TRUE : FORM 56-1 for the Year 2011 thai

Page 1

แบบแสดงรายการขอมูล (แบบ 56-1) ประจําป 2554

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)


สารบัญ หัวขอที่ - หนา สวนที่ 1 1. ขอมูลทั่วไป 1.1 ขอมูลทั่วไปของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 1.2 ขอมูลทั่วไปของบริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษัทที่เขารวมลงทุน 1.3 ขอมูลทั่วไปของบุคคลอางอิง 2. ปจจัยความเสี่ยง 3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ 4.2 การตลาด 4.3 การจําหนายและชองทางการจําหนาย 4.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ 4.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย 4.6 ความคืบหนาดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. ขอพิพาททางกฎหมาย 7. โครงสรางเงินทุน 7.1 หลักทรัพยของบริษัทฯ 7.2 ผูถือหุน 7.3 นโยบายการจายเงินปนผล 7.4 โครงสรางหนี้สิน 8. การจัดการ 8.1 โครงสรางการจัดการ 8.2 การสรรหากรรมการ 8.3 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ 8.4 รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ 8.5 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน 8.6 บุคลากร 9. การควบคุมภายใน 10. รายการระหวางกัน 11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.1 ขอมูลทางการเงินโดยสรุป 11.2 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.3 ผูสอบบัญชี 11.4 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

1-1 1-2 1 - 11 2-1 3-1 4-1 4 - 26 4 - 27 4 - 28 4 - 29 4 - 36 5-1 6-1 7-1 7-6 7-7 7-7 8-1 8-6 8 - 11 8 - 13 8 - 33 8 - 34 9-1 10 - 1 11 - 1 11 - 6 11 - 23 11 - 23 12 - 1

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล

1

เอกสารแนบ 1: รายละเอียดเกี่ยวกับผูบริหารและผูม ีอํานาจควบคุมของบริษัท เอกสารแนบ 2: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย เอกสารแนบ 3: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท

1 1 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 1 1. ขอมูลทั่วไป 1.1 ขอมูลทั่วไปของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”) มีชื่อยอหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย วา “TRUE” ไดจดทะเบียนกอตั้งบริษัทฯ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2533 ในนามบริษัท ซีพี เทเลคอมมิวนิเคชั่น จํากัด โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 1,000 ลานบาท เพื่อดําเนินธุรกิจทางดานโทรคมนาคม ตอมาไดจดทะเบียนแปรสภาพ เปนบริษัทมหาชนจํากัด เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2536 ทะเบียนเลขที่ 0107536000081 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 153,332,070,330 บาท เปนหุนสามัญ จํานวน 15,333,207,033 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลวจํานวน 145,031,791,510 บาท เปนหุนสามัญจํานวน 14,503,179,151 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาทโดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญอยูที่ โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญอยูที่ เลขที่ 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท 0-2643-1111 โทรสาร 0-2643-1651 Website : www.truecorp.co.th

ในแบบ 56-1 นี้ คําวา “ทรู” “บริษัทฯ” “บริษัทในเครือ” และ “บริษัทยอย” หมายความถึง บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และ/หรือ บริษัทในเครือ และ/หรือ บริษัทยอย ในกรณีที่มีขอสงสัยวาบริษัทใดเปน ผูรับผิดชอบหรือดําเนินการกิจการหนึ่งกิจการใดที่ปรากฎในเอกสารฉบับนี้ สามารถสงคําถามมาไดที่ ฝายนักลงทุนสัมพันธ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 699-2515 โทรสาร (662) 643-0515 อีเมล ir_office@truecorp.co.th

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

หัวขอที่ 1- หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.2 ขอมูลทั่วไปของบริษัทยอย บริษัทรวม และ บริษัทที่เขารวมลงทุน ชื่อบริษัท บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน)

บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด

บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด

บริษัท คลิกทีวี จํากัด

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 14, 17 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 1768 อาคารไทยซัมมิท ทาวเวอร ชั้น 14 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท โทรสาร 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

ผูใหบริการระบบ 100 ลานบาท แบงเปน DBS หุนสามัญจํานวน 10 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

% การถือหุน 90.00

ใหบริการ อินเทอรเน็ต

15 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

65.00

ผูใหบริการ PCT

10,441.85 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1,044.18 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

ธุรกิจลงทุน

148,928.29 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 59,571.31 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 2.50 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.40

ผูบริหารโครงขาย โทรศัพทมือถือ

12,458.32 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 124.58 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

ผลิตเพลง

16.52 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1.65 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

70.00

ผลิตรายการ โทรทัศน

1,283.43 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 128.34 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

ธุรกิจโทรทัศน แบบสื่อสาร สองทาง

46 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 4.6 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.31

หัวขอที่ 1- หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด

608-609 ชั้น 6 อาคารสยามดิสคัฟเวอรรี่ เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท (662) 207-6788 โทรสาร (662) 207-6789 บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส 1768 อาคารไทยซัมมิท ทาวเวอร มัลติมีเดีย จํากัด ชั้น 23 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท โทรสาร บริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม (ประเทศไทย) จํากัด ชั้น 18 ถนนศรีอยุธยา แขวงพญาไท เชตราชเทวี กรุงเทพฯ โทรศัพท โทรสาร บริษัท ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชั่นส 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม (ประเทศไทย) จํากัด ชั้น 18 ถนนศรีอยุธยา แขวงพญาไท เชตราชเทวี กรุงเทพฯ โทรศัพท โทรสาร บริษัท ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย 1768 อาคารไทยซัมมิท ทาวเวอร โฮลดิ้งส จํากัด ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท โทรสาร บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ 2/4 อาคารไทยพาณิชยสามัคคี อินเตอรเนต จํากัด ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด

สวนที่ 1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

% การถือหุน 25.82

ประกอบกิจการ เกี่ยวกับเพลง

110 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1.1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

ผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ ระบบเซลลูลาร แอมป 800 แบนดเอ

950 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 95 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

67.96

ธุรกิจจัดจําหนาย

230 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 23 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

บริการ Call Center

54 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 3.6 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 15 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

ธุรกิจลงทุน

10 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 590,000 หุน และ หุนบุริมสิทธิจํานวน 410,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

91.94

ใหบริการสื่อสาร โทรคมนาคมที่ มิใชภาครัฐ

50 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ จํานวน 12 ลานหุน มูลคาที่ตราไว หุนละ 10 บาท ซึ่งประกอบดวย หุนสามัญที่เรียกชําระเต็มมูลคาแลว จํานวน 2.67 ลานหุน และ หุนสามัญ ที่เรียกชําระยังไมเต็มมูลคาอีก จํานวน 9.33 ลานหุน โดยเรียกชําระ ไวที่มูลคาหุนละ 2.50 บาท 352.50 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 11.75 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 30 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

56.93

18 อาคารทรู ทาวเวอร ธุรกิจลงทุน ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 TRUETC: ขอมูลทั่วไป

ทุนชําระแลว

หัวขอที่ 1- หนา 3

100.00


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด

2/4 อาคารไทยพาณิชยสามัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 บริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลดดอทคอม 2/4 อาคารไทยพาณิชยสามัคคี จํากัด ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท 118/1 อาคารทิปโก จํากัด ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 725-7400 โทรสาร (662) 725-7401 บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เรียล มูฟ จํากัด 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย 18 อาคารทรู ทาวเวอร คอรปอเรชั่น จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 บริษัท เอสเอ็ม ทรู จํากัด 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ โทรคมนาคม และบริการ อินเทอรเน็ต

ทุนชําระแลว 153.04 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 15.30 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

% การถือหุน 56.83

ธุรกิจอินเทอรเน็ต 139.64 ลานบาท แบงเปน และผูจัดจําหนาย หุนสามัญจํานวน 13.95 ลานหุน และหุนบุริมสิทธิ จํานวน 0.01 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา ใหบริการดาน 75 ลานบาท แบงเปน การบริหารจัดการ หุนสามัญจํานวน 7.5 ลานหุน แกศิลปน และ มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ธุรกิจอื่นที่ เรียกชําระเต็มมูลคา เกี่ยวของ ธุรกิจลงทุน 22,844.39 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 2,284.44 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

91.08

99.77

100.00

ใหบริการระบบ 3,001 ลานบาท แบงเปน โทรศัพทเคลื่อนที่ หุนสามัญจํานวน 30.01 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.40

บริการ โทรคมนาคม

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.34

ขายและใหเชา อุปกรณที่เกี่ยวกับ บริการโทรทัศน ระบบบอกรับเปน สมาชิก ใหบริการดาน การบริหารจัดการ แกศิลปนและ ธุรกิจอื่นที่เกี่ยวของ

1,338 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 223 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 6 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.31

20 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 0.2 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

51.00

หัวขอที่ 1- หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

บริษัท สองดาว จํากัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด 18 อาคารทรู ทาวเวอร เซอรวิสเซส จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล 18 อาคารทรู ทาวเวอร จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด 2/4 อาคารไทยพาณิชยสามัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท (662) 979-7000 บริษัท ไทย นิวส เน็ตเวิรค 118/1 อาคารทิปโก (ทีเอ็นเอ็น) จํากัด ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท 121/102-103 แอนด มีเดีย จํากัด อาคารอารเอส ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด 121/72 อาคารอารเอส ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 686-2255 สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน 99.33

บริการ รับชําระเงิน

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

ใหบริการเนื้อหา

25 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

ธุรกิจลงทุน

21,066.45 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 2,106.64 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

ธุรกิจลงทุน

300 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 30 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

ใหบริการสื่อสาร โทรคมนาคมที่ ไมใชของรัฐ

250,000 บาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระมูลคาหุนละ 2.50 บาท

34.39

ชองขาวโทรทัศน 240 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 2.4 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

บริการเนื้อหาใน 54 ลานบาท แบงเปน ระบบดิจิตอลและ หุนสามัญจํานวน 5.4 ลานหุน สื่อสารการตลาด มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา ขายโฆษณา และ 25 ลานบาท แบงเปน ตัวแทนโฆษณา หุนสามัญจํานวน 2.5 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.52

บริการเกม ออนไลน

357 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 35.70 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา หัวขอที่ 1- หนา 5

100.00

100.00


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท ทรู จีเอส จํากัด 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี 18 อาคารทรู ทาวเวอร จํากัด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

1,501 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 15.01 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

จําหนายสินคา ผานสื่อตาง ๆ

240 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 2.4 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระมูลคาหุนละ 75 บาท

45.00

ใหบริการ ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ

688.22 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 84.7 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ซึ่งประกอบดวยหุนสามัญที่ เรียกชําระเต็มมูลคาแลวจํานวน 38 ลานหุน และ หุนสามัญที่ เรียกชําระยังไมเต็มมูลคาจํานวน 46.7 ลานหุน โดยเรียกชําระไวที่ มูลคาหุนละ 6.6 บาท 22 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 850,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ซึ่งประกอบดวยหุนสามัญที่ เรียกชําระเต็มมูลคาแลวจํานวน 10,000 หุน และ หุนสามัญที่ เรียกชําระยังไมเต็มมูลคาจํานวน 840,000 หุน โดยเรียกชําระไวที่ มูลคาหุนละ 25 บาท 752.80 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 75.28 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

18 อาคารทรู ทาวเวอร บริการ ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง โทรคมนาคม เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 14, 27 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800 18 อาคารทรู ทาวเวอร ชั้น 14 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 15 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 641-1800

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

% การถือหุน 99.32

ผูบริการคาปลีก

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

ทุนชําระแลว

ผูใหบริการ อินเทอรเน็ต

ใหบริการ ศูนยกลางขอมูล บนอินเทอรเน็ต

99.32

100.00

149.59 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 14.96 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

70.00

บริการ 436 ลานบาท แบงเปน โทรคมนาคมและ หุนสามัญจํานวน 4.36 ลานหุน อินเทอรเน็ต มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

หัวขอที่ 1- หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด

บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด

บริษัท ทรู แมจิค จํากัด

บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด

บริษัท ทรู มูฟ จํากัด

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

18 อาคารทรู ทาวเวอร บริการใหเชา ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ผูคาปลีกบริการ ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง โทรคมนาคม เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 TRUETC: ขอมูลทั่วไป

อินเทอรเน็ตคาเฟ และบริการ ที่เกี่ยวของ

ทุนชําระแลว 1,285 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 128.50 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

% การถือหุน 100.00

1,775 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 257.50 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ซึ่งประกอบดวยหุนสามัญ ที่เรียกชําระเต็มมูลคาแลวจํานวน 97.5 ลานหุน และ หุนสามัญที่ เรียกชําระยังไมเต็มมูลคาอีก จํานวน 160 ลานหุน โดยเรียกชําระ ไวที่มูลคาหุนละ 5 บาท 217 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 21.7 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

100.00

ผลิตและจําหนาย ภาพยนตร

3.5 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 350,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.99

บริการ รับชําระเงิน และบัตรเงิน อิเล็กทรอนิกส

200 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 20 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

ผูใหบริการ ระบบเซลลูลาร

41,281.25 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 4,128.13 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.32

ใหบริการเชา วงจรสื่อสัญญาณ ความเร็วสูงและ บริการมัลติมีเดีย

6,562 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 656.2 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

91.08

ใหบริการเนื้อหา

200,000 บาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.29

หัวขอที่ 1- หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

บริษัท ทรู ทัช จํากัด

บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน)

บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ 23/6-7 ชั้นที่ 2-4 ซอยศูนยวิจัย ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 641-4838-9 โทรสาร (662) 641-4840 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน 69.94

ซื้อ ขายและ ผลิตสื่อโฆษณา

1 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 10,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

บริการใหเชา

3,008 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 30.08 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

บริการ โทรคมนาคม

86 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 860,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

บริการ Call center

193 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1.93 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

จัดการทีมฟุตบอล 20 ลานบาท แบงเปน และกิจกรรมที่ หุนสามัญจํานวน 2 ลานหุน เกี่ยวของ มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

70.00

บริการ โทรคมนาคม

4,000 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 40 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

100.00

บริการ โทรทัศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก

2,266.72 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 755.57 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 3 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

99.31

บริการ โทรทัศน ระบบบอกรับ เปนสมาชิก ผานสายเคเบิล

7,608.65 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 760.86 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

98.99

หัวขอที่ 1- หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท จํากัด บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอรเรชั่น (กัมพูชา) จํากัด K.I.N. (Thailand) Company Limited Nilubon Company Limited

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ 118/1 อาคารทิปโก ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 54 อาคารดับบลิว แอนด ดับบลิว ซอยพัฒนาการ 20 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท (662) 717-9000 โทรสาร (662) 717-9900 18 อาคารทรู ทาวเวอร ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 191 อาคารสีลมคอมเพล็กซ ชั้น 27 หองเลขที่ 2 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ

159 อาคารเสริมมิตร ทาวเวอร ชั้น 2 และ 24 ซอยอโศก ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10/97 ชั้น 6 โครงการเดอะเทรนดี้ ซอยสุขุมวิท 13 (แสงจันทร) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 8 Lenine Blvd., Phnom Penh City, Cambodia P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands P.O. Box 71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Virgin Island TRUETC: ขอมูลทั่วไป

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแลว

% การถือหุน 100.00

ธุรกิจลงทุน

893 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญ จํานวน 8.93 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

ธุรกิจกอสราง

100 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 10 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

87.50

พัฒนาและ ใหบริการ เกมออนไลน

241.58 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 11.84 ลานหุน และหุนบุริมสิทธิจํานวน 12.32 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา 1,600 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 160 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

ถือหุน 51.00 แตมีสิทธิ ออกเสียง 40.00 15.76

343 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 343,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1,000 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา

9.62

2 ลานบาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 20,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เรียกชําระเต็มมูลคา USD 1 ลาน แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 1 แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 8,000 แบงเปน หุนสามัญจํานวน 8,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา

20.00

ศูนยกลาง ใหบริการ การเคลียรริ่ง ของระบบ การจายเงินทาง อิเล็กทรอนิกส ผูผลิตอุปกรณ โทรคมนาคม

บริการคงสิทธิ เลขหมายตามที่ กฎหมายกําหนด หยุดดําเนินงาน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

หัวขอที่ 1- หนา 9

69.52

100.00

100.00


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท Dragon Delight Investments Limited Gold Palace Investments Limited

Golden Light Company Limited

Goldsky Company Limited

TA Orient Telecom Investment Company Limited Rosy Legend Limited

Prospect Gain Limited

True Internet Technology (Shanghai) Company Limited

สวนที่ 1

สถานที่ตั้งสํานักงานใหญ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands Suite 308, St James Court, ธุรกิจลงทุน St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius

ทุนชําระแลว

USD 1 แบงเปน หุนสามัญจํานวน 1 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 6 ลาน แบงเปน หุนสามัญจํานวน 6 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา USD 6 ลาน แบงเปน หุนสามัญจํานวน 6 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา Suite 308, St James Court, ธุรกิจลงทุน USD 1 แบงเปน St Denis Street, Port Louis, หุนสามัญจํานวน 1 หุน Republic of Mauritius มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา st 21 Far East Finance Centre, ธุรกิจลงทุน USD 15 ลาน แบงเปน 16 Harcourt Road, Central, หุนสามัญจํานวน 15 ลานหุน Hong Kong มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 เรียกชําระเต็มมูลคา P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน USD 1 แบงเปน Offshore Incorporations Center, หุนสามัญจํานวน 1 หุน Road Town, Tortola, มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 British Virgin Islands เรียกชําระเต็มมูลคา P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน USD 1 แบงเปน Offshore Incorporations Center, หุนสามัญจํานวน 1 หุน Road Town, Tortola, มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 British Virgin Islands เรียกชําระเต็มมูลคา Room 2202-05, พัฒนา ออกแบบ USD 2.5 ลาน แบงเปน Johnson Building, No.145 ผลิตและขาย หุนสามัญจํานวน 2.5 ลานหุน Pujian Road, Shanghai 200127, ผลิตภัณทซอฟแวร มูลคาที่ตราไวหุนละ USD 1 P.R.China เรียกชําระเต็มมูลคา Tel. (86) 21 5889 0800 - 8049 Fax. (86) 21 5889 0800-8033

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

% การถือหุน 100.00

หัวขอที่ 1- หนา 10

100.00

100.00

100.00

100.00

99.40

100.00

100.00


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.3 ขอมูลทั่วไปของบุคคลอางอิง นายทะเบียนหุน สามัญ : บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259 Call center (662) 229-2888 เว็บไซต http://www.tsd.co.th ผูสอบบัญชี

: นายพิสิฐ ทางธนกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4095 บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด 179/74-80 บางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้น 15 ถนนสาทรใต แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 286-9999, (662) 344-1000 โทรสาร (662) 286-5050

นายทะเบียนหุน กู/ ผูแทนผูถือหุนกู

: หุนกูมีประกัน ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) 393 อาคารสีลม ชั้น 2 ถนนสีลมซอย 7 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท (662) 230-5575, (662) 230-5487, (662) 230-5731 โทรสาร (662) 266-8150 หุนกูไมมปี ระกัน ธนาคารกรุงศรีอยูธยา จํากัด (มหาชน) 1222 ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท (662) 296-3582, (662) 296-4782, (662) 296-4788, (662) 296-2988 โทรสาร (662) 296-2202, (662) 683-1297

