TICON: Annual Report 2016

Page 1

ºÃÔÉÑ· ䷤͹ ÍÔ¹´ÑÊà·ÃÕÂÅ ¤Í¹à¹ç¤ªÑè¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2559

บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จำกัด (มหาชน) ห้อง 1308 ชั้น 13/1 อาคารสาธรซิตี้ทาวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticon.co.th

บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จำกัด (มหาชน)

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2559

Leading Industrial Property TOTAL SOLUTION PROVIDER Warehouses and Factories for Lease


ÊÒúÑÞ 2 4 6 7 8 10 14 22 26 34

ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà ÃÒ§ҹ¡ÒáӡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òâͧ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§ ¢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹·ÕèÊÓ¤ÑÞ âç§Ò¹áÅФÅѧÊÔ¹¤ŒÒ ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºµ‹ÍÊѧ¤Á ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒà ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¹âºÒÂáÅÐÀÒ¾ÃÇÁ¡ÒûÃСͺ¸ØáԨ ÅѡɳСÒûÃСͺ¸ØáԨ

48 51 52 69 88 92 95 110 111 200

»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕè§ â¤Ã§ÊÌҧ¡Òüٌ¶×ÍËØŒ¹ â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡Òà ¡ÒáӡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òà ¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹áÅСÒúÃÔËÒèѴ¡ÒäÇÒÁàÊÕè§ ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË áÅФÓ͸ԺÒ¢ͧ½†Ò¨Ѵ¡Òà ÃÒ§ҹ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òõ‹ÍÃÒ§ҹ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ §º¡ÒÃà§Ô¹ ẺÂ×¹Âѧ¤ÇÒÁ¶Ù¡µŒÍ§¤Ãº¶ŒÇ¹¢Í§¤‹ÒµÍºá·¹·Õ訋ÒÂãˌᡋ¼ÙŒÊͺºÑÞªÕ


ÊÒúÑÞ 2 4 6 7 8 10 14 22 26 34

ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà ÃÒ§ҹ¡ÒáӡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òâͧ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§ ¢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹·ÕèÊÓ¤ÑÞ âç§Ò¹áÅФÅѧÊÔ¹¤ŒÒ ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºµ‹ÍÊѧ¤Á ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒà ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¹âºÒÂáÅÐÀÒ¾ÃÇÁ¡ÒûÃСͺ¸ØáԨ ÅѡɳСÒûÃСͺ¸ØáԨ

48 51 52 69 88 92 95 110 111 200

»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕè§ â¤Ã§ÊÌҧ¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡Òà ¡ÒáӡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òà ¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹áÅСÒúÃÔËÒèѴ¡ÒäÇÒÁàÊÕè§ ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË áÅФÓ͸ԺÒ¢ͧ½†Ò¨Ѵ¡Òà ÃÒ§ҹ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òõ‹ÍÃÒ§ҹ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ §º¡ÒÃà§Ô¹ ẺÂ×¹Âѧ¤ÇÒÁ¶Ù¡µŒÍ§¤Ãº¶ŒÇ¹¢Í§¤‹ÒµÍºá·¹·Õ訋ÒÂãˌᡋ¼ÙŒÊͺºÑÞªÕ


2

รายงานประจ�ำปี 2559

สารจากประธานกรรมการ ปี 2559 เศรษฐกิจไทยโดยทั่วไปมีการเจริญเติบโตที่ดีขึ้นเมื่อ เทียบกับในปี 2558 โดยมีอัตราการเติบโตของมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศเบื้องต้นอยู่ที่ร้อยละ 3.2 เทียบกับร้อยละ 2.9 ในปี 2558 สถิติการยื่นขอส่งเสริมการลงทุนจากคณะ กรรมการลงทุนแห่งประเทศไทยของโครงการลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศในปี 2559 มีโครงการยื่นขอส่งเสริมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีนักลงทุนสนใจยื่นขอรับการส่งเสริมตามนโยบาย ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั หรือ Thailand 4.0 ของรัฐบาล ประกอบ กับมีโครงการขนาดใหญ่ที่ยื่นขอรับการส่งเสริมโดยเฉพาะใน อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน แสดงให้เห็นถึงความเชื่อ มั่นที่กลับมาของนักลงทุน ธุรกิจให้เช่าโรงงานเริ่มฟื้นตัวโดย มีผู้ขอเช่าพื้นที่โรงงานเพิ่มขึ้นมากกว่าในปี 2558 ในขณะที่ ธุรกิจให้เช่าคลังสินค้าก็ยังคงมีผู้ขอเช่าพื้นที่คลังสินค้าเพิ่มขึ้น จากในปี 2558 โดยผู้เช่าส่วนใหญ่ยังคงเป็นธุรกิจให้บริการโล จิสติกส์และต้องการอาคารคลังสินค้าซึ่งสร้างตามรูปแบบและ ในท�ำเลที่ผู้เช่าต้องการ ธุรกิจให้เช่าโรงงาน บริษัทสามารถเพิ่มพื้นที่เช่าใหม่ของโรงงานในปี 2559 เป็น จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 60,175 ตารางเมตร โดยมีผู้เช่ารายเดิม ที่ บ อกยกเลิ ก สั ญ ญาเช่ า แล้ ว ท� ำ การคื น พื้ น ที่ ใ นระหว่ า งปี จ�ำนวนทั้งสิ้น 26,650 ตารางเมตร จึงท�ำให้มีพื้นที่เช่าใหม่ของ โรงงานเพิ่มขึ้นสุทธิในปี 2559 จ�ำนวน 33,525 ตารางเมตร หรือร้อยละ 91.3 จากพื้นที่เช่าใหม่ของโรงงานที่เพิ่มขึ้นสุทธิ ในปี 2558 จ�ำนวน 17,525 ตารางเมตร โดยร้อยละ 67 ของ ผู้เช่าพื้นที่ใหม่ทั้งหมดของโรงงานในปี 2559 เป็นผู้ประกอบ การในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในอุตสาหกรรม ยานยนต์และชิ้นส่วน ธุรกิจให้เช่าคลังสินค้า ความต้องการพื้นที่เช่าใหม่ของคลังสินค้าในปี 2559 ยังคง มาจากกลุ่มผู้ให้บริการโลจิสติกส์เป็นส่วนใหญ่ โดยมีสัดส่วน ร้อยละ 55 ของพื้นที่เช่าใหม่ทั้งหมดของคลังสินค้าจ�ำนวน 122,858 ตารางเมตร และมี ผู ้ เ ช่ า ที่ เ ป็ น ผู ้ ป ระกอบการใน อุ ต สาหกรรมอาหารและเครื่ อ งดื่ ม ในอั ต ราส่ ว นร้ อ ยละ 16 นอกจากนี้ กลุ่มผู้เช่าที่ประกอบกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ซึ่งเป็นกลุ่มผู้เช่าที่มีศักยภาพสูงมีสัดส่วนพื้น ทีเช่า อยู่ที่ร้อยละ 6 ในส่วนของสัญชาติของผู้เช่า พื้นที่เช่าใหม่ ของคลังสินค้าส่วนมากมีผู้เช่าสัญชาติเยอรมัน คิดเป็นร้อยละ 32 ของพื้นที่เช่าใหม่ทั้งหมดของคลังสินค้าในปี 2559 อันดับ สองเป็นผู้เช่าสัญชาติไทย คิดเป็นร้อยละ 25 การลงทุน ในปี 2559 บริษัทท�ำการลงทุนรวมทั้งสิ้น 1.86 พันล้านบาท เป็นการก่อสร้างอาคารโรงงานและคลังสินค้าเพื่อให้เช่า ทั้งนี้ บริษัทไม่มีการลงทุนซื้อที่ดินเพิ่มในระหว่างปี

บริษัท PT SLP Surya TICON Internusa หรือ SLP ซึ่งเป็น กิจการร่วมค้าในประเทศอินโดนีเซียของบริษัทกับหุ้นส่วนอีก สองรายคือ บริษัท Surya Semesta Internusa และบริษัท Mitsui & Co. ได้ขยายการลงทุนเพิ่มในประเทศอินโดนีเซีย โดยท�ำการก่อสร้างคลังสินค้าตามรูปแบบและในท�ำเลที่ผู้เช่า ต้องการจ�ำนวนสองแห่งบนเกาะกาลิมันตัน และเกาะสุลาเวสี เพื่อให้ลูกค้ารายหนึ่งเช่า คลังสินค้าทั้งสองแห่งดังกล่าวยังคง อยู่ระหว่างก่อสร้างซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2560 ในไตรมาสที่ สี่ ข องปี 2559 บริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ บ ริ ษั ท ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จ�ำกัด หรือทีพาร์ค ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ร่วมกับบริษัท พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด ท�ำการก่อตั้ง บริษัทร่วมทุนเพิ่มขึ้นใหม่อีกหนึ่งแห่ง ได้แก่ บริษัท ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จ�ำกัด โดยทีพาร์คถือหุ้นจ�ำนวนร้อยละ 60 และ บริษัท พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 40 ในบริษัทร่วมทุนดังกล่าว เพื่อด�ำเนินธุรกิจพัฒนาอาคาร คลังสินค้าพร้อมเช่าบนที่ดินกว่า 800 ไร่ของโครงการบางกอก ฟรีเทรดโซน ตั้งอยู่ในพื้นที่อำ� เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งยังคงมีความต้องการใช้พื้นที่คลังสินค้าสูงอย่างต่อเนื่อง ผลการด�ำเนินงาน ในปี 2559 บริษัทได้ตัดสินใจยกเลิกการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ให้ กับกองทรัสต์ TREIT เนื่องจากบริษัทก�ำลังจะได้รับเงินเพิ่มทุน จากผู้ถือหุ้นรายใหม่ในจ�ำนวนที่มากเพียงพอต่อการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษัท ซึ่งจะท�ำให้ประมาณการอัตราส่วนหนี้สินต่อ ทุนของบริษัทลดลงจาก 2.16 เท่า ณ สิ้นปี 2559 เหลือเพียง 0.34 เท่า ดังนั้นรายได้จากการขายสินทรัพย์ของบริษัทในปี 2559 จึงลดลงเหลือ 251 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษัทมีรายได้ค่าเช่าและบริการในปี 2559 เพิ่ม ขึ้นเป็น 1,172 ล้านบาท จาก 1,048 ล้านบาทในปี 2558 หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 12 และมีรายได้จากการขายที่ดินเปล่าของ บริษัทในไตรมาสที่สี่ รายได้จากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนบางส่วน ในกองทุนอสังหาริมทรัพย์และกองทรัสต์ในไตรมาสแรก และมี รายได้ค่าจัดการสินทรัพย์ ซึ่งบริษัทได้รับจากการเป็นผู้บริหาร อสังหาริมทรัพย์ให้กับกองทุนอสังหาริมทรัพย์และกองทรัสต์ใน ปี 2559 รวมทั้งสิ้นอีกประมาณ 737 ล้านบาท ส่งผลให้บริษัท มีรายได้รวมทั้งสิ้น 1,873 ล้านบาทในปี 2559 และมีก�ำไรสุทธิ 278 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 64 จากก�ำไรสุทธิในปี 2558 แนวโน้มในอนาคต การเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญและจะเป็นประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินงาน และการขยายธุกิจของบริษัทในระยะยาว เกิดขึ้นในไตรมาส 4 ของปี 2559 เมื่ อ บริ ษั ท เฟรเซอร์ พร็ อ พเพอร์ ตี้ โฮลดิ้ ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้เข้ามาร่วมถือหุ้นร้อยละ 40 ของบริษัท โดยบริษัท ออกหุ้นเพิ่มทุนจ�ำนวน 735 ล้านหุ้น ให้แก่ บริษัท เฟรเซอร์ พร็อพเพอร์ตี้ โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งการเพิ่ม ทุนจดทะเบียนดังกล่าวได้ด�ำเนินการเสร็จสิ้นลงและบริษัทได้


สารจากประธานกรรมการ

รับช�ำระค่าหุ้นจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 1.32 หมื่นล้านบาทเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 บริษัท เฟรเซอร์ พร็อพเพอร์ตี้ โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็ น กิ จ การในเครื อ บริ ษั ท เฟรเซอร์ พร็ อ พเพอร์ ตี้ โฮลดิ้ ง (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด จดทะเบี ย นอยู ่ ใ นตลาดหลั ก ทรั พ ย์ สิ ง คโปร์ ซึ่ ง ประกอบธุ ร กิ จ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ทั้ ง ทาง ด้านอุตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย ส�ำนักงาน และศูนย์การค้า ใน ประเทศสิงคโปร์ ออสเตรเลีย จีน อังกฤษ ไทย และเวียดนาม และมี ป ระสบการณ์ แ ละความเชี่ ย วชาญในการพั ฒ นาและ บริ ห ารธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ป ระเภทโรงงานอุ ต สาหกรรม ขนาดใหญ่ แ ละคลังสินค้าคุณภาพสูง ซึ่ง สร้างตามรูปแบบ และในท�ำเลที่ผู้เช่าต้องการ หรือ Built to Suit ซึ่งประสบความ ส�ำเร็จอย่างสูงในประเทศออสเตรเลีย การเข้ามาร่วมลงทุนกับบริษัท ของบริษัท เฟรเซอร์ พร็อพเพอร์ ตี้ โฮลดิ้ ง (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด ช่ ว ยเสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ บริ ษั ท ทั้ ง ในด้ า นการเงิ น การตลาด และเครื อ ข่ า ย พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ทั้ ง ที่ อ ยู ่ ภ ายในและภายนอกประเทศ นอกจากนั้นบริษัท เฟรเซอร์ พร็อพเพอร์ตี้ โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด ยั ง ได้ ส ่ ง ผู ้ บ ริ ห ารที่ มี ป ระสบการณ์ โ ดยตรงเข้ า มา ร่ ว มงานกั บ บริ ษัท ซึ่ง จะท�ำให้ บริษัท สามารถใช้ประโยชน์ จากประสบการณ์ ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ ในการบริ ห ารงาน และพัฒนาคลังสินค้าคุณภาพสูงในประเทศไทยต่อไปให้เป็น ที่ยอมรับมากยิ่งขึ้นของลูกค้าในระดับสากลทั่วโลก ซึ่งถือเป็น จุดแข็งที่มีความโดดเด่นของบริษัทเหนือคู่แข่งทุกราย ทั้งนี้ บริษัทได้ปรับกลยุทธ์ทางธุรกิจจากการเป็นเพียงผู้ให้เช่า โรงงานและคลังสินค้าส�ำเร็จรูปเป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำเบ็ดเสร็จใน เรื่องของโรงงานและคลังสินค้า หรือ Total Solution Provider of Factory and Warehouse Business ซึ่งจะท�ำให้บริษัท สามารถน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่ตรงต่อความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างถูกต้องครบถ้วนมากยิ่งขึ้น และบริษัทมีแผน ทีจ่ ะพัฒนาคลังสินค้า Built to Suit ในสัดส่วนทีม่ ากขึน้ กว่าเดิม เมื่อเทียบกับปริมาณของคลังสินค้าทั้งหมดที่ก�ำลังจะได้รับการ พัฒนาซึ่งเป็นไปตามความต้องการของลูกค้า และยังจะช่วย เพิ่มอัตราการเช่าพื้นที่คลังสินค้าของบริษัทให้สูงขึ้นได้อีกด้วย บริษัทยังคงมีความสนใจและมีเป้าหมายที่จะขยายกิจการต่อ ไปในประเทศอาเซียนอื่นๆ นอกเหนือจากประเทศอินโดนีเซีย โดยบริษัทคาดว่าจะได้รับความช่วยเหลือจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และบริษัทในเครือในการหาโอกาสการลงทุนที่เหมาะสมใน ประเทศเหล่ า นั้ น ต่ อ ไป โดยบริ ษั ท คาดการณ์ ว ่ า เศรษฐกิ จ โลกน่าจะเริ่มฟื้นตัวในปี 2560 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ส�ำหรับประเทศไทยบริษัทประเมิน ว่ า ก� ำ ลั ง การผลิ ต ส่ ว นเกิ น ที่ อ ยู ่ ใ นระบบเศรษฐกิ จ จะทยอย ลดน้ อ ยลง และมี ก ารขยายก� ำ ลั ง การผลิ ต ใหม่ อี ก ครั้ ง โดย เป็ น การเปลี่ ย นถ่ า ยจากอุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ แ รงงานมากไปสู ่ อุตสาหกรรมที่ใช้จักรกลอัตโนมัติ ซึ่งจะมีความชัดเจนขึ้นใน ประเทศไทยและอาจท� ำ ให้ ค วามต้ อ งการโรงงานและคลั ง สิ น ค้ า สู ง ขึ้ น ด้ ว ย ซึ่ ง จะเป็ น ผลดี กั บ บริ ษั ท เนื่ อ งจากโรงงาน

3

ที่ใช้เครื่องจักรกลในกระบวนการผลิตเป็นส�ำคัญจ�ำเป็นต้อง ใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อติดตั้งอุปกรณ์อัตโนมัติต่างๆ เช่น เดียวกันกับในกรณีของคลังสินค้า ในขณะเดียวกันปริมาณ ความต้องการคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าจะสูงมากขึ้น ตามปริมาณการค้าที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการขายสินค้า ออนไลน์ซึ่งมีโอกาสเติบโตสูงในปี 2560 สุดท้ายนี้ ในนามของประธานกรรมการ ผมขอขอบคุณท่านผู้ถือ หุ้น และพันธมิตรทางธุรกิจทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนบริษัทมา อย่างต่อเนื่อง และขอขอบคุณคณะกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของบริษัททุกท่าน ที่ได้ร่วมมือกันปฏิบัติงานอย่างเต็ม ความสามารถ จนท�ำให้บริษัทประสบความส�ำเร็จอย่างสูงในปี 2559 และผมเชื่อมั่นว่าการปรับโครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท พร้อมกับการเพิ่มทุนเพื่อขยายธุรกิจ และการปรับกลยุทธ์ทาง ธุรกิจที่กล่าวมาข้างต้น จะท�ำให้บริษัทเติบโตอย่างยั่งยืนและ เป็นบริษัทชั้นน�ำในการพัฒนาและให้บริการเช่าโรงงานและ คลังสินค้าที่มีคุณภาพระดับสากลต่อไป

นายชายน้อย เผื่อนโกสุม ประธานกรรมการ


4

รายงานประจ�ำปี 2559

รายงานการก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจ�ำปี 2559 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษั ท ไทคอน อิ น ดั ส เทรี ย ล คอนเน็ ค ชั่ น จ� ำ กั ด (มหาชน) ซึ่ ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จาก คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ และมีประสบการณ์ทางด้านการบริหารธุรกิจและการเงิน มีความเป็นอิสระและ มีคุณสมบัติเหมาะสมตามข้อก�ำหนดและแนวทางการปฏิบัติที่ดีส�ำหรับคณะกรรมการตรวจสอบ ปัจจุบันสมาชิกของ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 3 ท่าน คือ นายตรีขวัญ บุนนาค เป็นประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ นายชายน้อย เผื่อนโกสุม และนายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ โดยนายชายน้อย เผื่อนโกสุม ได้รับการแต่งตั้งเมื่อ วันที่ 16 มกราคม 2560 เพือ่ ด�ำรงต�ำแหน่งแทนนายเดวิด แทร์เร้นท์ ซึง่ ลาออกจากการเป็นกรรมการตรวจสอบในวันเดียวกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และตามระเบียบของบริษัทว่า ด้วยหลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยเน้นการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การมีระบบการตรวจสอบภายในที่ดี และส่งเสริม แนวทางการตรวจสอบเชิงป้องกัน ที่ครอบคลุมถึงการบริหารความเสี่ยง และการปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุก ฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน โดยในปี 2559 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวม 5 ครั้ง เป็นการหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี 2559 ของบริษัท และงบการเงินรวม รวมถึงรายการระหว่างกัน และรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ร่วมกับ ฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน โดยมีผู้สอบบัญชีร่วมประชุมทุกครั้งที่มีการพิจารณาสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบถามผู้สอบบัญชีเรื่องความถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน การปรับปรุงรายการบัญชีที่ส�ำคัญที่มีผลกระ ทบต่องบการเงิน ความเหมาะสมของวิธีการบันทึกบัญชี ขอบเขตการตรวจสอบ และการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องครบ ถ้วนเพียงพอ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การจัดท�ำงบการเงินของบริษัทเป็นไปตามข้อก�ำหนดของกฎเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง มีความครบถ้วน เป็นที่น่าเชื่อถือได้ สมเหตุสมผลตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการของบริษัท 1 ครั้ง เพื่อพิจารณา ขอบเขตแนวทาง และความเป็นอิสระในการสอบบัญชีประจ�ำปีของผู้สอบบัญชี 2. การสอบทานประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน และทบทวนระบบการควบคุม ภายในร่วมกับผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีทุกไตรมาส โดยพิจารณาเรื่องการด�ำเนินงาน การดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย และระบบการควบคุมภายในส�ำหรับระบบงานที่ส�ำคัญของบริษัท ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผู้สอบบัญชีว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่พอเพียง ไม่พบ จุดอ่อนหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ มีการดูแลรักษาทรัพย์สินที่เหมาะสม และมีระบบการติดตามควบคุมดูแลการ ด�ำเนินงานเหมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล 3. การสอบทานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติงานตามระบบงานที่ก�ำหนด ไว้ การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบไม่พบประเด็นที่เป็นสาระส�ำคัญ ในเรื่องการไม่ปฏิบัติตามระบบงาน กฎหมาย และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบร่วมกับผู้สอบบัญชีได้สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมี ความเห็นสอดคล้องกันว่า รายการค้ากับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระส�ำคัญได้เปิดเผยและแสดงรายการในงบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้วอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และรายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุสมผล และ เป็นประโยชน์สูงสุดต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการตรวจสอบโดยรวมทั้งคณะ ซึ่งผลสรุปอยู่ในเกณฑ์ดี


รายงานการก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ

5

4. การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติงาน หน้าที่และ ความรับผิดชอบ และอนุมัติแผนการตรวจสอบประจ�ำปี รวมทั้งติดตามการปฏิบัติงานของบริษัทตามข้อสังเกตและ ข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายใน โดยผู้ตรวจสอบภายในจะรายงานการสอบทาน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในเรื่อง ที่ตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ว่าจ้างบุคคลจากภายนอกเพื่อดูแลการตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับแผนการขยายการลงทุนของ บริษทั ทัง้ ในและต่างประเทศ โดยผูต้ รวจสอบภายในได้มงุ่ เน้นการตรวจสอบระบบจัดซือ้ จัดจ้าง ระบบรายได้และการรับเงิน ระบบสนับสนุนการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น และการประเมินความเสี่ยงในภาพรวมขององค์กร โดยได้สอบทาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานและระบบงานให้เป็นไปตามกฎและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และได้ให้ค�ำปรึกษาและข้อเสนอ แนะเพื่อปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการตรวจสอบภายในที่พอเพียง เหมาะสม และมีประสิทธิผล และผู้ตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระใน การปฏิบัติงาน 5. การคัดเลือกผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้คัดเลือก และเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากผลการ ปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของค่าตอบแทน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นชอบในการ เสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีจากบริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ได้แก่ นายโสภณ เพิ่มศิริวัลลภ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3182 และ/หรือ นางสาวรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3516 และ/หรือ นายชยพล ศุภเศรษฐนนท์ ผู้ สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3972 และ/หรือนางสาวรสพร เดชอาคม ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 5659 และ/หรือ นาง สุมนา พันธ์พงษ์สานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5872 เป็นผู้สอบบัญชีของ บริษัทประจ�ำปี 2559 พร้อมด้วยค่าตอบแทนเป็นจ�ำนวนเงินรวม 1,000,000 บาท และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา และขออนุมัติจากที่ประชุม ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2559 6. การเข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการ ทุจริต (Collective Anti-Corruption: CAC) บริษัทได้เข้าลงนามในค�ำประกาศ เจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชน ไทยในการต่อต้านการทุจริตเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2558 และได้ด�ำเนินการ ปรับปรุงนโยบายรวมทั้งวางระบบควบคุมภายในให้สอดคล้องกับความเสี่ยง เรื่ อ งคอร์ รั ป ชั่ น ของธุ ร กิ จ โดยได้ ยื่ น ขอรั บ การรั บ รองจากคณะกรรมการ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (คณะกรรมการ แนวร่วมปฏิบัติฯ) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 ปัจจุบันอยู่ระหว่าง การพิจารณาให้การรับรองจากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติฯ กล่าวโดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติตามหน้าที่และความ รับผิดชอบที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับการอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท โดยได้ใช้ความรู้ ความสามารถ ความรอบคอบ และระมัดระวัง และมีความเป็นอิสระเพียงพอเพื่อปกป้องประโยชน์ต่อ ผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายงานทางการเงินของบริษัทมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ มีการเปิดเผย ข้อมูลอย่างเพียงพอ สอดคล้องตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป บริษัทมีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล มีการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจ ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายตรีขวัญ บุนนาค) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


6

รายงานประจ�ำปี 2559

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประจ�ำปี 2559 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ ค ชั่ น จ� ำ กั ด (มหาชน) ตามที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จาก คณะกรรมการบริ ษั ท สมาชิ ก ของคณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยงประกอบด้วย นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ์ เป็น ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง นายวีรพันธ์ พูลเกษ ดร.สมศั ก ดิ์ ไชยพร นายสามารถ รั ศ มี โ รจน์ ว งศ์ และ นายพีระพัฒน์ ศรีสุคนธ์ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ไ ด้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และตามระเบียบว่า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละแนวทางการปฏิ บั ติ ข องคณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ มาตรฐานสากล โดย บริ ษั ท มุ ่ ง เน้ น การบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ส� ำ คั ญ ทั้ ง 4 ด้ า น คื อ ความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ ย ง ด้ า นปฏิ บั ติ ก าร (Operational Risk) ความเสี่ ย งด้ า น กฎระเบียบ (Compliance Risk) และความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ในปี 2559 มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงรวม 1 ครั้ง ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) จากสภาวะเศรษฐกิจที่ตกต�่ำอย่างต่อเนื่อง เพื่อรักษาความ สามารถในการแข่ ง ขั น และความเป็ น ผู ้ น� ำ ในอุ ต สาหกรรม ปี 2559 บริ ษั ท ยั ง คงนโยบายในการขยายธุ ร กิ จ โดยเน้ น การลงทุ น ร่ ว มกั บ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ (Joint Venture Investment) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อแสวงหา โอกาสทางการลงทุ น และลดความเสี่ ย งจากการลงทุ น ใน ตลาดใหม่ รวมถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการด�ำเนินธุรกิจ ร่ ว มกั น นอกจากนี้ เ พื่ อ รองรั บ อุ ต สาหกรรมภายในประเทศ ที่ปัจจุบันมุ่งเน้นการพึ่งพาเทคโนโลยีต่างๆ มากขึ้น บริษัท จึงพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าให้เป็นไปตามความต้องการ ของลูกค้า (Built-to-suit) รวมทั้งการน�ำเทคโนโลยีใหม่ ๆ ตาม มาตรฐานสากลมาใช้ คือ การก่อสร้างอาคารตามมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environment Design) ซึ่งเป็นเกณฑ์การก่อสร้างและออกแบบระบบพลังงานและ สิ่ ง แวดล้ อ มในอาคารตามมาตรฐานอาคารสี เ ขี ย วใน สหรั ฐ อเมริ ก า เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า และ เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงลูกค้ากลุ่มใหม่ท่ีให้ความส�ำคัญเรื่อง สิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกัน นอกจากนี้บริษัทยังให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการปรับ เปลี่ ย นกระบวนการท� ำ งาน อั น จะส่ ง ผลให้ ก ารปฏิ บั ติ ง าน มีประสิทธิภาพและศักยภาพสูงขึ้น เพื่อเตรียมพร้อมด้านบุคคล ากรของบริษัทส�ำหรับการเติบโตต่อไปในอนาคต 2. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านการประสบอันตรายจากการท�ำงาน อุบัติเหตุ รวมถึ ง ความเสี่ ย งจากความไม่ มี เ สถี ย รภาพทางการเมื อ ง การเกิดภัยธรรมชาติต่าง ๆ และภัยอื่น ๆ ซึ่งบริษัทมีการจัดการ ความปลอดภั ย ในการท� ำ งานโดยก� ำ หนดให้ มี ก ารตั้ ง คณะ กรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน (คปอ.)

3. ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ (Compliance Risk) ความเสี่ ย งจากข้ อ จ� ำ กั ด ทางกฎหมาย เนื่ อ งจากบริ ษั ท มี นโยบายการเติบโตทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้มีแผนการ ขยายธุรกิจไปในต่างประเทศ ซึ่งบริษัทได้ตระหนักถึงความ เสี่ยงนี้และเตรียมพร้อม โดยมีทีมผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย เพื่อศึกษาข้อจ�ำกัดทางกฎหมายต่าง ๆ ติดตามและวิเคราะห์ ผลกระทบซึ่ ง อาจเป็ น อุ ป สรรคต่ อ การขยายตั ว ของบริ ษั ท ทั้งในและต่างประเทศ 4. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ความเสี่ยงจากการหาแหล่งเงินทุนได้อย่างเพียงพอ เนื่องจาก ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนสูง เพื่อให้บริษัท คงศักยภาพในการด�ำเนินธุรกิจ จึงมีความจ�ำเป็นต้องจัดหา แหล่งเงินทุนที่พอเพียง โดยมีต้นทุนที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อให้ บริ ษั ท มี ส ภาพคล่ อ งเพี ย งพอส� ำ หรั บ ใช้ ใ นการขยายธุ ร กิ จ ลดความเสี่ยงด้านการเงิน และแสดงสถานะการเงินที่แข็งแกร่ง บริษัทจึงบริหารความเสี่ยงด้านการเงินโดยจัดโครงสร้างเงิน ทุนที่มีอัตราหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อทุนในระดับที่เหมาะสม ร่วมกับใช้เครื่องมือทางการเงินใน การระดมทุน ซึ่งจะช่วยเพิ่ม ความยืดหยุ่นให้บริษัทในการจัดหาเงินทุนเพื่อใช้ขยายธุรกิจใน อนาคตได้อย่างเพียงพอ จากการปฏิบัติงานในรอบปีที่ผ่านมา เพื่อให้เกิดความมั่นใจ ว่าระบบการบริหารความเสี่ยงของบริษัท มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และได้ถูกน�ำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ บริ ษั ท สามารถจั ด การ ความเสี่ ย งที่ ส� ำ คั ญ ให้ อ ยู ่ ใ นระดั บ ที่ ยอมรับได้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจึงมีการทบทวน กระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ ซึ่งจะช่วยให้บริษัทสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน

นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ์ ประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง


7

ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญ

ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญ หน่วย : ล้านบาท 2559

2558

2557

250.68

3,345.61

4,561.28

1,172.12

1,048.55

966.06

รายได้ค่าบริหารจัดการจาก property funds/ reit

201.12

204.12

165.34

ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนใน property funds/ reit

252.22

248.47

267.13

ก�ำไรที่รับรู้เพิ่มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ property funds/ reit

294.95

246.69

41.37

ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์

160.16

2,401.42

3,192.14

ต้นทุนการให้เช่าและบริการ

332.56

306.39

243.45

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร

704.04

756.89

769.45

ก�ำไรสุทธิ

278.10

770.96

761.57

สินทรัพย์

36,092.73

36,287.15

31,209.12

หนี้สิน

24,675.06

24,597.66

19,743.50

ส่วนของผู้ถือหุ้น

11,417.67

11,689.50

11,465.62

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)

2.38

6.65

7.59

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (ร้อยละ)

2.31

4.63

5.15

53.35

71.39

72.15

รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ ค่าเช่ารับและค่าบริการ

อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ)

กำไรสุทธิ

สินทรัพย์

ล้านบาท 2,500

ล้านบาท 40,000 35,000 30,000 26,452 25,000 19,740 20,000 15,289 17,764 15,000 11,843 10,000 9,549 5,000 5,740 7,897 8,688 2554 2555 2556

2,000 1,500

1,297

1,414

1,000 500

-

762

771

436

2554

278

2555

2556

2557

กำไรสุทธิ

2558

2559

36,287 36,093 31,209

19,744

24,598 24,675

11,466

11,689 11,418

2557

2558

ส่วนของผู้ถือหุ้น

2559


8

รายงานประจ�ำปี 2559

โรงงานและคลังสินค้า

200,000

46% 49%

100,000 0

2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 มีสัญญาเช่า

สร้างเสร็จพร้อมให้เช่า

400,000

- 60%

300,000

- 40%

200,000

- 20%

100,000

- 0%

0

27,225

52%

300,000

- 80%

74,250

68%

500,000

108,350

76%

- 100%

106,100

500,000 78% 77% 82% 400,000

93%

87,435

ตารางเมตร

600,000

98,418

โรงงาน

2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

อัตราการเช่า

300,000 200,000 100,000 0

2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 มีสัญญาเช่า

สร้างเสร็จพร้อมให้เช่า

- 80%

400,000

- 60%

300,000

- 40%

200,000

- 20%

100,000

- 0%

0

133,282

62%

72% 65% 71%

500,000

160,523

400,000

77%

71% 60%

- 100%

182,095

500,000

97%

117,664

82%

55,230

600,000

70,731

ตารางเมตร

19,600

คลังสินค้า

2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559

อัตราการเช่า

200,000 0

2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 มีสัญญาเช่า

สร้างเสร็จพร้อมให้เช่า

อัตราการเช่า

- 60%

450,000

- 40%

300,000

- 20%

150,000

- 0%

0

160,507

400,000

600,000

234,773

600,000

- 80%

290,445

60%

61% 63%

223,764

65%

750,000

55,230

76%

- 100%

87,435

1,00,000 79% 73% 78% 800,000

94%

70,731

ตารางเมตร

1,200,000

118,018

โรงงานและคลังสินค้า

2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559


MYANMAR

9

โรงงานและคลังสินค้า

LAOS

1

12

12

1 2 24

อยุธยา

33

33

CAMBODIA

โรงงานใน 3 นิคมอุตสาหกรรม คลังสินค้าใน 2 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

3

กรุงเทพฯ

ขอนแก่น

ระยอง

ปราจีนบุรี

สมุทรสาคร

สมุทรปราการ

ฉะเชิงเทรา

สุราษฎร์ธานี

ชลบุรี

โรงงานใน 4 นิคมอุตสาหกรรม คลังสินค้าใน 7 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

โรงงานใน 2 นิคมอุตสาหกรรม คลังสินค้าใน 2 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

โรงงานใน 2 นิคมอุตสาหกรรม คลังสินค้าใน 1 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

4

โรงงานใน 1 นิคมอุตสาหกรรม คลังสินค้าใน 1 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

โรงงานใน 2 นิคมอุตสาหกรรม คลังสินค้าใน 1 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

คลังสินค้าใน 2 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

ปทุมธานี

โรงงานใน 1 นิคมอุตสาหกรรม

คลังสินค้าใน 1 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

คลังสินค้าใน 1 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

คลังสินค้าใน 1 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์

ลำพูน

MALAYSIA

คลังสินค้าใน 1 เขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์


10

รายงานประจ�ำปี 2559

ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทด�ำเนินกิจกรรมทั้งภายในและภายนอกองค์กรโดยให้ความส�ำคัญและค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม ด้วยการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กร หรือน�ำทรัพยากรที่อยู่นอกองค์กรมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อองค์กรและส่วนรวมเพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุขและยั่งยืน จึงไม่ละเลยที่จะใส่ใจในความเป็นอยู่ทั้งของพนักงานบริษัท และของผู้มี ส่วนได้เสียอื่นๆ ซึ่งอาศัยอยู่ในชุมชนแวดล้อมสถานประกอบการของบริษัท การก่อสร้างอาคารโรงงานหรือคลังสินค้าใดๆ ทุกครั้งของบริษัทจะให้ความส�ำคัญต่อการรักษาสภาพแวดล้อมเป็นอันดับแรก ๆ เพื่อให้คนในชุมชนซึ่งอาศัยอยู่ใกล้เคียง กันกับสถานที่ก่อสร้างสามารถใช้ชีวิตประจ�ำวันต่อไปได้ตามปกติ

“สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้” บริษัทให้การส่งเสริมและ สนับสนุนพนักงานทุกคน ทีข่ าดทักษะในการใช้ภาษา ต่างประเทศได้เรียนภาษา อั ง กฤษกั บ ชาวต่ า งชาติ ซึ่งเป็นพนักงานของบริษัท โดยเปิ ด ชั้ น เรี ย นขึ้ น ภาย ในบริ ษั ท ฯ พนั ก งานทุ ก ระดั บ ทุ ก คนสามารถขอ เข้าชั้นเรียนได้โดยไม่มีค่า ใช้จ่าย

ภาษาอั ง กฤษมี ส ่ ว นช่ ว ย สร้างงาน สร้างโอกาสและ ประสบการณ์ ที่ ดี ใ ห้ กั บ นั กงานและยั ง เป็ นภาษา ที่ถูกน�ำมาใช้ในโลกธุรกิจ มากกว่า 1 ใน 3 ของทัว่ โลก อีกด้วย


ความรับผิดชอบต่อสังคม

“อาคารสีเขียวช่วยลดโลกร้อน” บริษัทค�ำนึงถึงความส�ำคัญในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการสร้างสังคมที่ดี ให้กับชุมชนโดยรอบโครงการ โดยบริษัทมีโรงงานและคลังสินค้าขนาดพื้นที่ 3,300 และ 51,444 ตารางเมตร ตามล�ำดับ ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ(จาก U.S. Green Building Council (USGBC) ซึ่งเป็นองค์กรที่เป็นผู้น�ำ ในการก�ำหนดมาตรฐานอาคารสีเขียวในประเทศสหรัฐอเมริกา) ให้เป็นโรงงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐาน LEED หรือ Leadership in Energy and Environmental Design และอยู่ระหว่างพัฒนาคลังสินค้า ขนาดพื้นที่ 26,160 ตารางเมตร เพื่อให้เป็นอาคารที่สามารถอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมได้ตั้งแต่ขั้น ตอนการออกแบบ กระบวนการก่อสร้างไปจนถึงการใช้อาคารในการปฏิบัติงานจริง

ซึ่งนอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานได้แล้ว ยังช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน ในอาคารให้ดีขึ้นได้อีกด้วย รวมทั้งตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ให้ความส�ำคัญกับการดูแลรักษาสิ่ง แวดล้อมอย่างยั่งยืน ซึ่งลูกค้ากลุ่มนี้มีแนวโน้มว่าจะมีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

11


12

รายงานประจ�ำปี 2559

โครงการ “น�้ำดื่มจากน�้ำใจไทคอน”

กิจกรรมจิตอาสาในเครือบริษัทไทคอนฯ ที่เล็งเห็นถึงปัญหาการขาดแคลนน�้ำดื่มที่สะอาดในพื้นที่ อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว รวมถึงสุขภาพและพลานามัยของเด็กๆในชุมชน จึงได้จัดท�ำโครงการน�้ำดื่มจากน�้ำใจไทคอนขึ้น เพื่อเข้าไปช่วยดูแลเรื่อง การบ�ำบัดน�้ำให้สะอาดเพื่อน�ำมาใช้บริโภค และช่วยสร้างรายได้ให้กับโรงเรียนในชุมชนบ้านทัพไทยในระยะยาวอีกด้วย ปัญหาที่พบ : ที่ผ่านมา พบว่าน�้ำที่ใช้มีสภาพขุ่น และมี ส ารตกค้ า ง รวมทั้ ง ในช่ ว งฤดู แ ล้ ง จะเกิ ด การขาดแคลนน�้ำดื่มน�้ำใช้ ซึ่งท�ำให้โรงเรียนต้องมี การจัดซื้อน�้ำดื่มจากภายนอกเพื่อน�ำมาใช้บริโภค ภายในโรงเรียน จึงมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ได้ให้นการสนับสนุน โดยมอบเครื่องกรองน�้ำและถังน�้ำดิบ ขนาดความจุ 1,500 ลิตร ให้กับโรงเรียนบ้านทัพไทย อ.ตาพระยา จ.สระแก้ว เพื่อให้นักเรียนและครูได้มีน�้ำดื่มที่สะอาด เพียงพอส�ำหรับการบริโภคตลอดทั้งปี ถือเป็นอีกโครงการหนึ่งที่สอดคล้องกับนโยบายของบริษัท ที่รับผิดชอบและใส่ใจต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดย บริษัท ไท คอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ได้ให้การสนับสนุนงบประมาณ เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่เหมาะสมใน การด�ำเนินกิจกรรม พร้อมกันนี้บริษัทฯ ยังมอบสื่อการเรียนการสอน อุปกรณ์กีฬา และร่วมกิจกรรมสันทนาการ กับเด็กๆ นักเรียนในโรงเรียน


ความรับผิดชอบต่อสังคม

13

จากกิ จ กรรมในครั้ ง นี้ ท� ำ ให้ บริ ษั ท ได้ เ ห็ น ความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น ของพนั ก งานจิ ต อาสาที่ มี ความตั้ ง ใจที่ จะช่ ว ย กั น สร้ า งความสุ ข ให้ กั บ เด็ ก ๆ อั น จะน� ำ ไปสู ่ จิ ต สาธารณะที่ ยั่งยืน ภายในบริษัทต่อไปด้วย ครับ


14

รายงานประจ�ำปี 2559

คณะกรรมการและผู้บริหาร

นายชายน้อย เผื่อนโกสุม

นายชาลี โสภณพนิช

ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ 66 ปี

ประธานกรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม อายุ 56 ปี

ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริษัทและประธาน กรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 การศึกษา • ปริญญาโทการบริหาร สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Bachelor Degree in Higher Accounting California College of Commerce, USA ประวัติการอบรม • Directors Accreditation Program (DAP 63/2550) • The Role of the Chairman Program (RCP 33/2557) • Financial Institutions Governance Program (FGP 3/2554) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น 2555 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ดีเวลลอปเม้นท์ การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอืน่ 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ทิปโก้แอสฟัลท์ 2556 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เมืองไทย ลิสซิง่ 2553 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. เนชั่นแนล เพาเวอร์ ซัพพลาย การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. พริมามารีน การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในหน่ วยงานอื่น 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ เงินทุนหมุนเวียน กรมบัญชีกลาง 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน

การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ The University of Chicago ประวัติการอบรม • Director Accreditation Programปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ร้อยละ 3.30 {ณ วันที่ 14 มี.ค.59} ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี 2553 - 2559 กรรมการ Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริหารการลงทุน) การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2537 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส กรุ๊ป โฮลดิ้งล์ การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น 2540 - ปัจจุบัน กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ บจก. นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย 2530 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. เอเซียเสริมกิจ 2530 - ปัจจุบัน กรรมการผู้อ�ำนวยการ บจก. ซิตี้เรียลตี้


คณะกรรมการและผู้บริหาร

15

นายปณต สิริวัฒนภักดี

นายโชติพัฒน์ พีชานนท์

กรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม อายุ 39 ปี

กรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม อายุ 54 ปี

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 การศึกษา • การศึกษา • ปริญญาโท ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ • ปริญญาตรี วิศวกรรมการผลิต มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา • ประกาศนียบัตร หลักสูตรวิศวกรรม อุตสาหกรรม และเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแมสซาชูเสทส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรม • Director Certification Program (DCP 46/2547) • Director Accreditation Program (DAP 10/2547) • Finance for Non-Finance Directors (FND 10/2547) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น 2556 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท / กรรมการ บริษัท เฟรเซอร์ เซ็นเตอร์พอยต์ ลิมิเต็ด การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2550 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ยูนิเวนเจอร์ 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทยเบฟเวอเรจ 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ/กรรมการบริหาร บมจ. อาหารสยาม 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ/กรรมการบริหาร บมจ. เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก.วัฒนภักดี 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. ยูนิเวนเจอร์ รีท แมเนจเม้นท์ 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. เกษมทรัพย์วัฒน 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. ทีซีซี แอสเซ็ทส์ (ประเทศไทย) 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. อีสเทิร์น ซีบอร์ด อินดัสเตรียล เอสเตท (ระยอง) 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. ที.ซี.ซี เทคโนโลยี

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ การเงินการธนาคาร University of Missouri, USA • ปริญญาตรีสาขานิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • Director Certification Program (DCP 155/2555) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดี เวลลอปเม้นท์ 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เฟรเซอร์ เซ็นเตอร์พอยต์ ลิมิเต็ด 2550 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา บจก. ทีซีซี โฮลดิ้ง การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เฟรเซอร์แอนด์นีฟ ลิมิเต็ด 2554 - ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. เสริมสุข 2551 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บมจ. อาคเนย์ประกันภัย 2551 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บมจ. อาคเนย์ประกันชีวติ การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น 2551 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการใหญ่ บจก. เครืออาคเนย์ 2551 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บจก. อาคเนย์แคปปิตอล 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. ทีซีซี เทคโนโลยี


16

รายงานประจ�ำปี 2559

คณะกรรมการและผู้บริหาร

นายตรีขวัญ บุนนาค

นายชาย วินิชบุตร

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ อายุ 60 ปี

กรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม อายุ 43 ปี

การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of North Texas ประวัติการอบรม • Director Certification Program ปี 2544 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • Director Accreditation Program ปี 2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ร้อยละ 0.13 {ณ วันที่ 14 มี.ค.59} ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี 2551 - 2559 กรรมการบจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2541 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน บมจ. เอสวีไอ 2552 - 2555 กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน บมจ. แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. เอ็มเมอรัลด์ เบย์ รีสอร์ท 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. เอ็มเมอรัลด์ เบย์ วิลล่า

การศึกษา • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ Boston University ประวัติการอบรม • Director Accreditation Program ปี 2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร • เป็นญาติกับนายจิระพงษ์ วินิชบุตร และนายเนตร จรัญวาศน์ ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัท ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี 2558 - 2559 กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค 2558 - 2559 กรรมการ TICON (HK) Limited 2556 - 2559 กรรมการ บจก. ไทคอนแมนเนจเม้นท์ 2555 - 2559 กรรมการ บจก. อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 3 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. บางกอก ออฟฟิศ 4 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. โรจนะเพาเวอร์ 2547 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บจก. โรจนะ พร็อพเพอร์ตี้


คณะกรรมการและผู้บริหาร

17

นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

นายอุเทน โลหชิตพิทักษ์

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ อายุ 55 ปี

กรรมการ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม อายุ 44 ปี

การศึกษา • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ University of Southern California ประวัติการอบรม • Director Accreditation Program ปี 2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท: • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร: • ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. เอสวีไอ 2550 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. หลักทรัพย์ ฟินนั เซีย ไซรัส 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) 2536 - ปัจจุบัน กรรมการ และผู้อ�ำนวยการบริหาร การลงทุนกลุ่ม บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น 2547 - 2555 ประธานกรรมการ บมจ. เมโทรสตาร์ พร็อพเพอร์ตี้ การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น 2549 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บจก. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรมพลาสติก 2543 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานคณะบริหาร บจก. เทเลคอมโฮลดิ้ง 2533 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. เมโทรแมชีนเนอรี่

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 การศึกษา • ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร • ไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่ งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) 2556 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารฝ่ายการลงทุนกลุม่ บริษทั บริษัท เฟรเซอร์ เซ็นเตอร์พอยต์ ลิมิเต็ด


18

รายงานประจ�ำปี 2559

คณะกรรมการและผู้บริหาร นายวีรพันธ์ พูลเกษ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 อายุ การศึกษา ประวัติการอบรม สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

55 ปี ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ University of Colorado Director Certification Program (สมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิอาวุโส) ปี 2545 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Audit Committee Program ปี 2553 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง รุน่ ที่ 11 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ร้อยละ 0.636 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี

นายโสภณ ราชรักษา

ผู้อ�ำนวยการใหญ่ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อ�ำนวยการใหญ่บริษัท เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

45 ปี ปริญญาโท สาขารัฐประศาสน์ National Graduate Institute for Policy Studies, ญี่ปุ่น, 2545 ปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์ Michigan State University, USA, 2538 ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี

ดร. สมศักดิ์ ไชยพร

ผู้จัดการทั่วไป อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ์

65 ปี ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ Ecole Centrale de Lyon ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ และเลขานุการบริษัท อายุ 51 ปี การศึกษา ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม หลักสูตร Company Secretary ปี 2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี


คณะกรรมการและผู้บริหาร

19

นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

50 ปี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Notre Dame de Namur University ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี

นายกฤษณ์ วีรกุล

รองผู้จัดการทั่วไป และฝ่ายพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

48 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ Oregon State University ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี

นายสมศักดิ์ รัตนวิระกุล

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการตลาด 1 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ประสบการณ์ท�ำงานในระยะเวลา 5 ปี ในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

57 ปี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี 2539 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายวางแผนและโครงการ บมจ. ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ไม่มี ไม่มี

นางยูโกะ โฮชิ

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการตลาด 2 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

46 ปี ปริญญาตรี สังคมศาสตร์ Chiba University ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี


20

รายงานประจ�ำปี 2559

นางสาวลัญจกร คงสกุล

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

56 ปี ปริญญาตรี จิตวิทยาอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Human Resources Management ประกาศนียบัตรบัณฑิต สถาบันบัณฑิต ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี

นางสาวศิริพร สมบัติวัฒนา

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายธุรการ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

54 ปี ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ร้อยละ 0.05 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี

นางสาวรจนา อัศววิเชียรจินดา

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชี ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

49 ปี ปริญญาโท บัญชี (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี

นางสาววรัญญา อินทรไพโรจน์

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายจัดซื้อ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

49 ปี ปริญญาตรี ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร้อยละ 0.01 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี


คณะกรรมการและผู้บริหาร

21

นางสาวสุธารา จรุงเรืองเกียรติ

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายกฎหมาย อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

44 ปี ปริญญาโท นิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี

นายอภิณัฐ เมฆลอย

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

43 ปี ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี

นายภารุจ บุณฑริก

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาโครงการ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาโครงการ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

42 ปี ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี

น.ส.ปริ่มโอภา ณัชชาจารุวิทย์

ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารอสังหาริมทรัพย์ อายุ การศึกษา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจ�ำกัดอื่น

39 ปี ปริญญาตรี วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร้อยละ 0.00 (ณ 10 มี.ค. 2560) ไม่มี ไม่มี ไม่มี


22

รายงานประจ�ำปี 2559

ข้อมูลทัว่ ไป บริษทั ชื่อ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษทั ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่

เว็บไซต์ อีเมล ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่ำทีต่ รำไว้

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) พัฒนำโรงงำนสำเร็จรูปเพือ่ วัตถุประสงค์ในกำรให้เช่ำ 0107544000051 (บมจ. 666) ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อำคำรสำธรซิต้ ที ำวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสำทรใต้ แขวงทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร 12120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสำร (662) 278-3153 www.ticon.co.th ticon@ticon.co.th 1,834,142,375 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 1,834,142,375 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 1 บำทต่อหุน้

บริษทั ย่อย บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จำกัด ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่ำที่ตรำไว้

พัฒ นำโรงงำนส ำเร็จ รู ปเพื่อ วัต ถุป ระสงค์ในกำรให้เช่ำในนิ ค มอุตสำหกรรม แหลมฉบัง ซึง่ ได้รบั กำรส่งเสริมกำรลงทุนจำกคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรลงทุน บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 49/32 หมูท่ ่ี 5 นิคมอุตสำหกรรมแหลมฉบัง ตำบลทุ่งสุขลำ อำเภอศรีรำชำ จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสำร (662) 278-3153 50,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 50,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 10 บำทต่อหุน้


ข้อมูลทั่วไป

23

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่

เว็บไซต์ อีเมล ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่ำทีต่ รำไว้

พัฒนำคลังสินค้ำเพือ่ วัตถุประสงค์ในกำรให้เช่ำ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อำคำรสำธรซิต้ ที ำวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสำทรใต้ แขวงทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสำร (662) 278-3153 www.ticonlogistics.com logistics@ticon.co.th 19,500,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 19,500,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 10 บำทต่อหุน้

Shanghai TICON Investment Management Company Limited ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว

บริหำรกำรลงทุน บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 Rm. A512, Building 4, No.3288, Jinhai Road, Pudong New Area, Shanghai, China 2,800,000 ดอลล่ำร์สหรัฐฯ (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 2,800,000 ดอลล่ำร์สหรัฐฯ (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560)

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จำกัด ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่ำทีต่ รำไว้

ผูจ้ ดั กำรกองทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) ถือหุน้ ร้อยละ 70 ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อำคำรสำธรซิต้ ที ำวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสำทรใต้ แขวงทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสำร (662) 278-3153 10,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 10,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 10 บำทต่อหุน้


24

รายงานประจ�ำปี 2559

TICON (HK) Limited ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว

ลงทุนในกิจกำรในต่ำงประเทศ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) ถือหุน้ ร้อยละ 100 Room 337, 3/F South China C.S. Building, 13-17 Wah Sing Street, Kwai Chung, N.T. Hong Kong 16,130,000 ดอลล่ำร์สหรัฐฯ (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 16,130,000 ดอลล่ำร์สหรัฐฯ (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560)

บริษทั ร่วมค้ำ บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 6 จำกัด (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่ำทีต่ รำไว้

ผลิตและจำหน่ำยกระแสไฟฟ้ ำจำกพลังงำนแสงอำทิตย์ บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด ถือหุน้ ร้อยละ 51 59 หมูท่ ่ี 1 ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองปทุมธำนี จังหวัดปทุมธำนี 12000 โทรศัพท์ (662) 959-5811-5 โทรสำร (662) 959-5822 5,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 5,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 100 บำทต่อหุน้

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 11 จำกัด (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่ำทีต่ รำไว้

ผลิตและจำหน่ำยกระแสไฟฟ้ ำจำกพลังงำนแสงอำทิตย์ บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด ถือหุน้ ร้อยละ 51 59 หมูท่ ่ี 1 ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองปทุมธำนี จังหวัดปทุมธำนี 12000 โทรศัพท์ (662) 959-5811-5 โทรสำร (662) 959-5822 4,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 4,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 100 บำทต่อหุน้


ข้อมูลทั่วไป

25

บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) ประเภทธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ ทีต่ งั้ สำนักงำนใหญ่

ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล้ว มูลค่ำทีต่ รำไว้

พัฒนำโรงงำนและคลังสินค้ำเพือ่ วัตถุประสงค์ในกำรให้เช่ำ บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด ถือหุน้ ร้อยละ 60 ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อำคำรสำธรซิต้ ที ำวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสำทรใต้ แขวงทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุงเทพมหำนคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสำร (662) 278-3153 50,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 50,000,000 บำท (ณ วันที่ 10 มีนำคม 2560) 10 บำทต่อหุน้

ผูเ้ กีย่ วข้องอืน่ ๆ

นำยทะเบียนหลักทรัพย์

ผูส้ อบบัญชี

สถำบันกำรเงินที่ตดิ ต่อประจำ

บริษทั ศูนย์รบั ฝำกหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อำคำรตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดำภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหำนคร 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800 โทรสำร (662) 359-1259 นำงสำวรสพร เดชอำคม ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญำตเลขที่ 5659 บริษทั สำนักงำน อีวำย จำกัด ชัน้ 33 อำคำรเลครัชดำ เลขที่ 193/136-137 ถนนรัชดำภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหำนคร 10110 โทรศัพท์ (662) 264-9090 โทรสำร (662) 264-0789 ธนำคำรกรุงเทพ จำกัด (มหำชน)


26

รายงานประจ�ำปี 2559

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1. วิสยั ทัศน์และเป้ าหมายการดาเนิ นธุรกิจ 1.1 วิสยั ทัศน์ วิสยั ทัศน์ของบริษทั คือ การเป็ นบริษทั ชัน้ นาในการพัฒนาและให้บริการเช่าโรงงานและคลังสินค้าที่มี คุณภาพระดับสากล โดยคานึงถึงสังคมและสภาพแวดล้อมเป็ นสาคัญและให้ผลตอบแทนทีด่ ีทส่ี ุดแก่ผูล้ งทุน 1.2 เป้ าหมายการดาเนิ นธุรกิจ เป้ าหมายการดาเนินธุ รกิจของบริษทั คือ การรักษาตาแหน่ งการเป็ นผูน้ าด้านการก่อสร้างโรงงาน และ คลังสินค้าเพื่อให้เช่าที่มคี ุณภาพระดับสากลควบคู่ไปกับการให้บริก ารครบวงจรโดยคานึงถึงความต้องการของลูกค้าเป็ น สาคัญ และบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล เพือ่ ประโยชน์ของผูท้ ม่ี สี ่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ าย

2. การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาการที่สาคัญ ในช่วง 3 ปี ทผ่ี ่านมา มีเหตุการณ์สาคัญเกี่ยวกับบริษทั ดังนี้ ในเดือนพฤษภาคม 2557 บริษทั ได้ทาการเพิ่มทุน โดยการออกใบแสดงสิทธิในการซื้อหุน้ เพิ่มทุนทีโ่ อนสิทธิ ได้ (TSRs) ครัง้ ที่ 2ให้แก่ผูถ้ อื หุน้ เดิมจานวนรวม 182.76 ล้านหน่วย โดยบริษทั ได้รบั เงินทุนจากการใช้สทิ ธิแปลงสภาพ เป็ นหุน้ สามัญรวม 2,365 ล้านบาท ในเดือนมิถนุ ายน 2557 และบริษทั ได้ทาการเสนอขายหุน้ ส่วนที่เหลือจากการใช้สทิ ธิ ตาม TSRs ให้แก่บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) รวม 465 ล้านบาท ในเดือนตุลาคม 2557 

ในเดือนพฤษภาคม 2557 บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด ได้เข้าร่วมลงทุนในกิจการร่วมค้าร่วมกับ บริษทั เด็มโก้ เพาเวอร์จากัด (มหาชน) ได้จดั ตัง้ บริษทั ร่วมลงทุน 2 บริษทั ได้แก่ บริษทั ไทคอน เด็มโก้ พาวเวอร์ 6 จากัด และบริษทั ไทคอน เด็มโก้ พาวเวอร์ 11 จากัด เพือ่ การพัฒนาโครงการผลิต และจาหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ 

ในเดือนตุลาคม 2557 บริษทั ได้เข้าทาสัญญาจาหน่ ายเงินลงทุนในบริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จากัด (TMAN) ให้แก่ Mitsui & Co. (Asia Pacific) Pte. Ltd. ซึ่งคิดเป็ นร้อยละ 30 ของทุนจดทะเบียนที่ออกและชาระ แล้วทัง้ หมดของ TMAN โดยบริษทั ได้รบั เงินจานวน 70 ล้านบาท ในเดือนพฤศจิกายน 2557 

ในเดือนธันวาคม 2557 บริษทั ได้ร่วมสนับสนุ นการจัดตัง้ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิ การเช่ า อสัง หาริ ม ทรัพ ย์ ไทคอน (TICON Freehold and Leasehold Real Estate Investment Trust : TREIT) และได้ขาย/ให้เช่าโรงงาน และคลังสินค้าเป็ นครัง้ แรกให้แก่ TREIT รวมมูลค่า 4,228 ล้านบาท 

ในเดือนเมษายน 2558 บริษทั ได้ลงนามในสัญญาร่วมลงทุนในบริษทั PT SLP Surya TICON Internusa (SLP) ร่วมกับบริษทั Mitsui & Co., Ltd. และ บริษทั PT Surya Semesta Internusa Tbk ซึง่ เป็ นผูป้ ระกอบกิจการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมในประเทศอินโดนีเซีย เพื่อการลงทุนในโรงงานและคลังสินค้า ให้เช่าและ/หรือขาย ในประเทศ 


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

27

อินโดนีเซีย โดยบริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 25 ของทุนจดทะเบียนที่ออกและชาระแล้วทัง้ หมดของ SLP ซึ่งเป็ นการลงทุนผ่าน บริษทั ย่อยในประเทศฮ่องกง ในเดือนเมษายน 2558 บริษทั ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อย ชื่อ TICON (HK) Limited ในประเทศฮ่องกง เพื่อ วัตถุประสงค์ในการลงทุนในกิจการในต่างประเทศ 

ในเดือ นมิถุนายน 2558 บริษทั ได้จดทะเบียนเลิกบริษ ทั ย่อยที่จ ดั ตัง้ ขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา ชื่อ TICON Property, Inc. ที่ผ่านมายังมิได้มีการลงทุนใด ๆ เนื่องจากยัง ไม่มีโอกาสทางการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสม 

ในเดือนตุลาคม 2559 บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัดได้เข้าร่วมลงทุนในบริษทั ร่วมค้าร่วมกับ บริษทั พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท์ จากัด จัดตัง้ บริษทั ชื่อ บริษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด เพือ่ การพัฒนาคลังสินค้าให้ เช่า และ/หรือขาย ในโครงการบางกอก ฟรีเทรลโซน พื้นทีอ่ าเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 

ในเดือนธันวาคม 2559 บริษทั ได้ทาการเพิ่มทุนโดยการออกหุน้ สามัญ เพื่อเสนอขายให้แก่ บริษทั เฟร เซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จากัด (FPHT) โดยเป็ นการเสนอขายให้แก่บคุ คลในวงจากัด จานวน 735 ล้านหุน้ ในราคาหุน้ ละ 18 บาท บริษทั ได้รบั เงิน จากการเพิ่มทุนครัง้ นี้รวมเป็ นเงิน 13,230 ล้านบาท ในเดือนมกราคม 2560 ซึง่ หลังจากการเพิม่ ทุนดังกล่าว FPHT มีสดั ส่วนการถือหุน้ ร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั 

ในปี 2559 บริษทั มีการลงทุนในประเทศ รวมมูลค่ากว่า 1,866 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็ นการลงทุนในธุ รกิจ คลังสินค้า เพื่อรองรับความต้องการเช่าคลังสินค้าทีม่ กี ารขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มการเติบโตทีด่ ี โดยเฉพาะ ในพื้นทีร่ อบนอกของกรุงเทพมหานคร ถนนบางนา-ตราด พื้นที่บางพลี และวังน้อย ซึ่งเห็นได้จากพื้นที่เช่าคลังสินค้าสุทธิ ของบริษทั ทีเ่ พิม่ ขึ้น 65,088 ตารางเมตร นอกจากนี้ บริษทั มีพ้นื ที่เช่าโรงงานสุทธิเพิ่มขึ้น 33,525 ตารางเมตร เนื่องจากพื้นทีใ่ ห้เช่าใหม่ของกลุ่มอุตสาหกร รมอิ เ ล็ค ทรอนิ ค ส์เ พิ่ม ขึ้น สู ง กว่ า ปี ก่ อ นหน้า ร้อ ยละ 279 ประกอบกับ การยกเลิก การเช่ า ของกลุ่ ม อุ ต สาหกรรม อิเล็คทรอนิคส์ลดลงจากปี ก่อนหน้าร้อยละ 77 ทัง้ นี้ กลุม่ อิเล็คทรอนิคส์ถอื เป็ นกลุม่ ลูกค้าสาคัญของบริษทั


28

รายงานประจ�ำปี 2559

3. โครงสร้างการถือหุน้ ของกลุม่ บริษทั ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จากัด (มหาชน) บริษทั ย่อย

บริษทั ร่วมค้า

บริษทั ร่วม

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จากัด 100%

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

15%

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด

100%

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ 16%

Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd.

