TRUE : FORM 56-1 for the Year 2016 thai

Page 1

แบบแสดงรายการข้อมูล (แบบ 56-1) ประจาปี 2559

บริษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)


สารบัญ หัวข้ อที่ - หน้ า ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1 วิสยั ทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย หรื อกลยุทธ์ในการดาเนิ นงานของบริ ษทั หรื อ กลุ่มบริ ษทั ในระยะยาว 1.2 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สาคัญในปี 2559 1.3 โครงสร้างเงินลงทุนของกลุ่มบริ ษทั 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริ การ 2.2 การตลาด 2.3 การจาหน่ ายเเละช่องทางการจาหน่ าย 2.4 การจัดหาผลิตภัณฑ์หรื อบริ การ 2.5 อุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยและสภาวะการแข่งขัน 2.6 ใบอนุญาตที่กลุ่มทรู และบริ ษทั ย่อย ได้รับ 3. ปัจจัยความเสี่ยง 4. ทรัพย์ สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ 5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลทั่วไปและข้ อมูลสาคัญอืน่ 6.1 ข้อมูลทัว่ ไป 6.2 ข้อมูลสาคัญอื่น

1–1 1-5 1 - 13 2-1 2 - 15 2 - 15 2 - 16 2 - 17 2 - 21 3-1 4-1 5-1 6-1 6 - 13

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 ทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ว 7.2 ผูถ้ ือหุ้น 7.3 การออกหลักทรัพย์อื่น 7.4 นโยบายการจ่ายเงินปันผล 8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1 คณะกรรมการบริ ษทั 8.2 ผูบ้ ริ หาร 8.3 เลขานุการบริ ษทั 8.4 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ 8.5 บุคลากร 8.6 การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน 9. การกากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ 9.2 คณะกรรมการชุดย่อย 9.3 การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ด 9.4 การกากับดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม 9.5 การดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน 9.6 ค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่สานักงานที่ผสู ้ อบบัญชี สงั กัด 9.7 การปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีในเรื่ องอื่นๆ 10. ความรับผิดชอบต่ อสังคม 11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ ยง 11.1 สรุ ปความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ 11.2 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบที่แตกต่างจากความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั 11.3 หัวหน้างานตรวจสอบภายใน 12. รายการระหว่างกัน

7-1 7-2 7-3 7 - 11 8-1 8-5 8-8 8-8 8 - 10 8 - 11 9-1 9-1 9-4 9-7 9-7 9-8 9-8 10 - 1 11 - 1 11 - 1 11 - 1 12 - 1


ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 13.1 ตารางสรุ ปงบการเงิน 13.2 ผูส้ อบบัญชี 13.3 จุดเด่นและอัตราส่วนทางการเงิน 14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ

13 - 1 13 - 4 13 - 5 14 - 1

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล

1

เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1: เอกสารแนบ 2: เอกสารแนบ 3: เอกสารแนบ 4: เอกสารแนบ 5:

1 1 1 1 1

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย/บริษัทร่ วม รายละเอียดเกีย่ วกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน รายละเอียดเกีย่ วกับการประเมินราคาสิ นทรัพย์ รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาปี 2559

ในแบบ 56-1 นี้ คาว่า “ทรู ” “บริ ษทั ฯ” “บริ ษทั ในเครื อ” และ “บริ ษทั ย่อย” หมายความถึง บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ/หรื อ บริ ษทั ในเครื อ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย ในกรณี ที่มีขอ้ สงสัยว่าบริ ษทั ใด เป็ นผูร้ ับผิดชอบหรื อดาเนินการกิจการหนึ่งกิจการใดที่ปรากฏในเอกสารฉบับนี้ สามารถส่งคาถามมาได้ที่ ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 699-2515 โทรสาร (662) 643-0515 อีเมล์ ir_office@truecorp.co.th


ศัพท์ เทคนิคและคำย่ อ

สัญญาให้ดาเนินการฯ

สัญญาให้ดาเนินการให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN 1800 ระหว่าง CAT Telecom (การสื่ อสารแห่งประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู มูฟ (บริ ษทั ไวร์ เลส คอมมูนิเคชัน่ ส์ เซอร์ วสิ จากัด ในขณะนั้น) ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539

กทค.

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม

กลุ่มทรู

บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)

กสท

คณะกรรมการกิจการกระจายเสี ยงและกิจการโทรทัศน์

ข้อตกลง AC

ข้อตกลง เรื่ องการเชื่อมโยงโครงข่าย (Access Charge agreement)

ข้อตกลง IC

ข้อตกลง เรื่ องการเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างกัน (Interconnection agreement)

คณะกรรมการ กทช.

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

คณะกรรมการ กสช.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสี ยงและกิจการโทรทัศน์แห่ งชาติ

คณะกรรมการ กสทช. หรื อ กสทช.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสี ยง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ค่า AC

ค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิม หรื อ ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (access charges)

ค่า IC

ค่าเชื่อมต่อโครงข่าย (interconnection charges)

ทรู มลั ติมีเดีย หรื อ ทรู มัลติมีเดีย หรื อ TM

บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จากัด

ทรู มูฟ หรื อ TMV

บริ ษทั ทรู มูฟ จากัด

ทรู วชิ นั่ ส์ หรื อ TVS

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด (มหาชน)

ทรู วชิ นั่ ส์ กรุ๊ ป หรื อ TVG

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด (มหาชน)

ทรู วชิ นั่ ส์ เคเบิ้ล หรื อ TVC

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จากัด (มหาชน)


ทรู อินเทอร์เน็ต ทรู อินเทอร์เน็ต หรื อ TI

บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เน็ต จากัด

บริ ษทั ฯ หรื อ TRUE

บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)

บีเอฟเคที หรื อ BFKT

บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จากัด

ใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz

ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล IMT ย่าน 2.1 GHz

ป.ป.ช.

สานักงานป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ

ประกาศ เรื่ อง IC

ประกาศคณะกรรมการ กทช. ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย โทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Regulation)

พ.ร.บ. การประกอบกิจการ โทรคมนาคม

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544

พ.ร.บ. ร่ วมทุนฯ

พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่ วมงานหรื อ ดาเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535

พ.ร.บ. องค์กรจัดสรร คลื่นความถี่

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553

พ.ร.บ. องค์กรจัดสรร คลื่นความถี่ พ.ศ. 2543

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543

เรี ยลมูฟ หรื อ RMV

บริ ษทั เรี ยล มูฟ จากัด

สัญญา IC

สัญญาเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection contract)

สัญญาขายส่ งบริ การฯ

สัญญาบริ การขายส่ งบริ การโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ HSPA ระหว่าง CAT Telecom ในฐานะผูใ้ ห้บริ การขายส่ ง และ เรี ยลมูฟ ใน ฐานะผูใ้ ห้บริ การขายต่อบริ การ ลงวันที่ 27 มกราคม 2554 ตามที่อาจมี การแก้ไขเพิ่มเติมเป็ นครั้งคราว

สัญญาร่ วมการงานฯ

สัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนขยายบริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานระหว่าง ทีโอที (องค์การโทรศัพท์แห่ งประเทศไทย ในขณะนั้น) กับ บริ ษทั ฯ (บริ ษทั ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชัน่ จากัด ในขณะนั้น) ลงวันที่ 2 สิ งหาคม 2534 ตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเป็ นครั้งคราว


สัญญาร่ วมดาเนินกิจการฯ

สัญญาร่ วมดาเนินกิจการให้บริ การโทรทัศน์ทางสายระบบบอกรับ เป็ นสมาชิก ระหว่าง อสมท (องค์การสื่ อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล (บริ ษทั ไทยเคเบิล้ วิชนั่ จากัด (มหาชน) ในขณะนั้น) ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2537 ตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเป็ น ครั้งคราว และ สัญญาร่ วมดาเนินกิจการให้บริ การโทรทัศน์ระบบบอกรับ เป็ นสมาชิก ระหว่าง อสมท (องค์การสื่ อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู วิชนั่ ส์ (บริ ษทั อินเตอร์ เนชัน่ แนล บรอดคาสติง้ คอร์ ปอร์ เรชัน่ จากัด (มหาชน) ในขณะนั้น) ลงวันที่ 17 เมษายน 2532 ตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเป็ นครั้งคราว แล้วแต่กรณี

อสมท

บริ ษทั อสมท จากัด (มหาชน)

ฮัทชิสัน ซีเอที หรื อ HCWML

บริ ษทั ฮัทชิสัน ซี เอที ไวร์ เลส มัลติมีเดีย จากัด

ADC

บริ ษทั แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด

AP&J

บริ ษทั เอพีแอนด์เจ โปรดักชัน จากัด

AWC

บริ ษทั เอเซี ย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

Beboyd

บริ ษทั บี บอยด์ ซี จี จากัด

BEC TERO TVS

บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จากัด

BITCO

บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์ เทเลเทค จากัด (มหาชน)

CAT หรื อ CAT Telecom

บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)

China Mobile

China Mobile International Holdings Limited

CHNP

บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จากัด

CNP

บริ ษทั ซี นิเพล็กซ์ จากัด

DIF หรื อ ดีไอเอฟ

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ดิจิทลั

Gold Palace Logistics <BVI>

Gold Palace Logistics Limited (จดทะเบียนต่างประเทศ)

Golden Light

Golden Light Company Limited (จดทะเบียนต่างประเทศ)

Goldsky

Goldsky Company Limited (จดทะเบียนต่างประเทศ)


GPI <BVI>

Gold Palace Investments Limited (จดทะเบียนต่างประเทศ)

HMSTL

บริ ษทั ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอร์วสิ (ประเทศไทย) จากัด

HTTCL

บริ ษทั ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิ เคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จากัด

HWMH

บริ ษทั ฮัทชิสัน ไวร์เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จากัด

IFC

International Finance Corporation

IKSC

บริ ษทั ศูนย์บริ การวิทยาการ อินเตอร์ เนต จากัด

IMT

กิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล International Mobile Telecommunications

JAS

บริ ษทั จัสมิน อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน)

K.I.N. <BVI>

K.I.N. (Thailand) Company Limited (จดทะเบียนต่างประเทศ)

KfW

Kreditanstalt fur Wiederaufbau

KSC

บริ ษทั เคเอสซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์ เนต จากัด

MKSC

บริ ษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ดอทคอม จากัด

MVNO

ผูใ้ ห้บริ การเครื อข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบเสมือน หรื อ Mobile Virtual Network Operator

NEC

บริ ษทั เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จากัด

NVDR

บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด หรื อ Thai NVDR Company Limited

Prospect Gain

Prospect Gain Limited (จดทะเบียนต่างประเทศ)

PTE

บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ จากัด

Rosy Legend

Rosy Legend Limited (จดทะเบียนต่างประเทศ)

SD

บริ ษทั ส่ องดาว จากัด

SM

บริ ษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชัน่ จากัด

SMT

บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จากัด


SSV

บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ จากัด

TAM

บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จากัด

TCJ

บริ ษทั ทรู ซี เจ ครี เอชัน่ ส์ จากัด

TDS

บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ เซลส์ จากัด

TE

บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์ วสิ เซส จากัด

TGS

บริ ษทั ทรู จีเอส จากัด

TH

บริ ษทั เทเลคอมโฮลดิ้ง จากัด

TIC

บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

TICC หรื อ TU

บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จากัด”)

TICT

บริ ษทั ทรู ไอคอนเท้นท์ จากัด

TIG

บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด

TIT

บริ ษทั ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี จากัด

TITS

True Internet Technology (Shanghai) Company Limited (จดทะเบียนต่างประเทศ)

TKSC

บริ ษทั เทเลคอม เค เอส ซี จากัด

TLP

บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จากัด

TMD

บริ ษทั ทรู มีเดีย โซลูชนั่ จากัด (เดิมชื่อ : บริ ษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จากัด)

TMR

บริ ษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จากัด

TNN

บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จากัด

TOT หรื อ ทีโอที

บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน)

TPC

บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

True Incube

บริ ษทั ทรู อินคิวบ์ จากัด (เดิมชื่อ : บริ ษทั เคโอเอ จากัด)


True Internet

บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต จากัด

True Trademark

True Trademark Holdings Company Limited (เดิมชื่อ : Dragon Delight Investment Limited)

True4U

บริ ษทั ทรู โฟร์ ยู สเตชัน่ จากัด (เดิมชื่อ : บริ ษทั ทรู ดีทีที จากัด)

TSC

บริ ษทั ไทยสมาร์ ทคาร์ ด จากัด

TT

บริ ษทั ทรู ทัช จากัด

TU

บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จากัด

TUC

บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด”)

TUFC

บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ต ฟุตบอล คลับ จากัด

TV

บริ ษทั ทรู วอยซ์ จากัด

TVT

บริ ษทั ทรู วิสต้าส์ จากัด (เดิมชื่อ บริ ษทั ทรู แมจิค จากัด)

UCOM

บริ ษทั ยูไนเต็ด คอมมูนิเกชัน่ อินดัสตรี จากัด (มหาชน)

UIH

บริ ษทั ยูไนเต็ด อินฟอร์ เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด

Verizon

Verizon Communications, Inc


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1

วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หรือกลยุทธ์ ในการดาเนินงานของบริษัท หรือ กลุ่มบริษัทในระยะยาว

กลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การสื่ อสารโทรคมนาคมครบวงจรรายเดียวในประเทศไทย และเป็ นผูน้ าด้าน ธุ รกิจคอนเวอร์เจนซ์ วิสัยทัศน์ของบริ ษทั คือการเป็ นผูน้ าโครงสร้างพื้นฐาน (ดิจิตอล) ที่เชื่อมโยงผูค้ น องค์กร เศรษฐกิจ และ สังคม อย่างทัว่ ถึง เพื่อสร้างคุณค่าต่อชีวิตอย่างยัง่ ยืน กลุ่มทรู มุ่งมัน่ ในการมอบสิ นค้าและบริ การคุณภาพสู ง รวมถึงการเพิ่มความคุม้ ค่าให้แก่ผบู ้ ริ โภค อย่างต่อเนื่ อง โดยมุ่งเน้นการให้บริ การผ่านเครื อข่ายประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ล้ าสมัย การให้บริ การที่เป็ นเลิศ และการผสานบริ การที่หลากหลายภายใต้กลุ่มทรู ในรู ปแบบคอนเวอร์ เจนซ์ให้แก่ ลูกค้าได้อย่างลงตัว ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ เป็ นกลยุทธ์หลักที่สร้างความได้เปรี ยบในการแข่งขัน ให้กบั กลุ่มทรู โดยสามารถตอบสนองความต้องการและไลฟ์ สไตล์ที่หลากหลายของผูบ้ ริ โภค สิ่ งเหล่านี้ ช่วยขยายฐานลูกค้า และสร้างความผูกพันของลูกค้าต่อสิ นค้าและบริ การต่าง ๆ ภายใต้กลุ่มทรู อีกทั้งยัง เสริ มสร้างความแข็งแกร่ งในการเป็ นผูน้ าในทุกธุ รกิจหลักของกลุ่มได้เป็ นอย่างดี กลุ่มทรู ตั้งมัน่ ในการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมของไทยสู่ ระดับแนวหน้าของนานาประเทศ พร้อมเป็ นส่ วนสาคัญในการผลักดันประเทศไทยให้บรรลุเป้ าหมายในการเป็ นดิจิทลั เกตเวย์ในระดับภูมิภาคอาเซี ยน ทั้งนี้ ความมุ่งมัน่ และทุ่มเทของกลุ่มทรู ในการพัฒนาโครงข่ายทั้งแบบมีสายและไร้สาย พร้อมสรรหาคอนเทนต์ คุณภาพสู งทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ช่วยเพิ่มโอกาสและช่องทางให้ประชาชนทัว่ ประเทศไทย สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและสาระบันเทิงได้อย่างทัว่ ถึง ซึ่ งช่วยลดความเหลื่อมล้ าทางเทคโนโลยี และ สร้างสังคมแห่งการเรี ยนรู ้อย่างยัง่ ยืนให้แก่ประเทศ อีกทั้งยังเป็ นการเพิ่มคุณค่าให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ลูกค้า องค์กร สังคมและพนักงานเป็ นสาคัญ ธุ รกิจหลัก 3 ธุ รกิจของกลุ่มทรู ประกอบด้วย ทรู มูฟ เอช ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ดว้ ยเครื อข่าย ประสิ ทธิภาพสู งสุ ด ครอบคลุมทัว่ ประเทศ ผ่านคลื่นความถี่ครบถ้วนสู งสุ ด ทั้งคลื่นย่านความถี่สูง และต่า ที่ผสมผสานกันอย่างลงตัว โดย ทรู มูฟ เอช สามารถให้บริ การครอบคลุมในทุกมิติท้ งั บริ การเสี ยงและดาต้า บนระบบ 4.5G/4G 3G และ 2G ซึ่งครอบคลุมร้อยละ 98 ของประชากรไทยทัว่ ประเทศ ทั้งนี้ ทรู มูฟ เอช มีจานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ สูงเป็ นประวัติการณ์ถึง 5.4 ล้านราย ในปี 2559 ผลักดันให้มีฐานผูใ้ ช้บริ การ รวมทั้งสิ้ น 24.5 ล้านราย ณ สิ้ นปี ทรู ออนไลน์ ผูน้ าในการให้บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ตและ WiFi ด้วยโครงข่ายไฟเบอร์ คุณภาพสู งทัว่ ประเทศ และผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานรายใหญ่ที่สุดในเขตกรุ งเทพมหานคร และปริ มณฑล โดย ทรู ออนไลน์ เดินหน้าขยายโครงข่ายบรอดแบนด์อย่างต่อเนื่ อง และครอบคลุมกว่า 10 ล้านครัวเรื อน ทัว่ ประเทศ ในขณะที่ แคมเปญไฟเบอร์ บรอดแบนด์ของกลุ่มได้รับผลตอบรับอย่างสู ง ส่ งผลให้ฐานผูใ้ ช้บริ การ บรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตของทรู ออนไลน์ เพิ่มขึ้นแข็งแกร่ งเป็ น 2.8 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2559 ทรู วชิ ั่ นส์ ผูน้ าในการให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกและบริ การในระบบ HD ทัว่ ประเทศ ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

มีฐานลูกค้าเติบโตสู งเป็ น 3.9 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2559 โดยลูกค้าประมาณ 2 ล้านราย บอกรับบริ การประเภท พรี เมียมและมาตรฐาน และลูกค้าส่ วนที่เหลือเป็ นลูกค้าประเภท FreeView และ Free-to-Air กลุ่มทรู ได้รับการสนับสนุ นจากเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ (ซีพี) ซึ่ งเป็ นกลุ่มธุ รกิจด้านการเกษตรครบวงจร ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่ งถือหุ ้นทรู ในสัดส่ วนร้อยละ 56 และ China Mobile ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ รายใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่ งถือหุ น้ ทรู ในสัดส่ วนร้อยละ 18 ของจานวนหุน้ ที่จาหน่ายแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มทรู มีทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้วทั้งสิ้ น 133,473 ล้านบาท ทั้งนี้ การ ดาเนินธุ รกิจหลักของบริ ษทั ฯ มิได้มีความสัมพันธ์หรื อเกี่ยวข้องโดยตรงกับการดาเนินธุ รกิจอื่นของผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่อย่างมีนยั สาคัญ มีเพียงความสัมพันธ์กนั แต่เพียงครั้งคราวเฉพาะบางธุ รกรรมเท่านั้น ธุรกิจของกลุ่มทรู บริ ษทั ฯ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 ในฐานะผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน และ ในปี ต่อมา บริ ษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนกับทีโอที โดยให้บริ ษทั ฯ เป็ น ผูด้ าเนิ นการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซ่อมบารุ งและรักษาอุปกรณ์ในระบบสาหรับการขยาย บริ การโทรศัพท์จานวน 2.6 ล้านเลขหมาย ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล เป็ นระยะเวลา 25 ปี โดยจะสิ้ นสุ ดสัญญาในเดือนตุลาคม 2560 ในปี 2536 บริ ษทั ฯ ได้เปลี่ยนสถานะเป็ นบริ ษทั มหาชน และเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในชื่ อ บริ ษทั เทเลคอมเอเชีย คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อย่อ หลักทรัพย์วา่ “TA” โดยในเดือนเมษายน 2547 บริ ษทั ฯ ได้มีการปรับเปลี่ยนในภาพลักษณ์ภายใต้แบรนด์ทรู และได้เปลี่ยนชื่อบริ ษทั ฯ มาเป็ น บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) มีชื่อย่อหลักทรัพย์วา่ “TRUE” นอกเหนือจากการให้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน และบริ การเสริ มต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงบริ การโทรศัพท์สาธารณะ ในปี 2544 กลุ่มทรู (ผ่านบริ ษทั ย่อย) ได้เปิ ดให้บริ การโครงข่ายข้อมูลความเร็ วสู ง และในปี 2546 ได้เปิ ด ให้บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งแบบไร้สายหรื อบริ การ WiFi ต่อมาในปี 2550 บริ ษทั ย่อยได้เปิ ดให้บริ การ โครงข่ายอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) และได้เปิ ดให้บริ การโครงข่าย ข้อมูลระหว่างประเทศ (International Data Gateway) และบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ในปี 2551 ทั้งนี้ กลุ่มทรู มุ่งมัน่ ในการเพิ่มประสบการณ์การใช้งานอินเทอร์ เน็ตประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดให้แก่กลุ่มลูกค้าทัว่ ไป และกลุ่มลูกค้าธุ รกิจอย่างต่อเนื่อง ด้วยแพ็กเกจไฟเบอร์ บรอดแบนด์ที่คุม้ ค่า แคมเปญคอนเวอร์ เจนซ์ ซึ่ ง ผสานสิ นค้าและบริ การภายใต้กลุ่มทรู ได้อย่างลงตัว และการขยายความครอบคลุมของโครงข่ายบรอดแบนด์ อย่างต่อเนื่ อง โดยมีความครอบคลุมพื้นที่ให้บริ การแล้วกว่า 10 ล้านครัวเรื อนทัว่ ประเทศ ทั้งนี้ โครงข่ายไฟเบอร์ ไม่เพียงแต่จะทาให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตที่มีความเร็ วสู งและมีความเสถียร ให้แก่ลูกค้าแล้ว ยังทาให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การในรู ปแบบทริ ปเปิ้ ลเพลย์ (Triple play) ซึ่งเป็ นการ ผสมผสานบริ การต่าง ๆ ของกลุ่มทรู ผา่ นโครงข่ายเดียวกันอย่างสมบูรณ์แบบ ในส่ วนของธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ กลุ่มทรู ได้เข้าถือหุ น้ ใน BITCO (ซึ่งเป็ นบริ ษทั ที่ถือหุน้ ใน บริ ษทั ทีเอ ออเร้นจ์ จากัด) ในเดือนตุลาคม 2544 ซึ่ งนับเป็ นการเริ่ มเข้าสู่ ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลุ่ม ทั้งนี้ ทีเอ ออเร้นจ์ ได้เปิ ดให้บริ การอย่างเต็มที่ในเดือนมีนาคม 2545 และได้เปลี่ยนชื่อเป็ น “ทรู มูฟ” เมื่อต้นปี 2549

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

นอกเหนือจากนั้น กลุ่มทรู ได้ขยายการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ด้วยการเข้าซื้ อหุ ้น 4 บริ ษทั ของ กลุ่มฮัทชิสันในประเทศไทยได้แก่ บริ ษทั ฮัทชิสัน ไวร์ เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จากัด บีเอฟเคที บริ ษทั Rosy Legend Limited และ บริ ษทั Prospect Gain Limited รวมมูลค่าการชาระคืนหนี้สินเดิมของบริ ษทั ดังกล่าว ที่มีกบั กลุ่มฮัทชิสันแล้ว เป็ นเงินทั้งสิ้ นประมาณ 6,300 ล้านบาท โดยแล้วเสร็ จในเดือนมกราคม 2554 การเข้า ซื้ อหุ น้ ในครั้งนี้ทาให้บริ ษทั ฯ ได้ประโยชน์จากการเป็ นผูใ้ ห้บริ การรายแรกที่สามารถให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ 3G ด้วยเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ของ CAT Telecom ในเชิ งพาณิ ชย์ได้ทวั่ ประเทศ ทั้งนี้ในวันที่ 30 สิ งหาคม 2554 เรี ยลมูฟ (บริ ษทั ย่อยภายใต้กลุ่มทรู ) ในฐานะผูข้ ายต่อบริ การ 3G ของ CAT Telecom ได้เปิ ดให้บริ การ 3G ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช อย่างเป็ นทางการ บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด (“TUC”) ได้รับใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz จาก คณะกรรมการ กสทช. ในเดือนธันวาคม ปี 2555 โดยในเดือนพฤษภาคม ปี 2556 ทรู มูฟ เอช เป็ นรายแรกในประเทศไทยที่เปิ ดให้บริ การ 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz นอกจากนี้ TUC ได้รับ ใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ 1800 MHz และ 900 MHz ในเดือนธันวาคม ปี 2558 และเดือนมีนาคม ปี 2559 ตามลาดับ โดยการได้คลื่นความถี่มาให้บริ การเพิม่ เติมนี้ช่วยขยายระยะเวลาในการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของกลุ่มอย่างน้อยถึงปี 2576 และช่วยตอกย้าการเป็ นผูน้ า 4G และอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์ไร้สาย (wireless hi-speed broadband) ด้วยจุดแข็งจากการเป็ นผูใ้ ห้บริ การที่มีเครื อข่ายประสิ ทธิ ภาพสู งผ่านคลื่นความถี่ ครบถ้วนสู งสุ ดและมีปริ มาณแบนด์วธิ 55 MHz ซึ่ งผสานจุดเด่นของคลื่นย่านความถี่สูง (1800 MHz และ 2100 MHz) ในเรื่ องความจุ และคลื่นย่านความถี่ต่า (850 MHz ภายใต้ CAT Telecom และ 900 MHz) ใน เรื่ องความครอบคลุมได้อย่างลงตัว โดยเครื อข่าย 4.5G/4G 3G และ 2G ของทรู มูฟ เอช ครอบคลุมพื้นที่ ร้อยละ 98 ของประชากรไทยทัว่ ประเทศ นอกจากนี้ เทคโนโลยีการรวมคลื่นทั้ง 3 คลื่น ที่เรี ยกว่า 3CA (Carrier Aggregation) และเทคโนโลยีสถานีฐาน 4x4 MIMO ทาให้ลูกค้าได้รับประสบการณ์การใช้งาน โทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น พร้อมทั้งตอบสนองไลฟ์ สไตล์ของลูกค้าในยุคดิจิทลั ได้ เป็ นอย่างดี โดยสามารถรองรับความเร็ วสาหรับการดาวน์โหลดได้สูงสุ ดประมาณ 300 Mbps สาหรับดีไวซ์ ที่รองรับเทคโนโลยีดงั กล่าว สาหรับธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก กลุ่มทรู ได้เข้าซื้ อหุ ้น ยูบีซี ทั้งหมดที่ถือโดยบริ ษทั MIH Ltd. ซึ่ งเดิมเป็ นพันธมิตรธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกกับกลุ่มทรู ในเดือนมกราคม 2549 และต่อมาได้ดาเนินการ เข้าซื้ อหุ ้นสามัญจากผูถ้ ือหุ ้นรายย่อย (Tender Offer) ทาให้มีสัดส่ วนการถือหุ ้นทางอ้อมในยูบีซี ร้อยละ 91.8 ภายหลังการเข้าซื้ อหุ น้ ดังกล่าวเสร็ จสิ้ นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้ ยูบีซีได้เปลี่ยนชื่อเป็ น “ทรู วชิ นั่ ส์ ” เมื่อต้นปี 2550 นอกจากนี้ หลังการปรับโครงสร้างของกลุ่มบริ ษทั ทรู วชิ นั่ ส์ในช่วงครึ่ งแรกของปี 2553 และการซื้ อคืนหุ น้ จาก ผูถ้ ือหุ ้นรายย่อย ในระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ส่ งผลให้กลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถือหุ น้ ในบริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ซึ่ งเป็ น holding company สาหรับธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกของกลุ่มทรู อยูร่ ้อยละ 100.0 และมีสัดส่ วนการถือหุ น้ ทางอ้อมในบริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด (มหาชน) และ บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จากัด (มหาชน) ทั้งสิ้ นร้อยละ 99.5 และ ร้อยละ 99.1 ตามลาดับ ณ สิ้ นปี 2559 นอกจากนี้ ในปี 2552 ทรู วชิ นั่ ส์ ได้รับอนุญาตจาก อสมท ให้สามารถหารายได้จากการโฆษณา ซึ่ งเป็ นโอกาสใหม่ในการผลักดันการเติบโตของ รายได้ให้กบั ทรู วชิ นั่ ส์ เพิ่มเติมจากรายได้จากค่าสมาชิกซึ่ งเป็ นรายได้หลักของทรู วชิ นั่ ส์

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ในกลางเดือนกรกฎาคม ปี 2555 ทรู วชิ นั่ ส์ ได้เริ่ มเปิ ดใช้งานระบบออกอากาศใหม่ ภายใต้เทคโนโลยี MPEG-4 ที่สามารถป้ องกันการละเมิดลิขสิ ทธิ์ จากการลักลอบใช้สัญญาณช่องรายการพรี เมียมของทรู วชิ นั่ ส์ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และสามารถเพิ่มประสบการณ์การรับชมที่ดียงิ่ ขึ้นผ่านการนาเสนอช่องรายการ ในระบบ HD นอกจากนี้ ในเดือนเมษายน 2557 บริ ษทั ย่อยภายใต้กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ ได้รับใบอนุญาตเพื่อให้ บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิทลั ประเภทบริ การทางธุ รกิจระดับชาติ ซึ่ งช่องดิจิทลั ของกลุ่มทรู ได้แก่ ช่องข่าว “TNN 24” และช่องวาไรตี้ “True4U” ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่ อง ทั้งนี้ การที่ทรู วชิ นั่ ส์มีคอนเทนต์คุณภาพสู ง ที่หลากหลายและครบครัน ซึ่ งรวมถึงการได้สิทธิ์ ถ่ายทอดสดฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก อังกฤษ และรายการฟุตบอล ชั้นนาอีกหลายรายการ บนช่องบีอินสปอร์ ตของกลุ่ม ร่ วมกับผลตอบรับอย่างดีเยีย่ มต่อแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ และกล่องรับสัญญาณโทรทัศน์ ทรู ดิจิตอล เอชดี ช่วยขยายฐานลูกค้าทรู วชิ นั่ ส์ให้เพิ่มขึ้นแข็งแกร่ งเป็ น 3.9 ล้านราย และเพิ่มโอกาสในการเติบโตของรายได้ค่าโฆษณาและการขายแพ็กเกจที่สูงขึ้นและพ่วงบริ การอื่น ได้มากยิง่ ขึ้น การปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงิน (Recapitalization) ของกลุ่มทรู เป็ นหนึ่งในพัฒนาการสาคัญ ของกลุ่ม และถือเป็ นจุดเปลี่ยนสาคัญที่ทาให้กลุ่มทรู มีโครงสร้างเงินทุนที่ดีข้ ึน มีผลประกอบการที่แข็งแกร่ งขึ้น และมีความพร้อมที่จะรองรับการขยายตัวของธุ รกิจในอนาคต ในปี 2556 กลุ่มทรู ขายเงินลงทุนในหุน้ สามัญของ 8 บริ ษทั ย่อยที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักของกลุ่มให้แก่ บริ ษทั ธนเทเลคอม จากัด ด้วยราคาขายประมาณ 5.4 พันล้านบาท ทาให้กลุ่มทรู สามารถบันทึกกาไรจากการขาย พร้อมทั้งสามารถมุ่งเน้นการดาเนิ นงานในธุ รกิจหลักของกลุ่มได้อย่างเต็มความสามารถ นอกจากนี้ กองทุนรวม โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ดิจิทลั หรื อ “DIF” ซึ่งถือเป็ นกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม รายแรกในประเทศไทย ได้ถูกจัดตั้งขึ้นและสามารถเริ่ มทาการซื้ อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในเดือนธันวาคม 2556 ทั้งนี้ กลุ่มทรู จาหน่ายสิ นทรัพย์และสิ ทธิในการรับประโยชน์รายได้ในอนาคตจาก สิ นทรัพย์โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมของกลุ่ม ให้แก่ DIF และทาสัญญาเช่าสิ นทรัพย์กลับจากกองทุนนี้ เพื่อใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์ในการดาเนิ นธุ รกิจของกลุ่มตามปกติต่อไป โดยสิ นทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน โทรคมนาคมนี้ประกอบด้วย เสาโทรคมนาคมจานวน 12,183 เสา ระบบใยแก้วนาแสง (FOC) และอุปกรณ์ ระบบสื่ อสัญญาณที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีระยะทางประมาณ 1.1 ล้านคอร์ กิโลเมตร และระบบบรอดแบนด์ในเขต พื้นที่ต่างจังหวัด ซึ่ งสามารถรองรับผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ได้จานวนประมาณ 1.2 ล้านพอร์ ต โดยกลุ่มทรู ถือหน่วยลงทุนของกองทุน DIF คิดเป็ นร้อยละ 28.1 ของจานวนหน่วยลงทุนที่จาหน่ายแล้วทั้งหมดของ กองทุน ณ สิ้ นปี 2559 ในปี 2557 กลุ่มทรู ร่ วมเป็ นพันธมิตรเชิงยุทธศาสตร์ กบั China Mobile ซึ่งกลายเป็ นหนึ่งใน ผูถ้ ือหุ ้นหลักของทรู ด้วยการถือหุ น้ ทรู ในสัดส่ วนร้อยละ 18 ของจานวนหุ ้นที่จาหน่ายแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ฯ ซึ่ งช่วยเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั ธุ รกิจและสร้างรากฐานที่มนั่ คงให้กบั กลุ่มทรู ผ่านความร่ วมมือทางธุ รกิจ ในหลากหลายด้าน อาทิ ด้านการจัดซื้ อดีไวซ์และโครงข่าย รวมถึงธุ รกิจระหว่างประเทศ สิ่ งนี้ ร่ วมกับ ความสาเร็ จในการเพิม่ ทุนประมาณ 60 พันล้านบาท ในปี 2559 ส่ งผลให้โครงสร้างเงินทุนและอันดับเครดิต องค์กรของทรู แข็งแกร่ ง และช่วยสนับสนุนการขยายธุ รกิจของกลุ่มทรู

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.2 การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าคัญในปี 2559 เดือนกุมภาพันธ์  ทรู วช ิ นั่ ส์ ผูใ้ ห้บริ การรายเดียวที่ได้รับสิ ทธิ์ ถ่ายทอดสดการแข่งขัน “โตโยต้า ไทยพรี เมียร์ลีก” ต่อเนื่องตลอด 4 ฤดูกาล ระหว่างปี 2559 – 2562 เปิ ดตัวแพ็กเกจใหม่ “สนัน่ บอลไทย” ให้คนไทย สามารถรับชมไทยพรี เมียร์ลีกครบทุกแมตช์การแข่งขัน รวมทั้ง ช้าง เอฟเอคัพ และโตโยต้า ลีกคัพ ในราคาเพียง 299 บาทต่อเดือน ทั้งนี้ ลูกค้าที่ซ้ื อกล่องทรู ดิจิตอล เอชดี 2 ในราคา 1,690 บาท สามารถรับชมรายการการแข่งขันชั้นนาเหล่านี้ได้ฟรี ถึงสิ้ นปี 2559 เดือนมีนาคม  บริ ษท ั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด (TUC) ได้รับใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ สาหรับกิจการโทรคมนาคมย่าน 900 MHz และใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทที่ 3 จาก กสทช. ซึ่ งการผสานจุดเด่นของทั้งคลื่นย่านความถี่ต่าและคลื่นย่านความถี่สูงของกลุ่ม ทาให้ กลุ่มทรู สามารถให้บริ การได้ครอบคลุมการใช้งานของลูกค้าทุกกลุ่ม รวมทั้งยังสามารถรักษาความ เป็ นผูน้ า 4G และโมบายบรอดแบนด์ ผ่านเครื อข่ายประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ทั้งนี้ TUC ขยายโครงข่าย อย่างต่อเนื่ อง โดยมีความครอบคลุมกว่าร้อยละ 98 ของประชากรไทยทัว่ ประเทศ ซึ่ งสามารถ ให้บริ การได้บนทุกแพลตฟอร์ม ประกอบด้วย 4.5G/4G 3G และ 2G เดือนเมษายน  กลุ่มทรู ได้เข้าลงนามในสัญญาความร่ วมมือทางธุ รกิจกับ บริ ษท ั คอมเซเว่น จากัด (มหาชน) “Com7” ซึ่งเป็ นผูน้ าธุ รกิจค้าปลีกไอทีของประเทศไทย เพื่อร่ วมกันบริ หารจัดการการขายสิ นค้าและการ ให้บริ การในจุดให้บริ การลูกค้าทรู 166 แห่ง ในห้างบิ๊กซี และห้างเทสโก้ โลตัสทัว่ ประเทศ อีกทั้ง เพิ่มจุดให้บริ การลูกค้าทรู ในรู ปแบบ True Authorized Reseller ในร้านขายปลีกภายใต้คอมเซเว่น อาทิ Banana IT และอื่นๆ ประมาณ 300 สาขาทัว่ ประเทศ ซึ่ งความร่ วมมือดังกล่าวไม่เพียงแต่จะ สร้างความพึงพอใจด้านบริ การให้กบั ลูกค้าทรู ยังช่วยขยายช่องทางการขายสิ นค้าทั้ง 3 ธุ รกิจหลัก ของกลุ่มทรู ผ่านร้านขายปลีกภายใต้การบริ หารของคอมเซเว่น 

กลุ่มทรู ร่ วมมือกับเมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ ป เปิ ดตัวโรงภาพยนตร์ดิจิตอล 4 มิติ “TRUE 4DX” เพื่อให้ลูกค้าได้รับอรรถรสการชมภาพยนตร์ สุดพิเศษ ด้วยเทคโนโลยีระดับโลกและเทคนิคพิเศษ เสมือนจริ ง สาหรับโรงภาพยนตร์ True 4DX มีท้ งั สิ้ น 6 สาขา ซึ่งกระจายให้บริ การอยูต่ ามจุดสาคัญ และหัวเมืองใหญ่ ประกอบด้วย พารากอน ซีนีเพล็กซ์ เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ รัชโยธิน เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ เซ็นทรัลเฟสติวลั เชียงใหม่ หาดใหญ่ ซี นีเพล็กซ์ พรอมานาด ซีนีเพล็กซ์ และอีสต์วลิ ล์ ซีนีเพล็กซ์ โดยลูกค้าทรู จะได้รับสิ ทธิพิเศษและส่ วนลดในการซื้ อตัว๋ ภาพยนตร์

ทรู มูฟ เอช ผูน้ าในการให้บริ การ 4G ในประเทศไทย ร่ วมมือกับ Grab (แกร็ บ) แอปพลิเคชัน่ ให้บริ การรถโดยสารที่รวมผูข้ บั รถแท็กซี่มากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิ ดให้บริ การ WiFi บนรถแท็กซี่เป็ นเจ้าแรกในเอเชีย โดยผูข้ บั รถแท็กซี่ ที่เข้าร่ วมโครงการจะได้รับข้อเสนอพิเศษ จาก ทรู มูฟ เอช เพียงเปิ ดเบอร์ ใหม่แบบรายเดือน อาทิ อุปกรณ์ True 4G Car WiFi สมาร์ทโฟน 4G True Smart 4G Speedy 4.0 และการใช้งานแอปพลิเคชัน่ ยอดนิยม Zello, Grab Driver, Line, Facebook, IG และ WhatsApp ฟรี เป็ นเวลา 1 ปี

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เดือนมิถุนายน  บริ ษท ั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ประสบความสาเร็ จในการเพิ่มทุนประมาณ 60 พันล้านบาท ผ่านการเสนอขายหุ ้นสามัญเพิ่มทุนจานวนทั้งสิ้ น 8,391,181,658 หุน้ ซึ่งทาให้โครงสร้างทางการเงิน ของกลุ่มทรู มีความแข็งแกร่ งมากขึ้น พร้อมทั้งสนับสนุ นการขยายธุ รกิจของกลุ่ม และรักษาความ เป็ นผูน้ าในธุ รกิจบรอดแบนด์ท้ งั แบบมีสายและไร้สาย รวมถึงธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก 

12 องค์กรภาคเอกชนไทย รวมถึงกลุ่มทรู ผนึกความร่ วมมือกับภาครัฐบาลภายใต้ “โครงการผูน้ า เพื่อการพัฒนาการศึกษาที่ยงั่ ยืน” (CONNEXT ED) ซึ่งภาคเอกชนจะส่ งบุคลากรภายในสังกัดที่เป็ น ผูน้ าคนรุ่ นใหม่รวม 1,000 คน มาร่ วมวางแผนบริ หารจัดการร่ วมกับผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน 3,342 แห่ง และตั้งเป้ าให้ถึง 7,424 โรงเรี ยน ทัว่ ประเทศ ภายในสิ้ นปี 2561 เพื่อยกระดับมาตรฐานและคุณภาพ การศึกษาของประเทศไทย

เดือนกรกฎาคม  กลุ่มทรู ประสบความสาเร็ จในการได้รับสิ ทธิ์ ถ่ายทอดสด “ฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก อังกฤษ” บนช่ องบีอิน สปอร์ตส์ ครบทุกแมตช์การแข่งขัน ตลอด 3 ปี ตั้งแต่ฤดูกาล 2559/2560 ถึง 2561/2562 พร้อมด้วย ฟุตบอลรายการใหญ่ระดับโลก อาทิ ลา ลีกา สเปน กัลโช่ เซเรี ย อา อิตาลี ลีกเอิง ฝรั่งเศส และ ยูเอสเอ เมเจอร์ลีก ซอกเกอร์ ร่ วมด้วย โตโยต้า ไทยพรี เมียร์ลีก โดยกลุ่มทรู นาเสนอคอนเทนต์เหล่านี้ผา่ น แพ็กเกจ “ทรู ซูเปอร์ ซอคเกอร์ ” โดยสามารถรับชมผ่านแพลตฟอร์มโทรศัพท์เคลื่อนที่ บรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต และโทรทัศน์ของกลุ่มทรู ซึ่ งจะทาให้ประชาชนไทย เข้าถึงคอนเทนต์คุณภาพได้มากขึ้น และตอกย้าความเป็ นผูน้ าด้านผูใ้ ห้บริ การคอนเวอร์ เจนซ์อย่างแท้จริ งของกลุ่มทรู เดือนสิ งหาคม  กลุ่มทรู เปิ ดตัว “ทรู สเฟี ยร์ ” (TrueSphere) โค-เวิร์คกิ้ง สเปซ ระดับเฟิ ร์ สคลาส แห่ งแรกในประเทศไทย บริ การรู ปแบบใหม่ที่มอบประสบการณ์ระดับเฟิ ร์ สคลาส ผสานทุกมิติของบริ การและเทคโนโลยีล้ าสมัย ของกลุ่มทรู ให้แก่ลูกค้าผูถ้ ือบัตรทรู แบล็คการ์ ด และลูกค้าธุ รกิจองค์กรชั้นนา ซึ่ งจะช่วยสร้างความ พึงพอใจในบริ การให้แก่ลูกค้าของกลุ่ม พร้อมตอบโจทย์ไลฟ์ สไตล์ยคุ ดิจิตอลทุกรู ปแบบ โดยลูกค้า สามารถรับบริ การสุ ดพิเศษ ที่ทรู สเฟี ยร์ ทั้ง 5 สาขา ได้แก่ ดิ เอ็มควอเทียร์ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เมกาบางนา เดอะมอลล์ บางกะปิ และฟิ วเจอร์พาร์ค รังสิ ต

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เดือนกันยายน  ทรู มูฟ เอช ร่ วมกับ แอสเซนด์ นาโน และ 7-Eleven ตอบโจทย์ไลฟ์ สไตล์ในยุคดิจิตอลด้วยนวัตกรรมทาง การเงินรู ปแบบใหม่ครั้งแรกในประเทศไทย เปิ ดตัวบริ การ “ฮีโร่ แคช” (Hero Cash) เพื่อเพิ่มความ สะดวกสบายทางการเงินให้แก่ลูกค้าทรู มูฟ เอช เมื่อซื้ อสิ นค้าที่ 7-Eleven โดยลูกค้า ทรู มูฟ เอช จะ ได้รับวงเงินใช้ซ้ื อสิ นค้าที่ 7-Eleven โดยไม่มีดอกเบี้ยนาน 6 เดือน และจ่ายคืนทีหลัง เมื่อเปิ ดใช้ บริ การซิมโซเชียล 4G+ ที่ 7-Eleven หรื อทรู ชอ้ ป และ/หรื อ สมัครบริ การฮีโร่ แคช ผ่านแอปพลิเคชัน่ TrueID 

กลุ่มทรู ซึ่ งบริ ษทั ย่อยได้รับอนุญาตใช้ลิขสิ ทธิ์ Pokémon แต่เพียงผูเ้ ดียวในไทย ต่อยอดความสนุก ของเกมมือถือที่เป็ นที่นิยมทัว่ โลก “Pokémon Go” บนเครื อข่าย ทรู มูฟ เอช 4G+ ซึ่งครอบคลุม ร้อยละ 98 ของประชากรไทยใน 77 จังหวัด ทัว่ ประเทศ เปิ ดตัวแพ็กเกจเสริ มสาหรับเล่นเกม Pokémon Go โดยลูกค้าในระบบเติมเงิน ซึ่งเปิ ดใช้ซิมโซเชียล 4G+ เป็ นครั้งแรก จะได้รับการใช้งานดาต้า ไม่จากัดในการเล่นเกม Pokémon Go เป็ นเวลา 30 วัน พร้อมการใช้งานอินเทอร์ เน็ต 4.5G/4G/3G และ WiFi ฟรี สู งสุ ดถึง 72 GB เป็ นเวลา 12 เดือน (6 GB ต่อเดือน) เมื่อซื้ อแพ็กเกจเสริ ม 150 บาท ต่อเดือน ลูกค้าใหม่ในระบบรายเดือนซึ่ งสมัครค่าบริ การรายเดือนแพ็กเกจ 550 บาท ขึ้นไป จะได้รับ การใช้งานดาต้าไม่จากัด สาหรับเล่นเกม Pokémon Go เป็ นเวลา 1 ปี

เดือนตุลาคม  ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัวแพ็กเกจใหม่ที่ดีที่สุดจากทรู มูฟ เอช สาหรับ iPhone 7 และ iPhone 7 Plus โดย ลูกค้าที่ซ้ื อ iPhone 7 และ iPhone 7 Plus พร้อมสมัครแพ็กเกจ 4G+ Unlimited จะได้รับสิ ทธิ์ ใช้งาน 4G ได้เต็มสปี ด แบบไม่จากัดความเร็ ว เป็ นเวลา 1 ปี การสารองข้อมูลในระบบคลาวด์และการใช้งาน WiFi แบบไม่จากัด รวมถึงส่ วนลดพิเศษ ซึ่ งลูกค้าทรู มูฟ เอช จะได้รับประสบการณ์ใช้งาน iPhone 7 และ iPhone 7 Plus อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพบนเครื อข่ายคุณภาพสู งของทรู มูฟ เอช ที่ครอบคลุมทัว่ ประเทศ ด้วยเทคโนโลยี 3CA และ 4X4 MIMO ซึ่งสามารถให้ความเร็ วอินเทอร์เน็ตสาหรับการดาวน์โหลด ได้สูงสุ ดประมาณ 300 Mbps สาหรับดีไวซ์ที่รองรับเทคโนโลยีดงั กล่าว เดือนพฤศจิกายน  กลุ่มทรู และChina Mobile สร้างความแข็งแกร่ งทางพันธมิตรเชิ งยุทธศาสตร์ อย่างต่อเนื่ อง และ ได้ลงนามสัญญากรอบความร่ วมมือทางธุ รกิจภายใต้โครงการ Hand-in-Hand อย่างเป็ นทางการ โดยครอบคลุม 5 เรื่ องหลัก ซึ่ งรวมถึงเรื่ องการผสานความร่ วมมืออย่างใกล้ชิดด้านดีไวซ์ ในการ ริ เริ่ มงานวิจยั ด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการของเครื อข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เรื่ องการเสริ มความ แข็งแกร่ งให้มีศกั ยภาพในธุ รกิจบริ การดาต้า เรื่ องการขยายบริ การธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ผา่ นความ ร่ วมมือในการโรมมิ่งทัว่ โลกและการแบ่งปั นข้อมูล เรื่ องการยกระดับการใช้ทรัพยากรเครื อข่าย เพื่อให้สามารถใช้งานได้เต็มประสิ ทธิภาพ และเรื่ องการร่ วมกันพัฒนาโอกาสทางธุ รกิจใหม่ๆ ใน ด้านที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตที่เชื่อมอุปกรณ์และเครื่ องมือต่างๆ หรื อ Internet of Things ซึ่ งความร่ วมมือดังกล่าวนี้ จะส่ งผลให้เกิดการพัฒนาบริ การที่สอดคล้องกับการ พัฒนาเทคโนโลยีทางการสื่ อสารและตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภคที่จะพัฒนามากขึ้นในอนาคต

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เดือนธันวาคม  กลุ่มทรู ร่ วมมือกับสานักงานตารวจแห่ งชาติ เพื่อยกระดับงานบริ การประชาชนด้านความปลอดภัย ด้วยการร่ วมมือกับสานักงานตารวจแห่งชาติในการติดตั้งโครงข่ายอินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็ วสู ง ซึ่งครอบคลุมหน่วยงานภายในสานักงานตารวจแห่งชาติและสถานีตารวจ 1,482 แห่ง ทัว่ ประเทศ โดยจะช่วยเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการปฏิบตั ิงานให้เจ้าหน้าที่ตารวจสามารถติดต่อสื่ อสาร ค้นหา ข้อมูลสารสนเทศ และออนไลน์เชื่อมต่อกับระบบงานต่างๆ ในราชการตารวจได้รวดเร็ วมากยิง่ ขึ้น ซึ่งความร่ วมมือครั้งนี้ จะช่วยขับเคลื่อนประเทศไทยให้กา้ วสู่ Thailand 4.0 และยกระดับความ ปลอดภัยของประชาชนไทยให้มากยิง่ ขึ้น 

กลุ่มทรู เปิ ดตัวแพ็กเกจใหม่ “ทรู เอ พลัส” ที่ผสานบริ การอินเทอร์เน็ต และโทรทัศน์ สาหรับอพาร์ทเมนต์ โดยมอบความคุม้ ค่าด้วยไฟเบอร์ บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ต ความเร็ ว 200 Mbps และ 300 Mbps พร้อมรับชมช่องรายการคุณภาพจากทรู วชิ นั่ ส์ โดยเฉพาะคอนเทนต์ระดับพรี เมียม อาทิ การแข่งขัน ฟุตบอลพรี เมียร์ลีก อังกฤษ ผ่านช่องบีอิน สปอร์ตส์ และภาพยนตร์ จากฮอลลีวดู ซึ่งสามารถใช้ บริ การให้ครบทุกห้องภายในอาคาร ในราคาเพียงเดือนละ 3,000 และ 4,000 บาท ตามลาดับ

รางวัลทีไ่ ด้ รับในปี 2559 รางวัลด้ านความเป็ นเลิศทางธุรกิจ  รางวัล ผู้ให้ บริ การแห่ งปี 2559 ของประเทศไทย ในงานประกาศรางวัล 2016 Frost & Sullivan Thailand Excellence Awards กลุ่มทรู ได้รับรางวัลผูใ้ ห้บริ การแห่งปี 2559 ของประเทศไทย “2016 Frost & Sullivan Thailand Excellence Awards” จานวน 3 รางวัล ได้แก่รางวัล ผูใ้ ห้บริ การการสื่ อสารโทรคมนาคม แห่งปี 2559 (Thailand Telecom Service Provider of the Year) รางวัลผูใ้ ห้บริ การการสื่ อสารแบบไร้สาย แห่งปี 2559 (Thailand Mobile Service Provider of the Year) และรางวัล ผูใ้ ห้บริ การดาต้าบนเครื อข่าย แบบไร้สายแห่งปี 2559 (Thailand Mobile Data Service Provider of the Year) ในฐานะองค์กรธุ รกิจใน ประเทศไทยที่มีความเป็ นเลิศในการดาเนินธุ รกิจ จากผลการตัดสิ นโดยนักวิเคราะห์ผชู ้ านาญการของ ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน 

รางวัลผู้ให้ บริการเครือข่ าย LTE เชิ งพาณิชย์ ทมี่ ีพฒ ั นาการเด่ นชั ดทีส่ ุ ด จากเวที การประชุ มระดับโลก 5G & LTE Asia Awards ทรู มูฟ เอช ได้รับรางวัล “ผูใ้ ห้บริ การเครื อข่าย LTE เชิงพาณิ ชย์ที่มีพฒั นาการเด่นชัดที่สุด” (Most Significant Development of a Commercial LTE Network) จากเวทีสุดยอดการประชุมระดับโลก 5G & LTE Asia Awards ซึ่ งจัดขึ้นโดย Informa Telecoms & Media ณ ประเทศสิ งคโปร์ ในฐานะ ผูใ้ ห้บริ การ LTE เชิ งพาณิ ชย์ที่มีการพัฒนาเครื อข่ายได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสบความสาเร็ จในการ ส่ งมอบประสบการณ์การใช้งานให้กบั ผูบ้ ริ โภค

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รางวัลด้ านการบริการ  รางวัล Asia/ Pacific Telecom Summit Awards 2016 สาขาความเป็ นเลิศด้ านการส่ งมอบประสบการณ์ ให้ แก่ ลูกค้ า กลุ่มทรู ได้รางวัลชนะเลิศ Asia Pacific Telecom Awards ประจาปี 2559 จาก ไอดีซี เอเชีย แปซิฟิก โดยได้รางวัลชนะเลิศสาขา Excellence in Customer Experience ในงานประชุม Asia/Pacific Telecom Summit 2016 ที่ประเทศสิ งคโปร์ จากผลงานความมุ่งมัน่ ในการให้บริ การและมอบ ประสบการณ์ที่ดีต่อลูกค้า อาทิ การสร้าง “ทรู สเฟี ยร์ ” (TrueSphere) เฟิ ร์สคลาส โค-เวิร์คกิ้ง สเปซ รางวัลด้ านนวัตกรรม  รางวัลชนะเลิศ Thailand ICT Excellence Awards 2016 จาก สมาคมการจัดการธุรกิจแห่ งประเทศไทย กลุ่มทรู ได้รับ 2 รางวัล Thailand ICT Excellence Awards 2016 จากสมาคมการจัดการธุ รกิจ แห่งประเทศไทยหรื อ TMA เพื่อยกย่องและสนับสนุนองค์กรที่มีความเป็ นเลิศ ด้านการบริ หารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร และสามารถนาระบบไอซี ทีมาพัฒนาองค์กรได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ได้แก่ 1.ประเภทโครงการขับเคลื่อนธุ รกิจ จากผลงาน บริ การเสี ยงสัง่ ได้ “มะลิ” (Mari 4.0) ของสายงาน บริ การลูกค้า และ 2.ประเภทโครงการนวัตกรรม จากผลงาน สกรี น-ทู-สโตร์ (Screen to Store) ซึ่งเป็ น กิจกรรมส่ งเสริ มการขายที่ผชู ้ มสามารถร่ วมสนุกผ่านหน้าจอโทรทัศน์ของ ทรู วชิ นั่ ส์ กรุ๊ ป 

รางวัลนวัตกรรมผลงานประดิษฐ์ คิดค้ น ระดับนานาชาติ ในงาน 12th Taipei International Invention Show & Technomart (INST 2016) กลุ่มทรู ได้รับ 3 รางวัลระดับนานาชาติ จากการเข้าร่ วมแสดงผลงานและการประกวด ในงาน แสดงนิทรรศการนวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์และเทคโนโลยีระดับนานาชาติ “12th Taipei International Invention Show & Technomart” (INST 2016) จัดโดย สภาพัฒนาการค้าต่างประเทศไต้หวัน ณ กรุ งไทเป ประเทศไต้หวัน โดยผลงาน “Kare” แอพพลิเคชัน่ เพื่อการศึกษาสาหรับเด็กพิเศษ ได้รับ 2 รางวัล คือ รางวัลเหรี ยญทองแดง จากคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ และรางวัลพิเศษด้านความมุ่งมัน่ คิดค้นสิ่ งประดิษฐ์ จากสมาคมส่ งเสริ มการคิดค้นสิ่ งประดิษฐ์ประเทศเกาหลี และผลงาน MEM (My Eye Memory) อุปกรณ์จดจาเพื่อช่วยเหลือผูพ้ ิการทางสายตา ได้รับรางวัลชมเชย จากผลงานประดิษฐ์คิดค้นที่ส่งเข้า ร่ วมประกวดทั้งหมดกว่า 327 ผลงาน จาก 12 ประเทศ ทัว่ โลก ตอกย้าศักยภาพและความมุ่งมัน่ ของ กลุ่มทรู ในการส่ งเสริ มการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อสร้างคุณค่าให้กบั สังคมไทยอย่างต่อเนื่อง สร้าง ความภาคภูมิใจและชื่อเสี ยงให้กบั ประเทศไทยในระดับสากล และยังเป็ นนวัตกรรมต้นแบบสาหรับการ สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์เพื่อผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคม รางวัลพิเศษ สุ ดยอดนวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์ ต่างประเทศและ 6 รางวัล จาก 2 ผลงาน นวัตกรรมเพือ่ ผู้ด้อยโอกาส Kare และ MEM ในงาน 10th International Warsaw Invention Show (IWIS 2016) กลุ่มทรู ประสบความสาเร็ จจากผลงานนวัตกรรม Kare แอพพลิเคชัน่ และ MEM ในงาน 10th International Warsaw Invention Show (IWIS 2016) ณ กรุ งวอร์ซอว์ ประเทศโปแลนด์ โดยผลงาน “Kare” แอพพลิเคชัน่ เพื่อการศึกษาสาหรับเด็กพิเศษได้รับ 3 รางวัล คือ รางวัลพิเศษสุ ดยอดนวัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ต่างประเทศ รางวัลเหรี ยญทอง และรางวัลถ้วยทองพร้อมประกาศนียบัตร จากสมาคม ผูช้ นะเลิศการประกวดรางวัลนวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์ระดับสากลจากประเทศไต้หวัน สาหรับผลงาน

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

MEM (My Eye Memory) อุปกรณ์คียบ์ อร์ ดสาหรับผูพ้ ิการทางสายตา ได้รับ 4 รางวัล คือ รางวัลเหรี ยญทอง (รางวัลพิเศษ) จากสมาคมนวัตกรรมและสิ่ งประดิษฐ์สาธารณรัฐประชาชนจีน รางวัลเหรี ยญเงิน รางวัลเหรี ยญ iCAN (รางวัลพิเศษ) ด้านความโดดเด่นของการจัดแสดงนวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์ และ ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติพิเศษด้านนวัตกรรมสิ่ งประดิษฐ์ จากสมาคมนวัตกรรมและความก้าวหน้า ด้านทักษะระดับสากลจากเมืองโตรอนโต ประเทศแคนาดา 

ประกาศนียบัตรสานักกรรมการการวิจัยแห่ งชาติ จากผลงานนวัตกรรมเพือ่ ผู้ด้อยโอกาส Kare และ MEM กลุ่มทรู ได้รับประกาศนียบัตรสานักกรรมการการวิจยั แห่ งชาติ จากการนาผลงานนวัตกรรม เข้าร่ วมประกวดและจัดแสดงนิทรรศการในเวทีนานาชาติ นวัตกรรม “Kare” แอพพลิเคชัน่ เพื่อ การศึกษาสาหรับเด็กพิเศษ ซึ่ งได้รับ 2 รางวัลระดับนานาชาติ ได้แก่ รางวัลเหรี ยญทองแดงจาก และ รางวัลพิเศษจากสมาคมส่ งเสริ มการคิดค้นสิ่ งประดิษฐ์ ประเทศเกาหลี และผลงาน MEM (My Eye Memory) อุปกรณ์จดจาเพื่อช่วยเหลือผูพ้ ิการทางสายตา ได้รางวัลชมเชย จากงาน “The 12th Taipei International Invention Show & Technomart” (INST 2016) ณ ประเทศไต้หวัน

รางวัลด้ านแบรนด์ และการตลาด  รางวัลแบรนด์ ยอดนิยมอันดับ 1 จากงาน No.1 Brand Thailand 2015-2016 กลุ่มทรู ได้รับ 2 รางวัลแบรนด์ยอดนิยมอันดับ 1 ทั้งทรู มูฟ เอช และ ทรู ออนไลน์ ได้แก่ 1.รางวัล “แบรนด์ยอดนิยมอันดับ 1 ระบบเครื อข่าย 4G” ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 2 ตอกย้าความเป็ นที่หนึ่ง เครื อข่าย 4G/3G ครอบคลุมทีส่ ุ ดทัว่ ไทย และ 2.รางวัล “แบรนด์ยอดนิยมอันดับ 1 ประเภทอินเทอร์เน็ตบ้าน” สะท้อนความเป็ นผูน้ าบริ การบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ตของทรู ออนไลน์ เน็ตบ้านยอดนิยมอันดับหนึ่ง ของไทย ในงาน “นัมเบอร์วนั แบรนด์ ไทยแลนด์ 2015-2016” (No.1 Brand Thailand 2015-2016) จัดโดย นิตยสาร Marketeer ร่ วมกับบริ ษทั วีดีโอ รี เสิ ร์ช อินเตอร์ เนชัน่ แนล โดยสารวจความนิยมของ ผูบ้ ริ โภคไทยทั้งประเทศต่อแบรนด์ 

รางวัล Adman Awards 2016 จากผลงาน “พินัยกรรมอวัยวะ” ของโครงการ Let Them See Love ทรู คอร์ ปอเรชัน่ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และสภากาชาดไทย พร้อมด้วย บริ ษทั ชูใจ กะ กัลยาณมิตร จากัด ผูผ้ ลิตโฆษณา “พินยั กรรมอวัยวะ” ที่มุ่งรณรงค์ให้คนไทยรับรู ้และเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ของการบริ จาค อวัยวะและดวงตา จากโครงการ Let Them See Love ได้รับ 3 รางวัลจากเวที Adman Awards & Symposium 2016 ได้แก่ 1. รางวัล ประเภท Gold ด้า นการผลิ ตภาพยนตร์ โฆษณารณรงค์ประชาสัมพันธ์ โครงการประเภท ส่ งเสริ มสังคมยอดเยีย่ ม 2. รางวัลประเภท Gold ด้านแผนประชาสัมพันธ์โครงการส่ งเสริ มสังคมยอดเยีย่ ม 3. รางวัลประเภท Bronze ด้านการสื่ อสารที่สร้างผลลัพธ์ยอดเยีย่ ม

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รางวัลด้ านความรับผิดชอบต่ อสั งคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน  เข็มพระราชทานแด่ ผ้ ส ู นับสนุนมูลนิธิอุทกพัฒน์ ต่ อเนื่องปี ที่ 3 กลุ่มทรู ได้รับพระราชทานเข็มผูส้ นับสนุนมูลนิธิอุทกพัฒน์ ต่อเนื่ องปี ที่ 3 จากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในฐานะองค์กรที่ให้การสนับสนุนการดาเนินงานของมูลนิธิอุทกพัฒน์ ใน พระบรมราชูปถัมภ์ 

โล่เกียรติยศ ในงานวันรณรงค์ ตระหนักรู้ ออทิสติกโลก ประจาปี 2559 กลุ่มทรู รับมอบโล่เกียรติยศ ในงานวันรณรงค์ตระหนักรู้ออทิสติกโลก ประจาปี 2559 ซึ่ง มูลนิธิออทิสติกไทย และนายกสมาคมผูป้ กครองบุคคลออทิสซึ ม จัดขึ้นเป็ นครั้งที่ 9 ในฐานะองค์กร ภาคเอกชนที่ร่วมมือกับมูลนิธิออทิสติกไทย ให้การสนับสนุนบุคคลออทิสติกในด้านต่างๆ อย่าง ต่อเนื่องสอดคล้องกับแนวคิด “Creating a Better Life for the Disabled” ของกลุ่มทรู นอกจากนี้ ยังมอบ โล่เกียรติยศแก่บุคคลที่ให้การสนับสนุนและพัฒนาคุณภาพชีวติ บุคคลออทิสติก ซึ่ งรวมถึงผูบ้ ริ หารจาก กลุ่มทรู ได้แก่ นายศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานคณะผูบ้ ริ หาร ดร.กันทิมา กุญชร ณ อยุธยา ผูอ้ านวยการกลุ่ม ด้านสื่ อสารองค์กรและกิจกรรมเพื่อสังคม ดร.ธี ระพล ถนอมศักดิ์ ยุทธ รองผูอ้ านวยการและหัวหน้าศูนย์นวัตกรรม นายวิรัตน์ เตชะนิรัติศยั กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล จากัด และนางสาวศันสนีย ์ จันทนวารี นวัตกรทรู โล่ ประกาศเกียรติคุณ องค์ กรทีใ่ ห้ การสนับสนุน “เวทีวชิ าการการพัฒนาสั งคมและความมั่นคงของมนุษย์ ประจาปี 2559” กลุ่มทรู ได้รับมอบโล่ประกาศเกียรติจาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์ ในฐานะองค์กรที่สนับสนุนการจัด “เวทีวิชาการการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ประจาปี 2559” โดยกลุ่มทรู ได้ร่วมกับมูลนิธิออทิสติกไทย ออกบูธ นาเสนอนวัตกรรม แอพพลิเคชัน่ การศึกษา สาหรับ บุคคลออทิสติก ที่กลุ่มทรู ได้สร้างสรรค์ข้ ึนร่ วมกับมูลนิธิออทิสติกไทย เพื่อช่วยพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้ และเสริ มสร้างสมรรถภาพทั้งทางร่ างกาย สติปัญญา และจิตใจแก่เด็กพิเศษโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย รางวัลช่ อสะอาด ประจาปี 2559 จากสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบ ปรามการทุจริตแห่ งชาติ กลุ่มทรู ได้รับรางวัลช่อสะอาด ประจาปี 2559 ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 3 จากสานักงานคณะกรรมการ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ซึ่ งมอบแก่บุคคล หน่วยงาน และสื่ อมวลชนที่มี ส่ วนสนับสนุนการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต ตลอดจนส่ งเสริ มการปลูกฝังคุณธรรมจริ ยธรรม โดยปี นี้ กลุ่มทรู ได้รับ 2 รางวัลในสาขารายการโทรทัศน์ ได้แก่ 1. สถานี โทรทัศน์ทรู วิชนั่ ส์ ในฐานะ ผูเ้ ผยแพร่ รายการโทรทัศน์ สามเณร ปลูกปัญญาธรรม ปี 5 และ 2. บมจ.ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ในฐานะผูผ้ ลิต รายการธรรมะเรี ยลลิต้ ี สามเณร ปลูกปั ญญาธรรม 

รางวัล ชนะเลิศ Gold Dolphin ในงาน คานส์ อวอร์ ดส์ ประเทศฝรั่งเศส ประเภทรายการสารคดีโทรทัศน์ ส่ งเสริมการศึกษา จากรายการสามเณรปลูกปั ญญาธรรม ปี 5 กลุ่มทรู ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับโลก Gold Dolphin ประเภทรายการสารคดีโทรทัศน์ สาขา ส่ งเสริ มการศึกษา จากรายการธรรมะรู ปแบบเรี ยลลิต้ ี สามเณร ปลูกปั ญญาธรรม ปี 5 ในงาน คานส์ อวอร์ ดส์ ณ เมืองคานส์ ประเทศฝรั่งเศส ซึ่ งสามเณร ปลูกปั ญญาธรรม ปี 5 เป็ นรายการเดียวจาก

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเทศไทยและภูมิภาคเอเชี ยที่ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติในประเภทนี้ จากผลงานที่ส่งเข้าประกวด ทั้งหมด 1,000 กว่าผลงานจากทัว่ ทุกมุมโลก ทั้งนี้ รายการดังกล่าวสามารถสร้างชื่อเสี ยงให้ประเทศไทย ได้อีกครั้งและยิง่ ใหญ่กว่าเดิม โดยนับเป็ นครั้งที่ 2 ที่กลุ่มทรู ได้รับรางวัลนี้ และเป็ นรางวัลที่สูงขึ้นกว่าที่ เคยได้รับ Silver Dolphin ครั้งก่อน ความสาเร็ จนี้ เป็ นอีกหนึ่งกาลังใจสาคัญให้กลุ่มทรู มุ่งมัน่ พัฒนาและ สร้างสรรค์คอนเทนต์ที่ดี และมีคุณภาพระดับสากล เพื่อคุณประโยชน์แก่สังคมไทยต่อไป 

รางวัล “รายการเด็กยอดเยีย่ ม” ในงานประกาศผลรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7 ประจาปี 2558 รายการสามเณร ปลูกปั ญญาธรรมปี 4 ของกลุ่มทรู และทรู วชิ นั่ ส์ ได้รับรางวัลนาฏราช ประเภท รายการเด็กยอดเยีย่ ม ประจาปี 2558 ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 2 จาก สมาพันธ์ สมาคมวิชาชี พวิทยุกระจายเสี ยง และวิทยุโทรทัศน์ รางวัลดังกล่าว เป็ นอีกหนึ่งกาลังใจสาคัญให้กลุ่มทรู มุ่งมัน่ ที่จะพัฒนาและนาเสนอ คอนเทนต์ที่ดีและมีคุณภาพ เพื่อสร้างคุณประโยชน์ให้แก่เยาวชนและสังคมไทยต่อไป โดยผลการตัดสิ น มาจากการร่ วมลงคะแนนเสี ยงของคนในวิชาชีพวิทยุและโทรทัศน์ โล่ เกียรติคุณจากกระทรวงพัฒนาสั งคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในฐานะผู้สนับสนุนการดาเนินงาน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กในสถานรองรับ กลุ่มทรู ได้รับมอบโล่เกียรติคุณจากกระทรวงพัฒนาการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ มอบโล่เกียรติคุณ ในฐานะผูส้ นับสนุนการดาเนินงานยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กในสถานรองรับ เพชรน้ าหนึ่ง ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ โล่ เกียรติยศ องค์ กรภาคเอกชนที่สนับสนุนงานด้ านคนพิการดีเด่ นต่ อเนื่องเป็ นปี ที่ 4 ในงานวันคนพิการสากล ประจาปี 2559 กลุ่มทรู ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณองค์กรเอกชนที่สนับสนุนงานด้านคนพิการดีเด่นต่อเนื่ อง เป็ นปี ที่ 4 จาก กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ในฐานะองค์กรของคนไทย ที่มุ่งมัน่ ในการมีส่วนร่ วมพัฒนาสังคมไทยให้เป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู ้อย่างยัง่ ยืน รวมถึงส่ งเสริ มศักยภาพและ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึนของผูพ้ ิการ ผ่านนวัตกรรมและเทคโนโลยีการสื่ อสารของกลุ่มทรู

รางวัลด้ านอืน่ ๆ  ปริ ญญาปรั ชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสื่ อสารมวลชน จากมหาวิทยาลัยรามคาแหง พระราชทาน นายศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานคณะผูบ้ ริ หาร บมจ.ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ได้รับ พระราชทานปริ ญญาปรัชญาดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสื่ อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคาแหง จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในฐานะนักธุ รกิจที่พฒั นาและส่ งเสริ ม สื่ อสารมวลชนในประเทศไทย ให้เจริ ญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ วและต่อเนื่ อง ทั้งด้านโทรทัศน์ในนาม ทรู วชิ นั่ ส์ โดยให้บริ การข้อมูลข่าวสาร ความรู ้ ความบันเทิงที่เป็ นประโยชน์มานาเสนอต่อประชาชน การจัดตั้งโครงการทรู ปลูกปั ญญาและช่องทรู ปลูกปั ญญา ให้ความรู ้ในสาขาวิชาต่างๆแก่นกั เรี ยน นักศึกษาทัว่ ประเทศ รวมถึงสนับสนุนการอบรมนักศึกษาด้านนิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ สื่ อสารมวลชน 

เข็มเสมาคุณูปการ และประกาศเกียรติคุณบัตร ในฐานะผู้ทาคุณประโยชน์ ให้ แก่ กระทรวงศึกษาธิการ นายศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานคณะผูบ้ ริ หาร บมจ.ทรู คอร์ ปอเรชัน่ รวมทั้ง นายธาดา เศวตศิลา ผูอ้ านวยการกลุ่มธุ รกิจการศึกษา ได้รับมอบ เข็ม “เสมาคุณูปการ” และ

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประกาศเกียรติคุณบัตร จากกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะผูท้ าคุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงศึกษาธิ การ ประจาปี 2559 เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงศึกษาธิการ ครบรอบ 124 ปี 

รางวัล IAA Awards for Listed Companies 2015/2016 ประเภท Best CFO กลุ่มอุตสาหกรรม เทคโนโลยี นายนพปฎล เดชอุดม รองประธานคณะผูบ้ ริ หาร ด้านพัฒนาองค์กร บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ได้รับมอบรางวัล IAA Awards for Listed Companies 2015/2016 ซึ่ งจัดขึ้นเป็ น ครั้งที่ 7 สมาคม นักวิเคราะห์การลงทุน โดยได้รับรางวัล ในประเภท Best CFO ของกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ในฐานะที่เคยดารงตาแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริ หารด้านการเงินของกลุ่มทรู ที่มีความรู ้ความสามารถ ในการบริ หารงาน มีวสิ ัยทัศน์และคุณธรรม สามารถนาพาให้บริ ษทั ประสบความสาเร็ จและเติบโต อย่างยัง่ ยืนไปพร้อมกับการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผถู ้ ือหุ ้น อันเป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจและตลาดทุนไทย ซึ่ งรางวัลดังกล่าวได้รับจากการเสนอชื่อและให้คะแนนโดยนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และผูจ้ ดั การกองทุน รางวัล "คนไทยตัวอย่าง" จากละครนา้ ดี “ส้ มตาแฮมเบอร์ เกอร์ ” นางเนตรชนก วิภาตะศิลปิ น กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั ทรู โฟร์ ยู สเตชัน่ จากัด ผูบ้ ริ หารช่องทรู โฟร์ ยู ดิจิตอลทีวี ช่อง 24 ผูผ้ ลิตละครน้ าดีเรื่ อง “ส้มตาแฮมเบอร์เกอร์ ” ซี รีส์เรี ยกรอยยิม้ และปั ญญา ที่ท่าน ว. วชิรเมธี ประพันธ์ ได้รับโล่ “หงส์ทอง” รางวัล "คนไทยตัวอย่าง" จากโครงการกิจกรรม รณรงค์การทาความดีตน้ แบบคนดี ใต้ร่มพระบารมีพ่อของแผ่นดิน คนทาดีตน้ แบบสังคมแห่งปี 2559 จัดโดยสมัชชานักจัดรายการข่าววิทยุโทรทัศน์หนังสื อพิมพ์แห่งประเทศไทย รางวัลห้ องสมุดดีเด่ น ประจาปี 2558 กลุ่มทรู ได้รับประทานเกียรติบตั ร รางวัลห้องสมุดดีเด่น ประเภทห้องสมุดเฉพาะดีเด่น ประจาปี 2558 จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ โดยห้องสมุดทรู เป็ นห้องสมุดเฉพาะด้านการสื่ อสารโทรคมนาคม ที่เริ่ มจากแผนกห้องสมุดในเมื่อปี 2533 และพัฒนา เรื่ อยมา จนกระทัง่ ปี 2557 ได้สร้างห้องสมุดแห่งใหม่ ซึ่ งบริ หารและจัดการด้วยระบบเทคโนโลยี และ มีภาพลักษณ์ที่สวยงาม ทันสมัย เป็ นแหล่งพัฒนาการเรี ยนรู ้และเพิ่มศักยภาพของพนักงาน ลูกหลาน และนักเรี ยน นักศึกษา ด้วยบริ การ iBook ที่เป็ นสื่ อการเรี ยนรู้ที่ทนั สมัย มี Event/Forum Zone ลาน กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ Edutainment Zone ห้องเรี ยนรู้พร้อมสื่ อด้านภาษา Study Room ห้องเรี ยนรู้ ปลูกปัญญา และ True Life มุมแนะนาหนังสื อดี หมุนเวียนบริ การแก่ผใู ้ ช้หอ้ งสมุด

1.3

โครงสร้ างเงินลงทุนของกลุ่มบริษัทฯ กลุ่มทรู รายงานผลประกอบการด้านการเงิน โดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มธุ รกิจ คือ ทรู ออนไลน์ ทรู โมบาย และ ทรู วชิ นั่ ส์ (1) ทรู ออนไลน์ ประกอบด้วยบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยที่ยงั คงมีกิจกรรมทางธุ รกิจ 25 บริ ษทั และกิจการร่ วมค้า 2 บริ ษทั (2) กลุ่มทรู โมบาย ประกอบด้วยบริ ษทั ย่อยที่ยงั คงมีกิจกรรมทางธุ รกิจ 8 บริ ษทั (3) ทรู วชิ นั่ ส์ ประกอบด้วยบริ ษทั ย่อยที่ยงั คงมีกิจกรรมทางธุ รกิจ 13 บริ ษทั กิจการร่ วมค้า 2 บริ ษทั และบริ ษทั ร่ วม 1 บริ ษทั

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

โครงสร้ างเงินลงทุนของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

บริษทั ทรู คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) 99.99% บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด

99.99% บริ ษทั เทเลคอมโฮลดิ้ง จากัด 91.08% บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จากัด 99.99% บริ ษทั เอเซี ย ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู อินฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จากัด 100.00% K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนที่ต่างประเทศ) 99.99% บริ ษทั ทรู อินคิวบ์ จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู ทัช จากัด 100.00% Goldsky Co., Ltd.

99.99% บริ ษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ ดอทคอม จากัด 62.50% บริ ษทั ศูนย์บริ การ วิทยาการ อินเตอร์เนต จากัด 60.00% บริ ษทั เทเลคอม เค เอส ซี จากัด 99.84% บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์เนต จากัด 54.99% บริ ษทั ทรู วอยซ์ จากัด 100.00% True Trademark Holdings Company Limited

100.00% Golden Light Co., Ltd. 100.00% Gold Palace Investments Limited 100.00% True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd.

99.99% บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต คอร์ปอเรชัน่ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จากัด”) 99.99% บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู วิสต้าส์ จากัด 15.76% บริ ษทั ไทยสมาร์ท คาร์ ด จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จากัด 65.00% บริ ษทั เอเซี ย อินโฟเน็ท จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู ไอคอนเท้นท์ จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

28.57% บริ ษทั ทรานส์ฟอร์เมชัน่ ฟิ ล์ม จากัด

99.74% บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์เทเลเทค จากัด (มหาชน)

69.94% บริ ษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จากัด

99.97% บริ ษทั ทรู มูฟ จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ เซลส์ จากัด 99.97% บริ ษทั ทรู มิวสิ ค จากัด

99.99% บริ ษทั ซี นิเพล็กซ์ จากัด

99.95% บริ ษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชัน่ จากัด 99.93% บริ ษทั ส่ องดาว จากัด

99.99% บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จากัด 84.67% บริ ษทั บี บอยด์ ซี จี จากัด

99.99% บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด 99.10% บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จากัด (มหาชน) 99.99% บริ ษทั ทรู โฟร์ยู สเตชัน่ จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู มีเดีย โซลูชน่ั ส์ จากัด 46.80% บริ ษทั ทรู จีเอส จากัด 51.00% บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จากัด

99.99% บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จากัด

50.00% บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จากัด 70.00% บริ ษทั เอพีแอนด์เจ โปรดักชัน จากัด 51.00% บริ ษทั ทรู ซี เจ ครี เอชัน่ ส์ จากัด 99.99% บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) 100.00% Prospect Gain Limited จากัด 99.99% บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จากัด 99.99% บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จากัด

99.99% บริ ษทั เรี ยล มูฟ จากัด 100.00% Rosy Legend Limited 92.50% บริ ษทั ฮัทชิสัน ไวร์เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จากัด 73.92% บริ ษทั ฮัทชิสัน ซี เอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จากัด 99.99% บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 99.99% บริ ษทั ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอร์วสิ (ประเทศไทย) จากัด 99.99% บริ ษทั ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จากัด

70.00% บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จากัด 19.97% บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จากัด 99.99% บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์วสิ เซส จากัด หมายเหตุ: 1. โครงสร้างเงินลงทุนของกลุ่มบริ ษทั แสดงเฉพาะที่บริ ษทั ถือหุน้ ตั้งแต่ 10% ขึ้นไป 99.53% บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด (มหาชน) 2. ไม่มีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งของบริ ษทั เป็ นผูถ้ ือหุน้ ในสัดส่วนเกินร้อยละ 10 ของจานวนหุน้ 99.99% บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วสิ จากัด

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

ที่จาหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม 3. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯ ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ดิจิทลั จานวน 1,632,790,800 หน่วย หรื อเท่ากับร้อยละ 28.11 ของหน่วยลงทุนทั้งหมด หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

โครงสร้างเงินลงทุนแยกตามธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ธุรกิจโทรศัพท์พ้นื ฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย บริ การเสริ ม และ บริ การสื่ อสารข้อมูล บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)

ทรู โมบาย บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู มูฟ จากัด 99.70 % บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ เซลล์ จากัด 99.70 % บริ ษทั ทรู มิวสิ ค จากัด 99.67 % บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท เมเนจเมนท์ จากัด 100.00 % บริ ษทั เรี ยล มูฟ จากัด 99.74 % บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 100.00 % บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จากัด 100.00 %

ทรู วิชนั่ ส์

ทรู ออนไลน์

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด (มหาชน) 99.53 %%

ธุรกิจโทรศัพท์ พื้นฐาน

ธุรกิจให้บริ การ สื่ อสารข้อมูล

ธุรกิจบรอดแบนด์และ บริ การอินเทอร์เน็ต

ธุรกิจอื่น

บริ ษทั ซี นิเพล็กซ์ จากัด 100.00 %

บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)

บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จากัด 91.08 %

บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จากัด 91.08 %

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จากัด (มหาชน) 99.10 %

บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู ทัช จากัด 100.00 % บริ ษทั เอเซี ย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู วอยซ์ จากัด 55.00 %

บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)

บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต จากัด 100.00 %

บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จากัด”) 100.00 %

บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จากัด 100.00 %

บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์ วิส จากัด 99.53 % บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ จากัด 99.99 % บริ ษทั เอพีแอนด์เจ โปรดักชัน จากัด 70.00 % บริ ษทั ทรู มีเดีย โซลูชนั่ ส์ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จากัด”) 100.00 % บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จากัด 70.00 %

บริ ษทั ศูนย์บริ การวิทยาการ อินเตอร์ เนต จากัด 56.93 % บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์เนต จากัด 56.83 % บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด 100.00 %

บริ ษทั เทเลคอมโฮลดิ้ง จากัด 100.00 % บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์ เทเลเทค จากัด (มหาชน) 99.74 % K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนต่างประเทศ) 100.00 % บริ ษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ดอทคอม จากัด 91.08 % บริ ษทั ทรู อินคิวบ์ จากัด 100.00 % True Trademark Holdings Company Limited 100.00 % Gold Palace Investments Limited 100.00 %

บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จากัด 51.00 %

Golden Light Co., Ltd. 100.00 %

บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จากัด 100.00 %

Goldsky Co., Ltd. 100.00 %

บริ ษทั ทรู จีเอส จากัด 46.80 %

ธุรกิจอื่น ๆ บริ ษทั ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี จากัด 100.00 % บริ ษทั บีบอยด์ ซี จี จากัด 84.67 %

บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนี ยริ่ ง แอนด์ เซอร์วิสเซส จากัด 100.00 % บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จากัด 50.00 %

บริ ษทั ทรู วิสต้าส์ จากัด 100.00 %

บริ ษทั ทรู โฟร์ ยู สเตชัน่ จากัด 100.00 %

บริ ษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จากัด 69.94 % บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จากัด 19.97 % True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd 100.00 %

บริ ษทั ทรู ซี เจ ครี เอชัน่ ส์ จากัด 51.00 %

หมายเหตุ : - บริ ษทั ที่ไม่มีกิจกรรมทางธุรกิจ แต่ยงั มีความจาเป็ นต้องคงไว้ ได้แก่ บริ ษทั เทเลคอม เคเอสซี จากัด (34.39%) บริ ษทั ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์วิส (ประเทศไทย) จากัด (100.00 %) บริ ษทั ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จากัด (100.00 %) บริ ษทั ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จากัด (68.02 %) บริ ษทั ฮัทชิสนั ไวร์เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จากัด (92.02 %) Rosy Legend Limited (99.48 %) Prospect Gain Limited (100.00 %) บริ ษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ปอเรชัน่ จากัด (99.43 %) และ บริ ษทั ส่องดาว จากัด (99.41 %) - บริ ษทั ที่อยูใ่ นกระบวนการชาระบัญชี ได้แก่ บริ ษทั เอเซีย อินโฟเน็ท จากัด (65.00 %) และ บริ ษทั ทรู มิวสิค เรดิโอ จากัด (69.74%) ส่วนที่ 1

ธุรกิจลงทุน

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

บริ ษทั ทรู ไอคอนเท้นท์ จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรานส์ฟอร์เมชัน่ ฟิ ล์ม จากัด 28.57 %

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

โครงสร้างรายได้ตามกลุม่ ธุ รกิจ กลุม่ ธุ รกิจ

2559 ล้านบาท %

2558 ล้านบาท %

2557 ล้านบาท %

1. ทรูออนไลน์

23,036

18.4%

27,734

23.3%

26,640

24.5%

2. ทรูโมบาย

91,985

73.8%

81,553

68.7%

73,581

67.3%

3. ทรูวิชนส์ ั่

9,698

7.8%

9,494

8.0%

8,995

8.2%

รวมรายได้

124,719

100.0%

118,781

100.0%

109,216

100.0%

โครงสร้างรายได้ แยกตามการดาเนิ นงานของแต่ละบริษทั กลุม่ ธุ รกิจ / ดาเนิ นการโดย

2559 ล้านบาท %

1. ทรูออนไลน์ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู มัลติมเี ดีย จำกัด บริษัท ทรู อินเทอร์เน็ ต จำกัด บริษัท ทรู ไลฟ์ พลัส จำกัด บริษัท เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์เนต จำกัด บริษัท เอเซีย ไวร์เลส คอมมิวนิ เคชัน่ จำกัด บริษัท ทรู ทัช จำกัด บริษัท ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล เกตเวย์ จำกัด บริษัท ทรู อินเทอร์เน็ ต คอร์ปอเรชัน่ จำกัด True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd. อีน่ ๆ

2558 ล้านบาท %

2557 ล้านบาท %

รวม

4,118 37 14,391 109 506 443 394 506 2,459 29 44 23,036

3.3% 0.0% 11.5% 0.1% 0.4% 0.4% 0.3% 0.4% 2.0% 0.0% 0.0% 18.4%

10,667 48 12,709 192 534 368 404 469 2,191 152 27,734

9.0% 0.0% 10.8% 0.2% 0.4% 0.3% 0.3% 0.4% 1.8% 0.1% 23.3%

11,264 46 11,455 356 508 409 371 2,089 25 117 26,640

10.4% 0.0% 10.6% 0.3% 0.5% 0.4% 0.3% 1.9% 0.0% 0.1% 24.5%

2. ทรูโมบาย กลุ่มบริษัท กรุงเทพอินเตอร์เทเลเทค บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เรียล มูฟ จำกัด บริษัท ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิ เคชัน่ จำกัด บริษัท เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จำกัด รวม

17,324 14,086 48,575 11,949 51 91,985

14.0% 11.3% 38.9% 9.6% 0.0% 73.8%

18,207 16,018 36,832 10,447 49 81,553

15.4% 13.5% 31.0% 8.8% 0.0% 68.7%

17,823 16,785 33,000 5,948 25 73,581

16.3% 15.4% 30.2% 5.4% 0.0% 67.3%

9,698 124,719

7.8% 100.0%

9,494 118,781

8.0% 100.0%

8,995 109,216

8.2% 100.0%

3. ทรูวิชนส์ ั่ กลุ่มบริษัท ทรูวชิ นั ่ ส์ กรุป๊ รวมรายได้

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1

ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ กลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การสื่ อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศไทย และเป็ นผูน้ าคอนเวอร์ เจนซ์ ที่ ตอบสนองไลฟ์ สไตล์ที่หลากหลายของลูกค้าได้ตรงความต้องการ โดยสร้างความแตกต่างจากการผสมผสาน สิ นค้าและบริ การหลากหลายในกลุ่มทรู ประกอบด้วยบริ การด้านเสี ยง (โทรศัพท์พ้นื ฐานและโทรศัพท์เคลื่อนที่) บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ต ทั้งแบบมีสายและไร้สาย บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก และโทรทัศน์ ในระบบดิจิตอล บริ การด้านข้อมูลและคอนเทนต์ อีกทั้งการประสานประโยชน์จากโครงข่าย บริ การ และ ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายของกลุ่ม ทาให้กลุ่มทรู มีความพร้อมสาหรับการเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง และมีส่วนร่ วม ในการพัฒนาอุตสาหกรรมสื่ อสารโทรคมนาคมของไทยให้ทดั เทียมนานาประเทศ พร้อมรองรับการก้าวเข้าสู่ ยุคดิจิตอลของประเทศอย่างเต็มรู ปแบบ กลยุทธ์หลักของกลุ่มทรู ดา้ นเครื อข่ายประสิ ทธิภาพสู งสุ ดและยุทธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ ที่ผสาน บริ การสื่ อสารครบวงจรในกลุ่มเข้ากับคอนเทนต์ที่เน้นความหลากหลาย สร้างความแข็งแกร่ งให้กบั กลุ่ม และ ทาให้กลุ่มทรู มีความโดดเด่นและแตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การรายอื่น ๆ โดยช่วยเพิ่มยอดผูใ้ ช้บริ การและสร้างความ ผูกพันกับบริ การต่าง ๆ ของกลุ่มทรู อีกทั้งยังทาให้สามารถใช้ประโยชน์จากศักยภาพของสิ นค้าและบริ การที่ หลากหลายภายใต้กลุ่มทรู ได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ การนาเสนอสิ นค้าและบริ การด้วยยุทธศาสตร์คอนเวอร์ เจนซ์ ยังช่วยเพิ่มมูลค่า มอบคุณประโยชน์และตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้เป็ นอย่างดี กลุ่มทรู แบ่งกลุ่มธุ รกิจหลักออกเป็ น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย  ธุ รกิจออนไลน์ ภายใต้ทรู ออนไลน์ ซึ่ งประกอบด้วย บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานและบริ การเสริ ม ต่าง ๆ บริ การอินเทอร์ เน็ต บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง หรื อบริ การบรอดแบนด์ บริ การโครงข่ายข้อมูล และบริ การอินเทอร์ เน็ตไร้สาย (WiFi)  ธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ ภายใต้ทรู มูฟ เอช ซึ่งให้บริ การครบทุกมิติท้ งั ระบบ 4.5G/4G 3G และ 2G ที่ครอบคลุมสู งสุ ดทัว่ ประเทศ  ธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก และโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ภายใต้ ทรู วชิ นั่ ส์ ตารางด้านล่างแสดงองค์ประกอบรายได้รวมของกลุ่มทรู และกาไรจากการดาเนินงานที่เป็ นเงินสด (EBITDA) รายได้รวม หน่ วย: ล้ านบาท ทรู ออนไลน์ ทรู มูฟ เอช ทรู วชิ นั่ ส์ รวม

ปี 2556 23,086 63,073 10,055 96,214

ร้ อยละ 24 66 10 100

ปี 2557 26,641 73,581 8,995 109,216

ร้ อยละ 24 67 8 100

ปี 2558 27,734 81,553 9,494 118,781

ร้ อยละ 23 69 8 100

ปี 2559 23,036 91,986 9,698 124,4719

ร้ อยละ 18 74 8 100

หมายเหตุ: รายได้ หลังหักรายการระหว่ างกัน

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กาไรจากการดาเนินงานทีเ่ ป็ นเงินสด (EBITDA) หน่ วย: ล้ านบาท ปี 2556 ร้ อยละ ทรู ออนไลน์ 5,070 31 ทรู มูฟ เอช 9,921 61 ทรู วชิ นั่ ส์ 1,394 9 รวม 16,385 100

ปี 2557 7,187 12,845 18 20,050

ร้ อยละ 36 64 0 100

ปี 2558 7,729 15,236 (856) 22,109

ร้ อยละ 35 69 (4) 100

ปี 2559 5,529 20,374 (561) 25,071

ร้ อยละ 21 81 (2) 100

หมายเหตุ: EBITDA หลังหักรายการระหว่ างกัน

(1)

ทรู ออนไลน์ ทรู ออนไลน์ ประกอบด้วย บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน และบริ การเสริ มต่างๆ บริ การอินเทอร์ เน็ต บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต บริ การโครงข่ายข้อมูล และดาต้าเกตเวย์ โดยธุ รกิจบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต เติบโตแข็งแกร่ งและเป็ นปั จจัยสาคัญสาหรับการเติบโตของกลุ่มธุ รกิจทรู ออนไลน์ i) บริการโทรศัพท์พนื้ ฐาน และบริการเสริม ทรู ออนไลน์เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานรายใหญ่ที่สุดในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล (ภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างกลุ่มทรู กบั องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย “ทีโอที”) โดยสามารถ ให้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานจานวนทั้งสิ้ น 2.6 ล้านเลขหมาย และมีเลขหมายที่ให้บริ การอยูท่ ้ งั สิ้ นประมาณ 1.3 ล้านเลขหมาย ในเดือนสิ งหาคม 2534 กลุม่ ทรู ได้ทาสัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างกลุ่มทรู กบั ทีโอที ในการให้ กลุ่มทรู เป็ นผูด้ าเนินการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซ่อมบารุ งและรักษาอุปกรณ์ในระบบสาหรับ การขยายบริ การโทรศัพท์จานวน 2 ล้านเลขหมาย ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล เป็ นระยะเวลา 25 ปี สิ้ นสุ ดปี 2560 ต่อมาได้รับสิ ทธิให้ขยายบริ การโทรศัพท์อีกจานวน 6 แสนเลขหมาย กลุ่มทรู ได้โอนทรัพย์สินที่ เป็ นโครงข่ายทั้งหมดให้แก่ทีโอที โดยทีโอทีเป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้จากลูกค้าในโครงข่ายทั้งหมด และชาระให้ กลุ่มทรู ตามสัดส่ วนที่ระบุไว้ในสัญญาร่ วมการงานฯ คือในอัตราร้อยละ 84.0 สาหรับบริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน ในส่ วน 2 ล้านเลขหมายแรก และอัตราร้อยละ 79.0 สาหรับในส่ วน 6 แสนเลขหมายที่ได้รับการจัดสรร เพิ่มเติมในภายหลัง ในส่ วนของบริ การเสริ มต่าง ๆ ที่กลุ่มทรู ได้ให้บริ การอยู่ กลุ่มทรู ได้รับส่ วนแบ่งรายได้ ในอัตราร้อยละ 82.0 ของรายได้จากบริ การเสริ มนั้น ๆ บริการเสริม นอกเหนือจากโทรศัพท์พ้นื ฐาน กลุ่มทรู ได้พฒั นาบริ การเสริ มต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้า ซึ่งประกอบด้วย  บริ การรับฝากข้อความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริ การรับสายเรี ยกซ้อน (Call Waiting) บริ การสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริ การโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริ การเลขหมายด่วน (Hot Line) บริ การย่อเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริ การโทรซ้ าอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) บริ การจากัดการโทรออก (Outgoing Call Barring) บริ การแสดงหมายเลขเรี ยกเข้า (Caller ID) และ บริ การ แจ้งเตือนเบอร์ บา้ นที่ไม่ได้รับสาย (Smart Alert)

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยงั ได้ให้บริ การเสริ มอื่น ๆ แก่ลูกค้าธุ รกิจ ซึ่ งมีความต้องการใช้เลขหมายเป็ น จานวนมาก และต้องการใช้บริ การเสริ มที่หลากหลายมากยิง่ ขึ้น ได้แก่  บริ การตูส ้ าขาอัตโนมัติระบบต่อเข้าตรง (Direct Inward Dialing หรื อ “DID”)  บริ การเลขหมายนาหมู่ (Hunting Line) เป็ นบริ การที่จดั กลุ่มเลขหมายให้สามารถเรี ยกเข้า ได้โดยใช้เลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว  โครงข่ายบริ การสื่ อสารร่ วมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network: ISDN) เป็ น บริ การรับ-ส่ งสัญญาณภาพ เสี ยง และข้อมูลพร้อมกันได้บนคู่สายเพียง 1 คู่สายในเวลาเดียวกัน  บริ การ Televoting  บริ การฟรี โฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เป็ นบริ การหมายเลขโทรฟรี เพื่อให้ลูกค้าสามารถ โทรมายังหมายเลขต้นทางซึ่งเป็ นศูนย์บริ การของบริ ษทั โดยบริ ษทั จะเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าโทร  บริ การประชุมผ่านสายโทรศัพท์ (Voice Conference)  บริ การโทรศัพท์ผา่ นอินเทอร์ เน็ต (Voice over Internet Protocol หรื อ VoIP) ภายใต้ชื่อ NetTalk by True โครงข่ ายโทรศัพท์พนื้ ฐาน โครงข่ายโทรศัพท์พ้นื ฐานของกลุ่มทรู เป็ นโครงข่ายใยแก้วนาแสง โดยใช้สายเคเบิลทองแดงใน ระยะทางสั้น ๆ เพื่อคุณภาพที่ดีที่สุดในการให้บริ การทั้งด้านเสี ยงและข้อมูล จานวนผู้ใช้ บริการโทรศัพท์ พนื้ ฐาน และรายได้ เฉลีย่ ต่ อผู้ใช้ บริการ ณ สิ้ นปี 2559 กลุ่มทรู มีเลขหมายโทรศัพท์พ้นื ฐานที่ให้บริ การแก่ลูกค้าลดลงในอัตราร้อยละ 16.6 จากปี ก่อนหน้า เป็ นจานวนรวม 1.3 ล้านเลขหมาย ในขณะที่รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายต่อเดือน สาหรับปี 2559 ลดลง เป็ น 214 บาทต่อเดือน เมื่อเทียบกับ 223 บาทต่อเดือน ในปี 2558 โดยการลดลงของผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน และรายได้เป็ นไปตามทิศทางของอุตสาหกรรม ซึ่งเป็ นผลจากพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคที่มีแนวโน้มการใช้งาน โทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ตารางแสดงจานวนผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน และรายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การ ณ วันที่ 31 ธ.ค. บริการโทรศัพท์พนื้ ฐาน 2558 2555 2556 2557 จานวนผูใ้ ช้บริ การ 1,766,141 1,696,155 1,613,504 1,506,642 รายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การ 265 255 239 223 (บาทต่อเดือน)

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

2559 1,256,223 214

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ii) บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต และบริการสื่ อสารข้ อมูลธุรกิจ กลุ่มทรู เป็ นผูน้ าการให้บริ การบรอดแบนด์หรื ออินเทอร์เน็ตความเร็ วสู งของประเทศ ด้วยฐานลูกค้ารวม 2.8 ล้านราย และมีโครงข่ายครอบคลุมประมาณ 10 ล้านครัวเรื อนทัว่ ประเทศ ทรู ออนไลน์ มุ่งมัน่ เพิ่มประสบการณ์ การใช้งานอินเทอร์ เน็ตคุณภาพสู งให้แก่ลูกค้า ด้วยการขยายโครงข่ายไฟเบอร์ บรอดแบนด์อย่างต่อเนื่ อง อีกทั้ง ยังนาเสนอสิ นค้าที่แตกต่างและน่าดึงดูดใจ รวมถึงนวัตกรรม เทคโนโลยีทนั สมัย และการเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพ การให้บริ การลูกค้าให้ดียงิ่ ขึ้น กลุ่มทรู ยงั ให้บริ การด้านคอนเทนต์ที่เปี่ ยมด้วยคุณภาพซึ่งมีความหลากหลายและเหมาะกับทุกไลฟ์ สไตล์ ไม่วา่ จะเป็ น คอนเทนต์สาหรับผูท้ ี่ชื่นชอบการฟั งเพลง เล่นเกมออนไลน์ ดูกีฬา หรื อรักการอ่านหนังสื อออนไลน์ ในรู ปแบบของ e-Book รวมทั้งบริ การเสริ มต่าง ๆ เช่น บริ การ Internet Security Program เพื่อความปลอดภัย ในทุกครั้งที่ออนไลน์ ด้วย Anti-Virus ชั้นนา TU เป็ นหนึ่งในบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ซึ่ งได้รับใบอนุญาตประเภทที่ 3 จากคณะกรรมการ กทช. เพื่อให้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน บริ การบรอดแบนด์ และบริ การโครงข่ายข้อมูลทัว่ ประเทศ โดย TU ให้บริ การ วงจรสื่ อสารข้อมูล และบรอดแบนด์ รวมทั้งโครงข่ายสื่ อสารข้อมูล ให้แก่บริ ษทั ย่อยอื่นในกลุ่มทรู ซึ่งรวม ทรู อินเทอร์ เน็ต และทรู มัลติมีเดีย เพื่อนาไปให้บริ การต่อแก่ลูกค้าอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งรายย่อย บริ การข้อมูล และบริ การที่ไม่ใช่เสี ยง แก่ลูกค้าทัว่ ไปและลูกค้าธุ รกิจ ตามลาดับ ในปี 2544 กลุ่มทรู เปิ ดให้บริ การโครงข่ายข้อมูลความเร็ วสู ง ซึ่ งประกอบด้วยบริ การ ADSL และ บริ การเคเบิลโมเด็ม และต่อมาในปี 2546 ได้นาเสนอบริ การอินเทอร์ เน็ตไร้สายความเร็ วสู งหรื อ WiFi ในปี 2552 ทรู ออนไลน์ เปิ ดตัวบริ การ ULTRA broadband ที่เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง ผ่านเทคโนโลยี VDSL และในภายหลังได้ขยายการให้บริ การ ผ่านเทคโนโลยี FTTH (Fiber to the home) หรื อ ใยแก้วนาแสง สาหรับลูกค้าพรี เมียม นอกจากนี้ ในปี 2554 ทรู ออนไลน์เปิ ดให้บริ การบรอดแบนด์ผา่ นเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 อย่างเป็ นทางการ และในปี 2557 ได้ขยายบริ การบรอดแบนด์ผา่ นเทคโนโลยี FTTx ไปสู่ ลูกค้า ในวงกว้างทัว่ ประเทศ ซึ่งสามารถให้บริ การบรอดแบนด์ดว้ ยความเร็ วสู งและมีความเสถียรในการเชื่อมต่อ อีกทั้ง สามารถรองรับความเร็ วสาหรับการดาวน์โหลดกว่า 1 Gbps และรองรับการให้บริ การแบบทริ ปเปิ้ ลเพลย์ ได้อย่างสมบูรณ์แบบ ซึ่งเป็ นการให้บริ การบรอดแบนด์ บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก และบริ การเสี ยงผ่าน อุปกรณ์เชื่อมต่อหรื อ Router บนโครงข่ายเดียวกันได้อีกด้วย ทรู ออนไลน์ ยังคงมุ่งมัน่ ในการเพิ่มประสบการณ์การใช้งานอินเทอร์ เน็ตอย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ ให้กบั ลูกค้า พร้อมเติมเต็มไลฟ์ สไตล์ที่มีแนวโน้มการใช้งานรับส่ งข้อมูลขนาดใหญ่ อาทิ การอัพโหลด หรื อดาวน์โหลดคอนเทนต์ดว้ ยคุณภาพคมชัดระดับ เอชดี การรับชมภาพและเสี ยงผ่านอินเทอร์ เน็ต หรื อ Audio-visual streaming และการใช้งาน Real-time livestreaming อีกทั้งยังมุ่งเดินหน้าขับเคลื่อนประเทศไทย ให้กา้ วสู่ ยคุ ดิจิตอลได้อย่างเต็มตัว โดย ทรู ออนไลน์ เร่ งขยายโครงข่ายไฟเบอร์ อย่างต่อเนื่อง และเพิ่มความ คุม้ ค่าให้แก่ลูกค้าด้วยการปรับเพิ่มมาตรฐานความเร็ วบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต เริ่ มต้นที่ 30 Mbps ถึง 1 Gbps ทั้งนี้ แคมเปญ “TRUE Super Speed FIBER” ซึ่งมอบความคุม้ ค่าให้แก่ลูกค้าผ่านอินเทอร์ เน็ต ประสิ ทธิ ภาพสู ง ร่ วมกับการผสมผสานสิ นค้าและบริ การอื่นภายใต้กลุ่มทรู ได้อย่างลงตัว ยังคงได้รับการ ตอบรับที่ดีจากลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งผลักดันให้ฐานลูกค้าและรายได้ของกลุ่มเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง นอกจากนี้ ทรู ออนไลน์ ยังขยายการให้บริ การอินเทอร์ เน็ต ไปสู่ ลูกค้าในกลุ่มอพาทเมนท์ ด้วยการเปิ ดตัว ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

บริ การ “True A Plus” ซึ่งให้บริ การบอร์ดแบนด์ อินเทอร์เน็ต แบบไฟเบอร์ ด้วยความเร็ ว 300 Mbps และ 200 Mbps ร่ วมกับช่องรายการที่น่าดึงดูดใจของทรู วชิ นั่ ส์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ รายการฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก อังกฤษ และช่องรายการภาพยนตร์ จาก Hollywood สาหรับลูกค้าธุ รกิจ กลุ่มทรู ให้บริ การโครงข่ายข้อมูลในลักษณะโซลูชนั่ ทั้งบริ การด้านเสี ยงและข้อมูล ไปด้วยกัน รวมทั้งให้บริ การด้านการบริ หารโครงข่ายข้อมูลผ่านเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่หลากหลาย ซึ่ งประกอบด้วย บริ การโครงข่ายข้อมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรื อบริ การวงจรเช่า (Leased Line) บริ การโครงข่าย ข้อมูลผ่านเครื อข่าย IP ได้แก่ บริ การ MPLS (Multiprotocol Label Switching) บริ การ Metro Ethernet ซึ่งเป็ น บริ การโครงข่ายข้อมูลที่ใช้เทคโนโลยี Fiber-to-the-building และถูกออกแบบมาเฉพาะลูกค้าธุ รกิจ รวมทั้ง บริ การวงจรเช่าผ่านเครื อข่าย IP (IP-based leased line) ที่ผสมผสานระหว่างบริ การข้อมูลผ่านเครื อข่าย IP และบริ การวงจรเช่า ซึ่ งมีคุณภาพดีกว่าบริ การเครื อข่าย IP แบบมาตรฐาน นอกจากนั้น ยังเน้นการให้บริ การ การบริ หารจัดการเครื อข่ายข้อมูล (Managed Network Service) ซึ่งเป็ นบริ การที่ผสมผสานบริ การเกี่ยวกับการ ปฏิบตั ิการเครื อข่าย 3 บริ การเข้าด้วยกัน ตั้งแต่การจัดการประสิ ทธิ ภาพของเครื อข่าย การบริ หารข้อผิดพลาด และ การกาหนดค่าต่าง ๆ ของเครื อข่าย ยิง่ ไปกว่านั้น สาธารณู ปโภคด้านโครงข่ายของกลุ่มทรู ยงั สร้างขึ้นด้วย เทคโนโลยี IP ที่ทนั สมัย พร้อมสนับสนุนการทางานบนเทคโนโลยีคลาวด์ คอมพิวติง้ (Cloud Computing) บริ การ “ทรู อีเธอร์เน็ต ไฟเบอร์ ” (True Ethernet Fiber) ของกลุ่มทรู เป็ นบริ การวงจรสื่ อสารความเร็ วสู ง บนโครงข่าย IP ที่สามารถรับ-ส่ งข้อมูลขนาดใหญ่ได้หลากหลายประเภท ผ่านโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนาแสง ที่มีความเร็ ว ความเสถียร และความปลอดภัยของข้อมูลสูง ด้วยความเร็ วตั้งแต่ 2 Mbps ถึง 10 Gbps ซึ่งให้บริ การ ด้วยมาตรฐานระดับโลกจาก Metro Ethernet Forum (MEF) รายแรกในประเทศไทย นอกจากนี้ กลุ่มทรู ให้บริ การโซลูชนั่ วงจรสื่ อสารข้อมูลความเร็ วสู งผ่านเทคโนโลยี MPLS เพื่อตอบสนองความต้องการใช้งาน ของลูกค้ากลุ่มเอสเอ็มอี โดยเริ่ มที่กลุ่มร้านเกมออนไลน์ทวั่ ประเทศ ทั้งนี้ กลุ่มธุ รกิจโครงข่ายข้อมูลธุ รกิจ ยังคงให้ความสาคัญกับกลุ่มลูกค้าในตลาดใยแก้วนาแสง ซึ่ งยังมีโอกาสในการเติบโตได้อีกมาก โดยได้ วางระบบใยแก้วนาแสง โดยใช้เทคโนโลยี Gigabit-capable Passive Optical Network (GPON) ซึ่งได้เข้าถึง ลูกค้าองค์กรที่มีสานักงานตั้งอยูใ่ นอาคารและบนถนนสายสาคัญ ๆ ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล รวมถึงนิคมอุตสาหกรรมในต่างจังหวัด และพื้นที่ท่องเที่ยวหลัก ๆ นอกจากนี้ ทรู อินเทอร์ เน็ต ได้ทาการ อัพเกรดอินเทอร์เน็ตแบ็คโบนเป็ น 100 กิกะบิตต่อวินาที เป็ นรายแรกในเอเชียด้วย Cisco Nexus 7000 มาตรฐานระดับโลกจากซิ สโก้ เพื่อเพิ่มศักยภาพเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั ให้สามารถรองรับการ ใช้งานของลูกค้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในอนาคต ให้สามารถใช้งานได้เต็มประสิ ทธิภาพและมีความ เสถียรมากยิง่ ขึ้น นอกเหนือจากการให้บริ การลูกค้าที่เป็ นองค์กรธุ รกิจขนาดใหญ่แล้ว กลุ่มทรู ยังมุ่งเน้นในการขยาย การให้บริ การสู่ กลุ่มธุ รกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (“SME”) ซึ่ งมีศกั ยภาพในการเติบโตทางธุ รกิจสู ง โดย การนาเสนอบริ การ “SME Package” ที่เหมาะสมกับขนาดธุ รกิจและความต้องการใช้งานของลูกค้าเอสเอ็มอี ซึ่งมอบอินเทอร์ เน็ตคุณภาพระดับองค์กรที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง ซึ่งรวมถึง Fixed IP Address ที่รองรับการใช้งาน บนเว็บไซต์และอีเมลล์ บริ การ Streaming Server บริ การ VDO conference บริ การ VOIP และบริ การ โทรทัศน์วงจรปิ ด CCTV โดยการนาเสนอบริ การที่คุม้ ค่าเหล่านี้ สามารถตอบโจทย์ความต้องการใช้งาน อินเทอร์ เน็ตของลูกค้าได้เป็ นอย่างดี และได้รับผลตอบรับที่ดีจากกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายอย่างต่อเนื่ อง ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

การพัฒนาธุ รกิจและขยายโครงข่ายไฟเบอร์ อย่างต่อเนื่ องของทรู ออนไลน์ ส่ งผลให้บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ตของกลุ่มเติบโตเป็ นอย่างดี ทั้งนี้ ในปี 2559 ทรู ออนไลน์มีจานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์รายใหม่สุทธิ จานวน 380,523 ราย ซึ่งเพิ่มขึ้นสู งเป็ นประวัติการณ์ ส่ งผลให้ฐานผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์เติบโตเป็ นจานวน ทั้งสิ้ น 2.8 ล้านราย โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การต่อเดือน 629 บาท ในปี 2559 ตารางแสดงจานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ และรายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การ บริการบรอดแบนด์ จานวนผูใ้ ช้บริ การ รายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การ (บาทต่อเดือน)

2555 1,569,556 699

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2556 2557 1,809,600 2,081,436 712 710

2558 2,388,118 668

2559 2,768,641 629

iii) บริการอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ TIG ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ ระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) และบริ การชุมสายอินเทอร์ เน็ต (Domestic Internet Exchange Service) ประเภทที่ 2 แบบมีโครงข่าย และใบอนุญาตโทรคมนาคม ประเภทที่ 3 สาหรับการ ให้บริ การขายต่อวงจรเช่าส่ วนบุคคลระหว่างประเทศ ใบอนุญาตดังกล่าว ทาให้ TIG สามารถให้บริ การโครงข่ายอินเทอร์ เน็ต และข้อมูลระหว่างประเทศ ได้ผา่ นเส้นทางภาคพื้นดินและภาคพื้นน้ า ในส่ วนของบริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ TIG มีชุมสายในกรุ งเทพฯ สิ งคโปร์ ฮ่องกง สหราชอาณาจักร เนเธอร์ แลนด์ และสหรัฐอเมริ กา ทาให้การ เชื่อมต่อไปยังประเทศเหล่านี้ มีประสิ ทธิ ภาพดีข้ ึน และทาให้สามารถให้บริ การลูกค้าได้อย่างมีคุณภาพ ตั้งแต่เปิ ดให้บริ การ TIG มี การขยายแบนด์วิธอย่างต่อเนื่ อง เพื่อรองรับความต้องการใช้งาน อินเทอร์ เน็ต และบริ การด้านข้อมูลต่างประเทศ ที่เติบโตขึ้นทุกปี โดย ณ สิ้ นปี 2559 TIG มีขนาดแบนด์วธิ ของโครงข่ายหลัก (Backbone network) อยูป่ ระมาณ 500 Gbps และบริ ษทั มีแผนที่จะขยายขนาดแบนด์วธิ เพิ่มเติมอย่างต่อเนื่ องในปี 2560 ทั้งนี้ปริ มาณแบนด์วธิ ที่ TIG ให้บริ การ ส่ วนใหญ่เป็ นการให้บริ การแก่ บริ ษทั ในกลุ่มทรู โดยส่ วนที่เหลือสาหรับกลุ่มลูกค้าภายนอก ซึ่ งครอบคลุมผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ตในประเทศ บริ ษทั ข้ามชาติ และผูใ้ ห้บริ การด้านโทรคมนาคมในต่างประเทศ TIG ได้รับการรับรองมาตรฐานการจัดการ ISO 9001:2008 อันเป็ นมาตรฐานระบบบริ หารจัดการ คุณภาพที่ได้รับการยอมรับมากที่สุด ตอกย้าความมุ่งมัน่ ในการให้บริ การโครงข่ายคุณภาพสู งเพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าให้ได้รับบริ การที่ดีที่สุด ทั้งนี้ TIG มีการลงทุนด้านคุณภาพของโครงข่ายหลัก ในปี ที่ผา่ นมาเพื่อเพิ่มเส้นทางของโครงข่ายที่หลากหลาย (Diversity) มากยิง่ ขึ้น และรักษาระดับคุณภาพ การให้บริ การตามมาตรฐานสากลระดับสู งได้อย่างแท้จริ ง ในด้านผลประกอบการ TIG มีรายได้ที่เติบโตอย่างต่อเนื่องจากทั้งฐานลูกค้าเดิมและใหม่โดยที่ TIG ได้ลงนาม สัญญาให้บริ การแก่ลูกค้ารายใหม่หลายรายในปี 2559 นอกจากนี้ TIG มุ่งเน้นตลาดที่มีการเติบโตแบนด์วธิ สู งภายใน กลุ่มประเทศเพื่อนบ้านอินโดจีน และได้ดาเนินการขยายขนาดโครงข่ายคุณภาพสู งไปยังประเทศเพื่อนบ้านดังกล่าว ในปี ที่ผา่ นมา อันสอดรับกับแนวทางสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็ นดิจิตอลฮับ ตามนโยบายภาครัฐดิจิตอลไทยแลนด์ ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

TIG มีสานสัมพันธ์อนั ใกล้ชิดกับผูใ้ ห้บริ การระหว่างประเทศผ่านความร่ วมมือกับพันธมิตรทาง ธุ รกิจต่างๆ อันเป็ นจุดแข็งของ TIG ที่ทาให้สามารถต่อยอดและผนึกกาลังเพื่อให้บริ การครอบคลุมทัว่ โลก แก่กลุ่มลูกค้าของ TIG ได้ และในเวลาเดียวกันเพื่อเป็ นการเสริ มสร้างธุ รกิจและขยายพื้นที่การให้บริ การของ ผูใ้ ห้บริ การระหว่างประเทศมายังประเทศไทยและภูมิภาคได้ บริ การของ TIG ครอบคลุมทั้งบริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) และบริ การชุมสายอินเทอร์เน็ต (National Internet Exchange Service หรื อ Domestic Internet Exchange) รวมถึง บริ การโครงข่ายข้อมูลระหว่างประเทศ ได้แก่ บริ การวงจรเช่าส่ วนบุคคลระหว่างประเทศ (International Private Leased Circuit - IPLC) บริ การวงจรเช่าแบบอีเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ (International Ethernet Line) บริ การวงจรเช่า เสมือนส่ วนบุคคลระหว่างประเทศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IPVPN) และ บริ การ Virtual Node (2)

ทรู มูฟ เอช ทรู มูฟ เอช ให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประสิ ทธิ ภาพสู ง ครบทุกมิติ และครอบคลุมทัว่ ประเทศ ผ่านการผสานจุดแข็งของคลื่นย่านความถี่สูง (1800 MHz และ 2100 MHz) ในเรื่ องความจุ และคลื่นย่าน ความถี่ต่า (850 MHz ภายใต้ CAT Telecom และ 900 MHz) ในเรื่ องความครอบคลุม บนคลื่นความถี่ที่มี จานวนแบนด์วธิ สู งสุ ด 55 MHz ได้อย่างลงตัว ทั้งนี้ กลุ่มทรู ถือหุ น้ ร้อยละ 100.0 ใน TUC ซึ่งเป็ น holding company ของกลุ่มธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทรู มูฟ ให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ภายใต้สัญญาให้ดาเนิ นการฯ ระหว่าง CAT Telecom กับทรู มูฟ ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ในการให้บริ การและจัดหาบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอล 1800 จนถึง เดือนกันยายน 2556 ภายใต้สัญญาดังกล่าว ทรู มูฟจะต้องจ่ายส่ วนแบ่งรายได้แก่ CAT Telecom ในอัตราร้อยละ 25 จากรายได้ (หลังหักค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิมและค่าใช้จ่ายอื่นที่อนุญาตให้หกั เช่น คอนเทนต์) จนถึง เดือนกันยายน 2554 และเพิ่มขึ้นเป็ นร้อยละ 30 จนสิ้ นสุ ดระยะเวลาของสัญญาในเดือนกันยายน 2556 ในเดือนมกราคม 2554 กลุ่มทรู ได้เข้าซื้ อหุ ้น 4 บริ ษทั ของกลุ่มฮัทชิสัน ในประเทศไทยเป็ นที่เรี ยบร้อย การเข้าซื้ อหุ น้ ดังกล่าวเอื้อประโยชน์ในการขยายฐานธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลุ่มทรู เนื่องจากบริ ษทั ฮัทชิสัน ในประเทศไทย มีลูกค้าโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยรวมประมาณ 800,000 ราย ถัดมาในเดือนเมษายน 2554 กลุ่มทรู โดยเรี ยลมูฟ ได้ลงนามในสัญญาเพื่อขายต่อบริ การของ CAT Telecom โดยสัญญาดังกล่าวมี ระยะเวลาไปจนถึงปี 2568 เป็ นผลให้กลุ่มทรู เปิ ดตัวแบรนด์ ทรู มูฟ เอช เพื่อขายต่อบริ การ 3G ของ CAT Telecom เชิงพาณิ ชย์ได้ทวั่ ประเทศ ผ่านเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ทั้งนี้ ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการ เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2554 ทาให้กลุ่มทรู มีความได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขันจากการ เป็ นผูใ้ ห้บริ การ 3G เชิงพาณิ ชย์ทวั่ ประเทศรายแรกของประเทศไทย TUC เข้าร่ วมประมูลคลื่นความถี่ 2.1 GHz และได้รับใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ดงั กล่าวจาก คณะกรรมการ กสทช. ในเดือนธันวาคม ปี 2555 ซึ่งทาให้ทรู มูฟ เอช ได้รับประโยชน์อย่างสู งจากการเปิ ด ให้บริ การ 4G เชิงพาณิ ชย์ บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz เป็ นรายแรกในประเทศไทย ในเดือนพฤษภาคม ปี 2556 และสามารถครองความเป็ นผูน้ าบริ การ 4G ตลอดมา โดยผูบ้ ริ โภคมีความเชื่ อมัน่ ในเครื อข่ายประสิ ทธิ ภาพสู ง และบริ การของ ทรู มูฟ เอช มากยิง่ ขึ้น

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

นอกจากนี้ TUC เป็ นหนึ่งในผูใ้ ห้บริ การที่เข้าร่ วมประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz และ 900 MHz ซึ่ง จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม ปี 2558 ตามลาดับ โดยได้รับใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ 1800 MHz ในเดือนธันวาคม ปี 2558 และใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ 900 MHz ในเดือนมีนาคม ปี 2559 ซึ่งการได้รับ ใบอนุญาตคลื่นความถี่ดงั กล่าวเพิ่มเติมนี้ นอกจากจะช่วยขยายระยะเวลาในการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของกลุ่มอย่างน้อยถึงปี 2576 ยังนับเป็ นก้าวสาคัญของกลุ่มทรู ในการคงความเป็ นผูน้ า 4G และ อินเทอร์ เน็ต บรอดแบนด์ไร้สาย โดยทรู มูฟ เอช ได้เปิ ดตัว แคมเปญ 4G Plus ซึ่งตอกย้าความแข็งแกร่ งของเครื อข่าย ด้วยการนาเทคโนโลยีในการรวมคลื่นทั้ง 3 คลื่น ที่เรี ยกว่า 3CA (Carrier Aggregation) และเทคโนโลยี สถานีฐาน 4x4 MIMO ที่สามารถรองรับความเร็ วสาหรับการดาวน์โหลดได้สูงสุ ดประมาณ 300 Mbps สาหรับดีไวซ์ที่รองรับเทคโนโลยีดงั กล่าว ซึ่งแคมเปญนี้ ได้รับผลตอบรับที่ดีเป็ นอย่างมาก และผลักดัน การเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของรายได้และฐานลูกค้า รวมถึงเพิ่มความไว้วางใจของลูกค้าและความเชื่อมัน่ ใน แบรนด์ทรู มูฟ เอช ได้อย่างต่อเนื่ อง ผู้ใช้ บริการ ในปี 2559 ทรู มูฟ เอช เติบโตอย่างโดดเด่นและต่อเนื่ อง จากความแข็งแกร่ งในเรื่ องเครื อข่าย ประสิ ทธิภาพสู งและความครอบคลุมทัว่ ประเทศ การนาเสนอแคมเปญดีไวซ์ร่วมกับแพ็กเกจค่าบริ การได้ อย่างคุม้ ค่าและตอบสนองความต้องการใช้งานของลูกค้าได้เป็ นอย่างดี รวมถึงการขยายและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ ให้กบั ช่องทางการขายของกลุ่ม ทั้งนี้ ทรู มูฟ เอช เติบโตสู งทั้งในกลุ่มลูกค้าระบบรายเดือนและเติมเงิน ซึ่ งมี ฐานลูกค้าเพิม่ สู งขึ้นร้อยละ 28.2 และร้อยละ 28.4 จากปี ก่อนหน้า ตามลาดับ โดยทรู มูฟ เอช มีจานวนผูใ้ ช้บริ การ รายใหม่สุทธิ 5.4 2559 คิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 75 ของจานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ ในอุตสาหกรรม มีฐานผูใ้ ช้บริ การเพิ่มขึ้นเป็ น 24.5 ล้านราย คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 27.2 ของจานวนผูใ้ ช้บริ การใน ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยรวมของประเทศ (ไม่รวม CAT Telecom ทีโอที และ ผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของ ทีโอที) ซึ่ งเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 23.1 ในปี ก่อนหน้า ทั้งนี้ รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายของทรู มูฟ เอช เติบโตต่อเนื่ อง โดยเพิ่มสู งขึ้นเป็ น 217 บาท ต่อเดือน ในปี 2559 เมื่อเทียบกับ 171 บาท ต่อเดือน ในปี ก่อนหน้า ตารางแสดงจานวนผู้ใช้ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ของทรู มูฟ เอช และรายได้ เฉลีย่ ต่ อผู้ใช้ บริการ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ ทรู มูฟ เอช จานวนผู้ใช้ บริการ - บริ การระบบเติมเงิน - บริ การระบบรายเดือน รวม รายได้ รวมเฉลีย่ ต่ อผู้ใช้ บริการ (บาทต่ อเดือน) - รายได้เฉลี่ย ผูใ้ ช้บริ การระบบเติมเงิน - รายได้เฉลี่ย ผูใ้ ช้บริ การระบบรายเดือน