สวนที่ 1

TRUETC: ขอมูลทั่วไป

หัวขอที่ 1- หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ปจจัยความเสี่ยง แม กลุมทรูจะเล็งเห็นโอกาสการเติบโตในธุรกิจหลักของบริษัทฯ ในป 2555 หลังประสบความสําเร็จ ในการดําเนินยุทธศาสตรหลายประการ (สวนใหญจากการขยายโครงขายของบริการ WiFi บรอดแบนดทั้งแบบ มี สายและไร สายให ครอบคลุมทั่ วประเทศ ของกลุ มทรู และการเปลี่ ยนกล องรับสัญญาณ เพื่อรองรั บระบบ ออกอากาศใหมที่ มีความปลอดภั ยสูงของทรูวิชั่นส) บริษัทฯ ตระหนักถึงป จจั ยความเสี่ ยงตาง ๆ ซึ่ งอาจส ง ผลกระทบตอผลการดําเนินการของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทในเครือ ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับการดําเนินงาน ความเสี่ยงจากปจจัยดานเศรษฐกิจมหภาค ในป 2554 ตลาดตราสารทุนของไทยไดรับผลกระทบจากปจจัยภายนอกในหลายๆ ดาน ทั้งจาก การชะลอตัวของเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา และวิกฤตหนี้ในยุโรป โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศกรีซ นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเผชิญกับวิกฤตน้ําทวมครั้งรุนแรงที่สุดในรอบกวา 60 ป ซึ่งกระทบตอ ประชาชนและภาคธุรกิจในพื้นที่สวนใหญของภาคกลาง รวมทั้งกรุงเทพมหานคร วิกฤตน้ําทวมในครั้งนี้ทําให ทรัพยสินบางสวนของบริษัทฯ ไดรับความเสียหาย และไดกระทบตอโอกาสในการเติบโตของบริษัทฯ เนื่องจาก ฐานลูกคาสวนใหญอยูในพื้นที่ที่น้ําทวมหนัก นอกจากนี้ ผลจากวิกฤตน้ําทวมยังทําใหบริษัทฯ ตองเลื่อนกิจกรรม ทางการตลาดและแผนการขยายธุรกิจออกไปจากกําหนดการเดิม ซึ่งคาดวาจะสงผลกระทบในระยะสั้นตอ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ กลุมทรู เชื่อมั่นวา เศรษฐกิจของประเทศจะปรับตัวดีขึ้นในป 2555 ซึ่งสวนหนึ่งเปนผลมาจากการ ฟนฟูความเสียหายหลังน้ําทวมทั้งในระดับทองถิ่นและระดับประเทศ ในขณะที่อุตสาหกรรมโทรคมนาคม จะเติบโตไดดีในป 2555 โดยความตองการใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ต และบริการบรอดแบนดแบบมีสาย จะยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งนี้กลุมทรูยังคงมุงมั่นนําเสนอเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อสานตอยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ และสราง ความแข็งแกรงใหกับกลุมบริษัทฯ ในฐานะผูนําบริการสื่อสารโทรคมนาคมไทยรายเดียวที่เปน Quadruple Play สมบูรณแบบทั้งบริการสื่อสารดานเสียง วิดีโอ ขอมูล และมัลติมีเดียตางๆ รวมทั้งการพัฒนาคอนเทนตและ การนําเสนอนวัตกรรมตางๆ จะชวยเสริมสรางความแตกตางในตลาดสื่อสารโทรคมนาคม นอกจากนี้กลุมทรู จะยังคงเดินหนาขยายธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การขยายบริการ 3G+ เพื่อจะใชประโยชนจากการกาวสูการ เปนผูนําการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G ในประเทศ ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการตลาด บริษัทฯ และกลุมธุรกิจตางๆ ของกลุมทรู ยังคงตองเผชิญกับการแขงขันที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลาดบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยเฉพาะบริการเสียง เขาใกลจุดอิ่มตัว ในขณะที่ตลาดบริการที่ ไมใชเสียงมีการแขงขันเพิ่มขึ้น เนื่องจากผูใหบริการรายอื่นๆ เริ่มเปดใหบริการ 3G บนคลื่นความถี่ที่มีอยูเดิม หลังกลุมทรูเขาซื้อกิจการฮัทช และการเปดตัวทรูมูฟ เอช เพื่อขายตอบริการ 3G+ ของ กสท จากการลงนาม ในสัญญาระหวางกลุมทรูกับ กสท ทั้งนี้ ทีโอที ซึ่งเปนผูประกอบการรายเดียวที่ไดรับใบอนุญาต 3G บน คลื่น 2.1 GHz มีแผนจะขยายโครงขายเพื่อใหบริการ 3G อยางจริงจังในป 2554 หากแตเปาหมายดังกลาวได ถูกเลื่อนไปเปนป 2555 จากวิกฤตน้ําทวม ซึ่งทีโอทีอาจเปดใหผูประกอบการรายใหมเขารวมใหบริการใน ลักษณะ MVNO (Mobile Virtual Network Operator) หรือการขายตอบริการ (Reseller) เพิ่มขึ้น โดยอาจรวมถึง ผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญในปจจุบัน นอกเหนือจากที่กลาวมาแลวขางตน บริษัทยอยของกลุมทรู ซึ่งอยูภายใตกลุมทรู โมบาย ยังมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางผูถือหุนใหญในบริษัท คูแขงบางราย ซึ่งมีผลทําใหกลุมทรูโมบายตองแขงขันกับผูใหบริการจากตางประเทศ ซึ่งมีประสบการณจาก การแขงขันในตลาดที่มีการแขงขันสูงกวา และมีเงินทุนมากกวา กลุมทรูยังคงรักษาความเปนผูนําบริการ 3G ในประเทศไทย ดวยการเดินหนาขยายความครอบคลุม ของบริการ 3G+ และยังคงมุงมั่นรักษาความเปนเลิศดานคุณภาพการใหบริการ รวมทั้งการพัฒนาคอนเทนต ตางๆ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาทุกกลุมไดอยางแทจริง การแขงขันดานราคาในตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยเปนไปอยางสมเหตุสมผลมากขึ้น นับตั้งแต ป 2550 เนื่องจากการเขาสูระบบคาเชื่อมตอโครงขาย (Interconnection Charge หรือ IC) ทําใหผูประกอบการ มีภาระตนทุนที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมตอไปยังโครงขายอื่น (ในอัตราโดยเฉลี่ย 1 บาทตอนาที) ซึ่งเปนเสมือน ราคาขั้นต่ําของผูประกอบการ โดยเฉพาะ สําหรับการโทรนอกโครงขาย อยางไรก็ตาม ในระหวางกลางป 2553 มีการแขงขันในตลาดกลุมลูกคาโทรภายในโครงขายเพิ่มขึ้น โดยผูประกอบการรายใหญไดออกโปรโมชั่น สําหรับกลุมลูกคาดังกลาว เพื่อแขงขันกับผูประกอบการรายเล็ก ทําใหทรูมูฟ ซึ่งเนนการทําตลาดในกลุมลูกคา ที่เนนการโทรในโครงขาย ไดรับผลกระทบ ดังจะเห็นไดจากรายไดจากบริการเสียงของบริการแบบเติมเงิน ลดลง และมีแนวโนมตอเนื่องจนถึงครึ่งปแรกของป 2554 ทรูมูฟพยายามยับยั้งแนวโนมดังกลาวดวยการขยาย โครงขายบริการเสียงและขอมูล ในตางจังหวัดใหครอบคลุมมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งยังคงมีความครอบคลุมนอย นอกจากนี้ยังนําเสนอโปรโมชั่นใหม โทรทุกโครงขาย ทําใหรายไดจากบริการ แบบเติมเงินฟนตัวในครึ่งปหลังของป 2554 ในตลาดอินเทอรเน็ตและบรอดแบนด กลุมทรูตองเผชิญกับการแขงขันที่เพิ่มขึ้น หลังจากคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กทช.”) ออกใบอนุญาตสําหรับการประกอบกิจการโทรศัพท พื้นฐานพรอมบริการอินเทอรเน็ต บรอดแบนดทั่วประเทศ ใหแก บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวิรค จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของ บริษัท แอดวานซ อินโฟรเซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) และบริษัท ทริปเปลที บรอดแบนด จํากัด (หรือ 3BB ในปจจุบัน) ซึ่งตอมา 3BB ไดขยายพื้นที่ใหบริการสูกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลมาตั้งแตป 2551 สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2554 เทคโนโลยี ADSL สําหรับใหบริการบรอดแบนด ใกลเขาถึงขีดจํากัดของเทคโนโลยี ในการเพิ่มความเร็วการเชื่อมตออินเทอรเน็ตโดยที่ยังสามารถรักษาตนทุนไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูใหบริการ สวนใหญเริ่มลังเลที่จะเพิ่มความเร็วการเชื่อมตอของแพ็กเกจมาตรฐานเพื่อเพิ่มสวนแบงตลาด ซึ่งมีความเปนไป ไดวา ในป 2555 ผูใหบริการบางรายอาจตัดสินใจลดอัตราคาบริการเพื่อเพิ่มฐานลูกคา ทั้งนี้ ในตนป 2554 กลุมทรู ไดเปดบริการอินเทอรเน็ตดวยความเร็วสูงสุด 100 Mbps ผานเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 บนโครงขายเคเบิล โมเด็ม ครอบคลุมจังหวัดหลักๆ ทั่วประเทศ ทําใหกลุมทรูสามารถใหบริการดวยความเร็วที่สูงขึ้น แตดวย ตนทุนที่ต่ํากวาผูใหบริการรายอื่นๆ ตอมา กลุมทรูไดผสานบริการใหมนี้เขากับบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง บนเทคโนโลยี ADSL ที่มีอยูเดิม โดยปรับเปลี่ยนแบรนดใหมเปน “Ultra hi-speed Internet ความเร็ว 7-100 Mbps” ซึ่งบริการดังกลาวไดรับการตอบรับอยางดียิ่งจากตลาด อยางไรก็ดี ธุรกิจออนไลนยังเผชิญกับการแขงขันที่ เพิ่มขึ้นในตลาดบริการ WiFi และบริการใยแกวนําแสง อีกดวย นอกจากนี้ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน ยังคงเผชิญกับการแขงขันที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นจากบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ และบริการเสียงผานการใหบริการอินเทอรเน็ต (VoIP) เนื่องจากมีอัตราคาบริการที่ต่ํากวา อัตราคาบริการโทรศัพทพื้นฐานแบบเดิม แมโทรศัพทพื้นฐานจะสามารถใหบริการดวยคุณภาพที่ดีกวา ยิ่งไปกวานั้น การแขงขันในตลาดบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกของไทยเริ่มสูงขึ้น หลังมี การประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2551 ในเดือนมีนาคม ปเดียวกัน ซึ่ง พรบ. ดังกลาวอนุญาตใหผูใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก (ระบบเคเบิลและจานดาวเทียม) สามารถโฆษณาได ทําใหมีผูประกอบรายใหมเขาสูตลาดเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งผูผลิตคอนเทนต ซึ่ง ทยอยเขาสูตลาดเพื่อเปนผูประกอบการทีวีดาวเทียม อยางไรก็ตาม บริษัทฯ เชื่อวา คอนเทนตคุณภาพสูงของทรูวิชั่นส ซึ่งสวนใหญเปนคอนเทนตที่ ทรูวิชั่นสมีลิขสิทธิ์เพียงรายเดียว จะทําใหกลุมทรู มีความไดเปรียบในเชิงการแขงขัน นอกจากนี้ การที่ทรูวิชั่นส มีฐานสมาชิกที่มีขนาดใหญกวาผูประกอบการรายอื่นๆ ยังเปนหลักประกันดานรายไดสําหรับผูที่ใหบริการ ดานคอนเทนตกับทรูวิชั่นส กลุมทรูคาดวาการแขงขันในธุรกิจตางๆ ที่กลุมทรูใหบริการ จะยังคงสูงขึ้นในอนาคต แตเชื่อวา กลุมทรูมีความพรอมสําหรับการแขงขัน โดยมีขอไดเปรียบจากการมีแบรนดที่แข็งแกรง และมีบริการที่ครบวงจร รวมทั้งมีคอนเทนตที่หลากหลาย ภายใตกลยุทธคอนเวอรเจนซ ซึ่งทําใหกลุมทรูแตกตางจากผูใหบริการรายอื่น นอกจากที่กลาวแลว บริษัทยอย ไดยื่นขอรับใบอนุญาตใหมๆ เพื่อใหไดรับประโยชนจากการปฏิรูปการกํากับดูแล และเพื่อการแขงขันที่เทาเทียมกับผูประกอบการรายอื่น ความเสี่ยงเฉพาะธุรกิจของทรูวิชั่นส ความเสี่ยงหลักของทรูวิชั่นส ไดแก การตองพึ่งพาผูจัดหารายการเพื่อซื้อรายการจากตางประเทศ และความเสี่ยงจากการถูกลักลอบใชสัญญาณหรือการละเมิดลิขสิทธิ์ สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หากทรูวิชั่นส ไมสามารถจัดหารายการที่เปนที่สนใจของสมาชิก หรือหากตนทุนของการจัดหา รายการเพิ่มสูงขึ้นในอนาคตก็จะมีผลกระทบตอผลประกอบการของทรูวิชั่นส ปจจุบันลูกคาที่สนใจในรายการ จากตางประเทศ สวนใหญเปนลูกคาที่สมัครแพ็กเกจพรีเมียม (ประกอบดวย แพลทินัม, โกลด และ ซิลเวอร) ซึ่ง ณ ปลายเดือนธันวาคม ป 2554 มีจํานวนรวม 430,097 ราย คิดเปนอัตรารอยละ 26.2 ของลูกคาของทรูวิชั่นส (รวมลูกคาฟรีวิวและฟรีทูแอร) ทั้งนี้ ตนทุนรายการตางประเทศ รวมในป 2554 คิดเปนอัตรารอยละ 20.1 ของ รายไดจากคาบริการของทรูวิชั่นส การลักลอบใชสัญญาณหรือการละเมิดลิขสิทธิ์เปนเรื่องที่ปองกันไดยาก และมีผลกระทบตอ ผลการดําเนินงาน กระแสเงินสดและการจัดหารายการของทรูวิชั่นส อยางไรก็ตาม การจัดตั้งคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) ในเดือนกันยายน 2554 จะสงผลใหมีการออกใบอนุญาตการประกอบกิจการโทรทัศนที่มีการบอกรับสมาชิกอยางเปนทางการ ซึ่งจะ สามารถลดความเสี่ยงจากการถูกลักลอบใชสัญญาณได เนื่องจากผูประกอบการทุกราย จะตองดําเนินกิจการ ภายใตกรอบการกํากับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. เชนเดียวกับทรูวิชั่นส โดยผูประกอบการทุกรายตอง ซื้อคอนเทนตและรายการอยางถูกกฎหมาย ซึ่งจะทําใหขีดความสามารถในการแขงขันลดลง ยิ่งไปกวานั้น การดําเนินกิจการภายใตกรอบการกํากับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. จะทําให ตลาดจะมีการแขงขันอยาง เปนธรรมและมีกฎระเบียบที่ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเปนผลดีตอผูประกอบการที่ดําเนินกิจการอยางถูกตองตามกฎหมาย แตในขณะนี้ นโยบายในการใหใบอนุญาตการประกอบกิจการโทรทัศนที่มีการบอกรับสมาชิกยังไมชัดเจน นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสไดเริ่มดําเนินการปรับเปลี่ยนระบบออกอากาศใหมที่มีความปลอดภัยสูง ใน เดือนตุลาคม 2554 เพื่อมอบประสบการณในการรับชมที่ดียิ่งขึ้นใหกับสมาชิก โดยเริ่มจากการใหสิทธิพิเศษ สําหรับลูกคาระดับบนที่แสดงความจํานงเปลี่ยนจากกลองรับสัญญาณเดิมมาเปนกลองรับสัญญาณรุนใหม (Hybrid Set Top Box) ซึ่งสามารถถอดรหัสสัญญาณ MPEG-4 ได เมื่อระบบออกอากาศใหมเริ่มใชงาน คอนเทนต หรือรายการคุณภาพสูงของทรูวิชั่นส จะมีการเขารหัสสัญญาณเปน MPEG-4 ทั้งหมด ซึ่งจะเปนปจจัยที่ชวย ลดการลักลอบใชสัญญาณไดอยางมีนัยสําคัญ ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ตลอดจนความตองการของลูกคาก็เปลี่ยนแปลง ไปตามวิวัฒนาการในผลิตภัณฑและบริการใหมๆ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงดานกฎเกณฑการกํากับดูแล ตางก็ มีสวนทําใหมีการเปดตลาดและเทคโนโลยีใหมๆ คาดวาปจจัยตางๆ ดังกลาวขางตน จะยังคงมีผลตอธุรกิจ สื่อสารของประเทศไทยในอนาคต เพื่อตอบรับกับแนวโนมใหมๆ ดานเทคโนโลยี อาจทําใหกลุมทรูมีคาใชจาย ในการลงทุน และการดําเนินงานสูงขึ้นเปนอยางมาก และหากกลุมทรูไมลงทุนในเทคโนโลยีใหม อาจจะมี ผลทําใหขีดความสามารถในการแขงขันและความพึงพอใจของลูกคาลดลง อยางไรก็ตาม กลุมทรูคาดวา ดวยผลิตภัณฑและบริการ ตลอดจนฐานรายไดและลูกคาที่หลากหลาย จะทําใหสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและรักษารายไดใหอยูในกลุมบริษัทฯ ไดดีกวาผูใหบริการ ที่มีเพียงบริการเดียว สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ความเสี่ยงดานการกํากับดูแล ความเสี่ยงของบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่และขอจํากัดของบริการ ในเดือนธันวาคม 2553 ผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ไดเริ่มเปดใหบริการคงสิทธิเลขหมาย โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability - MNP) ซึ่งทําใหลูกคาสามารถเปลี่ยนผูใหบริการไดโดยไม จําเปนตองเปลี่ยนเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งนับตั้งแตมีการเปดใชบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทยอยภายใตกลุมทรู โมบายสามารถเพิ่มลูกคารายเดือนซึ่งมีรายไดตอเลขหมายตอเดือนสูงมากขึ้น โดยเฉพาะ กลุมผูใชสมารทโฟนที่สนใจใชบริการ WiFi รวมทั้งบริการ 3G+ บนคลื่นความถี่ 850 MHz เนื่องจากบริการ 3G+ ของบริษัทยอยมีพื้นที่ใหบริการครอบคลุมมากกวาผูใหบริการรายอื่นๆ อยางไรก็ตามบริษัทยอยอาจจะมีความ เสี่ยงในการสูญเสียลูกคาแบบเติมเงินบางสวนโดยเฉพาะในตางจังหวัดซึ่งที่ผานมาความครอบคลุมของบริการ 2G ของบริษัทยอยนอยกวาผูประกอบการรายใหญรายอื่นๆ ทั้งนี้ การจํากัดจํานวนการใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ตอวันของบริษัท ศูนยใหบริการ คงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด อาจสงผลใหอัตราการไดมาซึ่งลูกคาใหม (ซึ่งปจจุบันใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ของผูประกอบการรายอื่น) ของบริษัทยอยภายใตกลุมทรู โมบายลดลง อยางไรก็ดี เมื่อตนป 2555 คณะกรรมการ กสทช. ไดมีคําสั่งใหผูประกอบการเพิ่มจํานวนการใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่เปนวันละ 40,000 เลขหมาย ซึ่งบริษัทฯ คาดวา การผลักดันจากหนวยงานกํากับดูแลจะสงผลในเชิงบวก เนื่องจากจะทําให ผูใหบริการทุกรายสามารถใหบริการคงสิทธิเลขหมายฯ ไดในปริมาณที่สอดคลองกับความตองการของผูบริโภค ธุรกิจสื่อสารของประเทศไทยอยูในระหวางการเปลี่ยนแปลงดานการกํากับดูแล กอใหเกิดความเสี่ยงตอ ผูประกอบการ ตามขอตกลงที่ประเทศไทยไดใหไวกับองคกรการคาโลกหรือ WTO เพื่อเปดเสรีธุรกิจโทรคมนาคมไทย ภายในป 2549 รัฐบาลไทยไดเริ่มดําเนินการปฏิรูปการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดยการออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันไดแก พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 ซึ่งประกาศใชเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2543 และ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ซึ่งประกาศใชเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตาม พรบ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 จะตองมีการจัดตั้งองคกรเพื่อการกํากับดูแล 2 องคกร คือ คณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กทช.”) และ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการ โทรทัศนแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสช.”) โดยในเดือนตุลาคม 2547 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือคณะกรรมการ กทช. ไดถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนองคกรอิสระในการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมซึ่งเดิมเปน อํานาจหนาที่ขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2545 ไดแปรสภาพเปน บริษัท ที โอที จํากัด (มหาชน) หรือ ทีโอที) และ การสื่อสารแหงประเทศไทย (ณ วันที่ 14 สิงหาคม 2546 ไดแปรสภาพ เปน บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท) และ กรมไปรษณียโทรเลข (ปจจุบันเปลี่ยนเปน บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด) สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อยางไรก็ดี ความขัดแยงทางการเมืองและนิติบัญญัติ ทําใหความพยายามในการจัดตั้งคณะกรรมการ กสช. ทั้งสองครั้ง (ในป 2544 และ 2548) ไมเปนผลสําเร็จ กอใหเกิดความสับสนในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมและ การกระจายเสียง ในเดือนธันวาคม 2553 ไดมีการประกาศใช พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับ กิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (“พรบ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ”) ซึ่งจะมีผลใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) เพื่อทําหนาที่กํากับ ดูแล กิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และ กิจการโทรคมนาคม แทนคณะกรรมการ กทช. ซึ่งกระบวนการไดแลวเสร็จเมื่อมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนกันยายน 2554 แตทั้งนี้ ขึ้นอยูวาคณะกรรมการทั้ง 11 ทาน จะผลักดันใหเกิดการเปดเสรีและการกําหนดกฎระเบียบตางๆ ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมและการกระจายเสียงไดอยางมีประสิทธิผลหรือไม กลุมทรูจะยังคงนโยบายเชิงรุกในการเจรจากับคณะกรรมการ กสทช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร รวมทั้งกระทรวงการคลัง (ซึ่งเปนผูถือหุนของ กสท และทีโอที) เพื่อสนับสนุนใหกระบวนการ ปฏิรูปธุรกิจโทรคมนาคม กอใหเกิดการแขงขันอยางเสรีและเปนธรรมอยางแทจริง การจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับการประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในป 2552 คณะกรรมการ กทช. ไดดําเนินการบางประการ เพื่อใหเกิดความคืบหนา ในเรื่องการ จัดสรรคลื่นความถี่ 3G ในยาน 2.1 GHz โดยไดจัดทําเอกสารขอสนเทศเพื่อกําหนดเงื่อนไขการจัดสรรคลื่น ความถี่ IMT หรือ 3G and beyond และ ไดจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ เพื่อรวมรวมความคิดเห็น จากทุกฝายที่มีผลประโยชนเกี่ยวของในเรื่องนี้ โดยเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2553 สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดออก ประกาศ กทช. เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการอนุญาตใหใชคลื่นความถี่เพื่อการประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ IMT ยาน 2.1 GHz โดยไดลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันเดียวกัน อันทําใหหลักเกณฑดังกลาวมี ผลบังคับใชทันที ซึ่งคณะกรรมการ กทช. ไดดําเนินการขั้นตอนตางๆ เพื่อเตรียมการจัดประมูลคลื่นความถี่ ยานความถี่ 2.1 GHz ขึ้นในวันที่ 20-28 กันยายน 2553 อยางไรก็ตามในเดือนกันยายน 2553 กสท ไดยื่นฟองตอศาลกรณีที่การประมูลคลื่นความถี่ดังกลาว ไมชอบดวยกฎหมาย ซึ่งตอมา ศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งใหมีการชะลอการจัดสรรคลื่นความถี่ 2.1 GHz เปนการชั่วคราวจนกวาคดีถึงที่สุด หรือศาลมีคําสั่งเปนอยางอื่น การจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. จะนําไปสูการจัดสรรคลื่นความถี่และการออกใบอนุญาตในอนาคต อันใกลนี้ ซึ่งเปนการเดินหนาเพื่อการเปดเสรีอุตสาหกรรมโทรคมนาคมและกระจายเสียง ทั้งนี้ หนึ่งในภารกิจ ในอันดับตนๆ ที่ กสทช. จะตองดําเนินการหลังเขาดํารงตําแหนง ไดแก การรางแผนแมบทคลื่นความถี่แหงชาติ