100%

กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

24%

บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จากัด

70%

ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน

12%

TICON (HK) Limited

100%

PT SLP Surya TICON Internusa (ถือหุน้ โดย TICON (HK) Limited)

25%

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด (ถือหุน้ โดย TPARK)

51%

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด (ถือหุน้ โดย TPARK)

51%

บริษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด (ถือหุน้ โดย TPARK)

60%

บริษทั มีบริษทั ย่อย 5 แห่ง ได้แก่ บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จากัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จากัด และ TICON (HK) Limited โดยบริษทั และบริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จากัด เป็ นผูจ้ ดั สร้างโรงงานให้เช่า ส่ ว นคลัง สิน ค้า ให้เ ช่ า ด าเนิ น การโดยบริ ษ ทั ไทคอน โลจิ ส ติ ค ส์ พาร์ค จ ากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited จัดตัง้ ขึ้นเพื่อรองรับการขยายธุ รกิจในประเทศจีน บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จ ากัด จัด ตัง้ ขึ้น เพื่อ วัต ถุป ระสงค์ใ นการเป็ น ผู จ้ ดั การทรัส ต์เ พื่อ การลงทุ น ในอสัง หาริ ม ทรัพ ย์แ ละสิท ธิ ก ารเช่ า อสังหาริมทรัพย์ไทคอนและ TICON (HK) Limited จัดตัง้ ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในกิจการในต่างประเทศ ทัง้ นี้ รายละเอียดของบริษทั ย่อยมีดงั ต่อไปนี้ (1) บริ ษั ท อี โ ค อิ น ดัส เทรี ย ล เซอร์วิ ส เซส จ ากัด (Eco Industrial Services Company Limited: EISCO) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน โดย EISCO ดาเนินธุรกิจเช่นเดียวกับบริษทั และถูกจัดตัง้ ขึ้นเพื่อขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนในโครงการก่อสร้างโรงงานสาเร็จรู ปในนิคม อุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึ่งเป็ นโครงการที่มรี ูปแบบเช่นเดียวกับโครงการของบริษทั โดยปัจจุบนั ได้ส้ นิ สุดร ะยะเวลา สาหรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีสาหรับโครงการดังกล่าวแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 EISCO มีทุนจดทะเบีย นและทุน ชาระแล้ว 50 ล้านบาทโดยในปี 2546 EISCO ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2000


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

29

(2) บริษัท ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด (TICON Logistics Park Company Limited: TPARK) ถือ หุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน TPARK จัดตัง้ ขึ้นในเดือนสิงหาคม 2548 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนา คลังสินค้าให้เช่า โดยปัจจุบนั TPARK ได้รบั การส่งเสริมการลงทุนในการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอนวัง น้อย (1 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอนศรีราชา เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอนแหลมฉบัง ศูนย์คลังสินค้า อีสเทิรน์ ซีบอร์ด เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอนบางปะกง ศูนย์คลังสินค้าขอนแก่น และการพัฒนาคลังสินค้าจานวน หนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) ศูนย์คลังสินค้าบางพลี นิคมอุตสาหกรรม อมตะซิต้ ี และ สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปราจีนบุรี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TPARK มีทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ว 19,500 ล้านบาท โดยในปี 2552 TPARK ได้รบั การรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 (3) Shanghai TICON Investment Management Company Limited ถือ หุ น้ โดยบริษ ทั ร้อ ยละ 100 ของทุนจดทะเบียน จัดตัง้ ขึ้นในประเทศจีน ในเดือนกรกฎาคม 2553 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อรองรับการขยายธุ รกิจ เกี่ยวกับการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในประเทศจีนซึง่ ปัจจุบนั อยู่ระหว่างศึกษาความเป็ นไปได้สาหรับการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 Shanghai TICON Investment Management Company Limited มี ทุนจดทะเบียน 2.8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และมีทนุ ชาระแล้ว 2.8 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ (4) บริษัท ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จากัด (TICON Management Company Limited: TMAN) ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 70 และถือหุน้ โดย Mitsui & Co. (Asia Pacific) Pte. Ltd. ร้อยละ 30 ของทุนจดทะเบียน TMAN จัดตัง้ ขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2556 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นผูจ้ ดั การกองทรัสต์ โดยได้รบั การอนุ มตั ิในการเป็ น ผูจ้ ดั การกองทรัสต์ จากสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตงั้ แต่วนั ที่ 6 สิงหาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TMAN มีทนุ จดทะเบียนและทุนชาระแล้ว 10 ล้านบาท (5) TICON (HK) Limited ถือหุน้ โดยบริษทั ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน จัดตัง้ ขึ้นในประเทศฮ่องกง ใน เดือ นเมษายน 2558 โดยมีว ตั ถุประสงค์ในการลงทุนในกิจการในต่ างประเทศ ซึ่ง ปัจ จุบนั มีการลงทุนในประเทศ อินโดนีเซีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TICON (HK) Limited มีทนุ จดทะเบียน และทุนชาระแล้ว 11.615 ล้านดอล ล่าร์สหรัฐฯ นอกจากบริษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษทั ยังมีการลงทุนในบริษัทร่วมค้า ได้แก่ บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด และบริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด เพือ่ วัตถุประสงค์ในการเป็ นผูพ้ ฒั นาโครงการผลิต และ จาหน่ วยกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และบริษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด เพื่อวัตถุประสงค์ในการพัฒนา คลังสินค้าให้เช่า และ/หรือขาย ในโครงการบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ซึง่ รายละเอียดของบริษทั ร่วมค้า มีดงั ต่อไปนี้


30

รายงานประจ�ำปี 2559

(1) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด (TICON DEMCO Power 6 Company Limited: TICON DEMCO 6) ถือ หุน้ โดยTPARK ร้อ ยละ 51 และถือหุน้ โดยบริษทั เด็มโก้ จ ากัด (มหาชน) ร้อยละ 49 ของทุนจด ทะเบียน โดย TICON DEMCO 6 ดาเนินธุรกิจพัฒนาโครงการผลิต และจาหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ ปัจจุบนั ได้ดาเนินการจาหน่ายกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์แล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TICON DEMCO 6 มีทนุ จดทะเบียนและทุนชาระแล้ว 5 ล้านบาท (2) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด (TICON DEMCO Power 11 Company Limited: TICON DEMCO11) ถือหุน้ โดยTPARK ร้อยละ 51 และถือหุน้ โดยบริษทั เด็มโก้ จากัด (มหาชน) ร้อยละ 49 ของทุนจด ทะเบียน โดย TICON DEMCO 11 ดาเนินธุ รกิจเช่นเดียวกับ TICON DEMCO 6 ซึ่งปัจจุบนั ได้ดาเนินการจาหน่ าย กระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์แล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TICON DEMCO 11 มีทนุ จดทะเบียนและทุนชาระแล้ว 4 ล้านบาท (3) บริษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด (TPARK BFTZ Company Limited: TPARK BFTZ) ถือหุน้ โดย TPARK ร้อยละ 60 และถือหุน้ โดย บริษทั พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท์ จากัด ร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียน TPARK BFTZ จัดตัง้ ขึ้นในเดือนตุลาคม 2559 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาคลังสินค้าให้เช่า และ/หรือขาย ในโครงการบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TPARK BFTZ มีทนุ จดทะเบียนและทุนชาระแล้ว 50 ล้านบาท นอกจากนี้ บริ ษ ทั มีก ารลงทุ น ในบริ ษั ท ร่ ว ม ได้แ ก่ กองทุ น รวมอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน กองทุ น รวม อสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพื่อการ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไทคอน และ PT SLP Surya TICON Internusa ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้ (1)

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (TICON Property Fund: TFUND)

TFUND จัดตัง้ ขึ้นในเดือนเมษายน 2548 เพื่อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท่เี กี่ยวเนื่อง กับกิจการอุตสาหกรรม (Industrial Properties) โดยอสังหาริมทรัพ ย์ดงั กล่าวไม่จาเป็ นต้องเป็ นอสัง หาริมทรัพ ย์ท่ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้าของ TFUND เป็ นกองทุนที่เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย โดยมีบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จากัด เป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TFUND มีจานวนเงินทุน 11,825 ล้านบาท TFUND มีการระดมทุนครัง้ แรกในปี 2548 และได้ ทาการเพิม่ ทุนอีก 6 ครัง้ ในปี 2549-2555 เพือ่ ซื้อโรงงาน และคลังสินค้าจาก TICON และ TPARK ซึง่ ปัจจุบนั มีโรงงาน จานวนรวม 235 โรงงาน (พื้นที่รวม 560,385 ตารางเมตร) และคลังสินค้า 8 หลัง (พื้นที่รวม 19,600 ตารางเมตร) ตามลาดับ ทัง้ นี้ TICON และ TPARK มิได้มขี อ้ ผูกพันในการซื้อโรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TFUND TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงาน และคลังสินค้าที่ขายให้แก่ TFUND และ ได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TFUND


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

31

TFUND มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ ือหน่ วยอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้ ในอัตราไม่ตา่ กว่าร้อยละ 90 ของกาไรสุทธิของกองทุน ซึ่งกาไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกาไรที่ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TFUND มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยเท่ากับ 11.4392 บาท ณ สิ้นปี 2559 บริษทั มีการลงทุนใน TFUND คิดเป็ นร้อยละ 15 ของจานวนหน่วยลงทุนทีอ่ อกทัง้ หมด (2)

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ (TPARK Logistics Property Fund: TLOGIS)

TLOGIS จัดตัง้ ขึ้นในเดือนธันวาคม 2552 เพื่อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท่เี กี่ยวเนื่อง กับกิจการอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวไม่จาเป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท่ี TICON หรือ TPARK เป็ น เจ้าของ TLOGIS เป็ นกองทุนที่เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีบริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จากัดเป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TLOGIS มีจานวนเงินทุน 4,469 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง้ แรกในปี 2552 และทาการเพิ่มทุน อีก 2 ครัง้ ในปี 2554-2555 เพื่อซื้อคลังสินค้าจาก TPARK ซึ่งปัจจุบนั มีคลังสินค้าจานวนรวม 63 หลัง (พื้นที่รวม 243,625 ตารางเมตร) ทัง้ นี้ TPARK มิได้มขี อ้ ผูกพันในการซื้อคลังสินค้าคืนจาก TLOGIS TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารคลังสินค้าที่ขายให้แก่ TLOGIS และได้รบั ค่าจ้าง บริหารจาก TLOGIS TLOGIS มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แ ก่ผูถ้ ือหน่ วยอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้ ในอัตราไม่ตา่ กว่าร้อยละ 90 ของกาไรสุทธิของกองทุน ซึ่งกาไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกาไรที่ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TLOGIS มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยเท่ากับ 11.7086 บาท ณ สิ้นปี 2559 บริษทั มีการลงทุนใน TLOGIS คิดเป็ นร้อยละ 16 ของจานวนหน่วยลงทุนทีอ่ อกทัง้ หมด (3) กองทุนรวมสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ไ ทคอน อินดัสเทรียล โกรท (TICON Industrial Growth Leasehold Property Fund: TGROWTH) TGROWTH จัดตัง้ ขึ้นในเดือนธันวาคม 2556 เพือ่ วัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ท่ี เกี่ยวเนื่องกับกิจการอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวไม่จาเป็ นต้องเป็ นอสังหาริมทรัพย์ท่ี TICON หรือ TPARK เป็ นเจ้าของ TGROWTH เป็ นกองทุนรวมสิทธิการเช่าทีเ่ ป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย โดยมีบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนไทยพาณิชย์ จากัด เป็ นผูจ้ ดั การกองทุน ปัจจุบนั TGROWTH มีจานวนเงินทุน 5,550 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง้ แรกในปี 2556 เพื่อลงทุนใน สิทธิการเช่ าที่ดินกรรมสิทธิ์ และสิทธิการเช่าอาคารจาก TICON และ TPARK ซึ่งปัจจุบนั มีโรงงานรวม 38 โรงงาน (พื้นที่รวม 114,450 ตารางเมตร) และคลังสินค้า 50 หลัง (พื้นที่รวม 182,095 ตารางเมตร) ตามลาดับ ทัง้ นี้ TICON และ TPARK มิได้มขี อ้ ผูกพันในการซื้อโรงงานและคลังสินค้าคืนจาก TGROWTH TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงานและคลังสินค้าที่ขาย/ให้เช่าแก่ TGROWTH และได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TGROWTH


32

รายงานประจ�ำปี 2559

TGROWTH มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่วยลงทุนอย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้ ในอัตราไม่ตา่ กว่าร้อย ละ 90 ของกาไรสุทธิของกองทุน ซึ่งกาไรสุทธิของกองทุนดังกล่าวเป็ นกาไรที่ได้รบั การยกเว้นภาษี ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TGROWTH มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วยเท่ากับ 10.3525 บาท ณ สิ้นปี 2559 บริษทั มีการลงทุนใน TGROWTH คิดเป็ นร้อยละ 24 ของจานวนหน่ วยลงทุน ที่อ อก ทัง้ หมด (4) ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่ าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (TICON Freehold and Leasehold Real Estate Investment Trust: TREIT) TREIT จัดตัง้ ขึ้นในเดือนธันวาคม 2557 เพื่อวัตถุประสงค์ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ทเ่ี กี่ยวเนื่องกับ กิจการอุตสาหกรรม โดยอสังหาริมทรัพ ย์ดงั กล่าวไม่จาเป็ นต้องเป็ นอสัง หาริมทรัพ ย์ท่ี TICON หรือ TPARK เป็ น เจ้าของ TREIT เป็ นทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ทเ่ี ป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีบริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จากัด (TICON Management Company Limited: TMAN) เป็ นผูจ้ ดั การกองทรัสต์ และบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จากัด เป็ นทรัสตี ปัจจุบนั TREIT มีจานวนเงินทุน 5,459 ล้านบาท มีการระดมทุนครัง้ แรกในปี 2557 เพื่อซื้อโรงงานและ คลังสินค้าจาก TICON และ TPARK และลงทุนในสิทธิการเช่าทีด่ นิ กรรมสิทธิ์ และสิทธิการเช่าอาคารจาก TICON และ TPARK ซึ่งปัจจุบนั มีโรงงานจานวน 27 หลัง (พื้นที่รวม 75,900 ตารางเมตร) และคลังสินค้าจานวน 25 หลัง แบ่งเป็ น 71 ยูนิต (พื้นทีร่ วม 293,805 ตารางเมตร) ตามลาดับ ทัง้ นี้ TICON และ TPARK มิได้มขี อ้ ผูกพันในการซื้อโรงงานและ คลังสินค้าคืนจาก TREIT TICON และ TPARK ได้รบั การว่าจ้างให้เป็ นผูบ้ ริหารโรงงาน และคลังสินค้าทีข่ าย/ให้เช่าแก่ TREITและ ได้รบั ค่าจ้างบริหารจาก TREIT TREIT มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผูถ้ อื หน่ วยทรัสต์อย่างน้อยปี ละ 2 ครัง้ ในอัตราไม่ตา่ กว่าร้อยละ 90 ของกาไรสุทธิหลังปรับปรุงแล้วของกองทรัสต์ ซึง่ กาไรสุทธิของกองทรัสต์ดงั กล่าว เป็ นกาไรทีไ่ ด้รบั การยกเว้นภาษีเงิน ได้นิตบิ คุ คล ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 TREIT มีมลู ค่าสินทรัพย์สุทธิเท่ากับ 10.1451 บาทต่อหน่วย ณ สิ้นปี 2559 บริษทั มีการลงทุนใน TREIT คิดเป็ นร้อยละ 12 ของจานวนหน่วยลงทุนทีอ่ อกทัง้ หมด (5)

PT SLP Surya TICON Internusa (“SLP”)

SLP เป็ นบริษทั ร่วมทุนในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งบริษทั ได้ลงนามในสัญญาร่วมลงทุนในวันที่ 7 เมษายน 2558 เพือ่ ดาเนินธุรกิจพัฒนาโรงงาน และคลังสินค้าเพือ่ ให้เช่า และ/หรือขายในประเทศอินโดนีเซีย ปัจจุบนั SLP มีทุนจดทะเบียน 185.6 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ และทุนชาระแล้ว 46.4 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ โดย SLP ได้ดาเนินการพัฒนาโรงงาน และคลังสินค้าเพื่อให้เช่า และ/ขายในโครงการ Suryacipta Technopark ซึ่ง ปัจจุบนั มีคลังสินค้ารวม 28 ยูนิต (พื้นทีร่ วม 65,631 ตารางเมตร) และมีการรับรู ร้ ายได้จากการดาเนินงานของ SLP แล้ว ณ สิ้นปี 2559 TICON (HK) Limited และ Mitsui & Co., Ltd. แต่ละบริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 25 และ PT Surya Semesta Internusa Tbk ถือหุน้ ร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนทีอ่ อกและชาระแล้วของ SLP


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

33

การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT ถือเป็ นช่องทางการระดมทุนของ บริษทั ทางหนึ่ง เพื่อนาเงินที่ได้มาใช้ขยายกิจการของบริษทั นอกเหนือจากแหล่งเงินทุนจากผลการดาเนินงานของบริษทั และแหล่งเงินทุนจากการกูย้ มื การพิจารณาขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT นัน้ บริษทั จะคานึงถึงความเหมาะสมของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละช่วงเวลา โดยคานึงถึงผลตอบแทนสูงสุดต่อผูถ้ ือ หุน้ นอกจากนี้ บริษทั มีเงินลงทุนในบริษทั ที่เกี่ยวข้อง คือ บริษทั บางกอกคลับ จากัด เป็ นจานวนเงินทัง้ สิ้น 256,500 บาท คิดเป็ นร้อยละ 0.11 ของทุนจดทะเบียนของบริษทั บางกอกคลับ จากัด เพือ่ วัตถุประสงค์ในการใช้บริการของบริษทั ดังกล่าว


34

รายงานประจ�ำปี 2559

ลักษณะการประกอบธุรกิจ 1.

ภาพรวมของธุรกิจ

บริษทั ประกอบธุ รกิจเป็ นผูก้ ่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้าให้เช่า ในนิคมอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตอุตสาหกรรม เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และทาเลอื่นที่มศี กั ยภาพในประเทศไทย โดยโรงงานของบริษทั ตัง้ อยู่ในนิคม/สวน/ เขต/เขตส่งเสริมอุตสาหกรรม 15 แห่ง ดังต่อไปนี้ ที่ตง้ั นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี นิคมอุตสาหกรรมปิ่ นทอง นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ ี นิคมอุตสาหกรรมบางปู นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ระยอง เขตอุตสาหกรรมกบินทร์บรุ ี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี

จังหวัด พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ระยอง สมุทรปราการ สมุทรปราการ ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร ระยอง ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี

คลังสินค้าของบริษทั ตัง้ อยู่ในพื้นที่ 33 ทาเล ดังต่อไปนี้ ที่ตง้ั เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางนา ศูนย์คลังสินค้าแหลมฉบัง เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน แหลมฉบัง เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย (3 แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ลาดกระบัง ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด ศูนย์คลังสินค้าอีสเทิรน์ ซีบอร์ด (5 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน ศรีราชา

จังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ชลบุรี กรุงเทพมหานคร ระยอง ชลบุรี ชลบุรี


35

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ที่ตง้ั นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) ศูนย์คลังสินค้าพานทอง (3 แห่ง) เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน บางปะกง ศูนย์คลังสินค้าบางพลี (6แห่ง) สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี ศูนย์คลังสินค้าขอนแก่น ศูนย์คลังสินค้าสุราษฎร์ธานี นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ ี ศูนย์คลังสินค้าสมุทรสาคร ศูนย์คลังสินค้าลาพูน

2.

จังหวัด ชลบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปราจีนบุรี ขอนแก่น สุราษฎร์ธานี ระยอง สมุทรสาคร ลาพูน

โครงสร้างรายได้

ปัจจุบนั รายได้จากการขายโรงงาน/คลังสินค้ามีสดั ส่วนสูงที่สุดเมือ่ เทียบกับรายได้รวมของบริษทั เนื่องจากหลายปี ทผ่ี ่าน มาบริษทั มีการขายโรงงาน/คลังสินค้า ให้แก่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ และทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ เป็ นจานวนมาก เพื่อนาเงินที่ได้มาใช้ขยายธุ รกิจของบริษทั แต่ในปี 555 บริษทั มิได้มกี ารขาย โรงงาน/คลังสินค้า ให้แก่กองทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (TREIT) ในช่วง 3 ปี ทผ่ี ่านมา รายได้ค่าเช่าและบริการ และรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ เป็ นรายได้หลักที่สาคัญของบริษทั บริษทั ยังมีรายได้อ่ืน ๆ อีกหลายประเภท ซึ่งมีสดั ส่วนมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละปี ทัง้ นี้ โปรดดูการวิเคราะห์โครงสร้าง รายได้เพิม่ เติมในหัวข้อ “คาอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ” โครงสร้างรายได้ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากการให้เช่าและการบริการ รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่ วม ตามวิธสี ่วนได้เสีย กาไรทีร่ บั รูเ้ พิม่ เติมจากการขาย อสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม รายได้อน่ื ๆ รวม

2557

2558

ล้านบาท 4,561.28 966.06 165.34 267.13

ร้อยละ 73.98 15.67 2.68 4.33

41.37

0.67

163.79 6,164.97

2.67 100.00

ล้านบาท 3,345.61 1,048.55 504.15 548.47 546.6 255.65 5,349.09

2559 ร้อยละ 62.55 19.60 3.81 4.65

ล้านบาท 550.68 1,175.15 501.15 555.55

ร้อยละ 10.36 48.44 8.31 10.43

4.61

5 4. 5

12.19

4.78 100.00

248.59 2,419.68

10.27 100.00


36

3.

รายงานประจ�ำปี 2559

ผลิตภัณฑ์และบริการ 3.1 ผลิตภัณฑ์ ก. โรงงานสาเร็จรูป

บริษทั ได้จดั สร้างโรงงานสาเร็จรูปที่มคี ุณภาพระดับสากล เพือ่ ตอบสนองความต้องการของผูป้ ระกอบการที่ เข้ามาตัง้ ฐานการผลิตในประเทศไทย โดยไม่ตอ้ งการถือกรรมสิทธิ์ในโรงงาน เพือ่ ลดต้นทุนในการดาเนินการ และลดความเสีย่ ง จากความไม่แน่ นอนต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น บริษทั ได้เลือกสร้างโรงงานในทาเลที่ตงั้ ที่มศี กั ยภาพ และก่อสร้างโรงงานที่มรี ูปแบบ มาตรฐานเหมาะสมสาหรับผูป้ ระกอบการที่หลากหลายอุตสาหกรรม นอกจากนี้ เนื่องจากกลุ่มผูเ้ ช่าโรงงานของบริษทั มากกว่า ร้อยละ 0 เป็ นผูป้ ระกอบการชาวต่างชาติ บริษทั จึงได้เ น้นการให้บริการให้ความช่วยเหลือในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ เริ่มต้นประกอบการผลิตในประเทศไทย บริษทั เลือกทาเลที่ตงั้ สาหรับการพัฒนาโรงงาน โดยพิจารณาจากความต้องการของลูกค้าในปัจจุบนั และ การคาดการณ์ในอนาคต นอกจากนัน้ ยังพิจารณาถึงเขตส่งเสริมการลงทุนของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ความสะดวก ในการเดินทางไปยังท่าเรือ สนามบิน ระยะห่างจากกรุงเทพมหานคร ตลอดจนระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ได้มาตรฐานของทาเล ทีต่ งั้ นัน้ ๆ บริษทั มีการพัฒนาโรงงานทัง้ ในเขตส่งออก และเขตทัว่ ไปตามความต้องการของลูกค้า ซึง่ จะแตกต่างกันใน แต่ละทาเลทีต่ งั้ ตัวอย่างเช่น ความต้องการโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึง่ อยู่ติดกับท่าเรือนา้ ลึกทีส่ าคัญของประเทศ ไทย โดยส่วนใหญ่จะเป็ นความต้องการของโรงงานในเขตส่งออก โรงงานของบริษทั มีลกั ษณะเป็ นอาคารชัน้ เดียวพร้อมชัน้ ลอยเพื่อใช้เป็ นสานักงาน ซึง่ ก่อสร้างในบริเวณพื้น ทีด่ ินที่มรี วั้ กัน้ เป็ นสัดส่วน พร้อ มด้วยป้ อมยาม พื้นที่จอดรถ และพื้นที่สาหรับขนถ่ายสินค้า ทัง้ นี้ โรงงานที่บริษทั พัฒนาขึ้นเป็ น แบบมาตรฐาน แต่สามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าได้ ขนาดของโรงงานมีตงั้ แต่ 550 ถึง 15,000 ตาราง เมตร ซึง่ โดยส่วนใหญ่มขี นาดประมาณ 1,500 ถึง 3,000 ตารางเมตร โรงงานของบริษทั ที่สร้างมีขนาดเล็กลง เนื่องจากปัจจุบนั แนวโน้มความต้องการโรงงานขนาดเล็กของลูกค้ามีสูงขึ้น นอกจากนี้พ้นื โรงงานสามารถรับนา้ หนักได้ตงั้ แต่ 1 ถึง 3 ตันต่อตาราง เมตร ตัวอาคารก่อสร้าง โดยใช้โครงสร้างหลังคาเหล็ก ซึง่ ไม่ตอ้ งมีเสารองรับหลังคาโรงงาน ทาให้ได้พ้นื ทีใ่ ช้สอยสูงสุด นอกจากโรงงานสาเร็จรูปแล้ว บริษทั ยังให้บริการสร้างโรงงานตามแบบที่ลูกค้าต้องการ ซึ่งโดยทัว่ ไปจะมี ขนาดใหญ่กว่าโรงงานสาเร็จรูปของบริษทั สัญญาเช่าระหว่างลูกค้ากับบริษทั เกือบทัง้ หมดมีอายุสญั ญา 3 ปี โดยเปิ ดโอกาสให้ลูกค้ามีทางเลือกในการ ต่อสัญญาเช่าได้ นอกจากนัน้ บริษทั ยังให้ทางเลือกแก่ลูกค้าในการเปลี่ยนไปเช่าโรงงานอื่นของบริษทั ในทาเลที่ตงั้ หรือขนา ดที่ แตกต่างไป ตลอดจนให้ทางเลือกแก่ลูกค้าในการซื้อโรงงาน บริษทั กาหนดให้ลูกค้าชาระเงินมัดจา จานวน 3 - 6 เดือนของค่าเช่าและค่าบริการตามแต่จะตกลงกัน


37

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ณ สิ้นปี 5557 5558 และ 555 บริษทั มีโรงงานให้เช่าแก่ลูกค้า โรงงานว่างพร้อมให้เช่า และโรงงานที่อยู่ ระหว่างการพัฒนา ดังนี้

โรงงานทีม่ สี ญั ญาเช่า โรงงานว่างพร้อมให้เช่า โรงงานทีอ่ ยู่ระหว่างการพัฒนา โรงงานทีอ่ ยู่ในแผนการพัฒนา รวม

สิ้นปี 2557 จานวน พื้นที่เช่า โรงงาน (ตรม.) 64 175,080 55 160,200 28 67,325 175 431,350 322 833,955

สิ้นปี 2558 จานวน พื้นที่เช่า โรงงาน (ตรม.) 64 165,380 71 195,250 21 41,850 157 404,100 313 806,580

สิ้นปี 2559 จานวน พื้นที่เช่า โรงงาน (ตรม.) 76 1 6,505 79 203,575 157 404,100 312 803,880

ตารางข้างต้นแสดงข้อมูลของโรงงานภายหลังการขายโรงงานจานวนหนึ่ง ซึง่ เกือบทัง้ หมดมีผูเ้ ช่าแล้ว ให้แก่ TFUND TGROWTH และ TREIT ทัง้ นี้ ในช่ ว ง 3 ปี ท่ีผ่ านมาบริษ ทั มีการขายโรงงานให้แ ก่ TFUND TGROWTH และ TREIT ดังนี้ ปี 2557

โรงงานทีข่ ายให้กองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์ โรงงานทีข่ ายให้ทรัสต์เพือ่ การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

จานวน โรงงาน

พื้นที่เช่า (ตรม.)

3 20

20,250 54,000

ปี 2558 จานวน พื้นที่เช่า โรงงาน (ตรม.) 5 5,355 7 51, 00

ปี 2559 จานวน พื้นที่เช่า โรงงาน (ตร.ม.) -

อัตราการเช่าโรงงาน (Occupancy rate) ของบริษทั โดยเฉลีย่ ในปี 2559 ลดลงจากปี 2558 ซึ่งลดลงเพียง ร้อยละ 1 เนื่องจากปัจจัยภาวะเศรษฐกิจทัง้ ใน และต่างประเทศ ทาให้เกิดการชะลอการลงทุนของผูผ้ ลิตในกลุ่มอุตสาหกรรม ต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม ในช่วงปี ท่ผี ่านมา บริษทั มีพ้ นื ที่ให้เช่าสุทธิเพิ่มขึ้นจากปี ก่อนหน้า โดยเป็ นการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ให้เช่าใหม่ ของกลุม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และการเพิม่ ขึ้นของพื้นทีใ่ ห้เช่าใหม่ในพื้นทีท่ เ่ี คยประสบอุ ทกภัย อัตราการเช่าโรงงานเฉลีย่ ในช่วง 3 ปี ทผ่ี ่านมามี ดังนี้ อัตราการเช่าโรงงานเฉลีย่ (ร้อยละ)

ปี 2557 62

ปี 2558 4

ปี 2559 48


38

รายงานประจ�ำปี 2559

ณ สิ้นเดือนธันวาคม 255 ลูกค้าที่เช่าโรงงานของบริษทั เป็ นผูผ้ ลิตจากประเทศต่าง ๆ ในอุตสาหกรรม หลายประเภท ดังนี้ อุตสาหกรรม ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้ า อาหาร พลาสติก สิง่ ทอ อืน่ ๆ รวม

ร้อยละ 34.97 34.1 5.8 4.0 3. 17.2

ประเทศ/ภูมิภาค ญีป่ ่ นุ ยุโรป อเมริกาเหนือ สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย อืน่ ๆ

100.0

รวม

ร้อยละ 40.5 22.4 10.7 7.2 6.0 5.8 7.4 100.0

หมายเหตุ : สัดส่วนข้างต้นคานวณจากรายได้ค่าเช่าและค่าบริการในเดือนธันวาคม ปี 255 ข. คลังสินค้า บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั เป็ นผูพ้ ฒั นาอาคารคลังสินค้าสาเร็จรูป ทีม่ คี ุณภาพระดับสากลเพือ่ ให้เช่า โลจิสติกส์นบั เป็ นกิจกรรมที่สาคัญในการกระจายวัตถุดิบ ชิ้นส่วนอุปกรณ์ สินค้าสาเร็จรูป และผลผลิตอื่น ๆ ปัจจุบนั กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ถือเป็ นกิจกรรมที่ผูป้ ระกอบการให้ความสาคัญเป็ นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ผูป้ ระกอบการ ตลอดจนผูใ้ ห้บริการด้านโลจิสติกส์ส่วนใหญ่ จาเป็ นต้องใช้เงินจานวนมากสาหรับการลงทุนในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ยานพาหนะและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่สาคัญ รวมทัง้ บุคคลากรที่เกี่ยวข้อง บริษทั จึงเล็งเห็นโอกาสของการพัฒนาคลังสินค้าที่มี คุณภาพเพือ่ ให้ผูป้ ระกอบการเหล่านัน้ เช่าแทนการลงทุนสร้างเพือ่ เป็ นเจ้าของเอง คลังสินค้าของบริษทั ตัง้ อยู่ในทาเลที่เป็ นยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญ เหมาะแก่ การเป็ นศู นย์กระจายสินค้าที่ดี อาคารคลังสินค้าสามารถรองรับการจัดการคลังสินค้าสมัยใหม่ การออกแบบตัวอาคารจะคานึงถึงระยะห่างของช่วงเสา การรับ นา้ หนักของพื้นอาคาร ความสูงของอาคาร จานวนประตูสาหรับขนถ่ายสินค้า และอุปกรณ์ช่วยปรับระดับพื้นให้มคี วามลาดชันที่ เหมาะสมกับความสูงของรถขนสินค้า นอกจากคลังสินค้าสาเร็จรูปที่บริษทั ได้พฒั นาขึ้นพร้อมให้เช่าเช่นเดียวกับโรงงานสาเร็จรูปแล้ว (Readybuilt warehouses) บริษทั ยังมีการสร้างคลังสินค้าตามรูปแบบ และในทาเลที่ลูกค้าต้องการ (Custom-built warehouses) อีกทัง้ จะมีบริการซื้อคลังสินค้าจากลูกค้าเพือ่ ให้เช่ากลับคืน (Sale and Leaseback) อีกด้วย สัญญาเช่าส่วนใหญ่มอี ายุ 3 ปี โดยมีการเปิ ดโอกาสให้ลูกค้าต่อสัญญาได้ และบริษทั มีการกาหนดให้ลูกค้า ชาระค่ามัดจาเป็ นจานวน 3-6 เดือนของค่าเช่าและบริการ อย่างไรก็ดี สัญญาเช่าที่มอี ายุเกิน 3 ปี เริ่มมีสดั ส่วนเพิ่มขึ้น สาหรับ ลูกค้าทีเ่ ช่าคลังสินค้าทีม่ รี ูปแบบเฉพาะ ณ สิ้น ปี 5557 5558 และ 555 บริษทั มีคลัง สินค้าให้เช่ า แก่ ลู กค้า คลัง สินค้าว่ างพร้อมให้เช่ า และ คลังสินค้าทีอ่ ยู่ระหว่างการพัฒนา ดังนี้


39

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

คลังสินค้าทีม่ สี ญั ญาเช่า คลังสินค้าว่างพร้อมให้เช่า คลังสินค้าทีอ่ ยู่ระหว่างการพัฒนา คลังสินค้าทีอ่ ยู่ในแผนการพัฒนา รวม

สิ้นปี 2557 สิ้นปี 2558 สิ้นปี 2559 จานวน พื้นที่เช่า จานวน พื้นที่เช่า จานวน พื้นที่เช่า คลังสินค้า (ตรม.) คลังสินค้า (ตรม.) คลังสินค้า (ตรม.) 73 324,927 80 418,307 101 488,337 65 173,923 66 174,207 80 194,230 37 151,797 34 110,641 55 133,577 193 1,865,281 16 2,142,313 186 1,993,027 368 2,515,928 376 2,845,468 392 2,809,171

ตารางข้างต้น แสดงข้อมูลของคลังสินค้าภายหลังการขายคลังสินค้าจานวนหนึ่ง ซึง่ เกือบทัง้ หมดมีผูเ้ ช่าแล้ว ให้แก่ TREIT โดยมีรายละเอียดของการขายคลังสินค้า ทัง้ นี้ ในช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมา บริษทั มีการขายคลังสินค้าให้แก่ TREIT ดังนี้ ปี 2557

คลังสินค้าทีข่ ายให้ทรัสต์เพือ่ การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ไทคอน

จานวน คลังสินค้า 25

พื้นที่เช่า (ตรม.) 160,523

ปี 2558 จานวน พื้นที่เช่า คลังสินค้า (ตรม.) 46 133,585

สิ้นปี 2559 จานวน พื้นที่เช่า คลังสินค้า (ตรม.) -

อัตราการเช่าคลังสินค้า (Occupancy rate) ของบริษทั โดยเฉลีย่ ในปี 2559 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ส่วนหนึ่ง เนื่องมาจากในปี ท่ผี ่านมาบริษทั มีพ้ นื ที่เช่าใหม่สุทธิเพิ่มขึ้น 65,088 ตารางเมตร จากการที่ตลาดมีความต้องการพื้นทีค่ ลังสินค้า ในปริมาณมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลุ่มผูใ้ ห้บริการโลจิสติ กส์ กลุ่มธุ รกิจเครื่องดื่ม และในธุ รกิจยานยนต์ ซึ่งมีการ ขยายตัวอย่างมากในปี ทผ่ี ่านมา ประกอบกับในปี 555 บริษทั ไม่มกี ารขายคลังสินค้าทีม่ ผี ูเ้ ช่าแล้วให้กบั TREIT อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย่ ในช่วง 3 ปี ทผ่ี ่านมา มีดงั นี้ อัตราการเช่าคลังสินค้าเฉลีย่ (ร้อยละ)

ปี 2557 63

ปี 2558 68

ปี 2559 6

ณ สิ้นเดือ นธันวาคม 255 ลูกค้าที่เช่าคลัง สินค้าของบริษทั เป็ นผู ป้ ระกอบการจากประเทศต่ าง ๆ ใน อุตสาหกรรมหลายประเภท ดังนี้ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ ค้าส่งระหว่างประเทศ ยานยนต์ อาหาร ค้าปลีก อืน่ ๆ

อุตสาหกรรม

รวม

ร้อยละ 41.7 14.1 12.2 7.6 4.6 19.8 100.0

ยุโรป ไทย ญีป่ ่ นุ ออสเตรเลีย เกาหลี อืน่ ๆ

ประเทศ/ภูมิภาค

รวม

หมายเหตุ : สัดส่วนข้างต้นคานวณจากรายได้ค่าเช่าและค่าบริการของบริษทั ในเดือนธันวาคม ปี 255

ร้อยละ 44.6 29.3 17.4 3.3 1.9 3.5 100.0


40

รายงานประจ�ำปี 2559

3.2 บริการ บริการทีเ่ สนอให้ลูกค้า ได้แก่ 

การดัดแปลงงานอาคารโรงงาน/คลังสินค้า

บริษทั มีทีมงานออกแบบ ก่อสร้าง ตลอดจนบริหารโครงการด้วยตนเอง ทาให้บริ ษทั สามารถให้ความ ช่วยเหลือลูกค้าในการออกแบบ และดัดแปลงอาคารโรงงาน/คลังสินค้าให้มคี วามเหมาะสมกับความต้องการเฉพาะของลูกค้าได้ 

การจัดหาสาธารณู ปโภค บริษทั ให้ความช่ ว ยเหลือ ในการจัดหาระบบสาธารณู ปโภค รวมถึง ให้บริการระบบสาธารณู ป โภคเพื่อ เพียงพอกับความต้องการของลูกค้า

การขออนุ ญาตกับหน่ วยงานราชการ

บริษทั ให้ความช่ว ยเหลือ เพื่อให้ได้รบั ใบอนุ ญาติท่ีจาเป็ นต่อการเริ่มดาเนิ นการในเวลาอันรวดเร็ว เช่ น ใบอนุ ญาตประกอบการ นอกจากนัน้ บริษ ทั ยัง มีบ ริก ารให้ความช่ ว ยเหลือ ลู ก ค้า ในการขอ และต่ อ ใบอนุ ญาตท างานใน ราชอาณาจักร สาหรับพนักงานของลูกค้าซึง่ เป็ นคนต่างด้าว 

บริการอืน่ ๆ

นอกจากทีก่ ล่าวข้างต้น บริษทั มีการให้ความช่วยเหลือแก่ลูกค้าในเรื่องต่าง ๆ ตามความต้องการเฉพาะของ ลูกค้าเท่าทีจ่ ะสามารถกระทาได้ เช่น การแนะนาผูจ้ าหน่ายสินค้า และแนะนาบุคคลากรทีส่ าคัญให้แก่ลูกค้า

4.

สิทธิและประโยชน์ท่บี ริษทั และบริษทั ย่อยได้รบั 4.1 สิทธิและประโยชน์จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

ก. โครงการพัฒนาอาคารโรงงานอุตสาหกรรมให้เช่ าบางส่วนซึ่ง ตัง้ อยู่ในนิคมอุ ตสาหกรรมปิ่ นทอง นิ คม อุตสาหกรรมอมตะนคร นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย นิคมอุ ตสาหกรรม อมตะซิต้ ี สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา สวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี และเขตอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี ได้รบั การ ส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนโดยมีสทิ ธิและประโยชน์ท่สี าคัญ ดังนี้ 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมีกาหนดเวลา 8 ปี สาหรับโครงการในเขตอุตสาหกรรมกบินทร์บรุ ี (จากปี 5556 ถึง 5564) นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ ี (จากปี 5556 ถึง 5564 จากปี 5557 ถึง 5565 และจากปี 5558 ถึง 5566) และสวนอุตสาหกรรมโรจนะ-ปราจีนบุรี (จากปี 5557 ถึง 5565) และ 7 ปี สาหรับโครงการในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร นิคม อุตสาหกรรมไฮเทค นิคมอุตสาหกรรมปิ่ นทอง และสวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา (จากปี 5555 ถึง 5565) สาหรับนิคม อุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (จากปี 5556 ถึง 5563 และจากปี 5557 ถึง 5564) และ 3 ปี สาหรับโครงการในนิคมอุตสาหกรรม เอเซีย (จากปี 5557 ถึง 5560) ในกรณี ท่ีประกอบกิจการขาดทุนในระหว่างนัน้ จะสามารถนาผลขาดทุนประจาปี ท่เี กิดขึ้นใน ระหว่างเวลานัน้ ไปหักออกจากกาไรสุทธิทเ่ี กิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยมีกาหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นบั แต่วนั พ้นกาหนดเวลานัน้


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

41

2. ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งนาเงินปันผลจากกิจการที่ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลไปรวมคานวณเพื่อเสีย ภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบคุ คลนัน้ 3. ได้รบั อนุ ญาตให้นาคนต่างด้าวซึ่ง เป็ นช่างฝี มือหรือช่างชานาญการ เข้ามาในราชอาณาจักรได้ตาม จานวนและกาหนดระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ โดยให้ทางานเฉพาะตาแหน่งหน้าที่ตามทีก่ าหนดไว้ 4. ได้รบั อนุญาตให้นาหรือส่งเงินออกนอกราชอาณาจักรเป็ นเงินตราต่างประเทศได้ ข. เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วังน้อย 5 ศรีราชา และบางปะกง ศูนย์คลังสิ นค้าแหลมฉบัง บางพลี 5 อีสเทิรน์ ซีบอร์ด และขอนแก่น และคลังสินค้าในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) อมตะซิต้ ี และอมตะนครได้รบั การ อนุมตั กิ ารส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนโดยมีสทิ ธิและประโยชน์ทส่ี าคัญดังนี้ 1. ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมีกาหนดเวลา 8 ปี สาหรับเขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ไทคอน วัง น้อย 5 (จากปี 5557 ถึง 5565) ศรีราชา (จากปี 5556 ถึง 5564) และบางปะกง (จากปี 5558 ถึง 5566) และศูนย์คลังสินค้า แหลมฉบัง (จากปี 5556 ถึง 5564) อีสเทิรน์ ซีบอร์ด และขอนแก่น (จากปี 5558 ถึง 5566) และสาหรับคลังสินค้าในนิคม อุตสาหกรรมอมตะซิต้ ี และอมตะนคร (จากปี 5558 ถึง 5566 และจากปี 5554 ถึง 5565 ตามลาดับ) และ 7 ปี สาหรับ คลังสินค้าในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) (จากปี 5556 ถึง 5563) และ 3 ปี สาหรับคลังสินค้าในศูนย์คลังสินค้าบาง พลี 5(จากปี 5557 ถึง 5560 และจากปี 5558 ถึง 5561 ตามลาดับ) สาหรับคลังสินค้าในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ-อยุธยา (จากปี 5553 ถึง 5560) ในกรณีท่ปี ระกอบกิจการขาดทุนในระหว่างนัน้ จะสามารถนาผลขาดทุนประจาปี ท่เี กิดขึ้นในระหว่างเวลานัน้ ไป หักออกจากกาไรสุทธิท่เี กิดขึ้นภายหลังระยะเวลาได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยมีกาหนดเวลาไม่เกิน 5 ปี นับแต่วนั พ้น กาหนดเวลานัน้ 2. ได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งนาเงินปันผลจากกิจการที่ได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลไปรวมคานวณเพื่อเสีย ภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบคุ คลนัน้ 3. ได้รบั การยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่องจักรตามทีค่ ณะกรรมการอนุมตั ิ 4.2 สิทธิและประโยชน์ในเขตอุตสาหกรรมของการนิ คมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) จากการที่บริษทั มีการประกอบธุรกิจการจัดสร้างโรงงานมาตรฐานในเขตนิคมอุตสาหกรรมภายใต้การดาเนินงาน ของกนอ. อยู่ในปัจจุบนั บริษทั จึงพึงได้รบั สิทธิประโยชน์ในเขตอุตสาหกรรมจากกนอ. ดังนี้ 1. สิทธิประโยชน์ดา้ นภาษีอากร (เฉพาะเขตอุตสาหกรรมส่งออก) ที่สาคัญ ได้แก่ ได้รบั ยกเว้นค่าธรรมเนียม พิเศษอากรขาเข้าภาษีมลู ค่าเพิ่มและภาษีสรรพสามิตสาหรับเครื่องจักรอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทัง้ วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตและได้รบั ยกเว้นภาษีอากรสาหรับของส่งออกไปนอกราชอาณาจักร 2. สิทธิประโยชน์ทไ่ี ม่เกี่ยวกับภาษีอากรที่สาคัญ ได้แก่ ผูป้ ระกอบการจะได้รบั อนุ ญาตให้ถอื กรรมสิทธิ์ในทีด่ ิน ในนิ คมอุตสาหกรรมเพื่อประกอบกิจการได้รบั อนุ ญาตให้นาคนต่ างด้าวซึ่ง เป็ นช่ างฝี มือเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรตลอด ระยะเวลาที่ได้รบั อนุ ญาตและสามารถส่งเงินออกนอกราชอาณาจักรเป็ นเงินตราต่างประเทศได้ หากเงินจานวนนัน้ เป็ นเงินทุน นาเข้าหรือเป็ นเงินทีม่ ขี อ้ ผูกพันกับต่างประเทศ


42

รายงานประจ�ำปี 2559

3. สิทธิประโยชน์อ่นื ๆ 3.1 สามารถยื่นขอใบอนุ ญาตที่จาเป็ นสาหรับการประกอบการทัง้ หมดได้จากกนอ. (โดยปกติตอ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากหลายหน่วยงานราชการ) ได้แก่ ใบอนุ ญาตให้ใช้ทด่ี ินเพื่อประกอบกิจการใบอนุ ญาตปลูกสร้างและใบอนุญาตประกอบ กิจการอุตสาหกรรม ซึง่ นับเป็ นความสะดวกอย่างยิง่ ในการดาเนินการ 3.2 ได้รบั บริการสาหรับผูล้ งทุนในเรื่องคาแนะนาคาปรึกษาเอกสารต่าง ๆ 4.3 สิทธิประโยชน์จากการเป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย บริ ษ ทั ได้ร ับ ยกเว้น ภาษี เ งิน ได้นิ ติ บุ ค คลส าหรับ เงิน ปัน ผลรับ จากการลงทุ น ใน TFUND TLOGIS และ TGROWTH ซึ่งเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย หากบริษทั ถือหน่ วยลงทุนดังกล่าวตลอด ช่วงเวลา 3 เดือนก่อนและหลังการจ่ายเงินปันผลของกองทุน

5.

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน 5.1 แนวคิด อุปทาน/อุปสงค์ และสภาวะการแข่งขัน 5.1.1 โรงงานสาเร็จรูปให้เช่า ก. แนวคิดของโรงงานสาเร็จรูปให้เช่า

การพัฒนาอุตสาหกรรมโดยทัว่ ไปจะเริ่มต้นจากการพัฒนาทีด่ ินอุตสาหกรรม การจัดสร้างโครงสร้าง พื้นฐานในทีด่ นิ อุตสาหกรรม และการขายทีด่ นิ ให้แก่ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมเพือ่ ก่อสร้างโรงงานผลิตสินค้า ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมอาจจัดสรรเงินลงทุนเพือ่ เป็ นเจ้าของโรงงานเอง หรืออาจเลือกเช่าโรงงาน เพื่อลดต้นทุนในการดาเนินการ และลดความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากการให้เช่า โรงงานมีบริการแบบครบวงจร เพื่ออานวยความสะดวกในการประกอบการให้แก่ผูป้ ระกอบการ ทัง้ นี้ ในอดีตที่ผ่านมาจนถึง ปัจจุบนั มีผูป้ ระกอบการชาวต่างชาติจานวนมากทีเ่ ข้ามาตัง้ ฐานการผลิตในประเทศไทยโดยไม่ตอ้ งการถือกรรมสิทธิ์ในโรงงาน ข. อุปทานของโรงงานสาเร็จรูปให้เช่า ผูพ้ ฒั นาโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อขาย/ให้เช่าแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทดังนี้ 

ผูพ้ ฒั นาโรงงานบนทีด่ ินอุตสาหกรรมที่ตนเองพัฒนาขึ้น ได้แก่ เจ้าของนิคมอุตสาหกรรม

ผูพ้ ฒั นาโรงงานบนที่ดินอุตสาหกรรมที่ซ้ อื /เช่าจากเจ้าของที่ดินอุตสาหกรรม เช่น บริษทั ซึ่ง สร้างโรงงานสาเร็จรูปเพือ่ ให้เช่าบนทีด่ นิ ทีซ่ ้อื จากเจ้าของที่ดนิ อุตสาหกรรมในทาเลทีต่ งั้ ทีห่ ลากหลาย 

ค. อุปสงค์ของโรงงานสาเร็จรูปให้เช่า การเลือกเช่าโรงงานเป็ นทางเลือกหนึ่งของผูป้ ระกอบการที่ไม่ตอ้ งการเป็ นเจ้าของโรงงาน เพื่อลด ต้นทุนของโครงการ และเพื่อเพิม่ ความยืดหยุ่นในการทาธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วงทีม่ คี วามไม่แน่นอนของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่มอี ทิ ธิพลต่อบรรยากาศการลงทุน นอกจากนัน้ วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ท่มี แี นวโน้มสัน้ ลง ตลอดจนการให้ความสาคัญกับ


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

43

อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนล้วนแต่เป็ นปัจจัยเสริมให้ผูป้ ระกอบการมีความต้องการเช่าโรงงานแทนการลงทุนเป็ นเจ้าของ โรงงานเอง ประเทศไทยตัง้ อยู่ในทาเลที่ตงั้ ที่ดีสาหรับการลงทุน เนื่องจากตัง้ อยู่ศูนย์กลางของภูมิ ภาคอาเซียน นอกจากนัน้ ประเทศไทยยังมีแรงงานที่มที กั ษะมีระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ดี รวมทัง้ มีกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เอื้ออานวยต่อการ ลงทุนการเติบโตของการลงทุนจากต่างประเทศในประเทศไทย จะส่งผลให้มคี วามต้องการเช่าโรงงานมากขึ้น ง. สภาวะการแข่งขัน การสร้างโรงงานสาเร็จรู ปให้เช่าในปัจจุบนั ถือว่ามีการแข่งขันไม่สูงนัก ปัจจุบนั มีบริษทั ที่จดั สร้าง โรงงานอุตสาหกรรมให้เช่าที่มกี ลุ่มลูกค้าเป้ าหมายใกล้เคียงกันกับบริษทั ได้แก่ บริษทั เหมราชพัฒนาที่ดิน จากัด (มหาชน) บริษทั ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม จากัด (มหาชน) บริษทั ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) บริษทั อมตะ ซัม มิท เรดดี้ บิลด์ จากัด และบริษทั สวนอุตสาหกรรมปิ่ นทอง จากัด อย่างไรก็ตาม บริษทั เป็ นรายเดียวที่ทาธุรกิจพัฒนาโรงงานให้ เช่าเป็ นธุ รกิจหลัก บริษทั มีความได้เปรียบคู่แข่งขัน เนื่องจากบริษทั ให้ความสาคัญกับธุรกิจการสร้างโรงงานเพื่อให้เช่าในทาเล ที่ตงั้ ที่หลากหลาย และมีบริการที่ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าแบบครบวงจร (One stop service) ทัง้ การติดต่อขอ ใบอนุ ญาตต่าง ๆ กับหน่วยงานราชการทีช่ ่วยให้ลูกค้า ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นชาวต่างชาติ สามารถเริ่มดาเนินงานได้ในระยะเวลาอันสัน้ การช่วยเหลือเพื่อขอรับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน รวมทัง้ บริการหลังการขายที่ให้การดูแลอย่าง ใกล้ชิดและรวดเร็ว นอกจากนัน้ การที่บริษทั อยู่ในธุรกิจนี้มากว่า 50 ปี และมีส่วนแบ่งตลาดประมาณร้อยละ 4 8 บริษทั จึงมี ความได้เปรียบจากการประหยัดต่อขนาด (Economies of scale) อีกด้วย 5.1.2 คลังสินค้าให้เช่า ก. แนวคิดของคลังสินค้าให้เช่า ปัจจุบนั ต้นทุนจัดการด้านโลจิสติกส์ของประเทศไทยคิดเป็ นสัดส่วนที่สูงเมือ่ เทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโลกซึ่งส่งผลเสียต่อความสามารถในการแข่งขันของผูป้ ระกอบการในประเทศไทย การพัฒนาการจัดการด้านโลจิสติกส์ให้มี ประสิทธิภาพจะทาให้ตน้ ทุนสินค้าลดลง และยกระดับคุณภาพการบริการ อันจะช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการ ส่งออกของประเทศไทยได้มากขึ้น และยังช่วยให้สนิ ค้าอุปโภคบริโภคของตลาดภายในประเทศมีราคาลดลง นอกจากนี้ ระบบ การจัดการด้านโลจิสติกส์ของประเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพจะเป็ นปัจจัยที่ส่งเสริมให้มกี ารลงทุนทางตรงจากต่างประเทศเพิม่ ขึ้น คลัง สินค้า ถือ เป็ นส่ว นประกอบหนึ่ งที่สาคัญของกิจ กรรมโลจิสติกส์ คลังสินค้าที่ มีคุณภาพได้ มาตรฐานสากลจะช่วยทาให้ระบบโลจิสติกส์มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น บริษทั ผูป้ ระกอบธุรกิจการจัดการด้านโลจิสติกส์ จัดว่าเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่มจี านวนเพิ่มขึ้น และมีความสาคัญมากขึ้น เนื่องจากผูผ้ ลิตสินค้า ผูค้ า้ ส่ง ผูค้ า้ ปลีก และผูป้ ระกอบการมีแนวโน้มที่จะใช้บริการจากผูใ้ ห้บริการ ด้านโลจิสติกส์เพิม่ มากขึ้นแทนการมีหน่วยงานภายในเพือ่ ดาเนินการในเรื่องดังกล่าวเอง อย่างไรก็ดี ผูป้ ระกอบการรวมทัง้ บริษทั ที่เชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์เหล่านี้ ส่วนใหญ่มนี โยบายไม่ ต้องการลงทุนเพือ่ เป็ นเจ้าของในอสังหาริมทรัพย์ เช่น คลังสินค้า เนื่องจากเห็นว่าการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์มใิ ช่กิจกรรมหลัก ของกิจการ บริษทั เหล่านี้ตอ้ งการจากัดการลงทุนเฉพาะสาหรับยานพาหนะ อุปกรณ์ ระบบสารสนเทศต่าง ๆ รวมทัง้ การพัฒนา


44

รายงานประจ�ำปี 2559

บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการดาเนินธุรกิจ อันเป็ นสินทรัพย์หลักที่จาเป็ นต่อกิจการ และการรักษาความสามารถในการแข่งขันของ กิจการเท่านัน้ นอกจากนี้ การลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์ก่อให้เกิดต้นทุนคงที่จานวนมากเป็ นระยะเวลานาน เป็ นการเพิ่มความ เสี่ยงของกิจการในกรณี ท่ลี ูกค้ายกเลิกสัญญาอีกทัง้ บริษทั เหล่านี้ยงั ไม่ชานาญในการลงทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ดว้ ยตนเอง เนื่องจากมิใช่ธุรกิจหลัก เมือ่ เป็ นเช่นนี้ ภาคอุตสาหกรรมด้านโลจิสติกส์โดยรวมจึงมุง่ หวังให้ภาคธุรกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เป็ นผูพ้ ฒั นาพื้นทีส่ าหรับกิจการขนส่งและคลังสินค้าเพือ่ ให้เช่า ข. อุปทานของคลังสินค้าให้เช่า ปัจจุบนั มีผูใ้ ห้บริการคลังสินค้าให้เช่ากระจายอยู่ในเขตกรุงเทพฯ รอบนอก และปริมณฑล โดย อาคารคลังสินค้าส่วนใหญ่จะตัง้ อยู่บริเวณถนนสายเอเซีย ถนนบางนา-ตราด และถนนพระราม 2 คลังสินค้าดังกล่าวส่วนใหญ่มี คุณภาพไม่ได้มาตรฐาน เช่น พื้นอาคารรับนา้ หนักได้นอ้ ย มีรูปแบบอาคารที่ไม่สะดวกต่อการขนถ่ายสินค้า พื้นที่จดั เก็บไม่ เหมาะสม ทาให้จดั เก็บสินค้าได้นอ้ ย หรือค้นหาสินค้าได้ยาก ซึ่ง ส่งผลให้เกิดการขนย้ายที่ไม่จาเป็ นมากเกินไปคลังสินค้า ดังกล่าวไม่มรี ะบบสาธารณู ปโภคที่สามารถตอบสนองความต้องการของธุรกิจขนส่งและคลังสินค้าได้ เช่น ระบบระบายนา้ ที่ดี ระบบถนนที่สามารถรองรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ นอกจากนี้ อาคารคลังสินค้าส่วนใหญ่ จะตัง้ อยู่ในเขตชุมชนและเขตที่อยู่ อาศัยซึ่งไม่อยู่ในเขตผังเมืองสาหรับที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ทาให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น ปัญหาจราจร อุบตั เิ หตุ ความเสียหายของผิวจราจร รวมทัง้ มลภาวะทางอากาศและทางเสียง ค. อุปสงค์ของคลังสินค้าให้เช่า กลุม่ ผูต้ อ้ งการใช้อาคารคลังสินค้า ได้แก่ 1. ธุ รกิจขนส่ง และบริหารคลังสินค้า (Logistics service providers) ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็ น บริษทั ชัน้ นาจากในประเทศและต่างประเทศ บริษทั เหล่านี้จะมี ความสามารถในการบริหารและจัดการโดยใช้ระบบ software และระบบจัดการที่ทนั สมัยและโดยทัว่ ไปบริษทั ในธุรกิจขนส่งและบริหารคลังสินค้าจะไม่ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ แต่มคี วาม ต้องการเช่าคลังสินค้า 2. ผูป้ ระกอบการประเภทศูนย์กระจายสินค้าระหว่างประเทศด้วยระบบทีท่ นั สมัย (International distribution center) กิจการศูนย์จดั หาจัดซื้อชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ (International procurement office) และกิจการศูนย์กระจายสินค้าด้วยระบบที่ทนั สมัย (Distribution center) 3. ผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ โดยกลุ่มนี้มคี วามต้องการที่จะจัด ตัง้ ศูนย์กระจายสินค้า เพื่อ จัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าและผูบ้ ริโภคทัง้ ในเขตกรุงเทพฯ และภูมภิ าคต่าง ๆ 4. กลุ่มบริษทั นาเข้าและส่งออก ซึ่งมีความต้องการใช้อาคารคลังสินค้าที่ตงั้ อยู่ใกล้สนามบินและ ท่าเรือโดยเฉพาะอย่างยิง่ พื้นทีเ่ ขตปลอดอากร 5. ธุรกิจโลจิสติกส์สนับสนุ นการกระจายสินค้าและกิจการอื่น ๆ เช่น ผูใ้ ห้บริการขนส่ง สินค้าและ บริการขนส่งผูใ้ ห้บริการบรรจุสนิ ค้าและถ่ายบรรจุสนิ ค้า ผูใ้ ห้บริการสร้างมูลค่าเพิ่ม (การตรวจสอบคุณภาพ การติดฉลาก การ ซ่อมแซม และการประกอบ/บรรจุสนิ ค้า) รวมถึงผูใ้ ห้บริการเช่าอุปกรณ์ขนถ่าย ผูใ้ ห้บริการแรงงานชัว่ คราวและยกขนสินค้า เป็ น ต้น


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

45

ง. สภาวะการแข่งขัน ปัจจุบนั ผูพ้ ฒั นาอาคารคลังสินค้าที่มคี ุณภาพซึ่งถือว่าเป็ นคู่แข่งกับบริ ษทั ได้แก่ บริษทั ดับบลิวเอช เอ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และบริษทั เหมราชพัฒนาที่ดิน จากัด (มหาชน) อย่างไรก็ดี บริษทั มีความได้เปรียบคู่แข่งขัน จากการทีบ่ ริษทั มีการพัฒนาคลังสินค้าในทาเลที่ตงั้ ที่หลากหลายและมีศกั ยภาพ ในขณะที่คู่แข่งขันมีทาเลที่ตงั้ ของคลังสินค้า เพียงไม่ก่แี ห่งแม้ว่าปัจจุบนั คู่แข่งทัง้ 5 รายจะมีการรวมเป็ นกลุม่ เดียวกัน 5.2 กลยุทธ์การแข่งขัน 

ตาแหน่ งทางการตลาด

บริษทั มีส่วนแบ่งในตลาดการให้เช่าโรงงานอุตสาหกรรมสาเร็จรู ปร้อยละ 48.5 (รวมส่วนที่บริษทั บริหาร ให้แก่ TFUND TGROWTH และ TREIT ร้อยละ 31.6) ตามการสารวจของบริษทั ซีบี ริชาร์ด เอลลิส (ประเทศไทย) จากัด ณ ไตรมาส 4/5559 บริษทั ได้กาหนดตาแหน่งทางการตลาดในการเป็ นผูส้ ร้างโรงงานให้เช่ารายใหญ่ในประเทศไทยบริษทั มีความ มุ่งมัน่ ที่จ ะรักษา และพัฒนาตาแหน่ งทางการตลาดให้ดีย่ิงขึ้น ด้วยการเพิ่มขนาดธุ รกิจโดยการขยายฐานลูกค้ า และรักษา คุณภาพของการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะส่งผลให้บริษทั มีความได้เปรี ยบจากการประหยัดต่อขนาด ได้ผลตอบแทนทีเ่ พิม่ มากขึ้น และส่งเสริมตาแหน่งทางการตลาดของบริษทั ให้ดยี ง่ิ ขึ้นในที่สุด สาหรับอาคารคลังสินค้านัน้ บริษทั มีความมุ่งมัน่ ที่จะเป็ นผูส้ ร้างอาคารคลังสินค้าที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน สูงทีม่ สี ่วนแบ่งทางการตลาดมากที่สุดเช่นเดียวกับตาแหน่งทางการตลาดของโรงงานสาเร็จรูปให้เช่า 

กลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย

ลูกค้าเป้ าหมายของโรงงานสาเร็จรูปให้เช่า คือ ผูผ้ ลิตชิ้นส่วนให้แก่ผูป้ ระกอบการขนาดใหญ่ อย่างไรก็ดี บริษทั สามารถสร้างโรงงานทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะให้ตามความต้องการของลูกค้า ซึง่ ส่วนใหญ่จะมีขนาดกลาง-ใหญ่ สาหรับ กลุ่มลู ก ค้าเป้ าหมายที่เช่ า อาคารคลัง สิน ค้าของบริษทั ได้แ ก่ ผู ผ้ ลิต ผู ค้ า้ ส่ง และค้าปลีก และ ผูป้ ระกอบการรวมถึงผูใ้ ห้บริการขนส่ง และบริหารคลังสินค้า 

กลยุทธ์ดา้ นราคา

ค่าเช่าโรงงานและคลังสินค้าของบริษทั ถูกกาหนดจากต้นทุนการก่อสร้างและต้นทุ นทางการเงินเป็ นหลัก อย่างไรก็ดีในการกาหนดค่าเช่าบริษทั ยังได้คานึงถึงราคาค่าเช่าโรงงาน และคลังสินค้าของคู่ แข่งขันด้วย โดยบริษทั ได้มีการ ตรวจสอบสภาวะตลาดอยู่เสมอเพือ่ ให้แน่ใจว่าค่าเช่าโรงงานและคลังสินค้าของบริษทั อยู่ในระดับทีส่ ามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ 

กลยุทธ์ดา้ นการส่งเสริมการตลาด

กิจกรรมการส่งเสริมการตลาดที่สาคัญ ได้แก่ การติดต่อลูกค้าเป้ าหมายเองโดยตรง และการติดต่อผ่าน ตัวกลางต่าง ๆ เช่น ติดต่อผูผ้ ลิตรายใหญ่เพือ่ เสนอบริการให้เช่าโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่คู่คา้ ของผูผ้ ลิตเหล่านัน้ การติดต่อผ่าน หน่วยงานรัฐบาล สถานทูตสานักงานการค้า สมาคมหอการค้า เจ้าของนิคมอุตสาหกรรม ตัวแทนซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ และ ตัวกลางอื่น ๆ


46

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั มีการพัฒนาสื่อเพือ่ ส่งเสริมการตลาดอัน ได้แก่ สิ่งพิมพ์ เอกสารเชิญชวน การโฆษณาในหนังสือต่าง ๆ อินเทอร์เน็ตเว็บไซต์ แผ่นป้ ายโฆษณาที่ติดตัง้ บริเวณหน้าโครงการ แผ่นป้ ายโฆษณาขนาดใหญ่ขา้ งทางด่วน และการส่ง จดหมายทางไปรษณีย ์ นอกจากนี้ ยังมีการใช้ส่ือ ทางการตลาดประเภทอื่นที่มีประสิทธิผลตามความเหมาะสม ได้แก่ การเข้า ร่วมงานสัมมนางานแสดงสินค้า และการประชุมต่างๆทีเ่ กี่ยวข้องทัง้ ภายใน และต่างประเทศ 5.3 แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันในอนาคต 5.3.1 แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรม ความต้อ งการเช่ า โรงงานมีแ นวโน้ม ชะลอตัว เนื่ อ งจากผลกระทบเศรษฐกิจ ที่ช ะลอตัว ทัง้ ในและ ต่างประเทศ ประกอบกับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศลดลงและการลดลงในความต้องการของผูบ้ ริโภคภายในประเทศ สาหรับความต้องการเช่าคลังสินค้า ถึงแม้ว่าภาคการส่งออกของประเทศไทยชะลอตัวตัง้ แต่ปี 5558 ส่งผลกระทบให้โรงงาน อุตสาหกรรมผลิตสินค้าได้ลดลง ซึง่ ส่งผลกระทบต่อเนื่องไปถึงความต้องการเช่าคลังสินค้าบางส่วน แต่การขยายการลงทุนของ ผูค้ า้ ปลีกขนาดใหญ่ไปตามทาเลที่มศี กั ยภาพในจังหวัดทีส่ าคัญตามภาคต่าง ๆ รวมทัง้ การขยายธุรกิจของผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ และการเติบโตอย่างรวดเร็วของธุรกิจอีคอมเมิรซ์ รวมถึงการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ส่งผลดีต่อธุรกิจคลังสินค้า นอกจากเพิม่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจทีห่ ลากหลายในภูมภิ าคแล้ว ส่งผลให้มคี วามต้องการเช่าคลังสินค้าเพิ่มมากขึ้น นอกจากนัน้ แนวโน้มที่ผูป้ ระกอบการไม่ตอ้ งการลงทุนในสินทรัพย์ถาวร แต่ตอ้ งการใช้เงินทุนที่มีอยู่ให้เป็ นประโยชน์ท่สี ุด จะเป็ นปัจจัย สนับสนุนให้มคี วามต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าเพิม่ มากขึ้น 5.3.2 การแข่งขัน ผูเ้ ข้ามาแข่งขันรายใหม่จะต้องใช้เงินทุนสู ง และต้องใช้ระยะเวลานานในการพัฒนาโครงการที่มีความ หลากหลายทัง้ ในด้านทาเลที่ตงั้ รูปแบบ และขนาด ทีม่ ลี กั ษณะเช่นเดียวกับของบริษทั ตลอดจนการให้บริการที่เกี่ยวข้องดังเช่น ทีบ่ ริษทั ดาเนินการอยู่ในปัจจุบนั

6.

การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ

บริษทั สร้างโรงงาน/คลังสินค้าบนที่ดินที่มศี กั ยภาพ ด้วยทีมงานออกแบบและทีมงานก่อสร้างของบริษทั เอง ซึ่งช่วยให้ เกิดความคล่องตัวในการบริหารงานก่อสร้าง อีกทัง้ ช่วยให้ตน้ ทุนการก่อสร้างของบริษทั อยู่ในระดับตา่ วัสดุก่อสร้างที่สาคัญในการก่อสร้างโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ได้แก่ เหล็ก และคอนกรีต ทัง้ นี้บริษทั สามารถสัง่ ซื้อ วัสดุก่อสร้างได้จากผูผ้ ลิตหลายรายด้วยคุณภาพและราคาที่ใกล้เคียงกัน


47

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

7.

งานระหว่างก่อสร้าง

ณ สิ้นเดือนธันวาคม 555 บริษทั มีงานที่ยงั ไม่ส่งมอบซึ่งมีสญั ญาเช่าแล้วแต่ยงั อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ดังนี้ นิ คมอุตสาหกรรม / เขตอุตสาหกรรมโลจิสติคส์ / จานวนโรงงาน / สวนอุตสาหกรรม / ศูนย์คลังสินค้า อาคาร คลังสินค้า ไทคอน บางนา 1 บางพลี 5 5 ลาพูน 1 รวม 4

พื้นที่ดิน (ไร่)

พื้นที่เช่า (ตารางเมตร)

1.7513 9.6118 7.2294 18.5925

1,315 10,056 2,291 13,632

ประมาณเงิน ลงทุน (ล้านบาท) 34.83 178.1 50.60 263.62


48

รายงานประจ�ำปี 2559

ปัจจัยความเสีย่ ง 1.

ความเสีย่ งจากสัญญาเช่าระยะสัน้

จากการทีส่ ญั ญาเช่าโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ส่วนใหญ่มอี ายุ 3 ปี (โดยมีทางเลือกในการต่อสัญญา) จึงอาจทา ให้นกั ลงทุนกังวลว่า บริษทั จะได้รบั ผลกระทบหากลูกค้าไม่ต่อสัญญาเช่า อย่างไรก็ดี โดยทัว่ ไปเมือ่ ลูกค้าเริ่มทาการผลิตแล้วมักจะไม่ยา้ ยออกจากโรงงานของบริษทั นอกจากจะมีเหตุผลที่ สมควรอื่น ซึง่ โดยปกติการต่อสัญญาเช่ามีเกินกว่าร้อยละ 80 ของสัญญาเช่าทีค่ รบกาหนด การที่บริษทั มีโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าในหลายทาเลที่ตงั้ อีกทัง้ ผูเ้ ช่าก็เป็ นผูป้ ระกอบการในธุ รกิจที่หลากหลาย และมาจากหลายประเทศ จึงเป็ นการกระจายความเสี่ยงของการยกเลิกสัญญาของผูเ้ ช่า นอกจากนัน้ โรงงาน/คลังสินค้า ของบริษทั ยังถูกออกแบบมาเป็ นแบบมาตรฐาน และอยู่ในพื้นที่ท่ีได้รบั ความนิยมจากผูเ้ ช่า ดังนัน้ หากมีการยกเลิก สัญญาของผูเ้ ช่า บริษทั จะสามารถหาผูเ้ ช่าใหม่ได้ไม่ยาก 2.

ความเสีย่ งจากการที่โรงงาน/คลังสินค้าบางส่วนตัง้ อยู่ในเขตที่มีความเสีย่ งต่อการเกิดอุทกภัย

ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2554 บริษทั ได้รบั ผลกระทบจากการเกิดอุทกภัยในพื้นที่จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี โดยโรงงาน/คลังสินค้าในพื้นทีด่ งั กล่าวได้รบั ความเสียหาย ส่งผลให้ผูเ้ ช่าต้องหยุดการดาเนินธุรกิจ และไม่ สามารถชาระค่าเช่าให้แก่บริษทั รวมทัง้ ผูเ้ ช่าได้มกี ารยกเลิกสัญญาเช่าเป็ นจานวนมาก ในขณะเดียวกันผูป้ ระกอบการราย ใหม่ยงั คงชะลอการตัดสินใจเช่าโรงงานในพื้นที่ดงั กล่าวจนถึงปัจจุบนั ทัง้ นี้ เหตุอทุ กภัยอาจทาให้นกั ลงทุนมีความกังวล ว่าบริษทั มีความเสี่ยงที่จะเผชิญกับเหตุอุทกภัยได้อีกในอนาคต และมีความเสี่ยงที่จะไม่มผี ูเ้ ช่าโรงงานที่ตงั้ อยู่ในพื้นที่ บริเวณนี้ อันจะส่งผลให้บริษทั มีโรงงานว่างเป็ นระยะเวลาหนึ่ง บริษทั ได้มกี ารทาประกันภัยคุม้ ครองความเสียหายที่เกิดกับทรัพย์สิน รวมทั้งการประกันรายได้จากกรณี ธุรกิจ หยุดชะงัก (Business Interruption) เพื่อลดผลกระทบหากเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวขึ้นอีก ซึ่งแม้บริษทั จะต้องชาระค่า เบี้ยประกันภัยในอัตราที่สูงขึ้นจากเดิม แต่บริษทั สามารถเรียกเก็บค่าเบี้ยประกันภัยจากผูเ้ ช่าที่เช่าโรงงาน/คลังสินค้าของ บริษทั ได้ พร้อมกันนี้บริษทั ได้หยุดการพัฒนาโรงงานในพื้นที่จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี เพือ่ ลดการเพิ่มขึ้น ของพื้ น ที่ ว่ า ง นอกจากนั้น ผู พ้ ัฒ นานิ ค มอุ ต สาหกรรม รวมทั้ง เขตอุ ต สาหกรรมของบริ ษ ัท ในพื้ นที่ จ ัง หวัด พระนครศรีอยุธยา และปทุมธานี มีการสร้างแนวคอนกรีตป้ องกันนา้ (Concrete Dike) ซึ่งสร้างเสร็จแล้วในช่วงปลายปี 2555 ซึง่ แนวป้ องกันนา้ ดังกล่าวจะสามารถปกป้ องทรัพย์สนิ ทีอ่ ยู่ในพื้นทีด่ งั กล่าวได้ จากการที่บริษทั มีโรงงาน/คลังสินค้า ตัง้ อยู่ในทาเลที่ตงั้ ที่หลากหลาย โดยส่วนใหญ่อยู่ทางภาคตะวันออก ทาให้ บริษทั สามารถรองรับความต้องการของลู กค้าทัง้ ที่เป็ นลูกค้าใหม่ และลูกค้าที่ตอ้ งการย้ายการผลิตจากพื้นที่ท่ีได้รบั ผลกระทบจากอุทกภัยในขณะนัน้ ไปยังพื้นที่ท่ปี ลอดภัย ความเสียหายอย่างกว้างขวางจากเหตุการณ์นา้ ท่วมในปี 2554 ทาให้รฐั บาลให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการนา้ อย่างจริงจัง บริษทั เชื่อมัน่ ว่า ปัจจัยต่าง ๆ ที่กล่าวมาจะช่วยสร้าง ความเชื่อมัน่ ให้แก่ผูป้ ระกอบการในการกลับมาให้ความสนใจเช่าโรงงาน/คลังสินค้าในพื้นที่ดงั กล่าวอีกครัง้ ในระยะเวลา อันใกล้ รวมทัง้ ศัก ยภาพของพื้น ที่ด งั กล่าว ในการเป็ น ศู นย์ก ลางของการผลิต ในอุต สาหกรรมอิเล็กทรอนิ กส์และ


ปัจจัยความเสี่ยง

49

อุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งเป็ นอุตสาหกรรมที่ตอ้ งใช้นา้ เป็ นจานวนมาก นอกจากนัน้ พื้นที่ดงั กล่าวยังเป็ นพื้นที่เหมาะสม สาหรับการกระจายสินค้าไปยังภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอีกด้วย ในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2556 ได้เกิดเหตุอุทกภัยในบางพื้นที่ทางภาคตะวันออก ซึง่ รวมทัง้ จังหวัดระยอง ชลบุรี และ ปราจีนบุรี อย่างไรก็ตาม เหตุอุทกภัยมิได้รุนแรงดังเช่นในปี 2554 โรงงานและคลังสิน ค้าของบริษทั ในพื้น ที่ ดังกล่าว ไม่ได้รบั ความเสียหาย และผูเ้ ช่าสามารถดาเนินธุ รกิจได้ตามปกติ โดยในช่วงเวลาดังกล่าว บริษทั ได้ให้ความ ช่วยเหลือผูเ้ ช่าในการป้ องกันความเสียหายอย่างเต็มกาลัง และร่วมติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ทัง้ นี้ ผูเ้ ช่ายังคงมี ความเชื่อมันในศั ่ กยภาพของพื้นทีด่ งั กล่าว และไม่ได้มกี ารย้ายออกจากพื้นที่ 3.

ความเสีย่ งจากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่า

ณ 31 ธันวาคม 2559 ลูกค้าที่เช่าโรงงานของบริษทั ร้อยละ 41 เป็ นผูป้ ระกอบการจากประเทศญี่ป่ นุ และร้อยละ 22 เป็ นผูป้ ระกอบการจากภูมภิ าคยุโรป โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 35 เป็ นผูผ้ ลิตชิ้นส่วนยานยนต์ และร้อยละ 34 เป็ นผูผ้ ลิต ชิ้นส่วนในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิคส์/เครื่องใช้ไฟฟ้ า นอกจากนี้ ลูกค้าที่เช่าคลังสินค้าของบริษทั ร้อยละ 45 เป็ น ผูป้ ระกอบการจากภูมภิ าคยุโรป และร้อยละ 17 เป็ นผูป้ ระกอบการจากญี่ป่ นุ โดยมีสดั ส่วนร้อยละ 42 เป็ นผูใ้ ห้บริการโล จิสติกส์ และร้อยละ 12 เป็ นผูเ้ ช่าคลังสินค้าที่เกี่ยวข้องกับผูผ้ ลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ดังนัน้ หากมีการลดลงของการลงทุน ในอุตสาหกรรมดังกล่าว และมีการลดลงของการลงทุนจากประเทศญี่ป่ นุ และภูมภิ าคยุโรป อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ ของบริษทั อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื่อว่าผลกระทบดังกล่าวจะมีไม่มากนัก เนื่องจากลูกค้าของบริษทั ในกลุ่มอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิคส์/เครื่องใช้ไฟฟ้ า เป็ นผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิ คส์ท่หี ลากหลาย ซึ่งรวมถึงเครื่องใช้ไฟฟ้ า ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นอุตสาหกรรมทีไ่ ม่มคี วามเกี่ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมรับจ้างผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิ คส์ทวั ่ ไป (Electronic Manufacturing Services) อุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ในเครื่องใช้ไฟฟ้ า อุตสาหกรรมผลิต Hard Disk Drive อุ ต สาหกรรมเครื่อ งใช้ไฟฟ้ าต่ าง ๆ เป็ นต้น นอกจากนี้ กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมยานยนต์ย งั เป็ น อุตสาหกรรมที่มแี นวโน้มการเติบโตที่ดี จากการฟื้ นตัวของตลาดโลก และการย้ายฐานการผลิตของผูผ้ ลิตรายใหญ่มายัง ประเทศไทยในการผลิต รถยนต์เพื่อ การส่งออก ส่งผลให้ความต้องการชิ้น ส่วนยานยนต์มีโอกาสเติบโตได้อีกมาก นอกจากนี้ การที่ผูเ้ ช่าในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์มสี ดั ส่วนอยู่ในระดับใกล้เคียงกับผูผ้ ลิตชิ้นส่วนในอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิคส์และเครื่องใช้ไฟฟ้ า มีส่วนช่วยลดความเสีย่ งจากการพึ่งพิงผูเ้ ช่าเพียงอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง นอกจากความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของกลุม่ อุตสาหกรรมทีเ่ ช่าโรงงานแล้ว ธุรกิจผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์เป็ น ธุรกิจทีม่ สี ดั ส่วนการเช่าคลังสินค้าของบริษทั สูงทีส่ ุด อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื่อว่าผลกระทบดังกล่าวจะมีไม่มากเช่นกัน เนื่องจากบริษทั ในกลุม่ ผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ มีการให้บริการจัดเก็บ และ/หรือขนส่งสินค้าทีห่ ลากหลาย และไม่มคี วาม เกี่ยวข้องกัน ตัวอย่างเช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้ า ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิ คส์ สินค้าอุปโภคบริโภค เอกสาร สินค้า เพือ่ สุขภาพ และความงาม สารเคมีต่าง ๆ เป็ นต้น สาหรับการลงทุนจากประเทศญี่ป่ นุ นัน้ ผูป้ ระกอบการจากประเทศญี่ป่ นุ เป็ นผูล้ งทุนอันดับหนื่งในประเทศไทย จึง เป็ นเหตุให้บริษทั ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดของโรงงานสาเร็จรูปสูงที่สุด และเป็ นผูใ้ ห้เช่าคลังสินค้ารายใหญ่ของประเทศมี ลู ก ค้าเช่ าโรงงาน และคลังสิน ค้าจากประเทศญี่ ป่ ุนมากเป็ น ไปตามสัด ส่ว น บริษ ทั มีค วามเห็นว่ า ในภูมิภ าคเอเชีย


50

รายงานประจ�ำปี 2559

โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เอเชี ย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ เมื่ อ มี ก ารรวมกลุ่ ม กัน ทางเศรษฐกิ จ หรื อ ASEAN Economic Cooperation (AEC) แล้ว ประเทศไทยจะยังคงเป็ นประเทศที่อยู่ในลาดับต้น ๆ ที่นกั ลงทุนมีความสนใจเข้ามาลงทุน จากความได้เปรียบในด้านต้นทุนการผลิต ความเสีย่ งจากการกระจุกตัวของผูเ้ ช่าทีม่ าจากประเทศญี่ป่ นุ จึงเป็ นความเสี่ยง ทีบ่ ริษทั ยอมรับได้ นอกจากนัน้ จากการที่โรงงานและคลังสินค้าของบริษทั มีรูปแบบมาตรฐานจึงสามารถรองรับความต้องการของ ผูป้ ระกอบการจากทุก ๆ อุตสาหกรรม 4.