ส่วนที่ 1

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2556 2557

2555

2558

2559

18,413,588 2,558,732 20,972,320 123

19,714,534, 3,161,617 22,876,151 124

19,768,653 3,878,781 23,647,434 130

14,380,853 4,726,018 19,106,871 171

18,465,482 6,060,388 24,525,870 217

72 539

59 577

59 527

90 492

122 505

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

บริการ บริการระบบเติมเงิน (Pre Pay) รายได้ของทรู มูฟ เอช ส่ วนหนึ่ งมาจากค่าใช้บริ การระบบเติมเงิน ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การไม่ตอ้ งเสี ยค่าบริ การ รายเดือน โดยผูใ้ ช้บริ การซื้ อซิ มการ์ ดพร้อมค่าโทรเริ่ มต้น และเมื่อค่าโทรเริ่ มต้นหมดก็สามารถเติมเงินได้ใน หลากหลายวิธีดว้ ยกัน เช่น บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน เครื่ องเอทีเอ็ม การโอนเงินจากผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของทรู มูฟ เอช รายอื่น และการเติมเงินอัตโนมัติแบบ “over-the-air” นอกจากนี้ ผูใ้ ช้บริ การของทรู มูฟ เอช ยังสามารถชาระค่าใช้บริ การด้วยบริ การการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยทรู มนั นี่ ทรู ไอเซอร์วสิ และทรู ไอดี เพื่อตอบสนองไลฟ์ สไตล์คนรุ่ นใหม่ บริการระบบรายเดือน (Post Pay) บริ การ Post Pay ของทรู มูฟ เอช คือบริ การระบบรายเดือน ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การสามารถเลือกอัตราค่าบริ การ รายเดือนสาหรับบริ การเสี ยงเพียงอย่างเดียว หรื อบริ การด้านข้อมูลเพียงอย่างเดียว หรื อบริ การด้านเสี ยงและ บริ การด้านข้อมูลได้ตามความต้องการ นอกจากนี้ ยังมีแพ็กเกจ Top-up ซึ่งผูใ้ ช้บริ การสามารถสมัครบริ การ ด้านเสี ยงหรื อบริ การที่ไม่ใช่เสี ยง เพิ่มเติมจากแพ็กเกจรายเดือนที่ใช้อยู่ ทั้งนี้ ผูใ้ ช้บริ การระบบรายเดือน ของทรู มูฟ เอช จะได้รับใบแจ้งค่าบริ การเป็ นรายเดือน ซึ่ งจะประกอบด้วย ค่าบริ การรายเดือนและค่าใช้บริ การ สาหรับบริ การเสี ยง และบริ การไม่ใช่เสี ยงต่าง ๆ บริการเสี ยง (Voice Services) ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ของทรู มูฟ เอช นอกจากจะสามารถโทรศัพท์ภายในพื้นที่เดียวกัน โทรไปยังต่างจังหวัดและโทรทางไกลต่างประเทศแล้ว ยังสามารถใช้บริ การเสริ มต่าง ๆ ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั แพ็กเกจ ที่เลือกใช้ บริ การเสริ มเหล่านี้ประกอบด้วย บริ การรับสายเรี ยกซ้อน บริ การโอนสายเรี ยกเข้า บริ การสนทนาสามสาย และบริ การแสดงหมายเลขโทรเข้า นอกจากนี้ ทรู มูฟ เอช ยังนาเสนอบริ การ 4G HD Voice ซึ่งเป็ นการโทรด้วย เสี ยงคมชัดบนเครื อข่าย 4G ประสิ ทธิภาพสู งของทรู มูฟ เอช ซึ่งเทคโนโลยี 4G VoLTE จะยกระดับคุณภาพเสี ยง ในการโทรของลูกค้า ให้คมชัดระดับ HD และช่วยลดระยะเวลาในการโทรออกให้ติดเร็ วขึ้นถึง 4 เท่า เมื่อเทียบกับ ดีไวซ์ในระบบ 3G นอกจากนี้ ยงั มีบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ เพื่อให้ผใู ้ ช้บริ การสามารถโทรออก และรับสายเมื่อเดินทางไปต่างประเทศอีกด้วย บริการทีไ่ ม่ ใช่ เสี ยง (Non-voice) ทรู มูฟ เอช ให้บริ การที่ไม่ใช่เสี ยง ที่หลากหลายเพื่อเติมเต็มและสอดคล้องกับไลฟ์ สไตล์ของลูกค้า โดยลูกค้าสามารถใช้บริ การคอนเทนต์ผา่ นช่องทางต่าง ๆ ได้หลายทาง ทั้งบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และที่เว็บพอร์ทลั บริ การที่ไม่ใช่เสี ยงประกอบด้วย คอนเทนต์ต่าง ๆ ที่ได้รับความนิยมจากผูใ้ ช้บริ การ อาทิ การสื่ อสารด้วยภาพ หรื อรู ปถ่าย บริ การข้อมูลทางการเงิน เกม การ์ ตูน สกรี นเซฟเวอร์ และริ งโทน รวมถึง คอนเทนต์ประเภท เพลงและกีฬา ลูกค้าที่ใช้บริ การที่ไม่ใช่เสี ยง มีปริ มาณที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง โดยเฉพาะอย่างยิง่ การดาวน์โหลด และอัพโหลดภาพถ่าย และวิดีโอ รวมถึงการใช้บริ การโซเชียลเน็ตเวิร์กโดยผ่านบริ การโมบาย อินเทอร์เน็ต ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ทรู มูฟ เอช แบ่ งบริการทีไ่ ม่ ใช่ เสี ยงออกเป็ น 3 ประเภทดังนี:้  บริ การส่ งข้อความ ซึ่ งประกอบด้วย Short Messaging Service (SMS): บริ การส่ งข้อความไปยัง ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น Voice SMS: บริ การส่ งข้อความเสี ยงไปยังผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ และโทรศัพท์พ้นื ฐาน และ Multimedia Messaging Service (MMS): บริ การส่ งภาพ ข้อความ และเสี ยง ไปยัง ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น  บริ การเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรื อ โมบาย อินเทอร์ เน็ต ผ่านเทคโนโลยี 4.5G/4G 3G และ EDGE/GPRS รวมทั้งเทคโนโลยี WiFi ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การสามารถใช้งานผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อใช้ บริ การอีเมล อินเทอร์เน็ต VoIP ตลอดจนบริ การวิดีโอและเสี ยง รวมทั้งบริ การเสริ มอื่น ๆ ซึ่งประกอบด้วย Mobile Chat บริ การรับ-ส่ งข้อความในรู ปของ WAP based ทาให้ผใู ้ ช้บริ การสามารถเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตบนมือถือ หรื อสนทนาสดออนไลน์  บริ การด้านคอนเทนต์ ซึ่ งประกอบด้วย Ring-back Tone บริ การเสี ยงรอสาย ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การสามารถ เลือกเสี ยงหรื อเพลงได้ดว้ ยตัวเอง Voicemail และ Multimedia Content Services บริ การคอนเทนต์มลั ติมีเดีย ซึ่ งประกอบด้วย เพลง กีฬา ข่าว และข่าวการเงิน ทรู มูฟ เอช สามารถใช้ประโยชน์จากคอนเทนต์ซ่ ึ งเป็ นลิขสิ ทธิ์ เฉพาะ ของ ทรู มิวสิ ค ทรู ไลฟ์ ทรู ออนไลน์ และทรู วชิ นั่ ส์ เพื่อสร้างความเติบโตให้กบั รายได้ ความนิยมในการใช้บริ การเครื อข่ายสังคมออนไลน์ และการใช้งานสมาร์ ทดีไวซ์ที่เพิ่มสู งขึ้น รวมถึง โครงข่ายประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดของทรู มูฟ เอช ส่ งผลให้รายได้จากบริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ต เติบโตแข็งแกร่ ง ซึ่งเป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้รายได้จากบริ การที่ไม่ใช่เสี ยงในปี 2559 เพิ่มสู งขึ้นร้อยละ 45.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 34.0 พันล้านบาท โดยรายได้จากบริ การที่ไม่ใช่เสี ยงมีสัดส่ วนร้อยละ 59 ของรายได้จากการให้บริ การโดยรวม (ไม่รวมรายได้ค่าเชื่ อมต่อโครงข่าย และค่าเช่าโครงข่าย) ของทรู มูฟ เอช การจาหน่ ายเครื่องโทรศัพท์ เคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณ์ ทรู มูฟ เอช จัดจาหน่ายเครื่ องโทรศัพท์เคลื่อนที่คุณภาพสู ง รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ โดยผลิตภัณฑ์ที่ จัดจาหน่ายคือสมาร์ทโฟนและสมาร์ทดีไวซ์คุณภาพสู ง รวมถึงมือถือและดีไวซ์หลากหลายที่สามารถรองรับ บริ การระบบ 4G และ 3G ภายใต้แบรนด์ “ทรู ” โดยเฉพาะผ่านความร่ วมมือกับ China Mobile อาทิ “True Smart 4G 5.5" Enterprise” “True Smart Series” และ “True Super” โดยดีไวซ์เหล่านี้ได้รับผลตอบรับที่ดีอย่าง ต่อเนื่ อง อีกทั้งยังทาให้คนไทยสามารถเข้าถึงบริ การ 4G และ 3G ได้อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพและง่ายยิง่ ขึ้น ทั้งนี้ เครื่ องโทรศัพท์ที่จดั จาหน่าย เป็ นทั้งการจาหน่ายเครื่ องเปล่าโดยไม่ผกู พันกับบริ การใด ๆ กับการจาหน่ายเครื่ อง โดยลูกค้าใช้แพ็กเกจค่าบริ การของทรู มูฟ เอช บริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศ (International Roaming Services) บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ (โรมมิ่ง) เป็ นบริ การเสริ มที่ช่วยให้ลูกค้าของทรู มูฟ เอช สามารถนาเครื่ องโทรศัพท์และหมายเลขโทรศัพท์ที่ใช้งานอยูไ่ ปใช้งานในต่างประเทศ (Outbound Roaming) ได้โดยผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในต่างประเทศที่ทรู มูฟ เอช มีสัญญาบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่าง ประเทศ ซึ่งลูกค้าสามารถใช้บริ การในการโทรออกและรับสายเข้า การส่ งข้อความ (SMS) และการใช้งานดาต้า ในกว่า 200 ปลายทางทัว่ โลก นอกจากนี้ ผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จากต่างประเทศที่มีสัญญาบริ การโทรศัพท์ขา้ ม แดนระหว่างประเทศกับทรู มูฟ เอช ก็สามารถใช้บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศผ่านเครื อข่ายของ ทรู มูฟ เอช (Inbound Roaming) เมื่อเดินทางมาเมืองไทยได้เช่นกัน ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลุ่มทรู ได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเครื อข่ายพันธมิตรคอนเน็กซัส โมบายล์ (Conexus Mobile Alliance) ในปี 2551 นอกจากนี้ ยังเข้าร่ วมตกลงเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจ (Strategic Partner) กับ China Mobile ในปี 2557 โดยปัจจุบนั คอนเน็กซัส โมบายล์ และ China Mobile มีฐานผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมอยูป่ ระมาณ 1,130 ล้านราย ทาให้ผใู ้ ช้บริ การเหล่านี้สามารถใช้บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ เมื่อเดินทางเข้ามายังประเทศไทยผ่านเครื อข่ายโทรศัพท์ของทรู มูฟ เอช อีกด้วย บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศของทรู มูฟ เอช ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์มุง่ ขยายเครื อข่ายการ ให้บริ การ 4G Roaming โดยครอบคลุมกว่า 50 ประเทศทัว่ โลก เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้านักเดินทางที่ เดินทางไปต่างประเทศและมีความต้องการที่จะติดต่อสื่ อสารด้วยคุณภาพของดาต้าที่มีความเร็ วสู ง พร้อมกับ ความร่ วมมือกับพันธมิตรระดับโลกที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การ 4G ในต่างประเทศ ทาให้ทรู มูฟ เอช เป็ นผูใ้ ห้บริ การรายแรก ในประเทศไทยที่มีเครื อข่าย 4G Roaming ครอบคลุมทุกทวีปทัว่ โลก ด้วยอัตราค่าบริ การที่ตอบสนองความต้องการ ในหลายรู ปแบบ ลูกค้าทรู มูฟ เอช จึงสามารถเลือกโปรโมชัน่ ที่ตรงกับความต้องการของตนเองได้ ทรู มูฟ เอช ยังคงมุ่งเน้นที่จะเป็ นผูน้ าในการบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศในการ ให้บริ การเสี ยงและดาต้าคุณภาพระดับโลก ในราคาที่คุม้ ค่า ไม่วา่ จะเป็ นการนาเสนอราคาแพ็กเกจเสริ มต่างๆ ทั้งดาต้า โรมมิ่งแบบ Non-Stop ในราคาเริ่ มต้นเพียง 99 บาทต่อวัน หรื ออัตราค่าบริ การโทรออกและรับสาย ขณะอยูต่ ่างประเทศ ในราคาเริ่ มต้นเพียง 9 บาทต่อนาที เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าทรู มูฟ เอช ในระบบรายเดือนและระบบเติมเงินที่เดินทางไปต่างประเทศ ผ่านเครื อข่ายพันธมิตรของทรู มูฟ เอช นอกจากนี้ ทรู มูฟ เอชได้พฒั นา บริ การ “Smart Data Roaming Protection” เพื่อช่วยให้ลูกค้าหมดความกังวล ในปั ญหาค่าบริ การดาต้าเกินอีกด้วย พร้อมทั้งยังปรับปรุ งการให้บริ การทั้งก่อนและหลังการขายเพื่อให้ผใู ้ ช้ ดาต้าสามารถเข้าถึงบริ การ เปิ ดใช้บริ การ สอบถามและค้นหาข้อมูลบริ การ เลือกใช้บริ การเสริ มต่างๆ และ ตรวจสอบค่าใช้บริ การหรื อจานวนการใช้งานได้ดว้ ยตนเอง (e-Service) ขณะเดินทางต่างประเทศผ่านทาง Smartphone Application ที่สามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ วเพื่อรองรับความต้องการของผูใ้ ช้บริ การ นอกจากนี้ กลุ่มทรู ได้ร่วมมือกับ China Mobile พัฒนานวัตกรรมล่าสุ ด “บริ การเบอร์ไทย-แดนมังกร” ด้วยเทคโนโลยีที่ทาให้ลูกค้ามีเบอร์ ทรู มูฟ เอช เบอร์ จีน และเบอร์ ฮ่องกง ในซิมเดียว เพื่อการติดต่อที่ต่อเนื่ องได้ ทั้งในประเทศไทย จีน ฮ่องกง และประเทศอื่นๆ ไว้ในซิ มเดียว ด้วยอัตราค่าโทรเริ่ มต้นเพียงนาทีละ 5 บาท ทั้งนี้ บริ การเบอร์ไทย-แดนมังกร สามารถตอบโจทย์ความต้องการทั้งด้านความสะดวกสบายและความคุม้ ค่า เหมาะกับนักธุ รกิจ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่จะเดินทางไปยังประเทศจีน และฮ่องกง รวมถึงชาวจีน และ ฮ่องกงที่อาศัยอยูใ่ นเมืองไทย บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ กลุ่มทรู เริ่ มต้นเปิ ดให้บริ การและทาธุ รกิจให้บริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ รวมทั้ง รายงานผลการดาเนินงานของบริ การดังกล่าวภายใต้ธุรกิจทรู ออนไลน์ ในภายหลัง ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2553 ได้มีมติอนุมตั ิให้โอนย้าย TIC มาอยูภ่ ายใต้ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลุ่มทรู ทั้งนี้ TIC ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ได้รับใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ประเภท 3 จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช) เพื่อให้บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริ การเสริ ม โดยเปิ ดให้บริ การผ่านหมายเลข “006” ซึ่ง เป็ นบริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ แบบต่อตรงอัตโนมัติ (International Direct Dialing: IDD) โดยไม่ตอ้ ง ผ่าน Operator ที่ให้คุณภาพระดับพรี เมียม เสี ยงคมชัด ต่อติดง่าย สายไม่หลุดและไม่ดีเลย์ขณะสนทนา ด้วย เทคโนโลยี Time Division Multiplexing (TDM) บนเครื อข่ายที่ครอบคลุมกว่า 200 ปลายทางทัว่ โลก ธุ รกิจโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ยังคงมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องในปี 2559 ทั้งในกลุ่มลูกค้าบุคคล และกลุ่มลูกค้าธุ รกิจ โดย TIC นาเสนอบริ การโทรต่างประเทศผ่านรหัส 006 และบริ การเสริ มอื่นๆ ด้วย บริ การคุณภาพสู งและอัตราค่าโทรที่คุม้ ค่า โดยเฉพาะ กลุ่มประเทศ CLMV ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า และ เวียดนาม ซึ่งมีศกั ยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมถึงประเทศปลายทางยอดนิยมอื่นๆ อาทิ จีน อินเดีย สหรัฐอเมริ กา และประเทศในเอเชียอื่นๆ ซึ่งได้รับผลตอบรับที่ดีจากลูกค้าอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริ การขายส่ ง ทราฟฟิ ค (Trafiic) โทรศัพท์ระหว่างประเทศของ TIC ยังมีการเติบโตที่ดีจากความพยายามในการขยาย เครื อข่ายพันธมิตรอย่างต่อเนื่อง สิ่ งเหล่านี้ ร่ วมกับการให้บริ การโทรทางไกลคุณภาพสู งตลอดมา ส่ งผลให้บริ การ โทรทางไกลต่างประเทศของกลุ่มยังคงได้รับความนิยมและความไว้วางใจจากลูกค้าอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยงั เสนอบริ การโทรทางไกลต่างประเทศประเภทอื่น ๆ ในอัตราค่าโทรที่คุม้ ค่า อาทิ บริ การผ่านรหัส “00600” ด้วยเทคโนโลยี VoIP “4G ทัวร์ริสซิม” “ซิมมิงกะละบา” สาหรับการโทรไป ประเทศพม่า “ซิมซัวสะเดย” สาหรับการโทรไปประเทศกัมพูชา และการโทรศัพท์ผา่ นแอปพลิเคชัน่ “NetTalk by True” ซึ่ งเป็ นการโทรผ่านอินเทอร์เน็ตในราคาประหยัด โครงข่ าย โครงข่ายประสิ ทธิ ภาพสู งยังคงเป็ นกลยุทธ์หลักในการดาเนินธุ รกิจของกลุ่มทรู ซึ่งทรู มูฟ เอช มุ่งมัน่ สร้างโครงข่ายประสิ ทธิภาพสู งสุ ด เพื่อเพิ่มประสบการณ์การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้กบั ผูใ้ ช้บริ การ อย่างต่อเนื่ อง อีกทั้ง มุ่งขยายความครอบคลุมเพื่อให้ประชาชนชาวไทยทัว่ ประเทศสามารถใช้งาน โทรศัพท์เคลื่อนที่คุณภาพสู งได้มากยิง่ ขึ้น โดยโครงข่าย 4.5G/4G 3G และ 2G ของทรมูฟ เอช มีความ ครอบคลุมถึงร้อยละ 98 ของประชากรไทย และเข้าถึงพื้นที่ในระดับหมู่บา้ นทั้ง 77 จังหวัดทัว่ ประเทศ ด้วยการผสานจุดเด่นของคลื่นย่านความถี่ต่าและคลื่นย่านความถี่สูงได้อย่างลงตัว นอกจากนี้ ทรู มูฟ นา เทคโนโลยีการรวมคลื่น 3 คลื่น หรื อ 3CA (Carrier Aggregation) มาผสานกับเทคโนโลยีสถานีฐานประเภท 4T4R (เทคโนโลยีฐานแบบ 4 Transmit 4 Receiver หรื อ 4x4 MIMO) จานวน 7,000 สถานี ซึ่งมีจานวนมาก ที่สุดในโลก รับรองโดยสถาบัน Global Mobile Suppliers Association ทาให้ลูกค้าได้รับประสบการณ์การ ใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น พร้อมทั้งตอบสนองความต้องการใช้งานดาต้าที่ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วและไลฟ์ สไตล์ของลูกค้าในยุคดิจิตอลได้เป็ นอย่างดี

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(3)

กลุ่มทรู วชิ ั่ นส์ ทรู วชิ นั่ ส์ คือ ผูน้ าในการให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกและบริ การในระบบ HD ซึ่ง ให้บริ การทัว่ ประเทศผ่านดาวเทียมในระบบดิจิตอลตรงสู่ บา้ นสมาชิก และผ่านโครงข่ายผสมระหว่างเคเบิล ใยแก้วนาแสง และสายโคแอ็กเชียล (coaxial) ที่มีประสิ ทธิภาพสู ง ทรู วชิ นั่ ส์ เกิดจากการควบรวมกิจการเมื่อปี 2541 ระหว่างยูบีซี (เดิมคือ ไอบีซี) และ ยูบีซีเคเบิล (เดิมคือ ยูทีวี) โดยดาเนินธุ รกิจภายใต้สัญญาร่ วมดาเนิ นกิจการฯ อายุ 25 ปี ที่ได้รับจากองค์การสื่ อสารมวลชน แห่งประเทศไทย (อสมท) โดยสัญญาร่ วมดาเนิ นกิจการฯ สาหรับบริ การผ่านดาวเทียมหมดอายุเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 และสัญญาร่ วมดาเนินกิจการฯ สาหรับบริ การโทรทัศน์ทางสาย (หรื อ เคเบิล) จะหมดอายุ ในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ทั้งนี้ ในเดือนมกราคม 2556 บริ ษทั ทรู วชิ นั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ในกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ ได้รับ ใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์จากคณะกรรมการ กสทช. ทาให้กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ สามารถขยายเวลาให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกแก่ลูกค้าได้อย่างน้อยถึงปี 2571 โดย ทรู วชิ นั่ ส์ ประสบความสาเร็ จอย่างสู งในการโอนย้ายลูกค้ามาอยูภ่ ายใต้ระบบใบอนุ ญาตที่บริ ษทั ทรู วชิ นั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ทรู วชิ นั่ ส์ ให้บริ การในระบบดิจิตอลผ่านดาวเทียม โดยการส่ งสัญญาณในระบบ Ku-band และ C-band โดยใช้ระบบการบีบอัดสัญญาณ MPEG-2 และ MPEG-4 ซึ่งทาให้ทรู วชิ นั่ ส์สามารถเพิ่มจานวนช่อง รายการได้มากขึ้น ปรับปรุ งคุณภาพเสี ยงและภาพให้คมชัดยิง่ ขึ้น สามารถควบคุมการเข้าถึงสัญญาณของ ทรู วชิ นั่ ส์ และสามารถกระจายสัญญาณให้บริ การไปยังทุกๆ พื้นที่ในประเทศไทย ผ่านดาวเทียมไทยคม นอกจากนั้น ทรู วชิ นั่ ส์ให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกระบบเคเบิลผ่านโครงข่ายของทรู มลั ติมีเดีย และ TU ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ในต้นปี 2549 กลุ่มทรู ประสบความสาเร็ จในการรวมทรู วิชนั่ ส์เข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่งของกลุ่มทรู ทาให้กลุ่มทรู ถือหุ น้ ในสัดส่ วนร้อยละ 91.8 ของทรู วชิ นั่ ส์ ต่อมาในปี 2553 ทรู วชิ นั่ ส์ ได้ปรับโครงสร้าง กลุ่มบริ ษทั เป็ นกลุ่มบริ ษทั ทรู วชิ นั่ ส์ ทั้งนี้ เพื่อรองรับกรอบการกากับดูแลที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพื่อการรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก และทาให้การดาเนิ นธุ รกิจของทรู วชิ นั่ ส์ มีความคล่องตัวมากขึ้นรองรับการเติบโตของธุ รกิจในอนาคต โดย ณ สิ้ นปี 2559 กลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถือหุ ้น ในบริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด ซึ่ งเป็ น holding company สาหรับธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกของกลุ่มทรู อยูร่ ้อยละ 100.0 และมีสัดส่ วนการถือหุ ้นทางอ้อมร้อยละ 99.5 ในบริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด (มหาชน) และ ร้อยละ 99.1 ในบมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จากัด (มหาชน) ในวันที่ 8 ตุลาคม ปี 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการ อสมท มีมติอนุ ญาตให้ทรู วชิ นั่ ส์สามารถสร้าง รายได้จากการรับทาโฆษณาผ่านช่องรายการต่างๆ โดยจ่ายส่ วนแบ่งรายได้ร้อยละ 6.5 ให้แก่ อสมท ทาให้ ทรู วชิ นั่ ส์เริ่ มหารายได้จากการรับทาโฆษณาผ่านช่องรายการต่าง ๆ โดยเริ่ มทาการโฆษณาอย่างค่อยเป็ น ค่อยไป ทั้งนี้เพื่อไม่ให้ขดั จังหวะการรับชมรายการของสมาชิก กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ เริ่ มให้บริ การโทรทัศน์ใน ระบบดิจิตอล หลังจากได้รับใบอนุญาตเพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลประเภทบริ การทางธุ รกิจ ระดับชาติจานวน 2 ช่อง สาหรับช่องข่าว และวาไรตี้ จากคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนเมษายน ปี 2557 โดยช่อง “True4U” และ “TNN24” ได้รับความนิยมสู งอย่างต่อเนื่องทั้งนี้ การได้รับในอนุญาตดังกล่าว นอกจากจะส่ งเสริ มการเติบโตของรายได้ค่าโฆษณาแล้ว ยังช่วยเพิ่มโอกาสในการทาการตลาดคอนเทนต์ ของทรู วชิ นั่ ส์ผา่ นฐานลูกค้าขนาดใหญ่มากยิง่ ขึ้น ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ทรู วชิ นั่ ส์ยงั คงมุ่งสร้างความแตกต่างและเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั แพลตฟอร์ ม พร้อมเดินหน้า เพิ่มประสบการณ์การรับชมโทรทัศน์ที่ดีที่สุดแก่สมาชิกผ่าน รายการคุณภาพระดับโลกที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ คุณภาพการรับชมคมชัดระดับ HD พร้อมทั้งทาสัญญากับพันธมิตรชั้นนาระดับโลก เพื่อนาคอนเทนต์พิเศษที่ทรู วิชนั่ ส์ได้รับสิ ทธิ เฉพาะมาเผยแพร่ ให้กบั ลูกค้า ทั้งนี้ ทรู วชิ นั่ ส์ ได้นาเสนอคอนเทนต์ ชั้นนาที่หลากหลายจากทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ กีฬา สาระบันเทิงและข่าว รวมถึง นวัตกรรมของบริ การเสริ มระดับพรี เมียมสาหรับลูกค้า อาทิ บริ การ High Definition Personal Video Recorder (HD PVR) ซึ่งเป็ นกล่องรับสัญญาณรุ่ นใหม่ที่ให้ภาพคมชัดและสามารถอัดรายการและขยายภาพ ในระหว่างการรับชมหรื อเล่นซ้ าได้และการรับชมช่องรายการจากทรู วชิ นั่ ส์และช่องรายการฟรี ทูแอร์ ผ่าน ทรู วชิ นั่ ส์ เอนิแวร์ ทาให้ลูกค้าสามารถดูรายการจากทรู วชิ นั่ ส์ ได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านหลายแพลตฟอร์ ม ในปี 2559 ทรู วชิ นั่ ส์ ตอกย้าการเป็ นผูน้ าเพย์ทีวแี ละการถ่ายทอดสดรายการกีฬายอดนิ ยม ด้วยการ ได้รับสิ ทธิ์ ถ่ายทอดสดฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก อังกฤษ บนช่องบีอินสปอร์ ตในประเทศไทย ตลอด 3 ฤดูกาล ตั้งแต่ ฤดูกาล 2559/ 2560 ถึงฤดูกาล 2561/ 2562 รวมถึงรายการฟุตบอลชั้นนาอีกหลายรายการ อาทิ ลา ลีกา สเปน กัลโช่ เซเรี ยอา อิตาลี ลีก เอิง ฝรั่งเศส ยูเอสเอ เมเจอร์ลีก ซอกเกอร์ ร่ วมด้วย โตโยต้า ไทยพรี เมียร์ ลีก นอกจากนี้ ทรู วชิ นั่ ส์ ยังเสริ มสร้างความแข็งแกร่ งในกลยุทธ์สาหรับตลาดแมสด้วยการนาเสนอแพ็กเกจ คอนเวอร์เจนซ์ที่คุม้ ค่า ผสมผสานสิ นค้าและบริ การอื่น ๆ ภายใต้กลุ่มทรู และการผลิตคอนเทนต์คุณภาพซึ่ง ตรงใจผูบ้ ริ โภคชาวไทย ในขณะที่ แคมเปญกล่องรับสัญญาณทีวรี ุ่ นไฮบริ ด ยังคงได้รับความนิยมจากลูกค้า อย่างต่อเนื่ อง และช่วยเพิ่มโอกาสในการทาการตลาดคอนเทนต์ของทรู วชิ นั่ ส์ผา่ นฐานลูกค้าขนาดใหญ่ เพื่อ เพิ่มรายได้โฆษณาและกระตุน้ การสมัครสมาชิกแพ็กเกจของทรู วชิ นั่ ส์ได้มากยิง่ ขึ้น โดย พัฒนาการต่าง ๆ เหล่านี้ ส่ งผลให้ทรู วชิ นั่ ส์มีจานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ เพิ่มสู งขึ้นเป็ นประวัติการณ์ในปี 2559 ผลักดันให้ฐานลูกค้า รวมเติบโตเป็ น 3.9 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2559 ตารางแสดงจานวนผู้ใช้ บริการทรู วชิ ั่ นส์ และรายได้ เฉลีย่ ต่ อผู้ใช้ บริการ ณ ว ันที่ 31 ธ.ค.

่ั ส ์ ทรูวช ิ น 2555

2556

2557

2558

2559

้ ริกำรแยกตำม จำนวนผูใ้ ชบ ประเภทแพ็กเกจ แพ็กเกจพรีเมีย ่ ม

435,498

342,535

310,593

292,460

290,394

แพ็กเกจมำตรฐำน

307,507

418,739

629,379

1,108,019

1,694,611

แพ็เกจฟรีววิ

564,198

739,769

584,751

478,836

409,573

กล่องฟรีทแ ู อร์

735,057

869,929

947,047

1,184,160

1,535,457

2,042,260

2,370,972

2,471,770

3,063,475

3,930,035

870

895

715

523

379

้ ริกำรทงหมด รวมผูใ้ ชบ ั้ ้ ริกำร รำยได้เฉลีย ่ ต่อผูใ้ ชบ (บำทต่อเดือน)

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

แพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ กลุ่มทรู มุ่งสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ลูกค้า ด้วยการนาเสนอแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ที่โดดเด่นและน่าดึงดูดใจ โดยเป็ นการผสมผสานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ภายในกลุ่มทรู เข้าไว้ดว้ ยกัน เพื่อตอบสนองไลฟ์ สไตล์และ ความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด ด้วยราคาที่คุม้ ค่า ทั้งนี้ แพ็กเกจคอนเวอร์เจนซ์ที่ครบครันและหลากหลาย ของกลุ่ม ทั้งแคมเปญ "ทรู สมาร์ท ช้อยส์" และ "ทรู ซูเปอร์สปี ด ไฟเบอร์ " มอบความคุม้ ค่าด้วยการผนวกบริ การ บรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต แบบไฟเบอร์ จากทรู ออนไลน์ ช่องรายการคุณภาพจากทรู วชิ นั่ ส์ บริ การเสี ยงและดาต้า จากทรู มูฟ เอช และบริ การโทรศัพท์บา้ นพื้นฐาน ได้อย่างลงตัว โดยผูบ้ ริ โภคสามารถเลือกสมัครใช้บริ การ แต่ละสิ นค้าของกลุ่มหรื อซื้ อแพ็กเกจเพิม่ เติมได้ตามความต้องการ ทั้งนี้ แคมเปญคอนเวอร์ เจนซ์ของกลุ่มทรู ได้รับผลตอบรับที่ดีจากผูบ้ ริ โภคอย่างต่อเนื่อง และเป็ นส่ วนสาคัญในการเพิ่มฐานลูกค้าและความผูกพันของลูกค้า ต่อสิ นค้าและบริ การภายใต้กลุ่มทรู โดยกลุ่มทรู เชื่อมัน่ ว่า คอนเวอร์ เจนซ์คือยุทธศาสตร์ สาคัญในการสร้าง ความเติบโตอย่างยัง่ ยืนให้กบั ผลิตภัณฑ์และบริ การของกลุ่ม 2.2

การตลาด กลุ่มทรู มุ่งมัน่ ให้บริ การสื่ อสารโทรคมนาคมประสิ ทธิภาพสู ง โดยมุ่งเน้นการให้บริ การด้วย เครื อข่ายคุณภาพสู งสุ ดและครอบคลุมทัว่ ประเทศ ผ่านเทคโนโลยีทนั สมัย นอกจากนี้ ยังมอบความคุม้ ค่า ให้แก่ผบู ้ ริ โภคด้วยการเชื่อมโยงทุกบริ การภายในกลุ่มทรู ทั้งบริ การอินเทอร์ เน็ต บรอดแบนด์แบบมีสายและไร้สาย บริ การด้านเสี ยง และคอนเทนต์คุณภาพทั้งต่างประเทศและในประเทศ ภายใต้ยทุ ธศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์ พร้อม พัฒนาโซลูชนั่ หลากหลาย โดยเฉพาะดิจิตอลโซลูชนั่ เพื่อตอบสนองทุกไลฟ์ สไตล์ตรงใจลูกค้าได้อย่างแท้จริ ง สิ่ งเหล่านี้ ทาให้กลุ่มทรู แตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การรายอื่น และมีส่วนสาคัญในการเพิ่มส่ วนแบ่งตลาด รักษา ฐานลูกค้า และเพิ่มความผูกพันของลูกค้าต่อสิ นค้าและบริ การภายใต้กลุ่มทรู ได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ การมุ่ง พัฒนาคุณภาพการให้บริ การอย่างต่อเนื่อง และการทาการตลาดเฉพาะในแต่ละพื้นที่และกลุ่มลูกค้า ช่วยให้ กลุ่มทรู เข้าถึงและตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น และเป็ นอีกปั จจัยสาคัญที่จะทาให้กลุ่มทรู เติบโตแข็งแกร่ งอย่างต่อเนื่ อง 2.3

การจาหน่ ายเเละช่ องทางการจาหน่ าย เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าบุคคล กลุ่มทรู ได้เปิ ดศูนย์บริ การทั้งในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล รวมทั้งต่างจังหวัด โดยในแต่ละศูนย์บริ การจะมีเจ้าหน้าที่พร้อมให้คาแนะนาแบบ One-stop shopping ในแห่งเดียว เกี่ยวกับบริ การสื่ อสารทั้งแบบมีสายและไร้สาย เพย์ทีวี เครื่ องโทรศัพท์และอุปกรณ์เสริ ม และ อุปกรณ์สื่อสารอื่น ๆ รวมทั้งโมเด็ม ซึ่ งในศูนย์บริ การใหญ่จะเปิ ดให้บริ การอินเทอร์ เน็ตด้วย นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยงั ได้จาหน่ายสิ นค้าและบริ การผ่านตัวแทนจาหน่ายทัว่ ประเทศ ทั้งที่เป็ นร้านค้าที่เป็ นตัวแทนจาหน่าย และตัวแทนจาหน่ายอิสระซึ่ งรับค่าตอบแทนจากค่าคอมมิชชัน่ ช่องทางการจาหน่ายของกลุ่มทรู ประกอบด้วย  ทรู ชอ ้ ป และ ทรู ชอ้ ป โดย Com7 ซึ่งตั้งอยูใ่ นพื้นที่ที่เห็นได้ง่ายและเป็ นแหล่งชุ มชน อย่างเช่น ศูนย์การค้า ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ อาคารสานักงาน เป็ นต้น นอกจากนี้ ยังรวมถึง ทรู สเฟี ยร์ (TrueSphere) โค-เวิร์คกิ้ง สเปซ ระดับเฟิ ร์ สคลาส ซึ่งเป็ นบริ การรู ปแบบใหม่ที่มอบประสบการณ์ระดับเฟิ ร์ สคลาส ผสานทุกมิติของบริ การและเทคโนโลยีล้ าสมัยของกลุ่มทรู ให้แก่ลูกค้า

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ทรู พาร์ทเนอร์ และดีลเลอร์  ร้านค้าปลีกประเภท Multi-retailer ซึ่ งตั้งอยูใ่ นร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ (Hypermart) ร้านค้าประเภท Specialty Store ร้านสะดวกซื้ อต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงร้าน 7-Eleven  ค้าขายส่ ง คือ คู่คา้ ขายส่ งซิ มการ์ ดที่ยงั ไม่ได้เปิ ดใช้งานและบัตรเติมเงิ นเครื่ องโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องของกลุ่มทรู โดยเป็ นผูก้ ระจายสิ นค้าไปยังตัวแทนจาหน่าย (Sub-dealer) ตลอดจนดูแล และให้การสนับสนุ นด้านการกระจายสิ นค้ากับ Sub-dealer โดยคู่คา้ ขายส่ งจะเป็ นผูข้ ายซิ มการ์ ดระบบเติมเงิน และบัตรเติมเงิน ในขณะที่ Sub-dealer จะให้บริ การอื่น ๆ ด้วย อาทิ บริ การซ่อมโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริ การดาวน์ โหลดเพลงและเกมต่าง ๆ ั ลูกค้า SME และลูกค้าองค์กร  ช่องทางการขายตรง โดยขายผลิตภัณฑ์และบริ การของกลุ่มทรู ให้กบ ธุ รกิจ ช่องทางจัดจาหน่ายนี้มีบทบาทสาคัญในการเพิ่มจานวนผูใ้ ช้บริ การให้กบั กลุ่ม ช่องทางการขายตรง แบ่งออกเป็ นทีมขายตรง ตัวแทนขายตรง และตัวแทนอิสระ  เทเลเซลล์ และ อี คอมเมอร์ ซ อาทิ ไอ ทรู มาร์ ท 

สาหรับบริ การเติมเงิน มีช่องทางผ่านบริ การอิเล็กทรอนิกส์หลายช่องทาง นอกเหนือจากการใช้บตั ร (เช่น บัตรเงินสดหรื อบัตรเติมเงิน) ดังต่อไปนี้  เครื่ องเอทีเอ็มโดยผูใ้ ช้บริ การสามารถโอนเงินจากบัญชีธนาคารของตนเองเพื่อเติมเงินได้โดยตรง  ทรู มน ั นี่ ทรู ไอเซอร์วสิ และทรู ไอดี ซึ่งเป็ นบริ การการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่  บัตรเงิ นสดอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งสามารถซื้ อได้จากคู่คา้ เช่น 7-Eleven  เติมเงินโดยตรง ลูกค้าสามารถเติมเงินได้จากอุปกรณ์ที่ติดตั้งในร้านค้าปลีกของกลุ่มทรู และคู่คา้ อาทิ 7-Eleven หรื อเติมเงินผ่านระบบออนไลน์ ั ลูกค้าในทุกสิ นค้าและบริ การของกลุ่มทรู  ตูเ้ ติมเงิน และตูเ้ ติมทรู ซึ่ งเพิ่มความสะดวกให้กบ นอกจากนี้ ผูใ้ ช้บริ การทรู มูฟ เอช ยังสามารถเติมเงินอัตโนมัติแบบ over-the-air ผ่านตัวแทนซึ่ งเป็ น บุคคลธรรมดา หรื อร้านค้าขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับกลุ่มทรู และได้รับอนุ ญาตให้โอนค่าโทรแบบ over-the-air ไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผูใ้ ช้บริ การ โดยตัวแทนเหล่านี้ สามารถใช้บริ การเติมเงินได้ผา่ นหลายช่องทาง (เช่น บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน และเครื่ องเอทีเอ็ม) ทั้งนี้ ช่องทางผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีวธิ ีชาระเงินที่หลากหลาย และ มีสถานที่ให้บริ การเพิ่มมากขึ้น โดยช่วยให้กลุ่มทรู ประหยัดค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวเนื่องกับบัตรเติมเงิน (การผลิต การกระจายสิ นค้า และการจัดเก็บ) ได้เป็ นอย่างดี 2.4

การจัดหาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ แหล่งทีม่ าของผลิตภัณฑ์ และบริการ กลุ่มทรู ได้สั่งซื้ ออุปกรณ์โครงข่ายโทรคมนาคมจากผูผ้ ลิตอุปกรณ์ช้ นั นาของโลก นอกจากนั้น ยังมี ผูร้ ับเหมาจานวนมากในการจัดหาและติดตั้งโครงข่ายของกลุ่มทรู ซึ่ งกลุ่มทรู ไม่ได้มีการพึ่งพิง ผูจ้ ดั จาหน่าย หรื อผูร้ ับเหมารายใดเป็ นการเฉพาะ และกลุ่มทรู ไม่มีปัญหาในการจัดหาผูจ้ ดั จาหน่ายและผูร้ ับเหมาเนื่องจาก มีจานวนมากราย นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยังสามารถได้ประโยชน์ทางด้าน economy of scale จากการร่ วมมือกับ China Mobile ในด้านการจัดซื้ ออุปกรณ์โครงข่ายโทรคมนาคมต่าง ๆ ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

การสนับสนุนทางด้ านเทคนิคและการบริ หาร ในอดีตกลุ่มทรู เคยได้รับความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค และการบริ หารจากพันธมิตรทางธุ รกิจ ซึ่งประกอบด้วย บริ ษทั Verizon Communications, Inc สาหรับบริ ษทั Orange SA ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค และการบริ หารสาหรับทรู มูฟ และบริ ษทั MIH สาหรับทรู วิชนั่ ส์ แต่ในปั จจุบนั กลุ่มทรู ไม่ได้รับการสนับสนุ น ด้านเทคนิ คและการบริ หารจากพันธมิตรทางธุ รกิจดังกล่าวอีกต่อไป เนื่ องจากพันธมิตรเหล่านี้ได้ขายหรื อ ลดสัดส่ วนการถือหุ น้ ลง อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู สามารถรับถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู้ไว้จนสามารถ บริ หารงานได้เองอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้งนี้ การเข้ามาร่ วมเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจของ China Mobile ตั้งแต่ปี 2557 นามาซึ่ งความร่ วมมือในหลาย ๆ ด้าน ซึ่ งรวมถึงด้านบุคลากร ความรู ้ และการปฎิบตั ิงานในด้านต่าง ๆ เพื่อ ส่ งเสริ มให้การบริ หารของกลุ่มทรู มีประสิ ทธิ ภาพสู งยิง่ ขึ้น 2.5

อุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยและสภาวะการแข่ งขัน ธุรกิจโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประเทศไทย เติบโตดีในปี 2559 จากการเติบโตอย่างสู งของความต้องการ ใช้งาน 4G และบริ การนอนวอยซ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การใช้งานสาหรับสื่ อสังคมออนไลน์ (Interactive social network) ต์ อาทิ เฟซบุค๊ ทวิตเตอร์ การใช้งานสมาร์ โฟนและสมาร์ ทดีไวซ์ที่เพิ่มสู งขึ้น ซึ่ งความต้องการใช้งานดาต้าดังกล่าวยังคงมีแนวโน้ม เพิม่ ขึ้นต่อเนื่ อง และจะเป็ นปั จจัยสาคัญที่จะผลักดันให้อุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประเทศไทยเติบโต อย่างต่อเนื่ องในปี 2560 พร้อมกับการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ ยคุ ดิจิตอล (Digitalization) ของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การแข่งขันในอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย ยังคงอยูใ่ นระดับสู ง ตลอดทั้งปี 2559 ภายหลังการประมูลคลื่น 900 MHz และ 1800 MHz ในปลายปี 2558 โดยผูใ้ ห้บริ การมุ่งเน้น ขยายโครงข่าย 4G ทัว่ ประเทศ และนาเสนอประสิ ทธิภาพด้านความเร็ วของโครงข่าย 4G ผ่านเทคโนโลยี การรวมคลื่นความถี่ (Carrier Aggregation) และเทคโนโลยีสถานีฐาน (MIMO) ในขณะเดียวกัน ผูใ้ ห้บริ การ ยังนาเสนอแคมเปญที่น่าดึงดูดใจหลากหลายให้แก่ลูกค้าในระบบแบบเติมเงิน และลูกค้าที่ยงั อยูบ่ นระบบ 2G ให้ โอนย้ายมาอยูใ่ นระบบแบบรายเดือน และบนโครงข่าย 3G และ 4G มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ผูใ้ ห้บริ การยังดาเนิน กลยุทธ์ดา้ นต่างๆในการรักษาฐานลูกค้า ควบคู่ไปกับการนาเสนอแคมเปญสิ นค้าและบริ การที่คุม้ ค่าและ หลากหลาย โดยเฉพาะแพ็กเก็จที่ผสานค่าบริ การร่ วมกับกับดีไวซ์ 4G และ3G รวมถึงแคมเปญที่แจกอุปกรณ์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญประการหนึ่ง ในการเพิ่มฐานลูกค้าและเพิ่มรายได้ ณ สิ้ นปี 2559 ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยรวมของอุตสาหกรรม (ไม่รวมจานวนผูใ้ ช้บริ การ ของ CAT Telecom และ ทีโอที และผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของทีโอที) มีจานวนเพิ่มขึ้นเป็ น 90.0 ล้านราย เมื่อเทียบกับ 82.8 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2558 โดย จานวนผูใ้ ช้บริ การในระบบรายเดือนและระบบเติมเงิน เติบโตสู ง เป็ น 17.5 ล้านราย และ 72.5 ล้านราย ตามลาดับ ทั้งนี้ ทรู มูฟ เอช มีจานวนผูใ้ ช้บริ การที่เพิ่มขึ้นแข็งแกร่ ง และ เหนือกว่าภาพรวมของอุตสาหกรรม ทั้งในระบบรายเดือนและระบบเติมเงิน โดย ทรู มูฟ เอช มีผใู ้ ช้บริ การรายใหม่ สุ ทธิในปี 2559 จานวน 5.4 ล้านราย คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 75 ของจานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ ของทั้งตลาด ทาให้ฐานผูใ้ ช้บริ การของทรู มูฟ เอช เพิ่มขึ้นเป็ น 24.53 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2559 ถือครองส่ วนแบ่งตลาดรวม

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประมาณร้อยละ 27.2 (ไม่รวมจานวนผูใ้ ช้บริ การของ CAT Telecom และ ทีโอที และผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของทีโอที) ประกอบด้วย ผูใ้ ช้บริ การในระบบเติมเงินจานวน 18.47 ล้านราย และเป็ นผูใ้ ช้บริ การระบบรายเดือน จานวน 6.06 ล้านราย การแข่งขันในระดับสู งของอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ คาดว่าจะยังคงดาเนินต่อเนื่องในปี 2560 จากการที่ผใู้ ห้บริ การต่างมุ่งแข่งขันกันในด้านการพัฒนาโครงข่ายและชูประสิ ทธิ ภาพด้านความเร็ ว พร้อมจูงใจ ด้วยข้อเสนอที่คุม้ ค่าและบริ การด้านดิจิตอลมากยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ กฎข้อบังคับใหม่สาหรับการย้ายค่ายเบอร์ เดิม ที่ทาให้การย้ายค่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่มีความสะดวกและรวดเร็ วมากยิง่ ขึ้น คาดว่าจะมีอิทธิ พลต่อการแข่งขันใน อุตสาหกรรมเช่นกัน ทั้งนี้ ทรู มูฟ เอช มีความพร้อมอย่างเต็มที่สาหรับการเติบโต และตอบโจทย์ความต้องการ ของลูกค้าในด้านการใช้งานดาต้าพร้อมความเร็ วที่เพิ่มขึ้น ด้วยความพร้อมด้านเครื อข่ายประสิ ทธิ ภาพสู ง ซึ่ง ให้บริ การข้อมูลที่รวดเร็ วและมีความครอบคลุมทัว่ ประเทศ รวมถึงการนาเสนอบริ การคอนเวอร์เจนซ์ที่คุม้ ค่า ซึ่ ง เป็ นกลยุทธ์ที่สาคัญและสร้างความแข็งแกร่ งให้กบั กลุ่มทรู นอกจากนี้ ทรู มูฟ เอช ได้พิสูจน์ความมุ่งมัน่ ใน การมอบประสบการณ์การใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ดีที่สุด และความเป็ นผูน้ าโมบาย บรอดแบนด์ ตัวจริ ง ด้วย มาตรฐานระดับโลก จากการได้รับรางวัล “ผูใ้ ห้บริ การเครื อข่าย LTE เชิงพาณิ ชย์ที่มีพฒั นาการเด่นชัดที่สุด” (Most Significant Development of a Commercial LTE Network) จากเวทีการประชุมระดับโลก 5G & LTE Asia Awards ซึ่งจัดขึ้นโดย Informa Telecoms & Media ในปี 2559 ณ ประเทศสิ งคโปร์ ธุรกิจโทรศัพท์ พนื้ ฐาน บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานในประเทศไทยในปัจจุบนั ให้บริ การโดยทีโอที ซึ่งเป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน ทั้งในกรุ งเทพมหานครกับปริ มณฑลและต่างจังหวัดเพียงรายเดียวของประเทศ และทรู ผใู ้ ห้บริ การที่อยูภ่ ายใต้ สัญญาร่ วมการงานฯ ของทีโอที ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล พร้อมขยายบริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน ยุคใหม่ (Fixed line plus) ภายใต้ใบอนุญาตอย่างต่อเนื่ อง โดยให้บริ การควบคู่กบั บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต แบบไฟเบอร์ ของกลุ่มทรู ในพื้นที่ต่างจังหวัด ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานในประเทศไทยยังคงลดลงต่อเนื่อง ซึ่งเป็ นผลจากความต้องการใช้งาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ของผูบ้ ริ โภคและสมาร์ ทดีไวซ์ที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ปี 2559 จานวนผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน ในประเทศ ลดลงเป็ น 4.8 ล้านราย หรื อคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 7.2 ของประชากรไทย เมื่อเทียบกับสัดส่ วน ร้อยละ 7.9 ของประชากรไทย ณ สิ้ นปี 2558 (แหล่งที่มา: สานักงานคณะกรรมการ กสทช. ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559) โดยกลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานรายใหญ่ที่สุดในเขตกรุ งเทพมหานครและ ปริ มณฑล ด้วยจานวนผูใ้ ช้บริ การประมาณ 1.3 ล้านราย และถือครองส่ วนแบ่งตลาดราวร้อยละ 26.0 ของ ตลาดโดยรวม ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสู ง (บรอดแบนด์ ) และธุรกิจสื่ อสารข้ อมูลธุรกิจ ธุ รกิจบรอดแบรนด์ อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทยมีการเติบโตสู งต่อเนื่ องในช่วงหลายปี ที่ผา่ นมา ตามแนวโน้มการใช้งานสื่ อออนไลน์ของผูบ้ ริ โภคที่ยงั คงเพิ่มขึ้น จากความนิยมของคอนเทนต์ออนไลน์ เกมส์ ออนไลน์ และเครื อข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่ งส่ งผลให้มีความต้องการใช้งานอินเทอร์ เน็ตด้วยความเร็ วที่ เพิ่มสู งขึ้นด้วย ทั้งนี้ ปี 2559 ฐานผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ในประเทศไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 7.0 ล้านราย ซึ่งผลักดันให้อตั ราผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์โดยรวมต่อจานวนครัวเรื อนในประเทศไทย

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เพิม่ ขึ้นเป็ นร้อยละ 33.0 เมื่อเทียบกับร้อยละ 29.2 ในปี 2558 และร้อยละ 26.4 ในปี 2557 (แหล่งที่มา: สานักงานคณะกรรมการ กสทช. ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559) โดยทรู ออนไลน์ ยังคงเป็ นผูใ้ ห้บริ การ บรอดแบนด์รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ด้วยจานวนผูใ้ ช้บริ การ 2.8 ล้านราย และถือครองส่ วนแบ่งตลาด จานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ทวั่ ประเทศประมาณร้อยละ 39 อย่างไรก็ตาม การเข้าถึงบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ตของประเทศไทยยังอยูใ่ นระดับต่า เมื่อเทียบกับ ประเทศอื่นๆในภูมิภาคเอเชีย โดยรายงานการชี้วดั ดัชนีความสามารถในการแข่งขันของ World Economic Forum ในปี 2559 พบว่าประเทศไทยมีการเข้าถึงบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตของครัวเรื อนอยูท่ ี่อนั ดับ 62 ของโลก (ปรับตัวดีข้ ึนจากอันดับที่ 88 ในปี 2558) ในขณะที่ประเทศอื่นๆในภูมิภาคเอเชีย เช่น สิ งคโปร์ ฮ่องกง และ มาเลเซี ย อยูท่ ี่อนั ดับ 1 อันดับ 12 และ อันดับ 31 ของโลกตามลาดับ (แหล่งที่มา: WEF, The Global Information Technology Report 2016) ซึ่งแผนการดาเนินงานของรัฐบาลในการเปลี่ยนผ่านประเทศไทยเข้าสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” จะยิ่งผลักดันให้โครงข่ายและบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตมีความครอบคลุมกว้างขวางยิง่ ขึ้น และจะ ส่ งผลให้ประชากรไทยเข้าถึงบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ต ได้มากขึ้นตามไปด้วย ซึ่ งจะช่วยลดความเหลื่อมล้ า ในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศ พร้อมเปลี่ยนผ่านประเทศไทยเข้าสู่ สังคมดิจิตอลอย่างเต็มรู ปแบบ ตลาดบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต ในประเทศไทย ยังคงมีการแข่งขันที่สูง ส่ วนหนึ่งจากการที่มีผใู ้ ห้บริ การ รายใหม่เพิม่ ในตลาดและการให้ส่วนลดค่าบริ การในช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่ผปู้ ระกอบการต่างจูงใจลูกค้าด้วย การเพิ่มความเร็ วอินเทอร์ เน็ตและยกระดับเทคโนโลยีให้สูงขึ้น โดยในปี 2559 การนาเสนอบริ การอินเทอร์ เน็ต แบบไฟเบอร์ ยังคงเติบโตสู งต่อเนื่ อง ควบคู่ไปกับการขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ ซึ่ งได้รับการสนับสนุ นจาก ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งนี้ ทรู ออนไลน์ ยังคงเติบโตแข็งแกร่ งและสามารถรักษาความเป็ นผูน้ าบริ การ บรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต โดยมีจานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์รายใหม่สุทธิ เพิ่มสู งเป็ นประวัติการณ์ในปี 2559 จากการขยายโครงข่ายไฟเบอร์ บรอดแบนด์ของกลุ่ม ร่ วมกับแคมเปญคอนเวอร์ เจนซ์ภายใต้กลุ่มทรู ซึ่งได้รับ ผลตอบรับที่ดีอย่างต่อเนื่ องท่ามกลางการแข่งขันที่สูง ในขณะเดียวกันธุ รกิจโครงข่ายข้อมูลของประเทศไทย ยังคงเติบโตในปี 2559 เนื่องจากความนิยม ในการส่ งข้อมูลออนไลน์ และจานวนผูใ้ ช้บริ การอินเทอร์ เน็ตที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ การแข่งขันในธุ รกิจ โครงข่ายข้อมูลยังคงอยูใ่ นระดับที่สูง เนื่องจากมีจานวนผูใ้ ห้บริ การหลายราย ประกอบกับลูกค้ามีทางเลือก เพิ่มขึ้น โดยกลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายข้อมูลรายใหญ่ที่สุด และมีส่วนแบ่งตลาดรายได้ในปี 2559 ประมาณร้อยละ 25.2 ของตลาดโดยรวม ในขณะที่ ผูใ้ ห้บริ การรายใหญ่อนั ดับที่ 2 และ 3 ของตลาด มีส่วนแบ่งตลาด ร้อยละ 19.1 และร้อยละ 18.1 ตามลาดับ (แหล่งข้อมูล: ประมาณการโดยกลุ่มทรู ) ธุรกิจโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิ ก ประเทศไทยมีจานวนสมาชิกในระบบโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกประมาณ 6.8 ล้านครัวเรื อน คิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 30 ของจานวนครัวเรื อนทัว่ ประเทศ ในปี 2559 (แหล่งที่มา: Media Partners Asia “MPA”) ทั้งนี้ ทรู วชิ นั่ ส์ เป็ นผูน้ าในการให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกและบริ การในระบบ HD ทัว่ ประเทศ โดยมีฐานลูกค้ารวมทั้งสิ้ น 3.9 ล้านราย

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกในประเทศไทย ได้รับผลกระทบจากเศรษฐกิจ การละเมิดลิขสิ ทธิ์ และการแข่งขันที่เพิ่มสู งขึ้นในหลายช่องทางทั้งภายใต้กฎหมายและผิดกฎหมาย รวมถึงการมีผใู้ ห้บริ การ รายใหม่เพิ่มมากขึ้นภายหลังการออกใบอนุญาตเพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิทลั ของคณะกรรมการ กสทช. ในปี 2557 อีกทั้งยังได้รับผลกระทบจากแนวโน้มพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคที่เปลี่ยนไปรับชมคอนเทนต์ โดยเฉพาะคอนเทนต์ประเภท streaming ผ่านอินเทอร์ เน็ต และความนิยมในการรับชมสื่ อบันเทิงผ่าน อินเทอร์ เน็ต อาทิ Youtube และ Facebook Live มากยิง่ ขึ้น ทรู วชิ นั่ ส์ ผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกและบริ การในระบบ HD รายใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทย ยังคงเติบโตทั้งในด้านรายได้และฐานลูกค้า จากการมีแพลตฟอร์มที่หลากหลาย ครบถ้วนด้วย คอนเทนต์คุณภาพชั้นนาทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ รวมถึงการผสานบริ การโทรทัศน์แบบบอกรับ สมาชิกกับแพลตฟอร์ มการให้บริ การที่ครบวงจรของกลุ่มทรู ทั้งโทรศัพท์เคลื่อนที่ บรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต และดิจิตอลแพลตฟอร์ มของกลุ่ม นอกจากนี้ ความเป็ นผูน้ าด้านธุ รกิจคอนเวอร์ เจนซ์ของ กลุ่มทรู ยังสร้างความแข็งแกร่ งให้แก่ทรู วชิ นั่ ส์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุ่มลูกค้าในตลาดระดับแมส สิ่ งเหล่านี้ ร่ วมกับกลยุทธ์ในการขายพ่วงบริ การอื่นของกลุ่มเพื่อจูงใจลูกค้าในการสมัครแพ็กเกจที่สูงขึ้น ช่วยเพิ่มศักยภาพการเติบโตให้ทรู วชิ นั่ ส์ แม้สภาวะการแข่งขันของอุตสาหกรรมยังคงอยูใ่ นระดับที่สูง

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

2.6

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ใบอนุญาตทีก่ ลุ่มทรู และบริษัทย่ อย ได้ รับ ประเภท ใบอนุญาต

บริษทั ย่อย และบริษทั ในเครือ ใบอนุญาตบริการอินเทอร์ เน็ต 1 บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์ เนต จากัด 2 บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จากัด 3 บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด

1 1 2

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ISP ISP บริ การอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ ระหว่างประเทศและบริ การ ชุมสายอินเทอร์เน็ต

อายุ วันที่ใบอนุญาต วันที่บอร์ ดอนุมัติ ใบอนุญาต หมดอายุ 5 ปี 5 ปี 5 ปี

23 มิ.ย. 2557 18 ส.ค. 2557 19 พ.ค. 2559

22 มิ.ย. 2562 17 ส.ค. 2562 18 พ.ค. 2564

5 ปี

11 พ.ย. 2557 10 พ.ย. 2562

5 ปี

11 ต.ค. 2557

5 ปี

26 ส.ค. 2557 25 ส.ค.2562

5 ปี

11 พ.ค. 2559 10 พ.ค. 2564

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม 4 บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์ เชียลอินเตอร์เนต จากัด

1

5 บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต จากัด

1

6 บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จากัด

1

7

1

บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด

บริ การขายต่อบริ การวงจรเช่า ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ บริ การบัตรโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ บริ การขายต่อบริ การโคมนาคม เพื่อสาธารณะ และ บริ การวงจร บริ การขายต่อบริ การโทรศัพท์ ประจาที่ และบริ การ GPS Tracking

10 ต.ค. 2562

8 บริ ษทั เรี ยล มูฟ จากัด

1

บริ การขายต่อบริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่

5 ปี

16 ธ.ค. 2558 15 ธ.ค. 2563

9 บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จากัด

3

บริ การโทรศัพท์ประจาที่ และบริ การ เสริ ม

20 ปี

8 ธ.ค. 2549

10 บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

3

บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศและ บริ การเสริ ม

20 ปี

25 ม.ค. 2550 24 ม.ค. 2570

11 บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด

3

บริ การขายต่อบริ การวงจรเช่าส่ วน บุคคลระหว่างประเทศ

15 ปี

11 พ.ย. 2552 10 พ.ย. 2567

บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมไร้สาย 2.1 GHz

15 ปี

7 ธ.ค. 2555

6 ธ.ค. 2570

4 ธ.ค. 2558

15 ก.ย. 2576

12 บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด

3

บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมไร้สาย 17 ปี 9 เดือน 1800 MHz

7 ธ.ค. 2569

บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมไร้สาย 15 ปี 3 เดือน 16 มี.ค. 2559 30 มิ.ย. 2574 900 MHz

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

บริษทั ย่อย และบริษทั ในเครือ

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภท ใบอนุญาต

ใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ 13 บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด

ลักษณะการประกอบ ธุรกิจ

โครงข่ายกระจายเสี ยง บริ การโครงข่ายโทรทัศน์ หรื อโทรทัศน์ (ระดับชาติ) บอกรับสมาชิก 14 บริ ษทั ทรู โฟร์ยู สเตชัน่ จากัด (True4U) บริ การกระจายเสี ยงหรื อ บริ การโทรทัศน์ โทรทัศน์ แบบใช้คลื่น ที่เป็ นการทัว่ ไป ความถี่ดิจิทลั 15 บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จากัด บริ การกระจายเสี ยงหรื อ บริ การโทรทัศน์ (TNN 24) โทรทัศน์ แบบใช้คลื่น ที่เป็ นการทัว่ ไป ความถี่ดิจิทลั

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

อายุ ใบอนุญาต

วันที่บอร์ ด วันที่ใบอนุญาต อนุมัติ หมดอายุ

15 ปี

21 ม.ค. 2556

20 ม.ค. 2571

15 ปี

25 เม.ย. 2557

24 เม.ย. 2572

15 ปี

25 เม.ย. 2557 24 เม.ย. 2572

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

3. ปัจจัยความเสี่ ยง กลุ่มทรู เล็งเห็นโอกาสการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งในทุกธุ รกิจหลักของบริ ษทั ฯ สาหรับปี 2559 ภายหลังความสาเร็ จในการดาเนินยุทธศาสตร์ หลายประการ โดยเฉพาะธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ งมีรายได้ เติบโต และเพิม่ ส่ วนแบ่งตลาดได้อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู ตระหนักถึงปั จจัยความเสี่ ยงต่างๆ ซึ่ งอาจ ส่ งผลกระทบต่อผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย ดังต่อไปนี้ ความเสี่ ยงเฉพาะกรณี-อันเป็ นผลจากการได้ มาซึ่งใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคม ย่าน 1800 MHz และ 900 MHz ความเสี่ ยงด้ านการเงิน บริ ษทั ฯ อาจมีความเสี่ ยงด้านการเงิน อันเกิดจากการที่ตอ้ งใช้เงินลงทุนจานวนสู งมากสาหรับค่าประมูล ใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่และการลงทุนในโครงข่ายโทรคมนาคม เพื่อรองรับใบอนุญาตดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ เชื่อว่าบริ ษทั ฯ จะมีโอกาสเติบโตด้านรายได้อย่างก้าวกระโดดภายหลังการเปิ ดให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ บนคลื่นความถี่โทรคมนาคม ย่าน 1800 MHz และ ย่าน 900 MHz อย่างเต็มที่ในปี 2559 ซึ่งจะทาให้บริ ษทั ฯ สามารถลดความเสี่ ยงทางด้านการเงินลง นอกจากนั้น ด้วยเงื่อนไขการจ่ายเงินทั้งค่าประมูลและค่าเงินลงทุน ซึ่งกระจายภาระการชาระเงินออกไปในระยะยาว 4-5 ปี จะช่วยให้บริ ษทั ฯ มีเวลาเพียงพอในการสร้างรายได้ เพิ่มเติมเพื่อนามาชาระภาระทางการเงินข้างต้น ความเสี่ ยงด้ านการแข่ งขัน บริ ษทั ฯ อาจมีความเสี่ ยงด้านการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากผูป้ ระกอบการรายอื่นป้ องกันไม่ให้ ลูกค้าของตนย้ายมาใช้บริ การของบริ ษทั ฯ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ คาดว่าความเสี่ ยงดังกล่าว เป็ นความเสี่ ยง ที่อาจเกิดขึ้นในระยะสั้น และ บริ ษทั ฯ มีมาตรการต่างๆ ที่เชื่อว่าจะสามารถลดความเสี่ ยงดังกล่าวลงได้ อาทิเช่น การเพิ่มจุดให้บริ การเพื่อให้ลูกค้ามีความสะดวกมากขึ้น หรื อการปรับรู ปแบบการส่ งเสริ มการขาย เพื่อให้สามารถแข่งขันกับผูป้ ระกอบการรายอื่นได้ เป็ นต้น ความเสี่ ยงทีจ่ ะไม่ สามารถจัดให้ มีโครงข่ ายโทรคมนาคมทันเวลาตามเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ ที่ กสทช. กาหนด บริ ษทั ฯ อาจจะมีความเสี่ ยงจากการไม่สามารถจัดให้มีโครงข่ายโทรคมนาคมให้ครอบคลุมได้ทนั เวลา ตามเงื่อนไขและหลักเกณฑ์ที่ กสทช. กาหนด อันอาจเกิดจาก ความล่าช้าในการตั้งสถานีฐาน อันเนื่องมาจากการ ต่อต้านจากประชาชนในพื้นที่ และ อาจมีความเสี่ ยงจากเหตุสุดวิสัยต่างๆ เช่น ภัยธรรมชาติ การก่อความไม่สงบ และการก่อการร้าย รวมถึงการจัดสร้างข่ายสายลงดินในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งอาจส่ งผลกระทบทาให้แผนการ ติดตั้งระบบต่างๆ ต้องล่าช้าออกไป เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ ได้มีมาตรการบรรเทาความเสี่ ยงดังกล่าว คือ บริ ษทั ฯ มีแผนที่จะติดตั้งโครงข่ายโทรคมนาคมที่ใช้คลื่นความถี่ ย่าน 1800 MHz และ 900 MHz โดยใช้ โครงข่ายโทรคมนาคมที่ใช้คลื่นความถี่ยา่ น 2100 MHz ซึ่ งเป็ นโครงข่ายเดิมที่บริ ษทั ฯ ใช้ในการให้บริ การอยูแ่ ล้ว ในปั จจุบนั เป็ นหลัก ซึ่ งสามารถลดระยะเวลาการจัดให้มีโครงข่ายโทรคมนาคมและลดความเสี่ ยงดังกล่าวลงได้ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงทีเ่ กีย่ วกับการดาเนินงาน ความเสี่ ยงทีเ่ กีย่ วข้ องกับการแข่ งขันทางการตลาด บริ ษทั ฯ และกลุ่มธุ รกิจต่างๆ ของกลุ่มทรู ยงั คงต้องเผชิ ญกับการแข่งขันในตลาดโทรคมนาคมที่ยงั คงอยู่ ในระดับสู งหลังการก้าวเข้าสู่ การแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็ นธรรมมากขึ้นของธุ รกิจโทรคมนาคมในประเทศไทย โดยสภาวะการแข่งขันอาจจะทวีความรุ นแรงมากขึ้น เนื่ องจาก คณะกรรมการ กสทช.ได้มีการจัดประมูล คลื่นความถี่ยา่ น 1800 MHz ในเดือนพฤศจิกายน 2558 และจัดประมูลคลื่นย่าน 900 MHz ในเดือนธันวาคม 2558 และเดือนพฤษภาคม 2559 ทั้งนี้ ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่มุ่งขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื่ อง พร้อมทั้ง นาเสนอโปรโมชัน่ ที่น่าดึงดูดใจร่ วมกับดีไวซ์หลากหลาย เพื่อที่จะสามารถเพิม่ ส่ วนแบ่งทางการตลาดและ เติบโตไปพร้อมกับความต้องการใช้งานโมบาย อินเทอร์ เน็ตที่เพิ่มสู งขึ้นต่อเนื่อง รวมถึงผูใ้ ช้บริ การได้มีการ โอนย้ายจากบริ การบนระบบ 2G มาสู่ ระบบ 3G และ 4G มากยิง่ ขึ้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู มีความได้เปรี ยบ ผูใ้ ห้บริ การรายอื่น จากการมุ่งมอบความคุม้ ค่าสู งสุ ดให้แก่ลูกค้าผ่านเครื อข่ายประสิ ทธิ ภาพสู ง โดยเครื อข่าย 4G และ 3G ของกลุ่มทรู มีความครอบคลุมแล้วกว่าร้อยละ 80 และร้อยละ 97 ของประชากรทัว่ ประเทศ ตามลาดับ ประกอบกับ กลุ่มทรู เป็ นผูช้ นะการประมูลคลื่นความถี่ท้ งั 2 ย่านความถี่ดงั กล่าว อันเป็ นโอกาสที่จะช่วยให้ ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกลุ่มทรู สามารถให้บริ การ และออกรายการส่ งเสริ มการขาย รวมถึง แคมเปญ คอนเวอร์ เจนซ์ที่น่าดึงดูดใจของกลุ่มทรู และแบรนด์ "ทรู " ที่ผบู ้ ริ โภคให้ความเชื่ อมัน่ สู ง น่าจะส่ งผลให้ รายได้กลุ่มทรู เติบโตแข็งแกร่ งและต่อเนื่ องได้เพิม่ มากยิง่ ขึ้น ส่ วนธุ รกิจโทรศัพท์พ้นื ฐานของกลุ่มทรู ยังคงเผชิ ญกับการแข่งขันที่ทวีความรุ นแรงยิง่ ขึ้นจาก บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่และบริ การเสี ยงผ่านการให้บริ การอินเทอร์ เน็ต (VoIP) เนื่องจากบริ การดังกล่าว มีอตั ราค่าบริ การที่ต่ากว่าอัตราค่าบริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานแบบเดิม แม้โทรศัพท์พ้นื ฐานจะสามารถให้บริ การ ด้วยคุณภาพที่ดีกว่า รวมถึงสัญญาร่ วมการงานฯ ของบริ ษทั ฯ ที่กาลังจะสิ้ นสุ ดลงในเดือนตุลาคม 2560 สาหรับตลาดอินเทอร์ เน็ตและบรอดแบนด์น้ นั แม้จะมีผใู ้ ห้บริ การรายใหม่กา้ วเข้ามาในตลาด แต่คู่แข่งรายสาคัญของกลุ่มทรู ยังคงเป็ น ทีโอที และบริ ษทั ทริ ปเปิ ลที บรอดแบนด์ จากัด (หรื อ 3BB ในปัจจุบนั ) ซึ่ งปั จจุบนั มีการขยายพื้นที่ให้บริ การสู่ กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑลซึ่ งเป็ นตลาดหลักในปั จจุบนั ของ กลุ่มทรู ออนไลน์เพิม่ มากขึ้น อย่างไรก็ดี ทรู ออนไลน์มีความได้เปรี ยบจากการให้บริ การด้วยเทคโนโลยีที่ทนั สมัย และมีคุณภาพสู งอย่างเทคโนโลยี FTTx และเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ซึ่งสามารถรองรับบริ การเคเบิลทีวไี ด้ จึงช่วยให้มีโอกาสได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูงกว่า อีกทั้งยังสามารถเพิ่มความคุม้ ค่าให้กบั ลูกค้า ด้วยการผสมผสานบริ การต่าง ๆ ของกลุ่มทรู เข้าไว้ดว้ ยกัน นอกจากนี้ ทรู ออนไลน์ ยังมีโครงข่ายบรอดแบนด์ ที่ครอบคลุมทัว่ ประเทศแล้วมากกว่า 5 ล้านครัวเรื อน และกลุ่มทรู มีเป้ าหมายในการขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ ให้ครอบคลุม 10 ล้านครัวเรื อนทัว่ ประเทศ ในปี พ.ศ. 2559 กลุ่มทรู คาดว่าการแข่งขันในธุ รกิจต่างๆ ที่กลุ่มทรู ให้บริ การจะยังคงสู งขึ้นในอนาคต แต่เชื่อว่า กลุ่มทรู มีความพร้อมสาหรับการแข่งขัน โดยมีขอ้ ได้เปรี ยบจากการมีแบรนด์ที่แข็งแกร่ ง และมีบริ การที่ครบวงจร รวมทั้งมีคอนเทนต์ที่หลากหลายโดยสามารถสร้างความแตกต่างผ่านการผสมผสานสิ นค้าและบริ การใน กลุ่มทรู ได้อย่างลงตัวภายใต้กลยุทธ์คอนเวอร์เจนซ์ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงเฉพาะธุรกิจของกลุ่มทรู วชิ ั่ นส์ ความเสี่ ยงหลักของกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ที่ผา่ นมา ได้แก่การต้องพึ่งพาผูจ้ ดั หารายการเพื่อซื้ อรายการจาก ต่างประเทศ และการแข่งขันที่ทวีความรุ นแรงขึ้นทั้งในธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกและโทรทัศน์ ในระบบดิจิตอลหลังการออกใบอนุญาตเพื่อให้บริ การโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอลประเภทบริ การ ทางธุ รกิจระดับชาติ จานวน 24 ช่องรายการ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 ของคณะกรรมการ กสทช. ซึ่งเป็ น ช่องรายการที่มีความหลากหลาย ทั้งยังเป็ นคู่แข่งที่กระทบต่อการประกอบกิจการของ กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ โดย ผูป้ ระกอบการรายเดิมและรายใหม่ต่างแข่งขันเพื่อแย่งชิงส่ วนแบ่งการตลาดและเพื่อให้ได้มาซึ่ งสิ ทธิ ในการ แพร่ ภาพคอนเทนต์สาคัญๆ ซึ่ งอาจทาให้กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์มีค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่ งคอนเทนต์ต่างๆ เหล่านี้ เพิ่มสู งขึ้น นอกจากนี้ ทรู วชิ นั่ ส์ยงั มีความเสี่ ยงจากการถูกลักลอบใช้สัญญาณหรื อการละเมิดลิขสิ ทธิ์ ทาให้ หากกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ไม่สามารถจัดหารายการที่เป็ นที่สนใจของสมาชิก หรื อหากต้นทุนของการจัดหารายการ เพิม่ สู งขึ้นในอนาคตก็จะมีผลกระทบต่อผลประกอบการของกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ นอกจากนี้ยงั มีความเสี่ ยงในการ เจรจาเพื่อต่อสัญญาให้ได้มาซึ่ งสิ ทธิ ในการแพร่ ภาพคอนเทนต์ซ่ ึ งอาจทาให้กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ไม่อาจนาเสนอ ช่องรายการบางช่องรายการ หรื อรายการบางรายการ ต่อไปได้ ซึ่ งการยกเลิกช่องรายการ หรื อรายการก่อให้เกิด ความเสี่ ยงที่ลูกค้าจะยกเลิกการใช้บริ การ หรื อใช้สิทธิเรี ยกร้องตามกฎหมายได้ ปั จจุบนั ลูกค้าที่สนใจในรายการ จากต่างประเทศ ส่ วนใหญ่เป็ นลูกค้าที่สมัครแพ็กเกจพรี เมียม ซึ่ ง ณ สิ้ น ปี พ.ศ. 2559 มีจานวนประมาณ 2 แสนราย ของฐานลูกค้ารวมของกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู เชื่อว่าคอนเทนต์คุณภาพสู งที่หลากหลายและครบถ้วน ซึ่งโดยส่ วนใหญ่กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ เป็ นผูถ้ ือลิขสิ ทธิ์ เพียงรายเดียวในประเทศไทย รวมถึงคอนเทนต์ที่ทรู วชิ นั่ ส์เป็ นผูผ้ ลิตเองซึ่ งได้รับความนิยม อย่างสู งจากผูร้ ับชมในประเทศ อีกทั้งการสามารถผสมผสานบริ การอื่นๆ ของกลุ่มทรู ผา่ นยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ จะช่วยรักษาความได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขันของกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ นอกจากนี้ ฐานสมาชิ กที่มีขนาดใหญ่ รวมทั้ง ประสบการณ์ในการดาเนิ นงานในธุ รกิจนี้มายาวนานของกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ ยังเป็ นหลักประกันด้านรายได้ สาหรับผูใ้ ห้บริ การคอนเทนต์ จึงรักษาความเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจระหว่างผูใ้ ห้บริ การคอนเทนต์กบั กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ ได้เป็ นอย่างดี ทั้งนี้ กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ ยังมีความเสี่ ยงที่เกิดจากหลักเกณฑ์การกากับดูแลของ คณะกรรมการ กสทช. เช่น หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการจัดลาดับบริ การโทรทัศน์ และการจัดเรี ยงช่องรายการ รวมถึงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การแจ้งผูใ้ ช้บริ การถึงยกเลิกช่องรายการซึ่ งอาจมีขอ้ จากัดที่ทาให้ไม่สามารถแจ้งให้ผใู ้ ช้บริ การทราบล่วงหน้า ได้ตามกาหนดเวลา อีกทั้ง ยังมีความเสี่ ยงในความไม่ชดั เจนของการกากับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. อาทิ การกากับดูแลโฆษณา เนื้อหารายการ และการพิจารณามาตรการเยียวยาต่างๆ ที่กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์นาเสนอ เมื่อมีความจาเป็ นต้องยกเลิกช่องรายการ

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากการทีก่ ลุ่มทรู วชิ ั่ นส์ อาจถูกจัดเก็บค่ าลิขสิ ทธิ์ในงานอันมีลขิ สิ ทธิ์ ในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงของคอนเทนต์ต่างๆ ทางกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์มีนโยบายที่จะแพร่ ภาพแพร่ เสี ยง เฉพาะคอนเทนต์ที่กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ได้สรรค์สร้างขึ้นมาและที่กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ได้รับสิ ทธิ ให้แพร่ ภาพแพร่ เสี ยง จากผูท้ รงสิ ทธิ ในลิขสิ ทธิ์ ของคอนเทนต์น้ นั โดยบริ ษทั ฯ เข้าใจว่าสิ ทธิ ที่กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ได้รับมาในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงนั้น ผูใ้ ห้บริ การช่องรายการได้รับสิ ทธิ ในงานนั้นๆ แล้ว รวมทั้ง กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้ทาสัญญากับ องค์กรจัดเก็บค่าลิขสิ ทธิ์ เพื่อเป็ นการรับรองว่างานดนตรี กรรมที่ติดมากับงานอันมีลิขสิ ทธิ์ ประเภทต่างๆ ได้ มีการชาระค่าตอบแทนอย่างถูกต้องแล้ว อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ เข้าใจว่าแม้ทางกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์จะใช้ความระมัดระวังอย่างเต็มที่แล้วแต่ก็ยงั มี ความเสี่ ยงที่เจ้าของลิขสิ ทธิ์ ที่ไม่ได้เป็ นสมาชิกขององค์กรจัดเก็บค่าลิขสิ ทธิ์ อาจใช้สิทธิ เรี ยกร้อง หากมีการ เผยแพร่ งานโดยไม่ได้รับอนุ ญาต ความเสี่ ยงทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื่ อสารมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและความต้องการของลูกค้าก็เปลี่ยนแปลงไปตาม วิวฒั นาการในผลิตภัณฑ์และบริ การใหม่ๆ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงด้านกฎเกณฑ์การกากับดูแลต่างก็มีส่วนทาให้ มีการเปิ ดตลาดและให้บริ การด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ จึงคาดว่าปั จจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น จะยังคงมีผลต่อ ธุ รกิจสื่ อสารของประเทศไทยในอนาคต เพื่อตอบรับกับแนวโน้มใหม่ๆ ด้านเทคโนโลยี อาจทาให้กลุ่มทรู มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการดาเนิ นงานสู งขึ้นเป็ นอย่างมาก และหากกลุ่มทรู ไม่ลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ อาจจะมีผลทาให้ขีดความสามารถในการแข่งขันและความพึงพอใจของลูกค้าลดลง อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู คาดว่า ด้วยผลิตภัณฑ์และบริ การที่หลากหลาย ตลอดจนฐานรายได้และลูกค้า ที่มีความหลากหลาย จะทาให้สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและรักษารายได้ให้อยูใ่ นกลุ่มทรู ได้ดีกว่าผูใ้ ห้บริ การที่มีเพียงบริ การเดียว ความเสี่ ยงด้ านการกากับดูแล ความเสี่ ยงของบริการคงสิ ทธิเลขหมายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ นับตั้งแต่ผปู ้ ระกอบการโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้มีการเปิ ดให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Number Portability-MNP) ทาให้ลูกค้าสามารถเปลี่ยนผูใ้ ห้บริ การได้โดยไม่จาเป็ นต้องเปลี่ยนเลขหมาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ ด้วยการมีบริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทาให้มีการแข่งขันในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่รุนแรงในการจูงใจให้ผใู ้ ช้บริ การเลือกใช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผูใ้ ห้บริ การแต่ละราย ประกอบกับ การที่มีผใู ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหม่ทาให้กลุ่มทรู โมบายอาจจะมีความเสี่ ยงในการสู ญเสี ยลูกค้า บางส่ วนให้กบั ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น หรื อ มีความเสี่ ยงที่ผใู ้ ห้บริ การรายอื่นอาจปฏิเสธหรื อ กีดกันการโอนย้ายมิให้ผใู ้ ช้บริ การโอนย้ายมาใช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลุ่มทรู

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากการเปลีย่ นแปลงด้ านกฎเกณฑ์ การกากับดูแล ปัจจุบนั หน่วยงานของรัฐที่มีอานาจต่างๆ เช่น รัฐบาล หรื อ คณะกรรมการ กสทช. มีการพิจารณา ออกกฎเกณฑ์การกากับดูแลในด้านต่างๆ และมีการทบทวนปรับปรุ งกฎระเบียบเดิมเกี่ยวกับการกากับดูแล อันอาจทาให้กลุ่มทรู มีความเสี่ ยงจากกฎเกณฑ์การกากับดูแลหรื ออาจเป็ นกรณี ที่กลุ่มทรู และ หน่วยงานของ รัฐที่มีอานาจต่างๆ มีการตีความด้านกฎหมายแตกต่างกัน ความเสี่ ยงจากการจัดสรรคลื่นความถี่สาหรับการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ TUC เป็ นผูไ้ ด้รับใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz 1800 MHz และ 900 MHz จาก การจัดสรรคลื่นความถี่ของ คณะกรรมการ กสทช. จะส่ งผลให้มีการแข่งขันในธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มมากขึ้น และยังทาให้กลุ่มทรู มีหน้าที่ในการต้องชาระเงินค่าประมูลคลื่นความถี่ และความจาเป็ นต้องใช้เงินลงทุนเพิ่มขึ้น จากการขยายโครงข่ายให้มีความครอบคลุมตามเงื่อนไขของการเป็ นผูช้ นะการประมูลและการเป็ นผูร้ ับใบอนุญาต รวมทั้งก่อสร้างและขยายโครงข่ายและอุปกรณ์เพื่อรองรับการให้บริ การบนคลื่นความถี่ในย่านต่างๆ เพิ่มเติม จากการลงทุนสาหรับการขยายบริ การบนคลื่นความถี่ยา่ น 850 MHz และบริ การ 4G หรื อเทคโนโลยีอื่นๆ เพิม่ เติม กลุ่มทรู เชื่อว่า จากการที่ กลุ่มทรู เป็ นผูช้ นะการประมูลคลื่นความถี่ยา่ น 1800 MHz และ 900 MHz จะทาให้กลุ่มทรู สามารถพัฒนาบริ การต่างๆ ที่หลากหลายเพิ่มทางเลือกให้แก่ประชาชนที่ตอ้ งการใช้บริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีประสิ ทธิ ภาพและสามารถตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้บริ การทุกกลุ่มได้มากยิง่ ขึ้น และกลุ่มทรู เชื่อว่า บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่กลุ่มทรู ที่ให้บริ การบนคลื่นความถี่ยา่ น 2100 MHz และ 850 MHz รวมทั้ง การให้บริ การบนคลื่นความถี่อีก 2 ย่านที่ได้รับการจัดสรรมาเพิ่มเติมดังกล่าวจะสามารถตอบสนอง ความต้องการของผูใ้ ช้บริ การได้อย่างเพียงพอ และกลุ่มทรู จะสามารถเป็ นผูน้ าการให้บริ การ 3G บริ การ 4G และบริ การบนเทคโนโลยีอื่นๆ ได้ กลุ่มทรู มีความเสี่ ยงจากการสิ้นสุ ดลงของสั ญญาให้ ดาเนินการฯ ของทรู มูฟจาก CAT Telecom และ สั ญญาร่ วมการงานฯ กิจการโทรศัพท์ พนื้ ฐานจากทีโอทีทจี่ ะสิ้นสุ ดลง เนื่องจากสัญญาให้ดาเนินการฯ ของทรู มูฟ สิ้ นสุ ดลงในเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 ดังนั้น เพื่อเป็ นการสร้าง ความต่อเนื่ องสาหรับธุ รกิจของกลุ่มทรู โมบาย ล่าสุ ดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558 TUC ได้รับใบอนุญาต ให้ใช้คลื่นความถี่ยา่ น 1800 MHz และใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ซึ่ งมีระยะเวลาการอนุญาต จนถึงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2576 รวมทั้ง เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2559 TUC ได้รับใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ ย่าน 900 MHz ซึ่ งใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ยา่ น 900 MHz ดังกล่าว มีระยะเวลาถึงวันที่ 15 มีนาคม 2574 โดยประกาศ คณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณี สิ้นสุ ด การอนุญาตสัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 (“ประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ”) ได้กาหนดให้ CAT Telecom และทรู มูฟ ในฐานะผูใ้ ห้บริ การตามประกาศดังกล่าว จัดทาแผนคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ ซึ่ งต้องมีสาระสาคัญเกี่ยวกับแผนงานประชาสัมพันธ์ให้ผใู ้ ช้บริ การทราบถึงการสิ้ นสุ ดสัญญาสัมปทาน แผนงานส่ งเสริ มให้ผใู ้ ช้บริ การสามารถใช้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ และค่าใช้จ่ายในการ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ให้บริ การและภาระที่เกิดขึ้นจากการที่ตอ้ งรักษาคุณภาพมาตรฐานในขณะที่จานวนผูใ้ ช้บริ การลดลงตลอดเวลา นอกจากนี้ ประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การยังกาหนดห้าม CAT Telecom และ ทรู มูฟ รับผูใ้ ช้บริ การรายใหม่ เพิ่มขึ้นจากเดิม และกาหนดให้ CAT Telecom และทรู มูฟ เป็ นผูร้ ับชาระเงินรายได้จากการให้บริ การแทนรัฐ โดยแยกบัญชีการรับเงินไว้เป็ นการเฉพาะ แล้วรายงานจานวนเงินรายได้และดอกผลที่เกิดขึ้นซึ่ งได้หกั ต้นทุน ค่าใช้โครงข่าย ค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคม ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการบริ หารจัดการ และต้นทุนค่าใช้จ่ายอื่น ที่จาเป็ นในการให้บริ การแล้ว ส่ วนที่เหลือให้นาส่ งสานักงานคณะกรรมการ กสทช. เพื่อตรวจสอบก่อนนาส่ ง เป็ นรายได้แผ่นดินต่อไป ซึ่ งปั จจุบนั ได้มีการแต่งตั้งคณะทางานเพื่อตรวจสอบรายได้และต้นทุนค่าใช้จ่าย ตามประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ โดยสานักงานคณะกรรมการ กสทช. มีหนังสื อแจ้งมติ กทค. ที่เห็นชอบ ให้ทรู มูฟนาส่ งเงินรายได้จากการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่บนคลื่นความถี่ยา่ น 1800 MHz ในระยะเวลา ความคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ (ช่วงที่หนึ่ ง) นับตั้งแต่วนั ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็ นเงินจานวน 1,069,983,638.11 บาท พร้อมดอกผลที่เกิดขึ้นมายังสานักงานคณะกรรมการ กสทช. ซึ่ง ทรู มูฟ เห็นว่ามติดงั กล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่ ง ทรู มูฟ ได้มีการนาส่ งหนังสื อพร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณา เพื่อขอให้ กทค. ทบทวนมติดงั กล่าว และท้ายที่สุด ทรู มูฟ ได้ยนื่ คาฟ้ องเพื่อขอเพิกถอนมติที่ประชุม กทค. ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาคดีของศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ ยังมีความเสี่ ยงที่ ทรู มูฟ จะถูก กทค. เรี ยกให้ นาส่ งเงินรายได้จากการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ความถี่ยา่ น 1800 MHz ในระยะเวลาความคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ ในช่วงหลังจากวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 จนถึงวันที่ 3 ธันวาคม 2558 ซึ่งเป็ นวันที่ สานักงาน กสทช. ได้แจ้ง ถึงการสิ้ นสุ ดของระยะเวลาคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ 1800 MHz จากผลของประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ ทรู มูฟ ได้รับคาฟ้ องจาก CAT Telecom ที่ได้ยนื่ ฟ้ อง สานักงานคณะกรรมการ กสทช. กทค. คณะกรรมการ กสทช. ทรู มูฟ และบริ ษทั ดิจิตอล โฟน จากัด ต่อศาลปกครองกลาง เรี ยกให้ ชาระเงินค่าใช้หรื อค่าตอบแทนการใช้เครื่ องอุปกรณ์โทรคมนาคมและโครงข่าย ซึ่ งส่ งมอบให้ CAT Telecom หลังจากสัญญาให้ดาเนินการให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN (PERSONAL COMMUNICATION NETWORK) 1800 สิ้ นสุ ด นับตั้งแต่วนั ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ.2558 โดยในคดีดงั กล่าว ทรู มูฟ ได้ดาเนินการยืน่ คาให้การและเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้ว นอกเหนื อจากที่กล่าวมาแล้วนี้ สัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างบริ ษทั ฯ และทีโอที ที่บริ ษทั ฯ ทาหน้าที่ จัดสร้างโครงข่ายโทรศัพท์พ้นื ฐานให้แก่ทีโอที สาหรับให้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานและบริ การเสริ ม ซึ่ งจะสิ้ นสุ ดลง ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 อาจทาให้บริ ษทั ฯ มีความเสี่ ยงที่ตอ้ งขาดรายได้จากส่ วนแบ่งรายได้ที่ได้รับจาก ทีโอที ภายหลังสัญญาร่ วมการงานฯ สิ้ นสุ ดลง อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั TU ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ฯ ถือหุ น้ ใน สัดส่ วนร้อยละ 99.99 และได้รับใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สามจากคณะกรรมการ กทช. สาหรับการให้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานและบรอดแบนด์ทวั่ ประเทศ ซึ่ ง TU ได้ขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื่ อง ทาให้ความเสี่ ยงดังกล่าวลดลง ยิง่ ไปกว่านั้น การสร้างและขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ใหม่ภายใต้เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และ FTTx ยังช่วยให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การด้านเสี ยงที่มีคุณภาพสู งและสามารถบริ หารต้นทุนได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ทรู มูฟมีความเสี่ ยงทีเ่ กิดจากข้ อโต้ แย้ งที่ทโี อทีเรียกให้ ทรู มูฟและ CAT Telecom ชาระค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ าย แบบเดิม (Access Charge) ให้ แก่ ทโี อที ซึ่งอาจจะทาให้ บริษัทฯ มีค่าใช้ จ่ายเพิม่ ขึน้ ในอนาคต ตามที่ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ทีโอทีได้ยนื่ ฟ้ อง CAT Telecom ร่ วมกับทรู มูฟที่ศาลปกครองกลาง เพื่อเรี ยกร้องให้ชาระค่า AC จานวนเงินประมาณ 41,540.27 ล้านบาท ต่อมาทีโอทีได้ยื่นคาร้องขอแก้ไขเพิ่มเติม คาฟ้ อง เพื่อแก้ไขจานวนเงินที่เรี ยกร้องค่า AC พร้อมภาษีมูลค่าเพิ่มคิดจนถึงวันที่สัญญา AC ได้สิ้นสุ ดลง กล่าวคือ คิดจนถึงวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556 พร้อมกับเรี ยกดอกเบี้ยที่คิดตั้งแต่ช่วงปลายปี พ.ศ. 2549 แล้วแต่กรณี จนถึง ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โดยรวมเป็ นต้นเงินที่ทีโอทีเรี ยกให้ CAT Telecom และทรู มูฟร่ วมกัน รับผิดประมาณ 59,628.95 ล้านบาท และดอกเบี้ยของต้นเงินดังกล่าวคิดตั้งแต่วนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็ นต้นไปจนกว่าจะชาระเสร็ จ นั้น โดยปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ในเรื่ องดังกล่าว บริ ษทั ฯ และที่ปรึ กษากฎหมายมีความเห็นว่า ทรู มูฟไม่มีภาระผูกพันที่จะต้องจ่าย ค่า AC ตามที่ทีโอทีเรี ยกร้องข้างต้น ทั้งนี้ ผลที่สุดของคดีความดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถคาดการณ์ได้ใน ขณะนี้ ดังนั้น บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยจึงไม่ได้บนั ทึกรายจ่ายและไม่ได้ต้ งั สารองทางบัญชีสาหรับรายการ ค่าเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นจากรายการนี้ไว้ในงบการเงิน โดยปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาคดีของ ศาลปกครองกลาง แต่หากผลคาพิพากษาของศาลเป็ นที่สุดในทางลบต่อกลุ่มบริ ษทั ฯ อาจจะทาให้ทรู มูฟต้อง จ่ายเงินค่าปรับ พร้อมทั้งดอกเบี้ย และทรู มูฟอาจจะต้องจ่ายทั้งค่า AC และค่า IC ซึ่ งจะทาให้ค่าใช้จ่ายของ ทรู มูฟเพิม่ ขึ้นอย่างมาก ทรู มูฟมีความเสี่ ยงทีเ่ กิดจากข้ อโต้ แย้ งที่ CAT Telecom เรียกให้ ทรู มูฟส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ในเสา สาหรับติดตั้งเครื่องและอุปกรณ์ โทรคมนาคมจานวน 4,546 เสา ให้ CAT Telecom และในเครื่องและอุปกรณ์ Generator จานวน 59 สถานีให้ CAT Telecom ตามที่ CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้ทรู มูฟส่ งมอบและ โอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาที่ติดตั้งเครื่ องและอุปกรณ์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม จานวน 4,546 เสา ให้ CAT Telecom หากทรู มูฟไม่สามารถส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาดังกล่าวได้ ไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆ ให้ทรู มูฟชาระค่าเสี ยหาย เป็ นเงินจานวนทั้งสิ้ น 2,766.16 ล้านบาทซึ่ ง คณะอนุญาโตตุลาการได้มีมติเป็ นเอกฉันท์วนิ ิจฉัยชี้ขาดให้ ยกคาเสนอข้อพิพาทของ CAT Telecom ปัจจุบนั CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องขอให้ศาลปกครองกลางมีคาสั่ง เพิกถอนคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการดังกล่าว ต่อมา CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องขอถอนคาร้องที่ CAT Telecom ยืน่ ขอเพิกถอนคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง ซึ่ งศาลปกครองกลางได้มีคาสัง่ อนุญาต และให้จาหน่ายคดีออกจากสารบบความ นอกจากนั้น ในคดีที่ CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เป็ นคาเสนอ ข้อพิพาทหมายเลขดาที่ 109/2556 โดยเรี ยกร้องให้ทรู มูฟส่ งมอบพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ์ เครื่ องและอุปกรณ์ Generator จานวน 59 สถานี ให้แก่ CAT Telecom หากส่ งมอบไม่ได้ไม่วา่ กรณี ใดๆ ให้ทรู มูฟชดใช้ราคาแทนรวมมูลค่า ทั้งสิ้ นเป็ นเงินจานวน 39.57 ล้านบาท ขณะนี้ขอ้ พิพาทอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) ตามที่ คณะรัฐมนตรี ได้อนุมตั ิให้มีการลดอัตราภาษีสรรพสามิตที่จดั เก็บจากบริ การโทรคมนาคม เป็ นร้อยละ 0 ในปี พ.ศ. 2550 (จากเดิมร้อยละ 2 สาหรับกิจการโทรศัพท์พ้ืนฐาน และร้อยละ 10 สาหรับกิจการ โทรศัพท์เคลื่อนที่) ทาให้ทีโอทีและ CAT Telecom ได้รับส่ วนแบ่งรายได้หรื อผลประโยชน์ตอบแทนเต็มจานวน อย่างไรก็ตาม ในระหว่างที่มีการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ผูป้ ระกอบการภาคเอกชนยังคงมีรายจ่ายรวมให้ ภาครัฐเท่าเดิม (รวมที่จ่ายให้กระทรวงการคลังและทีโอที หรื อ CAT Telecom) โดยปัจจุบนั ยังมีขอ้ พิพาท ระหว่างภาคเอกชนและคู่สัญญาภาครัฐในประเด็นนี้ ซึ่ งเป็ นประเด็นเกี่ยวกับการชาระส่ วนแบ่งรายได้ให้ทีโอที และชาระผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ไม่ครบ ปั จจุบนั CAT Telecom ได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษา ของศาลปกครองกลางที่มีคาสัง่ ยกคาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดอนุญาโตตุลาการของ CAT Telecom ที่มีคาชี้ขาดให้ ทรู มูฟไม่ตอ้ งชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้แก่ CAT Telecom เป็ นจานวนเงิน 8,969.08 ล้านบาท ต่อ ศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด นอกจากนี้ CAT Telecom ได้เรี ยกให้ทรู มูฟรับผิดในเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่มจากผลประโยชน์ตอบแทนในส่ วนค่าภาษีสรรพสามิต พร้อมเบี้ย ปรับและเงินเพิ่มที่ CAT Telecom ถูกกรมสรรพากรประเมินและแพ้คดีในชั้นศาลภาษีไปแล้ว ตลอดจน ค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นคดี ค่าธรรมเนียม และดอกเบี้ย รวมเป็ นเงินค่าเสี ยหายจากการไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา ในส่ วนดังกล่าวที่ CAT Telecom เรี ยกมาในช่วงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555 จานวนทั้งสิ้ น 1,302.8 ล้านบาท (คานวณถึงสิ้ นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2555) โดย CAT Telecom อาจเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการต่อไป ทั้งนี้ กลุ่มทรู และที่ปรึ กษากฎหมายมีความเห็นว่า ทรู มูฟยังไม่มีภาระผูกพันที่ตอ้ งชาระเงินจานวนดังกล่าว อย่างไรก็ดี ผลที่สุดของคดีความดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถคาดการณ์ได้ในขณะนี้ ดังนั้น ทรู มูฟจึงไม่ได้ ตั้งสารองทางบัญชีสาหรับรายการค่าเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นจากรายการนี้ไว้ในงบการเงินซึ่ งหากผลคาชี้ขาด หรื อคาพิพากษาของศาลต่อไปในอนาคตในส่ วนคดีที่ฟ้องแล้วและผลที่สุดของเรื่ องที่ยงั ไม่ได้ฟ้องเป็ นทางลบ ต่อทรู มูฟแล้ว ทรู มูฟอาจต้องจ่ายเงินดังกล่าวและบันทึกค่าส่ วนแบ่งรายได้และค่าภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าวเป็ น ค่าใช้จ่ายและค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิ่มเติมซึ่ งรวมแล้วคิดเป็ นต้นเงินไม่เกิน 10,271.88 ล้านบาท ทั้งนี้ ทีโอทีได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ เรี ยกคืนส่ วนแบ่งรายได้ที่บริ ษทั ฯ ได้รับเกินกว่าสิ ทธิ ที่พึงจะได้รับจานวน 1,479.62 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย สาหรับกิจการโทรศัพท์พ้นื ฐาน ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการที่ช้ ีขาดให้ บริ ษทั ฯ เป็ นผูม้ ีหน้าที่ ชาระเงินผลประโยชน์ตอบแทน พร้อมดอกเบี้ยตามที่ ทีโอที เรี ยกร้องต่อศาลปกครองกลาง ขณะนี้คดีอยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ซึ่ งก่อนหน้านี้ ทีโอทีได้มีหนังสื อแจ้งให้บริ ษทั ฯ คืนเงินที่ทีโอที ได้นาส่ งให้บริ ษทั ฯ เพื่อนาไปชาระเป็ นค่าภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2546 จนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 เป็ นเงินจานวน 1,479.6 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย ในอัตราร้อยละ 7.5 และภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมายให้แก่ทีโอที ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ซึ่งใน กรณี น้ ี บริ ษทั ฯ ไม่มีหน้าที่ชาระคืนเงินดังกล่าวให้แก่ทีโอที เนื่องจากได้ปฏิบตั ิตามที่ทีโอทีมอบหมายครบถ้วน โดยได้นาเงินดังกล่าวไปชาระเป็ นค่าภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที และกรมสรรพสามิตได้ออกใบเสร็ จรับเงินเป็ นเลขที่กากับภาษีของทีโอที ดังนั้น บริ ษทั ฯ มิได้ผดิ สัญญาหรื อ ละเมิดกฎหมาย จึงไม่มีหน้าที่ชาระเงินดังกล่าวคืนให้แก่ทีโอที อีกทั้ง ทีโอทีได้เรี ยกร้องเงินซ้ าซ้อนอันเป็ น จานวนเดียวกันกับที่ทีโอทีได้ยนื่ ข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการดังกล่าว ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาทที่เกี่ยวข้ องกับส่ วนแบ่ งรายได้ ตามที่ CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เพื่อเรี ยกร้องให้ทรู มูฟ ชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้ครบถ้วนจากการที่ทรู มูฟหักค่า IC จากรายได้ก่อนคานวณผลประโยชน์ตอบแทน ให้ CAT Telecom ในปี ดาเนินการที่ 10 -17 เป็ นเงินทั้งสิ้ น 18,555.95 ล้านบาท เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2558 คณะอนุญาโตตุลาการเสี ยงข้างมากได้มีคาชี้ขาดให้ทรู มูฟชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มของปี ดาเนินการที่ 15 เป็ นเงินจานวน 1,571,599.139.64 บาท พร้อมเงินเพิม่ เป็ นเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี จากต้นเงินดังกล่าว นับตั้งแต่วนั ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2554 จนถึงวันชาระเสร็ จให้แก่ CAT Telecom โดยมีอนุญาโตตุลาการเสี ยงข้างน้อย ได้มีทาความเห็นแย้งไว้วา่ ทรู มูฟไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องชาระเงินผลประโยชน์ตอบแทนตามข้อเรี ยกร้อง และเห็นสมควรให้ยกข้อเรี ยกร้องของ CAT Telecom ซึ่ งทรู มูฟได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง กลุ่มทรู และที่ปรึ กษากฎหมายมีความเห็นว่า ทรู มูฟ ยังไม่มีภาระผูกพันที่ตอ้ งชาระเงินจานวนดังกล่าว อย่างไรก็ดี ผลที่สุดของคดีความดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถคาดการณ์ได้ในขณะนี้ ดังนั้น ทรู มูฟจึงไม่ได้ ตั้งสารองทางบัญชีสาหรับรายการค่าเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นจากรายการนี้ไว้ในงบการเงิน โดยปั จจุบนั คดีอยู่ ในระหว่างกระบวนการพิจารณาคดีของศาลปกครองกลาง แต่หากผลคาชี้ ขาดหรื อคาพิพากษาของศาลเป็ นที่สุด ในทางลบต่อทรู มูฟอาจต้องจ่ายเงินจานวนดังกล่าวและบันทึกค่าส่ วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายและ ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิ่มเติม ผลของคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการข้างต้นย่อมทาให้ ทรู มูฟ ไม่ตอ้ งนาค่า IC ที่เป็ นรายรับมา คานวณส่ วนแบ่งรายได้ให้ CAT Telecom แต่อย่างใด ดังนั้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2559 ทรู มูฟ จึงได้ยื่น คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้ CAT Telecom ชาระคืนเงินผลประโยชน์ตอบแทนที่ คิดจากฐานรายได้ที่เกิดจากการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตามกฎหมาย (IC) ซึ่ งไม่ใช่รายได้ที่เกิดจาก การให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า (DIGITAL PCN 1800) ตามสัญญาอนุญาตที่ ทรู มูฟ ได้นามารวมคานวณ เป็ นผลประโยชน์ตอบแทนนาส่ งให้แก่ CAT Telecom ตั้งแต่ปีดาเนิ นการที่ 11 ถึงปี ดาเนินการที่ 17 ไปแล้ว เป็ นจานวนเงิน 11,827,665,279.20 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี นับแต่วนั ยืน่ คาเสนอ ข้อพิพาทเป็ นต้นไปจนกว่าจะชาระเสร็ จสิ้ นแก่ ทรู มูฟ ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาททีม่ ีอยู่เดิมระหว่ าง CAT Telecom กับบริษัทย่ อยกลุ่มฮัทชิ สันซึ่งกลุ่มทรู เข้ าซื้อหุ้น ฮัทชิสัน ซี เอที ซึ่ งกลุ่มทรู ซ้ื อหุ น้ มาจากกลุ่มฮัทชิสันมีขอ้ พิพาทเดิมอยูก่ บั CAT Telecom ซึ่งอาจทาให้ กลุ่มทรู ตอ้ งบันทึกค่าใช้จ่ายเป็ นจานวนเงิน 1,445 ล้านบาท และอาจส่ งผลกระทบในทางลบกับความสัมพันธ์ ทางธุ รกิจระหว่างกลุ่มทรู และ CAT Telecom

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการกับฮัทชิสัน ซี เอที ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยที่ กลุ่มทรู เข้าซื้ อหุ ้น โดย คดีที่ 1 เรี ยกร้องเงิน จานวนรวม 1,204 ล้านบาท ทั้งนี้ ฮัทชิสัน ซี เอที ได้ยนื่ ข้อเรี ยกร้อง แย้งค่าเสี ยหายจาก CAT Telecom เป็ นเงินจานวนประมาณ 2,544.72 ล้านบาท ภายใต้สัญญาทาการตลาด วิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ Digital AMPS 800 Band A ซึ่ง คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาชี้ขาดให้ยกคาเสนอ ข้อพิพาทของ CAT Telecom และข้อเรี ยกร้องแย้งของ ฮัทชิสนั ซี เอที ทั้งนี้ CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอน คาชี้ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2558 และคดีที่ 2 เรี ยกร้องเงิน จานวน 241 ล้านบาท ภายใต้สัญญาฉบับเดียวกันซึ่ ง เมื่อวันที่ 13 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มีคาชี้ขาดให้ฮทั ชิสัน ซี เอที ชาระเงิน จานวน 91,834,965.56 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี และยกคาขอของ CAT Telecom ในกรณี เรี ยกร้องเงินจานวน 146,816,433.54 บาท โดย ฮัทชิสัน ซีเอที ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครอง ทั้งนี้ ปั จจุบนั ทั้งสองคดีอยูร่ ะหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 CAT Telecom ได้มีหนังสื อถึงธนาคารเพื่อขอให้ชาระเงิน ตามหนังสื อค้ าประกันจานวนเงินประมาณ 63 ล้านบาท โดยอ้างว่า กลุ่มฮัทชิสันปฏิบตั ิผิดสัญญาทาการตลาด วิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ Digital AMPS 800Band A สัญญาทาการตลาดบริ การโทรข้ามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า CDMA ซึ่ งต่อมา ฮัทชิสัน ซี เอที ได้ยนื่ ฟ้ อง CAT Telecom พร้อมกับยืน่ คาร้องขอคุม้ ครองชัว่ คราวต่อศาลแพ่งเพื่อเรี ยกร้องให้ CAT Telecom ระงับการใช้สิทธิ เรี ยกร้องให้ธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ่งชาระเงินตามหนังสื อสัญญาค้ าประกัน และไม่ให้ CAT Telecom รับเงิน ตามหนังสื อค้ าประกันดังกล่าวอีกทั้งให้ CAT Telecom ชาระค่าเสี ยหายเป็ นจานวนประมาณ 63 ล้านบาท ให้แก่ ฮัทชิสัน ซี เอที ซึ่ งต่อมา ศาลแพ่งมีคาสัง่ คุม้ ครองชัว่ คราวให้ CAT Telecom ระงับการใช้สิทธิเรี ยกร้อง ให้ธนาคารชาระเงินตามหนังสื อสัญญาค้ าประกันทั้ง 4 ฉบับ และให้ CAT Telecom ระงับการรับเงินตาม หนังสื อค้ าประกันดังกล่าวไว้เป็ นการชัว่ คราว ซึ่ งต่อมาได้โอนคดีน้ ีไปยังศาลปกครอง และรวมการพิจารณา คดีเข้ากับคดี ที่จะได้กล่าวต่อไป ตามข้อเท็จจริ งดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2557 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ อง ฮัทชิสัน ซีเอที บีเอฟเคที และธนาคารผูอ้ อกหนังสื อค้ าประกันต่อศาลปกครองกลาง โดย CAT Telecom กล่าวอ้างว่า ฮัทชิสัน ซี เอที และบีเอฟเคทีกระทาผิดสัญญาทาการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800Band A สัญญา ทาการตลาดบริ การโทรข้ามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า CDMA และเรี ยกค่าเสี ยหายในส่ วนที่ฮทั ชิสัน ซี เอที จะต้องรับผิดเป็ นเงินประมาณ 1,277.79 ล้านบาท และในส่ วนที่ ฮัทชิสัน ซี เอที และบีเอฟเคทีตอ้ งร่ วมรับผิดเป็ นจานวนเงินประมาณ 298.40 ล้านบาท ซึ่ง ฮัทชิสัน ซีเอที และบีเอฟเคทีได้ยนื่ คาร้องโต้แย้ง ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ แม้วา่ ฮัทชิสัน ซี เอทีและบีเอฟเคทีเชื่อว่าไม่ได้ผดิ สัญญาและข้อเรี ยกร้องของ CAT Telecom ยังไม่ได้มีคาชี้ขาดจนถึงที่สุด ของศาล ว่า ฮัทชิสัน ซี เอที และบีเอฟเคทีปฏิบตั ิผดิ สัญญาหรื อไม่ อย่างไรก็ดี มีความเสี่ ยงที่ธนาคารอาจชาระเงิน ตามหนังสื อค้ าประกัน ซึ่ งทาให้กลุ่มทรู จะต้องชาระเงินคืนให้แก่ธนาคาร

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาทเกีย่ วกับการจัดเก็บข้ อมูลและรายละเอียดเกีย่ วกับผู้ใช้ บริการ สื บเนื่องจากที่ ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลางเกี่ยวกับข้อพิพาทเรื่ องการดาเนิ นการ จัดเก็บข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้า ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 โดยฟ้ องขอให้เพิกถอนประกาศฉบับดังกล่าว เฉพาะข้อ 38 และข้อ 96 และเพิกถอนมติและคาวินิจฉัยของ คณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ คณะกรรมการ กสทช. และคาสัง่ ของเลขาธิ การคณะกรรมการ กสทช. ที่ให้ ทรู มูฟ ปฏิบตั ิตามประกาศฉบับดังกล่าว ซึ่งศาลปกครองกลางได้พิพากษาให้ ทรู มูฟ เป็ นฝ่ ายชนะคดี โดย กสทช. ได้มีการยืน่ อุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ดแล้ว โดย ทรู มูฟ คาดว่าจะสามารถ ยืน่ คาแก้อุทธรณ์ได้ภายในวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2560 และตามที่สานักงานคณะกรรมการ กสทช. ได้มีประกาศสานักงานคณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง การจัดเก็บข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในลักษณะที่เรี ยกเก็บเงินล่วงหน้า โดยกาหนดให้ผใู ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในลักษณะที่เรี ยกเก็บเงินล่วงหน้าทุกรายดาเนินการจัดเก็บข้อมูล และรายละเอียดเกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การ (ลงทะเบียนซิมการ์ ด) ให้แล้วเสร็ จภายในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และในกรณี ที่ผใู ้ ช้บริ การไม่ลงทะเบียนซิ มการ์ ดภายในกาหนดระยะเวลาดังกล่าว ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ สามารถดาเนินการระงับการให้บริ การตามเงื่อนไขหรื อข้อตกลงในสัญญาให้บริ การโทรคมนาคมได้ นั้น ทั้งนี้ ข้อเท็จจริ งปรากฏว่า ทรู มูฟ TUC และเรี ยลมูฟ ได้ดาเนินการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับกรณี ดงั กล่าว ให้แก่ผใู้ ช้บริ การทราบแล้ว โดยทรู มูฟ TUC และเรี ยลมูฟ สามารถดาเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายละเอียด เกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การ (ลงทะเบียนซิมการ์ด) ได้ครบถ้วน ทั้งนี้ มีความเสี่ ยงว่า หาก TUC และ/หรื อ เรี ยลมูฟ ละเลยการดาเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในลักษณะที่เรี ยก เก็บเงินล่วงหน้า TUC และ/หรื อ เรี ยลมูฟ อาจจะกลายเป็ นผูท้ ี่ปฏิบตั ิไม่ถูกต้อง และได้รับคาสั่งทางปกครอง เพื่อกาหนดมาตรการที่เกี่ยวข้องตามที่กฎหมายกาหนดต่อไป ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาทเกีย่ วกับการเรียกเก็บค่ าบริการล่วงหน้ า จากการที่สานักงานคณะกรรมการ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้งเตือนให้ทรู มูฟปรับปรุ งเงื่อนไขการให้บริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บเงินค่าบริ การล่วงหน้า ไม่ให้มีขอ้ กาหนดในลักษณะเป็ นการบังคับให้ ผูใ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนดและห้ามมิให้กาหนดเงื่อนไขที่มีลกั ษณะเป็ นการบังคับ ให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนดอีกต่อไป และต่อมาได้มีการกาหนดค่าปรับทางปกครอง วันละ 100,000 บาท ซึ่ ง ทรู มูฟ จึงได้ใช้สิทธิ โต้แย้ง รวมถึงยืน่ คาฟ้ องต่อศาลปกครองกลางขอเพิกถอนคาสัง่ กาหนดค่าปรับทางปกครองวันละ 100,000 บาทตามกระบวนการแล้ว ซึ่ งคดีน้ ีศาลปกครองกลางพิพากษา ไม่เป็ นคุณแก่ ทรู มูฟ ดังนั้น ทรู มูฟ จึงใช้สิทธิ์ ในการอุทธรณ์คาพิพากษาไปยังศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้คดี อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากการใช้ และการเชื่อมต่ อโครงข่ ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สาหรับโทรศัพท์พนื้ ฐาน จากที่ ได้มีการออกคาสั่งประกาศอัตราชัว่ คราวของค่าเชื่อมต่อโครงข่าย (Interconnection Charge หรื อ IC) สาหรับโทรศัพท์พ้ืนฐานที่อตั รา 0.36 บาทต่อนาที ทาให้บริ ษทั ฯ มีความเสี่ ยงที่อาจจะถูกเรี ยกเก็บ ค่า IC จากผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ งอาจทาให้บริ ษทั ฯ มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในอนาคตสาหรับกิจการ โทรศัพท์พ้ืนฐาน โดยมีผปู ้ ระกอบการบางรายได้ยนื่ เรื่ องต่อคณะกรรมการ กทช. เพื่อให้บริ ษทั ฯ เข้าทาสัญญา IC สาหรับกิจการโทรศัพท์พ้นื ฐานและต่อมาได้ยื่นเรื่ องเพื่อเรี ยกเก็บค่า IC จากกิจการโทรศัพท์พ้นื ฐานของบริ ษทั ฯ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ เชื่ อว่า บริ ษทั ฯ ไม่มีหน้าที่ที่จะต้องจ่ายค่า IC เนื่องจากสัญญาร่ วมการงานฯ สาหรับ กิจการโทรศัพท์พ้นื ฐานระหว่างบริ ษทั ฯ กับทีโอที กาหนดให้บริ ษทั ฯ มีหน้าที่ลงทุน จัดหา และติดตั้ง ตลอดจน บารุ งรักษาอุปกรณ์ให้แก่ทีโอที โดยทีโอทีเป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้ท้ งั หมดจากลูกค้า และจะแบ่งรายได้ที่ได้รับ ให้บริ ษทั ฯ ตามสัดส่ วนที่ระบุไว้ในสัญญาร่ วมการงานฯ และบริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อ ศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 3 สิ งหาคม พ.ศ. 2553 เพื่อขอให้ศาลเพิกถอนคาสั่งที่ออกประกาศอัตราชัว่ คราว ของค่า IC และเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาให้ยกฟ้ อง และบริ ษทั ฯ ได้อุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ดีแทคได้ยนื่ คาฟ้ องต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้บริ ษทั ฯ และ ทีโอทีร่วมกันชาระค่าใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมจานวน 3.28 พันล้านบาท อย่างไรก็ดี บริ ษทั ฯ เห็นว่าดีแทคไม่มีสิทธิ เรี ยกเก็บค่าตอบแทนการเชื่อมต่อโครงข่ายกับบริ ษทั ฯ ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองกลาง ความเสี่ ยงจากการทาสั ญญาทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเข้ าถือหุ้นในกลุ่มฮัทชิ สันและสั ญญา HSPA ระหว่าง CAT Telecom กับกลุ่มทรู กลุ่มทรู โต้แย้งคาสั่งของ คณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ คณะกรรมการ กสทช. ตามที่เลขาธิการ คณะกรรมการ กสทช. ได้มีหนังสื อถึงบริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟแจ้งมติและคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ คณะกรรมการ กสทช. ที่สั่งให้แก้ไขในส่ วนที่เกี่ยวกับการทาความตกลงเพื่อควบรวมกิจการโดยการเข้าซื้ อ หุ น้ ของกลุ่มฮัทชิสันให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการควบรวมกิจการ และการถือหุ ้นไขว้ในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และในส่ วนที่เกี่ยวกับการทาความตกลงกับ CAT Telecom เกี่ยวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ CDMA และระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง มาตรการเพื่อป้ องกันมิให้มีการกระทาอันเป็ นการผูกขาดหรื อก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันใน กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 นั้น บริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟ เห็นว่า มติและคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ดังกล่าว ไม่มีความชัดเจนและ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย บริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟจึงได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิการ คณะกรรมการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2554 เพื่อขอให้เพิกถอนมติและคาสั่งดังกล่าว ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาให้เพิกถอนคาสั่งของ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ตามมติที่ประชุมครั้งที่ 30/2554 เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2554 โดยให้มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่มีคาสั่งดังกล่าว โดยปัจจุบนั คณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิการ คณะกรรมการ กสทช. ได้มีการยืน่ อุทธรณ์คาพิพากษาต่อ ศาลปกครองสู งสุ ด ซึ่งบริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟ ได้ดาเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายต่อการยืน่ อุทธรณ์ ปั จจุบนั อยูใ่ นกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงทีส่ ื บเนื่องจากสั ญญา HSPA ตามที่ กลุ่มทรู และ CAT Telecom ได้มีการดาเนินการตามสัญญา HSPA และยังมีขอ้ โต้แย้งใน ประเด็นต่างๆ โดยคู่สัญญาที่เกี่ยวข้องได้ดาเนิ นการชาระหนี้ระหว่างกันไปแล้วบางส่ วน และกาลังดาเนินการ เจรจาหาข้อยุติในประเด็นอื่นๆ ที่ยงั มีความเห็นไม่ตรงกันเพื่อจะชาระหนี้ในส่ วนที่ยงั เหลือต่อไป ดังนั้น กรณี น้ ี จึงมีความเสี่ ยงที่ CAT Telecom อาจเรี ยกให้บริ ษทั ในกลุ่มทรู ชาระหนี้ในส่ วนที่ไม่สามารถตกลงกันได้ รวมถึงดอกเบี้ย ปั จจุบนั อยูใ่ นระหว่างการเจรจาหาข้อยุติกบั ทาง CAT Telecom ซึ่ งทาให้กลุ่มทรู อาจต้อง จ่ายเงินในส่ วนที่ยงั ไม่สามารถตกลงกันได้ และดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นทั้งนี้ผลที่สุดยังไม่สามารถคาดการณ์ได้ใน ขณะนี้ ดังนั้น กลุ่มทรู จึงไม่ได้ต้ งั สารองทางบัญชีสาหรับรายการค่าเสี ยหายหรื อค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นจาก รายการนี้ไว้ในงบการเงิน ความเสี่ ยงจากการทีก่ ลุ่มทรู ต้องแข่ งขันกับทีโอทีและ CAT Telecom ซึ่งเป็ นคู่สัญญาร่ วมการงานฯ และ คู่สัญญาให้ ดาเนินการฯ ซึ่งอาจนาไปสู่ ข้อพิพาทต่ างๆ ทีอ่ าจส่ งผลกระทบต่ อการดาเนินธุรกิจของกลุ่มทรู บริ ษทั ฯ และทรู มูฟได้ดาเนินกิจการภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ และ/หรื อ สัญญาให้ดาเนินการฯ กับทีโอที และ/หรื อ CAT Telecom แล้วแต่กรณี ซึ่ งสัญญาให้ดาเนิ นการฯ ระหว่าง ทรู มูฟ กับ CAT Telecom ได้สิ้นสุ ดลงแล้วตั้งแต่วนั ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่ งในช่วงการให้บริ การตามประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ ประกอบกับ คาสัง่ คสช. และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ทรู มูฟ และ CAT Telecom ยังมีความเห็นที่แตกต่างกัน เกี่ยวกับการทาหน้าที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การ รวมถึงสิ ทธิ ในการใช้เครื่ องและอุปกรณ์ โดยความเห็นที่แตกต่างกัน อาจมีผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิจของผูป้ ระกอบกิจการซึ่ งเป็ นบริ ษทั ในกลุ่มทรู อย่างไรก็ดีในกรณี ของสัญญาร่ วมการงานฯ ที่บริ ษทั ฯ ทาหน้าที่จดั สร้างโครงข่ายพื้นฐานให้แก่ ทีโอที เพื่อให้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน หากมีขอ้ พิพาทเกิดขึ้น ทีโอทีซ่ ึงเป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้จากลูกค้าใน โครงข่ายทั้งหมด และแบ่งส่ วนแบ่งรายได้ให้บริ ษทั ฯ ตามสัดส่ วนที่ระบุไว้ในสัญญาร่ วมการงานฯ อาจ ชะลอการชาระเงินให้บริ ษทั ฯ เพื่อเป็ นการชาระค่าใช้จ่ายใดๆ ที่ทีโอทีเชื่ อว่าบริ ษทั ฯ ติดค้าง โดยปั จจุบนั เนื่องจาก บริ การบางบริ การภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ ประสบภาวะไม่คุม้ ทุน กลุ่มทรู จึงมีความพยายาม ที่จะลดจานวนการให้บริ การ ไปจนถึงการยกเลิกการให้บริ การ จึงมีความเสี่ ยงที่ ทีโอที จะมีความเห็นว่า บริ ษทั ฯ ผิดสัญญาในส่ วนสาระสาคัญอันเป็ นเหตุให้ทีโอทีบอกเลิกสัญญา ในขณะที่ทรู มูฟ ก็อาจมีความเสี่ ยงที่เกี่ยวเนื่ องตามมาได้ เช่น ภาระค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการใช้เครื่ อง และอุปกรณ์ตามสัญญาให้ดาเนินการฯ เพื่อให้บริ การในช่วงประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การและคาสัง่ คสช. ซึ่ง CAT Telecom เห็นว่าตามประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ ทรู มูฟ ต้องชาระค่าใช้เครื่ องและอุปกรณ์ที่ ทรู มูฟ ใช้เพื่อให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่บนคลื่น 1800 MHz ในช่วงเวลาดังกล่าว ให้ CAT Telecom แต่ ทรู มูฟ เห็นว่ายังไม่มีความชัดเจนและยังไม่เป็ นที่ยตุ ิวา่ ทรู มูฟ มีหน้าที่ในการรับภาระค่าใช้จ่ายดังกล่าวตามประกาศ คุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การหรื อไม่

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากการอนุญาตต่ างๆ ทีเ่ กี่ยวข้ องกับการประกอบกิจการโทรทัศน์ และ/หรือ กิจการโทรคมนาคม นโยบายการกากับดูแลของ คณะกรรมการ กสทช. มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างธุ รกิจโดยรวม ซึ่ งคาดว่าการแข่งขันในตลาดจะรุ นแรงมากขึ้น อีกทั้ง กลุ่มบริ ษทั อาจได้รับความเสี่ ยงจากนโยบายการกากับดูแล ของ คณะกรรมการ กสทช. ที่มีความไม่แน่นอน และไม่เท่าเทียมกันระหว่างผูร้ ับสัมปทานที่ถูกเปลี่ยนผ่าน เป็ นผูร้ ับใบอนุ ญาตกับผูร้ ับใบอนุญาตรายใหม่จนส่ งผลให้เกิดความได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบระหว่างผูเ้ ล่นใน ตลาดเดียวกันหรื อตลาดที่เกี่ยวข้อง และจากนโยบายการกากับดูแลที่ก่อให้เกิดต้นทุนการประกอบกิจการเพิม่ ขึ้น รวมถึงความเสี่ ยงจากความเปลี่ยนแปลงในเรื่ องกฎเกณฑ์การกากับดูแลการประกอบกิจการ และการกากับ ดูแลการแข่งขันสาหรับบริ ษทั ในกลุ่มทรู ที่เป็ นผูร้ ับใบอนุ ญาต ทั้งนี้ จากการที่ คณะกรรมการ กสทช. ได้ ออกประกาศ คณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์ และประกาศสานักงาน คณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง การกากับดูแลการโฆษณาบริ การหรื อสิ นค้าของผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิกและผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก ซึ่ งจะส่ งผลกระทบต่อการประกอบกิจการ ของ ทรู วชิ นั่ ส์ และผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบใช้คลื่นความที่ภายในกลุ่มทรู ได้ ซึ่ ง ผลจากการไม่ปฏิบตั ิตาม หลักเกณฑ์ของประกาศดังกล่าว หาก คณะกรรมการ กสทช. พิจารณาไม่ให้ หรื อไม่พิจารณาต่ออายุใบอนุ ญาต ที่เกี่ยวข้อง ก็จะส่ งผลให้บริ ษทั ย่อยที่เกี่ยวข้องในกลุ่มทรู ถูกปรับหรื อถูกดาเนินการตามกฎหมาย หรื อไม่ สามารถประกอบกิจการได้ ปั จจุบนั คณะกรรมการ กสทช. ได้ให้ใบอนุ ญาตให้บริ การโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ในระบบดิจิตอล ประเภทบริ การทางธุ รกิจระดับชาติ จานวน 2 ช่องรายการ ให้แก่บริ ษทั ในกลุ่มทรู ที่ชนะ การประมูลคลื่นความถี่ในปี พ.ศ. 2557 และได้ให้ใบอนุญาตให้บริ การโครงข่ายกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์ ที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ระดับชาติ ให้แก่ทรู วชิ นั่ ส์ รวมถึงให้ใบอนุญาตให้บริ การกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์ที่ ไม่ใช้คลื่นความถี่ระดับชาติให้แก่ ทรู วชิ นั่ ส์ และบริ ษทั ในกลุ่มทรู ความเสี่ ยงทางด้ านการเงิน ความเสี่ ยงจากการมีหนีส้ ิ น ณ สิ้ นปี 2559 กลุ่มทรู มีหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจ่าย ประกอบด้วยเงินกูย้ มื ระยะสั้น ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระ ภายใน 1 ปี ของเงินกูย้ มื ระยะยาว และเงินกูย้ มื ระยะยาว (ไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน) จานวน 111.8 พันล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากจานวน 92.3 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2558 จากการกูย้ มื เพิม่ เติมเพื่อสนับสนุนการขยายโครงข่ายและ การให้บริ การของกลุ่ม ซึ่ งรวมถึงการชาระค่าใบอนุ ญาต ทั้งนี้ การเพิ่มทุนของทรู ในเดือนมิถุนายน 2559 และ การเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของ EBITDA ส่ งผลให้โครงสร้างเงินทุนของกลุ่มแข็งแกร่ งขึ้น โดยมีอตั ราส่ วนหนี้สินสุ ทธิ ต่อ EBITDA ที่ลดลง เป็ น 2.5 เท่า ณ สิ้ นปี 2559 เมื่อเทียบกับ 3.7 เท่า ณ สิ้ นปี 2558 ทั้งนี้ ทางบริ ษทั ฯ อาจมี แผนในการจัดหาเงินทุนผ่านการกูย้ มื เงิน และ/หรื อ การออกตราสารหนี้ จึงอาจมีความเสี่ ยงจากการที่ไม่สามารถ จัดหาเงินทุนได้เพียงพอสาหรับการชาระเงินต้นและดอกเบี้ยในแต่ละปี หรื ออาจมีผลกระทบต่อการขยาย การลงทุนในอนาคตได้ อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู เชื่ อว่าจะสามารถจัดหาเงินกูย้ มื ใหม่ เพื่อชาระคืนหนี้สินเดิมและ ปรับเปลี่ยนการชาระคืนเงินต้นให้เหมาะสมกับกระแสเงินสดของกลุ่มทรู ได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยังมีแหล่งเงินทุนหลายช่องทาง อาทิ เงินสดจากการดาเนินงานซึ่ งปรับตัวดีข้ ึนมาก การได้รับเครดิตจากกลุ่ม ผูจ้ ดั จาหน่ายอุปกรณ์ (vendor financing) รวมถึงการจาหน่ายทรัพย์สินเข้ากองทุน DIF เพิ่มเติมในอนาคต และการถือหน่วยลงทุน DIF ของบริ ษทั ฯ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากการเคลือ่ นไหวของอัตราแลกเปลีย่ นและอัตราดอกเบีย้ ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มทรู ไม่มีหนี้ สินระยะยาวที่อยูใ่ นสกุลเงินต่างประเทศ (ไม่รวม หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน) มูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ มื ประเภทไม่หมุนเวียน (ไม่รวมหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน) ของกลุ่มบริ ษทั มีดงั นี้ (โปรดดูรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 27)

หุ น้ กู้ เงินกูย้ มื ที่เกี่ยวกับสัญญาจัดหาและติดตั้ง อุปกรณ์

งบการเงินรวม มูลค่ าตามบัญชี มูลค่ ายุติธรรม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 55,038.06 50,979.65 53,427.55 51,184.11 258.27 384.26

นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยังมีค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งจ่ายให้เจ้าหนี้การค้าเป็ นสกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐ ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ได้นาวิธีการบริ หารความเสี่ ยงที่เกิดจากเงินตราต่างประเทศดังต่อไปนี้มาใช้ เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงที่เกิดจาก การผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ - ทาสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า - เจรจาตกลงเงื่อนไขการจ่ายชาระหนี้ในสกุลเงินตราต่างประเทศเป็ นแต่ละรายการ และ - เจรจาตกลงกับเจ้าหนี้ ต่างประเทศ เพื่อแบ่งภาระจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ การพิจารณาความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนจะทาในแต่ละสกุลเงินและประมาณการอัตราแลกเปลี่ยน ล่วงหน้าหกเดือน ซึ่ งประมาณการอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าวจะอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน จากสถาบันวิจยั และวิเคราะห์ขอ้ มูลทางการเงินที่เชื่ อถือได้และข้อมูลดังกล่าวข้างต้นจะนามาพิจารณาร่ วมกับ ต้นทุนในการประกันความเสี่ ยง และความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อที่จะตัดสิ นใจในการทาการประกันความเสี่ ยง ที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ในการป้ องกันความเสี่ ยงจากการเปลี่ยนแปลงของ อัตราแลกเปลี่ยน โดยการใช้สัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้านั้น กลุ่มบริ ษทั จะพิจารณารายการที่ เป็ นเงินตราต่างประเทศแต่ละรายการ ความเสี่ ยงจากการลงทุนที่อาจทาให้ เกิดการด้ อยค่ า กลุ่มทรู มีการประเมินมูลค่าและพิจารณาถึงความคุม้ ค่าของการลงทุนอย่างถี่ถว้ นก่อนจะทาการลงทุน ในแต่ละธุ รกิจหรื อสิ นทรัพย์ใดๆ นอกจากนี้ บริ ษทั มีการทดสอบการด้อยค่าของมูลค่าของเงินลงทุนเมื่อมี ข้อบ่งชี้วา่ เงินลงทุนนั้นอาจเกิดการด้อยค่า สิ่ งเหล่านี้ ทาให้ผบู ้ ริ หารเชื่ อมัน่ ว่าบริ ษทั ไม่มีความเสี่ ยงจากการ ด้อยค่าอย่างมีนยั สาคัญต่องบการเงินของบริ ษทั

