TRUE : FORM 56-1 For the Year 2008 thai

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูล (แบบ 56-1) ประจําป 2551

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)


สารบัญ หนา สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary)

1

สวนที่ 2 บริษทั ที่ออกหลักทรัพย

1

1. ปจจัยความเสี่ยง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ 3.2 การตลาด 3.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย 3.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ 3.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย 3.6 ความคืบหนาดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม 4. การวิจัยและพัฒนา 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัท 8.2 ผูถือหุน 8.3 นโยบายการจายเงินปนผล 8.4 โครงสรางหนี้สิน 9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการ 9.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท 9.3 รายงานการกํากับดูแลกิจการของบริษัท 9.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน 9.5 บุคลากร 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 รายงานการสอบบัญชี 12.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม 12.3 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ 12.4 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.5 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ เอกสารแนบ 1: รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล

1-1 2-1 3-1 3 - 20 3 - 20 3 - 22 3 - 23 3 - 27 4-1 5-1 6-1 7-1 8-1 8 - 13 8 - 14 8 - 14 9-1 9 - 11 9 - 14 9 - 30 9 - 30 10 - 1 11 - 1 12 - 1 12 - 2 12 - 5 12 - 6 12 - 22 13 - 1 1 1 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 1 ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“ทรู” หรือ “บริษัท”) และบริษัทยอย ประกอบธุรกิจ ใหบริการสื่อสารโทรคมนาคม โดยไดทําสัญญารวมการงานและรวมลงทุนขยายบริการโทรศัพท (“สัญญา รวมการงานฯ”) กับองคการโทรศัพทแห งประเทศไทย (ปจจุบัน คือ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) หรือ “ที โอที ”) และมี บ ริ ษั ท ย อ ยทํ าสั ญ ญาให ดํ าเนิ น การให บ ริก ารวิ ท ยุ ค มนาคมระบบเซลลู ล า (“สั ญ ญาให ดําเนินการฯ”) กับ การสื่อสารแหงประเทศไทย (ปจจุบัน คือ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ “กสท”) นอกจากนี้ กลุมทรูยังประกอบธุรกิจใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก โดยมีบริษัทยอย ทําสัญญารวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศน (และบริการโทรทัศนทางสาย) ระบบบอกรับเปนสมาชิก (“สัญ ญารวมดําเนิน กิจการฯ”) กับ องคการสื่ อสารมวลชนแห งประเทศไทย (ปจจุบั น คือ บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) หรือ “อสมท”) วิสัยทัศนของกลุมทรู คือ การเปนผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตล พันธกิจของกลุมทรู คือ การนํา ความรู ขอมูลขาวสาร และสาระบันเทิงแกประชาชนและเยาวชน โดยมุงมั่นที่จะสรางคุณคาใหกับผูถือหุน ลูกคา องคกร และพนักงาน ทรู คื อ ผู ใ ห บ ริ ก ารอิ น เทอร เน็ ต และบรอดแบนด ร ายใหญ ที่ สุ ด ของประเทศ อี ก ทั้ ง ยั ง เป น ผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกทั่วประเทศรายเดียวของไทย และผูใหบริการโทรศัพทพนื้ ฐาน รายใหญ ที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้ งเปนผูใหบริการโทรศัพ ทเคลื่อนที่รายใหญ อันดับ 3 ของประเทศ นอกจากนี้ยังเปนผูใหบริการดานอีคอมเมิรซ และบริการดิจิตอลคอนเทนทตางๆ ธุ ร กิ จ ของกลุ ม ทรู คื อ การผสมผสานผลิ ต ภั ณ ฑ บริ ก าร และโครงข าย ภายใต ยุ ท ธศาสตร คอนเวอรเจนซเพื่อมอบประโยชนสูงสุดใหกับผูบริโภค ผานผลิตภัณ ฑและบริการสื่อสารโทรคมนาคม ครบวงจรตอบสนองตรงใจทุกไลฟสไตล จึงทําใหไมจําเปนตองพึ่งพากลยุทธดานราคาแตเพียงอยางเดียว นอกจากนี้ ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซยังทําใหทรูสามารถสรางความแตกตาง เพิ่มความสะดวกสบายใหกับ ทุกไลฟสไตล รวมทั้งสามารถเสริมสรางประสิทธิภาพการทํางานใหกับผูใชบริการประมาณ 20 ลานราย ซึ่งประกอบดวย โทรศัพทเคลื่อนที่ (ทรูมูฟ) โทรศัพทพื้นฐาน/WE PCT (ทรูออนไลน) อินเทอรเน็ต/บรอดแบนด (ทรูออนไลน) โทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก (ทรูวชิ ั่นส)

14.8 2.2 1.3 1.5

ลานราย ลานราย ลานราย ลานราย

ในป 2551 ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซมีความคืบหนาและใหผลลัพธเปนที่นาพอใจ สงผลให มีผูใชบริการผลิตภัณฑและบริการของกลุมทรูตั้งแต 2 รายการขึ้นไปเปนจํานวนถึง 1.9 ลานครัวเรือน โดย เพิ่มขึ้นรอยละ 22 จากปที่ผานมา

สวนที่ 1

TRUETB: ขอมูลสรุป

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูตระหนักถึงความรับผิดชอบของธุรกิจที่มีตอสังคมและสิ่งแวดลอม ดวยเหตุนี้ ทรูจึงมุงมั่น ดําเนินธุรกิจเพื่อตอบแทนผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝายและสาธารณชนโดยรวม อีกทั้งยังชวยเสริมสรางความ แข็งแกรงและมอบคุณประโยชนที่ยั่งยืนคืนสูสังคม ในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม ความกาวหนาในป 2551 กลุมทรูยังคงรักษาระดับรายไดจากบริการโดยรวม (ไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย หรือ IC) ทามกลาง เศรษฐกิจที่ออนตัวลง การมีฐานรายไดจากหลากหลายธุรกิจชวยลดความเสี่ยงในการดําเนินงานจากการพึ่งพาธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง เพียงอยางเดียว รายไดจากบริการบรอดแบนดเพิ่มขึ้นรอยละ 19 เปน 5 พันลานบาท และมียอดผูใชบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 15 ผลการดําเนินงานของทรูมูฟฟนตัวหลังผานครึ่งปแรก ป 2551 มียอดผูใ ชบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 22 ยอดผูใชบริการทรูวิชนั่ สเพิ่มขึ้นรอยละ 41 และอัตราการเปลีย่ นจากแพ็คเกจสําหรับลูกคาระดับกลาง-ลาง มาใชแพ็คเกจราคาสูงกวาของทรูวิชั่นส เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30 บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ บริการอินเทอรเน็ต บริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ และเกมออนไลน ถือเปนแหลงรายไดสําคัญของกลุม แผนระดมทุนโดยการออกหุนสามัญใหมเสนอขายตอผูถือหุนเดิม (Rights Offering) ทําใหทรูมีความ แข็งแกรงทางการเงินยิ่งขึ้น และชวยเสริมความมั่นคงในภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว นโยบายความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจที่มีตอสังคม (Corporate Social Responsibility หรือ CSR) ของทรู ไดรับการรับรองจากคณะกรรมการของบริษัท และไดเผยแพรในเว็บไซตของบริษัทที่ ww.truecorp.co.th อยางไรก็ดี แมวากลุมบริษัททรูจะเล็งเห็นโอกาสการเติบโตในหลายๆ ดาน แตยังคงมีปจจัยความเสี่ยง ทั่วไปและปจจัยความเสี่ยงเฉพาะบางประการ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของบริษัทและ บริษัทในเครือ ซึ่งสามารถอานรายละเอียดเกี่ยวกับ “ปจจัยความเสี่ยง” ไดในสวนที่ 2 นับตั้งแตตนป 2550 กลุมทรูไดมีการแบงกลุมธุรกิจหลักออกเปน 5 กลุม ซึ่งประกอบดวย ธุรกิจออนไลน ภายใตชื่อ ทรูออนไลน ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริม บริการ โครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือ บริการบรอดแบนด และ บริการ WE PCT (บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่) ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตชื่อ ทรูมูฟ (ชื่อเดิม คือ ทีเอ ออเรนจ) ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิม คือ ยูบีซี) ธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซ ภายใตชื่อ ทรูมันนี่ ธุรกิจดิจิตอลคอนเทนท ภายใตชื่อ ทรูไลฟ (รวมทั้งทรู คอฟฟ)

สวนที่ 1

TRUETB: ขอมูลสรุป

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับรายงานดานการเงิน กลุมทรูรายงานผลการดําเนินงานเปน 3 ธุรกิจหลัก คือ ทรูออนไลน ทรูมูฟ และทรูวิชั่นส โดยผลการดําเนินงานของธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซและดิจิตอลคอนเทนท (ทรูมันนี่ และทรูไลฟ) ไดถูกรวมอยูในกลุมธุรกิจของทรูออนไลน ขอมูลที่สําคัญของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีดังนี้ -

สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน รายไดรวม กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สวนที่เปนของบริษัท

116,951 110,331 6,620 61,265 (2,355)

ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท ลานบาท

ทั้งนี้ สามารถอานรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทไดในสวนที่ 2 ของแบบแสดงรายการขอมูลนี้ ซึ่ง เปนขอมูลเกี่ยวกับบริษัทในรายละเอียด

ในแบบ 56-1 นี้ คําวา “ทรู” “บริษัท” “บริษัทในเครือ” และ “บริษัทยอย” หมายความถึง บริษัท ทรู คอรปอเรชั่ น จํากัด (มหาชน) และ/หรือ บริษัทในเครือ และ/หรือ บริษัทยอย ในกรณีที่มีขอสงสัยวาบริษัทใดเปนผูรับผิดชอบหรือดําเนินการ กิจการหนึ่งกิจการใดที่ปรากฎในเอกสารฉบับนี้ สามารถสงคําถามมาไดที่ ฝายลงทุนสัมพันธ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคาร ทรูทาวเวอร ชั้น 27 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 66 (0) 2699-2515 โทรสาร 66 (0) 2643-0515 อีเมล Ir_office@truecorp.co.th

สวนที่ 1

TRUETB: ขอมูลสรุป

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 2 บริษัทที่ออกหลักทรัพย บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจ โทรคมนาคม โดยมีที่ตงั้ สํานักงานใหญ

เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310

เลขทะเบียนบริษัท 0107536000081

Home Page www.truecorp.co.th

โทรศัพท 66(0) 2643-1111

โทรสาร 66(0) 2643-1651

สวนที่ 2

TRUETC: บริษัทที่ออกหลักทรัพย

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1. ปจจัยความเสี่ยง ถึงแมในป 2552 กลุมบริษัททรูจะเล็งเห็นโอกาสการเติบโตในหลายๆ ดาน แตยังคงมีปจจัยความเสี่ยง ทั่วไปและปจจัยความเสี่ยงเฉพาะบางประการ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินการของบริษัทและ บริษัทในเครือ ความเสี่ยงเกี่ยวกับการดําเนินงาน ความเสี่ยงจากปจจัยดานเศรษฐกิจมหภาค ในป 2551 ประเทศไทยไดรับ ผลกระทบจากป จ จัย ทางเศรษฐกิจ และการเมื อ ง อาทิ การชุ ม นุ ม ประทวง และการปดสนามบินสุวรรณภูมิ ทําใหกําลังซื้อ รวมทั้งความเชื่อมั่นของผูบริโภคลดลง นอกจากนั้น วิกฤติการเงินโลก ยังไดสงผลตอภาวะเศรษฐกิจในประเทศ โดยในไตรมาสที่ 4 ป 2551 เศรษฐกิจในประเทศ ไดชะลอตัวลง และ มีการคาดการณ วา จะยังคงชะลอตัวตอเนื่องจนกระทั่งประมาณกลางป 2552 ดังนั้น ภาคอุตสาหกรรมตางๆ รวมทั้งบริษัทและบริษัทยอยอาจประสบปญหาในการสรางความเติบโตดานรายได อยางไรก็ตาม ในป 2551 อุตสาหกรรมโทรคมนาคม ไดรับผลกระทบไมมาก จะเห็นไดจากรายได จากคาบริการของธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวม ยังคงเติบโตตอเนื่องจากป 2550 ทั้งนี้เนื่องจากบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ไดกลายเปนสิ่งจําเปนในวิถีชีวิตของคนไทยในปจจุบัน ในขณะที่ บริการดานไลฟสไตล อื่นๆ เชน บริการอินเทอรเน็ตบรอดแบนด และ บรอดแบนดแบบไรสาย รวมทั้งบริการโทรทั ศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก ยังมีอัตราเติบโตที่นาพอใจ บริษัทคาดวาอุตสาหกรรมโทรคมนาคมโดยรวม นาจะยังคงเติบโต ในป 2552 โดยยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซจะเปนกําลังสําคัญในการสรางความแตกตางใหกับกลุมบริษัททรู และจะชวยเพิ่มจํานวนลูกคารวมทั้งรายไดในสภาวะเศรษฐกิจที่กําลังชะลอตัว ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการตลาด บริษัทและบริษัทยอย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทรูมูฟ ตลอดจนธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ธุรกิจอินเทอรเน็ต และ บรอดแบนด จะตองเผชิญกับการแขงขันที่ทวีความรุน แรงยิ่งขึ้น เนื่องจากธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ เริ่มเขาใกลจุดอิ่มตัว ในขณะที่ผูใหบริการบรอดแบนด สามารถขยายบริการไดทั่วประเทศภายหลังการที่ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กทช.”) ไดเปดเสรี นอกจากนี้ ทรูวิชั่นส ซึ่งเปน ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเป นสมาชิก ของกลุมบริษัท จะตองเผชิญ กับการแขงขันมากขึ้น เป น ลําดับ อัน เป น ผลมาจากพระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การกระจายเสี ยงและกิ จการโทรทั ศ น พ.ศ. 2551 ซึ่ ง มีผลบั งคับ ใชในเดือนมีน าคม ป 2551 โดยอาจจะทํ าใหมี การออกใบอนุ ญ าตให ผูประกอบการรายใหม สําหรับผูประกอบการวิทยุกระจายเสียงชุมชนและกิจการที่ไมใชคลื่นความถี่ และเปนใบอนุญาตประกอบกิจการ บริการชุมชนชั่วคราว มีอายุไมเกิน 1 ป อยางไรก็ตามการอนุญาตใหผูประกอบการรายใหมที่จะใหบริการทั่วไป

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทุกประเภทและทั่วประเทศ ยังไมสามารถทําได จนกวาจะมีการจัดตั้งผูกํากับดูแล คือ คณะกรรมการกิจการ กระจายเสี ย ง และกิ จ การโทรทั ศ น แ ห ง ชาติ (“คณะกรรมการ กสช.”) นอกจากนั้ น พระราชบั ญ ญั ติ ดังกลาวไดอนุญาตใหผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก (ระบบเคเบิลและดาวเทียม) สามารถ โฆษณาได ซึ่งรายไดจากคาโฆษณาอาจจะชวยเสริมสรางความแข็งแกรงทางการเงิน ใหกับผูให บริการ โทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกรายเล็กๆ และอาจทําใหมีความสามารถในการแขงขันกับทรูวิชั่นสเพิ่มขึ้น ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยมีการแขงขันดานราคาอยางรุนแรงในป 2548 และป 2549 ซึ่งทําให รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน (ARPU) และอัตราการทํากําไรของผูประกอบการลดลง ทั้งนี้ในป 2548 รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายของ ทรูมูฟ ลดลงในอัตรารอยละ 10 (จาก 437 บาท ในปกอนหนา เปน 393 บาท) และในป 2549 รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายของทรูมูฟ ลดลงในอัตรารอยละ 26 (เปน 292 บาท) นอกจากนั้น อัตราการทํากําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจาย (EBITDA Margin) ในป 2549 ลดลงเปนรอยละ 21.4 (จากรอยละ 23.4 ในป 2548) โดยสวนใหญเนื่องจากการเพิ่มขึ้น ของคาใชจายอันเกิดจากการขยายโครงขายเพื่อรองรับจํานวนลูกคาและปริมาณการใชงานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนหนึ่ง มีสาเหตุมาจากการลดลงของราคา อยางไรก็ตามนับตั้งแตป 2550 การแขงขันเปนไปอยางสมเหตุสมผลมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากมีการนํา ระบบคาเชื่อมโยงโครงขายมาใชจริง ทําใหผูประกอบการมีภาระตนทุนในการเชื่อมโยงไปยังโครงขายอื่น (ในอัตราโดยเฉลี่ย 1 บาทตอนาที) ซึ่งเปนเสมือนราคาขั้นต่ําของผูประกอบการ ดังนั้น ผูประกอบการจึงได ปรับราคาขึ้นอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม การปรับราคาขึ้นมีผลใหปริมาณการใชงานลดลง และเปนสาเหตุ สวนหนึ่งที่ทําใหรายไดตอเลขหมายยังคงลดลง ทั้งนี้รายไดตอเลขหมายของทรูมูฟลดลงในอัตรารอยละ 35 (เปน 191 บาท) ในป 2550 นอกจากนั้น ในป 2551 ผูประกอบการรายเล็ก เชน Hutch ที่ดําเนินการในนาม ของ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (“กสท”) สามารถเสนอโปรโมชั่นราคาต่ํา เนื่องจากไมมี ภาระคาเชื่อมโยงโครงขาย อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน กสท อยูในระหวางการเจรจากับผูประกอบการรายอื่น เพื่อการเขาสูระบบเชื่อมโยงโครงขาย ทั้งนี้ภายหลังการเจรจาแลวเสร็จ จะมีผลให Hutch เขาสูระบบเชื่อมโยง โครงขายดวย และทําใหการแขงขันดานราคาลดลง หากในอนาคต คณะกรรมการ กทช. อนุญาตใหผูประกอบการตางๆ เปดใหบริการใหมเพิ่มเติม เชน บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability) หรืออนุญาตใหมีผูประกอบการ รายใหมซึ่งอาจจะมีผลทําใหการแขงขันเพิ่มขึ้น ทั้งนี้คาดวาคณะกรรมการ กทช. จะอนุญาตใหเปดบริการ เพิ่มเติมแบบใหมนี้ไดในป 2552 อยางไรก็ตามทรูมูฟอาจจะมีโอกาสในการเพิ่มลูกคารายเดือนซึ่งมีรายได เลขหมายตอเดือนสูงมากขึ้น เนื่องจากลูกคาสามารถเลือกใชบริการของผูประกอบการรายใดๆ ก็ได โดยไม จําเปนตองเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ นอกจากที่กลาวแลว ทรูมูฟยังมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น จากการ เปลี่ยนแปลงในโครงสรางผูถือหุนใหญในบริษัทคูแขงบางราย ซึ่งมีผลทําใหทรูมูฟตองแขงขันกับผูใหบริการ จากตางประเทศ ซึ่งมีประสบการณจากการแขงขันในตลาดที่มีการแขงขันสูงกวา และมีเงินทุนมากกวา สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในตลาดอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด กลุมบริษัททรูตองเผชิญกับทั้งคูแขงที่เปนบริษัทซึ่งเพิ่งเริ่ม ประกอบการ ไปจนถึงบริษัทจากตางประเทศ บริษัทเหลานี้เพิ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ต จากคณะกรรมการ กทช. ในป 2548 นอกจากนั้น ณ ตนป 2549 คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุญ าต สําหรับการประกอบกิจการโทรศัพทพื้นฐาน ใหแก บริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด จํากัด ซึ่งทําใหกลุมบริษัท ดังกลาว (ประกอบดวย บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน)) สามารถให บ ริ ก ารโทรศั พ ท พื้ น ฐานรวมทั้ ง บรอดแบนด ไ ด ค รอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ รวมทั้ ง ต อ มาได อ อกใบอนุ ญ าตดั ง กล า วให บ ริ ษั ท ซุ ป เปอร บรอดแบนด เน็ ท เวิ ร ค จํ ากั ด ซึ่ ง เป น บริ ษั ท ย อ ย ของ บริษัท แอดวานซ อินโฟรเซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) ทําใหการแขงขันมีแนวโนมเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากนั้นธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ยังคงมีการแขงขันทางออมที่รุนแรงจากบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งการแขงขันจากธุรกิจบริการเสียงผานการใหบริการอินเทอรเน็ต (VoIP) ซึ่งมีอัตราคาบริการที่ต่ํากวา อัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐานแบบเดิม กลุมบริษัททรูคาดวาการแขงขันในธุรกิจตางๆ ที่กลุมบริษัททรูใหบริการ จะยังคงสูงขึ้นในอนาคต แตเชื่อวา กลุมบริษัททรูมีความพรอมสําหรับการแขงขัน โดยมีขอไดเปรียบจากการที่สามารถใหบริการที่ ครบวงจร สนับสนุนดวยแบรนดที่แข็งแกรง ดังจะเห็นไดจากการที่ทรูมูฟสามารถครองสวนแบงตลาด โทรศัพทเคลื่อนที่ไดประมาณ 1 ใน 3 ของลูกคารายใหมทุกป นับตั้งแตป 2547 นอกจากนี้กลุมบริษัททรูยัง สามารถรักษาตําแหนงผูนําในตลาดอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด โดยมีขอไดเปรียบคูแขงจากการมีโครงขาย โทรศัพทพื้นฐานที่ทันสมัยและเหมาะสมสําหรับการใหบริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด ทําใหสามารถ ใหบริการที่มีคุณภาพดีกวาคูแขง นอกจากที่กลาวแลว บริษัทยอย ไดยื่นขอรับใบอนุญาตใหมๆ เพื่อใหไดรับประโยชนจากการปฏิรูป การกํากับดูแล และเพื่อการแขงขันที่เทาเทียมกับผูประกอบการรายอื่น ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนความตองการของลูกคาก็เปลี่ยนแปลง ไปตามวิวัฒนาการในผลิตภัณฑและบริการใหมๆ นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงดานกฎเกณฑการกํากับดูแล ก็มีสวนทําใหมีการเปดตลาดและเทคโนโลยีใหมๆ คาดวาปจจัยตางๆ ดังกลาว จะยังคงมีผลตอธุรกิจสื่อสาร ของประเทศไทยในอนาคต โดยเทคโนโลยีใหม ๆ ที่ จะมีผลต อธุรกิ จโทรคมนาคมของประเทศไทยใน อนาคตอั น ใกล นี้ ป ระกอบด ว ย โทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ ใ นระบบ 3G อิ น เทอร เน็ ต ความเร็ ว สู ง แบบไร ส าย (WiMAX) และบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability) ซึ่งอาจจะมีผลทําให กลุมบริษัททรูมีคาใชจายในการลงทุนสูงขึ้นเปนอยางมาก และหากกลุมบริษัททรูไมลงทุนในเทคโนโลยีใหม อาจจะมีผลทําใหขีดความสามารถในการแขงขันลดลง

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อย า งไรก็ ต าม กลุ ม บริ ษั ท ทรู ค าดว า ความสามารถในการให บ ริ ก ารที่ ห ลากหลายสนองตาม ความตองการของลูกคาไดอยางครบวงจร จะทําใหสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ไดดีกวา การนําเสนอ ‘บริการเพียงบริการเดียว’ โดยจะสามารถรักษารายไดและลูกคาใหอยูในกลุมบริษัทไดดีกวา รวมทั้งสามารถรักษาความสัมพันธกับลูกคา ไมวาจะเปนลูกคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บรอดแบนด หรือ โทรศัพทพื้นฐาน นอกเหนือจากนั้น หากผูประกอบการตางๆ ไดรับอนุญาตใหเปดใหบริการใหมๆ เหลานี้ ในเวลาเดียวกัน ทําใหบริษัทสามารถแขงขันบนพื้นฐานของความเทาเทียมกัน ความเสี่ยงเฉพาะของธุรกิจของทรูวิชั่นส ความเสี่ยงหลัก ไดแก การตองพึ่งพาผูจัดหารายการเพื่อซื้อรายการจากตางประเทศ และความเสี่ยง จากการถูกลักลอบใชสัญญาณ หากทรูวิชั่นส ไมสามารถจัดหารายการที่เปนที่สนใจของสมาชิก หรือหากตนทุนของการจัดหา รายการเพิ่มสูงขึ้นในอนาคตก็จะมีผลกระทบตอผลประกอบการของทรูวิชั่นส ปจจุบันลูกคาที่สนใจใน รายการจากตางประเทศ สวนใหญเปนลูกคาที่สมัครแพ็คเกจพรีเมียม ประกอบดวย Platinum, Gold และ Silver ซึ่งในป 2551 มีจํานวนรวม 799,837 ราย คิดเปนอัตรารอยละ 54 ของลูกคาของทรูวิชั่นส นอกจากนั้น ตนทุนรายการตางประเทศ รวมในป 2551 คิดเปนอัตรารอยละ 21.4 ของรายไดจากคาบริการของทรูวิชั่นส การลักลอบใชสัญญาณเปนเรื่องที่ปองกันไดยาก และมีผลลบตอผลการดําเนินงาน กระแสเงินสด และการจัดหารายการของทรูวิชั่นส โดยในปจจุบัน คาดวามีผูลักลอบใชสัญญาณ สัดสวนประมาณ หนึ่งในสาม ของผูใชบริการรวมทั้งประเทศ อยางไรก็ตามบริษัทคาดวาพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศนฉบับปจจุบัน ซึ่งมีบทบัญญัติที่ครอบคลุมการลักลอบใชสัญญาณที่ชัดเจนพรอมบทลงโทษ จะมีสวนทําใหการลักลอบใชสัญญาณลดนอยลงในอนาคต ความเสี่ยงดานการกํากับดูแล ธุรกิจสื่อสารของประเทศไทยอยูในระหวางการเปลี่ยนแปลง ดานการกํากับดูแล กอใหเกิดความเสี่ยง ตอผูประกอบการ ตามขอตกลงที่ประเทศไทยไดใหไวกับองคกรการคาโลกหรือ WTO เพื่อเปดเสรีธุรกิจโทรคมนาคมไทย ภายในป 2549 รั ฐ บาลไทยได เริ่ ม ดํ า เนิ น การปฏิ รู ป การกํ ากั บ ดู แ ลกิ จ การโทรคมนาคม โดยการออก พระราชบัญ ญั ติห ลัก 2 ฉบั บ อัน ไดแก พระราชบัญ ญั ติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุ กระจายเสียงวิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งประกาศใชในเดือนมีนาคม ป 2543 และ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ซึ่งประกาศใชในเดือนพฤศจิกายน 2544 ในเดือนตุลาคม 2547 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือคณะกรรมการ กทช. ไดถูก จัดตั้งขึ้นเพื่อเปนองคกรอิสระในการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ซึ่งเดิมเปนอํานาจหนาที่ขององคการ สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบันไดแปลงสภาพเปน บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) หรือ ทีโอที) และ การสื่อสารแหงประเทศไทย (ปจจุบันไดแปลงสภาพเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท) และ บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด นับตั้งแตไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กทช. จนกระทั่งถึงปจจุบัน คณะกรรมการ กทช. ไดออก ประกาศ กฎเกณฑ ขอบังคับที่สําคัญ ๆ หลายฉบั บ รวมทั้งมี แผนที่จะออกประกาศใหมๆ ในป 2552 อีก หลายฉบับ ซึ่ งรวมถึงการประมูลโครงการใหบริการโทรศัพ ทเคลื่อนที่ 3G ประกาศตางๆ เหลานี้ อาจมี ผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัททรูในอนาคต นอกเหนือจากนั้น รัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึ่ง ประกาศใชเมื่อเดือนสิงหาคม 2550 มาตรา 47 ไดกําหนดใหมีองคกรอิสระ เพียงองคกรเดียว จัดตั้งขึ้นเพื่อ สนับสนุนการแขงขันเสรี และกําหนดใหกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม รวมทั้งกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ซึ่งบริษัทไมสามารถคาดการณไดวาคณะกรรมการดังกลาว ตอไปจะเรียกวาคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) จะมีแนวทาง ในการกํากับดู แลอยางไร อยางไรก็ตามจนกระทั่ งถึงตน ป 2552 นี้ คณะกรรมการ กสทช. ก็ยังไม ไดรับ การจัดตั้งตามขอกําหนดของรัฐธรรมนูญดังกลาว ความลาชาในการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ดังกลาว อาจมีผลใหมีความไมชัดเจนและมีความลาชา ในการออกใบอนุญาตบริการใหมๆ ที่เกี่ยวกับการจัดสรรคลื่นความถี่ได เชน บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ 3G หรือ WiMAX เปนตน แมพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2551 ไดกําหนดใหคณะกรรมการ กทช. ปจจุบันมีอํานาจในการกํากับดูแล และออกใบอนุญาต (อายุไมเกิน 1 ป) สําหรับบริการวิทยุชุมชน และบริการอื่นที่ไมตองใชคลื่นความถี่ ไปกอนชั่วคราวในชวงระยะเวลาที่ การจัดตั้ง คณะกรรมการ กสช. ยังไมแลวเสร็จ ซึ่งความลาชาในการจัดตั้งคณะกรรมการ กสช. ตามพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียงฯ หรือ คณะกรรมการ กสทช. ตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน อาจจะทําใหมี ผลกระทบตอโอกาสในการทําธุรกิจของกลุมบริษัททรูได ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมชั่วคราว ไดกําหนดให ผูใหบริการรายใหมที่ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. มีโครงสรางอัตราคาธรรมเนียม อยูในระดับที่ต่ํากวาผูใหบริการรายเดิม เชน กลุมบริษัททรู ซึ่งประกอบกิจการภายใตสัญญารวมการงานและ รวมลงทุ น ขยายบริก ารโทรศัพ ท ระหวางบริษั ทฯ กับองคการโทรศัพ ท แห งประเทศไทย (หรือ ที โอที ) (“สัญญารวมการงานฯ”) และสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา ระหวาง กสท กับ ทรูมูฟ (“สัญญาใหดําเนินการฯ”) นอกจากนั้น ผูใหบริการรายเดิมยังคงมีขอโตแยงกับทีโอที หรือ กสท ในเรื่องที่ขอกฎหมายใหมขดั กับ ขอสัญญาเดิม จึงทําใหผูประกอบการรายเกาเสียเปรียบผูใหบริการรายใหม อันเปนปญหาที่ผูเกี่ยวของตองแกไข

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ปรับปรุงทั้งในแงใบอนุญาต ขอกฎหมาย และ ขอสัญญา ใหสอดคลองกับหลักสากลในการแขงขันเสรีตอไป อยางไรก็ตามกลุมบริษัททรูไมสามารถคาดการณไดวาปญหาดังกลาวจะมีผลที่สุดในทางใด ในเดือนกุมภาพันธ ป 2552 มีขาวปรากฏในหนาหนังสือพิมพบางฉบับ โดยในขาวดังกลาว ผูอํานวยการ สถาบันคุมครองผูบริโภคในกิจการโทรคมนาคม และอนุกรรมการรับเรื่องรองเรียนและบริการประชาชนบางทาน ซึ่ งเป น หน วยงานภายใต คณะกรรมการ กทช. ไดกล าววา การวางตลาดและจัดจําหน ายเครื่องโทรศัพ ท iPhone 3G ของทรูมูฟนั้นไมดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย และเอาเปรียบผูใชบริการ รวมทั้งเงื่อนไข การตลาดขัดตอประกาศ กทช. เรื่อง มาตรฐานของสัญญาใหบริการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ทําใหมีผลตอ ภาพพจนของบริษัทและทําใหผูใชบริการสับสน ซึ่งตอมาทรูมูฟไดยื่นหนังสือตอคณะกรรมการ กทช. เพื่อ ขอให ตรวจสอบการปฏิ บั ติหน าที่ ของผู อํานวยการสถาบั นคุมครองผูบริโภคในกิจการโทรคมนาคม และ อนุกรรมการรับเรื่องรองเรียนทานวามีสิทธิและอํานาจหนาที่ในการแสดงความคิดเห็นดังกลาวหรือไม และ เรียกรองใหปฏิบัติตอทรูมูฟอยางเปนธรรม เนื่องจาก ทรูมูฟ ไดรับการแตงตั้งจากบริษัท Apple ใหเปนตัวแทน จัดจําหนายเครื่อง iPhone ในประเทศไทยอยางเปนทางการ โดยบริษัทสนับสนุนใหมีการซื้อเครื่อง iPhone ที่ มี การนํ าเขาอยางถูกกฎหมาย รวมทั้ งไมไดเอาเปรียบผู บริโภคแตอยางใด โดยผูบริโภคสามารถซื้อเครื่อง iPhone เปลาเพื่อนําไปใชกับบริการของผูประกอบการรายอื่นได และการกําหนดอัตราคาเครื่องและคาบริการที่ แตกตางกัน เปนไปตามความสามารถในการใชงานของเครื่องที่ตางกัน และเปนเรื่องปกติในการทําการตลาด หรือสงเสริมการขาย ซึ่งปจจุบันบริษัทยังไมไดรับการติดตอจากคณะกรรมการ กทช. นอกเหนือจากที่กลาวแลว ทรูมูฟ อาจมีความเสี่ยงจากการที่สัญญาใหดําเนินการฯ อาจถูกแกไขหรือ ยกเลิกได โดยในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติการยื่นขอความเห็นตอสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎี ก า เพื่ อ ให พิ จารณาประเด็ น ข อ กฎหมายที่ เกี่ ย วกั บ การทํ าสั ญ ญาระหวางภาครัฐ และภาคเอกชน วาไดเปนไปตามขั้นตอนที่กําหนดในพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงาน หรือดําเนินการใน กิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 หรือไม โดยในวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีความเห็นวา การดําเนินการของ กสท มิไดดําเนินการหรือปฏิบัติตามตาม พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ แตสัญญาที่ทําขึ้นยังคงมีผลผูกพัน ตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น ดังนั้น กสท และ ทรูมูฟ ยังตองมีภาระหนาที่ ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ไดกระทําไวแลว อยางไรก็ดีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเพิ่มเติมวา ใหหนวยงานเจาของโครงการ รวมทั้งคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 แหง พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ ดําเนินการ เจรจากับภาคเอกชน เพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป ทั้งนี้คณะรัฐมนตรีเปนผูมีอํานาจในการตัดสิน ชี้ขาด ตาม พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ ในการเพิกถอนหรือใหความเห็นชอบ การแกไขสัญญา เพิ่มเติมที่จัดทําขึ้น โดยคณะรัฐมนตรีอาจใชดุลยพินิจพิจารณาใหมีการดําเนินการตามสัญญาใหดําเนินการฯ

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ไดตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงผลกระทบเหตุผลความจําเปน เพื่อประโยชนของรัฐหรือประโยชน สาธารณะ และความตอเนื่องของการใหบริการสาธารณะ ดังนั้นในปจจุบันจึงยังไมสามารถคาดการณไดวา คณะรัฐมนตรีจะมีมติไปในแนวทางใด ซึ่งมีความเสี่ยงวาคณะรัฐมนตรีอาจมีมติใหเพิกถอนสัญญาหรือ ยกเลิกการแกไขสัญญา เนื่องจากไมเปนไปตาม พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ อยางไรก็ตามความเห็นของกฤษฎีกา และมติคณะรัฐมนตรี ผูกพันเฉพาะหนวยงานของรัฐและไมมี ผลผูก พั น กับ ทรูมู ฟ เวน แต ท รูมู ฟ ประสงคจะเขารับ ประโยชน ผูก พั น ตนเอง นอกจากนั้ น ทรูมูฟ เห็ น วา การเจรจากั บ ภาครั ฐ ต อ งขึ้ น อยู กั บ ความตกลงร ว มกั น ของคู สั ญ ญา และหากไม ส ามารถตกลงกั น ได คําพิพากษาของศาลถือเปนที่สุด จึงจะเปนเหตุใหทรูมูฟไมสามารถประกอบกิจการโทรคมนาคมตอไปได หรืออาจทําใหทรูมูฟอาจจะมีภาระคาใชจายใหแกภาครัฐเพิ่มขึ้น ในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหมีการลดอัตราภาษีสรรพสามิตที่จัดเก็บจากบริการ โทรคมนาคมเป น รอยละ 0 (จากเดิมรอยละ 2.2 สําหรับกิจการโทรศัพ ทพื้นฐาน และรอยละ 11 สําหรับ กิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมภาษีเทศบาล) และไดมีมติยกเลิกมติของคณะรัฐมนตรีชุดกอนในป พ.ศ. 2546 เฉพาะประเด็นที่ใหคูสัญญาภาคเอกชนนําคาภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากสวนแบงรายไดที่คูสัญญาภาค เอกชนตองนําสงใหคูสัญญาภาครัฐ อยางไรก็ตามการลดอัตราภาษีสรรพสามิตดังกลาว ทําใหผูประกอบการ มีตนทุนไมเปลี่ยนแปลง ในขณะที่ ทีโอที และ กสท ซึ่งมีกระทรวงการคลังถือหุนแตผูเดียว จะไดรับประโยชน คือ มีรายรับเพิ่มขึ้นจากการที่ไดรับคาสวนแบงรายไดอยางเต็มที่ โดยยังมีขอพิพาทระหวางภาคเอกชนและ คูสัญญาภาครัฐในประเด็นนี้ ซึ่งเปนประเด็นเกี่ยวกับการชําระสวนแบงรายไดไมครบที่ กสท มีหนังสือเรียกให ทรูมูฟชําระเรื่อยมาจนปจจุบัน ในเดือนมกราคม 2551 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกคาเสียหายจากทรูมูฟเพียงวันฟองเปนจํานวนเงินประมาณ 9.0 พันลานบาท ซึ่งในขณะนี้เรื่องดังกลาว รวมถึงจํานวนเงินคาเสียหายที่แนนอนเกี่ยวกับกรณี การชําระสวนแบงรายไดไมครบ กสท มีหนาที่ตอง พิสูจนนั้น ยังอยูในระหวางการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ กลุมบริษัททรูจะยังคงนโยบายเชิงรุกในการเจรจากับคณะกรรมการ กทช. และกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนใหกระบวนการปฏิรูปธุรกิจโทรคมนาคม กอใหเกิดการแขงขัน อยางเสรีและเปนธรรมอยางแทจริง ทรูมูฟ มีความเสี่ยงที่เกิดจาก ทีโอที ฟองรองเรียกใหชําระคาเชื่อมตอโครงขายแบบเดิม (Access Charge) ใหแก ทีโอที ซึ่งอาจจะทําใหบริษัทมีคาใชจายเพิ่มขึ้นในอนาคต ทรู มู ฟ ดํ าเนิ น กิ จการโทรศั พ ท เคลื่อ นที่ ภายใต สั ญ ญาให ดํ าเนิ น การฯ ที่ กสท ตกลงให ทรูมู ฟ ดําเนิ นการให บริการวิทยุคมนาคม นอกจากนั้ น ทรูมูฟ ไดลงนามในขอตกลงเรื่องการเชื่อมตอโครงขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ (Access Charge Agreement) กับ กสท และ ทีโอที ซึ่งทําให ทรูมูฟจะตองจายคาเชื่อมตอ โครงขายใหแก ทีโอที ในอัตรา 200 บาทตอเดือนตอลูกคาหนึ่งราย และครึ่งหนึ่งของสวนแบงรายไดที่ กสท

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ไดรับจากทรูมูฟ สําหรับลูกคาแบบเหมาจายรายเดือน (Post Pay) และในอัตรารอยละ 18 ของรายไดสําหรับ ลูกคาแบบเติมเงิน (Pre Pay) นอกเหนือจากที่ทรูมูฟตองจายคาสวนแบงรายไดให กสท ในอัตรารอยละ 25 หรือ 30 (ตามแตชวงเวลาที่กําหนดไวในสัญญาใหดําเนินการฯ) จากรายไดสุทธิภายหลังจากหักคาเชื่อมโยง โครงขาย ในเดื อ นพฤษภาคม 2549 กทช. ได อ อกประกาศ กทช. ว า ด ว ยการใช แ ละเชื่ อ มต อ โครงข า ย โทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Regulation) ซึ่งระบุใหผูประกอบการโทรคมนาคมที่มีโครงขาย ของตนเองตองอนุญาตใหผูประกอบการรายอื่นสามารถเขาเชื่อมตอและใชโครงขายของตนเองได โดย กําหนดใหดําเนินการตามรายละเอียดวิธีการที่ไดระบุไวในประกาศดังกลาว โดยประกาศ กทช. ฉบับนี้ได กําหนดระบบการจายคาเชื่อมตอโครงขายรูปแบบใหม ที่สะทอนปริมาณการใชงานระหวางโครงขายของ ผูประกอบการแตละราย และไดกําหนดใหผูประกอบการเจรจาเพื่อการเขาสูขอตกลงการเชื่อมตอโครงขาย ระหวางกัน โดยคาเชื่อมตอโครงขายตองอยูบนพื้นฐานของตนทุนของผูประกอบการแตละราย ซึ่งตอมาใน วันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรูมูฟไดรวมลงนาม ในสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection Contract) กับ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) โดยสัญญาดังกลาวมีผลบังคับ ใชทั น ที และในวัน ที่ 16 มกราคม 2550 ทรูมู ฟ ก็ไดลงนามในสัญ ญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกั บ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) ภายหลังการลงนามกับดีแทค ทรูมูฟไดหยุดจายคาเชื่อมตอโครงขายในแบบเดิม (Access Charge) ตามขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Access Charge Agreement) กับ กสท และ ทีโอที เนื่ องจากทรูมูฟ เชื่อวาเปน การปฏิ บั ติ ตามกฎหมาย และตองเขาสู ระบบเชื่อมตอโครงขายแบบใหมตาม ประกาศของ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 อีกทั้งยังไดมีการบอกเลิก ขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยงโครงขาย (Access Charge Agreement) แลว ทรูมูฟจึงไมมีภาระตามกฎหมายใดๆ ที่จะตองจายคาเชื่อมตอโครงขายแบบเดิมอีกตอไป ในวัน ที่ 17 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2549 ทรู มู ฟ ได ส งหนั งสื อ แจ ง ที โอที และ กสท ว าจะหยุ ด ชํ าระ คา Access Charge เนื่องจากอัตราและการเรียกเก็บ ขัดแยงกับกฎหมายหลายประการ ทั้งนี้ ทรูมูฟไดรองขอให ที โ อที ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ ข อง กทช. และเข าร ว มลงนามในสั ญ ญาเชื่ อ มต อ โครงข ายโทรคมนาคม (Interconnection Contract) เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรือใหเรียกเก็บอัตราเรียกเก็บชั่วคราวที่ประกาศโดย คณะกรรมการ กทช. ในขณะที่การเจรจากับ ทีโอที เกี่ยวกับสัญญาดังกลาว ยังไมไดขอสรุป ซึ่งตอมาในวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ทีโอที ไดสงหนังสือเพื่อแจงวาทรูมูฟไมมีสิทธิที่จะใช หรือเชื่อมตอโครงขายตามกฎหมายใหม เนื่องจากทรูมูฟไมไดรับอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจาก กทช. และไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง นอกจากนั้น ทีโอที ไดโตแยงวาขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยง

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงขาย (Access Charge Agreement) ไมไดฝาฝนกฎหมายใดๆ ดังนั้นการเรียกเก็บคาเชื่อมตอโครงขาย แบบเดิมยังมีผลใชบังคับตอไป นอกจากนั้น ทีโอที ไดประกาศวาจะไมเชื่อมตอสัญญาณใหกับลูกคาที่เปนเลขหมายใหมที่ทรูมูฟ เพิ่ ง ได รั บ การจั ด สรรจากคณะกรรมการ กทช. จํ า นวน 1.5 ล านเลขหมาย ซึ่ ง อาจจะมี ผ ลทํ า ให ลู ก ค า ของ ที โ อที ไม ส ามารถติ ด ต อ ลู ก ค า ของทรู มู ฟ ที่ เป น เลขหมายใหม นี้ อย า งไรก็ ต าม ทรู มู ฟ ได ยื่ น ต อ ศาลปกครองกลางเพื่ อ ขอความคุ ม ครอง ซึ่ ง ศาลได มี คํ าสั่ งกํ าหนดมาตรการบรรเทาทุ ก ข ชั่ ว คราวก อ น การพิพากษา เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2550 โดยใหทีโอที ดําเนินการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมเพื่อให ผูใชบริการของทรูมูฟทุกเลขหมายสามารถติดตอกับเลขหมายของทีโอทีได และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 ทีโอที ไดยื่นอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอศาลปกครองสูงสุด และตอมาเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2550 ศาลปกครองสูงสุด มีคําสั่งยืนตามคําสั่งกําหนดมาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนพิพากษาของศาลปกครองกลาง นอกจากนั้น เมื่อวัน ที่ 26 กุมภาพั น ธ 2552 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิ พากษาให ที โอที ดําเนิ น การเชื่อมตอโครงขาย โทรคมนาคม เพื่อใหเลขหมายดังกลาวใชงานไดอยางสมบู รณ และให ที โอที ชําระคาสินไหมทดแทน ให แ ก ทรู มู ฟ จํ านวน 1,000,000 บาท นั บ แต วั น ที่ ค ดี ถึ ง ที่ สุ ด โดยขณะที่ เขี ย นรายงานฉบั บ นี้ ยั งอยู ใ น ระหวางที่ คู ค วามมี สิ ท ธิ ยื่น อุ ท ธรณ คํ าพิ พ ากษาของศาลปกครองกลางได ภ ายในวัน ที่ 26 มี น าคม 2552 คําพิพากษาดังกลาวจึงยังไมถึงที่สุด อยางไรก็ตาม ทีโอทีไดดําเนินการเชื่อมตอโครงขายใหแกผูใชบริการ ของทรูมูฟสําหรับเลขหมายใหมทั้งหมดแลว นับตั้งแตวันที่ 2 มีนาคม 2550 เปนตนมา ในเดือน มิถุนายน ป 2550 ทรูมูฟ ไดยื่นเรื่องเกี่ยวกับการที่ ทีโอที ปฏิเสธการเขาทําสัญญาเชื่อมตอ โครงขายกับ ทรูมูฟ ตอ กทช. โดยมีคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท (กวพ.) เปนผูพิจารณา โดยในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 กทช.ไดชี้ขาดให ทรูมูฟ มี สิท ธิ หน าที่ และความรับ ผิดชอบในการเชื่อมต อโครงขาย โทรคมนาคมเชนเดียวกับผูไดรับใบอนุญาต และไดมีมติเปนเอกฉันทชี้ขาดขอพิพาทให ทีโอทีเขารวมเจรจา เพื่อทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับ ทรูมูฟ ตอมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอที ไดตกลงที่ จะเขาเจรจาทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายกับทรูมูฟ แตมีเงื่อนไขวาจะทําสัญญาเฉพาะเลขหมายใหมที่ไดรับ จัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เทานั้น ซึ่งทรูมูฟไดตกลงตามที่เสนอ และปจจุบันอยูในระหวางการเจรจา กับ ทีโอที ในรายละเอียดของสัญญา แตสําหรับเลขหมายเกานั้น ทรูมูฟยังคงดําเนินการใหเปนเรื่องของ ขอพิพาทและอยูในดุลยพินิจของกระบวนการศาลตอไป ทั้ งนี้ เมื่ อวั น ที่ 16 พฤศจิ ก ายน 2550 ที โอที ได ฟ องร องต อศาลแพ งเพื่ อขอเรี ยกเก็ บ ค าเชื่ อมโยง โครงขายที่ ทรูมูฟ ไมไดจาย จํานวนประมาณ 4,508 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย และภาษี ซึ่งปจจุบันยังมีประเด็นวา คดีอยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรมหรือศาลปกครอง ซึ่งหากศาลที่เกี่ยวของเห็นตรงกันหรือ คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหนาที่ระหวางศาล ไดชี้ขาดในเรื่องเขตอํานาจศาลตามแตกรณีแลว ทีโอที นาจะดําเนินคดีดังกลาวตามกระบวนการพิจารณาของศาลนั้นๆ ตอไป และหากผลการตัดสินของศาลเปนที่สุด ในทางลบต อกลุ ม ทรู อาจจะทํ าให ท รู มู ฟ ต องจ ายเงิ น ค าปรั บ จํ านวนหนึ่ งเท าของค าเชื่ อมโยงโครงข าย สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1-9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ที่ กสท อาจจะจายแทนทรูมูฟ พรอมทั้งดอกเบี้ย และทรูมูฟอาจจะตองจายคาเชื่อมตอโครงขายทั้งในระบบเดิม และระบบใหม ซึ่งจะทําใหคาใชจายของทรูมูฟเพิ่มขึ้นอยางมาก ทั้งนี้หากศาลมีคําสั่งให ทรูมูฟตองชําระ ค าเชื่ อ มโยงโครงข ายที่ ไ ม ไ ด จ าย ทรู มู ฟ อาจจะต อ งบั น ทึ ก ค า ใช จ า ยเพิ่ ม เติ ม จํ า นวน 455.6 ล า นบาท (หรื อ จํ า นวน 204.3 ล า นบาท สุ ท ธิ จ ากส ว นแบ ง รายได ที่ จ า ยให แ ก กสท) สํ าหรั บ ระยะเวลาตั้ ง แต วันที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2549 จํานวน 4,271.7 ลานบาท (หรือจํานวน 3,284.0 ลานบาท สุทธิจากสวนแบงรายไดที่จายให กสท) สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และอีกจํานวน 4,416.8 ลานบาท (หรือจํานวน 3,339.1 ลานบาท สุทธิจากสวนแบงรายไดที่จายให กสท) สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทั้งนี้ไมรวมคาปรับ (ดูรายละเอียดที่ หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน ขอ 42.2 สําหรับงบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะบริษั ทประจํางวดป สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2551) กลุมบริษัททรูตองแขงขันกับคูสัญญารวมการงานฯ ซึ่งอาจนําไปสูขอพิพาทตางๆ ที่อาจสงผลกระทบ ตอการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัททรู บริษัทและบริษัทยอย ในสวนบริษัทที่ดําเนินกิจการภายใตสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ ภายใต สัญญาใหดําเนินการฯ กับ ทีโอที และ/หรือ กสท แลวแตกรณี โดยความเห็น ที่ แตกตางกัน ของ กลุมบริษั ททรู กับ ทีโอที และ กสท ทั้งในประเด็น การตีความ ขอกฎหมาย และ ขอสัญญารวมการงานฯ และ/หรือการไดรับการอนุญาต รวมทั้งประกาศ กฎเกณฑ และ ขอบังคับตางๆ โดยคณะกรรมการ กทช. อาจมีผลตอความสามารถในการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัททรู บริษัทและบริษัทยอย และมีความเสี่ยงที่สัญญารวมการงานฯ หรือ สัญญาใหดําเนินการฯ อาจถูกยกเลิก โดย ในกรณี ข องสั ญ ญาร ว มการงานฯ สํ าหรั บ บริ ก ารโทรศั พ ท พื้ น ฐาน ที โ อที ต อ งนํ าเสนอข อ พิ พ าทต อ อนุญาโตตุลาการเปนผูชี้ขาดกอนดําเนินการยกเลิกสัญญา ซึ่งทีโอทีจะยกเลิกสัญญารวมการงานฯ ไดเฉพาะ ในกรณีที่บริษัททําผิดกฎหมายอันเกี่ยวกับการปองกันภัยพิบัติสาธารณะหรือความมั่นคงของรัฐ หรือ บริษัท ถูกศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย หรือบริษัทจงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยางตอเนื่อง เทานั้น นอกจากนั้นทีโอทีเปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาในโครงขายของบริษัททั้งหมด และหักสวนหนึ่ง ของรายไดไวเปนสวนแบงรายได ดังนั้นทีโอทีอาจชะลอการชําระเงินสวนตามสิทธิของบริษัท หรืออาจ หักไวจํานวนหนึ่งเพื่อเปนการชําระคาใชจายใดๆ ที่ ทีโอที เชื่อวาบริษัทติดคาง (แตจนถึงขณะนี้ก็ยังไมมี กรณีดังกลาวเกิดขึ้น) ในขณะที่ ที โอที และ กสท เป น คูสัญ ญารวมกั บ บริษั ท และ ทรูมูฟ ทั้ งสององค ก รยังเป น คูแ ข ง ในการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัททรูอีกดวย ดวยเหตุนี้ จึงอาจกอใหเกิดขอพิพาทระหวางบริษทั และ ทีโอที หรือ ทรูมูฟ และ กสท ได ซึ่งที่ผานมาไดมีการยื่นคําฟองหรือคําเสนอขอพิพาทเรื่องความขัดแยงบางกรณีที่

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1 - 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เกิดขึ้นตอศาลปกครองหรือคณะอนุญาโตตุลาการเปนผูตัดสิน กลุมบริษัททรูไมสามารถรับรองไดวาจะ สามารถชนะขอพิพาททั้งหลายเหลานั้น ธุรกิจรวมถึงเงื่อนไขทางการเงินของกลุมบริษัททรูอาจจะไดรับ ผลกระทบ โดยในช ว งที่ ผ านมากระบวนการยุ ติ ธ รรมก็ ไ ด มี คํ าตั ด สิ น ข อ พิ พ าทต างๆ ทั้ งในทางที่ เป น ประโยชนและไมเปนประโยชนตอกลุมบริษัททรู ดู ร ายละเอี ย ดที่ ห มายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ข อ 41 เรื่ อ ง “คดี ฟ อ งร อ งและข อ พิ พ าทยื่ น ต อ อนุญาโตตุลาการและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น” สําหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท งวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2551 ความเสี่ยงทางดานการเงิน ความเสี่ยงจากการมีหนี้สินในระดับสูง และอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตางๆ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย อ ยมี ร ะดั บ หนี้ สิ น สู ง จึ งอาจมี ค วามเสี่ ยงจากการที่ ไ ม ส ามารถจั ด หาเงิน ทุ น ไดเพียงพอสําหรับภาระการชําระคืนเงินตนและดอกเบี้ยในแตละป อยางไรก็ตามกลุมบริษัททรูสามารถเจรจา กับเจาหนี้ หรือจัดหาเงินกูกอนใหม เพื่อใชคืนเงินกูกอนเดิม และปรับเปลี่ยนการชําระคืนเงินตนใหเหมาะสม กั บ กระแสเงิน สดของกลุ ม บริ ษั ท ทรู นอกจากนั้ น เงิน ทุ น ที่ ระดมได จํานวนประมาณ 6.4 พั น ล านบาท ในตนป 2552 จากการออกหุนสามัญใหมเพื่อเสนอขายตอผูถือหุนเดิมจะชวยเสริมฐานะการเงินของบริษัท ใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น รวมทั้งเปนการเตรียมความพรอมใหสามารถรับมือกับภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง นอกจากนั้นการดําเนินงานของกลุมบริษัททรูอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงิน ตางๆ สัญญาเหลานี้อาจทําใหกลุมบริษัททรูเสียโอกาสทางธุรกิจ และเจาหนี้อาจเรียกรองใหบริษัทหรือ บริษัทยอยชําระหนี้กอนกําหนด หากมีระดับอัตราสวนหนี้สิน บางประการไมเปนไปตามขอกําหนดใน สัญญา หรือหากทีโอทียกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการงานฯ ที่มีกับบริษัท อยางไรก็ตามทีโอทีตองเสนอ ขอพิพาทใหอนุญาโตตุลาการชี้ขาดวาทีโอทีมีสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายที่จะยกเลิกขอตกลงตามสัญญา รวมการงานฯ ได ความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย และการลดลงของสภาพคลองใน ตลาดการเงินโลก กลุมบริษัททรู อาจไดรับผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งอาจมีผลทําใหภาระการใชคืน เงินตน ดอกเบี้ยและรายจายลงทุนเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีรายไดสวนใหญเปนเงินบาท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุมบริษัททรูมีหนี้สินในอัตราประมาณรอยละ 52 ที่เปนเงินกูตางประเทศ (สวนใหญเปนสกุลดอลลารสหรัฐฯ) โดยในป 2551 กลุมบริษัททรูมีรายจายลงทุนรวมประมาณ 7.3 พันลานบาท โดยเงินลงทุนที่เปนเงินตราตางประเทศ มีสัดสวนประมาณรอยละ 25

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1 - 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อยางไรก็ตาม กลุมบริษัททรูไดจัดทําประกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อครอบคลุมเงินกู ตางประเทศรวมในอัตรารอยละ 95.1 โดยครอบคลุมเงินกูจาก KfW ของทรูมูฟ จํานวน 105 ลานดอลลาร สหรัฐฯ เงินกูตางประเทศของทรูวิชั่นส จํานวน 200 ลานดอลลารสหรัฐฯ รวมทั้งเงินกูตางประเทศจากการออก หุนกูของทรูมูฟ จํานวน 690 ลานเหรียญสหรัฐฯ ทั้งนี้ กลุมบริษัททรูไมไดดําเนินการปองกันความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยนสําหรับเงินกูสกุลเยน ที่เกี่ยวกับสัญญาจัดหาและติดตั้งอุปกรณ จํานวน 4.4 พันลานบาท ซึ่งเปนเงินกู ระยะยาว ที่มีกําหนดชําระคืนในป พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2560 นอกจากนั้น บริษัทไดดําเนินการปองกันความเสี่ยง ผานเครื่องมือทางการเงิน เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย โดยได เปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยสําหรับเงินกูตางประเทศดังกลาว เปนอัตราดอกเบี้ยไทยบาทอัตราคงที่ กลุมบริษัททรูมีหนี้สิน (ไมรวมหนี้สินตามสัญญาทางการเงิน) ในสัดสวนประมาณรอยละ 34 เปน หนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ทั้งนี้ไมนับจํานวนที่ไดดําเนินการปองกันความเสี่ยงผานเครื่องมือทางการเงิน เพื่อเปลี่ยนเปนอัตราดอกเบี้ยอัตราคงที่ ดังนั้นหากมีการปรับตัวเพิ่ มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย จะมีผลทําให กลุมบริษัททรูมีภาระดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงดังกลาวอาจลดลงในระดับหนึ่ง เนื่องจาก หนี้สินของทรูมูฟ และของทรูวิชั่นสในบางสวน จะมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลงในปตอๆ ไป หากมีผลการดําเนินงาน เปนไปตามเงื่อนไขที่ไดกําหนดไวในสัญญาเงินกู ผลกระทบ กรณี Sub prime mortgage ในสหรัฐอเมริกา ที่สงผลกระทบตอตลาดการเงิน และตลาดทุน ทั่วโลก และทํ าให สภาพคลองในตลาดการเงิน โลกลดลง อาจมีผลกระทบตอแผนการรีไฟแนนซ หรือ การจัดหาเงินทุนของบริษัทหรือบริษัทยอยในอนาคตได ผูถือหุนอาจไมไดรับเงินปนผล ในระยะเวลาอันใกลนี้ ณ สิ้นป 2551 กลุมบริษัททรูมีผลการดําเนินงานเปนขาดทุนสุทธิ 3.4 พันลานบาท ทําใหมียอดขาดทุน สะสมสุทธิ 47.3 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนผลกระทบจากคาเงินบาทลอยตัวที่เกิดขึ้นในป 2540 และ ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด กลุมบริษัททรูจะสามารถจายเงินปนผลใหผูถือหุน ไดจากผลกําไรเทานั้น ทั้งนี้ภายหลังจากการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมดและภายหลังการตั้งสํารองตามกฎหมาย ดังนั้นในระยะเวลาอันใกลนี้ ผูถือหุนของกลุมบริษัททรู อาจจะไมไดรับเงินปนผลดังที่ปรากฏอยูใน นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท ความเสี่ยงจากการที่บริษัทตองปฏิบัตติ ามเงื่อนไขใน Shareholders Agreement จากการที่ Kreditanstalt für Wiederaufbau (“KfW”) บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในเครือ Verizon และเครือเจริญโภคภัณฑ ไดทําสัญญาผูถือหุน (Shareholders Agreement) ฉบั บลงวันที่ 22 ธั นวาคม 2542 ซึ่ งบริษั ทได สรุ ปสาระสํ าคั ญ ของสั ญ ญาดั งกล าวไวในโครงสร างเงินทุ น ในหัวขอ Shareholders Agreement แลว โดยในสาระสําคัญของสัญญามีขอตกลงบางประการระหวางคูสัญญา

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1 - 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ที่ทําใหบริษัทไมมีความเปนอิสระอยางเต็มที่ในการดําเนินการบางประการที่มีผลกระทบตอบริษัท กลาวคือ ในระหวาง 3 ปแรกนับจาก KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัท และตราบเทาที่ KfW ถือหุนของบริษัท ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม เปนจํานวนอยางนอยรอยละ 5 ของหุนที่จําหนายแลว คูสัญญาตามสัญญา ผูถือหุนจะไมลงคะแนนเสียงใหกระทําการ เชน การแกไขหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัท การเพิ่ ม หรื อ ลดทุ น จดทะเบี ย นของบริ ษั ท การออกหุ น ใหม การเปลี่ ย นแปลงจํ านวนกรรมการหรื อ องคประชุมกรรมการ เปนตน เวนแต KfW จะตกลงในการกระทําดังกลาว ดังนั้นผูถือหุนรายยอยอาจไมได รับโอกาสอยางเต็มที่ในการพิจารณาเรื่องตางๆ ดังกลาว เนื่องจาก KfW จะตองตกลงในการกระทําดังกลาว กอน อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ KfW ไดคํานึงถึงเหตุผลความจําเปนและประโยชนของบริษัทโดยรวม ตลอดจนหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีเสมอมา ณ วันที่ 18 มีนาคม 2552 ซึ่งเปนวันปดสมุดทะเบียนครั้งลาสุด KfW เปนผูถือหุนรายใหญ ลําดับที่ 2 ของบริษัท (บริษัทเปดเผยรายชื่อผูถือหุนรายใหญไวในสวนโครงสรางเงินทุนในหัวขอผูถือหุน) ถือหุน ในสัดสวนรอยละ 8.99 (รวมหุนในสวนของกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว)

สวนที่ 2

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

1 - 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ ประวัติความเปนมาของบริษัท บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ซึ่งเชื่อมโยงทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ตอบสนองตรงใจลูกคาทุกกลุมเปาหมาย ธุรกิจหลักของกลุมทรูประกอบดวย ทรูมูฟ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับสาม ของประเทศ ทรูออนไลน ผูใหบริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนดอินเทอรเน็ตรายใหญที่สุดของประเทศ รวมทั้งเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และทรูวิชั่นส ผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกทั่วประเทศรายเดียวของประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีอีก 2 ธุรกิจหลัก คือ ทรูมันนี่ ซึ่งใหบริการ E-Commerce และทรูไลฟ ซึ่งใหบริการ ดิจิตอลคอนเทนทตางๆ สําหรับกลุมทรู วิสัยทัศนของกลุมทรู คือการเปนผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตล พันธกิจของกลุมทรู คือ การนํา ความรู ขอมูลขาวสาร และสาระบันเทิง แกประชาชนและเยาวชน โดยมุงมั่นที่จะสรางคุณคาใหกับผูถือหุน ลูกคา องคกร และพนักงาน ยุทธศาสตรการเปนผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตลทําใหทรูมีเอกลักษณโดดเดน ดวยการผสาน บริการสื่อสารครบวงจรในกลุมและคอนเทนทที่หลากหลาย ทรูจึงแตกตางจากผูใหบริการรายอื่นๆ ในการเพิ่ม ความสะดวกสบายใหกับทุกไลฟสไตลและเสริมสรางประสิทธิภาพทํางานใหกับผูใชบริการกวา 20 ลานราย ทั่วประเทศ ทรูไดรับการสนับสนุนจากเครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพี) กลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ใหญที่สุด ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือหุนทรูในสัดสวนรอยละ 58.2 มีทุนจดทะเบียนที่เรียกชําระแลวทั้งสิ้น 77,757 ลานบาท ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ ป 2552 และปจจุบันทรูเปนหนึ่งในแบรนดที่แข็งแกรงและไดรับการยอมรับในประเทศไทย กลุมทรูรายงานผลประกอบการดานการเงินโดยแบงออกเปน 3 กลุมธุรกิจ คือ ทรูมูฟ ทรูออนไลน และทรูวิชั่นส โดยผลประกอบการดานการเงินของทรูมันนี่และทรูไลฟ ถือเปนสวนหนึ่งของทรูออนไลน ในป 2551 กลุมบริษัททรูมีรายไดรวม 61 พันลานบาท (รวมคาเชื่อมโยงโครงขาย) และมีสินทรัพย ทั้งหมดกวา 195.0 พันลานบาท โดยมีพนักงานประจําทั้งสิ้น 13,501 คน