ความเสีย่ งจากการไม่มีผูเ้ ช่าโรงงาน/คลังสินค้าที่อยู่ในแผนการก่อสร้างในปัจจุบนั

ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีโรงงาน 157 โรง และคลังสินค้า 211 หลัง ที่อยู่ในแผนการก่อสร้าง โดยบริษทั อาจมีความเสี่ยงจากการไม่มผี ูเ้ ช่าโรงงาน/คลังสินค้าที่จะสร้างแล้วเสร็จตามแผนการก่อสร้างในปัจจุบนั อันจะส่งผลให้ บริษทั มีภาระต้นทุนการก่อสร้างในช่วงเวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษทั เชื่อว่าจะสามารถควบคุมความเสี่ยงดังกล่าวได้ เนื่องจากบริษทั มิได้มนี โยบายในการสร้าง โรงงาน/คลังสินค้าเพื่อปล่อยทิ้งไว้ให้ว่างจานวนมาก กล่าวอีกนัย หนึ่งก็คือ บริษทั จะสร้างโรงงาน/คลังสินค้าเตรียมไว้ พร้อมให้เช่าในแต่ละทาเลโดยเฉลี่ยประมาณ 3 - 4 โรง และจะชะลอการก่อสร้างหากมีโรงงาน/คลังสินค้าที่สร้างเสร็จ พร้อมให้เช่ามากกว่าจานวนที่ตอ้ งการ ทัง้ นี้ การที่บริษทั มีทีมงานก่อสร้างของตนเอง ทาให้การบริหารการก่อสร้างทาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความยืดหยุ่นในการเร่ง/ชะลอ/หยุดการก่อสร้าง หรือโยกย้ายคนงานไปก่อสร้างในทาเลที่มี ความต้องการเช่าโรงงาน/คลังสินค้าได้โดยง่าย


51

โครงสร้างผู้ถือหุ้น

โครงสร้างผูถ้ อื หุน้ รายชื่อผูถ้ อื หุน้ 1. บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จากัด 2. บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) 3. กลุม่ ซิต้ เี รียลตี้

บริษทั ซิต้ ี วิลล่า จากัด นายชาลี โสภณพนิช นางสิรญ ิ า โสภณพนิช บริษทั ซิต้ เี รียลตี้ จากัด 4. กรรมการ/ผูบ้ ริหาร/ผูท้ ่เี กี่ยวข้อง นายวีรพันธ์ พูลเกษ (ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร) และคู่สมรส นายตรีขวัญ บุนนาค (กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ) และคู่สมรส นางสาวลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์ (ผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ ายบัญชี การเงิน และเลขานุการบริษทั ) 5. นางสุชาดา ลีสวัสดิ์ตระกูล 6. นายจตุพล เกรียงไชยกิจกุล 7. บริษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 8. Nortrust Nominees Limited Group 9. นางสวนี ย ์ ภัทรวานิ ชานนท์ 10. กองทุนรวมสาทรซิต้ ีทาวเวอร์ 11. อืน่ ๆ

รวม

ณ วันที่ 10 มีนาคม 2560 จานวนหุน้ ร้อยละ 735,000,000 40.07 478,699,619 26.10 38,568,150 24,773,910 11,458,725 2,582,684 77,383,469

2.10 1.35 0.63 0.14 4.22

11,673,803 1,349,362 79

0.64 0.07 0.00

13,023,244 46,391,670 46,249,100 40,793,132 25,708,832 22,000,000 19,503,194 329,390,115 1,834,142,375

0.71 2.53 2.52 2.23 1.40 1.20 1.06 17.96 100.00

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษทั มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ตา่ กว่าร้อยละ 40 ของกาไรสุทธิหลังหักภาษี โดยบริษทั จะพิจารณา จ่ายเงินปันผลโดยคานึงถึงผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน และปัจจัยอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษทั ทัง้ นี้ ในปัจจุบนั ไม่มสี ญั ญากูย้ มื เงินระหว่างบริษทั กับสถาบันการเงินใด ๆ ทีม่ ขี อ้ จากัดของอัตราการจ่ายเงินปันผลของบริษทั


น.ส.ศิรพิ ร สมบัติวฒั นา

นายสมศักดิ์ รัตนวิระกุล นางยูโกะ โฮชิ

ดร. สมศักดิ์ ไชยพร

ผูจ้ ดั การทัวไป ่

นายกฤษณ์ วีรกุล

น.ส.ปริ่มโอภา ณัชชาจารุวทิ ย์

น.ส.สุธารา จรุงเรืองเกียรติ

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายกฎหมาย

คณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน

รองผูจ้ ดั การทัวไป ่ และพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายบริหารอสังหาริมทรัพย์

คณะกรรมการสรรหา

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายธุรการ

คณะกรรมการบริหาร

โครงสร้างภายในบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2559

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการตลาด

1.

นายภารุจ บุณฑริก

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายพัฒนาโครงการ

น.ส.วรัญญา อินทรไพโรจน์

น.ส.รุ่งทิพย์ ภิยโยดิลกชัย

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายบัญชี

นายอภิณฐั เมฆลอย

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

น.ส.ลลิตพันธุ ์ พิริยะพันธุ ์

ผูต้ รวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบ

นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

คณะกรรมการ กากับดูแลกิจการทีด่ ี

ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายบัญชี การเงิน และสารสนเทศ

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายจัดซื้อ

คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง

ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

นายวีรพันธ์ พูลเกษ

กรรมการผูจ้ ดั การ

คณะกรรมการบริษทั

โครงสร้างการจัดการ

52 รายงานประจ�ำปี 2559


ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการตลาด

คณะกรรมการสรรหา

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายจัดซื้อ

รองผูจ้ ดั การทัว่ ไป และพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ

ผูจ้ ดั การทัวไปอาวุ ่ โสสายงานพัฒนา

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายบริหาร อสังหาริมทรัพย์

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป

คณะกรรมการบริหาร

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายพัฒนา โครงการ

รองผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายงานพัฒนา

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายบัญชี

คณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน

ทัง้ นี้ ณ ปัจจุบนั โครงสร้างภายในบริษทั มีการเปลีย่ นแปลงเป็ น ดังนี้

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงิน

ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายบัญชีและการเงิน

ผูอ้ านวยการใหญ่

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

คณะกรรมการบริษทั

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายธุรการ

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายทรัพยากร มนุ ษย์

ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ ง

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายเทคโนโลยี สารสนเทศ

คณะกรรมการ กากับดูแลกิจการทีด่ ี

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายกฎหมาย

ผูต้ รวจสอบ ภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบ

โครงสร้างการจัดการ

53


54

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั มีคณะกรรมการบริษทั 1 ชุด และคณะอนุ กรรมการ 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการก าหนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ย ง และ คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี

2.

คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒิ 8 ท่าน ดังนี้ 1. นายชาลี โสภณพนิช

ประธานกรรมการ

2. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

กรรมการ

3. นายชาย วินิชบุตร

กรรมการ

4. นายเนตร จรัญวาศน์

กรรมการ

5. นายวีรพันธ์ พูลเกษ

กรรมการผูจ้ ดั การ

6. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์

ประธานกรรมการตรวจสอบ

7. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

กรรมการตรวจสอบ

8. นายตรีขวัญ บุนนาค

กรรมการตรวจสอบ

ทัง้ นี้ ณ ปัจจุบนั สมาชิกคณะกรรมการบริษทั มีการเปลีย่ นแปลงเป็ น ดังนี้ 1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม*

ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

กรรมการตรวจสอบ

3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

กรรมการตรวจสอบ

4. นายชาลี โสภณพนิช

กรรมการ

5. นายโชติพฒั น์ พีชานนท์*

กรรมการ

6. นายชาย วินิชบุตร

กรรมการ

7. นายปณต สิรวิ ฒั นภักดี*

กรรมการ

8. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์*

กรรมการ

* ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 16 มกราคม 2560 กรรมการผูม้ อี านาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช หรือ นายชาย วินิชบุตร หรือ นายปณต สิริวฒั นภักดี ลงลายมือชื่อ ร่วมกับ นายโชติพฒั น์ พีชานนท์ หรือ นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ รวมเป็ นสองคน พร้อม ประทับตราสาคัญของบริษทั


โครงสร้างการจัดการ

55

ทัง้ นี้ นายโชติพฒั น์ พีชานนท์ นายปณต สิริวฒั นภักดี และนายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์ เป็ นตัวแทนของกลุ่มเฟร เซอร์ส นายชาลี โสภณพนิช เป็ นตัวแทนของกลุม่ ซิต้ เี รียลตี้ และนายชาย วินิชบุตร เป็ นตัวแทนของกลุม่ โรจนะ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการเปรียบเสมือนตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ เป็ นผูก้ าหนดทิศทางการเจริญเติบโต และตัดสินใจเรื่องสาคัญ ของบริษทั คณะกรรมการจึงต้องทาหน้าที่ ในการดูแลผลประโยชน์ของทุกฝ่ าย ดูแลการทางาน และผลประกอบการของ ฝ่ ายจัดการ การบริหารความเสีย่ ง รวมทัง้ การกาหนดค่าตอบแทน 1. กรรมการใหม่ควรเข้ารับการปฐมนิเทศความรูเ้ กี่ยวกับการประกอบธุรกิจของบริษทั 2. ปฏิบตั ิหน้าที่ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนมติทป่ี ระชุมของผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซือ่ สัตย์สุจริต ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั และมีความรับผิดชอบเป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกราย 3. คณะกรรมการต้องทุ่มเทเวลา และให้ความสาคัญในการกาหนดวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษทั โดยร่วมกันทบทวนวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษทั ทุก ๆ 5 ปี มีการแสวงหาข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการ กาหนดทิศทางดังกล่าว รวมถึงมีการพิจารณาถึงประเด็นความเสีย่ งที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อให้มนั ่ ใจได้ว่าผูบ้ ริหารจะสามารถ นาวิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ทก่ี าหนดขึ้นไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. กาหนดนโยบายและทิศทางการดาเนินงานของบริษทั และกากับควบคุมดูแลให้ฝ่ายบริหารดาเนินการเป็ นไป ตามนโยบาย และระเบียบของบริษทั อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ภายใต้การกากับดู แลกิจการที่ ดี เพื่อเพิ่ม มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กจิ การและความมังคั ่ ง่ สูงสุดให้แก่ผูถ้ อื หุน้ 5. เป็ นผูน้ า และเป็ นแบบอย่างในการปฏิบตั ิงานที่ดี ปฏิบตั ิตามกฎหมาย และสอดคล้องกับแนวทางการกากับ ดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั 6. เป็ นแบบอย่างในการเพิ่มเติมความรูค้ วามสามารถ เพื่ อให้การปฏิบตั ิงานในฐานะกรรมการบริษทั มีศกั ยภาพ มากขึ้น โดยบริษทั มีการสนับสนุนให้กรรมการเข้าร่วมอบรมหรือสัมมนาในหลักสูตรต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง 7. ดาเนิ น การให้บริษทั มีระบบบัญ ชี การรายงานทางการเงิน การสอบบัญชี การควบคุ ม ภายใน และการ ตรวจสอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิผลและเชื่อถือได้ 8. จัดให้มกี ารพิจารณาปัจจัยเสีย่ งสาคัญที่อาจเกิดขึ้น และกาหนดแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงดังกล่าว อย่างครอบคลุม ดูแลให้ผูบ้ ริหารมีระบบ หรือกระบวนการที่มปี ระสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการ แสวงหาโอกาสทางธุรกิจทีอ่ าจจะเกิดขึ้นจากความเสีย่ งดังกล่าว 9. จัดให้มกี ารปันผลกาไร เมือ่ บริษทั มีกาไรพอสมควร และไม่มขี าดทุนสะสม 10. สอดส่องดูแล และจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ทอ่ี าจจะเกิดขึ้น รวมถึงรายการทีเ่ กี่ยวโยง กัน และให้ความสาคัญกับการพิจารณาธุรกรรมหลักทีม่ คี วามสาคัญ โดยมุง่ เน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผูถ้ อื หุน้ และผู ้ มีส่วนได้เสียโดยรวม


56

รายงานประจ�ำปี 2559

11. กรรมการที่เป็ นอิสระ และกรรมการจากภายนอกอื่น มีความพร้อมที่จะใช้ดุลยพินิจของตนอย่างเป็ นอิสระใน การพิจารณากาหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ทรัพยากร การแต่งตัง้ กรรมการ และการกาหนดมาตรฐานการดาเนิน กิจการ ตลอดจนพร้อมทีจ่ ะคัดค้านการกระทาของกรรมการอื่น ๆ หรือฝ่ ายจัดการ ในกรณีทม่ี คี วามเห็นขัดแย้งในเรื่องที่ มีผลกระทบต่อความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ 12. รายงานข้อมูลตาม “แบบรายงานการมีส่ว นได้เสียของกรรมการ/ผู บ้ ริหาร” ต่ อบริษทั ตามเกณฑ์ท่ีบริษทั กาหนด 13. หากกรรมการได้รบั ทราบข้อมูลภายในที่เป็ นสาระสาคัญอันจะมีผ ลต่ อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ กรรมการจะต้อ งระงับการซื้อ ขายหลัก ทรัพ ย์ข องบริษ ทั อย่ า งน้อ ย 15 วัน ก่ อนที่ข อ้ มูล ภายในนั้น จะเปิ ด เผยต่ อ สาธารณชน และจะต้องไม่เปิ ดเผยข้อมูลทีเ่ ป็ นสาระสาคัญนัน้ ต่อบุคคลอื่น โดยผูฝ้ ่ าฝื นอาจได้รบั โทษตามกฎหมาย 14. ควบคุม ดูแล ให้ฝ่ายบริหารมีการปฏิบตั ิต่อผูม้ สี ่วนได้เสียทุกฝ่ ายอย่างมีจริยธรรม และมีความเท่าเทียมกัน 15. ทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดเี ป็ นประจาอย่างสมา่ เสมอ 16. กาหนดนโยบาย และกากับดูแลให้บริษทั มีระบบที่สนับสนุ นการต่ อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ที่มปี ระสิทธิภาพ เพื่อ ให้มนั ่ ใจว่าฝ่ ายบริหารได้ตระหนัก และให้ความสาคัญกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และปลูกฝัง จนเป็ น วัฒนธรรมองค์กร 17. กาหนดนโยบาย และกากับดู แลการรับเรื่องร้องเรียน พร้อมทัง้ ดาเนินการให้บริษทั มีกระบวนการรับเรื่อง ร้องเรียน 18. ปฏิบตั ติ ามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และมีบทลงโทษเมือ่ ไม่ปฏิบตั ติ าม 19. จัดให้มเี ลขานุการบริษทั เพือ่ ช่วยดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการ และบริษทั อันได้แก่ การประชุม กรรมการ และผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนการให้คาแนะนาแก่กรรมการ และบริษทั ในการปฏิบตั ิตน และดาเนินกิจการให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ อย่างสมา่ เสมอ อีกทัง้ ดูแลให้กรรมการ และบริษทั มีการเปิ ดเผยข้อมูล สารสนเทศอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลา 20. รายงานให้ผูถ้ อื หุน้ ทราบถึงผลประกอบการของบริษทั ในที่ประชุมผูถ้ อื หุน้ และในรายงานประจาปี ของบริษทั 21. จัดให้มชี ่องทางในการสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ แต่ละกลุม่ อย่างเหมาะสม 22. คณะกรรมการบริษทั ต้องมีการประเมินผลงานประจาปี ของทัง้ คณะ เพื่อใช้เป็ นกรอบในการตรวจสอบการ ปฏิบตั ิงานในหน้าที่ของคณะกรรมการบริษทั และให้เปิ ดเผยในรายงานประจาปี ดว้ ย และประเมินผลงานประจาปี ของ ผูบ้ ริหารสูงสุด รวมทัง้ กาหนดค่าตอบแทนผูบ้ ริหารสูงสุดให้สอดคล้องกับผลการดาเนินงาน 23. ในกรณีทจ่ี าเป็ น คณะกรรมการสามารถขอคาแนะนา หรือความเห็นทางวิชาชีพจากที่ปรึกษาภายนอกเกี่ยวกับ การดาเนินกิจการ โดยบริษทั เป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่าย


โครงสร้างการจัดการ

57

การแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั การแต่ ง ตัง้ กรรมการบริษทั เป็ น ไปตามข้อ บัง คับ ของบริษ ทั และพระราชบัญ ญัติบ ริษ ทั มหาชนจ า กัด โดย คณะกรรมการสรรหาของบริษทั จะเป็ นผูเ้ สนอชื่อบุคคลเข้าเป็ นกรรมการต่อคณะกรรมการ และผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณา ตามลาดับ ทัง้ นี้ ข้อบังคับของบริษทั กาหนดให้การแต่งตัง้ กรรมการบริษทั เป็ นไปโดยสอดคล้องกับพระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจากัด ดังนี้ 1. ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นผูแ้ ต่งตัง้ กรรมการเพิ่มเติม หรือแทนกรรมการที่ ตอ้ งออกตามวาระ ตามหลักเกณฑ์และ วิธกี าร ดังต่อไปนี้ ก. ผูถ้ อื หุน้ หนึ่งคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งเสียงต่อหนึ่งหุน้ ข. ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงที่มอี ยู่ทงั้ หมดตาม (ก) เลือกบุคคลคนเดียว หรือหลายคนเป็ น กรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผูใ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ ค. บุคคลซึ่งได้รบั คะแนนเสียงสู ง สุดตามลาดับลงมา เป็ นผู ไ้ ด้รบั เลือกตัง้ เป็ นกรรมการ เท่ากับจานวน กรรมการที่จะมีในการเลือกตัง้ ครัง้ นัน้ ในกรณี ท่บี ุคคลซึ่งได้รบั การเลือกตัง้ ในลาดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกิน จานวนกรรมการทีจ่ ะมีได้ในการเลือกตัง้ ครัง้ นัน้ ให้ประธานในทีป่ ระชุมเป็ นผูอ้ อกเสียงชี้ขาด 2. คณะกรรมการเป็ นผูเ้ ลือกบุคคลเข้าเป็ นกรรมการแทนตาแหน่งกรรมการที่ว่างลงเพราะสาเหตุอ่นื ใด นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ

3.

คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ณ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วยสมาชิก 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายวีรพันธ์ พูลเกษ

ประธานกรรมการบริหาร

2. นายชาลี โสภณพนิช

กรรมการบริหาร

3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

กรรมการบริหาร

4. ดร. สมศักดิ์ ไชยพร

กรรมการบริหาร และเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

ทัง้ นี้ ตามมติท่ีป ระชุม คณะกรรมการบริษ ทั ครัง้ ที่ 2/2560 ณ วัน ที่ 16 มกราคม 2560 ได้มีการแต่ ง ตัง้ คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยสมาชิก 5 ท่าน ดังนี้ 1. นายปณต สิรวิ ฒั นภักดี

ประธานกรรมการบริหาร

2. นายชาย วินิชบุตร

กรรมการบริหาร

3. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์

กรรมการบริหาร

4. นายวีรพันธ์ พูลเกษ

กรรมการบริหาร


58

รายงานประจ�ำปี 2559

5. นายโสภณ ราชรักษา

กรรมการบริ ห าร และเลขานุ ก ารคณะกรรมการ บริหาร

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั 2. ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ตลอดจนระเบียบของบริษทั โดยเคร่งครัด

4.

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์

ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

3. นายตรีขวัญ บุนนาค

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

ทัง้ นี้ ตามมติท่ีป ระชุม คณะกรรมการบริษ ทั ครัง้ ที่ 2/2560 ณ วัน ที่ 16 มกราคม 2560 ได้มีการแต่ ง ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

2. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

3. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

ทัง้ นี้ กรรมการตรวจสอบทัง้ สามท่านมีความรู ้ และประสบการณ์เพียงพอ ที่จะสามารถทาหน้าที่ในการสอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงิน บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษทั มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั มีระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน กระบวนการกากับดูแลกิจการที่ดี และการ บริหารความเสีย่ งทีม่ คี วามเหมาะสม และมีประสิทธิภาพเพียงพอ 3. สอบทานความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม ภายใน และการบริหารความเสีย่ ง 4. สอบทานให้บ ริษ ทั ปฏิบตั ิต ามกฎหมายว่ า ด้ว ยหลัก ทรัพ ย์ และตลาดหลัก ทรัพ ย์ ข้อ ก าหนดของตลาด หลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษทั 5. พิจารณารายการระหว่างกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามกฎระเบียบ และ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษทั


โครงสร้างการจัดการ

59

6. สอบทานการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และให้คาแนะนาต่อคณะกรรมการบริษทั เกี่ยวกับ การปฏิบตั ทิ ค่ี วรมีเพือ่ ลดความเสีย่ งนัน้ โดยผูบ้ ริหารต้องนาคาแนะนาไปปฏิบตั ิ 7. สอบทาน และพิจารณาร่วมกับฝ่ ายจัดการ ในเรื่องข้อบกพร่องสาคัญที่ตรวจพบ และการสนองตอบจากฝ่ าย จัดการ 8. มีอ านาจในการตรวจสอบ และสอบสวนผู ท้ ่ีเกี่ยวข้อง ภายใต้ขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และมีอานาจในการว่าจ้างผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาช่วยงานตรวจสอบ และสอบสวน โดยปฏิบตั ิตามระเบียบ ของบริษทั 9. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ /เลิกจ้าง เสนอค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีของบริษทั รวมทัง้ จัดประชุมกับ ผูส้ อบบัญชีอย่างอิสระ โดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้าร่วมประชุม อย่างน้อยปี ละหนึ่งครัง้ 10. พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบ และแผนการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี และฝ่ ายตรวจสอบภายในให้มี ความสัมพันธ์ และเกื้อกูลกัน และลดความซา้ ซ้อนในส่วนทีเ่ กี่ยวกับการตรวจสอบด้านการเงิน 11. ประสานงานเกี่ยวกับผลการตรวจสอบกับผูส้ อบบัญชี และอาจเสนอแนะให้สอบทาน หรือตรวจสอบรายการ ใดทีเ่ ห็นว่าจาเป็ น 12. ในการปฏิบตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระทาซึ่งอาจมี ผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานของบริษทั ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 13. กากับดูแลการควบคุมภายใน การจัดทารายงานทางการเงิน และกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องกับมาตรการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ รวมทัง้ กากับดูแลการปฏิบตั ิตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ 14. สอบทานมาตรการและการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มนั ่ ใจว่ามาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ มี ความเพียงพอ และมีประสิทธิผล 15. รายงานผลการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ของบริษทั ต่อคณะกรรมการ บริษทั อย่างสมา่ เสมอ และให้คาแนะนาข้อควรปฏิบตั แิ ก่คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร 16. ดาเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มกี ระบวนการรับ และกากับดูแลการรับเรื่องร้องเรียน 17. ประธานกรรมการตรวจสอบ หรือกรรมการตรวจสอบ ควรเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ บริษทั เพื่อชี้แจง และ/หรือ ตอบข้อซักถามในเรื่องทีเ่ กี่ยวกับคณะกรรมการตรวจสอบ หรือการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีดว้ ย 18. ประเมินผลการดาเนินงานเกี่ยวกับการตรวจสอบภายในของคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปี บญั ชีการเงิน ละ 1 ครัง้ และรายงานให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ 19. จัดทารายงานการกากับดู แลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกาหนดรายละเอียดขัน้ ตา่ คือ การ ปฏิบตั ิงาน จานวนครัง้ การประชุม ผูเ้ ข้าร่วมประชุม รวมถึงความเห็นโดยรวมโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของ บริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวมีการลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


60

รายงานประจ�ำปี 2559

20. ควบคุม ดูแล ให้มกี ารเปิ ดเผยค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีในรายงานประจาปี ของบริษทั 21. ให้ความเห็นชอบ กฎบัตร แผนงาน งบประมาณ และอัตรากาลังของฝ่ ายตรวจสอบภายใน 22. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และประเมินผลการปฏิบตั ิงานของหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายใน รวมทัง้ ความเป็ นอิสระของฝ่ ายตรวจสอบภายใน 23. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ่นื ใดทีค่ ณะกรรมการของบริษทั มอบหมายตามทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระของบริษทั อย่างน้อย 3 ท่านซึ่งไม่เป็ นผูบ้ ริหารบริษทั และได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั หรือผูถ้ ือหุน้ 2. คณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่าน ต้องเป็ นผูม้ คี วามรูค้ วามเข้าใจ หรือมีประสบการณ์ดา้ นการบัญชี หรือการเงินอย่างเพียงพอ ทีจ่ ะทาหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน หลักเกณฑ์การเสนอชื่อและแต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาเป็ นผูเ้ สนอชื่อสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้ผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการบริษทั เป็ นผูค้ ดั เลือก และแต่งตัง้ โดยคณะกรรมการตรวจสอบ ต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจานวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อ ย บริษทั ร่วม หรือบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้อง ทัง้ นี้ให้นบั รวมหุน้ ทีถ่ อื โดยผูท้ ่เี กี่ยวข้องด้วย 2. ห้ามผูท้ ่มี คี วามสัมพันธ์กบั บริษทั และบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องในลักษณะที่มสี ่วนได้เสีย หรื อได้ผลประโยชน์ในด้าน การเงินหรือการบริหารงาน ทัง้ ในปัจจุบนั และช่วง 2 ปี ก่อน เป็ นกรรมการอิสระ โดยลักษณะความสัมพันธ์ดงั กล่าวมี ตัวอย่างเช่น 

เป็ นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษาที่รบั เงินเดือนประจา หรือผูม้ ี

อานาจควบคุม 

เป็ นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ เช่น เป็ นผูส้ อบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน หรือผูป้ ระเมิน

ราคาทรัพย์สนิ เป็ นผูท้ ่มี คี วามสัมพันธ์ทางธุ รกิจ เช่น ซื้อ/ขายสินค้าหรือบริการ ซื้อขายสินทรัพย์ ให้/รับความช่วยเหลือ ทางการเงิน เป็ นต้น 

3. หากด ารงต าแหน่ ง เป็ น กรรมการอิส ระของบริษ ทั อื่ น ในกลุ่ม ด้ว ย จะต้อ งเปิ ด เผยข้อ มูล ดัง กล่า ว และ ค่าตอบแทนทีไ่ ด้รบั จากบริษทั นัน้ ด้วย 4. ห้ามกรรมการตรวจสอบเป็ นกรรมการใดๆ ในบริษทั อื่นในกลุม่ ทีเ่ ป็ นบริษทั จดทะเบียน 5. เป็ นกรรมการทีไ่ ม่ใช่เป็ นผูท้ ่เี กี่ยวข้อง หรือญาติสนิทของผูบ้ ริหาร หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั


โครงสร้างการจัดการ

61

6. เป็ นกรรมการที่ไม่ได้รบั การแต่งตัง้ ขึ้นเป็ นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็ นผูท้ เ่ี กี่ยวข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั 7. สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ แสดงความเห็น หรือรายงานผลการปฏิบตั ิง าน ตามหน้าที่ท่ีได้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผูบ้ ริหาร หรือผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริษทั รวมทัง้ ผูท้ ่เี กี่ยวข้อง หรือญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว ผูท้ ่เี กี่ยวข้อง หมายรวมถึง ผูท้ ่มี คี วามสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับบริษทั จนทาให้ไม่สามารถทาหน้าที่ได้อย่างอิสระ หรือคล่องตัว เช่น คู่คา้ ลูกค้า เจ้าหนี้ ลูกหนี้ หรือผูท้ ม่ี คี วามเกี่ยวข้องทางธุรกิจอย่างมีนยั สาคัญ เป็ นต้น

5.

คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายชาลี โสภณพนิช

ประธานกรรมการกาหนดค่าตอบแทน

2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์

กรรมการกาหนดค่าตอบแทน

3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

กรรมการกาหนดค่าตอบแทน

ทัง้ นี้ ตามมติท่ีป ระชุม คณะกรรมการบริษ ทั ครัง้ ที่ 2/2560 ณ วัน ที่ 16 มกราคม 2560 ได้มีการแต่ ง ตัง้ คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

ประธานกรรมการกาหนดค่าตอบแทน

2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

กรรมการกาหนดค่าตอบแทน

3. นายปณต สิรวิ ฒั นภักดี

กรรมการกาหนดค่าตอบแทน

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน 1. เสนอนโยบาย และให้คาแนะนาแก่คณะกรรมการบริษทั เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การจ่ายค่ าตอบแทน ค่ าเบี้ย ประชุม โบนัส สวัสดิการ และผลประโยชน์ตอบแทนอื่น ๆ ทัง้ ที่เป็ นตัวเงิน และมิใช่ตวั เงินที่จ่ายให้แก่คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการของบริษทั และผูบ้ ริหารสูงสุด โดยคานึงถึงค่าตอบแทนทีป่ ฏิบตั อิ ยู่ในอุตสาหกรรม 2. พิจารณากาหนดค่าตอบแทนให้แก่ผูบ้ ริหารสูงสุด 3. พิจารณากาหนดสวัสดิการ และผลประโยชน์ตอบแทนอื่น ๆ ทัง้ ที่เป็ นตัวเงิน และมิใช่ตวั เงินให้แก่พนักงาน ของบริษทั 4. กากับดูแลให้บริษทั มีการเปิ ดเผยนโยบายเรื่องค่าตอบแทนกรรมการ รวมทัง้ หลักการและเหตุผล


62

6.

รายงานประจ�ำปี 2559

คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายชาลี โสภณพนิช

ประธานกรรมการสรรหา

2. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

รองประธานกรรมการสรรหา

3. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์

กรรมการสรรหา

4. นายตรีขวัญ บุนนาค

กรรมการสรรหา

ทัง้ นี้ ตามมติท่ีป ระชุม คณะกรรมการบริษ ทั ครัง้ ที่ 2/2560 ณ วัน ที่ 16 มกราคม 2560 ได้มีการแต่ ง ตัง้ คณะกรรมการสรรหา ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

ประธานกรรมการสรรหา

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

กรรมการสรรหา

3. นายโชติพฒั น์ พีชานนท์

กรรมการสรรหา

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. กาหนดหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการบริษทั อนุ กรรมการ และผูบ้ ริหารสูงสุด เพื่อความโปร่งใสในการสรร หาผูท้ จ่ี ะมาดารงตาแหน่งดังกล่าว 2. เสนอชื่อกรรมการ และ/หรือ อนุกรรมการ เพือ่ ให้คณะกรรมการ และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง้ 3. คัดเลือกผูส้ มัครในตาแหน่งผูบ้ ริหารสูงสุด เพือ่ ให้คณะกรรมการเป็ นผูแ้ ต่งตัง้

7.

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วยสมาชิก 4 ท่าน ดังนี้ 1. นางสาวลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

2. นายวีรพันธ์ พูลเกษ

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

3. ดร. สมศักดิ์ ไชยพร

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

4. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

กรรมการบริหารความเสีย่ ง และเลขานุการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ทัง้ นี้ ตามมติท่ีป ระชุม คณะกรรมการบริษ ทั ครัง้ ที่ 2/2560 ณ วัน ที่ 16 มกราคม 2560 ได้มีการแต่ ง ตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยสมาชิก 4 ท่าน ดังนี้ 1. นายโชติพฒั น์ พีชานนท์

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

กรรมการบริหารความเสีย่ ง


โครงสร้างการจัดการ

3. นายปณต สิรวิ ฒั นภักดี

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

4. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์

กรรมการบริหารความเสีย่ ง

63

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 1. กากับดู แ ล และสนับสนุ นให้มีการด าเนิ นงานด้านการบริหารความเสี่ยง ให้สอดคล้อ งกับกลยุ ทธ์ และ เป้ าหมายทางธุรกิจ รวมถึงสภาวการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป 2. พิจารณานโยบายการบริหารความเสี่ยงของบริษทั ให้ครอบคลุมความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) ความ เสีย่ งด้านตลาด (Market Risk) ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั ิการ (Operational Risk) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) และความเสี่ยงด้านอื่น ๆ อาทิ ความเสี่ยงด้านกฎหมาย และ กฎระเบียบ (Regulatory Risk) เป็ นต้น 3. พิจารณาประเมินความเสีย่ งของบริษทั ให้ครอบคลุมธุรกรรมตามข้อ 2. 4. พิจารณา และทบทวนแนวทาง และเครื่องมือในการบริหารจัดการความเสีย่ งให้มปี ระสิท ธิภาพ และเหมาะสม กับลักษณะ และขนาดความเสีย่ งแต่ละด้านของธุรกรรมที่บริษทั ดาเนินการ 5. พิจารณา และทบทวนการกาหนดเพดานความเสีย่ ง (Risk Limits) และมาตรการในการดาเนินการกรณีท่ไี ม่ เป็ นไปตามเพดานความเสีย่ งทีก่ าหนด (Corrective Measures) 6. ติดตามผลการประเมินความเสี่ยง ทัง้ ในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต (Stress Testing) 7. ประเมินความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึ้นจากผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นสาหรับธุรกรรมที่จะจัดตัง้ ขึ้น ใหม่ รวมถึงกาหนดแนวทางการป้ องกันความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึ้นกับธุรกรรม 8. ทบทวน และปรับปรุงแก้ไขเปลีย่ นแปลง (ถ้าจาเป็ น) กฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยให้รายงาน การปรับปรุงดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษทั ทราบ 9. รายงานผลการบริหารความเสี่ยงให้คณะกรรมการบริษทั รับทราบ และในกรณีท่มี ปี จั จัยหรือเหตุการณ์สาคัญ ซึง่ อาจมีผลกระทบต่อบริษทั อย่างมีนยั สาคัญ ต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ทราบและพิจารณาโดยเร็วทีส่ ุด 10. ประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ 11. กากับดูแล และสนับสนุ นให้มีการบริหารความเสี่ยงด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยการประเมิน ความเสีย่ งด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และทบทวนมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ให้เพียงพอเหมาะสม 12. รายงานผลการบริหารความเสีย่ งด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ แก่คณะกรรมการตรวจสอบ 13. ประเมินผลการปฏิบตั ิ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ เพื่อนาผลการประเมินมา ปรับปรุงการดาเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ และบรรลุวตั ถุประสงค์ทก่ี าหนดไว้ 14. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ่นื ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย


64

รายงานประจ�ำปี 2559

8.

คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการกากับดูแลกิจการของบริษทั ณ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วยสมาชิก 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายตรีขวัญ บุนนาค

ประธานกรรมการกากับดูแลกิจการทีด่ ี

2. นายวีรพันธ์ พูลเกษ

กรรมการกากับดูแลกิจการทีด่ ี

3. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

กรรมการกากับดูแลกิจการทีด่ ี

ทัง้ นี้ ตามมติท่ปี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2560 ณ วันที่ 16 มกราคม 2560 ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการกากับดูแลกิจการทีด่ ี ประกอบด้วยสมาชิก 3 ท่าน ดังนี้ 1. นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม

ประธานกรรมการกากับดูแลกิจการทีด่ ี

2. นายตรีขวัญ บุนนาค

กรรมการกากับดูแลกิจการทีด่ ี

3. นายอุเทน โลหชิตพิทกั ษ์

กรรมการกากับดูแลกิจการทีด่ ี

บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 1. จัดทานโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 2. ให้คาแนะนาแก่คณะกรรมการบริษทั ในเรื่องเกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการทีด่ ี 3. ดูแลการปฏิบตั งิ านของกรรมการ และฝ่ ายจัดการ เพือ่ ให้เป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี 4. ทบทวนแนวทางของหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริษทั โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ิของสากล และ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษทั 5. จัด ท านโยบาย และแนวปฏิบ ตั ิ ใ นการด าเนิ น งานด้า นการบริ ห ารจัด การความยัง่ ยืน ( Sustainability Management : SM) ซึ่ง รวมถึง การด าเนิ น งานด้า นการดู แ ลสัง คม ชุม ชน และสิ่ง แวดล้อ ม ( Corporate Social Responsibility : CSR) เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั 6. ติดตามการดาเนินงานด้านการบริหารจัดการความยัง่ ยืน 7. วางกรอบแนวทาง และกากับดูแลการดาเนินงาน ทีเ่ กี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ของบริษทั 8. จัดทา และทบทวนนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ให้ขอ้ เสนอแนะ แนวทาง ติดตาม และ ประเมินผลการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้


โครงสร้างการจัดการ

9.

65

ผูบ้ ริหาร รายชื่อผูบ้ ริหารของบริษทั ณ 2 มีนาคม 2560 มีดงั นี้ 1. นายวีรพันธ์ พูลเกษ

ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

2. นายโสภณ ราชรักษา1)

ผูอ้ านวยการใหญ่

3. ดร. สมศักดิ์ ไชยพร

ผูจ้ ดั การทัว่ ไป

4. นายกฤษณ์ วีรกุล

รองผูจ้ ดั การทัว่ ไป และพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ

5. นางสาวลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์

ผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ ายบัญชี การเงิน และเลขานุการบริษทั

6. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

ผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

7. นายสมศักดิ์ รัตนวิระกุล

ผูอ้ านวยการฝ่ ายการตลาด 1

8. นางยูโกะ โฮชิ

ผูอ้ านวยการฝ่ ายการตลาด 2

9. นางสาวลัญจกร คงสกุล2)

ผูอ้ านวยการฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์

10. นางสาวศิรพิ ร สมบัตวิ ฒั นา

ผูอ้ านวยการฝ่ ายธุรการ

11. นางสาวรจนา อัศววิเชียรจินดา3)

ผูอ้ านวยการฝ่ ายบัญชี

12. นางสาววรัญญา อินทรไพโรจน์

ผูอ้ านวยการฝ่ ายจัดซื้อ

13. นางสาวสุธารา จรุงเรืองเกียรติ4)

ผูอ้ านวยการฝ่ ายกฎหมาย

14. นายภารุจ บุณฑริก5)

ผูอ้ านวยการฝ่ ายพัฒนาโครงการ

15. นายอภิณฐั เมฆลอย

ผูอ้ านวยการฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

16. นางสาวปริ่มโอภา ณัชชาจารุวทิ ย์

ผูอ้ านวยการฝ่ ายบริหารอสังหาริมทรัพย์

หมายเหตุ : 1) ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือ่ วันที่ 16 มกราคม 2560 2) ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 3) ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 4) ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือ่ วันที่ 1 ธันวาคม 2559 5) ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั เมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559


66

รายงานประจ�ำปี 2559

ขอบเขต และอานาจหน้าที่ของผูบ้ ริหาร ผูบ้ ริหารมีอานาจหน้าที่ ดาเนินการตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั ทัง้ นี้ การใช้อานาจของผูบ้ ริหารดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทาได้ หากผูบ้ ริหารมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรง หรือโดยอ้อม หรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใด ๆ กับบริษทั หรือบริษทั ย่อย ตามทีส่ านักงาน ก.ล.ต. กาหนด

10. ค่าตอบแทนของกรรมการ และผูบ้ ริหาร เกณฑ์การกาหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการ บริษทั กาหนดค่าตอบแทนกรรมการตามหน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละท่าน โดยได้คานึงถึงผล ประกอบการของบริ ษ ทั รวมถึง ค่ า ตอบแทนกรรมการของบริ ษ ทั จดทะเบีย นที่อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกัน ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนกรรมการจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และอนุมตั โิ ดยผูถ้ อื หุน้ 10.1 ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน ในปี 2559 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ (ตามเกณฑ์คงค้าง) ดังนี้ หน่วย : บาท กรรมการ นายชาลี โสภณพนิช นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายตรีขวัญ บุนนาค นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ นายเนตร จรัญวาศน์ รวม

เบี้ยประชุม คณะกรรมการ 80,000 50,000 50,000 50,000 50,000 60,000 40,000 50,000 440,000

เบี้ยประชุม คณะกรรมการ ตรวจสอบ 60,000 60,000 30,000 150,000

โบนัสกรรมการ 1,084,000 2,160,000 2,080,000 870,000 2,080,000 710,000 401,000 1,255,000 10,640,000


67

โครงสร้างการจัดการ

สาหรับผูบ้ ริหารของบริษทั นัน้ ในปี 2559 บริษทั มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผูบ้ ริหาร (ตามเกณฑ์คงค้าง) ดังนี้ จานวนเงิน (บาท) เงินเดือน โบนัส กองทุนสารองเลี้ยงชีพและกองทุนประกันสังคม รวม

31,665,322 2,346,344 755,986 34,767,652

10.2 ค่าตอบแทนอืน่ ๆ ในปี 2559 บริษทั มิได้มกี ารจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบอื่นให้แก่กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั

11. บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีพนักงานรวมทัง้ สิ้น 119 คน ดังนี้ แผนก กรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน รองผูจ้ ดั การทัว่ ไป ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ฝ่ ายบัญชี ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายกฎหมาย ฝ่ ายการตลาด ฝ่ ายธุรการ ฝ่ ายจัดซื้อ ฝ่ ายพัฒนาโครงการ ฝ่ ายบริหารอสังหาริมทรัพย์ ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ รวม

จานวนพนักงาน (คน) 1 1 1 1 2 19 3 6 2 14 15 3 19 28 3 1 119


68

รายงานประจ�ำปี 2559

11.1 ค่าตอบแทนรวมของพนักงาน ค่าตอบแทนรวมที่เป็ นตัวเงินของพนักงานในปี 2559 เท่ากับ 105.95 ล้านบาท ซึ่งอยู่ในรูปของเงินเดือน โบนัส สวัสดิการอื่น ๆ เงินสมทบ กองทุนสารองเลี้ยงชีพทีบ่ ริษทั จ่ายสมทบให้แก่พนักงาน และการจัดอบรมสัมมนา 11.2 นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริษทั จัดให้มกี ารอบรม และสัมมนาแก่พนักงานอย่างสมา่ เสมอ ซึ่งรวมถึงการชี้แจงให้พนักงานใหม่เข้าใจ ถึงขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานในส่วนงานที่รบั ผิดชอบ นอกจากนี้ เพื่อเป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพ และทักษะในการปฏิบตั ิงาน ของผูบ้ ริหาร และพนักงาน บริษทั เปิ ดโอกาสให้แก่พนักงาน ในการเข้ารับการอบรมจากสถาบันต่างๆ เป็ นการเพิม่ เติมอีก ด้วย ในปี 2559 บริษทั มีค่าใช้จ่ายในการพัฒนาบุคลากรทัง้ สิ้น 0.46 ล้านบาท 11.3 ข้อพิพาทด้านแรงงานในระยะเวลา 3 ปี ท่ผี ่านมา - ไม่มี -


การก�ำกับดูแลกิจการ

69

การกากับดูแลกิจการ 1.

การปฏิบตั ติ ่อผูถ้ อื หุน้

บริษทั ได้ตระหนักถึง ความสาคัญของการปฏิบตั ิต่อผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดยได้คานึงถึงสิทธิของผู ้ ถือหุน้ ในการได้รบั ข้อมูลข่าวสารของบริษทั อย่างเพียงพอ และทันเวลา อันได้แก่ การส่งข้อมูลข่าวสารของบริษทั ผ่านทาง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การลงข่าวสารทางหนังสือพิมพ์ ตามพระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจากัด และการลงประกาศในเว็บไซต์ของบริษทั www.ticon.co.th นอกจากข่าวสารข้อมูลที่ให้แก่ผูถ้ ือหุน้ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษทั ยังได้ให้ความสาคัญกับการประชุมผูถ้ ือหุน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ องค์ประกอบต่าง ๆ ของการประชุม เพือ่ ให้เกิดความเท่าเทียมกันในระหว่างผูถ้ อื หุน้ อันได้แก่ การจัด ประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยกาหนดให้วนั เวลา และสถานที่ประชุมไม่เป็ นอุปสรรคในการเข้าร่วมประชุม พร้อมจัดส่งแผนที่ตงั้ ของสถานที่ประชุมให้แก่ผูถ้ ือหุน้ การส่งหนังสือนัดประชุมที่มีวตั ถุประสงค์ และเหตุผลของแต่ละวาระการประชุม ตลอดจนความเห็นของคณะกรรมการประกอบในแต่ละวาระเสนอให้แก่ผูถ้ อื หุน้ ก่อนการประชุมอย่ างน้อย 7 วันสาหรับ วาระปกติ และอย่างน้อย 14 วันสาหรับวาระพิเศษตามข้อบังคับของบริษทั หนังสือนัดประชุมของบริษทั มีขอ้ มูลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับวาระการประชุม เพื่อให้ผูถ้ ือหุน้ มีขอ้ มูลประกอบการ พิจารณาลงคะแนนเสียงในการประชุมได้ครบถ้วนมากยิ่งขึ้น บริษทั ได้จดั ส่งรายงานประจาปี ซึง่ รวบรวมข้อมูลสาคัญของ บริษทั ในปี ท่ผี ่านมาให้แก่ผูถ้ ือหุน้ พร้อมกับหนังสือนัดประชุม รวมถึงได้จดั ส่งหนังสือมอบฉันทะ ที่ให้ผูถ้ อื หุน้ สามารถ กาหนดทิศทางการออกเสียงในแต่ละเรื่องได้ โดยหนังสือมอบฉันทะดังกล่าว มีขอ้ มูลกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้ผูถ้ อื หุน้ เลือกเป็ นผูร้ บั มอบฉันทะในการเข้าประชุม ในกรณี ท่ีผูถ้ ือหุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ นอกจากนี้ บริษทั ได้แนบ ข้อ บัง คับบริษ ทั ส่ว นที่เกี่ยวข้อ งกับการประชุมผู ถ้ ือ หุน้ ไปกับ หนัง สือนัดประชุม ด้ว ย พร้อมทัง้ การให้ข อ้ มูล และ รายละเอียดเกี่ยวกับเอกสารทีต่ อ้ งใช้ เพือ่ เป็ นหลักฐานในการเข้าประชุมผูถ้ อื หุน้ ในหนังสือนัดประชุม บริษทั ได้เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิเสนอเพิม่ วาระการประชุม และเสนอชื่อผูท้ ่มี คี ุณสมบัตเิ หมาะสม ที่จะมาเป็ น กรรมการบริษทั ล่วงหน้า โดยบริษทั ได้ช้ แี จงหลักเกณฑ์ และวิธกี ารในการเสนอเรื่องดังกล่าวบนเว็บไซต์ของบริษทั ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั มีคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทัง้ ผูบ้ ริหารของบริษทั และผูส้ อบบัญชีของบริษทั เข้าร่วมประชุมด้วย โดยประธานกรรมการของบริษทั หรือบุคคลที่ท่ปี ระชุมผูถ้ อื หุน้ อนุ มตั ิให้ เป็ นประธานในที่ประชุม จะดาเนินการให้มกี ารพิจารณาวาระการประชุม และลงคะแนนเสียงเป็ นไปตามลาดับวาระที่ กาหนดในหนังสือนัดประชุมอย่างโปร่งใส นอกจากนัน้ บริษทั ได้แจ้งวิธีการลงคะแนนให้ผูถ้ ือหุน้ ทราบก่อนลงคะแนน และระหว่างประชุมได้เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ อื หุน้ มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ และบริษทั ได้ตอบคาถามอย่างครบถ้วน คณะกรรมการบริษทั ได้ดูแลให้มกี ารบันทึกรายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ ให้มสี าระสาคัญครบถ้วน อันได้แก่ คา ชี้แจงที่เป็ นสาระสาคัญ คาถาม ข้อคิดเห็นต่าง ๆ รวมทัง้ คะแนนเสียงที่ตอ้ งการในแต่ละวาระ นอกจากนัน้ ในส่วนของ รายงานการประชุมบริษทั มีการจัดทารายงานการประชุมให้เสร็จสมบูรณ์ในเวลาที่กฎหมายกาหนด รวมทัง้ มีระบบการ


70

รายงานประจ�ำปี 2559

จัดเก็บรายงานการประชุมที่ดีสามารถตรวจสอบ และอ้างอิงได้ ทัง้ นี้ เพื่อให้รายงานการประชุมมีความครบถ้วนสมบูรณ์ มากยิง่ ขึ้น บริษทั ได้จดั ให้มกี ารบันทึกผลการลงคะแนนเสียง เพิม่ เติมในรายงานการประชุมด้วย ทัง้ นี้ บริษทั ได้เผยแพร่เอกสารและข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประชุมผูถ้ อื หุน้ บนเว็บไซต์ของบริษทั ทัง้ ใน รูปแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ได้แก่ เอกสารเชิญประชุมซึง่ เผยแพร่ลว่ งหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 1 เดือน และ รายงานการประชุมทีเ่ ผยแพร่ภายใน 14 วัน นับแต่วนั ประชุม รวมทัง้ วีดที ศั น์ ซึง่ บันทึกภาพในวันประชุม เพื่อให้ผูถ้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้สะดวก และรวดเร็ว บริษทั ได้จดั การประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจาปี 2559 เมือ่ วันที่ 26 เมษายน 2559 เวลา 14.30 น.และการประชุม วิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2559 เมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม 2559 เวลา 10.00 น. โดยการประชุมทัง้ 2 ครัง้ นี้ จัด ณ ห้องสุร ศัก ดิ์ 1 ชัน้ 11 โรงแรมอีส ติน แกรนด์ สาทร กรุ ง เทพฯ เลขที่ 33/1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร และมีกรรมการเข้าร่วมประชุม 7 ท่าน

2.

การปฏิบตั ติ ่อผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย

บริษทั ตระหนักดีว่า ความสาเร็จในการดาเนินธุ รกิจของบริษทั เกิดขึ้นจากการสนับสนุ นจากผูม้ สี ่วนได้เสียกลุ่ม ต่าง ๆ อันได้แก่ พนักงานบริษทั คู่คา้ ลูกค้า สถาบันการเงิน ผูใ้ ห้กูย้ มื เงิน ชุมชนและสังคม ตลอดจนแรงผลักดันจาก คู่แข่งของบริษทั บริษทั จึงได้ให้ความสาคัญต่อสิทธิของผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่ม กล่าวคือ การปฏิบตั ติ ่อพนักงานอย่างเท่า เทียม และเป็ นธรรม การปฏิบตั ิต่อคู่คา้ ตามสัญญา และเงื่อนไขทางการค้า การจัดหาผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้มาตรฐานให้แก่ ลูกค้า มีความรับผิดชอบต่อลูกค้าทัง้ ในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และการให้บริการหลังการขาย ตลอดจน การรักษา ความลับของลูกค้า การปฏิบตั ิตามเงื่อนไขการกูย้ ืมเงินจากสถาบันการเงินอย่างเคร่งครัด การปฏิบตั ิตามกรอบกติกา การแข่งขันทีด่ ี ไม่ทาลายคู่แข่งขันด้วยวิธกี ารไม่สุจริต และการรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมของชุมชนและสังคม บริษทั ให้ความสาคัญต่อพนักงาน เนื่ องจากพนักงานเป็ นปัจจัยแห่งความสาเร็จที่มคี ุณค่ า บริษทั ให้การปฏิบตั ิ อย่างเท่าเทียม และเป็ นธรรมต่อพนักงาน ทัง้ ในด้านโอกาส ผลตอบแทน สวัสดิการที่จาเป็ น การแต่งตัง้ โยกย้าย การ พัฒนาศักยภาพ การดูแลรักษาสภาพแวดล้อม ในการทางานให้มคี วามปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของพนักงานอยู่ เสมอ บริษทั ดาเนินการตามมาตรการด้านความปลอดภัย พร้อมทัง้ จัดให้มสี ่งิ อานวยความสะดวกในการทางานอย่าง เพี ย งพอ และเหมาะสม เพื่ อ ป้ องกัน การสู ญ เสี ย ชี วิ ต จากอุ บ ตั ิ เ หตุ ป้ องกัน การบาดเจ็ บ และการเจ็ บ ป่ วย อันเนื่องจากการทางาน นอกจากนี้ บริษทั ได้จดั ให้มกี จิ กรรมสันทนาการ เพือ่ ความสามัคคีและเป็ นรางวัลสาหรับพนักงาน ในส่วนของลูกค้า บริษทั มีความมุ่งมัน่ ที่จะแสวงหาวิธีการ ที่จะสนองความต้องการของลูกค้าให้มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลยิ่งขึ้นตลอดเวลา บริษทั ยึดมัน่ ในการรักษา และปฏิบตั ิตามสัญญาที่ทาไว้กบั ลูกค้าอย่างเคร่งครัด โดย การส่งมอบผลิตภัณฑ์ และให้บริการหลังการขายที่มคี ุณภาพ ตรงตามความคาดหมายของลูกค้าในราคาที่เป็ นธรรม นอกจากนี้ ยังเน้นถึงการรักษาความลับของลูกค้า และไม่นาไปใช้เพื่อประโยชน์โดยมิชอบ รวมทัง้ ผ่อนปรน และร่วม ช่วยเหลือลูกค้ายามทีเ่ กิดความเดือดร้อน สาหรับคู่ คา้ และ/หรือเจ้าหนี้ บริษทั ปฏิบตั ิต่อคู่ คา้ และ/หรือเจ้าหนี้อย่างเสมอภาค และเป็ นธรรม คานึงถึง ประโยชน์สูง สุ ดของบริษทั และตัง้ อยู่บนพื้นฐานของการได้รบั ผลตอบแทนที่เป็ น ธรรมต่ อ ทัง้ สองฝ่ าย หลีก เลี่ย ง สถานการณ์ทท่ี าให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามพันธะสัญญาทีต่ กลงกันไว้


การก�ำกับดูแลกิจการ

71

สาหรับคู่แข่งทางการค้า บริษทั ปฏิบตั ิต่อคู่แข่งทางการค้าตามหลักสากล ไม่ละเมิดความลับ หรือล่วงรูค้ วามลับ ทางการค้าของคู่คา้ ด้วยวิธีฉอ้ ฉล บริษทั ยึดมัน่ ในการดาเนินธุ รกิจด้วยความเป็ นธรรมโดยปฏิบตั ิตามแนวปฏิบตั ิทาง จริยธรรมในการดาเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด ในปี ทผ่ี ่านมา บริษทั ไม่มขี อ้ พิพาทใด ๆ ในเรื่องทีเ่ กี่ยวกับคู่แข่งทางการค้า ส่วนชุมชน และสังคมนัน้ บริษทั มีนโยบายที่จะดาเนินธุรกิจที่เป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม มุ่ง สร้างสมดุลระหว่างการเติบโตทางธุรกิจ และการพัฒนาของชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้อมไปพร้อมกัน อย่างไรก็ตาม ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียอาจร้องเรียนต่อบริษทั ในกรณี ท่ไี ม่ได้รบั ความเป็ นธรรมจากการปฏิบตั ิของ บริษทั กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือพนักงานของบริษทั โดยติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ หรือเว็บไซต์ของบริษทั ได้

3.

คณะกรรมการบริษทั

คณะกรรมการบริษทั มี 8 ท่าน โดย 3 ท่านเป็ นกรรมการอิสระ และมีตาแหน่งเป็ นกรรมการตรวจสอบของบริษทั ทัง้ นี้ บริษทั มีการแยกอานาจหน้าที่ของประธานกรรมการบริษทั กรรมการผูอ้ านวยการ และกรรมการผูจ้ ดั การออกจาก กันอย่างชัดเจนเพือ่ มิให้ผูใ้ ดผูห้ นึ่งมีอานาจโดยไม่จากัด คณะกรรมการบริษทั มีการประชุม เพื่อพิจารณากิจการทัว่ ไปของบริษทั อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ โดยบริษทั กาหนดการจัดประชุมคณะกรรมการ และส่งหนังสือนัดประชุมซึ่งระบุถึงวาระการประชุมอย่างชัดเจน รวมทัง้ เอกสาร ประกอบการประชุม ให้แก่คณะกรรมการล่วงหน้าก่อนการประชุมโดยทัว่ ไปไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ยกเว้นกรณีเร่งด่วนตาม ข้อบังคับของบริษทั ในปี 2559 กรรมการบริษทั แต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี้ จานวนครัง้ ที่เข้าร่วมประชุมในปี 2559 (มีการประชุมรวมทัง้ สิ้น 6 ครัง้ ) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายชาลี โสภณพนิช นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายเนตร จรัญวาศน์ นายวีรพันธ์ พูลเกษ นายตรีขวัญ บุนนาค นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

4 5 5 5 5 5 5 4

ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ เลขานุ การบริษทั จะเป็ นผูจ้ ดั การประชุม จัดเตรียมระเบียบวาระการ ประชุม และเอกสารเพือ่ ส่งให้แก่คณะกรรมการบริษทั ก่อนการประชุม เป็ นผูบ้ นั ทึกรายงานการประชุมโดยมีรายละเอียด ของสาระสาคัญ และข้อคิดเห็นต่าง ๆ ครบถ้วน และเสร็จสมบูรณ์ภายใน 14 วัน ภายหลังการประชุม รวมทัง้ มีหน้าที่


72

รายงานประจ�ำปี 2559

จัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับการประชุมให้ถูกต้องครบถ้วน นอกจากนั้ น ยังมีหน้าที่ให้คาแนะนาแก่คณะกรรมการบริษทั ใน กฎระเบียบต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับวาระการประชุม คณะกรรมการของบริษทั มีบทบาทสาคัญในเรื่องต่าง ๆ เพือ่ ทาให้บริษทั มีการกากับดูแลกิจการที่ดี ดังต่อไปนี้ ในทุก ๆ ต้นปี คณะกรรมการบริษทั จะมีการประชุม เพื่อพิจารณากาหนดกลยุ ทธ์ และเป้ าหมายการดาเนิน ธุรกิจของบริษทั รวมทัง้ มีการติดตามผลการดาเนินงาน และทบทวนผลการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริหารในช่วงปี ท่ผี ่านมา ว่าเป็ นไปตามเป้ าหมายทีว่ างไว้ในช่วงต้นปี หรือไม่ ผลงานทีไ่ ม่เป็ นไปตามเป้ าหมายจะถูกทบทวน เพือ่ ประโยชน์ในการวาง นโยบาย และการกาหนดเป้ าหมายที่เหมาะสมสาหรับปี ต่อ ๆ ไป 

เพือ่ ให้การทางานเกิดประสิทธิผลมากยิง่ ขึ้น คณะกรรมการบริษทั จะมีการทบทวนผลงาน รวมทัง้ การวิเคราะห์ ปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ ในระหว่างปี ท่ผี ่านมา เพือ่ ให้มขี อ้ มูลที่จะนาไปปรับปรุงการกากับดูแล และการดาเนินการใน เรื่องต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้คณะกรรมการบริษทั ได้ทาการประเมินผลการดาเนินงานของตนเองประจาปี ดว้ ย 

คณะกรรมการบริษทั จะเสนอต่อผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณากาหนดค่าตอบแทนที่บริษทั จ่ายให้แก่คณะกรรมการ บริษทั (ซึ่งได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนแล้ว) เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเสนอ ให้แก่ผูถ้ ือหุน้ ทัง้ นี้ ที่ผ่านมาผูถ้ ือหุน้ ได้พิจารณาอนุ มตั ิค่าตอบแทนกรรมการตามหน้าที่ และความรับผิดชอบของ กรรมการแต่ละท่าน กล่าวคือ ประธานกรรมการจะได้รบั ค่าตอบแทนมากกว่ากรรมการท่านอื่น ๆ และกรรมการที่ มี หน้าที่ และความรับผิดชอบมากขึ้นก็จะได้รบั ค่าตอบแทนเพิ่มขึ้น เช่น กรรมการที่มตี าแหน่งเป็ นกรรมการตรวจสอบจะ ได้รบั ค่าตอบแทนสาหรับหน้าที่ตอ้ งรับผิดชอบเพิม่ เติมด้วย 

บริษทั ได้เปิ ดเผยข้อมูลค่าตอบแทนกรรมการที่บริษทั จ่ายให้แก่กรรมการ และกรรมการตรวจสอบในปี 2559 ไว้ ในหัวข้อ “ค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริหาร” เพื่อให้การบริหารงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรอบคอบ คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารกาหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารในเรื่องของระดับอานาจดาเนินการทางการเงิน ที่สาคัญ ได้แก่ อานาจอนุมตั ิในการซื้อ/เช่าทรัพย์สนิ อานาจอนุมตั ิในการขาย/ให้เช่าทรัพย์สนิ อานาจในการลงนามในสัญญาเงินกู ้ กับสถาบันการเงิน เป็ นต้น โดยได้กาหนดวงเงินที่กรรมการ และผูบ้ ริหารในแต่ละระดับมีอานาจในการอนุ มตั ิไว้อย่าง ชัดเจน และได้แจ้งให้แก่คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานที่เกี่ยวข้องทราบถึง อานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบดังกล่าวแล้ว และทุกฝ่ ายได้มกี ารปฏิบตั ิตามอย่างเคร่งครัด 

คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารติดตามดูแล และรับทราบถึงรายการระหว่างกัน และรายการที่อาจก่อ ให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ โดยได้มีการพิจ ารณาความเหมาะสมของรายการอย่าง รอบคอบ ควบคุมดูแลให้รายการดังกล่าวเกิดขึ้นตามราคาตลาด รวมทัง้ ดู แลให้บริษทั มีการปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ท่ี เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ทัง้ นี้ ในการพิจารณารายการระหว่างกัน กรรมการผูม้ สี ่วนได้เสียจะไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในเรื่อ ง ดังกล่าว 

บริษทั ได้เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกัน ซึ่งมีความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่ อความ เหมาะสมของการทารายการดังกล่าวไว้ในหัวข้อ “รายการระหว่างกัน”


การก�ำกับดูแลกิจการ

73

คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทารายงานความรับผิดชอบต่อการจัดทา และการเปิ ดเผยรายงานทางการเงินของ กิจการ ดังทีแ่ สดงไว้ก่อนรายงานของผูส้ อบบัญชี ทัง้ นี้ เพือ่ แสดงให้เห็นว่ารายงานทางการเงินของบริษทั ครบถ้วน เชื่อถือ ได้ สมเหตุผล และปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชีท่รี บั รองทัว่ ไป และกฎระเบียบต่างๆทีเ่ กี่ยวข้อง โดยใช้นโยบายบัญชีท่ี เหมาะสม และถือปฏิบตั โิ ดยสมา่ เสมอ 

แม้ว่าประธานกรรมการของบริษทั จะเป็ นตัวแทนจากผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ แต่บริษทั ก็มคี ณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูก้ ากับดูแลให้การตัดสินใจอนุมตั กิ ารทารายการใด ๆ ของคณะกรรมการเป็ นไปอย่างถูกต้อง โปร่งใส และเป็ นธรรม ต่อทุก ๆ ฝ่ ายทีเ่ กี่ยวข้อง 

ในปี 2552 คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทานโยบายการกากับดูแลกิจการ ซึ่งได้ประมวลนโยบาย และข้อปฏิบตั ิ หลัก ๆ ที่กรรมการผูบ้ ริหาร และพนักงาน จะยึดถือในการปฏิบตั ิหน้าที่ของตน ตามความรับผิดชอบที่ได้รบั มอบหมาย รวมทัง้ แนวทางการปฏิบตั ิต่อผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียฝ่ ายต่าง ๆ โดยเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั ที่ www.ticon.co.th และได้มกี ารปรับปรุงล่าสุดในปี 2558 

4.

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการตรวจสอบ 3 ท่านที่มคี วามเป็ นอิสระ ถือหุน้ ในบริษทั น้อยกว่าร้อยละ 1 มิได้เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั และมีความรู ค้ วามเข้าใจ รวมทัง้ มีประสบการณ์ดา้ นบัญชี และ/หรือ การเงิน โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่แบ่งเบาภาระหน้าที่ของคณะกรรมการบริษทั ในการดูแลให้บริษทั มีระบบ การกากับดูแลกิจการที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน้าที่ในการให้วสิ ยั ทัศน์ และให้ความเห็นที่ตรงไปตรงมาต่อ รายงานทาง การเงิน และระบบการควบคุมภายในของบริษทั การปฏิ บตั ิตามกฎหมาย กฎเกณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ดูแลให้มกี ารเปิ ดเผยรายงานทางการเงินอย่างครบถ้วน และเป็ นไปตามมาตรฐานและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง ซึ่งส่งผลให้ รายงานทางการเงินมีความน่าเชื่อถือ มีคุณภาพทีด่ ี และมีมลู ค่าเพิม่ ต่อองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีบทบาทสาคัญในเรื่องต่าง ๆ เพื่อทาให้บริษทั มีการกากับดูแลกิจการที่ดี ดังต่อไปนี้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีการประชุมอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ เพื่อกากับดูแล และติดตาม เรื่องต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น โดยมีผูส้ อบบัญชีของบริษทั เข้าร่วมประชุมด้วยทุกครัง้ ในวาระที่มกี ารพิจารณารายงานทาง การเงิน 

ในปี 2559 กรรมการตรวจสอบแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี้ จานวนครัง้ ที่เข้าร่วมประชุมในปี 2559 (มีการประชุมรวมทัง้ สิ้น 5 ครัง้ ) 1. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 2. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 3. นายตรีขวัญ บุนนาค

5 3 5


74

รายงานประจ�ำปี 2559

ในปัจ จุบนั ผูต้ รวจสอบภายในของบริษทั เป็ นผู ด้ ู แลกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผู จ้ ดั ประชุม จัดเตรียมระเบียบวาระการประชุม จัดเตรียมเอกสารต่ าง ๆ ที่เกี่ย วข้อ งในการประชุม ส่ ง วาระการประชุม ให้แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนัน้ ยังมีหน้าที่บนั ทึกรายงานการประชุม ตลอดจนเป็ นผูด้ ู แลจัดเก็บเอกสารการ ประชุมด้วย คณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานกิจกรรมการกากับดูแลกิจการที่ตนรับผิดชอบทัง้ หมดแก่คณะกรรมการ บริษทั ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ซึง่ จัดขึ้นอย่างน้อยทุกไตรมาส และมีนโยบายจะรายงานต่อคณะกรรมการทันที ที่มเี หตุการณ์สาคัญเกิดขึ้น นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได้จดั ทารายงาน เพื่อเสนอต่อผูถ้ ือหุน้ ในรายงาน ประจาปี ดว้ ย 

บริษทั มีการกาหนดหลักเกณฑ์ของกรรมการตรวจสอบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อให้เกิดความชัดเจนในเรื่อง ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ อันเป็ น ประโยชน์ในการเพิม่ ประสิทธิภาพการปฏิบตั ิหน้าทีข่ องกรรมการตรวจสอบ 

5.

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหารของบริษทั ประกอบด้วยสมาชิก 4 ท่าน ซึ่งแต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั เพื่อปฏิบตั ิ หน้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

6.

คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการกาหนดค่ า ตอบแทนของบริษ ทั ประกอบด้ว ยกรรมการ 3 ท่า น ซึ่ง แต่ ง ตัง้ โดยผู ถ้ ือ หุน้ หรือ คณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน มีหน้าที่ดูแลให้บริษทั มีการดาเนินการที่โปร่งใส และเป็ น ธรรม ในการให้ผลตอบแทนต่อกรรมการ และผูบ้ ริหาร รวมทัง้ การจัดหาสวัสดิการทีเ่ หมาะสม และเป็ นธรรมต่อพนักงาน ของบริษทั ในการพิจารณาค่าตอบแทนนัน้ คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนจะพิจารณาจากหลายองค์ประกอบ ได้แก่ การ เปรียบเทียบกับระดับที่ปฏิบตั อิ ยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน ผลประกอบการของบริษทั รวมทัง้ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ในปี 2559 กรรมการกาหนดค่าตอบแทนแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี้ จานวนครัง้ ที่เข้าร่วมประชุมในปี 2559 (มีการประชุมรวมทัง้ สิ้น 1 ครัง้ ) 1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 3. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

1 1


การก�ำกับดูแลกิจการ

7.

75

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ประกอบด้ว ยกรรมการ 4 ท่าน ซึ่ง แต่ ง ตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั โดย คณะกรรมการสรรหา มีห น้า ที่กาหนดหลัก เกณฑ์ และวิธีการในการคัด เลือ กกรรมการ อนุ กรรมการ กรรมการ ผูอ้ านวยการ และกรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใสในการสรรหาผูท้ จ่ี ะมาดารงตาแหน่งดังกล่าว ในปี 2559 กรรมการสรรหาแต่ละท่านมีการเข้าร่วมประชุม ดังนี้ จานวนครัง้ ที่เข้าร่วมประชุมในปี 2559 (มีการประชุมรวมทัง้ สิ้น 1 ครัง้ ) 1. นายชาลี โสภณพนิช 2. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร 3. นายเดวิด เดสมอนด์ แทร์เร้นท์ 4. นายตรีขวัญ บุนนาค

8.

1 1 1

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ประกอบด้วยสมาชิก 4 ท่าน ซึง่ แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั โดย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่พิจารณาประเมินและติดตามความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ และทบทวนแนวทาง และเครื่องมืออย่างสมา่ เสมอ เพื่อใช้ในการบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อการดาเนินธุ รกรรม ด้านต่าง ๆ ของบริษทั ในปี 2559 สมาชิกคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งแต่ละท่านมีการเข้าประชุม ดังนี้ จานวนครัง้ ที่เข้าร่วมประชุมในปี 2559 (มีการประชุมรวมทัง้ สิ้น 1 ครัง้ ) 1. นางสาวลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์ 2. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 3. ดร. สมศักดิ์ ไชยพร 4. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

9.

