TRU : Annual Report 2010 TH

Page 1


สารบัญ ประวัติความเป็นมาของบริษัท วิสัยทัศน์องค์กร สรุปข้อมูลทางการเงิน..................................................................................1 สารจากประธานกรรมการ.............................................................................2 คณะกรรมการบริษัท....................................................................................4 ความรับผิดชอบต่อสัมคม............................................................................8 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัท..........................................................................12 ลักษณะการประกอบธุรกิจ.........................................................................15 ปัจจัยความเสี่ยง.........................................................................................18 โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ..........................................................21 รายการระหว่างกัน......................................................................................32 การกำ�กับดูแลกิจการ3���������������������������������������������������������������������������������35 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน................................................................42 รายงานการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ4������������������44 รายงานของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน4�����������������������45 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน.....46 คำ�อธิบายและการวิเคราห์ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน7���������������������47 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต........................................................50 งบการเงิน..................................................................................................51


ประวัติความเป็นมาของบริษัท บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) ก่อตั้งและเติบโตบนเส้นทาง ประกอบรถยนต์มาอย่างยาวนานและมั่นคง นับตั้งแต่ก่อตั้งห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ไทย รุ่งวิศวกรรม ขึ้นมาในปี 2510 โดยนายห้างวิเชียร เผอิญโชค และพัฒนาธุรกิจจน ประสบความสำ�เร็จเป็นบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) โดยนำ�บริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2537 จวบจนวันนีเ้ ป็นเวลา 40 กว่าปี ทีบ่ ริษทั ไทยรุง่ ยูเนีย่ นคาร์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษทั ของคนไทยทีด่ �ำ เนินธุรกิจอุตสาหกรรมรถยนต์ครบวงจร ตัง้ แต่การออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ การสร้างแม่พมิ พ์และเครือ่ งมือการผลิต การผลิตชิน้ ส่วนโลหะ และพลาสติก การรับจ้างประกอบ และดัดแปลงรถยนต์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การดัดแปลงรถสเตชั่นวากอน หรือรถอเนกประสงค์ 7 ที่นั่ง โดยความสามารถใน การออกแบบพัฒนา และประกอบรถยนต์ ด้วยฝีมือและความสามารถของบุคลากร คนไทย จนได้รับความนิยมจากผู้บริโภคอย่างแพร่หลายและได้รับรางวัลรถยนต์ยอด เยี่ยมแห่งปี และรางวัลอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งหมดนี้คือความภูมิใจที่บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รับ และทำ�ให้เกิดความมุ่งมั่นในการสร้างสรรค์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่มีคุณภาพ เพื่อคนไทยและชาติไทยต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง


บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) Thai Rung Union Car Public Company Limited

วิสัยทัศน์ เป็นยอดยนตรกรรมไทย เป็นผู้พัฒนา ออกแบบ และผลิตผลิตภัณฑ์ครบวงจร ที่มีตราสินค้า (Brand) เป็นของตนเอง สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้า ทั้งด้านคุณภาพและบริการ ในระดับสากล

พันธกิจบริษัท 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

เป็นผู้นำ�ในการออกแบบ พัฒนา ผลิตนวัตกรรมยานยนต์ใหม่ รถเอนกประสงค์ รถใช้งานเฉพาะด้าน ชิ้นส่วน แม่พิมพ์-จิ๊ก และอุปกรณ์รถยนต์ สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าในด้านคุณภาพ ราคา การส่งมอบและบริการในระดับสากล มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ การบริการ อย่างต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการผลิต การจัดการที่ยืดหยุ่น รวดเร็ว ด้วยวิศวกรรม เทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ สร้าง Brand เป็นของตนเองให้มีภาพลักษณ์ เป็นที่เชื่อถือของลูกค้า สร้างและขยายเครือข่ายการขายและการตลาดให้ครอบคลุมทั้งภายใน และต่างประเทศ มุ่งมั่นพัฒนาและธำ�รงรักษาทรัพยากรมนุษย์ ให้มีศักยภาพที่สามารถแข่งขันได้ ในระดับสากล มีความสุขและความภาคภูมิใจในการทำ�งานกับองค์กร สร้างความมั่นคงให้องค์กรอย่างต่อเนื่องด้วยการสร้างผลกำ�ไรและผลตอบแทนที่ดีในระยะยาว สำ�หรับผู้ถือหุ้น คู่ค้า และพนักงาน ผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต และการทำ�งานต้องคำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อมและชุมชน ช่วยเหลือและตอบแทน สังคม โดยใช้หลักธรรมาภิบาล


สรุปข้อมูลทางการเงิน งบการเงินรวม ณ 31 ธันวาคม 2553 2552

(หน่วย : ล้านบาท) 2551

ผลการดำ�เนินงาน รายได้จากการขายและบริการ 1,970.21 1,353.07 2,099.22 รายได้ทั้งหมด 2,091.30 1,428.37 2,222.01 ค่าใช้จ่ายรวม 1,925.29 1,554.99 2,209.13 กำ�ไร(ขาดทุน)ก่อนต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ 166.01 (126.62) 12.88 กำ�ไร(ขาดทุน)สุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น บริษัทใหญ่ 219.30 (111.70) (12.12) ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน 1,285.69 1,025.49 1,554.85 สินทรัพย์รวม 2,895.54 2,581.42 2,779.06 หนี้สินรวม 384.50 243.32 323.65 ส่วนของผู้ถือหุ้น 2,511.04 2,338.10 2,455.41 ข้อมูลต่อหุ้น (หน่วย : บาท) กำ�ไร(ขาดทุน)สุทธิต่อหุ้น 0.44 (0.21) (0.02) เงินปันผลต่อหุ้น 0.25 - มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น 5.01 4.66 4.90 อัตราส่วนทางการเงิน (หน่วย : %) อัตรากำ�ไรสุทธิต่อรายได้รวม 10.49 (7.82) (0.55) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 9.05 (4.66) (0.49) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม 8.01 (4.17) (0.49)

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

1


สารจากประธานกรรมการ จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 จนทำ�ให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและ ทรัพย์สินของชาวญี่ปุ่นจำ�นวนมากนั้น ดิฉันขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อผู้เสียชีวิตและครอบครัว และขอเป็นกำ�ลังใจให้ ประชาชนชาวญีป่ นุ่ และประเทศญีป่ นุ่ สามารถฟืน้ ฟูสถานการณ์ตา่ ง ๆ ให้กลับมาเป็นปกติสขุ ได้ในเร็ววันนี้ นอกจากนัน้ ดิฉนั ในนาม ของกลุ่มบริษัทไทยรุ่งฯ ได้ร่วมบริจาคเงินเพื่อช่วยเหลือผู้ประสพภัยชาวญี่ปุ่นในครั้งนี้จำ�นวน 250,000 บาท เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2554 จากเหตุการณ์ดังกล่าว ได้ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ ระบบสาธารณูปโภคของญี่ปุ่นอย่างมาก โดยเฉพาะการระเบิด ที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ยังส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั่วโลกด้วย สำ�หรับอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยนั้น อาจได้รับผลก ระทบจากการขาดชิน้ ส่วนบางรายการเพือ่ นำ�มาประกอบรถยนต์ในช่วงสัน้ ๆ แต่หากมองในอีกแง่หนึง่ ก็เป็นโอกาสสำ�คัญทีอ่ าจมีการ ย้ายฐานการผลิตชิ้นส่วนสำ�คัญจากญี่ปุ่นมาผลิตที่ไทยเพิ่มขึ้น ซึ่งนับว่าเป็นโอกาสที่ดีต่อผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยที่มีศักยภาพเช่นกัน สำ�หรับปี 2553 ที่ผ่านมานั้น นับว่าเป็นปีที่อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยมีสถิติการผลิตรถสูงที่สุดถึง 1.65 ล้านคัน เพิ่มขึ้น 65% จากปี 2552 โดยแบ่งเป็นการขายในประเทศ 800,357 คัน เพิ่มขึ้น 46% และส่งออก 895,855 คัน เพิ่มขึ้น 67% อัน เนื่องมาจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากแผนการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ทำ�ให้ประชาชนมีอำ�นาจซื้อ มากขึ้น สินค้าเกษตรหลายชนิดมีราคาสูงขึ้น และตลาดให้การตอบรับที่ดีต่อการแนะนำ�รถยนต์รุ่นใหม่ ๆ โดยเฉพาะรถอีโคคาร์เข้า สู่ตลาดของผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นปี 2553 ในขณะที่ตลาดส่งออกยังสามารถขยายตัวในทุกตลาดส่งออก สำ�หรับปี 2554 นั้น สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ประมาณการว่าอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยจะเติบโตขึ้นประมาณ 10% ไปสู่ยอดการผลิตรถยนต์ที่ 1.80 ล้านคัน แบ่งเป็นยอดขายในประเทศ 46% และส่งออก 54% จากภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยปี 2553 ที่ขยายตัวมากนั้น ส่งผลให้กลุ่มบริษัทไทยรุ่งฯ ประสบความสำ�เร็จในการ ขยายฐานลูกค้าใหม่ ๆ ในงานชิ้นส่วน OEM มากขึ้น ทำ�ให้มีปริมาณงานแม่พิมพ์ ชิ้นส่วน รับจ้างประกอบและพ่นสีเพิ่มขึ้นมาก ประกอบกับปริมาณงานที่มีแผนจะเริ่มผลิตในปี 2554 ทำ�ให้กำ�ลังการผลิตในปัจจุบันเริ่มไม่เพียงพอ คณะกรรมการบริษัท จึงได้ พิจารณาอนุมัตใิ ห้บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด ซึง่ เป็นบริษัทย่อย ตัง้ อยูท่ จี่ ังหวัดระยอง ลงทุนซือ้ เครื่องจักรและสร้างโรงงาน ใหม่เพิ่มอีก 1 โรง ด้วยเงินลงทุนกว่า 300 ล้านบาท เพื่อขยายกำ�ลังการผลิตรองรับงานชิ้นส่วนรถยนต์ โดยคาดว่าโรงงานใหม่นี้ จะเริ่มผลิตได้ภายในไตรมาส 4 ปี 2554 ในส่วนของบริษัทไทยรุ่งฯ ก็ได้ลงทุนปรับปรุงห้องพ่นสีใหม่ และอุปกรณ์ต่าง ๆ จำ�นวน มากเพื่อเพิ่มศักยภาพ คุณภาพในการผลิต

2

รายงานประจำ�ปี 2553 2553


บริษัทฯ ยังคงพัฒนารถใช้งานเฉพาะด้าน (Special Purpose Vehicle) ที่เป็นจุดเด่นของบริษัทอย่างต่อเนื่อง เช่น รถ TR Exclusive Limousine และล่าสุดรถตรวจการณ์ลาดตระเวนทางการทหาร MUV4 (Military Utility Vehicle) และรถ TR Transformer ซึง่ เป็นตลาดทีม่ แี นวโน้มในอนาคตดี โดยรถ MUV4 มีคณ ุ ลักษณะพิเศษสามารถปรับเปลีย่ นรูปแบบให้ใช้งานได้หลาก หลายตามความต้องการ เพื่อขยายตลาดและกลุ่มลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ยังคงแสวงหาพันธมิตร เพื่อร่วมลงทุนและ ขยายฐานธุรกิจด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจปัจจุบัน เพื่อช่วยสร้างรายได้ให้แก่บริษัทเพิ่มขึ้นในอนาคต ซึ่งผลจากความพยายาม ของคณะกรรมการ และทีมบริหารที่ช่วยกันขยายธุรกิจ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และลดต้นทุนต่าง ๆ อย่างจริงจัง จึงทำ�ให้ผล ประกอบการของบริษัทสามารถพลิกกลับมามีกำ�ไร และสามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นได้ นอกเหนือการทุ่มเทเพื่อผลการดำ�เนินงานที่ดีของบริษัทฯ แล้ว คณะกรรมการบริษัท ยังให้ความสำ�คัญต่อการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี และให้ความใส่ใจต่อการดูแลรักษาสังคม ชุมชน สภาพแวดล้อม ตลอดจนให้ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องทุก ฝ่าย ตามหลักการความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility) ด้วยการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม เพื่อนำ�องค์กรไปสู่ความสำ�เร็จอย่างยั่งยืน ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ดิฉันขอขอบคุณลูกค้า ผู้ถือหุ้น หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน และผู้ เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่เป็นพลังขับเคลื่อนที่สำ�คัญในการสนับสนุนบริษัทฯ ด้วยดีเสมอมา และขอขอบคุณผู้บริหารและพนักงานทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีตามนโยบายของบริษัท ดิฉันและคณะกรรมการบริษัททุกท่านจะพยายามอย่างเต็มที่ที่จะนำ�พาบริษัทฯ ให้ก้าวต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง และร่วมกันขยายธุรกิจให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป

ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

3


คณะกรรมการบริษัท ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร อายุ : 72 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยโคสท์ไลท์ ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • ปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • »Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà áÅлÃиҹ¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒà ºÁ¨. ä·ÂÃØè§ÂÙà¹Õ蹤ÒÃì • กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บจ. ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ บจ. ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส บจ. ไทยออโต้ เพรสพาร์ท บจ. ไทยอัลติเมทคาร์ บจ. เดลต้า-ทีอาร บจ. อีซูซุชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ. ชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ. อีซูซุ วี มอเตอร์ บจ. วี.พี. ออโต้เอ็นเตอร์ไพรส์ บจ. วีพีเค ออโต้ บจ. เลกซัส ออโต้ ซิตี้ บจ. ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น บจ. ยุโรป-ไทยคาร์เร้นท์ บจ. เฟิรส์พาร์ท บจ. สินธรณีพร็อพเพอร์ตี้ • กรรมการ บจ. เดลต้า ไทยรุ่ง สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 246,387,500 หุ้น (49.12%) (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)

4

รายงานประจำ�ปี 2553

คุณสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ อายุ : 50 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • ปริญญาโท สาขาวิศวอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเคโอ ประเทศญี่ปุ่น • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่น 49) • สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.8) • หลักสูตร Director Certification Program 26/2003 : IOD »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ • กรรมการและรองประธานกรรมการ บจ. ไทยอัลติเมทคาร์ บจ. เดลต้า ไทยรุ่ง บจ. อีซูซุชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ. อีซูซุ วี มอเตอร์ บจ. วี.พี. ออโต้เอ็นเตอร์ไพรส์ บจ. เลกซัส ออโต้ ซิตี้ บจ. ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น บจ. ยุโรป-ไทยคาร์เร้นท์ บจ. เฟิรส์พาร์ท • กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บจ. ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ บจ. ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส บจ. ไทยออโต้ เพรสพาร์ท บจ. เดลต้า-ทีอาร์ • กรรมการ บจ. ชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ. สินธรณีพร็อพเพอร์ตี้ บจ. ไทยออโต้ คอนเวอชั่น สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 53,446,400 หุ้น (10.66%) (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)


คุณแก้วใจ เผอิญโชค กรรมการ

คุณวุฒิชัย เผอิญโชค กรรมการ

อายุ : 46 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • Bachelor Degree in Financial Administration University of New England Australia • หลักสูตร Director Certification Program 29/2003 : IOD »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ • กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บจ. ไทยอัลติเมทคาร์ บจ. อีซูซุชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ. อีซูซุ วี มอเตอร์ บจ. วี.พี. ออโต้เอ็นเตอร์ไพรส์ บจ. วีพีเค ออโต้ บจ. ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น บจ. เฟิรส์พาร์ท • กรรมการ บจ. ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ บจ. ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส บจ. ไทยออโต้ เพรสพาร์ท บจ. ชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ. สินธรณี พร๊อพเพอร์ตี้ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 32,639,450 หุ้น (6.51%) (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)

อายุ : 41 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมยานยนต์ มหาวิทยาลัยโคเวนทรี ประเทศอังกฤษ »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ.ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ • กรรมการและกรรมการผู้จัดการ บจ. อีซูซุชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ. ชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ. อีซูซุ วี มอเตอร์ บจ. ยุโรป-ไทยคาร์เร้นท์ บจ. สินธรณี พร๊อพเพอร์ตี้ • กรรมการและรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บจ. ไทย วี.พี.ออโต้เซอร์วิส • กรรมการ บจ. ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ บจ. ไทยออโต้ เพรสพาร์ท บจ. ไทยอัลติเมทคาร์ บจ. เดลต้า-ทีอาร์ บจ. วี.พี. ออโต้เอ็นเตอร์ไพรส์ บจ. ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 31,201,500 หุ้น (6.22%) (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

5


คุณแอนโทนี่ ฟาคลัว แมคโดนัลด์ กรรมการ อายุ : 45 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • ปริญญาโท สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Bachelor Degree in Financial Administration University of New England Australia • หลักสูตร Director Certification Program 83/2007 : IOD »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • กรรมการ บมจ. ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ • กรรมการผู้จัดการ Astudo Hotel and Resort Group สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)

6

รายงานประจำ�ปี 2553

คุณปรีชา อรรถวิภัชน์ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ

อายุ : 73 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาอุตสาหกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโทวิศวกรรมศาสตร์ MS (Industrial Engineering & Management) Oklahoma State University ประเทศสหรัฐอเมริกา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่น 32) • หลักสูตร Director Certification Program 39/2004 : IOD • หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors 8/2004 : IOD »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บมจ. ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย • ประธานกรรมการ บมจ. ทุ่งคาฮาเบอร์ บมจ. ไทยชูการ์ เทอร์มิเนิ้ล บจ. ร่วมกิจอ่างทองคลังสินค้า บจ. แพนเปเปอร์ (1992) บจ. ชัยนันท์บางพลีพาร์คแลนด์ บจ. เอ็นไวรอนเม็นท์พัลพ์ แอนด์ เปเปอร์ บจ. เอกรัฐพัฒนา บจ. ที เอส คลังสินค้า บจ. ที เอส จี แอสเซ็ท บจ. ที เอส ฟลาวมิลล์ บจ. ที เอส อุตสาหกรรมน้ำ�มัน บจ. ที เอส ขนส่งและโลจิสติกส์ บจ. น้ำ�ตาลเกษตรไทย บจ. น้ำ�ตาลไทยเอกลักษณ์ บจ. รวมผลอุตสาหกรรมนครสวรรค์ มูลนิธิคุณหญิงพรรณชื่น รื่นสิริ มูลนิธิอาจารย์ลัยอาจ ภมราภา อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ • กรรมการ บจ. เอช. ซี. สตาร์ค บจ. สยาม พี.พี. อินเตอร์เนชั่นแนล • ผู้ชำ�นาญการพิเศษระดับวุฒิวิศวกร สภาวิศวกร สาขาวิศวกรรมกรรมอุตสาหการ • กรรมการพิจารณาร่างกฎหมาย กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม • กรรมการวิชาการระบบการจัดการ หรือ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย • นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 290,000 หุ้น (0.06%) (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)


คุณกวี วสุวัต กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

คุณสุเวทย์ ธีรวชิรกุล กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

คุณสมเกียรติ นิ่มระวี กรรมการอิสระ

อายุ : 75 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • ปริญญาตรี Electrical Engineering Royal Melbourne Institute of Technology, Australia • หลักสูตร Director Forum Program 1/2000 : IOD • หลักสูตร Director Accreditation Program 23/2004 : IOD • หลักสูตร Director Certification Program 58/2005 : IOD • หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors 18/2005 : IOD • หลักสูตร Audit Committee Program 10/2005 : IOD »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บมจ. ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ • ประธานกรรมการตรวจสอบ, กรรมการ อิสระและกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน บมจ. ไทยสตีลเคเบิล • ประธานกรรมการ บจ. คิว.อี.ดี. ครีเอชั่น สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : ไม่มี (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)

อายุ : 52 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • ปริญญาโท Wagner College NY New York USA • หลักสูตร Director Certification Program 9/2001 : IOD • หลักสูตร Audit Committee Program 15/2006 : IOD »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ • กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ไอ เอฟ เอส แคปปิตอล (ประเทศไทย) • กรรมการ/กรรมการผู้อำ�นวยการ บมจ. เอ็ม บี เค • กรรมการบริหาร บมจ. ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี บจ. สยามพิวรรธน์ • กรรมการ บมจ. โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) บจ. วชิรฉัตร คอนซัลแตนท์ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 15,012 หุน้ (0.003%) (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)

อายุ : 59 ปี ¤Ø³ÇزԡÒÃÈÖ¡ÉÒ : • ปริญญาตรี คณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Director Accreditation Program 10/2004 : IOD »ÃÐสบการณ์·Ó§Ò¹ : • กรรมการอิสระ, กรรมการบริหาร ความเสี่ยง กรรมการบริหาร และ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บมจ. ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ • กรรมการผู้จัดการ บจ. แดน-ไทย อีควิปเม้นท์ บจ. แดน-ไทย แฮนดิ้ง ซิสเท็ม บจ. แดน-ไทย เอ็นยิเนียริ่ง สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท : 80,000 หุน้ (0.02%) (ณ วันที่ 15 มี.ค. 2554)

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

7


ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษทั ฯ มุง่ เน้นการดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและการกำ�กับดูแลกิจการ ทีด่ ี ควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ซึง่ สอดคล้องกับปรัชญาของ บริษัท คือ “คิดดี ทำ�ดี พูดดี” โดยการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมทั้งด้านการศึกษา ศาสนา สังคม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ มุง่ หวังให้เกิดประโยชน์สขุ ต่อสังคมทัง้ ภายใน และ ภายนอกองค์กร และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยใน รอบปีที่ผ่านมา บริษัทฯ มีกิจกรรมที่สำ�คัญดังนี้ กิจกรรมด้านการศึกษาและเยาวชน บริษัทฯ ให้การสนับสนุนกิจกรรมด้านการศึกษาและเยาชนมาอย่างต่อเนื่อง และมุ่งหวังให้เยาชนรุ่นใหม่มีจิตสำ�นึกที่ดี เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ ซึ่งจะเป็นแรงขับ เคลื่อนที่สำ�คัญในการพัฒนาประเทศในอนาคต โดยบริษัทมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ ศึกษาและเยาวชน ดังนี้ 1. ดร.ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการ, คุณสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่ บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร มอบ ทุนการศึกษาให้แก่บตุ รหลานของพนักงาน ในวันที่ 18 มีนาคม ของทุกปี เนือ่ งใน โอกาสวันไทยรุ่ง ซึ่งเป็นวันครบรอบวันถึงแก่กรรมของท่านนายห้างวิเชียร เผอิญ โชค ผู้ก่อตั้งบริษัทไทยรุ่งฯ 2. บริษัทฯ เล็งเห็นความสำ�คัญของเด็กๆ ที่จะเติบโตเป็นอนาคตของชาติ จึงได้ สนับสนุนและส่งเสริมให้พนักงานที่มีจิตอาสา จัดตั้งชมรมค่ายอาสาพัฒนา ของ กลุ่มบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) โดยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน เข้าไปช่วยซ่อมแซมอาคารเรียน เลี้ยงอาหารกลางวัน ตลอดจนมอบเงิน สิ่งของเครื่องใช้ และอุปกรณ์การเรียนที่จำ�เป็นให้แก่นักเรียน โรงเรียนบ้านเกาะ สะเดิ่ง อำ�เภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยผาก และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านหนองตาดั้ง อำ�เภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ซึ่งเป็น โครงการที่มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อช่วยเติมเต็มสิ่งจำ�เป็นขั้นพื้นฐานให้ กับเด็กนักเรียนด้อยโอกาสในถิ่นทุรกันดาร

8

รายงานประจำ�ปี 2553


3. บริษัทฯ เปิดโอกาสให้คณะอาจารย์ นิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าเยี่ยมชมกิจการ และรับฟังการบรรยายสรุปข้อมูล เกี่ยวกับอุตสาหกรรมยานยนต์ และธุรกิจของบริษัท เพื่อเป็นการเสริมสร้างความ รู้ความเข้าใจแก่นิสิต นักศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ เป็นต้น รวมถึงได้เปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษาจากสถาบัน ต่าง ๆ เข้ามาฝึกงานที่บริษัทในช่วงปิดภาคเรียน หรือตามระยะเวลาที่สถาบันการ ศึกษากำ�หนด เพือ่ ให้มปี ระสบการณ์ในการทำ�งานจริง และมีรายได้พเิ ศษในช่วงปิด ภาคเรียน

กิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ ดำ�เนินการสนับสนุนแก่องค์กร สมาคม มูลนิธติ า่ ง ๆ เพือ่ ช่วยบรรเทา ทุกข์แก่ผู้ประสบความเดือนร้อน หรือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมต่าง ๆ เช่น 4. ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการ พร้อมด้วยกรรมการ และผู้บริหาร ระดับสูง กลุ่มบริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) มอบเงินจำ�นวน 300,000 บาท แก่กองทุนเพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระสบสาธารณภัย จากเหตุการณ์น�้ำ ท่วมทีจ่ งั หวัด นครราชสีมา โดยมีนายอภิรกั ษ์ โฆษะโยธิน เป็นตัวแทนรับมอบเงินบริจาค ณ ตึก สันติไมตรี ทำ�เนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2553 5. ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการ พร้อมด้วยกรรมการ และผู้บริหารระดับ สูง กลุ่มบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) มอบเงินจำ�นวน 250,000 บาท เพื่อร่วมให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดิน ไหวและสึนามิ ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมอบผ่านทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง 3 ณ อาคารมาลีนนท์ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2554 6. บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) ได้ตระหนักถึงความสัมพันธ์อันดีกับ ลูกค้าที่ใช้รถไทยรุ่ง รวมถึงการสร้างความใกล้ชิด ผูกพันในครอบครัว และร่วมกัน ทำ�กิจกรรมเพื่อสังคม บริษัทฯ จึงจัดงานทีอาร์แรลลี่แฟมิลี่ครั้งที่ 6 ตอน “เที่ยว ทะเลสีคราม ตามหาหัวมัน” เส้นทางกรุงเทพ-ชะอำ� เมื่อวันที่ 2-3 ตุลาคม 2553 โดยร่วมกันปลูกต้นมะรุม และแบ่งนำ�รายได้สว่ นหนึง่ บริจาคให้ “โครงการชัง่ หัวมัน” ซึง่ เป็นโครงการตามพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เพือ่ พัฒนาและ รวบรวมพืชเศรษฐกิจ ของจังหวัดเพชรบุรี และรายได้อีกส่วนหนึง่ มอบเป็นทุนการ ศึกษา และบริจาคอุปกรณ์การเรียน ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งโป่ง อำ�เภอ ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

9


7. ผู้บริหารและพนักงาน กลุ่มบริษัทไทยรุ่งฯ ร่วมทำ�กุศลด้วยการบริจาคโลหิต แก่สภากาชาดไทย และคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล เป็นประจำ � ต่อ เนื่องทุกปี เพื่อเป็นการแบ่งปัน และช่วยเหลือชีวิตเพื่อนมุนษย์ด้วยกัน ซึ่งเป็น สาธารณประโยชน์กุศลอันยิ่งใหญ่ กิจกรรมด้านพุทธศาสนา บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าสังคมไทยจะน่าอยู่ และพัฒนาไปอย่างยั่งยืน เมื่อคนใน สังคมมีจิตใจที่ใฝ่ดี ยึดมั่นในหลักคำ�สอนทางศาสนา จึงได้จัดให้มีกิจกรรมทางพุทธ ศาสนา เพื่อส่งเสริมคุณธรรมความดีอย่างต่อเนื่องตลอดปี เช่น 8. กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ร่วมทำ�บุญตักบาตร นั่งสมาธิ และ ฟังเทศน์ เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ ของทุกปี เพื่อให้ทุกคนเริ่มต้นการ ทำ�งานด้วยจิตใจทีด่ ี และให้พนักงาน ได้รว่ มทำ�บุญกุศลอย่างต่อเนือ่ ง โดย จัดให้มกี จิ กรรมถวายภัตตาหาร และ ใส่บาตรทุกวันอังคาร เป็นต้น 9. โครงการจิตสบาย กายเป็นสุข ทุกเย็นวันศุกร์ ซึ่งริเริ่มโครงการ โดยคุ ณ แก้ ว เก้ า เผอิ ญโชค ผู้ ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ขอ งบริ ษั ท ฯ เพื่ อ เปิ ดโอกาสให้ ผู้ บริหาร พนักงาน และประชาชน ภายนอก ได้ฝึกการนั่งสมาธิ ฝึก วิปัสสนา และรับฟังธรรมเทศนา จากพระภิกษุสงฆ์ในหัวข้อต่าง ๆ หมุนเวียนกันไปทุกสัปดาห์ 10. ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการ พร้อมด้วยผู้บริหาร และพนักงาน กลุ่ม บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) ร่วมสร้างบุญสร้างกุศล ไถ่ชีวิต โค – กระบือ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร เขตบางเขน เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2553

10

รายงานประจำ�ปี 2553


กิจกรรมสำ�คัญในรอบปี (Activity) 11. คณะผูบ้ ริหาร กลุม่ บริษทั ไทยรุง่ ยูเนีย่ นคาร์ จำ�กัด (มหาชน) เข้ารับรางวัล “สถาน ประกอบกิจการดีเด่น ด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงาน ประจำ�ปี 2553” จากกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ณ ตึกสันติไมตรี ทำ�เนียบรัฐบาล ซึ่ง ปีนี้นับเป็นปีที่ 6 ติดต่อกัน รวมทั้งบริษัทไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด (ปีที่ 3) และบริษัท เดลต้า ทีอาร์ จำ�กัด (ปีที่ 2)

12. คุณสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นตัวแทนของ บริษัท ไทยรุ่งยู เนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) เข้ารับรางวัล “Excellent Delivery Reward 2010” จากบริษัท คาวาซากิ มอเตอร์ เอ็นเตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 13. คุณสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นตัวแทนของบริษทั ไทยรุง่ ยูเนีย่ น คาร์ จำ�กัด (มหาชน) เข้ารับรางวัล “Zero Defect Award 2010 (Component Part)” จากบริษัท H-One Parts (Thailand) จำ�กัด เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554

14. คุณสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นตัวเทนของบริษทั ไทยรุง่ ยูเนีย่ น คาร์ จำ�กัด (มหาชน) เข้ารับรางวัล “Quality Prize” จากบริษัท ICL (Thailand) จำ�กัด เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554

15. คณะผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ให้การต้อนรับหน่วยงานทางการทหารต่างๆ ที่ ให้ความสนใจในรถตรวจการณ์ลาดตระเวนทางการทหาร (MUV4) และให้เกียรติ เข้าเยี่ยมชมสายการผลิตของบริษัท เช่น กรมสรรพาวุธทหารบก, คณะที่ปรึกษา พิเศษ กองทัพบก และ คณะตรวจการณ์ กรมสรรพาวุธ เป็นต้น

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

11


ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัท

12

บริษัทจดทะเบียน

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) เลขทะเบียนบริษัท : 0107536001435

ทุนจดทะเบียน

524,996,497 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 524,996,497 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท

ทุนชำ�ระแล้ว

501,589,497 บาท

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

• • • •

สถานที่ตั้ง

28/6 หมู่ที่ 1 ถนนเพชรเกษม ซอย 81 แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท์ : 0-2431-0071-2, 0-2431-0065, 0-2420-0076 โทรสาร : 0-2812-0844, 0-2814-5030, 0-2420-3664

Website

http://www.thairung.co.th

นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2229-2800, 0-2654-5599 โทรสาร : 0-2359-1259

ผู้สอบบัญชี

นายอธิพงศ์ อธิพงศ์สกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3500 และ/หรือ นายประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4917 และ/หรือ นายบรรจง พิชญประสาธน์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 7147 และ/หรือ นายวิชัย รุจิตานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4054 บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำ�กัด 100/72 ชั้น 22, 100/2 อาคารว่องวานิช B, ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ : 0-2645-0109 โทรสาร : 0-2645-0110

รายงานประจำ�ปี 2553

ออกแบบวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผลิตแม่พิมพ์และอุปกรณ์การผลิต ผลิตชิ้นส่วน รับจ้างประกอบและดัดแปลงรถยนต์ต่าง ๆ


โครงสร้างของกุล่มบริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

ºÃÔÉÑ· ä·ÂÃØè§ÂÙà¹Õ蹤ÒÃì ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) (TRU)

ºÃÔÉÑ· ä·ÂÃØè§ ·ÙÅÊì á͹´ì ä´Êì ¨Ó¡Ñ´ 94%

ºÃÔÉÑ· ä·ÂÍÍâµé ¤Í¹àÇͪÑè¹ ¨Ó¡Ñ´ 30%

ºÃÔÉÑ· ä·ÂÍÍâµé à¾ÃʾÒÃì· ¨Ó¡Ñ´ 91%

ºÃÔÉÑ· à´ÅµéÒ-·ÕÍÒÃì ¨Ó¡Ñ´ 46%

ºÃÔÉÑ· ä·Â ÇÕ.¾Õ.ÍÍâµéà«ÍÃìÇÔÊ ¨Ó¡Ñ´ 94%

ºÃÔÉÑ· à´ÅµéÒ ä·ÂÃØè§ ¨Ó¡Ñ´ 30%

ºÃÔÉÑ· ä·ÂÍÑŵÔàÁ·¤ÒÃì ¨Ó¡Ñ´ 99.53%

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ข้อมูลบริษัทย่อย

• บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด

ทุนจดทะเบียน ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

27,000,000 บาท (ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็น หุ้นสามัญจำ�นวน 270,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ผลิตแม่พิมพ์และอุปกรณ์การผลิต 28/22 หมู่ที่ 1 ถนนเพชรเกษม ซอย 81 แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท์ 0-2431-0071-2, 0-2431-0065, 0-2420-0076 โทรสาร 0-2814-5030, 0-2420-3664

• บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด

ทุนจดทะเบียน ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

400,000,000 บาท (ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็นหุน้ สามัญจำ�นวน 4,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท ผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส เลขที่ 7/122 หมู่ที่ 4 ถนนทางหลวงหมายเลข 331 ตำ�บลมาบยางพร อำ�เภอปลวกแดง จังหวัดระยอง 20160 โทรศัพท์ : (038) 956-156, 956-239-42 โทรสาร : (038) 956-169

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

13


• บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด ทุนจดทะเบียน 25,000,000 บาท (ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็น หุ้นสามัญจำ�นวน 250,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ จำ�หน่ายอะไหล่ อุปกรณ์ตกแต่ง ศูนย์บริการหลังการขาย ติดตั้งแก๊ส LPG/NGV รถยนต์ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ 151 ถนนมาเจริญ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท : 0-2420-6708, 0-2420-4823, 0-2812-1445-6 โทรสาร : 0-2420-1601 เว็บไซต์ www.trservice.in.th •

บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ ทุนจดทะเบียน ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

จำ�กัด 25,000,000 บาท (ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 25,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท ดำ�เนินธุรกิจเกี่ยวกับรถยนต์ การให้คำ�ปรึกษา และให้บริการงานบริหารองค์กรทั่วไป 371 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2616-1040-59 โทรสาร : 0-2616-1063

ข้อมูลบริษัทร่วม

14

บริษัทเดลต้า-ทีอาร์ จำ�กัด ทุนจดทะเบียน 20,000,000 บาท (ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 200,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ ผลิตเบาะรถยนต์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับเบาะรถยนต์ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ 28/23 หมู่ที่ 1 ถนนเพชรเกษม ซอย 81 แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท์ : 0-2431-0071-2, 0-2431-0065, 0-2420-0076 โทรสาร : 0-2812-4302

บริษัทไทย ออโต้ คอนเวอชั่น จำ�กัด ทุนจดทะเบียน 74,500,000 บาท (ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 74,500 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท ประเภทธุรกิจ พัฒนาผลิตภัณฑ์ และติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งพิเศษสำ�หรับ Special Purpose Vehicle ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ 159 หมู่ที่ 16 ถนนเทพารักษ์ ตำ�บลบางเสาธง อำ�เภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 0-2313-1371-8 โทรสาร : 0-2313-1380

บริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง จำ�กัด ทุนจดทะเบียน 300,000,000 บาท (ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว) แบ่งเป็นหุน้ สามัญจำ�นวน 3,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 100 บาท ประเภทธุรกิจ ผลิตเบาะรถยนต์ ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ สำ�หรับรถยนต์ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส 7/150 หมู่ที่ 4 ตำ�บลมาบยางพร อำ�เภอปลวกแดง จังหวัดระยอง 20160 โทรศัพท์ : (038) 650-398-400 โทรสาร : (038) 650-400

รายงานประจำ�ปี 2553


ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษัทร่วม

กลุ่มบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้ประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมยานยนต์ ประกอบธุรกิจด้านการ ออกแบบ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การสร้างแม่พิมพ์และอุปกรณ์การผลิต การผลิตชิ้นส่วนโลหะและพลาสติก การรับจ้าง ประกอบ และดัดแปลงรถยนต์ต่าง ๆ เพื่อเป็นรถสเตชั่นวากอน หรือรถอเนกประสงค์ 7 ที่นั่ง และรถใช้งานเฉพาะด้าน (Special Purpose Vehicles) เช่น รถ TR Exclusive Limousine, รถตรวจการณ์ลาดตระเวนทางการทหาร (MUV4), รถ ฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็ว, รสบัส, รถตู้, รถพยาบาล, รถห้องเย็น, รถมินิบัส เป็นต้น โดยบริษทั ฯ มีบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม รวมทัง้ สิน้ 7 แห่ง ซึง่ มีการประกอบธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งสนับสนุนซึง่ กันและกัน หรือใกล้เคียงกัน เพื่อให้มีการทำ�ธุรกิจที่ครบวงจรมากขึ้น และเป็นการกระจายความเสี่ยงทางธุรกิจ โดยแต่ละบริษัทมีลักษณะ การประกอบธุรกิจดังนี้ • บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลัก 3 ธุรกิจ ได้แก่ - การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ มุง่ เน้นด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์รถยนต์ดดั แปลงประเภทต่าง ๆ และการรับจ้างออกแบบ วิจัย การดัดแปลงรถประเภทต่าง ๆ แก่ลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ - การผลิตชิ้นส่วนโลหะและพลาสติก รวมถึงการรับจ้างประกอบต่าง ๆ เพื่อจำ�หน่ายให้ลูกค้ากลุ่มรถยนต์, รถจักรยานยนต์, ชิ้นส่วนสำ�หรับเครื่องมือการก่อสร้าง, เครื่องมืออุตสาหกรรม และธุรกิจอื่นที่มิใช่ยานยนต์ เช่น ชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิกส์ เป็นต้น รวมทั้งผลิตเพื่อใช้ภายในบริษัทฯ เอง - การรับจ้างประกอบ และดัดแปลงรถยนต์ต่าง ๆ เพื่อเป็นรถสเตชั่นวากอน หรือรถอเนกประสงค์ 7 ที่นั่ง และรถใช้งาน เฉพาะด้าน (Special Purpose Vehicle) เช่น รถ TR Exclusive Limousine, รถตรวจการณ์ลาดตระเวนทางการทหาร (MUV4), รถฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็ว, รสบัส, รถตู้, รถพยาบาล, รถห้องเย็น, รถมินิบัส เป็นต้น • บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด (TRT) ประกอบธุรกิจด้านการสร้างแม่พิมพ์และอุปกรณ์การผลิต โดยได้รับการส่ง เสริมการลงทุนจาก BOI • บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด (TAP) เริ่มเปิดดำ�เนินการในเดือน มิถุนายน 2545 ตั้งโรงงานอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม อมตะซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส อำ�เภอปลวกแดง จังหวัดระยอง เพื่อรองรับการขยายกำ�ลังการผลิตชิ้นส่วน โดยได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนจาก BOI เพื่อจำ�หน่ายให้ลูกค้ากลุ่มรถยนต์ กลุ่มรถจักรยานยนต์ ในพื้นที่บริเวณอีสเทอร์น ซีบอร์ด และ บริเวณใกล้เคียง รวมถึงตลาดส่งออกด้วย และในปี 2548 ได้เริ่มขยายไปสู่การผลิตและจำ�หน่ายชิ้นส่วนพลาสติกเพิ่มขึ้น • บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด (TVS) ประกอบธุรกิจด้านจำ�หน่ายอะไหล่ และศูนย์บริการหลังการขาย สำ�หรับ รถอเนกประสงค์ของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งในปี 2548 ได้ขยายธุรกิจไปยังชิ้นส่วนพลาสติกตกแต่งรถ (Accessory Part) ในนาม “Parto” ในปี 2551 เพิ่มการให้บริการติดตั้งแก๊ส LPG / NGV รถยนต์ เพื่อเป็นการขยายธุรกิจ ใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น • บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด (TUC) เป็นบริษัทย่อยของ TVS ซึ่งเข้าลงทุนในปี 2544 ปัจจุบันดำ�เนินธุรกิจเกี่ยวกับ รถยนต์ การให้คำ�ปรึกษา และให้บริการงานบริหารองค์กรทั่วไป

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

15


• บริษัท เดลต้า-ทีอาร์ จำ�กัด (DTR) เป็นบริษัทร่วมทุนกับบริษัท Delta Kogyo ประเทศญี่ปุ่น เพื่อผลิตเบาะรถยนต์และ อุปกรณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับเบาะรถยนต์ • บริษัท ไทยออโต้ คอนเวอชั่น จำ�กัด (TAC) เป็นบริษัทร่วมทุนกับกลุ่มบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ดำ�เนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งพิเศษสำ�หรับ Special Purpose Vehicle • บริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง จำ�กัด (DTC) เป็นบริษัทร่วมทุนกับบริษัท Delta Kogyo ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจัดตั้งบริษัทขึ้นใหม่ในปี 2550 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตเบาะรถยนต์ ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่างๆ สำ�หรับรถยนต์ โดยตั้งโรงงานอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม อมตะซิตี้ อินดัสเทรียล เอสเทรส อำ�เภอปลวกแดง จังหวัดระยอง นโยบายการแบ่งการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ ในกลุม่ ให้บริษทั ย่อยแต่ละบริษทั ประกอบธุรกิจ โดยการดำ�เนินธุรกิจให้มกี �ำ ไร ด้วยความสามารถในการประกอบธุรกิจของบริษัทย่อยนั้นๆ และภายใต้กรอบนโยบายจากบริษัทแม่

โครงสร้างรายได้ของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ในปี 2551-2553

ผลิตภัณฑ์/บริการ ดำ�เนินการ % การถือหุ้น ปี 2551 โดย ของบริษัท รายได้ % การจำ�หน่ายรถยนต์ พร้อมค่าประกอบและ TRU,TVS, 94, 99.53* 414.24 18.64 ค่าอุปกรณ์ติดตั้ง TUC การจำ�หน่ายชิ้นส่วน รับจ้างประกอบ TRU,TAP 91 1,267.83 57.06 และบริการอื่นๆ การรับจ้างทำ�แม่พิมพ์และอุปกรณ์การผลิต TRT 94 293.94 13.23 การจำ�หน่ายอะไหล่ อุปกรณ์ และศูนย์บริการ TVS, TUC 94, 99.53* 123.21 5.54 รายได้อื่น ๆ 122.79 5.53 รวมรายได้ทั้งสิ้น 2,222.01 100.00 * TRU ถือหุ้นใน TVS 94% และ TVS ถือหุ้นใน TUC 99.53%

หน่วย ล้านบาท

ปี 2552 ปี 2553 รายได้ % รายได้ % 375.16 26.26 168.63 8.06 786.09 55.03 1,455.04 69.58 81.86 5.73 253.04 12.10 109.96 7.70 93.50 4.47 75.30 5.28 121.09 5.79 1,428.37 100.00 2,091.30 100.00

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันในอนาคต ในปี 2553 อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยขยายตัวขึ้น 65% จากปีก่อน โดยมีการผลิตรถยนต์รวมทั้งสิ้น 1,654,304 คัน เป็นการจำ�หน่ายรถยนต์ในประเทศทั้งสิ้น 800,357 คัน เพิ่มขึ้น 46% และเป็นการส่งออก 895,855 คัน เพิ่มขึ้น 67% จากปี ก่อน เนื่องจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากแผนการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ทำ�ให้ประชาชนมีอำ�นาจ ซื้อมากขึ้น สินค้าเกษตรหลายชนิดมีราคาสูงขึ้น และตลาดให้การตอบรับที่ดีต่อการแนะนำ�รถยนต์รุ่นใหม่ๆ โดยเฉพาะรถอีโคคาร์ เข้าสู่ตลาดของผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นปี 2553 ในขณะที่ตลาดส่งออกยังสามารถขยายตัวในทุกตลาดส่งออก (เอเชีย, โอเชียเนีย, ตะวันออกกลาง, แอฟริกา, ยุโรป, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้) นอกจากนี้ยังได้รับผลดีจากการยกเว้นอากรภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซียน อย่างไรก็ดี การปรับตัวเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมรถยนต์ส่วนหนึ่งอาจเกิดจากฐานที่ค่อนข้างต่ำ�ใน ปี 2552 สำ�หรับปี 2554 นั้น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้ประมาณการว่าอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยจะเติบโตขึ้นประมาณ 10% ไปสูย่ อดการผลิตรถยนต์ที่ 1.80 ล้านคัน แบ่งเป็นยอดขายในประเทศ 46% และส่งออก 54% สอดคล้องกับภาพรวมเศรษฐกิจ ทั้งในและต่างประเทศที่มีทิศทางดีขึ้น อีกทั้งราคาสินค้าเกษตรมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น จึงเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อยอดขายรถยนต์ใน ประเทศ โดยเฉพาะรถปิกอัพ แต่จากภาวะราคาน้ำ�มันที่เพิ่มขึ้น จึงทำ�ให้ทิศทางตลาดรถยนต์มุ่งไปสู่รถยนต์ขนาดเล็กที่ใช้พลังงาน ทางเลือก และประหยัดพลังงานมากขึ้นเช่นรถอีโคคาร์ ซึง่ จะมีบทบาทสำ�คัญในตลาดมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นผู้ผลิตรถยนต์ในประเทศ

16

รายงานประจำ�ปี 2553


จึงต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยีรถประหยัดพลังงานขึน้ มาอย่างต่อเนือ่ งเพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าวในอนาคต และจากการที่ ค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ย้ายฐานการผลิตมายังประเทศไทยมากขึ้น จึงเป็นโอกาสของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย รวมถึงบริษัทฯ ในการ เข้ารับงานต่าง ๆ จากแม่พิมพ์ ชิ้นส่วนทั้งโลหะและพลาสติก หรืองานรับจ้างประกอบ พ่นสี ฯลฯ เพิ่มขึ้นด้วย ในช่วงต้นปี 2554 นี้ มีเหตุการณ์ที่สำ�คัญและอาจส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ไทย 2 เรื่องคือ ข่าวการ ปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิตรถยนต์ใหม่ โดยคำ�นึงถึง 3 หลักการ ดังนี้ การเป็นรถยนต์ประหยัดพลังงาน รถยนต์ที่ปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์น้อย และรถยนต์ที่ความปลอดภัย หากผู้ผลิตรายใดมีคุณสมบัติดังกล่าวจะได้สิทธิประโยชน์ภาษีเพิ่มเติม ซึ่งทาง ภาคเอกชนก็มีทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ซึ่งขณะนี้ก็ยังไม่มีความชัดเจน จึงยังคงต้องติดตามเรื่องนี้อย่างใกล้ชิดต่อไป และอีกเหตุการณ์หนึง่ คือ ผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวและสึนามิในประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ เบือ้ งต้นพบปัญหาการนำ�เข้าชิน้ ส่วน บางรายการจากประเทศญี่ปุ่น ทำ�ให้ผู้ผลิตบางรายต้องลดเวลาการทำ�งานลง แต่หากผู้ผลิตในญี่ปุ่นไม่สามารถผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ได้เป็นเวลานาน หรือประสบปัญหาการขนส่งชิ้นส่วนเข้ามาในประเทศไทย ก็อาจกระทบต่อเป้าการผลิตรถยนต์ไทยในปี 2554 นี้ที่ ตั้งไว้ 1.8 ล้านคันได้ แต่ในอีกแง่หนึ่ง การผลิตชิ้นส่วนที่สำ�คัญในญี่ปุ่นก็มีโอกาสที่จะย้ายฐานการผลิตมาที่ไทยเพิ่มขึ้นได้ ซึ่งนับว่า เป็นโอกาสที่ดีต่อผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยที่มีศักยภาพ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

17


ปัจจัยความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยงทางธุรกิจ จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิในประเทศญี่ปุ่นเมื่อต้นเดือนมีนาคม 2554 นั้น ได้ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม ต่างๆ ในประเทศไทย โดยหน่วยงานราชการ และเอกชนที่เกี่ยวข้องต่างๆ ได้ประเมินผลกระทบ ต่อภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนสำ�หรับยานยนต์ไทย เบื้องต้นพบว่าบริษัทในกลุ่มยานยนต์และชิ้นส่วนต่างวางแผนสต็อกชิ้นส่วนไว้ล่วงหน้า เพียงพอ สำ�หรับการผลิตได้อีก 2 สัปดาห์ ถึง 1 เดือน ดังนั้นจึงอาจได้รับผลกระทบในช่วงสั้นๆ จากปัญหาการนำ�เข้าชิ้นส่วนบางรายการ จากประเทศญี่ปุ่น แต่หากผู้ผลิตในญี่ปุ่นไม่สามารถผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ได้เป็นเวลานาน หรือประสบปัญหาการขนส่งชิ้นส่วนเข้ามา ในประเทศไทย ก็อาจกระทบต่อเป้าการผลิตรถยนต์ไทยในปีนี้ที่ตั้งไว้ 1.8 ล้านคันได้ อย่างไรก็ตามหากมองอีกแง่หนึ่ง ก็เป็นโอกาสของประเทศไทย เนื่องจากในระยะยาวอาจจะทำ�ให้มีการย้ายฐานการผลิต ออกมาจากญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น ซึ่งบางส่วนน่าจะมาลงทุนที่ไทย หากไทยสามารถเร่งสร้างศักยภาพในด้านต่างๆ เพื่อดึงนักลงทุนญี่ปุ่นให้ นำ�ชิ้นส่วนที่สำ�คัญย้ายฐานมาผลิตในประเทศไทยได้ ปัจจัยความเสี่ยงของบริษัท แยกตามรายธุรกิจ มีดังนี้ - ธุรกิจรถอเนกประสงค์ - คู่แข่งขันในตลาดที่เป็นผู้ผลิตที่เป็นเจ้าของตราสินค้า (Brand Owner) ทั้งที่เป็นรายเดิมที่มีการผลิตรถอเนกประสงค์อยู่ แล้ว รวมถึงผูผ้ ลิตรายใหม่ทพี่ ร้อมจะเข้ามาแข่งขัน เนือ่ งจากผูบ้ ริโภคมีความนิยมใช้รถอเนกประสงค์มากขึน้ จึงทำ�ให้มลู ค่า ตลาดสำ�หรับรถอเนกประสงค์มีมูลค่าสูงขึ้น - จากการเปิดเสรีทางการค้าภายใต้กรอบ AFTA ซึ่งลดภาษีนำ�เข้าสินค้าเหลือร้อยละ 0 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ทำ�ให้ รถยนต์จากต่างประเทศมีโอกาสเข้ามาทำ�ตลาดในไทยได้มากขึ้น จึงทำ�ให้มีการแข่งขันในตลาดสูงขึ้น - จากภาวะราคาน้ำ�มันที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ทำ�ให้ทิศทางตลาดรถยนต์มุ่งไปสู่รถยนต์เล็กที่ใช้พลังงานทางเลือกและประหยัด พลังงานมากขึ้น ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อตลาดรถปิกอัพ และรถอเนกประสงค์ของบริษัทฯ - ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนรถยนต์และรับจ้างประกอบ - จากการเปิดเสรีทางการค้าภายใต้กรอบ AFTA ซึ่งลดภาษีนำ�เข้าสินค้าเหลือร้อยละ 0 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ทำ�ให้ ผู้ผลิตรถยนต์ มีทางเลือกมากขึ้น ในการนำ�เข้าชิ้นส่วนจากต่างประเทศทดแทนการจ้างผลิตชิ้นส่วนในประเทศ - ผู้ผลิตชิ้นส่วนไทย ต้องแข่งขันด้านราคา และคุณภาพเพิ่มขึ้น ทั้งจากผู้ผลิตภายในประเทศและต่างประเทศ - ธุรกิจการสร้างแม่พิมพ์ และ อุปกรณ์จับยึด - จากการเปิดเสรีทางการค้าภายใต้กรอบ AFTA ซึ่งลดภาษีนำ�เข้าสินค้าเหลือร้อยละ 0 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 ทำ�ให้ ผูผ้ ลิตรถยนต์ มีทางเลือกมากขึน้ ในการนำ�เข้าแม่พมิ พ์และอุปกรณ์การผลิตจากต่างประเทศทดแทนการว่าจ้างผลิตภายใน ประเทศ - ในปี 2554 ผู้ผลิตรถยนต์ต่างมีโครงการออกรถรุ่นใหม่ในเวลาใกล้เคียงกัน จึงทำ�ให้การหา Outsource maker งานแม่ พิมพ์ในปี 2553 ยาก เพราะผู้ผลิตแม่พิมพ์ต่างก็รับงานเต็มกำ�ลังการผลิตแล้ว ในขณะที่ปี 2554 ปริมาณงานแม่พิมพ์ใน ตลาดโดยรวมจะลดลง ตาม Model life และแผนการออกรถรุ่นใหม่ของค่ายรถยนต์ต่าง ๆ การบริหารและการจัดการความเสี่ยง เพื่อกระจายความเสี่ยง และ ลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ บริษัทฯ ได้กำ�หนดแนวทางการดำ�เนินงาน สำ�หรับแต่ละธุรกิจไว้ดังนี้

18

รายงานประจำ�ปี 2553


- ธุรกิจรถอเนกประสงค์ - บริษทั ฯ มุง่ เน้นงานด้านการวิจยั และพัฒนารถอเนกประสงค์ให้มรี ปู ลักษณ์ทที่ นั สมัย และ มีคณ ุ ภาพตรงตามความต้องการ ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย พร้อมกันนี้ได้ทำ�การศึกษาเพื่อพัฒนาธุรกิจรถใช้งานเฉพาะด้านประเภทต่างๆ เช่น รถ TR Exclusive Limousine, รถตรวจการณ์ลาดตระเวนทางการทหาร (MUV4), รถฉุกเฉินเคลื่อนที่เร็ว ฯลฯ เพื่อขยายตลาด และกลุ่มลูกค้าเป้าหมายให้กว้างขึ้น โดยการใช้ความได้เปรียบจากความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต - บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับพันธมิตรในการพัฒนารถอเนกประสงค์จากรถยนต์กระบะเชฟโรเลต รุ่นโคโลราโด เพื่อเป็นการเพิ่ม กลุม่ ลูกค้า และเพิม่ ช่องทางการจำ�หน่ายรถอเนกประสงค์ให้มากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ การหาพันธมิตรทีเ่ ป็นผูผ้ ลิตแชสซี (Chassis) และช่องทางการจำ�หน่ายจาก Brand อื่น ๆ ที่ยังไม่มีการผลิตรถอเนกประสงค์ หรือรถยนต์นั่งกึ่งบรรทุก (PPV: Pickup - Passenger Vehicle) - บริษัทฯ ได้พัฒนาช่องทางการนำ�เสนอสินค้า ในรูปแบบ “ไทยรุ่งเซ็นเตอร์” เพื่อเพิ่มโอกาสการรับรู้ให้กับกลุ่มลูกค้า (End User) ได้มากขึ้น โดยปัจจุบันเปิดบริการ 2 สาขา ได้แก่ สาขาเพชรเกษมและบางนา - บริษัทฯได้เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และมีมาตรการลดต้นทุนประหยัดค่าใช้จ่ายทุกหมวดทั้งด้านโรงงาน ด้านส่งเสริม การขายและด้านสนับสนุน ให้มีต้นทุนที่ต่ำ�เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ - ธุรกิจผลิตชิ้นส่วน - มุง่ เน้นการรักษาสัมพันธ์ทดี่ กี บั กลุม่ ลูกค้าหลักรายเดิม รวมถึงแสวงหากลุม่ ลูกค้ารายใหม่จากธุรกิจอืน่ ๆ เช่น รถจักรยานยนต์ ระดับพรีเมีย่ ม ซึง่ เป็น Niche market ทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ สูง หรือ ชิน้ ส่วนสำ�หรับ เครือ่ งมือการก่อสร้าง เครือ่ งมืออุตสาหกรรม หรือธุรกิจอืน่ ทีม่ ใิ ช่ยานยนต์ เช่น ชิน้ ส่วนอิเล็คทรอนิกส์ เป็นต้น รวมทัง้ ขยายฐานลูกค้าไปยังต่างประเทศ เช่น จีน อินเดีย และออสเตรเลีย เป็นต้น เพื่อกระจายความเสี่ยงด้านการหางาน รวมทั้งการจัดโปรแกรมกิจกรรมทางการตลาด เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าทุกรายตลอดทั้งปี และมีการกำ�หนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใหม่ในแต่ละปีไว้ด้วย - ให้บริการแบบ One stop service สำ�หรับงานชิ้นส่วนพลาสติก งานพ่นสี งานรับจ้างประกอบ และงานดัดแปลงต่าง ๆ ตั้งแต่การออกแบบวิจัย ไปจนถึงชิ้นงานสำ�เร็จรูป - บริษัทฯ มีแนวทางในการแสวงหาพันธมิตรจากต่างประเทศ เพื่อเพิ่ม Know how เทคโนโลยีการผลิต และเครื่องจักรที่ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อเตรียมรับมือกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ตลอดจนการร่วมลงทุนกับพันธมิตรในการขยายไปสู่ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีนโยบายในการรับงานที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น - จากอุตสาหกรรมยานยนต์ที่เติบโตขึ้นมาก จนทำ�ให้ผู้ผลิตรถยนต์หลายค่ายมีกำ�ลังการผลิตไม่เพียงพอ จึงเป็นโอกาสของ บริษัทฯ ในการเข้าไปรับงานพ่นสี และรับจ้างประกอบรถได้มากขึ้น - ธุรกิจแม่พิมพ์และอุปกรณ์จับยึด - บริษทั ฯ ได้ลงทุนปรับปรุงประสิทธิภาพในขบวนการผลิต เพือ่ ให้สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าทีห่ ลากหลาย พร้อม ทั้งเพิ่มโอกาสการหางานแม่พิมพ์ขนาดใหญ่ ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง คู่แข่งขันน้อยราย - บริษัทฯ มีโครงการพัฒนาเครื่องจักรและอุปกรณ์ให้มีการทำ�งานแบบอัตโนมัติมากขึ้นเพื่อลดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน มีฝีมือในขบวนการผลิต พร้อมกันนี้ได้จัดหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นพร้อมกันไปด้วย - เป็นผู้สร้างแม่พิมพ์และอุปกรณ์การผลิตในระดับ Tier 2 ให้กับ Tier 1 ของต่างประเทศ เช่น ยุโรป อเมริกา ซึ่งต้องการ outsource งานไปยังประเทศที่มีต้นทุนการผลิตต่ำ�กว่า - ให้บริการแบบ One stop service สำ�หรับงานการออกแบบวิจัยดัดแปลงต่าง ๆ ตลอดจนงานแม่พิมพ์และอุปกรณ์การ ผลิต - ยกระดับเป็นผูอ้ อกแบบและผลิตแม่พมิ พ์และจิก๊ ในระบบ Turn Key โดยร่วมกับพันธมิตรจากต่างประเทศ เพือ่ เข้าประมูล งานแบบ Turnkey ในต่างประเทศเพิ่มขึ้น - สร้างเครือข่ายพันธมิตรภายในประเทศ เพื่อรองรับปริมาณงาน Project ใหม่ ๆ ที่ได้เข้ามา เพื่อเพิ่มกำ�ลังการผลิตและ รับงาน Turn Key จากต่างประเทศ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