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

และการจัดการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะสําหรับแผนแมบทดังกลาวทั้งในกรุงเทพมหานครและจังหวัดอื่นๆ เปนระยะเวลา 30 วัน ซึ่งกระบวนการดังกลาว ไดเสร็จสิ้นเปนที่เรียบรอยในเดือนกุมภาพันธ 2555 และหลังจากนั้น คณะกรรมการ กสทช. จะตองจัดทําเอกสารขอสนเทศเพื่อกําหนดเงื่อนไขการประมูลคลื่นความถี่ และจัดใหมี การรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ ซึ่งอาจจะตองใชเวลาอีกไมนอยกวา 6 เดือน กลุมทรูมีความเสี่ยงจากสัญญาใหดําเนินการฯ ของทรูมูฟจาก กสท และสัญญารวมการงานฯ จากทีโอทีจะ สิ้นสุดลง ซึง่ อาจทําใหกลุมทรูมีคาใชจายเพิม่ เติมเพื่อใหสามารถประกอบธุรกิจไดอยางตอเนื่อง เนื่องจากสัญญาใหดําเนินการฯ ของทรูมูฟ จะสิ้นสุดลงในป 2556 กลุมทรูหวังวา คณะกรรมการ กสทช. จะใหความสําคัญกับการกําหนดและจัดสรรคลื่นความถี่ใหม (Re-farming) สําหรับคลื่นความถี่ (ซึ่ง ปจจุบันถูกใชงานภายใตสัญญาตางๆ ขางตน) กอนที่สัญญาดังกลาวนั้นจะสิ้นสุดลง เพื่อไมเปนการกระทบตอ ผูใชบริการ แตหากไมมีความชัดเจนในกรณีดังกลาวจากหนวยงานกํากับดูแล อาจมีความเสี่ยงที่ธุรกิจของทรูมูฟ จะไดรับผลกระทบจากการสิ้นสุดของสัญญา อยางไรก็ตามกลุมทรูไดมีแผนสํารองตางๆ เพื่อการใหบริการอยาง ตอเนื่อง โดยในเดือนมกราคม 2552 ทรูมูฟไดลงนามในบันทึกขอตกลงรวมกัน (Memorandum of Agreement) รวมกับ กสท ในการรับสิทธิที่จะใชโครงขายและอุปกรณที่ทรูมูฟไดสรางและโอนใหกับ กสท เพื่อใหบริการ ตอไปอีก 5 ป หลังสัญญาใหดําเนินการฯ สิ้นสุดในป 2556 ซึ่งจะทําใหทรูมูฟสามารถดําเนินกิจการตอไปได ถึงป 2561 เชนเดียวกับดีแทค โดยสัญญาดังกลาวมีผลผูกพันทันที อยางไรก็ตาม กสท อาจเสนอใหคณะรัฐมนตรี พิจารณาอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากอาจถือวาเปนการรวมลงทุนระหวางภาครัฐและเอกชนที่มีมูลคาเกิน 1 พันลานบาท ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไขขอตกลงตอไปวาตองปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะหรือไม ซึ่งขณะนี้ ยังไมไดมีการกําหนด เงื่อนไขดังกลาว นอกจากนั้นทรูมูฟอาจจะมีคาใชจายเกี่ยวกับคลื่นความถี่ ที่ตองจายให กสท หรือ กสทช. ยัง ไมเปนที่แนชัด เพื่อสามารถใหบริการลูกคาในระบบ 2G บนคลื่นความถี่ 1800 MHz เดิม ซึ่ง ณ ปจจุบันไม สามารถคาดการณไดวาคาใชจายดังกลาวจะมีจํานวนเทาใด นอกจากนั้น ภายหลังจากที่การประมูลคลื่นความถี่เพื่อประกอบกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ 3G บน คลื่นความถี่ 2.1 GHz ถูกระงับเปนการชั่วคราวตามคําสั่งของศาลปกครองสูงสุด รัฐมนตรีกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ไดมีนโยบายให กสท และ ทีโอที อนุญาตใหบริษัทคูสัญญาเปดใหบริการ 3G บน คลื่นความถี่เดิม เนื่องจากความลาชาในการเปดใหบริการ 3G อาจกระทบตอความสามารถในการแขงขันของ ประเทศ ทั้งนี้ ในป 2554 กระทรวงการคลัง ไดหยิบยกขอเสนอเรื่องการแปลงสัญญาสัมปทานตางๆ สําหรับ บริการ 2G (ใหเปนใบอนุญาต และสามารถปรับปรุงเปนเทคโนโลยี 3G) ขึ้นมาหารือรวมกับผูประกอบการ อยางจริงจัง ทั้งนี้ ขอเสนอดังกลาว ยังไมมีรายละเอียดที่สมบูรณ และผูประกอบการอาจมีความเห็นที่ไมเปนไป ในทํานองเดียวกับ กสท ทีโอที หรือกระทรวงการคลัง ซึ่งอาจจะทําใหไมสามารถบรรลุขอตกลงได สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เพื่อเปนการลดความเสี่ยงเพิ่มเติม สําหรับธุรกิจในกลุมทรู โมบาย จากการที่สัญญาใหดําเนินการฯ ของทรูมูฟจะสิ้นสุดลงในเดือนกันยายน 2556 กลุมทรู ไดเขาซื้อหุนของบริษัทในกลุมฮัทชิสัน ประเทศไทย ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 และตอมาไดมีการทําสัญญากับ กสท ในวันที่ 27 มกราคม 2554 ทําใหบริษัท เรียล มูฟ จํากัด (“เรียล มูฟ”) ซึ่งเปนบริษัทยอยภายใตกลุมทรูเปนผูใหบริการขายตอบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนเทคโนโลยี 3G+ ของ กสท (ภายใตแบรนด ทรูมูฟ เอช ซึ่งเปดตัวในเดือนเมษายน 2554) จนถึงป 2568 ซึ่งไดชวยขยายระยะเวลา การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมทรู โมบาย ออกไปจากสัญญาใหดําเนินการฯ เดิมของ ทรูมูฟ นอกจากนั้น ทรูมูฟเชื่อวาจะยังคงสามารถใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่แกลูกคาไดอยางตอเนื่องตอไป หลังสัญญาใหดําเนินการฯ ของทรูมูฟ จะสิ้นสุดลง เนื่องจาก พรบ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 มาตรา 20 และ มาตรา 22 กําหนดวา คณะกรรมการ กทช. มีอํานาจกําหนดเงื่อนไขใหผูประกอบกิจการตอง ปฏิบัติ เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจจะเกิดประโยชนแกสาธารณะได นอกจากนั้น ประกาศ กทช. เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่สาม ขอ 16 กําหนดใหผูไดรับอนุญาต สัมปทาน หรือ สัญญาจาก กสท ที่ประสงคจะใหบริการตอไปหลังจากที่การอนุญาต สัมปทาน สิ้นสุดลง ให ยื่นคําขอรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. ได อยางไรก็ตาม ปจจุบันยังมีความไมแนนอนวา ทรูมูฟจะ มีคาใชจายเกี่ยวกับการใชคลื่นความถี่ ในจํานวนเทาใด นอกเหนือจากคาธรรมเนียมใบอนุญาต (Licensing fee) ตามที่กําหนดโดย คณะกรรมการ กสทช. กลุมทรูเชื่อวาคณะกรรมการ กสทช. จะคงความรับผิดชอบ ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ ในการกํากับดูแลใหการบริการสําหรับผูบริโภคเปนไปไดอยางตอเนื่อง ตามที่ คณะกรรมการ กทช. เดิมไดวางแนวทางไว นอกเหนือจากที่กลาวมาแลวนี้ สัญญารวมการงานฯ ระหวางบริษัทฯ และทีโอที สําหรับบริการ โทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริม จะสิ้นสุดลงในเดือนตุลาคม ป 2560 ซึ่งภายหลังสัญญารวมการงานฯ สิ้นสุดลง อาจทําใหบริษัทฯ มีความเสี่ยงจากการที่ตองลงทุน หรือมีคาใชจายในการดําเนินงานเพิ่มขึ้น เนื่องจากได โอนโครงขายเดิมไปให ทีโอที ตามเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญารวมการงานฯ อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอเจนซ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย ที่บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. สําหรับบริการโทรศัพทพื้นฐานและบรอดแบนดทั่วประเทศ ซึ่ง บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอเจนซ จํากัด ไดลงทุนขยายโครงขายอยางตอเนื่อง ทําใหความเสี่ยงดังกลาว ลดลง ยิ่งไปกวานั้น การสรางและขยายโครงขายบรอดแบนดใหมภายใตเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ยังชวยให กลุมทรูสามารถใหบริการดานเสียงที่มีคุณภาพสูงและสามารถบริหารตนทุนไดอยางมีประสิทธิภาพ สัญญาใหดําเนินการฯ ของ ทรูมูฟ อาจถูกยกเลิก กอนที่สัญญาจะสิ้นสุด หรืออาจมีคาใชจายเพิ่มเติมที่ตอง จายใหกับภาครัฐ จากการแกไขสัญญาใหดําเนินการฯ ในอดีต ในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติการยื่นขอความเห็นตอสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา เพื่อใหพิจารณาประเด็นขอกฎหมายที่เกี่ยวกับการแกไขสัญญาระหวางภาครัฐและภาคเอกชน วาได เปนไปตามขั้นตอนที่กําหนดใน พรบ. การใหเอกชนเขารวมงานฯ หรือไม ดังนั้น ทรูมูฟ อาจมีความเสี่ยงจาก การที่สัญญาใหดําเนินการฯ อาจถูกยกเลิกกอนที่สัญญาดังกลาวจะสิ้นสุด หรืออาจมีคาใชจายที่ตองจายเพิ่มเติม ใหกับภาครัฐ สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับสัญญาใหดําเนินการฯ ของทรูมูฟ เปนสัญญาที่เกิดจากการโอนสิทธิและหนาที่ในการใหบริการ บางสวนของ ดีแทค โดยไดมีการทําสัญญาโอนสิทธิและหนาที่สามฝายระหวาง กสท ดีแทค และบริษัท ไวรเลส คอมมูนิเคชั่น เซอรวิส จํากัด (WCS) ซึ่งเปนผูรับโอน เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2539 และ ในวันที่ 20 มิถุนายน 2539 กสท ไดทําสัญญาใหดําเนินการฯ กับบริษัท WCS อนุญาตให WCS เปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ตั้งแต วันที่ 20 มิถุนายน 2539 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยตอมา WCS ไดเขาทําสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาใหดําเนินการฯ กับ กสท จํานวน 2 ครั้ง ทั้งนี้มีการแกไขครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2543 โดยมีสาระสําคัญ คือ กสท ตกลงให WCS ไดรับยกเวนไมตองจายเงินผลประโยชนตอบแทนรายปและเงินผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ํา เฉพาะสําหรับปที่ 2 - 4 (16 กันยายน 2540 - 15 กันยายน 2543) ในระหวางการหยุดดําเนินการชั่วคราว (15 มีนาคม 2541 - 30 กันยายน 2543) และมีการแกไขครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2543 โดยมีสาระสําคัญเปนการลดผลประโยชนตอบแทนรายป ในชวงปดําเนินการที่ 5 - 10 (16 กันยายน 2543 - 15 กันยายน 2549) จากรอยละ 25 เปนรอยละ 20 ในชวงป ดําเนินการที่ 11 - 15 (16 กันยายน 2549 - 15 กันยายน 2554) จากรอยละ 30 เปนรอยละ 25 และเพิ่มผลประโยชน ตอบแทนขั้นต่ําสุทธิจํานวน 1,442 ลานบาท โดยใหเพิ่มผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําตั้งแตปดําเนินการที่ 8 - 17 (16 กันยายน 2546 - 15 กันยายน 2556) จํานวนรวม 1,917 ลานบาท และลดผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําใน ปดําเนินการที่ 2 (16 กันยายน 2540 - 15 กันยายน 2541) ปดําเนินการที่ 5 - 7 (16 กันยายน 2543 - 15 กันยายน 2546) จํานวนรวม 340 ลานบาท และใหยกเวนในปดําเนินการที่ 3 - 4 (16 กันยายน 2541 - 15 กันยายน 2543) จํานวนรวม 135 ลานบาท ทั้งนี้กลุมทรูไดซื้อหุน WCS (ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปน ซีพี ออเรนจ จํากัด) จากเครือเจริญโภคภัณฑ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2544 ตอมา ไดเปลี่ยนชื่อเปน ทีเอ ออเรนจ จํากัด และบริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตามลําดับ โดยในวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีคําวินิจฉัยวา การดําเนินการของ กสท มิไดดําเนินการหรือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (“พรบ. รวมทุนฯ”) แตสัญญาที่ทําขึ้นยังคงมีผลผูกพันตราบเทาที่ยังไมสิ้นสุด หรือ มีการเพิกถอน โดยคณะรัฐมนตรี หรือสิ้นผลโดยเงื่อนไขอื่นๆ ดังนั้น กสท และ ทรูมูฟ ยังตองมีภาระหนาที่ในการปฏิบัติ ตามสัญญาที่ไดกระทําไวแลว อยางไรก็ดี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเพิ่มเติมวา ใหหนวยงานเจาของโครงการ รวมทั้งคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 13 และมาตรา 22 แหง พรบ. การใหเอกชนเขารวมการงานฯ ดําเนินการ เจรจากับภาคเอกชน เพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาตอไป ทั้งนี้คณะรัฐมนตรีเปนผูมีอํานาจในการตัดสินชี้ขาด ตาม พรบ. รวมทุนฯ ในการเพิกถอนหรือใหความเห็นชอบ การแกไขสัญญาเพิ่มเติมที่จัดทําขึ้น โดยคณะรัฐมนตรี อาจใชดุลยพินิจพิจารณาใหมีการดําเนินการตามสัญญาใหดําเนินการฯ ไดตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึง ผลกระทบ เหตุผลความจําเปนเพื่อประโยชนของรัฐหรือประโยชนสาธารณะ และความตอเนื่องของการใหบริการสาธารณะ นอกจากนั้นในกรณีของสัญญารวมดําเนินการฯ ของทรูมูฟ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฏีกา มีความเห็นวา เปนสัญญา ใหดําเนินการฯ ที่จัดทําขึ้นใหม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ภายหลังจากวันที่ พรบ. รวมทุนฯ มีผลบังคับใช ดังนั้น ใหกสท ดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการตามมาตรา 13 เพื่อดําเนินการเจรจากับทรูมูฟ สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โดยในตนเดือนกุมภาพันธ 2554 รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดนําเสนอผลการเจรจาของคณะกรรมการตามมาตรา 13 และ 22 ใหแกคณะรัฐมนตรีพิจารณา โดยในกรณีของทรูมูฟ คณะกรรมการตามมาตรา 13 ให กสท มีการเจรจากับ ทรูมูฟ เพื่อใหมีการปรับลดอัตราคาบริการ และขยายโครงขาย ใหครอบคลุมมากขึ้น รวมทั้งใหมีการเจรจาเกี่ยวกับการแกไขสัญญาที่ทําใหรัฐไดรับผลประโยชนลดลง อยางไรก็ตาม ตอมาคณะรัฐมนตรีไดมีมติใหจัดตั้งคณะกรรมการอีกชุดหนึ่ง เพื่อเจรจากับผูประกอบการตางๆ ในการเรียกรอง คาความเสียหายที่เกิดจากการแกไขสัญญาตางๆ ในอดีตจากผูประกอบการ โดยในปจจุบันการเจรจายังไมสิ้นสุด อยางไรก็ตามความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และมติคณะรัฐมนตรี ผูกพันเฉพาะ หนวยงานของรัฐและไมมีผลผูกพันกับทรูมูฟ เวนแตทรูมูฟประสงคจะเขารับประโยชนผูกพันตนเอง นอกจากนั้น ทรูมูฟเห็นวา การเจรจากับภาครัฐ ตองขึ้นอยูกับความตกลงรวมกันของคูสัญญา และหากไมสามารถตกลงกันได คําพิพากษาของศาลถือเปนที่สุด หากมีคําพิพากษาในทางที่ไมเปนประโยชนตอทรูมูฟเกิดขึ้นกอนสัญญาให ดําเนินการฯ สิ้นสุดลง อาจจะเปนเหตุใหทรูมูฟไมสามารถประกอบกิจการโทรคมนาคมตอไปได หรืออาจ ทําใหทรูมูฟมีภาระคาใชจายใหแกภาครัฐเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น ศาลในคดีหนึ่ง ซึ่งตัดสินในธุรกิจที่ไมเกี่ยวของกับธุรกิจโทรคมนาคม โดยศาลพิพากษาวา สัญญารวมทุนและรวมการงานระหวางภาครัฐและเอกชนที่ไมไดดําเนินการตามขั้นตอนของ พรบ. รวมทุนฯ ถือวา ไมมีผลผูกพันคูสัญญา ทั้งนี้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา 145 วางหลักไววา เวนแตในบางกรณี ซึ่งไมเกี่ยวของกับเรื่องของทรูมูฟนี้คําพิพากษาจะมีผลผูกพันเฉพาะคูความในคดีที่มีคําพิพากษานั้นเทานั้น หลักของคําพิพากษาดังกลาวจึงไมมีผลกระทบตอสัญญาของทรูมูฟ อยางไรก็ดีหากหลักของคําพิพากษาดังกลาว ถูกนํามาปรับใชกับสัญญาของทรูมูฟ อาจจะทําใหสัญญาของทรูมูฟถูกตีความวาไมมีผลผูกพันคูสัญญา ดังนั้น ทรูมูฟก็จะมีสิทธิที่จะเรียกคืนสวนแบงรายได รวมทั้งคาอุปกรณตางๆ ที่ไดโอนไปให กสท แลวคืนจาก กสท ได นอกจากนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2550 วา สัญญาของทรูมูฟ ยังคงมีผลผูกพันตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น ทรูมูฟ มีความเสี่ยงที่เกิดจากขอโตแยงที่ ทีโอที เรียกใหทรูมูฟ และ กสท ชําระคาเชื่อมตอโครงขายแบบเดิม (Access Charge) ใหแก ทีโอที ซึ่งอาจจะทําใหบริษัทฯ มีคาใชจายเพิ่มขึ้นในอนาคต ทรูมูฟ ดําเนินกิจการโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตสัญญาใหดําเนินการฯ ที่ กสท ตกลงให ทรูมูฟ ดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคม นอกจากนั้นทรูมูฟไดลงนามในขอตกลงเรื่องการเชื่อมตอโครงขาย โทรศัพทเคลื่อนที่ (Access Charge Agreement) กับ กสท และ ทีโอที ซึ่งทําให ทรูมูฟและ กสท จะตองจาย คาเชื่อมตอโครงขายใหแก ทีโอที ในอัตรา 200 บาทตอเดือนตอลูกคาหนึ่งราย และครึ่งหนึ่งของสวนแบงรายได ที่ กสท ไดรับจากทรูมูฟ สําหรับลูกคาแบบเหมาจายรายเดือน (Post Pay) และในอัตรารอยละ 18 ของรายได สําหรับลูกคาแบบเติมเงิน (Pre Pay) นอกเหนือจากที่ทรูมูฟตองจายคาสวนแบงรายไดให กสท ในอัตรารอยละ 25 หรือ 30 (ตามแตชวงเวลาที่กําหนดไวในสัญญาใหดําเนินการฯ) จากรายไดสุทธิภายหลังจากหักคาเชื่อมตอโครงขาย