1 1 1 1

คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริษทั ประกอบด้วยสมาชิก 3 ท่าน ซึ่งแต่งตัง้ โดยคณะกรรมการบริษทั โดยคณะกรรมการก ากับ ดู แ ลกิ จ การที่ดี มีห น้า ที่จ ดั ท านโยบายการก ากับ ดู แ ลกิ จ การที่ดี และให้ค าแนะน าแก่ คณะกรรมการบริษทั ดูแล ทบทวน ติดตามแนวทางการปฏิบตั ิงาน เพื่อให้เป็ น ไปตามของหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้ คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี มีหน้าที่ในการจัดทานโยบาย และแนวปฏิบตั ใิ นการดาเนินงาน ด้านการ บริหารจัดการความยัง่ ยืน (Sustainability Management : SM) ซึ่งให้ความสาคัญในการดู แลสัง คม ชุมชน และ


76

รายงานประจ�ำปี 2559

สิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ จัดทาทบทวน ให้ ข้อเสนอแนะ แนวทางปฏิบตั ิ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานทีเ่ กี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในปี 2559 สมาชิกคณะกรรมการกากับดูแลกิจการทีด่ ีแต่ละท่านมีการเข้าประชุม ดังนี้ จานวนครัง้ ที่เข้าร่วมประชุมในปี 2559 (มีการประชุมรวมทัง้ สิ้น 4 ครัง้ ) 1. นายตรีขวัญ บุนนาค 2. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 3. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์

4 4 4

10. จริยธรรมทางธุรกิจ บริษทั มีแนวทางเกี่ยวกับจริยธรรมธุ รกิจ หรือจรรยาบรรณของบริษทั ที่ระบุอยู่ในคู่มอื บริษทั และนโยบายการ กากับดูแลกิจการ ซึ่งแนวทางดังกล่าวได้รวมถึงแนวทางการเก็บรักษา และป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั เพื่อ ประโยชน์ส่วนตนด้วย

11. ความสัมพันธ์กบั ผูเ้ กีย่ วข้อง บริษทั ได้ให้ความสาคัญกับการเปิ ดเผยข้อมูลของบริษทั ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และในเวลาที่เหมาะสม เนื่องจาก บริษทั ตระหนักดีถึงสถานภาพการเป็ นบริษทั มหาชนจากัด และบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ ผูส้ นใจสามารถติดต่อบุคคลดังต่อไปนี้ ซึง่ เป็ นผูด้ ูแลงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั เพือ่ สอบถามข้อมูลของบริษทั ชื่อ

ตาแหน่ ง

อีเมล

ที่อยู่

ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธรซิต้ ี ทาวเวอร์ 175 ถนนสาทรใต้ ผู อ ้ านวยการอาวุ โ ส นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ samart.r@ticon.co.th แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153

นอกเหนือจากการเปิ ดโอกาสให้นกั วิเคราะห์หลักทรัพย์ นักลงทุน เข้าพบผูบ้ ริหารของบริษทั เพื่อสอบถามผลการ ดาเนินงาน และเข้าเยี่ยมชมโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั รวมทัง้ การจัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ พร้อมกับการจัด แถลงข่าวแก่ส่อื มวลชน เพื่อชี้แจงผลประกอบการและภาพรวมธุรกิจแล้ว บริษทั ได้เข้าร่วมกิจกรรมบริษทั จดทะเบียนพบ ผูล้ งทุน (Opportunity day) ซึง่ จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็ นประจาทุกไตรมาส และกิจกรรมพบปะนัก ลงทุน/นักวิเคราะห์ท่จี ดั โดยบริษทั หลัก ทรัพย์ เพื่อเป็ นการส่งเสริมการให้ขอ้ มูล และสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่าง ผู บ้ ริห ารและนัก ลงทุน และเพื่อ ให้มีค วามเข้า ใจในธุ ร กิจ ของบริษ ทั มากขึ้น นอกจากนั้น บริษทั ยัง มีก ารเดิน ทาง ไปต่างประเทศเพือ่ ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนทีม่ ไิ ด้อยู่ในประเทศไทยด้วย


การก�ำกับดูแลกิจการ

77

ในปี 2559 บริษทั ได้จดั ให้มกี ารนาเสนอข้อมูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ นักลงทุนสถาบัน นักลงทุนรายย่อย และ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ดังนี้ กิจกรรมการนาเสนอข้อมูล

จานวนครัง้

บริษทั จดทะเบียนพบผูล้ งทุน นักลงทุนพบผูบ้ ริหารของบริษทั ประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และจัดแถลงข่าวแก่สอ่ื มวลชน ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนในประเทศ ให้ขอ้ มูลแก่นกั ลงทุนต่างประเทศ นักลงทุนเยีย่ มชมโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั

3 19 2 5 3 1

12. การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั มีนโยบาย และวิธีการดูแลผูบ้ ริหารในการนาข้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ ให้ความรูแ้ ก่กรรมการ และผูบ้ ริหาร เกี่ยวกับหน้าทีท่ ต่ี อ้ งรายงานการถือหลักทรัพย์ และการเปลีย่ นแปลงการ ถือหลักทรัพย์ของบริษทั ตามมาตรา 59 แห่ง พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และบทกาหนดโทษตาม พรบ. ดังกล่าว 

บริษทั ได้แจ้งให้ผูบ้ ริหารทราบว่าหากบุคลากรที่ได้รบั ทราบข้อมูลภายในที่เป็ นสาระสาคัญอันจะมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ ต้องระงับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษทั อย่างน้อย 15 วัน ก่อนที่ขอ้ มูลภายในนัน้ จะ เปิ ดเผยต่อสาธารณชน และจะต้องไม่เปิ ดเผยข้อมูลที่เป็ นสาระสาคัญนัน้ ต่อบุคคลอื่น โดยผูฝ้ ่ าฝื นอาจได้รบั โทษตาม กฎหมาย 

บริษทั จะชี้แจงต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนผ่านทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในทันที ในกรณีท่มี ขี ่าวสาร ใด ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็ นจริงและไม่เป็ นจริงรัว่ ไหลออกสู่สาธารณชน ทัง้ นี้ เพื่อไม่ให้เกิดความไม่เป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุน ทัว่ ไป 

13. การสนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ คณะกรรมการบริษทั ยึดมัน่ ในการด าเนิ นธุ รกิจ ด้ว ยความโปร่ ง ใส โดยอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย หลัก จริยธรรม และแนวทางการกากับดูแลกิจการที่ดี รวมทัง้ สนับสนุนการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และตระหนักดีว่าการ ทุจริตคอร์รปั ชัน่ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมัน่ คงของประเทศ โดยมีนโยบายในการ สนับสนุนการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ดังนี้ 1. บริษทั ต้องสนับสนุ นการสร้างจิตสานึก ค่านิยม ทัศนคติให้แก่บคุ ลากรในการปฏิบตั ิงานอย่างซือ่ สัตย์ โปร่งใส เที่ยงตรง เคารพกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ สนับสนุ นการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ให้เป็ นวัฒนธรรมองค์กร รวมทัง้ บริหารงานตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี


78

รายงานประจ�ำปี 2559

2. บุคลากรต้องไม่กระทาการใด ๆ อันเป็ นการเรียกร้อง หรือรับทรัพย์สนิ หรือผลประโยชน์อ่นื ใดจากบุคคลอื่น ทีม่ หี น้าที่ หรือธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับบริษทั เว้นแต่ในโอกาส หรือเทศกาลอันเป็ นประเพณีนิยม และทรัพย์สนิ นัน้ ต้องไม่ใช่ สิง่ ผิดกฎหมาย รวมทัง้ ไม่อาศัยตาแหน่งหน้าที่หรือแสวงหาผลประโยชน์เพือ่ ตนเอง และ/หรือผูอ้ ่นื โดยมิชอบ 3. บริษทั ต้องจัดให้มกี ระบวนการตรวจสอบระบบขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน รวมถึงการประเมินความเสีย่ งต่อการ เกิดคอร์รปั ชัน่ และบริหารจัดการให้มวี ธิ กี ารแก้ไขทีเ่ หมาะสม 4. บริษทั ต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม รวมทัง้ พัฒนาระบบและกลไกในการ ตรวจสอบ ควบคุม และถ่วงดุลการใช้อานาจให้เหมาะสม ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ เพื่อป้ องกัน และมิให้มกี ารทุจริต หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รปั ชัน่ 5. บริษทั ต้องจัดให้มกี ารสื่อสาร และฝึ กอบรมแก่บคุ ลากรของบริษทั เพื่อให้เกิ ดความรูค้ วามเข้าใจอย่างแท้จริง เกี่ยวกับมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ 6. บริษทั ต้องจัดให้มีช่อ งทางในการรับเรื่องร้องเรียน หรือแจ้ง เบาะแสอันควรสงสัย โดยมีนโยบายในการ คุม้ ครองผูใ้ ห้ขอ้ มูล หรือเบาะแส และจะเก็บรักษาข้อมูลของผูใ้ ห้ขอ้ มูลเป็ นความลับ รวมทัง้ มีมาตรการในการตรวจสอบ และกาหนดบทลงโทษตามกฎระเบียบทีเ่ กี่ยวข้อง 7. บริษทั ควรสนับสนุ นกิจกรรมต่าง ๆ ที่จดั ขึ้นโดยหน่ วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการป้ องกัน และสนับสนุนการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ บริษทั ได้เข้าลงนามในคาประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบตั ิ (Collective Active Coalition) ของภาคเอกชน ไทยในการต่ อ ต้า นการทุจ ริต เมื่อ ไตรมาส 1 ปี 2558 ปัจ จุบนั อยู่ระหว่ างการปรับปรุ ง นโยบายและแผนการกากับ ปฏิบตั งิ านในเรื่องดังกล่าว เพือ่ ขอรับการรับรองจากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิในการต่อต้านทุจริตในภาคเอกชนไทย ต่อไป

14. นโยบายการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน่ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรของบริษทั ดาเนินธุรกิจอย่างถูกต้อง โปร่งใส ยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได้ โดย สอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี มาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดาเนินธุรกิจของบริษทั โดย บริษทั คาดหวังให้ทุกคนรายงานโดยสุจริตถึงการปฏิบตั ิท่ขี ดั หรือสงสัยว่าจะขัดต่อเรื่องดังกล่าวให้บริษทั รับทราบ ซึ่ง บริษทั จะได้ปรับปรุงแก้ไข หรือดาเนินการให้เกิดความถูกต้อง เหมาะสม โปร่งใส ยุติธรรม และเป็ นไปตามกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทม่ี กี ารให้ความคุม้ ครองผูใ้ ห้ขอ้ มูลโดยสุจริตแก่ฝ่ายงานกากับดูแลด้วย 2. เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าผูบ้ งั คับบัญชา และฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ของบริษทั ทาหน้าทีด่ ูแล และให้คาแนะนา ตลอดจน สอดส่องการกระทาต่าง ๆ ของบุคลากรของบริษทั ให้เป็ นไปโดยถูกต้อง และผูแ้ จ้งเรื่องดังกล่าวจะได้รบั ความคุม้ ครอง หากเป็ นการกระทาด้วยความสุจริตใจ


การก�ำกับดูแลกิจการ

79

ขอบเขตการแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน่ 1. เมือ่ มีขอ้ สงสัย หรือพบเห็นการกระทาทีฝ่ ่ าฝื นหลักปฎิบตั ิทด่ี ี ในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 การฝ่ าฝื นการปฏิบตั ติ ามหลักการ และแนวปฏิบตั ขิ องนโยบายการกากับดูแลกิจการทีด่ ี 1.2 การฝ่ าฝื นกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของบริษทั 1.3 การได้รบั ความไม่เป็ นธรรมในการปฏิบตั งิ าน 1.4 การกระทาทุจริต 2. พบการกระทาทีท่ าให้เกิดความสงสัย และเกิดผลเสียต่อบริษทั ช่องทางในการแจ้งเบาะแส หรือร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ของผูม้ ีสว่ นได้เสียทุกกลุ่ม 1. ไปรษณีย ์ นาส่งที่ คณะกรรมการบริษทั หรือ คณะกรรมการตรวจสอบ หรือ เลขานุ การบริษทั หรือ ฝ่ ายทรัพยากร มนุ ษย์ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) ห้อง 1308 ชัน้ 13/1 อาคารสาธรซิต้ ที าวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 2. โทรศัพท์ : (662) 679-6565 โทรสาร : (662) 287-3153 3. อีเมล คณะกรรมการบริษทั

: whistleblowing.director@ticon.co.th

คณะกรรมการตรวจสอบ

: whistleblowing.ac@ticon.co.th

เลขานุ การบริษทั

: whistleblowing.secretary@ticon.co.th

ฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์

: whistleblowing.hr@ticon.co.th

4. เว็บไซต์ : www.ticon.co.th/th/ir


80

รายงานประจ�ำปี 2559

กระบวนการในการจัดการกับเรื่องที่มีการร้องเรียน 1. การลงทะเบียน และส่งเรื่อง 1.1 ผูป้ ระสานงานเรื่องร้องเรียน ลงทะเบียนรับเรื่องร้องเรียน และกาหนดวันแจ้งความคืบหน้าของเรื่องที่ ร้องเรียนแก่ผูร้ อ้ งเรียน ดังนี้ • กรณีทม่ี ผี ลกระทบต่อชื่อเสียงของบริษทั อย่างร้ายแรง ให้ดาเนินการโดยด่วนทีส่ ุด • กรณีอ่นื ให้ดาเนินการโดยเร็ว • กรณี ท่ีเ ป็ น การสอบถามทัว่ ไป เช่ น ค าถามเกี่ ย วกับ ราคาหุ น้ การจ่ า ยเงิน ปัน ผล จะไม่ มีก าร ลงทะเบียนรับเรื่อง แต่จะส่งเรื่องให้กบั ฝ่ ายงานทีร่ บั ผิดชอบเรื่องนัน้ ๆ โดยตรง เพือ่ ตอบข้อซักถามแก่ผูส้ อบถาม 1.2 ผูป้ ระสานงานเรื่องร้องเรียน ลงบันทึกข้อมูลจากผูร้ อ้ งเรียน ดังนี้ • ชื่อผูร้ อ้ งเรียน ยกเว้นกรณีทไ่ี ม่ได้ระบุช่อื • วันทีร่ อ้ งเรียน • ชื่อบุคคล หรือเหตุการณ์ทร่ี อ้ งเรียน • ข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องอื่น ๆ 1.3 เมือ่ ลงทะเบียนรับเรื่องร้องเรียนแล้ว ให้กาหนดขัน้ ความลับตามเนื้อหาของเรื่อง (ยกเว้นกรณีท่เี ป็ นการ สอบถามทัว่ ไป) และดาเนินการดังนี้ • ส่งให้ผูด้ ูแลเรื่องร้องเรียนดาเนินการหาข้อเท็จจริง และสัง่ การตามอานาจหน้าทีท่ ่มี ี • ส่งสาเนาเรื่องให้ฝ่ายทรัพยากรมนุ ษย์ทราบเบื้องต้น เพื่อเตรียมให้คาแนะนาการดาเนินการด้าน ระเบียบวินยั หรืออื่น ๆ • ส่งสาเนาเรื่องให้กรรมการผูจ้ ดั การ และคณะกรรมการตรวจสอบทราบเรื่อง 2. การรวบรวมข้อเท็จจริง และสัง่ การ 2.1 ผูด้ ู แลเรื่องร้องเรียน ดาเนินการหาข้อเท็จจริง และให้ขอ้ แนะนาผูท้ ่เี กี่ยวข้องให้มีการประพฤติ หรือ ปฏิบตั ิท่เี หมาะสมต่อไปหากต้องมีการลงโทษทางวินยั สัง่ ลงโทษโดยปรึกษากับฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ เพื่อให้การลงโทษ เป็ นไปตามมาตรการลงโทษ และหากผูด้ ูแลเรื่องร้องเรียนไม่มอี านาจสัง่ ลงโทษ ให้เสนอเป็ นลาดับชัน้ ไปจนถึงผูม้ อี านาจ แล้วแต่กรณี และให้ส่งผลการหาข้อเท็จจริง การดาเนินการ และการสัง่ ลงโทษแล้วแต่กรณีไปให้กรรมการผูจ้ ดั การ โดย ผ่านผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับชัน้ เพือ่ ทราบ หรือพิจารณาสัง่ การ 2.2 กรณี เป็ นเรื่องร้องเรียนจากผูไ้ ม่ระบุช่ือ และไม่สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้เพียงพอ ให้ผูด้ ู แลเรื่อง ร้องเรียนส่งรายงานผลการตรวจสอบข้อมูล และความเห็นเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนนัน้ ไปที่กรรมการผูจ้ ดั การ โดยผ่าน ผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับชัน้ เพื่อขอแนวทางการดาเนินการที่เหมาะสมต่อไป หากกรรมการผูจ้ ดั การเห็นว่า ไม่สามารถ


การก�ำกับดูแลกิจการ

81

ดาเนินการตามข้อร้องเรียนได้ ข้อร้องเรียนนัน้ จะถูกปิ ดเรื่องไป และให้ผูด้ ูแลเรื่องร้องเรียนส่งสาเนาให้ผูป้ ระสานงาน เรื่องร้องเรียนทราบ เพือ่ รายงานแก่คณะกรรมการตรวจสอบ 2.3 หากผูด้ ูแลเรื่องร้องเรียนตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วพบว่า ผูถ้ กู ร้องเรียนไม่มคี วามผิด หรือเป็ นเรื่องทีเ่ กิด จากความเข้าใจผิด หรือได้ให้ขอ้ แนะนาแก่ผูถ้ ูกร้องเรียน หรือผูท้ เ่ี กี่ยวข้องให้มกี ารประพฤติ หรือปฏิบตั ิทเ่ี หมาะสมแล้ว และพิจารณาเห็นว่า ควรให้ปิดเรื่องโดยไม่มกี ารลงโทษใด ๆ ให้ผูด้ ูแลเรื่องร้องเรียนเสนอเรื่องดังกล่าวแก่ผูบ้ งั คับบัญชา ลาดับเหนือขึ้นไป เพื่อขออนุ มตั ิปิดเรื่อง และสาเนาเรื่องให้ผูป้ ระสานงานเรื่องร้องเรียน เพื่อแจ้งแก่ผูร้ อ้ งเรียนทราบ จากนัน้ รายงานแก่กรรมการผูจ้ ดั การ และคณะกรรมการตรวจสอบต่อไป 3. การสอบสวนข้อเท็จจริง 3.1 ในกรณี ท่ผี ูด้ ูแลเรื่องร้องเรียน และฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ เห็นว่าจะต้องมีการลงโทษทางวินยั ให้ฝ่าย ทรัพยากรมนุษย์เสนอเรื่องต่อกรรมการผูจ้ ดั การ สอบสวนข้อเท็จจริงต่อไป 3.2 เมือ่ มีผลสัง่ การของกรรมการผูจ้ ดั การแล้ว ให้แจ้งผลให้ผูด้ ูแลเรื่องร้องเรียนทราบ เพือ่ ดาเนินการตาม ขัน้ ตอนต่อไป 4. การแจ้งผลสรุปต่อผูร้ อ้ งเรียน และการปรับปรุงแก้ไข 4.1 ผูด้ ูแลเรื่องร้องเรียน ดาเนินการตามคาสัง่ ของกรรมการผูจ้ ดั การ ให้ขอ้ แนะนาให้มกี ารประพฤติ หรือ ปฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสมต่อไป แล้วแจ้งผลการดาเนินการให้ผูป้ ระสานงานเรื่องร้องเรียนทราบด้วย 4.2 ผูป้ ระสานงานเรื่องร้อ งเรียน แจ้งผลการดาเนิ นการให้กบั ผู ร้ อ้ งเรียนทราบ และบันทึกผลของการ ดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนไว้ โดยนาเสนอคณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็ นรายไตรมาส 4.3 ผูป้ ระสานงานเรื่องร้องเรียน ติดตามผลการปรับปรุงแก้ไข (ถ้ามี) และรายงานให้กรรมการผูจ้ ดั การ และ คณะกรรมการตรวจสอบทราบ การร้องเรียนโดยไม่สุจริต หากการแจ้งเบาะแส ข้อร้องเรียน ให้ถอ้ ยคา หรือให้ขอ้ มูลใด ๆ ที่พิสูจน์ได้ว่าเป็ นการกระทาโดยไม่สุจริต กรณีเป็ นบุคลากรของบริษทั จะได้รบั การลงโทษทางวินยั แต่หากเป็ นบุคคลภายนอกที่เป็ นผูก้ ระทาให้บริษทั ได้รบั ความ เสียหาย ทางบริษทั จะดาเนินคดีกบั บุคคลนัน้ ต่อไป มาตรการคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแส หรือผูร้ อ้ งเรียน 1. บริษทั จะเก็บข้อมูล และตัวตนของผูแ้ จ้งเบาะแส ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูถ้ กู ร้องเรียน เป็ นความลับ 2. บริษทั จะเปิ ดเผยข้อ มูล เท่ า ที่จ าเป็ น โดยคานึ ง ถึง ความปลอดภัย และความเสีย หายของผู ร้ ายงาน แหล่งทีม่ าของข้อมูล หรือบุคคลทีเ่ กี่ยวข้อง 3. ผูท้ ไ่ี ด้รบั ความเสียหายจะได้รบั การบรรเทาความเสียหายด้วยกระบวนการที่เหมาะสม และเป็ นธรรม


82

รายงานประจ�ำปี 2559

4. กรณี ท่ีผูร้ อ้ งเรียน หรือ ผูท้ ่ีให้ความร่ วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จ จริง เห็นว่ าตนอาจได้รบั ความไม่ ปลอดภัย หรืออาจเกิดความเดือดร้อนเสียหาย ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูใ้ ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง สามารถ ร้องขอให้บริษทั กาหนดมาตรการคุม้ ครองทีเ่ หมาะสมก็ได้ หรือบริษทั อาจกาหนดมาตรการคุ ม้ ครองโดยผูร้ อ้ งเรียนหรือผู ้ ทีใ่ ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงไม่ตอ้ งร้องขอก็ได้ หากเห็นว่าเป็ นเรื่องที่มแี นวโน้มที่จะเกิดความเดือดร้อน เสียหาย หรือความไม่ปลอดภัย 5. บริษทั จะไม่กระทาการใดอันไม่เป็ นธรรมต่อผูแ้ จ้งเบาะแส หรือผูร้ อ้ งเรียน ไม่ว่าจะโดยการเปลี่ยนแปลง ตาแหน่ งงาน ลักษณะงาน สถานที่ทางาน สัง่ พักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบตั ิงาน เลิกจ้าง หรือกระทาการอื่นใดที่มี ลักษณะเป็ นการปฏิบตั อิ ย่างไม่เป็ นธรรมต่อผูแ้ จ้งเบาะแส ผูร้ อ้ งเรียน หรือผูใ้ ห้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง บทลงโทษเมื่อไม่ปฏิบตั ติ ามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ นโยบาย และมาตรการต่ อ ต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ถือเป็ นส่ว นหนึ่ ง ของวินยั ในการปฏิบตั ิง าน กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานที่ไม่ปฏิบตั ิตามย่อมถูกสอบสวน และพิจารณาโทษทางวินยั ตามระเบียบข้อบังคับของบริษทั พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจากัด พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องต่อไป

2.

การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจก

บริษทั มีความใส่ใจเป็ นอย่างยิง่ ต่อความเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะความเปลีย่ นแปลงในชัน้ บรรยากาศโลกอันเป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งได้ส่งผลให้ อุณหภูมิบนพื้นผิวโลกเพิ่มสู งขึ้นทุกปี ในปี 2558 บริษทั ได้มอบหมายให้ผูเ้ ชี่ยวชาญทาการวิจยั หาปริมาณก๊าซเรือน กระจกที่กิจการได้ปล่อยออกสู่ชนั้ บรรยากาศโลกเพื่อ ศึกษาหาแนวทางในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซดังกล่าวในปี ต่อ ๆไป ผลการวิจยั ดัง กล่าวปรากฏอยู่ในรายงานสรุ ปผลการปล่อยและดู ดกลับก๊าซเรือนกระจกของบริษทั โดยมี รายละเอียดดังนี้ รายงานสรุปผลการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกขององค์กร บริษทั ไทคอน อินดัสเตรียล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) เป็ นบริษทั ที่ประกอบธุ รกิจก่อสร้างโรงงานและ คลังสินค้าสาเร็จรูปเพื่อวัตถุประสงค์ในการเช่า โดยมีการจัดตัง้ บริษทั เมือ่ ปี พ .ศ.2533 และในปัจจุบนั มีท่ตี งั้ กระจายอยู่ ตามแหล่งนิคมอุตสาหกรรมและเขตพื้นที่สาคัญทางเศรษฐกิจ จานวน 17 แห่ง และมีหลากหลายขนาดเพื่อตอบสนอง ความต้องการอย่างเต็มทีข่ องลูกค้า ทางบริษทั ให้ความสาคัญทัง้ ด้านคุณภาพ การบริการ ความปลอดภัยในการทางาน ด้านสิง่ แวดล้อมได้ดาเนิน กิจกรรมลดการใช้พลังงานและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อรองรับการพัฒนาและ การขยายตัวของธุ รกิจ จาก ภาวะสภาพภูมิอ ากาศเปลี่ยนแปลงและโลกร้อ นซึ่ง ทวีค วามรุ นแรงมากขึ้นในปัจ จุบนั ทางบริษทั ฯได้ต ระหนักถึง ความสาคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นจากผลกระทบของภาวะสภาพภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลงและโลกร้อน ทาให้บริษทั ฯ ตื่นตัว ในการดาเนินงาน เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การจัดทาคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร (Carbon Footprint for Organization : CFO หรือ Corporate Carbon Footprint: CCF) เป็ นวิธีการประเภทหนึ่งในการแสดงข้อมูลปริมาณ


การก�ำกับดูแลกิจการ

83

ก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากการ ดาเนินงานขององค์กร อันจะนาไปสู่การกาหนดแนวทางการบริหารจัดการเพื่อลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อกาหนดแนวทางและหลักเกณฑ์การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรสาหรับ ใช้เป็ นเครื่องมือใน การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการ ดาเนินกิจกรรมต่างๆ ในการผลิตขององค์กร และเป็ นการช่วย เสริมสร้างศักยภาพให้กบั องค์กร สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก และเป็ นการเตรียมความพร้อมหากภาครัฐจาเป็ นต้องมี รายงานปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas Reporting) ขององค์กร การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ องค์กรของบริษทั ฯมีวตั ถุประสงค์ในการดาเนินการให้สอดคล้อง “แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน), 2556)” ใน scope 1 และ scope 2 ซึ่งพิจารณาขอบเขตของ องค์กร (Organization boundary) ในลักษณะควบคุม (Operation control) และ กาหนดค่าของความคลาดเคลือ่ นที่ สามารถยอมรับได้ท่ี 5 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร ยังมีการใช้มาตรฐานทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับในระดับระหว่าง ประเทศ คือ ISO14064-1 (2006) และ The GHG Protocol (WRI/WBCSD) ขอบเขตการดาเนิ นงาน (Operational Boundary) Operational Boundary แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากขอบเขตการดาเนิ นงานประเภทที่ 1 - การเผาไหม้อยู่กบั ที่ (Stationary Combustion) o การใช้นา้ มันเชื้อเพลิงในเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าและอุปกรณ์ท่ใี ช้ในพื้นทีก่ ่อสร้าง (ระบบ เบิกจ่ายทาง บัญชี) - การเผาไหม้ทม่ี กี ารเคลือ่ นที่ (Mobile Combustion) o รถยนต์และยานพาหนะอื่นๆ (ระบบ Fleet card)

o รถยนต์และยานพาหนะอื่นๆ (ระบบ เบิกจ่ายทางบัญชี) - การรัว่ ไหล (Fugitive Emission) : ไม่มี - กระบวนการและปฏิกริ ิยา (Process Emission) : ไม่มี แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากขอบเขตการดาเนิ นงานประเภทที่ 2 - ปริมาณไฟฟ้ าทีใ่ ช้ในสานักงานใหญ่ - ปริมาณไฟฟ้ าทีใ่ ช้ในพื้นที่ก่อสร้างและระบบบริหารงานส่วนกลางในแต่ละพื้นที่ แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากขอบเขตการดาเนิ นงานประเภทที่ 3 - ปริมาณไฟฟ้ าทีใ่ ช้ในพื้นที่ก่อสร้างในแต่ละพื้นที่ ทีไ่ ด้มกี ารคิดค่าใช้จ่ายจากผูร้ บั เหมาหรือผูเ้ ช่า - ปริมาณการใช้กระดาษ โดยพิจารณาเฉพาะกระดาษขาวเท่านัน้ - ปริมาณการใช้นา้ โดยพิจารณาเฉพาะทีส่ านักงานใหญ่เท่านัน้


84

รายงานประจ�ำปี 2559

(เนื่องจากว่าปริมาณการใช้นา้ ในพื้นทีก่ ่อสร้างจะเป็ นส่วนทีจ่ ดั หามาเองโดยผูร้ บั เหมา โดยไม่สามารถประเมินหา แหล่งทีม่ าของนา้ ได้) แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ไม่ได้รวมเข้ามาในขอบเขต พร้อมเหตุผล - การเผาไหม้อยู่กบั ที่ (Stationary Combustion) : การใช้นา้ มันเชื้อเพลิงในเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าและอุปกรณ์ ดับเพลิงของสานักงานใหญ่ (นา้ มันดีเซล) เนื่องจากทางองค์กรไม่สามารถควบคุมการดาเนินการของตัวอุปกรณ์ได้โดยตรงและในกรณีหากมีค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึ้นจาก การใช้งานของอุปกรณ์กจ็ ะไม่ได้พจิ ารณาเป็ นค่าใช้จ่ายโดยตรงขององค์กร - การรัว่ ไหล (Fugitive Emission) : การใช้สารทาความเย็น (Refrigerants) ของสานักงานใหญ่ เนื่องจากทางองค์กรไม่สามารถควบคุมการดาเนินการของตัวอุปกรณ์ทาความเย็นส่วนกลางได้โดยตรงและในกรณีหากมี ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการใช้งานของอุปกรณ์ก็จะไม่ได้พิจารณาเป็ นค่าใช้จ่ายโดยตรงขององค์กร โดยที่ทางองค์กรจะ รับผิดชอบเพียงปริมาณไฟฟ้ าที่ใช้ในอุปกรณ์ทาความทาเย็น (AHU) ประจาชัน้ เท่านัน้ (ซึ่ง รวมไว้เป็ นปริมาณไฟฟ้ า สาหรับสานักงานใหญ่ ใน Scope2) อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ.2557 ฝ่ ายอาคารได้ยนื ยันว่าไม่มกี ารบารุงรักษาที่ตอ้ งมีการ เพิ่มปริมาณของสารทาความเย็นเข้าสู่ระบบทาความเย็นส่วนกลาง ส่วนเครื่องทาความเย็นแบบแยกส่วน (Split type) ที่ ใช้ในห้องควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ มีการใช้นา้ ยาทาความเย็นประเภท R-22 ซึง่ ไม่อยู่ในขอบข่ายการรายงาน - การรัว่ ไหล (Fugitive Emission) : ระบบบาบัดนา้ เสียและการกาจัดกากตะกอน (สานักงานใหญ่) เนื่องจาก ทางองค์กรไม่สามารถควบคุมการดาเนินการของระบบบาบัดนา้ เสียได้โดยตรงและกระบวนการบาบัดที่ใช้เป็ นแบบใช้ อากาศ (Activated Sludge) และการกาจัดตะกอนจะมีการนาไปกาจัดภายนอกเป็ นประจา ผลการตรวจติดตาม Result of monitoring Scope

Details

Diesel (Stationary Combustion) Diesel (Mobile Combustion) Scope 1 Gasoline (Mobile Combustion) Total Electricity (Own Consumption) Scope 2 Total Electricity (Client Consumption) Tap Water (H/O Usage) Scope 3 Paper Usage (Stencil,Wax) Paper Usage (Writing, Printing) Total

Emission (tCO2e) 286.47 644.65 190.90 1,122.02 2,068.78 2,068.78 2,857.25 2.79 0.22 5.77 2,866.03

Proportion (internal scope) 26% 57% 17% 100% 100% 100% 100% 0% 0% 0% 100%

Proportion (Scope 1 + 2 ) 9% 20% 6% 35% 65% 65% 90% 0% 0% 0% 90%


85

การก�ำกับดูแลกิจการ

จากผลการตรวจติดตามจะเห็นได้ว่า แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีม่ สี ดั ส่วนจากมากไปน้อยดังนี้ 1.การใช้ไฟฟ้ าภายในองค์กร 2.การใช้นามันเชื้อเพลิงสาหรับการเดินทางด้วยยานพาหนะ 3.การใช้นา้ มันในอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าและปัมน ๊ า้ ดังนัน้ การจัดการและการทาโครงการเพือ่ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงควรมุง่ เน้นไปในหัวข้อสาคัญเหล่านี้ การพิจารณาผลการตรวจติดตามขององค์กร เทียบกับ องค์กรอื่นในประเทศไทยทีม่ กี ารรายงานและแสดงค่าสู่ สาธารณะผ่านระบบของ CDP (Carbon Disclosure Project) สามารถสรุปได้ดงั ตารางข้างล่างนี้ Organization PTT EP PTT GC CPF BANPU TRUE PTT KBANK RATCH BBL TICON

CDP-2015 GHG Emission per FTE per Revenue Score (tCO2e) (tCO2e/person) (tCO2e/M THB) 100A 5,126,229 1,980 19.69 100A7,456,926 1,359 12.86 92C 886,907 14 2.02 91C Non disclosure 88C 262,262 20 2.23 87C 34,182,568 8,054 11.92 84D 75,397 3 0.33 56E 6,515,490 1,278 110.34 47 Not yet calculation 3,191 21 0.52

per Net Profit (tCO2e/M THB) 238.54 495.94 83.97 184.01 612.65 1.63 1,037.66 4.19

Reference: https://www.cdp.net/CDPResults/CDP-HK-SE-climate-change-report-2015.pdf ด้วยในขณะนี้ทางภาครัฐยังไม่มกี ฎหมายออกมาบังคับให้มกี ารรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของทุกองค์กร ข้อมูลทีไ่ ด้จึงยังคงเป็ นข้อมูลขององค์กรทีม่ คี วามสมัครใจและรายงานอยู่ในระบบของต่างประเทศ ซึง่ ในที่น้ ีทางทีป่ รึกษา ได้พจิ ารณานาข้อมูลทีม่ จี ากระบบของ CDP ที่เป็ นที่ยอมรับกันในระดับสากลเพือ่ ใช้ในการประเมิน โดยจากการประเมิน เบื้องต้นของทางที่ปรึกษา คาดการณ์ว่า ถ้ามีการนาส่งข้อมูลและการดาเนินงานของTICONเพื่อจัดอันดับกับทาง CDP คะแนนที่ได้น่าจะอยู่ในช่วง 50 – 75 และเกรดที่ได้คือ E – D ซึ่งยังคงค่อนข้างตา่ แต่ถอื ว่าดีสาหรับ องค์กรที่พ่งึ ได้เริ่ม ดาเนินการในปี แรก ซึง่ จะสามารถพัฒนาต่อยอดให้สามารถเพิม่ คะแนนและเกรดดังจะสรุปในส่วนถัดไป เมือ่ เปรียบเทียบจากปริมาณของก๊าซเรือนกระจกที่องค์กรได้ปล่อยในปี 2014 เทียบกับองค์กรอื่นๆ จะเห็นได้ว่ามี ความแตกต่างกันค่อนข้างสูง เนื่องจาก TICON เองเป็ นองค์กรที่ไม่มกี ระบวนการผลิตที่จาเป็ นต้องใช้พลังงาน ซึ่งจะมี ความคล้ายคลึงกับ TRUE และ KBANK ซึ่งจะเป็ นลักษณะองค์กรที่ใช้การจัดการและบริหารงานผ่านสานักงาน โดย เมือ่ เปรียบเทียบปริมาณการปล่อยกาซเรือนกระจกต่อจานวนพนักงานประจา จะพบว่า มีความสอดคล้องและใกล้เคี ยง


86

รายงานประจ�ำปี 2559

กับองค์กรทีม่ กี ารใช้พนักงานค่อนข้างมาก นัน่ คือ CPF และ TRUE แต่เมือ่ เทียบกับองค์กรที่มพี นักงานจานวนมากอย่าง KBANK จะเห็นได้ว่าจะมีค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเฉลีย่ ต่อ FTE ทีต่ า่ กว่า TICON มากเช่นกัน โดยหากทางองค์กร พิจารณาปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทียบกับองค์กรอื่น ในสัดส่วนต่อรายได้หรือผล กาไรจะเห็นได้ว่า ปริมาณการปล่อยของ TICON อยู่ในช่วงที่ค่อนข้างดี คือ สามารถสร้างรายได้หรือผลกาไรจากการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปริมาณทีน่ อ้ ย แต่อาจจะน้อยกว่าทาง KBANK แนวทางในการจัดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสาหรับ TICON ในอนาคต 1.

2. 3. 4. 5.

6. 7.

จัดตัง้ คณะทางานที่มหี น้าที่รบั ผิดชอบโดยตรงในส่วนของการบริการจัดการก๊าซเรือนกระจกขององค์กร โดยต้องมีผูบ้ ริหารระดับสู งเป็ นหัวหน้าคณะทางาน และมีการรายงานสรุปผลการดาเนินงานและออก แนวนโยบายเป็ นประจา โดยต้องมีการกาหนดเป้ าหมายขององค์กรทัง้ ในระยะยาวและระยะสัน้ เพื่อวัดผล ของการดาเนินงาน เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บข้อมูล เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลที่มคี วามน่าเชื่อถือเพียงพอในการประเมินปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร เนื่องจากปัจจุบนั ข้อมูลบางตัวยังคงใช้สมมติฐานประกอบการประเมิน จัดทาการตรวจทวนสอบปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากองค์กรภายนอกเพือ่ ยืนยันความถูกต้อง เหมาะสมของข้อมูลทีใ่ ช้และผลของการประเมิน นาผลการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกไปรายงานสู่สาธารณะและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อให้ได้รบั ทราบข้อมูล จัดทาโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในขอบเขตขององค์กร โดยให้พนักงานมีส่วนร่วมและ ร่วมดาเนินการโครงการ เช่น การรณรงค์ใช้พลังงานให้มปี ระสิทธิภาพสูงที่สุด ซึง่ จะเป็ นผลโดยตรงต่อ การลดค่าใช้จ่ายขององค์กรด้วย ร่วมผลักดันโครงการและมีแนวนโยบายการจัดซื้อสีเขียวออกสู่ผูใ้ ห้บริการ, ผูร้ บั บริการและผูม้ สี ่วนได้ ส่วนเสียกับองค์กรเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั ่ ยืน ให้ความร่วมมือกับองค์กรของรัฐในการจัดการข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก หรือ ร่วมเข้าโครงการ เพือ่ รับรูข้ อ้ มูลข่าวสารและประเมินผลกระทบในอนาคตทีอ่ าจจะเกิดขึ้นกับองค์กร

แนวนโยบายของการจัดการการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่อาจจะมีผลกระทบต่อการดาเนิ นงานขององค์กร การกาหนดให้มกี ารรายงานค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร ต่อหน่วยงานรัฐ ลูกค้า หรือ ผูร้ บั บริการ ซึ่ง ปัจจุบนั เริ่มมีการขยายตัวมากในกลุ่มองค์กรที่มกี ารผลิตสินค้า โดยถือเป็ นหนึ่งปัจจัยในการพิจารณาสัง่ ซื้อสินค้า หรือ แม้กระทัง่ เจ้าของเงินทุนหรือองค์กรทางการเงินทีจ่ ะพิจารณาส่วนนี้เพิม่ เติมสาหรับการอนุมตั ติ ่างๆ 1. ภาษีคาร์บอน ในบางประเทศเริ่มมีการออกข้อจากัดในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรแต่ละประเภท ซึง่ จะต้องเสียภาษีเพิ่มเติมหากมีการปล่อยที่มากกว่าจานวนทีจากัดไว้ ซึ่งในปัจจุบนั ประเทศไทยกาลังศึกษาความ เป็ นไปได้ในการจากัดการปล่อยในกลุม่ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น ผลิตไฟฟ้ า ปูนซีเมนต์ ปิ โตรเคมี และจะมี การเพิม่ เติมขยายออกไปเรื่อยๆ


การก�ำกับดูแลกิจการ

87

2. PPP (Polluter Pay Principle) คือ หลักการที่กาหนดให้ผูท้ ่กี ่อให้เกิดมลพิษต้องเป็ นผูท้ ่รี บั ผิดชอบในส่วนของ มลพิษทีป่ ล่อย โดยอาจจะมีการนาหลักการเหล่านี้มาใช้ร่วมกับของที่ใช้อยู่ในชีวติ ประจาวันเช่น นา้ ประปา หรือ ไฟฟ้ า ซึ่งจะมีผลทาให้ตอ้ งมีการเสียค่ าใช้จ่ายที่สูงขึ้นจากค่าปลดปล่อยมลพิษที่แฝงเข้ามาในค่าบริการ โดย องค์กรใดหากมีการดาเนินงานควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ดีก็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ได้อีก ทางหนึ่งด้วย


88

รายงานประจ�ำปี 2559

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย่ ง บริษ ทั ให้ความส าคัญ ต่ อ ระบบควบคุ ม ภายในและการบริห ารจัดการความเสี่ยงที่มีป ระสิทธิภ าพ เหมาะสม พอเพียง ทัง้ ในระดับบริหารและระดับปฏิบตั งิ าน ซึ่งถือว่าเป็ นกระบวนการที่สาคัญของการดาเนินธุรกิจของบริษทั ทาให้ การปฏิบ ตั ิง านมีป ระสิท ธิภ าพ และเกิด ความมัน่ ใจอย่ างสมเหตุส มผลว่ าการด าเนิ น งานของบริษ ทั สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ สร้างผลประโยชน์ตอบแทนในระยะยาว การรายงานข้อมูลทางการเงิน และการดาเนิ นงานครบถ้ว น น่าเชื่อถือ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ และป้ องกันความเสี่ย งที่อาจเกิดขึ้น โดยที่ ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2560 ได้มกี ารพิจารณาทบทวนการประเมินความเพียงพอ และความเหมาะสมของ ระบบการควบคุมภายในของบริษทั โดยอ้างอิง “แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน” ของสานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพ ย์ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบที่เข้าร่วม ประชุมมีความเห็นว่า บริษทั มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบนั และครอบคลุม ใน 5 เรื่อง คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศ และการ สือ่ สารข้อมูล และระบบการติดตาม โดยสรุปสาระสาคัญได้ดงั ต่อไปนี้ 1.

องค์กรและสภาพแวดล้อม

บริษทั ส่งเสริมและสนับสนุ นให้เกิดสภาพแวดล้อมของการควบคุมภายในที่ดี โดยกาหนดเป้ าหมายการ ดาเนินธุ รกิจของบริษทั ที่ชดั เจน และวัดผลได้ในรูปของกาไรต่อหุน้ ประจาปี นนั้ ๆ รวมทัง้ ได้มกี ารเปรียบเทียบผลการ ดาเนินงานในปี ท่ผี ่านมา กับเป้ าหมายที่กาหนด โดยหากไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย บริษทั จะทาการวิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อ ประโยชน์ในการปรับปรุงการบริหารงานในปี ต่อไป ทัง้ นี้ โครงสร้างองค์กรของบริษทั มีสายการบังคับบัญชา มีการกาหนด อานาจอนุ มตั ิของฝ่ ายบริหารในการทารายการต่าง ๆ อย่างชัดเจน โดยผูม้ สี ่วนได้เสียในเรื่องใด จะไม่สามารถให้การ อนุ มตั ิในเรื่องนัน้ ๆ ได้ นอกจากนัน้ ยังมีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างเด็ดขาดระหว่างการอนุ มตั ิการบันทึก รายการทางบัญชีและการดูแลทรัพย์สนิ เพือ่ เป็ นการตรวจสอบซึง่ กันและกัน บริษทั กาหนดโครงสร้างการบริหารประกอบด้ว ยคณะกรรมการ 7 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการบริษ ทั คณะกรรมการบริ ห าร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการก าหนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการแต่ละชุดมีความรับผิดชอบ ต่อผูถ้ อื หุน้ เกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจของบริษทั และกากับดูแลให้การบริหารจัดการเป็ นไปตามเป้ าหมายให้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ผูถ้ อื หุน้ อยู่ในกรอบของการมีจริยธรรมที่ดี และรับผิดชอบต่อผูม้ สี ่วนได้เสีย ส่งเสริมและติดตามความคืบหน้า ของกระบวนการพัฒนาการกากับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยการพิจารณาปรับปรุง คู่มอื การกากับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณในการดาเนินธุ รกิจ รวมทัง้ ให้แนวทางและข้อเสนอแนะอื่นที่จาเป็ นเพื่อ การพัฒนา เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2558 บริษทั ได้เข้าลงนามในคาประกาศเจตนารมณ์แนวร่วมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่ อต้านการทุจ ริต โดยได้ดาเนิ น การปรับปรุ งนโยบายและวางระบบ ควบคุ มภายในให้สอดคล้อ งกับ ความเสี่ยงเรื่อ งคอร์รบั ชัน่ ของธุ รกิจ เพื่อ ให้ผู ต้ รวจสอบภายในและคณะกรรมการ


การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

89

ตรวจสอบได้ประเมิน และได้ย่นื ขอรับการรับรองจากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการ ทุจริต (คณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิฯ) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 ปัจจุบนั อยู่ระหว่างการพิจารณาให้การรับรอง จากคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ิฯ 2.

การบริหารความเสีย่ ง

บริษทั กาหนดนโยบายการบริหารความเสีย่ งเป็ นนโยบายสาคัญ โดยได้แต่ง ตัง้ คณะกรรมการบริหารความ เสี่ยง ซึ่งประกอบด้วย กรรมการและผูบ้ ริหาร ทาหน้าที่ในการประเมินปัจจัยเสี่ยงทัง้ จากปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพ เศรษฐกิจ นโยบายภาครัฐ และความผันผวนของราคาวัตถุดิบ และปัจจัยภายในที่มีผลกระทบต่อเป้ าหมายและการ ดาเนินธุรกิจของบริษทั และกาหนดผู ร้ บั ผิดชอบความเสี่ยงในหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมทัง้ มอบหมายให้การบริหารความ เสีย่ งเป็ นความรับผิดชอบของผูบ้ ริหารทุกคน มีการวางแผน และกาหนดมาตรการบริหารความเสีย่ ง มีการประเมินปัจจัย ความเสีย่ ง ทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ และเป้ าหมายของบริษทั จัดให้มกี ารติดตามการบริหารความเสีย่ งของ หน่ วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร เป็ นประจาทุกไตรมาส และรายงานผลต่อคณะกรรมการบริษทั บริษทั มีการจัดการให้ ความรูก้ บั พนักงานทุกระดับให้มคี วามเข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญในการบริหารความเสีย่ งอย่างต่อเนื่อง 3.

การควบคุมการปฏิบตั งิ าน

บริษ ทั มีม าตรการควบคุ ม ภายในที่มีค วามเหมาะสมกับ ความเสี่ยง ลัก ษณะเฉพาะขององค์ก ร และ ครอบคลุมกระบวนการต่าง ๆ อย่างเหมาะสม เช่น มีนโยบายและระเบียบปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับการจัดซื้อ การเงิน และการ บริหารทัว่ ไป ตลอดจนกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ และอานาจอนุ มตั ิของฝ่ ายบริหารในการทารายการต่าง ๆ อย่าง ชัดเจน โดยผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียในเรื่องใดจะไม่สามารถให้การอนุมตั ิในเรื่องนัน้ ๆ ได้ เพื่อให้สามารถป้ องกันการทุจริตได้ เช่น มีการกาหนดวงเงิน และอานาจอนุ มตั ิของผูบ้ ริหารแต่ละระดับ ขัน้ ตอนในการอนุ มตั ิโครงการลงทุน ขัน้ ตอนการ จัดซื้อ และวิธีการคัดเลือกผูข้ าย เป็ นต้น นอกจากนัน้ ยังมีการแบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบอย่างเด็ดขาดระหว่างการ อนุ มตั ิ การบันทึกรายการทางบัญชีและข้อมูลสารสนเทศ และการดู แลทรัพย์สิน เพื่อเป็ นการตรวจสอบซึ่งกันและกัน รวมทัง้ ควบคุมดูแลให้ทุกหน่ วยงานมีการปฏิบตั ิตามนโยบาย ระเบียบปฏิบตั ิงาน ข้อกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง อย่างเคร่งครัด โดยบริษทั มีการทบทวนนโยบาย และกระบวนการปฏิบตั ิให้มีความเหมาะสมอยู่เสมอ สาหรับระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการปฏิบตั ิงาน บริษทั มีการควบคุมดูแลด้านการพัฒนา การบารุงรักษา และด้านความ ปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีให้มคี วามเหมาะสมอยู่เสมอ บริษทั มีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู ถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผู บ้ ริหาร และผูท้ ่ีเกี่ยวข้องกับบุคคล ดังกล่าว รวมทัง้ บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อประโยชน์ในการติดตามและสอบทานการทารายการระหว่างกัน หรือรายการที่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมทัง้ มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั เสมอ เมื่อมีการพิจารณาอนุ มตั ิธุรกรรม ระหว่างกันนัน้ บริษทั มีนโยบายให้คานึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษทั เป็ นสาคัญ และพิจารณาโดยถือเสมือนเป็ นรายการ ที่กระทากับบุคคลภายนอก และต้องกระทาโดยผูท้ ่ไี ม่มสี ่วนได้ส่วนเสียในธุรกรรมนัน้ เพื่อป้ องกันการหาโอกาสหรือนา ผลประโยชน์ของบริษทั ไปใช้ส่วนตัว สาหรับบริษทั ในเครือ บริ ษทั มีกระบวนการติดตามดู แลการดาเนินการ รวมทัง้


90

รายงานประจ�ำปี 2559

กาหนดแนวทางให้บุคคลที่บริษทั แต่งตัง้ ให้เป็ นกรรมการหรือผู บ้ ริหารในบริษทั ในเครือนัน้ ถือปฏิบตั ิ เพื่อให้บรรลุ เป้ าหมายในการลงทุนของบริษทั 4.

ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล

บริษทั ให้ความสาคัญต่อระบบสารสนเทศ และการสื่อสารข้อมูลที่ได้รบั ทัง้ จากภายในและภายนอก ซึ่งถือ เป็ นเครื่องมือสาคัญ ในการดาเนินธุ รกิจของบริษทั โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลเกี่ยวกับผลการปฏิบตั ิงานและรายงาน ทางการเงิน เพื่อให้การตัดสินใจของคณะกรรมการฝ่ ายบริหาร ผูถ้ ือหุน้ และผู เ้ กี่ยวข้อง อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลที่ เพียงพอ ถูกต้องสมบูรณ์ เป็ นปัจจุบนั เชื่อถือได้ เข้าใจง่าย เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการดาเนินธุรกิจและการแข่งขัน บริษทั ได้จดั ให้มขี อ้ มูลที่สาคัญต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เพื่อให้คณะกรรมการใช้ประกอบการตัดสินใจ โดย การจัดทารายงานเชิงวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักการและเหตุผล พร้อมเอกสารประกอบข้อเท็จจริง จัดส่งข้อมูลเพื่อศึกษา ประกอบการตัดสินใจเป็ นการล่วงหน้า 7 วัน โดยมีเลขานุ การบริษทั ซึ่งมีหน้าที่ให้คาแนะนาด้านข้อบังคับและกฎเกณฑ์ ต่าง ๆ ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษทั ตลอดจนประสานงานให้มกี ารปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการบริษทั รวมทั้ง เป็ นหน่ ว ยงานที่เป็ นศู นย์กลางในการจัดทาและจัดเก็บเอกสารสาคัญ ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุม คณะกรรมการบริษทั รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมผูถ้ ือ หุน้ ไว้เป็ นระบบ เพือ่ ให้ผูถ้ อื หุน้ สามารถตรวจสอบความเหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้าทีข่ องกรรมการได้ บริษทั มีการจัดทารายงานทางการเงินอย่างเป็ นระบบ ซึ่งรวมถึงขัน้ ตอนการจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทารายงาน ทางการเงิน การตรวจสอบ/สอบทานของผูส้ อบบัญชี การพิจารณา ทบทวน รายงานทางการเงินของคณะกรรมการ ตรวจสอบร่วมกับผูส้ อบบัญชีของบริษทั โดยให้ใช้นโยบายบัญชีตามหลักเกณฑ์ท่รี บั รองทัว่ ไป และเหมาะสมกับลักษณะ ธุรกิจ และการพิจารณาทบทวนของคณะกรรมการบริษทั ก่อนการเผยแพร่รายงานทางการเงินต่อสาธารณชน ทัง้ นี้ เพื่อ เป็ นการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ตลอดจนการดูแลให้มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน และ โปร่งใส 5.

ระบบการติดตาม

บริษทั มีระบบการติดตามการดาเนินงานในระดับบริหาร และในระดับปฏิบตั ิงาน ให้เป็ นไปตามเป้ าหมายที่ กาหนด คณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารจะแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น และกาหนดแนวทางที่ชดั เจนในกรณี ท่ีไม่ เป็ นไปตามเป้ าหมาย กรณี มปี ระเด็นสาคัญที่อาจมีผลกระทบต่อองค์กร จะกาหนดให้ผูร้ บั ผิดชอบนาเสนอรายงาน เพื่อ ทบทวนการปฏิบตั ิงานและการวิเคราะห์สาเหตุตลอดจนร่วมพิจารณาเพื่ออนุมตั ิแก้ไขปัญหาภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการ เห็นว่าเหมาะสมและให้รายงานการปฏิบตั ิและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง บริ ษ ทั มีน โยบายใช้ผู ต้ รวจสอบภายในโดยว่ าจ้า งบุ ค คลภายนอก (Outsource) โดยตั้ง แต่ เดื อ น พฤษภาคม 2558 ถึงเดือนธันวาคม 2559 บริษทั ได้ว่าจ้าง บริษทั แกรนท์ ธอนตัน เซอร์วสิ เซส จากัด ให้ทาหน้าที่สอบ ทานข้อมูลการดาเนินงานและการควบคุมภายในเพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผลของการควบคุม ภายใน ซึ่งครอบคลุมระบบงานที่สาคัญของบริษทั และบริษทั ในเครือ โดยได้ทาการวิเคราะห์ผลจากการตรวจสอบและ สรุปประเด็นที่มีสาระสาคัญ เพื่อนาเสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบ โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเป็ น ผู ้


การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

91

พิจารณาประเด็นที่ตรวจพบร่วมกับฝ่ ายบริหารเพื่อวางแนวทางในการปรับปรุงอันเป็ นการสร้างแนวทางเชิงป้ องกัน คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษทั ทราบเป็ นประจา ทัง้ นี้ในการแต่งตัง้ โยกย้าย และเลิกจ้าง ผูต้ รวจสอบภายใน จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ผูด้ ารงตาแหน่งเลขานุ การคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั คือ นางสาวลลิตพันธุ ์ พิรยิ ะพันธุ ์ ซึ่งได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


92

รายงานประจ�ำปี 2559

รายการระหว่างกัน 1.

รายละเอียดของรายการระหว่างกัน 1.1 การซื้อที่ดินจากบริษทั ที่เกีย่ วข้อง 1.1.1 บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน)

ตลอดหลายปี ท่ผี ่านมา บริษทั มีการซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาอาคารโรงงาน/คลังสินค้า จากบริษทั สวน อุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ซึ่งถือว่าเป็ นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เนื่องจากบริษทั สวน อุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั และมีกรรมการดารงตาแหน่งกรรมการของบริษทั คือ นายชาย วินิชบุตร ในปี 2559 บริษทั ไม่มกี ารซื้อทีด่ นิ จากบริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) 1.1.2 บริษทั นิ คมอุตสาหกรรมเอเซีย จากัด บริษ ทั มีก ารซื้อที่ ดิน จากบริษ ทั นิ ค มอุต สาหกรรมเอเซี ย จ ากัด ซึ่ง มีกรรมการด ารงต าแหน่ ง กรรมการของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช ในปี 2559 บริษทั ไม่มกี ารซื้อทีด่ นิ จากบริษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย จากัด ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้พจิ ารณารายการระหว่างกันดังกล่าวข้างต้นแล้ว โดยมีการพิจารณา จากราคาตลาดของที่ดินบริเวณใกล้เคียง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายการดังกล่าวเป็ นรายการที่มคี วาม จาเป็ น และสมเหตุสมผล และเกิดขึ้นตามราคาตลาดบนเงือ่ นไขทีป่ ฏิบตั ิกนั อยู่โดยทัว่ ไป 1.2 การเช่าพื้นที่สานักงานจากบุคคลเกีย่ วข้อง บริษทั มีการเช่าพื้นที่สานักงานจากกองทุนรวมสาธรซิต้ ีทาวเวอร์ ซึ่งกองทุนดังกล่าวมีผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ ซ่ึงมี ความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ และกรรมการของบริษทั ดังนี้ 1. กลุ่มซิต้ ีเรียลตี้ ซึ่งเป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของกองทุนรวมสาธรซิต้ ที าวเวอร์ ถือหุน้ ในบริษทั ทัง้ ทางตรง และทางอ้อม ร้อยละ 0.14 (ณ วันที่ 10 มีนาคม 2560) 2. นายชาลี โสภณพนิช เป็ นผูถ้ อื หุน้ และเป็ นกรรมการผูม้ อี านาจลงนามของบริษทั และบริษทั ในกลุ่ม ซิต้ เี รียลตี้ ในปี 2559 บริษทั มีการชาระค่าเช่าพื้นที่สานักงานให้แก่กองทุนดังกล่าวรวม 17.07 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ไม่มยี อดคงค้างของรายการดังกล่าวข้างต้น


93

รายการระหว่างกัน

ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้พจิ ารณารายการดังกล่าวแล้ว โดยมีการพิจารณาประกอบกับข้อมูล อัตราค่าเช่าอาคารสานักงานทีอ่ ยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับอาคารสานักงานของบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น ว่ารายการระหว่างกันดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล และเกิดขึ้นตามราคาตลาด โดยมีการให้บริการ และมีเงือ่ นไข เช่นเดียวกับผูเ้ ช่ารายอื่นทัว่ ไป 1.3 การทาธุรกรรมทางการเงินกับบริษทั ที่เกีย่ วข้อง บริษทั มีการทาธุ รกรรมทางการเงิน กับธนาคารกรุง เทพ จากัด (มหาชน) โดยธนาคารดังกล่าวมีกลุ่ม โสภณพนิชเป็ นผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ และกลุ่มโสภณพนิ ชมีความสัมพันธ์กบั ผูถ้ ือหุ น้ และกรรมการของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช ณ สิ้นปี 2559 บริษทั มียอดคงค้างของการใช้บริการทางการเงิน กับธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) ดังนี้ รายการ

อัตราดอกเบี้ย/ค่าธรรมเนี ยม

จานวนเงิน

(ร้อยละต่อปี )

(ล้านบาท)

หนังสือคา้ ประกัน

ตามประกาศของธนาคาร

197.22

เงินกูย้ มื ระยะยาว

อัตราดอกเบี้ยสาหรับลูกค้าชัน้ ดี (MLR) ลบอัตรา คงที่

783.77

ตัวสั ๋ ญญาใช้เงิน เงินฝากออมทรัพย์

อัตราดอกเบี้ยตามราคาตลาด

1,060.00 96.37

ตามประกาศของธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มียอดดอกเบี้ยเงินกูค้ า้ งจ่ายทางบัญชีจานวน 0.16 ล้านบาท โดยยอด ค้างจ่ายดังกล่าวได้มกี ารชาระแล้วในต้นปี 2560 ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการพิจารณาความเหมาะสมของรายการดังกล่าวข้างต้น และมีความเห็นว่า รายการดังกล่าวข้างต้น เป็ นรายการทีม่ คี วามสมเหตุสมผล และเกิดขึ้นตามราคาตลาด นอกจากนี้ขอ้ กาหนด และเงือ่ นไข ต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องมีความเหมาะสม และปฏิบตั กิ นั โดยทัว่ ไป 1.4 การทาธุรกรรมด้านการซื้อขายหลักทรัพย์กบั บริษทั ที่เกีย่ วข้อง บริษทั มีการซื้อขายหน่ วยลงทุนกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทีพาร์ค โลจิสติคส์ และกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท รวมทัง้ หน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน ผ่านบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้อง คือ บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จากัด ซึง่ มีกรรมการดารงตาแหน่งกรรมการผูม้ อี านาจลงนามของบริษทั คือ นายชาลี โสภณพนิช


94

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั มีการชาระค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จากัด ในปี 2559 เป็ นจานวนรวมทัง้ สิ้น 0.02 ล้านบาท ความเห็นของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้มีการพิจารณาการซื้อหน่ วยลงทุน และค่าธรรมเนียมการซื้อขาย หลักทรัพ ย์ดงั กล่าว และมีความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นรายการที่มีความจาเป็ น และเกิดขึ้น ตามราคาตลาด บน เงือ่ นไขทีป่ ฏิบตั กิ นั อยู่โดยทัว่ ไป ทัง้ นี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2551 เมือ่ วันที่ 13 สิงหาคม 2551 ได้มมี ติอนุ มตั ิในหลักการ ให้ฝ่ายจัดการของบริษทั มีอานาจทารายการระหว่างกันซึง่ เป็ นข้อตกลงทางการค้าทีม่ เี งือ่ นไขทางการค้าโดยทัว่ ไป 2.

ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผล

การทารายการระหว่างกันดังกล่าวข้างต้นเป็ นความจาเป็ นเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษทั และบริษทั ได้ จ่าย/รับค่าตอบแทนในราคาตลาดที่ยุติธรรม และสมเหตุสมผล ดังที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นในการทา รายการไว้แล้วข้างต้น 3.

มาตรการหรือขัน้ ตอนการอนุ มตั กิ ารทารายการระหว่างกัน

คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการตรวจสอบรายการระหว่างกัน ของบริษทั ให้เป็ นรายการที่เกิดขึ้น ตามราคา และเงื่อนไขที่ยุติธรรม โดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษทั อีกทัง้ ดู แลการเปิ ดเผยข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ บริษทั มีมาตรการเกี่ยวกับการทารายการระหว่างกัน ดังนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2551 ในวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ได้มมี ติอนุ มตั ิในหลักการให้ฝ่าย จัดการของบริษทั มีอานาจในการทารายการระหว่างกันซึง่ เป็ นข้อตกลงทางการค้าที่มเี งือ่ นไขการค้าโดยทัว่ ไป ทัง้ รายการ ทีอ่ ยู่ระหว่างดาเนินการในขณะนัน้ และรายการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยฝ่ ายจัดการจะมีการรายงานสรุปการทารายการ ดังกล่าวต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ภายหลังการทารายการ 

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั จะดูแลให้รายการดังกล่า วเป็ นไปตามราคาตลาด หรือราคายุติธรรม โดย คณะกรรมการหรือผูถ้ ือหุน้ ของบริษทั จะเป็ นผูอ้ นุ มตั ิการทารายการระหว่างกันในกรณี ท่รี ายการดังกล่าวไม่เป็ นเงือ่ นไข ทางการค้าโดยทัว่ ไป ทัง้ นี้ กรรมการหรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มีส่วนได้เสียในเรื่องใด ไม่มสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนัน้ 

เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันตามประกาศและข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ/หรือสานักงาน ก.ล.ต. ดังทีไ่ ด้ระบุไว้ในข้อบังคับของบริษทั 

4.

เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันตามมาตรฐานการบัญชีท่กี าหนดโดยสมาคมนักบัญชี

นโยบายหรือแนวโน้มการทารายการระหว่างกันนนอนาคต รายการระหว่างกันจะยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคตตราบเท่าที่รายการนัน้ ยังคงเป็ นประโยชน์ต่อบริษทั


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

95

การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ 1.