19


อย่างไรก็ตาม เพื่อกระจายความเสี่ยงของธุรกิจหลักทั้ง 3 ธุรกิจ บริษัทฯ ยังได้พยายามขยายธุรกิจไปยังธุรกิจอื่น ๆ เพิ่ม ขึ้น ซึ่งนอกจากจะลดความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจลงแล้ว ยังเพิ่มความหลากหลายในการดำ�เนินธุรกิจให้เพิ่มขึ้นอีกด้วยได้แก่ - ขยายธุรกิจไปยังการผลิตและจำ�หน่ายชิ้นส่วนพลาสติกทั้งแบบ Blow Mould และ Vacuum Mould ตลอดจน อุปกรณ์ตกแต่งรถยนต์ที่ทำ�จากพลาสติก (Accessory Part) ในนาม “Parto” ซึ่งเป็นตราสินค้าของบริษัทเอง ตลอด จนการขายแบบ OEM เพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างทันท่วงที - เป็นผู้นำ�ในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์กระบะพื้นเรียบ (Flat Deck) จำ�หน่ายให้แก่ผู้ผลิตรถกระบะหลายค่าย เพื่อจำ�หน่ายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ 2. ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงิน รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงินประจำ�ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ข้อ 26

20

รายงานประจำ�ปี 2553


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ ผู้ถือหุ้น

รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด (ณ วันที่ 15 มีนาคม 2554) มีดังนี้

ลำ�ดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ชื่อ – สกุล ดร. ปราณี เผอิญโชค นายสมพงษ์ เผอิญโชค* นางสาวแก้วใจ เผอิญโชค นายวุฒิชัย เผอิญโชค CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD.-S.A. PBG CLIENTS SG นายอานันท์ ตันติจรัสชีพ บริษัทหลักทรัพย์ ทิสโก้ จำ�กัด EFG BANK AG นายธีระพงษ์ นามโท นายรัฐวิทย์ ปรปักษ์ขาม รวม

จำ�นวนหุ้น % ของจำ�นวน หุ้นทั้งหมด 245,387,500 49.12% 53,446,400 10.66% 32,639,450 6.51% 31,201,500 6.22% 24,691,925 4.92% 12,708,000 2.53% 9,000,000 1.79% 7,813,875 1.56% 4,907,600 0.98% 4,000,000 0.80% 426,796,250 85.09%

หมายเหต - คุณสมพงษ์ เผอิญโชค ถือหุ้นจำ�นวน 51,196,400 หุ้น และ คุณแก้วเก้า เผอิญโชค (คู่สมรส) ถือหุ้นจำ�นวน 2,250,000 หุ้น - ไม่รวมหุ้นที่บริษัทซื้อคืน จำ�นวน 9,216,700 หุ้น

การจัดการ 1. โครงสร้างการจัดการ 1.1 โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท บริษัทฯ มีคณะกรรมการทั้งสิ้น 5 ชุดได้แก่ คณะกรรมการบริษัท, คณะกรรมการตรวจสอบ, คณะกรรมการบริหาร, คณะ กรรมการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมีขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการแต่ละ ชุดดังนี้ 1) ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริษทั ตลอดจนมติของทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทีช่ อบด้วยกฎหมาย ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ 2. จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นอย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อรายงานผลการดำ�เนินงานของบริษัทให้ผู้ถือหุ้นรับทราบ และอนุมัติเพื่อ ขอมติต่าง ๆ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นในเรื่องที่อยู่นอกเหนืออำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ 3. จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง 4. จัดให้มีการควบคุม กำ�กับดูแลให้การรายงานข้อมูลทางการเงินและข้อมูลอื่นๆ ต่อผู้ถือหุ้นเป็นไปโดยถูกต้องครบถ้วน และ โปร่งใส 5. จัดให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

21


6. พิจารณาตัดสินในเรื่องที่มีสาระสำ�คัญ เช่น นโยบายและแผนธุรกิจ อำ�นาจการบริหาร โครงการลงทุนขนาดใหญ่ รายการ ที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียน ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และรายการอื่นใดที่กฎหมายกำ�หนด 7. กำ�กับดูแลกิจการให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม 8. คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งหรือหลายคน หรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งแทน คณะกรรมการบริษัทได้โดยมีอำ�นาจหน้าที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 9. คณะกรรมการบริษัทมีอำ�นาจพิจารณากำ�หนด และแก้ไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ในการทำ�นิติกรรมต่าง ๆ แทนบริษัทฯ 10. พิจารณาการจ่ายปันผลระหว่างกาลให้กับผู้ถือหุ้น 11. กำ�หนดนโยบาย และทิศทางการดำ�เนินงานของบริษัท และกำ�กับดูแลให้ฝ่ายบริหารดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่ กำ�หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้นและการเติบโตอย่างยั่งยืน 12. ให้คำ�ปรึกษาแก่กรรมการผู้จัดการในการบริหารงาน และการตัดสินใจในเรื่องที่อาจมีผลกระทบต่อบริษัท 13. ดูแลไม่ให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ

ทั้งนี้ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ดังกล่าวต้องไม่รวมถึง 1. เรื่องที่กฎหมายกำ�หนดให้ต้องใช้มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น เช่น การลดทุน การเพิ่มทุน การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิ หรือ ข้อบังคับของบริษัท เป็นต้น 2. การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียน ตามข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่เข้าเกณฑ์ต้องขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น 3. การทำ�รายการที่กรรมการอาจมีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือ หุ้น

2) ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่ เหมาะสม และมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบใน การพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการ ตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทน ของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 22

รายงานประจำ�ปี 2553


(จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) (ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 3) ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. ควบคุม ดูแลการดำ�เนินธุรกิจทั่วไปของบริษัท และปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้บรรลุ วัตถุประสงค์ 2. กำ�กับ ติดตาม ดูแลนโยบาย และแผนงานต่าง ๆ ให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติงานที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้สำ�เร็จลุล่วง 3. พิจารณากลั่นกรองอนุมัติกิจการสำ�คัญเร่งด่วนภายในขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และวงเงินที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนดไว้ (ไม่เกิน 400 ล้านบาท) 4. กำ�หนดนโยบายทางการเงิน และควบคุม ดูแลการบริหารงานด้านการเงินให้มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งการทำ�ธุรกรรม ทั้งหมดกับสถาบันการเงิน 5. พิจารณาอนุมัติธุรกรรมภายใต้กรอบธุรกิจของบริษัท 6. ภารกิจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ทั้งนี้ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ดังกล่าวต้องไม่รวมถึง การอนุมัติให้ทำ�รายการที่คณะกรรมการบริหาร หรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้งมีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของ บริษัทจดทะเบียน ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4) ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กำ�หนดนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัท โดยให้ครอบคลุมความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจมีผลกระทบ ต่อการดำ�เนินงาน และชื่อเสียงของบริษัท 2. วางกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสีย่ งโดยรวมของบริษทั โดยให้สามารถประเมินติดตามและดูแลปริมาณ ความเสี่ยงของบริษัทให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมรวมทั้งการสร้างระบบการเตือนภัยล่วงหน้า 3. ทบทวนความเพียงพอของนโยบาย ระบบการบริหารความเสี่ยง ความมีประสิทธิผลของระบบและการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัทให้เป็นไปด้วยความรอบคอบ รัดกุม และมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. มีอ�ำ นาจในการแต่งตัง้ และกำ�หนดบทบาทหน้าทีข่ องคณะอนุกรรมการ/คณะทำ�งานในการบริหารความเสี่ยงแต่ละประเภท ของบริษทั ได้ตามความเหมาะสม โดยให้คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ ทีต่ งั้ ขึน้ รายงานตรงต่อคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 5. มีอำ�นาจเรียกเอกสาร ข้อมูล และบุคคลที่เกี่ยวข้องมาชี้แจงข้อเท็จจริงประกอบการพิจารณา เพื่อให้การดำ�เนินงานบรรลุ วัตถุประสงค์ 6. สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้ระบบการบริหารความเสี่ยง เชื่อมโยงกับการควบคุม ภายใน และสอดคล้อง กับนโยบายและกลยุทธ์ที่กำ�หนด 7. รายงานความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริษัท 5) ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 1. ดำ�เนินการสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท อย่างมีหลักเกณฑ์ โปร่งใส รวมทั้งจาก รายชื่อที่ผู้ถือหุ้นเสนอแนะ (ถ้ามี) เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

23


2. ดำ�เนินการสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ ในกรณี ที่มีตำ�แหน่งว่าง เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ รวมทั้งแผนการสืบทอดตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูง 3. กำ�หนดนโยบาย วิธีการ และหลักเกณฑ์การกำ�หนค่าตอบแทนให้กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ ผู้จัดการ ที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผลเชื่อมโยงกับผลการดำ�เนินงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของแต่ละท่าน 4. พิจารณา ทบทวน และเสนอความเห็นในการกำ�หนดค่าตอบแทนให้กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ ผู้จัดการ 5. นำ�เสนอรายงาน และความคิดเห็นของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา 6. ภารกิจอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 1.2 รายชื่อคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีกรรมการรวม 9 ท่าน ดังนี้ ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง 1. ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการ 2. นายสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการ 3. นางสาวแก้วใจ เผอิญโชค กรรมการ 4. นายวุฒิชัย เผอิญโชค กรรมการ 5. นายแอนโทนี่ ฟาคลัว แมคโดนัลด์ กรรมการ 6. นายปรีชา อรรถวิภัชน์ กรรมการอิสระ 7. นายกวี วสุวัต กรรมการอิสระ 8. นายสุเวทย์ ธีรวชิรกุล กรรมการอิสระ 9. นายสมเกียรติ นิ่มระวี กรรมการอิสระ โดยมีนายศักดิ์ชัย คมกฤส เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท และเลขานุการบริษัท องค์ประชุมในการประชุมคณะกรรมการบริษัท มีดังนี้ - องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด - ตัดสินด้วยคะแนนเสียงข้างมากของกรรมการที่มาประชุม กรรมการคนหนึ่งมีหนึ่งเสียง - ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง กรรมการจะต้องออกจากตำ�แหน่ง อย่างน้อยจำ�นวนหนึ่งในสาม (1/3) โดยอัตรา ถ้าจำ�นวนกรรมการจะแบ่งออกให้เป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้เคียงที่สุดกับส่วนหนึ่งใน สาม (1/3) โดยให้กรรมการที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง 2) คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีคณะกรรมการตรวจสอบรวม 3 ท่านทุกท่านเป็นกรรมการที่เป็นอิสระ โดยมี รายชื่อ ดังนี้ ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง 1. นายปรีชา อรรถวิภัชน์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายกวี วสุวัต กรรมการตรวจสอบ 3. นายสุเวทย์ ธีรวชิรกุล* กรรมการตรวจสอบ โดยมีนายภัควัฒน์ สุวรรณมาโจ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ * นายสุเวทย์ ธีรวชิรกุล เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริษัท 24

รายงานประจำ�ปี 2553


โดยคณะกรรมการตรวจสอบ - มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 2 ปี - องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการตรวจสอบ - มติที่ประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการที่เข้าร่วมประชุม

3) คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารรวม 5 ท่าน ดังนี้ ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง 1. ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการบริหาร 2. นายสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผู้จัดการใหญ่ 3. นางสาวแก้วใจ เผอิญโชค กรรมการบริหาร 4. นายวุฒิชัย เผอิญโชค กรรมการบริหาร 5. นายสมเกียรติ นิ่มระวี กรรมการบริหาร โดยมีนายศักดิ์ชัย คมกฤส เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

โดยคณะกรรมการบริหาร - มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี และหากกรรมการบริษัทท่านใดที่ครบกำ�หนดวาระ และได้รับการอนุมัติ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้กลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทอีกวาระหนึ่ง ก็ให้ถือว่าได้รับการอนุมัติให้ดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการบริหารต่อไปโดยปริยาย - องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการบริหาร - มติที่ประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการที่เข้าร่วมประชุม

4) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 บริษัทฯ มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงรวม 7 ท่าน ดังนี้ ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง 1. นายสมพงษ์ เผอิญโชค ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2. นายสมเกียรติ นิ่มระวี กรรมการบริหารความเสี่ยง 3. นายสุเวทย์ ธีรวชิรกุล กรรมการบริหารความเสี่ยง 4. นายศักดิ์ชัย คมกฤส* กรรมการบริหารความเสี่ยง 5. นางแก้วเก้า เผอิญโชค กรรมการบริหารความเสี่ยง 6. นายลิขิต เลาบวรเศรษฐี กรรมการบริหารความเสี่ยง 7. นายภัควัฒน์ สุวรรณมาโจ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง - มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 2 ปี - องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการบริหารความเสี่ยง - มติที่ประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการที่เข้าร่วมประชุม

หมายเหตุ * คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้ง คุณศักดิ์ชัย คมกฤส เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง แทนคุณวุฒิชัย เผอิญโชค มีผลตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 เป็นต้นไป

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

25


5) คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนรวม 3 ท่าน ทุกท่านเป็นกรรมการ อิสระ โดยมีรายชื่อ ดังนี้ ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง 1. นายปรีชา อรรถวิภัชน์ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2. นายกวี วสุวัต กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3. นายสมเกียรติ นิ่มระวี กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมีนายศักดิ์ชัย คมกฤส เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน - มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 2 ปี - องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน - มติที่ประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการที่เข้าร่วมประชุม

กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัทฯ กรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงลายมือชือ่ ผูกพันบริษทั ฯ จะต้องได้รบั การแต่งตัง้ โดยทีป่ ระชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ และระบุในหนังสือ รับรองของบริษัทฯ ดังนี้ 1. ดร. ปราณี เผอิญโชค หรือ 2. นายสมพงษ์ เผอิญโชค หรือ 3. นางสาวแก้วใจ เผอิญโชค คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อ และประทับตราสำ�คัญของบริษัทฯ 4. นายวุฒิชัย เผอิญโชค และ 5. นายแอนโทนี่ ฟาคลัว แมคโดนัลด์ สองคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสำ�คัญของบริษัทฯ 1.3 หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระ กระบวนการคัดเลือกกรรมการอิสระ สามารถดูได้จากหัวข้อเรื่อง “หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการและผู้บริหาร” ทั้งนี้ กรรมการอิสระจะต้องมีคณ ุ สมบัตติ ามนิยามกรรมการอิสระของบริษทั ซึง่ เป็นไปตามข้อกำ�หนดขัน้ ต่�ำ ของสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ดังนี้ นิยาม “กรรมการอิสระ” ของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง โดยนับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 258 แห่งพ.ร.บ. หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ 2. ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน/พนักงาน/ลูกจ้าง/ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ�/ผู้มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัท บริษัท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ปัจจุบัน และ 2 ปีก่อนได้รับการ แต่งตั้ง)

26

รายงานประจำ�ปี 2553


3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท 3.1 ไม่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท 3.2 ไม่เป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่นๆ เช่น ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ประเมินราคาทรัพย์สิน เป็นต้น ที่มี มูลค่ารายการ > 2 ล้านบาทต่อปี 3.3 ไม่มีรายการเกี่ยวโยงกันที่เป็นธุรกรรมปกติ รายการเช่า/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์/ บริการ และ รายการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ที่มีมูลค่ารายการ > 20 ล้านบาท หรือ > 3% ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ (NTA) แล้วแต่จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า โดยนับรวมรายการที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปีก่อนวันที่มีการทำ�รายการด้วย ทั้งนี้ต้องไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามข้อ 3.1-3.3 ในปัจจุบันและ 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง เว้นแต่กรณีมี เหตุจำ�เป็นและสมควร ซึง่ มิได้เกิดขึน้ อย่างสม่ำ�เสมอและต่อเนือ่ ง กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบอาจมีความสัมพันธ์ เกินระดับนัยสำ�คัญทีก่ �ำ หนดในระหว่างดำ�รงตำ�แหน่งก็ได้ แต่ตอ้ งได้รบั มติอนุมตั เิ ป็นเอกฉันท์จากคณะกรรมการบริษทั ก่อน และบริษัทต้องเปิดเผยความสัมพันธ์ดังกล่าวของกรรมการรายนั้น ไว้ในแบบ Filing แบบ 56-1 รายงานประจำ�ปี และ หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น ในกรณีจะเสนอผู้ถือหุ้นเพื่อต่อวาระแก่กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบรายนั้นอีก 4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรส ของบุตรกับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรือผู้มีอำ�นาจควบคุม บริษัทหรือบริษัทย่อย 5. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้น เพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 6. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเป็นอย่างเป็นอิสระได้ 7. กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามข้อ 1-6 ข้างต้น อาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้ตัดสินใจในการดำ�เนินกิจการ ของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจ ในรูปแบบองค์คณะ (Collective decision) ได้

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

27


1.4 จำ�นวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ และจำ�นวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุม จำ�นวนครั้งของการประชุมและจำ�นวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมในปี 2553 ของคณะกรรมการบริษัท การ ประชุมคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ และการประชุมผู้ถือหุ้น สรุปได้ดังนี้ การเข้าร่วมประชุม /การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ การ รายชื่อคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประชุม บริษัท บริหาร ตรวจสอบ สรรหาและ บริหาร ผู้ถือหุ้น กำ�หนด ความเสี่ยง ค่าตอบแทน 1. ดร. ปราณี เผอิญโชค 5/5 6/6 - - - 1/1 2. นายสมพงษ์ เผอิญโชค 5/5 6/6 - - 4/4 1/1 3. นางสาวแก้วใจ เผอิญโชค 5/5 5/6 - - - 0/1 4. นายวุฒิชัย เผอิญโชค 4/5 5/6 - - 0/4 1/1 5. นายแอนโทนี่ ฟาคลัว แมคโดนัลด์ 1/5 - - - - 0/1 6. นายสมเกียรติ นิ่มระวี 5/5 6/6 - 2/2 4/4 1/1 7. นายปรีชา อรรถวิภัชน์ 5/5 - 4/4 2/2 - 1/1 8. นายกวี วสุวัต 5/5 - 4/4 2/2 - 1/1 9. นายสุเวทย์ ธีรวชิรกุล 5/5 - 4/4 - 4/4 1/1 10. นางแก้วเก้า เผอิญโชค - - - - 4/4 11. นายศักดิ์ชัย คมกฤส (เลขานุการ) 5/5 6/6 - 2/2 - 1/1 12. นายลิขิต เลาบวรเศรษฐี - - - - 4/4 13. นายภัควัฒน์ สุวรรณมาโจ - - - - 4/4 1.5 รายชื่อผู้บริหาร ณ วันที่ 15 มีนาคม 2554 บริษัทฯ มีผู้บริหารตามนิยามของสำ�นักงานกลต. ดังนี้ ชื่อ-สกุล ตำ�แหน่ง 1. ดร. ปราณี เผอิญโชค ประธานกรรมการบริหาร 2. นายสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผู้จัดการใหญ่ 3. นายปราการ ชื่นโชคสันต์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 4. นายสมชาย กีรติดิลก รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 5. นายวุฒิชัย เผอิญโชค ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิจัยและพัฒนา 6. นางแก้วเก้า เผอิญโชค ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานธุรกิจ 7. นายศักดิ์ชัย คมกฤส ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหาร และเลขานุการบริษัท 8. นายลิขิต เลาบวรเศรษฐี รองผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายบัญชีและการเงิน

28

รายงานประจำ�ปี 2553


อำ�นาจหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ 1. ควบคุม ดูแลการดำ�เนินธุรกิจทั่วไปของบริษัท และปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท หรือคณะ กรรมการบริหาร ให้บรรลุวัตถุประสงค์ 2. กำ�กับ ติดตาม ดูแลนโยบาย และแผนงานต่างๆ ให้ฝา่ ยบริหารปฏิบตั งิ านทีค่ ณะกรรมการบริษทั หรือคณะกรรมการบริหาร มอบหมายให้สำ�เร็จลุล่วง 3. พิจารณากลั่นกรอง อนุมัติกิจการสำ�คัญเร่งด่วนภายในขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และวงเงินที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนดไว้ (ไม่เกิน 200 ล้านบาท) 4. ควบคุม และดูแลการบริหารงานด้านการเงินให้เป็นไปตามนโยบายทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งการทำ� ธุรกรรมกับสถาบันการเงิน ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท หรือคณะกรรมการบริหาร 5. พิจารณาอนุมัติธุรกรรมภายใต้กรอบธุรกิจของบริษัท 6. ภารกิจอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัท หรือคณะกรรมการบริหารมอบหมาย ทัง้ นี้ ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีด่ งั กล่าวต้องไม่รวมถึง การอนุมตั ใิ ห้ท�ำ รายการทีก่ รรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หรือบุคคลทีอ่ าจมีความ ขัดแย้งมีส่วนได้เสียหรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของ บริษัทจดทะเบียน ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1.6 ความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริการทางวิชาชีพระหว่างกรรมการอิสระกับบริษัทฯ ในระหว่างปี 2553 กรรมการอิสระไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจหรือการให้บริการทางวิชาชีพกับบริษัท บริษัทย่อย บริษัท ร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ที่มีมูลค่าเกินกว่าที่กำ�หนดไว้ในประกาศว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขาย หุ้นที่ออกใหม่ ของสำ�นักงานกลต. 2. หลักเกณฑ์การสรรหากรรมการ และผู้บริหาร บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน (Nomination and Remuneration Committee) เมื่อ วันที่ 13 สิงหาคม 2552 โดยมอบหมายอำ�นาจหน้าที่ของกรรมการสรรหาเพิ่มเติมให้แก่คณะอนุกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทนชุด เดิม (รายละเอียดขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ดูได้จากหัวข้อ โครงสร้างของคณะ กรรมการบริษัท) โดยในกระบวนการคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการ กรรมการอิสระและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ จะพิจารณา จากคุณสมบัติหลากหลายทั้งในด้านทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านที่เป็นประโยชน์สูงสุดกับบริษัท มีความซื่อสัตย์ เป็นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้ กรณีกรรมการอิสระ จะต้องมีคณ ุ สมบัตติ ามนิยามกรรมการอิสระของบริษทั ซึง่ เป็นไปตามข้อกำ�หนดขัน้ ต่�ำ ของ สำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (รายละเอียดนิยามกรรมการอิสระของบริษัท ดูได้จากหัวข้อหลักเกณฑ์การคัดเลือก กรรมการอิสระ) ทั้งนี้ไม่ควรดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนหลายแห่งในขณะเดียวกัน เพื่อให้สามารถอุทิศเวลาในการ เข้าประชุมคณะกรรมการได้อย่างสม่ำ�เสมอ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเสนอชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสมเพือ่ เข้ารับการพิจารณาแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ล่วงหน้า ตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทฯ กำ�หนดและประกาศให้ทราบผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อให้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เป็นผูพ้ จิ ารณาคุณสมบัตขิ องบุคคลทีจ่ ะได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการ กรรมการอิสระ ของบริษัทฯ ในเบื้องต้น และจะคัดเลือก เพื่อนำ�เสนอรายชื่อกรรมการที่เหมาะสม ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาก่อนนำ�เสนอที่ ประชุมผู้ถอื หุน้ เพื่อเป็นผู้พิจารณาอนุมัติแต่งตั้งโดยใช้เสียงข้างมากของผู้ถอื หุน้ ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการดังต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

29


3. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ เท่าจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจำ�นวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 3. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 3.1 ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (ก) กรรมการบริษัท ค่าตอบแทนรวมของคณะกรรมการทีไ่ ด้รบั จากบริษทั ในฐานะกรรมการในรูปค่าตอบแทนรายเดือน ค่าตอบแทนรายปี และ เบี้ยประชุมกรรมการ รวม 9 ท่าน ในปี 2553 รวมทั้งสิ้น 3,650,000 บาท โดยค่าตอบแทนแยกตามรายบุคคล เป็น ดังนี้ ชื่อกรรมการ ประจำ�ปี 2553 ประจำ�ปี 2552 (บาท) (บาท) 1. ดร. ปราณี เผอิญโชค 590,000 370,000 2. นายสมพงษ์ เผอิญโชค 430,000 280,000 3. นางสาวแก้วใจ เผอิญโชค 360,000 270,000 4. นายวุฒิชัย เผอิญโชค 350,000 270,000 5. นายแอนโทนี่ ฟาคลัว แมคโดนัลด์ 280,000 260,000 6. นายปรีชา อรรถวิภัชน์ 610,000 530,000 7. นายกวี วสุวัต 340,000 290,000 8. นายสุเวทย์ ธีรวชิรกุล 330,000 280,000 9. นายสมเกียรติ นิ่มระวี 360,000 290,000 รวม 3,650,000 2,840,000 (ข) ผู้บริหาร (ไม่รวมกรรมการบริษัท) เงินเดือน* ค่าตอบแทนประจำ�ปี* เงินกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ค่าตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท รวม

ปี 2553 จำ�นวน จำ�นวนเงินรวม ราย (บาท) 7 14,555,680 7 2,825,772 7 490,662 1 84,000 17,965,114

ปี 2552 จำ�นวน จำ�นวนเงินรวม ราย (บาท) 6 10,103,252 4 262,618 6 248,284 1 84,000 10,698,154

หมายเหตุ ค่าตอบแทนประจำ�เดือน และค่าตอบแทนประจำ�ปี ของประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ได้ผ่านการพิจารณาจากคณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และอนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัทแล้ว

3.2 ค่าตอบแทนอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่เงิน) (ก) กรรมการบริษัท - ไม่มี - 30

รายงานประจำ�ปี 2553


(ข) ผู้บริหาร รถประจำ�ตำ�แหน่ง

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท และบริษัทย่อย (ก) นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ ที่จ่ายให้ผู้ถือหุ้น บริษัทมีนโยบายในการจ่ายเงินปันผล ในอัตราประมาณร้อยละ 40 ของกำ�ไรสุทธิหลังหักภาษีในแต่ละปีของงบการเงินรวม โดยจ่ายในปีถัดไป อย่างไรก็ตาม การพิจารณาจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับกระแสเงินสด และภาระการลงทุนของบริษัทและ บริษัทในเครือ รวมถึงความจำ�เป็นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต (ข) นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย ที่จ่ายให้บริษัทฯ บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์, บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด, บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด และ บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย จะมีการพิจารณาจากความจำ�เป็นในการใช้เงินลงทุนและตามความเหมาะสมใน แต่ละปี

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี (ก) ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษัทและบริษัทย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ผู้สอบบัญชีของบริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำ�กัด ในรอบปีที่ผ่าน มา เปรียบเทียบกับปีก่อน ตามรายละเอียดดังนี้ หน่วย : บาท ชื่อบริษัท 2553 2552 บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) 570,000 550,000 บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด 230,000 220,000 บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด 200,000 190,000 บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด 250,000 220,000 บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด 350,000 320,000 รวม 1,600,000 1,500,000 (ข) ค่าบริการอื่น (Non-Audit Fee) บริษทั และบริษทั ย่อย ได้จา่ ยค่าบริการอืน่ ให้กบั บริษทั เอเอ็นเอส ออดิท จำ�กัด ในรอบปีทผี่ า่ นมา เปรียบเทียบกับปีกอ่ น ดังนี้ หน่วย : บาท รายการ ผู้จ่าย 2553 2552 ค่าตอบแทนงานบริการอื่น* บริษัทฯ 51,590 16,313 ค่าตอบแทนงานบริการอื่น* บริษัทย่อย 68,540 31,298 ค่าบริการตรวจสอบกรณีพิเศษตามประกาศของ BOI บจ. ไทยออโต้ 40,000 40,000 เพรสพาร์ท รวม 160,130 87,611 หมายเหตุ ค่าตอบแทนงานบริการอื่น เช่น ค่าใช้จ่ายเดินทาง ค่าที่พัก ค่าโทรศัพท์ ค่าถ่ายเอกสาร ค่าปกทำ�งบการเงิน แฟ้มเอกสารและอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งค่าใช้จ่ายดังกล่าวผู้สอบบัญชีจะเรียกเก็บตามที่จ่ายจริง

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

31


รายการระหว่างกัน (1) รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปีที่ผ่านมา