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนพฤษภาคม 2549 คณะกรรมการ กทช. ไดออกประกาศ คณะกรรมการ กทช. วาดวยการใช และเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Charge Regulation) ซึ่งระบุใหผูประกอบการ โทรคมนาคมที่มีโครงขายของตนเองตองอนุญาตใหผูประกอบการรายอื่นสามารถเขาเชื่อมตอและใชโครงขาย ของตนเองไดอยางเทาเทียมกัน ทั้งนี้ หากมีสัญญาใดที่มีผลบังคับใชกอนหนา แตขัดตอประกาศวาดวยการ ใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมฯ ใหถือตามประกาศดังกลาว ทั้งนี้ ประกาศ คณะกรรมการ กทช. ฉบับนี้ ไดกําหนดระบบการจายคาเชื่อมโยงโครงขายรูปแบบใหม (Interconnection charge หรือ IC) ที่สะทอนปริมาณ การใชงานระหวางโครงขายของผูประกอบการแตละราย และไดกําหนดใหผูประกอบการเจรจาเพื่อการเขาสู ขอตกลงการเชื่อมโยงโครงขายระหวางกัน โดยคาเชื่อมโยงโครงขายตองอยูบนพื้นฐานของตนทุนของ ผูประกอบการแตละราย ซึ่งตอมาในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรูมูฟไดรวมลงนาม ในสัญญาเชื่อมโยงโครงขาย โทรคมนาคม (Interconnection Contract) กับ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (ดีแทค) โดยสัญญาดังกลาวมีผลบังคับใชทันที และในวันที่ 16 มกราคม 2550 ทรูมูฟก็ไดลงนามในสัญญาเชื่อมโยง โครงขายโทรคมนาคมกับ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) ภายหลังการลงนามกับดีแทค ทรูมูฟไดหยุดจายคาเชื่อมตอโครงขายในแบบเดิม (Access Charge หรือ AC) ตามขอตกลงเรื่องการเชื่อมตอโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Access Charge Agreement) กับ กสท และ ทีโอที ดวยขอตกลง AC เดิมขัดตอประกาศของ คณะกรรมการ กทช. ดังกลาว ในกรณี การปฏิบัติอยาง เทาเทียมกัน จากการเรียกเก็บคา AC (ซึ่ง ทีโอที เปนผูไดรับประโยชนแตเพียงฝายเดียวจากคา AC) เนื่องจาก ทรูมูฟและ กสท เชื่อวาเปนการปฏิบัติตามกฎหมาย และตองเขาสูระบบเชื่อมโยงโครงขายแบบใหมตาม ประกาศของ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 อีกทั้ง ทรูมูฟยังไดมีการบอกเลิก ขอตกลงเรื่องการเชื่อมตอโครงขาย (Access Charge Agreement) แลว ทรูมูฟจึงไมมีภาระตามกฎหมายใดๆ ที่จะตองจายคาเชื่อมตอโครงขายแบบเดิมอีกตอไป ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรูมูฟไดสงหนังสือแจง ทีโอที และ กสท วาจะหยุดชําระคา Access Charge เนื่องจากอัตราและการเรียกเก็บ ขัดแยงกับกฎหมายหลายประการ ทั้งนี้ ทรูมูฟไดรองขอให ทีโอที ปฏิบัติตามหลักเกณฑของ คณะกรรมการ กทช. และเขารวมลงนามในสัญญาเชื่อมโยงโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection Contract) เพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรือใหเรียกเก็บอัตราเรียกเก็บชั่วคราวที่ประกาศโดย คณะกรรมการ กทช. ในขณะที่การเจรจากับ ทีโอที เกี่ยวกับสัญญาดังกลาว ยังไมไดขอสรุป ซึ่งตอมาในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอที ไดสงหนังสือเพื่อแจงวาทรูมูฟไมมีสิทธิที่จะใชหรือ เชื่อมโยงโครงขายตามกฎหมายใหม เนื่องจากทรูมูฟไมไดรับอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจาก คณะกรรมการ กทช. และไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของตนเอง นอกจากนั้น ทีโอที ไดโตแยงวาขอตกลง เรื่องการเชื่อมตอโครงขาย (Access Charge Agreement) ไมไดฝาฝนกฎหมายใดๆ ดังนั้นการเรียกเก็บคาเชื่อมตอ โครงขายแบบเดิมยังมีผลใชบังคับตอไป อยางไรก็ตาม ทรูมูฟเห็นวา ขอโตแยงของ ทีโอที ไมเปนไปตาม พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 อีกดวย สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนั้น ทีโอที ไดประกาศวาจะไมเชื่อมตอสัญญาณใหกับลูกคาที่เปนเลขหมายใหมที่ทรูมูฟ เพิ่งไดรับการจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. จํานวน 1.5 ลานเลขหมาย เพราะทรูมูฟไมชําระคา AC ซึ่งอาจจะ มีผลทําใหลูกคาของ ทีโอที ไมสามารถติดตอลูกคาของทรูมูฟที่เปนเลขหมายใหมนี้ อยางไรก็ตาม ทรูมูฟได ยื่นตอศาลปกครองกลางเพื่อขอความคุมครอง ซึ่งศาลไดมีคําสั่งกําหนดมาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการ พิพากษา เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2550 โดยใหทีโอที ดําเนินการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมเพื่อใหผูใชบริการ ของทรูมูฟทุกเลขหมายสามารถติดตอกับเลขหมายของทีโอทีได ซึ่งเปนไปตามกฎเกณฑของคณะกรรมการ กทช. และผลประโยชนตอสาธารณะ และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 ทีโอที ไดยื่นอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอ ศาลปกครองสูงสุด ซึ่งตอมาไดยืนคําพิพากษาของศาลปกคลองกลาง อยางไรก็ตาม ตั้งแตวันที่ 2 มีนาคม 2550 ทีโอที ไดดําเนินการเชื่อมตอเลขหมายใหมทั้งหมดของทรูมูฟแลวเสร็จ ภายหลังศาลปกครองกลางกําหนด มาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราว นอกจากนั้น เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษา ใหทีโอที ดําเนินการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม เพื่อใหเลขหมายดังกลาวใชงานไดอยางตอเนื่องสมบูรณ และให ทีโอที ชําระคาสินไหมทดแทนใหแก ทรูมูฟ จํานวน 1,000,000 บาท ซึ่งตอมา ทีโอทีไดยื่นอุทธรณ ตอศาลปกครองสูงสุด และปจจุบันอยูในระหวางรอคําตัดสินของศาล นอกเหนือจากนั้น ในวันที่ 9 ตุลาคม 2552 ศาลปกครองกลางมีคําพิพากษายกฟอง ไมเพิกถอนคําสั่งคณะกรรมการ กทช. ที่ให ทีโอที เชื่อมตอโครงขาย โทรศัพทเลขหมายใหม 1.5 ลานเลขหมายใหดีแทคและทรูมูฟ ซึ่งตอมาทีโอทีก็ไดอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด โดยในวันที่ 2 มีนาคม 2553 ทรูมูฟไดยื่นเอกสารตอศาลปกครองสูงสุด ที่สนับสนุนคําสั่งของคณะกรรมการ กทช. อยางไรก็ตามคดีทั้งสองยังไมเปนที่สิ้นสุดในปจจุบัน ในเดือนมิถุนายน 2550 ทรูมูฟ ไดยื่นเรื่องเกี่ยวกับการที่ ทีโอที ปฏิเสธการเขาทําสัญญาเชื่อมโยง โครงขายกับทรูมูฟ ตอ คณะกรรมการ กทช. โดยมีคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท (กวพ.) เปนผูพิจารณา โดยในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 คณะกรรมการ กทช. ไดชี้ขาดให ทรูมูฟ มีสิทธิ หนาที่และความรับผิดชอบ ในการเชื่อมโยงโครงขายโทรคมนาคมเชนเดียวกับผูไดรับใบอนุญาต และไดมีมติเปนเอกฉันทชี้ขาดขอพิพาท ใหทีโอทีเขารวมเจรจาเพื่อทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับ ทรูมูฟ ตอมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอที ไดตกลงที่จะเขาเจรจาทําสัญญาเชื่อมโยงโครงขายกับทรูมูฟ แตมีเงื่อนไขวาจะทําสัญญาเฉพาะเลขหมายใหม ที่ไดรับจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เทานั้น ซึ่งทรูมูฟไดตกลงตามที่เสนอ แตการเจรจายังไมบรรลุขอตกลง แตสําหรับเลขหมายเกานั้น ทรูมูฟยังคงดําเนินการใหเปนเรื่องของขอพิพาทและอยูในดุลยพินิจของกระบวนการ ศาลตอไป ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอที ไดฟองรองตอศาลแพงเพื่อขอเรียกเก็บคาเชื่อมตอโครงขาย ที่ทรูมูฟ ไมไดจาย จํานวนประมาณ 4,508.1 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย และภาษีมูลคาเพิ่ม โดยเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ไดมีคําตัดสินวา คดีดังกลาวไมอยูในเขตอํานาจศาลแพง ดังนั้นจึงมีการจําหนายคดีออกจากศาลแพง เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ทีโอที ไดยื่นฟอง กสท รวมกับทรูมูฟ ที่ศาลปกครองกลาง เรียกรองใหชําระคาเชื่อมตอ โครงขายจํานวนเงิน 41,540.27 ลานบาท ขณะนี้คดีอยูระหวาง การพิจารณาของศาลปกครองกลาง ในวันที่มี การจัดทํารายงานฉบับนี้ คดีดังกลาวจึงยังไมเปนที่สิ้นสุด สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แตหากผลการตัดสินของศาลเปนที่สุดในทางลบตอกลุมทรู อาจจะทําใหทรูมูฟตองจายเงินคาปรับ จํานวนหนึ่งเทาของคาเชื่อมโยงโครงขายที่ กสท อาจจะจายแทนทรูมูฟ พรอมทั้งดอกเบี้ย และทรูมูฟอาจจะ ตองจายคาเชื่อมตอโครงขายทั้งในระบบเดิมและระบบใหม ซึ่งจะทําใหคาใชจายของทรูมูฟเพิ่มขึ้นอยางมาก หากศาลมีคําสั่งใหทรูมูฟตองชําระคาเชื่อมตอโครงขายที่ไมไดจาย ทรูมูฟอาจจะตองบันทึกคาใชจาย เพิ่มเติมจํานวน 25,774.3 ลานบาท (หรือจํานวน 19,164.6 ลานบาท สุทธิจากสวนแบงรายไดที่จายใหแก กสท) สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 (ดูรายละเอียดที่ หมายเหตุประกอบ งบการเงิน ขอ 40.2 สําหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ สําหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554) ขอพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) และสวนแบงรายได ในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติใหมีการลดอัตราภาษีสรรพสามิตที่จัดเก็บจากบริการ โทรคมนาคมเปนรอยละ 0 (จากเดิมรอยละ 2 สําหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน และรอยละ 10 สําหรับกิจการ โทรศัพทเคลื่อนที่) นอกจากนั้น คณะรัฐมนตรียังไดมีมติใหคูสัญญาภาครัฐ (ทีโอที และ กสท) เปนผูรับผิดชอบ สําหรับภาษีสรรพสามิต เพื่อไมใหมีผลกระทบตอผูบริโภค โดยในป พ.ศ. 2546 คณะรัฐมนตรีไดอนุญาตให คูสัญญาภาคเอกชนนําคาภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากสวนแบงรายไดที่คูสัญญาภาคเอกชนตองนําสงให คูสัญญาภาครัฐ และนําสงใหกับกระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่งสงผลใหสวนแบงรายไดที่นําสงคูสัญญา ภาครัฐลดลง ทั้งนี้ เปนความเห็นชอบของคูสัญญาภาครัฐ รวมทั้ง เปนไปตามมติของคณะรัฐมนตรีที่กลาว มาแลว ภายหลังการเปลี่ยนแปลงของรัฐบาลในป 2550 ไดมีการประกาศลดอัตราภาษีสรรพสามิตเปนรอยละ 0 ทําให ทีโอที และ กสท ไดรับสวนแบงรายไดเต็มจํานวน อยางไรก็ตาม ในระหวางที่มีการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ผูประกอบการภาคเอกชนยังคงมีรายจายรวมใหภาครัฐเทาเดิม (รวมที่จายใหกระทรวงการคลังและ กสท) โดยปจจุบัน ยังมีขอพิพาทระหวางภาคเอกชนและคูสัญญาภาครัฐในประเด็นนี้ ซึ่งเปนประเด็นเกี่ยวกับการ ชําระสวนแบงรายไดใหทีโอที และ กสท ไมครบ ซึ่ง กสท มีหนังสือเรียกใหทรูมูฟชําระเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน โดยในเดือนมกราคม 2551 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกคาเสียหายจากทรูมูฟเพียงวันฟอง เปนจํานวนเงินประมาณ 9.0 พันลานบาท รวมดอกเบี้ย เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได มีคําวินิจฉัยชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาทดังกลาว เปนผลทําใหทรูมูฟไมตองชําระผลประโยชนตอบแทน ตามคําเรียกรองดังกลาว กสท ไดยื่นคํารองขอเพิกถอนคําชี้ขาดอนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลางเมื่อ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 คดีอยูระหวางกระบวนการของศาลปกครองกลาง ในเดือนกันยายน 2554 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกสวนแบงรายไดจาก ทรูมูฟ (จากรายไดคาเชื่อมโยงโครงขายโดยรวม) จํานวน 11,946.2 ลานบาท ซึ่งปจจุบัน ขอพิพาทยังอยูในระหวาง กระบวนการของอนุญาโตตุลาการ นอกจากนั้น ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 เรียกคืน สวนแบงรายไดที่บริษัทฯ ไดรับเกินกวาสิทธิที่พึงจะไดรับจํานวน 1,479.6 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย สําหรับ สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กิจการโทรศัพทพื้นฐาน ตอมาบริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ซึ่งปจจุบันเรื่องดังกลาว ยังอยูในระหวางกระบวนการของอนุญาโตตุลาการ อยางไรก็ตามในวันที่ 9 กุมภาพันธ 2554 ทีโอที ไดมี หนังสือแจงใหบริษัทฯ คืนเงินที่ ทีโอที ไดนําสงใหบริษัทฯ เพื่อนําไปชําระเปนคาภาษีสรรพสามิตและภาษีเพิ่ม เพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที ตั้งแตเดือนมกราคม 2546 - ธันวาคม 2549 เปนเงินจํานวน 1,479.6 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 และภาษีมูลคาเพิ่มตามกฎหมาย ใหแก ทีโอที ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 ซึ่งในกรณีนี้ บริษัทฯ ไมมีหนาที่ชําระคืนเงินดังกลาวใหแก ทีโอที เนื่องจากไดปฏิบัติตามที่ ทีโอทีมอบหมาย ครบถวน โดยไดนําเงินดังกลาวไปชําระเปนคาภาษีสรรพสามิตและภาษีเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที และกรมสรรพสามิตไดออกใบเสร็จรับเงินเปนเลขที่กํากับภาษีของทีโอที ดังนั้นบริษัทฯ มิไดผิดสัญญา หรือ ละเมิดกฎหมาย จึงไมมีหนาที่ชําระเงินดังกลาวคืนใหแกทีโอที อีกทั้ง ทีโอที ไดเรียกรองซ้ําซอนกับจํานวน เดียวกันที่ ทีโอทีไดยื่นขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ ซึ่งขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูในระหวางการพิจารณา ของคณะอนุญาโตตุลาการ และยังไมเปนที่ยุติ ขอพิพาทที่มีอยูเดิมระหวาง กสท กับบริษัทยอยซึ่งกลุมทรูเขาซื้อหุน บริษัทซึ่งกลุมทรูซื้อหุนมาจากกลุมฮัทชิสัน มีขอพิพาทเดิมอยูกับ กสท ซึ่งอาจสงผลกระทบในทางลบ กับความสัมพันธทางธุรกิจระหวางกลุมทรูและ กสท ในปลายป 2552 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการกับบริษัทยอยที่กลุมทรูเขาซื้อหุน โดยเรียกรองสวนแบงรายไดที่ยังชําระไมครบจํานวน 1,445.0 ลานบาท ซึ่งเปนสวนแบงรายไดภายใตสัญญา ทําการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร Digital AMPS 800 Band A ซึ่งขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูระหวางการ ระงับกระบวนพิจารณาไวชั่วคราวและจําหนายคดีจากสารบบความ (ดูรายละเอียดที่ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 39.4 สําหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ สําหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554) การใชและการเชื่อมโยงโครงขายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สําหรับโทรศัพทพื้นฐาน ในเดือนเมษายน 2553 คณะกรรมการ กทช. ไดออกคําสั่งประกาศอัตราชั่วคราวของคา IC สําหรับ โทรศัพทพื้นฐานที่อัตรา 0.36 บาทตอนาที ทําใหบริษัทฯ มีความเสี่ยงที่อาจจะถูกเรียกเก็บคาเชื่อมโยงโครงขาย (Interconnection Charge - IC) สําหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน ซึ่งอาจทําใหบริษัทฯ มีคาใชจายเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยมีผูประกอบการบางรายไดยื่นเรื่องตอคณะกรรมการ กทช. เพื่อใหบริษัทฯ เขาทําสัญญา IC สําหรับกิจการ โทรศัพทพื้นฐานและตอมาไดยื่นเรื่องเพื่อเรียกเก็บคา IC จากกิจการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ อยางไรก็ตาม บริษัทฯ เชื่อวาบริษัทฯไมมีหนาที่ที่จะตองจายคา IC เนื่องจากสัญญารวมการงาน สําหรับกิจการโทรศัพทพื้นฐาน กําหนดใหบริษัทฯ มีหนาที่ ลงทุน จัดหา และติดตั้ง ตลอดจนบํารุงรักษาอุปกรณ โดยทีโอทีเปนผูจัดเก็บรายได จากลูกคา และจะแบงรายไดที่ไดรับใหบริษัทฯ ตามสัดสวนที่ระบุไวในสัญญารวมการงานฯ และบริษัทฯ ได ยื่นฟอง กทช. ตอศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2553 เพื่อขอใหศาลเพิกถอนคําสั่งที่ออกประกาศ อัตราชั่วคราวของคา IC ขณะนี้อยูระหวางกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ความเสี่ยงจากการที่สัญญาเกี่ยวของกับการเขาถือหุนในฮัทช อาจจะถูกตรวจสอบ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอ ธุรกิจของกลุมทรู ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 กลุมทรูไดลงนามในสัญญาซื้อขายหุนกับกลุมฮัทช และในวันที่ 27 มกราคม 2554 กลุมทรูไดบรรลุขอตกลงกับ กสท ทําใหบริษัท เรียล มูฟ จํากัด เปนผูใหบริการขายตอบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บน เทคโนโลยี HSPA ของ กสท ไดทั่วประเทศ เปนระยะเวลาประมาณ 14 ป จนถึงป 2568 นอกจากนั้น BFKT หนึ่งในบริษัทที่ไดมีการซื้อในครั้งนี้ ไดทําสัญญากับ กสท เพื่อให กสท เชาใชอุปกรณโครงขาย รวมทั้งใหบริการ ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณโครงขาย โดยจะมุงเนนการใหบริการเชาและดูแลบํารุงรักษาเครื่องและอุปกรณโครงขาย โทรคมนาคมเทคโนโลยี 3G HSPA ใหแก กสท ทั่วประเทศ ซึ่งตอมา ไดมีหนวยงานภาครัฐ เปนตนวา สํานักงาน ตรวจเงินแผนดิน และ สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ มีหนังสือสอบถาม กสท ใหชี้แจงประเด็นตาง ๆ เชน ประเด็นวาการทําสัญญาดังกลาว เขาขาย พรบ. รวมทุนฯ หรือไม เปนตน และทําการสอบสวนเรื่องนี้อยู ในเดือนกรกฎาคม 2554 สํานักงานอัยการสูงสุดไดสงหนังสือตอบกลับไปยังคณะกรรมการ กทช. ซึ่งขอใหตรวจสอบวา การทําสัญญาระหวางกลุมทรู (เรียล มูฟ และ BFKT) กับ กสท เขาขายพรบ. รวมทุนฯ หรือไม โดยในหนังสือดังกลาว สํานักงานอัยการสูงสุดไดยืนยันอยางชัดเจนวา สัญญาระหวางทรูกับ กสท ไมเขาขาย พรบ. รวมทุนฯ แตอยางใด ในขณะเดียวกัน สัญญาระหวาง เรียล มูฟ กับ กสท เปนสัญญาในรูปแบบ ของการขายสงบริการและการขายตอบริการ (Wholesaler - Reseller) ที่เปนไปตามกฎระเบียบของคณะกรรมการ กทช. เรื่องการประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทขายสงบริการและขายตอบริการ ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแต วันที่ 29 ธันวาคม 2549 โดย เรียล มูฟ ซึ่งเปนผูประกอบกิจการโทรคมนาคมขายตอบริการโดยการรับซื้อบริการ โทรคมนาคมสําเร็จรูปเปนจํานวนนาทีสําหรับบริการทางเสียง และเปนจํานวนเม็กกะไบตสําหรับบริการทาง ขอมูลของ กสท สวนหนึ่ง เพื่อมาขายตอใหแกลูกคาอีกทอดหนี่ง โดยไมไดเขาใชทรัพยสินหรือสิทธิของรัฐ แตประการใด ทั้งนี้คลื่นความถี่และโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ยังคงเปนของ กสท ในขณะที่ BFKT เปนแตเพียง ผูใหเชาอุปกรณอิเล็กทรอนิกสทางโทรคมนาคมแก กสท ซึ่งเปนการดําเนินงานตามปกติของ กสท ที่อาจจะ เชาทรัพยสิน อุปกรณ จากผูประกอบการรายอื่นตามระเบียบวาดวยการพัสดุของ กสท ไดอยูแลว กลุมทรูตองแขงขันกับคูสัญญารวมการงานฯ และคูสัญญารวมดําเนินการฯ ซึ่งอาจนําไปสูขอพิพาทตางๆ ที่ อาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของกลุมทรู บริษัทฯ และบริษัทยอย คือ ทรูมูฟ ดําเนินกิจการภายใตสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ สัญญา ใหดําเนินการฯ กับ ทีโอที และ/หรือ กสท แลวแตกรณี โดยความเห็นที่แตกตางกันของผูประกอบกิจการใน กลุมทรู กับ ทีโอที และ กสท ทั้งในประเด็นการตีความขอกฎหมาย และ ขอสัญญารวมการงานฯ และ/หรือ การไดรับการอนุญาต รวมทั้งประกาศ กฎเกณฑ และขอบังคับตางๆ โดยคณะกรรมการ กสทช. อาจมีผลตอ ความสามารถในการดําเนินธุรกิจของผูประกอบกิจการซึ่งเปนบริษัทในกลุมทรู บริษัทฯ และบริษัทยอย และมี ความเสี่ยงที่สัญญารวมการงานฯ หรือ สัญญาใหดําเนินการฯ อาจถูกยกเลิก ในกรณีของสัญญารวมการงานฯ สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับบริการโทรศัพทพื้นฐาน ทีโอที ตองนําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเปนผูชี้ขาดกอนดําเนินการ ยกเลิกสัญญา ซึ่งทีโอทีอาจจะยกเลิกสัญญารวมการงานฯ ไดเฉพาะในกรณีที่บริษัทฯ ทําผิดกฎหมาย หรือ บริษัทฯ ถูกศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย หรือบริษัทฯ จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยาง ตอเนื่องเทานั้น นอกจากนั้นทีโอทีเปนผูจัดเก็บรายไดจากลูกคาในโครงขายทั้งหมด และแบงสวนแบงรายไดให บริษัทฯ ตามสัดสวนที่ระบุไวในสัญญารวมการงานฯ ดังนั้น ทีโอทีอาจชะลอการชําระเงินใหบริษัทฯ เพื่อ เปนการชําระคาใชจายใดๆ ที่ ทีโอที เชื่อวาบริษัทฯ ติดคาง (แตจนถึงขณะนี้ก็ยังไมเคยมีกรณีดังกลาวเกิดขึ้น) ในขณะที่ทีโอที และ กสท เปนคูสัญญารวมกับบริษัทฯ และ ทรูมูฟ ทั้งสององคกรยังเปนคูแขง ในการประกอบธุรกิจของกลุมทรูอีกดวย ดวยเหตุนี้ จึงอาจกอใหเกิดขอพิพาทระหวางบริษัทฯ และ ทีโอที หรือ ทรูมูฟ และ กสท ได ซึ่งที่ผานมาไดมีการยื่นคําฟองหรือคําเสนอขอพิพาทเรื่องความขัดแยงบางกรณีที่ เกิดขึ้นตอศาลปกครองหรือคณะอนุญาโตตุลาการเปนผูตัดสิน กลุมทรูไมสามารถรับรองไดวาจะสามารถ ชนะขอพิพาททั้งหลายเหลานั้น ซึ่งจะทําใหธุรกิจ รวมถึงฐานะทางการเงินของกลุมทรูอาจจะไดรับผลกระทบ โดยในชวงที่ผานมากระบวนการยุติธรรมก็ไดมีคําตัดสินขอพิพาทตางๆ ทั้งในทางที่เปนประโยชนและไม เปนประโยชนตอกลุมทรู แตคดีสวนใหญยังไมถึงที่สุด ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่หมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 39 เรื่อง “คดีฟองรองและขอพิพาทยื่น ตออนุญาโตตุลาการและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น” สําหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ งวดสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554 ความเสี่ยงทางดานการเงิน ความเสี่ยงจากการมีหนี้สินในระดับสูง และอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตางๆ บริษัทฯ และบริษัทยอยมีระดับหนี้สินสูง จึงอาจมีความเสี่ยงจากการที่ไมสามารถจัดหาเงินทุนไดเพียงพอ สําหรับภาระการชําระคืนเงินตนและดอกเบี้ยในแตละป อยางไรก็ตามกลุมทรูสามารถเจรจากับเจาหนี้ หรือจัดหา เงินกูใหม เพื่อใชคืนเงินกูเดิม และปรับเปลี่ยนการชําระคืนเงินตนใหเหมาะสมกับกระแสเงินสดของกลุมทรู นอกจากนั้นการดําเนินงานของกลุมทรูอาจมีขอจํากัดจากขอผูกพันตามสัญญาทางการเงินตางๆ สัญญาเหลานี้อาจทําใหกลุมทรูเสียโอกาสทางธุรกิจ และเจาหนี้อาจเรียกรองใหบริษัทฯ หรือบริษัทยอยชําระหนี้ กอนกําหนด หากมีระดับอัตราสวนหนี้สินบางประการไมเปนไปตามขอกําหนดในสัญญา หรือหากทีโอที ยกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการงานฯ ที่มีกับบริษัทฯ อยางไรก็ตามทีโอทีตองเสนอขอพิพาทใหอนุญาโตตุลาการ ชี้ขาดวาทีโอทีมีสิทธิโดยชอบดวยกฎหมายที่จะยกเลิกขอตกลงตามสัญญารวมการงานฯ ได และในปจจุบัน บริษัทฯ ดํารงสัดสวนทางการเงิน ที่เปนไปตามเงื่อนไขตามสัญญาเงินกูตาง ๆ

