TRUE : FORM 56-1 For the Year 2010 thai

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูล (แบบ 56-1) ประจําป 2553

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)


สารบัญ หัวขอที่ - หนา สวนที่ 1 1. ขอมูลทั่วไป 1.1 ขอมูลทั่วไปของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 1.2 ขอมูลทั่วไปของบริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษัทที่เขารวมลงทุน 1.3 ขอมูลทั่วไปของบุคคลอางอิง 2. ปจจัยความเสี่ยง 3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ 4.2 การตลาด 4.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย 4.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ 4.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย 4.6 ความคืบหนาดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. ขอพิพาททางกฎหมาย 7. โครงสรางเงินทุน 7.1 หลักทรัพยของบริษัทฯ 7.2 ผูถือหุน 7.3 นโยบายการจายเงินปนผล 7.4 โครงสรางหนี้สิน 8. การจัดการ 8.1 โครงสรางการจัดการ 8.2 การสรรหากรรมการ 8.3 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ 8.4 รายงานการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ 8.5 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน 8.6 บุคลากร 9. การควบคุมภายใน 10. รายการระหวางกัน 11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.1 ขอมูลทางการเงินโดยสรุป 11.2 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.3 ผูสอบบัญชี 11.4 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

1-1 1-2 1 - 11 2-1 3-1 4-1 4 - 24 4 - 24 4 - 26 4 - 27 4 - 33 5-1 6-1 7-1 7-9 7 - 10 7 - 10 8-1 8-6 8 - 11 8 - 13 8 - 31 8 - 31 9-1 10 - 1 11 - 1 11 - 6 11 - 27 11 - 28 12 - 1

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล

1

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูม ีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย เอกสารแนบ 3: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท

1 1 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 1 1. ขอมูลทั่วไป 1.1 ขอมูลทั่วไปของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) มีชื่อยอหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย วา “TRUE” ไดจดทะเบียนกอตั้งบริษัทฯ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2533 ในนามบริษัท ซีพี เทเลคอมมิวนิเคชั่น จํากัด โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000 ลานบาท เพื่อดําเนินธุรกิจทางดานโทรคมนาคม ตอมาไดจดทะเบียนแปรสภาพ เปนบริษัทมหาชนจํากัด เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2536 ทะเบียนเลขที่ 0107536000081 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 153,332,070,330 บาท เปนหุนสามัญ จํานวน 15,333,207,033 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลวจํานวน 77,757,424,030 บาท เปนหุนสามัญ จํานวน 7,775,742,403 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญอยูที่ เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท (662)-643-1111 โทรสาร (662)-643-1651

Website : www.truecorp.co.th

ในแบบ 56-1 นี้ คําวา “ทรู” “บริษัทฯ” “บริษัทในเครือ” และ “บริษัทยอย” หมายความถึง บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และ/หรือ บริษัทในเครือ และ/หรือ บริษัทยอย ในกรณีที่มีขอสงสัยวาบริษัทใดเปน ผูรับผิดชอบหรือดําเนินการกิจการหนึ่งกิจการใดที่ปรากฎในเอกสารฉบับนี้ สามารถสงคําถามมาไดที่ ฝายลงทุนสัมพันธบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคาร ทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 66 (0) 2699-2515 โทรสาร 66 (0) 2643-0515 อีเมล ir_office@truecorp.co.th

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

หัวขอที่ 1- หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.2 ขอมูลทั่วไปของบริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษัทที่เขารวมลงทุน ชื่อบริษัท บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด

บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด

บริษัท คลิกทีวี จํากัด

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 14, 17 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 TRUETC: ขอมูลทั่วไป

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

ผูใหบริการระบบ 100 ลานบาท แบงเปน DBS หุนสามัญ จํานวน 10 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

89.99

ใหบริการ อินเทอรเน็ต

15 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

65.00

ผูใหบริการ PCT

10,441.85 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1,044.18 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

ธุรกิจลงทุน

82,678 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 33,071 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 2.50 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.91

ผลิตเพลง

16.52 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1.65 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

70.00

ผลิตรายการ โทรทัศน

1,283.43 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 128.34 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.57

ธุรกิจโทรทัศน แบบสื่อสาร สองทาง

46 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 4.6 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.57

หัวขอที่ 1- หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด

บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด

บริษัท เค.ไอ.เอ็น.(ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด

บริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลดดอทคอม จํากัด

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ 608-609 ชั้น 6 อาคาร สยามดิสคัฟเวอรรี่ เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (662) 207-6788 โทรสาร (662) 2076789 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 2/4 อาคารไทยพาณิชยสามัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 2/4 อาคารไทยพาณิชยสามัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 2/4 อาคารไทยพาณิชยสามัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

ประกอบกิจการ เกี่ยวกับเพลง

110 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1.1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

25.63

หยุดดําเนินงาน

30 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 3 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.57

ใหบริการสื่อสาร โทรคมนาคมที่ มิใชภาครัฐ

50 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 12 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท หุนสามัญจํานวน 2.67 ลานหุน เรียกชําระเต็มมูลคา และ จํานวน 9.33 ลานหุน เรียกชําระมูลคาหุนละ 2.50 บาท 352.50 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 11.75 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 30 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

56.93

153 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 15.30 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

56.83

ธุรกิจอินเทอรเน็ต 139.64 ลานบาท แบงเปน และผูจัดจําหนาย หุนสามัญจํานวน 13.95 ลานหุน และหุนบุริมสิทธิ จํานวน 0.01 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

91.08

ธุรกิจลงทุน

โทรคมนาคม และบริการ อินเทอรเน็ต

หัวขอที่ 1- หนา 3

99.99


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท 118/1 อาคารทิปโก จํากัด ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 725-7400 โทรสาร (662) 725-7401 บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เรียล มูฟ จํากัด 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย 18 อาคารทรูทาวเวอร คอรปอเรชั่น จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 บริษัท สองดาว จํากัด 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด 18 อาคารทรูทาวเวอร เซอรวิสเซส จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ ใหบริการดาน การบริหารจัดการ แกศิลปน และธุรกิจอื่น ที่เกี่ยวของ ธุรกิจลงทุน

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

75 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 7.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.52

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

ใหบริการระบบ 1 ลานบาท แบงเปน โทรศัพทเคลื่อนที่ หุน สามัญจํานวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.77

บริการ โทรคมนาคม

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.85

ขายและใหเชา อุปกรณที่เกี่ยวกับ บริการโทรทัศน ระบบบอกรับเปน สมาชิก บริการ รับชําระเงิน

1,338 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 223 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 6 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.57

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.84

ใหบริการเนื้อหา

25 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

หัวขอที่ 1- หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล 18 อาคารทรูทาวเวอร จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด 2/4 อาคารไทยพาณิชยสามัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท 121/102-103, แอนด มีเดีย จํากัด อาคารอารเอส ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 บริษัท ทรูดิจิตอล พลัส จํากัด 121/72 อาคารอารเอส ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 686-2255 บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด 18 อาคารทรูทาวเวอร เซลส จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

ธุรกิจลงทุน

18,955.25 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1,895.52 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

ธุรกิจลงทุน

300 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 30 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

ใหบริการสื่อสาร โทรคมนาคมที่ ไมใชของรัฐ

250,000 บาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระมูลคาหุนละ 2.50 บาท

34.39

บริการเนื้อหาใน 54 ลานบาท แบงเปน ระบบดิจิตอลและ หุนสามัญ จํานวน 5.4 ลานหุน สื่อสารการตลาด มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา ขายโฆษณา และ 25 ลานบาท แบงเปน ตัวแทนโฆษณา หุนสามัญ จํานวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

97.04

บริการเกมส ออนไลน

ผูบริการคาปลีก

357 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 35.70 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา 1,501 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 15.01 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

หัวขอที่ 1- หนา 5

98.57

100.00

98.76


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ทรูอินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ใหบริการ จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง ระบบเทคโนโลยี เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 สารสนเทศ โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่นจํากัด

18 อาคารทรูทาวเวอร บริการ ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง โทรคมนาคม เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 14, 27 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800 18 อาคารทรูทาวเวอร ชั้น 14 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 15 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด

บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

ผูใหบริการ อินเทอรเน็ต

ใหบริการ ศูนยกลางขอมูล บนอินเทอรเน็ต

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

257 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 38 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท หุนสามัญ จํานวน 5 ลานหุน เรียกชําระเต็มมูลคา, หุนสามัญจํานวน 8 ลานหุน เรียกชําระมูลคาหุนละ 8.75 บาท และ หุนสามัญจํานวน 25 ลานหุน เรียกชําระมูลคาหุนละ 5.48 บาท 22 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 850,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท หุนสามัญจํานวน 10,000 หุน เรียกชําระเต็มมูลคา และ หุนสามัญ จํานวน 840,000 หุน เรียกชําระ เต็มมูลคาหุนละ 25 บาท 602.80 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 60.28 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

149.59 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 14.96 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

99.99

70.00

บริการ 51 ลานบาท แบงเปน โทรคมนาคมและ หุนสามัญ จํานวน 510,000 หุน อินเทอรเน็ต มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

บริการใหเชา

99.99

1,285 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 128.50 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา หัวขอที่ 1- หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

1,775 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 257.50 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท หุนสามัญจํานวน 97.5 ลานหุน เรียกชําระเต็มมูลคา และ หุนสามัญจํานวน 160 ลานหุน เรียกชําระมูลคาหุนละ 5 บาท 131 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 13.1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ผูคาปลีกบริการ ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง โทรคมนาคม เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด

18 อาคารทรูทาวเวอร อินเทอรเน็ตคาเฟ ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง และบริการ เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ทีเ่ กี่ยวของ โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริษัท ทรู แมจิค จํากัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ผลิตและจําหนาย ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง ภาพยนตร เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

3.5 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 350,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด

18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริการ รับชําระเงิน และบัตรเงิน อีเล็กทรอนิกส

200 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 20 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

ผูใหบริการ ระบบเซลลูลาร

37,281 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 3,728 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.83

ใหบริการเชา วงจรสื่อสัญญาณ ความเร็วสูงและ บริการมัลติมีเดีย

6,562 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 656.2 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

91.08

ใหบริการเนื้อหา

200,000 บาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.79

บริษัท ทรู มูฟ จํากัด

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

หัวขอที่ 1- หนา 7

99.99


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

บริษัท ทรู ทัช จํากัด

บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ 23/6-7 ชั้นที่ 2-4 ซอยศูนยวิจัย ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 641-4838-9 โทรสาร (662) 641-4840 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรูทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

ซื้อ ขายและ ผลิตสื่อโฆษณา

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

69.94

บริการใหเชา

3,008 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 30.08 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

บริการ โทรคมนาคม

86 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 860,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

บริการ Call centre

193 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1.93 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

จัดการทีมฟุตบอล 20 ลานบาท แบงเปน และกิจกรรมที่ หุนสามัญ จํานวน 2 ลานหุน เกี่ยวของ มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

70.00

บริการ โทรคมนาคม

99.99

บริการ โทรทัศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก

2,041 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 27.51 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท หุนสามัญจํานวน 11.50 ลานหุน เรียกชําระเต็มมูลคาและ หุนสามัญจํานวน 16 ลานหุน เรียกชําระมูลคาหุนละ 55.625 บาท 2,266.72 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 755.57 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 3 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา หัวขอที่ 1- หนา 8

98.57


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน)

บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท จํากัด

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 54 อาคารดับบลิว แอนด ดับบลิว ซอยพัฒนาการ 20 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท (662) 717-9000 โทรสาร (662) 717-9900 18 อาคารทรูทาวเวอร ชั้น 14 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 191 อาคารสีลม คอมเพล็กซ ชั้น 27 หองเลขที่ 2 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ

159 อาคารเสริมมิตร ทาวเวอร ชั้น 2 และ 24 ซอยอโศก ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 409/1 ชั้นที่1 หมู 5 ถนนศรีนครินทร แขวงสําโรงเหนือ เขตสมุทรปราการ สมุทรปราการ TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

7,608.65 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 760.86 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.61

420 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 4.2 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

ธุรกิจกอสราง

100 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 10 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

87.50

พัฒนาและ ใหบริการ เกมออนไลน

241.58 ลานบาท แบงเปน ถือหุน หุนสามัญ จํานวน 11.84 ลานหุน และ 51.00 หุนบุริมสิทธิ จํานวน 12.32 ลานหุน แตมีสิทธิ มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ออกเสียง เรียกชําระเต็มมูลคา 40.00 1,600 ลานบาท แบงเปน 15.76 หุนสามัญ จํานวน 160 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

บริการ โทรทัศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก ผานสายเคเบิล ธุรกิจลงทุน

ศูนยกลาง ใหบริการการ เคลียรริ่ง ของระบบการ จายเงินทาง อิเล็กทรอนิกส ผูผลิตอุปกรณ โทรคมนาคม

บริการคงสิทธิ เลขหมายตามที่ กฎหมายกําหนด

343 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 343,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1,000 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

9.62

2 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

20.00

หัวขอที่ 1- หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอรเรชั่น (กัมพูชา) จํากัด

8 Lenine Blvd., Phnom Penh City, Cambodia

หยุดดําเนินงาน

K.I.N. (Thailand) Company Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporation, Road Town, Tortola, British Virgin Island P.O. Box 71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Virgin Island P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands c/o First Island Trust Company Ltd, Suite 308, St James Court, St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius c/o First Island Trust Company Ltd, Suite 308, St James Court, St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius 21st Far East Finance Centre, 16 Harcourt Road, Central, Hong Kong

ธุรกิจลงทุน

140 Daping Zhengjie Chongqing, People’s Republic of China

ผูผลิตอุปกรณ โทรคมนาคม

Nilubon Company Limited

Dragon Delight Investments Limited

Gold Palace Investments Limited

Gold Light Company Limited

Goldsky Company Limited

TA Orient Telecom Investment Company Limited

Chongqing Communication Equipment Company Limited

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ทุนชําระแลว

% การถือหุน

USD 1 ลาน แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 1 แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 8,000 แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 8,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 1 แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 1 แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 1 แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 1 แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 15 ลาน แบงเปน หุนสามัญจํานวน 15 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา RMB 292 ลาน

หัวขอที่ 1- หนา 10

69.00

99.99

99.99

100.00

100.00

100.00

100.00

99.99

38.21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.3 ขอมูลทั่วไปของบุคคลอางอิง นายทะเบียนหุน สามัญ : บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259 Call center (662) 229-2888 เว็บไซต http://www.tsd.co.th ผูสอบบัญชี

: นายพิสิฐ ทางธนกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4095 บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด 179/74-80 บางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้น 15 ถนนสาทรใต แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 286-9999, (662) 344-1000 โทรสาร (662) 286-5050

นายทะเบียนหุน กู/ ผูแทนผูถือหุนกู

: หุนกูมีประกัน ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) 393 อาคารสีลม ชั้น 2 ถนนสีลมซอย 7 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท (662) 230-5575, (662) 230-5487, (662) 230-5731 โทรสาร (662) 266-8150 หุนกูไมมปี ระกัน ธนาคารกรุงศรีอยูธยา จํากัด (มหาชน) 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 296-3582, (662) 296-4782, (662) 296-4788, (662) 296-2988 โทรสาร (662) 296-2202, (662) 683-1297

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

หัวขอที่ 1- หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ปจจัยความเสี่ยง ถึงแมในป 2554 กลุมบริษัททรูจะเล็งเห็นโอกาสการเติบโตในหลายๆ ดาน แตยังคงมีปจจัยความเสี่ยง ทั่วไปและปจจัยความเสี่ยงเฉพาะบางประการ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอผลการดําเนินการของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทในเครือ ความเสี่ยงเกี่ยวกับการดําเนินงาน ความเสี่ยงจากปจจัยดานเศรษฐกิจมหภาค ภาวะเศรษฐกิจในระดับมหภาคของประเทศไทยในป 2553 เติบโตเพิ่มขึ้นจากปกอนหนา ถึงแมมี ปจจัยความไมสงบดานการเมืองในชวงครึ่งปแรก โดยอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ยังคงเติบโตไดอยางตอเนื่อง จะเห็นไดจากรายไดจากคาบริการของธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวม ไมรวมคาเชื่อมตอโครงขายเพิ่มขึ้น ในอัตรารอยละ 5.8 จากปกอน ทั้งนี้เนื่องจากบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดกลายเปนสิ่งจําเปนในวิถีชีวิตของ คนไทยในปจจุบัน ในขณะที่ บริการที่ไมใชเสียง โดยเฉพาะโมบาย อินเทอรเน็ต มีอัตราการเติบโตที่ดี เนื่องจาก สมารทโฟนมีราคาถูกลงและไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น ขณะเดียวกันบริการอินเทอรเน็ตบรอดแบนด บริการ โทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ยังคงเติบโตตอเนื่อง ทั้งนี้เปนที่คาดการณวา ในป 2554 เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศจะปรับตัวเพิ่มขึ้น ถึงแมในอัตราที่ ชาลงจากป 2553 ในขณะที่อุตสาหกรรมโทรคมนาคมจะยังคงมีความคืบหนาตอไป ถึงแมจะยังคงมีความทาทาย ในหลายๆ ดาน โดยบริการตางๆ ดังที่กลาวขางตน จะยังคงเติบโตไดดีในป 2554 ทั้งนี้กลุมทรูยังคงมุงมั่น นําเสนอเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อสานตอยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ และสรางความแข็งแกรงใหกับบริษัทฯ ใน ฐานะผูนําบริการสื่อสารโทรคมนาคมไทยรายเดียวที่เปน Quadruple Play สมบูรณแบบทั้งบริการสื่อสารดานเสียง วิดีโอ ขอมูล และมัลติมีเดียตางๆ รวมทั้งการพัฒนาคอนเทนตและการนําเสนอนวัตกรรมตางๆ จะชวยเสริมสราง ความแตกตางในตลาดสื่อสารโทรคมนาคม รวมทั้งจะใชประโยชนจากการเขาถือหุนในบริษัทฮัทช กาวสู การเปนผูนําการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G ในประเทศ ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการตลาด บริษัทฯ และกลุมธุรกิจตางๆ ของกลุมบริษัททรู โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทรูมูฟ ตลอดจนธุรกิจโทรศัพท พื้นฐาน ธุรกิจอินเทอรเน็ต และ บรอดแบนด จะตองเผชิญกับการแขงขันที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น เนื่องจาก ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่เขาใกลจุดอิ่มตัว ในขณะที่ผูใหบริการบรอดแบนด สามารถขยายบริการไดทั่วประเทศ ภายหลังจากที่คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กทช.”) ไดเปดเสรี นอกจากนี้ ตั้งแตป 2552 ทรูวิชั่นส ซึ่งเปนธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ของกลุมบริษัททรู ตองเผชิญกับการ แขงขันมากขึ้นเปนลําดับ อันเปนผลมาจากพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผลบังคับใชในเดือนมีนาคม 2551 อนุญาตใหผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก (ระบบเคเบิลและดาวเทียม) สามารถโฆษณาได ทําใหมีผูประกอบรายใหมเขาสูตลาด โดยเฉพาะผูประกอบการ ทีวีดาวเทียม สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อยางไรก็ตาม กลุมบริษัททรูคาดวา ทรูวิชั่นสมีความไดเปรียบในเชิงการแขงขันจากการมีคอนเทนต ที่ดีและมีคุณภาพสูง ซึ่งสวนใหญเปนคอนเทนตที่ทรูวิชั่นสมีสิทธิ์แตเพียงผูเดียว ยิ่งไปกวานั้น ภายหลังการ มีผลบังคับใชของพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนฯ ในป 2551 คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุญาตชั่วคราวใหผูประกอบการ สําหรับการประกอบกิจการที่ไมใชคลื่นความถี่ มีอายุไมเกิน 1 ป (ปจจุบันมีการออกใบอนุญาตใหเฉพาะผูประกอบการทองถิ่นรายเดิม โดยยังไมไดมีการออกใบอนุญาต ใหผูประกอบการระดับชาติ) ทําใหผูประกอบการเหลานี้ ตองดําเนินกิจการภายใตกรอบการกํากับดูแลเดียวกับ ทรูวิชั่นส ซึ่งรวมถึงการซื้อคอนเทนตและรายการอยางถูกกฎหมาย ซึ่งคาดวาจะทําใหความสามารถในการแขงขัน ของผูประกอบการรายเล็กลดลง ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยมีการแขงขันดานราคา เปนไปอยางสมเหตุสมผลมากขึ้น นับตั้งแต ป 2550 ทั้งนี้ เนื่องจากการเขาสูระบบคาเชื่อมตอโครงขาย (Interconnection Charge หรือ IC) ทําใหผูประกอบการ มีภาระตนทุนที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมตอไปยังโครงขายอื่น (ในอัตราโดยเฉลี่ย 1 บาทตอนาที) ซึ่งเปนเสมือน ราคาขั้นต่ําของผูประกอบการ โดยเฉพาะ สําหรับการโทรนอกโครงขาย อยางไรก็ตาม ตั้งแตไตรมาสที่ 2 จนถึงไตรมาสที่ 3 ของป 2553 มีการแขงขันในโปรโมชั่นโทรภายในโครงขายเพิ่มขึ้น โดยผูประกอบการ รายใหญไดออกโปรโมชั่นดังกลาว เพื่อแขงขันกับผูประกอบการรายเล็ก ทําใหทรูมูฟ ซึ่งเนนการทําตลาดใน กลุมลูกคาที่เนนการโทรในโครงขาย ไดรับผลกระทบ ดังจะเห็นไดจากรายไดจากบริการเสียงของบริการ แบบเติมเงินในป 2553 ของทรูมูฟลดลงรอยละ 7.4 จากป 2552 ในขณะที่ตลาดโดยรวมยังคงเติบโต อยางไร ก็ตามนับตั้งแตไตรมาส 4 ของป 2553 เปนตนมา ทรูมูฟ ไดออกโปรโมชั่นใหมๆ เชน โปรโมชั่นอัตราคาโทร อัตราเดียว อัตราคาโทรตอครั้ง เพื่อขยายไปยังลูกคากลุมอื่นๆ ซึ่งทําใหรายไดบริการเสียงของบริการแบบเติมเงิน ฟนตัวในอัตรารอยละ 6.0 จากไตรมาส 3 ในเดือนธันวาคม 2553 ผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดเริ่มเปดใหบริการคงสิทธิเลขหมาย โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability - MNP) ซึ่งทําใหลูกคาสามารถเปลี่ยนผูใหบริการไดโดย ไมจําเปนตองเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยในระยะแรก เปนการใหบริการในวงจํากัด สําหรับผูขอ ใชบริการประมาณ 200 รายตอวันตอผูประกอบการแตละราย และคอยๆ เพิ่มจํานวนตามลําดับ ซึ่งอาจจะทํา ใหการแขงขันเพิ่มขึ้นในอนาคต อยางไรก็ตาม ทรูมูฟอาจจะมีโอกาสในการเพิ่มลูกคารายเดือนซึ่งมีรายได ตอเลขหมายตอเดือนสูงมากขึ้น โดยเฉพาะกลุมผูใชสมารทโฟนที่สนใจใชบริการ Wi-Fi รวมทั้งบริการ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ซึ่งทรูมูฟอยูในระหวางการทดลองใหบริการ เนื่องจากทรูมูฟมีพื้นที่ใหบริการ ครอบคลุมมากกวา อยางไรก็ตามทรูมูฟอาจจะมีความเสี่ยงในการสูญเสียลูกคาแบบเติมเงินบางสวนโดยเฉพาะใน ตางจังหวัดซึ่งทรูมูฟอาจจะยังมีโครงขายครอบคลุมนอยกวาผูประกอบการรายอื่น นอกจากนั้นคาดวาการแขงขันในบริการ 3G จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ภายหลังจากที่ศาลไดมีคําสั่ง ใหระงับการประมูลใบอนุญาตประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ IMT หรือ 3G ยานความถี่ 2.1 GHz เปนการ ชั่วคราว ทําใหผูประกอบการไดหาแนวทางอื่นๆ ในการใหบริการ 3G แกลูกคา โดย ทีโอที ซึ่งไดเปดใหบริการ 3G บนคลื่น 2.1 GHz อยางเปนทางการในเดือนธันวาคม 2552 และมีผูประกอบการอีก 5 รายเขารวมใหบริการ สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในลักษณะ MVNO (Mobile Virtual Network Operator) มีแผนจะขยายการใหบริการ 3G ใหครอบคลุมทั่วประเทศ ภายหลังจากไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ในเดือนกันยายน 2553 ใหลงทุนเพิ่มเติม ทั้งนี้ทีโอทีอาจเปดให ผูประกอบการรายใหมเขารวมใหบริการในลักษณะ MNVO หรือการขายตอบริการ (Reseller) เพิ่มขึ้น โดย อาจรวมถึงผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญในปจจุบัน และในเวลาตอมา บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท ไดอนุญาตใหทรูมูฟ และ ดีแทค ติดตั้งสถานีฐานสําหรับทดลองใหบริการ 3G บน คลื่นความถี่ 850 MHz ไดเพิ่มเติม (จํานวน 777 สถานีฐาน เปนจํานวนรวม 1,433 สถานีฐาน สําหรับทรูมูฟ และจํานวน 1,184 สถานีฐาน เปน 1,220 สถานีฐาน สําหรับดีแทค) โดยดีแทคอาจไดรับอนุญาตจาก กสท ให เปดใหบริการอยางเปนทางการ ภายหลังกลุมทรูไดเขาซื้อฮัทชจากผูถือหุนเดิมสําเร็จ ทําใหกลุมทรูสามารถ ใหบริการ 3G อยางเปนทางการไดทั่วประเทศ นอกจากนั้น AIS ไดประกาศที่จะลงทุนในบริการ 3G ในยาน ความถี่ 900 MHz เพิ่มเติม ซึ่งจะทําใหการแขงขันเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากที่กลาวแลว ทรูมูฟยังมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางผูถือหุนใหญ ในบริษัทคูแขงบางราย ซึ่งมีผลทําใหทรูมูฟตองแขงขันกับผูใหบริการจากตางประเทศ ซึ่งมีประสบการณจาก การแขงขันในตลาดที่มีการแขงขันสูงกวา และมีเงินทุนมากกวา ทั้งนี้เพื่อรับมือกับการแขงขันในอนาคต กลุมทรูมีนโยบายที่จะขยายโครงขายอยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่มพื้นที่ใหบริการ รวมทั้งวางกลยุทธเพื่อขึ้นสูผูนํา บริการ 3G โดยการเขาถือหุนในฮัทช นอกจากจะทําใหสามารถใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดตอเนื่องอีก 14 ป จนถึงป 2568 แลว ยังทําใหสามารถใหบริการ 3G อยางเปนทางการไดทั่วประเทศ นอกจากนั้น กลุมทรู ยังสานตอนโยบายการเปนผูนําในตลาดสมารทโฟน โดยการสรางความแตกตางจากผูประกอบการรายอื่น ผานคอนเทนต และ แอพพลิเคชั่นที่หลากหลาย ในขณะที่ยังคงขยายพื้นที่ครอบคลุมของโครงขาย Wi-Fi และ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz รวมทั้งเนนการปรับปรุงคุณภาพการใหบริการโดยรวมอยางตอเนื่อง ในตลาดอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด บริษัทยอยของกลุมทรูตองเผชิญกับการแขงขันที่เพิ่มขึ้น หลังจาก คณะกรรมการ กทช. ออกใบอนุญาตสําหรับการประกอบกิจการโทรศัพทพื้นฐานพรอมบริการอินเทอรเน็ตบรอดแบนด ทั่วประเทศ ใหแก บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวิรค จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) และบริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด จํากัด (หรือ 3BB ในปจจุบัน) ซึ่งตอมา 3BB ไดขยายพื้นที่ใหบริการสูกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมาตั้งแตป 2551 ทําใหสวนแบงการตลาดของ บริษัทยอยของกลุมทรูในตลาดบรอดแบนดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (คิดจากมูลคาตลาด) ลดลง เปนรอยละ 66 ณ ปลายป 2553 จากประมาณรอยละ 70 ของปกอนหนา นอกจากนี้ บริการอินเทอรเน็ตบรอดแบนด ของกลุมบริษัทยอยของกลุมทรู อาจตองเผชิญกับการแขงขันจากบริการ 3G ในอนาคต เนื่องจาก ผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่มีแผนที่จะขยายพื้นที่ใหบริการ อยางไรก็ตาม ตลาดบรอดแบนดของไทยยังมีโอกาสเติบโตได อีกมาก เนื่องจากอัตราผูใชบริการบรอดแบนดตอจํานวนครัวเรือนยังอยูในระดับต่ํา ที่ประมาณรอยละ 13.5 ณ สิ้นป 2553 โดยคาดวา บริการ 3G จะเปนบริการที่เขามาเสริมมากกวาจะเขามาแทนที่บริการอินเทอรเน็ตบรอดแบนด แบบมีสายที่มีอยูเดิม ซึ่งสามารถใหบริการดวยความเร็วที่สูงกวา และมีความเสถียรกวา ทั้งนี้ในป 2554 กลุมทรูมี แผนนําตลาดโดยการเปดใหบริการบรอดแบนดความเร็วสูงตั้งแต 10 ถึง 100 Mbps ดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ครอบคลุมในจังหวัดหลักๆ ทั่วประเทศ ซึ่งทําใหกลุมทรูสามารถใหบริการดวยความเร็วที่สูงกวาคูแขง โดย มีตนทุนที่ถูกกวา เนื่องจากมีโครงขายเดิมที่สามารถปรับปรุงเพื่อใหบริการ DOCSIS 3.0 นอกเหนือจากที่กลาวแลว ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ยังคงมีการแขงขันทางออมที่รุนแรงจากบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ รวมทั้งการแขงขันจากธุรกิจบริการเสียงผานการใหบริการอินเทอรเน็ต (VoIP) เนื่องจากมี อัตราคาบริการที่ต่ํากวาอัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐานแบบเดิม อยางไรก็ตาม โทรศัพทพื้นฐานสามารถ ใหบริการดวยคุณภาพที่ดีกวา กลุมบริษัททรูคาดวาการแขงขันในธุรกิจตางๆ ที่กลุมทรูใหบริการ จะยังคงสูงขึ้นในอนาคต แต เชื่อวา บริษัทฯ มีความพรอมสําหรับการแขงขัน โดยมีขอไดเปรียบจากการที่สามารถใหบริการที่ครบวงจร รวมทั้งมีคอนเทนตที่หลากหลาย ภายใตกลยุทธคอนเวอรเจนซ ทําใหกลุมทรูแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น ซึ่งสนับสนุนดวยการมีแบรนดที่แข็งแกรง นอกจากที่กลาวแลว บริษัทยอย ไดยื่นขอรับใบอนุญาตใหมๆ เพื่อใหไดรับประโยชนจากการปฏิรูปการกํากับดูแล และเพื่อการแขงขันที่เทาเทียมกับผูประกอบการรายอื่น ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนความตองการของลูกคาก็เปลี่ยนแปลง ไปตามวิวัฒนาการในผลิตภัณฑและบริการใหมๆ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงดานกฎเกณฑการกํากับดูแล ตางก็ มีสวนทําใหมีการเปดตลาดและเทคโนโลยีใหมๆ คาดวาปจจัยตางๆ ดังกลาวขางตน จะยังคงมีผลตอธุรกิจสื่อสาร ของประเทศไทยในอนาคต เพื่อตอบรับกับแนวโนมใหมๆ ดานเทคโนโลยี อาจทําใหกลุมบริษัททรูมีคาใชจาย ในการลงทุน และการดําเนินงานสูงขึ้นเปนอยางมาก และหากกลุมบริษัททรูไมลงทุนในเทคโนโลยีใหม อาจจะมี ผลทําใหขีดความสามารถในการแขงขันและความพึงพอใจของลูกคาลดลง อยางไรก็ตาม กลุมบริษัททรูคาดวา ดวยผลิตภัณฑและบริการ ตลอดจนฐานรายไดและลูกคาที่ หลากหลาย จะทําใหสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและรักษารายไดใหอยูในกลุมบริษัทฯ ไดดีกวา ผูใหบริการที่มีเพียงบริการเดียว ความเสี่ยงเฉพาะธุรกิจของทรูวิชั่นส ความเสี่ยงหลัก ไดแก การตองพึ่งพาผูจัดหารายการเพื่อซื้อรายการจากตางประเทศ และความเสี่ยง จากการถูกลักลอบใชสัญญาณ หากทรูวิชั่นส ไมสามารถจัดหารายการที่เปนที่สนใจของสมาชิก หรือหากตนทุนของการจัดหา รายการเพิ่มสูงขึ้นในอนาคตก็จะมีผลกระทบตอผลประกอบการของทรูวิชั่นส ปจจุบันลูกคาที่สนใจในรายการ จากตางประเทศ สวนใหญเปนลูกคาที่สมัครแพ็คเกจพรีเมียม ประกอบดวย Platinum, Gold และ Silver ซึ่ง ณ ปลายเดือนธันวาคม ป 2553 มีจํานวนรวม 454,660 ราย คิดเปนอัตรารอยละ 26.7 ของลูกคาของทรูวิชั่นส (รวมลูกคาฟรีวิวและฟรีทูแอร) ทั้งนี้ ตนทุนรายการตางประเทศ รวมในป 2553 คิดเปนอัตรารอยละ 21 ของ รายไดจากคาบริการของทรูวิชั่นส

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การลักลอบใชสัญญาณเปนเรื่องที่ปองกันไดยาก และมีผลกระทบตอผลการดําเนินงาน กระแสเงินสด และการจัดหารายการของทรูวิชั่นส อยางไรก็ตาม ทรูวิชั่นส คาดวา การออกใบอนุญาตการประกอบกิจการ โทรทัศนที่มีการบอกรับสมาชิกใหกับผูประกอบการ (รายเดิม) เปนการชั่วคราว โดยคณะกรรมการ กทช. ทั้งนี้ภายหลังการประกาศใชหลักเกณฑและวิธีการอนุญาตการประกอบกิจการโทรทัศนที่มีการบอกรับสมาชิก เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 จะสามารถลดความเสี่ยงจากการถูกลักลอบใชสัญญาณได เนื่องจากผูประกอบการ ทุกราย จะตองดําเนินกิจการภายใตกรอบการกํากับดูแลของคณะกรรมการ กทช. นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสยังมีแผนที่ จะเปลี่ยนกลองรับสัญญาณ เปนกลองรับสัญญาณรุนใหม (Hybrid Set Top Box) ซึ่งมีระบบการเขารหัสสัญญาณ แบบใหม (Encryption) ที่ชวยปองกันการลักลอบใชสัญญาณไดดีขึ้น ความเสี่ยงจากการที่คาสวนแบงรายไดของทรูมูฟจะเพิ่มขึ้นจากอัตรารอยละ 25 เปนรอยละ 30 และการเขา ถือหุนในกลุมบริษัทฮัทชิสัน อาจทําใหมีคาใชจายเพิ่มขึ้น และกระทบตอผลการดําเนินงานโดยรวมของกลุมทรู ภายใตสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา ระหวาง กสท กับ ทรูมูฟ ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539 อัตราสวนแบงรายไดที่ทรูมูฟตองจายใหกับ กสท จะเพิ่มขึ้นจากรอยละ 25 เปนรอยละ 30 ของรายได (หลังหักคาเชื่อมโยงโครงขายและคาใชจายอื่นที่ไดรับอนุญาตใหหักได) ทั้งนี้ นับตั้งแตวันที่ 16 กันยายน 2554 เปนตนไป จนสิ้นสุดระยะเวลาของสัญญา คือ วันที่ 15 กันยายน 2556 ซึ่งจะมีผลกระทบ กับผลการดําเนินงานของทรูมูฟและผลการดําเนินงานโดยรวมของกลุมบริษัททรู นอกจากนี้ ก ารเขา ถื อหุ น ในฮั ท ช อาจจะทํา ใหก ลุม บริ ษั ท ทรู มี ค า ใช จ า ยที่เ พิ่ม ขึ้น ทั้ ง นี้ จ าก ดอกเบี้ยเงินกูยืมที่เกี่ยวของกับการเขาถือหุนในฮัทชจํานวน 6.3 พันลานบาท และอีกจํานวนหนึ่ง สําหรับ การลงทุนในการปรับปรุงโครงขายใหเปนระบบ 3G HSPA นอกจากนั้นอาจมีคาใชจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับ การรวมกิจการเกิดขึ้น โดยเฉพาะในชวงระยะเริ่มแรกภายหลังการรวมกิจการ ในขณะที่ อาจจะยังไมสามารถ สรางรายไดไดเต็มที่ ซึ่งอาจจะมีผลกระทบตอผลการดําเนินงานของกลุมทรู อยางไรก็ตาม กลุมทรูมีแผนที่จะ ลดคาใชจายที่ซ้ําซอนกัน ซึ่งสามารถชวยลดผลกระทบดังกลาวลงไดระดับหนึ่ง ความเสี่ยงดานการกํากับดูแล ธุรกิจสื่อสารของประเทศไทยอยูในระหวางการเปลี่ยนแปลง ดานการกํากับดูแล กอใหเกิดความเสี่ยงตอ ผูประกอบการ ตามขอตกลงที่ประเทศไทยไดใหไวกับองคกรการคาโลกหรือ WTO เพื่อเปดเสรีธุรกิจโทรคมนาคมไทย ภายในป 2549 รัฐบาลไทยไดเริ่มดําเนินการปฏิรูปการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดยการออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันไดแก พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งประกาศใชเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2543 และ พระราชบัญญัติการประกอบ กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ซึ่งประกาศใชเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 ในเดือนตุลาคม 2547 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือคณะกรรมการ กทช. ไดถูก จัดตั้งขึ้นเพื่อเปนองคกรอิสระในการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม ซึ่งเดิมเปนอํานาจหนาที่ขององคการโทรศัพท แหงประเทศไทย (ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2545 ไดแปรสภาพเปน บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) หรือ ทีโอที) และ การสื่อสารแหงประเทศไทย (ณ วันที่ 14 สิงหาคม 2546 ไดแปรสภาพเปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท) และ กรมไปรษณียโทรเลข (ปจจุบันเปลี่ยนเปน บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด) สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนมีนาคม 2551 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน พ.ศ. 2551 และตอมาในเดือนธันวาคม 2553 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติองคกรจัดสรร คลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (“พรบ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ”) ซึ่งจะมีผลใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) เพื่อทําหนาที่กํากับ ดูแล กิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และ กิจการโทรคมนาคม แทนคณะกรรมการ กทช. โดยพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2551 มาตรา 78 ไดกําหนดใหคณะกรรมการ กทช. ปจจุบันทําหนาที่ของคณะกรรมการ กสทช. เปนการชั่วคราว โดยมีอํานาจ ในการกํากับดูแล และออกใบอนุญาต (อายุไมเกิน 1 ป) สําหรับบริการวิทยุกระจายเสียงชุมชน และการ ประกอบกิจการที่ไมใชคลื่นความถี่ (กิจการโทรทัศนที่มีการบอกรับสมาชิก) ซึ่งความลาชาในการจัดตั้ง คณะกรรมการ กสทช. ตามรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน และ พรบ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ อาจจะทําใหมี ผลกระทบตอโอกาสในการทําธุรกิจของกลุมบริษัททรูได อยางไรก็ตามพรบ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ในมาตรา 13 กําหนดใหการดําเนินการคัดเลือกกันเองตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาไมเกิน 90 วันนับแตวันที่ไดประกาศใหสมาคม สถาบัน หรือองคกรที่ไดขึ้นทะเบียนไวเสนอชื่อผูสมควรไดรับเลือก เปนกรรมการ เชนเดียวกับการดําเนินการสรรหาก็ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน ตามที่ระบุใน มาตรา 15 หลังจากนั้นในมาตรา 17 ไดกําหนดใหวุฒิสภามีมติเลือกบุคคลจากบัญชีรายชื่อที่เลขาธิการวุฒิสภา เสนอภายใน 60 วัน นับแตวันที่ไดรับรายชื่อ และเมื่อลวงพน 60 วัน ถายังมีผูไดรับเลือกเปนกรรมการไมครบ 11 ทานตามที่กฎหมายกําหนด ใหประธานวุฒิสภาแจงใหนายกรัฐมนตรีทราบ และใหนายกรัฐมนตรีนํา บัญชีรายชื่อเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาและดําเนินการใหไดกรรมการครบ 11 ทานภายใน 30 วัน นับแตวันที่ นายกรัฐมนตรีไดรับแจง ดังนั้นเมื่อรวมระยะเวลาการไดมาซึ่งคณะกรรมการ กสทช. ตามที่กฎหมายระบุไว คาดวาไมควรเกิน 180 วันนับแตวันที่สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภาไดประกาศใหมีการเสนอชื่อผูสมควรไดรับ เลือกเปนกรรมการ อยางไรก็ตาม อาจมีปจจัยอื่นที่ทําใหการสรรหา การคัดเลือก และการแตงตั้งคณะกรรมการ กสทช. อาจลาชาออกไปจากที่ประมาณการไวได กลุมบริษัททรูจะยังคงนโยบายเชิงรุกในการเจรจากับคณะกรรมการ กทช. และหรือคณะกรรมการ กสทช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งกระทรวงการคลัง (ซึ่งเปนผูถือหุนของ กสท และทีโอที) เพื่อสนับสนุนใหกระบวนการปฏิรูปธุรกิจโทรคมนาคม กอใหเกิดการแขงขันอยางเสรีและเปนธรรม อยางแทจริง การจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับการประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ (3G) นับตั้งแตไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กทช. จนกระทั่งถึงปจจุบัน คณะกรรมการ กทช. ไดออก ประกาศ กฎเกณฑ ขอบังคับที่สําคัญๆ หลายฉบับที่อาจมีผลกระทบตอธุรกิจของกลุมบริษัททรู โดยในป 2553 คณะกรรมการ กทช. ไดออกกฎเกณฑใหมๆ รวมทั้ง กฎเกณฑที่เกี่ยวของกับการออกใบอนุญาตเพื่อใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G อยางไรก็ตาม รัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึ่งประกาศใชในเดือนสิงหาคม 2550 สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มาตรา 47 ไดกําหนดใหมีการจัดตั้งองคกรอิสระ เพียงองคกรเดียว เพื่อกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม รวมทั้ง กิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ซึ่งเรียกวา คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) อยางไรก็ตาม ถึงแมไดมีการประกาศใช พระราชบัญญัติ จัดสรรคลื่นความถี่ฉบับใหมในปลายป 2553 แตการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ยังไมไดดําเนินการใหลุลวง นอกจากนั้น การปรับปรุงแกไขมาตรา 8 ของ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 เกี่ยวกับการถือครองหุนทางออมโดยตางชาติ รวมทั้ง การแกไขพระราชบัญญัติดังกลาว ในป 2549 มาตรา 3 เกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ กทช. ในการกํากับดูแลการถือหุนทางออมของตางชาติ ใหสอดคลอง กับมาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญ ยังไมไดดําเนินการใหแลวเสร็จ ซึ่งปจจัยเหลานี้ อาจจะทําใหมีผลกระทบตออํานาจ หนาที่ของคณะกรรมการ กทช. ในการออกใบอนุญาต 3G หรือคําสั่งศาลอาจมีผลลบลาง หากมีการดําเนินการออก ใบอนุญาตดังกลาว ทั้งนี้ ในป 2552 คณะกรรมการ กทช. ไดดําเนินการบางประการ เพื่อใหเกิดความคืบหนา ในเรื่อง การจัดสรรคลื่นความถี่ 3G ในยาน 2.1 GHz โดยไดพยายามผลักดันใหมีการจัดทําเอกสารขอสนเทศเพื่อกําหนด เงื่อนไขการจัดสรรคลื่นความถี่ IMT หรือ 3G and beyond และ คณะกรรมการ กทช. ก็ไดจัดใหมีการรับฟง ความคิดเห็นสาธารณะ เพื่อรวบรวมความคิดเห็นจากทุกฝายที่มีผลประโยชนเกี่ยวของในเรื่องนี้ ทั้งนี้ จากการ แตงตั้งกรรมการ กทช. 4 ทานใหม สําหรับตําแหนงที่วางลง ทําใหคณะกรรมการ กทช. มีจํานวนกรรมการครบชุด จึงทําใหเกิดความหวังวา คณะกรรมการ กทช. อาจจะสามารถดําเนินการออกใบอนุญาต 3G บนความถี่ 2.1 GHz ไดภายในสิ้นป 2553 ทั้งนี้ ภายใตเงื่อนไขที่วาจะตองสามารถบรรลุขอยุติในประเด็นขอกฎหมายตางๆ ที่สลับซับซอน และยังไมเปนที่กระจางชัดในปจจุบัน โดยเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2553 สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดออกประกาศ กทช. เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการอนุญาตใหใชคลื่นความถี่เพื่อการประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ IMT ยาน 2.1 GHz โดยไดลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันเดียวกัน อันทําใหหลักเกณฑดังกลาวมีผลบังคับใช ทันที ซึ่งคณะกรรมการ กทช. ไดดําเนินการขั้นตอนตางๆ เพื่อเตรียมการจัดประมูลคลื่นความถี่ยานความถี่ 2.1 GHz ขึ้นในวันที่ 20-28 กันยายน 2553 อยางไรก็ตามในเดือนกันยายน 2553 กสท ไดยื่นฟองตอศาลกรณีที่ การประมูลคลื่นความถี่ดังกลาว ไมชอบดวยกฎหมาย ซึ่งตอมา ศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งใหมีการชะลอการจัดสรรคลื่นความถี่ 2.1 GHz เปนการชั่วคราวจนกวาคดีถึงที่สุด หรือศาลมีคําสั่งเปนอยางอื่น ความลาชาในการเปดใหบริการ 3G ทําใหทรูมูฟมีความเสี่ยงจากการที่สัญญาใหดําเนินการของทรูมูฟ จะสิ้นสุดลงในเดือนกันยายน 2556 อยางไรก็ตาม กลุมทรูไดดําเนินความพยายามในการลดความเสี่ยงดังกลาว ดวยวิธีตางๆ รวมทั้งการเขาถือหุนในฮัทช โดยตอมาไดมีการทําสัญญากับ กสท ในวันที่ 27 มกราคม 2554 ทําใหบริษัท เรียล มูฟ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยภายใตกลุมทรูเปนผูใหบริการขายตอบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บนเทคโนโลยี 3G HSPA ของ กสท เปนระยะเวลาประมาณ 14 ป จนถึงป 2568 ซึ่งจะชวยขยายระยะเวลา การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมบริษัทฯ ออกไปจากสัญญาใหอนุญาตเดิมของ ทรูมูฟ ดูรายละเอียด สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เพิ่มเติมที่ “กลุมทรูมีความเสี่ยงจากสัญญาใหดําเนินการฯ และสัญญารวมการงานฯ จาก กสท และ ทีโอที จะ สิ้นสุดลง” กลุมทรูมีความเสี่ยงจากสัญญาใหดําเนินการฯ และสัญญารวมการงานฯ จาก กสท และ ทีโอที จะสิ้นสุดลง ซึ่งอาจทําใหกลุมทรูมีคาใชจายเพิ่มเติมเพื่อใหสามารถประกอบธุรกิจไดอยางตอเนื่อง สัญญาใหดําเนินการฯ ของทรูมูฟจะสิ้นสุดลงในป 2556 จึงมีความเสี่ยงที่การดําเนินงานของ ทรูมูฟ อาจจะไดรับผลกระทบจากการสิ้นสุดของสัญญาใหดําเนินการฯ อยางไรก็ตามบริษัทฯ ไดดําเนินการตางๆ เพื่อสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่อง โดยในเดือนมกราคม 2552 ทรูมูฟไดลงนามในบันทึกขอตกลงรวมกัน (Memorandum of Agreement) รวมกับ กสท ในการรับสิทธิที่จะใชโครงขายและอุปกรณที่ทรูมูฟไดสรางและโอนใหกับ กสท เพื่อใหบริการ ตอไปอีก 5 ป หลังสัญญาใหดําเนินการฯ สิ้นสุดในป 2556 ซึ่งจะทําใหทรูมูฟสามารถดําเนินกิจการตอไปได ถึงป 2561 เชนเดียวกับดีแทค โดยสัญญาดังกลาวมีผลผูกพันทันที อยางไรก็ตาม กสท อาจเสนอให คณะรัฐมนตรี พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากอาจถือวาเปนการรวมลงทุนระหวางภาครัฐและเอกชนที่มีมูลคาเกิน 1 พันลานบาท ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไขขอตกลงตอไปวาตองปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะหรือไม ซึ่งขณะนี้ ยังไมไดมีการกําหนด เงื่อนไขดังกลาว นอกจากนั้นทรูมูฟอาจจะมีคาใชจายเกี่ยวกับคลื่นความถี่ ที่ตองจายให กสท หรือ กสทช. ยัง ไมเปนที่แนชัด เพื่อสามารถใหบริการลูกคาในระบบ 2G บนคลื่นความถี่ 1800 MHz เดิม ซึ่ง ณ ปจจุบัน ไมสามารถคาดการณไดวาคาใชจายดังกลาวจะมีจํานวนเทาใด นอกจากนั้นทรูมูฟ ยังไดรับอนุมัติจาก กสท ใหเปดทดลองใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ในเดือนมกราคม 2552 โดยยังไมไดรับอนุญาตการใหบริการในเชิงพาณิชย ณ ปจจุบัน นอกจากนั้นที่ผานมา กสท ไดกลาววาทรูมูฟไดติดตั้งอุปกรณนอกเขตที่ไดรับอนุมัติจาก กสท ซึ่ง ตอมาทรูมูฟไดรื้อถอนอุปกรณในเขตดังกลาว ทําใหปจจุบัน ยังคงเปดใหบริการตามปกติ ปจจุบัน โครงขาย 3G บนคลื่น 850 MHz ของทรูมูฟครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพปริมณฑลทั้งหมด รวมทั้งพื้นที่บางสวนของจังหวัด ที่สําคัญ เชน ชลบุรี ภูเก็ต และเชียงใหม ซึ่งพื้นที่เหลานี้ครอบคลุมผูใชหลักๆ ของบริการ 3G นอกจากนั้นใน เดือนธันวาคม 2553 กสท ไดอนุญาตใหทรูมูฟติดตั้งสถานีฐาน 3G บนคลื่น 850 MHz ไดเพิ่มเติมอีกจํานวน 777 สถานีฐาน รวมเปน 1,433 สถานีฐาน เนื่องจากเห็นวาการใหบริการ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz เปน ประโยชนตอผูบริโภคโดยรวม นอกจากนั้นภายหลังจากที่การประมูลคลื่นความถี่เพื่อการประกอบกิจการ โทรศัพทเคลื่อนที่ IMT หรือ 3G ยานความถี่ 2.1 GHz ถูกระงับเปนการชั่วคราว ตามคําสั่งของศาลปกครองสูงสุด รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดมีนโยบายให กสท และ ทีโอที อนุญาต ใหบริษัทคูสัญญาเปดใหบริการ 3G บนคลื่นความถี่เดิม เนื่องจากความลาชาในการเปดใหบริการ 3G อาจ กระทบตอความสามารถในการแขงขันของประเทศ ดังนั้น ทรูมูฟคาดวานาจะไดรับการอนุมัติใหเปดบริการ อยางเปนทางการในที่สุด ทั้งนี้เปนไปตามขั้นตอนทางกฎหมาย อยางไรก็ตาม การขยายงานตอไป อาจเกิด ความลาชา เนื่องจากความไมแนนอนของนโยบายของคณะกรรมการ กทช. ซึ่งอาจจะชะลอการดําเนินการใดๆ สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภายหลังจากที่ ศาลไดมีคําสั่ง ชะลอการประมูลคลื่นความถี่ 2.1 GHz ดังกลาวขางตน อยางไรก็ตาม การปรับปรุง โครงขายใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ของทรูมูฟ เปนการ ดําเนินการบนยานความถี่เดิมของ กสท เปนหลัก และไมไดเกี่ยวของกับความถี่ 2.1 GHz คณะกรรมการ กทช. จึงไมนาจะยับยั้ง หรือชะลอ การดําเนินงาน ดังกลาวของทรูมูฟ นอกจากนั้น กระทรวงการคลัง ไดเสนอใหมีการแปลงสัญญาสัมปทานตาง ๆ ใหเปนใบอนุญาต สําหรับบริการ 2G และสามารถปรับปรุงเปนเทคโนโลยี 3G ได อยางไรก็ตาม ขอเสนอดังกลาว ยังไมมี รายละเอียดที่สมบูรณ และผูประกอบการอาจมีความเห็นที่ไมเปนไปในทํานองเดียวกับ กสท ทีโอที หรือ กระทรวงการคลัง ซึ่งอาจจะทําใหไมสามารถบรรลุขอตกลงได อยางไรก็ตาม ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 กลุมทรูไดลงนามในสัญญาซื้อขายหุนกับกลุมฮัทช ในประเทศ ในการซื้อขายหุนดังกลาวซึ่งเสร็จสมบูรณ ในวันที่ 27 มกราคม 2554 กลุมทรูไดบรรลุขอตกลงกับ กสท ทําให บริษัท เรียล มูฟ จํากัด เปนผูใหบริการขายตอบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บน เทคโนโลยี HSPA ของ กสท ไดทั่วประเทศ เปนระยะเวลาประมาณ 14 ป จนถึงป 2568 ซึ่งจะชวยขยายระยะเวลาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมบริษัทฯ ออกไปจากสัญญาใหดําเนินการฯ ของทรูมูฟ ถึง แม สัญญาใหดํ า เนิ นการของทรูมูฟ จะสิ้น สุ ดลง แต ทรู มูฟ เชื่ อวา จะยังคงสามารถใหบริก าร โทรศัพทเคลื่อนที่แกลูกคาไดตามปกติ เนื่องจาก พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 มาตรา 20 และ มาตรา 22 กําหนดวา คณะกรรมการ กทช. มีอํานาจกําหนดเงื่อนไขใหผูประกอบกิจการตองปฏิบัติ เพื่อ ปองกันความเสียหายที่อาจจะเกิดประโยชนแกสาธารณะได นอกจากนั้น ประกาศ กทช. เรื่องหลักเกณฑ และวิธีการอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สาม ขอ 16 กําหนดให ผูไดรับอนุญาต สัมปทาน หรือ สัญญาจาก กสท ที่ประสงคจะใหบริการตอไปหลังจากที่การอนุญาต สัมปทาน สิ้นสุดลง ใหยื่นคําขอรับ ใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. ได อยางไรก็ตาม ปจจุบันยังมีความไมแนนอนวา ทรูมูฟจะมีคาใชจาย เกี่ยวกับการใชคลื่นความถี่ ในจํานวนเทาใด นอกเหนือจากคาธรรมเนียมใบอนุญาต (Licensing fee) ตามที่ กําหนดโดย คณะกรรมการ กทช. หรือคณะกรรมการ กสทช. สัญญารวมการงานฯ ระหวางบริษัทฯ และทีโอที สําหรับบริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริม จะสิ้นสุดลงในเดือนตุลาคม ป 2560 ซึ่งภายหลังสัญญารวมการงานฯ สิ้นสุดลง อาจทําใหบริษัทฯ มีความเสี่ยง จากการที่ตองลงทุน หรือมีคาใชจายในการดําเนินงานเพิ่มขึ้น เนื่องจากไดโอนโครงขายเดิมไปให ทีโอที ตามเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญารวมการงานฯ อยางไรก็ตาม ในปจจุบันบริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอเจนซ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย ที่บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. สําหรับบริการโทรศัพทพื้นฐานและบรอดแบนด ทั่วประเทศ ซึ่ง บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอเจนซ จํากัด ไดลงทุนขยายโครงขาย อยางตอเนื่อง ทําใหความเสี่ยงดังกลาวของบริษัทฯ ลดลง

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สัญญาใหดําเนินการฯ ของ ทรูมูฟ อาจถูกยกเลิก กอนที่สัญญาจะสิ้นสุด หรืออาจมีคาใชจายเพิ่มเติมที่ตอง จายใหกับภาครัฐ จากการแกไขสัญญาใหดําเนินการฯ ในอดีต ทรูมูฟ อาจมีความเสี่ยงจากการที่สัญญาใหดําเนินการฯ อาจถูกยกเลิกกอนที่สัญญาดังกลาวจะ สิ้นสุด หรืออาจมีคาใชจายที่ตองจายเพิ่มเติมใหกับภาครัฐ โดยในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติ การยื่นขอความเห็นตอสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อใหพิจารณาประเด็นขอกฎหมายที่เกี่ยวกับการ แกไขสัญญาระหวางภาครัฐและภาคเอกชน วาไดเปนไปตามขั้นตอนที่กําหนดใน พรบ. การใหเอกชนเขารวมงานฯ หรือไม สําหรับสัญญาใหดําเนินการฯ ของทรูมูฟ เปนสัญญาที่เกิดจากการโอนสิทธิและหนาที่ในการ ใหบริการบางสวนของ ดีแทค โดยไดมีการทําสัญญาโอนสิทธิและหนาที่สามฝายระหวาง กสท ดีแทค และ บริษัท ไวรเลส คอมมูนิเคชั่น เซอรวิส จํากัด (WCS) ซึ่งเปนผูรับโอน เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2539 และใน วันที่ 20 มิถุนายน 2539 กสท ไดทําสัญญาใหดําเนินการฯ กับบริษัท WCS อนุญาตให WCS เปนผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ตั้งแตวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยตอมา WCS ไดเขาทําสัญญา แกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการฯ กับ กสท จํานวน 2 ครั้ง ทั้งนี้มีการแกไขครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2543 โดยมีสาระสําคัญคือ กสท ตกลงให WCS ไดรับยกเวนไมตองจายเงินผลประโยชนตอบแทนรายปและเงินผลประโยชน ตอบแทนขั้นต่ํา เฉพาะสําหรับปที่ 2 - 4 (วันที่ 16 กันยายน 2540 - วันที่ 15 กันยายน 2543) ในระหวางการหยุดดําเนินการ ชั่วคราว (วันที่ 15 มีนาคม 2541 - วันที่ 30 กันยายน 2543) และมีการแกไขครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2543 โดยมี สาระสําคัญเปนการลดผลประโยชนตอบแทนรายป ในชวงปดําเนินการที่ 5 - 10 (วันที่ 16 กันยายน 2543 วันที่ 15 กันยายน 2549) จากรอยละ 25 เปนรอยละ 20 ในชวงปดําเนินการที่ 11 - 15 (วันที่ 16 กันยายน 2549 - วันที่ 15 กันยายน 2554) จากรอยละ 30 เปนรอยละ 25 และเพิ่มผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ํา สุทธิจํานวน 1,442 ลานบาท โดยใหเพิ่มผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําตั้งแตปดําเนินการที่ 8 - 17 (วันที่ 16 กันยายน 2546 - วันที่ 15 กันยายน 2556) จํานวนรวม 1,917 ลานบาท และลดผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําในปดําเนินการที่ 2 (วันที่ 16 กันยายน 2540 วันที่ 15 กันยายน 2541) ปดําเนินการที่ 5 - 7 (วันที่ 16 กันยายน 2543 - วันที่ 15 กันยายน 2546) จํานวนรวม 340 ลานบาท และใหยกเวนในปดําเนินการที่ 3 - 4 (วันที่ 16 กันยายน 2541 - วันที่ 15 กันยายน 2543) จํานวนรวม 135 ลานบาท ทั้งนี้กลุมบริษัททรูไดซื้อหุน WCS (ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปน ซีพี ออเรนจ จํากัด) จากเครือเจริญโภคภัณฑ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2544 ตอมา ไดเปลี่ยนชื่อเปนบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด และ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตามลําดับ โดยในวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีคําวินิจฉัยวา การดําเนินการของ กสท มิไดดําเนินการหรือปฏิบัติตาม พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ แตสัญญาที่ทําขึ้นยังคงมีผลผูกพันตราบเทาที่ ยังไมสิ้นสุด หรือ มีการเพิกถอนโดยคณะรัฐมนตรี หรือสิ้นผลโดยเงื่อนไขอื่นๆ ดังนั้น กสท และ ทรูมูฟ ยัง ตองมีภาระหนาที่ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ไดกระทําไวแลว

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อยางไรก็ดีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเพิ่มเติมวา ใหหนวยงานเจาของโครงการ รวมทั้งคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 13 และมาตรา 22 แหง พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ ดําเนินการ เจรจากับภาคเอกชน เพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป ทั้งนี้คณะรัฐมนตรีเปนผูมีอํานาจในการตัดสินชี้ขาด ตาม พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ ในการเพิกถอนหรือใหความเห็นชอบ การแกไขสัญญาเพิ่มเติมที่ จัดทําขึ้น โดยคณะรัฐมนตรีอาจใชดุลยพินิจพิจารณาใหมีการดําเนินการตามสัญญาใหดําเนินการฯ ไดตาม ความเหมาะสม โดยคํานึงถึงผลกระทบ เหตุผลความจําเปนเพื่อประโยชนของรัฐหรือประโยชนสาธารณะ และ ความตอเนื่องของการใหบริการสาธารณะ นอกจากนั้นในกรณีของสัญญารวมดําเนินการฯ ของทรูมูฟ สํานักงาน คณะกรรมการกฤษฏีกา มีความเห็นวา เปนสัญญาใหดําเนินการฯ ที่จัดทําขึ้นใหม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ภายหลังจากวันที่พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใช ดังนั้น ให กสท ดําเนินการ แตงตั้งคณะกรรมการตามมาตรา 13 เพื่อดําเนินการเจรจากับทรูมูฟ โดยในตนเดือนกุมภาพันธ 2554 รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดนําเสนอผลการเจรจาของคณะกรรมการตามมาตรา 13 และ 22 ใหแกคณะรัฐมนตรีพิจารณา โดยในกรณีของทรูมูฟ คณะกรรมการตามมาตรา 13 ให กสท มีการเจรจากับ ทรูมูฟ เพื่อใหมีการปรับลดอัตราคาบริการ และขยาย โครงขายใหครอบคลุมมากขึ้น รวมทั้งใหมีการเจรจาเกี่ยวกับการแกไขสัญญาที่ทําใหรัฐไดรับผลประโยชนลดลง อยางไรก็ตาม ตอมาคณะรัฐมนตรีไดมีมติใหจัดตั้งคณะกรรมการอีกชุดหนึ่ง เพื่อเจรจากับผูประกอบการตางๆ ใน การเรียกรองคาความเสียหายที่เกิดจากการแกไขสัญญาตางๆ ในอดีตจากผูประกอบการ โดยในปจจุบันการเจรจา ยังไมสิ้นสุด อยางไรก็ตามความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และมติคณะรัฐมนตรี ผูกพันเฉพาะ หนวยงานของรัฐและไมมีผลผูกพันกับทรูมูฟ เวนแตทรูมูฟประสงคจะเขารับประโยชนผูกพันตนเอง นอกจากนั้น ทรูมูฟเห็นวา การเจรจากับภาครัฐ ตองขึ้นอยูกับความตกลงรวมกันของคูสัญญา และหากไมสามารถตกลงกันได คําพิพากษาของศาลถือเปนที่สุด หากมีคําพิพากษาในทางที่ไมเปนประโยชนตอทรูมูฟเกิดขึ้นกอนสัญญาให ดําเนินการฯ สิ้นสุดลง อาจจะเปนเหตุใหทรูมูฟไมสามารถประกอบกิจการโทรคมนาคมตอไปได หรืออาจทําให ทรูมูฟมีภาระคาใชจายใหแกภาครัฐเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น ศาลในคดีหนึ่ง ซึ่งตัดสินในธุรกิจที่ไมเกี่ยวของกับธุรกิจโทรคมนาคม โดยศาลพิพากษา วา สัญญารวมทุนและรวมการงานระหวางภาครัฐและเอกชนที่ไมไดดําเนินการตามขั้นตอนของ พรบ. การ ใหเอกชนเขารวมการงานฯ ถือวาไมมีผลผูกพันคูสัญญา ทั้งนี้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 145 วางหลักไววา เวนแตในบางกรณีซึ่งไมเกี่ยวของกับเรื่องของทรูมูฟนี้คําพิพากษาจะมีผลผูกพันเฉพาะคูความ ในคดีที่มีคําพิพากษานั้นเทานั้น หลักของคําพิพากษาดังกลาวจึงไมมีผลกระทบตอสัญญาของทรูมูฟ อยางไรก็ดี หากหลักของคําพิพากษาดังกลาวถูกนํามาปรับใชกับสัญญาของทรูมูฟ อาจจะทําใหสัญญาของทรูมูฟถูกตีความวา ไมมีผลผูกพันคูสัญญา ดังนั้น ทรูมูฟก็จะมีสิทธิที่จะเรียกคืนสวนแบงรายได รวมทั้งคาอุปกรณตางๆ ที่ไดโอนไปให กสท แลวคืนจาก กสท ได นอกจากนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 วา สัญญาของทรูมูฟยังคงมีผลผูกพันตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูมูฟ มีความเสี่ยงที่เกิดจากขอโตแยงที่ ทีโอที เรียกใหทรูมูฟ และ กสท ชําระคาเชื่อมตอโครงขายแบบเดิม (Access Charge) ใหแก ทีโอที ซึ่งอาจจะทําใหบริษัทฯ มีคาใชจายเพิ่มขึ้นในอนาคต ทรูมูฟ ดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตสัญญาใหดําเนินการฯ ที่ กสท ตกลงให ทรูมูฟ ดําเนินการ ใหบริการวิทยุคมนาคม นอกจากนั้นทรูมูฟไดลงนามในขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Access Charge Agreement) กับ กสท และ ทีโอที ซึ่งทําให ทรูมูฟ และ กสท จะตองจายคาเชื่อมตอโครงขาย ใหแก ทีโอที ในอัตรา 200 บาทตอเดือนตอลูกคาหนึ่งราย และครึ่งหนึ่งของสวนแบงรายไดที่ กสท ไดรับ จากทรูมูฟ สําหรับลูกคาแบบเหมาจายรายเดือน (Post Pay) และในอัตรารอยละ 18 ของรายไดสําหรับลูกคา แบบเติมเงิน (Pre Pay) นอกเหนือจากที่ทรูมูฟตองจายคาสวนแบงรายไดให กสท ในอัตรารอยละ 25 หรือ 30 (ตามแตชวงเวลาที่กําหนดไวในสัญญาใหดําเนินการฯ) จากรายไดสุทธิภายหลังจากหักคาเชื่อมโยงโครงขาย ในเดือนพฤษภาคม 2549 คณะกรรมการ กทช. ไดออกประกาศ คณะกรรมการ กทช. วาดวยการ ใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Charge Regulation) ซึ่งระบุใหผูประกอบการ โทรคมนาคมที่มีโครงขายของตนเองตองอนุญาตใหผูประกอบการรายอื่นสามารถเขาเชื่อมตอและใชโครงขาย ของตนเองไดอยางเทาเทียมกัน ทั้งนี้ หากมีสัญญาใดที่มีผลบังคับใชกอนหนา แตขัดตอประกาศวาดวยการ ใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมฯ ใหถือตามประกาศดังกลาว ทั้งนี้ ประกาศ คณะกรรมการ กทช. ฉบับนี้ไดกําหนดระบบการจายคาเชื่อมตอโครงขายรูปแบบใหม ที่สะทอนปริมาณการใชงานระหวางโครงขาย ของผูประกอบการแตละราย และไดกําหนดใหผูประกอบการเจรจาเพื่อการเขาสูขอตกลงการเชื่อมตอโครงขาย ระหวางกัน โดยคาเชื่อมตอโครงขายตองอยูบนพื้นฐานของตนทุนของผูประกอบการแตละราย ซึ่งตอมาใน วันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรูมูฟไดรวมลงนาม ในสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection Contract) กับ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) โดยสัญญาดังกลาวมีผลบังคับใช ทันที และในวันที่ 16 มกราคม 2550 ทรูมูฟก็ไดลงนามในสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) ภายหลังการลงนามกับดีแทค ทรูมูฟไดหยุดจายคาเชื่อมโยงโครงขายในแบบเดิม (Access Charge หรือ AC) ตามขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Access Charge Agreement) กับ กสท และ ทีโอที ดวยขอตกลง AC เดิมขัดตอประกาศของ คณะกรรมการ กทช. ดังกลาว ในกรณี การปฏิบัติอยางเทาเทียมกัน จากการเรียกเก็บคา AC (ซึ่ง ทีโอที เปนผูไดรับประโยชนแตเพียงฝายเดียวจากคา AC) เนื่องจากทรูมูฟและ กสท เชื่อวาเปนการปฏิบัติตามกฎหมาย และตองเขาสูระบบเชื่อมตอโครงขายแบบใหมตามประกาศของ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 อีกทั้ง ทรูมูฟยังไดมีการบอกเลิกขอตกลงเรื่อง การเชื่อมโยงโครงขาย (Access Charge Agreement) แลว ทรูมูฟจึงไมมีภาระตามกฎหมายใดๆ ที่จะตองจาย คาเชื่อมโยงโครงขายแบบเดิมอีกตอไป ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรูมูฟไดสงหนังสือแจง ทีโอที และ กสท วาจะหยุดชําระคา Access Charge เนื่องจากอัตราและการเรียกเก็บ ขัดแยงกับกฎหมายหลายประการ ทั้งนี้ ทรูมูฟไดรองขอให ทีโอที ปฏิบัติตาม หลักเกณฑของ คณะกรรมการ กทช. และเขารวมลงนามในสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

Contract) เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรือใหเรียกเก็บอัตราเรียกเก็บชั่วคราวที่ประกาศโดยคณะกรรมการ กทช. ในขณะที่การเจรจากับ ทีโอที เกี่ยวกับสัญญาดังกลาว ยังไมไดขอสรุป ซึ่งตอมาในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอที ไดสงหนังสือเพื่อแจงวาทรูมูฟไมมีสิทธิที่จะใชหรือ เชื่อมตอโครงขายตามกฎหมายใหม เนื่องจากทรูมูฟไมไดรับอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจาก คณะกรรมการ กทช. และไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง นอกจากนั้น ทีโอที ไดโตแยงวาขอตกลงเรื่องการเชื่อมโยง โครงขาย (Access Charge Agreement) ไมไดฝาฝนกฎหมายใดๆ ดังนั้นการเรียกเก็บคาเชื่อมตอโครงขาย แบบเดิมยังมีผลใชบังคับตอไป อยางไรก็ตาม ทรูมูฟเห็นวา ขอโตแยงของทีโอที ไมเปนไปตามพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 อีกดวย นอกจากนั้น ทีโอที ไดประกาศวาจะไมเชื่อมตอสัญญาณใหกับลูกคาที่เปนเลขหมายใหมที่ทรูมูฟ เพิ่งไดรับการจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. จํานวน 1.5 ลานเลขหมาย เพราะทรูมูฟไมชําระคา AC ซึ่งอาจจะมี ผลทําใหลูกคาของทีโอที ไมสามารถติดตอลูกคาของทรูมูฟที่เปนเลขหมายใหมนี้ อยางไรก็ตาม ทรูมูฟไดยื่น ตอศาลปกครองกลางเพื่อขอความคุมครอง ซึ่งศาลไดมีคําสั่งกําหนดมาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการ พิพากษา เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2550 โดยใหทีโอที ดําเนินการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมเพื่อใหผูใชบริการ ของทรูมูฟทุกเลขหมายสามารถติดตอกับเลขหมายของทีโอทีได ซึ่งเปนไปตามกฎเกณฑของคณะกรรมการ กทช. และผลประโยชนตอสาธารณะ และ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 ทีโอที ไดยื่นอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอ ศาลปกครองสูงสุด ซึ่งตอมาไดยืนคําพิพากษาของศาลปกครองกลาง อยางไรก็ตาม ตั้งแตวันที่ 2 มีนาคม 2550 ทีโอที ไดดําเนินการเชื่อมตอเลขหมายใหมทั้งหมดของทรูมูฟแลวเสร็จ ภายหลังศาลปกครองกลางกําหนด มาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราว นอกจากนั้น เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษา ใหทีโอที ดําเนินการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม เพื่อใหเลขหมายดังกลาวใชงานไดอยางตอเนื่องสมบูรณ และให ทีโอที ชําระคาสินไหมทดแทนใหแก ทรูมูฟ จํานวน 1,000,000 บาท ซึ่งตอมา ทีโอทีไดยื่นอุทธรณตอ ศาลปกครองสูงสุด และปจจุบันอยูในระหวางรอคําตัดสินของศาล นอกเหนือจากนั้น ในวันที่ 9 ตุลาคม 2552 ศาลปกครองกลางมีคําพิพากษายกฟอง ไมเพิกถอนคําสั่งคณะกรรมการ กทช. ที่ให ทีโอที เชื่อมตอโครงขายโทรศัพท เลขหมายใหม 1.5 ลานเลขหมายใหดีแทค และ ทรูมูฟ ซึ่งตอมาทีโอทีก็ไดอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด โดยใน วันที่ 2 มีนาคม 2553 ทรูมูฟไดยื่นเอกสารตอศาลปกครองสูงสุด ที่สนับสนุนคําสั่งของคณะกรรมการ กทช. อยางไรก็ตาม คดีทั้งสองยังไมเปนที่สิ้นสุดในปจจุบัน ในเดือนมิถุนายน 2550 ทรูมูฟ ไดยื่นเรื่องเกี่ยวกับการที่ ทีโอที ปฏิเสธการเขาทําสัญญาเชื่อมตอโครงขาย กับ ทรูมูฟ ตอ คณะกรรมการ กทช. โดยมีคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท (กวพ.) เปนผูพิจารณา โดยในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 คณะกรรมการ กทช. ไดชี้ขาดให ทรูมูฟ มีสิทธิ หนาที่และความรับผิดชอบในการเชื่อมตอ โครงขายโทรคมนาคมเชนเดียวกับผูไดรับใบอนุญาต และไดมีมติเปนเอกฉันทชี้ขาดขอพิพาท ใหทีโอทีเขา รวมเจรจาเพื่อทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับ ทรูมูฟ ตอมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอที ได ตกลงที่จะเขาเจรจาทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายกับทรูมูฟ แตมีเงื่อนไขวาจะทําสัญญาเฉพาะเลขหมายใหม ที่ไดรับ จัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เทานั้น ซึ่งทรูมูฟไดตกลงตามที่เสนอ แตการเจรจายังไมบรรลุขอตกลง สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แตสําหรับเลขหมายเกานั้น ทรูมูฟยังคงดําเนินการใหเปนเรื่องของขอพิพาทและอยูในดุลยพินิจของกระบวนการ ศาลตอไป ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอที ไดฟองรองตอศาลแพงเพื่อขอเรียกเก็บคาเชื่อมโยงโครงขาย ที่ ทรูมูฟ ไมไดจาย จํานวนประมาณ 4,508.1 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย และภาษีมูลคาเพิ่ม โดยเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ไดมีคําตัดสินวา คดีดังกลาวไมอยูในเขตอํานาจศาลแพง ดังนั้นจึงมีการจําหนายคดีออกจากศาลแพง ในวันที่ มีการจัดทํารายงานฉบับนี้ คดีดังกลาวจึงยังไมเปนที่สิ้นสุด แตหากผลการตัดสินของศาลเปนที่สุดในทางลบ ตอกลุมบริษัททรู อาจจะทําใหทรูมูฟตองจายเงินคาปรับจํานวนหนึ่งเทาของคาเชื่อมโยงโครงขายที่ กสท อาจจะ จายแทนทรูมูฟ พรอมทั้งดอกเบี้ย และทรูมูฟอาจจะตองจายคาเชื่อมตอโครงขายทั้งในระบบเดิมและระบบใหม ซึ่งจะทําใหคาใชจายของทรูมูฟเพิ่มขึ้นอยางมาก หากศาลมีคําสั่งใหทรูมูฟตองชําระคาเชื่อมโยงโครงขายที่ไมไดจาย ทรูมูฟอาจจะตองบันทึกคาใชจายเพิ่มเติม จํานวน 20,049.8 ลานบาท (หรือจํานวน 14,965.71 ลานบาท สุทธิจากสวนแบงรายไดที่จายใหแก กสท) สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 (ดูรายละเอียดที่ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 38.2 สําหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ ประจํางวดป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553) ขอพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) ในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหมีการลดอัตราภาษีสรรพสามิตที่จัดเก็บจากบริการ โทรคมนาคมเปนรอยละ 0 (จากเดิมรอยละ 2 สําหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน และรอยละ 10 สําหรับกิจการ โทรศัพทเคลื่อนที่) นอกจากนั้น คณะรัฐมนตรียังไดมีมติใหคูสัญญาภาครัฐ (ทีโอที และ กสท) เปนผูรับผิดชอบ สําหรับภาษีสรรพสามิต เพื่อไมใหมีผลกระทบตอผูบริโภค โดยในป พ.ศ. 2546 คณะรัฐมนตรีไดอนุญาตให คูสัญญาภาคเอกชนนําคาภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากสวนแบงรายไดที่คูสัญญาภาคเอกชนตองนําสงให คูสัญญาภาครัฐ และนําสงใหกับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งสงผลใหสวนแบงรายไดที่นําสงคูสัญญาภาครัฐ ลดลง ทั้งนี้ เปนความเห็นชอบของคูสัญญาภาครัฐ รวมทั้ง เปนไปตามมติของคณะรัฐมนตรีที่กลาวมาแลว ภายหลังการเปลี่ยนแปลงของรัฐบาลในป 2550 ไดมีการประกาศลดอัตราภาษีสรรพสามิตเปนรอยละ 0 ทําให ทีโอที และ กสท ไดรับสวนแบงรายไดเต็มจํานวน อยางไรก็ตาม ในระหวางที่มีการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ผูประกอบการภาคเอกชนยังคงมีรายจายรวมใหภาครัฐเทาเดิม (รวมที่จายใหกระทรวงการคลัง และ กสท) โดย ปจจุบัน ยังมีขอพิพาทระหวางภาคเอกชนและคูสัญญาภาครัฐในประเด็นนี้ ซึ่งเปนประเด็นเกี่ยวกับการชําระ สวนแบงรายไดใหทีโอที และ กสท ไมครบ ซึ่ง กสท มีหนังสือเรียกใหทรูมูฟชําระเรื่อยมาจนปจจุบัน โดย ในเดือนมกราคม 2551 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกคาเสียหายจากทรูมูฟเพียงวันฟอง เปนจํานวนเงินประมาณ 9.0 พันลานบาท รวมดอกเบี้ย ซึ่งในขณะนี้เรื่องดังกลาวรวมถึงจํานวนเงินคาเสียหายเกี่ยวกับ กรณีการชําระสวนแบงรายไดไมครบ กสท มีหนาที่ตองพิสูจนในกระบวนการของอนุญาโตตุลาการ ซึ่งปจจุบัน ยังอยูในระหวางกระบวนการของอนุญาโตตุลาการ นอกจากนั้น ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 เรียกคืน สวนแบงรายไดที่บริษัทฯ ไดรับเกินกวาสิทธิที่พึงจะไดรับจํานวน 1,479 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย สําหรับกิจการ โทรศัพทพื้นฐาน ตอมาบริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ซึ่งปจจุบันเรื่องดังกลาว ยังอยู สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในระหวางกระบวนการของอนุญาโตตุลาการ อยางไรก็ตามในวันที่ 9 กุมภาพันธ 2554 ทีโอที ไดมีหนังสือ แจงใหบริษัทฯ คืนเงินที่ ทีโอที ไดนําสงใหบริษัทฯ เพื่อนําไปชําระเปนคาภาษีสรรพสามิตและภาษีเพิ่มเพื่อ กระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที ตั้งแตเดือนมกราคม 2546 - ธันวาคม 2549 เปนเงินจํานวน 1,479 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 และภาษีมูลคาเพิ่มตามกฎหมาย ใหแก ทีโอที ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 ซึ่งในกรณีนี้ บริษัทฯ ไมมีหนาที่ชําระคืนเงินดังกลาวใหแก ทีโอที เนื่องจากไดปฏิบัติตามที่ ทีโอที มอบหมาย ครบถวน โดยไดนําเงินดังกลาวไปชําระเปนคาภาษีสรรพสามิตและภาษีเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที และกรมสรรพสามิตไดออกใบเสร็จรับเงินเปนเลขที่กํากับภาษีของทีโอที ดังนั้นบริษัทฯ มิไดผิดสัญญา หรือ ละเมิดกฎหมาย จึงไมมีหนาที่ชําระเงินดังกลาวคืนใหแกทีโอที อีกทั้ง ทีโอที ไดเรียกรองซ้ําซอนกับจํานวน เดียวกันที่ ทีโอทีไดยื่นขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ ซึ่งขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูในระหวางการพิจารณา ของคณะอนุญาโตตุลาการ และยังไมเปนที่ยุติ การใชและการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สําหรับโทรศัพทพื้นฐาน ในเดือนเมษายน 2553 คณะกรรมการ กทช. ไดออกคําสั่งประกาศอัตราชั่วคราวของคา IC สําหรับ โทรศัพทพื้นฐานที่อัตรา 0.36 บาทตอนาที ทําใหบริษัทฯ มีความเสี่ยงที่อาจจะถูกเรียกเก็บคาเชื่อมโยงโครงขาย (Interconnection Charge - IC) สําหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน ซึ่งอาจทําใหบริษัทฯ มีคาใชจายเพิ่มขึ้นใน อนาคต โดยมีผูประกอบการบางรายไดยื่นเรื่องตอคณะกรรมการ กทช. เพื่อใหบริษัทฯ เขาทําสัญญา IC สําหรับ กิจการโทรศัพทพื้นฐานและตอมาไดยื่นเรื่องเพื่อเรียกเก็บคา IC จากกิจการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ อยางไรก็ตาม บริษัทฯ เชื่อวาบริษัทฯไมมีหนาที่ที่จะตองจายคา IC เนื่องจากสัญญารวมการงานฯ สําหรับกิจการ โทรศัพทพื้นฐาน กําหนดใหบริษัทฯ มีหนาที่ ลงทุน จัดหา และติดตั้ง ตลอดจนบํารุงรักษาอุปกรณ โดยทีโอที เปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคา และจะแบงรายไดที่ไดรับใหบริษัทฯ ตามสัดสวนที่ระบุไวในสัญญารวมการงานฯ และบริษัทฯ ไดยื่นฟอง กทช. ตอศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2553 เพื่อขอใหศาลเพิกถอนคําสั่ง ที่ออกประกาศอัตราชั่วคราวของคา IC ขณะนี้อยูระหวางกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ความเสี่ยงจากการที่สัญญาเกี่ยวของกับการเขาถือหุนในฮัทช อาจจะถูกตรวจสอบ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอ ธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 กลุมทรูไดลงนามในสัญญาซื้อขายหุนกับกลุมฮัทช และในวันที่ 27 มกราคม 2554 กลุมทรูไดบรรลุขอตกลงกับ กสท ทําใหบริษัท เรียล มูฟ จํากัด เปนผูใหบริการขายตอบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บนเทคโนโลยี HSPA ของ กสท ไดทั่วประเทศ เปนระยะเวลาประมาณ 14 ป จนถึงป 2568 นอกจากนั้น BFKT หนึ่งในบริษัทที่ไดมีการซื้อในครั้งนี้ ไดทําสัญญากับ กสท เพื่อให กสท เชาใชอุปกรณโครงขาย รวมทั้งใหบริการ ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณโครงขาย โดยจะมุงเนนการใหบริการเชาและดูแลบํารุงรักษาเครื่องและอุปกรณ โครงขายโทรคมนาคมเทคโนโลยี 3G HSPA ใหแก กสท ทั่วประเทศ ซึ่งตอมา ไดมีหนวยงานภาครัฐ เปนตนวา สํานักงานตรวจเงินแผนดิน มีหนังสือสอบถาม กสท ใหชี้แจงประเด็นตางๆ เชน ประเด็นวาการทําสัญญาดังกลาว เขาขาย พรบ. รวมทุนฯ หรือไม เปนตน