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงจากการทีบ่ ริษัทฯ มีผ้ ถู ือหุ้นรายใหญ่ ถือหุ้นในสั ดส่ วนมากกว่ าร้ อยละ 50 ณ วันที่ 16 มีนาคม 2560 กลุ่มผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ของบริ ษทั ฯ คือ บริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด และบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องถือหุ น้ ของบริ ษทั ฯ รวมกันเป็ นจานวนร้อยละ 50.21 ของจานวนหุ น้ ที่จาหน่ายได้แล้ว ทั้งหมดของบริ ษทั ฯ ซึ่ งโดยลักษณะเช่นนี้ อาจพิจารณาได้วา่ นักลงทุนอาจมีความเสี่ ยงจากการที่ผถู ้ ือหุ น้ รายใหญ่ ถือหุน้ ในบริ ษทั ฯ มากกว่าร้อยละ 50 เนื่องจากกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่สามารถควบคุมมติที่ประชุมที่ตอ้ งใช้ เสี ยงส่ วนใหญ่ เช่น การแต่งตั้งกรรมการ เป็ นต้น ดังนั้น ผูถ้ ือหุ น้ รายย่อยอาจไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสี ยง เพื่อตรวจสอบและถ่วงดุลเรื่ องที่ผถู ้ ือหุ น้ รายใหญ่เสนอได้ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ ให้ ความสาคัญต่อการดาเนินการภายใต้หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีเป็ นอย่างยิง่ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ น้ รายย่อย สามารถเสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ น กรรมการ เป็ นการล่วงหน้าก่อนการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี นอกจากนี้ หากเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับ ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ และเป็ นรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ฯ จะต้องดาเนินการตาม มาตรการและขั้นตอนที่กาหนดไว้ใน “ระเบียบในการเข้าทารายการระหว่างกัน” ซึ่ งอยูภ่ ายใต้กรอบของ กฎหมายอย่างเคร่ งครัด ความเสี่ ยงทีจ่ ะเกิดขึน้ ใหม่ ความเสี่ ยงทีเ่ กี่ยวข้ องกับความมั่นคงและประสิ ทธิภาพของระบบรักษาความปลอดภัยของข้ อมูลส่ วนบุคคล เทคโนโลยีดา้ นการสื่ อสารโทรคมนาคมมีบทบาทต่อการดาเนินชีวติ ประจาวันของผูค้ นในสังคมอย่างมาก การที่ผบู้ ริ โภคสามารถเข้าถึงการให้บริ การข้อมูล ข่าวสารได้สะดวกในอัตราความเร็ วการรับส่ งข้อมูลระดับกิกะไบต์ ส่ งผลให้ปริ มาณข้อมูลด้านต่างๆ เช่น Internet of Things (IoT) Big Data และ ข้อมูลส่ วนตัวของลูกค้าเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยมีเทคโนโลยีการเก็บข้อมูลแบบใหม่ เช่น คลาวด์ ถือกาเนิดขึ้น ทั้งนี้ ผูใ้ ห้บริ การด้านการสื่ อสารโทรคมนาคม ต้องบริ หารจัดการข้อมูลต่างๆ ในระบบอย่างเหมาะสมและเป็ นไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย เพื่อให้มนั่ ใจ ว่าข้อมูลของลูกค้าได้รับการปกป้ องอย่างรัดกุม ปริ มาณข้อมูลที่มากขึ้น และปั จจัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดา้ นการรับส่ งและการเก็บข้อมูล ส่ งผลให้อตั ราของการจารกรรมข้อมูล อาชญากรรมออนไลน์เพิ่มสู งขึ้นตามไปด้วย หากระบบความ ปลอดภัยยังล้าสมัยไม่มีการปรับปรุ งเพื่อให้เท่าทันเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว อาจนาไปสู่ ผลกระทบทางลบต่อผูบ้ ริ โภคและบริ ษทั ฯ เช่น มีขอ้ มูลรั่วไหล ส่ งผลเสี ยต่อความน่าเชื่อถือของระบบความ ปลอดภัยของฐานข้อมูล รวมทั้งภาพลักษณ์ของบริ ษทั ฯ และการเงิน เป็ นต้น ดังนั้นการดูแลระบบรักษา ความปลอดภัยของฐานข้อมูลอย่างรัดกุมจึงมีความสาคัญอย่างยิง่ บริ ษทั ฯ กาหนดนโยบายด้านความปลอดภัยของข้อมูล โดยมีระบบการจัดการความปลอดภัย สาหรับข้อมูลส่ วนตัวและสารสนเทศ (Information Security Management: ISM) ตามมาตรฐาน ISO 27001 และนโยบายการเข้าถึงข้อมูลสาหรับหน่วยงานหรื อบุคลากรภายนอก (Third-Party Security Policy) รวมทั้ง การปรับปรุ งและพัฒนาระบบความปลอดภัยของข้อมูลเพื่อความพร้อมในการรองรับเทคโนโลยีในอนาคต ด้วยการทดสอบการบุกรุ กระบบจากภายนอก (Penetration test) และการแก้ไขจุดผิดพลาด (Loop hole check) ควบคู่กนั ไป รวมทั้งบริ ษทั ฯ ได้ทาการปลูกฝังพนักงานในหัวข้อความมีศีลธรรมจรรยาและความรับผิดชอบ ในการใช้ขอ้ มูลอยูเ่ สมอ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความเสี่ ยงทีเ่ กีย่ วข้ องกับศักยภาพทางเทคโนโลยี ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ วของเทคโนโลยีและความต้องการที่เพิ่มขึ้นของผูบ้ ริ โภคในยุคสังคมดิจิทลั ส่ งผลให้บริ ษทั ฯ ต้องตระหนักถึงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรวมถึงแผนธุ รกิจของบริ ษทั ฯ เพื่อรองรับ รู ปแบบการทางานของห่ วงโซ่คุณค่าที่ขยายตัวขึ้น รวมทั้งการพัฒนานวัตกรรมของสิ นค้าและการบริ การ เพื่อความเป็ นผูน้ าทางด้านเทคโนโลยีและตอบสนองทุกไลฟ์ สไตล์ของผูบ้ ริ โภคได้อย่างสม่าเสมอ บริ ษทั ฯ ต้องตื่นตัวในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างสม่าเสมอเพื่อให้มนั่ ใจว่าศักยภาพทางเทคโนโลยี ของบริ ษทั ฯ จะสามารถตอบสนองความต้องการและเสริ มสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้าผ่านการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานดิจิทลั และนวัตกรรมอย่างสม่าเสมอ รวมทั้งตระหนักถึงบทบาทและความคล่องตัวในการปฏิบตั ิงาน ของบริ ษทั ฯ ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ความล่าช้าในการพัฒนาแผนธุ รกิจ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม อาจส่ งผลต่อความสามารถในการทา ธุ รกิจ เนื่ องจากการแข่งขันที่รุนแรงในธุ รกิจการสื่ อสารโทรคมนาคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งโครงการสร้าง พื้นฐานดิจิทลั (Digital Infrastructure) และอุปกรณ์ (Devices) หากบริ ษทั ฯ ไม่ปรับตัว จะทาให้ลา้ หลังและ ไม่สามารถรองรับระบบเทคโนโลยีใหม่ได้ นอกจากนี้ บริ บททางสังคมดิจิทลั ที่ความต้องการของผูบ้ ริ โภค เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ วและตลอดเวลา ทาให้บริ ษทั ฯ ต้องปรับปรุ งแผนธุ รกิจให้สอดรับกับวิถีชีวติ ของ ผูบ้ ริ โภคอย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้ หากบริ ษทั ฯ ไม่สามารถปรับตัวได้ อาจทาให้ประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงานและ ความสามารถทางการแข่งขันในตลาด รวมถึงอัตราการสร้างรายได้ของบริ ษทั ฯ ลดลง บริ ษทั ฯ มีการทบทวนและปรับปรุ งนโยบายทางธุ รกิจอย่างสม่าเสมอ เพื่อความคล่องตัวในการ ปฏิบตั ิงานอย่างรวดเร็ ว รวมทั้งมีการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและนวัตกรรมจากการบริ หาร จัดการภายในและการร่ วมมือกับหน่วยงานภายนอกอย่างสม่าเสมอ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการ ปฏิบตั ิงานและการแข่งขันในตลาด นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังมีนโยบายในการพัฒนาพนักงานอย่างสม่าเสมอ เพื่อสร้างเสริ มให้พนักงานมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างสรรค์นวัตกรรม และการพัฒนาเทคโนโลยี ทั้งด้านกระบวนการและอุปกรณ์ โดยคานึงถึงปั จจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่ งแวดล้อม ความเสี่ ยงจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ในปั จจุบนั สภาพอากาศของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอันเนื่องมาจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ทาให้เกิด การปล่อยก๊าซเรื อนกระจก ซึ่ งไปทาลายชั้นบรรยากาศของโลก ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน รวมทั้งการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติมากเกินความจาเป็ น ทาให้ระบบนิ เวศขาดความสมดุล ทั้งนี้ ประเทศไทยได้รับผลกระทบ จากสภาพอากาศที่รุนแรงและแปรปรวนอยูบ่ ่อยครั้ง เช่น ประสบอุทกภัยครั้งใหญ่ในพื้นที่ภาคเหนื อ ภาคกลาง เมื่อปี 2554 และภาคใต้ในปี 2559 สาหรับอุตสาหกรรมโทรคมนาคม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาจก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อ ปั จจัยการให้บริ การหลักของธุ รกิจ ได้แก่ สายส่ งสัญญาณภาคพื้นดิน เสาสัญญาณ และอายุการใช้งานของ อุปกรณ์ต่างๆ ซึ่ งเป็ นอุปสรรคในการให้บริ การ เช่น การหยุดชะงักของการส่ งคลื่นสัญญาณโทรศัพท์ และ อาจมีความเป็ นไปได้ที่จะเกิดความเสี ยหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและพนักงานผูใ้ ห้บริ การในพื้นที่ บริ ษทั ฯ พิจารณาผลกระทบทางตรงและทางอ้อมจากความเสี่ ยงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและเตรี ยมความพร้อมในการป้ องกันอย่างรัดกุม เช่น การประยุกต์ใช้นวัตกรรมการแจ้งเตือนภัย พิบตั ิ ด้วยระบบ iSAAC สาหรับแจ้งเตือนอุทกภัย การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และการซ่อมบารุ งพัฒนา ประสิ ทธิ ภาพโครงข่ายอย่างสม่าเสมอ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

4. ทรัพย์สิสนิ ทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ สิ นทรัพย์ของบริษัท และ บริษัทย่อย ทีส่ าคัญ ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ กลุ่มบริ ษทั ได้จดั ประเภทของสิ นทรัพย์ที่ใช้ในการประกอบธุ รกิจ เป็ น 2 ประเภท คือ อุปกรณ์โครงข่าย และอุปกรณ์นอกระบบโครงข่าย ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดาเนิ นการสิ นทรัพย์ที่เกี่ยวกับอุปกรณ์โครงข่าย โทรศัพท์พ้ืนฐานใช้นอกสถานที่ PCT โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบเซลลูล่าร์ และโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิก เป็ นสิ นทรัพย์ที่กลุ่มบริ ษทั จะต้องโอนให้กบั บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน) (“ทศท.”) บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (“กสท.”) และ บริ ษทั อสมท จากัด (มหาชน) (“อสมท.”) สิ นทรัพย์ท้ งั สองประเภทมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ หน่วย : ล้านบาท

ที่ดินและส่วนปรับปรุ ง อาคารและสิ่ งปลูกสร้าง อุปกรณ์ระบบโทรศัพท์พ้นื ฐาน อุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์สาธารณะ อุปกรณ์ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณ์ระบบไฟฟ้ าและเครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์โทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิก งานระหว่างทา มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

อุปกรณ์โครงข่ายสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะกิจการ (ปรับปรุ งใหม่) เฉพาะกิจการ 533 793 1,227 18 694 20 1,494 1,494 1,743 1,743 64,934 9 42,098 11 10 10 7 7 27,265 20,886 62 45 92 59 5,465 5,368 37,651 2 21,526 15 138,641 1,578 93,207 1,855

มูลค่าตามบัญชีสุทธิ ของอุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ได้รวม สิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาให้เช่าเครื่ องและอุปกรณ์วทิ ยุคมนาคมเพื่อให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ HSPA ของ บริ ษทั ย่อยกับ กสท. จานวนสุ ทธิ 21,250 ล้านบาท โดยประกอบด้วย อุปกรณ์สื่อสัญญาณและอุปกรณ์อิเลคทรอนิค ซึ่งเป็ นสิ นทรัพย์ที่ กสท. มีสิทธิ ซ้ื อในราคาต้นทุนบวกดอกเบี้ยตามอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ได้นามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง ปี พ.ศ. 2557) เรื่ องสัญญาเช่ามาปฏิบตั ิกบั สิ นทรัพย์ดงั กล่าว โดยบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ให้เช่าภายใต้สัญญาเช่าการดาเนิ นงาน เนื่ องจากกลุ่มบริ ษทั มีความเห็นว่า ความเสี่ ยง และผลตอบแทนยังคงตกอยูก่ บั กลุ่มบริ ษทั อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริ หารของกลุ่มบริ ษทั เห็นว่าการซื้ อสิ นทรัพย์ดงั กล่าว จะยังคงไม่เกิดขึ้นในระยะเวลาอันใกล้น้ ี ส่วนที่ 1

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

มูลค่าของอุปกรณ์โครงข่ายในงบการเงินรวม ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดาเนินงานโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบเซลลูล่าร์ได้ตดั จาหน่ายเต็มมูลค่าแล้ว หน่วย : ล้านบาท

ที่ดินและส่วนปรับปรุ ง อาคารและสิ่ งปลูกสร้าง เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์สานักงาน ยานพาหนะ อุปกรณ์ระบบไฟฟ้ าและเครื่ องคอมพิวเตอร์ งานระหว่างทา มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

อุปกรณ์นอกระบบโครงข่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะกิจการ เฉพาะกิจการ 149 149 739 30 792 20 1,317 49 1,254 55 20 1 24 1 1,632 33 1,736 41 1,190 18 505 45 5,047 131 4,460 162

สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน หน่วย : ล้านบาท

ต้นทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครื่ องหมายการค้า ค่าสิ ทธิและใบอนุญาต สิ ทธิในการใช้ช่องสัญญาณดาวเทียม ค่าสิ ทธิสาหรับรายการและภาพยนตร์รอตัดบัญชี สิ ทธิตามสัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ สัญญาการให้บริ การ งานระหว่างทา มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะกิจการ (ปรับปรุ งใหม่) เฉพาะกิจการ 4,020 70 3,552 79 125,175 52,702 1,814 2,332 764 1,063 2,052 1,155 3,567 2,541 6,366 7,106 111 240 140,302 1,225 70,562 2,620

ต้ นทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้นทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นรายจ่ายเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เกินกว่าประสิ ทธิ ภาพเดิมถือเป็ นส่ วนปรับปรุ ง และบันทึกรวมเป็ นราคาทุนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 4,020 ล้านบาท

ส่วนที่ 1

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เครื่องหมายการค้ า ค่ าสิ ทธิและใบอนุญาต ที่สาคัญประกอบด้วย ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz ค่าใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz ซึ่งออกโดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสี ยง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (“ กสทช.”) ให้แก่บริ ษทั ย่อย เพื่ออนุญาตให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz สาหรับระยะเวลา 15 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 9,564 ล้านบาท ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 1800 MHz ใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ยา่ น 1800 MHz ที่ออกโดย กสทช. ให้แก่บริ ษทั ย่อย เพื่ออนุ ญาตให้บริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่โดยใช้คลื่นความถี่ 1800 MHz สาหรับระยะเวลา 18 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าว มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 36,957 ล้านบาท ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 900 MHz ใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ยา่ น 900 MHz ที่ออกโดย กสทช. ให้แก่บริ ษทั ย่อย เพื่ออนุญาตให้บริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่โดยใช้คลื่นความถี่ 900 MHz สาหรับระยะเวลา 15 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าว มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 71,204 ล้านบาท ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อบริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ เพื่อบริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ซึ่งออกโดย กสทช. ให้แก่ บริ ษทั ย่อย เพื่ออนุ ญาตให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล สาหรับระยะเวลา 15 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 2,804 ล้านบาท สิ ทธิอื่น ๆ สิ ทธิ อื่น ๆ เป็ นค่าตอบแทนที่บริ ษทั ย่อยได้จ่าย เพื่อได้รับสิ ทธิ ในการใช้ประโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 4,647 ล้านบาท สิ ทธิการใช้ ช่องสั ญญาณดาวเทียม สิ ทธิ การใช้ช่องสัญญาณดาวเทียมภายใต้สัญญาเช่าระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าว มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 1,814 ล้านบาท ค่ าสิ ทธิสาหรับรายการและภาพยนตร์ รอตัดบัญชี ค่าสิ ทธิ สาหรับรายการและภาพยนตร์ เป็ นค่าตอบแทนและภาระผูกพันที่เกิดขึ้นภายใต้สัญญาของ บริ ษทั ย่อยเพื่อการได้รับสิ ทธิ รายการและวัสดุรายการพร้อมที่จะแพร่ ภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าว มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 764 ล้านบาท สิ ทธิตามสั ญญาอนุญาตให้ ดาเนินการ ที่สาคัญประกอบด้วย ค่าสิ ทธิ ในการให้บริ การเช่าวงจรสื่ อสัญญาณความเร็ วสู ง และค่าสิ ทธิ ในการพาดสายกระจาย ค่าสิ ทธิ ในการให้บริ การเช่าวงจรสื่ อสัญญาณความเร็ วสู ง และค่าสิ ทธิ ในการพาดสายกระจาย เป็ น รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่ งใบอนุ ญาตซึ่ งแสดงด้วยราคามูลค่ายุติธรรมของหุ ้นที่ ออกโดยบริ ษทั ย่อยเพื่อเป็ น การแลกกับสิ ทธิ ดงั กล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 62 ล้านบาท ส่วนที่ 1

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

สิ ทธิตามสัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ สิ ทธิตามสัญญาอนุญาตให้บริ การโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิก แสดงด้วยมูลค่ากระแสเงินสด คิดลดจากจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายให้กบั อสมท. ตลอดอายุของสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าว มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 16 ล้านบาท สิ ทธิ ตามสัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนขยายบริ การโทรศัพท์ สิ ทธิ ตามสัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนขยายบริ การโทรศัพท์แสดงด้วยมูลค่าตัดจาหน่ายด้วยวิธีเส้นตรง ตลอดอายุของสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 1,155 ล้านบาท สั ญญาให้ บริการ สัญญาให้บริ การเป็ นมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึ่ งได้มาจากการซื้ อกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 6,365 ล้านบาท นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม บริ ษทั ฯ มีนโยบายการลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมในลักษณะที่เป็ นผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่โดยตรง หรื อผ่านบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ฯ ถือหุ น้ ในสัดส่ วนมากกว่าร้อยละ 90 และ/หรื อ มีอานาจควบคุมในบริ ษทั ที่ลงทุน เว้นแต่สภาพเงื่อนไขของธุ รกิจ การแข่งขัน ไม่เอื้ออานวย หรื อ การดาเนิ นธุ รกิจต้องได้รับการสนับสนุ นร่ วมมือ จากผูร้ ่ วมทาธุ รกิจอื่น บริ ษทั ฯ จึงจะลงทุนในลักษณะร่ วมลงทุนในสัดส่ วนที่บริ ษทั นั้นจะมีสถานะเป็ นบริ ษทั ร่ วม ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั มีกลไกในการกากับดูแลที่ทาให้สามารถควบคุมดูแลการจัดการและรับผิดชอบ การดาเนินงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริ ษทั ฯ ตามที่ได้ เปิ ดเผยข้อมูลไว้ในเรื่ อง “การกากับดูแลกิจการ” ภายใต้หวั ข้อ “การกากับดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม”.

ส่วนที่ 1

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย สรุ ปคดีและข้อพิพาทที่สาคัญของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ดังนี้ คดีฟ้องร้ องทีค่ ้ างอยู่ที่ศาลปกครอง (ในส่ วนทีไ่ ม่ เกี่ยวกับค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) และภาษีสรรพสามิต) 1.

ข้ อพิพาทเกีย่ วกับการติดรู ปสั ญลักษณ์ ของบริษัทฯ บนตู้โทรศัพท์ สาธารณะ เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2547 ทีโอที ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการจากการที่บริ ษทั ฯ ติดรู ปสัญลักษณ์ของบริ ษทั ฯ บนตูโ้ ทรศัพท์สาธารณะอันเป็ นการไม่ปฏิบตั ิตามข้อตกลงร่ วมกันระหว่าง บริ ษทั ฯ กับทีโอที เรื่ องโทรศัพท์สาธารณะ ทีโอทีเรี ยกค่าเสี ยหายเป็ นจานวนเงิน 433.85 ล้านบาท เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 อนุ ญาโตตุลาการได้ตดั สิ นชี้ ขาดให้ทีโอทีชนะคดีดงั กล่าว บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ขอเพิกถอนคาชี้ขาด ของอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางและทีโอทีได้ยื่นคาร้องเพื่อให้ศาลบังคับให้เป็ นไปตามคาชี้ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการ และให้บริ ษทั ฯ ชดใช้เป็ นจานวนเงิน 150.00 ล้านบาท และจ่ายค่าเสี ยหายเป็ น จานวนเงิน 90 บาทต่อเดือนต่อตูโ้ ทรศัพท์หนึ่งตู ้ ตั้งแต่วนั ที่ฟ้องร้องจนกว่าบริ ษทั ฯ จะหยุดใช้ตราสัญลักษณ์ บนตูโ้ ทรศัพท์สาธารณะ ศาลปกครองกลางได้มีคาสัง่ ให้รวมคดีกบั สานวนคดีที่ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลปกครองกลางพิจารณาให้ยกคาร้องของบริ ษทั ฯ และให้บงั คับตามคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ โดยให้บริ ษทั ฯ ชาระเงินจานวน 150 ล้านบาท ภายใน 60 วันนับแต่วนั ที่คดีถึงที่สุด และให้คืนค่าธรรมเนียมศาล ทั้งหมดจานวน 80,000 บาท ให้แก่ทีโอที บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการยืน่ อุทธรณ์ต่อศาลปกครองสู งสุ ดแล้ว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด 2.

ข้ อพิพาทเกีย่ วกับค่ าใช้ และเชื่ อมต่ อโครงข่ ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) (1) เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2551 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอเพิกถอนคาชี้ขาดของคณะกรรมการ กทช. ในคดีขอ้ พิพาทของ กวพ. ที่ 1/2551 ที่ดีแทคได้เรี ยกร้อง ให้บริ ษทั ฯ ทาสัญญาเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับดีแทค และให้กาหนดอัตราค่าเชื่อมต่อโครงข่าย และ ขอให้คณะกรรมการ กทช. ดาเนินกระบวนพิจารณาข้อพิพาทที่ 1/2551 ใหม่ โดยให้เรี ยกทีโอทีเข้ามาเป็ นคู่กรณี และขอทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครองของคณะกรรมการ กทช. ทั้งนี้ ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษา ยกคาฟ้ อง บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษา ต่อศาลปกครองสู งสุ ด (2) เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. และเลขาธิการ กทช. ต่อ ศาลปกครองกลาง ขอเพิกถอนมติของคณะกรรมการ กทช. ตามหนังสื อลงวันที่ 9 เมษายน 2553 เรื่ อง การกาหนด อัตราค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่ายเป็ นการชัว่ คราว ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกฟ้ อง และบริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการอุทธรณ์คาพิพากษา ต่อศาลปกครองสู งสุ ด

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(3) เมื่อวันที่ 3 สิ งหาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลาง ขอเพิกถอนคาสั่งคณะกรรมการ กทช. ตามหนังสื อ ฉบับลงวันที่ 29 มิถุนายน 2553 ที่คณะกรรมการ กทช. มีคาสั่งจาหน่ายข้อพิพาทที่ 1/2552 ออกจากกระบวนการระงับข้อพิพาทที่ กวพ. และสั่งให้บริ ษทั ฯ และดีแทค ใช้อตั ราค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเดียวกับคาสั่งที่ 11/2553 ตามหนังสื อฉบับลงวันที่ 9 เมษายน 2553 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกฟ้ อง และบริ ษทั ฯ ได้ดาเนินการอุทธรณ์คาพิพากษา ต่อศาลปกครองสู งสุ ด (4) เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 ดีแทคได้ยนื่ คาฟ้ องต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้บริ ษทั ฯ และ ทีโอทีร่วมกันชาระค่าใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ตามข้อเสนอการเชื่อมต่อโครงข่ายของดีแทค คือ 1.00 บาท/นาที สาหรับ Call Termination และอัตรา 0.50 บาท/นาที สาหรับ Call Transit ตั้งแต่วนั ที่ 17 พฤศจิกายน 2549 โดยเรี ยกให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่ายฯ ให้แก่ดีแทค เป็ นเงินจานวน 3,283.05ล้านบาท และให้บริ ษทั ฯ ร่ วมรับผิดชาระค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่ายกับทีโอทีอีกเป็ นจานวน 654.81 ล้านบาท รวมเป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 3,937.86 ล้านบาท คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (5) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ อง การใช้และการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2556 ซึ่ งกาหนด นิยามในข้อ 5 "ผูร้ ับใบอนุ ญาตที่มีโครงข่ายโทรคมนาคม" อันอาจหมายรวมถึง บริ ษทั ฯ ที่เป็ นผูร้ ับสัมปทานด้วย และกาหนดหน้าที่ให้ผรู ้ ับใบอนุญาตที่มีโครงข่าย ตามข้อ 72 ประกอบกับ ข้อ 13 ของประกาศดังกล่าว ให้ยนื่ RIO (ข้อเสนอการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม.) ฉบับใหม่ พร้อมยืน่ เอกสารแสดงหลักการและ วิธีการคานวณอัตราค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ซึ่ งหากไม่จดั ส่ งข้อมูลดังกล่าว บริ ษทั ฯ อาจถูกบังคับให้ใช้อตั ราค่าเชื่อมต่อโทรคมนาคมอ้างอิงที่ กสทช. อาจกาหนดให้ผปู ้ ระกอบการใช้ ตามหนังสื อแจ้ง ของสานักงาน กสทช. โดยกาหนดให้ บริ ษทั ฯ ต้องยืน่ RIO ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2557 ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองกลาง 3. ข้ อพิพาทเกีย่ วกับมติและคาสั่ งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติหน้ าทีค่ ณะกรรมการ กสทช. ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเข้ าซื้อหุ้นของกลุ่มฮัทชิ สันและการทาความตกลงกับ CAT Telecom เกีย่ วกับการ ให้ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ระบบ CDMA และระบบ HSPA เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิการ กสทช. เพื่อขอเพิกถอนมติและคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ตามหนังสื อ ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2554 กรณี ได้มีหนังสื อถึงบริ ษทั ฯ แจ้งมติและคาสัง่ ให้แก้ไขในส่ วนที่เกี่ยวกับการทา ความตกลงเพื่อควบรวมกิจการโดยการเข้าซื้ อหุ ้นของกลุ่มฮัทชิสันให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการควบรวมกิจการและการถือหุ ้นไขว้ในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และ ในส่ วนที่ เกี่ยวกับการทาความตกลงกับ CAT Telecom เกี่ยวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ CDMA และ ระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง มาตรการเพื่อป้ องกันมิให้มีการกระทาอันเป็ น การผูกขาดหรื อก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และพระราชบัญญัติ องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ซึ่ งบริ ษทั ฯ เห็นว่ามติและคาสั่งดังกล่าวไม่มีความชัดเจนและไม่น่าจะชอบด้วยกฎหมาย ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2559 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาให้เพิกถอนคาสั่งของ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ คณะกรรมการ กสทช. ตามมติที่ประชุมครั้งที่ 30/2554 เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2554 โดยให้มีผลย้อนหลัง ไปถึงวันที่มีคาสั่งดังกล่าว เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 กสทช. และเลขาธิการ กสทช. รวมทั้งบริ ษทั ฯ ได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษา ของศาลปกครองกลางต่อศาลปกครองสู งสุ ด ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด 4.

ข้ อพิพาทกรณีบริษัทฯ พิมพ์ รูปสั ญลักษณ์ ของบริษัทฯ บนใบแจ้ งหนี้ ใบกากับภาษี และใบเสร็จรั บเงิน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาร้องคัดค้านคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อ ศาลปกครอง ข้อพิพาทนี้สืบเนื่องมาจาก ทีโอทีได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทเรี ยกค่าเสี ยหายจากการที่บริ ษทั ฯ พิมพ์รูปสัญลักษณ์บนใบแจ้งหนี้และใบเสร็ จรับเงินฉบับละ 4.00 บาท นับตั้งแต่เดือนสิ งหาคม 2544 จนถึง เดือนสิ งหาคม 2547 เป็ นจานวนเงิน 785.64 ล้านบาท และตั้งแต่เดือนกันยายน 2547 จนถึงเดือนธันวาคม 2547 รวมถึงตั้งแต่ พฤษภาคม 2548 จนถึงเดือนมีนาคม 2549 เป็ นเงินจานวน 272.80 ล้านบาท นอกจากนี้ยงั ได้ เรี ยกร้องค่าเสี ยหายทางไปรษณี ย ์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2547 จนถึงเดือนเมษายน 2548 เป็ นเงินจานวน 8.12 ล้านบาท ค่าพัสดุที่จดั หามาแล้วไม่ได้ใช้ เป็ นเงินจานวน 2.35 ล้านบาท ค่าเสี ยหายด้านการตลาดและภาพลักษณ์ เป็ นเงินจานวน 780.02 ล้านบาท รวมเป็ นทุนทรัพย์ท้ งั สิ้ น 1,848.95 ล้านบาท เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 คณะอนุญาโตตุลาการได้มีคาชี้ขาดให้ บริ ษทั ชาระค่าเสี ยหาย ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2545 ถึงเดือนมีนาคม 2549 เป็ นเงิน 96.59 ล้านบาท และให้ชาระค่าเสี ยหายเป็ นค่าพัสดุจดั หาแล้วไม่ได้ใช้งาน 2.35 ล้านบาท ให้แก่ ทีโอที รวมเป็ นเงินจานวน 98.59 ล้านบาท ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่รับทราบคาชี้ขาด ต่อมาบริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาฟ้ อง ขอเพิกถอนคาชี้ขาดคณะอนุ ญาโตตุลาการ ต่อศาลปกครองกลาง โดยเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2558 ทีโอที ได้ยนื่ คาร้องขอให้บงั คับตามคาชี้ ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ต่อศาลปกครองกลาง คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณา ของศาลปกครองกลาง 5.

ข้ อพิพาทกรณีเกีย่ วกับการก่ อสร้ างและการใช้ เสาส่ งสั ญญาณโทรศัพท์ เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 บริ ษทั ฯ ได้ถูกบุคคลธรรมดา 2 ราย ยืน่ ฟ้ องเป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 3 ร่ วมกับ นายกเทศมนตรี ตาบลบ้านเป็ ด และ คณะกรรมการ กสทช. เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 1 และ 2 ตามลาดับ ต่อ ศาลปกครองขอนแก่น โดยผูฟ้ ้ องคดีได้อา้ งว่าได้รับความเดือดร้อนจากการก่อสร้างเสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ ของบริ ษทั ฯ พร้อมกับขอให้ศาลกาหนดมาตรการหรื อวิธีการคุม้ ครองเพื่อบรรเทาทุกข์ชวั่ คราวก่อนพิพากษา ให้ระงับการก่อสร้างและการใช้เสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ที่พิพาทโดยทันที ศาลปกครองขอนแก่นได้มีคาสัง่ เรี ยกให้ บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด (ปั จจุบนั คือ บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด) เข้า มาเป็ นคู่กรณี และกาหนดให้เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 4 ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2558 ศาลปกครองขอนแก่นได้มี คาสัง่ ยกคาร้องขอให้ศาลมีคาสัง่ กาหนดมาตรการหรื อวิธีการคุม้ ครองเพื่อบรรเทาทุกข์ชวั่ คราวก่อนการพิพากษา เนื่องจาก ได้มีการก่อสร้างอาคารพิพาทเรี ยบร้อยเเล้ว และ กสทช.ยังไม่ได้อนุญาตให้ผปู ้ ระกอบการรายใด ตั้งสถานีวทิ ยุคมนาคม และแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเพื่อให้บริ การสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ ขณะนี้ อยูร่ ะหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองขอนแก่น

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

6.

ข้ อพิพาทเกีย่ วกับสั ญญาข้ อ 38 ของสั ญญาร่ วมการงานฯ เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการเกี่ยวกับ เรื่ องขอให้ทีโอทีระงับการใช้อานาจกากับดูแลสัญญาร่ วมการงานฯ และระงับการใช้อานาจตามสัญญา นับตั้งแต่วนั ที่สถานภาพองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.) เปลี่ยนแปลงไป และให้อานาจกากับ ดูแลเป็ นของกระทรวงคมนาคม หรื อกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์ ต่อมาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรื่ องการปฏิเสธ อานาจกากับดูแลของ ทีโอที ตามข้อ 38 ของสัญญาร่ วมการงานฯ เป็ นคดีใหม่อีกคดีหนึ่ง ซึ่ งทั้ง 2 ข้อพิพาทนี้ คณะอนุญาโตตุลาการได้มีคาชี้ขาดแล้วเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2557 ว่าการใช้อานาจของ ทีโอที เป็ นการใช้ อานาจตามสัญญาพิพาททั้งสิ้ น ซึ่ งต่อมาเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 บริ ษทั ฯได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาด ของคณะอนุ ญาโตตุลาการของทั้ง 2 ข้อพิพาทนี้ ต่อศาลปกครองกลาง ต่อมาเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2559 ทีโอที ได้ยนื่ คาร้องขอให้ศาลบังคับตามคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง ซึ่ งศาลได้มี คาสั่งรวมคดีกบั คดีที่ บริ ษทั ฯได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เข้าด้วยกัน ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 7.

ข้ อพิพาทเกีย่ วกับส่ วนแบ่ งรายได้ ตามสั ญญาร่ วมการงานฯ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 ทีโอทีได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการเรี ยกคืนส่ วนแบ่งรายได้ที่ บริ ษทั ฯ ได้รับเกินกว่าสิ ทธิ ที่พึงจะได้รับจานวน 1,479.62 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาคัดค้าน เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ต่อมาเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2557 อนุ ญาโตตุลาการโดยเสี ยงข้างมากได้ช้ ีขาดให้ บริ ษทั ฯ ชาระเงินจานวน 1,217,505,724.17 บาท พร้อมด้วยอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี นับตั้งแต่วนั ที่ 22 มกราคม 2551 จนกว่าจะชาระเสร็ จสิ้ น ให้แก่ทีโอที ทั้งนี้เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาร้อง ขอเพิกถอนคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง และ ทีโอทีได้ยนื่ คาร้องเพื่อให้ศาลบังคับ ตามคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2559 ขณะนี้คดียงั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองกลาง 8. ข้ อพิพาทเกีย่ วกับมติและคาสั่ งของคณะกรรมการ กสทช. ทีก่ าหนดผู้มีอานาจเหนือตลาดอย่ างมี นัยสาคัญในตลาดที่เกีย่ วข้ องและมาตรการเฉพาะในการกากับดูแล เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2559 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิการ กสทช.ต่อ ศาลปกครองกลาง เพื่อขอเพิกถอนมติของคณะกรรมการ กสทช. ครั้งที่ 9/2558 ลงวันที่ 16 กันยายน 2558 และคาสั่งที่ 76.01/2558 ลงวันที่ 22 กันยายน 2258 ที่มีคาสั่งให้บริ ษทั ฯ เป็ นผูม้ ีอานาจเหนื อตลาดอย่างมีนยั สาคัญ ในตลาดบริ การเชื่ อมต่อโครงข่ายโครงข่ายโทรศัพท์ประจาที่ ซึ่ งบริ ษทั ฯ เห็นว่ามติและคาสั่งดังกล่าว ไม่น่าจะชอบด้วยกฎหมาย และขัดกับประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณา กาหนดผูม้ ีอานาจเหนื อตลาดในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2557 ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2558 ศาลปกครองกลาง ได้มีคาสั่งไม่รับฟ้ องในส่ วนของเลขาธิ การ กสทช. ขณะนี้คดียงั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ข้ อพิพาทที่ยงั คงค้ างอยู่ ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ 1.

ข้ อพิพาททีบ่ ริษัทฯ เป็ นผู้เสนอ (1) ข้อพิพาทเกี่ยวกับส่ วนแบ่งรายได้ในส่ วนค่าโทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2548 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับ เรื่ องการคานวณส่ วนแบ่งรายได้ที่เกิดจากค่าโทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ บริ ษทั ฯ ได้เรี ยกร้องค่าเสี ยหายสาหรับการที่ทีโอทีไม่สามารถคานวณแยกค่าส่ วนแบ่งรายได้ที่ทีโอทีได้รับ จากการใช้โทรศัพท์ต่างประเทศในส่ วนโครงข่ายของบริ ษทั ฯ ออกจากส่ วนของโครงข่ายทีโอทีเป็ นจานวนเงิน 5,000.00 ล้านบาท และค่าเสี ยหายจากการคานวณจานวนเงินผิดพลาดอีก 3,407.68 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย ต่อมา เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2559 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาร้องขอเพิ่มค่าเสี ยหายจากการคานวณเงินผิดพลาดอีก 402.56 ล้านบาท รวมเป็ นทุนทรัพย์ 8,810.25 ล้านบาท ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ข้อพิพาทเกี่ยวกับส่ วนแบ่งรายได้ค่าโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการเรี ยกร้อง ให้ทีโอที ชาระเงินที่เป็ นส่ วนแบ่งรายได้อนั เกิดจากค่าโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศเป็ นจานวนเงิน 1,968.70 ล้านบาท ซึ่งทีโอทีนาส่ งส่ วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวขาดไป ไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขของอัตราส่ วนแบ่งรายได้ ที่ระบุไว้ในสัญญา โดยบริ ษทั ฯ ได้ร้องขอให้อนุ ญาโตตุลาการพิจารณาวินิจฉัยสั่งการในเรื่ องต่อไปนี้ 1. ให้ทีโอทีปฏิบตั ิตามสัญญาร่ วมการงานฯ และข้อตกลงเรื่ องการจัดเก็บและแบ่งรายได้ โดยให้ชาระส่ วนแบ่งรายได้ค่าบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศให้ถูกต้องครบถ้วนตามเงื่อนไขของ สัญญาข้อตกลงดังกล่าว 2. ให้ทีโอทีชาระค่าเสี ยหายให้แก่บริ ษทั ฯ เป็ นจานวนเงิน 1,968.70 ล้านบาท 3. ให้ทีโอทีคานวณส่ วนแบ่งรายได้ค่าบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ โดยทั้งจากการ เรี ยกเข้าและเรี ยกออกโดยใช้อตั รา 6 บาทต่อนาที ตามที่ระบุในสัญญามาเป็ นฐานในการคานวณส่ วนแบ่งรายได้ นับแต่เดือนกันยายน 2550 เป็ นต้นไป 4. ให้ทีโอทีชาระดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้องตามสัญญาข้อ 21 (อัตราเฉลี่ย MLR+1) หรื อในอัตรา ร้อยละ 7.86 ต่อปี จากส่ วนแบ่งรายได้ที่ทีโอทีคา้ งชาระนับแต่วนั ที่ยื่นคาเสนอข้อพิพาทจนกว่าจะชาระครบถ้วน (2)

เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 ทีโอทีได้ยื่นคาคัดค้าน ขณะนี้กรณี พิพาทอยูร่ ะหว่างกระบวนการ ทางอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 ทีโอที ได้มีหนังสื อแจ้งขอชาระเงินค่าส่ วนแบ่งรายได้ ค่าโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศในช่วงระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2547 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2547 ให้แก่ บริ ษทั ฯ รวมทั้งสิ้ นเป็ นเงิน 133,115,094.34 บาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ซึ่ ง บริ ษทั ฯ ได้มีหนังสื อฉบับลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2556 ตอบรับชาระเงินดังกล่าว โดย บริ ษทั ฯ ไม่ติดใจเรี ยกร้องค่าส่ วนแบ่งรายได้ค่าโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ในช่วงระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2547 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2547 อย่างไรก็ตามในหนังสื อดังกล่าวยังระบุดว้ ยว่า การที่บริ ษทั ฯ รับชาระหนี้ดงั กล่าวไม่ถือว่าเป็ นการสละประเด็นข้อต่อสู ้หรื อเป็ นการระงับข้อพิพาทแต่อย่างใด ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2.

ข้ อพิพาทที่ทโี อทีเป็ นผู้เสนอ (1) ข้อพิพาทเกี่ยวกับค่าใช้ท่อร้อยสาย เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2548 ทีโอทีได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการเรี ยกร้อง ให้บริ ษทั ฯ ชาระเงินค่าเช่าท่อร้อยสายบริ เวณเมืองทองธานี ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2547 ถึง เดือนเมษายน 2548 เป็ นจานวนเงิน 6.72 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาคัดค้าน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 ขณะนี้ อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 ทีโอที ได้เสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ฯ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าเช่าใช้ท่อร้อยสายบริ เวณเมืองทองธานีให้แก่ ทีโอที (สาหรับค่าเช่าในช่วงเวลา ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2548 ถึงเดือนธันวาคม 2556 ) จานวน 59,171,284.64 บาท (ห้าสิ บเก้าล้านหนึ่งแสนเจ็ดหมื่น หนึ่งพันสองร้อยแปดสิ บสี่ บาทหกสิ บสี่ สตางค์) พร้อมด้วยดอกเบี้ย ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้รับ สาเนาคาเสนอข้อพิพาทดังกล่าวจากสถาบันอนุญาโตตุลาการ และได้ยนื่ คาคัดค้านเมื่อ 12 กันยายน 2557 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ ข้อพิพาทเกี่ยวกับเรื่ องค่าโทรศัพท์ทางไกลในประเทศ TA 1234 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 ทีโอทีได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจากการ สู ญเสี ยรายได้ต้ งั แต่วนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2543 ถึงเดือนมีนาคม 2548 เป็ นจานวนเงิน 15,804.18 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย อันเนื่ องมาจากบริ ษทั ฯ ลดค่าบริ การทางไกลในประเทศภายใต้โครงการ TA 1234 และ ร้องขอให้บริ ษทั ฯ เรี ยกเก็บค่าบริ การทางไกลในประเทศตามอัตราที่ตกลงกันภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการได้แจ้งคาร้องขอแก้ไขเพิม่ เติมจานวนทุนทรัพย์ โดยคิด ค่าเสี ยหายเพิ่มเติมจากเดือนเมษายน 2548 จนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2548 เป็ นจานวน 1,060,911,627.84 บาท รวมเป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 16,865.09 ล้านบาท เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2559 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาชี้ขาด ให้บริ ษทั ฯ ชาระเงินจานวน 1,703,096,371 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตรา MLR+1 (ร้อยละ 6.6875 ต่อปี ) นับตั้งแต่ วันที่ 29 พฤษภาคม 2548 จนกว่าจะชาระเสร็ จ และให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าเสี ยหายจากการที่ทีโอที ขาดรายได้ จากการให้บริ การโทรศัพท์ในโครงข่ายของ บริ ษทั ฯ เดือนละ 27,168,904.98 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราเดียวกัน นับถัดจากวันเสนอข้อพิพาท (วันที่ 30 มิถุนายน 2548) จนกว่าจะยุติการให้บริ การโทรศัพท์ทางไกล TA1234 (2)

ข้อพิพาทเกี่ยวกับการให้บริ การ ADSL เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2548 ทีโอที ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทระบุวา่ บริ ษทั ฯ ละเมิดข้อตกลงใน สัญญาร่ วมการงานฯ โดยให้บริ การหรื อยินยอมให้ผอู ้ ื่นนาอุปกรณ์ในระบบไปให้บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง (ADSL) ทีโอที เรี ยกร้องค่าเสี ยหายเป็ นจานวนเงิน 2,010.21 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ย นอกจากนี้ ทีโอทียงั เรี ยกร้อง ให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าเสี ยหายต่อเนื่ องจากเดือนกรกฎาคม 2548 อีกเดือนละ 180.00 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย และขอให้บริ ษทั ฯ ระงับการให้บริ การหรื ออนุญาตให้ผอู้ ื่นให้บริ การ ADSL ต่อมาเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 ทีโอทีได้ยนื่ คาร้องขอแก้ไขคาเสนอข้อพิพาท โดยแก้ไขค่าเสี ยหายจากการขาดรายได้จากให้บริ การ อินเตอร์เน็ตความเร็ วสู ง ADSL ตั้งแต่เดือนกันยายน 2544 ถึงเดือนสิ งหาคม 2558 เป็ นจานวน 63,457,916,473 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตรา MLR+1 เป็ นจานวนเงิน 22,748,372,095.10 บาท รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น 86,206,288,568.10 บาท โดยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2559 บริ ษทั ได้ ยืน่ คาร้องขอคัดค้านการแก้ไขทุนทรัพย์ของทีโอที ขณะนี้อยูร่ ะหว่าง กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (3)

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ข้อพิพาทเกี่ยวกับค่าตอบแทนการใช้ Gateway สาหรับบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม 2554 ทีโอทีได้เสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ฯ ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ฯ ชาระเงินจานวน 91.88 ล้านบาท รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นเป็ นค่าตอบแทน การใช้ Gateway สาหรับบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศโดยใช้รหัส 007 สาหรับงวดระหว่าง เดือนกรกฎาคม 2547 ถึงเดือน พฤษภาคม 2554 และเรี ยกร้องดอกเบี้ยเพิ่มเติมจนกว่าการชาระจะเสร็ จสิ้ น นอกจากนี้ ยังเรี ยกร้องให้ชาระเงินตามใบแจ้งหนี้ประจาเดือนมิถุนายน 2554 บวกดอกเบี้ยและภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่เกิดขึ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 บริ ษทั ฯ ได้ต้ งั ค้างจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าวไว้เป็ นจานวน 72.62 ล้านบาท ต่อมา เมื่อวันที่ 17 สิ งหาคม 2559 คณะอนุ ญาโตตุลาการมีคาชี้ขาดให้ บริ ษทั ฯ ชาระเงินคืนแก่ ทีโอทีเป็ น เงินจานวน 67,411,662.10 บาท และภาษีมูลค่าเพิ่ม 4,718,816.33 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ MLR+1 ตั้งแต่วนั ที่ 8 ธันวาคม 2548 เป็ นต้นไปจนกว่าจะชาระเสร็ จ รวมทั้งชาระค่าใช้ Gateway ประจางวดเดือน มิถุนายน 2554 เป็ นต้นไปตามใบแจ้งหนี้จนกว่าจะครบถ้วน (4)

ต่อมา เมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2559 ทีโอที ได้เสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ฯ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ฯ ชาระเงินจานวน 14,802,927.09 ล้านบาท รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นเป็ น ค่าตอบแทนการใช้ Gateway สาหรับบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศโดยใช้รหัส 007 สาหรับงวด ระหว่าง เดือนกรกฎาคม 2554 ถึงเดือนพฤษภาคม 2559 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯมิได้อุทธรณ์คาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางและต่อสู้ ในข้อพิพาทที่อนุญาโตตุลาการอีกข้อพิพาทหนึ่ง เนื่องจากบริ ษทั ฯได้ใช้ Gateway บริ การโทรศัพท์ทางไกล ระหว่างประเทศโดยใช้รหัส 007 จริ ง แต่ที่ผา่ นมา ทีโอทีไม่ยอมให้ขอ้ มูลอัตราค่าใช้ Gateway ที่ทีโอทีทาสัญญา กับผูใ้ ห้บริ การต่างประเทศอื่นๆ บริ ษทั ฯ จึงไม่ทราบอัตราค่าใช้ Gateway ที่จะต้องชาระ ทาให้บริ ษทั ฯยังไม่ได้ ชาระเงินดังกล่าวให้แก่ทีโอที แต่เนื่ องจากคณะอนุ ญาโตตุลาการชี้ขาดว่า ทีโอที มีสิทธิ เรี ยกร้องค่า Gateway บริ ษทั ฯ เห็นควรชาระเงินตามคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการและตามคาเสนอข้อพิพาทที่ทีโอทีเรี ยกร้องมาอีก ข้อพิพาทหนึ่ง เพื่อหยุดดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นเป็ นจานวนมากหากต่อสู ้ต่อไป ข้อพิพาทเกี่ยวกับค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคม เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2556 ทีโอทีได้เสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ฯ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมพร้อมภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็ นจานวนเงิน 512,380,498.31 บาท รวมทั้งให้ชาระค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมที่เพิม่ ขึ้นตามประกาศ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์ในการจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคมชัว่ คราว พ.ศ. 2548 ตั้งแต่รอบชาระเดือนสิ งหาคม 2548 ถึงรอบชาระเดือนกรกฎาคม 2551 และ ตามหลักเกณฑ์ในการจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคมชัว่ คราว พ.ศ. 2551 รอบชาระเดือนธันวาคม 2552 พร้อมภาษีมูลค่าเพิม่ และดอกเบี้ย เป็ นจานวน 26,643,220.29 บาท รวมทุนทรัพย์ ทั้งสิ้ น 539,023,718.60 บาท ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ (5)

ข้อพิพาทนี้สืบเนื่ องมาจากคดีที่ทีโอทีฟ้องบริ ษทั ฯ ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าธรรมเนียมเลขหมายคืนทีโอทีที่ได้ชาระให้แก่ กทช. ไปแล้ว ซึ่ งต่อมาศาลปกครองกลางได้มีคาสั่ง ให้จาหน่ายคดี เพื่อให้ไปดาเนินการทางอนุ ญาโตตุลาการ ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ข้ อพิพาทเกีย่ วกับภาษีสรรพสามิต (1) ข้อพิพาทการขอคืนภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2552 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาร้องต่ออธิ บดีกรมสรรพสามิต เพื่อขอคืนภาษี สรรพสามิต สาหรับรอบเดือนภาษีมกราคม 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2550 เป็ นจานวนเงินรวม 348.87 ล้านบาท ที่บริ ษทั ฯ นาส่ งโดยไม่มีหน้าที่ตอ้ งนาส่ ง เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2552 กรมสรรพสามิตได้ปฏิเสธคาร้องขอคืน ภาษีสรรพสามิตดังกล่าว เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ อุทธรณ์คาสั่งปฏิเสธของกรมสรรพสามิต และเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2555 กรมสรรพสามิตได้มีหนังสื อแจ้งยกอุทธรณ์การขอคืนภาษีสรรพสามิตทั้งหมด ของบริ ษทั ฯ ซึ่งบริ ษทั ฯ มีสิทธิ โต้แย้งโดยยืน่ ฟ้ องกรมสรรพสามิตต่อศาลภาษีอากรกลาง เพื่อขอให้พิพากษา ให้คืนเงินค่าภาษี ภายในกาหนดอายุความ 10 ปี นับจากวันที่ได้ชาระเงินค่าภาษีดงั กล่าว (2)

ข้อพิพาทเบี้ยปรับภาษีมูลค่าเพิ่มของเงินชดเชยค่าภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ องรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสั่งเพิกถอนคาสั่งของ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง เรื่ อง ภาษีมูลค่าเพิ่มของเงินชดเชยค่าภาษีสรรพสามิต กรณี ขยายระยะเวลาการยืน่ แบบแสดงรายการและ นาส่ งภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับลงวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ซึ่ งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังพิจารณาไม่อนุมตั ิ ขยายเวลาการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิม่ ออกไปตามความจาเป็ นแห่งกรณี เพื่อให้บริ ษทั ฯ ไม่ตอ้ ง รับผิดชาระเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรื อเศษของเดือนตามมาตรา 89/1 วรรคสองแห่งประมวลรัษฎากร ซึ่ งเมื่อคานวณแล้วเป็ นเงินเท่ากับ 7.31 ล้านบาท และขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสั่งให้ผถู ้ ูกฟ้ องคดี พิจารณาอนุมตั ิขยายระยะเวลาการยืน่ แบบรายการภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรับเดือนภาษีกุมภาพันธ์ 2546 ถึง เดือนภาษีพฤษภาคม 2548 เป็ นวันที่ 15 สิ งหาคม 2548 เพื่อไม่ให้เกิดภาระเงินเพิม่ ดังกล่าว และ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2556 ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งไม่รับคาฟ้ องไว้พิจารณาและให้จาหน่ายคดีออกจาก สารบบความ โดยให้เหตุผลว่าคดีไม่อยูใ่ นอานาจพิจารณาของศาลปกครอง เนื่องจากอยูใ่ นอานาจพิจารณาของ ศาลภาษีอากรกลาง ตามมาตรา 7 (1) แห่งพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. 2528 ต่อมาเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ อุทธรณ์คาสัง่ ไม่รับคาฟ้ องไว้พิจารณาดังกล่าวต่อ ศาลปกครองสู งสุ ด ต่อมาเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2557 ศาลปกครองสู งสุ ดมีคาสั่งให้ ยกคาสั่งของศาลปกครอง ชั้นต้นที่ไม่รับคาฟ้ องของผูฟ้ ้ องคดีไว้พิจารณาและให้จาหน่ายคดีออกจากสารบบความ โดยให้ศาลปกครองชั้นต้น จัดทาความเห็นเกี่ยวกับเขตอานาจศาลส่ งไปยังศาลยุติธรรมตามมาตรา 10 แห่ง พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการ วินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ.2542 ดังนั้น เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2557 ศาลปกครองกลางจึงได้ ส่ งความเห็นที่ 135/2557 ไปยังศาลภาษีอากรกลาง และต่อมาวันที่ 26 ธันวาคม 2557 ศาลภาษีอากรกลางได้ส่ง ความเห็นที่ 1/2557 มายังศาลปกครองกลาง โดยเห็นพ้องกับศาลปกครองกลางว่า คดีน้ ี อยูใ่ นอานาจพิจารณาคดี ของศาลยุติธรรม ดังนั้น ศาลปกครองกลางจึงมีคาสั่งให้โอนคดีน้ ีไปยัง ศาลภาษีอากรกลาง ตามนัยมาตรา 10 วรรคหนึ่ง (2) แห่งพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. 2542 และให้จาหน่าย คดีออกจากสารบบความ ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ต่อมา เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 ศาลภาษีอากรกลางได้มีคาสั่งให้บริ ษทั ฯ จัดทา คาฟ้ องใหม่ตามรู ปแบบของศาลยุติธรรม ภายใน 60 วันนับแต่วนั ทราบคาสั่ง และวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 บริ ษทั ฯ จึงได้จดั ทาคาฟ้ องใหม่ตามรู ปแบบของศาลยุติธรรมและยืน่ ฟ้ องคดีต่อศาลภาษีอากรกลาง อย่างไรก็ดี ปรากฏว่า ต่อมาศาลภาษีอากรกลางมีคาสั่งไม่รับคาฟ้ องโจทก์ เนื่ องจาก บริ ษทั ฯ เห็นว่า คาสัง่ ดังกล่าวของศาลภาษีอากรกลางข้างต้นนั้น มีความคลาดเคลื่อนในข้อกฎหมาย บริ ษทั ฯ จึงได้ใช้สิทธิ ยืน่ คาร้องขอเพิกถอนกระบวนการพิจารณาที่ผิดระเบียบต่อศาลภาษีอากรกลาง เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2558 ศาลภาษีอากรกลางได้มีคาสัง่ ว่า ไม่มีเหตุให้เพิกถอนคาสั่งศาล และเห็นว่าศาลมีอานาจตรวจคาคู่ความที่ยนื่ ต่อศาลก่อนจะรับคาฟ้ องโจทก์ไว้พิจารณาตามกฎหมายที่บญั ญัติ เมื่อคาฟ้ องโจทก์มิได้เป็ นไปตามบทบัญญัติ แห่ งกฎหมาย และเงื่อนไขแห่งกฎหมาย เรื่ องอานาจฟ้ อง ตามพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณา คดีภาษีอากร พ.ศ. 2528 ศาลจึงมีคาสัง่ ไม่รับคาฟ้ องโจทก์ และหากโจทก์ประสงค์ที่จะอุทธรณ์คาสัง่ ศาล โจทก์ สามารถอุทธรณ์คาสั่งศาลได้ ตามพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. 2528 มาตรา 17 ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 18 จึงให้ยกคาร้องนี้ ดังนั้น เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2558 บริ ษทั ฯ จึงได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่งไม่รับคาฟ้ องของ ศาลภาษีอากรกลางดังกล่าว ซึ่ งศาลภาษีอากรกลางได้มีคาสั่งรับอุทธรณ์ของบริ ษทั ฯ แล้ว ขณะนี้อยูร่ ะหว่าง การนาส่ งหมายเรี ยก และสาเนาอุทธรณ์ให้แก่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง เพื่อยื่นคาแก้อุทธรณ์ต่อไป คดีฟ้องร้ องในศาลยุติธรรม (1) ข้ อพิพาทกรณีเกีย่ วกับการเรี ยกร้ องค่ าสิ นไหมทดแทนจากเหตุเพลิงไหม้ จากการชุ มนุม ปี พ.ศ. 2553 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2558 บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย รวม 14 บริ ษทั ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอน คาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการ ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 ต่อศาลแพ่ง สื บเนื่ องจากข้อพิพาทดังกล่าว บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย รวม 14 บริ ษทั ฯได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสานักงานคณะกรรมการกากับและ ส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย เรี ยกร้องให้ บริ ษทั อลิอนั ซ์ ซี .พี.ประกันภัย จากัด (“อลิอนั ซ์”) ชาระ ค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ บริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย ซึ่ งได้รับความเสี ยหายจากเหตุเพลิงไหม้จากการชุมนุม เมื่อปี พ.ศ.2553 ต่อมาคณะอนุญาโตตุลาการโดยเสี ยงข้างมากได้ช้ ีขาดให้ยกคาเสนอข้อพิพาทของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย 14 บริ ษทั โดยให้ความเห็นว่า เหตุเพลิงไหม้ดงั กล่าวเป็ นการก่อการร้ายอันเกิดจากการชุมนุม ทางการเมือง ซึ่ งเข้าข้อยกเว้นของกรมธรรม์ ที่ บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ได้ทาไว้กบั อลิอนั ซ์ โดยมีอนุญาโตตุลาการ ท่านหนึ่งได้ทาความเห็นแย้งไว้ ทั้งนี้ ศาลแพ่งสื บพยานแล้วเสร็ จ ต่อมาเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2559 ศาลแพ่ง ได้มีคาพิพากษายกคาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการด้วยเหตุที่วา่ คาชี้ขาดสามารถยอมรับ บังคับได้ไม่ขดั ต่อความสงบเรี ยบร้อย ต่อมา บริ ษทั ฯ ได้ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาดังกล่าวต่อศาลฎีกาเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2559 ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

คดีฟ้องร้ องและข้ อพิพาทของบริษัทย่อย (1) เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2549 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการเรี ยกร้องให้ทรู มูฟชาระค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมเป็ น จานวนเงิน 113.58 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2551 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาชี้ขาดให้ทรู มูฟ ชาระเงินให้ CAT Telecom จานวน 99.60 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ) ทรู มูฟได้รับทราบคาชี้ ขาด เมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม 2551 และทรู มูฟได้ดาเนินการคัดค้าน คาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง และศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 ว่าคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ไม่ชอบด้วยกฎหมายซึ่ งการยอมรับหรื อบังคับตามคาชี้ขาดนั้นจะเป็ นการขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อ ศีลธรรมอันดีของประชาชน ศาลปกครองกลางจึงมีคาสั่งเพิกถอนคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2554 CAT Telecom ได้อุทธรณ์คาสัง่ ดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้คดีอยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด ต่อมาเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2554 CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้บงั คับตามคาชี้ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการให้ทรู มูฟชาระเงินแก่ CAT Telecom ซึ่งทรู มูฟได้ โต้แย้งคาร้องดังกล่าวเนื่ องจากคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการได้ถูกเพิกถอนไปแล้วโดยคาพิพากษาของ ศาลปกครองกลาง และ CAT Telecom ไม่มีสิทธิ ที่จะยืน่ คาร้องดังกล่าว ในส่ วนคดีเกี่ยวกับคาร้องของ CAT Telecom ดังกล่าวอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (2) เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ทีโอทียื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. และเลขาธิการสานักงาน กทช. เพื่อขอเพิกถอนคาสัง่ ของคณะกรรมการ กทช. ที่มีคาสัง่ ให้ทีโอทีตอ้ งทาให้เลขหมายโทรคมนาคมของทีโอที สามารถติดต่อกันได้ทุกโครงข่าย ดังนั้น บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ จึงได้ร้องสอดเข้าไปเป็ นคู่ความในคดี และเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2552 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกฟ้ องของทีโอที ต่อมาเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552 ทีโอทีได้อุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม 2559 ศาลปกครองสู งสุ ด มีคาพิพากษายืนตามคาพิพากษาของศาลปกครองกลาง ให้ยกฟ้ องของทีโอที คดีจึงถึงที่สุด (3) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 CAT Telecom ได้ยนื่ เสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ชาระค่าส่ วนแบ่งรายได้ที่ส่งขาดไปรวมค่าปรับและดอกเบี้ย จานวนรวมทั้งสิ้ นประมาณ 8,969.08 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554 คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มีคาวินิจฉัยชี้ขาดให้ยกคาเสนอข้อพิพาทดังกล่าว ทาให้ทรู มูฟไม่ตอ้ งชาระผลประโยชน์ตอบแทนตามคาเสนอ ข้อพิพาทดังกล่าว ต่อมาเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาด อนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง และทรู มูฟ ได้ดาเนิ นการทาคาคัดค้านคาร้องยืน่ ต่อศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2557 ศาลปกครองกลางได้มีพิพากษา ยกคาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดอนุญาโตตุลาการ ของ CAT Telecom ซึ่ งต่อมา CAT Telecom ได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองกลางดังกล่าวต่อ ศาลปกครองสู งสุ ด เป็ นคดีหมายเลขดาที่ อ.850/2557 ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองสู งสุ ด ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(4) เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ชาระส่ วนแบ่งรายได้เพิ่มเติมจานวนประมาณ 45.95 ล้านบาท (เบี้ยปรับจากการชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มปี ที่ 6-8 ล่าช้า) เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2555 คณะอนุญาโตตุลาการ มีคาวินิจฉัยชี้ขาดให้ทรู มูฟชาระเงินจานวน 7 ล้านบาท ทรู มูฟได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเมื่อ 29 มิถุนายน 2555 และ CAT Telecom ก็ได้ยนื่ ขอเพิกถอน คาชี้ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการเช่นกัน ซึ่ งทรู มูฟได้ขอรวมคดี และศาลได้มีคาสั่งให้รวมคดีได้ ขณะนี้คดี อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (5) เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้อง ให้บริ ษทั ย่อย แห่งหนึ่ง คือ ฮัทชิสัน ซีเอที ชาระค่าบริ การที่ CAT Telecom ไม่สามารถเรี ยกเก็บได้ ค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาต ค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคม เงินประกันรายได้ข้ นั ต่าเพิ่มเติม และเงินค่าภาษีสรรพสามิตที่ CAT Telecom ได้ชาระไปพร้อมภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามสัญญาทาการตลาดบริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 Band A เป็ นเงินจานวน 1,204 ล้านบาท ทั้งนี้ ฮัทชิสัน ซี เอที ก็ได้เรี ยกร้องแย้งในข้อพิพาทดังกล่าว เพื่อเรี ยกค่าเสี ยหายภายใต้สัญญาการตลาดบริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 Band A เป็ นจานวนเงินประมาณ 2,544.72 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2558 อนุ ญาโตตุลาการได้มีคาชี้ขาด ยกคาเสนอข้อพิพาทของ CAT telecom ทุกประเด็น และยกข้อเรี ยกร้องแย้งของฮัทชิสัน ซีเอที ทุกประเด็น เช่นเดียวกัน ซึ่ งเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2558 CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องต่อศาลปกครองกลาง ขอเพิกคาชี้ ขาด ของคณะอนุ ญาโตตุลาการ ทั้งนี้ ฮัทชิสัน ซี เอที ได้ยนื่ คาให้การเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2559 ขณะนี้คดีอยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (6) เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ ส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาที่ติดตั้งเครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคม จานวน 4,546 ต้น ให้ CAT Telecom หาก ทรู มูฟ ไม่สามารถส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาดังกล่าวได้ ไม่วา่ ด้วยเหตุใด ๆ ให้ ทรู มูฟ ชาระค่าเสี ยหาย เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ นประมาณ 2,766.16 ล้านบาท โดยเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2552 ทรู มูฟได้ยนื่ คาคัดค้านคาเสนอข้อพิพาทต่อคณะอนุญาโตตุลาการ ต่อมาเมื่อวันที่ 2 สิ งหาคม 2556 คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มีมติเป็ นเอกฉันท์ช้ ีขาดให้ยกคาเสนอข้อพิพาทของ CAT Telecom ต่อมาเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2556 CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องขอให้ศาลปกครองกลางมีคาสั่งเพิกถอนคาชี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการดังกล่าว ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2559 ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งอนุญาตให้ CAT Telecom ถอนคาร้องที่ขอเพิกถอนคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางมีคาสั่งให้จาหน่ายคดี ออกจากสารบบความ (7) เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ชาระค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษสี่ หลักเลขหมาย 1331 เป็ นจานวนเงินประมาณ 3.96 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ภาษีมูลค่าเพิ่มและค่าปรับร้อยละ 1.25 ต่อเดือน ของยอดเงินค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษ นับแต่วนั ที่ CAT Telecom ได้ชาระให้แก่คณะกรรมการ กทช. จนกว่าทรู มูฟจะชาระให้แก่ CAT Telecom ทรู มูฟได้ยนื่ คาคัดค้านเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 โดยเมื่อวันที่ 7 กันยายน2559 อนุ ญาโตตุลาการได้มีคาชี้ขาดให้ยกคาเสนอข้อพิพาทของ CAT Telecom ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(8) เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2552 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อย แห่งหนึ่ง คือ ฮัทชิสัน ซี เอที ชาระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาต ค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคม เงินประกัน รายได้ข้ นั ต่าระหว่างเดือนตุลาคม 2550 ถึงเดือนกันยายน 2551 และค่าปรับจากการที่ชาระค่าบริ การรายเดือน ตามงวดใบแจ้งหนี้ให้ CAT Telecom ล่าช้าตามสัญญาทาการตลาดบริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 Band A เป็ นเงินจานวน 241.0 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 13 สิ งหาคม 2558 คณะอนุญาโตตุลาการได้มี คาชี้ขาด ให้ ฮัทชิสัน ซี เอที ชาระค่าธรรมเนียมใบอนุ ญาต และค่าปรับจากการที่ชาระค่าบริ การรายเดือน ตามงวดใบแจ้งหนี้ให้ CAT Telecom ล่าช้าตามสัญญาจานวน 91,834,965.56 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตรา ร้อยละ 7.5 ต่อปี และยกคาขอของ CAT Telecom ในกรณี เรี ยกร้องค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคม และ เงินประกันรายได้ข้ นั ต่าในปี ที่ 8 รวมเป็ นจานวน 146,816,433.54 บาท โดยเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2558 ฮัทชิสัน ซีเอที และ CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (9) เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2553 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ อง CAT Telecom ต่อ ศาลปกครองเชียงใหม่ เพื่อขอคืนค่าเช่าที่ ทรู มูฟ ได้ชาระให้แก่ CAT Telecom ไปโดยสาคัญผิดว่าที่ดิน บริ เวณที่ทาการไปรษณี ยจ์ งั หวัดพะเยาที่ใช้ติดตั้งเสาโทรคมนาคมเป็ นของ CAT Telecom เป็ นจานวนเงิน 170,788.88 บาท ต่อมาเมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2553 ได้มีการชี้เขตอานาจศาลว่าคดีน้ ีอยูใ่ นเขตอานาจศาลปกครองกลาง ซึ่งเป็ นภูมิลาเนาของ CAT Telecom ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2559 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษา ให้ CAT Telecom คืนเงินจานวน 60,316.93 บาท พร้อมดอกเบี้ยนับแต่วนั ฟ้ องในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ให้แก่ ทรู มูฟ ต่อมาเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2559 ทรู มูฟ ยืน่ อุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (10) เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2553 สานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค (สคบ.) ได้เป็ น โจทก์ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ฮัทชิสัน ซีเอที เป็ นจาเลยร่ วมกับบริ ษทั แคท คอร์ ปอเรชัน่ จากัด เรื่ อง ผิดสัญญากรณี การเรี ยกร้องให้จาเลยจ่ายค่าตอบแทนแก่ผรู ้ ้องเรี ยน ว่าไม่สามารถใช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ได้ฟรี เป็ นเวลา 10 ปี ตามข้อเสนอของบริ ษทั แคท คอร์ ปอเรชัน่ จากัด ทุนทรัพย์ประมาณ 138,604.65 บาท ศาลชั้นต้นได้มีคาพิพากษาให้จาเลยทั้งสองร่ วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสี ยหายจานวนประมาณ 138,604.65 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ต่อมา เมื่อวันที่ 27 สิ งหาคม 2556 ศาลอุทธรณ์ได้มีคาพิพากษายืนตามศาลชั้นต้น ต่อมาเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556 จาเลยได้ยนื่ ฎีกา ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา (11) เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2553 นายวิลเลี่ยม ไลล์ มอนซัน ยืน่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู วชิ นั่ ส์ เป็ นจาเลยที่ 1 และบุคคลธรรมดา 3 คน เป็ นจาเลยที่ 2-4 ในข้อหาละเมิด ให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน และค่าเสี ยหายจานวน 660,000,000 บาท โดยโจทก์กล่าวอ้างว่า ทรู วชิ นั่ ส์กบั จาเลยทั้งหมดร่ วมกันทุจริ ต ยึดอุปกรณ์เครื่ องส่ งไปจากโจทก์จาเลยที่ 1 และที่ 3 ขอให้ศาลวินิจฉัย ชี้ขาดปั ญหาข้อกฎหมายเบื้องต้น เรื่ องขาดอายุความ และเป็ นฟ้ องซ้อน ศาลชั้นต้นมีคาพิพากษายกฟ้ อง เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 และ ศาลอุทธรณ์ได้มีคาพิพากษายืนตามคาพิพากษาศาลชั้นต้น เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 โดยมีคาวินิจฉัยว่า สิ ทธิ เรี ยกร้องอันเกิดจากมูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นกาหนด 1 ปี นับแต่วนั ที่โจทก์รู้ถึงการละเมิดและ ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รู ้ตวั ผูซ้ ่ ึ งต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทน โจทก์ได้ยนื่ ฎีกา เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 ต่อมาเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2557 ศาลฎีกาได้มีคาพิพากษาว่าคดีฟ้องของโจทก์ขาดอายุความพิพากษายกฟ้ อง แต่เนื่องจากโจทก์ได้ยนื่ อุทธรณ์ ไว้อีกฉบับ ศาลฎีกาจึงมีคาสั่งให้ศาลอุทธรณ์รับอุทธรณ์อีกฉบับของโจทก์ และสั่งให้จาเลยทาคาคัดค้านอุทธรณ์ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2559 ศาลอุทธรณ์ได้มีคาพิพากษาในอุทธรณ์ของโจทก์อีกคดีหนึ่งว่าฟ้ องโจทก์ ในคดีน้ ีขาดอายุความฟ้ องคดีอนั เกิดจากมูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นกาหนด 1 ปี นับแต่วนั ที่โจทก์รู้ถึง การละเมิดและรู้ตวั ผูซ้ ่ ึงต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทน และการที่ศาลชั้นต้นได้ช้ ีขาดข้อกฎหมายเบื้องต้นนั้นชอบแล้ว พิพากษายกคาฟ้ องของโจทก์ เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 ทรู วชิ นั่ ส์ ได้รับสาเนาฎีกาของโจทก์ ปัจจุบนั คดี อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา (12) เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้เพิกถอนคาชี้ขาดไต่สวนข้อเท็จจริ งที่ 1/2553 ของคณะกรรมการ กทช. กรณี เอไอเอส ดีแทค และ บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่งคือ ทรู มูฟ ร้องเรี ยน CAT Telecom ที่กระทาการกาหนดราคาอันเป็ นการทุ่มตลาด โดยกาหนดอัตราค่าเชื่ อมต่อโครงข่าย (IC) ในอัตรา 0.50 บาทต่อนาที ต่อมาศาลได้มีคาสั่งเรี ยกให้ เอไอเอส ดีแทค และทรู มูฟ เข้ามาในคดี ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาว่า คาสัง่ ของคณะกรรมการ กทช. เป็ นคาสัง่ ที่ชอบด้วยกฎหมาย จึงพิพากษายกฟ้ อง ทั้งนี้ในปั จจุบนั CAT Telecom ได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองกลางดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ดแล้ว ขณะนี้คดีอยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (13) เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2553 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่งคือ ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลางในกรณี พิพาทเรื่ อง On-net, Off-net ที่คณะกรรมการ กทช. มีมติ ครั้งที่ 10/2553 และ คาสั่งที่ 19/2553 ห้ามมิให้ผปู ้ ระกอบการเก็บค่าบริ การจากลูกค้าที่โทรข้ามโครงข่าย (Off-net) แตกต่างจาก ลูกค้าที่โทรภายในโครงข่าย (On-net) ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 ศาลปกครองกลางได้พิพากษายกฟ้ องของ ทรู มูฟ โดยเห็นว่าคณะกรรมการ กทช. สามารถดาเนิ นการตามมติครั้งที่ 10/2553 และคาสั่งที่ 19/2553 ดังกล่าวได้ ซึ่งทรู มูฟได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ดในวันที่ 25 เมษายน 2557 และ กสทช. ได้ยนื่ คาแก้อุทธรณ์ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2558 ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองสู งสุ ด (14) เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เพื่อเรี ยกร้องให้ทรู มูฟนาหนังสื อค้ าประกันผลประโยชน์ตอบแทน ขั้นต่าวงเงิน 646 ล้านบาทและ 679 ล้านบาทรวมทั้งสิ้ น 1,325 ล้านบาท มาวางค้ าประกันการดาเนินงาน สาหรับปี ที่14 และปี ที่ 15 ต่อมาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2554 ทรู มูฟได้ทาการยืน่ ข้อเรี ยกร้องแย้งในคดีดงั กล่าว ให้ CAT Telecom คืนหนังสื อค้ าประกันผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่าของปี ดาเนินการที่ 11 ถึงปี ที่ 13 และ เรี ยกร้องค่าเสี ยหายจาก CAT Telecom เป็ นเงินทั้งสิ้ น ประมาณ 56.19 ล้านบาท ซึ่งขณะนี้ สถาบันอนุญาโตตุลาการ ได้มีคาสั่งให้รวมการพิจารณา คดีน้ ีกบั คดีที่ CAT Telecom เรี ยกร้องให้ทรู มูฟวางหนังสื อค้ าประกันการดาเนินงาน

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

สาหรับปี ที่ 16 และปี ที่ 17 ต่อมา เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2558 คณะอนุ ญาโตตุลาการเสี ยงข้างมากได้มีคาชี้ ขาด ให้ยกคาเสนอข้อพิพาทของ CAT Telecom ให้ CAT Telecom ชดใช้ค่าเสี ยหายแก่ ทรู มูฟ จานวน 60,460,821.92 บาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินจานวนดังกล่าวนับแต่วนั ที่ยื่นข้อเรี ยกร้องแย้ง (7 ตุลาคม 2554) เป็ นต้นไปจนกว่าจะชาระเสร็ จ กับให้ CAT Telecom ชดใช้ค่าธรรมเนียมหนังสื อค้ าประกัน ปี ที่ 11 ปี ที่ 12 และปี ที่ 13 ในอัตราร้อยละ 2 ต่อปี ของวงเงินตามหนังสื อค้ าประกันเป็ นเงินปี ละ 26,200,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ที่ ทรู มูฟ ได้ชาระเงินจานวนดังกล่าวจนกว่า CAT Telecom จะคืนหนังสื อค้ าประกันของปี ดาเนินงานปี ที่ 11 ปี ที่ 12 และปี ที่ 13 ให้แก่ ทรู มูฟ ซึ่ งต่อมา CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องขอเพิกถอนคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง ต่อมาเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 ทรู มูฟ ยืน่ คาร้องขอบังคับตามคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการในข้อพิพาทดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ ปั จจุบนั ทั้งสองคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (15) เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่งคือ ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ กสทช. และเลขาธิการสานักงาน กสทช. ต่อศาลปกครองกลางเกี่ยวกับข้อพิพาทในส่ วนของ ค่าปรับทางปกครองอันเนื่ องมาจากการจัดให้มีบริ การคงสิ ทธิ เลขหมาย (MNP) เป็ นเงินจานวนประมาณ 13 ล้านบาท โดยคณะกรรมการ กทช. กล่าวอ้างว่า ผูป้ ระกอบการจัดให้มีบริ การคงสิ ทธิ เลขหมายล่าช้ากว่าที่กาหนด ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษายกฟ้ องของทรู มูฟ เพราะเห็นว่าคาสัง่ ทางปกครอง และการกาหนดค่าปรับทางปกครองของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิการสานักงาน กสทช. ชอบด้วยกฎหมาย ทั้งนี้ ทรู มูฟได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองกลางดังกล่าว ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (16) เมื่อวันที่ 9 สิ งหาคม 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้มีหนังสื อถึงคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ กสทช. ขอให้ปรับปรุ งหรื อแก้ไขเปลี่ยนแปลงอัตราค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่าย ระหว่าง ทรู มูฟกับเอไอเอส และ ระหว่างทรู มูฟกับดีแทค โดยขอให้มีคาสั่งให้เอไอเอสและดีแทคทาสัญญาเชื่ อมต่อ โครงข่าย ( IC ) ในอัตราเดียวกันกับที่ทาสัญญากับ CAT Telecom ตามที่คณะกรรมการ กทช. ได้มีคาชี้ขาด ในข้อพิพาทที่ 2/2553 และที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 กทค.และ กสทช. ได้มีคาสั่งให้จาหน่าย คาร้องของทรู มูฟในเรื่ องดังกล่าว และให้ดาเนินการเจรจาผ่านคณะกรรมการร่ วมตามสัญญา IC ระหว่างกัน โดยให้คานึงถึง ประกาศ กสทช. เรื่ อง อัตราขั้นสู งของค่าบริ การฯ และแจ้งผลการดาเนินการดังกล่าว ให้ กสทช. ทราบ ซึ่ง ทรู มูฟไม่เห็นด้วยกับคาสั่งของ กทค. และ กสทช. และเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ทรู มูฟได้ยนื่ ฟ้ องคดีต่อศาลปกครองกลางเพื่อขอให้มีการเพิกถอนคาสั่งดังกล่าว ทั้งนี้ ในปั จจุบนั คดีอยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (17) เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้ครบถ้วนจากการหักค่า IC จาก รายได้ก่อนคานวณผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ในปี ดาเนินการที่ 10 ถึงปี ที่ 14 เป็ นเงินจานวน ประมาณ 11,946.15 ล้านบาท ข้อพิพาทยังอยูร่ ะหว่างรอการแต่งตั้งอนุ ญาโตตุลาการฝ่ าย CAT Telecom ทั้งนี้ ปั จจุบนั ข้อพิพาทอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(18) เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่งคือ ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ กสทช. และ เลขาธิการสานักงาน กสทช. ต่อศาลปกครองกลางเกี่ยวกับข้อพิพาทเรื่ องดาเนิ นการ จัดเก็บข้อมูล และรายละเอียดเกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้า ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 โดยฟ้ องขอให้ 1. เพิกถอนประกาศฉบับดังกล่าว ข้อ 38 และข้อ 96 และ 2. เพิกถอนมติและคาวินิจฉัยของ คณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ กสทช. และคาสั่งของเลขาธิ การสานักงาน กสทช. ที่ให้ ทรู มูฟ ปฏิบตั ิ ตามประกาศฉบับดังกล่าว ซึ่งในส่ วนที่ฟ้องเพิกถอนประกาศนั้น ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งไม่รับฟ้ องใน ข้อหาที่ 1. คือ การเพิกถอนประกาศฉบับดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าได้ยนื่ คาฟ้ องต่อศาลพ้นกาหนดระยะเวลา ฟ้ องคดีและไม่อาจถือได้วา่ คาฟ้ องในข้อหานี้จะเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวม เพราะประกาศดังกล่าวไม่มีผล ต่อผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ งทรู มูฟได้ยนื่ อุทธรณ์คาสัง่ ไม่รับฟ้ องบางข้อหาไว้พิจารณาดังกล่าว ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด ทั้งนี้ กสทช ได้มีหนังสื อลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 แจ้งกาหนดค่าปรับทางปกครอง ในอัตราวันละ 80,000 บาท คานวณตั้งแต่วนั ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 จนถึงวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557 ทรู มูฟ ได้ชาระค่าปรับทางปกครองให้แก่ สานักงาน กสทช เป็ นจานวนเงิน 34.96 ล้านบาท อย่างไรก็ดี หากผลของคดีหลักมีคาพิพากษาถึงที่สุด อันเป็ นคุณแก่ ทรู มูฟ ทรู มูฟ สามารถเรี ยกคืนเงินค่าปรับทางปกครองที่ตอ้ งชาระต่อ กสทช ได้ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2557 เป็ นวันสิ้ นสุ ดแสวงหาข้อเท็จจริ ง และ ทรู มูฟ ได้ยนื่ คาแถลงข้อเท็จจริ งเพิ่มเติม ซึ่ งต่อมา ศาลปกครองกลางมีคาสั่งไม่รับพิจารณาข้อเท็จจริ งเพิ่มเติมดังกล่าวของทรู มูฟ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 ทรู มูฟ จึงได้ยนื่ อุทธรณ์คาสั่งไม่รับพิจารณาข้อเท็จจริ งเพิ่มเติมต่อศาลปกครองสู งสุ ด โดยเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 ศาลปกครองสู งสุ ดได้มีคาสั่งยืนตามศาลปกครองกลาง ไม่รับคาฟ้ องของ ทรู มูฟ ในส่ วนที่ขอให้เพิกถอน ข้อ 38 และ 96 ของประกาศ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 เนื่องจากเป็ นการฟ้ องคดี เมื่อล่วงพ้นระยะเวลาการฟ้ องคดี 90 วันนับแต่วนั ที่รู้หรื อควรรู ้เหตุแห่งการฟ้ องคดี ตามมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 แล้วเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2559 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาเพิกถอนคาสั่ง และมติ กทค. ดังกล่าว (19) เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ เรี ยลมูฟ ได้ยนื่ ฟ้ อง กสทช. และ เลขาธิการสานักงาน กทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้เพิกถอนมติและคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ กสทช. ที่แจ้งมายังเรี ยลมูฟตามหนังสื อของสานักงาน กสทช. โดยเลขาธิการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ เลขาธิการสานักงาน กสทช. ฉบับลงวันที่ 7 ตุลาคม 2554 โดยสั่งให้แก้ไขในส่ วนที่เกี่ยวกับการทาความตกลง เพื่อควบรวมกิจการโดยการเข้าซื้ อหุ น้ ของกลุ่มฮัทชิสันให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการควบรวมกิจการและการถือหุ น้ ไขว้ในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และในส่ วนที่เกี่ยวกับ การทาความตกลงกับ CAT Telecom เกี่ยวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ CDMA และระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง มาตรการเพื่อฟ้ องกันมิให้มีการกระทาอันเป็ นการผูกขาด หรื อก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และพระราชบัญญัติ ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 เนื่องจาก เรี ยลมูฟเห็นว่า มติและคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิ หน้าที่ กสทช. ดังกล่าว ไม่มีความชัดเจนและไม่น่าจะชอบด้วยกฎหมาย ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2559 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาให้เพิกถอนคาสั่งของ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ตามมติที่ประชุม ครั้งที่ 30/2554 เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2554 โดยให้มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่มีคาสั่งดังกล่าว ต่อมา เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2559 กสทช. และเลขาธิการ กสทช. รวมทั้งเรี ยลมูฟ ได้ยนื่ อุทธรณ์ คาพิพากษาของศาลปกครองกลางต่อศาลปกครองสู งสุ ด ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองสู งสุ ด (20) เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่งคือ ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ อง กทค. และ เลขาธิการสานักงาน กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้เพิกถอนคาสั่งและมติของ กทค. และ คาสั่ง ของเลขาธิการสานักงาน กสทช. ที่หา้ มผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้า กาหนดรายการส่ งเสริ มการขายในลักษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่ กาหนด (Validity) นอกจากนี้เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการสานักงาน กสทช.ได้มีหนังสื อแจ้งเตือน ให้ทรู มูฟ ดาเนินการปรับปรุ งเงื่อนไขการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บเงินค่าบริ การล่วงหน้า ไม่ให้มีขอ้ กาหนดในลักษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนดและ ห้ามมิให้กาหนดเงื่อนไขที่มีลกั ษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนดอีกต่อไป และเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการสานักงาน กสทช. ได้มีหนังสื อกาหนดให้ทรู มูฟจะต้องชาระ ค่าปรับทางปกครองในอัตราวันละ 100,000 บาท ตั้งแต่วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2555 เป็ นต้นไป โดยอ้างว่า ทรู มูฟบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนด (Validity) ต่อมา เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2555 ทรู มูฟได้ยนื่ อุทธรณ์คาสั่งกาหนดค่าปรับทางปกครอง ต่อเลขาธิ การสานักงาน กสทช. และในระหว่าง รอการพิจารณาอุทธรณ์คาสั่งกาหนดค่าปรับดังกล่าว เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2555 ทรู มูฟได้ยนื่ คาร้องขอต่อ ศาลปกครองกลาง ขอให้มีคาสั่งทุเลาการบังคับตามคาสั่งและมติของ กทค. และเลขาธิการสานักงาน กสทช. รวมถึงการกาหนดค่าปรับทางปกครองดังกล่าว ซึ่ งต่อมาเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2555 ศาลปกครองกลางได้ ยกคาขอดังกล่าว ส่ งผลให้ทรู มูฟไม่มีสิทธิ ที่จะได้รับการทุเลาการบังคับตามคาสั่งและมติที่พิพาท เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2559 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษายกคาฟ้ องในคดีน้ ี ต่อมา วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 ทรู มูฟ ได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด คดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด ต่อมาเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2555 ภายใต้มติที่ประชุมครั้งที่ 35/2555 ของกทค. โดยเลขาธิการ สานักงาน กสทช.จึงมีหนังสื อถึงทรู มูฟ ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2555 แจ้งผลพิจารณาการอุทธรณ์คาสั่งดังกล่าว โดยยืนตามคาสั่งเลขาธิ การสานักงาน กสทช ที่กาหนดค่าปรับทางปกครองต่อทรู มูฟ วันละ 100,000 บาท ด้วยเหตุจากคาสัง่ ที่กาหนดค่าปรับทางปกครองดังกล่าว เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 ทรู มูฟจึงได้ยนื่ ฟ้ อง ต่อ ศาลปกครองกลางขอเพิกถอนคาสั่งกาหนดค่าปรับทางปกครองวันละ 100,000 บาท พร้อมทั้งได้ยื่นคาขอให้ศาล กาหนดมาตรการและวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์เป็ นการชัว่ คราวก่อนการพิพากษา ต่อมาในวันที่ 5 มิถุนายน 2556 ศาลปกครองได้ยกคาขอดังกล่าว ต่อมาวันที่ 27 ตุลาคม 2559 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษายกคาฟ้ อง ในคดีน้ ี ต่อมาวันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 ทรู มูฟ จึงได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ต่อมาเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2556 สานักงาน กสทช ได้เชิญผูป้ ระกอบการเข้าร่ วมประชุมเพื่อกาหนดแนวทาง การพิจารณาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบชาระค่าบริ การล่วงหน้าในระยะเวลาที่กาหนด ซึ่ งวันที่ 18 มกราคม 2556 ทรู มูฟ ได้ยื่นเงื่อนไขในการให้บริ การและขอความเห็นชอบต่อ กสทช. และ เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 ทรู มูฟ ได้รับ หนังสื อจากสานักงาน กสทช. แจ้งว่า กทค. ได้มีมติเห็นชอบเงื่อนไขให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในลักษณะที่เรี ยกเก็บ ค่าบริ การเป็ นการล่วงหน้าที่มีกาหนดระยะเวลาให้ใช้บริ การ (Validity) ของทรู มูฟแล้ว อย่างไรก็ดี เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2556 สานักงาน กสทช. มีหนังสื อแจ้งมายัง ทรู มูฟ ว่า ทรู มูฟมี การกาหนดเงื่อนไขที่มีลกั ษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในกาหนดระยะเวลา (Validity) อันเป็ นการฝ่ าฝื นคาสั่งของเลขาธิ การสานักงาน กสทช. และได้มีการกาหนดค่าปรับทางปกครองต่อ ทรู มูฟ ในอัตรา วันละ 100,000 บาท นับตั้งแต่วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2555 จนถึงวันที่ 18 มกราคม 2556 รวมเป็ นเงิน ทั้งสิ้ นประมาณ 23.30 ล้านบาท โดยต่อมาในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 ทรู มูฟ ได้ชาระค่าปรับทางปกครอง จานวนดังกล่าวให้แก่สานักงาน กสทช แล้ว อย่างไรก็ดีการชาระค่าปรับดังกล่าว มิได้เป็ นการยอมรับว่า คาสั่งทางปกครองที่หา้ ม ทรู มูฟ กาหนด ระยะเวลาการใช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้า และคาสั่งกาหนดค่าปรับ ทางปกครองนั้นชอบด้วยกฎหมาย และหากผลของคดีหลักมีคาพิพากษาที่เป็ นคุณแก่ทรู มูฟ ทรู มูฟสามารถ เรี ยกคืนเงินค่าปรับทางปกครองที่ตอ้ งชาระต่อ กสทช.ได้ (21) เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2555 นายสุ พล สุ ขศรี มงั่ มี โจทก์ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ฮัทชิ สัน ซีเอที เป็ นจาเลยที่ 4 ฐานละเมิด โดยขอให้ร้ื อถอนเสาอุปกรณ์และเครื่ องส่ งสัญญาณโทรศัพท์ออกจากอาคาร อุรุพงษ์คอนโด และขอให้ชดใช้ค่าเสี ยหายที่ได้ทาอันตรายต่อสุ ขภาพของโจทก์เป็ นเงินจานวน 32 ล้านบาท อย่างไรก็ดี เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2556 ศาลชั้นต้นได้มีคาพิพากษายกฟ้ องโจทก์ ซึ่ งต่อมาเมื่อวันที่ 2 สิ งหาคม 2556 โจทก์ได้ยนื่ อุทธรณ์ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 28 สิ งหาคม 2557 ศาลอุทธรณ์ได้มีคาพิพากษายืนตามศาลชั้นต้น ทั้งนี้โจทก์ได้ยนื่ ฎีกาต่อศาลเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2557 ทั้งนี้ปัจจุบนั คดียงั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา (22) เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อ สถาบันอนุญาโตตุลาการ เพื่อเรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ ชาระเงินค่าผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มให้ครบถ้วนจากการที่ ทรู มูฟหักค่าเชื่อมต่อ โครงข่าย (IC) จากรายได้ก่อนคานวณส่ วนแบ่งรายได้ให้ CAT Telecom ในปี ดาเนินการที่ 15 จานวนทุนทรัพย์ท้ งั สิ้ น ประมาณ 1,571.60 ล้านบาท ทั้งนี้เมื่อวันที่26 พฤศจิกายน 2557 ทรู มูฟ ได้รับหมายแจ้งคาสั่งศาลปกครองกลาง ให้เข้ามาเป็ นคู่ความในคดี กรณี CAT Telecom ยืน่ คัดค้านการตั้งอนุ ญาโตตุลาการในข้อพิพาทข้างต้น ปั จจุบนั ยังอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ต่อมาเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2558 คณะอนุญาโตตุลาการเสี ยงข้างมากได้มีคาชี้ขาด ให้ ทรู มูฟ ชาระ ผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มของปี ดาเนินการที่ 15 เป็ นเงินจานวน 1,571,599.139.64 บาท พร้อมเงินเพิ่ม เป็ นเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี จากต้นเงินดังกล่าว นับตั้งแต่วนั ที่ 14 ธันวาคม 2554 จนถึงวันชาระเสร็ จ ให้แก่ CAT Telecom โดยมีอนุญาโตตุลาการเสี ยงข้างน้อยได้มีทาความเห็นแย้งไว้วา่ ทรู มูฟ ไม่มีหน้าที่ ตามกฎหมายที่จะต้องชาระเงินผลประโยชน์ตอบแทนตามข้อเรี ยกร้องและเห็นสมควรให้ยกข้อเรี ยกร้องของ CAT Telecom ซึ่ ง ทรู มูฟ ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ขาดดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2558 ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดียงั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(23) เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2556 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อ สถาบันอนุญาโตตุลาการ เรี ยกให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ส่ งมอบทรัพย์สินที่เป็ นโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมประเภท Passive จานวนหนึ่งซึ่ งใช้กบั เสาโทรคมนาคมที่ได้สร้างขึ้นตามสัญญาให้ดาเนิ นการฯ รวมถึงอุปกรณ์การให้บริ การเคลื่อนที่ (mobile car) ตูค้ อนเทนเนอร์ อาคารสิ่ งปลูกสร้าง (shelter) และเครื่ องและอุปกรณ์ (หม้อแปลงไฟฟ้ า) ในส่ วนของไฟฟ้ า กระแสสลับ (adaptor for AC transformer) ให้แก่ CAT Telecom โดยหากส่ งไม่ได้ไม่วา่ กรณี ใด ๆ ขอให้ชดใช้ราคารวม เป็ นเงินทั้งสิ้ นจานวนประมาณ 821.14 ล้านบาท ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 28 สิ งหาคม 2556 ทรู มูฟ ได้ยื่นคัดค้านคาเสนอข้อพิพาท ทั้งนี้ ปั จจุบนั ข้อพิพาทยังอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ (24) เมื่อวันที่ 16 สิ งหาคม 2556 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั เอเซี ย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด ได้ถูกบุคคลธรรมดา 2 ราย ยืน่ ฟ้ องต่อศาลปกครองนครราชสี มา เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 4 โดยบุคคลธรรมดาได้ ยืน่ ฟ้ อง นายกองค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองบัว สานักงานคณะกรรมการ กสทช. คณะกรรมการ กสทช เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดี ที่ 1- 3 ตามลาดับ ต่อศาลปกครองนครราชสี มา กรณี ให้ระงับการก่อสร้างและให้เพิกถอน ใบอนุ ญาตในการก่อสร้างเสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559 ศาลปกครองนครราชสี มา ได้มี คาพิพากษาให้ยกฟ้ องของผูฟ้ ้ องคดีท้ งั สอง ต่อมา เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2559 ผูฟ้ ้ องคดีท้ งั สองยืน่ อุทธรณ์ คาพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นต่อศาลปกครองสู งสุ ด คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (25) เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ โดยเรี ยกให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ชาระเงินค่าผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มของปี ดาเนินการที่ 16 ให้ครบจากการที่ ทรู มูฟ นาค่าใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย (IC)ไปหักเป็ นค่าใช้จ่ายก่อนคานวณส่ วนแบ่งรายได้ให้กบั CAT Telecom จานวนทุนทรัพย์ประมาณ 2,441.69 ล้านบาท ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (26) เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ โดยเรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ส่ งมอบพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ์ เครื่ องและอุปกรณ์ Generator จานวน 59 สถานี ให้แก่ CAT Telecom หากส่ งมอบไม่ได้ไม่วา่ กรณี ใดๆขอให้ชดใช้ราคาแทนรวมมูลค่าทั้งสิ้ น เป็ นเงินจานวนประมาณ 39.57ล้านบาท ทั้งนี้ ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ (27) เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ฮัทชิสัน ซีเอที ได้ยื่นฟ้ อง CAT Telecom พร้อมกับยืน่ ขอคุม้ ครองชัว่ คราวต่อศาลแพ่ง เพื่อขอให้ศาลมีคาพิพากษาให้ CAT Telecom หยุดการกระทาอันเป็ น การผิดสัญญาทาการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 BAND A สัญญาทาการตลาดบริ การ โทรข้ามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า CDMA โดยให้ CAT Telecom ระงับการใช้สิทธิ เรี ยกร้องให้ธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ่ง ชาระเงินตามหนังสื อสัญญาค้ าประกัน และไม่ให้ CAT Telecom รับเงินตามหนังสื อสัญญาค้ าประกันดังกล่าว อีกทั้งให้ CAT Telecom ชาระค่าเสี ยหายเป็ นจานวนประมาณ 63 ล้านบาท ให้แก่ฮทั ชิสัน ซี เอที ซึ่ งต่อมาเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ศาลแพ่งมีคาสั่งคุม้ ครองชัว่ คราวให้ CAT Telecom ระงับการใช้สิทธิ เรี ยกร้องให้ธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ่งชาระเงิน ตามหนังสื อสัญญาค้ าประกันทั้ง 4 ฉบับ และให้ CAT Telecom ระงับการรับเงินตามหนังสื อค้ าประกันดังกล่าวไว้เป็ นการชัว่ คราว จนกว่าศาลจะมีคาสั่ง เป็ นอย่างอื่น ต่อมาศาลแพ่งจึงมีคาสั่งให้โอนคดีน้ ีไปยังศาลปกครอง และให้จาหน่ายคดีออกจากสารบบความของ ศาลแพ่ง ทั้งนี้ ศาลแพ่งมิได้มีคาสั่งยกเลิกหรื อเพิกถอนคาสั่งคุม้ ครองชัว่ คราวในคดีน้ ี ทาให้คาสั่งคุม้ ครองชัว่ คราว จึงยังมีผลบังคับอยูต่ ่อไป โดยศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งให้รวมการพิจารณากับคดีในข้อ 29. ปั จจุบนั คดีน้ ี อยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(28) เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2557 บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ได้ยนื่ ฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. ต่อ ศาลปกครองกลาง ให้มีคาสั่งเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การเผยแพร่ กิจการโทรทัศน์ที่ให้บริ การเป็ น การทัว่ ไป ส่ งผลให้บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ในฐานะของผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกที่มีโครงข่าย เป็ นของตนเอง จึงมีหน้าที่ตอ้ งนาสัญญาณโทรทัศน์ของช่องฟรี ทีวมี าออกอากาศบนสถานี (Platform) ของทรู วชิ นั่ ส์ กรุ๊ ป ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในประกาศดังกล่าว การที่ บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด มีหน้าที่ตอ้ งเผยแพร่ รายการฟรี ทีวีตามจานวนช่องที่ กสทช. กาหนด ซึ่ งขณะนี้มีจานวนช่องเริ่ มต้นที่ 36 ช่อง และอาจเพิ่มมากขึ้นได้ในอนาคต ย่อมก่อภาระให้บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ในเชิ งเทคนิคอย่างไม่อาจเยียวยาได้ โดยต้องจัดหาอุปกรณ์ทางเทคนิคหรื อ ทรัพยากรช่องรายการ (Capacity) เพิ่มเติมเพื่อรองรับช่องรายการฟรี ทีวี ยิง่ ไปกว่านั้นอาจจะต้องเปลี่ยนอุปกรณ์รับ สัญญาณ (Set Top Box) ซึ่ งจะทาให้บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ได้รับความเสี ยหาย ซึ่งเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2557 ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งให้จาหน่ายคดี ซึ่ งต่อมาเมื่อวันที่ 4 สิ งหาคม 2557 บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ได้ยนื่ อุทธรณ์คาสั่งดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (29) เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ฮัทชิสัน ซีเอที เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 1 , บีเอฟเคที เป็ น ผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 2 และ ธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ่ง เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 3 ต่อ ศาลปกครองกลาง โดย CAT Telecom ได้กล่าวอ้างว่า ฮัทชิสนั ซี เอที และ บีเอฟเคที กระทาผิดสัญญาทาการตลาด วิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 BAND A สัญญาทาการตลาดบริ การโทรข้ามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า CDMA และเรี ยกค่าเสี ยหายที่ ฮัทชิสัน ซี เอที จะต้องรับผิดเป็ นเงินประมาณ 1,277.79 ล้านบาท และในส่ วนที่ ฮัทชิสัน ซี เอที และ บีเอฟเคที ต้องร่ วมรับ ผิดเป็ นจานวนเงินประมาณ 298.40 ล้านบาท นอกจากนี้ CAT Telecom ยังได้เรี ยกร้องให้ธนาคารพาณิ ชย์ แห่งนั้นชาระหนี้ ตามหนังสื อค้ าประกันรวม 4 ฉบับ ( ที่ บีเอฟเคที และ BITCOได้ขอให้ธนาคารค้ าประกัน การปฏิบตั ิตามสัญญาของ ฮัทชิสัน ซีเอที เนื่องจากฮัทชิสัน ซีเอที หยุดการดาเนินธุ รกิจตั้งแต่ปี 2555 และ กาลังจะปิ ดตัวลง)เป็ นจานวนเงินประมาณ 63.82 ล้านบาท ให้แก่ CAT Telecom อย่างไรก็ดี ด้วยเหตุที่ศาลแพ่ง ได้มีคาสั่งคุม้ ครองชัว่ คราวตามคดีในข้อ 27. ทาให้ปัจจุบนั CAT Telecom ยังไม่สามารถเรี ยกร้องให้ธนาคาร พาณิ ชย์แห่งนั้นชาระเงินตามสัญญาค้ าประกันได้ ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (30) เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 นิติบุคคลรายหนึ่ง ได้ยนื่ ฟ้ อง นายกเทศมนตรี นครเชียงใหม่ ต่อศาลปกครองเชียงใหม่และได้เรี ยกให้ บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด ปั จจุบนั เปลี่ยนชื่อเป็ น ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด ("TUC") ให้เข้ามาเป็ นผูร้ ้องสอดในคดี โดยเรี ยกร้องให้ระงับการก่อสร้างและให้เพิกถอนใบอนุญาต ในการก่อสร้างเสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ และขอให้ศาลมีคาสั่งคุม้ ครองชัว่ คราวไม่ให้ดาเนิ นการสร้างเสารับส่ งสัญญาณ โทรศัพท์ต่อไป และระงับการก่อสร้างทันที ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558 ศาลปกครองเชียงใหม่ได้มีคาสัง่ ไม่รับคาขอให้กาหนดมาตรการหรื อวิธีการคุม้ ครอง เพื่อบรรเทาทุกข์ชวั่ คราวก่อนการพิพากษาของผูฟ้ ้ องคดีไว้พิจารณา โดยเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2559 ศาลปกครองเชียงใหม่ได้มีคาพิพากษาให้ยกฟ้ องของผูฟ้ ้ องคดี (31) เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2558 บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด ปั จจุบนั เปลี่ยนชื่ อเป็ น ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด ("TUC") ได้รับคาสั่งเรี ยกให้ทาคาให้การภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับคาสั่งจาก ศาลปกครองกลาง กรณี ที่ นายสุ พล สุ ขศรี มงั่ มี พร้อมพวกรวม 2 คน ยืน่ ฟ้ อง บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด เป็ น ผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 5 เมื่อวันที่ 25 สิ งหาคม 2557 ขอให้ กสทช ยกเลิกหนังสื อการอนุญาตให้ติดตั้งสถานีฐานฯ และรื้ อถอนอุปกรณ์ส่งสัญญาณบริ เวณใกล้แยกอุรุพงษ์ ขณะนี้ คดีน้ ีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(32) เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด ปั จจุบนั เปลี่ยนชื่ อเป็ น ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด ("TUC") ได้ถูกบุคคลธรรมดา ยืน่ ฟ้ องต่อศาลปกครองนครราชสี มา เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 3 โดยมีเลขาคณะกรรมการ กสทช. เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 1 และนายกเทศมนตรี นครราชสี มา เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 2 โดยอ้างว่าเสาโทรศัพท์เป็ นอันตราย ให้ยกเลิก และ/หรื อ เพิกถอนใบอนุ ญาตให้ก่อสร้างสถานีวทิ ยุคมนาคมซึ่ งออกโดย กสทช. และ เทศบาลเมืองนครราชสี มา บริ เวณชุมชนพาณิ ชย์เจริ ญ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสี มา ต่อมา เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2559 ศาลปกครองนครราชสี มามีคาพิพากษายกฟ้ อง (33) เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 บุคคลธรรมดาได้ยนื่ ฟ้ องนายกเทศมนตรี ตาบลท่าขอนยางต่อ ศาลปกครองขอนแก่นและได้เรี ยกให้ บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด ปั จจุบนั เปลี่ยนชื่อเป็ น ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด ("TUC") ให้เข้ามาเป็ นผูร้ ้องสอดในคดี โดยเรี ยกร้องให้ยา้ ยหรื อรื้ อเสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์, ให้เพิกถอนใบอนุ ญาตในการก่อสร้างเสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ และขอให้ศาลมีคาสั่งคุม้ ครองชัว่ คราว ไม่ให้ดาเนินการเปิ ดใช้คลื่นขยายรับ-ส่ งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2558 ศาลปกครองขอนแก่นได้มีคาสั่งยก คาร้องขอให้ศาลมีคาสั่งกาหนดมาตรการหรื อวิธีการคุม้ ครองเพื่อ บรรเทาทุกข์ชวั่ คราวก่อนการพิพากษา โดยศาลให้เหตุผลว่า บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด ยังไม่ได้เปิ ดให้บริ การ สัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ ณ อาคารเสาที่พิพาทนั้น จึงไม่มีเหตุที่ศาลจะสั่งให้ บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด ระงับการเปิ ดใช้คลื่นขยายรับ-ส่ งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ตามคาขอของผูฟ้ ้ องคดีได้ ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองขอนแก่น (34) เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2558 บุคคลธรรมดารวม 150 คน ได้ยนื่ ฟ้ อง นายกเทศมนตรี ตาบลแม่แฝก เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 1 และบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ งคือ บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด ปั จจุบนั เปลี่ยนชื่ อเป็ น ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด ("TUC") เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 2 ต่อศาลปกครองจังหวัดเชียงใหม่ โดยเรี ยกร้องให้ ย้ายหรื อรื้ อเสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ , ให้เพิกถอนใบอนุญาตในการก่อสร้างเสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ ปั จจุบนั คดีน้ ีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองเชียงใหม่ (35) เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2558 บริ ษทั สตาร์ซ (ประเทศไทย) จากัด โจทก์ ยืน่ ฟ้ อง บริ ษทั ซี นิเพล็กซ์ จากัด เป็ นจาเลยที่ 1 และบริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด เป็ นจาเลยที่ 2 ในข้อหาละเมิดลิขสิ ทธิ์ ต่อศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง โดยโจทก์อา้ งเหตุแห่งการฟ้ องคดีวา่ จาเลย ทั้งสองทาการแพร่ เสี ยงแพร่ ภาพการถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลลาลีกา้ จากประเทศสเปน ผ่านกล่อง Set Top Box รุ่ นทรู ดิจิตอล เอชดี โดยมิได้รับอนุ ญาตจากโจทก์ ซึ่ งโจทก์เรี ยกค่าเสี ยหายเป็ นจานวน 60,000,000 บาท เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2558 โจทก์และจาเลยตกลงทาสัญญาประนีประนอมยอมความในศาลฯ โดยจาเลยตกลง ชาระเงินเป็ นจานวนทั้งสิ้ น 30 ล้านบาท คดีจึงถึงที่สุด

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(36) เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ เป็ น ผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 4 ต่อศาลปกครองกลาง โดยอ้างเหตุ ทรู มูฟ ได้ใช้เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคม ซึ่ งส่ งมอบ ให้ กสท. หลังจากสัญญาให้ดาเนินการให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN (PERSONAL COMMUNICATION NETWORK) 1800 สิ้ นสุ ด ช่วงระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557 (ช่วงเวลาตามประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การในกรณี สิ้นสุ ดการอนุญาต สัมปทาน หรื อสัญญาให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556)โดยมิได้ทาความตกลงใดๆกับ CAT Telecom ซึ่งทาให้มีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น ดังนั้น CAT Telecom จึงเรี ยกให้ ทรู มูฟ ชาระเงินจานวน 18,025,389,370.36 บาท ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (37) เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 2558 บุคคลธรรมดาได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช., เทศบาลเมืองราชบุรี ต่อศาลปกครองเพชรบุรี และได้เรี ยกให้ บริ ษทั แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ตเวอร์ ค จากัด ในฐานะผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 5, บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ในฐานะผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 3 และบริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด ปั จจุบนั เปลี่ยนชื่อ เป็ น ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด ("TUC") ในฐานะผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 4 เข้ามาเป็ นคู่ความในคดี โดยอ้างว่าเสาโทรศัพท์เป็ นอันตราย ให้ยกเลิก ใบอนุ ญาตให้ก่อสร้างสถานีวทิ ยุคมนาคมซึ่ งออกโดย กสทช. และ เทศบาลเมืองราชบุรี ต่อมา ทรู มูฟ และพวก ได้รับหนังสื อแจ้งคาสั่งศาลปกครองเพชรบุรีฉบับลงวันที่ 8 กันยายน 2559 ว่าอนุ ญาตให้ผฟู ้ ้ องคดีถอนฟ้ องและจาหน่ายคดีออกจากสารบบความ (38) เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2558 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ เป็ น ผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 4 ต่อศาลปกครองกลาง โดยอ้างเหตุ ทรู มูฟ ได้ใช้เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคม ซึ่ งส่ งมอบ ให้ กสท. หลังจากสัญญาให้ดาเนินการให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN (PERSONAL COMMUNICATION NETWORK) 1800 สิ้ นสุ ด คานวณตั้งแต่วนั ที่ 16 กันยายน 2557 ถึงวันที่17 กรกฎาคม 2558 (ช่วงเวลาตามประกาศ กสทช. เรื่ อง การคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณี สิ้นสุ ดการอนุ ญาตหรื อ สัมปทานตามคาสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 94/2557) โดยมิได้ทาความตกลงใดๆกับ CAT Telecom ซึ่ งทาให้มีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น ดังนั้น CAT Telecom จึงเรี ยกให้ ทรู มูฟ ชาระเงินจานวน 4,991,115,784.52 บาท ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (39) เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้รับคาสั่งเรี ยกให้ทาคาให้การ ภายใน 30 วัน นับแต่ได้รับคาสั่ง จากศาลปกครองกลาง กรณี ที่ นายสุ พล สุ ขศรี มงั่ มี พร้อมพวกรวม 3 คน ยืน่ ฟ้ อง สานักงานคณะกรรมการ กสทช. และพวกรวม 7 คน โดย ทรู มูฟ เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 7 ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้ กสทช. ยกเลิกหนังสื ออนุญาตให้ติดตั้งสถานี ฐานฯและรื้ อถอนอุปกรณ์ส่งสัญญาณบริ เวณใกล้ที่อยูอ่ าศัย ของผูฟ้ ้ องคดี ขณะนี้อยูร่ ะหว่างจัดทาคาให้การของผูถ้ ูกฟ้ องคดี คดีน้ ีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (40) เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 ทีโอที ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ ง คือ บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จากัด ( “TM” ) ปฏิบตั ิตามสัญญาอนุญาตให้ดาเนิ นกิจการ ให้บริ การให้เช่าวงจรสื่ อสัญญาณความเร็ วสู งผ่านโครงข่ายมัลติมีเดีย ในข้อ 10. และข้อ 13. เรื่ อง การเข้าตรวจสอบ และการจัดอบรม ปั จจุบนั ข้อพิพาทยังอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(41) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ได้ยื่นฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งเพิกถอนประกาศสานักงาน กสทช. เรื่ อง การกากับดูแลการโฆษณาบริ การหรื อสิ นค้าของผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกและ ผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก คดีน้ ีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง (42) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิล้ จากัด (มหาชน) ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลางเป็ น เพื่อขอให้ศาลมีคาสัง่ เพิกถอนประกาศ สานักงาน กสทช. เรื่ อง การกากับดูแลการโฆษณาบริ การหรื อสิ นค้าของผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายโทรทัศน์แบบ บอกรับสมาชิกและผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก คดีน้ ี อยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง (43) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั ทรู โฟร์ ยู สเตชัน่ จากัด ได้ยนื่ ฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. กับพวก ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งเพิกถอนประกาศสานักงาน กสทช. เรื่ อง การกากับดูแลการโฆษณาบริ การหรื อสิ นค้าของผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกและ ผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก คดีน้ ีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง (44) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จากัด ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งเพิกถอน ประกาศสานักงาน กสทช. เรื่ อง การกากับดูแลการโฆษณาบริ การหรื อสิ นค้าของผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิกและผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกคดีน้ ี อยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง (45) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์ (“ประกาศหลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์”) คดีน้ ีอยู่ ระหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง (46) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิล้ จากัด (มหาชน) ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์ (“ประกาศหลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์”) คดีน้ ีอยู่ ระหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง (47) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั ทรู โฟร์ ยู สเตชัน่ จากัด ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์ (“ประกาศหลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์”) คดีน้ ีอยู่ ระหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง (48) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จากัด ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งเพิกถอน ประกาศ กสทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์ (“ประกาศหลักเกณฑ์การจัดลาดับบริ การโทรทัศน์”) คดีน้ ีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(49) เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. , กทค. สานักงาน กสทช.และ เลขาธิการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง โดยขอให้เพิกถอนมติของ กทค. ที่ให้ ทรู มูฟ นาส่ งเงินรายได้จากการให้บริ การตามมาตรการการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราว ระหว่าง วันที่ 16 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 จานวน 1,069,983,638.11 บาท และขอให้ผถู้ ูกฟ้ องคดี ชาระค่าใช้จ่ายให้ ทรู มูฟ อันเนื่องมาจากการปฏิบตั ิตามประกาศมาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การฯ เป็ นจานวนเงิน 16,074,095,994.72 บาท (คานวณนับตั้งแต่วนั ที่ 16 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 30 ตุลาคม 2558) รวมถึงขอให้คืน ค่าธรรมเนียมเลขหมายที่ ทรู มูฟ ได้ชาระให้แก่ กสทช. โดยหลงผิดภายหลังสัญญาให้ดาเนินการให้บริ การ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN (PERSONAL COMMUNICATION NETWORK) 1800 สิ้ นสุ ดจานวน190,966,924.81 บาท ต่อมาเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2559 คณะกรรมการ กสทช. กับพวก ได้ยนื่ คาร้องขอให้ศาลจาหน่ายคดีน้ ีชวั่ คราวต่อศาลปกครองกลาง เพื่อทบทวนคาสั่งตามมติของ กทค.ดังกล่าว ทั้งนี้ ทรู มูฟ ได้ยนื่ คาแถลงคัดค้านคาร้องขอจาหน่ายคดีชวั่ คราวดังกล่าวของคณะกรรมการ กสทช. กับพวก ต่อศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2559 ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (50) เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ องกรมสรรพากรต่อศาลภาษีอากรกลาง ขอให้ศาลมีคาพิพากษาเพิกถอนการประเมินของเจ้าพนักงานประเมินและคาวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการ พิจารณาอุทธรณ์ที่วินิจฉัย ให้การประเมินภาษีของเจ้าพนักงานประเมินชอบด้วยกฎหมาย ทาให้ ทรู มูฟ ต้อง นาส่ งภาษีเงินได้นิติบุคคล หัก ณ ที่จ่าย สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เป็ นเงินรวมทั้งสิ้ น 14.98 ล้านบาท โดยอ้างว่าเงินค่าภาษีสรรพสามิตที่ ทรู มูฟ หักออกจากส่ วนแบ่งรายได้ ซึ่ งต้องจ่ายให้แก่ CAT Telecom ตามสัญญาให้ดาเนินการให้บริ การวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN 1800 เป็ นส่ วนหนึ่งของค่าตอบแทนการให้บริ การตามมาตรา 40 (8) แห่ง ประมวลรัษฎากร ทรู มูฟจึงมีหน้าที่ตอ้ งหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายทุกคราว ที่มีหน้าที่ตอ้ งจ่ายในอัตราร้อยละ 3.0 และนาส่ งให้กรมสรรพากรตามข้อ 12/1 ของคาสัง่ กรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528 ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 ศาลภาษีอากรกลางได้พิพากษายกฟ้ อง โดยทรู มูฟจะใช้สิทธิ ยนื่ อุทธรณ์ต่อไป (51) เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.2558 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด ("TUC") ต่อศาลปกครองกลาง โดยอ้างเหตุวา่ บริ ษทั ฯ ได้ติดตั้งเครื่ อง และอุปกรณ์โทรคมนาคม 2100 MHz เชื่อมต่อกับเครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมที่ประกอบเป็ นสถานีฐาน (สถานีเครื อข่าย) ที่มีไว้ใช้ให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบ 1800 MHz จานวน 72 สถานีฐาน ซึ่ง CAT Telecom อ้างว่าเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ทรัพย์สินเครื่ องและอุปกรณ์ที่ ทรู มูฟ มีไว้ใช้เพื่อบริ การตามสัญญาให้ดาเนิ นการ ให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN 1800 จึงเรี ยกร้องให้ TUC รื้ อถอนเครื่ องและอุปกรณ์ โทรคมนาคมดังกล่าวและชดใช้ค่าเสี ยหายให้แก่ CAT Telecom เป็ นจานวนเงิน 83.94 ล้านบาทรวมดอกเบี้ย ของต้นเงิน 76.75 ล้านบาท ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ถัดจากวันฟ้ องจนกว่าจะชาระเสร็ จ ทั้งนี้ ปั จจุบนั คดีอยู่ ในระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(52) เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2559 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อ สถาบันอนุญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้ CAT Telecom ชาระคืนเงินผลประโยชน์ตอบแทนที่คิดจากฐานรายได้ ที่เกิดจากการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตามกฎหมาย (IC) ซึ่ งไม่ใช่รายได้ที่เกิดจากการให้บริ การวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูล่า (DIGITAL PCN 1800) ตามสัญญาอนุญาตที่ ทรู มูฟ ได้นามารวมคานวณเป็ นผลประโยชน์ ตอบแทนนาส่ งให้แก่ CAT Telecom ตั้งแต่ปีดาเนิ นการที่ 11 ถึงปี ดาเนินการที่ 17 ไปแล้วเป็ นจานวนเงิน 11,827.67 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 15 ต่อปี นับแต่วนั ยืน่ คาเสนอข้อพิพาทเป็ นต้นไปจนกว่า จะชาระเสร็ จสิ้ นแก่ ทรู มูฟ ขณะนี้ขอ้ พิพาทยังอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ (53) เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ โดยเรี ยกให้บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ชาระเงินค่าผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มของปี ดาเนินการที่ 17 ให้ครบจากการที่ ทรู มูฟ นาค่าใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย (IC)ไปหักเป็ นค่าใช้จ่ายก่อนคานวณส่ วนแบ่งรายได้ ให้กบั CAT Telecom จานวนทุนทรัพย์ประมาณ 2,596.51 ล้านบาท ขณะนี้ อยูร่ ะหว่าง ทรู มูฟ จัดทาคาให้การ ทั้งนี้ ปั จจุบนั ข้อพิพาทยังยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ (54) เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2559 กสทช. ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ต่อศาลปกครองกลาง เรี ยกให้ ทรู มูฟ ชาระค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรศัพท์สาหรับบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ และค่าธรรมเนียมที่เพิม่ ขึ้น ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2557 ถึงเดือนธันวาคม 2558 ซึ่ งเป็ นช่วงเวลาตามประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุม้ ครอง ผูใ้ ช้บริ การในกรณี สิ้นสุ ดการอนุ ญาต สัมปทาน หรื อสัญญาให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 และ ประกาศ กสทช. เรื่ อง การคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณี สิ้นสุ ดการอนุญาตหรื อสัมปทานตาม คาสัง่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 94/2557 เป็ นจานวนเงินรวม 878,375,708.62 บาท ปั จจุบนั คดีอยู่ ในระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (55) เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2559 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ เรี ยลมูฟ ต่อ ศาลปกครองกลาง เรี ยกให้ เรี ยลมูฟ ชาระค่าตอบแทนการใช้บริ การข้ามโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ภายในประเทศบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 2G คลื่นความถี่ยา่ น 1800MHz ( Domestic Roaming) ตั้งแต่วนั ที่ 27 เมษายน 2554 ถึงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2558 เป็ นจานวน 22,972,074,622.69 บาท ปัจจุบนั คดี อยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (56) เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ เรี ยลมูฟ ได้ยนื่ ฟ้ อง CAT Telecom ต่อ ศาลแพ่ง กรณี CAT Telecom กระทาผิดสัญญาหรื อละเมิดต่อ เรี ยลมูฟ และขอให้ CAT Telecom ชาระ ค่าเสี ยหายจากการกระทาผิดสัญญาบริ การขายส่ งบริ การบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ HSPA (“สัญญาบริ การขายส่ งบริ การฯ”) เป็ นจานวนเงิน 150 ล้านบาท และค่าเสี ยหายต่อชื่อเสี ยงให้แก่ เรี ยลมูฟ เป็ นจานวนเงินอีก 50 ล้านบาท จากการที่ CAT Telecom ได้มีหนังสื อเรี ยกให้ธนาคารผูค้ ้ าประกันให้ เรี ยลมูฟตามสัญญาบริ การขายส่ งบริ การฯ ชาระเงินโดยอ้างว่าเรี ยลมูฟผิดสัญญา ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่าง พิจารณาของศาลแพ่ง

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(57) เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2559 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ฮัทชิสัน ซี เอที ต่อศาลปกครองกลาง เรี ยกให้ ฮัทชิสัน ซีเอที ชาระค่าธรรมเนียม USO ที่ CAT Telecom ชาระให้แก่ กสทช. ตามประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่ อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการจัดให้มี บริ การโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทัว่ ถึงและบริ การเพื่อสังคม ตั้งแต่ 3 สิ งหาคม 2548 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2556 เป็ นจานวนเงิน 444,525,607.45 บาท(รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับตั้งแต่ วันที่ผดิ นัด คือ 16 สิ งหาคม 2557 ถึงวันฟ้ องคดี รวมเป็ นเงินจานวน 501,339,633.72 บาท, ค่าใช้บริ การ CDMA ส่ วนกลาง (ตั้งแต่มกราคม 2555 – 26 เมษายน 2556) เป็ นจานวนเงิน 394,636,743.37 บาท พร้อม ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยคานวณตั้งแต่วนั ที่ผิดนัดถึงวันฟ้ องคดี เป็ นเงิน 114,743,317.76 บาท รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น 509,380,063.13 บาท และค่าตอบแทนทาการตลาดคืนเพิ่มเติมเป็ นจานวนเงิน 2,340,081 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) และดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี นับตั้งแต่วนั ที่ผิดนัด คือ 26 มิถุนายน 2557 จนถึงวันฟ้ องคดี รวมเป็ นเงิน 2,663,685.85 บาท รวมทุนทรัพย์ท้ งั สิ้ น 1,013,383,382.70 บาท ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณา ของศาลปกครองกลาง (58) เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2559 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ เป็ น ผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 4 ต่อศาลปกครองกลาง โดยอ้างเหตุ ทรู มูฟ ได้ใช้เครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคม ซึ่ งส่ งมอบ ให้ กสท. หลังจากสัญญาให้ดาเนินการให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN (PERSONAL COMMUNICATION NETWORK) 1800 สิ้ นสุ ด คานวณตั้งแต่วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2558 ถึงวันที่ 3 ธันวาคม 2558 ซึ่ งเป็ นช่วงเวลาตามบันทึกอนุมตั ิของหัวหน้า คสช. ฉบับลงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 โดยนาประกาศ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การในกรณี สิ้นสุ ดการอนุญาต สัมปทาน หรื อสัญญาให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 มาใช้โดยอนุโลม เรี ยกให้ ทรู มูฟ ชาระเงินจานวน 2,206,042,574.36 บาท (รวมดอกเบี้ย) ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (59) เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2559 CAT Telecom ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ เรี ยลมูฟ เรี ยกให้ เรี ยลมูฟชาระค่าตอบแทนการบริ การขายส่ งบริ การตามสัญญาขายส่ งบริ การบนโครงข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ HSPA เป็ นจานวนเงิน 19,500,170,712.83 บาท (รวมดอกเบี้ย) ปั จจุบนั คดีอยูใ่ น ระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (60) เมื่อวันที่ 5 สิ งหาคม 2559 กสทช. ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ต่อศาลปกครองกลาง เรี ยกให้ ทรู มูฟ นาส่ งเงินรายได้จากการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่บนคลื่นความถี่ 1800 MHz ตามประกาศ กสทช. เรื่ องมาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราว ระหว่างวันที่ 16 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 17 กรกฎาคม 2557 จานวนทุนทรัพย์ 1,150,658,475.75 บาท ทั้งนี้อยูร่ ะหว่างทรู มูฟ จัดทาคาให้การ ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองกลาง (61) เมื่อวันที่ 11 สิ งหาคม 2559 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเรี ยกให้ ทรู มูฟ รื้ อถอนเครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมสาหรับให้บริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ย่านความถี่ 2.1 (2100 MHz) ของบุคคลอื่นที่ติดตั้งภายใต้สิทธิ หรื อความยินยอมของ ทรู มูฟ ที่ติดตั้งและเชื่ อมต่อกับเครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคม หรื อโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ สาหรับให้บริ การวิทยุ โทรคมนาคมระบบ 1800 MHz ตามสัญญา ให้ดาเนินการฯ หรื อชดใช้ค่าเสี ยหาย 417,663,018. 28 บาท แทน ปั จจุบนั ข้อพิพาทอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการ ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(62) เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2559 บริ ษทั ย่อย คือ ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ (TIC), ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ (TIG) และ ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ (TU) ได้ยนื่ ฟ้ อง กสทช., กทค. และสานักงาน กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้เพิกถอนมติที่ประชุม กทค.ครั้งที่ 32/2558 และคาสั่ง ของ กสทช. ที่สั่งให้ผรู ้ ับใบอนุญาตแบบที่ 2 และแบบที่ 3 ต้องชาระค่า USO ในอัตราร้อยละ 4 ของรายได้สุทธิ จากการประกอบกิจการในช่วงเดือนมกราคม 2554 – เดือนพฤษภาคม 2555 ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณา ของศาลปกครองกลาง (63) เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้ยนื่ ฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. , กทค. สานักงาน กสทช.และ เลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เรี ยกให้ผถู ้ ูกฟ้ องคดี ชาระค่าใช้จ่ายให้ ทรู มูฟ อันเนื่องมาจากการปฏิบตั ิตามประกาศ กสทช. เรื่ อง การคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราวช่วงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 ถึง 3 ธันวาคม 2558 เป็ นเงินจานวน 709,649,856 บาท ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของ ศาลปกครองกลาง (64) เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2559 บริ ษทั ย่อย คือ เรี ยลมูฟ ยืน่ ฟ้ อง CAT Telecom ต่อศาลแพ่ง เรี ยกให้ CAT Telecom ชาระค่าเสี ยหายในกรณี ที่ CAT Telecom ไม่สามารถจัดหาเลขหมายโทรคมนาคมให้ เรี ยลมูฟ ได้ ตามสัญญา บริ การขายส่ งบริ การบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ HSPA โดยเรี ยกค่าเสี ยหาย เป็ นจานวน 30,680,240,988.61 บาท อยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลแพ่ง (65) เมื่อวันที่ 17 สิ งหาคม 2559 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) ได้ยนื่ ฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เนื่องจากผูถ้ ูกฟ้ องคดีได้ละเว้นและละเลยการปฏิบตั ิหน้าที่หรื อ ปฏิบตั ิหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรหลายกรณี รวมถึงจงใจหรื อประมาทเลินเล่อให้ขอ้ มูลที่ไม่ถูกต้องหรื อข้อมูลที่รู้หรื อ ควรรู ้อยูแ่ ล้วว่าไม่อาจดาเนิ นการได้ ทาให้ ทีเอ็นเอ็น หลงเชื่ อเข้าร่ วมประมูลทีวีดิจิตอลไปโดยหลงผิดในข้อมูล หรื อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญอันเป็ นการละเมิดต่อทีเอ็นเอ็นโดยทีเอ็นเอ็น ได้ฟ้องเรี ยกค่าเสี ยหายเป็ น จานวน 2,618,260,000 บาท ปั จจุบนั คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (66) เมื่อวันที่ 17 สิ งหาคม 2559 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ง คือ บริ ษทั ทรู โฟร์ ยู สเตชัน่ จากัด (ทรู โฟร์ ย)ู ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เนื่องจากผูถ้ ูกฟ้ องคดีได้ละเว้นและละเลย การปฏิบตั ิหน้าที่หรื อปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดอย่างล่าช้าเกินสมควรหลายกรณี รวมถึงจงใจหรื อ ประมาทเลินเล่อให้ขอ้ มูลที่ไม่ถูกต้องหรื อข้อมูลที่รู้หรื อควรรู ้อยูแ่ ล้วว่าไม่อาจดาเนินการได้ ทาให้ ทรู โฟร์ ยู หลงเชื่อเข้าร่ วมประมูลทีวดี ิจิตอลไปโดยหลงผิดในข้อมูลหรื อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญอันเป็ นการ ละเมิดต่อทรู โฟร์ ยู โดยทรู โฟร์ ยไู ด้ฟ้องเรี ยกค่าเสี ยหายเป็ นจานวน 4,119,540,000 บาท ปัจจุบนั คดีอยูใ่ น ระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง (67) เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2559 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ได้ยื่น ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. กับพวกต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งเพิกถอนมติของผูถ้ ูกฟ้ องคดี ที่สั่งให้ ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป ระงับการนาบริ การโทรทัศน์ที่เป็ นการทัว่ ไปมาออกอากาศผ่านโครงข่ายโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิกในหมวดหมู่หรื อลาดับช่องบริ การโทรทัศน์อื่นๆ ซึ่ งมีไว้สาหรับบริ การโทรทัศน์ที่ไม่ใช้ คลื่นความถี่แบบบอกรับสมาชิก ปัจจุบนั คดีน้ ีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

สั ญญาอนุญาตให้ ดาเนินการของบริษัทย่อย ในเดือนพฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาได้มีความเห็นว่าสัญญาอนุ ญาตให้ดาเนินการ ให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ ระหว่าง CAT Telecom กับบริ ษทั ย่อย อาจต้องผ่านการอนุมตั ิจาก คณะรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่ วมงานหรื อดาเนินการในกิจการของรัฐ ซึ่ง CAT Telecom ไม่ได้ดาเนินการตามนั้น อาจส่ งผลในทางเสี ยหายต่อสถานะของบริ ษทั ย่อย โดยที่ปรึ กษากฎหมายของกลุ่มบริ ษทั ฯ มีความเห็นว่า ตามหลักกฎหมายแล้ว ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายต่อ บริ ษทั ย่อย ดังนั้น บริ ษทั ย่อยจึงสามารถประกอบธุ รกิจให้บริ การภายใต้สัญญาให้ดาเนิ นการฯ ต่อไปได้ ค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) กลุ่มบริ ษทั ฯ มีคดีความเกี่ยวกับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ที่อยูใ่ นระหว่างการ พิจารณาและยังไม่ทราบผลของคดีความดังนี้ 1.