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สัญญาเงินกูระยะยาวของทรูมูฟ ไดกําหนดใหบริษัทฯ และ เครือเจริญโภคภัณฑตองสนับสนุน ทางการเงินใหแก ทรูมูฟ ทั้งนี้ บริษัทฯ และเครือเจริญโภคภัณฑ ไดเขาทําสัญญาสนับสนุนทางการเงิน (Sponsor Support Agreement) แกทรูมูฟ โดย ณ ปจจุบัน บริษัทฯ มีภาระผูกพันตามสัญญา ที่จะตองสนับสนุนทาง การเงินแก ทรูมูฟ จํานวน 3.3 พันลานบาท หาก ทรูมูฟ มีกระแสเงินสดสําหรับการดําเนินงานไมเพียงพอ (General Cash Deficiency Support) โดยเครือเจริญโภคภัณฑมีภาระผูกพันที่จะตองสนับสนุน ทรูมูฟ จํานวน 500 ลานบาท นอกจากนั้นในกรณีที่ ทรูมูฟ มีกระแสเงินสดไมเพียงพอสําหรับคาใชจายดานการกํากับดูแลเพิ่มเติมจากที่ กําหนดไวในสัญญาใหดําเนินการฯ (Regulatory Cash Deficiency Support) บริษัทฯ และเครือเจริญโภคภัณฑตกลง ที่จะสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟจํานวน 10 พันลานบาท (บริษัทฯ จํานวน 6 พันลานบาท เครือเจริญโภคภัณฑ จํานวน 4 พันลานบาท) โดยบริษัทฯ จะสนับสนุนสวนที่เกินวงเงิน 10 พันลานบาท ความเสี่ยงจากการเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย สถานภาพทางการเงินของกลุมทรู อาจไดรับผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากหนี้สินสวนหนึ่งเปนเงินกูตางประเทศ อยางไรก็ตาม ผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ลดลงอยางมีในนัยสําคัญในป 2554 เนื่องจากการชําระคืนเงินกูมีหลักทรัพยค้ําประกันของ ทรูมูฟ (ซึ่งเปน เงินกูจาก IFC) และการชําระคืนเงินกูของ KfW กอนกําหนดในระหวางไตรมาส 2 รวมทั้งการดําเนินการเพื่อ ซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐ ในเดือนกันยายน 2554 โดยในเดือนตุลาคม 2554 มีผูถือหุนกูตางประเทศ แสดงความจํานงขายคืนหุนกูที่จะครบกําหนดในป 2556 และ 2557 ประมาณรอยละ 99 และรอยละ 95 ตามลําดับ ซึ่งบริษัทชําระเงินเพื่อซื้อคืนหุนกูแลวเสร็จในวันที่ 12 ตุลาคม 2554 การซื้อคืนหุนกูในครั้งนี้เปน ปจจัยสําคัญในการลดความเสี่ยงในการรีไฟแนนซ และความเสี่ยงทางการเงินที่เกิดจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลี่ยน กลุมทรูมีหนี้สินในอัตราประมาณรอยละ 6.5 ที่เปนเงินกูตางประเทศ (สวนใหญเปนสกุลดอลลาร สหรัฐ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซึ่งลดลงอยางมากเมื่อเทียบกับรอยละ 40.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณ สิ้นป 2554 กลุมทรูมีหนี้สิน (ไมรวมหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน) ในสัดสวนประมาณ รอยละ 73.5 ซึ่งเปนหนี้สินที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ทั้งนี้ไมนับหนี้สินสวนที่ไดดําเนินการปองกันความเสี่ยง ผานเครื่องมือทางการเงิน เพื่อเปลี่ยนเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่ ดังนั้นหากอัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น จะมีผลทําใหกลุมทรูมีภาระดอกเบี้ยจายเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ความเสี่ยงดังกลาวอาจลดลงในระดับหนึ่ง เนื่องจากหนี้สินของกลุมทรู โมบาย ในบางสวน จะมีอัตราดอกเบี้ยลดลงในปตอๆ ไป หากมีผลการดําเนินงาน เปนไปตามเงื่อนไขที่ไดกําหนดไวในสัญญาเงินกู

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูถือหุนอาจไมไดรับเงินปนผล ในระยะเวลาอันใกลนี้ ณ สิ้นป 2554 กลุมทรูมีผลการดําเนินงานเปนขาดทุนสุทธิ 2.7 พันลานบาท โดยมียอดขาดทุนสะสมสุทธิ 48.2 พันลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนผลกระทบจากคาเงินบาทลอยตัวที่เกิดขึ้นในป 2540 รวมทั้งคาใชจายที่เกิดขึ้น จากการซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐ ในป 2554 และตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด กลุมทรูจะสามารถจายเงินปนผลใหผูถือหุนไดจากผลกําไรเทานั้น ทั้งนี้ภายหลังจากการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมด และภายหลังการตั้งสํารองตามกฎหมาย ดังนั้นในระยะเวลาอันใกลนี้ ผูถือหุนของบริษัททรู อาจจะไมไดรับเงินปนผล ความเสี่ยงจากการที่บริษัทฯ มีผูถือหุนรายใหญ ถือหุนในสัดสวนมากกวารอยละ 50 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ คือ บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด และ บริษัทที่เกี่ยวของ ถือหุนรวมกัน เปนจํานวนรอยละ 64.7 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งโดยลักษณะเชนนี้ อาจพิจารณาไดวา นักลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากการที่ผูถือหุนรายใหญถือหุนในบริษัทฯ มากกวารอยละ 50 เนื่องจากกลุมผูถือหุนรายใหญสามารถควบคุมมติที่ประชุมที่ตองใชเสียงสวนใหญ เชน การแตงตั้งกรรมการ เปนตน ดังนั้นผูถือหุนรายยอยอาจไมสามารถรวบรวมคะแนนเสียงเพื่อตรวจสอบและ ถวงดุลเรื่องที่ผูถือหุนรายใหญเสนอได อยางไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทฯ ใหความสําคัญตอการดําเนินการ ภายใตหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนอยางยิ่ง เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนรายยอยสามารถเสนอเรื่องเพื่อ บรรจุเขาเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ เปนการลวงหนา กอนการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป นอกจากนี้ หากเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ และ เปน รายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ จะตองดําเนินการตามมาตรการและขั้นตอนที่กําหนด ไวใน “ระเบียบในการเขาทํารายการระหวางกัน” ซึ่งอยูภายใตกรอบของกฎหมายอยางเครงครัด

สวนที่ 1

TRUETD: ปจจัยความเสี่ยง

หัวขอที่ 2 - หนา 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ ประวัติความเปนมาของบริษัทฯ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น (“บริษัทฯ” หรือ “กลุมทรู”) เปนหนึ่งในแบรนดที่แข็งแกรงและไดรับ การยอมรับมากที่สุดในประเทศ โดยเปนผูใหบริการสื่อสารโทรคมนาคมครบวงจร ดวยจํานวนผูใชบริการ กวา 24 ลานรายทั่วประเทศ ความแข็งแกรงของกลุมทรู เปนผลจากยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซที่สามารถมอบความคุมคาและ สิทธิประโยชนแกผูใชบริการ ดวยการผสมผสานประสิทธิภาพของโครงขาย ความหลากหลายของผลิตภัณฑ และบริการตางๆ ภายในกลุม ทั้งนี้ ธุรกิจหลัก 3 ธุรกิจของทรู ประกอบดวย กลุมทรู โมบาย ซึ่งประกอบดวย ทรูมูฟ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับที่สามของประเทศ ทรูมูฟ เอช หนึ่งในแบรนดของทรู ซึ่ง ขายตอบริการ 3G+ ภายใตเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850MHz ของบริษัท กสท โทรคมนาคม และ ฮัทช ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนเครือขาย CDMA ทรูออนไลน ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุด ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และผูใหบริการบรอดแบนดอินเทอรเน็ตและ WiFi ดวยโครงขายที่ ครอบคลุมมากที่สุดทั่วประเทศ ผานเทคโนโลยี ADSL และ เคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) ดวย DOCSIS 3.0 รวมทั้งเทคโนโลยี FTTH (Fiber to the Home) หรือใยแกวนําแสง ทรูวิชั่นส เปนผูใหบริการโทรทัศนแบบ บอกรับสมาชิกทั่วประเทศรายเดียวของไทย และยังเปนผูใหบริการเพียงรายเดียวที่ใหบริการโทรทัศนในระบบ High Definition ทั้งนี้ ผลการดําเนินงานของธุรกิจคอนเวอรเจนซและธุรกิจอื่นๆ ซึ่งประกอบดวย ทรูมันนี่ ผูใหบริการธุรกรรมทางการเงินผานระบบออนไลน ทรูไลฟ แบรนดที่ใหบริการแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ ดิจิตอล คอนเทนต และสื่อตางๆ และธุรกิจทรู คอฟฟ ซึ่งเปนเครือขายรานกาแฟของทรู ไดถูกรวมอยูในกลุมของ ธุรกิจทรูออนไลน กลุมทรูมีความมุงมั่นสนับสนุนการพัฒนาประเทศดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมทั้งมีสวน ในการลดความเหลื่อมล้ําทางเทคโนโลยี และการสรางสังคมแหงการเรียนรูอยางยั่งยืน ดวยการพลิกโฉมการ สื่อสารดานขอมูลขาวสาร (Digital Revolution) ใหทุกครัวเรือนในประเทศ และเยาวชนของชาติ มีโอกาสเขาถึง ขอมูลขาวสารและแหลงความรูไดทั่วถึง แนวทางการดําเนินธุรกิจของทรูมาจากวัฒนธรรมองคกร 4 ประการ ประกอบดวย เชื่อถือได สรางสรรค เอาใจใส กลาคิดกลาทํา โดยมีเปาหมายเพิ่มคุณคาแกผูถือหุน ลูกคา องคกร สังคมและพนักงานเปนสําคัญ ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซทําใหกลุมทรูสามารถเปนทางเลือกใหกับลูกคาไลฟสไตลตางๆ ดวย การผสมผสานบริการภายในกลุมเสริมความแข็งแกรงในการบริการติดตอสื่อสารและโซลูชั่นไดตรงตาม ความตองการของลูกคาแตละกลุม ทําใหสามารถเพิ่มยอดผูใชบริการและสรางความผูกพันกับบริการตางๆ ของกลุมทรู นอกจากนี้ แพ็กเกจระหวางทรูออนไลนและกลุมทรู โมบายหรือทรูวิชั่นส รวมทั้งแพ็กเกจ

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ระหวางทรูวิชั่นสและกลุมทรู โมบาย ไดรับการตอบรับและประสบความสําเร็จอยางสูงในการเพิ่มจํานวน ลูกคาใหมและรักษาฐานลูกคาที่มีอยูเดิม ในขณะที่บริการดิจิตอลคอนเทนตและบริการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส มีสวนสําคัญชวยเพิ่มคุณคาใหกับบริการตางๆ ภายในกลุม กลุมทรูไดรับการสนับสนุนจากเครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพี) ซึ่งเปนกลุมธุรกิจดานการเกษตรครบวงจร ที่ใหญที่สุดในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งถือหุนทรูในสัดสวนรอยละ 64.7 ของทุนจดทะเบียนที่เรียกชําระแลวทั้งสิ้น 145,032 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ในสิ้นป 2554 กลุมทรูมีรายไดรวม 71.9 พันลานบาท (รวมคาเชื่อมโยงโครงขาย) และมีการลงทุน ในโครงสรางพื้นฐานประมาณ 225.6 พันลานบาท โดยมีพนักงานประจําทั้งสิ้น 18,702 คน ธุรกิจของกลุมทรู บริษัทฯ กอตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 ในฐานะผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ในปตอมา บริษัทฯ ไดลงนามในสัญญารวมการงานและรวมลงทุนกับบริษัททีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) โดยใหบริษัทฯ เปนผูดําเนินการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซอมบํารุงและรักษาอุปกรณในระบบสําหรับการขยาย บริการโทรศัพทจํานวน 2.6 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป โดยจะ สิ้นสุดสัญญาในเดือนตุลาคม 2560 ในป 2536 บริษัทฯ ไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทมหาชน และเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยในชื่อ บริษัท เทเลคอมเอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อยอ หลักทรัพยวา “TA” ในเดือนเมษายน 2547 บริษัทฯ ไดมีการปรับเปลี่ยนในภาพลักษณภายใตแบรนดทรู และ ไดเปลี่ยนชื่อบริษัทมาเปน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) มีชื่อยอหลักทรัพยวา “TRUE” นอกเหนือจากการใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมตางๆ ซึ่งรวมถึงบริการโทรศัพท สาธารณะและบริการ WE PCT (บริการโทรศัพทพื้นฐานพกพา) ในป 2544 กลุมทรู (ผานบริษัทยอย) ไดเปด ใหบริการโครงขายขอมูลความเร็วสูง ซึ่งประกอบดวยบริการ ADSL และบริการเคเบิลโมเด็ม และในป 2546 ไดเปดใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงแบบไรสายหรือบริการ WiFi ตอมาในป 2550 บริษัทยอยไดเปดใหบริการ โครงขายอินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (International Internet Gateway) และไดเปดใหบริการโครงขายขอมูล ระหวางประเทศ (International Data Gateway) และบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ในป 2551 นอกจากนี้ ในป 2554 ยังไดขยายความครอบคลุมของโครงขายเคเบิลโมเด็ม และปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีเปน DOCSIS 3.0 ซึ่งทําใหสามารถใหบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไปดวยความเร็วสูงสุดในประเทศไทย ทั้งนี้ ในป 2555 กลุมทรูมีเปาหมายขยายบริการบรอดแบนดทั้งบนเทคโนโลยี ADSL และ DOCSIS 3.0 ใหครอบคลุมพื้นที่ ใหบริการประมาณ 3 ลานครัวเรือนทั่วประเทศ จาก 2.3 ลานครัวเรือน ณ สิ้นป 2554