สวนที่ 2

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจของบริษัท บริษัทกอตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 ในฐานะผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานภายใต สัญญารวมการงานและรวมลงทุนกับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ในป 2536 บริษัทไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทมหาชน และเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห ง ประเทศไทยในชื่ อ บริ ษั ท เทเลคอมเอเชี ย คอร ป อเรชั่ น จํ ากั ด (มหาชน) ในเดื อ นธั น วาคม 2536 มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TA” ในเดือนเมษายน 2547 บริษัทไดมีการปรับเปลี่ยนภาพลักษณภายใตแบรนดทรู และไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TRUE” นอกจากนี้บริษัทยังไดรับอนุญาตใหเปดบริการเสริมตางๆ เชน บริการโทรศัพทสาธารณะและ บริการอื่นๆ เพิ่มเติม โดยในป 2542 บริษัทไดเปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา WE PCT และในป 2544 บริษัท (ผานบริษัทยอย) ไดเปดใหบริการโครงขายสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวยบริการ ADSL และบริการ Cable Modem และในป 2546 ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสายหรือบริการ Wi-Fi ในป 2550 บริษัทยอยไดเปดใหบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ และเปดใหบริการโทรศัพท ทางไกลระหวางประเทศในป 2551 ในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทไดเขาถือหุน ในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) หรือ “BITCO” (ซึ่งเปนบริษัทที่ถือหุนในบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด) ในอัตรารอยละ 41.1 ซึ่งนับเปนการเริ่ม เขาสูธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้ ทีเอ ออเรน จไดเปดใหบริการอยางเต็มรูปแบบในเดือนมีนาคม 2545 และไดเปลี่ยนชื่อเปน “ทรูมูฟ” เมื่อตนป 2549 บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนใน BITCO มากขึ้นตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน BITCO คิดเปนรอยละ 93.4 ตอมาในเดือนธันวาคม 2550 เครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพี) สนับสนุนธุรกิจทรูมูฟ ผานวิธีการซื้อหุนเพิ่มทุนของ BITCO ทําใหสัดสวนการถือหุน ของบริษัทใน BITCO ลดลงเปนอัตรารอยละ 75.3 ในขณะที่ซีพีมีสัดสวนการถือหุนใน BITCO เพิ่มขึ้นเปน อัตรารอยละ 23.9 ในเดือนมกราคม 2549 บริษัทไดเขาซื้อหุน ยูบีซี จาก MIH ทั้งหมด และตอมาไดดําเนินการเขา ซื้อหุ นสามัญ จากรายยอย (Tender Offer) ทํ าใหบริษั ทมีสัดสวนการถือหุน ทางออมในยูบีซี รอยละ 91.8 ภายหลังการเขาซื้อหุนจากผูถือหุนรายยอย เสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้ ยูบีซี ไดเปลี่ยนชื่อเปน ทรูวิชั่นส เมื่อตนป 2550

สวนที่ 2

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พัฒนาการสําคัญในป 2551 กลุมทรู ในเดือนเมษายน ที่ประชุมสามัญผูถือหุนมีมติอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนสามัญของ BITCO จํานวน 6 พันลานหุน คืนทั้งหมดหรือบางสวนจากเครือเจริญโภคภัณฑ ภายในเดือนมิถุนายน 2552 ในราคาหุนละ 0.59 บาท ในเดือนธันวาคม บริษัทเพิ่มทุนจํานวน 1.1 พันลานบาทใน BITCO และทําใหสัดสวนการถือหุนของบริษทั เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 77.2 หากบริษัทซื้อหุนจํานวนทั้งหมด 6 พันลานหุนคืนจากซีพี สัดสวนการถือหุน ของบริษัทใน BITCO จะเพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 98.7 ในเดือนพฤศจิกายน คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติแผนระดมทุนจํานวน 19.5 พันลานบาท โดยการ ออกหุนสามัญใหมเสนอขายตอผูถือหุนเดิม และตอมาไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 ในวัน ที่ 19 ธัน วาคม 2551 ทั้ งนี้ ในการระดมทุ น รอบแรกในเดือนมกราคม ป 2552 ทรู ไดรับชําระคาหุนเพิ่มทุนประมาณ 6.4 พันลานบาท ซึ่งจะชวยสรางความแข็งแกรงทางการเงินใหกับบริษัท รวมทั้ง เปดโอกาสในการขยายธุรกิจใหม ๆ เชน เทคโนโลยี 3G นอกจากนี้ ยังมีสวนในการเตรียมความพรอม เพื่อรับมือกับภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงอีกดวย ทรูออนไลน

เปดตัว hi-speed Internet SUPER Package 2 Mbps ยกระดับมาตรฐานบริการบรอดแบนดของไทย โดย เพิ่มความเร็วเปน 2 Mbps

ทรูรวมกับกรุงเทพมหานครจัดโครงการ “Green Bangkok Wi-Fi” ใหคนกรุงเทพฯ ทองโลกการเรียนรู ออนไลนผานอินเทอรเน็ตไรสาย Wi-Fi กวา 15,000 จุดทั่วกรุงเทพฯ

ทรู ติดตั้งเครือขาย Wi-Fi by TrueMove ใหกับโรงพยาบาลสมิติเวช เพื่อกาวสู “Connected Hospital” ยกระดับบริการการแพทยดวยเทคโนโลยีล้ําสมัย

ทรูเปดบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศผานหมายเลข “006” อยางเต็มรูปแบบ

เน็ตทอลค บาย ทรู เปดตัวบริการโทรศัพทระหวางประเทศผาน VoIP เพิ่มความสะดวกสบาย โทรขามประเทศ แบบประหยัดไดโดยไมตองมีอินเทอรเน็ต และบริการเน็ตทอลค นัมเบอร บริการเน็ตทอลคแบบรายเดือน พรอมหมายเลขสวนตัว

ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย เพิ่มประสิทธิภาพดวยการขยายชุมสายยุโรปที่ประเทศอังกฤษ ตามดวยชุมสายเอเชีย ที่ฮองกง สงผลใหประสิทธิภาพการเชื่อมตอเกตเวยของลูกคา ISP ไทยสูยุโรป และเอเชียมีคุณภาพสูงขึ้น

ทรูไอพีทีวี ปรับโฉมใหม เพิ่มบริการคาราโอเกะออนดีมานด สงตรงถึงบาน พรอมชองรายการสาระบันเทิง ชั้นนําจากทั่วโลก

สวนที่ 2

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูมูฟ

เปดนวัตกรรมลาสุดดวยคอนเวอรเจนซโมบายลอินเทอรเน็ตครั้งแรกในไทย เชื่อมโยง 3 เทคโนโลยี Wi-Fi / EDGE / GPRS ใหเลนไมจํากัดเวลา ผานเครือขาย Wi-Fi ที่ครอบคลุมพื้นที่กวา 16,000 จุดทั่วประเทศ

โปรโมชั่น “โทรฟรียกกวน ตลอดวันยันเที่ยงคืน” ที่ไดเปดตัวไปในชวงกลางป ประสบความสําเร็จ ทําใหทรูมูฟสามารถเพิ่มปริมาณการโทรภายในโครงขายและลดคาใชจายดาน IC

เปดตัว “เกมซิม” สําหรับผูชื่นชอบเกมออนไลน นอกจากนี้ยังเปดตัว “ทรูวิชั่นสซิม” และ “ทัชซิม” เพื่อใชโหวตในรายการ ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซั่นส 5 และ “ซิมอินเตอร” ซิมทรูมูฟแบบเติมเงิน ราคาประหยัดสําหรับโทรทางไกลตางประเทศ

เปดตัว “ทรูมูฟ สแควร” สยามสแควร ซอย 2 ไลฟสไตลชอปแหงแรกภายใตแบรนดทรูมูฟ นําเสนอ โมบายไลฟสไตลผานเทคโนโลยี RFID หรือทัชซิม

ทรูมูฟ เปดชองทางชําระเงินรูปแบบใหมสําหรับลูกคารายเดือน บริการโทรจายบิลดวยบัตรเครดิต “Call to Pay by Credit Card” ผานระบบ IVR

เปดตัว “Plus Phone” นวัตกรรมสมบูรณแบบที่รวม 2 ระบบทั้งโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟ และโทรศัพท พื้นฐานวีพีซีทีเขาไวดวยกัน

เปดตัว “แบล็คเบอรรี่ โบลด” โทรศัพทมือถือรุนแรกของแบล็คเบอรี่ที่ใชงานภาษาไทยไดหลากหลาย ฟงกชั่น พรอมสื่อสารผานเทคโนโลยี 3G, Wi-Fi, EDGE และ GPRS

ทรูมูฟ จับ มือ ไทยแอรเอเชี ย ขยายชองทางการจําหน าย “ซิ มอิน เตอร” ทรูมู ฟ แบบเติมเงิน สํ าหรับ โทรทางไกลตางประเทศ จําหนายบนเครื่องของสายการบินไทยแอรเอเชียทั้ งขาเขาและขาออกใน ทุกเสนทางบินทั้งในและตางประเทศ

ทรูมู ฟ รว มมื อ กั บ ไปรษณี ยไ ทยในแคมเปญ “บุ รุษ ไปรษณี ยยิ น ดี เติ ม เงิน ทรูมู ฟ ” เพื่ อเพิ่ ม ช องทาง การเติมเงินที่สามารถเขาถึงลูกคาทรูมูฟทุกครัวเรือนทั่วประเทศ

ทรูมูฟเขารวมเปนสมาชิกกลุมคอนเน็กซัส โมบายล (Conexus Mobile Alliance) ซึ่งเปนหนึ่งในเครือขาย ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ ที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิ ฟก เพื่ อผลักดัน ใหบริการโรมมิ่ ง ขอมูลมีการใชงานอยางแพรหลายทั้งในกลุมผูใชบริการทั่วไป และภาคธุรกิจทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก

ทรูมูฟบรรลุขอตกลงกับ Apple เพื่อนําเขา iPhone 3G ในประเทศไทย ในเดือนมกราคม 2552

สวนที่ 2

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูวิชั่นส

เปดใหบริการ 2 ชองรายการใหมในป 2551 ซึ่งประกอบดวยชอง Hay Ha และชอง True Asian Series โดยเปน ชองรายการที่ผลิตขึ้น เอง อีกทั้งยังเปด ให บริการชองขาว TNN อยางเป น ทางการ ปจจุบั น 5 ชองรายการยอดนิ ยมสูงของทรูวิชั่น ส เป น รายการที่ ผลิตขึ้น เอง และอี ก 6 ชองรายการที่ ผลิตเอง ยังติด 10 อันดับชองรายการยอดนิยมของทรูวิชั่นสอีกดวย

โปรโมชั่นใหมจานแดงขายขาด DStv ของทรูวิชั่นส ใหดูทรูวิชั่นสฟรี 32 ชอง โดยไมตองจายรายเดือน สําหรับผูใชบริการที่เติมเงินทรูมูฟ ทุกเดือนสามารถดูทรูวิชั่นสเพิ่มไดอีก 7 ชอง

ทรูวิชั่นสเปดตัวบริการใหม TrueVisions PVR กลองรับสัญญาณรุนใหมที่มีฮารดิกสซึ่งมีความจุสูงถึง 160 กิกะไบต ครั้งแรกในประเทศไทย ใหสมาชิกสามารถสนุกกับการบันทึกรายการไดนานกวา 140 ชั่วโมง

ทรูวิชั่นสซิม ซิมพิเศษที่เชื่อมโยงบริการตางๆ ของทรูวิชั่นส ผานเครือขายมือถือทรูมูฟ สําหรับสมาชิก ทั้งแพลทิ นัม และโกลด แพ็ คเกจ (ระบบดิจิตอล) ให ไดรับความสะดวกในการรับรูขอมูลขาวสาร การบริการ และสิทธิพิเศษตางๆ มากมาย

ทรูมันนี่

เปดตัวทัชซิม (Touch SIM) ซิมอัจฉริยะบนโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟเปนรายแรกของโลก ผานบริการ ทรูมันนี่ ดวยพัฒนาการเทคโนโลยี RFID ซึ่งสามารถทําธุรกรรมทั้งทางการเงินและการบันทึกขอมูลสวนตัว บนมือถือ

เปดบริการ WeBooking บริการจองจายครบวงจร สําหรับลูกคาของกลุมทรู ทั้งจองบัตรคอนเสิรต การแสดง ทองเที่ยวและที่พัก และอื่นๆ

ทรูไลฟ

พอรทัลชุมชนออนไลนของทรูไลฟ Truelife.com ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมีจํานวน ผูเขาชมเฉลี่ย 1,065,000 รายตอเดือน ในขณะที่อีคอมเมิรซพอรทัล weloveshopping.com เติบโตตอเนื่อง มีรานคาออนไลนกวา 150,000 รานและสินคาบริการมากกวา 2 ลานรายการ

ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท เปดตัวเกมออนไลนยอดนิยม Hip Street, Kart Rider และ FIFA Online 2

เอ็นซี ทรู เปดตัว 2 เว็บไซตใหม www.playsmart.in.th (ศูนยรวมสาระและความบันเทิงดานเกม เพื่อสงเสริม ใหเลนเกมอยางถูกตองและปลอดภัย) และ www.hitsplay.com พอรทัลเกมที่เลนไดตามอัธยาศัย (casual game portal) นอกจากนี้ยังเปดตัวเกมใหม Crazy Mon Racing เกมแขงรถออนไลน และประกาศเปดตัว Point Blank เกมออนไลนแนว First Person Shooting Online ซึ่งจะเริ่มใหบริการในป 2552

สวนที่ 2

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เปดตัวเว็บไซต http://schoolbus.truelife.com บริการดานคอนเทนทเพื่อเด็กในวัยเรียน พรอมบริการ ติวเตอรออนไลน นอกจากนี้ยังเปดตัวทรูคลิกไลฟ Trueclicklife หลักสูตรการสอนคอมพิวเตอรแนวใหม สําหรับเด็กระดับอนุบาลถึงประถมศึกษา โดยบริษัท บีบอยด ซีจี จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู

ช อ งเกม Gsquare ร ว มกั บ ฟ ว เจอร เกมเมอร จั ด งาน Bangkok Interactive Game Festival 2008 (BIG Festival 2008) งานมหกรรมเกมที่ยิ่งใหญระดับชาติ ครั้งแรกในไทย

รางวัลที่ไดรับในป 2551 ชองรายการ Gsquare ทางทรูวิชั่นส ชองเกมแหงแรกของไทย ไดรับพระราชทาน รางวัลเทพทอง ครั้งที่ 9 ในสาขาวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น ประเภทองค ก รดี เด น ประจํ า ป 2550 จากสมาคมนั ก วิ ท ยุ แ ละโทรทั ศ น แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัทในกลุมทรูไดรับ รางวัลอาคารนอกขายควบคุมดีเดน และ รางวัลผูปฏิบัติการดานพลังงานในอาคารนอกขายควบคุมดีเดน ในงาน Thailand Energy Award 2008 ในฐานะบริษัทที่โดดเดนดานอนุรักษพลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทน ผลการจัดอันดับ 200 บริษัทเอเชียที่นาชื่นชมมากที่สุด โดย หนังสือพิมพวอลลสตรีท เจอรนัล เอเชีย ทรูไดรับรางวัล “บริษัทยอดเยี่ยมเชิงนวัตกรรม” และเปนบริษัทที่ไดรับความเชื่อถือสูงสุดในลําดับที่ 7 ของประเทศไทย จากการสํารวจความคิดเห็นของบรรดาผูบริหารและผูเชี่ยวชาญกวา 2,500 รายทั่วเอเชีย โฆษณาชุด "ปาติหาน" รับรางวัลชนะเลิศ "โฆษณาโทรทัศนดีเดน" ประเภทบริการเพื่อผูบริโภค จาก สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ทรูวิชั่นสรับโลประกาศเกียรติคุณ สื่อมวลชนที่สนับสนุนการคุมครองผูบริโภค จากสํานักงานคณะกรรมการ คุมครองผูบริโภค โครงการ “Let Them See Love” ของทรูไดรับ Gold Award สาขากิจกรรมสงเสริมการตลาด จากงานประกวด โฆษณา Adman Awards & Symposium 2008 ครั้งที่ 5 ซึ่งจัดโดยสมาคมโฆษณาธุรกิจแหงประเทศไทย ทรู (สํานักงานใหญ ชุมสายโทรศัพทหลัก ลาดหญาและทุงสองหอง) ทรูพรอพเพอรตี้สและทรูวิชั่นส รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานความปลอดภัยระดับประเทศ จากกรมสวัสดิการและคุมครอง แรงงาน กระทรวงแรงงาน โดยชุมสายโทรศัพทหลักของทรูที่เพลินจิตและพระโขนง ชุมสายโทรศัพท เคลื่อนที่หลักของทรูมูฟที่บางรัก และบริษัทไวรเออ แอนด ไวรเลส ไดรับรางวัลเดียวกันในระดับจังหวัด ในขณะเดี ยวกันชุ มสายโทรศัพท เคลื่ อนที่ หลั กของทรูมู ฟที่ ถนนเพชรบุ รีตัดใหม ไดรับรางวัลชมเชย ในระดับจังหวัด

สวนที่ 2

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูทัช รับรางวัลรองชนะเลิศ ประเภท The Best Outsourcing Partnership จากการประกวด 2008 Top Ranking Performers in the Contact Center Industry ในระดับภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก ณ นครซิดนีย ประเทศออสเตรเลีย บริการทัชซิมจากทรูมันนี่รับ รางวัลนวัตกรรมแหงชาติ ประจําป 2551 รองชนะเลิศอันดับ 2 ดานเศรษฐกิจ จากสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี TrueMove Assistant 2222 รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ศูนยบริการทางโทรศัพทยอดเยี่ยม (ภายใน องคกร) ขนาดมากกวา 50 ที่นั่ง จากงาน Thailand National Call Center Awards 2008 ซึ่งจัดโดยสมาคม อุตสาหกรรมการบริการลูกคาทางโทรศัพท (The Call Center Industry Association of Thailand - CCIA) TrueMove Assistant 2222 รับรางวัล ศูนยบริการทางโทรศัพทยอดเยี่ยม (ประเทศไทย) ประจําป 2551 จาก The Asia Pacific Contact Center Association Leaders (APCCAL) ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร ไดรับมาตรฐาน ISO/IEC 20000 (มาตรฐานการบริหารจัดการระบบ สารสนเทศ) และไดรับมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2005 (มาตรฐานการจัดการความปลอดภัยขอมูล) เปน รายแรกในประเทศไทย ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริษทั ยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม กลุมทรูรายงานผลประกอบการดานการเงินโดยแบงออกเปน 3 กลุมธุรกิจ คือ ทรูมูฟ ทรูออนไลน และทรูวิชั่นส โดยผลประกอบการดานการเงินของทรูมันนี่และทรูไลฟ ถือเปนสวนหนึ่งของทรูออนไลน 1. ทรูออนไลน ประกอบดวย บริษัทและบริษัทยอยทีย่ ังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 26 บริษัท กิจการรวมคา 4 บริษัท และ บริษัทรวม 1 บริษัท 2. ทรูมูฟ ประกอบดวย บริษัทยอยที่ยังคงมีกจิ กรรมทางธุรกิจ 5 บริษัท 3. ทรูวิชั่นส ประกอบดวย บริษทั ยอยทีย่ ังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 6 บริษัท และ บริษัทรวม 1 บริษัท

สวนที่ 2

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางเงินลงทุนแยกตามธุรกิจของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย บริการเสริม และบริการสื่อสารขอมูล บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ทรูมูฟ

ทรูออนไลน

บริษัท ทรู มูฟ จํากัด 77.14% บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลล จํากัด 77.09% บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด 77.16% บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด 77.11% (ชื่อเดิม บริษัท อินเตอรเนต เค เอส ซี จํากัด) บริษัท สองดาว จํากัด 77.16%

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน

ธุรกิจใหบริการสื่อสารขอมูล

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 99.94% บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู ทัช จํากัด 99.99% บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 99.99%

หมายเหตุ : บริษัทที่ไมมีกิจกรรมทางธุรกิจ กลุมที่จดทะเบียนในประเทศไทย ไดแก : กลุมที่จดทะเบียนในตางประเทศ ไดแก :

สวนที่ 2

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 91.08% บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด 99.99%

ทรูวิชั่นส บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) 91.79% บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด 91.79% บริษัท คลิกทีวี จํากัด 91.79% บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) 91.19% บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด 91.79% บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด 91.79% (ชื่อเดิม บริษัท ยูบีซี แฟนเทเชีย จํากัด) บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด 23.87%

ธุรกิจบรอดแบนดและบริการอินเทอรเน็ต บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 91.08% บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด 99.99% บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด 65.00% บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด 99.99% บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด 70.00% บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด 40.00% บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด 56.93% บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด 37.80% บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด 99.99 % บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด 99.99%

ธุรกิจใหบริการโทรศัพทพ้นื ฐาน ใชนอกสถานที่ (PCT) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 99.99%

บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) (89.99%), บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (99.99%), บริษัท ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท จํากัด (58.10%), บริษัท อินเตอรเนต ชอปปง มอลล จํากัด (58.10%), บริษัท เทเลคอม เคเอสซี จํากัด (34.39%), บริษัท เรด มีเดีย จํากัด (91.79%), บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด (91.79%), บริษัท ออนไลน สเตชั่น จํากัด (90.00%) Telecom International China Co., Ltd. (99.99%), TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (99.99%), Telecom Asia (China) Co., Ltd. (99.99%) K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. <BVI> (99.99%), Chongqing Communication Equipment Co., Ltd. (38.21%), International Broadcasting Corporation (Cambodia) Co., Ltd. (64.25%) TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ธุรกิจอื่น ธุรกิจใหบริการใหเชายานพาหนะและอาคาร บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด 99.99% บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด 99.99% ธุรกิจกอสราง บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด 87.50% ธุรกิจลงทุน บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 99.99% บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) 77.21% บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด 99.99% Nilubon Co., Ltd. <BVI> 99.99% บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จํากัด 91.05% ธุรกิจอื่น ๆ บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด 99.99% บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด 99.99% บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด 15.76% บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด 99.99% บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด 20.00% บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด 9.62% บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด 70.00% บริษัท ทรู แมจิค จํากัด 99.99% บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด 99.99% บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด 69.94% บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด 90.00% 2- 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางเงินลงทุนของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 99.99% บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 99.99%

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด

99.99%

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

99.99%

บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด

99.99%

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริง่ แอนด เซอรวิสเซส จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด

89.99% 91.08%

Nilubon Co., Ltd. (จดทะเบียนที่ตา งประเทศ)

99.99%

99.99%

บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

99.99%

TA Orient Telecom Investment Co., Ltd.

99.99%

Telecom Asia (China) Co., Ltd.

99.99%

99.98% 99.98% 100.00%

บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จํากัด

62.50%

Chongqing Communication Equipment Co., Ltd.

Telecom International China Co., Ltd.

บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

38.21%

บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด

99.99%

บริษัท อินเตอรเนต ชอปปง มอลล จํากัด

บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด

99.99%

9.62% 2.92% 99.99% 91.79%

บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด

99.99%

บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

99.94%

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู แมจิค จํากัด

77.21%

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด

40.00% 99.99%

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด

99.99%

บริษัท เรด มีเดีย จํากัด

99.99%

99.99%

บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู ทัช จํากัด 99.34%

บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน)

99.99%

บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด

99.99%

บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด (บริษัท ยูบีซี แฟนเทเชีย จํากัด)

70.00%

บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติง้ คอรปอเรชั่น (กัมพูชา) จํากัด

บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน)

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

70.00%

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

บริษัท สองดาว จํากัด

99.94%

บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด

99.91%

บริษัท ทรู มูฟ จํากัด 99.93%

บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด

บริษัท คลิกทีวี จํากัด

บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด

65.00%

99.93%

บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด

100.00%

26.00%

สวนที่ 2

99.99%

15.76%

K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนที่ตา งประเทศ)

บริษัท อิมพีเรียล เทคโนโลยี แมเนจเมนท เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด

บริษัท ออนไลน สเตชั่น จํากัด 66.41%

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

บริษัท ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท จํากัด

60.00% 90.00%

99.99%

บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด

87.50%

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

99.97%

บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด

(ชื่อเดิม บริษัท อินเตอรเนต เค เอส ซี จํากัด)

70.00%

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด

69.94%

บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด

20.00%

บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริง่ อินดัสทรี่ จํากัด

หมายเหตุ: ไมมีบุคคลที่อาจมีความขัดแยงของบริษัทเปนผูถือหุนในสัดสวนเกินรอยละ 10 ของจํานวนหุน ที่จาํ หนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทยอยและบริษัทรวม ยกเวน บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) และ บริษัทในกลุม ไดแก บริษัท สองดาว จํากัด บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท ทรู ดิสทริบิวชัน่ แอนด เซลส จํากัด และบริษัท ทรู มิวสิค จํากัด TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 9



บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางรายไดตามกลุมธุรกิจ 2551

กลุมธุรกิจ ลานบาท

2550 %

ลานบาท

2549 (ตามที่ปรับใหม) %

ลานบาท

%

1. ทรูออนไลน รายได

21,646

35.4%

20,490

33.2%

20,791

40.0%

รายได

30,224

49.3%

32,366

52.5%

22,694

43.7%

รายได

9,395

15.3%

8,785

14.3%

8,470

16.3%

61,265

100%

61,641

100%

51,955

100%

2. ทรูมูฟ

3. ทรูวิชั่นส

รวมรายได

โครงสรางรายไดสําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 แยกตามการดําเนินงานของแตละบริษัท กลุมธุรกิจ / ดําเนินการโดย

ลานบาท

%

1. ทรูออนไลน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

10,402

17.0%

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

1,283

2.1%

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

2,891

4.7%

751

1.2%

4,142

6.8%

บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด

340

0.6%

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

355

0.6%

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

402

0.7%

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

222

0.4%

บริษัท ทรู ทัช จํากัด

224

0.4%

บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด

143

0.2%

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

124

0.2%

อี่นๆ

367

0.5%

รายได

21,646

35.4%

รายได

30,224

49.3%

รายได

9,395

15.3%

61,265

100.0%

บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด

2. ทรูมูฟ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค

3. ทรูวิชั่นส กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส

รวมรายได

สวนที่ 2

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2- 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เปนผูใหบริการสื่อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศไทย และเปนผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ซึ่งเชื่อมโยงทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ตอบสนองทุกไลฟสไตล ตรงใจลู ก ค าได อ ย างแท จ ริ ง ทํ าให กลุ มทรู มี เอกลั กษณ ความโดดเด น ในตลาดสื่ อสารโทรคมนาคมไทย ทั้ งนี้ ก ลุ ม ทรู เป น ผู ใ ห บ ริ ก าร Quadruple Play ซึ่ ง ประกอบด ว ยบริ ก ารด านเสี ย ง (โทรศั พ ท พื้ น ฐานและ โทรศัพทเคลื่อนที่) วิดีโอ ขอมูลและมัลติมีเดียตางๆ ในทุกรูปแบบการสื่อสาร โดยประสานประโยชนจาก โครงขาย บริการ และ คอนเทนทของกลุม ซึ่งเปนพื้นฐานทําใหธุรกิจเติบโตตอไปในอนาคต นับตั้งแตตนป 2550 กลุมทรูไดมีการแบงกลุมธุรกิจหลักออกเปน 5 กลุม (โดยเอกสารฉบับนี้จะ เรียงลําดับเนื้อหาตามกลุมธุรกิจหลัก) ซึ่งประกอบดวย ธุรกิจออนไลน ภายใตชื่อ ทรูออนไลน ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริม บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือ บริการ บรอดแบนด และบริการ WE PCT (บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่) ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตชื่อ ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิมวา ยูบีซี) ธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซ ภายใตชื่อ ทรูมันนี่ ธุรกิจดิจิตอลคอนเทนท ภายใตชื่อ ทรูไลฟ (รวมทั้งทรู คอฟฟ) สําหรับรายงานดานการเงิน กลุมทรูรายงานผลการดําเนินงานเปน 3 ธุรกิจหลัก คือ ทรูออนไลน ทรูมูฟ และทรูวิชั่นส โดยผลการดําเนินงานของธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซและดิจิตอลคอนเทนท (ทรูมันนี่และ ทรูไลฟ) ไดถูกรวมอยูในกลุมธุรกิจของทรูออนไลน ในป 2551 รายไดจากการใหบริการของทรูออนไลน (ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐานและ บริการเสริม บริการดานโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ตและบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือบริการ บรอดแบนด และบริการ WE PCT หรือ บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่) มีสัดสวนรอยละ 40 ของ รายไดจากการใหบริการของกลุมทรู (หลังจากหักรายการระหวางกันระหวางธุรกิจตางๆ ในกลุม และไมรวม รายไดจากคาเชื่อมโยงโครงขาย (Interconnection Charges - IC) ในขณะที่รายไดจากทรูมูฟ มีสัดสวนรอยละ 42 และ ทรูวิชั่นส มีสัดสวนรอยละ 18

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางดานลางแสดงรายได1/ และ กําไรจากการดําเนินงาน กอนดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และคาใชจายตัดจาย (EBITDA) ของธุรกิจในกลุมทรู รายไดจากการใหบริการ1/: หนวย: ลานบาท ทรูออนไลน ทรูมูฟ (ไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย หรือ IC) ทรูวิชั่นส รวม

2549 รอยละ 20,515 41 21,762 43 8,261 16 50,538 100

EBITDA: หนวย: ลานบาท ทรูออนไลน ทรูมูฟ (ไมรวมคา IC) ทรูวิชั่นส รายการระหวางกัน รวม

2549 รอยละ 2550 รอยละ 2551 รอยละ 9,899 57 9,670 49 10,195 55 5,072 29 7,566 38 5,691 31 2,366 14 2,527 13 2,666 14 (82) (9) (80) 17,255 100 19,754 100 18,472 100

2550 รอยละ 20,194 39 22,993 44 8,631 17 51,818 100

2551 รอยละ 20,996 40 21,652 42 9,273 18 51,921 100

หมายเหตุ: 1/ หลังหักรายการระหวางกัน

3.1.1 ทรูออนไลน ทรู อ อนไลน ประกอบด วย บริ การโทรศั พท พื้ นฐาน และบริ การเสริ มต างๆ เช น บริ การโทรศั พท สาธารณะ เปนตน นอกจากนี้ ยังรวมถึงบริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด บริการโครงขายขอมูล และบริการ WE PCT โดยธุรกิจอินเทอรเน็ตและบรอดแบนดเติบโตอยางรวดเร็ว และบริการใหมๆ เชน บริการโทรศัพท ทางไกลระหว างประเทศ (International Direct Dialing - IDD) และบริก ารโครงข ายอิ น เทอรเน็ ต เกตเวย ระหวางประเทศ (International Internet Gateway) ชวยรักษาระดับรายไดโดยรวมของกลุมธุรกิจทรูออนไลน i) บริการโทรศัพทพื้นฐาน ทรูเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมี สวนแบงตลาดประมาณกวารอยละ 50 และมีผูใชบริการเกือบ 2 ลานเลขหมาย จากเลขหมายที่มีทั้งหมด 2.6 ลานเลขหมาย ในเดื อนสิ งหาคม ป 2534 บริ ษั ทได ทํ าสั ญ ญาร วมการงานและร วมลงทุ น ขยายบริ การโทรศั พ ท ระหวางบริษัทฯ กับ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ซึ่ งต อไปจะเรี ยกว า “สั ญญาร วมการงานฯ” โดยให บริ ษั ทเป นผู ดํ าเนิ นการลงทุ น จั ดหา และติ ดตั้ งควบคุ ม

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลอดจนซ อมบํ ารุ งและรั กษาอุ ปกรณ ในระบบสํ าหรั บการขยายบริ การโทรศั พท จํ านวน 2 ล านเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดป 2560 ตอมาไดรับสิทธิใหขยายบริการ โทรศัพทอีกจํานวน 6 แสนเลขหมาย บริษัทไดโอนทรัพยสินที่เปนโครงขายทั้งหมดใหแก ทีโอที โดยไดรับ รายได จากธุ รกิ จบริ การโทรศั พท พื้ นฐาน และบริ การเสริ มในรู ปของส วนแบ งรายได ในอั ตราร อยละ 84 สําหรับโทรศัพทพื้นฐานในสวน 2 ลานเลขหมายแรก และอัตรารอยละ 79 สําหรับในสวน 6 แสนเลขหมายที่ไดรับ การจัดสรรเพิ่มเติมในภายหลัง ในสวนของบริการเสริมตาง ๆ ที่บริษัทไดใหบริการอยู บริษัทไดรับสวนแบงรายได ในอัต รารอ ยละ 82 ของรายได จากบริก ารเสริม นั้ น ๆ ยกเวน บริก ารโทรศัพ ท ส าธารณะ ซึ่ งบริษั ท ไดรับ สวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 76.5 นอกจากนั้น กลุมทรูยังไดรับไดรับใบอนุญาตใหบริการโทรศัพ ท ผานอินเทอรเน็ต (Voice over Internet Protocol - VoIP) บริการโทรศัพทพื้นฐาน บริการโทรศัพทสาธารณะ และบริ ก ารโทรศั พ ท ท างไกลระหว า งประเทศ รวมทั้ ง บริ ก ารอิ น เทอร เน็ ต เกตเวย ร ะหว า งประเทศ จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กทช.”) ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานและรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริการโทรศัพทพื้นฐาน 2547 2548 2549 2550 2551 จํานวนผูใชบริการ 1,944,521 1,989,664 1,976,965 1,955,410 1,902,507 รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน (บาท) 538 493 414 362 331 บริการเสริม นอกเหนือจากโทรศัพทพื้นฐาน บริษัทไดพัฒนาบริการเสริมตางๆ เพื่อตอบสนองความตองการของ ลูกคา ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทสาธารณะ บริษัทไดรับอนุญาตจาก ทีโอที เพื่อใหบริการโทรศัพทสาธารณะ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวน 26,000 ตู บริ ก ารรั บ ฝากข อ ความอั ต โนมั ติ (Voice Mailbox) บริ ก ารรั บ สายเรี ย กซ อ น (Call Waiting) บริการสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริการโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริการเลขหมายดวน (Hot Line) บริการยอเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริการโทรซ้ําอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) และ บริการจํากัดการโทรออก (Outgoing Call Barring) บริการ Caller ID เปนบริการเสริมพิเศษที่แสดงหมายเลขเรียกเขา นอกจากนี้ บริษั ท ยังไดให บ ริการเสริมอื่น ๆ แกลูก คาธุรกิจ ซึ่ งมี ความตองการใชเลขหมายเป น จํานวนมาก และตองการใชบริการเสริมที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ไดแก บริก ารตู ส าขาอั ต โนมั ติ ระบบต อ เข าตรง (Direct Inward Dialing - DID) เป น บริ ก ารที่ ทํ าให โทรศั พ ท พื้ น ฐานสามารถเรี ย กเข า เลขหมายภายในของตู ส าขาอั ต โนมั ติ โ ดยไม ต อ งผ า น พนักงานสลับสาย (Operator) จึงทําใหเลขหมายภายในทุกเลขหมายเปรียบเสมือนสายตรง สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการเลขหมายนําหมู (Hunting Line) เปนบริการที่จัดกลุมเลขหมายใหสามารถเรียกเขาไดโดยใช เลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว โครงข ายบริ ก ารสื่ อ สารร ว มระบบดิ จิ ต อล (Integrated Service Digital Network - ISDN) เป น บริการที่ทําใหผูใชสามารถติดตอสื่อสารกันไดหลากหลายรูปแบบทั้งรับ-สงสัญญาณภาพ เสียง และขอมูลพรอมกันได บนคูสายเพียง 1 คูสายในเวลาเดียวกัน บริการ Televoting เปนบริการที่ชวยใหรับสายโทรศัพทเรียกเขาที่มีระยะเวลาสั้นๆ ในจํานวน สูงมากๆ ซึ่งสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือทางการตลาดได โดยไมตองลงทุนติดตั้งอุปกรณ หรื อ โปรแกรมในการรองรับ สายเรี ย กเข าปริม าณสู งๆ และสามารถทราบผลหรื อ จํ านวน การเรียกเขาไดภายในเวลา 5 วินาที บริ ก ารฟรี โ ฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เป น บริ ก ารพิ เศษที่ ผู เ รี ย กต น ทาง ไม ต อ งเสี ย คาโทรศัพททางไกลโดยผูรับปลายทางจะเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ทั้งจากการโทรภายในพื้นที่ เดียวกัน และโทรทางไกลภายในประเทศ โดยกดหมายเลข 1800 แลวตามดวยหมายเลขโทรฟรี 6 หลัก บริ ก ารประชุ ม ผ านสายโทรศั พ ท (Voice Conference) สามารถจั ด ประชุ ม ได ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา ผานทางสายโทรศัพท บริการโทรศัพทผานอินเทอรเน็ต (VoIP) ภายใตชื่อ NetTalk by True โครงขายโทรศัพทพื้นฐาน โครงขายโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทเปนโครงขายใยแกวนําแสงที่ทันสมัย มีความยาวรวมทั้งสิ้น กวา 176,000 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประมาณ 4,200 ตารางกิโลเมตร โดยใช ส ายเคเบิ ล ทองแดงในระยะทางสั้ น (โดยเฉลี่ ยราว 3 – 4 กิ โ ลเมตร) เพื่ อ คุ ณ ภาพที่ ดี ที่ สุ ด ในการ ใหบริการทั้งดานเสียงและขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่ใหบริการแกลูกคาเปนจํานวนรวม 1,902,507 เลขหมาย ประกอบดวย ลูกคาบุคคลทั่วไป จํานวน 1,272,600 เลขหมาย และลูกคาธุรกิจ จํานวน 629,907 เลขหมาย ซึ่งลดลงเล็กนอยจากป 2550 ในขณะที่รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนลดลงในอัตรา รอยละ 8.5 เปน 331 บาท โดยมีสาเหตุจากผูใชบริการเปลี่ยนมาใชโทรศัพทเคลื่อนที่มากขึ้นอยางตอเนื่อง แตยังคงมีจํานวนผูใชบริการคอนขางคงที่ ทั้งนี้รายไดสวนใหญ (รอยละ 55) มาจากลูกคาธุรกิจ ii) บริการบรอดแบนดและอินเทอรเน็ต (Broadband and Internet) บริการบรอดแบนด กลุมทรูเปนผูใหบริการบรอดแบนดหรืออินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายใหญที่สุดของประเทศ และ ครองสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 50 ของตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูงทั่วประเทศ และยังเปนผูใหบริการ

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อิ น เทอร เน็ ต ไร ส ายความเร็ว สู ง หรือ Wi-Fi (Wireless Fidelity) รายใหญ กลุ มทรู ให บริการบรอดแบนด สํ าหรั บ ลู ก ค าทั่ ว ไปผ าน 2 เทคโนโลยี คื อ Cable Modem และ DSL ด ว ยความเร็ ว สู งสุ ด 10 Mbps (ผ าน บริการ VDSL) ในป 2546 กลุ ม ทรู และ ผู ใ ห บ ริ ก ารรายอื่ น เช น KSC ได นํ า เสนอบริ ก ารอิ น เทอร เน็ ต ไร ส าย ความเร็ว สู ง หรือ Wi-Fi ณ สิ้ น ป 2551 กลุ ม ทรูไดขยายจุดให บ ริก ารอิน เทอรเน็ ตไรสายความเร็วสู งกวา 16,000 จุดตามสถานที่ตางๆ เชน รานกาแฟ รานอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล หางสรรพสินคา โรงภาพยนตร ศูนยประชุม และอาคารสํานักงานตางๆ ในเดือนมีนาคม 2548 กลุมทรู นําเสนอบริการ VDSL ซึ่งเปนบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงตั้งแต 6 Mbps ถึง 10 Mbps สําหรับกลุมลูกคาธุรกิจ ในเดือนเมษายน 2548 กลุมทรู เปดใหบริการ Pre Pay hi-speed Internet ไฮ-สปด อินเทอรเน็ตแบบ เติมเงินครั้งแรกในประเทศไทยเพื่อเปนทางเลือกใหมแกลูกคาที่สะดวกและคุมคา บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (“TUC”) เปนหนึ่งในบริษัทยอยของกลุมทรู ซึ่งไดรับ ใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. เพื่อใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน บรอดแบนด และ บริการโครงขายขอมูล ทั่วประเทศ โดยโครงสรางโครงขายพื้นฐาน และเทคโนโลยีใหม เชน NGN (Next Generation Network) xDSL และ Gigabit Ethernet โดย TUC ให บ ริก ารวงจรสื่ อ สารข อ มู ล และบรอดแบนด รวมทั้ งโครงข าย สื่อสารขอมู ล ให แกบริษั ทยอยอื่น ในกลุมทรู รวม บริษั ท ทรู อิน เทอรเน็ ต จํากัด (“TI”) และ บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (“TM”) เพื่อนําไปใหบริการตอ แกลูกคาอินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายยอย บริการขอมูล และ บริการที่ไมใชเสียง แกลูกคาทั่วไป และลูกคาธุรกิจ ตามลําดับ ดวยโครงขายโทรศัพทพื้นฐานที่ทันสมัย ทําใหกลุมทรูสามารถใหบริการบรอดแบนดที่มีความเร็วสูง และมีประสิทธิภาพคงที่ อีกทั้งยังสามารถประหยัดคาใชจายในการติดตั้ง การดําเนินงาน และการบํารุงรักษา เนื่องจากไมเพียงแตสามารถใหบริการ ADSL เทานั้น แตยังสามารถใหบริการ ADSL2+, G.SHDSL และ Gigabit Ethernet และมีความพรอมที่จะพัฒนาไปเปนโครงขาย NGN ซึ่งเปนเทคโนโลยีระบบ IP กลุมทรูยังใหบริการดานคอนเทนทที่เปยมดวยคุณภาพ ซึ่งมีความหลากหลายและเหมาะกับทุก ไลฟสไตล ไมวาจะเปน คอนเทนทสําหรับผูที่ชื่นชอบการฟงเพลง ดูกีฬา หรือรักการอานหนังสือออนไลน ในรูปแบบของ E-Book นอกจากนั้น ทรูยังตอกย้ําความเปนผูนําในธุรกิจนี้ โดยใหบริการเสริมตางๆ เชน บริการเกมออนไลน บริการ IPTV บริการ WhiteNet (เพื่อกลั่นกรองและสกัดจับภาพและสื่อบนอินเทอรเน็ต ที่ ไ ม เหมาะสมสํ าหรั บ เยาวชน) และโปรแกรม Norton Anti-Virus (เพื่ อ ตรวจจั บ และกํ าจั ด ไวรั ส แบบ อัตโนมัติ) กลุ ม ทรู ไ ด นํ า เสนอโปรโมชั่ น hi-speed Internet Super Package 2 Mbps ใหม ใ นป 2551 ด ว ย ความเร็วเพิ่มจากเดิม 2 เทา เปน 2 Mbps ที่ราคา 890 บาทตอเดือน พรอมให Wi-Fi Router ฟรี และสามารถ ใช Wi-Fi by TrueMove โดยไมจํากัดการใชงาน ซึ่งไดรับผลตอบรับที่ดีจากตลาด ทําให ณ สิ้นป 2551 มีผูใช บริการทั้งสิ้น 632,461 ราย เพิ่มขึ้นจากป 2550 ในอัตรารอยละ 15.4 นอกจากนั้นลูกคา Wi-Fi เพิ่มขึ้นเปน สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

109,000 ราย จากจํานวน 31,523 ณ ปลายป 2550 และยังมีผูลงทะเบียนใช Green Bangkok Wi-Fi ซึ่งเปน โครงการที่ทรูรวมกับกรุงเทพมหานคร ใหบริการอินเตอรเน็ตไรสายที่ความเร็ว 64 Kbps ฟรี อีกประมาณ กวา 100,000 ราย ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการบรอดแบนด และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการตอเดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

บริการบรอดแบนด จํานวนผูใชบริการ รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน (บาท)

2547

2548

2549

2550

2551

164,775

300,322

442,728

548,285

632,461

1,051

739

721

709

711

บริการอินเทอรเน็ต กลุมทรูดําเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ต (รวมทั้ง คอนเทนท และ แอพพลิเคชั่น) โดยผาน บริษัทยอย คือ 1. บริษั ท เอเซี ย อินโฟเน็ ท จํ ากัด (“AI”) ซึ่ งบริษั ทถื อหุ นในสั ดส วนรอยละ 65 ได รับอนุ ญาตจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท (กอนหนา คือ การสื่อสารแหงประเทศไทย) ใหดําเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย (ISP) แกผูใชบริการทั่วประเทศจนกระทั่งถึง ป 2549 ดวยอุปกรณที่ไดทําสัญญาเชาระยะยาวจาก กสท หรือหนวยงานที่ไดรับอนุญาตจาก กสท ทั้งนี้ เอเซีย อินโฟเน็ท ไดรับ ใบอนุญาตในการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบที่ 1 (ตออายุได) ซึ่งจะ สิ้นสุดในวันที่ 4 กุมภาพันธ ของทุกป 2. บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด ("TI") ซึ่งบริษัท ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ในเดือนกันยายน 2548 ทรู อิน เทอรเน็ ต ไดรับ อนุ ญ าตจากคณะกรรมการ กทช. ในการให บริการอินเทอร เน็ ต แบบที่ 1 โดยมีระยะเวลาการอนุญาต 1 ป และสามารถตออายุไดครั้งละ 1 ป โดยใบอนุญาตจะสิ้นสุด ในวันที่ 17 สิงหาคม ของทุกป ในภาพรวมของธุรกิจอินเทอรเน็ต กลุมทรูเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตที่ใหญที่สุด มีผูใชบริการ ทั้งสิ้นประมาณ 1.3 ลานราย (รวมผูใชบริการบรอดแบนด) โดยเปนผูนําตลาดทั้งในกลุมลูกคาทั่วไป และลูกคา ธุรกิจ เนื่องจากสามารถใหบริการพรอมบริการเสริมตางๆ อยางครบวงจร อาทิ บริการ Internet Data Center บริการเก็บรักษาขอมูลและบริการปองกันความปลอดภัยขอมูล สําหรับลูกคาธุรกิจขนาดใหญ ภายหลังจากบริษัทยอยในกลุมทรูไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. ณ ปลายป 2549 ใหเปด บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ บริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนดของกลุมทรูไดขยายตัวอยาง รวดเร็ว สามารถใหบริการที่มีคุณภาพสูงขึ้นแกลูกคา รวมทั้งชวยประหยัดตนทุนในการใหบริการ

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางดานลาง แสดงถึงจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ต/บรอดแบนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริการอินเทอรเน็ต/บรอดแบนด 2547 2548 2549 2550 จํานวนผูใชบริการ 1/ 1,231,344 716,7032/ 849,007 1,104,586 1/ 2/

2551 1,274,802

รวมผูใชบริการบรอดแบนด การลดลงของจํานวนผูใชบริการในป 2548 เกิดจากการโอนยายลูกคาประเภท dial-up ไปเปนประเภทบรอดแบนด และการเปลี่ยนวิธีการคํานวณจํานวนผูใชบริการประเภท dial-up

iii) บริการโครงขายขอมูล (Data Services) กลุมทรูใหบริการโครงขายขอมูลในลักษณะโซลูชั่น ทั้งบริการดานเสียงและขอมูลไปดวยกัน รวมทั้ง ใหบริการดานการบริหารโครงขายขอมูลกับลูกคาธุรกิจ ทั้งนี้ผานเทคโนโลยีตางๆ ที่หลากหลาย ประกอบดวย บริก ารโครงขายขอมูลดิ จิตอล DDN (Digital Data Network) หรือ บริก ารวงจรเชา (Leased Line) บริก าร โครงข า ยข อ มู ล ผ า นเครื อ ข า ย IP ได แ ก บริ ก าร MPLS (Multi-protocol Label Switching) บริ ก าร Metro Ethernet ซึ่งเปนบริการโครงขายขอมูลที่ใชเทคโนโลยี Fiber-to-the-building และถูกออกแบบมาเฉพาะลูกคา ธุรกิจ รวมทั้ง บริการวงจรเชาผานเครือขาย IP (IP based leased line) ที่ผสมผสานระหวาง บริการขอมูลผาน เครือขาย IP และบริการวงจรเชา ซึ่งมีคุณภาพดีกวาบริการผานเครือขาย IP แบบมาตรฐาน นอกจากนั้น ยังเนนการให บริการดานการบริห ารโครงขายขอมู ลใหกับลูกคาธุรกิจ (Managed Network Service) และ การบริ ห ารจั ด การเครื อข ายข อมู ล หรื อ Managed Data Network เป น บริ ก ารที่ ผ สมผสานบริ ก ารเกี่ ยวกั บ การปฏิบัติการเครือขาย 3 บริการเขาดวยกัน ตั้งแต การจัดการประสิทธิภาพของเครือขาย การบริหารขอผิดพลาด และ การกําหนดคาตางๆ ของเครือขาย นอกจากนั้นยังมีบริการศูนยอินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร (Internet Data Center - IDC) ซึ่งใหบริการเพื่อรองรับระบบเครือขายและขอมูลของลูกคาอยางครบวงจร กลุมทรูคือหนึ่งในผูใหบริการสื่อสารขอมูลธุรกิจรายใหญของประเทศ ทั้งนี้ ณ สิ้นป 2551 กลุมทรูไดให บริการโครงขายขอมูลแกลูกคารวม 17,741 วงจร ซึ่งเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 26.9 จากป 2550 โดยมีรายไดเฉลี่ยตอ วงจรตอเดือน ที่ระดับ 9,808 บาท ซึ่งลดลงจากป 2550 สวนใหญเกิดจากการที่ธุรกิจอยูในชวงการเปลี่ยนผาน ของเทคโนโลยีไปสูบริการที่ราคาลดลง ตารางแสดงจํานวนวงจรเชาและรายไดเฉลี่ยตอวงจรตอเดือน (บาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 2548 2549 2550 จํานวนวงจร 9,001 10,216 12,033 13,976 รายไดเฉลี่ยตอวงจรตอเดือน (บาท) 11,014 10,411 11,106 11,253

2551 17,741 9,808

กลุมทรูมีความไดเปรียบในการแขงขัน เนื่องจากมีโครงขายที่ทันสมัยที่สุด โดยมีกลยุทธในการเนน สรางความแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น ดวยการนําเสนอบริการตามความตองการเฉพาะของลูกคา ผสม ผสานผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมไปดวยกัน อาทิ บริการดานขอมูล (Content) VoIP และอินเทอรเน็ต

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หรือการนําเสนอบริการรวมกับคูคาทางธุรกิจตางๆ อาทิ รวมมือกับบริษัทซิสโก (Cisco) เพื่อใหบริการวาง ระบบเครือขาย IP คุณภาพสูง ทําใหไมจําเปนตองแขงขันดานราคาเพียงอยางเดียว ทั้งนี้ กลุมทรูเปนผูให บริการรายแรกของประเทศไทย ที่ไดการรับรองจากซิสโกใหเปน “Cisco Powered” ปจจุบันมีบริษัทที่ไดรับ Cisco Powered ทั่วโลกกวา 300 ราย ในป 2551 ลูกคาของซิสโก (ซึ่งทรูเปนผูใหบริการ) จัดอันดับคุณภาพ การใหบริการของทรูอยูในระดับ “ยอดเยี่ยม” กลุมทรูมีเปาหมายหลักที่จะใหบริการลูกคาที่เปนองคกรธุรกิจขนาดใหญ รวมทั้งจะขยายการให บริการสูกลุมธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม หรือ เอสเอ็มอี อยางจริงจัง โดยเฉพาะอยางยิ่งในตางจังหวัด เนื่องจากยังมีสวนแบงตลาดในพื้นที่ดังกลาวคอนขางต่ํา อีกทั้งตลาดตางจังหวัดยังมีโอกาสเติบโตไดอีกมาก โดยวางแผนที่จะใชประโยชนจากผลิตภัณฑและบริการของกลุมที่มีความหลากหลาย (อาทิ บริการดาน ขอมูล VoIP และ อินเทอรเน็ต) เพื่อขยายสวนแบงตลาดในตางจังหวัดโดยผานยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ และการนําเสนอผลิตภัณฑภายในกลุมไปดวยกัน iv) บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (Personal Communication Telephone - WE PCT) บริการ WE PCT เปนบริการที่ทําใหผูใชบริการสามารถพกพาโทรศัพทบานไปใชนอกบานได โดยใช หมายเลขเดียวกับโทรศัพทบาน และสามารถใชไดถึง 9 เครื่องตอโทรศัพทพื้นฐาน 1 เลขหมาย โดย WE PCT แตละเครื่องจะมีหมายเลขประจําเครื่องของตนเอง บริษัทใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ WE PCT ผานบริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย (บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99) โดยไดเปดใหบริการอยางเปนทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 ซึ่งถือเปนบริการเสริมของโครงขายโทรศัพทพื้นฐาน ดําเนินการภายใตสัญญา รวมการงานฯ กับ ทีโอที โดยรายไดทั้งหมดจะถูกจัดเก็บโดยทีโอที และ ทีโอที จะแบงรายไดที่จัดเก็บกอนหัก คาใชจายใหบริษัทในอัตรารอยละ 82 เนื่องจากบริษัทไดมอบหมายให AWC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท ดําเนิ น การให บริการ PCT แก ลูกคา ดังนั้ น บริษัทจึงตองแบ งรายไดที่ ได รับมาจาก ที โอที ในอัตราประมาณ รอยละ 70 ใหกับ AWC นอกจากนั้น ทีโอที ก็สามารถใหบริการ PCT แกผูที่ใชหมายเลขโทรศัพทของ ทีโอที ได โดยผานโครงขาย PCT ของบริษัท ดังนั้น ทีโอที จึงตองแบงรายไดสวนหนึ่งที่ ทีโอที ไดรับจากผูใชบริการ PCT จากหมายเลขโทรศัพทของ ทีโอที ใหแกบริษัท เพื่อเปนเสมือนคาเชาโครงขาย โดยในสวนนี้ ทีโอที จะตอง แบงรายไดประมาณรอยละ 80 ใหแกบริษัท บริ ก าร WE PCT ให บ ริ ก ารครอบคลุ ม พื้ น ที่ ร าว 2,500 ตารางกิ โ ลเมตรในเขตพื้ น ที่ ชั้ น ในของ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในเดือนกันยายน 2547 PCT ไดเปลี่ยนชื่อเปน WE PCT เพื่อสะทอนกลยุทธ ในการสรางชุมชนของคนที่มีความสนใจเหมือนกัน และมีไลฟสไตลเดียวกัน ผานโปรโมชั่น โทรฟรีภายใน โครงขาย PCT โดยเนนกลุมลูกคานักเรียนและนักศึกษา

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุมทรูมีผูใชบริการ WE PCT จํานวน 273,623 ราย ซึ่งลดลงจากป 2550 ใน อัตรารอยละ 30 โดยสวนหนึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนวิธีการนับจํานวนผูใชบริการโดยไมรวมลูกคาที่ไมมี การใชงาน ทั้งนี้รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนอยูที่ระดับ 171 บาท ซึ่งลดลงเล็กนอยจากปกอน ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการ WE PCT และรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม WE PCT 2547 2548 2549 2550 จํานวนผูใชบริการ 472,846 469,125 347,099 390,609 1/ รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน (บาท) 268 318 257 172 1/

2551 273,623 171

รวมลูกคาที่ใชบริการ PCT Buddy ซึ่งเปนบริการแบบจายเงินลวงหนา (prepaid)

v) บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด (“TIG”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู ไดรับใบอนุญาตประกอบ กิ จ การอิ น เทอร เน็ ตเกตเวย ระหว างประเทศ และ บริ การเชื่ อมโยงโครงข ายอิ น เทอรเน็ ต ภายในประเทศ (International Internet Gateway and Domestic Internet Exchange Service) (ประเภทที่ 2 แบบมีโครงขาย) จาก คณะกรรมการ กทช. เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2549 และใบอนุญาตประเภทที่ 2 แบบมีโครงขายเปนของตนเอง สําหรับการใหบริการโครงขายขอมูลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2551 ดวยใบอนุญาตทั้งสองดังที่กลาวขางตน ทําให TIG สามารถใหบริการโครงขายอินเทอรเน็ต และ ขอมูลระหวางประเทศได ในส วนของบริก ารอิน เทอรเน็ ต เกตเวยระหวางประเทศ TIG ซึ่ งมี ชุมสายใน กรุงเทพ สิงคโปร ฮองกง สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ทําใหการเชื่อมตอไปยังประเทศเหลานี้ มี ประสิทธิภาพดีขึ้น และทําใหสามารถใหบริการลูกคาไดอยางมีคุณภาพ ตั้งแตเปดใหบริการ TIG มีการขยาย แบนดวิธอยางตอเนื่อง เพื่อรองรับความตองการใชงานอินเทอรเน็ต และบริการดานขอมูลตางประเทศ ซึ่ง เติบโตขึ้นประมาณ 2 เทาตอป ทําใหปจจุบันเปนผูใหบริการรายใหญอันดับ 2 โดยมีแบนดวิธใหบริการรวม ประมาณ 6 Gbps ณ ปลายป 2551 ทั้งนี้ประมาณรอยละ 90 ของแบนดวิธ เปนการใหบริการแกบริษัทในกลุมทรู และอีกรอยละ 10 สําหรับกลุมลูกคาภายนอก ซึ่งครอบคลุม ผูใหบริการอินเทอรเน็ตในประเทศ บริษัทขามชาติ และผูใหบริการดานโทรคมนาคมในตางประเทศ ในส ว นของบริ ก ารโครงข ายข อ มู ล ระหว างประเทศ มี 3 รู ป แบบบริ ก าร คื อ บริ ก ารวงจรเช า สวนบุคคลระหวางประเทศ (International Private Leased Circuit - IPLC) บริการวงจรเชาเสมือนสวนบุคคล ระหวางประเทศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IP VPN) และ บริการ Virtual Node ปจจุบัน มุงเนนกลุมลูกคาซึ่งเปนผูใหบริการโทรคมนาคมระหวางประเทศ (International Carrier) ซึ่งมีที่ตั้งสาขา อยูในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค ซึ่งมีความตองการแบนดวิธปริมาณมากและคุณภาพการใหบริการสูง นอกจากนี้ TIG คํานึงถึงความตองการแบนดวิธของลูกคากลุมองคกรที่หลากหลาย ทั้งขนาดแบนดวิธ และประเทศ ปลายทาง TIG จึงมี พั น ธมิตรผู ให บ ริก ารโทรคมนาคมระดั บ โลก เพื่ อเป น การขยายพื้ น ที่ ก ารให บ ริก าร ตางประเทศเพิ่มมากขึ้น จากประเทศสิงคโปร และฮองกง ที่ TIG มีชุมสายตั้งอยูเองอีกดวย สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3- 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

vi) บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ หลั ง จากได รั บ ใบอนุ ญ าตให บ ริ ก ารโทรศั พ ท ท างไกลระหว า งประเทศ (ประเภทที่ 3) จาก คณะกรรมการ กทช. บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“TIC”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู ไดเปดทดลองใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ในเดือนธันวาคม 2550 และเปดใหบริการอยาง เป นทางการในวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 โดยให บริการผ านหมายเลข “006” ผู ใช บริการโทรศั พ ท เคลื่ อนที่ ทรูมู ฟ สามารถกดเครื่ อ งหมาย “+” แทนการกดหมายเลข “ 006” ซึ่ งเป น การโทรทางไกลต างประเทศ อัตโนมัติ และตั้งแตเริ่มเปดใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศก็มีการเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมี รายไดรวมประมาณ 320 ลานบาทในป 2551 3.1.2 ทรูมูฟ กลุ ม ทรู ให บ ริ ก ารโทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ ผ านบริ ษั ท ย อ ย คื อ ทรู มู ฟ ซึ่ งบริ ษั ท ถื อ หุ น ร อ ยละ 77.14 ณ สิ้นป 2551 ทั้งนี้ ภายใตสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา ระหวาง กสท กับ บริษัท ทรูมูฟ จํากัด (“สัญญาใหดําเนินการฯ”) ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ในการใหบริการและจัดหาบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ระบบดิจิตอล 1800 จนถึงเดือนกันยายน 2556 ภายใตสัญญาดังกลาว ทรูมูฟจะตองจายสวนแบงรายได แก กสท ในอัตรารอยละ 25 จากรายได (หลังหักคาเชื่อมโยงโครงขาย และคาใชจายอื่นที่อนุญาตใหหัก เชน คอนเทนท) ทั้งนี้จนถึงวันที่ 15 กันยายน 2554 และจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30 จนสิ้นสุดระยะเวลาของสัญญา เมื่ อต นป 2552 บริ ษั ทได ลงนามในบั นทึ กข อตกลงรวมกั น (Memorandum of Agreement) รวมกั บ กสท ในการรับสิทธิ์ที่จะเชาใชโครงขายและอุปกรณ ที่ทรูมูฟไดสรางและโอนใหกับ กสท เพื่อการใหบริการ ตอไปอีก 5 ป จนถึงป 2561 ทําใหทรูมูฟสามารถดําเนินการไดเทาเทียมกับผูประกอบการรายอื่น ในเดือนมิถุนายน 2551 กสท ไดอนุญาตใหทรูมูฟใชคลื่นความถี่ยาน 850 MHz เพื่อพัฒนาการให บริการ HSPA (High Speed Package Access) ทั้งนี้ภายใตเงื่อนไขสัญญาใหดําเนินการฯ ที่ กสท มีกับ ทรูมูฟ เดิม ทั้งนี้ จะใหบริการภายใตการทําการตลาดรวมกัน (Co-branding) และ ทรูมูฟ ยินดีให กสท รวมใชสถานีฐาน และใชเกตเวยของ กสท โดยเมื่อตนป 2552 ทรูมูฟไดรับอนุญาตจาก กสท ใหใชคลื่นความถี่ 850 MHz เพื่อ ทดลองใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G ในลักษณะที่ไมใชเพื่อการคา (Non-commercial basis) ซึ่ง จะทําใหมีโอกาสเตรียมความพรอมในการใหบริการ 3G ไดเร็วขึ้น ผูใชบริการ หลั งเป ด ให บ ริก ารอยางเต็ ม รู ป แบบในเดื อ นมี น าคม 2545 ด ว ยโครงข า ยดิ จิ ต อลระบบ Global System for Mobile Telecommunications (GSM) ทรูมูฟเติบโตอยางรวดเร็ว และสามารถครองสวนแบงตลาด ลูก คาใหมไดราว 1 ใน 3 ของตลาดทุ กป นั บจากป 2547 เปน ต น มา ทํ าให ณ สิ้ น ป 2551 ทรูมูฟ เปน ผูให บริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับ 3 ของประเทศ โดยมีจํานวนผูใชบริการทั้งสิ้นประมาณ 14,756,834 ราย และครองสวนแบงตลาดผูใชบริการโดยรวมในอัตรารอยละ 24.3 โดยมีลูกคาแบบเติมเงิน (Pre pay) จํานวน

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

13,786,283 ราย และลูกคารายเดือน (Post pay) จํานวน 970,551 ราย คิดเปนสัดสวนรอยละ 93.4 และ 6.6 ของลูกคาโดยรวม ตามลําดับ โดยรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนระหวางป 2551 เปน 105 บาทสําหรับลูกคา แบบเติมเงิน และ เปน 510 บาท สําหรับลูกคารายเดือน ทั้งนี้ รายไดจากบริการเติมเงิน และบริการรายเดือน มีสัดสวนรอยละ 66.7 และ 21.6 ของรายไดจากใหบริการรวม (ไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย) ตามลําดับ ตารางดานลาง แสดงถึงขอมูลดําเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ของทรูมูฟ ทรูมูฟ