ºÃÔÉÑ·Õèà¡ÕèÂÇ¢éͧ

บจ.อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์

»ÃÐàÀ·¸ØáԨËÅÑ¡ ตัวแทนจำ�หน่ายรถ Isuzu จำ�หน่ายอะไหล่ และให้บริการหลังการขาย

ºÃÔÉѷ㹡ÅØèÁä·ÂÃØè§ (·Õè·ÓÃÒ¡ÒÃ) TRU, TUC TVS TVS TRU, TUC TRU TUC TRU, TUC TVS TRU, TUC TVS TUC, TVS TVS TUC TUC TVS TUC, TVS TUC

ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇèÒ§¡Ñ¹ã¹»Õ 2551 (ÅéÒ¹ºÒ·)

ขายรถยนต์และค่าอุปกรณ์ตกแต่งรถ ซื้ออะไหล่และจ่ายค่าบริการซ่อมรถ ขายอะไหล่ ค่านายหน้าจ่ายและค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย เงินให้กู้ยืม บจ.ชัยเจริญกิจมอเตอร์ ค่าเช่าที่ดินจ่าย ตัวแทนจำ�หน่ายรถ Isuzu บจ.อีซูซุ วีมอเตอร์ ขายรถยนต์และค่าอุปกรณ์ตกแต่งรถ จำ�หน่ายอะไหล่ ขายอะไหล่ และให้บริการหลังการขาย ค่านายหน้าจ่ายและค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ซื้ออะไหล่และจ่ายค่าบริการ จำ�หน่ายอะไหล่อุปกรณ์ตกแต่ง บจ.เฟิร์สพาร์ท ขายอะไหล่ และให้บริการซ่อมบำ�รุงรถยนต์ ซื้ออะไหล่และจ่ายค่าบริการซ่อมรถ ค่านายหน้าจ่ายและค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่โชว์รูม ตัวแทนจำ�หน่ายรถ Ford บจ.วี.พี.ออโต้ เอ็นเตอร์ไพรส์ ซื้ออะไหล่และจ่ายค่าบริการ จำ�หน่ายอะไหล่ ขายอะไหล่ และให้บริการหลังการขาย รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่โชว์รูม ตัวแทนจำ�หน่ายรถ Ford บจ.วี.พี.เค ออโต้ TUC ซื้ออะไหล่ จำ�หน่ายอะไหล่ TUC ขายอะไหล่ และให้บริการหลังการขาย บจ.ไทย.วี.พี. คอร์ปอเรชั่น ให้บริการเช่ารถยนต์ TRU,TAP,TUC,TVS,TRT เช่ารถยนต์ TVS, TUC ขายอะไหล่ TUC รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่โชว์รูม TRU ค่านายหน้าจ่ายและค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย บจ.โพธิภูมิ อสังหาริมทรัพย์ TUC ค่าเช่าที่ดินจ่าย บจ.วี.พี.แคปปิตอล แอสเซ็ทส์ อสังหาริมทรัพย์ TRU ค่าเช่าพื้นที่โชว์รูมจ่าย บจ.สินธรณีก่อสร้างและที่ดิน อสังหาริมทรัพย์ TUC, TVS ค่าเช่าที่ดิน และสิทธิการเช่าตัดจำ�หน่าย บจ.เลกซัสออโต้ซิตี้ ตัวแทนจำ�หน่ายรถ Lexus TUC รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่โชว์รูม บจ.ยุโรป ไทย คาร์เร้นท์ ให้บริการเช่ารถยนต์ TUC รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่โชว์รูม

หมายเหตุ บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด

32

รายงานประจำ�ปี 2553

ชื่อย่อ TRT ชื่อย่อ TAP

ÃÒ¡Ò䧤éÒ§ (ÅéÒ¹ºÒ·) 42.35 0.43 0.46 8.06 46.50 0.96 - 0.07 - 0.02 18.93 0.88 - 1.74 0.20 0.02 1.32

ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น เงินให้กู้ยืมระยะสั้น เจ้าหนี้อื่น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น - ลูกหนี้การค้า 0.08 ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้การค้า 2.52 ลูกหนี้การค้า 0.26 ลูกหนี้อื่น 1.77 เจ้าหนี้การค้า 0.10 เจ้าหนี้อื่น 1.45 เจ้าหนี้อื่น 0.36 เจ้าหนี้อื่น 0.26 ลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้อื่น 1.89 ลูกหนี้อื่น 0.50 ลูกหนี้อื่น

บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด ชื่อย่อ TVS บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด ชื่อย่อ TUC

0.16 0.52 0.10 0.28 46.50 0.24 0.01 - - - 13.11 1.67 0.16 0.01 - 0.13 0.03 0.01 0.02 - 0.01 0.17 0.58 0.02 0.55 0.10 0.04 - - 0.46 0.14


ลักษณะความสัมพันธ์ 1. TRT, TVS, TAP เป็นบริษัทย่อยของ TRU มีกลุ่มเผอิญโชคเป็นกรรมการร่วมกัน 2. TUC เป็นบริษัทย่อยของ TVS โดย TVS ถือหุ้น 99.53% และกลุ่มเผอิญโชคถือหุ้น 0.47% 3. รายชื่อบริษัทที่เกี่ยวข้องข้างต้น มีกลุ่มเผอิญโชคเป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นรายใหญ่ร่วมกัน ดังนี้

ºÃÔÉÑ··Õèà¡ÕèÂÇ¢éͧ

บจ.อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ บจ. ชัยเจริญกิจมอเตอร์ส บจ.อีซูซุ วีมอเตอร์ บจ.เฟิร์สพาร์ท บจ.วี.พี.ออโต้ เอ็นเตอร์ไพรส์ บจ.วี.พี.เค ออโต้ บจ.ไทย.วี.พี. คอร์ปอเรชั่น บจ.โพธิภูมิ บจ.วี.พี.แคปปิตอล แอสเซ็ทส์ บจ.สินธรณีก่อสร้างและที่ดิน บจ.เลกซัสออโต้ซิตี้ บจ.ยุโรปไทยคาร์เร้นท์

¡ÅØèÁà¼ÍÔ­ญ⪤

ÊÑ´Êèǹ¡Òö×ÍËØé¹ ICCK TVP

ºØ¤¤ÅÍ×è¹

¡ÒôÓçµÓá˹觡ÃÃÁ¡ÒÃ㹺ÃÔÉÑ··Õèà¡ÕèÂÇ¢éͧ ดร.»ÃÒ³Õ ¤Ø³ÊÁ¾§Éì ¤Ø³á¡éÇ㨠¤Ø³ÇزԪÑÂ

100.00% 100.00% 0.001% 100.00% 0.20% 0.00% 100.00%

99.999% -

99.80% 82.00% -

18.00% -

C C C C C C C

D D D D D D

D D D D,MD D,MD D,MD D,MD

D,MD D,MD D,MD D D

100.00% 100.00% 100.00% 90.00% 100.00%

-

-

10.00% -

C C C C C

D D D D D

D D D D

D,MD D,MD D,MD D,MD

หมายเหตุ 1. “กลุ่มเผอิญโชค” ประกอบด้วย ดร. ปราณี เผอิญโชค, คุณสมพงษ์ เผอิญโชค, คุณแก้วใจ เผอิญโชค และคุณวุฒิชัย เผอิญโชค 2. ICCK = บจ. อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์, TVP = บจ. ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น 3. C = ประธานกรรมการ D = กรรมการ MD = กรรมการผู้จัดการ หรือ CEO

(2) ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน 1. การรับจ้างประกอบรถ และค่าอุปกรณ์ตกแต่งรถ, การซื้อ-ขายอะไหล่ ให้-รับบริการซ่อมรถ ระหว่างกันนั้น เป็นรายการ ธุรกิจปกติของบริษัท ซึ่งใช้ราคาต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม 2. ค่าใช้จา่ ยส่งเสริมการขาย และค่านายหน้า ทีจ่ า่ ยให้บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ เป็นไปตามนโยบายส่งเสริมการขายทัว่ ไป เสมือน ที่ให้กับบุคคลภายนอก 3. การเช่าที่ดิน พื้นที่สำ�นักงาน/โชว์รูม ค่าสาธารณูปโภค ระหว่างกันนั้น เพื่อใช้เป็นที่ตั้งสำ�นักงาน/โชว์รูมของบริษัท โดย ใช้ราคาตามที่ทำ�สัญญาร่วมกัน ซึ่งใกล้เคียงกับราคาตลาด/ราคาประเมิน 4. รายการเช่ารถยนต์ จากบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ เพือ่ นำ�มาใช้ในกิจของบริษทั โดยใช้ราคาตลาด และเงือ่ นไขเสมือนทำ�รายการ กับบุคคลภายนอก 5. การให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำ�ไปใช้สนับสนุนการขายรถของกลุ่มบริษัท โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงิน ฝากประจำ� 1 ปี (อัตราเฉลี่ยของ 5 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่) บวก 1%

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

33


รายการระหว่างกันข้างต้น ได้มกี ารพิจารณาถึงความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล เพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ โดยรวมแล้ว โดยรายการส่วนใหญ่จะเป็นการดำ�เนินธุรกิจปกติ หรือการสนับสนุนธุรกิจปกติของบริษทั โดยมีเงือ่ นไขการ ค้าทั่วไป ไม่ก่อให้เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ อีกทั้งเป็นราคาและเงื่อนไขเสมือนการทำ�รายการกับบุคคลภายนอก ซึ่งคณะกรรมการ อิสระก็ไม่มีความเห็นแตกต่างจากมติคณะกรรมการบริษัทแต่อย่างใด (3) นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตนั้น บริษัทฯจะปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ บังคับ ประกาศ คำ�สั่ง หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการที่เกี่ยวโยง และการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สำ�คัญของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดแนวทางในการ พิจารณาเรื่องรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้มา/จำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัท ดังนี้ - กรณีทคี่ �ำ นวณขนาดรายการแล้ว ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ จะต้องได้รบั มติอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ให้ นำ�เรือ่ งดังกล่าวเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั พิจารณา ในกรณีทคี่ ณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเป็นอย่างอืน่ สามารถ นำ�เสนอต่อที่ประชุม และบันทึกไว้ในรายงานการประชุมได้ - กรณีที่คำ�นวณขนาดรายการแล้ว ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ จะต้องได้รับมติอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ให้นำ� เรื่องดังกล่าวเสนอคณะกรรมการตรวจสอบ ก่อนนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณา และนำ�เสนอผู้ถือหุ้นอนุมัติต่อไป

34

รายงานประจำ�ปี 2553


การกำ�กับดูแลกิจการ หลักการกำ�กับดูแลกิจการ เป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจ และบริหารองค์กร ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย ตาม หลักการนี้ คณะกรรมการบริษทั มีบทบาทสำ�คัญอย่างยิง่ ในการกำ�กับดูแลองค์กรให้ตระหนักถึงความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องทุก ฝ่าย ทั้งภายในและภายนอกองค์กร โดยเน้นการบริหารงานที่เป็นธรรม ความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ การเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียง พอ สามารถตรวจสอบได้ รวมถึงการพิทกั ษ์สทิ ธิ และดูแลผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศ ชาติ ซึ่งบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของหลักการดังกล่าวเป็นอย่างยิ่ง และได้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวอย่างเคร่งครัด เพื่อ สร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเป็นพื้นฐานของการเติบโตทางธุรกิจที่ยั่งยืน ทั้งนี้ บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการนำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีมาใช้ในการบริหารงานและดำ�เนินงานของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องเป็นผลให้ในปี 2553 บริษัทฯ ได้รับผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี ตามแบบ AGM Checklist ในระดับ “ดีเยี่ยม” จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ ลงทุนไทย และผลการประเมินด้านการกำ�กับดูแลกิจการ ในระดับ “ดีมาก” จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยบริษัทยังคงมีนโยบายที่จะยกระดับการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทให้ดียิ่งขึ้นต่อไป หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายที่จะรักษาสิทธิพื้นฐานที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับ และถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำ�คัญ ในการดูแลรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อจะทำ�ให้ผู้ถือหุ้นได้รับความเป็นธรรม และไว้วางใจ ในการดำ�เนินกิจการของบริษัทฯ และคณะกรรมการ 1. คณะกรรมการบริษัท ได้มีกำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษรและทำ�การเผยแพร่ไปยังกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท เพื่อให้ถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด (ตามประกาศบริษัท ฉบับที่ 37/2547) ดังนี้ (1) สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย • บริษัทจะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย (ลูกจ้าง คู่ค้า ชุมชน คู่แข่ง เจ้าหนี้) อย่างเท่าเทียมกัน และเป็นธรรม ต่อทุกฝ่าย • บริษัทจะอำ�นวยความสะดวกในกระบวนการจัดประชุมผู้ถือหุ้นและจัดสรรเวลาสำ�หรับการประชุมอย่างเหมาะสม ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสแสดงความเห็นและตั้งคำ�ถามโดยเท่าเทียมกัน (2) คณะกรรมการ-โครงสร้าง บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และความเป็นอิสระ • คณะกรรมการควรมีภาวะผูน้ � ำ วิสยั ทัศน์ และมีความเป็นอิสระในการตัดสินใจ เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และ ผู้ถือหุ้นโดยรวม • คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และผู้ถือหุ้นควรจะพิจารณาขจัดปัญหาความขัดแย้งของผลประโยชน์อย่างรอบคอบ ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต มีเหตุมีผล และเป็นอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี • คณะกรรมการของบริษัทจะต้องประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งคณะ และไม่น้อยกว่า 3 คน • คณะกรรมการ และฝ่ายจัดการ ได้มรี ะบบการแบ่งแยกบทบาทหน้าทีร่ บั ผิดชอบไว้อย่างชัดเจน รวมทัง้ คณะกรรมการ ได้จัดให้มีคณะอนุกรรมการชุดต่างๆ เพื่อช่วยศึกษาและกลั่นกรองงานตามนโยบายและกรอบงานที่กำ�หนดไว้อย่าง ชัดเจน เช่น คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และคณะอนุกรรมการ กำ�หนดค่าตอบแทน เป็นต้น และอาจพิจารณาเพิ่มคณะกรรมการย่อยชุดอื่นๆ ตามที่เห็นสมควร • คณะกรรมการมีหน้าที่ต้องเข้าประชุมคณะกรรมการทุกครั้ง ซึ่งบริษัทได้ก�ำ หนดไว้ล่วงหน้าเป็นประจำ�อย่างน้อยทุก 3 เดือนต่อครั้ง และอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจำ�เป็น โดยบริษัทจะเปิดเผยจำ�นวนครั้งที่กรรมการแต่ละ ท่านเข้าร่วมประชุมไว้ในรายงานประจำ�ปี บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

35


(3) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส • คณะกรรมการบริษัทจะดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และเปิดเผยข้อมูลแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอและทันเวลา บริษัทจึงได้กำ�หนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสารกับผู้ลงทุนที่เป็นสถาบัน ผู้ถือหุ้น รวมทั้งนักวิเคราะห์ทั่วไปและภาครัฐที่เกี่ยวข้อง • บริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อทำ�หน้าที่ในการสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม สำ�หรับการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท, ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ ในกรณีที่มีตำ�แหน่งว่าง ลง และการกำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการอย่างเป็นธรรมและสมเหตุสมผล ทัง้ นีก้ ารกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการ จะต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น และเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปี (4) การควบคุมและบริหารความเสี่ยง • บริษทั ตระหนักถึงความสำ�คัญของการสร้างระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน จึงได้จดั ตัง้ ฝ่ายงานตรวจสอบ ภายในขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรมทางการเงินสำ�คัญของบริษัทได้ดำ�เนินการตามแนวทางที่ กำ�หนดและมีประสิทธิภาพ โดยให้รายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ (5) จริยธรรมธุรกิจ บริษัทได้จัดทำ�จริยธรรมทางธุรกิจขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร และเผยแพร่ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุก คนทราบและยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่แล้ว 2. คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชี โดยบริษัทฯ จะแจ้งวัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม พร้อมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และความเห็นของคณะกรรมการต่อ วาระนั้น ๆ ไว้ในหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น ตลอดจนแนบหนังสือมอบฉันทะและแจ้งเงื่อนไขและวิธีการลงทะเบียนและการ มอบฉันทะในการเข้าร่วมประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่น้อยกว่า 14 วัน พร้อมทั้งได้เผยแพร่ หนังสือเชิญประชุมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ก่อนที่จะจัดส่งเอกสาร เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าอย่างเพียงพอก่อนการเข้าร่วมประชุม 3. คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดหลักเกณฑ์และวิธกี าร เพือ่ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยสามารถเสนอชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสมเพือ่ เข้ารับการพิจารณาแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั และสามารถเสนอเรือ่ งเพือ่ บรรจุเป็นวาระการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้าใน ช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคมทุกปี โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทบี่ ริษทั ฯ กำ�หนดและเผยแพร่ผา่ นข้อมูลผ่านระบบ SET Community Portal (SCP) ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัท รวมทั้งให้ผู้ถือหุ้นสามารถสอบถามข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวาระการ ประชุม หรือส่งคำ�ถามล่วงหน้ามายังบริษัทก่อนวันประชุม โดยผ่านช่องทาง Email หรือ Fax เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น มีโอกาสแสดงความคิดเห็นต่อบริษัท 4. คณะกรรมการบริษัท ได้อำ�นวยความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกรายในการประชุมผู้ถือหุ้น โดยจัดเตรียมสถานที่ ทีส่ ะดวกและเหมาะสม มีการเปิดรับลงทะเบียนเข้าประชุมล่วงหน้าก่อนเวลาประชุม และกรณีผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถร่วมประชุม ด้วยตนเองได้ก็สามารถมอบฉันทะให้ผู้อื่น หรือมอบฉันทะให้กรรมการอิสระของบริษัทฯ เข้าประชุมและลงมติแทนได้ ก่อนเริ่มการประชุม จะมีการชี้แจงกติกาทั้งหมด รวมถึงวิธีนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้นที่ต้องลงมติในแต่ละวาระอย่าง ชัดเจน โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงในทุกวาระ โดยเฉพาะในวาระแต่งตั้งกรรมการ ก็จัดให้มีการลงคะแนนเสียง แต่งตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล และเก็บบัตรลงคะแนนเสียงทุกใบ เพื่อเป็นหลักฐานและสามารถตรวจสอบได้ ในระหว่างการประชุมจะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้แสดงความคิดเห็นและตั้งคำ�ถามใด ๆ ต่อที่ประชุม ซึ่งมีการตอบข้อซัก ถามในทุกประเด็น และมีการจดบันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวมทั้งมีการบันทึกวีดีโอระหว่างการประชุม ไว้ด้วย ซึ่งบริษัทฯ จะเปิดเผยรายงานการประชุมไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้นตรวจสอบได้ 5. คณะกรรมการบริษัท เล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการประชุมผู้ถือหุ้น ดังนั้นกรรมการบริษัททุกท่านจะพยายามเข้าร่วมประชุมผู้ ถือหุ้นด้วยทุกครั้ง โดยเฉพาะประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถซักถาม ประธานคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องได้ 36

รายงานประจำ�ปี 2553


หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายในการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม เพือ่ ปกป้องสิทธิขนั้ พืน้ ฐาน ของผู้ถือหุ้น 1. คณะกรรมการบริษทั สนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถใช้สทิ ธิออกเสียงโดยมอบฉันทะให้ผอู้ นื่ มาประชุมและออกเสียงแทน โดยบริษทั ฯ ได้เสนอชือ่ กรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เพือ่ เป็นทางเลือกในการมอบฉันทะให้เข้า ประชุมและใช้สิทธิออกเสียงแทนของผู้ถือหุ้น โดยบริษัทฯ จะระบุรายละเอียดของกรรมการอิสระ ประกอบด้วยชื่อ ตำ�แหน่ง อายุ ที่อยู่ การศึกษา ประสบการณ์การทำ�งาน และสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท และการมีส่วนได้เสียในวาระใดของกรรมการ แต่ละท่านไว้ในหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้บริษัทฯ สนับสนุนให้ผู้ถือหุ้นใช้หนังสือมอบฉันทะรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถ กำ�หนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ แต่หากผู้ถือหุ้นมีความประสงค์จะใช้หนังสือมอบฉันทะรูปแบบอื่น ตามประกาศที่กรม พัฒนาธุรกิจการค้ากำ�หนดไว้ก็ได้ 2. คณะกรรมการบริษัท จัดให้ใช้บัตรลงคะแนนเสียงในทุกวาระ และในวาระแต่งตั้งกรรมการ ก็จัดให้มีการลงคะแนนเสียงแต่ง ตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล และเก็บบัตรลงคะแนนเสียงทุกใบ เพื่อความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ในกรณีมีข้อโต้แย้ง ในภายหลัง ทั้งนี้บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลของผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการในหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่ง ประกอบด้วย ชื่อ รูปถ่าย อายุ การศึกษา การอบรมหลักสูตรกรรมการ ประสบการณ์การทำ�งาน และสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท เพื่อให้ผู้ ถือหุ้นสามารถศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจได้ 3. ในการประชุมคณะกรรมการ หรือการประชุมผู้ถือหุ้น หากคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้เสียในวาระใด จะต้องเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับส่วนได้เสียของตนและผูเ้ กีย่ วข้อง ให้ทปี่ ระชุมทราบ และจะไม่มสี ทิ ธิออกเสียงในวาระดังกล่าวนัน้ เพื่อให้ที่ประชุมสามารถพิจารณาธุรกรรมของบริษัทที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ และสามารถตัดสินใจเพื่อประโยชน์ ของบริษัทโดยรวม 4. ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหาร จะไม่เพิ่มวาระการประชุมผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้แจ้งเป็นการล่วงหน้าโดยไม่จำ�เป็น โดยเฉพาะวาระสำ�คัญที่ผู้ ถือหุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ 5. คณะกรรมการบริษัท ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็นอย่างยิ่ง จึงได้กำ�หนด แนวทางการป้องกันการนำ�ข้อมูลภายในไปใช้เพื่อผลประโยชน์ของตนเองขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร (รายละเอียดตามหัวข้อเรื่อง การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน) 6. คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารทีม่ หี น้าทีร่ ายงานการถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย ต้องจัดส่งสำ�เนา รายงานดังกล่าวให้แก่คณะกรรมการบริษัททุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย คณะกรรมการบริษัท ให้ความสำ�คัญต่อการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เช่น ผู้ถือหุ้น, ลูกค้า, คู่ค้า/เจ้าหนี้, คู่แข่ง, พนักงาน, สภาพแวดล้อม, ชุมชนและสังคม ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม 1. คณะกรรมการบริษัทได้มีการจัดทำ�จริยธรรมทางธุรกิจหรือจรรยาบรรณ (Code of ethics or statement of business conduct) ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร และเผยแพร่ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนทราบและยึดถือเป็นแนวทางใน การปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของบริษัทฯ ดังนี้ • ผู้ถือหุ้น : บริษัทตะหนักและให้ความสำ�คัญต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย โดยจะประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เป็นธรรมและปฏิบัติต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อผลประโยชน์โดยรวม • พนักงาน : บริษัทมีความเชื่อมั่นว่า “พนักงานทุกคน” เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าสูงสุดขององค์กร จึงมุ่งเน้นที่จะสรรหาและ รักษาบุคลากรที่เป็นคนดี มีความรู้ความสามารถ และมีคุณธรรม รวมทั้งยังมุ่งเน้นการ พัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อให้ พนักงานมีความก้าวหน้าและมีผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม เป็นธรรมและมี สวัสดิการต่างๆ ส่งเสริมบรรยากาศในการทำ�งาน ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อสร้างผลประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่องค์กร

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

37


• ลูกค้า : บริษัทมุ่งมั่นเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า โดยผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและมาตรฐาน รวมทั้งการรักษาความลับ ของลูกค้า • คู่ค้า: บริษัทมีวิธีทำ�ให้มั่นใจได้ว่าบริษัทมีวิธีการปฏิบัติที่ดีในการซื้อสินค้าจากคู่ค้าให้เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า รวมถึง การกู้ยืมเงิน การชำ�ระคืน การค้ำ�ประกันต่าง ๆ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ตกลงกับเจ้าหนี้ • คู่แข่ง : บริษัทจะปฏิบัติภายใต้กรอบการแข่งขันที่ดี รักษาบรรทัดฐานของข้อพึงปฏิบัติในการแข่งขันกับคู่แข่ง หลีกเลี่ยงวิธี การไม่สุจริตเพื่อการทำ�ลายคู่แข่ง • ชุมชนและสังคม : บริษัทตระหนักถึงสภาพแวดล้อม โดยจะกำ�จัด ลด และไม่ก่อให้เกิดมลพิษในกระบวนการผลิต อัน จะกระทบต่อสภาพแวดล้อมและชุมชน พร้อมทั้งยังส่งเสริมกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ การให้ความช่วยเหลือต่อสังคมอย่าง สม่ำ�เสมอ ตามกำ�ลังความสามารถขององค์อย่างเต็มที่ รวมถึงบริษัทยังพร้อมจะรับฟังข้อท้วงติง ข้อเสนอแนะจากชุมชน เพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อการมีส่วนร่วมในการทำ�ประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และศาสนา ตัวอย่างเช่น การร่วมบริจาคเงิน หรือสิ่งของสนับสนุนองค์กร มูลนิธิต่าง ๆ, การมอบทุนการศึกษาแก่บุตรของพนักงานบริษัท และเยาวชนในโรงเรียนละแวก ใกล้เคียงบริษัทเป็นประจำ�ทุกปี, สนับสนุนให้มีการจัดตั้งชมรมพุทธศาสนาในบริษัท การจัดกิจกรรมทางศาสนาที่สำ�คัญภายใน บริษัทอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี เป็นต้น 3. บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงานทุกคน จึงได้จัดทำ�ประกาศบริษัท ที่ 6/2551 เรื่อง นโยบาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน เพื่อให้พนักงานทุกคนร่วมมือ และถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 4. บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำ�คัญของพนักงานซึ่งเป็นทรัพยากรสำ�คัญของบริษัท จึงมีนโยบายในการดูแลพนักงานอย่างเสมอ ภาค และจัดให้มีสวัสดิการต่าง ๆ แก่พนักงานอย่างเหมาะสม เช่น สวัสดิการรถรับส่งพนักงาน สวัสดิการโรงอาหาร เครื่อง แบบพนักงาน ประกันอุบัติเหตุ การตรวจสุขภาพประจำ�ปี ห้องพยาบาล ห้องสมุด เป็นต้น 5. บริษทั ฯ ได้จดั ให้มชี อ่ งทางในการรับฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะจากผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ เพือ่ นำ�มาปรับปรุงพัฒนาสินค้า/ บริการ และองค์กร ให้มีความมั่นคง สามารถแข่งขัน และสร้างความสำ�เร็จในระยะยาวได้ ตัวอย่างเช่น บริษัทฯ จัดให้มี กิจกรรมข้อเสนอแนะจากพนักงาน โดยกำ�หนดเป้าหมายปีละ 6 เรื่องต่อคน, กล่องข้อเสนอแนะโดยตรงถึงกรรมการผู้จัดการ, การรับข้อเสนอแนะจากลูกค้า ผู้ถือหุ้น หรือบุคคลทั่วไปผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท เป็นต้น หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายให้บริษัทฯ ดำ�เนินงานด้วยความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และเปิดเผยข้อมูลทั้งข้อมูล ทางการเงินและข้อมูลทีม่ ใิ ช่ขอ้ มูลทางการเงินแก่ผทู้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่ายอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอและทันเวลา ผ่านช่องทางทีเ่ ข้า ถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกันและน่าเชื่อถือ 1. บริษัทฯ ได้จัดตั้ง “ส่วนงานหลักทรัพย์และนักลงทุนสัมพันธ์-สำ�นักกรรมการผู้จัดการ” ขึ้น เพื่อทำ�หน้าที่เปิดเผยข้อมูลที่มีความ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใสและทัว่ ถึง ทัง้ การรายงานทางการเงินและข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั ฯ และรับผิดชอบในการติดต่อสือ่ สาร กับบุคคลภายนอก เช่น ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนทั่วไป นักวิเคราะห์และภาครัฐที่เกี่ยวข้องอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม ทั้งนี้ผู้ลงทุนสามารถติดต่อขอทราบข้อมูลของบริษัทฯ เพิ่มเติมได้ที่ ส่วนงานหลักทรัพย์และนักลงทุนสัมพันธ์ - สำ�นักกรรมการผู้จัดการ โทรศัพท์ 0-2420-0076 ต่อ 321 หรือ 359 โทรสาร 0-2812-0844 E-mail address : naiyana@thairung.co.th หรือ omd_ir@thairung.co.th Website : http://www.thairung.co.th 2. บริษัทฯ ได้เผยแพร่ข้อมูลตามเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยผ่านระบบ SET Community Portal (SCP) ของตลาดหลักทรัพย์ฯ แบบ แสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปีของบริษทั รวมทัง้ เปิดเผยข้อมูลทีส่ �ำ คัญทัง้ ภาษาไทยและภาษา อังกฤษผ่านทาง Website ของบริษัทด้วย 38