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัทฯ ไมสามารถคาดการณไดวาผลการดําเนินการของ สตง. จะเปนอยางไร อยางไรก็ตาม บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นวา การทําสัญญา ระหวาง เรียลมูฟ และ BFKT กับ กสท ไมไดเขาขายพรบ. รวมทุนฯ แตอยางใด โดยสัญญาระหวาง เรียลมูฟ กับ กสท เปนสัญญาในรูปแบบของการขายสงบริการและการขายตอบริการ (Wholesaler - Reseller) ที่เปนไปตามกฎระเบียบของคณะกรรมการ กทช. เรื่องการประกอบกิจการโทรคมนาคม ประเภทขายสงบริการและขายตอบริการ ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 29 ธันวาคม 2549 โดย เรียลมูฟ ซึ่งเปน ผูประกอบกิจการโทรคมนาคมขายตอบริการโดยการรับซื้อบริการโทรคมนาคมสําเร็จรูปเปนจํานวนนาที สําหรับบริการทางเสียง และเปนจํานวนเม็กกะไบตสําหรับบริการทางขอมูลของ กสท สวนหนึ่ง เพื่อมา ขายตอใหแกลูกคาอีกทอดหนี่ง โดยไมไดเขาใชทรัพยสินหรือสิทธิของรัฐ แตประการใด ทั้งนี้คลื่นความถี่และ โครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยังคงเปนของ กสท ในขณะที่ BFKT เปนแตเพียงผูใหเชาอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ทางโทรคมนาคมแก กสท ซึ่งเปนการดําเนินงานตามปกติของ กสท ที่อาจจะเชาทรัพยสิน อุปกรณ จากผูประกอบการ รายอื่นตามระเบียบวาดวยการพัสดุของ กสท ไดอยูแลว คดีความอื่นๆ ที่อาจสงผลกระทบตอบริษัทฯ มีคําพิพากษาของศาลฎีกา เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 ในคดีหนึ่งซึ่งศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองตัดสินคดีใชอํานาจรัฐเอื้อประโยชนใหธุรกิจโทรคมนาคมของจําเลยกับพวก และภาครัฐพิจารณาขอเท็จจริงที่จะดําเนินการในสวนที่รัฐสูญเสียผลประโยชนดานสัญญาโทรคมนาคมนั้น อยางไรก็ตาม คดีดังกลาว เปนการตัดสินคดีเกี่ยวกับเรื่องเฉพาะตัวบุคคลผูกพันเฉพาะจําเลย ที่ใชอํานาจบริหาร ไมชอบดวยกฎหมายกอความเสียหายใหกับหนวยงานรัฐซึ่งไมเกี่ยวของกับบริษัทโทรคมนาคมอื่นหรือทรูมูฟซึ่ง ไมไดเปนคูความในคดี ในฐานะผูประกอบการเอกชน ทรูมูฟไดปฏิบัติตามนโยบายของรัฐครบถวน ตามกฎหมาย และตามสัญญาใหดําเนินการฯ แลว กลุมบริษัททรูตองแขงขันกับคูสัญญารวมการงานฯ และคูสัญญารวมดําเนินการฯ ซึ่งอาจนําไปสูขอพิพาทตางๆ ที่อาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัททรู บริษัทฯ และบริษัทยอย คือ ทรูมูฟ ดําเนินกิจการภายใตสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ สัญญาให ดําเนินการฯ กับ ทีโอที และ/หรือ กสท แลวแตกรณี โดยความเห็นที่แตกตางกันของผูประกอบกิจการใน กลุมบริษัททรู กับ ทีโอที และ กสท ทั้งในประเด็นการตีความขอกฎหมาย และ ขอสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ การไดรับการอนุญาต รวมทั้งประกาศ กฎเกณฑ และขอบังคับตางๆ โดยคณะกรรมการ กทช. อาจมีผลตอความสามารถ ในการดําเนินธุรกิจของผูประกอบกิจการซึ่งเปนบริษัทในกลุมบริษัททรู บริษัทฯ และ บริษัทยอย และมีความเสี่ยง ที่สัญญารวมการงานฯ หรือ สัญญาใหดําเนินการฯ อาจถูกยกเลิก ในกรณีของสัญญารวมการงานฯ สําหรับบริการ โทรศัพทพื้นฐาน ทีโอที ตองนําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเปนผูชี้ขาดกอนดําเนินการยกเลิกสัญญา ซึ่งทีโอทีอาจจะยกเลิกสัญญารวมการงานฯ ไดเฉพาะในกรณีที่บริษัทฯ ทําผิดกฎหมาย หรือ บริษัทฯ ถูกศาล มีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย หรือบริษัทฯ จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยางตอเนื่องเทานั้น

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนั้นทีโอทีเปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาในโครงขายทั้งหมด และแบงสวนแบงรายไดใหบริษัทฯ ตามสัดสวนที่ระบุไวในสัญญารวมการงานฯ ดังนั้น ทีโอทีอาจชะลอการชําระเงินใหบริษัทฯ เพื่อเปนการชําระ คาใชจายใดๆ ที่ ทีโอที เชื่อวาบริษัทฯ ติดคาง (แตจนถึงขณะนี้ก็ยังไมเคยมีกรณีดังกลาวเกิดขึ้น) ในขณะที่ทีโอที และ กสท เปนคูสัญญารวมกับบริษัทฯ และ ทรูมูฟ ทั้งสององคกรยังเปนคูแขง ในการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัททรูอีกดวย ดวยเหตุนี้ จึงอาจกอใหเกิดขอพิพาทระหวางบริษัทฯ และ ทีโอที หรือ ทรูมูฟ และ กสท ได ซึ่งที่ผานมาไดมีการยื่นคําฟองหรือคําเสนอขอพิพาทเรื่องความขัดแยง บางกรณีที่ เกิดขึ้นตอศาลปกครองหรือคณะอนุญาโตตุลาการเปนผูตัดสิน กลุมบริษัททรูไมสามารถรับรองไดวาจะ สามารถชนะขอพิพาททั้งหลายเหลานั้น ซึ่งจะทําใหธุรกิจ รวมถึงฐานะทางการเงินของกลุมบริษัททรูอาจจะ ไดรับผลกระทบ โดยในชวงที่ผานมากระบวนการยุติธรรมก็ไดมีคําตัดสินขอพิพาทตางๆ ทั้งในทางที่เปน ประโยชนและไมเปนประโยชนตอกลุมบริษัททรู แตคดีสวนใหญยังไมถึงที่สุด ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่หมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 37 เรื่อง “คดีฟองรองและขอพิพาทยื่น ตออนุญาโตตุลาการและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น” สําหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ งวดสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ความเสี่ยงทางดานการเงิน ความเสี่ยงจากการมีหนี้สินในระดับสูง และอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตางๆ บริษัทฯ และบริษัทยอยมีระดับหนี้สินสูง จึงอาจมีความเสี่ยงจากการที่ไมสามารถจัดหาเงินทุน ไดเพียงพอสําหรับภาระการชําระคืนเงินตนและดอกเบี้ยในแตละป อยางไรก็ตามกลุมบริษัททรูสามารถเจรจา กับเจาหนี้ หรือจัดหาเงินกูกอนใหม เพื่อใชคืนเงินกูกอนเดิม และปรับเปลี่ยนการชําระคืนเงินตนใหเหมาะสม กับกระแสเงินสดของกลุมบริษัททรู นอกจากนั้นการดําเนินงานของกลุมบริษัททรูอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงิน ตางๆ สัญญาเหลานี้อาจทําใหกลุมบริษัททรูเสียโอกาสทางธุรกิจ และเจาหนี้อาจเรียกรองใหบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ชําระหนี้กอนกําหนด หากมีระดับอัตราสวนหนี้สินบางประการไมเปนไปตามขอกําหนดในสัญญา หรือหาก ทีโอทียกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการงานฯ ที่มีกับบริษัทฯ อยางไรก็ตามทีโอทีตองเสนอขอพิพาทให อนุญาโตตุลาการชี้ขาดวาทีโอทีมีสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายที่จะยกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการงานฯ ได และในปจจุบันบริษัทฯ ดํารงสัดสวนทางการเงิน ที่เปนไปตามเงื่อนไขตามสัญญาเงินกูตางๆ สัญญาเงินกูระยะยาวของทรูมูฟ ไดกําหนดใหบริษัทฯ และ เครือเจริญโภคภัณฑตองสนับสนุน ทางการเงินใหแก ทรูมูฟ ทั้งนี้ บริษัทฯ และเครือเจริญโภคภัณฑ ไดเขาทําสัญญาสนับสนุนทางการเงิน (Sponsor Support Agreement) แกทรูมูฟ โดย ณ ปจจุบัน บริษัทฯ มีภาระผูกพันตามสัญญา ที่จะตองสนับสนุนทางการเงิน แก ทรูมูฟ จํานวน 3.3 พันลานบาท หาก ทรูมูฟ มีกระแสเงินสดสําหรับการดําเนินงานไมเพียงพอ (General Cash Deficiency Support)โดยเครือเจริญโภคภัณฑมีภาระผูกพันที่จะตองสนับสนุน ทรูมูฟ จํานวน 500 ลานบาท

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนั้นในกรณีที่ ทรูมูฟ มีกระแสเงินสดไมเพียงพอสําหรับคาใชจายดานการกํากับดูแลเพิ่มเติมจากที่ กําหนดไวในสัญญาใหดําเนินการฯ (Regulatory Cash Deficiency Support) บริษัทฯ และเครือเจริญโภคภัณฑ ตกลงที่จะสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟจํานวน 10 พันลานบาท (บริษัทฯ จํานวน 6 พันลานบาท เครือเจริญโภคภัณฑ จํานวน 4 พันลานบาท) โดยบริษัทฯ จะสนับสนุนสวนที่เกินวงเงิน 10 พันลานบาท ความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย กลุมบริษัททรู อาจไดรับผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งอาจมีผลทําใหภาระ การใชคืนเงินตน ดอกเบี้ยและรายจายลงทุนเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีรายไดสวนใหญเปนเงินบาท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุมบริษัททรูมีหนี้สินในอัตราประมาณรอยละ 36.1 ที่เปนเงินกูตางประเทศ (สวนใหญเปน สกุลดอลลารสหรัฐฯ) โดยในป 2553 กลุมบริษัททรูมีรายจายลงทุนรวมประมาณ 7.5 พันลานบาท โดยเงินลงทุน ที่เปนเงินตราตางประเทศมีสัดสวนประมาณรอยละ 10.3 อยางไรก็ตาม กลุมบริษัททรูไดจัดทําสัญญาประกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อครอบคลุมเงินกู ตางประเทศรวมในอัตรารอยละ 95.7 โดยเปนการครอบคลุมเงินกูจาก KfW ของทรูมูฟ จํานวน 26.4 ลานดอลลารสหรัฐฯ รวมทั้งหุนกูของทรูมูฟ จํานวน 690 ลานดอลลารสหรัฐฯ ทั้งนี้ กลุมบริษัททรูไมไดดําเนินการปองกันความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนสําหรับเงินกูสกุลเยน ที่เกี่ยวกับสัญญาจัดหาและติดตั้งอุปกรณ จํานวน 4.3 พันลานบาท ซึ่งเปนหนี้ระยะยาว ที่มีกําหนดชําระคืนในป พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2560 นอกจากนั้น บริษัทฯ ไดดําเนินการ ปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราดอกเบี้ย (Interest rate swap) เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนจากอัตราดอกเบี้ย ณ สิ้นป 2553 กลุมบริษัททรูมีหนี้สิน (ไมรวมหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน) ในสัดสวนประมาณ รอยละ 40.8 ซึ่งเปนหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ทั้งนี้ไมนับจํานวนที่ไดดําเนินการปองกันความเสี่ยงผานเครื่องมือ ทางการเงิน เพื่อเปลี่ยนเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่ ดังนั้นหากมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย จะมีผลทําให กลุมบริษัททรูมีภาระดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงดังกลาวอาจลดลงในระดับหนึ่ง เนื่องจาก หนี้สินของทรูมูฟ ในบางสวน จะมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลงในปตอๆ ไป หากมีผลการดําเนินงานเปนไปตาม เงื่อนไขที่ไดกําหนดไวในสัญญาเงินกู ผูถือหุนอาจไมไดรับเงินปนผล ในระยะเวลาอันใกลนี้ ณ สิ้นป 2553 กลุมบริษัททรูมีผลการดําเนินงานเปนกําไรสุทธิ 2.0 พันลานบาท แตยังมียอดขาดทุนสะสม สุทธิ 44.1 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนผลกระทบจากคาเงินบาทลอยตัวที่เกิดขึ้นในป 2540 และ ตามบทบัญญัติ ของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด กลุมบริษัททรูจะสามารถจายเงินปนผลใหผูถือหุนไดจากผลกําไรเทานั้น ทั้งนี้ภายหลังจากการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมดและภายหลังการตั้งสํารองตามกฎหมาย ดังนั้นในระยะเวลา อันใกลนี้ ผูถือหุนของบริษัททรู อาจจะไมไดรับเงินปนผล

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ความเสี่ยงจากการที่บริษัทฯ มีผูถือหุนรายใหญ ถือหุนในสัดสวนมากกวารอยละ 50 ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2553 กลุมผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ คือ บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และ บริษัทที่เกี่ยวของ ถือหุนรวมกัน เปนจํานวนรอยละ 64.7 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งโดยลักษณะเชนนี้ อาจพิจารณาไดวา นักลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากการที่ผูถือหุนรายใหญถือหุนในบริษัทฯ มากกวารอยละ 50 เนื่องจากกลุมผูถือหุนรายใหญสามารถควบคุมมติที่ประชุมที่ตองใชเสียงสวนใหญ เชน การแตงตั้งกรรมการ เปนตน ดังนั้นผูถือหุนรายยอยอาจไมสามารถรวบรวมคะแนนเสียงเพื่อตรวจสอบและถวงดุล เรื่องที่ผูถือหุนรายใหญเสนอได อยางไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทฯ ใหความสําคัญตอการดําเนินการภายใต หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนอยางยิ่ง เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนรายยอยสามารถเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปน วาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ เปนการลวงหนากอนการประชุม สามัญผูถือหุนประจําป นอกจากนี้ หากเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ และ เปนรายการที่อาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ จะตองดําเนินการตามมาตรการและขั้นตอนที่กําหนดไวใน “ระเบียบในการเขา ทํารายการระหวางกัน” ซึ่งอยูภายใตกรอบของกฎหมายอยางเครงครัด

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ ประวัติความเปนมาของบริษัทฯ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น เปนหนึ่งในแบรนดที่แข็งแกรงและไดรับการยอมรับมากที่สุดในประเทศ โดยเปนผูใหบริการสื่อสารโทรคมนาคมครบวงจร ดวยจํานวนผูใชบริการกวา 23 ลานรายทั่วประเทศ ความแข็งแกรงของทรู เปนผลจากยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซที่สามารถมอบความคุมคาและสิทธิประโยชน แกผูใชบริการ ดวยการผสมผสานประสิทธิภาพของโครงขาย ความหลากหลายของผลิตภัณฑและบริการตางๆ ภายในกลุม ทั้งนี้ ธุรกิจหลัก 5 ธุรกิจของทรู ประกอบดวย ทรูมูฟ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ อันดับที่สามของประเทศ ซึ่งยังคงสามารถรักษาสถานภาพที่แข็งแกรงในตลาดบริการโมบาย อินเทอรเน็ต จาก การเปนผูใหบริการที่มีเครือขาย Wi-Fi ที่ใหญที่สุดในประเทศ ทรูออนไลน ผูใหบริการบรอดแบนดและโทรศัพทพื้นฐาน รายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกจากนี้ ยังเปนผูนําบริการโครงขายขอมูลของประเทศ ทรูวิชั่นส ผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกทั่วประเทศรายเดียวของประเทศ ทรูมันนี่ ผูใหบริการธุรกรรม ทางการเงินผานระบบออนไลน ประกอบดวย บริการชําระคาสินคา รวมทั้งบริการจอง-จายสินคาและบริการตางๆ อยางหลากหลาย และ ทรูไลฟ ผูใหบริการดิจิตอลคอนเทนต และบริการอื่นๆ ตอบสนองไลฟสไตลผูบริโภค รวมทั้ง ธุรกิจทรูคอฟฟ ซึ่งเปนเครือขายรานกาแฟของทรู และแหลงรวมสินคาและบริการคอนเวอรเจนซของกลุม กลุมทรูรายงานผลประกอบการดานการเงินโดยแบงออกเปน 3 กลุมธุรกิจ คือ ทรูมฟู ทรูออนไลน และ ทรูวิชั่นส โดยผลประกอบการดานการเงินของทรูมันนี่และทรูไลฟ ถือเปนสวนหนึ่งของทรูออนไลน กลุมทรูมีความมุงมั่นสนับสนุนการพัฒนาประเทศดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมทั้งมีสวน ในการลดความเหลื่อมล้ําทางเทคโนโลยี และการสรางสังคมแหงการเรียนรูอยางยั่งยืน ดวยการพลิกโฉมการ สื่อสารดานขอมูลขาวสาร (Digital Revolution) ใหทุกครัวเรือนในประเทศ และเยาวชนของชาติ มีโอกาสเขาถึง ขอมูลขาวสารและแหลงความรูไดทั่วถึง แนวทางการดําเนินธุรกิจของทรูมาจากวัฒนธรรมองคกร 4 ประการ ประกอบดวย เชื่อถือได สรางสรรค เอาใจใส กลาคิดกลาทํา โดยมีเปาหมายเพิ่มคุณคาแกผูถือหุน ลูกคา องคกร สังคม และ พนักงานเปนสําคัญ ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซทําใหกลุมทรูสามารถเปนทางเลือกใหกับลูกคาไลฟสไตลตางๆ ดวย การผสมผสานบริการภายในกลุมเสริมความแข็งแกรงในการบริการติดตอสื่อสารและโซลูชั่นไดตรงตามความตองการ ของลูกคาแตละกลุม ทําใหสามารถเพิ่มยอดผูใชบริการและสรางความผูกพันกับบริการตางๆ ของกลุมทรู นอกจากนี้ แพ็กเกจระหวางทรูออนไลน และ ทรูมูฟ หรือ ทรูวิชั่นส รวมทั้งแพ็กเกจระหวางทรูวิชั่นส และ ทรูมูฟ ไดรับการตอบรับและประสบความสําเร็จอยางสูง ในขณะที่บริการดิจิตอลคอนเทนตและบริการพาณิชย อิเล็กทรอนิกส มีสวนสําคัญชวยเพิ่มคุณคาใหกับบริการตางๆ ภายในกลุม ทรูไดรับการสนับสนุนจากเครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพี) กลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจรที่ใหญที่สุด ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือหุนทรูในสัดสวนรอยละ 64.7 มีทุนจดทะเบียนที่เรียกชําระแลวทั้งสิ้น 77,757 ลานบาท ณ วันที่ 13 ธันวาคม 2553 สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในสิ้นป 2553 กลุมบริษัททรูมีรายไดรวม 62.4 พันลานบาท (รวมคาเชื่อมโยงโครงขาย) และ มี การลงทุนในโครงสรางพื้นฐานประมาณ 205 พันลานบาท โดยมีพนักงานประจําทั้งสิ้น 14,641 คน ธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทฯ กอตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 ในฐานะผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานภายใต สัญญารวมการงานและรวมลงทุนกับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) โดยใหบริษัทฯ เปนผูดําเนินการ ลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซอมบํารุงและรักษาอุปกรณในระบบสําหรับการขยายบริการโทรศัพท จํานวน 2.6 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป โดยจะสิ้นสุดสัญญา ในเดือนตุลาคม 2560 ในป 2536 บริษัทฯ ไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทมหาชน และเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยในชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเซีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อยอ หลักทรัพยวา “TA” ในเดือนเมษายน 2547 บริษัทฯ ไดมีการปรับเปลี่ยนภาพลักษณภายใตแบรนดทรู และ ไดเปลี่ยนชื่อบริษัทฯ มาเปน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TRUE” นอกเหนือจากการใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมตางๆ ซึ่งรวมถึงบริการโทรศัพทสาธารณะ และบริการอื่นๆ เพิ่มเติม ในป 2542 บริษัทฯ ไดเปดใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ WE PCT และในป 2544 บริษัทฯ (ผานบริษัทยอย) ไดเปดใหบริการโครงขายขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวยบริการ ADSL และบริการ Cable Modem และในป 2546 ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสายหรือ บริการ Wi-Fi ตอมาในป 2550 บริษัทยอยไดเปดใหบริการโครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (International Internet Gateway) และไดเปดใหบริการโครงขายขอมูลระหวางประเทศ (International Data Gateway) และ บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ในป 2551 นอกจากนี้ ในป 2552 ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย ซึ่งเปนหนึ่งใน บริษัทยอยของทรู เปนบริษัทเอกชนรายแรกที่ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือ กทช. เพื่อใหบริการผานโครงขายเคเบิลใยแกวใตน้ํา ทั้งนี้ ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย เปลี่ยนชื่อเปน ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย ในป 2553 และในปเดียวกันนี้ บริษัทฯ ยังขยายบริการอินเทอรเน็ต และ ดาตา เกตเวยไปยังประเทศลาว และ กัมพูชา ในเดือนตุลาคม 2544 บริษัทฯ ไดเขาถือหุน ในบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) หรือ “BITCO” (ซึ่งเปนบริษัทที่ถือหุนในบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด) ในอัตรารอยละ 41.1 ซึ่งนับเปนการเริ่ม เขาสูธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้ ทีเอ ออเรนจไดเปดใหบริการอยางเต็มที่ในเดือนมีนาคม 2545 และ ไดเปลี่ยนชื่อ เปน “ทรูมูฟ” เมื่อตนป 2549 บริษัทฯ ไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนใน BITCO มากขึ้นตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 บริษัทฯ มีสัดสวนการถือหุนใน BITCO คิดเปนรอยละ 93.4 ตอมาในเดือนธันวาคม 2550 เครือเจริญโภคภัณฑ หรือ ซีพี สนับสนุนธุรกิจทรูมูฟ ผานวิธีการซื้อหุนเพิ่มทุนของ BITCO ทําใหสัดสวนการถือหุนของบริษัทฯ ใน BITCO ลดลงเปนอัตรารอยละ 75.3 ในขณะที่ซีพีมีสัดสวนการถือหุนใน BITCO เพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 23.9

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ซึ่งตอมาในป 2552 บริษัทฯ ไดซื้อหุนดังกลาวจากซีพี รวมทั้งไดเพิ่มทุนใน BITCO อีกจํานวน 2.6 พันลานบาท ทําใหสัดสวนการถือหุนของบริษัทฯ ใน BITCO เพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 98.9 ในเดือนมกราคม 2549 บริษัทฯ ไดเขาซื้อหุน ยูบีซี จาก MIH ทั้งหมด และตอมาไดดําเนินการ เขาซื้อหุนสามัญจากรายยอย (Tender Offer) ทําใหบริษัทฯ มีสัดสวนการถือหุนทางออมในยูบีซี รอยละ 91.8 ภายหลังการเขาซื้อหุนจากผูถือหุนรายยอย เสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้ ยูบีซีไดเปลี่ยนชื่อเปนทรูวิชั่นส เมื่อตนป 2550 นอกจากนี้ หลังการปรับโครงสรางของกลุมบริษัททรูวิชั่นสในชวงครึ่งปแรกของป 2553 และ การซื้อคืนหุนจากผูถือหุนสวนนอย ในระหวางเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2554 สงผลใหบริษัทฯ มีสัดสวนการถือหุนในกลุมบริษัททรูวิชั่นสเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 99.3 บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2546 เพื่อใหบริการธุรกรรมทางการเงิน แบบออนไลนสําหรับกลุมทรู ในเดือนมิถุนายน 2552 บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ใหเปนผูใหบริการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เปนระยะเวลา 10 ป ทรูไลฟ เปนกลุมธุรกิจบริการดิจิตอลคอนเทนต ประกอบดวยบริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด หรือ “TLP” (เดิมชื่อบริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด) ซึ่งเปนบริษัทที่ทรูถือหุนโดยตรงทั้งหมด และ บริษัท NC True จํากัด ซึ่งเปนบริษัทรวมลงทุนกับ บริษัท NC Soft จํากัด หนึ่งในผูพัฒนาและผลิตเกมออนไลน ที่ใหญที่สุดของประเทศเกาหลี นอกจากนี้ ทรู ไลฟ พลัส ยังรวมเปนพันธมิตรทางธุรกิจ กับบริษัท ดรากอนฟลาย จีเอฟ ซึ่งเปนผูพัฒนาเกมออนไลนชั้นนําในเกาหลี เปดตัวเกม “Special Force” ในป 2549 ซึ่งตอมาติดอันดับหนึ่ง ของเกมออนไลนประเภท Casual ตอเนื่องเปนเวลา 4 ป จนถึงปจจุบัน นอกเหนือจากเกมออนไลน ทรู ไลฟ พลัส ยังใหบริการดิจิตอลคอนเทนตตางๆ อาทิ บริการดาวนโหลดเพลง เว็บพอรทัล และสื่อสิ่งพิมพและแอพพลิเคชั่น ตางๆ ทั้งนี้ ในเดือนมิถุนายน 2552 ทรูเปด ทรู แอพ เซ็นเตอร (True App Center) สถาบันศูนยกลางการศึกษาเพื่อ สรางนักพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนมือถือ เพื่อเสริมสรางการพัฒนาคอนเทนตและเพิ่มรายไดจากบริการที่ไมใชเสียง ณ สิ้นป 2553 ทรู แอพ เซ็นเตอรมีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นมากกวา 110 แอพพลิเคชั่น สามารถรองรับการใชงาน ของสมารทโฟน ทั้ง iPhone (ไอโฟน) Android (แอนดรอยด) และ BlackBerry (แบล็กเบอรรี่) นอกเหนือจากนั้น ในปลายเดือนธันวาคมที่ผานมา กลุมทรูไดลงนามในสัญญาเพื่อเขาซื้อโครงขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศและหุน 4 บริษัทในกลุมฮัทชิสัน ซึ่งการซื้อหุนดังกลาวแลวเสร็จในเดือนมกราคม 2554 การเขาซื้อหุนในครั้งนี้ไมเพียงทําใหบริษัทฯ ไดประโยชนจากการเปนผูใหบริการรายแรกที่สามารถใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ในเชิงพาณิชยไดทั่วประเทศเทานั้น แตยังจะชวย ขยายระยะเวลาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมบริษัททรูไปจนถึงป 2568 อีกดวย พัฒนาการสําคัญในป 2553 กลุมทรู กรกฎาคม: ทรูประสบความสําเร็จในการรีไฟแนนซ ทรูวิชั่นส โดยไดรับการสนับสนุนจากธนาคารพาณิชย ในประเทศ 4 แหง (ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทิสโก และธนาคารทหารไทย) ในการ

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จัดหาวงเงินกูระยะยาวสกุลไทยบาท จํานวน 12 พันลานบาท โดยมีระยะเวลาการชําระหนี้ 8 ป ในอัตรา ดอกเบี้ยต่ํา และมีเงื่อนไขที่ผอนปรนกวาเงื่อนไขเงินกูเดิม ซึ่งมีกําหนดชําระคืนในระยะเวลา 3 ป ในอัตรา ดอกเบี้ยรอยละ 7.7 กรกฎาคม: ทรูวิชั่นส ไดปรับโครงสรางกลุมบริษัท เพื่อรองรับกรอบการกํากับดูแลที่เปลี่ยนแปลง และ ทําใหการดําเนินธุรกิจของทรูวิชั่นสมีความคลองตัวมากขึ้นรองรับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต โดยทรู ไดจัดตั้งบริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด ในรูปของบริษัทโฮลดิ้ง (Holding Company) ซึ่งทรู มีสัดสวนการ ถือหุนในบริษัทดังกลาวเปนรอยละ 99.99 ทั้งนี้ บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด ไดซื้อหุนใน บมจ. ทรู วิชั่นส รอยละ 73 จากบริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด นอกจากนี้ ยังซื้อหุนอีกรอยละ 48 ใน บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จาก บมจ. ทรู วิชั่นส หลังการปรับโครงสรางดังกลาว กลุมทรูถือหุนใน บมจ. ทรู วิชั่นส เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 98.3 (จากเดิมรอยละ 91.8) และ ถือหุนใน บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 98.5 (จากเดิมรอยละ 91.2) พฤศจิกายน: ผลจากการที่ บมจ. ทรู วิชั่นสซื้อคืนหุนจากผูถือหุนสวนนอย ในระหวางเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2554 ทําใหกลุมทรูมีสัดสวนการถือหุนทางออมในบมจ. ทรู วิชั่นส และ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 99.3 และรอยละ 99.0 ตามลําดับ พฤศจิกายน: เครือเจริญโภคภัณฑ หรือ ซีพีกรุป เพิ่มสัดสวนการถือหุนใน ทรู คอรปอเรชั่น โดยการซื้อ หุนทรูทั้งหมดจาก KfW ซึ่งเปนธนาคารเพื่อการพัฒนา ประเทศเยอรมัน ทําใหสัดสวนการถือหุนในทรู โดยเครือเจริญโภคภัณฑเพิ่มขึ้นจากเดิมรอยละ 55.7 เปน 64.74

ทรูมูฟ มีนาคม: ทรูมูฟ เปดตัว"โมโตโรลา ไมลสโตน" สมารทโฟนที่ทํางานบนแพลตฟอรมแอนดรอยด 2.1 ครั้งแรกในประเทศไทย มิถุนายน: ทรูมูฟ รวมกับ กลุมคอนเน็กซัส โมบายล ขยายบริการ “Data Roaming Flat Rate” เพิ่มอีก 2 ปลายทาง ไปยังมาเกา และ เวียดนาม ดวยอัตราคาบริการสูงสุดเพียงวันละ 399 บาท โรมมิ่งขอมูลผาน GPRS และ EDGE ไดไมจํากัด โดยตอมาในเดือนธันวาคม ทรูมูฟไดมีการปรับโปรโมชั่นอีกครั้ง ดวย การเปดแคมเปญใหม “No. 11” ใหผูใชบริการสามารถสง SMS ขณะอยูตางประเทศ ราคาเดียว ทุกเครือขาย ทุกประเทศทั่วโลก เพียงขอความละ 11 บาท มิถุนายน: ทรูมูฟเปดตัวโปรโมชั่น “ยิ่งโทร ยิ่งถูก” สําหรับลูกคาใหมแบบรายเดือน ครั้งแรกที่ลูกคาสามารถ ยืดหยุนคาใชจายในแตละเดือนไดตามการใชงาน ประหยัดคาใชจายดวยคาบริการเหมาจายเริ่มตนเดือนละ 199 บาท คาโทรต่ําสุดเพียงนาทีละ 0.75 บาท ทุกเครือขาย ตลอด 24 ชั่วโมง กันยายน: ทรูมูฟเปดตัวไอโฟน 4 โดยเปนผูนําตลาด ทั้งในดานยอดขาย การนําเสนอแพ็กเกจตางๆ และ และการใหบริการลูกคา ทําใหสัดสวนของลูกคาที่ซื้อเครื่องไอโฟนจากทรูและสมัครใชบริการแพ็กเกจ ของทรูมูฟเพิ่มขึ้นกวา 3 เทาตัว เปนประมาณรอยละ 90 จากปกอนหนา ตุลาคม: ทรูมฟู เปดตัว “ไอที เฟรนด” พนักงานที่มีความเชีย่ วชาญดานสมารทโฟน จํานวนมากกวา 300 คน ซึ่งประจําอยูในรานทรูชอปทั่วประเทศ ทั้งนี้ เพื่อเสริมสรางความเปนผูนําบริการดานสมารทโฟนของทรูมูฟ

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตุลาคม: เพื่อรับประโยชนจากการเติบโตของตลาดบริการที่ไมใชเสียง ทรูมูฟเปดตัว ไฮสปด เน็ตซิม นําเสนอบริการโมบาย อินเทอรเน็ต (บนเทคโนโลยี 3G/EDGE) สําหรับผูใชบริการแบบเติมเงินที่ใช สมารทโฟน โทรศัพทและโนตบุกที่สามารถเชื่อมตอ Wi-Fi ธันวาคม: บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่เริ่มเปดใหบริการในวงจํากัด ในเขตกรุงเทพมหานคร บริการดังกลาวนี้ทําใหผูใชบริการสามารถเลือกผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดโดยไมตองเปลี่ยน เลขหมายโทรศัพท

ทรูออนไลน กุมภาพันธ: ทรูออนไลน เปดแคมเปญใหม ทรูออนไลน 4 Mbps ในราคา 599 บาทตอเดือน พรอมคาโทร ทรูมูฟฟรี 599 บาท นอกจากนี้ ยังใหความสําคัญกับการรักษาฐานลูกคา โดยมอบขอเสนอพิเศษสําหรับ ลูกคาเดิมที่ใชแพ็กเกจ 3-5 Mbps ปรับเพิ่มความเร็วขึ้นอีก 1 Mbps โดยอัตโนมัติ มีนาคม: ทรูไดมีการดําเนินกลยุทธเพื่อชะลอการลดลงของรายไดจากบริการโทรศัพทพื้นฐานในกลุมลูกคา โทรศัพทบาน โดยนําเสนอแคมเปญใหมเพื่อมอบความคุมคาสูงสุดแกลูกคาโทรศัพทบานทรูกวา 1.3 ลานเลขหมาย ใหโทรเขาโทรศัพทเคลื่อนที่ทุกเครือขาย และโทรทางไกลทั่วประเทศ ครั้งละ 3 บาทตลอด 24 ชั่วโมง โดยกลยุทธดังกลาวชวยกระตุนการใชโทรศัพทบาน และสงผลใหรายไดจากบริการโทรศัพทพนื้ ฐานลดลง เปนอัตราหนึ่งหลักเปนปแรก เมษายน: ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย ประกาศเปลี่ยนชื่อเปน ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย เพื่อตอกย้ํา ความเปนผูนําเกตเวยครบวงจร และกาวสูก ารเปนผูใหบริการในระดับภูมิภาค เมษายน: ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น ผูใหบริการโทรทางไกลระหวางประเทศ ทรู 006 รับมอบใบรับรอง มาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ ISO9001:2008 จากบริษัท บีเอสไอ แมเนจเมนท ซิสเต็มส (ประเทศไทย) จํากัด รับรองคุณภาพดานการปฏิบัติงาน การบํารุงรักษา การขายและการบริการ พฤษภาคม: ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร เปดบริการ “ทรู คลาวด” (True Cloud Services) บนเทคโนโลยี คลาวด คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) รายแรกในเมืองไทย โดยใหบริการดวย 2 แพ็กเกจคือ คลาวด เซิรฟเวอร (Cloud Server) บริการเครื่องแมขายเสมือนจริง (Virtual Server) บนเครือขายอินเทอรเน็ต และ คลาวด สตอเรจ (Cloud Storage) บริการพื้นที่บนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยไมจํากัดขนาดของพื้นที่ ซึ่งบริการ ทั้งสองนี้คิดคาบริการตามการใชงานจริง (Pay Per Use) เปนรายวัน มิถุนายน: ทรูออนไลนเปดตัวแพ็กเกจใหม ไฮสปดอินเทอรเน็ต “อีโคแพ็กจากทรูออนไลน” เพื่อเจาะกลุม ผูเริ่มตนใชงานออนไลน ดวยคาบริการเดือนละ 399 บาท สามารถใชงานอินเทอรเน็ตความเร็วสูง 2 Mbps นาน 100 ชั่วโมง มิถุนายน: ทรูออนไลนเปดตัว Ultra hi-speed Internet ความเร็วสูงสุด 50 Mbps ดวยเทคโนโลยี VDSL2 ครั้งแรกของประเทศ ดวยแพ็กเกจความเร็ว 30 และ 50 Mbps

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สิงหาคม: ทรูออนไลนเปนผูใหบริการรายแรกของประเทศที่เพิ่มมาตรฐานความเร็วใหมสําหรับบริการ บรอดแบนดเปน 6 Mbps สําหรับลูกคาในวงกวาง โดยเปดตัวแพ็กเกจ “ทองเน็ตเร็วสูง 6 Mbps 599 บาท” พรอมยกระดับมาตรฐานความเร็วใหลูกคาปจจุบันที่ใชเน็ตเดือนละ 599 บาท โดยใหความเร็วเพิ่มขึ้นอีก 2 Mbps เปน 6 Mbps ธันวาคม: ทรูออนไลนเริ่มทดลองใหบริการบรอดแบนดความเร็วสูงตั้งแต 10 ถึง 100 Mbps ดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ในบางพื้นที่ โดยเทคโนโลยีนี้สามารถใหบริการบรอดแบนดและเคเบิลทีวีในระบบ High Definition (HDTV) ไดพรอมๆ กัน ทําใหทรูออนไลนมีความไดเปรียบในเชิงการแขงขัน ดวยการนําประเทศ สูการเปลี่ยนผานจากบริการบรอดแบนดเดิม ไปเปนบริการใหมดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0

ทรูวิชั่นส มกราคม: เครือเจริญโภคภัณฑ โดยทรูวิชั่นส รวมมือกับกลุม ฟนิกซ ทีวี ผูผลิตสื่อทีวีชั้นนําจากประเทศจีน เปดชองรายการขาว Phoenix InfoNews (ทรูวิชั่นสชอง 95) เพื่อนําเสนอขาวใหกับลูกคาชาวจีนที่อยูในไทย รวมทั้งสมาชิกที่ตองการทราบความเคลื่อนไหวและขาวเชิงวิเคราะหจากทีมงานมืออาชีพ พฤษภาคม: การเปดตัว “TrueVisions HD” ทําใหทรูวิชั่นสบรรลุเปาหมายทางยุทธศาสตรครั้งสําคัญ โดยเปน ผูใหบริการรายแรกที่เปดใหบริการในระบบ High Definition ในเมืองไทย มิถุนายน: ทรูวิชั่นส เปดตัว “ทรู อคาเดมี แฟนเทเชีย ปฏิบัติการลาฝนซีซั่น 7” โดยรวมมือกับโมเดิรนไนน ทีวีถายทอดรายการทั่วประเทศ ตุลาคม: "TNN 24" ไดขยายชองทางการสงสัญญาณออกอากาศผานดาวเทียมไทยคม 5 โดยมีเปาหมายขยายฐาน ผูชมขาวจาก 1.8 ลานครัวเรือนในปจจุบัน สู 10 ลานครัวเรือนทั่วประเทศ และ ครอบคลุมสูประเทศตางๆ กวา 110 ประเทศใน 4 ทวีป คือ เอเชีย ยุโรป ออสเตรเลีย และแอฟริกา พฤศจิกายน: ทรูวิชั่นสเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจดวยการซื้อคืนหุนจากผูถือหุนสวนนอย ซึ่ง เปนผูถือหุนรายยอย ธันวาคม: ทรูวิชั่นสรวมมือกับสยามสปอรต รับสิทธิ์ถายทอดสดฟุตบอล “สปอนเซอร ไทยพรีเมียรลีก” ป 2554 - 2556 อยางเปนทางการ 204 นัดตอฤดูกาล

ทรูมันนี่ กรกฎาคม: ทรูมันนี่เปนผูใหบริการไทยรายแรกที่ไดรับเงินทุนจาก GSM Association เพื่อสนับสนุนแผนงาน ขยายจุดรับชําระ ทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ใหครอบคลุมทั่วประเทศ ทั้งนี้ บริษัทมีเปาหมายเพิ่มเครือขายบริการ จุดรับชําระผาน ทรูมันนี่ เอ็กซเพรสอีก 10,000 จุดในชุมชนระดับตําบล ภายในระยะเวลา 1 ป พฤศจิกายน: ทรูมันนี่ไดรวมลงนามกับธนาคารแหงประเทศไทย เพื่อใชมาตรฐานกลางขอความการชําระเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส ในฐานะองคกรที่ไดรับอนุญาตจากธนาคารแหงประเทศไทยใหดําเนินกิจการธุรกิจ บัตรเงินอิเล็กทรอนิกส

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูไลฟ กุมภาพันธ: ทรูเผยความสําเร็จของทรู แอพ เซ็นเตอร โดยมียอดดาวนโหลดผาน App Store มากกวา 1.3 ลานครั้ง เมษายน: ทรู เปดตัว “ทรูดิจิตอลบุคสโตร” คลังหนังสือดิจิตอล รวบรวมคอนเทนตจากสํานักพิมพชั้นนํา และ นักเขียนชื่อดัง ใหดาวนโหลดผาน www.truebookstore.com กรกฎาคม: ทรูไดเปดตัวแบรนดใหม “ทรูไลฟพลัส” ซึ่งเปนแบรนดคอนเวอรเจนซ ตามแนวคิด Better Convenience, Better Enjoyment, Better Bonding และ Better Value โดยพรอมกันนี้ไดเปดตัวแคมเปญ คอนเวอรเจนซใหมลาสุด “ทรูไลฟฟรีทูแอร” ขยายฐานลูกคาสูระดับกลางถึงลาง ดูทีวีคมชัด 35 ชอง คุณภาพ เพียง 30 บาท ตอเดือน

รางวัลที่ไดรับในป 2553 ทรูรับรางวัลผลงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (รางวัลที่ 2 ประเภทธุรกิจขนาดใหญ) จากการประกวดผลงาน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงครั้งที่ 2 ระหวางป 2552 - 2553 ซึ่งจัดขึ้นโดย สํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ทรู รับรางวัล “การขับเคลื่อนธุรกิจดวยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดีเดนแหงป” ในกลุมธุรกิจ การบริการ จากงาน Thailand ICT Excellence Awards 2009 ซึ่งจัดโดย สมาคมการจัดการธุรกิจแหง ประเทศไทย ทรูรับมอบรางวัลองคกรความเปนเลิศดานการตลาด “Thailand Corporate Excellence Awards 2009” ตอเนื่องเปนปที่ 2 จากสมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย นอกจากนี้ กลุมทรูยังเปน 1 ใน 5 องคกรที่ มีความเปนเลิศดาน “นวัตกรรมและการสรางสรรคสิ่งใหมๆ” (Innovation Excellence) ทรู รับรางวัลเกียรติยศ “สถานประกอบการดีเดนดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมใน การทํางาน ระดับประเทศ” 5 ปซอน (พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2553) ในงานสัปดาหความปลอดภัยในการทํางาน แหงชาติครั้งที่ 24 “แรงงานปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี มีความรับผิดชอบตอสังคม” ทรูไดรับการคัดเลือกใหเปน 1 ใน 10 บริษัทนวัตกรรมยอดเยี่ยมแหงประเทศไทยตอเนื่องเปนปที่ 2 จาก 480 บริษัทในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เนื่องจากความโดดเดนดานคอนเวอรเจนซซึ่งเปนกลยุทธ หลักของบริษัท ทั้งนี้ กลุมทรูเปนบริษัทในธุรกิจสื่อสารรายเดียวที่ไดรับรางวัลดังกลาวนี้ ทรูทัช รับโลรางวัลและเหรียญทองแดงประเภท Contact Center Best Practices (Outsourced) - Large Call Center จากงานประกวด 2010 World Awards Top Ranking Performers in the Contact Center ซึ่ง จัดขึ้นโดย Contact Center World ณ ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา และนับเปนครั้งแรกที่บริษัทไทยไดรับรางวัล ในระดับสากล ทรูมูฟ ไอโฟน แคร เซ็นเตอร หนึ่งในคอลเซ็นเตอรกลุมทรู ควารางวัลชนะเลิศ “การบริการคอลเซ็นเตอร ยอดเยี่ยม” จากการประกวด 2010 Thailand National Call Center Awards ซึ่งจัดโดยสมาคมอุตสาหกรรม การบริการลูกคาทางโทรศัพทแหงประเทศไทย

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม กลุมทรูรายงานผลประกอบการดานการเงิน โดยแบงออกเปน 3 กลุมธุรกิจ คือ ทรูมฟู ทรูออนไลน และทรูวิชนั่ ส โดยผลประกอบการดานการเงินของทรูมันนี่ และ ทรูไลฟ ถือเปนสวนหนึ่งของทรูออนไลน (1) ทรูออนไลน ประกอบดวยบริษัทฯ และบริษัทยอยทีย่ ังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 33 บริษัท กิจการรวมคา 3 บริษัท และ บริษัทรวม 1 บริษัท (2) ทรูมูฟ ประกอบดวยบริษัทยอยที่ยังคงมีกจิ กรรมทางธุรกิจ 6 บริษัท (3) ทรูวิชั่นส ประกอบดวยบริษัทยอยที่ยังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 9 บริษัท และ บริษัทรวม 1 บริษัท

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางเงินลงทุนของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 99.99% บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 99.99% 99.99% 91.08%

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด 99.99% บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

99.99% บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด

99.99%

บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลด ดอทคอม จํากัด

98.57%

99.99% บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด

99.99%

89.99% บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

99.99%

60.00% 62.50%

บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด 99.84%

K.I.N. (Thailand) Co., Ltd.

70.00% บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู ทัช จํากัด

99.34% บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน)

99.99%

บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด

99.99%

2.92%

26.00%

100.00%

บริษัท อิมพีเรียล เทคโนโลยี แมเนจเมนท เซอรวิส จํากัด (มหาชน)

Goldsky Company Limited 100.00%

สวนที่ 1

Dragon Delight Investments Limited

99.99% 70.00%

99.99%

บริษัท ทรู แมจิค จํากัด

99.94% บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชัน่ จํากัด

98.91%

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน)

99.86%

บริษัท เรียล มูฟ จํากัด

บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด

99.92%

บริษัท ทรู มูฟ จํากัด

99.99%

99.99%

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด

40.00%

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

15.76%

บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด

บริษัท สองดาว จํากัด

99.93%

บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด

99.97%

บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด

20.00%

บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท จํากัด

70.00%

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด

69.94%

บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด

97.04%

บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด

100.00%

บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

99.93%

87.50% บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น (กัมพชา) จํากัด

70.00%

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

99.99% บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

99.99% บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด

100.00% บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด

บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด

99.99% บริษัท ทรู ยูนเิ วอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด

9.62% บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด

99.99%

99.99% บริษัท ทรู อินเตอรเนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด

บริษัท คลิกทีวี จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

99.99% บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด

บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด

99.99%

(จดทะเบียนที่ตางประเทศ)

บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด

บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน)

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด

99.99%

บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด

65.00%

99.99%

Golden Light Company Limited 100.00%

Gold Palace Investments Limited

หมายเหตุ: 1. ไมมีบุคคลที่อาจมีความขัดแยงของบริษัทฯ เปนผูถือหุนในสัดสวนเกินรอยละ 10 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทยอยและบริษัทรวม 2. ในระหวางป 2553 บริษัทฯ ไดดําเนินการปดและชําระบัญชีบริษัทยอยที่ไมมีการดําเนินธุรกิจเปนที่เรียบรอยแลว จํานวน 1 บริษัท คือ บริษัท เอเชีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด (20.00%) 3. นอกจากนี้ บริษัทฯ กําลังดําเนินการปดบริษัทยอยและบริษัทรวมที่ไมมีการดําเนินธุรกิจและไมมีความจําเปนตองคงไว อีกจํานวน 4 บริษัท ไดแก บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด (99.99%), Nilubon Co., Ltd. (99.99%), TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (99.99%) และ Chongqing Communication Equipment Co., Ltd. (38.21%) TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 – หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางเงินลงทุนแยกตามธุรกิจของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย บริการเสริม และ บริการสื่อสารขอมูล บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ทรูมูฟ -

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน -

ทรูออนไลน

บริษัท ทรู มูฟ จํากัด 98.83 % บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลล จํากัด 98.76 % บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด 98.85 % บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด 98.79 % บริษัท สองดาว จํากัด 98.84 % บริษัท เรียล มูฟ จํากัด 98.77 %

-

ธุรกิจใหบริการสื่อสารขอมูล

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) - บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 91.08 % บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 99.99 % - บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู ทัช จํากัด 99.99 % - บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด 99.99% บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 99.99%

ทรูวิชั่นส

-

บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด 99.99 % บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) 98.57 % บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด 98.57 % บริษัท คลิกทีวี จํากัด 98.57 % บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) 98.61 % บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด 98.57 % บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด 99.52 % บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด 25.63 % บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด 98.57 % บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด 70.00 %

ธุรกิจบรอดแบนดและบริการอินเตอรเน็ต

ธุรกิจใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (PCT)

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 91.08 % บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด 99.99 % บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด 65.00 % บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด 99.99 % บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด 70.00 % บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด 40.00 % บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด 56.93 % บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด 56.83 % บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด 99.99 % บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด 99.99%

- บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 99.99 % - บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด 99.99 %

หมายเหตุ : - บริษัทที่ปดและชําระบัญชีเสร็จเรียบรอยแลว ไดแก บริษัท เอเชีย รีแมนูแฟคเชอริ่ง อินดัสทรี่ จํากัด (20.00%) - บริษัทที่กําลังดําเนินการปดบริษัท ไดแก บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (99.99%) Nilubon Co., Ltd. (99.99 %) TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (99.99%) และ Chongqing Communication Equipment Co., Ltd. (38.21%) - บริษัทที่ไมมีกิจกรรมทางธุรกิจ แตยังมีความจําเปนตองคงไว ไดแก บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) (89.99%) บริษัท เทเลคอม เคเอสซี จํากัด (34.39%) บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด (98.57%) และ International Broadcasting Corporation (Cambodia) Co., Ltd. (69.00%) สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 – หนา 10

ธุรกิจอื่น ธุรกิจใหบริการใหเชายานพาหนะและอาคาร - บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด 99.99 % - บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด 99.99 % ธุรกิจกอสราง - บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด 87.50 % ธุรกิจลงทุน - บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 99.99 % - บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) 98.91 % - บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด 99.99 % - K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. 99.99% (จดทะเบียนตางประเทศ) - บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จํากัด 91.08 % - Dragon Delight Investments Limited 100.00 % - Gold Palace Investments Limited 100.00 % - Golden Light Co., Ltd. 100.00 % - Goldsky Co., Ltd. 100.00 % ธุรกิจอื่น ๆ - บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด 99.99 % - บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด 99.99 % - บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด 15.76 % - บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด 99.99 % - บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด 9.62 % - บริษัท บีบอยด ซีจี จํากัด 70.00 % - บริษัท ทรู แมจิค จํากัด 99.99 % - บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด 99.99 % - บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด 69.94 % ที่ 3 –นทหน า 10 - บริษัท ทรู ดิหัจวิตขอลอคอนเท แอนด มีเดีย จํากัด 97.04 % - บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด 100.00 % - บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด 20.00 %


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางรายไดตามกลุมธุรกิจ 2553

กลุมธุรกิจ ลานบาท

2552 %

ลานบาท

2551 %

ลานบาท

%

1. ทรูออนไลน รายได

21,935

35.1%

21,784

34.9%

21,646

35.4%

รายได

30,981

49.7%

31,312

50.1%

30,224

49.3%

9,462

15.2%

9,378

15.0%

9,395

15.3%

62,378

100%

62,474

100%

61,265

100%

2. ทรูมูฟ

3. ทรูวิชั่นส รายได รวมรายได โครงสรางรายไดสําหรับป แยกตามการดําเนินงานของแตละบริษัท 2553

กลุมธุรกิจ / ดําเนินการโดย ลานบาท

2552 %

ลานบาท

2551 %

ลานบาท

%

1. ทรูออนไลน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

7,840

12.6%

8,705

13.9%

10,402

17.0%

209

0.3%

1,045

1.7%

1,283

2.1%

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

6,167

9.9%

5,833

9.3%

2,891

4.7%

บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด

1,071

1.7%

926

1.5%

751

1.2%

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด

1,929

3.1%

2,240

3.6%

4,142

6.8%

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด

423

0.7%

375

0.6%

340

0.6%

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

813

1.3%

545

0.9%

355

0.6%

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

199

0.3%

299

0.5%

402

0.7%

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

122

0.2%

167

0.3%

222

0.4%

บริษัท ทรู ทัช จํากัด

173

0.3%

229

0.4%

224

0.4%

บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด

214

0.3%

148

0.2%

143

0.2%

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

96

0.2%

129

0.2%

124

0.2%

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด

254

0.4%

176

0.3%

54

0.1%

บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด

161

0.3%

173

0.3%

102

0.2%

บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

223

0.4%

150

0.2%

72

0.1%

1,443

2.2%

531

0.8%

13

0.0%

69

0.1%

บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด

488

0.7%

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด

33

0.1%

30

0.1%

28

8

0.0%

17

0.0%

41

0.0%

รายได

21,935

35.1%

21,784

34.9%

21,646

35.4%

รายได

30,981

49.7%

31,312

50.1%

30,224

49.3%

อี่นๆ

66 -

0.1% 0.0%

57 -

0.1% 0.0% 0.0%

2. ทรูมูฟ กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค

3. ทรูวิชั่นส กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส 9,462

15.2%

9,378

15.0%

9,395

15.3%

รวมรายได

รายได

62,378

100.0%

62,474

100.0%

61,265

100.0%

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 – หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เปนผูใหบริการสื่อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศไทย และเปนผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ซึ่งเชื่อมโยงทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ตอบสนองทุกไลฟสไตล ตรงใจลูกคาไดอยางแทจริง โดยใหบริการดานเสียง (โทรศัพทพื้นฐานและโทรศัพทเคลื่อนที่) วิดีโอ ขอมูล และ มัลติมีเดียตางๆ ในทุกรูปแบบการสื่อสาร โดยประสานประโยชนจากโครงขาย บริการ และคอนเทนตของกลุม ซึ่ง เปนพื้นฐานทําใหธุรกิจเติบโตตอไปในอนาคต ยุทธศาสตรการเปนผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ทําใหทรูมีเอกลักษณความโดดเดน ดวยการผสาน บริการสื่อสารครบวงจรในกลุมเขากับคอนเทนตที่เนนความหลากหลาย ทําใหทรูแตกตางจากผูใหบริการรายอื่นๆ โดยช วยเพิ่มยอดผูใช บริ การและสรางความผูกพันกับบริการตางๆ ของกลุมทรู อี กทั้งยังทํ าใหสามารถใช ประโยชนจากศักยภาพของบริการไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้ ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซยังชวยเพิ่มมูลคา และมอบ คุณประโยชนแกลูกคาทั้งในระยะกลางและระยะยาว นับตั้งแตตนป 2550 กลุมทรูไดมีการแบงกลุมธุรกิจหลักออกเปน 5 กลุม (โดยเอกสารฉบับนี้จะ เรียงลําดับเนื้อหาตามกลุมธุรกิจหลัก) ซึ่งประกอบดวย ธุรกิจออนไลน ภายใตชื่อ ทรูออนไลน ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริม บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือ บริการบรอดแบนดสําหรับ ลูกคาทั่วไป และบริการ WE PCT (บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่) รวมทั้งธุรกิจเครือขายรานกาแฟ ทรูคอฟฟ ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใต ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิม ยูบีซี) ธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซ ภายใตชื่อ ทรูมันนี่ ธุรกิจดิจิตอลคอนเทนต ภายใตชื่อ ทรูไลฟ ทั้งนี้ สําหรับรายงานดานการเงิน ผลการดําเนินงานของธุรกิจดิจิตอลคอมเมิรซ และ ดิจิตอลคอนเทนต (ทรูมันนี่ และ ทรูไลฟ) จะถูกรวมอยูในกลุมธุรกิจของทรูออนไลน

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางดานลางแสดงองคประกอบรายไดจากการใหบริการ1/และกําไรจากการดําเนินงาน กอนดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อม ราคาและคาตัดจําหนาย (EBITDA) 2/ ของธุรกิจในกลุมทรู รายไดจากการใหบริการ1/ หนวย: ลานบาท ทรูออนไลน ทรูมูฟ (รายไดไมรวมคา IC) ทรูวิชั่นส รวม EBITDA2/ หนวย: ลานบาท ทรูออนไลน ทรูมูฟ ทรูวิชั่นส รายการระหวางกัน รวม

2550 20,194 22,993 8,631 51,818

รอยละ 39 44 17 100

2551 20,996 21,652 9,273 51,921

2550 9,670

รอยละ 49

2551 10,195

7,566

38

2,527

รอยละ 40 42 18 100

2552 21,245 22,055 9,305 52,605

รอยละ 40 42 18 100

2553 21,363 21,980 9,305 52,649

รอยละ 40 42 18 100

รอยละ 55

2552 9,804

รอยละ 50

2553 9,670

รอยละ 53

5,691

31

7,226

37

6,313

34

13

2,666

14

2,622

13

2,326

13

(9)

-

(37)

-

(70)

-

83

-

19,754

100

18,515

100

19,582

100

18,392

100

หมายเหตุ: 1/ หลังหักรายการระหวางกัน; 2/ กอนหักรายการระหวางกัน

4.1.1 ทรูออนไลน ทรูออนไลน ประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมตาง ๆ เชน บริการโทรศัพท สาธารณะ เปนตน นอกจากนี้ ยังรวมถึงบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และดาตาเกตเวย และบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) รวมทั้งบริการใหมๆ เชน บริการ โทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ทั้งนี้ ธุรกิจบรอดแบนด อินเทอรเน็ตเติบโตอยางรวดเร็ว และชวยรักษาระดับ รายไดโดยรวมของกลุมธุรกิจทรูออนไลน i) บริการโทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) และโทรศัพทสาธารณะ ทรูเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดย สามารถใหบริการโทรศัพทพื้นฐานจํานวนทั้งสิ้น 2.6 ลานเลขหมาย และมีเลขหมายที่ใหบริการอยูทั้งสิ้นประมาณ 1.8 ลานเลขหมาย นอกจากนี้ บริษัทฯ ใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ WE PCT ผานบริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย (บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99) โดยไดเปดใหบริการ อยางเปนทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 ซึ่งถือเปนบริการเสริมของบริการโทรศัพทพื้นฐาน บริการ WE PCT เปนบริการที่ทําใหผูใชบริการสามารถพกพาโทรศัพทบานไปใชนอกบานได โดยใชหมายเลขเดียวกับโทรศัพทบาน และสามารถใชไดถึง 9 เครื่องตอโทรศัพทพื้นฐาน 1 เลขหมาย โดย WE PCT แตละเครื่องจะมีหมายเลขประจําเครื่องของตนเอง

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนสิงหาคม 2534 บริษัทฯ ไดทําสัญญารวมการงานและรวมลงทุนขยายบริการโทรศัพท ระหวางบริษัทฯ กับองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (“สัญญารวมการงานฯ”) ซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) โดยใหบริษัทฯ เปนผูดําเนินการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจน ซอมบํารุงและรักษาอุปกรณในระบบสําหรับการขยายบริการโทรศัพทจํานวน 2 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดป 2560 ตอมาไดรับสิทธิใหขยายบริการโทรศัพทอีกจํานวน 6 แสนเลขหมาย บริษัทฯ ไดโอนทรัพยสินที่เปนโครงขายทั้งหมดใหแกทีโอที โดยทีโอที เปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาใน โครงขายทั้งหมด และชําระใหบริษัทฯ ตามสัดสวนที่ระบุไวในสัญญารวมการงานฯ คือในอัตรารอยละ 84.0 ของสําหรับบริการโทรศัพทพื้นฐาน สําหรับสวน 2 ลานเลขหมายแรก และอัตรารอยละ 79.0 สําหรับใน สวน 6 แสนเลขหมายที่ไดรับการจัดสรรเพิ่มเติมในภายหลัง ในสวนของบริการเสริมตาง ๆ ที่บริษัทฯ ได ใหบริการอยู บริษัทฯ ไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 82.0 ของรายไดจากบริการเสริมนั้นๆ ยกเวน บริการโทรศัพทสาธารณะ ซึ่งบริษัทฯ ไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 76.5 สําหรับบริการ WE PCT นั้น รายไดทั้งหมดจะถูกจัดเก็บโดยทีโอที และ ทีโอที จะแบงรายไดที่จัดเก็บ กอนหักคาใชจายใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 82.0 และเนื่องจากบริษัทฯ ไดมอบหมายให AWC ซึ่งเปนบริษัทยอย ของบริษัทฯ ดําเนินการใหบริการ PCT แกลูกคา ดังนั้น บริษัทฯ จึงตองแบงรายไดที่ไดรับมาจาก ทีโอที ในอัตรา ประมาณรอยละ 70.0 ใหกับ AWC นอกจากนั้น ทีโอที ก็สามารถใหบริการ PCT แกผูที่ใชหมายเลขโทรศัพทของ ทีโอที ไดโดยผานโครงขาย PCT ของบริษัทฯ ดังนั้น ทีโอที จึงตองแบงรายไดสวนหนึ่งที่ ทีโอที ไดรับจาก ผูใชบริการ PCT จากหมายเลขโทรศัพทของ ทีโอที ใหแกบริษัทฯ เพื่อเปนเสมือนคาเชาโครงขาย โดยในสวนนี้ ทีโอที จะตองแบงรายไดประมาณรอยละ 80.0 ใหแกบริษัทฯ ทั้งนี้ กลุมทรูไดรับใบอนุญาต จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) สําหรับการ ใหบริการโทรศัพทผานอินเทอรเน็ต (Voice over Internet Protocol หรือ VoIP) บริการโทรศัพทพื้นฐาน บริการ โทรศัพทสาธารณะไดทั่วประเทศ (ดูรายละเอียดในหัวขอ ความคืบหนาดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม) บริการเสริม นอกเหนือจากโทรศัพทพื้นฐาน บริษัทฯ ไดพัฒนาบริการเสริมตางๆ เพื่อตอบสนองความตองการของ ลูกคา ซึ่งประกอบดวย • บริการโทรศัพทสาธารณะ บริษัทฯ ไดรับอนุญาตจาก ทีโอที เพื่อใหบริการโทรศัพทสาธารณะ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวนทั้งสิ้น 26,000 ตู • บริการรับฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการ สนทนา 3 สาย (Conference Call) บริการโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริการเลขหมายดวน (Hot Line) บริการยอเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริการโทรซ้ําอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) และ บริการจํากัดการโทรออก (Outgoing Call Barring) • บริการ Caller ID เปนบริการเสริมพิเศษที่แสดงหมายเลขเรียกเขา

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดใหบริการเสริมอื่นๆ แกลูกคาธุรกิจ ซึ่งมีความตองการใชเลขหมายเปน จํานวนมาก และตองการใชบริการเสริมที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ไดแก • บริการตูสาขาอัตโนมัติระบบตอเขาตรง (Direct Inward Dialing หรือ “DID”) เปนบริการที่ทําให โทรศัพทพื้นฐานสามารถเรียกเขาเลขหมายภายในของตูสาขาอัตโนมัติโดยไมตองผานพนักงานสลับสาย (Operator) จึงทําใหเลขหมายภายในทุกเลขหมายเปรียบเสมือนสายตรง • บริการเลขหมายนําหมู (Hunting Line) เปนบริการที่จัดกลุมเลขหมายใหสามารถเรียกเขาไดโดยใช เลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว • โครงขายบริการสื่อสารรวมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network: ISDN) เปนบริการ ที่ทําใหผูใชสามารถติดตอสื่อสารกันไดหลากหลายรูปแบบทั้งรับ - สงสัญญาณภาพ เสียง และ ขอมูลพรอมกันได บนคูสายเพียง 1 คูสายในเวลาเดียวกัน • บริการ Televoting เปนบริการที่ชวยใหรับสายโทรศัพทเรียกเขาที่มีระยะเวลาสั้นๆ ในจํานวนสูง มากๆ ซึ่งสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือทางการตลาดได โดยไมตองลงทุนติดตั้งอุปกรณหรือ โปรแกรมในการรองรับสายเรียกเขาปริมาณสูงๆ และสามารถทราบผลหรือจํานวนการเรียกเขาได ภายในเวลา 5 วินาที • บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เปนบริการพิเศษที่ผูเรียกตนทาง ไมตองเสียคาโทรศัพท ทางไกลโดยผูรับปลายทางจะเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย ทั้งจากการโทรภายในพื้นที่เดียวกัน และ โทรทางไกลภายในประเทศ โดยกดหมายเลข 1800 แลวตามดวยหมายเลขโทรฟรี 6 หลัก • บริการประชุมผานสายโทรศัพท (Voice Conference) สามารถจัดประชุมไดทุกที่ ทุกเวลา ผานทาง สายโทรศัพท • บริการโทรศัพทผานอินเทอรเน็ต (Voice over Internet Protocol หรือ VoIP) ภายใตชื่อ NetTalk by True โครงขายโทรศัพทพื้นฐาน และ พื้นที่ใหบริการ WE PCT โครงขายโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ เปนโครงขายใยแกวนําแสงที่ทันสมัย มีความยาวรวมทั้งสิ้น กวา 176,000 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประมาณ 4,200 ตารางกิโลเมตร โดยใชสายเคเบิลทองแดงในระยะทางสั้น (โดยเฉลี่ยราว 3 ถึง 4 กิโลเมตร) เพื่อคุณภาพที่ดีที่สุดในการใหบริการทั้ง ดานเสียง และ ขอมูล ณ สิ้นป 2553 บริษัทฯ มีเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่ใหบริการแกลูกคาเปนจํานวนรวม 1,834,694 เลขหมาย ประกอบดวย ลูกคาบุคคลทั่วไปจํานวน 1,236,980 เลขหมาย และลูกคาธุรกิจจํานวน 597,714 เลขหมาย ซึ่งลดลง ในอัตรารอยละ 1.3 จากปกอนหนา โดยเปนไปตามแนวโนมเดียวกันทั่วโลก อยางไรก็ตาม รายไดจากบริการ โทรศัพทพื้นฐานเริ่มลดลงในอัตราที่ชาลงในชวง 2 – 3 ปที่ผานมา จากอัตราเลขสองหลัก มาเปนเลขหนึ่งหลัก ในป 2553 ในขณะที่รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน สําหรับป 2553 เปน 285 บาทตอเดือน โดยลดลงในอัตรา รอยละ 5.7 จากปกอนหนา ทั้งนี้ รายไดจากการใหบริการสวนใหญ (รอยละ 55.0) มาจากลูกคาธุรกิจ สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐาน และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ ณ วันที่ 31 ธ.ค. บริการโทรศัพทพื้นฐาน 2549 2550 2551 จํานวนผูใชบริการ 1,976,965 1,955,410 1,902,507 รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ 414 362 331 (บาทตอเดือน)

2552 1,858,310 303

2553 1,834,694 285

บริการ WE PCT ใหบริการครอบคลุมพื้นที่ราว 2,500 ตารางกิโลเมตรในเขตพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ในเดือนกันยายน 2547 บริการ PCT ไดเปลี่ยนชื่อเปน WE PCT เพื่อสะทอนกลยุทธในการสราง ชุมชนของคนที่มีความสนใจเหมือนกัน และมีไลฟสไตลเดียวกัน ผานโปรโมชั่น โทรฟรีภายในโครงขายของ กลุมทรู ซึ่งประกอบดวย หมายเลขโทรศัพทพื้นฐาน (รหัสพื้นที่ 02) โครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟ และโครงขาย PCT โดยเนนกลุมลูกคานักเรียนและนักศึกษา ณ สิ้นป 2553 กลุมทรูมีผูใชบริการ WE PCT จํานวน 89,698 ราย โดยลดลงจาก 177,970 รายในปกอนหนา สวนหนึ่งจากผลกระทบจากการแขงขันในธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่อยาง ตอเนื่อง และจากการปรับอัตราคาบริการจากเดิมเปนลักษณะคาบริการตอครั้ง เปนตอนาที เพื่อลดผลกระทบ ของบริษัทฯ หาก มีการจัดเก็บคาเชื่อมตอโครงขาย (Interconnection Charge) ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการ WE PCT และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ WE PCT จํานวนผูใชบริการ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ 1/ 1/

2549 347,099 257

2550 390,609 172

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551 273,623 171

2552 177,970 155

2553 89,698 160

รวมผูใชบริการ PCT Buddy (บริการแบบเติมเงิน)

ii) บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต บริการอินเทอรเน็ตอื่น ๆ และบริการเสริม บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต กลุมทรูเปนผูนําการใหบริการบรอดแบนดหรืออินเทอรเน็ตความเร็วสูงของประเทศ และ ครอง สวนแบงตลาดประมาณรอยละ 66.0 ของมูลคาตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล กลุมทรูใหบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไปผาน 2 เทคโนโลยี คือ Cable Modem (ปจจุบัน ใหบริการผานเทคโนโลยี DOCSIS 3.0) และ DSL (Digital Subscriber Line) ทรูออนไลนยังคงเปนผูนําในตลาด บริการบรอดแบนด ทั้งในดานนวัตกรรมและคุณภาพการใหบริการ ซึ่งเปนมาจากการขยายความครอบคลุมอยาง ตอเนื่อง การนําเสนอเทคโนโลยีใหมๆ รวมทั้งการใหบริการดวยความเร็วที่เพิ่มขึ้น และ การใหความสําคัญกับการ ใหบริการลูกคา ในป 2546 กลุมทรู และ ผูใหบริการรายอื่น เชน KSC ไดนําเสนอบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง หรือ Wi-Fi ทั้งนี้ โครงขาย Wi-Fi ของทรู ที่สามารถใหบริการครอบคลุมไดอยางกวางขวาง เปนปจจัยสําคัญที่ สรางความแตกตางใหกับสินคาและบริการของกลุมทรู รวมทั้งยังมีสวนในการสรางความเติบโตใหกับบริการ สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บรอดแบนด ณ สิ้นป 2553 กลุมทรูไดขยายจุดใหบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูงประมาณ 18,600 จุด ใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดใหญๆ ซึ่งยากที่ผูใหบริการรายอื่นจะใหบริการที่ทัดเทียมได โดยจุ ดใหบริ การเหล านี้จะกระจายอยู ตามสถานที่สําคัญๆ อาทิ รานกาแฟ รานอาหาร โรงแรม โรงพยาบาล หางสรรพสินคา โรงภาพยนตร ศูนยประชุม และอาคารสํานักงานตางๆ ในเดือนเมษายน 2548 กลุมทรูเปดใหบริการ Pre Pay hi-speed Internet ไฮ-สปด อินเทอรเน็ตแบบเติม เงินครั้งแรกในประเทศไทยเพื่อเปนทางเลือกใหมแกลูกคาที่มองหาความสะดวกและคุมคา บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (“TUC”) เปนหนึ่งในบริษัทยอยของกลุมทรู ซึ่งไดรับ ใบอนุญาตจาก กทช. เพื่อใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน บรอดแบนด และบริการโครงขายขอมูลทั่วประเทศ ดวย โครงสรางโครงขายพื้นฐานและเทคโนโลยีใหม เชน NGN (next generation network) xDSL และ Gigabit Ethernet โดย TUC ใหบริการวงจรสื่อสารขอมูล และบรอดแบนด รวมทั้ง โครงขายสื่อสารขอมูล ใหแกบริษัทยอย อื่นในกลุมทรู รวม บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (“TI”) และ บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (“TM”) เพื่อนําไป ใหบริการตอแกลูกคาอินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายยอย บริการขอมูล และบริการที่ไมใชเสียง แกลูกคาทั่วไป และ ลูกคาธุกิจ ตามลําดับ ดวยโครงขายโทรศัพทพื้นฐานที่ทันสมัย ทําใหกลุมทรูสามารถใหบริการบรอดแบนดที่มีความเร็วสูง และการเชื่อมตอที่มีเสถียรภาพมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถประหยัดคาใชจายในการติดตั้ง การดําเนินงาน และ การบํารุงรักษา โดยไมเพียงแตสามารถใหบริการ ADSL เทานั้น แตยังสามารถใหบริการ ADSL2+, VDSL2, G.SHDSL และ Gigabit Ethernet และมีความพรอมที่จะพัฒนาไปเปนโครงขาย NGN ซึ่งเปนเทคโนโลยี ระบบ IP กลุมทรูยังใหบริการดานคอนเทนตที่เปยมดวยคุณภาพ ซึ่งมีความหลากหลายและเหมาะกับทุกไลฟสไตล ไมวาจะเปน คอนเทนตสําหรับผูที่ชื่นชอบการฟงเพลง เลนเกมออนไลน ดูกีฬา หรือ รักการอานหนังสือออนไลน ในรูปแบบของ e-Book นอกจากนั้น ทรูยังตอกย้ําความเปนผูนําในธุรกิจนี้ โดยใหบริการเสริมตางๆ เชน บริการ WhiteNet (เพื่ อกลั่ นกรองและสกั ดจั บภาพและสื่ อบนอิ นเทอร เน็ ตที่ ไม เหมาะสมสํ าหรั บเยาวชน) ในป 2553 กลุมทรูไดเปดตัว 3 บริการใหมสําหรับการรับชมคอนเทนตผานเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล ซึ่ง ประกอบดวย รายการฟุตบอลพรีเมียรลีก รายการทีวีคุณภาพ (เพื่อรับชมรายการโทรทัศนแบบออนไลน) และ Movies On Demand (เพื่อรับชมรายการภาพยนตรแบบตามสั่ง) ในเดือนมกราคม 2553 ทรูออนไลนไดปรับมาตรฐานความเร็วบริการบรอดแบนดจากเดิม 3 Mbps (อัตราคาบริการ 599 บาทตอเดือน) เปน 4 Mbps (โดยไมคิดคาบริการเพิ่ม) และให Wi-Fi router แกลูกคาแพ็กเกจ พรีเมียมใหมฟรี ทําใหสามารถเพิ่มลูกคาไดเปนจํานวนมากในชวงครึ่งปแรกของป 2553 ทั้งนี้ ในเดือนสิงหาคม 2553 ทรูเปนผูใหบริการรายแรกของประเทศที่ปรับความเร็วมาตรฐานจาก 4 Mbps เปน 6 Mbps สูตลาดในวงกวาง ทําใหมี ผูใชบริการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในป 2553 โดยสามารถเพิ่มจํานวนผูใชบริการใหมสุทธิไดมากกวาเทาตัว เปน 122,154 ราย (จาก 57,958 รายในป 2552) สงผลให ณ สิ้นป 2553 มีผูใชบริการบรอดแบนดเปนจํานวนรวมทั้งสิ้น 813,763 ราย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการบรอดแบนด และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ บริการบรอดแบนด

2549 442,728 721

2550 549,216 709

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551 633,651 744

2552 691,609 755

2553 813,763 720

จํานวนผูใชบริการ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ (บาทตอเดือน) หมายเหตุ: ตั้งแตป 2550 เปนตนมา จํานวนผูใชบริการและรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการของบริการบรอดแบนดอินเทอรเน็ต ไดรวมจํานวนผูใชบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาธุรกิจเขามาดวย

นอกจากนี้ กลุมทรูยังทําการตลาดสูกลุมเปาหมายระดับบน โดยในป 2552 ไดเปดตัวบริการ Ultra Broadband เปนครั้งแรกในประเทศไทย โดยโครงการแรกเปนคอนโดมิเนียมในเครือแสนสิริ “SIRI at Sukhumvit” โดยใหการเชื่อมตออินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึง 30 Mbps รวมทั้ง บริการ Wi-Fi ความเร็วสูงสุดถึง 4 Mbps ในปลายเดือนมิถุนายน 2553 ไดออกแพ็กเกจความเร็ว 50 Mbps ซึ่งสูงที่สุดในประเทศไทย โดยใหบริการ ในโครงการที่พักอาศัย และคอนโดมีเนียมหรู กวา 200 แหงในกรุงเทพมหานคร กลางเดือนธันวาคมที่ผานมา ทรูออนไลนไดเปดใหบริการบรอดแบนดอยางไมเปนทางการโดยใช เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ใจกลางกรุงเทพมหานคร ซึ่งสวนใหญอยูในบริเวณถนนอโศกและสุขุมวิท รวมทั้งเมือง ใหญๆ ในตางจังหวัด เชน หาดใหญ ขอนแกน โคราช และเชียงใหม โดยนําเสนอแพ็กเกจตาง ๆ ที่ความเร็วในการ ดาวนโหลดตั้งแต 10 Mbps ถึง 100 Mbps ที่ราคาเริ่มตน 699 บาทตอเดือน โดยจะเปดใหบริการอยางเปนทางการ ในชวงครึ่งปแรกของป 2554 เทคโนโลยีนี้ทําใหกลุมทรูเปนผูนําประเทศสูการเปลี่ยนผานจากบริการบรอดแบนด เดิม ไปเปนบริการใหมดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 โดยกลุมทรูยังคงเปนผูนําทั้งในการใหบริการบรอดแบนด ดวยความเร็วสูง ดวยคุณภาพและนําหนาดวยนวัตกรรม บริการอินเทอรเน็ตอื่นๆ และ บริการเสริม กลุมทรูดําเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ต (รวมทั้ง คอนเทนต และ แอพพลิเคชั่น) โดยผาน บริษัทยอย คือ 1. บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (“AI”) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 65.0 ไดรับอนุญาต จาก กสท โทรคมนาคม หรือ กสท (กอนหนาคือ การสื่อสารแหงประเทศไทย) ใหดําเนินธุรกิจการใหบริการ อินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย (ISP) แกผูใชบริการทั่วประเทศ จนกระทั่งถึงป 2549 ดวยอุปกรณที่ไดทําสัญญาเชา ระยะยาวจาก กสท หรือหนวยงานที่ไดรับอนุญาตจาก กสท ทั้งนี้ ในเดือนกุมภาพันธ 2553 เอเซีย อินโฟเน็ท ไดรับการตออายุใบอนุญาตในการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบที่ 1 จาก คณะกรรมการ กทช. ไปอีกเปนเวลา 5 ป โดยจะหมดอายุในวันที่ 4 กุมภาพันธ 2558 ใบอนุญาตดังกลาวนี้สามารถตออายุทุก 5 ป 2. บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด ("TI") ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ในเดือน สิ งหาคม 2552 ทรู อิ นเทอร เน็ ต ได รั บการต ออายุ ใบอนุ ญาต ในการให บริ การอิ นเทอร เน็ ตแบบที่ 1 จาก

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะกรรมการ กทช. ไปอีกเปนเวลา 5 ป และจะหมดอายุในวันที่ 17 เดือนสิงหาคม 2557 ใบอนุญาตดังกลาวนี้ สามารถตออายุไดทุก 5 ป ในภาพรวมของธุรกิจอินเทอรเน็ต กลุมทรูเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตอันดับหนึ่งของประเทศ มีผูใชบริการทั้งสิ้นกวา 1.9 ลานราย (รวมผูใชบริการบรอดแบนดและบริการอินเทอรเน็ตแบบ Dial up) โดย ใหบริการทั้งในกลุมลูกคาทั่วไป และลูกคาธุรกิจ เนื่องจากสามารถใหบริการพรอมบริการเสริมตางๆ อยาง ครบวงจร อาทิ บริการ Internet Data Center บริการเก็บรักษาขอมูลและบริการปองกันความปลอดภัยขอมูล สําหรับลูกคาธุรกิจขนาดใหญ ภายหลังจากบริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด (True International Gateway หรือ TIG) ซึ่ง เปนบริษัทยอยในกลุมทรูไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. ณ ปลายป 2549 ใหเปดบริการโครงขาย อินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (International Internet Gateway) บริการอินเทอรเน็ตและบรอดแบนดของกลุมทรูได ขยายตัวอยางรวดเร็ว สามารถใหบริการที่มีคุณภาพสูงขึ้นแกลูกคา รวมทั้งชวยประหยัดตนทุนในการใหบริการ ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ต/บรอดแบนด (ประกอบดวย ผูใชบริการอินเทอรเน็ตแบบ dial-up บรอดแบนด และ Wi-Fi) ณ วันที่ 31 ธ.ค. บริการอินเทอรเน็ต/บรอดแบนด 2549 2550 2551 2552 2553 849,007 1,104,586 1,274,802 1,437,680 1,867,852 จํานวนผูใชบริการ1/ 1/

รวมผูใชบริการบรอดแบนด

iii) บริการโครงขายขอมูลธุรกิจ (Business Data Service) กลุมทรูใหบริการโครงขายขอมูลในลักษณะโซลูชั่น ทั้งบริการดานเสียงและขอมูลไปดวยกัน รวมทั้งใหบริการดานการบริหารโครงขายขอมูลกับลูกคาธุรกิจ ทั้งนี้ผานเทคโนโลยีตางๆ ที่หลากหลาย ประกอบดวย บริการโครงขายขอมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรือบริการวงจรเชา (Leased Line) บริการโครงขายขอมูลผานเครือขาย IP ไดแก บริการ MPLS (Multi-protocol Label Switching) บริการ Metro Ethernet ซึ่งเปนบริการโครงขายขอมูลที่ใชเทคโนโลยี Fiber-to-the-building และถูกออกแบบมาเฉพาะลูกคาธุรกิจ รวมทั้งบริการวงจรเชาผานเครือขาย IP (IP based leased line) ที่ผสมผสานระหวางบริการขอมูลผานเครือขาย IP และบริการวงจรเชา ซึ่งมีคุณภาพดีกวาบริการเครือขาย IP แบบมาตรฐาน นอกจากนั้น ยังเนนการใหบริการ การบริหารจัดการเครือขายขอมูล (Managed Network Service) ซึ่งเปนบริการที่ผสมผสานบริการเกี่ยวกับ การปฏิบัติการเครือขาย 3 บริการเขาดวยกัน ตั้งแต การจัดการประสิทธิภาพของเครือขาย การบริหารขอผิดพลาด และการกําหนดคาตางๆ ของเครือขาย ยิ่งไปกวานั้น สาธารณูปโภคดานโครงขายของบริษัทยังสรางขึ้นดวย เทคโนโลยี IP ที่ทันสมัย พรอมสนับสนุนการทํางานบนเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง (Cloud Computing)

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนพฤษภาคม 2553 ทรู ไอดีซี เปดบริการ “ทรู คลาวด” (True Cloud Services) บนเทคโนโลยี คลาวด คอมพิวติ้ง รายแรกในไทย สําหรับองคกรทุกประเภททั้งใหญ กลาง และ เล็ก ดวยบริการคลาวดสวนตัว (Private Cloud) ใชงานเฉพาะลูกคาแตละราย คลาวดสาธารณะ (Public Cloud) ใชงานรวมกับผูใชบริการรายอื่น และ คลาวดแบบผสมผสาน (Hybrid Cloud) ผสมการใชงานคลาวดสวนตัวและคลาวดสาธารณะ โดยลูกคาสามารถ เลือกแพ็กเกจบริการได 2 รูปแบบ คือ คลาวด เซิรฟเวอร (Cloud Server) บริการเครื่องแมขายเสมือนจริง (Virtual Server) บนเครือขายอินเทอรเน็ต และคลาวด สตอเรจ (Cloud Storage) บริการพื้นที่บนเครือขายอินเทอรเน็ต โดย ไมจํากัดขนาดของพื้นที่ ซึ่งทั้งสองบริการคิดคาบริการตามการใชงานจริง (Pay Per Use) เปนรายวัน กลุมทรูคือหนึ่งในผูใหบริการโครงขายขอมูล รายใหญของประเทศ กลุมทรูมีความไดเปรียบใน การแขงขัน เนื่องจากมีโครงขายที่ทันสมัยที่สุด โดยมีกลยุทธในการเนนสรางความแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น ดวยการนําเสนอบริการตามความตองการเฉพาะของลูกคา ผสมผสานผลิตภัณฑ และ บริการภายในกลุมไปดวยกัน อาทิ บริการดานขอมูล (Content) VoIP และอินเทอรเน็ต หรือการนําเสนอบริการรวมกับคูคาทางธุรกิจตางๆ อาทิ รวมมือกับบริษัทซิสโก (Cisco) เพื่อใหบริการวางระบบเครือขาย IP คุณภาพสูง ทําใหไมจําเปนตองแขงขันดาน ราคาเพียงอยางเดียว ทั้งนี้ กลุมทรูเปนผูใหบริการรายแรกของประเทศไทย ที่ไดการรับรองจากซิสโกใหเปน “Cisco Powered” ปจจุบันมีบริษัทที่ไดรับ Cisco Powered ทั่วโลกกวา 300 ราย ในป 2551 ลูกคาของซิสโก (ซึ่งทรูเปนผู ใหบริการ) จัดอันดับคุณภาพการใหบริการของทรูอยูในระดับ “ยอดเยี่ยม” กลุมทรูมีเปาหมายหลักที่จะใหบริการลูกคาที่เปนองคกรธุรกิจขนาดใหญ รวมทั้งจะขยายการ ใหบริการสูกลุมธุรกิจขนาดกลาง และขนาดยอม หรือ เอสเอ็มอี อยางจริงจัง โดยเฉพาะอยางยิ่งในตางจังหวัด เนื่องจากยังมีสวนแบงตลาดในพื้นที่ดังกลาวคอนขางต่ํา อีกทั้งตลาดตางจังหวัดยังมีโอกาสเติบโตไดอีกมาก โดย วางแผนที่จะใชประโยชนจากผลิตภัณฑและบริการของกลุมที่มีความหลากหลาย (อาทิ บริการดานคอนเทนต VoIP และ อินเทอรเน็ต) เพื่อขยายสวนแบงตลาดในตางจังหวัดโดยผานยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ และ การ นําเสนอผลิตภัณฑภายในกลุมไปดวยกัน นอกจากนี้ กลุมธุรกิจโครงขายขอมูลธุรกิจ ยังใหความสําคัญกับกลุมลูกคาในตลาดเคเบิลใยแกว นําแสง ซึ่งยังมีโอกาสในการเติบโตไดอีกมาก โดยไดวางระบบเคเบิลใยแกวนําแสง โดยใชเทคโนโลยี Gigabitcapable Passive Optical Network (GPON) เพื่อเขาถึงลูกคาองคกรซึ่งมีสํานักงานตั้งอยูบนถนนสายสําคัญ ๆ ใจ กลางกรุงเทพมหานคร ราว 47 อาคาร บนถนน 11 สาย ในป 2553 รวมทั้งจะลงทุนวางระบบเคเบิลใยแกวนําแสง ดวยเทคโนโลยี GPON ในอีก 123 อาคารในป 2554 ณ สิ้น ป 2553 กลุมทรูไดใหบริการโครงขายขอมูลแกลูกคารวม 21,566 วงจร โดยมีรายไดเฉลี่ย ตอวงจรที่ 9,035 บาทตอเดือน

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนวงจรที่ใหบริการ และรายไดเฉลี่ยตอวงจรในแตละชวงเวลาดังกลาว

จํานวนวงจรที่ใหบริการ รายไดเฉลี่ยตอวงจร (บาทตอเดือน)

2549 12,033 11,106

2550 13,976 11,253

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551 17,741 9,808

2552 19,940 8,696

2553 21,566 9,035

iv) บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด (“TIG”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู ไดรับใบอนุญาตประกอบ กิจการบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ (International Internet Gateway) และ บริการชุมสายอินเทอรเน็ต (Domestic Internet Exchange Service) (ประเภทที่ 2 แบบมีโครงขาย) จากคณะกรรมการ กทช. เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2549 และใบอนุญาตประเภทที่ 2 แบบมีโครงขายเปนของตนเอง สําหรับการใหบริการโครงขาย ขอมูลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2551 ดวยใบอนุญาตทั้งสองดังที่กลาวขางตน ทําให TIG สามารถใหบริการโครงขายอินเทอรเน็ต และ ขอมูลระหวางประเทศได ในสวนของบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ TIG ซึ่งมีชุมสายในกรุงเทพ สิงคโปร ฮองกง สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ทําใหการเชื่อมตอไปยังประเทศเหลานี้ มีประสิทธิภาพดีขึ้น และทําใหสามารถใหบริการลูกคาไดอยางมีคุณภาพ ตั้งแตเปดใหบริการ TIG มีการขยายแบนดวิธอยางตอเนื่อง เพื่อรองรับความตองการใชงาน อินเทอรเน็ต และบริการดานขอมูลตางประเทศ ซึ่งเติบโตขึ้นประมาณ 2 เทาตอป ทั้งนี้ปริมาณแบนดวิธที่ TIG ใหบริ การ สวนใหญ เป นการใหบริการแกบริษัทในกลุมทรู โดยสวนที่เหลื อสํ าหรั บกลุ มลูกค าภายนอก ซึ่ง ครอบคลุมผูใหบริการอินเทอรเน็ตในประเทศ บริษัทขามชาติ และผูใหบริการดานโทรคมนาคมในตางประเทศ ทั้งนี้สัดสวนของแบนดวิธที่ใหบริการสําหรับกลุมลูกคาภายนอกเพิ่มขึ้นจากประมาณรอยละ 10.0 ในป 2552 เปน ประมาณรอยละ 27.0 ในป 2553 ในสวนของบริการโครงขายขอมูลระหวางประเทศ มี 3 รูปแบบบริการ คือ บริการวงจรเชาสวน บุคคลระหวางประเทศ (International Private Leased Circuit - IPLC) บริการวงจรเชาเสมือนสวนบุคคลระหวาง ประเทศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IP VPN) และ บริการ Virtual Node ปจจุบัน มุงเนนกลุมลูกคา ซึ่งเปนผูใหบริการโทรคมนาคมระหวางประเทศ (International Carrier) ซึ่งมีที่ตั้งสาขาอยูในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค ซึ่งมีความตองการแบนดวิธปริมาณมากและคุณภาพการใหบริการสูง นอกจากนี้ TIG คํานึงถึงความตองการ แบนดวิธของลูกคากลุมองคกรที่หลากหลาย ทั้งขนาดแบนดวิธ และ ประเทศปลายทาง TIG จึงมีพันธมิตรผู ใหบริการโทรคมนาคมระดับโลก เพื่อเปนการขยายพื้นที่การใหบริการตางประเทศเพิ่มมากขึ้น จากประเทศ สิงคโปร และฮองกง ที่ TIG มีชุมสายตั้งอยูเองอีกดวย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนพฤศจิกายน 2552 ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย เปนบริษัทเอกชนรายแรกที่ไดรับใบอนุญาต เพื่อใหบริการผานโครงขายเคเบิลใยแกวใตน้ําจากคณะกรรมการ กทช. ทําใหเปนผูประกอบการธุรกิจเกตเวย เอกชนรายแรกที่ไดรับอนุญาตใหเชื่อมตอโครงขายใตน้ําของตนเอง และสามารถเชื่อมตอกับเคเบิลใตน้ําของผู ใหบริการรายอื่นๆ ในตลาด ซึ่งเมื่อผนวกเขากับโครงขายภาคพื้นดินที่มีอยู ทําให TIG มีความไดเปรียบในการ แขงขัน เนื่องจากสามารถใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยที่มีโครงขายครบถวนทั้งบนพื้นดินและใตน้ํา ในราคาที่ถูก กวาการใหบริการผานเคเบิลใตน้ําเพียงอยางเดียว ในป 2553 TIG ไดลงนามสัญญาใหบริการ Virtual Node สําหรับผูใหบริการโทรคมนาคม ระหวางประเทศชั้นนํา ในประเทศอินเดีย จีน และเกาหลี บริษัทยังขยายบริการอินเทอรเน็ต และ ดาตาเกตเวย ไปยังประเทศลาว และ กัมพูชา อีกดวย ซึ่งเปนสวนหนึ่งของเปาหมายใหม คือ การพัฒนาธุรกิจสูประเทศเพื่อนบาน v) บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ หลั งจากได รั บใบอนุ ญาตให บริ การโทรศั พท ทางไกลระหว างประเทศ (ประเภทที่ 3) จาก คณะกรรมการ กทช. บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“TIC”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมทรู เปดใหบริการอยางเปนทางการในวันที่ 1 ธันวาคม 2550 โดยใหบริการผานหมายเลข “006” ปจจุบัน บริการ โทรศัพททางไกลระหวางประเทศของทรู สามารถใหบริการเฉพาะผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ และ ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟเทานั้น เนื่องจากขอจํากัดดานการกํากับดูแล ตั้งแตเริ่มเปดใหบริการ บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศก็มีการเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีรายไดรวม 656 ลานบาท (กอนหักรายการระหวางกัน) ซึ่งเพิ่มขึ้นรอยละ 47.1 จากรายได 446 ลานบาท ในป 2552 ในเดือนกรกฎาคม 2552 TIC ไดนําเสนอโปรโมชั่นใหม “ซิมอินเตอร ทรูมูฟแบบเติมเงิน” สําหรับ ผูใชบริการ ทรูมูฟแบบเติมเงินที่เนนโทรศัพททางไกลตางประเทศ ดวยเทคโนโลยี VoIP ผานหมายเลข “00600” ดวยอัตราคาโทรเริ่มตนเพียง 1 บาทตอนาที ตลอด 24 ชั่วโมง สู 28 ปลายทางในตางประเทศ ซึ่งมีอัตราคาบริการถูก กวาการโทรผานหมายเลข “006” นอกจากนี้ ในเดือนสิงหาคม 2552 ทรูมูฟยังไดเปดใหบริการ “ซิมอินเตอร” สําหรับผูใชบริการแบบรายเดือน ในปลายป 2553 ทรูรวมกับการทาอากาศยานแหงประเทศไทยมอบฟรี “ซิมอิน เตอร” ใหกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ณ สนามบินทั่วประเทศ เพื่อกระตุนการใชบริการของทรูมูฟ และ บริการ โทรทางไกลระหวางประเทศ 4.1.2 ทรูมูฟ บริษัทฯ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ผานบริษัทยอยคือ ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนทางออม ผานบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) หรือ “BITCO” ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู ทรูมีสัดสวนการถือหุนใน BITCO/ทรูมูฟเปนรอยละ 98.9 ณ สิ้นป 2553

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูมูฟใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา ระหวาง กสท กับ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“สัญญาใหดําเนินการฯ”) ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ในการใหบริการ และ จัดหาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล 1800 จนถึงเดือนกันยายน 2556 ภายใตสัญญาดังกลาว ทรูมูฟจะตองจายสวนแบงรายไดแก กสท ในอัตรารอยละ 25.0 จากรายได (หลังหักคาเชื่อมโยงโครงขาย และ คาใชจายอื่นที่อนุญาตใหหัก เชน คอนเทนต) ทั้งนี้จนถึงเดือนกันยายน 2554 และจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30.0 จนสิ้นสุดระยะเวลาของสัญญา ในเดือนมิถุนายน 2551 กสท ไดอนุญาตใหทรูมูฟใชคลื่นความถี่ยาน 850 MHz เพื่อพัฒนาการ ใหบริการ HSPA (High Speed Package Access) จํานวน 5 MHz ทั้งนี้ภายใตเงื่อนไขสัญญาใหดําเนินการฯ ที่ กสท มีกับ ทรูมูฟ เดิม ทั้งนี้ จะใหบริการภายใตการทําการตลาดรวมกัน (Co-branding) และ ทรูมูฟ ยินดี ให กสท รวมใชสถานีฐาน และใชเกตเวยของ กสท นอกเหนือจากนั้น กสท ยังอนุญาตใหทรูมูฟเชาใชโครงขาย และอุปกรณที่ทรูมูฟไดสรางและโอนใหกับ กสท เพื่อการใหบริการตอไปอีก 5 ป หลังจากสัญญาใหดําเนินการฯ สิ้นสุดลง ในเดือนมกราคม 2552 ทรูมูฟลงนามในบันทึกขอตกลงรวมกัน (Memorandum of Agreement) รวมกับ กสท โทรคมนาคมในการรับสิทธิ์ที่จะเชาใชโครงขาย และ อุปกรณที่ทรูมูฟไดสรางและโอนใหกับ กสท เพื่อการใหบริการตอไปอีก 5 ป จนถึงป พ.ศ 2561 ซึ่งทําใหทรูมูฟสามารถดําเนินงานตอไปในระยะเวลา การใหบริการที่เทาเทียมกับผูใหบริการรายอื่นๆ นอกจากนี้ ทรูมูฟยังไดรับอนุญาตจาก กสท ใหใชคลื่นความถี่ 850 MHz เพื่อทดลองใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยุคที่สาม หรือ 3G ในลักษณะที่ไมใชเพื่อการคา (Noncommercial basis) ณ สิ้นป 2552 ทรูมีเสาสัญญาณ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ครอบคลุมรัศมี 2 กิโลเมตรตาม เสนทางรถไฟฟาบีทีเอสและรถไฟฟามหานคร ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งตามเมืองใหญๆ อยางเชน พัทยา ภูเก็ต (สวนใหญที่สนามบินนานาชาติและหาดปาตอง) และเชียงใหม (สวนใหญที่สนามบิน นานาชาติและบริเวณโดยรอบ) นอกจากนี้ ในป 2553 ไดมีการขยายขีดความสามารถของโครงขายอยางตอเนื่อง ในพื้นที่ที่ไดรับอนุญาตจาก กสท ใหใชคลื่นความถี่ 850 MHz เพื่อทดลองใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G ทั้งนี้เพื่อปรับปรุงคุณภาพและความเร็วในการใหบริการโมบาย อินเทอรเน็ตของบริษัท ผูใชบริการ หลังเปดใหบริการอยางเต็มรูปแบบในเดือนมีนาคม 2545 ทรูมูฟเติบโตอยางรวดเร็ว และสามารถ ครองสวนแบงตลาดลูกคาใหมไดเกือบ 1 ใน 3 ของตลาดทุกป นับจากป 2547 เปนตนมา ทําให ณ สิ้นป 2553 ทรูมูฟเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับ 3 ของประเทศ โดยมีจํานวนผูใชบริการทั้งสิ้นประมาณ 17.1 ลานราย โดยมีผูใชบริการแบบรายเดือนคิดเปนสัดสวนรอยละ 7.7 ของจํานวนผูใชบริการโดยรวม

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการ ทรูมูฟ และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ - ทรูมูฟ จํานวนผูใชบริการ - บริการแบบเติมเงิน - บริการแบบรายเดือน รวม รายไดรวมเฉลี่ยตอผูใชบริการ - รายไดเฉลี่ย ผูใชบริการแบบเติมเงิน - รายไดเฉลี่ย ผูใชบริการแบบรายเดือน

2549

2550

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551

7,031,289 546,453 7,577,742 292 250 772

11,362,331 717,758 12,080,089 191 158 676

13,786,283 970,551 14,756,834 130 105 510

2552

2553

14,575,094 1,226,070 15,801,164 115 90 428

15,804,698 1,313,166 17,117,864 105 79 424

บริการ บริการแบบเติมเงิน (Pre Pay) รายไดสวนใหญของทรูมูฟมาจากคาใชบริการแบบเติมเงิน ซึ่งผูใชบริการไมตองเสียคาบริการรายเดือน โดยผูใชบริการซื้อซิมการดพรอมคาโทรเริ่มตน และเมื่อคาโทรเริ่มตนหมดก็สามารถเติมเงินไดในหลากหลาย วิธีดวยกัน เชน จากการซื้อบัตรเติมเงิน การโอนเงินผานเครื่องเอทีเอ็ม การโอนเงินจากผูใชบริการทรูมูฟรายอื่น และการเติมเงินอัตโนมัติแบบ “over-the-air” ทรูมูฟเปนผูใหบริการรายแรกในประเทศไทยที่ใหบริการเติมเงินแบบ “over-the-air” ผานตัวแทน กวา 80,000 ราย ซึ่งเปนบุคคลธรรมดาหรือรานคาขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับทรูมูฟ และไดรับอนุญาตใหโอน คาโทรแบบ over-the-air ไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ของผูใชบริการผานบริการ SMS ผูใชบริการแบบเติมเงิน ของทรูมูฟสามารถเติมเงินผานตูโทรศัพทสาธารณะกวา 18,000 เครื่อง ในเขตกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล โดยสามารถเติมเงินขั้นต่ําเพียง 10 บาท นอกจากนี้ผูใชบริการทรูมูฟทั้งแบบเติมเงินและรายเดือน ยังสามารถ ชําระคาใชบริการดวยบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่โดยทรูมันนี่ เพื่อตอบสนองไลฟสไตลคนรุนใหม บริการแบบรายเดือน (Post Pay) บริการ Post Pay คือบริการทรูมูฟแบบรายเดือน ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกอัตราคาบริการรายเดือน สําหรับบริการเสียงเพียงอยางเดียว หรือบริการดานขอมูลเพียงอยางเดียว หรือบริการดานเสียงและบริการดาน ขอมูล ไดตามความตองการ (ตั้งแตราคา 99 - 2,000 บาท) นอกจากนี้ยังมีแพ็กเกจ Top-up ซึ่งผูใชบริการสามารถ สมัครบริการดานเสียงหรือบริการที่ไมใชเสียง (ในอัตราคาบริการที่คุมคากวา) เพิ่มเติมจากแพ็กเกจรายเดือนที่ ใชอยู ทั้งนี้ ผูใชบริการแบบรายเดือนของทรูมูฟจะไดรับใบแจงคาบริการเปนรายเดือน ซึ่งจะประกอบดวย คาบริการ รายเดือนและคาใชบริการสําหรับบริการเสียง และบริการไมใชเสียงตางๆ บริการเสียง (Voice Services) ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของทรูมูฟ นอกจากจะสามารถโทรศัพทภายในพื้นที่เดียวกัน โทรไปยัง ตางจังหวัดและโทรทางไกลตางประเทศแลว ยังสามารถใชบริการเสริมตางๆ ซึ่งขึ้นอยูกับแพ็กเกจที่เลือกใช

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการเสริมเหลานี้ประกอบดวย บริการรับสายเรียกซอน บริการโอนสายเรียกเขา บริการสนทนาสามสาย และ บริการแสดงหมายเลขโทรเขา นอกจากนี้ยังมีบริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ เพื่อใหผูใชบริการ สามารถโทรออกและรับสายเมื่อเดินทางไปตางประเทศอีกดวย บริการที่ไมใชเสียง (Non-voice) ทรูมูฟใหบริการที่ไมใชเสียง ที่หลากหลายเพื่อเติมเต็มและสอดคลองกับไลฟสไตลของลูกคา โดย ลูกคาสามารถใชบริการคอนเทนตผานชองทางตางๆ ไดหลายทาง ทั้งบนโทรศัพทเคลื่อนที่ และที่พอรทัล www.truelife.com ซึ่งประกอบดวย คอนเทนตตางๆ ทีไ่ ดรับความนิยมจากผูใ ชบริการ อาทิ การสื่อสารดวยภาพ หรือรูปถาย บริการขอมูลทางการเงิน เกม การตนู สกรีนเซฟเวอร และริงโทน รวมถึง คอนเทนตประเภทเพลง และกีฬา ลูกคาของทรูมูฟที่ใชบริการที่ไมใชเสียง มีปริมาณที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งบริการเสียง รอสาย บริการรับ-สงขอความ การดาวนโหลดภาพหรือรูปถาย และ เสียงโดยผานบริการโมบาย อินเทอรเน็ต บริการที่ไมใชเสียงแบงออกเปน 3 ประเภทดังนี้: บริการสงขอความ: • Short Messaging Service (SMS): บริการสงขอความไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น • Voice SMS: บริการสงขอความเสียงไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และโทรศัพทพื้นฐานรายแรกของ ประเทศไทย • Multimedia Messaging Service (MMS): บริการสงภาพ ขอความและเสียง ไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ รายอื่น บริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือ โมบาย อินเทอรเน็ต: • EDGE/GPRS และ 3G/HSPA*: ใหบริการสื่อสารขอมูลผานโทรศัพทเคลื่อนที่ดวยเทคโนโลยี GSM และ บริการรับ-สงอีเมลแบบอัตโนมัติผานระบบ Push e-mail (*บริการ 3G/HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ของทรูมูฟ ซึ่งอยูในระหวางการทดลองใหบริการ สามารถใชงานไดในยานธุรกิจหลัก ในกรุงเทพมหานคร และในจังหวัดใหญในตางจังหวัด และ ในจังหวัดที่เปนสถานที่ทองเที่ยว อาทิ ชลบุรี ภูเก็ต และเชียงใหม) • Mobile Chat: บริการรับ-สงขอความในรูปของ WAP based ทําใหผูใชบริการสามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ต บนมือถือ หรือสนทนาสดออนไลน • Mobile Web: เปนบริการที่ทําใหผูใชบริการที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่สนับสนุนการใชงานอินเทอรเน็ต หรือ สามารถเชื่อมตอ Wi-Fi ได • บริการ BlackBerry และ iPhone: ประกอบดวย บริการ BlackBerry Messenger บริการ Chat บริการ Push-mail และ การเชื่อมตออินเทอรเน็ต บริการดานคอนเทนต: • Ring-back Tone: บริการเสียงรอสาย ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกเสียงดวยตัวเอง หรือเลือกจากเพลงที่ไดรับ การคัดสรรมาเปนพิเศษ

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

• •

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

Voicemail: บริการรับฝากขอความ ซึ่งผูใชบริการสามารถเรียกฟงขอความเสียงที่ฝากไวในระบบไดเมื่อ ไมไดรับสาย Multimedia Content Services: บริการคอนเทนตมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบดวย เพลง กีฬา ขาว และขาวการเงิน ทรูมูฟสามารถใชประโยชนจากคอนเทนตซึ่งเปนลิขสิทธิ์เฉพาะของ ทรูมิวสิค ทรูออนไลน และ ทรูวิชั่นส เพื่อสรางความเติบโตใหกับรายได

ในป 2553 รายไดจากบริการที่ไมใชเสียงมีสัดสวนเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 15.0 ของรายไดจากบริการ โดยรวม (ไมรวมคา IC) เทียบกับรอยละ 13.3 ในชวงเวลาเดียวกันของปที่ผานมา โดยเปนรายไดจากบริการโมบาย อินเทอรเน็ต มีสัดสวนรอยละ 31.8 บริการรับ-สงขอความ (SMS/MMS) คิดเปนรอยละ 25.5 และบริการดานคอน เทนต คิดเปนรอยละ 42.7 ของรายไดจากบริการที่ไมใชเสียงโดยรวม (เทียบกับรอยละ 18.1รอยละ 30.3 และรอย ละ 51.6 ในป 2552 ตามลําดับ) รายได จากบริ การโมบาย อิ นเทอร เน็ ต มี อั ตราการเติ บโตที่ สู งมาก เนื่ องจากความนิ ยมในการ ใชบริการเครือขายสังคมออนไลน และการใชงานโทรศัพทประเภทสมารทโฟน ที่เพิ่มสูงขึ้น โดยในป 2553 บริการโมบาย อินเทอรเน็ต ของทรูมูฟ เติบโตถึงรอยละ 97.5 ของชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 1.123 พันลานบาท การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ ทรูมูฟจัดจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่คุณภาพสูง รวมทั้งอุปกรณ ตลอดจน พีดี เอโฟน และ สมารทโฟน จากบริษัทผูผลิตชั้นนํา อาทิ iPhone 4 และ iPhone 3G S รวมทั้ง BlackBerry ทั้งนี้เครื่องโทรศัพทที่ทรูมูฟ จัดจําหนาย เปนทั้งการจําหนายเครื่องเปลาโดยไมผูกพันกับบริการใดๆ กับการจําหนายเครื่องโดยลูกคาใชแพ็กเกจ รายเดือนจากทรูมูฟ บริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ (International Roaming) ผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่จากตางประเทศที่เดินทางมาเมืองไทย สามารถใชบริการโทรศัพทขามแดน ระหวางประเทศผานโครงขายของทรูมูฟ (Inbound) ในกรณีที่ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของชาวตางชาติราย นั้นๆ มีสัญญาโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศกับทรูมูฟ และในขณะเดียวกันผูใชบริการทรูมูฟในประเทศไทย ก็ ส ามารถใช บ ริ ก ารนี้ เมื่ อ เดิ น ทางไปยั ง ต า งประเทศ (Outbound) ได อี ก ด ว ย ลู ก ค า สามารถ ใชบริการตางๆ อาทิ บริการรับฝากขอความเสียง บริการสงขอความ (SMS) บริการสงภาพ ขอความและเสียง (MMS) บริการอินเทอรเน็ต/อีเมล บริการแสดงเบอรโทรเขา บริการเตือนเมื่อไมไดรับสาย บริการ Short Code บริการแบล็กเบอรรี่ขามแดน และบริการ Wi-Fi ในเดือนมิถุนายน 2551 ทรูมูฟไดประกาศเขารวมเครือขายพันธมิตรคอนเน็กซัส โมบายล (Conexus Mobile Alliance) สงผลใหปจจุบันคอนเน็กซัส โมบายล มีฐานผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชบริการโรมมิ่ง (ทั้งบริการเสียงและบริการที่ไมใชเสียง) เพิ่มขึ้นเปน 210 ลานราย โดยผูใชบริการเหลานี้สามารถใชบริการโรมมิ่ง ในประเทศไทยบนเครือขายทรูมูฟ ในขณะเดียวกันยังเปนการเพิ่มทางเลือกและความสะดวกสบายใหลูกคาทรูมูฟ ในการโรมมิ่งเสียงและขอมูลเมื่อเดินทางไปทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก นอกจากนี้ ทรูมูฟ และ กลุมคอนเน็กซัส

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โมบายล ยังไดประกาศเปดตัวบริการใหมลาสุด “บริการโรมมิ่งขอมูลผานแบล็กเบอรรี่” พรอมกันทุกประเทศ ในกลุมสมาชิก ตอบรับความตองการใชงานดานขอมูลที่เพิ่มสูงขึ้น สามารถเชื่อมตอกับอีเมลขององคกรและทอง อินเทอรเน็ตไรสายไดอยางสะดวก ชวยประหยัดคาใชจายใหลูกคานักธุรกิจที่เดินทางเปนประจํา และใชบริการ โรมมิ่งในเครือขายของบริษัทที่เปนพันธมิตรของคอนเน็กซัสไดเปนอยางดี ในเดือนกุมภาพันธ 2552 ทรูมูฟไดเปดตัวโปรโมชั่นใหม “Data Roaming Flat Rate” ใหผูใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ของทรูมูฟใชบริการโรมมิ่งขอมูลผาน EGDE และ GPRS บนเครือขายของผูใหบริการที่เปน สมาชิกกลุมคอนเน็กซัส โมบายล ดวยอัตราคาบริการแบบเหมาจายรายวันอัตราเดียวสูงสุดเพียงวันละ 399 บาท และคิดคาบริการตามการใชงานจริง หากใชงานไมถึงวันละ 399 บาท เนื่องจากโปรโมชั่นนี้ไดรับความนิยมเปน อยางมาก จึงไดมีการนําเสนออีกในเดือนมิถุนายนและธันวาคม 2553 โครงขาย ทรู มู ฟเป นผู ให บริ การที่ เข ามาดํ าเนิ นธุ รกิ จโทรศั พท เคลื่ อนที่ รายล าสุ ดในจํ านวนผู ให บริ การ โทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ 3 ราย จึงทําใหไดรับประโยชนจากพัฒนาการเทคโนโลยีใหมลาสุด ดวยการลงทุนที่ มีประสิทธิภาพและตนทุนถูกกวา ปจจุบันทรูมูฟขยายการใหบริการครอบคลุมพื้นที่รอยละ 93 ของจํานวน ประชากรของประเทศ ซึ่งทําใหเทียบเทากับผูใหบริการรายอื่น การนําเสนอแพ็กเกจรวมกับกลุมทรู ทรูมูฟคือองคประกอบสําคัญของกลุมทรู ดังจะเห็นไดจากการนําเสนอผลิตภัณฑและบริการตางๆ ภายในกลุมในรูปแบบของแพ็กเกจรวมกับทรูมูฟ ทรู มู ฟยั งมี ส วนสํ าคั ญในการนํ าเสนอโปรโมชั่ นร วมกั บทรู วิ ชั่ นส และ ทรู อิ นเทอร เน็ ต ใน รายการอคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซั่น 7 (True AF7) รายการเรียลลิตี้โชวยอดนิยม ซึ่งตั้งแตป 2549 เปนตนมา ผูใชบริการ ทรูมูฟเทานั้นที่สามารถเขารวมสนุกดวยการโหวตใหคะแนนผูแขงขันที่ตนชื่นชอบ นอกจากนี้ ทรู มู ฟยั งร วมมื อกั บทรู วิ ชั่ นส นํ าเสนอแพ็ กเกจ ทรู ไลฟ ฟรี วิ ว ซึ่ งเป นโปรโมชั่ น สําหรับตลาดลูกคาระดับกลางและลาง (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอ ทรูวิชั่นส) All Together Bonus ซึ่งเปดตัวในป 2547 เปนแพ็กเกจแรกที่ผสมผสานผลิตภัณฑและบริการใน กลุมทรูเขาดวยกันในรูปแบบของแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ โดยปจจุบันยังคงไดรับความนิยมจากผูใชบริการ ทรูมูฟอยางตอเนื่อง ความสําเร็จของ All Together Bonus ทําใหมีการนําเสนอแพ็กเกจคอนเวอรเจนซตามมาอีก หลายแพ็กเกจ อาทิ บริการ Wi-Fi ฟรี และการเพิ่มความเร็วในการอัพโหลดสําหรับลูกคาทรูมูฟหรือทรูวิชั่นส ที่ใชบริการไฮสปดอินเทอรเน็ตของทรูออนไลน โดยคอนเวอรเจนซคือยุทธศาสตรสําคัญในการสรางความเติบโต อยางยั่งยืนใหกับผลิตภัณฑและบริการของกลุมทรู ทรูมูฟใหความสําคัญกับการพัฒนาและนําเสนอนวัตกรรม สําหรับบริการที่ไมใชเสียงมาโดยตลอด ตัวอยางเชน เปนผูประกอบการรายแรกในประเทศไทยที่เปดใหบริการ Voice SMS บริการริงโทนแนวใหมที่ผูใช สามารถผสมผสานให เป นทํ านองของตนเอง (ผ านบริ การ IRemix) และบริ การเติ มเงิ น ‘over-the-air’

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รวมทั้งยังเปดใหบริการ EDGE (Enhanced Data rates for GSM Evolution) ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล และบริการมัลติมีเดียคอนเทนตตางๆ รวมทั้งขยายการใหบริการอินเทอรเน็ตไรสาย ดวยเทคโนโลยี Wi-Fi ในป 2551 ทรูมูฟ ไดเปดตัวเกมซิม เพื่อเจาะกลุมคอเกมออนไลน และซิมอินเตอร สําหรับผูที่เนนการ โทรทางไกลตางประเทศ รวมทั้งไดนําเสนอ ทัชซิม ผานเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) เปนครั้งแรกในโลก ทัชซิมเปนซิมโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีแผนรับสัญญาณ RFID พวงติดกับทัชซิม แผนรับสัญญาณนี้ จะทําหนาที่รับสงสัญญาณ เพื่ออานขอมูลจากกระเปาเงินอิเล็กทรอนิกส (E-purse & E-wallet) ในซิม จึง สามารถทําการชําระคาสินคาและบริการตางๆ ไดอยางสะดวกและงายดาย เพียงสัมผัสโทรศัพทเคลื่อนที่ ที่ใชทัชซิมกับเครื่องอานสัญญาณ ในป 2552 ทรูมูฟประสบความสําเร็จในการเปดตัว iPhone 3G และ iPhone 3G S ในประเทศไทย ในปลายเดือนพฤศจิกายน 2553 การเปดตัว iPhone 4 ของทรูมูฟประสบความสําเร็จอยางดียิ่ง ดังจะเห็นได จากยอดขาย iPhone รวมทั้งยอดผูใชบริการรายใหมสุทธิของผูใชบริการระบบรายเดือนที่เพิ่มขึ้นอยางแข็งแกรง ในไตรมาส 4 ป 2553 นอกเหนือจากนั้น การทดลองใหบริการ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ตลอดจนโครงขาย Wi-Fi ที่ครอบคลุมอยางกวางขวาง รวมทั้งอัตราคาบริการที่ดึงดูดใจของทรูมูฟ ทําใหทรูมูฟไดเปรียบในเชิง การแขงขัน และเปนผูนําบริการ 3G ในประเทศไทย การเขาถือหุนของบริษัทในกลุมฮัทชิสัน ในปลายเดือนธันวาคม 2553 กลุมทรูไดลงนามในสัญญาเพื่อการเขาถือหุนของ 4 บริษัทของ กลุมฮัทชิสันในประเทศไทย โดยไดดําเนินการแลวเสร็จในเดือนมกราคม 2554 เนื่องจากบริษัททั้ง 4 ที่ กลุมทรูเขาถือหุนในครั้งนี้ไมไดอยูภายใตการบริหารงานของทรูมูฟ จึงทําใหเกิดการเปลี่ยนผานในการดําเนินธุรกิจ โทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมทรู โดยทําใหบริษัทไดรับประโยชนจากการเปนผูใหบริการรายแรกที่สามารถใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ในเชิงพาณิชยไดทั่วประเทศกอนผูใหบริการรายอื่นๆ อีกทั้งยังชวยขยายระยะเวลาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมทรูไปจนถึงป 2568 และ ชวยขยายฐานธุรกิจ โทรศัพทเคลื่อนที่ใหกับกลุมบริษัททรู เนื่องจากบริษัทฮัทชิสันในประเทศไทยมีลูกคาโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยรวมประมาณ 800,000 ราย และมีรายไดรวมตอปประมาณ 4 พันลานบาท 4.1.3 ทรูวิชั่นส ทรูวิชั่นส (ชื่อเดิม ยูบีซี) คือ ผูนําในการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ซึ่งใหบริการ ทั่วประเทศผานดาวเทียมในระบบดิจิตอลตรงสูบานสมาชิก และผานโครงขายผสมระหวางเคเบิลใยแกวนําแสง และสายโคแอ็กเชียล (coaxial) ที่มีประสิทธิภาพสูง ทรูวิชั่นส เกิดจากการควบรวมกิจการเมื่อป 2541 ระหวางยูบี ซี (เดิมคือ ไอบี ซี) และ ยูบีซีเคเบิล (เดิมคือ ยูทีวี) โดยดําเนินธุรกิจภายใตสัญญารวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศน (และบริการโทรทัศนทางสาย) ระบบบอกรับสมาชิก (“สัญญารวมดําเนินกิจการฯ”) อายุ 25 ป ที่ไดรับจากองคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย (อสมท) โดยสั ญญาร วมดําเนิ นกิจการฯ สํ าหรั บบริ การผ านดาวเทียมจะหมดอายุ ในวันที่ 30 กันยายน 2557

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

และ สัญญารวมดําเนินกิจการฯ สําหรับบริการโทรทัศนทางสาย (หรือ เคเบิล) จะหมดอายุในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ทรูวิชั่นสใหบริการในระบบดิจิตอลผานดาวเทียม (DSTV) โดยการสงสัญญาณในระบบ Ku-band และใชระบบการบีบอัดสัญญาณ MPEG-2 ซึ่งทําใหบริษัทฯ สามารถเพิ่มจํานวนชองรายการไดมากขึ้น ปรับปรุง คุณภาพเสียงและภาพใหคมชัดยิ่งขึ้น สามารถกระจายสัญญาณใหบริการไปยังทุกๆ พื้นที่ในประเทศไทย ปจจุบัน การใหบริการระบบนี้ถายทอดสัญญาณผานดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่งมีขีดความสามารถสูงกวาเดิมมาก นอกจากนั้น ทรูวิชั่นสใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกระบบเคเบิล (CATV) โดย ใหบริการทั้งระบบดิจิตอลและระบบอานาล็อกในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลผานโครงขายผสม ระหวางเคเบิลใยแกวนําแสง และสายโคแอ็กเชียล ของบริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู) โดยปจจุบันโครงขายดังกลาวผานบานถึงประมาณ 800,000 หลังคาเรือนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในตนป 2549 บริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการรวมยูบีซีเขามาเปนสวนหนึ่งของกลุมทรู ทําให บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 91.8 ของยูบีซี ภายหลังการรวมเปนสวนหนึ่งของทรู ทรูวิชั่นสไดปรับเปลี่ยน กลยุทธทางการตลาด โดยขยายบริการสูตลาดกลางและลาง ซึ่งทําใหทรูวิชั่นสสามารถเพิ่มฐานลูกคาไดกวา 2 เทา ในครึ่งปแรกของป 2553 ทรูวิชั่นส ไดปรับโครงสรางกลุมบริษัท เปนกลุม บริษัททรูวิชนั่ ส (ซึ่งทรูมี สัดสวนการถือหุนรอยละ 99.99 โดยทางออม) ทั้งนี้เพื่อรองรับกรอบการกํากับดูแลที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะ อยางยิ่งเพื่อการรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศนในระบบบอกรับเปนสมาชิก และ ทําใหการดําเนินธุรกิจ ของทรูวิชั่นสมีความคลองตัวมากขึ้นรองรับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต ซึ่งสงผลให ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554 ทรูมีสัดสวนการถือหุนรอยละ 99.31 ในบมจ. ทรู วิชั่นส และ รอยละ 98.99 ใน บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล นับตั้งแตมีการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2551 ในเดือนมีนาคม 2551 ทรูวิชั่นสไดมีการเจรจากับ บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) เพื่อใหสามารถหารายได จากการโฆษณาไดเชนเดียวกับผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกรายอื่นๆ โดยในวันที่ 8 ตุลาคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการ อสมท อนุญาตใหทรูวิชั่นสหารายไดจากการรับทําโฆษณาผานชองรายการตางๆ โดยจายสวนแบงรายไดรอยละ 6.5 ใหแก อสมท ทําใหทรูวิชั่นสเริ่มหารายไดจากการรับทําโฆษณาผานชองรายการ ตางๆ โดยเริ่มทําการโฆษณาอยางคอยเปนคอยไป ทั้งนี้เพื่อไมใหขัดจังหวะการรับชมรายการของสมาชิก นอกจากนี้ ในป 2553 ทรูวิชั่นสจะทยอยเพิ่มชองรายการเพื่อออกอากาศโฆษณาซึ่งรวมทั้งชองรายการที่ทรูวิชั่นส รับมาออกอากาศ (Turnaround channel) โดยทรูวิชั่นสมีรายไดจากการรับทําโฆษณาเต็มปเปนปแรกในป 2553 เปนจํานวนทั้งสิ้น 482 ลานบาท ณ สิ้นป 2553 ทรูวิชั่นสมีจํานวนผูใชบริการรวม 1,705,054 ราย โดย 929,492 ราย เปนผูใชบริการแพ็กเกจ มาตรฐาน สวนที่เหลือเปนผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิวและฟรีทูแอร

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ ทรูวิชั่นส

2549

2550

จํานวนผูใชบริการ เฉพาะลูกคาแพ็กเกจปกติ - ระบบเคเบิล 133,977 132,868 - ระบบจานดาวเทียม (DsTV) 424,883 496,920 รวมผูใชบริการแพ็กเกจปกติ 558,860 629,788 แพ็กเกจ ฟรีวิว 1/ 64,647 318,790 1/ แพ็กเกจ ฟรีทูแอร 90,342 รวมผูใชบริการทั้งหมด 623,507 1,038,920 2/ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ 1,217 1,104 1/ ไมรวมผูใชบริการชําระคาบริการเพิ่มเพื่อเปลี่ยนแพ็กเกจเปนแพ็กเกจปกติ 2/ ไมรวมผูใชบริการประเภท ฟรีวิว และ ฟรีทูแอร

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2551

2552

2553

129,659 670,178 799,837 527,096 142,538 1,469,471 988

123,349 805,207 928,556 536,324 198,527 1,663,407 806

118,784 810,708 929,492 519,727 255,835 1,705,054 744

ทรูวิชั่นสนําเสนอความบันเทิงหลากหลายดวยชองรายการชั้นนําที่มีคุณภาพทั้งจากในประเทศและ ตางประเทศ ประกอบดวย ภาพยนตร (เชน HBO, Cinemax, Star Movies) กีฬา (เชน ESPN, Star Sport และรายการ ของทรูวิชั่นสเอง) สาระบันเทิง (เชน Discovery Channel, National Geographic) และขาว (เชน CNN, CNBC, Bloomberg, BBC World, Phoenix InfoNews) นอกจากนั้นยังมีรายการจากสถานีโทรทัศนภาคปกติของไทย (Free TV) และ บริการ Pay Per View แพ็กเกจหลักของทรูวิชั่นสทั้ง 4 แพ็กเกจ รวมชองรายการอื่นๆ นอกเหนือจากรายการมาตรฐาน (ไดแก ชองรายการฟรีทีวี รวมทั้งหมด 6 ชองรายการ และชองรายการเพื่อการศึกษา อีก 15 ชองรายการ และมีรายละเอียด ของแตละแพ็กเกจดังตารางดานลาง แพ็กเกจ แพลทินัม (Platinum) โกลด (Gold) ซิลเวอร (Silver) ทรู โนวเลจ (True Knowledge)

จํานวนชองรายการ 100 91 77 67

คาบริการตอเดือน 2,000 1,413 590 340

นอกเหนือจากแพ็กเกจขางตน ทรูวิชั่นสยังนําเสนอแพ็กเกจตามสัง่ (A-La-Carte) ซึ่งประกอบดวย 10 ชองรายการ เชน HBO, Disney และ Discovery ผูใชบริการแพ็กเกจ Platinum สามารถเลือกรับชมแพ็กเกจตาม สั่งที่ชื่นชอบไดในราคาพิเศษ ในขณะที่ผูใชบริการแพ็กเกจ Silver สามารถเลือกซื้อแพ็กเกจ Discovery และ Disney เพิ่มไดเชนกัน ทรู วิ ชั่ นส ขยายบริ การไปยั งตลาดกลางและล าง โดยนํ าเสนอแพ็ กเกจร วมกั บทรู มู ฟ ภายใต ชื่ อ ทรูไลฟฟรีวิว (เดิมชื่อ ทรูวิชั่นส-ยูบีซี ทรูมูฟ ฟรีวิว) โดย “ทรูไลฟฟรีวิว” คือหนึ่งในแพ็คเกจคอนเวอรเจนซหลัก

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ของกลุมทรู โดยผูใชบริการสามารถรับชมทรูวิชั่นส 43 ชองมาตรฐานในราคาเดือนละ 299 บาท และไดรับคาโทร ทรูมูฟ 299 บาท นอกจากนี้ ทรูไลฟฟรีวิวยังทําใหทรูวิชั่นสสามารถขยายตลาดสูลูกคาในระดับกลางและลาง และมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มยอดผูใชบริการในตางจังหวัด โดย ณ สิ้นป 2553 ผูใชบริการในตางจังหวัดมี สัดสวนรอยละ 50.1 ของผูใชบริการทั้งหมดของทรูวิชั่นส ทั้งนี้กลยุทธในการขยายตลาดสูลูกคาระดับกลางและ ลาง ทําใหทรูวิชั่นสมีผูใชบริการรวมทั้งสิ้น 1,705,054 ราย ในป 2553 นอกจากนี้ ผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิวยังสามารถเปลี่ยนมาใชบริการแพ็กเกจโนวเลจ โดยจะสามารถ รับชมทรูวิชั่นสไดเพิ่มขึ้นอีก 14 ชอง ทั้งนี้ ณ สิ้นป 2553 รอยละ 38.0 ของผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิวไดเปลี่ยนมา เปนแพ็กเกจโนวเลจ ซึ่งชวยเพิ่มรายไดใหกับทรูวิชั่นส ในป 2554 ทรูวิชั่นสมีแผนที่จะเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับแพ็กเกจฟรีวิว โดยการเพิ่มชองรายการ จากทรูวิชั่นสและชองรายการฟรีทูแอร โดยเริ่มตนที่ 53 ชองในราคาเดิม และสามารถเพิ่มชองรายการไดสูงสุดถึง 215 ชองโดยมีคาบริการเพิ่มขึ้นอีก 100 บาท ซึ่งจะสงผลใหทรูไลฟฟรีวิวสามารถแขงขันไดทั้งในดานคุณภาพ และ ความคุมคา นอกจากนี้ทรูวิชั่นสยังจําหนายจานดาวเทียมแบบขายขาด ใหรับชมทรูวิชั่นสฟรี 49 ชอง และสามารถ เปลี่ยนมาใชบริการแพ็กเกจโนวเลจไดเชนเดียวกับผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิว บริการอื่นๆ ของทรูวิชั่นส ประกอบดวย: Personal Video Recorder (PVR): กลองรับสัญญาณรุนใหมที่มีคุณสมบัติเพิ่มเติม (เชน สามารถ อัดรายการ ขยายภาพในระหวางการรับชม หรือ เลนซ้ํา) เพื่ออํานวยความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพในการ รับชมใหกับสมาชิก โปรโมชั่นจานแดงทรูวิชั่นส DSTV ขายขาด ใหสมาชิกรับชมทรูวิชั่นสฟรี 49 ชอง โดยไมมี คาบริการรายเดือน นอกจากนี้ ผูใชบริการที่ใชบริการทรูมูฟและเติมเงินทรูมูฟ ทุกเดือน จะสามารถรับชม ทรูวิชั่นสเพิ่มอีก 7 ชอง รายการเรียลลิตี้โชวยอดนิยม อะคาเดมี แฟนเทเชีย ซึ่งออกอากาศปละครั้ง (โดยปกติจะออกอากาศ ระหวางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน) เปนโปรแกรมสําคัญในการรักษาฐานลูกคาของทรูวิชั่นสในชวงที่มี การชะลอตัวตามฤดูกาลแลว ยังเปนการสรางคอนเทนตใหกับธุรกิจอื่นๆ ภายในกลุมทรูอีกดวย ทรูวิชั่นสยังคงเดินหนาตอยอดความเปนผูนําดานคอนเทนต แพ็กเกจแบบพรีเมียมของทรูวิชั่นส นําเสนอรายการที่ไดรับความนิยมอยางสูงในตางประเทศ และเกือบทั้งหมดเปนรายการที่ทรูวิชั่นสไดรับลิขสิทธิ์ แตเพียงผูเดียว (โดยมีเพียง 3 ชองรายการ จากทั้งหมด 43 ชองรายการที่ไมใชรายการที่ไดรับลิขสิทธิ์เฉพาะ) และ เพื่ออรรถรสในการรับชมรายการตางๆ เหลานี้ ทรูวิชั่นสจึงไดอํานวยความสะดวกใหผูชมชาวไทยไดรับชม รายการจากตางประเทศดวยเสียงและคําบรรยายภาษาไทย รวมทั้งผลิตคอนเทนตขึ้นเอง เพื่อใหเหมาะกับรสนิยม ของคนไทย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ ในเดือนพฤษภาคม ป 2553 ทรูวิชั่นสไดเปดตัวชองรายการใหม 2 ชองในระบบ High Definition (HD) เพื่อใหบริการแกลูกคาระดับบน โดยประกอบไปดวยชอง TrueSport HD (ชอง 111) ซึ่ง ถายทอดสดรายการกีฬาสําคัญระดับโลกตางๆ และ ชอง HBO HD (ชอง 112) ซึ่งรวบรวมภาพยนตรทําเงิน อันดับ 1 ทั่วโลกมานําเสนอ กวา 100 เรื่องตอเดือน ทั้งนี้ ประเดิมโดยการถายทอดสดฟุตบอลโลก 2010 (FIFA World Cup 2010) บนชอง TrueSport HD เพื่อเพิ่มประสบการณการรับชมที่ดียิ่งขึ้นสําหรับสมาชิก แพ็กเกจพรีเมียม โดยผูชมจะตองเสียคาบริการเพิ่มจากคาบริการรายเดือนตามปกติ นอกจากนี้ ยังไดเพิ่มชอง รายการในระบบ HD เพื่อถายทอดรายการเรียลลิตี้ทีวีที่ผลิตโดยกลุมทรูวิชั่นส โดยเริ่มถายทอดรายการ อะคาเดมี แฟนตาเซีย ฤดูกาลที่ 7 ตั้งแตปลายเดือนมิถุนายน ถึง กันยายน ป 2553 4.1.4 ทรูมันนี่ ในป 2548 ทรูมันนี่ไดรับใบอนุญาตจากธนาคารแหงประเทศไทยใหประกอบธุรกิจบัตรเงิน อิเล็กทรอนิกสและไดรับอนุมัติจากกรมสรรพากรในการแตงตั้งเปนตัวแทนรับชําระคาสินคาและบริการ พรอมการออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกํากับภาษี โดยใหบริการทางการเงินสําหรับลูกคาทั่วไปภายใตแนวคิด เติม-จาย-โอน-ถอนโดยบริการตางๆ ของทรูมันนี่ประกอบดวย บัตรเงินสดทรูมันนี่ บัตรเงินสดทรูมันนี่ ชวยใหผูใชบริการทรูมูฟและกลุมทรูสามารถเติมเงินใหกับบริการตางๆ ภายใน กลุมทรู ซึ่งประกอบดวย บริการทรูมูฟแบบเติมเงิน บริการ WE PCT Buddy บริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง แบบเติมเงิน บริการซื้อชั่วโมงอินเทอรเน็ต บริการ True E-book และบริการเกมออนไลนตางๆ ดวยวิธีการ และ ขั้นตอนแบบเดิม โดยใชรหัสที่ปรากฏในบัตร ตัวแทนรับชําระและจัดเก็บคาสินคาและบริการ ณ สิ้นป 2553 ทรูมันนี่มีจุดรับชําระคาสินคาและบริการทั้งสิ้น 18,000 แหง (ในทรูชอปและทรูมูฟชอป และทรูมันนี่ เอ็กซเพรส) และสามารถรับชําระตามใบแจงหนี้จาก 120 บริการ การรับชําระผานตัวแทน ใหบริการ รับชําระเงินตามใบแจงหนี้ที่มีบารโคด ดวยเงินสด เช็ค และ/หรือ บัตรเครดิต ตามจํานวนเงินรวมในใบแจงหนี้ หรือ ชําระบางสวน รวมทั้งยังสามารถชําระโดยไมตองใชใบแจงหนี้ในกรณีเปดรับชําระแบบออนไลน นอกจากนี้ ระบบยังสามารถเปดรับชําระได แมเกินกําหนดรับชําระตามใบแจงหนี้ ทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ใหบริการชําระคาสินคาและบริการตางๆ จําหนายบัตรเงินสด และ บริการเติมเงิน สําหรับบริการแบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู นอกจากนี้ทรูมันนีย่ ังเปดใหบริการ “WeBooking by TrueMoney” ซึ่งเปนบริการจองจายครบวงจร ดวยจุดเดน “จองงาย จายสะดวก รวดเร็ว หลายชองทาง” ใหบริการครอบคลุมกลุมไลฟสไตลตางๆ ไดแก ความบันเทิง การทองเที่ยวและที่พัก การศึกษา กีฬา และ สุขภาพ เปนตน

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ (บริการทรูมันนี่) ทรูมันนี่เปดใหบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ ในป 2549 ทั้งนี้ เพื่ออํานวยความสะดวกแก ผูใชบริการทรูมู ฟใหสามารถทําธุรกรรมทางการเงินตางๆ บนโทรศัพท เคลื่อนที่ไ ดทุกที่ ทุกเวลา และ มีความปลอดภัยสูงดวยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล โดยผูใชบริการสามารถ • เติมเงินใหกับสินคาและบริการระบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู เชน บริการทรูมูฟแบบเติมเงิน การซื้อชั่วโมงอินเทอรเน็ต เกมออนไลน และบริการ WE PCT • เปนชองทางในการชําระเงินของบริการทรูไลฟฟรีวิว แพ็กเกจ โดยหักเงินอัตโนมัติจากเงิน ในบัญชีทรูมันนี่ทุกเดือนเมื่อถึงกําหนดชําระ ผูใชบริการทรูวิชั่นสฟรีวิวแพ็กเกจยังสามารถเปลี่ยนเปน สมาชิกรายการตามสั่ง ที่มีอัตราคาบริการรายเดือนที่สูงขึ้น หรือสั่งซื้อรายการแบบจายเงินลวงหนา ดวยการ ชําระผานบริการทรูมันนี่ไดอีกดวย • ชําระคาบริการผลิตภัณฑและบริการตางๆ ภายในกลุมทรู รวมทั้งชําระคาสินคาและบริการ อื่นๆ อาทิ คาไฟฟา น้ําประปา คาประกัน และบริการอีคอมเมิรซตางๆ คาโดยสารรถแท็กซี่ และการซื้อบัตร ชมภาพยนตรและโบวลิ่ง ยิ่งไปกวานั้น บริการทรูมันนี่ยังมีระบบเตือนการชําระกอนกําหนดสําหรับคาไฟฟา และ น้ําประปาอีกดวย • โอนเงินจากบัญชีทรูมันนี่ของตนเองไปยังบัญชีทรูมันนี่อื่น หรือโอนจากบัญชีธนาคารของ ตนเองไปยังบัญชีทรูมันนี่ • ถอนเงินสดจากบัญชีทรูมันนีข ่ องตนเอง โดยใชบัตรเงินสดทรูมันนี่ ที่เครื่องเอทีเอ็มทั่วประเทศ • ผูใชบริการสามารถเก็บเงินไวในบัญชีทรูมันนี่สูงสุดถึง 30,000 บาท และสามารถเติมเงินเขา บัญชีทรูมันนี่จากหลายชองทาง ไมวาจะเปนบัตรเงินสดทรูมันนี่ ผานบัญชีธนาคารที่ลงทะเบียนไวแลวกับ ธนาคารเจาของบัญชี หรือผานบัตรเครดิตที่ลงทะเบียนไวแลวกับบริษัทฯ ในระหวางป 2550 ทรูมันนี่เปดตัว “ทรูมันนี่ เอ็กซเพรส” (TrueMoney Express) จุดรับชําระคาบริการ ผานระบบแฟรนไชส โดยจับมือเปนพันธมิตรกับธุรกิจคาปลีกใหบริการครอบคลุม 2,000 จุดทั่วประเทศ เพื่อใหบริการชําระคาสินคาและบริการตางๆ จําหนายบัตรเงินสด และบริการเติมเงินสําหรับบริการแบบเติมเงิน ตางๆ ของกลุมทรู ในเดือนพฤศจิกายน ทรูมันนี่และบริษัท วอชทดาตา เทคโนโลยี จํากัด ผูนําเทคโนโลยี ดานความปลอดภัยจากประเทศจีน ประกาศความสําเร็จรวมกันในการพัฒนาบริการการเงินบนมือถือแบบ Contactless ดวยเทคโนโลยี RFID SIM โดยเปดใหบริการในตนป 2551 ในเดือนมิถุนายน 2552 ทรูมันนี่ ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ใหเปนผูใหบริการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เปนระยะเวลา 10 ป เมื่อเดือนพฤษภาคม 2553 ทรูมันนี่เปนผูใหบริการไทยรายแรกที่ไดรับเงินสนับสนุนจํานวน 250,000 ดอลลารสหรัฐฯ จากสมาคม GSM เพื่อขยายการใหบริการทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ในประเทศไทย นอกจากนี้ ในเดือน พฤศจิกายน 2553 ทรูมันนี่ไดรวมลงนามกับธนาคารแหงประเทศไทย เพื่อใชมาตรฐานกลางขอความการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส ในฐานะองคกรที่ไดรับอนุญาตจากธนาคารแหงประเทศไทยใหดําเนินกิจการธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ สิ้นป 2553 มีลูกคาทรูมูฟที่ใชบริการทรูมันนี่ประมาณ 7.3 ลานราย จาก 5.7 ลานราย ณ สิ้นป 2552 และ 4.6 ลานราย ณ สิ้นป 2551 4.1.5 ทรูไลฟ ทรูไลฟ เปนบริการดิจิตอลคอนเทนต และเปนชองทางที่ทําใหสามารถเขาถึงชุมชนผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ และชุมชนออนไลน อีกทั้งยังเปนสื่อสําหรับธุรกรรมระหวางผูบริโภคกับผูบริโภค ธุรกิจกับผูบริโภค และ ธุรกิจกับธุรกิจ ทรูไลฟประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ ดิจิตอลคอนเทนตและบริการชุมชนตางๆ ทรูไลฟชอป และ ทรูไลฟพลัส (แพ็กเกจที่ผสานผลิตภัณฑและบริการในกลุมทรูเขาดวยกัน) พอรทัลออนไลน Truelife.com ใหบริการชุมชนออนไลน เชน มินิโฮม (Minihome) คลับหองแชท (Chatroom) และบริการ Instant Messaging ซึ่งผูใชสามารถติดตอและสื่อสารระหวางกัน นอกจากนี้ยังนําเสนอ คอนเทนต ที่ เ ชื่ อ มโยงผู ที่ มี ค วามสนใจหรื อ มี ไ ลฟ ส ไตล ใ กล เ คี ย งกั น เข า ด ว ยกั น โดยมี ค อนเทนต ห ลั ก 4 ประเภทคือ ดนตรี กีฬา รายการโทรทัศน และ ภาพยนตร Truelife.com เปดใหบริการในป 2549 ปจจุบัน มีผูลงทะเบียนใชบริการประมาณ 1.4 ลานราย ในป 2550 เกม “Special Force” ซึ่งใหบริการโดย ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท ประสบความสําเร็จ และไดรับความนิยมจากผูเลนเกมออนไลนชาวไทยอยางรวดเร็ว ทําใหขึ้นนําเปนเกมออนไลนประเภท Casual อันดับหนึ่งของเมืองไทยตอเนื่องเปนเวลา 4 ป ในขณะที่ FIFA Online ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น เนื่องจากกระแสฟุตบอลโลก 2010 นอกจากนี้เกมอื่นๆ อาทิ Hip Street Fashion ซึ่งมีกลุมเปาหมายเปนวัยรุน หญิงที่มียอดใชจายรายเดือนสูง จะเปนตลาดที่ทวีความสําคัญมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การลงนามเปนพันธมิตร ทางธุรกิจ ในป 2552 ระหวางทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนทและบริษัท ดรากอน ฟลาย จีเอฟ จํากัด ผูพัฒนา ซอฟแวรเกมรายใหญจากเกาหลี จะทําใหมีการเปดตัวเกมใหมๆ ในตลาดเกมของไทยมากยิ่งขึ้น นอกเหนือจากนั้น กลุมทรูยังเปนผูใหบริการเกมออนไลนรายใหญ โดยบริษัท NC True จํากัด ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนกับบริษัท NC Soft จํากัด ผูผลิตเกมออนไลนชั้นนําระดับโลกจากประเทศเกาหลี เปด ใหบริการเกม “Lineage II” “กิลดวอรส” และ “Point Blank” ซึ่งเปนเกมออนไลนซึ่งเริ่มเปนที่นิยมในป 2552 และสามารถสรางรายไดไดอยางมาก ในป 2553 NC True นําเสนอเกม Love Beat ในป 2553 โดยเปน เกมแดนซ ซึ่งมีทั้งเพลงไทยและเพลงสากลยอดนิยมใหผูเลนเลือกใชประกอบการเลมเกมไดอยางหลากหลาย ทําให Love Beat กําลังไดรับความนิยมในหมูนักเลนเกมวัยรุนเพิ่มขึ้นเปนลําดับ ทรู ไลฟ ช อป เป นสถานที่ ที่ ให ลู กค าได สั มผั สกั บประสบการณ คอนเวอร เจนซ ไลฟ สไตล ด วย ผลิตภัณฑและบริการหลากหลายของกลุมทรู รวมไปถึงทรูคอฟฟ ทรูมิวสิค และ บริการบรอดแบนด โดยสวนใหญ จะตั้งอยูในบริเวณที่คนรุนใหมใหความนิยมมาพักผอน หรือจับจายใชสอยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในขณะที่ ทรูไลฟพลัส เปนการผสานผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมทรู เพื่อนําเสนอแพ็กเกจ ที่ตรงใจตามไลฟสไตลของผูใชบริการ โดยทรูไลฟพลัสเปดตัวในป 2553 ทรูไลฟเผยโฉมใหมบริการชอปปงออนไลน www.weloveshopping.com ภายหลังการรวมตัวกับ เว็บไซต www.marketathome.com ในป 2550 โดย ณ สิ้นป 2553 weloveshopping เปนศูนยรวมรานคาออนไลน กวา 249,000 ราน และมีสินคากวา 4.8 ลานรายการ ในเดือนมิถุนายน 2552 กลุมทรูไดเปดตัว ทรู แอพ เซ็นเตอร (True App Center) สถาบันศูนยกลาง การศึกษาเพื่อสรางนักพัฒนาแอพลิเคชั่นบนมือถือ บน ไอโฟน (iPhone) วินโดวส โมบายล (Windows Mobile) ซิมเบียน (Symbian) แบล็กเบอรรี่ (BlackBerry) และ แอนดรอยด (Android) ซึ่งแอพพลิเคชั่นเหลานี้มีสวนชวย เพิ่มยอดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ และยอดขายแพ็กเกจสําหรับบริการโมบาย อินเทอรเน็ต ทั้งนี้ ณ สิ้นป 2553 ทรูมีแอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้นทั้งหมดประมาณ 110 แอพพลิเคชั่น 4.2 การตลาด ปจจุบัน กลุมทรู คือ ผูนําดานบริการไลฟสไตลของไทย บริษัทฯ ยังคงมุงมั่นใหบริการสื่อสาร โทรคมนาคม โดยเชื่อมโยงทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ซึ่งประกอบดวย บริการดานเสียง วิดีโอ เพื่อตอบสนอง ทุกไลฟสไตลตรงใจลูกคาไดอยางแทจริง ภายใตยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ โดยการนําเสนอผลิตภัณฑและ บริการภายใตแบรนด “ทรู” ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ ทําใหทรูแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น และมีสวนสําคัญ ในการเพิ่มสวนแบงตลาด ตลอดจนชวยลดอัตราการเลิกใชบริการ (Churn Rate) ทั้งนี้ การรักษาฐานลูกคา ยังเปนกลยุทธหลักทางการตลาดของบริษัทฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งในการ ดําเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งมีการแขงขันสูง 4.3 การจําหนายเเละชองทางการจําหนาย เพื่ อให เ ข า ถึ ง กลุ ม ลู ก ค า บุ ค คล บริ ษั ท ฯ ได เ ป ด ศู น ย บ ริ ก ารทั้ ง ในเขตกรุ ง เทพมหานครและ ปริมณฑล รวมทั้งตางจังหวัด โดยในแตละศูนยบริการจะมีเจาหนาที่พรอมใหคําแนะนําแบบ one-stop shopping ในแหงเดียว เกี่ยวกับบริการสื่อสารทั้งแบบมีสายและไรสาย เครื่องโทรศัพทและอุปกรณเสริม และอุปกรณสื่อสารอื่นๆ รวมทั้งโมเด็ม ADSL ซึ่งในศูนยบริการใหญจะเปดใหบริการอินเทอรเน็ตดวย นอกจากนี้กลุมทรูยังไดจําหนายสินคาและบริการผานตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ ทั้งที่เปนรานคาที่เปน ตัวแทนจําหนายและตัวแทนจําหนายอิสระซึ่งรับคาตอบแทนจากคาคอมมิชชั่น ชองทางการจําหนายของบริษัทฯ ประกอบดวย คูคาขายสง คือ ผูที่ขายซิมการดที่ยังไมไดเปดใชงานและบัตรเติมเงินเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ และอุปกรณของบริษัทฯ โดยเปนผูกระจายสินคาไปยังตัวแทนจําหนาย (sub-dealer) ตลอดจนดูแลและให การสนับสนุนดานการกระจายสินคากับ sub-dealer โดยคูคาขายสงจะเปนผูขายซิมการดแบบเติมเงินและ บัตรเติมเงิน ในขณะที่ Sub-dealer จะใหบริการอื่นๆ ดวย อาทิ บริการซอมโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการดาวนโหลด เพลงและเกมตางๆ สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชองทางการขายตรง โดยขายผลิตภัณฑและบริการของบริษัทฯ ใหกับลูกคา SME และลูกคา องคกรธุรกิจ ชองทางจัดจําหนายนี้มีบทบาทสําคัญในการเพิ่มจํานวนผูใชบริการใหกับทรูมูฟ โดยประมาณ รอยละ 30 ของผูใชบริการรายใหมสุทธิ คือผูใชบริการใหมจากชองทางการขายตรง ชองทางการขายตรง แบงออกเปน: ทีมขายตรง ตัวแทนขายตรง และตัวแทนอิสระ รานคาปลีกประเภท Multi-retailer ซึ่งตั้งอยูในรานคาปลีกขนาดใหญ (Hypermart) รานคา ประเภท Specialty Store รานสะดวกซื้อตางๆ รานคาปลีกซึ่งในที่นี้หมายถึง ทรูชอป ทรูมูฟชอป และ Kiosk ตางๆ ที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่เห็นไดงาย และเปนแหลงชุมชน อยางเชน ศูนยการคา รานคาปลีกขนาดใหญ อาคารสํานักงาน เปนตน โดยรวมถึง ทรูไลฟชอป และ ทรูคอฟฟดวยเชนกัน คูคาผานชองทางการขายปลีก ประกอบดวย คูคาขายปลีก และ การขายผานโครงการ “Move Up Vans” โดยการจัดรถ Move Up Van จําหนายสินคาและบริการของกลุมทรู อํานวยความสะดวกแกลูกคา ชนิดใกลบาน โดยรวมกับตัวแทนจําหนายของแตละภูมิภาคทั่วประเทศ

บริการประเภท Prepaid ของกลุมทรู (สวนใหญเปนบริการสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่) โดยปกติ จะขายผาน 3 ชองทางจัดจําหนายแรก คือ คูคาขายสง ชองทางการขายตรง และ รานคาปลีกประเภท Multiretailer ในขณะที่รานคาปลีก (ทั้งของบริษัทฯ และคูคา) จะทําหนาที่เปนชองทางการจําหนายผลิตภัณฑ และ บริการแบบรายเดือน รวมทั้งผลิตภัณฑคอนเวอรเจนซของกลุมทรู รวมทั้งชองทางการใหบริการหลังการขาย อีกดวย สําหรับบริการเติมเงิน (เพื่อเติมเงินทรูมูฟ ทรูมันนี่ หรือ แพ็กเกจฟรีวิว) มีชองทางผานบริการ อิเล็กทรอนิกสหลายชองทาง นอกเหนือจากการใชบัตร (เชน บัตรเงินสดหรือบัตรเติมเงิน) ดังตอไปนี้ เครื่องเอทีเอ็ม โดยผูใชบริการสามารถโอนเงินจากบัญชีธนาคารของตนเองเพื่อเติมเงินทรูมูฟ หรือทรูมันนี่ไดโดยตรง บริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ทรูมูฟผานบริการทรูมันนี่ (ดูรายละเอียดในหัวขอ “บริการ การเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่”) บัตรเงินสดอิเล็กทรอนิกส ซึ่งสามารถซื้อไดจากคูคา เชน ธนาคารกสิกรไทย และ เซเวนอีเลฟเวน เติมเงินโดยตรง ลูกคาสามารถเติมเงินไดจากอุปกรณที่ติดตั้งในรานคาปลีกของบริษัทฯ และ คูคา อาทิ เซเวนอีเลฟเวน หรือเติมเงินผานระบบออนไลน เติ ม เงิ น ผ า นโทรศั พ ท สาธารณะของทรู ที่ มี สัญ ลั ก ษณ "เติ ม เงิ น ทรู มู ฟ ที่ นี่ " 18,000 เครื่ อ ง ทั่วกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยผูใชสามารถเติมเงินขั้นต่ําเพียง 10 บาท โดยเปดใหบริการมาตั้งแตป 2550 นอกจากนี้ยังสามารถเติมเงินอัตโนมัติแบบ ‘over-the-air’ ผานตัวแทนซึ่งเปนบุคคลธรรมดา หรือ รานคาขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับทรูมูฟ และไดรับอนุญาตใหโอนคาโทรแบบ over-the-air ไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ ของผูใชบริการ โดยตัวแทนเหลานี้สามารถเติมเงินคาโทรไดผานหลายชองทาง (เชน บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน และ เครื่องเอทีเอ็ม) ในป 2553 มีตัวแทนที่ลงทะเบียนกับบริษัทฯ ราว 80,000 ราย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 25


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ถึงแมวาบัตรเติมเงินจะเปนชองทางการจําหนายหลักสําหรับการเติมเงิน แตชองทางผานระบบ อิเล็กทรอนิกสก็ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีวิธีชําระเงินที่หลากหลาย และมีสถานที่ใหบริการเพิ่มมากขึ้น ในป 2552 บริษัทฯ สามารถเพิ่มกําไร โดยเนนการเติมเงินผานชองทางอิเล็กทรอนิกส ทั้งนี้เพื่อประหยัดคาใชจาย ที่เกี่ยวเนื่องกับบัตรเติมเงิน (การผลิต การกระจายสินคา และการจัดเก็บ) ซึ่งไดดําเนินการอยางตอเนื่องในป 2553 นอกจากนี้ยังจะผสมผสานการขายผานชองทางตางๆ ที่มีคาคอมมิชชั่นต่ํา (เชน เครื่องเอทีเอ็ม) เพื่อเพิ่มรายได สําหรับลูกคา SME และลูกคาองคกรธุรกิจ กลุมทรูมีผูบริหารงานลูกคา ทีมขาย (Account Executive) ที่มีความเชี่ยวชาญในการเขาถึงความตองการของลูกคาตามแตละธุรกิจไดเปนอยางดี ชองทางการจําหนายหลักของทรูวิชั่นส คือ การขายทางโทรศัพท การขายตรง ผานเว็บไซตและ เครือขายตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ รวมทั้งชองทางใหมผาน Move Up Vans 4.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการใหบริการของโครงขาย กลุมทรูเชื่อวาความสามารถในการใหบริการของโครงขายของกลุมทรู เปนจุดเดนที่สําคัญในการ ใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรวมทั้งอินเทอรเน็ต และ บรอดแบนดของกลุมทรู กลาวคือกลุมทรูมีโครงขาย เคเบิลใยแกวนําแสงที่ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการ และเขาถึงผูใชบริการไดอยางทั่วถึง โดยมีสวนประกอบที่เปน สายทองแดงเปนระยะทางสั้นๆ ทําใหสามารถสงสัญญาณเสียง ภาพ หรือ ขอมูล ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การออกแบบโครงขายในลักษณะใยแมงมุม ยังสามารถขจัดปญหาที่ผูใชบริการไมสามารถใชโทรศัพทได อันเนื่องจากการที่สายโทรศัพทหรือเสนทางในการติดตอถูกตัดขาดเพราะอุบัติเหตุ หรือดวยเหตุอื่นใดโดย ทําใหบริษัทฯ สามารถเลือกใชเสนทางอื่นทดแทนเสนทางที่ตองผานจุดที่เกิดเหตุเสียนั้นได ทรูมู ฟ เป น ผูใ ห บริ การที่เ ขามาดํา เนิ น ธุรกิจโทรศัพ ทเคลื่อ นที่ห ลั งสุ ด ในจํา นวนผู ใ ห บริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ 3 ราย ซึ่งทําใหไดรับประโยชนจากพัฒนาการใหมๆ ทางเทคโนโลยี โดยทําใหมี การลงทุนที่มีประสิทธิภาพและตนทุนถูกกวา แหลงที่มาของผลิตภัณฑและบริการ บริษัทฯ ไดสั่งซื้ออุปกรณโครงขายโทรคมนาคมจากผูผลิตอุปกรณชั้นนําของโลก ไดแก Siemens Alcatel Lucent NEC และ Huawei นอกจากนั้นมีผูรับเหมาจํานวนมากในการจัดหาและติดตั้งโครงขายของ บริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ ไมไดมีการพึ่งพิง ผูจัดจําหนายหรือผูรับเหมารายใดเปนการเฉพาะ และบริษัทฯ ไมมีปญหา ในการจัดหาผูจัดจําหนายและผูรับเหมาเนื่องจากมีจํานวนมากราย การสนับสนุนทางดานเทคนิคและการบริหาร ในอดีตกลุมทรูเคยไดรับความชวยเหลือทางดานเทคนิค และการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจ ซึ่งประกอบดวย (1) บริษัท Verizon Communications, Inc (“Verizon”) สําหรับบริษทั ฯ (2) Orange SA ให ความชวยเหลือดานเทคนิคและการบริหารสําหรับทรูมฟู และ (3) MIH สําหรับทรูวิชนั่ ส แตในปจจุบันกลุมทรู