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนตุลาคม 2544 กลุมทรูไดเขาถือหุน ในบริษัทกรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) หรือ “BITCO” (ซึ่งเปนบริษัทที่ถือหุนในบริษัท ทีเอ ออเรนจ จํากัด) ในอัตรารอยละ 41.1 ซึ่งนับเปนการเริ่มเขา สูธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งนี้ ทีเอ ออเรนจไดเปดใหบริการอยางเต็มที่ในเดือนมีนาคม 2545 และไดเปลี่ยนชื่อ เปน “ทรูมูฟ” เมื่อตนป 2549 บริษัทฯ ไดเพิ่มสัดสวนการถือหุนใน BITCO มากขึ้นตามลําดับ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมทรูมีสัดสวนการถือหุนทางออมใน BITCO คิดเปนรอยละ 99.4 นอกเหนือจากนั้น กลุมทรูไดขยายการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ดวยการเขาซื้อหุน 4 บริษัท ของกลุมฮัทชิสัน ในประเทศไทย ซึ่งแลวเสร็จในเดือนมกราคม 2554 การเขาซิ้อหุนในครั้งนี้ทําใหบริษัทฯ ไดประโยชนจากการเปนผูใหบริการรายแรกที่สามารถใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ 3G ดวยเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz เชิงพาณิชยไดทั่วประเทศ ทั้งนี้ ในวันที่ 30 สิงหาคม 2554 บริษัท เรียล มูฟ จํากัด (บริษัทยอยภายใตกลุมทรู) ในฐานะผูขายตอบริการ 3G+ ของบริษัท กสท โทรคมนาคม ไดเปดใหบริการ 3G+ ภายใตแบรนด ทรูมูฟ เอช อยางเปนทางการ โดยสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่องไปจนถึงป 2568 ในเดือนมกราคม 2549 กลุมทรูไดเขาซื้อหุน ยูบีซี จาก MIH ทั้งหมด และตอมาไดดําเนินการเขา ซื้อหุนสามัญจากผูถือหุนรายยอย (Tender Offer) ทําใหมีสัดสวนการถือหุนทางออมในยูบีซี รอยละ 91.8 ภายหลังการเขาซื้อหุนดังกลาว เสร็จสิ้นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้ ยูบีซีไดเปลี่ยนชื่อเปน “ทรูวิชั่นส” เมื่อ ตนป 2550 นอกจากนี้ หลังการปรับโครงสรางของกลุมบริษัททรูวิชั่นสในชวงครึ่งปแรกของป 2553 และ การซื้อคืนหุนจากผูถือหุนรายยอย ในระหวางเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2554 สงผลให กลุมทรูมีสัดสวนการถือหุนในกลุมบริษัททรูวิชั่นสเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 99.3 ในขณะที่รายไดหลักของ ทรูวิชั่นสมาจากคาสมาชิกรายเดือน ในป 2552 ไดรับอนุญาตจาก อสมท ใหสามารถหารายไดจากการโฆษณา ซึ่งเปนโอกาสใหมในการผลักดันการเติบโตของการรายไดและการทํากําไรใหกับทรูวิชั่นส ตลอดป 2554 ทรูวิชั่นสมุงเนนหาแนวทางเพื่อปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์รายการ ซึ่งเปนผลมาจากการลักลอบใชสัญญาณ ทั้งนี้ ในเดือนตุลาคม 2554 ทรูวิชั่นสไดเริ่มเปลี่ยนระบบออกอากาศใหม ภายใตเทคโนโลยี MPEG-4 ซึ่งคาดวา จะสามารถดําเนินการไดเสร็จสมบูรณในระยะเวลา 12 เดือน ระบบออกอากาศดังกลาว จะชวยลดการลักลอบใช สัญญาณ และมีสวนสําคัญในการเพิ่มยอดสมาชิกและรายไดของทรูวิชั่นส ทั้งนี้ บริการคอนเวอรเจนซและบริการอื่นๆ เปนบริการเพื่อเปนการสนับสนุนและเสริมสราง ความแข็งแกรงใหกับธุรกิจหลัก (กลุมทรู โมบาย ทรูออนไลน และทรูวิชั่นส) ซึ่งเปนการผสมผสานผลิตภัณฑ และบริการที่หลากหลายภายใตกลุมทรูเขาดวยกัน ทั้งบริการสื่อสารโทรคมนาคม บริการดานคอนเทนตและ สื่อตางๆ อยางครบวงจร โดยในป 2553 ไดมีการจัดกลุมบริการคอนเวอรเจนซออกเปน 3 กลุม คือ ทรู ไลฟ พลัส ซึ่งเปนการผสมผสานบริการของ 3 ธุรกิจหลักของกลุมทรูในลักษณะของแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ ทรู ดิจิตอล พลัส ซึ่งใหบริการเกมออนไลน และ การจัดกิจกรรม E-Sports ตางๆ นอกจากนี้ยังใหบริการเกม ออนไลนภายใต NCTrue ซึ่งเปนการรวมทุนระหวางกลุมทรูกับ NCsoft หนึ่งในผูพัฒนาและผลิตเกมออนไลน

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ที่ใหญที่สุดในประเทศเกาหลี และ ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย ซึ่งผลิตคอนเทนตสําคัญตางๆ ตลอดจน สื่อและสิ่งพิมพ (อาทิ e-book และ e-magazine) โดยมี ทรู แอพ เซ็นเตอร (True App Center) สถาบันศูนยกลาง การศึกษาเพื่อสรางนักพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนมือถือ เปนกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาคอนเทนต ซึ่งจะเปนปจจัยที่ชวยเพิ่มรายไดจากบริการที่ไมใชเสียงของกลุมทรู ทั้งนี้ ทรู แอพ เซ็นเตอรไดพัฒนาแอพพลิเคชั่น ไปทั้งสิ้นกวา 220 แอพพลิเคชั่น ณ สิ้นป 2554 (จาก 122 แอพพลิเคชั่นในป 2553) ซึ่งสามารถรองรับการใชงาน ของสมารทโฟน ทั้ง iPhone (ไอโฟน) Android (แอนดรอยด) และ BlackBerry (แบล็กเบอรรี่) ในขณะที่ บริการอื่นๆ ซึ่งไดแก ทรู คอฟฟ เครือขายรานกาแฟของกลุมทรู ที่ลูกคาสามารถสัมผัสกับบริการหลากหลาย ของกลุมทรูไดโดยตรง นอกเหนือจากการใหบริการในลักษณะของรานกาแฟทั่วไป ทรู คอฟฟ ยังเปนแหลง รวมบริการและผลิตภัณฑใหมๆ ภายใตกลุมทรู ซึ่งรวมทั้งสมารทโฟนและอุปกรณแท็บเล็ตตางๆ ทั้งนี้ เพื่อรองรับการใหบริการตางๆ ภายใตยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ ในเดือนธันวาคม 2546 กลุมทรูไดเปดใหบริการธุรกรรมทางการเงินแบบออนไลนภายใตแบรนด ทรูมันนี่ ตอมาในเดือนมิถุนายน 2552 ทรูมันนี่ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ใหเปนผูใหบริการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส เปนระยะเวลา 10 ป นับตั้งแตเปดใหบริการ ทรูมันนี่ไดขยายเครือขายการรับชําระคาสินคา และบริการตางๆ ออกไปอยางกวางขวาง ปจจุบัน ผูใชบริการทรูมันนี่สามารถสั่งซื้อสินคาและทําธุรกรรม ทางการเงินแบบออนไลน ผานบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ สําหรับผลิตภัณฑและบริการภายใน กลุมทรูและบริการอื่นๆ อาทิ คาสาธารณูปโภคตางๆ ไดมากกวา 300 ผลิตภัณฑและบริการ นอกจากนี้ ทรูมันนี่ไดเปดใหบริการ TrueMoney Kiosk เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับลูกคาทั่วประเทศ สามารถทําธุรกรรม ดวยเงินสดดวยตนเองตลอด 24 ชั่วโมง พัฒนาการสําคัญในป 2554 กลุมทรู มกราคม: การเขาซื้อหุน 4 บริษัทของกลุมฮัทชิสันในประเทศไทยแลวเสร็จในเดือนมกราคม ทําใหกลุมทรู สามารถเดินหนาเพื่อใหบริการ 3G+ (บนเทคโนโลยี HSPA) ในฐานะผูขายตอบริการภายใตสัญญาที่ทํา รวมกับบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เมษายน: ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2554 อนุมัติการจัดโครงสรางธุรกิจใหม เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพใน การดําเนินธุรกิจและโอกาสในการจัดหาเงินทุนเพื่อสนับสนุนธุรกิจในอนาคต โดยรวมธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ทั้งหมดของกลุมทรู ซึ่งประกอบดวย ทรูมูฟ ทรูมูฟ เอช และฮัทชเขาดวยกัน ภายใตกลุมทรู โมบาย โดยมี ทรูมูฟ เอช (ภายใตบริษัท เรียล มูฟ จํากัด) เปนแบรนดสําคัญในการทําตลาด 3G+ ของบริษัทฯ เมษายน: ไมโครซอฟทและกลุมทรูผนึกกําลังนําเสนอบริการคลาวดคอมพิวติ้ง (Cloud Computing) สู องคกรธุรกิจไทย โดยความรวมมือดังกลาวจะนํามาซึ่งบริการคลาวดคอมพิวติ้งแบบครบวงจร ทั้งดิจิตอล คอนเทนต โฮมเอนเตอรเทนเมนท อีเมล เครื่องมือในการติดตอสื่อสารและการทํางานรวมกัน ตลอดจนผลักดัน ใหเกิดการบริการที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพิ่มทางเลือกและคุณคาทางธุรกิจที่มากขึ้นใหกับผูใชงาน

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มีนาคม - มิถุนายน: กลุมทรูประกาศระดมทุนผานการเสนอขายหุนสามัญใหมใหกับผูถือหุนเดิม จํานวน 13.1 พันลานบาทในเดือนมีนาคม และมีกําหนดจองซื้อระหวางวันที่ 30 พฤษภาคม ถึง 3 มิถุนายน 2554 โดยมีผูถือหุนจองสิทธิซื้อหุนเกินกวาจํานวนหุนที่เสนอขายถึงรอยละ 10.58 พฤษภาคม: เพื่อเสริมสรางความแข็งแกรงดานลูกคาสัมพันธ กลุมทรู เปดตัว “True ID” (ทรู ไอดี) นวัตกรรม ที่เชื่อมตอลูกคาเขาถึงทุกบริการและสิทธิพิเศษตางๆ ของกลุมทรู อาทิ ชอปปงออนไลน คอนเทนตตางๆ เติม จาย โอน ซื้อ จอง ตรวจสอบคาใชบริการดวยตนเอง และบริการอื่นๆ ผานเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ เกือบทุกรุนโดยไมจํากัดเฉพาะกลุมสมารทโฟน กันยายน - ตุลาคม: ในเดือนกันยายน กลุมทรูลงนามในสัญญาเงินกูรวมกับธนาคารในประเทศ 4 แหง โดยไดรับการสนับสนุนวงเงินกูระยะยาวจํานวนทั้งสิ้น 48.9 พันลานบาท ในขณะที่ ทรูมูฟประกาศการ ซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐ การเบิกใชวงเงินกูระยะยาวในระยะแรก เปนการชําระคืนหนี้สินเดิม ซึ่ง เกี่ยวของกับการซื้อกิจการฮัทช รวมทั้งเงินกูเพื่อการขยายโครงขายเคเบิลโมเด็มสําหรับบริการบรอดแบนด ทั้งนี้ การซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐของทรูมูฟ แลวเสร็จในเดือนตุลาคม โดยสามารถซื้อคืนไดมากกวา รอยละ 97 ของมูลคาหุนกูทั้งหมด

กลุมทรู โมบาย มกราคม: ทรูมูฟ นําเสนอ “hi-speed micro SIM” แบบเติมเงิน ซึ่งลูกคา iPhone 4 หรือ iPad รวมทั้ง สมารทโฟน และอุปกรณแท็บเล็ตอื่นๆ สามารถใชบริการดานขอมูลผานเครือขาย 3G และ WiFi ความเร็วสูงสุด 7.2 Mbps เมษายน: บริษัทเรียล มูฟ จํากัด ผูขายตอบริการ 3G+ เชิงพาณิชย ของ บริษัท กสท โทรคมนาคม เปดตัว แบรนดใหม “ทรูมูฟ เอช” สิงหาคม: กลุมทรู เปดตัวแบรนด “ทรูมูฟ เอช” อยางเปนทางการ บนเครือขายไรสายใหม 3G+ ใหความเร็ว สูงสุดถึง 42 Mbps และ WiFi ความเร็วสูงสุด 8 Mbps ครอบคลุมทั่วกรุงเทพฯ และอีก 16 จังหวัดทั่วไทย ภายใตแนวคิด มอบชีวิตอิสระ หรือ FREEYOU กันยายน: ทรูมูฟ เอช จําหนาย iPad 2 รุน WiFi + 3G ในไทย สามารถซื้อไดที่รานทรูชอป 50 สาขาทั่วประเทศ กันยายน: คณะอนุกรรมการคุมครองผูบริโภคดานกิจการโทรคมนาคม ในคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ และ ทรูมูฟ รวมลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ ในการใหความคุมครองผูบริโภค ดวยการเพิ่มประสิทธิภาพการแกไขปญหาเรื่องรองเรียนของผูใชบริการ ที่ไดรับความเดือดรอนจากการใหบริการโทรคมนาคมของผูรับใบอนุญาต ตุลาคม: ทรูมูฟ เอช รวมกับ บริษัท รถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ขยายบริการ 3G+ ใหลูกคาใชงานได ทุกสถานีและในรถไฟฟาใตดินตลอดเสนทาง พฤศจิกายน: ทรูมูฟ เอช เปดตัว iSIM ซิม พรอมแพ็กเกจสําหรับบริการดานขอมูลโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพื่อ ตอบสนองความตองการของผูใชสมารทโฟนและอุปกรณแท็บเล็ตตางๆ

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธันวาคม: ทรู มูฟ เอช เปดตัว iPhone 4 S ในประเทศไทย พรอมแพ็กเกจที่รวมบริการดานเสียงและขอมูล ที่หลากหลาย พรอมการใชงาน WiFi แบบไมจํากัด ตลอดจน บริการดานคอนเทนต แอพพลิเคชั่น และ บริการคอนเวอรเจนซตางๆ จากกลุมทรู ธันวาคม: ทรู มูฟ เอช เปดตัวซิมเติมเงินกับบริการเติมเงินบนเครือขาย 3G+ ครั้งแรกในไทย และขยาย พื้นที่ใหบริการ 3G+ ครอบคลุม 77 อําเภอเมืองทั่วประเทศ

ทรูออนไลน มีนาคม: ทรูออนไลนเปดบริการ Ultra hi-speed Internet 100 Mbps ครั้งแรกในไทยดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ซึ่งใหบริการดวยความเร็วตั้งแต 10 ถึง 100 Mbps และบริการ WiFi ความเร็ว 8 Mbps ทั้งนี้ เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ทําใหกลุมทรูสามารถใหบริการแบบคอนเวอรเจนซ ซึ่งเปนการผสมผสานบริการบรอดแบนด และบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกของทรูวิชั่นสเขาดวยกัน มีนาคม: ทรูออนไลนเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับกลุมทรู โมบาย ในฐานะผูนําบริการโมบาย อินเทอรเน็ต โดยเปดใหบริการ WiFi ความเร็ว 8 Mbps ครั้งแรกในประเทศไทย ผานจุดเชื่อมตอสัญญาณ WiFi กวา 20,000 จุดทั่วประเทศ มีนาคม: กลุมทรู เปดตัว “ทรู อีเธอรเน็ต ไฟเบอร” (True Ethernet Fiber) บริการวงจรสื่อสารความเร็วสูง บนโครงขาย IP สามารถรับ-สงขอมูลขนาดใหญไดหลากหลายประเภท ผานโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสง ที่มีความเร็ว ตั้งแต 2 Mbps ถึง 10 Gbps สําหรับกลุมลูกคาองคกร โดยเปดใหบริการครอบคลุมพื้นที่ ทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด ดวยมาตรฐานระดับโลกจาก Metro Ethernet Forum (MEF) รายแรกและ รายเดียวของไทย พฤษภาคม: เมืองพัทยารวมกับบริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (บริษัทยอยภายใตกลุมทรู) ลงนามความรวมมือในการพัฒนาการใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงผานโครงขายมัลติมีเดียเพื่อยกระดับ เทคโนโลยีสื่อสารใหครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วเมืองพัทยา มิถุนายน: ทรูออนไลนเสริมสรางความแข็งแกรงในฐานะผูนําตลาดบรอดแบนด ปรับมาตรฐานความเร็ว บริการบรอดแบนดใหมเปน 7 Mbps (จากเดิม 6 Mbps) เปนรายแรกของไทย ดวยอัตราคาบริการเทาเดิม คือ 599 บาทตอเดือน สําหรับผูใชบริการบรอดแบนดบนเทคโนโลยี ADSL นอกจากนี้ยังการรวมเทคโนโลยี ADSL และ DOCSIS 3.0 โดยเปลี่ยนแบรนดใหมเปน Ultra hi-speed Internet ซึ่งใหบริการอินเทอรเน็ต ความเร็วสูงตั้งแต 7-100 Mbps กันยายน: กลุมทรู เปดตัว Ultra WiFi by TrueMove H โดยใหบริการดวยความเร็วสูงสุดถึง 100 Mbps ครั้งแรกในไทยที่สยามพารากอน ในขณะเดียวกัน กลุมทรูไดขยายโครงขายบริการ WiFi ความเร็วมาตรฐาน 8 Mbps โดยมีจุดเชื่อมตอสัญญาณ WiFi เพิ่มขึ้นเปนประมาณ 100,000 จุดทั้งในประเทศและตางประเทศทั่วโลก กันยายน: ทรูออนไลน เปดบริการ Ultra hi-speed Internet ใหความเร็วสูงสุดตั้งแต 50 ถึง 100 Mbps ดวย เทคโนโลยี FTTH สําหรับลูกคาทั่วไป ครั้งแรกของประเทศ

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูวิชั่นส กุมภาพันธ: ทรูวิชั่นสและทรูมูฟ เปดตัวแอพพลิเคชั่นใหม “ทรูวิชั่นส ออน โมบายล” เพื่อลูกคาทรูมูฟที่ ใชแพ็กเกจ iPhone ใหสามารถติดตามรายการตางๆ จากทรูวิชั่นสบน iPhone ที่มีระบบปฏิบัติการ iOS4 ผานเครือขายประสิทธิภาพ ทรูมูฟ 3G และ WiFi กุมภาพันธ: ทรูวิชั่นสเปดรายการเกมโชวรูปแบบใหม “COFFEE MASTER by TrueCoffee” รายการสด ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อคนหาสุดยอดนักบริหารธุรกิจรานกาแฟ จากผูเขาแขงขัน 12 คนเพื่อพิชิตเงินรางวัล 1 ลานบาท โดยออกอากาศตลอด 2 เดือนทางชองเรียลลิตี้ ทรูวิชั่นส 60 และชองเรียลลิตี้ เอชดี ทรูวิชั่นส 113 มีนาคม – ตุลาคม: ทรูวิชั่นส เพิ่ม 16 ชองรายการใหม ไดแก FOX Thailand, สยามกีฬาทีวี, Super บันเทิง, Home & Food Channel, Speed Channel, Travel Channel Thailand, Animax, TAN Network, MCOT1, ASEAN TV, T Sports และ Golf Channel Thailand นอกจากนี้ ยังรวมมือกับ 3 บริษัทชั้นนํา จีเอสช็อป ประเทศเกาหลี เดอะมอลลกรุป และ ซีพีออลล เปดชองรายการใหม “ทรูซีเล็คท” โฮมชอปปงแชนแนล ทําใหมีจํานวนชองรายการเพิ่มขึ้นเปน 127 ชอง มิถุนายน: ทรูวิชั่นสรวมกับโมเดิรนไนน เปดตัวรายการ “ทรู อคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซั่น 8” หนึ่งในรายการ เรียลลิตี้ที่ไดรับความนิยมสูงสุดของไทย กรกฎาคม: ทรูวิชั่นสเพิ่ม 8 ชองรายการในระบบเอชดี (High Definition) จากเดิม 3 ชอง รวม 11 ชองระบบ เอชดี อาทิ True Sport HD 2, Star Movies HD และ AXN HD สิงหาคม: ทรูวิชั่นสและบริษัท เอสเอ็ม เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด ผูนําธุรกิจบันเทิงจากเกาหลี รวมเปน พันธมิตรจัดตั้งบริษัทรวมทุนภายใตชื่อ บริษัท เอสเอ็ม ทรู จํากัด เพื่อเปนตัวแทนการประกอบธุรกิจตางๆ ในประเทศไทยอยางถูกตองตามลิขสิทธิ์ ทั้งการบริหารจัดการศิลปน ธุรกิจดิจิตอลคอนเทนตการจัดจําหนาย ของที่ระลึกตางๆ รวมทั้งนําศิลปนในสังกัด เอสเอ็ม เอ็นเทอรเทนเมนทมาจัดกิจกรรมหรือแสดงคอนเสิรต ในประเทศไทย สิงหาคม: ทรูวิชั่นส รักษาความเปนผูนําชองรายการฟุตบอลระดับโลก โดยไดรับลิขสิทธิ์ถายทอดสด การแขงขันฟุตบอลฤดูกาลใหมครบ 10 ลีก รวมกวา 1,000 แมตช ซึ่งประกอบดวย English Premiere League ฤดูกาล 2011/2012 Thai Premiere League และ FIFA Champion League ฤดูกาล 2012-15 กันยายน: ทรูวิชั่นสประกาศเปลี่ยนกลองรับสัญญาณรุนใหม “ทรูวิชั่นส รุน เอชดี พลัส” เพื่อมอบประสบการณ การรับชมที่มีคุณภาพสูง คมชัด ดวยระบบ High Definition พรอมบริการใหมๆ ซึ่งประกอบดวย Personal Video recorder โปรแกรมสั่งอัดรายการโปรดลวงหนา และบริการ On Demand Service ใหเลือกชมรายการ สาระบันเทิงที่ชื่นชอบไดตามสั่ง โดยสมาชิกแพ็กเกจ แพลทินัม โกลด และซิลเวอรสามารถเปลี่ยนกลอง รับสัญญาณใหมไดตั้งแตเดือนตุลาคม 2554 เปนตนไป การเปลี่ยนกลองรับสัญญาณในครั้งนี้ เปนการเตรียม ความพรอมเพื่อรองรับระบบออกอากาศใหมที่มีความปลอดภัย ซึ่งจะชวยขจัดปญหาที่เกิดจากการลักลอบ ใชสัญญาณ