รายงานประจำ�ปี 2553


3. คณะกรรมการบริษทั ได้เปิดเผยบทบาทและหน้าทีข่ องคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ไว้ในแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี รวมทั้งได้เปิดเผยจำ�นวนครั้งของการประชุมและจำ�นวนครั้งที่กรรมการ แต่ละท่านเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัท การประชุมคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ และการประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว (ราย ละเอียดตามหัวข้อเรื่องโครงสร้างคณะกรรมการบริษัท และจำ�นวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ) 4. บริษัทฯ ได้กำ�หนดให้คณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ต้องรายงานให้บริษัททราบถึงการมีส่วนได้เสียของตนหรือของ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัท มีข้อมูลประกอบการดำ�เนินการตามข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันซึ่งเป็นรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์และอาจนำ�ไปสู่การถ่ายเทผลประโยชน์ของบริษัทและบริษัทย่อยได้ เพื่อให้เป็นไปตามพ.ร.บ. หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 มาตรา 89/14 และประกาศของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทจ.2/2552 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2552 เป็นต้นไป หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ตระหนักดีถึงการมีบทบาทสำ�คัญในการกำ�กับดูแลกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท และความ รับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติหน้าที่ต่อผู้ถือหุ้นและเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ 1.1 คณะกรรมการบริษัท มีจำ�นวน 9 ท่าน ประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำ�นวนคณะ กรรมการทั้งคณะ โดยปัจจุบันบริษัทฯ มีกรรมการอิสระที่ไม่เป็นผู้บริหาร 4 ท่าน ซึ่งคุณสมบัติของกรรมการอิสระนั้น เป็นไปตามนิยามของกรรมการอิสระที่บริษัทฯ กำ�หนดไว้ (รายละเอียดตามหัวข้อ เรื่องหลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการ อิสระ) 1.2 ประธานกรรมการมิได้เป็นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ไว้อย่างชัดเจน (รายละเอียดตามหัวข้อเรื่องรายชื่อผู้บริหาร) เพื่อมิให้คนใดคนหนึ่งมีอำ�นาจโดยไม่ จำ�กัด ทำ�ให้เกิดการถ่วงดุล และสอบทานการบริหารงานได้ 1.3 คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2551 เพื่อทำ�หน้าที่จัดทำ�และจัดเก็บ ทะเบียน กรรมการ หนังสือนัดประชุม และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท หนังสือนัดประชุมและรายงานการประชุมผู้ ถือหุ้น และจัดเก็บรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ/ผู้บริหาร ตลอดจนหน้าที่อื่นๆ ตามที่พรบ. หลักทรัพย์ฯ กำ�หนด 1.4 คณะกรรมการบริษัท ยังมิได้กำ�หนดจำ�นวนบริษัทที่กรรมการแต่ละคนจะไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ตลอดจนการกำ�หนด นโยบายและวิธปี ฏิบตั ใิ นการไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการทีบ่ ริษทั อืน่ ของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั อย่างชัดเจน ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาดำ�เนินการในลำ�ดับถัดไป 2. คณะกรรมการชุดย่อย 2.1 คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยจำ�นวน 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อช่วยศึกษารายละเอียด และกลั่นกรองงานตามความจำ�เป็นของสถานการณ์ เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และทำ�ให้ บริษัทฯ มีคณะกรรมการพิจารณาในเรื่องต่าง ๆ อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (ราย ชื่อกรรมการ อำ�นาจหน้าที่และข้อมูลอื่น ๆ ของคณะกรรมการแต่ละชุดดูรายละเอียดหัวข้อเรื่องโครงสร้างคณะกรรมการ บริษัท และหัวข้อเรื่องรายชื่อคณะกรรมการบริษัท) 2.2 ประธานคณะกรรมการ มิได้เป็นประธานหรือสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อย และสมาชิกส่วนใหญ่ของคณะกรรมการชุด ย่อยเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เป็น กรรมการอิสระ เพื่อความโปร่งใสและเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

39


3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการบริษัท มีส่วนร่วมในการกำ�หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ทางธุรกิจ ตลอดจนมีความเป็นอิสระในการ ตัดสินใจและกำ�กับดูแลให้ฝ่ายบริหารดำ�เนินการ ให้เป็นไปตามแผนงานที่กำ�หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม นอกจากนี้คณะกรรมการได้จัดให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน การตรวจ สอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิผล รวมทัง้ มีการติดตามการดำ�เนินการในเรือ่ งดังกล่าวอย่างสม่�ำ เสมอในการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบ 3.2 คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ และจัดทำ�จรรยาบรรณธุรกิจขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร(ดูราย ละเอียดข้อเรือ่ งการกำ�กับดูแลกิจการ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถ้ อื หุน้ ) รวมทัง้ มีการทบทวนนโยบายและติดตามให้มกี ารปฏิบตั ิ ตามนโยบายดังกล่าวอย่างสม่ำ�เสมอ 3.3 คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดแนวทางในการพิจารณาเรือ่ งความขัดแย้งของผลประโยชน์อย่างรอบคอบ เพือ่ ผลประโยชน์ ของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ โดยรวมเป็นสำ�คัญ โดยผูท้ มี่ สี ว่ นได้เสียจะต้องเปิดเผยการมีสว่ นได้เสียนัน้ และไม่มสี ว่ นร่วมในการ ตัดสินใจเรื่องนั้น ๆ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดแนวทางในการพิจารณาเรื่องรายการที่เกี่ยวโยงกัน และการได้ มา/จำ�หน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ของบริษทั รายละเอียดตามทีป่ รากฏในหัวข้อเรือ่ ง นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่าง กันในอนาคต 3.4 คณะกรรมการบริษัท ได้ให้ความสำ�คัญต่อระบบควบคุมและการบริหารความเสี่ยง จึงได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงขึ้น เพื่อทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบาย และกรอบการบริหารความเสี่ยงโดยรวมของบริษัทฯ ที่อาจมีผลกระทบต่อผลการ ดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และได้จดั ตัง้ ฝ่ายตรวจสอบภายในขึน้ เพือ่ จัดให้มรี ะบบการควบคุมด้านการดำ�เนินงาน ด้านรายงาน ทางการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและนโยบาย เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานหลักและกิจกรรมทางการเงิน สำ�คัญของบริษัทฯ ได้ดำ�เนินการตามแนวทางที่กำ�หนดและมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความ เป็นอิสระ สามารถทำ�หน้าทีต่ รวจสอบและถ่วงดุลได้อย่างเต็มที่ คณะกรรมการจึงกำ�หนดให้ฝา่ ยตรวจสอบภายใน รายงาน ผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมหัวข้อเรื่องการควบคุมภายใน) 4.1 คณะกรรมการบริษัท มีกำ�หนดประชุมคณะกรรมการไว้เป็นการล่วงหน้าตลอดปี อย่างน้อยไตรมาส ละ 1 ครั้ง และมี การประชุมพิเศษเพิ่มเติมความจำ�เป็น ทั้งนี้บริษัทฯ ได้แจ้งกำ�หนดการดังกล่าวให้กรรมการทุกท่านทราบล่วงหน้า เพื่อ ให้สามารถจัดเวลาและเข้าร่วมประชุมได้ ซึ่งคณะกรรมการบริษัททุกท่านให้ความสำ�คัญในการประชุมเป็นอย่างยิ่งและ พยายามเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง บริษัทฯ จัดส่งหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 7 วัน มีการกำ�หนด วาระชัดเจน โดยกรรมการแต่ละคนมีความเป็นอิสระทีจ่ ะเสนอเรือ่ งเข้าสู่วาระการประชุมได้ หรือหากต้องการสารสนเทศ เพิ่มเติม ก็สามารถแจ้งต่อกรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือเลขานุการบริษัทได้ 4.2 ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ประธานกรรมการได้จดั สรรเวลาไว้อย่างเพียงพอทีก่ รรมการจะอภิปรายปัญหาสำ�คัญกัน อย่างรอบคอบโดยทั่วกัน และกรรมการผู้จัดการได้เชิญผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด้วยทุกครั้ง เพื่อให้ สารสนเทศ รายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะที่เกี่ยวข้องกับปัญหาโดยตรง ทั้งนี้ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท จะมีวาระ พิจารณาติดตามผลการดำ�เนินงานเป็นประจำ�ทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการบริษทั สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิด เผยและเป็นอิสระ มีการบันทึกรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรอง จากคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้กรรมการและผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ 5 การประเมินตนเองของคณะกรรมการ ในปี 2551 บริษทั ได้เริม่ ดำ�เนินการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการโดยรวม ตามแบบฟอร์มของศูนย์พฒ ั นาการ กำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้คณะกรรมการร่วมกันพิจารณาผลงาน และปัญหาเพื่อการปรับปรุงแก้ไขต่อไป และจัดให้มีการประเมินผลคณะกรรมการเป็นประจำ�ทุกปี

40

รายงานประจำ�ปี 2553


6 ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมีกรรมการอิสระเป็นประธานกรรมการ เพื่อทำ�หน้าที่ในการกำ�หนดนโยบาย วิธีการ และหลักเกณฑ์การกำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล โปร่งใส เชื่อมโยงกับผลการดำ�เนินงานของบริษัท และผลการปฏิบัติ งานของแต่ละท่าน อยู่ในระดับเดียวกับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะดูแลรักษากรรมการที่มีคุณสมบัติที่ต้องการ สำ�หรับ การกำ�หนดค่าตอบแทนแก่กรรมการบริษัทจะต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท และบริษัทได้เปิดเผยจำ�นวน ค่าตอบแทนของกรรมการแต่ละท่านไว้ในรายงานประจำ�ปี และแบบ 56-1 ตามที่สำ�นักงานกลต. กำ�หนดแล้ว (รายละเอียด ตามหัวข้อเรื่อง ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร) 7 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร 7.1 คณะกรรมการบริษทั ได้สนับสนุนและอำ�นวยความสะดวกให้มกี ารฝึกอบรมและให้ความรูแ้ ก่กรรมการและกรรมการตรวจ สอบ โดยการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) อย่างสม่ำ�เสมอ โดย ปัจจุบันมีกรรมการร้อยละ 78 ที่ได้เข้ารับ การอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) แล้ว โดยมีราย ละเอียดดังนี้ รายชื่อกรรมการ หลักสูตร 1. คุณสมพงษ์ เผอิญโชค Director Certification Program 26/2003 2. คุณแก้วใจ เผอิญโชค Director Certification Program 29/2003 3. คุณแอนโทนี่ ฟาคลัว แมคโดนัลด์ Director Certification Program 83/2007 4. คุณสมเกียรติ นิ่มระวี Director Accreditation Program 10/2004 5. คุณปรีชา อรรถวิภัชน์ Director Certification Program 39/2004 Finance for Non-Finance Directors 8/2004 6. คุณสุเวทย์ ธีรวชิรกุล Director Certification Program 9/2001 Audit Committee Program 15/2006 7. คุณกวี วสุวัต Director Forum Program 1/2000 Director Accreditation Program 23/2004 Director Certification Program 58/2005 Finance for Non-Finance Directors 18/2005 Audit Committee Program 10/2005 7.2 เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมาบริษัทฯ ยังไม่มีกรรมการเข้าใหม่ แต่หากต่อไปมีกรรมการใหม่ ทางบริษัทฯ จะจัดให้มีการแนะนำ� ลักษณะธุรกิจ และแนวทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทให้แก่กรรมการใหม่ 7.3 การจัดทำ�แผนการพัฒนาและสืบทอดงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารระดับสูงนั้น ขณะนี้ยังมิได้ดำ�เนินการ ซึ่งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณาดำ�เนินการในลำ�ดับถัดไป

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

41


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเป็นอย่างยิง่ จึงมีนโยบายอย่างเข้มงวดในการป้องกัน ไม่ให้คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงานนำ�ข้อมูลภายในไปใช้เพื่อผลประโยชน์ของตน ข้อมูลภายในที่สำ�คัญจะเปิดเผยต่อ บุคคลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น เช่น ผู้ตรวจสอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย เป็นต้น บริษัทฯ จะเปิดเผยข้อมูลให้กับผู้ถือหุ้นเฉพาะเรื่อง และ ในเวลาที่เหมาะสมเท่านั้น คณะกรรมการบริษัท ได้มีข้อกำ�หนดให้คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน (รวมคู่สมรส บิดา มารดา บุตร พี่น้อง) หลีกเลี่ยงการซื้อขายหลักทรัพย์ก่อนที่บริษัทฯ จะเผยแพร่งบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ล่วงหน้า อย่าง น้อย 5 วันทำ�การ อีกทั้งบริษัทฯ ได้แจ้งให้ทราบถึงภาระหน้าที่ในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริษัทของตน (รวมคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ ต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตร 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยบริษัทฯ มอบหมายให้ส่วนงานหลักทรัพย์และนักลงทุนสัมพันธ์ ดำ�เนินการแจ้งช่วงเวลาที่ควรหลีกเลี่ยงการซื้อขายหลัก ทรัพย์ ล่วงหน้าเป็นประจำ�ทุกไตรมาส ซึ่งบริษัทฯ ได้กำ�หนดเรื่องหลักการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายในไว้เป็นหัวข้อหนึ่งของจรรยา บรรณในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้พนักงานทุกคนพึงยึดถือปฏิบัติ คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงานการถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย ต้องจัด ส่งสำ�เนารายงานดังกล่าวให้แก่บริษัททุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัท ยังได้ กำ�หนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารจัดทำ� “แบบแจ้งรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหาร” เพือ่ รายงานให้บริษทั ทราบถึง การมีส่วนได้เสียของตนหรือของบุคคลที่มีความเกีย่ วข้อง ต่อการบริหารจัดการกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย ให้เป็นไปตามพ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 มาตรา 89/14 และตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทจ.2/2552 โดยจะต้องรายงานทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล และรายงานทุกวันที่ 1 กรกฎาคมของทุกปี เพื่อให้มั่นใจได้ว่า กรรมการและผู้บริหารจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต (fiduciary duties) ตัดสินใจโดยไม่มีส่วนได้เสียไม่ว่า ทางตรงหรือทางอ้อมในเรื่องที่ตัดสินใจ สามารถติดตามดูแลให้การทำ�หน้าที่ของกรรมการและผู้บริหาร เป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุด แก่บริษัท และผู้ถือหุ้นโดยรวม

การควบคุมภายใน จากการประชุมคณะกรรมบริษัทฯ ประจำ�ปี 2553 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบทั้ง 3 ท่าน ได้เข้าร่วมประชุมด้วยนั้น คณะ กรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นพ้องกันว่า บริษทั มีระบบ การควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม โดย สรุปได้ดังนี้ องค์กรและสภาพแวดล้อม (Organizational Control and Environmental Measure) บริษัทฯ มีเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจชัดเจนและมีการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งได้ปรับโครงสร้างองค์กรให้กระชับ เหมาะสมกับสภาพธุรกิจปัจจุบัน เพื่อสนับสนุนฝ่ายบริหารให้ดำ�เนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทยังกำ�หนดนโยบายและแผนการปฏิบัติงานโดยคำ�นึงถึงคุณภาพ ราคาผลิตภัณฑ์ และงานบริการที่เป็น ธรรมกับลูกค้า มีการกำ�หนดระเบียบวิธปี ฏิบตั งิ านไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร เพือ่ ให้มแี นวทางการทำ�งานอย่างเป็นระบบตามมาตรฐาน และมีการตรวจสอบ ติดตามการปฏิบัติงานจริงทั้งในธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ การบริหารทั่วไป การปฏิบัติงานด้านการผลิต และการตลาด เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบายที่กำ�หนดและไม่มีการปฏิบัติงานในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดผลเสีย กับบริษัท

42

รายงานประจำ�ปี 2553


การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการบริหารความเสี่ยงที่มีผลกระทบกับการดำ�เนินธุรกิจ โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คอยกำ�กับดูแลให้มีการประเมินปัจจัย และโอกาสที่จะทำ�ให้เกิดความเสี่ยง รวมทั้งวิเคราะห์ผลกระทบจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้น แล้ว แจ้งให้ผบู้ ริหารหรือผูป้ ฏิบตั งิ านทราบ และร่วมกันกำ�หนดมาตรการ แนวทางป้องกัน รวมทัง้ ติดตามการปฏิบตั ติ ามมาตรการทีก่ �ำ หนด เพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร (Management Control Activities) บริษัทฯ มีการกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ และวงเงินอนุมัติของฝ่ายบริหารแต่ละระดับไว้เป็นลายลักษณ์อักษร มีการ แบ่งแยกหน้าที่การอนุมัติ / การบันทึกรายการ / และการดูแลทรัพย์สิน อย่างชัดเจน การทำ�ธุรกรรมกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ / กรรมการ / ผูบ้ ริหาร หรือผูท้ เี่ กีย่ วข้อง มีการอนุมตั อิ ย่างถูกต้อง โดยผ่านการพิจารณา จากกรรมการอิสระผูไ้ ม่มสี ว่ นได้เสีย และมีการติดตามการปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขอย่างถูกต้อง ส่วนการลงทุนในบริษทั ย่อยหรือบริษทั ร่วม มีการติดตามดูแลการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง สำ�หรับการปฏิบัติงานของฝ่ายงานต่างๆ นั้น ผลการตรวจของฝ่ายตรวจสอบภายใน พบว่า มีการปฏิบัติงานโดยรวมเป็น ไปตามระเบียบ/ ระบบงานที่กำ�หนดไว้ และยังไม่ปรากฏการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ข้อบังคับของทางราชการ ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Informational and Communication Measure) การประชุมคณะกรรมการแต่ละวาระ บริษัทมีการจัดเตรียมข้อมูล เอกสารประกอบการประชุม ที่เป็นสาระสำ�คัญต่างๆ อย่างเพียงพอ เพือ่ ให้คณะกรรมการใช้ประกอบการตัดสินใจ โดยมีการบันทึกและสรุปความเห็นของทีป่ ระชุมไว้ในรายงานการประชุม อย่างครบถ้วน และตรวจสอบได้ทุกครั้ง ด้านการบันทึกบัญชีเป็นไปตามหลักการที่รับรองทั่วไป และเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี มีการรวบรวมไว้เป็นหมวด หมู่ และจัดเก็บไว้อย่างครบถ้วนตามระยะเวลาที่กฎหมายกำ�หนด รวมทั้ง มีการติดตาม ให้มีการปรับปรุงแก้ไข การปฏิบัติงานตาม คำ�แนะนำ�ในรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต อย่างครบถ้วน ระบบการติดตาม (Monitoring System) บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท วาระปกติ ไตรมาสละครั้ง และมีการประชุมผู้บริหารในวาระพิเศษอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อพิจารณา ติดตามผลการดำ�เนินงานของฝ่ายบริหาร ว่าเป็นไปตามเป้าหมาย หรือพิจารณากำ�หนดแนวทางแก้ไข หาก ผลการดำ�เนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำ�หนด การควบคุมภายใน ได้กำ�หนดแผนการตรวจสอบการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบของบริษัท อย่างสม่ำ�เสมอ และรายงาน ข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำ�คัญ ให้คณะกรรมการตรวจสอบ/ คณะกรรมการบริษัททราบในที่ประชุมวาระปกติ ซึ่งจัดประชุมพร้อม กับการประชุมคณะกรรมการบริษัท ไตรมาสละครั้ง เพื่อพิจารณาสั่งการแก้ไขและติดตาม ทั้งนี้ในกรณีทุจริต หรือเป็นการปฏิบัติที่ ฝ่าฝืนกฎหมาย จะมีการรายงานให้คณะกรรมการบริษัททราบทันที

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

43


รายงานการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ปี พ.ศ.2553 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการอิสระที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารของบริษัท จำ�นวน 3 ท่าน ได้ ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบและแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยพิจารณาสอบทานความ มีประสิทธิภาพ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท ซึ่งได้ให้คำ�แนะนำ�ต่างๆ แก่ฝ่ายบริหาร เพื่อให้การ ดำ�เนินงานของบริษัทมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุด และติดตามให้บริษัทมีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยงเพื่อ เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรและผู้ถือหุ้นตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอื่น สรุปสาระสำ�คัญ ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำ�ปี 2553 โดยสอบถามและรับฟังคำ�ชี้แจงจากผู้บริหารในเรื่องความ ถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน และความเพียงพอ ในการเปิดเผยข้อมูล ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า งบ การเงินดังกล่าว มีความถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. สอบทานระบบการควบคุมภายในของบริษัท ตามแนวทางที่กำ�หนดโดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานอย่างเพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 3. สอบทานการปฏิบัติตามข้อกำ�หนด กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่าบริษัทฯ มีการปฏิบัติเป็นไปตามกรอบข้อกำ�หนด กฎหมาย ดังกล่าว อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม 4. พิจารณาโครงสร้าง อัตรากำ�ลังฝ่ายตรวจสอบภายใน ซึ่งขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ให้ความเห็นชอบในภารกิจ ขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ ความรับผิดชอบ ความเป็นอิสระ และการรายงานผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ตลอดจนอนุมัติแผนการตรวจสอบประจำ�ปี 5. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีบริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำ�กัด 1 ครั้ง เฉพาะคณะกรรมการตรวจสอบโดยไม่มีเจ้าหน้าที่เข้า ร่วมเพื่อหารือประเด็นสำ�คัญๆเกี่ยวกับงบการเงิน ซึ่งผู้สอบบัญชีมีการรายงานทางบัญชีและการเงินอย่างละเอียดถี่ถ้วน 6. การคัดเลือกและค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2554 ได้พิจารณาว่าจ้าง บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำ�กัด เพื่อนำ�เสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาการปฏิบตั งิ าน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของ ค่าตอบแทนแล้ว เห็นควรเสนอแต่งตั้ง นายอธิพงศ์ อธิพงศ์สกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3500 หรือ นาย ประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4917 หรือ นายบรรจง พิชญประสาธน์ ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต เลขทะเบียน 7147 หรือ นายวิชัย รุจิตานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4054 หรือ นายเสถียร วงศ์สนันท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3495 แห่งบริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำ�กัด ด้วยค่าตอบแทนเป็นจำ�นวน เงิน 0.57 ล้านบาท/ ปี เท่าเดิมกับปีก่อน 7. ในรอบปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง โดยกรรมการตรวจสอบทุกท่านได้เข้าร่วมประชุมครบ ถ้วน 8. ในรอบปีทผี่ า่ นมา บริษทั ฯมีการปฏิบตั ใิ นรายการเกีย่ วโยง หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตามข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์ และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็น ว่า รายการดังกล่าวเป็นรายการที่สมเหตุสมผล รวมทั้งได้เปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง และครบถ้วน โดยสรุปในภาพรวมแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีค่ รบถ้วนตามทีไ่ ด้ระบุไว้ในกฎบัตขิ องคณะกรรมการตรวจ สอบ ทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ มีความเห็นว่า บริษทั ฯมีการรายงานข้อมูลทางการเงิน และการดำ�เนินงานอย่าง ถูกต้อง มีระบบควบคุมภายใน มีการปฏิบัติตามกฎหมายการเปิดเผยรายการเกี่ยวโยงกันอย่างถูกต้อง และระบบกำ�กับดูแลกิจการที่ ดีอย่างเพียงพอ โปร่งใส และเชื่อถือได้ 44

( นายปรีชา อรรถวิภัชน์ ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานประจำ�ปี 2553


รายงานของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการอิสระที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารของบริษัทจำ�นวน 3 ท่าน โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าทีส่ รรหาผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษทั อย่าง มีหลักเกณฑ์ โปร่งใส รวมทั้งจากรายชื่อที่ผู้ถือหุ้นเสนอแนะ (ถ้ามี) เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้นพิจารณา อนุมัติต่อไป รวมทั้งการสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสำ�หรับการดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ ในกรณีที่มีตำ�แหน่งว่างลงเพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ รวมทั้งแผนการสืบทอดตำ�แหน่งผู้บริหารระดับ สูง นอกจากนี้ยังมีหน้าที่กำ�หนดนโยบาย วิธีการ และหลักเกณฑ์การกำ�หนดค่าตอบแทน รวมถึงการพิจารณา ทบทวน การกำ�หนด ค่าตอบแทนของกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล เชื่อมโยงกับผลการ ดำ�เนินงานของบริษัทฯ และผลการปฏิบัติงานของแต่ละท่าน โดยนำ�เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างเป็นอิสระ เพื่อ ให้การกำ�หนดค่าตอบแทนมีความเหมาะสม และเป็นธรรมแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตลอดจนเป็นการดูแลผลประโยชน์แทนผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ

ในปี 2553 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้มีการประชุมเพื่อพิจารณาเรื่องต่างๆ ดังนี้ 1. พิจารณาค่าตอบแทนประจำ�ปี 2553 และค่าตอบแทนประจำ�เดือน ปี 2554 ให้แก่ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จัดการใหญ่ 2. พิจารณาค่าตอบแทน ประจำ�ปี 2553 ให้แก่คณะกรรมการบริษัท เป็นรายบุคคล โดยพิจารณาจากผลการดำ�เนิน งานของบริษัทฯ และหน้าที่ ความรับผิดชอบ และผลการปฏิบัติงานของกรรมการแต่ละท่าน ภายใต้วงเงินที่ผู้ถือ หุ้นอนุมัติ 3. พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการ ประจำ�ปี 2554 เพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัท และนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติ โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้พิจารณาให้เหมาะสมกับขอบเขตหน้าที่ความรับ ผิดชอบ และเทียบเคียงกับค่าตอบแทนของอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันแล้ว 4. พิจารณาความเหมาะสมในการแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกจากตำ�แหน่งตามวาระ เพือ่ นำ�เสนอคณะกรรมการ บริษัทและผู้ถือหุ้นพิจารณาต่อไป

โดยสรุปในภาพรวมแล้ว คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทแล้ว ผู้ถือหุ้นจึงมั่นใจได้ว่าการสรรหากรรมการ และการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์ ที่โปร่งใส และเหมาะสม ภายใต้แนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท

( นายปรีชา อรรถวิภัชน์ ) ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

45


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปใน ประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการ ที่ดีที่สุดในการจัดทำ� รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการได้จดั ให้มแี ละดำ�รงรักษาไว้ซงึ่ ระบบควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิผล เพือ่ ให้มนั่ ใจได้อย่างมีเหตุผลว่าการบันทึก ข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน อย่างเพียงพอ ทันเวลา และป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมี สาระสำ�คัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วย กรรมการทีเ่ ป็นอิสระ กำ�กับดูแลคุณภาพ ของงบการเงินและประเมินระบบควบคุมภายในให้มีประสิทธิผล ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ปรากฏในรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีนี้แล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยรวมอยู่ในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความเชื่อ ถือได้ของงบการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

46

( ดร. ปราณี เผอิญโชค ) ประธานกรรมการ

รายงานประจำ�ปี 2553

( นายสมพงษ์ เผอิญโชค ) กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่


คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน (งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553)

ในปี 2553 อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยขยายตัวขึ้น 65% จากปีก่อน โดยมีการผลิตรถยนต์รวมทั้งสิ้น 1,654,304 คัน เป็นการจำ�หน่ายรถยนต์ในประเทศทั้งสิ้น 800,357 คัน เพิ่มขึ้น 46% และเป็นการส่งออก 895,855 คัน เพิ่มขึ้น 67% จากปี ก่อน เนื่องจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากแผนการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ทำ�ให้ประชาชนมีอำ�นาจ ซื้อมากขึ้น สินค้าเกษตรหลายชนิดมีราคาสูงขึ้น และตลาดให้การตอบรับที่ดีต่อการแนะนำ�รถยนต์รุ่นใหม่ ๆ โดยเฉพาะรถอีโคคาร์ เข้าสู่ตลาดของผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นปี 2553 ในขณะที่ตลาดส่งออกยังสามารถขยายตัวในทุกตลาดส่งออก (เอเชีย, โอเชียเนีย, ตะวันออกกลาง, แอฟริกา, ยุโรป, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้) นอกจากนี้ยังได้รับผลดีจากการยกเว้นอากรภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซียน อย่างไรก็ดี การปรับตัวเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมรถยนต์ส่วนหนึ่งอาจเกิดจากฐานที่ค่อนข้างต่ำ�ใน ปี 2552 สำ�หรับกลุ่มบริษัทไทยรุ่งฯ นั้น ในปี 2553 มียอดรายได้รวม 2,091.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 46% จากปีก่อน ทั้งนี้สาเหตุ หลักมาจากอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย และทั่วโลกฟื้นตัวขึ้น ประกอบกับบริษัทฯ ได้ปรับกลยุทธ์มามุ่งเน้นรายได้จากการขายชิ้นส่วน รับจ้างพ่นสีและรับจ้างประกอบเพิ่มขึ้น เมื่ออุตสาหกรรมยานยนต์เติบโตขึ้น จึงทำ�ให้บริษัทฯ มีรายได้เพิ่มขึ้นตาม ซึ่งรายละเอียด ของผลการดำ�เนินงานและฐานะการเงินของบริษัทในปี 2553 มีดังนี้

ผลการดำ�เนินงาน รายได้รวม รายได้รวมของบริษัทและบริษัทย่อย ประจำ�ปี 2553 เท่ากับ 2,091.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2552 จำ�นวน 662.93 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 46% ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ »ÃÐàÀ·ÃÒÂä´é 2553 2552 à¾ÔèÁ (Å´) ÅéÒ¹ºÒ· % ÅéÒ¹ºÒ· % ÅéÒ¹ºÒ· % รายได้จากการจำ�หน่ายรถยนต์ พร้อมค่าประกอบและ ค่าอุปกรณ์ติดตั้ง รายได้จากการขายชิ้นส่วน รับจ้างประกอบ และบริการอื่น ๆ รายได้จากการรับจ้างทำ�แม่พิมพ์และอุปกรณ์การผลิต การจำ�หน่ายอะไหล่ อุปกรณ์ และศูนย์บริการ รวมรายได้จากการขายและบริการ รายได้อื่น รวมรายได้ทั้งสิ้น