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 26


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ไมไดรับการสนับสนุนดานเทคนิคและการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจดังกลาวอีกตอไป เนือ่ งจากพันธมิตร เหลานี้ไดขายหรือลดสัดสวนการถือหุนลง อยางไรก็ตาม กลุมทรูสามารถรับถายทอดเทคโนโลยีและความรู ไวจนสามารถบริหารงานไดเองโดยไมตองพึ่งพาการสนับสนุนดานเทคนิคและการบริหารจากพันธมิตรทาง ธุรกิจอีกแตอยางใด 4.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ประกอบดวย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส และบริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด หรือ ดีพีซี ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ ดีแทค บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมบริษัททรู โดยมีบริษัทฯ เปนผูถือหุนใหญ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด (ซึ่งใหบริการภายใต แบรนด “ฮัทช”) และไทยโมบาย ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศไทยมีการเติบโตอยางรวดเร็วในระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมา จากจํานวนผูใชบริการ 7.9 ลานรายในป 2544 เปนมากกวา 70 ลานราย ณ สิ้นป 2553 ซึ่งรวมผูใชบริการประมาณ 1 ลานรายจากผูใหบริการรายเล็ก เชน ไทยโมบาย และ ฮัทช ในขณะที่ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ ที่สุด 3 ราย ซึ่งประกอบดวย เอไอเอส ดีแทค และ ทรูมูฟ สามารถเพิ่มจํานวนผูใชบริการรายใหมไดประมาณ 5.7 ลานราย ในป 2553 จาก 3.5 ลานรายในป 2552 ทําใหมีอัตราการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากร 100 คน เพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 105.0 (ขอมูลจํานวนประชากรจาก สํานักงานสถิติแหงชาติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น 67.4 ลานคน) จากการที่มีผูใชงานจํานวนไมนอย นิยมใชงานดทรศัพทเคลื่อนที่มากกวา 1 เครื่อง และ/หรือ มีอุปกรณที่พรอมเขาถึงบริการอินเทอรเน็ต อาทิ แท็บเล็ต หรือ เน็ตบุก อยางไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเดียวกันจะเห็นวาตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ ของไทยมีอัตราการใชบริการต่ํากวาประเทศอื่นๆ อาทิ ฮองกง (รอยละ 171.2 แหลงที่มา: สํานักงานโทรคมนาคม รัฐบาลเขตปกคอรงพิเศษฮองกง) และ สิงคโปร (รอยละ 137.4 แหลงที่มา: สถิติการใหบริการโทรคมนาคม ป 2552 จากองคการพัฒนาการสื่อสารและสารสนเทศ ประเทศสิงคโปร) ยิ่งไปกวานั้น อัตราการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ จะคํานวณจากจํานวนซิมทั้งหมด หรือ จํานวน โทรศัพทเคลื่อนที่ของผูใชบริการ อยางไรก็ตาม มีผูใชบริการสวนหนึ่งที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่อยางนอย 2 เครื่อง หรือมี 2 ซิม ซึ่งทําใหอัตราการใชโทรศัพทเคลื่อนที่ตามจํานวนผูใช (จํานวนผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่มีมากกวา จํานวนประชากร) ของประเทศไทยอาจอยูที่ประมาณรอยละ 80.0 คูแขงรายใหญที่สุด 2 ราย คือ เอไอเอส (และ ดีพีซี ซึ่งเปนบริษัทยอยที่เอไอเอสถือหุนใหญ) และ ดีแทค ซึ่งมีจํานวนผูใชบริการคิดเปนสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 44.6 และ 30.9 ตามลําดับ (ไมรวมจํานวน ผูใชบริการจากผูใหบริการรายเล็ก เชน ไทยโมบาย และ ฮัทช โดย กสท) ณ สิ้นป 2553 โดยทรูมูฟเปนผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับ 3 ดวยสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 24.5 สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 27


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย

เอไอเอส ดีแทค ทรูมูฟ รวม 1/ สวนแบงตลาดผูใชบริการของ ทรูมูฟ (รอยละ)

2549 19,521,500 11,869,014 7,577,742 38,968,256 19.4

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 2551 24,105,400 27,310,200 15,772,026 18,682,076 12,080,089 14,756,834 51,957,515 60,749,110 23.2 24.3

2552 28,772,900 19,656,160 15,801,164 64,230,224 24.6

2553 31,200,700 21,620,228 17,117,864 69,938,792 24.5

แหลงขอมูล: บริษัทที่เกี่ยวของ หมายเหตุ: 1/ ไมรวมผูใชบริการ ฮัทช และไทยโมบาย

ตลาดโทรศั พท เคลื่ อนที่ ในประเทศไทยมี การแข งขั นสู ง ผู ให บริ การต างพยายามแข งขั นเพื่ อ เพิ่มสวนแบงตลาด โดยผานกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ รวมทั้งการเสนอคาบริการแบบเติมเงินราคาถูกเพื่อ ดึ งดู ดผู ใช บริ การที่ มี รายได น อย ทั้ งนี้ ได อํานวยความสะดวกในการซื้ อบั ตรเติ มเงิ นโดยสามารถซื้อได จาก รานสะดวกซื้อและสถานีจําหนายน้ํามันตางๆ ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบเติมเงินมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นมากตั้งแตป 2545 เปนตนมา นอกจากนี้ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยังมุงเนน สร างความเติ บโตให กั บบริ การที่ ไม ใช เสี ยงต างๆ ซึ่ งเป นผลมาจากเครื่ องโทรศั พท เคลื่ อนที่ รุ นใหม ๆ มี ความสามารถในการใชงานที่หลากหลายยิ่งขึ้น ในระหวางป 2548 ถึง 2549 ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแขงขันดานราคาอยาง รุนแรง จากการที่ทรูมูฟและคูแขงอีกหลายราย ตางแขงกันลดอัตราคาบริการทําใหรายไดเฉลี่ยตอเลขหมาย ตอเดือน หรือ ARPU ของทรูมูฟลดลงในอัตรารอยละ 10.0 ในป 2548 และอัตรารอยละ 26.0 ในป 2549 ซึ่ง มีผลใหจํานวนผูใชบริการเติบโตอยางมาก โดยเติบโตสูงขึ้นถึงรอยละ 32.0 ในป 2549 ในขณะที่ทรูมูฟ สามารถเพิ่มสวนแบงตลาดไดเปนรอยละ 19.4 จากรอยละ 15.1 ในป 2548 นับตั้งแตป 2550 การแขงขันเปนไปอยางสมเหตุสมผลมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากมีการนําระบบคาเชื่อมโยง โครงขายมาใชจริง ทําใหผูประกอบการมีภาระตนทุนในการเชื่อมโยงไปยังโครงขายอื่น (ในอัตราโดยเฉลี่ย 1 บาท ตอนาที) ซึ่งเปนเสมือนราคาขั้นต่ําของผูประกอบการ ในป 2551 ผูประกอบการแตละรายไดคอยๆ เพิ่มอัตรา คาโทร ซึ่งสงผลใหปริมาณการโทรลดลง เนื่องจากผูบริโภคคํานึงถึงอัตราคาโทรเปนสําคัญ นอกจากนี้ รายได ที่เฉลี่ยตอเลขหมายที่ลดลง สวนหนึ่งเปนผลจากการที่ผูใชบริการมีการใชซิมมากกวา 1 ซิม ทั้งนี้เพื่อสามารถ เลือกใชโปรโมชั่นที่มีอัตราคาโทรภายในโครงขาย และโทรไปยังโครงขายอื่น ตามโปรโมชั่นที่นําเสนอโดย ผูประกอบการเพื่อจํากัดคาเชื่อมโยงโครงขายหรือ IC อยางไรก็ตาม ในป 2551 ผูประกอบการรายเล็กบางราย ไดเสนอโปรโมชั่นราคาต่ํา เนื่องจากไมมีภาระคาเชื่อมตอโครงขาย ดังนั้น ตั้งแตป 2551 เปนตนมา CAT อยู ในระหวางการเจรจากับผูประกอบการรายอื่น เพื่อการเขาสูระบบเชื่อมโยงโครงขาย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 28


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2552 การแขงขันดานราคา โดยเฉพาะอยางยิ่ง อัตราคาโทร เริ่มลดนอยลง แมสภาวะเศรษฐกิจ โดยรวมในระหวางป จะสงผลกระทบตอรายไดจากบริการเสียงของผูประกอบการบางราย แตผูประกอบการ รายใหญทั้ง 3 รายยังสามารถรักษาระดับรายได หรือมีรายไดเพิ่มขึ้นจากบริการที่ไมใชเสียง โดยเฉพาะอยางยิ่ง จากบริการโมบาย อินเทอรเน็ต โดยปริมาณการใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ต ในประเทศไทย เติบโตอยาง แข็งแกรงในระยะเวลา 2 ถึง 3 ปที่ผานมา สวนใหญเนื่องจากสมารทโฟน (อาทิ iPhone และ Blackberry) ไดรับความ นิยมมากขึ้นรวมทั้งมีราคาถูกลง นอกจากนี้ยังเปนผลจากการที่มีการพัฒนาคอนเทนตและแอพพลิเคชั่นสําหรับ สมารทโฟนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในป 2553 มีการแขงขันเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย เนื่องจากผูประกอบการเริ่มปรับลดราคาเพื่อกระตุน อุปสงคที่ลดต่ําลงในไตรมาส 2 ของป จากเหตุการณความไมสงบทางการเมือง โดยสวนใหญเปนการแขงขัน ในการโทรภายในโครงขาย ซึ่งคูแขงมีการลดอัตราคาโทรลง ทําใหอัตราคาโทรตอนาทีโดยรวมปรับลดลงตาม ไปดวย และสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของทรูมูฟในไตรมาส 2 และ 3 ของป 2553 อยางไรก็ดี รายไดจาก บริการดานเสียงเริ่มฟนตัวนับตั้งแตเดือนสิงหาคม เปนตนมา หลังจากมีการนําเสนอโปรโมชั่นใหม คิดคาโทร ตามจํานวนครั้ง และ อัตราเดียวทุกเครือขาย สําหรับกลุมลูกคาที่โทรในระดับปานกลางถึงนอย ทั้งนี้รายไดจาก บริการดานเสียงปรับตัวดีขึ้นตลอดไตรมาส 4 และมีแนวโนมเติบโตตอเนื่อง ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน บริการโทรศัพทพื้นฐานในปจจุบันมีผูใหบริการทั้งสิ้น 3 ราย โดย ทีโอที เปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ทั้งในกรุงเทพมหานครกับปริมณฑล และตางจังหวัดเพียงรายเดียวของประเทศ สวนผูใหบริการอีก 2 ราย คือผูใหบริการที่อยูภายใตสัญญารวมการงานฯ ของ ทีโอที โดยทรูเปนผูใหบริการในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และ บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) เปนผูใหบริการในตางจังหวัด ประเทศไทยมีผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานทั้งสิ้นราวรอยละ 12.0 ของประชากร (หรือประมาณ รอยละ 30.0 ของจํานวนครัวเรือนทั่วประเทศ ติดตอกันเปนเวลาหลายป โดย ณ สิ้นป 2552 ทีโอทียังคงเปน ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานที่ใหญที่สุดในประเทศไทย (ตามจํานวนผูใชบริการ) โดยมีผูใชบริการมากกวา 4.0 ล า นราย ในขณะที่ ท รู เป น ผู ใ ห บ ริ ก ารโทรศั พ ท พื้ น ฐานที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในเขตกรุ ง เทพมหานครและ ปริมณฑล ดวยจํานวนผูใชบริการราว 1.9 ลานราย อยางไรก็ตาม จํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานของทรู ลดลงเปน 1.8 ลานราย ในป 2553 ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน

จํานวนผูใชบริการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552)

ทีโอที ทรู 1// ทีทีแอนดที รวม

4,030,300 1,858,310 1,112,708 7,001,318

แหลงขอมูล: รายงานสภาพตลาดโทรคมนาคม โดย สํานักงานกทช. ประจําไตรมาสที่ 4 ป 2552 1/ ขอมูลของบริษัททรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 29


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในระยะเวลาไม กี่ ป ที่ ผ านมา ธุ ร กิ จ โทรศัพ ท พื้ น ฐานของบริ ษั ท ฯ ไดรั บ ผลกระทบส ว นใหญ เนื่องจากผูใชบริการเปลี่ยนไปใชโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ ยังเผชิญกับการแขงขันจากบริการ VoIP ซึ่งมี คาบริการถูกกวา เนื่องจากในปจจุบันมีการใชอินเทอรเน็ตและเครื่องคอมพิวเตอรอยางแพรหลาย ทําให ผูบริโภคหันมาใชบริการ VoIP มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ คณะกรรมการ กทช. ยังไดออกใบอนุญาตใหบริการ โทรศัพทพื้นฐาน ซึ่งอาจทําใหทรูตองแขงขันกับผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหมๆ ธุรกิจสื่อสารขอมูลธุรกิจ ธุรกิจโครงขายขอมูลของประเทศไทยยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีอัตราการเติบโตที่ประมาณ รอยละ 10 ถึง 15 ตอป เนื่องจากความนิยมในการสงขอมูลออนไลน และจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตที่ เพิ่มมากขึ้น การแขงขันในธุรกิจโครงขายขอมูลยังคงสูงเนื่องจากมีจํานวนผูใหบริการหลายราย ประกอบกับ ลูกคามีทางเลือกเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีเทคโนโลยีใหมๆ เชน ADSL ผูใหบริการสื่อสารขอมูลรายใหญในประเทศไทย ประกอบดวย ทีโอที กสท บริษัท ยูไนเต็ด อินฟอรเมชั่น ไฮเวย จํากัด (“UIH”) และ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี จํากัด (“UCOM”) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวิรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (“ADC”) ซึ่งเปนบริษัท ภายใตกลุมบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) และ กลุมบริษัททรู โดยผูใหบริการเหลานี้ใหบริการวงจรเชา บริการ Frame Relay และ บริการ MPLS (Multiprotocol Label Switching) ทั้งนี้ คูแขงหลักของบริษัทฯ ไดแก ทีโอที (เนื่องจากสามารถใหบริการครอบคลุมพื้นที่มากที่สุดใน ประเทศไทย) และ UCOM (ซึ่งสามารถใหบริการนอกเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไดมากกวากลุมทรู) ผูใหบริการรายใหม อยางเชน Symphony มีการเติบโตอยางรวดเร็วนับตั้งแตป 2551 เปนตนมา เนื่องจากเนน การขายกลุมลูกคาระดับบนที่ใชบริการผานโครงขายใยแกวนําแสง ณ สิ้นป 2552 กลุมทรูเปนผูใหบริการโครงขายขอมูลรายใหญอันดับ 2 โดยครองสวนแบง รอยละ 24.0 ของตลาดโดยรวมซึ่งมีมูลคาตลาดประมาณ 13.4 พันลานบาท ในขณะที่ทีโอทียังคงเปนผูนําตลาด โดยครองสวนแบงราวรอยละ 29.0 และ UIH เปนผูใหบริการรายใหญอันดับ 3 โดยมีสวนแบงตลาดประมาณ รอยละ 21.0 และเนื่องจากยังไมมีขอมูลอุตสาหกรรมของป 2553 ที่ชัดเจนและสามารถใชอางอิงได จึงคาดวา ในปที่ผานมา สวนแบงตลาดของกลุมทรูยังคงอยูในระดับคงที่ที่รอยละ 24.0 โดยมีมูลคาตลาดโดยรวม ประมาณ 14.6 พันลานบาท ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) อัตราของผูใชบริการบรอดแบนดรวมตอจํานวนครัวเรือนในเมืองไทย ยังมีระดับที่ต่ํามากที่อัตรา ประมาณรอยละ 13.5 จากทั้งหมด 20 ลานครัวเรือน ซึ่งยังคงเปนระดับที่ต่ํากวาประเทศที่พัฒนาแลวในแถบ เอเชีย เชน ฮองกง (รอยละ 79.1 แหลงที่มา: สํานักงานโทรคมนาคม รัฐบาล เขตปกครองพิเศษฮองกง) และ สิงคโปร (รอยละ 142.2 แหลงที่มา: สถิติการใหบริการโทรคมนาคม ป 2552 จาก องคการพัฒนาการสื่อสาร และสารสนเทศ ประเทศสิงคโปร)

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 30


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูใหบริการในตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีอยูหลายรายทั่วประเทศ เชน บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี จํากัด (“UBT”) บริษัท เลนโซ ดาตาคอม จํากัด (ใหบริการภายใตชื่อ Q-Net) บริษัทในกลุม สามารถ คอรปอเรชั่น บริษัท CS Loxinfo ทีโอที บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) (“JAS”) ซึ่งดําเนินงานภายใตแบรนด “3BB” บริษัท เอดีซี และกลุมบริษัททรู กลุมทรู สามารถเพิ่มฐานผูใชบริการบรอดแบนดไดอยางกวางขวางจากจํานวน 3,708 ราย ณ สิ้นป 2545 มาเปน 690,519 ราย ณ สิ้นป 2552 และ 813,763 ราย ณ สิ้นป 2553 ซึ่งกลุมทรูเปนหนึ่งในผูให บริการบรอดแบนดรายใหญที่สุดในประเทศไทยคิดจากฐานจํานวนลูกคา โดยมีสวนแบงประมาณรอยละ 66.0 ของมูลคาตลาดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีปจจัยหลายประการที่ทําใหจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว ซึ่งประกอบดวย ราคาโมเด็มที่ถูกลง ผูบริโภคนิยมใชบริการคอนเทนตตางๆ เพิ่มมากขึ้น เชน เกมออนไลน ประกอบกับอัตราคาใชบริการรายเดือนของอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ถูกลง เนื่องจาก จํานวนผูใหบริการเพิ่มมากขึ้น อีกทั้ง คณะกรรมการ กทช. ไดเปดเสรีธุรกิจวงจรอินเทอรเน็ตตางประเทศ ทําใหมีการปรับลดอัตราคาเชาวงจรลงอยางมาก ธุรกิจบริการอินเทอรเน็ต ตลาดอินเทอรเน็ตในประเทศไทยเติบโตอยางเห็นไดชัดในระยะเวลา 2 ถึง 3 ปที่ผานมา จากการ ประเมินของ ITU จํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทยเติบโตเปนประมาณ 17.5 ลานราย ณ สิ้นป 2553 โดยมีอัตราการใชบริการอินเทอรเน็ตรวม ประมาณรอยละ 26.3 ของประชากรโดยรวม ซึ่งถือวาต่ํากวาหลายๆ ประเทศในภูมิภาค นับตั้งแตเดือนมิถุนายน 2548 คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุญาตประกอบกิจการอินเทอรเน็ต ใหแกผูใหบริการอินเทอรเน็ตหลายราย รวมทั้ง บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด และ บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ต จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ รวมทั้งผูใหบริการรายใหญ อาทิ CS Loxinfo และ Internet Thailand การแขงขันธุรกิจอินเทอรเน็ตยังคงรุนแรงในป 2549 จนถึง ป 2553 เนื่องจากมีจํานวนผูใหบริการ อินเทอรเน็ตเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับบริษัทโทรคมนาคมไดเขามาทําธุรกิจนี้มากขึ้น นอกจากนี้ คณะกรรมการ กทช. ยังไดออกใบอนุญาตใหบริการโทรศัพทพื้นฐานทั่วประเทศ ซึ่งอาจจะสงผลใหการแขงขันในธุรกิจ โทรศัพทพื้นฐานและบรอดแบนดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ซึ่งเปนพื้นที่หลักของบริษัทฯ) เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม แมการแขงขันจะเพิ่มสูงขึ้น แตอัตราคาบริการยังคงตัว โดยคาบริการแบบ Dial Up อยูที่ระดับประมาณ 9 บาทตอชั่วโมง และอัตราคาบริการบรอดแบนดขั้นต่ําอยูที่ประมาณ 399 บาทตอเดือน นอกจากนี้ ในเดือนพฤศจิกายน ป 2553 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัตินโยบายบรอดแบนดแหงชาติของ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดวยเงินลงทุนทั้งสิ้น 2 หมื่นลานบาท เพื่อพัฒนาโครงขาย บรอดแบนดใหครอบคลุมประชากรไมต่ํากวารอยละ 80 ของประเทศ ในอีก 5 ป ขางหนา รวมทั้งใหมีบริการ บรอดแบนดความเร็วสูงความเร็วไมต่ํากวา 100 เมกะบิตตอวินาที โดยมีเปาหมายที่จะใหบริการบรอดแบนด

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 31


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คลอบคลุมโรงเรียนและโรงพยาบาลในระดับตําบล ตลอดจนประชาชนผูมีรายไดนอย ทั้งนี้ ทรูมูฟ รวมกับ ผูใหบริการอีก 5 ราย อาทิ ทีโอที และ กสท ไดลงนามในบันทึกขอตกลงเพื่อสนับสนุนนโยบายดังกลาว ซึ่ง คลอดคลองกับพันธกิจของกลุมทรูเพื่อความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศ และ เปนสวนหนึ่งเพื่อการพัฒนาสังคมไทยสูสังคมแหงการเรียนรู ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก จํานวนสมาชิกโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกในประเทศไทย ณ สิ้นป 2553 มีทั้งสิ้นประมาณ 6 ลานราย คิดเปนสัดสวนราวรอยละ 29.0 ของจํานวนครัวเรือน (แหลงที่มา: ขอมูลของบริษัทฯ) ซึ่งต่ํากวา ประเทศที่พัฒนาแลวในแถบเอเชีย โดยในป 2551 มาเลเซีย มีอัตราการใชบริการโทรทัศนระบบบอกรับสมาชิก อยูที่รอยละ 50 สิงคโปร รอยละ 57 และ ฮองกง รอยละ 72 (แหลงที่มา: ขอมูล ณ ไตรมาส 2 ป 2552 จาก Pan-Regional TV in Asia 2009, Casbaa) จึงนับวามีโอกาสเติบโตไดอีกมาก ปจจุบันกลุมทรูวิชั่นสเปนผูประกอบธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ที่ใหบริการครอบคลุม ทั่วประเทศรายใหญรายเดียวในประเทศไทย แตยังเผชิญความเสี่ยงจากระเบียบและกฎเกณฑตางๆ ที่กําหนดโดย ภาครัฐ ทั้งยังจะตองเผชิญกับอุปสรรคจากผูประกอบการรายใหมอีกดวย นอกจากนี้ องคการสื่อสารมวลชนแหง ประเทศไทย (อสมท) ยังไดใหใบอนุญาตดําเนินธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกแกบริษัทอื่นอีก 2 ราย ในป 2539 แตปจจุบันผูไดรับใบอนุญาตเหลานี้ยังไมเริ่มหรือประกาศวาจะเริ่มดําเนินการแตอยางใด ในสวนของ กรมประชาสัมพันธไดใหใบอนุญาตดําเนินการแกผูประกอบการเคเบิลตามภูมิภาคหลายรายดวยกัน ปจจุบัน ดําเนินการอยูประมาณ 78 ราย ภายหลังการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศนซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2551 ผูประกอบธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ไดรับอนุญาตใหสามารถจัดเก็บรายไดจากคาโฆษณา ซึ่งชวยเพิ่มโอกาสในการสรางรายไดจากคอนเทนตเดิมที่มีอยู รวมทั้งเปนการเพิ่มมูลคาใหกับกิจการของทรูวิชั่นส แตรายไดจากคาโฆษณาอาจจะชวยเสริมสรางความแข็งแกรง ทางการเงินใหกับผูใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกรายเล็กๆ และอาจทําใหมีการแขงขันในตลาด เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ทรูวิชั่นสมีความไดเปรียบในเชิงการแขงขันจากการมีคอนเทนตที่ดี และมีคุณภาพสูง นอกจากนี้ ยังมีผูประกอบการอีกไมนอยกวา 450 รายที่ไมมีใบอนุญาต ซึ่งผูประกอบการเหลานี้ลวนเปน ผูประกอบการทองถิ่ น ที่ใ หบริการในระบบเคเบิล โดยมีสมาชิก รวมกั นประมาณ 1.5 ถึ ง 2.0 ลานราย ปจจุบัน ผูประกอบการเหลานี้กําลังถูกตรวจสอบถึงการไดมาซึ่งลิขสิทธิ์รายการตางๆ ที่ออกอากาศโดย เจาของลิขสิทธิ์ซึ่งไดรวมมือกับภาครัฐในการผลักดันใหผูประกอบการทุกรายปฏิบัติตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ในขณะเดียวกัน พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนฉบับใหมจะมีผล บังคับใหผูประกอบการทุกรายดําเนินการภายใตกรอบการกํากับดูแลเชนเดียวกับทรูวิชั่นส หลังไดรับอนุญาตจาก อสมท ใหสามารถหารายไดจากการโฆษณา ทรูวิชั่นสเล็งเห็นวา ทรูวิชั่นสนาจะ เปนทางเลือกที่ดีสําหรับบริษัทโฆษณา เนื่องจากมีกลุมผูชมรายการที่โดดเดน ซึ่งประกอบดวยลูกคาระดับบนที่มี กํ าลั งซื้ อสู ง รวมทั้ งลู กค าระดั บล างซึ่ งมี จํ านวนเพิ่ มขึ้ นอย างต อเนื่ อง นอกจากนี้ จากช องรายการที่ มี ความ

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 32


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หลากหลายของทรูวิชั่นส ทําใหสามารถแยกกลุมผูชมที่มีคุณลักษณะตางๆ ไดอยางชัดเจน เพื่อประโยชนของผูซื้อ โฆษณา ในป 2553 ทรูวิชั่นสใชกลยุทธในการขยายบริการสูตลาดสําหรับลูกคาระดับกลางและระดับลางมาก ยิ่งขึ้น เพื่อสรางรายไดจากการรับทําการโฆษณา ซึ่งมีอัตราการทํากําไรสูง เนื่องจากเพิ่มจํานวนผูรับชมคือปจจัย สําคัญตอความสําเร็จในการขยายบริการสูตลาดสําหรับกลุมลูกคาระดับกลางและลาง เนื่องจากมีการแขงขันสูง ทั้งนี้ การโฆษณาทางสื่อโทรทัศนในป 2553 มีมูลคาสูงถึง 61.0 พันลานบาท (แหลงที่มา : AGB Nielsen) ในขณะที่ มูลคาการโฆษณาทางโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกมีสัดสวนเพียงรอยละ 5 เทานั้น ซึ่งยังคงอยูในระดับต่ํา และมีโอกาสเติบโตในระยะยาว ตลอดระยะเวลา 2 ถึง 3 ปที่ผานมา ทรูวิชั่นสไดรวมมืออยางใกลชิด กับเจาของลิขสิทธิ์ ในการหาแนวทาง ดําเนินการใหมๆ ในการปกปองลิขสิทธิ์รายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการ เปาหมายในการดําเนินการขั้นตอไปของทรู วิชั่นสจะมุงเนนไปที่การแกปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์โดยการนํารายการตางๆ เชน รายการภาพยนตรที่อยูบนสื่อ อื่น เชน ดีวีดี มาออกอากาศ โดยรายการเหลานั้น มีการออกอากาศในชองรายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการอยูดวย เชน HBO ในป 2554 ทรูวิชั่นสมีแผนจะเปลี่ยนกลองรับสัญญาณจากระบบอะนาล็อกเดิมมาเปนระบบดิจิตอล เพื่อ ลดการลักลอบใชสัญญาณ การลงทุนในโครงสรางพื้นฐานเพื่อใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิกคุณภาพสูง มีความ จําเปนอยางยิ่งโดยตนทุนเริ่มตนประกอบดวย การลงทุนเพื่อซื้อระบบสื่อสัญญาณ เทคโนโลยีการเขารหัส กลอง รับสัญญาณ ระบบบริการลูกคา และระบบสนับสนุนตางๆ นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสยังตองแขงขันทางออมกับสถานีโทรทัศนภาคปกติในประเทศไทย แตดวยการ นําเสนอรายการที่ไมสามารถหาดูไดจากชองอื่น รวมถึงภาพยนตร รายการสาระความรู และรายการกีฬาที่ แพรภาพที่ทรูวิชั่นสกอนชองใดๆ ทําใหทรูวิชั่นสมีขอไดเปรียบเหนือสถานีโทรทัศนภาคปกติทั่วไป การ ไดรับลิขสิทธิ์ในการถายทอดสดการแขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีกแตผูเดียวในประเทศไทย ทําใหทรูวิชั่นส สามารถดึงดูดผูใชบริการรายใหม และรักษาฐานลูกคาเดิมไปพรอมๆ กัน ทั้งนี้กลุมทรู ยังไดรับสิทธิ์ในการ นําเสนอการแขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีกและคอนเทนตที่เกี่ยวของผานบริการอื่นๆ ซึ่งประกอบดวย ทรูมูฟ และทรูออนไลนอีกดวย 4.6 ความคืบหนาดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โครงสรางการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมมีความคืบหนาขึ้นเปนลําดับ ทั้งนี้ รัฐบาลไทยไดเริ่มปฏิรูป การกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดยการออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันไดแก พระราชบัญญัติองคกร จัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 และ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 33


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อยางไรก็ตาม บริษัทฯ หวังวาจะไดเห็นความกาวหนาดานการกํากับดูแล ในประเด็นตางๆ ที่ยัง ไมคืบหนา ซึ่งประกอบดวย การออกใบอนุญาต 3G บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz การใชระบบคาเชื่อมโยงโครงขาย หรือ IC กับผูใหบริการทุกราย และการจัดตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (คณะกรรมการ กสทช.) ในเดือนสิงหาคม 2550 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ภายหลังการเปลี่ยนแปลงทาง การเมือง อยางไรก็ตาม ตัวบทกฎหมายและกฎเกณฑตางๆ ยังคงมีผลบังคับใช และคณะกรรมการ กทช. ยังคงทําหนาที่ผูกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมตอไป นอกเหนือจากนั้น มาตรา 47 ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไดกําหนดใหมีการจัดตั้ง คณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) ภายใน เวลา 180 วัน นับตั้งแตรัฐบาลไดมีการแถลงนโยบายตอรัฐสภา ในวันที่ 19 ธันวาคม 2553 พระราชบัญญัติ องคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (“พรบ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ”) ไดรับการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังคับใช โดยสมบูรณ โดยมีผลใหการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. เริ่มตนอยางเปนทางการขึ้น อยางไรก็ดี ขณะที่ จัดทํารายงานฉบับนี้ (มีนาคม 2554) คณะกรรมการ กสทช. ยังไมไดรับการจัดตั้ง ซึ่งความลาชาในการจัดตั้ง คณะกรรมการ กสทช. ไดทําใหเกิดความลาชาในการออกกฎเกณฑและแนวนโยบายใหมๆ ในวันที่ 5 มีนาคม 2551 พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน มีผลบังคับใช โดยไดใหอํานาจคณะกรรมการ กทช. ในการออกใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน ชั่วคราวมีอายุไมเกิน 1 ป สําหรับผูประกอบการวิทยุกระจายเสียงชุมชนและกิจการที่ไมใชคลื่นความถี่ กอน จะมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. โดยหลักเกณฑการออกใบอนุญาตดังกลาวไดมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2552 และคาดวาจะสามารถออกใบอนุญาตใหผูประกอบการรายเล็กไดในกลางป 2553 นับตั้งแตไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กทช. จนกระทั่งถึงปจจุบัน คณะกรรมการ กทช. ไดออก ประกาศ กฎเกณฑ ขอบังคับที่สําคัญๆ หลายฉบับ รวมทั้ง ประกาศคณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและ การเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งมีผลใหอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทย ไดเขาสู ระบบเชื่อมโยงโครงขายนับตั้งแตป 2550 และทําใหการแขงขันระหวางผูประกอบการมีความเทาเทียมกัน มากขึ้น นอกจากนั้น ในเดือนสิงหาคม 2552 คณะกรรมการ กทช. ยังไดออกกฎเกณฑสําหรับบริการ คงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability - MNP) และไดกําหนดผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่รายปจจุบันทั้งหมด ตองเปดใหบริการภายในวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ทั้งนี้ ผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่สามารถเปดใหบริการ MNP ในวงจํากัดในเขตกรุงเทพมหานคร ไดในวันที่ 5 ธันวาคม 2553 และจะขยายบริการเพื่อใหครอบคลุมทั่วประเทศในป 2554

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 34


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เมื่อตนป 2553 คณะกรรมการ กทช. ไดอนุมัติอัตราคาเชื่อมตอโครงขายระหวาง ฮัทช และ ดีแทค ที่ อัตรา 0.50 บาทตอหนาที่ ซึ่งตอมามีผลิให ฮัทช เขาสูระบบเชื่อมตอโครงขาย อยางไรก็ตาม ปจจุบัน ทรูมูฟ และ ฮัทช ยังไมสามารถตกลงอัตราคาเชื่อมตอโครงขายระหวางกันได นอกจากนี้ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2553 คณะกรรมการ กทช. ไดเสนออัตราคาเชื่อมตอโครงขาย ระหวางโครงขายโทรศัพทพื้นฐาน และ โครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยคิดคาเชื่อมตอโครงขายโทรศัพท พื้ น ฐานจากผู ใ ห บ ริ ก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ อั ต รา 0.36 บาทต อ นาที และ คิ ด ค า เชื่ อ มต อ โครงข า ย โทรศัพทเคลื่อนที่ จากผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน อัตรา 0.50 บาทตอนาที ทั้งนี้ ทรู ซึ่งเปนหนึ่งในผูให บริการโทรศัพทพื้นฐานไมเห็นดวยกับอัตราดังกลาว จึงยื่นฟองตอศาลปกครองในกรณีดังกลาว ในป 2552 คณะกรรมการ กทช. ไดดําเนินการบางประการ เพื่อใหเกิดความคืบหนา ในเรื่องการ จัดสรรคลื่นความถี่ 3G ในยาน 2.1 GHz โดยพยายามจัดทําเอกสารขอสนเทศเพื่อกําหนดเงื่อนไขการจัดสรร คลื่นความถี่ IMT หรือ 3G and beyond และไดจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ 2 ครั้ง เพื่อรวบรวมความ คิดเห็นจากทุกฝายที่มีผลประโยชนเกี่ยวของในเรื่องนี้ นอกจากนี้ การแตงตั้งกรรมการ กทช. 4 ทานใหม สําหรับตําแหนงที่วางลง ทําใหคณะกรรมการ กทช. มีจํานวนกรรมการครบชุดในปจจุบัน โดยคณะกรรมการ กทช. ไดเรงดําเนินการเพื่อออกใบอนุญาต 3G บนความถี่ 2.1GHz คณะกรรมการ กทช. ไดจัดทําเอกสารขอสนเทศชุดลาสุดในเดือนกรกฎาคม และไดประกาศลงใน ราชกิจจานุเบกษาซึ่งสงผลใหคณะกรรมการ กทช. สามารถเปดรับสมัครผูสนใจเขารวมประมูลคลื่นความถี่ และเปนผูรับใบอนุญาต 3G โดยคาดวาจะเกิดการประมูลเคลื่อนความถี่ในชวงปลายเดือนกันยายน ป 2553 ทั้งนี้ กลุมทรูในฐานะผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายหลักของประเทศ ไดแสดงความประสงคจะเขารวม ประมูลในครั้งนี้ผานบริษัท เรียล มูฟ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยที่จัดตั้งขึ้นใหม เชนเดียวกับผูใหบริการรายอื่น คือ เอไอเอส และ ดีแทค โดยบริษัท เรียล มูฟ จํากัด เปน 1 ใน 3 บริษัทที่ผานขั้นตอนการตรวจคุณสมบัติขั้นแรก ของคณะกรรมการ กทช. และมีสิทธิในการเขารวมประมูลคลื่นความพี่ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 20 กันยายน 2553 อยางไรก็ตาม กอนจะมีการประมูลเพียงไมกี่วัน กสท ไดยื่นฟองศาลปกครองกลางเพื่อขอใหมีคําสั่ง เพิกถอนการเปดประมูลครั้งนี้ พรอมทั้งขอใหคุมครองชั่วคราว เนื่องจากเห็นวา กทช. ชุดปจจุบันไมมีอํานาจ จัดการประมูลดังกลาว ในวันที่ 16 กันยายน 2553 ศาลปกครองกลางรับคําฟองคดี กสท. และมีคําสั่งให ระงับการประมูลคลื่นความถี่ 3G ของคณะกรรมการ กทช. หลังจากนี้ คณะกรรมการ กทช. ไดยื่นอุ ทธรณตอศาลปกครองสูงสุดแตอยางไรก็ตามการเป ด ประมูลดังกลาวถูกระงับเปนการชั่วคราว โดยคําสั่งศาลปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2553 นอกจากนี้ ศาลปกครองยังมีความเห็นวาใหสงเรื่องไปใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยในประเด็นสถานภาพทางกฎหมาย ของ กทช. วา กทช. จะยังคงมีสถานภาพทางกฎหมายหรือไม และ กทช. ยังคงมีอํานาจในการออกกฎ หรือ ประกาศที่ใชบังคับแกผูประกอบกิจการโทรคมนาคม เปนการทั่วไปตามพรบ. องคกรจัดสรรคลื่นฯ หรือไม

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 35


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ ภายใตการกํากับดูแล โดยคณะกรรมการ กทช. ซึ่งถือเปนการเปดเสรีธุรกิจตางๆ โดยการออก ใบอนุญาตใหผูประกอบการสามารถเปดใหบริการใหมๆ ไดเพิ่มเติม โดยกลุมทรูไดรับใบอนุญาตตางๆ ดังตอไปนี้ บริษัทยอย และบริษัทในเครือ ใบอนุญาตบริการอินเทอรเน็ต 1 บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด 2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด 3 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด 4 บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด)

ประเภท ใบ อนุญาต 1 1 1 2

5 บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม 1 บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 2 บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

1 1

3

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

1

4

1

5

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

1

6

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

3

7

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

3

8

1

1

9 บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด 10 บริษทั ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด

3 3

11 บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียลอินเตอรเนต จํากัด

1

12 บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด

1

13 บริษัท เรียล มูฟ จํากัด

1

สวนที่ 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ISP

อายุ ใบ วันที่บอรดอนุมัติ อนุญาต

วันที่ใบอนุญาต หมดอายุ

5 ป

23 มิ.ย. 2552

22 มิ.ย. 2557

ISP ISP บริการอินเทอรเน็ตเกตเวย ระหวางประเทศ และ บริการชุมสายอินเทอรเน็ต ISP

5 ป 5 ป 5 ป

18 ส.ค. 2552 5 ก.พ. 2553 19 พ.ค. 2549

17 ส.ค. 2557 4 ก.พ. 2558 18 พ.ค. 2554

5 ป

25 ส.ค. 2552

24 ส.ค. 2557

บริการโทรศัพทสาธารณะ บริการขายตอ บริการโทรศัพท พื้นฐานใชนอกสถานที่ และ โทรศัพทเคลื่อนที่ บริการขายตอบริการอินเทอรเน็ต และบริการ VDO Conference บริการขายตอบริการอินเทอรเน็ต และโทรศัพทเคลื่อนที่

5 ป 5 ป

29 มิ.ย. 2552 23 ก.พ. 2553

28 มิ.ย. 2557 22 ก.พ. 2558

5 ป

20 พ.ค. 2552

19 พ.ค. 2557

5 ป

2 ส.ค. 2552

1 ส.ค. 2557

บริการบัตรโทรศัพทระหวาง ประเทศ บริการโทรศัพทประจําที่ และ บริการเสริม บริการโทรศัพทระหวางประเทศ และบริการเสริม บริการขายตอบริการโทรคมนาคม เพื่อสาธารณะ บริการวงจร หรือ ชองสัญญาณเชา บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการขายตอบริการวงจรเชาสวน บุคคลระหวางประเทศ บริการขายตอบริการวงจรเชา สวนบุคคลระหวางประเทศ บริการขายตอบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ บริการขายตอบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่

5 ป

11 ต.ค. 2552

10 ต.ค. 2557

20 ป

8 ธ.ค. 2549

7 ธ.ค. 2569

20 ป

25 ม.ค. 2550

24 ม.ค. 2570

5 ป

26 ส.ค. 2552

25 ส.ค. 2557

15 ป 15 ป

23 ก.ย. 2552 11 พ.ย. 2552

22 ก.ย. 2567 10 พ.ย. 2567

5 ป

11 พ.ย. 2552

10 พ.ย. 2557

5 ป

1 ธ.ค. 2553

30 พ.ย. 2558

5 ป

16 ธ.ค. 2553

15 ธ.ค. 2558

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 36


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ สินทรัพยของบริษัทฯ และ บริษัทยอย ที่สําคัญ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ บริษัทฯ ไดจัดประเภทของทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ เปน 2 ประเภท คือ อุปกรณโครงขาย และอุปกรณนอกระบบโครงขาย ภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน / สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ เฉพาะทรัพยสินที่เกี่ยวกับอุปกรณโครงขาย โทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย โทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (PCT) โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร บริการอินเทอรเน็ต และ โทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก บริษัทฯ และกลุมบริษัทฯ จะตองโอนใหกับ ทีโอที กสท และ อสมท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และวันที่ 31 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทฯ มีทรัพยสินทัง้ สิ้น ดังตอไปนี้ หนวย : ลานบาท

ที่ดินและสวนปรับปรุง อาคารและสิ่งปลูกสราง อุปกรณระบบโทรศัพท อุปกรณโครงขายโทรศัพทเคลือ่ นที่ โทรศัพทสาธารณะ ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณไฟฟาและเครื่อง คอมพิวเตอร ระบบเคเบิ้ลทีวี งานระหวางกอสราง มูลคาตามบัญชีสุทธิ

อุปกรณโครงขายสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท 1,849 1,849 603 557 8,920 8,921 30,132 551 149 150 5,325 196 7,250 3,451 57,875

127 6 12,161

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท 1,849 1,849 681 637 10,298 10,305 32,184 677 218 206 4,270 211 7,759 3,345 60,815

140 13 13,827

มูลคาสุทธิของอุปกรณโครงขายในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทที่โอนให ทีโอที และ กสท ภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน / สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ มีดังตอไปนี้

ทีโอที กสท มูลคาตามบัญชีสุทธิ

สวนที่ 1

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท 9,179 9,179 9,640 18,819 9,179

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

หนวย : ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท 10,750 10,750 10,200 20,950 10,750

หัวขอที่ 5 – หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กลุมบริษัทฯ ไดรับสิทธิดําเนินการและใชประโยชนจากทรัพยสินนั้นตามระยะเวลาของสัญญา รวมการงานและรวมลงทุน / สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ บริษัทฯ ไดนําสิทธิในการใชที่ดิน อาคารและ อุปกรณที่โอนให ทีโอที (ตามสัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัญญารวมการงานฯ) เปน หลักประกันอยางหนึ่งสําหรับเงินกูยืมที่เปนสกุลบาททั้งหมดของบริษัทฯ สวนอุปกรณนอกระบบโครงขาย เปนกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัทฯ ซึ่งกลุมบริษัทฯ สามารถจําหนายจายโอนและใชประโยชนจากทรัพยสิน ดังกลาวได โดยมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ หนวย : ลานบาท อุปกรณนอกระบบโครงขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท เฉพาะบริษัท ที่ดินและสวนปรับปรุง 547 547 สวนปรับปรุงอาคารเชา 1,183 22 1,201 46 เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณสํานักงาน 1,275 109 1,245 131 รถยนต 3,609 3,815 อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร 715 69 856 122 งานระหวางทํา 164 1 214 มูลคาตามบัญชีสุทธิ 7,493 201 7,878 299

คาความนิยม คาความนิยมเปนสวนของราคาทุนของเงินลงทุนของกลุมบริษัทฯ ในบริษัทรวม และ บริษัทยอย ที่สูงกวามูลคายุติธรรมของสวนแบงสินทรัพยสุทธิของบริษัทรวมและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 12,428 ลานบาท แบงเปนคาความนิยมจากการซื้อกิจการในบริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) (“True Visions”) มียอดรวมสุทธิ 11,043 ลานบาท บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (“BITCO”) มียอดรวมสุทธิ 1,025 ลานบาท บริษัท เอ็ม เค เอส ซี เวิลดดอทคอม จํากัด (“MKSC”) มียอดรวมสุทธิ 313 ลานบาท และ บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด (“KSC”) มียอดรวมสุทธิ 47 ลานบาท สินทรัพยไมมตี ัวตน ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนรายจายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร เกินกวาประสิทธิภาพเดิมถือเปนสวนปรับปรุง และบันทึกรวมเปนราคาทุนของโปรแกรมคอมพิวเตอร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 2,005 ลานบาท

สวนที่ 1

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 5 – หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สิทธิในการเชาระยะยาว สิทธิในการเชาระยะยาว เปนคาตอบแทนที่บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจาย เพื่อไดรับสิทธิในการ เชาพื้นที่ในอาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 74 ลานบาท สิทธิอื่น ๆ สิทธิอื่นๆ เปนคาตอบแทนที่บริษัทยอยไดจาย เพื่อไดรับสิทธิในการใชประโยชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 144 ลานบาท คาสิทธิสําหรับรายการและภาพยนตรรอตัดบัญชี คาสิทธิสําหรับรายการและภาพยนตรเปนคาตอบแทนสิทธิและภาระผูกพันที่เกิดขึ้นภายใตสัญญา ของบริษัทยอยเพื่อการไดรับสิทธิรายการและวัสดุรายการพรอมที่จะแพรภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 412 ลานบาท (รวมคาสิทธิที่ครบกําหนดชําระภายใน 1 ป) คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และคาสิทธิในการพาดสาย คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และการพาดสายกระจาย เปนรายจาย เพื่อใหไดมาซึ่งใบอนุญาตซึ่งแสดงดวยราคามูลคายุติธรรมของหุนที่ออกโดยบริษัทยอยเพื่อเปนการแลกกับ สิทธิดังกลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 231 ลานบาท สิทธิตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ สิทธิตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ แสดงดวยมูลคาปจจุบนั ของจํานวนผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ํา ที่ตองจายตลอดอายุของสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 2,576 ลานบาท

สวนที่ 1

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 5 – หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. ขอพิพาททางกฎหมาย สรุ ป คดี แ ละข อ พิ พ าทที่ สํ า คั ญ ของบริ ษั ท ทรู คอร ป อเรชั่ น จํ า กั ด (มหาชน) และ บริ ษั ท ย อ ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ดังนี้ คดีฟองรองทีค่ างอยูที่ศาลปกครอง 1. คดีที่บริษัทฯ ฟองบริษัท ทีโอที จํากัด (“ทีโอที”) ขอพิพาทเกีย่ วกับการลดอัตราคาบริการ Y-Tel 1234 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2544 บริษัทฯ ไดฟอง ทีโอที ตอศาลปกครองกลางเพื่อขอใหศาลบังคับให ทีโอที ชดใชคาเสียหายจํานวน 1,197.63 ลานบาท อันเนื่องมาจากการลดอัตราคาบริการตามโครงการ “Y-Tel 1234” โดยบริษัทฯ อางวาการลดอัตราคาบริการ ไมเปนไปตามสัญญารวมการงานฯ ซึ่งกําหนดใหอัตราคาบริการภายใต โครงขายของ ทีโอที ตองเปนอัตราเดียวกันกับอัตราคาบริการภายใตโครงขายของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2548 ศาลปกครองกลางไดพิพากษายกฟอง และในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2548 บริษัทฯ ไดยื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด ขณะนี้คดีดังกลาวกําลังอยูภายใตกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด 2. คดีที่ ทีโอที ฟองบริษัทฯ ขอพิพาทเกีย่ วกับการติดรูปสัญลักษณของบริษัทฯ บนตูโ ทรศัพทสาธารณะ เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2547 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการจากการที่บริษัทฯ ติดรูปสัญลักษณของบริษัทฯ บนตูโทรศัพทสาธารณะเปนการไมปฏิบัติตามขอตกลงรวมกันระหวางบริษัทฯ กับ ทีโอที เรื่องโทรศัพทสาธารณะ ทีโอที เรียกคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 433.85 ลานบาท เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคานตออนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 อนุญาโตตุลาการไดตัดสินชี้ขาดให ทีโอที ชนะคดีดังกลาว เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคานคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2551 ทีโอที ไดยื่นคํารองเพื่อใหศาลบังคับใหเปนไปตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ และใหบริษัทฯ ชดใชเปนจํานวนเงิน 150.00 ลานบาท และจายคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 90 บาทตอเดือน ตอ ตูโทรศัพทหนึ่งตู ตั้งแตวันที่ฟองรองจนกวาบริษัทฯ จะหยุดใชตราสัญลักษณบนตูโทรศัพทสาธารณะ ศาลปกครองกลาง ไดมีคําสั่งใหรวมคดีกับสํานวนคดีที่บริษัทฯ ขอใหศาลปกครองกลางเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางไดกําหนดใหวันที่ 26 ธันวาคม 2551 เปนวันสิ้นสุดการแสวงหาขอเท็จจริง เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2552 ศาลปกครองกลางพิจารณาใหยกคํารองของบริษัทฯ และใหบังคับตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการขอพิพาท หมายเลขดําที่ 61/2547 ขอพิพาทหมายเลขแดงที่ 77/2549 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 โดยใหบริษัทฯ ชําระเงิน จํานวน 150 ลานบาท ภายใน 60 วันนับแตวันที่คดีถึงที่สุด และใหคืนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมดจํานวน 80,000 บาท ใหแก ทีโอที บริษัทฯ ไดดําเนินการยื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุดแลวเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 ขณะนี้คดี อยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทฯ จึงไมไดบันทึกรายได และไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขอพิพาทที่ยงั คงคางอยู ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ 1. ขอพิพาทที่บริษัทฯ เปนผูเสนอ (1) ขอพิพาทเกีย่ วกับสวนแบงรายไดในสวนคาโทรศัพททางไกลตางประเทศ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2548 บริษัทฯ ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับเรื่อง การคํานวณสวนแบงรายไดที่เกิดจากคาโทรศัพททางไกลตางประเทศภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน บริษัทฯ ไดเรียกรองคาเสียหายสําหรับการที่ ทีโอที ไมสามารถคํานวณแยกคาสวนแบงรายไดที่ ทีโอที ไดรับ จากการใชโทรศัพทตางประเทศในสวนโครงขายของบริษัทฯ ออกจากสวนของโครงขาย ทีโอที เปนจํานวนเงิน 5,000.00 ลานบาท และคาเสียหายจากการคํานวณจํานวนเงินผิดพลาดอีก 3,407.68 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย (2) ขอพิพาทเกีย่ วกับสัญญารวมการงานฯ ขอ 38. เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับเรื่อง ขอให ทีโอที ระงับการใชอํานาจกํากับดูแลสัญญารวมการงานฯ และระงับการใชอํานาจตามสัญญานับตั้งแตวันที่ สถานภาพ ทีโอที เปลี่ยนแปลงไป และ ใหอํานาจกํากับดูแลเปนของกระทรวงคมนาคม หรือ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร คดีนี้เปนคดีไมมีทุนทรัพย ทีโอทีไดยื่นคําคัดคานเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2549 ตอมาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรื่องการปฏิเสธอํานาจ กํากับดูแลของ ทีโอที ตามขอ 38. ของสัญญารวมการงานฯ เปนคดีใหมอีกคดีหนึ่ง (3) ขอพิพาทเกีย่ วกับสวนแบงรายไดคาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ ไดยื่นเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกรองใหทีโอที ชําระเงินที่เปนสวนแบงรายไดอันเกิดจากคาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศเปนจํานวนเงิน 1,968.70 ลานบาท ซึ่ง ทีโอที นําสงสวนแบงรายไดดังกลาวขาดไป ไมเปนไปตามเงื่อนไขของอัตราสวนแบงรายไดที่ระบุไวในสัญญา โดยบริษัทฯ ไดรองขอใหอนุญาโตตุลาการพิจารณาวินิจฉัยสั่งการในเรื่องตอไปนี้ 1. ให ทีโอที ปฏิบัติตามสัญญารวมการงานฯ และขอตกลงเรื่องการจัดเก็บและแบงรายได โดยใหชําระสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศใหถูกตองครบถวน ตามเงื่อนไขของสัญญาขอตกลงดังกลาว 2. ให ทีโอที ชําระคาเสียหายใหแกบริษัทฯ เปนจํานวนเงิน 1,968.70 ลานบาท 3. ให ทีโอที คํานวณสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศโดยทั้งจาก การเรียกเขาและเรียกออกโดยใชอัตรา 6 บาทตอนาทีตามที่ระบุในสัญญามาเปนฐานใน การคํานวณสวนแบงรายไดนับแตเดือนกันยายน 2550 เปนตนไป 4. ให ทีโอที ชําระดอกเบี้ยที่เกี่ยวของตามสัญญาขอ 21 (อัตราเฉลี่ย MLR+1) หรือในอัตรา รอยละ 7.86 ตอปจากสวนแบงรายไดที่ ทีโอที คางชําระนับแตวันที่ยื่นคําเสนอขอพิพาท จนกวาจะชําระครบถวน เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 ทีโอที ไดยื่นคําคัดคาน ขณะนี้กรณีพิพาทอยูระหวางกระบวนการ ทางอนุญาโตตุลาการ สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ขอพิพาทที่ ทีโอที เปนผูเสนอ (1) ขอพิพาทกรณีบริษัทฯ พิมพรูปสัญลักษณของบริษัทฯ บนใบแจงหนี้ ใบกํากับภาษี และ ใบเสร็จรับเงิน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2547 ทีโอทีไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรียกคาเสียหายจากการที่บริษัทฯ พิมพรูปสัญลักษณบนใบแจงหนี้และใบเสร็จรับเงินฉบับละ 4 บาท นับตั้งแตเดือนสิงหาคม 2544 จนถึง เดือนสิงหาคม 2547 เปนจํานวนเงิน 785.64 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย นอกจากนี้ในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ทีโอที ไดเรียกรองคาเสียหายอีกเปนจํานวนเงิน 106.80 ลานบาท สําหรับคาเสียหายเพิ่มเติม และ 1,030.50 ลานบาท สําหรับการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบใบแจงหนี้คาบริการเปนกระดาษขนาด A4 บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 ขณะนี้กรณีพิพาทอยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (2) ขอพิพาทเกี่ยวกับคาใชทอรอยสาย เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทใหบริษัทฯ ชําระเงินคาเชา ทอรอยสาย ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2547 ถึง เดือนเมษายน 2548 เปนจํานวนเงิน 6.72 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ (3) ขอพิพาทเกี่ยวกับเรื่องคาโทรศัพททางไกลในประเทศ TA 1234 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรียกรองคาเสียหายจากการสูญเสีย รายไดตั้งแตวันที่ 16 พฤศจิกายน 2543 ถึงเดือนมีนาคม 2548 เปนจํานวนเงิน 15,804.18 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย อันเนื่องมาจากบริษัทฯ ลดคาบริการทางไกลในประเทศภายใตโครงการ TA 1234 และรองขอใหบริษัทฯ เรียกเก็บคาบริการทางไกลในประเทศตามอัตราที่ตกลงกันภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน (4) ขอพิพาทเกี่ยวกับการใหบริการ ADSL เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทระบุวาบริษัทฯ ละเมิดขอตกลงใน สัญญารวมการงานฯ โดยใหบริการหรือยินยอมใหผูอื่นนําอุปกรณในระบบไปใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (ADSL) ทีโอที เรียกรองคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 2,010.21 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย นอกจากนี้ ทีโอที ยังเรียกรองใหบริษัทฯ ชําระคาเสียหายตอเนื่องจากเดือนกรกฎาคม 2548 อีกเดือนละ 180.00 ลานบาท พรอม ดอกเบี้ย และขอใหบริษัทฯ ระงับการใหบริการหรืออนุญาตใหผูอื่นใหบริการ ADSL (5) ขอพิพาทเกี่ยวกับสวนแบงรายไดตามสัญญารวมการงานฯ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกคืนสวนแบง รายไดที่บริษัทฯ ไดรับเกินกวาสิทธิที่พึงจะไดรับจํานวน 1,479.62 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย บริษัทฯ ไดยื่น คําคัดคานเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ขณะนี้อยูระหวางรอคําสั่งจากทางสถาบันอนุญาโตตุลากร ขอพิพาทที่คางอยูที่สถาบันอนุญาโตตุลาการดังกลาวขางตนไดถูกเสนอใหมีการเจรจาไกลเกลี่ยโดย สํานักงานอนุญาโตตุลาการ แตเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2550 คูกรณีทั้งสองฝายไดยกเลิกการไกลเกลี่ยและ ไดนําขอพิพาทเขาสูกระบวนการอนุญาโตตุลาการตามเดิม ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทฯ จึงไมไดบันทึก รายไดและไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขอพิพาทอื่นๆ 1. การประเมินภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2549 บริษัทฯ ไดรับแจงเรื่องการประเมินภาษีสรรพสามิตจากกรมสรรพสามิต ใหบริษัทฯ ชําระเบี้ยปรับและเงินเพิ่มของภาษีสรรพสามิต ตั้งแตเดือนมกราคม 2548 ถึง เดือนมีนาคม 2548 ที่นําสงลาชากวากําหนดเปนจํานวนเงิน 185.87 ลานบาท เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําขอ ทุเลาการชําระภาษีสรรพสามิตตามคําสั่งทางปกครอง และตอมาเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2549 บริษัทฯ ไดยื่น คําคัดคานการประเมินดังกลาว ตอมาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 อธิบดีกรมสรรพสามิตไดวินิจฉัยใหยกคําคัดคาน การประเมิน เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2550 บริษัทฯ ไดยื่นอุทธรณคัดคานคําวินิจฉัยและใหเพิกถอนคําวินิจฉัย ดังกลาวตอคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ ตอมาเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ ไดวินิจฉัยยกอุทธรณของบริษัทฯ และใหบริษัทฯ ชําระภาษีสรรพสามิตตามคําวินิจฉัยคําคัดคานการประเมิน ภาษีสรรพสามิต จํานวน 185.87 ลานบาท เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 บริษัทฯ ไดยื่นฟองขอเพิกถอนคําวินิจฉัย ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณตอศาลภาษีอากรกลาง เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ศาลภาษีอากรกลาง ไดมีคําพิพากษาใหงดเบี้ยปรับทั้งหมด อยางไรก็ดี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 บริษัทฯ ไดยื่นอุทธรณในประเด็นอื่น ที่เปนผลจากการตัดสิน ขณะนี้คดีกําลังอยูระหวางกระบวนการพิจารณาอุทธรณ 2. การขอคืนภาษีสรรพสามิต (1) เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริษัทฯ ไดยื่นฟองกรมสรรพสามิตตอศาลภาษีอากรกลาง เพื่อ ขอใหพิจารณาพิพากษาใหคืนเงินคาภาษีสรรพสามิตตั้งแตรอบเดือนภาษีมกราคม 2548 ถึงรอบเดือนภาษี ธันวาคม 2548 จํานวน 372.02 ลานบาท ที่บริษัทฯ ไดนําสงไปโดยไมมีหนาที่ตองนําสงและไดยื่นขอคืนจาก กรมสรรพสามิตแลว แตกรมสรรพสามิตปฏิเสธที่จะจายคืน เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2551 ศาลพิพากษาวา กรมสรรพสามิตจําเลยไมมีหนาที่คืนคาภาษีสรรพสามิตพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกตามฟอง จึงพิพากษายกฟอง ขณะนี้ คดีกําลังอยูระหวางกระบวนการอุทธรณ (2) เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ 2552 บริษัทฯ ไดยื่นคํารองตออธิบดีกรมสรรพสามิต เพื่อขอคืนภาษี สรรพสามิต สําหรับรอบเดือนภาษีมกราคม 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2550 เปนจํานวนเงินรวม 348.87 ลานบาท ที่บริษัทฯ นําสงโดยไมมีหนาที่ตองนําสง เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2552 กรมสรรพสามิตไดปฏิเสธคํารองขอคืน ภาษีสรรพสามิตดังกลาว และเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 บริษัทฯ ไดยื่นอุทธรณคําสั่งปฏิเสธของกรมสรรพสามิต ขณะนี้เรื่องกําลังอยูระหวางการพิจารณาอุทธรณ ผลที่สุดของคดีความดังกลาวไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทฯ จึงไมไดบันทึกรายได สําหรับสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้นและไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากผลของคดีความดังกลาว ไวในงบการเงิน

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คดีฟองรองและขอพิพาทของบริษัทยอย 1. เมื่อเดือนมีนาคม 2548 ตัวแทนใหบริการจําหนายสัญญาณของบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งไดถูกยกเลิกสัญญาไปแลว ไดฟองบริษัทยอยดังกลาวเพื่อเรียกรองใหชดเชยคาเสียหายเปน จํานวนเงินสูงสุด 300.00 ลานบาท โดยกลาวหาวาบริษัทยอยดังกลาวผิดเงื่อนไขตามสัญญาบอกรับการเปน สมาชิกประเภทโครงการแบบเหมาจาย (“CMDU”) ตอมาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2551 ศาลแพงไดตัดสินโดย พิพากษาใหบริษัทยอยเปนฝายชนะคดีใหยกฟองของโจทกและมีคําสั่งใหโจทกชําระเงินจํานวน 1.66 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป นับจากวันฟองแยงจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น ขณะนี้คดีอยูระหวางกระบวนการ พิจารณาอุทธรณ 2. เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2549 กสท ไดยื่นฟองบริษัทยอยของกลุมบริษัทฯ แหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอศาลปกครองกลาง เพื่อขอใหชําระคาใชพื้นที่อาคารและเสาอากาศจํานวนเงิน 12.48 ลานบาท และ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2552 ศาลปกครองกลางไดยกฟอง โดยบริษัทยอยไมมีหนาที่ตองชําระเงินจํานวนดังกลาว ให กสท อยางไรก็ตาม กสท ไดยื่นอุทธรณเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552 และ บริษัทยอยไดยื่นคัดคานคําอุทธรณ ไปเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2552 ขณะนี้คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด 3. เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2549 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอยชําระคาธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมเปนจํานวนเงิน 113.58 ลานบาท ตอมาเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2551 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดใหบริษัทยอยชําระเงิน ให กสท จํานวน 99.60 ลานบาท (ไมรวมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป) บริษัทยอยไดรับทราบคําชี้ขาดเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2551 และบริษัทยอยไดดําเนินการคัดคานคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลาง ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 4. เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2549 บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ไดถูกฟองคดีแพงโดยบุคคล กลุมหนึ่ง โดยเรียกรองคาเสียหายเปนจํานวน 44.37 ลานบาท เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2550 คดีดังกลาวไดมีการถอนฟอง ออกไปคงเหลืออยูเพียงคดีเดียว คาเสียหายที่เรียกรองคงเหลือเปนจํานวนเงิน 7.00 ลานบาท ขณะนี้คดีอยูใน ขั้นตอนดําเนินการของศาล 5. เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2550 กสท ไดมีหนังสือถึงธนาคารสี่แหงซึ่งเปนผูออกหนังสือค้ําประกันใหกับ บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด เรียกรองใหธนาคารทั้งสี่แหงจายชําระเงินจํานวน 370.00 ลานบาท แทนบริษัทยอย โดยกลาวหาวาบริษัทยอยแหงนั้นไมปฏิบัติตามสัญญา กรณีนี้ สืบเนื่องมาจากกรณีพิพาทที่ กสท ไดนําเสนอสูสถาบันอนุญาโตตุลาการและคดียังอยูระหวางการดําเนินการของอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2550 บริษัทยอยแหงนั้นไดยื่นคํารองตอศาลแพงและศาลปกครองกลางเพื่อขอใหศาลมีคําสั่ง การคุมครองเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราว และมีคําสั่งให กสท ระงับการใชสิทธิเรียกรองและใหทั้งสี่ธนาคาร ระงับการชําระเงินตามหนังสือค้ําประกันไวจนกวาจะมีคําชี้ขาดจากอนุญาโตตุลาการ ศาลทั้งสองไดตัดสิน

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

และมีคําสั่งในทางเปนประโยชนตอบริษัทยอยดังกลาว เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2550 บริษัทยอยไดยื่นคําเสนอ ขอพิพาทเรื่องนี้ตออนุญาโตตุลาการ และขณะนี้คดีอยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 6. เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 กสท ไดยื่นเสนอขอพิพาทกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอยแหงนั้นจายชําระคาสวนแบงรายไดที่สงขาดไปรวมคาปรับ และดอกเบี้ยจํานวนรวมทั้งสิ้น 8,969.08 ลานบาท ขณะนี้คดีกําลังอยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 7. เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2551 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกรองใหบริษัทยอย แหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระสวนแบงรายไดเพิ่มเติมจํานวน 45.95 ลานบาท ขณะนี้คดีกําลังอยูใน กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 8. เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2551 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอย แหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระคาเชื่อมโยงโทรศัพทเคลื่อนที่ที่บริษัทยอยหักออกจากผลประโยชน ตอบแทนของปดําเนินการที่ 7 ถึงปที่ 11 (หักสวนลดคาแอสเสสชารจ จํานวน 22 บาทตอเลขหมาย) เปนจํานวนเงิน 689.84 ลานบาท เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2553 กสท ไดยื่นขอเสนอขอแกไขจํานวนเงินเรียกรองจาก 689.84 ลานบาท เปน 1,379.68 ลานบาท เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2553 คณะอนุญาโตตุลาการไดทําคําชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาทของ กสท และเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553 กสท ไดยื่นคํารองตอศาลปกครองกลางเพื่อขอใหเพิกถอนคําชีข้ าดของ คณะอนุญาโตตุลาการ คดีอยูร ะหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 9. เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกรองใหบริษัทยอย แหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด สงมอบและโอนกรรมสิทธิ์เสาอากาศและอุปกรณเสาอากาศ จํานวน 4,546 ตน ให กสท หากบริษัทยอยไมสามารถสงมอบและโอนกรรมสิทธิ์ในเสาดังกลาวได ไมวาดวยเหตุใดๆ ใหบริษัทยอย ชําระคาเสียหาย เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 2,766.16 ลานบาท บริษัทยอยแหงนั้นไดยื่นคัดคานคําเสนอขอพิพาท ตอคณะอนุญาโตตุลาการเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2552 คดีอยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 10. เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอย แหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระคาธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษสี่หลักเลขหมาย 1331 เปนจํานวนเงิน 3.96 ลานบาทพรอมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป ภาษีมูลคาเพิ่มและคาปรับรอยละ 1.25 ตอเดือน ของยอดเงินคาธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษ นับแตวันที่ กสท ไดชําระใหแก กทช. จนกวาบริษัทยอย แหงนั้นจะชําระใหแก กสท บริษัทยอยแหงนั้นไดยื่นเสนอคําคัดคานเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 ขณะนี้กําลัง อยูในกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ 11. เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2552 บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ไดยื่นฟอง กสท ตอศาลแพง เรียกรองคาเสียหายจํานวน 50 ลานบาท จากกรณีที่ กสท กระทําละเมิดไมคืนหนังสือค้ําประกันผลประโยชน ตอบแทนขั้นต่ํา (“LG”) ใหบริษัทยอยโดยไมมีเหตุผลตามกฎหมาย กอใหเกิดความเสียหายแกบริษัทยอยใน การบริหารจัดการวงเงิน LG นอกจากนั้น บริษัทยอยยังตองจายคาธรรมเนียมของ LG เหลานั้นตลอดมา

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2553 ศาลแพงและศาลปกครองกลางไดมีความเห็นพองวาคดีดังกลาวอยูในเขตอํานาจ พิจารณาของศาลปกครอง ดังนั้นคดีนี้จึงอยูภายใตเขตอํานาจของศาลปกครองกลาง 12. เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ไดยื่นฟอง กสท ตอศาลแพง เรียกรองคาเสียหายจํานวน 1,908.62 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย อันเนื่องมาจากการที่ กสท ผิดสัญญาไมชําระ คาสวนแบงรายไดคาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศใหแกบริษัทยอย ขณะนี้คดีกําลังอยูระหวางกระบวนการ พิจารณาของศาลแพง 13. เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2553 บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“AIS”) ไดยื่นคําเสนอ ขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ เพื่อขอใหอนุญาโตตุลาการมีคําวินิจฉัยใหบริษัทยอยแหงหนึ่งคือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมที่ยังคงคางชําระจํานวน 88.60 ลานบาท ขณะนี้บริษัทยอย กําลังอยูระหวางการดําเนินการยื่นคัดคานคํารองดังกลาว ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนยังไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นกลุมบริษัทฯ จึงไมได ตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน สัญญาอนุญาตใหดําเนินการของบริษัทยอย ในเดือนพฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีความเห็นวาสัญญาอนุญาตใหดําเนินการใหบริการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูลารระหวาง กสท กับบริษัท อาจตองผานการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีตามพระราชบัญญัติ วาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ ซึ่ง กสท ไมไดดําเนินการตามนั้น อาจสงผล ในทางเสียหายตอสถานะของบริษัทยอย ที่ปรึกษากฎหมายของกลุมบริษัทฯ มีความเห็นวา ตามหลักกฎหมายแลว ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาไมมีผลผูกพันทางกฎหมายตอบริษัทยอย ดังนั้น บริษัทยอยจึงสามารถ ประกอบธุรกิจใหบริการภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ตอไปได คาแอสเสสชารจ กลุมบริษัทฯ มีคดีความเกี่ยวกับคาแอสเสสชารจ ที่อยูในระหวางการพิจารณาและยังไมทราบผล ของคดีความดังนี้ 1. คาแอสเสสชารจของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2545 บริษัทฯ ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับ กรณีพิพาทที่เกิดจากสัญญารวมการงานฯ ระหวางบริษัทฯ กับ ทีโอที ตามสัญญารวมการงานฯ ระบุไววาบริษัทฯ มีสิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทนจากการที่ ทีโอที นําบริการหรืออนุญาตใหบุคคลที่สามใหบริการพิเศษบน โครงขาย ทีโอที ไดอนุญาตให กสท และผูใหบริการโทรคมนาคมรายอื่นใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนโครงขาย และไดรับคาเชื่อมโยงโครงขายจาก กสท และผูใหบริการโทรคมนาคมรายอื่น อยางไรก็ตาม ทีโอที เห็นวาบริการดังกลาว ไมไดเปนบริการพิเศษ ดังนั้นจึงปฏิเสธที่จะจายผลตอบแทนในสวนของบริษัทฯ ดังกลาว ดังนั้นบริษัทฯ จึงขอให อนุญาโตตุลาการชี้ขาดให ทีโอที จายสวนแบงในสวนของบริษัทฯ สําหรับคาเชื่อมโยงโครงขายที่ ทีโอที ไดรับ นับตั้งแตเดือนตุลาคม 2535 ถึงเดือนมิถุนายน 2546 เปนจํานวนเงิน 25,419.40 ลานบาท เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2549 สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะอนุญาโตตุลาการไดสงคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 17 มกราคม 2549 มายังบริษัทฯ คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดโดยเสียงขางมาก ซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ 1) ใหบริษัทฯ มีสิทธิรับผลประโยชนจากการที่ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย ของบริษัทฯ หรือการที่ ทีโอที อนุญาตใหบุคคลอื่น นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย ของบริษัทฯ 2) สําหรับผลประโยชนนับตั้งแตเริ่มตนจนถึงวันที่ 22 สิงหาคม 2545 ให ทีโอที ชําระเงิน จํานวน 9,175.82 ลานบาท พรอมดวยดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอปของเงินจํานวนดังกลาว นับตั้งแตวันที่ 22 สิงหาคม 2545 ใหแกบริษัทฯ จนกวา ทีโอที จะชําระเสร็จสิ้นให ทีโอที ชําระเงินตามคําชี้ขาดขอนี้ใหแกบริษัทฯ ภายใน 60 วันนับตั้งแตวันที่ไดรับคําชี้ขาด 3) สําหรับผลประโยชนตั้งแตวันที่ 23 สิงหาคม 2545 เปนตนไป ให ทีโอที แบงผลประโยชน ตอบแทนใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 50 ของผลประโยชนที่ ทีโอที ไดรับจริง เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 ทีโอที ยื่นคํารองตอศาลปกครองกลางเพื่อขอเพิกถอนคําชี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการ ตอมาเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคานตอศาลปกครองกลางและศาลปกครองกลาง ไดรับเรื่องไวแลวเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549 และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริษัทฯ ไดขอใหมีการบังคับ ตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหรวมคดีที่ ทีโอที เปนผูรองเพื่อขอใหศาล เพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการมาพิจารณาพรอมกัน ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 2. คาแอสเสสชารจของบริษัทยอย เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2549 บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ไดสงจดหมายถึง ทีโอที ใหเขารวมเจรจาเกี่ยวกับสัญญาการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (“IC”) ระหวางโครงขายของบริษัทยอย และโครงขายของ ทีโอที ตอมาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 บริษัทยอยไดสงหนังสือแจง ทีโอที และ กสท เพื่อแจงวาจะหยุดชําระคาแอสเสสชารจ (“Access Charge”) ภายใตสัญญาเชื่อมตอโครงขาย (“สัญญา AC”) เนื่องจากอัตราและการเรียกเก็บคาแอสเสสชารจภายใตสัญญา AC ขัดแยงกับกฎหมายหลายประการ บริษัทยอย ไดรองขอให ทีโอที เขารวมลงนามในสัญญา IC กับบริษัทยอยเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรือใหเรียกเก็บ อัตราเรียกเก็บชั่วคราวที่ประกาศโดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“กทช.”) ขณะที่การเจรจา เรื่องการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับ ทีโอที ยังไมมีขอยุติ อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอที ไดสงหนังสือเพื่อแจงวาบริษัทยอยดังกลาว ไมมีสิทธิที่จะใชและเชื่อมตอโครงขายของบริษัทยอยกับโครงขายของ ทีโอที เนื่องจากบริษัทยอยแหงนั้น ไมไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมซึ่งออกโดย กทช. และไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเอง ทีโอที โตแยงวาสัญญา AC ไมไดฝาฝนกฎหมายใดๆ ดังนั้น อัตราและการเรียกเก็บคาแอสเสสชารจ ภายใตสัญญา AC ยังคงมีผลใชบังคับตอไป

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2550 บริษัทยอยดังกลาวไดยื่นขอพิพาทเขาสูกระบวนการระงับขอพิพาท ตามประกาศของคณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (IC) เพื่อขอให คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท (“กวพ.”) มีคําวินิจฉัยให ทีโอที ดําเนินการทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายฯ (IC) กับบริษัทยอย กวพ. มีคําวินิจฉัยและ กทช.มีคําชี้ขาดวา บริษัทยอยมีสิทธิที่จะเขาเจรจาทําสัญญา เชื่อมตอโครงขายฯ (IC) กับ ทีโอที เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 และวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 ตามลําดับ ตอมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอที ไดตกลงที่จะเขาเจรจาทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (IC) กับบริษัทยอยแลว แตมีเงื่อนไขวา จะทําสัญญาเฉพาะกับเลขหมายใหมที่บริษัทยอยไดรับจัดสรรจาก กทช. เท า นั้ น บริ ษั ท ย อ ยดั ง กล า วได ต กลงตามที่ ที โ อที เสนอ แต สํ า หรั บ เลขหมายเก า นั้ น บริ ษั ท ย อ ยยั ง คง ดําเนินการใหเปนเรื่องของกระบวนการทางกฎหมายตอไป เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอที ไดยื่นฟองบริษัทยอยตอศาลแพง ฐานผิดสัญญาเชื่อมโยง โครงขาย (ขอตกลง) และเรียกรองใหบริษัทยอยชําระคาแอสเสสชารจที่คางชําระ พรอมดอกเบี้ยและภาษีมูลคาเพิ่ม เปนจํานวนเงิน 4,508.10 ลานบาท เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ศาลแพงและศาลปกครองกลางมีความเห็น พองกันวาคดีดังกลาวอยูในเขตอํานาจศาลปกครอง ดังนั้น ศาลแพงจึงจําหนายคดีออกจากศาลแพง ถาบริษัทยอยตองชําระคาแอสเสสชารจ บริษัทยอยอาจตองบันทึกคาแอสเสสชารจ เปนคาใชจาย และคาใชจายคางจายเพิ่มเติม สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ดังนี้ ผลกระทบสุทธิตอ งบกําไรขาดทุนรวม ซึ่งสุทธิจากเงิน คาแอสเสสชารจ สวนแบงรายไดที่จาย คางจาย ใหแก กสท (ลานบาท) (ลานบาท) สําหรับระยะเวลา ตั้งแตวนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 14,591.78 10,898.98 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 5,458.03 4,066.73 รวม 20,049.811 14,965.71 ฝายบริหารและที่ปรึกษากฎหมายมีความเห็นวา บริษัทยอยแหงนั้น ไมมีภาระผูกพันที่จะตอง จายคาแอสเสสชารจขางตน ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทฯ และบริษัทยอย จึงไมไดบันทึกรายไดและไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. โครงสรางเงินทุน 7.1 หลักทรัพยของบริษัทฯ (ก) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 153,332,070,330 บาท แบงออกเปน หุนสามัญจํานวน 14,633,873,051 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699,333,982 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลว จํานวน 77,757,424,030 บาท แบงออกเปน หุนสามัญ จํานวน 7,076,408,421 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และหุนบุริมสิทธิจํานวน 699,333,982 หุน มูลคาที่ ตราไวหุนละ 10 บาท ในระหวางป 2553 ผูถือหุนบุริมสิทธิของบริษัทฯ คือ KfW ซึ่งคงเหลือการถือหุนในบริษัทฯ รวมทั้งสิ้น จํานวน 699,333,982 หุน ไดทําการแปลงสภาพหุนบุริมสิทธิที่ถืออยูทั้งหมด เปนหุนสามัญจํานวน 699,333,982 หุน ซึ่งบริษัทฯ ไดดําเนินการจดทะเบียนแปลงสภาพหุนบุริมสิทธิเปนหุนสามัญตอกระทรวงพาณิชยเปนที่เรียบรอยแลว ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 153,332,070,330 บาท แบงออกเปน หุนสามัญจํานวน 15,333,207,033 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลว จํานวน 77,757,424,030 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 7,775,742,403 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยไมมีหุนบุริมสิทธิเปนสวนประกอบ ของโครงสรางเงินทุนแลว ตลาดรองของหุนสามัญในปจจุบัน หุนสามัญของบริษัทฯ สามารถทําการซื้อขายไดในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพยฯ”) (ข) หุนบุริมสิทธิ สืบเนื่องจากเหตุการณที่บริษัทฯ มีการปรับโครงสรางทางการเงินในป 2543 โดยในครั้งนั้น ที่ประชุมวิสามัญ ผูถือหุนครั้งที่ 1/2543 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2543 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ออกหุนบุริมสิทธิ จํานวน 702 ลานหุน เพื่อเสนอขายใหแก KfW ในการปรับโครงสรางทางการเงินของบริษัทฯ โดยหุนบุริมสิทธิที่ออกและเสนอขาย ใหแก KfW ดังกลาวนั้น มีสิทธิพิเศษแตกตางจากหุนสามัญของบริษัทฯ ในเรื่องการรับเงินปนผลและการคืนทุน รวมทั้งมีสิทธิที่จะแปลงสภาพเปนหุนสามัญของบริษัทฯ ได นับตั้งแตป 2545 เปนตนมา หุนบุริมสิทธิดังกลาวไดมีการแปลงสภาพเปนหุนสามัญเปนระยะๆ จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2553 หุนบุริมสิทธิดังกลาวไดมีการแปลงสภาพเปนหุนสามัญครบทั้งจํานวนแลว และสิทธิในการรับเงินปนผลสะสมคงคางของหุนบุริมสิทธิเปนอันสิ้นผลไปเมื่อมีการแปลงสภาพเปนหุนสามัญ ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ จึงไมมีหุนบุริมสิทธิเปนสวนประกอบของโครงสรางเงินทุน และ ไมมีเงินปนผลสะสมคงคางของหุนบุริมสิทธิอีกตอไป