ค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 สิ งหาคม 2545 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่อคณะอนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับกรณี พิพาท ที่เกิดจากสัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างบริ ษทั ฯ กับทีโอทีตามสัญญาร่ วมการงานฯ ระบุไว้วา่ บริ ษทั ฯ มีสิทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากการที่ทีโอทีนาบริ การหรื ออนุญาตให้บุคคลที่สามให้บริ การพิเศษบนโครงข่าย ทีโอทีได้อนุญาตให้ CAT Telecom และผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายอื่นให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่บนโครงข่าย และได้รับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายจาก CAT Telecom และผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายอื่น อย่างไรก็ตาม ทีโอที เห็นว่าบริ การดังกล่าวไม่ได้เป็ นบริ การพิเศษ ดังนั้น จึงปฏิเสธที่จะจ่ายผลตอบแทนในส่ วนของบริ ษทั ฯ ดังกล่าว ดังนั้น บริ ษทั ฯ จึงขอให้อนุ ญาโตตุลาการชี้ ขาดให้ทีโอทีจ่ายส่ วนแบ่งในส่ วนของบริ ษทั ฯ สาหรับค่าเชื่ อมต่อ โครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ที่ทีโอทีได้รับนับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2535 ถึงเดือนมิถุนายน 2546 เป็ นจานวนเงิน 25,419.40 ล้านบาท เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2549 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้ส่งคาชี้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 17 มกราคม 2549 มายังบริ ษทั ฯ คณะอนุญาโตตุลาการได้มีคาชี้ขาดโดยเสี ยงข้างมาก มีคาชี้ขาดสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ (1) ให้บริ ษทั ฯ มีสิทธิ รับผลประโยชน์จากการที่ทีโอทีนาบริ การพิเศษมาใช้ผา่ นโครงข่ายของ บริ ษทั ฯ หรื อการที่ทีโอทีอนุ ญาตให้บุคคลอื่น นาบริ การพิเศษมาใช้ผา่ นโครงข่ายของบริ ษทั ฯ (2) สาหรับผลประโยชน์นบั ตั้งแต่เริ่ มต้นจนถึงวันที่ 22 สิ งหาคม 2545 ให้ทีโอทีชาระเงิน จานวน 9,175.82 ล้านบาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของเงินจานวนดังกล่าวนับตั้งแต่วนั ที่ 22 สิ งหาคม 2545 ให้แก่บริ ษทั ฯ จนกว่าทีโอทีจะชาระเสร็ จสิ้ น ให้ทีโอทีชาระเงินตามคาชี้ขาดข้อนี้ให้แก่ บริ ษทั ฯ ภายใน 60 วันนับตั้งแต่วนั ที่ได้รับคาชี้ขาด อย่างไรก็ดี ทีโอทียงั ไม่ได้ชาระเงินตามคาชี้ขาดดังกล่าว ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 มีมูลค่ารวม 15,620.26 ล้านบาท (3) สาหรับผลประโยชน์ต้ งั แต่วนั ที่ 23 สิ งหาคม 2545 เป็ นต้นไป ให้ทีโอทีแบ่งผลประโยชน์ ตอบแทนให้บริ ษทั ฯ ในอัตราร้อยละ 50 ของผลประโยชน์ที่ทีโอทีได้รับจริ ง ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 ทีโอทียนื่ คาร้องต่อศาลปกครองกลางเพื่อขอเพิกถอนคาชี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการ ต่อมาเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาคัดค้านต่อศาลปกครองกลางและ ศาลปกครองกลางได้รับเรื่ องไว้แล้วเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549 และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริ ษทั ฯ ได้ขอให้มีการบังคับตามคาชี้ ขาดของอนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งให้รวมคดีที่ทีโอทีเป็ น ผูร้ ้องเพื่อขอให้ศาลเพิกถอนคาชี้ขาดของอนุ ญาโตตุลาการมาพิจารณาพร้อมกัน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาให้เพิกถอนคาชี้ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ และปฏิเสธการขอบังคับตามคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ โดยให้เหตุผลว่าคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ไม่ชอบด้วยสัญญาร่ วมการงานฯ ดังนั้นการบังคับตามคาชี้ ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการจึงเป็ นการขัดต่อ ความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชนจึงเป็ นกรณี ที่ศาลสามารถเพิกถอนคาชี้ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการได้ ต่อมา เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2555 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองกลาง ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 19 สิ งหาคม 2559 ศาลปกครองสู งสุ ดพิพากษายืนตามคาพิพากษาของ ศาลปกครองกลางให้เพิกถอนคาชี้ขาดคณะอนุญาโตตุลาการ 2.

ค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) ของบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2549 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้ส่งจดหมายถึงทีโอทีให้เข้าร่ วมเจรจา เกี่ยวกับสัญญาการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (“IC”) ระหว่างโครงข่ายของทรู มูฟและโครงข่ายของทีโอที ต่อมาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรู มูฟได้ส่งหนังสื อแจ้งทีโอทีและ CAT Telecom เพื่อแจ้งว่าจะหยุด ชาระค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) เนื่องจากอัตราและการเรี ยกเก็บค่าเชื่อมต่อโครงข่าย แบบเดิม (Access Charge) ขัดแย้งกับกฎหมายหลายประการ ทั้งนี้ ทรู มูฟได้ร้องขอให้ทีโอทีเข้าร่ วมลงนาม ในสัญญา IC กับทรู มูฟเพื่อให้เป็ นไปตามกฎหมายหรื อให้เรี ยกเก็บอัตราเรี ยกเก็บชัว่ คราวที่ประกาศโดย คณะกรรมการ กทช. ในระหว่างที่การเจรจาเรื่ องการเข้าทาสัญญา IC กับทีโอทียงั ไม่มีขอ้ ยุติ ต่อมา เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอทีได้ส่งหนังสื อเพื่อแจ้งว่า ทรู มูฟไม่มีสิทธิ ที่จะใช้และ เชื่อมต่อโครงข่ายของทรู มูฟกับโครงข่ายของทีโอทีตามกฎหมายใหม่ เนื่องจากทรู มูฟไม่ได้เป็ นผูร้ ับใบอนุญาต ประกอบกิจการโทรคมนาคมจากคณะกรรมการ กทช. และไม่มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง นอกจากนั้น ทีโอทีได้โต้แย้งว่าข้อตกลง AC ไม่ได้ฝ่าฝื นกฎหมายใดๆ ดังนั้น อัตราและการเรี ยกเก็บ ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ภายใต้ขอ้ ตกลง AC ยังคงมีผลใช้บงั คับต่อไป อย่างไรก็ตาม ทรู มูฟ เห็นว่า ข้อโต้แย้งของ ทีโอทีไม่เป็ นไปตาม พ.ร.บ.การประกอบกิจการโทรคมนาคมอีกด้วย เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2550 ทรู มูฟ ได้ยนื่ คาร้องเสนอข้อพิพาทเกี่ยวกับการที่ทีโอทีปฏิเสธการเข้า ทาสัญญาเชื่ อมต่อโครงข่ายฯ IC กับทรู มูฟ ต่อคณะกรรมการ กทช. เข้าสู่ กระบวนการระงับข้อพิพาท ตาม ประกาศของคณะกรรมการ กทช. ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 เพื่อขอให้ คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท (“กวพ.”) มีคาวินิจฉัยให้ ทีโอทีดาเนิ นการทาสัญญาเชื่ อมต่อโครงข่ายฯ (IC) กับ ทรู มูฟ ซึ่ งเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 และวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 กวพ. ได้มีคาวินิจฉัยและ คณะกรรมการ กทช. มีคาชี้ขาดว่า ทรู มูฟ มีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการเชื่ อมต่อโครงข่าย โทรคมนาคมเช่นเดียวกับผูไ้ ด้รับใบอนุญาต และให้ทีโอทีเข้าร่ วมเจรจาเพื่อทาสัญญา IC กับ ทรู มูฟ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอทีได้ตกลงที่จะเข้าเจรจาทาสัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (IC)

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 28


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กับ ทรู มูฟแล้ว แต่มีเงื่อนไขว่า จะทาสัญญาเฉพาะกับเลขหมายใหม่ที่ ทรู มูฟ ได้รับจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เท่านั้น ทรู มูฟได้ตกลงตามที่ทีโอทีเสนอ แต่สาหรับเลขหมายเก่านั้น ทรู มูฟยังคงดาเนินการให้เป็ นเรื่ องของข้อพิพาท และอยูใ่ นดุลยพินิจของศาลต่อไป เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอทีได้ยนื่ ฟ้ องทรู มูฟต่อศาลแพ่ง เพื่อขอเรี ยกเก็บค่าAC ที่ทรู มูฟ ไม่ได้จ่ายจานวนประมาณ 4,508.10 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยและภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ศาลแพ่งและศาลปกครองกลางมีความเห็นพ้องกันว่าคดีดงั กล่าวไม่อยูใ่ นเขตอานาจศาลแพ่ง ดังนั้น ศาลแพ่ง จึงจาหน่ายคดีออกจากสารบบ ต่อมาเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอทีได้ยนื่ ฟ้ อง CAT Telecom ร่ วมกับ ทรู มูฟ ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อเรี ยกร้องให้ชาระค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) จานวนเงิน 41,540.27 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ทีโอทีได้ยนื่ คาร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมคาฟ้ อง เพื่อแก้ไข จานวนเงินที่เรี ยกร้องค่า AC พร้อมภาษีมูลค่าเพิ่มคิดจนถึงวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556 อันเป็ นวันที่ ทีโอที อ้างว่าข้อตกลง AC สิ้ นสุ ด พร้อมกับเรี ยกดอกเบี้ยที่คิดตั้งแต่ช่วงปลายปี 2549 แล้วแต่กรณี จนถึง ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 และภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยรวมเป็ นต้นเงินที่ ทีโอที เรี ยกให้ CAT Telecom และ ทรู มูฟ ร่ วมกันรับผิดประมาณ 59,628 ล้านบาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)นอกจากนี้ ยังเรี ยกดอกเบี้ยของต้นเงินดังกล่าว นับตั้งแต่วนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็ นต้นไปจนกว่าจะชาระเสร็ จ โดยคิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อเดือนเศษของเดือนให้คิดเป็ นหนึ่งเดือน สาหรับต้นเงินประมาณ 42,299.28 ล้านบาท และคิดอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 7.5 ต่อปี สาหรับต้นเงินประมาณ 17,329.68 ล้านบาท ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ ปั จจุบนั ทีโอที รับว่าสัญญา AC ได้สิ้นสุ ดลงแล้ว โดยเห็นว่าสิ้ นสุ ดลงตั้งแต่วนั ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556 เป็ นต้นไป ดังนั้น ในส่ วนจานวนต้นเงินที่พิพาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ซึ่ ง ทีโอที เรี ยกร้อง ดังกล่าวข้างต้น จึงไม่เกินไปกว่าประมาณ 59,628 ล้านบาท ทั้งนี้ถา้ ทรู มูฟ ต้องชาระค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ทรู มูฟ อาจต้องบันทึกค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) เป็ นค่าใช้จ่ายและค่าใช้จ่าย ค้างจ่ายเพิ่มเติม สาหรับระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2556 ดังนี้

ค่า AC ค้างจ่าย (ล้านบาท) สาหรับระยะเวลา ตั้งแต่วนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2556

32,344.56

ผลกระทบสุ ทธิ ต่อ กาไรหรื อขาดทุนรวม ซึ่งสุ ทธิจากเงิน ส่ วนแบ่งรายได้ที่จ่าย ให้แก่ CAT Telecom (ล้านบาท) 23,762.55

ฝ่ ายบริ หารและที่ปรึ กษากฎหมายมีความเห็นว่า ทรู มูฟไม่มีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายเชื่อมต่อ โครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ตามที่ ทีโอที เรี ยกร้อง ข้างต้น ทั้งนี้ ผลที่สุดของคดีความดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถคาดการณ์ได้ในขณะนี้ ดังนั้นบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย จึงไม่ได้บนั ทึกรายได้และไม่ได้ต้ งั สารองสาหรับผลเสี ยหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดงั กล่าวไว้ในงบการเงิน

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 29


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสำคัญอืน่ 6.1 ข้ อมูลทัว่ ไป (1) บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) (“บริ ษทั ฯ”) มีชื่อย่อหลักทรัพย์ในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่ำ “TRUE” ได้จดทะเบียนก่อตั้งบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกำยน 2533 ในนำมบริ ษทั ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชัน่ จำกัด โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก 1,000 ล้ำนบำท เพื่อดำเนินธุ รกิจทำงด้ำนโทรคมนำคม ต่อมำได้จดทะเบียนแปรสภำพ เป็ นบริ ษทั มหำชนจำกัด เมื่อวันที่ 11 กุมภำพันธ์ 2536 ทะเบียนเลขที่ 0107536000081 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้ น 133,474,621,856 บำท เป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 33,368,655,464 หุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 4 บำท โดยมีทุนที่เรี ยกชำระแล้วจำนวน 133,472,781,204 บำท เป็ นหุน้ สำมัญจำนวน 33,368,195,301 หุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 4 บำท โดยมีที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่อยูท่ ี่ เลขที่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพมหำนคร 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 Website : www.truecorp.co.th (2) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และ บริ ษทั ที่เข้ำร่ วมลงทุน ชื่อบริษทั

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

บริ ษทั เอพีแอนด์เจ โปรดักชัน เลขที่ 105/1 ถนนเทศบำลสงเครำะห์ จำกัด แขวงลำดยำว เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900 โทรศัพท์ (662) 954-3512 โทรสำร (662) 954-3513 บริ ษทั เอเซี ย ไวร์เลส 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์เทเลเทค 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ จำกัด (มหำชน) ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 ส่วนที่ 1

ประเภทธุรกิจ ธุรกิจบันเทิง

ผูใ้ ห้เช่ำอุปกรณ์ โทรคมนำคม

ธุรกิจลงทุน

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น 70.00

16.67 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 166,667 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 5,720.92 ล้ำนบำท 100.00 แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จำนวน 1,144.18 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 5 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 16,229 ล้ำนบำท 99.74 แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญจำนวน 6,491.74 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 2.50 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั บริ ษทั บี บอยด์ ซี จี จำกัด

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ซี นิเพล็กซ์ จำกัด 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั ฮัทชิสนั ซี เอที ไวร์เลส 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ มัลติมีเดีย จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง (ประเทศไทย) จำกัด เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ฮัทชิสนั ไวร์เลส 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภทธุรกิจ ผลิตกำร์ตูน แอนนิเมชัน่

ให้เช่ำอุปกรณ์ โทรคมนำคม

ผลิตรำยกำร โทรทัศน์

หยุดดำเนินงำน

หยุดดำเนินงำน

หยุดดำเนินงำน

ธุรกิจลงทุน

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น

124.67 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 12.47 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 23,358.32 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 233.58 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 1,283.43 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 128.34 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 950 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 95 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 230 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 23 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 54 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 3.6 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 15 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 10 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 590,000 หุ น้ และ หุน้ บุริมสิ ทธิ จำนวน 410,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

84.67

100.00

100.00

68.20

100.00

100.00

92.26

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั บริ ษทั ศูนย์บริ กำรวิทยำกำร อินเตอร์เนต จำกัด

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

ประเภทธุรกิจ

2/4 อำคำรสำมัคคีประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภำวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสำร (662) 979-7111

กำรสื่ อสำร โทรคมนำคมที่ มิใช่ภำครัฐ

บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล 2/4 อำคำรสำมัคคีประกันภัย อินเตอร์เนต จำกัด ชั้น 10 ถนนวิภำวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสำร (662) 979-7111 บริ ษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ 2/4 อำคำรสำมัคคีประกันภัย ดอทคอม จำกัด ชั้น 10 ถนนวิภำวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสำร (662) 979-7111 บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด

บริ ษทั เรี ยล มูฟ จำกัด

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ทุนชำระแล้ ว

50 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 12 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท ซึ่ งประกอบด้วย หุ น้ สำมัญที่ เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน 2.67 ล้ำนหุ น้ และ หุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำอีก จำนวน 9.33 ล้ำนหุน้ โดยเรี ยก ชำระไว้ที่มลู ค่ำหุน้ ละ 2.50 บำท โทรคมนำคม 153.04 ล้ำนบำท และอินเทอร์เน็ต แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จำนวน 15.3 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ธุรกิจ 139.64 ล้ำนบำท อินเทอร์เน็ตและ แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ ผูจ้ ดั จำหน่ำย จำนวน 13.95 ล้ำนหุ น้ และหุน้ บุริมสิ ทธิ จำนวน 0.01 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 118/1 อำคำรทิปโก้ ให้บริ กำรด้ำน 555 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน กำรบริ หำรจัดกำร จำนวน 105.50 ล้ำนหุน้ เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 แก่ศิลปิ น และ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท โทรศัพท์ (662) 725-7400 ธุรกิจอื่นที่ ซึ่ งประกอบด้วย หุ น้ สำมัญที่ โทรสำร (662) 725-7401 เกี่ยวข้อง เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน 15.50 ล้ำนหุ น้ และ หุน้ สำมัญที่เรี ยกชำระยังไม่ เต็มมูลค่ำอีกจำนวน 90 ล้ำนหุ น้ โดยเรี ยกชำระไว้ที่มลู ค่ำ หุน้ ละ4.44 บำท 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ผูใ้ ห้บริ กำร 7,000ล้ำนบำทแบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง ขำยต่อบริ กำร จำนวน 70 ล้ำนหุน้ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์เคลื่อนที่ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท โทรศัพท์ (662) 643-1111 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ โทรสำร (662) 643-1651

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

% กำรถือหุ้น 56.93

56.83

91.08

99.99

99.74

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั บริ ษทั สมุทรปรำกำร มีเดีย คอร์ปอเรชัน่ จำกัด

บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วิส จำกัด

บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จำกัด

บริ ษทั ส่ องดำว จำกัด

บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จำกัด

บริ ษทั เทเลคอม โฮลดิ้ง จำกัด

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

ประเภทธุรกิจ

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

หยุดดำเนินงำน

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น

1 ล้ำนบำท 99.69 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 10,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ขำยและให้เช่ำ 1,338 ล้ำนบำท 99.53 อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ บริ กำรโทรทัศน์ จำนวน 223 ล้ำนหุ น้ ระบบบอกรับเป็ น มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 6 บำท สมำชิก เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ให้บริ กำรด้ำน 20 ล้ำนบำท 51.00 กำรบริ หำร แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จัดกำรแก่ศิลปิ น จำนวน 0.2 ล้ำนหุ น้ และธุรกิจอื่นที่ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เกี่ยวข้อง เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ หยุดดำเนินงำน 1 ล้ำนบำท 99.67 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 10,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ให้บริ กำรเนื้อหำ 25 ล้ำนบำท 100.00 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 2.5 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ บริ หำรจัดกำร 2.5 ล้ำนบำท 100.00 กำรตลำด แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จำนวน 1 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระมูลค่ำหุน้ ละ 2.50 บำท ธุรกิจลงทุน 34,661 ล้ำนบำท 100.00 แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จำนวน 4,332.62 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 8 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภทธุรกิจ

บริ ษทั เทเลคอม เคเอสซี จำกัด 2/4 อำคำรสำมัคคีประกันภัย หยุดดำเนินงำน ชั้น 10 ถนนวิภำวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสำร (662) 979-7111 บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค 118/1 อำคำรทิปโก้ ช่องข่ำว (ทีเอ็นเอ็น) จำกัด ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน โทรทัศน์ เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900

บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ เซลส์ จำกัด

บริ ษทั ทรู โฟร์ยสู เตชัน่ จำกัด

บริ ษทั ทรู ไอคอนเท้นท์ จำกัด

ส่วนที่ 1

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น

250,000 บำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 100,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระมูลค่ำหุ น้ ละ 2.50 บำท

34.39

1,600 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สำมัญจำนวน 20 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท ซึ่ งประกอบด้วย หุ น้ สำมัญที่ เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน 10ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำ อีกจำนวน 10 ล้ำนหุ น้ โดยเรี ยกชำระไว้ที่มลู ค่ำ หุน้ ละ 60 บำท 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ธุรกิจจัดจำหน่ำย 16,301 ล้ำนบำท 99.70 ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 จำนวน 163.01 ล้ำนหุ น้ โทรศัพท์ (662) 643-1111 มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท โทรสำร (662) 643-1651 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 118/1 อำคำรทิปโก้ กิจกำรโทรทัศน์ 3,260 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น 100.00 ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน และบริ กำรอื่น หุน้ สำมัญจำนวน 70 ล้ำนหุ น้ เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 ที่เกี่ยวเนื่ อง มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท โทรศัพท์ (662) 615-9000 ซึ่ งประกอบด้วยหุน้ สำมัญที่ โทรสำร (662) 615-9900 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน10 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำ จำนวน 60 ล้ำนหุ น้ โดยเรี ยกชำระ ไว้ที่มลู ค่ำหุ น้ ละ 37.67 บำท 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ให้บริ กำรเนื้อหำ 201 ล้ำนบำท 100.00 ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 จำนวน 20.1 ล้ำนหุน้ โทรศัพท์ (662) 643-1111 มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท โทรสำร (662) 643-1651 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั บริ ษทั ทรู อินคิวบ์ จำกัด

บริ ษทั ทรู อินฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จำกัด

บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด

บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล เกตเวย์ จำกัด

บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จำกัด

ส่วนที่ 1

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

1 อำคำรฟอร์จูนทำวน์ ชั้น 15 ถนนรัชดำภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 641-1800 1 อำคำรฟอร์จูนทำวน์ ชั้น 14, 27 ถนนรัชดำภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 641-1800

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภทธุรกิจ ธุรกิจลงทุน

ทุนชำระแล้ ว

40 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จำนวน 16 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระมูลค่ำหุ น้ ละ 2.50 บำท ให้บริ กำร 1,347 ล้ำนบำท ระบบเทคโนโลยี แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ สำรสนเทศ จำนวน 134.7 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ บริ กำร 22 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ โทรคมนำคม จำนวน850,000หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้ หุน้ ละ 100 บำท ซึ่ งประกอบด้วย หุน้ สำมัญที่เรี ยกชำระ เต็มมูลค่ำแล้วจำนวน 10,000 หุน้ และ หุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระยัง ไม่เต็มมูลค่ำจำนวน 840,000หุน้ โดยเรี ยกชำระไว้ที่มลู ค่ำหุน้ ละ 25 บำท บริ กำร 436 ล้ำนบำท โทรคมนำคม แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ และอินเทอร์เน็ต จำนวน 4.36 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ผูใ้ ห้บริ กำร 1,770.24 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น อินเทอร์เน็ต หุน้ สำมัญจำนวน 275.28 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 8 บำท ซึ่ งประกอบด้วยหุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน 75.28 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญที่เรี ยกชำระ ยังไม่เต็มมูลค่ำอีกจำนวน 200 ล้ำนหุน้ โดยเรี ยกชำระไว้ที่ มูลค่ำหุน้ ละ 5.84 บำท

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

% กำรถือหุ้น 100.00

100.00

100.00

100.00

100.00

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จำกัด”)

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จำกัด

บริ ษทั ทรู มีเดีย โซลูชนั่ ส์ จำกัด

118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั ทรู มูฟ จำกัด 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จำกัด 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภทธุรกิจ ให้บริ กำร โทรคมนำคม

ทุนชำระแล้ ว

10,000 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จำนวน 100 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ผูค้ ำ้ ปลีกบริ กำร 2,195 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น โทรคมนำคม หุน้ สำมัญจำนวน 257.5 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท ซึ่ งประกอบด้วยหุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน 97.5 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญที่เรี ยกชำระ ยังไม่เต็มมูลค่ำอีกจำนวน 160 ล้ำนหุ น้ โดยเรี ยกชำระไว้ที่ มูลค่ำหุน้ ละ 7.625 บำท ขำยโฆษณำ และ 25 ล้ำนบำท ตัวแทนโฆษณำ แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 2.5 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ผูใ้ ห้บริ กำร 3,387.07 ล้ำนบำท ด้ำนกำรจัดกำร แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ ธุรกิจโทรคมนำคม จำนวน 677.41 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 5 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ให้บริ กำร 141,959.30 ล้ำนบำท โทรคมนำคม แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ ประเภทสื่ อสำร จำนวน 14,195.93 ล้ำนหุน้ ไร้สำย มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ให้บริ กำรเช่ำ 6,562 ล้ำนบำท วงจรสื่ อสัญญำณ แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ ควำมเร็ วสูงและ จำนวน 656.2 ล้ำนหุน้ บริ กำรมัลติมีเดีย มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

% กำรถือหุ้น 100.00

100.00

100.00

99.70

100.00

91.08

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั บริ ษทั ทรู มิวสิ ค จำกัด

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จำกัด 23/6-7 ชั้นที่ 2-4 ซอยศูนย์วิจยั ถนนพระรำม 9 แขวงบำงกะปิ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 641-4838-9 โทรสำร (662) 641-4840 บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ เคชัน่ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู ทัช จำกัด 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ฟุตบอล คลับ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จำกัด (มหำชน) 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จำกัด 118/1 อำคำรทิปโก้ (มหำชน) ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

ให้บริ กำรเนื้อหำ 200,000 บำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 20,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ซื้ อ ขำยและ 1 ล้ำนบำท ผลิตสื่ อโฆษณำ แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 10,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ บริ กำร โทรคมนำคม

บริ กำร Call centre

จัดกำรทีม ฟุตบอลและ กิจกรรมที่ เกี่ยวข้อง โทรทัศน์ ระบบบอกรับ เป็ นสมำชิก ให้บริ กำร โทรทัศน์ ระบบบอกรับ เป็ นสมำชิก ผ่ำนสำยเคเบิ้ล

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

97 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 970,000 หุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 173.70 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 1.93 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 90 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 320 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 32 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 2,266.72 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จำนวน 755.57 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 3 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 7,608.65 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุ น้ สำมัญ จำนวน 760.86 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

% กำรถือหุ้น 99.67

69.94

100.00

100.00

70.00

99.53

99.10

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จำกัด

บริ ษทั ทรู วิสต้ำส์ จำกัด

K.I.N. (Thailand) Co., Ltd.

Gold Palace Investments Limited Golden Light Co., Ltd.

Goldsky Co., Ltd.

Rosy Legend Limited

Prospect Gain Limited

ส่วนที่ 1

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภทธุรกิจ

% กำรถือหุ้น 118/1 อำคำรทิปโก้ โทรทัศน์ 24,516.70 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น 100.00 ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน ระบบบอกรับ หุน้ สำมัญจำนวน 305.17 ล้ำนหุน้ เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 เป็ นสมำชิก มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท โทรศัพท์ (662) 615-9000 ซึ่ งประกอบด้วยหุน้ สำมัญ โทรสำร (662) 615-9900 ที่เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน 225.17 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญที่เรี ยกชำระ ยังไม่เต็มมูลค่ำอีกจำนวน 80 ล้ำนหุ น้ โดยเรี ยกชำระไว้ที่ มูลค่ำหุน้ ละ 25 บำท 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ผลิตและจำหน่ำย 46.63 ล้ำนบำท 100.00 ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง ภำพยนตร์ แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 จำนวน 4.66 ล้ำนหุน้ โทรศัพท์ (662) 643-1111 มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท โทรสำร (662) 643-1651 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน USD 1 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ 100.00 Offshore Incorporations จำนวน 1 หุน้ Centre, Road Town, Tortola, มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 British Virgin Islands เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน USD 15.22 ล้ำน แบ่งเป็ น 100.00 Offshore Incorporations หุน้ สำมัญจำนวน 15.22 ล้ำนหุน้ Centre, Road Town, Tortola, มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 British Virgin Islands เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ Suite 308, St James Court, ธุรกิจลงทุน USD 17.72 ล้ำน แบ่งเป็ น 100.00 St Denis Street, Port Louis, หุน้ สำมัญจำนวน 17.72 ล้ำนหุน้ Republic of Mauritius มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ Suite 308, St James Court, ธุรกิจลงทุน USD 4.97 ล้ำน แบ่งเป็ น 100.00 St Denis Street, Port Louis, หุน้ สำมัญจำนวน 4.97 ล้ำนหุ น้ Republic of Mauritius มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ P.O. Box 957, Offshore ธุรกิจลงทุน USD 1 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ 99.74 Incorporations Centre, Road จำนวน 1 หุน้ Town, Tortola, British Virgin มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 Islands เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน USD 1 แบ่งเป็ น 100.00 Offshore Incorporations หุน้ สำมัญจำนวน 1 หุน้ Centre, Road Town, Tortola, มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 British Virgin Islands เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

ทุนชำระแล้ ว

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั True Internet Technology (Shanghai) Company Limited

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

Room 2202-05, Johnson Building, No.145 Pujian Road, Shanghai 200127, P.R.China Tel. (86) 21 5889 0800 - 8049 Fax. (86) 21 5889 0800 - 8033 True Trademark Holdings P.O. Box 957, Company Limited Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands บริ ษทั เอเซี ย อินโฟเน็ท จำกัด 1 อำคำรฟอร์จูนทำวน์ ชั้น 14, 17 ถนนรัชดำภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 641-1800 บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนั่ ส์ 3199 อำคำรมำลีนนท์ทำว จำกัด เวอร์ช้ นั 28 ถนนพระรำม 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุ งเทพฯ 10110 โทรศัพท์ (662) 204-3333 โทรสำร (662) 204-1384 บริ ษทั ทรำนส์ฟอร์เมชัน่ ฟิ ล์ม เลขที่ 6 ซอยนำคนิวำส 12 จำกัด ถนนนำคนิวำส แขวงลำดพร้ำว เขตลำดพร้ำว กรุ งเทพฯ 10230 โทรศัพท์ (662) 932-5600 โทรสำร (662) 932-5600 บริ ษทั ทรู ซี เจ ครี เอชัน่ ส์ จำกัด 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

พัฒนำ ออกแบบ ผลิตและขำย ผลิตภัณท์ ซอฟแวร์

USD 16 ล้ำน แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 16 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ธุรกิจลงทุน

USD 4.97 แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สำมัญจำนวน 4.97 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 15 ล้ำนบำท 65.00 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 1.5 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 50 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น 50.00 หุน้ สำมัญจำนวน 0.5 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ให้บริ กำร อินเทอร์เน็ต

กีฬำและ สันทนำกำร

% กำรถือหุ้น 100.00

ผลิตและจัดสร้ำง 175 ล้ำนบำท ภำพยนตร์ แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 1.75 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

28.57

ผลิตรำยกำร

51.00

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

80.85 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญ จำนวน 1,108,800 หุน้ และหุน้ บุริมสิ ทธ์ จำนวน 46,200 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท ซึ่ งประกอบด้วย หุน้ สำมัญที่เรี ยกชำระเต็ม มูลค่ำแล้วจำนวน 10,000 หุน้ และหุน้ สำมัญที่เรี ยกชำระ ไม่เต็มมูลค่ำอีกจำนวน 1,145,000 หุน้ โดยเรี ยกชำระ ไว้ที่มลู ค่ำหุ น้ ละ 69.74 บำท

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษทั

สถำนที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ประเภทธุรกิจ

ให้บริ กำรเกี่ยวกับ กำรรู ้จำเสี ยงพูด และอุปกรณ์ ฮำร์ดแวร์และ ซอฟท์แวร์ที่ เกี่ยวข้อง 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ จำหน่ำยสิ นค้ำ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง ผ่ำนสื่ อต่ำง ๆ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 159 อำคำรเสริ มมิตร ทำวเวอร์ ผูผ้ ลิตอุปกรณ์ ชั้น 2 และ 24 ซอยอโศก โทรคมนำคม ถนนสุ ขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนำ กรุ งเทพฯ 10110 191 อำคำรสี ลมคอมเพล็กซ์ ศูนย์กลำงให้บริ กำร ชั้น 27 ห้องเลขที่ 2 ถนนสี ลม กำรเคลียร์ริ่งของ แขวงสี ลม เขตบำงรัก ระบบกำรจ่ำยเงิน กรุ งเทพฯ ทำงอิเล็กทรอนิ กส์

ทุนชำระแล้ ว

บริ ษทั ทรู วอยซ์ จำกัด

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

บริ ษทั ทรู จีเอส จำกัด

340 ล้ำนบำท 46.80 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 3.40 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 350.30 ล้ำนบำท 9.42 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 350,300 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 1,000 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 1,600 ล้ำนบำท 15.76 แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 160 ล้ำนหุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 98 อำคำรสำทร สแควร์ ออฟฟิ ศ บริ กำรคงสิ ทธิ 2 ล้ำนบำท 19.97 ทำวเวอร์ ห้องเลขที่ 403 เลขหมำยตำมที่ แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ ชั้นที่ 4 ถนนสำทรเหนือ กฎหมำยกำหนด จำนวน 20,000 หุน้ แขวงสี ลม เขตบำงรัก มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท กรุ งเทพฯ 10500 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

บริ ษทั เอ็นอีซี คอร์ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด

บริ ษทั ไทยสมำร์ทคำร์ด จำกัด

บริ ษทั ศูนย์ให้บริ กำรคงสิ ทธิ เลขหมำยโทรศัพท์ จำกัด

24 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 240,000 หุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

% กำรถือหุ้น 55.00

(3) ข้อมูลทัว่ ไปของบุคคลอ้ำงอิง นำยทะเบียนหุน้ สำมัญ : บริ ษทั ศูนย์รับฝำกหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 93 อำคำรตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดำภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0 2009-9000 โทรสำร : 0 2009-9991 SET Contact center: 0 2009-9999 Website: http://www.set.or.th/tsd

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ผูส้ อบบัญชี

: นำยขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญำตเลขที่ 3445 บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮำส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จำกัด 179/74-80 บำงกอกซิ ต้ ีทำวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสำทรใต้ แขวงทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุ งเทพมหำนคร 10120 โทรศัพท์ (662) 286-9999, (662) 344-1000 โทรสำร (662) 286-5050

นำยทะเบียนหุ น้ กู/้ ผูแ้ ทนผูถ้ ือหุ ้นกู้

: ธนำคำรกรุ งศรี อยุธยำ จำกัด (มหำชน) 1222 ชั้น AA ถนนพระรำม 3 แขวงบำงโพงพำง เขตยำนนำวำ กรุ งเทพมหำนคร 10120 โทรศัพท์ (662) 296-2030, (662) 296-4494, (662) 296-5715, (662) 296-2988, (662) 296-2796, (662) 296-4788 โทรสำร (662) 683-1389, (662) 683-1298

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

6.2 ข้ อมูลสำคัญอืน่ 1. กำรปรับโครงสร้ ำงกำรบริหำร ในต้นปี 2560 บริ ษทั ฯ ได้ทำกำรปรับโครงสร้ำงกำรบริ หำร โดยที่ประชุมคณะกรรมกำรบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 17 กุมภำพันธ์ 2560 ได้มีมติที่สำคัญ ดังต่อไปนี้ (1) แต่งตั้ง นำยศุภชัย เจียรวนนท์ ดำรงตำแหน่ง ประธำนคณะกรรมกำรบริ หำร โดยมีผลตั้งแต่วนั ที่ 21 กุมภำพันธ์ 2560 เป็ นต้นไป และ (2) แต่งตั้ง นำยวิเชำวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ และ นำยอติรุฒม์ โตทวีแสนสุ ข ดำรงตำแหน่ง กรรมกำรผูจ้ ดั กำรใหญ่ (ร่ วม) โดยมีผลตั้งแต่วนั ที่ 21 กุมภำพันธ์ 2560 เป็ นต้นไป 2. สรุ ปสำระสำคัญของสั ญญำที่เกีย่ วกับกำรประกอบธุรกิจของกลุ่มทรู (1) สั ญญำร่ วมกำรงำนฯ ระหว่ำง ทีโอที (องค์ กำรโทรศัพท์แห่ งประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บริษัทฯ (บริษัท ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชั่น จำกัด ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 2 สิ งหำคม 2534 และแก้ไขเมื่อวันที่ 8 กันยำยน 2538 โดยสั ญญำร่ วมกำรงำนฯ มีกำหนดเวลำ 25 ปี นับแต่ วนั ที่ 31 ธันวำคม 2535 หรือวันที่ ทีโอที ได้ รับมอบอุปกรณ์ ในระบบงวดแรกจำกบริษัทฯ (วันที่ 29 ตุลำคม 2535) แล้วแต่ วนั ใดจะถึงกำหนดก่อน (วันที่ 29 ตุลำคม 2535 - วันที่ 28 ตุลำคม 2560) สัญญำร่ วมกำรงำนฯ มีวตั ถุประสงค์เพื่อขยำยบริ กำรโทรศัพท์พ้นื ฐำนในพื้นที่เขตโทรศัพท์ นครหลวงจำนวน 2 ล้ำน และ 6 แสนเลขหมำย (เป็ นไปตำมลำดับของสัญญำร่ วมกำรงำนฯ ข้ำงต้น) โดย ลักษณะของสัญญำร่ วมกำรงำนฯ เป็ นลักษณะของ Build-Transfer-Operate (BTO) โดย บริ ษทั ฯ มีหน้ำที่ จัดหำและโอนกรรมสิ ทธิ์ ของอุปกรณ์ในระบบให้แก่ ทีโอที โดยอุปกรณ์ในระบบ ตำมสัญญำร่ วมกำรงำนฯ ได้ระบุไว้ในนิยำมศัพท์ สัญญำข้อ 1 “อุปกรณ์ในระบบ” ซึ่ งหมำยถึง อุปกรณ์ต่ำง ๆ ในโครงข่ำยที่ประกอบ เข้ำเป็ นระบบโทรคมนำคมและอุปกรณ์อื่นใดที่นำมำใช้ร่วมในระบบ อำทิ อุปกรณ์เครื่ องชุมสำย โครงข่ำย ตอนนอก โครงข่ำยต่อผ่ำนท้องถิ่นที่บริ ษทั จะจัดหำและโอนกรรมสิ ทธิ์ให้ ทศท ซึ่ งบริ ษทั ฯ ต้องส่ งมอบอุปกรณ์ ในระบบที่ติดตั้งแล้วเสร็ จให้แก่ ทีโอที และให้อุปกรณ์ในระบบดังกล่ำวตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที ทันที และตลอดระยะเวลำตำมสัญญำนี้ บริ ษทั ฯ ต้องบำรุ งรักษำอุปกรณ์ในระบบที่ยกให้เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที ให้อยูใ่ นสภำพใช้งำนได้ดีตลอดเวลำในระดับที่ไม่ต่ำกว่ำมำตรฐำนที่ ทีโอที ใช้อยูใ่ นโครงข่ำย ทีโอที จำกกำรทำสัญญำร่ วมกำรงำนฯ ดังกล่ำว บริ ษทั ฯ มีสิทธิ ดังนี้ - สิ ทธิที่จะใช้ ครอบครอง และบำรุ งรักษำอุปกรณ์ในระบบ ที่ดิน อำคำร และทรัพย์สินอื่นใด ที่บริ ษทั ฯ ได้จดั หำมำและโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่ ทีโอที หรื อโอนสิ ทธิ กำรเช่ำให้แก่ ทีโอที แล้วแต่กรณี สิ ทธิในกำรแสวงหำประโยชน์จำกอุปกรณ์ในระบบ ที่ดิน อำคำรและทรัพย์สินอื่นใดตำมสัญญำ - สิ ทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ตำมที่ บริ ษทั ฯ จะได้ทำควำมตกลงกับ ทีโอที กรณี บุคคลอื่น นำบริ กำรพิเศษมำผ่ำนโครงข่ำยบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ตำมที่ บริ ษทั ฯ จะได้ทำควำมตกลงกับ ทีโอที กรณี ทีโอที นำบริ กำรพิเศษมำใช้ผำ่ นโครงข่ำยบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ที่จะได้รับค่ำเสี ยหำย หรื อ ค่ำชดเชย กรณี ทีโอที ตัดทอนสิ ทธิ ของบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ที่สำมำรถใช้ที่ดิน อำคำร และวัสดุอุปกรณ์ต่ำง ๆ ของ ทีโอที เท่ำที่ ทีโอที จะพิจำรณำ อนุญำตโดยไม่เสี ยค่ำใช้จ่ำย ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

จำกกำรดำเนินกำรตำมสัญญำร่ วมกำรงำนฯ นั้น ทีโอที จะเป็ นผูด้ ำเนินกำรเก็บเงินจำกผูเ้ ช่ำ (ผูใ้ ช้บริ กำร) โดยเงินค่ำบริ กำรในส่ วนของโทรศัพท์ 2 ล้ำนเลขหมำย ทีโอที จะแบ่งรำยได้ที่ได้รับจริ งก่อน หักค่ำใช้จ่ำยให้บริ ษทั ฯ ในอัตรำร้อยละ 84 และ เงินค่ำบริ กำรในส่ วนของโทรศัพท์ 6 แสนเลขหมำย ทีโอที จะแบ่งรำยได้ที่ได้รับจริ งก่อนหักค่ำใช้จ่ำยให้บริ ษทั ฯ ในอัตรำร้อยละ 79 สิ ทธิ ในกำรบอกเลิกสัญญำร่ วมกำรงำนฯ - ทีโอที มีสิทธิ บอกเลิกสัญญำในกรณี ต่อไปนี้ โดยก่อนใช้สิทธิ บอกเลิกนี้ หำกเป็ นกรณี ที่ ไม่สำมำรถแก้ไขได้ ทีโอที จะมีหนังสื อถึงบริ ษทั ฯ ล่วงหน้ำไม่นอ้ ยกว่ำ 1 เดือน แต่หำกเป็ นกรณี ที่แก้ไขได้ ทีโอที จะมีหนังสื อบอกกล่ำวมำที่บริ ษทั ฯ ให้ปฏิบตั ิให้ถูกต้อง หรื อปรับปรุ งภำยในเวลำที่ ทีโอที กำหนด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่ำ 6 เดือน หำกบริ ษทั ฯ ไม่สำมำรถปรับปรุ งได้ในเวลำ ทีโอที มีสิทธิ บอกเลิกได้  บริ ษท ั ฯ ทำผิดกฎหมำยเกี่ยวกับกำรป้ องกันภัยพิบตั ิสำธำรณะ หรื อควำมมัน่ คงของรัฐ  บริ ษท ั ฯ ถูกศำลมีคำสั่งพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขำดในคดีลม้ ละลำย  บริ ษท ั ฯ จงใจผิดสัญญำในสำระสำคัญอย่ำงต่อเนื่อง - บริ ษทั ฯ ไม่มีสิทธิ เลิกสัญญำ เว้นแต่กรณี ต่อไปนี้ โดยก่อนใช้สิทธิ บอกเลิกสัญญำ บริ ษทั ฯ ต้องมีหนังสื อบอกกล่ำว ทีโอที ให้ทำกำรแก้ไขหรื อปฏิบตั ิให้ถูกต้อง ภำยในเวลำที่บริ ษทั ฯ กำหนด แต่ตอ้ ง ไม่นอ้ ยกว่ำ 6 เดือน หำก ทีโอที ไม่สำมำรถปรับปรุ งหรื อแก้ไข บริ ษทั ฯ จะแจ้งเป็ นหนังสื อบอกเลิกไปยัง ทีโอที  ทีโอที จงใจผิดสัญญำในสำระสำคัญอย่ำงต่อเนื่ อง จนเป็ นเหตุให้บริ ษท ั ฯ ไม่อำจปฏิบตั ิ ตำมสัญญำได้  รัฐบำล หน่ วยงำนของรัฐ หรื อ ทีโอที ยกเลิกสิ ทธิ หรื อดำเนิ นกำรอย่ำงใดเป็ นเหตุให้บริ ษท ั ฯ เสื่ อมสิ ทธิ มีผลกระทบกระเทือนต่อกำรดำเนิ นงำนของบริ ษทั ฯ อย่ำงมำก จนไม่สำมำรถ ประกอบกิจกำรตำมสัญญำได้  บริ ษท ั ฯ ไม่ได้รับเงินส่ วนแบ่งที่เกี่ยวข้องหรื อเงินอื่นใดตำมที่ระบุในสัญญำ (2) สั ญญำอนุญำตให้ ดำเนินกิจกำรให้ บริกำรให้ เช่ ำวงจรสื่ อสั ญญำณควำมเร็วสู งผ่ ำนโครงข่ ำย มัลติมีเดีย ระหว่ำง ทีโอที (องค์ กำรโทรศัพท์ แห่ งประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู มัลติมีเดีย (บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จำกัด ในขณะนั้น) (“สั ญญำฯ”) สั ญญำฯ นีท้ ำเมื่อวันที่ 20 ตุลำคม 2540 โดยมีกำหนดเวลำ 20 ปี โดยเริ่มนับตั้งแต่ วนั ทีล่ งนำมในสั ญญำฯ สัญญำฯ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ ดำเนินกิจกำรให้บริ กำรให้เช่ำวงจรสื่ อสัญญำณควำมเร็ วสู งทั้ง ระบบ Digital และ Analog เพื่อให้บริ กำรแก่ผใู ้ ช้บริ กำรทัว่ ไป และผูม้ ีสิทธิ และ/หรื อ ได้รับสิ ทธิเป็ นผูด้ ำเนินกำร ให้บริ กำรผ่ำนโครงข่ำยมัลติมีเดีย โดยลักษณะของสัญญำฯ เป็ นลักษณะของ Build-Transfer-Operate (BTO) โดย ทรู มัลติมีเดีย มีหน้ำที่ ต้องโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเครื่ องมือและอุปกรณ์ในระบบที่ทรู มัลติมีเดีย ติดตั้งเพิม่ เติม ขึ้นจำกโครงข่ำยมัลติมีเดียที่ใช้ในกำรให้บริ กำรตำมสัญญำให้ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที และ ทรู มัลติมีเดีย ต้องทำกำรบำรุ งรักษำบรรดำเครื่ องมือและอุปกรณ์ในระบบซึ่ งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที ให้อยูใ่ นสภำพใช้ งำนได้ดีตลอดเวลำ หำกอุปกรณ์หรื อชิ้นส่ วนใดสู ญหำยหรื อเสี ยหำยจนใช้กำรไม่ได้ ทรู มัลติมีเดีย ต้องจัดหำ มำเปลี่ยนทดแทนหรื อซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภำพใช้กำรได้ดี ในกำรดำเนินกำรตำมสัญญำฯ นี้ ทรู มัลติมีเดีย ได้จดั สรรหุน้ ของทรู มัลติมีเดีย จำนวน 18,525,000 หุ น้ ให้แก่ ทีโอที โดย ทีโอที ไม่ตอ้ งชำระค่ำหุ ้นดังกล่ำว ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

จำกกำรทำสัญญำฯ ทรู มัลติมีเดีย มีสิทธิ ดังนี้ - สิ ทธิ แต่เพียงผูเ้ ดียวในกำรครอบครองทรัพย์สินที่ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที - สิ ทธิ ใช้พ้นื ที่ภำยในอำคำรของ ทีโอที ที่จะทำกำรติดตั้งระบบวงจรควำมเร็ วสู ง - สิ ทธิ เช่ำโครงข่ำยของ ทีโอที ตำมอัตรำที่ ทีโอที กำหนดเพื่อนำไปให้บริ กำร - สิ ทธิ ในกำรเชื่อมต่อโครงข่ำยเข้ำกับชุมสำยและโครงข่ำยโทรคมนำคมของ ทีโอที สิ ทธิในกำรบอกเลิกสัญญำฯ ตำมสัญญำฯ ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญำฯ ได้ หำกทรู มัลติมีเดีย ไม่สำมำรถดำเนินกิจกำรงำนตำมสัญญำนี้ตำมปกติธุระ หรื อปฏิบตั ิผิดสัญญำข้อหนึ่งข้อใด (3) สั ญญำร่ วมดำเนินกิจกำรให้ บริกำรโทรทัศน์ ทำงสำยระบบบอกรับเป็ นสมำชิก ระหว่ำง อสมท (องค์ กำรสื่ อสำรมวลชนแห่ งประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู วิชั่นส์ เคเบิล้ (บริษัท ไทยเคเบิล้ วิชั่น จำกัด (มหำชน) ในขณะนั้น) โดยมีระยะเวลำ 25 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกรำคม 2538 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2562 และ มีกำรแก้ไขเพิม่ เติมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 7 กันยำยน 2537 มีกำรแก้ไขเพิม่ เติมครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกำยน 2537 แก้ไขเพิม่ เติมครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 เมษำยน 2541 และ แก้ไขเพิม่ เติมครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 8 ตุลำคม 2552 และ ข้ อตกลงระหว่ ำง อสมท และ ทรู วิชั่นส์ เคเบิล้ เมื่อวันที่ 8 ตุลำคม 2552 โดยสัญญำนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อร่ วมดำเนิ นกิจกำรให้บริ กำรโทรทัศน์ทำงสำยระบบบอกรับเป็ น สมำชิก โดย ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล มีสิทธิ ในกำรดำเนินกิจกำรให้บริ กำรโทรทัศน์ทำงสำยระบบบอกรับเป็ นสมำชิก โดย ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล มีหน้ำที่ตอ้ งปฏิบตั ิตำมสัญญำ โดยต้องส่ งมอบ ทรัพย์สินทั้งหมดรวมทั้ง ส่ งมอบอุปกรณ์เครื่ องรับทั้งหมด ให้ อสมท ได้แก่ อุปกรณ์กำรขนส่ ง ได้แก่ อุปกรณ์ Headend อุปกรณ์ห้องส่ ง ต้องมอบให้แก่ อสมท ภำยใน 1 มกรำคม 2538 ไม่ต่ำกว่ำ 50 ล้ำนบำท และต้องส่ งมอบให้แก่ อสมท ภำยใน 5 ปี นับจำกวันที่ทำสัญญำแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 2 (9 พฤศจิกำยน 2537) มีมูลค่ำไม่นอ้ ยกว่ำ 120 ล้ำนบำท และ อุปกรณ์กำรรับ ได้แก่ ระบบ Set Top Converter ของสมำชิก ต้องส่ งมอบให้เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ อสมท เมื่อสิ้ นสุ ด สัญญำลง โดย ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล เป็ นผูต้ อ้ งลงทุนทั้งหมดเพื่อใช้ในดำเนินกิจกำรไม่นอ้ ยกว่ำ 100 ล้ำนบำท เป็ น ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดหำเครื่ องมืออุปกรณ์ต่ำง ๆ และ หน้ำที่ในกำรบำรุ งรักษำอุปกรณ์และเครื่ องมือ ให้อยู่ ในสภำพใช้งำนได้ตลอดเวลำ ซึ่ งในกำรดำเนิ นกำรตำมสัญญำนี้ ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิล้ ตกลงจ่ำยค่ำตอบแทนใน กำรเข้ำร่ วมดำเนินกิจกำรเป็ นเงินร้อยละ 6.5 ของรำยได้ท้ งั หมดแต่ละปี ก่อนหักค่ำใช้จ่ำยใด ๆ สิ ทธิ ในกำรบอกเลิกสัญญำ ตำมสัญญำกำหนดว่ำ หำกทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ไม่ปฏิบตั ิตำมสัญญำ ในข้อหนึ่งข้อใด อสมท จะแจ้งเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้ปฏิบตั ิตำมสัญญำให้ถูกต้องในเวลำอันสมควร หำก ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ไม่ยอมปฏิบตั ิให้ถูกต้องในเวลำ ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ต้องแจ้งเหตุผลเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้ อสมท ทรำบ เมื่อ อสมท พิจำรณำคำชี้แจงแล้ว จะแจ้งให้ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ทรำบและปฏิบตั ิให้ถูกต้องใน กำหนดเวลำอันควรอีกครั้ง หำกทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ไม่ปฏิบตั ิให้ถูกต้องในกำหนดครั้งนี้ อสมท มีสิทธิเรี ยก ค่ำเสี ยหำย หรื อให้งดให้บริ กำร และ/หรื อมีสิทธิบอกเลิกสัญญำได้ทนั ที และในกรณี ถำ้ มติ ครม. เป็ นว่ำมี ควำมจำเป็ นเพื่อควำมมัน่ คงของรัฐ อสมท มีสิทธิ บอกเลิกสัญญำทั้งหมดหรื อบำงส่ วนได้โดยแจ้งให้ ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ลทรำบล่วงหน้ำไม่นอ้ ยกว่ำ 180 วัน ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(4) สั ญญำเช่ ำเครื่องและอุปกรณ์ วทิ ยุคมนำคมเพือ่ ให้ บริกำรโทรศัพท์ เคลือ่ นทีใ่ นระบบ HSPA (“สั ญญำเช่ ำเครื่องและอุปกรณ์ ฯ”) ระหว่ำง CAT Telecom ในฐำนะผู้เช่ ำ และบีเอฟเคทีในฐำนะผู้ให้ เช่ ำ เมื่อวันที่ 27 มกรำคม 2554 โดยมีกำหนดระยะเวลำ 14.5 ปี (วันที่ 27 มกรำคม 2554 – วันที่ 3 สิ งหำคม 2568) และบันทึกข้ อตกลงแนบท้ำยสั ญญำฉบับลงวันที่ 27 มกรำคม 2554 และฉบับลงวันที่ 17 กุมภำพันธ์ 2554 โดยสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ CAT Telecom เช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ ระบบ HSPA ทัว่ ประเทศที่จะมีกำรติดตั้งบนโครงข่ำยของ CAT Telecom และ เสำโทรคมนำคมของทั้งใน ส่ วนกลำงและภูมิภำคของบีเอฟเคที และ บีเอฟเคที ตกลงให้เช่ำ และตกลงรับดำเนินกำร เปลี่ยน ซ่อมแซม และบำรุ งรักษำ เครื่ องและอุปกรณ์ HSPA ที่ให้เช่ำทัว่ ประเทศ เป็ นระยะเวลำประมำณ 14.5 ปี (ตำมระยะเวลำ ของใบอนุ ญำตประกอบกิจกำรโทรคมนำคมแบบที่สำมของ CAT Telecom) โดย บีเอฟเคที ได้รับค่ำเช่ำใน อุปกรณ์เป็ นกำรตอบแทนโดยคำนวณจำกจำนวนสถำนีฐำนที่นำออกให้บริ กำรเชิงพำณิ ชย์ ซึ่งมีกำรคำนวณ ค่ำเช่ำตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรคำนวณค่ำเช่ำที่กำหนดในสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ และเรี ยกเก็บจำก CAT Telecom ทั้งนี้ บีเอฟเคที หรื อ CAT Telecom อำจขอปรับหรื อเปลี่ยนแปลงค่ำเช่ำได้เป็ นครั้งครำว ตำม เงื่อนไขที่กำหนดในสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ (5) สั ญญำบริกำรขำยส่ งบริกำรโครงข่ ำยโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (HSPA) (“สั ญญำขำยส่ งบริกำรฯ”) ระหว่ำง CAT Telecom ในฐำนะผู้ให้ บริกำรขำยส่ ง และ เรียลมูฟ ในฐำนะผู้ให้ บริกำรขำยต่ อบริกำร โดยมี กำหนดระยะเวลำ 14.5 ปี (วันที่ 27 มกรำคม 2554 – วันที่ 3 สิ งหำคม 2568) และบันทึกข้ อตกลงแนบท้ำย สั ญญำฉบับลงวันที่ 27 มกรำคม 2554 และฉบับลงวันที่ 17 กุมภำพันธ์ 2554 โดยสัญญำขำยส่ งบริ กำรฯ นี้ เป็ นสัญญำขำยส่ งบริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตำมประกำศคณะกรรมกำร กทช. เรื่ อง กำรประกอบกิจกำรโทรคมนำคมประเภทกำรขำยส่ งบริ กำรและบริ กำรขำยต่อบริ กำร ฉบับประกำศ ในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่มที่ 123 ตอนพิเศษ 136 ง วันที่ 29 ธันวำคม 2549 และตำมที่จะได้มีกำรแก้ไขเพิ่มเติม เป็ นครำว ๆ ไป รวมทั้งประกำศอื่นของหน่วยงำนกำกับดูแลที่จะออกในอนำคตในเรื่ องกำรขำยต่อบริ กำร โทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยในกำรขำยส่ งบริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่ดงั กล่ำว CAT Telecom ตกลงขำยส่ งบริ กำร โทรศัพท์เคลื่อนที่ให้แก่ เรี ยลมูฟ หรื อผูป้ ระกอบกิจกำรขำยต่อบริ กำรที่ได้รับอนุ ญำตจำกคณะกรรมกำร กสทช. โดย เรี ยลมูฟ ตกลงรับซื้ อ บริ กำรและควำมจุ (Capacity) ร้อยละ 80 ของควำมจุในโครงข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ HSPA ของ CAT Telecom ทั้งหมด หรื อเท่ำกับจำนวนผูใ้ ช้บริ กำรจำลองประมำณ 13.3 ล้ำนรำย ภำยในวันที่ 31 ธันวำคม 2555 เพื่อให้บริ กำรขำยต่อบริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่แก่ประชำชนในฐำนะผูป้ ระกอบกิจกำร โทรคมนำคมขำยต่อบริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่บนโครงข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ HSPA ทั้งนี้ เงื่อนไขของ สัญญำขำยส่ งบริ กำรฯ จะเป็ นเงื่อนไขสัญญำที่เป็ นมำตรฐำนและใช้กบั ผูป้ ระกอบกำรขำยต่อทุกรำยตำมเงื่อนไข ที่ CAT Telecom กำหนด โดย CAT Telecom มีสิทธินำ Capacity ที่เหลือไปขำยต่อแก่ผปู้ ระกอบกิจกำรขำย ต่อบริ กำรรำยอื่นได้ นอกจำกนี้ CAT Telecom จะสอบถำมควำมต้องกำรซื้ อควำมจุเพิ่มเติมของ เรี ยลมูฟ หรื อ ผูป้ ระกอบกิจกำรขำยต่อบริ กำรรำยอื่นในทุก ๆ ปี เพื่อประกอบกำรพิจำรณำขยำยควำมจุโครงข่ำยในปี ต่อ ๆ ไป

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(6) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ (6.1) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ ระหว่ำงบีเอฟเคทีในฐำนะผู้ขำย และกองทุนรวม โครงสร้ ำงพืน้ ฐำนโทรคมนำคม ดิจิทลั (เดิมชื่ อกองทุนรวมโครงสร้ ำงพืน้ ฐำนโทรคมนำคม ทรู โกรท) (“กองทุน”) ในฐำนะผู้ซื้อ (“สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT”) มีระยะเวลำ 12 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 24 ธันวำคม 2556 - วันที่ 3 สิ งหำคม 2568 โดยสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อขำยและโอน รำยได้ที่คำดว่ำจะได้รับของ BFKT จำก (ก) ค่ำเช่ำทรัพย์สินโทรคมนำคมของ BFKT ซึ่งประกอบไปด้วยเสำโทรคมนำคมจำนวน 1,485 เสำและระบบ FOC รวมทั้งอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณรวม 9,169 links ตำมสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ (รวมถึงสิ ทธิ เรี ยกร้อง และสิ ทธิ อื่นทั้งหมดที่เกิดจำกรำยได้ดงั กล่ำวตำมที่ระบุไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน และสิ ทธิรำยได้ BFKT) นับแต่วนั เริ่ มคำนวณรำยได้ (1 ตุลำคม 2556) จนถึงวันครบกำหนดสัญญำ และ (ข) ค่ำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ BFKT จำนวนไม่เกิน 50 เสำ (“ทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ”) นับแต่วนั ถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำหรื อวันที่สัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ ถูกยกเลิกก่อนครบกำหนด ระยะเวลำหรื อครบกำหนดระยะเวลำที่ได้มีกำรขยำย (“วันยกเลิกสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ”) แล้วแต่ กรณี ใดจะเกิดขึ้นก่อน จนถึงวันครบรอบ 10 ปี นับแต่วนั ถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำหรื อวันยกเลิกสัญญำ เช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ ดังกล่ำว ในแต่ละกรณี หกั ด้วยต้นทุนและค่ำใช้จ่ำยบำงส่ วนสำหรับกำรดำเนิ นงำนและซ่อมบำรุ ง เงินค่ำเช่ำตำมสัญญำเช่ำที่ดิน (รวมถึงภำษีโรงเรื อน) และเบี้ยประกันภัย และค่ำใช้จ่ำยในกำรให้ได้มำซึ่ งสิ ทธิ แห่งทำง (“ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ BFKT”) โดยต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ BFKT จะมีกำรปรับอัตรำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) (รวมเรี ยกว่ำ “รำยได้สุทธิของ BFKT”) ให้แก่กองทุน และกองทุนจะต้องซื้ อและรับโอน รำยได้สุทธิของ BFKT ในวันที่ทำกำรซื้ อขำยเสร็ จสิ้ นที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT (“วันที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ BFKT เสร็ จสิ้ น”) นอกจำกนี้ BFKT ตกลงให้สิทธิ โดยเพิกถอนมิได้แก่กองทุนในกำรซื้ อทรัพย์สินโทรคมนำคม ของ BFKT บำงส่ วน (“ทรัพย์สิน BFKT หลัก”) ในรำคำ 10 ล้ำนบำท (“รำคำใช้สิทธิ ”) ซึ่งกองทุนสำมำรถใช้ สิ ทธิ ได้ในวันครบกำหนดสัญญำหรื อวันยกเลิกสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ แล้วแต่กรณี (“สิ ทธิในกำรซื้ อ”) ทรัพย์สิน BFKT หลัก ณ วันที่ของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT ประกอบด้วยเสำโทรคมนำคม จำนวน 1,435 เสำ และระบบ FOC และอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณจำนวน 9,169 links โดยควำมยำวของ ระบบ FOC อยูท่ ี่ 47,250 กิโลเมตร เมื่อกองทุนใช้สิทธิ ในกำรซื้ อและชำระรำคำใช้สิทธิ แล้ว หำกมีทรัพย์สิน BFKT หลัก ส่ วนใดที่ยงั ไม่สำมำรถโอนและส่ งมอบให้แก่กองทุนได้ในวันที่กำหนดไว้ให้เป็ นวันที่ทำกำรโอนและส่ งมอบ ทรัพย์สิน BFKT หลัก (“วันโอนทรัพย์สิน BFKT หลัก”) BFKT จะชำระเงินให้กองทุนเป็ นมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน BFKT หลักส่ วนดังกล่ำว เมื่อ BFKT ชำระมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ดังกล่ำว จนครบถ้วนแล้ว BFKT จะหมดภำระผูกพันต่อกองทุนในกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน BFKT หลักส่ วนดังกล่ำว มูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน BFKT หลักที่เกี่ยวข้อง คือ จำนวนที่เท่ำกับ 18 เท่ำของรำยได้ ค่ำเช่ำ BFKT รำยเดือนสำหรับระยะเวลำ 12 เดือนก่อนหน้ำเดือนที่มีวนั โอนทรัพย์สิน BFKT หลัก (“มูลค่ำ สุ ดท้ำยของ BFKT”) ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ในส่ วนของทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือนั้น ในหรื อก่อนวันครบกำหนดสัญญำหรื อ วันยกเลิกสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ แล้วแต่กรณี BFKT จะเข้ำทำสัญญำเช่ำกับนิติบุคคลในกลุ่มทรู เพื่อให้ เช่ำพื้นที่ (slots) หนึ่งพื้นที่บนเสำโทรคมนำคมของ BFKT ซึ่งเป็ นทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ (“สัญญำเช่ำ ทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ”) โดยมีระยะเวลำกำรเช่ำอย่ำงน้อย 10 ปี นับถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำหรื อ วันยกเลิกสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ แล้วแต่กรณี (“วันครบกำหนดกำรขำยรำยได้ BFKT ขั้นสุ ดท้ำย”) และจัดหำและส่ งมอบรำยได้สุทธิ รำยเดือนที่เกิดจำกค่ำเช่ำทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ จนถึงวันครบกำหนดกำร ขำยรำยได้ BFKT ขั้นสุ ดท้ำย หรื อ จนถึงวันที่มีกำรโอนทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ ให้แก่กองทุนหำกเกิด กรณี ดงั กล่ำวขึ้นก่อน ทั้งนี้ ตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT ภำยใต้ขอ้ กำหนดและเงื่อนไขในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT หำก ในระหว่ำงระยะเวลำของสัญญำเช่ำทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ BFKT ได้รับหลักฐำนเกี่ยวกับสิ ทธิ ในที่ดิน และ/หรื อ สิ ทธิ กำรเช่ำโดยชอบด้วยกฎหมำยของสถำนที่ต้ งั และ/หรื อ สิ ทธิ แห่งทำงที่เป็ นที่ต้ งั หรื อใช้ดำเนิ นงำน ของทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ BFKT จะโอนและขำยทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือดังกล่ำวให้กองทุน และกองทุนจะรับโอนและซื้ อทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือนั้นตำมรำคำที่กองทุนและ BFKT จะตกลงกัน (“รำคำซื้ อขำยทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ”) โดยเป็ นไปตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยในรำยได้สุทธิ ของ BFKT ทรัพย์สิน BFKT หลักและทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือจะเป็ นของกองทุนในวันที่ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องเสร็ จ สิ้ น เว้นแต่จะกำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่นในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT ก่อนวันโอนทรัพย์สิน BFKT หลัก หำกเกิดเหตุผดิ นัดใดที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำย ทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT กองทุนอำจเรี ยกให้ BFKT ชำระเงินเป็ นมูลค่ำปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value) ของรำยได้สุทธิ ของ BFKT ที่เหลือทั้งหมด รวมกับมูลค่ำสุ ดท้ำยของ BFKT (terminal value) ของ ทรัพย์สิน BFKT หลัก (“รำยได้สุทธิ BFKT คงค้ำง”) และอำจบังคับใช้สิทธิของกองทุนไม่วำ่ ทั้งหมดหรื อ บำงส่ วนตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT กำรจำกัดควำมรับผิดของ BFKT ภำยใต้สัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT ควำมรับผิดของ BFKT จะมีอยูอ่ ย่ำงจำกัดตำมกรณี ทวั่ ไปซึ่ งรวมถึงกรณี ดงั ต่อไปนี้ BFKT ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ยวกับทรัพย์สิน BFKT ที่โอนแล้ว หำกกองทุนได้มีกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภำยในสองปี นับจำกวันโอนทรัพย์สิน BFKT เสร็ จสิ้ นที่เกี่ยวข้องแต่ละครั้ง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญบำงเรื่ อง ที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดในกำรบอกกล่ำว เรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจำกที่กฎหมำยกำหนด) เรื่ องดังกล่ำวรวมถึงคำรับรองของ BFKT ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่กรรมสิ ทธิ์ ของ BFKT ในทรัพย์สิน BFKT ที่โอนแล้ว และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่สำคัญ ควำมรับผิดโดยรวมของ BFKT เกี่ยวกับ (ก) รำยได้สุทธิ ของ BFKT ที่เกี่ยวกับสัญญำเช่ำ เครื่ องและอุปกรณ์ฯ ต้องไม่เกินรำยได้สุทธิ BFKT คงค้ำง (ข) ทรัพย์สิน BFKT หลักที่โอนให้แก่กองทุนต้อง ไม่เกินมูลค่ำสุ ดท้ำยของ BFKT (terminal value) ของทรัพย์สินนั้น (ค) ทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือที่โอน ให้กองทุนต้องไม่เกินรำคำซื้ อที่กองทุนชำระสำหรับทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือดังกล่ำว (ง) รำยได้สุทธิ ของ BFKT ที่เกี่ยวกับสัญญำเช่ำทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ ต้องไม่เกินมูลค่ำสุ ทธิ ปัจจุบนั ของรำยได้ค่ำเช่ำ สุ ทธิที่คำ้ งชำระ และ (จ) กำรทำผิดสัญญำอื่นใดทั้งหมด ควำมรับผิดรวมของ BFKT จะต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของรำคำซื้ อขำย BFKT ทั้งนี้ BFKT ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิเรี ยกร้อง ภำษี (เว้นแต่ภำษีมูลค่ำเพิ่ม)

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

อำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้อง ที่เกิดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำ กำรใช้สิทธิ กำรบังคับสิ ทธิตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT ในเรื่ องกำรประกันภัย BFKT ตกลงที่จะ (ก) ดำเนินกำรให้กองทุนมีชื่อเป็ นผูเ้ อำประกันภัย ร่ วมและผูร้ ับผลประโยชน์ร่วมภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ที่เกี่ยวกับทรัพย์สินโทรคมนำคมของ BFKT ภำยใน 45 วันนับแต่วนั ที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ BFKT เสร็ จสิ้ น (ข) จัดให้มีกำรประกันภัยที่เกี่ยวกับ ทรัพย์สินโทรคมนำคมของ BFKT ภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ตำมข้อกำหนดที่กำหนดไว้ใน สัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT (ค) ในวันโอนทรัพย์สิน BFKT เสร็ จสิ้ นแต่ละครั้งที่เกี่ยวข้อง จัดหำกรมธรรม์ประกันภัยในนำมของกองทุนสำหรับทรัพย์สิน BFKT ที่โอนแล้ว โดยกองทุนจะรับผิดชอบ ในเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่ำว (ง) ไม่เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดในกรมธรรม์ประกันภัย ของกลุ่มทรู เกี่ยวกับทรัพย์สิน BFKT ที่โอนแล้ว โดยไม่ได้รับควำมยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำกกองทุนก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ควำมยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (จ) ดำเนินกำรให้มีกำรนำเงินที่ได้รับตำม กรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภำพ หรื อเปลี่ยนทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำรเรี ยกร้องให้ มีกำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว (6.2) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ ระหว่ำง AWC ในฐำนะผู้ขำย และกองทุน ใน ฐำนะผู้ซื้อ (“สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC”) มีระยะเวลำ 12 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 24 ธันวำคม 2556 - วันที่ 3 สิ งหำคม 2568 โดยสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อขำยและโอน รำยได้ที่คำดว่ำจะได้รับของ AWC จำก (ก) ค่ำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC จำนวน 4,360 เสำตำมสัญญำเช่ำเสำโทรคมนำคม ของ AWC ลงวันที่ 1 ตุลำคม 2556 ระหว่ำง BFKT และ AWC รวมทั้งที่แก้ไขเพิ่มเติม (“สัญญำเช่ำเสำโทรคมนำคม ของ AWC”) (รวมถึงเงินที่ได้รับจำกกำรใช้สิทธิ เรี ยกร้อง และสิ ทธิ อื่นทั้งหมดที่เกิดจำกรำยได้ดงั กล่ำวตำมที่ ระบุไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC) นับแต่วนั เริ่ มคำนวณรำยได้ (1 ธันวำคม 2556) จนถึงวันที่ครบกำหนดสัญญำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC (“วันครบกำหนดสัญญำ AWC”) และ (ข) ค่ำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC จำนวนไม่เกิน 392 เสำ (“ทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ”) นับแต่วนั ถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำ AWC หรื อวันที่สัญญำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC ถูกยกเลิกก่อน ครบกำหนดระยะเวลำหรื อกำหนดระยะเวลำที่ได้มีกำรขยำย (“วันยกเลิกสัญญำ AWC”) แล้วแต่กรณี ใดจะเกิดขึ้นก่อน จนถึงวันครบรอบ 10 ปี นับแต่วนั ถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำ AWC หรื อวันยกเลิกสัญญำ AWC ดังกล่ำว ในแต่ละกรณี หกั ด้วยต้นทุนและค่ำใช้จำ่ ยบำงส่ วนสำหรับกำรดำเนิ นงำนและซ่อมบำรุ ง เงินค่ำเช่ำตำมสัญญำเช่ำที่ดิน (รวมถึงภำษีโรงเรื อน) และเบี้ยประกันภัย (“ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ AWC”) โดย ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ AWC จะมีกำรปรับอัตรำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) (รวมเรี ยกว่ำ “รำยได้สุทธิ ของ AWC”) ในวันที่ทำกำรซื้ อขำยเสร็ จสิ้ นที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC (“วันที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ AWC เสร็ จสิ้ น”) ภำยหลังวันครบกำหนดสัญญำ AWC หรื อวันครบยกเลิกสัญญำ AWC แล้วแต่กรณี AWC จะต้องโอนให้แก่กองทุน และกองทุนจะต้องรับโอนเสำโทรคมนำคมของ AWC จำนวน 3,968 เสำ(“ทรัพย์สิน AWC หลัก”) ในวันที่กำหนดไว้ให้เป็ นวันที่ทำกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน AWC หลัก (“วันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก”) (ทั้งนี้ รำยได้สุทธิ ของ AWC และทรัพย์สิน AWC หลัก รวมเรี ยกว่ำ “ทรัพย์สินที่ขำยของ AWC”) ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

สำหรับทรัพย์สิน AWC หลักที่ไม่สำมำรถโอนและส่ งมอบได้ในวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก AWC จะชำระเงินให้กองทุนเป็ นมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC หลักที่ไม่ได้มีกำรโอน และส่ งมอบดังกล่ำวในวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก เมื่อ AWC ชำระมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ดังกล่ำว จนครบถ้วนแล้ว AWC จะหมดภำระผูกพันต่อกองทุนในกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน AWC หลักที่ เกี่ยวข้องดังกล่ำว โดยมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC หลักที่เกี่ยวข้อง คือ จำนวนที่ เท่ำกับ 14 เท่ำของรำยได้ค่ำเช่ำ AWC รำยเดือนเป็ นระยะเวลำ 12 เดือนก่อนเดือนที่มีวนั โอนทรัพย์สิน AWC หลัก (“มูลค่ำสุ ดท้ำยของ AWC”) ในส่ วนของทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ AWC ตกลงจะเข้ำทำสัญญำเช่ำกับนิติบุคคลใน กลุ่มทรู เพื่อให้เช่ำพื้นที่ (slots) หนึ่งพื้นที่บนเสำโทรคมนำคมของ AWC ซึ่งเป็ นทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ (“สัญญำเช่ำทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ”) โดยมีระยะเวลำกำรเช่ำอย่ำงน้อย 10 ปี นับจำกวันถัดจำกวันครบกำหนด สัญญำ AWC หรื อ วันยกเลิกสัญญำ AWC แล้วแต่กรณี (“วันครบกำหนดกำรขำยรำยได้ AWC ขั้นสุ ดท้ำย”) และจัดหำและส่ งมอบรำยได้สุทธิ รำยเดือนที่เกิดจำกค่ำเช่ำทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ จนถึงวันครบกำหนด กำรขำยรำยได้ AWC ขั้นสุ ดท้ำยหรื อ จนถึงวันที่มีกำรโอนทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ หำกเกิดกรณี ดงั กล่ำว ขึ้นก่อน ตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC ภำยใต้ขอ้ กำหนดและเงื่อนไขในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC หำกใน ระหว่ำงระยะเวลำของสัญญำเช่ำทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ AWC ได้รับหลักฐำนเกี่ยวกับสิ ทธิในที่ดิน และ/หรื อสิ ทธิ กำรเช่ำโดยชอบด้วยกฎหมำยของสถำนที่อนั เป็ นที่ต้ งั หรื อใช้ดำเนินงำนทรัพย์สิน AWC ส่ วน ที่เหลือ AWC จะโอนและขำยทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ ให้กองทุน และกองทุนจะรับโอนและซื้ อทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือนั้นตำมรำคำที่กองทุนและ AWC จะตกลงกันโดยเป็ นไปตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน และสิ ทธิรำยได้ AWC กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยในรำยได้สุทธิของ AWC ทรัพย์สิน AWC หลักและทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือจะเป็ นของกองทุนในวันที่ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องเสร็ จสิ้ น เว้นแต่ จะกำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่นในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC ก่อนวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก หำกเกิดเหตุผดิ นัดใดที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำย ทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC กองทุนอำจเรี ยกให้ AWC ชำระเงินเป็ นมูลค่ำปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value) ของรำยได้สุทธิ ของ AWC ที่เหลือทั้งหมด รวมกับมูลค่ำสุ ดท้ำยของ AWC (terminal value) ของ ทรัพย์สิน AWC หลัก (“รำยได้สุทธิ AWC คงค้ำง”) และอำจบังคับใช้สิทธิของกองทุนไม่วำ่ ทั้งหมดหรื อ บำงส่ วนตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC กำรจำกัดควำมรับผิดของ AWC ภำยใต้สัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC ควำมรับผิดของ AWC จะมีอยูอ่ ย่ำงจำกัดตำมกรณี ทวั่ ไปซึ่ งรวมถึงกรณี ดงั ต่อไปนี้ AWC ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ยวกับทรัพย์สิน AWC ที่โอนแล้ว หำกกองทุนได้มีกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิภำยในสองปี นับจำกวันโอนทรัพย์สิน AWC เสร็ จสิ้ นที่เกี่ยวข้องแต่ละครั้ง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญบำงเรื่ อง ที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดในกำรบอกกล่ำว เรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจำกที่กฎหมำยกำหนด) เรื่ องดังกล่ำวรวมถึง คำรับรองของ AWC ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่ กรรมสิ ทธิ์ของ AWC ในทรัพย์สิน AWC ที่โอนแล้ว และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ควำมรับผิดโดยรวมของ AWC เกี่ยวกับ (ก) รำยได้สุทธิของ AWC ที่เกี่ยวกับสัญญำเช่ำ เสำโทรคมนำคมของ AWC ต้องไม่เกินรำยได้สุทธิ AWC คงค้ำง (ข) ทรัพย์สิน AWC หลักที่โอนให้แก่กองทุน ต้องไม่เกินมูลค่ำสุ ดท้ำยของ AWC (terminal value) ของทรัพย์สินนั้น (ค) ทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือที่โอน ให้กองทุนต้องไม่เกินรำคำซื้ อที่กองทุนชำระสำหรับทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือดังกล่ำว (ง) รำยได้สุทธิ ของ AWC ที่เกี่ยวกับสัญญำเช่ำทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ ต้องไม่เกินมูลค่ำสุ ทธิ ปัจจุบนั ของรำยได้ค่ำเช่ำสุ ทธิ ที่คำ้ งชำระ และ (จ) กำรทำผิดสัญญำอื่นใดทั้งหมด ควำมรับผิดรวมของ AWC จะต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของรำคำ ซื้ อขำย AWC ทั้งนี้ AWC ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้อง ภำษี (เว้นแต่ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) อำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้อง ที่เกิดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำกำรใช้สิทธิ กำรบังคับสิ ทธิ ตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC ในเรื่ องกำรประกันภัย AWC ตกลงที่จะ (ก) ดำเนินกำรให้กองทุนมีชื่อเป็ นผูเ้ อำประกันภัยร่ วม และผูร้ ับผลประโยชน์ร่วมภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ที่เกี่ยวกับทรัพย์สินโทรคมนำคมของ AWC ภำยใน 45 วันนับแต่วนั ที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ AWC เสร็ จสิ้ น (ข) จัดให้มีกำรประกันภัยที่เกี่ยวกับเสำ โทรคมนำคมของ AWC ภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ท้ งั หมด ตำมข้อกำหนดที่กำหนดไว้ใน สัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC (ค) ในวันโอนทรัพย์สิน AWC เสร็ จสิ้ นแต่ละครั้งที่เกี่ยวข้อง จัดหำกรมธรรม์ประกันภัยในนำมของกองทุนสำหรับทรัพย์สิน AWC ที่โอนแล้ว โดยกองทุนจะรับผิดชอบ ในเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่ำว (ค) ไม่เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดในกรมธรรม์ประกันภัย ของกลุ่มทรู เกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของ AWC โดยไม่ได้รับควำมยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำกกองทุน ก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ควำมยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (ง) ดำเนินกำรให้มีกำรนำเงินที่ได้รับ ตำมกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภำพ หรื อเปลี่ยนทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำรเรี ยกร้อง ให้มีกำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว (6.3) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ ทลี่ งทุนเพิม่ เติม ระหว่ำง AWC ในฐำนะผู้ขำย และกองทุน ในฐำนะผู้ซื้อ (“สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC ทีล่ งทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1”) มีระยะเวลำ 10 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มีนำคม 2558 - วันที่ 3 สิ งหำคม 2568 โดยสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ AWC ขำยและโอนแก่กองทุน และเพื่อให้กองทุนซื้ อและรับโอนรำยได้ที่คำดว่ำจะ ได้รับของ AWC จำกค่ำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC จำนวน 338 เสำ (“เสำโทรคมนำคมของ AWC ที่ ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1”) ตำมสัญญำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC เพิ่มเติม (รวมถึงเงินที่ได้รับจำกกำร ใช้สิทธิเรี ยกร้อง และสิ ทธิ อื่นทั้งหมดที่เกิดจำกรำยได้ดงั กล่ำวตำมที่ระบุไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและ สิ ทธิรำยได้ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1) โดยหักด้วยต้นทุนและค่ำใช้จ่ำยบำงส่ วนสำหรับกำรดำเนิ นงำนและซ่อมบำรุ ง เงินค่ำเช่ำ ตำมสัญญำเช่ำที่ดิน (รวมถึงภำษีโรงเรื อน) และเบี้ยประกันภัย (“ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ AWC”) โดยต้นทุน ค่ำใช้จ่ำนย AWC จะมีกำรปรับอัตรำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) (รวมเรี ยกว่ำ “รำยได้สุทธิของ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1”) ในวันที่ทำกำรซื้ อขำยเสร็ จสิ้ นที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 (“วันที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 เสร็ จสิ้ น”) ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ภำยหลังวันครบกำหนดสัญญำ AWC เพิม่ เติมหรื อวันที่สัญญำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC เพิ่มเติมถูกยกเลิกก่อนครบกำหนดระยะเวลำหรื อกำหนดระยะเวลำที่ได้มีกำรขยำย แล้วแต่กรณี AWC จะต้องโอนเสำโทรคมนำคมของ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ให้แก่กองทุน และกองทุนจะต้องรับโอน เสำโทรคมนำคมของ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ดังกล่ำว (“ทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1”) ในวันที่กำหนดไว้ให้เป็ นวันที่ทำกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 (“วันโอน ทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1”) (ทั้งนี้ รำยได้สุทธิ ของ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 และ ทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 รวมเรี ยกว่ำ “ทรัพย์สินที่ขำยของ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1”) สำหรับทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ที่ไม่สำมำรถโอนและส่ งมอบได้ใน วันโอนทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 AWC จะชำระเงินให้กองทุนเป็ นมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ที่ไม่ได้มีกำรโอนและส่ งมอบดังกล่ำวในวันโอนทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 เมื่อ AWC ชำระมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ดังกล่ำวจนครบถ้วนแล้ว AWC จะหมดภำระผูกพันต่อกองทุนในกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ที่เกี่ยวข้องดังกล่ำว มูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 คือ จำนวนที่ เท่ำกับ 14 เท่ำของรำยได้ค่ำเช่ำ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 รำยเดือนเป็ นระยะเวลำ 12 เดือนก่อนเดือนที่มี วันโอนทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 (“มูลค่ำสุ ดท้ำยของ AWC”) ทั้งนี้ ในกรณี ที่มีกำรปรับเปลี่ยนโครงสร้ำงค่ำเช่ำรำยเดือนสำหรับเสำโทรคมนำคมของ AWC ที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 ตำมสัญญำเช่ำโทรคมนำคมของ AWC เพิม่ เติม อันเนื่องมำจำก กสท. โทรคมนำคม ตกลงยกเลิกสิ ทธิ แต่เพียงผูเ้ ดียวของ กสท.โทรคมนำคม ในกำรเช่ำใช้เสำโทรคมนำคมของ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ภำยใต้สัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ HSPA คู่สัญญำตกลงว่ำมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 จะยังคงเป็ นตำนวนที่เท่ำกับ 14 เท่ำของ รำยได้ค่ำเช่ำ AWC ที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 รำยเดือนเป็ นระยะเวลำ 12 เดือนก่อนเดือนที่มีวนั โอนทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 เสมือนเหนึ่งว่ำไม่ได้มีกำรปรับเปลี่ยนโครงสร้ำงค่ำเช่ำรำยเดือนสำหรับ เสำโทรคมนำคมของ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 เนื่องจำกเหตุดงั กล่ำวแต่อย่ำงใด ทั้งนี้ เป็ นไปตำม ข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยในรำยได้สุทธิ ของ AWC ที่ ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 หรื อ ทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 จะเป็ นของกองทุนในวันที่ธุรกรรมที่ เกี่ยวข้องเสร็ จสิ้ น เว้นแต่จะกำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่นในสัญญำโอนขำยทรัพย์สิทธิ รำยได้ AWC ที่ลงทุน เพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ควำมรับผิดโดยรวมของ AWC เกี่ยวกับ (ก) รำยได้สุทธิของ AWC ที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 ต้องไม่เกินรำยได้สุทธิ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 คงค้ำง (ข) ทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ที่โอน ให้แก่กองทุนต้องไม่เกินมูลค่ำสุ ดท้ำยของ AWC (terminal value) ของทรัพย์สินนั้น และ (ค) กำรทำผิด สัญญำอื่นใดทั้งหมด ควำมรับผิดรวมของ AWC จะต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของรำคำซื้ อขำยทรัพย์สิน AWC ที่ ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ทั้งนี้ AWC ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเย สิ ทธิ เรี ยกร้อง ภำษี (เว้นแต่ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) อำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้องที่เกิดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำ กำรใช้สิทธิ กำรบังคับสิ ทธิตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC ที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ในเรื่ องกำรประกันภัย AWC ตกลงจะ (ก) ดำเนินกำรให้กองทุนมีชื่อเป็ นผูเ้ อำประกันภัยร่ วม และผูร้ ับผลประโยชน์ร่วมภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ที่เกี่ยวกับทรัพย์สินโทรคมนำคมของ AWC ภำยใน 45 วันนับแต่วนั ที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 เสร็ จสิ้ น (ข) จัดให้มีกำร ประกันภัยที่เกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของ AWC ภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ท้ งั หมด ตำมข้อกำหนด ที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC ที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 (ค) ในวันโอนทรัพย์สิน AWC ที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 จัดหำกรมธรรม์ประกันภัยในนำมของกองทุนสำหรับทรัพย์สิน AWC ที่โอนแล้ว โดยกองทุนจะรับผิดชอบในเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่ำว (ง) ไม่เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดใน กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู เกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของ AWC โดยไม่ได้รับควำมยินยอมโดยไม่มีเหตุ อันสมควรไม่ได้ และ (จ) ดำเนินกำรให้มีกำรนำเงินที่ได้รับตำมกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภำพ หรื อเปลี่ยนทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำรเรี ยกร้องให้มีกำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว (7) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สิน (7.1) สั ญญำโอนขำยทรัพย์ สินระหว่ ำงบริษัทฯ ในฐำนะผู้ขำย และกองทุน ในฐำนะผู้ซื้อ (“สั ญญำโอนขำยทรัพย์ สินทรู ”) โดยสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู น้ ี มีวตั ถุประสงค์เพื่อขำยและโอนให้แก่กองทุน และ กองทุนตกลงรับซื้ อและรับโอนทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม ดังต่อไปนี้ (ก) เสำโทรคมนำคม 3,000 เสำ ภำยใน วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2557 และ (ข) เสำโทรคมนำคม 3,000 เสำ ภำยใน วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 (แต่ละกรณี เรี ยกว่ำ “วันครบกำหนดส่ งมอบ”) โดยรำคำซื้ อขำยทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมดังกล่ำว (“รำคำซื้ อขำยทรู ”) เป็ นไปตำม จำนวนที่ระบุไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู โดยกองทุนต้องชำระรำคำซื้ อขำยเต็มจำนวนในวันที่ทำกำร โอนเสร็ จสิ้ นนับจำกวันถัดจำกวันครบกำหนดส่ งมอบแต่ละครั้งจนถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2563 (“วันส่ ง มอบขั้นสุ ดท้ำยของทรู ”) หำกในวันที่ 31 ธันวำคมของแต่ละปี ยังมีทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่ยงั ไม่ได้ส่ง มอบให้แก่กองทุน บริ ษทั ฯ จะจ่ำยค่ำเสี ยหำยจำกควำมล่ำช้ำในกำรส่ งมอบให้แก่กองทุนเป็ นจำนวนเงิน เท่ำกับจำนวนเงินที่กองทุนจะต้องชำระคืนให้แก่TUCในปี ดังกล่ำวภำยใต้สัญญำเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำร จัดกำรหลักของTUC สำหรับทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่ไม่สำมำรถจัดหำให้แก่TUCได้ (“ส่ วนต่ำงค่ำเช่ำ รำยปี ”) บวกด้วย ร้อยละ 15 ต่อปี ในวันส่ งมอบขั้นสุ ดท้ำยของทรู หำกมีทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมส่ วนเพิ่มที่ยงั ไม่ สำมำรถโอนได้ บริ ษทั ฯ จะชดใช้กองทุนเป็ นจำนวนเงินเท่ำกับสิ บสองเท่ำของส่ วนต่ำงค่ำเช่ำรำยปี ของปี 2563 ตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ในวันที่บริ ษทั ฯ ส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมให้แก่กองทุนครบถ้วนหรื อวันส่ งมอบ ขั้นสุ ดท้ำยของทรู แล้วแต่วนั ใดจะถึงก่อน หำกปรำกฏว่ำทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่บริ ษทั ฯ ส่ งมอบให้แก่ กองทุนมีลกั ษณะไม่ตรงตำมรำยละเอียดที่ระบุไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู คู่สัญญำตกลงจะชดใช้ ส่ วนต่ำงใด ๆ ที่เกิดจำกกำรส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมส่ วนเพิ่มที่มีลกั ษณะไม่ตรงตำมรำยละเอียดที่ ระบุไว้ดงั กล่ำว ทั้งนี้ เป็ นไปตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญหำยหรื อเสี ยหำยในทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม จะตกเป็ นของกองทุนเมื่อมีกำรส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมแต่ละครั้ง (“กำรส่ งมอบ”) ตำมกระบวนกำรที่ กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู ก่อนกำรส่ งมอบแต่ละครั้ง บริ ษทั ฯ จะต้องให้คำรับรองและคำรับประกันแก่กองทุน โดยรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียง กำรรับรองและรับประกันว่ำบริ ษทั ฯ จะต้องมีกรรมสิ ทธิ์ โดยชอบด้วยกฎหมำย ในทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่จะส่ งมอบ และทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมดังกล่ำวจะต้องปรำศจำก ภำระผูกพันใด ๆ ภำระหน้ำที่หลักของบริ ษทั ฯ นับจำกกำรส่ งมอบแต่ละครั้ง บริ ษทั ฯ จะดำเนินกำร ต่อไปนี้เกี่ยวกับทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่ได้มีกำรส่ งมอบ โดยค่ำใช้จ่ำยของบริ ษทั ฯ เอง ในกรณี ที่ไม่ สำมำรถโอน หรื อ แปลงคู่สัญญำเกี่ยวกับสิ ทธิ กำรเช่ำในที่ดิน และ/หรื อ ทรัพย์สินให้กบั กองทุนได้ บริ ษทั ฯ จะดำเนินกำรให้กองทุน ผูเ้ ช่ำทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม ผูจ้ ดั กำรทรัพย์สินโทรคมนำคม และบุคคลที่ได้รับ กำรแต่งตั้งมีสิทธิ เข้ำไปและใช้สถำนที่ต้ งั ที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้น ในกรณี ของสัญญำอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม ซึ่ งไม่สำมำรถโอน หรื อ แปลงคู่สัญญำให้แก่กองทุนได้ บริ ษทั ฯ จะดำเนินกำรให้กองทุนได้รับสิ ทธิและผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ ตำมสัญญำอื่น ๆ นั้น ควำมรับผิดของบริ ษทั ฯ เกี่ยวกับกำรทำผิดสัญญำ ทั้งหมดรวมแล้วจะไม่เกินรำคำซื้ อขำยทรู ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้อง ภำษี (เว้นแต่ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) อำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้อง ที่เกิดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำ ใช้สิทธิ บังคับสิ ทธิ ตำม สัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู ในเรื่ องของกำรประกันภัย นับจำกกำรส่ งมอบที่เกี่ยวข้อง บริ ษทั ฯ ตกลงที่จะ (ก) จัดให้ มีกำรประกันภัยที่เกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้วภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ตำมข้อกำหนดที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู จนกว่ำกองทุนจะทำประกันภัยที่เกี่ยวข้อง (ข) จัดหำกรมธรรม์ประกันภัยสำหรับเสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้วในนำมของกองทุน โดย กองทุนจะรับผิดชอบในเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่ำว (ค) ไม่เปลี่ยนแปลงข้อกำหนด ในกรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู เกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้วโดยไม่ได้รับควำม ยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำกกองทุนก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ควำมยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (ง) ดำเนินกำรให้มีกำรนำเงินที่ได้รับตำมกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภำพ หรื อ เปลี่ยนทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำรเรี ยกร้องให้มีกำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กำรจำกัดควำมรับผิดของบริ ษทั ฯ นับจำกวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น บริ ษทั ฯ ต้องรับผิด ต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้ว หำกกองทุนได้มีกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้อง สิ ทธิภำยในสองปี นับจำกกำรส่ งมอบที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญบำงเรื่ องที่กำหนด ไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดในกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจำก ที่กฎหมำยกำหนด) เรื่ องดังกล่ำวรวมถึง คำรับรองของ บริ ษทั ฯ ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่ กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ ในทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่สำคัญ นอกจำกนี้ ภำระผูกพันของบริ ษทั ฯ เกี่ยวกับกำรย้ำยสถำนที่และซื้ อคืนเสำโทรคมนำคม ของบริ ษทั ฯ ที่ได้รับผลกระทบที่ต้ งั อยูใ่ นสถำนที่ (หรื อบำงส่ วนของสถำนที่) ซึ่งได้มีกำรโอนให้แก่ หรื อ แปลงคู่สัญญำเป็ นกองทุนแล้วซึ่งส่ งผลให้เสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้วนั้นถูกยึดไป ถูกควบคุม หรื อถูกดำเนินกำรโดยประกำรอื่นใดทำให้ไม่สำมำรถใช้งำนได้โดยผูเ้ ช่ำอันเนื่องมำจำกกำรเข้ำถึงหรื อกำร ใช้สถำนที่หรื อส่ วนหนึ่งส่ วนใดของสถำนที่น้ นั ไม่ชอบด้วยกฎหมำยให้กำหนดไว้เพียงห้ำปี หลังจำกวันที่มี กำรโอนสิ ทธิ หรื อแปลงคู่สัญญำที่เกี่ยวกับสถำนที่ที่เกี่ยวข้องดังกล่ำวเป็ นชื่ อกองทุน (7.2) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินระหว่ำง TU ในฐำนะผู้ขำยและกองทุน ในฐำนะผู้ซื้อ (“สั ญญำ โอนขำยทรัพย์สิน TU”) โดยสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TU นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อขำยและโอนให้แก่กองทุน และ กองทุนตกลงซื้ อและรับโอน (ก) ระบบ FOC หลักควำมยำว 5,112 กิโลเมตร (รวมทั้งอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณ) ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัด และ (ข) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งมีควำมจุที่สำมำรถรองรับได้ จำนวนประมำณ 1.2 ล้ำนพอร์ ต (“ทรัพย์สินที่ขำยของ TU”) กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยในทรัพย์สินที่ขำยของ TU จะ เป็ นของกองทุนในวันที่ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับกำรขำยและโอนเสร็ จสิ้ น เว้นแต่จะกำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่นใน สัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TU ภำระหน้ำที่หลักของ TU นับจำกวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น TU จะดำเนิ นกำรต่อไปนี้ โดยค่ำใช้จ่ำยของ TU เอง TU จะดำเนินกำรให้กองทุน ผูเ้ ช่ำทรัพย์สินที่ขำยของ TU ผูจ้ ดั กำรทรัพย์สิน โทรคมนำคม และบุคคลที่ได้รับกำรแต่งตั้งมีสิทธิ เข้ำถึงและใช้สิทธิ แห่งทำงที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นตำม เงื่อนไขและข้อกำหนดของสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TU ในกรณี ของสัญญำอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่ขำยของ TU ซึ่งไม่สำมำรถโอน และ/หรื อ แปลงคู่สัญญำให้แก่กองทุนได้ TU จะดำเนินกำรให้กองทุนได้รับสิ ทธิและผลประโยชน์ของ TU ตำมสัญญำ อื่น ๆ นั้น ควำมรับผิดของ TU เกี่ยวกับกำรทำผิดสัญญำใด ๆ ภำยใต้สัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TU ทั้งหมดรวมแล้วจะไม่เกินรำคำซื้ อขำยของทรัพย์สินที่ขำยของ TU ทั้งนี้ TU ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิเรี ยกร้อง ภำษี (เว้นแต่ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) อำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้อง ที่เกิดขึ้น หรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำ กำรใช้สิทธิ กำรบังคับสิ ทธิ ตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TU ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กำรจำกัดควำมรับผิดของ TU นับจำกวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น TU ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ขำยของ TU ที่โอนแล้ว หำกกองทุนได้มีกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิภำยใน สองปี นับจำกวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญบำงเรื่ องที่กำหนดไว้ใน สัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TU ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดในกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจำกที่ กฎหมำยกำหนด) เรื่ องดังกล่ำวรวมถึงคำรับรองของ TU ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่ กรรมสิ ทธิ์ ของ TU ใน ทรัพย์สินที่ขำยของ TU และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่สำคัญ ในเรื่ องของกำรประกันภัย นับจำกกำรส่ งมอบที่เกี่ยวข้อง บริ ษทั ฯ ตกลงที่จะ (ก) จัดให้ มีกำรประกันภัยที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่ขำยของ TU ที่โอนแล้วภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ตำม ข้อกำหนดที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TU จนกว่ำกองทุนจะทำประกันภัยที่เกี่ยวข้อง (ข) จัดหำ กรมธรรม์ประกันภัยสำหรับทรัพย์สินที่ขำยของ TU ที่โอนแล้วในนำมของกองทุน โดยกองทุนจะรับผิดชอบ ในเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่ำว (ค) ไม่เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดในกรมธรรม์ประกันภัย ของกลุ่มทรู เกี่ยวกับทรัพย์สินที่ขำยของ TU ที่โอนแล้วโดยไม่ได้รับควำมยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำก กองทุนก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ควำมยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (ง) ดำเนินกำรให้มีกำรนำเงิน ที่ได้รับตำมกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภำพ หรื อเปลี่ยนทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำร เรี ยกร้องให้มีกำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว (8) สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำรและบริหำรจัดกำรหลัก (8.1) สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำร บำรุ งรั กษำ และบริหำรจัดกำรหลัก ระหว่ำง TUC ในฐำนะผู้เช่ ำ ดำเนินกำร บำรุ งรั กษำและบริ หำรจัดกำร และ กองทุนในฐำนะผู้ให้ เช่ ำ (“สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำรและบริหำร จัดกำรหลักของTUC”) โดยมีระยะเวลำ 14 ปี นับตั้งแต่ วันที่ 24 ธันวำคม 2556 - วันที่ 31 ธันวำคม 2570 โดยสัญญำเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของTUC นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเช่ำ พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม และทรัพย์สินสิ่ งอำนวยควำมสะดวกประเภท Passive ที่เกี่ยวข้องกับเสำ โทรคมนำคมบำงเสำ (รวมเรี ยกว่ำ “ทรัพย์สินที่เช่ำ”) รวมทั้ง ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินที่เช่ำมี กำหนดอำยุจนถึง 31 ธันวำคม พ.ศ. 2570 ทรัพย์สินที่เช่ำ ประกอบไปด้วยทรัพย์สินดังต่อไปนี้เป็ นอย่ำงน้อย (“ทรัพย์สินขั้นต่ำที่เช่ำ”) (ก) พื้นที่ (slots) จำนวน 6,619 พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม 3,000 เสำ เริ่ มตั้งแต่ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 (ข) พื้นที่ (slots) จำนวน 13,993 พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม 6,000 เสำ เริ่ มตั้งแต่ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 และ (ค) พื้นที่ (slots) จำนวน 15,249 พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม 6,000 เสำ เริ่ มตั้งแต่ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

อัตรำค่ำเช่ำ สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทตำมรำยละเอียดดังต่อไปนี้ และอำจมีส่วนลด และ/หรื อ กำรปรับเปลี่ยนที่เหมำะสม ดังที่ระบุไว้ดำ้ นล่ำงนี้ ประเภทที่ 1: เสำโทรคมนำคมที่ต้ งั บนพื้นดิน: 25,400 บำท ต่อเดือน ต่อพื้นที่ (slot) ประเภทที่ 2: เสำโทรคมนำคมที่ต้ งั บนดำดฟ้ ำ: 23,200 บำท ต่อเดือน ต่อพื้นที่ (slot) และ ประเภทที่ 3: โครงข่ำย IBC/DAS: 39,400 บำท ต่อเดือน ต่อพื้นที่ (slot) ส่ วนลด และ/หรื อ กำรปรับเปลี่ยนอัตรำค่ำเช่ำ อยูภ่ ำยใต้เงื่อนไขด้ำนล่ำงนี้ (ก) ส่ วนลดจำกกำรเป็ นผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิม: ร้อยละ 32 (ข) ส่ วนลดจำกจำนวน (โดยไม่คำนึงถึงประเภทของทรัพย์สินที่เช่ำ) พื้นที่ (slots) จำนวน 1 - 3,000 พื้นที่ (slots): ไม่มีส่วนลด พื้นที่ (slots) จำนวน 3,001 - 5,000 พื้นที่ (slots): ส่ วนลดในอัตรำร้อยละ 30 พื้นที่ (slots) จำนวน 5,001 - 10,000 พื้นที่ (slots): ส่ วนลดในอัตรำร้อยละ 35 และ พื้นที่ (slots) จำนวน 10,001 พื้นที่ (slots) เป็ นต้นไป: ส่ วนลดในอัตรำร้อยละ 40 หำกTUCหรื อผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรที่เป็ นบริ ษทั ในกลุ่มทรู (“ผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำร ดั้งเดิม”) รำยใดต้องกำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรพื้นที่ (slots) เพิ่มเติมไม่วำ่ ในเวลำใด ๆ TUC หรื อ ผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิมนั้นจะได้รับทั้งส่ วนลดจำกกำรเป็ นผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิมและส่ วนลด จำกจำนวน สำหรับค่ำเช่ำพื้นที่ (slots) เพิ่มเติมดังกล่ำว กำรปรับอัตรำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) ในอัตรำคงที่ที่ร้อยละ 2.7 ต่อปี เริ่ มคิด คำนวณจำกเดือนมกรำคม พ.ศ. 2558 กำรชำระค่ำเช่ำ TUCจะชำระค่ำเช่ำสุ ทธิ สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำล่วงหน้ำตั้งแต่เดือน มกรำคม 2557 โดยจะชำระภำยในวันที่ 7 ของทุกเดือนหรื อวันทำกำรถัดไป และจะชำระค่ำเช่ำสุ ทธิ ให้แก่ กองทุนล่วงหน้ำเป็ นรำยเดือนสำหรับกำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินขั้นต่ำที่เช่ำ (Minimum Leased Properties) ซึ่ งจะเป็ นระยะเวลำหนึ่งปี ล่วงหน้ำสำหรับกำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรพื้นที่ (slot) บนเสำโทรคมนำคมกลุ่มแรกจำนวน 3,000 เสำที่มีกำหนดส่ งมอบให้แก่กองทุนโดยบริ ษทั ฯ ภำยใน วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2557 และเป็ นระยะเวลำสองปี ล่วงหน้ำสำหรับกำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร พื้นที่ (slot) บนเสำโทรคมนำคมกลุ่มที่สองจำนวน 3,000 เสำที่มีกำหนดส่ งมอบให้แก่กองทุนโดยบริ ษทั ฯ ภำยในวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 ณ สิ้ นปี ของแต่ละปี นับจำกปี พ.ศ. 2558 ถึง ปี พ.ศ. 2563 กองทุนจะชำระคืนเงินค่ำเช่ำ ล่วงหน้ำที่TUCได้ชำระเกินไปคืนให้แก่TUC ในกรณี ที่จำนวนเสำโทรคมนำคมที่TUCเช่ำ ดำเนินกำรและ บริ หำรจัดกำรจริ งภำยใต้สัญญำเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของTUC มีจำนวนน้อยกว่ำทรัพย์สินขั้นต่ำ ที่เช่ำ (Minimum Leased Properties) สำหรับปี นั้น ๆ ทั้งนี้ กองทุนจะทำกำรชำระคืนเงินค่ำเช่ำล่วงหน้ำดังกล่ำว ให้แก่TUCภำยในวันทำกำรถัดจำกวันที่บริ ษทั ฯได้ชำระค่ำเสี ยหำยจำกควำมล่ำช้ำในกำรส่ งมอบทรัพย์สิน เสำโทรคมนำคมที่เกี่ยวข้องภำยใต้เงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู ให้แก่กองทุนแล้ว

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ในวันที่บริ ษทั ฯ ส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมให้แก่กองทุนครบถ้วนตำมสัญญำ โอนขำยทรัพย์สินทรู หรื อวันที่ 31 ธันวำคม 2563 แล้วแต่วนั ใดจะถึงก่อน หำกปรำกฎว่ำทรัพย์สินเสำ โทรคมนำคมที่บริ ษทั ฯ ส่ งมอบให้แก่กองทุนมีลกั ษณะไม่ตรงตำมรำยละเอียดที่ระบุไว้ในสัญญำโอนขำย ทรัพย์สินทรู ทำให้ค่ำเช่ำล่วงหน้ำที่TUCได้ชำระให้แก่กองทุนแตกต่ำงไปจำกค่ำเช่ำที่แท้จริ งที่ TUC ควร ชำระให้แก่กองทุนสำหรับกำรเช่ำทรัพย์สินที่เช่ำ คู่สัญญำตกลงจะชดใช้ส่วนต่ำงใด ๆ ที่เกิดจำกกรณี ดงั กล่ำว ทั้งนี้ เป็ นไปตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของTUC กองทุนจะเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่ำเช่ำที่ดินสำหรับกำรเช่ำที่ดินที่ทรัพย์สินที่เช่ำตั้งอยู่ โดย (ก) ในระหว่ำงระยะเวลำกำรเช่ำ TUCจะเป็ นผูช้ ำระค่ำเช่ำที่ดินสำหรับกำรเช่ำที่ดินที่ทรัพย์สินที่เช่ำตั้งอยู่ และ (ข) สำหรับช่วงกำรต่ออำยุกำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร กองทุนจะเป็ นผูช้ ำระค่ำเช่ำที่ดิน สำหรับกำรเช่ำที่ดินที่ทรัพย์สินที่เช่ำตั้งอยู่ กำรประกันภัย กองทุนมีหน้ำที่ควำมรับผิดชอบในกำรจัดให้มีและคงไว้ซ่ ึ งประกันภัย สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำ (รวมถึง ประกันภัยประเภทควำมรับผิดต่อบุคคลภำยนอก และควำมคุม้ ครองทำง ประกันภัยอื่นใด) ที่เพียงพอและเป็ นไปตำมหลักปฏิบตั ิในอุตสำหกรรมสำหรับทรัพย์สินที่เช่ำ รวมทั้งมี หน้ำที่ตอ้ งชำระเบี้ยประกันภัย และ TUC มีหน้ำที่ควำมรับผิดชอบในกำรจัดให้มีและคงไว้ซ่ ึ งประกันภัย สำหรับอุปกรณ์โทรคมนำคมที่TUC ติดตั้ง หรื อ นำไปไว้บนทรัพย์สินที่เช่ำใด ๆ (รวมถึง ประกันภัยประเภท ควำมรับผิดต่อบุคคลภำยนอก และควำมคุม้ ครองทำงประกันภัยอื่นใด) ที่เพียงพอและเป็ นไปตำมหลักปฏิบตั ิ ในอุตสำหกรรมสำหรับอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภทเดียวกัน ควำมรับผิดของคู่สัญญำ กองทุน และ TUC ต่ำงตกลงที่จะรับผิดชดใช้ค่ำสิ นไหมทดแทน และค่ำเสี ยหำยทั้งปวงให้แก่อีกฝ่ ำย อันเป็ นผลมำจำกกำรผิดคำรับรอง คำรับประกัน และข้อปฏิบตั ิของตน ภำยใต้สัญญำเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของ TUC โดยมีขอ้ ยกเว้นต่ำง ๆ ตำมหลักปฏิบตั ิใน อุตสำหกรรม กำรให้เช่ำช่วงพื้นที่บนเสำโทรคมนำคม TUCสำมำรถให้เช่ำช่วงพื้นที่ (slots) บนเสำ โทรคมนำคมที่ตนเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรภำยใต้สัญญำเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของ TUCโดยไม่จำเป็ นต้องได้รับควำมยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำกกองทุนก่อน ดังต่อไปนี้ (1) ให้เช่ำช่วงทรัพย์สินขั้นต่ำที่เช่ำ (Minimum Leased Properties) ให้แก่ บุคคลใด ๆ (2) ให้เช่ำช่วงพื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม (นอกเหนือจำกทรัพย์สินขั้นต่ำที่ TUCเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำร) ให้แก่ (ก) ผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิมอื่นใด (ข) บริ ษทั ฯ หรื อ บริ ษทั ย่อยในปั จจุบนั และในอนำคตของบริ ษทั ฯ และ/หรื อ นิติบุคคลที่ไม่ใช่กลุ่มทรู ผูไ้ ด้รับสิ ทธิในกำร ประกอบกิจกำรโทรคมนำคมที่ใช้คลื่นควำมถี่ในย่ำนควำมถี่ 1800 MHz (ค) CAT (ง) ทีโอที และ (จ) ผูป้ ระกอบกำรรำยอื่น ๆ ที่มีกำรแลกเปลี่ยนกำรใช้ประโยชน์บนพื้นที่ (slots) ของผูป้ ระกอบกำรรำยอื่น ๆ นั้น โดยไม่มีค่ำตอบแทน ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 28


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(3) ให้เช่ำช่วงพื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม (นอกเหนือจำกทรัพย์สินขั้นต่ำที่ TUC เช่ำและดำเนินกำรบริ หำรจัดกำร) ให้แก่ บุคคลใด ๆ นอกเหนือจำกบุคคลตำมที่ระบุใน (2) โดยอัตรำค่ำเช่ำที่ TUCจะต้องชำระให้แก่กองทุนสำหรับพื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคมดังกล่ำวนั้นจะเป็ นอัตรำค่ำเช่ำที่คิด ส่ วนลดตำมที่ผเู ้ ช่ำช่วงจำกTUCรำยนั้น ๆ ควรจะได้รับจำกกองทุนหำกผูเ้ ช่ำช่วงรำยดังกล่ำวเช่ำ ดำเนินกำร และบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินดังกล่ำวจำกกองทุนโดยตรงโดยไม่มีส่วนลดจำกกำรเป็ นผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำร ดั้งเดิม โดยกองทุนอำจตกลงให้ส่วนลดเพิม่ เติมแก่TUC ในกำรที่TUCให้เช่ำช่วงพื้นที่ (slots) บนเสำ โทรคมนำคม แก่บุคคลอื่นตำมที่ระบุในข้อ (3) นี้ กำรเสริ มควำมสำมำรถของเสำโทรคมนำคมที่เช่ำ ในกรณี จำเป็ น หรื อ สมควร (ไม่วำ่ เป็ นผลมำจำกกำรร้องขอของ TUC และ/หรื อ ผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรที่เป็ นบุคคลภำยนอก) ที่จะต้องมีกำร เสริ มควำมสำมำรถหรื อปรับปรุ งเสำโทรคมนำคมใด ๆ ที่กองทุนได้รับจำกTUC หรื อ บริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ และอยูภ่ ำยใต้กำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรภำยใต้สัญญำเช่ำ ดำเนิ นกำรและ บริ หำรจัดกำรหลักของTUC TUCจะดำเนินกำรเพื่อให้มีกำรเสริ มควำมสำมำรถหรื อปรับปรุ งดังกล่ำวในทุกกรณี ด้วยค่ำใช้จ่ำยของกองทุนและบวกด้วยส่ วนเพิ่มที่สมเหตุสมผล หำกกองทุนขำดเงินทุนในกำรเสริ มควำมสำมำรถ หรื อปรับปรุ งเสำโทรคมนำคม TUCจะสำรองจ่ำยเงินไปก่อน โดยกองทุนจะชำระค่ำใช้จ่ำยและส่ วนเพิ่มคืน ให้แก่TUC ภำยใน 30 วันนับจำกวันที่TUCออกใบเรี ยกเก็บเงิน หำกกองทุนไม่สำมำรถปฏิบตั ิตำมเงื่อนไข ดังกล่ำวได้ กองทุนตกลงจะชำระดอกเบี้ยที่คิดบนจำนวนเงินที่ถึงกำหนดชำระแต่ยงั ไม่ได้รับชำระ ในอัตรำ ร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ที่ถึงกำหนดชำระจนกว่ำวันที่ได้ชำระเงินดังกล่ำวทั้งหมดจนครบถ้วนเต็มจำนวนแล้ว ให้แก่TUC ทั้งนี้ ในกรณี ที่กองทุนไม่สำมำรถชดใช้เงินคืนให้แก่TUCภำยในเวลำที่กำหนด TUC มีสิทธิหกั กลบลบหนี้ค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำว และส่ วนเพิ่มและดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง กับค่ำเช่ำรำยเดือนที่ถึงกำหนดชำระซึ่ ง TUCต้องชำระให้แก่กองทุนได้ (8.2) สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำร บำรุ งรั กษำ และบริหำรจัดกำรหลัก ระหว่ำง TU ในฐำนะผู้เช่ ำ ดำเนินกำร บำรุ งรักษำและบริหำรจัดกำร และ กองทุน ในฐำนะผู้ให้ เช่ ำ (“สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำรและบริหำร จัดกำรหลักของ TU”) มีระยะเวลำ 13 ปี และ 5 ปี แล้วแต่ กรณี นับตั้งแต่ วนั ที่ 24 ธันวำคม 2556 โดยสัญญำเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของ TU นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร (ก) ระบบ FOC หลัก ควำมยำวประมำณ 5,112 กิโลเมตร โดยที่ในแต่ละปี TU จะเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรระบบ FOC หลัก ไม่นอ้ ยกว่ำจำนวนที่กำหนดในสัญญำเช่ำ ดำเนินกำร และบริ หำรจัดกำรหลักของ TU (ข) อุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ยวข้องกับระบบ FOC หลัก (ค) ระบบบรอดแบนด์ ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Passive (สำหรับกำรใช้แต่เพียงผูเ้ ดียวของ TU เว้นแต่ TU ตกลงเป็ นอย่ำงอื่นหลังจำกระยะเวลำ 5 ปี แรก) และระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ น อุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active (สำหรับกำรใช้แต่เพียงผูเ้ ดียวของ TU) (รวมเรี ยกว่ำ “ทรัพย์สินที่เช่ำ”) โดยมีระยะเวลำของกำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 29


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(1) จนถึง ปี พ.ศ. 2569 สำหรับระบบ FOC หลัก และระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Passive และ (2) จนถึง ปี พ.ศ. 2561 สำหรับอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ยวข้องกับระบบ FOC หลัก และ ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active อัตรำค่ำเช่ำ สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำ เท่ำกับ (ก) ระบบ FOC หลัก: (1) จนถึง 76% ของระบบ FOC หลัก (93,370 คอร์ กิโลเมตร): 350 บำทต่อเดือน ต่อกิโลเมตรหลัก และ (2) ในส่ วนที่เกิน 76% จนถึง 100% ของระบบ FOC หลัก: 1,100 บำทต่อเดือน ต่อกิโลเมตรหลัก โดยอัตรำค่ำเช่ำสุ ทธิ ที่กองทุนจะได้รับต่อปี สำหรับระบบ FOC หลักจะคำนวณจำก อัตรำที่ระบุดำ้ นบนหักด้วยค่ำบำรุ งรักษำระบบ FOC หลักที่อตั รำ 186 ล้ำนบำทต่อปี (ข) อุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ยวข้องกับระบบ FOC หลัก: 38 ล้ำนบำทต่อปี (ค) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Passive: 791 ล้ำนบำทต่อปี (ทั้งนี้ อยูภ่ ำยใต้กำรปรับเปลี่ยนอัตรำในอนำคตซึ่ งจะมี กำรตกลงกัน ในกรณี ที่ TU ตกลงสละสิ ทธิ ในกำรใช้แต่เพียงผูเ้ ดียวของตน หลังจำกระยะเวลำ 5 ปี แรก) (ง) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active: 317 ล้ำนบำทต่อปี กำรปรับอัตรำ ค่ำเช่ำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) สำหรับอัตรำค่ำเช่ำระบบบรอดแบนด์ ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัด (สำหรับอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active และอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Passive) ในอัตรำร้อยละ 5 ต่อปี ในปี พ.ศ. 2558 และในอัตรำเท่ำกับดัชนี รำคำผูบ้ ริ โภค (Consumer Price Index หรื อ CPI) ที่ประกำศโดยกระทรวงพำณิ ชย์ ประเทศไทยสำหรับปี ก่อนหน้ำ โดยเริ่ มคิดคำนวณจำก เดือนมกรำคม พ.ศ. 2559 ทั้งนี้ อัตรำดังกล่ำวต้องไม่เกินร้อยละ 3.5 และไม่มีกำรปรับอัตรำค่ำเช่ำเพิ่มสำหรับ กำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรระบบ FOC หลัก และอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณ กำรประกันภัย กองทุนมีหน้ำที่ควำมรับผิดชอบในกำรจัดให้มีและคงไว้ซ่ ึ งประกันภัย ประเภทควำมรับผิดต่อบุคคลภำยนอกบนทรัพย์สินที่เช่ำ รวมทั้งมีหน้ำที่ตอ้ งชำระเบี้ยประกันภัย กำรยกระดับประสิ ทธิภำพ (Upgrade) ในกรณี จำเป็ น หรื อ สมควร ที่จะต้องมีกำร ยกระดับประสิ ทธิภำพ (upgrade) ทรัพย์สินที่เช่ำใด ๆ หรื อทรัพย์อื่นใดที่เกี่ยวข้อง ที่กองทุนได้รับจำก TU หรื อ บริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ และอยูภ่ ำยใต้กำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรภำยใต้สัญญำ เช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของ TU นั้น TU จะดำเนินกำรเพื่อให้มีกำรยกระดับประสิ ทธิภำพ (upgrade) ดังกล่ำวในทุกกรณี ด้วยค่ำใช้จ่ำยของตนเอง โดยที่กำรยกระดับประสิ ทธิ ภำพ (upgrade) จะ กลำยเป็ นสิ นทรัพย์เพิ่มเติมของ TU ซึ่งหำก TU ประสงค์จะขำยให้แก่บุคคลใด TU ต้องยืน่ คำเสนอในกำร ขำยสิ นทรัพย์ดงั กล่ำวแก่กองทุนก่อน ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 30


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(9) สั ญญำเช่ ำทรัพย์ สินระยะยำว และสั ญญำเช่ ำช่ วง ดำเนินกำร บำรุ งรักษำ และบริ หำรจัดกำร FOC (9.1) สั ญญำเช่ ำทรัพย์สินระยะยำวระหว่ำง AWC ในฐำนะผู้ให้ เช่ ำ และ กองทุน ในฐำนะผู้เช่ ำ ("สั ญญำเช่ ำ FOC ระยะยำวทีล่ งทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1") มีระยะเวลำ 20 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 5 มีนำคม พ.ศ. 2558 โดยสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ กองทุน เช่ำ FOC ควำมยำวประมำณ 7,981 กิโลเมตร ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัด ("ทรัพย์สินที่เช่ำ")โดยมีระยะเวลำของกำร เช่ำ 20 ปี กำรใช้ทรัพย์สินที่เช่ำนั้น AWC รับทรำบและยินยอมว่ำ กองทุน จะจัดหำผลประโยชน์ใน ทรัพย์สินที่เช่ำโดยกำรนำออกให้เช่ำช่วง โดย กองทุน ไม่มีหน้ำที่ใด ๆ ในกำรดำเนินกำร บำรุ งรักษำ และ บริ หำรจัดกำรทรัพย์สินที่เช่ำ โดยผูท้ ี่มีหน้ำที่ดำเนินกำร บำรุ งรักษำ และบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินที่เช่ำดังกล่ำวจะ เป็ นผูเ้ ช่ำช่วงทรัพย์สินที่เช่ำจำก กองทุน โดยในเบื้องต้น TU ในฐำนะผูเ้ ช่ำช่วงทรัพย์สินที่เช่ำบำงส่ วนจำก กองทุน จะเป็ นผูม้ ีหน้ำที่ควำมรับผิดชอบในกำรดำเนิ นกำร บำรุ งรักษำ และบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินที่เช่ำ ให้ เป็ นไปตำมระดับมำตรฐำนกำรบริ กำรที่ระบุไว้ในสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 และ สัญญำเช่ำช่วง ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร FOC (ตำมที่นิยำมไว้ทำ้ ยนี้) ระหว่ำง กองทุน และ TU โดยหำก เกิดควำมเสี ยหำยใด ๆ ในทรัพย์สินที่เช่ำอันเนื่องมำจำกกำรเช่ำช่วง หรื อจำกข้อบกพร่ องในกำรดำเนินกำร บำรุ งรักษำ และบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินที่เช่ำโดย TU และ/หรื อผูเ้ ช่ำช่วงและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิมที่เป็ นนิติบุคคล ในกลุ่มทรู กองทุน ไม่จำต้องรับผิดชดใช้ต่อ AWC และ AWC ตกลงที่จะไม่เรี ยกร้องให้ กองทุน รับผิดใน ควำมเสี ยหำยใด ๆ อันเนื่องมำจำกกรณี ดงั กล่ำว ภำระหน้ำที่หลักของ AWC นับจำกวันที่ของสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 AWC จะดำเนินกำรให้ กองทุน ผูเ้ ช่ำช่วงทรัพย์สินที่เช่ำจำก กองทุน ผูจ้ ดั กำรทรัพย์สินโทรคมนำคม และ บุคคลที่ได้รับกำรแต่งตั้งโดยบุคคลดังกล่ำวข้ำงต้น มีสิทธิ เข้ำถึงทรัพย์สินที่เช่ำตำมเงื่อนไขและข้อกำหนด ของสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 นับจำกวันที่ของสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 หำกเกิดกรณี ที่ทรัพย์สิน ที่เช่ำมีขอ้ บกพร่ องใด ๆ หรื อมีเหตุอื่นใดที่ทำให้ผเู ้ ช่ำช่วงทรัพย์สินที่เช่ำไม่สำมำรถใช้ทรัพย์สินดังกล่ำวได้ กองทุน และ AWC รับทรำบว่ำ TU ในฐำนะผูเ้ ช่ำช่วงและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิมตำมสัญญำเช่ำช่วง ดำเนิ นกำร และบริ หำรจัดกำร FOC มีหน้ำที่ในกำรบำรุ งรักษำ กำรดำเนินกำร และบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินที่เช่ำ ซึ่ ง รวมถึงหน้ำที่ในกำรดำเนินกำรแก้ไข ปรับเปลี่ยน หรื อย้ำยทรัพย์สินที่เช่ำเพื่อให้ทรัพย์สินที่เช่ำสำมำรถใช้ กำรได้เป็ นปกติดว้ ยค่ำใช้จ่ำยของ TU เองตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำเช่ำช่วง ดำเนินกำรและ บริ หำรจัดกำร FOC ทั้งนี้ AWC ตกลงว่ำ หำก TU ไม่ดำเนินกำรแก้ไข ปรับเปลี่ยน หรื อย้ำยทรัพย์สินที่เช่ำ ตำมสัญญำเช่ำช่วง ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร FOC AWC จะดำเนินกำรดังกล่ำวเอง ตำมเงื่อนไขและ ข้อกำหนดของสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 31