2547

จํานวนผูใชบริการ - ระบบเติมเงิน 2,927,818 - ระบบเหมาจายรายเดือน 452,565 รวม 3,380,383 การเติบโตของจํานวนผูใชบริการ (รอยละ) 85.2 รายไดรวมเฉลีย่ ตอเลขหมายตอเดือน 437 - ระบบเติมเงิน 348 - ระบบเหมาจายรายเดือน 1,030

2548

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 2550

4,009,470 449,173 4,458,643 31.9 393 321 911

7,031,289 546,453 7,577,742 70.0 292 250 772

11,362,331 717,758 12,080,089 59.4 191 158 676

2551 13,786,283 970,551 14,756,834 22.2 130 105 510

บริการ บริการ Pre Pay รายไดสวนใหญ ของทรูมูฟ มาจากคาใชบริการแบบเติมเงิน ซึ่ งผูใชบริการไมตองเสียคาบริการ รายเดือน โดยผูใชบริการซื้อซิมการดพรอมคาโทรเริ่มตน และเมื่อคาโทรเริ่มตนหมดก็สามารถเติมเงินไดใน หลากหลายวิธีดวยกัน เชน จากการซื้อบัตรเติมเงิน การโอนเงินผานเครื่องเอทีเอ็ม การโอนเงินจากผูใชบริการ ทรูมูฟรายอื่น และการเติมเงินอัตโนมัติแบบ “over-the-air” ทรูมูฟเปนผูใหบริการรายแรกในประเทศไทยที่ใหบริการเติมเงินแบบ “over-the-air” ผานตัวแทน กวา 80,000 ราย ซึ่งเปนบุคคลธรรมดาหรือรานคาขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับทรูมูฟ และไดรับอนุญาตใหโอน คาโทรแบบ over-the-air ไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ของผูใชบริการผานบริการ SMS ผูใชบริการแบบเติมเงิน ของทรูมูฟสามารถเติมเงินผานตูโทรศัพทสาธารณะกวา 18,000 เครื่อง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสามารถเติมเงินขั้นต่ําเพียง 10 บาท นอกจากนี้ผูใชบริการทรูมูฟทั้งแบบเติมเงินและรายเดือน ยังสามารถชําระ คาใชบริการดวยบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่โดยทรูมันนี่ เพื่อตอบสนองไลฟสไตลคนรุนใหม บริการ Post Pay บริการ Post Pay คือบริการทรูมูฟแบบรายเดือน ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกอัตราคาบริการรายเดือนตาม ความตองการ ผูใชบริการแบบรายเดือนของทรูมูฟจะไดรับใบคาแจงบริการเปนรายเดือน ซึ่งจะประกอบดวย คาบริการรายเดือนและคาใชบริการสําหรับบริการเสียง และบริการไมใชเสียงตางๆ สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการเสียง (Voice Services) ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของทรูมูฟ นอกจากจะสามารถโทรศัพทภายในพื้นที่เดียวกัน โทรไปยัง ตางจังหวัดและโทรทางไกลตางประเทศแลว ยังสามารถใชบริการเสริมตางๆ ซึ่งขึ้นอยูกับแพ็คเกจที่เลือกใช บริการเสริมเหลานี้ประกอบดวย บริการรับสายเรียกซอน บริการโอนสายเรียกเขา บริการสนทนาสามสาย และ บริการแสดงหมายเลขโทรเขา นอกจากนี้ยังมีบริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ เพื่อใหผูใชบริการสามารถ โทรออกและรับสายเมื่อเดินทางไปตางประเทศอีกดวย บริการที่ไมใชเสียง (Non-voice) ทรูมูฟใหบริการที่ไมใชเสียง ที่หลากหลายเพื่อเติมเต็มและสอดคลองกับไลฟสไตลของลูกคา โดยลูกคา สามารถใช บ ริ ก ารคอนเทนท ผ านช อ งทางต างๆ ได ห ลายทาง ทั้ งบนโทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ และที่ พ อรทั ล wap.truelife.com คอนเทนทตางๆ ที่ไดรับความนิยมจากผูใชบริการ อาทิ การสื่อสารดวยภาพหรือรูปถาย บริการ ขอมูลทางการเงิน เกม การตูน สกรีนเซฟเวอร และริงโทน รวมถึง คอนเทนทประเภทเพลงและกีฬา ลูกคาของ ทรูมูฟที่ใชบริการที่ไมใชเสียง มีปริมาณที่เพิ่ มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งบริการเสียงรอสาย บริการ รับ-สงขอความ บริการทองโลกอินเทอรเน็ตและดาวนโหลดคอนเทนทผานบริการ EDGE/GPRS ในป 2551 ทรูมูฟมีรายไดจากบริการที่ไมใชเสียง คิดเปนรอยละ 11.8 ของรายไดจากบริการโดยรวม ของทรูมูฟ (ไมรวมรายไดจากคาเชื่อมโยงโครงขาย) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากรอยละ 10.4 ในป 2550 ทั้งนี้เปนรายได จากบริก ารดานคอนเทนท บริก ารข อ ความ และ EDGE/GPRS ในอั ตรารอยละ 58, 29 และ 13 ตามลํ าดั บ นอกจากนี้ ทรูมูฟยังสามารถขยายบริการที่ไมใชเสียงใหเติบโตยิ่งขึ้น ดวยการใชคอนเทนทซึ่งเปนลิขสิทธิ์ เฉพาะของ ทรูมิวสิค ทรูออนไลน และ ทรูวิชั่นส อีกดวย บริการที่ไมใชเสียง ประกอบดวย: Short Messaging Service (SMS): บริการสงขอความไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น VoiceSMS: บริการสงขอความเสียงไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทพื้นฐานรายแรก ของประเทศไทย Voicemail: บริการรับฝากขอความ ซึ่งผูใชบริการสามารถเรียกฟงขอความเสียงที่ฝากไวในระบบ ไดเมื่อไมไดรับสาย Multimedia Messaging Service (MMS): บริ ก ารส งภาพ ข อความและเสี ยง ไปยั งผู ใช บ ริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น Mobile Internet: บริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตบนมือถือผานทาง EDGE/GPRS ซึ่งประกอบดวย พอรทัลที่เปนศูนยรวมคอนเทนทในรูปของ WAP based บริการรับ-สงอีเมลแบบอัตโนมัติผาน ระบบ Push e-mail (โดยแบล็คเบอรรี่) และบริการอินเทอรเน็ตตางๆ เชน สนทนาสดออนไลน ขอมูลจากเวบไซตตางๆ

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

Multimedia Content: บริการคอนเทนทมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบดวย เพลง กีฬา ขาว และขาวการเงิน (ผานทรูมิวสิค ทรูสปอรต และการรับชมรายการโทรทัศนและฟงเพลงผานอินเทอรเน็ต และอื่นๆ) Ring-back Tone: บริการเสียงรอสาย ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกเสียงดวยตัวเอง หรือเลือกจาก เพลงที่ไดรับการคัดสรรมาเปนพิเศษ การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ ทรูมูฟจัดจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่คุณภาพสูง รวมทั้งอุปกรณ ตลอดจน พีดีเอโฟน และ สมารทโฟน จากบริษัทผูผลิตชั้นนํา อาทิ iPhone จาก แอปเปล BlackBerry จาก รีเสิรช อิน โมชั่น และจาก โมโตโรลา ซัมซุง โซนี่ อิริคสัน O2 และฮิวเลตต-แพคการด ทั้งนี้เครื่องโทรศัพทที่ทรูมูฟจัดจําหนาย เปนทั้ง การจําหนายเครื่องเปลาโดยไมผูกพันกับบริการใดๆ กับการจําหนายเครื่องโดยลูกคาใชแพ็คเกจรายเดือนจาก ทรูมูฟ บริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ (International Roaming) ผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่จากตางประเทศที่เดินทางมาเมืองไทย สามารถใชบริการโทรศัพทขามแดน ระหวางประเทศผานโครงขายของทรูมูฟ (Inbound) ในกรณีที่ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของชาวตางชาติ รายนั้นๆ มีสัญญาโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศกับทรูมูฟ และในขณะเดียวกันผูใชบริการทรูมูฟใน ประเทศไทย ก็สามารถใชบริการนี้ เมื่อเดินทางไปยังตางประเทศ (Outbound) ไดอีกดวย ลูกคาสามารถใช บริการตางๆ อาทิ บริการรับฝากขอความเสียง บริการสงขอความ (SMS) บริการสงภาพ ขอความและเสียง (MMS) บริการอินเทอรเน็ต/อีเมล บริการแสดงเบอรโทรเขา บริการเตือนเมื่อไมไดรับสาย บริการ Short Code บริการแบล็คเบอรรี่ขามแดน และบริการ Wi-Fi by TrueMove ในเดื อนมิ ถุน ายน ทรูมูฟ ได ป ระกาศเข ารวมเครือขายพั น ธมิต รคอนเน็ ก ซัส โมบายล (Conexus Mobile Alliance) สงผลใหปจจุบันคอนเน็กซัส โมบายล มีฐานผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชบริการ โรมมิ่ง (ทั้งบริการเสียงและบริการที่ไมใชเสียง) เพิ่มขึ้นเปน 210 ลานราย โดยผูใชบริการเหลานี้สามารถใช บริการโรมมิ่งในประเทศไทยบนเครือขายทรูมูฟ ในขณะเดียวกันยังเปนการเพิ่มทางเลือกและความสะดวก สบายใหลูกคาทรูมูฟในการโรมมิ่งเสียงและขอมูลเมื่อเดินทางไปทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก นอกจากนี้ ทรูมูฟ และกลุมคอนเน็กซัส โมบายล ยังไดประกาศเปดตัวบริการใหมลาสุด “บริการโรมมิ่งขอมูลผานแบล็คเบอรรี่” พรอมกันทุกประเทศในกลุมสมาชิก ตอบรับความตองการใชงานดานขอมูลที่เพิ่มสูงขึ้น สามารถเชื่อมตอกับ อีเมลขององคกรและทองอินเทอรเน็ตไรสายไดอยางสะดวก ชวยประหยัดคาใชจายใหลูกคานักธุรกิจที่ เดินทาง และใชบริการโรมมิ่งในเครือขายของบริษัทที่เปนพันธมิตรของคอนเน็กซัสไดเปนอยางดี โครงขาย ทรู มู ฟ เป น ผู ใ ห บ ริก ารที่ เข ามาดํ าเนิ น ธุ รกิ จโทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ รายล าสุ ด ในจํ านวนผู ให บ ริก าร โทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ 3 ราย จึงทําใหไดรับประโยชนจากพัฒนาการเทคโนโลยีใหมลาสุด ดวยการลงทุน

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ที่มีประสิทธิภาพและตนทุนถูกกวา ทรูมูฟขยายการใหบริการครอบคลุมพื้นที่รอยละ 93 ของจํานวนประชากร ของประเทศ ซึ่งทําใหเทียบเทากับผูใหบริการรายอื่น การนําเสนอแพ็คเกจรวมกับกลุมทรู ทรูมูฟคือองคประกอบสําคัญของกลุมทรู ดังจะเห็นไดจากการนําเสนอผลิตภัณฑและบริการตางๆ ภายในกลุมในรูปแบบของแพ็คเกจรวมกับทรูมูฟ SUPER hi-speed Internet โปรโมชั่นรวมกัน ระหวาง ทรู อินเทอรเน็ต ทรูมูฟ และ ทรูวิชั่น ส เสนอความเร็วไฮสป ด อิ น เทอรเน็ ต ให ถึง 1 Mbps ในราคา 599 บาทต อ เดื อน สํ าหรับ ลูก ค า ทรูมูฟ และ ทรูวิชั่นส นอกจากนี้โปรโมชั่นใหม hi-speed Internet SUPER Package 2 Mbps ได เพิ่มความเร็วเปน 2 Mbps พรอมเชื่อมตอ Wi-Fi ผานบริการ Wi-Fi by True ไมจํากัดเวลา ใน ราคา 890 บาทตอเดือน ทรูมู ฟ ยังมี ส วนสํ าคั ญ ในการนํ าเสนอโปรโมชั่ น รวมกับ ทรูวิชั่น ส และ ทรูอิน เทอรเน็ ต ใน รายการอะคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซั่น 5 (True AF5) รายการเรียลลิตี้โชวยอดนิยม ซึ่งตั้งแตป 2549 เปนตนมา ผูใชบริการทรูมูฟเทานั้นที่สามารถเขารวมสนุกดวยการโหวตใหคะแนนผูแขงขัน ที่ตนชื่นชอบ นอกจากนี้ทรูมูฟยังรวมมือกับทรูวิชั่นสนําเสนอแพ็คเกจ ทรูวิชั่นส-ยูบีซี ทรูมูฟ ฟรีวิว ซึ่งเปน โปรโมชั่นสําหรับตลาดลูกคาระดับกลาง-ลาง (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอ ทรูวิชั่นส) All Together Bonus ซึ่งเปดตัวในป 2547 เปนแพ็คเกจแรกที่ผสมผสานผลิตภัณฑและบริการใน กลุมทรูเขาดวยกัน และยังคงไดรับความนิยมจากผูใชบริการทรูมูฟอยางตอเนื่อง ทรูมูฟใหความสําคัญกับการพัฒนาและนําเสนอนวัตกรรมมาโดยตลอด ตัวอยางเชน เปนผูประกอบการ รายแรกในประเทศไทยที่เปดใหบริการ Voice SMS บริการริงโทนแนวใหมที่ผูใชสามารถผสมผสานใหเปน ทํานองของตนเอง (ผานบริการ IRemix) และบริการเติมเงิน ‘over-the-air’ รวมทั้งยังเปดใหบริการ EDGE (Enhanced Data rates for GSM Evolution) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และบริการมัลติมี เดี ย คอนเทนทตางๆ รวมทั้งขยายการใหบริการอินเตอรเน็ตไรสาย โดยเทคโนโลยี Wi-Fi ในป 2551 ทรูมูฟ ได เปดตัวเกมซิม เจาะกลุมคอเกมออนไลน รวมทั้งโปรโมชั่นใหมๆ รวมทั้งไดนําเสนอ ทัชซิม ผานเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) เป น ครั้งแรกในโลกทั ชซิ ม เป น ซิ มโทรศัพ ท เคลื่อนที่ ที่ มีแ ผน รับ สัญญาณ RFID พวงติดกับทัชซิม แผนรับสัญญาณนี้จะทําหนาที่รับสงสัญญาณ เพื่ออานขอมูลจากกระเปาเงิน อิเล็กทรอนิกส (E-purse & E-wallet) ในซิม จึงสามารถทําการชําระคาสินคาและบริการตางๆไดอยางสะดวก และงายดาย เพียงสัมผัสโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชทัชซิมกับเครื่องอานสัญญาณทัช

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3.1.3 ทรูวิชั่นส ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิม ยูบีซี) คือ ผูนําในการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ซึ่งใหบริการ ทั่วประเทศผานดาวเทียมในระบบดิจิตอลตรงสูบานสมาชิก และผานโครงขายผสมระหวางเคเบิลใยแกว นําแสง และสายโคแอ็กเชียล (coaxial) ที่มีประสิทธิภาพสูง ทรูวิชั่นส เกิดจากการควบรวมกิจการเมื่อป 2541 ระหวางยูบีซี (เดิมคือ ไอบีซี) และ ยูบีซีเคเบิล (เดิม คือ ยูทีวี) ในตนป 2549 บริษัทประสบความสําเร็จในการรวมยูบีซีเขามาเปนสวนหนึ่งของกลุมทรู ทําใหบริษัท ถือหุนในสัดสวนรอยละ 91.8 ของยูบีซี และเปลี่ยนชื่อเปนทรูวิชั่นสในป 2550 ทรูวิชั่นสดําเนินธุรกิจภายใตสัญญารวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศน (และบริการโทรทัศน ทางสาย) ระบบบอกรับสมาชิก (“สัญญารวมดําเนินกิจการฯ”) อายุ 25 ป ที่ไดรับจากองคการสื่อสารมวลชน แหงประเทศไทย (อสมท) โดยสัญญารวมดําเนินกิจการฯ สําหรับบริการผานดาวเทียมจะหมดอายุในวันที่ 30 กันยายน 2557 และสัญญารวมดําเนินกิจการฯ สําหรับบริการโทรทัศนทางสาย (หรือ เคเบิล) จะหมดอายุ ในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ทรูวิชั่นสใหบริการในระบบดิจิตอลผานดาวเทียม (DStv) โดยการสงสัญญาณในระบบ Ku-band และใชระบบการบีบอัดสัญญาณ MPEGII ซึ่งทําใหบริษัทสามารถเพิ่มจํานวนชองรายการไดมากขึ้น ปรับปรุง คุณภาพเสียงและภาพใหคมชัดยิ่งขึ้น สามารถกระจายสัญญาณใหบริการไปยังทุกๆ พื้นที่ในประเทศไทย ปจจุบันการใหบริการระบบนี้ถายทอดสัญญาณผานดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่งมีขีดความสามารถสูงกวาเดิมมาก นอกจากนั้น ทรูวิชั่นสใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกระบบเคเบิล (CATV) โดยให บริการทั้งระบบดิจิตอลและระบบอนาลอคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลผานโครงขายผสมระหวาง เคเบิลใยแกวนําแสง และสายโคแอ็กเชียล ของบริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู) โดย ปจจุบันโครงขายดังกลาวผานบานถึงประมาณ 800,000 หลังคาเรือน ภายหลังการรวมเปนสวนหนึ่งของทรู ทรูวิชั่นสไดปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการตลาด โดยขยายบริการสู ตลาดกลางและลาง โดยนําเสนอแพ็คเกจรวมกับทรูมูฟ ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส-ยูบีซี ทรูมูฟ ฟรีวิว ทําใหทรูวิชั่นส มีผูใชบริการ ณ 31 ธันวาคม 2551 รวม 1,469,471 ราย (รวมลูกคาฟรีวิวและฟรีทูแอรแพ็คเกจ) ซึ่งเพิ่มขึ้น รอยละ 41 จากป 2550 โดยระหวางป 2551 รอยละ 30.4 ของยอดผู ใชบริก ารฟรีวิวแพ็ คเกจเปลี่ยนไปใช บริการแพ็คเกจที่มีราคาสูงขึ้น นอกจากนี้ ยุทธศาสตรดังกลาว มีบทบาทสําคัญในการเพิ่มยอดผูใชบริการใน ตางจังหวัด โดยในปจจุบัน ผูใชบริการในตางจังหวัดมีสัดสวนรอยละ 49 ของผูใชบริการทั้งหมดของทรูวิชั่นส ในป 2551 รายไดเฉลี่ยตอลูกคาตอเดือนของทรูวิชั่นส (ไมรวมลูกคาฟรีวิว และฟรีทูแอร) ลดลง รอยละ 11 จากป 2550 เปน 988 บาท จากการขยายไปสูตลาดกลาง-ลาง

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางดานลาง แสดงถึงจํานวนผูใชบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก และรายไดเฉลี่ยตอสมาชิกตอเดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ทรูวิชั่นส 2547 2548 2549 2550 2551 จํานวนผูใชบริการ (เฉพาะลูกคาแพ็คเกจปกติ) - เคเบิลทีวี 140,998 133,055 133,977 132,868 129,659 - จานดาวเทียม (DSTV) 316,544 350,761 424,883 496,920 670,178 รวมผูใชบริการแพ็คเกจปกติ 457,542 483,816 558,860 629,788 799,837 ผูใชบริการประเภท ฟรีววิ 1/ 64,647 318,790 527,096 ผูใชบริการประเภท Free-to-air 2/ 90,342 142,538 จํานวนผูใชบริการ 457,542 483,816 623,507 1,038,920 1,469,471 รายไดเฉลี่ยตอสมาชิกตอเดือน 3/ 1,301 1,291 1,217 1,104 988 1/ 2/

3/

ไมรวมผูใชบริการที่มีการเปลี่ยนแพ็คเกจเปนแพ็คเกจปกติ บริการ Free to air หมายถึง การขายขาดจานรับสงดาวเทียมเพื่อรับชมชองสัญญาณจํานวน 32 ชองของทรูวิชั่นส โดยไมมีคาบริการรายเดือน ไมรวมผูใชบริการประเภท ฟรีววิ และ free-to-air

ทรูวิชั่นสจัดแพ็คเกจรายเดือนออกเปน 4 แพ็คเกจ ไดแก แพ็คเกจแพลทินัม (Platinum) ซึ่งเสนอชอง รายการทั้งหมด 86 ชอง โดยจัดเก็บคาบริการรายเดือนที่ 2,000 บาท แพ็คเกจโกลด (Gold) มี 77 ชองรายการ โดยคาบริการรายเดือนอยูที่ 1,413 บาท แพ็คเกจซิลเวอร (Silver) มี 63 ชอง คาบริการรายเดือนอยูที่ 750 บาท และทรู โนว-เลจ (True Knowledge) เสนอ 54 ชองรายการที่คาบริการ 340 บาทตอเดือน นอกเหนือจากแพ็คเกจขางตน ทรูวิชั่นสยังนําเสนอแพ็คเกจตามสั่ง (A-La-Carte) ซึ่งประกอบดวย 10 ชองรายการ เชน NHK, HBO, Disney และ Discovery ผูใชบริการแพ็คเกจ Platinum สามารถเลือกรับชม แพ็คเกจตามสั่งที่ชื่นชอบไดในราคาพิเศษ ในขณะที่ผูใชบริการแพ็คเกจ Silver สามารถเลือกซื้อแพ็คเกจ Discovery และ Disney เพิ่มไดเชนกัน ทรูวิชั่นสนําเสนอความบันเทิงหลากหลายดวยชองรายการชั้นนําที่มีคุณภาพทั้งจากในประเทศและ ตางประเทศ ประกอบดวย ภาพยนตร (เชน HBO, Cinemax, Star Movies, Hallmark) กีฬา (เชน ESPN, Star Sport และรายการของทรูวิชั่นสเอง) สาระบันเทิง (เชน Discovery Channel, National Geographic) ขาว (เชน CNN, CNBC, Bloomberg, BBC World) นอกจากนั้นยังมีรายการจากสถานีโทรทัศนภาคปกติของไทย (Free TV) และ บริการ Pay Per View และเพื่อรองรับตลาดกลาง-ลาง ทรูวิชัน สไดเพิ่มชองรายการในประเทศ จํานวน 3 ชองในป 2551 ไดแก รายการของทรูวิชั่นส 2 ชอง (True Asian Series และ Hay Ha) และ MTV Thailand ซึ่งบางรายการไดกลายเปนชองที่เปนที่นิยมติด 10 อันดับแรกของทรูวิชั่นส

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนเมษายน ป 2550 ทรูวิชั่นสไดรับลิขสิทธิ์แตผูเดียวในประเทศไทย ในการถายทอดสดการ แขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีกของประเทศอังกฤษตอเนื่อง 3 ฤดูกาล รายการฟุตบอลพรีเมียรลีกนี้ ถือเปนกีฬาที่ ผูชมชาวไทยนิยมดูมากที่สุด การไดลิขสิทธิ์นี้ทําใหทรูวิชั่นสสามารถถายทอดสดการแขงขันไดฤดูกาลละ 380 คู ตั้งแตฤดูกาล 2550/51 ถึง 2552/53 รวมทั้งยังทําใหสามารถจัดสรรชองรายการกีฬาเพื่อดึงดูดลูกคา ประเภทตางๆ ไดดียิ่งขึ้น การได รับ ลิ ข สิ ท ธิ์ในการถ ายทอดสดการแข งขั น ฟุ ต บอลพรี เมี ย รลี ก แต ผู เดี ย วในประเทศไทย ทําใหทรูวิชั่นสสามารถดึงดูดผูใชบริการรายใหม และรักษาฐานลูกคาเดิมไปพรอมๆ กัน อีกทั้งยังเปดโอกาส ให สมาชิก ฟรีวิวสามารถรับ ชมการแข งขัน ฟุ ตบอลพรีเมียรลีก ได ดวยการซื้ อรายการตามสั่ ง ในป 2551 ทรูวิชั่นสยังเพิ่มชอง ทรูสปอรต 5 ซึ่งถายทอดสดรายการฟุตบอลพรีเมียรลีกบางนัด และสามารถเลือกชมได ดวยการซื้อรายการตามสั่ง นอกจากนี้ กลุมทรูยังไดรับสิทธิ์ในการนําเสนอการแขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีก และคอนเทนทที่เกี่ยวของผานบริการอื่นๆ ซึ่งประกอบดวย ทรูไอพีทีวี ทรูมูฟ และทรูออนไลนอีกดวย นอกจากที่กลาวแลว ป 2551 นับเป น ปที่ 5 ติดต อกั น ที่ ทรูวิชั่น ส ประสบความสํ าเร็จในการผลิต รายการอะคาเดมี แฟนเทเชีย รายการเรียลลิตี้โชวยอดนิยม ออกอากาศปละครั้ง และเปนโปรแกรมสําคัญ ในการรักษาฐานลูกคาของทรูวิชั่นสในชวงที่มีการชะลอตัวตามฤดูกาล และในขณะเดียวกันยังเปนการสราง คอนเทนทใหกับธุรกิจอื่นๆ ภายในกลุมทรูอีกดวย ทรูวิชั่นสยังคงเดินหนาตอยอดความเปนผูนําดานคอนเทนท แพ็คเกจแบบพรีเมี่ยมของทรูวิชั่นส นําเสนอรายการที่ไดรับความนิยมอยางสูงในตางประเทศ และเกือบทั้งหมดเปนรายการที่ทรูวิชั่นสไดรับ ลิขสิทธิ์แตเพียงผูเดียว (โดยมีเพียง 3 ชองรายการ จากทั้งหมด 43 ชองรายการที่ไมใชรายการที่ไดรับลิขสิทธิ์ เฉพาะ) และเพื่ออรรถรสในการรับชมรายการตางๆ เหลานี้ ทรูวิชั่นสจึงไดอํานวยความสะดวกใหผูชมชาวไทย ไดรับชมรายการจากตางประเทศดวยเสียงและคําบรรยายภาษาไทย รวมทั้งผลิตคอนเทนทขึ้นเอง เพื่อให เหมาะกับรสนิยมของคนไทย 3.1.4 ทรูมันนี่ ทรูมันนี่ไดรับใบอนุญาตจากธนาคารแหงประเทศไทยใหประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็คทรอนิกส และไดรับอนุมัติจากกรมสรรพากรในการแตงตั้งเปนตัวแทนรับชําระคาสินคาและบริการพรอมการออก ใบเสร็จรับเงิน/ใบกํากับภาษี โดยบริการตางๆ ของทรูมันนี่ประกอบดวย บัตรเงินสดทรูมันนี่ บัตรเงินสดทรูมันนี่ ชวยใหผูใชบริการทรูมูฟและกลุมทรูสามารถเติมเงินใหกับบริการตางๆ ภายใน กลุมทรู ซึ่งประกอบดวย บริการทรูมูฟแบบเติมเงิน บริการ WE PCT Buddy บริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง แบบเติมเงิน บริการซื้อชั่วโมงอินเทอรเน็ต บริการ True E-book และบริการเกมออนไลนตางๆ ดวยวิธีการ และขั้นตอนแบบเดิม โดยใชรหัสที่ปรากฏในบัตร สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตัวแทนรับชําระและจัดเก็บคาสินคาและบริการ การรับชําระผานตัวแทน ใหบริการรับชําระเงินตามใบแจงหนี้ที่มีบารโคด ดวยเงินสด เช็ค และ/หรือ บัตรเครดิต ตามจํานวนเงินรวมในใบแจงหนี้ หรือชําระบางสวน รวมทั้งยังสามารถชําระโดยไมตองใช ใบแจงหนี้ในกรณีเปดรับชําระแบบออนไลน นอกจากนี้ระบบยังสามารถเปดรับชําระได แมเกินกําหนด รับชําระตามใบแจงหนี้ บริการ ทรูมันนี่ เอ็กซเพรส จุดรับชําระคาบริการผานระบบแฟรนไชส โดยรวมมือกับธุรกิจคาปลีก ใหบริการครอบคลุม 2,000 จุดทั่วประเทศ เพื่อใหบริการชําระคาสินคาและบริการตางๆ จําหนายบัตรเงินสด และบริการเติมเงินสําหรับบริการแบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู นอกจากนี้ทรูมันนี่ยังเปดใหบริการ “WeBooking by TrueMoney” ซึ่งเปนบริการจองจายครบวงจร ดวยจุดเดน “จองงาย จายสะดวก รวดเร็ว หลายชองทาง” ใหบริการครอบคลุมกลุมไลฟสไตลตางๆ ไดแก ความบันเทิง การทองเที่ยวและที่พัก การศึกษา กีฬา และ สุขภาพ เปนตน บริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟ (บริการทรูมันนี่) ทรูมันนี่เปดใหบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟ ในป 2549 ทั้งนี้ เพื่ออํานวยความสะดวก แกผูใชบริการทรูมูฟใหสามารถทําธุรกรรมทางการเงินตางๆ บนโทรศัพทเคลื่อนที่ไดทุกที่ ทุกเวลา และ มีความปลอดภัยสูงดวยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล โดยผูใชบริการสามารถ เติมเงินใหกับสินคาและบริการระบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู เชน บริการทรูมูฟแบบเติมเงิน การซื้อชั่วโมงอินเทอรเน็ต เกมออนไลน และบริการ WE PCT เปนชองทางในการชําระเงินของบริการทรูวิชั่นสฟรีวิว แพ็คเกจ โดยหักเงินอัตโนมัติจากเงินใน บั ญ ชีท รูมั น นี่ ทุ ก เดื อนเมื่ อถึ งกําหนดชํ าระ ผู ใช บ ริก ารทรูวิชั่ น ส ฟ รีวิ ว แพ็ คเกจยังสามารถ เปลี่ยนเปนสมาชิกรายการตามสั่ง ที่มีอัตราคาบริการรายเดือนที่สูงขึ้น หรือสั่งซื้อรายการแบบ จายเงินลวงหนา ดวยการชําระผานบริการทรูมันนี่ไดอีกดวย ชําระคาบริการผลิตภัณฑและบริการตางๆ ภายในกลุมทรู รวมทั้งชําระคาสินคาและบริการอื่นๆ อาทิ คาไฟฟา น้ํ าประปา คาประกัน และบริการอีคอมเมิรซตางๆ คาโดยสารรถแท็กซี่ และ การซื้อบัตรชมภาพยนตรและโบวลิ่ง ยิ่งไปกวานั้น บริการทรูมันนี่ยังมีระบบเตือนการชําระ กอนกําหนดสําหรับคาไฟฟา และน้ําประปาอีกดวย โอนเงินจากบัญชีทรูมันนี่ของตนเองไปยังบัญชีทรูมันนี่อื่น หรือโอนจากบัญชีธนาคารของ ตนเองไปยังบัญชีทรูมันนี่ ถอนเงินสดจากบัญชีทรูมันนี่ของตนเอง โดยใชบัตรเงินสดทรูมันนี่ ที่ตูเอทีเอ็มทั่วประเทศ ผูใชบริการสามารถเก็บเงินไวในบัญชีทรูมันนี่สูงสุดถึง 30,000 บาท และสามารถเติมเงินเขา บั ญ ชี ท รู มั น นี่ จ ากหลายช อ งทาง ไม ว า จะเป น บั ต รเงิ น สดทรู มั น นี่ ผ า นบั ญ ชี ธ นาคารที่ ลงทะเบียนไวแลวกับธนาคารเจาของบัญชี หรือผานบัตรเครดิตที่ลงทะเบียนไวแลวกับบริษัท สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ สิ้นป 2551 มีลูกคาทรูมูฟที่ใชบริการทรูมันนี่ประมาณ 4.2 ลานราย โดยเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 50 จาก 2.8 ลานราย ณ สิ้นป 2550 และคาดวาจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในป 2552 3.1.5 ทรูไลฟ ทรูไลฟ เปนบริการดิจิตอลคอนเทนท และเปนชองทางที่ทําใหสามารถเขาถึงชุมชนผูใชโทรศัพท เคลื่อนที่ และชุม ชนออนไลน อีก ทั้งยังเป น สื่ อสํ าหรับ ธุรกรรมระหวางผูบริโภคกับ ผูบ ริโภค ธุรกิ จกับ ผูบริโภค และธุรกิจกับธุรกิจ ทรูไลฟประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ ดิจิตอลคอนเทนทและบริการชุมชนตางๆ ทรูไลฟชอป และ ทรูไลฟพลัส (แพ็คเกจที่ผสานผลิตภัณฑและบริการในกลุมทรูเขาดวยกัน) พอรทัลออนไลน Truelife.com ใหบริการชุมชนออนไลน เชน มินิโฮม (Minihome) คลับ หองแชท (Chatroom) และบริก าร Instant Messaging ซึ่ งผู ใช ส ามารถติ ด ต อ และสื่ อ สารระหว างกั น นอกจากนี้ ยั ง นําเสนอคอนเทนทที่เชื่อมโยงผูที่มีความสนใจหรือมีไลฟสไตลใกลเคียงกันเขาดวยกัน โดยมีคอนเทนทหลัก 4 ประเภทคือ ดนตรี กีฬา รายการโทรทัศนและภาพยนตร Truelife.com เปดใหบริการในป 2549 ปจจุบันมี ผูลงทะเบียนใชบริการมากกวา 1.6 ลานราย นอกจากนั้น กลุมทรูยังเปนผูใหบริการเกมออนไลนรายใหญ โดยบริษัท NC True จํากัด ซึ่งเปน บริษั ทรวมทุ น กั บ บริษั ท NC Soft จํากัด ผู ผลิตเกมออนไลนชั้น นํ าระดับ โลกจากประเทศเกาหลี เปด ให บริการเกม “Lineage II” “กิลดวอรส” และ “Point Blank” ซึ่งเปนเกมออนไลนที่มีผูเลนมากสุดในอันดับ ตนๆ ของไทย นอกจากนี้ เกม “Special Force” ซึ่ งให บ ริก ารโดย บริษั ท ทรู ดิจิ ต อล เอ็น เตอรเทนเม น ท จํากั ด (“TDE”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู ไดรับความนิยมและขึ้นนําเปนเกมออนไลนประเภท Casual อันดับ หนึ่งของไทย มีผูลงทะเบียนเลนเกม จํานวนประมาณ 14.4 ลานราย ณ สิ้นป 2551 ทรูไลฟ ช อป เป น สถานที่ ที่ ให ลู ก ค าได สั ม ผั ส กั บ ประสบการณ ค อนเวอรเจนซ ไลฟสไตล ด วย ผลิตภัณฑและบริการหลากหลายของกลุมทรู รวมไปถึงทรูคอฟฟ ทรูมิวสิค และบริการบรอดแบนด โดย สวนใหญจะตั้งอยูในบริเวณที่คนรุนใหมใหความนิยมมาพักผอน หรือจับจายใชสอยในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ทรูไลฟพลัส เปนการผสานผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมทรู เพื่อนําเสนอแพ็คเกจที่ตรงใจตาม ไลฟสไตลของผูใชบริการ ทรูไลฟเผยโฉมใหมบริการชอปปงออนไลน www.weloveshopping.com ภายหลังการรวมตัวกับ เว็บ ไซต www.marketathome.com ในป 2550 โดย ณ สิ้ น ป 2551 weloveshopping ได ก ลายเป น ศู น ย ร วม รานคาออนไลนกวา 150,000 ราน และมีสินคากวา 2 ลานรายการ

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3.2 การตลาด ทรูยังคงเชื่อมั่นวา ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซจะมีสว นสําคัญในการเพิ่มยอดผูใชบริการ ตลอดจน การใชงานโครงขายไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ชวยลดอัตราการเลิกใชบริการ (Churn Rate) และ สรางความเติบโต และเพิ่มรายไดแกบริษัท ทัง้ ในระยะกลางและระยะยาว จากการผสานผลิตภัณฑทหี่ ลากหลายจากธุรกิจหลัก ทั้ง 5 ธุรกิจของทรู อันไดแก ทรูออนไลน ทรูมูฟ ทรูวิชนั่ ส ทรูมันนี่ และทรูไลฟ และการมีคอนเทนท ผลิตภัณฑ และบริการเสริมจํานวนมาก เชนเดียวกับแนวทางการตลาดของกลุมบริษัททรู ทรูออนไลนจะอาศัยยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ ในการขยายตลาดบรอดแบนดสูตลาดผูมีรายไดสูงเพิ่มยิ่งขึ้น รวมทั้งพิจารณาการขยายการใหบริการสูตางจังหวัด และตอยอดจากการเปนผูนําบริการ Wi-Fi ดวยการขยายพื้นที่ใหบริการอยางตอเนื่อง โปรโมชั่นสงเสริมการโทรในเครือขาย ยังคงชวยใหทรูมูฟ สามารถเพิ่มจํานวนผูใชบริการใหม ไดอยางตอเนือ่ ง และยังชวยลดคาใชจายคาเชื่อมโยงโครงขาย หรือ IC ไดอีกดวย ทรูมูฟจึงยังคงตั้งเปาหมาย ครองสวนแบงผูใชบริการรายใหมสุทธิราว 1 ใน 3 ของตลาดโดยรวม โดยการเสนอบริการ ผลิตภัณฑ และ โปรโมชั่นใหม ๆ ที่ตอบสนองความตองการของลูกคาใหไดมากที่สุด ทรูวิชั่นสจะเนนขยายตลาดสูล ูกคาในระดับกลาง-ลางอยางตอเนื่อง รวมทั้งขยายฐานลูกคารายเดือน และใหความสําคัญตอการรักษาฐานลูกคาระดับพรีเมีย่ มดวยบริการทีแ่ ตกตาง 3.3 การจําหนายเเละชองทางการจําหนาย เพื่อใหเขาถึงกลุมลูกคาบุคคล บริษัทไดเปดศูนยบริการทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งตางจังหวัด โดยในแตละศูนยบริการจะมีเจาหนาที่พรอมใหคําแนะนําแบบ one-stop shopping ใน แหงเดียว เกี่ยวกับบริการสื่อสารทั้งแบบมีสายและไรสาย เครื่องโทรศัพทและอุปกรณเสริม และอุปกรณ สื่อสารอื่นๆ รวมทั้งโมเด็ม ADSL ซึ่งในศูนยบริการใหญจะเปดใหบริการอินเทอรเน็ตดวย นอกจากนี้กลุมทรู ยังไดจําหนายสินคาและบริการผานตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ ทั้งที่เปนรานคาที่เปนตัวแทนจําหนายและ ตัวแทนจําหนายอิสระซึ่งรับคาตอบแทนจากคาคอมมิชชั่น ชองทางการจําหนายของบริษัทประกอบดวย คูคาขายสง คือ ผูที่ขายซิมการดที่ยังไมไดเปดใชงานและบัตรเติมเงินเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และ อุปกรณของบริษัท โดยเปนผูกระจายสินคาไปยังตัวแทนจําหนาย (sub-dealer) ตลอดจนดูแลและให การสนับสนุนดานการกระจายสินคากับ sub-dealer โดยคูคาขายสงจะเปนผูขายซิมการดแบบเติมเงิน และบัตรเติมเงิน ในขณะที่ Sub-dealer จะใหบริการอื่นๆ ดวย อาทิ บริการซอมโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการดาวนโหลดเพลงและเกมตางๆ

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชองทางการขายตรง โดยขายผลิตภัณฑและบริการของบริษัทใหกับลูกคา SME และลูกคาองคกร ธุรกิจ ชองทางจัดจําหนายนี้มีบทบาทสําคัญในการเพิ่มจํานวนผูใชบริการใหกับทรูมูฟ โดยประมาณ ร อ ยละ 30 ของผู ใ ช บ ริ ก ารรายใหม สุ ท ธิ คื อ ผู ใ ช บ ริ ก ารใหม จ ากช อ งทางการขายตรง ชองทางการขายตรงแบงออกเปน: ทีมขายตรง ตัวแทนขายตรง และตัวแทนอิสระ รานคาปลีกประเภท Multi-retailer ซึ่งตั้งอยูในรานคาปลีกขนาดใหญ (Hypermart) รานคาประเภท Specialty Store รานสะดวกซื้อตางๆ ซิมการดที่ขายชองทางนี้มียอดขายเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยมี สัดสวนราวรอยละ 40-50 ของยอดขายซิมการดทั้งหมดในไตรมาส 4 ป 2551 รานคาปลีกซึ่งในที่นหี้ มายถึง ทรูชอป ทรูมูฟชอป และ Kiosk ตางๆ ที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่เห็นไดงาย และเปนแหลงชุมชน อยางเชน ศูนยการคา รานคาปลีกขนาดใหญ อาคารสํานักงาน เปนตน โดย รวมถึง ทูรไลฟชอป และ ทรูคอฟฟดวยเชนกัน คูคาผานชองทางการขายปลีก ประกอบดวย คูคาขายปลีก และ การขายผานโครงการ “Move UP Vans” โดยการจัดรถ Move Up Van จําหนายสินคาและบริการของกลุมทรู อํานวยความสะดวกแกลูกคา ชนิดใกลบาน โดยรวมกับตัวแทนจําหนายของแตละภูมภิ าคทั่วประเทศ บริการประเภท Prepaid ของกลุมทรู (สวนใหญเปนบริการสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่) โดยปกติจะ ขายผาน 3 ชองทางจัดจําหนายแรก คือ คูคาขายสง ชองทางการขายตรง และ รานคาปลีกประเภท Multi-retailer ในขณะที่รานคาปลีก (ทั้งของบริษัทและคูคา) จะทําหนาที่เปนชองทางการจําหนายผลิตภัณฑและบริการ แบบรายเดือน รวมทั้งผลิตภัณฑคอนเวอรเจนซของกลุมทรู รวมทั้งชองทางการใหบริการหลังการขายอีกดวย สําหรับบริการเติมเงิน (เพื่อเติมเงินทรูมูฟ ทรูมันนี่ หรือ แพ็คเกจฟรีวิว) มีชองทางผานบริการ อิเล็คทรอนิกสหลายชองทาง นอกเหนือจากการใชบัตร (เชน บัตรเงินสดหรือบัตรเติมเงิน) ดังตอไปนี้ เครื่องเอทีเอ็ม โดยผูใชบริการสามารถโอนเงินจากบัญชีธนาคารของตนเองเพื่อเติมเงินทรูมูฟหรือ ทรูมันนี่ไดโดยตรง บริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟผานบริการทรูมันนี่ (ดูรายละเอียดขอ 3.1.4 ทรูมันนี)่ บัตรเงินสดอิเล็คทรอนิกส ซึ่งสามารถซื้อไดจากคูคา เชน ธนาคารกสิกรไทย และ เซเวนอีเลฟเวน เติมเงินโดยตรง ลูกคาสามารถเติมเงินไดจากอุปกรณที่ตดิ ตั้งในรานคาปลีกของบริษัท และคูคา อาทิ เซเวนอีเลฟเวน หรือเติมเงินผานระบบออนไลน เติ ม เงิ น ผ า นโทรศั พ ท ส าธารณะของทรู ที่ มี สั ญ ลั ก ษณ "เติ ม เงิ น ทรู มู ฟ ที่ นี่ " 18,000 เครื่ อ ง ทั่วกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยผูใชสามารถเติมเงินขั้นต่ําเพียง 10 บาท โดยเปดใหบริการ มาตั้งแตป 2550

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ยังสามารถเติมเงินอัตโนมัติแบบ ‘over-the-air’ ผานตัวแทนซึ่งเปนบุคคลธรรมดา หรือ รานคาขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับทรูมูฟ และไดรับอนุญาตใหโอนคาโทรแบบ over-the-air ไปยังโทรศัพท เคลื่อนที่ของผูใชบริการ โดยตัวแทนเหลานี้สามารถเติมเงินคาโทรไดผานหลายชองทาง (เชน บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน และ เครื่องเอทีเอ็ม) ในป 2551 มีตัวแทนที่ลงทะเบียนกับบริษัทกวา 80,000 ราย ถึงแมวาบัตรเติมเงินจะเปนชองทางการจําหนายหลัก (คิดเปนรอยละ 72 ของการเติมเงินทั้งหมด ในป 2551) แตชองทางผานระบบอิเล็คทรอนิกสก็ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีวิธีชําระเงินที่หลากหลาย และมีสถานที่ที่ใหบริการเพิ่มมากขึ้น ในป 2552 บริษัทมีเปาหมายเพิ่มกําไร โดยเนนการเติมเงินผานชองทาง อิเล็คทรอนิกส ทั้งนี้เพื่อประหยัดคาใชจายที่เกี่ยวเนื่องกับบัตรเติมเงิน (การผลิต การกระจายสินคา และ การจัดเก็บ) นอกจากนี้ยังจะผสมผสานการขายผานชองทางตางๆ ที่มีคาคอมมิชชั่นต่ํา (เชน เครื่องเอทีเอ็ม) เพื่อเพิ่มรายได สํ า หรั บ ลู ก ค า SME และลู ก ค า องค ก รธุ ร กิ จ กลุ ม ทรู มี ที ม ขาย (Account Executive/Account Manager) ผูบริหารงานลูกคา ที่มีความเชี่ยวชาญในการเขาถึงความตองการของลูกคาตามแตละธุรกิจไดเปน อยางดี ชองทางการจําหนายหลักของทรูวิชั่นส คือ การขายทางโทรศัพท การขายตรง ผานเว็บไซตและ เครือขายตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ รวมทั้งชองทางใหมผาน Move up vans บริษัทจะใหความสําคัญกับการขยายชองทางการจัดจําหนาย โดยเนนกิจกรรมทางการตลาดและ การขายตรง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขาย โดยเฉพาะสําหรับแพ็คเกจคอนเวอรเจนซในกลุม 3.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการใหบริการของโครงขาย กลุมทรูเชื่อวาโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสงที่ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล และเขาถึงผูใชบริการไดอยางทั่วถึง เปนจุดเดนที่สําคัญในการใหบริการของกลุมทรู สัญญาณ เสียง และขอมูลสามารถเดินทางผานโครงขายใยแกวนําแสงไดดวยความเร็วที่สูงกวาสายทองแดงหรือคลืน่ วิทยุ นอกจากนี้ การออกแบบโครงขายในลักษณะใยแมงมุม ยังสามารถขจัดปญหาที่ผูใชบริการไมสามารถใช โทรศัพทไดอันเนื่องจากการที่สายโทรศัพทหรือเสนทางในการติดตอถูกตัดขาดเพราะอุบัติเหตุ หรือดวยเหตุ อื่นใดโดยทําใหบริษัทสามารถเลือกใชเสนทางอื่นทดแทนเสนทางที่ตองผานจุดที่เกิดเหตุเสียนั้นได ทรูมูฟเปนผูใหบริการที่เขามาดําเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่หลังสุดในจํานวนผูใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่รายใหญ 3 ราย ซึ่งทําใหไดรับประโยชนจากพัฒนาการใหมๆ ทางเทคโนโลยี โดยทําใหมีการลงทุน ที่มีประสิทธิภาพและตนทุนถูกกวา

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แหลงที่มาของผลิตภัณฑและบริการ บริษัทไดสั่งซื้ออุปกรณ โครงขายโทรคมนาคมจากผูผลิตอุปกรณ ชั้นนําของโลก ไดแก Siemens Alcatel Lucent NEC และ Huawei นอกจากนั้นมีผูรับเหมาจํานวนมากในการจัดหาและติดตั้งโครงขายของ บริษัท ซึ่งบริษัทไมไดมีการพึ่งพิง ผูจัดจําหนายหรือผูรับเหมารายใดเปนการเฉพาะ และบริษัทไมมีปญหาใน การจัดหาผูจัดจําหนายและผูรับเหมาเนื่องจากมีจํานวนมากราย การสนับสนุนทางดานเทคนิคและการบริหาร ในอดีตกลุมทรูเคยไดรับความชวยเหลือทางดานเทคนิค และการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจ ซึ่ง ประกอบดวย บริษัท Verizon Communications, Inc (“Verizon”) สําหรับบริษัท Orange SA ใหความชวยเหลือ ดานเทคนิคและการบริหารสําหรับทรูมูฟ และ MIH สําหรับทรูวิชั่นส แตในปจจุบันกลุมทรูไมไดรับการ สนับสนุนดานเทคนิค และการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจดังกลาว เนื่องจากพันธมิตรเหลานี้ไดขายหรือ ลดสัดสวนการถือหุน อยางไรก็ตาม กลุมทรูสามารถรับถายทอดเทคโนโลยีและความรูจนสามารถบริหารงาน ไดเองโดยไมตองพึ่งพาการสนับสนุนดานเทคนิคและบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจอีกแตอยาง 3.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศไทยมีการเติบโตอยางรวดเร็วในระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมา โดยมี จํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นตอเนื่ องเปนราว 61 ลานราย ณ สิ้นป 2551 ซึ่งเพิ่มขึ้นราว 8.8 ลานรายในป 2551 ทําใหมีอัตราการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากร 100 คน เปนอัตรารอยละ 91.7 (ขอมูลประชากรจาก สํานักงานสถิติแหงชาติ) จากอัตรารอยละ 79.3 ณ สิ้นป 2550 ทั้งนี้ไมรวมผูใชบริการโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ องไทย โมบายและฮัทช อยางไรก็ตาม คาดวาตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศ ยังคงมีโอกาสในการเติบโต ถึงแมจะ ในอัตราที่ลดลงจากปกอน ทั้งนี้เนื่องจากไดกลายเปนบริการที่จําเปนในวิถีชีวิตของคนไทยทุกกลุมในปจจุบัน ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ประกอบดวย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ AIS และบริษัท ดิจิตอลโฟน หรือ DPC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อิน โฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (มหาชน) หรือ DTAC บริษัท ทรูมูฟ ซึ่งเปน บริษัทยอยของกลุมบริษัททรู โดยมีบริษัทเปนผูถือหุนใหญ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด (ซึ่งใหบริการภายใต แบรนด “Hutch” ดวยเทคโนโลยี CDMA) ทีโอที และ Thai Mobile คูแขงรายใหญที่สุด 2 ราย คือ AIS และ DTAC ซึ่งมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 45.0 และ 30.7 ตามลําดับ ณ สิ้นป 2551 โดย ทรูมูฟเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับ 3 ดวยสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 24.3 ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแขงขันสูง ผูใหบริการตางพยายามแขงขันเพื่อเพิ่ม สวนแบงตลาด โดยผานกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ รวมทั้งการเสนอคาบริการแบบเติมเงินราคาถูกเพื่อ ดึงดูดผูใชบริการที่มีรายไดนอย ทั้งนี้ไดอํานวยความสะดวกในการซื้อบัตรเติมเงินโดยสามารถซื้อไดจาก

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รานสะดวกซื้ อและสถานี จําหน ายน้ํ ามั น ตางๆ นอกจากนี้ ผูให บ ริก ารโทรศัพ ท เคลื่อนที่ ยังมุ งเน น สราง ความเติ บ โตให กั บ บริ ก ารที่ ไ ม ใ ช เสี ย งต า งๆ ซึ่ ง เป น ผลมาจากเครื่ อ งโทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ รุ น ใหม ๆ มี ความสามารถในการใชงานที่หลากหลายยิ่งขึ้น นับตั้งแตป 2550 การแขงขันเปนไปอยางสมเหตุสมผลมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากมีการนําระบบคาเชื่อมโยง โครงขายมาใชจริง ทําใหผูประกอบการมีภาระตนทุนในการเชื่อมโยงไปยังโครงขายอื่น (ในอัตราโดยเฉลี่ย 1 บาทตอนาที) ซึ่งเปนเสมือนราคาขั้นต่ําของผูประกอบการ อยางไรก็ตาม ในป 2551 ผูประกอบการรายเล็ก เชน Hutch ไดเสนอโปรโมชั่นราคาต่ํา เนื่องจากไมมีภาระคาเชื่อมโยงโครงขาย อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน CAT อยูในระหวางการเจรจากับผูประกอบการรายอื่น เพื่อการเขาสูระบบเชื่อมโยงโครงขาย ซึ่งจะมีผลให Hutch เขาสูระบบเชื่อมโยงโครงขายดวย และทําใหการแขงขันดานราคาลดลง ถึงแมตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่จะมีการแขงขันสูง แตทรูมูฟก็สามารถเพิ่มสวนแบงตลาด จากรอยละ 19.3 ในป 2549 เป น รอยละ 23.2 ในป 2550 และเปน รอยละ 24.3 ในป 2551 นอกจากนี้ ยังสามารถครอง ตลาดผูใชบริการใหมไดราว 1 ใน 3 ทุกป ตั้งแต ป 2547 ซึ่งสวนหนึ่งก็เนื่องมาจากความสามารถในการนําเสนอ บริการรวมกับผลิตภัณฑและบริการอื่นๆ ภายในกลุมทรู ซึ่งเปนขอไดเปรียบ โดยไมจําเปนตองแขงขันดาน ราคาแตเพียงอยางเดียว ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ณ สิ้นป 2549 ประเทศไทยมีผูใชบริการโทรศัพท พื้นฐานทั้งสิ้นราวรอยละ 10 ของประชากร โดย จํานวนผูใชบริการรวมเติบโตขึ้นจาก 5.9 ลานเลขหมายในป 2544 เปน 6.7 ลานเลขหมาย ณ สิ้นป 2549 ทั้ งนี้ ณ สิ้ น ป 2551 บริ ษั ท มี จํ านวนผู ใช บ ริ ก ารโทรศั พ ท พื้ น ฐานลดลงเล็ ก น อ ยเป น 1,902,507 เลขหมาย (จาก 1,955,410 เลขหมาย ณ สิ้นป 2550) บริการโทรศัพทพื้นฐานในปจจุบันมีผูใหบริการทั้งสิ้น 3 ราย โดย ทีโอที เปนผูใหบริการโทรศัพท พื้นฐานทั้งในกรุงเทพมหานครกับปริมณฑล และตางจังหวัดเพียงรายเดียวของประเทศ สวนผูใหบริการอีก 2 ราย คือผูใหบริการที่อยูภายใตสัญญารวมการงานฯ ของ ทีโอที โดยทรูเปนผูใหบริการในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และบริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) เปนผูใหบริการในตางจังหวัด ทั้งนี้คาดวา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีสวนแบงตลาดกวารอยละ 50 สําหรับเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ทั้งนี้คิดจาก จํานวนผูใชบริการ ในระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมา ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทไดรับผลกระทบจากการแขงขันกับ บริการทดแทนอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้เนื่องจากโทรศัพทเคลื่อนที่ใชงานได สะดวกกวาและมีบริการเสริมตางๆ มากกวา อีกทั้งยังมีการพัฒนาคุณภาพการใชงาน ตัวเครื่องโทรศัพทมี ราคาถูก และมีการลดอัตราคาบริการลงมาถูกกวาอัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐาน

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทยังเผชิญกับการแขงขันจากบริการ VoIP ซึ่งมีคาบริการ ถูกกวา เนื่องจากในปจจุบันมีการใชอินเทอรเน็ตและเครื่องคอมพิวเตอรอยางแพรหลาย ทําใหผูบริโภคจะ หันมาใชบริการ VoIP มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ คณะกรรมการ กทช. ยังไดออกใบอนุญาตใหบริการโทรศัพท พื้นฐาน ซึ่งอาจทําใหทรูตองแขงขันกับผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหมๆ ธุรกิจโครงขายขอมูล ธุรกิจโครงขายขอมูลของประเทศไทยยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีอัตราการเติบโตที่ประมาณ รอยละ 10-15 ตอป เนื่องจากความนิยมในการสงขอมูลออนไลน และจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตที่เพิ่ม มากขึ้น การแขงขันในธุรกิจโครงขายขอมูลยังคงสูงเนื่องจากมีจํานวนผูใหบริการหลายราย ประกอบกับลูกคา มีทางเลือกเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีเทคโนโลยีใหมๆ เชน ADSL ผูใหบริการสื่อสารขอมูลรายใหญในประเทศไทย ประกอบดวย ทีโอที กสท บริษัท ยูไนเต็ด อินฟอรเมชั่น ไฮเวย จํากัด (“UIH”) และ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี จํากัด (“UCOM”) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวอรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (“ADC”) ซึ่งเปนบริษัท ภายใตกลุมบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น บริษัท ทีทีแอนดที และกลุมบริษัททรู โดยผูใหบริการเหลานี้ใหบริการ วงจรเชา บริการ frame relay และ บริการ MPLS ทั้งนี้ คูแขงหลักของบริษัท ไดแก ทีโอที (เนื่องจากสามารถ ให บ ริ ก ารครอบคลุ ม พื้ น ที่ ม ากที่ สุ ด ในประเทศไทย) และยู ค อม (ซึ่ ง สามารถให บ ริ ก ารนอกเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลไดมากกวากลุมทรู) ผูใหบริการรายใหม อยางเชน Violin มีการเติบโตอยาง รวดเร็วในป 2551 ถึงแมจะเปนบริษัทขนาดเล็ก ณ สิ้นป 2551 ทรูเปนผูใหบริการโครงขายขอมูลรายใหญอันดับ 3 เมื่อพิจารณาจากรายได โดยครอง สวนแบงรอยละ 22 ของตลาดโดยรวม ในขณะที่ทีโอทียังคงเปนผูนําตลาด และครองสวนแบงราวรอยละ 28 โดย UIH เปนผูใหบริการรายใหญอันดับ 2 และมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 25 ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) อัตราของผูใชบริการบรอดแบนดรวมตอจํานวนครัวเรือนในเมืองไทย ยังมีระดับที่ต่ํามากที่อัตรา ประมาณรอยละ 7 ซึ่งยังคงเปนระดับที่ต่ํากวาประเทศที่พัฒนาแลวในแถบเอเซีย เชน เกาหลีใต (รอยละ 89) ฮองกง (รอยละ 87) และ สิงคโปร (รอยละ 75) (แหลงที่มา: OECD, IMF, BuddeComm, KBank) ผูใหบริการในตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีอยูหลายรายทั่วประเทศ เชน บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) และ บริษัทลูก คือ บริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี จํ ากั ด (“UBT”) ซึ่ งเป น บริ ษั ท ในกลุ ม UCOM บริ ษั ท เลนโซ ดาต าคอม จํ ากั ด (ใหบริการภายใตชื่อ Q-Net) บริษัทในกลุม สามารถ คอรปอเรชั่น บริษัท CS Loxinfo ทีโอที บริษัท ADC และ กลุมบริษัททรู กลุมบริษัททรู สามารถเพิ่มฐานผูใชบริการบรอดแบนดจากจํานวน 3,708 ราย ณ สิ้นป 2545 มาเปน 632,461 ราย ณ สิ้ นป 2551 ซึ่ งกลุ มทรูเชื่ อว ากลุ มทรู เป นหนึ่ งในผู ให บริ การบรอดแบนด รายใหญ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทยคิดจากฐานจํานวนลูกคา โดยมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 50 ทั่วประเทศ

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 25


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มีปจจัยหลายประการที่ทําใหจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิ่มขึ้นอยาง รวดเร็ว ซึ่งประกอบดวย ราคาโมเด็มที่ถูกลง ผูบริโภคความนิยมใชบริการคอนเทนทตางๆ เพิ่มมากขึ้น เชน เกม ออนไลน ประกอบกั บ อั ต ราค าใช บ ริก ารรายเดื อ นของอิ น เทอร เน็ ต ความเร็ว สู ง (บรอดแบนด ) ถู ก ลง เนื่ องจากจํานวนผูให บริการเพิ่ มมากขึ้น อีกทั้ง คณะกรรมการ กทช. ไดเปดเสรีธุรกิจวงจรอิน เทอรเน็ ต ตางประเทศ ทําใหมีการปรับลดอัตราคาเชาวงจรลงอยางมาก ภาวะการแขงขันในตลาดบรอดแบนดรุนแรงมากขึ้น ภายหลังจากที่ คณะกรรมการ กทช. ไดเปด เสรี อยางไรก็ตามกลุมทรูเชื่อวา มีขอไดเปรียบเหนือคูแขง จากประสิทธิภาพและคุณภาพของโครงขายของทรู และ คุณภาพการเชื่อมตอที่ดีจากโครงขายอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศของทรูเอง ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก จํานวนสมาชิกโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกในประเทศไทย ณ สิ้นป 2551 มีทั้งสิ้นประมาณ 3 ถึง 4 ลานราย คิดเปนสัดสวนราวรอยละ 18 ถึง 19 ของจํานวนครัวเรือน ซึ่งต่ํากวาประเทศที่พัฒนาแลวในแถบ เอเชีย โดยในป 2550 มาเลเซีย มีอัตราการใชบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิกอยูที่ รอยละ 31 สิงคโปร รอยละ 40 ฮองกง รอยละ 48 และญี่ปุน รอยละ 52 จึงนับวามีโอกาสเติบโตไดอีกมาก ปจจุบันกลุมทรูวิชั่นสเปนผูประกอบธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ที่ใหบริการครอบคลุม ทั่วประเทศรายใหญรายเดียวในประเทศไทย แตยังเผชิญความเสี่ยงจากระเบียบและกฎเกณฑตางๆ ที่กําหนด โดยภาครัฐ ทั้งยังจะตองเผชิญกับอุปสรรคจากผูประกอบการรายใหมอีกดวย นอกจากนี้ องคการสื่อสาร มวลชนแหงประเทศไทย (อสมท.) ยังไดใหใบอนุญาตดําเนินธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกแก บริษัทอื่นอีก 2 รายในป 2539 แตปจจุบันผูไดรับใบอนุญาตเหลานี้ยังไมเริ่มหรือประกาศวาจะเริ่มดําเนินการ แตอยางใด ในสวนของกรมประชาสัมพันธไดใหใบอนุญาตดําเนินการแกผูประกอบการเคเบิลตามภูมิภาค หลายรายดวยกัน ปจจุบันดําเนินการอยูประมาณ 78 ราย การแขงขันอาจจะเพิ่มสูงขึ้น ภายหลังการประกาศใช พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2551 โดยอาจจะมีการออกใบอนุญาตใหผูประกอบการรายใหม อยางไรก็ตาม ผูประกอบธุรกิจโทรทัศนระบบ บอกรับเปนสมาชิกไดรับอนุญาตใหสามารถจัดเก็บรายไดจากคาโฆษณาไดตามพรบ.ใหม ซึ่งจะชวยเพิ่ม โอกาสในการสรางรายไดจากคอนเทนทเดิมที่มีอยู ในขณะที่อาจจะทําใหการแขงขันเพิ่มขึ้น เนื่องจากผูให บริการรายเล็กอาจจะมีรายไดเพิ่มขึ้น และอาจจะทําใหมีความสามารถในการแขงขันเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ยังมีผูประกอบการอีกไมนอยกวา 450 รายที่ไมมีใบอนุญาต ซึ่งผูประกอบการเหลานี้ ลวนเปนผูประกอบการรายยอย ที่ใหบริการในระบบเคเบิล มีการคาดคะเนอยางไมเปนทางการวา ผูประกอบการ เคเบิลทองถิ่น ทั้งที่มีใบอนุญาต และไมมีใบอนุญาต มีสมาชิกรวมกันประมาณ 1.5 ถึง 2.0 ลานราย ปจจุบัน ผูประกอบการเหลานี้กําลังถูกตรวจสอบถึงการไดมาซึ่งลิขสิทธิ์รายการตางๆ ที่ออกอากาศโดยเจาของลิขสิทธิ์ ซึ่งไดรวมมือกับภาครัฐในการผลักดัน ใหผูประกอบการทุกรายปฏิบัติตามกฎหมายลิขสิทธิ์ นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนใหมมีความเขมงวดในการควบคุม การละเมิดลิขสิทธิ์ใหมากขึ้นกวาเดิม สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 26