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(ค) เอ็นวีดีอาร (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) NVDR หรือใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิงไทย เปนตราสารที่ออกโดย “บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด” (Thai NVDR Company Limited) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จัดตั้งขึ้น NVDR มีลักษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุนใน NVDR จะ ไดรับสิทธิประโยชนทางการเงินตาง ๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัทฯ แตไมมีสิทธิในการออกเสียง ในที่ประชุมผูถือหุน ณ วันที่ 15 มีนาคม 2554 ปรากฏชื่อ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ถือหุนในบริษัท จํานวน 175.74 ลานหุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 2.26 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมดของบริษัทฯ (ง) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ (“ใบสําคัญแสดงสิทธิ”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น จํานวน 5 โครงการ ในระหวางป 2553 ใบสําคัญแสดงสิทธิไดหมดอายุลง จํานวน 2 โครงการ คือ 1) โครงการ ESOP 2004 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหารภายใตโครงการ ESOP 2004 มียอดคงเหลือจํานวน 18,274,444 หนวย โดยใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญ 1 หนวย สามารถซื้อหุนสามัญของบริษัทฯได 1 หุน ในราคาใชสิทธิ 11.20 บาทตอหุน ใบสําคัญแสดงสิทธิ ดังกลาวไดหมดอายุลง เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ 2553 2) โครงการ ESOP 2000 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหารภายใตโครงการ ESOP 2000 มียอดคงเหลือจํานวน 36,995,000 หนวย โดยใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญ 1 หนวย สามารถซื้อหุนสามัญของบริษัทฯได 1 หุน ในราคาใชสิทธิ 10.60 บาทตอหุน ใบสําคัญแสดงสิทธิ ดังกลาวไดหมดอายุลง เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2553 ดังนัน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีใบสําคัญแสดงสิทธิที่ยงั ไมหมดอายุจาํ นวน 3 โครงการ ดังนี้ 1) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร ภายใตโครงการ ESOP 2007 2) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร ภายใตโครงการ ESOP 2006 3) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร ภายใตโครงการ ESOP 2005

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1)

โครงการ ESOP 2007 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2550 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 และที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2550 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร (“ESOP 2007”) โดยมีสาระสําคัญ สรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 38,000,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 15 พฤษภาคม 2551

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 14 พฤษภาคม 2556

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนกุมภาพันธ 2552 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนกุมภาพันธ 2553 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

สวนที่ 1

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 7.00 บาท

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

2)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงการ ESOP 2006

ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2549 วันที่ 11 เมษายน 2549 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร (“ESOP 2006”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี:้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 36,051,007 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 31 มกราคม 2550

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 30 มกราคม 2555

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2552 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

สวนที่ 1

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.19 บาท

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

3)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงการ ESOP 2005

ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครัง้ ที่ 1/2548 วันที่ 15 กรกฎาคม 2548 ไดมมี ติอนุมัตใิ หบริษัทฯ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและพนักงาน ในระดับผูบริหาร (“ESOP 2005”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี:้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 18,774,429 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 28 เมษายน 2549

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 27 เมษายน 2554

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2549 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวันทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

สวนที่ 1

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 9.73 บาท

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(จ) Shareholders Agreement เมื่อป 2542 ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ ไดแก KfW บริษัท ไนเน็กซ เน็ตเวิรค ซิสเท็มส (ประเทศไทย) จํากัด (“Verizon”) และเครือเจริญโภคภัณฑ ซึ่งประกอบดวย บริษทั เจริญโภคภัณฑ อาหารสัตว จํากัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากัด (มหาชน) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และบริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด ไดมีการทําสัญญาระหวางผูถือหุน (Shareholders Agreement) ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 ตอมาในป 2546 Verizon ไดขายหุนของบริษัทฯ ที่ Verizon ถืออยูทั้งหมดเพื่อดําเนินการตามนโยบาย ดานยุทธศาสตรการลงทุนที่จะมุงเนนเฉพาะภายในทวีปอเมริกา และในป 2553 ที่ผานมา บริษัทฯ ไดรับแจง จาก บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด (“CPG”) และ KfW วา CPG ไดซื้อหุนของบริษัทฯ ที่ KfW ถืออยูทั้งหมด เปนที่เรียบรอยแลวเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2553 ซึ่งสงผลให KfW ไมมีการถือหุนในบริษัทฯ แลว ดังนั้น สัญญาระหวาง ผูถือหุน ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม 2542 จึงเปนอันยุติลง พันธะการออกหุนในอนาคต 1) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2000 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2543 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออก ใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ออกไมเกิน 58,150,000 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 58,150,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาว ไดหมดอายุลงแลวเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2553 ดังนั้น หุนที่สํารองไว เพื่อการนี้ จะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต 2) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2004 ตามที่ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 3/2547 เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2547 ไดมี มติใหบริษั ทฯ ออก ใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ออกไมเกิน 19,111,159 หนวย (ซึ่งเปนมติของที่ประชุมผูถือหุนที่ทดแทนมติเดิมของที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 2/2547 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547) ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 19,111,159 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาว ไดหมดอายุลงแลวเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ 2553 ดังนั้น หุนที่สํารองไวเพื่อการนี้ จะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2005 ตามที่ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2548 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออก ไมเกิน 18,774,429 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 18,774,429 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 4) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2006 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2549 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2549 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออก ใบสําคั ญแสดงสิทธิ ใ หแ กกรรมการและพนัก งานในระดับผูบ ริห าร จํา นวนใบสํ าคัญแสดงสิทธิที่ อ อก ไมเกิน 36,051,007 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 36,051,007 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 5) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2007 ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2550 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 และที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2550 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและ พนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 38,000,000 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 38,000,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 6) เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวนการถือหุน ตามที่ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 ไดมีมติอนุมัติการ จัดสรรหุนสามัญใหมจากการเพิ่มทุน จํานวน 10,000,000,000 หุน เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวน การถือหุน (Rights Offering) ซึ่งการเสนอขายดังกลาวอาจเปนการเสนอขายไมวาทั้งหมดหรือแตบางสวน และอาจเสนอขายในคราวเดียวกันทั้งจํานวน หรือ เสนอขายเปนคราวๆ ไป และในกรณีที่มีหุนสามัญเพิ่มทุน เหลือจากการจัดสรรใหแกผูถือหุนเดิมดังกลาวขางตน ใหจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนที่เหลือดังกลาวเพื่อ เสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมไดอีก บริษัทฯ ไดดําเนินการรับจองซื้อหุนสามัญใหมดังกลาวระหวางวันที่ 2 - 6 กุมภาพันธ 2552 และมีผลการจองซื้อหุนเปนจํานวน 3,272,563,248 หุน ดังนั้น จึงมีหุนคงเหลือจากการเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมในครั้งนี้ จํานวน 6,727,436,752 หุน ซึ่งบริษัทฯ สามารถจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนที่เหลือดังกลาว เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุน เดิมตามสัดสวนการ ถือหุนไดอีก ตามที่ไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 ดังกลาวขางตน สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7) เพื่อรองรับการจัดสรรใหกับ IFC ตามที่ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 (เพื่อทดแทนมติเดิม ของที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2551 ที่เคยใหไว) อนุมัติการจัดสรรหุน จํานวน 29,941,283 หุน เพื่อ เสนอขายใหแก International Finance Corporation (“IFC”) เพื่อใหเปนไปตามขอตกลงระหวางบริษัทฯ กับ IFC ซึ่งเปนสถาบันการเงินที่ค้ําประกันหุนกูสวนหนึ่งของบริษัทฯ ตามสัญญา C Loan กับ IFC ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดชําระหนี้ใหแก IFC ทั้งหมดแลวเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ดังนั้น หุนที่สํารองไว เพื่อการนี้ จะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต 8) เพื่อรองรับการใชสิทธิของหุน กูแปลงสภาพ ตามที่ ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2551 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 ไดมีมติอนุมัติการ ออกและเสนอขายหุนกูแปลงสภาพในวงเงินหุนกูที่เสนอขายไมเกิน 4,000 ลานบาท ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระ จํานวน 630,000,000 บาท สํารองไวสําหรับการใชสิทธิแปลงสภาพของผูถือหุนกูแปลงสภาพเปนหุนสามัญของ บริษัทฯ โดยราคาแปลงสภาพอาจต่ํากวามูลคาที่ตราไวของหุนของบริษัทฯ (10 บาท) แตจะตองไมต่ํากวา 6.35 บาท ตอหุน

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7.2 ผูถือหุน (ก) ผูถือหุนรายใหญ

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ผูถือหุนรายใหญ 1 ณ วันที่ 15 มีนาคม 2554 ชื่อผูถือหุน

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 1 2

3 4 5

กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด 2 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 3 UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account 4

นายวนิช เดชานุเบกษา CORE PACIFIC-YAMAICHI INTERNATIONAL (H.K.) LIMITED-CLIENT 4 CLEARSTREAM NOMINEES LTD 5

นายเทิดไท เทพสุทิน ธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย บริษัท ธนโฮลดิ้ง จํากัด นายจรัญ เจียรวนนท

จํานวนหุน รอยละของหุน (ลานหุน) ทั้งหมด 5,034.48 64.74 175.74 2.26 154.06 1.98 74.40 0.95 56.41 0.72 53.86 0.69 42.00 0.54 40.00 0.51 39.91 0.51 30.20 0.38

ไมมีการถือหุนไขวกันระหวางบริษัทฯ กับผูถือหุนรายใหญ ประกอบดวย 1) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด (“CPG”) โดย CPG มีกลุมครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญถือหุนรวมกันคิดเปนสัดสวนรอยละ 91.68 (ผูถือหุน 10 รายแรกของ CPG ไดแก นายสุเมธ เจียรวนนท รอยละ 12.96 นายธนินท เจียรวนนท รอยละ 12.96 นายจรัญ เจียรวนนท รอยละ 12.75 นายมนตรี เจียรวนนท รอยละ 12.63 นายเกียรติ์ เจียรวนนท รอยละ 5.76 นายพงษเทพ เจียรวนนท รอยละ 3.65 และนางยุพา เจียรวนนท นายประทีป เจียรวนนท นางภัทนีย เล็กศรีสมพงษ นายวัชรชัย เจียรวนนท นายมนู เจียรวนนท และนายมนัส เจียรวนนท ถือหุนรายละรอยละ 3.62) 2) บริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 3) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากัด (มหาชน) (ถือหุนโดย บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร (“CPF”) 99.44%) 4) บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จํากัด (มหาชน) (ถือหุนโดย CPF 99.98%) 5) บริษัท เจริญโภคภัณฑอีสาน จํากัด (มหาชน) (ถือหุน โดย CPF 99.61%) 6) บริษัท เกษตรภัณฑอุตสาหกรรม จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 7) บริษัท เจริญโภคภัณฑอิน-เอ็กซ จํากัด (ถือหุน โดย CPG 99.99%) 8) บริษัท ยูนีค เน็ตเวิรค จํากัด (ถือหุน โดย บจ. ธนโฮลดิง้ 41.06% และ บจ. อารท เทเลคอมเซอรวิส 58.94%) 9) บริษัท ไวด บรอด คาสท จํากัด (ถือหุนโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 58.55% และ บจ. เทเลคอมมิวนิเคชั่นเนตเวอรค 41.45%) 10) บริษัท ซี.พี.อินเตอรฟูด (ไทยแลนด) จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 11) บริษัท สตารมารเก็ตติ้ง จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 12) บริษัท แอดวานซฟารมา จํากัด (ถือหุน โดย CPG 99.99%) และ 13) Golden Tower Trading Ltd. (ถือหุนโดยบุคคลภายนอกที่ไมมีความเกี่ยวของกับ CPG แตรายงานอยูใ นกลุมเดียวกันเนือ่ งจาก Golden Tower Trading Ltd. อาจจะออกเสียงลงคะแนน ในที่ประชุมผูถอื หุน ของ True ไปในทางเดียวกันกับ CPG ได) (ทั้ง 13 บริษัทดังกลาวไมมีบริษัทใดประกอบธุรกิจเดียวกันและแขงขันกันกับกลุม บริษทั ฯ) บริษัทยอยที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยจัดตัง้ ขึ้น NVDR มีลักษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุนใน NVDR จะไดรับสิทธิประโยชนทาง การเงินตางๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัทฯ แตไมมีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน บริษัทจดทะเบียนที่ฮองกง ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุนดังกลาว เปดเผยขอมูลเชนวานั้น บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศอังกฤษ ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุนดังกลาว เปดเผยขอมูลเชนวานั้น

(ข) กลุมผูถือหุนรายใหญที่โดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายการจัดการหรือการดําเนินการ ของบริษัทฯ อยางมีนัยสําคัญ คือ กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7.3 นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทฯ ยังไมเคยประกาศจายเงินปนผลนับตั้งแตเปดดําเนินกิจการ บริษัทฯ สามารถจายเงินปนผล ไดจากผลกําไรภายหลังการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมด และภายหลังการตั้งสํารองตามกฎหมาย บริษัทฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลในอัตราอยางนอยรอยละ 50 ของกําไรสุทธิจากงบการเงินเฉพาะ ของบริษัทฯ ในแตละป ภายหลังการจัดสรรเปนสํารองตางๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทั้งเปนไปตามขอกําหนด ของกฎหมายที่เกี่ยวของ และสัญญาเงินกูตางๆ สําหรับนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย คณะกรรมการของบริษัทยอยแตละแหงจะพิจารณา การจายเงินปนผลจากกระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอยนั้นๆ หากกระแสเงินสดคงเหลือ ของบริษัทยอยมีเพียงพอ และไดตั้งสํารองตามกฎหมายแลว คณะกรรมการของบริษัทยอยนั้นๆ จะพิจารณา จายเงินปนผลเปนกรณีไป

7.4 โครงสรางหนี้สิน หนี้สินของบริษัทฯ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2553 หนี้ สิ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ยตามงบการเงิ น มี จํ า นวนทั้ ง สิ้ น 102,552 ลานบาท ประกอบดวยหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไมหมุนเวียนดังนี้ หนวย : ลานบาท หนี้สินของบริษัทฯ และบริษัทยอย 31 ธันวาคม 2553 หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น 626 เจาหนีก้ ารคา 6,998 สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของเงินกูยืมระยะยาว 7,171 รายไดรับลวงหนา 3,036 คาใชจายคางจาย 7,684 ภาษีเงินไดคางจาย 346 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 4,088 รวมหนี้สนิ หมุนเวียน 29,949 หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว 64,675 หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี 1,639 หนี้สินภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ 4,123 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 2,166 รวมหนี้สนิ ไมหมุนเวียน 72,603 รวมหนี้สิน 102,552

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เงินกูยืมรวมทั้งหนี้การคาระยะยาว (ทั้งสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป และเกิน 1 ป) ของบริษัทฯ และบริษัทยอยมีจํานวนรวมทั้งสิ้น 71,846 ลานบาท แบงเปนเงินกูยืมของบริษัทฯ และบริษัทยอยในเงินสกุลบาท (“เงินกูสกุลบาท”) จํานวน 43,609 ลานบาท เงินสกุลเหรียญสหรัฐ (“เงินกูสกุล เหรียญสหรัฐ”) จํานวน 24,005 ลานบาท (หรือจํานวน 813 ลานเหรียญสหรัฐ) และเงินสกุลเยนญี่ปุน (“เงินกู สกุลเยนญี่ปุน”) จํานวน 4,232 ลานบาท (หรือจํานวน 11,310 ลานเยนญี่ปุน) ภายหลังจากการปรับโครงสรางหนี้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 บริษัทฯ สามารถชําระเงินกูไดครบ ตามกําหนดการชําระเงินตนที่มีไวกับเจาหนี้มีประกันมาโดยตลอด และยังสามารถชําระเงินกูกอนกําหนด บางสวนจากเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานของบริษัทฯ ไดอีกเปนจํานวนประมาณ 3,135 ลานบาท เพื่อชวย ลดภาระดอกเบี้ยจายและชวยลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในอดีตเงินกูระยะยาวจํานวนมากของบริษัทฯ เปนเงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ บริษัทฯ จึงมีนโยบาย ลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน และบริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการลดเงินกูระยะยาวสกุลเหรียญสหรัฐ และชวยปรับโครงสรางหนี้เพื่อใหมีกําหนดการชําระหนี้ที่เหมาะสมกับความสามารถในการชําระหนี้ของบริษัทฯ โดยมีมาตรการตางๆ ที่นํามาใชอยางตอเนื่อง อาทิเชน การนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานมาชําระคืนเงินกู ของเจาหนี้มีประกันบางสวนกอนกําหนด การทําสัญญาเงินกูวงเงินใหมกับกลุมธนาคารพาณิชยและสถาบัน การเงินในประเทศ เพื่อใชคืนเงินกูสกุลเงินบาทเดิมในจํานวนเทากัน โดยเงินกูใหมจะมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง สงผลใหบริษัทฯ สามารถลดคาใชจายดานดอกเบี้ย การนํากระแสเงินสดของบริษัทฯ มาซื้อคืนตราสารการ ชําระหนี้ที่มีเงื่อนไขในการผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยน การออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ เพื่อนํากระแสเงินสดที่ไดมาจากการออกหุนกู ไปชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยูหรือเพื่อชําระคืนเงินตน ใหกับเงินกูสกุลบาทกอนกําหนดหรือเพื่อไถถอนหุนกูเดิมกอนกําหนด เปนตน ทั้งนี้ ในชวง 4 ปที่ผานมา บริษัทฯ ไดดําเนินการตางๆ ดังนี้ มิถุนายน 2550

ณ วัน ที่ 6 มิถุนายน 2550 บริษั ทฯ ไดออกหุน กูมี ประกั นสกุลบาท 3 ชุดไดแ ก หุน กู ชุดที่ 1 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2552 เปนจํานวน 1,000 ลานบาท หุนกูชุดที่ 2 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2553 เปนจํานวนเงิน 2,000 ลานบาท หุนกูชุดที่ 3 ครบกําหนดไถถอน ป พ.ศ. 2555 เปนจํานวน 1,000 ลานบาท บริษัทฯ ไดนํากระแสเงินสดที่ไดมาจากการออก หุนกูครั้งนี้ไปไถถอนหุนกูมีประกันครั้งที่ 1/2545 กอนกําหนด (จํานวนประมาณ 3,603 ลานบาทกอนกําหนด ในเดือนกรกฎาคม 2550) และไดนํากระแสเงินสดสวนเกินจาก การดําเนินงานประมาณ 103 ลานบาท รวมกับเงินที่ไดจากการออกหุนกูดังกลาวอีก ประมาณ 397 ลานบาท เพื่อชําระคืนเงินตนใหกับเงินกูสกุลบาทกอนกําหนด (จํานวนเงิน 500 ลานบาทในเดือนมิถุนายน 2550)

เมษายน 2552

ณ วันที่ 2 เมษายน 2552 บริษัทฯ ไดออกหุนกูมีประกันสกุลบาท 1 ชุด เปนเงินจํานวน 6,183ลานบาท บริษัทฯ ไดนําเงินจากการออกหุนกูครั้งนี้ไปไถถอนหุนกูมีประกันครั้งที่ 2/2545

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

สิงหาคม 2552

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2552 บริษัทฯ ไดออกหุนกูมีประกันสกุลบาท 1 ชุด เปนเงินจํานวน 7,000 ลานบาท บริษัทฯ ไดนําเงินจากการออกหุนกูครั้งนี้ไปใชดังตอไปนี้: 1) ชําระคืนหนี้เงินกู IFC ทั้งจํานวน เปนจํานวน 1,125 ลานบาทกอนกําหนด (ชําระคืน ในเดือนกันยายน 2552) 2) ชําระคืนหนี้บางสวนของเงินสกุลบาท เปนจํานวน 1,309 ลานบาทกอนกําหนด (ชําระคืนในเดือนกันยายน 2552) 3) ชํ า ระคื น หุ น กู มี ป ระกั น ชุ ด ที่ 1/2550 ทั้ ง จํ า นวน เป น จํ า นวน 3,000 ล า นบาท กอนกําหนด (ชําระคืนในเดือนตุลาคม 2552) และ 4) ชําระคืนหุนกูมีประกันสวนที่เหลือทั้งหมดของชุดที่ 1/2545 เปนจํานวน 1,566 ลานบาท กอนกําหนด (ชําระคืนในเดือนพฤศจิกายน 2552)

พฤศจิกายน 2553 ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2553 บริษัทฯ ไดออกหุนกูไมมีประกันสกุลบาท 1 ชุด เปนเงิน จํานวน 1,100 ลานบาท บริษัทฯ ไดนําเงินจากการออกหุนกูดังกลาวไปชําระคืนหนี้หุนกู ระยะสั้นและตั๋วแลกเงินระยะสั้น ทั้งนี้ ในการชําระคืนเงินตนกอนกําหนด (Prepayment) ของบริษัทฯ สําหรับหนี้เงินกูสกุลดอลลาร สหรัฐฯ ที่นอกเหนื อจากการชําระคืนเงินตนตามกําหนดการนั้น เงินจํานวนดังกลาวจะถูกนํ าไปหักลด ยอดชําระคืนเงินตนจากงวดทายที่สุดยอนขึ้นมา (Inverse Chronological Order) และแบงจายคืนเจาหนี้ มีประกันตามสัดสวนของยอดการชําระคืนเงินตนของเจาหนี้รายนั้นๆ (Pro-rata) หลังจากที่มีการดําเนิน มาตรการตางๆ เพื่อลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนดังที่กลาวขางตนแลว บริษัทฯ มีสัดสวนของเงินกูที่ เปนเงินสกุลตางประเทศตอเงินกูทั้งหมดลดลงจากระดับรอยละ 68.20 ณ สิ้นป 2543 เปนรอยละ 39.83 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แผนภูมิ: โครงสรางเงินกูของบริษัทฯ จนถึงปจจุบัน หนวย : ลานบาท 100,000

95,200 4,010

86,044

7,000

89,906 3,431

4,729

80,000

76,520 6,591

78,710 8,205

75,051 16,091

73,634 16,239

60,000

73,379

77,187

83,236 3,369

80,517 4,391

6,664

73,098

11,581

4,127

33,636

11,376

4,232

3,153 38,584

5,624

40,614

32,253

24,005 34,991

37,657 25,242

84,190

35,134

40,000

71,846

74,651 56,379

20,000 32,271

62,453 52,839 41,283

38,252

32,152

43,609 35,512

33,981

2551

2552

23,826

0 2541

2542

2543

เงินกูสกุลเยน สวนที่ 1

2544

2545

2546

2547

เงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ TRUETK: โครงสรางเงินทุน

2548

2549

2550

2553

เงินกูสกุลบาท หัวขอที่ 7 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารหลักประกัน เอกสารหลักประกันหุนกู และประเภทของหลักประกัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.

ชื่อสัญญา** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองสัญญาโครงการ*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในการแบงผลประโยชนที่เกี่ยวของ*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในหุนกู สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในประกันภัย**** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองประกันภัย PCT สัญญาโอนสิทธิเรียกรองประกันภัยรวม สัญญาโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญา PCT แบบมีเงื่อนไข หนังสือแนบทายสัญญาจัดหามิตซุย สัญญาโอนสิทธิเรียกรองการเชาแบบมีเงื่อนไข สัญญาหลักในการจํานําการลงทุนที่ไดรับอนุญาต สัญญาจํานําสิทธิรับเงินฝาก สัญญาจํานําบัญชี PCT สัญญาจํานําบัญชีเงินประกันผลงานของ PCT สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีธนาคารแบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีธนาคารของ PCT แบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีเงินประกันผลงานของ PCT แบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขตามสัญญาจัดหา สัญญาจํานําตามขอ (6) และ (7) และ (8) ตามนิยามคําวาผลประโยชนในหลักประกันที่ไดรับอนุญาต สัญญาจํานําบัญชีเงินฝากพิเศษ สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขบัญชีเงินฝากพิเศษ สัญญาเหนือทรัพยสินแบบถาวร (fixed) หรือไมจํากัด (floating) ซึ่งไดจัดทําขึ้นตามขอ 4.1.13 ของสัญญาระบุขอกําหนดรวมกัน สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงินของหุนกู*** สัญญาจํานําสิทธิในการไดรับเงินฝากเพื่อหุนกู*** หนังสือค้ําประกัน***

ประเภทของหลักประกัน การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การจํานํา การจํานํา การจํานํา การจํานํา การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การจํานํา การจํานํา การโอนสิทธิ สิทธิเหนือทรัพยสิน การโอนสิทธิ การจํานํา การค้ําประกัน

หลักประกันจะถือเปนประกันรวมเทาๆ กันตามสัดสวนหนี้คางชําระในแตละขณะของบรรดาหนี้จํานวนตางๆ ไดแก (ก) หนี้ที่บริษัทฯ มีอยูกับ เจาหนี้มีประกันอื่นๆ อันไดแกสถาบันการเงินในประเทศ และ(ข) ดอกเบี้ยและเงินตนตามหุนกูอื่นๆ ไดแก หุนกูครั้งที่ 1/2547 หุนกูครั้งที่ 1/2552 และหุนกูครั้งที่ 2/2552 ** ไดมีการนิยามคําที่ใชในเอกสารแนบทาย 1 เวนแตในขอ 22 ไวในสัญญาแกไขและแทนที่สัญญาหลักประกัน ซึง่ เอกสารดังกลาวรวมถึงการแกไข เพิ่มเติม และแทนที่สัญญาดังกลาวเปนคราวๆ ไปดวย *** เอกสารหลักประกันเหลานี้จะใชบังคับอยางสมบูรณตลอดระยะเวลาของหุน กูครั้งที่ 1/2547 หุนกูครั้งที่ 1/2552 และหุนกูครั้งที่ 2/2552 ของขอกําหนดสิทธิหุนกูมีประกัน **** บริษัทฯ ผูกพันที่จะจัดหาหลักประกันที่อางถึงในขอนี้อยางสมบูรณภายใตเงื่อนไขขอ 2.3

*

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หุนกู 1. ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2544 วันที่ 28 มิถุนายน 2544 มีมติอนุมัติให บริษัทฯ ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อ ชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยู ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด ครั้งที่1/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2551 (“TRUE087A”) จํานวน 11,715,400 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 11,715,400,000 บาท (2) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด และมีผูค้ําประกัน บางสวน ครั้งที่2/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 (“TRUE112A”) จํานวน 6,750,000 หนวย มูลคาที่ตราไว หนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 6,750,000,000 บาท (3) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2546 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2550 (“TRUE07OA”) จํานวน 3,319,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 3,319,000,000 บาท (หุนกูรุนนี้ไดถูกไถถอนไปหมดแลวตามกําหนดในเดือน ตุลาคม 2550) 2. ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2547 วันที่ 16 มกราคม 2547 มีมติอนุมัติให บริษัทฯ ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 15,000 ลานบาท โดยสามารถออกและเสนอขาย ในคราวเดียวกันทั้งหมดหรือหลายคราวก็ได ขึ้นอยูกับการพิจารณาและเงื่อนไขที่กําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรือ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2547 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 (“TRUE117A”) จํานวน 2,413,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 2,413,000,000 บาท (2) หุนกูระยะสั้นภายใตโครงการหุนกูระยะสั้นของ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) โครงการที่ 1/2549 ภายในระยะเวลา 3 ป ตั้งแตวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เปนตนไป เปนจํานวนเงินไมเกิน 3,000,000,000 บาท (3) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 1 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2552 (“TRUE097A”) จํานวน 1,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,000,000,000 บาท (4) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 2 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2553 (“TRUE107A”) จํานวน 2,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 2,000,000,000 บาท (5) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 3 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2555 (“TRUE127A”) จํานวน 1,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,000,000,000 บาท

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ประจําป 2551 วันที่ 29 เมษายน 2551 มีมติอนุมัติให บริษัทฯ ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 20,000 ลานบาท โดยสามารถออกและเสนอขาย ในคราวเดียวกันทั้งหมดหรือหลายคราวก็ได ขึ้นอยูกับการพิจารณาและเงื่อนไขที่กําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรือ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2552 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2557 (“TRUE144A”) จํานวน 6,183,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 6,183,000,000 บาท (2) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 2/2552 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2558 (“TRUE151A”) จํานวน 7,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 7,000,000,000 บาท 4. ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ประจําป 2553 วันที่ 23 เมษายน 2553 มีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 30,000 ลานบาท โดยสามารถออกและเสนอขายใน คราวเดียวกันทั้งหมดหรือหลายคราวก็ได ขึ้นอยูกับการพิจารณาและเงื่อนไขที่กําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรือ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูระยะสั้น ครั้งที่ 1/2553 ครบกําหนดไถถอน 18 พฤศจิกายน 2553 (“TRUE10N18A”) จํานวน 900,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 900,000,000 บาท (2) หุนกูไมมปี ระกัน ครั้งที่ 1/2553 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2556 (“TRUE13NA”) จํานวน 1,100,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,100,000,000 บาท

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หุนกูระยะยาวของบริษัทฯ ที่ยังไมครบกําหนดไถถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มูลคาหุนกู มูลคาหุนกู อายุหุนกู วันครบกําหนด อัตราดอกเบี้ย สัญลักษณหุนกู วันที่ออกหุนกู ณ วันออกหุน กู ณ 31 ธ.ค. 53 (ป) ไถถอนหุนกู (ตอป) (ลานบาท) (ลานบาท) TRUE117A 25 มิถุนายน 2547 2,413 603 7.04 7 กรกฎาคม 2554 6.80% TRUE144A 2 เมษายน 2552 6,183 6,183 5.00 7 เมษายน 2557 6.50% TRUE151A 28 สิงหาคม 2552 7,000 7,000 5.42 28 มกราคม 2558 6.70% TRUE13NA 17 พฤศจิกายน 2553 1,100 1,100 3.00 18 พฤศจิกายน 2556 6.20% รวม 16,696 14,886

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

ประเภทของ การเสนอขาย Public Offering Public Offering Public Offering Public Offering

การจัดอันดับ ความนาเชื่อถือ ณ 31 ธ.ค. 53 BBB BBB BBB BBB-

หัวขอที่ 7 – หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8. การจัดการ 8.1 โครงสรางการจัดการ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการกําหนด คาตอบแทนและสรรหากรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการดานการเงิน กรรมการผูจ  ัดการใหญ / ประธานคณะผูบริหาร

คณะกรรมการดานการจัดการและ บริหารทั่วไป

ธุรกิจ โมบาย

บริหารแบรนดและ สื่อสารการตลาด

สวนที่ 1

ธุรกิจ ออนไลน

สื่อสารองคกร และ ประชาสัมพันธการตลาด

ธุรกิจ เพย ทีวี

ธุรกิจ คอนเวอรเจนซ

หนวยงานดาน ความรับผิดชอบ ตอสังคม

การตลาด

คณะกรรมการดานการตลาดและ บริหารแบรนด

โครงขายและ เทคโนโลยี

จัดจําหนาย และการขาย

TRUETL: การจัดการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

บริการ ลูกคา

การเงินและการบัญชี

ลูกคาองคกรธุรกิจ ขนาดใหญและบริการ ระหวางประเทศ

จัดซื้อ

กฎหมาย

ทรัพยากร บุคคล

การลงทุนกลุม

การวิจย ั และ นวัตกรรม

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 1

ตรวจสอบ ภายใน


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวย ก. คณะกรรมการบริษัท ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ 3) คณะกรรมการดานการเงิน 4) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ค. คณะผูบริหาร ก. คณะกรรมการบริษัท ตามขอบังคับของบริษัทฯ กําหนดใหคณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการ จํานวน ไมนอยกวา 5 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริษัทฯ จะตองเปนผูมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกําหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ รวมทั้งสิ้น จํานวน 16 ทาน ประกอบดวย (1) กรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) จํานวน 4 ทาน (2) กรรมการทีไ่ มเปนผูบริหาร (Non-Executive Directors) จํานวน 12 ทาน ประกอบดวย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จํานวน 6 ทาน หรือเทากับ รอยละ 37.5 ของ จํานวนกรรมการทั้งคณะ - กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไมเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา ซึ่งรวมตัวแทนของผูถือหุน รายใหญ จํานวน 6 ทาน คํานิยาม กรรมการที่เปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่ดํารงตําแหนงเปนผูบริหารและมีสวนเกีย่ วของในการบริหารงานประจําของบริษัทฯ กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่มิไดดํารงตําแหนงเปนผูบริหารและไมมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจําของ บริษัทฯ อาจจะเปนหรือไมเปนกรรมการอิสระก็ได

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการผูซึ่ง เปน อิ สระจากผูถือหุ นรายใหญ แ ละเปนอิสระจากความสั มพันธ อื่น ใดที่ จ ะ กระทบตอการใชดุลพินิจอยางอิสระ และมีคุณสมบัติ (ซึ่งมีความเขมงวดมากกวาขอกําหนด ของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนในเรื่องสัดสวนการถือหุนในบริษัทฯ) ดังตอไปนี้ (1) ถือหุนไมเกินรอยละ 0.75 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ใหนับรวม การถือหุนของผูที่เกี่ยวของกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย (2) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่ไดเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เวนแต จะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (3) ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายใน ลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือ ผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย (4) ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวาง การใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือ ผูมีอํานาจควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการ มีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง “ความสัมพันธทางธุรกิจ” ตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการทางการคาที่กระทําเปนปกติ เพื่อประกอบกิจการ การเชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือ บริการ หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือใหกูยืม ค้ําประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอื่นทํานองเดียวกัน ซึ่งเปน ผลใหบริษัทฯ หรือคูสัญญามีภาระหนี้ที่ตองชําระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละสามของ สินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทฯ หรือตั้งแตยี่สิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวนใดจะ ต่ํากวา ทั้งนี้ การคํานวณภาระหนี้ดังกลาวใหเปนไปตามวิธีการคํานวณมูลคาของรายการ ที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาดวยหลักเกณฑในการทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ใหนับรวมภาระหนี้ที่ เกิดขึ้นในระหวางหนึ่งปกอนวันที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(5) ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู เวนแตจะได พนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (6) ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมาย หรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ และ ไมเปน ผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแต จะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลว ไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (7) ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ (8) ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวม ในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุนเกินรอยละ หนึ่งของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพ อยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย (9) ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงาน ของบริษัทฯ (10) ภายหลังไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการอิสระที่มีลักษณะเปนไปตามขอ (1) - (9) แลว กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการ ของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (collective decision) ได (11) ในกรณีที่เปนบุคคลที่มีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพเกิน มูลคาที่กําหนดในขอ (4) หรือ (6) ใหบุคคลดังกลาวไดรับการผอนผันขอหามการมีหรือเคยมี ความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพเกินมูลคาดังกลาว หากคณะกรรมการบริษัท ไดพิจารณาตามหลักในมาตรา 89/7 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 แลวมีความเห็นวา การแตงตั้งบุคคลดังกลาวไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่และ การใหความเห็นที่เปนอิสระ และจัดใหมีการเปดเผยขอมูลตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน กําหนด ในหนังสือเชิญประชุมผูถือหุน ในวาระพิจารณาแตงตั้งกรรมการอิสระ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม

1/

1. นายณรงค

ศรีสอาน

2. นายวิทยา

เวชชาชีวะ

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

เพ็ชรสุวรรณ โภควนิช ลิงค ฉ่ําเฉลิม เจียรวนนท เตาลานนท สุวรรณกิตติ อัศวานันท

ดร. โกศล นายโชติ นายฮาราลด นายเรวัต นายธนินท ดร. อาชว นายเฉลียว นายอธึก

11. นายศุภชัย

เจียรวนนท

12. นายสุภกิต 13. นายชัชวาลย

เจียรวนนท เจียรวนนท

14. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

15. นายอํารุง 16. นายณรงค

สรรพสิทธิ์วงศ เจียรวนนท

หมายเหตุ

สวนที่ 1

ตําแหนง กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร กรรมการ กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - การลงทุนกลุม กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ โครงขายและเทคโนโลยี กรรมการ กรรมการ

จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ในป 2553 2/ 7/8 8/8 8/8 7/8 6/8 7/7 3/ 4/8 6/8 8/8 8/8 8/8 2/8 7/8 8/8 8/8 2/8

1/ กรรมการเดิมสองทาน คือ นายนอรเบิรต ฟาย และ นายเยนส บี. เบสไซ ซึ่งเปนกรรมการของบริษัทฯ ที่แตงตั้ง โดย KfW ไดลาออกจากการเปนกรรมการของบริษัทฯ โดยมีผลในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 2/ ในป 2553 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุม รวมทั้งสิ้น จํานวน 8 ครั้ง นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการกําหนดไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ใหกรรมการที่มิใชผูบริหาร สามารถที่จะ ประชุมระหวางกันเองตามความจําเปนโดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารหรือฝายจัดการเขารวมประชุม เพื่อ อภิปรายปญหาตางๆ เกี่ยวกับการจัดการหรือเรื่องที่อยูในความสนใจ ซึ่งในป 2553 มีการประชุมในลักษณะดังกลาว จํานวน 1 ครั้ง 3/ กอนที่ นายเรวัต ฉ่ําเฉลิม จะไดรับการแตงตั้งเขาเปนกรรมการอิสระของบริษัทฯ ในป 2553 บริษัทฯ ไดมีการ ประชุมคณะกรรมการ ไปแลว จํานวน 1 ครั้ง

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ กรรมการบริษัททุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด ไมมีลักษณะ ตองหามตามกฎหมาย และ ไมมีลักษณะขาดความนาไววางใจตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย กรรมการทุกทานทุมเทใหกับการปฏิบัติหนาที่เปนกรรมการ ใหความรวมมือชวยเหลือในการ ดําเนินกิจการของบริษัทฯ ในทุกๆ ดาน ซึ่งเปนภาระที่หนักและตองรับผิดชอบอยางยิ่ง สําหรับบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตลอดจนการเขารวมประชุมของกรรมการแตละทานนั้น กรรมการทุกทานเขารวมในการประชุมทุกครั้ง เวนแตกรณีที่มีเหตุสําคัญและจําเปนที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได อยางไรก็ตาม กรรมการทานใดที่ติดภารกิจจําเปนไมสามารถเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัทได จะบอกกลาว แจงเหตุผลขอลาการประชุมและใหความคิดเห็นตอวาระการประชุมที่สําคัญเปนการลวงหนาทุกครั้ง นอกจากนี้ กรรมการของบริษัทฯ ใหความสําคัญกับการเขาอบรมตามหลักสูตรที่สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กําหนด กรรมการทานที่เปนกรรมการอิสระ มีความเปนอิสระโดยแทจริง ไมมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ กรรมการอิสระทุกทานมีคุณสมบัติครบถวนตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และ นโยบาย การกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ กรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ นายศุภชัย เจียรวนนท หรือ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน ลงลายมือชื่อรวมกับนายอธึก อัศวานันท หรือ นายสุภกิต เจียรวนนท หรือ นายชัชวาลย เจียรวนนท รวมเปนสองคนและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ อํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจและหนาที่จัดการบริษัทฯ ใหเปนไปตามวัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน ในสวนของการจัดการบริษัทฯ นั้น คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ตัดสินใจและ ดูแลการดําเนินงานของบริษัทฯ เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใด ปฏิบัติการ อยางใดอยางหนึ่งแทนคณะกรรมการได อยางไรก็ตาม การตัดสินใจในการดําเนินงานที่สําคัญ อาทิเชน การ ลงทุนและการกูยืมที่มีนัยสําคัญ ฝายบริหารจะตองนําเสนอตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 8.2 การสรรหากรรมการ บริษัทฯ เปดโอกาสและกําหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผูถือหุนสวนนอยสามารถ เสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการเปนการลวงหนา สําหรับการประชุมสามัญ ผูถือหุนประจําป ซึ่งผูถือหุนที่มีคุณสมบัติตามที่บริษัทฯ กําหนดสามารถสงขอมูลตามแบบฟอรม โดยสง เปนจดหมายลงทะเบียนมายังบริษัทฯ ได ภายในระยะเวลาที่กําหนด

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการทําหนาที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่ จะไดรับการเสนอชื่อเพื่อเลือกตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการหรือกรรมการอิสระของบริษัทฯ โดยพิจารณาจาก คุณวุฒิ และประสบการณเพื่อใหไดบุคคลที่มีความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ แลวจึงนําเสนอพรอมทั้งให ความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติในกรณีที่เปนการแตงตั้งเพื่อทดแทนตําแหนงกรรมการเดิม สวนกรณีที่เปนการแตงตั้งกรรมการเพิ่มเติม คณะกรรมการบริษัทจะเปนผูเสนอขอมูลพรอมทั้งความเห็นของ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาและอนุมัติ สําหรับสิทธิของผูถือหุนในการแตงตั้งกรรมการนั้น ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการบริษัท โดยใชเกณฑเสียงขางมาก ทั้งนี้ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งกรรมการ โดยผูถือหุนแตละคนมี คะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง และสามารถเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได โดยใชคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิจาํ นวน 3 ทาน มีรายนาม ดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม ตําแหนง คณะกรรมการตรวจสอบ รายนาม ในป 2553 1/ 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 7/7 7/7 2. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ กรรมการตรวจสอบ 7/7 3. นายโชติ โภควนิช กรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ 1/ ในป 2553 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จํานวน 7 ครั้ง โดยที่เปนการประชุมกับผูสอบบัญชี

โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวย จํานวน 1 ครั้ง

อํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและอํานาจหนาที่รับผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงาน ตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนา หนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของ บริษัทฯ และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไป ตามกฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผล และเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกลาว จะไดลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและประกอบดวย ขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ค) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ฉ) จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของ กรรมการตรวจสอบแตละทาน ช) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ ตามกฎบัตร (Charter) ซ) รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และ ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด หรือ คณะกรรมการของบริษัทฯ จะมอบหมาย 2) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทําหนาที่พิจารณาการกําหนดคาตอบแทน ของกรรมการและประธานคณะผูบริหาร รวมทั้งพิจารณากลั่นกรองการสรรหากรรมการ กอนนําเสนอตอ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยมีรายนามดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม 1/ รายนาม คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ในป 2553 2/ 0/1 1. นายธนินท เจียรวนนท 1/1 2. นายสุภกิต เจียรวนนท 3. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ 1/1 หมายเหตุ

สวนที่ 1

1/ นายไฮนริช ไฮมส ซึ่งเปนสมาชิกในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการที่แตงตั้ง โดย KfW ไดลาออกจากการเปนสมาชิกในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ โดยมีผลในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ในเวลาตอมา ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2554 ไดมีมติแตงตั้ง นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ เขาเปนสมาชิกในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทดแทน นายไฮนริช ไฮมส 2/ ในป 2553 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการมีการประชุม จํานวน 1 ครั้ง

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3) คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุมคณะกรรมการดานการเงิน รายนาม 1/ ในป 2553 2/ 5/5 1. ดร. อาชว เตาลานนท 5/5 2. นายเฉลียว สุวรรณกิตติ 5/5 3. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ หมายเหตุ

1/ นายเยนส บี. เบสไซ ซึ่งเปนกรรมการของบริษัทฯ ทีแ่ ตงตั้งโดย KfW ไดลาออกจากการเปนกรรมการของบริษัทฯ และ สมาชิกในคณะกรรมการดานการเงิน โดยมีผลในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ในเวลาตอมา ที่ประชุมคณะกรรมการ ของบริษทั ฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2554 ไดมีมติแตงตั้ง นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ เขาเปนสมาชิกในคณะกรรมการดานการเงิน ทดแทน นายเยนส บี. เบสไซ 2/ ในป 2553 คณะกรรมการดานการเงินมีการประชุม จํานวน 5 ครั้ง

4) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกําหนดและทบทวน นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ตลอดจนดูแลใหบริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีและเหมาะสม กับธุรกิจของบริษัทฯ โดยมีรายนามดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุมคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ รายนาม 1/ ในป 2553 2/ 4/4 1. นายณรงค ศรีสอาน 4/4 2. นายวิทยา เวชชาชีวะ 4/4 3. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ 3/4 4. นายโชติ โภควนิช 3/4 5. ดร. อาชว เตาลานนท หมายเหตุ

สวนที่ 1

1/ นายเยนส บี. เบสไซ ซึ่งเปนกรรมการของบริษัทฯ ที่แตงตั้งโดย KfW ไดลาออกจากการเปนกรรมการ ของบริษัทฯ และ สมาชิกในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการโดยมีผลในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ในเวลาตอมา ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2554 ไดมีมติแตงตั้ง และปรับเปลี่ยนตําแหนงสมาชิกในคณะกรรมการชุดยอยของ นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ ดังนี้ จากเดิมที่เปน สมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ปรับเปลี่ยนเปน สมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ และ คณะกรรมการดานการเงิน 2/ ในป 2553 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ มีการประชุม จํานวน 4 ครั้ง

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทได แตงตั้ ง นางรังสินี สุจริตสัญชัย ดํารงตําแหนง เลขานุการบริษัท ทําหนาที่ใหคําแนะนําดานกฎหมาย และ กฎเกณฑตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบ และ ปฏิบัติหนาที่ ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ประสานงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ รวมทั้งมีหนาที่ ตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ค. คณะผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ผูบริหารของบริษัทฯ มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม ตําแหนง 1. นายศุภชัย เจียรวนนท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบ ริหาร 2. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบ ริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี 3. นายชัชวาลย เจียรวนนท กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - การลงทุนกลุม 4. นายอธึก อัศวานันท รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบ ริหารดานกฎหมาย 5. นายวิลเลี่ยม แฮริส ผูอํานวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจระหวางประเทศ และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ/ประธานคณะผูบริหาร 6. นายนพปฎล เดชอุดม หัวหนาคณะผูบ ริหารดานการเงิน 7. นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี 8. นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอรเจนซ ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจ 9. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญ และบริการระหวางประเทศ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - เทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริหารลูกคา

หมายเหตุ “ผูบริหาร” ในหัวขอนี้ มีความหมายตามที่กําหนดโดยคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ซึ่งหมายถึง กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ ผูดํารงตําแหนงระดับบริหารสี่รายแรกนับตอจากกรรมการผูจัดการใหญลงมา และ ผูซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทากับผูดํารงตําแหนงระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย

ทั้งนี้ ผูบริหารของบริษัทฯ ทุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด ไมมีลักษณะ ตองหามตามกฎหมาย และ ไมมีลักษณะขาดความนาไววางใจตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อํานาจหนาทีข่ องกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ มีอํานาจหนาที่ในการดูแลและดําเนินการใดๆ อันเปนการดําเนินงาน ตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ (day to day business) และในกรณีที่เรื่อง/รายการใดเปนรายการที่มีนัยสําคัญ กรรมการผูจัดการใหญจะนําเสนอเรื่อง/รายการดังกลาวใหแกกรรมการอิสระ และ/หรือ คณะกรรมการชุดยอย ที่เกี่ยวของ และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ผูถือหุน แลวแตกรณี เพื่อพิจารณาอนุมัติเรื่อง / รายการดังกลาว นอกจากนี้ กรรมการผูจัดการใหญไมมีอํานาจในการที่จะอนุมัติเรื่อง/รายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใด โดยหากจะเขาทํารายการ ก็ใหปฏิบัติ ใหเปนไปตามหลักเกณฑหรือกฎหมายที่เกี่ยวของกําหนด 8.3 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1.1) คาตอบแทนกรรมการ ตั้งแตวนั ที่ 1 มกราคม 2553 - 31 ธันวาคม 2553 คาตอบแทนกรรมการรวม 19 ทาน เปนเงินรวมทัง้ สิ้น จํานวน 33,100,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ไดรับคาตอบแทน รวม ทานละ (บาท) (บาท) กลุมที่ 1 - ประธานกรรมการ ไดแก นายธนินท เจียรวนนท 3,600,000 - กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงประธานกรรมการใน 3,600,000 คณะกรรมการชุดยอยไดแก นายวิทยา เวชชาชีวะ และ นายณรงค ศรีสอาน รวม 10,800,000 กลุมที่ 2 - กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย 2,400,000 ไดแก ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ และ นายโชติ โภควนิช รวม 4,800,000 กลุมที่ 3 - รองประธานกรรมการ ไดแก - นายสุเมธ เจียรวนนท (มกราคม - กุมภาพันธ 2553) 300,000 - ดร. อาชว เตาลานนท, นายเฉลียว สุวรรณกิตติ และ 1,800,000 นายอธึก อัศวานันท รวม 5,700,000

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

กลุมที่ 4 - กรรมการอิสระ ไดแก - นายฮาราลด ลิงค - นายเรวัต ฉ่ําเฉลิม (มีนาคม - ธันวาคม 2553) - กรรมการ ไดแก - นายศุภชัย เจียรวนนท, นายสุภกิต เจียรวนนท, นายชัชวาลย เจียรวนนท, นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน, นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ, นายณรงค เจียรวนนท, นายนอรเบิรต ฟาย และ นายเยนส บี. เบสไซ รวม รวมทั้งสิ้น

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ไดรับคาตอบแทน ทานละ (บาท)

รวม (บาท)

1,200,000 1,000,000 1,200,000

11,800,000 33,100,000

นอกจากนี้ นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ มีการดํารงตําแหนง เปนกรรมการในบริษัทยอย จํานวน 2 แหง (ในฐานะตัวแทนของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ) โดย ไดรับคาตอบแทนกรรมการจากบริษัทยอยรวม ในป 2553 ดังนี้ 1) กรรมการของบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) 2) กรรมการของบริษทั ทรู มูฟ จํากัด

คาตอบแทนในป 2553 - บาท 600,000 บาท คาตอบแทนรวม 600,000 บาท

(1.2) คาตอบแทนผูบ ริหาร ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 - 31 ธันวาคม 2553 คาตอบแทนผูบริหารรวม 9 ทาน เปนเงิน ทั้งสิ้น จํานวน 116.97 ลานบาท ประกอบดวยคาตอบแทนในรูปเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน เงินสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และ ผลประโยชนอื่นๆ (2) คาตอบแทนอืน่ คาตอบแทนอื่นของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก โครงการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอย (โครงการ ESOP) ซึ่งในปจจุบัน คงเหลือโครงการที่ยังไมหมดอายุ จํานวน 3 โครงการ ดังนี้ (2.1) โครงการ ESOP 2007 (2.2) โครงการ ESOP 2006 (2.3) โครงการ ESOP 2005 สําหรับรายละเอียดโครงการ ESOP ทั้ง 3 โครงการดังกลาว บริษัทฯ ไดเปดเผยรายละเอียดไว ในหัวขอโครงสรางเงินทุน เรื่อง ใบสําคัญแสดงสิทธิ (Warrant) และ พันธะการออกหุนในอนาคต

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการไดรับจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิภายใตโครงการ ESOP ของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ มีดังนี้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2007 ESOP 2006 ESOP 2005 ชื่อ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ หนวย ของ หนวย ของ หนวย ของ โครงการ โครงการ โครงการ 1. นายสุภกิต เจียรวนนท 1,400,000 3.68 2. นายศุภชัย เจียรวนนท 1,875,000 4.93 3,200,000 8.88 1,900,000 10.12 3. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน 1,875,000 4.93 1,600,000 4.44 1,000,000 5.33 4. นายชัชวาลย เจียรวนนท 300,000 0.79 300,000 0.83 350,000 1.86 5. นายอธึก อัศวานันท 1,875,000 4.93 2,000,000 5.55 1,200,000 6.39 6. นายวิลเลีย่ ม แฮริส 1,875,000 4.93 1,600,000 4.44 1,000,000 5.33 7. นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข 1,400,000 3.68 1,600,000 4.44 1,000,000 5.33 8 . นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ 1,400,000 3.68 1,600,000 4.44 1,000,000 5.33 9. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย 1,400,000 3.68 1,600,000 4.44 1,000,000 5.33 10. นายนพปฎล เดชอุดม 1,000,000 2.63 800,000 2.22 500,000 2.66 8.4 รายงานการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี จึงไดกําหนดใหมี “นโยบายการกํากับ ดูแลกิจการ” ของบริษัทฯ ตั้งแตป 2545 และไดทําการปรับปรุงนโยบายดังกลาวเปนระยะๆ อยางตอเนื่อง เพื่อให เหมาะสมกับสถานการณของบริษัทฯ ที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนเพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายที่เกี่ยวของ และ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีที่แนะนําโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งเทียบเคียงไดกับมาตรฐานสากล บริษัทฯ ดําเนินการเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ โดยแบงเปนสองสวน คือ ในระดับคณะกรรมการ และ ในระดับบริหาร โดยในระดับคณะกรรมการนั้น ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการชุดยอยขึ้น คือ คณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance Committee) ซึ่งประกอบดวย นายณรงค ศรีสอาน นายวิทยา เวชชาชีวะ ดร.อาชว เตาลานนท ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ นายโชติ โภควนิช และ นายเยนส บี. เบสไซ (นายเยนส บี. เบสไซ ไดลาออกจากการเปนกรรมการในคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ โดยมีผลใน วันที่ 31 ธันวาคม 2553) สวนในระดับบริหารไดดําเนินการโดยเจาหนาที่บริหาร ไดแก CEO และ เจาหนาที่ ระดับสูงอื่นๆ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2553 บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี สรุปไดดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน 1. คณะกรรมการตระหนักและใหความสําคัญตอสิทธิของผูถือหุน ตลอดจนการปฏิบัติตอผูถือหุน อยางเทาเทียมกันและเปนธรรม จึงไดกําหนดนโยบายในการกํากับดูแลกิจการ โดยคํานึงถึงสิทธิของผูถือหุน ใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดโดยไมจํากัดเฉพาะสิทธิที่กฎหมายกําหนดไว 2. ในป 2553 บริษัทฯ มีการประชุมผูถือหุน 1 ครั้ง คือ การประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 ซึ่งการประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ จัดขึ้นในวัน เวลา และสถานที่ ที่คํานึงถึง ความสะดวกของผูถือหุนที่จะเขาประชุม โดยบริษัทฯ จัดใหมีการประชุมในวันและเวลาทําการ คือ 14.00 น. ณ ที่ทําการสํานักงานใหญของบริษัทฯ ตั้งอยูในกรุงเทพมหานครซึ่งมีการคมนาคมที่สะดวกตอการเดินทาง 3. บริษัทฯ จัดทําหนังสือเชิญประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2553 พรอมเอกสารที่เกี่ยวของ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เชนเดียวกันกับทุกปที่ผานมา โดย ไดแจงในเอกสารเชิญประชุมใหผูถือหุน ทราบถึงขอมูล วัน เวลา สถานที่ วาระการประชุม ขอมูลทั้งหมดที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ตองตัดสินใจในที่ประชุม รวมตลอดถึงสาเหตุและความเปนมาของเรื่องที่ตองตัดสินใจ โดยระบุถึงขอเท็จจริงและเหตุผล และความเห็น ของคณะกรรมการ ในแตละวาระของทุกวาระที่เสนอในหนังสือเชิญประชุม กฎเกณฑตาง ๆ ที่ใชในการประชุม และขั้นตอนการออกเสียงลงมติ โดยเนนรายละเอียดใหผูอานที่ไมทราบถึงความเปนมาของเรื่องนั้นๆ มากอน สามารถเขาใจเรื่องไดโดยงาย และนําสงใหแกผูถือหุนเปนการลวงหนากอนวันประชุมเปนเวลา 30 วัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารประกอบการประชุมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไวใน Website ของบริษัทฯ เปนการลวงหนากอนวันประชุมเปนเวลา 30 วัน เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนไดมีเวลา ศึกษาขอมูลประกอบการประชุมลวงหนาอยางเพียงพอ และไดประชาสัมพันธใหผูถือหุนทราบ โดยแจงสารสนเทศ ผานสื่ออิเล็กทรอนิกสของตลาดหลักทรัพยฯ 4. ในการประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2553 บริษัทฯ ไมมีการเพิ่มวาระอื่นๆ ที่ไมไดระบุไว ในหนังสือนัดประชุมใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณา 5. บริษัทฯ นําเสนอวาระการพิจารณาคาตอบแทนกรรมการเพื่อใหผูถือหุนพิจารณาอนุมัติเปน ประจําทุกป สําหรับป 2553 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ไดพิจารณาทบทวน ความเหมาะสมของอัตราคาตอบแทนกรรมการ โดยคํานึงถึงระดับที่ปฏิบัติอยูในอุตสาหกรรม ประสบการณ ภาระหนาที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ และไดนําเสนอความเห็นตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทวา ควรเสนอใหที่ประชุมผู ถือหุน อนุมัติ คาตอบแทนกรรมการในอัตราเดิม ตามที่ที่ประชุมสามัญผู ถือหุน ประจํ าป 2552 ได เ คยมีมติ อ นุมัติ ไ ว โดยเปน อั ต ราเดิม ที่มิ ไ ดเปลี่ ย นแปลงมาตั้ ง แตป 2545 บริษัท ฯ ได

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นําเสนอวาระคาตอบแทนกรรมการซึ่งกําหนดไวเปนรายตําแหนง ตอที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2553 เพื่อพิจารณาอนุมัติ 6. บริษัทฯ มีนโยบายที่จะละเวนการกระทําใด ๆ ที่เปนการจํากัดโอกาสของผูถือหุน ในการศึกษา สารสนเทศของการประชุมผูถือหุน และเปดโอกาสใหผูถือหุนซักถามขอมูลที่ไมเขาใจ หรือสามารถสง คําถามลวงหนาไดโดยติดตอที่ฝายลงทุนสัมพันธ (“IR”) ที่โทร 0-2699-2515 และฝายเลขานุการบริษัท ที่ โทร 0-2699-2660 7. บริษัทฯ เปดโอกาสใหผูถือหุนลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคล โดยบริษัทฯ เสนอชื่อกรรมการใหผูถือหุนลงคะแนนทีละคน เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเลือกกรรมการที่ตองการได อยางแทจริง 8. บริษัทฯ อํานวยความสะดวกใหผูถือหุนไดใชสิทธิในการเขารวมประชุมและออกเสียงอยาง เต็มที่โดยไมมีคาใช จาย และละเวนการกระทํ าใดๆ ที่เ ปนการจํากัดโอกาสการเข าประชุมของผูถือหุน จัดขั้นตอนการลงทะเบียนเขาประชุมเพื่อออกเสียงลงมติเพื่อไมใหมีวิธีการที่ยุงยาก 9. ประธานที่ประชุมจัดสรรเวลาใหเหมาะสมและสงเสริมใหผูถือหุนมีโอกาสในการแสดง ความเห็นและตั้งคําถามตอที่ประชุมในเรื่องที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ และภายหลังการประชุม กรรมการที่เขา รวมประชุมไดเดินพบปะกับผูมารวมประชุมเพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนที่ไมประสงคจะถามคําถามในระหวาง การประชุมสามารถสอบถามเรื่องที่ตนยังสงสัยได 10. บริษัทฯ มีการใชบัตรลงคะแนนเสียงในวาระเพื่อพิจารณาในทุกกรณีที่ตองมีการลงคะแนนเสียง พรอมทั้งจัดใหมีสํานักงานกฎหมายอิสระ เปนผูตรวจสอบการนับคะแนนเสียงเพื่อความโปรงใส และเก็บ บัตรลงคะแนนไวเปนหลักฐานเพื่อจะไดตรวจสอบไดในกรณีมีขอโตแยงในภายหลัง หมวดที่ 2 การปฏิบตั ิตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน 1. บริษัทฯ ใหสิทธิแกผูถือหุนในการออกเสียงลงคะแนนที่เทาเทียมกัน คือ หนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2. บริษัทฯ อํานวยความสะดวกใหแกผูถือหุนที่ไมสามารถเขาประชุมดวยตนเอง สามารถใชสิทธิ ออกเสียงโดยมอบฉันทะใหผูอื่นมาประชุมและออกเสียงลงมติแทน โดยไมมีการกําหนดเงื่อนไขใดๆ ซึ่งทําให ยากตอการมอบฉันทะ และเปดโอกาสใหสงหนังสือมอบฉันทะมาใหฝายเลขานุการบริษัทตรวจสอบลวงหนา เพื่อจะไดไมเสียเวลาตรวจสอบในวันประชุม 3. บริษัทฯ เปดโอกาสใหผูถือหุนใชหนังสือมอบฉันทะรูปแบบที่ผูถือหุนสามารถกําหนดทิศ ทางการลงคะแนนเสียงได โดยจัดสงหนังสือมอบฉันทะแนบไปพรอมกับหนังสือเชิญประชุมผูถือหุนและ ไดเสนอชื่อกรรมการอิสระ 2 ทาน พรอมทั้งขอมูลเกี่ยวกับกรรมการอิสระดังกลาว เปนทางเลือกในการมอบฉันทะ ของผูถือหุน สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัทฯ ไดแจงใหผูถือหุนทราบถึงเอกสารหรือหลักฐานที่ตองนํามาแสดงตนในการเขา รวมประชุมผูถือหุน ตลอดจนคําแนะนําและขั้นตอนในการมอบฉันทะอยางชัดเจน ไวในหนังสือเชิญประชุม สามัญผูถือหุนประจําป 2553 เชนเดียวกันกับที่บริษัทฯ ปฏิบัติในทุกปที่ผานมา 4. บริษัทฯ เปดโอกาสและกําหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผูถือหุนสวนนอยสามารถ เสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ เปนการลวงหนา ซึ่งผูถือหุนสามารถสงขอมูลตามแบบฟอรมที่บริษัทฯ กําหนด โดยสงเปนจดหมายลงทะเบียน มายังบริษัทฯ ได ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2552 จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2553 สําหรับการประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2553 โดยบริษัทฯ เผยแพรสารสนเทศดังกลาวไวใน Website ของบริษัทฯ และไดประชาสัมพันธใหผูถือหุน ทราบโดยแจงสารสนเทศผานสื่ออิเล็กทรอนิกสของตลาดหลักทรัพยฯ ซึ่งในการประชุมผูถือหุนดังกลาว ไม มีผูถือหุนเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมและชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ 5. บริษัทฯ มีการกํากับดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดยกําหนดขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการใชขอมูล ภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยไวในคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางานควบคูกับการใชมาตรการตาม กฎหมายในการดูแลผูบริหารในการนําขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนและผูที่เกี่ยวของ กําหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศที่สําคัญที่ยังไมไดเปดเผยไว เปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะกรรมการและผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ ในการ ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัทฯ กรรมการและผูบริหารตองแจงตอสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (สํานักงาน ก.ล.ต.) ภายใน 3 วันทําการนับแตวันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้ง สงสําเนารายงานดังกลาว จํานวน 1 ชุด ใหกับบริษัทฯ เพื่อเก็บเปนหลักฐานและรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เปนประจํา โดยในป 2553 ไมปรากฏวามีกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ไมปฏิบัติตามหลักปฏิบัติดังกลาว 6. ในป 2553 ไมมีกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ตลอดจนผูเกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว ปฏิบัติผิดขอกําหนดเกี่ยวกับเรื่องความขัดแยงของผลประโยชนในการทําธุรกรรมของบริษัทฯ เชนเดียวกับ ทุกปที่ผานมา 7. ในป 2553 บริษัทฯ ไมมีการทํารายการที่เปนการใหความชวยเหลือทางการเงินแกบริษัทที่ ไมใชบริษัทยอยของบริษัทฯ 8. บริษัทฯ มีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันตามที่กฎหมายกําหนด และเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไวตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย โดยมีการประกาศใช “ระเบียบในการเขาทํารายการระหวางกัน” ซึ่งเปนระเบียบที่ไดรับการอนุมัติ โดยคณะกรรมการบริษัท ในป 2553 บริษัทฯ ยังคงปฏิบัติตามระเบียบในเรื่องการทํารายการระหวางกันอยางเครงครัด และไดเปดเผยรายละเอียดของรายการระหวางกันที่เกิดในระหวางป 2553 ไวในรายงานประจําปและแบบแสดง รายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) ภายใตหัวขอ “รายการระหวางกัน”

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หมวดที่ 3 บทบาทของผูม ีสวนไดเสีย 1. คณะกรรมการดูแลสิทธิตามที่กฎหมายกําหนดของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน ร ว มกั น อย า งเหมาะสม เพื่ อ ให Stakeholders มั่ น ใจว า สิ ท ธิ ดั ง กล า วได รั บ การ คุมครองและปฏิบัติดวยดี ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดทํา “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางาน” ซึ่งไดกําหนด ขอพึงปฏิบัติของพนักงานตอผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ไดแก พนักงาน - มีสิทธิสวนบุคคล และมีสิทธิที่จะไดรับการคุมครองไมใหใครละเมิดสิทธิสวนบุคคล - สิทธิในการไดรับการปฏิบัติ และไดรับโอกาสเทาเทียมกัน - สิทธิตางๆ เกี่ยวกับการจางงานที่เปนธรรมและเทาเทียมกัน เชน การอนุญาตใหลางาน สิทธิประโยชน โอกาสในการเลื่อนขัน้ การโอนยาย การประเมินผลการปฏิบัติงาน ลูกคา - มีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรบั การบริการจากพนักงานอยางเต็มความรู ความสามารถ - สิทธิที่จะไดรบั สินคาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผล - สิทธิที่จะไดรบั การปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ ผูจัดหาสินคาและบริการ และตัวแทนอื่นๆ (คูคา) - สิทธิที่จะไดรบั การปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรบั การปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ - สิทธิที่จะไดรบั การปฏิบัติดวยความซื่อตรง และเชื่อถือได - สิทธิที่จะไดรบั ทราบกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายทีเ่ กี่ยวของ - สิทธิที่จะไดรบั การแขงขันอยางเปนธรรม คูแขง - สิทธิที่จะไดรบั การเปรียบเทียบสินคาและบริการอยางเปนธรรมและตามความเปนจริง โดยไมบิดเบือนขอเท็จจริง ไมใสรายคูแขงตลอดจนสินคาและบริการของคูแขง - ไมรวมทําจารกรรม กอวินาศกรรม หรือติดสินบน คูแขงทางการคา ทั้งคูแขงในปจจุบนั หรือผูที่อาจจะเปนคูแ ขงในอนาคต - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน ไมปฏิบัติตอคูแขงรายใดเปน พิเศษเหนือคูแขงรายอื่น ไมวาในดานคุณภาพ การทดสอบ การติดตั้ง ตลอดจนการบํารุงรักษา ในการใหบริการสื่อสงสัญญาณ สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เจาหนี้ - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาภายใตหลักเกณฑและกฎหมายที่กําหนด - สิทธิที่จะไดรบั ขอมูลทางการเงินที่ถูกตองครบถวน - สิทธิที่จะไดรับการชําระหนี้ตรงตามเวลา และไดรับการดูแลคุณภาพของหลักทรัพยค้ําประกัน ผูลงทุน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรม และเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางมุงมั่นที่จะดําเนินธุรกิจดวยความรูและทักษะการบริหาร จัดการอยางสุดความสามารถดวยความซื่อสัตยสุจริต - สิทธิที่จะไดรับการปกปองไมใหเกิดการแสวงหาผลประโยชน โดยการใชขอมูลใดๆ ของ องคกรซึ่งยังไมเปดเผยตอสาธารณะ หนวยงานของรัฐ - สิทธิในการกํากับ ดูแล และลงโทษ ตามกฎหมาย ขอบังคับ และมาตรฐานการปฏิบัติของ หนวยงานของรัฐ 2. บริษัทฯ กําหนดสายงานองคกรใหฝายตรวจสอบภายใน (Internal Audit) รายงานโดยตรง ตอคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งจะเปนผูพิจารณาใหคณ ุ ใหโทษตอหัวหนาฝายตรวจสอบภายใน 3. บริษัทฯ จัดใหมีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงาน 4. ในป 2553 คณะกรรมการบริษัทฯ ไดอนุมัติการปรับปรุงแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกํากับ ดูแลกิจการ โดยการจัดใหมีชองทางสําหรับใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทําการรองเรียน หรือแจง เบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือการกระทําผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการบริษัทโดย ผานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้: ชองทางใหผูมีสวนไดเสียสามารถรองเรียนหรือแจงเบาะแสตอคณะกรรมการบริษัทผานคณะกรรมการตรวจสอบ ผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทําการรองเรียนหรือแจงเบาะแส (โดยจะไดรับการเก็บรักษาขอมูล ไวเปนความลับ) เกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือ การกระทําผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการบริษัทฯ โดยผานคณะกรรมการตรวจสอบได ตามที่อยูดังนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส: auditcommittee@truecorp.co.th จดหมายสงทางไปรษณีย: เรียน คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 § §

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โดยหนวยงานเลขานุการบริษัท ในฐานะที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ จะเปน ผูดูแลรับผิดชอบในการรวบรวมและนําสงเรื่องรองเรียนหรือการแจงเบาะแสตางๆ ใหแกคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาและดําเนินการตอไป ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุปผลการดําเนินการและนําเสนอรายงานตอ คณะกรรมการบริษัทฯ เปนรายไตรมาส เงื่อนไขในการรับเรื่องรองเรียนหรือการแจงเบาะแส: ไมรับบัตรสนเทห ผูรองเรียน/ผูแจงเบาะแส ตองระบุชื่อและนามสกุลจริง โดยบริษัทฯ จะเก็บรักษาขอมูลไว เปนความลับ ซึ่งจะรับรูไดเฉพาะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบเทานัน้ เรื่องที่ไมเกี่ยวของตางๆ ดังตัวอยางดานลางนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะไมรบั ดําเนินการให: - การสมัครงาน - แบบสํารวจ หรือ การขอรับขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ - การเสนอขายสินคาหรือบริการ - การขอรับบริจาคหรือการสนับสนุนตางๆ 5. บริษัทฯ มีนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งรับรองโดยคณะกรรมการบริษัท และได เปดเผยนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเว็บไซตของบริษัทฯ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจโดยยึดแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยคํานึงถึงความสําคัญดานสังคมและสิ่งแวดลอม ใน ดานสังคมนั้น บริษัทฯ มุงเนนดานการสงเสริมการเรียนรูใหแกสังคม เพื่อเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาสังคมไทย อยางยั่งยืน ดวยการนําเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย มาจัดทําโครงการดานการศึกษาและการเรียนรู เพื่อพัฒนา เยาวชนและผูดอยโอกาสในสังคมไทย §

§

§

ในป 2553 ที่ผานมา กลุมบริษัทฯ ไดทํากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมหลายประการ ครอบคลุมความรับผิดชอบตอสังคม 7 ดาน ประกอบดวย ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงาน ดานการ กํากับดูแลกิจการและขอปฏิบัติดานจริยธรรม ดานความรับผิดชอบตอชุมชนและการสงเสริมการศึกษา ดานลูกคา ดานผูจัดหาสินคาและบริการ ดานผูถือหุนและนักลงทุน และดานพนักงาน (โดยมีรายละเอียดของกิจกรรม เพื่อสังคม ดังปรากฏในเอกสารแนบทายรายงานการกํากับดูแลกิจการ) หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1. บริษัทฯ มีการเผยแพรทั้งขอมูลทางการเงินและขอมูลที่มิใชการเงินตามขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา โปรงใส ผานชองทางตางๆ ทั้งชองทางของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ Website ของบริษัทฯ ดวย รวมทั้งเปดเผยขอมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อีกทั้งมีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันเปนระยะๆ นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทําขอมูลรายละเอียดอื่นๆ ที่ คาดวาจะเปนที่สนใจของนักลงทุนและนักวิเคราะห เชน แผนภูมิสรุปผลการดําเนินงานดานตางๆ ที่สําคัญ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ขอมูลงบการเงินยอนหลังเพื่อการเปรียบเทียบ ขาวประชาสัมพันธที่นาสนใจสําหรับนักลงทุน เปนตน โดยแสดง ไวในWebsite ของบริษัทฯ เพื่อใหนักลงทุนและนักวิเคราะหเขาถึงไดอยางเทาเทียมกัน 2. การนําสงรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและรายปในป 2553 บริษัทฯ สามารถนําสงรายงาน ทางการเงินไดภายในเวลาที่สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด ทั้งนี้ บริษัทฯ ใหความสําคัญ ในการจัดทํางบการเงินใหถูกตองตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและ ถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และเครงครัดในนําสงงบการเงินและรายงานทางการเงินภายในเวลาที่กําหนดไวเปนอยางยิ่ง และไมเคยมีประวัติถูกสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. สั่งใหแกไขงบการเงิน และไมเคยนําสงรายงานทางการเงินลาชา 3. บริษัทฯ ไดรายงานนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่คณะกรรมการไดใหความเห็นชอบไวโดย สรุป และรายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายผานชองทางตางๆ เชน รายงานประจําป และ Website ของบริษัทฯ 4. บริษัทฯ ไดแสดงรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงินควบคูกับ รายงานของผูสอบบัญชีไวในรายงานประจําป 5. บริษัทฯ ไดมีการเปดเผยบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย จํานวนครั้งของการประชุมและจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมคณะกรรมการในปที่ผานมา ตลอดจนความเห็ นจากการทํ าหน าที่ ของคณะกรรมการชุ ดย อยไว ในรายงานประจํ าป ตามข อกํ าหนดของ ตลาดหลักทรัพยฯ และ สํานักงาน ก.ล.ต. 6. บริษัทฯ จายคาตอบแทนใหแกกรรมการ ในป 2553 ตามอัตราซึ่งอนุมัติโดยที่ประชุมสามัญ ผูถือหุน ประจําป 2553 โดยยังคงเปนอัตราเดิมตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2552 ไดเคยมีมติ อนุมัติไว ซึ่งอัตราคาตอบแทนดังกลาวไมมีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแตป 2545 แลว โดยมีรายละเอียดดังนี้ กรรมการไดรับคาตอบแทนเปนรายเดือน โดยมีหลักเกณฑในการจายดังนี้ ประธานกรรมการ 300,000 บาทตอเดือน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 200,000 บาทตอเดือน รองประธานกรรมการ 150,000 บาทตอเดือน กรรมการ 100,000 บาทตอเดือน หากกรรมการทานใดเปนลูกจางของบริษัทฯ ก็ใหคาตอบแทนกรรมการนี้เปนสวนเพิ่มเติม จากคาจางปกติของลูกจางแตละทาน นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่ทําหนาที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดรับคาตอบแทน ดังนี้ กรรมการอิสระที่เปนประธานในคณะกรรมการชุดยอย 300,000 บาทตอเดือน กรรมการอิสระที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย 200,000 บาทตอเดือน สําหรับกรรมการอิสระที่มิไดเปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย และกรรมการทุกทานที่ มิใชกรรมการอิสระ ใหไดรับคาตอบแทนคงเดิม