ผลการดาเนิ นงาน 1.1 รายได้

บริษทั มีธุรกิจหลักคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมโดยการสร้างโรงงานและคลังสินค้า เพื่อให้เช่า และขายเมื่อ มีโอกาสเหมาะสมซึ่งในช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมา บริษทั มีรายได้จากการให้เช่าและค่ าบริการคิดเป็ น สัดส่วนประมาณร้อยละ 16.5 ร้อยละ 21.6 และร้อยละ 62.6 เมือ่ เทียบกับรายได้รวมตามลาดับ ขณะที่ปี 2557 และปี 2558 รายได้จากการขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่ TFUND TGROWTH และTREIT ยังคงมีสดั ส่วนทีส่ ูงทีส่ ุดเมือ่ เทียบ กับรายได้รวม หรือคิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 76.2 และร้อยละ 62.6 การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้แก่กองทุน และทรัสต์ดงั กล่าว มีวตั ถุประสงค์เพื่อนาเงินมาใช้ในการขยายธุ รกิจของบริษทั ในแต่ละปี ทัง้ นี้ในปี 2559 บริษทั ไม่มี รายได้ดงั กล่าวเนื่องจากการเสนอขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ต้องถูกยกเลิกตามเงือ่ นไขภายใต้สญั ญาจองซื้อหุน้ เพิ่มทุนที่ลงนามระหว่างบริษทั และบริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จากัด (FPHT) เมือ่ เดือน ตุลาคม 2559 ทีผ่ ่านมา ทัง้ นี้ ในบางช่วงเวลาบริษทั มีรายได้จากการขายโรงงานให้แก่ลูกค้าที่สามารถใช้สทิ ธิในการซื้อโรงงาน ตาม เงือ่ นไขทีไ่ ด้ระบุไว้ในสัญญาเช่า อย่างไรก็ตาม บริษทั ไม่สามารถคาดการณ์รายได้ดงั กล่าวได้ ทัง้ นี้ข้นึ อยู่กบั การตัดสินใจ ของลูกค้าเป็ นหลัก สาหรับรายได้จากการลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH และTREIT ประกอบด้วย ส่วนแบ่ง กาไรจากเงินลงทุน รายได้ค่าบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ กาไรจากการขายหน่วยลงทุน และกาไรที่รบั รูเ้ พิ่มเติมจาก การขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่กองทุน/ทรัสต์ นอกจากนี้ บริษทั มีรายได้จากงานรับเหมาก่อสร้าง และรายได้ค่าสาธารณู ปโภค ซึ่งโดยปกติจ ะเป็ น สัดส่วนน้อยเมือ่ เทียบกับรายได้รวม 1.1.1 รายได้จากการให้เช่าและค่าบริการ ในช่วง 3 ปี ทผ่ี ่านมา รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ มีจานวน 966.1 ล้านบาท 1,048.5 ล้านบาท และ 1,172.1 ล้านบาทตามลาดับ คิดเป็ นการลดลงร้อยละ 12.9 เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.5 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.8 ตามลาดับ ขณะทีต่ น้ ทุนจากการให้เช่าและบริการ มีจานวน 243.5 ล้านบาท 306.4 ล้านบาทและ 332.6 ล้านบาท ตามลาดับ ซึง่ คิด เป็ นกาไรขัน้ ต้นจากการให้เช่าและบริการเท่ากับ ร้อยละ 74.8 ร้อยละ 70.8และร้อยละ 71.6 ตามลาดับ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2557 ลดลง เนื่องจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TGROWTH เป็ นจานวนมากในช่วงไตรมาส 4/2556 และการขายบางส่วนในไตรมาส 1/2557 นอกจากนี้ ความต้องการเช่า โรงงาน ลดลง และความต้องการเช่าคลังสินค้ามีการขยายตัวน้อยลงเมื่อเทียบกับปี ก่อน เป็ นผลมาจากการปรับลดต้นทุนของ ภาคการผลิต และสภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว


96

รายงานประจ�ำปี 2559

รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2558 เพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการเช่าคลังสินค้าของบริษทั มี การขยายตัวเพิม่ ขึ้นจากปี ก่อนหน้าโดยเฉพาะธุรกิจโลจิสติกส์ ส่งผลให้บริษทั มีพ้นื ที่ให้เช่าใหม่ของคลังสินค้าสุทธิเพิ่มขึ้น ซึง่ พื้นทีใ่ ห้เช่าใหม่ส่วนใหญ่เป็ นคลังสินค้าที่สร้างตามความต้องการของลูกค้า (Built-to-suit) รายได้ค่าเช่าและค่าบริการในปี 2559 เพิม่ ขึ้น 123.6 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึ้นร้อยละ 11.8 เมือ่ เทียบ กับช่วงเดียวกันของปี ก่อนหน้า เนื่องจากมีการเพิ่มขึ้นพื้นที่ให้เช่าใหม่ โดยเฉพาะพื้นที่ท่เี ช่าใหม่ของผูเ้ ช่าอาคารโรงงาน และคลังสินค้า 1.1.2 รายได้จากการขายอสัง หาริมทรัพย์ใ ห้กองทุน รวมอสัง หาริมทรัพย์/ทรัสต์เ พื่อ การลงทุ น ใน อสังหาริมทรัพย์ ปี 2557 และ 2558 บริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND TGROWTH และ TREIT มูลค่า 4,460.1 ล้านบาท และ 3,037.3 ล้านบาท คิดเป็ นการลดลงร้อยละ 4.4 และร้อยละ 31.9 ตามลาดับ โดยในปี 2559 บริษทั ไม่มรี ายได้ดงั กล่าวเนื่องจากการเสนอขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ต้องถูกยกเลิกตามเงื่อนไขภายใต้สญั ญาจองซื้อหุน้ เพิ่มทุนที่ลงนามระหว่างบริษทั และบริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จากัด (FPHT) เมือ่ เดือนตุลาคม 2559 ทีผ่ ่านมา ในปี 2557 บริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงจากปี 2556 เนื่องจากมีความต้องการ ใช้เงินทุนน้อยกว่าปี ก่อนหน้าจึงขายพื้นที่ลดลง โดยเป็ นการให้เช่าอาคารโรงงานให้แก่ TGROWTH และการขายโรงงาน ให้แก่ TFUND ในช่วงไตรมาส 1/2557 มูลค่ ารวม 498.2 ล้านบาท และเป็ นการขายอาคารโรงงานและขาย/ให้เ ช่ า คลังสินค้าให้แก่ TREIT ในช่วงไตรมาส 4/2557 ซึง่ บันทึกเป็ นรายได้จากการขายจานวน 3,961.9 ล้านบาท ในปี 2558 บริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงมาก เนื่องจากมีความต้องการใช้ เงินทุนเพื่อซื้อที่ดินน้อยลง แต่เป็ นการใช้เงินทุนเพื่อการพัฒนาโครงการจากที่ดินที่ซ้ อื ไว้แล้วจากปี ก่อน โดยเป็ นการขาย ให้แก่ TFUND มูลค่า 126.0 ล้านบาท ในเดือนกันยายน 2558 และเป็ นขาย/ให้เช่าอาคารโรงงานและคลังสินค้าให้แก่ TREIT เดือนธันวาคม ซึง่ บันทึกเป็ นรายได้จากการขายจานวน 2,911.3 ล้านบาท การขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND นัน้ เป็ นการขายขาดในกรรมสิทธิ์ของทัง้ ที่ดินและอาคาร โรงงาน บริษทั จึงบันทึก รายการขายสินทรัพย์ดงั กล่าวเป็ นรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ในงบกาไรขาดทุน ได้ทงั้ จานวน ในขณะที่การขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TGROWTH และ TREIT เป็ นการขาย/ให้เช่าที่ดิน พร้อมการ ขาย/ให้เช่าอาคารโรงงาน/คลังสินค้า โดยบริษทั บันทึกการให้เช่าที่ดินเป็ นรายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า ในงบแสดงฐานะ การเงินทัง้ จานวน ซึง่ จะทยอยรับรูเ้ ป็ นรายได้ค่าเช่าตามอายุสญั ญาเช่าทีด่ นิ และบันทึกการขายขาดในกรรมสิทธิ์ และการ ให้เช่าอาคารโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นรายได้จากการขายในงบกาไรขาดทุน ทัง้ จานวน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) ทีถ่ อื ว่าการให้เช่าอาคารระยะยาวเป็ นการขายตามสัญญาเช่าการเงิน อย่างไรก็ตาม การขายโรงงาน/คลังสินค้าให้กองทุนรวม/ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ในแต่ละปี จะมากหรือน้อยยังขึ้นอยู่กบั ความต้องการใช้เงินเพือ่ ขยายธุรกิจของบริษทั


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

97

1.1.3 รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลหรือกิจการอืน่ นอกจากรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวม/ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ แล้ว บริษทั ยังมีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ลูกค้าทีเ่ ป็ นผูเ้ ช่า รวมถึงบุคคล/กิจการอื่นตามโอกาสทีเ่ หมาะสม โดยในช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมาบริษทั มีการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลหรือกิจการอื่นเท่ากับ 101.2 ล้านบาท 308.3 ล้าน บาท และ 250.7 ล้านบาทตามลาดับ ในปี 2557 บริษทั มีการขายที่ดินพร้อมอาคารโรงงานให้แก่บุคคลหรือกิจการอื่นมูลค่า 101.2 ล้าน บาท ในปี 2558 บริษทั มีการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บคุ คลหรือกิจการอื่น ประกอบด้วยการขายที่ดิน พร้อมอาคารโรงงานมูลค่า 48.2 ล้านบาท และขายทีด่ นิ เปล่ามูลค่า 260.1 ล้านบาท ในปี 2559 บริษทั มีการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บคุ คลหรือกิจการอื่น ประกอบด้วยการขายที่ดิน เปล่ามูลค่า 250.7 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม รายได้จากการขายโรงงานให้แก่ลูกค้าเป็ นรายได้ท่มี ไิ ด้เกิดขึ้นอย่างสมา่ เสมอ ทัง้ นี้ ขึ้นอยู่กบั การตัดสินใจของลูกค้าในการใช้สิทธิซ้ อื โรงงานตามเงื่อนไขที่ระบุ ในสัญญาเช่าเป็ นสาคัญ นอกจากนัน้ กาไร ขัน้ ต้นของการขายโรงงานแต่ละโรงงานมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กบั หลายปัจจัย เช่น อายุ ขนาด ลักษณะของโรงงาน รวมทัง้ ทาเลที่ตงั้ ของโรงงานที่ขาย ขณะที่การขายที่ดินเปล่า มิได้เกิดขึ้นอย่างสมา่ เสมอ โดยขึ้นอยู่กบั โอกาสที่เหมาะสม และกาไรขัน้ ต้นของการขาย 1.1.4 รายได้ท่เี กีย่ วเนื่ องกับบริษทั ร่วม (TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และSLP) 1) ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และSLP ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และ SLP ขึ้นอยู่ กับสัดส่วนการลงทุนของบริษทั และกาไรของ TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และ SLP ในช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมา บริษทั มีส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมจานวน 267.1 ล้าน บาท 248.5 ล้านบาท และ 252.2 ล้านบาทตามลาดับ คิดเป็ นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.3 ต่อปี ลดลงร้อยละ 7.0 ต่อปี และ เพิม่ ขึ้นร้อยละ 1.5 ต่อปี ตามลาดับ ในปี 2557 บริษทั มีส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิ่มขึ้นจากปี 2556 จานวน 50.5 ล้านบาท เนื่องจากบริษทั ได้รบั ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนใน TGROWTH จากผลการดาเนินงานทัง้ ปี 2557 (TGROWTH จัดตัง้ ขึ้นเมือ่ ปลายปี 2556) รวมทัง้ จาก TREIT จัดตัง้ ขึ้นเมือ่ ปลายปี 2557 ในปี 2558 บริษทั มีส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมลดลงจากปี 2557 เนื่องจาก สัดส่วนการลงทุน และผลประกอบการใน TFUND TLOGIS และ TGROWTH ลดลง นอกจากส่วนแบ่งกาไรจาก กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และทรัสต์ขา้ งต้นแล้ว บริษทั ได้รบั ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนใน SLP จากการเข้าร่วมลงทุน ในโครงการโรงงาน และคลังสินค้าเพือ่ ให้เช่า/หรือขายในประเทศอินโดนีเซียระหว่างปี 2558 เป็ นจานวน 1.8 ล้านบาท


98

รายงานประจ�ำปี 2559

ในปี 2559 บริษทั มีส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิ่มขึ้นจากปี 2558 จานวน 3.7 ล้านบาท จากผลประกอบการที่ดีข้ นึ ของ TFUND และ TREIT นอกจากส่วนแบ่งกาไรจากกองทุนรวม/ทรัสต์เพื่อการ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ขา้ งต้นแล้ว บริษทั ได้รบั ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนใน SLP จากการเข้าร่วมลงทุนในโครงการ โรงงาน และคลังสินค้าเพือ่ ให้เช่า/หรือขายในประเทศอินโดนีเซียเป็ นจานวน 1.9 ล้านบาท 2) รายได้จากการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ท่ีบริษทั ขายให้แก่ กองทุนรวม/ทรัสต์เพื่อการ ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ในช่วง 3 ปี ทผ่ี ่านมา บริษทั มีรายได้จากการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์จานวน 165.3 ล้าน บาท 204.1 ล้านบาท และ 201.1 ล้านบาท ตามลาดับ ในปี 2557 บริษทั มีรายได้จากการเป็ นผู บ้ ริหารอสัง หาริมทรัพ ย์จานวน 165.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนหน้าร้อยละ 8.3 เนื่องจากการเป็ นผูบ้ ริหารทรัพย์สิน ให้แก่ TGROWTH ซึ่งจัดตัง้ ขึ้นเมื่อไตรมาส 4/2556 ในปี 2558 บริษทั มีรายได้จากการเป็ นผู บ้ ริหารอสัง หาริมทรัพ ย์จานวน 204.1 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากปี ก่อนร้อยละ 23.5 เนื่องจากการเป็ นผูบ้ ริหารทรัพย์สนิ ให้แก่ TREIT ซึง่ จัดตัง้ ขึ้นเมือ่ ไตรมาส 4/2557 ในปี 2559 บริษทั มีรายได้จากการเป็ นผู บ้ ริหารอสัง หาริมทรัพ ย์จานวน 201.1 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 1.5 โดยมีสาเหตุหลักจากการลดลงของรายได้จากการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ของกองทุน TLOGIS และTGROWTH ในการเป็ นผู บ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนรวม/ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ นัน้ บริษทั มีภาระผูกพันในเรื่องการคา้ ประกันรายได้ค่าเช่าคลังสินค้าบางส่วนให้แก่ TLOGIS จนถึงสิ้นปี 2559 และคา้ ประกันรายได้ให้แก่ TGROWTH สาหรับโรงงานที่ไม่มผี ูเ้ ช่า ณ วันโอนกรรมสิทธิ์ให้กองทุน โดยคา้ ประกันรายได้เป็ น ระยะเวลา 1 ปี (สิ้นสุดสิ้นปี 2557) ส่วนการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT บริษทั มีภาระผูกพันในการคา้ ประกันรายได้ รวมถึงรายการอื่นๆ ให้แก่ TREIT (ดูเพิ่มเติมทีห่ วั ข้อ 1.2.1 ประมาณการหนี้สนิ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ การขายอสังหาริมทรัพย์) 3) กาไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ในช่ ว ง 3 ปี ท่ี ผ่ า นมา บริ ษ ทั มีก ารขายเงิน ลงทุ น บางส่ ว นใน TFUND TLOGIS และ TGROWTH เพือ่ การบริหารกระแสเงินสดของบริษทั ทาให้บริษทั มีกาไรจากการขายเงินลงทุนดังกล่าว จานวน 1.5 ล้าน บาท 126.30 ล้านบาท และ 103.6 ล้านบาทตามลาดับ ซึง่ บันทึกกาไรดังกล่าวเป็ นรายได้อ่นื 4) กาไรที่รบั รูเ้ พิ่มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ กองทุนรวม/ทรัสต์เพื่อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ บริษทั จะสามารถรับรู ก้ าไรเพิ่มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และ TREIT เมือ่ กองทุนรวม/ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ มีการขายสินทรัพย์ท่ซี ้ อื จากบริษทั ให้แก่บคุ คล/กิจการอื่น หรือเมือ่ บริษทั ลดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนดังกล่าว


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

99

ในช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมา บริษทั มีกาไรที่รบั รูเ้ พิ่มเติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ TFUND TLOGIS TGROWTHและTREIT จานวน 41.4 ล้านบาท 246.7 ล้านบาท และ 295.0 ล้านบาทตามลาดับ ในปี 2557 บริษทั มีกาไรทีร่ บั รูเ้ พิม่ เติมลดลง เนื่องจากบริษทั มีการลดสัดส่วนการลงทุนน้อย กว่าการลดลงของปี ก่อนหน้า โดยมีการลดสัดส่วนการลงทุนใน TGROWTH เพียงร้อยละ 1.2 และ TFUND มีการขาย โรงงานให้บคุ คลอื่นเพียง 1 โรงงาน ในปี 2558 บริษทั มีกาไรที่รบั รูเ้ พิ่มเติม จานวน 246.7 ล้านบาท เกิดขึ้นจากการที่บริษทั ลด สัดส่วนการลงทุนในTFUND TLOGIS และTGROWTH ร้อยละ 5.2 ร้อยละ 3.8 และ 1.9 ตามลาดับ และ TFUND มี การขายโรงงานให้บคุ คลอื่น 3 โรงงาน ในปี 2559 บริษทั มีกาไรที่รบั รูเ้ พิ่มเติม จานวน 295.0 ล้านบาท เกิดขึ้นจากการที่บริษทั ลด สัดส่วนการลงทุนในTFUND TLOGIS TGROWTH และTREIT ร้อยละ 18.7 ร้อยละ 1.0 ร้อยละ 6.0 และร้อยละ 38.4 ตามลาดับ และ TFUND และ TGROWTH มีการขายทีด่ นิ และโรงงานให้แก่บคุ คลอื่น 1.1.5 รายได้อน่ื ๆ นอกจากรายได้ทก่ี ล่าวข้างต้น บริษทั ยังมีรายได้ประเภทอื่นอีก ซึง่ ประกอบด้วย 1) รายได้จากงานรับเหมาก่อสร้าง รายได้ดงั กล่าวเกิดจากการที่บริษทั ได้รบั ว่าจ้างจากลูกค้าที่เช่าโรงงานและคลังสินค้า ของ บริษทั ให้ทาการต่อเติม/ดัดแปลงโรงงานและคลังสินค้าที่เช่าอยู่ ซึ่งปกติบริษทั มีรายได้จากงานรับเหมาก่อสร้างจานวน น้อยเมือ่ เทียบกับรายได้รวม รายได้ดงั กล่าวเกิดจากการที่ผูเ้ ช่าจ้างบริษทั ให้ทาการซ่อมแซม ต่อเติมอาคาร ตามการใช้ งานปกติของผูเ้ ช่า 2) รายได้ค่าสาธารณูปโภค รายได้ค่าสาธารณู ปโภคเกิดจากการที่บริษทั เป็ นผูจ้ ดั หาสาธารณู ปโภคให้แก่ ลูกค้า ที่เช่ า โรงงานและคลังสินค้า 3) ค่าสินไหมทดแทนจากการประกันภัย ในขณะทีใ่ นปี 2557 บริษทั ได้รบั ค่าสินไหมทดแทนประกันภัยจากความเสียหายในทรัพย์สนิ จานวน 2.4 ล้านบาทจากเหตุการณ์อุทกภัยเมือ่ ปี 2556 ในปี 2558 และปี 2559 ไม่มรี ายได้ดงั กล่าว 1.2 ค่าใช้จา่ ย 1.2.1 ประมาณการหนี้ สินที่เกีย่ วข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2557 บริษทั มีประมาณการหนี้สนิ ที่เกี่ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์จานวน 118.0 ล้าน บาท บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน ซึ่งเกิดจากการขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT เมือ่ เดือนธันวาคม


100

รายงานประจ�ำปี 2559

2557 เนื่องจากบริษทั มีภาระผูกพันในการชดเชยรายได้ให้แก่ TREIT สาหรับอาคารที่ไม่มผี ูเ้ ช่า ณ วันโอนกรรมสิทธิ์เป็ น ระยะเวลา 1 ปี และบางส่วนเกิดจากการที่บริษทั มีภาระผูกพัน ในการชดเชยส่วนต่างระหว่างราคายุติธรรม กับราคาใช้ สิทธิ สาหรับกรณีท่ผี ูเ้ ช่าใช้สทิ ธิในการซื้ออสังหาริมทรัพย์ (Option to buy) หากราคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์นนั้ ณ วันที่ผูเ้ ช่าใช้สทิ ธิซ้ อื สูงกว่าราคาใช้สทิ ธิ รายการดังกล่าวถูกบันทึกเป็ นประมาณการหนี้สนิ ระยะสัน้ และระยะยาว ใน งบแสดงฐานะการเงิน รวมทัง้ สิ้นจานวน 133.2 ล้านบาท ทัง้ นี้ส่วนต่างจานวน 15.2 ล้านบาท ถูกแสดงในกาไรที่ยงั ไม่ เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วมตามสัดส่วนการลงทุนใน TREIT (ร้อยละ 12.0) ในปี 2558 บริษทั มีประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับการขายอสังหาริ มทรัพย์ 33.3 ล้านบาท บันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน ซึง่ เกิดจากการขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT เมือ่ เดือนธันวาคม 2558 เนื่องจากบริษทั มีภาระผูกพันในการชดเชยรายได้ให้แก่ TREIT สาหรับอาคารที่ไม่มผี ูเ้ ช่า ณ วันโอนกรรมสิทธิ์ และ รายการดังกล่าวถูกบันทึกเป็ นประมาณการหนี้สนิ ระยะสัน้ และระยะยาว ในงบแสดงฐานะการเงิน จานวน 50.3 ล้านบาท ทัง้ นี้ส่วนต่างจานวน 9.9 ล้านบาท ถูกแสดงในกาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วมตามสัดส่วน การลงทุนใน TREIT (ร้อยละ 19.6) ในระหว่ างปี 2558 บริษทั มีการโอนกลับรายการประมาณการหนี้ สินที่เกี่ยวข้องกับการขาย อสังหาริมทรัพย์ จานวน 8.1 ล้านบาท จากการที่ภาระผูกพันในการชดเชยส่วนต่างกรณี Option to buy ของบริษทั ลดลง ซึง่ เป็ นผลมาจากการทีผ่ ูเ้ ช่าโรงงานยกเลิกสัญญาเช่าในระหว่างปี ในปี 2559 บริษทั มีการโอนกลับประมาณการหนี้สนิ ที่เคยบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายจานวน 59.33 ล้าน บาท ซึง่ โดยส่วนใหญ่เกิดจากการสิ้นสุดของสัญญาที่ให้สทิ ธิ Option to buy ทีเ่ ป็ นเจ้าของโดย TREIT 1.2.2 ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ในช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมา ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารมีจานวน 769.5 ล้านบาท 756.9 ล้านบาท และ 704.0 ล้านบาท ตามลาดับ เพิม่ ขึ้นร้อยละ 7.5 ลดลงร้อยละ 1.6 และลดลงร้อยละ 7.0 ต่อปี ตามลาดับ ทัง้ นี้ องค์ประกอบหลักของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ได้แก่ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานและ ค่าเสื่อมราคาของโรงงาน/คลังสินค้าที่สร้างเสร็จแต่ยงั ไม่มผี ูเ้ ช่า โดยในปี 2559 ค่าใช้จ่ายดังกล่าวคิดเป็ นสัดส่วนรวมกัน ประมาณร้อยละ 59.4 ของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ในปี 2557 บริษทั มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 769.5 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากปี ก่อน 53.9 ล้านบาท หรือคิดเป็ นการเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.5 ซึ่งส่วนใหญ่เป็ น การเพิ่มขึ้นของค่ าเสื่อมราคาของทรัพย์สินในโรงงาน/ คลังสินค้าทีว่ ่างพร้อมให้เช่า และการเพิม่ ขึ้นของค่าใช้จ่ายทีเ่ กี่ยวข้องกับพนักงาน ตามการขยายธุรกิจของบริษทั ในปี 2558 บริษทั มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเท่ากับ 756.9 ล้านบาท ลดลง 12.6 ล้านบาท จากปี ก่อนหน้า เกิดจากการลดลงของค่าใช้จ่ายในการขาย ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ และใน ปี 2557 บริษทั มีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT เป็ นจานวนมากกว่าการขายในปี 2558 นอกจากนี้ ในปี 2558 บริษทั มีค่าใช้จ่ายในการบริหารลดลง จากการลดลงของค่าซ่อมแซม และบารุงรักษาอาคารโรงงาน/ คลังสินค้าว่าง


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

101

ปี 2559 บริษทั มีค่าใช้จ่ ายในการขายและบริหารเท่ากับ 704.0 ล้านบาท ลดลงจากช่ ว งเวลา เดียวกันของปี ก่อนจานวน 52.9 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 7.0 ส่วนหนึ่งเนื่องจากบริษทั เปลีย่ นแปลงประมาณการอายุ การให้ประโยชน์ของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และอาคารซึ่งอยู่ในบัญชีท่ดี ิน อาคารและอุปกรณ์ จากเดิม 20 ปี เป็ น 30 ปี โดยเริ่มตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559 เป็ นต้นมา ซึง่ ทาให้ค่าเสือ่ มราคาของทรัพย์สนิ ลดลง 1.2.3 ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน ในช่วง 3 ปี ทผ่ี ่านมา ค่าใช้จ่ายทางการเงินมีจานวน 642.6 ล้านบาท 762.2 ล้านบาท และ 812.0 ล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็ นการเพิม่ ขึ้นร้อยละ 17.6 ร้อยละ 18.6 และร้อยละ 6.5 ต่อปี ตามลาดับ ค่าใช้จ่ายทางการเงินเพิม่ ขึ้นมากในช่วง 3 ปี ทผ่ี ่านมา เนื่องจากในปี 2557 บริษทั มีการกูย้ มื เงินเป็ น จานวนมากเพื่อใช้ในการขยายธุ รกิจ โรงงาน/คลังสินค้าให้เช่า ในประเทศไทย ทัง้ การซื้อที่ดิน และการพัฒนาโครงการ ในขณะทีป่ ี 2558 และ 2559 นอกจากการขยายธุรกิจโรงงาน/คลังสินค้าแล้ว บริษทั ยังมีการใช้เงินทุนเพือ่ เข้าร่วมทุนกับคู่ ค้าจากต่างประเทศ ในการขยายธุรกิจโรงงาน/คลังสินค้าให้เช่าในประเทศแถบอาเซียนมากขึ้น 1.3 กาไร 1.3.1 กาไรขัน้ ต้น บริษทั มีอตั รากาไรขัน้ ต้นจากการดาเนินธุรกิจ (จากการให้เช่าและจากการขายโรงงาน/คลังสินค้า) ในรอบ 3 ปี ทผ่ี ่านมาเท่ากับร้อยละ 37.8 ร้อยละ 38.4 และร้อยละ 65.4 ตามลาดับ ในปี 2557 บริษทั มีอตั รากาไรขัน้ ต้นจากการดาเนินธุ รกิจลดลงจากปี 2556 เป็ นผลมาจากอัตรา กาไรขัน้ ต้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ล ดลง เนื่องจากบริษทั มีการขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ ที่เป็ นคลังสินค้าใน สัดส่วนทีส่ ูงกว่าอาคารโรงงาน ซึง่ คลังสินค้ามีอตั รากาไรขัน้ ต้นจากการขายตา่ กว่าโรงงาน นอกจากนี้ คลังสินค้าทีข่ าย/ให้ เช่า เป็ นคลังสินค้าที่สร้างตามความต้องการของลูกค้ามากขึ้น ซึง่ มีอตั รากาไรขัน้ ต้นตา่ กว่าคลังสินค้าสาเร็จรูป นอกจากนี้ มีอตั รากาไรขัน้ ต้นจากรายได้ค่าเช่าลดลง ในปี 2558 บริษทั มีอตั รากาไรขัน้ ต้นจากการดาเนินธุรกิจ เพิม่ ขึ้นจากปี ก่อนหน้าเล็กน้อย เนื่องจาก บริษทั มีกาไรจากการขายที่ดินเปล่าให้แก่บุคคลอื่น ซึ่งมีอตั รากาไรขัน้ ต้นสูง ในขณะที่ปีก่อนไม่มกี าไรดังกล่าว อย่างไรก็ ตาม อัตรากาไรขัน้ ต้นจากการให้เช่า และขายสินทรัพย์ลดลงจากปี 2557 เนื่องจากบริษทั มีรายได้ค่าเช่าจากคลังสินค้า เป็ นสัดส่วนที่สูงกว่ารายได้ค่าเช่าจากอาคารโรงงาน และมีการขาย/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ท่เี ป็ นคลังสินค้าในสัดส่วนทีส่ ูง กว่าอาคารโรงงาน ซึ่งรายได้ค่าเช่า และรายได้จากการขายคลังสินค้ามีอตั รากาไรขัน้ ต้นตา่ กว่าอาคารโรงงาน เนื่องจากมี ต้นทุนก่อสร้างคลังสินค้าสูงกว่าอาคารโรงงาน ในปี 2559 บริษทั มีอตั รากาไรขัน้ ต้นจากการดาเนินธุรกิจร้อยละ 65.4 โดยเพิ่มขึ้นจากปี ก่อนเป็ น จานวนมาก เนื่องจากไม่มกี ารขายอสังหาริมทรัพย์ให้แ ก่กองทุน/ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งมีอตั รากาไร ขัน้ ต้นจากการขายค่อนข้างตา่


102

รายงานประจ�ำปี 2559

1.3.2 กาไรสุทธิ บริษทั มีกาไรสุทธิซ่ึงคิดตามวิธีส่วนได้เสีย และแสดงอยู่ในงบการเงินรวมในช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมา เท่ากับ 761.7 ล้านบาท 769.7 ล้านบาท และ 275.0 ล้านบาทตามลาดับ และกาไรสุทธิต่อหุน้ เท่ากับ 0.76 บาท 0.70 บาท และ 0.25 บาทตามลาดับ ในปี 2557 บริษทั มีกาไรสุทธิลดลงจากปี ก่อนหน้าจานวน 652.5 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 46.1 เนื่องจากมีรายได้จากการให้เช่า และรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงจากปี ก่อนหน้าดังที่กล่าวข้างต้น รายได้อ่นื ลดลงเนื่องจากบริษทั ไม่มกี ารขายเงินลงทุนใน TFUND/TLOGIS ในระหว่างปี ในขณะที่ปี 2556 มีการขายเงินลงทุน เป็ นจานวนมาก และปี 2557 บริษทั มีการลดสัดส่วนการลงทุนในกองทุนน้อยกว่าปี 2556 ทาให้มกี าไรทีร่ บั รูเ้ พิม่ เติมจาก การขายอสังหาริมทรัพย์ให้กองทุนลดลง นอกจากนี้ บริษทั มีค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดจากการตัง้ ประมาณการหนี้สนิ ที่เกี่ยวข้องกับ การขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ในช่วงปลายปี 2557 เป็ นจานวนมาก รวมทัง้ มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร และค่าใช้จ่ายทางการเงินทีเ่ พิม่ ขึ้นตามการขยายการพัฒนาโครงการของบริษทั ในปี 2558 บริษทั มีกาไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากปี ก่อนหน้าเล็กน้อย หรือคิดเป็ นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 บริษทั มีอตั รากาไรจากการดาเนินงานใกล้เคียงกับปี ก่อนหน้า และมีกาไรจากการขายเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS และTGROWTH เป็ นจานวนมากในระหว่างปี รวมทัง้ มีรายได้จากการบริหารจัดการบริษทั ร่วมเพิม่ ขึ้น นอกจากนี้ บริษทั สามารถบริหารจัดการค่าใช้จ่ายได้ดขี ้นึ จึงทาให้ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารลดลง ในปี 2559 บริษทั มีกาไรสุทธิลดลงจากปี 2558 จานวน 494.7 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 64.3 เนื่องจากบริษทั มีรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ลดลงจานวน 3,094.9 ล้านบาท อันเป็ นผลจากการยกเลิกการเสนอ ขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TREIT ตามเงื่อนไขสัญญาจองซื้อหุน้ เพิ่มทุนระหว่างบริษทั และ บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพ เพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จากัด (“FPHT”) อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาเฉพาะรายได้จากการให้เช่าและบริการที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็ นธุรกิจหลักของบริษทั แล้ว รายได้ดงั กล่าวยังคงเพิ่มขึ้น หรือคิดเป็ นร้อยละ 11.8 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี ก่อนหน้า 2.

ฐานะทางการเงิน 2.1 สินทรัพย์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีสินทรัพ ย์รวมทัง้ สิ้น 36,092.7 ล้านบาท ซึ่ง ร้อยละ 86.6 ของ สินทรัพย์รวมเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และร้อยละ 8.1 เป็ นเงินลงทุนใน TFUND TLOGIS TGROWTH TREIT และSLP สินทรัพย์รวมของบริษทั ลดลงจากปี 2558 ประมาณ 194.4 ล้านบาท คิดเป็ นการลดลงร้อยละ 0.5 สาเหตุ หลักมาจากการลดลงของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

103

2.1.1 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ประกอบด้วย อสังหาริมทรัพย์ทอ่ี ยู่ในระหว่างการพัฒนา/พร้อมให้ เช่า/ให้เช่า ในช่วง 3 ปี ท่ีผ่านมา และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมจานวน 23,914.3 ล้านบาท 30,074.9 ล้านบาท และ 31,247.1 ล้านบาทตามลาดับ การเพิ่มขึ้นของอสัง หาริมทรัพ ย์เพื่อการลงทุน (สุ ทธิจ ากส่ว นที่ขายให้แก่ TFUND TLOGIS TGROWTH และTREIT) ในปี 2557 ร้อยละ 38.5 ในปี 2558 ร้อยละ 25.8 และในปี 2559 ร้อยละ 3.9 สะท้อนให้เห็น ถึงการขยายธุ รกิจของบริษทั ผ่านการลงทุนในที่ดินและการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นจานวนมากโดยเฉพาะในปี 2557 และในปี 2558 การเพิ่มขึ้นส่วนหนึ่งเกิดจากการเปลีย่ นแปลงการบันทึกบัญชี ของพื้นที่ส่วนกลางของโครงการต่าง ๆ ของบริษทั จากหมวดทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ มาบันทึกเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน 2.1.2 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ในปี 2557 เพิ่มขึ้นร้อยละ 45.5 โดยมีสาเหตุหลักจากการขยายการพัฒนาโครงการ และในปี 2558 ลดลงร้อยละ 88.5 เนื่องจากมีการเปลีย่ นแปลงการบันทึกบัญชีของพื้นที่ส่วนกลางในโครงการที่บริษทั พัฒนา ซึ่ง เดิมบันทึกอยู่ในทีด่ นิ และส่วนปรับปรุงทีด่ นิ ไปบันทึกในอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีทด่ี นิ อาคาร และอุปกรณ์ จานวน 180.6 ล้านบาท ลดลงจาก สิ้นปี 2558 จานวน 2.7 ล้านบาท หรือลดลงเป็ นร้อยละ 1.5 จากการเพิม่ ขึ้นของค่าเสือ่ มราคา 2.1.3 เงินลงทุนชัว่ คราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีเงินลงทุนชัว่ คราวจานวน 22.1 ล้านบาท ลดลงจากสิ้นปี 2558 จานวน 0.04 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 0.2 ประกอบด้วย เงินฝากประจากับธนาคารพาณิชย์ ซึง่ เป็ นการลงทุนทีม่ คี วาม เสี่ยงตา่ และถือเป็ นทางเลือกทางหนึ่งในการบริหารเงินของบริษทั ที่ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนในอัตราที่สูงกว่าการ ฝากเงินประเภทออมทรัพย์กบั ธนาคาร 2.1.4 ลูกหนี้ การค้า-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ลูกหนี้การค้า-สุทธิ จานวน 81.4 ล้านบาท ประกอบด้วย ลูกหนี้คา้ ง ชาระไม่เกิน 3 เดือน จานวน 58.1 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 71.4 ของลูกหนี้การค้า-สุทธิ และลูกหนี้ตามสัญญาเช่า ดาเนินงานทีย่ งั ไม่เรียกชาระ จานวน 19.7 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 24.1 ของลูกหนี้การค้า-สุทธิ อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการเก็บค่ามัดจาการเช่าโรงงาน/คลังสินค้า เป็ นจานวน 3-6 เท่าของค่าเช่า และค่าบริการรายเดือนที่บริษทั ได้รบั จากผูเ้ ช่า เพือ่ บรรเทาความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึ้นจากการผิดนัด/ผิดสัญญาของผูเ้ ช่า 2.1.5 เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีเงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง จานวน 109.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 35.8 ล้านบาท จากสิ้นปี 2558 โดยเป็ นเงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่ผูร้ บั เหมาเพือ่ ก่อสร้างอาคารคลังสินค้าให้เช่า


104

รายงานประจ�ำปี 2559

2.1.6 เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้าประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มียอดเงินฝากสถาบันการเงินที่มภี าระคา้ ประกัน จานวน 0.2 ล้านบาท เพื่อเป็ นหลักประกันสาหรับ วงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิต และทรัสต์รีซีทส์ พร้อมวงเงินสาหรับจองอัตรา แลกเปลีย่ น และหนังสือคา้ ประกันทีธ่ นาคารออกให้แก่หน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ 2.1.7 เงินลงทุนในบริษทั ย่อย/ร่วม/ร่วมค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีเงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ร่วมค้า และบริษทั ที่ เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1) บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุน ชาระแล้วของบริษทั ย่อย ทัง้ นี้ เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 50.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.1 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั 2) บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชาระ แล้วของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าว คานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 19,515.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 58.4 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั 3) Shanghai TICON Investment Management Co., Ltd. (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อย ละ 100 ของทุนชาระแล้วของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 85.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.3 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 4) บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จากัด (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 70 ของทุนชาระแล้ว ของบริษทั ย่อยเงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธรี าคาทุนเท่ากับ 7.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.02 ของสินทรัพย์รวมของ บริษทั 5) TICON (HK) Ltd. (บริษทั ย่อย) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนชาระแล้วของบริษทั ย่อย เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธรี าคาทุนเท่ากับ 413.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.2 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 6) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วนร้อยละ 15.0 ของทุนชาระแล้ว ของ TFUNDเงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีส่วนได้เสีย เท่ากับ 794.4 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.2 ของสินทรัพย์รวม ของบริษทั และบริษทั ย่อย และคานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 1,783.2 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 5.3 ของสินทรัพย์รวม ของบริษทั 7) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์คโลจิสติคส์ (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วนร้อยละ 16.1 ของทุน ชาระแล้วของ TLOGIS เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 439.5 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.2 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คานวณตามวิธรี าคาทุนเท่ากับ 733.9 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.2 ของสินทรัพย์ รวมของบริษทั 8) กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (บริษทั ร่วม) ในสัดส่วน ร้อยละ 24.0 ของทุนชาระแล้วของ TGROWTH เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 768.9 ล้านบาท


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

105

คิดเป็ นร้อยละ 2.1 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คานวณตามวิธรี าคาทุนเท่ากับ 1,329.3 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 4.0 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 9) ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน (บริษทั ร่วม) ถือโดยบริษทั ย่อยในสัดส่วนร้อยละ 12.1 ของทุนชาระแล้วของ TREIT เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีส่วนได้เสีย เท่ากับ 482.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.3 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 686.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.1 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 10) PT SLP Surya TICON Internusa (บริษทั ร่วม) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย ในสัดส่วนร้อยละ 25.00 ของทุนชาระแล้วของ SLP เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 430.5 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.2 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 414.2 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.2 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั 11) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด (บริษทั ร่วมค้า) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อยในสัดส่วน ร้อยละ 51 ของทุนชาระแล้วของบริษทั ร่วมค้า เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 2.5 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คานวณตามวิธีราคาทุน เท่ากับ 2.6 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 12) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด (บริษทั ร่วมค้า) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อยในสัดส่วน ร้อยละ 51 ของทุนชาระแล้วของบริษทั ร่วมค้า เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 2.0 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คานวณตามวิธีราคาทุนเท่ากับ 2.0 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.01 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั 13) บริษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด (บริษทั ร่วมค้า) ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อยในสัดส่วนร้อยละ 60 ของทุนชาระแล้วของบริษทั ร่วมค้า เงินลงทุนดังกล่าวคานวณตามวิธีส่วนได้เสียเท่ากับ 0.3 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.001 ของสินทรัพย์รวมของบริษทั และบริษทั ย่อย คานวณตามวิธรี าคาทุนเท่ากับ 0.6 ล้าบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.002 ของ สินทรัพย์รวมของบริษทั 14) บริษทั บางกอกคลับ จากัด (บริษทั ทีเ่ กี่ยวข้อง) ในสัดส่วนร้อยละ 0.11 ของทุนจดทะเบียน ของบริษทั ดังกล่าว คิดเป็ นเงินลงทุนหลังหักค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน 0.26 ล้านบาท 2.1.8 ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้าจานวน 684.2 ล้านบาท ลดลง 30.8 ล้านบาทจากสิ้นปี 2558 ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้าเป็ นรายการที่เกิดจากการเช่าที่ดินระยะยาว เพื่อพัฒนาคลังสินค้า ทัง้ นี้ รายการดังกล่าวจะถูกทยอยรับรูเ้ ป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุนตลอดอายุสญั ญาเช่า 2.2 หนี้ สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีหนี้สนิ รวมทัง้ สิ้น 24,675.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจานวน 77.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.3 จากสิ้นปี 2558


106

รายงานประจ�ำปี 2559

หนี้สินรวมของบริษทั มีเงินกูย้ ืมเป็ นส่วนประกอบหลัก คิดเป็ นร้อยละ 90.1 ของหนี้สนิ รวม การเพิ่มขึ้น ของหนี้สนิ รวมเกิดจากรายการทีส่ าคัญ ดังต่อไปนี้ 2.2.1 เงินกูย้ มื เงินกูย้ ืมทัง้ หมดของบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีจานวน 22,242.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จานวน 243.8 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 1.1 เมือ่ เปรียบเทียบกับ ณ 31 ธันวาคม 2558 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการ เพิม่ ขึ้นของเงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยาว เงินกูย้ มื ของบริษทั ประกอบด้วย เงินกูย้ มื ระยะสัน้ ร้อยละ 13.8 เงินกูย้ มื ระยะยาวร้อยละ 8.2 และ หุน้ กูร้ อ้ ยละ 78.0 ของเงินกูย้ มื ทัง้ หมด ในการพัฒนาโรงงาน/คลังสินค้าของบริษทั ซึง่ ถือว่าเป็ นการลงทุนระยะยาวนัน้ บริษทั จะใช้เงินจาก แหล่งเงินกูย้ ืมระยะยาว หุน้ กู ้ และเงินสดจากการดาเนินงานของบริษทั ในส่วนของเงินกูร้ ะยะสัน้ นัน้ บริษทั จะใช้เป็ น เงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ สาหรับจ่ายชาระค่าทีด่ นิ ในช่วงก่อนทีบ่ ริษทั จะได้รบั อนุ มตั วิ งเงินกู ้ ระยะยาวจากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม การกูย้ มื ระยะสัน้ เป็ นจานวนมากในบางช่วงเวลา เป็ นการบริหารกระแสเงิน สดของบริษทั ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ได้มกี ารตรวจสอบอย่างสมา่ เสมอให้สดั ส่วนของเงินกูร้ ะยะสัน้ ต่อ เงินกูร้ วมของบริษทั อยู่ในอัตราทีเ่ หมาะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ยอดคงค้างของหุน้ กู ้ มีจานวน 17,340.0 ล้านบาท ซึ่งหุน้ กูท้ งั้ หมดที่ ออกมีอายุระหว่าง 3 ถึง 10 ปี บริษทั มีการตกลงในเงือ่ นไขของการกูย้ มื เงินกับสถาบันการเงินบางแห่งและผูถ้ อื หุน้ กูท้ ่สี าคัญคือ การดารงอัตราส่วนหนี้สนิ /หนี้สนิ ที่มภี าระดอกเบี้ยต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในอัตราไม่เกิน 2.5-3.0 เท่า ซึง่ ทีผ่ ่านมาบริษทั ไม่ เคยผิดเงือ่ นไขของการกูย้ มื ทีส่ าคัญดังกล่าว 2.2.2 เจ้าหนี้ การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มียอดเจ้าหนี้การค้าจานวน 224.4 ล้านบาท ลดลงจากปี ก่อน หน้าจานวน 120.9 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 35.0 ซึง่ เกือบทัง้ จานวนของเจ้าหนี้การค้าเป็ นเจ้าหนี้ค่าก่อสร้าง 2.2.3 ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คลค้างจ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มียอดภาษีเงินได้นิตบิ คุ คลค้างจ่ายจานวน 1.3 ล้านบาท เพิม่ ขึ้น จากสิ้นปี 2558 จานวน 0.6 ล้านบาท เนื่องจากบริษทั ย่อยมีกาไรสุทธิ เพิ่มขึ้นเมือ่ เทียบกับปี ท่ผี ่านมา จึงทาให้มภี าษีเงิน ได้นิตบิ คุ คลทีต่ อ้ งชาระเพิม่ ขึ้น 2.2.4 ประมาณการหนี้ สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ไม่มียอดประมาณการหนี้ สิน ดัง กล่าว เนื่ องจากโอนกลับ ประมาณการหนี้สนิ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการสิ้นสุดของสัญญาที่ให้สทิ ธิในการซื้ออสังหาริมทรัพย์ (Option to buy) อีก ทัง้ ไม่มกี ารขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ TFUND/TLOGIS/TGROWTH/TREIT ในปี 2559


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

107

2.2.5 สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีจานวนเงินสารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ซึ่งเป็ น การประมาณการภาระของบริษทั ในการจ่ายเงินชดเชยให้แก่พนักงานเมือ่ ออกจากงาน จานวน 42.0 ล้านบาท บริษทั ได้ถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน ตัง้ แต่ปี 2554 เป็ นต้นมา โดยบันทึกส่วนทีเ่ ป็ นยอดสะสมทีค่ านวณจนถึงสิ้นปี 2553 รับรูเ้ ป็ นหนี้สนิ และบันทึกส่วนที่เป็ นการกัน สารองผลประโยชน์ของพนักงานในแต่ละปี เป็ นค่าใช้จ่าย 2.2.6 รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีรายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า จานวน 1,318.8 ล้านบาท ซึ่ง เกิดจากในปี 2557 และ 2558 มีการให้เช่าที่ดินแก่ TREIT เป็ นระยะเวลา 28-30 ปี โดยบริษทั จะทยอยรับรูเ้ ป็ นรายได้ จากการให้เช่าในงบกาไรขาดทุน ตามวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญั ญาเช่า 2.2.7 หนี้ สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั มีหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจานวน 63.0 ล้านบาท ซึ่งเป็ น ยอดสุทธิจากสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนใหญ่ เป็ นการรับรู ร้ ายได้จากการขาย อาคารตามสัญญาเช่าการเงิน ให้ TGROWTH และTREIT และการเปลีย่ นแปลงประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของ สินทรัพย์ 2.3 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมจานวน 11,417.7 ล้านบาทลดลงจากสิ้นปี 2558 จานวน 271.8 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 2.3 เนื่องจากการจ่ายเงินปันผลในปี 2559 2.4 ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สาคัญของบริษทั คือ การจัดให้มซี ่งึ โครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสม เพือ่ สนับสนุนการดาเนินธุรกิจของบริษทั และเสริมสร้างมูลค่าการถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในอดีตที่ผ่านมา บริษทั มีแหล่งเงินทุนหลักเพื่อใช้ในการขยายธุ รกิจการสร้างโรงงาน และคลังสินค้า คือ เงินทุนจากการดาเนินงาน เงินเพิ่มทุนจากผูถ้ ือหุน้ และเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี ในช่วง 10 ปี ท่ผี ่านมา ธุรกิจโรงงานสาเร็จรูปและคลังสินค้าให้เช่ามีการขยายตัวอย่างมาก บริษทั ได้มสี ่วนร่วมในการจัดตัง้ TFUND ในปี 2548 TLOGIS ในปี 2552 TGROWTH ในปี 2556 และ TREIT ในปี 2557 เพือ่ เป็ นการเพิ่มช่องทางระดมทุนของบริษทั ซึง่ ทาให้บริษทั ลดการพึง่ พาการจัดหาเงินทุน จากการกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงิน และการเพิม่ ทุนซึง่ มีค่าใช้จ่ายที่มากกว่า นอกจากแหล่งเงินทุนดังกล่าว บริษทั ยังมีการออกหุน้ กู อ้ ายุ 2-10 ปี ซึ่งถือเป็ นแหล่งเงินทุนที่สาคัญอีก แหล่งหนึ่งของบริษทั ทีม่ ตี น้ ทุนตา่ กว่าการกูย้ มื เงินระยะยาวจากสถาบันการเงิน นอกจากนี้ บริษทั มีใบแสดงสิทธิ TICON-T2 ที่ออกเมือ่ ช่วงไตรมาส 2/2557 ซึ่งใบแสดงสิทธิดงั กล่าวมี การใช้สทิ ธิ และหมดอายุแล้วในปี 2557


108

รายงานประจ�ำปี 2559

2.5 สภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีกระแสเงินสดสุทธิท่ไี ด้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน 87.1 ล้านบาท มี กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมการลงทุน 626.2 ล้านบาท และมีกระแสเงินสดสุทธิ ใช้ไปในกิจกรรมการจัดหาเงิน 308.8 ล้านบาท จากข้อมูลการได้มาและใช้ไปของกระแสเงินสดตามที่กล่าวข้างต้น จะพบว่าบริษทั มีสภาพคล่อ งทาง การเงินสาหรับการดาเนินธุ รกิจ ลดลงเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2558 (การคานวณอัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratio) ไม่สามารถอธิบายสภาพคล่องของบริษทั ได้ เนื่องจากบริษทั ไม่มกี ารบันทึกรายการสินค้าคงเหลือในสินทรัพย์หมุนเวียน ทัง้ นี้ ลักษณะสินทรัพย์ของบริษทั ส่วนใหญ่เป็ นที่ดินและโรงงาน ซึ่งจะไม่บนั ทึกเป็ นสินทรัพ ย์หมุนเวียนของบริษ ทั ในขณะที่รายการเจ้าหนี้การค้าค่าที่ดิน และค่าก่อสร้างจะถูกบันทึกเป็ นหนี้สินหมุนเวียน จึงทาให้อตั ราส่วนสินทรัพย์ หมุนเวียนต่อหนี้สนิ หมุนเวียนมีค่าตา่ ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั มีอตั ราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบี้ยต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ซึง่ คานวณจาก (เงินกูย้ มื +หนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 1.95 เท่า เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้นปี 2558 ซึ่งเท่ากับ 1.88 เท่า เนื่องจากบริษทั มีการกูย้ มื เงินเพื่อใช้พฒั นาคลังสินค้า เพื่อรองรับโอกาสในการเติบโตในอนาคต ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการบริหารโครงสร้างเงินทุนของกิจการที่มสี ดั ส่วน หนี้ท่มี ภี าระดอกเบี้ย เมื่อเทียบกับฐานเงินทุนของบริษทั ได้อย่างเหมาะสม ภายใต้เงื่อนไขการดารงอัตราส่วนหนี้สิน / หนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบี้ยต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในปัจจุบนั อัตราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ย คานวณจาก (กาไรสุทธิ+ดอกเบี้ยจ่าย+ภาษีเงินได้นิติบคุ คล+กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้แก่บริษทั ร่วม) ดอกเบี้ยจ่าย บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ยเท่ากับ 1.47 เท่าแสดงได้ถงึ ความสามารถในการชาระดอกเบี้ยของ บริษทั ซึง่ ทีผ่ ่านมาบริษทั ไม่เคยประสบปัญหาในการชาระดอกเบี้ย อัตราส่วนความสามารถในการชาระภาระผูกพัน คานวณจาก (เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดาเนินงาน+ดอกเบี้ยจ่าย) (จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวและหุน้ กู+้ เงินปันผล+ดอกเบี้ยจ่าย)


การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ

109

บริษทั มีอตั ราส่วนความสามารถในการชาระภาระผูกพันเท่ากับ 0.2 เท่า แสดงถึงความสามารถในการชาระภาระผูกพัน ของบริษทั 3.

แนวโน้มในอนาคต -โปรดดูใน “สารจากประธานกรรมการ”


110

รายงานประจ�ำปี 2559

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มกี ารจัดทางบการเงินนเพื่อแสดงฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษทั ประจาปี 2559 ภายใต้พระราชบัญญัติบริษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงภาระหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในฐานะกรรมการของบริษทั จดทะเบียนในการ กากับดูแลให้รายงานทางการเงินของบริษทั มีขอ้ มูลทางบัญชีท่ถี ูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และเพียงพอทีจ่ ะดารงรักษาไว้ ซึ่งทรัพย์สินของบริษทั ป้ องกันการทุจริตและการดาเนินการที่ผิด ปกติ รวมทัง้ ได้ถือปฏิบตั ิตามมาตราฐานการบัญชีท่ี รับรองโดยทัว่ ไป เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปที่จะได้รบั ทราบข้อมูลที่แสดงฐานะการเงินและผลการ ดาเนินทีเ่ ป็ นจริงและสมเหตุสมผล คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นว่า งบการเงินรวมประจาปี 2559 ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอน เน็คชัน่ จากัด(มหาชน) และบริษทั ย่อย ที่คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานร่วมกับฝ่ ายบริหารและผูส้ อบบัญชีของ บริษทั คือ บริษทั สานักงาน อีวาย จากัด(เดิมชื่อ บริษทั สานักงาน เอินส์ท แอยด์ ยัง จากัด) ได้แสดงฐานะทางการเงิน และผลการดาเนินงาน ครบถ้วน และเชื่อถือได้ สมเหตุสมผล โดยถือปฏิบตั ิตามมาตราฐานการบัญชีท่รี บั รองโดยทัว่ ไป มีการใช้นโยบายบัญชีท่ีเหมาะสมและถือปฏิบตั ิอย่างสมา่ เสมอ เปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ และปฏิบตั ิถูกต้องตาม กฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กี่ยวข้อง

(นายชายน้อย เผือ่ นโกสุม) ประธานกรรมการ


รายงานงบการเงิน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย รำยงำน และ งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม 2559

111


112

รายงานประจ�ำปี 2559

รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาต เสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) ความเห็น ข ำ้ พเจ ำ้ ได ต้ รวจสอบงบกำรเงิน รวมของบ ริษ ทั ไทคอน อิน ด สั เทรีย ล คอนเน็ค ชัน่ จ ำก ดั (มหำชน) และบริษ ทั ย่อ ย (กลุ ่ม บริษ ทั ) ซึ ่ง ประกอบด ว้ ยงบแสดงฐำนะกำรเงิน รวม ณ ว นั ที ่ 31 ธัน วำคม 2559 งบก ำไรขำดทุน รวม งบก ำไรขำดทุน เบ็ด เสร็จ รวม งบแสดงกำรเปลี ่ย นแปลงส่ว นของ ผู ถ้ ื อ หุ น้ รวมและ งบกระแสเงิน สดรวม ส ำหรับ ปี สิ้ น สุ ด วัน เดี ย วกัน และหมำยเหตุ ป ระกอบงบกำรเงิน รวม รวมถึ ง หมำยเหตุ สรุ ป นโยบำยกำรบัญ ชี ท่ี ส ำคัญ และได้ต รวจสอบงบกำรเงิน เฉพำะกิ จ กำรของ บริษ ทั ไทคอน อิน ด สั เทรีย ล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) ด้วยเช่นกัน ข้ำพเจ้ำเห็น ว่ำงบกำรเงินข้ำงต้นนี้ แสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 ผลกำรดำเนิ นงำนและกระแสเงินสด สำหรับปี ส้ นิ สุดวันเดียวกันของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย และเฉพำะ ของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) โดยถูกต้องตำมทีค่ วรในสำระสำคัญตำมมำตรฐำนกำร รำยงำนทำงกำรเงิน เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ข้ำพเจ้ำได้ปฏิบตั ิงำนตรวจสอบตำมมำตรฐำนกำรสอบบัญชี ควำมรับผิดชอบของข้ำพเจ้ำได้กล่ำวไว้ในส่วนของ ความ รับผิดชอบของผูส้ อบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน ในรำยงำนของข้ำพเจ้ำ ข้ำพเจ้ำมีค วำมเป็ นอิสระจำกกลุ่มบริษทั ตำมข้อกำหนดจรรยำบรรณของผูป้ ระกอบวิชำชีพบัญชีท่กี ำหนดโดยสภำวิชำชีพบัญชี ในพระบรมรำชูปถัมภ์ ในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับกำรตรวจสอบงบกำรเงิน และข้ำพเจ้ำได้ปฏิบตั ิตำมข้อกำหนดด้ำนจรรยำบรรณอื่นๆตำมทีร่ ะบุในข้อกำหนด นัน้ ด้ว ย ข้ำพเจ้ำเชื่อ ว่ำหลักฐำนกำรสอบบัญ ชีท่ีขำ้ พเจ้ำได้รบั เพีย งพอและเหมำะสมเพื่อใช้เป็ น เกณฑ์ในกำรแสดง ควำมเห็นของข้ำพเจ้ำ ข้อมูลและเหตุการณ์ท่เี น้น ข้ำพเจ้ำขอให้สงั เกตหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินข้อ 4 เกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรอำยุกำรให้ประโยชน์ของ อสังหำริม ทรัพ ย์เพื่อ กำรลงทุนและอำคำรเพื่อ ให้สอดคล้องกับ ประโยชน์ท่ีบริษทั ฯและบริษทั ย่อยคำดว่ ำจะได้รบั ที่ เปลีย่ นแปลงไป บริษทั ฯและบริษทั ย่อยใช้วธิ ีเปลีย่ นทันทีในกำรเปลีย่ นแปลงประมำณกำรดังกล่ำว ข้ำพเจ้ำมิได้ให้ขอ้ สรุป อย่ำงมีเงือ่ นไขต่อกรณีน้ ีแต่อย่ำงใด เรื่องสาคัญในการตรวจสอบ เรื่องสำคัญในกำรตรวจสอบคือเรื่องต่ำงๆ ที่มีนยั สำคัญที่สุดตำมดุลยพินิจเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชำชีพของข้ำพเจ้ำในกำร ตรวจสอบงบกำรเงินสำหรับงวดปัจจุบนั ข้ำพเจ้ำได้นำเรื่องเหล่ำนี้มำพิจำรณำในบริบทของกำรตรวจสอบงบกำรเงิน โดยรวมและในกำรแสดงควำมเห็นของข้ำพเจ้ำ ทัง้ นี้ ข้ำพเจ้ำไม่ได้แสดงควำมเห็นแยกต่ำงหำกสำหรับเรื่องเหล่ำนี้


รายงานงบการเงิน

113

ข้ำพเจ้ำได้ปฏิบตั ิงำนตำมควำมรับผิดชอบที่ได้กล่ำวไว้ในส่วนของความรับผิดชอบของผู ส้ อบบัญชีต่อการตรวจสอบงบ การเงิน ในรำยงำนของข้ำพเจ้ำ ซึ่งได้รวมควำมรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่องเหล่ำนี้ ดว้ ย กำรปฏิบตั ิงำนของข้ำพเจ้ำได้รวม วิธีกำรตรวจสอบที่ออกแบบมำเพื่อตอบสนองต่ อกำรประเมินควำมเสี่ยงจำกกำรแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ น สำระสำคัญในงบกำรเงิน ผลของวิธีกำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำ ซึ่งได้รวมวิธีกำรตรวจสอบสำหรับเรื่องเหล่ำนี้ดว้ ย ได้ใช้เป็ น เกณฑ์ในกำรแสดงควำมเห็นของข้ำพเจ้ำต่องบกำรเงินโดยรวม เรื่องสำคัญในกำรตรวจสอบ พร้อมวิธกี ำรตรวจสอบสำหรับแต่ละเรื่องมีดงั ต่อไปนี้ การรับรูอ้ สังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนพร้อมให้เช่า/ขายและค่าเสือ่ มราคา ตำมที่กล่ำวไว้ในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินข้อ 51 ในระหว่ำงปี กลุ่มบริษทั โอนอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่อยู่ใน ระหว่ ำ งกำรพั ฒ น ำไปเป็ นอสัง หำริ ม ทรัพ ย์ เ พื่ อกำรลงทุ น พ ร้อ มให้เ ช่ ำ /ขำย จ ำนวน 1,166 ล้ำ น บำท กำรพิจำรณำว่ำอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุ นที่อยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำจะโอนเป็ นอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนพร้อม ให้เช่ำ/ขำยเมื่อใดนัน้ ต้องอำศัยกระบวนกำรควบคุมที่ดีเพื่อให้มนั ่ ใจว่ำกำรโอนและกำรคิดค่ำเสื่อมรำคำของสินทรัพย์ท่ี โอนเกิดขึ้นในเวลำที่เหมำะสม นอกจำกนี้ เนื่ อ งจำกแนวโน้มกำรชะลอตัวของเศรษฐกิจที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่ อ สถำนกำรณ์กำรแข่งขันในธุรกิจพัฒนำอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรอุตสำหกรรมโดยกำรสร้ำงโรงงำนและค ลังสินค้ำเพื่อให้ เช่ำ/ขำยที่รุนแรงขึ้นอำจทำให้มคี วำมล่ำช้ำเกี่ยวกับกำรโอนอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ/ขำยที่สร้ำงเสร็จ แล้ว ดังนัน้ จึงมีควำมเสีย่ งเกี่ยวกับกำรรับรูอ้ สังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนและค่ำเสือ่ มรำคำทีเ่ กี่ยวข้อง ข้ำพเจ้ำได้ตรวจสอบกำรรับรูอ้ สังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ/ขำย และค่ำเสือ่ มรำคำที่เกี่ยวข้อง โดยกำร  ท ำควำมเข้ำ ใจและทดสอบระบบกำรควบคุ ม ภำยในที่ เกี่ ย วข้อ งกับ กำรพิ จ ำรณำและอนุ ม ตั ิ ก ำรโอน อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่อยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำไปเป็ นอสังหำริมทรัพย์เพื่ อกำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ/ขำย และกำรคำนวณค่ำเสือ่ มรำคำทีเ่ กี่ยวข้อง  สุ่มตรวจสอบเอกสำรประกอบรำยกำรโอนอสังหำริมทรัพ ย์เพื่อกำรลงทุนที่อยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำไปเป็ น อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ/ขำยในระหว่ำงรอบระยะเวลำบัญชี  เข้ำร่วมสังเกตกำรณ์ตรวจนับอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนของกลุ่มบริษทั โดยพิจำรณำถึงขัน้ ควำมสำเร็จของ งำนก่อสร้ำง และสุ่มตรวจสอบอสังหำริมทรัพย์ท่ีพร้อมใช้งำนกับรำยละเอียดของอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุน พร้อมให้เช่ำ/ขำย  ทดสอบกำรคำนวณค่ำเสื่อมรำคำของอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ/ขำยว่ำเริ่มคำนวณตัง้ แต่วนั ที่ อสังหำริมทรัพย์พร้อมใช้งำนด้วยอำยุกำรให้ประโยชน์ตำมนโยบำยกำรบัญชีของกลุม่ บริษทั


114

รายงานประจ�ำปี 2559

การรับรูร้ ายได้จากการให้เช่าและบริการที่เกี่ยวข้อง กลุ่มบริษทั รับรูร้ ำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรที่เกี่ยวข้องตำมนโยบำยกำรบัญชีท่ีเปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุประกอบงบ กำรเงินข้อ 1.5 ข้ำพเจ้ำพิจำรณำว่ำ กำรรับรูร้ ำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรที่เกี่ยวข้องเป็ นควำมเสี่ยงทีม่ นี ยั สำคัญในกำร ตรวจสอบ เนื่ อ งจำกรำยได้จำกกำรให้เช่ ำและบริกำรที่ กลุ่มบริษทั รับรู ใ้ นแต่ ละงวดมีจ ำนวนเงินที่มีสำระสำคัญ เมื่อ เปรียบเทียบกับรำยได้รวมของกลุ่มบริษทั นอกจำกนี้ กระบวนกำรในกำรวัดมูลค่ำรวมถึงรอบระยะเวลำที่เหมำะสมใน กำรรับรูร้ ำยได้นนั้ เป็ นเรื่องที่ตอ้ งใช้ควำมรอบคอบในกำรพิจำรณำเนื้อหำของสัญญำเช่ำเพื่อคำนวณรำยได้ให้เป็ นไปตำม นโยบำยกำรบัญชีและตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ซึ่งทำให้เกิดควำมเสี่ยงเกี่ยวกับมูลค่ำและระยะเวลำในกำร รับรูร้ ำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรทีเ่ กี่ยวข้อง ข้ำพเจ้ำได้ตรวจสอบกำรรับรูร้ ำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรทีเ่ กี่ยวข้องโดยกำร  ประเมินและทดสอบระบบสำรสนเทศและระบบกำรควบคุมภำยในของกลุ่มบริษทั ที่เกี่ยวข้องกับวงจรรำยได้ โดยกำรสอบถำมผูร้ บั ผิดชอบ ทำควำมเข้ำใจ และเลือกตัวอย่ำงมำสุ่มทดสอบกำรปฏิบตั ิตำมกำรควบคุมทีก่ ลุ่ม บริษทั ออกแบบไว้  อ่ ำนสัญ ญำเช่ำและสัญ ญำบริกำรที่เกี่ยวข้องกับ กำรเช่ ำอสังหำริม ทรัพ ย์เพื่อกำรลงทุนของกลุ่มบริษทั เพื่อ พิจำรณำเงือ่ นไขต่ำงๆ ทีเ่ กี่ยวกับกำรรับรูร้ ำยได้  ทดสอบกำรคำนวณในกระดำษทำกำรรับรูร้ ำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรทีเ่ กี่ยวข้องว่ำเป็ นไปตำมเงือ่ นไขต่ำงๆ ในสัญญำและเป็ นไปตำมนโยบำยกำรรับรูร้ ำยได้ของกลุม่ บริษทั  สุ่มตรวจสอบเอกสำรประกอบรำยกำรรับรูร้ ำยได้ทเ่ี กิดขึ้นในช่วงใกล้ส้นิ รอบระยะเวลำบัญชี  สอบทำนใบลดหนี้ท่กี ลุม่ บริษทั ออกภำยหลังวันสิ้นรอบระยะเวลำบัญชี  สุ่มตรวจสอบรำยกำรอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนทีก่ ่อให้เกิดรำยได้ค่ำเช่ำและค่ำบริกำรว่ำมีผูเ้ ช่ำอยู่จริง โดย กำรทดสอบสัญญำเช่ำและบริกำรกับผลกำรตรวจนับอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน  วิเครำะห์เปรียบเทียบข้อมูลบัญชีรำยได้แบบแยกย่อย (Disaggregated data) เพื่อตรวจสอบควำมผิดปกติท่ี อำจเกิดขึ้นของรำยกำรขำยตลอดรอบระยะเวลำบัญชี โดยเฉพำะรำยกำรบัญชีท่ที ำผ่ำนใบสำคัญทัว่ ไป ข้อมูลอืน่ ผูบ้ ริหำรเป็ นผู ร้ บั ผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่รวมอยู่ในรำยงำนประจำปี ของกลุ่มบริษทั (แต่ไม่รวมถึงงบ กำรเงินและรำยงำนของผูส้ อบบัญชีท่แี สดงอยู่ในรำยงำนนัน้ ) ซึ่งคำดว่ำจะถูกจัดเตรียมให้กบั ข้ำพเจ้ำภำยหลังวันที่ใน รำยงำนของผูส้ อบบัญชีน้ ี ควำมเห็ น ของข้ำ พเจ้ำ ต่ อ งบกำรเงิน ไม่ ค รอบคลุ ม ถึ ง ข้อ มู ล อื่ น และข้ำ พเจ้ำ ไม่ ไ ด้ใ ห้ข อ้ สรุ ป ในลัก ษณะกำรให้ ควำมเชื่อมันในรู ่ ปแบบใดๆต่อข้อมูลอื่นนัน้


รายงานงบการเงิน

115

ควำมรับผิดชอบของข้ำพเจ้ำที่เกี่ยวเนื่องกับกำรตรวจสอบงบกำรเงินคือ กำรอ่ำนและพิจำรณำว่ำข้อมูลอื่นนัน้ มีควำม ขัดแย้งที่มสี ำระสำคัญกับงบกำรเงินหรือกับควำมรูท้ ่ไี ด้รบั จำกกำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำหรือไม่ หรือปรำกฏว่ำข้อมูลอื่น แสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสำระสำคัญหรือไม่ เมื่อข้ำพเจ้ำได้อ่ำนรำยงำนประจำปี ของกลุ่มบริษทั ตำมที่กล่ำวข้ำงต้นแล้ว และหำกสรุปได้ว่ำมีกำรแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็ นสำระสำคัญ ข้ำพเจ้ำจะสื่อสำรเรื่องดังกล่ำวให้ผูม้ หี น้ำที่ในกำรกำกับดูแลทรำบเพื่อให้มกี ำรดำเนินกำร แก้ไขทีเ่ หมำะสมต่อไป ความรับผิดชอบของผูบ้ ริหารและผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลต่องบการเงิน ผูบ้ ริหำรมีหน้ำทีร่ บั ผิดชอบในกำรจัดทำและนำเสนองบกำรเงินเหล่ำนี้โดยถูกต้องตำมที่ควรตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำง กำรเงิน และรับ ผิด ชอบเกี่ย วกับ กำรควบคุ มภำยในที่ผู บ้ ริห ำรพิจ ำรณำว่ำจ ำเป็ น เพื่อ ให้ส ำมำรถจัดท ำงบกำรเงิน ที่ ปรำศจำกกำรแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสำระสำคัญไม่ว่ำจะเกิดจำกกำรทุจริตหรือข้อผิดพลำด ในกำรจัดทำงบกำรเงิน ผูบ้ ริหำรรับผิดชอบในกำรประเมินควำมสำมำรถของกลุ่มบริษทั ในกำรดำเนินงำนต่อเนื่อง กำร เปิ ดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับกำรดำเนิ นงำนต่ อเนื่ องในกรณี ท่ีมีเรื่องดังกล่ำว และกำรใช้เกณฑ์กำรบัญ ชีสำหรับกิจกำรที่ ดำเนินงำนต่อเนื่องเว้นแต่ผูบ้ ริหำรมีควำมตัง้ ใจที่จะเลิกกลุม่ บริษทั หรือหยุดดำเนินงำนหรือไม่สำมำรถดำเนินงำนต่อเนื่อง อีกต่อไปได้ ผูม้ หี น้ำทีใ่ นกำรกำกับดูแลมีหน้ำทีใ่ นกำรสอดส่องดูแลกระบวนกำรในกำรจัดทำรำยงำนทำงกำรเงินของกลุม่ บริษทั ความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน กำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ควำมเชื่อมัน่ อย่ำงสมเหตุสมผลว่ำงบกำรเงินโดยรวมปรำศจำกกำร แสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสำระสำคัญหรือไม่ ไม่ว่ำจะเกิดจำกกำรทุจริตหรือข้อผิดพลำด และเสนอรำยงำน ของผูส้ อบบัญชีซ่งึ รวมควำมเห็นของข้ำพเจ้ำอยู่ดว้ ย ควำมเชื่อมันอย่ ่ ำงสมเหตุสมผลคือควำมเชื่อมัน่ ในระดับสูงแต่ไม่ได้ เป็ นกำรรับประกันว่ำกำรปฏิบตั ิงำนตรวจสอบตำมมำตรฐำนกำรสอบบัญชีจะสำมำรถตรวจพบข้อมูลที่ข ั ดต่อข้อเท็จจริง อันเป็ น สำระสำคัญ ที่มีอ ยู่ได้เสมอไป ข้อ มูลที่ขดั ต่ อข้อเท็จ จริงอำจเกิดจำกกำรทุจ ริต หรือ ข้อผิด พลำดและถือว่ ำมี สำระสำคัญเมือ่ คำดกำรณ์อย่ำงสมเหตุสมผลได้ว่ำรำยกำรทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงแต่ละรำยกำรหรือทุกรำยกำรรวมกันจะมีผล ต่อกำรตัดสินใจทำงเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบกำรเงินจำกกำรใช้งบกำรเงินเหล่ำนี้ ในกำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำ ตำมมำตรฐำนกำรสอบบัญ ชี ข้ำ พเจ้ำใช้ดุ ล ยพิ นิ จ และกำรสัง เกตและสงสัย เยี่ ย ง ผูป้ ระกอบวิชำชีพตลอดกำรตรวจสอบ และข้ำพเจ้ำได้ปฏิบตั งิ ำนดังต่อไปนี้ดว้ ย • ระบุและประเมินควำมเสี่ยงที่อำจมีกำรแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสำระสำคัญในงบกำรเงิน ไม่ว่ำจะ เกิดจำกกำรทุจริตหรือข้อผิดพลำด ออกแบบและปฏิบตั ิงำนตำมวิธีกำรตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อควำมเสี่ยง เหล่ำนัน้ และได้หลักฐำนกำรสอบบัญ ชีท่ีเพียงพอและเหมำะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในกำรแสดงควำมเห็นของ ข้ำพเจ้ำ ควำมเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสำระสำคัญซึ่งเป็ นผลมำจำกกำรทุจริตจะสูงกว่ำ ควำมเสี่ยงที่เกิดจำกข้อผิดพลำด เนื่องจำกกำรทุจริตอำจเกี่ยวกับกำรสมรูร้ ่วมคิดกำรปลอมแปลงเอกสำร


116

รายงานประจ�ำปี 2559

หลักฐำน กำรตัง้ ใจละเว้นกำรแสดงข้อมูล กำรแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตำมข้อเท็จจริงหรือกำรแทรกแซงกำร ควบคุมภำยใน • ทำควำมเข้ำใจเกี่ยวกับระบบกำรควบคุมภำยในทีเ่ กี่ยวข้องกับกำรตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีกำรตรวจสอบให้ เหมำะสมกับสถำนกำรณ์ แต่ ไม่ใช่ เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรแสดงควำมเห็นต่ อควำมมีประสิทธิผ ลของกำร ควบคุมภำยในของกลุม่ บริษทั • ประเมิน ควำมเหมำะสมของนโยบำยกำรบัญ ชี ท่ี ผู บ้ ริ ห ำรใช้แ ละควำมสมเหตุ ส มผลของประมำณกำร ทำงบัญชีและกำรเปิ ดเผยข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องทีผ่ ูบ้ ริหำรจัดทำ • สรุปเกี่ยวกับควำมเหมำะสมของกำรใช้เกณฑ์กำรบัญชีสำหรับกิจกำรทีด่ ำเนินงำนต่อเนื่องของผูบ้ ริหำร และสรุป จำกหลักฐำนกำรสอบบัญชีท่ไี ด้รบั ว่ำมีควำมไม่แน่ นอนที่มสี ำระสำคัญที่เกี่ยวกับเหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ท่ี อำจเป็ นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่ำงมีนยั สำคัญต่อควำมสำมำรถของกลุ่มบริษทั ในกำรดำเนินงำนต่อเนื่องหรือไม่ หำกข้ำพเจ้ำได้ขอ้ สรุปว่ำมีควำมไม่แน่นอนที่มสี ำระสำคัญ ข้ำพเจ้ำจะต้องให้ขอ้ สังเกตไว้ในรำยงำนของผูส้ อบ บัญชีของข้ำพเจ้ำถึงกำรเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบกำรเงิน หรือหำกเห็นว่ำกำรเปิ ดเผยดังกล่ำวไม่เพียงพอ ข้ำพเจ้ำจะแสดงควำมเห็นที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้ำพเจ้ำขึ้นอยู่กบั หลักฐำนกำรสอบบัญชีท่ไี ด้รบั จนถึง วันที่ในรำยงำนของผูส้ อบบัญชีของข้ำพเจ้ำ อย่ำงไรก็ตำม เหตุกำรณ์หรือสถำนกำรณ์ในอนำคตอำจเป็ นเหตุให้ กลุม่ บริษทั ต้องหยุดกำรดำเนินงำนต่อเนื่องได้ • ประเมิน กำรน ำเสนอ โครงสร้ำงและเนื้ อ หำของงบกำรเงิน โดยรวม รวมถึง กำรเปิ ด เผยข้อ มูล ที่เกี่ย วข้อ ง ตลอดจนประเมินว่ำงบกำรเงินแสดงรำยกำรและเหตุกำรณ์ทเ่ี กิดขึ้นโดยถูกต้องตำมทีค่ วรหรือไม่ • รวบรวมเอกสำรหลักฐำนกำรสอบบัญชีท่เี หมำะสมอย่ำงเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทำงกำรเงินของกิจกำรหรือของ กิจกรรมทำงธุ รกิจภำยในกลุ่มบริษทั เพื่อแสดงควำมเห็นต่องบกำรเงินรวม ข้ำพเจ้ำรับผิดชอบต่อกำรกำหนด แนวทำง กำรควบคุมดูแล และกำรปฏิบตั งิ ำนตรวจสอบกลุ่มบริษทั ข้ำพเจ้ำเป็ นผูร้ บั ผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียวต่อ ควำมเห็นของข้ำพเจ้ำ ข้ำพเจ้ำได้ส่ือสำรกับผู ม้ ีหน้ำที่ในกำรกำกับดู แลเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลำของกำรตรวจสอบตำมที่ได้วำงแผนไว้ ประเด็นทีม่ นี ยั สำคัญทีพ่ บจำกกำรตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องทีม่ นี ยั สำคัญในระบบกำรควบคุม ภำยในซึง่ ข้ำพเจ้ำได้พบ ในระหว่ำงกำรตรวจสอบของข้ำพเจ้ำ ข้ำพเจ้ำได้ให้คำรับรองแก่ผูม้ หี น้ำที่ในกำรกำกับดูแลว่ำข้ำพเจ้ำได้ปฏิบตั ิตำมข้อกำหนดจรรยำบรรณที่เกี่ยวข้องกับควำม เป็ นอิสระและได้ส่อื สำรกับผูม้ หี น้ำที่ในกำรกำกับดูแลเกี่ยวกับควำมสัมพันธ์ทงั้ หมดตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งข้ำพเจ้ำเชื่อว่ำมี เหตุผลที่บุคคลภำยนอกอำจพิจำรณำว่ำกระทบต่อควำมเป็ นอิสระของข้ำพเจ้ำและมำตรกำรที่ขำ้ พเจ้ำใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้ ข้ำพเจ้ำขำดควำมเป็ นอิสระ จำกเรื่องทัง้ หลำยที่ส่อื สำรกับผูม้ หี น้ำที่ในกำรกำกับดูแล ข้ำพเจ้ำได้พจิ ำรณำเรื่องต่ำง ๆ ที่มนี ยั สำคัญที่สุดในกำรตรวจสอบ งบกำรเงินในงวดปัจจุบนั และกำหนดเป็ นเรื่องสำคัญในกำรตรวจสอบ ข้ำพเจ้ำได้อธิบำยเรื่องเหล่ำนี้ไว้ในรำยงำนของผูส้ อบ บัญชี เว้นแต่ กฎหมำยหรือข้อบังคับห้ำมไม่ให้เปิ ดเผยเรื่องดังกล่ำวต่ อสำธำรณะ หรือในสถำนกำรณ์ ท่ียำกที่จะเกิดขึ้น