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลอดระยะเวลา 2 ถึง 3 ปที่ผานมา ทรูวิชั่นสไดรวมมืออยางใกลชิด กับเจาของลิขสิทธิ์ ในการหา แนวทางดําเนินการใหมๆ ในการปกปองลิขสิทธิ์รายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการ การดําเนินการของทรูวิชั่นส ประสบปญหาและอุปสรรคมาก เนื่องจากกฎระเบียบที่ยังคงลาสมัย ไมไดสะทอนถึงสภาพความเปนจริงที่ เปนอยูในปจจุบัน ตลอดจนหนวยงานที่กํากับดูแล ตองอาศัยเวลาและประสบการณในการเรียนรู เพื่อการจัดการ กับผูละเมิดลิขสิทธิ์อยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ดวยความมุงมั่น ทําใหทรูวิชั่นส สามารถพัฒนากลยุทธ ในการแกปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์และดําเนินการสําเร็จในระดับหนึ่ง เปนผลใหการละเมิดลิขสิทธิช์ อ งรายการ ที่ทรูวิชั่นสใหบริการอยูลดลงอยางเห็นไดชัด เปาหมายในการดําเนินการขั้นตอไปของทรูวิชั่นสจะมุงเนนไปที่ การแกปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์โดยการนํารายการตางๆ เชน รายการภาพยนตรที่อยูบนสื่ออื่น เชน ดีวีดี มา ออกอากาศ โดยรายการเหลานั้น มีการออกอากาศในชองรายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการอยูดวย เชน HBO ซึ่ง หวังเปนอยางยิ่งวาการดําเนินการนี้จะประสบผลสําเร็จ และสงผลดีแกทรูวิชั่นส เชนเดียวกับการดําเนินการ ที่ผานมา ผลจากการดําเนินการดังกลาวขางตน เปนผลใหยอดขายของป 2548 สูงที่สุด การใหบริการธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกที่มีคุณภาพจําเปนตองมีการลงทุนสูง ซึ่งการ ลงทุนเริ่มตนสวนใหญเปนการลงทุนเกี่ยวกับโครงขายสื่อสัญญาณเทคโนโลยีการใสรหัสสัญญาณ อุปกรณ รับสัญญาณที่ติดตั้งตามบานสมาชิก ระบบการบริการลูกคา และระบบสนับสนุนอื่นๆ นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสยังตองแขงขันทางออมกับสถานีโทรทัศนภาคปกติในประเทศไทยอีกดวย แตดวย การนําเสนอรายการที่ไมสามารถหาดูไดจากชองอื่น รวมถึงภาพยนตร รายการสาระความรู และรายการกีฬาที่ แพรภาพที่ทรูวิชั่นสกอนชองใดๆ ทําใหทรูวิชั่นสมีขอไดเปรียบเหนือสถานีโทรทัศนภาคปกติทั่วไป ยิ่งไป กวานั้นทรูวิชั่นสยังไดนําสัญญาณของสถานีโทรทัศนภาคปกติเหลานั้นสงขึ้นดาวเทียมและแพรภาพใน โครงขายของทรูวิชั่นสเปนสวนหนึ่งของชองรายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการ ทําใหสมาชิกทรูวิชั่นสสามารถ รับชมรายการจากสถานีโทรทัศนภาคปกติไดดวย ดวยการลงทุนทางดานรายการอยางตอเนื่อง การขยายโครงขายการใหบริการหลากหลายรูปแบบ และการเพิ่มแพ็คเกจทางเลือกใหมๆ ทําใหสามารถเขาถึงกลุมลูกคาไดหลากหลายมากขึ้น ตลอดจนการทํา การตลาดและสงเสริมการขายในเชิงรุก จะทําใหทรูวิชั่นสสามารถขยายฐานสมาชิกและรักษาตําแหนงผูนํา ในตลาดตอไปได 3.6 ความคืบหนาดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โครงสรางการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมมีความคืบหนาขึ้นเปนลําดับ ทั้งนี้ รัฐบาลไทยไดเริ่ม ปฏิรูปการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดยการออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันไดแก พระราชบัญญัติ องค ก รจั ด สรรคลื่ น ความถี่ แ ละกํ ากั บ กิ จ การวิ ท ยุก ระจายเสี ย งวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น แ ละกิ จ การโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 และ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 27


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนตุลาคม 2547 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือคณะกรรมการ กทช. ไดรับ การจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนองคกรอิสระในการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ซึ่งเดิมเปนอํานาจหนาที่ขององคการ โทรศัพทแหงประเทศไทย (หรือ ปจจุบันคือ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)) และ การสื่อสารแหงประเทศไทย (หรือ ปจจุบันคือ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท) และบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด อยางไรก็ตาม ณ ปจจุบัน ยังไมมีการจัดตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนแหงชาติ หรือ กสช. ซึ่งมีหนาที่ในการกํากับดูแลกิจการวิทยุและโทรทัศนแตอยางใด ในเดือนสิงหาคม 2550 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ภายหลังการเปลี่ยนแปลงทาง การเมือง ในป 2549 อยางไรก็ตาม ตัวบทกฎหมายและกฎเกณฑตางๆ ยังคงมีผลบังคับใช และคณะกรรมการ กทช. ยังคงทําหนาที่ผูกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมตอไป นอกเหนือจากนั้น มาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไดกําหนดใหมีองคกรกํากับดูแล ที่เปนอิสระ เพียงองคกรเดียว เพื่อสนับสนุนการแขงขันเสรี และกําหนดใหกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม รวมทั้งกิจการ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น คื อ คณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) ซึ่งจนกระทั่งถึงตนป 2552 นี้ คณะกรรมการ กสทช. ก็ยัง ไมไดรับการจัดตั้ง พัฒนาการที่สําคัญในป 2551 คือการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทั ศน ซึ่ งมีผลบั งคับ ใชเมื่ อวัน ที่ 5 มีน าคม 2551 โดยอนุ ญ าตให ผูประกอบการเคเบิ ลที วี สามารถโฆษณาได นอกจากนั้น ยังไดใหอํานาจคณะกรรมการ กทช. ในการออกใบอนุญาตประกอบกิจการ บริการชุมชนชั่วคราวมีอายุไมเกิน 1 ป สําหรับผูประกอบการวิทยุกระจายเสียงชุมชนและกิจการที่ไมใช คลื่นความถี่ กอนจะมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. นับตั้งแตไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กทช. จนกระทั่งถึงปจจุบัน คณะกรรมการ กทช. ไดออก ประกาศ กฎเกณฑ ขอบังคับที่สําคัญๆ หลายฉบับ รวมทั้ง ประกาศคณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและ การเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งมีผลใหอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทย ไดเขาสู ระบบเชื่อมโยงโครงขายนับตั้งแตป 2550 และทําใหการแขงขันระหวางผูประกอบการมีความเทาเทียมกัน มากขึ้น นอกจากนั้น คณะกรรมการ กทช. ยังมีแผนที่จะออกประกาศที่สําคัญ ๆ ในป 2552 อีกหลายฉบับ ซึ่งรวมถึงการประมูลโครงการให บริการโทรศัพ ท เคลื่อนที่ 3G การอนุญ าตใหบริการคงสิ ทธิเลขหมาย โทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ (Mobile Number Portability - MNP) ซึ่ ง จะทํ าให อุ ต สาหกรรมโทรคมนาคมพั ฒ นา กาวหนาไปอีกระดับหนึ่ง นอกเหนื อ จากนั้ น คณะกรรมการ กทช. ยั ง ได เป ด เสรี ธุ ร กิ จ ต างๆ โดยการออกใบอนุ ญ าตให ผูประกอบการสามารถเปดใหบริการใหมๆ ไดเพิ่มเติม ซึ่งกลุมทรูไดรับใบอนุญาตตางๆ ดังตอไปนี้

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 28


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางดานลางแสดงถึงใบอนุญาตที่ทรูและบริษัทยอยไดรับจากคณะกรรมการ กทช. ประเภท

บริษัท

ใบ

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

อนุญาต

อายุใบ อนุญาต

วันที่บอรดมี

วันหมดอายุ

มติอนุมัติใน

ใบอนุญาต

หลักการ

ใบอนุญาตบริการอินเทอรเน็ต 1 บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียลอินเตอรเนต จํากัด

1

ISP

1 ป

23 มิ.ย. 2548

22 มิ.ย. ของทุกป

2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

1

ISP

1 ป

18 ส.ค. 2548

17 ส.ค. ของทุกป

3 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด 4 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด

1 2

ISP International Internet Gateway & Internet Exchange (IIG & IX)

1 ป 5 ป

5 ก.พ. 2550 19 พ.ค. 2549

4 ก.พ. ของทุกป 18 พ.ค. 2554

1 บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

1

Public Phone Service

1 ป

29 มิ.ย. 2549

28 มิ.ย. ของทุกป

2 บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

1

Resale (PCT)

1 ป

22 ก.พ. 2550

21 ก.พ. ของทุกป

3 บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด 4 บริษัท ทรู อินเตอรเนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

3 3

Fixed Line Service International Direct Dialling (IDD)

20 ป

8 ธ.ค. 2549

7 ธ.ค. 2569

20 ป

25 ม.ค. 2550

24 ม.ค. 2570

5 บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด

1

1 ป

2 ส.ค. 2550

1 ส.ค. 2552

6 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

1

1 ป

11 ต.ค. 2550

10 ต.ค. 2552

7 บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด*

3

Resale (Internet) International Calling Card (ICC) International Private Leased Circuit & International Internet Protocol Virtual Private Network (IPLC & IP VPN) Demestic & International Private Lease Circuit Service

ทดลอง

22 พ.ย. 2550

28 ก.พ. 2552

21 ต.ค. 2551

20 ต.ค. 2566

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม

8 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด

2

1 ป

15 ป

ใบอนุญาตทดลองและทดสอบ 1 บริษัท ทรู มูฟ จํากัด

WiMax Trial

90+90 วัน 22 พ.ย. 2550

18 ก.ค. 2551

2 บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

WiMax Trial

90+90 วัน 22 พ.ย. 2550

18 ก.ค. 2551

* คณะกรรมการ กทช. ไดขยายระยะเวลาการทดสอบออกไปถึง 28 กุมภาพันธ 2552 โดยมีความเปนไปไดวาจะขยายไปจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2552 ในขณะที่รอกฎเกณฑใบอนุญาต IPLC ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการอํานวยการของ กทช.

สวนที่ 2

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

3 - 29


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. การวิจัยและพัฒนา บริ ษั ท มิ ไ ด มี ก ารลงทุ น ในด านการวิ จั ย และพั ฒ นาที่ เกี่ ย วกั บ เทคโนโลยีห รื อ อุ ป กรณ ต างๆ ที่บริษัทใชในการใหบริการธุรกิจตางๆ ของบริษัท เนื่องจากเทคโนโลยีโครงขายและอุปกรณตางๆ ที่บริษัท ใชในการใหบริการ เปนเทคโนโลยีและอุปกรณที่ไดมีการคิดคนและพัฒนาขึ้นจนเปนผลิตภัณฑที่สําเร็จรูป จากผูผลิตตางๆ บริษัทจึงเลือกใชเทคโนโลยีและอุปกรณที่บริษัทเห็นวามีประสิทธิภาพ ทันสมัย และเหมาะสม กับลักษณะการดําเนินธุรกิจของบริษัท ดังนั้น บริษัทจึงไมมีความจําเปนที่จะลงทุนเองในการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีและอุปกรณตางๆ ขึ้นมา จึงทําใหงบประมาณในดานการวิจัยและพัฒนาของบริษัท สวนใหญเกี่ยวของ กับดานการตลาด ซึ่ งบริษัทไดเนน การพั ฒ นาการบริการที่ สอดคลองตามความตองการของผูใช บริการ ใหมากที่สุด ซึ่งการวิจัยและพัฒนาของบริษัทไดแบงเปน 3 สวนหลักๆ ไดแก การวิจัยและพัฒนากิจกรรม ดานการตลาด การวิจัยและพัฒนาบริการใหม และการวิจัยและพัฒนาระบบการใหบริการ โดยในระยะ 3 ป ที่ผานมา บริษัทมีคาใชจายดานการวิจัยและพัฒนาเปนจํานวนเงิน ดังนี้

ป

สวนที่ 2

จํานวนเงิน (ลานบาท)

2551

154.09

2550

126.52

2549

126.07

TRUETG: การวิจัยและพัฒนา

4- 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ทรัพยสนิ ที่ใชในการประกอบธุรกิจ 5.1 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ บริษัทไดจัดประเภทของทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ เปน 2 ประเภท คือ อุปกรณโครงขาย และอุปกรณนอกระบบโครงขาย ภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน/สัญญาอนุญาตใหดําเนินการเฉพาะ ทรัพยสินที่เกี่ยวกับอุปกรณโครงขาย โทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย โทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ PCT โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเซลลูลา บริการอินเทอรเน็ต และโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก บริษัทและ กลุมบริษัทจะตองโอนใหกับ ทศท กสท และ อสมท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และวันที่ 31 ธันวาคม 2550 กลุมบริษัทมีทรัพยสินทั้งสิ้น ดังตอไปนี้ หนวย : ลานบาท อุปกรณโครงขายสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 งบการเงิน งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินรวม เฉพาะบริษัท เฉพาะบริษัท ที่ดินและสวนปรับปรุง 1,848 1,848 1,848 1,848 อาคารและสิ่งปลูกสราง 717 717 782 782 อุปกรณระบบโทรศัพท 12,402 11,680 13,702 12,983 อุปกรณโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ 33,983 803 36,452 929 โทรศัพทสาธารณะ 277 262 347 318 ระบบมัลติมีเดีย 3,681 2,841 อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร 223 143 237 156 ระบบเคเบิ้ลทีวี 7,860 7,250 งานระหวางกอสราง 2,935 21 4,191 29 มูลคาตามบัญชีสุทธิ 63,926 15,474 67,650 17,045

มูลคาสุทธิของอุปกรณโครงขายในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทที่โอนให ทศท และ กสท ภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน/สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ มีดังตอไปนี้ หนวย : ลานบาท

ทศท กสท มูลคาตามบัญชีสุทธิ สวนที่ 2

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะบริษัท 13,605 12,298 11,345 24,950 12,298 TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะบริษัท 15,501 13,877 13,444 28,945 13,877 5- 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กลุมบริษัทไดรับสิทธิดําเนินการและใชประโยชนจากทรัพยสินนั้นตามระยะเวลาของสัญญารวมการงาน และรวมลงทุน/สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ บริษัทไดนําสิทธิในการใชที่ดิน อาคารและอุปกรณที่โอนให ทศท (ตามสัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัญญารวมการงานฯ) เปนหลักประกันอยางหนึ่ง สําหรับเงินกูยืมที่เปนสกุลบาททั้งหมดของบริษัท สวนอุปกรณนอกระบบโครงขาย เปนกรรมสิทธิ์ของ กลุ ม บริ ษั ท ซึ่ งกลุ ม บริษั ท สามารถจํ าหน ายจ ายโอนและใช ป ระโยชน จากทรัพ ย สิ น ดั งกล าวได โดยมี รายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ หนวย : ลานบาท

ที่ดินและสวนปรับปรุง สวนปรับปรุงอาคารเชา เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณสํานักงาน รถยนต อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร งานระหวางทํา มูลคาตามบัญชีสุทธิ

อุปกรณนอกระบบโครงขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 งบการเงิน งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินรวม เฉพาะบริษัท เฉพาะบริษัท 547 541 1,251 89 1,257 86 1,348 161 1,391 200 3,057 2,245 929 196 1,090 273 322 509 31 7,454 446 7,033 590

5.2 คาความนิยม คาความนิยมเปนสวนของราคาทุนของเงินลงทุนของกลุมบริษัทในบริษัทรวมและบริษัทยอยที่สูงกวา มู ล ค ายุ ติ ธ รรมของส ว นแบ งสิ น ทรั พ ย สุ ท ธิ ข องบริ ษั ท ร ว มและบริ ษั ท ย อ ย ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2551 สิ น ทรัพ ย ดั งกล าวมี มู ล ค าตามบั ญ ชี สุ ท ธิ 12,381 ล านบาท แบ งเป น ค าความนิ ย มจากการซื้ อ กิ จ การใน บริษัท ทรูวิชั่นส จํากัด (มหาชน) (“True Visions”) มียอดรวมสุทธิ 11,043 ลานบาท บริษัท กรุงเทพอินเตอร เทเลเทค จํากัด (มหาชน) (“BITCO”) มียอดรวมสุทธิ 1,025 ลานบาท และบริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลดดอทคอม จํากัด (“MKSC”) มียอดรวมสุทธิ 313 ลานบาท 5.3 สินทรัพยไมมตี ัวตน 5.3.1 ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนรายจายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม คอมพิวเตอรเกินกวาประสิทธิภาพเดิมถือเปน สวนปรับปรุง และบันทึกรวมเปน ราคาทุน ของโปรแกรม คอมพิวเตอร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 2,482 ลานบาท สวนที่ 2

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

5- 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5.3.2 ลิขสิทธิ์ และสิทธิในการเชาระยะยาว ลิขสิทธิ์ในการใหบริการดาวนโหลดเพลงและวีดีโอคลิปผานทางเว็บไซดของบริษัทยอย เปนคาตอบแทนที่บริษัทยอยไดจายใหแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยดังกลาว มีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 22 ลานบาท สิทธิในการเชาระยะยาว เปนคาตอบแทนที่บริษัทยอยไดจาย เพื่อไดรับสิทธิในการเชาพื้นที่ ในอาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 67 ลานบาท 5.3.3 รายชื่อลูกคา รายชื่อลูกคาแสดงดวยมูลคายุติธรรมของลูกคาโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งเกิดจากการซื้อสวนไดเสีย ใน BITCO ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 60 ลานบาท 5.3.4 คาสิทธิสําหรับรายการและภาพยนตรรอตัดบัญชี คาสิทธิสําหรับรายการและภาพยนตรเปนคาตอบแทนสิทธิและภาระผูกพันที่เกิดขึ้นภายใต สัญญา ของบริษัทยอยเพื่อการไดรับสิทธิรายการและวัสดุรายการพรอมที่จะแพรภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 330 ลานบาท (รวมคาสิทธิที่ครบกําหนดชําระภายใน 1 ป) 5.3.5 ลิขสิทธิ์เกม คาสิทธิสําหรับการใหบริการเกมออนไลนเปนคาตอบแทนที่บริษัทยอยไดจายเพื่อใหได รับสิทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 87 ลานบาท 5.3.6 คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และคาสิทธิในการพาดสาย ค า สิ ท ธิ ใ นการให บ ริ ก ารเช า วงจรสื่ อ สั ญ ญาณความเร็ ว สู ง และการพาดสายกระจาย เปนรายจายเพื่อใหไดมาซึ่งใบอนุญาตซึ่งแสดงดวยราคามูลคายุติธรรมของหุนที่ออกโดยบริษัทยอย เพื่อเปน การแลกกับสิทธิดังกลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 287 ลานบาท 5.3.7 สิทธิตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ สิทธิตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ แสดงดวยมูลคาปจจุบันของจํานวนผลประโยชน ตอบแทนขั้นต่ําที่ตองจายตลอดอายุของสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตาม บัญชีสุทธิ 500 ลานบาท

สวนที่ 2

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

5- 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. โครงการในอนาคต บริษัทไดเปดเผยรายละเอียดของเรื่องนี้ไวในหัวขอที่ 12.4 “คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน” (ตามคําแนะนําของสํานักงาน ก.ล.ต.)

สวนที่ 2

TRUETI: โครงการในอนาคต

6- 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. ขอพิพาททางกฎหมาย สรุป คดีและข อพิ พ าทที่ สํ าคั ญ ของบริษั ท ทรู คอรป อเรชั่ น จํากัด (มหาชน) และ บริษั ท ยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ดังนี้ คดีฟองรองทีค่ างอยูที่ศาลปกครอง 1. คดีที่บริษัทฟองบริษัท ทีโอที จํากัด (“ทีโอที”) (1) ขอพิพาทเกีย่ วกับการลดอัตราคาบริการ Y-Tel 1234 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2544 บริษัทไดฟอง ทีโอที ตอศาลปกครองกลางเพื่อขอใหศาล บังคับให ทีโอที ชดใชคาเสียหายจํานวน 1,197.63 ลานบาท อันเนื่องมาจากการลดอัตราคาบริการตามโครงการ “Y-Tel 1234” โดยบริษัทอางวาการลดอัตราคาบริการ ไมเปนไปตามสัญญารวมการงานฯ ซึ่งกําหนดให อัตราคาบริการภายใตโครงขายของ ทีโอที ตองเปนอัตราเดียวกันกับอัตราคาบริการภายใตโครงขายของบริษัท เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2548 ศาลปกครองกลางไดพิพากษายกฟ อง และในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2548 บริษัทได ยื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด ขณะนี้คดีกําลังอยูภายใตกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด (2) ขอพิพาทเกีย่ วกับสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพทสาธารณะ เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2546 บริษัทไดยื่น คํารองตออนุ ญาโตตุลาการขอใหชี้ขาดให ทีโอที ชําระสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพทสาธารณะ จํานวน 43.94 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยแกบริษัท เมื่ อ วั น ที่ 8 เมษายน 2548 คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการได ชี้ ข าดให บ ริ ษั ท ชนะคดี ดั ง กล า ว อย า งไรก็ ต าม เมื่ อ วั น ที่ 14 กรกฎาคม 2548 ที โ อที ได ยื่ น คํ า ร อ งต อ ศาลปกครองกลางเพื่ อ ให เพิ ก ถอนคํ า ชี้ ข าดของ อนุญาโตตุลาการ ตอมาเมื่อวันที่10 ตุลาคม 2548 บริษัทไดยื่นคําคัดคานคํารองขอใหเพิกถอนคําชี้ขาดของ อนุ ญ าโตตุ ล าการของ ที โ อที ต อ ศาลปกครองกลาง และเมื่ อ วั น ที่ 18 มกราคม 2549 บริ ษั ท ได ยื่ น เรื่อ ง เพื่อดําเนินการบังคับใหเปนไปตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลาง ตอมา ทีโอที ไดยื่น คํารองเพื่อใหเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลาง และ เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ 2551 ศาลปกครองกลางได ย กคํ าร อ งของ ที โ อที และยื น ตามคํ าชี้ ข าดของคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการ เมื่ อ วั น ที่ 24 มีนาคม 2551 ทีโอที ไดยื่นอุทธรณตอศาลปกครองกลาง และ เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ศาลปกครอง กลางไดตัดสินวาดวยอุทธรณของ ทีโอที ไมเปนไปตามกฎหมายและพิจารณาไมรับอุทธรณ ตอมาเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2551 ทีโอที ไดอุทธรณคําสั่งไมรับอุทธรณของศาลปกครองกลางไปยังศาลปกครองสูงสุด ขณะนี้คดีดังกลาวกําลังอยูภายใตการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุดวาจะมีคําสั่งใหศาลปกครองกลาง รับอุทธรณของ ทีโอที ไวพิจารณาหรือไม ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตน ไมสามารถคาดการณ ไดในขณะนี้ บริษัทจึงไมได บันทึกรายไดจากคดีดังกลาวไวในงบการเงิน

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2.

คดีที่ ทีโอที ฟองบริษัท ขอพิพาทเกีย่ วกับการติดรูปสัญลักษณของบริษัทบนตูโทรศัพทสาธารณะ เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2547 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการจากการ ที่บริษัทติดรูปสัญลักษณของบริษัทบนตูโทรศัพทสาธารณะเปนการไมปฏิบัติตามขอตกลงรวมกันระหวาง บริษัท กับ ทีโอที เรื่องโทรศัพทสาธารณะ ทีโอที เรียกคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 433.85 ลานบาท เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 บริษัทไดยื่นคําคัดคานตออนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 อนุญาโตตุลาการ ไดตัดสินชี้ขาดให ทีโอที ชนะคดีดังกลาว เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2549 บริษัทไดยื่นคําคัดคานคําชี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2551 ทีโอที ไดยื่นคํารองเพื่อใหศาลบังคับ ให เป นไปตามคําชี้ขาดของคณะอนุ ญ าโตตุลาการ และใหบ ริษั ทชดใช เปน จํานวนเงิน 150.00 ลานบาท และจายคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 90 บาทตอเดือน ตอตูโทรศัพท 1 ตู ตั้งแตวันที่ฟองรองจนกวาบริษัทจะหยุดใช ตราสัญลักษณบนตูโทรศัพทสาธารณะ ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหรวมคดีกับสํานวนคดีที่บริษัทขอให ศาลปกครองกลางเพิ ก ถอนคํ าชี้ ข าดของคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการ ศาลปกครองกลางได กํ าหนดให วั น ที่ 26 ธันวาคม 2551 เปนวันสิ้นสุดการแสวงหาขอเท็จจริง ขณะนี้คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทจึง ไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน ขอพิพาทที่ยงั คงคางอยู ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ 1.

ขอพิพาทที่บริษัทเปนผูเสนอ (1) ขอพิพาทเกีย่ วกับสวนแบงรายไดในสวนคาโทรศัพททางไกลตางประเทศ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2548 บริษัทไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับ เรื่องการคํานวณส วนแบงรายไดที่ เกิด จากคาโทรศัพ ททางไกลตางประเทศภายใตสัญ ญารวมการงานฯ บริษัทไดเรียกรองคาเสียหายสําหรับการที่ ทีโอที ไมสามารถคํานวณแยกคาสวนแบงรายไดที่ ทีโอที ไดรับ จากการใชโทรศัพทตางประเทศในสวนโครงขายของบริษัทออกจากสวนของโครงขาย ทีโอที เปนจํานวนเงิน 5,000.00 ลานบาท และคาเสียหายจากการคํานวณจํานวนเงินผิดพลาดอีก 3,407.68 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย (2) ขอพิพาทเกีย่ วกับสัญญารวมการงานฯ ขอ 38. เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2549 บริษัทไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับ เรื่องขอให ที โอที ระงับการใช อํานาจกํากับดูแลสั ญญารวมการงานฯ และระงับการใช อํานาจตามสั ญญา นับตั้งแตวันที่สถานภาพ ทีโอที เปลี่ยนแปลงไป และ ใหอํานาจกํากับดูแลเปนของกระทรวงคมนาคม หรือ กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คดีนี้เปนคดีไมมีทุนทรัพย ทีโอทีไดยื่นคําคัดคานเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2549 ตอมาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2549 บริษัทไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรื่องการปฏิเสธอํานาจกํากับดูแลของ ทีโอที ตามขอ 38. ของสัญญารวมการงานฯ เปนคดีใหมอีกคดีหนึ่ง

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(3) ขอพิพาทเกีย่ วกับสวนแบงรายไดคาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 บริษัทไดยื่นเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกรองให ทีโอที ชําระเงินที่เปนสวนแบงรายไดอันเกิดจากคาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศเปนจํานวนเงิน 1,968.70 ลานบาท ซึ่ง ทีโอที นําสงสวนแบงรายไดดังกลาวขาดไป ไมเปนไปตามเงื่อนไขของอัตราสวนแบงรายได ที่ระบุไวในสัญญา โดยบริษัทไดรองขอใหอนุญาโตตุลาการพิจารณาวินิจฉัยสั่งการในเรื่องตอไปนี้ 1. ให ที โอที ปฏิ บั ติต ามสั ญ ญารวมการงานฯ และข อตกลงเรื่องการจัด เก็บ และ แบ งรายได โดยให ชํ าระส วนแบ งรายได ค าบริ ก ารโทรศั พ ท ท างไกลระหว าง ประเทศใหถูกตองครบถวนตามเงื่อนไขของสัญญาขอตกลงดังกลาว 2. ให ทีโอที ชําระคาเสียหายใหแกบริษัทเปนจํานวนเงิน 1,968.70 ลานบาท 3. ให ทีโอที คํานวณสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ โดยทั้งจากการเรียกเขาและเรียกออกโดยใชอัตรา 6 บาทตอนาทีตามที่ระบุใน สัญญามาเปนฐานในการคํานวณสวนแบงรายไดนับแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 เปนตนไป 4. ให ทีโอที ชําระดอกเบี้ยที่เกี่ยวของตามสัญญาขอ 21 (อัตราเฉลี่ย MLR+1) หรือ ในอั ต รารอ ยละ 7.86 ต อป จากส ว นแบ งรายได ที่ ที โอที ค างชํ าระนั บ แต วัน ที่ ยื่นคําเสนอขอพิพาทจนกวาจะชําระครบถวน เมื่ อ วั น ที่ 29 เมษายน 2551 ที โอที ได ยื่ น คํ าคั ด ค าน ขณะนี้ ก รณี พิ พ าทอยู ระหว าง กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 2.

ขอพิพาทที่ ทีโอที เปนผูเสนอ (1) ขอพิพาทกรณีบริษัทพิมพรูปสัญลักษณของบริษัทบนใบแจงหนี้ ใบกํากับภาษี และ ใบเสร็จรับเงิน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2547 ทีโอทีไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรียกคาเสียหายจากการที่ บริษัทพิมพรูปสัญลักษณบนใบแจงหนี้และใบเสร็จรับเงินฉบับละ 4 บาท นับจากเดือนสิงหาคม 2544 จนถึง เดือนสิงหาคม 2547 เปนจํานวนรวม 785.64 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย นอกจากนี้ในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ทีโอที ไดเรียกรองคาเสียหายอีกเปนจํานวน 106.80 ลานบาท สําหรับคาเสียหายเพิ่มเติม และ 1,030.50 ลานบาท สําหรับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบใบแจงหนี้คาบริการเปนกระดาษขนาด A4 บริษัทไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 ขณะนี้กรณีพิพาทอยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(2) ขอพิพาทเกี่ยวกับคาใชทอรอยสาย เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทใหบริษัทชําระเงินคาเชา ใชทอรอยสาย ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2547 ถึง เดือนเมษายน 2548 เปนจํานวนเงิน 6.72 ลานบาท พรอม ดอกเบี้ย บริษัทยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 (3) ขอพิพาทเกี่ยวกับเรื่องคาโทรศัพททางไกลในประเทศ TA 1234 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรียกรองคาเ สียหายจาก การสูญเสียรายไดตั้งแตวันที่ 16 พฤศจิกายน 2543 ถึงเดือนมีนาคม 2548 เปนจํานวนเงิน 15,804.18 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย อันเนื่องมาจากบริษัทลดคาบริการทางไกลในประเทศภายใตโครงการ TA 1234 และรองขอให บริษัทเรียกเก็บคาบริการทางไกลในประเทศตามอัตราที่ตกลงกันภายใตสัญญารวมการงานฯ (4) ขอพิพาทเกี่ยวกับการใหบริการ ADSL เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทระบุวาบริษัทละเมิดขอตกลง ในสัญญารวมการงานฯ โดยใหบริการหรือยินยอมใหผูอื่นนําอุปกรณในระบบไปใหบริการอินเทอรเน็ต ความเร็วสูง (ADSL) ทีโอที เรียกรองคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 2,010.21 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย นอกจากนี้ ทีโอที ยังเรียกรองใหบริษัทชําระคาเสียหายตอเนื่องจากเดือนกรกฎาคม 2548 อีกเดือนละ 180.00 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย และขอใหบริษัทระงับการใหบริการหรืออนุญาตใหผูอื่นใหบริการ ADSL (5) ขอพิพาทเกี่ยวกับสวนแบงรายไดตามสัญญารวมการงานฯ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกคืน สวนแบงรายไดที่บริษัทไดรับเกินกวาสิทธิที่พึงจะไดรับจํานวน 1,479.62 ลานบาท บริษัทไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ขณะนี้อยูระหวางรอคําสั่งจากทางสถาบันอนุญาโตตุลากร ขอพิพาทที่คางอยูที่สถาบันอนุญาโตตุลาการดังกลาวขางตนไดถูกเสนอใหมีการเจรจาไกลเกลี่ย โดยสํานักงานอนุญาโตตุลาการ แตเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2550 คูกรณีทั้งสองฝายไดยกเลิกการไกลเกลี่ยและ ไดนําขอพิพาทเขาสูกระบวนการอนุญาโตตุลาการตามเดิม ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนัน้ บริษทั จึงไมไดบนั ทึก รายไดและไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขอพิพาทอื่นๆ 1.

การประเมินภาษีสรรพสามิต เมื่ อ วั น ที่ 21 กรกฎาคม 2549 บริ ษั ท ได รั บ แจ ง เรื่ อ งการประเมิ น ภาษี ส รรพสามิ ต จาก กรมสรรพสามิตใหบริษัทชําระเบี้ยปรับและเงินเพิ่มของภาษีสรรพสามิต ตั้งแตเดือนมกราคม 2548 ถึงเดือน มีนาคม 2548 ที่นําสงลาชากวากําหนดเปนจํานวนเงิน 185.87 ลานบาท เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2549 บริษัทได ยื่นคําขอทุเลาการชําระภาษีสรรพสามิตตามคําสั่งทางปกครอง และตอมาเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2549 บริษัทได ยื่น คํ าคั ด ค านการประเมิ น ดั งกล าว ต อ มาเมื่ อ วัน ที่ 30 เมษายน 2550 อธิ บ ดี ก รมสรรพสามิ ต ได วิ นิ จ ฉั ย ให ย กคํ าคั ด ค านการประเมิ น เมื่ อ วั น ที่ 2 พฤษภาคม 2550 บริษั ท ได ยื่น อุ ท ธรณ คั ด ค านคํ าวิ นิ จ ฉั ย และ ให เพิ ก ถอนคํ า วิ นิ จ ฉั ย ดั ง กล า วต อ คณะกรรมการพิ จ ารณาอุ ท ธรณ ต อ มาเมื่ อ วั น ที่ 19 กั น ยายน 2551 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณไดวินิจฉัยยกอุทธรณของบริษัท และใหบริษัทชําระภาษีสรรพสามิตตาม คําวินิ จ ฉั ยคํ าคั ด ค านการประเมิ น ภาษี ส รรพสามิ ต จํานวน 185.87 ล านบาท เมื่ อวัน ที่ 22 มกราคม 2552 บริษัทไดยื่นฟองขอเพิกถอนคําวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณตอศาลภาษีอากรกลาง ขณะนี้คดี อยูระหวางการพิจารณาของศาล 2.

การขอคืนภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริษัทไดยื่นฟองกรมสรรพสามิตตอศาลภาษีอากรกลาง เพื่อขอ ให พิ จารณาพิพ ากษาให คืน เงิน คาภาษีสรรพสามิตตั้งแตรอบเดือ นภาษีมกราคม 2548 ถึงรอบเดือนภาษี ธันวาคม 2548 จํานวน 372.02 ลานบาท ที่บริษัทไดนําสงไปโดยไมมีหนาที่ตองนําสงและไดยื่นขอคืนจาก กรมสรรพสามิตแลว แตกรมสรรพสามิตปฏิ เสธที่ จะจายคืน เมื่ อวัน ที่ 29 ตุ ลาคม 2551 ศาลพิ พ ากษาวา กรมสรรพสามิตจําเลยไมมีหนาที่คืนคาภาษีสรรพสามิตพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกตามฟอง จึงพิพากษายกฟอง ขณะนี้บริษัทอยูระหวางยื่นอุทธรณคําพิพากษาตอศาลฎีกา 3.

คดีที่บริษัทฟองเทศบาลเมืองบางบัวทอง ตอศาลภาษีอากรกลาง เกี่ยวกับการประเมินภาษี โรงเรือนที่เรียกเก็บจากตูโทรศัพทสาธารณะไมถูกตอง และขอเรียกคืนภาษี บริษัทยื่นฟ องเมื่อวันที่ 2 มีน าคม 2549 ตอมาเมื่อวัน ที่ 11 ตุลาคม 2549 ศาลพิพ ากษาให เพิกถอนการประเมิน ขณะนี้อยูระหวางการอุทธรณของเทศบาลเมืองบางบัวทอง ที่ศาลฎีกา ผลที่สุดของคดีความดังกลาวไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทจึงไมไดบันทึกรายได สําหรับสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้นและไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากผลของคดีความดัง กลาวไวในงบการเงิน

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คดีฟองรองและขอพิพาทของบริษัทยอย 1. เมื่ อเดื อนมี นาคม 2548 ตั วแทนให บริการจําหน ายสั ญ ญาณของบริษั ทย อยแห งหนึ่ ง คื อ บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งไดถูกยกเลิกสัญญาไปแลว ไดฟองบริษัทยอยดังกลาวเพื่อเรียกรองให ชดเชยคาเสียหายเปนจํานวนเงินสูงสุด 300.00 ลานบาท โดยกลาวหาวาบริษัทยอยดังกลาวกระทําผิดเงื่อนไข ตามสัญญาบอกรับการเปนสมาชิกประเภทโครงการแบบเหมาจาย (“CMDU”) ตอมาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2551 ศาลแพงไดตัดสินโดยพิพากษาใหบริษัทยอยเปนฝายชนะคดีใหยกฟองของโจทกและมีคําสั่งใหโจทกชําระเงิน จํานวน 1.66 ลานบาทพรอมดอกเบี้ ยรอยละ 7.5 ตอป นั บจากวันฟ องแยงจนกวาจะชํ าระเสร็จสิ้น ขณะนี้ อยู ระหวางโจทกอุทธรณตอศาลแพง 2. เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2549 กสท ไดยื่นฟองบริษัทยอยของกลุมบริษัทแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอศาลปกครองกลาง เพื่อขอใหชําระคาใชพื้นที่อาคารและเสาอากาศจํานวนเงิน 12.48 ลานบาท และเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2552 ศาลปกครองกลางไดยกฟอง โดยบริษัทยอยไมมีหนาที่ตองชําระเงินจํานวน ดังกลาวใน กสท อยางไรก็ตาม กสท มีสิทธิที่จะอุทธรณภายใน 30 วัน ปจจุบันคดีอยูระหวางการพิจารณาของ ศาลปกครองกลาง 3. เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2549 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอยชําระคาธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมเปน จํานวนเงิน 113.58 ลานบาท ตอมาเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2551 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดใหบริษัทยอย ชําระเงินให กสท จํานวน 99.60 ลานบาท (ไมรวมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป) บริษัทยอยไดรับทราบคําชี้ขาด เมื่อวัน ที่ 24 สิ งหาคม 2551 และบริษั ท ยอยไดดําเนิ น การคั ด คานคํ าชี้ขาดของคณะอนุ ญ าโตตุ ลาการตอ ศาลปกครองกลาง ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 4. เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2549 บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ไดถูกฟองคดีแพง ฐานละเมิดโดยบุคคลกลุมหนึ่ง ณ ศาลจังหวัดมหาสารคามเกี่ยวกับการติดตั้งเสาสัญญาณ เกิดฟาผาจนเปน เหตุไฟไหมบาน โดยอางวาเสาสัญญาณของ ทรูมูฟ เปนสายลอฟาและเรียกคาเสียหาย รวมทั้งสิ้น 9 คดี โดยเรียกรองคาเสียหายเปนจํานวน 44.37 ลานบาท เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2550 คดีดังกลาวไดมีการถอนฟอง ออกไปคงเหลืออยูเพียงคดีเดียว คาเสียหายที่เรียกรองคงเหลือเปนจํานวนเงิน 7.00 ลานบาท ขณะนี้คดีอยูใน ขั้นตอนดําเนินการของศาล 5. เมื่ อ วั น ที่ 9 สิ ง หาคม 2550 กสท ได มี ห นั ง สื อ ถึ ง ธนาคารสี่ แ ห ง ซึ่ ง เป น ผู อ อกหนั ง สื อ ค้ําประกันใหกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด เรียกรองใหธนาคารทั้งสี่แหงจายชําระเงิน จํานวน 370.00 ลานบาท แทนบริษัทยอย โดยกลาวหาวาบริษัทยอยแห งนั้นไมปฏิบัติตามสัญญา กรณี นี้ สืบเนื่องมาจากกรณีพิพาทที่ กสท ไดนําเสนอสูสถาบันอนุญาโตตุลาการและคดียังอยูระหวางการดําเนินการ ของอนุ ญ าโตตุ ล าการ เมื่ อ วั น ที่ 29 สิ ง หาคม 2550 บริ ษั ท ย อ ยแห ง นั้ น ได ยื่ น คํ า ร อ งต อ ศาลแพ ง และ

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ศาลปกครองกลางเพื่อขอใหศาลมีคําสั่งการคุมครองเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราว และมีคําสั่งให กสท ระงับการ ใช สิ ท ธิ เรี ยกรอ งและให ทั้ งสี่ ธ นาคารระงับ การชํ าระเงิน ตามหนั งสื อค้ํ าประกั น ไว จ นกวาจะมี คํ าชี้ ขาด จากอนุญาโตตุลาการ ศาลทั้งสองไดตัดสินและมีคําสั่งในทางเปนประโยชนตอบริษัทยอยดังกลาว เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2550 บริษัทยอยไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรื่องนี้ตออนุญาโตตุลาการ และขณะนี้คดีอยูระหวาง การพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ 6. เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 กสท ไดยื่นเสนอขอพิพาทกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอยแหงนั้นจายชําระคาสวนแบงรายไดที่สง ขาดไปรวมคาปรับและดอกเบี้ยจํานวนรวมทั้งสิ้น 8,969.08 ลานบาท ขณะนี้คดีกําลังอยูในขบวนการพิจารณา ของคณะอนุญาโตตุลาการ 7. เมื่อวัน ที่ 19 กุมภาพัน ธ 2551 กสท ไดยื่น คําเสนอขอพิพ าทกับบริษัทยอยแหงหนึ่ ง คื อ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตออนุญาโตตุลาการ เรื่องเบี้ยปรับจากการชําระผลประโยชนตอบแทนสวนเพิ่มของ ปดําเนินการที่ 6 ถึงปที่ 8 เรียกรองใหบริษัทยอยแหงนั้นชําระสวนแบงรายไดเพิ่มเติมจํานวน 45.95 ลานบาท ขณะนี้คดีกําลังอยูในกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 8. เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2551 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกรองให บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระคาเชื่อมโยงโทรศัพทเคลื่อนที่ที่บริษัทยอยหักออกจากผล ประโยชน ต อบแทนของป ดํ า เนิ น การที่ 7 ถึ ง ป ที่ 11 (หั ก ส ว นลดค าแอสเสสชาร จ จํ านวน 22 บาทต อ เลขหมาย) เปนจํานวนเงิน 689.84 ลานบาท ขณะนี้คดีกําลังอยูในกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 9. เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกรองให บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด สงมอบและโอนกรรมสิทธิ์เสาอากาศและอุปกรณเสาอากาศ จํานวน 1,565 ตน ให กสท หากบริษัทยอยไมสามารถสงมอบและโอนกรรมสิทธิ์ในเสาดังกลาวได ไมวา ดวยเหตุใดๆ ขอใหบริษัทยอยชําระคาเสียหาย เปนเงินจํานวนทั้งสิ้น 2,713,000,000 บาท พรอมดวยดอกเบี้ย ผิดนัดตามกฎหมาย ขณะนี้คดีกําลังอยูในกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 10. ตามที่ปรากฏขาววาไดมีบริษัทยอยแหงหนึ่งของบริษัท คือ บริษัท ทรูมูฟ จํากัด ถูกระบุชื่อ เปนจําเลยรายหนึ่งในจํานวน 131 ราย ซึ่งรวมทั้ง บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (AIS) และ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (DTAC) ดวยในคดีหนึ่งซึ่ง Technology Patents LLC ไดยื่นฟองตอศาลในมลรัฐแมรี่แลนด ในเดือนพฤศจิกายนพ.ศ. 2550 ในขอหาละเมิดสิทธิบัตร แตศาล ไดมีคําสั่งจําหนายคดีเรียบรอยแลวเนื่องจากคดีดังกลาวไมไดอยูในอํานาจพิจารณาของศาลดังกลาว ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนยังไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นกลุมบริษัทจึง ไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สัญญาอนุญาตใหดําเนินการของบริษัทยอย ในเดือนพฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีความเห็นวาสัญญาอนุญาตใหดําเนินการให บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลารระหวาง กสท. กับบริษัทยอย คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด อาจตองผานการ อนุมัติจากคณะรัฐมนตรีตามพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ ซึ่ง กสท ไมไดดําเนินการตามนั้น อาจสงผลในทางเสียหายตอสถานะของบริษัทยอย ที่ปรึกษากฎหมายของ กลุ มบริษั ทมีความเห็ นวา ตามหลั กกฎหมายแลว ความเห็ นของคณะกรรมการกฤษฎี กาไม มีผลผูก พั น ทาง กฎหมายตอบริษัทยอย ดังนั้น บริษัทยอยจึงสามารถประกอบธุรกิจใหบริการภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการฯ ตอไปได คาแอสเสสชารจ กลุมบริษัท มีคดีความเกี่ยวกับคาแอสเสสชารจ ที่อยูในระหวางการพิจารณาและยังไมทราบผล ของคดีความดังนี้ 1.

คาแอสเสสชารจของบริษัท

เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2545 บริษัทไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับ กรณีพิพาทที่เกิดจากสัญญารวมการงานฯ ระหวางบริษัท กับ ทีโอที ตามสัญญารวมการงานฯ ระบุไววาบริษัท มีสิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทนจากการที่ ทีโอที นําบริการหรืออนุญาตใหบุคคลที่สามใหบริการพิเศษ บนโครงขาย ทีโอที ไดอนุญาตให กสท และผูใหบริการโทรคมนาคมรายอื่นใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บนโครงขายและไดรับคาเชื่อมโยงโครงขายจาก กสท และผูใหบริการโทรคมนาคมรายอื่น อยางไรก็ตาม ทีโอที เห็นวาบริการดังกลาวไมไดเปนบริการพิเศษ ดังนั้นจึงปฏิเสธที่จะจายผลตอบแทนในสวนของบริษัทดังกลาว ดังนั้นบริษัทจึงขอใหอนุญาโตตุลาการชี้ขาดให ทีโอที จายสวนแบงในสวนของบริษัทสําหรับคาเชื่อมโยง โครงขายที่ ทีโอที ไดรับนับตั้งแตเดือนตุลาคม 2535 ถึงเดือนมิถุนายน 2546 เปนจํานวนเงิน 25,419.40 ลานบาท เมื่ อวั น ที่ 21 กุ มภาพั น ธ 2549 คณะอนุ ญ าโตตุ ลาการได ส ง คํ า ชี้ ข าดของคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการ ลงวั น ที่ 17 มกราคม 2549 มายังบริษัท คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดโดยเสียงขางมาก ซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ 1) ใหบริษัทมีสิทธิรับผลประโยชนจากการที่ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย ของบริษัทหรือการที่ ทีโอที อนุญาตใหบุคคลอื่น นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย ของบริษัท 2) สําหรับผลประโยชนนับตั้งแตเริ่มตนจนถึงวันที่ 22 สิงหาคม 2545 ให ทีโอที ชําระเงิน จํานวน 9,175.82 ลานบาท พรอมดวยดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอปของเงินจํานวนดังกลาว นับตั้งแตวันที่ 22 สิงหาคม 2545 ใหแกบริษัทจนกวา ทีโอที จะชําระเสร็จสิ้นให ทีโอที ชําระเงินตามคําชี้ขาดขอนี้ใหแกบริษัทภายใน 60 วันนับตั้งแตวันที่ไดรับคําชี้ขาด

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3) สําหรับผลประโยชนตั้งแตวันที่ 23 สิงหาคม 2545 เปนตนไป ให ทีโอที แบงผลประโยชน ตอบแทนใหบริษัทในอัตรารอยละ 50 ของผลประโยชนที่ ทีโอที ไดรับจริง บริษัทกําลังอยูระหวางการดําเนินการเพื่อบังคับใหเปนไปตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 ทีโอที ยื่นคํารองตอศาลปกครองกลางเพื่อขอเพิกถอนคําชี้ขาด ของอนุญาโตตุลาการ ตอมาเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 บริษัทไดยื่นคําคัดคานตอศาลปกครองกลางและ ศาลปกครองกลางไดรับเรื่องไวแลวเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549 และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริษทั ไดขอให มีการบังคับตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหรวมคดีที่ ทีโอที เปนผูรองเพื่อ ขอใหศาลเพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการมาพิจารณาพรอมกัน ขณะนี้อยูระหวางกระบวนการพิจารณา ของศาลปกครองกลาง 2.

คาแอสเสสชารจของบริษัทยอย

เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2549 บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ไดสงจดหมายถึง ทีโอที ใหเขารวมเจรจาเกี่ยวกับสัญญาการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (“IC”) ระหวางโครงขายของบริษัทยอย และโครงขายของ ทีโอที ตอมาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 บริษัทยอยไดสงหนังสือแจง ทีโอที และ กสท เพื่อแจงวาจะหยุดชําระคาแอสเสสชารจ (“Access Charge”) ภายใตสัญญาเชื่อมตอโครงขาย (“สัญญา AC”) เนื่องจากอัตราและการเรียกเก็บคาแอสเสสชารจภายใตสัญญา AC ขัดแยงกับกฎหมายหลายประการ บริษัทยอย ไดรองขอให ทีโอที เขารวมลงนามในสัญญา IC กับบริษัทยอยเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรือใหเรียกเก็บ อัตราเรียกเก็บชั่วคราวที่ประกาศโดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“กทช.”) ขณะที่การเจรจา เรื่องการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับ ทีโอที ยังไมมีขอยุติ อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอที ไดสงหนังสือเพื่อแจงวาบริษัทยอยดังกลาว ไมมีสิทธิที่จะใชและเชื่อมตอโครงขายของบริษัทยอยกับโครงขายของ ทีโอที เนื่องจากบริษัทยอยแหงนั้น ไมไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมซึ่งออกโดย กทช. และไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเอง ทีโอที โตแยงวาสัญญา AC ไมไดฝาฝนกฎหมายใดๆ ดังนั้น อัตราและการเรียกเก็บคาแอสเสสชารจ ภายใตสัญญา AC ยังคงมีผลใชบังคับตอไป เมื่อวันที่ 29 มิถุน ายน 2550 บริษัทยอยดังกลาวไดยื่น ขอพิพาทเขาสูกระบวนการระงับ ขอพิ พ าท ตามประกาศของคณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (IC) เพื่อขอใหคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท (“กวพ.”) มีคําวินิจฉัยให ทีโอที ดําเนินการทําสัญญาเชื่อมตอ โครงขายฯ (IC) กับบริษัทยอย กวพ. มีคําวินิจฉัยและ กทช.มีคําชี้ขาดวา บริษัทยอยมีสิทธิที่จะเขาเจรจา ทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายฯ (IC) กับ ทีโอที เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 และวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 ตามลํ าดั บ ต อ มาเมื่ อ วั น ที่ 23 มิ ถุ น ายน 2551 ที โ อที ได ต กลงที่ จ ะเข าเจรจาทํ าสั ญ ญาเชื่ อ มต อ โครงข าย สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7- 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โทรคมนาคม (IC) กับบริษัทยอยแลว แตมีเงื่อนไขวา จะทําสัญญาเฉพาะกับเลขหมายใหมที่บริษัทยอยได รับจัดสรรจาก กทช. เทานั้น บริษัทยอยดังกลาวไดตกลงตามที่ ทีโอที เสนอ แตสําหรับเลขหมายเกานั้น บริษัทยอยยังคงดําเนินการใหเปนเรื่องของขอพิพาทและอยูในดุลยพินิจของศาลแพงตอไป เมื่อวั นที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ที โอที ไดยื่น ฟ อ งบริษั ท ยอยต อ ศาลแพ ง ฐานผิด สั ญ ญา (ขอตกลง) เชื่อมโยงโครงขาย (แอสเสสชารจ) และเรียกรองใหบริษัทยอยชําระคาแอสเสสชารจที่คางชําระ พรอมดอกเบี้ยและภาษีมูลคาเพิ่มเปนจํานวนเงิน 4,508.10 ลานบาท ขณะนี้คดีอยูระหวางกระบวนการพิจารณา ของศาลแพง ถาบริษัทยอยตอชําระคาแอสเสสชารจ บริษัทยอยอาจตองบันทึกคาแอสเสสชารจ เปน ค า ใช จ า ยและค า ใช จ า ยค า งจ า ยเพิ่ ม เติ ม สํ า หรั บ ระยะเวลาตั้ ง แต วั น ที่ 18 พฤศจิ ก ายน 2549 ถึ ง วั น ที่ 31 ธันวาคม 2549 และตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2550 และตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึ ง วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2551 เป น จํ านวนเงิน 455.61 ล านบาท 4,271.69 ล านบาท และ 4,416.79 ล านบาท ตามลําดับ อยางไรก็ตาม ผลกระทบสุทธิตองบกําไรขาดทุนซึ่งสุทธิจากเงินสวนแบงรายไดที่จายใหแก กสท มีจํานวน 204.25 ลานบาท 3,283.96 ลานบาท และ 3,339.11 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งผูบริหารและที่ปรึกษา กฎหมายของบริษัทยอยมีความเห็นวาบริษัทยอยไมตองชําระคาแอสเสสชารจดังกลาว อยางไรก็ตาม ผลที่สุด ของคดีความดังกลาวยังไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้น บริษัทยอยจึงไมไดบันทึกคาแอสเสสชารจ ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทและบริษทั ยอย จึงไมไดบันทึกรายไดและไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน

สวนที่ 2

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

7 - 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8. โครงสรางเงินทุน 8.1 หลักทรัพยของบริษัท (ก) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจํานวน 60,443,878,210 บาท แบงออกเปนหุน สามัญจํานวน 5,345,052,050 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699,335,771 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลว จํานวน 45,031,791,550 บาท แบงออกเปนหุน สามัญ จํานวน 3,803,843,384 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699,335,771 หุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท ในระหว างป 2551 บริ ษั ท ได ดํ า เนิ น การลดทุ น จดทะเบี ย น จํ านวน 7,411,220,710 บาท และ เพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย น จํ า นวน 100,299,412,830 บาท และ มี ผู ถื อ หุ น ใช สิ ท ธิ ใ นการซื้ อ หุ น คื น จาก KfW รวมจํานวน 1,789 หุ น ซึ่ งบริษัทไดดําเนิ นการจดทะเบียนแปลงสภาพหุน บุริมสิทธิจํานวนดังกลาวเปน หุนสามัญเรียบรอยแลว ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจํานวน 153,332,070,330 บาท แบงออกเปน หุนสามัญจํานวน 14,633,873,051 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699,333,982 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลว จํานวน 45,031,791,550 บาท แบงออกเปนหุน สามัญ จํานวน 3,803,845,173 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699,333,982 หุ น มูลคา ที่ตราไวหุนละ 10 บาท ตลาดรองของหุนสามัญในปจจุบัน หุ น สามั ญ ของบริษั ท สามารถทํ าการซื้ อ ขายได ในตลาดหลั ก ทรัพ ย แ ห งประเทศไทย (“ตลาด หลักทรัพยฯ”) (ข) หุนบุริมสิทธิ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2543 วันที่ 14 กุมภาพันธ 2543 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออกและ เสนอขายหุ น บุ ริ ม สิ ท ธิ จํ า นวน 702 ล า นหุ น ให แ ก Kreditanstalt für Wiederaufbau (“KfW”) และ/หรื อ บริษัทยอยที่ KfW ถือหุนทั้งหมด และ/หรือ กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาวในราคาเสนอขาย รวมทั้งสิ้น 150 ลานดอลลารสหรัฐ ตอมาเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2543 บริษัทไดจัดสรรหุนบุริมสิทธิจํานวน 343.98 ลานหุน หรือคิดเปน รอยละ 49 ใหแก KfW และจํานวน 358.02 ลานหุน หรือคิดเปนรอยละ 51 ใหแกกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่ง เปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) โดยสาระสําคัญเกี่ยวกับหุนบุริมสิทธิดังกลาว มีดังนี้

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ออกหุนบุริมสิทธิจนถึงวันครบรอบปที่ 8 ใหบุริมสิทธิในหุนบุริมสิทธิมี ดังนี้ (1) มีสิทธิในการรับเงิน ปน ผลกอนผูถือหุนสามัญในอัตราหุน ละ 1 บาทตอปการเงิน (ยกเวนปการเงินแรกและปการเงินสุดทายของระยะเวลา 8 ปดังกลาว) (2) สิทธิในการไดรับเงินปนผลตามขอ 1 (1) ขางตนเปนสิทธิไดรับเงินปนผลชนิดสะสม สําหรับปการเงินใดๆที่บริษัทไมไดประกาศจายหรือในสวนที่บริษัทยังประกาศจาย ไมครบ (“เงินปนผลสะสมคงคาง”) ซึ่งผูถือหุนบุริมสิทธิจะมีสิทธิไดรับเงินปนผล จนครบถวนกอนผูถือหุนสามัญ หากผูถือหุนบุริมสิทธิไดรับเงินปนผลจนครบถวน และบริษัทยังคงจะจายเงินปนผลอีก ใหผูถือหุนบุริมสิทธิและผูถือหุนสามัญมีสิทธิ ไดรับเงินปนผลเทากัน (3) ในกรณีที่มีการชําระบัญชีหรือการเลิกบริษัท ใหแบงทรัพยสินที่เหลืออยูใหแกผูถือหุน บุริมสิทธิกอน ซึ่งจะเทากับมูลคาที่ตราไวของหุนบุริมสิทธิบวกดวยเงินปนผลสะสม คงคางใดๆ หากมีทรัพ ยสิน คงเหลือใหแบงใหแกผูถือหุ นสามัญ และถาหากยังมี ทรัพยสินคงเหลืออยูอีก ใหแบงใหแกผูถือหุนบุริมสิทธิและผูถือหุนสามัญในจํานวน ที่เทากัน (4) หุนบุริมสิทธิแปลงสภาพเปนหุนสามัญได (5) หุนบุริมสิทธิแตละหุนมีหนึ่งเสียง 2. หลังจากครบรอบปที่ 8 ใหสิทธิของหุนบุริมสิทธิเปนดังนี้ (1) มีสิทธิในการรับเงินปนผลกอนผูถือหุนสามัญในอัตรา 0.01 บาทตอปการเงิน (บวกดวย เงินปนผลสะสมคงคางใดๆ) และหากบริษัทจะจายเงินปนผลอีกใหผูถือหุนบุริมสิทธิ และผูถือหุนสามัญมีสิทธิรับเงินปนผลในจํานวนที่เทากัน (2) เงินปนผลในอัตราหุนละ 0.01 บาท ในขอ 2 (1) ขางตน ไมเปนเงินปนผลชนิดสะสม (3) มีสิทธิตามขอ 1 (3) (4) และ (5) ทั้งนี้ หุน สามัญ ที่เกิด จากการแปลงสภาพจะไมมีสิทธิไ ดรับเงิน ปน ผลสะสมคงคางใด ๆ เชนในขณะที่เปนหุนบุริมสิทธิทั้งสิ้น อยางไรก็ดี KfW ไดออกสิทธิ (Purchase Rights) ในการซื้อหุนบุริมสิทธิคืนจาก KfW ใหแก ผูถือหุนเดิมในสัดสวน 1 สิทธิ ตอหุนบุริมสิทธิ 1 หุน ผูไดสิทธิดังกลาวสามารถใชสิทธิครั้งแรกในวันครบ รอบปที่ 2 นับแตบริษัทไดออกหุนบุริมสิทธิใหแก KfW และอีกทุกครึ่งปของปที่ 3 ถึงปที่ 8 โดยวันที่ใชสิทธิ ครั้งสุดทาย คือ วันที่ 31 มีนาคม 2551 สําหรับราคาในการซื้อคืนหุนบุริมสิทธิสําหรับการใชสิทธิครั้งแรกจะ เทากับราคาตนทุนของ KfW บวก อัตราผลตอบแทนรอยละ 20 ตอป แตสําหรับการใชสิทธิงวดถัดๆ ไป จะมี สูตรการคํานวณราคาที่แตกตางออกไป เนื่องจากจะนําปจจัยของราคาหุนมาเปนสวนหนึ่งของการคํานวณดวย ทั้งนี้ สิทธิในการซื้อหุนคืนดังกลาวไดหมดอายุลงแลวเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2551 สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับโครงการจัดการกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว (Thai Trust Fund) โดยลงทุน ในหุนของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ซึ่งกองทุนรวมดังกลาวมีอายุ 8 ป 3 เดือน ครบกําหนดอายุ ในวันที่ 30 มิถุนายน 2551 นั้น ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2551 วันที่ 29 เมษายน 2551 ไดมีมติอนุมัติ การขยายระยะเวลาเขารวมโครงการจัดการกองทุนรวมดังกลาวออกไปเปนเวลาอีก 8 ป 3 เดือน นับจากวันที่ ครบกําหนดอายุเดิม ทั้งนี้ เพื่อใหสัดสวนการถือหุนของผูถือหุนตางดาวในบริษัทไมเพิ่มขึ้น ณ วันที่ 8 มกราคม 2552 บริษัทมีหุนบุริมสิทธิ จํานวน 699.33 ลานหุน โดยกองทุนรวมเพื่อผู ลงทุ น ซึ่ งเป น คนต างด าว (ถื อ หุ น เพื่ อ KfW) ถื อ หุ น บุ ริม สิ ท ธิ จํานวน 357.99 ลานหุ น และ KfW ถื อ หุ น บุริมสิทธิ จํานวน 341.34 ลานหุน (ค) เอ็นวีดีอาร (NDVR: Non-Voting Depository Receipt) NVDR หรือใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิงไทย เปนตราสารที่ออกโดย “บริษั ท ไทยเอ็ นวีดี อาร จํากัด” (Thai NVDR Company Limited) ซึ่ งเป นบริษั ทยอยที่ ตลาดหลักทรัพยแ ห ง ประเทศไทยจัดตั้งขึ้น NVDR มีลักษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุน ใน NVDR จะไดรับสิทธิประโยชนทางการเงินตาง ๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัท แตไมมีสิทธิ ในการออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน ณ วันที่ 8 มกราคม 2552 ปรากฏชื่อ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ถือหุน ในบริษัทจํานวน 448,146,648 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 9.95 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมดของบริษัท (ง) ใบสําคัญแสดงสิทธิ (Warrant) 1) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2007) 2) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2006) 3) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2005) 4) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2004) 5) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2003) 6) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหาร (ESOP 2000)

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1)

โครงการ ESOP 2007 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2550 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 และที่ประชุมวิสามัญ ผูถือหุน ครั้งที่ 1/2550 เมื่อวัน ที่ 16 กรกฎาคม 2550 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร (“ESOP 2007”) โดยมี สาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 38,000,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

: : : :

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

สวนที่ 2

15 พฤษภาคม 2551 5 ปนับจากวันที่ออก 14 พฤษภาคม 2556 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แต ล ะฉบั บ มี สั ด ส ว นเท า กั บ 1 ใน 3 ของจํ า นวนหน ว ยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้

ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนกุมภาพันธ 2552 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนกุมภาพันธ 2553 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 7.00 บาท

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2)

โครงการ ESOP 2006 ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2549 วันที่ 11 เมษายน 2549 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร (“ESOP 2006”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 36,051,007 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 31 มกราคม 2550

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก : 30 มกราคม 2555 : ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แต ล ะฉบั บ มี สั ด ส ว นเท า กั บ 1 ใน 3 ของจํ า นวนหน ว ยของ ใบสําคัญ แสดงสิ ทธิที่บุ คคลดังกลาวได รับ การจัดสรรทั้ งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2552 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุน สามัญได 1 หุน ในราคา 10.19 บาท

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3)

โครงการ ESOP 2005 ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ครั้ ง ที่ 1/2548 วั น ที่ 15 กรกฎาคม 2548 ได มี ม ติ อ นุ มั ติ ใ ห บริษัทออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงาน ในระดับผูบริหาร (“ESOP 2005”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 18,774,429 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 28 เมษายน 2549

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก : 27 เมษายน 2554 : ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แต ล ะฉบั บ มี สั ด ส ว นเท า กั บ 1 ใน 3 ของจํ า นวนหน ว ยของ ใบสําคัญ แสดงสิ ทธิที่บุ คคลดังกลาวได รับ การจัดสรรทั้ งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุน สามัญได 1 หุน ในราคา 9.73 บาท

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4)

โครงการ ESOP 2004 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 2/2547 วันที่ 10 มิถุนายน 2547 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2004”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 18,274,444 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ ระยะเวลาการใชสิทธิ

: : : :