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. ในป 2553 บริษัทฯ จายคาตอบแทนผูบริหารระดับสูงสอดคลองกับนโยบายของบริษัทฯ ที่ ใหจายคาตอบแทนโดยสะทอนภาระหนาที่และความรับผิดชอบของผูบริหารระดับสูงแตละคน และเปนอัตรา ที่เหมาะสมโดยศึกษาเทียบเคียงกับธุรกิจประเภทเดียวกัน 8. บริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลการจายผลตอบแทนกรรมการและผูบริหารระดับสูงโดยละเอียด ทั้งรูปแบบ ลักษณะ และ จํานวนเงินคาตอบแทน ไวในรายงานประจําป และ แบบ 56-1 9. บริษัทฯ มีหนวยงาน “ฝายลงทุนสัมพันธ” หรือ “Investor Relations” เพื่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก อยางเทาเทียมและเปนธรรม ทั้งนี้ ผูลงทุนสามารถติดตอฝายลงทุนสัมพันธได ที่หมายเลขโทรศัพท 0-2699-2515 หรือ e-mail address ir_office@truecorp.co.th สําหรับในป 2553 ฝายลงทุนสัมพันธไดจัดใหมีการประชุม นักวิเคราะหและนักลงทุนภายหลังจากที่บริษัทฯ ประกาศผลประกอบการทุกไตรมาส โดยจัดใหมีการประชุม ณ สํานักงานใหญของบริษัทฯ รวมทั้งผาน Webcast สําหรับนักวิเคราะหและนักลงทุนที่ไมสามารถมารวมประชุม ดวยตนเองได นอกจากนี้ยังไดเขารวมงาน Opportunity Day ที่จัดโดยตลาดหลักทรัพยฯ นับตั้งแตไตรมาสที่ 3 เพื่อใหนักลงทุนไดรับขอมูลโดยตรงจากบริษัทฯ รวมทั้งไดจัด Roadshow เพื่อพบปะนักลงทุนทั้งในประเทศ และตางประเทศ และจัดใหมีการประชุมกับนักลงทุนกลุมยอยที่สนใจมาพบปะผูบริหาร เพื่อซักถามขอมูลของ บริษัทฯ นอกเหนือจากกิจกรรมที่กลาวแลว บริษัทฯ ยังไดจัดใหผูบริหารแตละธุรกิจ ไดมีโอกาสนําเสนอ ขอมูลตางๆ แกนักวิเคราะหโดยตรง โดยหมุนเวียนเปลี่ยนกันไปจนครบทุกธุรกิจ อยางนอยปละครั้ง ตลอดจน ไดจัดใหนักลงทุนรายยอยเขาเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ เพื่อสรางความเขาใจในธุรกิจของบริษัทฯ มากขึ้น หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสรางคณะกรรมการ 1.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 องคประกอบของคณะกรรมการ คือ กรรมการบริหาร (Executive Directors) 4 ทาน กรรมการที่มิใชผูบริหาร (Non-Executive Directors) 12 ทาน โดยมีกรรมการอิสระ คิดเปนรอยละ 37.5 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด บริษัทฯ เปดเผยประวัติของกรรมการแตละทานไวใน รายงานประจําป และ แบบ 56-1 ตลอดจน Website ของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.2 บริษัทฯ มีการกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการไวอยางชัดเจน โดยระบุ ไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และ ขอบังคับของบริษัทฯ ซึ่งเปนไปตามกฎหมาย 1.3 บริษัทฯ กําหนดคุณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” อยางละเอียด โดยเปดเผยไวใน รายงานประจําป และ แบบ 56-1 โดย นายโชติ โภควนิช เปนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบผูมี ความรูดานบัญชีและการเงิน บริษัทฯ กําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไวเขมงวดกวาขอกําหนดของ คณะกรรมการกํากับตลาดทุนในเรื่องสัดสวนการถือหุนในบริษัทฯ กลาวคือ กรรมการอิสระของบริษัทฯ จะตองไมถือหุนเกินรอยละ 0.75 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของ กับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.4 บริษัทฯ เปดเผยขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการแตละคนใหผูถือหุนทราบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจําป และ แบบ 56-1 ซึ่งผูถือหุนสามารถดาวนโหลดขอมูลไดจาก Website ของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่ www.set.or.th และ Website ของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.5 บริษัทฯ มีการกําหนดนโยบายเกีย่ วกับจํานวนบริษัทฯ ทีก่ รรมการแตละคนสามารถ ไปดํารงตําแหนง โดยกําหนดไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ วา กรรมการสามารถดํารงตําแหนง กรรมการในบริษัทอื่นได แตทั้งนี้ ในการเปนกรรมการดังกลาว ตองไมเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติหนาที่กรรมการ ของบริษัทฯ 1.6 ประธานกรรมการของบริษัทฯ มิใชบุคคลเดียวกับกรรมการผูจัดการใหญ และเปน Non-Executive Director อํานาจหนาที่ของประธานกรรมการนั้นเปนไปตามกฎหมาย สวนอํานาจหนาที่ของ กรรมการผูจัดการใหญนั้น คณะกรรมการบริษัทมีการกําหนดไวอยางชัดเจน 1.7 บริษัทฯ มีเลขานุการบริษัทซึ่งทําหนาที่ใหคําแนะนําดานกฏหมายและกฎเกณฑ ตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบและปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงาน ใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ เลขานุการบริษัททําการประชุมหารือรวมกันกับเลขานุการบริษัทของบริษัทจดทะเบียน อื่นๆ เปนครั้งคราวเพื่อรวมกันหาแนวทางที่ดีที่สุดในการปฏิบัติหนาที่ 2. คณะกรรมการชุดยอย 2.1 คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีคณะกรรมการชุดยอยดานตางๆ เพื่อการกํากับดูแล กิจการที่ดี ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ทําหนาที่สอบทานกระบวนการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทฯ ระบบการควบคุม ภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ พิจารณาความเปนอิสระ ของหนายงานตรวจสอบภายใน พิจารณาเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และ พิจารณารายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน โดยมีรายละเอียดของบทบาทและ หนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบตามที่ปรากฏในหัวขอ “การจัดการ” คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทําหนาที่พิจารณาการกําหนดคาตอบแทนของกรรมการและ CEO และ พิจารณา กลั่นกรองการสรรหากรรมการ กอนนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกําหนดและทบทวนนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ ตลอดจนดูแลใหบริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ เหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูลงทุนทั่วไปสามารถดาวนโหลดขอมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอยของบริษัทฯ เชน หนาที่ รายชื่อคณะกรรมการ ไดจาก Website ของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอยของบริษัทฯ การเขารวมประชุม ตลอดจนรายงานของคณะกรรมการ ไวในรายงานประจําป 2.2 เพื่อความโปรงใสและเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ และในขณะเดียวกันเพื่อให คณะกรรมการชุดยอยสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิผล สมาชิกสวนใหญของคณะกรรมการชุดยอย ประกอบไปดวย กรรมการอิสระ และ กรรมการที่มิใชผูบริหาร 3. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการไดทําหนาที่พิจารณาและใหความเห็นชอบในเรื่องที่สําคัญเกี่ยวกับ การดําเนินงานของบริษัทฯ เชน วิสัยทัศนและภารกิจ กลยุทธ เปาหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงานและ งบประมาณ รวมทั้งกํากับ ควบคุม ดูแลใหฝายจัดการดําเนินงานตามนโยบายและแผนที่กําหนดไวอยาง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (ตระหนัก ถึงขีดความสามารถที่แทจริงของบริษัทฯ) ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว โดยตั้งมั่นอยูบน พื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริต และ ความรอบคอบระมัดระวัง ตลอดทุกปที่ผานมา รวมถึงป 2553 บริษัทฯ ไมมีการกระทําใดที่เปนการฝาฝนหรือ กระทําผิดกฎระเบียบของ ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพยฯ 3.2 คณะกรรมการไดจัดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ เปนลายลักษณอักษร และใหความเห็นชอบตอนโยบายดังกลาว คณะกรรมการจะทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาว เปนประจําทุกป 3.3 คณะกรรมการไดสงเสริมใหบริษัทฯ จัดทําจรรยาบรรณธุรกิจที่เปนลายลักษณอักษร เพื่อใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนเขาใจถึงมาตรฐานดานจริยธรรมที่บริษัทฯ ใชในการดําเนินธุรกิจ อีกทั้งไดมีการติดตามใหมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณดังกลาวอยางจริงจัง 3.4 คณะกรรมการไดพิจารณาเรื่องความขัดแยงของผลประโยชนอยางรอบคอบ การ พิจารณาการทํารายการที่อาจมีความขัดแยงของผลประโยชน มีแนวทางที่ชัดเจนและเปนไปเพื่อผลประโยชน ของบริ ษั ทฯ และผู ถือหุ นโดยรวมเป น สําคั ญ โดยที่ผู มีสว นไดเ สี ย ไมมีส ว นร ว มในการตัด สิ น ใจ และ คณะกรรมการไดกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามขอกําหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการดําเนินการและการเปดเผย ขอมูลของรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอยางถูกตองครบถวน 3.5 คณะกรรมการไดจัดใหมีระบบการควบคุมดานการดําเนินงาน ดานรายงานทางการเงิน และดานการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย คณะกรรมการไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบ เปนผูรับผิดชอบในการดูแลการตรวจสอบระบบการควบคุมดังกลาว และทําการทบทวนระบบอยางนอย ปละ 1 ครั้ง 3.6 บริษัทฯ มีระบบการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองคกรทั้งในดานการดําเนินงาน และดานการเงิน อีกทั้งมีระบบการตรวจสอบภายในแบบ Risk-based Audit Approach ในดานการดําเนินงานนั้น สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัทฯ มีการแตงตั้งคณะอนุกรรมการบริหารที่เรียกวา BCP Steering Committee ทําหนาที่กํากับดูแลการ บริหารจัดการแผนรองรับความตอเนื่องของธุรกิจ และมีคณะทํางานชื่อ Crisis Management Team ทําหนาที่ รับผิดชอบในการจัดการกับวิกฤตการณตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อชวยเหลือและสนับสนุนการดําเนินงานที่ สําคัญของบริษัทฯ นอกจากนี้ ในดานความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทฯ มีนโยบายการบริหารความเสี่ยงทาง การเงิน เพื่อปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศโดยนําวิธีการ บริหารความเสี่ยงดังตอไปนี้มาใชจัดการ เชน การทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา การเจรจาตก ลงเงื่อนไขการจายชําระหนี้ในสกุลเงินตราตางประเทศเปนแตละรายการ และ การเจรจาตกลงกับเจาหนี้ ตางประเทศ เพื่ อแบ งสรรภาระจากการเปลี่ยนแปลงของอั ตราแลกเปลี่ ย นเงิ นตราต างประเทศ เป น ตน นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการจัดระบบงาน และ ประกาศ “นโยบายและกรอบในการบริหารจัดการความเสี่ยง” อยางเปนทางการ เพื่อนําการบริหารจัดการความเสี่ยงไปผสานรวมกับกลยุทธทางธุรกิจและการปฏิบัติงาน 4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริษัทฯ กําหนดการประชุมคณะกรรมการเปนการลวงหนา และแจงใหกรรมการแต ละคนทราบกําหนดการดังกลาว อยางไรก็ตาม ในกรณีจําเปนเรงดวน อาจมีการเรียกประชุมคณะกรรมการเปน การเพิ่มเติมได 4.2 บริษัทฯ มีการกําหนดไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ใหกรรมการที่มิใชผูบริหาร สามารถที่จะประชุมระหวางกันเองตามความจําเปนโดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารหรือฝายจัดการเขารวมประชุม เพื่ออภิปรายปญหาตางๆ เกี่ยวกับการจัดการหรือเรื่องที่อยูในความสนใจ โดยในป 2553 มีการประชุมใน ลักษณะดังกลาวจํานวน 1 ครั้ง 4.3 ในป 2553 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการ จํานวน 8 ครั้ง ซึ่งเหมาะสมกับภาระหนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการและการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ 4.4 ประธานกรรมการ และ/หรือ รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญรวมกัน พิจารณาการเลือกเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมคณะกรรมการ นอกจากนี้ กรรมการแตละคนมีความเปน อิสระที่จะเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุม 4.5 บริษัทฯ จัดสงเอกสารประกอบการประชุมใหแกกรรมการเปนการลวงหนา โดยเอกสาร มีลักษณะโดยยอแตใหสารสนเทศครบถวน สําหรับเรื่องที่ไมประสงคเปดเผยเปนลายลักษณอักษรก็ใหนํา เรื่องอภิปรายกันในที่ประชุม 4.6 ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไวอยางเพียงพอที่ฝายจัดการจะเสนอเรื่องและมากพอที่ กรรมการจะอภิปรายปญหาสําคัญกันอยางรอบคอบโดยทั่วกัน 4.7 คณะกรรมการสามารถเขาถึงสารสนเทศที่จําเปนเพิ่มเติมไดจากกรรมการผูจัดการใหญ หรือ เลขานุการบริษัท หรือผูบริหารอื่นที่ไดรับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่กําหนดไว 4.8 ผูบริหารระดับสูงเขารวมประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงขอมูลในฐานะผูเกี่ยวของกับ ปญหาโดยตรง

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 5.1 คณะกรรมการบริษัท ทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเปนรายป 6. คาตอบแทน 6.1 คาตอบแทนของกรรมการของบริษัทฯ จัดไดวาอยูในลักษณะที่เปรียบเทียบไดกับ ระดั บที่ปฏิ บัติอยูในอุตสาหกรรม ประสบการณ ภาระหนาที่ ขอบเขตของบทบาทและความรั บผิ ดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากกรรมการแตละคน นอกจากนี้ กรรมการที่ ไดรับมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น เชน กรรมการอิสระที่ เปนสมาชิก ของ คณะกรรมการชุดยอยก็ไดรับคาตอบแทนเพิ่มที่เหมาะสมดวย บริษัทฯ เปดเผยคาตอบแทนของกรรมการในป 2553 เปนรายบุคคลไวในรายงานประจําป และ แบบ 56-1 6.2 คาตอบแทนของกรรมการผูจัดการใหญและผูบริหารระดับสูงเปนไปตามหลักการ และนโยบายที่คณะกรรมการกําหนดภายในกรอบที่ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน (สําหรับคาตอบแทน ประเภทที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน) และเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ระดับคาตอบแทนที่ เปนเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ก็มีความสอดคลองกับผลงาน ของบริษัทฯ และผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละคนดวย 6.3 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนฯ เปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของประธาน คณะผูบริหารเปนประจําทุกปเพื่อนําไปใชในการพิจารณากําหนดคาตอบแทนของประธานคณะผูบริหาร โดยใชบรรทัดฐานที่ไดตกลงกันลวงหนากับประธานคณะผูบริหารตามเกณฑที่เปนรูปธรรม ซึ่งรวมถึง ผลการปฏิบัติงานทางการเงิน ผลงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามวัตถุประสงคเชิงกลยุทธในระยะยาว การพัฒนา ผูบริหาร ฯลฯ และกรรมการอาวุโสที่ไดรับมอบหมายจากประธานกรรมการ เปนผูสื่อสาร ผลการพิจารณา ใหประธานคณะผูบริหารทราบ 7. การพัฒนากรรมการและผูบริหาร 7.1 บริษัทฯ สงเสริมและอํานวยความสะดวกใหมีการฝกอบรมและการใหความรูแก ผูเกี่ยวของในระบบการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ เชน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบริหาร เลขานุการบริษัท เปนตน เพื่อใหมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง การฝกอบรมและใหความรูดังกลาว มีทั้งที่กระทํา เปนการภายในบริษัทฯ และใชบริการของสถาบันภายนอก 7.2 ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม ฝายจัดการไดจัดทําและนําสงเอกสารและ ขอมูลที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการใหม รวมถึงการจัดใหมีการแนะนําลักษณะธุรกิจ และแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหแกกรรมการใหม 7.3 บริ ษัท ฯ มี ก ารจั ด ทํ า “แผนการสื บ ทอดงาน” อย า งเป น ทางการสํ า หรั บ ผู บ ริห าร ระดับสูง ทั้งนี้ เพื่อรักษาความเชื่อมั่นของผูลงทุน ตลอดจนผูมีสวนไดเสียตางๆ วาการดําเนินงานของบริษัทฯ จะไดรับการสานตออยางทันทวงที

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 25


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบทายรายงานการกํากับดูแลกิจการ

สรุปรายงานกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) ประจําป 2553 คณะกรรมการบริษัท มีมติรับรองนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) และไดเปดเผยนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษในเว็บไซต ของบริษัทฯ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจโดยยึดแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยคํานึงถึงความสําคัญดาน สังคมและสิ่งแวดลอม ในดานสังคมนั้น บริษัทฯ มุงเนนดานการสงเสริมการเรียนรูใหแกสังคม เพื่อเปน สวนหนึ่งในการพัฒนาสังคมไทยอยางยั่งยืน ดวยการนําเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย มาจัดทําโครงการ ดานการศึกษาและการเรียนรู เพื่อพัฒนาเยาวชนและผูดอยโอกาสในสังคมไทย ในป 2553 ที่ผานมา กลุมบริษัทฯ ไดทํากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมหลายประการ ครอบคลุมความรับผิดชอบตอสังคม 7 ดาน ประกอบดวย ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงาน ดานการ กํากับดูแลกิจการและขอปฏิบัติดานจริยธรรม ดานความรับผิดชอบตอชุมชนและการสงเสริมการศึกษา ดานลูกคา ดานผูจัดหาสินคาและบริการ ดานผูถือหุนและนักลงทุน และดานพนักงาน โดยมีรายละเอียด ดังตอไปนี้ ความรับผิดชอบตอสังคมดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและพลังงาน ทรูวิชั่นส รวมกับ สมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช จัดโครงการ True Young Producer Award 2010 ในหัวขอ “ลดกาซคารบอน = ลดโลกรอน” เปดใหนิสิต นักศึกษา ผลิตภาพยนตรโฆษณา รณรงค ปลูกจิตสํานึกใหรักและหวงแหนธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชิงถวยรางวัล พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมทุนการศึกษา และ รวมทัศนศึกษา ธรรมชาติ เทคโนโลยี และวัฒนธรรม ณ ประเทศญี่ปุน และนําผลงานที่ไดรับรางวัลไปผลิตภาพยนตรโฆษณา และออกอากาศทางทรูวิชั่นส ทรู รวมกิจกรรม CSR CLUB "หองเรียน...ปาชายเลน" โครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติฯ ภายใตแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน เนนการจัดกิจกรรมแบบ ZERO Waste ของเสียเหลือศูนย โดยรวมกับ สมาชิก CSR Club อีก 41 องคกร และบุคคลในชุมชน รวม 747 คน ปลูกปาชายเลน ณ เขตปาสงวนแหงชาติ ปาเลนประแสร-พังราด ต.พังราด อ.แกลง จ.ระยอง ทั้งนี้ ผูเขารวมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ ลดการใชพลังงาน และปริมาณขยะ ไดอยางเปนรูปธรรม ทรู รวมรณรงคปดไฟฟาทั่วประเทศ ในโครงการ Earth Hour 2010 ซึ่งกรุงเทพมหานคร และ World Wildlife Fund รวมกันจัดขึ้นในวันที่ 27 มีนาคม 2553 เวลา 20.30 – 21.30 น. เปนเวลา 1 ชั่วโมง ทรู จัดโครงการประกวดภาพถายอนุรักษธรรมชาติ ประจําป 2553 และจัดนิทรรศการผลงาน ภาพถายอนุรักษธรรมชาติประจําป 2553 ในงานสัปดาหวันคุมครองสัตวปาแหงชาติ สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 26


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ความรับผิดชอบตอสังคมดานการกํากับดูแลกิจการและขอปฏิบตั ิดานจริยธรรม ทรู โดยฝาย Litigation & Arbitration รวมบรรยายพิเศษ ดังนี้ • วิชา “กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโทรคมนาคม” คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย กรุงเทพ วิทยาเขตกลวยน้ําไท • วิชา “สัมมนากฎหมายธุรกิจ” หัวขอ “กฎหมายโทรคมนาคมไทย” หลักสูตรนิติศาสตร บัณฑิต ภาคบัณฑิต คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • วิชา “สัมมนากฎหมายธุรกิจ” หัวขอเรื่อง “กฎหมายธุรกิจโทรคมนาคม” หลักสูตร นิติศาสตรบัณฑิต ชั้นปที่ 4 คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • บรรยายพิเศษแกผูบริหารและพนักงานทรู ในหัวขอ “Creative Leadership + Impact on Regulatory” ความรับผิดชอบตอสังคมดานความรับผิดชอบตอชุมชนและการสงเสริมการศึกษา www.trueplookpanya.com เปนสื่อกลางการเรียนการสอนในรูปแบบเว็บไซต ใหขอมูลขาวสาร และความรูในรูปแบบมัลติมีเดียที่ทันสมัย นําเสนอเนื้อหาและจัดหมวดหมูสาระที่เปนประโยชนแกเยาวชนไทย ตั้งแตระดับอนุบาลถึงระดับอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครอบคลุม 8 กลุมสาระวิชาหลัก ในปจจุบันมีจํานวนผูเขา เยี่ยมชมสูงถึง 3.2 ลานครั้ง (page view) ตอเดือน มีการอัพโหลดเพื่อแบงปนความรูจากสมาชิกในปริมาณที่ เพิ่มขึ้ นทุกเดือน และมี คอนเทนตทั้งที่ เปนภาพ เสียง ข อความ และวิ ดีโอ ทั้งสิ้นมากกวา 200,000 รายการ นอกจากนี้ ยังมีการจัดโครงการประกวดสรางคลังความรูกับทรูปลูกปญญาดอทคอม ครั้งที่ 1 หัวขอ “วิดีโอ สรางสรรค แบงปนความรู” ทรูปลูกปญญาติดตั้ง “ชุดอุปกรณและสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู” และสงมอบใหโรงเรียนใน โครงการทรูปลูกปญญา ประจําป 2553 จํานวน 500 โรงเรียน รวมทั้งโรงเรียนตนแบบในโครงการทรูปลูก ปญญา ประจําป 2553 จํานวน 5 โรงเรียน นอกจากนี้ ยังจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การบูรณาการการใช สื่อทรูปลูกปญญาสําหรับโรงเรียนตนแบบ” และโครงการประกวดผลงานครูยอดเยี่ยม ในหัวขอดังกลาว เพื่อสงเสริมการนําอุปกรณและสื่อดิจิทัลทรูปลูกปญญาไปประยุกตใชในการสอนอยางมีประสิทธิภาพ สูงสุด ซึ่ง ณ สิ้นป 2553 มีโรงเรียนในโครงการทรูปลูกปญญาจํานวนทั้งสิ้น 3,000 โรงเรียน และมีโรงเรียน ตนแบบโครงการทรูปลูกปญญา จํานวนทั้งสิ้น 12 แหง ทรูสานตอโครงการ Let Them See Love โดยจัดกิจกรรม Let Them See Love 2010 The Beauty of Giving – การใหเปนสิ่งที่สวยงาม โดยมีกิจกรรมตางๆดังนี้ • จัดทําภาพยนตรโฆษณาทางโทรทัศนและวิทยุ “บุญอันยิ่งใหญ” เพื่อรณรงคใหมีการ บริจาคอวัยวะ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 27


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จัดทําภาพยนตรสารคดีเกี่ยวกับการบริจาคอวัยวะ 2 ตอน ไดแก ตอนที่ 1 สัมภาษณผูมี ประสบการณจริงเกี่ยวกับการใหและการรับบริจาคอวัยวะ และตอนที่ 2 เชิญชวนใหรวม บริจาคอวัยวะจากศิลปนและผูมีชื่อเสียงในสังคม จัดนิทรรศการงานแสดงศิลปะ “The Beauty of Giving” โดยศิลปนรับเชิญรวมสรางสรรค ผลงานในสื่อสิ่งพิมพรูปแบบตาง ๆ เชน ภาพถาย ภาพวาด กราฟฟค Illustration เพื่อสื่อ ถึงความสวยงามของการบริจาคอวัยวะ (ดวงตา หัวใจ ตับ ไต และปอด) จัดแสดงที่ True Urban Park สยามพารากอน จัดทํา Digital Art Gallery แหงแรกในประเทศไทย เพื่อใหบุคคลทั่วไปไดมีสวนรวมใน การสรางผลงานศิลปะของตนเอง ภายใตคอนเซ็ปต “The Beauty of Giving” บนเว็บไซต www.helplink.net รวมทั้งจะถูกนํามาตีพิมพในสื่อสิ่งพิมพ และโปสการดแบบฟอรมการ บริจาคเพื่อเชิญชวนใหมีการบริจาคตอไป

ทรูจัดทําเว็บไซต Helplink.net และเพิ่มชองทางการติดตอ โดยจัดทําเว็บไซตwww.facebook.com/helplink.net และwww.twitter.com/helplink ใหสมาชิกอัพเดทขอมูลความชวยเหลือในสังคมไดรวดเร็วขึ้น นอกจากนี้ ยังได มอบเงินบริ จาคผาน SMS ของผู ใช บริการมือถือระบบทรูมูฟ และเงินบริจาคผ านช องทางทรู มัน นี่ จํานวน 29,226 บาท เพื่อสมทบทุนโครงการผาตัดเด็กโรคหัวใจ 2,500 ราย ถวายเปนพระราชกุศลฯ นอกจากนี้ Helplink.net ยังรวมประชาสัมพันธกิจกรรมและขอความชวยเหลือดานตางๆ ดังนี้ • เชิญรวมบริจาคเงินชวยมูลนิธิคนปญญาออนแหงประเทศไทย โดยมียอดบริจาคผาน ขอความสั้นเปนเงิน 157,365 บาท และยอดเงินบริจาคจากการขายสินคาของมูลนิธิฯ ที่ อาคารทรู ทาวเวอร เปนเงิน 54,293 บาท รวมยอดเงินที่ไดรับบริจาคตลอดโครงการ ทั้งสิ้น 211,658 บาท • เชิญชวนนักเรียน นักศึกษา รวมประกวดภาพถายภายใตแนวคิด “เก เท อยางมีคา ตองกลา บริจาคโลหิต” ชิงทุนการศึกษารวม 10,000 บาท และประกาศเกียรติคุณ เพื่อเปดมุมมอง วาการบริจาคโลหิตเปนเรื่องงายและสรางความภาคภูมิใจในการเปนผูให • รวมกับองคการ UNICEF แหงประเทศไทย รณรงคใหคนไทยตระหนักถึงปญหาตางๆ ที่ เด็กไทยตองเผชิญในชีวิตประจําวัน และกระตุนใหรวมกันแกปญหา โดยเผยแพรสปอต โฆษณาเรื่อง “เสียงที่คุณไมไดยิน” ผานสื่อตางๆ ของทรู ทรูวิชั่นส มอบเงินจากการจัดฟุตบอล 4 เสา “Bangkok Charity Cup 2010” จํานวน 6,221,851 บาท แกนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เพื่อชวยเหลือผูประสบภัยจากเหตุแผนดินไหวที่เฮติ และมอบเงิน รายไดจากการโหวต และการจําหนายบัตรคอนเสิรตรอบตัดสิน “ทรู อคาเดมี แฟนเทเชีย ปฏิบัติการนักลาฝน ซีซั่น 6” ป 2552 จํานวนเงินรวมทั้งสิ้น 16 ลานบาท ใหองคกรการกุศล 4 องคกร คือ มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 28


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ราชประชานุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ มูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จเจาพระยา ในพระราชูปถัมภ และศูนยดวงตา สภากาชาดไทย เพื่อนําไปใชในกิจกรรมสาธารณประโยชน ทรูมูฟ มอบเงินที่ลูกคารวมบริจาคเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยจากเหตุแผนดินไหวที่เฮติผาน SMS ทั้งหมด โดยไมหักคาใชจายใด ๆ พรอมสมทบเงินบริจาคจํานวน 500,000 บาท รวมเปนเงิน 2,160,740 บาท ใหแกสภากาชาดไทย ทรู รวมกับ สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “นักขาว พิราบนอย” รุนที่ 13 ประจําป 2553 โดยมีนิสิตนักศึกษาจากภาควิชาวารสารศาสตร นิเทศศาสตร และสื่อสารมวลชน จํานวนกวา 70 คน จากมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ รวมเรียนรูทักษะ และฝกฝนความเปนบุคลากรคนขาว พรอม ฝกปฏิบัติการทําหนังสือพิมพเสมือนจริง กอนเขาสูสนามสื่อในสังคมอยางมีคุณภาพ ทรู จัดโครงการ “ทรูรวมน้ําใจไทย ชวยภัยหนาว” ซื้อเสื้อกันหนาวและผาหมจํานวน 10,000 ชิ้น มอบใหผูประสบภัยหนาวในพื้นที่หางไกลทั่วประเทศ พรอมเชิญชวนลูกคาและประชาชน รวมบริจาคเสื้อกันหนาว และผาหมที่กลองรับบริจาค ณ รานทรูมูฟสแควร สยามสแควร ซอย 2, รานทรูคอฟฟสาขามหาวิทยาลัยมหิดล, รานทรูช็อปสาขาซีคอนสแควร และสาขาฟวเจอรพารค รังสิต และบริเวณศูนยการคาสยามพารากอน รวมทั้ง รับบริจาคเงินผาน SMS ของทรูมูฟ เพื่อนําเงินบริจาคทั้งหมดมอบใหผูประสบภัยหนาวผานมูลนิธิศุภนิมิต แหงประเทศไทย ทรู จัดโครงการประกวด “ทรู อินโนเวชั่น อวอรดส 2010 ครั้งที่ 1” ภายใตแนวคิด “รวมความคิด ชาติเชื้อไทย” โดยมีผูสนใจเขารวมการประกวดกวา 761 ทีมทั่วประเทศ ซึ่งโครงการดังกลาวไดรับความรวมมือ จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และสํานักขาวตางประเทศ CNBC ทรู รวมกับ สมาคมนักขาววิทยุและโทรทัศนไทย ประกาศผลการประกวดผลงานสารคดีเชิงขาว วิทยุ-โทรทัศนดีเดน “สายฟานอย” ครั้งที่ 6 ประจําป 2553 พรอมมอบรางวัลโลเกียรติยศ เกียรติบัตร และ ทุนการศึกษามูลคารวมกวา 135,000 บาท กลุมทรู คอรปอเรชั่น และเครือเจริญโภคภัณฑ มอบเงินบริจาคชวยเหลือผูประสบอุทกภัยผาน กองทัพบก จํานวน 30,000,000 บาท ทรูมันนี่ รวมกับ ซีพี เฟรชมารท กองทัพเรือ และรายการขาว TNN จัดโครงการ “คนไทยรักกัน” เปดรับบริจาคเงินตั้งแต 10 บาทขึ้นไป ที่ทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ในรานซีพีเฟรชมารทกวา 500 แหงทั่วประเทศ เพื่อมอบใหกองทัพเรือนําไปซื้ออาหารและของใชที่จําเปน เพื่อชวยเหลือผูประสบอุทกภัย กลุมทรู พรอมศิลปน ทรู อคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซั่น 7 นําเงินที่ไดจากการจัดกิจกรรมเชิญชวน ผูบริหารและพนักงานกลุมทรู รวมบริจาคจํานวน 377,073.25 บาท มอบใหมูลนิธิราชประชานุเคราะห ในพระ บรมราชูปถัมภ เพื่อนําไปใชจายในการชวยเหลือผูประสบอุทกภัย

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 29


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูมูฟ มอบเงินบริจาค 1,000,000 บาท พรอมมอบเงินที่ลูกคาทรูมูฟรวมบริจาคผาน SMS จํานวน 6,162,980 บาท โดยไมหักคาใชจายใดๆ ผานรายการครอบครัวขาว 3 เพื่อนําไปชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวม ความรับผิดชอบตอสังคมดานลูกคา ทรู มอบโทรศัพทเคลื่อนที่พรอมซิมอินเตอร จํานวน 30 เครื่อง ใหบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในโครงการ “InterSIM for TG Airline” เพื่ออํานวยความสะดวกใหนักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เดินทางมากับ สายการบินไทย สามารถโทรกลับประเทศฟรี ทรูมูฟเพิ่มมาตรการในการชวยเหลือลูกคาทรูมูฟในพื้นที่ประสบภัยน้ําทวม 28 จังหวัดทั่วประเทศ • เพิ่มจํานวนวันในการใชบริการทรูมูฟในพื้นที่ประสบภัยอีก 30 วัน เพื่อยืดอายุการใชงาน หากไมสามารถไปเติมเงินไดในระยะเวลาที่กําหนด • งดเวนการระงับสัญญาณชั่วคราว สําหรับลูกคาแบบรายเดือนที่ไมสามารถชําระคาบริการ ไดตามกําหนด เนื่องจากประสบภัยน้ําทวม ความรับผิดชอบตอสังคมดานผูจัดหาสินคาและบริการ ฝายจัดซื้อ กลุมทรู รวมกับบริษัทคูคา ไดแก บริษัท ไทยสแกน เซ็นเตอร จํากัด และบริษัท บีมิค จํากัด จัดกิจกรรมถวายภัตตาหารเพลแดภิกษุสามเณร เลี้ยงอาหารเด็กยากไร นอกจากนี้ ยังบริจาคขาวสาร 30 กระสอบ อุปกรณการเรียน รองเทาแตะ อุปกรณกีฬา เสื้อผาและหมวก รวมถึงจัดประมูลของขวัญปใหม 2553 ที่ไดรับจากผูขายสินคาและบริการ เพื่อนํารายไดมอบแกเด็กยากไร ณ วัดโบสถวรดิษถ จ.อางทอง ความรับผิดชอบตอสังคมดานผูถือหุนและนักลงทุน กลุมทรู จัดกิจกรรม ผูถือหุนเยี่ยมชมกิจการทรูวิชั่นส พรอมชมหองระบบออกอากาศ การทํางาน ฝายขาว TNN และสตูดิโอรายการตางๆ ใหผูถือหุนไดสัมผัสการผลิตรายการและการออกอากาศอยางใกลชิด เพื่อสรางความเขาใจในธุรกิจ และสรางสัมพันธอันดีระหวางผูถือหุนกับบริษัทฯ ความรับผิดชอบตอสังคมดานพนักงาน Learning & Development Center จัดหลักสูตร “Summer Splash English” ฝกอบรมภาษาอังกฤษ สําหรับบุตรหลานพนักงานกลุมบริษัททรู เพื่อเสริมสรางและพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษที่ เหมาะสมตามวัยวุฒิของกลุมผูเขารับการฝกอบรม รวมทั้งสงเสริมใหเยาวชนใชเวลาวางในชวงปดภาคเรียน ใหเปนประโยชน ทรู จัดโครงการ 5K &10K การแขงขันลดน้ําหนัก เพื่อลดภาวะเสี่ยงตอการเปนโรคเรื้อรัง รณรงค ใหพนักงานทรูเห็นความสําคัญของการดูแลสุขภาพ โดยจัดการอบรมความรูเกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพและ การออกกําลังกายอยางถูกวิธี รวมทั้งจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพอื่นๆ อยางตอเนื่องตลอดป 2553

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 30


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.5 การดูแลเรื่องการใชขอ มูลภายใน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสําคัญของการปองกันการนําขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนเปนอยางยิ่ง บริษัทฯ มีการกํากับดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดยกําหนด ขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการใชขอมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยไวในคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการ ทํางานควบคูกับการใชมาตรการตามกฎหมายในการดูแลกรรมการและผูบริหารในการนําขอมูลภายในของ บริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนและผูที่เกี่ยวของ ปองกันมิใหกรรมการและผูบริหารที่มีสวนใกลชิด กับขอมูลของบริษัทฯ นําขอมูลภายในที่ตนลวงรูมาจากการเปนกรรมการและผูบริหารไปแสวงหาประโยชน ใดๆ อันจะเปนการฝาฝนหนาที่ความรับผิดชอบของตนที่มีตอบริษัทฯ และผูถือหุน จึงกําหนดเปนหลัก ใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศที่สําคัญที่ยังไมไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะกรรมการและผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัทฯ กรรมการและผูบริหารตองรายงานตอสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) ภายใน 3 วันทําการนับแตวันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้งสงสํ า เนารายงานดัง กลาว จํ า นวน 1 ชุด ใหกับบริษั ท ฯ เพื่ อเก็ บ เป น หลัก ฐานและรายงานต อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจํา ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวา กรรมการและผูบริหารสามารถบริหารและ ดําเนินกิจการดวยความซื่อสัตยสุจริต โปรงใส และสอดคลองกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และยังมีสวนชวยใหผูถือหุนตลอดจนผูลงทุนทั่วไปเกิดความเชื่อมั่นในกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ 8.6 บุคลากร จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 แบงแยกตามกลุมงานมีดังนี้ กลุมงาน

จํานวนพนักงาน (คน)

พนักงานในระดับบริหาร ปฏิบัติการโครงขาย และ บํารุงรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการลูกคา การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน

80 1,282 817 114 338 190 280 3,101

ที่มา : บริษัทฯ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 31


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาตอบแทน และผลประโยชนของพนักงาน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน y เงินเดือน y เงิ น ตอบแทนการปฏิ บั ติ ง านประจํ า ป ในอั ต รา 0-4 เท า ของเงิ น เดื อ นพนั ก งาน ขึ้ น อยู กั บ ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริษัทฯ y กรณี เกษี ยณอายุ พนั กงานที่ จะมี อายุ ครบ 60 ป บริ บู รณ หรื อในกรณี ที่ บริ ษั ทฯ และพนั กงาน เห็นพองตองกันอาจใหพนักงานเกษียณอายุกอนกําหนดได โดยพนักงานจะไดรับคาชดเชย การเกษียณอายุตามกฎหมาย ในป 2553 สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2553 ค า ตอบแทนพนั ก งานรวมทั้ ง สิ้ น ประมาณ 2,203.07 ลานบาท โดยประกอบดวย คาแรง เงินเดือน เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุน สํารองเลี้ยงชีพและอื่นๆ คาตอบแทนอืน่ y

y

สวนที่ 1

แผนประกันสุขภาพและสวัสดิการพนักงาน - หองพยาบาลของบริษัทฯ - การตรวจสุขภาพประจําป - การตรวจรางกายพนักงานใหม - การประกันสุขภาพกลุม - การประกันอุบัติเหตุกลุม - การประกันชีวติ กลุม - กองทุนประกันสังคม - กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ วันหยุดพักผอนประจําป พนักงานของบริษัทฯ มีสิทธิหยุดพักผอนประจําป 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทํางาน ขึ้นอยูกับ ระดับตําแหนงและอายุการทํางาน ดังนี้ - พนักงานระดับผูชวยผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป มีสิทธิหยุดพักผอน ปละ 15 วันทํางาน - พนักงานระดับผูจัดการหรือเทียบเทาลงมา มีสิทธิหยุดพักผอนประจําป ตามอายุงานดังนี้ - พนทดลองงาน แตไมถึง 3 ป 10 วันทํางาน - อายุงาน 3 ป แตไมถึง 5 ป 12 วันทํางาน - อายุงานตั้งแต 5 ปขึ้นไป 15 วันทํางาน

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 32


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ ใหความสําคัญตอการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน จึงไดมีการจัดตั้งหนวยงานที่ดูแล ในเรื่องนี้โดยเฉพาะ คือ ศูนยฝกอบรมและการพัฒนาบุคลากร ซึ่งมีเปาหมายหลักในการพัฒนาความรูความสามารถ ในการเปนพนักงานของบริษัทฯ ความรูความสามารถเหลานี้เปนรากฐานที่สําคัญของการพัฒนาบุคลากร สายงาน และเปนการเปดโอกาสใหพนักงานเกิดความกาวหนาในอาชีพ ศูนยฝกอบรมและพัฒนามีทางเลือก หลากหลายเพื่อการเรียนรู เพื่อการพัฒนาอยางตอเนื่อง ชวยใหพนักงานสามารถปฏิบัติงานลุลวงตามที่ไดรับ มอบหมาย และเตรียมความพรอมใหพนักงานมุงสูเปาหมายในอาชีพการงานของตน ซึ่งการพัฒนาบุคลากรนี้ ในที่สุดก็จะสงผลถึงความแข็งแกรงของการดําเนินกิจการของบริษัทฯ นั่นเอง บทบาทอื่นๆ ที่สําคัญของศูนยฝกอบรมและพัฒนา นอกเหนือจากการเปนผูใหการฝกอบรมและ พัฒนาพนักงานแลว ศูนยฝกอบรมและพัฒนายังเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง และเปนเพื่อนรวมธุรกิจกับ ทุกหนวยงาน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาทําหนาที่ผูนําการเปลี่ยนแปลง โดยการเปนผูอํานวยความสะดวกใน การเปลี่ ย นแปลง ซึ่ ง จะให ก ารสนั บ สนุ น กลยุ ท ธและทิ ศ ทางใหม ๆ ของบริ ษั ท ฯ พร อ มทั้ ง ส ง เสริ ม ให พนักงานทุกคนพรอมที่จะเผชิญกับความทาทายที่มีความสลับซับซอนมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาก็เปนเพื่อนรวมธุ รกิจกับทุกหนวยงาน โดยการ รวมมือกับหนวยงานตางๆ ในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมและพัฒนาที่เหมาะสมกับ แผนธุรกิจของแตละหนวยงาน รวมทั้งใหการสนับสนุนที่จําเปนทุกอยาง ปจจุบันไดจัดทําระบบการเรียนทางไกลผานระบบ MPLS ไปยังพนักงานในตางจังหวัดเพื่อ อํานวยความสะดวกและเพิ่มชองทางการเรียนรูและพัฒนาอยางตอเนื่อง หลั ก สู ต รที่ จั ด ฝ ก อบรมภายในบริ ษั ท ฯ มี ป ระมาณ 300 – 400 หลั ก สู ต รต อ ป ในป 2553 รวมจํานวนคน-วันอบรมได 38,990 Training Mandays ใชงบประมาณรวมทั้งสิ้น 39 ลานบาท โดยจัดใหมี หลักสูตรการฝกอบรมดานความรูความสามารถหลักใหแกพนักงานทุกระดับ เชน วัฒนธรรมองคกร 4Cs การสื่อสารอยางมีประสิทธิผล การวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน การพัฒนาตนเองสูความเปน ผูมีประสิทธิผลสูง เปนตน หลักสูตรการพัฒนาผูบริหาร เชน ทักษะการเปนผูนํา การแกปญหาและการ ตัดสินใจ การบริหารการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิผล เปนตน หลักสูตรการฝกอบรมดานความรูความสามารถ ตามธุรกิจหลัก และเทคโนโลยีใหมๆ เชน 3G Technology, GPRS & EDGE, Broadband Network, NGN Network, VOIP Technology รวมทั้งหลักสูตรความปลอดภัยในการทํางานสําหรับชางเทคนิคและวิศวกร หลักสูตรพัฒนาทักษะดานการขายและการใหบริการลูกคาสําหรับพนักงานขาย เจาหนาที่บริการลูกคาและ ทีมงานชางเทคนิคตางๆ เชน True Product & Services ทักษะการใหบริการอยางมืออาชีพ บุคลิกภาพในงาน บริการ และหลักสูตรดาน IT ทั้งที่เปนระบบใหบริการลูกคาและระบบสนับสนุนทั้งหลายในบริษัทฯ เปนตน นอกจากนี้ไดใหความรวมมือกับภาครัฐในการจัดการเรียนการสอนดาน ICT และเทคโนโลยีที่ เกี่ยวของแกนักศึกษารวมทั้งการฝกงานแกนักศึกษาทุกปซึ่งเปน Corporate Social Responsibility ที่สราง คุณคาตอสังคมและประเทศชาติ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 33


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9. การควบคุมภายใน จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษัท รวมกั บ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอและ เหมาะสม และผูสอบบัญชีของบริษัทฯ มิไดพบสถานการณใดๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ที่เปนจุดออนที่มีสาระสําคัญอันอาจมีผลกระทบที่เปนสาระสําคัญตองบการเงิน นอกจากนี้ คณะกรรมการ ไดเนนใหมีการพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการเพื่อใหระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง

สวนที่ 1

TRUETM: การควบคุมภายใน

หัวขอที่ 9

-

หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10. รายการระหวางกัน ก. ในระหวางป พ.ศ. 2553 บริษัทฯ มีรายการคาระหวางกันกับ บริษัทยอย บริษัทรวม กิจการรวมคาและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ตามที่ไดมีการเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 (หมายเหตุขอ 40) โดยรายการระหวางกันของบริษัทฯ และบริษัทยอยที่มีกับบริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของกันที่สําคัญ สามารถสรุปไดดังนี้: ชื่อบริษัท 1. ผูทํารายการ : บริษัทฯ 1.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัทฯ

ขาย : - ใหบริการในการรับแลกเหรียญและ บริการอื่น ซื้อ : - จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการ อื่นที่เกี่ยวของ

- จายคาพัฒนาระบบจัดซื้อ - จายคาบริการอื่น

1.2

สวนที่ 1

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

NEC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยออมอยูรอยละ 9.62 และมี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายชัชวาล เจียรวนนท

ซื้อ : - จายคาซอมบํารุงรักษาโครงขาย

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

5,140 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 9,533 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไป โดยมีอัตราคาเชาอยูในอัตราระหวาง 200 - 220 บาทตอตาราง เมตรตอเดือน และอัตราคาบริการอยูระหวาง 220 - 520 บาทตอ ตารางเมตรตอเดือน ซึ่งสัญญาเชาอาคารสํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 2,000 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 32,349 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

124 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 1.3

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยออมอยูรอยละ 70.00 มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

ลักษณะรายการ ขาย : - ขายสินคาและบริการที่เกี่ยวของกับ โทรศัพทพื้นฐาน ซื้อ : - จายคาบริการเชาเซิฟเวอรอินเทอรเน็ต

- จายคาบริการอื่น 1.4

1.5

สวนที่ 1

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด (Bboyd)

AI เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออม ขาย : อยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธกัน - ขายสินคาและบริการที่เกี่ยวของกับ โดยมีกรรมการรวมกัน คือ โทรศัพทพื้นฐาน นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน ซื้อ : - สวนลดคาบริการ

Bboyd เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยออมอยูรอยละ 70.00 มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท

ซื้อ : - ซื้อลิขสิทธิ์เพลง

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

264 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 2,918 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาทีร่ าคา 810,536.60 บาทตอ เดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 4,916 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 32 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

(593) - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

1,623 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

หัวขอที่ 10 – หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

2. ผูทํารายการ : กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (BITCO) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงและโดยออมรวมรอยละ 98.91) 2.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ - ขายโทรศัพทมือถือและอุปกรณ บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 96.44 ที่เกี่ยวของ และโดยออมอยูรอยละ 2.47 - ขายบัตรเติมเงิน

ซื้อ : - จายคาเชาสํานักงานและบริการ ที่เกี่ยวของ - คาคอมมิชชั่นจากการขายบัตรเติมเงิน และอื่นๆ - จายคาบริการอื่น 2.2

สวนที่ 1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 96.44 และ โดยออมอยูรอยละ 2.47 และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู รอยละ 70.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ขาย : - ใหบริการอื่นๆ

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

11,256 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทยอยของ BITCO ใหบริการ ลูกคาทั่วไป 2,035,710 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทยอยของ BITCO ใหบริการ ลูกคาทั่วไป 33,896 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาทีร่ าคา 816,998 บาทตอ เดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 76,585 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 103,100 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 46 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

หัวขอที่ 10 – หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 2.3

ลักษณะความสัมพันธ

BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 96.44 และ โดยออมอยูรอยละ 2.47 และ Bboyd เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู รอยละ 70.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท 2.4 บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE) NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 40.00 และ BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 96.44 และโดยออม อยูรอยละ 2.47 มีความสัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท 3. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 91.08) 3.1 บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI) TM และ AI เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08 และ 65.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายธัช บุษฎีกานต

สวนที่ 1

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด (Bboyd)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะรายการ ซื้อ : - Content

ซื้อ : - Content

ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

2,299 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

1,901 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

(7,977) - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

หัวขอที่ 10 – หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

3.2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ

กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัทฯ และ TM เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08

ลักษณะรายการ ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซื้อ : - จายคาบริการอื่น

4. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) 4.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TI เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ใหบริการอินเทอรเน็ต ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 ซื้อ : - จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการ อื่น

4.2

4.3

สวนที่ 1

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

TI เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรง อยูรอยละ 99.99 และ AI เปนบริษัทที่ บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 65.00 TI เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรง อยูรอยละ 99.99 และ TIDC เปนบริษัท ที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00

ซื้อ : - จายคา Corporate internet services

ขาย : - ใหบริการอินเทอรเน็ต ซื้อ : - จายคาบริการเชาเซิฟเวอรอินเทอรเน็ต

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

3,129 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 353 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

8,883 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป 22,054 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 149,688 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญาเชา อาคารสํานักงานมีอายุปตอป และมีสทิ ธิจะตออายุสัญญาเชา

141,159 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

2,748 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป 22,840 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 4.4

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

TI และ NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ ขาย : - ใหบริการอินเทอรเน็ต ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99 และ รอยละ 40.00 ตามลําดับ มีความ สัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท 5. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) 5.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TP เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99

5.3

สวนที่ 1

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 5.2

ป 2553 (พันบาท)

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

TP เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออม ขาย : อยูรอยละ 99.99 และ NC TRUE เปน - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 40.00 TP และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 และ 70.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

ขาย : - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น

TRUETN: รายการระหวางกัน

2,666 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป

10,336 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา 1,956 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 5,556 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา 6,492 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการ สํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

หัวขอที่ 10 – หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

6. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด (TLS) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ (CPG) บริษัทฯ และ TLS เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 99.99

ลักษณะรายการ ขาย : - ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่น

7. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด (TLP) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงและโดยออมรวมรอยละ 99.99) 7.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TLP เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาเชาสํานักงานและบริการอื่น ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 57.38 และ โดยออมอยูรอยละ 42.61 7.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ซื้อ : เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) ออมอยูรอยละ 70.00 และ TLP เปน - จายคาเชาเซิฟเวอร อินเทอรเน็ต บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 57.38 และโดยออมอยูรอยละ 42.61 8. ผูทํารายการ : บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) 8.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ AWC เปนบริษัททีบ่ ริษัทฯ - จายคาบริการอื่น ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 - จายเงินซื้อโทรศัพท 8.2

สวนที่ 1

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

AWC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 99.99 และ NEC เปน บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู รอยละ 9.62

ซื้อ : - จายคาซอมบํารุงรักษาโครงขาย

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

305,484 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดใน ระยะเวลาตางกัน

5,773 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

1,449 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

672 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 37,211 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 3,533 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

9. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 70.00) บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE) TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ขาย : ออมอยูรอยละ 70.00 และ NC TRUE - ใหบริการเชาเซิฟเวอรอินเทอรเน็ต เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยู และบริการอื่น รอยละ 40.00 10. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด (TLR) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TLR เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาบริการอื่น ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 - ซื้อสินคา 11. ผูทํารายการ : กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด (TVG) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) 11.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TVG เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ไดรับเงินสนับสนุนรวมกิจกรรม ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 ซื้อ : - จายคาบริการอื่น 11.2

สวนที่ 1

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด (Channel V)

TVG เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99 และ Channel V เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวน ไดเสียอยูรอยละ 25.63

ซื้อ : - จายคาผลิตรายการเพลง

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

3,440 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญา โดยมีอัตรา 54,000 บาทตอหนวยตอเดือน สัญญาเชามีอายุ 1 ป

1,752 - เปนการดําเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป 12,535 - เปนการดําเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป

115,078 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ TVG ใหบริการลูกคาทั่วไป - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน 16,632 ทางการคาปกติ

45,903 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

12. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ทัช จํากัด (TT) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ (CPG) บริษัทฯ และ บริษัทฯ ถือหุน TT โดยออมอยูรอยละ 99.99

ลักษณะรายการ ขาย : - บริการ call center ซื้อ : - จายคาเชาสํานักงานและบริการอื่น

13. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด (TMN) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงและโดยออมรอยละ 99.99) 13.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TMN เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาคอมมิชชั่นจากการขาย ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 49.00 และ บัตรเติมเงิน โดยออมอยูรอยละ 51.00 13.2 บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE) TMN เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ขาย : โดยตรงอยูรอยละ 49.00 และโดยออม - ใหบริการตัวแทนชําระคาบริการ อยูรอยละ 51.00 และ NC TRUE เปน บริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยู รอยละ 40.00 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข 13.3 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา TMN เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ซื้อ : เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) โดยตรงอยูรอยละ 49.00 และโดยออม - จายคาบริการอินเทอรเน็ต อยูรอยละ 51.00 และ TIDC เปนบริษัท ที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

2,205 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 22,157 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

514,802 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

47,368 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TMN ใหบริการลูกคาทั่วไป

1,116 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

14. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด (TIG) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) 14.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และบริษัทฯ ถือหุน TIG - จายคาเชาอาคารและบริการอื่น โดยตรงอยูรอยละ 99.99 14.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา TIG เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ซื้อ : เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) โดยตรงอยูรอยละ 99.99 และ TIDC - จายคาเชาเซิฟเวอรอินเทอรเน็ต และบริการอื่น เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู รอยละ 70.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย 15. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (TPC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 99.99) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และบริษัทฯ ถือหุน TPC - จายคาบริการอื่นๆ โดยตรงอยูรอยละ 99.99 16. ผูทํารายการ : บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 87.50) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และบริษัทฯถือหุน WW - ขายอุปกรณตางๆ โดยตรงอยูรอยละ 87.50 - ใหบริการติดตั้งอุปกรณ ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

1,771 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 4,041 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

8,570 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

1,730 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ WW ใหบริการลูกคาทั่วไป 1,213 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ WW ใหบริการลูกคาทั่วไป 2,180 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

17. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (TUC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงและโดยออมรอยละ 99.99) 17.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TUC เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 0.09 และ โดยออมอยูรอยละ 99.90 ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 17.2

TUC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ขาย : โดยตรงอยูรอยละ 0.09 และโดยออม - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง อยูรอยละ 99.90 และ TIDC เปนบริษัท ที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ ซื้อ : 70.00 มีความสัมพันธกันโดยมี - จายคาบริการอื่นๆ กรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท 18. ผูทํารายการ : บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด (KSC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 56.83) 18.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ KSC เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาบริการอื่นๆ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 56.83 18.2

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

KSC และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 56.83 และ 70.00 ตามลําดับ

ขาย : - ใหบริการอินเตอรเน็ต ซื้อ : - จายคาบริการอินเทอรเน็ต และ คาบริการอื่นๆ

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

90,488 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 5,744 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ 2,450 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 1,076 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

1,288 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

259 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 5,486 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

19. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด (TDCM) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 90.00) 19.1 บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด TDCM เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ขาย : (NC TRUE) โดยออมอยูรอยละ 90.00 และ NC - คาโฆษณา TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวนได เสียอยูรอยละ 40.00 มีความสัมพันธกนั ซื้อ : โดยมีกรรมการรวมกัน คือ - คา content นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข 19.2 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TDCM เปนบริษัทที่ - ขายสินคา บริษัทฯถือหุนโดยออมอยูรอยละ 90.00 - คาโฆษณา ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 19.3

TDCM และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ซื้อ : ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 90.00 และ - จายคาบริการอินเตอรเน็ต และ คาบริการอื่นๆ 70.00 ตามลําดับ 20. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด (TDP) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 100) 20.1 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา TDP และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ซื้อ : เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00 และ - จายคาบริการอินเตอรเน็ต และ 70.00 ตามลําดับ คาบริการอื่นๆ

สวนที่ 1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

32,423 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 1,927 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ 8,798 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 2,403 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 4,772 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ 1,362 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

6,809 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 20.2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

TDP เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ซื้อ : ออมอยูรอยละ 100.00 และ NC TRUE - คา content เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวนไดเสียอยู รอยละ 40.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข 21. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (TIT) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 99.99) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TIT เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาบริการอื่นๆ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.99

สวนที่ 1

บริษัท เอ็น ซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2553 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

7,073 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

7,989 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 – หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ข. ยอดคางชําระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ มีดังนี้ หนวย : พันบาท บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

31,316

(11,203)

20,113

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

13,336

(10,048)

3,288

1

1

2

6,391

29,884

36,275

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ รวม

165

-

165

484,427

464,005

948,432

535,636

472,639

1,008,275

ค. ยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ มีดังนี้ หนวย : พันบาท บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

59,462

(55,754)

3,708

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

16,202

(1,206)

14,996

148

2,889

3,037

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

24,773

84,041

108,814

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด

-

3,951

3,951

กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ

20,246

10,872

31,118

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด

35

10

45

บริษัท Kreditanstalt für Wiederaufbau (“KfW”)

195

(195)

121,061

44,608

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด

รวม

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

165,669

หวัขอที่ 10 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ง. ยอดคงเหลือเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกีย่ วของกัน การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกีย่ วของกัน มีดังนี้

หนวย : พันบาท

บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 -

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด รวม

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

3,500

3,500

7,500

900

8,400

7,500

4,400

11,900

จ. ยอดคงเหลือเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกีย่ วของกัน มีดังนี้

หนวย : พันบาท

บริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท Kreditanstalt für Wiederaufbau (“KfW”)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 2,046,918

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

(1,254,108)

792,810

เงินกูยืมขางตน เปนเงินกูยืมจาก Kreditanstalt für Wiederaufbau (“KfW”) เงินกูยืมดังกลาวมีสิทธิเทาเทียม กับเจาหนี้ที่มีหลักประกันรายอื่น และมีดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมระหวางธนาคารของสหราชอาณาจักร อังกฤษ (“LIBOR”) บวกอัตรารอยละคงที่ตอป เงินกูยืมดังกลาวค้ําประกันโดยสินทรัพยตางๆ ซึ่งกําหนด ชําระคืนเงินกูยืมงวดแรกในเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 และงวดสุดทายกําหนดชําระคืนในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ดอกเบี้ ยจ ายสํ าหรั บป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เป นจํ านวนเงิน 28.05 ลานบาท นับตั้งแตวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เมื่อการซื้อขายหุนระหวาง KfW และ CPG เสร็จสิ้นลง KfW จึงไมเปน บุคคลที่เกี่ยวของกันอีกตอไป ฉ. ภาระผูกพันระหวางบริษัทฯ กับบริษัทยอย บริษัทฯ มีภาระผูกพันในการใหการสนับสนุนแกบริษัทยอย คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“ทรูมูฟ”) ตามสัญญาเงินกูที่ทรูมูฟทํากับกลุมเจาหนี้ ดังนี้ 1. ใหการสนับสนุนการชําระเงินใหแกหนวยงานของรัฐอันเนื่องมาจากสัญญาอนุญาตให ดําเนินการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในกรณี ที่ กระแสเงิ นสดของทรู มู ฟไม เพี ยงพอสํ าหรั บการดํ าเนิ นงานอั นเนื่ องมาจากการ ที่ตองชําระเงินใหแกคูสัญญาผูใหอนุญาต บริษัทฯ จะใหการสนับสนุนทางการเงินเปนรายไตรมาส สํ า หรั บ จํ านวนเงิ นส วนที่ ไม เพี ยงพออั นเกิ ดจากการที่ ต องชํ าระให แก คู สั ญญาอนุ ญาตให ดํ าเนิ นการ โทรศัพทเคลื่อนที่ สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

หวัขอที่ 10 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ใหการสนับสนุนสําหรับการดําเนินงานโดยทัว่ ไป ในกรณีที่กระแสเงินสดของทรูมูฟไมเพียงพอที่จะนํามาใชในการดําเนินงานหรือชําระหนี้ ภายใตสัญญาที่มีกับกลุมเจาหนี้ บริษัทฯ จะใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ ไมเกิน 7,000 ลานบาท ภายใตเงื่อนไขของสัญญา บริษัทฯ และผูมีสวนเกี่ยวของตองปฏิบัติตามที่ระบุไวในสัญญา ดังกลาว การใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ จะตองเปนไปตามรูปแบบตามที่ไดระบุไวในสัญญา มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน บริษัทฯ มีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันตามที่กฎหมาย และ ขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนรวมทั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดกาํ หนดไว โดยบริษทั ฯ ไดนํากฎหมายและขอกําหนดดังกลาวมาจัดทําเปน “ระเบียบในการเขาทํารายการระหวางกัน” ไวอยางชัดเจน เพื่อใหกรรมการและพนักงานไดยึดถือและปฏิบัติอยางถูกตอง ภายใตระเบียบในการเขาทํารายการระหวางกัน ของบริษัทฯ ไดกําหนดมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการเขาทํารายการระหวางกันไวดังนี้ 1. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ฝายจัดการสามารถอนุมัติการเขาทํารายการได โดยไมตอง ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ ภายใตวัตถุประสงค ของมาตรา 89/12 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 รายการที่เปนขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป “ขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป” หมายถึง ขอตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับที่ วิญูชนจะพึงกระทํากับคูสัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกัน ดวยอํานาจตอรอง ทางการคาที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเปนกรรมการ ผูบริห าร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของ แลวแตกรณี ซึ่งรวมถึงขอตกลงทางการคาที่มีราคาและ เงื่อนไข หรือ อัตรากําไรขั้นตน ดังตอไปนี้ (ก) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอยไดรับหรือใหกับบุคคลทั่วไป (ข) ราคาและเงื่อนไขที่ กรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของใหกับ บุคคลทั่วไป (ค) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอย สามารถแสดงไดวาผูประกอบ ธุรกิจในลักษณะทํานองเดียวกันใหกับบุคคลทั่วไป

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

หวัขอที่ 10 - หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(ง) ในกรณีที่ไมสามารถเปรียบเทียบราคาของสินคาหรือบริการได เนื่องจากสินคา หรือบริการที่เกี่ยวของนั้นมีลักษณะเฉพาะ หรือมีการสั่งทําตามความตองการ โดยเฉพาะ แตบริษัทฯ หรือบริษัทยอยสามารถแสดงไดวาอัตรากําไรขั้นตนที่ บริษัทฯ หรือบริษัทยอยไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับคูคาอื่น หรื อ อัต รากํ า ไรขั้ น ต น ที่ก รรมการ ผู บริ ห าร หรื อ บุค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ ง ไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับคูคาอื่น และมีเงื่อนไข หรือขอตกลงอื่นๆ ไมแตกตางกัน 1.2 การใหกูยืมเงินตามระเบียบสงเคราะหพนักงานและลูกจาง 1.3 รายการที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งของบริษัทฯ หรือ คูสัญญาทั้งสองฝายมีสถานะเปน (ก) บริษัทยอยที่บริษัทฯ เปนผูถือหุนไมนอยกวารอยละเกาสิบของหุนที่จําหนาย ไดแลวทั้งหมดของบริษัทยอย หรือ (ข) บริ ษั ท ย อ ยที่ ก รรมการ ผู บ ริ ห าร หรื อ บุ ค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งถื อ หุ น หรื อ มีสวนไดเสียอยูดวย ไมวาโดยตรงหรือโดยออม ไมเกินจํานวน อัตรา หรือมี ลักษณะตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด 1.4 รายการในประเภทหรือที่มีมูลคาไมเกินจํานวนหรืออัตราที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ประกาศกําหนด 2. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ไมตองขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ แตตอง ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2.1 รายการตามขอ 1 ซึ่งตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ภายใตระเบียบวิธี ปฏิบัติภายในอื่นที่เกี่ยวของ เชน ระเบียบวิธีปฏิบัติดานงบประมาณ เปนตน 2.2 รายการตามขอ 1.3 (ข) หรือ 1.4 ที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน อาจกําหนดใหตอง ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ดวย ตามที่จะไดมีการประกาศกําหนดตอไป 3. รายการระหวางกันที่นอกเหนือจากขอ 1 และ 2 ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ กอนการเขาทํารายการ นโยบายและแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต สําหรับแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคตนั้น อาจจะยังคงมีอยูในสวนที่เปนการ ดําเนินธุรกิจตามปกติระหวางบริษัทฯ กับบริษัทยอยของบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ จะดําเนินการดวยความโปรงใส ตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และปฏิบัติตามขอกําหนดที่เกี่ยวของอยางเครงครัด

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

หวัขอที่ 10 - หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.1 ตารางสรุปงบการเงินรวม บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553, พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Common Size (%)

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา – สุทธิ เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ - สุทธิ ภาษีหัก ณ ที่จาย ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน

4,540,535 1,168,321 426,230 8,528,937 11,900 997,332 2,448,598 670,026 3,307,014 22,098,893

3.94 1.02 0.37 7.41 0.01 0.87 2.13 0.58 2.87 19.20

4,916,296 1,347,635 85,420 8,347,318 7,500 746,541 2,252,536 662,905 2,190,899 20,557,050

4.22 1.16 0.07 7.17 0.01 0.64 1.94 0.57 1.88 17.66

4,356,596 1,400,795 796,296 7,991,746 31,880 898,423 2,057,650 780,049 2,019,192 20,332,627

3.69 1.19 0.67 6.77 0.03 0.76 1.74 0.66 1.71 17.22

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินลงทุนในบริษัทรวม - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทอื่น - สุทธิ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ คาความนิยม - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

140,412 90,029 293,323 53,357 65,368,130 12,428,009 5,119,317 8,530,571 899,965 92,923,113

0.12 0.08 0.26 0.05 56.83 10.81 4.45 7.42 0.78 80.80

144,481 49,623 292,923 55,981 68,692,548 12,428,009 5,340,454 8,224,358 635,562 95,863,939

0.12 0.04 0.25 0.05 59.00 10.68 4.59 7.06 0.55 82.34

157,013 53,516 292,923 56,654 71,380,078 12,380,696 3,556,630 9,248,377 565,575 97,691,462

0.13 0.05 0.25 0.05 60.48 10.49 3.01 7.84 0.48 82.78

115,022,006

100.00

116,420,989

100.00

118,024,089

100.00

625,925 6,998,175

0.54 6.08

2,330,000 7,126,491

2.00 6.13

2,130,000 7,964,679

1.80 6.76

7,170,770 3,036,250 7,683,956 346,045 4,088,037 29,949,158

6.24 2.64 6.69 0.30 3.55 26.04

7,676,895 2,941,097 7,766,848 560,404 3,020,483 31,422,218

6.59 2.53 6.67 0.48 2.59 26.99

9,870,756 2,669,560 7,438,072 506,911 2,684,830 33,264,808

8.36 2.26 6.30 0.43 2.27 28.18

64,675,353 1,638,715 4,123,452 2,165,534 72,603,054 102,552,212

56.23 1.43 3.58 1.88 63.12 89.16

65,421,889 2,079,807 74,590 4,482,285 2,297,765 74,356,336 105,778,554

56.20 1.79 0.06 3.85 1.97 63.87 90.86

70,645,861 2,074,255 359,772 2,503,905 2,555,426 78,139,219 111,404,027

59.86 1.76 0.30 2.12 2.17 66.21 94.39

รวมสินทรัพย หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น เจาหนี้การคา สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของ เงินกูยืมระยะยาว รายไดรอการรับรู คาใชจายคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี เจาหนี้การคาระยะยาว หนี้สินภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุน หุนสามัญ สวนต่ํากวามูลคาหุน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ สวนเกิน(ลด)ทุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน กําไร(ขาดทุน)สะสม จัดสรรแลว-สํารองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม รวมสวนของผูถือหุน บริษัทใหญ สวนของผูถือหุนสวนนอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

สวนที่ 1

153,332,070

6,993,340 146,338,731

6,993,340 146,338,731

77,757,424

67.59

6,993,340 70,764,084

6.01 60.77

6,993,340 38,038,452

5.93 32.23

11,432,046

9.94

11,432,046

9.82

11,432,046

9.69

(31,827,900) (1,522,948) 104,258

(27.67) (1.32) 0.09

(1,492,776) (30,335,124) (1,498,438) 104,219

(1.28) (26.05) (1.29) 0.09

(1,492,776) (3,988,926) 1,604,322 104,344

(1.27) (3.38) 1.36 0.09

34,881 (44,084,442) 11,893,319 576,475 12,469,794 115,022,006

0.03 (38.32) 10.34 0.50 10.84 100.00

34,881 (46,043,332) 9,958,900 683,535 10,642,435 116,420,989

0.03 (39.54) 8.56 0.58 9.14 100.00

34,881 (47,270,916) 5,454,767 1,165,295 6,620,062 118,024,089

0.03 (40.06) 4.62 0.99 5.61 100.00

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปส้นิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553, พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Common Size (%)

รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น รายไดจากการขายสินคา รวมรายได

59,062,426 3,316,041 62,378,467

94.68 5.32 100.00

59,670,658 2,803,595 62,474,253

95.51 4.49 100.00

60,094,289 1,171,055 61,265,344

98.09 1.91 100.00

ตนทุนขายและการใหบริการ ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขาย ตนทุนขายและการใหบริการ

39,975,779 2,903,936 42,879,715

64.09 4.66 68.75

39,660,758 2,537,891 42,198,649

63.48 4.06 67.54

41,229,181 1,174,507 42,403,688

67.30 1.92 69.22

กําไรขั้นตน รายไดอื่น กําไรกอนคาใชจาย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร คาใชจายอื่น รวมคาใชจาย กําไรจากการดําเนินงาน สวนแบงกําไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน - สุทธิ กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได รายไดภาษีเงินได(คาใชจาย) กําไร(ขาดทุน)สุทธิสําหรับป

19,498,752 580,426 20,079,178 4,466,128 7,680,661 212,336 447,849 12,806,974 7,272,204 40,405 7,312,609 (5,632,766) 1,679,843 176,999 1,856,842

31.25 0.93 32.18 7.16 12.31 0.34 0.72 20.53 11.65 0.06 11.71 (9.03) 2.68 0.28 2.96

20,275,604 356,321 20,631,925 3,932,582 7,400,106 190,842 323,140 11,846,670 8,785,255 (773) 8,784,482 (5,639,170) 3,145,312 (1,934,216) 1,211,096

32.46 0.57 33.03 6.29 11.85 0.31 0.52 18.97 14.06 14.06 (9.03) 5.03 (3.10) 1.93

18,861,656 583,023 19,444,679 4,154,015 7,134,005 189,412 436,484 11,913,916 7,530,763 (10,204) 7,520,559 (9,927,801) (2,407,242) (977,932) (3,385,174)

30.78 0.95 31.73 6.78 11.64 0.31 0.71 19.44 12.29 (0.02) 12.27 (16.20) (3.93) (1.60) (5.53)

1,958,889 (102,047) 1,856,842

105.50 (5.50) 100.00

1,227,584 (16,488) 1,211,096

101.36 (1.36) 100.00

(2,355,191) (1,029,983) (3,385,174)

69.57 30.43 100.00

การปนสวนกําไร(ขาดทุน) สวนที่เปนของบริษัท สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐานและลดลงเต็มที่สวนที่เปนของบริษัท กําไร(ขาดทุน)ขั้นพื้นฐาน กําไรปรับลด

สวนที่ 1

0.28 0.27

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

0.18 0.16

(0.66) -

หัวขอที่ 11 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษทั ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปส้นิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553, พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย กําไรจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ หนี้สงสัยจะสูญ การดอยคาของสินทรัพย สินทรัพยและหนี้สินในการดําเนินงานอื่นตัดจําหนาย กําไรจากการเลิกกิจการของบริษัทยอย (กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวกับการจายชําระคืนเงินกูยืม สวนแบงผล(กําไร)ขาดทุนของบริษัทรวม การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน - ลูกหนี้การคา - เงินลงทุนชั่วคราว - สินคาคงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - เงินลงทุนในคาสิทธิสําหรับรายการภาพยนตร - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - เจาหนี้การคา - คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น - หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน บวก เงินสดรับ - ดอกเบี้ยรับ หัก เงินสดจาย - ดอกเบี้ยจาย เงินสดจาย - ภาษีเงินได เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดที่มีภาระผูกพันลดลง(เพิ่มขึ้น) เงินสด(จาย)รับจากเงินลงทุนชั่วคราว เงินใหกูยืมแกบริษัทยอยและกิจการรวมคา เงินสดรับจากการซื้อบริษัทยอย - สุทธิจากเงินที่จายซื้อ เงินสดรับจากการชําระบัญชีบริษัทยอย เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนระยะยาวในบริษัทอื่น เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากเงินใหกูยืมแกบริษัทยอยและกิจการรวมคา เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน เงินปนผลรับ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากการออกหุนสามัญ เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยโดยผูถือหุนสวนนอย เงินปนผลจายใหผูถือหุนสวนนอย สวนของผูถือหุนสวนนอยจากการเลิกกิจการของบริษัทยอย เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยโดยการซื้อหุนจากผูถือหุนสวนนอย เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากเงินกูยืม - สุทธิจากเงินสดจายคาตนทุนการกูยืม เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืม เงินสดสุทธิใชไปจากในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด(ลดลง)เพิ่มขึ้นสุทธิ ยอดยกมาตนป ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ยอดคงเหลือสิ้นป สวนที่ 1

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

1,679,843

3,145,312

(2,407,242)

12,988,895 (59,727) 6,099,582 (175,767) 1,235,140 49,967 (13,062) (873) (2,520,654) 924,783 (40,406)

12,536,768 (86,348) 6,879,581 (165,435) 1,034,664 64,868 2,281 (1,906,371) 38,607 773

12,784,828 (120,224) 6,953,123 (118,649) 894,446 114,194 27,315 2,889,284 3,663 10,204

(1,416,330) (23,179) (896,769) 340,306 (1,465,746) (264,404) (198,377) 454,047 (169,450) 16,527,819 52,536 (5,539,827) (1,771,977) 9,268,551

(1,347,720) 120,907 (735,469) 541,439 (1,386,740) (82,714) (951,303) 162,121 (294,893) 17,570,328 84,409 (6,333,838) (1,876,883) 9,444,016

3,798,545 71,853 (1,621,793) 995,410 (1,314,838) (35,940) (3,062,937) (253,440) 398,701 20,006,503 131,283 (6,358,064) (1,886,194) 11,893,528

169,755 (317,631) (4,400) 1,572 (400) (7,154,361) (328,325) 696,880 (6,936,910)

69,491 589,969 (1,500) 27,092 (3,540,000) (5,078,424) (210,578) 562,493 3,120 (7,578,337)

(112,686) (448,391) (6,000) (45,700) (63,039) (6,779,363) (503,244) 3,000 454,400 (7,501,023)

6,001 (35,513) 2,901,233 15,982,188 (4,605,308) (16,955,424) (2,706,823) (375,182) 4,916,296 (579) 4,540,535

6,379,435 61 (25,977) 3,400,000 13,511,671 (3,200,000) (21,371,461) (1,306,271) 559,408 4,356,596 292 4,916,296

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

39 (43,504) (2,050) 3,140,000 43,708 (2,461,400) (5,732,164) (5,055,371) (662,866) 5,019,383 79 4,356,596 หัวขอที่ 11 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อัตราสวนทางการเงิน บริษัท ทรู คอรปอเรชัน ่ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 2553

2552

2551

อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios) อัตราสวนสภาพคลอง

เทา

0.74

0.65

0.61

อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว

เทา

0.49

0.47

0.44

เทา

7.39

7.65

5.93

อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการใชสน ิ ทรัพย (Activity Ratios) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย

วัน

49.37

47.73

61.59

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย*

วัน

23.72

25.18

36.47

51.31

47.34

*ไมนับรวมลูกหนี้องคการโทรศัพทซึ่งลูกคาไดชําระแลวแตบริษัทยังไมไดรับสวนแบงรายไดจากองคการฯ และรายไดคางรับที่แสดงถึงรายไดที่ยังไมไดสง ใบแจงหนี้ใหลูกคา อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ

เทา

49.18

ระยะเวลาหมุนเวียนของสินคาคงเหลือเฉลี่ย

วัน

7.42

7.11

7.71

อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้การคา

เทา

6.07

5.59

4.04

ระยะเวลาชําระหนี้

วัน

60.12

65.27

90.42

Cash Cycle

วัน

(3.32)

(10.42)

(21.12)

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร

เทา

0.93

0.89

0.84

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย

เทา

0.54

0.53

0.50

เทา

6.04

7.35

14.83

เทา

1.06

1.28

1.08

อัตราสวนทีแ ่ สดงถึงความเสีย ่ งจาการกูยืม (Leverage Ratios) อัตราสวนหนี้สน ิ ตอสวนของผูถ  ือหุน อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย

1/

อัตราสวนแสดงความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios) อัตรากําไรขั้นตน

%

31.26%

32.45%

30.79%

อัตรากําไรสุทธิ

%

3.14%

1.96%

-3.84%

อัตราผลตอบแทนสินทรัพย

%

6.28%

7.49%

6.19%

อัตราผลตอบแทนผูถ  ือหุน

%

17.93%

15.93%

-34.93%

อัตราเงินปนผล

%

-

-

-

มูลคาตามบัญชีตอหุน

บาท

1.60

1.37

1.47

กําไรสุทธิตอหุน

บาท

0.28

0.18

(0.66)

เงินปนผลตอหุน

บาท

-

-

-

สินทรัพยรวม

%

-1.20%

-1.36%

-5.78%

หนี้สน ิ รวม

%

-3.05%

-5.05%

-3.30%

รายไดจากการขายหรือบริการ

%

-0.15%

1.97%

-0.61%

%

3.04%

-0.50%

0.58%

%

53.32%

NM

NM

ขอมูลตอหุน (Per Share Analysis)

อัตราการเติบโต (Growth Ratios)

คาใชจายดําเนินงาน กําไรสุทธิ

1/ 2/

หมายเหตุ : 1/

2/

ในไตรมาส 4 ป 2551 บริษัทไดมีการจัดประเภทบัญชีใหมเพื่อแสดงรายการคาใชจายทางการเงิน และไดมีการปรับปรุงยอนหลัง จากที่เคยเปดเผยครั้งกอน เกี่ยวกับคาใชจายในการขายและบริหาร (คาตัดจําหนายตนทุนการกูยืม) ดอกเบี้ยจาย และรายได (คาใชจาย)อื่น ทั้งนี้ผลการดําเนินงานของป 2550 ไดถูกปรับปรุงเพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงของนโยบายบัญชีดังกลาว เพื่อให สามารถเปรียบเทียบกันได คาเสือ ่ มราคาและคาใชจายตัดจายสําหรับป 2552 ป 2551 และป 2550 ไมรวมคาตัดจําหนายคาสิทธิสาํ หรับรายการและภาพยนตร รอตัดบัญชีของทรูวช ิ ั่นสจํานวน 1,399 ลานบาท 1,372 ลานบาท และ 1,307 ลานบาท ตามลําดับ

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อัตราสวนทางการเงิน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 2553

2552

2551

อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios) อัตราสวนสภาพคลอง

เทา

0.74

0.65

0.61

อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว

เทา

0.49

0.47

0.44

เทา

7.39

7.65

5.93

อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการใชสน ิ ทรัพย (Activity Ratios) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย

วัน

49.37

47.73

61.59

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย*

วัน

23.72

25.18

36.47

*ไมนับรวมลูกหนี้องคการโทรศัพทซึ่งลูกคาไดชําระแลวแตบริษัทยังไมไดรับสวนแบงรายไดจากองคการฯ และรายไดคางรับทีแ ่ สดงถึงรายไดทย ี่ ังไมไดสง ใบแจงหนี้ใหลูกคา อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ

เทา

49.18

51.31

47.34

ระยะเวลาหมุนเวียนของสินคาคงเหลือเฉลี่ย

วัน

7.42

7.11

7.71

อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้การคา

เทา

6.07

5.59

4.04

ระยะเวลาชําระหนี้

วัน

60.12

65.27

90.42

Cash Cycle

วัน

(3.32)

(10.42)

(21.12)

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร

เทา

0.93

0.89

0.84

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย

เทา

0.54

0.53

0.50

เทา

6.04

7.35

14.83

เทา

1.06

1.28

1.08

อัตราสวนที่แสดงถึงความเสีย ่ งจาการกูย  ืม (Leverage Ratios) อัตราสวนหนี้สน ิ ตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย

1/

อัตราสวนแสดงความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios) อัตรากําไรขั้นตน

%

31.26%

32.45%

30.79%

อัตรากําไรสุทธิ

%

3.14%

1.96%

-3.84%

อัตราผลตอบแทนสินทรัพย

%

6.28%

7.49%

6.19%

อัตราผลตอบแทนผูถือหุน

%

17.93%

15.93%

-34.93%

อัตราเงินปนผล

%

-

-

-

ขอมูลตอหุน (Per Share Analysis) มูลคาตามบัญชีตอหุน

บาท

1.60

1.37

1.47

กําไรสุทธิตอหุน

บาท

0.28

0.18

(0.66)

เงินปนผลตอหุน

บาท

-

-

-

สินทรัพยรวม

%

-1.20%

-1.36%

-5.78%

หนี้สน ิ รวม

%

-3.05%

-5.05%

-3.30%

อัตราการเติบโต (Growth Ratios)

รายไดจากการขายหรือบริการ คาใชจายดําเนินงาน กําไรสุทธิ

1/ 2/

%

-0.15%

1.97%

-0.61%

%

3.04%

-0.50%

0.58%

%

53.32%

NM

NM

หมายเหตุ : 1/

2/

ในไตรมาส 4 ป 2551 บริษัทไดมีการจัดประเภทบัญชีใหมเพื่อแสดงรายการคาใชจายทางการเงิน และไดมีการปรับปรุงยอนหลัง จากทีเ่ คยเปดเผยครั้งกอน เกี่ยวกับคาใชจายในการขายและบริหาร (คาตัดจําหนายตนทุนการกูยืม) ดอกเบี้ยจาย และรายได (คาใชจาย)อื่น ทัง้ นี้ผลการดําเนินงานของป 2550 ไดถูกปรับปรุงเพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงของนโยบายบัญชีดังกลาว เพื่อให สามารถเปรียบเทียบกันได คาเสือ ่ มราคาและคาใชจายตัดจายสําหรับป 2552 ป 2551 และป 2550 ไมรวมคาตัดจําหนายคาสิทธิสําหรับรายการและภาพยนตร รอตัดบัญชีของทรูวิชั่นสจํานวน 1,399 ลานบาท 1,372 ลานบาท และ 1,307 ลานบาท ตามลําดับ

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

11.2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

ภาพรวม แมตองเผชิญกับสถานการณการเมืองและสภาพการแขงขันที่ทาทายในชวงครึ่งปแรกของป 2553 แตรายไดจากการใหบริการของกลุมทรูคงที่เมื่อเทียบกับปที่ผานมา โดยรายไดจากบริการบรอดแบนด บริการ ที่ไมใชเสียงของทรูมูฟและรายไดจากการรับทําการโฆษณาของทรูวิชั่นส สามารถชดเชยการลดลงของรายได จากบริการแบบเติมเงินของทรูมูฟ อยางไรก็ตามกลุมทรูมี EBITDA โดยรวมลดลงเนื่องจากคาใชจายดานโครงขาย ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งสามารถชดเชยดวยคา IC สุทธิและกําไรจากการขายสินคาที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนใหญจากการ ขายไอโฟน 4 กลยุทธคอนเวอรเจนซยังคงพัฒนาตอเนื่องและชวยเพิ่มยอดผูใชบริการของกลุมทรู โดยในป 2553 ผูใชบริการผลิตภัณฑและบริการของกลุมทรูตั้งแต 2 รายการขึ้นไปเพิ่มขึ้นรอยละ 5.6 จากปที่ผานมา เปน จํานวนกวา 2.5 ลานครัวเรือน ในป 2553 กลุมทรูมีรายไดจากคาบริการโดยรวม (ไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย หรือ IC) คงที่ เมื่อเทียบกับปที่ผานมา โดยเพิ่มขึ้นรอยละ 0.1 เปน 52.6 พันลานบาท ทั้งนี้ ผลการดําเนินงานโดยรวมของกลุมทรู ปรับตัวดีขึ้นในไตรมาส 4 สวนใหญจากการฟนตัวของบริการแบบเติมเงิน และความสําเร็จในการเปดตัว ไอโฟน 4 อยางไรก็ตาม ในป 2553 กลุมทรูมี EBITDA โดยรวมลดลงรอยละ 6.1 เปน 18.4 พันลานบาท สวนใหญเปนผลจากคาใชจายในการขยายโครงขายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งบางสวนสามารถชดเชยไดดวยคา IC สุทธิ และกําไรจากการขายสินคาที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ในป 2553 ทรูมีกําไรสุทธิจากการดําเนินงานปกติ (NIOGO) กอนภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ลดลงเปนจํานวน 257 ลานบาท อยางไรก็ตาม ทรูมีผลกําไรสุทธิจํานวนทั้งสิ้น 1.9 พันลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 1.2 พันลานบาท ในป 2552 สวนใหญจากกําไรจากการรีไฟแนนซทรูวิชั่นส ซึ่งเปนรายการที่เกิดขึ้นเพียง ครั้งเดียว ทั้งนี้กําไรสุทธิสวนที่เปนของบริษัทฯ มีจํานวนทั้งสิ้น 2.0 พันลานบาท โดยเพิ่มขึ้นจาก 1.2 พันลานบาท ในปกอนหนา ซึ่งสวนใหญจากผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากเงินบาทแข็งคาขึ้น นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสยังประสบความสําเร็จในการรีไฟแนนซวงเงิน 12 พันลานบาทในเดือนมิถุนายน ที่ผานมา ซึ่งชวยลดตนทุนในการกูยืม รวมทั้งความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน นอกจากนั้น ยังทําใหการดําเนินธุรกิจของทรูวิชั่นสมีความคลองตัวมากขึ้นรองรับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต กระแสเงินสดสุทธิลดลง 2.4 พันลานบาท เปน 1.8 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญจากรายจายลงทุนที่เพิ่มขึ้น กลุมทรูชําระคืนหนี้เปนจํานวนทั้งสิ้น 5.7 พันลานบาท ในป 2553 ทําใหหนี้สินระยะยาวโดยรวม ลดลงเล็กนอยเปน 67 พันลานบาท อยางไรก็ตาม อัตราสวนหนี้สินตอ EBITDA สุทธิ เพิ่มขึ้นเปน 3.3 เทา เมื่อเทียบกับ 3.1 เทาในป 2552