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เมื่อ กองทุน ใช้สิทธิ ในกำรซื้ อทรัพย์สินที่เช่ำและชำระรำคำใช้สิทธิ แล้ว หำกมีทรัพย์สินที่ เช่ำส่ วนใดที่ไม่สำมำรถโอนและส่ งมอบให้แก่ กองทุน ได้ในวันที่กำหนดให้เป็ นวันที่ทำกำรโอนและ ส่ งมอบทรัพย์สินที่เช่ำ ("วันโอนทรัพย์สินที่เช่ำ") AWC จะชำระเงินให้ กองทุน เท่ำกับมูลค่ำยุติธรรมของ ทรัพย์สินที่เช่ำในส่ วนที่ไม่สำมำรถโอนและส่ งมอบให้แก่ กองทุน ได้ โดยคู่สัญญำตกลงจะใช้รำคำเฉลี่ยที่ ได้จำกผูป้ ระเมินค่ำทรัพย์สินที่ได้รับควำมเห็นชอบจำกสำนักงำน ก.ล.ต. ตำมประกำศที่เกี่ยวข้องจำนวน 2 รำย ซึ่ งคู่สัญญำแต่ละฝ่ ำยแต่งตั้งให้เข้ำทำกำรประเมินมูลค่ำทรัพย์สินหรื อด้วยวิธีอื่นใดที่คู่สัญญำได้ตกลงกัน ทั้งนี้ ในกรณี ที่ใช้วธิ ี กำรประเมินรำคำโดยผูป้ ระเมินค่ำทรัพย์สิน 2 รำย หำกรำคำเฉลี่ยของรำคำประเมินที่ได้ จำกผูป้ ระเมินค่ำทรัพย์สินแต่ละรำยแตกต่ำงกันเกินร้อยละ 50 ของรำคำเฉลี่ยที่ต่ำกว่ำ คู่สัญญำทั้งสองฝ่ ำยจะ ร่ วมกันเพื่อตกลงมูลค่ำยุติธรรมของทรัพย์สินที่เช่ำในส่ วนที่ไม่สำมำรถโอนและส่ งมอบได้ดงั กล่ำว เมื่อ AWC ชำระเงินดังกล่ำวให้แก่ กองทุน จนครบถ้วนแล้ว AWC จะหมดภำระผูกพันต่อ กองทุน ในกำรโอน และส่ งมอบทรัพย์สินที่เช่ำส่ วนดังกล่ำว นับจำกวันโอนทรัพย์สินที่เช่ำ AWC จะดำเนิ นกำรต่อไปนี้ดว้ ยค่ำใช้จำ่ ยของ AWC เอง (ก) AWC จะดำเนินกำร (ผ่ำนนิ ติบุคคลในกลุ่มทรู ผมู ้ ีอำนำจดำเนินกำรได้) ให้ กองทุน ผูเ้ ช่ำทรัพย์สินที่เช่ำที่ AWC ได้ส่งมอบและโอนสิ ทธิ ให้ กองทุน แล้วในวันโอนทรัพย์สินที่เช่ำ ("ทรัพย์สินที่ โอนแล้ว") ผูจ้ ดั กำรทรัพย์สินโทรคมนำคม และบุคคลที่ได้รับกำรแต่งตั้งโดยบุคคลดังกล่ำวข้ำงต้น มีสิทธิ เข้ำถึงและใช้สิทธิ แห่ งทำงที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นตำมเงื่อนไขและข้อกำหนดของสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำว ที่ลงทุนเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ทั้งนี้ ในกรณี ที่นิติบุคคลอื่นเหนื อจำกกลุ่มทรู ที่ กองทุน เห็นชอบเป็ นผูม้ ีหน้ำที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับสิ ทธิ แห่งทำงสำหรับทรัพย์สินที่โอนและเป็ นผูเ้ ช่ำใช้ทรัพย์สินดังกล่ำวอยูแ่ ล้ว AWC ไม่จำต้องมีภำระหน้ำที่ดงั กล่ำว (ข) ในกรณี ของสัญญำอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่โอนแล้วซึ่ งไม่สำมำรถโอน และ/หรื อ แปลง คู่สัญญำให้แก่ กองทุน ได้ AWC จะดำเนินกำรให้ กองทุน ได้รับสิ ทธิและผลประโยชน์ของ AWC ตำมสัญญำอื่น ๆ นั้น AWC (ไม่วำ่ ดำเนินกำรด้วยตนเองหรื อโดยบุคคลอื่น) สำมำรถเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินที่เช่ำ โดยกำรเปลี่ยน FOC เส้นใหม่ที่มีจำนวนคอร์ กิโลเมตรของ FOC เท่ำเดิมหรื อมำกขึ้นกว่ำเดิมได้ ด้วย ค่ำใช้จ่ำยของตนเอง โดยภำยหลังจำกที่ได้มีกำรเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินที่เช่ำ AWC จะแจ้งกำรเปลี่ยนแปลง ทรัพย์สินที่เช่ำดังกล่ำวให้ กองทุน ทรำบทุกปี ในกรณี ที่ AWC มีกำรสร้ำงหรื อจัดหำ FOC เพิ่มเติม (ไม่วำ่ โดยกำรเพิ่ม FOC เส้นใหม่ใน เส้นทำงเดิม หรื อโดยกำรเปลี่ยน FOC เส้นใหม่ในเส้นทำงเดิมที่ทำให้มีจำนวนคอร์ กิโลเมตรของ FOC มำก ขึ้นกว่ำเดิม) เพื่อนำออกให้แก่ผอู ้ ื่นเช่ำ หรื อเพื่อรองรับกำรใช้งำนที่เพิ่มมำกขึ้น และมิใช่กำรบำรุ งรักษำ FOC ที่เช่ำตำมสัญญำเช่ำช่วง ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำร FOC AWC ตกลงให้สิทธิ แก่ กองทุน ในกำรซื้ อ เช่ำ หรื อลงทุนโดยประกำรอื่นใดใน FOC ที่เพิ่มเติมดังกล่ำวในมูลค่ำยุติธรรม ในกรณี ที่ AWC (ไม่วำ่ ดำเนิ นกำรด้วยตนเองหรื อโดยบุคคลอื่น) เปลี่ยนแปลงทรัพย์สินที่ เช่ำโดยกำรเปลี่ยน FOC เส้นใหม่ไม่วำ่ จะมีจำนวนคอร์ กิโลเมตรของ FOC เท่ำเดิมหรื อมำกขึ้นกว่ำเดิม ซึ่ ง ไม่ใช่กรณี เพื่อนำออกให้แก่ผอู ้ ื่นเช่ำ หรื อเพื่อรองรับกำรใช้งำนที่เพิ่มมำกขึ้น คู่สัญญำตกลงให้ถือว่ำ FOC ที่ มีกำรเปลี่ยนแปลงดังกล่ำวเป็ นกำรบำรุ งรักษำ FOC ที่เช่ำตำมสัญญำเช่ำช่วง ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร FOC และเป็ นส่ วนหนึ่งของทรัพย์สินที่เช่ำซึ่ ง กองทุน สำมำรนำไปหำประโยชน์ได้ตลอดระยะเวลำกำรเช่ำ ตำมสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่1 โดย AWC ตกลงไม่คิดค่ำเช่ำเพิ่มเติมในกรณี ดงั กล่ำว แต่อย่ำงใด ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 32


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กำรจำกัดควำมรับผิดของ AWC ในระหว่ำงระยะเวลำกำรเช่ำ ควำมรับผิดของ AWC เกี่ยวกับกำรทำผิดสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ทั้งหมดรวมแล้วจะไม่เกินมูลค่ำกำรเช่ำ ทั้งนี้ AWC ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิเรี ยกร้อง ภำษีอำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุน ค่ำใช้จ่ำย (เว้นแต่ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) ที่เกิดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำ กำรใช้สิทธิ กำรบังคับสิ ทธิ ที่เกี่ยวข้อง ตำมสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิม่ เติม ครั้งที่ 1 กำรจำกัดควำมรับผิดของ AWC หำก กองทุน ใช้สิทธิ ในกำรซื้ อ และ AWC ได้โอนขำย ทรัพย์สินที่เช่ำให้แก่ กองทุน แล้ว นับจำกวันโอนทรัพย์สินที่เช่ำ จะเป็ นดังนี้ (1) AWC จะรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ยวกับทรัพย์สินที่โอนแล้ว หำก กองทุน ได้มีกำร บอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภำยในสองปี นับจำกวันโอนทรัพย์สินที่เช่ำ เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญ บำงเรื่ องที่กำหนดไว้ในสัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดใน กำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ นอกจำกตำมที่กฎหมำยกำหนด เรื่ องดังกล่ำวรวมถึง กำรผิดคำรับรองของ AWC ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่ กรรมสิ ทธิ์ ของ AWC ในทรัพย์สินที่โอนแล้ว และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่สำคัญ (2) ควำมรับผิดของ AWC เกี่ยวกับ (ก) ทรัพย์สินที่โอนแล้วส่ วนใดส่ วนหนึ่ งต้องไม่เกิน มูลค่ำยุติธรรมของทรัพย์สินที่โอนแล้วส่ วนดังกล่ำว โดยคู่สัญญำตกลงจะใช้รำคำเฉลี่ยที่ได้จำกผูป้ ระเมินค่ำ ทรัพย์สินที่ได้รับควำมเห็นชอบจำกสำนักงำน ก.ล.ต. ตำมประกำศที่เกี่ยวข้องซึ่ งคู่สัญญำแต่ละฝ่ ำยแต่งตั้งให้ เข้ำทำกำรประเมินมูลค่ำทรัพย์สินหรื อด้วยวิธีอื่นใดที่คู่สัญญำได้ตกลงกัน (ข) กำรทำผิดสัญญำอื่นใดทั้งหมด ภำยหลังจำกวันโอนทรัพย์สินที่เช่ำ ควำมรับผิดรวมของ AWC จะต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของผลรวมของ มูลค่ำกำรเช่ำและรำคำใช้สิทธิ ของทรัพย์สินดังกล่ำว คู่สัญญำตกลงว่ำ ทั้งสองฝ่ ำยจะไม่มีควำมรับผิดใด ๆ หำกควำมเสี ยหำยต่อทรัพย์สินที่โอนแล้วเกิดจำกเหตุสุดวิสัย ในเรื่ องกำรประกันภัยที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินที่เช่ำจะเป็ นไปตำมข้อกำหนดที่กำหนดไว้ใน สัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุนเพิ่มเติม ครั้งที่ 1 (9.2) สั ญญำเช่ ำช่ วง ดำเนินกำร บำรุ งรักษำ และบริหำรจัดกำร FOC ระหว่ำง TU ใน ฐำนะผู้เช่ ำช่ วง ดำเนินกำร บำรุ งรักษำและบริหำรจัดกำร และ กองทุน ในฐำนะผู้ให้ เช่ ำช่ วง ("สั ญญำเช่ ำช่ วง ดำเนินกำรและบริหำรจัดกำร FOC") มีระยะเวลำประมำณ 11 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 5 มีนำคม พ.ศ. 2558 วันที่ 7 ธันวำคม พ.ศ. 2569 โดยสัญญำเช่ำช่วง ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำร FOC ของ TU นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อเช่ำช่วง ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร FOC ควำมยำวประมำณ 7,981 กิโลเมตร ซึ่ ง กองทุน ได้รับสิ ทธิ กำรเช่ำระยะยำว จำก AWC และมีสิทธิ นำออกหำประโยชน์โดยกำรให้เช่ำช่วงได้ภำยใต้สัญญำเช่ำ FOC ระยะยำวที่ลงทุน เพิ่มเติม ครั้งที่ 1 ("ทรัพย์สินที่ กองทุน สำมำรถให้เช่ำช่วง") โดยที่ในแต่ละปี TU จะเช่ำช่วงดำเนิ นกำรและ บริ หำรจัดกำร FOC ไม่นอ้ ยกว่ำที่กำหนดในสัญญำเช่ำช่วง ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร FOC ("ทรัพย์สินที่เช่ำช่วง") อัตรำค่ำเช่ำช่วง สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำช่วง เท่ำกับ (ก) สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำช่วงไม่เกิน 213,818 คอร์ กิโลเมตร: 350 บำทต่อเดือนต่อ กิโลเมตรหลัก และ

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 33


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(ข) สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำช่วงที่เกิน 213,818 คอร์ กิโลเมตร จนถึง 303,453 คอร์ กิโลเมตร : 1,100 บำทต่อเดือนต่อกิโลเมตรหลัก โดยอัตรำค่ำเช่ำช่วงสุ ทธิ ที่ กองทุน จะได้รับต่อปี สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำช่วง จะคำนวณจำก อัตรำที่ระบุดำ้ นบนหักด้วยส่ วนลดที่อตั รำ 88 ล้ำนบำทต่อปี ไม่มีกำรปรับอัตรำค่ำเช่ำช่วงเพิ่มหรื อลดลงสำหรับทรัพย์สินที่เช่ำช่วงตลอดระยะเวลำของ กำรเช่ำช่วง (initial term) เว้นแต่ตำมที่คู่สัญญำจะตกลงกันตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขที่ระบุในสัญญำเช่ำ ช่วง ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำร FOC ทั้งนี้ TU อำจนำทรัพย์สินที่เช่ำช่วงบำงอย่ำงออกให้เช่ำช่วงอีกทอดหนึ่งได้ ตำมข้อกำหนด และเงื่อนไขที่ระบุในสัญญำเช่ำช่วง ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำร FOC ในเรื่ องกำรประกันภัย กองทุน (ไม่วำ่ ดำเนินกำรด้วยตนเองหรื อผ่ำนบุคคลอื่นใด) มีหน้ำที่ ควำมรับผิดชอบในกำรจัดให้มีและคงไว้ซ่ ึ งประกันภัยบนทรัพย์สินที่ กองทุน สำมำรถให้เช่ำช่วง (รวมถึง ประกันภัยประเภทควำมรับผิดต่อบุคคลภำยนอก) ที่เพียงพอ รวมทั้งมีหน้ำที่ตอ้ งชำระเบี้ยประกันภัยในส่ วนดังกล่ำว และ TU ในฐำนะผูเ้ ช่ำช่วง และ/หรื อ ผูเ้ ช่ำของผูเ้ ช่ำช่วง มีหน้ำที่ควำมรับผิดชอบในกำรจัดให้มีและคงไว้ซ่ ึ งประกันภัย สำหรับอุปกรณ์โทรคมนำคมที่ติดตั้งหรื อต่อกับทรัพย์สินที่ กองทุน สำมำรถให้เช่ำช่วง (รวมถึง ประกันภัย ประเภทควำมรับผิดต่อบุคคลภำยนอก) ที่เพียงพอ รวมทั้งมีหน้ำที่ตอ้ งชำระเบี้ยประกันภัยในส่ วนดังกล่ำว

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 34


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 ทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ ว 1) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้ น 133,474,621,856 บาท เป็ นหุ ้นสามัญ จานวน 33,368,655,464 หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 4 บาท โดยมีทุนที่เรี ยกชาระแล้วจานวน 133,472,781,204 บาท เป็ นหุน้ สามัญจานวน 33,368,195,301 หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 4 บาท ตลาดรองของหุ ้นสามัญในปั จจุบนั ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เอ็นวีดีอาร์ (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) หรื อใบแสดงสิ ทธิในผลประโยชน์ที่เกิด จากหลักทรัพย์อา้ งอิงไทย เป็ นตราสารที่ออกโดย NVDR ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จัดตั้งขึ้น NVDR มีลกั ษณะเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูล้ งทุนใน NVDR จะได้รับสิ ทธิประโยชน์ทางการเงินต่างๆ เสมือนการลงทุนในหุน้ สามัญของบริ ษทั ฯ แต่ไม่มีสิทธิ ในการออกเสี ยง ในที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ณ วันที่ 16 มีนาคม 2560 ปรากฏชื่อ NVDR ถือหุ ้นในบริ ษทั ฯ จานวน 2,083.22 ล้านหุน้ คิดเป็ น สัดส่ วนร้อยละ 6.24 ของหุ ้นที่ออกและเรี ยกชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

7.2

ผู้ถือหุ้น (1) รายชื่อผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ 1/ ณ วันที่ 16 มีนาคม 2560 ชื่อผูถ้ ือหุ ้น

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กลุ่มบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด 2/ CHINA MOBILE INTERNATIONAL HOLDINGS LIMITED 3/ บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 4/ UBS AG HONG KONG BRANCH 5/ บริ ษทั คิวเอส ซอฟท์แวร์ ซิ สเต็มท์ จากัด 6/ CHASE NOMINEES LIMITED 7/ UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account 3/ HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 8/ STATE STREET BANK EUROPE LIMITED 7/ CREDIT SUISSE INTERNATIONAL 7/

จานวนหุ ้น (ล้านหุ ้น) 16,755.50 6,006.36 2,083.22 229.44 190.50 186.63 175.86 149.86 122.45 117.15

ร้อยละของ หุ น้ ทั้งหมด 50.21 18.00 6.24 0.69 0.57 0.56 0.53 0.45 0.37 0.35

1/ ไม่มีการถือหุ ้นไขว้กนั ระหว่างบริ ษทั ฯ กับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ 2/ กลุ่มบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด ประกอบด้วย (1) บริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด (“CPG”) ประกอบธุรกิจลงทุน นาเข้าและจาหน่ายเคมีภณั ฑ์ และให้บริ การด้านเทคนิควิชาการ (CPG มีผถู ้ ือหุ ้น 10 รายแรก ได้แก่ นายสุ เมธ เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.96 นางสมอุไร จารุ พนิช ร้อยละ 8.42 นายธนินท์ เจียรวนนท์ ร้อยละ 6.48 นายนกุล เจียรวนนท์ ร้อยละ 6.00 บริ ษทั ซี .พี.โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จากัด ร้อยละ 4.47 นายพงษ์เทพ เจียรวนนท์ ร้อยละ 4.26 นางภัทนี ย ์ เล็กศรี สมพงษ์ ร้อยละ 4.22 นายมนัส เจียรวนนท์ ร้อยละ 4.22 นางสมศรี ล่าซา ร้อยละ 4.21 นายนพดล เจียรวนนท์ ร้อยละ 3.00 และ นางนุชนารถ เจียรวนนท์ ร้อยละ 3.00) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 19.96 (2) Orient Glory Group Limited ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย CPG 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 8.30 (3) บริ ษทั ยูนีค เน็ตเวิร์ค จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 41.06% และ บจ. อาร์ท เทเลคอมเซอร์วสิ 58.94%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 4.41 (4) Glory Summer Enterprises Limited ประกอบธุ รกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย CPG 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 4.38 (5) Worth Access Trading Limited ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย CPG Overseas Company Limited 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 3.05 (6) บริ ษทั ไวด์ บรอด คาสท์ จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 58.55% และ บจ. เทเลคอมมิวนิเคชัน่ เนตเวอร์ ค 41.45%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 2.87 (7) บริ ษทั ซี .พี.อินเตอร์ฟู้ด (ไทยแลนด์) จากัด ประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายส่ ง ผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็ จรู ปจากเนื้อสัตว์ (ถือหุ ้นโดย CPG 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 2.29 (8) C.P.Foods International Limited ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร (“CPF”) 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.42 (9) บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย CPG 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 0.80 (10) บริ ษทั กรุ งเทพโปรดิ๊วส จากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจซื้ อและขายวัตถุดิบอาหารสัตว์ (ถือหุ ้นโดย บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร (“CPF”) 99.44%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 0.80 (11) บริ ษทั เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จากัด ประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายอุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์ (ถือหุ ้นโดย CPG 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 0.69 (12) บริ ษทั ซี .พี. โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 0.63 และ (13) Creative Light Investments Limited ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 0.61 (ทั้ง 13 บริ ษทั ดังกล่าวไม่มีบริ ษทั ใดประกอบธุรกิจเดียวกันและแข่งขันกันกับกลุ่มบริ ษทั ฯ) 3/ บริ ษทั จดทะเบียนที่ฮ่องกง ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะขอให้ผถู ้ ือหุ ้นดังกล่าว เปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น 4/ บริ ษทั ย่อยที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยจัดตั้งขึ้น NVDR มีลกั ษณะเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูล้ งทุนใน NVDR จะได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ทางการเงินต่าง ๆ เสมือนการลงทุนในหุ ้นสามัญของบริ ษทั ฯ แต่ไม่มีสิทธิในการออกเสี ยงในที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น 5/ บริ ษทั จดทะเบียนที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะ ขอให้ผถู ้ ือหุ ้นดังกล่าว เปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น 6/ บริ ษทั จดทะเบียนที่ประเทศไทย ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะขอให้ ผูถ้ ือหุ ้นดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น 7/ บริ ษทั จดทะเบียนที่สหราชอาณาจักร ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะขอให้ ผูถ้ ือหุ ้นดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น 8/ บริ ษทั จดทะเบียนที่ประเทศสิ งคโปร์ ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะขอให้ ผูถ้ ือหุ ้นดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(2) ข้อตกลงระหว่างกลุ่มผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ในเรื่ องที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรื อการบริ หารงานของบริ ษทั ฯ โดยที่ขอ้ ตกลงดังกล่าวมีบริ ษทั ฯ ร่ วมลงนามด้วย - ไม่มี – 7.3

การออกหลักทรัพย์อนื่

หนีส้ ิ นของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 หนี้สินของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยตามงบการเงินมีจานวนทั้งสิ้ น 317,232 ล้านบาท ประกอบด้วยหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไม่หมุนเวียนดังนี้ หน่วย : ล้านบาท หนีส้ ิ นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย จานวนเงิน หนีส้ ิ นหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้น 37,572 เจ้าหนี้การค้า 97,756 ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ของเงินกูย้ มื ระยะยาว 20,654 ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 5 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 4,098 รวมหนี้สินหมุนเวียน 160,085 หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาว 60,490 หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 1,995 เจ้าหนี้การค้าระยะยาว หนี้สินภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ 78,411 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 1,982 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 14,269 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 157,147 รวมหนีส้ ิ น 317,232 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินกูย้ มื รวมทั้งหนี้การค้าระยะยาว (ทั้งส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายใน 1 ปี และเกิน 1 ปี ) ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมีจานวนรวมทั้งสิ้ น 81,144 ล้านบาท แบ่งเป็ นเงินกูย้ มื ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยในเงินสกุลบาท (“เงินกูส้ กุลบาท”) จานวน 78,567 ล้านบาท เงินสกุลเหรี ยญสหรัฐ (“เงินกู้ สกุลเหรี ยญสหรัฐ”) จานวน 2,311 ล้านบาท (หรื อจานวน 64.20 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) และเงินสกุลเยนญี่ปุ่น (“เงินกูส้ กุลเยนญี่ปุ่น”) จานวน 266 ล้านบาท (หรื อจานวน 855 ล้านเยนญี่ปุ่น)

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ภายหลังจากการปรับโครงสร้างหนี้ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 บริ ษทั ฯ สามารถชาระเงินกูไ้ ด้ครบ ตามกาหนดการชาระเงินต้นที่มีไว้กบั เจ้าหนี้มีประกันมาโดยตลอด และยังสามารถชาระเงินกูก้ ่อนกาหนด บางส่ วนจากเงินสดส่ วนเกินจากการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ได้อีกเป็ นจานวนประมาณ 3,223 ล้านบาท เพื่อช่วยลดภาระดอกเบี้ยจ่ายและช่วยลดความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในอดี ตเงิ นกูร้ ะยะยาวจานวนมากของบริ ษทั ฯ เป็ นเงิ นกู้สกุลเหรี ยญสหรัฐ บริ ษทั ฯ จึ งมี นโยบาย ลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน และบริ ษทั ฯ ประสบความสาเร็ จในการลดเงินกูร้ ะยะยาวสกุลเหรี ยญสหรัฐ และช่วยปรับโครงสร้างหนี้เพื่อให้มีกาหนดการชาระหนี้ที่เหมาะสมกับความสามารถในการชาระหนี้ ของบริ ษทั ฯ โดยมีมาตรการต่างๆ ที่นามาใช้อย่างต่อเนื่ อง อาทิเช่ น การนาเงินสดส่ วนเกินจากการดาเนิ นงานมาชาระคืน เงิ นกูข้ องเจ้าหนี้ มีประกันบางส่ วนก่อนกาหนด การทาสัญญาเงิ นกูว้ งเงินใหม่กบั กลุ่มธนาคารพาณิ ชย์และ สถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใช้คืนเงินกูส้ กุลเงินบาทเดิมในจานวนเท่ากัน โดยเงินกูใ้ หม่มีอตั ราดอกเบี้ยที่ ลดลง ส่ งผลให้บริ ษทั ฯ สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านดอกเบี้ย การนากระแสเงินสดของบริ ษทั ฯ มาซื้ อคืนตราสาร การชาระหนี้ ที่มีเงื่อนไขในการผ่อนการชาระหนี้ ที่ตราไว้ในสกุลเยน การออกและเสนอขายหุ ้นกูป้ ระเภทต่างๆ เพื่อนากระแสเงิ นสดที่ได้มาจากการออกหุ ้นกู้ ไปชาระหนี้ สินเงินสกุลต่างประเทศที่มีอยู่หรื อเพื่อชาระคืน เงิ นต้นให้กบั เงิ นกู้สกุลบาทก่ อนกาหนดหรื อเพื่อไถ่ ถอนหุ ้นกู้เดิ มก่ อนกาหนด เป็ นต้น หลังจากที่ มีการ ดาเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนดังที่กล่าวข้างต้นแล้ว บริ ษทั ฯ มีสัดส่ วนของ เงิ นกูท้ ี่เป็ นเงิ นสกุลต่างประเทศต่อเงิ นกูท้ ้ งั หมดลดลงจากระดับร้ อยละ 68.20 ณ สิ้ นปี 2543 เป็ นร้อยละ 0.36 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ทั้งนี้ ในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการจัดหาเงินทุนระยะยาว ดังนี้ มีนาคม 2554

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ น้ กูไ้ ม่มีประกันสกุลบาท 1 ชุด เป็ นเงินจานวน 1,800 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวไปใช้ ในการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ

ตุลาคม 2555

ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2555 บริ ษทั ฯได้ออกหุ น้ กูไ้ ม่มีประกันสกุลบาท 1 ชุด เป็ นเงินจานวน 6,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯได้นาเงินจากการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวไปใช้ ในการดาเนินงานของบริ ษทั ซึ่ งรวมถึงการชาระคืนหนี้คงค้าง และการขยายธุ รกิจ ของบริ ษทั ฯ

เมษายน 2556

ณ วันที่ 5 เมษายน 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 1 ชุด เป็ นจานวน 7,800 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นา เงินจากการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวเพื่อใช้ใน การชาระคืนหนี้คงค้างก่อนกาหนด และใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ฯ

กรกฎาคม 2556

ณ วันที่ 5 กรกฎาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 1 ชุด เป็ นจานวน 11,213 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวเพื่อใช้ใน การชาระคืนหนี้คงค้างก่อนกาหนด และใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ฯ ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ชาระคืนหนี้ที่มีประกันทั้งหมด ให้แก่เจ้าหนี้มีประกันของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

พฤศจิกายน 2556

ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 2 ชุด เป็ นจานวนรวม 6,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวเพื่อใช้ ในการชาระคืนหนี้ คงค้าง และ/หรื อ ใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการดาเนินงานของ บริ ษทั ฯ

มีนาคม 2557

ณ วันที่ 6 มีนาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 2 ชุด เป็ นจานวนรวม 8,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวเพื่อใช้ ในการชาระคืนหนี้คงค้าง และ/หรื อ ใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการดาเนินงาน ของบริ ษทั ฯ รวมทั้งเพื่อใช้ลงทุนในธุ รกิจภายในกลุ่มทรู

กันยายน 2557

ณ วันที่ 2 กันยายน 2557 บริ ษทั ฯ ได้มีการเพิ่มทุน จานวน 65 พันล้านบาท โดย เสนอขายหุ ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นเดิม ตามสัดส่ วนการถือหุ น้ และเสนอขาย แบบเฉพาะเจาะจงให้แก่ China Mobile International Holding Limited บริ ษทั ฯ ได้ นาเงินส่ วนใหญ่จากการเพิ่มทุนดังกล่าวมาชาระคืนหนี้ให้แก่เจ้าหนี้มีประกันของ บริ ษทั ในกลุ่มทรู ทั้งหมด

พฤศจิกายน 2558

ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ น้ กูม้ ีประกันบางส่ วนสกุลบาท 1 ชุด เป็ นจานวน 8,330 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวเพื่อใช้ใน การชาระหนี้คงค้าง รวมทั้งเพื่อใช้ขยายการลงทุน และเพื่อเป็ นเงินทุนหมุนเวียนของ บริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 5


แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

แผนภูมิ: โครงสร้ างเงินกู้ของบริษัทฯ จนถึง 31 ธันวาคม 2559 หน่วย : ล้านบาท

100,000

95,200 4,010 7,000

89,906 3,431

80,000

83,236 3,369

4,391

33,636 38,584

60,000

40,000

84,872

80,517

40,614

73,099 4,127

34,991

71,846 4,232

96,327 4,066 2,836

4,674 3,264

86,155 2,812 3,625

81,144 266 2,311 68,125 517 2,894

24,005 89,425

84,190

76,934

79,718

42,010 708 3,125

78,567 64,714

52,839 20,000

41,283

35,512

33,981

43,609

38,177

0

เงินกูส้ กุลบาท ส่วนที่ 2

เงินกูส้ กุลเหรี ยญสหรัฐ ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

เงินกูส้ กุลเยน หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

หุ้นกู้ 1. ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 1/2544 วันที่ 28 มิถุนายน 2544 มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ ้นกูป้ ระเภทต่าง ๆ ในวงเงินไม่เกิน 36,000 ล้านบาท โดยมีอายุไม่เกิน 20 ปี เพื่อชาระหนี้สิน เงินสกุลต่างประเทศที่มีอยู่ ซึ่ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี้ (1) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชาระคืนเงินต้น สามารถไถ่ถอนก่อนกาหนด ครั้งที่ 1/2545 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2551 (“TRUE087A”) จานวน 11,715,400 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 11,715,400,000 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันเจ็ดร้อยสิ บห้าล้านสี่ แสนบาทถ้วน) (หุ น้ กูร้ ุ่ นนี้ ได้รับ การไถ่ถอนเต็มจานวนไปแล้วตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2554) (2) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชาระคืนเงินต้น สามารถไถ่ถอนก่อนกาหนด และมีผคู ้ ้ าประกันบางส่ วน ครั้งที่ 2/2545 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2554 (“TRUE112A”) จานวน 6,750,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้ หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,750,000,000 บาท (หกพันเจ็ดร้อยห้าสิ บล้านบาทถ้วน) (3) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชาระคืนเงินต้น ครั้งที่ 1/2546 ครบกาหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2550 (“TRUE07OA”) จานวน 3,319,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 3,319,000,000 บาท (สามพันสามร้อยสิ บเก้าล้านบาทถ้วน) (หุ ้นกูร้ ุ่ นนี้ได้ถูกไถ่ถอนไปหมดแล้วตามกาหนดในเดือนตุลาคม 2550) 2. ที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 1/2547 วันที่ 16 มกราคม 2547 มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ น้ กูป้ ระเภทต่างๆ ในวงเงินไม่เกิน 15,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและเสนอขายใน คราวเดียวกันทั้งหมดหรื อหลายคราวก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั การพิจารณาและเงื่อนไขที่กาหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรื อ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี้ (1) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชาระคืนเงินต้น ครั้งที่ 1/2547 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2554 (“TRUE117A”) จานวน 2,413,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 2,413,000,000 บาท (สองพันสี่ ร้อยสิ บสามล้านบาทถ้วน) (2) หุ น้ กูร้ ะยะสั้นภายใต้โครงการหุ น้ กูร้ ะยะสั้นของ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) โครงการที่ 1/2549 ภายในระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่วนั ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เป็ นต้นไป เป็ นจานวนเงิน ไม่เกิน 3,000,000,000 บาท (สามพันล้านบาทถ้วน) (3) หุ น้ กูม้ ีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 1 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2552 (“TRUE097A”) จานวน 1,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,000,000,000 บาท (หนึ่งพันล้านบาทถ้วน) (4) หุ น้ กูม้ ีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 2 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2553 (“TRUE107A”) จานวน 2,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 2,000,000,000 บาท (สองพันล้านบาทถ้วน) (5) หุ น้ กูม้ ีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 3 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2556 (“TRUE127A”) จานวน 1,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,000,000,000 บาท (หนึ่งพันล้านบาทถ้วน) ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

3. ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ ประจาปี 2551 วันที่ 29 เมษายน 2551 มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ น้ กูป้ ระเภทต่างๆ ในวงเงินไม่เกิน 20,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและเสนอขายใน คราวเดียวกันทั้งหมดหรื อหลายคราวก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั การพิจารณาและเงื่อนไขที่กาหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรื อ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี้ (1) หุ น้ กูม้ ีประกัน ครั้งที่ 1/2552 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2557 (“TRUE144A”) จานวน 6,183,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,183,000,000 บาท (หกพันหนึ่งร้อยแปดสิ บสามล้านบาทถ้วน) (2) หุ น้ กูม้ ีประกัน ครั้งที่ 2/2552 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2558 (“TRUE151A”) จานวน 7,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 7,000,000,000 บาท (เจ็ดพันล้านบาทถ้วน) 4. ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ประจาปี 2553 วันที่ 23 เมษายน 2553 มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ น้ กูป้ ระเภทต่างๆ ในวงเงินไม่เกิน 30,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและเสนอขาย ในคราวเดียวกันทั้งหมดหรื อหลายคราวก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั การพิจารณาและเงื่อนไขที่กาหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรื อ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ต่อมา ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2556 วันที่ 23 เมษายน 2556 ได้มีมติอนุมตั ิการแก้ไข เพิ่มเติมวงเงินในการออกหุ น้ กูแ้ ละใช้แทนซึ่ งมติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2553 โดยที่ประชุมได้มี มติอนุมตั ิการแก้ไขเพิม่ เติมวงเงินในการออกหุ ้นกูอ้ ีกในจานวนไม่เกิน 30,000 ล้านบาท และเมื่อนับรวมกับ มูลค่าหุ น้ กูข้ องบริ ษทั ฯ ที่ยงั มิได้ไถ่ถอนทั้งหมดทุกประเภท ณ ขณะใดขณะหนึ่ง จะต้องมีจานวนไม่เกิน 60,000 ล้านบาท หรื อสกุลเงินอื่นที่เทียบเท่า ซึ่ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี้ (1) หุ น้ กูร้ ะยะสั้น ครั้งที่ 1/2553 ครบกาหนดไถ่ถอนวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 (“TRUE10N18A”) จานวน 900,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 900,000,000 บาท (เก้าร้อยล้านบาทถ้วน) (2) หุ น้ กูไ้ ม่มีประกัน ครั้งที่ 1/2553 ครบกาหนดไถ่ถอนวันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 (“TRUE13NA”) จานวน 1,100,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,100,000,000 บาท (หนึ่งพันหนึ่งร้อยล้านบาทถ้วน) (3) หุ น้ กูไ้ ม่มีประกันครั้งที่ 1/2554 ครบกาหนดไถ่ถอนวันที่ 7 เมษายน 2557 (“TRUE144B”) จานวน 1,800,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,800,000,000 บาท (หนึ่งพันแปดร้อยล้านบาทถ้วน) (4) หุ น้ กูไ้ ม่มีประกันครั้งที่ 1/2555 ครบกาหนดไถ่ถอนวันที่ 5 ตุลาคม 2559 (“TRUE16OA”) จานวน 6,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,000,000,000 บาท (หกพันล้านบาทถ้วน) (5) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 1/2556 ครบกาหนดไถ่ถอน 5 เมษายน 2560 (“TRUE174A”) จานวน 7,800,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 7,800,000,000 บาท (เจ็ดพันแปดร้อยล้านบาทถ้วน) ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

(6) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 2/2556 ครบกาหนดไถ่ถอน 5 กรกฎาคม 2560 (“TRUE177A”) จานวน 11,213,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 11,213,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันสองร้อยสิ บสามล้านบาทถ้วน) (7) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 3/2556 (หุ ้นกูช้ ุดที่ 1) ครบกาหนดไถ่ถอน 15 พฤศจิกายน 2557 (“TRUE14NA”) จานวน 2,500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 2,500,000,000 บาท (สองพันห้าร้อยล้านบาทถ้วน) (8) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 3/2556 (หุ น้ กูช้ ุดที่ 2) ครบกาหนดไถ่ถอน 15 พฤศจิกายน 2558 (“TRUE15NA”) จานวน 3,500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 3,500,000,000 บาท (สามพันห้าร้อยล้านบาทถ้วน) (9) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 1/2557 (หุ ้นกูช้ ุดที่ 1) ครบกาหนดไถ่ถอน 15 พฤศจิกายน 2558 (“TRUE15NB”) จานวน 4,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 4,000,000,000 บาท (สี่ พนั ล้านบาทถ้วน) (10) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 1/2557 (หุ น้ กูช้ ุดที่ 2) ครบกาหนดไถ่ถอน 6 มีนาคม 2561 (“TRUE183A”) จานวน 4,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 4,000,000,000 บาท (สี่ พนั ล้านบาทถ้วน) (11) หุ น้ กูม้ ีประกันบางส่ วนครั้งที่ 1/2558 ครบกาหนดไถ่ถอน 10 พฤศจิกายน 2565 (“TRUE22NA”) จานวน 8,330,000, หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 8,330,000,000 บาท (แปดพันสามร้อยสามสิ บล้านบาทถ้วน) (12) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 2/2558 ครบกาหนดไถ่ถอน 14 ธันวาคม 2559 (“TRUE16DA”) จานวน 8,000,000, หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 8,000,000,000 บาท (แปดพันล้านบาทถ้วน) (13) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 1/2559 ครบกาหนดไถ่ถอน 2 กุมภาพันธ์ 2560 (“TRUE172B”) จานวน 335,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 335,000,000 บาท (สามร้อยสามสิ บห้าล้านบาทถ้วน) (ไถ่ถอนก่อนกาหนดในวันที่ 3 สิ งหาคม 2559) (14) หุ น้ กูร้ ะยะสั้นไม่มีหลักประกันครั้งที่ 1/2559 (ชุดที่ 1) ครบกาหนดไถ่ถอน 8 กรกฎาคม 2559 (“TRUE16708A”) จานวน 5,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 5,000,000,000 บาท (ห้าพันล้านบาทถ้วน) (15) หุ น้ กูร้ ะยะสั้นไม่มีหลักประกันครั้งที่ 1/2559 (ชุดที่ 2) ครบกาหนดไถ่ถอน 5 มิถุนายน 2560 (“TRUE17605A”) จานวน 10,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 10,000,000,000 บาท (หนึ่งหมื่นล้านบาทถ้วน) ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

หุ้นกู้ระยะยาวของบริษทั ฯ ที่ยงั ไม่ ครบกาหนดไถ่ ถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่าหุน้ กู้ สัญลักษณ์หุน้ กู้ วันที่ออกหุ น้ กู้ ณ วันออกหุน้ กู้ (ล้านบาท) TRUE174A 5 เม.ย. 2556 7,800 TRUE177A 5 ก.ค. 2556 11,213 TRUE183A TRUE22NA

6 มี.ค. 2557 10 พ.ย. 2558

4,000 8,330

มูลค่าหุน้ กู้ ณ 31 ธ.ค. 59 (ล้านบาท) 7,785 11,126

อายุหุน้ กู้ วันครบกาหนด (ปี ) ไถ่ถอนหุน้ กู้

3,963 8,330

อัตราดอกเบี้ย (ต่อปี )

ประเภทของ การเสนอขาย

การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ณ 13 ก.ค. 59

4 4

5 เม.ย. 2560 5 ก.ค. 2560

5.80% 5.55%

Public Offering Public Offering

BBB+ BBB+

4 7

6 มี.ค. 2561 10 พ.ย. 2565

5.40% 4.11%

Public Offering Private Placement

BBB+ A-*

รวม 31,343 31,204 *เป็ นหุ้นกู้มปี ระกันบางส่ วนจึงส่ งผลให้ ได้ รับการจัดอันดับเครดิตหุ้นกู้เป็ น A-

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

7.4

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

นโยบายการจ่ ายเงินปันผล

บริ ษทั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลในอัตราอย่างน้อยร้อยละ 50 ของกาไรสุ ทธิ จากงบการเงินเฉพาะ ของบริ ษทั ฯ ในแต่ละปี ภายหลังการจัดสรรเป็ นสารองต่าง ๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทั้งเป็ นไปตาม ข้อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสัญญาเงินกูต้ ่าง ๆ สาหรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษทั ย่อย คณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยแต่ละแห่ งจะพิจารณาการ จ่ายเงิ นปั นผลจากกระแสเงิ นสดคงเหลื อเทียบกับงบลงทุนของบริ ษทั ย่อยนั้น ๆ หากกระแสเงินสดคงเหลือของ บริ ษทั ย่อยมีเพียงพอ และได้ต้ งั สารองตามกฎหมายแล้ว คณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยนั้น ๆ จะพิจารณาจ่ายเงิน ปันผลเป็ นกรณี ไป

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1 คณะกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับของบริ ษทั ฯ กาหนดให้คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการ จานวน ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน และกรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมดนั้นต้องมีถิ่นที่อยูใ่ น ราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริ ษทั ฯ จะต้องเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกาหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยบุคคลผูท้ รงคุณวุฒิ รวมทั้งสิ้ นจานวน 18 ท่าน ประกอบด้วย (1)

กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร (Executive Directors) จานวน 4 ท่าน

(2)

กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร (Non-Executive Directors) จานวน 14 ท่าน ประกอบด้วย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จานวน 6 ท่าน คิดเป็ นสัดส่ วน 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งคณะ ซึ่ งเป็ นไปตามข้อกาหนดของ คณะกรรมการกากับตลาดทุน - กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ่ งไม่เกี่ยวข้องในการบริ หารงานประจา ซึ่ งรวมตัวแทนของ ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ จานวน 8 ท่าน

คานิยาม กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร หมายถึง กรรมการที่ดารงตาแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หารและมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริ หารงานประจาของบริ ษทั ฯ กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร หมายถึง กรรมการที่มิได้ดารงตาแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หารและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริ หารงานประจาของ บริ ษทั ฯ อาจจะเป็ นหรื อไม่เป็ นกรรมการอิสระก็ได้ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการผูซ้ ่ ึ งเป็ นอิสระจากผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่หรื อกลุ่มของผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่และผูบ้ ริ หารของนิติบุคคล ที่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ และ เป็ นอิสระจากความสัมพันธ์อื่นใดที่จะกระทบต่อการใช้ดุลพินิจอย่างอิสระ และ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุน และนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

คณะกรรมการบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม

การประชุมคณะกรรมการ จานวนครั้ง จานวนครั้ง การประชุม 1/ ที่เข้าร่ วมประชุม 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 8 8 และ กรรมการในคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 2. ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ 8 8 ประธานคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 3. นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ 8 8 กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 4. นายฮาราลด์ ลิงค์ กรรมการอิสระ 8 5 5. ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่ าเฉลิม กรรมการอิสระ 8 8 6. นายฉวี่ เกิงโหล่ว กรรมการอิสระ 8 8 7. นายธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการ และ 8 7 ประธานคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 8. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ รองประธานกรรมการ 8 8 ประธานคณะกรรมการด้านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 9. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์ รองประธานกรรมการ 8 6 10. ดร. หลี่ เจิงเม่า รองประธานกรรมการ และ 8 1 กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 11.ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม กรรมการ และ 8 8 กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน 12. นายอารุ ง สรรพสิ ทธิ์ วงศ์ กรรมการ กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน 8 8 และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

ส่วนที่ 2

ตาแหน่ง

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายนาม

ตาแหน่ง

13.นายวิเชาวน์

รักพงษ์ไพโรจน์ กรรมการ

14.นายชัชวาลย์

เจียรวนนท์

15.นายสุ ภกิต

เจียรวนนท์

การประชุมคณะกรรมการ จานวนครั้ง จานวนครั้ง การประชุม 1/ ที่เข้าร่ วมประชุม 8 7

กรรมการ

8

7

กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 16.นายณรงค์ เจียรวนนท์ กรรมการ 17.ดร. เซี่ย ปิ ง 2/ กรรมการ และ (แทนนายเกา เนี่ยนชู) กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน กรรมการที่ลาออก ระหว่างปี 2559 (จานวน 1 ท่าน) นายเกา เนี่ยนชู 2/ กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน 18.นายศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการ

8

5

8 2 3/

7 0

6

2

8

8

หมายเหตุ :

1/

2/

3/

ในปี 2559 คณะกรรมการบริ ษทั มีการประชุมทั้งสิ้น จานวน 8 ครั้ง นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ มีการกาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ให้กรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หาร สามารถที่จะประชุ มระหว่างกันเอง ตามความจาเป็ น โดยไม่มีกรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายจัดการเข้าร่ วมประชุ ม เพื่ออภิปรายปั ญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการหรื อเรื่ องที่ อยู่ในความสนใจ ซึ่ งในปี 2559 กรรมการที่ มิใช่ ผบู ้ ริ หารมีการประชุ มระหว่างกันเองในรู ปแบบของการประชุ มอย่างไม่เป็ นทางการ หลังจากเสร็ จสิ้นการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ที่ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559 ได้มีมติแต่งตั้ง ดร. เซี่ย ปิ ง เข้าดารงตาแหน่งกรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงินของบริ ษทั ฯ แทน นายเกา เนี่ยนชู ซึ่งได้ลาออกจากการเป็ นกรรมการของบริ ษทั ฯ โดยมีผลในวันที่ 8 กันยายน 2559 ก่อนที่ ดร. เซี่ย ปิ ง จะได้รับการแต่งตั้งเข้าเป็ นกรรมการของบริ ษทั ฯ ได้มีการประชุมไปแล้ว จานวน 6 ครั้ง

ทั้งนี้ กรรมการบริ ษทั ทุกท่าน เป็ นผูม้ ีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายกาหนด ไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ตามกฎหมาย และ ไม่มีลกั ษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ กรรมการทุกท่านทุ่มเทให้กบั การปฏิบตั ิหน้าที่เป็ นกรรมการ ให้ความร่ วมมือช่วยเหลือในการ ดาเนินกิจการของบริ ษทั ฯ ในทุก ๆ ด้าน ซึ่ งเป็ นภาระที่หนักและต้องรับผิดชอบอย่างยิง่ สาหรับบทบาท หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ตลอดจนการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านนั้น กรรมการทุกท่านเข้าร่ วมในการประชุมทุกครั้ง เว้นแต่กรณี ที่มีเหตุสาคัญและจาเป็ นที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

อย่างไรก็ตาม กรรมการท่านใดที่ติดภารกิจจาเป็ นไม่สามารถเข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ได้ จะบอกกล่าว แจ้งเหตุผลขอลาการประชุมและให้ความคิดเห็นต่อวาระการประชุมที่สาคัญเป็ นการล่วงหน้าทุกครั้ง นอกจากนี้ กรรมการของบริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับการเข้าอบรมตามหลักสู ตรที่จดั โดยสมาคมส่ งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) กรรมการซึ่งมีอานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ นายสุ ภกิต เจียรวนนท์ นายศุภชัย เจียรวนนท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ศาสตราจารย์พิเศษอธึก อัศวานันท์ นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ กรรมการสองในห้าคนลงลายมือชื่อร่ วมกันและประทับตราสาคัญของบริ ษทั ฯ ในกรณี ที่ลงนามในงบการเงิน หนังสื อรับรองงบการเงิน และ เอกสารประกอบงบการเงิน ให้กรรมการคนใดคนหนึ่ง ในห้าคนดังกล่าวข้างต้นลงนามและประทับตราสาคัญของบริ ษทั ฯ อานาจหน้ าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท  กากับดูแลการดาเนิ นกิจการของบริ ษท ั ฯ ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของ บริ ษทั ฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ความซื่อสัตย์สุจริ ต เพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุ น้ และเปิ ดเผยข้อมูลต่อผูถ้ ือหุ น้ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส และ ทันเวลา  อนุ มต ั ิวสิ ัยทัศน์ แผนยุทธศาสตร์ พันธกิจ แผนการธุ รกิจ และ เป้ าหมายทางการเงิน โดยมีการทบทวนเป็ นประจาทุกปี รวมทั้งติดตามดูแลให้มีการนาเรื่ องดังกล่าวไปปฏิบตั ิ  ประเมินผลการดาเนิ นการของบริ ษท ั ฯ และผลการปฏิบตั ิงานของประธานคณะผูบ้ ริ หาร (ซีอีโอ)  ดูแลให้เกิดความมัน ่ ใจในการรับช่วงบริ หารงานของสมาชิกระดับสู งในฝ่ ายจัดการ  ดูแลให้มีการปฏิบต ั ิตามนโยบายที่เกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุ รกิจ รวมทั้งคุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิ ในการทางาน ข้อกาหนดการเปิ ดเผยข้อมูล ข้อกาหนดของการเข้าทารายการระหว่างกัน ตลอดจน ข้อกาหนดการใช้ขอ้ มูลภายในเพื่อซื้ อขายหลักทรัพย์ รวมทั้งตรวจสอบให้มีการปฏิบตั ิตาม ข้อกาหนดดังกล่าว โดยยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว  ดูแลให้มีการปฏิบต ั ิตามมาตรฐานการบัญชี การจัดการความเสี่ ยง ตลอดจนระบบการควบคุมและ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง  ดูแลให้มีกลไกในการรับเรื่ องร้องเรี ยนและการดาเนิ นการกรณี มีการชี้ เบาะแส  เสนอชื่ อผูท ้ ี่จะเข้ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการบริ ษทั ต่อผูถ้ ือหุ น้ ในส่ วนของการจัดการบริ ษทั ฯ นั้น คณะกรรมการบริ ษทั มีอานาจหน้าที่ตดั สิ นใจและดูแลการดาเนินงาน ของบริ ษทั ฯ เว้นแต่เรื่ องที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งได้รับมติอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ นอกจากนั้น คณะกรรมการบริ ษทั อาจมอบหมายให้กรรมการคนหนึ่งหรื อหลายคนหรื อบุคคลอื่นใด ปฏิบตั ิการอย่างใด อย่างหนึ่งแทนคณะกรรมการบริ ษทั ได้ อย่างไรก็ตาม การตัดสิ นใจในการดาเนินงานที่สาคัญ อาทิเช่น การลงทุน และการกูย้ มื ที่มีนยั สาคัญ ฝ่ ายบริ หารจะต้องนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

อานาจหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของประธานกรรมการ  รับผิดชอบในฐานะผูน ้ าของคณะกรรมการในการกากับดูแลการบริ หารงานของคณะกรรมการบริ ษทั และคณะอนุกรรมการอื่นๆ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ตามแผนงานที่วางไว้  เป็ นประธานที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษท ั  เป็ นประธานที่ประชุ มผูถ ้ ือหุ ้น และควบคุมการประชุมให้เป็ นไปตามข้อบังคับและระเบียบวาระ ที่กาหนดไว้  ปฏิบต ั ิหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดไว้โดยเฉพาะให้เป็ นหน้าที่ของประธานกรรมการ 8.2 ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผูบ้ ริ หาร 1/ ของบริ ษทั ฯ มีจานวน 7 ท่าน ดังมีรายนามต่อไปนี้ รายนาม

ตาแหน่ง

1. นายศุภชัย

เจียรวนนท์

กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร

2. นายวิเชาวน์

รักพงษ์ไพโรจน์

รองประธานคณะผูบ้ ริ หาร

3. นายนพปฎล

เดชอุดม

รองประธานคณะผูบ้ ริ หาร

4. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านกฎหมาย

5. ดร. กิตติณฐั

ทีคะวรรณ

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านพาณิ ชย์

6. นายอติรุฒม์

โตทวีแสนสุ ข

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฏิบตั ิการ

7. นายวิลเลี่ยม

แฮริ ส

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านการเงิน ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านพัฒนาธุ รกิจระหว่างประเทศ และ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่/ประธานคณะผูบ้ ริ หาร

หมายเหตุ :

1/

“ผูบ้ ริ หาร” ในหัวข้อนี้ มีความหมายตามที่กาหนดโดยคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งหมายถึง กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริ หารสี่ รายแรกนับต่อจากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ลงมา และผูซ้ ่ ึงดารงตาแหน่งเทียบเท่ากับผูด้ ารงตาแหน่งระดับ บริ หารรายที่สี่ทุกราย

ทั้งนี้ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ทุกท่าน เป็ นผูม้ ีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายกาหนด ไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ตามกฎหมาย และ ไม่มีลกั ษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

โครงสร้างการบริหารจ ัดการ

คณะกรรมกำรบริษัท

คณะกรรมกำรกำหนดค่ำตอบแทนและสรรหำกรรมกำร

คณะกรรมกำรด ้ำนกำรเงิน

คณะกรรมกำรกำกับดูแลกิจกำรทีด ่ ี

คณะกรรมกำรตรวจสอบ

กรรมกำรผู ้จัดกำรใหญ่ / ประธำนคณะผู ้บริหำร

คณะกรรมกำรบริหำร หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำรด ้ำนกฎหมำย

รองประธำนคณะผู ้บริหำร : ด ้ำนพัฒนำองค์กร

หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำร ด ้ำนพำณิชย์

หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำร ด ้ำนปฏิบต ั ก ิ ำร

รองประธำนคณะผู ้บริหำร : ด ้ำนพัฒนำกำรปฏิบต ั ก ิ ำร

หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำร ด ้ำนกำรเงิน

ผู ้อำนวยกำร ด ้ำนบัญชีกลุม ่ บริษัท ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

ตรวจสอบภำยใน หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

อานาจหน้ าทีข่ องประธานคณะผู้บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็ นตาแหน่งทางการบริ หารสู งสุ ดของบริ ษทั ฯ และ เป็ นตาแหน่งที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริ ษทั ความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หารเป็ นไปในรู ปแบบการทางานร่ วมกัน โดยที่คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูก้ ากับดูแล ให้คาปรึ กษา ข้อคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายบริ หาร สนับสนุนการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ตลอดจนติดตามดูแลการบริ หารงานของฝ่ ายบริ หารและผลการดาเนินงาน ของบริ ษทั ฯ แต่จะไม่เข้าไปก้าวก่ายในการบริ หารกิจการของบริ ษทั ฯ ส่ วนประธานคณะผูบ้ ริ หารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษทั ในด้านการนานโยบายของคณะกรรรมการบริ ษทั ไปใช้ในทางปฏิบตั ิ บริ หารจัดการและควบคุมดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามข้อบังคับ มติที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น มติคณะกรรมการ ทิศทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อานาจหน้าที่ของประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีดงั ต่อไปนี้  ดาเนิ นการให้มีการกาหนดทิศทางธุ รกิจ พันธกิจ แผนธุ รกิ จ พร้อมทั้ง งบประมาณ และ นาเสนอ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อขออนุมตั ิ  วางกลยุทธ์และแผนปฏิบต ั ิการของบริ ษทั ฯ ตามกรอบทิศทางธุ รกิจและพันธกิจของบริ ษทั ฯ ที่ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการ  ควบคุมดูแลให้การดาเนิ นการตามแผนธุ รกิจของบริ ษท ั ฯ เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และ สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ  กากับ ดูแล และ ควบคุมการดาเนิ นธุ รกิจประจาวันอันเป็ นปกติธุระของบริ ษท ั ฯ รวมทั้งการ บริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามทิศทาง แผนธุ รกิจ และ งบประมาณที่ได้รับอนุมตั ิ จากคณะกรรมการ  ควบคุมดูแลให้การดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษท ั ฯ เป็ นไปตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง  นาเสนอรายงานการดาเนิ นงานและผลประกอบการของบริ ษท ั ฯ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั อย่างสม่าเสมอ ซึ่ งหากคณะกรรมการมีการให้ขอ้ คิดเห็นหรื อข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายบริ หาร ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่มีหน้าที่นาข้อคิดเห็นหรื อข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการไปสู่ การปฏิบตั ิ เพื่อให้บรรลุผลอย่างมีประสิ ทธิภาพ  เข้าทาสัญญา หรื อ ข้อตกลงต่างๆ และ อนุ มต ั ิค่าใช้จ่ายต่างๆ ตามขอบเขตที่กาหนดไว้ในนโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบตั ิของบริ ษทั ฯ เรื่ อง Signing Authority ทั้งนี้ ในกรณี ที่เป็ นการเข้าทารายการ ระหว่างกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ฯ หรื อ บริ ษทั ย่อย จะต้อง ปฏิบตั ิตามกฎหมาย และ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องดังกล่าว  ปฏิบต ั ิหน้าที่อื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

8.3 เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติแต่งตั้ง นางรังสิ นี สุ จริ ตสัญชัย ดารงตาแหน่ง เลขานุการบริ ษทั ตั้งแต่วนั ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 เพื่อทาหน้าที่ให้คาแนะนาด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่คณะกรรมการ จะต้องทราบ และ ปฏิบตั ิหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ประสานงานให้มีการปฏิบตั ิตาม มติคณะกรรมการ รวมทั้งมีหน้าที่ตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลที่สาคัญของเลขานุการบริ ษทั ไว้ในรายละเอียดเกี่ยวกับ เลขานุการบริ ษทั 8.4 ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ (1) ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน (1.1) ค่าตอบแทนกรรมการ ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2559 ค่าตอบแทนกรรมการรวม 16 ท่าน เป็ นเงินรวมทั้งสิ้ น จานวน 28,800,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ได้รับค่าตอบแทน ท่านละ (บาท) กลุ่มที่ 1 - ประธานกรรมการ ได้แก่ นายธนินท์ เจียรวนนท์ 3,600,000 - กรรมการอิสระที่ดารงตาแหน่ งประธานกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร. โกศล เพ็ชร์ สุวรรณ์ 3,600,000 รวม กลุ่มที่ 2 - กรรมการอิสระที่ดารงตาแหน่งกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ นายโชติ โภควนิ ช 2,400,000 รวม กลุ่มที่ 3 - รองประธานกรรมการ ได้แก่ ดร. อาชว์ เตาลานนท์ และ ศาสตราจารย์พิเศษ อธึก อัศวานันท์ 1,800,000 รวม กลุ่มที่ 4 - กรรมการอิสระ ได้แก่ นายฮาราลด์ ลิงค์ ศาสตราจารย์พิเศษ เรวัต ฉ่ าเฉลิม และ นายฉวี่ เกิงโหล่ว 1,200,000 - กรรมการ ได้แก่ นายศุภชัย เจียรวนนท์ นายสุ ภกิต เจียรวนนท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ นายอารุ ง สรรพสิ ทธิ์วงศ์ 1,200,000 นายณรงค์ เจียรวนนท์ และ ศาสตราจารย์ ดร. วรภัทร โตธนะเกษม รวม รวมทั้งสิ้ น

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

รวม (บาท)

10,800,000

2,400,000

3,600,000

12,000,000 28,800,000

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

นอกจากนี้ นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ฯ มีการดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการในบริ ษทั ย่อย จานวน 2 แห่ ง (ในฐานะตัวแทนของคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริ ษทั ฯ) โดยได้รับค่าตอบแทนกรรมการจากบริ ษทั ย่อยรวมในปี 2559 ดังนี้ ค่าตอบแทน (1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 59) 1) กรรมการของบริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์ เทเลเทค จากัด (มหาชน) - บาท 2) กรรมการของบริ ษทั ทรู มูฟ จากัด 600,000 บาท ค่าตอบแทนรวม 600,000 บาท (1.2) ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2559 ค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หารรวม 7 ท่าน เป็ นเงินทั้งสิ้ น จานวน 150.86 ล้านบาท ประกอบด้วยค่าตอบแทนในรู ปของเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบตั ิงาน และ ผลประโยชน์อื่น ๆ (2) ค่ าตอบแทนอืน่ (2.1) ค่าตอบแทนอื่นของกรรมการ ไม่มี (2.2) ค่าตอบแทนอื่นของผูบ้ ริ หาร (2.2.1) เงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีกองทุนสารองเลี้ยงชีพให้แก่ผบู ้ ริ หาร โดยบริ ษทั ฯ ได้สมทบใน อัตราร้อยละ 3 - 7 ของเงินเดือน โดยในปี 2559 บริ ษทั ฯ ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับ ผูบ้ ริ หาร 7 ราย รวมทั้งสิ้ น จานวน 7.40 ล้านบาท (2.2.2) โครงการร่ วมลงทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ปี 2557 - 2560 (“EJIP”) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีโครงการ EJIP เพื่อเป็ นแรงจูงใจแก่ผบู ้ ริ หารในการปฏิบตั ิงานและ ร่ วมทางานกับบริ ษทั ฯ ในระยะยาว โดยมีระยะเวลาของโครงการ 4 ปี (นับระยะเวลารวม Slient Period) โดยเริ่ ม ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2557 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผูบ้ ริ หารที่สามารถเข้าร่ วมโครงการ EJIP ได้จะต้อง มีอายุงานไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี นับถึงวันที่เริ่ มจ่ายสะสม โดยบริ ษทั ฯ จะหักเงินเดือนผูบ้ ริ หารที่เข้าร่ วมโครงการ ในอัตราร้อยละ 5 จากฐานเงินเดือน และ บริ ษทั ฯ จะจ่ายเงินสมทบอีกในอัตราร้อยละ 10 จากฐานเงินเดือน ในปี 2559 มีผบู ้ ริ หารเข้าร่ วมโครงการจานวน 7 ราย บริ ษทั ได้จ่ายเงินสมทบทั้งสิ้ น 10.24 ล้านบาท (2.2.3) โครงการร่ วมลงทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ปี 2560 - 2563 (“EJIP”) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีโครงการ EJIP เพื่อเป็ นแรงจูงใจแก่ผบู ้ ริ หารในการปฏิบตั ิงานและ ร่ วมทางานกับบริ ษทั ฯ ในระยะยาว โดยมีระยะเวลาของโครงการ 4 ปี (นับระยะเวลารวม Slient Period) โดย เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2560 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2563 ผูบ้ ริ หารที่สามารถเข้าร่ วมโครงการ EJIP ได้ จะต้องมีอายุงานไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี นับถึงวันที่เริ่ มจ่ายสะสม โดยบริ ษทั ฯ จะหักเงินเดือนผูบ้ ริ หารที่เข้าร่ วมโครงการ ตามความจานงของพนักงาน ที่สมัครใจเข้าร่ วมโครงการเป็ นประจาทุกเดือนจนครบกาหนดระยะเวลาจ่ายเงินสะสม ดังนี้ (1) บริ ษทั จะหักเงินเดือนผูบ้ ริ หารระดับ CEO และ MD หรื อเทียบเท่า ที่เข้าร่ วมโครงการ ในอัตราร้อยละ 5 จาก ฐานเงินเดือนของพนักงาน และบริ ษทั จะจ่ายเงินสมทบให้ในอัตราร้อยละ 10 จากฐานเงินเดือนของพนักงาน (2) บริ ษทั จะหักเงินเดือนผูบ้ ริ หารระดับ Director หรื อเทียบเท่า ที่เข้าร่ วมโครงการ ขึ้นอยูก่ บั อัตราสะสมที่ พนักงานเลือก ในอัตราร้อยละ 3 หรื อ 5 จากฐานเงินเดือนของพนักงาน และบริ ษทั ฯ จะจ่ายเงินสมทบให้ใน อัตราเทียบเท่ากับเงินสะสมของพนักงานหรื อผูบ้ ริ หาร ที่เข้าร่ วมโครงการ และ (3) บริ ษทั จะหักเงินเดือน พนักงานหรื อผูบ้ ริ หารระดับ Deputy Director ที่เข้าร่ วมโครงการ ในอัตราร้อยละ 3 จากฐานเงินเดือนของ พนักงาน และบริ ษทั จะจ่ายเงินสมทบให้ในอัตราร้อยละ 3 จากฐานเงินเดือนของพนักงาน ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

8.5

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

บุคลากร จานวนพนักงานของบริ ษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 แบ่งแยกตามกลุ่มงานมีดงั นี้ กลุ่มงาน พนักงานในระดับบริ หาร ปฏิบตั ิการโครงข่าย และ บารุ งรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริ การลูกค้า การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน

จานวนพนักงาน (คน) 93 979 427 86 136 105 500 2,326

ที่มา : บริ ษทั ฯ

ค่ าตอบแทน และสวัสดิการพนักงาน (1) ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน  เงินเดื อน  เงินตอบแทนการปฏิบต ั ิงานประจาปี ในอัตรา 0-4 เท่าของเงินเดือนพนักงาน ขึ้นอยูก่ บั ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริ ษทั ฯ  กรณี เกษียณอายุ พนักงานที่จะมีอายุครบ 60 ปี บริ บูรณ์ หรื อในกรณี ที่บริ ษท ั ฯ และ พนักงานเห็นพ้องต้องกันอาจให้พนักงานเกษียณอายุก่อนกาหนดได้ โดยพนักงานจะได้รับ ค่าชดเชยการเกษียณอายุตามกฎหมาย ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯ ได้จ่ายค่าตอบให้แก่แทนพนักงานรวม ทั้งสิ้ น 2,672.94 ล้านบาท โดยประกอบด้วย ค่าแรงและเงินเดือน เป็ นจานวน 2,103.40 ล้านบาท โบนัสเป็ นจานวน 318.56 ล้านบาท เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เป็ นจานวน 34.54 ล้านบาท เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพ เป็ นจานวน 155.41 ล้านบาท และอื่น ๆ เป็ นจานวน 61.03 ล้านบาท (2) สวัสดิการ  แผนประกันสุ ขภาพและสวัสดิการพนักงาน - ห้องพยาบาลของบริ ษทั ฯ - การตรวจสุ ขภาพประจาปี - การตรวจร่ างกายพนักงานใหม่ - การประกันสุ ขภาพกลุ่ม - การประกันอุบตั ิเหตุกลุ่ม - การประกันชีวิตกลุ่ม - กองทุนประกันสังคม - กองทุนสารองเลี้ยงชีพ

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

วันหยุดพักผ่ อนประจาปี พนักงานของบริ ษทั ฯ มีสิทธิ หยุดพักผ่อนประจาปี 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทางาน ขึ้นอยูก่ บั ระดับตาแหน่งและอายุการทางาน ดังนี้ - พนักงานระดับผูช้ ่วยผูอ้ านวยการฝ่ ายหรื อเทียบเท่าขึ้นไป มีสิทธิ หยุดพักผ่อน ปี ละ 15 วันทางาน - พนักงานระดับผูจ้ ดั การหรื อเทียบเท่าลงมา มีสิทธิ หยุดพักผ่อนประจาปี ตามอายุงาน ดังนี้ ก) พ้นทดลองงาน แต่ไม่ถึง 3 ปี 10 วันทางาน ข) อายุงาน 3 ปี แต่ไม่ถึง 5 ปี 12 วันทางาน ค) อายุงานตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป 15 วันทางาน

8.6 การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญต่อการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน จึงได้มีการจัดตั้งหน่วยงานที่ดูแลใน เรื่ องนี้ โดยเฉพาะ คือ ศูนย์ฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร ซึ่งมีเป้ าหมายหลักในการพัฒนาความรู้ความสามารถ ในการเป็ นพนักงานของบริ ษทั ฯ ความรู ้ความสามารถเหล่านี้เป็ นรากฐานที่สาคัญของการพัฒนาบุคลากร สายงาน และเป็ นการเปิ ดโอกาสให้พนักงานเกิดความก้าวหน้าในอาชีพ ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนามีทางเลือก หลากหลายเพื่อการเรี ยนรู ้ เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ช่วยให้พนักงานสามารถปฏิบตั ิงานลุล่วงตามที่ได้รับ มอบหมาย และเตรี ยมความพร้อมให้พนักงานมุ่งสู่ เป้ าหมายในอาชีพการงานของตน ซึ่ งการพัฒนาบุคลากรนี้ ในที่สุดก็จะส่ งผลถึงความแข็งแกร่ งของการดาเนินกิจการของบริ ษทั ฯ นัน่ เอง บทบาทอื่น ๆ ที่สาคัญของศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนา นอกเหนือจากการเป็ นผูใ้ ห้การฝึ กอบรมและ พัฒนาพนักงานแล้ว ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนายังเป็ นผูน้ าการเปลี่ยนแปลง และเป็ นเพื่อนร่ วมธุ รกิจกับ ทุกหน่วยงาน ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาทาหน้าที่เป็ นผูน้ าการเปลี่ยนแปลง โดยการเป็ นผูอ้ านวยความสะดวกใน การเปลี่ยนแปลง ซึ่ งจะให้การสนับสนุนกลยุทธ์และทิศทางใหม่ ๆ ของบริ ษทั ฯ พร้อมทั้งส่ งเสริ มให้ พนักงานทุกคนพร้อมที่จะเผชิญกับความท้าทายที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น นอกจากนี้ ทางบริ ษทั ฯได้เปิ ด ศูนย์ฝึกอบรมแห่งใหม่ ตั้งอยู่ ณ อาคารทรู ทาวน์เวอร์ 2 ถนนพัฒนาการ ออกแบบตกแต่งเอื้ออานวยให้เกิด บรรยากาศแห่งการเรี ยนรู ้ พร้อมทั้งติดตั้งระบบที่ทนั สมัยสาหรับแสดงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของบริ ษทั และ การลงทะเบียนเข้ารับการอบรม อีกทั้งยังติดตั้งอุปกรณ์ simulator เพื่อใช้ในการฝึ กปฏิบตั ิงาน ทั้งนี้ เพื่อให้ พนักงานได้มีทกั ษะอย่างเพียงพอในการทางาน ในขณะเดียวกัน ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาก็เป็ นเพื่อนร่ วมธุ รกิจกับทุกหน่วยงาน โดยการร่ วมมือกับ หน่วยงานต่าง ๆ ในการออกแบบและพัฒนาหลักสู ตรการฝึ กอบรมและพัฒนาที่เหมาะสมกับแผนธุ รกิจของ แต่ละหน่วยงาน รวมทั้งให้การสนับสนุนในเรื่ องจาเป็ นทุกประการ

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ปัจจุบนั ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาได้จดั ทาระบบการเรี ยนทางไกลผ่านระบบ VDO Conference ไปยังพนักงานในต่างจังหวัด ระบบการเรี ยนด้วยตนเอง ด้วย E-Learning และ ระบบหนังสื ออิเล็คโทรนิค ซึ่ งมีชื่อว่า True-iBook เพื่ออานวยความสะดวกและเพิม่ ช่องทางการเรี ยนรู ้และพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง หลักสู ตรที่จดั ฝึ กอบรมภายในบริ ษทั ฯ มีประมาณ 327 หลักสู ตรต่อปี โดยในปี 2559 มีจานวน คน-วันอบรมรวม 37,027 Training Mandays ใช้งบประมาณรวมทั้งสิ้ น 73.2 ล้านบาท โดยจัดให้มีหลักสู ตร การฝึ กอบรมด้านความรู ้ความสามารถหลักให้แก่พนักงานทุกระดับ เช่น วัฒนธรรมองค์กร4Cs การสื่ อสาร อย่างมีประสิ ทธิ ผล การวางแผนเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางาน การพัฒนาตนเองสู่ ความเป็ นผูม้ ี ประสิ ทธิผลสู ง เป็ นต้น ในปี 2559 บริ ษทั ฯ มุ่งเน้นเรื่ อง Customer Centric Organization & High Productivity และการ พัฒนาผูน้ าทุกระดับ ตามโครงการ Leader Developing Leader Cascade Program ซึ่งมีผเู้ ข้ารับการอบรม ตามโครงการนี้ มากกว่า 2,125 คน และหลักสู ตรเพื่อพัฒนาทักษะการบริ หารต่าง ๆ เช่น ทักษะการสื่ อสาร อย่างมีประสิ ทธิ ผล การแก้ปัญหาและการตัดสิ นใจ การเจรจาต่อรอง การบริ หารโครงการ การบริ หารความเสี่ ยง การบริ หารการเงิน การบริ หารงานขายและงานบริ การ (Operation Management) เป็ นต้น หลักสู ตรฝึ กอบรม ด้านความรู ้ความสามารถตามธุ รกิจหลัก การพัฒนาธุ รกิจและผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น 4G Technology, FTTx, Digital TV, Broadband Network, NGN Network & Applicationหลักสู ตรความปลอดภัยใน การทางานสาหรับช่างเทคนิ คและวิศวกร อีกทั้งได้มีการนา ระบบ Teletech ซึ่งเป็ นการเรี ยนการสอน แบบผสมผสานระหว่างการอบรมโดยวิทยากรณ์ประกอบกับใช้สื่อ E-Learning เข้ามาพัฒนาหัวหน้างาน พร้อมทั้งหลักสู ตรพัฒนาทักษะด้านการขายและการให้บริ การลูกค้าสาหรับพนักงานขาย เจ้าหน้าที่บริ การ ลูกค้าและทีมงานช่างเทคนิคต่าง ๆ เช่น True Product & Services ทักษะการให้บริ การอย่างมืออาชีพ บุคลิกภาพในงานบริ การ การนาเสนอเชิงธุ รกิจ สุ นทรี ยสนทนา เป็ นต้น หลักสู ตรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งที่เป็ นระบบให้บริ การลูกค้าและระบบสนับสนุนทั้งหลายในบริ ษทั รวมทั้งระบบเครื อข่ายสื่ อสารข้อมูล และการรักษาความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นต้น และหลักสู ตร Code of Conduct ประมวลคุณธรรม และข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน เพื่อให้องค์กรเกิดการกากับกิจการที่ดี และต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ โดยลงทะเบียนเข้ารับการอบรมและทดสอบความรู้ ด้วย E-Learning ซึ่งมีผเู้ ข้ารับการอบรมและทดสอบ 2,326 คน เป็ นต้น นอกจากนี้ ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาของบริ ษทั ฯ ได้ให้ความร่ วมมือกับสถาบันการศึกษาภาครัฐและ เอกชนในการจัดการเรี ยนการสอนด้าน ICT และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องแก่นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี และโท อาทิ หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมองค์กร ( Enterprise Architecture) ร่ วมกับ มหาวิทยาลัยมหิ ดล หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการค้าปลีก ร่ วมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) , หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาการบริ การลูกค้า (Customer Management) ร่ วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต รวมทั้งการฝึ กงานแก่นกั ศึกษาทุกปี ซึ่ งเป็ น Corporate Social Responsibility และ Social Enterprise เพื่อเป็ นแบบอย่างที่ดีขององค์กรขนาดใหญ่ในการสร้างคุณค่าต่อสังคมและ ประเทศชาติ

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

9. การกากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ บริ ษทั ฯ ตระหนักถึงความสาคัญของการกากับดูแลกิจการที่ดี จึงได้กาหนดให้มี “นโยบายการ กากับดูแลกิจการที่ดี” ของบริ ษทั ฯ ตั้งแต่ปี 2545 และได้ทาการปรับปรุ งนโยบายดังกล่าวเป็ นระยะๆ อย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของบริ ษทั ฯ ที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีที่แนะนาโดยตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) ซึ่งเทียบเคียง ได้กบั มาตรฐานสากล โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยเนื้ อหารายละเอียดของ “นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี” ไว้บน เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th 9.2 คณะกรรมการชุ ดย่ อย คณะกรรมการชุ ดย่อยภายใต้คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 4 คณะ ดังนี้ 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ 3) คณะกรรมการด้านการเงิน 4) คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 1)

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ฯ มีวาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี ประกอบด้วยบุคคล ผูท้ รงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาปี 2559 จานวนครั้งการประชุม 1/ จานวนครั้งที่เข้าร่ วมประชุม 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 7 7 2. ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ กรรมการตรวจสอบ 7 7 3. นายโชติ โภควนิช 2/ กรรมการตรวจสอบ 7 7 หมายเหตุ :

1/

2/

ส่วนที่ 2

ตาแหน่ง

ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จานวน 7 ครั้ง โดยที่เป็ นการประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วย จานวน 1 ครั้ง นายโชติ โภควนิช เป็ นผูม้ ีความรู ้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริ ษทั ฯ โดยมี รายละเอียดเกี่ยวกับคุณวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทางานตามที่ปรากฏในรายงานประจาปี และ แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2559 (“แบบ 56-1”)

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและอานาจหน้าที่รับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) รวมถึงการบริ หารความเสี่ ยง (risk management) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิผล และพิจารณาความเป็ นอิสระ ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ 4. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีการปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ 5. พิจารณาและให้คาแนะนาในการเสนอแต่งตั้ง เลือกกลับเข้ามาใหม่ ตลอดจนเลิกจ้าง บุคคลซึ่งมีความเป็ นอิสระ เพื่อทาหน้าที่เป็ นผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ และเสนอค่าสอบบัญชี รวมทั้งเข้าร่ วมประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 6. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามกฎหมาย และข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและ เป็ นประโยชน์สูงสุ ดต่อบริ ษทั ฯ 7. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ฯ ซึ่ งรายงานดังกล่าว จะได้ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ฉ) จานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่าน ช) ความเห็นหรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) ซ) ข้อมูลอื่นที่เห็นว่าผูถ้ ือหุ น้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั 8. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนด หรื อ คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ จะมอบหมาย ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th และเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบสาหรับการปฏิบตั ิงาน ประจาปี 2559 ไว้ใน รายงานประจาปี แบบ 56-1 และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2)

คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ทาหน้าที่พิจารณาการกาหนดค่าตอบแทน ของกรรมการและประธานคณะผูบ้ ริ หาร รวมทั้งพิจารณากลัน่ กรองการสรรหากรรมการ ก่อนนาเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริ ษทั โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม การประชุมคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ประจาปี 2559 จานวนครั้งการประชุม จานวนครั้งที่เข้าร่ วมประชุม 1. นายธนินท์ เจียรวนนท์ 4 2. นายสุ ภกิต เจียรวนนท์ 4 4 3. นายอารุ ง สรรพสิ ทธิ์ วงศ์ 4 4 4. นายโชติ โภควนิช 4 4 5. ดร. หลี่ เจิงเม่า 4 1 ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยกฎบัตรของคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th และเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและ สรรหากรรมการสาหรับการปฏิบตั ิงานประจาปี 2559 ไว้ในรายงานประจาปี และบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย 3)

คณะกรรมการด้านการเงิน คณะกรรมการด้านการเงิน ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการดูแลการบริ หารการเงินและ ผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ซึ่ งในการนี้ คณะกรรมการด้านการเงินจะให้ความเห็นและข้อเสนอแนะแก่ คณะกรรมการบริ ษทั เกี่ยวกับ กลยุทธ์ทางการเงิน งบประมาณประจาปี การกูย้ มื เงินหรื อการก่อหนี้สินที่สาคัญ การออกหลักทรัพย์ การได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่สาคัญ ตลอดจนโครงการลงทุนที่สาคัญ โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม

1. 2. 3. 4. 5.

การประชุมคณะกรรมการด้านการเงิน ประจาปี 2559 จานวนครั้งการประชุม 1/ จานวนครั้งที่เข้าร่ วมประชุ ม ดร. อาชว์ เตาลานนท์ 6 4 ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม 6 6 นายอารุ ง สรรพสิ ทธิ์ วงศ์ 6 6 นายโชติ โภควนิช 6 6 ดร. เซี่ย ปิ ง2/ 13/ 1 (แทนนายเกา เนี่ยนชู - กรรมการที่ลาออก ระหว่างปี 2559) นายเกา เนี่ยนชู 5 2

หมายเหตุ :

1/

2/ 3/

ในปี 2559 คณะกรรมการด้านการเงิน มีการประชุม จานวน 6 ครั้ง ที่ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559 ได้มีมติแต่งตั้ง ดร. เซี่ย ปิ ง เข้าดารงตาแหน่งกรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการด้านการเงินของบริ ษทั ฯ แทน นายเกา เนี่ยนชู ซึ่งได้ลาออกจากการเป็ นกรรมการของบริ ษทั ฯ โดยมีผลในวันที่ 8 กันยายน 2559 ก่อนที่ ดร. เซี่ย ปิ ง จะได้รับการแต่งตั้งเข้าเป็ นกรรมการในคณะกรรมการด้านการเงินของบริ ษทั ฯ ได้มีการประชุมไปแล้ว จานวน 5 ครั้ง

ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยกฎบัตรของคณะกรรมการด้านการเงินไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th และเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการด้านการเงินสาหรับการปฏิบตั ิงานประจาปี 2559 ไว้ใน รายงานประจาปี และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

4) คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการกาหนดและทบทวน นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ ตลอดจนดูแลให้บริ ษทั ฯ มีการกากับดูแลกิจการที่ดีและเหมาะสม กับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม การประชุมคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี ประจาปี 2559 จานวนครั้งการประชุม จานวนครั้งที่เข้าร่ วมประชุม 1. ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ 5 5 2. นายวิทยา เวชชาชีวะ 5 5 3. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ 5 5 ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยกฎบัตรของคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th และเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับการปฏิบตั ิงาน ประจาปี 2559 ไว้ในรายงานประจาปี และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย 9.3 การสรรหาและแต่ งตั้งกรรมการและผู้บริ หารระดับสู งสุ ด 1) กรรมการอิสระ กระบวนการสรรหากรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ มีหลักเกณฑ์และวิธีการเช่นเดียวกับการสรรหากรรมการ โดยมีรายละเอียดสรุ ปไว้ใน ข้อ 2) อย่างไรก็ตาม บุคคลซึ่ งจะดารงตาแหน่งกรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ จะต้อง เป็ นผูซ้ ่ ึ งเป็ นอิสระจากผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่หรื อกลุ่มของผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่และผูบ้ ริ หารของนิติบุคคลที่เป็ นผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ ตลอดจนเป็ นอิสระจากความสัมพันธ์อื่นใดที่จะกระทบต่อการใช้ดุลพินิจอย่างอิสระ และ ต้องมีคุณสมบัติตามที่ กาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ (ซึ่ งมีความเข้มงวดมากกว่าข้อกาหนดของคณะกรรมการ กากับตลาดทุนในเรื่ องสัดส่ วนการถือหุ ้นในบริ ษทั ฯ) ดังต่อไปนี้ (1) ถือหุ ้นไม่เกินร้อยละ 0.75 ของจานวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ ให้นบั รวมการถือหุ น้ ของผูท้ ี่เกี่ยวข้อง กับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมในการบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษา ที่ได้ เงินเดือนประจา หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อของผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (3) ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็ น บิดา มารดา คู่สมรส พี่นอ้ ง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย (4) ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูถ้ ือหุ น้ ที่มีนยั หรื อ ผูม้ ีอานาจควบคุมของผูท้ ี่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการ มีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

“ความสัมพันธ์ทางธุ รกิจ” ตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทารายการทางการค้าที่กระทาเป็ นปกติ เพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรื อให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสิ นทรัพย์หรื อบริ การ หรื อการให้หรื อ รับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรื อให้กยู้ มื ค้ าประกัน การให้สินทรัพย์เป็ นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทานองเดียวกัน ซึ่ งเป็ นผลให้บริ ษทั ฯ หรื อคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ตอ้ งชาระต่ออีกฝ่ ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละสามของสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุ ทธิ ของบริ ษทั ฯ หรื อตั้งแต่ยสี่ ิ บล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จานวนใดจะต่ากว่า ทั้งนี้ การคานวณภาระหนี้ดงั กล่าวให้เป็ นไปตามวิธีการคานวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศ คณะกรรมการกากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุ โลม แต่ในการพิจารณา ภาระหนี้ดงั กล่าว ให้นบั รวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ และไม่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นที่มีนยั ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อหุ น้ ส่ วนของสานักงานสอบบัญชี ซึ่ งมีผสู ้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (6) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึ่ งรวมถึงการให้บริ การเป็ นที่ปรึ กษากฎหมาย หรื อที่ปรึ กษาทางการเงิน ซึ่ งได้รับค่าบริ การเกินกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ และ ไม่เป็ นผูถ้ ือหุ น้ ที่มีนยั ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อหุ น้ ส่ วนของผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่า สองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (7) ไม่เป็ นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษทั ฯ ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ ้นส่ วนที่มีนยั ในห้างหุ น้ ส่ วน หรื อเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมในการบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่รับเงินเดือนประจา หรื อ ถือหุ น้ เกินร้อยละหนึ่งของจานวนหุ น้ ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั อื่น ซึ่ งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย (9) ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ (10) ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นกรรมการอิสระที่มีลกั ษณะเป็ นไปตามข้อ (1) - (9) แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สิ นใจในการดาเนินกิจการของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ โดยมีการ ตัดสิ นใจในรู ปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้ (11) ในกรณี ที่เป็ นบุคคลที่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจหรื อการให้บริ การทางวิชาชีพเกินมูลค่า ที่กาหนดในข้อ (4) หรื อ (6) ให้บุคคลดังกล่าวได้รับการผ่อนผันข้อห้ามการมีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจ หรื อการให้บริ การทางวิชาชี พเกินมูลค่าดังกล่าว หากคณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาตามหลักในมาตรา 89/7 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แล้วมีความเห็นว่า การแต่งตั้งบุคคลดังกล่าว ไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่และการให้ความเห็นที่เป็ นอิสระ และจัดให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลตามที่ คณะกรรมการกากับตลาดทุนกาหนด ในหนังสื อเชิ ญประชุมผูถ้ ือหุ น้ ในวาระพิจารณาแต่งตั้งกรรมการอิสระ กรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ ทุกท่าน มีความเป็ นอิสระโดยแท้จริ ง ไม่มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั ฯ และเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุน และ นโยบายการกากับดูแล กิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

2)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กรรมการ

บริ ษทั ฯ เปิ ดโอกาสและกาหนดหลักเกณฑ์อย่างชัดเจนในการให้ผถู ้ ือหุ น้ ส่ วนน้อยสามารถเสนอชื่อบุคคล เพื่อเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ นกรรมการเป็ นการล่วงหน้า สาหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี โดยบริ ษทั ฯ ประกาศแจ้งรายละเอียดหลักเกณฑ์ตลอดจนวิธีดาเนินการไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th ซึ่งผูถ้ ือหุ น้ ที่มีคุณสมบัติตามที่บริ ษทั ฯ กาหนดสามารถส่ งข้อมูลตามแบบฟอร์ ม โดยส่ งเป็ น จดหมายลงทะเบียนมายังบริ ษทั ฯ ได้ ภายในระยะเวลาที่กาหนด คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการทาหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคล ที่จะได้รับการเสนอชื่อเพื่อเลือกตั้งให้ดารงตาแหน่งกรรมการหรื อกรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ โดยพิจารณาจาก คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความรู้ ความซื่อสัตย์ และ ความเข้าใจในภาพรวมด้านเทคโนโลยีการสื่ อสารและ อุตสาหกรรมประเภทนี้ เพื่อให้ได้บุคคลที่มีความเหมาะสม สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ และเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายกาหนด ไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย และ ไม่มีลกั ษณะ ขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แล้วจึงนาเสนอพร้อมทั้ง ให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิในกรณี ที่เป็ นการแต่งตั้งเพื่อทดแทนตาแหน่งกรรมการเดิม ส่ วนกรณี ที่เป็ นการแต่งตั้งกรรมการเพิ่มเติม คณะกรรมการบริ ษทั จะเป็ นผูเ้ สนอข้อมูลพร้อมทั้งความเห็นของ คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เพื่อพิจารณาและอนุมตั ิ สาหรับสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ในการแต่งตั้งกรรมการนั้น ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เป็ นผูแ้ ต่งตั้งกรรมการบริ ษทั โดยใช้เกณฑ์เสี ยงข้างมากของผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งมาประชุมและออกเสี ยงลงคะแนน ทั้งนี้ ผูถ้ ือหุ น้ ทุกรายมีสิทธิ ในการ ออกเสี ยงเลือกตั้งกรรมการ โดยผูถ้ ือหุ น้ แต่ละคนมีคะแนนเสี ยงเท่ากับหนึ่งหุ น้ ต่อหนึ่งเสี ยง และสามารถเลือกตั้ง บุคคลคนเดียวหรื อหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้โดยใช้คะแนนเสี ยงทั้งหมดที่ตนมีอยูแ่ ต่จะแบ่งคะแนนเสี ยงให้แก่ ผูใ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี คือ เปิ ดโอกาสให้ ผูถ้ ือหุ น้ สามารถใช้สิทธิ ในการแต่งตั้งกรรมการเป็ นรายบุคคล โดยจะเสนอรายชื่อพร้อมสรุ ปข้อมูลสาคัญของ ผูท้ ี่ได้รับการเสนอชื่อให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ พิจารณาลงคะแนนเสี ยงเป็ นรายบุคคล บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสี ยง สู งสุ ดตามลาดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รับการเลือกตั้งเป็ นกรรมการเท่าจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณี ที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลาดับถัดลงมามีคะแนนเสี ยงเท่ากันเกินจานวนที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตั้งใน ครั้งนั้น ให้ผเู ้ ป็ นประธานในที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เป็ นผูอ้ อกเสี ยงชี้ขาด 3)

ผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ด คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการทาหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่ จะได้รับการเสนอชื่อเพื่อแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานคณะผูบ้ ริ หาร ซึ่ งเป็ น ตาแหน่งผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ดของบริ ษทั ฯ โดยพิจารณาจากคุณวุฒิ และประสบการณ์ เพื่อให้ได้บุคคลที่มีความ เหมาะสมกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ แล้วจึงนาเสนอพร้อมทั้งให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

9.4 การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม 1) บริ ษทั ฯ มีกลไกในการกากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ดังต่อไปนี้ - มีการส่ งบุคคลเพื่อเป็ นตัวแทนของบริ ษทั ฯ ไปเป็ นกรรมการและผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ย่อยและ บริ ษทั ร่ วมตามสัดส่ วนการถือหุ น้ โดยคณะกรรมการบริ ษทั ฯ มอบหมายให้ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่เป็ นผูพ้ ิจารณาการส่ งตัวแทนของบริ ษทั ฯ เพื่อการดังกล่าว - กรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม มีหน้าที่กากับดูแลให้การกาหนดนโยบาย ที่สาคัญต่อการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมสอดคล้องกับนโยบายทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ - มีการกากับดูแลให้บริ ษทั ย่อยปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน เรื่ องที่ขอ้ กาหนดดังกล่าวมีผลบังคับใช้ครอบคลุมถึงบริ ษทั ย่อย ซึ่ งได้แก่ การจัดทาข้อมูลทางการเงิน การเข้าทารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน การได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่สาคัญ หรื อ การทารายการสาคัญอื่นใดของบริ ษทั ดังกล่าว - ดาเนินการให้บริ ษทั ย่อยมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและเพียงพอ ตลอดจนมีการ จัดทาข้อมูลทางการเงินต่างๆ ให้แก่บริ ษทั ฯ เพื่อให้บริ ษทั ฯ สามารถจัดทางบการเงินรวมให้เป็ นไปตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย - มีการจัดทารายงานสรุ ปผลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อย โดยจัดกลุ่มแยกตามประเภทธุ รกิจ เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อติดตามผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อย 2) ข้อตกลงระหว่างบริ ษทั ฯ กับผูถ้ ือหุ น้ อื่นในการบริ หารจัดการบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม (shareholders’ agreement) ที่มีผลอย่างมีสาระสาคัญต่อการบริ หารงานหรื อมีอานาจควบคุม หรื อการแบ่งผลตอบแทน นอกเหนือจากผลตอบแทนตามสัดส่ วนการถือหุ น้ ปกติ - ไม่มี 9.5 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน คณะกรรมการบริ ษทั ตระหนักถึงความสาคัญของการป้ องกันการนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็ นอย่างยิง่ บริ ษทั ฯ มีการกากับดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยกาหนดข้อพึงปฏิบตั ิ เกี่ยวกับการใช้ขอ้ มูลภายในเพื่อการซื้ อขายหลักทรัพย์ไว้ในคุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทางานควบคู่กบั การใช้มาตรการตามกฎหมายในการดูแลกรรมการและผูบ้ ริ หารในการนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตนและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ป้ องกันมิให้กรรมการและผูบ้ ริ หารที่มีส่วนใกล้ชิดกับข้อมูลของบริ ษทั ฯ นาข้อมูลภายในที่ตนล่วงรู ้มาจากการเป็ นกรรมการและผูบ้ ริ หารไปแสวงหาประโยชน์ใดๆ อันจะเป็ นการฝ่ าฝื น หน้าที่ความรับผิดชอบของตนที่มีต่อบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุ ้น จึงกาหนดเป็ นหลักให้ถือปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัดในการ ที่ตอ้ งเก็บรักษาสารสนเทศที่สาคัญที่ยงั ไม่ได้เปิ ดเผยไว้เป็ นความลับ โดยจากัดให้รับรู ้ได้เฉพาะกรรมการและ ผูบ้ ริ หารระดับสู งที่เกี่ยวข้องเท่านั้น นอกจากนี้ในการซื้ อ ขาย โอน หรื อรับโอนหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษทั ฯ กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องรายงานต่อสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สานักงาน ก.ล.ต.”) ภายใน 3 วันทาการนับแต่วนั ที่เกิดรายการขึ้น พร้อมทั้งส่ งสาเนารายงานดังกล่าว จานวน 1 ชุด ให้แก่บริ ษทั ฯ เพื่อเก็บเป็ นหลักฐานและรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจา ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่า กรรมการ และผูบ้ ริ หารสามารถบริ หารและดาเนินกิจการด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต โปร่ งใส และสอดคล้องกับนโยบายการ กากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ และ ยังมีส่วนช่วยให้ผถู ้ ือหุ น้ ตลอดจนผูล้ งทุนทัว่ ไปเกิดความเชื่อมัน่ ใน กรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีแนวปฏิบตั ิเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดูแลการใช้ขอ้ มูลภายใน ซึ่ งเป็ น เรื่ องที่เกี่ยวข้องกับการห้ามซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ก่อนการประกาศผลการดาเนิ นงาน กล่าวคือ ห้ามมิให้ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลในงบการเงินของบริ ษทั ฯ รวมถึงคู่สมรสและ บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ทาการซื้ อหรื อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนวันที่เผยแพร่ งบการเงินต่อสาธารณชนผ่านระบบตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ 1 วันทาการภายหลังจาก การเผยแพร่ ขอ้ มูลดังกล่าว 9.6 ค่ าตอบแทนทีจ่ ่ ายให้ แก่สานักงานที่ผ้ สู อบบัญชี สังกัด 1) ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชี ให้แก่ สานักงานที่ผสู ้ อบบัญชีสังกัด ประจาปี 2559 รวมจานวน 28.85 ล้านบาท โดยได้จ่ายในรอบปี บัญชี 2559 จานวนเงิน 14.55 ล้านบาท และ ที่เหลืออีกจานวน 14.30 ล้านบาท จะจ่ายในปี ถัดไป ซึ่ งประกอบด้วย - ค่าสอบบัญชีของบริ ษทั ฯ ประจาปี 2559 จานวน 6.20 ล้านบาท ซึ่งได้จ่ายไปในรอบปี 2559 จานวน 3.57 ล้านบาท และจะจ่ายในปี ถัดไปอีกจานวน 2.63 ล้านบาท - ค่าสอบบัญชีของบริ ษทั ย่อย ประจาปี 2559 รวมจานวน 22.65 ล้านบาท ซึ่ งได้จ่ายไปในรอบปี 2559 จานวน 10.98 ล้านบาท และจะจ่ายในปี ถัดไปอีกจานวน 11.67 ล้านบาท 2)

ค่าบริ การอื่น (non-audit fee) สานักงานสอบบัญชีที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริ ษทั ฯ ได้ให้บริ การอื่นๆ ที่นอกเหนื อจากการ ตรวจสอบบัญชี แก่บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ซึ่ งได้แก่ การตรวจสอบตามวิธีการที่ตกลงร่ วมกัน และการให้ คาปรึ กษาด้านภาษีและอื่นๆ ในระหว่างปี 2559 มีค่าตอบแทนเป็ นจานวนเงิน 3.17ล้านบาท ในจานวนนี้บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ได้จ่ายชาระแล้วระหว่างปี เป็ นจานวนเงิน 0.94 ล้านบาท ที่เหลืออีกจานวน 2.23 ล้านบาท จะจ่ายในปี ถัดไป 9.7 การปฏิบัติตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ีในเรื่องอื่นๆ บริ ษทั ฯ ดาเนินการเกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยแบ่งเป็ นสองส่ วน คือ ในระดับ คณะกรรมการ และ ในระดับบริ หาร โดยในระดับคณะกรรมการนั้น ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อยขึ้น คือ คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Committee) ซึ่งประกอบด้วย ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร. อาชว์ เตาลานนท์ ส่ วนในระดับบริ หารดาเนิ นการโดยเจ้าหน้าที่บริ หาร ได้แก่ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร และ เจ้าหน้าที่ระดับสู งอื่นๆ บริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิตาม “หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริ ษทั จดทะเบียน ปี 2555” ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ยกเว้นบางกรณี ที่บริ ษทั ฯ มิได้ปฏิบตั ิในปี 2559 โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริ ษทั ควรประกอบด้วยกรรมการจานวน 5-12 คน คาชี้แจง ปัจจุบนั บริ ษทั ฯมีกรรมการจานวน 18 ท่าน ซึ่ งเหมาะสมกับขนาดธุ รกิจของบริ ษทั ฯ เนื่ องจากบริ ษทั ฯมีธุรกิจหลายประเภทซึ่ งดาเนินการโดยบริ ษทั ย่อยจานวนมาก บริ ษทั ฯ จึงจาเป็ นต้องมีกรรมการ มากกว่า 12 ท่าน เพื่อช่วยกันกากับดูแลการบริ หารงานของบริ ษทั ย่อย ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2. คณะกรรมการบริ ษทั ควรประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็ นส่ วนใหญ่ (มากกว่าร้อยละ 50) คาชี้แจง ปั จจุบนั บริ ษทั ฯมีกรรมการอิสระในสัดส่ วน 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งคณะ ซึ่ งกรรมการทุกท่านเป็ นผูท้ รงคุณวุฒิ และมีความเป็ นอิสระในการปฏิบตั ิหน้าที่ สามารถแสดงความเห็นและ ออกเสี ยงลงมติได้อย่างเป็ นอิสระ คณะกรรมการบริ ษทั จึงพิจารณาแล้วเห็นว่าองค์ประกอบของคณะกรรมการบริ ษทั ในปั จจุบนั มีความเหมาะสม และสามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้อย่างเป็ นอิสระไม่แตกต่างจากการมีกรรมการอิสระใน สัดส่ วนมากกว่าร้อยละ 50 แต่ประการใด 3. คณะกรรมการควรกาหนดนโยบายจากัดจานวนปี ในการดารงตาแหน่งของกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 9 ปี คาชี้แจง เนื่องจากลักษณะการประกอบธุ รกิจของบริ ษทั ฯ มีความซับซ้อน จึงต้องการกรรมการอิสระ ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง อีกทั้งมีความเข้าใจในธุ รกิจของบริ ษทั อย่างถ่องแท้ ซึ่ งต้องใช้เวลายาวนาน ในการเรี ยนรู ้และทาความเข้าใจ และ ถึงแม้วา่ กรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ จะดารงตาแหน่งเกิน 9 ปี แต่ดว้ ย คุณวุฒิและเกียรติภูมิของกรรมการอิสระแต่ละท่าน ส่ งผลให้กรรมการอิสระทุกท่านยังคงมีความเป็ นอิสระ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ได้เป็ นอย่างดี 4. ประธานกรรมการของบริ ษทั ฯ ควรเป็ นกรรมการอิสระ คาชี้แจง เนื่องจากธุ รกิจของบริ ษทั ฯ มีความซับซ้อน และลักษณะเฉพาะ ที่ตอ้ งการผูน้ าที่มี ความสามารถ ประสบการณ์ มีความรู ้ความเข้าใจในการบริ หารธุ รกิจอย่างแท้จริ ง ถึงแม้ประธานกรรมการจะมิใช่ กรรมการอิสระ แต่บริ ษทั ฯ ก็มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ มีกลไกในการดาเนิ นงานที่มีการถ่วงดุลอานาจ และโปร่ งใส นอกจากนี้ การมีประธานกรรมการที่เป็ นตัวแทนของผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ มีขอ้ ดีที่สาคัญคือ ประธานกรรมการจะรับผิดชอบต่อหน้าที่ในบริ ษทั อย่างเข็มแข้ง และจะไม่ละทิ้งบริ ษทั แม้ในภาวะวิกฤต อีกทั้ง ยังสามารถสร้างความน่าเชื่ อถือให้แก่สถาบันการเงินต่างๆด้วย 5. ประธานคณะกรรมการค่าตอบแทน ควรเป็ นกรรมการอิสระ 6. ประธานคณะกรรมการสรรหา ควรเป็ นกรรมการอิสระ คาชี้แจง (ข้อ 5. และ ข้อ 6.) ถึงแม้วา่ ประธานคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ของบริ ษทั ฯ จะไม่ใช่กรรมการอิสระ บริ ษทั ฯ ก็มีหลักเกณฑ์ในการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนอย่างโปร่ งใส และเป็ นธรรม กล่าวคือ - ในการสรรหากรรมการ มีหลักเกณฑ์วา่ ผูท้ ี่จะได้รับการเสนอชื่อเป็ นกรรมการของบริ ษทั ฯ จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายกาหนด อีกทั้งต้องเป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ และประสบการณ์อย่างกว้างขวาง ในสาขาต่างๆ ซึ่ งสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ สามารถที่จะสร้างประโยชน์ให้แก่บริ ษทั ฯได้ - ในการกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการ จะมีการพิจารณาทบทวนความเหมาะสมของ อัตราค่าตอบแทนกรรมการเป็ นประจาทุกปี โดยคานึงถึงระดับที่ปฏิบตั ิอยูใ่ นอุตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ตลอดจนความรับผิดชอบของกรรมการ และไม่วา่ จะมีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าตอบแทนกรรมการหรื อไม่ บริ ษทั ฯก็จะเสนออัตราค่าตอบแทนกรรมการให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ พิจารณาทบทวนและอนุมตั ิเป็ นประจาทุกปี

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

7. คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็ นส่ วนใหญ่ (มากกว่าร้อยละ 50) 8. คณะกรรมการสรรหา ประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็ นส่ วนใหญ่ (มากกว่าร้อยละ 50%) คาชี้แจง (ข้อ 7. และ ข้อ 8.) คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการ จานวน 5 ท่าน โดยเป็ นกรรมการอิสระจานวน 1 ท่าน ซึ่ งจากผลการปฏิบตั ิงานของ คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการที่ผา่ นมา กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและ สรรหากรรมการ ทั้ง 5 ท่านมีความเป็ นอิสระในการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ ตลอดจนสามารถให้ความเห็นชอบ หรื อออกเสี ยงคัดค้านได้อย่างเป็ นอิสระโดยไม่มีการแทรกแซงจากฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการบริ ษทั จึงพิจารณาแล้ว เห็นว่าองค์ประกอบของคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการของบริ ษทั ฯ มีความเหมาะสม ในส่ วนของหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ที่บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิได้ในปี 2559 มีรายละเอียดดังนี้ หมวดที่ 1 สิ ทธิของผู้ถือหุ้น 1. การประชุมผูถ้ ือหุน้ 1.1 คณะกรรมการตระหนักและให้ความสาคัญต่อสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้น ตลอดจนการปฏิบตั ิต่อ ผูถ้ ือหุ น้ อย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม จึงได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับผูถ้ ือหุ น้ ไว้เป็ นส่ วนหนึ่งในนโยบายการ กากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ โดยคานึ งถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ทุกกลุ่มให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้โดยไม่จากัด เฉพาะสิ ทธิ ที่กฎหมายกาหนดไว้ 1.2 ในปี 2559 บริ ษทั ฯ มีการประชุมผูถ้ ือหุน้ 1 ครั้ง คือ การประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2559 ซึ่งการประชุมผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ ทุกครั้ง จัดขึ้นในวัน เวลา และสถานที่ ที่คานึงถึง ความสะดวกของผูถ้ ือหุ น้ ที่จะเข้าร่ วมประชุม โดยบริ ษทั ฯ จัดให้มีการประชุ มในวันและเวลาทาการ คือ 14.00 น. ณ ที่ทาการสานักงานใหญ่ของบริ ษทั ฯ ตั้งอยูใ่ นกรุ งเทพมหานครซึ่ งมีการคมนาคมที่สะดวกต่อการเดินทาง พร้อมทั้งได้จดั ทาแผนที่และข้อมูลการเดินทางมายังสถานที่จดั การประชุม โดยจัดทาเป็ นเอกสารแนบส่ วนหนึ่ ง ในหนังสื อเชิญประชุมและนาส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ทุกรายที่มีสิทธิ เข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ น้ 1.3 ในการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ทุกครั้ง รวมถึงการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 บริ ษทั ฯ ได้แจ้งในหนังสื อเชิ ญประชุ มและเอกสารที่เกี่ยวข้องให้ผถู ้ ือหุ ้นทราบถึงข้อมูล วัน เวลา สถานที่ วาระการประชุม ข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่ตอ้ งตัดสิ นใจในที่ประชุมรวมตลอดถึงสาเหตุและความเป็ นมาของเรื่ องที่ตอ้ ง ตัดสิ นใจ โดยระบุถึงข้อเท็จจริ ง เหตุผล และวัตถุประสงค์ ตลอดจนความเห็นของคณะกรรมการ ในแต่ละวาระ อย่างชัดเจน โดยเน้นรายละเอียดให้ผอู ้ ่านที่ไม่ทราบถึงความเป็ นมาของเรื่ องนั้นๆ มาก่อนสามารถเข้าใจเรื่ อง ได้โดยง่าย นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้มีการให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับคะแนนเสี ยงของผูถ้ ือหุ น้ ในการลงมติเพื่ออนุมตั ิ ในแต่ละวาระของทุกวาระที่เสนอในหนังสื อเชิญประชุม กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการประชุม ประเภทของหุ น้ และสิ ทธิ การออกเสี ยงลงคะแนน ตลอดจนขั้นตอนการออกเสี ยงลงมติ โดยจัดส่ งหนังสื อเชิ ญประชุมให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นทุกราย ที่มีสิทธิ เข้าร่ วมประชุม เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมเพื่อให้ผถู้ ือหุน้ มีเวลาเพียงพอในการพิจารณาข้อมูล และ ละเว้นการกระทาที่อาจเป็ นการจากัดโอกาสของผูถ้ ือหุ น้ ในการศึกษาสารสนเทศของบริ ษทั ฯ ตลอดจนไม่มีนโยบายที่ จะกีดกันหรื อสร้างอุปสรรคในการเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ น้ สามารถติดต่อสื่ อสารระหว่างกัน ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.4 ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานคณะผูบ้ ริ หาร และประธานคณะกรรมการตรวจสอบได้เข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ น้ 1.5 ในการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ทุกครั้งที่ผา่ นมา รวมถึงการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 ที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นได้ทาการพิจารณาเรื่ องต่างๆ ตามลาดับระเบียบวาระที่ได้กาหนดไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้นาส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ เป็ นการล่วงหน้าโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงลาดับวาระการประชุม และไม่มี การเพิ่มวาระอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในหนังสื อนัดประชุม 1.6 ค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษทั ฯ มีรูปแบบเดียว คือ ค่าตอบแทนประจาเป็ นรายเดือน ซึ่ งกาหนดไว้เป็ นรายตาแหน่ง บริ ษทั ฯ ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนรู ปแบบอื่น อาทิ เบี้ยประชุม และโบนัสหรื อ บาเหน็จให้แก่กรรมการทั้งนี้ บริ ษทั ฯ นาเสนอวาระค่าตอบแทนกรรมการต่อที่ประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นเพื่อพิจารณา อนุมตั ิเป็ นประจาทุกปี สาหรับปี 2559 คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ได้พิจารณา ทบทวนความเหมาะสมของอัตราค่าตอบแทนกรรมการ โดยคานึงถึงระดับที่ปฏิบตั ิอยูใ่ นอุตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ และได้นาเสนอความเห็นต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ว่า ควรเสนอให้ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 อนุมตั ิค่าตอบแทนกรรมการในอัตราเดิม ตามที่ที่ประชุม สามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2558 ได้เคยมีมติอนุมตั ิไว้ โดยเป็ นอัตราเดิมที่มิได้เปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่ปี 2545 1.7 ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 คณะกรรมการบริ ษทั เห็นชอบกับข้อเสนอของ คณะกรรมการตรวจสอบ เสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เพื่อพิจารณาแต่งตั้งผูส้ อบบัญชีและกาหนดค่าสอบบัญชีประจาปี ดังเช่นที่บริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิต่อเนื่องเป็ นประจาทุกปี และ ในการนี้ เพื่อให้ผถู ้ ือหุ น้ ได้มีขอ้ มูลพิจารณาความเหมาะสม ของผูส้ อบบัญชี บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุมโดยให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อผูส้ อบบัญชี อายุ บริ ษทั ที่สังกัด คุณวุฒิการศึกษา ประวัติการทางาน ประวัติการเป็ นผูล้ งลายมือชื่ อในงบการเงินของบริ ษทั ฯ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ความสัมพันธ์หรื อส่ วนได้เสี ยในลักษณะที่อาจจะมี ผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเป็ นอิสระ ตลอดจนค่าสอบบัญชีประจาปี ที่นาเสนอและปี ก่อนหน้าเพื่อการ เปรี ยบเทียบด้วย 1.8 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยนโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 นอกจากนี้ ยังได้นาเสนอให้ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นพิจารณาเรื่ องเงินปั นผลเป็ นประจาทุกปี โดยมีการให้ขอ้ มูลและเหตุผลประกอบอย่างชัดเจน สาหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 บริ ษทั ฯ เสนอให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ อนุ มตั ิการจ่ายเงินปั นผล และการจัดสรรกาไรสุ ทธิ เป็ นทุนสารองตามกฎหมายสาหรับ ผลการดาเนินงานประจาปี 2558 1.9 ในวาระพิจารณาแต่งตั้งกรรมการ บริ ษทั ฯ เสนอชื่ อกรรมการให้ผถู ้ ือหุ ้นลงคะแนนทีละคน โดยได้มีการระบุขอ้ มูลที่สาคัญของบุคคลแต่ละท่านที่ได้รับการเสนอชื่ อ ไว้ในหนังสื อเชิญประชุมผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ ง ได้แก่ ชื่ อ-นามสกุล ตาแหน่งปั จจุบนั ในบริ ษทั ฯ ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผูบ้ ริ หารหรื อผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ของบริ ษทั ฯ วัน เดือน ปี ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ระยะเวลาที่เคยดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั ฯ ข้อมูลการเข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการและคณะกรรมการ ชุดย่อย (ถ้ามี) ในปี ที่ผา่ นมา อายุ สัญชาติ ประวัติการศึกษา ประวัติการอบรมในหลักสู ตรที่เกี่ยวข้องกับการเป็ น กรรมการ ประสบการณ์การทางานและจานวนบริ ษทั ที่ดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการหรื อผูบ้ ริ หารในกิจการอื่น โดยแยกประเภทเป็ นบริ ษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริ ษทั ที่มิใช่บริ ษทั จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ บริ ษทั ที่อาจทาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริ ษทั ฯ ตลอดจน การถือหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษทั ฯ 1.10 บริ ษทั ฯ กาหนดวาระการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ไว้เป็ นเรื่ องๆ อย่างชัดเจน เช่น ในวาระที่ เกี่ยวกับกรรมการ บริ ษทั ฯ ได้แยกเรื่ องพิจารณาเลือกตั้งกรรมการ และ พิจารณาอนุมตั ิค่าตอบแทนกรรมการ ออกเป็ นแต่ละวาระ เป็ นต้น 1.11 ในกรณี ที่มีการเสนอให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ พิจารณาหลายรายการในวาระเดียวกันซึ่ งเป็ น เรื่ องที่ไม่มีผลเกี่ยวเนื่ องกันในทางกฎหมาย บริ ษทั ฯ จะจัดให้มีการลงมติสาหรับแต่ละรายการ เช่น วาระพิจารณา เลือกตั้งกรรมการบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ น้ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งกรรมการเป็ นรายบุคคล โดยบริ ษทั ฯ เสนอชื่อกรรมการให้ผถู ้ ือหุ น้ ลงคะแนนทีละคน ทั้งนี้ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ น้ มีสิทธิ เลือกกรรมการที่ตอ้ งการ ได้อย่างแท้จริ ง 1.12 บริ ษทั ฯ อานวยความสะดวกให้ผถู ้ ือหุ น้ ทุกกลุ่ม ทั้งผูถ้ ือหุ ้นที่เป็ นบุคคลธรรมดาและ ผูถ้ ือหุ น้ ประเภทสถาบัน ให้ได้ใช้สิทธิ ในการเข้าร่ วมประชุมและออกเสี ยงอย่างเต็มที่ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายและ ไม่ให้มีวธิ ี การที่ยงุ่ ยาก ละเว้นการกระทาใดๆ ที่เป็ นการจากัดโอกาสการเข้าประชุมของผูถ้ ือหุน้ จัดให้มีจุดบริ การ ตรวจรายชื่อและจานวนหุ น้ ของผูถ้ ือหุ น้ แยกตามประเภทของผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งช่วยให้การลงทะเบียนในวันประชุม ทาได้สะดวกและรวดเร็ วขึ้น 1.13 ในการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ทุกครั้ง รวมถึงการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 บริ ษทั ฯ จัดช่องทางให้ผถู ้ ือหุ ้นส่ งคาถามมายังบริ ษทั ฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมได้โดยผ่าน E-mail Address : ir_office@truecorp.co.th ล่วงหน้า 7 วันก่อนวันประชุมผูถ้ ือหุ น้ หรื อ ทางไปรษณี ยล์ งทะเบียนมายัง ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ชั้น 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ เลขที่ 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวางกรุ งเทพมหานคร 10310 ล่วงหน้า 15 วันก่อนวันประชุมผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้ ประชาสัมพันธ์ให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ และ แจ้งไว้ในหนังสื อเชิญประชุมที่จดั ส่ งให้แก่ ผูถ้ ือหุน้ ทุกรายที่มีสิทธิเข้าประชุมผูถ้ ือหุน้ 2. การดาเนินการในวันประชุมผูถ้ ือหุน้ 2.1 ประธานที่ประชุมจัดสรรเวลาให้เหมาะสมและส่ งเสริ มให้ผถู ้ ือหุ น้ มีโอกาสในการแสดง ความเห็นและตั้งคาถามต่อที่ประชุมในเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ฯ 2.2 บริ ษทั ฯ นาเทคโนโลยีมาใช้กบั การประชุมผูถ้ ือหุ ้น ทั้งการลงทะเบียน การนับคะแนน และแสดงผล เพื่อให้การดาเนินการประชุมสามารถกระทาได้อย่างรวดเร็ ว ถูกต้อง และ แม่นยา

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2.3 บริ ษทั ฯ ใช้บตั รลงคะแนนเสี ยงในวาระเพื่อพิจารณาในทุกกรณี ที่ตอ้ งมีการลงคะแนนเสี ยง พร้อมทั้งจัดให้มีสานักงานกฎหมายอิสระ เป็ นผูต้ รวจสอบการนับคะแนนเสี ยงเพื่อความโปร่ งใสโดยได้แจ้งชื่ อ บุคคลผูท้ าหน้าที่ดงั กล่าวให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ทราบก่อนเริ่ มเข้าสู่ ระเบียบการประชุม และเก็บบัตรลงคะแนนไว้ เป็ นหลักฐานเพื่อจะได้ตรวจสอบได้ในกรณี มีขอ้ โต้แย้งในภายหลัง 3. การจัดทารายงานการประชุม และ การเปิ ดเผยมติการประชุมผูถ้ ือหุน้ 3.1 บริ ษทั ฯ แจ้งมติของที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 พร้อมทั้งระบุจานวนคะแนนเสี ยง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสี ยง ในแต่ละวาระการประชุมต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายในวันเดียวกัน กับวันประชุ มผูถ้ ือหุ ้น และเปิ ดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ในวันทาการถัดไป เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้นและผูล้ งทุนทัว่ ไป ทราบและสามารถตรวจสอบผลการลงมติได้อย่างรวดเร็ ว 3.2 รายงานการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ฯ ได้มีการบันทึกรายละเอียดในเรื่ องต่างๆ ดังต่อไปนี้ไว้ดว้ ย (1) วิธีการลงคะแนนและนับคะแนนซึ่งเลขานุการที่ประชุมได้ช้ ีแจงให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบก่อน เริ่ มการประชุมตามวาระ (2) คะแนนเสี ยงของผูถ้ ือหุ ้น โดยระบุอย่างชัดเจนว่า เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และ งดออกเสี ยง เป็ นจานวนเสี ยงและสัดส่ วนเท่าใดในแต่ละวาระ (3) รายชื่อพร้อมทั้งตาแหน่งของกรรมการ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง ผูส้ อบบัญชี ที่ปรึ กษากฎหมาย และ ผูต้ รวจสอบการนับคะแนนเสี ยง ที่เข้าร่ วมประชุม (4) สรุ ปสาระสาคัญของ ข้อซักถาม ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ของผูถ้ ือหุ น้ รวมทั้ง คาชี้แจงของกรรมการและผูบ้ ริ หารที่ได้ตอบข้อซักถาม ของผูถ้ ือหุ ้น ในแต่ละวาระ เพื่อให้ผถู ้ ือหุ น้ ที่ไม่ได้เข้าประชุมได้รับทราบด้วย 4. ไม่มีการถือหุ น้ ไขว้ในกลุ่มของบริ ษทั ฯ 5. บริ ษทั ฯ มีการกระจายการถือหุ น้ ของผูถ้ ือหุ ้นรายย่อยเป็ นไปตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย กล่าวคือ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2559 ซึ่งเป็ นวันปิ ดสมุดทะเบียนผูถ้ ือหุ ้นเพื่อสิ ทธิในการ เข้าประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 บริ ษทั ฯ มีสัดส่ วนการถือหุ ้นของผูถ้ ือหุ น้ รายย่อย (free float) ร้อยละ 30.42 สัดส่ วนการถือหุ น้ ของนักลงทุนสถาบันร้อยละ 7.97 และสัดส่ วนการถือหุ ้นของคณะกรรมการบริ ษทั รวมผูเ้ กี่ยวข้อง ร้อยละ 0.14 หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน 1. หุ น้ ของบริ ษทั ฯ มีประเภทเดียว คือ หุ น้ สามัญ ซึ่ งมีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนที่เท่าเทียมกัน คือ หนึ่งหุ น้ ต่อหนึ่งเสี ยง 2. การให้ขอ้ มูลก่อนการประชุมผูถ้ ือหุ น้ 2.1 เมื่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้มีมติอนุมตั ิให้จดั การประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 บริ ษทั ฯ ได้มีการแจ้งมติที่สาคัญของคณะกรรมการเกี่ยวกับกาหนดการประชุมพร้อมระเบียบวาระ การประชุม ตลอดจนความเห็นของคณะกรรมการ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ ของบริ ษทั ฯ ในวันทาการถัดไปนับจากวันประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่งเป็ นการเปิ ดเผยข้อมูลล่วงหน้าก่อน วันประชุมผูถ้ ือหุน้ 67 วัน

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2.2 บริ ษทั ฯ จัดทาหนังสื อเชิ ญประชุมพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็ นภาษาไทยสาหรับผูถ้ ือหุ ้น สัญชาติไทย และ ภาษาอังกฤษสาหรับผูถ้ ือหุ น้ ต่างด้าว และได้นาส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ทุกรายพร้อมกันเป็ นการล่วงหน้า ก่อนวันประชุมทุกครั้ง สาหรับการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 บริ ษทั ฯ ได้นาส่ งหนังสื อเชิ ญประชุ ม พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 16 วัน 2.3 บริ ษทั ฯ เผยแพร่ หนังสื อเชิ ญประชุ มและเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ พร้อมกัน เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมทุกครั้ง โดยในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2559 บริ ษทั ฯ เผยแพร่ หนังสื อเชิ ญประชุมและเอกสารที่เกี่ยวข้องบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ เป็ นการล่วงหน้า ก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 24 วัน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ ้นได้มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้า อย่างเพียงพอก่อนได้รับข้อมูลในรู ปแบบเอกสารจากบริ ษทั ฯ และได้ประชาสัมพันธ์ให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบ โดยแจ้ง สารสนเทศผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ 2.4 ในการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ทุกครั้ง ก่อนเริ่ มเข้าสู่ ระเบียบวาระการประชุม เลขานุการที่ประชุม ได้แจ้งให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประชุม ประเภทของหุน้ และสิ ทธิการออกเสี ยงลงคะแนน ขั้นตอนการออกเสี ยงลงมติ ตลอดจนวิธีการนับและแสดงผลคะแนน 3. การคุม้ ครองสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้นส่ วนน้อย 3.1 บริ ษทั ฯ อานวยความสะดวกให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ที่ไม่สามารถเข้าประชุมด้วยตนเอง สามารถ ใช้สิทธิออกเสี ยงโดยมอบฉันทะให้ผอู้ ื่นมาประชุมและออกเสี ยงลงมติแทน โดยไม่มีการกาหนดเงื่อนไขใดๆ ซึ่ง ทาให้ยากต่อการมอบฉันทะ และเปิ ดโอกาสให้ส่งหนังสื อมอบฉันทะมาให้ฝ่ายเลขานุการบริ ษทั และหลักทรัพย์ ตรวจสอบล่วงหน้า เพื่อจะได้ไม่เสี ยเวลาตรวจสอบในวันประชุม 3.2 บริ ษทั ฯ เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นใช้หนังสื อมอบฉันทะรู ปแบบที่ผถู ้ ือหุ น้ สามารถกาหนด ทิศทางการลงคะแนนเสี ยงได้ โดยจัดส่ งหนังสื อมอบฉันทะแนบไปพร้อมกับหนังสื อเชิญประชุมผูถ้ ือหุ น้ และได้ เสนอชื่อกรรมการอิสระ 2 ท่าน พร้อมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการอิสระดังกล่าว เป็ นทางเลือกในการมอบฉันทะ ของผูถ้ ือหุ ้น บริ ษทั ฯ ได้แจ้งให้ผถู้ ือหุ ้นทราบถึงเอกสารหรื อหลักฐานที่ตอ้ งนามาแสดงตนในการ เข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ ้น ตลอดจนคาแนะนาและขั้นตอนในการมอบฉันทะอย่างชัดเจน ไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุม ผูถ้ ือหุ น้ ทุกครั้ง 3.3 ในวาระการเลือกตั้งกรรมการในการประชุมผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ฯ จะเสนอชื่อกรรมการให้ ผูถ้ ือหุ ้นพิจารณาทีละคน ซึ่ งเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นได้ใช้สิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลือกตั้งกรรมการเป็ นรายบุคคล 3.4 บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญต่อการคุม้ ครองสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ส่ วนน้อยเป็ นอย่างยิง่ แนวปฏิบตั ิหนึ่ง ที่บริ ษทั ฯ ดาเนิ นการมาโดยตลอด คือ การขอให้ผถู ้ ือหุ ้นที่เป็ นผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ละเว้นการเพิ่มวาระการประชุ ม ที่ไม่ได้แจ้งเป็ นการล่วงหน้าในทุกกรณี ถ้าหากมีวาระเพิ่มเติมที่จาเป็ นก็จะขอให้ทาการจัดการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ครั้งใหม่ เพื่อวาระดังกล่าว เพื่อให้ผถู ้ ือหุ น้ อื่นๆ สามารถมีเวลาเพียงพอในการศึกษาข้อมูลก่อนตัดสิ นใจ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

3.5 บริ ษทั ฯ เปิ ดโอกาสและกาหนดหลักเกณฑ์อย่างชัดเจนในการให้ผถู ้ ือหุ น้ ส่ วนน้อย สามารถเสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ น กรรมการเป็ นการล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 3 เดือนก่อนวันประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ซึ่ งได้กระทาต่อเนื่ องเป็ นประจาทุกปี มาจนถึงปั จจุบนั โดยผูถ้ ือหุ น้ สามารถส่ งข้อมูลตามหลักเกณฑ์และแบบฟอร์ มที่บริ ษทั ฯ กาหนดและเผยแพร่ ไว้ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ สาหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 บริ ษทั ฯ กาหนดให้ผถู ้ ือหุ ้นเสนอ เรื่ องและชื่อบุคคลเป็ นการล่วงหน้า โดยส่ งเป็ นจดหมายลงทะเบียนมายังบริ ษทั ฯ ได้ ตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2558 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยบริ ษทั ฯ ได้เผยแพร่ สารสนเทศดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ และได้ ประชาสัมพันธ์ให้ผถู้ ือหุน้ ทราบโดยแจ้งสารสนเทศผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่ งในการประชุมผูถ้ ือหุ ้นดังกล่าว ไม่มีผถู ้ ือหุ น้ เสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมและชื่อบุคคลเพื่อเข้า รับการพิจารณาคัดเลือกเป็ นกรรมการ 4. การป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน บริ ษทั ฯ มีการกากับดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยกาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี และ คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน ควบคู่กบั การใช้มาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบ้ ริ หารในการนา ข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง กาหนดเป็ นหลักให้ถือปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด ในการที่ตอ้ งเก็บรักษาสารสนเทศที่สาคัญที่ยงั ไม่ได้เปิ ดเผยไว้เป็ นความลับ โดยจากัดให้รับรู ้ได้เฉพาะกรรมการ และผูบ้ ริ หารระดับสู งที่เกี่ยวข้องเท่านั้น นอกจากนี้ ในการซื้ อ ขาย โอน หรื อรับโอนหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษทั ฯ กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องแจ้งต่อ สานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 3 วันทาการนับแต่วนั ที่เกิดรายการขึ้น พร้อมทั้ง ส่ งสาเนารายงานดังกล่าว จานวน 1 ชุด ให้แก่บริ ษทั ฯ เพื่อเก็บเป็ นหลักฐานและรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจา โดยในปี 2559 ไม่ปรากฏว่ามีกรณี ที่กรรมการหรื อผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ใช้ขอ้ มูลภายในเพื่อประโยชน์ ในการซื้ อขายหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษทั ฯ และการไม่ปฏิบตั ิตามหลักปฏิบตั ิดงั กล่าว สาหรับการดูแลการใช้ขอ้ มูลภายในซึ่ งเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับการห้ามซื้ อขายหลักทรัพย์ของ บริ ษทั ก่อนการประกาศผลการดาเนินงาน บริ ษทั ฯ มีนโยบายห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานใน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลในงบการเงินของบริ ษทั ฯ รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ทาการซื้ อหรื อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนวันที่เผยแพร่ งบการเงินต่อสาธารณชน ผ่านระบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ 1 วันทาการภายหลังจากการเผยแพร่ ขอ้ มูลดังกล่าว ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับจานวนหุ น้ ของบริ ษทั ฯ ที่กรรมการและผูบ้ ริ หาร แต่ละท่านถืออยูซ่ ่ ึ งแยกรายการจานวนหุ น้ ออกเป็ นการถือโดยตนเองและโดยคู่สมรส โดยแสดงยอดยกมา ณ สิ้ นปี 2558 จานวนที่ได้มาและจาหน่ายไปในระหว่างปี 2559 และ ยอดคงเหลือ ณ สิ้ นปี 2559 ไว้ในแบบ 56-1 และรายงานประจาปี 2559 ด้วย

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

5. การมีส่วนได้เสี ยของกรรมการ คณะกรรมการได้มีการกาหนด “หลักเกณฑ์และวิธีการในการรายงานการมีส่วนได้เสี ยของ กรรมการและผูบ้ ริ หาร” อย่างเป็ นทางการ ซึ่ งกรรมการและผูบ้ ริ หารทุกท่านได้ดาเนิ นการอย่างถูกต้องตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมการ กรรมการรายใดที่มีส่วนได้เสี ยอย่างมีนยั สาคัญ ที่อาจทาให้กรรมการรายดังกล่าวไม่สามารถให้ความเห็นได้อย่างอิสระ กรรมการรายนั้นจะงดเว้นจากการ มีส่วนร่ วมในการพิจารณาในวาระนั้น และบันทึกไว้ในรายงานการประชุมคณะกรรมการ 6. ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา รวมถึงในปี 2559 บริ ษทั ฯ ไม่มีการทารายการที่เป็ นการให้ความ ช่วยเหลือทางการเงินแก่บริ ษทั ที่ไม่ใช่บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ 7. บริ ษทั ฯ มีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมตั ิการทารายการระหว่างกันตามที่กฎหมายกาหนด และเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยมีการประกาศใช้ “ระเบียบในการเข้าทารายการระหว่างกัน” ซึ่งเป็ นระเบียบที่ได้รับการอนุมตั ิ โดยคณะกรรมการบริ ษทั สาหรับรายการที่เกี่ยวโยงกันที่ตอ้ งขออนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นก่อนการเข้าทารายการ บริ ษทั ฯ จะเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายการดังกล่าวไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุม อาทิ ชื่ อและความสัมพันธ์ของบุคคล ที่เกี่ยวโยงกัน ลักษณะของรายการ นโยบายการกาหนดราคาและมูลค่าของรายการ เหตุผลของการเข้าทารายการ รวมทั้งความเห็นของคณะกรรมการและที่ปรึ กษาทางการเงินอิสระเกี่ยวกับรายการดังกล่าว เป็ นต้น และนาส่ ง หนังสื อเชิญประชุมภายในระยะเวลาที่กาหนด ตลอดจนการดาเนินการอื่นๆ ในส่ วนที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องและครบถ้วน ตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา จนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อกาหนด ตลอดจนระเบียบในเรื่ องการทารายการระหว่างกันอย่าง เคร่ งครัด บริ ษทั ฯ ไม่เคยมีการทารายการที่เกี่ยวโยงกันโดยฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและหลักเกณฑ์การ ทารายการระหว่างกันตลอดจนข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง ในปี 2559 บริ ษทั ฯ ไม่มีการทารายการที่เกี่ยวโยงกันประเภทที่ตอ้ งขออนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น ก่อนการเข้าทารายการ สาหรับรายการระหว่างกันประเภทอื่นๆ บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการด้วยความยุติธรรม โดยมีราคา และเงื่อนไขเป็ นไปตามปกติธุรกิจทางการค้า (Fair and at arms’ length) ทั้งนี้ โครงสร้างการถือหุ น้ ภายในกลุ่มบริ ษทั ฯ ไม่มีบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษทั ฯ ถือหุ น้ ใน บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมใด ในสัดส่ วนเกินร้อยละ 10 ของทุนที่ออกและเรี ยกชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ย่อย หรื อบริ ษทั ร่ วมนั้น บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันทุกประเภทที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2559 ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ภายใต้หวั ข้อ “รายการระหว่างกัน”

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

8. บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย และข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยที่เกี่ยวกับการเข้าทารายการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์อย่างเคร่ งครัด ในกรณี ที่เป็ นการ เข้าทารายการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่สาคัญที่ได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ฯ จะเปิ ดเผย รายละเอียดของรายการไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ประจาปี นั้นๆ ด้วย ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมาจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ไม่เคยมีการเข้าทารายการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ ง สิ นทรัพย์ที่เป็ นการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ เสี ย 1. การกาหนดนโยบายการปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย และ การปฏิบตั ิตามนโยบาย 1.1 คณะกรรมการบริ ษทั ดูแลสิ ทธิ ตามที่กฎหมายกาหนดของผูม้ ีส่วนได้เสี ยกลุ่มต่างๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน์ร่วมกันอย่างเหมาะสม เพื่อให้ Stakeholders มัน่ ใจว่าสิ ทธิ ดงั กล่าวได้รับ การคุม้ ครองและปฏิบตั ิดว้ ยดี ทั้งนี้ ในปี 2559 บริ ษทั ฯ ได้ทาการปรับปรุ ง“คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน” ซึ่ งได้กาหนดข้อพึงปฏิบตั ิของพนักงานต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยกลุ่มต่างๆ ได้แก่ พนักงาน - มีสิทธิ ส่วนบุคคล และมีสิทธิที่จะได้รับการคุม้ ครองไม่ให้ใครละเมิดสิ ทธิ ส่วนบุคคล - สิ ทธิ ในการได้รับการปฏิบตั ิ และได้รับโอกาสเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ต่างๆ เกี่ยวกับการจ้างงานที่เป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน เช่น การอนุ ญาตให้ลางาน สิ ทธิ ประโยชน์ โอกาสในการเลื่อนขั้น การโอนย้าย การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ลูกค้า - มีสิทธิ ได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ที่จะได้รับการบริ การจากพนักงานอย่างเต็มความรู ้ ความสามารถ และด้วยความสุ ภาพ รวมถึงสิ ทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน - สิ ทธิที่จะได้รับสิ นค้าที่มีคุณภาพและมีประสิ ทธิผล - สิ ทธิที่จะได้รับการปกป้ องรักษาความเป็ นส่ วนตัว และข้อมูลอันเป็ นความลับ ผูจ้ ดั หาสิ นค้าและบริ การ และตัวแทนอื่นๆ (คู่คา้ ) - สิ ทธิที่จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน - สิ ทธิที่จะได้รับการปกป้ องรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับ - สิ ทธิที่จะได้รับการปฏิบตั ิดว้ ยความซื่อตรง และเชื่อถือได้