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

7 กุมภาพันธ 2548 5 ปนับจากวันที่ออก 6 กุมภาพันธ 2553 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แต ล ะฉบั บ มี สั ด ส ว นเท า กั บ 1 ใน 3 ของจํ า นวนหน ว ยของ ใบสําคัญ แสดงสิ ทธิที่บุ คคลดังกลาวได รับ การจัดสรรทั้ งหมด โดยใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ แ ต ล ะฉบั บ มี ร ะยะเวลาการใช สิ ท ธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแต วันที่ 7 กุมภาพันธ 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแต วันที่ 7 กุมภาพันธ 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแต วันที่ 7 กุมภาพันธ 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุน สามัญได 1 หุน ในราคา 11.20 บาท

5)

โครงการ ESOP 2003 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานใน ระดับผูบริหารภายใตโครงการ ESOP 2003 มียอดคงเหลือจํานวน 11,180,788 หนวย โดยใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ จะซื้ อหุ น สามั ญ 1 หน ว ย สามารถซื้ อหุ น สามั ญ ของบริษั ท ได 1 หุ น ในราคาใช สิ ท ธิ 5.20 บาทตอ หุ น ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวไดหมดอายุลงแลวเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2551

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6)

โครงการ ESOP 2000 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 วันที่ 27 เมษายน 2543 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัท ออกใบสําคัญ แสดงสิทธิให แกกรรมการและพนั กงานในระดับผูบริห าร จํานวนไมเกิน 35 ราย (“ESOP 2000”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 36,995,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2543

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 10 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 9 มิถุนายน 2553

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: (ก) ใบสําคัญแสดงสิ ทธิประเภทที่ 1 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะ ได รับ ใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ 3 ฉบั บ แต ล ะฉบั บ มี สั ด ส ว น เทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดย ใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ครั้งแรกได ตั้ งแต วัน ที่ 30 มิ ถุ น ายน ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ : (ข) ใบสําคัญ แสดงสิทธิประเภทที่ 2 ผูที่ไดรับการจัดสรรจะ ได รับ ใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ 3 ฉบั บ แต ล ะฉบั บ มี สั ด ส ว น เทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนที่ไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดย ใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับ จะมีระยะเวลาการใชสิทธิ ครั้ งแรกได ตั้ ง แต วัน ที่ 31 ธั น วาคม ป 2543 ป 2544 และ ป 2545 ตามลําดับ

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

สวนที่ 2

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุน สามัญได 1 หุน ในราคา 10.60 บาท

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(จ) Shareholders Agreement Shareholders Agreement ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 Kreditanstalt für Wiederaufbau (“KfW”) บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด (“Verizon”) และเครือเจริญโภคภัณฑ ซึ่งประกอบดวย บริษัท เจริญโภคภัณฑ อาหารสัตว จํากัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากัด (มหาชน) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และบริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด ไดทําสัญญาผูถือหุน (Shareholders Agreement) ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 โดยมีสาระสําคัญของ สัญญาสรุปไดดังนี้ 1. นอกเหนือและเปนอิสระจากสิทธิของ KfW ที่มีอยูภายใตสัญญาปรับโครงสรางหนี้ (Debt Restructuring Agreement) KfW มีสิทธิที่จะแตงตั้งตัวแทนในคณะกรรมการของบริษัทตาม สัดสวนการถือหุนที่มีตอจํานวนทั้งหมดของคณะกรรมการที่เปนตัวแทนของคูสัญญาตาม สัญญาผูถือหุน อนึ่ง ไมวาในกรณีใดๆ KfW มีสิทธิที่จะแตงตั้งกรรมการอยางนอย 1 คน สิทธิ ที่จะตั้งตัวแทนดังกลาวนี้จะมีอยูตลอดไปตราบเทาที่ KfW ถือหุนอยู ไมวาโดยทางตรงหรือ ทางออม ไมนอยกวารอยละ 5 ของจํานวนหุนของบริษัท 2. ในระหวาง 3 ปแรกนับจาก KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัท และตราบเทาที่ KfW ถือหุน ของบริษัทไมวาโดยทางตรงหรือทางออม เปนจํานวนอยางนอยรอยละ 5 ของหุนที่จําหนายแลว คูสัญญาตามสัญญาผูถือหุนจะไมลงคะแนนเสียงใหกระทําการดังตอไปนี้ได เวนแต KfW จะ ตกลงในการกระทําดังกลาว (1) การแกไขหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัท และการแกไขสิทธิตางๆ ในหุน (2) การเพิ่มหรือลดทุนจดทะเบียนของบริษัท การออกหุนใหม หรือการเสนอขายหุนโดย เฉพาะเจาะจง หรือการเสนอขายหุนตอประชาชน (3) การชําระบัญชีโดยสมัครใจ การเลิกกิจการ การเลิกบริษัท การปรับโครงสรางทุนหรือ การปรับโครงสรางองคกรของบริษัท หรือการรวมหรือควบบริษัท หรือการรวมธุรกิจ อื่นใดของบริษัทกับบุคคลอื่น หรือการขายทรัพยสินของบริษัทหรือบริษัทในเครือ ทั้งหมดหรือบางสวน (4) การเปลี่ยนแปลงจํานวนกรรมการหรือองคประชุมกรรมการ (5) การเพิกถอนหลักทรัพยจดทะเบียนออกจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ (6) การดําเนินธุรกิจนอกเหนือไปจากธุรกิจที่ไดรับอํานาจ (ตามที่กําหนดไวในสัญญาปรับ โครงสรางหนี้ (Debt Restructuring Agreement))

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8- 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. ภายใตบังคับเงื่อนไขผูกพันอื่นใดที่มีตอ KfW ในการใหสิทธิแกผูถือหุนของบริษัท KfW อาจจะขายหรือเขาทําสัญญาจะขายหุนของตนทั้งหมด หรือไมนอยกวารอยละ 25 ของหุน ทั้งหมดของตนในเวลาใดๆ ในราคาขายเงินสดหลังจากสิ้นสุดระยะเวลา 3 ปแรกนับจากวันที่ KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัท ความขางตนไมหาม KfW ที่จะขายหุนของตนหากการ ที่ KfW ถือหุนในบริษัทเปนเรื่องที่ผิดกฎหมาย 4. ในระหวาง 3 ปแรกนับจากวันที่ KfW ไดรับการจัดสรรหุนของบริษัท คูสัญญาตามสัญญา ผูถือหุน (นอกเหนือจาก KfW) ตกลงละเวนในการโอนหุนที่มีจํานวนมากกวารอยละ 10 ของ จํานวนหุนที่ถืออยูตามที่ระบุไวในสัญญาผูถือหุน 5. คูสัญญาตกลงละเวนในการแกไขหรือเปลี่ยนแปลงสัญญาผูถือหุน Verizon ฉบับลงวันที่ 23 มิถุนายน 2535 เวนแตจะไดรับความเห็นชอบจาก KfW 6. คู สั ญ ญาแต ล ะฝ ายต อ งเป ด เผยให คู สั ญ ญาอี ก ฝ ายหนึ่ ง ทราบถึ ง ผลประโยชน ใ ด ๆ และ ผลประโยชนขัดกันใด ๆ ซึ่งคูสัญญาหรือบริษัทในเครือของตนไดเขาทําสัญญาใดๆ หรือจะ ไดเขาทําสัญญากับบริษัท 7. ในแตละรอบบัญชี คูสัญญาตกลงที่จะใหบริษัทมีนโยบายประกาศจายเงินปนผลอยางนอย รอยละ 50 ของกําไรสุทธิของบริษัทใหแกผูถือหุนทั้งหลาย ภายหลังจากที่ไดมีการตั้งเปนทุน สํารองไวตามกฎหมายแลว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความสามารถในการชําระเงินสด (โดยปราศจากการ กอหนี้) ความจําเปนตามกฎหมาย ขอบังคับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือขอหามตาม สัญญาปรับโครงสรางหนี้ หรือสัญญาอื่นใด พันธะการออกหุนในอนาคต 1) เพื่อทดแทนหุนบุริมสิทธิแปลงสภาพ ผลจากการปรับ โครงสรางหนี้ Kreditanstalt für Wiederaufbau (KfW) ได ลงทุ น ในบริษั ท เป น จํานวน 150 ล านดอลลารสหรัฐ โดยบริษัท ไดออกหุ น บุริมสิทธิที่ สามารถแปลงสภาพเปน หุน สามัญ ได จํานวน 702 ลานหุนใหแก KfW และกองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว และเนื่องจากมีเงื่อนไขที่ กําหนดใหมีการแปลงสภาพหุนบุริมสิทธิเปนหุนสามัญกอนสงมอบใหผูถือหุนเดิมที่ไดใชสิทธิซื้อหุนคืนจาก KfW ตามที่ไดกลาวไวในหัวขอที่แลว ตลอดระยะเวลาที่ผานมา หุนบุริมสิทธิไดแปลงสภาพเปนหุนสามัญไป แลวบางสวน ปจจุบันคงเหลือหุ นบุริมสิทธิที่สามารถแปลงสภาพเปนหุนสามัญไดจํานวน 699.33 ลานหุ น ดังนั้นบริษัทจึงมีขอผูกพันในการออกหุนสามัญแทนหุนบุริมสิทธิตามจํานวนที่ผูถือหุนใชสิทธิ ณ ระยะเวลา ที่กําหนดใหสามารถใชสิทธิได

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2000 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 ของบริษัท เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2543 ไดมีมติอนุมัติ โครงการออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ป 2543 (ESOP 2000) เพื่อออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิ ท ธิที่ จ ะซื้ อหุ น สามั ญ จํานวน 58,150,000 หน วย ให แ ก ก รรมการและพนั ก งานในระดั บ ผู บ ริห าร จํานวนไมเกิน 35 ราย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 58,150,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 3) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2003 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2546 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2546 ไดมีมติใหบริษัทออก ใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 19,862,729 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 19,862,729 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาว มียอดคงเหลือจํานวน 11,180,788 หนวย ไดหมดอายุลงแลวเมื่อวัน ที่ 16 มิถุนายน 2551 4) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2004 ตามที่ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 3/2547 เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2547 ไดมีมติใหบริษัทออก ใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 19,111,159 หนวย (ซึ่งเปนมติของที่ประชุมผูถือหุนที่ทดแทนมติเดิมของที่ประชุม วิสามัญครั้งที่ 2/2547 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547) ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 19,111,159 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 5) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2005 ตามที่ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2548 ไดมีมติใหบริษัทออก ใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิให แ กก รรมการและพนั ก งานในระดั บ ผูบ ริห าร จํานวนใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ อ อก ไมเกิน 18,774,429 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 18,774,429 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2006 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2549 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2549 ไดมีมติใหบริษัทออก ใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิให แ กก รรมการและพนั ก งานในระดั บ ผูบ ริห าร จํานวนใบสํ าคั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ อ อก ไมเกิน 36,051,007 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 36,051,007 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 7) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2007 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2550 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 และที่ประชุมวิสามัญ ผู ถื อ หุ น ครั้ ง ที่ 1/2550 เมื่ อ วั น ที่ 16 กรกฎาคม 2550 ได มี ม ติ ให บ ริ ษั ท ออกใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ใ ห แ ก กรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 38,000,000 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 38,000,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 8. เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิม ตามที่ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 ไดมีมติอนุมัติ การจั ด สรรหุ นสามั ญใหม จากการเพิ่ มทุ น จํานวน 10,000,000,000 หุ น เพื่ อเสนอขายให แก ผู ถื อหุ นเดิ ม ตามสัดสวนการถือหุน (Rights Offering) ซึ่งการเสนอขายดังกลาวอาจเปนการเสนอขายไมวาทั้งหมดหรือ แตบางสวน และอาจเสนอขายในคราวเดียวกันทั้งจํานวน หรือ เสนอขายเปนคราวๆ ไป และในกรณี ที่มี หุนสามัญเพิ่มทุนเหลือจากการจัดสรรใหแกผูถือหุนเดิมดังกลาวขางตน ใหจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนที่เหลือ ดังกลาวเพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมไดอีก บริษัทไดดําเนินการรับจองซื้อหุนสามัญใหมดังกลาวระหวางวันที่ 2 - 6 กุมภาพันธ 2552 และ มีผลการจองซื้อหุนเปนจํานวน 3,272,563,248 หุน ดังนั้น จึงมีหุนคงเหลือจากการเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมในครั้งนี้ จํานวน 6,727,436,752 หุน ซึ่งบริษัทสามารถจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนที่เหลือดังกลาว เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุน เดิมตามสัดสวนการ ถือหุนไดอีก ตามที่ไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 ดังกลาวขางตน 9) เพื่อรองรับการเพิ่มทุน และรองรับการจัดสรรใหกับ IFC ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2551 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 (เพื่อทดแทนมติเดิมของ ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2550 ที่เคยใหไว) อนุมัติการจัดสรรหุน จํานวน 29,941,283 หุน เพื่อเสนอขาย ใหแก International Finance Corporation (“IFC”) เพื่อใหเปนไปตามขอตกลงระหวางบริษัทกับ IFC ซึ่งเปน สถาบันการเงินที่ค้ําประกันหุนกูสวนหนึ่งของบริษัทตามสัญญา C Loan กับ IFC สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.2 ผูถือหุน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ผูถือหุนรายใหญ 1 ณ วันที่ 18 มีนาคม 2552 ชื่อผูถือหุน กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด 3 STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR LONDON 4 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 5 กองทุนรวมเพือ่ ผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว 6 KREDITANSTALT FÜR WIEDERAUFBAU (“KfW”) 7 บริษัท ซี.เอ.พี. ยูนิเวอรแซล จํากัด CLEARSTREAM NOMINEES LTD 4 N.C.B. TRUST LIMITED-GENERAL UK RESIDENT-TREATY A/C CLIENT 4 9. GOVERNMENT OF SINGAPORE INVESTMENT CORPORATION C 8 10. กองทุนเพื่อการรวมลงทุน 9 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

1 2 3

4 5 6 7 8 9

จํานวนหุน รอยละของหุน 2 (ลานหุน) ทั้งหมด 4,525.85 58.20 679.90 8.74 410.98 5.29 357.99 4.60 341.34 4.39 105.00 1.35 68.30 0.88 50.61 0.65 41.37 36.80

0.53 0.47

ไมมีการถือหุนไขวกันระหวางบริษัทกับผูถือหุนรายใหญ รวมหุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ ประกอบดวย 1) บริษั ท เครือเจริญ โภคภัณ ฑ จํากั ด (“CPG”) 2) บริษั ท กรุง เทพเทเลคอมโฮลดิ้ ง จํากัด (ถือ หุ น โดย CPG 99.99% 3) บริษั ท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากั ด (มหาชน) (ถือ หุ น โดย บมจ. เจริญ โภคภัณ ฑ อ าหาร (“CPF”) 99.44%) 4) บริษั ท กรุงเทพผลิต ผลอุต สาหกรรมการเกษตร จํากัด (มหาชน) (ถือ หุ น โดย CPF 99.90%) 5) บริษัท เจริญโภคภัณฑอีสาน จํากัด (มหาชน) (ถือหุนโดย CPF 99.61%) 6) บริษัท เกษตรภัณฑอุตสาหกรรม จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 7) บริษัท เจริญโภคภัณฑ อิน-เอ็กซ จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 8) บริษัท ยูนีค เน็ตเวิรค จํากัด (ถือหุนโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 41.06% และ บจ. อารท เทเลคอมเซอรวิส 58.94%) 9) บริษัท ไวด บรอด คาสท จํากัด (ถือหุนโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 58.55% และ บจ. เทเลคอมมิวนิเคชั่นเนตเวอรค 41.45%) 10) บริษัท ซี.พี.อินเตอรฟูด (ไทยแลนด) จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 11) บริษัท สตารมารเก็ตติ้ง จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 12) บริษัท แอดวานซฟารมา จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) และ 13) Golden Tower Trading Ltd. (ถือหุนโดยบุคคลภายนอกที่ไมมีความเกี่ยวของกับ CPG แตรายงานอยูในกลุมเดียวกันเนื่องจาก Golden Tower Trading Ltd. อาจจะออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถือหุน ของ True ไปในทางเดียวกันกับ CPG ได) (ทั้ง 13 บริษัทดังกลาวไมมีบริษัทใดประกอบธุรกิจเดียวกันและแขงขันกันกับกลุมบริษัท) บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศอังกฤษ ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทไมมีอํานาจที่จะขอให ผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น บริษัทยอยที่ตลาดหลักทรัพ ยแหงประเทศไทยจัดตั้งขึ้น NVDR มีลักษณะเปน หลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุน ใน NVDR จะไดรับสิทธิ ประโยชนทางการเงินตาง ๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัท แตไมมีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน Thai Trust Fund บริหารโดยบริษัทหลักทรัพ ยจัดการกองทุน รวม เพื่อ ผูล งทุน ตางดาว จํากัด (Thai Trust Fund Management Company Limited) จดทะเบียนจัด ตั้งเป น บริษัทจํากัด โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีสถานะเปนนิติบุคคลที่มีสัญชาติไทย มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนและสงเสริมการลงทุนของผูลงทุนชาวตางประเทศ ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ณ วันที่ 18 มีนาคม 2552 กองทุนรวมเพื่อผูลงทุนซึ่งเปนคนตางดาว ถือหุนเพื่อ KfW ในสัดสวนรอยละ 4.60 สถาบันการเงินเพื่อการพัฒนา ซึ่งถือหุน 100% โดยรัฐบาลประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศสิงคโปร ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทไมมีอํานาจที่จะขอให ผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น กองทุนปด จัดตั้งโดยบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนรวม เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเอง หรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทไมมีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.3 นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทยังไมเคยประกาศจายเงินปนผลนับตั้งแตเปดดําเนินกิจการ บริษัทสามารถจายเงินปนผล ไดจากผลกําไรภายหลังการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมด และภายหลังการตั้งสํารองตามกฎหมาย ผูถือหุนรายใหญมีขอตกลงที่จะใหมีการจายเงินปนผลในอัตรารอยละ 50 ของกําไรสุทธิ จาก งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯในแตละป ภายหลังการจัดสรรเปนสํารองตางๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทั้ง เปนไปตามขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ และสัญญาเงินกูตางๆ นอกจากนี้ บริษัทจะสามารถจายเงินปนผล ใหแกผูถือหุนสามัญได ภายหลังจากการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนบุริมสิทธิแลว สําหรับนโยบายการจายเงินป นผลของบริษั ทยอย คณะกรรมการของบริษัทยอย แตละแห งจะ พิจารณาการจายเงินปนผลจากกระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอยนั้น ๆ หากกระแสเงินสด คงเหลือของบริษัทยอยมีเพียงพอ และไดตั้งสํารองตามกฎหมายแลว คณะกรรมการของบริษัทยอยนั้นๆ จะ พิจารณาจายเงินปนผลเปนกรณีไป

8.4 โครงสรางหนี้สิน หนี้สินของบริษัท หนี้สินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 หนี้สินของบริษัทและบริษัทยอยตามงบการเงินมีจํานวนทั้งสิ้น 110,681 ลานบาท ประกอบดวยหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไมหมุนเวียนดังนี้ หนวย : ลานบาท หนี้สินของบริษัทและบริษัทยอย จํานวน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น 2,130 เจาหนีก้ ารคา 7,772 สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของเงินกูยืมระยะยาว 9,871 รายไดรับลวงหนา 2,669 คาใชจายคางจาย 7,659 ภาษีเงินไดคางจาย 507 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 3,007 รวมหนี้สินหมุนเวียน 33,615 หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว 70,646 หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี 1,001 เจาหนีก้ ารคาระยะยาว 360 หนี้สินภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ 2,504 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 2,555 รวมหนี้สินไมหมุนเวียน 77,066 รวมหนี้สิน 110,681 สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เงินกูย ืมรวมทั้งหนีก้ ารคาระยะยาว (ทั้งสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป และเกิน 1 ป) ของบริษัทและบริษัทยอยมีจํานวนรวมทั้งสิ้น 80,517 ลานบาท แบงเปนเงินกูยืมของบริษัทและ บริษัทยอยในเงินสกุลบาท (“เงินกูสกุลบาท”) จํานวน 35,512 ลานบาท เงินสกุลเหรียญสหรัฐ (“เงินกูสกุล เหรียญสหรัฐ”) จํานวน 40,614 ลานบาท (หรือจํานวน 1,158 ลานเหรียญสหรัฐ) และเงินสกุลเยนญี่ปุน (“เงินกู สกุลเยนญี่ปุน”) จํานวน 4,391 ลานบาท (หรือจํานวน 11,264 ลานเยนญี่ปุน ) ภายหลังจากการปรับโครงสรางหนี้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 บริษัทสามารถชําระเงินกูไดครบตาม กําหนดการชําระเงินตนที่มีไวกับเจาหนี้มีประกันมาโดยตลอด และยังสามารถชําระเงินกูกอนกําหนดบางสวน จากเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานของบริษัทไดอีกเปนจํานวนประมาณ 2,000 ลานบาท เพื่อชวยลดภาระ ดอกเบี้ยจายและชวยลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในอดีตเงินกูระยะยาวจํานวนมากของบริษัทเปนเงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ บริษัทจึงมีนโยบายลดความผันผวน จากอัตราแลกเปลี่ยน และบริษัทประสบความสําเร็จในการลดเงินกูระยะยาวสกุลเหรียญสหรัฐ โดยมีมาตรการตางๆ ที่นํามาใชอยางตอเนื่องดังตอไปนี้ กุมภาพันธ 2544 มิถุนายน 2544

กรกฎาคม 2544 กันยายน 2544

ธันวาคม 2544 มีนาคม 2545

สวนที่ 2

บริษัทไดนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานมาชําระคืนเงินกูของเจาหนี้มีประกันบาง สวนกอนกําหนด เปนจํานวนประมาณ 532 ลานบาท ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2544 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ครั้งที่ 1/2544 ไดมีมติ อนุมัติใหบริษทั ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตาง ๆ ในวงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท (“หุนกู” ) โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศทีม่ ีอยูในปจจุบนั บริ ษั ทได นํ าเงิ นสดส วนเกิ นจากการดํ าเนิ นงานมาชํ าระคื นเงิ นกู ของเจ าหนี้ มี ประกั น บางสวนกอนกําหนด เปนจํานวนประมาณ 368 ลานบาท บริษัทไดเขาทํารายการปองกันความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนดวยการกําหนดการ ชําระหนี้เงินกูเปนบาท (“Swap”) กับ KfW (ซึ่งเปนเจาหนี้เงินสกุลเหรียญสหรัฐรายใหญ ของบริษัท) จํานวนประมาณ 97 ลานเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 4,483 ลานบาท โดยมี ผลทําใหบริษัทชําระคืนเงินกูเปนเงินสกุลบาทกับเจาหนี้เงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ บริษัทไดกูเงินสกุลบาท จํานวน 5,000 ลานบาท (“เงินกูเ งินสกุลบาทใหม”) เพือ่ นําเงิน ทั้งหมดทีไ่ ดไปชําระคืนหนีเ้ งินสกุลเหรียญสหรัฐกอนกําหนด บริษัทและบริษัทยอยไดชําระคืนเงินกูเปนจํานวนเงินประมาณ 948 ลานบาท

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

กรกฎาคม 2545

ตุลาคม 2545

ธันวาคม 2545

กุมภาพันธ 2546

ตุลาคม 2546

กุมภาพันธ 2547

สวนที่ 2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริ ษั ท ได นํ าเงิ นสดส ว นเกิ น จากการดํ าเนิ น งานชํ าระคื น เงิน กู ข องเจ าหนี้ มี ป ระกั น บางสวนกอนกําหนดเปนจํานวนเงินประมาณ 345 ลานบาท ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2545 บริษัทไดเขาทําสัญญาทางการเงินกับ เจาหนี้มีประกันตามสัญญาเงินกูเงินสกุลบาทเดิม สัญ ญาเงินกูเงิน สกุลบาทใหม สัญญาเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐ และ KfW ในฐานะ เจาหนี้ Swap (ตอไปจะเรียกวา “เจาหนี้มีประกันในเบื้องตน”) รวมทั้ง IFC ในฐานะผูให สินเชื่อ C Loan และผูค้ําประกันบางสวนของหุนกูครั้งที่ 2/2545 และกับผูแทนผูถือหุนกู ครั้งที่ 1/2545 เพื่อกําหนดมาตรการรองรับการเขามามีสวนรวมในหลักประกันที่บริษัท ไดใหไวแกเจาหนี้มีประกันในเบื้องตน ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2545 บริษัทไดออกหุน กูสกุลบาท 2 ชุด ไดแก หุนกูครัง้ ที่ 1/2545 และหุน กูครั้งที่ 2/2545 รวมเปนจํานวนเงิน 18,465 ลานบาท และ ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2545 บริษัทไดกเู งินบาทจาก IFC เปนจํานวนเงิน 1,125 ลานบาท รวมทัง้ สิ้นจํานวน 19,590 ลานบาท และไดนําเงินจํานวนดังกลาวไปชําระคืนเงินกูเงินสกุลเหรียญสหรัฐจํานวน 452 ลานเหรียญ สหรัฐกอนกําหนด โดยผูถือหุนกูครั้งที่ 1/2545 และผูถือหุนกูครั้งที่ 2/2545 ไดเขาไปมี สวนรวมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแก เจาหนี้มีประกันในเบื้องตน บริษัทไดนํากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มีเงื่อนไขในการ ผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 10.1 พันลานเยน หรือประมาณ 3.6 พันลานบาท ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ 2546 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาทอีก 1 ชุด ไดแก หุนกูครั้งที่ 1/2546 เปนจํานวนเงิน 3,319 ลานบาท และไดนําเงินจํานวนดังกลาวไปชําระคืนเงินกูเงินสกุล เหรียญสหรัฐที่เหลืออยูทั้งหมดจํานวน 78 ลานเหรียญสหรัฐกอนกําหนด ทําใหบริษัท ไมมีหนี้เงินกูส กุลเหรียญสหรัฐเหลืออยูอกี ตอไป โดยผูถ ือหุนกูครั้งที่ 1/2546 ไดเขาไปมี สวนรวมในหลักประกันที่บริษัทไดใหไวแกเจาหนี้มีประกันในเบื้องตน บริษัทไดลงนามในสัญ ญาเงินกูวงเงิน 21,419 ลานบาท กับกลุมธนาคารพาณิชยและ สถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใชคืนเงินกูสกุลเงินบาทเดิมในจํานวนเทากัน โดยเงินกูใหม จะมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง สงผลใหบริษัทสามารถลดคาใชจายดานดอกเบี้ยได บริษัทไดนํากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มีเงื่อนไขในการ ผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 331 ลานเยน หรือประมาณ 120 ลานบาท

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

มิถุนายน 2547

ตุลาคม 2547

กุมภาพันธ 2548

กรกฎาคม 2549 มิถุนายน 2550

กรกฎาคม 2550

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2547 บริษัทไดออกหุนกูสกุลบาทอีก 1 ชุด ไดแก หุนกูครั้งที่ 1/2547 เป น จํ านวนเงิน 2,413 ล านบาท เพื่ อ นํ าเงิ น มาชํ าระหนี้ ที่ ไ ด ทํ าสั ญ ญา SWAP ไว ใ น จํานวนประมาณ 51 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อใหบริษัทไมมีหนี้เงิน กูสกุลเหรียญสหรัฐ เหลื อ อยู อี ก ต อ ไป โดยผู ถื อ หุ น กู ครั้ งที่ 1/2547 ได เข าไปมี ส ว นรวมในหลั ก ประกั น ที่บริษัทไดใหไวแกเจาหนี้มีประกันในเบื้องตน บริษัทไดนํากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มีเงื่อนไขในการ ผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 190 ลานเยน หรือ ประมาณ 74 ลานบาท บริษัทไดนํากระแสเงินสดของบริษัทมาซื้อคืนตราสารการชําระหนี้ที่มีเงื่อนไขในการ ผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยนซึ่งมีมูลคาประมาณ 1,336 ลานเยน หรือ ประมาณ 491 ลานบาท บริษัทไดไถถอนหุนกูครั้งที่ 1/2545 บางสวนเปนจํานวนเงินประมาณ 1,787 ลานบาท ณ วั น ที่ 6 มิ ถุ น ายน 2550 บริ ษั ท ได อ อกหุ น กู ส กุ ล บาทอี ก 3 ชุ ด ได แ ก หุ น กู ชุ ด ที่ 1 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2552 เปนจํานวน 1,000 ลานบาท หุนกูชุดที่ 2 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2553 เปนจํานวนเงิน 2,000 ลานบาท หุนกูชุดที่ 3 ครบกําหนดไถถอน ป พ.ศ. 2555 เป น จํ า นวน 1,000 ล า นบาท เพื่ อ นํ า เงิ น มาไถ ถ อนหุ น กู ค รั้ ง ที่ 1/2545 จํานวน 3,602 ลานบาทกอนกําหนด บริษัทไดไถถอนหุนกู ครั้งที่ 1/2545 ทั้งหมดเปนจํานวนเงินประมาณ 3,603 ลานบาท

ทั้งนี้ ในการชําระคืนเงินตนกอนกําหนด (Prepayment) ของบริษัท ที่นอกเหนือจากการชําระคืนเงินตน ตามกําหนดการนั้น เงินจํานวนดังกลาวจะถูกนําไปหักลดยอดชําระคืนเงินตนจากงวดทายที่สุดยอนขึ้นมา (Inverse Chronological Order) และแบงจายคืนเจาหนี้มีประกันตามสัดสวนของยอดการชําระคืนเงินตนของ เจาหนี้รายนั้นๆ (Pro-rata) หลังจากที่มีการดําเนินมาตรการตางๆ เพื่อลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน ดังที่กลาวขางตนแลว บริษัทมีสัดสวนของเงินกูที่เปนเงินสกุลตางประเทศตอเงินกูทั้งหมดลดลงจากระดับ รอยละ 68.20 ณ สิ้นป 2543 เปนรอยละ 55.89 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารหลักประกัน เอกสารหลักประกันหุนกู และประเภทของหลักประกัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.

ชื่อสัญญา** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองสัญญาโครงการ*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในการแบงผลประโยชนที่เกี่ยวของ*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในหุนกู สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในประกันภัย**** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองประกันภัย PCT สัญญาโอนสิทธิเรียกรองประกันภัยรวม สัญญาโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญา PCT แบบมีเงื่อนไข หนังสือแนบทายสัญญาจัดหามิตซุย สัญญาโอนสิทธิเรียกรองการเชาแบบมีเงื่อนไข สัญญาหลักในการจํานําการลงทุนที่ไดรับอนุญาต สัญญาจํานําสิทธิรับเงินฝาก สัญญาจํานําบัญชี PCT สัญญาจํานําบัญชีเงินประกันผลงานของ PCT สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีธนาคารแบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีธนาคารของ PCT แบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีเงินประกันผลงานของ PCT แบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขตามสัญญาจัดหา สัญญาจํานําตามขอ (6) และ (7) และ (8) ตามนิยามคําวาผลประโยชนในหลักประกันที่ไดรับอนุญาต สัญญาจํานําบัญชีเงินฝากพิเศษ สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขบัญชีเงินฝากพิเศษ สัญญาเหนือทรัพยสินแบบถาวร (fixed) หรือไมจํากัด (floating) ซึ่งไดจัดทําขึ้นตามขอ 4.1.13 ของสัญญาระบุขอกําหนดรวมกัน สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงินของหุนกู*** สัญญาจํานําสิทธิในการไดรับเงินฝากเพื่อหุนกู*** หนังสือค้ําประกัน***

ประเภทของหลักประกัน การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การจํานํา การจํานํา การจํานํา การจํานํา การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การจํานํา การจํานํา การโอนสิทธิ สิทธิเหนือทรัพยสิน การโอนสิทธิ การจํานํา การค้ําประกัน

หลักประกันจะถือเปนประกันรวมเทาๆ กันตามสัดสวนหนี้คางชําระในแตละขณะของบรรดาหนี้จํานวนตางๆ ไดแก (ก) ดอกเบี้ยและ เงินตนตามหุนกูครั้งที่ 1/2552 (ข) หนี้ที่บริษัทมีอยูกับเจาหนี้มีประกันอื่นๆ และผูค้ําประกัน ไดแกสถาบันการเงินในประเทศ และบรรษัท เงินทุนระหวางประเทศ (ไอเอฟซี) จํานวน 18,094 ลานบาท และ (ค) ดอกเบี้ยและเงินตนตามหุนกูอื่นๆ ไดแกหุนกูครั้งที่ 2/2545 หุนกูครั้งที่ 1/2547 และหุนกูครั้งที่ 1/2550 จํานวน12,961.92 ลานบาท รวมเปนมูลหนี้ที่รวมหลักประกัน (ไมรวมหุนกูครั้งที่ 1/2552 ซึ่งอยูระหวางการออกและ เสนอขาย) จํานวน 31,055.92 ลานบาท ** ไดมีการนิยามคําที่ใชในเอกสารแนบทาย 1 เวนแตในขอ 22 ไวในสัญญาแกไขและแทนที่สัญญาหลักประกัน ซึง่ เอกสารดังกลาวรวมถึงการแกไข เพิ่มเติม และแทนที่สัญญาดังกลาวเปนคราวๆ ไปดวย *** เอกสารหลักประกันเหลานี้จะใชบังคับอยางสมบูรณตลอดระยะเวลาของหุน กูครั้งที่ 1/2552 **** บริษัทผูกพันที่จะจัดหาหลักประกันที่อางถึงในขอนี้อยางสมบูรณภายใตเงื่อนไขขอ 2.3 *

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แผนภูมิ: โครงสรางเงินกูของบริษัทจนถึงปจจุบัน หนวย

: ลานบาท

100 ,000

80 ,000

76 ,520 6,591

78 ,710 8,205

75 ,051 16 ,091

77 ,187

73 ,634

73 ,379

16 ,239

11 ,376

86 ,044 4,729 6,664

95 ,200 4,010 7,000

11 ,581

89 ,906 3,431

38 ,584

5,624 37 ,657

40 ,614

32 ,253

35 ,134

40 ,000

80 ,517 4,391

33 ,636

3,153 60 ,000

83 ,236 3,369

25 ,242

84 ,190 74 ,651 56 ,379

20 ,000 32 ,271

62 ,453 52 ,839 41 ,283

38 ,252

32 ,152

35 ,512

23 ,826

0 2541

2542

เงินกูสกุลบาท

2543

2544

2545

2546

เงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ

2547

2548

2549

2550

2551

เงินกูสกุลเยน

หุนกู ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ครั้งที่ 1/2544 วันที่ 28 มิถุนายน 2544 มีมติอนุมัติใหบริษัทออก และเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อชําระหนี้สิน เงินสกุลตางประเทศที่มีอยู ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด ครั้งที่1/2545 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2551 (“TRUE087A”) จํานวน 11,715,400 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 11,715,400,000 บาท (2) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด และมีผูค้ําประกันบางสวน ครั้ ง ที่ 2/2545 ครบกํ าหนดไถ ถ อนป พ.ศ. 2554 (“TRUE112A”) จํ านวน 6,750,000 หน ว ย มู ล ค า ที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 6,750,000,000 บาท (3) หุ น กู มี ป ระกั น ชนิ ด ทยอยชํ า ระคื น เงิ น ต น ครั้ ง ที่ 1/2546 ครบกํ า หนดไถ ถ อนป พ.ศ. 2550 (“TRUE07OA”) จํ า นวน 3,319,000 หน ว ย มู ล ค า ที่ ต ราไว ห น ว ยละ 1,000 บาท รวมเป น มู ล ค า 3,319,000,000 บาท (หุนกูรุนนี้ไดถูกไถถอนไปหมดแลวตามกําหนดในเดือน ตุลาคม 2550)

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัท ครั้งที่ 1/2547 วันที่ 16 มกราคม 2547 มีมติอนุมัติใหบริษัทออก และเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 15,000 ลานบาท โดยสามารถออกและเสนอขายในคราวเดียวกัน ทั้งหมดหรือหลายคราวก็ได ขึ้นอยูกับการพิจารณาและเงื่อนไขที่กําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรือ บุคคล ที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2547 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 (“TRUE117A”) จํานวน 2,413,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 2,413,000,000 บาท (2) หุนกูระยะสั้นภายใตโครงการหุนกูระยะสั้นของ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) โครงการที่ 1/2549 ภายในระยะเวลา 3 ป ตัง้ แตวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เปนตนไป เปนจํานวนเงินไมเกิน 3,000,000,000 บาท (3) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 1 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2552 (“TRUE097A”) จํานวน 1,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,000,000,000 บาท (4) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 2 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2553 (“TRUE107A”) จํานวน 2,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 2,000,000,000 บาท (5) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 3 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2555 (“TRUE127A”) จํานวน 1,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,000,000,000 บาท

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หุนกูระยะยาวของบริษัทที่ยงั ไมครบกําหนดไถถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลคาหุนกู มูลคาหุนกู การจัดอันดับ อายุหุนกู วันครบกําหนด อัตราดอกเบี้ย ประเภทของ สัญลักษณหุนกู วันที่ออกหุนกู ณ วันออกหุนกู ณ 31 ธ.ค. 51 ความนาเชื่อถือ (ป) ไถถอนหุนกู (ตอป) การเสนอขาย (ลานบาท) (ลานบาท) ณ 31 ธ.ค. 51 A* TRUE112A 15 ตุลาคม 2545 6,750.00 6,750.00 8.31 3 กุมภาพันธ 2554 MLR เฉลี่ย Public Offering ของ BBL, SCB, KTB และ KBANK TRUE117A 25 มิถุนายน 2547 2,413.00 2,212 7.04 7 กรกฎาคม 2554 6.80% Public Offering BBB TRUE097A

6 มิถุนายน 2550

1,000.00

1,000.00

2.08 7 กรกฎาคม 2552

5.70%

Public Offering

BBB

TRUE107A

6 มิถุนายน 2550

2,000.00

2,000.00

3.08 7 กรกฎาคม 2553

6.20%

Public Offering

BBB

TRUE127A

6 มิถุนายน 2550

1,000.00

1,000.00

5.08 7 กรกฎาคม 2555

6.80%

Public Offering

BBB

รวม 13,163.00 12,962 หมายเหตุ * หุนกูมีผูค้ําประกันบางสวนคือ บรรษัทเงินทุนระหวางประเทศ (ไอเอฟซี) ซึ่งเปนผูค้ําประกันทัง้ เงินตนและดอกเบี้ย จํานวนรวมไมเกินรอยละหาสิบ (50) ของหุนกู สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การซื้อหุน บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (“BITCO”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทจาก บริษัท เจริญโภคภัณฑโฮลดิ้ง จํากัด (“CP”) เพื่อขจัดโครงสรางผูถือหุนที่อาจเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน ตามที่ CP ซึ่งเปนบริษัทในเครือของผูถือหุนรายใหญของบริษัท ไดใหการสนับสนุนทางการเงิน แก ท รู มู ฟ ภายใต สั ญ ญา Sponsor Support Agreement (“SSA”) ที่ ไ ด จั ด ทํ า ขึ้ น กั บ กลุ ม เจ า หนี้ ข องทรู มู ฟ ในจํ า นวนเงิ น 3,000 ล า นบาท ผ า นการจองซื้ อ หุ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของ BITCO จํ า นวน 6,000 ล า นหุ น เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2550 โดยที่ CP ใหสิทธิ Option แกบริษัทในการซื้อหุน BITCO จํานวน ดังกลาวคืนได ซึ่งการซื้อหุน BITCO จาก CP ตามขอเสนอนั้น จะทําใหบริษัทมีสัดสวนการถือหุนใน BITCO เกินรอยละ 90 อันจะเปนประโยชนตอบริษัททั้งในแงการมีสินทรัพยที่มีคุณภาพ และการขจัดโครงสรางการถือหุนที่อาจ เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2551 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 ไดมีมติดังนี้ 1) อนุมัติใหบริษัทรับขอเสนอของ CP เพื่อเขาซื้อหุนสามัญของ BITCO จาก CP รวมทั้งสิ้นจํานวน ไมเกิน 6,000 ลานหุน ภายในกําหนดระยะเวลา 180 วัน นับตั้งแตวันที่ CP เปนเจาของหุนดังกลาว ในราคาหุนละ 0.53 บาท ตามรายละเอียดในขอ 1 ของขอเสนอของ CP พรอมทั้งอนุมัติการมอบอํานาจ ใหคณะกรรมการ หรือ กรรมการผูมีอํานาจ หรือ บุคคลที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ หรือ กรรมการผูมีอํานาจของบริษัทมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเปนและเกี่ยวเนื่องในการดําเนินการ ซื้อหุนดังกลาวไดทุกประการ 2) อนุมัติใหบริษัทขอขยายระยะเวลาการซื้อหุน BITCO จาก CP ไดภายหลังจากครบกําหนด 180 วัน แตไมเกิน 546 วัน รวมทั้งรับขอตกลงที่ CP สามารถใชสิทธิขายหุน BITCO ทั้งหมดดังกลาวใหแก บริษัทได ภายหลังวันที่ 546 ตามรายละเอียดที่ระบุในขอ 2 ของขอเสนอของ CP พรอมทั้งอนุมัติการ มอบอํ า นาจให ค ณะกรรมการ หรื อ กรรมการผู มี อํ า นาจ หรื อ บุ ค คลที่ ไ ด รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการหรือ กรรมการผูมีอํานาจของบริษัทมีอํานาจในการดําเนินการใดๆ อันจําเปนและ เกี่ยวเนื่องในการดําเนินการซื้อหุนดังกลาวไดทุกประการ

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สรุปขอเสนอของ CP ในการใหสิทธิแก True ในการซื้อหุน BITCO ตามที่ บริ ษั ท เจริ ญ โภคภั ณ ฑ โ ฮลดิ้ ง จํ า กั ด (“CP”) ได ทํ า การจองซื้ อ หุ น เพิ่ ม ทุ น ใน BITCO จํานวน 6,000 ลานหุน (“หุนใหม”) เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2550 เพื่อใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ ภายใตสัญญา Sponsor Support Agreement นั้น CP ไดเสนอใหสิทธิแกบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“True”) ในการซื้อหุน BITCO ดัง กลาวคืนไดไมวาทั้งหมดหรือบางสวน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. True มีสิทธิซื้อหุนใหมไมวาทั้งหมดหรือบางสวนจาก CP ภายในระยะเวลา 180 วัน นับตั้งแต วันที่ CP เปนเจาของหุนใหมดังกลาว (วันที่ BITCO จดทะเบียนเพิ่มทุนชําระแลวในสวนหุนใหม กับกระทรวงพาณิ ชย) ในราคา 0.53 บาทตอหุน โดย True สามารถทยอยใชสิทธิเปนคราวๆ ภายในเวลา 180 วัน ดั งกล าวได โดยการแจ ง ความจํานงในการใช สิ ท ธิ ม ายัง CP อยางน อ ย 10 วันทําการกอนวันที่ประสงคจะใชสิทธิซื้อหุนใหมในแตละครั้ง 2. หาก True มีความประสงคที่จะไดสิทธิในการซื้อหุนใหมไมวาทั้งหมดหรือบางสวนจาก CP ภายหลั ง จากระยะเวลา 180 วั น ข า งต น แต ไ ม เ กิ น 546 วั น นั บ ตั้ ง แต วั น ที่ CP เป น เจ า ของหุ น ใหม ดังกลาว True จะตองแจงความประสงคดังกลาวเปนลายลักษณอักษรมายัง CP กอนครบกําหนด 180 วัน นับแตวันที่ CP เปนเจาของหุนใหม พรอมทั้ง ตองตกลงวาทาง CP มีสิทธิที่จะขายหุนใหมดังกลาวทั้งหมด แก True และ True ตกลงที่ จ ะซื้ อ หุ น ใหม ดั ง กล า วทั้ ง หมดจาก CP หลั ง ครบกํ า หนด 546 วั น ทั้ ง นี้ ราคาซื้อขายหุนตามสิทธิขางตนในขอ 2. นี้ ใหเทากับราคาดังตอไปนี้ (ก.) ราคา 0.56 บาทตอหุน หาก True ใชสิทธิในการซื้อหุนใหมในวันที่ 180 ถึงวันที่ 365 (ข.) ราคา 0.59 บาทตอหุน หาก True ใชสิทธิในการซื้อหุนใหมในวันที่ 366 ถึงวันที่ 546 (ค.) ราคา 0.59 บาทตอหุน หาก CP ใชสิทธิในการขายหุนใหมใหแก True หลังจากวันที่ 546 CP จะแจงให True ทราบภายใน 10 วันทําการหลังจากครบวันที่ 546 ถึงความประสงค ของ CP ที่จะใชสิทธิขายหุนใหมดังกลาวและ CP และ True จะตกลงกันกําหนดวันโอน ขายหุนใหมและวันชําระราคาคาหุนตอไป หาก CP ไมแจงความประสงคที่จะขายหุนใหม ภายใน 10 วันทําการหลังจากครบวันที่ 546 ดังกลาวใหถือวา CP ไมประสงคจะใชสิทธิ ตามขอ 2 (ค.) นี้ ทั้งนี้ True สามารถทยอยใชสิทธิซื้อหุนใหมตามขอ 2. (ก.) ถึง (ข.) ไดเปนคราวๆ ไป ตามราคา และภายในกําหนดระยะเวลาขางตน โดย True จะตองแจงความจํานงในการใชสิทธิดังกลาวมายัง CP อยางนอย 10 วันทําการกอนวันที่ประสงคจะใชสิทธิซื้อหุนใหมในแตละครั้ง

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. หาก CP มิไดรับแจงเปนลายลักษณอักษรจาก True เพื่อขอใชสิทธิและยอมรับตามเงื่อนไข ดังกลาวภายในระยะเวลาที่กําหนดไวในขอ 2. ขางตน ใหถือวาสิทธิของ True ในการซื้อหุนจาก CP ตามขอ 1. หมดสิ้นไป นอกจากนี้ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ถื อ หุ น ประจํ าป 2551 ได มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารออกและเสนอขายหุ น กู หุนกูแปลงสภาพ และ การเพิ่มทุนจดทะเบียน เพื่อเปนทางเลือกในการจัดหาเงินเพื่อทําการซื้อหุน BITCO จาก CP

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

8 - 24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9. การจัดการ 9.1 โครงสรางการจัดการ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการดานการเงิน กรรมการผูจัดการใหญ / ประธานคณะผูบริหาร

คณะกรรมการ ดานการจัดการและบริหารทั่วไป

ธุรกิจโมบาย

ธุรกิจออนไลน

บริหารแบรนด และ สื่อสารการตลาด

สวนที่ 2

ธุรกิจเพย ทีวี

สื่อสารองคกร และ กิจกรรมดานความรับผิดชอบ ตอสังคม

ธุรกิจ คอนเวอรเจนซ

การตลาด

คณะกรรมการ ดานการตลาดและบริหารแบรนด โครงขาย และ เทคโนโลยี

จัดจําหนาย และการขาย

TRUETL: การจัดการ

เทคโนโลยี สารสนเทศ

กฎหมาย

บริการลูกคา

การเงิน และ บัญชี

การลงทุนกลุม

ทรัพยากรบุคคล

ตรวจสอบภายใน

การวิจัย และ นวัตกรรม

9

-

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางการจัดการของบริษัทประกอบดวย ก. คณะกรรมการบริษัท ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ 3) คณะกรรมการดานการเงิน 4) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ค. คณะผูบริหาร ก. คณะกรรมการบริษัท ตามขอบังคับของบริษัทกําหนดใหคณะกรรมการของบริษัทประกอบดวยกรรมการ จํานวน ไม น อ ยกว า 5 คน และกรรมการไม น อ ยกว า กึ่ ง หนึ่ ง ของจํ านวนกรรมการทั้ ง หมดนั้ น ต อ งมี ถิ่ น ที่ อ ยู ในราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริษัทจะตองเปนผูมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกําหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการของบริษัทประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ จํานวน รวมทั้งสิ้น 18 ทาน ประกอบดวย (1) กรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) จํานวน 4 ทาน (2) กรรมการทีไ่ มเปนผูบริหาร (Non-Executive Directors) จํานวน 14 ทาน ประกอบดวย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จํานวน 4 ทาน - กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไมเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา ซึ่งรวมตัวแทนของ กลุมเจาหนีแ้ ละผูถือหุนรายใหญ จํานวน 10 ทาน คํานิยาม กรรมการที่เปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่ดํารงตําแหนงเปนผูบริหารและมีสวนเกีย่ วของในการบริหารงานประจําของบริษัท กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่มิไดดํารงตําแหนงเปนผูบริหารและไมมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา ของบริษัท อาจจะเปนหรือไมเปนกรรมการอิสระก็ได

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีคุณสมบัติตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ดังนี้ (1) ถื อหุ นไม เกิ นรอยละหนึ่ งของจํ านวนหุ นที่ มี สิ ทธิ ออกเสี ยงทั้ งหมดของทรู บริษั ทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของทรู ทั้งนี้ ใหนับรวม การถือหุนของผูที่เกี่ยวของกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย (2) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่ ไ ด เงินเดื อนประจํา หรือผูมี อํ านาจควบคุ มของทรู บริษั ทใหญ บริษั ทยอย บริษั ทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอํานาจควบคุมของทรู เวนแตจะ ไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (3) ไม เป น บุ คคลที่ มี ความสั มพั น ธ ท างสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบี ยนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือ ผูมีอํานาจควบคุมของทรูหรือบริษัทยอย (4) ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของทรู ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณ อยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมีอํานาจควบคุมของผูที่มี ความสัมพันธทางธุรกิจกับทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือ ผูมีอํานาจควบคุมของทรู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองป กอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง ความสัมพันธทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการทางการคาที่กระทําเปนปกติ เพื่อประกอบกิจการ การเชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือบริการ หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือใหกูยืม ค้ําประกัน การให สินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอื่นทํานองเดียวกัน ซึ่งเปนผลใหทรูหรือ คูสัญญามีภาระหนี้ที่ตองชําระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละสามของสินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิ ของทรูหรือตั้งแตยี่สิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา ทั้งนี้ การคํานวณภาระหนี้ ดั งกล าวให เป น ไปตามวิ ธี ก ารคํ านวณมู ล ค าของรายการที่ เกี่ ย วโยงกั น ตามประกาศ คณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาดวยหลักเกณฑในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ใหนับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหวางหนึ่งปกอนวันที่ มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของทรู และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวน ของสํ านั กงานสอบบั ญ ชี ซึ่ งมี ผู สอบบั ญ ชี ของทรู บริ ษั ทใหญ บริ ษั ทย อย บริ ษั ทร วม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของทรูสังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(6) ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมาย หรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของทรู และ ไมเปนผูถ อื หุน ที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะได พนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (7) ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของทรู ผูถือหุน รายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ (8) ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของทรูหรือ บริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมใน การบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุนเกินรอยละ หนึ่งของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพ อยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของทรูหรือบริษัทยอย (9) ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงาน ของทรู (10) ภายหลังไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการอิสระที่มีลักษณะเปนไปตามขอ (1) – (9) แลว กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการ ของทรู บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของทรู โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (collective decision) ได (11) ในกรณีที่เปนบุคคลที่มีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพ เกินมูลคาที่กําหนดในขอ (4) หรือ (6) ใหบุคคลดังกลาวไดรับการผอนผันขอหามการมี หรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพเกินมูลคาดังกลาว หาก คณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาตามหลักในมาตรา 89/7 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลั ก ทรั พ ย พ.ศ. 2535 แล ว มี ค วามเห็ น ว า การแต งตั้ ง บุ ค คลดั ง กล าวไม มี ผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่และการใหความเห็นที่เปนอิสระ และจัดใหมีการเปดเผย ขอมูลตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนกําหนด ในหนังสือเชิญประชุมผูถือหุน ในวาระ พิจารณาแตงตั้งกรรมการอิสระ คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม 1. นายณรงค

ศรีสอาน

2. นายวิทยา

เวชชาชีวะ

สวนที่ 2

ตําแหนง กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ TRUETL: การจัดการ

จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ในป 2551* 4/6 6/6

9

-

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม รายนาม ตําแหนง คณะกรรมการบริษัท ในป 2551* 3. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ 6/6 4. นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ 6/6 5. นายธนินท เจียรวนนท ประธานกรรมการ 3/6 6. นายสุเมธ เจียรวนนท รองประธานกรรมการ 0/6 7. ดร. อาชว เตาลานนท รองประธานกรรมการ 6/6 8. นายเฉลียว สุวรรณกิตติ รองประธานกรรมการ 6/6 9. นายอธึก อัศวานันท รองประธานกรรมการ 6/6 หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย และ เลขานุการบริษัท** 10. นายศุภชัย เจียรวนนท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ 6/6 ประธานคณะผูบริหาร 11. นายสุภกิต เจียรวนนท กรรมการ 0/6 12. นายชัชวาลย เจียรวนนท กรรมการ และ 1/6 ผูอํานวยการบริหาร - การลงทุนกลุม 13. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ 6/6 หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ – โครงขายและเทคโนโลยี 14. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ กรรมการ 6/6 15. นายนอรเบิรต ฟาย กรรมการ 6/6 16. นายเยนส บี. เบสไซ กรรมการ 6/6 17. นายฮาราลด ลิงค กรรมการ 5/6 18. นายณรงค เจียรวนนท*** กรรมการ 1/6*** หมายเหตุ * ในป 2551 คณะกรรมการบริษัทมีประชุม จํานวน 6 ครั้ง ** ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2551 เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2551 ไดมีมติแตงตั้ง นายอธึก อัศวานันท รองประธานกรรมการ และ หั วหน าคณะผูบ ริห ารด านกฎหมาย ให ดํ ารงตํ าแหน ง เลขานุ ก ารบริษั ท อีกตําแหนงหนึ่ง โดยใหมีผลตั้งแตวันที่ 29 สิงหาคม 2551 ตอมา ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2552 ไดมีมติแตงตั้ง นางรังสินี สุจริตสัญชัย ใหดํารงตําแหนง เลขานุการบริษัท แทน นายอธึก อั ศวานั นท โดยให มีผลตั้ งแตวันที่ 27 กุ มภาพั นธ 2552 เป นต นไป ทั้ งนี้ ให มี หน าที่ ตามที่ กําหนดไวในพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งประธานกรมการได แจงการเปลี่ยนแปลงเลขานุการบริษัทตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2552 *** ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2551 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 มีมติอนุมัติแตงตั้ง นายณรงค เจียรวนนท เขาดํารงตําแหนงกรรมการของบริษัท แทน กรรมการเดิม คือ ดร. ลี จี. แลม ซึ่งครบกําหนดออกตามวาระ ในวันที่ 29 เมษายน 2551 อนึ่ง กอนที่นายณรงค เจียรวนนท จะไดรับการแตงตั้งเขาเปนกรรมการบริษัท ไดมีการประชุมคณะกรรมการในป 2551 ไปแลว จํานวน 2 ครั้ง

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ กรรมการบริษัททุกทาน เปน ผูมีคุณ สมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด และไมมี ลักษณะตองหามตามกฎหมาย ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการทุกทานทุมเทใหกับการปฏิบัติหนาที่เปนกรรมการ ใหความรวมมือชวยเหลือในการ ดําเนินกิจการของบริษัทในทุกๆ ดาน ซึ่งเปนภาระที่หนักและตองรับผิดชอบอยางยิ่ง สําหรับบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตลอดจนการเขารวมประชุมของกรรมการแตละทานนั้น กรรมการทุกทานเขารวมในการประชุมทุกครั้ง เวนแตกรณีที่มีเหตุสําคัญและจําเปนที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได อยางไรก็ตาม กรรมการทานใดที่ติดภารกิจจําเปนไมสามารถเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัทได จะบอกกลาว แจงเหตุผลขอลาการประชุ ม และให ความคิด เห็ น ตอวาระการประชุ มที่ สํ าคัญ เป น การลวงหน าทุ กครั้ง นอกจากนี้ กรรมการของบริษัทใหความสําคัญกับการเขาอบรมตามหลักสูตรที่สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) กําหนด กรรมการทานที่เปนกรรมการอิสระ มีความเปนอิสระโดยแทจริง ไมมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการอิ ส ระทุ ก ท านมี คุ ณ สมบั ติเป น ไปตามหลัก เกณฑ ที่ คณะกรรมการกํ ากับ ตลาดทุ น กํ าหนดไว ทุกประการ กรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท นายศุ ภ ชั ย เจี ย รวนนท หรื อ นายวิ เ ชาวน รั ก พงษ ไ พโรจน ลงลายมื อ ชื่ อ ร ว มกั บ นายอธึก อัศวานันท หรือ นายสุภกิต เจียรวนนท หรือ นายชัชวาลย เจียรวนนท รวมเปนสองคนและ ประทับตราสําคัญของบริษัท อํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจและหนาที่จัดการบริษัทใหเปนไปตามวัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน ในสวนของการจัดการบริษัทนั้น คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ตัดสินใจและ ดูแลการดําเนินงานของบริษัท เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใด ปฏิบัติการ อยางใดอยางหนึ่งแทนคณะกรรมการได อยางไรก็ตาม การตัดสินใจในการดําเนินงานที่สําคัญ อาทิเชน การ ลงทุนและการกูยืมที่มีนัยสําคัญ ฝายบริหารจะตองนําเสนอตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การสรรหากรรมการ บริษัทเปดโอกาสและกําหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผูถือหุนสวนนอยสามารถเสนอชื่อ บุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการเปนการลวงหนา สําหรับการประชุมสามัญผูถือหุน ซึ่ง ผูถือหุนที่มีคุณสมบัติตามที่บริษัทกําหนดสามารถสงขอมูลตามแบบฟอรม โดยสงเปนจดหมายลงทะเบียน มายังบริษัทได ภายในระยะเวลาที่กําหนด คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการทํ าหน าที่ พิ จารณาคุณ สมบั ติของ บุคคลที่จะเลือกตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการหรือกรรมการอิสระของบริษัท โดยพิ จารณาคุณ วุฒิ และ ประสบการณเพื่อใหไดบุคคลที่มีความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัท แลวจึงนําเสนอพรอมใหความเห็นตอ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาเลือกในเบื้องตน และคณะกรรมการบริษัทจะเปนผูเสนอขอมูลพรอมทั้ง ความเห็นของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาและ อนุมัติ การเลือกตั้งบุคคลเขาดํารงตําแหนงกรรมการบริษัท สําหรับสิทธิของผูถือหุนในการแตงตั้งกรรมการนั้น ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการบริษัท โดยใช เกณฑ เสี ยงข างมาก ทั้ งนี้ ผูถือหุ น ทุ ก รายมีสิ ท ธิในการออกเสี ยงเลือกตั้งกรรมการ โดยผูถือหุ น แตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง และสามารถเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปน กรรมการก็ไดโดยใชคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิจาํ นวน 3 ทาน มีรายนาม ดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม รายนาม ตําแหนง คณะกรรมการตรวจสอบ ในป 2551* 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 8/8 2. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ กรรมการตรวจสอบ 8/8 3. นายโชติ โภควนิช กรรมการตรวจสอบ 8/8 หมายเหตุ * ในป 2551 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จํานวน 8 ครั้ง โดยทีเ่ ปนการประชุมกับ ผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวย จํานวน 1 ครั้ง

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและอํานาจหนาที่รับผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษัทมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงาน ตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนา หนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชี ของบริษัท และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปน ไปตามกฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาว สมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาว จะไดลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและประกอบดวย ขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงิน ของบริษัท ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัท ค) ความเห็ น เกี่ยวกับการปฏิบั ติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพ ยและตลาดหลักทรัพ ย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจ ของบริษัท ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ฉ) จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของ กรรมการตรวจสอบแตละทาน ช) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ ตามกฎบัตร (Charter) ซ) รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และ ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด หรือ คณะกรรมการของบริษัทจะมอบหมาย

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทําหนาที่พิจารณาการกําหนดคาตอบแทน ของกรรมการและประธานคณะผูบริหาร รวมทั้งพิ จารณากลั่ นกรองการสรรหากรรมการ กอนนํ าเสนอตอ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ มีรายนามดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม รายนาม คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ในป 2551* 1. นายธนินท เจียรวนนท 1/1 2. นายไฮนริช ไฮมส 1/1 3. นายสุภกิต เจียรวนนท 1/1 4. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ 1/1 หมายเหตุ * ในป 2551 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการมีประชุม จํานวน 1 ครั้ง 3) คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน และ มีรายนามดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุมคณะกรรมการดานการเงิน รายนาม ในป 2551* 1. ดร. อาชว เตาลานนท 8/9 2. นายเฉลียว สุวรรณกิตติ 9/9 3. นายเยนส บี. เบสไซ 9/9 4. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ 9/9 หมายเหตุ * ในป 2551 คณะกรรมการดานการเงินมีประชุม จํานวน 9 ครั้ง 4) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกําหนดและทบทวน นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท ตลอดจนดูแลใหบริษัทมีการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวอยาง เหมาะสม และ มีรายนามดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุมคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ รายนาม ในป 2551* 1. นายณรงค ศรีสอาน 2/4 2. นายวิทยา เวชชาชีวะ 4/4 3. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ 3/4 4. นายโชติ โภควนิช 4/4 5. นายเยนส บี. เบสไซ 4/4 6. ดร. อาชว เตาลานนท 2/4 หมายเหตุ * ในป 2551 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ มีประชุม จํานวน 4 ครั้ง

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ค. คณะผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ผูบริหารของบริษัท มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม ตําแหนง 1. นายศุภชัย เจียรวนนท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบ ริหาร 2. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบ ริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี 3. นายชัชวาลย เจียรวนนท กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - การลงทุนกลุม 4. นายอธึก อัศวานันท รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบ ริหารดานกฎหมาย 5. นายนพปฎล เดชอุดม หัวหนาคณะผูบ ริหารดานการเงิน 6. นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี 7. นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอรเจนซ ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจ 8. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญ และบริการระหวางประเทศ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - เทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริหารลูกคา หมายเหตุ “ผูบริหาร” ในหัวขอนี้ มีความหมายตามที่กําหนดโดยคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ซึ่งหมายถึง กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ ผูดํารงตําแหนงระดับบริหารสี่รายแรกนับตอจากกรรมการ ผูจัดการใหญลงมา และผูซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทากับผูดํารงตําแหนงระดับบริหารรายที่สี่ ทุกราย ทั้งนี้ ผูบริหารของบริษัททุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด และไมมี ลักษณะตองหามตามกฎหมาย ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อํานาจหนาทีข่ องกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ มีอํานาจหนาที่ในการดูแลและดําเนินการใด ๆ อันเปนการดําเนินงาน ตามธุรกิจปกติของบริษัท (day to day business) และในกรณีที่เรื่อง/รายการดังกลาวเปนรายการที่สําคัญ กรรมการผูจัดการใหญจะนําเสนอเรื่อง/รายการดังกลาวใหแกกรรมการอิสระ และ/หรือ คณะกรรมการ ชุดยอยที่เกี่ยวของ และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ผูถือหุน แลวแตกรณี เพื่อพิจารณาอนุมตั เิ รือ่ ง/ รายการดังกลาว นอกจากนี้ กรรมการผูจัดการใหญไมมีอํานาจในการที่จะอนุมัติเรื่อง/รายการที่ตนหรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใด โดยหากจะเขาทํารายการ ก็ใหปฏิบัติใหเปนไปตามหลักเกณฑหรือกฎหมายที่เกี่ยวของกําหนด

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัท (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1.1) คาตอบแทนกรรมการ ตั้งแตวนั ที่ 1 มกราคม 2551 - 31 ธันวาคม 2551 คาตอบแทนคณะกรรมการรวม 19 ทาน เปนเงินรวมทั้งสิ้น จํานวน 33,600,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

กลุมที่ 1 - ประธานกรรมการ ไดแก นายธนินท เจียรวนนท - กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงประธานกรรมการใน คณะกรรมการชุดยอยไดแก นายวิทยา เวชชาชีวะ และ นายณรงค ศรีสอาน

