614,765

4 41,389 1,571,657

2,322 41,263 1,962,128

4 41,389 2,146,919

2,322 41,263 3,576,893

28. กําไรต่อหุน้ กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐานคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปี ท�เี ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อื�น) ด้วยจํานวนถัวเฉลีย� ถ่วงนํา� หนักของหุน้ สามัญที�ออกอยู่ในระหว่างปี กําไรต่อหุน้ ปรับลดคํานวณโดยหารกําไรสําหรับปี ท�เี ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�น) ด้วยผลรวมของจํานวนถัวเฉลี�ย ถ่วงนํา� หนักของหุน้ สามัญที�ออกอยู่ในระหว่างปี ก บั จํา นวนถัวเฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก ของ หุน้ สามัญที�บริษทั ฯ อาจต้องออกเพื�อแปลงหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทัง� สิ�นให้เป็ นหุน้ สามัญโดยสมมติว่าได้มกี ารแปลง เป็ นหุน้ สามัญ ณ วันต้นปี หรือ ณ วันออกหุน้ สามัญเทียบเท่า

รายงานประจ�ำปี 2558

กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐานและกําไรต่อหุน้ ปรับลด แสดงการคํานวณได้ดงั นี�

185


กําไรสําหรับปี 2558 2557 (พันบาท) (พันบาท) กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนของบริ ้ ษทั ฯ ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ ทีจ� ะซื�อหุนสามั ้ ญ TICON-T2 TICON-W6 กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนสามั ้ ญสมมติ ว่ามีการใช้สิทธิซ� อื หุนสามั ้ ญจาก ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ

769,741

761,735

-

-

769,741

761,735

งบการเงินรวม จํานวนหุนสามั ้ ญ ถัวเฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก 2558 2557 (พันหุน)้ (พันหุน)้ 1,099,142 1,001,560

-

กําไรต่อหุน้ 2558 2557 (บาท) (บาท) 0.70

0.76

0.70

0.76

2,830 1,089

1,099,142 1,005,479 งบการเงินเฉพาะกิจการ

กําไรต่อหุน้ ขัน� พื�นฐาน กําไรส่วนทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนของบริ ้ ษทั ฯ ผลกระทบของหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ ทีจ� ะซื�อหุนสามั ้ ญ TICON-T2 TICON-W6 กําไรต่อหุน้ ปรับลด กําไรทีเ� ป็ นของผูถ้ อื หุนสามั ้ ญสมมติ ว่ามีการใช้สิทธิซ� อื หุนสามั ้ ญจาก ใบสําคัญแสดงสิทธิ/ใบแสดงสิทธิ

186

กําไรสําหรับปี 2558 2557 (พันบาท) (พันบาท) 539,753

1,224,527

-

-

539,753

1,224,527

จํานวนหุนสามั ้ ญ ถัวเฉลี�ยถ่วงนํา� หนัก 2558 2557 (พันหุน)้ (พันหุน)้ 1,099,142 1,001,560

-

กําไรต่อหุน้ 2558 2557 (บาท) (บาท) 0.49

1.22

0.49

1.22

2,830 1,089

1,099,142 1,005,479


29. ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน ข้อมูลส่วนงานดําเนินงานที�นาํ เสนอนี�สอดคล้องกับรายงานภายในของบริษทั ฯ ที�ผูม้ อี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดด้าน การดําเนินงานได้รบั และสอบทานอย่างสมํา� เสมอเพื�อใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้ก บั ส่วนงานและ ประเมินผลการดําเนินงานของส่วนงานทัง� นี�ผูม้ อี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดําเนินงานของบริษทั คือ กรรมการผูจ้ ดั การ เพื�อวัตถุประสงค์ในการบริหารงานบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัดโครงสร้างองค์กรเป็ นหน่วยธุ รกิจตามประเภทของ ผลิตภัณฑ์และบริการ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีส่วนงานที�รายงานทัง� สิ�น 4 ส่วนงาน ดังนี�    

ส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพือ� การลงทุนโดยการสร้างโรงงาน ส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนโดยการสร้างคลังสินค้า ส่วนงานธุรกิจให้บริการ ส่วนงานบริหารจัดการทัว� ไป

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มกี ารรวมส่วนงานดําเนินงานเป็ นส่วนงานที�รายงานข้างต้น ผูม้ อี าํ นาจตัดสินใจสูงสุดสอบทานผลการดําเนินงานของแต่ละหน่วยธุ รกิจแยกจากกันเพื�อวัตถุประสงค์ในการ ตัดสินใจเกี�ยวกับการจัดสรรทรัพ ยากรและการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน บริษทั ฯ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ ส่วนงานโดยพิจารณาจากกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานและสินทรัพย์รวมซึ�งวัดมูลค่าโดยใช้เกณฑ์เดียวกับที�ใช้ใน การวัดกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานและสินทรัพย์รวมในงบการเงิน การบันทึกบัญชีสาํ หรับรายการระหว่า งส่วนงานที�รายงานเป็ นไปในลัก ษณะเดีย วกับการบันทึก บัญชีสาํ หรับ รายการธุรกิจกับบุคคลภายนอก