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับ ทรูมูฟ รายไดจากการใหบริการ (ไมรวมคา IC) อยูในระดับคงที่ที่ 23.6 พันลานบาท ทั้งนี้เนื่องจากการเติบโตของบริการแบบรายเดือนและบริการที่ไมใชเสียง สามารถชดเชยการลดลงของรายได จากบริการเสียงสําหรับบริการแบบเติมเงิน ทั้งนี้ ปริมาณการใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ตและสมารทโฟน ที่เพิ่มขึ้น สงผลใหรายไดจากบริการแบบรายเดือน และบริการที่ไมใชเสียงเติบโตอยางแข็งแกรง โดยเพิ่มขึ้น รอยละ 9.0 และ 12.8 ตามลําดับ ในป 2553 กลุมทรูยังคงมุงมั่นเปนผูนําบริการสมารทโฟน สงผลใหรายได จากบริการโมบาย อินเทอรเน็ตเพิ่มขึ้นเกือบเทาตัว อยางไรก็ตาม รายไดจากบริการแบบเติมเงินลดลงรอยละ 6.6 จากการแขงขันในโปรโมชั่นโทรภายใน โครงขายที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ รายไดจากบริการแบบเติมเงินเริ่มฟนตัวในไตรมาส 4 จากการนําเสนอโปรโมชั่น เพื่อเขาถึงลูกคากลุมใหมๆ ณ สิ้นป 2553 ทรูมูฟสามารถเพิ่มจํานวนผูใชบริการรายใหมไดประมาณ 1.3 ลานราย (จากปกอนหนา) ทําใหมีจํานวนผูใชบริการรวมทั้งสิ้น 17.1 ลานราย ในขณะที่มีสวนแบงตลาดโดยรวมคงที่ ที่รอยละ 24.5 ทั้งนี้ ทรูมูฟมีรายรับคา IC สุทธิเพิ่มขึ้นเปน 181 ลานบาท รายไดจากการใหบริการของทรูออนไลน เพิ่มขึ้นรอยละ 3.6 จากป 2552 เปน 27.3 พันลานบาท สวนใหญมาจากการเติบโตของบริการบรอดแบนด บริการโครงขายขอมูลและคอนเวอรเจนซ ทั้งนี้ รายได จากบริการบรอดแบนดเพิ่มขึ้นรอยละ 9.7 เปน 6.5 พันลานบาท ซึ่งเปนผลจากการปรับปรุงประสิทธิภาพโครงขาย และการเปดตัวบริการบรอดแบนดความเร็ว 6 Mbps นอกจากนี้ การลดลงของรายไดจากบริการโทรศัพทพื้นฐาน เริ่มชะลอตัวในป 2553 เปนรอยละ 9.4 (จากรอยละ 13.8 ในป 2552) เนื่องจากการนําเสนอโปรโมชั่นตางๆ รวมกับบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไป และการใหความสําคัญกับกลุมลูกคาธุรกิจ นอกจากนี้ การ ทดลองใหบริการบรอดแบนดความเร็วสูงตั้งแต 10 ถึง 100 Mbps ดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ในไตรมาส 4 ไดรับการตอบสนองจากตลาดเปนอยางดี ทั้งนี้ บริการบรอดแบนดมียอดผูใชบริการรายใหมสุทธิเพิ่มขึ้นมากกวาเทาตัวจากปกอนหนา เปน 122,154 ราย สงผลใหมีผูใชบริการเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 17.7 เปน 813,763 ราย นอกจากนี้ การลดลง ของรายไดจากบริการโทรศัพทพื้นฐานเริ่มชะลอตัวในป 2553 ในขณะที่ธุรกิจใหมๆ อาทิ บริการโทรศัพท ทางไกลระหวางประเทศ (IDD) เติบโตตอเนื่อง ทรูวิชั่นส มีรายไดจากการใหบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 0.5 เปน 9.6 พันลานบาท ทั้งนี้ ทรูวิชั่นสมีรายได จากการรับทําการโฆษณาเต็มปเปนปแรกจํานวน 482 ลานบาท ซึ่งสามารถชดเชยรายไดจากคาสมาชิกที่ลดลง เนื่องจากผลกระทบจากความไมสงบทางการเมือง ตอลูกคากลุมอุตสาหกรรมทองเที่ยวและโรงแรมในชวง ครึ่งปแรก อยางไรก็ตาม การเติบโตของกลุมลูกคาในระดับกลางและลาง ทําใหทรูวิชั่นสมีผูใชบริการเพิ่มขึ้น รอยละ 2.5 เปน 1.7 ลานราย ในขณะที่อัตราการเปลี่ยนแพ็คเกจสําหรับลูกคาในระดับกลางและลางมาใชแพ็คเกจ ที่มีราคาสูง ยังคงอยูในระดับสูงที่รอยละ 38.0

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ การเปดตัว “TrueVisions HD” ในไตรมาส 2 ป 2553 ทําใหทรูวิชั่นสเปนผูใหบริการรายแรก ที่เปดใหบริการในระบบ High Definition ในเมืองไทย และเปนยุทธศาสตรสําคัญในการดึงดูดลูกคาระดับบน และชวยเพิ่มรายไดเฉลี่ยของลูกคาในระยะยาว ทรูไลฟ ผุใหบริการดิจิตอลคอนเทนตตางๆ และ ทรูมันนี่ ผูใหบริการธุรกรรมทางการเงินแบบ ออนไลน ยังคงมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนกลยุทธคอนเวอรเจนซของกลุมทรู ในครึ่งปหลังของป 2553 ทรู ไดเปดตัวแบรนดใหม “ทรูไลฟพลัส” ซึ่งรวมผลิตภัณฑและบริการ ของกลุมทรูไวดวยกัน ในขณะที่ทรูไลฟยังคงทําหนาที่ผูใหบริการคอนเทนตสําคัญๆ สําหรับกลุมทรู ณ สิ้นป 2553 ทรู แอพ เซ็นเตอร (True App Center) มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นมากกวา 110 แอพพลิเคชั่น สามารถรองรับ การใชงานของสมารทโฟน ทั้ง iPhone (ไอโฟน) BlackBerry (แบล็กเบอรรี่) และ Android (แอนดรอยด) นอกจากนี้ บริษัทยังใหบริการ weloveshopping.com ซึ่งเปนพอรทัลพาณิชยอิเล็กทรอนิกส แบบ B2C (ผูป ระกอบการกั บ ผูบริโภค) ที่ใหญที่สุดในประเทศ ซึ่งทําใหผูบริโภคสามารถซื้อและขายผลิตภัณฑและ บริการตางๆ บนออนไลน ไดงายยิ่งขึ้น บริการเกมออนไลนของทรูไลฟยังคงเติบโตตอเนื่อง โดย Point Blank และ Special Force ยังคงเปนเกมที่ไดรับความนิยมสูงในตลาด ในขณะที่ FIFA Online ไดรับความ นิยมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สําหรับทรูมันนี่ ในป 2553 บริการทรูมันนี่บนโทรศัพทเคลื่อนที่ (E-Wallet) มีจํานวนผูใชบริการ เพิ่มขึ้นตอเนื่อง โดยผูใหบริการเกมออนไลนราวรอยละ 70 ของผูใหบริการในประเทศไทยใชบริการธุรกรรม ทางการเงินผานทรูมันนี่ นอกจากนั้น ทรูมันนี่ยังเปนผูใ หบริการไทยรายแรกที่ไดรับเงินทุนจาก GSM Association เพื่อสนับสนุนแผนงานขยายบริการทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ซึ่งเปนจุดรับชําระผานระบบเฟรนไชส ครอบคลุมทั่วประเทศ โดยทรูมันนี่มีจุดรับชําระคาสินคาและบริการของทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ทั้งสิ้น 18,000 จุด ในเดือนกรกฎาคม 2553 ทรูประสบความสําเร็จในการรีไฟแนนซและปรับโครงสรางองคกรของ ทรูวิชั่นส โดยไดรับการสนับสนุนจากธนาคารพาณิชยในประเทศ 4 แหง (ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทิสโก และธนาคารทหารไทย) ในการจัดหาวงเงินกูระยะยาวสกุลไทยบาท จํานวน 12 พันลานบาท โดยมีระยะเวลาการชําระหนี้ 8 ป ในอัตราดอกเบี้ยต่ํา และมีเงื่อนไขที่ผอนปรนกวาเงื่อนไขเงินกูเดิม ซึ่งมี กําหนดชําระคืนในระยะเวลา 3 ป ในอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.7 การปรับโครงสรางกลุมบริษัทฯ ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อรองรับกรอบการกํากับดูแลที่เปลี่ยนแปลง และทําใหการดําเนินธุรกิจของทรูวิชั่นสมีความคลองตัวมากขึ้นรองรับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต โดยทรู ไดจัดตั้งบริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด ในรูปของบริษัทโฮลดิ้ง (Holding Company) ซึ่งกลุมทรูถือหุนรอยละ 99.9 ทั้งนี้ บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด ไดซื้อหุนใน บมจ. ทรู วิชั่นส รอยละ 73 จากบริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด นอกจากนี้ ยังซื้อหุนอีกรอยละ 48 ใน บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จาก บมจ. ทรู วิชั่นส หลังการปรับโครงสรางดังกลาว กลุมทรูถือหุนใน บมจ. ทรู วิชั่นส เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 98.3 (จากเดิมรอยละ 91.8) และถือหุนใน บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 98.5 (จากเดิมรอยละ 91.2) สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผลจากการที่ บมจ. ทรู วิชั่นสซื้อคืนหุนจากผูถือหุนสวนนอย ในระหวางเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2554 ทําใหกลุมทรูมีสัดสวนการถือหุนทางออมในบมจ. ทรู วิชั่นส และ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 99.3 และรอยละ 99.0 ตามลําดับ นอกจากนี้ ในเดือนพฤศจิกายน 2553 เครือเจริญโภคภัณฑ หรือ ซีพีกรุป เพิ่มสัดสวนการถือหุน ใน ทรู คอรปอเรชั่น โดยการซื้อหุนทรูทั้งหมดจาก KfW ซึ่งเปนธนาคารเพื่อการพัฒนา ประเทศเยอรมัน ทําให สัดสวนการถือหุนในทรู โดยเครือเจริญโภคภัณฑเพิ่มขึ้นจากเดิมรอยละ 55.8 เปน 64.7 ดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม คณะกรรมการ กทช. ไดกําหนดการจัดประมูลคลื่นความถี่ และใบอนุญาต 3G บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz ในเดือนกันยายน ป 2553 โดย กลุมทรู ผานบริษัท เรียล มูฟ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยที่จัดตั้งขึ้นใหม ไดผานขั้นตอนการตรวจคุณสมบัติขั้นแรกของคณะกรรมการ กทช. และมี สิทธิในการเขารวมประมูลคลื่นความถี่ อยางไรก็ตาม กอนถึงวันประมูล ศาลปกครองกลาง รับคําฟองคดี กสท เรื่องอํานาจของ คณะกรรมการ กทช. ในการจัดประมูลคลื่นความถี่ และมีคําสั่งใหระงับการประมูลคลื่นความถี่ โดยตอมาศาลปกครองสูงสุด ยืนคําตัดสินของศาลปกครองกลาง ทําให จนถึงปจจุบันยังไมมีความคืบหนาใน การจัดสรรคลื่นความถี่ 3G อยางไรก็ตาม ในเดือนธันวาคมที่ผานมา พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับ การประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ พ.ศ. 2553 มีผลบังคับ ใช ซึ่งเป นพัฒนาการครั้งสําคัญ เนื่องจากจะนําไปสูการจัดตั้งคณะกรรมการกิ จการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (คณะกรรมการ กสทช.) ในเดือนเดียวกันนี้ คณะกรรมการบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ไดอนุมัติใหทรูมูฟ สามารถติดตั้งสถานีฐานเพื่อทดลองใหบริการโทรศัทพเคลื่อนที่ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz เพิ่มอีก 700 สถานีฐาน ทําใหมีสถานีฐานรวมทั้งสิ้นมากกวา 1,400 สถานีฐาน นอกจากนี้ ในปลายเดือนธันวาคมที่ผานมา กลุมทรูไดลงนามในสัญญาเพื่อเขาซื้อโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ในประเทศและหุน 4 บริษัทในกลุมฮัทชิสัน ซึ่งการซื้อหุนดังกลาวแลวเสร็จในเดือนมกราคม 2554 การเขาซื้อหุน ในครั้งนี้ไมเพียงทําใหบริษัทไดประโยชนจากการเปนผูใหบริการรายแรกที่สามารถใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ในเชิงพาณิชยไดทั่วประเทศเทานั้น แตยังจะชวยขยายระยะเวลาการ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมบริษัททรูไปจนถึงป 2568 อีกดวย บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ไดเริ่มเปดใหบริการในวงจํากัดในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแตเดือนธันวาคม ทําใหผูใชบริการสามารถเลือกผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดโดยไมตองเปลี่ยน เลขหมายโทรศัพท

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แผนงานสําหรับป 2554 ในป 2554 กลุมทรูมีเปาหมายเพิ่มรายไดจากการใหบริการโดยรวม (ไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย หรือ IC) ในอัตราเลขหนึ่งหลัก รวมทั้งยังคงมุงมั่นนําเสนอเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อสานตอยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ และสรางความแข็งแกรงใหกับบริษัทฯ ในฐานะผูนําบริการสื่อสารโทรคมนาคมไทยรายเดียวที่เปน Quadruple Play สมบูรณแบบทั้งบริการสื่อสารดานเสียง วิดีโอ ขอมูล (สําหรับโทรศัพทพื้นฐานและโทรศัพทเคลื่อนที่) และมัลติมีเดียตางๆ รวมทั้งการพัฒนาคอนเทนตและการนําเสนอนวัตกรรมตางๆ จะชวยเสริมสรางความแตกตาง ในตลาดสื่อสารโทรคมนาคม บริษัทฯ จะใชประโยชนจากการเขาถือหุนบริษัทในกลุมฮัทชิสัน กาวสูการเปนผูนําการใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G ในประเทศ นอกจากนี้ ยังมีแผนขยายโครงขายการใหบริการทรูออนไลน ทรูวิชั่นส และทรูมูฟ โดยเนนปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มขีดความสามารถของโครงขาย และขยายความครอบคลุมไปยัง พื้นที่ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดหลักๆ ทั่วประเทศ เพื่อขยายการใหบริการสูประชาชนในวงกวางยิ่งขึ้น ซึ่งจะชวยเพิ่มรายไดใหกับกลุมทรู รวมทั้งใหความสําคัญกับการปรับปรุงคุณภาพการใหบริการของทุกธุรกิจ ในป 2554 ทรูมูฟสานตอความเปนผูนําตลาดสมารทโฟน เพื่อสรางความแข็งแกรงใหกับบริการ ที่ไมใชเสียง โดยบริการตางๆ อาทิ ไฮสปด เน็ตซิม จะชวยกระตุนความตองการใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ต ในกลุมผูใชบริการแบบเติมเงิน นอกจากนี้ ทรูมูฟยังมีแผนขยายโครงขายทั้งในระบบ 2G และ 3G ไปยังพื้นที่ ที่มีศักยภาพการเติบโตสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ บริการคอนเวอรเจนซ และบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ จะเปนปจจัยในการเพิ่มฐานผูใชบริการแบบรายเดือน สําหรับ บริการแบบเติมเงิน คาดวาในป 2554 จะปรับตัวดีขึ้นตอเนื่อง สําหรับทรูออนไลน คาดวารายไดและยอดผูใชบริการบรอดแบนดจะเติบโตในอัตราที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลตอเนื่องมาจากยอดผูใชบริการรายใหมสุทธิที่เพิ่มขึ้นอยางมากในป 2553 นอกจากนี้ยังมีผลจาก การเปดใหบริการบรอดแบนดดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และการขยายบริการ Wi-Fi รวมทั้งบรอดแบนด บนเทคโนโลยี ADSL ใหมีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น โดยในป 2554 กลุมทรูจะยังคงรักษาความเปนผูนําตลาด ดวยการนําประเทศสูการเปลี่ยนผานจากบริการบรอดแบนดเดิม ไปเปนบริการใหมดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ทรูวิชั่นสจะยังคงใหความสําคัญกับการผลิตคอนเทนต และจัดหารายการที่ทรูวิชั่นสมีลิขสิทธิ์ ในการออกอากาศเพียงรายเดียว รวมทั้งขยายตลาดสูลูกคาระดับกลางและลางอยางตอเนื่อง เพื่อเพิ่มรายได จากการรับทําการโฆษณา ควบคูไปกับการนําเสนอนวัตกรรมเพื่อสรางความแตกตางในตลาดระดับบน โดย เปดตัวบริการผานกลองรับสัญญาณรุนใหม (Hybrid Set Top Box) ซึ่งจะทําใหผูชมสามารถรับชมรายการใน ระบบ High Definition พรอมอํานวยความสะดวกใหเชื่อมตออินเทอรเน็ต และสามารถเขาถึงคอนเทนตอื่นๆ ที่มีปริมาณขอมูลจํานวนมากผานเครื่องรับโทรทัศน นอกเหนือจากนั้น ระบบการเขารหัสสัญญาณแบบใหม (Encryption) จะชวยปองกันการลักลอบใชสัญญาณ รวมทั้งเทคโนโลยี MPEG-4 ในการบีบอัดสัญญาณ จะชวย เพิ่มพื้นที่วางบนชองสัญญาณดาวเทียม ทําใหทรูวิชั่นสสามารถเปดชองรายการไดมากยิ่งขึ้น สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2554 บริษัทฯ จะยังคงดําเนินนโยบายลดภาระหนี้อยางตอเนื่อง รวมทั้งมุงเนนการบริหาร คาใชจายอยางเขมงวดเพื่อเพิ่มผลกําไร ผลการดําเนินงานโดยรวมประจําป 2553 การวิเคราะหผลประกอบการของบริษัทฯ อยูบนพื้นฐานของผลการดําเนินงานปกติ ไมนับรวม ผลกระทบจากรายการที่ไมเกี่ยวของกับผลการดําเนินงานโดยตรง ซึ่งปรากฏในตารางสรุปงบการเงินรวม ของบริษัทฯ และบริษัทยอย (ปรับปรุง) รายไดจากการใหบริการโดยรวมของกลุมทรูคงที่เทียบกับปที่ผานมา โดยผลการดําเนินงานที่เติบโตมากขึ้น ของทรูออนไลน สามารถชดเชยผลกระทบจากการแขงขันที่ทรูมูฟและทรูวิชั่นส ในขณะที่ EBITDA โดยรวมลดลงจากคาใชจายที่เพิ่มขึ้น สวนใหญจากการขยายโครงขาย อยางไรก็ตาม การเติบโตอยางรวดเร็ว ของผลประกอบการไตรมาส 4 ชวยรักษาระดับผลประกอบการโดยรวมของป 2553 ใหคงที่ ทั้งนี้เปน ผลจากการฟนตัวของรายไดจากบริการระบบเติมเงินของทรูมูฟ รายไดจากคาโฆษณาที่เพิ่มขึ้นของทรูวิชั่นส ความสําเร็จจากการเปดตัวไอโฟน 4 และจากผลของฤดูกาล ในขณะที่การควบคุมคาใชจายทําให EBITDA โดยรวมปรับตัวดีขึ้น ทั้งนี้ ทรูคาดวา ผลการดําเนินงานโดยรวมจะปรับตัวดีขึ้นอยางตอเนื่องในป 2554 รายไดจากการใหบริการโดยรวม ไมรวม IC คงที่จากปที่ผานมา โดยเพิ่มขึ้นรอยละ 0.1 เปน 52.6 พันลานบาท จากการเติบโตขึ้นเล็กนอยของทุกธุรกิจภายในกลุม (ทรูออนไลนเติบโตในอัตรารอยละ 3.6 ทรูมูฟ รอยละ 0.2 และทรูวิชั่นส รอยละ 0.5) อยางไรก็ตาม ในป 2553 กลุมทรูมีรายไดจากบริการโดยรวม ลดลงเล็กนอย ซึ่ง สวนใหญเปนผลจากคา IC สุทธิที่ลดลง EBITDA ลดลงรอยละ 6.1 เปน 18.4 พันลานบาท เนื่องจากคาใชจายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งสามารถชดเชยได ดวยรายรับคา IC สุทธิที่เพิ่มขึ้น (213 ลานบาท) และกําไรจากการขายสินคาที่เพิ่มขึ้น (146 ลานบาท) นอกจากนี้ อัตราการทํากําไร ณ ระดับ EBITDA (คิดจากรายไดรวม ไมรวมคา IC) ของกลุมทรูลดลงเปน รอยละ 32.9 (รอยละ 35.0 ในป 2552 ไมรวมรายการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวที่ทรูวิชั่นส จากการกลับรายการ ของคาใชจายดานคอนเทนตจํานวน 207 ลานบาท ที่บันทึกไวเกินในงวดกอนๆ) สวนใหญมีสาเหตุหลัก จากการแขงขันและคาใชจายในการขยายโครงขายที่เพิ่มขึ้น รายไดจากการขายสินคา เพิ่มขึ้นรอยละ 18.3 จากยอดขายสมารทโฟนที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้กําไรขั้นตนจากการขาย โดยรวมปรับตัวดีขึ้นเปนรอยละ 12.4 (จากรอยละ 9.5 ในป 2552) คาใชจายในการดําเนินงานโดยรวม เพิ่มขึ้นรอยละ 2.8 เปน 55.2 พันลานบาท สวนใหญจาก คาใชจายหลัก ในการดําเนินงาน หรือ Core Opex (คาใชจายที่เปนเงินสด เกี่ยวกับคาใชจายโครงขายและคาใชจายในการ ขายและบริหาร) รวมทั้งคาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งสามารถชดเชยไดดวย คา IC สุทธิและคาใชจายดานการกํากับดูแลที่ลดลง

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาใชจายหลักในการดําเนินงาน (Core Opex) เพิ่มขึ้นรอยละ 6.7 (เปน 27.8 พันลานบาท) ไมรวมรายการที่ เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวที่ทรูวิชั่นส สวนใหญเปนผลจากการขยายโครงขายของบรอดแบนดและทรูมูฟ รวมทั้งคาใชจายที่เพิ่มขึ้นจากการขยายธุรกิจใหมๆ อาทิ การเปดบริการในระบบ HD ของทรูวิชั่นส ธุรกิจ โทรทางไกลระหวางประเทศและเกตเวยระหวางประเทศของทรูออนไลน ทั้งนี้ คาใชจายในการขายและ บริหารเพิ่มขึ้นจากการนําเสนอโปรโมชั่นใหมๆ ของทรูออนไลน และการขยายชองทางการจัดจําหนาย ของทรูมูฟ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย เพิ่มขึ้นรอยละ 3.9 (เปน 11.2 พันลานบาท) สวนใหญจากการขยายโครงขาย สําหรับบริการโทรศัพทเคลื่อนที่และบรอดแบนด ดอกเบีย้ จาย (สุทธิ) ลดลงรอยละ 11.1 (เปน 6.0 พันลานบาท) เนื่องจากการชําระคืนหนี้ (จํานวน 5.7 พันลานบาท) และอัตราดอกเบี้ยในตลาดที่ลดลง รวมทั้ง การรีไฟแนนซธุรกิจทรูวิชนั่ ส ซึ่งทําใหอัตราดอกเบี้ยโดยรวมลดลง ภาษีเงินได ลดลงเปน 1.4 พันลานบาท (1.9 พันลานบาท ในป 2552) สวนใหญจากภาษีเงินไดที่ลดลงที่ทรูวิชั่นส (จากผลขาดทุนจากการขายหุนระหวางการปรับโครงสรางองคกร ในไตรมาส 2 ป 2553) และภาษีเงินได รอตัดบัญชีที่ลดลงที่ทรูมูฟ (หลังการประเมินภาระภาษี) ซึ่งสงผลใหอัตราภาษีลดลงเปนรอยละ 43.6 (รอยละ 61.5 ในป 2552) ทั้งนี้ รายจายภาษีเงินไดไดถูกปรับปรุง โดยไมรวมรายรับภาษีเงินไดจํานวน 1.6 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเกี่ยวของกับการรีไฟแนนซทรูวิชั่นส ผลขาดทุนการดําเนินงานปกติ ลดลงเล็กนอยเปนขาดทุนจํานวน 610 ลานบาท (จากขาดทุน 518 ลานบาท ในป 2552) จากคาใชจายภาษีเงินไดและดอกเบี้ยจายที่ลดลง ชวยชดเชย EBITDA ที่ลดลง รวมทั้งคาเสื่อมราคา และคาจัดจําหนายที่เพิ่มขึ้น หากไมรวมภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ผลการดําเนินงานปกติลดลงเปนกําไร 257 ลาน บาท (จากกําไร 511 ลานบาท ในป 2552) กําไรสุทธิสวนที่เปนของบริษัท เปน 2.0 พันลานบาท รวมกําไรที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวจํานวน 2.6 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญจากผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 1.5 พันลานบาท เนื่องจากเงินบาทแข็งคาขึ้น (30.29 บาท ตอดอลลารสหรัฐฯ ในป 2553 เปรียบเทียบกับ 33.52 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ ในป 2552) สวนหนึ่งสามารถ ชดเชยดวยผลขาดทุนจากการแปลงหนี้ตางประเทศเปนเงินบาท (37.42 บาทตอ 100 เยน ในป 2553 เปรียบเทียบ กับ 36.56 บาทตอ 100 เยน ในป 2552) รายจายลงทุน (เงินสด) มีจํานวนทั้งสิ้น 7.5 พันลานบาท ในป 2553 ซึ่งรวมรายจายลงทุนที่ ทรูมูฟ จํานวน 3.4 พันลานบาท ทรูออนไลน 3.4 พันลานบาท และ ทรูวชิ ั่นส จํานวน 681 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นประมาณ 2.2 พันลานบาทจากปกอนหนา (รายจายลงทุนที่ทรูมูฟ จํานวน 780 ลานบาท และทรูออนไลน 846 ลานบาท) กระแสเงินสดสุทธิหลังหักรายจายลงทุน (กระแสเงินสดจากการดําเนินงานหักรายจายลงทุน) ลดลง 2.4 พันลานบาท เปน 1.8 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญจากรายจายลงทุนที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ กระแสเงินสดจากการดําเนินงานของ ทรูมูฟเพิ่มขึ้นเปน 229 ลานบาท สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การปรับปรุงทางบัญชีที่สําคัญ ผลประกอบการไตรมาส 2 ป 2553 ไดถูกปรับปรุง ทั้งนี้เพื่อการเปรียบเทียบ ที่ดีกวา โดยไมรวมรายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ ซึ่งประกอบดวย กําไร/ขาดทุน ที่เกิดจาก การรีไฟแนนซของทรูวิชั่นส จํานวนสุทธิ 691.5 ลานบาท ซึ่งรวมขาดทุนจากการชําระตามสัญญาปองกัน ความเสี่ยงทางการเงินสําหรับดอกเบี้ย จํานวน 878.6 ลานบาท (617.8 ลานบาทที่ทรูออนไลน และ 260.8 ลานบาท ที่ทรูวิชั่นส) ซึ่งถูกรวมเปน “คาธรรมเนียมทางการเงินอื่น” ภายใต “ตนทุนทางการเงิน” ในงบการเงินของ บริษัทฯ และบริษัทยอย นอกจากนั้น ยังมีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน จากการชําระคืนเงินตนที่อัตราแลกเปลี่ยน ตามสัญญาปองกันความเสี่ยงทางการเงิน จํานวนรวม 828.7 ลานบาท (517 ลานบาทที่ทรูออนไลน และ 311.7 ลานบาทที่ทรูวิชั่นส) ซึ่งถูกชดเชยบางสวนดวยรายไดภาษีเงินไดรอตัดบัญชีจํานวนรวม 1,016 ลานบาท ที่ทรูวิชั่นส เนื่องจากขาดทุนจากการขายหุนในการปรับโครงสรางกลุมธุรกิจ นอกจากนั้นในไตรมาส 2 ป 2553 ยังมีรายไดจากการกลับรายการหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี จํานวน 598 ลานบาท (548 ลานบาทที่ทรูมูฟ และ 50 ลานบาทที่ทรูออนไลน) ภายหลังจากที่บริษัทไดมีการทบทวน ภาระภาษีเงินไดในอนาคต รวมทั้งกําไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงคาหนี้สินตางประเทศ เปนเงินไทย (Mark to Market) ตามอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นงวด และรายได (คาใชจาย) อื่น ในไตรมาส 3 ป 2553 รายไดอื่นๆ ของทรูออนไลน ในไตรมาส 3 ป 2552 ไดรับการปรับปรุง โดยไมรวม เงินปนผล (1,531 ลานบาท) ที่ไดรับจากทรูวิชั่นส เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบันทึกผลประโยชน จากการลงทุนภายในกลุมบริษัทฯ ในปจจุบัน ประเด็นอื่น ๆ ที่สําคัญ นับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมทรูไดนํา มาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการ รายงานทางการเงินใหม การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการบัญชีที่มีการ ปรับปรุง มาถือปฏิบัติ ซึ่งคาดวาจะมีผลกระทบการรายงานทางการเงินที่จะนําเสนอ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หมายเหตุประกอบงบการเงินประจําป 2553 ขอ 3.2) ในวันที่ 27 มกราคม 2554 การเขาถือหุน 4 บริษัทของกลุมบริษัทฮัทชิสันในประเทศไทยแลวเสร็จ โดยมี มูลคารวมทั้งสิ้น 6.3 พันลานบาท ซึ่งประกอบดวยการซื้อหุนจํานวน 4.3 ลานบาท และอีก 6.3 พันลานบาท เพื่อการรีไฟแนนซบริษัท BFKT ซึ่งเปนหนึ่งในบริษัทของกลุมฮัทชิสันที่กลุมทรูเขาถือหุน การเขาถือหุน ดังกล าวไม เพี ยงจะช วยขยายระยะเวลาการให บริ การโทรศัพท เคลื่ อนที่ ของกลุมทรู ไปอี ก 14 ป จนถึ ง ป 2568 เทานั้น แตยังทําใหทรูไดรับประโยชนจากการเปนผูใหบริการรายแรกที่สามารถเปดใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 850 MHz ในเชิงพาณิชยไดทั่วประเทศ ภายใตสัญญา ขายสง-ขายปลีกกับ กสท รวมทั้งยังชวยขยายฐานธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ใหกับกลุมบริษัททรู เนื่องจาก บริษัทฮัทชิสันมีลูกคาโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมประมาณ 800,000 ราย และมีสถานีฐานประมาณ 1,400 แหง ในเดือนกันยายน 2554 สวนแบงรายไดที่ทรูมูฟตองจายให กสท ภายใตสัญญาใหดําเนินการ จะเพิ่มขึ้น จากรอยละ 25 เปนรอยละ 30 อยางไรก็ตาม บริษัทไดมองหาโอกาสเพื่อสรางความเติบโตดานรายได โดยเฉพาะอยางยิ่งในบริการที่ไมใชเสียง ควบคูไปกับการควบคุมคาใชจายอยางเขมงวดเพื่อชดเชยผลกระทบ จากคาใชจายดานการกํากับดูแลที่เพิ่มขึ้น สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย (ปรับปรุง) (ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2553

ป 2552

% เปลี่ยนแปลง

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น) รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น - รายไดคาเชื่อมโยงโครงขาย - รายไดจากการใหบริการไมร วมคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) รายไดจากการขายสินคา รวมรายได

59,062 6,414 52,649 3,316

59,671 7,066 52,605 2,804

(1.0) (9.2) 0.1 18.3

62,378

62,474

(0.2)

39,976 7,041 22,849 6,233 16,616

39,661 7,408 22,652 7,098 15,554

0.8 (5.0) 0.9 (12.2) 6.8

10,086

9,600

5.1

2,904

2,538

14.4

คาใชจายในการดําเนินงาน ตนทุนการใหบริการ สวนแบงรายไดตามสัญญารวมการงาน/สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ คาใชจายเกี่ย วกับโครงขาย - คาใชจายเชื่อมโยงโครงขาย - คาใชจายเกี่ย วกับโครงขายไมร วมคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) คาเสื่อ มราคาและคาตัดจําหนาย - โครงขาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร คาเสื่อ มราคาและคาตัดจําหนาย อื่นๆ รวมคาใชจายในการดําเนินงาน

12,359 1,165 11,194

11,524 1,230 10,293

7.3 (5.3) 8.7

55,239

53,722

2.8

กําไรจากการดําเนินงานที่เปนเงินสด (EBITDA)

18,392

19,582

(6.1)

คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย

(11,252)

(10,830)

3.9

7,140

8,752

(18.4)

60

86

กําไรจากการดําเนินงาน ดอกเบี้ย รับ ดอกเบี้ย จาย

(6,100)

คาใชจายทางการเงินอื่น (คาใชจาย)รายไดภาษีเงินได ภาษีเงินไดในปปจจุบัน ภาษีเงินไดร อการตัดบัญชี กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานปกติ สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษ ัทรวม (กําไร) ขาดทุนของผูถ ือหุน  สวนนอย

(6,880)

(30.8) (11.3)

(415)

(559)

(25.7)

(1,437) (570) (866)

(1,934) (905) (1,030)

(25.7) (37.0) (15.8)

(752)

(534)

(40.8)

40

(1)

NM

102

16

518.9

กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานปกติและสวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม (NIOGO) รายการที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ

(610)

(518)

(17.6)

2,568

1,746

47.1

กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ย นเงินตราตางประเทศ คาใชจายเกี่ย วกับการชําระตามสัญญาปองกันความเสี่ย ง สําหรับทรูวิชั่นสร ีไฟแนนซซิ่ง

1,497

1,585

(5.6)

การปรับปรุงภาษีเงินไดร อตัดบัญชี

1,614

-

336

161

1,959

1,228

(คาใชจาย) รายไดอื่น กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับสวนที่เปนของบริษัท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับสวนที่เปนของผูถ ือหุน  สวนนอย กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับงวด

กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานปกติกอนภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

(879)

(102)

-

(16)

1,857

1,211

257

511

NM NM 109.3 59.6 (518.9) 53.3

(49.8)

หมายเหตุ : - ในไตรมาส 2 ป 2553 ผลประกอบการประจําไตรมาส ถูกปรับ ปรุงโดยไมรวมคาใชจายที่เกี่ยวของกับ ทรูวิช ั่นสรีไฟแนนซซิ่ง โดยโอนคาใชจายทางการเงินอื่นไป ยังรายการที่ไมเกี่ยวของกับ การดําเนินงานปกติ ซึ่งประกอบดวยคาใชจายเกี่ยวกับ การชําระตามสัญญาปองกันความเสี่ยงสําหรับ ดอกเบี้ย จํานวน 878.6 ลานบาท - ในไตรมาส 2 ป 2553 ภาษีเงินไดรอตัดบัญชีป ระจําไตรมาสไดถูกปรับ ปรุงโดยไมรวม 1) รายไดภาษีเงินไดรอตัดบัญชี จํานวน 1,016 ลานบาท จากการปรับ โครงสราง องคกรของกลุมธุรกิจทรูวิช ั่นส และ 2) การปรับ ปรุงครั้งเดียวที่เกี่ยวกับ การกลับ รายการหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี จํานวน 598 ลานบาท

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางสรุปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ ทรูมูฟ (ยังไมไดตรวจสอบ) (หนวยลานบาทยกเวนในรายการที่ม ีการระบุเปนอยางอื่น) รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น - รายไดคาเชื่อมโยงโครงขาย - รายไดจากการใหบริการไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) รายไดจากการขายสินคา รวมรายได คา ใชจา ยในการดํา เนินงาน ตนทุนการใหบริการ สวนแบงรายไดตามสัญญารวมการงาน/สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ คาใชจายเกีย ่ วกับโครงขาย - คาใชจายเชื่อ มโยงโครงขาย - คาใชจายเกีย ่ วกับโครงขายไมรวมคาเชื่อ มโยงโครงขาย (IC) คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย - โครงขาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย อื่นๆ รวมคา ใชจา ยในการดํา เนินงาน กํา ไรจากการดํา เนินงานกอนดอกเบี้ยจา ย ภาษี คา เสื่อมราคาและรายจา ยตัดบัญชี (EBITDA) คาเสื่อ มราคาและคาตัดจําหนาย กํา ไรจากการดํา เนินงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย คาใชจายทางการเงินอื่น (คาใชจาย)รายไดภาษีเงินได ภาษีเงินไดในปปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี กํา ไร(ขาดทุน)จากการดํา เนินงานปกติ สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทรวม (กําไร)ขาดทุนของผูถือ หุน  สวนนอ ย

ป 2553

ป 2552

ทรูออนไลน % เปลี่ยนแปลง

ป 2553

ป 2552

ทรูวิ ชั่นส % เปลี่ย นแปลง

ป 2553

ป 2552

รายการระหว า งกัน % เปลี่ยนแปลง

ป 2553

งบการเงินรวม

ป 2552

ป 2553

ป 2552

% เปลี่ยนแปลง

30,030 6,414 23,616 2,721 32,750

30,641 7,066 23,575 2,532 33,173

(2.0) (9.2) 0.2 7.5 (1.3)

27,328 27,328 703 28,031

26,387 26,387 540 26,927

3.6 NM 3.6 30.3 4.1

9,585 9,585 218 9,803

9,533 9,533 191 9,725

0.5 NM 0.5 13.8 0.8

(7,880) (7,880) (326) (8,206)

(6,890) (6,890) (460) (7,350)

59,062 6,414 52,649 3,316 62,378

59,671 7,066 52,605 2,804 62,474

(1.0) (9.2) 0.1 18.3 (0.2)

21,242 4,896 12,574 6,233 6,341 3,772 2,472 6,952 456 6,495 30,666 6,313 (4,229)

21,513 4,970 12,918 7,098 5,820 3,624 2,249 6,290 481 5,809 30,052 7,226 (4,105)

(1.3) (1.5) (2.7) (12.2) 8.9 4.1 9.9 10.5 (5.1) 11.8 2.0

16,712 1,899 9,499 9,499 5,313 459 5,737 471 5,266 22,907 9,804 (5,784)

4.8 (14.9) 8.5 NM 8.5 5.2 30.3 10.1 0.6 10.9 6.6

6,907 529 5,455 5,455 923 138 1,444 89 1,355 8,489

6,615 536 5,201 5,201 878 152 1,329 116 1,214 8,096

4.4 (1.4) 4.9 NM 4.9 5.2 (9.0) 8.6 (23.1) 11.7 4.9

(5,684) (1) (5,486) (5,486) (197) (304) (2,350) 147 (2,497) (8,338)

(5,178) 3 (4,966) (4,966) (215) (322) (1,832) 163 (1,995) (7,332)

39,976 7,041 22,849 6,233 16,616 10,086 2,904 12,359 1,165 11,194 55,239

39,661 7,408 22,652 7,098 15,554 9,600 2,538 11,524 1,230 10,293 53,722

0.8 (5.0) 0.9 (12.2) 6.8 5.1 14.4 7.3 (5.3) 8.7 2.8

(12.6) 3.0

17,511 1,617 10,306 10,306 5,588 598 6,314 473 5,840 24,422 9,670 (6,061)

(1.4) 4.8

2,326 (1,012)

2,622 (994)

(11.3) 1.9

(69) 52

18,392 (11,252)

19,582 (10,830)

(6.1) 3.9

2,084

3,121

(33.2)

3,609

4,020

(10.2)

1,314

1,628

(19.3)

132

(18)

7,140

8,752

(18.4)

23

35

(33.6)

36

51

(29.7)

194

220

(11.8)

(193)

(219)

60

86

(21.2) (43.8) 61.0 5.8 215.6

(624) (43) (297) (139) (158)

(323) (7) (534) (497) (37)

93.4 522.7 (44.4) (72.0) 327.7

193 (60) (60)

219 (60) (60)

NM NM

543 2

984 (2)

(44.8) NM

72 -

(77) -

NM

(14)

89 11

(3,192) (145) (189) (189) (1,419) -

(3,633) (147) (787) (787) (1,411) -

-

-

(1,419) 2,540 1,934

(1,411) 945 930

(12.1) (1.9) (75.9) NM (75.9) (0.5) -

(2,476) (227) (891) (431) (460) 51 39 141

(3,143) (404) (553) (408) (146) (30) 1

(25)

0

82 50

(72)

NM

(101) 690 448

NM

520

983

(47.1)

59

NM NM

797 15

111 207

618.0 (92.8)

(9) (2)

-

(6,100) (415) (1,437) (570) (866) (752) 40 102

(6,880) (559) (1,934) (905) (1,030) (534) (1) 16

(30.8) (11.3) (25.7) (25.7) (37.0) (15.8) (40.8) NM 518.9

กํา ไร(ขาดทุน)จากการดํา เนินงานปกติและสว นแบง กํา ไร(ขาดทุน)ในบริษัทรว ม (NIOGO) รายการทีไมเกี่ยวของกับการดํา เนินงานปกติ กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ คาใชจายเกีย ่ วกับการชําระตามสัญญาปองกันความเสี่ยง สําหรับทรูวิชั่นสรีไฟแนนซซิ่ง การปรับปรุงภาษีเงินไดรอตัดบัญชี (คาใชจาย)รายไดอ ื่น กํา ไร (ขาดทุน) สุทธิ สํา หรับสว นที่เปนของบริษัท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับสวนที่เปนของผูถือ หุน  สวนนอ ย กํา ไร (ขาดทุน) สุทธิสํา หรับงวด

168.7 107.9

(0.5)

230 (759) (450) (618)

-

-

-

-

NM

NM

-

-

548 58

-

NM 290.9

50 258

242

NM 6.7

1,016 27

(96)

NM NM

(7)

-

NM NM

(529) (141)

589 72

NM NM

1,317 25

1,094 (0)

20.4 NM

661

NM

1,342

1,094

22.7

678

1,020

(33.5)

1,121 -

15 (466) -

(261)

-

(610) 2,568 1,497 (879) 1,614 336

(518) 1,746 1,585 161

50 14

11 (89)

1,959 (102)

1,228 (16)

64

(77)

1,857

1,211

257

511

1,121

(466)

NM

(669)

(1,229)

(624)

(97.1)

690

อัตรากํา ไร ณ ระดับ EBITDA (คิดจากรายไดรวมคา IC)

19.3%

21.8%

34.5%

36.4%

23.7%

27.0%

29.5%

31.3%

อัตรากํา ไร ณ ระดับ EBITDA (คิดจากรายไดที่ไมรวมคา IC)

24.0%

27.7%

34.5%

36.4%

23.7%

27.0%

32.9%

35.3%

กํา ไร(ขาดทุน)จากการดํา เนินงานปกติกอนภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

45

1,447.2

119

71

(17.6) 47.1 (5.6) NM NM 109.3 59.6 518.9 53.3

(49.8)

หมายเหตุ : - ในไตรมาส 2 ป 2553 ผลประกอบการประจําไตรมาส ถูกปรับปรุงโดยไมรวมคาใชจายที่เกีย ่ วของกับทรูวิชั่นสรีไฟแนนซซิ่ง โดยโอนคาใชจายทางการเงินอื่นไป ยังรายการที่ไมเกีย ่ วขอ งกับการดําเนินงานปกติ ซึ่งประกอบดวยคาใชจายเกีย ่ วกับ การชําระตามสัญญาปองกันความเสี่ยงสําหรับดอกเบี้ย จํานวน 878.6 ลานบาท - ในไตรมาส 2 ป 2553 ภาษีเงินไดรอตัดบัญชีประจําไตรมาสไดถูกปรับปรุงโดยไมรวม 1) รายไดภาษีเงินไดรอตัดบัญชี จํานวน 1,016 ลานบาท จากการปรับโครงสรางองคกรของกลุม ธุรกิจทรูวิชั่นส และ 2) การปรับปรุงครั้งเดียวที่เกีย ่ วกับการกลับรายการหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี จํานวน 598 ลานบาท (548 ลานบาทที่ทรูมูฟ และ 50 ลานบาทที่ทรูอ อนไลน)

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางรายไดรวม แยกตามประเภทธุรกิจ

รายไดรวม (กอนตัดรายการระหวางกันระหวางกลุมธุรกิจ) (ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2553

(หนวยลานบาทยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น)

ทรูวิชั่นส - รายไดจากการใหบริการ - รายไดจากการขายสินคา รายการระหวางกัน

รายได

% ของรายไดรวม หลังตัดรายการ ระหวางกัน

9,725

9,585

9,533

218

191

9,462

ทรูม ูฟ - รายไดจากการใหบริการ - รายไดจากการขายสินคา

รายได

9,803

(341)

ทรูวิชั่นส หลังตัดรายการระหวางกัน

ป 2552 % ของรายไดรวม หลังตัดรายการ ระหวางกัน

% เปลี่ยนแปลง

0.8 0.5 13.8

(346) 15.2%

9,378

(1.5) 15.0%

0.9

32,750

33,173

(1.3)

30,030

30,641

(2.0)

2,721

2,532

7.5

รายการระหวางกัน

(1,769)

(1,861)

(4.9)

ทรูมูฟ หลังตัดรายการระหวางกัน

30,982

ทรูออนไลน - บริการเสียงพื้นฐาน - โทรศัพทพื้นฐาน (ไมร วมโทรทางไกลระหวางประเทศ และ VOIP) - โทรศัพทสาธารณะ - พีซีที

49.7%

31,312

50.1%

(1.1)

28,031

26,927

4.1

7,538

8,564

6,975

7,703

(9.4)

328

493

(33.4) (36.3)

(12.0)

235

369

11,506

10,573

8.8

- บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต

6,505

5,931

9.7

- บริการโครงขายขอมูลลูกคาธุรกิจ มัลติม ีเดีย และ carrier

3,901

3,669

6.3

3,011

2,776

890

893

(0.3) 13.1

- บรอดแบนด อินเทอรเน็ต และ สื่อสารขอมูลธุรกิจและมัลติม ีเดีย

- บริการโครงขายขอมูลลูกคาธูร กิจ และลูกคาผูใหบริการ (carrier) - บริการมัลติมีเดีย

8.5

- บริการอินเทอรเน็ตอื่น ๆ และบริการเสริม

1,100

973

- รายไดจากธุรกิจใหม คอนเวอรเจนซ และ อื่น ๆ

8,284

7,250

14.3

948

848

11.8

- รายไดจากธุรกิจใหม - บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ

836

704

18.7

- อื่น ๆ

112

143

(22.0)

- ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ อื่น ๆ

7,336

6,402

รายไดจากการใหบริการทรูออนไลน

27,328

26,387

3.6

703

540

30.3

รายไดจากการขายสินคาทรูออนไลน รายการระหวางกัน

(6,096)

ทรูออนไลน หลังตัดรายการระหวางกัน

21,935

รายไดรวม รวมรายการระหวางกัน รายไดรวม - สุทธิ

สวนที่ 1

(5,143) 35.2%

70,584

21,784

18.5 34.9%

69,824

(8,206) 62,378

14.6

1.1

(7,350) 100.0%

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

62,474

0.7

11.6 100.0%

หัวขอที่ 11 - หนา 16

(0.2)


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผลการดําเนินงานตามธุรกิจหลัก ทรูมูฟ ผลการดําเนินงานประจําป 2553 ของทรูมูฟไดรับผลกระทบจากการแขงขันในโปรโมชั่นโทรภายใน โครงขาย แมผลการดําเนินงานจะปรับตัวดีขึ้นในไตรมาส 4 จากการฟนตัว ของบริการแบบเติมเงิน และ ความสําเร็จในการเปดตัวไอโฟน 4 และจากผลของฤดูกาล ทั้งนี้ รายไดจากบริการแบบรายเดือนและ บริการที่ไมใชเสียงเติบโตอยางแข็งแกรง จากการขยายโครงขาย และความสําเร็จของทรูมูฟในฐานะ ผูนําตลาดสมารทโฟน สําหรับบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทคลื่อนที่ แมจะมีผูใชบริการแบบเติมเงิน บางสวนเปลี่ยนไปใชบริการของผูใหบริการรายอื่น แตผูใชบริการแบบรายเดือนที่มียอดใชจายสูง เปลี่ยนมาใชบริการของทรูมูฟดวยเชนกัน ตามที่คาดการณไว รายไดจากการใหบริการ ไมรวม IC อยูในระดับคงที่เมื่อเทียบกับปกอนหนา เปน 23.6 พันลานบาท ทั้งนี้เนื่องจากการเติบโตของบริการที่ไมใชเสียง (เพิ่มขึ้นรอยละ 12.8) และบริการแบบรายเดือน (เพิ่มขึ้น รอยละ 9.0) สามารถชดเชยรายไดจากบริการเสียงที่ลดลง (รอยละ 4.9) สวนใหญเนื่องจากการแขงขัน ในโปรโมชั่นโทรภายในโครงขายของบริการระบบเติมเงิน EBITDA ลดลง รอยละ 12.6 เปน 6.3 พันลานบาท ในขณะที่ อัตราการทํากําไร ณ ระดับ EBITDA (จากรายไดโดยรวม ไมรวมคา IC) ลดลงเปนรอยละ 24.0 (เทียบกับรอยละ 27.7 ใน 2552) จากคาใชจายที่ เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งชดเชยไดดวยรายรับ IC สุทธิจํานวน 213 ลานบาท ในป 2553 ทรูมูฟมีรายรับคา IC สุทธิ 181 ลานบาท (เทียบกับ 32 ลานบาทในป 2552) จากกระแสความนิยม ของโปรโมชั่นโทรภายในโครงขาย คาใชจายในการดําเนินงานโดยรวม เพิ่มขึ้นรอยละ 2.0 จากปกอนหนา (เปน 30.7 พันลานบาท) สวนใหญ จากคาใชจายหลักในการดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายที่เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม คาใชจายหลัก ในการดําเนินงาน (Core Opex หรือ คาใชจายในการดําเนินงานดานโครงขายที่เปนเงินสด และคาใชจาย ในการขายและบริหาร) เพิ่มขึ้นรอยละ 10.4 เปน 12.8 พันลานบาท สวนใหญจากการขยายโครงขาย และการเพิ่มชองทางในการจัดจําหนายใหมๆ รวมทั้งการเปดตัวโปรโมชั่นใหมสําหรับสมารทโฟน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ลดลงรอยละ 3.0 เปน 4.2 พันลานบาท จากการขยายโครงขาย ดอกเบี้ยจาย (สุทธิ) ลดลงรอยละ 11.9 จากปกอนหนา (เปน 3.2 พันลานบาท) สวนหนึ่งจากการชําระคืนเงินกู ทั้งนี้ ภาษีเงินได ลดลงเปน 189 ลานบาท ในป 2553 (เทียบกับ 787 ลานบาท ในป 2552) สวนใหญจาก ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี หลังการทบทวนภาระภาษีเงินไดในชวงตนป ขาดทุนสุทธิจากการดําเนินงานปกติ (NIOGO) ปรับตัวดีขึ้นเล็กนอยจากป 2552 เปน 1.4 พันลานบาท จากดอกเบี้ยจายและภาษีเงินไดที่ลดลง หากไมรวมภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ขาดทุนสุทธิจากการดําเนินงานปกติ เพิ่มขึ้นเปน 1.2 พันลานบาท (จากขาดทุน 624 ลานบาทในป 2552) สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในไตรมาส 4 ป 2553 ทรูมูฟมีจํานวนผูใชบริการรายใหมสุทธิ 580,482 ราย ทําใหมีจํานวนผูใชบริการ เพิ่มขึ้น 1.3 ลานรายในป 2553 และมีสวนแบงตลาดของผูใชบริการรายใหมสุทธิเปนรอยละ 23.1 ในขณะที่ ฐานลูกคาเพิ่มขึ้นรอยละ 8.3 ทําใหมีจํานวนผูใชบริการรวมทั้งสิ้น 17.1 ลานราย โดยมีสวนแบงตลาด โดยรวมคงที่ที่รอยละ 24.5 ทั้งนี้ รายไดเฉลี่ยตอเลขหมาย ลดลงรอยละ 8.6 จากปกอนหนา เปน 105 บาท เนื่องจากบริการระบบเติมเงินมีผลการดําเนินงานออนตัวลง อยางไรก็ตาม รายไดตอเลขหมายของบริการ ระบบรายเดือนเพิ่มขึ้นตอเนื่องจากไตรมาส 2 ป 2553 เปน 438 บาทในไตรมาส 4 ป 2553 จากจํานวน ผูใชสมารทโฟนที่เพิ่มขึ้น ยอดผูใชบริการระบบรายเดือน เพิ่มขึ้นรอยละ 7.1 เปน 1.3 ลานราย คิดเปนสัดสวนรอยละ 7.7 ของฐานลูกคา โดยรวม ทั้งนี้ ในป 2553 ทรูมูฟที่มีสวนแบงตลาดผูใชบริการรายใหมสุทธิเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 33.5 อยางไรก็ตาม รายไดจากบริการระบบรายเดือนเพิ่มขึ้นรอยละ 9.0 ในป 2553 เปน 6.3 พันลานบาท จาก ปริมาณการใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ตที่เพิ่มขึ้น รายไดจากบริการระบบเติมเงิน ซึ่งไดรับผลกระทบจากการแขงขันในโปรโมชั่นโทรภายในโครงขายที่ เพิ่มขึ้น ปรับตัวดีขึ้นในไตรมาส 4 ซึ่งมีผลจากการปรับโปรโมชั่น จากโปรโมชั่นบุฟเฟต เปนโปรโมชั่น คิดคาโทรตามจํานวนครั้งและโปรอัตราเดียวทุกเครือขาย เพื่อดึงดูดกลุมลูกคารายใหม อยางไรก็ตาม เมื่อเทียบกับปกอนหนา รายไดจากบริการลดลงรอยละ 6.6 เปน 14.2 พันลานบาท สวนใหญจากผลกระทบ จากการแขงขันในโปรโมชั่นโทรภายในโครงขายในไตรมาส 2 และ 3 ของป 2553 รายไดจากบริการที่ไมใชเสียง เพิ่มขึ้นรอยละ 12.8 ในป 2553 เปน 3.5 พันลานบาท ทําใหมีสัดสวนของ รายไดจากคาบริการโดยรวม (ไมรวมคา IC) เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 15 (เมื่อเทียบกับรอยละ 13.3 ในปที่ผานมา) เนื่องจากความตองการใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเปนผลจากการขยายโครงขายขอมูล และการนําเสนออัตราคาบริการดานขอมูลที่มีความยืดหยุนมากขึ้น ทั้งนี้ รายไดจากบริการโมบาย อินเทอรเน็ต เพิ่มขึ้นเกือบเทาตัวเปน 1.1 พันลานบาท จากกระแสความนิยมของสมารทโฟนที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว รายไดจากบริการเสียง ลดลงรอยละ 4.9 ป 2553 เปน 17.0 พันลานบาท เนื่องจากผลการดําเนินงานที่ ออนตัวลงของบริการระบบเติมเงิน อยางไรก็ตาม บริการระบบเติมเงินเริ่มปรับตัวดีขึ้นในไตรมาส 4 และสงผลใหรายไดจากบริการเสียงเพิ่มขึ้นรอยละ 5.3 จากไตรมาสที่ผานมา ทรูออนไลน ในป 2553 ทรูออนไลน มีผลการดําเนินงานโดยรวมอยูในระดับที่นาพอใจ โดยยอดผูใชบริการรายใหม สุทธิของบริการบรอดแบนดเพิ่มขึ้นกวาเทาตัว ในขณะที่การทดลองใหบริการบรอดแบนดดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ไดรับการตอบรับจากตลาดเปนอยางดี โดยเทคโนโลยีนี้จะสนับสนุนกลุมทรูเปนผูนําใน การเปลี่ยนผานจากบริการบรอดแบนดเดิมสูบริการดวยเทคโนโลยีใหม

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2553 ทรูออนไลนมีรายไดจากการใหบริการ เพิ่มขึ้นรอยละ 3.6 (เปน 27.3 พันลานบาท) จากการ เติบโตของบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต และบริการโครงขายขอมูลสําหรับลูกคาธุรกิจ ตลอดจน ธุรกิจใหมอื่นๆ ซึ่งชวยชดเชยรายไดที่ลดลงจากบริการดานเสียง (ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมตางๆ โทรศัพทสาธารณะ และบริการวี พีซีที) ทั้งนี้ รายไดที่เพิ่มขึ้นมีอัตราการเติบโต เพิ่มสูงขึ้น เมื่อเทียบกับอัตราการเติบโตรอยละ 1.5 ในป 2552 เนื่องจากการลดลงของรายไดจากบริการ โทรศัพทพื้นฐานเริ่มชะลอตัว (จากรอยละ 13.8 ในป 2552 เปนรอยละ 9.4 ในป 2553) เนื่องจากการ นําเสนอโปรโมชั่นตางๆ รวมกับบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไป และการใหความสําคัญกับ กลุมลูกคาธุรกิจ EBITDA ออนตัวลงเล็กนอยในอัตรารอยละ 1.4 (เปน 9.7 พันลานบาท) และอัตราการทํากําไร ณ ระดับ EBITDA ลดลงเปนรอยละ 34.5 (จากรอยละ 36.4 ในป 2552 และ รอยละ 38.1 ในป 2551) เนื่องจากคาใชจาย ที่เพิ่มจากการขยายโครงขาย ซึ่งสวนใหญเพื่อสนับสนุนบริการบรอดแบนดและบริการโครงขายขอมูล คาใชจายในการดําเนินงานโดยรวม เพิ่มขึ้นรอยละ 6.6 (เปน 24.4 พันลานบาท) ในป 2553 สวนใหญ จากการดําเนินงานดานโครงขายที่เพิ่มขึ้น (เกี่ยวของกับการขยายโครงขายเพื่อรองรับการเติบโตของ ธุรกิจบรอดแบนดและบริการโครงขายขอมูล) และคาใชจายในการขายและบริหาร (สวนใหญจากการ ขายและการโฆษณาเพื่อสงเสริมการขายบริการบรอดแบนด) คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย เพิ่มขึ้นรอยละ 4.8 (เปน 6.1 พันลานบาท) สวนใหญเปนคาเชาซื้อรถยนต และคาใชจายของบริการบรอดแบนดและบริการโครงขายขอมูล ดอกเบี้ยจาย (สุทธิ) ลดลงรอยละ 21.1 (เปน 2.4 พันลานบาท) สวนใหญจากการที่ทรูวิชั่นสรับภาระหนี้ ซึ่งเดิมเปนหนี้ของทรูออนไลน ซึ่งเกี่ยวของกับการซื้อกิจการทรูวิชั่นส หลังการรีไฟแนนซทรูวิชั่นส ในไตรมาส 2 ป 2553 นอกจากนี้ ดอกเบี้ยจายที่ลดลงยังเปนผลจากการชําระคืนเงินตนและอัตราดอกเบี้ย ตลาดที่ลดลง ทั้งนี้ ภาษีเงินได เพิ่มขึ้นเล็กนอยเปน 891 ลานบาท (เทียบกับ 553 ลานบาทในป 2552) สวนใหญจากภาษีเงินไดรอตัดบัญชีที่เพิ่มขึ้น ผลการดําเนินงานปกติปรับเปนกําไร 230 ลานบาท (จากขาดทุน 101 ลานบาทในป 2552) จากดอกเบี้ย จายที่ลดลงและสวนของผูถือหุนสวนนอยที่เพิ่มขึ้น (ผูถือหุนสวนนอยรับผลขาดทุนจากการขายหุนที่ เกี่ยวของกับการรีไฟแนนซทรูวิชั่นส) หากไมรวมภาษีเงินไดรอตัดบัญชี กําไรสุทธิจากการดําเนินงาน ปกติเพิ่มขึ้นเปน 690 ลานบาท (45 ลานบาทในป 2552) ขาดทุนสุทธิสวนที่เปนของบริษัท จํานวน 529 ลานบาท (จากกําไร 589 ลานบาทในป 2552) จากผลขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยน และ ขาดทุนจากการชําระหนี้ตามสัญญาปองกันความเสี่ยงทางการเงินซึ่งเกี่ยวของกับ การซื้อกิจการทรูวิชั่นส ทั้งนี้ในป 2552 กําไรสุทธิไดถูกปรับปรุงโดยไมรวมเงินปนผลจากบริษัทในเครือ จํานวน 1.531 พันลานบาท

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายไดบริการดานเสียง ลดลงรอยละ 12.0 (เปน 7.5 พันลานบาท) โดยลดลงในอัตราที่ชาลงเมื่อเทียบกับ รอยละ 15.9 ในป 2552 ทั้งนี้ รายไดจากบริการวี พีซีทีและบริการโทรศัพทสาธารณะ ลดลงรอยละ 36.3 และ รอยละ 33.4 ตามลําดับ นอกจากนี้ในป 2553 จํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐาน ลดลง 23,616 ราย เปน 1.83 ลานราย ในขณะที่รายไดตอเลขหมาย ลดลงรอยละ 5.7 จากปที่ผานมา เปน 285 บาทตอเดือน จํานวนลูกคาพีซีที ลดลง เปน 89,698 ราย แตรายไดเฉลี่ยตอเลขหมายเพิ่มขึ้นรอยละ 3.2 เปน 160 บาท รายไดบริการบรอดแบนด เติบโตในอัตรารอยละ 9.7 (เปน 6.5 พันลานบาท) ซึ่งเปนไปตามเปาหมาย ของป 2553 ที่บริษัทไดวางไว ทั้งนี้ บริการบรอดแบนดมีจํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 17.7 เปน 813,763 ราย ในขณะที่ผูใชบริการรายใหมสุทธิเพิ่มขึ้นมากกวาเทาตัว เปน 122,154 ราย (จาก 57,958 ราย ในป 2552) จากการปรับปรุงโครงขายและการเปนผูใหบริการรายแรกที่นําเสนอบริการบรอดแบนด ความเร็ว 6 Mbps สําหรับลูกคาในวงกวางในไตรมาส 3 ป 2553 ทั้งนี้ รายไดตอเลขหมายลดลงรอยละ 4.7 ในป 2553 (เปน 720 บาท) เนื่องจากลูกคาสวนใหญใชบริการแพ็กเกจมาตรฐานที่มีอัตราคาบริการ 599 บาท ตอเดือน อยางไรก็ตาม รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายเพิ่มขึ้นในไตรมาส 3 และ 4 ของป 2553 เนื่องจากมี ลูกคาธุรกิจเพิ่มขึ้น โครงขาย Wi-Fi ที่ครอบคลุม ดวยจุดเชื่อมตอ Wi-Fi hot spots 18,600 จุด ซึ่งทําใหทรูเปนผูบริการที่ใหญ ที่สุดในประเทศ และชวยสงเสริมใหบริการบรอดแบนดและแพ็กเกจสมารทโฟนของทรูมูฟมีการเติบโต ตอเนื่อง ทั้งนี้ ในป 2554 กลุมทรูมีแผนนําเสนอบริการ Wi-Fi ดวยเทคโนโลยีใหมที่สามารถใหบริการ ดวยประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น และจะขยายจุดใหบริการเพิ่มขึ้นเปนประมาณ 20,000 จุด บริการโครงขายขอมูลธุรกิจและ Carrier มีรายไดเพิ่มขึ้นรอยละ 8.5 (เปน 3.0 พันลานบาท) โดยมีจํานวน วงจรที่ใหบริการเพิ่มขึ้นเปน 21,566 วงจร (19,940 วงจรในป 2552) ทั้งนี้รายไดเฉลี่ยตอวงจร เพิ่มขึ้น รอยละ 3.9 เปน 9,035 บาท นอกจากนี้ธุรกิจใหมๆ อาทิ ธุรกิจโทรทางไกลระหวางประเทศและเกตเวย ระหวางประเทศเติบโตอยางแข็งแกรงในป 2553 การทดลองใหบริการบรอดแบนดความเร็วสูงตั้งแต 10 ถึง 100 Mbps ดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ใน ไตรมาส 4 ไดรับการตอบสนองจากตลาดเปนอยางดี โดยรอยละ 25 ของผูใชบริการไดเปลี่ยนไปใชแพ็กเกจ ที่มีความเร็วสูงกวา 10 Mbps โดยคาดวาจะการเปดใหบริการอยางเปนทางการในครึ่งปแรกของป 2554 ทรูวิชั่นส ในป 2553 ทรูวิชั่นสมีรายไดจากการใหบริการคงที่ เนื่องจากรายไดจากคาโฆษณา สามารถชดเชยรายได จากคาสมาชิกที่ลดลง ในขณะที่ EBITDA ไดรับผลกระทบจากคาใชจายที่เพิ่มขึ้น สวนใหญเกี่ยวของ กับการเปดใหบริการในระบบ High Definition (HD) และ คาใชจายในดานการขาย อยางไรก็ตาม ใน ไตรมาส 4 ป 2553 ผลการดําเนินงานของทรูวิชั่นสปรับตัวดีขึ้น เนื่องจากมีรายไดจากคาโฆษณาเพิ่มขึ้น ประกอบกับมีจํานวนสมาชิกแพ็กเกจระดับบนเพิ่มขึ้นจากการเริ่มตนฤดูกาลใหมของรายการฟุตบอล สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

พรีเมียรลีก และคาใชจายที่ลดลงในระหวางไตรมาส ทั้งนี้ การนําเสนอบริการในระบบ HD ในไตรมาส 2 เปนยุทธศาสตรสําคัญของทรูวิชั่นส ในการดึงดูดลูกคาระดับบนและชวยเพิ่มรายไดเฉลี่ยของลูกคาใน ระยะยาว รายไดจากการใหบริการโดยรวมในป 2553 เพิ่มขึ้นรอยละ 0.5 (เปน 9.6 พันลานบาท) เนื่องจากมีรายได คาโฆษณาเต็มปเปนปแรกรวมทั้งสิ้น 482 ลานบาท (จาก 74 ลานบาทในป 2552) ซึ่งสามารถชดเชยรายได จากคาสมาชิกและคาติดตั้งที่ลดลงในอัตรารอยละ 2.5 (เปน 8.3 พันลานบาท) เนื่องจากการแขงขันที่เพิ่มขึ้น และความไมสงบทางการเมืองซึ่งสงผลกระทบกับกลุมลูกคาในอุตสาหกรรมทองเที่ยวและโรงแรม ในชวงครึ่งปแรก ทั้งนี้ รายไดอื่นๆ ลดลงรอยละ 15.5 (เปน 769 ลานบาท) สวนใหญ จากการงดรายการพิเศษ (ไดแกรายการ “Coffee Master”) จากความไมสงบทางการเมืองในชวงครึ่งแรกของป ในป 2553 EBITDA ลดลงรอยละ 11.3 (หรือรอยละ 3.7 หากไมรวมผลกระทบจากการกลับรายการคาใชจาย ดานคอนเทนตที่เคยบันทึกไวจํานวน 207 ลานบาท ซึ่งเปนรายการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในป 2552) เปน 2.3 พันลานบาท จากคาใชจายที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่ อัตราการทํากําไร ณ ระดับ EBITDA ออนตัวลง เปนรอยละ 23.7 (จากรอยละ 24.8 ในป 2552 หากไมรวมรายการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว) คาใชจายในการดําเนินงานโดยรวม เพิ่มขึ้นรอยละ 4.9 (เปน 8.5 พันลานบาท) จาก คาใชจายจากการขายที่ เพิ่มขึ้นและรายการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในป 2552 ในขณะที่ คาใชจายหลักในการดําเนินงาน (Core Opex) หรือ คาใชจายเกี่ยวกับการดําเนินการดานโครงขายที่เปนเงินสดและคาใชจายในการขายและบริหาร เพิ่มขึ้นรอยละ 6.2 เปน 6.8 พันลานบาท สวนใหญเปนคาใชจายที่เกี่ยวกับการเปดใหบริการในระบบ HD และตนทุนในการหาสมาชิกใหมที่เพิ่มขึ้น คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย เพิ่มขึ้นรอยละ 1.9 เปน 1 พันลานบาท ในป 2553 ดอกเบีย้ จาย (สุทธิ) เพิ่มขึน้ รอยละ 317 เปน 430 ลานบาท (103 ลานบาทในป 2552) เนื่องจากทรูวชิ ั่นส รับภาระหนี้ซึ่งเดิมเปนหนี้ของทรูออนไลน หลังการรีไฟแนนซทรูวิชนั่ สในไตรมาส 2 ป 2553 ภาษีเงินได ลดลงรอยละ 44.4 (เปน 297 ลานบาท) จากภาษีเงินไดที่จายลดลงจากผลขาดทุนจากการขายหุน ซึ่งเกี่ยวกับการปรับโครงสรางองคกร กําไรสุทธิจากการดําเนินงานปกติ (NIOGO) ลดลงเปน 520 ลานบาท (จาก 983 ลานบาท ในป 2552) โดยสวนใหญจากดอกเบี้ยจายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสวนหนึ่งสามารถชดเชยไดดวยภาษีเงินไดที่ลดลง หากไมรวม ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี กําไรสุทธิจากการดําเนินงานปกติมีจํานวนทั้งสิ้น 678 ลานบาท เทียบกับ เทียบกับ 1 พันลานบาท ในปกอนหนา กําไรสุทธิสวนที่เปนของบริษัท เพิ่มขึ้นเปน 1.3 พันลานบาท (1.1 พันลานบาท ในป 2552) จากรายการ ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว สวนใหญเกีย่ วของกับการรีไฟแนนซ

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การขยายตลาดสูลูกคาระดับกลางและลาง เปนปจจัยสําคัญในการเพิ่มจํานวนผูใชบริการ โดยในป 2553 ทรูวิชั่นสมีผูใชบริการรวมทั้งสิ้นประมาณ 1.7 ลานราย เพิ่มขึ้น 41,000 ราย หรือคิดเปนรอยละ 2.5 จาก ไตรมาสเดียวกันปกอนหนา ทั้งนี้ อัตราการเปลี่ยนไปใชแพ็กเกจที่มีราคาสูงขึ้นคงที่จากปกอนหนา ที่รอยละ 38.0 จํานวนสมาชิกแพ็กเกจพรีเมียมและมาตรฐาน คงที่ที่ 929,492 ราย จากการแขงขันที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบ จากความไมสงบทางการเมืองในชวงครึ่งปแรก รายไดเฉลี่ยของลูกคาตอเดือน ลดลงรอยละ 7.7 จากไตรมาสเดียวกันปกอนหนา เปน 744 บาท จากการเพิ่มขึ้น ของลูกคาแพ็คเกจราคาถูกลง บริการทรูไลฟและทรูมันนี่ ทรูไลฟ ผุใหบริการดิจิตอลคอนเทนตตางๆ และ ทรูมันนี่ ผูใหบริการธุรกรรมทางการเงิน แบบออนไลน ยังคงมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนกลยุทธคอนเวอรเจนซของกลุมทรู ในครึ่งปหลัง ของป 2553 ทรู ไดเปดตัวแบรนดใหม “ทรูไลฟพลัส” ซึ่งรวมผลิตภัณฑและบริการของกลุมทรูไวดวยกัน เพื่อขับเคลื่อนกลยุทธคอนเวอรเจนซใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น ในป 2553 บริการทรูมันนี่บนโทรศัพทเคลื่อนที่ (E-Wallet) มีจํานวนผูใชบริการเพิ่มขึ้นตอเนื่อง โดยผูใหบริการเกมออนไลนราวรอยละ 70 ของผูใหบริการในประเทศไทยใชบริการธุรกรรมทางการเงิน ผานทรูมันนี่ นอกจากนั้น ทรูมันนี่ยังเปนผูใหบริการไทยรายแรกที่ไดรับเงินทุนจาก GSM Association เพื่อสนับสนุนแผนงานขยายบริการทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ซึ่งเปนจุดรับชําระผานระบบเฟรนไชส ครอบคลุม ทั่วประเทศ โดยทรูมันนี่มีจุดรับชําระคาสินคาและบริการของทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ทั้งสิ้น 18,000 จุด นอกจากนี้ บริษัทยังใหบริการ weloveshopping.com ซึ่งเปนพอรทัลพาณิชยอิเล็กทรอนิกส แบบ B2C (ผูประกอบการกับผูบริโภค) ที่ใหญที่สุดในประเทศ ซึ่งทําใหผูบริโภคสามารถซื้อและขาย ผลิตภัณฑและบริการตางๆ บนออนไลน ไดงายยิ่งขึ้น บริการเกมออนไลนของทรูไลฟยังคงเติบโตตอเนื่อง โดย Point Blank และ Special Force ยังคงเปนเกมที่ไดรับความนิยมสูงในตลาด ในขณะที่ FIFA Online ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นเนื่องจาก กระแสฟุตบอลโลก 2010 นอกจากนี้ ทรู แอพ เซ็นเตอร (True App Center) มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่น มากกวา 110 แอพพลิเคชั่น สามารถรองรับการใชงานของสมารทโฟน ทั้ง iPhone (ไอโฟน) Android (แอนดรอยด) และ BlackBerry (แบล็กเบอรรี่) ทําใหทรูมีความแตกตางจากผูใหบริการรายอื่นๆ ในตลาด

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

งบดุลรวม และงบกระแสเงินสดรวม

(ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2553

ป 2552

% เปลี่ยนแปลง

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่ น) งบดุลรวม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด รวมเงินสดที่มีภาระผูกพัน

5,709

6,264

ลูกหนี้การคา - สุทธิ

8,529

8,347

(8.9) 2.2

รวมสินทรัพยหมุนเวียน

22,099

20,557

7.5

เงินลงทุนในบริษัทยอ ย กิจการรวมคา และบริษัทรวม ที่ดิน อาคาร และอุ ปกรณ - สุทธิ

90 65,368

50 68,693

81.4 (4.8)

สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ

5,119

5,340

(4.1)

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

92,923

95,864

(3.1)

115,022

116,421

(1.2)

เจาหนี้การคา

6,998

7,126

(1.8)

หนี้สินหมุนเวียนอื่ น สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของเงินกูยืมระยะยาว

4,088 7,171

3,020 7,677

35.3 (6.6)

รวมหนี้สินหมุนเวียน

29,949

31,422

(4.7)

เงินกูระยะยาว หนี้สินภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ

64,675 4,123

65,422 4,482

(1.1) (8.0)

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน

72,603

74,356

(2.4)

หนี้สินรวม สว นของผูถือหุนรวม

102,552 12,470

105,779 10,642

(3.1) 17.2

สินทรัพยรวม

งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน - รายจายลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสด (ลดลง) เพิ่มขึ้นสุทธิ ยอดยกมาตนงวด และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอั ตราแลกเปลี่ยน ยอดเงินคงเหลือสิ้นงวด กระแสเงินสดสุทธิ 1/ หมายเหตุ :

1/

9,269 (6,937)

9,444 (7,578)

(1.9) (8.5)

(7,483)

(5,289)

41.5

(2,707) (375)

(1,306) 559

107.2 (167.1)

4,916

4,357

12.8

4,541 1,786

4,916 4,155

(7.6) (57.0)

กระแสเงินสดสุทธิ คือ กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานหักรายจายลงทุน

การวิเคราะหฐานะทางการเงิน สินทรัพย สินทรัพยรวมของบริษัทฯ ณ 31 ธันวาคม 2553 มีจํานวน 115.0 พันลานบาท ลดลงในอัตรารอยละ 1.2 จาก 116.4 พันลานบาทในป 2552 สวนใหญมาจากการลดลงของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) เงินสดและเงินสดที่มีภาระผูกพัน มีจํานวน 5.7 พันลานบาท โดยลดลงจาก 6.3 พันลานบาท ณ สิ้นป 2552 จากรายจายการลงทุนที่เพิ่มขึ้น ลูกหนี้การคา (สุทธิ) เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 2.2 เปน 8.5 พันลานบาท โดยสวนใหญจากการมีรายไดเพิม่ นอกจากนั้น ยังมีผลจากการที่ทรูมูฟมีลูกคารายเดือนเพิ่มขึ้น

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) ลดลง 3.3 พันลานบาท เปน 65.4 พันลานบาท สวนใหญเนื่องจาก คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายจํานวน 11.3 พันลานบาท ซึ่งสูงกวาการลงทุนเพิ่มในที่ดิน อาคาร และอุปกรณใหม หนี้สิน หนี้สินรวมของบริษัทฯ ลดลง 3.2 พันลานบาท เปน 102.6 พันลานบาท ณ สิ้นป 2553 สวนใหญมา จากการแข็งคาของเงินบาท (เมื่อเทียบกับเงินสกุลดอลลารสหรัฐฯ และเยน) ซึ่งสงผลใหหนี้สิน ตางประเทศอยูในระดับที่ลดลงจากหนี้สิน ณ อัตราดอกเบี้ยตลาด ณ สิ้นป 2553 โดยกลุมทรูมีการ ชําระคืนหนี้สินจํานวน 5.7 พันลานบาทในระหวางป อยางไรก็ตาม เงินกูยืมใหมเพื่อการขยายธุรกิจ ทําใหบริษัทฯ มีเงินกูสุทธิเพิ่มขึ้น 1.4 พันลานบาท (รวมคาใชจายในการกูยืม) ในป 2553 เจาหนี้การคาสุทธิ ลดลง 128 ลานบาท เปน 7.0 พันลานบาท สวนใหญจากชําระคืนเจาหนี้การคาใน ปที่ผานมา หนี้สินหมุนเวียนอื่น เพิ่มขึ้น 1.1 พันลานบาท สวนใหญจากเงินมัดจําสําหรับการขายบัตรเงินสด จากตัวแทนจําหนาย เงินกูยืมระยะยาวโดยรวม (รวมสวนที่ถึงกําหนดชําระในปจจุบัน) ลดลง 1.3 พันลานบาท เปน 71.8 พันลานบาท (รวมหนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน จํานวน 5.7 พันลานบาท) สวนใหญจาก การแข็งคาของเงินบาทดังที่กลาวขางตน หนี้สินภายใตสัญญาใหดําเนินการฯ (รวมสวนที่ถึงกําหนดชําระในปจจุบัน) ลดลง 269 ลานบาท เปน 4.7 พันลานบาท สวนใหญเนื่องจากการจายชําระหนี้สินภายใตสัญญาใหดําเนินการฯ จํานวน 696 ลานบาท ใหกับ กสท บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามขอผูกพันทางการเงินที่ตกลงไวกับผูถือหุนกู ตามตารางที่แสดงดานลาง ทั้งนี้ หากบริษัทฯ ไมสามารถปฏิบัติตามขอผูกพันทางการเงินดังกลาวได บริษัทฯ จําเปนตองทําเอกสารขอผอน ผันกับผูถือหุนกู ทั้งนี้ หากบริษัทฯ ซึ่งเปนผูออกหุนกู ไมไดรับการผอนผัน และสงผลใหเกิดกรณี ผิดนัด ผูถือหุนกูสามารถเรียกคืนเงินลงทุนในหุนกูดังกลาวได หากไดรับความเห็นชอบจากเสียง สวนใหญของกลุมเจาหนี้มีประกันและเปนไปตามเงื่อนไขในเอกสารทางการเงินของบริษัทฯ

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หุนกูของบริษัทฯ ประกอบดวย หุนกูมีประกันชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2547 (TRUE117A) ครั้งที่ 1/2552 (TRUE144A) และ ครั้งที่ 2/2552 (TRUE151A) ชื่อหุนกู

ขอผูกพัน (ตองเปนไปตามอัตราสวนที่กําหนดตลอดเวลา) อัตราสวนความสามารถในการชําระหนี้ > 1.2 อัตราสวนหนี้สินสุทธิ ตอ EBITDA < 5

อัตราสวนที่คํานวณลาสุด (ณ 31 ธันวาคม 2553) * 1.26 3.43

TRUE144A (ครั้งที่ 1/2552)

อัตราสวนหนี้สินสุทธิ ตอ EBITDA < 5

3.43

TRUE151A (ครั้งที่ 2/2552)

อัตราสวนหนี้สินสุทธิ ตอ EBITDA < 5

3.43

-

-

TRUE117A (ครั้งที่ 1/2547)

TRUE 13NA (1/2553)