รายงานงบการเงิน

117

ข้ำพเจ้ำพิจำรณำว่ ำไม่ควรสื่อสำรเรื่องดังกล่ำวในรำยงำนของข้ำพเจ้ำเพรำะกำรกระทำดังกล่ำวสำมำรถคำดกำรณ์ได้อย่ำง สมเหตุสมผลว่ำจะมีผลกระทบในทำงลบมำกกว่ำผลประโยชน์ทผ่ี ูม้ สี ่วนได้เสียสำธำรณะจะได้จำกกำรสื่อสำรดังกล่ำว ผูส้ อบบัญชีท่รี บั ผิดชอบงำนสอบบัญชีและกำรนำเสนอรำยงำนฉบับนี้คือ นำงสำวรสพร เดชอำคม

รสพร เดชอำคม ผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญำต เลขทะเบียน 5659 บริษทั สำนักงำน อีวำย จำกัด กรุงเทพฯ: 23 กุมภำพันธ์ 2560


118

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อน่ื เงินให้กูย้ มื ระยะสัน้ แก่บริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินทีม่ ภี าระคา้ ประกัน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าดาเนินงานทีย่ งั ไม่เรียกชาระ เงินให้กูย้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินลงทุนในบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่างการพัฒนาและ พร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนให้เช่า ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

7, 8 9 7, 10 7 7

7, 11 7 12 13 14

15.1 15.2 16 17 28 7

2559

2558

(หน่ วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

284,268,251 22,144,140 138,029,561 108,668,574 109,767,436 249,376,876 912,254,838

1,133,889,840 22,183,200 94,959,070 73,932,586 217,050,172 1,542,014,868

213,910,734 129,086,038 2,872,940 62,683,848 408,553,560

1,068,081,086 42,333,851 10,848,835 41,178,047 1,162,441,819

240,000 121,170,552 4,840,475 2,915,233,379 256,500

57,430,970 80,315,732 4,068,278 3,574,453,894 256,500

9,561,993 717,000,000 20,070,806,949 4,532,517,334 256,500

57,190,970 10,064,616 20,070,806,949 5,463,660,270 256,500

17,639,902,311 13,607,243,626 180,561,960 3,526,299 684,192,061 23,306,253 35,180,473,416 36,092,728,254

20,305,645,310 9,769,269,931 183,226,195 3,759,395 28,296,844 714,983,875 23,430,829 34,745,137,753 36,287,152,621

5,459,871,002 2,206,620,325 14,567,193 1,423,492 15,498,695 33,028,123,483 33,436,677,043

5,618,829,175 2,048,887,014 20,145,842 2,347,916 16,267,445 33,308,456,697 34,470,898,516


119

รายงานงบการเงิน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม หมายเหตุ หนี้ สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ หนี้ สนิ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อน่ื หนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงินทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกันทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี หุน้ กูท้ ถ่ี งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ประมาณการหนี้สนิ ระยะสัน้ หนี้สนิ หมุนเวียนอืน่ รวมหนี้ สนิ หมุนเวียน หนี้ สนิ ไม่หมุนเวียน หนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาว หุน้ กู ้ สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนี้สนิ ระยะยาว หนี้สนิ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินมัดจาจากลูกค้า รายได้ค่าเช่าทีด่ นิ รับล่วงหน้า รวมหนี้ สนิ ไม่หมุนเวียน รวมหนี้ สนิ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

18 7 7, 19 20 7 21 22 26.2 7

20 7 21 22 23 26.2 28 7

2559

2558

(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

2,026,247,663 1,060,000,000 493,477,245 4,473,011 291,266,000 254,227,294 4,020,000,000 1,318,998 139,968,102 8,290,978,313

2,033,393,223 606,336,905 1,149,769 71,600,000 304,899,175 3,250,000,000 684,258 76,327,864 134,226,163 6,478,617,357

2,026,247,663 1,060,000,000 255,767,995 254,227,294 4,020,000,000 36,364,972 7,652,607,924

2,033,393,223 291,500,000 270,619,153 140,000,000 3,250,000,000 10,769,472 39,907,439 6,036,189,287

1,730,848 492,500,000 778,163,458 13,320,000,000 41,998,075 62,984,974 367,945,470 1,318,758,362 16,384,081,187 24,675,059,500

2,910,640 676,780,000 721,980,935 14,940,000,000 32,204,791 59,690,523 302,984,207 1,382,486,942 18,119,038,038 24,597,655,395

438,163,458 13,320,000,000 27,152,017 190,917,252 135,194,107 400,284,140 14,511,710,974 22,164,318,898

671,980,935 14,940,000,000 25,299,855 46,421,498 173,160,411 103,652,982 428,745,850 16,389,261,531 22,425,450,818


120

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม หมายเหตุ ส่วนของผู ถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 1,834,142,375 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (2558: หุน้ สามัญ 1,115,941,811 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) ทุนทีอ่ อกและชาระแล้ว หุน้ สามัญ 1,099,142,375 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผู ถ้ อื หุน้ ส่วนของผู ถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนของผู ม้ สี ่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผู ถ้ อื หุน้ รวมหนี้ สินและส่วนของผู ถ้ อื หุน้

24

25

2559

2558

(หน่ วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

1,834,142,375

1,115,941,811

1,834,142,375

1,115,941,811

1,099,142,375 7,343,380,077

1,099,142,375 7,343,380,077

1,099,142,375 7,343,380,077

1,099,142,375 7,343,380,077

126,374,017 2,775,269,638 67,946,663 11,412,112,770 5,555,984 11,417,668,754 36,092,728,254

126,374,017 3,052,854,276 65,265,091 11,687,015,836 2,481,390 11,689,497,226 36,287,152,621

126,374,017 2,703,461,676 11,272,358,145 11,272,358,145 33,436,677,043

126,374,017 3,476,551,229 12,045,447,698 12,045,447,698 34,470,898,516

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

กรรมการ


121

รายงานงบการเงิน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบกำไรขำดทุน สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

รำยได้ รายได้จากการให้เช่าและบริการทีเ่ กี่ยวข้อง รายได้จากการให้บริการ รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าสาธารณู ปโภค เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม รายได้ค่าบริหารจัดการจากบริษทั ร่วม ดอกเบี้ยรับ กาไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม รายได้อน่ื รวมรำยได้ ค่ำใช้จ่ำย ต้นทุนการให้เช่าและบริการทีเ่ กี่ยวข้อง ต้นทุนการให้บริการ ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ต้นทุนค่าสาธารณู ปโภค ประมาณการหนี้สนิ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ (โอนกลับรายการ) ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเสือ่ มราคา ค่าใช้จ่ายอืน่ รวมค่ำใช้จ่ำย กำไรก่อนส่วนแบ่งกำไร (ขำดทุน) จำกเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และกำรร่วมค้ำ กำไรที่รบั รู เ้ พิ่มเติมจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ ให้บริษทั ร่วม กำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ ให้บริษทั ร่วม ค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินและค่ำใช้จ่ำยภำษี เงินได้ ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่วมค้า กาไรทีร่ บั รู เ้ พิม่ เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กาไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กำไรก่อนค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินและค่ำใช้จ่ำยภำษี เงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไร (ขำดทุน) ก่อนค่ำใช้จ่ำยภำษี เงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำไร (ขำดทุน) สำหรับปี

หมายเหตุ 7 7 7, 26.1 7, 12 7, 14 7 7

26.1 26.2 7

14 13 14 14 7 28

กำรแบ่งปันกำไร ส่วนทีเ่ ป็ นของผู ถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนทีเ่ ป็ นของผู ม้ สี ่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย กำไรต่อหุน้ กาไรต่อหุน้ ขัน้ พื้นฐาน กาไร (ขาดทุน) ส่วนทีเ่ ป็ นของผู ถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2559

งบกำรเงินรวม

(หน่ วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

2558

1,172,118,655 46,586,275 250,675,813 32,306,808 201,121,219 6,766,462 103,623,088 59,308,417 1,872,506,737

1,048,547,425 30,157,752 3,345,605,866 35,624,500 204,123,010 6,521,222 126,299,966 57,050,387 4,853,930,128

334,879,156 30,742,847 40,746,813 7,892,805 5,999,981 323,866,663 114,961,823 23,799,004 48,679,805 53,119,555 984,688,452

357,462,904 22,666,536 652,330,421 8,726,644 458,499,966 367,643,459 128,274,086 65,498,489 44,423,878 41,392,308 2,146,918,691

332,557,436 39,045,201 160,164,425 27,214,505 (59,325,829) 43,330,188 479,566,472 181,139,366 19,778,661 1,223,470,425

306,394,792 22,955,582 2,401,415,858 29,089,888 33,316,822 36,437,352 435,853,810 284,594,909 9,693,406 3,559,752,419

54,684,744 27,983,801 28,347,046 6,985,898 (57,190,971) 8,033,118 266,750,671 62,322,553 10,179,929 408,096,789

79,784,653 20,402,889 341,092,339 8,709,589 (8,037,142) 11,228,063 284,289,201 90,903,449 586,296 828,959,337

649,036,312 252,216,889 172,207 294,951,979 1,196,377,387 (811,957,686) 384,419,701 (106,319,774) 278,099,927

1,294,177,709 248,467,200 (136,303) 246,687,892 (166,262,378) 1,622,934,120 (762,212,682) 860,721,438 (89,762,276) 770,959,162

576,591,663 576,591,663 (779,868,689) (203,277,026) (18,259,511) (221,536,537)

1,317,959,354 1,317,959,354 (744,241,629) 573,717,725 (33,964,332) 539,753,393

275,025,315 3,074,612 278,099,927

769,741,292 1,217,870 770,959,162

(221,536,537)

539,753,393

0.25

0.70

(0.20)

0.49

30


122

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม

กำไร (ขำดทุน) สำหรับปี กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ : รายการทีจ่ ะถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลีย่ นจากการแปลงค่างบการเงิน ทีเ่ ป็ นเงินตราต่างประเทศ รายการทีจ่ ะถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง

รายการทีจ่ ะไม่ถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง กาไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสาหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน หัก: ผลกระทบของภาษีเงินได้ รายการทีจ่ ะไม่ถูกบันทึกในส่วนของกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจากภาษีเงินได้ กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สำหรับปี กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี กำรแบ่งปันกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนทีเ่ ป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

2559

2558

278,099,927

770,959,162

(221,536,537)

539,753,393

2,681,572 2,681,572

1,651,151 1,651,151

-

-

(3,834,519) 766,904

1,000,559 (200,112)

(2,513,348) 502,670

2,328,361 (465,672)

(3,067,615) (386,043)

800,447 2,451,598

(2,010,678) (2,010,678)

1,862,689 1,862,689

277,713,884

773,410,760

(223,547,215)

541,616,082

274,639,272 3,074,612 277,713,884

772,192,890 1,217,870 773,410,760

(223,547,215) (223,547,215)

541,616,082 541,616,082


1,099,142,375 1,099,142,375

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

1,099,142,375 1,099,142,375

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อกและชาระแล้ว

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ สำหรับปี ส้ นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

7,343,380,077 7,343,380,077

7,343,380,077 7,343,380,077

ส่วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ

126,374,017 126,374,017

126,374,017 126,374,017 3,052,854,276 275,025,315 (3,067,615) 271,957,700 (549,542,338) 2,775,269,638

2,831,850,724 769,741,292 800,447 770,541,739 (549,538,187) 3,052,854,276

กาไรสะสม สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร

16,743,283 2,681,572 2,681,572 19,424,855

15,092,132 1,651,151 1,651,151 16,743,283

ผลต่าง จากการแปลงค่า งบการเงินทีเ่ ป็ น เงินตราต่างประเทศ

48,521,808 48,521,808

48,521,808 48,521,808

ส่วนเกินทุน (ขาดทุน) จากการเปลีย่ นแปลง สัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ย่อย

65,265,091 2,681,572 2,681,572 67,946,663

63,613,940 1,651,151 1,651,151 65,265,091

รวมองค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้

องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของผูถ้ อื หุน้ กาไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอืน่

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

งบกำรเงินรวม

11,687,015,836 275,025,315 (386,043) 274,639,272 (549,542,338) 11,412,112,770

11,464,361,133 769,741,292 2,451,598 772,192,890 (549,538,187) 11,687,015,836

รวมส่วนของ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

2,481,390 3,074,612 3,074,612 (18) 5,555,984

1,263,554 1,217,870 1,217,870 (34) 2,481,390

ส่วนของผูม้ ี ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มี อานาจควบคุม ของบริษทั ย่อย

11,689,497,226 278,099,927 (386,043) 277,713,884 (549,542,356) 11,417,668,754

11,465,624,687 770,959,162 2,451,598 773,410,760 (549,538,221) 11,689,497,226

รวมส่วนของ ผูถ้ อื หุน้

(หน่วย: บาท)

รายงานงบการเงิน

123


1,099,142,375 1,099,142,375

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2557 กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 ขาดทุนสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 33) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ทุนเรือนหุน้ ทีอ่ อก และชาระแล้ว 1,099,142,375 1,099,142,375

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่วนของผู ถ้ อื หุน้ (ต่อ) สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

7,343,380,077 7,343,380,077

ส่วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ 7,343,380,077 7,343,380,077 126,374,017 126,374,017

3,476,551,229 (221,536,537) (2,010,678) (223,547,215) (549,542,338) 2,703,461,676

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร กาไรสะสม สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร 126,374,017 3,484,473,334 539,753,393 1,862,689 541,616,082 (549,538,187) 126,374,017 3,476,551,229

12,045,447,698 (221,536,537) (2,010,678) (223,547,215) (549,542,338) 11,272,358,145

รวม ส่วนของผู ถ้ อื หุน้ 12,053,369,803 539,753,393 1,862,689 541,616,082 (549,538,187) 12,045,447,698

(หน่วย: บาท)

124 รายงานประจ�ำปี 2559


125

รายงานงบการเงิน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด สำหรับปี ส้ นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมดำเนิ นงำน กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกาไรก่อนภาษีเป็ นเงินสดรับ(จ่าย) จากการดาเนินงาน ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ เงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจากบริษทั ร่วม ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ขาดทุน (กาไร) จากการขาย/ตัดจาหน่ายทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ กาไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ขาดทุนจากการตัดจาหน่ายเงินลงทุนในบริษทั ทีเ่ ลิกกิจการ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินจากการเลิกกิจการบริษทั ย่อย (กาไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจริง ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน รับรูร้ ายได้ค่าเช่าทีด่ นิ รับล่วงหน้า รับรูค้ ่าใช้จ่ายค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า ประมาณการหนี้สนิ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ (โอนกลับรายการ) ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ส่วนแบ่ง (กาไร) ขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า กาไรทีร่ บั รูเ้ พิม่ เติมจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม กาไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กาไรจากการดาเนินงานก่อนการเปลีย่ นแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สนิ ดาเนินงาน สินทรัพย์ดาเนินงาน (เพิม่ ขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อน่ื เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ ค่าเช่าทีด่ นิ จ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ หนี้สนิ ดาเนินงานเพิม่ ขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้อน่ื หนี้สนิ หมุนเวียนอืน่ ประมาณการหนี้สนิ เงินมัดจาจากลูกค้า รายได้ค่าเช่าทีด่ นิ รับล่วงหน้า จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน เงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน รับดอกเบี้ย จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนิ นงำน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2558

(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

384,419,701

860,721,438

(203,277,026)

573,717,725

436,122,337 15,197,137 3,010,598 150,571,004 (1,267,879) (103,623,088) 1,596,622 7,716,965 (64,221,338) 30,791,814

522,574,498 2,280,414,365 8,767,850 (126,299,966) 5,150,496 (12,722,177) (3,385) 5,917,882 (42,916,662) 31,856,930

98,536,729 7,369,117 2,810,598 (5,999,981) (323,866,663) 27,168,957 (1,217,514) (48,679,805) 1,097,014 (28,954,468) -

151,124,519 (458,499,966) (367,643,459) 323,331,160 582,899 (44,423,878) 4,962,247 (3,385) 4,163,492 (12,810,874) -

(59,325,829) (252,216,889) (172,207) (294,951,979) (6,766,462) 807,355,536

33,316,822 (248,467,200) 136,303 (246,687,892) 166,262,378 (6,521,222) 751,327,944

(57,190,971) (23,799,004) 775,272,575

(8,037,142) (65,498,489) 733,356,892

1,054,236,043

3,982,828,402

219,269,558

834,321,741

(101,485,960) (35,834,850) 4,235,805 124,576

(38,522,116) 96,468,113 (11,501,452) (68,055,844) (543,910)

(93,872,026) 7,975,895 1,042,159 768,750

1,201,546 9,565,941 (557,776) (756,021)

18,530,609 6,234,697 (63,387,623) 64,961,263 (1,758,200) 945,856,360 6,119,375 (814,634,263) (50,198,822) 87,142,650

(28,778,732) (13,241,417) (39,388,346) 19,265,633 247,921,234 (1,117,072) 4,145,334,493 6,514,367 (721,660,943) (182,923,079) 3,247,264,838

6,973,243 (3,049,709) 31,541,125 (1,758,200) 168,890,795 5,241,752 (782,654,921) (22,547,961) (631,070,335)

(22,561,643) (1,914,894) (5,562,097) (15,618,733) 89,330,782 (1,117,072) 886,331,774 5,807,967 (703,528,682) (107,292,937) 81,318,122

2559

งบกำรเงินรวม


126

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม 2559 กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชัว่ คราวลดลง เงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิม่ ขึ้น เงินลงทุนในบริษทั ย่อยเพิม่ ขึ้น เงินลงทุนในการร่วมค้าเพิม่ ขึ้น เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินสดรับจากการจ่ายคืนมูลค่าหน่วยทรัสต์จากการลดทุน เงินสดรับจากการคืนทุนจากบริษทั ย่อยทีเ่ ลิกกิจการ เงินฝากสถาบันการเงินทีม่ ภี าระคา้ ประกันลดลง รับคืนเงินให้กูย้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ย่อย เงินสดจ่ายให้กูย้ มื ระยะสัน้ เงินสดจ่ายให้กูย้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ย่อย เงินสดจ่ายซื้ออสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่าง การพัฒนาสินทรัพย์พร้อมให้เช่า /ขาย เงินสดจ่ายซื้ออุปกรณ์ เงินสดจ่ายเงินมัดจาค่าทีด่ นิ เงินสดจ่ายซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รับดอกเบี้ยจากบริษทั ย่อย รับเงินปันผลจากบริษทั ย่อย รับเงินปันผลจากบริษทั ร่วม เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดสุทธิจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ (ลดลง) เพิม่ ขึ้น เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาว เงินสดรับจากหุน้ กู ้ ชาระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน ชาระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาว ชาระคืนหุน้ กู ้ เงินปันผลจ่าย เงินสดสุทธิจำก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหำเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินลดลง เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดปลำยปี (หมำยเหตุ 8) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2558

(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

39,060 (33,698,244) (599,990) 1,013,520,985 57,190,970 (110,265,196) -

103,001,396 (1,136,478,852) 955,472,500 15,786,399 7,571,681 13,191,530 -

(33,698,244) 1,013,520,985 57,190,970 645,250,000 (1,362,250,000)

(1,141,697,259) (5,413,423,149) 955,472,500 7,517,524 184,187,221 13,191,530 6,879,999,850 (5,059,999,850)

(1,865,817,357) (11,584,374) (1,309,033) 323,866,663 2,423,577 (626,232,939)

(6,924,837,057) (13,519,342) (73,914,283) (177,849) 376,942,736 4,522,573 (6,672,438,568)

(126,226,836) (4,126,160) (224,496) 16,000,000 5,999,981 323,866,663 2,337,555 537,640,418

(1,338,655,824) (4,873,103) (152,673) 60,828,534 458,499,966 367,643,459 2,781,525 (4,028,679,749)

(10,000,000) 1,060,000,000 106,986,000 430,000,000 2,400,000,000 (71,600,000) (424,489,358) (3,250,000,000) (549,650,270) (308,753,628) (1,777,672) (849,621,589) 1,133,889,840 284,268,251

1,380,000,000 488,721,977 5,550,000,000 (469,224,983) (2,170,000,000) (549,378,422) 4,230,118,572 (5,634,983) 799,309,859 334,579,981 1,133,889,840

(10,000,000) 768,500,000 2,400,000,000 (119,590,183) (3,250,000,000) (549,650,252) (760,740,435) (854,170,352) 1,068,081,086 213,910,734

1,380,000,000 291,500,000 438,721,977 5,550,000,000 (133,242,983) (2,170,000,000) (549,378,388) 4,807,600,606 860,238,979 207,842,107 1,068,081,086


127

รายงานงบการเงิน

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปี ส้ นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม 2558

2559 ข้อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม เงินสดจ่ายระหว่างปี: ดอกเบี้ยจ่ายทีบ่ นั ทึกเป็ นต้นทุนของสินทรัพย์ รายการทีไ่ ม่ใช่เงินสด: โอนอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ พร้อมให้เช่า /ขายและอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนให้เช่าเป็ น ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ โอนทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ไปเป็ นอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนทีอ่ ยู่ ในระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์พร้อมให้เช่า /ขายและอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ การลงทุนให้เช่า รายการซื้ออสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน และทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ทย่ี งั ไม่ได้จ่ายชาระ เงินมัดจาค่าทีด่ นิ ทีบ่ นั ทึกเป็ นต้นทุนของสินทรัพย์ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

20,542,895

60,842,762

12,558,150

25,363,825

150,571,004

2,280,414,365

27,168,957

323,331,160

-

1,330,557,783

-

89,414,797

230,307,866 -

349,288,052 535,656,058

18,317,424 -

29,797,124 -


128

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สาหรับปี ส้ นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 1. ข้อมูลทัว่ ไป บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็ คชัน่ จำกัด (มหำชน) (“บริษทั ฯ”) เป็ นบริษทั มหำชนซึ่งจัดตัง้ และมี ภูมลิ ำเนำในประเทศไทย โดยบริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีธุรกิจหลักคือกำรพัฒนำอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรอุตสำหกรรม โดยกำรสร้ำงโรงงำนและคลังสินค้ำเพื่อให้เช่ำและขำยเมื่อมีโอกำสเหมำะสม และธุ รกิจกำรให้บริกำรที่เกี่ยวเนื่องกับ กำรให้เช่ำ ที่อ ยู่ ต ำมที่จ ดทะเบียนของบริษ ทั ฯ อยู่ ท่ี อำคำรสำธรซิต้ ีท ำวเวอร์ เลขที่ 175 ชัน้ 13/1 ถนนสำทรใต้ กรุงเทพมหำนคร ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 บริษทั ฯมีบริษทั สวนอุตสำหกรรมโรจนะ จำกัด (มหำชน) ซึ่งเป็ น บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ในประเทศ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ โดยถือหุน้ ร้อยละ 43.55

2. เกณฑ์ในการจัดทางบการเงิน 2.1 งบกำรเงินนี้จดั ทำขึ้นตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่กำหนดในพระรำชบัญญัติวิชำชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรำยกำรในงบกำรเงินตำมข้อกำหนดในประกำศกรมพัฒนำธุรกิจกำรค้ำลงวันที่ 28 กันยำยน 2554 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัตกิ ำรบัญชี พ.ศ. 2543 งบกำรเงินฉบับภำษำไทยเป็ นงบกำรเงินฉบับที่บริษทั ฯใช้เป็ นทำงกำรตำมกฎหมำย งบกำรเงินฉบับ ภำษำอังกฤษแปลจำกงบกำรเงินฉบับภำษำไทยนี้ งบกำรเงินนี้ได้จดั ทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์รำคำทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่ำงอื่นในนโยบำยกำร บัญชี 2.2 เกณฑ์ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวม ก) งบกำรเงินรวมนี้ ได้จดั ทำขึ้นโดยรวมงบกำรเงินของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย (“กลุม่ บริษทั ”) โดยกำรถือหุน้ ของบริษทั ฯในบริษทั ย่อย สรุปได้ดงั นี้


129

รายงานงบการเงิน

บริษทั

จัดตัง้ ขึ้น ในประเทศ

ลักษณะธุรกิจ

ร้อยละ ของกำรถือหุน้ 2559

(ร้อยละ) บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จำกัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จำกัด Shanghai TICON Investment

Management Company Limited TICON (HK) Limited

ไทย

จีน

ธุรกิจพัฒนำอสังหำริมทรัพย์ โดยกำรสร้ำงโรงงำนเพือ่ ให้เช่ำ/ขำย ธุรกิจพัฒนำอสังหำริมทรัพย์ โดยกำรสร้ำงคลังสินค้ำเพือ่ ให้เช่ำ/ขำย ผูจ้ ดั กำรกองทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนใน อสังหำริมทรัพย์ ธุรกิจบริหำรกำรลงทุน

ฮ่องกง

ลงทุนในกิจกำรในต่ำงประเทศ

ไทย ไทย

2558

99.99

(ร้อยละ) 99.99

99.99

99.99

69.99

69.99

100.00

100.00

100.00

100.00

งบกำรเงินสำหรับปี ส้ นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 ของ Shanghai TICON Investment Management Company Limited (“บริษทั ย่อย”) ซึ่งรวมในงบกำรเงินรวมของบริษทั ฯ ตรวจสอบโดยผู ส้ อบ บัญชีอ่นื งบกำรเงิน สำหรับ ปี ส้ ินสุ ดวัน ที่ 31 ธัน วำคม 2559 และส ำหรับรอบระยะเวลำบัญ ชีต งั้ แต่ วนั ที่ 16 เมษำยน 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2558 ของ TICON (HK) Limited (“บริษทั ย่อย”) ซึ่งรวมในงบกำรเงินรวมของ บริษทั ฯ จัดทำขึ้นโดยฝ่ ำยบริหำรของบริษทั ย่อย ข) บริษทั ฯจะถือว่ำมีกำรควบคุมกิจกำรทีเ่ ข้ำไปลงทุนหรือบริษทั ย่อยได้ หำกบริษทั ฯมีสทิ ธิได้รบั หรือมี ส่วนได้เสียในผลตอบแทนของกิจกำรทีเ่ ข้ำไปลงทุน และสำมำรถใช้อำนำจในกำรสัง่ กำรกิจกรรมที่ส่งผลกระทบอย่ำงมี นัยสำคัญต่อจำนวนเงินผลตอบแทนนัน้ ได้ ค) บริษทั ฯนำงบกำรเงินของบริษทั ย่อยมำรวมในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมตัง้ แต่วนั ที่บริษ ัทฯมีอำนำจ ในกำรควบคุมบริษทั ย่อย จนถึงวันทีบ่ ริษทั ฯสิ้นสุดกำรควบคุมบริษทั ย่อยนัน้ ง) งบกำรเงินของบริษทั ย่อยได้จดั ทำขึ้นโดยใช้นโยบำยกำรบัญชีทส่ี ำคัญเช่นเดียวกันกับของ บริษทั ฯ จ) สินทรัพย์และหนี้สนิ ตำมงบกำรเงินของบริษทั ย่อยซึ่งจัดตัง้ ในต่ำงประเทศ แปลงค่ำเป็ นเงินบำทโดย ใช้อ ตั รำแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน ส่วนรำยได้และค่ ำใช้จ่ ำยแปลงค่ ำเป็ นเงินบำทโดยใช้อตั รำ แลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ รำยเดือน ผลต่ำงซึง่ เกิดขึ้นจำกกำรแปลงค่ำดังกล่ำวได้แสดงไว้เป็ นรำยกำร “ผลต่ำงจำกกำรแปลง ค่ำงบกำรเงินทีเ่ ป็ นเงินตรำต่ำงประเทศ” ในงบแสดงกำรเปลีย่ นแปลงในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ฉ) ยอดคงค้ำงระหว่ำงบริษทั ฯและบริษทั ย่อย รำยกำรค้ำระหว่ำงกันที่มสี ำระสำคัญได้ถกู ตัดออกจำก งบกำรเงินรวมนี้แล้ว


130

รายงานประจ�ำปี 2559

ช) ส่วนของผูม้ สี ่วนได้เสียที่ไม่มอี ำนำจควบคุม คือ จำนวนกำไรหรือขำดทุนและสินทรัพย์สุทธิของ บริษทั ย่อยส่วนที่ไม่ได้เป็ นของบริษทั ฯ และแสดงเป็ นรำยกำรแยกต่ำงหำกในส่วนของกำไรหรือขำดทุนรวมและส่วน ของผูถ้ อื หุน้ ในงบแสดงฐำนะกำรเงินรวม 2.3 บริษทั ฯจัดทำงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร โดยแสดงเงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมตำมวิธรี ำคำทุน

3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ก.

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับใช้ในปี ปจั จุบนั

ในระหว่ำงปี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้นำมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2558) และฉบับใหม่รวมถึงแนวปฏิบตั ิทำงบัญชี ที่ออกโดยสภำวิชำชีพบัญชี ซึ่งมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลำ บัญ ชีท่ีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกรำคม 2559 มำถือปฏิบตั ิ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินดังกล่ำวได้รบั กำร ปรับปรุงหรือจัดให้มขี ้ นึ เพื่อให้มเี นื้อหำเท่ำเทียมกับมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินระหว่ำงประเทศ โดยส่วนใหญ่ เป็ น กำรปรับ ปรุ งถ้อ ยค ำและค ำศัพ ท์ กำรตีควำมและกำรให้แนวปฏิบตั ิท ำงกำรบัญ ชีกบั ผู ใ้ ช้มำตรฐำน กำรน ำ มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินดังกล่ำวมำถือปฏิบตั นิ ้ ีไม่มผี ลกระทบอย่ำงเป็ นสำระสำคัญต่องบกำรเงินของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ข.

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับใช้ในอนาคต

ในระหว่ำงปี ปจั จุบนั สภำวิชำชีพบัญชีได้ประกำศใช้มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตีควำม มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2559) รวมถึงแนวปฏิบตั ิทำงบัญชีฉบับใหม่จำนวนหลำย ฉบับ ซึง่ มีผลบังคับใช้สำหรับงบกำรเงินทีม่ รี อบระยะเวลำบัญชีทเ่ี ริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกรำคม 2560 มำตรฐำนกำร รำยงำนทำงกำรเงินดังกล่ำวได้รบั กำรปรับปรุงหรือจัดให้มขี ้ นึ เพื่อให้มีเนื้อหำเท่ำเทียมกับมำตรฐำนกำรรำยงำนทำง กำรเงินระหว่ำงประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็ นกำรปรับปรุงถ้อยคำและคำศัพท์ กำรตีควำมและกำรให้แนวปฏิบตั ิทำงกำร บัญชีกบั ผูใ้ ช้มำตรฐำน ฝ่ ำยบริห ำรของบริษ ทั ฯและบริษ ทั ย่ อ ยเชื่อ ว่ ำมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน และกำรตี ค วำม มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับปรับ ปรุ ง และแนวปฏิบ ตั ิท ำงบัญ ชีฉ บับใหม่จ ะไม่มีผ ลกระทบอย่ ำงเป็ น สำระสำคัญต่องบกำรเงินเมื่อนำมำถือปฏิบตั ิ อย่ำงไรก็ตำม มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มกี ำรเปลี่ยนแปลง หลักกำรสำคัญ สรุปได้ดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ มำตรฐำนฉบับปรับปรุงนี้กำหนดทำงเลือกเพิ่มเติมสำหรับกำรบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงิน ลงทุนในกำรร่วมค้ำ และเงินลงทุนในบริษทั ร่วม ในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรโดยเลือกบันทึกตำมวิธีส่วนได้เสียได้ ตำมที่อธิบำยไว้ในมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เงินลงทุนในบริษทั ร่วมและกำรร่วมค้ำ ทัง้ นี้ กิจกำรต้องใช้วธิ ีกำรบันทึกบัญชีเดียวกันสำหรับเงินลงทุนแต่ละประเภทและหำกกิจกำรเลือกบันทึกเงินลงทุนดังกล่ำว ตำมวิธสี ่วนได้เสียในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร กิจกำรต้องปรับปรุงรำยกำรดังกล่ำวโดยวิธีปรับย้อนหลัง


131

รายงานงบการเงิน

ปัจจุบนั ฝ่ ำยบริหำรของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยอยู่ระหว่ำงกำรประเมินผลกระทบที่อำจมีต่องบกำรเงิน ในปี ทเ่ี ริ่มนำมำตรฐำนดังกล่ำวมำถือปฏิบตั ิ

4. การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี ในระหว่ำงปี ปจั จุบนั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อ ยได้เปลี่ยนแปลงประมำณกำรอำยุกำรให้ประโยชน์ของ อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนและอำคำรซึ่งแสดงภำยใต้บญั ชีท่ดี ิน อำคำร และอุปกรณ์จำกเดิม 20 ปี เป็ น 30 ปี โดยเริ่มตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกรำคม 2559 เป็ นต้นไป ซึ่งผูบ้ ริหำรของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยเชื่อว่ำกำรเปลี่ยนแปลงอำยุ กำรให้ประโยชน์ของสินทรัพ ย์ดงั กล่ำวมีควำมเหมำะสมยิ่งขึ้นเพรำะอำยุ กำรให้ประโยชน์ดงั กล่ำวสอดคล้องกับ ประโยชน์ทบ่ี ริษทั ฯและบริษทั ย่อยคำดว่ำจะได้รบั จำกกำรใช้งำนสินทรัพย์ดงั กล่ำวทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ในกำรเปลีย่ นแปลงประมำณกำรดังกล่ำว บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ใช้วธิ เี ปลีย่ นทันที ผลกระทบจำกกำรเปลี่ย นแปลงประมำณกำรดัง กล่ ำ วที่ มี ต่ อ งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วัน ที่ 31 ธันวำคม 2559 และงบกำไรขำดทุนสำหรับปี ส้ นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 มีดงั นี้ (หน่วย: ล้ำนบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

งบแสดงฐานะการเงิน อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำและ พร้อมให้เช่ำ/ขำยเพิม่ ขึ้น

84

34

อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนให้เช่ำเพิม่ ขึ้น

130

32

1

-

215

66

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์เพิม่ ขึ้น รวม


132

รายงานประจ�ำปี 2559

(หน่วย: ล้ำนบำท) สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

งบกาไรขาดทุน ต้นทุนกำรให้เช่ำและบริกำรทีเ่ กี่ยวข้องลดลง

130

32

ค่ำเสือ่ มรำคำลดลง

85

34

กำไรส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯเพิม่ ขึ้น

215

66

กำไรต่อหุน้ ขัน้ พื้นฐำนเพิม่ ขึ้น (บำทต่อหุน้ )

0.20

0.06

กำรเปลีย่ นแปลงนี้คำดว่ำจะมีผลทำให้ตน้ ทุนกำรให้เช่ำและบริกำรทีเ่ กี่ยวข้องและค่ำเสือ่ มรำคำใน อนำคตลดลงเป็ นจำนวนเงินรวม 215 ล้ำนบำทต่อปี และกำไรต่อหุน้ ขัน้ พื้นฐำนเพิม่ ขึ้น 0.20 บำทต่อหุน้

5. นโยบายการบัญชีท่ีสาคัญ 5.1 การรับรูร้ ายได้ รายได้จากการขาย รำยได้จ ำกกำรขำยรับ รู เ้ ป็ น รำยได้ท งั้ จ ำนวนเมื่อ บริษ ทั ฯและบริษ ทั ย่ อ ยได้โอนควำมเสี่ย งและ ผลประโยชน์ทม่ี นี ยั สำคัญในสินทรัพย์ให้แก่ผูซ้ ้อื แล้ว รายได้จากการให้เช่าและบริการที่เกีย่ วข้อง รำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรที่เกี่ยวข้องรับรูเ้ ป็ นรำยได้ในส่วนของกำไรหรือขำดทุนตำมวิธีเส้นตรง ตลอดอำยุสญั ญำเช่ำ รำยได้ท่ีรบั รูแ้ ล้วแต่ยงั ไม่ถึงกำหนดชำระตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำนแสดงไว้เป็ น “ลูกหนี้ตำม สัญญำเช่ำดำเนินงำนทีย่ งั ไม่เรียกชำระ” ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน เงินปันผลรับ เงินปันผลรับถือเป็ นรำยได้เมือ่ บริษทั ฯมีสทิ ธิในกำรรับเงินปันผล ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเป็ นรำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำงโดยคำนึงถึงอัตรำผลตอบแทนที่เเท้จริง 5.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด หมำยถึง เงินสดและเงินฝำกธนำคำร และเงินลงทุนระยะสัน้ ที่ มี สภำพคล่องสูง ซึง่ ถึงกำหนดจ่ำยคืนภำยในระยะเวลำไม่เกิน 3 เดือนนับจำกวันทีไ่ ด้มำและไม่มขี อ้ จำกัดในกำรเบิกใช้


133

รายงานงบการเงิน

5.3

ลูกหนี้ การค้า

ลูกหนี้กำรค้ำแสดงมูลค่ำตำมจำนวนมูลค่ำสุทธิท่จี ะได้รบั บริษทั ฯบันทึกค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญสำหรับ ผลขำดทุนโดยประมำณที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรเก็บเงินจำกลูกหนี้ไม่ได้ โดยพิจำรณำจำกประสบกำรณ์ในกำรเก็บเงิน และกำรวิเครำะห์อำยุหนี้ 5.4

เงินลงทุน

ก) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้ำแสดงตำมมูลค่ำยุตธิ รรม กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของ หลักทรัพย์บนั ทึกในส่วนของกำไรหรือขำดทุน ข) เงินลงทุนในตรำสำรหนี้ท่ีจะครบกำหนดชำระในหนึ่งปี รวมทัง้ ที่จะถือจนครบกำหนด แสดง มูลค่ ำตำมวิธีรำคำทุนตัดจำหน่ ำย บริษทั ฯตัดบัญชีส่วนเกิน/รับรูส้ ่วนตำ่ กว่ำมูลค่ ำตรำสำรหนี้ตำมอัตรำดอกเบี้ยที่ แท้จริง ซึง่ จำนวนทีต่ ดั จำหน่ำย/รับรูน้ ้ ีจะแสดงเป็ นรำยกำรปรับกับดอกเบี้ยรับ ค) เงิน ลงทุน ในตรำสำรทุน ที่ไม่อ ยู่ในควำมต้องกำรของตลำดถือ เป็ น เงิน ลงทุน ทัว่ ไป ซึ่งแสดง ในรำคำทุนสุทธิจำกค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) ง) เงินลงทุนในกำรร่วมค้ำ และบริษทั ร่วมทีแ่ สดงอยู่ในงบกำรเงินรวม แสดงมูลค่ำตำมวิธสี ่วนได้เสีย จ) เงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมที่แสดงอยู่ในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร แสดงมูลค่ำตำมวิธี รำคำทุนสุทธิจำกค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) บริษทั ฯใช้วธิ ถี วั เฉลีย่ ถ่วงนำ้ หนักในกำรคำนวณต้นทุนของเงินลงทุน เมื่อ มีก ำรจ ำหน่ ำยเงิน ลงทุ น ผลต่ ำ งระหว่ ำงสิ่ ง ตอบแทนสุ ท ธิ ท่ีไ ด้ร บั กับ มู ล ค่ ำ ตำมบัญ ชี ข อง เงินลงทุนจะถูกบันทึกในส่วนของกำไรหรือขำดทุน 5.5 อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกมูลค่ ำเริ่มแรกของอสังหำริมทรัพ ย์เพื่อกำรลงทุนในรำคำทุนซึ่งรวม ต้นทุนกำรทำรำยกำร หลังจำกนัน้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนด้วยรำคำทุนหักค่ำ เสือ่ มรำคำสะสมและค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) ค่ำเสื่อมรำคำของอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนคำนวณจำกรำคำทุนโดยวิธีเส้นตรงตำมอำยุกำรให้ ประโยชน์โดยประมำณของอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนดังต่อไปนี้ 2559

2558

อำคำร

30 ปี

20 ปี

อุปกรณ์

15 ปี

-


134

รายงานประจ�ำปี 2559

ค่ำเสือ่ มรำคำของอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนรวมอยู่ในกำรคำนวณผลกำรดำเนินงำน ไม่มกี ำรคิดค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับทีด่ นิ และงำนระหว่ำงก่อสร้ำง บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูผ้ ลต่ำงระหว่ำงจำนวนเงินที่ได้รบั สุทธิจำกกำรจำหน่ ำยกับมูลค่ำตำมบัญชี ของสินทรัพย์ในส่วนของกำไรหรือขำดทุนในงวดที่ตดั รำยกำรอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนออกจำกบัญชี 5.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสือ่ มราคา ทีด่ นิ แสดงมูลค่ำตำมรำคำทุน อำคำร และอุปกรณ์แสดงมูลค่ำตำมรำคำทุนหักค่ำเสื่อมรำคำสะสมและ ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำของสินทรัพย์ (ถ้ำมี) ค่ำเสือ่ มรำคำของอำคำร และอุปกรณ์คำนวณจำกรำคำทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตำมอำยุกำรให้ ประโยชน์โดยประมำณของสินทรัพย์ดงั ต่อไปนี้ 2559 อำคำร สินทรัพย์อ่นื

2558

30 ปี

20 ปี

3 และ 5 ปี

3 และ 5 ปี

ค่ำเสือ่ มรำคำรวมอยู่ในกำรคำนวณผลกำรดำเนินงำน ไม่มกี ำรคิดค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับทีด่ นิ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยตัดรำยกำรที่ดิน อำคำร และอุปกรณ์ ออกจำกบัญชี เมื่อจำหน่ ำยสินทรัพย์ หรือคำดว่ำจะไม่ได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคตจำกกำรใช้หรือกำรจำหน่ ำยสินทรัพย์ รำยกำรผลกำไรหรือ ขำดทุนจำกกำรจำหน่ ำยสินทรัพย์จะรับรูใ้ นส่วนของกำไรหรือขำดทุนเมื่อบริษทั ฯตัดรำยกำรสินทรัพย์นนั้ ออกจำก บัญชี 5.7 ต้นทุนการกูย้ มื ต้นทุนกำรกูย้ ืมของเงินกูท้ ่ีใช้ในกำรได้มำหรือกำรก่อสร้ำงสินทรัพ ย์ท่ีตอ้ งใช้ระยะเวลำนำนในกำร ทำให้อยู่ในสภำพพร้อมใช้หรือขำย ได้ถูกนำไปรวมเป็ นรำคำทุนของสินทรัพย์จนกว่ำสินทรัพย์นนั้ จะอยู่ในสภำพ พร้อมที่จะใช้ได้ตำมที่ม่งุ ประสงค์ ส่วนต้นทุนกำรกูย้ ืมอื่นถือเป็ นค่ ำใช้จ่ำยในงวดที่เกิดรำยกำร ต้นทุนกำรกูย้ ืม ประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจำกกำรกูย้ มื นัน้ 5.8

สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบัน ทึกมูลค่ำเริ่มแรกของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนตำมรำคำทุน ภำยหลังกำรรับรู ้ รำยกำรเริ่มแรก สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนแสดงมูลค่ำตำมรำคำทุนหักค่ำตัดจำหน่ำยสะสมและค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำสะสม (ถ้ำมี) ของสินทรัพย์นนั้


รายงานงบการเงิน

135

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยตัดจำหน่ ำยสินทรัพ ย์ไม่มีตวั ตนที่มีอำยุกำรให้ประโยชน์จำกัดอย่ำงมีระบบ ตลอดอำยุกำรให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นนั้ และจะประเมินกำรด้อยค่ำของสินทรัพย์ดงั กล่ำวเมือ่ มีขอ้ บ่งชี้ว่ำสินทรัพ ย์นนั้ เกิดกำรด้อยค่ ำ บริษทั ฯและบริษ ทั ย่อยจะทบทวนระยะเวลำกำรตัดจ ำหน่ ำยและวิธีกำรตัด จำหน่ำยของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนดังกล่ำวทุกสิ้นปี เป็ นอย่ำงน้อย ค่ำตัดจำหน่ำยรับรูเ้ ป็ นค่ำใช้จ่ำยในส่วนของกำไรหรือ ขำดทุน สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีม่ อี ำยุกำรให้ประโยชน์จำกัดมีดงั นี้ อำยุกำรให้ประโยชน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์

3, 5 และ 10 ปี

5.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันกับบริษทั ฯ หมำยถึง บุคคลหรือกิจกำรที่มอี ำนำจควบคุมบริษทั ฯ หรือถูกบริษทั ฯควบคุมไม่ว่ำจะเป็ นโดยทำงตรงหรือทำงอ้อม หรืออยู่ภำยใต้กำรควบคุมเดียวกันกับบริษทั ฯ นอกจำกนี้ บุคคลหรือกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกันยังหมำยรวมถึงบริษทั ร่วม ผูร้ ่วมค้ำและบุคคลหรือกิจกำร ที่มีสิทธิอ อกเสียงโดยทำงตรงหรือ ทำงอ้อ มซึ่งทำให้มีอิทธิพ ลอย่ำงเป็ นสำระสำคัญ ต่ อ บริษทั ฯ ผู บ้ ริหำรสำคัญ กรรมกำรหรือพนักงำนของบริษทั ฯ ทีม่ อี ำนำจในกำรวำงแผนและควบคุมกำรดำเนินงำนของบริษทั ฯ 5.10 สัญญาเช่าระยะยาว สัญญำเช่ำทีค่ วำมเสีย่ งและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้ผูเ้ ช่ำถือเป็ นสัญญำ เช่ำกำรเงิน สัญญำเช่ำกำรเงินจะบันทึกเป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนด้วยมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์ท่เี ช่ำหรือมูลค่ำปัจจุบนั สุทธิของจำนวนเงินที่ตอ้ งจ่ำยตำมสัญญำเช่ำแล้วแต่มูลค่ำ ใดจะตำ่ กว่ำ ภำระผูกพันตำมสัญญำเช่ำหักค่ำใช้จ่ำยทำง กำรเงินจะบันทึกเป็ นหนี้สินระยะยำว ส่วนดอกเบี้ยจ่ำยจะบันทึกในส่วนของกำไรหรือขำดทุนตลอดอำยุของสัญญำ เช่ำ สินทรัพย์ทไ่ี ด้มำตำมสัญญำเช่ำกำรเงินจะคิดค่ำเสือ่ มรำคำตลอดอำยุกำรใช้งำนของสินทรัพย์ท่เี ช่ำ สัญญำเช่ำสินทรัพย์ท่คี วำมเสี่ยงและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของส่วนใหญ่ไม่ได้โอนไปให้กบั ผู ้ เช่ำถือเป็ นสัญญำเช่ำดำเนินงำน รำยได้ค่ำเช่ำจำกสัญญำเช่ำดำเนินงำนจะรับรูใ้ นส่วนของกำไรหรือขำดทุนโดยใช้วิธี เส้นตรงตลอดอำยุสญั ญำเช่ำ 5.11 เงินตราต่างประเทศ บริษทั ฯแสดงงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรเป็ นสกุลเงินบำท ซึ่งเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในกำร ดำเนินงำนของบริษทั ฯ รำยกำรต่ำงๆของแต่ละกิจกำรที่รวมอยู่ในงบกำรเงินรวมวัดมูลค่ำด้วยสกุลเงินที่ใช้ในกำร ดำเนินงำนของแต่ละกิจกำรนัน้ รำยกำรที่เป็ นเงินตรำต่ำงประเทศแปลงค่ ำเป็ นเงินบำทโดยใช้อตั รำแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรำยกำร สินทรัพย์และหนี้สนิ ที่เป็ นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตรำต่ำงประเทศได้แปลงค่ำเป็ นเงินบำทโดยใช้อตั รำแลกเปลีย่ น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน


136

รายงานประจ�ำปี 2559

กำไรและขำดทุนทีเ่ กิดจำกกำรเปลีย่ นแปลงในอัตรำแลกเปลีย่ นรวมอยู่ในกำรคำนวณผลกำรดำเนินงำน 5.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุ ก วัน สิ้ น รอบระยะเวลำรำยงำน บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่ อ ยจะท ำกำรประเมิ น กำรด้อ ยค่ ำ ของ อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุน ทีด่ ิน อำคำรและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ท่ไี ม่มตี วั ตนของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย หำกมี ข้อบ่งชี้ว่ำสินทรัพย์ดงั กล่ำวอำจด้อยค่ำ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะรับรูข้ ำดทุนจำกกำรด้อยค่ำเมื่อมูลค่ำที่คำดว่ำจะ ได้รบั คืนของสินทรัพย์มมี ลู ค่ำตำ่ กว่ำมูลค่ำตำมบัญชีของสินทรัพย์นนั้ ทัง้ นี้มลู ค่ำที่คำดว่ำจะได้รบั คืนหมำยถึงมูลค่ำ ยุติธรรมหักต้นทุนในกำรขำยของสินทรัพย์หรือมูลค่ำจำกกำรใช้สินทรัพย์แล้วแต่รำคำใดจะสูงกว่ำ ในกำรประเมิน มูลค่ำจำกกำรใช้สินทรัพย์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยประมำณกำรกระแสเงินสดในอนำคตที่กิจกำรคำดว่ำจะได้รบั จำก สินทรัพย์และคำนวณคิดลดเป็ นมูลค่ ำปัจจุบนั โดยใช้อตั รำคิดลดก่อนภำษีท่ีสะท้อนถึงกำรประเมินควำมเสี่ยงใน สภำพตลำดปัจจุบนั ของเงินสดตำมระยะเวลำและควำมเสี่ยงซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพำะของสินทรัพย์ท่กี ำลังพิจำรณำอยู่ ในกำรประเมินมูลค่ำยุติธรรมหักต้นทุนในกำรขำย บริษทั ฯและบริษทั ย่อยใช้แบบจำลองกำรประเมินมูลค่ำทีด่ ีทส่ี ุดซึ่ง เหมำะสมกับสินทรัพย์ และสะท้อนถึงจำนวนเงินที่กจิ กำรสำมำรถจะได้มำจำกกำรจำหน่ำยสินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนใน กำรจำหน่ำย โดยกำรจำหน่ำยนัน้ ผูซ้ ้ อื กับผูข้ ำยมีควำมรอบรูแ้ ละเต็มใจในกำรแลกเปลีย่ นและสำมำรถต่อรองรำคำกัน ได้อย่ำงเป็ นอิสระในลักษณะของผูท้ ไ่ี ม่มคี วำมเกี่ยวข้องกัน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะรับรูร้ ำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำในส่วนของกำไรหรือขำดทุน หำกในกำรประเมินกำรด้อยค่ำของสินทรัพย์ มีขอ้ บ่งชี้ท่แี สดงให้เห็นว่ำผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำของ สินทรัพย์ท่รี บั รูใ้ นงวดก่อนได้หมดไปหรือลดลง บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะประมำณมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รบั คืนของ สินทรัพย์นนั้ และจะกลับรำยกำรผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำที่รบั รูใ้ นงวดก่อนก็ต่อเมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลงประมำณ กำรที่ใช้กำหนดมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รบั คืนภำยหลังจำกกำรรับรูผ้ ลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำครัง้ ล่ำสุด โดยมูลค่ำตำม บัญชีของสินทรัพย์ท่เี พิ่มขึ้นจำกกำรกลับรำยกำรผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำต้องไม่สูงกว่ำมูลค่ำตำมบัญชีท่คี วรจะเป็ น หำกกิจกำรไม่เคยรับรูผ้ ลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ ำของสินทรัพย์ในงวดก่อนๆบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกกลับ รำยกำรผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำของสินทรัพย์โดยรับรูไ้ ปยังส่วนของกำไรหรือขำดทุนทันที 5.13 ผลประโยชน์พนักงาน ผลประโยชน์ระยะสัน้ ของพนักงาน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูเ้ งินเดือน ค่ำจ้ำง โบนัสและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่ำใช้จ่ำย เมือ่ เกิดรำยกำร ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยและพนักงำนได้ร่วมกันจัดตัง้ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่ พนักงำนจ่ำยสะสมและเงินที่บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจ่ำยสมทบให้เป็ นรำยเดื อน สินทรัพย์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ


รายงานงบการเงิน

137

ได้แยกออกจำกสินทรัพย์ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย เงินที่บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจ่ำยสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในปี ท่เี กิดรำยกำร โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษ ทั ฯและบริษ ทั ย่ อ ยมีภำระสำหรับ เงินชดเชยที่ต อ้ งจ่ ำยให้แก่ พ นัก งำนเมื่อ ออกจำกงำนตำม กฎหมำยแรงงำน ซึ่งบริษทั ฯและบริษทั ย่อยถือว่ำเงินชดเชยดังกล่ำวเป็ นโครงกำรผลประโยชน์หลังออกจำกงำน สำหรับพนักงำน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยคำนวณหนี้สนิ ตำมโครงกำรผลประโยชน์หลังออกจำกงำนของพนักงำนโดยใช้ วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมำณกำรไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชี่ยวชำญอิสระได้ทำกำรประเมิน ภำระผูกพันดังกล่ำวตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัย ผลก ำไรหรือ ขำดทุ น จำกกำรประมำณกำรตำมหลัก คณิ ต ศำสตร์ป ระกัน ภัย ส ำหรับ โครงกำร ผลประโยชน์หลังออกจำกงำนของพนักงำนจะรับรูท้ นั ทีในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 5.14 ประมาณการหนี้ สิน บริษ ทั ฯและบริษ ทั ย่อ ยจะบันทึกประมำณกำรหนี้ สิน ไว้ในบัญ ชีเมื่อภำระผู กพัน ซึ่งเป็ นผลมำจำก เหตุกำรณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่นอนว่ำบริษทั ฯและบริษทั ย่อย จะเสียทรัพยำกรเชิง เศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภำระผูกพันนัน้ และบริษทั ฯและบริษทั ย่อยสำมำรถประมำณมูลค่ำภำระผูกพันนัน้ ได้ อย่ำงน่ำเชื่อถือ 5.15 ภาษีเงินได้ ภำษีเงินได้ประกอบด้วยภำษีเงินได้ปจั จุบนั และภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปจั จุบนั บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกภำษีเงินได้ปจั จุบนั ตำมจำนวนที่คำดว่ำจะจ่ำยให้กบั หน่ วยงำนจัดเก็บ ภำษีของรัฐ โดยคำนวณจำกกำไรทำงภำษีตำมหลักเกณฑ์ทก่ี ำหนดในกฎหมำยภำษีอำกร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยบันทึกภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีของผลแตกต่ำงชัว่ ครำวระหว่ำงรำคำตำมบัญชี ของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำนกับฐำนภำษีข องสินทรัพย์และหนี้สนิ ที่เกี่ยวข้องนัน้ โดยใช้ อัตรำภำษีทม่ี ผี ลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูห้ นี้สนิ ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีของผลแตกต่ำงชัว่ ครำวที่ตอ้ งเสียภำษีทุก รำยกำร แต่รบั รูส้ ินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีสำหรับผลแตกต่ ำงชัว่ ครำวที่ใช้หกั ภำษี รวมทัง้ ผลขำดทุนทำง ภำษีท่ยี งั ไม่ได้ใช้ในจำนวนเท่ำที่มีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ ท่บี ริษทั ฯจะมีกำไรทำงภำษีในอนำคตเพียงพอที่จะใช้ ประโยชน์จำกผลแตกต่ำงชัว่ ครำวทีใ่ ช้หกั ภำษีและผลขำดทุนทำงภำษีท่ยี งั ไม่ได้ใช้นนั้


138

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะทบทวนมูลค่ำตำมบัญชีของสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี ณ ทุกสิ้น รอบระยะเวลำรำยงำนและจะทำกำรปรับลดมูลค่ำตำมบัญชีดงั กล่ำว หำกมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ว่ำบริษทั ฯและ บริษทั ย่อยจะไม่มีกำไรทำงภำษีเพียงพอต่อกำรนำสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีทงั้ หมดหรือบำงส่วนมำใช้ ประโยชน์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะบันทึกภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ ือหุน้ หำกภำษีท่ี เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรำยกำรทีไ่ ด้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ 5.16 การวัดมูลค่ายุตธิ รรม มูลค่ำยุติธรรม หมำยถึง รำคำที่คำดว่ำจะได้รบั จำกกำรขำยสินทรัพย์ห รือเป็ นรำคำที่จะต้องจ่ำยเพื่อ โอนหนี้สนิ ให้ผูอ้ ่นื โดยรำยกำรดังกล่ำวเป็ นรำยกำรที่เกิดขึ้นในสภำพปกติระหว่ำงผูซ้ ้ อื และผูข้ ำย (ผูร้ ่วมในตลำด) ณ วันที่วดั มูลค่ ำ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยใช้รำคำเสนอซื้อขำยในตลำดที่มีสภำพคล่องในกำรวัดมูลค่ ำยุ ติธรรมของ สินทรัพ ย์และหนี้ สินซึ่งมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เกี่ยวข้องกำหนดให้ตอ้ งวัดมูลค่ ำด้วยมูลค่ ำยุ ติธรรม ยกเว้นในกรณี ท่ไี ม่มตี ลำดที่มสี ภำพคล่องสำหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินที่มลี กั ษณะเดียวกันหรือไม่สำมำรถหำรำคำ เสนอซื้อขำยในตลำดทีม่ สี ภำพคล่องได้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะประมำณมูลค่ำยุ ติธรรมโดยใช้เทคนิคกำรประเมิน มูลค่ำทีเ่ หมำะสมกับแต่ละสถำนกำรณ์ และพยำยำมใช้ขอ้ มูลที่สำมำรถสังเกตได้ทเ่ี กี่ยวข้องกับสินทรัพย์หรือหนี้สนิ ที่ จะวัดมูลค่ำยุตธิ รรมนัน้ ให้มำกทีส่ ุด ลำดับชัน้ ของมูลค่ำยุติธรรมที่ใช้วดั มูลค่ำและเปิ ดเผยมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินในงบ กำรเงินแบ่งออกเป็ นสำมระดับตำมประเภทของข้อมูลทีน่ ำมำใช้ในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1 ใช้ขอ้ มูลรำคำเสนอซื้อขำยของสินทรัพย์หรือหนี้สนิ อย่ำงเดียวกันในตลำดทีม่ สี ภำพคล่อง ระดับ 2 ใช้ขอ้ มูลอื่นทีส่ ำมำรถสังเกตได้ของสินทรัพย์หรือหนี้สนิ ไม่ว่ำจะเป็ นข้อมูลทำงตรงหรือทำงอ้อม ระดับ 3 ใช้ขอ้ มูลทีไ่ ม่สำมำรถสังเกตได้เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนำคตทีก่ จิ กำรประมำณขึ้น ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะประเมินควำมจำเป็ นในกำรโอนรำยกำร ระหว่ำงลำดับชัน้ ของมูลค่ำยุติธรรมสำหรับสินทรัพย์และหนี้ สินที่ถอื อยู่ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำรำยงำนที่มกี ำรวัด มูลค่ำยุตธิ รรมแบบเกิดขึ้นประจำ

6. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีท่ีสาคัญ ในกำรจัดทำงบกำรเงินตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฝ่ ำยบริหำรจำเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจและกำร ประมำณกำรในเรื่องที่มีควำมไม่แน่ นอนเสมอ กำรใช้ดุลยพินิจและกำรประมำณกำรดังกล่ำวนี้ ส่งผลกระทบต่ อ จำนวนเงินที่แสดงในงบกำรเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน ผลทีเ่ กิดขึ้นจริงอำจแตกต่ำงไป จำกจำนวนทีป่ ระมำณกำรไว้ กำรใช้ดุลยพินิจและกำรประมำณกำรทีส่ ำคัญมีดงั นี้


รายงานงบการเงิน

139

การรับรูเ้ งินลงทุนในการร่วมค้าตามวิธีส่วนได้เสียในงบการเงินรวมของการร่วมค้าที่บริษทั ฯมีสดั ส่วนการถือ หุน้ เกินกว่ากึง่ หนึ่ ง ฝ่ ำยบริหำรของบริษ ทั ฯพิจำรณำว่ ำบริษ ทั ฯและบริษทั ย่อยไม่มีอ ำนำจควบคุ ม ในบริษ ทั ไทคอน เด็ม โก้ เพำเวอร์ 6 จำกัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 11 จำกัด และบริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด ถึงแม้ว่ำบริษทั ย่อยจะถือหุน้ และมีสทิ ธิออกเสียงในบริษทั ดังกล่ำวในสัดส่วนร้อยละ 51 ร้อยละ 51 และร้อยละ 59.9 ตำมลำดับ ซึ่งเป็ นสัดส่วนที่เกินกว่ำกึ่งหนึ่ง ทัง้ นี้ เนื่องจำกบริษทั ย่อยและผูถ้ ือหุน้ อีกฝ่ ำยหนึ่งมีอำนำจในกำรควบคุมบริษทั ดังกล่ำวร่วมกัน โดยผูถ้ อื หุน้ ฝ่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่งไม่สำมำรถสัง่ กำรกิจกรรมที่สำคัญของบริษทั ดังกล่ำวได้โดยปรำศจำก ควำมเห็นสนับสนุนจำกผูถ้ อื หุน้ อีกฝ่ ำยหนึ่ง สัญญาเช่า ในกำรพิจำรณำประเภทของสัญญำเช่ำว่ำเป็ นสัญญำเช่ำดำเนินงำนหรือสัญญำเช่ำทำงกำรเงินฝ่ ำยบริหำรได้ใช้ ดุลยพินิจในกำรประเมินเงือ่ นไขและรำยละเอียดของสัญญำเพื่อพิจำรณำว่ำ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้โอนหรือรับ โอนควำมเสีย่ งและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ทใ่ี ห้เช่ำหรือเช่ำดังกล่ำวแล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในกำรประมำณค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ ำยบริหำรจำเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจใน กำรประมำณกำรผล ขำดทุนที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นจำกลูกหนี้แต่ละรำย โดยคำนึงถึงประสบกำรณ์ กำรเก็บเงินในอดีต อำยุของหนี้ท่คี งค้ำง และสภำวะเศรษฐกิจทีเ่ ป็ นอยู่ในขณะนัน้ เป็ นต้น มูลค่ายุตธิ รรมของเครื่องมือทางการเงิน ในกำรประเมินมูลค่ำยุตธิ รรมของเครื่องมือทำงกำรเงินทีไ่ ม่มกี ำรซื้อขำยในตลำดและไม่สำมำรถหำรำคำได้ใน ตลำดซื้อขำยคล่อง ฝ่ ำยบริหำรต้องใช้ดุลยพินิจในกำรประมำณมูลค่ำยุตธิ รรมของเครื่องมือทำงกำรเงินดังกล่ำว โดย ใช้เทคนิคและแบบจำลองกำรประเมินมูลค่ำ ซึ่งตัวแปรทีใ่ ช้ในแบบจำลองได้มำจำกกำรเทียบเคียงกับตัวแปรทีม่ อี ยู่ใน ตลำด โดยคำนึงถึงควำมเสีย่ งทำงด้ำนเครดิต (ทัง้ ของธนำคำร และคู่สญั ญำ) สภำพคล่อง ข้อมูลควำมสัมพันธ์ และ กำรเปลี่ยนแปลงของมูลค่ำของเครื่องมือทำงกำรเงินในระยะยำว กำรเปลีย่ นแปลงของสมมติฐำนที่เกี่ยวข้องกับตัว แปรที่ใช้ในกำรคำนวณ อำจมีผลกระทบต่อมูลค่ำยุติธรรมที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน และกำรเปิ ดเผยลำดับ ชัน้ ของมูลค่ำยุตธิ รรม ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษทั ย่อย การร่วมค้า และบริษทั ร่วม บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะตัง้ ค่ ำเผื่อกำรด้อยค่ ำของเงินลงทุน ในบริษทั ย่อย กำรร่วมค้ำ และบริษทั ร่วม เมื่อ มูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่ำวได้ลดลงอย่ำงมีสำระสำคัญและเป็ นระยะเวลำนำนหรือเมือ่ มีขอ้ บ่งชี้ของกำรด้อย ค่ำ กำรที่จะสรุปว่ำเงินลงทุนดังกล่ำวได้ลดลงอย่ำงมีสำระสำคัญหรือเป็ นระยะเวลำนำนหรือไม่นนั้ จำเป็ นต้องใช้ดุลย พินิจของฝ่ ำยบริหำร


140

รายงานประจ�ำปี 2559

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนให้เช่า และที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์ และค่าเสือ่ มราคา ในกำรคำนวณค่ ำเสื่อมรำคำของอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ /ขำย อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำร ลงทุนให้เช่ำ อำคำรและอุปกรณ์ ฝ่ ำยบริหำรจำเป็ นต้องทำกำรประมำณอำยุกำรให้ประโยชน์ และมูลค่ำคงเหลือเมื่อ เลิกใช้งำนของอสังหำริมทรัพ ย์เพื่อกำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ /ขำย อสังหำริมทรัพ ย์เพื่อกำรลงทุนให้เช่ำ อำคำรและ อุปกรณ์ และต้องทบทวนอำยุกำรให้ประโยชน์และมูลค่ำคงเหลือใหม่หำกมีกำรเปลีย่ นแปลงเกิดขึ้น นอกจำกนี้ ฝ่ ำยบริหำรจำเป็ นต้องสอบทำนกำรด้อยค่ำ ของอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ /ขำย อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนให้เช่ำ และที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลำ และบันทึกขำดทุนจำกกำรด้อย ค่ำหำกคำดว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รบั คืนตำ่ กว่ำมูลค่ำตำมบัญชีของสินทรัพย์นนั้ ในกำรนี้ฝ่ำยบริหำรจำเป็ นต้องใช้ ดุลยพินิจทีเ่ กี่ยวข้องกับกำรคำดกำรณ์รำยได้และค่ำใช้จ่ำยในอนำคตซึง่ เกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นนั้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะรับรูส้ นิ ทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีสำหรับผลแตกต่ำงชัว่ ครำวที่ใช้หกั ภำษีและ ขำดทุนทำงภำษีท่ไี ม่ได้ใช้เมือ่ มีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ว่ำบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะมีกำไรทำงภำษีในอนำคตเพียง พอที่จะใช้ประโยชน์จำกผลแตกต่ำงชัว่ ครำวและขำดทุนนัน้ ในกำรนี้ฝ่ำยบริหำรจำเป็ นต้องประมำณกำรว่ำบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยควรรับรูจ้ ำนวนสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีเป็ นจำนวนเท่ำใด โดยพิจำรณำถึงจำนวนกำไรทำง ภำษีทค่ี ำดว่ำจะเกิดในอนำคตในแต่ละช่วงเวลำ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้สนิ ตำมโครงกำรผลประโยชน์หลังออกจำกงำนของพนักงำน ประมำณขึ้นตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัย ซึ่งต้องอำศัยข้อสมมติฐำนต่ำงๆในกำรประมำณกำรนั้น เช่น อัตรำคิดลด อัตรำกำรขึ้นเงินเดือนในอนำคต อัตรำ มรณะ และอัตรำกำรเปลีย่ นแปลงในจำนวนพนักงำน เป็ นต้น ประมาณการหนี้ สินที่เกีย่ วข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ในกำรบันทึกประมำณกำรหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ ฝ่ ำยบริหำรได้ใช้ดุลยพินิจในกำร ประมำณผลประกอบกำรของอสังหำริมทรัพ ย์โดยพิจำรณำจำกข้อมูลรำยได้ค่ำเช่ำและค่ ำใช้จ่ ำยที่เกี่ย วข้องกับ อสังหำริมทรัพย์ในอดีตประกอบกับข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบนั รวมถึงกำรประมำณเงินชดเชยส่วนต่ำงระหว่ำงรำคำ ยุติธรรมกับรำคำใช้สิทธิสุทธิแก่ทรัสต์เพื่อกำรลงทุนในอสังหำริมทรัพ ย์และสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพ ย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) สำหรับกรณี ท่ีผูเ้ ช่ำรำยย่อยใช้สิทธิเลือกซื้อทรัพย์สินดังกล่ำว (Option to buy) โดยใช้ขอ้ มูลกำร ประเมินมูลค่ ำอสังหำริมทรัพ ย์โดยผูป้ ระเมินอิสระ และบันทึกประมำณกำรหนี้สินตำมจำนวนเงินที่คำดว่ำจะจ่ำย ให้แก่กองทรัสต์ฯ


141

รายงานงบการเงิน

7. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 7.1 ลักษณะควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบริษทั ฯกับกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันสำมำรถสรุปได้ดงั นี้

รำยชื่อกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จำกัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จำกัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON (HK) Limited บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 6 จำกัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 11 จำกัด บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และ สิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน PT SLP Surya TICON Internusa PT SLP Internusa Karawang PT Surya Semesta Internusa Tbk PT Surya Internusa Timur

ควำมสัมพันธ์กบั บริษทั ฯ

ร้อยละ ของกำรถือหุน้ ของบริษทั ฯ

บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย บริษทั ย่อย

99.99% 99.99% 69.99% 100.00%

บริษทั ย่อย กำรร่วมค้ำ (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) กำรร่วมค้ำ (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) กำรร่วมค้ำ (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) บริษทั ร่วม บริษทั ร่วม บริษทั ร่วม

100.00% 51.00% 51.00% 59.99% 15.00% 16.05% 23.95%

บริษทั ร่วม

12.08%

บริษทั ร่วม (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) ถือหุน้ โดยบริษทั ร่วม เป็ นผูถ้ อื หุน้ ในบริษทั ร่วม เป็ นบริษทั ย่อยของผูถ้ อื หุน้ ใน บริษทั ร่วม บริษทั สวนอุตสำหกรรมโรจนะจำกัด (มหำชน) มีผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมกำรร่วมกัน บริษทั สวนอุตสำหกรรมโรจนะ ปรำจีนบุรี จำกัด มีผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมกำรร่วมกัน บริษทั โรจนะ อินดัสเตรียล แมเนจเม้นท์ จำกัด มีผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมกำรร่วมกัน บริษทั หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส จำกัด (มหำชน) มีกรรมกำรร่วมกัน บริษทั นิคมอุตสำหกรรมเอเซีย จำกัด มีกรรมกำรร่วมกัน บริษทั เอสวีไอ จำกัด (มหำชน) มีกรรมกำรร่วมกัน กองทุนรวมสำธรซิต้ ที ำวเวอร์ ผูถ้ อื หุน้ ร่วมกัน ธนำคำรกรุงเทพ จำกัด (มหำชน) มีกรรมกำรเป็ นสมำชิกในครอบครัว เดียวกัน

25.00% -


142

รายงานประจ�ำปี 2559

7.2 รำยละเอียดของรำยกำรธุรกิจกับกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกันทีส่ ำคัญ ในระหว่ำงปี บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีรำยกำรธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน รำยกำรธุรกิจ ดังกล่ำวเป็ นไปตำมเงือ่ นไขทำงกำรค้ำและเกณฑ์ตำมที่ตกลงกันระหว่ำงบริษทั ฯและบุคคลหรือกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เหล่ำนัน้ ซึง่ เป็ นไปตำมปกติธุรกิจโดยสำมำรถสรุปได้ดงั นี้

รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯกับบริษทั ย่อย (ตัดออกจำกงบกำรเงินรวมแล ้ว) รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำร

งบกำรเงินรวม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

(หน่วย: ล้ำนบำท) นโยบำยกำรกำหนดรำคำ

-

-

7

10

ดอกเบี้ยรับ

-

-

19

60

เงินปันผลรับ รำยได้ค่ำเช่ำที่ดนิ

-

-

6 5

459 5

รำยได้อ่นื ค่ำบริหำรจัดกำรทัว่ ไป

-

-

13 6

8 6

รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯกับบริษทั ร่วม ขำยที่ดนิ และอำคำรโรงงำน

-

604

-

60

ใกล้เคียงรำคำประเมิน

84

93

84

93

ร้อยละ 4 ของรำยได้ค่ำเช่ำและบริกำรของ กองทุนฯและอัตรำผันแปรระหว่ำงร้อยละ 0-19.5ของกำไรจำกกำรดำเนินงำนและค่ ำ นำยหน้ำรับในอัตรำ 2 เดือน ของค่ ำเช่ ำ และค่ ำบริก ำร และค่ ำนำยหน้ำจำกกำร ขำยในอัต รำสู งสุ ดไม่เกิน ร้อยละ 3 ของ รำคำขำย

รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำรจำกกองทุน . รวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอน

ร้อยละ 2 ของรำยได้ค่ำเช่ำและบริกำร ของบริ ษ ัท ย่ อ ยและร้อ ยละ 2.5 ของ รำยได้ค่ ำ เช่ ำ โรงงำนและค่ ำ บริ ก ำรที่ เกี่ ย วข้อ งของทรัส ต์เพื่ อ กำรลงทุ น ใน อสัง หำริ ม ทรัพ ย์ แ ละสิ ท ธิ กำรเช่ ำ อสังหำริม ทรัพ ย์ไทคอน และอัตรำผัน แปรระหว่ ำ งร้อ ยละ 0-19.5 ของก ำไร จำกกำรดำเนินงำน หักร้อยละ 8.3 ของ อัตรำผัน แปร และ ค่ ำนำยหน้ำรับ จำก กำรจัด หำผู เ้ ช่ ำ รำยย่ อ ยในอัต รำ 2-3 เดื อ นของค่ ำเช่ ำ และค่ ำบริ ก ำรและค่ ำ นำยหน้ำจำกกำรขำย/โอนสิท ธิก ำรเช่ ำ ร้อยละ 3 ของมูลค่ำดังกล่ำว อัตรำดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยของหุน้ กูแ้ ละเงิน กูย้ มื ระยะสัน้ บวกอัตรำร้อยละ 0.15 ตำมที่บริษทั ย่อยประกำศจ่ำย ร้อยละ 4 ของรำคำที่ดินที่บริษทั ฯซื้อจำก บริษทั ย่อย มูลค่ำตำมสัญญำ ร้อยละ 3 ของรำยได้ค่ำเช่ำและค่ำบริกำร ของบริษทั ร่วม


รายงานงบการเงิน

รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำรจำกกองทุนรวม อสังหำริมทรัพย์ ทีพำร์คโลจิสติคส์

รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำรจำกกองทุนรวม สิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 2559 2558 6 6

31

29

31

29

เงินปันผลรับ รำยได้อ่นื 1 รำยได้จำกกำรให้บริกำร 5 7 รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ฯกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่ำเช่ำสำนักงำนและค่ำบริกำรที่เกี่ยวข้อง 19 18 ดอกเบี้ยรับ 2 3 ดอกเบี้ยจ่ำย 31 33 ค่ำบริกำรสำธำรณูปโภค 3 4 รายการธุรกิจระหว่างบริษทั ย่อยกับบริษทั ร่วม ขำยที่ดนิ และอำคำรคลังสินค้ำ - 2,433 รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำรจำกกองทุนรวม 1 2 อสังหำริมทรัพย์ไทคอน

324 1 5

368 7

19 1 2

18 2 2 3

-

-

143

(หน่วย: ล้ำนบำท) นโยบำยกำรกำหนดรำคำ ร้อยละ 55 ของรำยได้ค่ำเช่ำและบริกำร ของกองทุนฯที่เกิดขึ้นจริงหลังหักรำยได้ ขัน้ ตำ่ ตำมสัญญำรับประกันรำยได้ค่ำเช่ ำ และบริกำร ค่ ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร และ เงิ น ส ำรองต่ ำงๆ จนถึ ง สิ้ นสุ ด วัน ที่ 31 ธันวำคม 2559 หลังจำกนัน้ คิดร้อยละ 3 ของรำยได้ค่ ำ เช่ ำ และค่ ำ บริ ก ำรของ กองทุนฯ และอัตรำผันแปรระหว่ำงร้อย ละ 0-10 ของกำไรขัน้ ต้น ร้อยละ4 ของรำยได้สุทธิท่ไี ด้จำกกองทุนฯ และอัตรำผันแปรระหว่ ำงร้อยละ 0-19.5 ของก ำไรจำกกำรด ำเนิ น งำนและค่ ำ นำยหน้ำรับ ในอัต รำ 2 เดือ นของค่ ำเช่ ำ และค่ ำบริกำรและค่ ำนำยหน้ำจำกกำรซื้อ ขำย โอนสิทธิกำรเช่ำและรับโอนสิทธิกำร เช่ำอสังหำริมทรัพย์ในอัตรำสู งสุดไม่เกิน ร้อยละ 3 ของมูลค่ำดังกล่ำว ตำมที่กองทุนฯประกำศจ่ำย มูลค่ำตำมสัญญำ มูลค่ำตำมสัญญำ รำคำที่เป็ นปกติทำงกำรค้ำ อัตรำตลำด MLR ลบอัตรำคงที่และอัตรำตลำด รำคำที่เป็ นปกติทำงกำรค้ำ ใกล้เคียงรำคำประเมิน ร้อยละ 2 ของรำยได้ค่ำเช่ ำและบริกำร ของกองทุนฯ และอัตรำผันแปรระหว่ำง ร้อ ย ละ0.5-10.5 ข องก ำไรจำก ก ำร ดำเนินงำน และค่ ำนำยหน้ำรับในอัตรำ 2 เดือนของค่ ำเช่ำและค่ ำบริกำรและค่ ำ นำยหน้ำจำกกำรขำยในอัต รำสู งสุ ด ไม่ เกินร้อยละ 3 ของรำคำขำย


144

รายงานประจ�ำปี 2559

รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำรจำกกองทุนรวม อสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์

งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 2559 2558 10 12 -

(หน่วย: ล้ำนบำท) นโยบำยกำรกำหนดรำคำ ร้อยละ 3 ของรำยได้ค่ำเช่ำและค่ ำบริกำร ของกองทุนฯ และอัตรำผันแปรระหว่ำง ร้อ ยละ 0-10 ของก ำไรขัน้ ต้น และค่ ำ นำยหน้ำรับ ในอัต รำ 2 เดือ นของค่ ำเช่ ำ และค่ำบริกำรและค่ำนำยหน้ำจำกกำรขำย ในอัตรำสู งสุดไม่เกินร้อยละ 3 ของรำคำ ขำย ไม่เกินร้อยละ 3 ของรำยได้สุทธิท่ีได้จำก กองทุนฯและอัตรำผันแปรระหว่ำงร้อยละ 0-10.0 ของก ำไรจำกกำรด ำเนิน งำนและ ค่ำนำยหน้ำรับในอัตรำ 2 เดือนของค่ำเช่ำ และค่ ำบริกำรและค่ ำนำยหน้ำจำกกำรซื้อ ขำย โอนสิทธิกำรเช่ำและรับโอนสิทธิกำร เช่ำอสังหำริมทรัพย์ในอัตรำสู งสุดไม่เกิน ร้อ ย ล ะ 3 ข อ งมู ล ค่ ำดั ง ก ล่ ำว แ ล ะ ค่ ำใช้จ่ำยในกำรดำเนิ นงำนในอัตรำคงที่ เท่ำกับ1 ล้ำนบำทต่อปี

รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำรจำกกองทุนรวม สิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท

17

19

-

-

รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำรจำกทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิ กำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำร ทรัพย์สนิ จำกทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์ และสิทธิกำรเช่ำอสังหำ ริมทรัพย์ไทคอน

19

12

-

-

ร้อ ยละ0.25 ต่ อ ปี ของมู ล ค่ ำ สิน ทรัพ ย์ รวมของกองทรัสต์ฯ

39

31

-

-

ร้อ ยละ 2 และ 4 ของรำยได้สุ ท ธิ จ ำก สัญ ญำเช่ ำ และสัญ ญ ำบริ ก ำรส ำหรับ ทรัพย์สินในส่วนอำคำรคลังสินค้ำและใน ส่ ว นอำคำรโรงงำน ตำมล ำดับ และ ค่ ำ ต อ บ แ ท น ส่ ว น เ พิ่ ม อั ต ร ำ ร้ อ ย ล ะ 0-10.5 ต่ อ ปี แ ล ะ ร้อ ยละ 0-19.5 ต่ อ ปี ของก ำไรจำกกำร ดำเนินงำนของกองทรัสต์ฯในส่วนอำคำร คลัง สิ น ค้ำ และในส่ ว นอำคำรโรงงำน ตำมลำดับและค่ ำนำยหน้ำรับตำมสัดส่วน ตำมระยะเวลำท ำสัญ ญำเช่ ำและสัญ ญำ บริกำรของผูเ้ ช่ำรำยย่อย รำยใหม่ แต่ไม่ เกิน 3 เดือนของอัตรำค่ำเช่ำและค่ำบริกำร และ ค่ำนำยหน้ำจำกกำรซื้อ ขำยโอนสิทธิ ก ำ ร เช่ ำ แ ล ะ รั บ โอ น สิ ท ธิ ก ำ ร เช่ ำ อสังหำริม ทรัพ ย์ในอัต รำร้อยละ 3 ของ มูลค่ำดังกล่ำว


145

รายงานงบการเงิน

เงินประกันรำยได้ค่ำเช่ำ และค่ำบริกำร ค่ำบริกำรส่วนกลำง รำยได้จำกกำรให้บริกำร รำยได้ค่ำเช่ำที่ดนิ

งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 2559 2558 50 22 1 46

5 41

-

(หน่วย: ล้ำนบำท) นโยบำยกำรกำหนดรำคำ รำคำที่เป็ นปกติทำงกำรค้ำ

-

รำคำที่เป็ นปกติทำงกำรค้ำ มูลค่ำตำมสัญญำ มูลค่ำตำมสัญญำ

7.3 ยอดคงเหลือของรำยกำรธุรกิจระหว่ำงบริษทั ฯกับกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน งบกำรเงินรวม 2559 2558 เงินฝากธนาคาร (แสดงภายใต้เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด) บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมกำรเป็ นสมำชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) 96,365 96,210 ลูกหนี้ อืน่ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (แสดงภายใต้ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น) (หมายเหตุ 10) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 30,946 33,011 กำรร่วมค้ำ (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) 37 รวม 30,983 33,011 ดอกเบี้ยค้างรับ (แสดงภายใต้ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อืน่ ) (หมายเหตุ 10) บริษทั ย่อย กำรร่วมค้ำ (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) 2 รวม 2 เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้าประกัน บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมกำรเป็ นสมำชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) 240 57,431 เงินให้กยู ้ มื ระยะสัน้ แก่บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน กำรร่วมค้ำ (ถือหุน้ โดยบริษทั ย่อย) 2,400 บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (เป็ นบริษทั ย่อยของ 106,269 ผูถ้ อื หุน้ ในบริษทั ร่วม) รวม 108,669 เงินให้กยู ้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั ย่อย -

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

28,963

34,865

109,397 11,076 120,473

1,752 20,378 22,130

2,611 2,611

-

-

57,191

-

-

-

-

717,000

-


146

รายงานประจ�ำปี 2559

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

งบกำรเงินรวม 2559 2558 เงินมัดจา (แสดงภายใต้สนิ ทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ ) บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (ผูถ้ อื หุน้ ร่วมกัน) บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (ผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมกำรร่วมกัน)

4,267

3,690

4,267

1,173 1,173 บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมกำรร่วมกัน) 2,071 2,054 รวม 6,934 7,494 เจ้าหนี้ อืน่ - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน(แสดงภายใต้เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น) (หมายเหตุ 19) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 4,239 6,364 รวม 4,239 6,364 ดอกเบี้ยค้างจ่าย (แสดงภายใต้เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อืน่ ) (หมายเหตุ 19) บริษทั ย่อย บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมกำรเป็ นสมำชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) 159 82 รวม 159 82 ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย (แสดงภายใต้เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น) (หมายเหตุ 19) บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (ผูถ้ อื หุน้ /มีกรรมกำร ร่วมกัน) 126 133 รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า (แสดงภายใต้หนี้ สินหมุนเวียนอืน่ ) บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 50,425 50,918 รวม 50,425 50,918

1,157 2,071 6,918

1,173 2,054 7,494

1,114 1,654 2,768

524 1,963 2,487

-

80

72 72

80

126

133

3,281 15,184 18,465

3,281 15,676 18,957

ค่าเช่าอุปกรณ์รบั ล่วงหน้า (แสดงภายใต้หนี้ สินหมุนเวียนอืน่ ) บริษทั ย่อย

เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากบริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั ย่อย บริษทั ที่เกี่ยวข้อง (มีกรรมกำรเป็ นสมำชิกใน ครอบครัวเดียวกัน รวม เงินกูย้ มื ระยะยาวจากบริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมกำรเป็ นสมำชิกใน ครอบครัวเดียวกัน) รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า บริษทั ร่วม

3,690

-

-

-

438

-

-

-

291,500

1,060,000 1,060,000

-

1,060,000 1,060,000

291,500

783,766

748,380

-

-

1,318,758

1,382,487

400,284

428,746


147

รายงานงบการเงิน

7.4 ทยอดคงเหลือและกำรเปลีย่ นแปลงของเงินให้กยู ้ มื และเงินกูย้ มื ระหว่ำงบริษทั ฯและกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ยอดคงเหลือ

ยอดคงเหลือ

ณ วันที่

ณ วันที่

31 ธันวำคม

เพิม่ ขึ้น

ลดลง

31 ธันวำคม

2558

ระหว่ำงปี

ระหว่ำงปี

2559

เงินให้กยู ้ มื ระยะสัน้ แก่บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด

-

2,400

-

2,400

PT Surya Internusa Timur

-

106,269

-

106,269

รวม

-

108,669

-

108,669

-

1,060,000

-

1,060,000

เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากบริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ธนำคำรกรุงเทพ จำกัด (มหำชน)

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ยอดคงเหลือ

ยอดคงเหลือ

ณ วันที่

ณ วันที่

31 ธันวำคม

เพิม่ ขึ้น

ลดลง

31 ธันวำคม

2558

ระหว่ำงปี

ระหว่ำงปี

2559

เงินให้กยู ้ มื ระยะยาวแก่บริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์คจำกัด

-

1,362,250

(645,250)

717,000

291,500

-

(291,500)

-

เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากบริษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 เงินให้กูย้ ืมระยะยำวแก่บริษทั ที่เกี่ยวข้องกันจำนวน 717 ล้ำนบำท เป็ น เงินให้กูย้ มื ที่ไม่มหี ลักประกันแก่บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด ซึ่งเป็ นบริษทั ย่อย โดยมีอตั รำดอกเบี้ยร้อย ละ 3.84 ถึง 3.91 ต่อปี และมีกำหนดชำระคืนเงินต้นทัง้ หมดภำยในเดือนกรกฎำคม 2162


148

รายงานประจ�ำปี 2559

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จำกบริษทั ที่เกี่ยวข้องกันจำนวน 1,060 ล้ำนบำท เป็ นเงิน กูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินแห่งหนึ่งซึง่ เป็ นกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน โดยมีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 2.48 ต่อปี (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

เพิม่ ขึ้น ระหว่ำงปี

ลดลง ระหว่ำงปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

เงินกูย้ มื ระยะยาว ธนำคำรกรุงเทพ จำกัด (มหำชน)

748,380

106,986

(71,600)

783,766

ยอดคงเหลือของเงินกูย้ ืมระยะยำวที่ได้รบั จำกสถำบันกำรเงินแห่งหนึ่งซึ่งเป็ นกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันมี รำยละเอียดดังนี้ (หน่วย: ล้ำนบำท) งบกำรเงินรวม

เงือ่ นไขที่สำคัญของสัญญำเงินกูย้ มื

ลำดับ ที่

วันทีท่ ำสัญญำ

2559

2558

ระยะเวลำ

งวดชำระคืน

เงินกู ้

เงินต้น

ระยะเวลำชำระคืนเงินต้น

อัตรำดอกเบี้ย

1.

23 เมษำยน 2556

636

707

9 ปี

ทุก 6 เดือน

พฤศจิกำยน 2559 - พฤษภำคม 2565

MLR ลบอัตรำคงที่

2.

3 เมษำยน 2557

20

20

9 ปี

ทุก 6 เดือน

พฤศจิกำยน 2560 - พฤษภำคม 2566

MLR ลบอัตรำคงที่

3.

3 เมษำยน 2557

128

21

9 ปี

ทุก 6 เดือน

พฤศจิกำยน 2560 - พฤศจิกำยน 2565

MLR ลบอัตรำคงที่

784

748

(291)

(72)

493

676

รวมเงินกูย้ มื หัก ส่ ว นที่ ถื อ ก ำหนดช ำระ ภำยใน 1 ปี รวมเงินกูย้ มื ระยะยำว-สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำและพร้อมให้เช่ำ/ ขำยอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนให้เช่ำที่ดินและอำคำรของบริษทั ย่อยแห่งหนึ่งซึ่งมีรำคำตำมบัญชีรวม 2,942 ล้ำน บำท (2558 : 2,924 ล้ำนบำท) ถูกจดจำนองเป็ นประกันกำรกูย้ มื ดังกล่ำวข้ำงต้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ย่อยคงเหลือจำนวนเงินที่ยงั มิได้เบิกใช้ของวงเงินกูย้ มื จำกกิจกำรที่ เกี่ยวข้องกันดังกล่ำวเป็ นจำนวนรวมประมำณ 4,065 ล้ำนบำท (2558 : 4,324 ล้ำนบำท)


149

รายงานงบการเงิน

7.5 ค่ำตอบแทนกรรมกำรและผูบ้ ริหำร ในระหว่ำงปี ส้ นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีค่ำใช้จ่ำยผลประโยชน์ พนักงำนทีใ่ ห้แก่กรรมกำรและผูบ้ ริหำร ดังต่อไปนี้ (หน่วย:พันบำท) งบกำรเงินรวม ผลประโยชน์ระยะสัน้

2559

2558

2559

2558

65,624

74,965

46,115

55,758

3,947

4,150

2,517

2,826

69,571

79,115

48,632

58,584

ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน รวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

7.6 ภำระคำ้ ประกันกับบริษทั ย่อย บริษทั ฯมีภำระจำกกำรคำ้ ประกันให้แก่บริษทั ย่อยตำมทีก่ ล่ำวไว้ในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน ข้อ 21 และ 34.3

8. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด หมำยถึง เงินสดและเงินฝำกธนำคำร และเงินลงทุนระยะสัน้ ที่มสี ภำพ คล่องสูง ซึง่ ถึงกำหนดจ่ำยคืนภำยในระยะเวลำไม่เกิน 3 เดือน นับจำกวันทีไ่ ด้มำและไม่มขี อ้ จำกัดในกำรเบิกใช้ เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดตำมทีแ่ สดงอยู่ในงบกระแสเงินสดประกอบด้วยรำยกำรดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 2559 เงินสด

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2558

2559

2558

947

587

175

295

เงินฝำกสถำบันกำรเงิน

283,321

1,133,303

213,736

1,067,786

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด

284,268

1,133,890

213,911

1,068,081

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 เงินฝำกออมทรัพย์ เงินฝำกประจำและเงินลงทุนชัว่ ครำวซึง่ ถึงกำหนดจ่ำย คืนในระยะเวลำไม่เกิน 3 เดือน มีอตั รำดอกเบี้ยร้อยละ 0.1 ถึง 1.7 ต่อปี (2558: ร้อยละ 0.1 ถึง 1.7 ต่อปี )


150

รายงานประจ�ำปี 2559

9. เงินลงทุนชัว่ คราว (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2558

2559

2558

เงินฝำกประจำ

22,144

22,183

-

-

รวมเงินลงทุนชัว่ ครำว

22,144

22,183

-

-

10. ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อืน่ ยอดคงเหลือของลูกหนี้กำรค้ำจำแนกตำมอำยุหนี้คงค้ำง แสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม 2559 2558 ลูกหนี้กำรค้ำ - กิจกำรทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกัน อำยุหนี้คงค้ำงนับจำกวันทีถ่ งึ กำหนดชำระ ค้ำงชำระ ไม่เกิน 3 เดือน ค้ำงชำระ 3 - 6 เดือน ค้ำงชำระ 6 - 12 เดือน ค้ำงชำระ มำกกว่ำ 12 เดือน รวม ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำนทีย่ งั ไม่เรียกชำระ หัก: ค่ำเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้กำรค้ำ - กิจกำรทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกัน, สุทธิ ลูกหนี้อน่ื ลูกหนี้อน่ื - กิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อน่ื - กิจกำรทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้ำงรับจำกกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้ำงรับจำกกิจกำรทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกัน รำยได้คำ้ งรับ รวมลูกหนี้อน่ื รวมลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อน่ื - สุทธิ

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

58,123 2,817 803 19,123 80,866

22,062 6,256 2,782 13,738 44,838

1,523 11,876 13,399

2,936 2,204 13,738 18,878

19,721 (19,224) 81,363

14,274 (4,050) 55,062

2,939 (11,401) 4,937

1,855 (4,050) 16,683

30,983 5,415 2 699 19,568 56,667 138,030

33,011 4,618 54 2,214 39,897 94,959

120,473 770 2,611 295 124,149 129,086

22,130 3,009 54 458 25,651 42,334


151

รายงานงบการเงิน

11. เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้าประกัน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้นำเงินฝำกสถำบันกำรเงินจำนวน 0.2 ล้ำนบำท (2558: 57.4 ล้ำนบำท) ไปวำงไว้กบั ธนำคำรเพือ่ เป็ นหลักประกันวงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิตและทรัสต์รีซที พร้อมวงเงินสำหรับ จองอัตรำแลกเปลีย่ น และหนังสือ คำ้ ประกันทีธ่ นำคำรออกให้แก่หน่วยงำนรัฐ รัฐวิสำหกิจและบริษทั เอกชน

12. เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษทั ย่อยตำมทีแ่ สดงอยู่ในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร มีรำยละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย:พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

บริษทั ย่อย

ลักษณะธุรกิจ

จัดตัง้ ขึ้น ในประเทศ

ทุนเรียกชำระแล ้ว 2559

บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จำกัด บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด บริษทั ไทคอน แมนเนจเม ้นท์ จำกัด Shanghai TICON Investment Management Company

TICON (HK) Limited

2558

สัดส่วนเงินลงทุน

พัฒนำอสังหำริมทรัพย์ โดยกำรสร้ำงโรงงำนให้เช่ำ/ขำย พัฒนำอสังหำริมทรัพย์ โดยกำรสร้ำงคลังสินค้ำ ให้เช่ำ/ขำย ผู ้จัดกำรกองทรัสต์เพือ่ กำร ลงทุนในอสังหำริมทรัพย์ ธุรกิจบริหำรกำรลงทุน

ไทย

50,000

50,000

2559 (ร้อยละ) 99.99

ไทย

19,500,000

19,500,000

ไทย

10,000

จีน

ลงทุนในกิจกำรในต่ำงประเทศ

ฮ่องกง

2558 (ร้อยละ) 99.99

เงินลงทุนตำมรำคำทุน 2559

2558

เงินปันผลที่บริษทั ฯ รับระหว่ำงปี 2559

2558

50,000

50,000

6,000

10,000

99.99

99.99 19,515,000

19,515,000

-

448,500

10,000

69.99

69.99

7,000

7,000

-

-

85,384

85,384

100.00

100.00

85,384

85,384

-

-

413,423

413,423

100.00

100.00

413,423

413,423

-

-

20,070,807

20,070,807

6,000

458,500

รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย

ในระหว่ำงปี 2559 มีกำรเปลีย่ นแปลงเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษทั ย่อยดังนี้ (ก) เมื่อวันที่ 26 เมษำยน 2559 ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุน้ ประจำปี 2559 ของบริษทั อีโค อินดัสเทรี ยล เซอร์วสิ เซส จำกัด ได้มมี ติอนุ มตั ิจ่ำยเงินปันผลจำกผลกำไรบำงส่วนปี 2558 จำนวนหุน้ ละ 0.40 บำท รวมเป็ น เงินทัง้ สิ้น 2.0 ล้ำนบำท โดยมีกำรจ่ำยเงินปันผลในวันที่ 27 เมษำยน 2559 (ข) เมือ่ วันที่ 8 กันยำยน 2559 ที่ประชุมคณะกรรมกำรครัง้ ที่ 2/2559 ของบริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วิสเซส จำกัด ได้มมี ติอนุ มตั ิจ่ำยเงินปันผลระหว่ำงกำลจำกผลกำไรบำงส่วนปี 2558 และ 2559 จำนวนหุน้ ละ 0.80 บำท รวมเป็ นเงินทัง้ สิ้น 4.0 ล้ำนบำท โดยมีกำรจ่ำยเงินปันผลในวันที่ 19 กันยำยน 2559

13. เงินลงทุนในการร่วมค้า 13.1 รำยละเอียดของกำรร่วมค้ำ เงิน ลงทุนในกำรร่ว มค้ำเป็ นเงินลงทุนในกิจ กำรที่บริษทั ฯโดยบริษทั ย่อยและบริษทั อื่นควบคุ มร่ว มกัน มี รำยละเอียดดังนี้


152

รายงานประจ�ำปี 2559

งบกำรเงินรวม กิจกำรที่ควบคุม ร่วมกัน

จัดตัง้ ขึ้น ในประเทศ

ประเภทกิจกำร

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 6 จำกัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 11 จำกัด บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด

ผลิตและจำหน่ำยกระแสไฟฟ้ ำ ผลิตและจำหน่ำยกระแสไฟฟ้ ำ พัฒนำอสังหำริมทรัพย์ โดยกำร สร้ำงคลังสินค้ำให้เช่ำ/ขำย

ไทย ไทย ไทย

ทุนเรียกชำระ แล้ว 2559 2558 (ล้ำนบำท) (ล้ำนบำท) 5.00 5.00 4.00 4.00 1.00 -

สัดส่วน เงินลงทุน 2559 (ร้อยละ) 51.00 51.00 59.99

2558 (ร้อยละ) 51.00 51.00 -

เมื่อวันที่ 10 สิงหำคม 2559 ที่ประชุมคณะกรรมกำรครัง้ ที่ 3/2559 ของบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด (“บริษทั ย่อย”) ได้มมี ติให้ร่วมกับบริษทั พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด จัดตัง้ บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟ ทีแซด จำกัด (“บริษทั ร่วมทุน ”) เพื่อพัฒ นำคลังสินค้ำเพื่อให้เช่ำและ/หรือขำย โดยมีทุนจดทะเบียน 1 ล้ำนบำท ประกอบด้วยหุน้ สำมัญจำนวน 100,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หนุ ้ ละ 10 บำท และถือโดยบริษทั ย่อยร้อยละ 59.99 ของ ทุนจดทะเบียน โดยบริษทั ร่วมทุนดังกล่ำวได้จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั กับกระทรวงพำณิชย์เมือ่ วันที่ 20 ตุลำคม 2559 13.2 รำยละเอียดของเงินลงทุนในกำรร่วมค้ำ (ก) มูลค่ำตำมบัญชีของเงินลงทุนในกำรร่วมค้ำ (หน่วย: พันบำท) กิจกำรทีค่ วบคุมร่วมกัน บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 6 จำกัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 11 จำกัด บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด รวม

งบกำรเงินรวม รำคำทุน มูลค่ำตำมวิธสี ่วนได้เสีย 2559 2558 2559 2558 2,550 2,550 2,491 2,218 2,040 2,040 2,026 1,850 600 323 5,190

4,590

4,840

4,068

(ข) ส่วนแบ่งกำไร (ขำดทุน) จำกเงินลงทุนในกำรร่วมค้ำ

กิจกำรทีค่ วบคุมร่วมกัน บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 6 จำกัด บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 11 จำกัด บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด รวม

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 273 (64) 176 (72) (277) 172 (136)


153

รายงานงบการเงิน

13.3 ข้อมูลทำงกำรเงินโดยสรุปของกำรร่วมค้ำ สรุปรำยกำรฐำนะทำงกำรเงิน

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยำวทีถ่ งึ กำหนดชำระ ภำยในหนึ่งปี หนี้สนิ หมุนเวียนอืน่ เงินกูย้ มื ระยะยำว สินทรัพย์สทุ ธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการ ในสินทรัพย์ – สุทธิ ผลดาเนิ นงานก่อนการร่วมค้า มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของ กิจการในการร่วมค้า

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 6 จำกัด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 427 465 1,483 1,777 14,083 14,685 15,993 16,927

(หน่วย: พันบำท) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 11 จำกัด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 384 935 1,057 1,159 10,578 11,032 12,019 13,126

(1,200) (1,532) (8,463) (11,195) 4,798 51.00

(900) (1,801) (9,963) (12,664) 4,263 51.00

(702) (2,569) (4,858) (8,129) 3,890 51.00

(526) (3,319) (5,735) (9,580) 3,546 51.00

2,447 44

2,174 44

1,984 42

1,808 42

2,491

2,218

2,026

1,850

(หน่วย: พันบำท) บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ หนี้สนิ หมุนเวียนอืน่

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 1,764 15,574 342,422 359,760 (4,000) (355,221) (359,221)


154

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 539 59.99

สินทรัพย์สทุ ธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการ ในสินทรัพย์ – สุทธิ ผลดาเนิ นงานก่อนการร่วมค้า มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของ กิจการในการร่วมค้า

323 323

สรุปรำยกำรกำไรขำดทุน (หน่วย: พันบำท) บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 6 จำกัด

บริษทั ไทคอน เด็มโก้ เพำเวอร์ 11 จำกัด

สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม

สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม

2559

2558

2559

2558

รำยได้

2,105

1,258

1,437

943

ต้นทุนขำย

(787)

(499)

(549)

(369)

ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร

(184)

(230)

(198)

(339)

ค่ำใช้จ่ำยดอกเบี้ย

(599)

(654)

(345)

(377)

กำไร (ขำดทุน)

535

(125)

345

(142) (หน่วย: พันบำท)

บริษทั ทีพำร์ค บีเอฟทีแซด จำกัด

สำหรับรอบระยะเวลำตัง้ แต่ วันที่ 20 ตุลำคม 2559 ถึง 31 ธันวำคม 2559 ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร ค่ำใช้จ่ำยดอกเบี้ย ขำดทุน

(458) (3) (461)


155

รายงานงบการเงิน

14. เงินลงทุนในบริษทั ร่วม 14.1

รำยละเอียดของบริษทั ร่วม

บริษทั ร่วม

กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ ไทคอน กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ ทีพำร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำ อสังหำริมทรัพย์ไทคอน

ประเภทกิจกำร

จัดตัง้ ขึ้น ในประเทศ

ทุนเรียกชำระแล้ว 2559 2558 (พันบำท) (พันบำท)

จำนวนหน่วยลงทุนทีบ่ ริษทั ฯ /บริษทั ย่อยถือ 2559 (พันหน่วย)

2558 (พันหน่วย)

สัดส่วนกำรลงทุน 2559 2558 (ร้อยละ) (ร้อยละ)

ลงทุนในอสังหำริมทรัพย์

ไทย

11,824,790

11,824,790

172,470

212,238

15.00

18.46

ลงทุนในอสังหำริมทรัพย์ ลงทุนในอสังหำริมทรัพย์

ไทย

4,469,062

4,469,062

66,427

67,098

16.05

16.21

ไทย

5,555,000

5,550,000

132,901

141,395

23.95

25.48

ไทย

5,542,063

5,542,063

68,441

111,181

12.08

19.62

อินโดนีเชีย

1,656,633

1,656,633

11,600

11,600

25.00

25.00

และ/หรือสิทธิกำรเช่ำ อินดัสเทรียล โกรท อสังหำริมทรัพย์ ทรัสต์เพื่อกำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และ ลงทุนในอสังหำริมทรัพย์ สิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน และ/หรือสิทธิกำรเช่ำ อสังหำริมทรัพย์ PT SLP Surya TICON Internusa พัฒนำอสังหำริมทรัพย์ โรงงำนและคลังสินค้ำ โดยให้เช่ำ/ขำย

14.2 รำยละเอียดของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (ก) มูลค่ำตำมบัญชีของเงินลงทุนในบริษทั ร่วม

บริษทั ร่วม กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทคอน เงินลงทุน หัก: กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำย อสังหำริมทรัพย์ เงินลงทุน – สุทธิ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทพี าร์ค โลจิสติคส์ เงินลงทุน หัก: กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำย อสังหำริมทรัพย์ เงินลงทุน – สุทธิ

งบกำรเงินรวม วิธสี ่วนได้เสีย 2559 2558

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำคำทุน 2559 2558

1,585,636

1,970,463

1,783,249

2,194,425

(791,231) 794,405

(975,613) 994,850

1,783,249

2,194,425

661,406

681,575

733,931

741,352

(221,934) 439,472

(224,146) 457,429

733,931

741,352


156

รายงานประจ�ำปี 2559

บริษทั ร่วม กองทุนรวมสิทธิการเช่าสังหาริมทรัพย์ ไทคอนอินดัสเทรียล โกรท เงินลงทุน หัก: กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำย อสังหำริมทรัพย์ เงินลงทุน – สุทธิ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสังหาริมทรัพย์และ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ไทคอน เงินลงทุน หัก: กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำย อสังหำริมทรัพย์ บวก: ค่ำใช้จ่ำยทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำก ประมำณกำรหนี้สนิ ทีเ่ กี่ยวข้อง กับกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ เงินลงทุน – สุทธิ PT SLP Surya TICON Internusa เงินลงทุน รวมเงินลงทุนในบริษทั ร่วม-สุทธิ มูลค่าต่อหน่ วยของเงินลงทุน (บาท) กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ ทีพำร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไท คอนอินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์ และสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ ไทคอน PT SLP Surya TICON Internusa

งบกำรเงินรวม วิธสี ่วนได้เสีย 2559 2558

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำคำทุน 2559 2558

1,235,859

1,345,974

1,329,302

1,414,235

(467,003) 768,856

(508,715) 837,259

1,329,302

1,414,235

668,765

1,103,403

686,035

1,113,648

(198,433)

(265,079)

-

-

11,680 482,012

24,984 863,308

686,035

1,113,648

430,488 2,915,233

421,608 3,574,454

4,532,517

5,463,660

4.61

4.69

10.34

10.34

6.62

6.82

11.05

11.05

5.80

5.92

10.00

10.00

7.06 37.11

7.76 36.35

10.02 -

10.02 -

ก ำไรที่ ย ัง ไม่ เกิ ด ขึ้ น จำกกำรขำยอสัง หำริ ม ทรัพ ย์ใ ห้แ ก่ ก องทุ น รวมอสัง หำริ ม ทรัพ ย์ไ ทคอน กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท (“กองทุนฯ”) และทรัสต์เพื่อกำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”)


รายงานงบการเงิน

157

คำนวณตำมสัดส่วนที่บริษทั ฯถือหน่วยในกองทุนฯและกองทรัสต์ฯ และถือเป็ นกำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริง โดยแสดงเป็ น ส่วนหักจำกเงินลงทุนใน งบแสดงฐำนะกำรเงิน และแสดงเป็ นส่วนหักจำกกำไรจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วมในงบกำไรขำดทุนของงวดทีเ่ กิดรำยกำร (ข) ส่วนแบ่งกำไรจำกเงินลงทุนในบริษทั ร่วม

บริษทั ร่วม กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำ อสังหำริมทรัพย์ไทคอน PT SLP Surya TICON Internusa รวม

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 98,517 115,812 35,545 36,142 83,270

75,236

32,986 1,899 252,217

19,487 1,790 248,467

(ค) เงินปันผลรับจำกบริษทั ร่วม

บริษทั ร่วม กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำ อสังหำริมทรัพย์ไทคอน รวม

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 117,142 175,426 48,958 63,634 113,156

124,240

44,611

4,343

323,867

367,643


158

รายงานประจ�ำปี 2559

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558

บริษทั ร่วมของบริษทั ย่อย ทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำ อสังหำริมทรัพย์ไทคอน

-

9,299

14.3 กำรเปลีย่ นแปลงของบัญชีเงินลงทุนในบริษทั ร่วม (หน่วย: ล้ำนบำท)

เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ยอดยกมำต้นปี ซื้อเงินลงทุน ขำยเงินลงทุน รับคืนเงินจำกกำรลดมูลค่ำหน่วยทรัสต์ ส่วนแบ่งกำไรในเงินลงทุน เงินปันผลรับ ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำงบกำรเงิน ยอดคงเหลือปลำยปี

งบกำรเงินรวม 2559 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

5,522 34 (910) 252 (324) 7 4,581

5,464 34 (965) 4,533

5,354 1,136 (829) (16) 248 (377) 6 5,522

5,241 1,142 (911) (8) 5,464 (หน่วย: ล้ำนบำท)

กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ยอดยกมำต้นปี เพิม่ ขึ้นระหว่ำงปี ลดลงระหว่ำงปี ยอดคงเหลือปลำยปี

งบกำรเงินรวม 2559 2558 1,973 (295) 1,678

2,054 166 (247) 1,973

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558


159

รายงานงบการเงิน

ค่าใช้จา่ ยที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากประมาณการหนี้ สินที่เกีย่ วข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ยอดยกมำต้นปี 25 16 เพิม่ ขึ้นระหว่ำงปี 10 ลดลงระหว่ำงปี (13) (1) ยอดคงเหลือปลำยปี 12 25 เงินลงทุนในบริษทั ร่วม - สุทธิ 2,915 3,574 กำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์และค่ำใช้จ่ำยทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรประมำณกำรหนี้สนิ ที่เกี่ย วข้อ งกับกำรขำยอสังหำริม ทรัพ ย์ท่ีเพิ่ม ขึ้นระหว่ำงปี เกิดจำกกำรขำยอสัง หำริม ทรัพ ย์ให้แก่ กองทุนฯและ กองทรัสต์ฯ ส่วนกำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์และค่ำใช้จ่ำยที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรประมำณกำร หนี้สินที่เกี่ยวข้องกับกำรขำยอสังหำริมทรัพ ย์ท่ีลดลงระหว่ำงปี เกิดจำกกำรที่กองทุนฯและกองทรัสต์ฯมีกำรขำย อสังหำริมทรัพย์ให้แก่บุคคลภำยนอก และจำกกำรที่บริษทั ฯมีสดั ส่วนกำรถือหน่วยลงทุนในกองทุนฯและกองทรัสต์ฯ ลดลง ในระหว่ ำงปี ส้ ิน สุ ด วัน ที่ 31 ธัน วำคม 2559 กำรเปลี่ย นแปลงในก ำไรที่ย งั ไม่เกิด ขึ้น จำกกำรขำย อสังหำริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วมทีส่ ำคัญมีดงั นี้ วันที่

รำยกำรที่เกิดขึ้นระหว่ำงปี 2559

9-14 มี.ค. 59 จำหน่ำยเงินลงทุนในกองทุนรวม อสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์ 9-24 มี.ค. 59 จำหน่ำยเงินลงทุนในกองทุนรวมสิทธิกำร เช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอนอินดัส เทรียล โกรท 11 และ 18 จำหน่ำยเงินลงทุนในทรัสต์เพือ่ กำรลงทุน มี.ค. 59 ในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำ อสังหำริมทรัพย์ไทคอน 18 มี.ค. 59 จำหน่ำยเงินลงทุนในกองทุนรวม อสังหำริมทรัพย์ไทคอน 12 ก.ค. 59 จำหน่ำยเงินลงทุนในกองทุนรวมสิทธิกำร เช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอนอินดัส เทรียล โกรท 29 ส.ค. 59 กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ ไทคอนอินดัสเทรียล โกรท ขำยโรงงำน ที่ซ้ อื จำกบริษทั ฯให้บุคคลภำยนอก 14 ก.ย. 59 กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอน ขำย ที่ดนิ และโรงงำนที่ซ้ อื จำกบริษทั ฯให้ บุคคลภำยนอก

กำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำร ขำยอสังหำริมทรัพย์ ลดลง (ล้ำนบำท)

จำนวนหน่วยลงทุน

รำคำขำย (ล้ำนบำท)

0.7 ล้ำนหน่วย

8

(2)

3.1 ล้ำนหน่วย

37

(7)

46.0 ล้ำนหน่วย

460

(67)

39.8 ล้ำนหน่วย

442

(183)

5.4 ล้ำนหน่วย

66

(20)

2 โรงงำน

122

(15)

1 โรงงำน

25

(1) (295)


160

รายงานประจ�ำปี 2559

14.4 มูลค่ำยุตธิ รรมของเงินลงทุนในบริษทั ร่วมทีเ่ ป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชื่อบริษทั ร่วม

กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท ทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำร เช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน รวม

มูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 (ล้ำนบำท) (ล้ำนบำท) 1,725 2,250 671 812

มูลค่ำยุติธรรมต่อหน่วย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 (บำท) (บำท) 10.0 10.6 10.1 12.1

1,488

1,555

11.2

11.0

664 4,548

1,106 5,723

9.7

9.95

14.5 ณ วันที่ 31 ธัน วำคม 2559 หน่ ว ยลงทุน ของกองทุน รวมอสัง หำริม ทรัพ ย์ไทคอน 66 ล้ำนหน่ ว ย (2558: 66 ล้ำนหน่วย) ซึง่ มีมูลค่ำตำมวิธสี ่วนได้เสีย 306 ล้ำนบำท (2558: 312 ล้ำนบำท) และมีมลู ค่ำตำมรำคำตลำด 665 ล้ำนบำท (2558: 705 ล้ำนบำท) ถูกจำนำไว้กบั ธนำคำรเพื่อคำ้ ประกันเงินกูย้ ืมระยะสัน้ และเงินกูย้ ืมระยะยำว และหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์จำนวน 22 ล้ำนหน่วย (2558: 22 ล้ำนหน่วย) ซึง่ มี มูลค่ำตำมวิธีส่วนได้เสีย 147 ล้ำนบำท (2558: 152ล้ำนบำท) และมีมูลค่ำตำมรำคำตลำด 225 ล้ำนบำท (2558: 269 ล้ำนบำท) ถูกจำนำไว้กบั ธนำคำรเพือ่ คำ้ ประกันรำยได้ค่ำเช่ำและบริกำรตำมทีก่ ล่ำวไว้ในหมำยเหตุ 34.5 14.6 ข้อมูลทำงกำรเงินของบริษทั ร่วม ข้อมูลทำงกำรเงินตำมทีแ่ สดงอยู่ในงบกำรเงินของบริษทั ร่วมโดยสรุปมีดงั นี้ (ก)

กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอน สรุปรำยกำรฐำนะทำงกำรเงิน

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สนิ หมุนเวียน หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ - สุทธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตำมส่วนได้เสียของกิจกำรในสินทรัพย์ - สุทธิ กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ ปรับปรุงรำยกำรตำมนโยบำยกำรบัญชีของบริษทั ฯ มูลค่ำตำมบัญชีของส่วนได้เสียของกิจกำรในบริษทั ร่วม

(หน่วย: พันบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 13,523,060 13,315,174 7,392 6,914 (48,377) (47,323) (332,204) (321,139) 13,149,871 12,953,626 15.00 18.46 1,972,481 2,391,239 (791,231) (975,613) (386,845) (420,776) 794,405 994,850


161

รายงานงบการเงิน

สรุปรำยกำรกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย: พันบำท) สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม

(ข)

2559

2558

รำยได้

918,030

899,070

กำไร

731,568

707,981

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่

200,384

339,703

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม

931,952

1,047,684

กองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทพี ำร์คโลจิสติคส์ สรุปรำยกำรฐำนะทำงกำรเงิน (หน่วย: พันบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

2558

4,952,519

4,965,846

4,171

2,262

หนี้สนิ หมุนเวียน

(20,581)

(17,826)

หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน

(90,599)

(98,170)

4,845,510

4,852,112

16.05

16.21

สัดส่วนตำมส่วนได้เสียของกิจกำรในสินทรัพย์ - สุทธิ

777,704

786,527

กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์

(221,934)

(224,146)

ปรับปรุงรำยกำรตำมนโยบำยกำรบัญชีของบริษทั ฯ

(116,298)

(104,952)

มูลค่ำตำมบัญชีของส่วนได้เสียของกิจกำรในบริษทั ร่วม

439,472

457,429

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

สินทรัพย์ - สุทธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ)


162

รายงานประจ�ำปี 2559

สรุปรำยกำรกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย: พันบำท) สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม

(ค)

2559

2558

รำยได้

360,871

382,301

กำไร

297,914

319,693

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่

(344)

49,671

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม

297,570

369,364

กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท สรุปรำยกำรฐำนะทำงกำรเงิน (หน่วย: พันบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 สินทรัพย์หมุนเวียน

2558

6,371,939

6,319,524

2,786

2,568

(17,587)

(19,359)

หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน

(611,503)

(643,914)

สินทรัพย์ - สุทธิ

5,745,635

5,658,819

23.95

25.48

สัดส่วนตำมส่วนได้เสียของกิจกำรในสินทรัพย์ - สุทธิ

1,376,080

1,441,867

กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์

(467,003)

(508,715)

ปรับปรุงรำยกำรตำมนโยบำยกำรบัญชีของบริษทั ฯ

(140,221)

(95,893)

มูลค่ำตำมบัญชีของส่วนได้เสียของกิจกำรในบริษทั ร่วม

768,856

837,259

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สนิ หมุนเวียน

สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ)


รายงานงบการเงิน

สรุปรำยกำรกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย: พันบำท) สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม

(ง)

2559

2558

รำยได้

571,455

596,037

กำไร

468,512

490,638

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่

79,231

(44,795)

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม

547,743

445,843

ทรัสต์เพือ่ กำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน สรุปรำยกำรฐำนะทำงกำรเงิน (หน่วย: พันบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 สินทรัพย์หมุนเวียน

2558

7,714,896

7,623,238

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

56,380

64,199

หนี้สนิ หมุนเวียน

(48,960)

(93,118)

หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน

(1,975,447)

(1,993,004)

สินทรัพย์ - สุทธิ

5,746,869

5,601,315

12.08

19.62

สัดส่วนตำมส่วนได้เสียของกิจกำรในสินทรัพย์ - สุทธิ

694,222

1,098,978

กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์

(198,433)

(265,079)

ค่ำใช้จ่ำยทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกประมำณกำรหนี้สนิ ทีเ่ กี่ยวข้องกับ กำรขำยอสังหำริมทรัพย์

11,680

24,984

ปรับปรุงรำยกำรตำมนโยบำยกำรบัญชีของบริษทั ฯ

(25,457)

4,425

มูลค่ำตำมบัญชีของส่วนได้เสียของกิจกำรในบริษทั ร่วม

482,012

863,308

สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ)

163


164

รายงานประจ�ำปี 2559

สรุปรำยกำรกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย: พันบำท) สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม

(จ)

2559

2559

รำยได้

655,775

415,646

กำไร

397,124

286,552

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่

90,890

(126,289)

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม

488,014

160,263

PT SLP Surya TICON Internusa สรุปรำยกำรฐำนะทำงกำรเงิน (หน่วย: พันบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

สินทรัพย์หมุนเวียน

2558

364,818

392,338

1,772,934

1,571,158

(26,727)

(36,415)

หนี้สนิ ไม่หมุนเวียน

(376,217)

(234,946)

สินทรัพย์ - สุทธิ

1,734,808

1,692,135

25.00

25.00

443,702

423,034

(3,214)

(1,426)

430,488

421,608

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สนิ หมุนเวียน

สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่วนตำมส่วนได้เสียของกิจกำรในสินทรัพย์ - สุทธิ กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน มูลค่ำตำมบัญชีของส่วนได้เสียของกิจกำรในบริษทั ร่วม


165

รายงานงบการเงิน

สรุปรำยกำรกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (หน่วย: พันบำท) สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559

2558

รำยได้

93,202

29,197

กำไร

10,063

7,169

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอืน่

(229)

-

กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม

9,834

7,169

15. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 15.1 อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำและพร้อมให้เช่ำ /ขำย 15.1.1 กำรเปลีย่ นแปลงของมูลค่ำสุทธิตำมบัญชี (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน ทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำ ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุง ทีด่ นิ ราคาทุน 1 มกรำคม 2558 ซื้อเพิ่ม จำหน่ำย โอนเขำ้ /โอนออก ดอกเบี้ยจ่ำยทีถ่ อื เป็ นต้นทุน 31 ธันวำคม 2558 ซื้อเพิ่ม จำหน่ำย โอนเขำ้ /โอนออก ดอกเบี้ยจ่ำยทีถ่ อื เป็ นต้นทุน 31 ธันวำคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 1 มกรำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับ ส่วนทีจ่ ำหน่ำย โอนเขำ้ /โอนออก 31 ธันวำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับ ส่วนทีจ่ ำหน่ำย โอนเขำ้ /โอนออก 31 ธันวำคม 2559

งำนระหว่ำง ก่อสร้ำง

อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน พร้อมให้เช่ำ/ขำย

สินทรัพย์ ส่วนกลำง

ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุง ทีด่ นิ

รวม

อำคำรโรงงำน และคลังสินค้ำ

รวม

ยอดรวม

10,108,576 2,631,779 (158,558) (1,846,416) 10,735,381 82,350 (104,537) (1,069,857) 9,643,337

2,609,228 4,877,124 (3,275,129) 60,843 4,272,066 1,641,775 (4,498,151) 20,543 1,436,233

413,154 413,154 (4,841) 215,554 623,867

12,717,804 7,508,903 (158,558) (4,708,391) 60,843 15,420,601 1,724,125 (109,378) (5,352,454) 20,543 11,703,437

1,152,280 (27,798) 390,864 1,515,346 (471) 368,208 1,883,083

3,837,203 (173,727) 423,364 4,086,840 (66) 797,665 4,884,439

4,989,483 (201,525) 814,228 5,602,186 (537) 1,165,873 6,767,522

17,707,287 7,508,903 (360,083) (3,894,163) 60,843 21,022,787 1,724,125 (109,915) (4,186,581) 20,543 18,470,959

-

-

-

-

-

527,541 203,300

527,541 203,300

527,541 203,300

-

-

40,048 40,048 12,118

40,048 40,048 12,118

14,005 14,005 4,565

(10,533) (57,219) 663,089 135,004

(10,533) (43,214) 677,094 139,569

(10,533) (3,166) 717,142 151,687

-

-

(1,445) (14,309) 36,412

(1,445) (14,309) 36,412

(154) 8,130 26,546

(6) (29,988) 768,099

(160) (21,858) 794,645

(1,605) (36,167) 831,057


166

รายงานประจ�ำปี 2559

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน ทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำ ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุง ทีด่ นิ

งำนระหว่ำง ก่อสร้ำง

อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน พร้อมให้เช่ำ/ขำย

สินทรัพย์ ส่วนกลำง

ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุง ทีด่ นิ

รวม

อำคำรโรงงำน และคลังสินค้ำ

รวม

ยอดรวม

มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกรำคม 2558

10,108,576

2,609,228

-

12,717,804

1,152,280

3,309,662

4,461,942

17,179,746

31 ธันวำคม 2558

10,735,381

4,272,066

373,106

15,380,553

1,501,341

3,423,751

4,925,092

20,305,645

31 ธันวำคม 2559

9,643,337

1,436,233

587,455

11,667,025

1,856,537

4,116,340

5,972,877

17,639,902

ค่าเสือ่ มราคาสาหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2558

203,300

2559

151,687

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน ทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำ ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุง ทีด่ นิ ราคาทุน 1 มกรำคม 2558 ซื้อเพิ่ม จำหน่ำย โอนเขำ้ /โอนออก ดอกเบี้ยจ่ำยทีถ่ อื เป็ นต้นทุน 31 ธันวำคม 2558 ซื้อเพิ่ม โอนเขำ้ /โอนออก ดอกเบี้ยจ่ำยทีถ่ อื เป็ นต้นทุน 31 ธันวำคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 1 มกรำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับ ส่วนทีจ่ ำหน่ำย โอนเขำ้ /โอนออก 31 ธันวำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี โอนเขำ้ /โอนออก 31 ธันวำคม 2559 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกรำคม 2558

งำนระหว่ำง ก่อสร้ำง

อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน พร้อมให้เช่ำ/ขำย

สินทรัพย์ ส่วนกลำง

ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุง ทีด่ นิ

รวม

อำคำร โรงงำน

รวม

ยอดรวม

2,157,906 898,389 (249,766) 2,806,529 (304,418) 2,502,111

626,998 572,745 (656,170) 25,364 568,937 102,189 (504,111) 12,558 179,573

3,920 3,920 3,920

2,784,904 1,471,134 (902,016) 25,364 3,379,386 102,189 (808,529) 12,558 2,685,604

641,557 (8,529) 203,682 836,710 230,205 1,066,915

1,357,339 (20,448) 471,245 1,808,136 331,391 2,139,527

1,998,896 (28,977) 674,927 2,644,846 561,596 3,206,442

4,783,800 1,471,134 (28,977) (227,089) 25,364 6,024,232 102,189 (246,933) 12,558 5,892,046

-

-

-

-

-

320,859 82,490

320,859 82,490

320,859 82,490

-

-

178 178 82 260

178 178 82 260

792 792 204 (160) 836

(2,654) 3,738 404,433 56,495 (29,849) 431,079

(2,654) 4,530 405,225 56,699 (30,009) 431,915

(2,654) 4,708 405,403 56,781 (30,009) 432,175

2,157,906

626,998

-

2,784,904

641,557

1,036,480

1,678,037

4,462,941

31 ธันวำคม 2558

2,806,529

568,937

3,742

3,379,208

835,918

1,403,703

2,239,621

5,618,829

31 ธันวำคม 2559

2,502,111

179,573

3,660

2,685,344

1,066,079

1,708,448

2,774,527

5,459,871

ค่าเสือ่ มราคาสาหรับปี (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหาร) 2558

82,490

2559

56,781


167

รายงานงบการเงิน

15.1.2 มูลค่ำยุตธิ รรมของอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม

ทีด่ นิ และส่วนปรับปรุงทีด่ นิ ทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำร พัฒนำ* ทีด่ นิ และส่วนปรับปรุงทีด่ นิ พร้อมอำคำร โรงงำนและคลังสินค้ำพร้อมให้เช่ำ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2559

2558

2559

2558

12,895,764

11,881,984

2,948,160

3,104,368

8,422,362

7,505,589

4,604,500

4,144,479

* มูลค่ำยุตธิ รรมไม่รวมงำนระหว่ำงก่อสร้ำงซึง่ มีมูลค่ำตำมบัญชีจำนวน 1,504 ล้ำนบำท (2558: 4,318 ล้ำนบำท) (งบกำรเงิน เฉพำะกิจกำร: 180 ล้ำนบำท 2558: 569 ล้ำนบำท)

ในปี 2559 และ 2558 มู ล ค่ ำ ยุ ติ ธ รรมของอสัง หำริม ทรัพ ย์เพื่ อ กำรลงทุ น ใช้ร ำคำประเมิน โดย ผูป้ ระเมินรำคำอิสระ ทัง้ นี้กำรประเมินมูลค่ำยุติธรรมดังกล่ำวจะใช้เกณฑ์รำคำตลำดสำหรับที่ดินรอกำรพัฒนำและ/ หรือทีด่ ินอยู่ระหว่ำงกำรพัฒนำ และใช้เกณฑ์วธิ พี จิ ำรณำจำกรำยได้ (Income Approach) สำหรับอำคำรโรงงำนและ คลัง สิน ค้ำพร้อ มให้เช่ ำ/ขำย ข้อ สมมติฐำนหลัก ที่ใช้ในกำรประเมิน รำคำอำคำรโรงงำนและคลัง สิน ค้ำดัง กล่ำว ประกอบด้วย อัตรำผลตอบแทน อัตรำพื้นทีว่ ่ำง และอัตรำกำรเติบโตระยะยำวของค่ำเช่ำ 15.1.3 รำยจ่ำยทำงกำรเงินทีบ่ นั ทึกเป็ นอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2558

2559

2558

อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนทีอ่ ยู่ใน ระหว่ำงกำรพัฒนำ

11,667,025

15,380,553

2,685,344

3,379,208

20,543

60,843

12,558

25,364

3.91

4.04

3.91

4.03

ดอกเบี้ยจ่ำยจำกเงินกูย้ มื สถำบัน กำรเงินและหุน้ กูท้ ถ่ี อื เป็ นต้นทุน สินทรัพย์ อัตรำกำรตัง้ ขึ้นเป็ นทุน (ร้อยละ)

15.1.4 ภำระค ้ำ ประกัน ของอสัง หำริ ม ทรัพ ย์เพื่ อ กำรลงทุ น ที่ อ ยู่ ใ นระหว่ ำ งกำรพัฒ นำและ อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนพร้อมให้เช่ำ/ขำย


168

รายงานประจ�ำปี 2559

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนในระหว่ำงกำรพัฒนำและอสังหำริมทรัพย์ เพื่อกำรลงทุนพร้อ มให้เช่ำ /ขำยของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ซึ่งมีรำคำตำมบัญ ชีจำนวน 3,202 ล้ำนบำท (2558: 6,074 ล้ำนบำท) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 931 ล้ำนบำท 2558: 958 ล้ำนบำท) ใช้เป็ นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน 15.1.5 จำนวนเงินทีเ่ กี่ยวข้องกับอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนทีอ่ ยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำและพร้อมให้

ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุงทีด่ นิ ราคาทุน 1 มกรำคม 2558 จำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2558 จำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 1 มกรำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2559

งบกำรเงินรวม อำคำรโรงงำน และคลังสินค้ำ

(หน่วย: พันบำท)

รวม

2,831,683 (298,091) 2,590,046 5,123,638 (46,025) 761,658 5,839,271

4,668,888 (1,766,752) 2,819,523 5,721,659 (2,658) 3,408,095 9,127,096

7,500,571 (2,064,843) 5,409,569 10,845,297 (48,683) 4,169,753 14,966,367

(424) 119,701 119,277 18,659 (6,158) 8,867 140,645

766,003 235,152 (113,221) 68,816 956,750 234,666 (265) 27,327 1,218,478

766,003 235,152 (113,645) 188,517 1,076,027 253,325 (6,423) 36,194 1,359,123

เช่ำ/ขำยที่ได้รบั รูใ้ นกำไรหรือขำดทุนสำหรับปี 2559 ประกอบด้วยค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนินงำนทำงตรง ซึ่งไม่ได้ก่อให้เกิดรำยได้ค่ำเช่ำเป็ นจำนวนเงิน 177 ล้ำนบำท (2558: 218 ล้ำนบำท) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร : 69 ล้ำนบำท 2558: 90 ล้ำนบำท)


169

รายงานงบการเงิน

15.2 อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนให้เช่ำ 15.2.1 กำรเปลีย่ นแปลงของมูลค่ำสุทธิตำมบัญชี (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ทีด่ นิ และ

อำคำรโรงงำน

ส่วนปรับปรุงทีด่ นิ

และคลังสินค้ำ

รวม

มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกรำคม 2558

2,831,683

3,902,885

6,734,568

31 ธันวำคม 2558

5,004,361

4,764,909

9,769,270

31 ธันวำคม 2559

5,698,626

7,908,618

13,607,244

ค่าเสือ่ มราคาสาหรับปี (รวมอยูใ่ นต้นทุนเช่าและบริการที่เกี่ยวข้อง) 2558

235,152

2559

253,325

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุงทีด่ นิ ราคาทุน 1 มกรำคม 2558 จำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2558 จำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 1 มกรำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับส่วนทีจ่ ำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2558

อำคำรโรงงำน

(หน่วย: พันบำท)

รวม

1,280,021 (58,790) 133,120 1,354,351 (27,169) 74,213 1,401,395

1,260,205 (275,676) 188,397 1,172,926 175,763 1,348,689

2,540,226 (334,466) 321,517 2,527,277 (27,169) 249,976 2,750,084

(133) 4,043 3,910

456,698 58,844 (37,323) (3,739) 474,480

456,698 58,844 (37,456) 304 478,390


170

รายงานประจ�ำปี 2559

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ทีด่ นิ และ

อำคำรโรงงำน

ส่วนปรับปรุงทีด่ นิ

และคลังสินค้ำ

1,014 160 5,084

34,051 29,849 538,380

ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2559

รวม 35,065 30,009 543,464

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ทีด่ นิ และ ส่วนปรับปรุงทีด่ นิ

อำคำรโรงงำน

มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกรำคม 2558 1,280,021 31 ธันวำคม 2558 1,350,441 31 ธันวำคม 2559 1,396,311 ค่าเสือ่ มราคาสาหรับปี (รวมอยูใ่ นต้นทุนเช่าและบริการที่เกี่ยวข้อง) 2558 2559

(หน่วย: พันบำท)

รวม

803,507 698,446 810,309

2,083,528 2,048,887 2,206,620 58,844 35,065

15.2.2 มูลค่ำยุตธิ รรมของอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2559

2558

18,276,876

13,502,310

2559

2558

4,088,839

4,132,087

ทีด่ นิ และส่วนปรับปรุงทีด่ นิ พร้อม อำคำรโรงงำนและคลังสินค้ำให้เช่ำ

ในปี 2559 และ 2558 มูลค่ำยุติธรรมใช้รำคำประเมินโดยผูป้ ระเมินรำคำอิสระ ทัง้ นี้กำรประเมินมูลค่ำ ยุติธรรมดังกล่ำวจะใช้เกณฑ์รำคำตลำดสำหรับที่ดินรอกำรพัฒนำและ/หรือที่ดินอยู่ระหว่ำงกำรพัฒนำ และใช้เกณฑ์ วิธีพิจำรณำจำกรำยได้ (Income Approach) สำหรับอำคำรโรงงำนและคลังสินค้ำพร้อมให้เช่ำ/ขำย ข้อสมมติฐำน หลักที่ใช้ในกำรประเมินรำคำอำคำรโรงงำนและคลังสินค้ำดังกล่ำวประกอบด้วย อัตรำผลตอบแทน อัตรำพื้นที่ว่ำง และอัตรำกำรเติบโตระยะยำวของค่ำเช่ำ


171

รายงานงบการเงิน

ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 มูลค่ำยุตธิ รรมของอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนจำนวนเงิน 18,277 ล้ำนบำท (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 4,089 ล้ำนบำท) ส่วนหนึ่งประกอบด้วยมูลค่ำยุติธรรมของที่ดินให้เช่ำระยะยำว แก่กองทุนรวมสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรียล โกรท และทรัสต์เพื่อกำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์ และสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ ไทคอน ซึ่ งมูลค่ำยุติธรรมของที่ดินให้เช่ำระยะยำวดังกล่ำวประเมินโดยใช้เกณฑ์ รำคำตลำดมีจำนวนเงิน 4,946 ล้ำนบำท (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 1,138 ล้ำนบำท) 15.2.3 อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนให้เช่ำตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำน

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีสญั ญำเช่ำดำเนินงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรให้เช่ำที่ดิน อำคำรโรงงำนและ คลังสินค้ำอำยุของสัญญำมีระยะเวลำตัง้ แต่ 2 เดือนถึง 15 ปี โดยอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่ให้เช่ำตำมสัญญำ เช่ำดำเนินงำนดังกล่ำว ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 จะก่อให้เกิดรำยได้ค่ำเช่ำขัน้ ตำ่ ในอนำคตดังนี้ (หน่วย: ล้ำนบำท) งบกำรเงินรวม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2558

2559

2558

ภำยใน 1 ปี

1,192

845

280

269

มำกกว่ำ 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี

2,855

2,052

384

327

มำกกว่ำ 5 ปี

2,701

717

55

52

15.2.4 ภำระคำ้ ประกันของอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนให้เช่ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนให้เช่ำของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยซึ่งมีรำคำ ตำมบัญชีจำนวน 4,559 ล้ำนบำท (2558: 2,397 ล้ำนบำท) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 622 ล้ำนบำท 2558: 534 ล้ำน บำท) ได้ใช้เป็ นหลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน 15.2.5 จำนวนเงินที่เกี่ยวข้อ งกับอสังหำริมทรัพ ย์เพื่อกำรลงทุนให้เช่ำที่ได้รบั รู ใ้ นกำไรหรือขำดทุน ประกอบด้วย รำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรที่เกี่ยวข้อง และต้นทุนกำรให้เช่ำและบริกำรที่เกี่ยวข้องตำมจำนวน ทัง้ หมดทีแ่ สดงในงบกำไรขำดทุน


172

รายงานประจ�ำปี 2559

16. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ที่ดนิ และ ส่วนปรับปรุงที่ดนิ ราคาทุน 1 มกรำคม 2558 ซื้อเพิม่ จำหน่ำย/ตัดจำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก ผลต่ำงจำกกำร แปลงค่ำงบกำรเงิน 31 ธันวำคม 2558 ซื้อเพิม่ จำหน่ำย/ตัดจำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก ผลต่ำงจำกกำร แปลงค่ำงบกำรเงิน 31 ธันวำคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 1 มกรำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับ ส่วนที่จำหน่ำย/ ตัดจำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก ผลต่ำงจำกกำร แปลงค่ำงบกำรเงิน 31 ธันวำคม 2558 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับ ส่วนที่จำหน่ำย/ ตัดจำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก ผลต่ำงจำกกำร แปลงค่ำงบกำรเงิน 31 ธันวำคม 2559 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1 มกรำคม 2558

เครื่องมือและ เครื่องใช้

อำคำร

เครื่องตกแต่ง ติดตัง้ และ อุปกรณ์

ยำนพำหนะ

รวม

1,483,134 (1,225) (1,451,059)

187,332 (12,874) (87,272)

104,439 3,940 (4,625) 21,714

61,280 4,730 (1,430) 451

29,666 5,693 (6,842) -

1,865,851 14,363 (26,996) (1,516,166)

30,850 3,384

1,895 89,081 10,648

125,468 3,480 (4,553) 5,840

77 65,108 3,274 (748) -

(67) 28,450 6,974 (2,206) -

1,905 338,957 13,728 (7,507) 19,872

34,234

(3,050) 96,679

130,235

(82) 67,552

(33) 33,185

(3,165) 361,885

123,557 48,973

25,251 11,143

62,545 11,091

45,101 7,429

15,944 3,713

272,398 82,349

(172,530)

(5,043) (16,647)

(3,924) 3,588

(1,353) -

(3,384) -

(13,704) (185,589)

-

266 14,970 3,614

73,300 15,252

52 51,229 6,801

(41) 16,232 3,900

277 155,731 29,567

-

(26)

(4,411) 3,043

(686) -

(1,253) -

(6,350) 3,017

-

(573) 17,985

87,184

(60) 57,284

(9) 18,870

(642) 181,323

1,359,577

162,081

41,894

16,179

13,722

1,593,453

31 ธันวำคม 2558

30,850

74,111

52,168

13,879

12,218

183,226

31 ธันวำคม 2559

34,234

78,694

43,051

10,268

14,315

180,562

ค่าเสือ่ มราคาสาหรับปี (รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร) 2558

82,349

2559

29,567


173

รายงานงบการเงิน

(หน่วย: พันบำท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

ราคาทุน 1 มกรำคม 2558 ซื้อเพิม่ จำหน่ำย/ตัดจำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2558 ซื้อเพิม่ จำหน่ำย/ตัดจำหน่ำย โอนเข้ำ/โอนออก 31 ธันวำคม 2559

ที่ดนิ และส่วน ปรับปรุงที่ดนิ

เครื่องมือ และเครื่องใช้

เครื่องตกแต่งติดตัง้ และอุปกรณ์สำนักงำน

92,179

33,833

36,890

22,424

185,326

-

735

1,781

2,357

4,873

(1,224)

(3,241)

(968)

(3,626)

(9,059)

(90,955)

-

-

-

(90,955)

-

31,327

37,703

21,155

90,185

-

150

2,171

1,806

4,127

-

(2,561)

(686)

(2,206)

(5,453)

-

-

-

-

-

-

28,916

39,188

20,755

88,859

ยำนพำหนะ

(หน่วย: พันบำท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ที่ดนิ และส่วน ปรับปรุงที่ดนิ

เครื่องมือ และเครื่องใช้

ค่าเสือ่ มราคาสะสม 2,884 23,104 1 มกรำคม 2558 2,128 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับส่วน (3,018) ทีจ่ ำหน่ำย/ตัดจำหน่ำย (5,012) 3,473 โอนเข้ำ/โอนออก 23,559 31 ธันวำคม 2558 230 ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับปี ค่ำเสือ่ มรำคำสำหรับส่วน (2,419) ทีจ่ ำหน่ำย/ตัดจำหน่ำย 3,043 โอนเข้ำ/โอนออก 24,413 31 ธันวำคม 2559 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 89,295 10,729 1 มกรำคม 2558 7,768 31 ธันวำคม 2558 4,503 31 ธันวำคม 2559 ค่าเสือ่ มราคาสาหรับปี (รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริหาร)

เครื่องตกแต่งติดตัง้ และอุปกรณ์สำนักงำน

รวม

ยำนพำหนะ

รวม

28,919

13,954

68,861

3,876

2,408

8,412

(927)

(1,750)

(5,695)

-

-

(1,539)

31,868

14,612

70,039

3,233

2,079

5,542

(660)

(1,253)

(4,332)

-

-

3,043

34,441

15,438

74,292

7,971

8,470

116,465

5,835

6,543

20,146

4,747

5,317

14,567

2558

8,412

2559

5,542


174

รายงานประจ�ำปี 2559

ณ วัน ที่ 31 ธัน วำคม 2559 บริษ ทั ย่ อยมีย อดคงเหลือของยำนพำหนะซึ่งได้ม ำภำยใต้ส ญั ญำเช่ ำ กำรเงิน โดยมีมลู ค่ำสุทธิตำมบัญชีเป็ นจำนวนเงิน 6 ล้ำนบำท (2558: 4 ล้ำนบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่ำเสื่อมรำคำหมดแล้ว แต่ยงั ใช้งำนอยู่ มูลค่ำตำมบัญชีก่อนหักค่ำเสื่อมรำคำสะสมของทรัพย์สินดังกล่ำวมีจำนวน 90 ล้ำนบำท (2558: 78 ล้ำนบำท) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 56 ล้ำนบำท 2558: 46 ล้ำนบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 ที่ดิน ส่วนปรับปรุงที่ดินและอำคำรของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ซึ่งมีรำคำ ตำมบัญ ชี จ ำนวน 39 ล้ำ นบำท (2558: 25 ล้ำนบำท) (งบกำรเงิน เฉพำะกิ จ กำร: ไม่ มี 2558: ไม่ มี) ได้ใช้เป็ น หลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ มื ระยะสัน้ และเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน

17. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 ซื้อเพิม่ ระหว่ำงปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 ซื้อเพิม่ ระหว่ำงปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 ค่าตัดจาหน่ ายสะสม ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 ค่ำตัดจำหน่ำยระหว่ำงปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 ค่ำตัดจำหน่ำยระหว่ำงปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

30,468 177 30,645 1,309 31,954

24,717 152 24,869 224 25,093

25,292 1,594 26,886 1,542 28,428

21,144 1,377 22,521 1,149 23,670

5,176 3,759 3,526

3,573 2,348 1,423


175

รายงานงบการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์จำนวนหนึ่ งซึ่งตัดค่ ำ ตัดจำหน่ำยหมดแล้วแต่ยงั ใช้งำนอยู่ มูลค่ำตำมบัญชีก่อนหักค่ำตัดจำหน่ำยสะสมของทรัพย์สนิ ดังกล่ำวมีจำนวน 26 ล้ำนบำท (2558: 23 ล้ำนบำท) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 23 ล้ำนบำท 2558: 20 ล้ำนบำท)

18. เงินกูย้ มื ระยะสัน้ (หน่วย: พันบำท)

อัตรำดอกเบี้ย เงินกูย้ มื ระยะสัน้ - ตัวแลกเงิ ๋ น

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

(ร้อยละต่อปี )