รายงานประจ�ำปี 2558

ข้อมูลรายได้ กําไร และสินทรัพย์รวมของส่วนงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยสําหรับปี ส� ินสุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดงั ต่อไปนี�

187


(หน่วย: ล ้านบาท) พัฒนาอสังหาสําหรับปี สิ�นสุด วันที� 31 ธันวาคม 2558 รายได้จากลูกค้าภายนอก

พัฒนาอสังหา-

ริมทรัพย์เพื�อการ ริมทรัพย์เพื�อการ ลงทุนโดยการ ลงทุนโดยการ สร้างโรงงาน

สร้างคลังสินค้า

รายการ ธุรกิจ

บริหาร จัดการ

ให้บริการ

ทัว� ไป

อืน� ๆ

รวมส่วนงาน

ปรับปรุงและ ตัดรายการ

งบการเงิน

ที�รายงาน

ระหว่างกัน

รวม

1,052

3,383

30

204

183

4,852

(5)

4,847

ดอกเบี�ยรับ

66

-

-

-

-

66

(60)

6

ดอกเบี�ยจ่าย

(733)

(69)

-

-

-

(802)

51

(751)

ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย

(63)

(177)

-

-

-

(240)

4

(236)

ส่วนแบ่งผลกําไรหรือขาดทุนจากบริษทั ร่วม

292

35

-

-

2

329

-

329

(56)

(18)

-

(16)

-

(90)

-

(90)

กําไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน

(134)

630

(7)

108

160

757

14

771

สินทรัพย์รวมของส่วนงาน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม และ

10,704 1,659

25,605 1,498

-

-

422

36,309 3,579

(15) -

36,294 3,579

1,345

5,594

-

-

-

6,939

-

6,939

และการร่วมค้าที�บนั ทึกตามวิธีส่วนได้เสีย ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

การร่วมค้าที�บนั ทึกตามวิธีส่วนได้เสีย การเพิ�มขึ�นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ไม่ รวมเครื�องมือทางการเงิน และสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

(หน่วย: ล ้านบาท) พัฒนาอสังหาสําหรับปี สิ�นสุด วันที� 31 ธันวาคม 2557 รายได้จากลูกค้าภายนอก

พัฒนาอสังหา-

รายการ

ริมทรัพย์เพื�อการ ริมทรัพย์เพื�อการ ลงทุนโดยการ ลงทุนโดยการ ธุรกิจ สร้างคลังสินค้า ให้บริการ สร้างโรงงาน

บริหาร จัดการ ทัว� ไป

ปรับปรุงและ อืน� ๆ

รวมส่วนงาน ที�รายงาน

ตัดรายการ ระหว่างกัน

งบการเงิน รวม

2,492

3,079

54

165

63

5,853

(5)

5,848

ดอกเบี�ยรับ

439

-

-

-

1

440

(432)

8

ดอกเบี�ยจ่าย

(613)

(354)

-

-

-

(967)

333

(634)

(72) 43

(107) 68

-

-

-

(179) 111

4 -

(175) 111

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

(137)

11

(13)

-

-

(139)

-

(139)

กําไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน

732

(1)

(15)

81

46

843

(81)

762

สินทรัพย์รวมของส่วนงาน

9,422

21,781

-

-

-

31,203

6

31,209

1,976

1,345

-

-

-

3,321

-

3,321

2,020

6,408

-

-

-

8,428

-

8,428

ค่าเสื�อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ส่วนแบ่งผลกําไรหรือขาดทุนจากบริษทั ร่วม ที�บนั ทึกตามวิธีส่วนได้เสีย

เงินลงทุนในบริษทั ร่วม และ กิจการร่วมค้าที�บนั ทึกตามวิธีส่วนได้เสีย การเพิ�มขึ�นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที�ไม่ รวมเครื�องมือทางการเงิน และสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