ไดรับคาตอบแทน ทานละ (บาท) 3,600,000

รวม

กลุมที่ 2 - กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดแก ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ และ นายโชติ โภควนิช รวม กลุมที่ 3 - รองประธานกรรมการ ไดแก นายสุเมธ เจียรวนนท, ดร. อาชว เตาลานนท, นายเฉลียว สุวรรณกิตติ และ นายอธึก อัศวานันท รวม กลุมที่ 4 - กรรมการ ไดแก - นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน, นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ, นายฮาราลด ลิงค นายนอรเบิรต ฟาย และ นายเยนส บี .เบสไซ - ดร. ลี จี. แลม (1 มกราคม 51 - 28 เมษายน 2551) - นายณรงค เจียรวนนท (29 เมษายน 2551 - 31 ธันวาคม 2551 ) รวม รวมทั้งสิ้น

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

รวม (บาท)

3,600,000

2,400,000

1,800,000

1,200,000 393,333 806,667

10,800,000

4,800,000

7,200,000

10,800,000 33,600,0000

9

-

11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(1.2) คาตอบแทนผูบ ริหาร ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 – 31 ธันวาคม 2551 คาตอบแทนผูบริหารรวม 8 ทาน เปน เงินทั้งสิ้น จํานวน 106.60 ลานบาท ประกอบดวยคาตอบแทนในรูปเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และ ผลประโยชนอื่นๆ (2) คาตอบแทนอืน่ คาตอบแทนอื่น ของกรรมการและผูบริห ารของบริษั ท ไดแก โครงการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารของบริษัท และ/หรือบริษัทยอย (โครงการ ESOP) รวม 6 โครงการ ดังนี้ (2.1) โครงการ ESOP 2007 (2.2) โครงการ ESOP 2006 (2.3) โครงการ ESOP 2005 (2.4) โครงการ ESOP 2004 (2.5) โครงการ ESOP 2003 (2.6) โครงการ ESOP 2000 สําหรับรายละเอียดโครงการ ESOP ทั้ง 6 โครงการดังกลาว บริษัทไดเปดเผยรายละเอียดไวใน หัวขอโครงสรางเงินทุน เรื่อง ใบสําคัญแสดงสิทธิ (Warrant) และ พันธะการออกหุนในอนาคต

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

12


บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการไดรับจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิภายใตโครงการ ESOP ของกรรมการและผูบริหารของบริษัท มีดังนี้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2007 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ

ชื่อ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2006 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2005 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2004 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2003 * จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2000 จํานวน รอยละ หนวย ของ โครงการ

1. ดร.อาชว

เตาลานนท

-

-

-

-

-

-

-

-

-

- 2,240,000

6.06

2. นายสุภกิต

เจียรวนนท

1,400,000

3.68

-

-

-

-

-

-

-

- 4,130,000

11.16

3. นายศุภชัย

เจียรวนนท

1,875,000

4.93 3,200,000

8.88 1,900,000

10.12 2,434,077

12.74 3,696,402

18.61 6,510,000

17.60

4. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน 1,875,000

4.93 1,600,000

4.44 1,000,000

5.33 1,277,890

6.69 1,617,176

8.14 2,800,000

7.57

5. นายชัชวาลย เจียรวนนท

0.79

0.83

350,000

1.86 1,277,890

6.69 1,940,611

9.77 4,130,000

11.16

10.18 5,320,000

14.38

300,000

300,000

6. นายอธึก

อัศวานันท

1,875,000

4.93 2,000,000

5.55 1,200,000

6.39 1,331,136

6.97 2,021,470

7. นายอติรุฒม

โตทวีแสนสุข

1,400,000

3.68 1,600,000

4.44 1,000,000

5.33 1,277,890

6.69

850,404

4.28

-

-

8 . นายธิติฏฐ

นันทพัฒนสิริ

1,400,000

3.68 1,600,000

4.44 1,000,000

5.33 1,277,890

6.69

-

-

-

-

9. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย 1,400,000

3.68 1,600,000

4.44 1,000,000

5.33 1,277,890

6.69

-

-

-

-

10. นายนพปฎล เดชอุดม

2.63

2.22

2.66

2.59

487,463

2.45

-

-

1,000,000

800,000

500,000

494,422

หมายเหตุ * ใบสําคัญแสดงสิทธิ ตามโครงการ ESOP 2003 ไดหมดอายุลงในวันที่ 16 มิถนุ ายน 2551

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

13


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

9.3 รายงานการกํากับดูแลกิจการของบริษัท บริษัท ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี จึงไดกําหนดใหมี “นโยบาย การกํากับดูแลกิจการ” ของบริษัท ตั้งแตป 2545 และไดทําการปรับปรุงนโยบายดังกลาวเปนระยะๆ อยางตอเนื่อง เพื่อใหเหมาะสมกับสถานการณของบริษัทที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนเพื่อใหสอดคลอง กับกฎหมายที่เกี่ยวของ และหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีที่แนะนําโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งเทียบเคียงไดกับมาตรฐานสากล บริ ษั ท ดํ าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การกํ ากั บ ดู แ ลกิ จ การ โดยแบ ง เป น สองส ว น คื อ ในระดั บ คณะกรรมการ และ ในระดับบริหาร โดยในระดับคณะกรรมการนั้น ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการชุดยอยขึ้น คือ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Committee) ซึ่งประกอบดวย นายณรงค ศรีสอาน นายวิทยา เวชชาชีวะ ดร.อาชว เตาลานนท ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ นายโชติ โภควนิช และ นายเยนส บี. เบสไซ สวนในระดับบริหารไดดําเนินการโดยเจาหนาที่บริหาร ไดแก CEO และ เจาหนาที่ ระดับสูงอื่นๆ ในป 2551 บริษัท มีการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี สรุปไดดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน 1. คณะกรรมการตระหนักและใหความสําคัญตอสิทธิของผูถือหุน ตลอดจนการปฏิบัติตอ ผูถือหุนอยางเทาเทียมกันและเปนธรรม จึงไดกําหนดนโยบายในการกํากับดูแลกิจการ โดยคํานึงถึงสิทธิ ของผูถือหุนใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดโดยไมจํากัดเฉพาะสิทธิที่กฎหมายกําหนดไว 2. ในป 2551 บริษั ทมี การประชุมผูถือหุน 2 ครั้ง คือ การประชุมสามั ญผูถือหุนประจําป 2551 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 และการประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 ซึ่งการประชุมผูถือหุนของบริษัทจัดขึ้นในวัน เวลา และสถานที่ ที่คํานึงถึงความสะดวกของผูถือหุนที่จะ เขาประชุม โดยบริษัทจัดใหมีการประชุมในวันและเวลาทําการ คือ 14.00 น. ณ ที่ทําการสํานักงานใหญของ บริษัท ตั้งอยูในกรุงเทพมหานครซึ่งมีการคมนาคมที่สะดวกตอการเดินทาง 3. บริษัทไดแจงในเอกสารเชิญประชุมใหผูถือหุนทราบถึงขอมูล วัน เวลา สถานที่ วาระ การประชุ ม ขอมู ลทั้ งหมดที่ เกี่ยวข องกั บ เรื่องที่ ตอ งตั ด สิ น ใจในที่ ป ระชุม รวมตลอดถึ งสาเหตุ แ ละ ความเปนมาของเรื่องที่ตองตัดสินใจ กฎเกณฑตาง ๆ ที่ใชในการประชุม และขั้นตอนการออกเสียงลงมติ โดยเนนรายละเอียดใหผูอานที่ไมทราบถึงความเปนมาของเรื่องนั้นๆ มากอนสามารถเขาใจเรื่องไดโดยงาย และนําสงใหแกผูถือหุนเปนการลวงหนาใหมากที่สุดเทาที่กฎหมายจะยินยอมใหทําไดอยางเพียงพอและ สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

14


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

ทันเวลา นอกจากนี้บริษัทไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุมผูถือหุนพรอมเอกสารประกอบการประชุมไว ใน Website ของบริษัทเป นการลวงหน าประมาณ 3-4 สัปดาหกอนที่จะสงไปรษณียใหผูถือหุน เพื่อ เปดโอกาสใหผูถือหุนไดมีเวลาศึกษาขอมูลประกอบการประชุมลวงหนาอยางเพียงพอ 4. บริษัทมีนโยบายที่จะละเวนการกระทําใด ๆ ที่เปนการจํากัดโอกาสของผูถือหุน ในการ ศึกษาสารสนเทศของการประชุมผูถือหุ น และเป ดโอกาสให ผูถือหุ น ซักถามขอมู ลที่ ไมเขาใจ หรือ สามารถส ง คํ า ถามล ว งหน า ได โ ดยติ ด ต อ ที่ ฝ า ยลงทุ น สั ม พั น ธ (“IR”) ที่ โ ทร 0-2699-2515 และ ฝายเลขานุการบริษัท ที่โทร 0-2643-0076 5. บริษัทอํานวยความสะดวกใหผูถือหุนไดใชสิทธิในการเขารวมประชุมและออกเสียง อยางเต็มที่โดยไมมีคาใชจาย และละเวนการกระทําใด ๆ ที่เปน การจํากัดโอกาสการเขาประชุมของ ผูถือหุน จัดขั้นตอนการลงทะเบียนเขาประชุมเพื่อออกเสียงลงมติเพื่อไมใหมีวิธีการที่ยุงยาก 6. ประธานที่ประชุมจัดสรรเวลาใหเหมาะสมและส งเสริมให ผูถือหุน มีโอกาสในการ แสดงความเห็ น และตั้ งคํ าถามต อ ที่ ป ระชุ ม ในเรื่ อ งที่ เกี่ ย วข อ งกั บ บริ ษั ท และภายหลั งการประชุ ม กรรมการที่เขารวมประชุมไดเดินพบปะกับผูมารวมประชุมเพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนที่ไมประสงคจะ ถามคําถามในระหวางการประชุมสามารถสอบถามเรื่องที่ตนยังสงสัยได หมวดที่ 2 การปฏิบตั ิตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน 1. บริษัทอํานวยความสะดวกใหแกผูถือหุนที่ไมสามารถเขาประชุมดวยตนเอง สามารถ ใชสิท ธิออกเสี ยงโดยมอบฉัน ทะให ผูอื่น มาประชุมและออกเสี ยงลงมติ แ ทน โดยเป ดโอกาสให ส ง หนังสือมอบฉันทะมาใหฝายเลขานุการบริษัทตรวจสอบลวงหนา เพื่อจะไดไมเสียเวลาตรวจสอบใน วันประชุม 2. บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนใชหนังสือมอบฉันทะรูปแบบที่ผูถือหุนสามารถกําหนด ทิศทางการลงคะแนนเสียงได โดยจัดสงหนังสือมอบฉันทะแนบไปพรอมกับหนังสือเชิญประชุมผูถือหุน และไดเสนอชื่อกรรมการอิสระ 2 ทาน พรอมทั้งขอมูลเกี่ยวกับกรรมการอิสระดังกลาว เปนทางเลือกใน การมอบฉันทะของผูถือหุน 3. บริษั ท เป ด โอกาสและกํ าหนดหลั ก เกณฑ อ ยางชั ด เจนในการให ผู ถื อ หุ น ส ว นน อ ย สามารถเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือก เปนกรรมการเปนการลวงหนา ซึ่งผูถือหุนสามารถสงขอมูลตามแบบฟอรมที่บริษัทกําหนด โดยสงเปน จดหมายลงทะเบียนมายังบริษัทได ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2550 เปนตนไป จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2551 สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

15


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

สําหรับการประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2551 โดยบริษัทเผยแพรสารสนเทศดังกลาวไวใน Website ของบริ ษั ท และได ป ระชาสั ม พั น ธ ใ ห ผู ถื อ หุ น ทราบโดยแจ ง สารสนเทศผ า นสื่ อ อิ เล็ ค ทรอนิ ก ส ของตลาดหลัก ทรัพ ยฯ ซึ่ งในการประชุมผูถือหุน ดังกลาว ไม มี ผูถือหุน เสนอเรื่องเพื่อบรรจุเข าเป น วาระการประชุมและชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ 4. บริษัทมีการใชบัตรลงคะแนนเสียงในวาระเพื่อพิจารณาในทุกกรณี พ รอมทั้ งจัดให มีสํานักงานกฎหมายอิสระ เปนผูตรวจสอบการนับคะแนนเสียงเพื่อความโปรงใส และเก็บบัตรลงคะแนน ไวเปนหลักฐานเพื่อจะไดตรวจสอบไดในกรณีมีขอโตแยงในภายหลัง 5. บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนใชสิทธิในการแตงตั้งกรรมการเปนรายบุคคล 6. บริษัทมีการกํากับดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดยกําหนดขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการใช ขอมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยไวในคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางานควบคูกับการใช มาตรการตามกฎหมายในการดู แลผูบ ริห ารในการนํ าข อมูลภายในของบริษั ท ไปใชเพื่ อประโยชน สวนตนและผูที่เกี่ยวของ กําหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศ ที่สําคัญที่ยังไมไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะกรรมการและผูบริหารระดับสูงที่ เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัท กรรมการและ ผูบริหารตองแจงตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (สํานักงาน ก.ล.ต.) ภายใน 3 วันทําการนับแตวันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้งสงสําเนารายงานดังกลาว จํานวน 1 ชุด ใหกับ บริษัท เพื่อเก็บเปนหลักฐานและรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจํา โดยในป 2551 ไมปรากฏวามีกรรมการและผูบริหารของบริษัทไมปฏิบัติตามหลักปฏิบัติดังกลาว 7. ในป 2551 ไมมีกรรมการและผูบริหารของบริษัทตลอดจนผูเกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว ปฏิบัติผิดขอกําหนดเกี่ยวกับเรื่องความขัดแยงของผลประโยชนในการทําธุรกรรมของบริษัท 8. บริษั ทมีมาตรการและขั้นตอนในการอนุ มั ติ การทํ ารายการระหวางกั นตามที่ กฎหมาย และ ขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน รวมทั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดกําหนดไว นอกจากนี้ ในป 2551 คณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติใหออกคําสั่ง เรื่อง ระเบียบในการเขาทํารายการ ระหวางกัน ซึ่งเปนการนําแนวปฏิบัติเดิมของบริษัทมาปรับปรุงใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ในป 2551 บริษัทปฏิบัติตามระเบียบในเรื่องการทํารายการระหวางกันอยางเครงครัด และไดเปดเผยรายละเอียดของรายการระหวางกันที่เกิดในระหวางป 2551 ไวในรายงานประจําปและ แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) ภายใตหัวขอ “รายการระหวางกัน”

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

16


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

หมวดที่ 3 บทบาทของผูม ีสวนไดเสีย 1. คณะกรรมการดู แ ลสิ ท ธิ ต ามที่ ก ฎหมายกํ า หนดของผู มี ส ว นได เสี ย กลุ ม ต า งๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน ร ว มกั น อย า งเหมาะสม เพื่ อ ให Stakeholders มั่ น ใจว าสิ ท ธิ ดังกลาวไดรับการคุมครองและปฏิบัติดวยดี ทั้งนี้ บริษัทไดจัดทํา “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการ ทํางาน” ซึ่งไดกําหนดขอพึงปฏิบัติของพนักงานตอผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ไดแก พนักงาน - มีสิทธิสวนบุคคล และมีสิทธิที่จะไดรับการคุมครองไมใหใครละเมิดสิทธิสวนบุคคล - สิทธิในการไดรับการปฏิบัติ และไดรับโอกาสเทาเทียมกัน - สิทธิตางๆ เกี่ยวกับการจางงานที่เปน ธรรมและเทาเทียมกัน เชน การอนุญาตให ลางาน สิทธิประโยชน โอกาสในการเลื่อนขั้น การโอนยาย การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ลูกคา - มีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรบั การบริการจากพนักงานอยางเต็มความรู ความสามารถ - สิทธิที่จะไดรบั สินคาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผล - สิทธิที่จะไดรบั การปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ ผูจัดหาสินคาและบริการ และตัวแทนอื่นๆ (คูคา) - สิทธิที่จะไดรบั การปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรบั การปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ - สิทธิที่จะไดรบั การปฏิบัติดวยความซื่อตรง และเชื่อถือได - สิทธิที่จะไดรบั ทราบกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายทีเ่ กี่ยวของ - สิทธิที่จะไดรบั การแขงขันอยางเปนธรรม เจาหนี้ - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติดวยความซื่อสัตยในการปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา ภายใตหลักเกณฑและกฎหมายที่กําหนด - สิทธิที่จะไดรบั ขอมูลทางการเงินที่ถูกตองครบถวน - สิทธิที่จะไดรับการชําระหนี้ตรงตามเวลา และไดรับการดูแลคุณภาพของหลักทรัพย ค้ําประกัน

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

17


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

ผูลงทุน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรม และเทาเทียมกัน - สิ ท ธิ ที่ จ ะได รั บ การปฏิ บั ติ อ ย างมุ งมั่ น ที่ จ ะดํ าเนิ น ธุ ร กิ จ ด ว ยความรู แ ละทั ก ษะ การบริหารจัดการอยางสุดความสามารถดวยความซื่อสัตยสุจริต - สิทธิที่จะไดรับการปกปองไมใหเกิดการแสวงหาผลประโยชน โดยการใชขอมูลใดๆ ขององคกรซึ่งยังไมเปดเผยตอสาธารณะ หนวยงานของรัฐ - สิทธิในการกํากับ ดูแล และลงโทษ ตามกฎหมาย ขอบังคับ และมาตรฐานการ ปฏิบัติของหนวยงานของรัฐ 2. บริษัทกําหนดสายงานองคกรใหฝายตรวจสอบภายใน (Internal Audit) รายงานโดยตรง ตอคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งจะเปนผูพิจารณาใหคุณใหโทษตอหัวหนาฝายตรวจสอบภายใน และ บริษัทเปดโอกาสใหพนักงานบริษัทสามารถแจงเบาะแสการกระทํามิชอบตาง ๆ ใหกับ Internal Audit หรือคณะกรรมการตรวจสอบไดโดยตรง 3. ในป 2551 คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัตินโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมและ ไดเปดเผยนโยบายดังกลาวไวในเว็บไซตของบริษัท บริษัทประกอบธุรกิจโดยคํานึงถึงความสําคัญของ ปจจัยดานสังคมและสิ่งแวดลอม โดยมุงเนนไปในดานการสงเสริมการเรียนรูใหแกสังคม เพื่อเปนสวนหนึ่ง ในการพัฒนาสังคมไทยอยางยั่งยืน ดวยการนําเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัยมาจัดทําโครงการดาน การศึกษาและการเรียนรูเพื่อพัฒนาเยาวชนและผูดอยโอกาสในสังคมไทย เพื่อสงเสริมสังคมไทยใหเปน สังคมแหงการเรียนรู มีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเปนรากฐานสําคัญในการสรางความเจริญรุงเรืองใหกับประเทศ ใน ป 2551 ที่ผานมา กลุมบริษัท ไดทํากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมหลายประการ สรุปไดดังนี้ นโยบายความรับผิดชอบตอสังคม : EN: การอนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงาน GO: การกํากับดูแลกิจการและขอปฏิบัติดานจริยธรรม CO: ความรับผิดชอบตอชุมชนและการสงเสริมการศึกษา CU: ลูกคา

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

SU: ผูจัดหาสินคาและบริการ SH: ผูถ ือหุนและนักลงทุน EM: พนักงาน

9

-

18


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

การอนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงาน ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 EN GO CO CU SU SH EM X X X 1. รวมกับ กรุงเทพมหานคร จัดโครงการ “Green Bangkok Wi-Fi” เสริมสรางมหานครแหงไอที สงเสริมการใชอินเทอรเน็ต เพื่อลดการใชพลังงาน เพิ่มความคลองตัวในการเขาถึงขอมูลขาวสารให คนกรุงเทพฯ ทองโลกออนไลนผานอินเทอรเน็ต ไรสาย Wi-Fi กวา 15,000 จุด ทั่วกรุงเทพ X 2. โครงการคายเยาวชนทรูสกัดภัยโลกรอนประจําป 2551 X เปดโอกาสใหเยาวชนรวม สรางสรรค และ จัดทํา โครงการรณรงคตอตานภัยโลกรอนในชุมชน X X 3. โครงการ True Young Producer Award ประกวด ภาพยนตรโฆษณาเพื่อสังคม เปดโอกาสใหนิสิต นักศึกษาระดับอุดมศึกษา แสดงความสามารถผลิตงาน ภาพยนตรโฆษณา ภายใตหวั ขอ “รวมกันลดวิกฤติ ภาวะโลกรอนป 2” ตอน “ฉลาดใชเทคโนโลยีชว ยลด การใชพลังงาน” ใชงบประมาณ 550,000 บาท X X 4. จัดโครงการประกวดภาพถายอนุรักษธรรมชาติชุด “สัตวมีคา ปามีคุณ” ประจําป 2551 ในหัวขอ “สัตวมีคา ปามีคุณ ค้ําจุน คลายโลกรอน” ผลงานที่ไดรับคัดเลือกไดรับรางวัลพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี X 5. จัดโครงการประหยัดพลังงาน การใชพลังงานไฟฟา X ในอาคารทรู โดยบริษัท ทรู พรอพเพอรตสี  จํากัด ทดลองติดตั้งระบบเปด-ปดไฟ แสงสวางและ ระบบระบายอากาศอัตโนมัติ (Motion Sensor & Reed Switch) เพื่ออนุรักษพลังงาน และยืดอายุ การทํางานของตัวอุปกรณ เชน หลอดไฟ พัดลม ระบายอากาศ เปนตน โดยสามารถประหยัดการใช พลังงานไฟฟาในอาคารได รอยละ 75 ตอป X X 6. บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัทในกลุมทรูไดรับรางวัลอาคารนอกขาย ควบคุมดีเดน และรางวัลผูปฏิบัติการดานพลังงาน ในอาคารนอกขายควบคุมดีเดน ในงาน Thailand Energy Award 2008 ในฐานะบริษัทที่โดดเดน ดานอนุรักษพลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทน

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

19


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการและขอปฏิบัติดานจริยธรรม ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 EN GO CO CU SU SH EM 7. ใหความรวมมือกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย X X ในการเขารวมทดสอบแผน Business Continuity Plan ประจําป 2551 ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เพื่อเตรียม ความพรอมและเพิ่มความมัน่ ใจในระบบงานของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในกรณีที่ เครื่องคอมพิวเตอรหลักไมสามารถใชงานไดและ ตองใชระบบสํารองแทน ความรับผิดชอบตอชุมชนและการสงเสริมการศึกษา ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 EN GO CO CU SU SH EM 8. จัดโครงการ Easy Charity แบงปนโอกาสเรียนรูสู X X X ผูพิการทางหู มอบชั่วโมงอินเทอรเน็ต รวม 35,600 ชั่วโมง แกโรงเรียนเศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ และสมาคมคนหูหนวกแหงประเทศไทย เพื่อนําไป มอบแกโรงเรียนผูบกพรองทางการไดยนิ ทั้งใน กรุงเทพมหานคร และตางจังหวัดอีก 20 แหง 9. เปดบริการ SMS Call Center และ True Care Chat X X อํานวยความสะดวกใหผูพิการทางหูสามารถติดตอ เจาหนาที่ของทรูไดโดยตรง ไมตองผานลามแปลภาษา 10. สานตอโครงการปลูกปญญา สงมอบชุดอุปกรณ X รับสัญญาณทรูวิชั่นสใหโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ทั่วประเทศ เพิ่มโอกาสในการเรียนรูแกเด็กผูดอยโอกาส และจัดทําเว็บไซต www.trueplookpanya.com เพื่อ เปนสื่อกลางการติดตอสื่อสารระหวางโรงเรียน แนะนํา ความรูและแลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนการสอน ที่เปนประโยชน 11. รวมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และ สถาบันอุดมศึกษา X กวา 50 แหงทัว่ ประเทศ จัดโครงการธุรกิจจําลอง (Dummy Company) เพื่อเปดโอกาสและกระตุนให นักศึกษาในแตละสถาบันไดแสดงศักยภาพ โดยรวมตัว จัดตั้งองคกรธุรกิจขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจในดานตางๆ ซึ่งเปนการนําความรูภาคทฤษฎีและบริหารจัดการ มาประยุกตใชในการทําธุรกิจจริงไดอยางเต็มที่และ ครบวงจร สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

20


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 EN GO CO CU SU SH EM 12. เปดเว็บไซตชุมชน www.helplink.net เปนศูนยกลาง X X ชวยเหลือกันและกันใหคนในสังคม ประสานงาน ผานหนวยงานหรือมูลนิธิที่ดูแลความชวยเหลือตางๆ ซึ่งปจจุบันมีมลู นิธิที่เกี่ยวของ 14 มูลนิธิ โดยจัด หมวดหมูความชวยเหลือตามความเรงดวน อาทิ กรณี ตองการความชวยเหลือเรงดวนจากบุคคล องคกร หรือ มูลนิธิ ทัง้ เรื่องสุขภาพ การเจ็บปวยหนัก คนหาย หรือ ภัยธรรมชาติ ซึ่งสามารถชวยเหลือไดทั้งใน แบบทุนทรัพย สิ่งของ และการใหกําลังใจ 13. รวมกับ United Nations ESCAP ในประเทศไทย X รณรงคใหประชาชนตระหนักถึงวันแหงสันติภาพ โดยสง SMS ประชาสัมพันธ International Peace Day (21 กันยายน) ถึง ผูใชบริการทรูมูฟ 1.5 ลานเลขหมายทั่วประเทศ ลูกคา ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 EN GO CO 14. บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด มอบชุดหลักสูตร X คอมพิวเตอรพนื้ ฐานออนไลน “Microsoft e-Learning @ True” ใหลูกคาองคกร ทั้งสถาบัน การศึกษา รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน เพื่อสนับสนุน การศึกษาและการเรียนรูผานอินเทอรเน็ต 15. บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร ซึ่งเปนบริษัทในกลุมทรู X รวมกับสํานักงานคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จัดสัมมนาหัวขอ “เปนพอแม ตองรูทันลูกเลนเกม” เพื่อใหความรู ผูปกครองเกี่ยวกับผลกระทบของเกมออนไลนและ ยาเสพติดที่มีตอ เยาวชน 16. บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด ไดรับ การรับรอง 2 มาตรฐานระดับโลก คือ มาตรฐานการ บริหารจัดการระบบสารสนเทศ ISO/IEC 20000 และมาตรฐานการจัดการความปลอดภัยของขอมูล ISO/IEC 27001:2005 รายแรกในไทย เพิ่มความมั่นใจ ในระบบบริหารความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ และการใหบริการลูกคาที่ไดมาตรฐานสากล

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

CU SU SH EM X

X

X

9

-

21


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 EN GO CO 17. บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จัดสัมมนาความรูเกี่ยวกับ X พรบ.วาดวยการกระทําผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 เพื่อใหผูประกอบการมีความรู ความเขาใจมากขึ้น และประกอบธุรกิจเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด เพื่อมิใหเกิดปญหาในทางปฏิบัติ ทั้งนี้ เนือ่ งจาก พระราชบัญญัติฉบับดังกลาวมีผลบังคับใชแลว แตได ผอนผันมาเปนเวลา 1 ป เพือ่ ใหผูประกอบการมีเวลา เตรียมการเกีย่ วกับระบบการจัดเก็บขอมูล (สิงหาคม) 18. ทรูพัฒนาระบบลามออนไลน ใหวิทยาลัยราชสุดา X มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อสรางเครือขายสื่อสารแก คนหูหนวก ใหสามารถสื่อสารกับคนทั่วไปได และ นําไปติดตัง้ ในสถานที่สําคัญ เชน ธนาคาร หรือ โรงพยาบาล ใหสามารถเชื่อมเขาระบบลามออนไลน โดยมีเจาหนาที่เปนลามแปลภาษามือและภาษาพูด ผาน Webcam ชวยใหคนหูหนวกสามารถสื่อสารกับ คนทั่วไปได (กรกฎาคม) 19. สงผูแทนรวมประชุมนานาชาติ เรื่อง “นโยบายภาษา X แหงชาติ ความหลากหลายของภาษาเพื่อความเปน เอกภาพของชาติ” จัดโดยราชบัณฑิตยสถาน, สถานทูต ประเทศออสเตรเลีย, องคการรัฐมนตรีการศึกษาแหง เอเชียตะวันออกเฉียงใต (องคการซีมีโอ) และ กองทุน เพื่อเด็กแหงสหประชาชาติแหงประเทศไทย (องคการ ยูนิเซฟ) เพื่อแบงปนประสบการณในการมอบโอกาส ใหผูที่มีความบกพรองทางรางกายมีโอกาสเขาถึงและ ใชเทคโนโลยี เพื่อใหเกิดความเทาเทียมดานการสื่อสาร

CU SU SH EM X X

X

X

ผูจัดหาสินคาและบริการ ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 EN GO CO CU SU SH EM 20. ริเริ่มแนวคิดการลดขนาดกรอบการผลิต SIM โดยขอ X X ความรวมมือผูข ายสินคาและบริการในกลุมอุปกรณ สินคาซื้อมาขายไป (Merchandise) ประเภท SIM ให ปรับลดขนาดกรอบการผลิตเปนลักษณะ Half-Card SIM (ลดขนาดกรอบบรรจุซิมการดใหเหลือครึ่งหนึ่ง ของบัตรเครดิต) เพื่อชวยลดกาซคารบอนไดออกไซด ที่เกิดจากการผลิตและสนับสนุนการลดภาวะโลกรอน สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

22


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 21. จัดประชุมรวมกับ บริษัท Huawei และ บริษัท ZTE ผูขายสินคาและบริการในกลุมอุปกรณดาน โทรคมนาคมที่เกี่ยวของกับยุค 3G เพื่อหารือ แนวทางในการใชอุปกรณโทรคมนาคมที่ ชวยประหยัดพลังงาน และปลอดมลภาวะ ผูถือหุนและนักลงทุน ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 22. จัดประชุมนักลงทุนและโบรกเกอรในป 2551 โดยแยกจัดเปนกลุมๆ จํานวน 100 ครั้ง 23. จัดประชุมกลุม โบรกเกอรรายยอย ประจําทุกไตรมาส ในป 2551 24. จัด Road show เพื่อพบปะนักลงทุนที่ ประเทศอังกฤษ / สหรัฐอเมริกา (กันยายน) 25. เขารวมประชุม Asean Mini-Conference จัดโดย Citigroup ณ ประเทศอังกฤษ (กันยายน) 26. เขารวมประชุม 4th Annual Thailand Focus จัดโดย CLSA รวมกับ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่กรุงเทพ (กันยายน)

EN GO CO CU SU SH EM X X

EN GO CO CU SU SH EM X

X X X X

พนักงาน ลําดับ รายการกิจกรรมประจําป 2551 EN GO CO CU SU SH EM 27. รวมกับมหาวิทยาลัยชั้นนํา จัด 2 หลักสูตรพิเศษ X เพื่อพัฒนา ความรูความสามารถของพนักงานสูความ เปนเลิศในการใหบริการ โดยรวมกับมหาวิทยาลัย กรุงเทพ จัดหลักสูตร MBA - Service and Retail Management ภาคภาษาไทย ระยะเวลา 4 ป และรวมกับ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จัดหลักสูตร MBA ภาคภาษา อังกฤษ ระยะเวลา 4 ป เพือ่ เพิ่มศักยภาพของพนักงาน ในการใหบริการลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ 28. พนักงานรวมบริจาคเครื่องอุปโภคบริโภค ชวยเหลือ X X ผูประสบภัยพิบัติน้ําทวมพรอมจัดกิจกรรมบําเพ็ญ สาธารณประโยชนใหผูพิการและผูดอยโอกาส ในสังคม

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

23


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1. บริษัทมีการเผยแพรทั้งขอมูลทางการเงินและขอมูลที่มิใชการเงินตามขอกําหนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย อย างถู ก ต อ ง ครบถ ว น ทั น เวลา โปร ง ใส ผ า นช อ งทางต า งๆ ทั้งชองทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ website ของบริษัทดวย รวมทั้งเปดเผยขอมูล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อีกทั้งมีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันเปนระยะๆ นอกจากนี้ บริษัท ไดจัดทําขอมูลรายละเอียดอื่นๆ ที่คาดวาจะเปนที่สนใจของนักลงทุนและนักวิเคราะห เชน แผนภูมิสรุป ผลการดําเนินงานดานตางๆ ที่สําคัญ ขอมูลงบการเงินยอนหลังเพื่อการเปรียบเทียบ ขาวประชาสัมพันธ ที่ น า สนใจสํ า หรั บ นั ก ลงทุ น เป น ต น โดยแสดงไว ใ น Website ของบริ ษั ท เพื่ อ ให นั ก ลงทุ น และ นักวิเคราะหเขาถึงไดอยางเทาเทียมกัน 2. บริษัทไดรายงานนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่คณะกรรมการไดใหความเห็นชอบไว โดยสรุป และรายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายผานชองทางตางๆ เชน รายงานประจําป และ website ของบริษัท 3. บริษัทไดแสดงรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงินควบคู กับรายงานของผูสอบบัญชีไวในรายงานประจําป 4. บริษัทไดมีการเปดเผยบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย จํานวนครั้งของการประชุมและจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมคณะกรรมการในปที่ ผานมา ตลอดจนความเห็ น จากการทํ าหน าที่ ข องคณะกรรมการชุ ด ยอยไวในรายงานประจําป แ ละ หนังสือเชิญประชุมผูถือหุน ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และ สํานักงาน ก.ล.ต. 5. บริษัทจายคาตอบแทนแกกรรมการ ในป 2551 ตามอัตราซึ่ งที่ประชุมสามัญผูถือหุ น ประจําป 2551 ไดมีมติอนุมัติไว โดยยังคงเปนอัตราเดิมตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2550 ไดเคยมีมติอนุมัติไว ซึ่งอัตราคาตอบแทนดังกลาวไมมีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแตป 2545 แลว โดยมี รายละเอียดดังนี้ กรรมการไดรบั คาตอบแทนเปนรายเดือน โดยมีหลักเกณฑในการจายดังนี้ ประธานกรรมการ 300,000 บาทตอเดือน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 200,000 บาทตอเดือน รองประธานกรรมการ 150,000 บาทตอเดือน กรรมการ 100,000 บาทตอเดือน หากกรรมการท านใดเป น ลูก จางของบริษั ท ก็ให ค าตอบแทนกรรมการนี้ เป น ส ว น เพิ่มเติมจากคาจางปกติของลูกจางแตละทาน สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

24


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่ทําหนาที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดรับ คาตอบแทนดังนี้ กรรมการอิสระที่เปนประธานในคณะกรรมการชุดยอย 300,000 บาทตอเดือน กรรมการอิสระที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย 200,000 บาทตอเดือน สําหรับกรรมการอิสระที่มิไดเปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย และกรรมการ ทุกทานที่มิใชกรรมการอิสระ ใหไดรับคาตอบแทนคงเดิม 6. ในป 2551 บริษัทจายคาตอบแทนผูบริหารระดับสูงสอดคลองกับนโยบายของบริษัทที่ ใหจายคาตอบแทนโดยสะทอนภาระหนาที่และความรับผิดชอบของผูบริหารระดับสูงแตละคน และเปน อัตราที่เหมาะสมโดยศึกษาเทียบเคียงกับธุรกิจประเภทเดียวกัน 7. บริ ษั ท ได เป ด เผยข อ มู ล การจ า ยผลตอบแทนกรรมการและผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง โดยละเอียดทั้งรูปแบบ ลักษณะ และ จํานวนเงินคาตอบแทน ไวในรายงานประจําป และ แบบ 56-1 8. บริ ษั ท มี ห น ว ยงาน “ฝ ายลงทุ น สั ม พั น ธ ” หรื อ “Investor Relations” เพื่ อ สื่ อ สารกั บ บุคคลภายนอกอยางเทาเทียมและเปนธรรม ทั้งนี้ ผูลงทุนสามารถติดตอฝายลงทุนสัมพันธไดที่หมายเลข โทรศั พ ท 0-2699-2515 หรื อ e-mail address ir_office@truecorp.co.th สํ า หรั บ ในป 2551 ฝ า ยลงทุ น สัมพันธไดจัดใหมีการประชุมนักวิเคราะหและนักลงทุนภายหลังจากที่บริษัทประกาศผลประกอบการ ทุกไตรมาส ตลอดจนจัดใหมีการประชุมนักวิเคราะหผานทางโทรศัพท (Conference Call) ภายหลังจาก การประกาศเหตุการณที่สําคัญของกลุมบริษัท ทั้งนี้ เพื่อเปดโอกาสใหนักวิเคราะหและนักลงทุนได ซั ก ถามข อ มู ล จากผู บ ริ ห ารของบริ ษั ท ได ทั น ที นอกจากนี้ ไ ด จั ด Roadshow เพื่ อ พบปะนั ก ลงทุ น ในประเทศ และตางประเทศ รวมทั้งจัดใหมีการประชุมกับนักลงทุนกลุมยอยที่สนใจมาพบปะผูบริหาร เพื่อซักถามขอมูลของบริษัท หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสรางคณะกรรมการ 1.1 องค ป ระกอบของคณะกรรมการ คื อ กรรมการบริ ห าร (Executive Directors) 4 ท าน กรรมการที่ มิ ใช ผู บ ริห าร (Non-Executive Directors) 14 ท าน โดยมี ก รรมการอิ ส ระคิ ด เป น รอยละ 22 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด บริษัทเปดเผยประวัติของกรรมการแตละทานไวในรายงาน ประจําป และ แบบ 56-1 ตลอดจน website ของบริษัท ที่ www.truecorp.co.th 1.2 บริษัทมีการกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการไวอยางชัดเจน โดย ระบุไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และ ขอบังคับของบริษัท ซึ่งเปนไปตามกฎหมาย

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

25


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

1.3 บริษัทกําหนดคุณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” อยางละเอียด โดยเปดเผยไวใน รายงานประจําป และ แบบ 56-1 โดย นายโชติ โภควนิช เปนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ผูมีความรูดานบัญชีและการเงิน 1.4 บริษัทเปดเผยขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการแตละคนใหผูถือหุนทราบ โดยเปดเผยไวใน แบบ 56-1 ซึ่งผูถือหุนสามารถดาวนโหลดขอมูลไดจาก website ของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ที่ www.set.or.th และ website ของบริษัทที่ www.truecorp.co.th 1.5 คณะกรรมการมี น โยบายและวิ ธีป ฏิ บั ติ ในการไปดํ ารงตํ าแหน งกรรมการที่ บริษัทอื่นของผูบริหารระดับสูงของบริษัทวาตองกระทําการโดยเปดเผยตอผูบังคับบัญชา 1.6 ประธานกรรมการของบริษัทมิใชบุคคลเดียวกับกรรมการผูจัดการใหญ และเปน Non-Executive Director อํานาจหนาที่ของประธานกรรมการนั้นเปนไปตามกฎหมาย สวนอํานาจหนาที่ ของกรรมการผูจัดการใหญนั้น คณะกรรมการบริษัทมีการกําหนดไวอยางชัดเจน 1.7 บริษัทมีเลขานุการบริษัทซึ่งทําหนาที่ใหคําแนะนําดานกฏหมายและกฎเกณฑ ตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบและปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้ง ประสานงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ เลขานุการบริษัททําการประชุมหารือรวมกัน กับเลขานุ การบริษัทของบริษั ท จดทะเบียนอื่นๆ เปนครั้งคราวเพื่อรวมกันหาแนวทางที่ดีที่สุดในการปฏิบัติหนาที่ 2. คณะกรรมการชุดยอย 2.1 นอกจากคณะกรรมการตรวจสอบที่ตองจัดใหมีตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ แลว คณะกรรมการไดจัดใหมีคณะกรรมการชุดยอยอื่นเพื่อการกํากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทําหนาที่พิจารณาการกําหนดคาตอบแทนของกรรมการและ CEO และ พิจารณา กลั่นกรองการสรรหากรรมการ กอนนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกําหนดและทบทวนนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการของบริษัท ตลอดจนดูแลใหบริษัทมีการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ เหมาะสมกับธุรกิจของบริษัท

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

26


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

ผูลงทุนทั่วไปสามารถดาวนโหลดขอมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอยของบริษัท เชน หนาที่ รายชื่อคณะกรรมการ ไดจาก website ของบริษัท ที่ www.truecorp.co.th นอกจากนี้ บริษัทได เปดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอยของบริษัท การเขารวมประชุม ตลอดจนรายงานของ คณะกรรมการ ไวในรายงานประจําป 2.2 เพื่ อ ความโปร ง ใสและเป น อิ ส ระในการปฏิ บั ติ ห น าที่ และในขณะเดี ย วกั น เพื่ อ ให ค ณะกรรมการชุ ด ย อ ยสามารถปฏิ บั ติ ห น าที่ ไ ด อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล สมาชิ ก ส ว นใหญ ข อง คณะกรรมการชุดยอย ประกอบไปดวย กรรมการอิสระ กรรมการตัวแทนจากเจาหนี้ และ กรรมการที่ มิใชผูบริหาร 3. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการได ทํ าหน าที่ พิ จ ารณาและให ค วามเห็ น ชอบในเรื่ อ งที่ สํ าคั ญ เกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท เชน วิสัยทัศนและภารกิจ กลยุทธ เปาหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงานและงบประมาณ รวมทั้งกํากับ ควบคุม ดูแลใหฝายจัดการดําเนินงานตามนโยบายและแผนที่ กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความ พอประมาณ (ตระหนักถึงขีดความสามารถที่แทจริงของบริษัท) ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุมกันที่ดี ในตัว โดยตั้งมั่นอยูบนพื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริต และ ความรอบคอบระมัดระวัง 3.2 คณะกรรมการได จั ด ให มี น โยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท เป น ลายลักษณอักษร และใหความเห็นชอบตอนโยบายดังกลาว คณะกรรมการจะทบทวนนโยบายและการ ปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง 3.3 คณะกรรมการไดสงเสริมใหจัดทําจรรยาบรรณธุรกิจที่เปนลายลักษณอักษร เพื่อ ใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนเขาใจถึงมาตรฐานดานจริยธรรมที่บริษัทใชในการดําเนินธุรกิจ อีกทั้งไดมีการติดตามใหมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณดังกลาวอยางจริงจัง 3.4 คณะกรรมการไดพิ จารณาเรื่องความขัดแยงของผลประโยชนอยางรอบคอบ การพิจารณาการทํารายการที่อาจมีความขัดแยงของผลประโยชน มีแนวทางที่ชัดเจนและเปนไปเพื่อ ผลประโยชน ของบริษั ท และผู ถือหุ น โดยรวมเป น สํ าคัญ โดยที่ ผูมีสวนได เสียไมมีส วนรวมในการ ตัดสินใจ และคณะกรรมการไดกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามขอกําหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการดําเนินการ และการเปดเผยขอมูลของรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอยางถูกตองครบถวน 3.5 คณะกรรมการไดจัดให มี ระบบการควบคุ มดานการดํ าเนิ นงาน ดานรายงาน ทางการเงิ น และด า นการปฏิ บั ติ ต ามกฎ ระเบี ย บ และนโยบาย คณะกรรมการได ม อบหมายให คณะกรรมการตรวจสอบ เปนผูรับผิดชอบในการดูแลการตรวจสอบระบบการควบคุมดังกลาว และ ทําการทบทวนระบบอยางนอยปละ 1 ครั้ง

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

27


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

3.6 บริษัทมีระบบการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองคกรทั้งในดานการดําเนินงาน และด า นการเงิ น อี ก ทั้ ง มี ร ะบบการตรวจสอบภายในแบบ Risk-based Audit Approach ในด า น การดําเนิ น งานนั้ น บริษั ท มี การแต งตั้ งคณะอนุ ก รรมการบริห ารที่ เรียกวา BCP Steering Committee ทํ าหน าที่ กํ ากั บ ดู แ ลการบริ ห ารจั ด การแผนรองรั บ ความต อ เนื่ อ งของธุ ร กิ จ และมี ค ณะทํ างานชื่ อ Crisis Management Team ทํ าหนาที่ รับผิดชอบในการจัดการกับวิกฤตการณ ตางๆ ที่ อาจเกิดขึ้น เพื่ อ ชวยเหลือและสนับสนุนการดําเนินงานที่สําคัญของบริษัท นอกจากนี้ ในดานความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน เพื่อปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากการผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศโดยนําวิธีการบริห ารความเสี่ ยงดังตอไปนี้ มาใชจัดการ เช น การทํ า สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา การเจรจาตกลงเงื่อนไขการจายชําระหนี้ในสกุลเงินตรา ตางประเทศเปนแตละรายการ และ การเจรจาตกลงกับเจาหนี้ตางประเทศ เพื่อแบงสรรภาระจากการ เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เปนตน 4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริษัทกําหนดการประชุมคณะกรรมการเปนการลวงหนา และแจงใหกรรมการ แต ล ะคนทราบกํ าหนดการดั งกล าว อย างไรก็ ต าม ในกรณี จํ าเป น เร ง ด ว น อาจมี ก ารเรี ย กประชุ ม คณะกรรมการเปนการเพิ่มเติมได 4.2 ในป 2551 บริษัทมีการประชุมคณะกรรมการ จํานวน 6 ครั้ง ซึ่งเหมาะสมกับ ภาระหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการและการดําเนินธุรกิจของบริษัท 4.3 ประธานกรรมการ และ/หรือ รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ รวมกันพิจารณาการเลือกเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมคณะกรรมการ นอกจากนี้ กรรมการ แตละคนมีความเปนอิสระที่จะเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุม 4.4 บริษัทจัดสงเอกสารประกอบการประชุมใหแกกรรมการเปนการลวงหนา โดย เอกสารมีลักษณะโดยยอแตใหสารสนเทศครบถวน สําหรับเรื่องที่ไมประสงคเปดเผยเปนลายลักษณ อักษรก็ใหนําเรื่องอภิปรายกันในที่ประชุม 4.5 ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไวอยางเพียงพอที่ฝายจัดการจะเสนอเรื่องและ มากพอที่กรรมการจะอภิปรายปญหาสําคัญกันอยางรอบคอบโดยทั่วกัน 4.6 คณะกรรมการสามารถเข าถึ งสารสนเทศที่ จํ าเป น เพิ่ ม เติ ม ได จ ากกรรมการ ผูจัดการใหญ หรือเลขานุ การบริษัท หรือผูบริห ารอื่น ที่ไดรับ มอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่ กําหนดไว 4.7 ผูบริหารระดับสูงเขาประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงขอมูลในฐานะผูเกี่ยวของ กับปญหาโดยตรง

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

28


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 5.1 คณะกรรมการบริษัท ทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเปนรายป 6. คาตอบแทน 6.1 คาตอบแทนของกรรมการของบริษัทจัดไดวาอยูในลักษณะที่เปรียบเทียบไดกับ ระดับที่ปฏิบัติอยูในอุตสาหกรรม ประสบการณ ภาระหนาที่ ขอบเขตของบทบาทและความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึ ง ประโยชน ที่ ค าดว า จะได รั บ จากกรรมการแต ล ะคน นอกจากนี้ กรรมการที่ไดรับมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น เชน กรรมการอิสระที่เปน สมาชิกของคณะกรรมการชุดยอยก็ไดรับคาตอบแทนเพิ่มที่เหมาะสมดวย บริ ษั ท เป ด เผยค า ตอบแทนของกรรมการในป 2551 เป น รายบุ ค คลไว ใ น รายงานประจําป และ แบบ 56-1 6.2 ค าตอบแทนของกรรมการผู จั ด การใหญ แ ละผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง เป น ไปตาม หลักการและนโยบายที่คณะกรรมการกําหนดภายในกรอบที่ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน (สําหรับ คาตอบแทนประเภทที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน) และเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัท ระดับคาตอบแทนที่เปนเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ก็มี ความสอดคลองกับผลงานของบริษัทและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละคนดวย 6.3 คณะกรรมการกํ าหนดค าตอบแทนฯ เป น ผู ป ระเมิ น ผลการปฏิ บั ติ งานของ ประธานคณะผูบริหารเปนประจําทุกปเพื่อนําไปใชในการพิจารณากําหนดคาตอบแทนของกรรมการ ผูจัดการใหญ โดยใชบรรทัดฐานที่ ไดตกลงกัน ลวงหนากับกรรมการผูจัดการใหญ ตามเกณฑ ที่ เปน รูปธรรม ซึ่งรวมถึงผลการปฏิบัติงานทางการเงิน ผลงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ ในระยะยาว การพัฒนาผูบริหาร ฯลฯ ผลประเมินขางตนไดเสนอใหคณะกรรมการพิจารณาใหความ เห็นชอบ และกรรมการอาวุโสที่ไดรับมอบหมายจากประธานกรรมการ เปนผูสื่อสาร ผลการพิจารณา ใหกรรมการผูจัดการใหญทราบ 7. การพัฒนากรรมการและผูบริหาร 7.1 บริษั ทสงเสริมและอํานวยความสะดวกให มี ก ารฝ กอบรมและการให ความรู แกผูเกี่ยวของในระบบการกํากับดูแลกิจการของบริษัท เชน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบริหาร เลขานุการบริษัท เปนตน เพื่อใหมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง การฝกอบรมและใหความรู ดังกลาว มีทั้งที่กระทําเปนการภายในบริษัทและใชบริการของสถาบันภายนอก 7.2 ในป 2551 บริ ษั ท มี ก ารเปลี่ ย นแปลงกรรมการใหม จํ านวน 1 ท าน บริ ษั ท ได ดําเนินการตามนโยบายที่กําหนดไว สําหรับกรณีเมื่อมีกรรมการเขาใหม กลาวคือ ฝายจัดการไดจัดทําและ นําสงเอกสารและขอมูลที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการใหม รวมถึงการจัดใหมีการ แนะนําลักษณะธุรกิจและแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทใหแกกรรมการใหม สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

29


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

9.4 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการบริษัท ตระหนั กถึงความสําคัญของการปองกันการนําขอมูลภายในของ บริ ษั ท ไปใช เพื่ อ ประโยชน ส ว นตนเป น อย า งยิ่ ง บริ ษั ท มี ก ารกํ ากั บ ดู แ ลเรื่ อ งการใช ข อ มู ล ภายใน โดยกําหนดขอพึ งปฏิบัติเกี่ยวกับการใชขอมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพ ยไวในคุณ ธรรมและ ขอพึงปฏิบัติในการทํางานควบคูกับการใชมาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบริหารในการนําขอมูล ภายในของบริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตนและผูที่เกี่ยวของ ปองกันมิใหกรรมการและผูบริหารที่มี สวนใกลชิดกับขอมูลของบริษัทนําขอมูลภายในที่ตนลวงรูมาจากการเปนกรรมการและผูบริหารมา แสวงหาประโยชนใดๆ อันจะเปนการฝาฝนหนาที่ความรับผิดชอบของตนที่มีตอบริษัทและผูถือหุน จึงกําหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศที่สําคัญที่ยังไมได เปดเผยไวเปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะกรรมการและผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัท กรรมการและผูบริหารตองแจงตอ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) ภายใน 3 วันทําการ นับแตวันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้งสงสําเนารายงานดังกลาว จํานวน 1 ชุด ใหกับบริษัทเพื่อเก็บเปน หลักฐานและรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจํา ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวา กรรมการและ ผูบริหารสามารถบริหารและดําเนินกิจการดวยความซื่อสัตยสุจริต มีความชัดเจน โปรงใส และสอดคลอง กับมาตรการเกี่ยวกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท และยังมีสวนชวยใหผูถือหุนตลอดจน ผูลงทุนทั่วไปเกิดความเชื่อมั่นในผูบริหารของบริษัท 9.5 บุคลากร ดังนี้

จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 แบงแยกตามกลุมงานมี

กลุมงาน

จํานวนพนักงาน (คน)

พนักงานในระดับบริหาร ปฏิบัติการโครงขาย และ บํารุงรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการลูกคา การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน ที่มา : บริษัท

สวนที่ 2

77 1,820 980 256 478 237 300 4,148

TRUETL: การจัดการ

9

-

30


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

คาตอบแทน และผลประโยชนของพนักงาน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน Â เงินเดือน Â เงินตอบแทนการปฏิบัติงานประจําป ในอัตรา 0-4 เทาของเงินเดือนพนักงานขึ้นอยูกับ ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริษัท Â กรณีเกษียณอายุ พนักงานทีจ่ ะมีอายุครบ 60 ปบริบูรณ หรือในกรณีที่บริษัทและ พนักงานเห็นพองตองกันอาจใหพนักงานเกษียณอายุกอนกําหนดได โดยพนักงานจะ ไดรับคาชดเชยการเกษียณอายุตามกฎหมาย ในป 2551 สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2551 ค าตอบแทนพนั กงานรวมทั้ งสิ้ นประมาณ 2,570 ลานบาท โดยประกอบดวย คาแรง เงินเดือน เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุน สํารองเลี้ยงชีพและอื่นๆ คาตอบแทนอืน่ -

แผนประกันสุขภาพและสวัสดิการพนักงาน Â หองพยาบาลของบริษัท Â การตรวจสุขภาพประจําป Â การตรวจรางกายพนักงานใหม Â การประกันสุขภาพกลุม Â การประกันอุบัติเหตุกลุม Â การประกันชีวติ กลุม Â กองทุนประกันสังคม Â กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

-

วันหยุดพักผอนประจําป พนักงานของบริษัท มีสิทธิหยุดพักผอนประจําป 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทํางาน ขึ้นอยูกับระดับตําแหนงและอายุการทํางาน ดังนี้ พนั ก งานระดั บ ผู ช ว ยผู อํ า นวยการฝ า ยหรื อ เที ย บเท า ขึ้ น ไป มี สิ ท ธิ ห ยุ ด พักผอนปละ 15 วันทํางาน พนั ก งานระดั บ ผู จั ด การหรื อ เที ยบเท าลงมา มี สิ ท ธิ ห ยุ ด พั ก ผ อนประจํ าป ตามอายุงานดังนี้ - พนทดลองงาน แตไมถึง 3 ป 10 วันทํางาน - อายุงาน 3 ป แตไมถึง 5 ป 12 วันทํางาน - อายุงานตั้งแต 5 ปขึ้นไป 15 วันทํางาน

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

31


แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน)

การฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน นโยบายการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน ประเด็นสําคัญของศูนยฝกอบรมและพัฒนาและการพัฒนาบุคลากร คือ การพัฒนาความรู ความสามารถในการเปนพนั กงานของทรู ความรูความสามารถเหลานี้เปน รากฐานที่สําคัญของการ พัฒนาบุคลากร สายงาน และเปนการเปดโอกาสใหพนักงานเกิดความกาวหนาในอาชีพ ศูนยฝกอบรม และพัฒนามีทางเลือกหลากหลายเพื่อการเรียนรูเพื่อการพัฒนาอยางตอเนื่อง ชวยใหพนักงานสามารถ ปฏิ บั ติ งานลุ ลวงตามที่ ได รับ มอบหมาย และเตรียมความพรอมให พ นั ก งานมุงสู เป าหมายในอาชี พ การงานของตน ซึ่งการพัฒนาบุคลากรนี้ในที่สุดก็จะสงผลถึงความแข็งแกรงของการดําเนินกิจการของ บริษัทนั่นเอง บทบาทอื่นๆ ที่สําคัญของศูนยฝกอบรมและพัฒนา นอกเหนือจากการเปนผูใหการฝกอบรม และพัฒนาพนักงานแลว ศูนยฝกอบรมและพัฒนายังเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง และเปนเพื่อนรวมธุรกิจ กับทุกหนวยงาน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาทําหนาที่ผูนําการเปลี่ยนแปลง โดยการเปนผูอํานวยความสะดวก ในการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะใหการสนับสนุนกลยุทธและทิศทางใหมๆ ของบริษัท พรอมทั้งสงเสริมให พนักงานทุกคนพรอมที่จะเผชิญกับความทาทายที่มีความสลับซับซอนมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาก็เปนเพื่อนรวมธุรกิจกับทุกหนวยงาน โดยการ รวมมือกับหนวยงานตางๆ ในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมและพัฒนาที่เหมาะสมกับ แผนธุรกิจของแตละหนวยงาน รวมทั้งใหการสนับสนุนที่จําเปนทุกอยาง หลั ก สู ต รที่ จั ด ฝ ก อบรมภายในบริษั ท มี ป ระมาณ 300 – 400 หลั ก สู ต รต อ ป ในป 2551 รวมจํ านวนคน-วั น อบรมได 35,561 Training Mandays ใช งบประมาณรวมทั้ งสิ้ น 37 ล านบาท โดย จัดใหมีหลักสูตรการฝกอบรมดานความรูความสามารถหลักใหแกพนักงานทุกระดับ เชน วัฒนธรรม องคกร 4Cs การสื่อสารอยางมีประสิทธิผล การวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน การพัฒนา ตนเองสูความเปน ผูมีประสิทธิผลสูง เป น ตน หลักสูตรการพั ฒ นาผูบริห าร เชน ทักษะการเป น ผูนํ า การแกปญหาและการตัดสินใจ การบริหารการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิผล เปนตน หลักสูตรการ ฝกอบรมดานความรูความสามารถตามธุรกิจหลัก และเทคโนโลยีใหมๆ เชน 3G Technology, GPRS & EDGE, Broadband Network, NGN Network, VOIP Technology รวมทั้งหลักสูตรความปลอดภัยในการ ทํางานสําหรับชางเทคนิคและวิศวกร หลักสูตรพัฒนาทักษะดานการขายและการใหบริการลูกคาสําหรับ พนั ก งานขาย เจ า หน า ที่ บ ริ ก ารลู ก ค า และที ม งานช า งเทคนิ ค ต า งๆ เช น True Product & Services ทักษะการใหบริการอยางมืออาชีพ บุคลิกภาพในงานบริการ เปนตน

สวนที่ 2

TRUETL: การจัดการ

9

-

32


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10. การควบคุมภายใน จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษัท รวมกับ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม และ ผูสอบบัญชีของบริษัท มิไดพบสถานการณใดๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทที่เปนจุดออน ที่มีสาระสําคัญอันอาจมีผลกระทบที่เปนสาระสําคัญตองบการเงิน นอกจากนี้ คณะกรรมการไดเนนใหมี การพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการเพื่อใหระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง

สวนที่ 2

TRUETM: การควบคุมภายใน

10

-

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11. รายการระหวางกัน ก. ในระหวางป พ.ศ. 2551 บริษัทมีรายการคาระหวางกันกับ บริษัทยอย บริษัทรวม กิจการรวมคาและบริษัทที่เกีย่ วของกัน ตามที่ไดมีการเปดเผยไวในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (หมายเหตุขอ 13) โดยรายการระหวางกันของบริษัทและบริษทั ยอยที่มีกับบริษัทรวมและบริษัทที่ เกี่ยวของกันทีส่ ําคัญ สามารถสรุปไดดังนี:้ ชื่อบริษัท 1. ผูทํารายการ : บริษัท 1.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท

ขาย : - ขายอุปกรณเชื่อมโยงสัญญาณภายใน สํานักงาน - ใหบริการในการรับแลกเหรียญและ บริการอื่น ซื้อ : - จายคาคอมมิชชั่นจากโทรศัพท สาธารณะ - จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการ อื่นที่เกี่ยวของ

- จายคาพัฒนาระบบจัดซื้อและบริการ อื่น

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

918 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 5,684 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 1,287 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติในอัตรารอยละ 5 - 10 ของจํานวนเงิน ตามบัตร 22,287 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไป โดยมีอัตราคาเชาอยูในอัตราระหวาง 200 - 220 บาทตอตาราง เมตรตอเดือน และอัตราคาบริการอยูระหวาง 220 - 520 บาทตอ ตารางเมตรตอเดือน ซึ่งสัญญาเชาอาคารสํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 12,000 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

11

-

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

1.1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท

ลักษณะรายการ ซื้อ : - จายคาบริการอื่น - ซื้ออุปกรณสื่อสาร

1.2

1.3

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

NEC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม ขาย : อยูรอยละ 9.62 และมีความสัมพันธกัน - ใหบริการเชิงวิศวกรรมและการ โดยมีกรรมการรวมกัน คือ บริหารเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพ นายชัชวาล เจียรวนนท ในการใหบริการวงจรเชา ซื้อ : - จายคาซอมบํารุงรักษาโครงขาย TIDC เปนบริษัททีบ่ ริษัทถือหุนโดยออม ขาย : อยูรอยละ 70.00 มีความสัมพันธกัน - ขายสินคาและบริการที่เกี่ยวของกับ โดยมีกรรมการรวมกัน คือ โทรศัพทพื้นฐาน นายชัชวาลย เจียรวนนท ซื้อ : - จายคาบริการเชาเซิฟเวอรอินเตอรเน็ต

- จายคาบริการอื่น

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

43,886 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 30,878 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 121 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป สุทธิจากสวนลด 101 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 269 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 2,918 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาที่ราคา 810,536.60 บาท ตอเดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 5,364 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

11

-

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 1.4

1.5

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด (KSC)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 65.00

ซื้อ : - สวนลดคาบริการ

KSC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 37.80

ซื้อ : - สวนลดคาบริการ

2. ผูทํารายการ : กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (BITCO) (บริษัทถือหุนโดยตรงและโดยออมรวมรอยละ 77.21) 2.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัท และ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ - ขายโทรศัพทมือถือและอุปกรณ ลงทุนในกิจการที่ใหบริการระบบ ที่เกี่ยวของ เซลลูลาร ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู - ขายบัตรเติมเงิน รอยละ 74.28 และโดยออมอยู รอยละ 2.93 ซื้อ : - จายคาเชาสํานักงานและบริการ ที่เกี่ยวของ - คาคอมมิชชั่นจากการขายบัตรเติมเงิน และอื่นๆ - ซื้อโทรศัพท

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

3,407 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 6,862 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

10,650 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ BITCO ใหบริการลูกคาทั่วไป 3,830,129 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ BITCO ใหบริการลูกคาทั่วไป 29,848 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาที่ราคา 816,998 บาทตอ เดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 214,407 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 181,843 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

11

-

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 2.2

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

TIDC เปนบริษัททีบ่ ริษัทถือหุนโดยออม อยูรอยละ 70.00 และ BITCO เปน กลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ให บริการระบบเซลลูลาร ที่บริษัทถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 74.28 และโดยออม อยูรอยละ 2.93 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย 2.3 บริษัท บีบอยด ซีจี จํากัด (Bboyd) Bboyd เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 70.00 และ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ลงทุนในกิจการที่ ใหบริการระบบเซลลูลาร ที่บริษัท ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 74.28 และ โดยออมอยูรอยละ 2.93 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท 3. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 91.08) 3.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) TM และ AI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุน โดยออมอยูรอยละ 91.08 และ 65.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายธัช บุษฎีกานต และ นายนนท อิงคุทานนท

สวนที่ 2

ลักษณะรายการ ขาย : - ใหบริการอื่นๆ

ซื้อ : - Content

ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

3,801 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

2,576 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

6,005 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

11

-

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

3.2

3.3

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด (KSC)

TM และ KSC เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08 และ 37.80 ตามลําดับ มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายนนท อิงคุทานนท กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัท และ TM เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08

กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

ลักษณะรายการ ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง

ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซื้อ : - จายคาบริการอื่น

3.4

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

TM และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08 และ 70.00 ตามลําดับ

ขาย : - ใหบริการอินเตอรเน็ต ซื้อ : - จายคาสวนแบงรายได

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

10,684 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

38,659 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 6 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 1,082 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 1,253 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

11

-

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

4. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) 4.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัท และ TI เปนบริษัทที่บริษัท - ใหบริการอินเตอรเน็ต ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 ซื้อ : - จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการ อื่น

4.2

4.3

บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด (KSC)

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

สวนที่ 2

TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู ขาย : รอยละ 99.99 และ KSC เปนบริษัทที่ - ใหบริการอินเตอรเน็ต บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 37.80 ซื้อ : - จายคาเชาโครงขาย TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู ซื้อ : รอยละ 99.99 และ AI เปนบริษัทที่ - จายคา Corporate internet services บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายนพปฏล เดชอุดม

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

6,196 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป 18,960 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 149,688 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญาเชา อาคารสํานักงานมีอายุปตอป และมีสทิ ธิจะตออายุสัญญาเชา

3,658 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป 12,287 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 250,954 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

11

-

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 4.4

4.5

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

TI เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู ขาย : รอยละ 99.99 และ TIDC เปนบริษัทที่ - ใหบริการอินเตอรเน็ต บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00 ซื้อ : - จายคาสวนแบงรายได