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

- สิ ทธิที่จะได้รับทราบเกี่ยวกับหน้าที่ที่จะต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม และ จรรยาบรรณทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ รวมทั้งกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบายที่เกี่ยวข้อง - สิ ทธิ ที่จะได้รับการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปฏิบตั ิในการคัดเลือกคู่คา้ โดยเป็ นไปตามแนวทางในการต่อต้าน การทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ โดยบริ ษทั ฯได้ทาการชี้แจงให้พนักงานทุกคนปฏิบตั ิตาม ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง คู่แข่ง - สิ ทธิ ที่จะได้รับการเปรี ยบเทียบสิ นค้าและบริ การอย่างเป็ นธรรมและตามความเป็ นจริ ง โดยไม่บิดเบือนข้อเท็จจริ ง ไม่ใส่ ร้ายคู่แข่งตลอดจนสิ นค้าและบริ การของคู่แข่ง - ไม่ร่วมทาจารกรรม ก่อวินาศกรรม หรื อติดสิ นบน คู่แข่งทางการค้า ทั้งคู่แข่งใน ปั จจุบนั หรื อผูท้ ี่อาจจะเป็ นคู่แข่งในอนาคต - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน ไม่ปฏิบตั ิต่อคู่แข่งรายใด เป็ นพิเศษเหนือคู่แข่งรายอื่น ไม่วา่ ในด้านคุณภาพ การทดสอบ การติดตั้ง ตลอดจน การบารุ งรักษาในการให้บริ การสื่ อส่ งสัญญาณ เจ้าหนี้ - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปฏิบตั ิตามเงื่อนไขในสัญญาภายใต้หลักเกณฑ์และกฎหมายที่กาหนด - สิ ทธิที่จะได้รับข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้องครบถ้วน เป็ นจริ ง และทันต่อเหตุการณ์ - สิ ทธิ ที่จะได้รับการชาระหนี้ตรงตามเวลา และได้รับการดูแลคุณภาพของหลักทรัพย์ค้ าประกัน ผูล้ งทุน - สิ ทธิที่จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรม และเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างมุ่งมัน่ ที่จะดาเนินธุ รกิจด้วยความรู ้และทักษะการ บริ หารจัดการอย่างสุ ดความสามารถด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปกป้ องไม่ให้เกิดการแสวงหาผลประโยชน์ โดยการใช้ขอ้ มูลใดๆ ขององค์กรซึ่ งยังไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณะ - สิ ทธิ ที่จะได้รับทราบข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลที่มิใช่การเงินของบริ ษทั ฯ ตาม ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่ งใส หน่วยงานของรัฐ - สิ ทธิ ในการกากับ ดูแล และลงโทษ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และมาตรฐานการปฏิบตั ิ ของหน่วยงานของรัฐ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.2 บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญเกี่ยวกับการดูแลเรื่ องความปลอดภัย และสุ ขอนามัย โดยได้ ประกาศใช้ “นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” และ “นโยบายการส่ งเสริ ม สุ ขภาพพนักงานของกลุ่มบริ ษทั ทรู ” จัดให้มีการบริ หารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน รวมทั้งการส่ งเสริ มสุ ขภาพแก่พนักงาน ดังนี้ 1) จัดให้มีโครงสร้างการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน ประกอบด้วย คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน หน่วยงานความปลอดภัยฯ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริ หาร หัวหน้างาน เทคนิค เทคนิคขั้นสู ง และ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ ปฏิบตั ิหน้าที่ดูแลด้านความปลอดภัยตามที่กฎหมายกาหนด และเป็ นไป ตามที่บริ ษทั ฯ กาหนด 2) จัดทาคูม่ ือ และ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานในระบบ เอกสารระบบคุณภาพของบริ ษทั ฯ เช่น การตรวจสอบความปลอดภัยฯ ความปลอดภัยในการทางานบนเสาสู ง การทางานกับไฟฟ้ า การทางานในที่อบั อากาศบ่อพักเคเบิลใต้ดิน และ การซ้อมอพยพกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น เป็ นต้น 3) จัดทาคูม่ ือความปลอดภัยให้กบั พนักงานที่ทางานในสานักงาน และ พนักงานช่าง เทคนิค โดยจัดอยูใ่ นรู ป e-book เพื่อให้พนักงานทุกคนสามารถเข้ามาศึกษา ทาความเข้าใจ และนาไปปฏิบตั ิ 4) กาหนดกฎระเบียบ คาสั่ง ว่าด้วยเรื่ องความปลอดภัยในการทางานให้กบั พนักงาน และผูร้ ับเหมาที่รับงานจากบริ ษทั ฯ 5) มีการจัดทาแผนป้ องกัน และ แผนอพยพกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นของบริ ษทั ฯ สาหรับ แต่ละสถานประกอบการของบริ ษทั ฯ จัดทาสมุดและภาพวิดีโอคาแนะนาวิธีปฏิบตั ิตนกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นต่างๆ ให้กบั พนักงาน 6) จัดให้มีการอบรมหลักสู ตรความปลอดภัยต่างๆ เช่น การทางานบนเสาสู ง การทางาน ในบ่อพักเคเบิลใต้ดิน และการปฐมพยาบาลการช่วยเหลือชีวติ ขั้นพื้นฐาน ให้กบั พนักงาน และผูร้ ับเหมางานของ บริ ษทั ฯ พนักงาน และหรื อลูกจ้างที่ผา่ นการอบรมจะได้รับสมุด Safety Passport ประจาตัว เพื่อแสดงเป็ น หลักฐานยืนยันว่าผ่านการอบรม ในกรณี ที่มีผคู ้ วบคุมงานของบริ ษทั ฯไปสุ่ มตรวจสอบที่หน้างาน รวมทั้งการ ส่ งพนักงานไปอบรมการปี นและการทางานบนเสาของการไฟฟ้ านครหลวง และการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค 7) บริ ษทั ฯได้เริ่ มระบบการจัดการควบคุมด้านความปลอดภัยกับผูร้ ับเหมา และ ผูร้ ับเหมารายย่อย ผ่านทางสัญญาจัดซื้ อ-จัดจ้าง (Contractor & Subcontractor Risk Control) โดยผูร้ ับเหมาหลัก จะต้องแจ้งจานวน รายชื่อ กองงาน รวมผูร้ ับเหมารายย่อย ระบุการอบรมด้านความปลอดภัย อุปกรณ์ที่ใช้ อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคล ได้แก่ งานสร้าง ติดตั้ง ซ่อมบารุ งรักษา แก้ไข เช่น งานโครงข่าย โทรศัพท์ งานระบบป้ องกันเพลิงไหม้อตั โนมัติ เป็ นต้น ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการควบคุมการจัดการความปลอดภัยของ ผูร้ ับเหมาเพื่อให้มนั่ ใจว่าผูร้ ับเหมาได้ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ เงื่อนไขที่บริ ษทั ฯกาหนด และทาให้บริ ษทั ฯ สามารถจัดการด้านความปลอดภัยของกลุ่มผูร้ ับเหมาให้เป็ นระบบมากยิง่ ขึ้น

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

8) รณรงค์สนับสนุนส่ งเสริ มสุ ขอนามัยให้กบั พนักงานทั้งในกรุ งเทพฯ และต่างจังหวัด อย่างหลากหลาย สนับสนุนผลักดันชมรมกีฬาต่างๆ ของบริ ษทั ฯ ให้จดั กิจกรรมเพื่อให้พนักงานได้ออกกาลังกาย มากขึ้น จัดให้มีพ้นื ที่สาหรับเป็ นที่ออกกาลังกายให้กบั พนักงาน ลู่วงิ่ สนามเตะฟุตบอลขนาดเล็ก คอร์ ดแบดมินตัน และห้องพร้อมชุดอุปกรณ์ออกกาลังกาย บนชั้น 7 อาคารทรู ทาวเวอร์ 2 รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจ โดยการ ส่ งเสริ มให้พนักงานสามารถไปศึกษา ปฏิบตั ิดูแลจิตใจโดยไม่นบั เป็ นวันลา จานวน 5 วันต่อปี 9) ดูแล ติดตาม เฝ้ าระวังคุณภาพอากาศภายในพื้นที่สานักงานที่ให้พนักงานปฏิบตั ิงาน อยูเ่ ป็ นระยะ โดยทาการสุ่ มตรวจวัดคุณภาพอากาศในสานักงานที่มีพนักงานทางานอยูเ่ ป็ นจานวนมากและหรื อ พื้นที่ที่มีการให้บริ การลูกค้า ได้แก่ สานักงานใหญ่ อาคารสานักงานที่มีกลุ่มพนักงานรับสายโทรศัพท์ทางาน อาคารสานักงานชุมสายโทรศัพท์หลัก และพื้นที่ให้บริ การลูกค้า TRUE Shop (พารามิเตอร์ ที่ตรวจวัด ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ รา ยีสต์ โมลด์ แบคทีเรี ยฟอร์มาดีไฮด์ อนุภาคฝุ่ นที่มีผลต่อระบบ ทางเดินหายใจ อุณหภูมิ ความชื้น เป็ นต้น) 10) ในช่วงที่มีการระบาดของโรคระบบทางเดินหายใจ บริ ษทั ฯ ได้ดาเนินการอบพ่นฆ่า เชื้อโรคในสถานประกอบการ เพื่อป้ องกันมิให้สถานที่ทางานเป็ นที่แพร่ เชื้ อโรค และจัดหาวัคซี นป้ องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ในราคาพิเศษสาหรับพนักงาน นอกจากนี้ยงั ได้จดั ให้มีบริ การฉี ดวัคซี นป้ องกันไวรัสตับอักเสบ เอ และบี วัคซี นป้ องกันปอดติดเชื้อ (IPD) และวัคซี นป้ องกันมะเร็ งปากมดลูก (2 และ 4 สายพันธุ์) ในแต่ละไตรมาสทุกปี ในปี 2559 บริ ษทั ฯได้จดั ให้มีการฉี ดวัคซี นป้ องกันไข้หวัดใหญ่ 4 สายพันธุ์ให้กบั กลุ่มพนักงานรับสายโทรศัพท์ จานวน 1,540 คนโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ อย่างไรก็ตาม แม้วา่ บริ ษทั ฯ จะมีการบริ หารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานแล้วก็ตาม ในบางกรณี อุบตั ิเหตุก็ยงั คงเกิดขึ้นได้จากการปฏิบตั ิงาน โดยมีสถิติของ พนักงานที่ประสบอุบตั ิเหตุจากการทางานในปี พ.ศ. 2558 และ 2559 เป็ นดังนี้ ปี

สถิติการ เกิดอุบตั ิเหตุ (คน)

อัตราการเจ็บป่ วยจาก การทางาน

อัตราการหยุดงาน (วัน)

IFR

ISR

2558 2559

1 1

-

3 5

0.20 0.21

0.61 1.03

หมายเหตุ: IFR : Injury Frequency Rate = ISR : Injury Severity Rate

=

จานวนพนักงานประสบอุบตั ิเหตุ x 1,000,000 ชม. จานวนพนักงานทั้งหมด x จานวนชัว่ โมงการทางาน(ทั้งปี ) จานวนวันหยุดพักรักษา x 1,000,000 ชม. จานวนพนักงานทั้งหมด x จานวนชัว่ โมงการทางาน(ทั้งปี )

จานวนพนักงานทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2558 และ 2559 เท่ากับ 2,374 คน และ 2,326 คน ตามลาดับ

1.3 บริ ษทั ฯ มีนโยบายค่าตอบแทนพนักงานที่สอดคล้องกับผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยมีการกาหนด Balanced Scorecard (BSC) เพื่อเป็ นเครื่ องมือด้านการจัดการที่ช่วย ในการนากลยุทธ์ขององค์กรไปสู่ การปฏิบตั ิ และกาหนดตัวชี้วดั (Key Performance Indicators : KPIs) เพื่อเป็ น แนวทางในการปฏิบตั ิงานของพนักงานและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.4 บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยถึงแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับค่าตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน โดยมี การระบุค่าตอบแทนและสวัสดิการไว้อย่างละเอียด ไว้ในหัวข้อ “บุคลากร” ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 1.5 บริ ษทั ฯ จัดให้มีกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับพนักงาน 1.6 บริ ษทั ฯ มุง่ เน้นที่จะพัฒนาและปรับปรุ งระบบการบริ หารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีและเป็ นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อที่จะเสริ มสร้างและพัฒนาให้พนักงาน เป็ นทั้งคนดีและคนเก่ง ตลอดจนมีส่วนร่ วมในการพัฒนาและช่วยเหลือสังคมโดยส่ วนรวม บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มให้ มีการเรี ยนรู ้ท้ งั ภายในและภายนอกองค์กรเพื่อให้พนักงานได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดศูนย์ฝึกอบรม แห่ งใหม่ ณ อาคารทรู ทาวเวอร์ 2 ถนนพัฒนาการ พร้อมทั้งติดตั้งระบบที่ทนั สมัยสาหรับแสดงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของบริ ษทั และการลงทะเบียนเข้ารับการอบรม อีกทั้งยังติดตั้งอุปกรณ์ simulator เพื่อใช้ในการฝึ กปฏิบตั ิงาน เพื่อให้พนักงานได้มีทกั ษะอย่างเพียงพอในการทางาน นอกจากนี้ ยังได้จดั ทาระบบการเรี ยนทางไกลผ่านระบบ VDO Conference ไปยังพนักงานในต่างจังหวัด ระบบการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง ด้วย E-Learning และระบบหนังสื อ อิเล็คโทรนิก “True-iBook” เพื่ออานวยความสะดวกและเพิ่มช่องทางการเรี ยนรู ้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หลักสู ตรที่จดั ฝึ กอบรมภายในบริ ษทั ฯ มีประมาณ 327 หลักสู ตรต่อปี โดยในปี 2559 มีจานวนคน-วันอบรมรวม 37,027 Training Mandays ใช้งบประมาณทั้งสิ้ นรวมจานวน 73.2 ล้านบาท ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการ ฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงานไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ในหัวข้อ “บุคลากร” 1.7 บริ ษทั ฯ มีนโยบายและการปฏิบตั ิเกี่ยวกับการคัดเลือกคูค่ า้ อย่างเป็ นธรรมและรับผิดชอบ ต่อคู่คา้ กล่าวคือ บริ ษทั ฯ มีกระบวนการสั่งซื้ อสิ นค้าและบริ การระหว่างบริ ษทั กับผูข้ ายสิ นค้าและบริ การ โดยใช้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่สะดวกในการตรวจสอบในด้านต่างๆ อาทิ งบประมาณ การตรวจสอบอานาจอนุมตั ิ และ การตรวจสอบข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสั่งซื้ อ ด้วยการใช้อินเทอร์ เน็ตเข้ามาช่วยในกระบวนการสั่งซื้ อ สิ นค้าและบริ การเพื่อให้ผขู ้ อซื้ อสิ นค้าสามารถเลือกซื้ อสิ นค้าและบริ การเองได้จากออนไลน์แค็ตตาล็อก (Online Catalog) ในลักษณะของ self-service และสามารถระบุความต้องการสั่งซื้ อได้ดว้ ยตนเอง (Online Purchasing) โดย บริ ษทั ฯ มีกระบวนการคัดเลือกผูข้ ายสิ นค้าและบริ การอย่างเท่าเทียมกัน ด้วยการเปรี ยบเทียบราคาที่เหมาะสม ตามนโยบายของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ โดยมีมาตรการกากับดูแลที่ดี เพื่อให้เกิดความโปร่ งใสเป็ นธรรม และประโยชน์ที่เท่าเทียมกันทุกฝ่ าย ตลอดจนมีระบบที่ตรวจสอบได้ 1.8 บริ ษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ที่จะปฏิบตั ิตามกฎหมายของประเทศไทยในการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ อย่างเคร่ งครัด จึงได้ลงนามในคาประกาศเจตนารมณ์ในการเข้าร่ วมเป็ นแนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยใน การต่อต้านการทุจริ ต และจัดทา "มาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ " ขึ้นเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อเป็ นหลักปฏิบตั ิ ที่ชดั เจนในการดาเนินธุ รกิจอย่างโปร่ งใส อันจะนาไปสู่ การพัฒนาองค์กรและประเทศชาติอย่างยัง่ ยืน โดยคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้มีมติอนุมตั ิ "มาตรการต่ อต้ านการคอร์ รัปชั่น" และ ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ (President & CEO) ได้ประกาศใช้มาตรการดังกล่าวทัว่ ทั้งองค์กร ของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อยทุกแห่ง (เรี ยกโดยย่อว่า "บริ ษทั ในกลุ่มทรู ฯ") โดยกาหนดให้ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และ พนักงาน ของทุกบริ ษทั ในกลุ่มทรู ฯ ต้องปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ ดังกล่าว

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.9 บริ ษทั ฯ มีกระบวนการในการประเมินความเสี่ ยงจากการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ และเปิ ดเผย ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) บริ ษทั จัดทาการประเมินความเสี่ ยงจากการทาธุ รกรรมต่าง ๆ ของบริ ษทั ที่อาจมี ขั้นตอนและกระบวนการที่เข้าข่ายเสี่ ยงต่อการคอร์ รัปชัน่ โดยคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงจะทาการประเมิน ความเสี่ ยงต่อการเกิดทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ขององค์กรเป็ นประจาทุกปี (2) ลาดับต่อมา บริ ษทั ฯ จัดให้มีมาตรการบริ หารความเสี่ ยง เพื่อลดความเสี่ ยงทางด้าน คอร์ รัปชัน่ โดยระบุเหตุการณ์ที่มีความเสี่ ยงสู งจากการคอร์ รัปชัน่ ที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินธุ รกิจ ประเมิน ระดับความเสี่ ยงทั้งโอกาสเกิดและผลกระทบ พร้อมทั้งติดตามความคืบหน้าของการบริ หารความเสี่ ยง เพื่อป้ องกัน การคอร์ รัปชัน่ อย่างสม่าเสมอ โดยจะมีการทบทวนมาตรการจัดการความเสี่ ยงให้มีความเหมาะสมที่จะป้ องกัน ความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ 1.10 บริ ษทั ฯ มีการกาหนดแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการกากับดูแลและการควบคุมดูแลเพื่อป้ องกัน และติดตามความเสี่ ยงจากการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ และเปิ ดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) บริ ษทั ฯ จัดให้มีกระบวนการตรวจสอบและระบบการควบคุมภายใน เพื่อป้ องกัน การคอร์รัปชัน่ และ เพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่าระบบการบริ หารความเสี่ ยงที่กาหนดขึ้น ช่วยให้บริ ษทั ฯ บรรลุเป้ าหมาย ที่วางไว้ได้ รวมทั้งตรวจสอบการปฏิบตั ิงานภายในบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามข้อกาหนด กฎระเบียบ โดยกระบวนการดังกล่าว ครอบคลุมด้านงานขาย การตลาด การจัดซื้ อ การบริ หารทรัพยากรบุคคล การเงิน การบัญชี การเก็บบันทึกข้อมูล การปฏิบตั ิงาน รวมถึงกระบวนการอื่นภายในบริ ษทั ฯ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ (2) บริ ษทั ฯ จัดให้มีการตรวจสอบโดยฝ่ ายตรวจสอบภายในอย่างสม่าเสมอเป็ นประจาทุกปี (3) ฝ่ ายการเงินของบริ ษทั ฯ เป็ นผูด้ ูแลในเรื่ องกระบวนการตรวจสอบรายการทางบัญชี และระเบียบการเบิกจ่ายเงิน โดยกาหนดตารางอานาจอนุ มตั ิ และจานวนเงินในการอนุ มตั ิ ซึ่ งการเบิกจ่ายต้องมี เอกสารหลักฐานประกอบที่ชดั เจน เพื่อให้ป้องกันไม่ให้มีการปฏิบตั ิงานที่ไม่เหมาะสม (4) หากพบว่ารายการทางบัญชีรายการใดขาดหลักฐานประกอบที่ชดั เจน หรื อมีความ สงสัยว่าอาจมีการกระทาผิดตามมาตรการฉบับนี้ ให้ฝ่ายการเงินของบริ ษทั รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 1.11 บริ ษทั ฯ ได้กาหนดแนวทางในการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้าน การคอร์ รัปชัน่ ไว้ดงั นี้ (1) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีการทบทวนมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ เป็ นประจาทุกปี และ จัดให้มีการสอบทานการปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านคอร์ รัปชัน่ นี้ อย่างสม่าเสมอ (2) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีการตรวจสอบระบบการควบคุมภายในและกระบวนต่างๆ อย่าง สม่าเสมอ และรายงานประเด็นที่ตรวจพบอย่างเร่ งด่วน เพื่อให้มนั่ ใจว่าระบบการควบคุมภายในมีประสิ ทธิภาพ ในการต่อต้านคอร์ รัปชัน่ โดยจะหารื อผลการตรวจสอบร่ วมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางแก้ไขที่เหมาะสม และ รายงานให้ผบู้ ริ หารระดับสู ง และคณะกรรมการตรวจสอบได้รับทราบ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.12 บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีการฝึ กอบรมแก่พนักงานเพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับนโยบายและแนวปฏิบตั ิ ในการต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ของบริ ษทั ฯ โดยการมอบหมายให้ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรทาการ ออกแบบและพัฒนาหลักสู ตรการฝึ กอบรมที่เหมาะสมแก่พนักงานแต่ละระดับ เพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับนโยบาย และแนวปฏิบตั ิในการต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ของบริ ษทั ฯ ซึ่งในปี 2559 มีพนักงานเข้าฝึ กอบรมในเรื่ องดังกล่าว รวมทั้งสิ้ น 2,326 คน 1.13 บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีช่องทางในการแจ้งเบาะแสหรื อข้อร้องเรี ยนการกระทาผิดกฎหมาย หรื อ พฤติกรรมน่าสงสัยที่อาจส่ อถึงการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ หรื อประพฤติมิชอบของบุคคลในองค์กร รวมทั้งของพนักงาน และผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่น โดยประชาสัมพันธ์ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.truecorp.co.th ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้: พนักงานสามารถแจ้ งเบาะแสหรือข้ อร้ องเรียนเกีย่ วกับการคอร์ รัปชั่นหรือการทุจริต ผ่านช่ องทางใดช่ องทางหนึ่ง ดังต่ อไปนี้ (1) คณะกรรมการตรวจสอบ โดยทางอีเมลล์ auditcommitee@truecorp.co.th หรื อ ส่ งจดหมายปิ ดผนึก และจ่าหน้าซองถึง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ หรื อคณะกรรมการตรวจสอบโดยตรงตามที่อยู่ ดังนี้ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 หรื อ (2) ประธานคณะผู้บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยส่ งจดหมายปิ ดผนึก และจ่าหน้าซองถึงประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ โดยตรงตามที่อยู่ ดังนี้ ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 หรื อ (3) ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล โดยทางอีเมลล์ Sarinra_Won@truecorp.co.th หรื อ (4) ฝ่ าย Fraud & Cyber-Crime โดยทางอีเมลล์ Nopadol_Som@truecorp.co.th

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

11.14 นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังได้จดั ให้มีช่องทางสาหรับให้ “ผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม” สามารถทาการ ร้องเรี ยน หรื อแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อการกระทาผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั โดยผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ โดยประชาสัมพันธ์ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.truecorp.co.th ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้: ช่ องทางให้ ผ้ มู ีส่วนได้ เสี ยสามารถร้ องเรียนหรือแจ้ งเบาะแสต่ อคณะกรรมการบริษัทผ่ านคณะกรรมการตรวจสอบ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถทาการร้องเรี ยนหรื อแจ้งเบาะแส (โดยจะได้รับการเก็บรักษา ข้อมูลไว้เป็ นความลับ) เกี่ยวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อ การกระทาผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั โดยผ่านคณะกรรมการตรวจสอบได้ ตามที่อยูด่ งั นี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์: auditcommittee@truecorp.co.th จดหมายส่ งทางไปรษณี ย:์ เรี ยน คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคาร ทรู ทาวเวอร์ ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 

โดยหน่วยงานเลขานุการบริ ษทั และหลักทรัพย์ ในฐานะที่เป็ นเลขานุการของ คณะกรรมการตรวจสอบ จะเป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบในการรวบรวมและนาส่ งเรื่ องร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแส ต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาและดาเนินการต่อไป ซึ่ งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุ ปผล การดาเนิ นการและนาเสนอรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นรายไตรมาส เงื่อนไขในการรับเรื่ องร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแส: ไม่รับบัตรสนเท่ห์ ผูร้ ้องเรี ยน/ผูแ้ จ้งเบาะแส ต้องระบุชื่อและนามสกุลจริ ง โดยบริ ษทั ฯ จะเก็บรักษา ข้อมูลไว้เป็ นความลับ ซึ่งจะรับรู้ได้เฉพาะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการตรวจสอบเท่านั้น เรื่ องที่ไม่เกี่ยวข้องต่างๆ ดังตัวอย่างด้านล่างนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะไม่รับ ดาเนินการให้: - การสมัครงาน - แบบสารวจ หรื อ การขอรับข้อมูลเกี่ยวกับบริ ษทั ฯ - การเสนอขายสิ นค้าหรื อบริ การ - การขอรับบริ จาคหรื อการสนับสนุนต่างๆ ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบไม่ได้รับเรื่ องที่เป็ นการร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแส เกี่ยวกับการทุจริ ต หรื อประพฤติมิชอบ แต่ได้รับเรื่ องร้องเรี ยนเกี่ยวกับปั ญหาการให้บริ การของบริ ษทั ฯ จานวน 9 เรื่ อง ซึ่ งคณะกรรมการตรวจสอบได้นาส่ งเรื่ องร้องเรี ยนดังกล่าวไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการ ดาเนินการที่เหมาะสม และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของบริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการแก้ไขปั ญหาเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว  

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.15 บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับเรื่ องสิ่ งแวดล้อมและสนับสนุนในเรื่ องการปลูกจิตสานึ กของ พนักงานและขยายวงกว้างไปยังบุคคลทัว่ ไป และได้จดั ให้มีการอบรมให้ความรู ้แก่พนักงานและบุคคลทัว่ ไปใน เรื่ องสิ่ งแวดล้อมผ่านโครงการประกวดภาพถ่ายอนุรักษ์ธรรมชาติ ซึ่ งเปิ ดโอกาสให้พนักงานและบุคคลทัว่ ไปเข้าร่ วม กิจกรรมอบรมการถ่ายภาพธรรมชาติและส่ งผลงานภาพถ่ายเข้าร่ วมประกวด ทั้งนี้ เนื่ องจากการอบรมการถ่ายภาพ ธรรมชาติให้แก่พนักงานและบุคคลทัว่ ไปนอกจากจะเป็ นการอบรมให้ความรู ้ในเรื่ องของสิ่ งแวดล้อมแล้ว ยังสามารถ สร้างความรู ้สึกรักและหวงแหนธรรมชาติ กระตุน้ จิตสานึกในการอนุ รักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เชิ ญชวนให้ เกิดความสนใจในธรรมชาติโดยการเข้าไปสัมผัสอย่างใกล้ชิดและถ่ายทอดความงามเหล่านั้นผ่านออกมาทางภาพถ่ายที่ งดงาม และมีความรู ้สึกร่ วมกันที่จะปกป้ องให้คงอยูส่ ื บไป ในการนี้ บริ ษทั ฯ ร่ วมกับกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า และพันธุ์พืช จัดโครงการประกวดภาพถ่ายอนุรักษ์ธรรมชาติ “สัตว์มีค่า ป่ ามีคุณ” ซึ่ งจัดต่อเนื่ องเป็ นประจาทุกปี เริ่ มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2538 จนถึงปั จจุบนั นับเป็ นปี ที่ 21 มีการเชิ ญผูท้ รงคุณวุฒิและนักวิชาการด้านอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม มาร่ วมเสวนาให้ความรู ้ดา้ นสิ่ งแวดล้อม เพื่อปลูกฝังให้คนไทยเกิดความรู ้สึกเป็ นเจ้าของร่ วมกัน และเกิดความ ร่ วมมือในการฟื้ นฟูและเพิ่มจานวนสัตว์ป่า ซึ่ งจะช่วยรักษาดุลยภาพของธรรมชาติให้ดารงอยูส่ ื บไป 1.16 บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญต่อการพัฒนางานวิจยั และนวัตกรรมโดยได้ดาเนินการผ่าน กิจกรรมดังต่อไปนี้ - กลุ่มทรู โดย ทรู แล็บ ซึ่งเป็ นโครงการความร่ วมมือด้านการพัฒนางานวิจยั และ นวัตกรรมระหว่าง บมจ.ทรู คอร์ ปอเรชัน่ โดยทรู อินโนเวชัน่ และสถาบันการศึกษาชั้นนา ได้ทาการเชิญชวน นิสิต นักศึกษาทัว่ ประเทศ ที่มีความคิดสร้างสรรค์ส่งแผนธุ รกิจด้านนวัตกรรมเข้าร่ วมประกวดในโครงการ "Popcorn by True Lab" เวทีแห่งโอกาสที่ตอ้ งการส่ งเสริ มให้เยาวชนระดับอุดมศึกษาได้ต่อยอดความคิด พัฒนาให้เกิดเป็ นผลงานนวัตกรรมที่สร้างคุณประโยชน์ให้แก่สังคม ตลอดจนสามารถนาไปใช้ได้จริ งในภาคธุ รกิจ ภายใต้แนวคิด "ไอเดียป๊ อป โอกาสปุ๊ บ" โดย 10 ทีมที่ผา่ นการคัดเลือก จะได้รับทั้งเงินทุนสนับสนุน และการ อบรมโดยผูเ้ ชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ และผูป้ ระกอบการที่ประสบความสาเร็ จ - ศูนย์นวัตกรรม บมจ.ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ลงนามความร่ วมมือโครงการทรู แลป กับ มหาวิทยาลัยชั้นนา 8 แห่ง เพื่อสร้างพื้นที่ที่มีบรรยากาศเหมาะสมกับการเรี ยนรู ้และการพัฒนางานวิจยั และ นวัตกรรมให้ตรงตามความต้องการของภาคธุ รกิจในปั จจุบนั และเพื่อแลกเปลี่ยนความรู ้ระหว่างสถาบันการศึกษากับ ภาคธุ รกิจ และยังเป็ นการสร้าง Community ของอาจารย์ นักวิจยั นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย โดยใช้ พื้นที่ทรู แลป ซึ่งประกอบด้วยห้องปฎิบตั ิการ, ห้องสัมมนา, ห้องประชุม รวมทั้งพื้นที่สันทนาการ - บริ ษทั ฯ ได้จดั โครงการ “True Innovative Award for True” มาอย่างต่อเนื่ องเป็ น ประจาทุกปี จนถึงปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมภายในบริ ษทั ฯ เพื่อส่ งเสริ มให้พนักงานทุกคน ทุกระดับ มีส่วนร่ วมในการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ที่เป็ นประโยชน์ต่อองค์กรและสังคมโดยรวม เป็ นการ กระตุน้ ให้พนักงานเห็นความสาคัญและประโยชน์ของการสร้างนวัตกรรม อีกทั้งนามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน ให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง เพื่อพัฒนาพนักงานที่เข้ามาร่ วมโครงการ ให้มีความรู ้ดา้ นนวัตกรรมอย่างบูรณาการ และสามารถต่อยอดงานนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ให้เป็ นรู ปธรรมและสัมฤทธิ์ ผล เพื่อนาผลงานนวัตกรรม มาแก้ปัญหาให้กบั ลูกค้า เพื่อพัฒนาสิ นค้า บริ การ และ กระบวนการ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร ลูกค้า และ สังคม (Benefits to customers, corporate and social) อาทิเช่น เพิ่มความพึงพอใจลูกค้า (Customer Satisfaction) ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เพิ่มรายได้ (Revenue Increase) ปรับปรุ งกระบวนการทางาน (Process Improvement) คุณค่าที่ได้รับเพิ่ม (Value Adding) การสร้างสรรค์ (Creation) เป็ นต้น โดยมีการสัญจร เพื่อจัดให้มีการฝึ กอบรมการสรรสร้างความคิด และ การพัฒนาผลงานนวัตกรรม ไปยังพื้นที่บริ ษทั ในภูมิภาค เหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ และ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ เพื่อช่วยกระตุน้ และส่ งเสริ มพนักงานในพื้นที่ต่างจังหวัดด้วย - นอกเหนือจากการจัดโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมภายในบริ ษทั ฯ ดังกล่าวแล้ว บริ ษทั ฯ ยังได้ให้ความสาคัญและมีความตั้งใจที่จะมีส่วนร่ วมในการจุดประกายและสร้างแรงบันดาลให้คนไทย สนใจนวัตกรรมอย่างจริ งจัง ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญในการขับเคลื่อนให้ประเทศเจริ ญก้าวหน้า บริ ษทั ฯ จึงได้จดั โครงการประกวด “ทรู อินโนเวชัน่ อวอร์ ดส์” ซึ่งเป็ นโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมสาหรับบุคคลภายนอก ที่บริ ษทั ฯ จัดเป็ นประจาต่อเนื่องมาทุกปี เริ่ มตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 เพื่อเปิ ดโอกาสให้นวัตกรไทยได้นาเสนอ ความคิดสร้างสรรค์ และพัฒนาผลงานนวัตกรรมเพื่อคุณประโยชน์แก่สังคมและประเทศชาติ อีกทั้งยกระดับ ขีดความสามารถของคนไทยให้ทดั เทียมกับนานาชาติ - บริ ษทั ได้เล็งเห็นความสาคัญของการเสริ มสร้างนวัตกรรม และเทคโนโลยีสมัยใหม่ อย่างต่อเนื่ อง ในปี พ.ศ. 2559 ได้ให้การสนับสนุนโครงการ ABU Robocon 2016 ที่ประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพ ซึ่ งมีจดั มาแล้วมากกว่า 14 ครั้ง นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 มีทีมเข้าร่ วมแข่งขันกับประเทศอื่น ๆ จานวน 16-19 ประเทศ รวมทั้ง บริ ษทั ยังให้การสนับสนุนทีมตัวแทนจากประเทศไทย ทั้ง 2 ทีม จากระดับอุดมศึกษา และระดับอาชีวศึกษา เพื่อสานต่อผลงานสาหรับการแข่งขันในเวทีอื่นต่อ ๆ ไปด้วย 1.17 บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับเรื่ องทรัพย์สินทางปั ญญา มีการจัดทาเอกสารเผยแพร่ ผา่ นทาง เว็บไซต์ www.trueinnovationcenter.com เพื่อให้พนักงานมีความรู ้ความเข้าใจว่าทรัพย์สินทางปั ญญาหมายถึงอะไร สนับสนุนให้พนักงานตระหนักถึงคุณค่าและให้ความเคารพตลอดจนไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาต่อผูเ้ ป็ น เจ้าของ ทั้งในเรื่ องของลิขสิ ทธิ์ และ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม ไม่วา่ จะเป็ น สิ ทธิ บตั ร เครื่ องหมายการค้า ความลับทางการค้า ชื่ อทางการค้า เป็ นต้น สาหรับทรัพย์สินทางปั ญญาในส่ วนที่บริ ษทั ฯ เป็ นเจ้าของนั้น บริ ษทั ฯ ได้กาหนดแนวทางปฏิบตั ิของพนักงานไว้อย่างชัดเจนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรใน “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิใน การทางาน” โดยมีสาระสาคัญกาหนดให้พนักงานต้องปกป้ องทรัพย์สินทางปั ญญาของบริ ษทั ฯ ไม่เปิ ดเผยก่อน ได้รับอนุญาต ตลอดจนไม่ใช้อย่างผิดวิธีหรื อผิดกฎหมาย รวมถึงจัดอบรมให้ความรู ้ และช่วยเหลือนวัตกร ในการดาเนินการจดทะเบียนดังกล่าวด้วย 2. การจัดทารายงานความรับผิดชอบต่อสังคม บริ ษทั ฯ มีนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่ งรับรองโดยคณะกรรมการบริ ษทั และได้ จัดทารายงานความรับผิดชอบทางสังคมตามกรอบของ Global Reporting Initialtive (GRI) และ หลักเกณฑ์ของ ASEAN CG Scorecard ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยแยกต่างหากจากรายงานประจาปี โดยบริ ษทั ฯ ได้ เปิ ดเผยนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและรายงาน GRI ดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ดาเนินธุ รกิจด้วยความโปร่ งใส ตามหลักธรรมาภิบาล และมีความ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รับผิดชอบต่อสังคม คานึ งถึงความสาคัญด้านสังคมและสิ่ งแวดล้อม โดยมุ่งมัน่ ในการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การสื่ อสารของกลุ่มทรู เข้าไปสนับสนุนและส่ งเสริ มการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทย เพื่อให้ทุกคนในสังคม ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียม ทั้งด้านการศึกษา ด้านการบริ การสาธารณสุ ขพื้นฐาน เป็ นการลดความเหลื่อมล้ าทาง สังคม ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลตลอดจนกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมไว้ในรายงาน ประจาปี และ แบบ 56-1 ภายใต้หวั ข้อ“ความรับผิดชอบต่อสังคม” หมวดที่ 4 การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส 1. การเปิ ดเผยข้อมูล 1.1 บริ ษทั ฯ นาส่ งรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาส และ รายปี ในปี 2559 ได้ภายในเวลาที่ สานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ กาหนด ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญในการจัดทางบการเงินให้ถูกต้อง ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบตั ิอย่างสม่าเสมอ บริ ษทั ฯ เคร่ งครัดในการนาส่ งงบการเงินและรายงานทางการเงินให้ทนั ภายในเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้เป็ น อย่างยิง่ งบการเงินของบริ ษทั ฯ ได้รับการรับรองโดยไม่มีเงื่อนไขจากผูส้ อบบัญชี ไม่เคยมีประวัติถูกสานักงาน ก.ล.ต. สัง่ ให้แก้ไขงบการเงิน และ ไม่เคยนาส่ งรายงานทางการเงินล่าช้า 1.2 บริ ษทั ฯ จัดทาคาอธิ บายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการโดยอธิ บายเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับ ฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ ตลอดจนปั จจัยที่เป็ นสาเหตุหรื อมีผลต่อฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และ นาส่ งต่อ สานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมกับการนาส่ งงบการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนเผยแพร่ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ เพื่อเป็ นข้อมูล ประกอบการเปิ ดเผยงบการเงินทุกไตรมาสเพื่อให้ผลู้ งทุนได้รับทราบข้อมูลและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ในแต่ละไตรมาสได้ดียงิ่ ขึ้น 1.3 บริ ษทั ฯ ได้รายงานนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีและนโยบายด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมที่คณะกรรมการได้ให้ความเห็นชอบไว้โดยสรุ ป และรายงานผลการปฏิบตั ิตามนโยบายผ่านช่องทาง ต่างๆ เช่น รายงานประจาปี และ เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.4 บริ ษทั ฯ ได้แสดงรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ควบคู่กบั รายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ในรายงานประจาปี 1.5 ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ เป็ นผูส้ อบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสานักงาน ก.ล.ต. และ ได้รับการแต่งตั้งโดยที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนแก่ผสู ้ อบบัญชี ประจาปี 2559 ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 โดยได้แสดงรายละเอียดแยกประเภทเป็ นค่าตอบแทนจาก การสอบบัญชี (audit fee) และ ค่าบริ การอื่น (non-audit fee) ไว้อย่างชัดเจน

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.6 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยรายชื่ อ บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย จานวนครั้งของการประชุม และจานวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการในปี ที่ผา่ นมา ตลอดจนความเห็นจากการทาหน้าที่ของคณะกรรมการชุ ดย่อย รวมถึงการฝึ กอบรมและพัฒนาความรู้ดา้ นวิชาชีพ อย่างต่อเนื่ องของกรรมการ ไว้ในรายงานประจาปี ตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สานักงาน ก.ล.ต. 1.7 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยประวัติของกรรมการทุกท่านไว้ใน รายงานประจาปี แบบ 56-1 และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ โดยระบุ ชื่อ-นามสกุล อายุ ตาแหน่ง ประวัติการศึกษา การฝึ กอบรม ประสบการณ์การ ทางาน จานวนและสัดส่ วนการถือหุ น้ ในบริ ษทั ฯ การดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั อื่นโดยแยกอย่างชัดเจน ออกเป็ นหัวข้อบริ ษทั จดทะเบียนและบริ ษทั อื่น วันเดือนปี ที่ได้รับแต่งตั้งเป็ นกรรมการ ตลอดจนระบุ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริ หาร 1.8 ค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษทั ฯ สะท้อนถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของ กรรมการแต่ละคน ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ในปี 2559 ตามอัตราซึ่งอนุมตั ิโดยที่ประชุมสามัญ ผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 โดยยังคงเป็ นอัตราเดิมตามที่ที่ประชุมสามัญผูถ้ ื อหุน้ ประจาปี 2558 ได้เคยมีมติอนุมตั ิไว้ ซึ่ งอัตราค่าตอบแทนดังกล่าวไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่ปี 2545 แล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้ กรรมการได้รับค่าตอบแทนเป็ นรายเดือน โดยมีหลักเกณฑ์ในการจ่ายดังนี้ ประธานกรรมการ 300,000 บาทต่อเดือน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 200,000 บาทต่อเดือน รองประธานกรรมการ 150,000 บาทต่อเดือน กรรมการ 100,000 บาทต่อเดือน หากกรรมการท่านใดเป็ นลูกจ้างของบริ ษทั ฯ ก็ให้ค่าตอบแทนกรรมการนี้เป็ นส่ วนเพิ่มเติม จากค่าจ้างปกติของลูกจ้างแต่ละท่าน สาหรับกรรมการอิสระที่ทาหน้าที่เป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้รับค่าตอบแทน ดังนี้ กรรมการอิสระที่เป็ นประธานในคณะกรรมการชุดย่อย 300,000 บาทต่อเดือน กรรมการอิสระที่เป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุ ดย่อย 200,000 บาทต่อเดือน สาหรับกรรมการอิสระที่มิได้เป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุ ดย่อย และกรรมการทุกท่าน ที่มิใช่กรรมการอิสระ ให้ได้รับค่าตอบแทนคงเดิม ในการนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยจานวนเงินและประเภทของค่าตอบแทนที่กรรมการแต่ละคน ได้รับจากบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย เป็ นรายบุคคล ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ภายใต้หวั ข้อ “โครงสร้างการจัดการ” และได้นาขึ้นเผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.9 ในปี 2559 บริ ษทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารระดับสู งสอดคล้องกับนโยบายของบริ ษทั ฯ ที่ให้จ่ายค่าตอบแทนโดยสะท้อนภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารระดับสู งแต่ละคน และเป็ นอัตรา ที่เหมาะสมโดยศึกษาเทียบเคียงกับธุ รกิจประเภทเดียวกัน และ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนโดยละเอียด ทั้งรู ปแบบ ลักษณะ และ จานวนเงินค่าตอบแทน ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 28


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.10 บริ ษทั ฯ กาหนดนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งต้องส่ งสาเนารายงาน การถือหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ทั้งกรณี การรายงานครั้งแรก (แบบ 59-1) และ กรณี การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) ให้แก่บริ ษทั ฯ ภายในช่วงเวลาเดียวกันกับที่กรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งได้นาส่ งต่อสานักงาน ก.ล.ต. เพื่อให้บริ ษทั ฯ เก็บไว้เป็ นหลักฐาน และ รายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจา นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ของกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู ง โดยแสดงจานวนหุ ้นที่ถือ ณ ต้นปี จานวนการเปลี่ยนแปลงระหว่างปี และจานวนหุน้ ณ สิ้ นปี ไว้ใน รายงานประจาปี 1.11 บริ ษทั ฯ มีหน่วยงาน “ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์” หรื อ “Investor Relations” เพื่อสื่ อสาร กับบุคคลภายนอกอย่างเท่าเทียมและเป็ นธรรม ทั้งนี้ ผูล้ งทุนสามารถติดต่อฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ได้ที่หมายเลข โทรศัพท์ 0-2699-2515 หรื อ e-mail address : ir_office@truecorp.co.th ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้แจ้งช่องทางการติดต่อ ให้ผลู ้ งทุนทัว่ ไปทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ รายงานประจาปี และ แบบ 56-1 สาหรับในปี 2559 ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ได้มีการจัดทาจดหมายข่าวที่นาเสนอผลการดาเนินงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ และได้จดั ให้มีการประชุมนักวิเคราะห์และนักลงทุนภายหลังจากที่บริ ษทั ฯ ประกาศผลประกอบการทุกไตรมาส โดยจัด ให้มีการประชุม ณ สานักงานใหญ่ของบริ ษทั ฯ รวมทั้งผ่าน Webcast สาหรับนักวิเคราะห์และนักลงทุน ที่ไม่สามารถมาร่ วมประชุมด้วยตนเองได้ นอกจากนี้ได้ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับบริ ษทั ฯ และพบปะนักวิเคราะห์และ นักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งรวมถึงการจัด Roadshow อีกทั้งยังเปิ ดโอกาสให้นกั ลงทุนทั้ง ประเภทสถาบันและนักลงทุนรายย่อยสามารถโทรศัพท์สอบถามข้อมูลจากทางบริ ษทั ฯ ได้อย่างเท่าเทียมกัน 2. ข้อมูลที่เปิ ดเผยบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ฯ มีการเผยแพร่ ท้ งั ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่การเงินตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่ งใส ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านช่องทาง ต่างๆ ทั้งช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ รายงานประจาปี แบบ 56-1 และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้เผยแพร่ เอกสารที่สาคัญและจัดทาข้อมูลรายละเอียดอื่นๆ ที่คาดว่าจะเป็ นที่สนใจของนักลงทุน และนักวิเคราะห์เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย เช่น วัตถุประสงค์และเป้ าหมายระยะยาว วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ลักษณะการประกอบธุ รกิจ โครงสร้างกลุ่มบริ ษทั ฯ ผูถ้ ือหุ น้ 10 ลาดับแรก รายชื่อและอานาจหน้าที่ ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุ ดย่อย โครงสร้างองค์กร งบการเงินและข้อมูลทางการเงินซึ่งมีขอ้ มูล ย้อนหลังเพื่อการเปรี ยบเทียบไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี รายงานประจาปี แบบ 56-1 หนังสื อเชิญประชุมพร้อมเอกสาร เกี่ยวกับการประชุมผูถ้ ือหุ ้น ข้อบังคับและหนังสื อบริ คณห์สนธิ นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี เอกสารข่าว ของบริ ษทั ฯ เป็ นต้น และมีการปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปัจจุบนั เป็ นระยะๆ โดยเอกสารและข้อมูลทุกประเภทที่ เผยแพร่ อยูบ่ นเว็บไซต์มีท้ งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้นกั ลงทุนและนักวิเคราะห์เข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก และเท่าเทียมกัน และ สามารถดาวน์โหลดข้อมูลที่อยูใ่ นความสนใจได้ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้แจ้งเบอร์ โทรศัพท์ โทรสาร และ อีเมล์ เพื่อเป็ นช่องทางสาหรับการติดต่อฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 29


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ 1.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 18 ท่าน ซึ่ งเป็ นผูท้ รงคุณวุฒิ มีความรู ้ ประสบการณ์หลากหลาย และ มีความสามารถเฉพาะด้านที่เป็ นประโยชน์ต่อบริ ษทั ฯ จานวนกรรมการ มีความเหมาะสมและเพียงพอกับขนาดและประเภทธุ รกิจของบริ ษทั ฯ โดยมีกรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หารมีประสบการณ์ ในธุ รกิจหลักที่บริ ษทั ฯ ดาเนิ นกิจการอยู่ โครงสร้างของคณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วย (1) กรรมการบริ หาร (Executive Directors) 4 ท่าน และ (2) กรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หาร (Non-Executive Directors) 14 ท่าน โดยในจานวนนี้ มีกรรมการอิสระ 6 ท่าน หรื อคิดเป็ นจานวน 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด ซึ่ งเป็ นไปตามข้อกาหนดของ คณะกรรมการกากับตลาดทุน และ มีกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ่ งไม่เกี่ยวข้องในการบริ หารงานประจา ซึ่งรวมตัวแทน ของผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ จานวน 8 ท่าน ทั้งนี้ เป็ นไปตามสัดส่ วนอย่างยุติธรรมของเงินลงทุนของผูถ้ ือหุ น้ แต่ละกลุ่ม บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยโครงสร้างคณะกรรมการ อานาจหน้าที่ หลักเกณฑ์ในการสรรหา ข้อมูลสาคัญของกรรมการแต่ละท่าน เช่น ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง วันเดือนปี ที่ได้รับแต่งตั้งเข้าดารงตาแหน่งกรรมการ ตลอดจนประวัติของกรรมการแต่ละท่าน ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ตลอดจนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.2 บริ ษทั ฯ มีการกาหนดวาระการดารงตาแหน่งของกรรมการไว้อย่างชัดเจน โดยระบุไว้ ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี และ ข้อบังคับของบริ ษทั ฯ ซึ่ งเป็ นไปตามกฎหมาย สาหรับวาระการดารงตาแหน่งของกรรมการอิสระมีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกับวาระการ ดารงตาแหน่งกรรมการ 1.3 บริ ษทั ฯ กาหนดคุณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” อย่างละเอียด โดยเปิ ดเผยไว้ใน รายงานประจาปี และ แบบ 56-1 โดย นายโชติ โภควนิช เป็ นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ผูม้ ีความรู ้ดา้ นบัญชี และการเงิน บริ ษทั ฯ กาหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไว้เข้มงวดกว่าข้อกาหนดของ คณะกรรมการกากับตลาดทุนในเรื่ องสัดส่ วนการถือหุ น้ ในบริ ษทั ฯ กล่าวคือ กรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ จะต้อง ถือหุ น้ ไม่เกินร้อยละ 0.75 ของจานวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ ให้นบั รวมการถือหุ ้นของผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับกรรมการอิสระ รายนั้นๆ ด้วย 1.4 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยข้อมูลการดารงตาแหน่งของกรรมการแต่ละคนให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่งผูถ้ ือหุน้ สามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ www.set.or.th และ เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.5 ไม่มีกรรมการหรื อผูบ้ ริ หารระดับสู งของบริ ษทั ฯ ท่านใดเป็ นหรื อเคยเป็ นพนักงานหรื อ หุ น้ ส่ วนของบริ ษทั สอบบัญชี ภายนอกที่บริ ษทั ฯ ใช้บริ การอยูใ่ นช่วง 2 ปี ที่ผา่ นมา

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 30


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.6 บริ ษทั ฯ มีการกาหนดนโยบายเกี่ยวกับจานวนบริ ษทั ที่กรรมการแต่ละคนซึ่ งรวมถึง กรรมการอิสระและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่สามารถไปดารงตาแหน่ง โดยกาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแล กิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ ซึ่ งได้เปิ ดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ กล่าวคือ กรรมการสามารถดารงตาแหน่ง กรรมการในบริ ษทั อื่นได้ แต่ท้ งั นี้ ในการเป็ นกรรมการดังกล่าว ต้องไม่เป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ กรรมการของบริ ษทั ฯ สาหรับจานวนบริ ษทั ที่กรรมการแต่ละคนสามารถไปดารงตาแหน่งกรรมการได้น้ นั คณะกรรมการสนับสนุ นให้กรรมการพิจารณาจากัดไว้ที่จานวนไม่เกิน 5 บริ ษทั จดทะเบียน ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลา ที่ผา่ นมา ไม่มีกรรมการอิสระท่านใดดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั จดทะเบียนอื่นเกินกว่า 5 บริ ษทั 1.7 ประธานกรรมการของบริ ษทั ฯ เป็ น Non-Executive Director และ มิใช่บุคคลเดียวกับ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ อานาจหน้าที่ของประธานกรรมการนั้นเป็ นไปตามกฎหมาย ส่ วนอานาจหน้าที่ของ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่น้ นั คณะกรรมการบริ ษทั มีการกาหนดไว้อย่างชัดเจน และเปิ ดเผยอานาจหน้าที่ของ ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ไว้ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.8 บริ ษทั ฯ กาหนดสายงานองค์กรให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน (Internal Audit) รายงานโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ งจะเป็ นผูพ้ ิจารณาให้คุณให้โทษต่อหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยชื่อและประวัติของหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายในไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.9 บริ ษทั ฯ มีเลขานุการบริ ษทั ซึ่ งทาหน้าที่ให้คาแนะนาด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการจะต้องทราบและปฏิบตั ิหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงาน ให้มีการปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการ ทั้งนี้ เลขานุการบริ ษทั จบการศึกษาด้านบัญชี และได้ผา่ นการอบรมใน หลักสู ตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิหน้าที่ของเลขานุการบริ ษทั บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยหน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริ ษทั ประวัติการศึกษา ประสบการณ์ ทางาน ตลอดจนการผ่านการอบรมในหลักสู ตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิหน้าที่ของเลขานุการบริ ษทั ไว้ในรายงาน ประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 2. คณะกรรมการชุ ดย่อย 2.1 คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีคณะกรรมการชุดย่อยด้านต่างๆ เพื่อช่วยคณะกรรมการ ในการกากับดูแลกิจการ ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ทาหน้าที่สอบทานกระบวนการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ ระบบการควบคุมภายใน รวมถึงการบริ หารความเสี่ ยงระบบการตรวจสอบภายใน การปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีการปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ พิจารณาความเป็ นอิสระ ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน พิจารณาและให้คาแนะนาในการเสนอแต่งตั้ง เลือกกลับเข้ามาใหม่ ตลอดจนเลิกจ้างผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ และ พิจารณารายการที่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีรายละเอียดของบทบาทและหน้าที่ของ คณะกรรมการตรวจสอบตามที่ปรากฏในหัวข้อ 2. “คณะกรรมการชุดย่อย”

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 31


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ทาหน้าที่พิจารณาการกาหนดค่าตอบแทนของกรรมการและ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร และ พิจารณากลัน่ กรองการสรรหากรรมการ ก่อนนาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการด้านการเงิน ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการดูแลการบริ หารการเงินและผลการดาเนินงาน ของบริ ษทั ฯ ซึ่ งในการนี้ คณะกรรมการด้านการเงินจะให้ความเห็นและข้อเสนอแนะแก่ คณะกรรมการบริ ษทั เกี่ยวกับ กลยุทธ์ทางการเงิน งบประมาณประจาปี การกูย้ มื เงินหรื อ การก่อหนี้สินที่สาคัญ การออกหลักทรัพย์ การได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่สาคัญ ตลอดจนโครงการลงทุนที่สาคัญ คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการกาหนดและทบทวนนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ของบริ ษทั ฯ ตลอดจนดูแลให้บริ ษทั ฯ มีการกากับดูแลกิจการที่ดีและเหมาะสมกับธุ รกิจ ของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าว ได้แก่ รายชื่อกรรมการ หน้าที่ จานวนครั้งการประชุมและการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ในหัวข้อ 2. “คณะกรรมการชุ ดย่อย” นอกจากนี้ ผูถ้ ือหุ น้ และ ผูล้ งทุนทัว่ ไปสามารถดาวน์โหลด ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดย่อยของบริ ษทั ฯ ได้จากเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th 2.2 เพื่อความโปร่ งใสและเป็ นอิสระในการปฏิบตั ิหน้าที่ และ ในขณะเดียวกันเพื่อให้ คณะกรรมการชุ ดย่อยสามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล สมาชิกส่ วนใหญ่ของคณะกรรมการชุ ดย่อย ประกอบไปด้วย กรรมการอิสระ และ กรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หาร 3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการได้ทาหน้าที่พิจารณาและให้ความเห็นชอบในเรื่ องที่สาคัญเกี่ยวกับ การดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ เช่น วิสัยทัศน์และภารกิจ กลยุทธ์ เป้ าหมายทางการเงิน ความเสี่ ยง แผนงานและ งบประมาณ โดยมีการพิจารณาทบทวนเรื่ องดังกล่าวเป็ นประจาทุกปี รวมทั้งติดตามดูแลให้มีการนาเรื่ องดังกล่าว ไปปฏิบตั ิ ตลอดจนดูแลให้ฝ่ายจัดการดาเนินงานตามนโยบายและแผนที่กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิผล โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (ตระหนักถึงขีดความสามารถที่ แท้จริ งของบริ ษทั ฯ) ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว โดยตั้งมัน่ อยูบ่ นพื้นฐานของความซื่ อสัตย์ สุ จริ ต และ ความรอบคอบระมัดระวัง ดูแลให้การดาเนินธุ รกิจต่อเนื่ องในระยะยาว ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผย อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา รวมถึงปี 2559 บริ ษทั ฯ ไม่มีการกระทาใดที่เป็ นการฝ่ าฝื นหรื อ กระทาผิดกฎระเบียบของสานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 32


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

3.2 คณะกรรมการได้จดั ให้มีนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยคณะกรรมการเป็ นผูร้ ิ เริ่ ม มีส่วนร่ วมในการพิจารณา และอนุมตั ินโยบายดังกล่าว นอกจากนี้ คณะกรรมการ จะทบทวนนโยบายและการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจาทุกปี 3.3 คณะกรรมการได้ส่งเสริ มให้บริ ษทั ฯ จัดทาจรรยาบรรณธุ รกิจที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยใช้ชื่อเรี ยกว่า “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน” เพื่อให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคน เข้าใจและปฏิบตั ิตามมาตรฐานด้านจริ ยธรรมที่บริ ษทั ฯ ใช้ในการดาเนินธุ รกิจ และได้มีการติดตามให้มีการปฏิบตั ิ ตามจรรยาบรรณดังกล่าวอย่างจริ งจัง ทั้งนี้ ในปี 2559 บริ ษทั ฯ ได้ทาการปรับปรุ ง “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิใน การทางาน” เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี นโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และ มาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ โดยได้เปิ ดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 3.4 คณะกรรมการได้พิจารณาเรื่ องความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ การพิจารณา การทารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์มีแนวทางที่ชดั เจนและเป็ นไปเพื่อผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุน้ โดยรวมเป็ นสาคัญโดยที่ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยไม่มีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ และคณะกรรมการได้กากับ ดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการดาเนินการและการเปิ ดเผยข้อมูลของรายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างถูกต้องครบถ้วน ในปี 2559 ไม่มีกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ตลอดจนผูเ้ กี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ปฏิบตั ิผดิ ข้อกาหนดเกี่ยวกับเรื่ องความขัดแย้งของผลประโยชน์ในการทาธุ รกรรมของบริ ษทั ฯ เช่นเดียวกับทุกปี ที่ผา่ นมา 3.5 คณะกรรมการได้จดั ให้มีระบบการควบคุมด้านการดาเนินงาน ด้านรายงานทางการเงิน และด้านการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย โดยคณะกรรมการได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูร้ ับผิดชอบในการดูแลการตรวจสอบระบบการควบคุมดังกล่าว และทาการทบทวนระบบที่สาคัญเป็ น ประจาทุกปี รวมทั้งได้มีการเปิ ดเผยความเห็นไว้ในรายงานประจาปี ภายใต้หวั ข้อ “รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ” 3.6 บริ ษทั ฯ มีคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง และมีระบบการบริ หารความเสี่ ยงครอบคลุม ทั้งองค์กรโดยได้มีการประกาศใช้ “นโยบายและกรอบในการบริ หารจัดการความเสี่ ยง” อย่างเป็ นทางการ เพื่อ นาการบริ หารจัดการความเสี่ ยงไปผสานรวมกับกลยุทธ์ทางธุ รกิจและการปฏิบตั ิงาน โดยฝ่ ายจัดการเป็ นผูป้ ฏิบตั ิ ตามนโยบาย และ รายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็ นประจา อีกทั้งมีระบบการตรวจสอบภายในแบบ Risk-based Audit Approach ซึ่ งฝ่ ายตรวจสอบภายในจะทาการสอบทานระบบงานต่างๆ และรายงานให้ คณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็ นประจา และได้มีการเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ภายใต้หวั ข้อ “รายงานจาก คณะกรรมการตรวจสอบ” นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้มีการทบทวนการประเมินความเสี่ ยงเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการ บริ หารจัดการเป็ นประจาทุกปี

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 33


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

3.7 บริ ษทั ฯ ได้ลงนามในคาประกาศเจตนารมณ์ใน “โครงการแนวร่ วมปฏิบตั ิของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต” (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) ซึ่ งมีสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (Thai Institute of Directors หรื อ IOD) เป็ นเลขานุการ ของโครงการ และจัดทา "มาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ " ขึ้นเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อเป็ นหลักปฏิบตั ิที่ชดั เจน ในการดาเนินธุ รกิจอย่างโปร่ งใส อันจะนาไปสู่ การพัฒนาองค์กรและประเทศชาติอย่างยัง่ ยืน โดยที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้มีมติอนุมตั ิ "มาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ " และประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ (President & CEO) ได้ประกาศใช้มาตรการดังกล่าว ทัว่ ทั้งองค์กรของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อยทุกแห่ ง (เรี ยกโดยย่อว่า "บริ ษทั ในกลุ่มทรู ฯ") โดยกาหนดให้ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และ พนักงาน ของทุกบริ ษทั ในกลุ่มทรู ฯ ต้องปฏิบตั ิตามมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ ดังกล่าว ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ มีคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี ที่ทาหน้าที่พิจารณาทบทวน ความเหมาะสมของมาตรการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ เป็ นประจาทุกปี เพื่อให้มีความสอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงทางธุ รกิจ ข้อกาหนดของกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และนาเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษทั เมื่อมีความจาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลงมาตรการ เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้จดั ให้มีกระบวนการและแนวทางในการปฏิบตั ิ การกากับดูแล การติดตามประเมินผล การฝึ กอบรมเพื่อให้ความรู ้แก่พนักงาน ตลอดจนช่องทางในการร้องเรี ยนหรื อแจ้งเบาะแสทั้ง สาหรับพนักงานและบุคคลภายนอกโดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับการดาเนินการในเรื่ องดังกล่าวไว้ ในหมวดที่ 3 เรื่ อง บทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสี ย 3. 8 คณะกรรมการมีกลไกการกากับดูแลบริ ษทั ย่อย เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุน ของบริ ษทั ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ ภายใต้หวั ข้อ “การกากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม” 4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริ ษทั ฯ มีการกาหนดตารางการประชุมคณะกรรมการล่วงหน้าตลอดทั้งปี และแจ้งให้ กรรมการทราบล่วงหน้าตั้งแต่ตน้ ปี รวมทั้งได้กาหนดวาระการประชุมหลักเป็ นการล่วงหน้า อย่างไรก็ตาม ในกรณี จาเป็ นเร่ งด่วน อาจมีการเรี ยกประชุมคณะกรรมการเป็ นการเพิ่มเติมได้ 4.2 บริ ษทั ฯ มีการกาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ให้กรรมการที่มิใช่ ผูบ้ ริ หารสามารถที่จะประชุมระหว่างกันเองได้ตามความจาเป็ นโดยไม่มีกรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายจัดการ เข้าร่ วมประชุม เพื่ออภิปรายปั ญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการหรื อเรื่ องที่อยูใ่ นความสนใจ ซึ่ งในปี 2559 กรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หารได้มีการประชุมระหว่างกันเองในรู ปแบบของการประชุมอย่างไม่เป็ นทางการหลังจาก เสร็ จสิ้ นการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 34


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

4.3 ในปี 2559 บริ ษทั ฯ มีการประชุมคณะกรรมการ จานวน 8 ครั้ง ซึ่ งเหมาะสมกับภาระหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการและการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ สัดส่ วนการเข้าร่ วมประชุมของ กรรมการทุกคนคิดเป็ นร้อยละ 82.64 ของจานวนการประชุมทั้งปี 4.4 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ร่ วมกันพิจารณา การเลือกเรื่ องเพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมคณะกรรมการ นอกจากนี้ กรรมการแต่ละคนมีความเป็ นอิสระที่ จะเสนอเรื่ องเข้าสู่ วาระการประชุม 4.5 บริ ษทั ฯ จัดส่ งข้อมูลประกอบการประชุมให้แก่กรรมการเป็ นการล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันทาการก่อนวันประชุม โดยข้อมูลมีลกั ษณะโดยย่อแต่ให้สารสนเทศครบถ้วน สาหรับเรื่ องที่ไม่ประสงค์ เปิ ดเผยเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก็ให้นาเรื่ องอภิปรายกันในที่ประชุม 4.6 ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไว้อย่างเพียงพอที่ฝ่ายจัดการจะเสนอเรื่ องและมากพอที่ กรรมการจะอภิปรายปั ญหาสาคัญกันอย่างรอบคอบโดยทัว่ กัน และส่ งเสริ มให้มีการใช้ดุลยพินิจที่รอบคอบ โดยกรรมการให้ความสนใจกับทุกประเด็นที่นาสู่ ที่ประชุม รวมถึงประเด็นการกากับดูแลกิจการ 4.7 คณะกรรมการสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่จาเป็ นเพิ่มเติมได้จากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หรื อเลขานุการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารอื่นที่ได้รับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ ในกรณี ที่จาเป็ นคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ อาจจัดให้มีความเห็นอิสระจากที่ปรึ กษาหรื อ ผูป้ ระกอบวิชาชีพภายนอก โดยถือเป็ นค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ฯ 4.8 คณะกรรมการสนับสนุ นให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เชิญผูบ้ ริ หารระดับสู งเข้าร่ วมประชุม คณะกรรมการเพื่อให้สารสนเทศรายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะที่เป็ นผูเ้ กี่ยวข้องกับปั ญหาโดยตรง 5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการทั้งคณะ กรรมการรายบุคคล และ คณะกรรมการชุดย่อย 5.1 คณะกรรมการบริ ษทั ได้ทาการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการทั้งคณะเป็ น ประจาทุกปี โดยมีหลักเกณฑ์และกระบวนการดังต่อไปนี้ หลักเกณฑ์ในการประเมิน หลักเกณฑ์การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริ ษทั ทั้งคณะเป็ นการประเมินระดับคะแนน ความเห็น ซึ่ งแบ่งเป็ น 3 ระดับ คือ - ระดับต่า (สมควรปรับปรุ ง) - ระดับปานกลาง (ยอมรับได้ แต่สามารถปรับปรุ งได้อีก) - ระดับดีมาก (สมควรรักษาไว้) โดยมีรายละเอียดของหลักเกณฑ์ซ่ ึ งครอบคลุมในเรื่ อง ดังต่อไปนี้ - ความพึงพอใจของคณะกรรมการที่มีผลต่อการดาเนินงานของคณะกรรมการโดยรวม ผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ผลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อย ตลอดจนการ ดาเนินการแก้ไขปั ญหาของฝ่ ายจัดการ - ความเข้าใจของกรรมการที่มีตอ่ บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริ ษทั ธุ รกิจของบริ ษทั กลยุทธ์ของบริ ษทั

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 35


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

-

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมการและฝ่ ายบริ หาร บทบาทและกระบวนการประเมินผลงานของประธานคณะผูบ้ ริ หาร ประสิ ทธิ ภาพการทางานของคณะกรรมการชุ ดย่อยต่างๆ การจัดสรรเวลาอย่างเหมาะสมสาหรับเรื่ องต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั การเตรี ยมตัวก่อนการประชุ มของกรรมการ ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นของกรรมการอย่างเป็ นอิสระและเป็ นกลาง การเปิ ดโอกาสและสนับสนุนให้กรรมการทุกท่านสามารถแสดงความเห็นได้อย่าง เป็ นอิสระ

กระบวนการ ประธานคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีจะเป็ นผูล้ งนามในจดหมาย เพื่อนาส่ งแบบฟอร์ ม การประเมินให้แก่กรรมการทุกท่าน โดยขอให้กรรมการแต่ละท่านส่ งแบบประเมินกลับมายังเลขานุการบริ ษทั เพื่อทาหน้าที่รวบรวมข้อมูล ลาดับต่อมา เลขานุการบริ ษทั จะทาการประมวลผลและนาเสนอผลสรุ ปต่อ คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีเพื่อวิเคราะห์ผลการประเมิน หลังจากนั้น คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี จะรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ พร้อมทั้งให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรุ งตามควรแก่กรณี 5.2 ในปี 2559 คณะกรรมการบริ ษทั ฯ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานเป็ นรายบุคคล ซึ่งได้ ดาเนินการเป็ นประจาทุกปี โดยมีหลักเกณฑ์และกระบวนการ ดังต่อไปนี้ หลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์ก ารประเมิ นตนเองของกรรมการเป็ นรายบุคคล เป็ นการประเมิ นระดับคะแนน ความเห็น ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ระดับ เช่นเดียวกับที่กล่าวในข้อ 5.1 โดยทาการประเมินในเรื่ องดังต่อไปนี้ - ความพึงพอใจของกรรมการรายบุคคลที่มีผลต่อการดาเนินงานของคณะกรรมการ ผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ผลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อย ตลอดจนการ ดาเนินการแก้ไขปั ญหาของฝ่ ายจัดการ - ความเข้าใจของกรรมการที่มีต่อบทบาทหน้าที่ของกรรมการรายบุคคล - ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมการรายบุคคลและฝ่ ายบริ หาร - บทบาทและกระบวนการประเมินผลงานของประธานคณะผูบ้ ริ หาร - ประสิ ทธิ ภาพการทางานของคณะกรรมการชุ ดย่อยต่างๆ - การจัดสรรเวลาอย่างเหมาะสมสาหรับเรื่ องต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั - การเตรี ยมตัวก่อนการประชุ มของกรรมการรายบุคคล - ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นของกรรมการรายบุคคลอย่างเป็ นอิสระและ เป็ นกลาง - การเปิ ดโอกาสและสนับสนุนให้กรรมการรายบุคคลสามารถแสดงความเห็นได้อย่าง เป็ นอิสระ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 36


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กระบวนการ ประธานคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีจะเป็ นผูล้ งนามในจดหมาย เพื่อนาส่ งแบบฟอร์ ม การประเมินให้แก่กรรมการทุกท่าน โดยขอให้กรรมการแต่ละท่านส่ งแบบประเมินกลับมายังเลขานุการบริ ษทั เพื่อทาหน้าที่รวบรวมข้อมูล ลาดับต่อมา เลขานุการบริ ษทั จะทาการประมวลผลและนาเสนอผลสรุ ปต่อ คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดีเพื่อวิเคราะห์ผลการประเมิน หลังจากนั้น คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี จะรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ พร้อมทั้งให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรุ งตามควรแก่กรณี 5.3 นอกจากนี้ คณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด ได้ทาการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง เป็ นรายคณะ เป็ นประจาทุกปี เช่นกัน โดยมีหลักเกณฑ์และกระบวนการดังต่อไปนี้ หลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์การประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อย เป็ นการประเมินระดับคะแนนความเห็น ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ระดับ เช่นเดียวกับที่กล่าวในข้อ 5.1 โดยทาการประเมินในเรื่ องดังต่อไปนี้ - ความพึงพอใจของกรรมการที่มีผลต่อการดาเนินงานของคณะกรรมการชุดย่อยที่ตนสังกัด ผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ผลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อย ตลอดจนการดาเนินการ แก้ไขปัญหาของฝ่ ายจัดการ - ความเข้าใจของกรรมการที่มีต่อบทบาทหน้าที่ของการเป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ที่ตนสังกัด - ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมการในคณะกรรมการชุ ดย่อยที่ตนสังกัด และฝ่ ายบริ หาร - การเตรี ยมตัวก่อนการประชุ มของกรรมการ - ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นของกรรมการอย่างเป็ นอิสระและเป็ นกลาง - การเปิ ดโอกาสและสนับสนุนให้กรรมการทุกท่านสามารถแสดงความเห็นได้อย่าง เป็ นอิสระ กระบวนการ เลขานุการบริ ษทั จะจัดส่ งแบบประเมินตนเองให้กรรมการแต่ละท่านของคณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด เพื่อทาการประเมิน และขอให้กรรมการแต่ละท่านส่ งแบบประเมินกลับมายังเลขานุการบริ ษทั เพื่อทาหน้าที่ รวบรวมข้อมูล ลาดับต่อมา เลขานุการบริ ษทั จะทาการประมวลผลและนาเสนอผลสรุ ปต่อที่ประชุมคณะกรรมการชุ ดย่อย แต่ละคณะ เพื่อวิเคราะห์ผลการประเมิน จากนั้นประธานคณะกรรมการชุ ดย่อยแต่ละคณะจะรายงานผลการประเมิน ต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ 6. ค่าตอบแทน 6.1 ค่าตอบแทนของกรรมการของบริ ษทั ฯ จัดได้วา่ อยูใ่ นลักษณะที่เปรี ยบเทียบได้กบั ระดับที่ปฏิบตั ิอยูใ่ นอุตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ขอบเขตของบทบาทและความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากกรรมการแต่ละคน นอกจากนี้ กรรมการที่ได้รับมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น เช่น กรรมการอิสระที่เป็ นสมาชิกของ คณะกรรมการชุ ดย่อยก็ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มที่เหมาะสมด้วย บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยค่าตอบแทนของกรรมการในปี 2559 เป็ นรายบุคคลไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 37


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

6.2 ค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริ หารระดับสู งเป็ นไปตามหลักการ และนโยบายที่คณะกรรมการกาหนดภายในกรอบที่ได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น (สาหรับค่าตอบแทน ประเภทที่ตอ้ งได้รับการอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ) และเพื่อประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั ฯ ระดับค่าตอบแทนที่ เป็ นเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบตั ิงาน และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ก็มีความสอดคล้องกับผลงานของ บริ ษทั ฯ และผลการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารแต่ละคนด้วย 6.3 คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ เป็ นผูป้ ระเมินผลการ ปฏิบตั ิงานของประธานคณะผูบ้ ริ หารเป็ นประจาทุกปี เพื่อนาไปใช้ในการพิจารณากาหนดค่าตอบแทนของ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร โดยใช้บรรทัดฐานที่ได้ตกลงกันล่วงหน้ากับประธานคณะผูบ้ ริ หารตามเกณฑ์ที่เป็ น รู ปธรรม ซึ่ งรวมถึงผลการปฏิบตั ิงานทางการเงิน ผลงานเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามวัตถุประสงค์เชิ งกลยุทธ์ในระยะยาว การพัฒนาผูบ้ ริ หาร ฯลฯ และกรรมการอาวุโสที่ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการ เป็ นผูส้ ื่ อสาร ผลการ พิจารณาให้ประธานคณะผูบ้ ริ หารทราบ 7. การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริ หาร 7.1 บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มและอานวยความสะดวกให้มีการฝึ กอบรมและการให้ความรู ้แก่ ผูเ้ กี่ยวข้องในระบบการกากับดูแลกิจการของบริ ษทั ฯ เช่น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริ หาร เลขานุการ บริ ษทั เป็ นต้น เพื่อให้มีความรู ้ในการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง การฝึ กอบรมและให้ความรู ้ดงั กล่าว มีท้ งั ที่กระทา เป็ นการภายในบริ ษทั ฯ และใช้บริ การของสถาบันภายนอก 7.2 คณะกรรมการสนับสนุ นกรรมการให้เข้าอบรมหลักสู ตรหรื อเข้าร่ วมกิจกรรมสัมมนาที่ เป็ นการเพิม่ พูนความรู ้ในการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2559 มีกรรมการของบริ ษทั ฯ จานวน 1 ท่าน เข้า รับการอบรมต่อเนื่อง ซี่งเป็ นหลักสู ตรที่จดั โดย ICC Thailand International Chamber of Commerce โดย หลักสู ตรที่อบรม คือ Innovation and the New Digital Economy 7.3 ทุกครั้งที่มีการแต่งตั้งหรื อเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ ฝ่ ายจัดการได้จดั ทาและนาส่ งเอกสาร และข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ของกรรมการใหม่ รวมถึงการจัดให้มีการแนะนาลักษณะธุ รกิจ และแนวทางการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ให้แก่กรรมการใหม่ 7.4 บริ ษทั ฯ มีการจัดทา “แผนสื บทอดตาแหน่ง” อย่างเป็ นทางการสาหรับผูบ้ ริ หารระดับสู ง เนื่องจาก ตระหนักยิง่ ว่า การวางแผนสื บทอดตาแหน่งเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญประการหนึ่งของความสาเร็ จ ทางธุ รกิจในอนาคต บริ ษทั ฯ จึงได้มีการกาหนดกระบวนการและขั้นตอนปฏิบตั ิในการคัดเลือกบุคลากรที่จะ เข้ามารับผิดชอบในตาแหน่งบริ หารที่สาคัญทุกระดับ ให้เป็ นไปอย่างเหมาะสม โดยมีกระบวนการจัดทาแผน สื บทอดตาแหน่ง ดังต่อไปนี้ (1) กาหนดรายรายชื่อและทาการประเมินผูท้ ี่อยูใ่ นข่ายได้รับคัดเลือกให้เข้า กระบวนการสื บทอดตาแหน่ง ผูบ้ ริ หารระดับสู ง และผูบ้ ริ หารที่ดารงตาแหน่งที่สาคัญ กาหนดรายชื่อและทาการ ประเมินผูบ้ ริ หารในลาดับถัดลงมา และผูท้ ี่อยูใ่ นข่ายได้รับคัดเลือกให้เข้ากระบวนการสื บทอดตาแหน่ง โดย ดาเนินการประเมินดังนี้

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 38


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

- การประเมินพนักงาน และการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ประกอบด้วย การประเมินผลการปฏิบตั ิงานที่ผา่ นมาและแนวโน้มผลการปฏิบตั ิงานในอนาคต การประเมินความสามารถ ในการตัดสิ นใจ จุดเด่น สิ่ งที่ตอ้ งปรับปรุ งและพัฒนาการให้คาแนะนาเกี่ยวกับงานและเส้นทางอาชีพ และ การประเมินศักยภาพของพนักงาน - การประเมิน 360 องศา ตามพฤติกรรมที่สอดคล้องกับค่านิยมองค์กร - การประเมินตาราง 9 ช่อง โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั ิงานและพฤติกรรมที่ สอดคล้องกับค่านิยมองค์กร (2) จัดทาผังรายชื่อผูส้ ื บทอดตาแหน่ง ผูด้ ารงตาแหน่ง จัดทาผังรายชื่อผูส้ ื บทอดตาแหน่งของตน โดยระบุชื่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ที่เป็ นผูท้ ี่เหมาะสมที่สุดที่สามารถรับตาแหน่งแทนได้จานวน 3 คน (อาจมีจานวนมากหรื อน้อยกว่านี้ได้) โดยเรี ยงตามลาดับความพร้อมของผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อแต่ละคน (3) พิจารณาทบทวนผังรายชื่ อผูส้ ื บทอดตาแหน่งและจัดทาแผนสื บทอดตาแหน่งของ บริ ษทั โดยรวม กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง และผูบ้ ริ หารฝ่ ายทรัพยากรบุคคล ประชุมพิจารณาทบทวนผังรายชื่อผูส้ ื บทอดตาแหน่ง และรวบรวมแผนสื บทอดตาแหน่งทั้งหมดของบริ ษทั โดยมีองค์ประกอบคือ รายงานภาพรวมธุ รกิจ โครงสร้างองค์กร ผังรายชื่อผูไ้ ด้รับคัดเลือกให้เข้ากระบวนการ สื บทอดตาแหน่ง ตาราง 9 ช่อง ผลการประเมินพนักงาน และผลการประเมิน 360 องศา (4) จัดทาแผนพัฒนาผูบ้ ริ หารที่ได้รับการบรรจุชื่อลงในแผนสื บทอดตาแหน่งเป็ น รายบุคคล ดาเนินการพัฒนาตามแผน และติดตามผลการพัฒนา (5) ดาเนินการประเมินและทบทวนแผนสื บทอดตาแหน่งเป็ นประจาทุกปี อนึ่ง ผูบ้ ริ หารที่ได้รับการบรรจุชื่อลงในแผนสื บทอดตาแหน่ง จะได้รับการพัฒนา ตามแผนที่วางไว้เป็ นรายบุคคล มีโครงการอบรมพัฒนาที่เน้นการลงมือปฏิบตั ิจริ ง การมอบหมายงานที่ทา้ ทาย รวมทั้งการหมุนเวียนงาน เพื่อพัฒนาทักษะการเป็ นผูน้ าพร้อมทั้งความรอบรู ้ในธุ รกิจและการพัฒนาองค์กร อย่างรอบด้าน ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่ามีความต่อเนื่องในการจัดเตรี ยมผูน้ าที่มีความพร้อม เหมาะสมสาหรับ ตาแหน่งผูบ้ ริ หารระดับสู ง และตาแหน่งที่สาคัญได้ทนั ทีเมื่อมีตาแหน่งว่างลงหรื อเพื่อรองรับการขยายตัวของธุ รกิจ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9- หน ้ำ 39


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

10. ความรับผิดชอบต่ อสั งคม 1.

การประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม กลุ่มทรู ดำเนินธุ รกิจภำยใต้ควำมถูกต้องตำมกฎหมำย กฎเกณฑ์ ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน หลักคุณธรรมและกำรมีหลักกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดี ดูแลสิ ทธิ ตำมที่กฎหมำยกำหนดของผูม้ ีส่วนได้เสี ย กลุ่มต่ำงๆ (Stakeholders) และประสำนประโยชน์ร่วมกันอย่ำงเหมำะสม เพื่อให้ Stakeholders มัน่ ใจว่ำสิ ทธิ ดงั กล่ำว ได้รับกำรคุม้ ครองและปฏิบตั ิดว้ ยดี ได้รับผลตอบแทนที่เป็ นธรรมด้วยกันทุกฝ่ ำย คณะกรรมกำรบริ ษทั ฯ จึง มี “นโยบำยกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดี” เพื่อกำหนดหลักกำรกำกับดูแลที่เหมำะสม และจัดทำ “คุณธรรมและ ข้อพึงปฏิบตั ิ” เพื่อเป็ นแนวทำงในกำรปฏิบตั ิที่ถูกต้องให้แก่ผบู ้ ริ หำรและพนักงำนทุกคนของกลุ่มทรู ให้ ถือปฏิบตั ิอย่ำงเคร่ งครัด นโยบำยกำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดี และคุณธรรม ข้อพึงปฏิบตั ิในกำรทำงำน เป็ นกรอบและ แนวทำงปฏิบตั ิ ให้ดำเนินธุ รกิจโดยคำนึงถึงควำมเสมอภำค เป็ นธรรม ไม่เอำรัดเอำเปรี ยบ มีควำมซื่อสัตย์ และโปร่ งใสในกำรดำเนินธุ รกิจ ไม่เรี ยกรับและจ่ำยผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริ ตในกำรค้ำกับคู่คำ้ กลุ่มทรู ตระหนักดีวำ่ กำรประกอบกิจกำรด้วยควำมเป็ นธรรมและโปร่ งใส เป็ นหัวใจสำคัญ ในกำรดำเนินงำน คือ ต้องมีควำมสุ จริ ตและตรวจสอบได้เพื่อประโยชน์ที่ เท่ำเทียมกันของทุกฝ่ ำย โดยมี กระบวนกำรสั่งซื้ อสิ นค้ำ และบริ กำรระหว่ำงบริ ษทั กับผูข้ ำยสิ นค้ำและบริ กำร ผ่ำนระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ สะดวกต่อกำรตรวจสอบในด้ำนต่ำงๆ อำทิ งบประมำณ กำรตรวจสอบอำนำจอนุมตั ิ และกำรตรวจสอบ ข้อมูลอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง ซึ่ งกำรสัง่ ซื้ อสิ นค้ำนั้นสำมำรถสัง่ ซื้ อสิ นค้ำและบริ กำรได้โดยตรงผ่ำนระบบอินเทอร์ เน็ต ผูส้ ั่งซื้ อสิ นค้ำ สำมำรถเลือกซื้ อสิ นค้ำ และบริ กำรได้เองจำก Online Catalogue ในลักษณะของ Self Service และสำมำรถระบุควำมต้องกำรสั่งซื้ อได้ดว้ ยตนเอง (Online Purchasing) นอกจำกนี้ ยังมีมำตรกำรกำกับดูแลที่ดีทำให้เกิดควำมโปร่ งใส เป็ นธรรม เพื่อประโยชน์ที่เท่ำเทียม กันทุกฝ่ ำย และมีระบบที่ตรวจสอบได้ ดังนี้  มีกระบวนกำรคัดเลือกผูข ้ ำยสิ นค้ำและบริ กำร อย่ำงเท่ำเทียมกัน ด้วยกำรเปรี ยบเทียบรำคำ ที่เหมำะสม ตำมนโยบำยของแต่ละบริ ษทั ฯในกลุ่มทรู  มีกำรระบุงบประมำณ เพื่อควบคุมค่ำใช้จ่ำยของหน่ วยงำนต่ำงๆ หำกงบประมำณไม่เพียงพอ ก็ไม่สำมำรถดำเนินกำรในกำรสั่งซื้ อได้  ในกำรอนุ มต ั ิกำรสั่งซื้ อสิ นค้ำและบริ กำร มีกำรอนุมตั ิอย่ำงเป็ นขั้นตอนตำมระดับตำแหน่ง ทำให้สำมำรถตรวจสอบผูม้ ีอำนำจอนุมตั ิ ตำมมูลค่ำสิ นค้ำได้  ฝ่ ำยจัดซื้ อ มีกำรตรวจสอบกำรสั่งซื้ อสิ นค้ำและบริ กำรทุกครั้ง อย่ำงไรก็ตำมต้องมีกำรตรวจสอบในทุกขั้นตอนของกระบวนกำรสัง่ ซื้ อสิ นค้ำและบริ กำร สำมำรถ ตรวจเช็คข้อมูลต่ำงๆ ได้ต้ งั แต่ตน้ จนจบกระบวนกำรแล้ว และสำมำรถเรี ยกดูประวัติ รำยละเอียดกำรสั่งซื้ อ สิ นค้ำและบริ กำรต่ำงๆ ได้อีกด้วย ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2.

การต่ อต้ านการทุจริตคอรัปชั่ น กลุ่มทรู ให้ควำมสำคัญในกำรต่อต้ำนกำรทุจริ ต ตลอดจนกำรรับและกำรจ่ำยสิ นบน กำหนดไว้ใน “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในกำรทำงำน” โดยห้ำมพนักงำนเรี ยกร้องหรื อรับสิ นน้ ำใจเพื่อตนเองหรื อเพื่อผูอ้ ื่น จำกบุคคลที่ร่วมทำธุ รกิจด้วย และห้ำมกำรจ่ำยเงินหรื อให้ควำมช่วยเหลือที่ถือว่ำเป็ นกำรติดสิ นบนหรื อ ให้ผลประโยชน์ นอกจำกนี้ยงั มีกำรประกำศใช้ รวมทั้งสนับสนุนหน่วยงำนภำครัฐรณรงค์กำรต่อต้ำนคอรัปชัน่ นอกจำกนี้ยงั ได้ประกำศเจตนำรมณ์ในกำรเข้ำร่ วมเป็ น “แนวร่ วมปฏิบตั ิของภำคเอกชนไทยในกำร ต่อต้ำนกำรทุจริ ต” และมีควำมมุ่งมัน่ ที่จะปฏิบตั ิตำมกฎหมำยของประเทศไทยในกำรต่อต้ำนกำรคอรัปชัน่ อย่ำงเคร่ งครัด โดยจัดทำมำตรกำรต่อต้ำนคอร์ รัปชัน่ เป็ นลำยลักษณ์อกั ษร เพื่อเป็ นหลักปฏิบตั ิที่ชดั เจนใน กำรดำเนิ นธุ รกิจ อันจะนำไปสู่ กำรพัฒนำองค์กรและประเทศชำติอย่ำงยัง่ ยืน รวมทั้งยังมุ่งสร้ำงและรักษำ วัฒนธรรมองค์กรที่ยดึ มัน่ ว่ำ กำรทุจริ ตคอรัปชัน่ ทุกรู ปแบบถือเป็ นสิ่ งต้องห้ำมกระทำและยอมรับไม่ได้ โดยบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย รวมถึงกรรมกำร ผูบ้ ริ หำร และพนักงำนทุกคน ต้องไม่ยอมรับกำรคอรัปชัน่ ทุกรู ปแบบ ทั้งทำงตรงหรื อทำงอ้อม และ มีหน้ำที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ิตำมมำตรกำรต่อต่ำนกำรคอรัปชัน่ อย่ำง เคร่ งครัด โดยห้ำมรับสิ นบนในกำรดำเนินธุ รกิจทุกชนิ ด กำรดำเนินกำรของบริ ษทั ฯ และกำรติดต่องำนกับ ภำครัฐจะต้องเป็ นไปอย่ำงโปร่ งใส ซื่อสัตย์ และต้องดำเนิ นกำรให้เป็ นไปตำมที่กฎหมำยกำหนด 1) เปิ ดช่องร้องเรี ยนเพื่อควำมเป็ นธรรม บริ ษทั จัดช่องทำงให้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสำมำรถร้องเรี ยน หรื อแจ้งเบำะแสเกี่ยวกับกำรทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อกำรกระทำผิดจรรยำบรรณธุ รกิจ ส่ งถึงคณะกรรมกำรบริ ษทั ผ่ำนคณะกรรมกำรตรวจสอบ โดยประชำสัมพันธ์ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั www.truecorp.co.th นอกจำกนี้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสำมำรถร้องเรี ยนหรื อแจ้งเบำะแส (โดยจะได้รับกำรเก็บรักษำ ข้อมูลไว้เป็ นควำมลับ) เกี่ยวกับกำรทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อ กำรกระทำ ผิดจรรยำบรรณธุ รกิจ โดยสำมำรถ ส่ งถึงคณะกรรมกำร ผู ้ บริ หำร หรื อ หน่วยงำนที่ เกี่ ยวข้องผ่ำนช่องทำงต่ำงๆ ดังนี้ 1.1 คณะกรรมกำรตรวจสอบ ผ่ำนจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ : auditcommittee@truecorp.co.th หรื อส่ งจดหมำยปิ ดผนึก จ่ำหน้ำซองถึง ประธำนคณะกรรมกำรตรวจสอบ หรื อคณะกรรมกำรตรวจสอบ โดยตรงตำมที่อยูด่ งั นี้ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) เลขที่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ชั้น 28 ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 1.2 ประธำนคณะผูบ้ ริ หำรและกรรมกำรผูจ้ ดั กำรใหญ่ โดยส่ งจดหมำยปิ ดผนึก และจ่ำหน้ำซอง ถึงประธำนคณะผูบ้ ริ หำรและกรรมกำรผูจ้ ดั กำรใหญ่ โดยตรงตำมที่อยู่ ดังนี้ ประธำนคณะผูบ้ ริ หำรและ กรรมกำรผูจ้ ดั กำรใหญ่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก ห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 1.3 กำรร้องเรี ยนทัว่ ไป ติดต่อฝ่ ำยทรัพยำกรบุคคล ผ่ำนจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ CodeofConduct@truecorp.co.th หรื อติดต่อผ่ำนหมำยเลขโทรศัพท์ 02-6992023 1.4 กำรร้องเรี ยนเรื่ องกำรต่อต้ำนทุจริ ต ติดต่อฝ่ ำย Quality & Internal Control ผ่ำนหมำยเลขโทรศัพท์ 02-6996944 หรื อติดต่อฝ่ ำย Fraud & Cyber Crime ผ่ำนจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ Nopadol_Som@truecorp.co.th ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

หน่วยงำนเลขำนุ กำรบริ ษทั และหลักทรัพย์ ในฐำนะที่ เป็ นเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรตรวจสอบ จะเป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบในกำรรวบรวมและนำส่ งเรื่ องร้องเรี ยนหรื อกำรแจ้งเบำะแสต่ำงๆ ให้แก่ คณะกรรมกำรตรวจสอบเพื่อพิจำรณำและดำเนิ นกำรต่อไป ซึ่งคณะกรรมกำรตรวจสอบจะสรุ ปผลกำรดำเนินกำร และนำเสนอรำยงำนต่อคณะกรรมกำรบริ ษทั ฯ เป็ นรำยไตรมำส เงื่อนไขในกำรรับเรื่ องร้องเรี ยนหรื อกำรแจ้งเบำะแส:  ไม่รับบัตรสนเท่ห์  ผูร้ ้องเรี ยน/ผูแ้ จ้งเบำะแส ต้องระบุชื่อและนำมสกุลจริ ง โดยบริ ษท ั ฯ จะเก็บรักษำข้อมูลไว้ เป็ นควำมลับ ซึ่ งจะรับรู ้ได้เฉพำะบุคคลที่ได้รับมอบหมำยจำกคณะกรรมกำรตรวจสอบเท่ำนั้น  เรื่ องที่ไม่ เกี่ยวข้องต่ำงๆ ดังตัวอย่ำงด้ำนล่ำงนี้ คณะกรรมกำรตรวจสอบจะไม่รับดำเนิ นกำรให้:  กำรสมัครงำน  แบบสำรวจ หรื อ กำรขอรับข้อมูลเกี่ยวกับบริ ษท ั ฯ  กำรเสนอขำยสิ นค้ำหรื อบริ กำร  กำรขอรับบริ จำคหรื อกำรสนับสนุ นต่ำงๆ 2) กำรดูแลเรื่ องกำรใช้ขอ้ มูลภำยใน กลุ่มทรู ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรป้ องกันกำรนำข้อมูลภำยในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตน โดยมีกำรกำกับดูแลกำรใช้ขอ้ มูลภำยใน กำหนดเป็ นข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับกำรใช้ขอ้ มูล ภำยในเพื่อกำรซื้ อขำยหลักทรัพย์ไว้ในคุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในกำรทำงำนควบคู่กบั กำรใช้มำตรกำร ตำมกฎหมำยในกำรดูแลกรรมกำรและผูบ้ ริ หำรในกำรนำข้อมูลภำยในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ ส่ วนตนและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ป้ องกันมิให้กรรมกำรและผูบ้ ริ หำรที่มีส่วนใกล้ชิดกับข้อมูลของบริ ษทั ฯ นำข้อมูล ภำยในที่ตนล่วงรู ้มำจำกกำรเป็ นกรรมกำรและผูบ้ ริ หำรไปแสวงหำประโยชน์ใดๆ อันจะเป็ นกำรฝ่ ำฝื นหน้ำที่ ควำมรับผิดชอบของตนที่มีต่อบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุน้ จึงกำหนดเป็ นหลักให้ถือปฏิบตั ิอย่ำงเคร่ งครัดในกำรที่ ต้องเก็บรักษำสำรสนเทศที่สำคัญที่ยงั ไม่ได้เปิ ดเผยไว้เป็ นควำมลับ โดยจำกัดให้รับรู ้ได้เฉพำะกรรมกำรและ ผูบ้ ริ หำรระดับสู งที่เกี่ยวข้องเท่ำนั้น นอกจำกนี้ในกำรซื้ อ ขำย โอน หรื อรับโอนหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษทั ฯ กรรมกำรและ ผูบ้ ริ หำรต้องรำยงำนต่อสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ (“สำนักงำน ก.ล.ต.”) ภำยใน 3 วันทำกำรนับแต่วนั ที่เกิดรำยกำรขึ้น พร้อมทั้งส่ งสำเนำรำยงำนดังกล่ำว จำนวน 1 ชุด ให้แก่บริ ษทั เพื่อเก็บเป็ นหลักฐำนและรำยงำนต่อที่ประชุมคณะกรรมกำรบริ ษทั เป็ นประจำ ทั้งนี้เพื่อให้มนั่ ใจว่ำกรรมกำร และผูบ้ ริ หำรสำมำรถบริ หำรและดำเนินกิจกำรด้วยควำมซื่ อสัตย์สุจริ ต โปร่ งใส และสอดคล้องกับนโยบำย กำรกำกับดูแลกิจกำรที่ดีของบริ ษทั ฯ และยังมีส่วนช่วยให้ผถู ้ ือหุ น้ ตลอดจนผูล้ งทุนทัว่ ไปเกิดควำมเชื่ อมัน่ ใน กรรมกำรและผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

3.

การเคารพสิ ทธิมนุษยชน กลุ่มทรู เล็งเห็นควำมสำคัญของกำรเป็ นส่ วนหนึ่งของประชำคมโลก ในฐำนะของบรรษัทพลเมืองที่ดี และมีควำมมุ่งมัน่ ที่จะร่ วมสร้ำงสรรค์ควำมเป็ นอยู่ ที่ดีให้เกิดขึ้น โดยเข้ำร่ วมเป็ นสมำชิก UN Global Compact ด้วยควำมสมัครใจ ตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลำคม 2558 มีเจตนำรมณ์ที่จะดำเนิ นธุ รกิจภำยใต้ หลักสำกล 10 ประกำร มีสำระสำคัญ 4 ด้ำน คือ สิ ทธิมนุษยชน มำตรฐำนแรงงำน กำรปกป้ องสิ่ งแวดล้อม และกำรต่อต้ำนคอรัปชัน่ โดยทรู เป็ นหนี่งในบริ ษทั และองค์กชั้นนำทัว่ โลกกว่ำ 12,000 แห่งจำก 170 ประเทศที่เป็ นสมำชิก UN Global Compact นอกจำกนี้บริ ษทั ยังดำเนิ นธุ รกิจโดยให้ควำมเคำรพสิ ทธิ์ ที่มนุษย์ทุกคนสมควรได้รับในฐำนะที่เป็ น ส่ วนหนึ่งของสังคม ตลอดจนควำมมีเสรี ภำพและศักดิ์ศรี ของควำมเป็ นมนุษย์ ให้ควำมเสมอภำคปรำศจำก กำรเลือกปฏิบตั ิ เคำรพควำมเท่ำเทียมกันภำยใต้กฎหมำย มีกำรปฏิบตั ิที่เป็ นรู ปธรรมอย่ำงชัดเจน โดยให้สิทธิ์ และส่ งเสริ มให้ทำงำนตรงตำมควำมสำมำรถและศักยภำพ รวมทั้งดำเนินนโยบำยสร้ำงรำยได้แก่ผพู ้ ิกำรอย่ำง ต่อเนื่อง ดังนี้ 1) กลุ่มทรู วำ่ จ้ำงผูพ้ ิกำรเข้ำร่ วมงำนตำมควำมรู ้ควำมสำมำรถของคนพิกำรในตำแหน่งวิศวกร ฝ่ ำยบริ กำรลูกค้ำ และช่ำงเทคนิค โดยข้อมูลกำรจ้ำงงำน ณ สิ้ นปี 2559 มีผพู ้ ิกำรเข้ำร่ วมทำงำนกับ กลุ่มทรู รวม 214 คน 2) สนับสนุนกำรสร้ำงอำชีพและรำยได้แก่ผพู ้ ิกำร  บริ ษทั ร่ วมดำเนิ นโครงกำรส่ งเสริ มอำชีพผูพ้ ิกำร ตำมมำตรำ 35 แห่งพระรำชบัญญัติ ส่ งเสริ มและพัฒนำคุณภำพชี วติ ผูพ้ ิกำร พ.ศ. 2550 โดยส่ งเสริ มศักยภำพและพัฒนำคุณภำพชีวติ ที่ดีข้ ึนของ ผูพ้ ิกำร ผ่ำนนวัตกรรมและเทคโนโลยีกำรสื่ อสำรของกลุ่มทรู ภำยใต้แนวคิด “Creating a Better Life for the Disabled” โดยได้จดั ตั้งศูนย์ฝึกอบรมเพื่อกำรทำงำน (True Autistic Thai Center) เพื่อพัฒนำศักยภำพ และจัดอบรมวิชำชีพให้แก่บุคคลออทิสติก ให้สำมำรถสร้ำงรำยได้แก่ตนเองและครอบครัว รวมถึงมีกำร พัฒนำทักษะกำรดำรงชีวติ ดำเนินกำรฝึ กอบรมกำรใช้ Autistic Application ที่กลุ่มทรู พฒั นำขึ้น โดยทีมงำน ทรู ปลูกปัญญำ และทีมนวัตกรรมร่ วมกับมูลนิธิออทิสติกไทย จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิกำรให้แก่ผปู ้ กครอง ครู และอำสำสมัครทัว่ ประเทศ ในกำรใช้งำนโปรแกรม Kare Application ที่กลุ่ม True พัฒนำสำหรับเสริ ม ทักษะกำรเรี ยนรู้ของเด็กพิเศษ และใช้เป็ นสื่ อกำรสอนเด็กพิเศษในทักษะต่ำงๆ ผูป้ กครองสำมำรถใช้และ สร้ำง Clip VDO เพื่อสอนเด็กให้ทำกิจกรรมทีละขั้นตอนและใช้คู่กบั แผนกำรฝึ กหรื อแผนแผ่นเดียว โดยในปี 2559 ทีผำ่ นมำ ได้จดั อบรมให้แก่ ผูป้ กครอง เด็ก และ ครู ประจำศูนย์ ในภูมิภำคต่ำงๆ ทัว่ ประเทศ รวม 880 คน

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

4.

การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็ นธรรม บริ ษทั มีควำมห่วงใย และเอำใจใส่ ชีวติ ควำมเป็ นอยูข่ องพนักงำน จึงได้จดั โครงกำรปลูกรัก โดย มีกิจกรรมต่ำง ดังนี้ โครงกำรปลูกรัก  Happiness Temperature (HT) สำรวจระดับควำมสุ ขของพนักงำน เพือ ่ นำผลที่ได้มำพัฒนำ ปรับปรุ งให้เหมำะสมควำมต้องกำรของพนักงำน โดยสำรวจผ่ำน HR website  Wellness Spa บริ กำรนวดแผนไทย เพื่อเป็ นกำรผ่อนคลำยแก่พนักงำน และเพิม ่ กิจกรรมออก กำลังกำยเพื่อสุ ขภำพดีอย่ำงยัง่ ยืนให้กบั พนักงำน ได้แก่ โยคะเพื่อกำยบำบัด ฉันโซ่วชี่กง และ Free Dance – Jazz Dance together  ปลูกรักสุ ขภำพดี เพื่อเป็ นกำรกระตุน ้ ให้พนักงำนดูแลสุ ขภำพในเชิงป้ องกัน จึงจัดให้มีกำรตรวจ ร่ ำงกำยพิเศษ 

ปลูกรักปลูกธรรม จัดให้มีกำรสวดมนต์และตักบำตรร่ วมกันทุกเดือน รวมทั้งจัดบรรยำยธรรมะ ทุกเดือน นอกจำกนี้ ยังมีกำรจัดอุปสมบทพนักงำน-ผูบ้ ริ หำรเพื่อถวำยเป็ นพระรำชกุศล และ จัดหลักสู ตรให้พนักงำนสำมำรถไปฝึ กอบรมปฏิบตั ิธรรม เป็ นเวลำ 5 วันต่อปี ปลูกควำมมัง่ คัง่ จัดโครงกำรให้พนักงำนมีควำมตระหนักรู ้เรื่ องกำรใช้เงินอย่ำงมีคุณค่ำ คิดก่อนใช้ คิดก่อนจ่ำย รู้จกั อดออม ลดรำยจ่ำยที่ไม่จำเป็ น เพื่อเกษียณอำยุอย่ำงมีควำมสุ ข

5.

ความรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค กลุ่มทรู ได้จดั ให้มีโครงกำรต่ำงๆ เพื่อปลูกฝังให้พนักงำนให้ควำมสำคัญต่อลูกค้ำ ดังนี้ 1) Total Quality Management (TQM) นำกระบวนกำรพัฒนำระบบบริ หำรจัดกำรคุณภำพองค์กร หรื อ TQM มำปรับใช้ในกำรดำเนิ นงำนทุกหน่วยงำนในองค์กรเพื่อเพิ่มคุณภำพสิ นค้ำและบริ กำรสำหรับลูกค้ำ 2) กำรตรวจสอบคุณภำพและควำมปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ตำมมำตรฐำนของ กสทช. อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ (โทรศัพท์และแท็บเล็ต) ทั้งเฮ้ำส์แบรนด์และแบรนด์ช้ นั นำที่วำงจำหน่ำยในสำนักบริ กำรลูกค้ำ หรื อ ทรู ช็อป ผ่ำนกำรตรวจสอบและรับรองมำตรฐำนของเครื่ องโทรคมนำคมและอุปกรณ์ตำมหลักเกณฑ์ มำตรฐำนทำงเทคนิคที่เกี่ยวข้องจำกคณะกรรมกำรกระจำยเสี ยงกิจกำรโทรทัศน์ และกิจกำรโทรคมนำคมแห่งชำติ เพื่อสุ ขภำพและควำมปลอดภัยของผูบ้ ริ โภค 3) จัดทำสื่ อเพื่อสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรใช้งำนเทคโนโลยีและอุปกรณ์ไอทีต่ำงๆ นำเสนอ ในรู ปแบบถำม-ตอบ พร้อมคำแนะนำเกร็ ดควำมรู ้ดำ้ นเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับบริ กำร ผ่ำนสื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุและโทรทัศน์ ที่เข้ำถึงกลุ่มประชำชนทัว่ ไป

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

6.

การดูแลรักษาสิ่ งแวดล้ อม กลุ่มทรู ให้ควำมสำคัญ และตระหนักถึงปั ญหำสิ่ งแวดล้อม โดยจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มด้ำนกำร อนุรักษ์ธรรมชำติ และสิ่ งแวดล้อม ภำยใต้โครงกำรทรู ปลูกปัญญำ และโครงกำรต่ำงๆ ทั้งภำยในและ ภำยนอกองค์กร มำอย่ำงต่อเนื่องทุกปี ดังนี้ 1) กำรส่ งเสริ มกิจกรรมรณรงค์เพื่อกำรอนุรักษ์ธรรมชำติและสิ่ งแวดล้อม 1.1 โครงกำรปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์ธรรมชำติและสิ่ งแวดล้อม ประกวดภำพถ่ำย “สัตว์มีค่ำ ป่ ำมีคุณ” กลุ่มทรู ภำยใต้โครงกำรทรู ปลูกปัญญำ ร่ วมกับ กรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำและพันธุ์พืช จัดโครงกำรปลูกจิตสำนึกอนุ รักษ์ธรรมชำติและสิ่ งแวดล้อม ประกวดภำพถ่ำย “ สัตว์มีค่ำ ป่ ำมีคุณ” ครั้งที่ 22 ประจำปี 2559 เพื่อร่ วมรณรงค์ส่งเสริ มให้คนไทยช่วยกันอนุรักษ์ธรรมชำติ และสิ่ งแวดล้อมผ่ำนภำพถ่ำย ชิงถ้วยพระรำชทำนสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี และถ้วยประทำนสมเด็จพระเจ้ำพี่นำงเธอ เจ้ำฟ้ ำกัลยำณิ วฒั นำ กรมหลวงนรำธิวำสรำชนคริ นทร์ พร้อมเงินรำงวัลรวมมูลค่ำกว่ำ 500,000 บำท และ ได้รับสิ ทธิ์ ท่องเที่ยวอุทยำนแห่งชำติหรื อเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำทัว่ ประเทศโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่ำใช้จ่ำย กำรประกวดแบ่งออกเป็ น 2 ระดับ คือ ระดับบุคคลทัว่ ไป และระดับนักเรี ยน นิสิต นักศึกษำ มีเยำวชนและประชำชนทัว่ ไป ส่ งภำพสะท้อนควำมงดงำมของสัตว์ป่ำและป่ ำไม้ ที่ถ่ำยจำกกล้องดิจิทลั โดยในปี 2559 มีผลงำนภำพถ่ำย ส่ งเข้ำประกวด รวม 527 คน จำนวนภำพรวมกว่ำ 2,000 ภำพ เป็ นกำรสะท้อน ถึงควำมสำเร็ จในกำรกระตุน้ จิตสำนึกให้คนไทยร่ วมอนุ รักษ์ธรรมชำติและสิ่ งแวดล้อมผ่ำนภำพถ่ำย รวมถึง สำนต่อควำมตั้งใจร่ วมดูแลผืนป่ ำ รักษำธรรมชำติ ทั้งนี้ผสู ้ นใจสำมำรถชมผลงำนที่ชนะกำรประกวดของปี ล่ำสุ ดนี้ได้แล้ว ผ่ำนแอพพลิเคชัน่ "True Photo Contest" แอพพลิเคชัน่ คลังภำพออนไลน์ที่รวบรวมผลงำนที่ชนะกำรประกวดโครงกำรประกวด ภำพถ่ำย “สัตว์มีค่ำ ป่ ำมีคุณ” กว่ำ 381 ผลงำน ในรอบ 22 ปี ตั้งแต่ปี 2538 - 2559 โดยสำมำรถดำวน์โหลด แอพพลิเคชัน่ ดังกล่ำว โดยไม่เสี ยค่ำใช้จ่ำย ทั้งในระบบปฏิบตั ิกำร iOS และ Android เพียงค้นหำคำว่ำ “True Photo Contest” 1.2 กำรขยำยผลแอพพลิเคชัน่ We Grow เพื่อส่ งเสริ มกำรอนุรักษ์ธรรมชำติและสิ่ งแวดล้อม กลุ่มทรู โดยทีม Innovation พัฒนำแอพพลิเคชัน่ We Grow เพื่อเป็ นเครื่ องมือรณรงค์ และ สนับสนุนกำรปลูกต้นไม้ในสังคมยุคใหม่ ซึ่ งแอพพลิเคชัน่ We Grow นับเป็ นคลังเกี่ยวกับต้นไม้ที่ใหญ่ที่สุด ทั้งนี้ในปี 2559 กลุ่มทรู ได้นำแอพพลิเคชัน่ We Grow ไปสนับสนุนกิจกรรมต่ำงๆ ดังนี้ (1) นำแอพพลิเคชัน่ We Grow สนับสนุน โครงกำร “ค่ำยเยำวชน... รักษ์พงไพร” ประจำปี 2559 กลุ่มทรู นำแอพพลิเคชัน่ We Grow เข้ำไปอยูใ่ นหลักสู ตรอบรม “ค่ำยเยำวชน รักษ์พงไพร” ซึ่ งจัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษำ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี โดยควำมร่ วมมือของมูลนิธิสวนสมเด็จพระนำงเจ้ำสิ ริกิต์ ิฯ กระทรวงศึกษำธิกำร กรมอุทยำนสัตว์ป่ำและ พันธุ์พืช กรมป่ ำไม้ กรมส่ งเสริ มกำรเกษตร กรมพัฒนำที่ดิน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กรุ งเทพมหำนคร และ ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กลุ่มทรู โดยมีนกั เรี ยนเข้ำร่ วมโครงกำรกว่ำ 7,000 คนทัว่ ประเทศ พร้อมกันนี้ได้จดั อบรมให้แก่คณะครู เจ้ำหน้ำที่ตวั แทนศูนย์ศึกษำธรรมชำติของกรมอุทยำนแห่งชำติและกรมป่ ำไม้ รวม 28 แห่ง และได้มอบ สมำร์ ทโฟนพร้อมซิ มและดำต้ำแพ็กเกจแบบเติมเงินมูลค่ำ 300 บำท ให้เจ้ำหน้ำที่แห่งละ 3 ชุด เพื่อใช้เป็ น เครื่ องมือในกำรอบรมแอพพลิเคชัน่ We Grow ให้กบั เยำวชนอีกด้วย (2) พัฒนำแอพพลิเคชัน่ 1toTree เพื่อส่ งเสริ มกำรเรี ยนรู ้คุณค่ำพันธุ์ไม้ภำยในสวนสมเด็จ พระนำงเจ้ำสิ ริกิต์ ิฯ นวัตกรรม 1toTree เป็ นกำรสร้ำงกระบวนกำรเรี ยนรู ้พนั ธุ์ไม้ผำ่ นเกมคำถำม ซึ่งเป็ น อีกแนวทำงที่จะช่วยกระตุน้ กำรเรี ยนรู ้และแทรกกำรปลูกจิตสำนึกอนุ รักษ์ธรรมชำติและสิ่ งแวดล้อมให้แก่ เยำวชน เพื่อเรี ยนรู ้คุณค่ำของพันธุ์ไม้ชนิดต่ำงๆ อย่ำงเข้ำใจ ด้วยกำรค้นคว้ำด้วยตัวเอง หรื อกำรเรี ยนรู้จำก กำรปฏิบตั ิจริ ง (Action Learning) โดยทรู จดั ทำป้ ำย 1toTree ตำมต้นไม้สำคัญๆ ในโซนต่ำงๆ ภำยในสวน สมเด็จพระนำงเจ้ำสิ ริกิต์ ิ ฯ เยำวชนและประชำชนทัว่ ไปสำมำรถเข้ำมำเรี ยนรู้ธรรมชำติ ทดลองควำมรู้ เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่น่ำสนใจภำยในสวนสมเด็จพระนำงเจ้ำสิ ริกิต์ ิฯ ได้อย่ำงสนุกสนำนอีกด้วย 3) กำรส่ งกิจกรรมเพื่อรักษำสิ่ งแวดล้อมภำยในองค์กร ทรู ให้ควำมสำคัญในเรื่ องกำรประหยัดพลังงำน โดยมีนโยบำยให้หน่วยงำนต่ำงๆ ดำเนิ นกิจกรรม ลดกำรใช้พลังงำนอย่ำงต่อเนื่ อง พร้อมทั้งปรับปรุ งระบบกำรทำงำน เพื่อให้แต่ละหน่วยงำนมีกำรใช้พลังงำน อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ และรณรงค์ให้แต่ละกลุ่มธุ รกิจคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ช่วยประหยัดพลังงำน ดังนี้ 3.1 โครงกำรประหยัดพลังงำนของอุปกรณ์ ในอำคำรชุมสำย ด้วยกำรบริ หำรกำรใช้งำน สื่ อสำรข้อมูลบนอุปกรณ์แม่ข่ำย (Server) และอุปกรณ์ลูกข่ำยให้มีประสิ ทธิ ภำพมำกขึ้น โดยปิ ดอุปกรณ์ แม่ข่ำยที่ใช้งำนน้อย พร้อมทั้งควบรวมอุปกรณ์ลูกข่ำยที่อยูบ่ นอุปกรณ์แม่ข่ำยเดียวกัน เพื่อให้สำมำรถใช้งำน อุปกรณ์แม่ข่ำยอย่ำงเต็มประสิ ทธิ ภำพ รวมทั้งปรับเปลี่ยนหลอดไฟแสงสว่ำงในอำคำรจำกหลอดฟลูออเรสเซ้นท์ ให้เป็ นหลอดตะเกียบ ซึ่ งใช้พลังงำนไฟฟ้ ำน้อยกว่ำ และบำรุ งรักษำง่ำยกว่ำ 3.2 โครงกำรปรับปรุ งประสิ ทธิภำพ กำรระบำยอำกำศในชุมสำยโทรศัพท์ ด้วยระบบ “Free Flow Cooling System” หรื อ “ระบบกำรระบำยควำมร้อนด้วยอำกำศ” มำใช้ทดแทนระบบระบำยควำมร้อน ด้วยเครื่ องปรับอำกำศแบบเดิม ซึ่งไม่มีผลกระทบต่ออุปกรณ์ระบบสื่ อสำรโทรศัพท์ภำยในชุมสำยโทรศัพท์ และจำกกำรนำระบบดังกล่ำวเข้ำมำใช้งำน ช่วยทำให้บริ ษทั ประหยัดพลังงำนได้ 8.5 ล้ำนหน่วยต่อปี หรื อ คิดเป็ นเงินประมำณ 15 ล้ำนบำทต่อปี รวมทั้งยังช่วยลดกำรปลดปล่อยก๊ำซคำร์ บอนได้อีกด้วย 3.3 โครงกำรปรับปรุ งระบบทำควำมเย็น (Chiller Systems) ของอำคำรชุมสำย โทรศัพท์เคลื่อนที่หลัก ซึ่งได้รับกำรสนับสนุนงบประมำณจำกกรมพัฒนำพลังงำนทดแทนและอนุรักษ์ พลังงำน กระทรวงพลังงำน โดยกลุ่มทรู ได้ดำเนินกำรปรับปรุ งเครื่ องจักรและอุปกรณ์สำหรับระบบ ทำควำมเย็นของอำคำรหลักเพื่อให้ทำงำนได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพมำกขึ้น ได้แก่ กำรเปลี่ยนระบบระบำย ควำมร้อนด้วยอำกำศ (Air Cooled Chiller System) ใหม่ ณ อำคำรชุมสำยโทรศัพท์เคลื่อนที่หลักเมืองทองธำนี จำนวน 3 เครื่ อง และกำรนำระบบระบำยควำมร้อนด้วยน้ ำ (Water Cooled Chiller System) เข้ำไปใช้ใน ณ อำคำรชุมสำยโทรศัพท์เคลื่อนที่หลักเพชรบุรีเพิ่มเติม ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

7.