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการคอนเวอรเจนซและอื่นๆ มกราคม: ทรูไลฟพลัส เปดตัวแพ็กเกจใหม “ทรูไลฟ ฟรีวิว 215 ชอง” ดวยชองรายการคุณภาพ 215 ชอง พรอมคาโทรทรูมูฟ 399 บาทตอเดือน มีนาคม: ทรูมันนี่รวมกับกรมการขนสงทางบก เปดบริการรับชําระภาษีรถยนตประจําป ผานบริการ รับชําระของทรูมันนี่ สําหรับผูใชรถยนตทั่วประเทศ เมษายน: ทรูมันนี่เปดบริการชําระคาบริการแบบออนไลนผานระบบอิเล็กทรอนิกสใหม 3 ชองทางใหม สําหรับลูกคาทรูมูฟ พฤศจิกายน: ทรูมันนี่นําเสนอ ตูบริการอัตโนมัติตลอด 24 ชั่วโมง หรือ TrueMoney Kiosk ใหบริการ เติม จาย โอน ซื้อ จอง ผานทรูชอปทุกสาขา สถานีบริการน้ํามัน ปตท สถานีรถไฟฟา MRT และ BTS และอื่นๆ กวา 2,000 ตูทั่วประเทศ ธันวาคม: ทรูไลฟ พลัส เปดตัวกลองรับสัญญาณดาวเทียมใหม ขายขาด ไมมีคาบริการรายเดือน เพื่อขยาย ตลาดสูกลุมลูกคาระดับกลางและลาง

รางวัลที่ไดรับในป 2554 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี มอบโลแก บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ในฐานะองคกร ที่รวมสนับสนุนโครงการกองทุนผูสูงอายุ ในงาน “ผูสูงวัยมีคุณคา รวมพัฒนาสังคมไทย” ซึ่งจัดขึ้นโดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) รับมอบรางวัล โกลด อวอรด “แบรนด สุดยอด โดย รีดเดอรส ไดเจสท ประจําป 2554” ในหมวดของผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานและโทรศัพทเคลื่อนที่ จากบริษัท รีดเดอรส ไดเจสต (ประเทศไทย) จํากัด ในงานประกาศผลรางวัลการสํารวจแบรนดที่เชื่อมั่นไดในเอเชียโดยรีดเดอร ไดเจสต ประจําป 2554 กลุมทรู รับมอบเกียรติบัตรประกาศเกียรติคุณ “จิตอาสาทําดี มีคนเห็น” โครงการ “สงตอความดี...ไมมีวันหมด” ในฐานะองคกรเอกชนที่มีจิตอาสาบําเพ็ญประโยชนเพื่อสวนรวม ระหวางเหตุการณภัยน้ําทวมและวิกฤต อื่นๆ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการฝายประชาสัมพันธ การจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว กรมประชาสัมพันธ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 กลุมทรูรับรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี Thailand Corporate Excellence Awards 2010 สาขาความเปนเลิศดานการตลาด (Marketing Excellence) ซึ่งกลุมทรูเปนบริษัท ดานการสื่อสารโทรคมนาคมไทยเพียงรายเดียวที่ไดรับรางวัลดังกลาวตอเนื่องเปนปที่ 3 นอกจากนี้ยังไดรับ รางวัล A Decade of Excellence: Hall of Fame ในฐานะเปนหนึ่งในสิบองคกรแหงความเปนเลิศที่ไดรับ การเสนอชื่อตอเนื่อง 10 ป ทั้งนี้ รางวัลพระราชทาน Thailand Corporate Excellence Awards 2010 จัดโดย สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย รวมกับสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทยอย กิจการรวมคา และบริษัทรวม กลุมทรูรายงานผลประกอบการดานการเงิน โดยแบงออกเปน 3 กลุมธุรกิจ คือ กลุมทรู โมบาย ทรูออนไลน และ ทรูวิชั่นส โดยผลประกอบการดานการเงินของทรูมันนี่ ทรูไลฟ และ ทรู คอฟฟ ถือเปน สวนหนึ่งของทรูออนไลน (1) ทรูออนไลน ประกอบดวยบริษัทฯ และบริษัทยอยทีย่ ังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 29 บริษัท กิจการรวมคา 3 บริษัท และ บริษัทรวม 1 บริษัท (2) ทรูมูฟ ประกอบดวยบริษัทยอยที่ยังคงมีกจิ กรรมทางธุรกิจ 15 บริษัท (3) ทรูวิชั่นส ประกอบดวยบริษทั ยอยทีย่ ังคงมีกิจกรรมทางธุรกิจ 12 บริษัท และ บริษัทรวม 2 บริษัท

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางเงินลงทุนของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

65.00%

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 100.00% บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 100.00%

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด

100.00% 91.08% 100.00%

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท ทรู อินฟอรเมชัน่ เทคโนโลยี จํากัด

100.00%

บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด

100.00%

บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

100.00%

K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนที่ตางประเทศ)

9.62% 2.92% 100.00%

99.31% 99.99% 100.00%

62.50% บริษัท ศูนยบริการ วิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด

60.00% บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด บริษทั เค เอส ซี 99.84% คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด

บริษัท ทรู วิช่นั ส จํากัด (มหาชน) บริษัท คลิกทีวี จํากัด

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

100.00%

บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด

99.99% 100.00%

บริษัท ทรู แมจิค จํากัด

99.99%

บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด

100.00%

บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด 100.00%

70.00%

บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอเรชั่น (กัมพชา) จํากัด

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

100.00%

บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด 99.93% บริษัท สองดาว จํากัด 99.94%

บริษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด

100.00%

บริษัท เรียล มูฟ จํากัด

99.92%

บริษัท ทรู มูฟ จํากัด

92.50% บริษทั ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย โฮลดิง้ สจํากัด

73.92% บริษทั ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด

100.00% Rosy Legend Limited

100.00%

บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด

99.96%

บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด

20.00%

บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท จํากัด

99.99%

บริษัท ทรู อินเตอรเนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

100.00% 100.00% Prospect Gain Limited Golden Light Company 100.00% Limited บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด 100.00% Gold Palace Investments Limited 99.99% บริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส 100.00% True Internet Technology (ประเทศไทย) จํากัด (Shanghai) Company Limited 99.99% บริษทั บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชั่นส 70.00% (ประเทศไทย) จํากัด 69.94% บริษทั ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด

100.00% บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด

100.00%

บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด

87.50%

100.00%

บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด

100.00%

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด

100.00%

40.00%

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

บริษัท อิมพีเรียล เทคโนโลยี แมเนจเมนท เซอรวิส จํากัด

บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด

99.34%

บริษัท ทรู วิช่นั ส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน)

15.76%

Goldsky Company Limited

100.00%

บริษัท ไทย นิวส เน็ตเวิรค (ทีเอ็นเอ็น) จํากัด

98.52%

บริษทั ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด

100.00%

บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด

100.00%

บริษทั ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด

70.00%

บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด

51.00%

บริษัท เอสเอ็ม ทรู จํากัด

100.00% 100.00%

99.99% บริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลด ดอทคอม จํากัด

100.00%

70.00% 99.40%

บริษัท ทรู ทัช จํากัด บริษัท ทรู วิช่นั ส กรุป จํากัด

100.00%

Dragon Delight Investments Limited

25.99%

45.00% สวนที่ 1

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด

หมายเหตุ: 1. ไมมีบุคคลที่อาจมีความขัดแยงของบริษัทฯ เปนผูถือหุนในสัดสวนเกินรอยละ 10 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทยอยและบริษัทรวม 2. นอกจากนี้ บริษัทฯ กําลังดําเนินการปดบริษัทยอยและบริษัทรวมที่ไมมีการดําเนินธุรกิจและไมมีความจําเปนตองคงไว อีกจํานวน 3 บริษัท ไดแก บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด (99.99%), Nilubon Co., Ltd. (99.99%) และ TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (99.99%)

บริษัท ทรู จีเอส จํากัด TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 – หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางเงินลงทุนแยกตามธุรกิจของกลุมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย บริการเสริม และ บริการสื่อสารขอมูล บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

กลุมทรู โมบาย -

บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด 100.00% บริษัท ทรู มูฟ จํากัด 99.32% บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด 99.32% บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด 99.34% บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด 99.29% บริษัท สองดาว จํากัด 99.33% บริษัท เรียล มูฟ จํากัด 99.40% บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 99.32%

ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน - บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) - บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 100.00% - บริษทั ทรู ทัช จํากัด 100.00%

ทรูออนไลน

บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด 100.00% บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด 67.96% บริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส (ประเทศไทย) จํากัด 100.00% บริษัท ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด 100.00% บริษัท ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส จํากัด 91.94% Rosy Legend Limited 99.40 % Prospect Gain Limited 100.00%

ทรูวิชั่นส -

บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด 100.00% บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) 99.31% บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด 100.00% บริษัท คลิกทีวี จํากัด 99.31% บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) 98.9% บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด 99.31% บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด 99.77% บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด 25.82%

-

บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด 100.00% บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด 70.00% บริษัท เอสเอ็ม ทรู จํากัด 51.00% บริษัท ไทย นิวส เน็ตเวิรค (ทีเอ็นเอ็น) จํากัด 100.00% บริษัท ทรู จีเอส จํากัด 45.00% บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด 100.00%

ธุรกิจใหบริการสื่อสารขอมูล

ธุรกิจบรอดแบนดและบริการอินเตอรเน็ต

ธุรกิจใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (PCT)

- บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 91.08% - บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) - บริษทั ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด 100.00%

-

- บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 100.00%

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 91.08% บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด 100.00% บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด 65.00% บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด 100.00% บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด 70.00% บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด 40.00% บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด 56.93% บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด 56.83% บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด 100.00% บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด 100.00%

หมายเหตุ : - บริษัทที่กําลังดําเนินการปดบริษัท ไดแก บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (99.99%) Nilubon Co., Ltd. (99.99 %) และ TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (99.99%) - บริษัทที่ไมมีกิจกรรมทางธุรกิจ แตยังมีความจําเปนตองคงไว ไดแก บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) (89.99%) บริษัท เทเลคอม เคเอสซี จํากัด (34.39%) และ International Broadcasting Corporation (Cambodia) Co., Ltd. (69.00%)

สวนที่ 1

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 – หนา 11

ธุรกิจอื่น ธุรกิจใหบริการใหเชายานพาหนะและอาคาร - บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด 100.00% - บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด 100.00% ธุรกิจกอสราง - บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด 87.50% ธุรกิจลงทุน - บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด 100.00% - บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) 99.40% - บริษัท เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด 100.00% - K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) 100.00% - บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จํากัด 91.08% - Dragon Delight Investments Limited 100.00% - Gold Palace Investments Limited 100.00% - Golden Light Co., Ltd. 100.00% - Goldsky Co., Ltd. 100.00% ธุรกิจอื่น ๆ - บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด 100.00% - บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด 100.00% - บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด 100.00% - บริษัท บีบอยด ซีจี จํากัด 70.00% - บริษัท ทรู แมจิค จํากัด 99.99% - บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด 69.94% - บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด 98.52% - บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด 100.00% - บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด 20.00% - True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd 100.00% หัวขอที่ 3 – หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางรายไดตามกลุมธุรกิจ 2554

กลุมธุรกิจ ลานบาท

2553 %

ลานบาท

2552 %

ลานบาท

%

1. ทรูออนไลน รายได

22,440

31.2%

21,935

35.1%

21,784

34.9%

รายได

40,102

55.7%

30,981

49.7%

31,312

50.1%

9,396

13.1%

9,462

15.2%

9,378

15.0%

71,938

100%

62,378

100%

62,474

100%

2. ทรูโมบาย

3. ทรูวิชั่นส รายได รวมรายได โครงสรางรายไดสําหรับป แยกตามการดําเนินงานของแตละบริษัท 2554

กลุมธุรกิจ / ดําเนินการโดย ลานบาท

2553 %

ลานบาท

2552 %

ลานบาท

%

1. ทรูออนไลน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

7,216

10.0%

7,840

12.6%

8,705

13.9%

127

0.2%

209

0.3%

1,045

1.7%

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด

7,186

10.0%

6,167

9.9%

5,833

9.3%

บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด

1,591

2.2%

1,071

1.7%

926

1.5%

บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด

1,592

2.2%

1,929

3.1%

2,240

3.6%

บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด

415

0.6%

423

0.7%

375

0.6%

บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด

644

0.9%

813

1.3%

545

0.9%

บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

73

0.1%

199

0.3%

299

0.5%

บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

74

0.1%

122

0.2%

167

0.3%

บริษัท ทรู ทัช จํากัด

195

0.3%

173

0.3%

229

0.4%

บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด

230

0.3%

214

0.3%

148

0.2%

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

-

96

0.2%

129

0.2%

-

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด

302

0.4%

254

0.4%

176

0.3%

บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด

188

0.3%

161

0.3%

173

0.3%

บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด

303

0.4%

223

0.4%

150

0.2%

1,609

2.2%

1,443

2.2%

531

0.8%

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

82

0.1%

69

0.1%

บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด

546

0.9%

488

0.7%

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด

32

0.0%

33

0.1%

30

อี่นๆ

35

0.0%

8

0.0%

17

0.0%

22,453

31.2%

21,935

35.1%

21,784

34.9%

48.8%

30,981

49.7%

31,312

50.1%

รายได

66 -

0.1% 0.1%

2. ทรูโมบาย กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค

35,165

บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด

1,559

2.2%

บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด

2,717

3.8%

บริษัท เรียล มูฟ จํากัด รายได

661

0.9%

40,102

55.7%

3. ทรูวิชั่นส กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส รายได รวมรายได

สวนที่ 1

9,396

13.1%

9,462

15.2%

9,378

15.0%

71,938

100.0%

62,378

100.0%

62,474

100.0%

TRUETE: ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 3 – หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ 4.1 ลักษณะผลิตภัณฑและบริการ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (หรือ “กลุมทรู” “กลุมบริษัท” หรือ “บริษัทฯ”) เปน ผูใหบริการสื่อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศไทย และเปนผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ซึ่งเชื่อมโยงทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ตอบสนองทุกไลฟสไตลตรงใจลูกคาไดอยางแทจริง โดยใหบริการดานเสียง (โทรศัพท พื้นฐานและโทรศัพทเคลื่อนที่) บริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก บริการดานขอมูล คอนเทนต และบริการ ดิจิตอลคอมเมิรซตางๆ ในทุกรูปแบบการสื่อสาร โดยประสานประโยชนจากโครงขาย บริการ และคอนเทนต ของกลุม ซึ่งเปนพื้นฐานทําใหธุรกิจเติบโตตอไปในอนาคต ยุทธศาสตรการเปนผูนําคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ทําใหกลุมทรูมีเอกลักษณความโดดเดน ดวยการ ผสานบริการสื่อสารครบวงจรในกลุมเขากับคอนเทนตที่เนนความหลากหลาย ทําใหกลุมทรูแตกตางจากผูใหบริการ รายอื่นๆ โดยชวยเพิ่มยอดผูใชบริการและสรางความผูกพันกับบริการตางๆ ของกลุมทรู อีกทั้งยังทําใหสามารถ ใชประโยชนจากศักยภาพของบริการไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้ ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซยังชวยเพิ่มมูลคา และมอบคุณประโยชนแกลูกคาทั้งในระยะกลางและระยะยาว กลุมทรูไดมีการแบงกลุมธุรกิจหลักออกเปน 4 กลุม ซึ่งประกอบดวย ธุรกิจออนไลน ภายใตชื่อ ทรูออนไลน ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐานและบริการเสริม ตางๆ บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ต และบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง หรือ บริการบรอดแบนด สําหรับลูกคาทั่วไป บริการอินเตอรเน็ตไรสาย (WiFi) และบริการ WE PCT (บริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่) รวมทั้งธุรกิจเครือขายรานกาแฟ ทรู คอฟฟ ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใต กลุมทรู โมบาย ซึ่งประกอบดวย ทรูมฟ ู ทรูมูฟ เอช และ ฮัทช ธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก ภายใตชื่อ ทรูวิชั่นส ธุรกิจคอนเวอรเจนซและอื่นๆ ซึ่งประกอบดวย ธุรกิจคาปลีกสําหรับแพ็กเกจที่รวมผลิตภัณฑ ภายในกลุมทรูเขาดวยกัน บริการดิจิตอลคอมเมิรซภายใตทรูมันนี่ และบริการดิจิตอลคอนเทนตภายใตทรูไลฟ ทั้งนี้ สําหรับรายงานดานการเงิน ผลการดําเนินงานของธุรกิจคอนเวอรเจนซและอื่นๆ จะถูกรวมอยู ในกลุมธุรกิจของทรูออนไลน

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางดานลางแสดงองคประกอบรายไดจากการใหบริการของกลุมทรูและกําไรจากการดําเนินงานที่เปนเงินสด (EBITDA) รายไดจากการใหบริการ1/: หนวย:ลานบาท ทรูออนไลน กลุมทรู โมบาย (ไมรวมคา IC และคาเชาโครงขาย)

ทรูวิชั่นส รวม กําไรจากการดําเนินงาน ที่เปนเงินสด (EBITDA)2/: หนวย: ลานบาท ทรูออนไลน กลุมทรู โมบาย ทรูวิชั่นส รายการระหวางกัน รวม

2551

รอยละ

2552

รอยละ

2553

รอยละ

2554

รอยละ

20,996

40

21,245

40

21,267

40

21,433

38

21,652

42

22,055

42

22,076

42

26,252

46

9,273 51,921

18 100

9,305 52,605

18 100

9,305 52,649

18 100

9,256 56,941

16 100

2551

รอยละ

2552

รอยละ

2553

รอยละ

2554

รอยละ

10,195 5,691 2,666 (37) 18,515

55 31 14 100

9,804 7,226 2,622 (70) 19,582

50 37 13 100

9,751 6,233 2,322 87 18,392

53 34 13 100

9,973 4,974 2,236 (80) 17,104

58 29 13 100

หมายเหตุ: 1/ หลังหักรายการระหวางกัน; 2/ กอนหักรายการระหวางกัน (1) ทรูออนไลน ทรูออนไลน ประกอบดวย บริการโทรศัพทพื้นฐาน และบริการเสริมตางๆ เชน บริการโทรศัพท สาธารณะ และบริการ WE PCT นอกจากนี้ ยังรวมถึงบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต บริการโครงขายขอมูล บริการอินเทอรเน็ตและดาตาเกตเวย รวมทั้งบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ซึ่งไดมีการโอนยายไปอยูใน กลุมทรู โมบายตั้งแตตนป 2554 ทั้งนี้ ธุรกิจบรอดแบนด อินเทอรเน็ตเติบโตอยางรวดเร็ว และเปนปจจัยที่ชวย รักษาระดับรายไดโดยรวมของกลุมธุรกิจทรูออนไลน i) บริการโทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ (WE PCT) และโทรศัพทสาธารณะ ทรูออนไลนเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหญที่สุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสามารถใหบริการโทรศัพทพื้นฐานจํานวนทั้งสิ้น 2.6 ลานเลขหมาย และมีเลขหมายที่ใหบริการอยูทั้งสิ้น ประมาณ 1.8 ลานเลขหมาย บริษัทฯ ใหบริการโทรศัพทพื้นฐานใชนอกสถานที่ WE PCT ผานบริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“AWC”) ซึ่งเปนบริษัทยอย (บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 100.0) โดยไดเปดใหบริการ อยางเปนทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 ซึ่งถือเปนบริการเสริมของบริการโทรศัพทพื้นฐาน