188


ข้อมูลเกี�ยวกับเขตภูมศิ าสตร์ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยดําเนินธุรกิจในเขตภูมศิ าสตร์เดียว คือประเทศไทย ดังนัน� รายได้และสินทรัพย์ท�แี สดงอยู่ ในงบการเงิน จึงถือเป็ นการรายงานตามเขตภูมศิ าสตร์แล้ว ข้อมูลเกี�ยวกับลูกค้ารายใหญ่ ในปี 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จาํ นวนหนึ�งราย เป็ นจํานวนเงินประมาณ 3,159 ล้า นบาท ซึ�ง มาจากส่ ว นงานพัฒ นาอสัง หาริ ม ทรัพ ย์เ พื� อ การลงทุ น โดยการสร้า งโรงงาน และส่ ว นงานพัฒ นา อสังหาริมทรัพย์เ พื�อการลงทุนโดยการสร้า งคลังสินค้า (ในปี 2557 มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จาํ นวนหนึ�งราย เป็ น จํานวนเงิน 4,228 ล้านบาท ซึ�งมาจากส่วนงานพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนโดยการสร้างโรงงาน และส่วนงาน พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนโดยการสร้างคลังสินค้า)

30. กองทุนสํารองเลี�ยงชีพ บริษทั ฯ บริษทั ย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตัง� กองทุนสํารองเลี�ยงชีพ ซึ�งประกอบด้วยเงินที�พนักงานจ่ายสะสม และเงินที�บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อยจ่ า ยสมทบให้ในอัตราร้อ ยละ 2 - 4 ของค่ า จ้า งกองทุนสํารองเลี�ย งชีพ นี�บริหาร โดยธนาคารกรุงศรีอ ยุธ ยา จํา กัด (มหาชน) ในระหว่า งปี 2558 บริษทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยจ่ ายเงินสมทบเข้า กองทุน เป็ นจํานวน 4 ล้านบาท (2557: 4 ล้านบาท)

31. เงินปันผลจ่าย เงินปันผลสําหรับปี ส�นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 ประกอบด้วย เงินปันผล

อนุ มตั โิ ดย

เงินปันผลจ่าย (พันบาท)

เงินปันผลต่อหุน้ (บาท)

เงินปันผลจากผลการดําเนินงาน ของปี 2557

ทีป� ระชุมสามัญผูถ้ อื หุนประจํ ้ าปี เมื�อวันที� 22 เมษายน 2558

549,538

0.5

เงินปันผลจากผลการดําเนินงาน ของปี 2556

ทีป� ระชุมสามัญผูถ้ อื หุนประจํ ้ าปี เมื�อวันที� 22 เมษายน 2557

913,786

1.0

32. ภาระผูกพันและหนี� สนิ ที�อาจจะเกิดขึ�น 32.1 สัญญาเช่าระยะยาว

รายงานประจ�ำปี 2558

ก) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ทาํ สัญญาเช่าที�ดนิ กับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยรวม 6 ฉบับ เพื�อประกอบกิจการสร้างโรงงานมาตรฐานให้เช่า สัญญาดังกล่าวสรุปได้ดงั นี�

189


สัญญาเลขที� 21/2538 -นฉ 14/2540-นฉ 8/2542-นฉ 9/2544-นฉ นฉ.ค 002/2548 นฉ. 005/2549

ระยะเวลาเช่า 13 ธันวาคม 2538 - 12 ธันวาคม 2568 14 พฤศจิกายน 2540 - 13 พฤศจิกายน 2570 18 สิงหาคม 2542 - 17 สิงหาคม 2572 6 มิถนุ ายน 2544 - 31 ธันวาคม 2561 25 มกราคม 2548 - 31 ธันวาคม 2561 25 เมษายน 2549 - 31 ธันวาคม 2561

อัตราค่าเช่า 4.70 ลา้ นบาทต่อปี 0.66 ลา้ นบาทต่อปี 2.21 ลา้ นบาทต่อปี 5.59 ลา้ นบาทต่อปี 0.75 ลา้ นบาทต่อปี 2.08 ลา้ นบาทต่อปี

(ก) (ก) (ก) (ข) (ข) (ข)

(ก) ค่ าเช่าจะถูกปรับเพิม� ทุก ๆ 10 ปี ในอัตราไม่เกินร้อยละ 10 ของค่ าเช่าเดิม (ข) ค่ าเช่าจะถูกปรับเพิม� ทุก ๆ 5 ปี ในอัตราไม่เกินร้อยละ 10 ของค่ าเช่าเดิม

ข) บริษ ทั ฯ ได้ท าํ สัญ ญาเช่าพื�นที�สาํ นัก งานและบริการที�เ กี�ย วข้อ งกับบริษ ทั ที�เ กี�ย วข้อ งกันแห่งหนึ�ง โดยมีค่าเช่าและค่าบริการคิดเป็ นจํานวนเงินรวม 17 ล้านบาทต่อปี สญั ญาดังกล่าวมีกาํ หนดระยะเวลา 3 ปี โดยเริ�มตัง� แต่ เดือนกรกฎาคม 2558 ถึงเดือนมิถนุ ายน 2561 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีจาํ นวนเงินขัน� ตํา� ที�ตอ้ งจ่ายในอนาคตภายใต้สญั ญาเช่าดําเนินงานดังนี�

จ่ายชําระ ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี

งบการเงินรวม 2558 2557 37 84 49

101 69 58

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 25 63 49

19 46 58

32.2 ภาระผูกพันเกี�ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุน

สัญญาซื�อที�ดนิ เพื�อสร้างโรงงานและ คลังสินค้าในอนาคต สัญญาจ้างผู ้รับเหมาก่อสร้าง สัญญาถมที�ดนิ รวม

งบการเงินรวม 2558 2557 765 17 782

1,215 1,576 33 2,824

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 36 36

671 74 745

ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ย่อยมีวงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิตสําหรับรายจ่ายฝ่ ายทุนจํานวนเงิน 2 ล้านเหรียญดอลลาร์สงิ คโปร์ ที�เกี�ยวข้องกับการจ้างติดตัง� อุปกรณ์ในคลังสินค้า

190


32.3 หนังสือคํ�าประกันธนาคาร (ก) ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มีการคํา� ประกันวงเงินหนังสือคํา� ประกันที�ออกโดยธนาคาร ให้แก่บริษทั ย่อยในวงเงิน 111 ล้านบาท (2557: 111 ล้านบาท) (ข) ยอดคงเหลือ ของหนัง สือ คํา� ประกัน ที�อ อกโดยธนาคารในนามของบริ ษ ทั ฯ และบริ ษ ทั ย่ อ ย ซึ�งเกี�ยวเนื�องกับภาระผูกพันในการดําเนินงานมีดงั นี� วัตถุประสงค์เพือ� คํา� ประกัน สัญญาเช่าที�ดินระยะยาว สาธารณู ปโภคในโครงการ เงินประกันการก่อสร้าง การดําเนินงานในการก่อสร้างอาคารโรงงาน รวม

งบการเงินรวม 2558 2557 35 35 20 19 50 4 12 59 116

(หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2558 2557 23 23 5 6 4 6 32 35

32.4 สินทรัพย์ท�ีตดิ ภาระจํายอม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีท�ีดินที�ติดภาระจํายอมรวมจํานวนประมาณ 312 ไร่ (2557: 227 ไร่) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 73 ไร่ 2557: 68 ไร่) ซึ�งที�ดนิ ที�ติดภาระจํายอมดังกล่าวมีมูลค่าตามบัญชี เป็ นจํานวน 505 ล้านบาท (2557: 430 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 161 ล้านบาท 2557: 152 ล้านบาท) และ แสดงภายใต้หวั ข้อ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุนให้เช่า และที�ดนิ อาคารและอุปกรณ์ 32.5 การคํ�าประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ บริษ ทั ฯ ในฐานะผู บ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์รายหนึ�งของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพ ย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ (“กองทุนฯ”) เป็ นจํานวน 27 คลังสินค้า ได้รบั ประกันค่าเช่าและบริการขัน� ตํา� หลังหักค่าบริการส่วนกลางของคลังสินค้า จํา นวนหนึ�งที�ไม่มผี ู เ้ ช่า ให้แก่ ก องทุนฯ ในช่วงระยะเวลาตัง� แต่ ว นั ที� 1 มกราคม 2555 ถึงวันที� 31 ธันวาคม 2559 เป็ นจํานวนเงิน 188 ล้านบาทต่อปี กล่าวคือ ในกรณีท�รี ายได้ค่าเช่าและบริการของกองทุนฯ หลังหักค่าบริการส่วนกลาง ของคลังสินค้าที�ไม่มผี ูเ้ ช่ามีจาํ นวนตํา� กว่าจํานวนเงินรับประกันข้างต้น บริษทั ฯ จะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบจ่ายชดเชยส่วนต่าง ดังกล่าวให้แก่กองทุนฯ

- สําหรับทรัพย์สนิ ที�ขาย/ให้เช่าในวันที� 22 และ 23 ธันวาคม 2557 เฉพาะรายการที�ว่างจากการมีผูเ้ ช่า ณ วันที�ทรัสต์ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิหรือการเช่าอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าว โดยจะชดเชยรายได้ให้แก่กองทรัสต์ฯ ตามอัตราค่าเช่าและค่าบริการเท่ากับค่าเช่าและบริการของผูเ้ ช่ารายย่อยรายล่าสุดที�เช่าทรัพย์สนิ ดังกล่าว จนกว่าผูบ้ ริหาร อสังหาริมทรัพย์จะสามารถหาผูเ้ ช่ารายย่อยได้และผูเ้ ช่ารายย่อยเริ�มชําระค่าเช่าและบริการแล้ว หรือจนกว่าจะสิ�นสุด

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษทั ฯ และบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด ในฐานะผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ของทรัสต์เพื�อ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) ได้ตกลงรับประกันการมีผูเ้ ช่า ดังนี�

191


ระยะเวลา 12 เดือนนับจากวันที�กองทรัสต์ฯ เข้าลงทุนครัง� แรกในทรัพย์สนิ ดังกล่าวโดยการจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ� หรือการเช่าอสังหาริมทรัพย์ - สําหรับทรัพย์สนิ ที�ขาย/ให้เช่าในวันที� 18 และ 21 ธันวาคม 2558 เฉพาะรายการที�ว่างจากการมีผูเ้ ช่า ณ วันที�ทรัสต์ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิหรือการเช่าอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวหรือสัญญาเช่าสิ�นสุดลงภายในระหว่าง ระยะเวลา 12 เดือน โดยจะชดเชยรายได้ให้แก่กองทรัสต์ฯ ตามอัตราค่าเช่าและค่าบริการเท่ากับค่าเช่าและบริการของ ผูเ้ ช่ารายย่อยรายล่าสุดที�เช่าทรัพย์สนิ ดังกล่าว จนกว่าผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์จะสามารถหาผูเ้ ช่ารายย่อยได้และผูเ้ ช่า รายย่อยเริ�มชําระค่าเช่าและบริการแล้ว หรือจนกว่าจะสิ�นสุดระยะเวลา 12 เดือนนับจากวันที�กองทรัสต์ฯ เข้าลงทุนเพิ�ม ทุนครัง� ที� 1 ในทรัพย์สนิ ดังกล่าวโดยการจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ�หรือการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ จํานําหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ จํานวน 22 ล้านหน่วย (2557: 22 ล้านหน่วย) ซึ�งมีมลู ค่าตามวิธีส่วนได้เสีย 152 ล้านบาท (2557: 165 ล้านบาท) และ มีมลู ค่าตามราคาตลาด 269 ล้านบาท (2557: 263 ล้านบาท) ไว้กบั ธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ�งเพื�อเป็ นหลักประกันสําหรับ การรับประกันค่าเช่าและบริการดังกล่าว 32.6 การรับประกัน บริษทั ฯ ได้ออกจดหมายการรับประกัน (Letter of Undertaking) ให้แก่สถาบันการเงินแห่งหนึ�งเกี�ยวกับ ภาระหนี�ของบริษทั ย่อยของ PT SLP Surya TICON Internusa โดยจะรับประกันในอัตราร้อยละ 25 ซึ�งเป็ นสัดส่วนที� บริษทั ฯ ถือหุน้ โดยทางอ้อมในบริษทั ย่อยนี� การรับประกันนี�มผี ลตัง� แต่ 29 ตุลาคม 2558 ถึง 29 ตุลาคม 2564

33. เครื�องมือทางการเงิน 33.1 นโยบายการบริหารความเสี�ยง เครื�องมือทางการเงินที�สาํ คัญของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยตามที�นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที� 107 “การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข ้อมูลสําหรับเครื�องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อ�นื ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงานที�ยงั ไม่เรียกชําระ เงินให้กูย้ ืม เงินลงทุน เงินกูย้ มื ระยะสัน� เงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กู ้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสี�ยงที�เกี�ยวข้องกับเครื�องมือทางการเงิน ดังกล่าว และมีนโยบายในการบริหารความเสี�ยงดังนี� ความเสี�ยงด้านการให้สนิ เชื�อ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสี�ยงด้านการให้สินเชื�อที�เกี�ยวเนื�องกับการให้เช่า/ขายโรงงาน คลังสินค้า และการให้บริก าร ฝ่ ายบริหารควบคุมความเสี�ย งนี�โดยการกํา หนดให้มีนโยบายและวิธีก ารในการควบคุมสินเชื�อ ที�เ หมาะสม ดังนัน� บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่อ ยจึ งไม่คาดว่า จะได้ร บั ความเสีย หายที�เ ป็ นสาระสํา คัญจากการให้สินเชื�อ นอกจากนี� การให้สนิ เชื�อของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยไม่มกี ารกระจุกตัว เนื�องจากบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีฐานของลูกค้า ที�หลากหลายและมีอยู่จาํ นวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดที�บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื�อคือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี�ท�แี สดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน

192


ความเสี�ยงจากอัตราดอกเบี�ย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสี�ยงจากอัตราดอกเบี�ยที�สาํ คัญอันเกี�ยวเนื�องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินให้กูย้ มื เงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กูท้ �มี ดี อกเบี�ยสินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินส่วนใหญ่มอี ตั ราดอกเบี�ยที�ปรับขึ�นลง ตามอัตราตลาด หรือมีอตั ราดอกเบี�ยคงที�ซ�งึ ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั สินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินที�สาํ คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี�ย และสําหรับสินทรัพย์และ หนี�สินทางการเงินที�มอี ตั ราดอกเบี�ยคงที�สามารถแยกตามวันที�ครบกําหนดหรือวันที�มกี ารกําหนดอัตราดอกเบี�ยใหม่ (หากวันที�มกี ารกําหนดอัตราดอกเบี�ยใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี� งบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558