168.63 1,455.04 253.04 93.50 1,970.21 121.09 2,091.30

8% 375.16

70% 12% 4% 94% 6% 100%

786.09 81.86 109.96 1,353.07 75.30 1,428.37

26% (206.53) -55%

55% 6% 8% 95% 5% 100%

668.95 85% 171.18 209% (16.46) -15% 617.14 46% 45.79 61% 662.93 46%

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

47


จากการที่บริษัทฯ มีรายได้จากการขายสินค้าและบริการโดยรวมเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากธุรกิจชิ้นส่วนและรับจ้าง ประกอบมีปริมาณการสัง่ ซือ้ ผลิตภัณฑ์ทเี่ พิม่ ขึน้ ของลูกค้า รวมถึงธุรกิจรับจ้างทำ�แม่พมิ พ์และอุปกรณ์จบั ยึดทีม่ กี ารรับรูร้ ายได้ตามความ สำ�เร็จของงาน ทัง้ จากลูกค้ารายเดิมและรายใหม่ทบี่ ริษทั ได้รบั ความไว้วางใจตัง้ แต่ปลายปี 2552 อันเนือ่ งมาจากบริษทั พยายามเพิม่ ศักยภาพการผลิตให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง สำ�หรับรายได้อื่นของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 45.79 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 60.80 จากรายได้ค่าเช่าและบริการ ให้กับบริษัทร่วม รวมถึงรายได้จากขายเศษซาก ตามปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้นและจากราคาขายเพิ่มขึ้นตามภาวะตลาดในประเทศ และต่างประเทศ ส่วนแบ่งกำ�ไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้นจำ�นวน 44.99 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 353.14 อันเนื่องมาจาก การรับรู้ผลการดำ�เนินงานของบริษัทร่วมทั้ง 3 แห่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ส่วนแบ่งกำ�ไรสูงขึ้นมากจากบริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง จำ�กัด จำ�นวน 39.30 ล้านบาท อันเนื่องมาจากบริษัทดังกล่าวจัดตั้งใหม่และเริ่มมีการผลิตปลายปี 2552 โดยปริมาณการผลิตและขาย เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ต้นทุนและค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายและบริการ ในปี 2553 บริษัทฯ มีต้นทุนขายและบริการรวม 1,637.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 433.54 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 36.02 อันเนือ่ งมาจากยอดขายทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะของงานชิน้ ส่วนและรับจ้างประกอบ งานรับจ้างทำ�แม่พมิ พ์และอุปกรณ์ จับยึดที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก เมื่อพิจารณาสัดส่วนต้นทุนขายต่อยอดขายปี 2553 จะคิดเป็นร้อยละ 83.09 ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 5.85 เนื่องจากการดำ�เนินนโยบายเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อลดต้นทุน และบริษัทมีสัดส่วนต้นทุนคงที่ลดลงจากปริมาณการผลิตที่สูง ขึ้นอย่างมากดังกล่าว ค่าใช้จ่ายจากการขายและบริหาร บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารปี 2553 เท่ากับ 288.27 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 63.24 ล้านบาท หรือคิด เป็นร้อยละ 17.99 อันเนื่องมาจากการปรับกลยุทธ์การควบคุมค่าใช้จ่ายต่างๆและการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน โดยการ ส่งเสริม พัฒนาและอบรมให้ความรู้แก่พนักงานบริษัทอย่างต่อเนื่อง กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ บริษัทฯ มีกำ�ไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ในปี 2553 จำ�นวน 219.30 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 11.13 จากรายได้จากการขายสินค้าและบริการ โดยกำ�ไรสูงขึ้นจากปีก่อน 331 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 296.32 อันเนื่องมาจาก ปริมาณการขายสินค้าและบริการ รายได้อื่น และส่วนแบ่งกำ�ไรจากบริษัทร่วมที่เพิ่มขึ้น รวมถึงนโยบายการเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำ�งานทั้งพนักงานโรงงานและสำ�นักงาน กอรปกับการควบคุมค่าใช้จ่ายอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดต้นทุนการผลิต

ฐานะการเงิน สินทรัพย์ บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับ 2,895.54 ล้านบาท และ 2,581.42 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึ่งเพิ่มขึ้น 314.12 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 12.17 อันเนื่องจากบริษัทมีกระแสเงินสดเพิ่ม ขึ้นจากการดำ�เนินงาน ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้นสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของยอดขาย สินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้นจากการใช้วัตถุดิบเพื่อใช้ ในการผลิตที่สูงขึ้นตามยอดขายและการเพิ่มขึ้นของรายได้ค้างรับจากงานบริการสร้างแม่พิมพ์และอุปกรณ์จับยึด ลูกหนี้การค้า

48

รายงานประจำ�ปี 2553


บริษัทฯ มียอดลูกหนี้การค้าสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับ 372.11 ล้านบาท และ 276.79 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึ่งเพิ่มขึ้น 95.32 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 34.44 การเพิ่มขึ้นของลูกหนี้สืบเนื่องจากราย ได้จากการขายและบริการที่เพิ่มขึ้น ซึ่งไม่มีลูกหนี้การค้าที่เกินกำ�หนดอายุที่สำ�คัญ โดยยอดลูกหนี้การค้าสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 สะท้อนระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ยประมาณ 59.28 วัน และ 70.24 วัน ตามลำ�ดับ รายได้ค้างรับ บริษัทฯ มียอดรายได้ค้างรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับ 217.20 ล้านบาท และ 14.15 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึ่งเพิ่มขึ้น 203.05 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1,434.98 จากการรับรู้รายได้ตามความสำ�เร็จ ของงานสร้างแม่พิมพ์และอุปกรณ์จับยึด ที่ยังไม่ถึงกำ�หนดเรียกเก็บเงินตามงวดสัญญา เงินลงทุน บริษัทฯ มีเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับ 217.01 ล้านบาท และ 161.59 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึ่งเพิ่มขึ้น 55.42 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 34.30 จากการรับรู้ส่วนแบ่งกำ�ไรสุทธิจากผลดำ�เนิน งานของบริษัทร่วม 3 แห่ง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ บริษัทฯ มีที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับ 1,309.53 ล้านบาท และ 1,324.01 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึ่งลดลง 14.48 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.09 หนี้สิน บริษัทฯมีหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับ 384.50 ล้านบาท และ 243.32 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ซึ่งเพิ่มขึ้น 141.18 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 58.02 เนื่องจากเจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้น จากปริมาณการซื้อ วัตถุดิบตามปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้นสอดคล้องกับรายได้จากการขายและบริการที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเจ้าหนี้เหล่านี้ยังไม่ครบ กำ�หนดชำ�ระหนี้ ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เท่ากับ 2,511.05 ล้านบาท และ 2,338.10 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 172.95 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.40 จากผลกำ�ไรสุทธิจากการ ดำ�เนินงานของบริษัท ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีโครงสร้างเงินทุนประกอบด้วยหนี้สินรวม 384.50 ล้านบาทและส่วนของ ผู้ถือหุ้น 2,511.05 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นประมาณ 0.15 เท่า เมื่อเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 0.10 เท่า ซึ่งผลต่างไม่เป็นสาระสำ�คัญ

งบกระแสเงินสด จากงบการเงินรวมสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดรับจาก การดำ�เนินงานสุทธิจำ�นวน 63.08 ล้านบาท กระแสเงินสดใช้ในกิจกรรมลงทุนจำ�นวน 73.38 ล้านบาท เป็นผลมาจากการลงทุนใน เครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงาน และมีกระแสเงินสดจ่ายจากกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 50.22 ล้านบาท เป็นผลมาจากการซื้อหุ้น ทุนคืนจำ�นวน 47.95 ล้านบาทและการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยแก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

49


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบกำ�ไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน). และบริษัทย่อย และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหาร ของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดง ความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ยกเว้นที่จะกล่าวในวรรคถัดไป ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำ�หนดให้ ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระ สำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบ การเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำ�ขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำ�เสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้า เชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า งบการเงินรวมของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 และสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีได้รวม เงินลงทุนในบริษัทร่วมสามแห่งซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสียจำ�นวน 217.01 ล้านบาท และ 161.59 ล้านบาท ตามลำ�ดับ และส่วน แบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมจำ�นวน 57.73 ล้านบาท และ 12.74 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 9) บริษัทฯได้บันทึกเงินลงทุนและส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนดังกล่าวโดยใช้งบการเงินของฝ่ายบริหารของบริษัทร่วม ดังกล่าวที่ยังไม่ได้ผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทร่วมเหล่านั้น ข้าพเจ้าเห็นว่ายกเว้นผลกระทบของรายการปรับปรุงทีอ่ าจมีขนึ้ ของเรือ่ งตามทีก่ ล่าวในวรรคก่อน งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดง ฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสดสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละ ปีของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) โดยถูก ต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

นายอธิพงศ์ อธิพงศ์สกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3500

บริษัท เอเอ็นเอส ออดิท จำ�กัด กรุงเทพฯ 23 กุมภาพันธ์ 2554

50

รายงานประจำ�ปี 2553


งบดุล บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2553 2552 2553 2552 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 426,988,087 487,505,893 234,758,753 292,353,211 ลูกหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ 5 350,516,496 235,986,015 183,195,767 102,402,442 ลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4, 5 21,588,994 40,802,734 68,268,729 48,977,184 ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 15,466,277 10,824,486 41,105,488 23,318,987 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 46,500,000 49,406,875 88,500,000 49,406,875 สินค้าคงเหลือ - สุทธิ 6 185,321,528 172,222,942 86,032,158 108,282,388 รายได้ค้างรับ 217,204,320 14,150,545 183,780 154,109 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 7 22,109,095 14,589,456 5,158,148 5,031,929 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,285,694,797 1,025,488,946 707,202,823 629,927,125 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย 8 - - 412,880,000 412,880,000 เงินลงทุนในบริษัทร่วม 9 217,006,948 161,587,138 121,550,000 121,550,000 เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ 10 - - - - ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 11 1,293,629,404 1,308,107,962 713,577,205 698,118,079 ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในการดำ�เนินงาน 15,906,400 15,906,400 - - สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น - สุทธิ 12 83,304,475 70,329,560 77,867,552 65,829,664 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 1,609,847,227 1,555,931,060 1,325,874,757 1,298,377,743 รวมสินทรัพย์ 2,895,542,024 2,581,420,006 2,033,077,580 1,928,304,868

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

51


งบดุล บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2553 2552 2553 2552 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 294,633,135 194,780,783 137,025,744 92,499,687 เจ้าหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 1,902,064 1,603,983 3,215,400 8,089,067 เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 1,214,044 5,759,959 8,684,765 8,022,950 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4 - - 46,000,000 87,000,000 ต้นทุนงานค้างจ่าย 41,060,049 334,798 - - หนี้สินหมุนเวียนอื่น 14 45,686,275 40,839,683 26,297,152 17,403,836 รวมหนี้สินหมุนเวียน 384,495,567 243,319,206 221,223,061 213,015,540 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 15 ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 524,996,497 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท 524,996,497 524,996,497 524,996,497 524,996,497 ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว หุ้นสามัญ 501,589,497 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท 501,589,497 501,589,497 501,589,497 501,589,497 หุ้นทุนซื้อคืน 16 (47,950,454) - (47,950,454) - ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 727,144,000 727,144,000 727,144,000 727,144,000 กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว สำ�รองตามกฎหมาย - บริษัทฯ 17 52,499,649 52,499,649 52,499,649 52,499,649 - บริษัทย่อย 16,793,902 16,793,902 - - สำ�รองหุ้นทุนซื้อคืน 16 47,950,454 - 47,950,454 - ยังไม่ได้จัดสรร 1,137,515,965 966,163,405 530,621,373 434,056,182 รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 2,435,543,013 2,264,190,453 1,811,854,519 1,715,289,328 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย 75,503,444 73,910,347 - - รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 2,511,046,457 2,338,100,800 1,811,854,519 1,715,289,328 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 2,895,542,024 2,581,420,006 2,033,077,580 1,928,304,868

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 52

รายงานประจำ�ปี 2553


งบกำ�ไรขาดทุน บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ 2553 2552 2553 2552 รายได้ 4 รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริการ รวมรายได้ ต้นทุน 4, 19, 24 ต้นทุนขาย ต้นทุนการให้บริการ รวมต้นทุน กำ�ไรขั้นต้น รายได้อื่น 4 รายได้เงินปันผล 8, 9 อื่นๆ 18 กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย 4 ค่าใช้จ่ายในการขาย 19, 24 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 19, 24 ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 9 กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล 20 กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ

1,558,031,920 1,162,677,500 922,506,205 412,176,287 190,395,274 140,504,456 1,970,208,207 1,353,072,774 1,063,010,661 1,357,536,746 1,093,304,225 755,084,598 279,483,520 110,179,811 107,124,020 1,637,020,266 1,203,484,036 862,208,618 333,187,941 149,588,738 200,802,043 - - 35,443,044 121,094,360 75,300,562 82,500,824 454,282,301 224,889,300 318,745,911 51,307,885 198,584,187 38,375,500 288,267,572 166,014,729 (21,487) 57,727,854 223,721,096 (709,985) 223,011,111

93,456,028 219,682,128 38,371,189 351,509,345 (126,620,045) (11,065) 12,744,781 (113,886,329) (564) (113,886,893)

636,352,090 86,542,583 722,894,673 580,460,381 83,310,987 663,771,368 59,123,305 20,494,408 63,257,917 142,875,630

48,592,115 65,622,960 107,369,888 125,898,700 17,819,112 14,011,294 173,781,115 205,532,954 144,964,796 (62,657,324) (449,151) (300,543) - - 144,515,645 (62,957,867) - - 144,515,645 (62,957,867)

การแบ่งปันกำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 219,303,014 (111,698,742) 144,515,645 (62,957,867) ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย 3,708,097 (2,188,151) 223,011,111 (113,886,893) กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท) 22 กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 0.44 (0.21) 0.29 (0.12)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

53


54

รายงานประจำ�ปี 2553

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

16 16

501,589,497 - 727,144,000 52,499,649 16,793,902 - 966,163,405 2,264,190,453 73,910,347 2,338,100,800 - - - - - - 219,303,014 219,303,014 3,708,097 223,011,111 - - - - - - - - (2,115,000) (2,115,000) - (47,950,454) - - - - - (47,950,454) - (47,950,454) - - - - - 47,950,454 (47,950,454) - - - 501,589,497 (47,950,454) 727,144,000 52,499,649 16,793,902 47,950,454 1,137,515,965 2,435,543,013 75,503,444 2,511,046,457

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กำ�ไรสุทธิ เงินปันผลจ่าย - บริษัทย่อย ซื้อหุ้นทุนคืน สำ�รองหุ้นทุนซื้อคืน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ กำ�ไรสะสม ส่วนของ จัดสรรแล้ว รวมส่วน ผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น สำ�รองหุ้น ของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยของ รวม ที่ออกและ ส่วนเกินมูลค่า สำ�รองตามกฏหมาย ทุนซื้อคืน บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย ชำ�ระแล้ว หุ้นทุนซื้อคืน หุ้นสามัญ บริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทฯ ยังไม่ได้จัดสรร 501,589,497 - 727,144,000 52,499,649 14,742,832 - 1,079,913,217 2,375,889,195 79,519,782 2,455,408,977 - - - - - - (111,698,742) (111,698,742) (2,188,151) (113,886,893) - - - - - - - - (1,651,283) (1,651,283) - - - - - - - - (1,770,001) (1,770,001) - - - - 2,051,070 - (2,051,070) - - - 501,589,497 - 727,144,000 52,499,649 16,793,902 - 966,163,405 2,264,190,453 73,910,347 2,338,100,800

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ขาดทุนสุทธิ เงินปันผลจ่าย - บริษัทย่อย จ่ายคืนทุนให้กับผู้ถือหุ้นส่วนน้อย จัดสรรเป็นสำ�รองตามกฏหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น


บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

55

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ กำ�ไรสะสม ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินมูลค่า จัดสรรแล้ว รวม ยังไม่ได้จัดสรร หมายเหตุ ที่ออกและชำ�ระแล้ว หุ้นทุนซื้อคืน หุ้นสามัญ สำ�รองตามกฎหมาย สำ�รองหุ้นทุนซื้อคืน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 501,589,497 - 727,144,000 52,499,649 - 497,014,049 1,778,247,195 ขาดทุนสุทธิ - - - - - (62,957,867) (62,957,867) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 501,589,497 - 727,144,000 52,499,649 - 434,056,182 1,715,289,328 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 501,589,497 - 727,144,000 52,499,649 - 434,056,182 1,715,289,328 กำ�ไรสุทธิ - - - - - 144,515,645 144,515,645 ซื้อหุ้นทุนคืน 16 - (47,950,454) - - - - (47,950,454) สำ�รองหุ้นทุนซื้อคืน 16 - - - - 47,950,454 (47,950,454) - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 501,589,497 (47,950,454) 727,144,000 52,499,649 47,950,454 530,621,373 1,811,854,519

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)


งบกระแสเงินสด บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิก่อนภาษี 223,721,096 (113,886,329) 144,515,645 (62,957,867) รายการปรับกระทบยอดกำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิก่อนภาษี เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน ค่าเผื่อขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้า (โอนกลับ) (11,699,269) 14,554,163 (10,060,691) 4,105,883 ขาดทุนจากการตัดจำ�หน่ายสินค้าคงเหลือ 14,026,362 - 12,896,364 ขาดทุนจากเงินลงทุน - - - 10,430 ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (57,727,854) (12,744,781) - - ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวร - 476,000 - 476,000 ค่าเผื่อการลดมูลค่าต้นทุนแม่พิมพ์รอตัดบัญชี 2,818,857 - - - ค่าเสื่อมราคา 96,087,376 113,503,099 46,016,459 60,136,707 ตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ถาวร 6,136,353 5,825,748 - - ค่าตัดจำ�หน่ายสิทธิการเช่า 523,303 1,887,354 - - กำ�ไรจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ถาวร (1,391,160) (2,357,751) (1,040,875) (1,147,578) รายได้เงินปันผล - - (35,443,044) (20,494,408) รายได้ดอกเบี้ย (6,220,465) (8,720,454) (5,033,792) (6,474,097) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 21,487 11,065 449,151 300,543 ภาษีเงินได้นิติบุคคล (709,985) - - - กำ�ไร (ขาดทุน) จากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน 265,586,101 (1,451,886) 152,299,217 (26,044,387) สินทรัพย์ดำ�เนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันและ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (95,316,742) (25,575,534) (100,084,869) (22,052,885) ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (4,686,347) 741,073 (17,831,056) 57,139,402 สินค้าคงเหลือ (15,425,679) 261,687,486 19,414,557 193,949,721 รายได้ค้างรับและสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น (204,986,435) 63,117,822 23,089 6,520,172 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น (13,293,626) 2,033,278 (7,413,642) 11,697,539 หนี้สินจากการดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันและ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 100,150,432 (33,691,997) 39,652,389 (15,030,962) เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (4,545,915) 2,459,636 717,705 6,550,599 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 43,987,571 (49,103,584) 7,309,043 1,553,539 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 71,469,360 220,216,294 94,086,433 214,282,738 จ่ายดอกเบี้ย (21,487) (11,065) (505,041) (11,063) เงินสดรับจากการขอคืนภาษีเงินได้ 2,928,494 12,196,101 - 9,302,637 จ่ายภาษีเงินได้ (11,296,105) (9,491,831) (4,624,246) (5,583,267) เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 63,080,262 222,909,499 88,957,146 217,991,045 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 56

รายงานประจำ�ปี 2553


งบกระแสเงินสด บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวลดลง - 63,000,000 - 60,000,000 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น (58,000,000) (50,000,000) (107,500,000) (58,000,000) รับชำ�ระเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 60,906,875 46,342,727 68,406,875 93,842,727 เงินสดรับจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ถาวร 3,645,837 3,506,194 3,114,572 2,364,571 ดอกเบี้ยรับ 6,171,513 9,688,097 5,048,676 7,007,724 เงินปันผลรับจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วม 2,308,044 667,000 35,443,044 20,494,408 ซื้อสินทรัพย์ถาวร (88,408,446) (447,224,156) (61,957,880) (438,324,103) เงินสดรับคืนทุนจากบริษัทย่อย - - - 2,719,570 เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (73,376,177) (374,020,138) (57,444,713) (309,895,103) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น - - 20,000,000 87,000,000 จ่ายชำ�ระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - - (61,000,000) จ่ายชำ�ระหนี้สินตามสัญญาเช่าซื้อ (156,437) - (156,437) ซื้อหุ้นทุนคืน (47,950,454) - (47,950,454) - ชำ�ระคืนค่าหุ้นแก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยของบริษัทย่อย - (1,770,001) - - เงินปันผลจ่ายที่บริษัทย่อยจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย (2,115,000) (1,651,283) - - เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน (50,221,891) (3,421,284) (89,106,891) 87,000,000 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงสุทธิ (60,517,806) (154,531,923) (57,594,458) (4,904,058) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี 487,505,893 642,037,816 292,353,211 297,257,269 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี 426,988,087 487,505,893 234,758,753 292,353,211

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

57


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

58

1.

ข้อมูลทั่วไป

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนและมีภูมิลำ�เนาในประเทศไทย บริษัท ดำ�เนินธุรกิจหลักในการรับจ้างประกอบและดัดแปลงรถยนต์ การผลิตและจำ�หน่ายชิ้นส่วนอุปกรณ์และแม่พิมพ์ โดยมีที่อยู่ ตามที่จดทะเบียนคือ เลขที่ 28/6 หมู่ 1 ถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร

2.

เกณฑ์การนำ�เสนองบการเงิน

งบการเงินนี้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) เพื่อให้เป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย รวม ทั้งกฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง

การแสดงรายการในงบการเงิน ได้ทำ�ขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที่ 30 มกราคม 2552 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543

งบการเงินของบริษัทได้จัดทำ�เป็นภาษาไทย ซึ่งการจัดทำ�งบการเงินดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดทำ�รายงานใน ประเทศ ดังนั้นเพื่อความสะดวกของผู้อ่านงบการเงินที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาไทย บริษัทได้จัดทำ�งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษขึ้น โดยแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทย

งบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิม เว้นแต่ได้เปิดเผยไว้แล้วในนโยบายการบัญชี

ในการจัดทำ�งบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ผู้บริหารต้องใช้การประมาณและข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมี ผลกระทบต่อการกำ�หนดนโยบายและการรายงานจำ�นวนเงินทีเ่ กีย่ วกับ สินทรัพย์ หนีส้ นิ รายได้ และค่าใช้จา่ ย การประมาณ และข้อสมมติฐานมาจากประสบการณ์ในอดีต และปัจจัยต่างๆทีผ่ บู้ ริหารมีความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผล ภายใต้สภาวการณ์ แวดล้อมนั้นซึง่ ไม่อาจอาศัยข้อมูลจากแหล่งอื่น และนำ�ไปสู่การตัดสินใจเกี่ยวกับการกำ�หนดจำ�นวนสินทรัพย์และหนี้สินนั้นๆ ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริงจากการตั้งข้อสมมติฐานต่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินอาจแตกต่างไปจากที่ประมาณไว้

ประมาณการและข้อสมมติฐานทีใ่ ช้ในการจัดทำ�งบการเงินจะได้รบั การทบทวนอย่างสม่ำ�เสมอ การปรับประมาณการทางบัญชี จะบันทึกในงวดบัญชีที่การประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวน หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และ จะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปัจจุบันและอนาคต

ในระหว่างปี 2553 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศการจัดเลขระบุมาตรฐานการบัญชีของไทยบางรายการ ดังนี้

เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีเดิม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34

รายงานประจำ�ปี 2553

เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีใหม่ เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 102 การรับรูร้ ายได้ส�ำ หรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 103 การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของ ธนาคารและสถาบันการเงินทีค่ ล้ายคลึงกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 104 การบัญชีสำ�หรับการปรับโครงสร้างหนี้ ที่มีปัญหา (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545)


เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีเดิม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 42 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 48

เลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีใหม่ เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 การบัญชีสำ�หรับเงินลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 106 การบัญชีสำ�หรับกิจการที่ดำ�เนินธุรกิจ เฉพาะด้านการลงทุน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107 การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล สำ�หรับเครื่องมือทางการเงิน

การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ ออกใหม่และปรับปรุงใหม่

ในระหว่างปี 2553 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชีให้ใช้แม่บทการบัญชี มาตรฐานการบัญชี มาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหม่และปรับปรุงใหม่ ดังต่อไปนี้

ก) แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) มีผลบังคับใช้ทนั ทีในปีปจั จุบนั ซึง่ ฝ่ายบริหารของบริษทั ได้ประเมินแล้วเห็นว่าแม่บท การบัญชีดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงินสำ�หรับปีปัจจุบัน

ข) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีม่ ผี ลบังคับ ใช้สำ�หรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 รวมจำ�นวน 28 ฉบับ

มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ เรื่อง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) การนำ�เสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) สินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) สัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) รายได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) ต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมือ่ ออกจากงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) กำ�ไรต่อหุ้น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) การด้อยค่าของสินทรัพย์

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

59


มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ เรื่อง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ ที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 การรวมธุรกิจ (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถ่ อื ไว้เพือ่ ขายและการดำ�เนินงานทีย่ กเลิก (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 การสำ�รวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 สัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์

ฝ่ายบริหารของบริษทั ได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับดังกล่าวไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงินสำ�หรับปีทเี่ ริม่ ใช้ ยกเว้นมาตรฐานการ บัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังต่อไปนี้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัทดังนี้

(1) ต้นทุนในการรื้อ การขนย้าย และการบูรณะสภาพของสินทรัพย์ ซึ่งเป็นภาระผูกพันอันเกิดขึ้นจากการติดตั้งสินทรัพย์ ดังกล่าว ต้องถือเป็นต้นทุนของสินทรัพย์และอาจมีการคิดค่าเสื่อมราคาประจำ�ปี

(2) การกำ�หนดค่าเสื่อมราคา ต้องพิจารณาแต่ละส่วนประกอบแยกต่างหาก เมื่อส่วนประกอบแต่ละส่วนนั้นมีต้นทุนที่มี นัยสำ�คัญ

(3) มูลค่าคงเหลือของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ต้องมีการประมาณด้วยจำ�นวนเงินสุทธิที่คาดว่าจะได้รับในปัจจุบันจาก การจำ�หน่ายสินทรัพย์นั้น หากสินทรัพย์นั้นมีอายุและสภาพที่คาดว่าจะเป็น ณ วันสิ้นสุดอายุการให้ประโยชน์ นอกจากนี้ ต้องมีการทบทวนมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์อย่างน้อยทุกสิ้นปี

ปัจจุบันฝ่ายบริหารของบริษัทอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้นต่องบการเงินหากได้ถือ ปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน

60

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 ได้รวมข้อกำ�หนดในการรับรูแ้ ละวัดมูลค่าต้นทุนผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงานภายใต้ โครงการผลประโยชน์ทกี่ �ำ หนดไว้ ผลประโยชน์ระยะยาวอืน่ และผลประโยชน์เมือ่ เลิกจ้างในระหว่างงวดซึง่ ได้มกี ารให้บริการ และกำ�หนดให้มีข้อสมมติตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยเพื่อประเมินภาระผูกพันและค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ภาระผูกพันได้ถูก ประเมินโดยการคิดลดกระแสเงินสดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้เนื่องจากอาจมีการจ่ายชำ�ระในหลายๆ ปีภายหลังจากที่ พนักงานได้ทำ�งานให้ ปัจจุบันฝ่ายบริหารของบริษัทอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบดังกล่าวข้างต้นต่องบการเงินในปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชี ฉบับดังกล่าว

รายงานประจำ�ปี 2553


ค) มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้สำ�หรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 มีดังนี้

มาตรฐานการบัญชี เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) การบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ

ฝ่ายบริหารของบริษัทอยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบต่องบการเงินในปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าว

เกณฑ์ในการนำ�เสนองบการเงินรวม

งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน) (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัทย่อย (ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทย่อย”) ดังต่อไปนี้

จัดตั้งขึ้น อัตราร้อยละ บริษัท ลักษณะธุรกิจ ในประเทศ ของการถือหุ้น 2553 2552 ร้อยละ ร้อยละ บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัทฯ โดยตรง บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด จำ�หน่ายรถยนต์และอะไหล่ ไทย 94 94 และศูนย์บริการรถยนต์ บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด รับจ้างผลิตแม่พิมพ์ ไทย 94 94 บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด ผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ ไทย 91 91 บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัท ไทย วี.พี. ออโต้ เซอร์วิส จำ�กัด บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด จำ�หน่ายรถยนต์ อะไหล่ ไทย 99.53 99.53 และอุปกรณ์ประดับยนต์ และศูนย์บริการรถยนต์

บริษัทฯ นำ�งบการเงินของบริษัทย่อยมารวมในงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ได้มา (วันที่บริษัทฯ มีอำ�นาจในการควบคุมบริษัท ย่อย) จนถึงวันที่บริษัทฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อยนั้น

งบการเงินของบริษัทย่อยได้จัดทำ�ขึ้นโดยมีรอบระยะเวลาบัญชีและใช้นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญเช่นเดียวกันกับบริษัทฯ

ยอดคงค้างระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญได้ถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว

ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย คือ จำ�นวนกำ�ไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยส่วนทีไ่ ม่ได้เป็นของกลุม่ บริษทั ฯ และ แสดงเป็นรายการแยกต่างหากในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและแสดงในส่วนของผู้ถือหุ้นในงบดุลรวม

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

61


62

3.

นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ

การรับรู้รายได้

ขายสินค้า

รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อบริษัทฯ ได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระสำ�คัญของความเป็นเจ้าของสินค้าให้ กับผูซ้ อื้ แล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกำ�กับสินค้าโดยไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ สำ�หรับสินค้าทีไ่ ด้สง่ มอบหลัง จากหักส่วนลดแล้ว

รายได้ค่าบริการ

รายได้ค่าบริการรับรู้เมื่อได้ให้บริการแล้วโดยพิจารณาถึงขั้นความสำ�เร็จของงาน

ดอกเบี้ยรับ

ดอกเบี้ยถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำ�นึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง

เงินปันผลรับ

เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อมีสิทธิในการรับเงินปันผล

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึง กำ�หนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจำ�กัดในการเบิกใช้

ลูกหนี้การค้าและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจำ�นวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับผล ขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงิน การ วิเคราะห์อายุหนี้ และฐานะการเงินของลูกหนี้ในปัจจุบัน

สินค้าคงเหลือและสำ�รองเผื่อการลดมูลค่าสินค้า

สินค้าสำ�เร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุนมาตรฐาน (ซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนจริงตามวิธีถัวเฉลี่ย) หรือ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า ราคาทุนดังกล่าวหมายถึงต้นทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งค่าโสหุ้ยโรงงานด้วย

วัตถุดิบและชิ้นส่วนรถยนต์แสดงมูลค่าตามราคาทุนมาตรฐาน (ซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนจริง) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ ราคาใดจะต่ำ�กว่า และจะถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตและต้นทุนการให้บริการเมื่อมีการเบิกใช้อะไหล่ของศูนย์บริการ แสดงมูลค่าตามราคาทุนโดยวิธถี วั เฉลีย่ เคลือ่ นทีห่ รือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่�ำ กว่า รถยนต์ทซี่ อื้ มาเพือ่ จำ�หน่าย แสดงมูลค่าตามราคาทุนโดยวิธรี าคาเจาะจงหรือมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้าจะบัน ทึกโดยพิจารณาจากสินค้าเก่าล้าสมัย เคลื่อนไหวช้าหรือเสื่อมคุณภาพ

เงินลงทุน

เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะครบกำ�หนดชำ�ระในหนึ่งปี และที่จะถือจนครบกำ�หนดแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุนตัดจำ�หน่าย บริษัทฯ และบริษัทย่อยตัดบัญชีส่วนเกิน/ส่วนต่ำ�กว่ามูลค่าตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึ่งจำ�นวนที่ตัดจำ�หน่ายนี้ จะแสดงเป็นรายการปรับกับดอกเบี้ยรับ

เงินลงทุนในตราสารทุนทีไ่ ม่อยูใ่ นความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทัว่ ไป ซึง่ แสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเผือ่ การด้อย ค่า (ถ้ามี) รายงานประจำ�ปี 2553


เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย

เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักในการคำ�นวณต้นทุนของเงินลงทุน

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา

ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของ สินทรัพย์ (ถ้ามี)

ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คำ�นวณจากราคาทุนของสินทรัพย์ดังนี้

สิ่งปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปรับปรุงอาคาร เครื่องจักร อุปกรณ์โรงงาน และเครื่องมือ (ยกเว้น แม่พิมพ์และอุปกรณ์จับยึด) เครื่องจักร อุปกรณ์โรงงาน และเครื่องมือที่ซื้อมา ก่อนปี 2542 และแม่พิมพ์และอุปกรณ์จับยึด เครื่องใช้สำ�นักงานที่ซื้อมาก่อนกรกฎาคม 2550 เครื่องใช้สำ�นักงาน ยานพาหนะที่ซื้อมาก่อนกรกฎาคม 2550 ยานพาหนะ

ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำ�หรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง

สิทธิการเช่าที่ดินและอาคาร/ค่าตัดจำ�หน่าย

สิทธิการเช่าทีด่ นิ และอาคารแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสม ค่าตัดจำ�หน่ายของสิทธิการเช่าทีด่ นิ และอาคาร คำ�นวณ จากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลาตามอายุสัญญาเช่า

ค่าตัดจำ�หน่ายรวมอยู่ในการคำ�นวณผลการดำ�เนินงาน

เงินตราต่างประเทศ

รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่ เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล

กำ�ไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนรวมอยู่ในการคำ�นวณผลการดำ�เนินงาน

การด้อยค่าของสินทรัพย์

ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯ จะทำ�การประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของบริษัทฯ หากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษัทฯ รับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำ�กว่ามูลค่าตาม บัญชีของสินทรัพย์นนั้ ทัง้ นีม้ ลู ค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนหมายถึงมูลค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจาก การใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ บริษัทฯ ประมาณการกระแสเงินสดใน อนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับจากสินทรัพย์และคำ�นวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการ

วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา วิธีเส้นตรง วิธีเส้นตรง วิธีเส้นตรง วิธียอดคงเหลือลดลง (ยอดลดลงทวีคูณ) วิธียอดคงเหลือลดลง (ยอดลดลงทวีคูณ) วิธีเส้นตรง วิธียอดคงเหลือลดลง (ยอดลดลงทวีคูณ) วิธีเส้นตรง

อายุการใช้งานโดยประมาณ 20 ปี 20 ปี 10, 15 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

63


ประเมินความเสีย่ งในสภาพตลาดปัจจุบนั ของเงินสดตามระยะเวลาและความเสีย่ งซึง่ เป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ทกี่ �ำ ลัง พิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯ ใช้แบบจำ�ลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะ สมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำ�นวนเงินที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจำ�หน่าย โดยการจำ�หน่ายนั้นผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระใน ลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน

บริษัทฯ จะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำ�ไรขาดทุน

ผลประโยชน์พนักงาน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัสและเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพบันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ

ประมาณการหนี้สิน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้น แล้ว และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระ ผูกพันนั้น และบริษัทฯ และบริษัทย่อยสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ

หุ้นทุนซื้อคืน

เมือ่ มีการซือ้ คืนหุน้ ทุน จำ�นวนสิง่ ตอบแทนทีจ่ า่ ยซือ้ รวมถึงต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงจัดประเภทเป็นหุน้ ทุนซือ้ คืนและแสดงเป็น รายการหักในส่วนของผูถ้ อื หุน้ และจัดสรรจำ�นวนเดียวกันนีจ้ ากกำ�ไรสะสมไปเป็นสำ�รองหุน้ ทุนซือ้ คืนภายใต้สว่ นของผูถ้ อื หุน้ เมื่อมีการจำ�หน่ายหุ้นทุนซื้อคืน จำ�นวนเงินที่ได้รับรับรู้เป็นรายการเพิ่มขึ้นในส่วนของผู้ถือหุ้น โดยหักบัญชีหุ้นทุนซื้อคืนด้วย จำ�นวนต้นทุนของหุน้ ทุนซือ้ คืนทีจ่ ำ�หน่ายซึง่ คำ�นวณโดยวิธถี วั เฉลีย่ ถ่วงน้ำ�หนัก และโอนจำ�นวนเดียวกันนีจ้ ากบัญชีสำ�รองหุน้ ทุนซื้อคืนไปกำ�ไรสะสม ส่วนเกินทุนจากการจำ�หน่ายหุ้นทุนซื้อคืน (“ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื้อคืน”) แสดงเป็นรายการแยกต่าง หากในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนสุทธิจากการจำ�หน่ายหรือยกเลิกหุ้นทุนซื้อคืนนำ�ไปหักจากกำ�ไรสะสมหลังจากที่หักจากส่วน เกินทุนหุ้นทุนซื้อคืนหมดแล้ว

64

ภาษีเงินได้

บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้โดยคำ�นวณจากกำ�ไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร

ตราสารอนุพันธ์

สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า

ลูกหนี้และเจ้าหนี้ตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจะถูกแปลงค่าตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวดบัญชี กำ�ไรขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศดังกล่าวจะถูกบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน ส่วนเกินหรือส่วนลด ที่เกิดขึ้นจากการทำ�สัญญาจะถูกตัดจำ�หน่ายด้วยวิธีเส้นตรงตามอายุของสัญญา

การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญ

ในการจัดทำ�งบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการในเรือ่ ง ทีม่ คี วามไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการดังกล่าวนีส้ ง่ ผลกระทบต่อจำ�นวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและ ต่อข้อมูลทีแ่ สดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวนทีป่ ระมาณการไว้ การใช้ดลุ ยพินจิ และการประมาณการที่สำ�คัญมีดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2553


สัญญาเช่า

ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจใน การประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯ ได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ใน สินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้

ในการประมาณค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะ เกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยคำ�นึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ ในขณะนั้น เป็นต้น

ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ

ค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือเกิดจากการปรับมูลค่าของสินค้าจากผลขาดทุนทีอ่ าจเกิดขึน้ ฝ่ายบริหารได้ใช้ดลุ ยพินจิ ในการประมาณการผลขาดทุนทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ โดยใช้การวิเคราะห์อายุสนิ ค้าคงเหลือ และสถานะการขายของสินค้าคงเหลือ รายตัวในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การใช้ประมาณการและข้อสมมติฐานที่แตกต่างกัน อาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงจำ�นวนค่า เผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือในอนาคต

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา

ในการคำ�นวณค่าเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องทำ�การประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซากเมือ่ เลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น

นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจาก การด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น

4.

รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้แก่บุคคลหรือกิจการต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทและบริษัทฯ โดยการเป็นผู้ถือ หุ้นหรือมีผู้ถือหุ้นร่วมกันหรือมีกรรมการร่วมกัน รายการที่มีขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันได้กำ�หนดขึ้นโดยใช้ราคา ตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไม่มีราคาตลาดรองรับ

รายการธุรกิจที่สำ�คัญระหว่างบริษัทฯ และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย ซื้อสินค้าและค่าบริการจ่าย - - 11 31 ซื้อสินทรัพย์อื่น - - 6 2 ซื้อสินทรัพย์ถาวร - - 1 5 ค่าไฟฟ้า - - 17 11 ค่านายหน้าจ่ายและค่าใช้จ่ายส่งเสริม การขาย - - 3 2 ขายสินค้า - - 149 145

นโยบายการกำ�หนดราคา

ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ราคาตามบัญชีบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ต้นทุนบวกอัตรากำ�ไรขั้นต้นไม่เกินร้อยละ 5 ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

65


(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 รายได้ค่าช่วยเหลือทางเทคนิค - - - 4 รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่ สำ�นักงาน - - 3 3 รายได้ค่าบริหารจัดการ - - 12 12 รายได้ค่าบริการ - - 1 - รายได้ค่าสาธารณูปโภค ค่าบริการ - - 3 3 รถรับส่งพนักงานและการขาย วัสดุสิ้นเปลือง รายได้เงินปันผล - - 33 20 รายการธุรกิจกับบริษัทร่วม ซื้อสินค้าและบริการจ่าย 6 12 6 9 ขายสินค้า 46 28 35 25 รายได้ค่าบริการ - 2 - - รายได้ค่าที่ปรึกษา 5 5 5 5 รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่โชว์รูม 3 3 3 3 รายได้ค่าบริหารการจัดการ 16 11 16 11 รายได้ค่าสาธารณูปโภค ค่าบริการ 4 4 3 3 รถรับส่งพนักงานและการขาย วัสดุสิ้นเปลือง รายได้เงินปันผล - - 2 1 รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ซื้อสินค้าและบริการจ่าย 2 2 - - ค่าเช่าที่ดินจ่ายและสิทธิการเช่า 2 19 - 15 ตัดจำ�หน่าย ค่าเช่ารถยนต์จ่าย 2 3 1 2 ค่านายหน้าจ่ายและค่าใช้จ่ายส่งเสริม การขาย 8 22 8 9 ขายสินค้า 62 161 42 135 รายได้ค่าบริการ - 1 - 1 รายได้ค่าเช่าที่ดินและพื้นที่โชว์รูม 7 7 - - ดอกเบี้ยรับ 2 1 2 1 รายการธุรกิจกับกรรมการ ซื้อสินทรัพย์ถาวร 3 - 3 -

66

นโยบายการกำ�หนดราคา ตามสัญญาโดยมีอัตราดังต่อไปนี้ 1) ค่าช่วยเหลือทางเทคนิคคิดในอัตราคงที่ต่อคัน 2) ค่าบริหารจัดการคิดในอัตราคงที่ต่อเดือน 3) ค่านายหน้าไม่เกินร้อยละ 2 ของยอดขาย ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ตามที่ประกาศจ่าย ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ตามที่ประกาศจ่าย ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ต้นทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม ตามสัญญาที่ทำ�ร่วมกัน ร้อยละ 1.00-3.75 ต่อปี (2552: ร้อยละ 1.00-4.00 ต่อปี) ตามที่ตกลงร่วมกัน

ยอดคงเหลือที่มีสาระสำ�คัญระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2553


(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 ลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด - - 101,603 61,637 บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด - - 1,899,039 8,551,440 บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด - - 59,038,785 5,500,000 - - 61,039,427 14,113,077 บริษัทร่วม บริษัท เดลต้า-ทีอาร์ จำ�กัด 7,077,476 5,277,612 7,068,011 5,277,612 บริษัท เดลต้า-ไทยรุ่ง จำ�กัด 692,642 315,837 98,975 บริษัท ไทยออโต้ คอนเวอชั่น จำ�กัด 356,365 276,228 56,859 43,895 8,126,483 5,869,677 7,223,845 5,321,507 บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด 159,616 30,142,315 - 29,524,731 บริษัท อีซูซุ วีมอเตอร์ จำ�กัด 8,672 24,657 - บริษัท ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด 170,160 48,339 5,457 17,869 บริษัท วี.พี. ออโต้ เอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด - 16,833 - บริษัท เฟิร์สพาร์ท จำ�กัด 13,106,295 4,697,636 - บริษัท วี.พี.เค ออโต้ จำ�กัด 17,768 3,277 - 13,462,511 34,933,057 5,457 29,542,600 รวมลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน 21,588,994 40,802,734 68,268,729 48,977,184 ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด - - 18,806,217 บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด - - 245,000 บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด - - 9,600,000 บริษัท ไทยออโต้ บอดี้ แอสแซมบลี้ จำ�กัด - - - - - 28,651,217 บริษัทร่วม บริษัท เดลต้า-ทีอาร์ จำ�กัด 4,783,304 7,924,394 4,744,959 บริษัท เดลต้า-ไทยรุ่ง จำ�กัด 7,190,400 - 7,190,400 11,973,704 7,924,394 11,935,359

9,602,118 285,000 4,848,165 80,570 14,815,853 7,885,858 7,885,858

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

67


(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด 518,912 617,275 518,912 617,276 บริษัท วี.พี. ออโต้ เอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด 129,206 265,207 - บริษัท เลกซัส ออโต้ ซิตี้ จำ�กัด 456,750 307,125 - บริษัท เฟิร์สพาร์ท จำ�กัด 1,667,604 1,308,092 - บริษัท ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด 577,663 202,794 - บริษัท ยุโรป-ไทย คาร์ เร้นท์ จำ�กัด 142,438 199,599 - 3,492,573 2,900,092 518,912 617,276 รวมลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 15,466,277 10,824,486 41,105,488 23,318,987 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด - - 42,000,000 บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด 46,500,000 49,406,875 46,500,000 49,406,875 รวมเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 46,500,000 49,406,875 88,500,000 49,406,875 เจ้าหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด - - 1,558,910 6,052,501 บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด - - - 1,730,388 บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด - - 76,953 134,403 - - 1,635,863 7,917,292 บริษัทร่วม บริษัท เดลต้า-ทีอาร์ จำ�กัด 1,580,510 211,673 1,579,537 171,775 บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด 102,976 336,970 - บริษัท ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด 23,112 27,960 - บริษัท อีซูซุ วี มอเตอร์ จำ�กัด - 17,069 - บริษัท ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด - 240,000 - บริษัท วี.พี. ออโต้ เอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด 34,433 48,024 - บริษัท วี.พี.เค.ออโต้ จำ�กัด 5,350 5,350 - บริษัท เฟิร์สพาร์ท จำ�กัด 155,683 716,937 - 321,554 1,392,310 - รวมเจ้าหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1,902,064 1,603,983 3,215,400 8,089,067 68

รายงานประจำ�ปี 2553


(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 เจ้าหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด - - 1,644,829 1,484,029 บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด - - 4,106,018 บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด - - 2,296,667 1,195,076 บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด - - 169,890 144,657 - - 8,217,404 2,823,762 บริษัทร่วม บริษัท เดลต้า-ทีอาร์ จำ�กัด - 300,000 - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด 277,832 5,273,949 277,832 5,043,779 บริษัท ไทย วี.พี. คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด 549,913 - 138,230 148,570 บริษัท ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด 240,000 179,171 - บริษัท วี.พี. ออโต้ เอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�กัด 5,056 - 5,056 บริษัท เฟิร์สพาร์ท จำ�กัด 7,665 - 7,665 บริษัท โพธิภูมิ จำ�กัด 95,000 - - บริษัท วี.พี. แคปปิตอล แอสเซ็ทส์ จำ�กัด 38,578 6,839 38,578 6,839 1,214,044 5,459,959 467,361 5,199,188 รวมเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1,214,044 5,759,959 8,684,765 8,022,950 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด - - - 35,000,000 บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด - - 26,000,000 40,000,000 บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด - - 20,000,000 12,000,000 รวมเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - - 46,000,000 87,000,000

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

69


ในระหว่างปี 2553 เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน และเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันมีการเคลือ่ นไหว ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

1 มกราคม ระหว่างปี 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้น ลดลง 2553 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด 50 58 (61) 47 งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด - 42 - 42 บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด - 8 (8) - บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บริษัท อีซูซุ ชัยเจริญกิจมอเตอร์ จำ�กัด 50 58 (61) 47 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด 35 - (35) - บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด 40 - (14) 26 บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด 12 20 (12) 20

70

อัตราดอกเบี้ย

ร้อยละ 1.71-3.75 ต่อปี ครบกำ�หนดชำ�ระ เมื่อทวงถาม ร้อยละ 1.00 ต่อปี ครบกำ�หนดชำ�ระเมื่อทวงถาม ร้อยละ 0.75 ต่อปี ครบกำ�หนดชำ�ระเมื่อทวงถาม ร้อยละ 1.71-3.75 ต่อปี ครบกำ�หนดชำ�ระ เมื่อทวงถาม

ร้อยละ 0.75 ต่อปี ครบกำ�หนดชำ�ระเมื่อทวงถาม ร้อยละ 0.75 ต่อปี ครบกำ�หนดชำ�ระเมื่อทวงถาม ร้อยละ 0.75 ต่อปี ครบกำ�หนดชำ�ระเมื่อทวงถาม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมียอดลูกหนีก้ ารค้าและเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ คงเหลือกับกิจการ ที่เกี่ยวข้องกันหลายแห่งและเป็นจำ�นวนมาก บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเนื่องจากฝ่ายบริหารของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยเห็นว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะได้รับชำ�ระหนี้ทั้งหมดอย่างแน่นอน

ภาระค้ำ�ประกันกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ มีภาระการค้ำ�ประกันให้แก่บริษัทย่อยดังต่อไปนี้

ก) ภาระค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อให้แก่บริษัท ไทย วี.พี. ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด (บริษัทย่อย) กับธนาคารในประเทศสอง แห่งในวงเงิน 110 ล้านบาท

ข) ภาระค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อให้แก่บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ ไดส์ จำ�กัด (บริษัทย่อย) กับธนาคารในประเทศสาม แห่งในวงเงิน 195 ล้านบาทและ 280 ล้านบาทตามลำ�ดับ

ค) ภาระค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อให้แก่บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด (บริษัทย่อย) กับธนาคารในประเทศแห่งหนึ่ง ในวงเงิน 70 ล้านบาท

ง) ภาระค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อให้แก่บริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง จำ�กัด (บริษัทร่วม) กับธนาคารในประเทศแห่งหนึ่งในวงเงิน 75 ล้านบาท

บริษัทฯ ไม่มีการคิดค่าธรรมเนียมการค้ำ�ประกันจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วมดังกล่าว

รายงานประจำ�ปี 2553


5.

ลูกหนี้การค้า

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 แยกตามอายุหนี้ที่คงค้างนับจากวันที่ถึงกำ�หนดชำ�ระ ได้ดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 อายุหนี้ค้างชำ�ระ ลูกหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ 250,637,085 160,583,625 154,995,206 87,027,713 ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน 99,742,957 74,809,873 28,093,406 15,267,574 3 - 6 เดือน 96,721 109,979 - 6 - 12 เดือน 5,209 209,172 - มากกว่า 12 เดือน 1,936,609 872,005 107,155 107,155 รวม 352,418,581 236,584,654 183,195,767 102,402,442 หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (1,902,085) (598,639) - รวมลูกหนี้การค้ากิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ 350,516,496 235,986,015 183,195,767 102,402,442 ลูกหนี้การค้าบริษัทย่อย ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ - - 22,190,402 6,816,643 ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน - - 24,050,855 21,234 3 - 6 เดือน - - 14,478,170 6 – 12 เดือน - - - มากกว่า 12 เดือน - - 320,000 7,275,200 รวมลูกหนี้การค้าบริษัทย่อย - - 61,039,427 14,113,077 ลูกหนี้การค้าบริษัทร่วม ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ 7,008,894 5,444,627 6,114,794 4,896,457 ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน 1,117,589 425,050 1,109,051 425,050 รวมลูกหนี้การค้าบริษัทร่วม 8,126,483 5,869,677 7,223,845 5,321,507 ลูกหนี้การค้าบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ 852,145 23,367,244 - 20,841,904 ค้างชำ�ระ ไม่เกิน 3 เดือน 27,033 7,633,536 5,457 4,792,696 3 - 6 เดือน 2,027,502 3,907,554 - 3,908,000 6 - 12 เดือน 10,555,831 - - มากกว่า 12 เดือน - 24,723 - รวมลูกหนี้การค้าบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 13,462,511 34,933,057 5,457 29,542,600 รวมลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน 21,588,994 40,802,734 68,268,729 48,977,184 บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

71


6.

72

สินค้าคงเหลือ

สินค้าสำ�เร็จรูป งานระหว่างทำ� วัตถุดิบ รวม

ราคาทุน 2553 2552 103,253,124 125,388,408 42,661,783 43,600,927 89,284,556 64,810,811 235,199,463 233,800,146

สินค้าสำ�เร็จรูป งานระหว่างทำ� วัตถุดิบ รวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท ราคาทุน สินค้าเสื่อมคุณภาพ/ล้าสมัย 2553 2552 2553 2552 9,759,509 54,435,473 (2,380,125) (176,367) 24,150,482 29,872,332 (1,748,894) (7,013,391) 67,723,099 49,636,206 (11,471,913) (18,471,865) 101,633,090 133,944,011 (15,600,932) (25,661,623)

7.

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

ภาษีซื้อรอเรียกคืน ภาษีซื้อตั้งพัก ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวม

รายงานประจำ�ปี 2553

(หน่วย:บาท) งบการเงินรวม สินค้าเสื่อมคุณภาพ/ล้าสมัย สินค้าคงเหลือ-สุทธิ 2553 2552 2553 2552 (31,789,497) (33,815,954) 71,463,627 91,572,454 (3,427,767) (7,773,134) 39,234,016 35,827,793 (14,660,671) (19,988,116) 74,623,885 44,822,695 (49,877,935) (61,577,204) 185,321,528 172,222,942 (หน่วย:บาท) สินค้าคงเหลือ-สุทธิ 2553 2552 7,379,384 54,259,106 22,401,588 22,858,941 56,251,186 31,164,341 86,032,158 108,282,388

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 12,878,519 7,380,072 4,331 1,180 1,117,001 945,265 236,057 417,958 4,905,685 4,790,889 2,441,884 3,785,860 3,207,890 1,473,230 2,475,876 826,931 22,109,095 14,589,456 5,158,148 5,031,929


8.

เงินลงทุนในบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการมีรายละเอียดดังนี้

(หน่วย: บาท) บริษัท ทุนเรียกชำ�ระแล้ว สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน เงินปันผลที่บริษัทฯ รับระหว่างปี 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 ล้านบาท ล้านบาท ร้อยละ ร้อยละ บริษัท ไทย วี.พี. 25 25 94 94 23,500,000 23,500,000 14,100,000 9,400,000 ออโต้เซอร์วิส จำ�กัด และบริษัทย่อย บริษัท ไทยรุ่ง ทูลส์ แอนด์ 27 27 94 94 25,380,000 25,380,000 19,035,000 ไดส์ จำ�กัด บริษัท ไทยออโต้ 400 400 91 91 364,000,000 364,000,000 - 10,010,000 เพรสพาร์ท จำ�กัด บริษัท ไทยออโต้ บอดี้ - - - - - - - 417,408 แอสแซมบลี้ จำ�กัด รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อย 412,880,000 412,880,000 33,135,000 19,827,408

เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2551 และ วันที่ 5 มกราคม 2552 บริษัท ไทยออโต้ บอดี้ แอสแซมบลี้ จำ�กัด และบริษัท ทีอาร์ยู ลีสซิ่ง จำ�กัด (บริษัทย่อยของบริษัท ไทย วี.พี. ออโต้ เซอร์วิส จำ�กัด)ได้จดทะเบียนเลิกบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์ตามลำ�ดับ งบการเงินของบริษัท ทีอาร์ยู ลีสซิ่ง จำ�กัดได้เปลี่ยนแปลงเกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงินจากเกณฑ์ “การดำ�เนินงานต่อเนื่อง” เป็นเกณฑ์ “สินทรัพย์แสดงในมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนและหนี้สินแสดงตามจำ�นวนที่คาดว่าจะต้องจ่าย” ตั้งแต่ปี 2551

ตามรายงานการชำ�ระบัญชีของบริษัท ไทยออโต้ บอดี้ แอสแซมบลี้ จำ�กัด และ บริษัท ทีอาร์ยู ลีสซิ่ง จำ�กัด (บริษัทย่อย ของบริษัท ไทย วี.พี. ออโต้ เซอร์วิส จำ�กัด) ลงวันที่ 17 กรกฎาคม 2552 ได้มีการสรุปฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2552 ผูช้ �ำ ระบัญชีได้พจิ ารณานำ�กำ�ไรสะสมจ่ายเป็นเงินปันผล พร้อมทัง้ จ่ายคืนเงินทุนบางส่วนให้แก่ผถู้ อื หุน้ ตามสัดส่วนการ ลงทุน ซึ่งในวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 บริษัทฯ และ บริษัท ไทย วี.พี.ออโต้ เซอร์วิส จำ�กัด ได้รับเงินปันผลและเงินคืนทุน ดังกล่าวในฐานะผู้ถือหุ้นแล้ว จำ�นวน 0.42 ล้านบาท และ 2.64 ล้านบาทตามลำ�ดับจากบริษัท ไทยออโต้ บอดี้ แอสแซม บลี้ จำ�กัด และ 0.18 ล้านบาท และ 13.41 ล้านบาทตามลำ�ดับจาก บริษัท ทีอาร์ยู ลีสซิ่ง จำ�กัด

ตามรายงานการประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2552 ของบริษทั ไทยออโต้ บอดี้ แอสแซมบลี้ จำ�กัด เมือ่ วันที่ 24 ธันวาคม 2552 ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติรายการชำ�ระบัญชีโดยแบ่งคืนเงินสดให้แก่ผู้ถือหุ้นจำ�นวน 88,538.50 บาท โดยได้รับ คืนหุ้นละ 0.73 บาท โดยบริษัทฯ ได้รับคืนทุนเป็นจำ�นวน 80,570.04 บาท และบริษัท ไทยออโต้ บอดี้ แอสแซมบลี้ จำ�กัด ได้จดทะเบียนเสร็จการชำ�ระบัญชีกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2552

ตามรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2552 ของบริษัท ทีอาร์ยู ลีสซิ่ง จำ�กัด เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2552 ที่ ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์อนุมัติรายการชำ�ระบัญชีโดยแบ่งคืนเงินสดให้แก่ผู้ถือหุ้นจำ�นวน 94,120 บาท โดยได้รับคืนหุ้นละ 0.63 บาท โดยบริษัท ไทย วี.พี.ออโต้ เซอร์วิส จำ�กัด ได้รับคืนทุนเป็นจำ�นวน 84,708 บาท และบริษัท ทีอาร์ยู ลีสซิ่ง จำ�กัด ได้จดทะเบียนเสร็จการชำ�ระบัญชีกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2552

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

73


9.