การร่ วมพัฒนาชุ มชนและสั งคม 1) ส่ งเสริมกิจกรรมด้ านพัฒนาการศึกษา (ปลูกความรู้ ) 1.1 ทรู ปลูกควำมรู้ : โครงกำรเปิ ดโลกทัศน์แห่ งกำรเรี ยนรู ้สู่โรงเรี ยนทัว่ ประเทศ ภำยใต้ โครงกำรทรู ปลูกปัญญำ กลุ่มทรู มีควำมมุ่งมัน่ ส่ งเสริ มกิจกรรมด้ำนพัฒนำกำรศึกษำ ผ่ำนโครงกำรเปิ ดโลกทัศน์ แห่งกำรเรี ยนรู ้สู่โรงเรี ยนทัว่ ประเทศ ภำยใต้โครงกำรทรู ปลูกปัญญำ โดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมกำร สื่ อสำรที่ครบวงจรของกลุ่มทรู สนับสนุนกำรพัฒนำศักยภำพกำรเรี ยนกำรสอนแก่โรงเรี ยนที่ขำดแคลน สื่ อกำรเรี ยนกำรสอน ปัจจุบนั มีโรงเรี ยนในโครงกำรทรู ปลูกปัญญำรวม 6,000 โรงเรี ยน นอกจำกนี้ยงั ได้ คัดเลือกโรงเรี ยนทรู ปลูกปัญญำที่มีศกั ยภำพ มีกำรบริ หำรจัดกำรกำรใช้สื่อกำรสอนอย่ำงเต็มประสิ ทธิ ภำพ ให้เป็ นโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปัญญำ โดยในปี 2559 มีโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปัญญำรวม 58 โรงเรี ยน และมีกิจกรรมส่ งเสริ มกำรเรี ยนรู ้ต่ำงๆ ดังนี้ 1) ทรู ปลูกปัญญำ ร่ วมมอบควำมสุ ขในวันเด็กแห่งชำติ ประจำปี 2559 กลุ่มทรู โดยทีมงำนทรู ปลูกปัญญำ จัดกิจกรรมส่ งเสริ มกำรเรี ยนรู ้แก่เด็กและ เยำวชนในงำนวันเด็กแห่งชำติ ประจำปี 2559 ภำยใต้แนวคิด “ปลูกควำมรู้ ปลูกควำมดี ปลูกใจรักสิ่ งแวดล้อม” เพื่อส่ งเสริ มให้เยำวชนฝึ กคิดวิเครำะห์ ปลูกฝังคุณธรรมจริ ยธรรม และตระหนักถึงกำรอนุรักษ์ธรรมชำติ ผ่ำนเกมต่ำงๆ อำทิ เกมปลูกควำมรู้ “ประชำคมอำเซียน(AEC)” เกมปลูกควำมดี “ค่ำนิยม 12 ประกำร” เกมปลูกใจรักสิ่ งแวดล้อม “สัตว์มีค่ำ ป่ ำมีคุณ” และซุม้ เกมจำกทรู คลิกไลฟ์ ซึ่งได้รับควำมสนใจจำกเด็ก เป็ นจำนวนมำก 1.2 ปลูกควำมรู้ : กลุ่มทรู ส่งเสริ มกำรศึกษำในโครงกำรสำนพลังประชำรัฐ ด้ำนกำรศึกษำ พื้นฐำนและพัฒนำผูน้ ำ กลุ่มทรู โดยทีมทรู ปลูกปั ญญำร่ วมสนับสนุนโครงกำรสำนพลังประชำรัฐ ด้ำนกำรศึกษำ พื้นฐำนและกำรพัฒนำผูน้ ำ ซึ่ งนำยศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมกำรผูจ้ ดั กำรใหญ่ และประธำนคณะผูบ้ ริ หำร ได้รับกำรแต่งตั้งจำกรัฐบำลให้เป็ นหัวหน้ำคณะทำงำนด้ำนกำรศึกษำพื้นฐำนและกำรพัฒนำผูน้ ำ เพื่อร่ วม ขับเคลื่อนและยกระดับมำตรฐำนกำรศึกษำของประเทศในทุกมิติ ทั้งด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำนระบบสำรสนเทศ หลักสู ตรกำรเรี ยนกำรสอน กำรพัฒนำผูน้ ำของสถำนศึกษำ รวมทั้งบุคลำกรและครู ในด้ำนคุณธรรมจริ ยธรรม ตลอดจนสร้ำงแรงจูงใจและกลไกกำรมีส่วนร่ วมของผูป้ กครอง และชุมชน เพื่อให้ประเทศไทยพัฒนำไปสู่ กำรเป็ นศูนย์กลำงกำรศึกษำเทคโนโลยีแห่งอนำคตในระดับภูมิภำค นอกจำกนี้ยงั มีกำรลงนำมควำมร่ วมมือระหว่ำงภำครัฐ โดยกระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศ และกำรสื่ อสำร กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ภำคเอกชน ภำค ประชำสังคม รวม 25 องค์กร จัดทำโครงกำรนำร่ องเพื่อพัฒนำโรงเรี ยนต้นแบบประชำรัฐในทุกตำบลทัว่ ประเทศรวม 7,424 แห่ง (ในระยะแรก 3,342 โรงเรี ยน)โดยใช้โรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปัญญำเป็ นโรงเรี ยน ต้นแบบ ทั้งนี้ในปี 2559 ที่ผำ่ นมำ กลุ่มทรู ได้ดำเนิ นกำรสนับสนุนกิจกรรมภำยใต้โครงกำรสำนพลังประชำรัฐ กลุ่ม E5 ดังนี้ ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

สนับสนุนกำรจัดประชุมเชิงปฏิบตั ิกำรแก่ผนู ้ ำโรงเรี ยนประชำรัฐทัว่ ประเทศ ทีมงำนทรู ปลูกปั ญญำร่ วมสนับสนุ นกำรจัดประชุมเชิงปฏิบตั ิกำรของผูอ้ ำนวยกำรโรงเรี ยน ทัว่ ประเทศ 3,342 คน และรองผูอ้ ำนวยกำรเขตพื้นที่กำรศึกษำ จำนวน 225 คน โดยนำยศุภชัย เจียรวนนท์ ในฐำนะหัวหน้ำทีมภำคเอกชน นำเสนอแนวทำงในกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำกำรศึกษำไทย อย่ำงยัง่ ยืนผ่ำน 3 โครงกำรหลัก 1.โครงกำรปฏิรูปกำรศึกษำตำมยุทธศำสตร์ 10 ด้ำน (Strategic Transformation) 2.โครงกำร พัฒนำผูน้ ำ CONNEXT ED (School Partner Leadership Program) และ 3.โครงกำรมหำวิทยำลัยแห่งควำม เป็ นเลิศด้ำนงำนวิจยั (Education Hubs) สนับสนุนกองทุนเพื่องำนวิจยั ในมหำวิทยำลัย 

สนับสนุนส่ งผูน้ ำรุ่ นใหม่ร่วมพัฒนำโรงเรี ยนประชำรัฐภำยใต้ โครงกำรผูน้ ำเพื่อกำร พัฒนำกำรศึกษำที่ยงั่ ยืน” (CONNEXT ED) กลุ่มทรู ร่ วมกับ 12 องค์กรภำคเอกชน ลงนำมบันทึกข้อตกลงก่อตั้ง “โครงกำรผูน้ ำเพื่อ กำรพัฒนำกำรศึกษำที่ยงั่ ยืน” (CONNEXT ED) ภำยใต้โครงกำรสำนพลังประชำรัฐ ด้ำนกำรศึกษำพื้นฐำน และกำรพัฒนำผูน้ ำ เพื่อช่วยขับเคลื่อนกำรพัฒนำกำรศึกษำ พร้อมกันนี้ได้สนับสนุนส่ งผูน้ ำรุ่ นใหม่ที่มี ศักยภำพกว่ำ 300 คน เข้ำร่ วมโครงกำร โดยยึดหลักกำรทำงำน 3 E คือ Enable สนับสนุนผูบ้ ริ หำร สถำนศึกษำให้ดำเนินงำนตำมยุทธศำสตร์ที่วำงไว้ Enhance ร่ วมเสนอแนวทำงพัฒนำโรงเรี ยนเพื่อให้ได้รับ กำรสนับสนุนจำกเอกชน และ Engage สร้ำงกำรมีส่วนร่ วมของครอบครัวและชุมชน โดยมีเป้ ำหมำยในระยะแรก ภำยในปี 2559 จำนวน 3,342 โรงเรี ยน และจะขยำยครบ 7,424 โรงเรี ยนในทุกตำบล ทัว่ ประเทศ ภำยในปี 2561 

สนับสนุนกำรจัดประชุมผูน้ ำรุ่ นใหม่เตรี ยมควำมพร้อมก่อนลงพื้นที่ร่วมวำงแผนพัฒนำ

โรงเรี ยนประชำรัฐ กลุ่มทรู ร่วมกับ12 องค์กรผูร้ ่ วมก่อตั้งโครงกำรผูน้ ำเพื่อกำรพัฒนำกำรศึกษำที่ยงั่ ยืน (CONNEXT ED) จัดกำรประชุมเชิงปฏิบตั ิกำรแก่ผนู ้ ำรุ่ นใหม่ (School Partner) จำก 12 องค์กร จำนวนรวม 600 คน เพื่อเสริ มสร้ำง องค์ควำมรู้ที่เป็ นประโยชน์ ทั้งด้ำนกระบวนกำรนำเสนอแผน เกณฑ์กำรอนุมตั ิแผนพัฒนำโรงเรี ยน กำรใช้ ระบบ ICT สื่ อดิจิทลั เพื่อกำรเรี ยนรู้ทรู ปลูกปัญญำ และหลักสู ตรเสริ มด้ำนกำรเรี ยนรู้โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น ศูนย์กลำง พร้อมทั้งเพิ่มพูนทักษะที่สำคัญๆ โดยมีวทิ ยำกรผูท้ รงคุณวุฒิของภำครัฐ ภำคเอกชน ภำคประชำสังคม มำร่ วมให้ควำมรู ้ 1.3 ปลูกควำมรู้ : สนับสนุนโครงกำร “นักข่ำวแห่งอนำคต ทรู วชิ นั่ ส์” ครั้งที่ 14 ประจำปี 2559 กลุ่มทรู โดยทรู วชิ นั่ ส์จดั กิจกรรมส่ งเสริ มนิสิต นักศึกษำชั้นปี ที่ 3 และปี ที่ 4 สำขำนิเทศศำสตร์ วำรสำรศำสตร์ และสื่ อสำรมวลชน จำกสถำบันกำรศึกษำในประเทศไทย ที่สนใจด้ำนงำนข่ำว ได้เปิ ดโลกทัศน์ แห่งกำรเรี ยนรู ้กบั ผูท้ ี่อยูใ่ นวงกำรวิชำชีพด้ำนข่ำวระดับแนวหน้ำของประเทศและระดับโลกในโครงกำร “14th TrueVisions Future Journalist Award : FJA 2016” นักข่ำวแห่ งอนำคต รุ่ นที่ 14 โดยจัดอบรมเชิงปฏิบตั ิ 'กระบวนข่ำว' พร้อมจัดกิจกรรมคัดเลือกนักข่ำวแห่งอนำคตดีเลิศ (Excellent FJA) จำนวน 2 คน จำกนิสิตนักศึกษำที่เข้ำร่ วมโครงกำรจำนวน 245 คน จำก 20 สถำบัน 13 จังหวัดทัว่ ประเทศ ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ทั้งนี้ผทู ้ ี่ได้รับกำรคัดเลือกคือ นำงสำวอนรรฆพร ลำยวิเศษกุล ปี 3 คณะวำรสำรศำสตร์และสื่ อสำรมวลชน มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ และนำงสำวมินตรำ อะแดร์ ปี 3 คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหำวิทยำลัยบูรพำ ได้ไปฝึ กปฏิบตั ิงำนข่ำวที่ BBC World News กรุ งลอนดอน ประเทศอังกฤษ และ นักข่ำวแห่งอนำคตดีเด่น ประจำภูมิภำค (Outstanding FJA) 5 คน ซึ่ งได้ฝึกงำนกับสถำนีข่ำว TNN24 เป็ นเวลำ 1 เดือน 1.4 ปลูกควำมรู้ : มอบทุนกำรศึกษำกำรประกวดภำพยนตร์ โฆษณำเพื่อสังคมในโครงกำร True Young Producer Award 2015 กลุ่มทรู และ สมำคมโฆษณำแห่งประเทศไทย มอบทุนกำรศึกษำ 100,000 บำท ให้แก่ "ทีมมนต์รักโปรดักชัน่ " จำกคณะวิทยำกำรจัดกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏ สวนสุ นนั ทำ ซึ่งผลงำนได้รับกำร กดโหวต Like, Comment และ Share มำกที่สุด จำก 10 ผลงำนสุ ดท้ำยที่เข้ำรอบในโครงกำรประกวด True Young Producer Award 2015 ในหัวข้อ กำรให้ดว้ ย “ใจ" ยิง่ ใหญ่ที่สุด กำรประกวดภำพยนตร์ โฆษณำเพื่อ สังคม ถ้วยพระรำชทำนสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ครั้งที่ 11 จัดขึ้นเพื่อสร้ำงเวทีแห่ง โอกำสให้นิสิต–นักศึกษำทัว่ ประเทศ ได้แสดงควำมสำมำรถและควำมคิดสร้ำงสรรค์ในกำรผลิตภำพยนตร์ โฆษณำเพื่อสังคม โดยจัดกำรประกวดในประเภท Viral VDO ควำมยำวไม่เกิน 2 นำที 1.5 ปลูกควำมรู้ : ทรู ร่ วมกับ เบรนคลำวด์ ประเทศไทย สนับสนุนชุดกำรเรี ยนกำรสอน ภำษำอังกฤษใน 3 จังหวัดชำยแดนภำคใต้ กลุ่มทรู ร่ วมกับ บริ ษทั เบรนคลำวด์ (ประเทศไทย) จำกัด ผูผ้ ลิตสื่ อกำรเรี ยนกำรสอน ส่ งมอบชุดกำรเรี ยนกำรสอนภำษำอังกฤษ ประกอบด้วย ทรู สมำร์ท แท็บเลต 7.0 ซิมดำต้ำ 3G จำกทรู มูฟ เอช และระบบกำรจัดกำรเรี ยนกำรสอนภำษำอังกฤษอัจฉริ ยะของเบรนคลำวด์ แบบเรี ยลไทม์ให้แก่ครู จำกโรงเรี ยนทิวไผ่งำม จำนวน 800 ชุด เพื่อส่ งมอบแก่ครู และนักเรี ยนกว่ำ 30 โรงเรี ยน ที่สังกัดสำนักงำน คณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนและองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นใน 3 จังหวัดชำยแดนภำคใต้ และ ส่ งมอบจนครบ 2,250 ชุด ทัว่ ประเทศ ในปี 2559 1.6 ปลูกควำมรู้ : ช่องทรู ปลูกปั ญญำ ร่ วมกับ เป๊ ปเปอร์ มิ้นท์ ฟิ ลด์ มอบทุนกำรศึกษำแก่ ตัวแทนแอดแก๊ง 59 จำกรำยกำร "แอดมิชชัน่ แก๊ง" กลุ่มทรู โดยทีมงำนทรู ปลูกปัญญำ มีเดีย ร่ วมกับ บริ ษทั เบอร์แทรมเคมิคอล (1982) จำกัด ผูผ้ ลิตและจัดจำหน่ำยผลิตภัณฑ์ เป๊ ปเปอร์ มิ้นท์ ฟิ ลด์ หนึ่งในผูส้ นับสนุนรำยกำร "Admissions Gang" มอบ ทุนกำรศึกษำรวมมูลค่ำ 360,000 บำท แก่ตวั แทน AdGang 59 ทั้ง 12 คน ที่สำมำรถพิชิตคณะในฝันได้สำเร็ จ ทั้งนี้ "Admissions Gang" เป็ นรำยกำรควำมรู ้ดำ้ นกำรศึกษำต่อระดับมหำวิทยำลัยแก่เยำวชนทัว่ ประเทศ ออกอำกำศทุกวันเสำร์ เวลำ 11.00 น. ทำงช่องทรู ปลูกปั ญญำ (ทรู วชิ นั่ ส์ ช่อง 37 และ 116 หรื อ PSI ช่อง 188) ซึ่ งเปิ ดรับสมัครนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 6 เพื่อร่ วมเป็ นตัวแทนแอดมิชชัน่ พิชิตคณะในฝัน ซึ่ งแต่ละคนจะ ได้รับควำมรู้ และคำแนะนำจำกผูเ้ ชี่ยวชำญ รวมทั้งกำรติวเข้มจำกติวเตอร์ ช้ นั นำ

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.7 ปลูกควำมรู้ : กลุ่มทรู ร่ วมกับ สมำคมนักข่ำว นักหนังสื อพิมพ์แห่งประเทศไทยจัดกำร อบรมเชิงปฎิบตั ิกำร “นักข่ำวพิรำบน้อย” รุ่ นที่ 19 กลุ่มทรู ร่วมกับสมำคมนักข่ำวนักหนังสื อพิมพ์แห่งประเทศไทย จัดกำรอบรมเชิงปฏิบตั ิกำร “นักข่ำวพิรำบน้อย” รุ่ นที่ 19 ประจำปี 2559 เพื่อให้นิสิต นักศึกษำ ภำควิชำวำรสำรศำสตร์ นิเทศศำสตร์ และสื่ อสำรมวลชน จำนวน 71 คน ที่ได้รับกำรคัดเลือกจำก 34 สถำบันกำรศึกษำทัว่ ประเทศ ได้เรี ยนรู้ ฝึ กฝนทักษะ พร้อมฝึ กปฏิบตั ิกำรทำข่ำวหนังสื อพิมพ์เสมือนจริ งแบบเข้มข้นจำกนักข่ำวมืออำชีพ ก่อนก้ำวเข้ำสู่ วงกำรสื่ อสำรมวลชนอย่ำงมีคุณภำพ ซึ่ งกลุ่มทรู ได้ให้กำรสนับสนุนโครงกำรดังกล่ำวมำอย่ำงต่อเนื่ อง 1.8 ปลูกควำมรู้ : กลุ่มทรู ร่วมกับ สมำคมนักข่ำววิทยุและโทรทัศน์ไทย จัดโครงกำรอบรม และมอบเกียรติบตั ร “นักข่ำวสำยฟ้ ำน้อย” รุ่ นที่ 14 กลุ่มทรู ร่วมกับสมำคมนักข่ำววิทยุและโทรทัศน์ไทย โดย นำยเทพชัย หย่อง นำยกสมำคมฯ จัดอบรมเชิงปฎิบตั ิกำร “นักข่ำวสำยฟ้ ำน้อย” รุ่ นที่ 14 ประจำปี 2559 โดยปี นี้มีนิสิต นักศึกษำ ภำควิชำ วำรสำรศำสตร์ นิเทศศำสตร์ และสื่ อสำรมวลชน จำนวน 64 คน จำก 37 สถำบันกำรศึกษำทัว่ ประเทศเข้ำ ร่ วมอบรม และได้ฝึกปฏิบตั ิกำรทำข่ำววิทยุ -โทรทัศน์เสมือนจริ งแบบเข้มข้นจำกนักข่ำวมืออำชีพ พร้อมทั้ง เปิ ดเวลทีส่งผลงำนข่ำววิทยุ ข่ำวโทรทัศน์ และคลิปข่ำว เข้ำแข่งขันเพื่อพัฒนำควำมสำมำรถด้ำนกำรผลิต ผลงำนในกำรประกวด “รำงวัลสำยฟ้ ำน้อย” โดยมีผลงำนที่ส่งเข้ำประกวด รวม 86 เรื่ อง ทั้งนี้จำกกำร ตัดสิ น รำงวัลสำรคดีเชิงข่ำวโทรทัศน์ดีเด่น ได้แก่ สำรคดีเชิงข่ำวโทรทัศน์ ประเภทอัตลักษณ์วฒั นธรรม เรื่ อง ขันลงหินรอวันอวสำน จำกมหำวิทยำลัยรังสิ ต โดยได้รับโล่เกียรติยศและเงินรำงวัล 20,000 บำท 1.9 ปลูกควำมรู้ กลุ่มทรู ร่ วมสนับสนุน “โครงกำรส่ งเสริ มกำรรู ้หนังสื อผ่ำนสื่ อพกพำ สำหรับเด็กนอกระบบกำรศึกษำ” กลุ่มทรู ร่ วมกับองค์กำรยูเนสโก กรุ งเทพฯ ไมโครซอฟท์ ประเทศไทย สำนักงำน คณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (สพฐ.) ดำเนิน “โครงกำรส่ งเสริ มกำรรู ้หนังสื อผ่ำนสื่ อพกพำสำหรับ เด็กนอกระบบกำรศึกษำ” เป็ นปี ที่ 2 โดยคัดเลือกศูนย์กำรเรี ยนรู ้ตำมชำยแดนและโรงเรี ยนสังกัด สพฐ. ที่มี เด็กต่ำงด้ำวเรี ยนร่ วม เพิม่ ขึ้นจำนวน 40 แห่ง (ปี 2558 มี 20 แห่ง) โดยทรู ให้กำรสนับสนุน “ชุดอุปกรณ์และ สื่ อดิจิทลั เพื่อกำรเรี ยนรู้ ” จำกโครงกำรทรู ปลูกปัญญำ ซึ่งประกอบด้วย 1) ชุดอุปกรณ์รับสัญญำณทรู วชิ นั่ ส์ เครื่ องรับโทรทัศน์สี LCD 32 นิ้ว และตูเ้ ก็บอุปกรณ์ พร้อมช่องรำยกำรคุณภำพที่มีเนื้ อหำสำระเพื่อกำรเรี ยนรู ้ กว่ำ 50 ช่อง 2) สื่ อดิจิทลั เพื่อกำรเรี ยนกำรสอน (DVD Digital Content) ครอบคลุม 8 กลุ่มสำระวิชำ 3) อุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตไร้สำยบนเครื อข่ำยทรู มูฟ เอช ซึ่ งสื่ อเหล่ำนี้ จะทำให้ครู และเยำวชนใน โครงกำรกว่ำ 5,000 คน เข้ำถึงกำรเรี ยนรู้ สร้ำงแรงบันดำลใจ เปิ ดโลกทัศน์ให้เด็กๆ มีควำมรู ้ทดั เทียมกับ เยำวชนอื่นๆทัว่ ไป

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2)

ส่ งเสริมกิจกรรมสั งคม และพัฒนาชุ มชน 2.1 ปลูกควำมดี : โครงกำรสำมเณร ปลูกปัญญำธรรม ปี 5 ”แนวคิด “ตำมรอยบำทพุทธศำสดำ” กลุ่มทรู สร้ำงสรรค์โครงกำรสำมเณร ปลูกปัญญำธรรม รำยกำรธรรมะรู ปแบบเรี ยลลิต้ ี ที่มีคุณภำพ มีสำระเป็ นตัวนำ ควบคู่กบั ควำมบันเทิง มำอย่ำงต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 5 ซึ่งเป็ นรำกฐำนสำคัญที่จะ ช่วยปลูกฝังแนวคิด ค่ำนิยมที่ถูกต้อง ให้เยำวชนเติบโตเป็ นทั้งคนเก่งและคนดีของสังคม โดยในปี 2559 นำเยำวชนชำย 12 คนที่ผำ่ นกำรคัดเลือกจำกผูส้ มัคร 3,000 กว่ำคนทัว่ ประเทศเข้ำศึกษำและฝึ กปฏิบตั ิธรรม ณ วัดเขำวง จ.สระบุรี ด้วยแนวคิด “รัก-รอ-พอ-ให้” เป็ นกำรปลูกควำมรู ้คู่คุณธรรมให้แก่เยำวชน อันจะ นำไปสู่ กำรส่ งต่อสิ่ งดีงำมแก่ผอู ้ ื่น ด้วยจิตใจอันบริ สุทธิ์ เป็ นตัวอย่ำงที่ดีแก่สังคม สร้ำงแรงบันดำลใจให้ผชู้ ม สนใจธรรมะ ประพฤติตนดีงำมตำมแนวทำงพระพุทธศำสนำ โครงกำรนี้ จะช่วยทำให้เยำวชนไทย และ ประชำชนชนทัว่ ไปสำมำรถเข้ำถึง เห็นคุณค่ำและสนใจศึกษำพระพุทธศำสนำในวงกว้ำงมำกยิง่ ขึ้น 2.2 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู สนับสนุนเทคโนโลยีสื่อสำรครบวงจรในกำรแข่งขันเอฟไอวีบี วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรี ซ์ 2016 รอบชิงชนะเลิศ กลุ่มทรู สนับสนุนกำรแข่งขัน เอฟไอวีบี วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรี ซ์ 2016 รอบชิง ชนะเลิศ ซึ่ งจัดขึ้นในประเทศไทย โดยติดตั้งอินเทอร์ เน็ต และ WiFi รองรับกำรแข่งขันที่ใช้ระบบ อี-ซิสเต็ม ผ่ำนอุปกรณ์ “แท็บเล็ต” พร้อมจัดเตรี ยมอุปกรณ์สื่อสำร รวมทั้งแพ็คเกจค่ำโทรทั้งในและต่ำงประเทศ ให้แก่ เจ้ำหน้ำที่และทีมงำนของสหพันธ์วอลเลย์บอลนำนำชำติ หรื อ FIBV และยังได้มอบสิ ทธิพิเศษให้ลูกค้ำทรู ด้วยกำรมอบบัตรชมกำรแข่งขันถึงขอบสนำม 2.3 ปลูกควำมดี : ทรู ร่วมสนับสนุนกำรแข่งขันฟุตบอลเยำวชนไทย “King Power’s Cup”เฟ้ นหำ 9 นักเตะน้อย บินไปฝึ กทักษะกีฬำฟุตบอลที่องั กฤษ กลุ่มทรู มุ่งมัน่ ส่ งเสริ มเยำวชนไทยที่สนใจกีฬำ พร้อมทั้งร่ วมสำนฝันให้นกั เตะไทย มีโอกำสเรี ยนรู ้และแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์อนั มีคุณค่ำ แก่สถำบันกีฬำฟุตบอลระดับสำกล โดยได้ร่วม สนับสนุนสโมสรเลสเตอร์ ซิ ต้ ี ในกำรจัดกำรแข่งขันฟุตบอลเยำวชนไทย รุ่ นอำยุไม่เกิน 15 ปี ระดับประเทศ ชิงถ้วยรำงวัล “King Power’s Cup” พร้อมทั้งคัดเลือกเยำวชนไทยฝี เท้ำดีเยีย่ ม จำนวน 9 คน ไปร่ วมฝึ กฝน ทักษะด้ำนกีฬำฟุตบอลที่ประเทศอังกฤษกับสโมสรในโครงกำร “เลสเตอร์ ซิ ต้ ี อินเตอร์ เนชัน่ แนล อะคำเดมี” รุ่ นที่ 2 เพื่อเตรี ยมพร้อมก้ำวสู่ กำรเป็ นนักฟุตบอลอำชีพระดับโลก 2.4 ปลูกควำมดี : พนักงำนกลุ่มทรู และครอบครัวร่ วมถวำยปั จจัย สมทบทุนสร้ำงศูนย์ วิปัสสนำสำกลไร่ เชิญตะวัน จ.เชียงรำย พนักงำนและครอบครัวพนักงำนกลุ่มทรู และเครื อเจริ ญโภคภณฑ์ร่วมถวำยปั จจัย จำนวน 22.2 ล้ำนบำท เพื่อนำไปสร้ำงวิปัสสนำคำรนำนำชำติ ภำยในศูนย์วปิ ั สสนำสำกลไร่ เชิญตะวัน จ.เชียงรำย ซึ่ งจะเป็ นศูนย์กลำงในกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำสู่ ประชำคมโลก และเป็ นรมณี ยสถำนสำหรับกำรจัด วิปัสสนำกรรมฐำนที่สำมำรถรองรับผูป้ ฏิบตั ิธรรมได้ถึง 1,000 คน ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2.5 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู ส่ งมอบเงินบริ จำคผ่ำน SMS ของลูกค้ำกว่ำ 1 ล้ำนบำท จำก โครงกำร Let Them See Love ให้แก่สภำกำชำดไทย กลุ่มทรู มอบเงินบริ จำคผ่ำน SMS ของลูกค้ำทรู มูฟ เอช จำนวน 1,095,080 บำท เพื่อ ร่ วมสมทบทุนเพื่อเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกระบวนกำรบริ จำคอวัยวะและดวงตำในโครงกำร Let Them See Love ที่ รณรงค์ให้ประชำชนตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรบริ จำคอวัยวะและดวงตำพื่อมอบชีวติ ใหม่แก่ผทู ้ ี่กำลัง รอคอยควำมหวัง 2.6 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู มอบเงินสมทบทุนจำนวน 1 ล้ำนบำท ให้มูลนิธิคณะกรรมกำร พำรำลิมปิ กแห่งประเทศไทย เพื่อนำไปพัฒนำและสนับสนุนนักกีฬำคนพิกำร กลุ่มทรู มอบเงินสมทบทุนจำนวน 1 ล้ำนบำท ให้มูลนิธิคณะกรรมกำรพำรำลิมปิ ก แห่งประเทศไทย เพื่อนำไปพัฒนำและสนับสนุนนักกีฬำคนพิกำรทีมชำติไทยสู่ ควำมสำเร็ จในระดับโลก อย่ำงต่อเนื่ องและมอบโทรศัพท์มือถือ ทรู สมำร์ท 4จี แม็กซ์ 5.0 แก่นกั กีฬำทุกคนรวม 60 เครื่ อง พร้อมค่ำโทร จำนวน 1,000 บำท โดยประธำนคณะกรรมกำรพำรำลิมปิ กแห่งประเทศไทย เป็ นผูแ้ ทนรับ ภำยในงำน “THANK YOU THE HEROES” ซึ่ งเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์จดั เลี้ยงต้อนรับนักกีฬำพำรำลิมปิ กไทย ชุดสร้ำง ประวัติศำสตร์ คว้ำ 6 เหรี ยญทอง 6 เหรี ยญเงิน และ 6 เหรี ยญทองแดง ในศึกพำรำลิมปิ กเกมส์ 2016 เพื่อ ขอบคุณทุกแรงบันดำลใจที่สำนฝันให้คนไทยทั้งชำติ 2.7 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู มอบสมำร์ ทโฟน ฟรี พร้อมโปรโมชัน่ โทรหำกันฟรี ตลอด 24 ชัว่ โมง แก่ผอู ้ ยูอ่ ำศัยในโครงกำรบ้ำนเอื้ออำทร กลุ่มทรู มอบสิ ทธิ พิเศษให้แก่ผพู ้ กั อำศัยภำยในโครงกำร กำรเคหะแห่งชำติ โดยมอบทรู สมำร์ทโฟน ให้ฟรี พร้อมแพ็กเกจที่เลือก และโปรโมชัน่ โทรหำกันภำยในชุมชนฟรี ตลอด 24 ชัว่ โมง นอกจำกนี้ยงั มีโครงกำรต่อเนื่องที่จะมอบบริ กำรอื่นๆ อำทิ อินเทอร์ เน็ตควำมเร็ วสู ง ทรู วชิ นั่ ส์ แพ็คเกจรำคำประหยัด เพื่อยกระดับคุณภำพชีวติ ของคนในชุมชนให้สะดวกสบำย และมีควำมทันสมัยมำก ยิง่ ขึ้นในสังคมยุคดิจิทลั โดยเริ่ มนำร่ องที่โครงกำรบ้ำนเอื้ออำทร รำมอินทรำ (คูบ้ อน 27) ก่อนขยำยสู่ โครงกำรอื่นต่อไป 2.8 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู ให้ควำมช่วยเหลือลูกค้ำทรู มูฟ เอช ในแต่ละประเทศทัว่ โลก โทรและรับสำยฟรี จำกเหตุกำรณ์โศกนำฎกรรมที่เกิดขึ้นตลอดปี กลุ่มทรู แสดงควำมเสี ยใจต่อโศกนำฏกรรมที่เกิดขึ้นในแต่ละประเทศทัว่ โลกตลอดปี โดยให้ควำมช่วยเหลือลูกค้ำทรู มูฟ เอช ที่เดินทำงอยูใ่ นประเทศนั้นๆ ให้สำมำรถโทรออกและรับสำยฟรี ทั้งในและต่ำงประเทศ ระหว่ำงช่วงที่เกิดเหตุกำรณ์ รวมทั้งลูกค้ำทรู มูฟ เอชในไทย สำมำรถติดต่อขอให้ ควำมช่วยข้อมูลหรื อควำมช่วยเหลือฉุ กเฉิ นจำกสถำนเอกอัครรำชทูตไทย ได้ฟรี ในช่วงเวลำดังกล่ำว

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2.9 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู ชูแนวคิด “พินยั กรรมอวัยวะ” บริ จำคอวัยวะด้วยกำรบอกญำติ ผ่ำน โครงกำร Let Them See Love กลุ่มทรู ร่ วมกับเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ศูนย์รับบริ จำคอวัยวะ และศูนย์ดวงตำ สภำกำชำดไทย สำนต่อกิจกรรมรณรงค์ให้คนไทยบริ จำคอวัยวะและดวงตำ ผ่ำนโครงกำร Let Them See Love 2016 ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 10 ภำยใต้แนวคิด “พินยั กรรมอวัยวะ” บริ จำคอวัยวะด้วยกำรบอกญำติ สร้ำงแรงกระตุน้ ให้ผบู้ ริ จำคเห็นควำมสำคัญของกำรแจ้งควำมจำนงบริ จำคอวัยวะและดวงตำให้ญำติทรำบ เพื่อให้ญำติสำนต่อเจตนำรมณ์ของผูบ้ ริ จำคให้บรรลุผลตำมที่ต้ งั ใจ พร้อมเปิ ดตัวภำพยนตร์ โฆษณำชุดใหม่ “พินยั กรรมอวัยวะ” ถ่ำยทอดเรื่ องรำวกำรขอรับบริ จำคอวัยวะจำกญำติของผูก้ ำลังเสี ยชีวติ สร้ำงกุศลให้ ผูท้ ี่จำกไปด้วยกำรมอบชี วติ ใหม่แก่เพื่อนมนุษย์ที่รอคอยควำมหวัง ปั จจุบนั มีผปู ้ ่ วยที่รอกำรปลูกถ่ำยอวัยวะ อยูจ่ ำนวนมำกถึง 5,018 รำย และมีผทู ้ ี่รอกำรเปลี่ยนกระจกตำที่มีอยูม่ ำกถึง 7,964 รำย 2.10 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู และเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ร่วมสนับสนุนอำหำรไทยและ กำรสื่ อสำรอย่ำงเป็ นทำงกำร แก่คณะนักกีฬำไทยในริ โอเกมส์ 2016 กลุ่มทรู และเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์สนับสนุนด้ำนอำหำรและกำรสื่ อสำรแก่ทพั นักกีฬำไทย อย่ำงเป็ นทำงกำร ตลอดมหกรรม โอลิมปิ กเกมส์ 2016 ณ กรุ งริ โอ เดอ จำเนโร สหพันธ์สำธำรณรัฐบรำซิล ระหว่ำงวันที่ 5-21 สิ งหำคม 2559 โดยเปิ ดครัวไทยนำคณะเชฟมือหนึ่งไปปรุ งอำหำรสดใหม่ รสชำติเยีย่ ม โภชนำกำรสู งให้นกั กีฬำไทยสื่ อมวลชนไทยรับประทำนทุกมื้อ ที่ไทยเฮำส์ เพื่อให้กำลังใจนักกีฬำทุกคนที่ เข้ำร่ วมกำรแข่งขัน ให้มีควำมพร้อม มีร่ำงกำยแข็งแรงสมบูรณ์ นำชื่ อเสี ยงมำสู่ ประเทศชำติและชำวไทย นอกจำกนี้ยงั ได้มอบซิ มโรมมิ่งจำก ทรู มูฟ เอช ให้สำมำรถติดต่อสื่ อสำรกับครอบครัวได้ตลอดเวลำ เพื่อ สร้ำงกำลังใจแก่นกั กีฬำไทยที่เข้ำร่ วมกำรแข่งขัน 2.11 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู และซี พรี ่ วมกับ สถำนีข่ำวโทรทัศน์ TNN 24 นำเสนอ ภำพยนตร์สำรคดี แผ่นดินวัยเยำว์ กลุ่มทรู และเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ร่ วมกับสถำนีข่ำวโทรทัศน์ TNN 24 ร่ วมสร้ำงสรรค์ “แผ่นดินวัยเยำว์” ภำพยนตร์ สำรคดีครั้งประวัติศำสตร์ อนั ทรงคุณค่ำของประเทศ ถ่ำยทำจำกสถำนที่จริ ง ณ สวิตเซอร์แลนด์ แผ่นดินที่ประทับของพระมหำปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช ในทุกช่วงเวลำขณะทรง พระเยำว์ โดยได้รับพระรำชทำนพระบรมรำชำนุ ญำตให้เผยแพร่ เป็ นครั้งแรก เพื่อให้พสกนิกรชำวไทยได้ ชื่นชมพระรำชจริ ยวัตร และเพื่อเฉลิมพระเกียรติในโอกำสมหำมงคลเสด็จเถลิงถวัลย์รำชสมบัติครบ 70 ปี รวม 9 ตอน ออกอำกำศทุกวันพฤหัสบดี ตั้งแต่วนั ที่ 9 มิถุนำยน 2559 เวลำ 20.00 น. ผ่ำนช่อง TNN 24 (ทรู วชิ นั่ ส์ ช่อง 16 และ 777) และออกอำกำศซ้ ำผ่ำนช่อง True4U (ทรู วชิ นั่ ส์ ช่อง 24)

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2.12 ปลูกควำมดี : ทรู มูฟเอช ร่ วมสนับสนุนและพัฒนำบริ กำร AOT Free WiFi by TrueMove H ในสนำมบินนำนำชำติ 6 แห่งทัว่ ประเทศ กลุ่มทรู วำงโครงข่ำยไฟเบอร์ ออพติกเพื่อให้บริ กำร WiFi ควำมเร็ วสู ง พร้อมทั้ง ติดตำมปริ มำณกำรใช้งำนและพัฒนำและเพิ่มอุปกรณ์ให้สำมำรถรองรับปริ มำณกำรใช้งำนในเวลำเดียวกัน ได้จำนวนมำก เพื่ออำนวยควำมสะดวกให้ผทู ้ ี่มำใช้บริ กำรสนำมบินสำมำรถติดต่อสื่ อสำรได้รวดเร็ ว ออนไลน์ได้ทุกที่ทุกเวลำ ทั้งนี้บริ กำร AOT Free WiFi by TrueMove H เปิ ดให้ใช้บริ กำรฟรี 2 ชัว่ โมงใน 1 วัน โดยไม่เสี ยค่ำใช้จ่ำย ปั จจุบนั ครอบคลุมพื้นที่มำกกว่ำ 100,000 จุดทัว่ ประเทศ และบริ กำรทรู มูฟ เอช 4G, 3G บนเครื อข่ำยที่ใหญ่ที่สุดและครอบคลุมพื้นที่มำกที่สุด ทั้งนี้ยงั ส่ งผลให้สนำมบินดอนเมือง ได้รับกำรโหวต จำกนักท่องเที่ยวทัว่ โลกให้เป็ น “สนำมบินที่ให้บริ กำร Wi-Fi เร็ วที่สุด ประจำปี 2015” และสนำมบินของ บมจ. ท่ำอำกำศยำนไทยอีก 4 แห่งยังติดอันดับ Top 10 สนำมบินที่ WiFi เร็ วที่สุดในโลกด้วย จำกผลกำร สำรวจกำรใช้งำนที่สนำมบินกว่ำ 200 แห่งทัว่ โลก โดย Rotten WiFi ซึ่งเป็ นเว็บไซต์สำรวจบริ กำรไวไฟ สำธำรณะ และบริ กำร 3G/4G ที่จดั อันดับคุณภำพบริ กำรอินเทอร์ เน็ตไร้สำยสำธำรณะ 2.13 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู และเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์เปิ ดซุ ม้ บริ กำรพสกนิกรที่มำร่ วมถวำย ควำมอำลัยและกรำบสักกำระพระบรมศพ ด้วยสำนึกในพระมหำกรุ ณำธิ คุณใต้ร่มพระบรมโพธิ สมภำร กลุ่มทรู และเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ร่ วมถวำยควำมอำลัยพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช เปิ ดซุม้ บริ กำรอำหำรและเครื่ องดื่ม เพื่อให้พี่นอ้ งคนไทยจำกทัว่ ประเทศ พร้อมทั้งเพิม่ ประสิ ทธิ ภำพเครื อข่ำยโทรศัพท์มือถือ Truemove H และ อินเทอร์เน็ต True Free WiFi, ที่ชำร์ จแบต รวมถึงเสื้ อกันฝน เพื่ออำนวยควำมสะดวกแก่พสกนิกรจำกทัว่ ประเทศ ที่เดินทำงมำร่ วมถวำยควำมอำลัยและกรำบสักกำระพระบรมศพ ณ บริ เวณโดยรอบสนำมหลวงและ พระบรมมหำรำชวัง โดยมีพนักงำนซีพี-ทรู จิตอำสำให้บริ กำรพี่นอ้ งคนไทยทุกคน นอกจำกนี้พนักงำนกลุ่มทรู ยังได้ร่วมกันจัดทำ “ริ บบิ้นดำ-ทำดีเพื่อพ่อ” เพื่อแจกจ่ำยให้ประชำชนทัว่ ไป สำนพลังแห่ งควำมรัก ควำมสำมัคคีใน กำรทำควำมดี เป็ นคนดี สื บสำนปณิ ธำน “ในหลวง-รัชกำลที่ 9” สื บไป 2.14 ปลูกควำมดี : กลุ่มทรู ประสำนควำมร่ วมมือเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ช่วยเหลือชำวนำไทย เปิ ดช่องทำงจัดจำหน่ำยข้ำวผ่ำนทรู ชอ้ ป และทรู คอฟฟี่ ทุกสำขำทัว่ ประเทศ กลุ่มทรู ร่วมเป็ นส่ วนหนึ่งในกำรบรรเทำควำมเดือดร้อนของเกษตรกรไทย ด้วยกำร สนับสนุนนโยบำยรัฐบำลในกำรช่วยแก้ปัญหำรำคำข้ำวตกต่ำ เปิ ดช่องทำงจัดจำหน่ำยข้ำวไทยที่เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รับซื้ อจำกชำวนำโดยตรง อำนวยควำมสะดวกให้ประชำชนสำมำรถซื้ อได้ในรำคำต้นทุน ณ ทรู ช็อป และ ทรู คอฟฟี่ ทุกสำขำทัว่ ประเทศ กว่ำ 300 สำขำ ซึ่ งเป็ นอีกหนึ่ งช่องทำงที่ช่วยอำนวยควำมสะดวกให้แก่ประชำชน 2.15 สนับสนุนกำรพัฒนำคุณภำพชีวติ ของชุมชนในพื้นที่ห่ำงไกลผ่ำนเครื อข่ำย ทรู มูฟ เอช กลุ่มทรู นำเครื อข่ำยทรู มูฟ เอช เข้ำร่ วมพัฒนำคุณภำพชี วติ ให้แก่ชุมชนในพื้นที่ห่ำงไกล ด้วยกำรสนับสนุน แพ็กเกจ ดำต้ำ อย่ำงต่อเนื่องให้แก่โรงพยำบำลประจำอำเภอและโรงพยำบำลส่ งเสริ ม สุ ขภำพตำบล รวม 127 แห่งทัว่ ประเทศ ที่ขำดกำรเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ต ให้สำมำรถพัฒนำกำรบริ กำร สำธำรณสุ ขชุมชน เพื่อดูแลผูป้ ่ วยเบื้องต้นได้เช่น กำรปรึ กษำแพทย์ทำงไกล กำรส่ งตัวผูป้ ่ วยฉุ กเฉิ น และ กำรสื่ อสำรกับหน่วยงำนต่ำงๆ อีกด้วย

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

3)

กลุ่มทรู กบั การพัฒนาอย่ างยั่งยืน กลุ่มทรู ให้ควำมสำคัญ กับกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืน โดยมุ่งมัน่ ในกำรรำยงำนควำมก้ำวหน้ำ และผลกำรดำเนินงำนที่เกี่ยวข้องด้ำนควำมรับผิดชอบต่อสังคม โดยประเมินประเด็นสำคัญต่อควำมยัง่ ยืน ทุกปี เพื่อระบุประเด็นที่มีควำมสำคัญต่อองค์กรและประเด็นที่ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยให้ควำมสนใจทั้งจำกภำยใน และภำยนอกองค์กร พร้อมทั้งสื่ อสำรถึงแนวทำงกำรบริ หำรจัดกำร ตลอดจนผลกำรดำเนินงำนที่เกี่ยวข้อง กับประเด็นเหล่ำนี้ผำ่ นรำยงำนพัฒนำควำมยัง่ ยืน ซึ่งกระบวนกำรประเมินประเด็นสำคัญต่อควำมยัง่ ยืนของ กลุ่มทรู ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1: ระบุประเด็นสำคัญต่อกลุ่มทรู โดยพิจำรณำจำกกลยุทธ์ ควำมเสี่ ยง ควำมท้ำทำย ตลอดจนผลกำรมีส่วนร่ วมกับผูม้ ีส่วนได้เสี ย และพิจำรณำขอบเขตของผลกระทบทั้งภำยในและภำยนอก ขั้นตอนที่ 2: จัดลำดับควำมสำคัญของประเด็น โดยพิจำรณำถึงควำมสำคัญต่อ กลุ่มทรู และควำมสนใจของผูม้ ีส่วนได้เสี ย ขั้นตอนที่ 3: ตรวจสอบควำมถูกต้องของกำรประเมินประเด็นสำคัญ โดยนำเสนอผลต่อ คณะกรรมกำรควำมรับผิดชอบต่อสังคมและกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืน เพื่อทบทวนและอนุมตั ิกำรนำเสนอ ประเด็นสำคัญและข้อมูลที่เกี่ยวข้องในรำยงำนพัฒนำควำมยัง่ ยืน ขั้นตอนที่ 4: ทบทวนประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกำรเติบโตอย่ำงยัง่ ยืนของบริ ษทั ฯ ในอดีต และนำผลที่ได้ไปใช้เพื่อระบุประเด็นสำคัญสำหรับกำรรำยงำนครั้งต่อไป เพื่อให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่ อง ในปี 2559 กลุ่มทรู จัดทำรำยงำนพัฒนำควำมยัง่ ยืน เพื่อสื่ อสำรประเด็นที่ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยให้ ควำมสนใจและประเด็นที่มีควำมสำคัญต่อบริ ษทั ฯ ตลอดปี 2559 ในด้ำนเศรษฐกิจ สังคมและสิ่ งแวดล้อม โดยจัดทำรำยงำนตำมแนวทำงกำรรำยงำนของ Global Reporting Initiative (GRI) G4 ในระดับ Core ซึ่งเป็ น แนวทำงกำรรำยงำนควำมยัง่ ยืนที่เป็ นที่ยอมรับในระดับสำกล โดยผลกำรประเมินประเด็นสำคัญต่อกำรดำเนินธุ รกิจอย่ำงยัง่ ยืนของ กลุ่มทรู ปี 2559 มี 15 ประเด็น ดังนี้ 1. กำรเข้ำถึงเทคโนโลยีสำรสนเทศ 2. กำรสื่ อสำรด้ำนกำรตลำดอย่ำงเป็ นธรรม 3. กำรบริ หำรจัดกำรนวัตกรรม 4. สุ ขภำพและควำมปลอดภัยของลูกค้ำ 5. คุณภำพกำรบริ กำร 6. พลังงำนและคำร์บอน 7. กำรรักษำควำมปลอดภัยของข้อมูลส่ วนบุคคล 8. ผลกระทบทำงสังคมที่มีต่อชุ มชน 9. กำรพัฒนำศักยภำพทรัพยำกรบุคคล 10. ควำมอยูด่ ีมีสุขและปลอดภัยในกำรใช้อินเทอร์ เน็ต 11. สิ ทธิมนุษยชน 12. ควำมปลอดภัยและสุ ขอนำมัยของพนักงำน 13. กำรบริ หำรจัดกำรห่วงโซ่อุปทำน 14. ขยะอิเล็กทรอนิกส์ 15. กำรสรรหำเชิงรุ กและสร้ำงควำมผูกพัน

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

8.

การมีนวัตกรรมและเผยแพร่ นวัตกรรมซึ่งได้ จากการดาเนินงานทีม่ ีความรับผิดชอบต่ อสั งคม สิ่ งแวดล้อม และผู้มีส่วนได้ เสี ย 1) ส่ งเสริ มกำรสร้ำงสรรค์นวัตกรรม True Innovation Awards กลุ่มทรู ส่ งเสริ มและสนับสนุนให้มีกำรสร้ำงสรรค์นวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภำพกำรใช้ ทรัพยำกรที่มีอยูใ่ ห้คุม้ ค่ำมำกที่สุด โดยจัดโครงกำร True Innovation Awards เพื่อส่ งเสริ มให้พนักงำนทุกคน ทุกระดับมีส่วนร่ วมในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำนนวัตกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อองค์กรและสังคมโดยรวม เป็ น กำรกระตุน้ ให้พนักงำนเห็นควำมสำคัญและประโยชน์ของกำรสร้ำงนวัตกรรม อีกทั้งนำไปประยุกต์ใช้ใน หน่วยงำนให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่ อง เพื่อส่ งเสริ มและพัฒนำให้พนักงำนที่เข้ำมำร่ วมโครงกำรมีควำมรู ้ ด้ำนนวัตกรรมอย่ำงบูรณำกำร สำมำรถต่อยอดนวัตกรรม และควำมคิดสร้ำงสรรค์ให้เป็ นรู ปธรรมและ สัมฤทธิ์ ผล โดยนำผลงำนนวัตกรรมดังกล่ำวไปพัฒนำบริ กำรเพื่อช่วยแก้ปัญหำให้แก่ลูกค้ำ รวมทั้งนำ แนวคิด นวัตกรรมใหม่ๆไปพัฒนำสิ นค้ำ บริ กำร และกระบวนกำรผลิตที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร ลูกค้ำ และสังคม เพิ่มควำมพึงพอใจลูกค้ำ เพิ่มรำยได้ ปรับปรุ งกระบวนกำรทำงำน คุณค่ำที่ได้รับเพิ่ม และ กำรสร้ำงสรรค์ เป็ นต้น 2) กลุ่มทรู นำรถขยำยสัญญำณ ใช้พลังงำนจำกแสงอำทิตย์ นวัตกรรมเพื่อควำมยัง่ ยืน คันแรกของไทยอำนวยควำมสะดวกประชำชนในพิธีถวำยบังคมพระบรมศพ กลุ่มทรู สำนต่อควำมมุ่งมัน่ สร้ำงสรรค์นวัตกรรมเพื่อกำรพัฒนำสังคมไทยอย่ำงยัง่ ยืน นำรถขยำยสัญญำณ ใช้พลังงำนจำกแสงอำทิตย์คนั แรกของไทย สิ่ งประดิษฐ์ล่ำสุ ดที่นวัตกรกลุ่มทรู คิดค้น และออกแบบมำเป็ นพิเศษ สำหรับใช้ในพื้นที่ประสบภัยพิบตั ิ โดยสำมำรถรับพลังงำนแสงอำทิตย์จำกแผง โซล่ำร์ เซลล์บนหลังคำรถ เพื่อเพิ่มสัญญำณโทรศัพท์เคลื่อนที่ทรู มูฟ เอช ให้เพียงพอต่อกำรใช้งำนที่หนำแน่น โดยร่ วมกับรถขยำยสัญญำณเดิมอีก 3 คัน เพื่อเพียงพอสำหรับกำรให้บริ กำรประชำชนที่เดินทำงมำถวำย บังคมพระบรมศพ ซึ่ งนอกจำกช่วยอำนวยควำมสะดวกแก่ประชำชนแล้วยังลดกำรใช้ไฟฟ้ ำ และเป็ นมิตรต่อ สิ่ งแวดล้อมในพื้นที่โดยรอบ 3) กลุ่มทรู มอบทุนนักศึกษำจำกโครงกำร“Popcorn by True Lab” ครั้งที่ 1 สนับสนุน ต่อยอด ไอเดียให้เกิดขึ้นจริ ง กลุ่มทรู มอบรำงวัลนักแก่ศึกษำที่มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ ในโครงกำรประกวด Popcorn Innovation Business Plan: Turn Idea to Entrepreneur by True Lab หรื อ Popcorn by True Lab ครั้งที่ 1 ณ มหำวิทยำลัยกรุ งเทพ (วิทยำเขตรังสิ ต) ซึ่ งเป็ นเวทีให้นิสิตมีโอกำสพัฒนำไอเดียให้เกิดขึ้นจริ ง และ สำมำรถต่อยอดสร้ำงเป็ นธุ รกิจได้ โดยในครั้งนี้ มีผสู ้ นใจสมัครเข้ำร่ วมแข่งขันถึง 42 ทีมจำกทัว่ ประเทศ ทั้งนี้ทีมที่ได้รับรำงวัลชนะเลิศ ได้แก่ ทีม Let's move up, Let' move on จำกนักศึกษำมหำวิทยำลัยอัสสัมชัญ และมหำวิทยำลัยรำมคำแหง จำกผลงำนวัสดุจำกกำกเบียร์ ที่ใช้ทดแทนไม้เชิงวิศวกรรมคุณภำพสู ง สำมำรถ ฆ่ำเชื้อ MERS ต้ำนอนุมูลอิสระ และเสริ มควำมงำมได้ และ ทีม Long Arn Du จำกนักศึกษำมหำวิทยำลัย พระจอมเกล้ำธนบุรี และมหำวิทยำลัยกรุ งเทพ จำกผลงำนนวัตกรรมกำรเปิ ดอ่ำนหน้ำหนังสื อ ที่ช่วยให้ ผูพ้ ิกำรสำมำรถเข้ำถึงสื่ อและข้อมูลข่ำวสำร ในรู ปแบบสื่ อสิ่ งพิมพ์ได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพมำกยิง่ ขึ้น ทั้งนี้ ผูช้ นะเลิศทั้ง 2 ทีม ได้รับทุนสนับสนุนต่อยอดโครงกำรทีมละ 50,000 บำท

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

4) กลุ่มทรู เปิ ด True Lab ศูนย์กำรเรี ยนรู้ สร้ำงสรรค์นวัตกรรม และงำนวิจยั ปั้ นนวัตกรและ นักวิจยั รุ่ นใหม่ร่วมขับเคลื่อนสู่ ประเทศไทย 4.0 กลุ่มทรู ให้ควำมสำคัญด้ำนนวัตกรรม และสนับสนุนกำรสร้ำงบุคลำกรที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถ ในด้ำนวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยีมำอย่ำงต่อเนื่อง ภำยใต้แนวคิดของกำรสร้ำงระบบนิเวศน์ (Eco-system) ให้เอื้อต่อกำรสร้ำงสรรค์นวัตกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศไทย โดยร่ วมมือกับ สถำบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีมหำนคร เปิ ด True Lab ศูนย์กลำงกำรวิจยั และพัฒนำนวัตกรรมภำยใต้บรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรคิดค้นสิ่ งประดิษฐ์และนวัตกรรมล้ ำสมัย เสริ มศักยภำพ ก้ำวสู่ สถำบันกำรศึกษำชั้นนำด้วยควำมเป็ นเลิศด้ำนกำรวิจยั และกำรพัฒนำด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ทั้งยังมีควำมร่ วมมือในด้ำนทุนวิจยั ซึ่ งกลุ่มทรู จะให้กำรสนับสนุ นนักศึกษำทุกระดับ พร้อมโอกำสต่อยอดธุ รกิจ ร่ วมกับทรู เพื่อร่ วมสร้ำงบุคลำกรที่มีควำมรู ้ควำมสำมำรถด้ำนกำรวิจยั และนวัตกรรม เสริ มสร้ำงประโยชน์ และคุณค่ำให้แก่สังคมในระดับประเทศ สอดคล้องกับนโยบำยของภำครัฐในกำรขับเคลื่อนสู่ ประเทศไทย 4.0 รวมทั้งควำมร่ วมมือในด้ำนทุนวิจยั มูลค่ำรวม 500,000 บำท ที่กลุ่มทรู จะมอบให้แก่นกั ศึกษำทุกระดับ และคณำจำรย์รวมถึงกำรแบ่งปั นควำมรู ้ในด้ำนต่ำงๆ ถ่ำยทอดจำกประสบกำรณ์จริ งให้แก่นกั ศึกษำด้วย True Lab @ Ladkrabang ตั้งอยูท่ ี่ช้ นั 1 อำคำร 12 ชั้น คณะวิศวกรรมศำสตร์ มีขนำดพื้นที่ ประมำณ 150 ตร.ม ส่ วน True LAB@MAHANAKORN ตั้งอยูท่ ี่อำคำร C มีขนำดพื้นที่ประมำณ 400 ตร.ม. แบ่งพื้นที่ออกเป็ น 3 ส่ วน ได้แก่ Private Office - พื้นที่ทำงำนของผูท้ ี่ได้รับทุนวิจยั โดยจะมีบริ กำร สำรสนเทศที่ครบวงจรและหลำกหลำย อำทิ เครื่ องคอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ตควำมเร็ วสู ง พร้อมสิ่ งอำนวย ควำมสะดวกต่ำงๆ Auditorium ห้องประชุมพร้อมอุปกรณ์กำรประชุมที่ครบครัน และ Community มุม สบำยๆ พร้อมบริ กำรเครื่ องดื่มและเบเกอรี่ จำกทรู คอฟฟี่ โดยกลุ่มทรู เป็ นผูว้ ำงโครงข่ำยอินเทอร์ เน็ต ควำมเร็ วสู งครอบคลุมทัว่ ทั้ง True Lab @ Ladkrabang อำนวยควำมสะดวกให้สำมำรถเชื่อมต่อ WiFi ได้ฟรี และยังเปิ ดให้รับชมสำระควำมรู ้และรำยกำรคุณภำพมำกมำยจำกทรู วชิ นั่ ส์อีกด้วย 5) กลุ่มทรู ส่งเสริ มนักธุ รกิจหน้ำใหม่ ผ่ำน “ทรู อินคิวบ์” (True Incube) โปรแกรมบ่มเพำะ ผูป้ ระกอบกำรไทยด้ำนเทคโนโลยี กลุ่มทรู สร้ำงโอกำสให้ผทู ้ ี่ฝันจะสร้ำงธุ รกิจที่ประสบควำมสำเร็ จเป็ นของตนเองให้เกิดขึ้น ได้จริ ง โดย มุ่งสร้ำงระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์แบบครบวงจรสำหรับสตำร์ ทอัพโดยเฉพำะ เริ่ มตั้งแต่กำรสร้ำง แรงบันดำลใจ (Inspire) เพื่อกระตุน้ ตั้งแต่ระดับมหำวิทยำลัยและส่ งเสริ มสนับสนุนให้ startups รุ่ นใหม่ที่ มีไอเดียสร้ำงสรรค์ได้เริ่ มต้นทำให้ควำมฝันเป็ นจริ งผ่ำนกำรฝึ กอบรมอย่ำงเข้มข้น ด้วยคำแนะนำของทีมที่ปรึ กษำ ตลอดจนควำมร่ วมมือกับสถำบันกำรศึกษำต่ำงๆ เพื่อถ่ำยเทองค์ควำมรู ้และประสบกำรณ์ ในบรรยำกำศที่ เอื้อต่อกำรสร้ำงสรรค์นวัตกรรม รวมถึง กำรบ่มเพำะ (Incubate) startups ที่มีไอเดียให้เกิดเป็ น prototype และขับเคลื่อนกำรสร้ำงสรรค์นวัตกรรม (Innovate) โดยช่วย startups ให้ขยำยธุ รกิจ อย่ำงก้ำวกระโดดด้วย Pre-incubation & ScaleUp program ที่ทำให้ธุรกิจสำมำรถโตได้หลำยเท่ำภำยใน 3 เดือน นอกจำกนี้ทรู อิน คิวบ์ ยังเปิ ดโอกำสให้เหล่ำ startups ระดับภูมิภำคระดับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ร่วมเป็ นพำร์ ทเนอร์ ด้วย กำรสนับสนุน (Invest) ของกลุ่มทรู ในด้ำนต่ำงๆ รวมถึงพันธมิตรทั้งในและต่ำงประเทศที่มีเครื อข่ำย ครอบคลุมมำกกว่ำ 20 ประเทศใน 5 ทวีปหลักทัว่ โลก ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

6) กลุ่มทรู สนับสนุนโครงกำรจัดทำระบบสำรสนเทศในแอพพลิเคชัน่ “ทรู ฟำร์ม” กลุ่มทรู ร่วมลงนำมบันทึกข้อตกลงควำมร่ วมมือทำงวิชำกำรกับกรมกำรข้ำว สถำนีวทิ ยุ กระจำย เสี ยง มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ในโครงกำรจัดทำระบบสำรสนเทศให้ควำมรู ้เกษตรกรผ่ำนแอพพลิเคชัน่ “ทรู ฟำร์ม” บนมือถือที่กลุ่มทรู พฒั นำขึ้น โดยกรมกำรข้ำวและสถำนีวทิ ยุกระจำยเสี ยง มหำวิทยำลัย เกษตรศำสตร์ ให้กำรสนับสนุ นแหล่งข้อมูลทำงวิชำกำร พร้อมให้คำแนะนำเกี่ยวกับกำรทำเกษตรกรรม โดยบุคลำกรผูเ้ ชี่ยวชำญ ผ่ำนฟังก์ชนั่ คลังเกษตร ที่เป็ นคลังข้อมูลขนำดใหญ่สำหรับเกษตรกร เพื่อเป็ น เครื่ องมือช่วยเหลือเกษตรกรไทย ในกำรวำงแผนและจัดกำรข้อมูลได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ ตลอดจนเข้ำถึง ข้อมูลกำรเกษตรที่สำคัญได้อย่ำงสะดวกรวดเร็ ว เป็ นกำรยกระดับกำรทำเกษตรกรรมในประเทศอย่ำงยัง่ ยืน โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่ำใช้จ่ำยเพิ่มเติม

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

11.

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ ยง

11.1

สรุ ปความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ

จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของคณะกรรมการบริ ษทั ร่ วมกับ คณะกรรมการตรวจสอบ ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 ซึ่งกรรมการตรวจสอบ เข้าร่ วมประชุมครบทั้ง 3 ท่าน คณะกรรมการบริ ษทั มีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั มีความ เพียงพอและเหมาะสม และผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั มิได้พบสถานการณ์ใดๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ของบริ ษทั ที่เป็ นจุดอ่อนที่มีสาระสาคัญอันอาจมีผลกระทบที่เป็ นสาระสาคัญต่องบการเงิน นอกจากนี้ คณะกรรมการได้เน้นให้มีการพัฒนาระบบการกากับดูแลกิจการเพื่อให้ระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุ ง อย่างต่อเนื่ อง 11.2

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบทีแ่ ตกต่ างจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัท - ไม่มี -

11.3

หัวหน้ างานตรวจสอบภายใน

หัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ คือ นางดาวประกาย ลักษณะกุลบุตร โดยได้รับการแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ ตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2543 คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้างาน ตรวจสอบภายใน และดูแลให้ผดู ้ ารงตาแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในมีวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ และการอบรม ที่เหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบตั ิหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ โดยมี ข้อมูลสาคัญ รายละเอียดเกี่ยวกับคุณวุฒิการศึกษา และ ประสบการณ์การทางานของหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ดังที่ปรากฏใน “รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน” (เอกสารแนบ 3)

ส่วนที่ 2

่ ง กำรควบคุมภำยในและกำรบริหำรจัดกำรควำมเสีย

หัวข ้อที่ 11 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

12.

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายการระหว่ างกัน

ก. ในระหว่างปี พ.ศ. 2559 กลุม่ ทรู มีรายการค้ าระหว่างกันกับ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม กิจการร่วมค้ าและบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน ตามที่ได้ มีการเปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (หมายเหตุข้อ 41) โดยรายการระหว่างกันของบริษัทฯ และบริ ษัทย่อยที่มกี บั บริ ษัทร่วมและบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันที่สาคัญ สามารถสรุปได้ ดงั นี :้ ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

1. ผู้ทำรำยกำร : บริษัทฯ 1.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขำย : (CPG)* บริษัทฯ - ค่ำบริกำรรับชำระ - ให้ บริกำรอื่น ซื ้อ : - จ่ำยค่ำเช่ำอำคำรสำนักงำนและ บริกำรอื่นที่เกี่ยวข้ อง

- จ่ำยค่ำบริหำรจัดกำรสำนักงำน - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และ บริการอื่น

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

32,126 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติตำมรำคำที่บริษัทฯ ให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป 1,821 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติตำมรำคำที่บริษัทฯ ให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป 203,083 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจภำยใต้ เงื่อนไขกำรค้ ำทัว่ ไป โดยมีอตั รำค่ำเช่ำอยูใ่ นอัตรำระหว่ำง 200 - 220 บำทต่อตำรำง เมตรต่อเดือน และอัตรำค่ำบริกำรอยูร่ ะหว่ำง 220 - 520 บำทต่อ ตำรำงเมตรต่อเดือน ซึง่ สัญญำเช่ำอำคำรสำนักงำนมีอำยุปีต่อ ปี และมีสิทธิจะต่ออำยุสญ ั ญำเช่ำ 89,070 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ 77,732 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสัญญาที่ได้ ตกลงกัน ตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึ่งสัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 1.1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริษัทฯ - จ่ำยค่ำซ่อมบำรุงรักษำ ระบบปรับอำกำศ - ค่ำบริกำรรับชำระ

10,950 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ 14,853 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ - จ่ำยค่ำบริกำรอื่น 46,490 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

2. ผู้ทำรำยกำร : กลุม่ บริษัท กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค จำกัด (มหำชน) (BITCO) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมรวมร้ อยละ 99.74) 2.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขำย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ BITCO เป็ นกลุ่มบริ ษัทที่ - ขำยโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ บริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ นโดยอ้ อมอยู่ ร้ อยละ ที่เกี่ยวข้ อง 99.74 - ค่ำคอมมิชชัน่ และให้ บริกำรอื่น

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

1,624,690 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติตำมรำคำที่บริษัทย่อยของ BITCO ให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป 568,662 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติตำมรำคำที่บริษัทย่อยของ BITCO ให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป

ซื ้อ : - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ ที่เกี่ยวข้ อง

276,325 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ โดยมีอตั ราค่าเช่าที่ราคา 816,998 บาทต่อ เดือน ซึง่ สัญญาเช่ามีอายุ 3 ปี และมีสทิ ธิจะต่ออายุสญ ั ญาเช่า - ค่า คอมมิ ชชั่น จากการขายบัต รเติ ม 243,339 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เงินและอื่นๆ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และบริการที่ 186,839 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ เกี่ยวข้ อง มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน - จ่ายค่าซ่อมแซมบารุงรักษาโครงข่าย 473,169 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าโฆษณาและบริการอื่น 204,647 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายเงินซื ้อโทรศัพท์มือถือและ 4,343,849 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ บัตรเติมเงิน เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2 ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 2.2

กลุม่ บริษัท China Mobile (CMG)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุม่ บริษัท CMG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : บริ ษัทฯ และ BITCO เป็ นกลุ่มบริ ษัทที่ - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ บริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ นโดยอ้ อมอยู่ ร้ อยละ 99.74 ซื ้อ : - Roaming

3. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จากัด (TM) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 91.08) 3.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TM เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 91.08 ที่เกี่ยวข้ อง

- จ่ำยค่ำบริกำรอื่น

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

49,275 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ ต ำมรำคำที่ บ ริ ษั ท ย่ อ ยของ BITCO ให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป 36,688 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

9,316 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทั่วไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริ การสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิ จะต่ออายุ สัญญาเช่า 1,661 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

4. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต จากัด (TI) (บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TI เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือ - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต 45,132 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ หุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TI ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์ เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริษัทฯ และ TI เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือ - จ่ายค่าซื ้อสินค้ า หุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ ที่เกี่ยวข้ อง

- จ่ายค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ อินเตอร์ เน็ต - จ่ายค่าธรรมเนียม - จ่ายค่าบริการรับชาระ - จ่ายค่าบริการอื่นๆ

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

50,682 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 95,238 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 1 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ 147,327 เป็ นทางการค้ าปกติ - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ 43,439 เป็ นทางการค้ าปกติ - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ 165,557 เป็ นทางการค้ าปกติ - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ 10,546 เป็ นทางการค้ าปกติ

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

5. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ไลฟ์ พลัส จากัด (TLP) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TLP เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - จ่ายค่าบริการรับชาระ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการอื่น

6. ผู้ทารายการ : บริษัท เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด (AWC) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 6.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ AWC เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการอื่น ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00

6.2

กองทุ น รว มโค รงสร้ างพื น้ ฐา น AWC เป็ นบริ ษัท ที่บริ ษัทฯถือหุ้นโดย ขาย : โทรคมนาคม ดิจิทลั (DIF) อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ DIF เป็ น - ให้ เช่าโครงข่าย บริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ ซื ้อ : 28.11 - ค่าเช่าเสา

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

7,464 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 4,163 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า

28 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 615,435 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ AWC ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 1,221,555 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

7. ผู้ทารายการ : กลุม่ บริษัท ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป จากัด (TVG) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 7.1 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS) TVG เป็ นบริษัทที่บริษัทฯถือหุ้นโดย ขาย : อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TGS เป็ น - อุปกรณ์ บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมมีสว่ น ได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 46.80 ตามลาดับมี - ค่าโฆษณา กรรมการร่วมกัน คือ นายองอาจ ประภากมล นายอาณัติ เมฆไพบูล ซื ้อ : วัฒนา และ นางสาวยุภา ลีวงศ์เจริญ - จ่ายค่าบริการอื่น 7.2

กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริ ษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TVG เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ได้ รับเงินสนับสนุนร่วมกิจกรรม ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ต่างๆ

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

1,375 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TVG ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 65,708 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TVG ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 860 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 112,424 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทน ที่เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TVG ให้ บริการลูกค้ า ทัว่ ไป

ซื ้อ : - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ ที่เกี่ยวข้ อง

60,236 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์ 52,901 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน - จ่ายค่าบริการรับชาระ 47,951 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2 ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริ ษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TVG เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ IVR ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 - จ่ายค่าพัฒนาระบบ - จ่ายค่าบริการอื่นๆ - ซื ้อสินค้ า 7.3

บริษัท ทรานส์ฟอร์ เมชัน่ ฟิ ล์ม จากัด (TFF)

TVG เป็ นบริษัทที่บริษัทฯถือหุ้นโดย อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TFF เป็ น บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมมีสว่ น ได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 28.57

ขาย : - ค่าโฆษณา

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

18,127 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 22,959 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 34,583 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 2,698 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 40 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TVG ให้ บริการลูกค้ า ทัว่ ไป

ซื ้อ : - จ่ายค่าลิขสิทธิ์

600 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

8. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ทัช จากัด (TT) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 8.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุ่มบริ ษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TT เป็ นบริษัทฯ ถือหุ้นโดย - บริการ call center อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการอื่น

8.2

8.3

บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS)

บริษัท ทรู วอยซ์ จากัด (TV)

TT เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อม อยู่ร้อยละ 100.00 และ TGS เป็ น บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมมีสว่ นได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 46.80 TT เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อม อยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TV เป็ นบริ ษัทที่ บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมมีส่วนได้ เสียอยู่ ร้ อยละ 55.00

ขาย : - บริการ call center

ขาย : - บริการ call center

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

6,902 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TT ให้ บริการลูกค้ า ทัว่ ไป 10,759 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 8,390 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TT ให้ บริการลูกค้ า ทัว่ ไป 1,188 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TT ให้ บริการลูกค้ า ทัว่ ไป

ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการอี่น

606 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

9. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด (TIG) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) 9.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษั ทฯ แ ละบริ ษั ทฯ ถื อหุ้ น TIG - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต โดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - จ่ายค่าเช่าอาคารและบริการอื่น

9.2

กลุม่ บริษัท China Mobile (CMG)

กลุม่ บริษัท CMG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : บริษัทฯ และ TIG เป็ นบริษัทที่ บริษัทฯ - Roaming ถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

5,879 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TIG ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 39,505 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 3,329 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

10. ผู้ทารายการ : บริษัท เรียล มูฟ จากัด (RMV) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.74) 10.1 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS) RMV เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดย ขาย : อ้ อมอยู่ร้อยละ 99.74 และ TGS เป็ น - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ 173 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ บริ ษัทที่บริษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อมมีสว่ นได้ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีR่ MVให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป เสียอยูร่ ้ อยละ 46.80 10.2 บริษัท บีอีซี - เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จากัด RMV เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯถื อ หุ้ น ซื ้อ : 1,038 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ (BEC-TRUE) โดยตรงอยู่ร้อยละ 99.48 และ BEC- - ค่าการตลาด เป็ นทางการค้ าปกติ TRUE เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดย อ้ อมมีสว่ นได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 50.00 *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครื อเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

10.3 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ RMV เป็ นบริษัทที่บริษัทฯ - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.48

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

37,180 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ RMV ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อ : - จ่ายค่าซื ้อสินค้ า

85,180 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ 81,810 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ ที่เกี่ยวข้ อง มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า - ค่า content 33,489 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - ค่าคอมมิชชัน่ 1,080,236 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - ค่าการตลาด 424,208 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - ค่าบริการรับชาระและต้ นทุนบัตร 480,813 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าบริการอื่นๆ 135,233 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

11. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู อินเตอร์ เน็ต คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (TICC) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงและโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 11.1 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS) TICC เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้น ขาย : โดยตรงอยู่ร้อยละ 0.01 และโดยอ้ อม - ให้ บริการสื่อสารข้ อมูลความเร็วสูง อยูร่ ้ อยละ 99.99 และ TGS เป็ นบริ ษัท ที่บ ริ ษัท ฯถือหุ้นโดยอ้ อมมีส่วนได้ เสีย อยู่ร้อยละ 46.80 มีค วามสัมพัน ธ์ กัน โดยมีกรรมการร่ วมกัน คือ นางสาวยุ ภา ลีวงศ์เจริญ 11.2 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TICC เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัท - ให้ บริการสื่อสารข้ อมูลความเร็วสูง ฯถือหุ้นโดยตรงอยู่ร้อยละ 0.01 และ โดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.99 - อุปกรณ์โครงข่าย

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

757 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TICC ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

218,129 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TU ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 100,525 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TU ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อ : - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ ที่เกี่ยวข้ อง

124,601 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และบริการที่ 206,054 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ เกี่ยวข้ อง มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน - จ่ายค่าซ่อมแซมบารุงรักษาโครงข่าย 56,457 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2 ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TICC เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัท - ค่าบริการอื่นๆ ฯถือหุ้นโดยตรงอยู่ร้อยละ 0.01 และ โดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.99 - ค่าก่อสร้ างโครงข่าย

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

49,837 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 121,183 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

11.3 กองทุ น รวมโครงสร้ างพื น้ ฐาน TU เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดยตรง ซื ้อ : โทรคมนาคม ดิจิทลั (DIF) อยู่ร้อยละ 0.01 และโดยอ้ อมอยู่ร้อย - ค่าเช่าระบบใยแก้ วนาแสง 2,082,250 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ ละ 99.99และ DIF เป็ นบริษัทที่บริ ษัทฯ มีสว่ นได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 28.11 12. ผู้ทารายการ : บริษัท เค เอส ซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์ เนต จากัด (KSC) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 56.83) กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ KSC เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต 889 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 56.83 เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ KSC ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการอินเตอร์ เน็ต และ 24,286 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ ค่าบริการอื่นๆ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หัวข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

13. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี จากัด (TIT) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TIT เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ให้ บริการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - จ่า ยค่า เช่ า ส านั ก งานและบริ ก าร อื่นๆ - จ่ายค่าพัฒนาระบบ

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

27,020 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TIT ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 42,008 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 149,586 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

14. ผู้ทารายการ : บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จากัด (BFKT) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 14.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ BFKT เป็ นบริ ษั ท ที่ - จ่า ยค่า เช่ า ส านั ก งานและบริ ก าร บริ ษั ท ฯถื อ หุ้ นโดยอ้ อมอยู่ ร้ อยละ ที่เกี่ยวข้ อง 100.00

1,600 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า - จ่ า ยค่ า บ ริ การเช่ า รถยนต์ และ 6,740 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี บริการที่เกี่ยวข้ อง สัญญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน - จ่ า ย ค่ า บ ริ ก า ร เ ช่ า เ ซิ ฟ เ ว อ ร์ 15,637 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ อินเตอร์ เน็ต เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าบริการอื่น 3,962 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าซื ้ออุปกรณ์โครงข่าย 40,089 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2 ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 14.2 กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน โทรคมนาคม ดิจิทลั (DIF)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

BFKT เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือหุ้นโดย ซื ้อ : อ้ อมอยู่ร้อยละ 100.00 และ DIF เป็ น - ค่าเช่าเสาโทรคมนาคม บริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ 28.11

15. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ไอคอนเท้ นท์ จากัด (TICT) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TICT เป็ นบริษัทที่ บริ ษัท - ขายสินค้ า ฯถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 - ค่า content

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

1,227,587 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

478 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TICT ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 2,660 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TICT ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อ : - ค่า content

2,935 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

16. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด (TUC) (บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) 16.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TUC เป็ นบริ ษัทที่ บริ ษัท - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ ฯถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - จ่า ยค่า เช่ า ส านั ก งานและบริ ก าร ที่เกี่ยวข้ อง - ค่าคอมมิชชัน่ - ค่าบริการรับชาระ - ค่าบริการเกี่ยวกับโครงข่าย - ค่าบริการอื่น 16.2 กลุม่ บริษัท China Mobile (CMG)

กลุม่ บริษัท CMG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : บริษัทฯ และ TUC เป็ นบริ ษัทที่ บริ ษัท - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ ฯถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - Roaming

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

27,947 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TUC ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 16,550 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 428,890 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 72,424 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 128,682 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 44,112 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 92,535 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TUC ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

4,520 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 16.3 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลักษณะความสัมพันธ์

TUC เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯถื อ หุ้ น โดยตรงอยู่ร้อยละ 100.00 และ TGS เป็ นบริ ษั ทที่ บริ ษัท ฯ ถือหุ้น โดยอ้ อมมี ส่วนได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 46.80 16.4 กองทุ น รวมโครงสร้ างพื น้ ฐาน TUC เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯถื อ หุ้ น โทรคมนาคม ดิจิทลั (DIF) โดยตรงอยู่ร้อยละ 100.00 และ DIF เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯมี ส่ ว นได้ เ สี ย อยู่ ร้ อยละ 28.11

ลักษณะรายการ ขาย : - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ

ขาย : - ให้ บริการอื่น ซื ้อ : - ค่าเช่าโครงข่าย

ปี 2559 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

581 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TUC ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

2,158 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TUC ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 988,055 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

17. ผู้ทารายการ : บริษัท เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จากัด (TAM) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กองทุ น รวมโครงสร้ างพื น้ ฐาน TAM เป็ นบริ ษัท ที่บริ ษัท ฯถือหุ้น โดย ขาย : โทรคมนาคม ดิจิทลั (DIF) อ้ อมอยู่ร้อยละ 100.00 และ DIF เป็ น - ให้ บ ริ ก ารด้ า นบริ ห ารจัด การและ 50,219 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ บริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ การตลาด เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TAM ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 28.11 *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ข. ยอดค้ างชาระที่เกิดจากการขายสินค้ าและบริ การ การเปลีย่ นแปลงยอดค้ างชาระที่เกิดจากการขายสินค้ าและบริ การ มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บริ ษัทร่วมค้ า บริ ษัทร่วม และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จากัด

เพิ่มขึ ้น (ลดลง) (120)

120

บริ ษัท บีอีซี - เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จากัด

43

บริ ษัท เอ็นซี ทรู จากัด

-

บริ ษัท ทรู จีเอส จากัด

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 -

-

43 106

106

26,213

19,756

45,969

กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโทรคมนาคม ดิจิทลั

4,429

36,194

40,623

บริ ษัท ทรานส์ฟอร์ เมชัน่ ฟิ ล์ม จากัด

3,210

(3,210)

-

177

(177)

-

75,132

82,114

157,246

8,695,742

(1,066,603)

7,629,139

8,805,066

(931,940)

7,783,126

บริ ษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จากัด กลุม่ บริ ษัท China Mobile กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รวม

ค. ยอดค้ างชาระที่เกิดจากการซื ้อสินค้ าและบริ การ การเปลีย่ นแปลงยอดค้ างชาระที่เกิดจากการซื ้อสินค้ าและบริ การ มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บริ ษัทร่วมค้ า บริ ษัทร่วม และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโทรคมนาคม ดิจิทลั บริ ษัท ทรู วอยซ์ จากัด

(811)

315,079

20,913

(17,425)

3,488

1,070

(1,070)

-

กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริ ษัท China Mobile บริ ษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จากัด รวม

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

315,890

บริ ษัท ทรานส์ฟอร์ เมชัน่ ฟิ ล์ม จากัด บริ ษัท เอ็นซี ทรู จากัด

เพิ่มขึ ้น (ลดลง)

-

776

776

6,963,032

(3,543,918)

3,419,114

18,628

2,531

21,159

1

(1)

7,319,534

(3,559,918)

3,759,616

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ง. ยอดคงเหลือเงินให้ ก้ ยู ืมจากกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน การเปลีย่ นแปลงยอดค้ างชาระที่เกิดจากเงินให้ ก้ ยู มื จากกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รวม

เพิ่มขึ ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

147,000

-

147,000

147,000

-

147,000

มาตรการและขัน้ ตอนในการอนุมัติการทารายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ มีมาตรการและขันตอนในการอนุ ้ มตั ิการทารายการระหว่างกันตามที่กฎหมาย และ ข้ อกาหนด ของคณะกรรมการกากับตลาดทุนรวมทัง้ ตลาดหลักทรั พย์แห่งประเทศไทยได้ กาหนดไว้ โดยบริ ษัทฯ ได้ นากฎหมายและ ข้ อกาหนดดังกล่าวมาจัดทาเป็ น “ระเบียบในการเข้ าทารายการระหว่างกัน ” ไว้ อย่างชัดเจน เพื่อให้ กรรมการและพนักงาน ได้ ยึดถื อและปฏิบตั ิอย่างถูกต้ อง ภายใต้ ระเบียบในการเข้ าทารายการระหว่างกัน ของบริ ษัทฯ ได้ กาหนดมาตรการและ ขันตอนในการอนุ ้ มตั ิการเข้ าทารายการระหว่างกันไว้ ดงั นี ้ 1. รายการระหว่างกันดังต่อไปนี ้ ฝ่ ายจัดการสามารถอนุมั ติการเข้ าทารายการได้ โดยไม่ต้องขออนุมัติ จากคณะกรรมการบริ ษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ภายใต้ วตั ถุประสงค์ของมาตรา 89/12 ของ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 1.1

รายการที่เป็ นข้ อตกลงทางการค้ าโดยทัว่ ไป “ข้ อตกลงทางการค้ าโดยทัว่ ไป” หมายถึง ข้ อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชน จะพึงกระทากับคูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้ วยอานาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจาก อิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง แล้ วแต่กรณี ซึง่ รวมถึงข้ อตกลงทางการค้ าที่มีราคาและเงื่อนไข หรื อ อัตรากาไรขันต้ ้ น ดังต่อไปนี ้

ส่วนที่ 2

(ก)

ราคาและเงื่อนไขที่บริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยได้ รับหรื อให้ กบั บุคคลทัว่ ไป

(ข)

ราคาและเงื่อนไขที่ กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้ องให้ กบั บุคคลทัว่ ไป

(ค)

ราคาและเงื่อนไขที่บริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย สามารถแสดงได้ วา่ ผู้ประกอบธุรกิจใน ลักษณะทานองเดียวกันให้ กบั บุคคลทัว่ ไป

(ง)

ในกรณีที่ไม่สามารถเปรี ยบเทียบราคาของสินค้ าหรื อบริ การได้ เนื่องจากสินค้ าหรื อบริ การ ที่เกี่ยวข้ องนันมี ้ ลกั ษณะเฉพาะ หรื อมีการสัง่ ทาตามความต้ องการโดยเฉพาะ แต่บริษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยสามารถแสดงได้ วา่ อัตรากาไรขันต้ ้ นที่บริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยได้ รับจาก รายการระหว่างกันไม่ตา่ งจากธุรกรรมกับคูค่ ้ าอืน่ หรื ออัตรากาไรขันต้ ้ นที่กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง ได้ รับจากรายการระหว่างกันไม่ตา่ งจากธุรกรรมกับคูค่ ้ าอื่น และมีเงื่อนไข หรื อข้ อตกลงอื่นๆ ไม่แตกต่างกัน รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.2

การให้ ก้ ยู ืมเงินตามระเบียบสงเคราะห์พนักงานและลูกจ้ าง

1.3

รายการที่คสู่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึง่ ของบริ ษัทฯ หรื อ คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายมีสถานะเป็ น

1.4

(ก)

บริ ษัทย่อยทีบ่ ริ ษัทฯ เป็ นผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้ อยละเก้ าสิบของหุ้นที่จาหน่ายได้ แล้ วทังหมด ้ ของบริ ษัทย่อย หรื อ

(ข)

บริ ษัทย่อยที่กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ องถือหุ้นหรื อมีสว่ นได้ เสียอยู่ ด้ วย ไม่วา่ โดยตรงหรื อโดยอ้ อม ไม่เกินจานวน อัตรา หรื อมีลกั ษณะตามทีค่ ณะกรรมการ กากับตลาดทุนประกาศกาหนด

รายการในประเภทหรื อที่มมี ลู ค่าไม่เกินจานวนหรื ออัตราทีค่ ณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศกาหนด

2. รายการระหว่างกันดังต่อไปนี ้ ไม่ต้องขออนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ แต่ต้องขออนุมตั ิจาก คณะกรรมการบริ ษัท 2.1

รายการตามข้ อ 1 ซึง่ ต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทฯ ภายใต้ ระเบียบวิธีปฏิบตั ิภายใน อื่นที่เกี่ยวข้ อง เช่น ระเบียบวิธีปฏิบตั ิด้านงบประมาณ เป็ นต้ น

2.2

รายการตามข้ อ 1.3 (ข) หรื อ 1.4 ที่คณะกรรมการกากับตลาดทุน อาจกาหนดให้ ต้องได้ รับอนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริ ษัทฯ ด้ วย ตามทีจ่ ะได้ มีการประกาศกาหนดต่อไป

3. รายการระหว่างกันที่นอกเหนือจากข้ อ 1 และ 2 ต้ องได้ รับอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริ ษัทและที่ประชุม ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ก่อนการเข้ าทารายการ นโยบายและแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกันในอนาคต สาหรับแนวโน้ มการทารายการระหว่างกันในอนาคตนัน้ อาจจะยังคงมีอยูใ่ นส่วนทีเ่ ป็ นการดาเนินธุรกิจ ตามปกติระหว่างบริษัทฯ กับบริษัทย่อยของบริ ษัทฯ ซึง่ บริ ษัทฯ จะดาเนินการด้ วยความโปร่งใสตามนโยบายการกากับดูแล กิจการที่ดีของบริษัทฯ และปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดที่เกี่ยวข้ องอย่างเคร่งครัด นอกจากนี ้ หากเป็ นรายการระหว่างกันประเภท ที่ต้องได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท บริ ษัทฯ มีนโยบายที่จะต้ องเสนอให้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัทฯ พิจารณาก่อนที่จะเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิ

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ 13.1 ตารางสรุ ปงบการเงิน บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั ่น จำกัด (มหำชน) งบแสดงฐำนะกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559, พ.ศ. 2558, พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556

31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

Common Size (%)

(ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวำคม พ.ศ. 2557

Common Size (%)

(หน่ วย : พันบาท) (ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวำคม Common พ.ศ. 2556 Size (%) (หรือ 1 มกรำคม พ.ศ. 2557)

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินฝากที่มภี าระผูกพัน เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อืน่ เงินให้กยู ้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ - สุทธิ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภาษีมลู ค่าเพิ่ม สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

50,183,813 42,360 502,312 36,810,522 147,000 11,251,975 8,141,389 5,509,182 10,089,763 122,678,316

11.18 0.01 0.11 8.20 0.03 2.51 1.81 1.23 2.25 27.33

10,590,382 558,973 2,837 38,575,205 147,000 8,294,579 5,593,775 7,001,952 7,042,763 77,807,466

3.73 0.20 0.01 13.60 0.05 2.93 1.97 2.47 2.48 27.44

6,611,594 1,139,791 1,039 62,203,154 147,000 4,294,126 4,078,066 4,694,752 4,273,796 87,443,318

2.82 0.49 0.00 26.58 0.06 1.83 1.74 2.01 1.83 37.36

14,726,283 2,346,446 101,832 38,537,981 147,000 5,049,989 2,952,598 3,207,269 2,989,198 70,058,596

7.17 1.14 0.05 18.76 0.07 2.46 1.44 1.56 1.46 34.11

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มภี าระผูกพัน เงินลงทุนในบริษัทร่วมและส่วนได้เสียในการร่วมค้า - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทอืน่ - สุทธิ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิ ยม - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

27,696 18,174,762 325,211 760,473 143,688,352 11,403,094 139,745,965 5,375,822 6,780,769 326,282,144

0.01 4.05 0.07 0.17 32.00 2.54 31.12 1.20 1.51 72.67

47,962 14,994,504 325,211 796,254 97,666,203 11,403,094 70,030,982 5,663,351 4,789,501 205,717,062

0.02 5.29 0.11 0.28 34.45 4.02 24.70 2.00 1.69 72.56

50,690 16,428,665 322,772 5,528 75,084,946 11,403,094 34,164,079 5,820,859 3,378,962 146,659,595

0.02 7.02 0.14 0.00 32.07 4.87 14.59 2.49 1.44 62.64

100,043 16,138,797 313,798 5,528 67,867,052 11,403,094 33,853,686 4,778,565 1,012,819 135,473,382

0.05 7.85 0.15 0.00 33.01 5.55 16.47 2.32 0.49 65.89

รวมสินทรัพย์

448,960,460

100.00

283,524,528

100.00

234,102,913

100.00

205,531,978

100.00

หนี้ สินและส่วนของเจ้ำของ หนี้ สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้น เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อืน่ ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ของ เงินกูย้ มื ระยะยาว ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้ สินหมุนเวียนอืน่ รวมหนี้ สินหมุนเวียน

37,571,675 98,514,397

8.37 21.95

29,927,210 66,291,665

10.55 23.38

2,977,088 101,227,357

1.27 43.24

3,742,847 88,234,986

1.82 42.93

20,653,960 5,629 4,098,147 160,843,808

4.60 0.00 0.91 35.83

12,602,574 29,099 3,375,821 112,226,369

4.44 0.01 1.20 39.58

8,872,851 270,764 4,158,955 117,507,015

3.79 0.12 1.78 50.20

9,894,129 878,854 4,439,348 107,190,164

4.81 0.43 2.16 52.15

หนี้ สินไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาว หนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้ สินภายใต้สัญญาและใบอนุ ญาตให้ดาเนิ นการ ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนั กงาน หนี้ สินไม่หมุนเวียนอืน่ รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน

60,490,046 1,995,052 77,652,487 1,982,115 14,269,013 156,388,713

13.47 0.44 17.29 0.44 3.19 34.83

55,522,317 2,074,718 20,902,258 1,368,617 16,223,716 96,091,626

19.58 0.73 7.37 0.48 5.73 33.89

33,136,810 2,454,385 104,088 1,232,105 8,942,136 45,869,524

14.16 1.05 0.04 0.53 3.82 19.60

76,260,992 4,095,175 120,139 1,137,085 12,079,296 93,692,687

37.11 1.99 0.06 0.55 5.88 45.59

รวมหนี้ สิน

317,232,521

70.66

208,317,995

73.47

163,376,539

69.80

200,882,851

97.74

ส่วนของเจ้ำของ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ ทุนที่ออกและชาระเต็มมูลค่าแล้ว หุน้ สามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนตา่ กว่ามูลค่าหุน้ สามัญ กาไร(ขาดทุน)สะสม สารองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม องค์ประกอบอืน่ ของส่วนของเจ้าของ รวมส่วนของบริษทั ใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม รวมส่วนของเจ้ำของ รวมหนี้ สินและส่วนของเจ้ำของ

ส่วนที่ 3

Common Size (%)

(ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558

133,474,622

98,431,713

246,079,282

153,332,070

133,472,781 26,384,073 -

29.73 5.88 -

98,431,713 -

34.72 -

246,079,282 11,432,046 (121,995,650)

105.08 4.88 (52.09)

145,302,153 11,432,046 (86,070,641)

70.62 5.56 (41.84)

282,498 (27,287,553) (1,799,588) 131,052,211 675,728 131,727,939

0.06 (6.08) (0.40) 29.19 0.15 29.34

275,914 (22,362,876) (1,797,302) 74,547,449 659,084 75,206,533

0.10 (7.89) (0.63) 26.30 0.23 26.53

34,881 (63,639,150) (1,776,122) 70,135,287 591,087 70,726,374

0.01 (27.17) (0.76) 29.95 0.25 30.20

34,881 (64,933,087) (1,767,250) 3,998,102 651,025 4,649,127

0.02 (31.56) (0.86) 1.94 0.32 2.26

234,102,913

100.00

205,531,978

100.00

448,960,460

100.00

283,524,528

100.00

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั ่น จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม สำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559, พ.ศ. 2558, พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556

รำยได้ รายได้จากการให้บริการโทรศัพท์และบริการอืน่ รายได้จากการขายสินค้า รวมรำยได้ ต้นทุนขำยและกำรให้บริกำร ต้นทุนการให้บริการ ต้นทุนขาย รวมต้นทุนขำยและกำรให้บริกำร กำไรขั้นต้น รายได้อนื่ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอืน่ ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุน ต้นทุนทางการเงิน (ขำดทุน)กำไรก่อนภำษีเงินได้ (ค่าใช้จ่าย)รายได้ภาษีเงินได้ (ขำดทุน)กำไรสำหรับปี

31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

Common Size (%)

31 ธันวำคม พ.ศ. 2558

Common Size (%)

107,892,009 16,827,189 124,719,198

86.51 13.49 100.00

95,941,928 22,838,754 118,780,682

80.77 19.23 100.00

86,985,629 22,230,410 109,216,039

79.65 20.35 100.00

79,136,772 17,076,923 96,213,695

82.25 17.75 100.00

78,276,315 17,323,335 95,599,650

62.76 13.89 76.65

71,046,486 19,530,915 90,577,401

59.81 16.44 76.25

66,068,220 18,413,252 84,481,472

60.49 16.86 77.35

59,466,601 15,735,809 75,202,410

61.81 16.36 78.17

29,119,548 1,830,084 (17,213,181) (12,397,980) (2,098,095) 4,608,618 (6,166,384) (2,317,390) (489,639) (2,807,029)

23.35 1.47 (13.80) (9.94) (1.68) 3.70 (4.94) (1.84) (0.39) (2.23)

28,203,281 2,754,733 (13,161,603) (10,434,045) (595,980) 1,413,979 (3,528,841) 4,651,524 (251,349) 4,400,175

23.75 2.32 (11.08) (8.78) (0.50) 1.19 (2.97) 3.93 (0.21) 3.72

24,734,567 2,223,482 (10,119,226) (11,692,962) (5,573,728) 6,220,469 (6,645,283) (852,681) 2,095,810 1,243,129

22.65 2.04 (9.27) (10.71) (5.10) 5.70 (6.08) (0.77) 1.92 1.15

21,011,285 8,662,466 (11,420,067) (11,217,976) (4,918,582) 62,298 (8,555,426) (6,376,002) (2,869,885) (9,245,887)

21.83 9.00 (11.87) (11.66) (5.11) 0.06 (8.89) (6.64) (2.98) (9.62)

(152,764)

(0.16)

(0.11) (9.89)

Common Size (%)

กำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น : รายการที่จะไม่จดั ประเภทใหม่ไปไว้ใน กาไรหรือขาดทุนในภายหลัง : การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน รายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่เป็ น กาไรหรือขาดทุนในภายหลัง : ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน (ขำดทุน)กำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี

(463,317)

(0.37)

660 (3,269,686)

(2.60)

651 4,400,826

0.00 3.72

(2,599) 1,240,530

0.00 1.15

(101,858) (9,500,509)

กำรแบ่งปั น(ขำดทุน)กำไรสำหรับปี ส่วนที่เป็ นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม (ขำดทุน)กำไรสำหรับปี

(2,814,348) 7,319 (2,807,029)

100.26 (0.26) 100.00

4,411,522 (11,347) 4,400,175

100.26 (0.26) 100.00

1,293,937 (50,808) 1,243,129

104.09 (4.09) 100.00

(9,167,693) (78,194) (9,245,887)

99.15 0.85 100.00

กำรแบ่งปั น(ขำดทุน)กำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี ส่วนที่เป็ นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม (ขำดทุน)กำไรเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี

(3,276,901) 7,215 (3,269,686)

100.22 (0.22) 100.00

4,412,173 (11,347) 4,400,826

100.26 (0.26) 100.00

1,291,338 (50,808) 1,240,530

104.10 (4.10) 100.00

(9,422,315) (78,194) (9,500,509)

99.18 0.82 100.00

(ขำดทุน)กำไรต่อหุน้ ขั้นพื้ นฐำนส่วนที่เป็ นของบริษทั ใหญ่ -(ขาดทุน)กาไรขั้นพื้ นฐาน (บาทต่อหุน้ )

ส่วนที่ 3

(หน่ วย : พันบาท) (ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวำคม Common พ.ศ. 2556 Size (%)

(ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวำคม พ.ศ. 2557

(0.09)

-

0.18

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

-

-

0.07

-

(0.62)

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั ่น จำกัด (มหำชน) งบกระแสเงินสดรวม สำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559, พ.ศ. 2558, พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2556

31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

ส่วนที่ 3

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมกำรดำเนิ นงำน (ขาดทุ น)กาไรก่อนภาษี เงินได้ รายการปรับปรุง : ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ าย ดอกเบี้ ยรับ ดอกเบี้ ยจ่าย ต้นทุ นทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับใบอนุ ญาต เงินปั นผลรับ ขาดทุ นจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หนี้ สงสัยจะสูญ ตัดจาหน่ ายอุปกรณ์โครงข่าย การด้อยค่าของเงินลงทุ นกิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม กาไรจากการขายสิ นทรัพย์โครงสร้างพื้ นฐาน การด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน กาไรจากการกลับรายการสิ ทธิ และหนี้ สิ นภายใต้สัญญาอนุ ญาตให้ดาเนิ นการ สิ นทรัพย์และหนี้ สิ นในการดาเนิ นงานอืน่ ตัดจาหน่ าย ขาดทุ น(กาไร)จากการจาหน่ ายเงินลงทุ นในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม ขาดทุ นจากการเลิ กกิจการของบริษัทร่วม ขาดทุ น(กาไร)จากการเลิ กกิจการของบริษัทย่อย กลับรายการประมาณการหนี้ สิ นจากการใช้สิทธิ ของ กสท. ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนั กงานเพิ่มขึ้ น ขาดทุ น(กาไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้ นจริง ขาดทุ น(กาไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวกับการจ่ายชาระคืนเงินกูย้ มื กาไรจากการชาระคืนตัว๋ เงินก่อนกาหนด กาไรจากการยกเลิ กสัญญาเช่าการเงิน ส่ วนแบ่งผลกาไร การเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้ สิ นดาเนิ นงาน - ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อืน่ - เงินลงทุ นระยะสั้น - สิ นค้าคงเหลื อ - สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน่ - เงินลงทุ นในค่าสิ ทธิ สาหรับรายการภาพยนตร์ - รถยนต์มไี ว้ให้เช่า - สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ - เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อืน่ - หนี้ สิ นหมุนเวียนอืน่ - หนี้ สิ นไม่หมุนเวียนอืน่ กระแสเงินสดได้มาจากจากการดาเนิ นงาน บวก เงินสดรับ - ดอกเบี้ ยรับ เงินสดรับ - ภาษี เงินได้ หัก เงินสดจ่าย - ดอกเบี้ ยจ่าย เงินสดจ่าย - ภาษี เงินได้จ่าย เงินสดสุ ทธิ ได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมดาเนิ นงาน

31 ธันวำคม พ.ศ. 2558

(2,317,390)

4,651,523

28,079,759 (442,214) 4,671,533 1,422,346 233,665 1,795,453 14 946 24,881 (1,186,705) 198,192 388,807 17,853 (4,645,726)

(ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวำคม พ.ศ. 2557

(หน่ วย : พันบาท) (ปรับปรุงใหม่) 31 ธันวำคม พ.ศ. 2556

(852,681)

(6,376,002)

19,944,998 (142,442) 2,897,206 194,121 (40,811) 81,816 1,523,409 80,628 (360,597) (1,176,194) 144,709 (189,877) 3,818 (1,443,439)

25,335,263 (175,981) 5,101,284 220,371 (10,000) 274,327 1,243,536 410,184 15,806 6,073 (1,162,471) 95,020 (223,001) 6,162 (350,932) (6,220,469)

22,230,906 (148,092) 7,578,957 340,362 147,709 1,143,824 8,719 (6,334,904) 2,056,089 (791,180) 110 (857,569) 23,035 (104,480) 136,731 439,978 (130,304) (145,283) (54,910) (62,298)

36,155 (23) (2,957,396) (10,994,902) (2,081,748) (256,476) 642,065 726,524 (232,271) 13,123,342 406,116 1,750,800 (4,026,291) (3,157,837) 8,096,130

21,920,565 (1,777) (4,004,044) (7,566,225) (2,670,241) (205,090) (36,216,030) (784,308) 10,726,056 7,367,774 143,673 712,333 (1,947,511) (2,943,219) 3,333,050

(25,726,991) 100,317 764,512 (5,346,556) (2,390,759) 35,381 13,203,277 (719,383) (167,599) 3,464,690 158,082 115,596 (5,103,260) (2,278,912) (3,643,804)

(12,940,393) (85,214) (2,854,118) (278,922) (1,441,795) 113,317 (257,998) 29,584,190 1,539,787 (200,721) 32,279,531 140,727 (7,201,782) (2,289,021) 22,929,455

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน เงินสดที่มภี าระผูกพันลดลง(เพิ่มขึ้ น) เงินสด(จ่าย)รับจากเงินลงทุ นชัว่ คราว เงินให้กยู ้ มื แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุ นเพิ่มในบริษัทร่วมและส่ วนได้เสี ยในการร่วมค้า เงินสดรับจากการขายเงินลงทุ นในบริษัทร่วม-สุ ทธิ จากเงินสดและรายการเที ยบเท่ าเงินสด เงินลงทุ นในบริษัทอืน่ เงินสดจ่ายซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินสดรับคืนจากเงินให้กยู ้ มื แก่บริษัทย่อย รายการที่เกิดจากการจัดประเภทเงินลงทุ นใหม่ เงินสดรับจากการเลิ กกิจการของบริษัทร่วม เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินปั นผลรับ เงินสดสุ ทธิ ใช้ไปในกิจกรรมลงทุ น

536,878 (499,452) (300) (92,345) (33,259,990) (13,725,453) 300 71,519 1,556,866 (45,411,977)

583,546 (20) (25,000) (2,439) (27,942,984) (24,714,729) (46,862) 838,037 1,556,857 (49,753,594)

1,256,009 476 (36,192) 3,193,423 (8,974) (22,519,912) (4,940,550) 7,230 256,333 1,355,746 (21,436,411)

(1,984,739) 346,537 (3,750) (19,355,743) 3,203,157 (25,058,085) (816,881) 100,000 40,432,859 55,801 (3,080,844)

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินสดรับจากการออกหุน้ สามัญ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มอี านาจควบคุมลงทุ นเพิ่มในหุน้ ที่ออกหุน้ ใหม่ของบริษัทย่อย เงินปั นผลจ่ายให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มอี านาจควบคุม ลงทุ นเพิ่มในบริษัทย่อยโดยซื้ อหุน้ จากส่ วนได้เสี ยที่ไม่มอี านาจควบคุม เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสั้น - สุ ทธิ จากเงินสดจ่ายค่าต้นทุ นการกูย้ มื เงินสดรับจากเงินกูย้ มื - สุ ทธิ จากเงินสดจ่ายค่าต้นทุ นการกูย้ มื เงินสดจ่ายชาระคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้น เงินสดจ่ายชาระคืนเงินกูย้ มื เงินปั นผลจ่าย เงินสดสุ ทธิ ได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดเพิ่มขึ้ น(ลดลง)สุทธิ ยอดยกมาต้นปี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ยอดคงเหลื อสิ้ นปี

59,948,800 14,154 (7,671) 77,191,638 22,950,216 (69,789,700) (13,177,486) (164,190) 76,965,761 39,649,914 10,590,382 (56,483) 50,183,813

90,000 (12) 57,338,838 33,134,012 (30,510,000) (9,699,070) 50,353,768 3,933,224 6,611,594 45,564 10,590,382

64,852,120 15,989 (31,392) 11,210,303 14,242,603 (12,003,840) (61,307,112) 16,978,671 (8,101,544) 14,726,283 (13,145) 6,611,594

187,186 (2,591) 30,182,538 32,550,467 (31,535,786) (42,611,917) (11,230,103) 8,618,508 6,103,167 4,608 14,726,283

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

13.2

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ผู้สอบบัญชี

ผูส้ อบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ สาหรับตรวจสอบงบการเงิน รวมและงบการเงินของบริ ษทั ฯ ในระยะ 3 ปี ที่ผา่ นมา มีดงั นี้ งบการเงินประจาปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บริษัทผู้ตรวจสอบ บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส

ชื่อผู้สอบบัญชี นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล

เลขประจาตัว ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต 3445 3445 3445

รายงานการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชีในระยะ 3 ปี ที่ผา่ นมา (2557-2559) ผูส้ อบบัญชีได้ให้ ความเห็นในรายงานการตรวจสอบงบการเงินของบริ ษทั ฯ ถูกต้องแบบไม่มีเงื่อนไข บจก.ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส และ ผูส้ อบบัญชีไม่มีความสัมพันธ์หรื อส่ วนได้เสี ย กับบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อผูบ้ ริ หาร หรื อผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ในลักษณะที่จะมีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเป็ นอิสระแต่อย่างใด

ส่วนที่ 3

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

13.3

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

จุดเด่ นและอัตราส่ วนทางการเงิน 2559

2558

2557

(ปร ับปรุง)

(ปร ับปรุง)

ผลการดาเนินงานของบริษ ัทและบริษ ัทย่อย รายได ้จากการให ้บริการ

1/

ล ้านบาท

88,058

74,803

67,497

รายได ้รวม

ล ้านบาท

124,719

118,781

109,216

EBITDA

ล ้านบาท

25,071

22,109

20,050

EBITDA (ไม่รวมกาไรจากการโอนเสา 6,000 ต ้น ให ้ DIF)

ล ้านบาท

25,071

18,811

16,792

สินทรัพย์รวม

ล ้านบาท

448,960

283,525

234,103

ิ รวม หนีส ้ น

ล ้านบาท

317,233

208,318

163,377

ส่วนของผู ้ถือหุ ้น

ล ้านบาท

131,728

75,207

70,726

ฐานะการเงินของบริษท ั และบริษท ั ย่อย

อ ัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) อัตราส่วนสภาพคล่อง

เท่า

0.76

0.69

0.74

อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว

เท่า

0.52

0.39

0.57

อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนีก ้ ารค ้า

เท่า

3.80

2.46

2.21

ระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลีย ่

วัน

95

146

163

อัตราส่วนหมุนเวียนสินค ้าคงเหลือ

เท่า

2.60

3.50

3.52

ิ ทร ัพย์ (Activity Ratios) อ ัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการใช้สน

2/

ระยะเวลาหมุนเวียนของสินค ้าคงเหลือเฉลีย ่

วัน

139

103

102

อัตราส่วนหมุนเวียนเจ ้าหนีก ้ ารค ้า

เท่า

1.82

2.26

2.32

ระยะเวลาชาระหนี้

วัน

198

160

155

Cash Cycle

วัน

35

89

110

ิ สุทธิตอ อัตราส่วนหนีส ้ น ่ EBITDA 3/

เท่า

2.45

3.67

1.61

ิ สุทธิตอ อัตราส่วนหนีส ้ น ่ ส่วนของผู ้ถือหุ ้น 3/

เท่า

0.47

1.08

0.46

ิ ต่อส่วนของผู ้ถือหุ ้น อัตราส่วนหนีส ้ น

เท่า

2.41

2.77

2.31

เท่า

5.25

7.27

3.63

่ งจากการกูย อ ัตราส่วนทีแ ่ สดงถึงความเสีย ้ ม ื (Leverage Ratios)

อัตราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบีย ้

4/

อ ัตราส่วนแสดงความสามารถในการทากาไร (Profitability Ratios)

0.0%

0.0%

0.0%

%

23.35%

23.74%

22.65%

%

-2.26%

3.71%

1.18%

%

-2.74%

6.10%

3.49%

สินทรัพย์รวม

%

58.35%

21.11%

13.90%

ิ รวม หนีส ้ น

%

52.28%

27.51%

-18.67%

%

5.00%

8.76%

13.51%

%

9.67%

7.41%

8.64%

มูลค่าตามบัญชีตอ ่ หุ ้น

บาท

3.95

3.06

2.87

้ งวด ราคาหุ ้น ณ สิน

บาท

7.15

6.70

11.10

อัตรากาไรขัน ้ ต ้น อัตรากาไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู ้ถือหุ ้น

5/

อ ัตราการเติบโต (Growth Ratios)

รายได ้รวม ค่าใช ้จ่ายในการดาเนินงาน

6/

ข้อมูลต่อหุน ้ และอืน ่ ๆ

้ งวด จานวนหุ ้นสามัญ ณ สิน

ล ้านหุ ้น

33,368

24,608

24,608

มูลค่าตลาดของหุ ้น

ล ้านบาท

238,583

164,873

273,148

หมายเหตุ : 1/

่ มโยงโครงข่าย (IC) และรายได ้ค่าเช่าโครงข่าย รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์และบริการอืน ่ ยกเว ้น รายได ้ค่าเชือ

2/

อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการใช ้สินทรัพย์ ในปี กอ ่ นหน ้า มีการปรับปรุงเพื่อให ้สะท ้อน cash cycle ของกลุม ่ ทรู ทีไ ่ ม่รวมกาไรจากการการขายสินทรัพย์เข ้ากองทุน DIF

3/

ิ ประกอบด ้วยเงินกู ้ยืมระยะสัน ้ และระยะยาว ไม่รวมหนีส ิ ตามสัญญาเช่าทางการเงิน หนีส ้ น ้ น

4/

อัตราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบีย ้ คานวณจาก EBITDA สาหรับงวด/ (ดอกเบีย ้ จ่าย+ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน ่ ) สาหรับงวด หากคานวณอัตราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบีย ้ ด ้วยงบกระแสเงินสด (กระแสเงินสดสุทธิจากการดาเนินงาน + ดอกเบีย ้ จ่าย + รายจ่ายภาษีเงินได ้)/ ดอกเบีย ้ จ่าย จะได ้อัตราส่วนนีเ้ ป็ น 3.80 เท่า ในปี 2559 เป็ น 4.20 เท่า ในปี 2558 และเป็ น 0.73 เท่า ในปี 2557

5/ 6/

ส่วนที่ 3

อัตราผลตอบแทนผู ้ถือหุ ้น = กาไรส่วนทีเ่ ป็ นของบริษัทใหญ่/ ส่วนของผู ้ถือหุ ้นบริษัทใหญ่ (เฉลีย ่ ) รวมต ้นทุนการให ้บริการ ต ้นทุนขาย และค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ คาอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ภาพรวม ทรู มูฟ เอช ก้าวขึ้นเป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่อนั ดับ 2 ของประเทศตามสัดส่ วนฐานลูกค้าในปี 2559 ซึ่ งนับเป็ นปี ที่อุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยและกลุ่มทรู เติบโตได้ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ งมีการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ ยคุ 4G และดิจิทลั (Digitalization) อย่างรวดเร็ ว ภายหลังการประมูลคลื่นความถี่ 1800 MHz และ 900 MHz ในปลายปี 2558 ทั้งนี้ ทรู มูฟ เอช มีรายได้จากการให้บริ การที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.4 จากปี ก่อนหน้า ซึ่ งผลักดันให้รายได้จากการให้บริ การของธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ของทั้งอุตสาหกรรมเติบโตถึงร้อยละ 5.4 ในปี 2559 เมื่อเทียบกับอัตราการเติบโตเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี ของอุตสาหกรรมเพียงร้อยละ 3.8 ต่อปี แม้การแข่งขันในอุตสาหกรรม โทรศัพท์เคลื่อนที่ยงั คงอยูใ่ นระดับที่สูง ซึ่ งผูใ้ ห้บริ การต่างมุ่งเน้นขยายโครงข่าย 4G ทัว่ ประเทศ ชูประสิ ทธิ ภาพ ด้านความเร็ วของโครงข่าย พร้อมนาเสนอแคมเปญที่น่าดึงดูดใจด้วยการผสานแพ็กเกจคุม้ ค่าร่ วมกับดีไวซ์ รวมถึง ส่ วนลดราคาเครื่ องโทรศัพท์ เพื่อจูงใจให้ลูกค้าโอนย้ายมาใช้บริ การในระบบแบบรายเดือนและ 4G มากยิง่ ขึ้น ทั้งนี้ ทรู มูฟ เอช เดินหน้าเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื่อง โดยโครงข่าย 4.5G/4G 3G และ 2G ของทรู มูฟ เอช ครอบคลุมร้อยละ 98 ของประชากรไทย และเข้าถึงพื้นที่ในระดับหมู่บา้ นทั้ง 77 จังหวัดทัว่ ประเทศ ด้วยการผสานจุดเด่นของคลื่นย่านความถี่ต่าและคลื่นย่านความถี่สูงได้อย่างลงตัว นอกจากนี้ ทรู มูฟ เอช ยังเป็ น ผูน้ าในการให้บริ การ 4.5G ด้วยการนาเทคโนโลยีการรวมคลื่น 3 คลื่น หรื อ 3CA (Carrier Aggregation) มาผสาน กับเทคโนโลยีสถานีฐานประเภท 4T4R (เทคโนโลยีฐานแบบ 4 Transmit 4 Receiver หรื อ 4x4 MIMO) จานวนกว่า 7,000 สถานี ซึ่งมีจานวนมากที่สุดในโลก รับรองโดยสถาบัน Global Mobile Suppliers Association อีกทั้งนาเสนอ แคมเปญ 4G Plus มอบความเร็ ว 4G เต็มสปี ด แบบไม่จากัดความเร็ ว โดยแคมเปญดังกล่าวได้รับผลตอบรับอย่างสู ง จากตลาด สิ่ งเหล่านี้ ผลักดันให้รายได้ EBITDA และฐานลูกค้าของทรู มูฟ เอช เติบโตอย่างแข็งแกร่ งและต่อเนื่องใน ปี 2559 ที่ผา่ นมา ธุ รกิจบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตของทรู ออนไลน์ ยังสามารถรักษาความเป็ นผูน้ า และมีผลประกอบการที่เติบโต แข็งแกร่ งต่อเนื่อง ด้วยจานวนลูกค้าที่เพิ่มสู งขึ้นอย่างมีนยั สาคัญ และรายได้จากบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต สาหรับลูกค้าทัว่ ไปที่ยงั คงเติบโตดีในอัตราเลขสองหลัก ท่ามกลางการแข่งขันที่สูงขึ้นของอุตสาหกรรม ซึ่ งผูใ้ ห้บริ การ ต่างชูประสิ ทธิ ภาพด้านความเร็ วและยกระดับเทคโนโลยี รวมถึงการให้ส่วนลดในช่วงระยะเวลาสั้นๆ เพื่อจูงใจลูกค้า ทั้งนี้ ทรู ออนไลน์ขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง โดยปั จจุบนั มีความครอบคลุมแล้ว ประมาณ 10 ล้านครัวเรื อนทัว่ ประเทศ นอกจากนี้ การนาเสนอคอนเทนต์คุณภาพสู งจากทั้งต่างประเทศและในประเทศ ที่ครบครันของทรู วชิ นั่ ส์ ช่วยส่ งเสริ มกลยุทธ์คอนเวอร์ เจนซ์ของกลุ่มทรู ได้เป็ นอย่างดี ซึ่งผลักดันการเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง พร้อมสร้างความผูกพันของลูกค้าต่อสิ นค้าและบริ การภายในกลุ่มทรู ได้มากยิง่ ขึ้น

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

กลุ่มทรู รายงานผลขาดทุนสุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของบริ ษทั ฯ จานวน 2,814.3 ล้านบาท ในปี 2559 ซึ่งเปลี่ยนแปลง ในอัตราที่สูงกว่าร้อยละ 20 จากปี ก่อนหน้า โดยมีสาเหตุสาคัญ สรุ ปได้ดงั นี้ รายได้ จากการให้ บริการโดยรวมของกลุ่มทรู เติบโตร้อยละ 17.7 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 88.1 พันล้านบาท ในปี 2559 ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการเติบโตอย่างโดดเด่นของธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้งในกลุ่มลูกค้าระบบเติมเงิน และรายเดือน ในขณะที่ บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต สาหรับลูกค้าทัว่ ไป ยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่ งในอัตรา เลขสองหลักที่ร้อยละ 13.6 จากปี ก่อนหน้า ส่ งผลให้ EBITDA ของกลุ่มเติบโตอย่างมีนยั สาคัญถึงร้อยละ 33.3 เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้าเป็ น 25.1 พันล้านบาท ซึ่ งไม่รวมกาไรจากการโอนเสาโทรคมนาคมใหม่เข้ากองทุนรวม โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ดิจิทลั (DIF) ในปี 2558 เพื่อให้สามารถเปรี ยบเทียบผลการดาเนิ นงานได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม กลุ่ ม ทรู มี ผ ลขาดทุ น สุ ท ธิ ส่ วนที่ เ ป็ นของบริ ษั ท ฯ จ านวน 2,814.3 ล้า นบาท ในปี 2559 อัน เป็ นผลจาก ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการเร่ งขยายโครงข่ายและการให้บริ การให้ครอบคลุมประชากรทัว่ ประเทศเพื่อขยายฐานลูกค้า 4G และไฟเบอร์ บรอดแบรนด์ ทัว่ ประเทศ รวมถึงการรับรู ้ค่าตัดจาหน่ ายใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่และต้นทุนด้าน คอนเทนต์ที่เพิ่มขึ้น สาหรับปี 2560 กลุ่มทรู ตั้งเป้ าหมายการเติบโตของรายได้จากการให้บริ การโดยรวมในอัตราประมาณร้อยละ 16 ถึงร้อยละ 20 ซึ่ งการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของรายได้ ร่ วมกับการดาเนิ นการอย่างเข้มงวดในการควบคุมค่าใช้จ่ายใน หลายจุดให้มีประสิ ทธิ ภาพ จะส่ งผลให้กลุ่มทรู มีผลกาไรได้ในปี 2560 ทั้งนี้ กลุ่มทรู คาดว่าจะใช้งบลงทุน (ที่เป็ นเงินสด) รวมประมาณ 48 พันล้านบาท ซึ่ งไม่รวมการชาระค่าใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ กลุ่มทรู จะยังคงรักษาการเติบโตอย่างเข้มแข็ง พร้อมเดินหน้าต่อยอดความสาเร็ จจากปี ก่อนหน้า และเสริ ม ความแข็งแกร่ งให้กบั การเป็ นผูน้ าคอนเวอร์ เจนซ์แบบครบครันอย่างแท้จริ ง โดยมุ่งเน้นในการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของ โครงข่ายและการให้บริ การให้ดีมากยิง่ ขึ้น การนาเสนอแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ที่คุม้ ค่าและแตกต่าง การพัฒนาโซลูชนั่ ในรู ปแบบดิจิทลั และนวัตกรรมที่ทนั สมัย การต่อยอดความเป็ นผูน้ าและความเชี่ ยวชาญในด้าน IoT (Internet of Things) พร้อมวิเคราะห์และปรับตัวเพื่อตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคและเทคโนโลยีได้อย่างต่อเนื่อง พัฒนาการเหล่านี้ เมื่อรวมกับความมุ่งมัน่ ในการเพิ่ม productivity ทัว่ ทั้งองค์กร จะเสริ มสร้างศักยภาพในการแข่งขัน ให้กบั กลุ่ม พร้อมสร้างความแข็งแกร่ งให้กบั ผลประกอบการทางด้านการเงินอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้ กลุ่มทรู เติบโตและสามารถสร้างผลกาไรได้อย่างยัง่ ยืน แม้การแข่งขันในอุตสาหกรรมอยูใ่ นระดับที่สูง

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่ อย (ยั งไม่ได ้ตรวจสอบ)

ไตรมาส 4

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

ปี 2559

ปี 2559

ปี 2558

% เปลียนแปลง ่

% เปลียนแปลง ่

Q-o-Q

Y-o-Y

ปี 2559

ปี 2558

Y-o-Y

(หน่วย : ล ้านบาท ยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ ) รายได้ รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์และบริการอืน ่ ่ มต่อโครงข่าย (IC) - รายได ้ค่าเชือ - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการใหบริ ้ การ รายได ้จากการขาย รวมรายได้

28,120 1,382 3,939 22,800 6,039

27,848 1,343 3,939 22,566 2,946

25,143 1,133 4,249 19,761 7,408

1.0 2.9 (0.0) 1.0 105.0

11.8 21.9 (7.3) 15.4 (18.5)

107,892 5,306 14,527 88,058 16,827

95,942 4,753 16,386 74,803 22,839

34,159

30,794

32,551

10.9

4.9

19,588 273 1,454 13,725 4,136

21,403 1,093 1,428 13,237 5,645

19,523 934 1,284 13,633 3,672

(8.5) (75.0) 1.8 3.7 (26.7)

5,870

3,311

6,708

8,548 2,367 6,180

7,518 2,232 5,286

5,187 1,238 3,949

12.5 11.6 (11.3) 17.7 (26.3)

124,719

118,781

5.0

0.3 (70.8) 13.2 0.7 12.6

78,276 3,422 5,802 51,443 17,609

71,046 2,727 5,511 49,881 12,927

10.2 25.5 5.3 3.1 36.2

77.3

(12.5)

17,323

19,531

(11.3)

13.7 6.1 16.9

64.8 91.3 56.5

29,611 7,954 21,657

23,596 4,574 19,021

25.5 73.9 13.9

ค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน ต ้นทุนการใหบริ ้ การรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกากับดูแล (Regulatory cost) ่ มต่อโครงข่าย ค่าใช ้จ่ายเชือ ่ มต่อโครงข่าย (IC) ต ้นทุนการใหบริ ้ การ ไม่ร วมค่าเชือ ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเ่ ป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน

34,006

32,231

31,418

5.5

8.2

125,211

114,173

EBITDA

6,657

6,439

6,042

3.4

10.2

25,071

22,109

13.4

EBITDA (ไม่ร วมกาไรจากการโอนเสา 6,000 ต ้น ให ้ DIF) ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ

6,657

6,439

5,246

3.4

26.9

25,071

18,811

33.3

(6,503)

(7,876)

(4,910)

(17.4)

32.5

(25,563)

(17,502)

46.1

154

(1,437)

1,133

NM

(86.4)

(492)

54

(26.9)

167.4

442

กาไรจากการดาเนินงาน ดอกเบีย ้ รั บ

145

ดอกเบีย ้ จ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน ่ ค่าใช ้จ่ายทางการเงินทีเ่ กีย ่ วกับใบอนุญาต ภาษี เงินได ้ ภาษี เงินได ้ในปี ปัจจุบน ั ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (กาไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสีย ทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

199

9.7

4,608

NM

142

210.5

(1,287)

(1,115)

(912)

15.3

41.1

(4,672)

(2,897)

774 (622)

(330) (537)

(53) (76)

NM 15.8

NM NM

(107) (1,422)

(143) (194)

(25.1) NM

(390) 124 (514)

94 (17) 111

(224) (212) (12)

NM NM NM

73.7 NM NM

(490) (260) (230)

(251) (474) 222

94.8 (45.2) NM

479

432

374

11.0

28.2

11

(26)

35

NM

(69.1)

4,609

1,414

61.2

225.9

(7)

11

NM

กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานปกติและผลการลงทุนในบริษ ัทร่วม

(735)

(2,721)

330

73.0

NM

(2,138)

2,690

NM

รายการทีไม่ ่ เกีย ่ วข้องก ับการดาเนินงานปกติ

(923)

(33)

68

NM

NM

(676)

1,721

NM

354

(285)

(110)

NM

NM

(156)

498

NM

-

-

361

(100.0)

178

NM

NM

(520)

863

NM

398

39.8

NM

(2,814)

4,412

NM

NM

69.1

38.8

NM

กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย ่ นเงินตราต่างประเทศ กาไรทีร่ ั บรู ้จากการขายสิทธิร์ ายได ้ทีเ่ กีย ่ วกับเสา 338 ต ้น ใหแก่ ้ DIF (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน ่

(1,276)

กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหร ับส่วนทีเป ่ ็ นของบริษ ัท

(1,658)

กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหรั บส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได ้เสีย ทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม กาไร (ขาดทุน) สุทธิสาหร ับปี

(11) (1,669)

253 (2,754) 26 (2,728)

-

(35) 363

-

7 (2,807)

(11) 4,400

NM NM

หมายเหตุ: รายการที่ไม่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินงานปกติ ในปี 2559 ส่วนหนึ่งประกอบด้ วย ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจานวน 156 ล้ านบาท และค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวกับสัญญา HSPA ระหว่างกลุม่ ทรูและ CAT จานวน 306 ล้ านบาท (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้ อ 38.3)

รายงานของผูส้ อบบัญชีมีขอ้ สังเกตเกี่ยวกับความไม่แน่นอนเกี่ยวกับคดีฟ้องร้องที่ยงั ไม่ทราบผล และสัญญาสาคัญ ทางธุ รกิจที่อยูร่ ะหว่างการสรุ ปในรายละเอียด (รายละเอียดเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 38.3 ข้อ 39 และข้อ 40.2) ซึ่ งผลสุ ดท้ายของคดีและข้อสรุ ปของสัญญายังไม่สามารถระบุได้ อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริ หารเชื่ อมัน่ เป็ น อย่างยิง่ ว่างบการเงินหรื อการดาเนินงานของกลุ่มจะไม่ได้รับผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญจากปั จจัยดังกล่าว

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ผลการดาเนินงานโดยรวม รายได้ จากการให้ บริการโดยรวมของกลุ่มทรู เติบโตสู งสุ ดในรอบ 10 ปี ในอัตราร้อยละ 17.7 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 88.1 พันล้านบาท ตามเป้ าหมาย ในปี 2559 ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการเติบโตอย่างโดดเด่น ของธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ซ่ ึ งมีรายได้จากการให้บริ การเติบโตเหนือผูใ้ ห้บริ การรายใหญ่รายอื่นอย่างมีนยั สาคัญ ตลอดทั้งปี โดยรายได้จากบริ การนอนวอยซ์ที่เพิ่มสู งขึ้นแข็งแกร่ ง และการขยายตัวของฐานลูกค้าทั้งในกลุ่มลูกค้า ระบบเติมเงินและรายเดือน ยังคงเป็ นปัจจัยหลักสาหรับการเติบโตรายได้ของกลุ่ม 

รายได้ จากการขาย เป็ น 16.8 พันล้านบาท ลดลงร้อยละ 26.3 จากปี ก่อนหน้า ซึ่ งมีฐานรายได้ ที่สูงจากการโอนเสาโทรคมนาคมเข้ากองทุน DIF ทั้งนี้ หากไม่รวมกาไรจากการโอนเสาโทรคมนาคมดังกล่าว รายได้จากการขายลดลงร้อยละ 1.0 จากปี ก่อนหน้า อันเป็ นผลจากการที่มีโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 4G และ 3G ในราคาที่เข้าถึงได้ออกสู่ ตลาดมากขึ้น รวมถึงการนาเสนอแคมเปญค่าบริ การร่ วมกับดีไวซ์ที่คุม้ ค่าและหลากหลาย 

ค่ าใช้ จ่ายด้ านการกากับดูแล (Regulatory cost) เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.5 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 3.4 พันล้านบาท ส่ วนหนึ่งเป็ นผลจากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของรายได้จากการให้บริ การของธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในขณะที่ ส่ วนแบ่งรายได้ของบริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานมีจานวนลดลง 

ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานหลัก (ประกอบด้วยต้นทุนการให้บริ การอื่นๆ และค่าใช้จ่ายในการขายและ บริ หารอื่นๆ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.1 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 73.1 พันล้านบาท จากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการเร่ งขยายโครงข่าย โดยเฉพาะ 4G และไฟเบอร์ รวมถึงค่าใช้จ่ายด้านคอนเทนต์และบุคคลากรที่เพิม่ ขึ้น 

EBITDA เติบโตร้อยละ 33.3 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 25.1 พันล้านบาท (ไม่รวมกาไรจากการส่ งมอบ เสาโทรคมนาคมให้กองทุน DIF ในปี 2558 เพื่อการเปรี ยบเทียบผลการดาเนิ นงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม) เป็ นผลจากการเติบโตอย่างมีนยั สาคัญของรายได้ ตามการขยายตัวของฐานลูกค้า 

การรับรู้ค่าตัดจาหน่ายใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ 900 MHz และ 1800 MHz รวมถึงการขยายโครงข่าย และการให้บริ การอย่างต่อเนื่ องของกลุ่มทรู ส่ งผลให้ ค่ าเสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย เพิ่มขึ้นเป็ น 25.6 พันล้านบาท 

ดอกเบีย้ จ่ าย (สุ ทธิ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 61.2 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 4.7 พันล้านบาท เป็ นผลจากการ กูย้ มื เพิ่มเติม เพื่อสนับสนุ นการขยายธุ รกิจและชาระค่าใบอนุญาต 

ค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า เป็ น 490 ล้านบาท ในปี 2559 ส่ วนใหญ่จากการ ตั้งสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจากขาดทุนทางภาษีนอ้ ยลงเมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า 

ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการเร่ งขยายโครงข่ายและการให้บริ การให้ครอบคลุมประชากรทัว่ ประเทศ ค่าตัดจาหน่ายใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ ค่าใช้จ่ายด้านคอนเทนต์และดอกเบี้ย ส่ งผลให้ กลุ่มทรู รายงานผลขาดทุนสุ ทธิ ส่ วนทีเ่ ป็ นของบริษัทฯ จานวน 2.8 พันล้านบาท ในปี 2559 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ตารางสรุ ปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ – เทียบปี 2559 กับปี 2558 ทรูมูฟ เอช (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ) (หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ ) รายได้ รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์และบริการอืน ่ ่ มต่อ โครงข่าย - รายได ้ค่าเชือ - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการใหบริ ้ การ รายได ้จากการขายสินค ้า รวมรายได้

ปี 2559

ปี 2558

่ ั ส์ ทรูวช ิ น

ทรูออนไลน์ % เปลีย ่ นแปลง

ปี 2559

ปี 2558

% เปลีย ่ นแปลง

77,253 5,311 14,086 57,856 16,623 93,876

65,825 4,755 16,018 45,052 16,846 82,671

17.4 11.7 (12.1) 28.4 (1.3) 13.6

28,038 442 27,596 262 28,300

27,166 368 26,798 6,038 33,205

3.2 20.0 3.0 (95.7) (14.8)

ปี 2559

ปี 2558

12,197 12,197 209 12,406

รายการระหว่างก ัน % เปลีย ่ นแปลง

ปี 2559

งบการเงินรวม

ปี 2558

ปี 2559

ปี 2558

% เปลีย ่ นแปลง

11,981 11,981 213 12,194

1.8 1.8 (1.9) 1.7

(9,596) (5) (9,591) (267) (9,863)

(9,030) (2) (9,028) (259) (9,289)

107,892 5,306 14,527 88,058 16,827 124,719

95,942 4,753 16,386 74,803 22,839 118,781

12.5 11.6 (11.3) 17.7 (26.3) 5.0

78,276 3,422 5,802 51,443 17,609 17,323 29,611

71,046 2,727 5,511 49,881 12,927 19,531 23,596

10.2 25.5 5.3 3.1 36.2 (11.3) 25.5

ค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน ต ้นทุนการใหบริ ้ การรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกากับดูแล (Regulatory cost) ่ มต่อ โครงข่าย ค่าใช ้จ่ายเชือ ่ มต่อ โครงข่าย (IC) ต ้นทุนการใหบริ ้ การ ไม่รวมค่าเชือ ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเ่ ป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน EBITDA EBITDA (ไม่รวมกาไรจากการโอนเสา 6,000 ต ้น ให ้ DIF) ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ

53,285 1,790 5,807 36,480 9,208 17,225 24,611

46,632 422 5,517 35,587 5,107 16,829 18,501

14.3 324.4 5.3 2.5 80.3 2.4 33.0

18,459 1,797 10,523 6,139 228 7,315

17,876 1,900 10,165 5,811 2,810 6,999

3.3 (5.4) 3.5 5.6 (91.9) 4.5

11,695 (164) 9,362 2,498 199 1,802

11,374 406 8,811 2,157 198 1,953

2.8 NM 6.3 15.8 0.5 (7.8)

(5,163) (5) (4,922) (236) (329) (4,117)

(4,835) (6) (4,681) (148) (306) (3,857)

7,577 17,034 95,122 15,540 (16,785)

4,308 14,193 81,962 10,123 (9,414)

75.9 20.0 16.1 53.5 78.3

297 7,018 26,002 8,735 8,735 (6,437)

192 6,807 27,685 11,523 8,225 (6,003)

54.9 3.1 (6.1) (24.2) 6.2 7.2

111 1,691 13,696 1,319 (2,609)

76 1,877 13,525 902 (2,233)

46.8 (9.9) 1.3 46.2 16.8

(32) (4,085) (9,609) (522) 268

(3,856) (8,998) (439) 149

7,954 21,657 125,211 25,071 25,071 (25,563)

กาไรจากการดาเนินงาน

(1,245)

709

NM

2,298

5,520

(58.4)

(1,290)

(1,331)

3.1

(254)

(290)

(492)

4,608

NM

ดอกเบีย ้ รับ ดอกเบีย ้ จ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน ่

310 (2,363)

53 (976)

483.0 142.1

518 (2,465)

708 (2,262)

(26.9) 9.0

11 (240)

6 (283)

82.7 (15.4)

(397) 397

(625) 625

442 (4,672)

142 (2,897)

210.5 61.2

(35)

(82)

(57.5)

(72)

(61)

(1,361) 65 (99) 164 -

(118) (11) (341) 330 -

NM NM (71.1) (50.3) -

(802) (153) (649) 4,664

(294) (83) (211) 1,442

35

NM

(10)

(17)

ค่าใช ้จ่ายทางการเงินทีเ่ กีย ่ วกับใบอนุญาต (ค่าใช ้จ่าย)รายได ้ภาษี เงินได ้ ภาษี เงินได ้ในปี ปัจจุบน ั ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี ส่วนแบ่งกาไร(ขาดทุน)ในบริษัทร่วม (กาไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสียทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

(88)

18.0

-

-

4,574 19,021 114,173 22,109 18,811 (17,502)

73.9 13.9 9.7 13.4 33.3 46.1

-

-

-

(107)

(143)

(25.1)

172.6 82.8 (208.2) 223.5

(62) 247 (8) 255 (55)

(77) 54 (49) 102 (28)

(19.3) 359.6 (83.2) 149.0 (99.7)

-

-

(1,422) (490) (260) (230) 4,609

(194) (251) (474) 222 1,414

NM 94.8 (45.2) NM 225.9

43.4

24

10

131.4

67

(16)

(7)

11

NM

กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานปกติและส่วนแบ่ง กาไร(ขาดทุน)ในบริษ ัทร่วม (NIOGO) รายการทีไม่เกีย ่ วข้องก ับการดาเนินงานปกติ กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย ่ นเงินตราต่างประเทศ กาไรทีร่ ับรู ้จากการขายสิทธิร์ ายได ้ทีเ่ กีย ่ วกับเสา 338 ต ้น ใหแก่ ้ DIF (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน ่

(4,716) (250) (56) (194)

(389)

NM

1,506 437 1,069

NM NM NM

4,131 (437) (132) (305)

5,034 220 (5) 361 (135)

(17.9)

(1,365)

(1,648)

(188)

(307)

(2,138)

2,690

NM

NM NM (100.0) 125.8

14 33 (19)

9 66 (58)

17.2 64.8 (50.5) 67.6

(3) (3)

(14) (14)

(676) (156) (520)

1,721 498 361 863

NM NM (100.0) NM

กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหร ับส่วนทีเ่ ป็นของบริษ ัท กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหรับส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได ้เสียทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

(4,966) 88

1,117 (35)

NM NM

3,694 10

5,255 17

(29.7) (43.4)

(1,351) (24)

(1,640) (10)

17.6 (131.4)

(191) (67)

(321) 16

(2,814) 7

4,412 (11)

NM NM

กาไร (ขาดทุน) สุทธิสาหร ับปี

(4,878)

1,082

NM

3,704

5,272

(29.8)

(1,375)

(1,650)

16.7

(258)

(304)

(2,807)

4,400

NM

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ตารางสรุ ปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ – เทียบไตรมาส 4 ปี 2559 กับไตรมาส 4 ปี 2558 (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ) (หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ ) รายได้ รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์และบริการอืน ่ ่ มต่อ โครงข่าย - รายได ้ค่าเชือ - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการใหบริ ้ การ รายได ้จากการขายสินค ้า รวมรายได้ ค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน ต ้นทุนการใหบริ ้ การรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกากับดูแล (Regulatory cost) ่ มต่อ โครงข่าย ค่าใช ้จ่ายเชือ ่ มต่อ โครงข่าย (IC) ต ้นทุนการใหบริ ้ การ ไม่รวมค่าเชือ ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเ่ ป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน EBITDA EBITDA (ไม่รวมกาไรจากการโอนเสา 6,000 ต ้น ให ้ DIF) ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ กาไรจากการดาเนินงาน ดอกเบีย ้ รับ ดอกเบีย ้ จ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน ่ ค่าใช ้จ่ายทางการเงินทีเ่ กีย ่ วกับใบอนุญาต (ค่าใช ้จ่าย)รายได ้ภาษี เงินได ้ ภาษี เงินได ้ในปี ปัจจุบน ั ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี ส่วนแบ่งกาไร(ขาดทุน)ในบริษัทร่วม (กาไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสียทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

ไตรมาส 4 ปี 2559

่ ั ส์ ทรูวช ิ น

ทรูมูฟ เอช

ทรูออนไลน์

ไตรมาส 4 % ไตรมาส 4 ปี 2558 เปลีย ่ นแปลง ปี 2559

ไตรมาส 4 % ปี 2558 เปลีย ่ นแปลง

ไตรมาส 4 ปี 2559

รายการระหว่างก ัน

ไตรมาส 4 % ไตรมาส 4 ปี 2558 เปลีย ่ นแปลง ปี 2559

งบการเงินรวม

ไตรมาส 4 ปี 2558

ไตรมาส 4 ปี 2559

ไตรมาส 4 % ปี 2558 เปลีย ่ นแปลง

20,776 1,383 3,829 15,565 6,000 26,777

17,516 1,134 4,138 12,244 6,188 23,704

18.6 21.9 (7.5) 27.1 (3.0) 13.0

6,925 110 6,815 38 6,963

6,789 110 6,679 1,231 8,020

2.0 0.1 2.0 (96.9) (13.2)

3,002 3,002 2 3,003

2,762 2,762 9 2,770

8.7 8.7 (81.9) 8.4

(2,583) (1) (2,582) (2,584)

(1,924) (1) (1,923) (19) (1,943)

28,120 1,382 3,939 22,800 6,039 34,159

25,143 1,133 4,249 19,761 7,408 32,551

11.8 21.9 (7.3) 15.4 (18.5) 4.9

14,069 398 1,455 10,003 2,213 5,859 7,061 2,250 4,810 26,989 4,251 (4,463)

12,149 371 1,286 9,004 1,489 6,258 4,270 1,254 3,017 22,678 3,769 (2,743)

15.8 7.3 13.2 11.1 48.6 (6.4) 65.3 79.5 59.5 19.0 12.8 62.7

4,471 352 2,788 1,331 33 2,024 94 1,930 6,528 1,860 1,860 (1,425)

5,363 476 3,242 1,645 446 1,276 (35) 1,311 7,084 2,546 1,749 (1,610)