หนี� สินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาว

ไม่มี อัตรา ดอกเบี�ย

รวม

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

150 22 57

-

-

983 -

1 80 -

1,134 22 80 57

0.36 1.59 0.95

229

-

-

983

95 176

95 1,388

-

2,040 3,250 72 305 5,667

11,440 613 722 12,775

3,500 63 3,563

-

606 606

2,040 606 18,190 748 1,027 22,611

2.00 4.08 4.09 4.61

รายงานประจ�ำปี 2558

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อนื� เงินฝากสถาบันการเงินทีม� ีภาระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ

อัตราดอกเบี�ยคงที� อัตราดอกเบี�ย ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า ปรับขึ�นลง 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด (ล้านบาท)

193


งบการเงินรวม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 อัตราดอกเบี�ยคงที� ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อนื� เงินฝากสถาบันการเงินทีม� ีภาระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ หนี� สินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาวจากกิจการทีเ� กี�ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาว

อัตราดอกเบี�ย ปรับขึ�นลง ตามราคาตลาด (ล้านบาท)

ไม่มี อัตรา ดอกเบี�ย

รวม

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

1 258 71

-

-

200 -

1 77 -

202 258 77 71

0.21 2.08 2.80

330

-

-

200

60 138

60 668

-

660 2,170 55 2,885

10,340 542 953 11,835

2,300 206 2,506

-

661 661

660 661 14,810 748 1,008 17,887

2.86 4.26 4.28 4.78

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 อัตราดอกเบี�ยคงที� ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อนื� เงินฝากสถาบันการเงินทีม� ีภาระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ หนี� สินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เงินกูย้ ืมระยะสัน� จากบริษทั ทีเ� กี�ยวข้องกัน เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาว

194

อัตราดอกเบี�ย ปรับขึ�นลง ตามราคาตลาด (ล้านบาท)

ไม่มี อัตรา ดอกเบี�ย

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

รวม

150 57

-

-

918 -

40 -

1,068 40 57

0.38 0.95

-

-

-

-

12

12

-

207

-

-

918

52

1,177

2,040 291 3,250 140 5,721

11,440 672 12,112

3,500 3,500

-

271 271

2,040 291 271 18,190 812 21,604

2.00 1.00 4.08 4.75


งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2557 อัตราดอกเบี�ยคงที� ภายใน มากกว่า 1 มากกว่า 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว� คราว ลูกหนี�การค้าและลูกหนี�อนื� เงินฝากสถาบันการเงินทีม� ีภาระคํา� ประกัน ลูกหนี�ตามสัญญาเช่าดําเนินงาน ทีย� งั ไม่เรียกชําระ เงินให้กยู ้ ืมระยะยาวแก่ บริษทั ทีเ� กี�ยวข้องกัน หนี� สินทางการเงิน เงินกูย้ ืมระยะสัน� เจ้าหนี�การค้าและเจ้าหนี�อื�น หุน้ กู ้ เงินกูย้ ืมระยะยาว

อัตราดอกเบี�ย ปรับขึ�นลง ตามราคาตลาด (ล้านบาท)

ไม่มี อัตรา ดอกเบี�ย

รวม

อัตรา ดอกเบี�ย ถัวเฉลีย� (ร้อยละต่อปี )

1 130 71

-

-

76 -

44 -

77 130 44 71

0.41 2.08 2.80

-

-

-

-

11

11

-

202

-

-

1,820 1,896

55

1,820 2,153

4.19

660 2,170 55 2,885

10,340 452 10,792

2,300 2,300

-

329 329

660 329 14,810 507 16,306

2.86 4.26 4.61

ความเสี�ยงจากอัตราแลกเปลี�ยน บริษ ทั ฯ และบริษ ทั ย่ อ ยมีความเสี�ย งจากอัตราแลกเปลี�ย นที�สาํ คัญอันเกี�ย วเนื� อ งจากการซื�อ สินค้า เป็ นเงินตราต่างประเทศ บริษ ทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ตกลงทํา สัญญาซื�อขายเงินตราต่า งประเทศล่วงหน้า เพื�อ ใช้เป็ น เครื�องมือในการบริหารความเสี�ยง ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 บริษทั ฯ ไม่มยี อดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี�สินทางการเงิน ที�เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ 33.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื�องมือทางการเงิน