เงินลงทุนในบริษัทร่วม

รายละเอียดของบริษัทร่วม

ในระหว่างปี บริษทั ฯ รับรูส้ ว่ นแบ่งกำ�ไร/ขาดทุนจากการลงทุนในบริษทั ร่วมในงบการเงินรวมและรับรูเ้ งินปันผลรับจากบริษทั ร่วมดังกล่าวในงบการเงินเฉพาะกิจการดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จาก เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินปันผลที่บริษัทฯ รับ บริษัท ในระหว่างปี ระหว่างปี 2553 2552 2553 2552 บริษัท เดลต้า-ทีอาร์ จำ�กัด 3,330,749 1,724,777 - 667,000 บริษัท ไทย ออโต้ คอนเวอชั่น จำ�กัด 19,259,890 15,180,824 2,308,044 บริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง จำ�กัด 35,137,215 (4,160,820) - รวม 57,727,854 12,744,781 2,308,044 667,000

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม จัดตั้งขึ้น มูลค่าตามบัญชี บริษัท ลักษณะธุรกิจ ในประเทศ สัดส่วนเงินลงทุน ราคาทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย 2553 2552 2553 2552 2553 2552 ร้อยละ ร้อยละ บริษัท เดลต้า-ทีอาร์ ผลิตชิ้นส่วน ไทย 46 46 9,200,000 9,200,000 55,542,964 52,212,215 จำ�กัด รถยนต์ บริษัท ไทย ออโต้ ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ ไทย 30 30 22,350,000 22,350,000 52,306,138 35,354,292 คอนเวอชั่น จำ�กัด บริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง ผลิตเบาะรถยนต์ ไทย 30 30 90,000,000 90,000,000 109,157,846 74,020,631 จำ�กัด และอุปกรณ์ เกี่ยวกับรถยนต์ รวมเงินลงทุนในบริษัทร่วม 121,550,000 121,550,000 217,006,948 161,587,138

ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษัทร่วมโดยสรุปมีดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท) กำ�ไร (ขาดทุน) สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม รายได้รวมสำ�หรับ สุทธิสำ�หรับปี ทุนเรียกชำ�ระ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 2553 2552 บริษัท เดลต้า-ทีอาร์ จำ�กัด 20 20 166 150 46 36 336 249 7 4 บริษัท ไทย ออโต้ คอนเวอชั่น 75 75 253 160 66 42 517 263 64 34 จำ�กัด บริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง จำ�กัด 300 300 472 318 108 71 820 94 117 (14)

74

รายงานประจำ�ปี 2553


ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมสามแห่งซึ่งรวมอยู่ในงบกำ�ไรขาดทุนรวมสำ�หรับปี 2553 จำ�นวนเงิน 57.73 ล้าน บาท คำ�นวณจากงบการเงินซึ่งจัดทำ�โดยฝ่ายบริหารของบริษัทร่วมและยังไม่ได้ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทเหล่านั้น ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วมสามแห่งซึ่งรวมอยู่ในงบกำ�ไรขาดทุนรวมสำ�หรับปี 2552 จำ�นวนเงิน 12.74 ล้านบาท คำ�นวณจากงบการเงินซึง่ จัดทำ�โดยฝ่ายบริหารของบริษทั ร่วมและยังไม่ได้ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีของบริษทั เหล่านั้น บริษัท เดลต้า ไทยรุ่ง จำ�กัด เปิดดำ�เนินธุรกิจในวันที่ 8 ตุลาคม 2552 ดำ�เนินธุรกิจหลักในการผลิตเบาะรถยนต์และอุปกรณ์ เกี่ยวกับรถยนต์

10. เงินลงทุนระยะยาวอื่น

เงินลงทุนในบริษัท แอล พี แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ซิ่ง ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด หัก: ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าเงินลงทุน เงินลงทุนระยะยาวอื่น – สุทธิ

(หน่วย: บาท) 2553 2552 24,000 24,000 (24,000) (24,000) - -

11. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม ที่ดินและ อาคารและ เครื่องจักร สิ่งปรับปรุง สิ่งปรับปรุง อุปกรณ์โรงงาน เครื่องใช้ งานระหว่าง ที่ดิน อาคาร และเครื่องมือ สำ�นักงาน ยานพาหนะ ก่อสร้าง รวม ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 746,566,529 638,877,663 1,637,797,965 214,058,328 88,097,260 84,777,322 3,410,175,067 ซื้อเพิ่ม 129,899 1,350,000 34,576,505 5,163,162 8,921,058 40,869,268 91,009,892 โอนเข้า (โอนออก) - - 3,257,270 (752,705) (1,295) - 2,503,270 จำ�หน่าย - (18,178,725) (4,250,470) (3,332,497) (4,840,007) (4,799,792) (35,401,491) 31 ธันวาคม 2553 746,696,428 622,048,938 1,671,381,270 215,136,288 92,177,016 120,846,798 3,468,286,738 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 9,740,140 377,716,698 1,439,368,004 198,374,377 68,768,855 - 2,093,968,074 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 445,119 28,757,099 53,612,256 5,446,394 7,826,507 - 96,087,376 โอนเข้า (โอนออก) - - 77,812 (663,505) - - (585,693) จำ�หน่าย - (12,747,645) (3,882,110) (3,291,283) (2,990,415) - (22,911,454) 31 ธันวาคม 2553 10,185,259 393,726,152 1,489,175,962 199,865,983 73,604,947 - 2,166,558,303 ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552 - - 7,623,031 - - 476,000 8,099,031 เพิ่มขึ้น - - - - - - 31 ธันวาคม 2553 - - 7,623,031 - - 476,000 8,099,031 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 736,826,389 261,160,965 190,806,930 15,683,951 19,328,405 84,301,322 1,308,107,962 31 ธันวาคม 2553 736,511,169 228,322,786 174,582,277 15,270,305 18,572,069 120,370,798 1,293,629,404 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 2552 (83 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายบริหาร) 113,503,099 2553 (67 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายบริหาร) 96,087,376 บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

75


งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดินและ อาคารและ เครื่องจักร สิ่งปรับปรุง สิ่งปรับปรุง อุปกรณ์โรงงาน เครื่องใช้ งานระหว่าง ที่ดิน อาคาร และเครื่องมือ สำ�นักงาน ยานพาหนะ ก่อสร้าง ราคาทุน 31 ธันวาคม 2552 469,684,902 332,051,014 1,421,203,839 117,156,296 80,010,670 4,110,504 ซื้อเพิ่ม 129,899 1,030,000 31,815,832 2,161,175 8,919,763 19,492,612 63,549,281 จำ�หน่าย - (563,885) (3,990,988) (2,893,633) (4,190,007) - 31 ธันวาคม 2553 469,814,801 332,517,129 1,449,028,683 116,423,838 84,740,426 23,603,116 ค่าเสื่อมราคาสะสม 31 ธันวาคม 2552 9,740,140 197,490,691 1,341,128,455 107,249,735 62,391,094 - ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 445,119 13,358,751 22,344,101 3,457,841 6,410,647 - จำ�หน่าย - (563,885) (3,627,111) (2,852,473) (2,521,348) - 31 ธันวาคม 2553 10,185,259 210,285,557 1,359,845,445 107,855,103 66,280,393 - ค่าเผื่อการด้อยค่า 31 ธันวาคม 2552 - - 7,623,031 - - 476,000 เพิ่มขึ้น - - - - - - 31 ธันวาคม 2553 - - 7,623,031 - - 476,000 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2552 459,944,762 134,560,323 72,452,353 9,906,561 17,619,576 3,634,504 31 ธันวาคม 2553 459,629,542 122,231,572 81,560,207 8,568,735 18,460,033 23,127,116 ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี 2552 (44 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายบริหาร) 2553 (31 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายบริหาร)

76

(หน่วย: บาท)

รวม 2,424,217,225 (11,638,513) 2,476,127,993 1,718,000,115 46,016,459 (9,564,817) 1,754,451,757 8,099,031 8,099,031 698,118,079 713,577,205 60,136,707 46,016,459

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์จำ�นวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยัง ใช้งานอยู่ ราคาทุนของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำ�นวนเงินประมาณ 1,650 ล้านบาท (2552: 1,516 ล้านบาท) (เฉพาะกิจการ: 1,481 ล้านบาท (2552: 1,358 ล้านบาท))

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด) ได้นำ�ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างส่วนหนึ่ง ซึ่งมีมูลค่าสุทธิตามบัญชีจำ�นวน 56 ล้านบาท (2552: 57 ล้านบาท) ไปจำ�นองไว้กับธนาคารเพื่อค้ำ�ประกันวงเงินสินเชื่อ 30 ล้านบาท (2552: 30 ล้านบาท) จากสถาบันการเงินของบริษัทย่อยดังกล่าว

ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 ที่ประชุมได้พิจารณาการเสนอซื้อที่ดินซึ่งเป็นที่ ตั้งโรงงานและสำ�นักงานใหญ่จากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท โดยวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการประกอบกิจการของบริษัท และ ตามรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ซื้อที่ดินดังกล่าวโดยมีการกำ�หน ดราคาซื้อขายที่ดินตามราคาตลาดซึ่งประเมินเมื่อ 30 ธันวาคม 2551 จากผู้ประเมินราคาอิสระที่ได้รับความเห็นชอบจาก ตลาดหลักทรัพย์ มูลค่า 403.15 ล้านบาท และมีค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นเกี่ยวกับการโอนที่ดินจำ�นวนเงิน 5.93 ล้านบาท ใน ไตรมาส 3 /2552 บริษัทได้ซื้อที่ดินดังกล่าว และจดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิเรียบร้อยแล้ว

รายงานประจำ�ปี 2553


12. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

สิทธิการเช่าที่ดินและอาคาร – สุทธิ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ต้นทุนแม่พิมพ์รอตัดบัญชี - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวม

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 2,878,022 3,401,324 - 24,177,750 21,080,564 17,239,452 12,615,205 41,367,577 40,095,305 45,939,776 47,611,882 14,881,126 5,752,367 14,688,324 5,602,577 83,304,475 70,329,560 77,867,552 65,829,664

13. วงเงินสินเชื่อกับธนาคาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินสินเชื่อระยะสั้นอื่นกับธนาคารจำ�นวน 93 ล้านบาท และ 1,353 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (เฉพาะกิจการ: 28 ล้านบาท และ 505 ล้านบาท ตามลำ�ดับ) ซึ่งค้ำ�ประกัน โดยบริษัทฯ กรรมการของบริษัทฯ และการจำ�นองที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของบริษัทย่อย

14. หนี้สินหมุนเวียนอื่น

ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ภาษีขายที่ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ เจ้าหนี้กรมสรรพากร ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวม

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 546,015 - - 3,198,695 1,866,820 3,090,299 1,345,560 2,637,017 4,527,448 2,021,317 3,645,582 15,503,705 12,502,230 9,157,606 8,250,478 493,502 10,578,481 - 105,600 11,524,506 6,059,302 6,320,835 2,354,210 11,782,835 5,305,402 5,707,095 1,702,406 45,686,275 40,839,683 26,297,152 17,403,836

15. ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ

เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2547 บริษัทฯ ได้ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ (โครงการ ESOP 2003) จำ�นวน 24,999,000 หน่วย ให้แก่กรรมการ ที่ปรึกษาและหรือพนักงานของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยในราคาเสนอขาย 0 บาทต่อหน่วย ใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังกล่าวมีอายุ 5 ปี สิ้นสุดวันที่ 15 กรกฎาคม 2552 โดยมีอัตราการใช้สิทธิคือ ใบสำ�คัญ แสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น ในราคาใช้สิทธิ 8 บาทต่อ 1 หุ้นสามัญและมีระยะเวลาการใช้สิทธิดังต่อ ไปนี้

- - -

ภายในปีที่ 1 จำ�นวนไม่เกิน 40% ของใบสำ�คัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่แต่ละคนได้รับการจัดสรรจากบริษัทฯ ภายในปีที่ 2 จำ�นวนอีกไม่เกิน 30% ของใบสำ�คัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่แต่ละคนได้รับการจัดสรรจากบริษัทฯ ภายหลัง 2 ปี สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญในส่วนที่เหลือทั้งหมดไว้

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

77


ใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังกล่าวมิได้จดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2546 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 24,999,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ

เมือ่ วันที่ 24 เมษายน 2549 ทีป่ ระชุมสามัญประจำ�ปีผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั เิ ปลีย่ นแปลงราคาใช้สทิ ธิในการแปลง สภาพใบสำ�คัญแสดงสิทธิเป็นหุน้ สามัญของบริษทั ฯ จากเดิม 8 บาทต่อหุน้ สามัญ เป็น 5 บาทต่อหุน้ สามัญ ทัง้ นี ้ บริษทั ฯ ได้ ปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดในประกาศที่ กจ. 36/2544 ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เรียบร้อย แล้ว และเริ่มปรับราคาใช้สิทธิตามราคาใหม่ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2549 เป็นต้นไป

ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2552 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีใบสำ�คัญแสดงสิทธิคงเหลือจำ�นวน 23,407,000 หน่วย บริษัทกำ�หนดใช้สิทธิทุกวันทำ�การสุดท้ายของเดือนตลอดอายุใบสำ�คัญแสดงสิทธิ โดยบริษัทได้กำ�หนดวันใช้สิทธิครั้งสุดท้าย ในวันที่ 30 มิถุนายน 2552 ทั้งนี้ ในวันที่ 30 มิถุนายน 2552 ไม่มีผู้แสดงความจำ�นงใช้สิทธิแปลงสภาพแต่อย่างใด และ หลังจากนี้ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่เหลือทั้งหมดจะสิ้นสภาพลงทันที และไม่สามารถนำ�ไปใช้ได้อีกต่อไป

รวมการใช้สิทธิแปลงสภาพของใบสำ�คัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญของบริษัทตลอดโครงการ ดังนี้

- ผู้ใช้สิทธิแปลงสภาพใบสำ�คัญแสดงสิทธิเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 1,592,000 หน่วย

- ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ไม่ได้ใช้สิทธิ จำ�นวน 23,407,000 หน่วย

16. หุ้นทุนซื้อคืนและสำ�รองหุ้นทุนซื้อคืนตามโครงการซื้อหุ้นคืนเพื่อบริหารทางการเงิน

ในการประชุมคณะกรรมการของบริษัทครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 คณะกรรมการของบริษัทได้มีมติอนุมัติ โครงการซื้อหุ้นคืนเพื่อบริหารทางการเงิน ตามมาตรา 66/1(2) แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 ในวงเงินไม่เกิน 150 ล้านบาท โดยหุ้นสามัญที่จะซื้อคืนมีจำ�นวนไม่เกิน 50.16 ล้านหุ้น (มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 10 ของจำ�นวนหุ้นสามัญที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท ในการนี้บริษัทได้ดำ�เนินการซื้อหุ้นคืน โดยวิธกี ารเสนอซือ้ ในกระดานหลักของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีก�ำ หนดระยะเวลาการซือ้ หุน้ คืนตัง้ แต่วนั ที่ 27 พฤษภาคม 2553 ถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2553 กำ�หนดวิธีการจำ�หน่ายหุ้นที่ซื้อคืนโดยการขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยหรือเสนอขายต่อประชาชนทั่วไปและกำ�หนดระยะเวลาการจำ�หน่ายหุ้นที่ซื้อคืนดังกล่าวภายใน 3 ปี 6 เดือนนับ จากวันที่เริ่มซื้อหุ้นคืน

บริษัทได้ดำ�เนินการซื้อหุ้นคืนในระหว่างวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 ถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2553 เป็นจำ�นวน 9,216,700 หุ้น คิดเป็นจำ�นวนเงินรวม 47.95 ล้านบาท และบริษัทได้จัดสรรกำ�ไรสะสมไว้เป็นสำ�รองหุ้นทุนซื้อคืนในช่วงระยะเวลา เดียวกัน เป็นจำ�นวนเงินรวม 47.95 ล้านบาท

17. สำ�รองตามกฎหมาย

78

ภายใต้บทบัญญัตขิ องมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษทั ฯ ต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ�ปี ส่วนหนึง่ ไว้เป็นทุนสำ�รองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหกั ด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำ�รอง นี้จะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำ�รองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำ�ไปจ่ายเงินปันผลได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 บริษัทฯ ได้จัดสรรสำ�รองตามกฎหมายคิดเป็นร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนแล้ว

รายงานประจำ�ปี 2553


18. รายได้อื่น

รายได้จากการขายเศษซาก ดอกเบี้ยรับ รายได้ค่าสาธารณูปโภค ค่าบริการ รถรับส่งพนักงานและการขายวัสดุสิ้นเปลือง รายได้ค่าที่ปรึกษา กำ�ไรจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ อื่น ๆ รวม

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 63,681,403 17,282,083 21,519,804 3,403,432 6,220,465 8,720,454 5,033,792 6,474,097 5,870,024 3,781,623 6,295,169 6,279,332 5,118,000 5,118,000 5,118,000 5,118,000 1,356,549 2,359,003 1,040,875 1,147,578 38,847,919 38,039,399 43,493,184 40,835,478 121,094,360 75,300,562 82,500,824 63,257,917

19. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำ�คัญดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่น ของพนักงาน 308,685,437 244,551,749 191,006,180 141,765,732 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย 96,610,679 115,390,453 46,016,459 60,136,707 วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป 1,167,402,209 720,497,683 582,714,584 438,670,695 การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสำ�เร็จรูปและ งานระหว่างทำ� 24,445,624 83,072,196 50,397,814 50,648,716 20. ภาษีเงินได้นิติบุคคล

บริษัทฯ ไม่มีภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับปี 2553 และ 2552 เนื่องจากบริษัทฯ มีเงินปันผลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำ�มา รวมเป็นเงินได้ และมีผลขาดทุนทางภาษียกมาจากปีก่อน

ภาษีเงินได้นิติบุคคลในงบการเงินรวมสำ�หรับปี 2553 และ 2552 เป็นภาษีเงินได้ของบริษัทย่อยซึ่งคำ�นวณขึ้นในอัตราร้อย ละ 30 ของกำ�ไรสุทธิจากกิจกรรมที่ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนบวกกลับด้วยสำ�รองและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ไม่อนุญาตให้ถือ เป็นค่าใช้จ่ายในการคำ�นวณภาษี

บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ 21 ซึ่งรวมถึงการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำ�หรับกำ�ไรสุทธิจากกิจกรรมที่ได้รับการส่งเสริม

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

79


21. การส่งเสริมการลงทุน

บริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ได้รบั สิทธิพเิ ศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สิทธิประโยชน์ทสี่ �ำ คัญบางประการสามารถ สรุปได้ดังนี้ การยกเว้นภาษีเงินได้ การลดหย่อนภาษีเงินได้ นิติบุคคลสำ�หรับกำ�ไร นิติบุคคลร้อยละห้าสิบ สุทธิเป็นเวลา 8 ปี ของอัตราปกติเป็นเวลา นับจากวันที่ 5 ปี นับจากวันที่ บริษัท ไทยออโต้ เพรสพาร์ท จำ�กัด การผลิตชิ้นส่วนตัวถังโลหะรถยนต์ ชิ้นส่วนพลาสติก 3 มิถุนายน 2545 3 มิถุนายน 2553 และไฟเบอร์กลาสสำ�หรับรถยนต์ การผลิตและ การซ่อมแซมแม่พิมพ์และอุปกรณ์จับยึด

22. กำ�ไร(ขาดทุน)ต่อหุ้น

กำ�ไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำ�นวณโดยหารกำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิสำ�หรับปีด้วยจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญ ที่ออกอยู่ในระหว่างปี (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 กำ�ไร(ขาดทุน)สำ�หรับปีที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นของบริษัท 219,303,014 (111,698,742) 144,515,645 (62,957,867)

หุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายแล้วระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (หน่วย: บาท)

80

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553 2552 2553 2552 จำ�นวนหุ้นสามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม 501,589 501,589 501,589 501,589 จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก สำ�หรับหุ้นสามัญซื้อคืนในระหว่างปี (1,889) - (1,889) จำ�นวนหุ้นสามัญที่ถือโดยบุคคลภายนอก ในระหว่างปีตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก 499,700 501,589 499,700 501,589

กำ�ไร(ขาดทุน)ต่อหุ้นปรับลดคำ�นวณโดยหารกำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิสำ�หรับปีด้วยผลรวมของจำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ� หนักที่ออกอยู่ในระหว่างปีกับจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญที่บริษัทฯ อาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่า ปรับลดทั้งสิ้นให้เป็นหุ้นสามัญโดยสมมติว่าได้มีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า ไม่มีการคำ�นวณกำ�ไรต่อหุ้นปรับลดสำ�หรับใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เพราะไม่มีจำ�นวนของหุ้นสามัญเทียบเท่าที่บริษัทฯ อาจต้องออกสำ�หรับใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ เนื่องจากราคา ใช้สิทธิสูงกว่ามูลค่ายุติธรรมถัวเฉลี่ยของหุ้นสามัญของบริษัทฯ และใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังกล่าวได้สิ้นสภาพลงเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2552

รายงานประจำ�ปี 2553


23. ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกส่วนงาน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยดำ�เนินกิจการใน 3 ส่วนงานหลัก คือ (1) ธุรกิจรับจ้างประกอบและรับจ้างอื่นๆ ที่เกี่ยวกับรถยนต์ (2) ธุรกิจผลิตอุปกรณ์สำ�หรับใช้ผลิตรถยนต์ (ประกอบด้วยธุรกิจรับจ้างผลิตแม่พิมพ์และจิ๊ก และธุรกิจผลิตและจำ�หน่าย อะไหล่และชิน้ ส่วน) และ (3) ธุรกิจจำ�หน่ายรถยนต์และศูนย์บริการรถยนต์และดำ�เนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมศิ าสตร์หลักใน ประเทศไทย ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงานธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยสำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 มีดังต่อไปนี้ (หน่วย : ล้านบาท)

ธุรกิจรับจ้าง ประกอบ และรับจ้างอื่นๆ ที่ เกี่ยวกับรถยนต์ 2553 2552 รายได้จากภายนอก 632 377 รายได้ระหว่างส่วนงาน 149 171 รายได้ทั้งสิ้น 781 548 กำ�ไรจากการดำ�เนินงานตามส่วนงาน 129 39 รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน: รายได้อื่น อื่นๆ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ภาษีเงินได้นิติบุคคล ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไร(ขาดทุน)สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ส่วนกลาง รวมสินทรัพย์

ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ สำ�หรับใช้ผลิต รถยนต์ 2553 2552 1,125 647 152 15 1,277 662 130 46

ธุรกิจจำ�หน่าย รถยนต์ และศูนย์บริการ รถยนต์ 2553 2552 213 329 8 6 221 335 32 38

การตัด รายการบัญชี ระหว่างกัน งบการเงินรวม 2553 2552 2553 2552 - - 1,970 1,353 (309) (192) - (309) (192) 1,970 1,353 42 27 333 150 121 75 (51) (94) (199) (220) (38) (38) 58 13 (1) (4) 2 219 (112)

499

480

511

534

305

320

(5)

(10)

1,310 1,586

1,324 1,257

2,896

2,581

บริษัทฯ และบริษัทย่อยใช้เกณฑ์ในการกำ�หนดราคาระหว่างกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ 4

ในไตรมาส 2 ปี 2552 บริษัทมีการรับโอนส่วนงานติดตั้งอุปกรณ์ประดับยนต์มาจากบริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด (บริษัท ย่อย) และได้มกี ารซือ้ สินค้าและสินทรัพย์ทเี่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานในส่วนงานดังกล่าว จำ�นวนเงิน 16.26 ล้านบาท และ 3.62 ล้านบาท ตามลำ�ดับ

ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด (บริษัทย่อย) ครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2552 ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้บริษัทยกเลิกสัญญาการเป็นตัวแทนจำ�หน่ายและศูนย์บริการหลังการขายสำ�หรับรถยนต์ แลนด์โรเวอร์ กับบริษัท ซิตี้ออโต้โมบิลล์ จำ�กัด โดยมีผลในวันที่ 1 มีนาคม 2553

ฝ่ายบริหารของบริษัทได้พิจารณาปิดการดำ�เนินงานสำ�นักงานใหญ่ของบริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด (บริษัทย่อย) ภายหลัง รอบระยะเวลาที่รายงาน

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

81


24. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

บริษัทฯ บริษัทย่อย และพนักงาน บริษัทฯ ได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำ�รองเลี้ยง ชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมเป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 3-5 ของเงินเดือนพนักงานและเงิน ที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายสมทบให้เป็นรายเดือนในอัตราร้อยละ 0-100 ของเงินสะสมที่หักจากพนักงาน กองทุนสำ�รอง เลี้ยงชีพนี้บริหารโดย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำ�กัด (มหาชน) ยกเว้นบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง (บริษัท ไทยอัลติเมทคาร์ จำ�กัด) บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมกสิกรไทย จำ�กัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานในกรณีที่ออกจากงานตามระเบียบ ว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ในระหว่างปี 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็นจำ�นวน เงิน 6 ล้านบาท (2552 : 4 ล้านบาท)

25. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

25.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาดำ�เนินงาน

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้เข้าทำ�สัญญาเช่าดำ�เนินงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการเช่าทีด่ นิ พืน้ ทีใ่ นอาคารสำ�นักงาน รถยนต์ เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาระผูกพันในการจ่ายค่าเช่าตามสัญญาเช่าดังกล่าวดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ จ่ายชำ�ระ ภายใน 1 ปี 1.2 1 ถึง 5 ปี 3.2 -

25.2 หนังสือค้ำ�ประกันธนาคาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีหนังสือค้ำ�ประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทและบริษัทย่อยเหลือ อยู่เป็นจำ�นวนเงินดังนี้ งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ (หน่วย: ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (หน่วย: ล้านบาท) (หน่วย: ล้านบาท) เพื่อค้ำ�ประกันการซื้อสินค้า 0.07 5.20 0.20 เพื่อค้ำ�ประกันการใช้ไฟฟ้าและอื่นๆ - 10.33 3.51 26. เครื่องมือทางการเงิน

82

26.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง

เครื่องมือทางการเงินที่สำ�คัญของบริษัทฯ และบริษัทย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 “การแสดงรายการ และการเปิดเผยข้อมูลสำ�หรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ อื่น เงินให้กู้ยืม เงินลงทุน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการ เงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้

รายงานประจำ�ปี 2553


ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า เงินให้กู้ยืม ลูกหนี้อื่น ฝ่ายบริหารควบคุม ความเสีย่ งนีโ้ ดยการกำ�หนดให้มนี โยบายและวิธกี ารในการควบคุมสินเชือ่ ทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจึงไม่คาด ว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำ�คัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่มีการก ระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จำ�นวนมากราย จำ�นวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อคือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ เงินให้กู้ยืมและลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบดุล

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำ�คัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนชั่วคราว และเงินให้กู้ยืมระยะสั้นที่มีดอกเบี้ย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีกำ�หนดระยะเวลา ชำ�ระคืนภายในหนึ่งปี ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงอยู่ในระดับต่ำ�

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

บริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำ�คัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ บริษัท ย่อยได้ตกลงทำ�สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาไม่เกินหนึ่งปีเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการ บริหารความเสี่ยง

26.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน

เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินลงทุนชั่วคราว และเงินให้กู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯ และบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบดุล

มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำ�นวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำ�หนด มูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกำ�หนดจากราคาตลาดล่าสุด หรือกำ�หนดขึ้นโดย ใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม

27. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำ�คัญของบริษัทฯ คือการจัดให้มีซึ่งโครงสร้างทางการเงินที่เหมาะสมและการดำ�รงไว้ ซึ่งความสามารถในการดำ�เนินธุริกจอย่างต่อเนื่อง

ตามงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุ่มบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.16: 1 (2552: 0.10 : 1) และบริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.12: 1 (2552: 0.12 : 1)

บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

83


28. การจัดประเภทรายการใหม่

รายการในงบการเงินของปี 2552 บางรายการได้จัดประเภทใหม่ให้สอดคล้องกับรายการในงบการเงินของปี 2553 ดังนี้

งบการเงินรวม ก่อนจัดประเภทใหม่ จัดประเภทใหม่ งบดุล ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ 1,324,014,362 (15,906,400) ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในการดำ�เนินงาน - 15,906,400 สิทธิการเช่าที่ดินและอาคาร-สุทธิ 3,401,324 (3,401,324) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 66,928,236 3,401,324 รวม - งบกำ�ไรขาดทุน ต้นทุนขาย - 1,093,304,225 ต้นทุนการให้บริการ - 110,179,811 ต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริการ 1,203,484,036 (1,203,484,036) รวม -

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ก่อนจัดประเภทใหม่ จัดประเภทใหม่ หลังจัดประเภทใหม่ งบกำ�ไรขาดทุน ต้นทุนขาย - 580,460,381 580,460,381 ต้นทุนการให้บริการ - 83,310,987 83,310,987 ต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริการ 663,771,368 (663,771,368) รวม -

การจัดประเภทรายการใหม่นี้เนื่องจากผู้บริหารเห็นว่ามีความหมาะสมกับธุรกิจของกลุ่มกิจการมากกว่า

29. การอนุมัติงบการเงิน

84

งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554

รายงานประจำ�ปี 2553

(หน่วย: บาท) หลังจัดประเภทใหม่ 1,308,107,962 15,906,400 70,329,560 1,093,304,225 110,179,811 -


บริษัท ไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จำ�กัด (มหาชน)

85


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.