TI และ NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัท ขาย : ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 และ - ใหบริการอินเตอรเน็ต รอยละ 40.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธ กัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ ซื้อ : นายศุภชัย เจียรวนนท และ - จายคาโฆษณา นายนพปฏล เดชอุดม 5. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) 5.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัท และ TP เปนบริษัทที่บริษัท - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

4,749 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป 18,401 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

บริษัท เอ็น ซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

1,915 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป 2,000 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

9,383 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่ง สัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 1,925 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

11

-

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 5.2

5.3

บริษัท เอ็น ซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทมี สวนไดเสียอยูรอยละ 40.00 และ TP เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู รอยละ 99.99

TP และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 และ 70.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท 6. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ลิซซิ่ง จํากัด (TLS) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ (CPG) บริษัท และ TLS เปนบริษัทที่บริษัท ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99

ลักษณะรายการ ขาย : - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น

ขาย : - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น

ขาย : - ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่น

7. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด (TDE) (บริษัทถือหุนโดยตรงและโดยออมรวมรอยละ 99.99) 7.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัท และ TDE เปนบริษัทที่บริษัท - จายคาเชาสํานักงานและบริการอื่น ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 57.38 และ โดยออมอยูรอยละ 42.61 - จายคาติดตั้งอุปกรณ

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

5,484 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา 4,991 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการ สํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

307,715 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดในระยะ เวลาตางกัน

7,936 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 19,061 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

11

-

8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 7.2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

TIDC เปนบริษัททีบ่ ริษัทถือหุนโดยออม ซื้อ : อยูรอยละ 70.00 และ TDE เปนบริษัทที่ - จายคาเชาเซิฟเวอรอินเตอรเน็ต บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 57.38 และโดยออมอยูรอยละ 42.61 8. ผูทํารายการ : บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) 8.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัท และ AWC เปนบริษัทที่บริษัท - จายคาบริการอื่น ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 - จายเงินซื้อโทรศัพท 8.2

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

NEC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออม ซื้อ : อยูรอยละ 9.62 และ AWC เปนบริษัทที่ - จายคาซอมบํารุงรักษาโครงขาย บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 9. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 70.00) บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE) NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทมี ขาย : สวนไดเสียอยูรอยละ 40.00 และ TIDC - ใหบริการเชาเซิฟเวอรอินเตอรเน็ต เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยู และบริการอื่น รอยละ 70.00 10. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด (TLR) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัท และ TLR เปนบริษัทที่บริษัท - ซื้อสินคา ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

7,819 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

861 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 37,958 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ 7,792 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

4,060 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญา โดยมีอัตรา 54,000 บาทตอหนวยตอเดือน สัญญาเชามีอายุ 1 ป

10,006 - เปนการดําเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ไดตกลงกันตามราคา ตลาดทั่วไป

11

-

9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

11. ผูทํารายการ : กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) (True Visions) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 91.79) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัท และ True Visions เปนบริษัทที่ - ไดรับเงินสนับสนุนรวมกิจกรรม บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.79 ซื้อ : - จายคาบริการอื่น 12. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ทัช จํากัด (TT) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัท และ บริษัทถือหุน TT โดยออม - จายคาเชาสํานักงานและบริการอื่น อยูรอยละ 99.99 13. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด (TMN) (บริษัทถือหุนโดยตรง และโดยออมรอยละ 99.99) 13.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัท และ TMN เปนบริษัทที่บริษัท - จายคาคอมมิชชั่นจากการขายบัตร ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 49.00 และ เติมเงิน โดยออมอยูรอยละ 51.00 13.2 บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE) NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทมี ขาย : สวนไดเสียอยูรอยละ 40.00 และ TMN - ใหบริการตัวแทนชําระคาบริการ เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 49.00 และโดยออมอยูรอยละ 51.00 มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายนพปฏล เดชอุดม

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

66,262 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ True Visions ใหบริการลูกคา ทั่วไป 12,529 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

17,785 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

203,940 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

6,527 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TMN ใหบริการลูกคาทั่วไป

11

-

10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 13.3

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา

TIDC เปนบริษัททีบ่ ริษัทถือหุนโดยออม ซื้อ :

เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

อยูรอยละ 70.00 และ TMN เปนบริษัท

- จายคาบริการอินเตอรเน็ต

ป 2551

ความสมเหตุสมผล

(พันบาท)

และความจําเปนของรายการระหวางกัน

1,169 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

ที่บริษัทถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 49.00 และโดยออมอยูรอยละ 51.00 14. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต เกตเวย จํากัด (TIG) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) 14.1

บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล

TIG เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยตรง

ขาย :

อินเตอรเนต จํากัด (KSC)

อยูรอยละ 99.99 และ KSC เปนบริษัท

- ใหบริการเชื่อมตอสัญญาณ

ที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 37.80 14.2

อินเตอรเน็ตระหวางประเทศ

กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ

ซื้อ :

(CPG)

บริษัท และ บริษัทถือหุน TIG โดยตรง

- จายคาเชาอาคารและบริการอื่น

16,029 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TIG ใหบริการลูกคาทั่วไป 1,322 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

อยูรอยละ 99.99 15. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (TPC) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 99.94) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ

ซื้อ :

(CPG)

บริษัท และ บริษัทถือหุน TPC โดยตรง

- จายคาบริการอื่นๆ

12,127 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

อยูรอยละ 99.94 16. ผูทํารายการ : บริษัท ไวรเออร แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) (บริษัทถือหุนโดยตรงรอยละ 87.50) 16.1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา

TIDC เปนบริษัททีบ่ ริษัทถือหุนโดยออม ขาย :

เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

อยูรอยละ 70.00 และ บริษัทถือหุน WW - ใหบริการติดตั้งอุปกรณ

24,040 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติตามราคาที่ WW ใหบริการลูกคาทั่วไป

โดยตรงอยูรอยละ 87.50 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท และ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

11

-

11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 16.2

กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

สวนที่ 2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : บริษัท และ บริษัทถือหุน WW โดยตรง - จายคาบริการอื่นๆ อยูรอยละ 87.50

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2551 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

2,042 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เปนทางการคาปกติ

11

-

12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ข. ยอดคางชําระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ มีดังนี้ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด บริษัท บีบอยด ซีจี จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ รวม

31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 28,553 6,376 59,600 16,102 20 995,243 1,105,894

หนวย : พันบาท เพิ่มขึ้น 31 ธันวาคม (ลดลง) พ.ศ. 2551 (704) 27,849 14,199 20,575 2,916 62,516 11 11 (10,732) 5,370 80 100 (432,909) 562,334 (427,139) 678,755

ค. ยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ มีดังนี้ บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเน็ต จํากัด บริษัท บีบอยด ซีจี จำกัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด รวม

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 48,307 9,778 7,969 3,210 3,397 69,046 4 141,711

หนวย : พันบาท เพิ่มขึ้น 31 ธันวาคม (ลดลง) พ.ศ. 2551 4,558 52,865 1,778 11,556 3,628 11,597 (2,835) 375 4,255 7,652 4,350 4,350 (37,925) 31,121 2,223 2,227 (19,968) 121,743

11 - 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ง. ยอดคงเหลือเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกีย่ วของกัน การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกีย่ วของกัน มีดังนี้ บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด (KSC) บริษัท บีบอยด ซีจี จํากัด รวม

31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 25,880 3,000 28,880

หนวย : พันบาท เพิ่มขึ้น 31 ธันวาคม (ลดลง) พ.ศ. 2551 25,880 3,000 6,000 3,000 31,880

KSC เปนบริษัทที่บริษัทถือหุนโดยออมอยูรอยละ 37.80 จ. ยอดคงเหลือเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน มีดังนี้ หนวย : พันบาท บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท Kreditanstalt für Wiederaufbau (KfW)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 4,597,775

เพิ่มขึ้น 31 ธันวาคม (ลดลง) พ.ศ. 2551 (1,012,635) 3,585,140

KfW เปนผูถือหุนบุริมสิทธิรายเดียวของบริษัทซึ่งมีสัดสวนการถือหุนรอยละ 15.53 (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551) เงิ น กู ยื ม ข า งต น เป น เงิ น กู ยื ม จาก Kreditanstalt für Wiederaufbau เงิ น กู ยื ม ดั ง กล า วมี สิ ท ธิ เทาเทียมกับเจาหนี้ที่มีห ลักประกัน รายอื่น และมี ดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ ยเงิน กูยืมระหวางธนาคารของ สหราชอาณาจักรอังกฤษ (“LIBOR”) บวกอัตรารอยละคงที่ตอป เงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยสินทรัพยตางๆ ซึ่งกําหนดชําระคืนเงินกูยืมงวดแรกในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 และงวดสุดทายกําหนดชําระคืนในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ดอกเบี้ยจายสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เปนจํานวนเงิน 216.45 ลานบาท ฉ. ภาระผูกพันระหวางบริษัทกับบริษัทยอย บริษัทมีภาระผูกพันในการใหการสนับสนุนแกบริษัทยอย คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“ทรูมูฟ”) ตามสัญญาเงินกูที่ทรูมูฟทํากับกลุมเจาหนี้ ดังนี้ 1. ใหการสนับสนุ นการชําระเงินใหแกหน วยงานของรัฐอันเนื่องมาจากสัญญาอนุญ าตให ดําเนินการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในกรณี ที่ กระแสเงิ นสดของทรู มู ฟไม เพี ยงพอสํ าหรับการดํ าเนิ นงานอั นเนื่ องมาจากการ ที่ ต องชํ าระเงิน ให แ กคู สั ญ ญาผูให อนุ ญ าต บริ ษั ท จะให ก ารสนั บ สนุ น ทางการเงิน เป น รายไตรมาส สําหรับจํานวนเงินสวนที่ไมเพียงพออันเกิดจากการที่ตองชําระใหแกคูสัญญาอนุญาตใหดําเนินการโทรศัพท เคลื่อนที่ สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

11 - 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ใหการสนับสนุนสําหรับการดําเนินงานโดยทั่วไป ในกรณีที่กระแสเงินสดของทรูมูฟไมเพียงพอที่จะนํามาใชในการดําเนินงานหรือชําระหนี้ ภายใตสัญญาที่มีกับกลุมเจาหนี้ บริษัทจะใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ ไมเกิน 7,000 ลานบาท ภายใตเงื่อนไขของสัญญา บริษัทและผูมีสวนเกี่ยวของตองปฏิบัติตามที่ระบุไวในสัญญา ดังกลาว การใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ จะตองเปนไปตามรูปแบบตามที่ไดระบุไวในสัญญา มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน บริษั ทมี มาตรการและขั้น ตอนในการอนุ มัติก ารทํ ารายการระหวางกัน ตามที่ กฎหมาย และ ขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนรวมทั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดกําหนดไว โดย บริษัทไดนํากฎหมายและขอกําหนดดังกลาวมาจัดทําเปน “ระเบียบในการเขาทํารายการระหวางกัน” ไว อยางชัดเจน เพื่อใหกรรมการและพนักงานไดยึดถือและปฏิบัติอยางถูกตอง ภายใตระเบียบการเขาทํารายการ ระหวางกันของบริษัท ไดกําหนดมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการเขาทํารายการระหวางกันไวดังนี้ 1. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ฝายจัดการสามารถอนุมัติการเขาทํารายการได โดยไมตอง ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท ภายใตวัตถุประสงค ของมาตรา 89/12 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 1.1 รายการที่เปนขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป “ขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป” หมายถึง ขอตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับที่ วิญูชนจะพึงกระทํากับคูสัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกัน ดวยอํานาจตอรอง ทางการคาที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ ตนมีสถานะเปนกรรมการ ผูบริห าร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของ แลวแตกรณี ซึ่ งรวมถึงขอตกลงทางการคาที่มีราคาและ เงื่อนไข หรือ อัตรากําไรขั้นตน ดังตอไปนี้ (ก) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอยไดรับหรือใหกับบุคคลทั่วไป (ข) ราคาและเงื่อนไขที่ กรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของใหกับ บุคคลทั่วไป (ค) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอย สามารถแสดงไดวาผูประกอบ ธุรกิจในลักษณะทํานองเดียวกันใหกับบุคคลทั่วไป (ง) ในกรณีที่ไมสามารถเปรียบเทียบราคาของสินคาหรือบริการได เนื่องจากสินคา หรือบริการที่เกี่ยวของนั้นมีลักษณะเฉพาะ หรือมีการสั่งทําตามความตองการ โดยเฉพาะ แตบริษัทฯ หรือบริษัทยอยสามารถแสดงไดวาอัตรากําไรขั้นตนที่ บริษัทฯ หรือบริษัทยอยไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับคูคา อื่น หรืออัตรากําไรขั้นตนที่กรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของ ไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับคูคาอื่น และมีเงื่อนไข หรือขอตกลงอื่นๆ ไมแตกตางกัน สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

11 - 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.2 การใหกูยืมเงินตามระเบียบสงเคราะหพนักงานและลูกจาง 1.3 รายการที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งของบริษัทฯ หรือ คูสัญญาทั้งสองฝายมีสถานะเปน (ก) บริษัทยอยที่บริษัทฯ เปนผูถือหุนไมนอยกวารอยละเกาสิบของหุนที่จําหนาย ไดแลวทั้งหมดของบริษัทยอย หรือ (ข) บริษั ท ยอ ยที่ ก รรมการ ผู บ ริห าร หรือ บุ ค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งถื อ หุ น หรือ มีสวนไดเสียอยูดวย ไมวาโดยตรงหรือโดยออม ไมเกินจํานวน อัตรา หรือมี ลักษณะตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด 1.4 รายการในประเภทหรือที่มีมูลคาไม เกิน จํานวนหรืออัตราที่คณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนประกาศกําหนด 2. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ไมตองขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ แตตอง ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ 2.1 รายการตามขอ 1 ซึ่งตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ภายใตระเบียบวิธี ปฏิบัติภายในอื่นที่เกี่ยวของ เชน ระเบียบวิธีปฏิบัติดานงบประมาณ เปนตน 2.2 รายการตามขอ 1.3 (ข) หรือ 1.4 ที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน อาจกําหนดใหตอง ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ดวย ตามที่จะไดมีการประกาศกําหนดตอไป 3. รายการระหวางกันที่นอกเหนือจากขอ 1 และ 2 ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษทั ฯ และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ กอนการเขาทํารายการ นอกจากนี้ บริษัทยังตองปฏิบัติตามเงื่อนไขขอกําหนดของ Shareholders Agreement ฉบับวันที่ 22 ธันวาคม 2542 ที่ไดลงนามรวมกับ KfW ซึ่งกําหนดใหบริษัทเปดเผยผลประโยชนสวนไดสวนเสียตางๆ ที่ผูถือหุนรายใหญหรือบริษัทในเครืออาจมีในสัญญาตางๆ ที่บริษัทเขาเปนคูสัญญา ตลอดจนการมีผลประโยชน ขัดกันอีกดวย นโยบายและแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต สําหรับแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคตนั้น อาจจะยังคงมีอยูในสวนที่เปนการ ดําเนินธุรกิจตามปกติระหวางบริษัทกับบริษัทยอยของบริษัท ซึ่งบริษัทจะดําเนินการดวยความโปรงใสตาม นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทและปฏิบัติตามขอกําหนดที่เกี่ยวของอยางเครงครัด

สวนที่ 2

TRUETN: รายการระหวางกัน

11 - 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 รายงานการสอบบัญชี ผูสอบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริษัท สําหรับตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินของบริษัทในระยะ 3 ป ที่ผานมา มีดังนี้ งบการเงินประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548

บริษัทผูตรวจสอบ บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส

ชื่อผูสอบบัญชี นางณฐพร พันธุอุดม นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล

เลขประจําตัว ผูสอบบัญชี รับอนุญาต 3430 3445 3445

รายงานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีในระยะ 3 ปที่ผานมา (2548-2550) ผูสอบบัญชีไดใหความเห็น ในรายงานการตรวจสอบงบการเงินของบริษัทถูกตองแบบไมมีเงื่อนไข

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.2 ตารางสรุปงบการเงินรวม บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551, พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2549

Common Size (%)

Common Size (%)

4,356,596 1,400,795 796,296 7,991,746 31,880 898,423 2,057,650 780,049 2,019,192 20,332,627

3.73 1.20 0.68 6.84 0.03 0.77 1.76 0.67 1.73 17.39

5,019,383 1,297,073 419,758 12,684,710 28,880 893,067 2,218,067 673,065 2,027,019 25,261,022

4.02 1.04 0.34 10.13 0.02 0.71 1.77 0.54 1.62 20.17

157,013

0.13

148,049

0.12

53,516 292,923 56,654 71,380,078 12,380,696 3,556,630 8,175,174 565,575 96,618,259

0.05 0.25 0.05 61.03 10.59 3.04 6.99 0.48 82.61

18,020 229,884 56,654 74,683,154 12,380,696 3,534,202 8,460,543 487,182 99,998,384

0.01 0.18 0.05 59.62 9.88 2.83 6.75 0.39 79.83

15,669 166,845 57,674 78,254,383 13,106,960 2,993,184 9,172,041 437,876 104,204,632

0.01 0.13 0.05 63.87 10.70 2.44 7.49 0.35 85.05

116,950,886

100.00

125,259,406

100.00

122,508,893

100.00

2,130,000 7,771,589

1.82 6.64

1,451,400 12,978,086

1.16 10.37

776,461 11,774,864

0.63 9.61

9,870,756 2,669,560 7,658,768 506,911 2,657,224 33,264,808

8.44 2.28 6.55 0.43 2.27 28.44

5,554,549 2,613,731 6,893,839 589,291 2,864,828 32,945,724

4.43 2.09 5.50 0.47 2.29 26.30

8,837,648 2,767,084 5,727,805 474,981 1,893,775 32,252,618

7.21 2.26 4.68 0.39 1.55 26.33

70,645,861 1,001,052 359,772 2,503,905 2,555,426 77,066,016 110,330,824

60.41 0.86 0.31 2.14 2.19 65.90 94.34

76,230,963 1,103,399 89,539 2,834,957 2,004,073 82,262,931 115,208,655

60.86 0.88 0.07 2.26 1.60 65.68 91.98

80,107,905 1,389,710 184,400 1,216,251 82,898,266 115,150,884

65.39 1.13 0.15 0.99 67.66 93.99

31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา – สุทธิ เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ - สุทธิ ภาษีหัก ณ ที่จาย ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินลงทุน - เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม - เงินลงทุนระยะยาวอื่น - อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ คาความนิยม - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น เจาหนี้การคา สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของ เงินกูยืมระยะยาว รายไดรับลวงหนา คาใชจายคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี เจาหนี้การคาระยะยาว หนี้สินภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุน หุนสามัญ สวนต่ํากวามูลคาหุน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ สวนเกินทุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยเผื่อขาย กําไร(ขาดทุน)สะสม สํารองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม รวมสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนของผูถือหุนสวนนอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

สวนที่ 2

(หนวย : พันบาท) (ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม Common พ.ศ. 2549 Size (%)

(ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550

6,993,340 146,338,731

6,993,358 40,521,836

3,923,739 2,212,303 314,628 6,561,502 37,880 1,046,715 1,447,066 672,565 2,087,863 18,304,261 -

3.20 1.81 0.26 5.36 0.03 0.85 1.18 0.55 1.71 14.95 -

6,993,668 40,141,056

6,993,340 38,038,452

5.98 32.52

6,993,358 38,038,434

5.58 30.35

6,993,668 38,021,609

5.71 31.05

11,432,046

9.77

11,432,046

9.12

11,432,046

9.34

(1,492,776) (3,988,926) 1,604,322 104,344

(1.28) (3.41) 1.37 0.09

(1,492,781) (3,988,922) 1,825,582 104,344

(1.19) (3.18) 1.46 0.08

(1,492,847) (3,980,591) 104,344

(1.23) (3.25) 0.09

34,881 (47,270,916) 5,454,767 1,165,295 6,620,062 116,950,886

0.03 (40.42) 4.65 1.00 5.66 100.00

34,881 (44,915,725) 8,031,217 2,019,534 10,050,751 125,259,406

0.03 (35.84) 6.41 1.61 8.02 100.00

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

(415) 34,881 (44,286,951) 6,825,744 532,265 7,358,009 122,508,893

0.03 (36.16) 5.58 0.43 6.01 100.00

12- 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปส้นิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551, พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2549 (หนวย : พันบาท) (ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม Common พ.ศ. 2549 Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Common Size (%)

(ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550

รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น รายไดจากการขายสินคา รวมรายได

60,094,289 1,171,055 61,265,344

98.09 1.91 100.00

60,474,069 1,167,054 61,641,123

98.11 1.89 100.00

50,538,298 1,416,518 51,954,816

97.27 2.73 100.00

คาใชจาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขาย รวมคาใชจาย

41,229,181 1,217,269 42,446,450

67.30 1.99 69.29

39,734,337 1,055,547 40,789,884

64.46 1.71 66.17

36,884,032 1,344,711 38,228,743

70.99 2.59 73.58

กําไรขั้นตน คาใชจายในการขายและบริหาร กําไร(ขาดทุน)จากการขายและการใหบริการ รายไดอื่น คาใชจายอื่น กําไรจากการดําเนินงาน สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคาและบริษัทรวม กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ตนทุนทางการเงิน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได (คาใชจาย)รายไดภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับป

18,818,894 11,477,432 7,341,462 625,785 (436,484) 7,530,763 (10,204) 7,520,559 (9,927,801) (2,407,242) (977,932) (3,385,174)

30.71 18.73 11.98 1.02 (0.71) 12.29 (0.02) 12.27 (16.20) (3.93) (1.60) (5.53)

20,851,239 12,761,543 8,089,696 369,698 (451,504) 8,007,890 (14,549) 7,993,341 (5,395,755) 2,597,586 (1,039,261) 1,558,325

33.83 20.70 13.13 0.60 (0.73) 13.00 (0.02) 12.98 (8.75) 12.98 (1.69) 11.29

13,726,073 13,840,769 (114,696) 694,815 (409,553) 170,566 (25,562) 145,004 171,497 (6,306,216) 1,903,007 (4,086,708) 191,983 (3,894,725)

26.42 26.64 (0.22) 1.34 (0.79) 0.33 (0.05) 0.28 0.33 (12.14) 3.66 (7.87) 0.37 (7.50)

(2,355,191) (1,029,983) (3,385,174)

69.57 30.43 100.00

1,158,106 400,219 1,558,325

(4,028,329) 133,604 (3,894,725)

103.43 (3.43) 100.00

การปนสวนกําไร(ขาดทุน) สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐานและลดลงเต็มที่สวนที่เปนของบริษัทใหญ กําไร(ขาดทุน)ขั้นพื้นฐาน

สวนที่ 2

(0.66)

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

0.12

Common Size (%)

74.32 25.68 100.00

(1.32)

12- 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551, พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2549

31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)สุทธิ รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและการตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได (กําไร)ขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ หนี้สงสัยจะสูญ การดอยคาของสินทรัพย กําไรจากการสิ้นสุดของสัญญาเชาการเงิน กําไรจากการขายหลักทรัพยเผื่อขาย สินทรัพยและหนี้สินในการดําเนินงานอื่นตัดจําหนาย ขาดทุน(กําไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ขาดทุน(กําไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวกับการจายชําระเงินกูยืม สวนไดเสียใน(กําไร)ขาดทุนของบริษัทรวม การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน - ลูกหนี้การคา - เงินลงทุนชั่วคราว - สินคาคงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - เจาหนี้การคา - คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น - หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน บวก เงินสดรับ - ดอกเบี้ยรับ หัก เงินสดจาย - ดอกเบี้ยจาย เงินสดจาย - ภาษีเงินได เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

(ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550

(หนวย : พันบาท) (ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549

(3,385,174)

1,558,325

(3,894,725)

12,816,488 (120,224) 6,921,463 977,932 (118,649) 894,446 114,194 27,315 2,889,284 3,663 10,204

13,136,601 (87,333) 7,160,798 1,039,261 (107,830) 788,453 12,000 (801) 10,256 (2,148,459) (3,393) 14,549

18,209,171 6,306,217 (191,983) (149,642) 591,538 19,223 (235,614) 1,458 (1,852,769) 25,562

3,798,546 71,853 (1,621,793) (319,428) (35,940) (3,062,937) (253,440) 398,701 20,006,504 131,283 (6,358,064) (1,886,194) 11,893,529

(6,949,872) (149,722) (853,151) (1,286,410) (49,117) 4,598,181 508,344 931,776 18,122,456 92,497 (6,478,466) (1,372,829) 10,363,658

(161,360) 50,479 (128,443) (145,669) (22,949) 1,137,657 768,783 101,951 20,428,885 (6,253,827) (1,008,364) 13,166,694

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดที่มีภาระผูกพันลดลง(เพิ่มขึ้น) เงินสดรับ(จาย)จากเงินลงทุนชั่วคราว เงินใหกูยืมแกบริษัทยอยและกิจการรวมคา เงินสดจายเพื่อซื้อบริษัทยอยและกิจการรวมคา - สุทธิจากเงินสด ของบริษัทยอยและกิจการรวมคา เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากเงินใหกูยืมแกบริษัทยอยและกิจการรวมคา เงินสดจายซื้ออสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เงินสดรับจากการขายหลักทรัพยเผื่อขาย เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากการขายอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เงินสดสุทธิ(ใชไป)ไดมาจากกิจกรรมลงทุน

(114,992) (448,391) (6,000)

768,201 43,895 (3,000)

6,928,977 (205,837) (12,000)

(45,700) (63,039) (6,779,363) (503,244) 3,000 454,400 (7,503,329)

(325) (151,839) (63,039) (7,055,039) (262,829) 12,000 1,846 392,606 6,750 (6,310,773)

(6,632,376) (72,163) (9,689,058) (1,255,052) (3,800) 520,422 (10,420,887)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากการออกหุนสามัญ เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยโดยผูถือหุนสวนนอย เงินปนผลจายใหผูถือหุนสวนนอย สวนของผูถือหุนสวนนอยจากการเลิกกิจการของบริษัทยอย เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากเงินกูยืม - สุทธิจากเงินสดจายคาตนทุนการกูยืม เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดจายชําระเจาหนี้การคาระยะยาว เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืม เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด(ลดลง)เพิ่มขึ้นสุทธิ ยอดยกมาตนป ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ยอดคงเหลือสิ้นป

39 (43,504) (2,050) 3,140,000 43,708 (2,461,400) (5,732,164) (5,055,371) (665,171) 5,019,383 79 4,354,291

8,250 3,000,014 3,651,400 30,512,469 (2,977,561) (37,144,498) (2,949,926) 1,102,959 3,923,739 (7,395) 5,019,303

3,359,296 2,686,832 27,646,006 (15,292,034) (143,624) (25,304,849) (7,048,373) (4,302,566) 8,274,065 (47,760) 3,923,739

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.3 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12.4 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานโดยรวม ป 2551 เปนปที่มีความทาทายสําหรับองคกรธุรกิจตางๆ รวมทั้งกลุมทรูดวยเชนกัน การมีฐาน รายไดจากหลากหลายธุรกิจ ชวยลดความเสี่ยงในการดําเนินงาน จากการพึ่งพาธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งเพียงอยางเดียว โดยการเติบโตของรายไดจากธุรกิจออนไลนและโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกชวยชดเชยรายไดที่ลดลง ของทรูมู ฟ ทํ าให รายไดจากคาบริการโดยรวม (ไมนั บ รวมคาเชื่อมโยงโครงขาย) ปรับ ตัวดีขึ้น เล็ก น อย ในป 2551 และมีผลการดําเนินงานที่ถึงจุดคุมทุน (Breakeven) เปนปแรก โดยมีผลการดําเนินงานปกติ (Net Income from Ongoing Operation - NIOGO) ปรับตัวเปนกําไร จํานวน 62 ลานบาท เมื่อเทียบกับขาดทุนใน ป 2550 นอกจากนี้ยอดผูใชบริการในทุกธุรกิจหลักของกลุมทรูยังเพิ่มขึ้นตอเนื่อง ธุรกิจของกลุมทรูคือการผสมผสานผลิตภัณฑ บริการ และโครงขาย ภายใตยุทธศาตรคอนเวอรเจนซ เพื่อมอบประโยชนสูงสุดใหกับผูบริโภค ดวยการนําเสนอผลิตภัณฑและบริการสื่อสารโทรคมนาคมครบวงจร ซึ่งสามารถตอบสนองทุกไลฟสไตลไดอยางตรงใจ จึงทําใหไมจําเปนตองพึ่งพากลยุทธดานราคาแตเพียง อยางเดียว นอกจากนี้ ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซยังทําใหทรูสามารถสรางความแตกตาง เพิ่มความสะดวก สบายใหกับทุกไลฟสไตลและเสริมสรางประสิทธิภาพในการทํางานใหกับผูใชบริการ ในป 2551 ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซมีความคืบหนาและใหผลลัพธเปนที่นาพอใจ สงผลใหมี ผูใชบริการผลิตภัณฑและบริการของกลุมทรูตั้งแต 2 รายการขึ้นไปเปนจํานวนถึง 1.9 ลานครัวเรือน โดย เพิ่มขึ้น รอยละ 22 จากปที่ผานมา การเติบโตอยางตอเนื่องของแพ็คเกจแบบคอนเวอรเจนซ ซึ่งผสมผสาน บริการบรอดแบนด โทรศัพทเคลื่อนที่ และโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกไปดวยกัน มีสวนสําคัญใน การเพิ่มยอดผูใชบริการในทุกกลุมธุรกิจ ในป 2551 กลุมทรูมีรายไดจากคาบริการโดยรวม (ไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย หรือ IC) เพิ่มขึ้น รอยละ 0.2 เปนจํานวนทั้งสิ้น 52 พันลานบาท ในขณะที่ EBITDA ลดลงรอยละ 6.5 เปน 18.5 พันลานบาท เนื่องจากทรูมูฟ มี EBITDA ที่ลดลง โดยมีสาเหตุสวนหนึ่งมาจากคา IC สุทธิที่เพิ่มขึ้น สงผลให อัตราการ ทํากําไร ณ ระดับ EBITDA (คิดจากรายไดที่ไมรวม IC) ลดลงเปนรอยละ 34.8 (จากรอยละ 37.3) กําไรสุทธิจากการดําเนินงานปกติ (NIOGO) ของกลุมทรูในปที่ผานมาปรับตัวดีขึ้น เปน 62 ลานบาท (จากขาดทุน 1.2 พันลานบาท ในป 2550) ซึ่งสวนหนึ่งเปน ผลจากคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายลดลง ทั้งนี้ทรูมีผลขาดทุนสุทธิจํานวนทั้งสิ้น 3.4 พันลานบาท รวมผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 2.6 พันลานบาท ซึ่ งส ว นใหญ เป น ผลขาดทุ น ทางบั ญ ชี ที่ ยั ง ไม เกิ ด ขึ้ น จริ ง จากการแปลงเงิน กู ต างประเทศเป น เงิน บาท ดวยอัตราแลกเปลี่ยน ณ สิ้นป (Mark to Market) กระแสเงิน สดสุ ทธิ จากรายจ ายลงทุ นปรั บตั วดี ขึ้ นอย างต อเนื่ อง โดยเพิ่ มขึ้ น 1.6 พั นล านบาท จากปกอนหนา เปน 4.6 พันลานบาท ในขณะที่รายจายลงทุนยังคงทรงตัวที่ 7.3 พันลานบาท สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูยังคงมุงมั่นลดภาระหนี้อยางตอเนื่อง ในป 2551 ทรูชําระคืนหนี้ระยะยาวจํานวน 4.6 พันลานบาท อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอ EBITDA เพิ่มขึ้นเล็กนอยจาก 3.5 เทาในป 2550 เปน 3.7 เทา เนื่องจากการลดลงของ EBITDA แตลดลงจาก 4.5 เทาในป 2549 ป 2551 ถือเปนปที่ทาทายสําหรับทรูมูฟ จากผลของการแขงขันและคา IC สุทธิที่เพิ่มสูงขึ้น ทําให ผลการดําเนิ นงานออนตัวลง ทั้งนี้รายไดจากบริการโดยรวม (ไมรวมคา IC) ในป 2551 ลดลงรอยละ 4.4 เปน 22.8 พันลานบาท โดยมีคา IC สุทธิเพิ่มขึ้น ซึ่งสงผลให EBITDA ลดลงรอยละ 24.8 เปน 5.7 พันลานบาท ทั้งนี้ ในป 2551 ทรูมูฟมีรายจาย IC สุทธิ 845 ลานบาท เมื่อเทียบกับ รายได IC สุทธิที่ 164 ลานบาท ในป 2550 อยางไรก็ตาม ผลการดําเนินงานในครึ่งปหลัง ปรับตัวดีขึ้น หลังผลการดําเนินการในครึ่งปแรก ไมเปนไปตามเปาหมาย ความสําเร็จจากโปรโมชั่นเนนการโทรศัพทในโครงขาย สามารถเพิ่มยอดผูใช และ ทําใหรายไดฟนตัว ในขณะเดียวกันก็มีสวนชวยลดผลกระทบจากคา IC ไดอีกดวย ทั้งนี้รายจาย IC สุทธิใน ไตรมาส 4 ลดลงเปน 128 ลานบาท เมื่อเทียบกับ 234 ลานบาท ในไตรมาส 3 ในขณะที่รายไดจากการให บริการของทรูมูฟ (ไมรวมรายได IC) ในไตรมาสที่ 4 เพิ่มขึ้นรอยละ 4.2 จากไตรมาส 3 ทั้งนี้บริษัทจะยัง คงใหความสําคัญกับการควบคุมคา IC อยางตอเนื่อง ทรูมูฟสามารถเพิ่มผูใชบริการรายใหมสุทธิจํานวน 2.7 ลานราย ในป 2551 และสงผลใหมียอด ผูใชบริการรวมทั้งสิ้น 14.8 ลานราย และสามารถครองสวนแบงตลาดผูใชบริการรายใหมสุทธิไดประมาณ รอยละ 30 ของตลาดโดยรวม รายไดจากบริการที่ไมใชเสียง (Non-voice) เติบโตตอเนื่อง เพิ่มขึ้นรอยละ 7.6 ในป 2551 เปน 2.7 พั น ลานบาท ทําให มีสัดสวนตอรายไดรวมจากการใหบริการ (ไมรวมคา IC) เท ากับรอยละ 11.8 ซึ่ ง เพิ่มขึ้นจากรอยละ 10.4 ในป 2550 ทั้งนี้ ปริมาณการใชงานเพิ่มมากขึ้นในชวงครึ่งหลังของป 2551 จากการ ไดคืนมาของลูกคาที่มีปริมาณการใชงานสูง ซึ่งทรูมูฟไดสูญเสียไปในครึ่งแรกของป รายไดจากการใหบริการของทรูออนไลน ในป 2551 เพิ่มขึ้นรอยละ 6.0 เปน 26 พันลานบาท จากการเติบโตของบริการบรอดแบนดและจากแหลงรายไดใหม อาทิ บริการโทรศัพททางไกลระหวาง ประเทศ (IDD) และบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ ในขณะที่ EBITDA เพิ่มขึ้นรอยละ 5.4 เปน 10.2 พันลานบาท จากเดิมที่เคยมีแนวโนมลดลง ทั้งนี้บริการบรอดแบนดมีรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 19 (เปน 5.0 พันลานบาท) โดยยอดผูใชบริการ เพิ่มขึ้น รอยละ 15 ทําใหมีจํานวนผูใชบริการรวม 632,461 ราย ในขณะที่บริการ Wi-Fi มีผูใชบริการเพิ่มขึ้น เปนประมาณ 109,000 ราย จาก 31,523 ราย ในปที่ผานมา

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูวิชั่นส มียอดผูใชบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 41 เปน 1.5 ลานรายในป 2551 เนื่องจากยุทธศาสตร การขยายตลาดสูลูกคาในระดับกลาง-ลางประสบความสําเร็จ สามารถเพิ่มยอดผูใชบริการแพ็คเกจสําหรับ ลูกคากลุมเปาหมายดังกลาวไดมากเปนประมาณ 2 เทา ในขณะที่อัตราการเปลี่ยนจากแพ็คเกจสําหรับลูกคา ในระดับกลาง-ลางมาใชแพ็คเกจราคาสูงกวาของทรูวิชั่นส เพิ่มขึ้นรอยละ 30 ยุทธศาสตรการขยายตลาดสูลูกคาในระดับกลาง-ลาง มีสวนในการเพิ่มยอดผูใชบริการจากกลุม ผูมีกําลังซื้อในตางจังหวัดไดมากยิ่งขึ้น และสงผลใหสัดสวนของผูใชบริการในตางจังหวัดมีจํานวนเพิ่มขึ้น เปนรอยละ 49 ของยอดผูใชบริการทั้งหมดของทรูวิชั่นส นอกจากนี้ จํานวนผูใชบริการแพ็คเกจมาตรฐาน และแพ็คเกจราคาสูงเพิ่มขึ้นรอยละ 26.8 เปน 799,837 ราย ในป 2551 รายไดจากการใหบริการของทรูวิชั่นส เพิ่มขึ้นรอยละ 6.4 เปน 9.4 พันลานบาทจาก การเติบโตของรายไดคาสมาชิกรายเดือน ในขณะที่ EBITDA เพิ่มขึ้นรอยละ 5.5 เปน 2.7 พันลานบาทจาก รายไดที่เติบโตเร็วกวาคาใชจาย ทรูมันนี่และทรูไลฟยังคงเปนบริการที่สนับสนุนและชวยเพิ่มมูลคาใหกับแพล็ตฟอรมตางๆ ของทรู ทรูมันนี่ ผูใหบริการดานอีคอมเมิรซของกลุมทรู มีผูใชบริการ E-wallet เพิ่มขึ้นรอยละ 50 เปน ทั้งสิ้ น 4.2 ลานราย ณ สิ้ น ป 2551 โดยเพิ่มขึ้น จาก 2.8 ลานราย ในป 2550 ทั้ งนี้เนื่ องจากผูใช บริการ เกม ออนไลน และ แพ็คเกจที่นําเสนอผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมไปดวยกัน เพิ่มขึ้น ทรูไลฟ มีความสําคัญ ในฐานะเปนผูใหบริการดานคอนเทนทของกลุมทรู โดยเกมออนไลนยัง คงเปน คอนเทนทที่สําคัญ ในขณะที่อีคอมเมิรซพอรทัล weloveshopping.com เติบโตตอเนื่อง โดยมีรานคา ออนไลนกวา 150,000 รานและสินคาบริการมากกวา 2 ลานรายการ พัฒนาการสําคัญทางการเงินของกลุมทรู ในป 2551 ประกอบดวย ผูถือหุนไดอนุมัติแผนการ ระดมทุนโดยการจัดสรรหุนสามัญใหม เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิม (Rights offering) จํานวน 10,000 ลานหุน ที่ราคา 1.95 บาท เพื่อเสริมสรางความแข็งแกรงทางการเงิน สนับสนุนการเติบโตในธุรกิจใหมๆ เชน 3G และเตรียมความพรอมสําหรับภาวะเศรษฐกิจที่กําลังชะลอตัว ทั้งนี้ ในการจัดสรรหุนสามัญใหม เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมในครั้งที่ 1 ซึ่งดําเนินการเสร็จสิ้นในเดือนกุมภาพันธ ป 2552 บริษัทสามารถ ขายหุนเพิ่มทุนไดทั้งสิ้น 3.27 พันลานหุน คิดเปนจํานวนเงินประมาณ 6.38 พันลานบาท ภายหลังการจัดสรร หุนดังกลาว สัดสวนการถือหุนของเครือเจริญโภคภัณฑเพิ่มขึ้น เปนรอยละ 58.2 ในขณะที่สัดสวนการถือ หุนของ KfW ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญเปนอันดับ 2 ลดลงเปนรอยละ 9.0 ในไตรมาส 4 ป 2551 ทรูไดลงทุนเพิ่มในทรูมูฟ จํานวน 1.1 พันลานบาท ผานการซื้อหุนเพิ่มทุน ในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) หรือ BITCO ทําใหทรูมีสัดสวนการถือหุนใน BITCO เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 77.2 (จากรอยละ 75.3 ในไตรมาส 3 ป 2551) สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมมีความคืบหนาตามลําดับ โดยในตนป 2552 ทรูมูฟไดลงนาม ในบันทึกขอตกลงรวมกับ กสท. เพื่อเชาใชโครงขายและอุปกรณ ที่ทรูมูฟไดสรางและโอนใหกับ กสท. เปนระยะเวลา 5 ป หลังสัญญาระหวางทรูมูฟ และ กสท. สิ้นสุดลงในป 2556 ซึ่งจะทําใหทรูมูฟสามารถ ดําเนินงานตอไปไดเทาเทียมผูใหบริการรายอื่น นอกเหนือจากนั้น ทรูมูฟยังไดรับอนุญาตจาก กสท. ใหใช คลื่ น ความถี่ 850 MHz เพื่ อทดลองให บ ริก ารโทรศัพ ท เคลื่ อนที่ ในระบบ 3G อี ก ด วย ซึ่ งจะทํ าให ท รูมู ฟ สามารถเตรียมความพรอมสําหรับการเปดใหบริการ 3G จริงในอนาคตอันใกล แผนงานสําหรับป 2552 ในป 2552 เป น อี ก ป ห นึ่ งที่ ธุ รกิ จ ต างๆ ต อ งปรับ ตัว และเตรีย มความพร อมในการรับ มื อ กั บ ภาพรวมเศรษฐกิจที่มีแนวโนมชะลอตัวลงอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ทรูยังมุงเนนใหความสําคัญในการลดคาใชจาย เพื่อรักษาระดับอัตราการทํากําไร (EBITDA margin) รวมทั้ง การขยายชองทางการจัดจําหนาย โดยเฉพาะ ชองทางการขายตรง เพื่อใหการขายมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ยังคงเนนการลดภาระหนี้และ เสริมสรางความแข็งแกรงทางการเงิน ตลอดจนยังคงพัฒนายุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ และบริการใหมๆ ที่ คาดว าจะเกิ ด ขึ้ น เช น 3G บริ ก ารคงสิ ท ธิ เลขหมายโทรศั พ ท เคลื่ อ นที่ (Mobile Number Portability หรื อ MNP) เพื่อตอบสนองทุกความตองการของลูกคา ทรูออนไลน จะใชยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซขยายตลาดบรอดแบนดสูตลาดผูมีรายไดสูงเพิ่มยิ่งขึ้น รวมทั้งพิจารณาการขยายการใหบริการสูตางจังหวัด และพรอมรับมือกับการแขงขันในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และยังคงพัฒนาบริการใหมๆ เชน บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ อยางตอเนื่อง เนื่องจากเปนธุรกิจที่สามารถสรางรายไดมากขึ้นในอนาคต ทรูมู ฟ ยังคงมี เป าหมายครองส วนแบ งตลาดในผูใชบริการรายใหม สุ ทธิราว 1 ใน 3 ของตลาด โดยรวม และ ลงทุ น ในบริ ก ารที่ มี อั ต ราการเติ บ โตสู ง ซึ่ งรวมบริ ก ารที่ ไม ใช เสี ยง (Non-voice) และ 3G นอกจากนี้ยังใหความสําคัญกับการเพิ่มจํานวนผูใชบริการแบบรายเดือนและขยายฐานลูกคาธุรกิจ ซึ่งทรูมูฟ ยังคงมีสวนแบงตลาดไมสูงนัก ทรูวิชั่นสจะเนนขยายตลาดสูลูกคาในระดับกลาง-ลางอยางตอเนื่อง และขยายฐานลูกคารายเดือน นอกจากนี้ จะใหความสําคัญกับการรักษาฐานลูกคาที่มีมูลคาสูงโดยเนนการสรางความแตกตางระหวางแพ็คเกจ ที่มีระดับราคาแตกตางกัน ในขณะที่ทรูมันนี่และทรูไลฟจะมีบทบาทสําคัญยิ่งขึ้นในการเติมเต็มศักยภาพของยุทธศาสตร คอนเวอรเจนซ ซึ่งจะทําใหเกิดความตองการคอนเทนทและบริการตางๆ เพิ่มมากขึ้น

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผลการดําเนินงานโดยรวมประจําป 2551 การวิเคราะหผลประกอบการของบริษัทอยูบนพื้นฐานของผลการดําเนินงานปกติ ไมนับรวม ผลกระทบจากรายการที่ไมเกี่ยวของกับผลการดําเนินงานโดยตรง ซึ่งปรากฏในตารางสรุปงบการเงินรวม ของบริษัทและบริษัทยอย (ปรับปรุง) • ผลการดําเนินงานของกลุมทรูในป 2551 ปรับตัวลดลงจากป 2550 โดยทรูวิชั่นส และ ทรูออนไลน ยังคงมี ผลการดําเนิ นงานที่ ดีตอเนื่ อง ในขณะที่ผลการดําเนิ นงานของ ทรูมูฟ ปรับตัวลดลงเนื่ องจากผลของ การปรับราคาคาบริการ และผลจากคาใชจาย IC สุทธิที่เพิ่มขึ้น อยางไรก็ดี รายไดของทรูมูฟ เริ่มปรับตัว ดีขึ้นตั้งแตกลางป และแสดงใหเห็นการฟนตัวอยางเดนชัดในไตรมาสที่ 4 โดยรายไดเติบโตรอยละ 4.2 จากไตรมาส 3 ถึงแมจะมีปญหาดานการเมืองในประเทศและการหดตัวของภาวะเศรษฐกิจ • รายไดจากการให บ ริการ ลดลงเล็ก น อยประมาณรอยละ 0.6 จากป 2550 เป น 60.1 พั น ลานบาท แต หากไมรวมรายไดคา IC จะเห็นวารายไดจากการใหบริการเพิ่มขึ้นเล็กนอย ในอัตรารอยละ 0.2 เปน 52 พั น ลานบาท ซึ่ งนั บ เป น อั ตราการเติ บ โตที่ ลดลงจาก อั ต รารอยละ 2.5 ในป 2550 ทั้ งนี้ เนื่ อ งจาก รายไดของทรูมูฟลดลง ในขณะที่ทรูออนไลน และ ทรูวิชั่นส ยังคงมีการเติบโตที่ดี ในอัตรารอยละ 6.0 และ 6.4 ตามลําดับ • EBITDA ลดลงรอยละ 6.5 เปน 18.5 พันลานบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจาก ทรูมูฟ ซึ่งมี EBITDA ลดลง จากการที่รายไดลดลง และคา IC สุทธิที่เพิ่มขึ้น อยางไรก็ดี EBITDA ของทั้ง ทรูออนไลน และ ทรูวิชั่นส เพิ่มขึ้นรอยละ 5 • อัตราการทํ ากําไร ณ ระดับ EBITDA (จากรายไดไมรวมคา IC) ลดลง เป นรอยละ 34.8 (จากรอยละ 37.3) จากการเพิ่มขึ้นของคาใชจายรวม และคา IC สุทธิ ที่เพิ่มขึ้นของทรูมูฟ • คาใชจายในการดําเนินงานรวม เพิ่มขึ้นเล็กนอยประมาณรอยละ 0.7 (เปน 53.9 พันลานบาท) จากการ ลดลงของสวนแบงรายไดตามสัญญารวมการงานฯ และคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย (เนื่องจากการ หยุดตัดคาความนิยม หรือ Goodwill) ซึ่งชวยชดเชยการเพิ่มขึ้นของคา IC คาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย และคาใชจายในการขายและบริหาร • คาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย (ไมรวมคา IC) เพิ่มขึ้นรอยละ 6.1 (เปน 15.2 พันลานบาท) โดยมีสาเหตุหลัก มาจากคาใชจายที่เพิ่มขึ้นของบริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด รวมถึงโทรศัพททางไกลระหวาง ประเทศที่ทรูออนไลน และคาใชจายดานคอนเทนทที่ทรูวิชั่นส (สวนใหญเปนผลกระทบเต็มปของ การตอสัญญารายการฟุตบอลพรีเมียรลีก รวมทั้งมีการเพิ่มชองรายการในประเทศ) • คาใชจายในการขายและบริหาร (ไมรวมคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย) เพิ่มขึ้นรอยละ 2.1 (เปน 10.2 พันลานบาท) สวนใหญจากคาใชจายดานบุคลากร และคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ซึ่งสวนหนึ่งถูกชดเชย ด ว ยการลดลงของค าใช จ ายด าน โฆษณา การตลาด และการส งเสริม การขาย อั น เกิ ด จากกลยุท ธ คอนเวอรเจนซ และมาตรการลดคาใชจายของบริษัท สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

• คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ลดลงเปน 11.1 พันลานบาท โดยหลักๆ มาจากการหยุดตัดจําหนาย คาความนิยม (Goodwill) ตั้งแตตนป 2551 (คาความนิยมตัดจายในป 2550 มีจํานวน 1.3 พันลานบาท • ดอกเบี้ ย จ า ย ลดลงร อ ยละ 3.2 เป น 7.0 พั น ล า นบาท โดยมี เหตุ ผ ลหลั ก มาจากการจ ายคื น เงิ น ต น โดยเฉพาะที่ทรูออนไลน รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยที่ลดลงตามทิศทางของตลาดเงิน (ดูรายการเกี่ยวกับ ดอกเบี้ยจายตามที่ปรับใหม ที่การปรับปรุงทางบัญชีที่สําคัญ) • กําไรสุ ท ธิ จากการดํ าเนิ น งานปกติ อยูที่ 62 ล านบาท ปรับ ตั ว ดี ขึ้น จากผลขาดทุ น 1.2 พั น ล านบาท ในป 2550 จากการป น ส ว นในขาดทุ น ของผู ถื อหุ น ส ว นน อ ย (1.0 พั น ล านบาท) เนื่ อ งจากเครือ ซี พี เพิ่มสัดสวนการถือหุนในทรูมูฟ นอกจากนี้ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย รวมทั้งดอกเบี้ยจายลดลงดวย • ขาดทุนสุทธิ จํานวน 3.4 พั นลานบาท เปรียบเทียบกับกําไรสุทธิจํานวน 1.6 พัน ลานบาทในป 2550 โดยสาเหตุหลักมาจากผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 2.6 พันลานบาท ในป 2551 (เนื่องจาก คาเงินบาทที่ออนตัว) เมื่อเทียบกับกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ 2.4 พันลานบาทในป 2550 ซึ่งสวนใหญ เปนผลกําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีที่เกิดจากการแปลงคาเงินกูตางประเทศดวยอัตราแลกเปลี่ยน ณ ปลายป (35.08 บาท ตอ 1 ดอลลารสหรัฐฯ ณ ปลายป 2551 เปรียบเทียบกับ 33.88 บาท ตอ 1 ดอลลารสหรัฐฯ ณ ปลายป 2550 และ อัตรา 38.98 บาท ตอ 100 เยน ณ ปลายป 2551 เปรียบเทียบกับ 29.97 บาท ตอ 100 เยน ณ ปลายป 2550) อย างไรก็ ต าม ณ ปลายป 2551 ทรู ไ ด ทํ าประกั น ความเสี่ ย งด านอั ต ราแลกเปลี่ ย น รวมทั้งอัตราดอกเบี้ย สําหรับเงินกูตางประเทศ สวนใหญไวแลว (ดูรายละเอียดใน หมายเหตุประกอบ งบการเงินที่ 38) • การปรับปรุงทางบัญชีที่สําคัญ ในไตรมาสที่ 1 ป 2551 กลุมทรูไดเปลี่ยนนโยบายบัญชีที่เกี่ยวกับการ บันทึกผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําที่เกี่ยวกับสัญญาอนุญาตใหดําเนินการของบริษัทยอย โดยไดรับรู ภาระผูกพันที่จะตองจายผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําตลอดอายุสัญญาอนุญาตเปนหนี้สินทางการเงิน เริ่ม ตั้ งแต วัน เริ่ม สั ญ ญา (จากเดิ ม ได ถู ก บั น ทึ ก เป น ส ว นหนึ่ งของส ว นแบ งรายได ในแต ล ะป ) และ ขณะเดียวกันไดรับรูสิทธิตามสัญญาอนุญาต เปนสินทรัพยไมมีตัวตนในงบดุล ซึ่งจะตัดจําหนายเปน คาใชจายโดยวิธีเสนตรงตามอายุสัญญาอนุญาต และจะถูกพิจารณาการดอยคาเปนประจําทุกป • ในไตรมาสที่ 4 ป 2551 เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม ทรูไดเปลี่ยนแปลงการนําเสนอ งบกําไรขาดทุน โดยมีการจัดประเภทตนทุนทางการเงิน (รวมดอกเบี้ยจาย ดอกเบี้ยรับ กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน และคาใชจายทางการเงินอื่น) โดยคาใชจายทางการเงินอื่น จะรวมถึง คาตัดจําหนาย ตนทุนการกูยืม (ซึ่งเดิมบันทึกรวมไวในสวนคาใชจายในการขายและบริหาร) รวมถึงคาธรรมเนียมอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกิจกรรมทางการเงิน (เดิมบันทึกไวในสวนของ ดอกเบี้ยจายและ คาใชจายอื่น) สําหรับ กําไร (ขาดทุ น) จากอั ตราแลกเปลี่ยน ได ถูกปรับใหม ให ถูกรวมอยูในส วน รายการที่ ไมเกี่ยวของกับ การดําเนินงานปกติใน คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงิน และผลการดําเนินงาน ป 2551 ฉบับนี้

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ผลการดําเนินงานงวดกอน ไดถูกปรับปรุงเพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงของนโยบายบัญชี ดังกลาว เพื่อใหสามารถเปรียบเทียบกันได (ดูเพิ่มเติม ที่รายการปรับปรุงปกอน ในหมายเหตุ 7 ประกอบ งบการเงินประจําป 2551) ตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย (ปรับปรุง) (ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2551

ป 2550

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น) รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น - รายไดคาเชื่อมโยงโครงขาย - รายไดจากการใหบริการไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) รายไดจากการขายสินคา

(ปรับปรุง)

%เปลี่ยนแปลง 2/

60,094 8,173 51,921 1,171

60,474 8,656 51,818 1,167

(0.6) (5.6) 0.2 0.3

61,265

61,641

(0.6)

คาใชจายในการดําเนินงาน ตนทุนการใหบริการ สวนแบงรายไดและคาเชื่อมโยงโครงขาย - คาเชื่อมตอโครงขาย (Access charges ) คาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย - คาใชจายเชื่อมโยงโครงขาย - คาใชจายเกี่ยวกับโครงขายไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC)

41,229 7,138 24,199 9,018 15,181

39,734 8,011 22,794 8,492 14,303

3.8 (10.9) NM 6.2 6.2 6.1

คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย - โครงขาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร 1/ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย 1/ อื่นๆ

9,893 1,217 11,477 1,238 10,239

8,929 1,056 12,762 2,735 10,027

10.8 15.3 (10.1) (54.7) 2.1

รวมรายได

รวมคาใชจายในการดําเนินงาน

1/

กําไรจากการดําเนินงานที่เปนเงินสด (EBITDA) คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย 1/ กําไรจากการดําเนินงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย 1/ คาใชจายทางการเงินอื่น 1/ ภาษีเงินได

53,924

53,551

0.7

18,472 (11,131)

19,754 (11,664)

(6.5) 4.6

7,341 120 (6,953) (488) (978)

8,090 87 (7,184) (719) (1,039)

(9.2) 37.7 (3.2) (32.1) (5.9)

(958) (10) 1,030

(765) (15) (400)

(25.2) 29.9 NM

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติ สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทรวม (กําไร)ขาดทุนของผูถือหุนสวนนอย กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและสวนแบง กําไร(ขาดทุน)ในบริษัทรวม

62

(1,179)

NM

รายการทีไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ (คาใชจาย)รายไดอื่น 1/

(2,417) (2,607) 189

2,337 2,419 (82)

NM NM NM NM

กําไร(ขาดทุน)สวนที่เปนของบริษัท

(2,355)

1,158

สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย

(1,030)

400

NM

กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับป

(3,385)

1,558

NM

หมายเหตุ : ในไตรมาส 4 ป 2551 บริษัทไดมีการจัดประเภทบัญชีใหมเพื่อแสดงรายการคาใชจายทางการเงิน และไดมีการปรับปรุง ยอนหลังจากที่เคยเปดเผยครั้งกอนเกี่ยวกับคาใชจายในการขายและบริหาร (คาตัดจําหนายตนทุนการกูยืม) ดอกเบี้ยจาย ี ําคัญ และรายได (คาใชจาย)อื่น ดูรายละเอียดที่การเปลี่ยนแปลงทางบัญชีท่ส 2/ งบการเงินสําหรับป 2550 ไดถูกปรับปรุงจากที่ไดเปดเผยไปแลว เพื่อสะทอนผลกระทบจากการเปลี่ยนนโยบายบัญชี เรื่องการบันทึกคาติดตั้งอุปกรณของธุรกิจเคเบิ้ลทีวี การบันทึกผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําที่เกี่ยวกับสัญญารวมการงานฯ และการรวมธุรกิจ 1/

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12- 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางรายไดรวมแยกตามประเภทธุรกิจ

รายไดรวม (กอนตัดรายการระหวางกันระหวางกลุมธุรกิจ ) (ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2551

(หนวยลานบาทยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น)

ทรูวิชั่นส - รายไดจากการใหบริการ - รายไดจากการขายสินคา รายการระหวางกัน

รายได

% ของรายได รวมหลังตัดราย การระหวางกัน

9,746

9,431

8,866

796

880

9,396

ทรูมูฟ - รายไดจากการใหบริการ - รายไดจากการขายสินคา

- บริการเสริมพิเศษ - โทรศัพทสาธารณะ

8,785

(13.5) 14.3%

7.0

32,492

(4.7)

608

928

(34.5)

(1,353)

2/

6.4 (9.6)

30,969

30,224

- โทรศัพทพื้นฐาน (เสียง)

4.9

(962) 15.3%

% เปลี่ยนแปลง

33,420

ทรูมูฟ หลังตัดรายการระหวางกัน

- โทรศัพทพื้นฐาน

% ของรายได รวมหลังตัดราย การระหวางกัน

31,577

รายการระหวางกัน

1/

รายได

10,227

(832)

ทรูวิชั่นส หลังตัดรายการระหวางกัน

ทรูออนไลน

ป 2550 (ปรับปรุง)

(5.5)

(1,053) 49.3%

32,366

28.5 52.5%

(6.6)

26,729

24,946

7.1

10,252

10,966

(6.5)

8,569

9,311

(8.0)

1,682

1,655

650

813

1.6 (20.0)

- บริการแจงเหตุเสียและซอมบํารุงสายกระจาย

485

476

1.8

- อื่นๆ

548

366

49.5

3,556

3,544

0.3

2,659

2,683

(0.9)

- โครงขายขอมูล

3/

- สื่อสารขอมูลธุรกิจ - มัลติมีเดีย - อินเทอรเน็ตและบรอดแบนด

3/

- บรอดแบนด - อินเทอรเน็ตและอื่นๆ

4/

- โทรศัพทพื้นฐานพกพา พีซีที - อื่นๆ

897

861

4.3

6,441

5,691

13.2

5,036

4,229

19.1

1,406

1,462

(3.8)

593

771

(23.2)

5,147

3,556

รายไดจากการใหบริการทรูออนไลน

25,989

24,528

44.7 6.0

รายไดจากการขายสินคาทรูออนไลน

740

418

77.0

รายการระหวางกัน

(5,083)

ทรูออนไลน หลังตัดรายการระหวางกัน

21,646

(4,456)

รายไดรวม

68,533

68,112

0.6

รวมรายการระหวางกัน

(7,268)

(6,471)

12.3

รายไดรวม - สุทธิ

61,265

35.3%

100.0%

20,490

61,641

14.1 33.2%

100.0%

5.6

(0.6)

หมายเหตุ : 1/

การแสดงรายละเอียดรายไดของทรูออนไลนในป 2550 ไดถูกปรับปรุงจากที่ไดเปดเผยไปแลว โดยแสดงรายไดจากการใหบริการไมรวม รายไดจากการขายสินคา และมีการจัดประเภทรายไดใหมของบริการอินเทอรเน็ต/บรอดแบนด และบริการโครงขายขอมูล สวนใหญเปน การโยกรายการรายได จากการใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวย จากเดิมบันทึกในบริการบรอดแบนด เปนบริการอินเทอรเน็ต และโยกรายได จากการผสมผสานผลิตภัณฑ และบริการภายในกลุมทรูบางรายการ จากเดิมบันทึกในบริการอินเทอรเน็ต เปนบริการอื่นๆ

2/

รวมรายไดจากบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ

3/

รายไดจากบริการที่ไมใชเสียงของทรูออนไลน รวมบริการโครงขายขอมูล และอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด

4/

รวมรายไดจากเกมสออนไลน

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผลการดําเนินงานตามธุรกิจหลัก กลุมทรูรายงานผลการดําเนินงานตามธุรกิจหลัก ซึ่งแบงออกเปน 3 กลุม คือ ทรูมูฟ ทรูออนไลน และ ทรูวิชั่นส โดยผลการดําเนินงานของทรูมันนี่ และทรูไลฟ ถือเปนสวนหนึ่งของทรูออนไลน ทรูออนไลน รายไดของ ทรูออนไลน ยังคงเติบโตตอเนื่องจากบริการที่ไมใชเสียง (Non-voice) (โดยเฉพาะจาก บริการอินเทอรเน็ตบรอดแบนด) นอกจากนี้ ยังมีรายไดใหมจากบริการเสียง (Voice) เชน จากบริการ โทรศัพททางไกลระหวางประเทศ (IDD) และบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ ซึ่งชวย ชดเชยรายไดบริการดานเสียงที่ลดลง ทั้งนี้กลยุทธคอนเวอรเจนซเปนกุญแจสําคัญที่ชวยใหบริการ บรอดแบนดสามารถเพิ่มจํานวนลูกคาใหมที่มีรายไดตอรายสูง จากฐานผูใชบริการอื่นๆ ในเครือทรู (ทรูวิชั่นส และ ทรูมูฟ) รายไดจากการใหบริการ ในป 2551 เพิ่มขึ้นรอยละ 6.0 เปน 26 พันลานบาท จากการเติบโตของบริการที่ ไมใชเสียง (Non-voice) (เพิ่มขึ้นรอยละ 8.3 เปน 10 พันลานบาท) สวนใหญจากบริการ บรอดแบนด ซึ่งมีรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 19.1 นอกจากนี้ รายไดจากบริการประเภทเสียงเติบโตขึ้น (รอยละ 4.6 เปน 16 พันลานบาท) จากบริการ IDD บริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ และอื่นๆ EBITDA เพิ่มขึ้นรอยละ 5.4 เปน 10.2 พันลานบาท จากเดิมที่เคยมีแนวโนมลดลงในปกอ นๆ ในขณะที่ อัตราการทํากําไร ณ ระดับ EBITDA ลดลงเล็กนอยเปนรอยละ 38.1 จากการมีสัดสวนบริการตางๆ ใน กลุมที่ดีขึ้น รวมถึงการลดลงของตนทุนคาเชื่อมตออินเทอรเน็ตระหวางประเทศ และ ผลของการควบ คุมคาใชจายที่ดีขึ้น คาใชจายในการดําเนินงาน เพิ่มขึ้นรอยละ 9.2 เปน 21.7 พันลานบาท โดยมีสาเหตุหลักๆ มาจากคาใชจาย เกี่ยวกับโครงขาย (ของธุรกิจบรอดแบนด และโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ) คาเสื่อมราคาและ คาตัดจําหนาย และคาใชจายดานบุคลากร ดอกเบี้ยจาย ลดลงรอยละ 9.4 เปน 3.4 พันลานบาท สวนใหญจากการชําระคืนหนี้ และอัตราดอกเบี้ยที่ ลดลง กําไรจากการดําเนินงานปกติ อยูที่ 1.2 พันลานบาท เปรียบเทียบกับผลขาดทุนที่ 158 ลานบาทในป 2550 ทั้งนี้ เนื่ องจากภาษีเงินไดที่ลดลง โดยสวนหนึ่งมาจากการกลับรายการหนี้ สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ในไตรมาสที่ 4 ป 2551 จํานวน 786 ลานบาท กําไรสุทธิ มีจํานวน 2.6 พันลานบาทจากรายไดเงินปนผลจากบริษัทลูก นับเปนการเพิ่มขึ้นอยางมากจาก ป 2550 ซึ่งมีกําไรสุทธิ 430 ลานบาท