มูลค่าตามบัญชี และมูลค่ายุติธรรมของหนี�สนิ ทางการเงินระยะยาวทางการเงินที�จ่ายดอกเบี�ยในอัตราคงที� ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 และ 2557 มีดงั ต่อไปนี�

รายงานประจ�ำปี 2558

เนื�องจากสินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสัน� เงินให้กูย้ มื และเงินกูย้ มื มีอตั ราดอกเบี�ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี�ยในตลาด บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงประมาณมูลค่า ยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี�สนิ ทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีท�แี สดงในงบแสดงฐานะการเงิน

195


(หน่วย: ล้านบาท)

หุน้ กู ้

งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 2557 มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุตธิ รรม มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุตธิ รรม 18,190 18,719 14,810 15,220

บริษทั ฯ มีการประมาณมูลค่ายุติธรรมของหุน้ กูโ้ ดยคํานวณจากการใช้ราคาซื�อขายล่าสุด ณ วันที�ในงบ แสดงฐานะการเงินของสมาคมตลาดตราสารหนี�ไทย (The Thai Bond Market Association) หรือใช้การวิเคราะห์ กระแสเงินสดคิดลด อัตราคิดลดที�บริษทั ฯ ใช้เท่ากับอัตราผลตอบแทนของหุน้ กู ้ ณ วันสิ�นรอบระยะเวลารายงานที�มี เงือ� นไข ลักษณะ และระยะเวลาที�เหลืออยู่เหมือนกับหุน้ กูท้ �บี ริษทั ฯ กําลังพิจารณาหามูลค่ายุติธรรม และในระหว่าง ปี ปจั จุบนั ไม่มกี ารโอนรายการระหว่างลําดับชัน� ของมูลค่ายุติธรรม

34. ลําดับชัน� ของมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสินทรัพย์และหนี�สินที�วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหรือ เปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมแยกแสดงตามลําดับชัน� ของมูลค่ายุติธรรม ดังนี� (หน่วย: ล ้านบาท) งบการเงินรวม ระดับ 2 ระดับ 3

ระดับ 1 สินทรัพย์ท�เี ปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนในบริษทั ร่วม อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน หนี� สินที�เปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรม หุนกู ้ ้

รวม

5,723 -

-

32,890

5,723 32,890

-

18,719

-

18,719 (หน่วย: ล ้านบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ระดับ 2 ระดับ 3

ระดับ 1 สินทรัพย์ท�เี ปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนในบริษทั ร่วม อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน หนี� สินที�เปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรม หุนกู ้ ้

196

รวม

5,723 -

-

11,381

5,723 11,381

-

18,719

-

18,719


35. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ใ นการบริหารจัดการทุ นที�ส ํา คัญของกลุ่มบริษ ทั คือ การจัด ให้มีซ�ึง โครงสร้า งทุน ที�เ หมาะสม เพื�อสนับสนุนการดําเนินธุ รกิจของกลุ่มบริษทั และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ ือหุน้ โดย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2558 กลุม่ บริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ต่อทุนเท่ากับ 2.1:1 (2557: 1.7:1) และเฉพาะบริษทั มีอตั ราส่วนหนี�สนิ ต่อทุนเท่ากับ 1.9:1 (2557: 1.4:1)

36. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เมือ� วันที� 25 กุมภาพันธ์ 2559 ที�ประชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ ครัง� ที� 1/2559 ได้มมี ติดงั นี� (ก) ให้เสนอต่อที�ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจําปี 2559 ซึ�งจะจัดขึ�นในวันที� 26 เมษายน 2559 เพื�ออนุมตั ิจ่ายเงิน ปันผลจากกําไรสุทธิประจําปี 2557 และ 2558 ให้แก่ผูถ้ อื หุน้ ในอัตราหุน้ ละ 0.50 บาท โดยกําหนดจ่ายเงินปันผลในวันที� 19 พฤษภาคม 2559 (ข) อนุมตั ิการเสนอขายและ/หรือการให้เช่าทรัพย์สินให้แก่ ผูท้ �สี นใจลงทุน ทัง� นี� บริษทั ฯ คาดว่าจะขายและ/ หรือให้เช่าทรัพย์สนิ ดังกล่าวในระหว่างปี 2559 ประมาณ 48 หลัง ซึ�งมีพ�นื ที�ใช้สอยประมาณ 127,679 ตารางเมตร โดยมี มูลค่ารวมประมาณ 2,500 ล้านบาท

37. การอนุ มตั งิ บการเงิน

รายงานประจ�ำปี 2558

งบการเงินนี�ได้รบั อนุมตั ิให้ออกโดยคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ� วันที� 25 กุมภาพันธ์ 2559

197


แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที�จ่ายให้แก่ผูส้ อบบัญชี รอบปี บญั ชีส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) รายการที�

ชื�อบริษัทผูจ้ ่าย บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

นางสาวรสพร เดชอาคม

800,000

2

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จํากัด

นายชยพล ศุภเศรษฐนนท์

510,000

3

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จํากัด

นายชยพล ศุภเศรษฐนนท์

220,000

4

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จํากัด

นายชยพล ศุภเศรษฐนนท์

230,000

1

ชื�อผูส้ อบบัญชี

รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี

ค่าสอบบัญชี (บาท)

1,760,000

ค่าบริการอื�น (Non-audit fee)

รายการที�

ชื�อบริษัทผูจ้ ่าย

ประเภทของงานบริการอื�น (Non-audit service)

รวมค่าตอบแทนสําหรับงานบริการอื�น (Non-audit fee)

ผูใ้ ห้บริการ

ค่าตอบแทนของงานบริการอื�น (บาท) ส่วนที�จะจ่ายไป ส่วนที�จะต้อง ในระหว่างปี จ่ายในอนาคต บัญชี -

ข้อมูลข้างต้น   ถูกต้องครบถ้วนแล ้ว ทัง� นี� ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าไม่มีขอ้ มูลการให้บริการอื�นที�บริษทั จ่ ายให้ขา้ พเจ้า สํานักงานสอบบัญชีท�ี

ข้าพเจ้าสังกัด และบุคคลหรือกิจการที�เกี�ยวข้องกับข้าพเจ้า และสํานักงานสอบบัญชีท�ขี า้ พเจ้าสังกัด ที�ขา้ พเจ้าทราบและ ไม่มกี ารเปิ ดเผยไว้ข้างต้น  ไม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน กล่าวคือ………………………………………………………………………………………..……………………… เมื�อปรับปรุงข้อมูลข้างต้น (ถ้ามี) แลว้ ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทัง� หมดในแบบฟอร์มนี�แสดงค่ าตอบแทนสอบบัญชี และค่าบริการอื�นทีบ� ริษทั จ่ายให้ข้าพเจ้าและสํานักงานสอบบัญชีดงั กล่าว ทีถ� กู ต้องครบถ้วน

(นางสาวรสพร เดชอาคม) บริษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)

198


แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที�จ่ายให้แก่ผูส้ อบบัญชี รอบปี บญั ชีส� นิ สุดวันที� 31 ธันวาคม 2558 ค่าบริการอื�น (Non-audit fee)

รายการที�

1

ชื�อบริษทั ผูจ้ ่าย

ประเภทของงานบริการอื�น (Non-audit service)

ผูใ้ ห้บริการ

ค่าตอบแทนของงานบริการอื�น (บาท) ส่วนที�จ่ายไป ส่วนที�จะต้อง ในระหว่างปี จ่ายในอนาคต บัญชี

การตรวจสอบข้อมูลเพื�อ ประกอบการยื�นแบบกับ บริษทั บาลานซ์ ฟิ กเกอร์ ออดิท จํากัด สํานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) รวมค่าตอบแทนสําหรับงานบริการอื�น (Non-audit fee)

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

468,000

-

468,000

-

ข้อมูลข้างต้น  ถูกต้องครบถ้วนแลว้ ทัง� นี� ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าไม่มีขอ้ มูลการให้บริการอื�นที�บริษทั จ่ ายให้ขา้ พเจ้า สํานักงานสอบบัญชีท�ี 

ข้าพเจ้าสังกัด และบุคคลหรือกิจการทีเ� กี�ยวข้องกับข้าพเจ้า และสํานักงานสอบบัญชีท�ขี า้ พเจ้าสังกัด ที�ขา้ พเจ้าทราบและไม่มี การเปิ ดเผยไว้ข้างต้น  ไม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน กล่าวคือ ....................................................................................................................................... เมื�อปรับปรุงข้อมูลข้างต้น (ถ้ามี) แล ้ว ข้าพเจ้าขอยืนยันว่าข้อมูลทัง� หมดในแบบฟอร์มนี�แสดงค่ าตอบแทนสอบบัญชี และ ค่าบริการอื�นที�บริษทั จ่ายให้ข ้าพเจ้าและสํานักงานสอบบัญชีดงั กล่าว ที�ถกู ต้องครบถ้วน

(นางสาวศิรณ ิ ี ภวเรืองจํารู ญ) สังกัดสํานักงาน บริษทั บาลานซ์ ฟิ กเกอร์ ออดิท จํากัด

รายงานประจ�ำปี 2558

ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน� จํากัด (มหาชน)

199


บร�ษัท ไทคอน อินดัสเทร�ยล คอนเน็คชั�น จำกัด (มหาชน) หอง 1308 ชั้น 13/1 อาคารสาธรซ�ตี้ทาวเวอร เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticon.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.