หมายเหตุ : * อางอิงจาก งบการเงิน (ตรวจสอบแลว) ของ บริษัท ทรู และงบการเงินเบื้องตนผูค้ําประกันที่ เปนบริษัทในเครือ 6 แหง

หนี้สินสุทธิ ไดแก หนี้สินที่กอดอกเบี้ยทั้งหมด โดยไมรวมสินเชื่อจากผูขายอุปกรณ ซึ่งอยูในรูปเอกสาร การยืดเวลาการชําระหนี้ (Deferred payment note) หักลบดวย เงินสด เงินสดที่มีภาระผูกพัน และเงินลงทุนชั่วคราว EBITDA คํานวณโดยการรวม 1) ผลกําไร (ขาดทุน) สุทธิ 2) หักดวย กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน และกําไรจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และรายไดอื่นที่ไมใชเงินสด (ถามี) ออกจากกําไร (ขาดทุน) สุทธิ และ 3) บวกกลับ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ดอกเบี้ยจาย (รวมตนทุนทางการเงินอื่น) คาใชจายอื่นที่ไมใชเงินสด (ถามี) และ ภาษีเงินได อัตราสวนที่คํานวณได อางอิงจากงบการเงินของ บริษัท ทรู และงบการเงินผูค้ําประกันที่เปนบริษัทในเครือ 6 แหง ไดแก บริษัท ทรู ลิสซิ่ง จํากัด (TLS) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต จํากัด (TI) บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต เกตเวย จํากัด (TIG) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (TPC) และ บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (TUC)

สวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุน เพิ่มขึ้น 1.8 พันลานบาท เปน 12.5 พันลานบาท สวนใหญจากผลกําไรสุทธิระหวางป จํานวน 1.9 พันลานบาท การออกหุนสามัญและมูลคาหุนที่ชําระแลวเพิ่มขึ้นเปน 77,757 ลานบาท เนื่องจากเครือเจริญโภคภัณฑซื้อหุนสามัญทั้งหมด (จากการแปลงสภาพหุนบุริมสิทธิ์เปนหุนสามัญ) จาก KfW สงผลใหมูลคาหุนบุริมสิทธิ์ลดลงจาก 6,993.30 ลานบาทเปนศูนย (0.00 บาท) สภาพคลอง แหลงเงินทุนหลักของบริษัทฯ สําหรับป 2553 มาจากกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน การกูยืมใหม และเงินสดรวมรายการเทียบเทาเงินสด ที่ยกมาจากป 2552

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 25


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน ลดลง 175 ลานบาท เปน 9.3 พันลานบาท สวนใหญจากเงินสด จากการดําเนินงานที่ลดลง (ไมรวมเงินทุนหมุนเวียน) ซึ่งบางสวนสามารถชดเชยไดดวยดอกเบี้ยจาย ที่ลดลง กระแสเงินสดใชไปสุทธิจากกิจกรรมลงทุน ลดลง 641 พันลานบาท เปน 6.9 พันลานบาท สวนใหญ เนื่องจากรายจายการลงทุนที่เพิ่มขึ้นสามารถชดเชยไดดวยการลดลงของรายไดรวมที่ใชในการลงทุนใน บริษัทยอย ทั้งนี้ ทรูไดเพิ่มเงินลงทุนจํานวน 3,540 ลานบาทใน BITCO ในระหวางป 2552 รายจายลงทุน มีจํานวนทั้งสิ้น 7.5 พันลานบาท ในป 2553 ซึ่งประกอบดวย 3.4 พันลานบาท สําหรับทรูมูฟ 3.4 พันลานบาทสําหรับทรูออนไลน และ 681 ลานบาทสําหรับทรูวิชั่นส โดยเพิ่มขึน้ ประมาณ 2.2 พันลานบาทจากปกอนหนา ซึ่งเปนการเพิม่ ขึ้นที่ทรูออนไลนจํานวน 846 ลานบาท กระแสเงินสดสุทธิหลังหักรายจายลงทุน ลดลง 2.4 พันลานบาท เปน 1.8 พันลานบาท สวนใหญ จากรายจายลงทุนที่เพิ่มขึ้น กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุทธิใชไปจากกิจกรรมจัดหาเงิน เพิ่มขึ้น 1.4 พันลานบาท จากปกอนหนา เปน 2.7 พันลานบาท โดยในป 2553 กลุมทรูไดชําระคืนเงินกูระยะยาว จํานวน 7.2 พันลานบาท (รวมการจายชําระคืนหนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน จํานวน 1.5 พันลานบาท) และไดมีเงินกูยืมใหมสุทธิ (หลังการชําระคืน) จํานวน 904 ลานบาท (รวมการจายชําระคืนหนี้สิน ภายใตสัญญาเชาทางการเงิน จํานวน 520 ลานบาท) สรุป ทรูยังคงมุงลดภาระหนี้อยางตอเนื่อง แมอาจจะมีความจําเปนตองกูยืมเพิ่มเพื่อสนับสนุนการ เติบโตของธุรกิจ ทั้งนี้ กลุมทรูมีหนี้สินโดยรวมลดลง เปน 66.9 พันลานบาท (ไมรวมหนี้สินภายใตสัญญาเชา ทางการเงิน) จากการชําระคืนหนี้และการแข็งคาของเงินบาท อยางไรก็ตาม EBITDA โดยรวมที่ลดลง สงผลใหอัตราสวนหนี้สินสุทธิตอ EBITDA เพิ่มขึ้นเปน 3.3 เทาในป 2553 จาก 3.1 เทา ในปกอนหนา โดยอัตราสวน EBITDA ตอดอกเบี้ยจายปรับตัวดีขึ้นเปน 2.8 จาก 2.6 เทา ในปกอนหนา เนื่องจากตนทุน หนี้สินโดยเฉลี่ยลดลงซึ่งสวนใหญจากการรีไฟแนนซทรูวิชั่นส โครงการในอนาคต ในป 2554 กลุมทรูมีโครงการที่จะลงทุนเพิ่มราว 10 พันลานบาท เพื่อขยายธุรกิจในกลุม สวนใหญ สําหรับบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนโครงขาย HSPA และบริการบรอดแบนด ตลอดจนเสริมสรางความ แข็งแกรงใหกับคอนเวอรเจนซ แพลตฟอรม ทั้งนี้การลงทุนหลักๆ ในป 2554 ไดแก

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 26


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ (ทรูมูฟ) ทรูมูฟมีโครงการที่จะลงทุนราว 2 ถึง 3 พันลานบาทในป 2554 เพื่อขยายความครอบคลุมของ โครงขาย และขยายขีดความสามารถในการใหบริการเพื่อใหครอบคลุมพื้นที่ในตางจังหวัด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งเพื่อรองรับความตองการบริการโมบาย อินเทอรเน็ตที่เพิ่มมากขึ้น ทรู-ฮัทช (เรียลมูฟ/บีเอฟเคที - HSPA 3G) บริษัททรู-ฮัทช ซึ่งเปนบริษัทยอยใหมของทรูจะเริ่มใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในระบบ 3G บนโครงขาย HSPA ในกลางป 2554 โดยคาดวาจะใชเงินลงทุนราว 3 ถึง 4 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเปน การลงทุนในอุปกรณ HSPA ระบบสารสนเทศและบิลลิ่ง ธุรกิจออนไลน ทรูออนไลนมีโครงการที่จะลงทุนราว 4 ถึง 5 พันลานบาทในป 2554 เพื่อการเปดใหบริการ บรอดแบนดดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ในประเทศไทย โดยมีเปาหมายครอบคลุมประชากรจํานวน ประมาณ 2 ลานครัวเรือนใน 27 จังหวัด ภายในป 2555 ทั้งนี้ เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ใหบริการดาวนโหลด ดวยความเร็วสูงสุด 400 Mbps ทําใหสามารถใหบริการบรอดแบนดและเคเบิลทีวีในระบบ High Definition (HDTV) ไดพรอมๆ กัน อีกทั้งยังเปนการที่ผูใหบริการรายอื่นๆ ไมสามารถนําเสนอไดในลักษณะเดียวกัน นอกจากนี้บริษัทยังสามารถใชประโยชนจากโครงขายที่มีอยูเดิม ซึ่งครอบคลุมประชากรจํานวนกวา 900,000 ครัวเรือนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหมีการลงทุนเพิ่มไมมากนัก ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก (ทรูวิชั่นส) ทรูวิชั่นสวางแผนลงทุนประมาณ 1 พันลานบาทเพื่อใหบริการดวยเทคโนโลยีใหม โดยจะใช เทคโนโลยี MPEG 4 ในการบีบอัดสัญญาณ เพื่อเพิ่มพื้นที่วางบนชองสัญญาณดาวเทียม ทําใหทรูวิชั่นส สามารถเปดชองรายการไดมากยิ่งขึ้น และจะนําระบบการเขารหัสสัญญาณแบบใหม (Encryption) มาใช เพื่อชวยปองกันการลักลอบใชสัญญาณ รวมทั้งใชประโยชนจากโครงขายเคเบิลของกลุม ซึ่งใหบริการ ดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใหทรูวิชั่นสในการใหบริการโทรทัศนแบบ Interactive และการเพิ่มชองรายการในระบบ High Definition นอกจากนี้ยังมีแผนจะเปลี่ยนกลองรับสัญญาณ จาก ระบบอะนาล็อกเดิมมาเปนกลองรับสัญญาณรุนใหม ในระบบดิจิตอล (Hybrid Set Top Box) ในป 2554 กลองรับสัญญาณใหมนี้ไมเพียงจะชวยลดการลักลอบใชสัญญาณเทานั้น แตยังเปนปจจัยที่มีความสําคัญ ตอการเพิ่มประสบการณของสมาชิกในการรับชมรายการตางๆ ของทรูวิชั่นสอีกดวย

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 27


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11.3 ผูสอบบัญชี ผูสอบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริษัทฯ สําหรับตรวจสอบงบการเงิน รวมและงบการเงินของบริษัทฯ ในระยะ 3 ป ที่ผานมา มีดังนี้ งบการเงินประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

บริษัทผูตรวจสอบ บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส

ชื่อผูสอบบัญชี นายพิสิฐ ทางธนกุล นายพิสิฐ ทางธนกุล นายพิสิฐ ทางธนกุล

เลขประจําตัว ผูสอบบัญชี รับอนุญาต 4095 4095 4095

รายงานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีในระยะ 3 ปที่ผานมา (2551-2553) ผูสอบบัญชีไดให ความเห็นในรายงานการตรวจสอบงบการเงินของบริษัทฯ ถูกตองแบบไมมีเงื่อนไข บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส และ ผูสอบบัญชีไมมีความสัมพันธหรือสวนไดเสียกับ บริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือผูบริหาร หรือผูถือหุนรายใหญ หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว ในลักษณะที่ จะมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระแตอยางใด 11.4 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทฯ และบริษัทยอยมีคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแกสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด สําหรับ ป พ.ศ. 2553 เปนจํานวนเงินรวม 25.34 ลานบาท ไดจายระหวางปเปนจํานวนเงิน 16.37 ลานบาท สําหรับจํานวนเงินที่เหลือ 8.97 ลานบาทจะจายในปถัดไป 2. คาบริการอื่น (non-audit fee) สํานักงานสอบบัญชีที่ไดรับการแตงตั้งจากบริษัทฯ ไดใหบริการอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการ ตรวจสอบบัญชีแกบริษัทฯ และ บริษัทยอย ซึ่งไดแก การตรวจสอบตามวิธีการที่ตกลงรวมกัน และการให คําปรึกษาดานภาษีและอื่นๆ ในระหวางป 2553 มีคาตอบแทนเปนจํานวนเงิน 5.57 ลานบาท ในจํานวนนี้ กลุมบริษัทฯ ไดจายชําระแลวระหวางปเปนจํานวนเงิน 3.95 ลานบาทที่เหลืออีกจํานวน 1.62 ลานบาทจะจาย ในปถัดไป

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 28


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ 1. ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2553 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 มีมติที่สําคัญดังนี้ (1) อนุมัติการขายหุนสามัญของบริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด ที่บริษัทฯ ถืออยู ทั้งหมดจํานวน 849,994 หุน ในราคาหุนละ 71.50 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้นจํานวน 60,774,571 บาท ใหแก บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยที่กลุมบริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 98.83 ของหุน ที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมด เพื่อปรับโครงสรางการถือหุนภายในกลุมบริษัทฯ และ เนื่องจาก การเขาทํารายการนี้ตองขออนุญาตจากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ดวย (ซึ่งปจจุบันคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) ยังคงปฏิบัติหนาที่ตอไปในฐานะ กสทช. เปนการชั่วคราว) ในขณะนี้เรื่องดังกลาวอยูใน ระหวางการรอรับการอนุญาตจาก กสทช. (2) อนุมัติการออกและเสนอขายหุนกู โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประเภทหุนกู : หุนกูทุกประเภท ชนิดระบุชื่อผูถือหรือไมระบุชื่อผูถือ มีประกันหรือไมมีประกัน มีหรือไมมีผูแทนผูถือหุนกู ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของสภาวะตลาด ในขณะออกและเสนอขายหุน กูในแตละครั้ง วงเงิน : มูลคารวมของหุนกู (ตามมูลคาที่ตราไว) ที่เสนอขายในแตละครั้งเมื่อนับรวมกับ มูลคารวมของหุนกูของบริษัทฯ (ตามมูลคาที่ตราไว) ที่ยังมิไดไถถอนทั้งหมด ทุกประเภท ณ ขณะใดขณะหนึ่งจะตองมีจํานวนไมเกิน 30,000 ลานบาท หรือ สกุลเงินอื่นที่เทียบเทา สกุลเงิน : เสนอขายในสกุลเงินบาท และ/หรือ ในสกุลเงินอื่นที่เทียบเทาภายในวงเงิน อัตราดอกเบี้ย : ขึ้นอยูกับสภาวะตลาดในขณะที่ออกและเสนอขายหุนกูในแตละครั้ง อายุของหุนกู : อายุไมเกิน 20 ป โดยสามารถกําหนดใหมีการไถถอนกอนครบกําหนดอายุของ หุนกูหรือไมก็ได วิธีการเสนอขาย : เสนอขายภายในประเทศ และ/หรือ ตางประเทศ ใหแกผูลงทุนทั่วไป และ/หรือ ผูลงทุนโดยเฉพาะเจาะจง และ/หรือ ผูลงทุนรายใหญ และ/หรือ ผูลงทุนสถาบัน ในประเทศ และ/หรือ ผูลงทุนสถาบันตางประเทศ ซึ่งอาจเสนอขายครั้งเดียวเต็ม จํานวนวงเงินหรือเสนอขายเปนคราวๆ ไป วัตถุประสงค : เพื่อชําระคืนหนี้คงคาง และ/หรือ ใชเปนเงินทุนหมุนเวียน รวมทั้งการขยายธุรกิจ

สวนที่ 1

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูภายใตมติอนุมัติของที่ประชุมสามัญ ผูถือหุนประจําป 2553 ดังนี้ (1) หุนกูระยะสั้น ครั้งที่ 1/2553 ครบกําหนดไถถอน 18 พฤศจิกายน 2553 (“TRUE10N18A”) จํานวน 900,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 900,000,000 บาท (2) หุนกูไมมปี ระกัน ครั้งที่ 1/2553 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2556 (“TRUE13NA”) จํานวน 1,100,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,100,000,000 บาท 2. การซื้อขายหุน TRUE ของผูถือหุนรายใหญ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการของบริษัทฯ ไดรับแจงจาก CPG และ KfW วา CPG ไดซื้อหุนของบริษัทฯ จาก KfW รวมทั้งสิ้นจํานวน 699,333,982 หุน ในราคาหุนละ 4.90 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้นจํานวน 3,426,736,511.80 บาท ซึ่งสงผลใหสัดสวนการถือหุนในบริษัทฯ ของกลุม CPG เพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณรอยละ 55.75 เปนประมาณรอยละ 64.74 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมด ของบริษัทฯ 3. การเปลี่ยนแปลงกรรมการบริษัทและสมาชิกในคณะกรรมการชุดยอย (1) สืบเนื่องจากการที่ บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด ไดทําการซื้อหุนของบริษัทฯ ที่ KfW ถืออยู ทั้งหมดสําเร็จเปนที่เรียบรอยเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2553 ซึ่งสงผลให KfW ไมมีการถือหุนในบริษัทฯ แลว ดังนั้น - นายนอรเบิรต ฟาย และ นายเยนส บี. เบสไซ ซึ่งเปนกรรมการของบริษัทฯ ที่แตงตั้งโดย KfW จึงไดขอลาออกจากการเปนกรรมการของบริษัทฯ และ การเปนสมาชิกในคณะกรรมการชุดยอย ตางๆ โดยมีผลในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 - นายไฮนริช ไฮมส ซึ่งเปนสมาชิกในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการของ บริษัทฯ ที่แตงตั้งโดย KfW ไดขอลาออกจากการเปนสมาชิกของคณะกรรมการชุดยอยดังกลาว โดยมีผลในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 (2) ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2554 ไดมีมติแตงตั้ง และปรับเปลี่ยนตําแหนงสมาชิกในคณะกรรมการชุดยอยของ นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ ดังนี้ สมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ จากเดิมที่เปน ปรับเปลี่ยนเปน สมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและ สรรหากรรมการ และ คณะกรรมการดานการเงิน

สวนที่ 1

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. การซื้อหุนของบริษัทในกลุมฮัทชิสัน เพื่อเปนการขยายธุรกิจการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทฯ บริษัทยอยของบริษัทฯ ไดทําการซื้อหุนของบริษัทในกลุมฮัทชิสัน โดยการซื้อหุนดังกลาวเสร็จสมบูรณเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2554 โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) บริษัท เรียล มูฟ จํากัด (“Real Move”) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่กลุมบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 98.77 ของหุน ที่จําหนายแลวทั้งหมดของ Real Move ไดซื้อหุนของบริษัทในกลุมฮัทชิสัน ดังนี้ (1.1) บริษัท ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส จํากัด (“HWMH”) ในสัดสวนรอยละ 92.50 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมดของ HWMH (1.2) Rosy Legend Limited (“RL”) ในสัดสวนรอยละ 100 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมดของ RL (2) บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด (“Real Future”) ซึ่งเปนบริษทั ยอยที่กลุมบริษัทฯ ถือหุนรอยละ 99.99 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมดของ Real Future ไดซื้อหุน ของบริษัทในกลุมฮัทชิสัน ดังนี้ (2.1) บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด (“BFKT”) ในสัดสวนรอยละ 100 ของหุนที่ จําหนายแลวทั้งหมดของ BFKT (2.2) Prospect Gain Limited (“PG”) ในสัดสวนรอยละ 100 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมด ของ PG การเขาซื้อหุนดังกลาวขางตน สงผลใหบริษัทตอไปนี้ กลายเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ - HWMH - BFKT - RL - PG - บริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส (ประเทศไทย) จํากัด (“HMSTL”) - บริษัท ฮัทชิสันเทอลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด (“HTTCL”) (HMSTL และ HTTCL เปนบริษัทยอยที่ BFKT ถือหุนในสัดสวนรอยละ 100 ของหุนที่จําหนายแลว ทั้งหมดของแตละบริษัท) - บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด (“HCWML”) (HCWML เปนบริษัทยอยที่ HWMH ถือหุนในสัดสวนรอยละ 73.92 ของหุนที่จําหนายแลว ทั้งหมดของ HCWML)

สวนที่ 1

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2554 มีมติที่สําคัญดังนี้ (1) มีมติใหเสนอเรื่องการแกไขขอบังคับของบริษัทฯ ขอ 2 ขอ 2 ทวิ และ ขอ 27 (ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับ หุนบุริมสิทธิ) ตอที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2554 เพื่อพิจารณาอนุมัติ เนื่องจากในปจจุบัน บริษัทฯ ไมมีหุนบุริมสิทธิเปนสวนประกอบของโครงสรางเงินทุนแลว โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ (ก) ใหแกไขขอบังคับ ขอ 2 วรรคแรก จากเดิม “ขอ 2 หุนของบริษัทเปนหุน สามัญและหุน บุริมสิทธิและเปนหุน ชนิดระบุชื่อผูถือหุน” แกไขเปน “ขอ 2 หุนของบริษัทเปนหุนสามัญและเปนหุนชนิดระบุชื่อผูถือหุน” สวนขอความในวรรคอื่นๆ ของขอบังคับ ขอ 2 นี้ ใหคงเดิม (ข) ใหยกเลิกขอความในขอบังคับ ขอ 2 ทวิ ทั้งหมด (ซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับสิทธิของหุนบุริมสิทธิ) (ค) ใหแกไขขอบังคับ ขอ 27 วรรคสอง จากเดิม “เงินปนผลใหแบงตามจํานวนหุน หุนละเทา ๆ กัน เวนแตที่กําหนดไวเปนอยางอื่นใน เรื่องหุนบุริมสิทธิตามที่กําหนดไวในขอบังคับนี้ โดยการจายเงินปนผลตองไดรับอนุมัติจาก ที่ประชุมผูถือหุน” แกไขเปน “เงินปนผลใหแบงตามจํานวนหุน หุนละเทา ๆ กัน โดยการจายเงินปนผลตองไดรับ อนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน” สวนขอความในวรรคอื่นๆ ของขอบังคับ ขอ 27 นี้ ใหคงเดิม (2) มีมติเห็นชอบกับขอเสนอของคณะกรรมการดานการเงินใหเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2554 ในเรื่องตอไปนี้ (2.1)

สวนที่ 1

เพื่อพิจารณาอนุมัติใหบริษัทฯ ขายหุนสามัญของบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) ที่บริษัทฯ ถืออยูทั้งหมด จํานวน 31,892,314,629 หุน ในราคาหุนละ 0.34 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้นจํานวน 10,843,386,973.86 บาท ใหแก บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด (“Real Future”) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่กลุมบริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมดของ Real Future

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(2.2) เพื่อพิจารณาอนุมัติใหบริษัทฯ ซื้อหุนสามัญของบริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด จํานวน 99,998 หุน ในราคาหุนละ 3.79 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้นจํานวน 378,992.42 บาท จาก บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่กลุม บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ของหุนที่จําหนายแลวทั้งหมดของ AWC การทํารายการดังกลาวขางตน มีวัตถุประสงคเพื่อปรับโครงสรางการถือหุนภายในกลุมธุรกิจ สื่อสารไรสายของบริษัทฯ ภายใตบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 107 (2) (ก) และ (ข) การทํารายการในขอ (2.1) และ (2.2) ดังกลาวขางตน ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน กอน การเขาทํารายการ

สวนที่ 1

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล “บริษัทฯ ไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว ดวยความระมัดระวัง บริษัทฯ ขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงใน สาระสําคัญ นอกจากนี้ บริษัทฯ ขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดงขอมูลอยาง ถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทฯ และบริษัทยอยแลว (2) บริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลในสวนที่เปน สาระสําคัญทั้งของบริษัทฯ และบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) บริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และ บริษัทฯ ไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ 2554 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทฯ แลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทํา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริษัทฯ ไดรับรองความถูกตองแลว บริษัทฯ ไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับ เอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว บริษัทฯ จะถือวาไมใชขอมูลที่บริษัทฯ ไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

1. นายอธึก

อัศวานันท

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย

……………………………………

2. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ โครงขายและเทคโนโลยี

…………………………………….

ผูรับมอบอํานาจ นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

…………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

…………………………………….

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

…………………………………….

สวนที่ 2

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) ชื่อ-นามสกุล

นายณรงค ศรีสอาน

ตําแหนง

อายุ (ป)

กรรมการอิสระ

82

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53) หุนสามัญ: 10,000 หุน (รอยละ 0.00)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญากิตติมศักดิ์

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

หุนกู: TRUE117A -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2549-ปจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท และ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. โออิชิ กรุป บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท บมจ. ดั๊บเบิ้ล เอ (1991) (เดิมชือ่ บมจ. แอดวานซ อะโกร) กรรมการ รองประธานกรรมการบริษัท และ รองประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไทยเบฟเวอเรจ รองประธานกรรมการบริษัท และ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. เบียรไทย (1991) ประธานกรรมการบริษัท บจ. สุราบางยี่ขัน ประธานกรรมการบริหาร บจ. ไทย เบเวอรเรจ แคน ประธานกรรมการบริษัท บจ. ธนากรผลิตภัณฑน้ํามันพืช กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง

TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE นายวิทยา เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ และ ประธาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ

74

หุนสามัญ: -

-

ปริญญาโท

หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE -

นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ

ปริญญาตรี เนติบณ ั ฑิต

นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ สํานักเกรส อินน

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. โกลว พลังงาน 2545-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ฟนันซา บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2541-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. เค ไลน (ประเทศไทย) และบริษัทในเครือ 2534-2535 ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 2531 เอกอัครราชทูตประจําประเทศสหรัฐอเมริกา เอกอัครราชทูตประจําประเทศเบลเยีย่ ม และประชาคมยุโรป 2527 2524 เอกอัครราชทูตประจําประเทศแคนาดา 2522 อธิบดีกรมเศรษฐกิจ

TRUE 10.375 14 TRUE MOVE เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

71

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาเอก

สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London

หุนกู: TRUE117A -

ปริญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London

TRUE144A -

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Director Certification Program (DCP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000

หุนสามัญ: -

-

TRUE151A -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2547-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน)) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2544-2552 กรรมการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 2544-2548 นายกสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแหงประเทศไทย 2543-2544 2529-2535 อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE นายโชติ โภควนิช

กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ

68

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A TRUE13NA -

-

ผูสอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา หลักสูตรการจัดการดานการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ประเทศสหรัฐอเมริกา การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP)

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE -

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2547-2549 ประธานเจาหนาที่บริหาร ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน) (ปจจุบันชื่อ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จํากัด (มหาชน)) ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทิสโก จํากัด (มหาชน) 2543-2544 (ปจจุบันชื่อ ธนาคารทิสโก จํากัด (มหาชน)) 2537-2540 ประธานกรรมการบริหาร กลุมบมจ. ไทยวา กรรมการผูจดั การใหญและกงสุลใหญแหงเดนมารก ประจําประเทศไทย 2535-2537 บมจ. อี๊สตเอเชียติก๊ (ประเทศไทย) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค ปจจุบัน กรรมการ บจ. คิงฟชเชอร โฮลดิ้งส กรรมการ บจ. ไทยสมารทคารด

TRUE 10.375 14 TRUE MOVE เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายฮาราลด ลิงค

ตําแหนง

อายุ (ป)

กรรมการอิสระ

56

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53) หุนสามัญ: 50,000 หุน (รอยละ 0.00) หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

MBA, St. Gallen University, Switzerland การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มี.ค. 2553-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2543-ก.พ. 2553 กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ปูนซีเมนตนครหลวง บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2530-ปจจุบัน Chairman, B. Grimm Group of Companies

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายเรวัต ฉ่ําเฉลิม

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

กรรมการอิสระ

66

หุนสามัญ: 28,300 หุน (รอยละ 0.00) หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ปริญญาตรี

นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เนติบณ ั ฑิต

สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบณ ั ฑิตยสภา

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มี.ค. 2553-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด คอนสตรัคชั่น 2547- 2549 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. อสมท 2546-2548 กรรมการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย 2546-2548 ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บมจ. การบินไทย

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รองประธานกรรมการ บมจ. ทางยกระดับดอนเมือง ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. นครหลวง ลีสซิ่ง-แฟกเตอริง ศาสตราจารยพเิ ศษคณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ศาสตราจารยพเิ ศษสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบณ ั ฑิตยสภา - Director Accreditation Program (DAP) ศาสตราจารยพเิ ศษชัน้ ปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารยพเิ ศษคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการคดีพเิ ศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) 2545-ปจจุบัน กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ (ก.ต.ช.) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กระทรวงสาธารณสุข กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารสาขาตางๆ (สขร.) 2544-ปจจุบัน กรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ คณะกรรมการโอลิมปคแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 2538-ปจจุบัน อัยการสูงสุด สํานักงานอัยการสูงสุด 2546-2547 อุปนายก เนติบณ ั ฑิตยสภา กรรมการ กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ 2544-2547 รองอัยการสูงสุด สํานักงานอัยการสูงสุด 2543-2546 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย 2545-2547 กรรมการ องคการสือ่ สารมวลชนแหงประเทศไทย 2543-2545 อธิบดีอัยการฝายวิชาการ สํานักงานอัยการสูงสุด 2539-2543 กรรมการ การประปาสวนภูมิภาค 2543-2549 กรรมการ มูลนิธิแสงชัย สุนทรวัฒน 2539-2552 ที่ปรึกษากฎหมาย ผูบญ ั ชาการทหารบก 2530-2536 ที่ปรึกษากฎหมาย ผูบญ ั ชาการทหารสูงสุด กรรมการ การสื่อสารแหงประเทศไทย (ปจจุบันชื่อ บมจ. กสท โทรคมนาคม) 2536-2539 กรรมการ การประปานครหลวง 2528-2540 พิเศษ

วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐรวมเอกชน (วปรอ. รุนที่ 1)

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

นายธนินท เจียรวนนท

ประธานกรรมการ

71

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53) หุนสามัญ: หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

ดร.อาชว เตาลานนท

รองประธานกรรมการ

73

หุนสามัญ: -

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนบิดาของ นายสุภกิต เจียรวนนท นายณรงค เจียรวนนท นายศุภชัย เจียรวนนท

คุณวุฒทิ างการศึกษา

Commercial School ประเทศฮองกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร การผานการอบรมทีเ่ กีย่ วของ ที่จดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

-

ปริญญากิตติมศักดิ์

ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยหอการคาไทย

หุนกู: TRUE117A -

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

TRUE144A -

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

TRUE151A -

ปริญญาเอก

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา

TRUE13NA -

ปริญญาโท

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE -

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

พิเศษ

วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรรัฐรวมเอกชนรุนที่ 1

TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธานกรรมการ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร ประธานกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค ประธานกรรมการ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ และ บริษัทในเครือ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2536-2542 กรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ เครือเจริญโภคภัณฑ 2544-2547 ประธานกรรมการ หอการคาไทย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย 2534-2535 รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธาน Board of Trustee สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กรรมการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช)

การผานการอบรมทีเ่ กีย่ วของ ที่จดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP) เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

นายเฉลียว สุวรรณกิตติ

รองประธานกรรมการ

82

หุนสามัญ: 3,350,000 หุน (รอยละ 0.04)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

สาขาบริหารธุรกิจ Indiana University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่

ปริญญาตรี

สาขาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

ประกาศนียบัตรชั้นสูง

ดานวิชาสถิติ จาก Indian Statistical Institute, กัลกัตตา ประเทศอินเดีย

ประวัตกิ ารทํางานสําคัญอืน่ ๆ - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ สภาหอการคาแหงประเทศไทย - กรรมการผูจัดการใหญ บจ. บขส - กรรมการอํานวยการ (กอตั้ง) องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ - กรรมการผูจดั การ บจ. ธนสถาปนา - นายกสมาคมการตลาดแหงประเทศไทย - นายกสมาคมขนสงทางน้ํา - กรรมการผูจดั การ บจ. ซี.พี. อินเตอรเทรด - เลขาธิการ หอการคาไทยและสภาหอการคาแหงประเทศไทย

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

TRUE13NA -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE นายอธึก อัศวานันท*

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

59

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A TRUE13NA -

-

ปริญญาโท

สาขานิตศิ าสตร Specialised in International Legal Studies, New York University ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขานิตศิ าสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การอบรม หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุนที่ 3 การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล 2551-ก.พ. 2552 เลขานุการบริษัท บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย 2540-ปจจุบัน บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส และ บริษัทในเครือ 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ ผูพิพากษาสมทบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ 2544-2549 การคาระหวางประเทศกลาง 2521-2540 Baker & McKenzie อาจารยพิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิตศิ าสตร ปจจุบัน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

นายศุภชัย เจียรวนนท*

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธาน คณะผูบริหาร

43

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53) หุนสามัญ: 1,250,000 หุน (รอยละ 0.01) หุนกู: TRUE117A -

ความสัมพันธ คุณวุฒทิ างการศึกษา ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนบุตรของ ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) Boston University ประเทศสหรัฐอเมริกา นายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท การผานการอบรมที่เกีย่ วของ และนายณรงค เจียรวนนท ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร 2540 รองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส 2539 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการและพัฒนาธุรกิจ 2538 ผูจัดการทั่วไปโทรศัพทนครหลวงตะวันออก 2537 ผูอํานวยการอาวุโสฝายสนับสนุนและประสานงานการวางแผนและปฏิบัติงานโครงการ 2536 ผูอํานวยการฝายหองปฏิบัติการ 2535 เจาหนาที่อาวุโสประจําสํานักกรรมการผูจดั การใหญ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประธานเจาหนาที่บริหาร บมจ. ทรู วิชั่นส 2549-ปจจุบัน 2545-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มูฟ 2544-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2543-2548 ประธานกรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชนั่ ส 2542-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2539 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2538 รองประธานเจาหนาที่บริหารสายปฏิบัตกิ าร บมจ. ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ กรรมการผูจัดการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2534 ประสบการณทาํ งานประมาณ 2 ปใน บจ. วีนิไทย 2533 ประสบการณทาํ งาน 1 ปใน Soltex Federal Credit Union, USA 2532 ประสบการณทาํ งาน 1 ปใน บจ. สยามแม็คโคร ประวัตดิ านกรรมการ - บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น - บจ. ทรู มูฟ - บมจ. ทรู วิชั่นส - บริษัทยอยอื่น ๆ ในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น - บจ. พันธวณิช - บมจ. ซีพีพีซี - บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพรเซสส อินเตอรเนชัน่ แนล - บจ. เอเชีย ฟรีวิลล - บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส - บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ ประวัติดานกิจกรรมเพื่อสังคมและตําแหนงอืน่ ๆ 2553-ปจจุบัน กรรมการบริหารศูนยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ กรรมการกลางมูลนิธิรามาธิบดีฯ กรรมการมูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร 2552-ปจจุบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2551-ปจจุบัน กรรมการคณะกรรมการจัดหาทุนและประชาสัมพันธเพื่อกอสรางอาคารรักษาพยาบาล เฉลิมพระเกียรติ และอุปกรณเครือ่ งมือทางการแพทย กรรมการคณะกรรมการอํานวยการโครงการจัดหาและบริการดวงตาเชิงรุกทัว่ ประเทศ 2550 กรรมการเสนอตัวเปนเจาภาพจัดการแขงขันกีฬาเยาวชนโอลิมปคฤดูรอนครั้งที่ 1 ประจําป พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา 2549-ปจจุบัน ประธานคณะอนุกรรมการหาทุน ศูนยดวงตาสภากาชาดไทย กรรมการจัดหาและบริการดวงตาแหงสภากาชาดไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (TCT) 2548-2550 กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียน (LCA)

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายสุภกิต เจียรวนนท*

กรรมการ

47

หุนสามัญ: 3,000 หุน (รอยละ 0.00)

เปนบุตรของ นายธนินท เจียรวนนท เปนพี่ชายของ นายณรงค เจียรวนนท และ นายศุภชัย เจียรวนนท

หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ New York University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริษัท บมจ. ทรู วิชั่นส ประธานคณะกรรมการบริษัท บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล ประธานกรรมการบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิง้ ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต แลนด โฮลดิ้ง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต พร็อพเพอรตี้ เมเนสเมนท ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต เรียล เอสเตรส กรุป ประธานคณะกรรมการ บจ. ฟอรจูน ลิสซิ่ง ประธานคณะกรรมการ บจ. แมส เจียน อินเวสเมนท ประธานคณะกรรมการ บจ. ปกกิ่ง โลตัส ซุปเปอรมารเก็ต เชนส สโตร ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต โลตัส (เซี่ยงไฮ) ประธานกรรมการรวม บจ. เซี่ยงไฮ คิงฮิวล – ซุปเปอรแบรนดมอล รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจําหนาย (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร กลุมธุรกิจพัฒนาทีด่ ิน (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพร อินเตอรเนชัน่ แนล รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บจ. เซี่ยงไฮ โลตัส ซุปเปอรมารเก็ต เชนส สโตร รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจยานยนตและอุตสาหกรรม (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน บจ. เจียไต อินเตอรเนชัน่ แนลไฟแนนซ รองประธาน บจ. เจียไต วิชั่น รองประธาน บจ. เซี่ยงไฮ ฟอรจูน เวิลด ดีเวลลอปเมนท รองประธาน บจ. เจียไต เทรดดิ้ง (ปกกิ่ง) รองประธาน กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดนิ (ไทย) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. เจียไต ดีเวลลอปเมนท อินเวสเมนท กรรมการ บจ. เจียไต กรุป กรรมการ บจ. ซีพี โภคภัณฑ กรรมการ บจ. ฟอรจูน เซี่ยงไฮ กรรมการ บจ. โลตัส ซีพีเอฟ (จีน) อินเวสเมนท ตําแหนงทางสังคม 2552 กรรมการมูลนิธิเดอะบิล้ ด 2552 ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม 2551 กงสุลกิตติมศักดิ์สหพันธรัฐรัสเซียประจําจังหวัดภูเก็ต 2549 Award of Bai Yu Lan from Shanghai Government 2549 Member of Fudan Incentive Management Fund Committee of Fudan University 2549 Management Committee of Chia Tai International Center of Peking University 2549 ที่ปรึกษาประจําคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผูแทนราษฎร 2548 สมาชิกสมาคมธุรกิจไทยรุนใหม 2548 อุปนายกสมาคมสงเสริมการลงทุนและการคาไทย-จีน 2547 กรรมการกองทุนสงเสริมงานวัฒนธรรม สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ 2547 อุปนายกสมาคมขี่มาแหงประเทศไทย 2545 สมาชิกชมรมธุรกิจไทยรุนใหม 2545 รองประธานสภาธุรกิจไทย-จีน 2536 คณะกรรมาธิการเด็กเยาวชนและผูส ูงอายุ

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายชัชวาลย เจียรวนนท*

ตําแหนง

อายุ (ป)

กรรมการ และ ผูอํานวยการ บริหาร การลงทุนกลุม

48

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53) หุนสามัญ: -

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนหลานของ นายธนินท เจียรวนนท

หุนกู: TRUE117A -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

TRUE144A TRUE151A -

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนา คณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ โครงขายและ เทคโนโลยี

53

หุนสามัญ: -

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ Pepperdine University ประเทศสหรัฐอเมริกา

หุนกู: TRUE117A -

ปริญญาโท

วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริกา

TRUE144A -

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

TRUE151A TRUE13NA -

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – การลงทุนกลุม บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2544-ปจจุบัน กรรมการ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ 2550-ปจจุบัน ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร บล. ฟนันเซีย ไซรัส จํากัด (มหาชน) 2548-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. อะมานะฮ ลิสซิ่ง (เดิมชื่อ บมจ. นวลิสซิ่ง) 2547-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. เมโทรสตาร พร็อพเพอรตี้ 2543-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. อิออน ธนสินทรัพย (ไทยแลนด) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบ ริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง 2540-ปจจุบัน ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. ทรู อินเทอรเน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท 2549-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก 2535-2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรมพลาสติก 2533-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่ กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน

TRUE13NA -

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน*

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

-

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2543-ปจจุบัน กรรมการ กรรมการผูจดั การ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี 2541-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ 2540-2541 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2539-2540 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต 2538-2539 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE * กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

กรรมการ

58

หุนสามัญ: 384,000 หุน (รอยละ 0.00) หุนกู: TRUE117A TRUE144A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปริญญาตรี

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

TRUE151A -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2544-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน รองประธานสํานักการเงินเครือเจริญโภคภัณฑ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ ธนาคารวีนาสยาม จํากัด กรรมการ บจ. ซี.พี. โลตัส คอรปอเรชั่น

TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายณรงค เจียรวนนท

กรรมการ

46

หุนสามัญ: 84,000 หุน (รอยละ 0.00)

เปนบุตรของ นายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท และ เปนพี่ชายของ นายศุภชัย เจียรวนนท

หุนกู: TRUE117A TRUE144A -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา Business Administration New York University, USA

Advance Management Program: Transforming Proven Leaders into Global Executives, Harvard Business School, Harvard University การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) (2550)

TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2551 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป ปจจุบัน 2553 - ปจจุบัน ผูอํานวยการใหญ มหาวิทยาลัยธุรกิจ ซีพี รองประธานคณะกรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจําหนาย (ไทย) รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจําหนาย (จีน) รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดนิ (จีน) 2552 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวสิ 2551 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี ตัวแทนตามกฎหมายและกรรมการ Beston Action Utility Wear (Lianyungang) Co., Ltd. กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส 2550 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล รองประธานกรรมการอาวุโส CP Lotus Corporation Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส Chia Tai (China) Investment Co., Ltd. 2550 - 2553 กรรมการบริหาร C.P. Pokphand Co., Ltd. ปจจุบัน กรรมการ Qingdao Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Jinan Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Xi’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. รองประธานกรรมการบริหาร CP Food Product (Shanghai) Co., Ltd. กรรมการ Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Foshan C.P. Lotus Management Consulting Co., Ltd. กรรมการ Changsha Chulian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Chengdu Ailian Supermarket Co., Ltd. 2545 กรรมการบริหาร ธนาคาร Business Development 2544 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ Yangtze Supermarket Investment Co., Ltd. 2540 กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Trading (Shanghai) Co., Ltd. 2538 - 2540 กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Distribution (Thailand) Co., Ltd.

11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายวิลเลี่ยม แฮริส

ตําแหนง

อายุ (ป)

ผูอํานวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจ ระหวางประเทศ และ ผูชวยกรรมการ ผูจัดการใหญ / ประธานคณะ ผูบริหาร

49

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53) หุนสามัญ: 517,838 หุน (รอยละ 0.01)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

Master Degree of Business Administration, Major in Finance and Marketing, Wharton School of the University of Pennsylvania Bachelor of Science in Economics, Wharton School of the University of Pennsylvania

หุนกู: TRUE117A -

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

TRUE144A -

TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการเงิน

43

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A -

-

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร Rensselaer Polytechnic Institute, USA

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program รุน 101/2008

TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ผูอํานวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจระหวางประเทศ และ 2551-ปจจุบัน ผูชวยกรรมการผูจดั การใหญ / ประธานคณะผูบริหาร บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 2544-2550 บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป กรรมการ Dragon Delight Investments Limited กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ K.I.N. (Thailand) Company Limited กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2536-2542 กรรมการ สํานักนโยบายสินเชื่อ Verizon Communications, Philadelphia

TRUE151A -

นายนพปฎล เดชอุดม

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2550 - ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 2546 - 2550 ผูอํานวยการและผูจดั การทั่วไป ดานออนไลน 2543 - 2546 ผูอํานวยการอาวุโส สายงานการเงิน บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. ทรู มันนี่ กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิ่ง กรรมการ บจ. เรียล มูฟ กรรมการ บจ. เรียล ฟวเจอร กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป 2552- ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี 2547- ปจจุบัน กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส

12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

ผูอํานวยการบริหาร ธุรกิจเพย ทีวี

56

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE117A TRUE144A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตลาดกระบัง

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2542-2546 กรรมการบริหาร บมจ. ล็อกซเลย 2540-2542 ผูชวยกรรมการผูจดั การ บมจ. ล็อกซเลย บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท 2551-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ 2550-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส 2549-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บจ. ไอบีซี ซิมโฟนี กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวสิ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. บี บอยด ซีจี กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร 2544-2545 บจ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร 2535-2543 บจ. ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย)

13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

ผูอํานวยการบริหาร ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ ผูอํานวยการบริหาร ดานลูกคาองคกร ธุรกิจ

47

หุนสามัญ: 850,404 หุน (รอยละ 0.01) หุนกู: TRUE117A TRUE144A TRUE151A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขาการบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Diploma of Australian Institution of Director 2005

TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2544 รองกรรมการผูจัดการใหญดานพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มันนี่ ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ดิจิตอล พลัส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ไลฟ พลัส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอ็นซี ทรู กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวสิ กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค 2549-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ 2546-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานธุรกิจ บจ. ทรู มูฟ 2545 ผูจัดการทั่วไป บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2541-2545 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น 2541-2544

14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/53)

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ผูอํานวยการบริหาร ดานลูกคาองคกร ธุรกิจขนาดใหญ และบริการ ระหวางประเทศ และ หัวหนาคณะ ผูบริหารดาน ปฏิบัติการ เทคโนโลยี สารสนเทศและ การบริหารลูกคา

52

หุนสามัญ: 700 หุน (รอยละ 0.00) หุนกู: TRUE117A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

ปริญญาตรี

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร University of South Alabama ประเทศสหรัฐอเมริกา

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญและบริการ ระหวางประเทศ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - เทคโนโลยี สารสนเทศและการบริหารลูกคา บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุนที่ 54)

บริษัทที่มไิ ดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชัน่ กรรมการ และ Executive Director Corporate Solution บจ. ทรู มูฟ กรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ทัช กรรมการบริหาร บจ. พันธวณิช กรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชนั่ ส กรรมการ บจ. ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท 2549-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2548-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร 2546-2551 กรรมการ บจ. ทรู มัลติมีเดีย 2544-2546 กรรมการผูจัดการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery 2544-2545 ผูอํานวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย ผูอํานวยการฝายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2543 ผูจัดการฝายผลิตภัณฑคอมพิวเตอรขนาดใหญ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายการเงินและบริหาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2541 ผูจัดการฝายธุรกิจบริการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2540

TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง (ณ 31 ธันวาคม 2553)

รายชื่อ

True TH TP TE TLS TLR K.I.N. TIT W&W TT TMN True Internet Asia DBS AI TIDC TLP Nilubon<BVI> K.I.N.<BVI> TA Orient BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM IBC TVSC SSV PTE TMS Beboyd TIC TMR TDCM TDP RMV Real Future CHNP TVG TUFC DDI GPI

บริษัทยอย/บริษัทรวม

1. นายธนินท

เจียรวนนท

C

2. ดร. อาชว

เตาลานนท

VC /

/

3. นายเฉลียว

สุวรรณกิตติ

VC /

/

4. นายอธึก

อัศวานันท

VC /

5. นายณรงค

ศรีสอาน*

/ /

6. นายวิทยา

เวชชาชีวะ*

/

7. นายโชติ

โภควนิช*

/

8. ดร. โกศล

เพ็ชรสุวรรณ*

/

9. นายฮาราลด

ลิงค*

/

10. นายเรวัต

ฉ่ําเฉลิม*

/

11. นายศุภชัย

เจียรวนนท

/

/

12. นายสุภกิต

เจียรวนนท

/

/

13. นายณรงค

เจียรวนนท

/

14. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

/

/

15. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

/

/

16. นายอํารุง

สรรพสิทธิ์วงศ

/

17. นายวิลเลี่ยม

แฮริส

E

18. นายนพปฎล

เดชอุดม

E

19. นายอติรุฒม

โตทวีแสนสุข

E

21. นายธิติฏฐ

E

เอกสารแนบ 1

/

/ / /

/

/

/

/ /

/ / /

/

/

/

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

/ /

/ / /

/ /

/

/

/

/ /

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/ /

/

/ / /

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

/ /

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

/ /

/ / /

/ /

/

/

/ /

/

/

/

/ / /

/

/ / /

/ /

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/ /

/

/ / /

/

/

/ /

/ /

/

/

E

* กรรมการอิสระ

/

/

20. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย นันทพัฒนสิริ

/

/ / /

C = ประธานกรรมการ

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/ /

/

/

/

/ /

/

/ /

/

/

/ /

/

/ /

VC = รองประธานกรรมการ

/

/ /

/ /

/

/

/ /

/

/ /

/ = กรรมการ

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

/ /

/ / /

/

/ /

/

/

/ /

E = ผูบริหารระดับสูง

16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

หมายเหตุ ชื่อยอ True TH TE TLR TIT TT True Internet AI TLP K.I.N. <BVI> BITCO TVS NEC TDS TIG TPC CNP TDM TVSC PTE Beboyd TMR TDP Real Future TVG DDI

เอกสารแนบ 1

ชื่อเต็ม

ชื่อยอ

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด) บริษัท ทรู ทัช จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด) K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ทรู ดิสทริบิวชัน่ แอนด เซลส จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เรด มีเดีย จํากัด) บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิล้ จํากัด (มหาชน) บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ออนไลน สเตชั่น จํากัด) บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด Dragon Delight Investments Limited (จดทะเบียนตางประเทศ)

TP TLS K.I.N. W&W TMN Asia DBS TIDC Nilubon <BVI> TA Orient TMV TSC NC True SD SM TUC CTV IBC SSV TMS TIC TDCM RMV CHNP TUFC GPI

ชื่อเต็ม บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด บริษัท เค. ไอ. เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด Nilubon Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด บริษัท คลิกทีวี จํากัด บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด) บริษัท เรียล มูฟ จํากัด บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด Gold Palace Investments Limited (จดทะเบียนตางประเทศ)

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2553) TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM IBC TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

1. นายสุเมธ

เจียรวนนท

/

/

2. นายมิน

เธียรวร

/

/

3. นายสุนทร

อรุณานนทชัย

4. พลเอกสุจินดา

คราประยูร

/

5. นายมนตรี

นาวิกผล

/

6. นายจตุรงค

จตุปาริสุทธิ์

/

7. นายขจร

เจียรวนนท

8. นายอาณัติ

เมฆไพบูลยวัฒนา

9. นายคิโยฟูมิ

คุซากะ

10. นายนนท

อิงคุทานนท

11. พล.ต.ม.ร.ว.ศุภวัฒน เกษมศรี

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/

/ /

/

/

/

/

/

/ /

/

/

วงศทองศรี

/

13. นายถาวร

นาคบุตร

/

14. พลตํารวจเอกนพดล สมบูรณทรัพย

/

15. นายวสันต

เอารัตน

16. นายวิศิษฏ

รักษวิศิษฏวงศ

17. นายสมพล

จันทรประเสริฐ

18. นายซองชัน

รา

19. ดร. สหัสโรจน

โรจนเมธา

20. นายพิชิต

ธันโยดม

21. นายเจซู

ยูน

22. นายเกษม

กรณเสรี

/

23. นายธัช

บุษฎีกานต

/

24. ดร.วัลลภ

วิมลวณิชย

เอกสารแนบ 2

/

/

12. นายธนะชัย

25. นายฮันส โรเจอร สนุค

/

/

/ / / / / /

/

/

/ /

/

/

/ /

/

/

/

/

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

/

/

/ /

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2553) TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. W&W TT TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM IBC TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

26. นายสมพันธ

จารุมิลินท

27. นายมูจิน

ฮยอน

28. นายวิสิฐ

ตันติสุนทร

/

/

/

/

/

/

/

/ /

30. นายสหาย

/

ทรัพยสุนทรกุล

31. นายกอศักดิ์

ไชยรัศมีศักดิ์

/

32. นายพิสิฏฐ

ภัคเกษม

/

33. นางสิริวรรณ

รัตนสุวรรณ

/

34. นายวัชระ

กาญจนพันธุ

/

35. นายยงยุทธ

วัฒนสินธุ

/

36. นายวารด ลอเรนซ พลาทท

/

วัจนะปกรณ

/

/

38. นายเอวิแนส คิสชอร ฮิมาทซิงฮานิ

/

39. นายคณิต

คุณาวุฒิ

/

40. นายสงวนศักดิ์

เภสัชสงวน

41. นายชูมนัส

เกษเสถียร

42. นายเต็ก จิน

คิม

43. นายขจรศักดิ์

สิงหเสนี

44. นายครรชิต

บุนะจินดา

45. นายวสุ

คุณวาสี

46. นายทวีชัย

ภูรีทิพย

47. นายปพนธ

รัตนชัยกานนท

48. รอยโทปรัชญา

ไทยกลา

49. ดร.จิตติ

วิจักขณา

50. ดร.เจน

ศรีวัฒนะธรรมา

เอกสารแนบ 2

/

/

29. นางเพ็ญทิพยภา ดุลยจินดา

37. นายไพสิฐ

/

/

/

/

/ / / / / /

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/ /

/

/ /

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2553)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM IBC TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

51. นายทรงพล

ศุภชลาศัย

/

52. นายพลพันธุ

อุตภาพ

/

53. นายสุพจน

มหพันธ

/

54. ดร.พิษณุ

สันทรานันท

55. นายอาจกิจ

สุนทรวัฒน

/ /

56. พลตํารวจเอก พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย 57. ดร. อโณทัย

รัตนกุล

58. นายเจนวิทย

คราประยูร

59. นายกิติกร

เพ็ญโรจน

60. นายพิรุณ

ไพรีพายฤทธิ์

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/ / /

61. นางสาวศุภสรณ รุงโรจนวุฒิกุล

/

/

/

/

/

62. นายสมบุญ

พัชรโสภาคย

63. นายสิรวิชญ

สงวนสันติกุล

64. นายชีวิน

โกสิยพงษ

/

65. นางวรกัญญา

โกสิยพงษ

/

66. นายนิพนธ

หลงสมบุญ

67. นายสุภกิจ

วรรธนะดิษฐ

68. นายกรีกรณิ์

ไพรีพินาศ

69. นายอรรถพล

ณ บางชาง

70. นายองอาจ

ประภากมล

71. นายวินิจ

เลิศรัตนชัย

72. นายกึล เพียว

ฮง

73. นายพลชัย

วินิจฉัยกุล

/

/

74. นายสุระ

เกนทะนะศิล

/

/

75. นายชิน

ซาคาโมโต

เอกสารแนบ 2

/

/

/

/

/

/ / / /

/ /

/

/

/ /

/

/

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2553) TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM IBC TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

76. นายมานะ

ประภากมล

77. นายชินทาโร

มิกิ

78. นายเรืองเกียรติ

เชาวรัตน

/ / / /

/

/

79. นางสาวชารลอต วิคตอเรีย อีสเตอร เบอรร

/

80. นายอรุณ

ทัศนาจันทธานี

/

/

/ /

81. นายธีรศักดิ์

จีรอัศวพงศ

82. นายนิมิตร

สุขุมาสวิน

83. นายวาที

เปาทอง

84. นายอุสาห

สวัสดิ์-ชูโต

85. นายสมโพช

พานทอง

86. นายสัจจา

เมืองทอง

87. นายปรียมน

ปนสกุล

/

88. นางวีระนุช

กมลยะบุตร

/

89. นายวิเชียร

เมฆตระการ

/

90. นายสุทธิชัย

ชื่นชูศิลป

91. นางวันทนา

หลอสกุลไพบูลย

/

/ /

92. นายอริยะ

พนมยงค

/

/

93. นางสาวศศิธร

กุลอุดมทรัพย

/

/ / / / / /

/

94. นางสาวมนสินี นาคปนันท

/ /

/

95. นายดาวฤทธิ์

ทองนิ่ม

96. นายซองฮุน

คิม

/

97. นางสาวยุภา

ลีวงศเจริญ

/

98. นายสรกฤช

วรอุไร

/

/

99. นางสาวภาวิณี ชอยสุนิรชร

/

100. นายสมหมาย

/

เอกสารแนบ 2

ดอกไม

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2553) TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM IBC TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

101. นายภาณุ

ตติรัตน

/

102. นายกิตติณัฐ

ทีคะวรรณ

/

103. นางสาวชอร ซินดี้ ซิง แมน

/

104. นายสุรชัย

เสนศรี

/

105. นายสงา

สุริยะมงคล

106. นายวีรวัฒน

กาญจนดุล

/ /

107. นางสาวพุมแพทิพย เอี่ยมโสภา 108. นายนิวัฒน

กิมตระกูล

109. นางปรีเปรม

เสรีวงษ

/ / /

110. Mr. Denis Sek Sum

/

/

111. Mr. Fung Kong Yune Kim

/

/

เอกสารแนบ 2

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

หมายเหตุ ชื่อยอ TH TE TLR K.I.N. W&W Asia DBS AWC TIDC Nilubon <BVI> CHV Music TMV TSC NC True SD SM TUC CTV IBC SSV MKSC KSC Beboyd True Magic TDCM RMV TVG DDI Goldsky

เอกสารแนบ 2

ชื่อเต็ม

ชื่อยอ

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด บริษัท เค. ไอ. เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด Nilubon Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด บริษัท คลิกทีวี จํากัด บริษัท ไอบีซี ซิมโฟนี จํากัด บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จํากัด บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท ทรู แมจิค จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด) บริษัท เรียล มูฟ จํากัด บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด Dragon Delight Investments Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) Goldsky Company Limited (จดทะเบียนตางประเทศ)

TP TLS TI TIT TMN AI TM TLP TA Orient BITCO TVS NEC TDS TIG TPC CNP TDM TVSC PTE IKSC TKSC TIC TMR TDP CHNP TUFC GPI Golden Light

ชื่อเต็ม บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด) บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด) TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เรด มีเดีย จํากัด) บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ออนไลน สเตชั่น จํากัด) บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด Gold Palace Investments Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) Golden Light Company Limited (จดทะเบียนตางประเทศ)

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ 1. สัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ ระหวาง บมจ. ทีโอที (องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น (บจ. ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชั่น ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2534 และ แกไขเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2538 โดยสัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ มีกําหนดเวลา 25 ป นับแตวันที่ 31 ธันวาคม 2535 หรือวันที่ ทีโอที ไดรับมอบอุปกรณในระบบงวดแรกจากบริษัทฯ (วันที่ 29 ตุลาคม 2535) แลวแตวันใดจะถึงกําหนดกอน (วันที่ 29 ตุลาคม 2535 - วันที่ 29 ตุลาคม 2560) สัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ มีวัตถุประสงคเพื่อ ขยายบริการโทรศัพทพื้นฐานในพื้นที่เขต โทรศัพทนครหลวงจํานวน 2 ลาน และ 6 แสนเลขหมาย (เปนไปตามลําดับของสัญญารวมการงานและ รวมลงทุนฯ ขางตน) โดยลักษณะของสัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ เปนลักษณะของ Built-TransferOperate (BTO) โดย บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) มีหนาที่ จัดหาและโอนกรรมสิทธิ์ ของอุปกรณในระบบใหแก บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) โดยอุปกรณในระบบ ตามสัญญา รวมการงานและรวมลงทุนฯ ไดระบุไวในนิยามศัพท สัญญาขอ 1 “อุปกรณในระบบ” ซึ่งหมายถึง อุปกรณ ตางๆ ในโครงขายที่ประกอบเขาเปนระบบโทรคมนาคมและอุปกรณอื่นใดที่นํามาใชรวมในระบบ อาทิ อุปกรณเครื่องชุมสาย โครงขายตอนนอก โครงขายตอผานทองถิ่นที่บริษัทจะจัดหาและโอนกรรมสิทธิ์ให ทศท ซึ่งบริษัทฯ ตองสงมอบอุปกรณใ นระบบที่ติด ตั้งแลวเสร็จใหแก ทีโอที และใหอุปกรณในระบบ ดังกลาวตกเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที ทันที และตลอดระยะเวลาตามสัญญานี้ บริษัทฯ ตองบํารุงรักษา อุปกรณในระบบที่ยกใหเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที ใหอยูในสภาพใชงานไดดีตลอดเวลาในระดับที่ไมต่ํากวา มาตรฐานที่ ทีโอที ใชอยูในโครงขาย ทีโอที -

-

จากการทําสัญญารวมการงานฯ ดังกลาว บริษัทฯ มีสิทธิ ดังนี้ สิทธิที่จะใช ครอบครอง และบํารุงรักษาอุปกรณในระบบ ที่ดิน อาคาร และทรัพยสินอื่นใดที่บริษัทฯ ได จัดหามาและโอนกรรมสิทธิ์ใหแก ทีโอที หรือโอนสิทธิการเชาใหแก ทีโอที แลวแตกรณี สิทธิในการ แสวงหาประโยชนจากอุปกรณในระบบ ที่ดิน อาคารและทรัพยสินอื่นใดตามสัญญา สิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทน ตามที่ บริษัทฯ จะไดทําความตกลงกับ ทีโอที กรณีบุคคลอื่นนําบริการ พิเศษมาผานโครงขายบริษัทฯ สิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทน ตามที่ บริษัทฯ จะไดทําความตกลงกับ ทีโอที กรณี ทีโอที นําบริการ พิเศษมาใชผานโครงขายบริษัทฯ สิทธิที่จะไดรับคาเสียหาย หรือ คาชดเชย กรณี ทีโอที ตัดรอนสิทธิของบริษัทฯ สิทธิที่สามารถใชที่ดิน อาคาร และวัสดุอุปกรณตางๆ ของ ทีโอที เทาที่ ทีโอที จะพิจารณาอนุญาตโดย ไมเสียคาใชจาย

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จากการดํ า เนิ น การตามสั ญ ญาร ว มการงานฯ นั้ น ที โ อที จะเป น ผู ดํ า เนิ น การเก็ บ เงิ น จากผู เ ช า (ผูใชบริการ) โดยเงินคาบริการในสวนของโทรศัพท 2 ลานเลขหมาย ทีโอที จะแบงรายไดที่ไดรับจริงกอนหัก คาใชจายใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 84 และ เงินคาบริการในสวนของโทรศัพท 6 แสนเลขหมาย ทีโอที จะแบงรายไดที่ไดรับจริงกอนหักคาใชจายใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 79 สิทธิในการบอกเลิกสัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ - ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีตอไปนี้ โดยกอนใชสิทธิบอกเลิกนี้ หากเปนกรณีที่ไมสามารถแกไขได ทีโอที จะมีหนังสือถึงบริษัทฯ ลวงหนาไมนอยกวา 1 เดือน แตหากเปนกรณีที่แกไขได ทีโอที จะมี หนังสือบอกกลาวมาที่บริษัทฯ ใหปฏิบัติใหถูกตอง หรือปรับปรุงภายในเวลาที่ ทีโอที กําหนด แตตอง ไมนอยกวา 6 เดือน หากบริษัทฯ ไมสามารถปรับปรุงไดในเวลา ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกได - บริษัทฯ ทําผิดกฎหมายเกีย่ วกับการปองกันภัยพิบัติสาธารณะ หรือความมั่นคงของรัฐ - บริษัทฯ ถูกศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย - บริษัทฯ จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยางตอเนื่อง - บริษัทฯ ไมมีสิทธิเลิกสัญญา เวนแตกรณีตอไปนี้ โดยกอนใชสิทธิบอกเลิกสัญญา บริษัทฯ ตองมีหนังสือ บอกกลาว ทีโอที ใหทําการแกไขหรือปฏิบัติใหถูกตอง ภายในเวลาที่บริษัทฯ กําหนด แตตองไมนอยกวา 6 เดือน หาก ทีโอที ไมสามารถปรับปรุงหรือแกไข บริษัทฯ จะแจงเปนหนังสือบอกเลิกไปยัง ทีโอที - ทีโอที จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยางตอเนื่อง จนเปนเหตุใหบริษทั ฯ ไมอาจปฏิบัติตาม สัญญาได - รัฐบาล หนวยงานของรัฐ หรือ ทีโอที ยกเลิกสิทธิหรือดําเนินการอยางใดเปนเหตุใหบริษัทฯ เสื่อมสิทธิมีผลกระทบกระเทือนตอการดําเนินงานของบริษัทฯ อยางมาก จนไมสามารถประกอบ กิจการตามสัญญาได - บริษัทฯ ไมไดรับเงินสวนแบงที่เกี่ยวของหรือเงินอื่นใดตามที่ระบุในสัญญา 2. สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการใหเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงผานโครงขายมัลติมีเดีย ระหวาง บมจ. ทีโอที (องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บจ. ทรู มัลติมีเดีย (บจ. เอเชีย มัลติ มีเดี ย ในขณะนั้น ) สั ญญาฯ นี้ทําเมื่อวัน ที่ 20 ตุลาคม 2540 โดยมี กําหนดเวลา 20 ป โดยเริ่ ม นับตั้งแตวันที่ลงนามในสัญญานี้ สัญญาฯ มีวัตถุประสงคเพื่อ ดําเนินกิจการใหบริการใหเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงทั้งระบบ Digital และ Analog เพื่อใหบริการแกผูใชบริการทั่วไป และผูมีสิทธิ และ/หรือ ไดรับสิทธิเปนผูดําเนินการ ให บ ริ ก ารผ า นโครงข า ยมั ล ติ มี เ ดี ย โดยลั ก ษณะของสั ญ ญาฯ เป น ลั ก ษณะของ Built-Transfer-Operate (BTO) โดย บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (“บริษัทฯ”) มีหนาที่ ตองโอนกรรมสิทธิ์ในเครื่องมือและอุปกรณใน ระบบที่ บ ริ ษั ท ฯ ติ ด ตั้ ง เพิ่ ม เติ ม ขึ้ น จากโครงข า ยมั ล ติ มี เ ดี ย ที่ ใ ช ใ นการให บ ริ ก ารตามสั ญ ญาให ต กเป น กรรมสิทธิ์ของ ทีโอที และ บริษัทฯ ตองทําการบํารุงรักษาบรรดาเครื่องมือและอุปกรณในระบบซึ่งเปน กรรมสิทธิของ ทีโอที ใหอยูในสภาพใชงานไดดีตลอดเวลา หากอุปกรณหรือชิ้นสวนใดสูญหายหรือเสียหาย

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จนใชการไม ได บริษัทฯ ต องจัดหามาเปลี่ย นทดแทนหรือซอมแซมให อยูใ นสภาพใช การได ดี ในการ ดําเนินการตามสัญญาฯ นี้ บริษัทฯ ไดจัดสรรหุนของบริษัทฯ จํานวน 18,525,000 หุนใหแก ทีโอที โดย ทีโอ ที ไมตองชําระคาหุนดังกลาว -

จากการทําสัญญาฯ บริษัทฯ มีสิทธิ ดังนี้ สิทธิแตเพียงผูเดียวในการครอบครองทรัพยสินที่ตกเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที สิทธิใชพื้นที่ภายในอาคารของ ทีโอที ที่จะทําการติดตั้งระบบวงจรความเร็วสูง สิทธิเชาโครงขายของ ทีโอที ตามอัตราที่ ทีโอที กําหนดเพื่อนําไปใหบริการ สิทธิในการเชื่อมตอโครงขายเขากับชุมสายและโครงขายโทรคมนาคมของ ทีโอที

สิทธิในการบอกเลิกสัญญาฯ ตามสัญญา ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได หากบริษัทฯ ไมสามารถ ดําเนินกิจการงานตามสัญญานี้ตามปกติธุระ หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด 3. สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ระหวาง บมจ. กสท โทรคมนาคม (การสื่อสารแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บจ. ทรู มูฟ (บจ. ไวรเลส คอมมูนิเคชั่นส เซอรวิส) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2539 โดยมีกําหนดระยะเวลา 17 ป (วันที่ 20 มิถุนายน 2539 - วันที่ 15 กันยายน 2556) และแกไขครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2543 และแกไขครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2543 โดยสัญญาใหดําเนินการฯ มีวัตถุประสงค เพื่อ ดําเนินการจัดการใหมีและใหบริการวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ในชวงคลื่นความถี่วิทยุคมนาคม ระหวาง 1710 MHz ถึง 1722.6 MHz และ 1805 MHz ถึง 1817.6 MHz ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศ โดยสัญญา ใหดําเนินการมีลักษณะของ Built-Transfer-Operate (BTO) โดย บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“บริษัทฯ”) มีหนาที่ ในการสรางและโอน เครื่องและอุปกรณทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยเครื่องอุปกรณชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing ระบบเชื่อมโยง เครื่องและอุปกรณสถานีเครือขาย เครื่องมือและอุปกรณตรวจซอม เครื่องทดสอบ และเครื่องอุปกรณอื่นๆ สําหรับ ใหบริการตามสัญญานี้ รวมทั้งอะไหลของเครื่องและอุปกรณดังกลาว รวมทั้ง บริษัทฯ มีหนาที่ในการจัดหาสถานที่ติดตั้ง / เครื่องและอุปกรณทั้งหมดในการใชใหบริการ พรอม จัดทําประกันภัย และดําเนินการจัดตั้งและขยายเครือขาย และจัดใหบริการจัดการฝกอบรมและดูงานให เจาหนาที่ ของ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (“กสท”) โดยบริษัทฯ มีสิทธิในการใหบริการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ทั่วประเทศ สําหรับผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ํา และ ผลประโยชนตอบแทนตลอดอายุสัญญาเปนรายป มี รายละเอียดดังนี้ - ผลประโยชนตอบแทนขั้นต่าํ ตลอดอายุสัญญา รวมเปนเงินไมต่ําวา 5,046.08 ลานบาท โดยแบงชําระเปน รายป - ปที่ 1 (16 มิ.ย.40 - 15 ก.ย.40) 4.5 ลานบาท - ปที่ 2 (16 ก.ย.40 - 15 ก.ย.41) 16.58 ลานบาท เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

-

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ปที่ 3 (16 ก.ย.41 - 15 ก.ย.42) ยกเวนไมตองชําระ ปที่ 4 (16 ก.ย.42 - 15 ก.ย.43) ยกเวนไมตองชําระ ปที่ 5 (16 ก.ย..43 - 15 ก.ย.44) 15 ลานบาท ปที่ 6 (16 ก.ย..44 - 15 ก.ย.45) 30 ลานบาท ปที่ 7 (16 ก.ย..45 - 15 ก.ย.46) 45 ลานบาท ปที่ 8 (16 ก.ย..46 - 15 ก.ย.47) 240 ลานบาท ปที่ 9 (16 ก.ย..47 - 15 ก.ย.48) 280 ลานบาท ปที่ 10 (16 ก.ย..48 - 15 ก.ย.49) 320 ลานบาท ปที่ 11 (16 ก.ย..49 - 15 ก.ย.50) 350 ลานบาท ปที่ 12 (16 ก.ย..50 - 15 ก.ย.51) 380 ลานบาท ปที่ 13 (16 ก.ย..51 - 15 ก.ย.52) 580 ลานบาท ปที่ 14 (16 ก.ย..52 - 15 ก.ย.53) 646 ลานบาท ปที่ 15 (16 ก.ย..53 - 15 ก.ย.54) 679 ลานบาท ปที่ 16 (16 ก.ย..54 - 15 ก.ย.55) 730 ลานบาท ปที่ 17 (16 ก.ย..55 - 15 ก.ย.56) 730 ลานบาท

- ผลประโยชนตอบแทนตลอดอายุสัญญาเปนรายป คิดเปนรอยละของรายไดตามเกณฑสิทธิจากการ ใหบริการตามสัญญานี้ กอนหักคาใชจาย คาภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการใหบริการนี้ ทั้งนี้ คาใชจายที่ตองจายใหแก ทีโอที จะไมนํามาคิดเปนรายได - ปที่ 1 - 4 รอยละ 25 - ปที่ 5 - 10 รอยละ 20 - ปที่ 11 - 15 รอยละ 25 - ปที่ 16 - 17 รอยละ 30 สิทธิในการบอกเลิกสัญญาใหดําเนินการฯ มีดังนี้ - กสท บอกเลิกเนื่องจากบริษัทฯ ไมปฏิบัติตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอใดขอหนึ่งและทําให กสท ไดรับความเสียหาย และบริษัทฯ มิไดดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจง เปนหนังสือจาก กสท - ทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - กสท บอกเลิกสัญญา ในกรณีที่บริษัทฯ ตกเปนผูขาดคุณสมบัติตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจ ของคนตางดาว และ กสท ไดแจงใหบริษัทฯ ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไมนอยกกวา 90 วัน หากมีการบอกเลิกสัญญาใหดําเนินการฯ ทั้งในกรณีที่ กสท เปนผูบอกเลิกและกรณีที่บริษัทฯ เปน ผูบอกเลิก - บริษัทฯ ไมมภี าระตองจายผลประโยชนตอบแทนขั้นต่าํ สําหรับระยะเวลาของสัญญาที่เหลืออยู

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

- หากการเลิกสัญญาเกิดขึ้นโดยมิใชความผิดของ บริษัทฯ แลว บริษัทฯ ไมมีหนาที่ตองชําระผลประโยชน ตอบแทนขั้นต่ํา - กรณีการเลิกสัญญาเกิดจาก บริษัทฯ แลว บริษัทฯ ไมมีหนาที่ตองชําระผลประโยชนตอบแทนขั้นต่าํ เพราะ ขอกําหนดของสัญญาเปนการประกันรายไดใหแก กสท โดยกําหนดวิธกี ารคํานวณเปนรอยละ (เปอรเซนต) ของรายได เมือ่ มีการเลิกสัญญารายไดที่เกิดขึ้นจึงเปน ศูนย ผลประโยชนที่ตองชําระตอ กสท จึงคํานวณ จาก ศูนย จึงไมสามารถเรียกไดอีก 4. สัญญารวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปนสมาชิก ระหวาง บมจ. อสมท (องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล (บมจ. ไทยเคเบิ้ลวิชั่น ในขณะนั้น) โดยมีระยะเวลา 25 ป นับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2538 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2562 และ มี ก ารแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม ครั้ ง ที่ 1 เมื่ อ วั น ที่ 7 กั น ยายน 2537 มี ก ารแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม ครั้ ง ที่ 2 เมื่ อ วั น ที่ 9 พฤศจิกายน 2537 แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2541 และ แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 และ ขอตกลงระหวาง บมจ. อสมท และ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 โดยสัญญานี้มีวัตถุประสงค เพื่อ รวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปน สมาชิก โดย บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) มีสิทธิในการดําเนินกิจการใหบริการ โทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปนสมาชิก โดย บริษั ทฯ มีหนาที่ตองปฏิบัติตามสัญญา โดยตองสงมอบ ทรัพยสินทั้ งหมดรวมทั้งสงมอบ อุปกรณเครื่องรับทั้งหมด ให บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) (“อสมท”) ไดแก อุปกรณการขนสง ไดแก อุปกรณ Headend, อุปกรณหองสง ตองมอบใหแก อสมท ภายใน 1 มกราคม 2538 ไมต่ํากวา 50 ลานบาท และตองสงมอบใหแก อสมท ภายใน 5 ป นับจากวันที่ทําสัญญาแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 2 (9 พฤศจิกายน 2537) มีมูลคาไมนอยกวา 120 ลานบาท และ อุปกรณการรับ ไดแก ระบบ Set Top Converter ของสมาชิก ตอง สงมอบใหเปนกรรมสิทธิ์ของ อสมท เมื่อสิ้นสุดสัญญาลง โดย บริษัทฯ เปนผูตองลงทุนทั้งหมดเพื่อใชใน ดําเนินกิจการไมนอยกวา 100 ลานบาท เปนคาใชจายในการจัดหาเครื่องมืออุปกรณตางๆ และ หนาที่ในการ บํารุงรักษาอุปกรณและเครื่องมือ ใหอยูในสภาพใชงานไดตลอดเวลา ซึ่งในการดําเนินการตามสัญญานี้ บริษัทฯ ตกลงจายคาตอบแทนในการเขารวมดําเนินกิจการเปนเงินรอยละ 6.5 ของรายไดทั้งหมดแตละป กอนหักคาใชจายใดๆ สิทธิในการบอกเลิกสัญญา ตามสัญญากําหนดวา หาก บริษัทฯ ไมปฏิบัติตามสัญญาในขอหนึ่ง ขอใด อสมท จะแจงเปนลายลักษณอักษรใหปฏิบัติตามสัญญาใหถูกตองในเวลาอันสมควร หากบริษัทฯ ไมยอมปฏิบัติใหถูกตองในเวลา บริษัทฯ ตองแจงเหตุผลเปนลายลักษณอักษรให อสมท ทราบ เมื่อ อสมท พิจารณาคําชี้แจงแลว จะแจงใหบริษัทฯ ทราบและปฏิบัติใหถูกตองในกําหนดเวลาอันควรอีกครั้ง หาก บริษัทฯ ไมปฏิบัติใหถูกตองในกําหนดครั้งนี้ อสมท มีสิทธิเรียกคาเสียหาย หรือ ใหงดใหบริการ และ/หรือมี

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และในกรณีถามติ ครม.เปนวามีความจําเปนเพื่อความมั่นคงของรัฐ อสมท มี สิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือบางสวนไดโดยแจงใหบริษัททราบลวงหนาไมนอยกวา 180 วัน 5. สัญญารวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ระหวาง บมจ. อสมท (องคการ สื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บมจ. ทรู วิชั่นส (บมจ. อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอรเรชั่น ในขณะนั้น) โดยมีระยะเวลา 25 ป นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2532 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2557 และมีการแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่19 พฤษภาคม 2537 และ แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2541 แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 และ บันทึกขอตกลงระหวาง บมจ. อสมท และ บมจ. ทรู วิชั่นส เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 โดยสัญญานี้มีวัตถุประสงค เพื่อรวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก และบริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ไดสิทธิในการดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบ บอกรับเปนสมาชิก โดยมีหนาที่ในการตองลงทุนทั้งหมดเพื่อใชในดําเนินกิจการไมนอยกวา 50 ลานบาท เปนคาใชจายในการจัดหาเครื่องมืออุปกรณตางๆ และตองสงมอบทรัพยสินทั้งหมดรวมทั้งสงมอบอุปกรณ เครื่องรับทั้งหมด ให อสมท ไดแก อุปกรณการสง ไดแก อุปกรณเครื่องสง อุปกรณหองสง และสายอากาศ ภาคสง เพื่อดําเนินการในระบบ MMDS โดยสงมอบให อสมท ภายใน 180 วัน นับตั้งแตวันทําสัญญา (วันที่ 17 เมษายน 2532) โดยมีมูลคารวมไมต่ํากวา 50 ลานบาท และตองสงมอบอุปกรณจากการขยายบริการตาม สัญญาแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ให อสมท ภายใน 3 ป นับจากวันทําสัญญา (วันที่ 19 พฤษภาคม 2537) มีมูลคา รวมไมนอยกวา 120 ลานบาท และ อุปกรณเครื่องรับ ไดแก ระบบสายอากาศของสมาชิก (Down Converter) รวมทั้งอุปกรณปองกันไมใหผูอื่นที่มิใชสมาชิกรับสัญญาณได ตองสงมอบใหเปนกรรมสิทธิ์ อสมท เมื่อ สัญญาสิ้นสุดลง รวมทั้งหนาที่ในการโอนสิทธิ์ในคลื่นความถี่ 2507 - 2517 MHz และ 2521 - 2528 MHz ที่ ไดรับจากคณะกรรมการประสานงานและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ และอีก 1 คลื่นความถี่ที่ไดรับจาก คณะกรรมการประสานงานการจัด และบริห ารคลื่นความถี่ ใ ห อสมท ภายใน 180 วั น (นับ แต วัน ที่ 17 เมษายน 2532) ซึ่งในการดําเนินการตามสัญญานี้ บริษัทฯ ตกลงจายคาตอบแทนในการเขารวมดําเนินกิจการ เปนเงินรอยละ 6.5 ของรายไดทั้งหมดแตละป กอนหักคาใชจายใดๆ สิทธิในการบอกเลิกสัญญา ตามสัญญากําหนดวา หาก บริษัทฯ ไมปฏิบัติตามสัญญาในขอหนึ่ง ขอใด อสมท จะแจงเปนลายลักษณอักษรใหปฏิบัติตามสัญญาใหถูกตองในเวลาอันสมควร หากบริษัทฯ ไม ยอมปฏิบัติใหถูกตองในเวลา บริษัทฯ ตองแจงเหตุผลเปนลายลักษณอักษรให อสมท ทราบ เมื่อ อสมท พิจารณาคําชี้แจงแลว จะแจงใหบริษัทฯ ทราบและปฏิบัติใหถูกตองในกําหนดเวลาอันควรอีกครั้ง หาก บริษัทฯ ไมปฏิบัติใหถูกตองในกําหนดครั้งนี้ อสมท มีสิทธิเรียกคาเสียหาย หรือ ใหงดใหบริการ และ/หรือ มีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และในกรณีถามติ ครม.เปนวามีความจําเปนเพื่อความมั่นคงของรัฐ อสมท มี สิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือบางสวนไดโดยแจงใหบริษัทฯ ทราบลวงหนาไมนอยกวา 180 วัน

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.