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการบรอดแบนด รายไดจากใหบริการบรอดแบนด เพิ่มขึ้น รอยละ 19.1 ในป 2551 เปน 5 พั นลานบาทจากจํานวน ผูใชบริการที่เติบโตตอเนื่อง (เพิ่มขึ้นรอยละ 15.4 เปน 632,461 ราย) ทั้งนี้รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ ตอเดือนที่เพิ่มขึ้นเล็กนอย (เปน 711 บาทจาก 709 บาทในป 2550) จากการเพิ่มขึ้นของกลุมที่มีรายได ตอเดือนสูง จากความสําเร็จในการนําเสนอแพ็คเกจภายในกลุม การเติบโตที่ดีของจํานวนผูใชบริการบรอดแบนดหลักๆ มาจากผลตอบรับที่ดีของบริการ Super hispeed Internet 2 ซึ่งเปนแพ็คเกจรวมกันระหวางทรูมูฟและทรูวิชั่นส จํานวนผูใชบริการ Wi-Fi เพิ่มขึ้นประมาณ 3 เทาเปน 109,000 ราย ไมรวมผูใชบริการ อีกประมาณ 100,000 รายของโครงการ Green Bangkok Wi-Fi ที่ทรูรวมมือกับกรุงเทพมหานครเพื่อใหบริการฟรี (ที่ความเร็ว 64 kbps) ตั้งแตเดือน มิถุนายน 2551 ซึ่งเปนการชวยประชาสัมพันธบริการของทรูใหเปน ที่รูจักมากขึ้น บริการโครงขายขอมูล รายไดจากการใหบริการโครงขายขอมูลมีจํานวน 3.5 พันลานบาท ซึ่งใกลเคียงกับป 2550 อยางไรก็ตาม รายไดที่ใหบริการแกลูกคาภายนอกเติบโตดีมาก (เพิ่มขึ้นรอยละ 19.7 เปน 1.7 พันลานบาท) โดย จํานวนวงจรที่ใหบริการรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 27 เปน 17,741 วงจร สวนใหญจากเทคโนโลยีใหมๆ เชน MPLS ซึ่งชวยชดเชยรายไดที่ลดลงของบริการวงจรเชา (leased line) รายไดเฉลี่ ยตอวงจรตอเดื อนลดลงเป น 9,808 บาท จากการเปลี่ยนแปลงสัด สวนของลูก คา (จาก บริการ leased line ที่มีคาบริการสูง แตปริมาณการใชงานต่ํา ไปเปน บริการที่มีคาบริการต่ํากวาแต ปริมาณการใชงานสูงกวา เชน MPLS) บริการโทรศัพทพื้นฐาน รายไดจากบริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมลดลงรอยละ 6.5 เปน 10.3 พันลานบาท ซึ่งนับวา ลดลงนอยกวาในป 2550 (ซึ่งรายไดลดลงรอยละ 13) ทั้งนี้เนื่องจากรายไดจากบริการใหม เชน IDD เพิ่ มขึ้น ทั้งนี้จํานวนผูใชบริการลดลงรอยละ 2.7 เปน 1,902,507 ราย จากสาเหตุหลั กคือ การยกเลิก โปรโมชั่นติดตั้งฟรี รวมทั้งการเปลี่ยนไปใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ สําหรับรายไดเฉลี่ยตอเลขหมาย ตอเดือนลดลงรอยละ 8.5 เปน 331 บาท บริการ IDD สรางรายไดจํานวน 320 ลานบาทในป 2551 จากการที่ผูใชบริการทรูมูฟเปลี่ยนมาใชบริการ IDD ของทรูเพิ่มมากขึ้นตั้งแตเปดใหบริการอยางเปนทางการในเดือนกรกฎาคม ป 2551 โดยปจจุบัน การใชงานบริการ IDD รวม ของลูกคาทรู และทรูมูฟคิดเปนประมาณรอยละ 16 ของทั้งตลาด ซึ่ง แสดงใหเห็นวาธุรกิจนี้ของกลุมทรูยังมีโอกาสในการเติบโตอีกมาก สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา WE PCT รายไดจากการใหบริการ WE PCT ในป 2551 ลดลงรอยละ 23.2 (เปน 593 ลานบาท) จากการแขงขัน จากกลุมผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ จํานวนผูใชบริการลดลงรอยละ 29.9 เปน 273,623 ราย (รวม ผลกระทบจากการเปลี่ยนวิธีการนับจํานวนผูใชบริการโดยไมรวมลูกคาที่ไมมีการใชงาน) จึงทําให รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือนลดลงเล็กนอย (รอยละ 0.5) เปน 171 บาท ทรูมูฟ ป 2551 ถือเปนปที่ทาทายสําหรับทรูมูฟ จากผลของการแขงขันและคา IC สุทธิที่เพิ่มสูงขึ้น ทําให ผลการดําเนินงานปรับตัวลดลง อยางไรก็ดี ไตรมาส 4 ทรูมูฟมีผลการดําเนินงานที่ฟนตัว โดยมีรายได จากการใหบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 4.2 จากไตรมาส 3 ในขณะที่รายจาย IC สุทธิลดลงตอเนื่อง รายไดจากการให บริการ ในป 2551 (ไมรวมคา IC) ลดลงรอยละ 4.4 เปน 22.8 พัน ลานบาท และ EBITDA ลดลงรอยละ 24.8 เปน 5.7 พันลานบาท สวนหนึ่งจากการเพิ่มขึ้นของคา IC สุทธิ (รายจาย IC สุทธิจํานวน 845 ลานบาท ในป 2551 เปรียบเทียบกับรายได IC สุทธิจํานวน 164 ลานบาท ในป 2550) โดย อัตราการทํากําไร ณ ระดับ EBITDA (คิดจากรายไดที่ไมรวม IC) ลดลงเปนรอยละ 24.3 (จาก รอยละ 30.6 ในป 2550) ทรูมู ฟ มี จํานวนผู ใช บ ริก ารรายใหม สุ ท ธิ ในป 2551 จํ านวน 2.7 ล านราย คิ ด เป น ส ว นแบ งตลาด ประมาณ รอยละ 30 ของผูใชบริการรายใหมโดยรวม ทั้งนี้รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน ลดลง รอยละ 31.9 เปน 130 บาท สวนหนึ่งเปนผลกระทบ (Dilution Effect) จากลูกคารายใหม รายไดจากบริการ Non-voice เติบโตตอเนื่อง โดยเพิ่มขึ้นรอยละ 7.6 ในป 2551 เปน 2.7 พันลานบาท ซึ่ ง คิ ด เป น สั ด ส ว นร อ ยละ 11.8 ของรายได ร วมจากการให บ ริ ก าร (ไม ร วมค า IC) (ร อ ยละ 10.4 ในป 2550) ทั้ งนี้ ปริ ม าณการใช งานเพิ่ ม มากขึ้ น ในช ว งครึ่งหลั งของป 2551 จากการที่ ลู ก ค าที่ มี ปริมาณการใชงานสูง ซึ่งทรูมูฟไดสูญเสียไปในครึ่งปแรก กลับมาใชบริการใหม คาใชจายในการดําเนิ น งานรวม เพิ่มขึ้น รอยละ 1.3 เปน 31.0 พัน ลานบาท โดยสวนใหญ เปนการ เพิ่มขึ้นของคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คา IC และ คาใชจายในการขายและบริหาร (สวนใหญ เปนคาใชจายดานบุคลากร และคาใชจายทั่วไปในการบริหาร) ดอกเบี้ยจาย เพิ่มขึ้นรอยละ 3.8 เปน 3.4 พันลานบาท โดยสวนหนึ่งมีสาเหตุมาจากผลกระทบจาก การจายดอกเบี้ยของหุนกูสกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ ที่อยูในระดับสูง นอกจากนี้ ภาษีเงินไดเพิ่มขึ้น 361 ลานบาท (เทียบกับ รายไดภาษี 823 ลานบาท ในป 2550) เนื่องจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ลดลง

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผลขาดทุนจากการดําเนินงานปกติ มีจํานวน 3.2 พันลานบาท ซึ่งรวมผลกระทบจํานวน 1.2 พันลานบาท จากการลดลงของสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ทั้งนี้ ทรูมูฟมีผลขาดทุนสุทธิจาํ นวน 4.1 พันลานบาท รวมผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จํานวน 1.1 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนผลขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ซึ่งเกิดจากการแปลงคาหนี้สินตางประเทศ เปนเงินบาท ทรูวิชั่นส ยุท ธศาสตร การขยายตลาดสู ลู กค าในระดั บกลาง-ล าง ประสบความสํ าเร็จต อเนื่ อง ทํ าให จํ านวน ผู ใช บริการเพิ่ มขึ้ นถึ งรอยละ 41.4 เป น 1.5 ล านราย นอกจากนั้ นยั งทํ าให ยอดผู ใช บริการจากกลุ ม ผูมีกําลังซื้อในตางจังหวัดเพิ่มขึ้น สงผลใหสัดสวนของผูใชบริการในตางจังหวัดมีจํานวนเพิ่มขึ้นเปน รอยละ 49 ของยอดผูใชบริการทั้งหมดของทรูวิชั่นส จากรอยละ 46 ในป 2550 จํานวนผูใชบริการ ของ Bundling package ตางๆ เพิ่มเปนจํานวน 819,176 ราย ในขณะที่อัตราการเปลี่ยน แพ็คเกจ (Upselling rate) ในกลุมลูกคาฟรีวิวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30 จากรอยละ 19 ในป 2550 นอกจากนี้ จํานวนผูใชบริการแพ็คเกจมาตรฐานและแพ็คเกจราคาสูงเพิ่มขึ้นรอยละ 26.8 เปน 799,837 ราย รายไดจากการใหบริการ เพิ่มขึ้นรอยละ 6.4 เปน 9.4 พันลานบาทจากการเติบโตของรายไดคาสมาชิก รายเดือน (เพิ่มขึ้น รอยละ 6.1 เทียบกับ การเติบโตรอยละ 4.1 ในป 2550) EBITDA เพิ่มขึ้นรอยละ 5.5 เปน 2.7 พันลานบาทจากรายไดที่เติบโตเร็วกวาคาใชจาย ในขณะที่อัตรา การทํากําไร ณ ระดับ EBITDA คงตัวที่รอยละ 26.1 คาใชจายในการดําเนินงาน เพิ่มขึ้นรอยละ 5.5 เปน 8.5 พันลานบาท สวนใหญเนื่องจากการเพิ่มขึ้น ของคาใชจายในการให บริการ (คาคอนเทนทและคาใชจายดานบุคลากร) และคาเสื่อมราคาและ คาตัดจําหนาย ซึ่งสวนหนึ่งถูกชดเชยดวยการลดลงของคาใชจายในการขายและโฆษณา คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย เพิ่มขึ้นรอยละ 12.1 เปน 959 ลานบาท สวนใหญเนื่องจากการลงทุน เพิ่มในอุปกรณกระจายเสียงและภาพ และอุปกรณเพื่อรองรับการเพิ่มชองรายการ ดอกเบี้ ย จ าย ลดลงร อ ยละ 15.4 เป น 370 ล านบาท โดยส ว นใหญ มาจากอั ต ราดอกเบี้ ย ที่ ล ดลง ในขณะเดียวกัน ภาษีเงินไดลดลงเปน 424 ลานบาทจากการลดลงของหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี กําไรจากการดําเนินงานปกติ เพิ่มขึ้นเปน 1.2 พันลานบาท จาก 1.0 พันลานบาทในป 2550 กําไรสุทธิมีจํานวน 858 ลานบาท ภายหลังจากหักผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน 285 ลานบาท ในป 2551 ซึ่งลดลงจากกําไรสุทธิ 1.4 พันลานบาทในป 2550 ซึ่งรวมกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 344 ลานบาท รายการใหม เชน “เฮ-ฮา Hay Ha” ไดรับความนิยมดีตอเนื่องและยังอยูในอันดับตนๆ ของรายการ ยอดนิ ยมของทรูวิชั่ น ส ทั้ งนี้ ทรูวิชั่ น ส จะเดิ น หน าเพิ่ ม รายได ต อไปจากการทํ าตลาดไปสู ร ะดั บ กลาง-ลาง โดยมุงเนนพัฒนา และบริหารรายการอยูตลอดเวลา รวมทั้งใหความสําคัญกับการรักษา ลูกคา โดยการสรางความแตกตางของรายการ ระหวางแพ็คเกจราคาสูง และแพ็คเกจระดับกลาง-ลาง สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

งบดุลรวมงบกระแสเงินสดรวม

(ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2551

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น) งบดุลรวม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด รวมเงินสดที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้การคา - สุทธิ สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ คาความนิยม - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยรวม หนี้สินหมุนเวียน เงินกูระยะยาว หนี้สินรวม สวนของผูถือหุนรวม

ป 2550

% เปลี่ยนแปลง

(ปรับปรุง) 5,757 7,992 20,333 54 71,380 12,381 3,557 116,951 33,265 70,646 110,331 6,620

6,316 12,685 25,261 18 74,683 12,381 3,534 125,259 32,946 76,231 115,209 10,051

(8.9) (37.0) (19.5) 197.0 (4.4) 0.0 0.6 (6.6) 1.0 (7.3) (4.2) (34.1)

งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน - รายจายลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด (ลดลง) เพิ่มขึ้นสุทธิ ยอดยกมาตนงวด และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน ยอดเงินคงเหลือสิ้นงวด กระแสเงินสดสุทธิ 1/ หมายเหตุ :

1/

11,894 (7,503) (7,283) (5,055) (665) 5,019 4,354 4,611

10,364 (6,311) (7,318) (2,950) 1,103 3,916 5,019 3,046

14.8 18.9 (0.5) 71.4 (160.3) 28.2 (13.2) 51.4

กระแสเงินสดสุทธิ คือ กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานหักรายจายลงทุน

การวิเคราะหฐานะทางการเงิน (Financial Position) สินทรัพย สินทรัพยรวมของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2551 มีจํานวน 116.9 พันลานบาท ลดลงในอัตรารอยละ 6.6 (ลดลง 8.3 พันลานบาท) จากป 2550 โดยสวนใหญมาจากการลดลงของลูกหนี้การคาสุทธิ นอกจากนั้น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณสุทธิลดลง เงินสดและเงินสดที่มีภาระผูกพัน มีจํานวน 5.8 พันลานบาท โดยลดลงเล็กนอยจาก 6.3 พันลานบาท ณ สิ้นป 2550 ลูกหนี้การคา (สุทธิ) ลดลงในอัตรารอยละ 37 เปน 8.0 พันลานบาท จากการเริ่มชําระคา IC ระหวาง บริษัทกับ บริษัทแอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (เอไอเอส) ทั้งนี้ภายหลังจากที่ เอไอเอส ไดรับ อนุญาตจาก ทีโอที ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) ลดลง 3.3 พันลานบาท เปน 71.4 พันลานบาท เนื่องจากคาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย 10.2 พันลานบาท สูงกวาการลงทุนเพิ่มในที่ดิน อาคาร และอุปกรณใหม โดยใน ระหวางป ทรู รับ รู ก ารด อ ยค าของอุ ป กรณ ที่ เกี่ ย วข อ งกั บ บริก ารไอพี ที วีข องบริ ษั ท ทรู ดิ จิ ต อล เอ็นเตอรเทนเมนท (ทีดีอี) จํานวน 102 ลานบาท สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หนี้สิน หนี้สินรวมของบริษัท ลดลง 4.9 พันลานบาท เปน 110.3 พันลานบาท ณ สิ้นป 2551 สวนใหญมาจาก การลดลงของเจาหนี้การคา และเงินกูระยะยาว (จากการชําระเงินกู) เจาหนี้การคา ลดลง 5.3 พันลานบาท เปน 7.8 พันลานบาท สวนใหญจากการที่เริ่มมีการชําระคา IC กับ บริษัท เอไอเอส คาใชจายคางจาย เพิ่มขึ้น 765 ลานบาท เปน 7.7 พันลานบาท สวนใหญเปน คาสวนแบงรายได ซึ่ง เกี่ยวของกับทรูมูฟ เงินกูยืมระยะยาวโดยรวม (รวมสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป) ลดลง 1.3 พันลานบาท เปน 80.5 พันลานบาท (รวมหนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน จํานวน 6.1 พันลานบาท) สวนใหญจาก การชําระคืนหนี้เงินกูระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เพิ่มขึ้น 551 ลานบาท เปน 2.6 พันลานบาท สวนใหญเปนเงินมัดจํารับจากลูกคา สวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุ น ลดลง 3.4 พัน ลานบาท เปน 6.6 พัน ลานบาท สวนใหญ จากผลขาดทุ น สุ ทธิใน ระหวางป 2551 จํานวน 3.4 พันลานบาท สภาพคลอง แหลงเงินทุนหลักของบริษัทสําหรับป 2551 มาจากกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน การกูยืม ระยะสั้น และเงินสดรวมรายการเทียบเทาเงินสด ที่ยกมาจากป 2550 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน เพิ่มขึ้น 1.5 พันลานบาท เปน 11.9 พันลานบาท สวนใหญจาก การลดลงของความตองการเงินทุนหมุนเวียน (2.2 พันลานบาท) การลดลงของเงินทุนหมุนเวียนสวนใหญมาจากการลดลงของลูกหนี้การคา (ไมรวม IC) โดยสวนใหญ เปนลูกหนี้ บริษัทที่เกี่ยวของกัน นอกจากนั้นรายไดคางรับ (รายไดที่ยังไมไดออกบิลใหลูกคา) ลดลง ทั้งนี้การลดลงของลูกหนี้การคา ที่เกี่ยวของกับ IC จํานวน 3.6 พันลานบาท ถูกชดเชยดวยการลดลง ของเจาหนี้การคาที่เกี่ยวของกับ IC ดวยจํานวนเดียวกัน กระแสเงินสดใชไปสุทธิจากกิจกรรมลงทุน เพิ่มขึ้น 1.2 พันลานบาท เปน 7.5 พันลานบาท สวนใหญ จากการนําเงินสดลงทุนในเงินลงทุนชั่วคราว ระหวางป 2551 ทรูและบริษัทยอยอื่นๆ มีรายจายลงทุน (ในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพย ไมมีตัวตัน) ไปทั้งหมด 7.3 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญ เปนรายจายลงทุนของทรูมูฟ 4.2 พันลานบาท ทรูออนไลน 2.4 พันลานบาท และ ทรูวิชั่นส 614 ลานบาท ซึ่งลดลงเล็กนอย (35 ลานบาท) จากรายจายลงทุนในป 2550 สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กระแสเงิน สดหลั งหั กรายจายลงทุ น (กระแสเงิน สดจากกิ จ กรรมดํ าเนิ น งาน หั ก รายจายลงทุ น ) เพิ่มขึ้นรอยละ 51.4 (1.6 พันลานบาท) เปน 4.6 พันลานบาท จากการเพิ่มขึ้นของกระแสเงินสดจาก กิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสุดจากกิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุทธิใชไปจากกิจกรรมจัดหาเงิน จํานวน 5.1 พันลานบาท สวนใหญเปน การจายชําระหนี้เงินกูจํานวนประมาณ 5.7 พันลานบาท (รวมการจาย ชําระคืนหนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน จํานวน 1.1 พันลานบาท) และเงินสดสุทธิจากเงินกูยืม ระยะสั้น 679 ลานบาท สรุป หนี้ สินรวมของกลุมทรูลดลงอยางตอเนื่อง เป น 75.6 พั น ลานบาท (ไม รวมหนี้สิน ภายใต สัญญาเชาทางการเงิน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 อยางไรก็ดี อัตราสวนหนี้สินสุทธิ (ไมรวมสัญญาเชา ทางการเงิน) ตอ EBITDA เพิ่มขึ้นเล็กนอย เปน 3.7 เทา (จาก 3.5 เทาในป 2550) โดยอัตราสวน EBITDA ตอ ดอกเบี้ยจายคงที่ที่ 2.5 เทา ทั้งนี้ ทรูยังคงมุงลดภาระหนี้อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ เงินทุ นที่ ระดมได จากการออกหุ นใหม เพื่ อจํ าหน ายให แก ผูถื อหุ นเดิ ม จํานวน 6.38 พันลานบาทในตนป 2552 จะชวยเสริมความแข็งแกรงทางการเงินใหกับบริษัท และนับเปนการเตรียม ความพรอมในภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว รวมทั้งเปดโอกาสใหทรูเขาไปลงทุนเพื่อแสวงหาการเติบโต ในธุรกิจใหมๆ เชน 3G โครงการในอนาคต ในป 2552 กลุ มทรู มี โครงการที่ จะลงทุ น เพิ่ มราว 7-8 พั น ล านบาท เพื่ อขยายธุ รกิ จในกลุ ม โดยงบประมาณรายจายลงทุนดังกลาวมีความใกลเคียงกับรายจายลงทุนในปกอนหนา ทั้งนี้การลงทุนหลักๆ ในป 2552 ไดแก: ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ (ทรูมูฟ) ณ สิ้นป 2551 โครงขายทรูมูฟครอบคลุมจํานวนประชากรรอยละ 93 ทรูมูฟวางแผนที่จะลงทุน เพิ่มประมาณ 3 ถึง 4 พันลานบาทในป 2552 เพื่อขยายโครงขายรองรับการเติบโตของจํานวนผูใชบริการ รวมทั้งเพิ่มความสามารถในการใหบริการแบบไมใชเสียง (non-voice) ที่ยังมีอัตราการเติบโตที่ดี ทั้งนี้ รายจายลงทุนดังกลาว (ที่จํานวน 3 ถึง 4 พันลานบาทตอป ในอีก 3 ปขางหนา) จะรวมถึงการดูแลและ ขยายโครงขาย 2G เดิม และรองรับการวางโครงขาย 3G 850 MHz ใหมดวย

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก (ทรูวิชั่นส) ทรูวิชั่นสวางแผนลงทุนเพิ่มในสวนของอุปกรณ เพื่อรองรับการขยายงาน รวมการเพิ่มชอง รายการใหมๆ เพื่อขยายฐานลูกคาระดับกลาง-ลาง ทั้งนี้ เงินลงทุนในทรูวิชั่นสสําหรับป 2552 คาดวาจะ อยูที่ประมาณ 200 ลานบาท ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานและบริการขอมูล (ทรูออนไลน) ในป 2552 บริษัทคาดวาจะลงทุนในกลุมธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานและบริการขอมูล ประมาณ 3.5 พันลานบาท ซึ่งรวมถึง product bundling โดยรายจายลงทุนสวนใหญจะเปนไปเพื่อขยายโครงขาย อินเทอรเน็ตบรอดแบนด เพื่อเพิ่มความสามารถในการรองรับจํานวนผูใชบริการในเขตกรุงเทพและ ปริมณฑล รวมทั้งการขยายไปยังตางจังหวัด นอกจากนี้ ทรูยังวางแผนจะเพิ่มศูนยบริการแหงใหมๆ เพื่อเปนศูนยกลางกลยุทธคอนเวอร เจนซไลฟสไตล และเพื่อเปนการสงเสริมการตลาดผานแบรนดของกลุมทรูไปสูลูกคา ซึ่งคาดวาจะสงผล ใหมีผูใชบริการเพิ่มมากขึ้น และชวยลดคาใชจายในการขายและโฆษณาอีกทางหนึ่งดวย 12.5 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทและบริษัทยอยมีคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแกสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด สําหรับ ป พ.ศ. 2551 เปนจํานวนเงินรวม 24.05 ลานบาท ไดจายระหวางปเปนจํานวนเงิน 16.11 ลานบาท สําหรับจํานวนเงินที่เหลือ 8.16 ลานบาทจะจายในปถัดไป 2.

คาบริการอื่น (non-audit fee) สํานักงานสอบบัญ ชีที่ไดรับการแตงตั้งจากบริษัทไดใหบริการอื่นๆ ที่น อกเหนือจากการ ตรวจสอบบัญชีแกบริษัทและบริษัทยอย ซึ่งไดแก การตรวจสอบตามวิธีการที่ตกลงรวมกัน และการให คําปรึกษาดานภาษีและอื่นๆ ในระหวางป 2551 มีคาตอบแทนเปนจํานวนเงิน 1.24 ลานบาท ในจํานวนนี้ กลุมบริษั ทไดจายชําระแลวระหวางปเปน จํานวนเงิน 0.24 ลานบาทที่ เหลืออีก จํานวน 1.00 ลานบาท จะจายในปถัดไป

สวนที่ 2

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

12

-

22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

13. ขอมูลอืน่ ที่เกี่ยวของ ก) การยุบคณะกรรมการที่เปนอิสระ คณะกรรมการที่เปนอิสระ ไดรับการแตงตั้งโดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อป 2544 สมาชิกของคณะกรรมการที่เปนอิสระประกอบดวย กรรมการอิสระ 2 ทาน กรรมการที่เปนตัวแทนของ KfW 1 ทาน และกรรมการที่เปนตัวแทนของ CP 2 ทาน หนาที่ของคณะกรรมการที่เปนอิสระ คือ พิจารณา การเขาทํารายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนที่มีนัยสําคัญสูงโดยในกรณีที่ผูถือหุนรายใหญฝายใด เปนผูมีสวนไดเสียในรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน กรรมการที่เปนตัวแทนของผูถือหุนฝาย ดังกลาว จะถอนตัวออกจากการเขารวมประชุมในที่ประชุมคณะกรรมการที่เปนอิสระเมื่อพิจารณารายการ ดังกลาว ตอมา ในป 2551 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดปรับปรุงขอกําหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติและ ขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกําหนดให คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ตามที่ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทในการพิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให มั่นใจวารายการดังกลาวมีความสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2552 จึงมีมติอนุมัติใหยุบ คณะกรรมการที่เปนอิสระ เนื่องจาก มีหนาที่ซ้ําซอนกับหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ ข) การเปลี่ยนแปลงทุนชําระแลวของบริษัท อันเนื่องมาจากผูถือหุนใชสิทธิจองซื้อหุนสามัญใหมที่บริษัท ออกและเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวนการถือหุน ตามที่ ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ครั้ งที่ 1/2551 เมื่ อ วั น ที่ 19 ธั น วาคม 2551 ได มี ม ติ อ นุ มั ติ การจั ด สรรหุ น สามั ญ ใหม จากการเพิ่ ม ทุ น จํ านวน 10,000,000,000 หุ น เพื่ อ เสนอขายให แ ก ผู ถื อหุ น เดิ ม ตามสัดสวนการถือหุน (Rights Offering) นั้น บริษัทไดดําเนินการรับจองซื้อหุนสามัญใหมดังกลาวระหวางวันที่ 2 - 6 กุมภาพันธ 2552 และมีผลการจองซื้อหุนเปนจํานวน 3,272,563,248 หุน บริษัทฯ ไดดําเนินการจดทะเบียน เปลี่ยนแปลงทุนชําระแลวตอกระทรวงพาณิชยเปนที่เรียบรอยแลว เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2552 ดั ง นั้ น ณ วั น ที่ 17 ภุ ม ภาพั น ธ 2552 บริ ษั ท มี ทุ น จดทะเบี ย นจํ า นวน 153,332,070,330 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 14,633,873,051 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิ จํานวน 699,333,982 หุ น มู ล ค าที่ ต ราไว หุ น ละ 10 บาท โดยมี ทุ น ที่ เรี ย กชํ าระแล ว จํ านวน 77,757,424,030 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 7,076,408,421 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิ จํานวน 699,333,982 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท

สวนที่ 2

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

13 - 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล 1.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการบริหารและผูที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังในฐานะ กรรมการบริหารของบริษัทหรือผูดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจาขอรับรองวา ขอมูลดังกลาว ถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจา ขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดงขอมูลอยาง ถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทยอยแลว (2) ขาพเจาเป น ผูรับ ผิดชอบตอการจั ดให บ ริษัท มี ระบบการเป ดเผยขอ มู ลที่ ดีเพื่ อ ให แน ใจวาบริษัท ได เปดเผยขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมี การปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการ ปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2552 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของ ระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและ บริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองแลว ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อ กํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาว ขางตน”

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

1. นายศุภชัย

เจียรวนนท

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และประธานคณะผูบริหาร

……………………………………

2. นายอธึก

อัศวานันท

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย

……………………………………

3. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ โครงขายและเทคโนโลยี

…………………………………….

4. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - การลงทุนกลุม

……………………………………

5. นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ศรีสอาน

กรรมการอิสระ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

…………………………………….

นายณรงค ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

นายวิทยา

ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เพ็ชรสุวรรณ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

ดร.โกศล

ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

นายโชติ

ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

ประธานกรรมการ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

นายธนินท ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

รองประธานกรรมการ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

นายสุเมธ ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เตาลานนท

รองประธานกรรมการ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

ดร. อาชว ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สุวรรณกิตติ

รองประธานกรรมการ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

นายเฉลียว ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เจียรวนนท

กรรมการ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

นายสุภกิต ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

สรรพสิทธิ์วงศ

กรรมการ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

นายอํารุง ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

เบสไซ Bessai)

กรรมการ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

…………………………………….

นายเยนส บี. (Mr. Jens B. ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ฟาย Vay)

กรรมการ

……………………………………

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

นายนอรเบิรต (Mr. Norbert ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ นายฮาราลด (Mr. Harald

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

ลิงค Link)

กรรมการ

…………………………………..

นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกตองของขอมูล 2.

การรับรองความถูกตองของขอมูลโดยกรรมการอื่นๆ

“ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวัง ในฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดสอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิดหรือขาดขอมูลที่ควรตอง แจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญ ชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และนางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ นายณรงค

ตําแหนง เจียรวนนท

ลายมือชื่อ

กรรมการ

……………………………………

ผูรับมอบอํานาจ นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

……………………………………

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

……………………………………

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

……………………………………

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล

16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดกรรมการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551) ชื่อ-นามสกุล

นายณรงค ศรีสอาน

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

กรรมการอิสระ

81

10,000 หุน

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญากิตติมศักดิ์

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

นายวิทยา เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ และ ประธาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ

72

-

-

ปริญญาโท

นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ

ปริญญาตรี

นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ

เนติบณ ั ฑิต

สํานักเกรส อินน

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000

เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ 2541-ปจจุบัน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. โออิชิ กรุป ปจจุบัน บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท บมจ. แอดวานซ อะโกร รองประธานกรรมการบริษัท และ รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไทยเบฟเวอรเรจส รองประธานกรรมการบริษัท และ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. เบียรไทย (1991) ประธานกรรมการบริษัท บจ. สุราบางยี่ขนั ประธานกรรมการบริหาร บจ. ไทยเบฟเวอรเรจแคน ประธานกรรมการบริษัท บจ. ธนากรผลิตภัณฑนา้ํ มันพืช กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ 2541-ปจจุบัน บจ. เคไลน (ประเทศไทย) และบริษัทในเครือ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 2534-2535 เอกอัครราชทูตประจําประเทศสหรัฐอเมริกา 2531 เอกอัครราชทูตประจําประเทศเบลเยีย่ ม และประชาคมยุโรป 2527 เอกอัครราชทูตประจําประเทศแคนาดา 2524 อธิบดีกรมเศรษฐกิจ 2522

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

69

-

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาเอก

สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London

ปริญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Director Certification Program (DCP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000 นายโชติ โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

66

-

-

ผูสอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการจัดการดานการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ประเทศสหรัฐอเมริกา การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000

นายธนินท เจียรวนนท

ประธานกรรมการ

69

-

เปนบิดาของ นายสุภกิต เจียรวนนท นายณรงค เจียรวนนท นายศุภชัย เจียรวนนท

Commercial School ประเทศฮองกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร การผานการอบรมทีเ่ กีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2547-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2544-ปจจุบัน กรรมการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 2544-2548 นายกสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ 2543-2544 ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแหงประเทศไทย 2529-2535 อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานเจาหนาที่บริหาร 2547-2549 ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทิสโก จํากัด (มหาชน) 2543-2544 ประธานกรรมการบริหาร กลุมบมจ. ไทยวา 2537-2540 กรรมการผูจัดการใหญและกงสุลใหญแหงเดนมารก ประจําประเทศไทย 2535-2537 บมจ. อี๊สตเอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค ปจจุบัน กรรมการ บจ. คิงฟชเชอรโฮลดิ้งส บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร ประธานกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บมจ. สยามแม็คโคร บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค ประธานกรรมการ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ และ บริษัทในเครือ

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายสุเมธ เจียรวนนท

ดร.อาชว เตาลานนท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

รองประธานกรรมการ

74

150,000 หุน

เปนบิดาของ นายชัชวาลย เจียรวนนท

รองประธานกรรมการ

71

-

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

มัธยมศึกษา โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย จังหวัดราชบุรี

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

ปริญญากิตติมศักดิ์

ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยหอการคาไทย วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ปริญญาเอก

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาโท

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

พิเศษ

วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรรัฐรวมเอกชนรุนที่ 1

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2536-2542 กรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ หอการคาไทย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย 2534-2535 รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP)

เอกสารแนบ 1

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายเฉลียว สุวรรณกิตติ

รองประธานกรรมการ

80

3,350,000 หุน

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

สาขาบริหารธุรกิจ Indiana University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

ปริญญาตรี

สาขาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

นายอธึก อัศวานันท*

รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย และ เลขานุการบริษัท

57

1,000,046 หุน

-

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

ปริญญาโท

สาขานิตศิ าสตร Specialised in International Legal Studies, New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขานิตศิ าสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การอบรม หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุนที่ 3 การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ประวัตกิ ารทํางานสําคัญอืน่ ๆ : ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ สภาหอการคาแหงประเทศไทย : กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท บขส จํากัด : กรรมการอํานวยการ (กอตั้ง) องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการและหัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล 2551-ปจจุบัน เลขานุการบริษัท บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส และ บริษัทในเครือ 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ Aqua-Agri Foods International, Inc. ปจจุบัน ผูพิพากษาสมทบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ 2544-2549 การคาระหวางประเทศกลาง Baker & McKenzie 2521-2540 อาจารยพิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิตศิ าสตร ปจจุบัน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

เอกสารแนบ 1

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

นายศุภชัย เจียรวนนท*

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธาน คณะผูบริหาร

41

1,250,000 หุน

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

คุณวุฒทิ างการศึกษา

เปนบุตรของ ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) นายธนินท เจียรวนนท Boston University, ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนนองชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท การผานการอบรมที่เกีย่ วของ และนายณรงค เจียรวนนท ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร 2542-ปจจุบัน รองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส 2540 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการและพัฒนาธุรกิจ 2539 ผูจัดการทั่วไปโทรศัพทนครหลวงตะวันออก 2538 ผูอํานวยการอาวุโสฝายสนับสนุนและประสานงานการวางแผนและปฏิบัติงานโครงการ 2537 ผูอํานวยการฝายหองปฏิบัติการ 2536 เจาหนาที่อาวุโสประจําสํานักกรรมการผูจดั การใหญ 2535 บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประธานเจาหนาที่บริหาร บมจ. ทรู วิชั่นส 2549-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มูฟ 2545-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2544-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชนั่ ส 2543-2548 ประธานกรรมการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2542-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2539 รองประธานเจาหนาที่บริหารสายปฏิบัตกิ าร บมจ. ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ 2538 (เดิมชื่อ บมจ. ยูทีวี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค ) กรรมการผูจัดการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส ประสบการณทาํ งานประมาณ 2 ปใน บจ. วีนิไทย 2534 ประสบการณทาํ งาน 1 ปใน Soltex Federal Credit Union, USA 2533 ประสบการณทาํ งาน 1 ปใน บจ. สยามแม็คโคร 2532 ประวัตดิ านกรรมการ - บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ - บจ. ทรู มูฟ - บมจ. ทรู วิชั่นส - บริษัทยอยอื่น ๆ ในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น - บจ. พันธวณิช - บมจ. ซีพีพีซี - บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพรเซสส อินเตอรเนชัน่ แนล - บจ. เอเชีย ฟรีวิลล - บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส - บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ ประวัติดานกิจกรรมเพื่อสังคมและตําแหนงอืน่ ๆ กรรมการเสนอตัวเปนเจาภาพจัดการแขงขันกีฬาเยาวชนโอลิมปคฤดูรอนครั้งที่ 1 2550-ปจจุบัน ประจําป พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กรรมการจัดหาและบริการดวงตาแหงสภากาชาดไทย 2549-ปจจุบัน กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (TCT) 2542-ปจจุบัน กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียน (LCA) 2548-2550

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายสุภกิต เจียรวนนท*

กรรมการ

45

-

เปนบุตรของ นายธนินท เจียรวนนท เปนพี่ชายของ นายณรงค เจียรวนนท และ นายศุภชัย เจียรวนนท

นายชัชวาลย เจียรวนนท*

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร การลงทุนกลุม

46

-

เปนบุตรของ นายสุเมธ เจียรวนนท

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการรวม บจ. เซี่ยงไฮ คิงฮิวล – ซุปเปอรแบรนดมอล ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพร อินเตอรเนชัน่ แนล ประธานกรรมการบริษัท บมจ. ทรู วิชั่นส ประธานกรรมการบริหาร บจ. เทเลคอม โฮลดิ้ง ประธานกรรมการ กลุม ธุรกิจพัฒนาทีด่ ิน (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจยานยนตอุตสาหกรรมและการเงิน บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดนิ (ไทย) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจําหนาย (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – การลงทุนกลุม บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2544-ปจจุบัน กรรมการ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบ ริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง 2540-ปจจุบัน ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย , บจ. ทรู อินเทอรเน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท 2549-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรม 2535-2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรม 2533-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

เอกสารแนบ 1

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน*

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนา คณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ โครงขายและ เทคโนโลยี

51

1,627,058 หุน

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ Pepperdine University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาโท

วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ

นายเยนส บี. เบสไซ

กรรมการ

กรรมการ

56

38

384,000 หุน

-

-

-

ปริญญาโท

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปริญญาตรี

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ กรรมการผูจดั การ และ 2543-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ 2541-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ 2540-2541 เทคโนโลยีสารสนเทศ ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต 2539-2540 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก 2538-2539 บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2544-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน รองประธานสํานักการเงินเครือเจริญโภคภัณฑ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. อยุธยา อลิอันซ ซี.พี. ประกันชีวติ กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี 1 ส.ค. 2546-ปจจุบัน กรรมการ ธนาคารวีนาสยาม จํากัด

Master Degree of Business Administration of J.W. Goethe-University of Frankfurt am Main, Germany

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2550-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2550-ปจจุบัน Head of KfW’s South-East Asia Regional Office, Bangkok 2549-2550 Senior Officer of KfW’s South-East Asia Regional Office, Bangkok 2541-2549 KfW Export and Project Finance, Frankfurt am Main 2533-2535 Deutsche Bank, Osnabruck

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

เอกสารแนบ 1

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายนอรเบิรต ฟาย

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

กรรมการ

57

-

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

MBA (Dipl. Kaufmann): University of Mannheim การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

นายฮาราลด ลิงค

กรรมการ

54

50,000 หุน

-

MBA, St. Gallen University, Switzerland การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2550-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย KfW First Vice President & Head of Department 2547-ปจจุบัน KfW Vice President & Deputy Head of Department 2531-2547 (Asset Finance and Export & Project Finance) KfW Project Manager Aircraft & Export - Financing 2524-2531 BHF-Bank branch manager 2521-2524 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2541-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ปูนซีเมนตนครหลวง บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2530-ปจจุบัน Managing Partner, B. Grimm & Co. R.O.P. Chairman, B. Grimm Group of Companies

8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายณรงค เจียรวนนท

กรรมการ

43

84,000 หุน

เปนบุตรของ นายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท และ เปนพี่ชายของ นายศุภชัย เจียรวนนท

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

วิทยาศาสตรบัณฑิต, สาขาวิชา Business Administration, New York University, USA

Advance Management Program: Transforming Proven Leaders into Global Executives, Harvard Business School, Harvard University การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2551 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2551 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ Chia Tai Distribution Investment Company Limited 2550 - ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร Chia Tai Enterprise International Limited รองประธานกรรมการบริหาร Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริหาร C.P. Pokphand Co., Ltd. กรรมการบริหาร Beijing CP Lotus Co., Ltd. รองประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจ ัดการ Shi jia zhuang Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2548 - ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร Qingdao Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. รองประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูจ ัดการ Jinan Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2547 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ประธานกรรมการบริหาร Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอํานวยการบริหาร Foshan Nanhai Hua Nan Tong Trading Development Co., Ltd. ผูอํานวยการบริหาร Guangdong Hua Nan Tong Trading Development Co., Ltd. กรรมการผูจัดการ Xi’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอํานวยการบริหาร Tai’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ประธานกรรมการบริหาร Chester Food (Shanghai) Co., Ltd. ประธานกรรมการบริหาร CP Food Product (Shanghai) Co., Ltd. 2546 - ปจจุบัน รองประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูจ ัดการ Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. รองประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูจ ัดการ Tianjin Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอํานวยการบริหาร Chia Tai Enterprises International Limited 2545 - ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอํานวยการบริหาร Business Development Bank 2544 - ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. ผูอํานวยการบริหาร Yangtze Supermarket Investment Co., Ltd. 2544 - 2546 ผูอํานวยการบริหาร Hong Kong Fortune Limited 2540 - 2545 กรรมการผูจัดการ Shanghai Ek-Chor Distribution Co., Ltd. กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Trading (Shanghai) Co., Ltd. 2538 - 2540 กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Distribution (Thailand) Co., Ltd.

9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเจาหนาทีบ่ ริหาร (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551) ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

นายศุภชัย เจียรวนนท

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธาน คณะผูบริหาร

41

1,250,000 หุน

เอกสารแนบ 1

ความสัมพันธ คุณวุฒทิ างการศึกษา ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนบุตรของ ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) นายธนินท เจียรวนนท Boston University, ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนนองชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท การผานการอบรมที่เกีย่ วของ และนายณรงค เจียรวนนท ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร 2542-ปจจุบัน รองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส 2540 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการและพัฒนาธุรกิจ 2539 ผูจัดการทั่วไปโทรศัพทนครหลวงตะวันออก 2538 ผูอํานวยการอาวุโสฝายสนับสนุนและประสานงานการวางแผนและปฏิบัติงานโครงการ 2537 ผูอํานวยการฝายหองปฏิบัติการ 2536 เจาหนาที่อาวุโสประจําสํานักกรรมการผูจดั การใหญ 2535 บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประธานเจาหนาที่บริหาร บมจ. ทรู วิชั่นส 2549-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มูฟ 2545-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2544-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชนั่ ส 2543-2548 ประธานกรรมการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2542-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2539 รองประธานเจาหนาที่บริหารสายปฏิบัตกิ าร บมจ. ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ 2538 (เดิมชื่อ บมจ. ยูทีวี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค ) กรรมการผูจัดการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส ประสบการณทาํ งานประมาณ 2 ปใน บจ. วีนิไทย 2534 ประสบการณทาํ งาน 1 ปใน Soltex Federal Credit Union, USA 2533 ประสบการณทาํ งาน 1 ปใน บจ. สยามแม็คโคร 2532 ประวัตดิ านกรรมการ - บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ - บจ. ทรู มูฟ - บมจ. ทรู วิชั่นส - บริษัทยอยอื่น ๆ ในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น - บจ. พันธวณิช - บมจ. ซีพีพีซี - บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพรเซสส อินเตอรเนชัน่ แนล - บจ. เอเชีย ฟรีวิลล - บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส - บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ ประวัตดิ านกิจกรรมเพื่อสังคมและตําแหนงอืน่ ๆ 2550-ปจจุบัน กรรมการเสนอตัวเปนเจาภาพจัดการแขงขันกีฬาเยาวชนโอลิมปคฤดูรอนครั้งที่ 1 ประจําป พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2549-ปจจุบัน กรรมการจัดหาและบริการดวงตาแหงสภากาชาดไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (TCT) 2548-2550 กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียน (LCA) 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนา คณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ โครงขายและ เทคโนโลยี

51

1,627,058 หุน

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ Pepperdine University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาโท

วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) นายชัชวาลย เจียรวนนท

กรรมการ และ ผูอํานวยการ บริหาร การลงทุนกลุม

46

-

เปนบุตรของ นายสุเมธ เจียรวนนท

ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ กรรมการผูจดั การ และ 2543-ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ 2541-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ 2540-2541 เทคโนโลยีสารสนเทศ ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต 2539-2540 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก 2538-2539 บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – การลงทุนกลุม บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2544-ปจจุบัน กรรมการ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบ ริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง 2540-ปจจุบัน ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย , บจ. ทรู อินเทอรเน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท 2549-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรม 2535-2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรม 2533-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

เอกสารแนบ 1

11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายอธึก อัศวานันท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

รองประธานกรรมการ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย และ เลขานุการบริษัท

57

1,000,046 หุน

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

สาขานิตศิ าสตร Specialised in International Legal Studies, New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขานิตศิ าสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การอบรม หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุนที่ 3 การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการและหัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล 2551-ปจจุบัน เลขานุการบริษัท บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส และ บริษัทในเครือ 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ Aqua-Agri Foods International, Inc. ปจจุบัน ผูพิพากษาสมทบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ 2544-2549 การคาระหวางประเทศกลาง Baker & McKenzie 2521-2540 อาจารยพิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิตศิ าสตร ปจจุบัน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

นายนพปฎล เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการเงิน

41

210,000 หุน

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร Rensselaer Polytechnic Institute, USA

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program รุน 101/2008

เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2550 - ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 2546 - 2550 ผูอํานวยการและผูจดั การทั่วไป ดานออนไลน 2543 - 2546 ผูอํานวยการอาวุโส สายงานการเงิน 2541 - 2543 ผูอํานวยการฝายพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ กรรมการ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น กรรมการ บจ. ฟวเจอร เกมเมอร กรรมการ บจ. เอ็มเคเอสซีเวิลด ดอทคอม กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. อินเตอรเนต ชอปปงมอลล กรรมการ บจ. ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท กรรมการ บจ. เทเลคอม เค เอส ซี กรรมการ บจ. ทรู มันนี่ กรรมการ บจ. เอเชีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. ทรู แมจิค กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส 2547- ปจจุบัน กรรมการ บจ. บี บอยด ซีจี 2549 - 2551 กรรมการ บจ. เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต 2549 - 2551 กรรมการ บจ. ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต 2549 - 2551 กรรมการ บจ. เอ็นซี ทรู 2547 - 2551 กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร 2546 - 2551 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ 2550 - 2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น 2550 - 2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู อินเตอรเนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ 2550 - 2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย 2549 - 2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท 2548 - 2550 กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต 2546 - 2550 ผูอํานวยการฝาย Corporate Finance & Business Development 2540 - 2541 บจ. เอเชียมัลติมีเดีย

13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

ผูอํานวยการบริหาร ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ ผูอํานวยการบริหาร ดานลูกคาองคกร ธุรกิจ

45

850,404 หุน

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขาการบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Diploma of Australian Institution of Director 2005

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

เอกสารแนบ 1

ผูอํานวยการบริหาร ดานลูกคาองคกร ธุรกิจขนาดใหญ และบริการ ระหวางประเทศ และ หัวหนาคณะ ผูบริหารดาน ปฏิบัติการ เทคโนโลยี สารสนเทศและ การบริหารลูกคา

50

700 หุน

-

ปริญญาตรี

สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร University of South Alabama, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุนที่ 54)

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร – ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ ผูอํานวยการบริหาร – ดานลูกคาองคกรธุรกิจ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2544 รองกรรมการผูจัดการใหญดานพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มันนี่ กรรมการ บมจ. ทรูวิชั่นส 2545 รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานธุรกิจ บจ. ทรู มูฟ 2541-2545 ผูจัดการทั่วไป บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2541-2544 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญและบริการ ระหวางประเทศ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - เทคโนโลยี สารสนเทศและการบริหารลูกคา บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน Executive Director Corporate Solution บจ. ทรู มูฟ รักษาการกรรมการผูจดั การใหญ บจ. ทรู มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร กรรมการบริหาร บจ. พันธวณิช กรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชนั่ ส 2549-ปจจุบนั กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2544-2546 กรรมการผูจัดการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery 2544-2545 ผูอํานวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย ผูอํานวยการฝายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2543 ผูจัดการฝายผลิตภัณฑคอมพิวเตอรขนาดใหญ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายการเงินและบริหาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2541 ผูจัดการฝายธุรกิจบริการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2540 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน ทีถ่ ือ (31/12/51)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

ผูอํานวยการบริหาร ธุรกิจเพย ทีวี

54

-

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตลาดกระบัง

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

เอกสารแนบ 1

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-2546 กรรมการบริหาร บมจ. ล็อกซเลย 2540-2542 ผูชวยกรรมการผูจดั การ บมจ. ล็อกซเลย บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท 2551-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ฟวเจอร เกมเมอร กรรมการ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ 2550-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เทเลคอม เค เอส ซี กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส 2549-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. เรด มีเดีย กรรมการ บจ. ไอบีซี ซิมโฟนี กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวสิ กรรมการ บจ. เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. อินเตอรเนต ชอบปง มอลล กรรมการ บจ. ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท กรรมการ บจ. บี บอยด ซีจี กรรมการ บจ. ทรู แมจิค กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร 2544-2545 บจ. ฮัทชิสนั ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร 2535-2543 บจ. ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย)

15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุม (ณ 31 ธันวาคม 2551)

True

รายชื่อ

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N TT&D W&W TT TMN True Internet Asia DBS AI AWC TM TIDC TDE Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> TA Orient CHV Music Telecom Inter BITCO TMV TVS TSC NEC ARM NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV RM IBC TVSC SSV PTE MKSC TMS IKSC KSC ISM OAGS TKSC Beboyd TIC True Magic TMR AnyMobile Future Gamer OS

บริษัทยอย/บริษัทรวม

1.

นายธนินท

เจียรวนนท

C

/

2.

นายสุเมธ

เจียรวนนท

VC

/

3.

นายโชติ

โภควนิช*

/

4.

นายเฉลียว

สุวรรณกิตติ

VC

/

/ /

5.

ดร. อาชว

เตาลานนท

VC

/

/

/ / / / /

/

6.

ดร. โกศล

เพ็ชรสุวรรณ*

7.

นายชัชวาลย

เจียรวนนท

/

/

/ / /

/ / /

/

8.

นายสุภกิต

เจียรวนนท

/

/

/

/ /

9.

นายศุภชัย

เจียรวนนท

10.

นายณรงค

ศรีสอาน*

11.

นายวิทยา

เวชชาชีวะ*

/ / / / / /

12.

นายอธึก

อัศวานันท

VC

13.

นายฮาราลด

ลิงค

14.

นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

15.

นายอํารุง

สรรพสิทธิ์วงศ

16.

นายเยนส บี.

เบสไซ

17.

นายนอรเบิรต

ฟาย

18.

นายณรงค

เจียรวนนท

* กรรมการอิสระ

/ / / / / /

/ / /

/

/ / /

/

/ / / /

/

/ /

/

/ / /

/ / / / / / / / /

/

/ / /

/ / /

/ / / / / / / / /

/ /

/ /

/ / /

/ /

/ / / / / / / / /

/ /

/

/

/

/ / / / / / / / / / / / / / /

/ / /

/

/

/ / /

/

/ / /

/

/

/ /

/

/

/

/

/ C = ประธานกรรมการ

VC = รองประธานกรรมการ

/

/ = กรรมการ

หมายเหตุ เอกสารแนบ 1

16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อยอ True TH TE TLR K.I.N. W&W TMN Asia DBS AWC TIDC Nilubon <BVI> TA Orient Telecom Inter TMV TSC ARM TDS TIG TPC CNP RM TVSC PTE TMS KSC OAGS Beboyd True Magic OS

เอกสารแนบ 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อเต็ม บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด บริษัท เค. ไอ. เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด Nilubon Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) Telecom International China Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท สกาย ออฟฟศ จํากัด) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ฉะเชิงเทรา สกาย เน็ตเวิรค จํากัด) บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด บริษัท เรด มีเดีย จํากัด บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน)) บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู แฟนเทเชีย จํากัด) บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท อินเตอรเนต เค เอส ซี จํากัด) บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด บริษัท ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท จํากัด บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท ทรู แมจิค จํากัด บริษัท ออนไลน สเตชั่น จํากัด

ชื่อยอ TP TLS TI TT&D TT True Internet AI TM TDE K.I.N. <BVI> CHV Music BITCO TVS NEC NC True SD SM TUC CTV IBC SSV MKSC IKSC ISM TKSC TIC TMR Future Gamer

ชื่อเต็ม บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนต จํากัด) บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด บริษัท ทรู ทัช จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท มิวสิค บัส จํากัด) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท อาร แอนด อาร คอมมิวนิเคชั่น จํากัด) บริษัท คลิกทีวี จํากัด บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จํากัด บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด บริษัท อินเตอรเนต ชอปปง มอลล จํากัด บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอ็น แอนด ที คอมมิวนิเคชั่น จํากัด) บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เวฟ เวิรคเกอร จํากัด) บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด

17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N TT&D W&W TT TMN True Internet Asia DBS AI AWC TM TIDC TDE Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> TA Orient CHV Music Telecom Inter BITCO TMV TVS TSC NEC ARM NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV RM IBC TVSC SSV PTE MKSC TMS IKSC KSC ISM OAGS TKSC Beboyd TIC True Magic TMR Future Gamer OS

บริษัทยอย/บริษัทรวม

รายชื่อ

1.

นายมิน

เธียรวร

2.

นายสุนทร

อรุณานนทชัย

3.

พลเอกสุจินดา

คราประยูร

/

4.

นายมนตรี

นาวิกผล

/

5.

นายจตุรงค

จตุปาริสุทธิ์

/

6.

นายขจร

เจียรวนนท

7.

นายอาณัติ

เมฆไพบูลยวัฒนา

8.

นายคิโยฟูมิ

คุซากะ

9.

นายนนท

อิงคุทานนท

10.

พล.ต.ม.ร.ว.ศุภวัฒน เกษมศรี

11.

นายวิลเลี่ยม

แฮริส

12.

นายนพปฎล

เดชอุดม

13.

นายธนะชัย

วงศทองศรี

/

14.

นายถาวร

นาคบุตร

/

15.

พลตํารวจเอกนพดล สมบูรณทรัพย

16.

นายวสันต

เอารัตน

17.

นายอติรุฒม

โตทวีแสนสุข

18.

นายพีระพันธุ

สุนทรศารทูล

/

19.

นายวิศิษฏ

รักษวิศิษฏวงศ

/

20.

นายทรงธรรม

เพียรพัฒนาวิทย

21.

นายธิติฏฐ

นันทพัฒนสิริ

22.

นายสมพล

จันทรประเสริฐ

เอกสารแนบ 2

/

/

/

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/ /

/

/ /

/

/

/

/

/ / /

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/ /

/

/ /

/ /

/ /

/

/

/ /

/ / / /

/

/

/ /

/

/

/

/

/ /

/

/ /

/ /

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N TT&D W&W TT TMN True Internet Asia DBS AI AWC TM TIDC TDE Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> TA Orient CHV Music Telecom Inter BITCO TMV TVS TSC NEC ARM NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV RM IBC TVSC SSV PTE MKSC TMS IKSC KSC ISM OAGS TKSC Beboyd TIC True Magic TMR Future Gamer OS

บริษัทยอย/บริษัทรวม

รายชื่อ

23.

นายเกษม

กรณเสรี

/

24.

นายธัช

บุษฎีกานต

/

25.

ดร.วัลลภ

วิมลวณิชย

26.

นายฮันส โรเจอร สนุค

27.

นายสมพันธ

จารุมิลินท

28.

นายทาคาอากิ

ฮัทโตริ

29.

นายวิสิฐ

ตันติสุนทร

30.

นางเพ็ญทิพยภา ดุลยจินดา

/

31.

นายสหาย

ทรัพยสุนทรกุล

/

32.

นายกอศักดิ์

ไชยรัศมีศักดิ์

/

33.

นายพิสิฏฐ

ภัคเกษม

/

34.

นางปรีเปรม

เสรีวงษ

/

35.

นายวัชระ

กาญจนพันธุ

/

36.

นางอุไรวรรณ

แสงแกว

/

37.

นางอลิสา

วรรณการโสภณ

/

38.

นายไพสิฐ

วัจนะปกรณ

39.

นายฟูมอิ ากิ

ยามาดะ

/

40.

นายโตชิยะ

มัทซุกิ

/

41.

นายสงวนศักดิ์

เภสัชสงวน

42.

นายชูมนัส

เกษเสถียร

43.

นายเต็ก จิน

คิม

/

44.

นายคริสโทเฟอร ดง ชุง

/

เอกสารแนบ 2

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/ / /

/

/

/

/ /

/ /

/

/ /

/ /

/

/

/

/ /

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N TT&D W&W TT TMN True Internet Asia DBS AI AWC TM TIDC TDE Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> TA Orient CHV Music Telecom Inter BITCO TMV TVS TSC NEC ARM NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV RM IBC TVSC SSV PTE MKSC TMS IKSC KSC ISM OAGS TKSC Beboyd TIC True Magic TMR Future Gamer OS

บริษัทยอย/บริษัทรวม

รายชื่อ

45.

นายขจรศักดิ์

สิงหเสนี

46.

นายครรชิต

บุนะจินดา

47.

นายวสุ

คุณวาสี

48.

นายทวีชัย

ภูรีทิพย

49.

พันเอกหมอมหลวง พงษชมพูนุท ทองแถม

/

50.

พลเอกบุญเลิศ

/

51.

นายเทอเรนส ไมเคิล คัมเบอรแลนด

/

52.

นายแบรรี่ ไมเคิล สมิท

/

53.

นายเดวิด จอรจ

เลน

/

54.

นายสฤษดิ์

จิณสิทธิ์

/

55.

นายเดชา

สิงหชินสุข

/

56.

นายสุพจน

ลิ้มสวนทรัพย

/

57.

นายวันนิวตั ิ

ศรีไกรวิน

/

58.

นายปพนธ

รัตนชัยกานนท

59.

นายสายัณห

ถิ่นสําราญ

60.

นายเจ โฮ

ลี

61.

ดร.จิตติ

วิจักขณา

62.

ดร.เจน

ศรีวัฒนะธรรมา

/

63.

นายทรงพล

ศุภชลาศัย

/

64.

นายพลพันธุ

อุตภาพ

/

65.

นายสุพจน

มหพันธ

/

66.

ดร.พิษณุ

สันทรานันท

เอกสารแนบ 2

/ / /

/

/ /

แกวประสิทธิ์

/

/

/

/

/

/ / /

/

/

/

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N TT&D W&W TT TMN True Internet Asia DBS AI AWC TM TIDC TDE Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> TA Orient CHV Music Telecom Inter BITCO TMV TVS TSC NEC ARM NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV RM IBC TVSC SSV PTE MKSC TMS IKSC KSC ISM OAGS TKSC Beboyd TIC True Magic TMR Future Gamer OS

บริษัทยอย/บริษัทรวม

รายชื่อ

67.

นายอาจกิจ

68.

พลตํารวจเอก พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย

69.

นายอโณทัย

รัตนกุล

70.

นายเจนวิทย

คราประยูร

71.

นายกิติกร

เพ็ญโรจน

72.

นายพิรุณ

ไพรีพายฤทธิ์

73.

นางสาวศุภสรณ รุงโรจนวุฒิกุล

/

/

74.

นายสมบุญ

พัชรโสภาคย

/

/

75.

นายยุทธนา

บุญออม

76.

นายชีวนิ

โกสิยพงษ

/

77.

นางวรกัญญา

โกสิยพงษ

/

78.

นายนิพนธ

หลงสมบุญ

79.

นายสุภกิจ

วรรธนะดิษฐ

80.

นายสมเกียรติ

สุจริตพานิช

/

81.

นายสายัณห

สัตยกิจขจร

/

82.

นายกรีกรณิ์

ไพรีพินาศ

83.

นายอรรถพล

ณ บางชาง

84.

นายองอาจ

ประภากมล

85.

นายวินิจ

เลิศรัตนชัย

86.

นายกึล เพียว

ฮง

/

87.

นายฮยอน คู

คัง

/

88.

นายพลชัย

วินิจฉัยกุล

เอกสารแนบ 2

สุนทรวัฒน

/

/ /

/

/

/

/

/ /

/

/ / /

/

/

/ /

/

/

/ /

/

/ /

/

/

/ /

/

/

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2551)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N TT&D W&W TT TMN True Internet Asia DBS AI AWC TM TIDC TDE Nilubon <BVI> K.I.N. <BVI> TA Orient CHV Music Telecom Inter BITCO TMV TVS TSC NEC ARM NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV RM IBC TVSC SSV PTE MKSC TMS IKSC KSC ISM OAGS TKSC Beboyd TIC True Magic TMR Future Gamer OS

บริษัทยอย/บริษัทรวม

รายชื่อ

89.

นายสุระ

เกนทะนะศิล

90.

นายมาซายูกิ

ยามาโต

91.

นายพาค ซัง

จุน

92.

นายมานะ

ประภากมล

/

93.

นายอิศร

เตาลานนท

/

94.

นายสงา

สุริยะมงคล

/

95.

นายวีรวัฒน

กาญจนดุล

/

96.

นายไง

มาน

/

97.

นายจอหน ลัว

ยู เลีอง

/

98.

นางสาวลอรีน

อลิซาเบธ วอง

/

99.

นายแอนโทนี่

โฮวารด เดย

/

100.

นางสาวชารลอต วิคตอเรีย อีสเตอร เบอรร

/

101.

นายสุชาติ

ตั้งตระกูล

/

102.

ดร.เจน

จูฑา

/ /

103.

นายอรุณ

ทัศนาจันทธานี

/ /

104.

นายธีรศักดิ์

จีรอัศวพงศ

/

105.

นายนิมิตร

สุขุมาสวิน

เอกสารแนบ 2

/

/ / /

/

/

/

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หมายเหตุ ชื่อยอ TH TE TLR K.I.N. W&W TMN Asia DBS AWC TIDC Nilubon <BVI> TA Orient Telecom Inter TMV TSC ARM TDS TIG TPC CNP RM TVSC PTE TMS KSC OAGS Beboyd True Magic OS

เอกสารแนบ 2

ชื่อเต็ม บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด บริษัท เค. ไอ. เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด Nilubon Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) Telecom International China Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด บริษัท เอเซีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท สกาย ออฟฟศ จํากัด) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ฉะเชิงเทรา สกาย เน็ตเวิรค จํากัด) บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด บริษัท เรด มีเดีย จํากัด บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ยูบีซี เคเบิ้ล เน็ตเวอรค จํากัด (มหาชน)) บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู แฟนเทเชีย จํากัด) บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท อินเตอรเนต เค เอส ซี จํากัด) บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด บริษัท ออนไลน แอดเวอรไทซิ่ง โกลดไซท จํากัด บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท ทรู แมจิค จํากัด บริษัท ออนไลน สเตชั่น จํากัด

ชื่อยอ TP TLS TI TT&D TT True Internet AI TM TDE K.I.N. <BVI> CHV Music BITCO TVS NEC NC True SD SM TUC CTV IBC SSV MKSC IKSC ISM TKSC TIC TMR Future Gamer

ชื่อเต็ม บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู ฟลีต แมเนจเมนต จํากัด) บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด บริษัท ทรู ทัช จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท มิวสิค บัส จํากัด) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท อาร แอนด อาร คอมมิวนิเคชั่น จํากัด) บริษัท คลิกทีวี จํากัด บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จํากัด บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด บริษัท อินเตอรเนต ชอปปง มอลล จํากัด บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอ็น แอนด ที คอมมิวนิเคชั่น จํากัด) บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เวฟ เวิรคเกอร จํากัด) บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด

6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.