(16.6) (26.1) (14.0) (19.1) (92.7) 58.7 NM 47.3 (7.9) (26.9) 6.4 (11.5)

2,556 (477) 2,371 662 1 500 43 456 3,057 652 (706)

3,032 88 2,362 582 8 492 19 473 3,532 (161) (601)

(15.7) NM 0.4 13.8 (85.5) 1.6 125.2 (3.5) (13.4) NM 17.4

(1,508) (1) (1,437) (70) (24) (1,036) (20) (1,016) (2,568) (106) 90

(1,020) (1) (975) (44) (5) (851) (851) (1,876) (112) 44

19,588 273 1,454 13,725 4,136 5,870 8,548 2,367 6,180 34,006 6,657 6,657 (6,503)

19,523 934 1,284 13,633 3,672 6,708 5,187 1,238 3,949 31,418 6,042 5,246 (4,910)

0.3 (70.8) 13.2 0.7 12.6 (12.5) 64.8 91.3 56.5 8.2 10.2 26.9 32.5

(54)

(762)

(86.4)

(212)

1,026

NM

436

936

(53.5)

92.9

(15)

(68)

154

1,133

103

20

417.3

50

172

(71.1)

4

2

116.0

(12)

(139)

145

54

167.4

(681)

(385)

76.9

(563)

(584)

(3.7)

(55)

(82)

(32.9)

12

139

(1,287)

(912)

41.1

800 (608) (24) (73) 49

(38) (58) (375) (233) (142)

NM NM (93.7) (68.8) NM

(26) (366) 35 (401)

(16) 162 (19) 181

69.1 NM NM NM

(14) (1) 161 (162)

(18) (12) 39 (51)

(23.4) (95.4) 314.6 (217.2)

-

-

774 (622) (390) 124 (514)

(53) (76) (224) (212) (12)

NM NM 73.7 NM NM

489

379

29.0

(10)

(6)

(83.9)

-

-

479

374

28.2

38.8

22

33

(33.7)

25

(7)

11

35

(69.1)

-

-

-

(33)

12

NM

(2)

(4)

(655)

203

NM

(107)

(844)

87.3

9

(74)

(735)

330

NM

(701) 389 (1,091)

219 (109) 328

NM NM NM

(307) (129) (178)

(92) 44 (136)

(234.0) NM (31.1)

87 93 (7)

(57) (45) (12)

NM NM 45.0

(1) (1)

(2) (2)

(923) 354 (1,276)

68 (110) 178

NM NM NM

กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหร ับส่วนทีเ่ ป็นของบริษ ัท กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหรับส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได ้เสียทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

(1,356) 33

422 (12)

NM NM

(290) 2

953 4

NM (38.8)

(21) (22)

(902) (33)

97.7 33.7

8 (25)

(76) 7

(1,658) (11)

398 (35)

NM 69.1

กาไร (ขาดทุน) สุทธิสาหร ับปี

(1,322)

410

NM

(287)

957

NM

(43)

(934)

95.4

(16)

(69)

(1,669)

363

NM

กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานปกติและส่วนแบ่ง กาไร(ขาดทุน)ในบริษ ัทร่วม (NIOGO) รายการทีไม่เกีย ่ วข้องก ับการดาเนินงานปกติ กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย ่ นเงินตราต่างประเทศ (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน ่

ส่วนที่ 3

17

1,045

(98.3)

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ตารางสรุ ปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ – เทียบไตรมาส 4 ปี 2559 กับไตรมาส 3 ปี 2559 (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ) (หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ ) รายได้ รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์และบริการอืน ่ ่ มต่อ โครงข่าย - รายได ้ค่าเชือ - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการใหบริ ้ การ รายได ้จากการขายสินค ้า รวมรายได้ ค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน ต ้นทุนการใหบริ ้ การรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกากับดูแล (Regulatory cost) ่ มต่อ โครงข่าย ค่าใช ้จ่ายเชือ ่ มต่อ โครงข่าย (IC) ต ้นทุนการใหบริ ้ การ ไม่รวมค่าเชือ ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเ่ ป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน EBITDA ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ กาไรจากการดาเนินงาน ดอกเบีย ้ รับ ดอกเบีย ้ จ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน ่ ค่าใช ้จ่ายทางการเงินทีเ่ กีย ่ วกับใบอนุญาต (ค่าใช ้จ่าย)รายได ้ภาษี เงินได ้ ภาษี เงินได ้ในปี ปัจจุบน ั ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี ส่วนแบ่งกาไร(ขาดทุน)ในบริษัทร่วม

ไตรมาส 4 ปี 2559

่ ั ส์ ทรูวช ิ น

ทรูมูฟ เอช

ทรูออนไลน์

ไตรมาส 3 % ไตรมาส 4 ปี 2559 เปลีย ่ นแปลง ปี 2559

ไตรมาส 3 % ไตรมาส 4 ปี 2559 เปลีย ่ นแปลง ปี 2559

รายการระหว่างก ัน

ไตรมาส 3 % ไตรมาส 4 ปี 2559 เปลีย ่ นแปลง ปี 2559

งบการเงินรวม

ไตรมาส 3 ปี 2559

ไตรมาส 4 ปี 2559

ไตรมาส 3 % ปี 2559 เปลีย ่ นแปลง

20,776 1,383 3,829 15,565 6,000

20,039 1,344 3,829 14,866 2,928

3.7 2.9 (0.0) 4.7 104.9

6,925 110 6,815 38

6,805 110 6,694 61

1.8 0.0 1.8 (38.3)

3,002 3,002 2

3,179 3,179 126

(5.6) (5.6) (98.7)

(2,583) (1) (2,582) -

(2,175) (1) (2,173) (169)

28,120 1,382 3,939 22,800 6,039

27,848 1,343 3,939 22,566 2,946

1.0 2.9 (0.0) 1.0 105.0

26,777

22,967

16.6

6,963

6,866

1.4

3,003

3,304

(9.1)

(2,584)

(2,343)

34,159

30,794

10.9

14,069 398 1,455 10,003 2,213 5,859 7,061

14,430 505 1,429 9,116 3,380 3,355 6,282

(2.5) (21.1) 1.8 9.7 (34.5) 74.7 12.4

4,471 352 2,788 1,331 33 2,024

4,766 478 2,599 1,689 49 1,816

(6.2) (26.4) 7.3 (21.2) (33.2) 11.5

2,556 (477) 2,371 662 1 500

3,159 110 2,415 634 119 485

(19.1) NM (1.8) 4.5 (99.0) 3.0

(1,508) (1) (1,437) (70) (24) (1,036)

(952) (1) (893) (58) (212) (1,065)

19,588 273 1,454 13,725 4,136 5,870 8,548

21,403 1,093 1,428 13,237 5,645 3,311 7,518

(8.5) (75.0) 1.8 3.7 (26.7) 77.3 13.7

2,250 4,810 26,989 4,251 (4,463)

2,134 4,149 24,067 4,414 (5,514)

5.5 15.9 12.1 (3.7) (19.1)

94 1,930 6,528 1,860 (1,425)

78 1,737 6,631 2,003 (1,767)

19.4 11.1 (1.6) (7.1) (19.4)

43 456 3,057 652 (706)

31 454 3,762 207 (665)

38.2 0.6 (18.7) 214.6 6.1

(20) (1,016) (2,568) (106) 90

(12) (1,053) (2,229) (184) 69

2,367 6,180 34,006 6,657 (6,503)

2,232 5,286 32,231 6,439 (7,876)

6.1 16.9 5.5 3.4 (17.4)

(212)

(1,100)

80.7

(54)

(458)

436

235

85.1

88.2

(15)

(115)

154

103

152

(32.0)

50

55

(9.2)

4

3

34.5

(12)

(11)

145

(681) 800

(460) (315)

47.9 NM

(563) (26)

(611) (15)

(7.8) 70.4

(55) -

(56) -

(1.4) -

12 -

11 -

(1,287) 774

(1,115) (330)

15.3 NM

(608) (24) (73) 49

(524) 97 74 23

16.2 NM NM 112.4

(366) 35 (401)

(96) (22) (74)

280.2 NM (438.6)

(14) (1) 161 (162)

(14) 93 (69) 162

0.5 NM NM NM

-

-

(622) (390) 124 (514)

(537) 94 (17) 111

15.8 NM NM NM

489

445

9.9

(10)

(14)

25.2

-

-

479

432

11.0

(17)

86.0

22

(4)

NM

25

15

11

(26)

NM

76.1

9

(99)

(735)

(2,721)

73.0

NM NM (108.6)

(1) (1)

(1) (1)

(923) 354 (1,276)

(33) (285) 253

NM NM NM

199

NM (26.9)

-

-

(33)

(19)

(655)

(2,168)

69.8

(4)

NM

(107)

(449)

(701) 389 (1,091)

(13) (303) 290

NM NM NM

(307) (129) (178)

24 57 (33)

NM NM (435.0)

87 93 (7)

(43) (40) (3)

กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหร ับส่วนทีเ่ ป็นของบริษ ัท กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหรับส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได ้เสียทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

(1,356) 33

(2,181) 19

37.8 73.6

(290) 2

20 17

NM (86.0)

(21) (22)

(492) 4

95.7 NM

8 (25)

(101) (15)

(1,658) (11)

(2,754) 26

39.8 NM

กาไร (ขาดทุน) สุทธิสาหร ับปี

(1,322)

(2,161)

38.8

(287)

37

NM

(43)

(488)

91.2

(16)

(116)

(1,669)

(2,728)

38.8

(กาไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสียทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

-

(1,437)

(73.6)

(2)

กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานปกติและส่วนแบ่ง กาไร(ขาดทุน)ในบริษ ัทร่วม (NIOGO) รายการทีไม่เกีย ่ วข้องก ับการดาเนินงานปกติ กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย ่ นเงินตราต่างประเทศ (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน ่

ส่วนที่ 3

17

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

โครงสร้ างรายได้ รวม แยกตามประเภทธุรกิจ– เทียบปี 2559 กับปี 2558 รายได้รวม (ก่อนต ัดรายการระหว่างก ันระหว่างกลุม ่ ธุรกิจ) (ยั งไม่ได ้ตรวจสอบ)

ปี 2559

(หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ )

่ ั ส์ ทรูวช ิ น รายได ้จากการใหบริ ้ การ รายได ้จากการขายสินค ้า รายการระหว่างกัน

รายได้

ปี 2558

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

12,406

12,194

12,197

11,981

209

213

(2,708)

ั่ ส์ หลังตัดรายการระหว่างกัน ทรูวช ิ น

9,698

ทรูมูฟ เอช

รายได้

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

1.7 1.8 (1.9)

(2,700) 7.8%

9,494

% เปลียนแปลง ่

0.3 8.0%

2.1

93,876

82,671

13.6

รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์เคลือ ่ นที่

57,856

45,052

28.4

่ มต่อโครงข่าย (IC) รายได ้ค่าเช่าโครงข่ายและค่าเชือ

19,397

20,773

(6.6)

รายได ้จากการขายสินค ้า

16,623

16,846

(1.3)

รายการระหว่างกัน

(1,891)

(1,118)

69.2

ทรูมูฟ เอช หลังตัดรายการระหว่างกัน

91,986

ทรูออนไลน์

73.8%

81,553

68.7%

12.8

28,300

33,205

รายได ้จากการใหบริ ้ การ

27,596

26,798

3.0

- บริการเสีย งพืน ้ ฐาน

4,696

5,191

(9.5)

21,068

19,614

7.4

19,225

17,862

7.6

1,843

1,752

5.2

1,833

1,993

(8.0)

รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย (FOC)

442

368

20.0

รายได ้จากการขายสินค ้า

262

6,038

(95.7)

(5,471)

(3.8)

่ สารข ้อมูลธุร กิจ และ อืน - บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต สือ ่ ๆ ่ สารข ้อมูลธุร กิจ - บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต และสือ - บริการอินเทอร์เน็ ตอืน ่ ๆ - รายได ้อืน ่ ๆ*

รายการระหว่างกัน

(5,264)

ทรูออนไลน์ หลังตัดรายการระหว่างกัน

23,036

รายได้รวม

18.5%

134,582

รวมรายการระหว่างกัน

124,719

23.3%

128,069

(9,863)

รายได้รวม - สุทธิ

27,734

(14.8)

5.1

(9,289) 100.0%

118,781

(16.9) 6.2

100.0%

5.0

* รายไดอื้ น ่ ๆ อาทิ รายไดจากแพ็กเกจที ้ ่รวมสินคาและบริ ้ การของกลุม ่ ทรูภายใตทรู ้ ไลฟ์ พลัส

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

โครงสร้ างรายได้ รวม แยกตามประเภทธุรกิจ– เทียบไตรมาส 4 ปี 2559 กับไตรมาส 4 ปี 2558 รายได้รวม (ก่อนต ัดรายการระหว่างก ันระหว่างกลุม ่ ธุรกิจ) (ยั งไม่ได ้ตรวจสอบ)

ไตรมาส 4 ปี 2559

(หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ )

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

่ ั ส์ ทรูวช ิ น รายได ้จากการใหบริ ้ การ รายได ้จากการขายสินค ้า รายการระหว่างกัน

2,770

3,002

2,762

2

9

2,401

ทรูมูฟ เอช

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

3,003

(602)

ั่ ส์ หลังตัดรายการระหว่างกัน ทรูวช ิ น

ไตรมาส 4 ปี 2558

8.4 8.7 (81.9)

(409) 7.0%

2,362

% เปลียนแปลง ่

47.2 7.3%

1.7

26,777

23,704

13.0

15,565

12,244

27.1

่ มต่อโครงข่าย (IC) รายได ้ค่าเช่าโครงข่ายและค่าเชือ

5,211

5,272

(1.2)

รายได ้จากการขายสินค ้า

6,000

6,188

(3.0)

รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์เคลือ ่ นที่

รายการระหว่างกัน

(786)

(311)

25,991

ทรูออนไลน์

6,963

8,020

รายได ้จากการใหบริ ้ การ

6,815

6,679

2.0

- บริการเสีย งพืน ้ ฐาน

1,064

1,278

(16.8)

่ สารข ้อมูลธุร กิจ และ อืน - บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต สือ ่ ๆ

5,290

4,876

8.5

4,811

4,413

9.0

479

464

3.3

461

524

(12.0)

110

110

0.1

38

1,231

(96.9)

(1,224)

(2.3)

่ สารข ้อมูลธุร กิจ - บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต และสือ - บริการอินเทอร์เน็ ตอืน ่ ๆ - รายได ้อืน ่ ๆ* รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย (FOC) รายได ้จากการขายสินค ้า รายการระหว่างกัน

76.1%

(1,196)

ทรูออนไลน์ หลังตัดรายการระหว่างกัน

5,767

รายได้รวม

16.9%

36,743

รวมรายการระหว่างกัน

34,159

6,796

71.9%

20.9%

32,551

(15.1) 6.5

(1,943) 100.0%

11.1 (13.2)

34,494

(2,584)

รายได้รวม - สุทธิ

23,393

152.7

ทรูมูฟ เอช หลังตัดรายการระหว่างกัน

32.9 100.0%

4.9

* รายไดอื้ น ่ ๆ อาทิ รายไดจากแพ็กเกจที ้ ่รวมสินคาและบริ ้ การของกลุม ่ ทรูภายใตทรู ้ ไลฟ์ พลัส

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

โครงสร้ างรายได้ รวม แยกตามประเภทธุรกิจ– เทียบไตรมาส 4 ปี 2559 กับไตรมาส 3 ปี 2559 รายได้รวม (ก่อนต ัดรายการระหว่างก ันระหว่างกลุม ่ ธุรกิจ) (ยั งไม่ได ้ตรวจสอบ)

ไตรมาส 4 ปี 2559

(หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ )

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

่ ั ส์ ทรูวช ิ น รายได ้จากการใหบริ ้ การ รายได ้จากการขายสินค ้า รายการระหว่างกัน

% เปลียนแปลง ่

3,304

3,002

3,179

(5.6)

2

126

(98.7)

2,401

ทรูมูฟ เอช

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

3,003

(602)

ั่ ส์ หลังตัดรายการระหว่างกัน ทรูวช ิ น

ไตรมาส 3 ปี 2559

(9.1)

(792) 7.0%

2,513

(24.0) 8.2%

(4.4)

26,777

22,967

16.6

15,565

14,866

4.7

่ มต่อโครงข่าย (IC) รายได ้ค่าเช่าโครงข่ายและค่าเชือ

5,211

5,173

0.7

รายได ้จากการขายสินค ้า

6,000

2,928

104.9

รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์เคลือ ่ นที่

รายการระหว่างกัน

(786)

(467)

25,991

ทรูออนไลน์

6,963

6,866

รายได ้จากการใหบริ ้ การ

6,815

6,694

1.8

- บริการเสีย งพืน ้ ฐาน

1,064

1,143

(6.9)

่ สารข ้อมูลธุร กิจ และ อืน - บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต สือ ่ ๆ

5,290

5,100

3.7

4,811

4,618

479

482

(0.6)

461

451

2.1

110

110

0.0

38

61

(38.3)

่ สารข ้อมูลธุร กิจ - บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต และสือ - บริการอินเทอร์เน็ ตอืน ่ ๆ - รายได ้อืน ่ ๆ* รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย (FOC) รายได ้จากการขายสินค ้า รายการระหว่างกัน

76.1%

(1,196)

ทรูออนไลน์ หลังตัดรายการระหว่างกัน

5,767

รายได้รวม

16.9%

34,159

5,782

4.2

10.3 18.8%

30,794

(0.3) 10.9

(2,343) 100.0%

15.5 1.4

33,138

(2,584)

รายได้รวม - สุทธิ

73.1%

(1,084)

36,743

รวมรายการระหว่างกัน

22,500

68.2

ทรูมูฟ เอช หลังตัดรายการระหว่างกัน

10.3 100.0%

10.9

* รายไดอื้ น ่ ๆ อาทิ รายไดจากแพ็กเกจที ้ ่รวมสินคาและบริ ้ การของกลุม ่ ทรูภายใตทรู ้ ไลฟ์ พลัส

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ผลการดาเนินงานตามประเภทธุรกิจ ทรูมูฟ เอช จุดแข็งของทรู มูฟ เอช ด้านเครื อข่ายประสิ ทธิ ภาพสู งและความครอบคลุมทัว่ ประเทศ ผ่านการผสมผสาน คลื่นย่านความถี่ต่าและสู งได้อย่างลงตัว แคมเปญดีไวซ์ร่วมกับค่าบริ การที่คุม้ ค่าหลากหลาย และช่องทางในการขาย ที่มีอยูท่ วั่ ประเทศของกลุ่มทรู และพันธมิตร ยังคงเป็ นปั จจัยหลักที่ผลักดันการเติบโตอย่างสู งของรายได้และฐานลูกค้า ทั้งในระบบเติมเงินและรายเดือน ส่ งผลให้ ทรู มูฟ เอช สามารถเพิ่มส่ วนแบ่งตลาดรายได้และฐานลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง ในปี 2559  ทรู มูฟ เอช มีจานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ 5.4 ล้านราย ในปี 2559 คิดเป็ นสัดส่ วนร้ อยละ 75 ของ จานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ ในอุตสาหกรรม ซึ่ งขยายฐานลูกค้าทรู มูฟ เอช ให้เพิ่มขึ้นเป็ น 24.53 ล้านราย ประกอบด้วย ลูกค้าระบบรายเดือน จานวน 6.06 ล้านราย และลูกค้าระบบเติมเงินจานวน 18.47 ล้านราย โดยการเติบโตอย่างสู งของ ฐานลูกค้านี้ ทาให้ทรู มูฟ เอช ก้าวเป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่อนั ดับ 2 ของประเทศ และมีส่วนแบ่งตลาดฐาน ลูกค้าเพิ่มขึ้นเป็ นร้อยละ 27.2 เมื่อเทียบกับร้อยละ 23.1 ในปี ก่อนหน้า ในขณะที่ รายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การต่อเดือน เป็ น 217 บาท ในปี 2559 ซึ่ งเพิ่มขึ้นจาก 171 บาท ในปี 2558 และจาก 130 บาท ในปี 2557 

ฐานผูใ้ ช้บริ การที่เติบโตแข็งแกร่ ง ร่ วมกับการใช้งานโมบาย อินเทอร์ เน็ตที่เพิ่มสู งขึ้น ส่ งผลให้ ทรู มูฟ เอช มีรายได้ จากการให้ บริการที่เติบโตอย่างมีนยั สาคัญในอัตราร้อยละ 28.4 เป็ น 57.9 พันล้านบาท ในปี 2559 ในขณะที่ รายได้จากการให้บริ การของผูป้ ระกอบการใหญ่รายอื่นในอุตสาหกรรมรวมกันลดลงร้อยละ 0.2 จากปี ก่อนหน้า ทั้งนี้ ผลตอบรับที่ดีเยีย่ มต่อแคมเปญของทรู มูฟ เอช ที่เปิ ดตัวในไตรมาส 4 อาทิ แคมเปญ 4G+ Unlimited สาหรับ iPhone 7 และ iPhone 7 Plus รวมถึงแพ็กเกจที่คุม้ ค่าและตอบสนองความต้องการใช้งานที่หลากหลายของลูกค้าได้ตรงจุด ผลักดันให้รายได้จากการให้บริ การของทรู มูฟ เอช ในไตรมาส 4 ปี 2559 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.7 จากไตรมาสก่อนหน้า และร้อยละ 27.1 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า ทาให้ส่วนแบ่งตลาดรายได้จากการให้บริ การเพิม่ ขึ้นเป็ นร้อยละ 24.8 ในไตรมาส 4 ปี 2559 เมื่อเทียบกับร้อยละ 20.9 ในช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อนหน้า และ ร้อยละ 24.2 ในไตรมาส 3 ปี 2559 

รายได้ จากบริการทีไ่ ม่ ใช่ เสี ยง หรือ นอนวอยซ์ เติบโตอย่างสู งถึงร้อยละ 45.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 34.0 พันล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 59 ของรายได้จากการให้บริ การของทรู มูฟ เอช เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับสัดส่ วน ร้อยละ 52 ในปี ก่อนหน้า อันเป็ นผลจากจุดแข็งด้านบริ การ 4G ของทรู มูฟ เอช และความต้องการใช้งานโมบาย อินเทอร์ เน็ตของลูกค้าที่เพิ่มสู งขึ้น 

รายได้ จากบริการเสี ยง เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.3 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 20.8 พันล้านบาท จากความสาเร็ จ อย่างต่อเนื่ องของทรู มูฟ เอช ที่สามารถเข้าถึงและเพิม่ ผูใ้ ช้บริ การระบบรายเดือนในกลุ่มตลาดวงกว้างได้มากยิง่ ขึ้น รวมถึงผลตอบรับที่ดีเยีย่ มต่อแคมเปญที่ผสานค่าบริ การร่ วมกับดีไวซ์สาหรับผูใ้ ช้บริ การในระบบเติมเงิน ผ่านช่อง ทางการขายและจัดจาหน่ายที่แข็งแกร่ งของกลุ่มทรู 

รายได้จากบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศและบริ การอื่นๆ ค่อนข้างคงที่จากปี ก่อนหน้า (ลดลงร้อยละ 0.7) เป็ น 3.1 พันล้านบาท โดยการเพิม่ ขึ้นของปริ มาณการใช้บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ บนเครื อข่ายทรู มูฟ เอช ในประเทศไทย อันเป็ นผลจากภาพรวมการท่องเที่ยวในประเทศที่ปรับตัวดีข้ ึน ช่วยชดเชย ผลกระทบจากการแข่งขันในตลาด 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายได้ จากการขายสิ นค้ า ลดลงร้อยละ 1.3 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 16.6 พันล้านบาท จากการที่ผใู้ ห้บริ การ ต่างนาเสนอแคมเปญดีไวซ์หลากหลายและสมาร์ ทดีไวซ์ในราคาที่เข้าถึงได้ออกสู่ ตลาดมากขึ้น 

ค่ าใช้ จ่ายเชื่ อมต่ อโครงข่ ายสุ ทธิ (Net IC expense) ลดลงร้อยละ 34.8 จากปี ก่อนหน้าเป็ น 496 ล้านบาท เนื่องจากการโทรนอกเครื อข่ายสุ ทธิ ลดลง (Net off-net traffic) รวมถึงอัตราค่าใช้จ่ายเชื่อมต่อโครงข่ายที่ลดลงจาก 0.45 บาทต่อนาที เป็ น 0.34 บาทต่อนาที ซึ่งมีผลตั้งแต่เดือนกรกกฏาคม ปี 2558 

ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานหลัก (ประกอบด้วยต้นทุนการให้บริ การอื่นๆ ที่ไม่รวมค่าเชื่ อมต่อโครงข่าย และค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารอื่นๆ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 53.5 พันล้านบาท เป็ นผลจาก ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการขยายโครงข่ายทั้งในเรื่ องความจุและความครอบคลุมที่เพิ่มขึ้น รวมถึงค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร และการตลาด ทั้งนี้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่เครื อข่าย 2G บนคลื่นความถี่ 1800 MHz ได้ถูกยุติการให้บริ การตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม ปี 2559 ซึ่งบริ ษทั ฯ จะรับรู้ผลกระทบเต็มปี จากการลดลงของค่าใช้จ่ายในส่ วนนี้ ต้ งั แต่ปี 2560 เป็ นต้นไป  EBITDA เติบโตอย่างสู งถึงร้ อยละ 53.5 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 15.5 พันล้านบาท จากการเติบโตอย่าง แข็งแกร่ งของรายได้จากการให้บริ การ ซึ่งสู งกว่าการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานเป็ นอย่างมาก  ค่ าเสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย เพิ่มขึ้นเป็ น 16.8 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากค่าตัดจาหน่าย ใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ 900 MHz และ 1800 MHz สิ่ งนี้ ร่ วมกับค่าใช้จ่ายทางการเงินที่เพิ่มขึ้นเพื่อสนับสนุนการ ขยายธุ รกิจของกลุ่ม ส่ งผลให้ ทรู มูฟ เอช มีผลขาดทุนสุ ทธิส่วนทีเ่ ป็ นของบริษัท จานวน 4.97 พันล้านบาท ในปี 2559 

ทรูออนไลน์ ทรู ออนไลน์ มุ่งมัน่ ในการมอบประสบการณ์การใช้งานอินเทอร์ เน็ตที่ดีที่สุดแก่ลูกค้าและสนับสนุนให้ ประชากรไทยสามารถเข้าถึงการใช้งานอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งได้เพิ่มขึ้น ผ่านการขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต ด้วยเทคโนโลยีไฟเบอร์ ที่ทนั สมัยของกลุ่มอย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ ทรู ออนไลน์ ยังเพิ่มความคุม้ ค่าให้ กับบริ การบรอดแบนด์แบบไฟเบอร์ อย่างต่อเนื่ อง ด้วยการเพิ่มความเร็ วอินเทอร์ เน็ต เริ่ มต้นตั้งแต่ 30 Mbps ถึง 1 Gbps รวมถึงการนาเสนอแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ที่คุม้ ค่าภายใต้กลุ่มทรู และการให้บริ การที่เป็ นเลิศ ซึ่ งพัฒนาการเหล่านี้ ผลักดันให้รายได้จากการให้บริ การบรอดแบนด์สาหรับกลุ่มลูกค้าทัว่ ไปเติบโตร้อยละ 13.6 จากปี ก่อนหน้า และมีลูกค้า บริ การบรอดแบนด์รายใหม่สุทธิ เพิ่มขึ้นแข็งแกร่ งถึง 380,523 ราย ในปี 2559 ส่ งผลให้ฐานลูกค้าบรอดแบนด์เติบโต เป็ น 2.8 ล้านราย และมีรายได้ต่อผูใ้ ช้บริ การต่อเดือนเป็ น 629 บาท 

รายได้ จากการให้ บริการ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 27.6 พันล้านบาท ในปี 2559 จากรายได้ ของบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต ที่เติบโตอย่างแข็งแกร่ ง ในขณะที่ รายได้ จากการให้ บริการเสี ยงพืน้ ฐาน ลดลง เป็ น 4.7 พันล้านบาท ตามแนวโน้มผูบ้ ริ โภคที่เปลี่ยนไปใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ และสื่ อสารผ่านสื่ อสังคมออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น 

รายได้ จากการให้ บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 19.2 พันล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 70 ของรายได้จากการให้บริ การของทรู ออนไลน์ เมื่อเทียบกับร้อยละ 67 ในปี ก่อนหน้า ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของบริ การบรอดแบนด์สาหรับกลุ่มลูกค้าทัว่ ไป จากผลตอบรับที่ดีเยีย่ ม ต่อการขยายโครงข่ายและบริ การไฟเบอร์ บรอดแบนด์ พร้อมมอบความคุม้ ค่าด้วยการยกระดับเทคโนโลยีและความเร็ ว อินเทอร์ เน็ตให้แก่ลูกค้า นอกจากนี้ บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ต สาหรับกลุ่มลูกค้าธุ รกิจ ยังคงเติบโต ท่ามกลาง สภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้น ในขณะที่ รายได้จากบริ การสื่ อสารข้อมูลธุ รกิจ ลดลงจากผลกระทบของการยุติการ ให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่บนเครื อข่าย 2G ตั้งแต่กลางปี 2559 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ทั้งนี้ ทรู ออนไลน์ ได้ขยายการให้บริ การอินเทอร์ เน็ต ไปสู่ ลูกค้าในกลุ่มอพาทเมนท์ ด้วยการเปิ ดตัวบริ การ “True A Plus” ในปลายเดือนธันวาคม ผสานบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต แบบไฟเบอร์ ด้วยความเร็ ว 300 Mbps และ 200 Mbps ร่ วมกับคอนเทนต์ที่น่าดึงดูดใจของทรู วชิ นั่ ส์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ รายการฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก อังกฤษ และช่องรายการภาพยนตร์ จาก Hollywood สิ่ งเหล่านี้ จะช่วยผลักดันให้รายได้และฐานลูกค้าบรอดแบนด์ของทรู ออนไลน์เติบโตต่อไป 

รายได้ จากการขายสิ นค้ า เป็ น 262 ล้านบาท ในปี 2559 ลดลงจากฐานรายได้ที่สูงในปี ก่อนหน้า ซึ่งมีการ ส่ งมอบเสาโทรคมนาคมต้นใหม่ให้แก่กองทุน DIF ทั้งนี้ หากไม่รวมการส่ งมอบเสาโทรคมนาคมดังกล่าว รายได้จาก การขายสิ นค้าเติบโตร้อยละ 39 จากปี ก่อนหน้า 

ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานหลัก (ประกอบด้วยต้นทุนการให้บริ การอื่นๆ และค่าใช้จ่ายในการขายและ บริ หารอื่นๆ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 17.5 พันล้านบาท ตามการขยายโครงข่ายบรอดแบนด์แบบ ไฟเบอร์ และการให้บริ การให้ครอบคลุมทัว่ ประเทศอย่างต่อเนื่อง 

EBITDA เพิม่ ขึ้นร้อยละ 6.2 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 8.7 พันล้านบาท (ไม่รวมกาไรจากการส่ งมอบเสา โทรคมนาคมใหม่ให้แก่กองทุน DIF ในปี 2558 เพื่อการเปรี ยบเทียบผลการดาเนินงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม) ตามการเติบโตของรายได้จากการให้บริ การ 

ค่ าเสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย เพิม่ ขึ้นร้อยละ 7.2 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 6.4 พันล้านบาท จากการเร่ งขยาย โครงข่ายบรอดแบนด์ของกลุ่ม ซึ่ งปั จจุบนั มีความครอบคลุมประมาณ 10 ล้านครัวเรื อน ทัว่ ประเทศ โดยเพิม่ ขึ้นจาก 6 ล้านครัวเรื อน ณ สิ้ นปี 2558 

ทรู ออนไลน์ มีกาไรสุ ทธิ สาหรับส่ วนทีเ่ ป็ นของบริษัท จานวน 3.7 พันล้านบาท ในปี 2559 จากกาไรจาก การดาเนิ นงานและการรับรู ้มูลค่าเงินลงทุนใน DIF ซึ่ งกองทุนมีมูลค่าทรัพย์สินสุ ทธิ ที่เพิ่มขึ้น ในไตรมาส 1 ปี 2559 ภายหลังการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของกองทุน DIF โดยที่ปรึ กษาทางการเงินอิสระ ตามรอบระยะเวลา ในขณะที่ กาไรสุ ทธิ ลดลงเมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า เนื่ องจาก ในปี 2558 มีการรับรู ้กาไรจากการส่ งมอบเสาโทรคมนาคมใหม่ ให้แก่กองทุน DIF 

ทรู วชิ ั่ นส์ ทรู วชิ นั่ ส์ ยังคงสร้างความแตกต่างและเสริ มความแข็งแกร่ งบนแพลตฟอร์ ม เพื่อเพิ่มประสบการณ์การ รับชมโทรทัศน์ที่ดีที่สุดของสมาชิกอย่างต่อเนื่ อง ด้วยการเลือกสรรคอนเทนต์คุณภาพที่หลากหลายและครบครันสู งสุ ด โดยเฉพาะการถ่ายทอดสดคอนเทนต์ช้ นั นา พร้อมทั้งนาเสนอช่องรายการคุณภาพคมชัดแบบเอช ดี กว่า 55 ช่อง ทั้งนี้ ทรู วชิ นั่ ส์ยงั เดินหน้าสรรหาและผลิตคอนเทนต์คุณภาพเพิม่ เติม เพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการรับชมของ ผูบ้ ริ โภคชาวไทยได้ดียงิ่ ขึ้น สิ่ งเหล่านี้ ร่ วมกับความแข็งแกร่ งในตลาดระดับแมสของทรู วชิ นั่ ส์ ผ่านแพ็กเกจที่ผสมผสาน กับบริ การอื่นๆ ภายในกลุ่มทรู ส่ งผลให้ทรู วชิ นั่ ส์ มีจานวนสมาชิกรายใหม่สุทธิ และสมาชิกในระบบค่าบริ การสมาชิก เพิ่มสู งขึ้นเป็ นประวัติการณ์ในปี 2559 ซึ่ งผลักดันให้ฐานลูกค้าทั้งหมดของทรู วชิ นั่ ส์เติบโตเป็ น 3.9 ล้านราย ณ สิ้ นปี ทั้งนี้ ทรู วชิ นั่ ส์ จะเดินหน้าโปรโมทคอนเทนต์คุณภาพของกลุ่ม พร้อมส่ งเสริ มการขายด้วยทีมขายที่เชี่ยวชาญ และ ช่องทางการขายทัว่ ประเทศอย่างต่อเนื่ อง อีกทั้งจะมุ่งสร้างโอกาสในการเพิ่มรายได้ผา่ นกลยุทธ์การขายแบบพ่วงบริ การอื่นๆ (Cross-Selling) รวมถึงการขายแพ็กเกจที่สูงขึ้น (Up-Selling) 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายได้ จากการให้ บริการของทรู วชิ นั่ ส์ในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.8 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 12.2 พันล้านบาท เป็ นผลจากการเพิ่มขึ้นของรายได้ค่าสมาชิกและค่าติดตั้งที่เติบโตต่อเนื่ องตั้งแต่ไตรมาส 2 ของปี 2559 ซึ่งช่วยชดเชย รายได้ของธุ รกิจมิวสิ ค เอ็นเตอร์ เทนเมนท์ และรายได้ค่าโฆษณาที่ลดลง 

รายได้ จากค่ าสมาชิกและค่ าติดตั้ง เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.9 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 8.0 พันล้านบาท ในปี 2559 คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 65 ของรายได้จากการให้บริ การของทรู วชิ นั่ ส์ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับสัดส่ วนร้อยละ 63 ในปี ก่อนหน้า เป็ นผลจากความนิยมต่อแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ที่ผสมผสานบริ การอื่นๆ ภายใต้กลุ่มทรู รวมถึงผลตอบรับที่ดีต่อการ ถ่ายทอดสดฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก อังกฤษ และลีกฟุตบอลชั้นนาอื่นๆ บนช่องบีอินสปอร์ ต 

รายได้จากมิวสิ ค เอ็นเตอร์ เทนเมนท์ และอืน่ ๆ ลดลงร้อยละ 7.1 จากฐานรายได้ที่สูงในปี ก่อนหน้าซึ่ งทรู วชิ นั่ ส์มี การจัดอีเว้นท์ เอ็นเตอร์ เทนเมนท์ช้ นั นาหลายรายการ เป็ น 2.5 พันล้านบาท รายได้ จากค่ าโฆษณา เป็ น 1.7 พันล้านบาท ลดลงร้อยละ 2.1 จากปี ก่อนหน้า ในขณะที่รายได้ค่าโฆษณาในอุตสาหกรรมลดลงถึงร้อยละ 15.9 จากปี ก่อนหน้า โดย รายได้ที่ลดลงเหล่านี้ ส่ วนหนึ่งเป็ นผลจากการที่พสกนิกรชาวไทยกาลังอยูใ่ นช่วงไว้ทุกข์ ทาให้ลดการโฆษณา และอีเว้นท์หลากหลายรายการที่มีกาหนดจัดขึ้นในไตรมาส 4 ปี 2559 ถูกเลื่อนการจัดแสดงออกไป 

ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานหลัก (ประกอบด้วยต้นทุนการให้บริ การอื่นๆ และค่าใช้จ่ายในการขายและ บริ หารอื่นๆ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 11.1 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการเพิ่มขึ้นของต้นทุน ด้านคอนเทนต์ เนื่องจากทรู วิชนั่ ส์ สรรหาคอนเทนต์คุณภาพทั้งจากต่างประเทศและในประเทศให้สมาชิกรับชมอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่ งรวมถึงการได้รับสิ ทธิ์ ถ่ายสดฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก อังกฤษและลีกฟุตบอลชั้นนาอื่นๆบนช่องบีอินสปอร์ ต 

EBITDA เติบโตร้อยละ 46.2 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 1.3 พันล้านบาท ตามรายได้ที่เติบโต และค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องกับการตลาดและการโฆษณาที่ลดลง 

ค่ าเสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.8 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 2.6 พันล้านบาท ตามการขยาย การให้บริ การของกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ 

ทรู วชิ นั่ ส์รายงานผลขาดทุนสุ ทธิ สาหรับส่ วนทีเ่ ป็ นของบริษัท จานวน 1.4 พันล้านบาท ในปี 2559 ซึ่ งขาดทุนลดลงจากปี ก่อนหน้า ตาม EBITDA ที่เติบโต 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

งบดุลรวม และงบกระแสเงินสดรวม (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ)

31 ธ.ค. 2559

(หน่วย : ล ้านบาท ยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ )

31 ธ.ค. 2558

% เปลีย ่ นแปลง

(ปร ับปรุง)

งบดุลรวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค ้า - สุทธิ ลูกหนี้อ น ื่ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน ่

50,184 32,749 4,061 35,684

10,590 32,808 5,767 28,642

122,678

77,807

143,688 11,403 139,746 5,376 26,069

97,666 11,403 70,031 5,663 20,953

326,282

205,717

448,960 37,572 64,422 34,093 20,654 4,104

283,525 29,927 40,620 25,672 12,603 3,405

373.9 (0.2) (29.6) 24.6 57.7 47.1 (0.0) 99.5 (5.1) 24.4 58.6 58.3 25.5 58.6 32.8 63.9 20.5

160,844

112,226

43.3

60,490 1,995 77,652 1,982 14,269

55,522 2,075 20,902 1,369 16,224

8.9 (3.8) 271.5 44.8 (12.0)

156,389

96,092

62.7

317,233 131,728 448,960

208,318 75,207 283,525

52.3 75.2 58.3

31 ธ.ค. 2559

31 ธ.ค. 2558

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ทีด ่ น ิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มต ี ัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได ้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน ่

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทร ัพย์ ้ เงินกู ้ยืมระยะสัน เจ ้าหนี้การค ้า เจ ้าหนี้อ น ื่ ส่วนทีถ ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึง่ ปี ของเงินกู ้ยืมระยะยาว ิ หมุนเวียนอืน หนี้สน ่

ิ หมุนเวียน รวมหนี้สน เงินกู ้ยืมระยะยาว ิ ภาษีเงินได ้รอการตัดบัญชี หนี้สน ิ ภายใต ้สัญญาและใบอนุญาตใหด้ าเนินการ หนี้สน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนั กงาน ิ ไม่หมุนเวียนอืน หนี้สน ่

ิ ไม่หมุนเวียน รวมหนี้สน ้ ิน รวมหนีส รวมส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ ้ ินและส่วนของผูถ รวมหนีส ้ อ ื หุน ้

% เปลีย ่ นแปลง

งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดาเนินงาน กระแสเงินสด (ใช ้ไปใน) จากกิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสด (ใช ้ไปใน) จากกิจกรรมการจัดหาเงิน ้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม ่ ขึน ยอดยกมาต ้นงวด และผลกระทบจากการเปลีย ่ นแปลงอัตราแลกเปลีย ่ น ้ ยอดเงินคงเหลือสินงวด

8,096 (45,412) 76,966 39,650 10,534 50,184

3,333 (49,754) 50,354 3,933 6,657 10,590

143 (9) 53 NM 58 374

หมายเหตุ: รายการในงบดุล อาทิ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน (สุทธิ) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน (สุทธิ) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนื้อื่น หนี้สินภายใต้สญ ั ญาและใบอนุญาตให้ดาเนินการ และหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ในปี 2558 ได้ถูกปรับปรุ ง จากการเปลี่ยนแปลงการแสดงรายการ ในงบการเงินงวดปี 2558 ตามการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (ดูรายละเอียดในหมายเหตุขอ้ 4 ประกอบงบการเงิน ปี 2559) ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

การวิเคราะห์ ฐานะทางการเงิน กลุ่มทรู ยังคงมีโครงสร้างเงินทุนที่แข็งแกร่ ง และสามารถชาระหนี้สินและปฏิบตั ิตามข้อผูกพันตามสัญญา ทางการเงินต่างๆ โดยมีอตั ราส่ วนหนี้สินสุ ทธิ ต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ เป็ น 0.5 เท่า ในขณะที่ อัตราส่ วนหนี้สินสุ ทธิ ต่อ EBITDA ลดลงเป็ น 2.5 เท่า ณ สิ้ นปี 2559 เมื่อเทียบกับ 3.7 เท่า ในปี ก่อนหน้า ซึ่ งเป็ นผลจากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง ของ EBITDA ทั้งนี้ อัตราส่ วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ย ลดลงเป็ น 5.2 เท่า ในปี 2559 เมื่อเทียบกับ 7.3 เท่า ในปี ก่อนหน้า เป็ นผลจากดอกเบี้ยจ่ายที่สูงขึ้น จากเงินกูย้ มื เพิม่ เติมเพื่อสนับสนุนการขยายธุ รกิจ กลุ่มทรู มีอตั รากาไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นเป็ นร้อยละ 23.3 ในปี 2559 เมื่อเทียบกับร้อยละ 22.1 ในปี 2558 (ไม่รวม กาไรจากการโอนเสาโทรคมนาคมให้กองทุน DIF ในปี 2558) จากผลการดาเนินงานที่ปรับตัวดีข้ ึนตามฐานลูกค้าที่ เติบโตแข็งแกร่ ง ทั้งนี้ การเร่ งขยายโครงข่ายโทรคมนาคมทั้งแบบมีสายและไร้สายทัว่ ประเทศอย่างต่อเนื่อง และการ ได้มาซึ่งใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่เพิ่มเติม ส่ งผลให้กลุ่มทรู มีอตั รากาไรสุ ทธิ และอัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุ น้ ลดลงเป็ น จานวนติดลบร้อยละ 1.7 และ 2.1 ตามลาดับ (ไม่รวมรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานปกติ) กลุ่มทรู มีอตั ราส่ วนสภาพคล่อง เพิ่มขึ้นเป็ น 0.8 เท่า ในขณะที่ Cash Cycle ปรับตัวดีข้ ึนเป็ น 35 วัน ในปี 2559 โดยมีระยะเวลาชาระหนี้เฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็ น 198 วัน ในปี 2559 เมื่อเทียบกับ 160 วัน ในปี 2558 จากการที่กลุ่มทรู ได้รับ เครดิตที่ดีจากกลุ่มผูจ้ ดั จาหน่ายอุปกรณ์ (Vendor Financing) ในขณะที่ ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ยลดลงเป็ น 95 วัน จาก 146 วัน ในปี ก่อนหน้า เนื่องจากกลุ่มทรู มีมาตรการการเก็บเงินจากลูกหนี้ที่มีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น อัตราส่ วนทางการเงิน ปี 2559 อัตราส่ วนสภาพคล่อง ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย ระยะเวลาชาระหนี้เฉลี่ย อัตราส่ วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ย อัตราส่ วนหนี้สินสุทธิต่อ EBITDA อัตราส่ วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ อัตรากาไรขั้นต้น อัตรากาไรขั้นต้น (ไม่รวมกาไรจากการส่งมอบเสา) อัตรากาไรสุทธิ อัตรากาไรสุทธิ (ไม่รวมรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานปกติ) อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ (ไม่รวมรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานปกติ) ส่วนที่ 3

ปี 2558 (ปรับปรุง) 0.7 146 160 7.3 3.7 1.1 23.7 22.1

เท่า วัน วัน เท่า เท่า เท่า % %

0.8 95 198 5.2 2.5 0.5 23.3 23.3

% %

-2.3 -1.7

3.7 2.3

% %

-2.7 -2.1

6.1 3.7

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

สิ นทรัพย์  กลุ่มทรู มีสินทรัพย์ รวม เพิ่มขึ้นร้อยละ 58.3 จาก ณ สิ้ นปี 2558 เป็ น 449.0 พันล้านบาท จากการเพิ่มขึ้นของ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ รวมถึงเงินสด สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน (สุ ทธิ) เพิ่มขึ้นจาก 70 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2558 เป็ น 139.7 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2559 ส่ วนใหญ่จากการได้มาซึ่ งใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ 900 MHz จากคณะกรรมการ กสทช. ในระหว่างปี 

สิ นทรัพย์ ทดี่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุ ทธิ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 47.1 จาก ณ สิ้ นปี 2558 เป็ น 143.7 พันล้านบาท จากการขยายโครงข่ายและการให้บริ การอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะที่ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่และธุ รกิจบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต 

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วม และกิจการร่ วมค้ า (สุ ทธิ) เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.2 จากณ สิ้ นปี 2558 เป็ น 18.2 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จากการรับรู ้มูลค่าเงินลงทุนใน DIF ที่เพิ่มขึ้นภายหลังการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของ กองทุนในไตรมาสแรกของ ปี 2559 (รายละเอียดเพิ่มเติม ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 20) 

ลูกหนีก้ ารค้ า (สุ ทธิ) ค่อนข้างคงที่จากปี ก่อนหน้า (ติดลบร้อยละ 0.2) เป็ น 32.7 พันล้านบาท และมีระยะเวลา เก็บหนี้ เฉลี่ยปรับตัวดีข้ ึนเป็ น 95 วัน ณ สิ้ นปี 2559 

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ลูกหนี้ ทศท. ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุขอ้ 41) ลูกหนี้การค้า รายได้คา้ งรับ

ส่วนที่ 3

ข้ อมูลทางการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ล้ านบาท ล้ านบาท (ปรับปรุง) 685.29 688.96 20,293.14 17,840.74 7,873.13 8,805.07 28,851.56 27,334.77 11,025.30 13,031.44

ข้ อมูลทางการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ล้ านบาท ล้ านบาท 685.29 1,994.15 6,176.90 8,856.34 2,220.65

688.96 2,212.60 2,704.74 5,606.30 2,042.13

รวมลูกหนี้การค้า หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

39,876.86 (7,127.71)

40,366.21 (7,558.06)

11,076.99 (3,113.67)

7,648.43 (3,067.99)

ลูกหนี้การค้า - สุทธิ

32,749.15

32,808.15

7,963.32

4,580.44

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี้ ข้ อมูลทางการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ล้านบาท ล้านบาท

ข้ อมูลทางการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ล้านบาท ล้านบาท

ยอดที่ยงั ไม่ครบกาหนดชาระ ค้างชาระน้อยกว่า 3 เดือน ค้างชาระ 3 - 6 เดือน ค้างชาระ 6 - 12 เดือน ค้างชาระมากกว่า 12 เดือน

14,473.16 5,524.89 871.59 3,137.17 4,844.75

10,420.93 6,225.85 1,904.95 3,234.22 5,548.82

1,132.24 1,205.03 269.97 4,147.20 2,101.90

1,122.48 920.43 791.22 657.43 2,114.74

ลูกหนี้การค้า รายได้คา้ งรับ

28,851.56 11,025.30

27,334.77 13,031.44

8,856.34 2,220.65

5,606.30 2,042.13

รวมลูกหนี้การค้า หักค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ

39,876.86 (7,127.71) 32,749.15

40,366.21 (7,558.06) 32,808.15

11,076.98 (3,113.67) 7,963.31

7,648.43 (3,067.99) 4,580.44

ลูกหนี้การค้า - สุ ทธิ

ลูกหนี้การค้ารับรู ้เริ่ มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจานวนเงินที่เหลืออยู่ หักด้วยค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญซึ่ งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้ นงวด ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญหมายถึง ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชี ของลูกหนี้การค้าเปรี ยบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้น จะรับรู ้ไว้ในกาไรหรื อขาดทุนโดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญเป็ นประมาณการที่พิจารณาจากหลายๆวิธีผสมกัน เช่น ตามอัตราร้อยละของรายได้ การวิเคราะห์อายุหนี้ ประสบการณ์การเก็บหนี้ โดยพิจารณาสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจปั จจุบนั ร่ วมด้วย ทั้งนี้ ความชานาญ และประสบการณ์ในการเก็บหนี้ของกลุ่มร่ วมกับวิธีประมาณการอย่างเหมาะสมตามที่กล่าวข้างต้นทาให้ผบู ้ ริ หารมีความ เชื่ อมัน่ ว่าค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญที่ต้ งั ไว้ (จานวน 7,128 พันล้านบาท) มีความเพียงพอ กลุ่มบริ ษทั ไม่มีการกระจุกตัวของความเสี่ ยงจากการให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้การค้า เนื่ องจากลูกค้าของ กลุ่มบริ ษทั มีจานวนมาก ซึ่ งได้แก่ ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์ ทั้งภาคธุ รกิจและผูใ้ ช้รายย่อยทัว่ ไป ผูบ้ ริ หารเชื่อว่าค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญที่ได้บนั ทึกไว้เพียงพอแล้วและจะไม่มีความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่อมากไปกว่าจานวนหนี้สงสัยจะสู ญที่ได้ บันทึกแล้ว โดยคานึ งจากลักษณะของลูกหนี้การค้าของกลุ่มบริ ษทั และจากประสบการณ์การเรี ยกเก็บหนี้ของกลุ่ม  ค่ าความนิยม (สุ ทธิ) คงที่จากปี ก่อนหน้า เป็ น 11.4 พันล้านบาท (รายละเอียดเพิ่มเติม ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินข้อ 23) ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

หนีส้ ิ น  หนีส ้ ิ นรวม เพิ่มขึ้นร้อยละ 52.3 จาก ณ สิ้ นปี 2558 เป็ น 317.2 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จากการเพิ่มขึ้นของ หนีส้ ิ นภายใต้ สัญญาและใบอนุญาตให้ ดาเนินการ ซึ่ งเพิม่ ขึ้นเป็ น 77.7 พันล้านบาท เนื่องจากการได้มาซึ่งใบอนุญาต ใช้คลื่นความถี่ 900 MHz เจ้ าหนีก้ ารค้ า เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้ นปี 2558 เป็ น 64.4 พันล้านบาท ตามการขยายธุ รกิจของกลุ่ม รวมถึงการที่ กลุ่มทรู ได้รับเครดิตที่ดีจากกลุ่มผูจ้ ดั จาหน่ายอุปกรณ์ (vendor financing) 

หนีส้ ิ นทีม่ ีภาระดอกเบีย้ จ่ าย (ประกอบด้วยเงินกูย้ มื ระยะสั้นและเงินกูย้ มื ระยะยาว ไม่รวมหนี้สินตามสัญญา เช่าการเงิน) เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้ นปี 2558 เป็ น 111.8 พันล้านบาท จากเงินกูย้ มื เพิ่มเติมเพื่อสนับสนุ นการขยายธุ รกิจและชาระ ค่าใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ 

ส่ วนของผู้ถือหุ้น  ส่ วนของผู้ถือหุ้น เพิ่มขึ้นจาก 75.2 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2558 เป็ น 131.7 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จากการ เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ในระหว่าง ปี 2559 สภาพคล่ องและแหล่ งเงินทุน  กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน เป็ น 8.1 พันล้านบาท ในปี 2559 เมื่อเทียบกับ 3.3 พันล้านบาท ในปี 2558 จากผลการดาเนินงานของกลุ่มทรู ที่ปรับตัวดีข้ ึน ตามฐานลูกค้าที่ขยายตัว รวมถึง ความต้องการใช้เงินทุนหมุนเวียน ในกิจการที่ลดลงในระหว่างปี แหล่งเงินทุนหลักของกลุ่มทรู ในปี 2559 มาจากกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จานวนทั้งสิ้ น 77.0 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการเพิ่มทุนในระหว่างปี ซึ่งส่ งผลให้ปริ มาณเงินสดคงเหลือ เป็ น 50.2 พันล้านบาท 

กระแสเงินสดใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน ในปี 2559 เป็ น 45.4 พันล้านบาท ลดลงจากปี ก่อนหน้า ซึ่งมีฐานที่สูงจาก การชาระค่าใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ 2.1 GHz และ 1800 MHz ทั้งนี้ กล่มทรู ใช้งบลงทุน (ที่เป็ นเงินสด) ทั้งสิ้ นประมาณ 47 พันล้านบาท ในปี 2559 ตามเป้ าที่วางไว้

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

การปรับงบการเงินย้อนหลัง และการเปลีย่ นประมาณการบัญชี การเปลีย่ นประมาณการบัญชี ในการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่ อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และนโยบายการบัญชีของ กลุ่มกิจการเรื่ องการทบทวนอายุการให้ประโยชน์ของอาคารและอุปกรณ์ทุกสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มกิจการ พบว่าควรมีการยืดอายุการให้ประโยชน์ของอุปกรณ์บางชนิ ดโดยพิจารณาจากปั จจัยหลักได้แก่ การพัฒนาของเทคโนโลยี มาตรฐานของการบารุ งรักษา เงื่อนไขในการใช้งาน การเทียบเคียงกับธุ รกิจโทรคมนาคมในประเทศสากล และ การได้รับ ความเห็นจากวิศวกรผูเ้ ชี่ยวชาญ กลุ่มกิจการจึงได้เปลี่ยนประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ดงั กล่าว เริ่ มตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เป็ นต้นไป อายุการให้ประโยชน์เดิม และอายุการให้ประโยชน์ใหม่แสดงเปรี ยบเทียบ ดังต่อไปนี้ อายุการใช้ งานเดิม อายุการใช้ งานใหม่ ปี ปี อุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์มือถือ เราท์เตอร์ โมเดม

12 5

15 7

ผลของการเปลี่ยนแปลงค่าเสื่ อมราคาที่มีต่องบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 แสดงเปรี ยบเทียบได้ดงั นี้ งบการเงินรวม อายุการใช้ งานเดิม ล้ านบาท ค่าเสื่ อมราคา

6,624.33

อายุการใช้ งานใหม่ ล้ านบาท 4,715.42

การปรับงบการเงินย้อนหลัง เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558 TUC ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้รับอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 1800 MHz จาก กสทช. เพื่อให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็ นระยะเวลา 18 ปี ในระหว่างปี พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจการสามารถระบุตน้ ทุนทางตรง เพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับการได้มาซึ่ งใบอนุญาต ซึ่ งควรถือเป็ นต้นทุนเริ่ มแรกของใบอนุ ญาต การปรับปรุ งไม่มีผลกระทบ อย่างมีสาระสาคัญต่องบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2558 AWC ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้ทาสัญญาเช่าระยะยาวกับ DIF เพื่อให้เช่าระบบ ใยแก้วนาแสงเป็ นระยะเวลา 20 ปี ในงบแสดงฐานะการเงินของปี พ.ศ. 2558 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวแสดงไว้เป็ น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กลุ่มกิจการได้จดั ประเภทรายการใหม่เป็ น อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนตามมาตรฐานการบัญชีไทย ฉบับที่ 40 การจัดประเภทใหม่ไม่มีผลกระทบต่องบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เนื่ องจากรายการปรับปรุ งดังกล่าวไม่เกี่ยวกับปี พ.ศ. 2557 ดังนั้นกลุ่มกิจการจึงไม่ได้เสนองบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เพื่อเปรี ยบเทียบ รายการปรับปรุ งต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีดงั ต่อไปนี้ งบการเงินรวม ตามที่รายงาน ไว้ เดิม ล้ านบาท

รายการปรับปรุ ง ล้ านบาท

ตามที่ ปรับปรุ งใหม่ ล้ านบาท

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

38,628.42

(53.21)

38,575.21

5.53

790.72

796.25

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ

98,456.92

(790.72)

97,666.20

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุ ทธิ

69,297.50

733.48

70,030.98

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

65,865.89

425.78

66,291.67

86.05

20,816.21

20,902.26

36,785.44

(20,561.72)

16,223.72

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุ ทธิ

หนี้สินภายใต้สญ ั ญาและใบอนุญาตให้ดาเนินการ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

สั ญญาและภาระผูกพัน บริ ษทั ได้ทาสัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนขยายบริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานจานวน 2.6 ล้านเลขหมาย ในเขตโทรศัพท์นครหลวงกับ ทศท. และได้จดั ทาข้อตกลงแนบท้ายสัญญาดังกล่าว สาหรับบริ การดังต่อไปนี้ - บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน - ข้อตกลงบริ การเสริ ม - ข้อตกลงดาเนินการโทรศัพท์พ้นื ฐานใช้นอกสถานที่ (Personal Communication Telephone) - ข้อตกลงดาเนินการโทรศัพท์สาธารณะ - ข้อตกลงดาเนินการเกี่ยวกับการรับคาขอโทรศัพท์ กาหนดเลขหมายโทรศัพท์ รวมทั้งการชาระค่าติดตั้ง และเงินประกันการใช้โทรศัพท์แทน ทศท. - ข้อตกลงการรับแจ้งเหตุขดั ข้องและการซ่อมบารุ งจากตูพ้ กั ปลายทาง (Distribution Point) ถึงราวกันฟ้ า (Protector) - ข้อตกลงให้ดาเนินการโทรศัพท์พ้นื ฐานใช้นอกสถานที่ภายใต้โครงข่ายของ ทศท.

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ภายใต้เงื่อนไขของสัญญา สัญญาแก้ไขเพิ่มเติมและข้อตกลงแนบท้ายดังกล่าว ทศท.จะแบ่งรายได้ที่ได้รับจริ ง ก่อนหักค่าใช้จ่ายให้แก่บริ ษทั ในอัตราร้อยละที่ระบุในสัญญาและข้อตกลงแนบท้าย นอกจากนี้ บริ ษทั มีภาระผูกพันต่างๆ เช่น จะต้องลงทุน จัดหา ติดตั้งจัดการ ตลอดจนบารุ งรักษาอุปกรณ์ในระบบต่างๆ และจะต้องโอนกรรมสิ ทธิ์ ใน อุปกรณ์ในระบบดังกล่าวบางส่ วนตลอดจนที่ดินและอาคารที่บริ ษทั เป็ นผูจ้ ดั หาและติดตั้งให้แก่ ทศท. เป็ นต้น บริ ษทั ย่อยบางแห่งได้ทาสัญญากับ อสมท. เพื่อให้บริ การโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิก ภายใต้สัญญาเหล่านี้ บริ ษทั ย่อยมีภาระในการลงทุน จัดหา ติดตั้ง ควบคุม ตลอดจนบารุ งรักษาอุปกรณ์ บริ ษทั ย่อยมี ภาระที่จะต้องโอนกรรมสิ ทธิ์ ในอุปกรณ์ในระบบข้างต้นให้แก่ อสมท. เมื่ออุปกรณ์และระบบข้างต้นติดตั้งแล้วเสร็ จ ตามเงื่อนไขของสัญญา บริ ษทั ย่อยได้รับสิ ทธิ ในการเรี ยกเก็บเงินมัดจา ค่าสมาชิกและค่าธรรมเนียมบริ การอื่นๆ จาก ผูใ้ ช้บริ การในอัตราที่ระบุไว้ในสัญญา นอกจากนี้บริ ษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้นมีภาระผูกพันกับธนาคารในประเทศบางแห่งจากการออกหนังสื อค้ าประกันแก่ อสมท. เป็ นจานวนเงิน 31.20 ล้านบาท หนังสื อค้ าประกันเหล่านี้ใช้เพื่อเป็ นหลักประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาข้างต้น ของบริ ษทั ย่อย ภายใต้เงื่อนไขในสัญญา บริ ษทั ย่อยบางแห่งมีขอ้ ผูกพันที่ตอ้ งจ่ายผลตอบแทนขั้นต่าให้แก่คู่สัญญาดังต่อไปนี้

งวดกาหนดชาระ

จานวนเงินขั้นต่า ทีต่ ้ องชาระ ล้านบาท

ภายใน 1 ปี ระหว่าง 1 ถึง 2 ปี ระหว่าง 2 ถึง 5 ปี

35.00 35.00 35.00

เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554 BFKT บริ ษทั ย่อยของกลุ่มกิจการได้ทาสัญญา กับ กสท. ในการเช่าเครื่ องและอุปกรณ์ วิทยุคมนาคมระบบ HSPA โดยมีอายุสัญญา 14.5 ปี ภายใต้สัญญาเช่าอุปกรณ์ระบบ HSPA BFKT มีภาระต้องจัดหา ติดตั้ง บริ หารจัดการและบารุ งรักษาอุปกรณ์ตามที่จาเป็ นต่อการให้บริ การภายใต้เทคโนโลยี HSPA โดยให้เป็ นไปตาม ความจุที่ได้ระบุไว้ในสัญญาและสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมที่มีผลบังคับใช้วนั ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เป็ นระยะเวลา 14.5 ปี และเพื่อเป็ นการตอบแทน BFKT มีสิทธิ ได้รับรายได้จากการให้บริ การดังกล่าวตามที่ได้ระบุไว้ในสัญญา เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554 RMV บริ ษทั ย่อยของกลุ่มกิจการได้ทาสัญญากับ กสท. (“สัญญา”) ภายใต้เงื่อนไขใน สัญญา RMV ต้องให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้เทคโนโลยี HSPA ซึ่ งได้รับขายส่ งมาจาก กสท. เป็ นระยะเวลา 14.5 ปี เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2558 RMV ได้รับการต่ออายุใบอนุ ญาตประกอบกิจการให้บริ การขายต่อบริ การ ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

โทรศัพท์เคลื่อนที่และบริ การอินเตอร์เน็ตแบบที่หนึ่งจาก กทช. RMV มีสิทธิ และหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วย การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ใบอนุญาตมีกาหนดสิ้ นสุ ดวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ระหว่างปี พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจการและ กสท. ได้บรรลุขอ้ ตกลงในการรับและจ่ายชาระหนี้บางส่ วน สาหรับรายได้ค่าเช่าและค่าบริ การของ BFKT และต้นทุนการดาเนินงานของ RMV เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ย่อยดังกล่าวกับ กสท. ได้บรรลุขอ้ ตกลงในหลายประเด็นโดยมีวตั ถุประสงค์ ในการยุติขอ้ พิพาทที่มีต่อกันและรวมถึงยอดเงินคงค้างที่ยงั ไม่ได้ชาระระหว่างกัน กลุ่มกิจการได้ประเมินผลกระทบ ในภาพรวมของข้อพิพาทและบันทึกค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมจานวน 305.67 ล้านบาทในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม สาหรับปี พ.ศ. 2559 สาหรับประเด็นที่ยงั เหลือและยอดคงค้างที่ยงั ตกลงกันไม่ได้ ทั้งสองฝ่ ายจะทาการหารื อเพื่อให้ได้ขอ้ สรุ ปต่อไป ผูบ้ ริ หารเชื่ อว่าผลสรุ ปจะไม่มีผลกระทบอย่างมีสาระสาคัญต่อกลุ่มกิจการ ภายใต้สัญญาต่าง ๆ ข้างต้น กลุ่มกิจการมีภาระผูกพันกับธนาคารในประเทศบางแห่งจากการออกหนังสื อค้ าประกัน ให้แก่ กสท. เป็ นจานวนเงิน 200.00 ล้านบาท เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555 TUC บริ ษทั ย่อยของกลุ่มกิจการได้รับใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz จาก กสทช. ใบอนุญาตครอบคลุมสามแถบย่านความถี่ และอนุญาตให้ใช้เพื่อให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็ นระยะเวลา 15 ปี TUC ต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนดและเงื่อนไขและชาระค่าธรรมเนียมตามที่กาหนดไว้ในใบอนุญาต เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558 TUC บริ ษทั ย่อยของกลุ่มกิจการได้รับใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ยา่ น 1800MHz จาก กสทช. ใบอนุญาตครอบคลุมสองแถบย่านความถี่ และอนุญาตให้ใช้เพื่อให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็ นระยะเวลา 18 ปี TUC ต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนดและเงื่อนไขและชาระค่าธรรมเนียมตามที่กาหนดไว้ในใบอนุญาต เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2559 TUC ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยได้รับใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 900MHz จาก กสทช. ซึ่ งใบอนุญาตนั้นอนุ ญาตให้บริ ษทั ย่อยให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็ นระยะเวลา 15 ปี ใบอนุญาตสิ้ นสุ ดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2574 TUC ต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนดและเงื่อนไขและชาระค่าธรรมเนี ยมตามที่กาหนดไว้ในใบอนุ ญาต บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีภาระผูกพันกับธนาคารในประเทศบางแห่งตามสัญญาค้ าประกันที่ออกให้หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและบริ ษทั ต่าง ๆ รวมเป็ นเงิน 3,798.07 ล้านบาท และ 401.21 ล้านบาท ตามลาดับ ภายใต้ขอ้ กาหนดของสัญญาต่างๆ ที่บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยบางแห่งได้ทาไว้ สิ นทรัพย์ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยบางแห่ง ซึ่ งนาไปค้ าประกันหรื อจานองเพื่อเป็ นหลักประกันสาหรับหนี้สิน มีรายละเอียดดังนี้

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

มูลค่ าตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 ล้ านบาท เงินฝากประจาและเงินฝาก ออมทรัพย์ เงินลงทุนในหุน้ ทุนใน บริ ษทั ย่อย

งบกรเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2558 ล้ านบาท

พ.ศ. 2559 ล้ านบาท

พ.ศ. 2558 ล้ านบาท

70.06

606.94

42.36

558.97

770.00

635.84

694.55

694.55

บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีสัญญากับบริ ษทั หลายแห่งเพื่อจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เพิม่ เติม เพื่อขยายประสิ ทธิ ภาพของอุปกรณ์โครงข่ายและสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ภาระผูกพันตามสัญญาดังกล่าวข้างต้น ถูกบันทึกไว้ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นจานวน 30,191.98 ล้านบาท และ 5.40 ล้านบาท ตามลาดับ (พ.ศ. 2558 : 17,839.39 ล้านบาท และ 4.58 ล้านบาท ตามลาดับ) กลุ่มกิจการทาสัญญาเช่าดาเนิ นงานที่ไม่สามารถยกเลิกได้สาหรับอุปกรณ์โทรคมนาคมระยะเวลาของสัญญาเช่าอยู่ ระหว่าง 5 ถึง 15 ปี ยอดรวมของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดาเนินงานที่ไม่สามารถยกเลิกได้ มีดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ล้ านบาท ล้ านบาท ภายใน 1 ปี เกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี เกินกว่า 5 ปี

ส่วนที่ 3

3,313.62 12,646.89 15,594.68 31,555.19

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

3,263.24 12,814.76 18,740.42 34,818.42

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล “บริ ษทั ฯ ได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ฉบับนี้แล้ว ด้วยความระมัดระวัง บริ ษทั ฯ ขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาให้ผอู ้ ื่นสาคัญผิด หรื อไม่ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งใน สาระสาคัญ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ขอรับรองว่า (1) งบการเงินและข้อมูลทางการเงินที่สรุ ปมาในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ได้แสดงข้อมูลอย่าง ถูกต้องครบถ้วนในสาระสาคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยแล้ว (2) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีระบบการเปิ ดเผยข้อมูลที่ดี เพื่อให้แน่ใจว่าบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลในส่วนที่เป็ น สาระสาคัญทั้งของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว (3) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว และ บริ ษทั ฯ ได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 ต่อผูส้ อบบัญชีและกรรมการตรวจสอบ ของบริ ษทั ฯ แล้ว ซึ่ งครอบคลุมถึงข้อบกพร่ องและการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็ นเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริ ษทั ฯ ได้รับรองความถูกต้องแล้ว บริ ษทั ฯ ได้มอบหมายให้ นางสาวยุภา ลีวงศ์เจริ ญ นายธนิศร์ วินิจสร และ นางรังสิ นี สุจริ ตสัญชัย เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกากับ เอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นางสาวยุภา ลีวงศ์เจริ ญ นายธนิศร์ วินิจสร และ นางรังสิ นี สุจริ ตสัญชัย กากับไว้ บริ ษทั ฯ จะถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่บริ ษทั ฯ ได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชื่อ

ตาแหน่ง

ลายมือชื่อ

1. ศาสตราจารย์พิเศษอธึก อัศวานันท์

รองประธานกรรมการ

……………………………………

2. นายวิเชาวน์

รักพงษ์ไพโรจน์

กรรมการ และ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ (ร่ วม)

…………………………………….

ผูร้ ับมอบอานาจ นางสาวยุภา

ลีวงศ์เจริ ญ

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านการเงิน

…………………………………….

นายธนิศร์

วินิจสร

ผูอ้ านวยการ ด้านบัญชีกลุ่มบริ ษทั

…………………………………….

นางรังสิ นี

สุจริ ตสัญชัย

เลขานุการบริ ษทั

…………………………………….

กำรรับรองควำมถูกต ้องของข ้อมูล

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1. ข้ อมูลของกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท 1.1 รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท (ณ 31 ธันวาคม 2559) กรรมการ ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายวิทยา เวชชาชีวะ / 4 ม.ค. 2542

ตาแหน่ง

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กากับดูแลกิจการที่ดี

อายุ (ปี ) 80

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มีหุ้นกู้ : ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาโท

นิติศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา อักษรศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริ ดจ์ ประเทศอังกฤษ

ปริ ญญาตรี

นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริ ดจ์ ประเทศอังกฤษ

เนติบณ ั ฑิต

สานักเกรส์ อินน์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000 - CG Forum 2/2015 : ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทกับฝ่ ายจัดการใน การควบคุมภายใน

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2542 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. โกลว์ พลังงาน 2545 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ฟิ นนั ซ่า  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. บางกอกกล๊ าส 2541 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. เค ไลน์ (ประเทศไทย) และ บริ ษัทในเครื อ การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2534 - 2535 ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ 2531 เอกอัครราชทูตประจาประเทศสหรัฐอเมริ กา 2527 เอกอัครราชทูตประจาประเทศเบลเยี่ยม และ ประชาคมยุโรป 2524 เอกอัครราชทูตประจาประเทศแคนาดา 2522 อธิบดีกรมเศรษฐกิจ

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ดร. โกศล เพ็ชร์ สวุ รรณ์ / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการ กากับดูแลกิจการที่ดี

อายุ (ปี ) 77

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มีหุ้นกู้ : ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

เอกสำรแนบ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาเอก

สาขาวิศวกรรมศาสตร์ Imperial College London

ปริ ญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร์ Imperial College London

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Director Certification Program (DCP) - Audit Committee Program (ACP) - Role of the Chairman Program (RCP) - Financial Institutions Governance Program (FGP) - Finance for Non-Finance Directors (FND) - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) - Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR) - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) - Chartered Director Class (R-CDC) - Audit Committee Effectiveness Seminar: What Works Best – Global Practices vs. Practices in Thailand - 2012 Theme: Innovative Approaches to Create Value for Business and Society - IOD Director Briefing 1/2013 Thailand’s Economic Outlook 2013 - IOD Tea Talk : “Effective Regulation and Corporate Governance in Asia” - The 2nd National Director Conference 2013 “Board Leadership Evolution” - IOD Director Briefing 2/2014 : The Four Pillars of Board Effectiveness - Directors Forum 2014 - ธุรกิจครอบครัว : กากับดูแลอย่างไรให้ ยงั่ ยืน - Improving Corporate Governance Key to Advancing Thailand (the 3rd National Director Conference 2014) - CG Forum 2/2015 : ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทกับฝ่ ายจัดการใน การควบคุมภายใน - Thailand Competitiveness Conference 2015 : Building Competitive Thailand for Sustainability and Inclusiveness

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2554 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2557 - ปั จจุบนั สมาชิกสภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติ 2547 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ ธนาคารสินเอเซีย จากัด (มหาชน)) การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2544 - 2552 กรรมการ โรงเรี ยนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) 2544 - 2548 นายกสมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2543 - 2544 ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแห่งประเทศไทย 2529 - 2535 อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายโชติ โภควนิช / 22 ธ.ค. 2542

นายฮาราลด์ ลิงค์ / 1 มี.ค. 2553

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ ในคณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

74

กรรมการอิสระ

62

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา หลักสูตรการจัดการด้ านการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา

หุ้นกู้ : ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

หุ้นสามัญ: ตนเอง: 562,361 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

คุณวุฒิทางการศึกษา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP) - IOD National Director Conference 2012 – Moving Corporate Governance Forward : Challenge for Thai Directors - Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) - Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) - How to Measure the Success of Corporate Strategy (HMS) - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) - CG Forum 2/2015 : ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทกับฝ่ ายจัดการใน การควบคุมภายใน - ไม่มี -

MBA, St. Gallen University, Switzerland การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

หุ้นกู้ : ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มีเอกสำรแนบ 1

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2542 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2545 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. สยามแม็คโคร 2556 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. บางกอกแร้ นช์ 2555 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ล็อกซเล่ย์  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2552 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด 2542 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. คิงฟิ ชเชอร์ โฮลดิ ้งส์ การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2547 - 2549 ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร ธนาคารสินเอเซีย จากัด (มหาชน) (ปั จจุบนั ชื่อ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จากัด (มหาชน)) 2543 - 2544 ประธานกรรมการบริ หาร บริ ษัทเงินทุน ทิสโก้ จากัด (มหาชน) (ปั จจุบนั ชื่อ ธนาคารทิสโก้ จากัด (มหาชน)) 2537 - 2540 ประธานกรรมการบริ หาร กลุม่ บมจ. ไทยวา 2535 - 2537 กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ กงสุลใหญ่แห่งเดนมาร์ ก ประจาประเทศไทย บมจ. อี๊สต์เอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) มี.ค. 2553 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2541 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ปูนซีเมนต์นครหลวง  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2530 - ปั จจุบนั Chairman, B. Grimm Group of Companies การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2543 - ก.พ. 2553 กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่าเฉลิม / 1 มี.ค. 2553

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ

72

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: 225,244 หุ้น คู่สมรส: 76,728 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

เอกสำรแนบ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

นิติศาสตร์ มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาตรี

นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เนติบณ ั ฑิต

สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา

ปริ ญญาบัตร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ. รุ่นที่ 1)

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) มี.ค. 2553 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2553 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ ง แอนด์ คอนสตรัคชัน่ กรรมการอิสระ บมจ. ล็อกซเล่ย์ ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. เสริ มสุข ที่ปรึกษา บมจ. การบินกรุงเทพ  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ที่ปรึกษา บจ. เอ.พี. ฮอนด้ า รองประธานกรรมการ บมจ. ทางยกระดับดอนเมือง ศาสตราจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์พิเศษสานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา ศาสตราจารย์พิเศษชันปริ ้ ญญาโท คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์พิเศษชันปริ ้ ญญาเอก มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ศาสตราจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ผู้บรรยายหลักสูตรกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ผู้บรรยายหลักสูตรกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม ผู้บรรยายหลักสูตรวิทยาลัยการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 2547 - ปั จจุบนั ผู้บรรยายพิเศษ สานักงานอัยการสูงสุด กระทรวงมหาดไทย ที่ปรึกษา สมาคมกรี ฑาแห่งประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กฤษฎีกาคณะพิเศษ 2545 - ปั จจุบนั กรรมการ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ประธานกรรมการจริ ยธรรม สานักงานมาตรฐานสินค้ าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 2544-ปั จจุบนั กรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารสาขาต่างๆ (สขร.) กรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2538-ปั จจุบนั กรรมการ คณะกรรมการโอลิมปิ คแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2550-2558 รองประธานกรรมการ บมจ. นครหลวง ลีสซิ่ง-แฟ็ กเตอริ ง 2545-2557 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) กรรมการ สานักงานคณะกรรมการนโยบายตารวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.) 2545-2549 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. อสมท 2546-2548 กรรมการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บมจ. การบินไทย 2546-2547 อัยการสูงสุด สานักงานอัยการสูงสุด อุปนายก เนติบณ ั ฑิตยสภา 2544-2547 กรรมการ กองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการ 2545-2547 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย 2543-2546 รองอัยการสูงสุด สานักงานอัยการสูงสุด 2543-2545 กรรมการ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย 2543-2549 กรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค 2539-2543 อธิบดีอยั การฝ่ ายวิชาการ สานักงานอัยการสูงสุด 2539 อธิบดีอยั การ ฝ่ ายพัฒนาข้ าราชการฝ่ ายอัยการ สานักงานอัยการ 2539-2552 กรรมการ มูลนิธิแสงชัย สุนทรวัฒน์ 2530-2536 ที่ปรึกษากฎหมาย ผู้บญ ั ชาการทหารบก ที่ปรึกษากฎหมาย ผู้บญ ั ชาการทหารสูงสุด 2536-2539 กรรมการ การสือ่ สารแห่งประเทศไทย (ปั จจุบนั ชื่อ บมจ. กสท โทรคมนาคม) 2528-2540 กรรมการ การประปานครหลวง 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายฉวี่ เกิงโหล่ว / 2 ก.ย. 2557

นายธนินท์ เจียรวนนท์ / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ

59

ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

77

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มีหุ้นกู้ : ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มีหุ้นสามัญ: ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มีหุ้นกู้ : ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

เอกสำรแนบ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

Electronics Major, Hangzhou Institute of Electronic Engineering

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

เป็ นบิดาของ นายสุภกิต เจียรวนนท์ นายณรงค์ เจียรวนนท์ นายศุภชัย เจียรวนนท์

Commercial School ประเทศฮ่องกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2557 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2550 - ปั จจุบนั President, Thai - Chinese Rayong Industrial Realty Development Co., Ltd. Vice-Chairman, Chinese – Thai Enterprise Association President, Holley Holding (Thailand) Co., Ltd. บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร ประธานกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และ ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และ บริ ษัทในเครื อ

5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ดร.อาชว์ เตาลานนท์ / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กากับดูแลกิจการที่ดี

อายุ (ปี ) 78

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: 135,601 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญากิตติมศักดิ์

ศิลปศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย วิศวกรรมศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง วิศวกรรมศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาเอก

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาบัตร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรรัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 1

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP)

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ประธานคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2535 - ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ปั จจุบนั ประธาน Board of Trustee สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย กรรมการ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2544 - 2547 ประธานกรรมการ หอการค้ าไทย และ สภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย 2536 - 2542 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2534 - 2535 รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ศ.(พิเศษ)อธึก อัศวานันท์ */ 22 ส.ค. 2540

ตาแหน่ง

รองประธานกรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านกฎหมาย

อายุ (ปี )

65

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ใน บริ ษัทหรื อ บริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ : ตนเอง: 1,707,546 หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาโท

สาขานิติศาสตร์ specialized in International Legal Studies, New York University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขานิติศาสตร์ (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การอบรม หลักสูตรผู้บริ หารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 3 หลักสูตรผู้บริ หารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง วิทยาลัยการยุติธรรม (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 19 หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย สานักงานศาลรัฐธรรมนูญ (นธป.) รุ่นที่ 4 การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ดร. หลี่ เจิงเม่า / 2 ก.ย. 2557

รองประธานกรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

54

หุ้นสามัญ : ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

- ไม่มี -

PhD in Radio Engineering Department, Southeast University of China

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2540 - ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกฎหมาย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บริ ษัทในเครื อของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2545 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2553 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ 2551 - ก.พ. 2552 เลขานุการบริ ษัท บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2540 - ปั จจุบนั ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2540 - ปั จจุบนั หัวหน้ านักกฎหมาย กลุม่ บริ ษัท เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด ปั จจุบนั อาจารย์พิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2544 - 2549 ผู้พิพากษาสมทบในศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและ การค้ าระหว่างประเทศกลาง 2521 - 2540 Baker & McKenzie บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2557 - ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2552 - ปั จจุบนั Vice President, China Mobile Communications Corporation

หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี * กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม / 1 มี.ค. 2555

ตาแหน่ง

กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ ด้ านการเงิน

อายุ (ปี ) 67

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ใน บริ ษัทหรื อ บริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: 67,129 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: - ไม่มี หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาเอก

เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ University of Illinois at Urbana-Champaign สหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

เศรษฐศาสตร์ University of Illinois at Urbana-Champaign สหรัฐอเมริ กา บริ หารธุรกิจ Kellogg School of Management, Northwestern University, Evanston, Illinois สหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

เศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยม”ดีมาก”) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Accreditation Program (DAP) - The Role of Chairman (RCM) - Role of the Compensation Committee (RCC)

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2555 - ปั จจุบนั กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2553 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. น ้าตาลขอนแก่น 2552 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. ปริ ญสิริ 2556 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. อมตะ วีเอ็น  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มิ.ย. 2555 - ปั จจุบนั กรรมการ และ เลขานุการ มูลนิธิสถาบันวิจยั และพัฒนาองค์กร ภาครัฐ (IRDP) 2553 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บริ ษัท พันธวณิช จากัด 2550 - ปั จจุบนั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อนุญาโตตุลาการ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ - กรรมการผู้จดั การ บริ ษัท ทริ ส คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (ทริ ส) - กรรมการผู้จดั การ บริ ษัท ทริ สเรทติ ้ง จากัด - ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ธนาคารกสิกรไทย จากัด (มหาชน) - กรรมการ ร่างพระราชบัญญัติแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ กระทรวงการคลัง - กรรมการ การจัดตังองค์ ้ กรกากับดูแลอิสระ สานักรัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ของรัฐ กระทรวงการคลัง - กรรมการสรรหากรรมการผู้จดั การ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - อนุกรรมการพิจารณาวิสามัญเกี่ยวกับการบริ หารกาลังคนภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพ สานักงาน ก.พ. - ผู้ประเมินคุณภาพภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) - ประธานกรรมการบริ หาร หลักสูตรปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ (สาหรับนักบริ หาร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - กรรมการพิจารณาเนื ้อหาวิชาการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์

8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายอารุง สรรพสิทธิ์วงศ์ / 16 พ.ย. 2544

เอกสำรแนบ 1

ตาแหน่ง

กรรมการ กรรมการใน คณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

อายุ (ปี )

64

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ใน บริ ษัทหรื อ บริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: 1,552,206 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: 5,271 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาโท

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปริ ญญาตรี

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - IOD National Director Conference 2012 – Moving Corporate Governance Forward : Challenge for Thai Directors - Role of the Compensation Committee - Ethical Leadership Program - IT Governance

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2544-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ กรรมการ บมจ.สยามแม็คโคร  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานสานักการเงินเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ บจ. ซี.พี. โลตัส คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. ไอคอนสยาม (เดิมชื่อ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ เพลส คอร์ ปอเรชัน่ ) กรรมการ บจ. ดิ ไอคอนสยาม เรสซิเดนท์ คอร์ปอเรชัน่ (เดิมชื่อ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ ฟรอนท์ คอร์ ปอเรชัน่ ) กรรมการ บจ. ดิ ไอคอนสยาม ซูเปอร์ ลกั ซ์ เรสซิเดนท์ คอร์ ปอเรชัน่ (เดิมชื่อ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ พาร์ ค คอร์ ปอเรชัน่ ) กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิ่ง กรรมการ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส กรรมการ บจ. ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล กรรมการ บจ. ทรู พรอพเพอร์ ตีส์ กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล คอนเท้ นท์ แอนด์ มีเดีย กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล พลัส กรรมการ บจ. เบคเฮาส์ กรรมการ บจ. แอสเซนด์ กรุ๊ป

9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์* / 30 พ.ย. 2543

ตาแหน่ง

กรรมการ และ รองประธานคณะผู้บริ หาร

อายุ (ปี ) 59

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: 1,431,076 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: - ไม่มี หุ้นกู้ : TUC: ตนเอง: 2,000 หน่วย คู่สมรส: 500 หน่วย

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาโท

บริ หารธุรกิจ Pepperdine University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้ า) University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้ า) Arizona State University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การอบรม หลักสูตรผู้บริ หารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (หลักสูตร บ.ย.ส.) รุ่นที่ 15 หลักสูตรผู้บริ หารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 14 การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุ่นที่ 16)

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) พ.ค. 2559 - ปั จจุบนั กรรมการ และ รองประธานคณะผู้บริ หาร บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู ทัช กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ กรรมการ บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป กรรมการ บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ กรรมการ บจ. ทรู อินคิวบ์ บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) - 2557 - พ.ค. 2559 กรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ - ด้ านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการและบารุงรักษา ธุรกิจบรอดแบนด์ โมบาย ซีเอทีวี - 2555 - 2556 กรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ - ด้ านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการและบารุงรักษา - 2543 - 2555 กรรมการ กรรมการผู้จดั การ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ - โครงข่ายและเทคโนโลยี - 2541 - 2543 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านธุรกิจและบริ การ - 2540 - 2541 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านปฏิบตั ิการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ - 2539 - 2540 ผู้จดั การทัว่ ไปสายงานโทรศัพท์นครหลวงตะวันออกเฉียงใต้ - 2538 - 2539 ผู้จดั การทัว่ ไปสายงานโทรศัพท์นครหลวงตะวันตก การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการบริ หาร บจ. พันธวณิช ประธานคณะกรรมการบริ หาร บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนั่ ส์ กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ

55

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: 810,884 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2536 - ปั จจุบนั กรรมการ และ ผู้อานวยการบริ หาร – การลงทุนกลุม่ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2543 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนต่างประเทศ) กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู มีเดีย โซลูชนั่ (เดิมชื่อ บจ ทรู ดิจิตอล มีเดีย) กรรมการ บจ. ทรู ทัช กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์เน็ต คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. เอสวีไอ 2550 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บล. ฟิ นนั เซีย ไซรัส จากัด (มหาชน) 2544 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ 2543 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์)  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน่ ส์ (ประเทศไทย) 2549 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก 2533 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่ การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2548 - 2556 กรรมการ บมจ. อะมานะฮ์ ลิสซิ่ง 2535 - 2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายสุภกิต เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

53

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ : ตนเอง: 4,346,491หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: 3,045 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นพี่ชายของ นายณรงค์ เจียรวนนท์ และ นายศุภชัยเจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ New York University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 92/2011

หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) ปั จจุบนั กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ประธานกรรมการบริ หาร บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป ประธานกรรมการบริ หาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง ประธานคณะกรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ กรรมการ บจ. ทรู มีเดีย โซลูชนั่ ส์ (เดิมชื่อ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย) กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ กรรมการ บมจ. สยามแม็คโคร  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานกรรมการบริ หาร บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ แลนด์ โฮลดิ ้ง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ พร็ อพเพอร์ ตี ้ เมเนสเม้ นท์ ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ เรี ยล เอสเตรส กรุ๊ป ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ โลตัส (เซี่ยงไฮ้ ) ประธานคณะกรรมการ บจ. ฟอร์ จนู ลิสซิ่ง ประธานคณะกรรมการ บจ. แมส เจียน อินเวสเม้ นท์ ประธานคณะกรรมการ บจ. ปั กกิ่ง โลตัส ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต เชนส์ สโตร์ ประธานกรรมการร่วม บจ. เซี่ยงไฮ้ คิงฮิวล์ – ซุปเปอร์ แบรนด์มอล์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร กลุม่ ธุรกิจการตลาดและการจัดจาหน่าย (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร กลุม่ ธุรกิจพัฒนาที่ดิน (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บจ. ซีพี โลตัส คอร์ ปอเรชัน่ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บจ. เซี่ยงไฮ้ โลตัส ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต เชนส์ สโตร์ รองประธานกรรมการ กลุ่มธุรกิจการตลาด และการจัดจาหน่าย (ไทย) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจพัฒนาที่ดิน (ไทย) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุ่มธุรกิจโทรคมนาคม บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุ่มธุรกิจยานยนต์และอุตสาหกรรม (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธาน บจ. เจียไต๋ เทรดดิ ้ง (ปั กกิ่ง) (มีต่อหน้ าถัดไป)

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ เอกสำรแนบ 1

ประวัติการทางานที่สาคัญ

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายสุภกิต เจียรวนนท์*

ตาแหน่ง กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

อายุ (ปี )

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

(ต่อจากหน้ าที่แล้ ว)

รองประธาน บจ. เจียไต๋ วิชนั่ รองประธาน บจ. เจียไต๋ อินเตอร์ เนชัน่ แนลไฟแนนซ์ รองประธาน บจ. เซี่ยงไฮ้ ฟอร์ จนู เวิลด์ ดีเวลลอปเม้ นท์ กรรมการ บจ. เจียไต๋ ดีเวลลอปเม้ นท์ อินเวสเม้ นท์ กรรมการ บจ. เจียไต๋ กรุ๊ป กรรมการ บจ. ซีพี โภคภัณฑ์ กรรมการ บจ. ฟอร์ จนู เซี่ยงไฮ้ กรรมการ บจ. โลตัส ซีพีเอฟ (จีน) อินเวสเม้ นท์ กรรมการ บจ. ผิง อัน อินชัวรันช์ (กรุ๊ป) ออฟ ไชน่า กรรมการ บจ. บีอีซี-เทโร ทรู วิชนั่ ส์ การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ  ตาแหน่งทางสังคม 2559 กรรมการกิตติมศักดิ์สมาคมมิตรภาพไทย-กัมพูชา 2557 ปรึกษารัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ที่ปรึกษาพิเศษรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2556 ที่ปรึกษารัฐมนตรี วา่ การกระทรวงวัฒนธรรม ที่ปรึกษารัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม 2555 ผู้ชานาญการประจาคณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา 2554 Vice Chairman of Youth Committee of China Overseas Chinese Investment Enterprises Association 2553 ประธานหอการค้ าไทยในจีน 2552 กรรมการมูลนิธิเดอะบิ ้ลด์ ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษารัฐมนตรี วา่ การกระทรวงวัฒนธรรม 2551 กงสุลกิตติมศักดิ์สหพันธรัฐรัสเซียประจาจังหวัดภูเก็ต กระบี่ และ พังงา Committeee of Chinese People’s Government Consultant Committee-Wuhan Province No.10th 2549 Award of Bai Yu Lan from Shanghai Government Member of Fudan Incentive Management Fund Committee of Fudan University Management Committee of Chia Tai International Center of Peking University ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร 2548 สมาชิกสมาคมธุรกิจไทยรุ่นใหม่ อุปนายกสมาคมส่งเสริ มการลงทุนและการค้ าไทย-จีน 2547 กรรมการกองทุนส่งเสริ มงานวัฒนธรรม สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ อุปนายกสมาคมขี่ม้าแห่งประเทศไทย 2545 สมาชิกชมรมธุรกิจไทยรุ่นใหม่ รองประธานสภาธุรกิจไทย-จีน 2538 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจาคณะกรรมาธิการกีฬา สภาผู้แทนราษฎร 2536 กรรมการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน คณะกรรมาธิการเด็กเยาวชนและผู้สงู อายุ  เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ที่ได้ รับ 2556 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) 2555 จัตรุ ถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) 2553 จัตรุ ถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) 2551 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.)

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ เอกสำรแนบ 1

ประวัติการทางานที่สาคัญ

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายณรงค์ เจียรวนนท์ / 29 เม.ย. 2551

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ

52

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: 304,269 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นน้ องชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท์ และ เป็ นพี่ชายของ นายศุภชัย เจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญากิตติมศักดิ์

ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคาแหง

ปริ ญญาตรี

วิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิต สาขาวิชา Business Administration New York University, USA

Advance Management Program: Transforming Proven Leaders into Global Executives, Harvard Business School, Harvard University การอบรม - Systematic Innovation of Products, Processes and Services, MIT SLOAN EXECUTIVE EDUCATION (2015) การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) (2550)

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) 2551 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการ และ รองประธานกรรมการบริ หาร บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป กรรมการ บจ. ทรู ซีเจ ครี เอชัน่ ส์ 2554 - ปั จจุบนั รองประธานคณะกรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู 2553 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ 2552 - ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. สยามแม็คโคร 2542 - ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ม.ค. 2558 – ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Changfa Shopping Center Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Yalian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Jialian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Zhengzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Foshan Nanhai Huanantong Trading Development Co., Ltd. กรรมการ Guangdong Huanantong Trading Development Co., Ltd. กรรมการ Zhanjing C.P. Lotus Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Xinlian Supermarket Co., Ltd. Governance Committee, Leadership Development Institute 2556-ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Songlian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Wenzhou Yichu Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ บจ. โอ เอช ที 2555-ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Cailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Nantung Tonglian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Kunshan Tailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ C.P. Zonglian (Shanghai) Management Co., Ltd. กรรมการผู้จดั การ Shanghai Litai Logistics Co., Ltd. กรรมการ Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2554-ปั จจุบนั กรรมการ Chia Tai Qingdao Holdings (Hongkong) Limited กรรมการ Chia Tai Xiangyang Holdings (Hongkong) Limited (มีต่อหน้ าถัดไป)

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายณรงค์ เจียรวนนท์ / 29 เม.ย. 2551

เอกสำรแนบ 1

ตาแหน่ง กรรมการ

อายุ (ปี )

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ใน บริ ษัทหรื อ บริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประวัติการทางานที่สาคัญ

2554-ปั จจุบนั

(ต่อจากหน้ าที่แล้ ว)

กรรมการ Chia Tai Qingdao Holdings Limited กรรมการ Chia Tai Xiangyang Holdings Limited กรรมการบริ หาร The ICONSIAM Superlux Residences Corporation Limited (เดิมชื่อ Grand River Park Co., Ltd.) กรรมการบริ หาร The ICONSIAM Residences Corporation Limited (เดิมชื่อ Grand River Place Co., Ltd.) กรรมการบริ หาร The ICONSIAM Corporation Limited (เดิมชื่อ Grand River Front Company Limited) ผู้ช่วยอาวุโสประธานกรรมการเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ “สรรหาบุคลากรของเครื อ” 2553-ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจการตลาดและการจัดจาหน่าย (ไทย) รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจการตลาดและการจัดจาหน่าย (จีน) รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจพัฒนาที่ดิน (จีน) รองประธานกรรมการ Shanghai Kinghill Limited รองประธานกรรมการ CP Lotus Corporate Management Co., Ltd. 2552-ปั จจุบนั กรรมการ Wuxi Ailian Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Wuxi Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Taizhou Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Hefei Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Changsha Chulian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Wuhan Yichu Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Changsha Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2551-ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร บมจ. ซีพีพีซี กรรมการบริ หาร Beston Action Utility Wear (Lianyungang) Co., Ltd. กรรมการบริหาร Jiangsu CP Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Beijing CP Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Zhejiang CP Trading Co., Ltd. กรรมการ Foshan C.P. Lotus Management Consulting Co., Ltd. 2550-ปั จจุบนั รองประธานกรรมการอาวุโส CP Lotus Corporation Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส Chia Tai (China) Investment Co., Ltd. 2548-ปั จจุบนั กรรมการ Qingdao Lotus Supermarket Co., Ltd. 2547-ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร Xi’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2546-ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร Tai’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2545-ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร ธนาคาร Business Development 2544-ปั จจุบนั กรรมการ Yangtze Supermarket Investment Co., Ltd. กรรมการ Wuhan Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2543-ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2553-2556 ผู้อานวยการใหญ่ มหาวิทยาลัยธุรกิจ ซีพี 2550-2553 กรรมการบริ หาร C.P. Pokphand Co., Ltd. 2540-2545 กรรมการผู้จดั การ Ex-Chor Trading (Shanghai) Co., Ltd. 2538-2540 กรรมการผู้จดั การ Ex-Chor Distribution (Thailand) Co., Ltd. รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ดร. เซี่ย ปิ ง / 8 ก.ย. 2559

ตาแหน่ง

กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ ด้ านการเงิน

อายุ (ปี ) 43

จานวนและสัดส่วนการ ถือหุ้นในบริ ษัท, การ ถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มีหุ้นกู้ : ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

เอกสำรแนบ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

- Doctoral Degree in Industrial Economy, Jiangxi University of Finance and Economics - MBA, Jiangxi University of Finance and Economics - Bachelor Degree of Communication Management Engineering, Beijing University of Posts and Telecommunications - Bachelor Degree of Telecommunication Engineering, Beijing University of Posts and Telecommunications

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) ก.ย. 2559 - ปั จจุบนั กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก.ค. 2559-ปั จจุบนั General Manager of Marketing Department, China Mobile Communications Corporation การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ พ.ย. 2557-มิ.ย.2559 General Manager, China Mobile Group Qinghai Co., Ltd. มี.ค. 2553-ต.ค.2557 Deputy General Manager, China Mobile Group Qinghai Co., Ltd.

16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายศุภชัย เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

กรรมการ กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร

อายุ (ปี )

49

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ใน บริ ษัทหรื อ บริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ : ตนเอง: 5,382,766 หุ้น (ร้ อยละ 0.02) คู่สมรส: 1,930,255 หุ้น (ร้ อยละ 0.01)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นน้ องชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท์ และ นายณรงค์ เจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ (การเงิน) Boston University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 92/2011

หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) 2542 - ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร 2540 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส 2539 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านปฏิบตั ิการและพัฒนาธุรกิจ 2538 ผู้จดั การทัว่ ไปโทรศัพท์นครหลวงตะวันออก 2537 ผู้อานวยการอาวุโสฝ่ ายสนับสนุนและประสานงานการวางแผนและ ปฏิบตั ิงานโครงการ 2536 ผู้อานวยการฝ่ ายห้ องปฏิบตั ิการ 2535 เจ้ าหน้ าที่อาวุโสประจาสานักกรรมการผู้จดั การใหญ่ บริ ษัทย่อยของบริ ษัท ปั จจุบนั กรรมการและประธานคณะผู้บริ หาร บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป 2544 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2553 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ 2542 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2558 - ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ 2559 - ปั จจุบนั ประธาน Steering Committee, UN Global Compact Local Network ในประเทศไทย 2558 - ปั จจุบนั นายกสมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 2553 - ปั จจุบนั กรรมการที่ปรึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีการจัดการนวัตกรรม (สหสาขาวิชา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษาประธานกรรมการบริ หาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ใน พระบรมราชูปถัมภ์ กรรมการกลางมูลนิธิรามาธิบดีฯ กรรมการมูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 2552 - ปั จจุบนั กรรมการสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2551 - ปั จจุบนั กรรมการคณะกรรมการอานวยการโครงการจัดหาและบริ การ ดวงตาเชิงรุกทัว่ ประเทศ 2549 - ปั จจุบนั ประธานคณะอนุกรรมการหาทุน ศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย กรรมการจัดหาและบริ การดวงตาแห่งสภากาชาดไทย 2543 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนั่ ส์ 2542 - ปั จจุบนั กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (TCT) (มีต่อหน้ าถัดไป) 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายศุภชัย เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัวระหว่างผู้บริ หาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

กรรมการ กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร

(ต่อจากหน้ าที่แล้ ว) ประวัติด้านกรรมการ - บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ - บจ. ทรู มูฟ - บริ ษัทย่อยอื่นๆ ในเครื อของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ - กรรมการ บจ. เอเชีย ฟรี วิลล์ - กรรมการ บจ. พันธวณิช - กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี - กรรมการ บจ. ซี.พี. โลตัส คอร์ ปอเรชัน่ - กรรมการ บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนั่ ส์ - กรรมการ บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ์ การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2553 - 2554 กรรมการบริ หารศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ 2551 - 2552 กรรมการคณะกรรมการจัดหาทุนและประชาสัมพันธ์เพื่อก่อสร้ าง อาคารรักษาพยาบาลรวมเฉลิมพระเกียรติ และอุปกรณ์เครื่ องมือทาง การแพทย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 2548 - 2550 กรรมการสมาคมบริ ษัทจดทะเบียน (LCA) 2542 - 2556 ประธานกรรมการ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2544 - 2553 ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2539 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2538 กรรมการผู้จดั การ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2534 ประสบการณ์ทางานประมาณ 2 ปี ใน บจ. วีนิไทย 2533 ประสบการณ์ทางาน 1 ปี ใน Soltex Federal Credit Union, USA 2532 ประสบการณ์ทางาน 1 ปี ใน บจ. สยามแม็คโคร

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสำรแนบ 1

ประวัติการทางานที่สาคัญ

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ผู้บริ หาร ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ นายนพปฎล เดชอุดม / 1 ม.ค. 2551

ตาแหน่ง

รองประธาน คณะผู้บริ หาร

อายุ (ปี ) 49

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ : ตนเอง: 2,917,533 หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: -ไม่มีหุ้นกู้ : TUC: ตนเอง: 5,000 หน่วย คู่สมรส: - ไม่มี -

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาโท

บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร์ Rensselaer Polytechnic Institute, USA

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program รุ่น 101/2008 - Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG), 2016

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) พ.ค.2559 - ปั จจุบนั รองประธานคณะผู้บริ หาร 2551 - พ.ค.2559 หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน 2559 กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต กรรมการ บจ. ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. เรี ยล มูฟ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ กรรมการ บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ กรรมการ บจ. ทรูโฟร์ ยู สเตชัน่ กรรมการ บจ. ทรู อินคิวบ์ กรรมการ Gold Palace Investment Limited กรรมการ Golden Light Company Ltd. กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited กรรมการ Goldsky Company Ltd. กรรมการ Gold Palace Logistics Limited กรรมการ GP Logistics Limited กรรมการ Golden Pearl Global Limited 2552 - 2559 กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2546-2550 ผู้อานวยการและผู้จดั การทัว่ ไป ด้ านออนไลน์ 2543-2546 ผู้อานวยการอาวุโส สายงานการเงิน

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

ดร. กิตติณัฐ ทีคะวรรณ / 25 พค. 2559

หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านพาณิชย์

อายุ (ปี )

44

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ใน บริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ : ตนเอง: 1,679,076 หุ้น (ร้ อยละ .0.01) หุ้นกู้ : TRUE: ตนเอง: 2,000 หน่วย TUC: ตนเอง: 2,300 หน่วย

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

-

ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการพัฒนาองค์กร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาระบบสารสนเทศ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาชาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) พ.ค. 2559 - ปั จจุบนั หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านพาณิชย์ ก.ย. 2553 - ปั จจุบนั กรรมการ True Trademark Holdings Company Limited ก.พ. 2558 - พ.ค. 2559 Head of Commercial & Business Development, Mobile (True Move) ม.ค. 2557 - ก.พ. 2558 Director, Retail Business - Device Product Management ม.ค. 2557 Managing Director, Retail Business - Retail Business พ.ย. 2555 - ม.ค. 2557 Director, Retail Business - Device Product Management ก.ย. 2555 - พ.ย. 2555 Deputy Director, Retail Business - Device Product Management ธ.ค. 2554 - ก.ย. 2555 Deputy Director, Retail Business - Device Product Management 1 (Apple iOS) ม.ค. 2554 - ธ.ค. 2554 Deputy Director, Retail Business - Sales Channel Management พ.ย. 2552 - ม.ค. 2554 Deputy Director, Sales & Retail - New Business Development การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ ก.ค. 2552 - พ.ย. 2552 General Manager, True Lifestyle Retail - True Lifestyle Retail Shop Management ก.พ. 2552 - ก.ค. 2552 General Manager, True Lifestyle Retail - Non Food Services Management ก.ย. 2549 - มี.ค. 2552 รองผู้อานวยการ, บมจ. โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ ม.ค. 2547 - ก.ค. 2556 กรรมการผู้จดั การ บจ. เอเชีย บุ๊คส์

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุข / 13 ม.ค. 2541

ตาแหน่ง

หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านปฏิบตั ิการ

อายุ (ปี ) 53

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: 4,750,823 หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: - ไม่มี หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

เอกสำรแนบ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาโท

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขาการบริ หารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การอบรม - สถาบันวิจยั ตลาดทุน (CMA16) การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Diploma of Australian Institution of Director 2005

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) พ.ค.2559 - ปั จจุบนั หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ 2557 - พ.ค.2559 หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ผู้อานวยการบริ หาร - ด้ านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2555 - 2557 ผู้อานวยการบริ หารธุรกิจโมบายล์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู ไลฟ์ พลัส กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ ทรูโฟร์ ยู สเตชัน่ กรรมการ ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป กรรมการ Golden Light Company Ltd. กรรมการ Gold Palace Logistics Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited 2549 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ 2545 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่สายงานธุรกิจ บจ. ทรู มูฟ 2544 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2546 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ 2541 - 2545 ผู้จดั การทัว่ ไป บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์เลส 2541 - 2544 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่

21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ นายวิลเลี่ยม แฮริส / 7 ต.ค. 2552

ตาแหน่ง

หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านการเงิน และ ผู้อานวยการบริ หาร ด้ านพัฒนาธุรกิจ ระหว่างประเทศ และ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่/ ประธานคณะผู้บริ หาร

อายุ (ปี ) 55

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ: ตนเอง: 1,445,197 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

Master Degree of Business Administration, Major in Finance and Marketing, Wharton School of the University of Pennsylvania Bachelor of Science in Economics, Wharton School of the University of Pennsylvania การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย (ในระยะ 5 ปี ย้ อนหลัง) พ.ค. 2559 - ปั จจุบนั หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน 2552 - ปั จจุบนั ผู้อานวยการบริ หาร ด้ านพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ และ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ / ประธานคณะผู้บริ หาร 2557 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป กรรมการ บจ. ทรู วิสต้ าส์ 2554 - ปั จจุบนั กรรมการ Rosy Legend Limited กรรมการ Prospect Gain Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited 2553 - ปั จจุบนั กรรมการ True Trademark Holdings Company Limited กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ Golden Light Company Limited กรรมการ Gold Palace Logistics Limited 2549 - ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค การดารงตาแหน่งใดๆ ในกิจการหรื อองค์กรอื่นในปี ที่ผ่านมา  บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี  บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ไม่มี การดารงตาแหน่งอื่นๆ ที่สาคัญ 2544 - 2550 หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2542 - 2543 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2536 - 2542 กรรมการ สานักนโยบายสินเชื่อ Verizon Communications, Philadelphia

22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

เลขานุการบริ ษัท ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตังเป็ ้ น เลขานุการบริ ษัทครัง้ แรก นางรังสินี สุจริ ตสัญชัย / 27 ก.พ. 2552

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

เลขานุการบริ ษัท

51

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท, การถือหุ้นกู้ในบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย ณ 31 ธ.ค. 59 หุ้นสามัญ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี หุ้นกู้ : ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่าง ผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาโท ปริ ญญาตรี

คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Company Secretary Program 19/2006 (CSP) - Effective Minute Taking 5/2006 (EMT) - Corporate Governance and Social Responsibilities 1/2007 (CSR) - Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG 5/2013) - Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG 32/2016)

ประวัติการทางานที่สาคัญ

บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2552-ปั จจุบนั 2544-ปั จจุบนั

เลขานุการบริ ษัท เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ เลขานุการคณะกรรมการกากับดูแลกิจการ ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการด้ านการเงิน 2544-2552 รองเลขานุการบริ ษัท 2543-2544 ผู้ช่วยหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกฎหมาย – ด้ านการประสานงาน กับหน่วยงานกากับดูแลหลักทรัพย์จดทะเบียน บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร 2534-2543 ผู้จดั การฝ่ ายบัญชี และ ดูแลการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2533-2534 เจ้ าหน้ าที่วเิ คราะห์อาวุโส – สานักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ

1.2 หน้ าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทได้ แต่งตัง้ นางรังสินี สุจริ ตสัญชัย ดารงตาแหน่ง เลขานุการบริ ษัท ตังแต่ ้ วนั ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 เพื่อทาหน้ าที่ให้ คาแนะนาด้ านกฎหมาย และ กฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ที่คณะกรรมการจะต้ องทราบ และ ปฏิบตั ิหน้ าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ประสานงานให้ มีการปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการ รวมทังมี ้ หน้ าที่ตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

1.3 การถือหลักทรัพย์ ของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ชื่อ 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 2. ดร. โกศล เพ็ชร์ สวุ รรณ์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 3. นายโชติ โภควนิช คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 4. นายฮาราลด์ ลิงค์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 5. ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่าเฉลิม คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 6. นายฉวี่ เกิงโหล่ว คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 7. นายธนินท์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 8. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 9. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 10. นายหลี่ เจิงเม่า คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ 11. ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 12. นายอารุง สรรพสิทธิ์วงศ์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 13. นายวิเชาวน์ รักพงษ์ ไพโรจน์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสำรแนบ 1

หุ้นสามัญ (จานวนหุ้น) ณ 31 ธ.ค. 2558

298,681 141,095 75,595 1,379,231 33,133 1,078,848 3,888 719,590 -

หุ้นกู้ (จานวนหน่ วย) ณ 31 ธ.ค. 2559 จานวน สัดส่วน

เปลี่ยนแปลงในปี 2559

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย -

263,680 84,149 1,133

135,601 328,315 -

33,996

473,358 1,383 711,486 -

ณ 31 ธ.ค. 2558

เปลี่ยนแปลง

ณ 30 ธ.ค. 2559 จานวน สัดส่วน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

562,361

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

225,244

0.00

-

-

-

-

76,728

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

135,601

0.00

-

-

-

-

1,707,546

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

67,129

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,552,206

0.00

-

-

-

-

5,271

0.00

-

-

-

-

1,431,076

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ 14. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 15. นายสุภกิต เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 16. นายณรงค์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 17. นายเซี่ย ปิ ง คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 18. นายศุภชัย เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 19. นายนพปฎล เดชอุดม คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 20. นายวิลเลี่ยม แฮริส คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 21. นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุข คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 22. ดร. กิตติณฐั ทีคะวรรณ* คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ หมายเหตุ

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

หุ้นสามัญ (จานวนหุ้น) ณ 31 ธ.ค. 2558

507,946 3,260,474 3,000 224,386 4,527,335 1,901,710 1,699,556 954,582 3,111,843 -

ณ 31 ธ.ค. 2559 จานวน สัดส่วน

เปลี่ยนแปลงในปี 2559

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย

หุ้นกู้ (จานวนหน่ วย)

302,938

1,086,017 45 79,883

855,431 28,545 1,217,977 490,615

1,638,980 -

ณ 31 ธ.ค. 2558

เปลี่ยนแปลง

ณ 30 ธ.ค. 2559 จานวน สัดส่วน

810,884

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4,346,491

0.01

-

-

-

-

3,045

0.00

-

-

-

-

304,269

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

5,382,766

0.02

-

-

-

-

1,930,255

0.01

-

-

-

-

2,917,533

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,445,197

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

4,750,823

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,679,076

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

* ดร. กิตติณฐั ทีคะวรรณ ได้ รับการแต่งตังเป็ ้ นผู้บริหาร (ตามคานิยามที่กาหนดโดยสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2559

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2. การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม ของกรรมการและผู้บริ หารระดับสูง (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)

รายชื่อ

TRUE Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CNP Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GPI <BVI> HMSTL HTTCL K.I.N. <BVI> NEC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TCJ TDS TE TGS TH TIC TICC TIG TIT TITS TLP TM TMD TMR TMV TPC True Incube True Internet True Music True Trademark True4U TT TUC TUFC TV TVG TVT

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

1. นายวิทยา เวชชาชีวะ*

/

2. ดร. โกศล เพ็ชร์สุ วรรณ์ *

/

3. นายโชติ โภควนิ ช*

/

4. นายฮาราลด์ ลิงค์*

/

5. ศ. (พิเ ศษ) เรวัต ฉ่ าเฉลิม*

/

6. นายฉวี่ เกิงโหล่ว*

/

7. นายธนิ นท์ เจียรวนนท์

C

8. ดร. อาชว์ เตาลานนท์

VC

9. ศ. (พิเ ศษ) อธึ ก อัศวานันท์

VC

10. นายหลี่ เจิงเม่า

VC

/

/

/

/ /

/

/

/

/

11. ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม

/

12. นายอารุ ง สรรพสิ ทธิ์ วงศ์

/

13. นายวิเ ชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์

/

14. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

/

15. นายสุ ภกิต เจียรวนนท์

/

16. นายณรงค์ เจียรวนนท์

/

17. นายเซี่ ย ปิ ง

/

18. นายศุภชัย เจียรวนนท์

/

19. นายนพปฎล เดชอุดม

E

20. นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุ ข

E

21. นายวิลเลี่ยม แฮริ ส

E

22. ดร.กิตติณัฐ ที คะวรรณ

E

* กรรมการอิสระ

C = ประธานกรรมการ

เอกสำรแนบ 1

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/ /

/ /

/

/ / /

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/ /

/

/

VC = รองประธานกรรมการ

/ = กรรมการ

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

E = ผูบ้ ริ หารระดับสูง

26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

3. ประวัติของกรรมการ และผู้บริหารระดับสู ง ทีถ่ ูกลงโทษในช่ วง 5 ปี ทีผ่ ่านมา เนื่องจากกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือ พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้ า พ.ศ. 2546 ในเดือนธันวาคม 2558 คณะกรรมการเปรี ยบเทียบ ได้มีคาสั่งเปรี ยบเทียบปรับ นายอธึก อัศวานันท์ กรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ จานวน 1,407,000 บาท เนื่องจากถูกสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กล่าวหากรณี อาศัยข้อมูลภายในซื้ อหุ ้น MAKRO โดยผูถ้ ูกกล่าวหาดังกล่าวได้ยนิ ยอมเข้ารับการ เปรี ยบเทียบและชาระค่าปรับตามคาเปรี ยบเทียบแล้ว คดีจึงเป็ นอันยุติ ในการนี้ คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี และ กรรมการอิสระทุกท่าน ของบริ ษทั ฯ ได้รับทราบข้อเท็จจริ งจาก นายอธึ ก อัศวานันท์ ว่า ขณะเกิดเหตุน้ นั นายอธึกกาลังทางานอยูใ่ นต่างประเทศและมิได้เป็ นผูซ้ ้ื อหุ ้น เพียงแต่บุตรี ของนายอธึ ก ซึ่ งกาลังท่องเที่ยวอยูใ่ นอีกประเทศหนึ่งต้องการใช้เงินแต่บริ หารเงินของตนเอง ในกรุ งเทพฯ จากต่างประเทศไม่ได้ จึงได้โทรศัพท์มาขอยืมเงินจากมารดาซึ่ งอยูท่ ี่กรุ งเทพในขณะนั้น (ซึ่งคือภรรยาของนายอธึก อัศวานันท์) ภรรยาของนายอธึก จึงได้ให้บุตรี ยืมเงินไปเข้าบัญชีของบุตรี ที่กรุ งเทพ โดยส่ งเงินจากบัญชี ร่วม (ในชื่ อของนายอธึกและภรรยา) หลังจากนั้น บุตรี ของนายอธึก ได้ซ้ื อหุ น้ MAKRO จานวน 6,000 หุน้ และ เมื่อบุตรี กลับจากต่างประเทศแล้ว อีกประมาณหนึ่งสัปดาห์ก็ได้โอนเงินคืนเข้าบัญชีของมารดา ส่ วนหุ น้ MAKRO นั้น บุตรี ของนายอธึ ก ก็เก็บไว้เป็ นเวลาอีกหลายเดือน จึงขายไป ซึ่ งจากข้อเท็จจริ งนี้ กล่าวได้วา่ นายอธึ ก อัศวานันท์ มิได้เป็ นผูซ้ ้ื อหุ ้น MAKRO และไม่มีส่วนร่ วมในการให้ยมื เงินหรื อรับเงินคืนจากบุตรี แต่เมื่อถูกสานักงาน ก.ล.ต. กล่าวหา เพราะผูซ้ ้ื อเป็ นผูเ้ กี่ยวข้องกับตนและมีการยืมเงินจากบัญชีร่วมของตน นายอธึกจึงยอมรับการเปรี ยบเทียบปรับเพื่อให้มีผลกระทบต่อทุกฝ่ ายน้อยที่สุด

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)

รายชื่อ 1. นายสุ เ มธ เจียรวนนท์ 2. นายมิน เธี ยรวร 3. นายสุ นทร อรุ ณานนท์ชยั 4. พลเอกสุ จนิ ดา คราประยูร 5. นางเกณิ กา เฟื่ องฟู 6. นายจตุรงค์ จตุปาริ สุ ทธิ์ 7. นายจุน ซิ ก อิม 8. นายนนท์ อิงคุทานนท์ 9. นายขจร เจียรวนนท์ 10. นายมาซากิ ฮอนดะ 11. นายคอน แมน เจสัน วอง 12. พลตารวจเอกนพดล สมบูรณ์ทรัพย์ 13. นายธิ ติฏฐ์ นันทพัฒน์สิ ริ 14. นายวิศิษฏ์ รักษ์วศิ ิษฏ์วงศ์ 15. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย์ 16. นายอาณัติ เมฆไพบูลย์วฒั นา 17. ดร. สหัส โรจน์ โรจน์เ มธา 18. นางสาวพัฒนี จรี ยะธนา 19. นางเนตรชนก วิภาตะศิลปิ น 20. นายเจริ ญ ลิ่มกังวาฬมงคล 21. นายธัช บุษฎีกานต์ 22 ดร.วัลลภ วิมลวณิ ชย์ 23. นายฮันส์ โรเจอร์ สนุ๊ค 24. นายสมพันธ์ จารุ มลิ ินท 25. ดร. ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์ 26. นายวิสิ ฐ ตันติสุ นทร 27. นางสาวศริ นทร์รา วงศ์ศุภลักษณ์ 28. นายสหาย ทรัพย์สุ นทรกุล 29. นายกี ซอง ฮง 30. นายจอง มู ปาร์ค เอกสำรแนบ 2

AP&J AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CNP Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GPI <BVI> HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. <BVI> KSC MKSC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TCJ TDS TE TGS TH TI TIC TICC TICT TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMD TMR TMV TNN TPC True Incube True Internet True Music True Trademark True4U TT TUC TUFC TV TVC TVG TVS TVT

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

/ / /

/ / / / /

/ /

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/ / /

/ /

/ / /

/

/

/

/

/

/ /

/ /

/

/ /

/ /

/

/

/

/ / / / / /

/

/ /

/ /

/

/ / /

/

/

/ /

/

/

/ / /

/

/

/ /

/

/ / /

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/

/

/

/

/ / / / /

/

/

/ / /

/ /

/ /

/ / รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)

รายชื่อ 31. Ms. Ping Mi 32. นายเซมิน ฮาน 33. นายเคนเน็ท แดง 34. นายไพสิ ฐ วัจนะปกรณ์ 35. นางวิภาภรณ์ ชัยรัตน์ 36. นายคาร์ล กูเ ดียร์ 37. นายสงวนศักดิ์ เภสัชสงวน 38. นายชูมนัส เกษเสถียร 39. นายชาญชัย บูรณะบัญญัติ 40. นายศิริพจน์ คุณากรพันธุ์ 41. นายพีรธน เกษมศรี ณ อยุธยา 42. นายวสุ คุณวาสี 43. นางสาวจิรัฐติกาล สุ ทธิ วรรณารัตน์ 44. นายประเสริ ฐ เจียรกุล 45. ดร.เจน ศรี วฒั นะธรรมา 46. นางสาวอชิรา เตาลานนท์ 47. นายพลพันธุ์ อุตภาพ 48. นายประสาร มาลีนนท์ 49. นายไบรอันลินด์เ ซ มาร์การ์ 50. ดร. รุ จกิ ร ภาวสุ ทธิ ไพศิฐ 51. นายสุ พจน์ มหพันธ์ 52. นายชิลฮยอน อัน 53. นายอาจกิจ สุ นทรวัฒน์ 54. พลตารวจเอก พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ 55. ดร. อโณทัย รัตนกุล 56. นายเจนวิทย์ คราประยูร 57. นายกิติกร เพ็ญโรจน์ 58. นายพิรุณ ไพรี พ่ายฤทธิ์ 59. นางศุภสรณ์ โหรชัยยะ 60. นายสมบุญ พัชรโสภาคย์ เอกสำรแนบ 2

AP&J AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CNP Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GPI <BVI> HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. <BVI> KSC MKSC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TCJ TDS TE TGS TH TI TIC TICC TICT TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMD TMR TMV TNN TPC True Incube True Internet True Music True Trademark True4U TT TUC TUFC TV TVC TVG TVS TVT

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

/ / / /

/ /

/ /

/ /

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/ / / / / / / / /

/

/

/

/ / /

/

/

/

/

/

/ / / /

/ / /

/ / /

/ รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)

รายชื่อ 61. นายฮยอง ดง ซู 62. นายชีวนิ โกสิ ยพงษ์ 63. นางวรกัญญา โกสิ ยพงษ์ 64. นายสหรัฐส์ คนองศิลป์ 65. นายสุ ภกิจ วรรธนะดิษฐ์ 66. นายปรัชญา บุญรอดพานิ ช 67. นายอรรถพล ณ บางช้าง 68. นายองอาจ ประภากมล 69. นายวินิจ เลิศรัตนชัย 70. ดร. ธี ระพล ถนอมศักดิ์ยทุ ธ 71. นายซัง กิล ลี 72. นายเชฏฐ์ พันธ์จนั ทร์ 73. นายสุ รพัศ เจริ ญสุ ข 74. นายเรื องเกียรติ เชาวรัตน์ 75. นายคมสัน ขจรชีพพันธุ์งาม 76. นายเทพ สิ นธวานนท์ 77. Mrs. Mehnaz Bibi Abdool Rassool 78. นายธี รศักดิ์ จีรอัศวพงศ์ 79. นายมนัส ส์ มานะวุฒิเ วช 80. นายวาที เปาทอง 81. ดร. อุส าห์ สวัส ดิ์-ชูโต 82. นายซองโฮ ลี 83. นางสาวจังมิน ชอย 84. นายอัศวิน อ้วนโพธิ์ กลาง 85. นายอภัยชนม์ วัชรสิ นธุ์ 86. นางอารยา สัลเลขวิทย์ 87. นายสุ วทิ ย์ นาคพีระยุทธ 88. นางสาวยุภา ลีวงศ์เ จริ ญ 89. นางสาวภาวิณี ช้อยสุ นิรชร 90. นายสมหมาย ดอกไม้ เอกสำรแนบ 2

AP&J AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CNP Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GPI <BVI> HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. <BVI> KSC MKSC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TCJ TDS TE TGS TH TI TIC TICC TICT TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMD TMR TMV TNN TPC True Incube True Internet True Music True Trademark True4U TT TUC TUFC TV TVC TVG TVS TVT

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

/ / / /

/ /

/ /

/

/

/ / /

/ /

/

/

/

/

/ / / / / /

/

/

/

/

/ / / / / / / / / / / / / / / /

/

/

/ /

/ /

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

/

/ / / /

/

3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)

รายชื่อ 91. นายอภิศกั ดิ์ ธนเศรษฐกร 92. นายวิโรจน์ ไตรวงศ์วทิ ยา 93. พลเอกนิ นนาท เบี้ยวไข่มขุ 94. นางสาวอมรศรี โฮตระกูล 95. นายแท ซอ คิม 96. Mr. Denis Sek Sum 97. นางสุ นทรี รัตนภาสกร 98. นายสุ วชิ า ภรณวลัย 99. นางสาวกิรณา ชีวชื่น 100. นายภัคพงศ์ พัฒนมาศ 101. นายดนพงศ์ โรจนกร 102. นายวุฒินนั ท์ ใจเที่ยง 103. นางรุ่ งฟ้ า เกียรติพจน์ 104. นายพรรคพงษ์ อัคนิ วรรณ 105. นางสุ ภาวดี ตระกูลบุญ 106. นางสหัฎชญาณ์ เลิศรัชตะปภัส ร์ 107. นางสาวฐิ ตาภรณ์ อ่องนุ ช 108. นายดนันท์ สุ ภทั รพันธุ์ 109. นางสาวสมศรี สุ นทราภิรมย์ 110. นางอัจฉราวลี ปั ญญานนทชัย 111. นางวิภาวี วัลลิกุล 112. นางสาวกวินภัคย์ ดุษฎีสิ มะรัตน์ 113. นายวอน ซิ ค คิม 114. นางณัฐศมน วงศ์กิตติพฒั น์ 115. นายอาพา ยงพิศาลภพ 116. นายแกรี่ ชิน บัน ทาน 117. นายยองมิน คิม

เอกสำรแนบ 2

AP&J AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CNP Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GPI <BVI> HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. <BVI> KSC MKSC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TCJ TDS TE TGS TH TI TIC TICC TICT TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMD TMR TMV TNN TPC True Incube True Internet True Music True Trademark True4U TT TUC TUFC TV TVC TVG TVS TVT

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

/

/ / / / / / / / / / /

/

/ /

/ /

/ /

/ /

/

/ / / / / / / / /

/ / /

/ / / / /

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายละเอียดเกีย่ วกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) ชื่อ-นามสกุล นางดาวประกาย ลักษณะกุลบุตร

เอกสำรแนบ 3

ตาแหน่ง หัวหน้ าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน ของกลุม่ บริ ษัทฯ

อายุ (ปี ) 59

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท การภาษีอากร - Golden Gate University ประเทศสหรัฐอเมริ กา ปริ ญญาตรี การบัญชี บริ หารธุรกิจ - George Washington University ประเทศสหรัฐอเมริ กา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ประเทศสหรัฐอเมริ กา ผู้ตรวจสอบภายในรับอนุญาตสากล การฝึ กอบรมภายนอกองค์กร - 2016 IA Day-Leading Your Professional Way - 2016 IIA Annual Seminar: The Professional of Sustainable Development - Challenging role of Audit Committee in the review of financial and non-financial information - Risk management and Internal Control - 2015 State of Internal Audit Profession Study - 2014 State of Internal Audit Profession Study - IIAT Annual Seminar 2014 - Brand Training - BS 25999 Transition to ISO 22301 - ISO 19011-2011 Auditing Management System - BS 25999 : มาตรฐานทางด้ านการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ - Presentation Skills - Power Trainer - Tools & Techniques for Enterprise Risk Management (ERM) การฝึ กอบรมภายในองค์กร - Chairman Vision 2016 - CEO Vision and True LDL Workshop - Boost Human Productivity - True Copper & Fiber Network - Data Network Fundamental - Broadband Access Technology - The 4 disciplines of execution - Seminar: Sustainability and Alignment- CP Group - The Leader’s Daily Role in Engaging People & Talents - Chairman Vision 2015 - Director Freshen up - Grow Together With A Winning Culture - CEO Vision and True LDL workshop - TFRS - True Leadership and Innovation Forum #54 - นโยบายกิจการโทรคมนาคม : Telecom Policy Workshop - Situational Leadership - LDL Follow up Workshop 2015 - Chairman Vision 2015 Follow up - Transfer Pricing - Continuous improvement - True Leaders Develop Leaders (LDL) (2014 Chairman Vision Cascade Workshop) - IDEA Application training - IT Audit training - วิสยั ทัศน์ประธานธนินท์ 2014 สูก่ ารปฏิบตั ิ - LDL (Leaders Develop Leaders Program) - LDL Cascade Program - Telecommunications Regulations - 3G Network-BFKT - True Leadership - การบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ(BCM) รำยละเอียดเกีย ่ วกับหัวหน ้ำงำนตรวจสอบภำยใน

ประวัติการทางานที่สาคัญ 2556-ปั จจุบนั 2548-2556 2543-2548 2536-2543 2531-2536 2525-2531

หัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในของกลุม่ บริ ษัทฯ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ รองผู้อานวยการสายงานตรวจสอบภายใน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ หัวหน้ าฝ่ ายตรวจสอบภายใน บจ. ทีเอ ออเรนจ์ (ปั จจุบนั ชื่อ บจ. ทรู มูฟ) ผู้จดั การทัว่ ไป บจ. ซี.พี. อินเตอร์ เทรด Certified Public Accountant RBZ Public Accounting Firm Los Angeles, CA Accounting Manager American Chemical Society Washington DC

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายละเอียดเกีย่ วกับการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - ไม่มีการประเมินราคาสิ นทรัพย์ -

เอกสำรแนบ 4

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกำรประเมินรำคำสินทรัพย์

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาปี 2559

เอกสำรแนบ 5

รำยงำนจำกคณะกรรมกำรตรวจสอบประจำปี 2559

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

เอกสำรแนบ 5

รำยงำนจำกคณะกรรมกำรตรวจสอบประจำปี 2559

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี 2559

2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.