2559

2558

2559

2558

1.75 - 1.85

2,026,248

2,033,393

2,026,248

2,033,393

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ ืมระยะสัน้ ที่ยงั มิได้เบิกใช้เป็ น จำนวน 755 ล้ำนบำท (2558: 755 ล้ำนบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่อยู่ในระหว่ ำงกำรพัฒนำและพร้อมให้เช่ำ/ ขำยและอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนให้เช่ ำของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยซึง่ มีรำคำตำมบัญชีรวม 168 ล้ำนบำท (2558: 146 ล้ำนบำท) และหน่ วยลงทุนในกองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ไทคอนบำงส่วน ซึ่งมีมูลค่ำตำมวิธีส่วนได้เสีย 306 ล้ำนบำท (2558: 312 ล้ำนบำท) และมีมลู ค่ำตำมรำคำตลำด 665 ล้ำนบำท (2558: 705 ล้ำนบำท) ถูกจดจำนองหรือ จำนำเป็ นประกันหนี้สนิ ภำยใต้สญั ญำ ทรัสต์รซี ที วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จำกสถำบันกำรเงิน

19. เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อน่ื

เจ้ำหนี้กำรค้ำ - กิจกำรทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกัน เจ้ำหนี้อน่ื - กิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยค้ำงจ่ำย: กิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน กิจกำรทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกัน ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย: กิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน กิจกำรทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกัน รวมเจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อน่ื

งบกำรเงินรวม 2559 2558 224,373 345,228 4,239 6,364

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 18,318 29,797 2,768 2,487

159 195,299

82 205,509

72 195,229

80 205,458

126 69,281 493,477

133 49,021 606,337

126 39,255 255,768

133 32,664 270,619


176

รายงานประจ�ำปี 2559

20. หนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 2559

2558

หนี้สนิ ตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน

6,693

4,727

หัก : ดอกเบี้ยรอตัดจำหน่ำย

(489)

(666)

รวม

6,204

4,061

หัก : ส่วนทีถ่ งึ กำหนดชำระภำยในหนึ่งปี

(4,473)

(1,150)

หนี้สนิ ตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน-สุทธิจำกส่วนที่ถงึ กำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี

1,731

2,911

บริษทั ย่อยได้ทำสัญญำเช่ำกำรเงินเพื่อเช่ำยำนพำหนะใช้ในกำรดำเนินงำนของกิจกำรโดยมีกำหนดกำร ชำระค่ำเช่ำเป็ นรำยเดือน และอำยุของสัญญำมีระยะเวลำ 4 ปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ย่อยมีภำระผูกพันที่จะต้องจ่ำยค่ำเช่ำขัน้ ตำ่ ตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน ดังนี้ (หน่วย: พันบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 ไม่เกิน 1 ปี

มำกกว่ำ 1 ถึง 5 ปี

รวม

ผลรวมของจำนวนเงินขัน้ ตำ่ ทีต่ อ้ งจ่ำยทัง้ สิ้นตำม สัญญำเช่ำกำรเงิน

4,748

1,945

6,693

ดอกเบี้ยตำมสัญญำเช่ำกำรเงินรอกำรตัดบัญชี

(374)

(115)

(489)

มูลค่ำปัจจุบนั ของจำนวนเงินขัน้ ตำ่ ทีต่ อ้ งจ่ำยทัง้ สิ้น ตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน

4,374

1,830

6,204


177

รายงานงบการเงิน

21. เงินกูย้ มื ระยะยาว 21.1 ยอดคงเหลือของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน (หน่วย: ล้ำนบำท)

เงินกูย้ มื คงเหลือ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ลำดับที่ วันที่ทำสัญญำ 1. 2 กรกฎำคม 2555 2. 30 ตุลำคม 2555 3. 22 พฤศจิกำยน 2555 4. 29 พฤศจิกำยน 2556 5. 27 สิงหำคม 2558 รวมเงินกูย้ มื หัก ส่วนที่ถงึ กำหนดชำระ ภำยในหนึ่งปี รวมเงินกูย้ มื ระยะยำว – สุทธิ

2559 53 238 401 340 1,032

2558 113 165 298 401 50 1,027

2559 53 238 401 692

2558 113 298 401 812

(254) 778

(305) 722

(254) 438

(140) 672

เงือ่ นไขที่สำคัญของสัญญำเงินกูย้ มื ระยะเวลำ เงินกู ้ 8 ปี 10 ปี 8 ปี 9 ปี 9 ปี

งวดชำระคืน เงินต้น ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน

ระยะเวลำชำระคืนเงินต้น ธันวำคม 2556 – ธันวำคม 2560 มกรำคม 2559 – ธันวำคม 2563 มิถนุ ำยน 2559 - ธันวำคม 2562 มิถนุ ำยน 2560 – มิถนุ ำยน 2565 มีนำคม 2562 - กันยำยน 2567

อัตรำดอกเบี้ย MLR ต่อปี ลบอัตรำคงที่ MLR ต่อปี ลบอัตรำคงที่ MLR ต่อปี ลบอัตรำคงที่ MLR ต่อปี ลบอัตรำคงที่ MLR ต่อปี ลบอัตรำคงที่

21.2 กำรเปลีย่ นแปลงของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

1,026,880

811,980

บวก: กูเ้ พิม่ ระหว่ำงปี

430,000

-

หัก: จ่ำยคืนระหว่ำงปี

(424,489)

(119,590)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

1,032,391

692,390

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยแห่งหนึ่งมีวงเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ทีย่ งั มิได้เบิกใช้เป็ นจำนวนรวมประมำณ 3,382 ล้ำนบำท (2558: 4,783 ล้ำนบำท) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่อยู่ในระหว่ำงกำรพัฒนำและพร้อมให้ เช่ำ/ขำย อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนให้เช่ำของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย และทีด่ ินและอำคำรของบริษทั ย่อยแห่งหนึ่ง ซึ่ง มีร ำคำตำมบัญ ชีร วม 4,690 ล้ำนบำท (2558: 5,426 ล้ำนบำท) ถู ก จดจ ำนองเป็ น ประกัน เงิน กู ย้ ืม ระยะยำว นอกจำกนี้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯไม่มภี ำระคำ้ ประกันวงเงินสินเชื่อจำกสถำบันกำรเงินของบริษทั ย่อย (2558: 4,067 ล้ำนบำท) ภำยใต้สญั ญำเงินกู ้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยต้องปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขทำงกำรเงินบำงประกำร เช่น กำร ดำรงอัตรำส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในอัตรำทีก่ ำหนดไว้ในสัญญำ เป็ นต้น


178

รายงานประจ�ำปี 2559

22. หุน้ กู ้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯ มียอดคงเหลือของหุน้ กูร้ วม 17,340 ล้ำนบำท (2558: 18,190 ล้ำนบำท) โดยหุน้ กูท้ งั้ จำนวนเป็ นหุน้ กูช้ นิดระบุช่อื ผูถ้ อื ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ และไม่มหี ลักประกัน มีมูลค่ำที่ตรำไว้ หน่ วยละ 1,000 บำท และมีรำคำเสนอขำยหน่ วยละ 1,000 บำท ทัง้ นี้หุน้ กูด้ งั กล่ำวมีขอ้ กำหนดที่สำคัญบำงประกำร เช่น กำรดำรงอัตรำส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ เป็ นต้น โดย รำยละเอียดทีส่ ำคัญของหุน้ กูม้ ดี งั นี้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม ครัง้ ที่ วันทีอ่ อก

จำนวนหน่วย 2559 2558

วันครบกำหนด

จำนวนเงิน 2559 2558

อัตรำดอกเบี้ย อำยุหนุ ้ กู ้

ไถ่ถอน

(ล้ำนหน่วย) (ล้ำนหน่วย) (ล้ำนบำท) (ล้ำนบำท) (ร้อยละต่อปี ) 1/2554 20 พฤษภำคม 2554 2/2554 8 กรกฎำคม 2554 3/2554 28 ธันวำคม 2554

0.65

-

650 4.23

5 ปี

20 พฤษภำคม 2559

0.35

350

350 4.78

7 ปี

8 กรกฎำคม 2561

5 ปี

30 ธันวำคม 2559

4/2556 8 ตุลำคม 2556

0.35 0.10 0.50 0.30 1.00 1.12 0.50 0.30 0.44

5/2556 18 ตุลำคม 2556

4/2554 30 ธันวำคม 2554

1/2555 10 มกรำคม 2555 4/2555 5 กรกฎำคม 2555 5/2555 17 สิงหำคม 2555

6/2555 26 กันยำยน 2555 1/2556 11กุมภำพันธ์ 2556

2/2556 15 พฤษภำคม 2556 2/2556 15 พฤษภำคม 2556

0.65 0.35

-

0.50 0.30

-

0.44

440

0.62

620

1/2557 17 มกรำคม 2557

0.62

1.00

1.00

1/2557 17 มกรำคม 2557

0.60

0.60

1,000 600

2/2557 18 กรกฎำคม 2557

0.80

2/2558 15 พฤษภำคม 2558 2/2558 15 พฤษภำคม 2558 3/2558 14 สิงหำคม 2558 3/2558 14 สิงหำคม 2558

11 กุมภำพันธ์ 2559

1,000 4.90 500 3.62

300

1/2558 19 มกรำคม 2558

3 ปี

1,000

1.00

0.30

4/2557 3 ธันวำคม 2557

17 สิงหำคม 2560

300 4.17

-

3/2557 21 กรกฎำคม 2557

5 ปี

300

0.60

2/2557 18 กรกฎำคม 2557

5 ปี

0.30

500

0.50

3/2556 12 กันยำยน 2556

100 4.60

350 4.60

100

1,200 500

3/2556 12 กันยำยน 2556

5 ปี

0.10 0.50

1.20

2/2556 15 พฤษภำคม 2556

650 4.60

500 4.49

300 3.60

300 4.73

5 ปี

12 กันยำยน 2559

7 ปี

15 พฤษภำคม 2563 12 กันยำยน 2561

440 4.49

3 ปี 11 เดื อ น 20 กันยำยน 2560

620 4.85

6 ปี

18 ตุลำคม 2562

5 ปี

17 มกรำคม 2562

7 ปี

18 กรกฎำคม 2564

1,000 3.89 600 4.71

0.53

0.53

530

1.55 1.00 1.00 0.70 0.60

0.20

-

1.55

1,550

1,550 3.08

1.00

1,000 700

1,000 3.69 700 2.44

600

15 พฤษภำคม 2559

3 ปี

600 4.13

0.80

0.60

26 กันยำยน 2565

15 พฤษภำคม 2561

1,150 800

0.70

3 ปี

5 กรกฎำคม 2560

5 ปี

1.15

1,000

10 ปี

10 มกรำคม 2560

1,200 4.00 500 4.30

1.15

1.00

5 ปี

28 ธันวำคม 2559

1,150 3.82 800 4.80

12 วัน

3 ปี 3 ปี

17 มกรำคม 2560 18 กรกฎำคม 2560

530 3.82

3 ปี 4 วัน

200 2.90

2 ปี 4 วัน

7 ธันวำคม 2559

4 ปี

15 พฤษภำคม 2562

1,000 2.91

600 3.22

3 ปี 7 ปี 3 ปี 5 ปี

25 กรกฎำคม 2560 19 มกรำคม 2561

15 พฤษภำคม 2565 14 สิงหำคม 2561 14 สิงหำคม 2563


179

รายงานงบการเงิน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม ครัง้ ที่ วันทีอ่ อก

จำนวนหน่วย 2559 2558

วันครบกำหนด

จำนวนเงิน 2559 2558

อัตรำดอกเบี้ย อำยุหนุ ้ กู ้

ไถ่ถอน

(ล้ำนหน่วย) (ล้ำนหน่วย) (ล้ำนบำท) (ล้ำนบำท) (ร้อยละต่อปี ) 3/2558 14 สิงหำคม 2558

0.70

1/2559 18 พฤษภำคม 2559

2.30

1/2559 18 พฤษภำคม 2559

0.10 17.34

0.70

700

100 2,300 18.19 17,340 0

700 4.03

- 2.29 - 3.35

8 ปี

14 สิงหำคม 2566

7 ปี

18 พฤษภำคม 2566

4 ปี

18 พฤษภำคม 2563

18,190

22.1 ยอดคงเหลือของหุน้ กู ้ (หน่วย:พันบำท) งบกำรเงินรวม/ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร หุน้ กู ้ หัก หัก: หุน้ กูท้ ่ถี งึ กำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หุน้ กู ้ - สุทธิจำกส่วนทีถ่ งึ กำหนดชำระภำยในหนึ่งปี

2559

2558

17,340,000

18,190,000

(4,020,000)

(3,250,000)

13,320,000

14,940,000

22.2 กำรเปลีย่ นแปลงของหุน้ กู ้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม/ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559

2558

18,190,000

14,810,000

บวก: ออกเพิม่ ระหว่ำงปี

2,400,000

5,550,000

หัก: ไถ่ถอนระหว่ำงปี

(3,250,000)

(2,170,000)

ยอดคงเหลือปลำยปี

17,340,000

18,190,000

ยอดคงเหลือต้นปี


180

รายงานประจ�ำปี 2559

23. สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน จำนวนเงินสำรองผลประโยชน์ระยะยำวของพนักงำนซึ่งเป็ นเงินชดเชยให้แก่พนักงำนเมือ่ ออกจำกงำน แสดง ได้ดงั นี้ ค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยำวของพนักงำนรับรูใ้ นรำยกำรต่อไปนี้ในส่วนของกำไรหรือขำดทุน (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

งบกำรเงินรวม

ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริหำร

2559

2558

2559

2558

7,717

5,917

4,518

4,163

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีจำนวนสะสมของผลขำดทุนจำกกำรประมำณกำร ตำมหลักคณิ ตศำสตร์ประกันภัยซึ่งรับรูใ้ นกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่นมีจำนวน 3.8 ล้ำนบำท (2558: ผลกำไรจำนวน 1.0 ล้ำนบำท) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: ผลขำดทุนจำนวน 2.5 ล้ำนบำท 2558: ผลกำไรจำนวน 2.3 ล้ำนบำท) และ ระยะเวลำเฉลีย่ ถ่วงนำ้ หนักในกำรจ่ำยชำระผลประโยชน์ระยะยำวของพนักงำนของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยประมำณ 17-22 ปี (2558: 19 - 24 ปี ) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 17 ปี 2558: 19 ปี ) บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยคำดว่ำจะจ่ำยชำระผลประโยชน์ระยะยำวของพนักงำนภำยใน 1 ปี ขำ้ งหน้ำ 0.7 ล้ำนบำท (2558: ไม่ม)ี (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 0.7 ล้ำนบำท 2558: ไม่ม)ี สมมติฐำนทีส่ ำคัญในกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 (ร้อยละต่อปี ) (ร้อยละต่อปี ) 1.83 2.92

2559 (ร้อยละต่อปี ) 1.83 - 2.45

2558 (ร้อยละต่อปี ) 2.92 - 3.74

3.0 - 5.0

4.0 - 5.0

3.0 - 5.0

4.0 - 5.0

- สำนักงำนใหญ่

0.0 - 15.0

0.0 - 18.0

0.0 - 12.0

0.0 - 13.0

- หน่วยงำนก่อสร้ำง

25.0 - 55.0

21.0 - 40.0

25.0 - 55.0

21.0 - 40.0

อัตรำคิดลด อัตรำกำรขึ้นเงินเดือนในอนำคต อัตรำกำรเปลีย่ นแปลงในจำนวน พนักงำน (ขึ้นกับช่วงอำยุ)


181

รายงานงบการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 ผลกระทบของกำรเปลี่ยนแปลงสมมติฐำนที่สำคัญต่อมูลค่ำปัจจุ บนั ของ ภำระผูกพันผลประโยชน์ระยะยำวของพนักงำน สรุปได้ดงั นี้ (หน่วย: ล้ำนบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

งบกำรเงินรวม เพิม่ ขึ้น 1%

ลดลง 1%

เพิม่ ขึ้น 1%

ลดลง 1%

อัตรำคิดลด

(4)

5

(2)

2

อัตรำกำรขึ้นเงินเดือน

5

(4)

2

(2)

อัตรำกำรเปลีย่ นแปลงในจำนวน พนักงำน (ขึ้นกับช่วงอำยุ)

(4)

3

(2)

1

24. ทุนจดทะเบียน ในระหว่ำงปี 2559 มีกำรเปลีย่ นแปลงเกี่ยวกับทุนจดทะเบียนสรุปได้ดงั นี้ เมือ่ วันที่ 23 ธันวำคม 2559 ทีป่ ระชุมวิสำมัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2559 ได้มมี ติดงั ต่อไปนี้ ก) อนุ มตั ิกำรลดทุนจดทะเบียนจำก 1,115.9 ล้ำนบำท เป็ น 1,099.1 ล้ำนบำท โดยยกเลิกหุน้ สำมัญ ทีย่ งั มิได้ออกจำนวน 16.8 ล้ำนหุน้ มูลค่ำทีต่ รำไว้หนุ ้ ละ 1 บำท รวมเป็ นเงิน 16.8 ล้ำนบำท ข) อนุ มตั ิกำรเพิ่มทุนจดทะเบียนจำก 1,099.1 ล้ำนบำท เป็ น 1,834.1 ล้ำนบำท โดยออกหุน้ สำมัญ จำนวนรวม 735.0 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 1 บำท เพื่อรองรับกำรจองซื้อหุน้ สำมัญเพิ่มทุน โดยบริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเป็ นบริษทั ย่อยของ Frasers Centrepoint Limited ซึง่ เป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์สงิ คโปร์ ค) อนุ ม ตั ิก ำรเสนอขำยและจัด สรรหุ น้ สำมัญ เพิ่ม ทุ น ของบริษ ทั ฯจ ำนวนไม่เกิน 735.0 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 1 บำท ให้กบั บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด (“FPHT”) โดย เป็ นกำรเสนอขำยให้แก่บุคคลในวงจำกัด (Private placement) ในรำคำเสนอขำยหุน้ ละ 18 บำท รวมเป็ นมูลค่ ำ ทัง้ สิ้นไม่เกิน 13,230.0 ล้ำนบำท ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนประมำณร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียนทัง้ หมดของบริษทั หลัง กำรเพิม่ ทุน บริษทั ฯได้จดทะเบียนกำรเปลีย่ นแปลงในทุนจดทะเบียนตำมข้อ ก) และ ข) กับกระทรวงพำณิชย์เมือ่ วันที่ 28 ธันวำคม 2559


182

รายงานประจ�ำปี 2559

รำยกำรกระทบยอดจำนวนหุน้ สำมัญและมูลค่ำทุนจดทะเบียนสำหรับปี 2119 มีรำยละเอียด ดังนี้ จำนวนหุน้

ทุนจดทะเบียน

(หุน้ )

(บำท)

1,115,941,811

1,115,941,811

ลดทุนจดทะเบียน

(16,799,436)

(16,799,436)

เพิม่ ทุนจดทะเบียน

735,000,000

735,000,000

1,834,142,375

1,834,142,375

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

25. สารองตามกฎหมาย ภำยใต้บทบัญญัติของมำตรำ 116 แห่งพระรำชบัญญัติบริษทั มหำชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯต้องจัดสรร กำไรสุทธิประจำปี ส่วนหนึ่งไว้เป็ นทุนสำรองไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี หกั ด้วยยอดขำดทุนสะสมยก มำ (ถ้ำมี) จนกว่ำทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตำมกฎหมำยดังกล่ำวไม่ สำมำรถนำไปจ่ำยเงินปันผลได้

26. รายได้และต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ 26.1 รำยได้และต้นทุนขำยอสังหำริมทรัพย์ มีรำยละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้ำนบำท) งบกำรเงินรวม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2558

2559

2558

รำยได้จำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ ขำยอำคำรและทีด่ นิ ขำยอำคำรตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน

251

2,216

41

353

-

1,130

-

299

251

3,346

41

652

160

1,550

28

202

-

851

-

139

160

2,401

28

341

ต้นทุนขำยอสังหำริมทรัพย์ ขำยอำคำรและทีด่ นิ ขำยอำคำรตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน


183

รายงานงบการเงิน

26.2

ประมำณกำรหนี้สนิ ทีเ่ กี่ยวข้องกับกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม ประกันรำยได้ ค่ำเช่ำและค่ำบริกำร

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

ประกันรำคำซื้อจำกกำรใช้ สิทธิเลือกซื้อจำกผูเ้ ช่ำรำย ย่อยด้วยรำคำตลำด

รวม

78,827

57,191

136,018

1,037

-

1,037

ลดลงจำกรำยจ่ำยทีเ่ กิดขึ้นจริง

(64,064)

-

(64,064)

ลดลงจำกกำรโอนกลับรำยกำร

(15,800)

(57,191)

(72,991)

-

-

-

เพิม่ ขึ้นในระหว่ำงปี

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ประกันรำยได้ ค่ำเช่ำและค่ำบริกำร

ประกันรำคำซื้อจำกกำร ใช้สทิ ธิเลือกซื้อจำกผูเ้ ช่ำ รำยย่อยด้วยรำคำตลำด

รวม

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

-

57,191

57,191

ลดลงจำกกำรโอนกลับรำยกำร

-

(57,191)

(57,191)

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

-

-

-

ยอดประมำณกำรหนี้สนิ ดังกล่ำวได้รวมส่วนที่บริษทั ฯลงทุนในทรัสต์เพื่อกำรลงทุนในอสังหำริมทรัพย์ และสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) จำนวน 12 ล้ำนบำท (2558: 25 ล้ำนบำท) ซึ่งเป็ นค่ำใช้จ่ำย ทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นในงบกำรเงินรวม


184

รายงานประจ�ำปี 2559

ประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยรับรูป้ ระมำณกำรหนี้สินสำหรับอสังหำริมทรัพย์ท่วี ่ำงจำกกำรมีผูเ้ ช่ำ โดยใช้ สมมติฐำนในกำรค ำนวณประมำณกำรหนี้ สิน สำหรับ กำรประกัน รำยได้ค่ ำเช่ำและค่ ำบริกำร โดยอิงจำกจ ำนวน อสังหำริมทรัพย์ท่วี ่ำงและอัตรำค่ำเช่ำและค่ำบริกำรปัจจุบนั อย่ำงไรก็ตำม ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯและ บริษทั ย่อยไม่มหี นี้สนิ จำกกำรประกันรำยได้ค่ำเช่ำและค่ำบริกำร ประกันราคาซื้อจากการใช้สทิ ธิเลือกซื้อจากผูเ้ ช่ารายย่อยด้วยราคาตลาด บริษทั ฯรับรูป้ ระมำณกำรหนี้สินสำหรับกำรประกันรำคำซื้อจำกกำรใช้สิทธิเลือกซื้อจำกผูเ้ ช่ำรำยย่อย ด้วยรำคำตลำด โดยประมำณเงินชดเชยส่วนต่ำงระหว่ำงรำคำยุตธิ รรมกับรำคำใช้สทิ ธิสุทธิแก่กองทรัสต์ฯสำหรับผูเ้ ช่ำ รำยย่อยใช้สิทธิเลือกซื้อทรัพย์สนิ (Option to buy) ดังกล่ำวโดยใช้ขอ้ มูลกำรประเมินมูลค่ำอสังหำริมทรัพย์โดยผู ้ ประเมินอิสระ และบันทึกประมำณกำรหนี้สนิ ตำมจำนวนเงินที่คำดว่ำจะจ่ำยให้แก่กองทรัสต์ฯ ทัง้ นี้บริษทั ฯรับประกัน รำคำซื้อดังกล่ำวสำหรับผู เ้ ช่ำรำยย่อ ย โดยผู เ้ ช่ำรำยย่อยจะต้องใช้สิทธิเลือกซื้อภำยในไตรมำสที่ 2 ของปี 2562 อย่ำงไรก็ตำม ในไตรมำสที่ 2 ของปี 2559 บริษทั ได้โอนกลับประมำณกำรหนี้สินดังกล่ำวเนื่องจำกกองทรัสต์ฯได้ ยกเลิกกำรเช่ำกับผูเ้ ช่ำรำยย่อยดังกล่ำวก่อนกำหนด

27. ค่าใช้จา่ ยตามลักษณะ รำยกำรค่ำใช้จ่ำยแบ่งตำมลักษณะประกอบด้วยรำยกำรค่ำใช้จ่ำยทีส่ ำคัญดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2559

2558

2559

2558

ผลประโยชน์อ่นื ของพนักงำน

236,972

212,585

139,426

143,299

ค่ำเสือ่ มรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย

436,122

522,574

98,537

151,125

ค่ำซ่อมแซมและบำรุงรักษำ

56,184

44,415

18,357

16,454

ค่ำเช่ำจ่ำยตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำน

70,344

65,682

35,395

37,152

เงินเดือนและค่ำแรงและ


185

รายงานงบการเงิน

28. ภาษีเงินได้ 28.1 ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้สำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 สรุปได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2558

2559

2558

ภาษีเงินได้ปจั จุบนั : ภำษีเงินได้นิติบคุ คลสำหรับปี

14,271

27,285

-

-

ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีจำกกำร เกิดผลแตกต่ำงชัว่ ครำวและกำรกลับ รำยกำรผลแตกต่ำงชัว่ ครำว

92,049

62,477

18,260

33,964

ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ท่แี สดงอยู่ในงบ กาไรขาดทุน

106,320

89,762

18,260

33,964

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี:

จำนวนภำษีเงินได้ท่เี กี่ยวข้องกับส่วนประกอบแต่ละส่วนของกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี ส้ นิ สุด วันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 สรุปได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินรวม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2558

2559

2558

ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีทเ่ี กี่ยวข้องกับ กำไรจำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ ประกันภัยสำหรับโครงกำร ผลประโยชน์พนักงำน

767

200

503

466


186

รายงานประจ�ำปี 2559

รำยกำรกระทบยอดจำนวนเงินระหว่ำงกำไรทำงบัญชีกบั ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้มดี งั นี้ (หน่วย:พันบำท) งบกำรเงินรวม 2559 กำไรทำงบัญชีก่อนภำษีเงินได้นิติบุคคล อัตรำภำษีเงินได้นิติบุคคล:

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2558

384,420

2559

860,721

20%

20%

2558

(203,277)

573,718

20%

20%

กำไรทำงบัญชีก่อนภำษีเงินได้นิติบุคคลคูณ อัตรำภำษี

76,884

172,144

-

114,744

กำรส่งเสริมกำรลงทุน

-

(60,460)

-

-

เงินปันผลรับจำกบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม

-

-

(55,329)

(161,681)

29,436

(21,922)

73,589

80,901

29,436

(82,382)

18,260

(80,780)

106,320

89,762

18,260

33,964

ผลกระทบทำงภำษีสำหรับ:

ค่ำใช้จ่ำยและรำยได้ท่ไี ม่สำมำรถนำมำ (หัก) บวกทำงภำษีได้ รวม ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ท่แี สดงอยู่ในงบกำไรขำดทุน

28.2 สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีและหนี้สนิ ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี ส่วนประกอบของสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีและหนี้สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 ประกอบด้วยรำยกำรดังต่อไปนี้

สินทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี กำไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรขำย อสังหำริมทรัพย์ให้บริษทั ร่วม สำรองผลประโยชน์ของพนักงำน หนี้สงสัยจะสูญ ประมำณกำรหนี้สนิ เงินมัดจำจำกลูกค้ำ กำรตัดจำหน่ำยทีด่ นิ และอำคำร ต้นทุนขำยอสังหำริมทรัพย์ ขำดทุนทำงภำษี รวม

งบกำรเงินรวม 2559 2558

184,645 8,400 3,943 4,548 18,984 1,663 22,182 244,365

229,372 6,374 903 28,623 16,158 1,811 22,640 297 306,178

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

5,431 2,377 2,091 6,557 226 558 17,240

5,060 903 13,937 6,431 245 558 27,134


187

รายงานงบการเงิน

หนี้ สินภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำน รำยได้จำกกำรขำยอำคำรตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน กำรเปลีย่ นแปลงประมำณกำรอำยุกำรให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์ รวม สินทรัพย์ (หนี้สนิ ) ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

งบกำรเงินรวม 2559 2558

(หน่วย: พันบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558

9,561 275,233

4,301 273,580

2,244 195,629

2,146 198,148

22,556 307,350 (62,985)

277,881 28,297

10,284 208,157 (190,917)

200,294 (173,160)

ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯมีรำยกำรขำดทุนทำงภำษีท่ียงั ไม่ได้ใช้จำนวน 832 ล้ำนบำท ซึ่ง บริษทั ฯไม่ได้บนั ทึกสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี เนื่องจำกบริษทั ฯเห็นว่ำบริษทั ฯอำจมีกำไรทำงภำษีในส่วนของ รำยกำรที่ไม่ได้รบั กำรส่งเสริมกำรลงทุนไม่เพียงพอในอนำคตที่จะนำผลขำดทุนทำงภำษีดงั กล่ำวมำใช้ประโยชน์ได้ นอกจำกนี้ผลขำดทุนทำงภำษีทย่ี งั ไม่ได้ใช้ดงั กล่ำวจะทยอยสิ้นสุดระยะเวลำกำรให้ประโยชน์ภำยในปี 2564

29. การส่งเสริมการลงทุน บริษทั ฯและบริษทั ย่อยสองแห่งได้รบั สิทธิประโยชน์ทำงภำษีจำกคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรลงทุนตำม พระรำชบัญญัติส่งเสริมกำรลงทุนสำหรับกำรพัฒนำอำคำรสำหรับโรงงำนอุตสำหกรรม และ/หรือคลังสินค้ำ จำนวน 42 โครงกำรและ 17 โครงกำร ตำมลำดับ สิทธิประโยชน์ท่ไี ด้รบั รวมถึง กำรยกเว้นภำษีเงินได้นิติบุคคลเป็ น ระยะเวลำ 3 ปี ถึง 8 ปี และกำรได้รบั กำรได้ลดหย่อนภำษีเงินได้นิตบิ ุคคลกึ่งหนึ่งเป็ นระยะเวลำ 5 ปี หลังจำกสิ้นสุด ระยะเวลำทีไ่ ด้รบั กำรส่งเสริมกำรลงทุนสำหรับบริษทั ฯจำนวน 14 โครงกำร และสำหรับบริษทั ย่อยจำนวน 4 โครงกำร รำยได้ของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจำแนกตำมกิจกำรที่ได้รบั กำรส่งเสริมกำรลงทุนและไม่ได้รบั กำรส่งเสริมกำร ลงทุนสำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 สำมำรถสรุปได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบำท)

รำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรที่ เกี่ยวข้อง รำยได้จำกกำรให้บริกำร รำยได้จำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ รำยได้ค่ำสำธำรณู ปโภค รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำร จำกบริษทั ร่วม กำไรจำกกำรขำยเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม ดอกเบี้ยรับ

งบกำรเงินรวม ส่วนที่ไม่ได้รบั กำรส่งเสริม 2559 2558

ส่วนที่ได้รบั กำรส่งเสริม 2559 2558

รวม 2559

2558

458,450 25 -

502,445 1,490,022 -

713,669 46,586 250,651 32,307

546,102 30,158 1,855,584 35,625

1,172,119 46,586 250,676 32,306

1,048,547 30,158 3,345,606 35,625

-

-

201,121

204,123

201,121

204,123

-

215

103,623 6,766

126,300 6,306

103,623 6,079

126,300 6,521


188

รายงานประจ�ำปี 2559

(หน่วย: พันบำท)

ค่ำสินไหมทดแทนรับจำก กำรประกันภัย รำยได้อ่นื

ส่วนที่ได้รบั กำรส่งเสริม 2559 2558 458,475

รวม

รำยได้จำกกำรให้เช่ำและบริกำรที่ เกี่ยวข้อง รำยได้จำกกำรให้บริกำร รำยได้จำกกำรขำยอสังหำริมทรัพย์ รำยได้ค่ำสำธำรณู ปโภค เงินปันผลรับจำกบริษทั ย่อย เงินปันผลรับจำกบริษทั ร่วม รำยได้ค่ำบริหำรจัดกำร จำกบริษทั ร่วม กำไรจำกกำรขำยเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม ดอกเบี้ยรับ ค่ำสินไหมทดแทนรับจำก กำรประกันภัย รำยได้อ่นื

งบกำรเงินรวม ส่วนที่ไม่ได้รบั กำรส่งเสริม 2559 2558

1,992,682

ส่วนที่ได้รบั กำรส่งเสริม 2559 2558

รวม

636 58,673 1,414,032

170 56,880 2,861,248

รวม 2559

2558

636 59,361 1,872,507

170 56,880 4,853,930 (หน่วย: พันบำท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ส่วนที่ไม่ได้รบั กำรส่งเสริม 2559 2558

2559

2558

รวม

58,366 -

80,948 494,314 -

276,513 30,743 40,747 7,893 6,000 323,867

276,515 22,667 158,016 8,727 458,500 367,643

334,879 30,743 40,747 7,893 6,000 323,867

357,463 22,667 652,330 8,727 458,500 367,643

-

-

114,962

128,274

114,962

128,274

-

-

48,680 23,799

44,424 65,498

48,680 23,799

44,424 65,498

58,366

575,262

367 52,751 926,322

4 41,389 1,571,657

367 52,751 984,688

4 41,389 2,146,919

30. กาไรต่อหุน้ กำไรต่ อหุ น้ ขัน้ พื้นฐำนคำนวณโดยหำรกำไรสำหรับปี ท่ีเป็ นของผู ถ้ ือหุน้ ของบริษทั ฯ (ไม่รวมกำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจำนวนถัวเฉลีย่ ถ่วงนำ้ หนักของหุน้ สำมัญทีอ่ อกอยู่ในระหว่ำงปี กำไรต่อหุน้ ขัน้ พื้นฐำน แสดงกำรคำนวณได้ดงั นี้

กำไรส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

งบกำรเงินรวม จำนวนหุน้ สำมัญ กำไรสำหรับปี ถัวเฉลีย่ ถ่วงนำ้ หนัก 2559 2558 2559 2558 (พันบำท) (พันบำท) (พันหุน้ ) (พันหุน้ ) 275,025 769,741 1,099,142 1,099,142

กำไรต่อหุน้ 2559 2558 (บำท) (บำท) 0.25 0.70


รายงานงบการเงิน

กำไร (ขำดทุน) ส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร จำนวนหุน้ สำมัญ กำไร (ขำดทุน) สำหรับปี ถัวเฉลีย่ ถ่วงนำ้ หนัก 2559 2558 2559 2558 (พันบำท) (พันบำท) (พันหุน้ ) (พันหุน้ ) (221,537) 539,753 1,099,142 1,099,142

189

กำไร (ขำดทุน) ต่อหุน้ 2559 2558 (บำท) (บำท) (0.20) 0.49

31. ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่วนงาน ข้อมูลส่วนงำนดำเนินงำนที่นำเสนอนี้สอดคล้องกับรำยงำนภำยในของบริษทั ฯที่ผูม้ อี ำนำจตัดสินใจสูงสุดด้ำน กำรดำเนินงำนได้รบั และสอบทำนอย่ำงสมำ่ เสมอเพื่อใช้ในกำรตัดสินใจในกำรจัดสรรทรัพยำกรให้กบั ส่วนงำนและ ประเมินผลกำรดำเนินงำนของส่วนงำนทัง้ นี้ผูม้ ีอำนำจตัดสินใจสู งสุดด้ำนกำรดำเนินงำนของบริษทั คือ กรรมกำร ผูจ้ ดั กำร เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรบริหำรงำนบริษทั ฯและบริษทั ย่อยจัดโครงสร้ำงองค์กรเป็ นหน่ วยธุ รกิจตำมประเภท ของผลิตภัณฑ์และบริกำร บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีส่วนงำนทีร่ ำยงำนทัง้ สิ้น 4 ส่วนงำน ดังนี้    

ส่วนงำนพัฒนำอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนโดยกำรสร้ำงโรงงำน ส่วนงำนพัฒนำอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนโดยกำรสร้ำงคลังสินค้ำ ส่วนงำนธุรกิจให้บริกำร ส่วนงำนบริหำรจัดกำรทัว่ ไป

บริษทั ฯและบริษทั ย่อยไม่มกี ำรรวมส่วนงำนดำเนินงำนเป็ นส่วนงำนทีร่ ำยงำนข้ำงต้น ผูม้ อี ำนำจตัดสินใจสูงสุดสอบทำนผลกำรดำเนินงำนของแต่ละหน่วยธุรกิจแยกจำกกันเพื่อวัตถุประสงค์ในกำร ตัดสินใจเกี่ยวกับกำรจัดสรรทรัพยำกรและกำรประเมินผลกำรปฏิบตั ิงำน บริษทั ฯประเมินผลกำรปฏิบตั ิงำนของส่วน งำนโดยพิจำรณำจำกกำไรหรือขำดทุนจำกกำรดำเนินงำนและสินทรัพย์รวมซึ่งวัดมูลค่ำโดยใช้เกณฑ์เดียวกับที่ใช้ใน กำรวัดกำไรหรือขำดทุนจำกกำรดำเนินงำนและสินทรัพย์รวมในงบกำรเงิน กำรบันทึกบัญชีสำหรับรำยกำรระหว่ำงส่วนงำนที่รำยงำนเป็ นไปในลักษณะเดียวกับกำรบันทึกบัญชีสำหรับ รำยกำรธุรกิจกับบุคคลภำยนอก ข้อ มูล รำยได้ ก ำไร และสิน ทรัพ ย์รวมของส่ ว นงำนของบริษ ทั ฯและบริษ ทั ย่ อยส ำหรับ ปี ส้ ิน สุ ด วัน ที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 มีดงั ต่อไปนี้


190

รายงานประจ�ำปี 2559

(หน่วย: ล้ำนบำท)

สาหรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 รำยได้จำกลูกค้ำภำยนอก ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่ำย ค่ำเสือ่ มรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย ส่วนแบ่งผลกำไรหรือขำดทุนจำกบริษทั ร่วม และกำรร่วมค้ำทีบ่ นั ทึกตำมวิธสี ่วนได้เสีย ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ กาไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน สินทรัพย์รวมของส่วนงาน เงินลงทุนในบริษทั ร่วมและกำรร่วมค้ำทีบ่ นั ทึก ตำมวิธสี ่วนได้เสีย กำรเพิม่ ขึ้นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีไ่ ม่รวม เครื่องมือทำงกำรเงิน และสินทรัพย์ภำษีเงิน ได้รอตัดบัญชี

พัฒนำอสังหำ- ริม พัฒนำอสังหำริมทรัพย์ ทรัพย์เพื่อกำร เพือ่ กำรลงทุนโดยกำร ลงทุนโดยกำรสร้ำง คลังสินค้ำ สร้ำงโรงงำน 413 1,047 24 1 (775) (48) (37) (219)

ธุรกิจ ให้บริกำร 47 -

บริหำร จัดกำร ทัวไป ่ 201 -

อื่นๆ 163 1 -

รำยกำร ปรับปรุงและ รวมส่วน ตัดรำยกำร งำนที่ ระหว่ำงกัน รำยงำน 1,871 (5) 26 (19) (823) 16 (256) 3

งบกำรเงิน รวม 1,866 7 (807) (253)

381

164

-

-

2

547

-

547

(51) (328) 10,196 1,285

(39) 359 26,327 1,205

(16) (14) -

95 -

161 430

(106) 273 36,523 2,920

5 (426) -

(106) 278 36,097 2,920

130

1,759

-

-

-

1,889

-

1,889

(หน่วย: ล้ำนบำท)

สาหรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2558 รำยได้จำกลูกค้ำภำยนอก ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่ำย ค่ำเสือ่ มรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย ส่วนแบ่งผลกำไรหรือขำดทุนจำกบริษทั ร่วม ทีบ่ นั ทึกตำมวิธสี ่วนได้เสีย ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ กาไร (ขาดทุน) ของส่วนงาน สินทรัพย์รวมของส่วนงาน เงินลงทุนในบริษทั ร่วมและกำรร่วมค้ำ ทีบ่ นั ทึกตำมวิธสี ่วนได้เสีย กำรเพิม่ ขึ้นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีไ่ ม่ รวมเครื่องมือทำงกำรเงิน และสินทรัพย์ ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

พัฒนำอสังหำ- ริม ทรัพย์เพื่อกำร ลงทุนโดยกำร สร้ำงคลังสินค้ำ 3,383 (69)

(63)

พัฒนำอสังหำริมทรัพย์ เพือ่ กำรลงทุนโดยกำร สร้ำงโรงงำน 1,052 66 (733)

อื่นๆ 183 -

รวมส่วนงำน ทีร่ ำยงำน 4,852 66 (802)

รำยกำร ปรับปรุงและ ตัดรำยกำร ระหว่ำงกัน (5) (60) 51

งบกำรเงิน รวม 4,847 6 (751)

-

-

(240)

4

(236)

-

-

2

329

-

329

(18) 630 25,605 1,498

(7) -

(16) 108 -

160 422

(90) 757 36,309 3,579

14 (15) -

(90) 771 36,294 3,579

5,594

-

-

-

6,939

-

6,939

ธุรกิจ ให้บริกำร 30 -

บริหำร จัดกำร ทัวไป ่ 204 -

(177)

-

292

35

(56) (134) 10,704 1,659 1,345

ข้อมูลเกี่ยวกับเขตภูมศิ ำสตร์ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยดำเนินธุรกิจในเขตภูมศิ ำสตร์เดียว คือประเทศไทย ดังนัน้ รำยได้และสินทรัพย์ทแ่ี สดง อยู่ในงบกำรเงิน จึงถือเป็ นกำรรำยงำนตำมเขตภูมศิ ำสตร์แล้ว


รายงานงบการเงิน

191

ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้ำรำยใหญ่ ในปี 2559 บริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีรำยได้จำกลูกค้ำรำยใหญ่จำนวนหนึ่งรำย เป็ นจำนวนเงินประมำณ 196 ล้ำนบำท ซึ่ง มำจำกส่ ว นงำนพัฒ นำอสัง หำริม ทรัพ ย์เพื่ อ กำรลงทุ น โดยกำรสร้ำงโรงงำน และส่ ว นงำนพัฒ นำ อสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุนโดยกำรสร้ำงคลังสินค้ำ (ในปี 2558 มีรำยได้จำกลูกค้ำรำยใหญ่จำนวนหนึ่งรำย เป็ น จำนวนเงิน 3,159 ล้ำนบำท ซึง่ มำจำกส่วนงำนพัฒนำอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนโดยกำรสร้ำงโรงงำน และส่วนงำน พัฒนำอสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนโดยกำรสร้ำงคลังสินค้ำ)

32. กองทุนสารองเลี้ยงชีพ บริษทั ฯ บริษทั ย่อยและพนักงำนได้ร่วมกันจัดตัง้ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงำนจ่ำย สะสมและเงินที่บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจ่ำยสมทบให้ในอัตรำร้อยละ 2 - 4 ของค่ำจ้ำงกองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหำร โดยธนำคำรกรุงศรีอยุธยำ จำกัด (มหำชน) ในระหว่ำงปี 2559 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจ่ำยเงินสมทบเข้ำกองทุนเป็ น จำนวน 4 ล้ำนบำท (2558: 4 ล้ำนบำท)

33. เงินปันผลจ่าย เงินปันผลสำหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 ประกอบด้วย เงินปันผล เงินปันผลจำกผลกำรดำเนินงำน ของปี 2558 เงินปันผลจำกผลกำรดำเนินงำน ของปี 2557

อนุมตั โิ ดย

เงินปันผลจ่ำย

เงินปันผลต่อหุน้

(พันบำท)

(บำท)

ทีป่ ระชุมสำมัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี เมือ่ วันที่ 26 เมษำยน 2559

549,542

0.5

549,538

0.5

ทีป่ ระชุมสำมัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี เมือ่ วันที่ 22 เมษำยน 2558

34. ภาระผูกพันและหนี้ สินที่อาจจะเกิดขึ้น 34.1 สัญญาเช่าระยะยาว ก) บริษทั ฯและบริษทั ย่อยได้ทำสัญญำเช่ำที่ดนิ กับกำรนิคมอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทยรวม 6 ฉบับ เพือ่ ประกอบกิจกำรสร้ำงโรงงำนมำตรฐำนให้เช่ำ สัญญำดังกล่ำวสรุปได้ดงั นี้


192

รายงานประจ�ำปี 2559

สัญญำเลขที่

ระยะเวลำเช่ำ

อัตรำค่ำเช่ำ

21/2538 -นฉ

13 ธันวำคม 2538 - 12 ธันวำคม 2568

4.70 ล้ำนบำทต่อปี

(ก)

14/2540-นฉ

14 พฤศจิกำยน 2540 - 13 พฤศจิกำยน 2570

0.66 ล้ำนบำทต่อปี

(ก)

8/2542-นฉ

18 สิงหำคม 2542 - 17 สิงหำคม 2572

2.21 ล้ำนบำทต่อปี

(ก)

9/2544-นฉ

6 มิถนุ ำยน 2544 - 31 ธันวำคม 2561

5.59 ล้ำนบำทต่อปี

(ข)

นฉ.ค 002/2548

25 มกรำคม 2548 - 31 ธันวำคม 2561

0.75 ล้ำนบำทต่อปี

(ข)

นฉ. 005/2549

25 เมษำยน 2549 - 31 ธันวำคม 2561

2.08 ล้ำนบำทต่อปี

(ข)

(ก) ค่ำเช่ำจะถูกปรับเพิม่ ทุกๆ 10 ปี ในอัตรำไม่เกินร้อยละ 10 ของค่ำเช่ำเดิม (ข) ค่ำเช่ำจะถูกปรับเพิม่ ทุกๆ 5 ปี ในอัตรำไม่เกินร้อยละ 10 ของค่ำเช่ำเดิม

ข) บริษทั ฯได้ทำสัญญำเช่ำพื้นที่สำนักงำนและบริกำรที่เกี่ยวข้องกับบริษทั ที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง โดยมีค่ำเช่ำและค่ำบริกำรคิดเป็ นจำนวนเงินรวม 17 ล้ำนบำทต่อปี สญั ญำดังกล่ำวมีกำหนดระยะเวลำ 3 ปี โดยเริ่ม ตัง้ แต่เดือนกรกฎำคม 2558 ถึงเดือนมิถนุ ำยน 2561 บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีจำนวนเงินขัน้ ตำ่ ที่ตอ้ งจ่ำยในอนำคตภำยใต้สญั ญำเช่ำดำเนินงำนดังนี้

จ่ำยชำระ ภำยใน 1 ปี มำกกว่ำ 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มำกกว่ำ 5 ปี

งบกำรเงินรวม 2559 2558 37 56 40

37 84 49

(หน่วย: ล ้ำนบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 21 45 40

25 63 49

34.2 ภาระผูกพันเกีย่ วกับรายจ่ายฝ่ ายทุน

สัญญำจ้ำงผูร้ บั เหมำก่อสร้ำง สัญญำถมทีด่ นิ สัญญำบริกำรทีป่ รึกษำ รวม

งบกำรเงินรวม 2559 2558 721 765 17 37 758 782

(หน่วย: ล ้ำนบำท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558 16 36 16 36


193

รายงานงบการเงิน

34.3 หนังสือค้าประกันธนาคาร (ก) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 บริษทั ฯมีกำรคำ้ ประกันวงเงินหนังสือคำ้ ประกันที่ออกโดยธนำคำร ให้แก่บริษทั ย่อยในวงเงิน 111 ล้ำนบำท (2559: ไม่ม)ี (ข) ยอดคงเหลือของหนังสือคำ้ ประกันที่ออกโดยธนำคำรในนำมของบริษทั ฯและบริษทั ย่อย ซึ่ง เกี่ยวเนื่องกับภำระผูกพันในกำรดำเนินงำนมีดงั นี้ (หน่วย: ล ้ำนบำท) วัตถุประสงค์เพือ่ คำ้ ประกัน

งบกำรเงินรวม 2559

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

2558

2559

2558

สัญญำเช่ำทีด่ นิ ระยะยำว

35

35

23

23

สำธำรณู ปโภคในโครงกำร

19

20

5

5

2

4

-

4

56

59

28

32

กำรดำเนินงำนในกำรก่อสร้ำงอำคำรโรงงำน รวม

34.4 สินทรัพย์ท่ตี ิดภาระจายอม ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯและบริษทั ย่อย มีท่ดี ินทีต่ ิดภำระจำยอมรวมจำนวนประมำณ 312 ไร่ (2558: 312 ไร่) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 73 ไร่ 2558: 73 ไร่) ซึ่งที่ดินที่ติดภำระจำยอมดังกล่ำวมีมูลค่ ำตำม บัญชีเป็ นจำนวน 505 ล้ำนบำท (2558: 505 ล้ำนบำท) (งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร: 161 ล้ำนบำท 2558: 161 ล้ำนบำท) และแสดงภำยใต้หวั ข้อ อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุนให้เช่ำ และทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ 34.5 การค้าประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริการ บริษ ทั ฯในฐำนะผู บ้ ริหำรอสังหำริมทรัพย์รำยหนึ่ งของกองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทีพำร์คโลจิส ติค ส์ (“กองทุนฯ”) เป็ นจำนวน 27 คลังสินค้ำ ได้รบั ประกันค่ำเช่ำและบริกำรขัน้ ตำ่ หลังหักค่ำบริกำรส่วนกลำงของคลังสินค้ำ จำนวนหนึ่งที่ไม่มผี ูเ้ ช่ำให้แก่ กองทุนฯในช่วงระยะเวลำตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกรำคม 2555 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2559 เป็ น จำนวนเงิน 188 ล้ำนบำทต่อปี กล่ำวคือ ในกรณี ท่รี ำยได้ค่ำเช่ำและบริกำรของกองทุนฯหลังหักค่ำบริกำรส่วนกลำง ของคลังสินค้ำที่ไม่มผี ูเ้ ช่ำมีจำนวนตำ่ กว่ำจำนวนเงินรับประกันข้ำงต้น บริษทั ฯจะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบจ่ำยชดเชยส่วนต่ำง ดังกล่ำวให้แก่กองทุนฯ บริษทั ฯและบริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด ในฐำนะผูบ้ ริหำรอสังหำริมทรัพย์ของทรัสต์เพือ่ กำร ลงทุนในอสังหำริมทรัพย์และสิทธิกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) ได้ตกลงรับประกันกำรมีผูเ้ ช่ำ ดังนี้ - สำหรับทรัพย์สินที่ขำย/ให้เช่ำในวันที่ 22 และ 23 ธันวำคม 2557 เฉพำะรำยกำรที่ว่ำงจำกกำรมีผู ้ เช่ำ ณ วันที่ทรัสต์ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิหรือกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ดงั กล่ำว โดยจะชดเชยรำยได้ให้แก่


194

รายงานประจ�ำปี 2559

กองทรัสต์ฯตำมอัตรำค่ำเช่ำและค่ำบริกำรเท่ำกับค่ำเช่ำและบริกำรของผูเ้ ช่ำรำยย่อยรำยล่ำสุดที่เช่ำทรัพย์สนิ ดังกล่ำว จนกว่ำผูบ้ ริหำรอสังหำริมทรัพย์จะสำมำรถหำผูเ้ ช่ำรำยย่อยได้และผูเ้ ช่ำรำยย่อยเริ่มชำระค่ำเช่ำและบริกำรแล้ว หรือ จนกว่ ำจะสิ้นสุ ดระยะเวลำ 12 เดือ นนับจำกวันที่กองทรัสต์ฯเข้ำลงทุนครัง้ แรกในทรัพ ย์สินดังกล่ำวโดยกำรจด ทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์หรือกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ - สำหรับทรัพย์สินที่ขำย/ให้เช่ำในวันที่ 18 และ 21 ธันวำคม 2558 เฉพำะรำยกำรที่ว่ำงจำกกำรมีผู ้ เช่ำ ณ วันที่ทรัสต์ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิหรือกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ดงั กล่ำวหรือสัญญำเช่ำสิ้นสุดลงภำยใน ระหว่ำงระยะเวลำ 12 เดือน โดยจะชดเชยรำยได้ให้แก่กองทรัสต์ฯตำมอัตรำค่ำเช่ำและค่ำบริกำรเท่ำกับค่ ำเช่ำและ บริกำรของผูเ้ ช่ำรำยย่อยรำยล่ำสุดทีเ่ ช่ำทรัพย์สนิ ดังกล่ำว จนกว่ำผูบ้ ริหำรอสังหำริมทรัพย์จะสำมำรถหำผูเ้ ช่ำรำยย่อย ได้และผูเ้ ช่ำรำยย่อยเริ่มชำระค่ำเช่ำและบริกำรแล้ว หรื อจนกว่ำจะสิ้นสุดระยะเวลำ 12 เดือนนับจำกวันที่กองทรัสต์ฯ เข้ำลงทุนเพิม่ ทุนครัง้ ที่ 1 ในทรัพย์สนิ ดังกล่ำวโดยกำรจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์หรือกำรเช่ำอสังหำริมทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯจำนำหน่ วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหำริมทรัพย์ทีพำร์คโลจิสติคส์ จำนวน 22 ล้ำนหน่ วย (2558: 22 ล้ำนหน่ วย) ซึ่งมีมูลค่ ำตำมวิธีส่วนได้เสีย 147 ล้ำนบำท (2558: 152 ล้ำนบำท) และมีมลู ค่ำตำมรำคำตลำด 225 ล้ำนบำท (2558: 269 ล้ำนบำท)ไว้กบั ธนำคำรพำณิ ชย์แห่งหนึ่งเพื่อเป็ นหลักประกัน สำหรับกำรรับประกันค่ำเช่ำและบริกำรดังกล่ำว 34.6 การรับประกัน บริษทั ฯได้ออกจดหมำยกำรรับประกัน (Letter of Undertaking) ให้แก่สถำบันกำรเงินแห่งหนึ่งเกี่ยวกับ ภำระหนี้ ของบริษทั ย่อยของ PT SLP Surya TICON Internusa โดยจะรับประกันในอัตรำร้อยละ 25 ซึ่งเป็ นสัดส่วนที่ บริษทั ฯถือหุน้ โดยทำงอ้อมในบริษทั ย่อยนี้ กำรรับประกันนี้มผี ลตัง้ แต่ 29 ตุลำคม 2558 ถึง 29 ตุลำคม 2564

35. เครื่องมือทางการเงิน 35.1 นโยบายการบริหารความเสีย่ ง เครื่องมือทำงกำรเงินที่สำคัญของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยตำมที่นิยำมอยู่ในมำตรฐำนกำรบัญชีฉบับที่ 107 “กำรแสดงรำยกำรและกำรเปิ ดเผยข้อ มูลส ำหรับ เครื่องมือทำงกำรเงิน ” ประกอบด้วย เงิน สดและรำยกำร เทียบเท่ำเงินสด เงินลงทุนชัว่ ครำว ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อ่นื ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำนทีย่ งั ไม่เรียกชำระ เงิน ให้กูย้ ืม เงินลงทุน เงินกูย้ ืมระยะสัน้ เงินกูย้ มื ระยะยำวและหุน้ กู ้ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีควำมเสี่ยงที่เกี่ยวข้อ งกับ เครื่องมือทำงกำรเงินดังกล่ำว และมีนโยบำยในกำรบริหำรควำมเสี่ยงดังนี้ ความเสีย่ งด้านการให้สนิ เชื่อ บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีควำมเสีย่ งด้ำนกำรให้สนิ เชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับกำรให้เช่ำ /ขำยโรงงำน คลังสินค้ำ และกำรให้บริกำร ฝ่ ำยบริหำรควบคุมควำมเสี่ยงนี้โดยกำรกำหนดให้มีนโยบำยและวิธีกำรในกำรควบคุมสินเชื่อที่ เหมำะสม ดังนั้นบริษ ทั ฯและบริษ ทั ย่อ ยจึงไม่คำดว่ ำจะได้รบั ควำมเสียหำยที่เป็ นสำระสำคัญ จำกกำรให้สินเชื่อ นอกจำกนี้ กำรให้สินเชื่อของบริษทั ฯและบริษทั ย่อยไม่มกี ำรกระจุกตัว เนื่องจำกบริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีฐำนของ


195

รายงานงบการเงิน

ลูกค้ำที่หลำกหลำยและมีอยู่จำนวนมำกรำย จำนวนเงินสูงสุดที่บริษทั ฯและบริษทั ย่อยอำจต้องสูญเสียจำกกำรให้ สินเชื่อคือมูลค่ำตำมบัญชีของลูกหนี้ทแ่ี สดงอยู่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบี้ย บริษทั ฯและบริษทั ย่อยมีควำมเสี่ยงจำกอัตรำดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝำกสถำบันกำรเงิน เงินให้กูย้ มื เงินกูย้ มื ระยะยำวและหุน้ กูท้ ม่ี ดี อกเบี้ยสินทรัพย์และหนี้สนิ ทำงกำรเงินส่วนใหญ่มอี ตั รำดอกเบี้ยทีป่ รับขึ้น ลงตำมอัตรำตลำด หรือมีอตั รำดอกเบี้ยคงทีซ่ ง่ึ ใกล้เคียงกับอัตรำตลำดในปัจจุบนั สินทรัพย์และหนี้สินทำงกำรเงินที่สำคัญสำมำรถจัดตำมประเภทอัตรำดอกเบี้ย และสำหรับสินทรัพย์ และหนี้สินทำงกำรเงินที่มอี ตั รำดอกเบี้ยคงที่สำมำรถแยกตำมวันที่ครบกำหนดหรือวันที่มกี ำรกำหนดอัตรำดอกเบี้ย ใหม่ (หำกวันทีม่ กี ำรกำหนดอัตรำดอกเบี้ยใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด เงินลงทุนชัว่ ครำว ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อน่ื ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำน ทีย่ งั ไม่เรียกชำระ หนี้ สินทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จำกบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อน่ื หุน้ กู ้ เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยำว

อัตรำดอกเบี้ยคงที่ อัตรำดอกเบี้ย ภำยใน มำกกว่ำ 1 มำกกว่ำ ปรับขึ้นลง 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตำมรำคำตลำด (ล้ำนบำท)

-

ไม่มี อัตรำ ดอกเบี้ย

อัตรำ ดอกเบี้ย ถัวเฉลีย่ (ร้อยละต่อปี )

รวม

-

283

1

284

-

-

22

-

-

118

118

-

-

-

-

141

141

22

-

-

283

260

565

2,030

-

-

-

-

2,030

1.82

1,060

-

-

-

-

1,060

2.48

-

-

-

-

493

493

-

4,020

8,320

5,000

-

-

17,340

3.89

291

493

-

-

-

784

3.99

254

778

-

-

-

1,032

4.32

7,655

9,591

5,000

-

493

22,739

22

0.38 1.55

-


196

รายงานประจ�ำปี 2559

งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558 อัตรำดอกเบี้ยคงที่ ภำยใน มำกกว่ำ 1 มำกกว่ำ 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด เงินลงทุนชัว่ ครำว ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อน่ื เงินฝำกสถำบันกำรเงินทีม่ ภี ำระคำ้ ประกัน ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำน ทีย่ งั ไม่เรียกชำระ หนี้ สินทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ เจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อน่ื หุน้ กู ้ เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยำว

อัตรำดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตำมรำคำตลำด (ล้ำนบำท)

ไม่มี อัตรำ ดอกเบี้ย

อัตรำ ดอกเบี้ย ถัวเฉลีย่ (ร้อยละต่อปี )

รวม

150

-

-

983

1

1,134

0.36

22

-

-

-

-

22

1.59

-

-

-

-

80

80

-

57

-

-

-

-

57

0.95

-

-

-

-

95

95

-

229

-

-

983

176

1,388

2,040

-

-

-

-

2,040

2.00

-

-

-

-

606

606

-

3,250

11,440

3,500

-

-

18,190

4.08

72

613

63

-

-

748

4.09

305

722

-

-

-

1,027

4.61

5,667

12,775

3,563

-

606

22,611

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 อัตรำดอกเบี้ยคงที่ ภำยใน มำกกว่ำ 1 มำกกว่ำ 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อน่ื ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำน ทีย่ งั ไม่เรียกชำระ หนี้ สินทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จำกบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อน่ื หุน้ กู ้ เงินกูย้ มื ระยะยำว

อัตรำดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตำมรำคำตลำด (ล้ำนบำท)

ไม่มี อัตรำ ดอกเบี้ย

อัตรำ ดอกเบี้ย ถัวเฉลีย่ (ร้อยละต่อปี )

รวม

0.38

-

-

-

214

-

214

-

-

-

-

126

126

-

-

-

-

13

13

-

-

-

214

139

353

2,030

-

-

-

-

2,030

1.82

1,060

-

-

-

-

1,060

2.48

-

-

-

-

256

256

-

4,020

8,320

5,000

-

-

17,340

3.89

254

438

-

-

-

692

4.38

7,364

8,758

5,000

-

256

21,378

-


197

รายงานงบการเงิน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อน่ื เงินฝำกสถำบันกำรเงินทีม่ ภี ำระคำ้ ประกัน ลูกหนี้ตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำน ทีย่ งั ไม่เรียกชำระ หนี้ สินทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จำกบริษทั ทีเ่ กี่ยวข้องกัน เจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อน่ื หุน้ กู ้ เงินกูย้ มื ระยะยำว

อัตรำดอกเบี้ยคงที่ อัตรำดอกเบี้ย ภำยใน มำกกว่ำ 1 มำกกว่ำ ปรับขึ้นลง 1 ปี ถึง 5 ปี 5 ปี ตำมรำคำตลำด (ล้ำนบำท)

ไม่มี อัตรำ ดอกเบี้ย

อัตรำ ดอกเบี้ย ถัวเฉลีย่ (ร้อยละต่อปี )

รวม

150

-

-

918

-

1,068

0.38

-

-

-

-

40

40

-

57

-

-

-

-

57

0.95

-

-

-

-

012

-

207

-

-

918

52

1,177

2,040

-

-

-

-

2,040

2.00

291

-

-

-

-

291

1.00

-

-

-

-

271

271

-

3,250

11,440

3,500

-

-

18,190

4.08

140

672

-

-

-

812

4.75

5,721

12,112

3,500

-

271

21,604

012

\

ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีควำมเสี่ยงจำกอัตรำแลกเปลีย่ นที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจำกกำรซื้อสินค้ำเป็ น เงิน ตรำต่ ำงประเทศ บริษ ทั ฯและบริษ ทั ย่ อ ยได้ต กลงทำสัญ ญำซื้อ ขำยเงิน ตรำต่ ำงประเทศล่ว งหน้ำ เพื่อใช้เป็ น เครื่องมือในกำรบริหำรควำมเสีย่ ง ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 บริษทั ฯไม่มยี อดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สนิ ทำงกำรเงินที่ เป็ นสกุลเงินตรำต่ำงประเทศ 35.2 มูลค่ายุตธิ รรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่ องจำกสินทรัพ ย์และหนี้ สินทำงกำรเงิน ส่ว นใหญ่ ของบริษทั ฯและบริษ ทั ย่อยจัดอยู่ใน ประเภทระยะสัน้ เงินให้กูย้ ืม และเงินกูย้ ืมมีอตั รำดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตรำดอกเบี้ยในตลำด บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจึงประมำณมูลค่ำยุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทำงกำรเงินใกล้เคียงกับมูลค่ำตำมบัญชีท่แี สดงในงบแสดง ฐำนะกำรเงิน มูลค่ำตำมบัญชี และมูลค่ำยุติธรรมของหนี้สนิ ทำงกำรเงินระยะยำวทำงกำรเงิน ที่จ่ำยดอกเบี้ยใน อัตรำคงที่ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 และ 2558 มีดงั ต่อไปนี้


198

รายงานประจ�ำปี 2559

(หน่วย: ล้ำนบำท) งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 2558 มูลค่ำตำมบัญชี มูลค่ำยุตธิ รรม มูลค่ำตำมบัญชี มูลค่ำยุตธิ รรม หุน้ กู ้

17,340

17,772

18,190

18,719

บริษทั ฯมีกำรประมำณมูลค่ำยุตธิ รรมของหุน้ กูโ้ ดยคำนวณจำกกำรใช้รำคำซื้อขำยล่ำสุด ณ วันทีใ่ น งบแสดงฐำนะกำรเงิน ของสมำคมตลำดตรำสำรหนี้ ไทย (The Thai Bond Market Association) หรือ ใช้ก ำร วิเครำะห์กระแสเงินสดคิดลด อัตรำคิดลดที่บริษทั ฯใช้เ ท่ำกับอัตรำผลตอบแทนของหุน้ กู ้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลำ รำยงำนที่มเี งือ่ นไข ลักษณะ และระยะเวลำทีเ่ หลืออยู่เหมือนกับหุน้ กู ้ ทีบ่ ริษทั ฯกำลังพิจำรณำหำมูลค่ำยุติธรรม และ ในระหว่ำงปี ปจั จุบนั ไม่มกี ำรโอนรำยกำรระหว่ำงลำดับชัน้ ของมูลค่ำยุติธรรม

36. ลาดับชัน้ ของมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีสินทรัพย์และหนี้สนิ ที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรมหรือ เปิ ดเผยมูลค่ำยุตธิ รรมแยกแสดงตำมลำดับชัน้ ของมูลค่ำยุติธรรม ดังนี้ (หน่วย: ล้ำนบำท) งบกำรเงินรวม ระดับ 2 ระดับ 3

ระดับ 1 สินทรัพย์ท่เี ปิ ดเผยมูลค่ายุตธิ รรม เงินลงทุนในบริษทั ร่วม อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน หนี้ สินที่เปิ ดเผยมูลค่ายุตธิ รรม หุน้ กู ้

4,548 -

-

39,595

4,548 39,595

-

17,772

-

17,772 (หน่วย: ล้ำนบำท)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ระดับ 2 ระดับ 3

ระดับ 1 สินทรัพย์ท่เี ปิ ดเผยมูลค่ายุตธิ รรม เงินลงทุนในบริษทั ร่วม อสังหำริมทรัพย์เพือ่ กำรลงทุน หนี้ สินที่เปิ ดเผยมูลค่ายุตธิ รรม หุน้ กู ้

รวม

รวม

4,548 -

-

11,641

4,548 11,641

-

17,772

-

17,772


รายงานงบการเงิน

199

37. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในกำรบริหำรจัดกำรทุนที่สำคัญของกลุ่มบริษทั คือกำรจัดให้มี ซ่งึ โครงสร้ำงทุนที่เหมำะสมเพื่อ สนับสนุ นกำรดำเนินธุ รกิจของกลุ่มบริษทั และเสริมสร้ำงมูลค่ ำกำรถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ ือหุน้ โดย ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 กลุ่มบริษทั มีอตั รำส่วนหนี้ สินต่ อทุนเท่ำกับ 2.2:1 (2558: 2.1:1) และเฉพำะบริษทั มีอตั รำส่วนหนี้ สินต่อทุน เท่ำกับ 2.0:1 (2558: 1.9:1)

38. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 38.5 เมือ่ วันที่ 16 มกรำคม 2560 บริษทั ฯได้รบั ชำระค่ำหุน้ สำมัญเพิม่ ทุนจำนวน 735.0 ล้ำนหุน้ ในรำคำหุน้ ละ 18 บำท รวมเป็ นเงิน 13,230.0 ล้ำนบำท จำกบริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด โดย บริษทั ฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนชำระแล้วจำก 1,099.1 ล้ำนบำท เป็ น 1,834.1 ล้ำนบำท กับกระทรวงพำณิชย์ เมือ่ วันที่ 16 มกรำคม 2560 38.2 เมื่อวันที่ 23 กุมภำพันธ์ 2560 ที่ประชุมคณะกรรมกำรของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 3/2560 ได้มมี ติอนุ มตั ิให้ นำเสนอต่อที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุน้ ประจำปี 2560 ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 24 เมษำยน 2560 เพื่อพิจำรณำและอนุ มตั ิ ดังนี้ (ก) กำรจ่ำยเงินปันผลจำกกำไรสะสมของบริษทั ฯ ให้แก่ ผู ถ้ ือหุน้ ในอัตรำหุน้ ละ 0.08 บำท โดย กำหนดจ่ำยเงินปันผลในวันที่ 19 พฤษภำคม 2560 (ข) กำรเพิ่มทุนจดทะเบียนจำก 1,834.1 ล้ำนบำท เป็ น 2,384.4 ล้ำนบำท โดยกำรออกหุน้ สำมัญ เพิ่มทุนจำนวน 550.3 ล้ำนหุน้ มูลค่ ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 1 บำท และจัดสรรหุน้ สำมัญเพิ่มทุนบริษทั ฯ แบบมอบอำนำจ ทัว่ ไป (General Mandate)

39. การอนุ มตั ิงบการเงิน งบกำรเงินนี้ได้รบั อนุมตั ใิ ห้ออกโดยคณะกรรมกำรบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 23 กุมภำพันธ์ 2560


200

รายงานประจ�ำปี 2559

แบบยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของค่าตอบแทนที่จา่ ยให้แก่ผูส้ อบบัญชี รอบปี บญั ชีส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวำคม 2559 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) รายการที่ 1 2 3 4

ชื่อบริษทั ผูจ้ า่ ย

ชื่อผูส้ อบบัญชี

ค่าสอบบัญชี (บาท)

บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน)

นำงสำวรสพร เดชอำคม

5,000,000

บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พำร์ค จำกัด บริษทั อีโค อินดัสเทรียล เซอร์วสิ เซส จำกัด บริษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จำกัด

นำงสำวรสพร เดชอำคม นำงสำวรสพร เดชอำคม นำยชยพล ศุภเศรษฐนนท์

900,000 386,000 280,000 2,566,000

รวมค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี

ค่าบริการอืน่ (Non-audit fee)

รายการที่

ชื่อบริษทั ผูจ้ า่ ย

ประเภทของงานบริการอืน่ ( Non-audit service )

ผูใ้ ห้บริการ

รวมค่าตอบแทนสาหรับงานบริการอืน่ ( Non-audit fee )

ค่าตอบแทนของงานบริการอืน่ (บาท) ส่วนที่จา่ ยไป ส่วนที่จะต้อง ในระหว่างปี จ่ายในอนาคต บัญชี -

-

-

-

ข้อมูลข้ำงต้น

  ถูกต้องครบถ้วนแล้ว ทัง้ นี้ ข้ำพเจ้ำขอยืนยันว่ำไม่มีขอ้ มูลกำรให้บริกำรอืน่ ทีบ่ ริษทั จ่ำยให้ขำ้ พเจ้ำ สำนักงำนสอบบัญชี

ทีข่ ำ้ พเจ้ำสังกัด และบุคคลหรือกิจกำรทีเ่ กี่ยวข้องกับข้ำพเจ้ำ และสำนักงำนสอบบัญชีทข่ี ำ้ พเจ้ำสังกัด ทีข่ ำ้ พเจ้ำทรำบ และไม่มกี ำรเปิ ดเผยไว้ขำ้ งต้น  ไม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน กล่ำวคือ …………………………………………………………………………………………..……………………… เมือ่ ปรับปรุงข้อมูลข้ำงต้น (ถ้ำมี) แล้ว ข้ำพเจ้ำขอยืนยันว่ำข้อมูลทัง้ หมดในแบบฟอร์มนี้แสดงค่ำตอบแทนสอบบัญชี และค่ำบริกำรอืน่ ทีบ่ ริษทั จ่ำยให้ขำ้ พเจ้ำและสำนักงำนสอบบัญชีดงั กล่ำว ทีถ่ กู ต้องครบถ้วน

(นำงสำวรสพร เดชอำคม)

บริษทั สำนักงำน อีวำย จำกัด ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จำกัด (มหำชน)


ºÃÔÉÑ· ䷤͹ ÍÔ¹´ÑÊà·ÃÕÂÅ ¤Í¹à¹ç¤ªÑè¹ ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2559

บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จำกัด (มหาชน) ห้อง 1308 ชั้น 13/1 อาคารสาธรซิตี้ทาวเวอร์ เลขที่ 175 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 679-6565 โทรสาร (662) 287-3153 www.ticon.co.th

บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จำกัด (มหาชน)

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2559

Leading Industrial Property TOTAL SOLUTION PROVIDER Warehouses and Factories for Lease


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.