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการ WE PCT เปนบริการที่ทําใหผูใชบริการสามารถพกพาโทรศัพทบานไปใชนอกบานได โดยใชหมายเลขเดียวกับโทรศัพทบาน และสามารถใชไดถึง 9 เครื่องตอโทรศัพทพื้นฐาน 1 เลขหมาย โดย WE PCT แตละเครื่องจะมีหมายเลขประจําเครื่องของตนเอง ในเดือนสิงหาคม 2534 บริษัทฯ ไดทําสัญญารวมการงานและรวมลงทุนขยายบริการโทรศัพท ระหวางบริษัทฯ กับองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (“สัญญารวมการงานฯ”) ซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) โดยใหบริษัทฯ เปนผูดําเนินการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุม ตลอดจนซอม บํารุงและรักษาอุปกรณในระบบสําหรับการขยายบริการโทรศัพทจํานวน 2 ลานเลขหมาย ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เปนระยะเวลา 25 ป สิ้นสุดป 2560 ตอมาไดรับสิทธิใหขยายบริการโทรศัพทอีกจํานวน 6 แสน เลขหมาย บริษัทฯ ไดโอนทรัพยสินที่เปนโครงขายทั้งหมดใหแกทีโอที โดย ทีโอที เปนผูจัดเก็บรายไดจาก ลูกคาในโครงขายทั้งหมด และชําระใหบริษัทฯ ตามสัดสวนที่ระบุไวในสัญญารวมการงาน คือในอัตรารอยละ 84.0 สําหรับบริการโทรศัพทพื้นฐานในสวน 2 ลานเลขหมายแรก และอัตรารอยละ 79.0 สําหรับในสวน 6 แสน เลขหมายที่ไดรับการจัดสรรเพิ่มเติมในภายหลัง ในสวนของบริการเสริมตางๆ ที่บริษัทฯ ไดใหบริการอยู บริษัทฯ ไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 82.0 ของรายไดจากบริการเสริมนั้นๆ ยกเวนบริการโทรศัพท สาธารณะ ซึ่งบริษัทฯ ไดรับสวนแบงรายไดในอัตรารอยละ 76.5 สําหรับบริการ WE PCT นั้น รายไดทั้งหมดจะถูกจัดเก็บโดยทีโอที และ ทีโอที จะแบงรายได ที่จัดเก็บกอนหักคาใชจายใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 82.0 และเนื่องจากบริษัทฯ ไดมอบหมายให AWC ซึ่ง เปนบริษัทยอยของบริษัทฯ ดําเนินการใหบริการ PCT แกลูกคา ดังนั้น บริษัทฯ จึงตองแบงรายไดที่ไดรับมา จาก ทีโอที ในอัตราประมาณรอยละ 70.0 ใหกับ AWC นอกจากนั้น ทีโอที ก็สามารถใหบริการ PCT แกผูที่ ใชหมายเลขโทรศัพทของ ทีโอที ไดโดยผานโครงขาย PCT ของบริษัทฯ ดังนั้น ทีโอที จึงตองแบงรายได สวนหนึ่งที่ ทีโอที ไดรับจากผูใชบริการ PCT จากหมายเลขโทรศัพทของ ทีโอที ใหแกบริษัทฯ เพื่อเปนเสมือน คาเชาโครงขาย โดยในสวนนี้ ทีโอที จะตองแบงรายไดประมาณรอยละ 80.0 ใหแกบริษัทฯ บริการเสริม นอกเหนือจากโทรศัพทพื้นฐาน บริษัทฯ ไดพัฒนาบริการเสริมตางๆ เพื่อตอบสนองความตองการของ ลูกคา ซึ่งประกอบดวย บริการโทรศัพทสาธารณะ บริษัทฯ ไดรับอนุญาตจาก ทีโอที เพื่อใหบริการโทรศัพทสาธารณะ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจํานวนทั้งสิ้น 26,000 ตู บริการรับฝากขอความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริการรับสายเรียกซอน (Call Waiting) บริการ สนทนา 3 สาย (Conference Call) บริการโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริการเลขหมายดวน (Hot Line) บริการยอเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริการโทรซ้ําอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) และ บริการจํากัดการโทรออก (Outgoing Call Barring) บริการแสดงหมายเลขเรียกเขา (Caller ID) สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดใหบริการเสริมอื่นๆ แกลูกคาธุรกิจ ซึ่งมีความตองการใชเลขหมายเปน จํานวนมาก และตองการใชบริการเสริมที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ไดแก บริการตูสาขาอัตโนมัติระบบตอเขาตรง (Direct Inward Dialing หรือ “DID”) บริการเลขหมายนําหมู (Hunting Line) เปนบริการที่จัดกลุมเลขหมายใหสามารถเรียกเขาได โดยใชเลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว โครงขายบริการสื่อสารรวมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network: ISDN) เปน บริการรับ-สงสัญญาณภาพ เสียง และขอมูลพรอมกันไดบนคูสายเพียง 1 คูสายในเวลาเดียวกัน บริการ Televoting บริการฟรีโฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เปนบริการหมายเลขโทรฟรี เพื่อใหลูกคาสามารถ โทรมายังหมายเลขตนทางซึ่งเปนศูนยบริการของบริษัท โดยบริษัทจะเปนผูรับผิดชอบคาโทร บริการประชุมผานสายโทรศัพท (Voice Conference) บริการโทรศัพทผานอินเทอรเน็ต (Voice over Internet Protocol หรือ VoIP) ภายใตชื่อ NetTalk by True โครงขายโทรศัพทพื้นฐาน และ พื้นที่ใหบริการ WE PCT โครงขายโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ เปนโครงขายใยแกวนําแสงที่ทันสมัย มีความยาวรวมทั้งสิ้น กวา 176,000 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประมาณ 4,200 ตารางกิโลเมตร โดยใชสายเคเบิลทองแดงในระยะทางสั้น (โดยเฉลี่ยราว 3 ถึง 4 กิโลเมตร) เพื่อคุณภาพที่ดีที่สุดในการใหบริการทั้ง ดานเสียง และ ขอมูล ณ สิ้นป 2554 บริษัทฯ มีเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่ใหบริการแกลูกคาเปนจํานวนรวม 1,805,892 เลขหมาย ประกอบดวย ลูกคาบุคคลทั่วไปจํานวน 1,213,296 เลขหมาย และลูกคาธุรกิจจํานวน 592,596 เลขหมาย ซึ่งลดลงในอัตรารอยละ 1.6 จากปกอนหนา โดยเปนไปตามแนวโนมเดียวกันทั่วโลก อยางไรก็ตาม รายไดจาก บริการโทรศัพทพื้นฐานเริ่มลดลงในอัตราที่ชาลงในชวง 2 - 3 ปที่ผานมา จากอัตรา เลขสองหลัก มาเปนเลข หนึ่งหลักในป 2553 และ 2554 ในขณะที่รายไดเฉลี่ยตอเลขหมายตอเดือน สําหรับป 2554 เปน 272 บาทตอเดือน โดยลดลงในอัตรารอยละ 4.6 จากปกอนหนา ทั้งนี้ รายไดจากการใหบริการสวนใหญ (รอยละ 57.5) มาจาก ลูกคาธุรกิจ ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐาน และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ บริการโทรศัพทพื้นฐาน จํานวนผูใชบริการ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ (บาทตอเดือน)

สวนที่ 1

2550 1,955,410

2551 1,902,507

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552 1,858,310

362

331

303

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

2553 1,834,694

2554 1,805,892

285

272

หัวขอที่ 4 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการ WE PCT ใหบริการครอบคลุมพื้นที่ราว 1,500 ตารางกิโลเมตรในเขตพื้นที่ชั้นในของ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในระยะเวลา 2 - 3 ปที่ผานมา ผูใชบริการ WE PCT มีจํานวนลดลงอยางมี นัยสําคัญ ซึ่งเปนไปในทิศทางเดียวกับแนวโนมทั่วโลก สวนหนึ่งจากผลกระทบจากการแขงขันในธุรกิจ โทรศัพทเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง และจากการปรับอัตราคาบริการจากเดิมเปนลักษณะคาบริการตอครั้ง เปน ตอนาที เพื่อลดผลกระทบของบริษัทฯ หากมีการจัดเก็บคาเชื่อมโยงโครงขาย (Interconnection Charge) อยางไรก็ตาม ผูใชบริการ WE PCT บางสวนไดยายไปใชบริการอื่นๆ ภายในกลุมทรู อาทิ ทรูมูฟ และทรูมูฟ เอช ณ สิ้นป 2554 กลุมทรูมีผูใชบริการ WE PCT จํานวน 45,599 ราย โดยลดลงจาก 89,698 รายในปกอนหนา ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการ WE PCT และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ WE PCT จํานวนผูใชบริการ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ 1/ 1/

2550 390,609 172

2551 273,623 171

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552 177,970 155

2553 89,698 160

2554 45,599 116

รวมผูใชบริการ PCT Buddy (บริการแบบเติมเงิน)

ii) บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต บริการอินเทอรเน็ตอื่น ๆ และบริการเสริม บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต กลุมทรูเปนผูนําการใหบริการบรอดแบนดหรืออินเทอรเน็ตความเร็วสูงของประเทศ และ ครองสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 58 ของฐานลูกคาตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ณ สิ้นไตรมาส 3 ป 2554 กลุมทรูใหบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาทั่วไปผาน 3 เทคโนโลยี คือ Cable Modem (ผานเทคโนโลยี DOCSIS 3.0) DSL (Digital Subscriber Line) และ เทคโนโลยีใยแกวนําแสง (FTTx) ทรูออนไลนยังคงเปนผูนําในตลาดบริการบรอดแบนด ทั้งในดานนวัตกรรมและคุณภาพการใหบริการ ซึ่งเปนผลมาจากการขยายความครอบคลุมอยางตอเนื่อง การนําเสนอเทคโนโลยีใหมๆ รวมทั้งการใหบริการ ดวยความเร็วที่เพิ่มขึ้น และการใหความสําคัญกับการใหบริการลูกคา ในป 2546 กลุมทรู และ ผูใหบริการรายอื่น ไดนําเสนอบริการอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง หรือ WiFi ทั้งนี้ โครงขาย WiFi ของบริษัทฯ ที่สามารถใหบริการครอบคลุมไดอยางกวางขวาง เปนปจจัยสําคัญ ที่สรางความแตกตางใหกับสินคาและบริการของกลุมทรู รวมทั้งยังมีสวนในการสรางความเติบโตใหกบั บริการ บรอดแบนด ณ สิ้นป 2554 กลุมทรูไดขยายจุดเชื่อมตอสัญญาณ WiFi เปนมากกวา 100,000 จุด ทั้งในประเทศ และตางประเทศ โดยใหบริการ WiFi สําหรับลูกคาในวงกวางดวยความเร็วสูงสุด 8 Mbps และ Ultra WiFi สําหรับลูกคาทั่วไปดวยความเร็วสูงสุดถึง 100 Mbps ซึ่งเปนความเร็วสูงสุดในประเทศไทย ดวยเครือขาย คุณภาพสูง ทําใหยากที่ผูใหบริการรายอื่นจะใหบริการที่ทัดเทียมได

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (“TUC”) เปนหนึ่งในบริษัทยอยของกลุมทรู ซึ่ง ไดรับใบอนุญาตประเภทที่ 3 จากคณะกรรมการ กทช. เพื่อใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน บรอดแบนด และบริการ โครงขายขอมูลทั่วประเทศ ดวยโครงสรางโครงขายพื้นฐานและเทคโนโลยีใหม เชน NGN (next generation network) xDSL และ Gigabit Ethernet โดย TUC ใหบริการวงจรสื่อสารขอมูล และบรอดแบนด รวมทั้ง โครงขาย สื่อสารขอมูล ใหแกบริษัทยอยอื่นในกลุมทรู รวม ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด และ ทรู มัลติมีเดีย จํากัด เพื่อนําไป ใหบริการตอแกลูกคาอินเทอรเน็ตความเร็วสูงรายยอย บริการขอมูล และบริการที่ไมใชเสียง แกลูกคาทั่วไป และลูกคาธรกิจ ตามลําดับ ดวยโครงขายโทรศัพทพื้นฐานที่ทันสมัย ทําใหกลุมทรูสามารถใหบริการบรอดแบนดที่มีความเร็วสูง และการเชื่อมตอที่มีเสถียรภาพมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถ ดําเนินงานและใหการบํารุงรักษาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมเพียงแตสามารถใหบริการ ADSL เทานั้น แตยังสามารถใหบริการ ADSL2+, VDSL2, G.SHDSL, Gigabit Ethernet และ DOCSIS 3.0 รวมทั้งมีความพรอมที่จะพัฒนาไปเปนโครงขาย NGN ซึ่งเปนเทคโนโลยี ระบบ IP กลุมทรูยังใหบริการดานคอนเทนตที่เปยมดวยคุณภาพ ซึ่งมีความหลากหลายและเหมาะกับ ทุกไลฟสไตล ไมวาจะเปน คอนเทนตสําหรับผูที่ชื่นชอบการฟงเพลง เลนเกมออนไลน ดูกีฬา หรือรักการอาน หนังสือออนไลนในรูปแบบของ e-Book รวมทั้งบริการเสริมตางๆ เชน บริการ WhiteNet (เพื่อกลั่นกรอง และสกัดจับภาพและสื่อบนอินเทอรเน็ตที่ไมเหมาะสมสําหรับเยาวชน) ในเดือนสิงหาคม 2553 ทรูออนไลน เปนผูใหบริการรายแรกของประเทศที่ปรับความเร็วมาตรฐานของบริการบรอดแบนดจาก 4 Mbps เปน 6 Mbps (ดวยอัตราคาบริการ 599 บาทตอดือน) สูตลาดในวงกวาง ทําใหมีผูใชบริการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในป 2553 โดยสามารถเพิ่มจํานวนผูใชบริการใหมสุทธิไดมากกวาเทาตัว และเติบโตตอเนื่องตลอดป 2554 โดยใน เดือนมิถุนายน 2554 ทรูออนไลนไดปรับเพิ่มมาตรฐานความเร็วบรอดแบนดจาก 6 Mbps เปน 7 Mbps สงผลให ณ สิ้นป 2554 มีผูใชบริการบรอดแบนดเปนจํานวนรวมทั้งสิ้น 1,334,936 ราย ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการบรอดแบนด และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ บริการบรอดแบนด

2550 N/A

2551 927,260

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552 1,025,517

2553 1,175,391

2554 1,334,936

จํานวนผูใชบริการ รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ N/A N/A 728 701 707 (บาทตอเดือน) หมายเหตุ: ในป 2554 ไดมีการรวมผูใชบริการบรอดแบนดสําหรับลูกคาธุรกิจและลูกคาบริการโครงขายขอมูลเขามาอยูภายใต ผูใชบริการบรอดแบนด ดังนั้นจํานวนผูใชบริการบรอดแบนดตั้งแตป 2551 เปนตนมาจึงมีการปรับปรุงเพื่อให สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนธันวาคม 2553 ทรูออนไลนไดเปดใหบริการบรอดแบนดอยางไมเปนทางการโดยใช เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ดวยความเร็วตั้งแต 10 - 100 Mbps ในราคาเริ่มตน 699 บาทตอเดือน และเปดใหบริการ อยางเปนทางการพรอมๆ กับการเปดบริการ WiFi ดวยมาตรฐานความเร็วใหม 8 Mbps ในเดือนมีนาคม 2554 ทรูออนไลนไดขยายโครงขาย DOCSIS 3.0 อยางตอเนื่อง และปรับเปลี่ยนแบนดจากบริการบรอดแบนดเดิม มาเปน Ultra hi-speed Internet ซึ่งใหบริการดวยความเร็ว 7 - 100 Mbps ดวยเทคโนโลยี ADSL และ DOCSIS 3.0 รวมทั้งขยายโครงขาย DOCSIS 3.0 ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการกวา 1.1 ลานครัวเรือนใน 20 จังหวัดหลักๆ ทั่วประเทศ (รวมกรุงเทพมหานคร) ซึ่งเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ดังกลาวมีขีดความสามารถที่จะขยายความเร็วไดสูงกวา 300 Mbps รวมทั้ง ยังสามารถรองรับการใหบริการแบบ Triple-play ซึ่งเปนการใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับ สมาชิก บริการบรอดแบนด และบริการเสียงผานอุปกรณเชื่อมตอหรือ Router บนโครงขายเดียวกัน ในเดือน กันยายน 2554 บริษัทฯ ไดเปดใหบริการ Ultra WiFi ณ ศูนยการคาสยามพารากอน และขยายจุดเชื่อมตอสัญญาณ WiFi จาก 18,000 จุดเปนมากกวา 100,000 จุด (ทั้งในประเทศและตางประเทศ) ตอกย้ําความเปนผูนําของกลุมทรู ในฐานะผูประกอบการไทยรายเดียวที่ใหบริการคอนเวอรเจนซไลฟสไตลครอบคลุมทุกรูปแบบการสื่อสาร และ ตอบสนองความตองการของลูกคาทุกกลุมไดอยางแทจริงรวมทั้งยังคงเปนผูนําทั้งในการใหบริการบรอดแบนด ดวยความเร็วสูง ดวยคุณภาพและนําหนาดวยนวัตกรรม นอกจากนี้ กลุมทรูยังทําการตลาดสูกลุมเปาหมายระดับบน โดยในป 2552 ไดเปดตัวบริการ Ultra Broadband โดยใหการเชื่อมตออินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึง 50 Mbps ผานเทคโนโลยี VDSL นอกจากนี้ ใน เดือนกันยายน 2554 บริษัทฯ ไดเปดตัวบริการ Ultra hi-speed Internet ผานเทคโนโลยี FTTH (Fiber to the home) หรือใยแกวนําแสง ซึ่งรับประกันความเร็วทั้งอัพโหลดและดาวนโหลด ดวยความเร็วตั้งแต 50 ถึง มากกวา 100 Mbps โดยบริการดังกลาวเปนบริการระดับพรีเมียม สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตดวยความเร็ว ที่มีเสถียรภาพ ทําใหสามารถอัพโหลดและดาวนโหลดคอนเทนตประเภท High Definition ไดเปนอยางดี รวมทั้งยังรองรับการรับชมภาพและเสียงผานอินเทอรเน็ต หรือ audio-visual streaming ไดอีกดวย สําหรับลูกคาธุรกิจ กลุมทรูใหบริการโครงขายขอมูลในลักษณะโซลูชั่น ทั้งบริการดานเสียงและ ขอมูลไปดวยกัน รวมทั้งใหบริการดานการบริหารโครงขายขอมูลผานเทคโนโลยีตางๆ ที่หลากหลาย ซึ่ง ประกอบดวย บริการโครงขายขอมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรือบริการวงจรเชา (Leased Line) บริการโครงขายขอมูลผานเครือขาย IP ไดแก บริการ MPLS (Multi-protocol Label Switching) บริการ Metro Ethernet ซึ่งเปนบริการโครงขายขอมูลที่ใชเทคโนโลยี Fiber-to-the-building และถูกออกแบบมาเฉพาะ ลูกคาธุรกิจ รวมทั้งบริการวงจรเชาผานเครือขาย IP (IP-based leased line) ที่ผสมผสานระหวางบริการขอมูล ผานเครือขาย IP และบริการวงจรเชา ซึ่งมีคุณภาพดีกวาบริการเครือขาย IP แบบมาตรฐาน นอกจากนั้น ยังเนน การใหบริการการบริหารจัดการเครือขายขอมูล (Managed Network Service) ซึ่งเปนบริการที่ผสมผสานบริการ เกี่ยวกับการปฏิบัติการเครือขาย 3 บริการเขาดวยกัน ตั้งแตการจัดการประสิทธิภาพของเครือขาย การบริหาร ขอผิดพลาด และการกําหนดคาตางๆ ของเครือขาย ยิ่งไปกวานั้น สาธารณูปโภคดานโครงขายของกลุมบริษัท สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ยังสรางขึ้นดวยเทคโนโลยี IP ที่ทันสมัย พรอมสนับสนุนการทํางานบนเทคโนโลยีคลาวด คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) กลุมทรูคือหนึ่งในผูใหบริการโครงขายขอมูลรายใหญของประเทศ กลุมทรูมีความไดเปรียบใน การแขงขัน เนื่องจากมีโครงขายที่ทันสมัยที่สุด โดยมีกลยุทธในการเนนสรางความแตกตางจากผูใหบริการ รายอื่น ดวยการนําเสนอบริการตามความตองการเฉพาะของลูกคา ผสมผสานผลิตภัณฑและบริการภายใน กลุมไปดวยกัน อาทิ บริการดานคอนเทนต VoIP และอินเทอรเน็ต หรือการนําเสนอบริการรวมกับคูคาทาง ธุรกิจตางๆ อาทิ รวมมือกับบริษัทซิสโก (Cisco) เพื่อใหบริการวางระบบเครือขาย IP คุณภาพสูง ทําใหไม จําเปนตองแขงขันดานราคาเพียงอยางเดียว ทั้งนี้ กลุมทรูเปนผูใหบริการรายแรกของประเทศไทย ที่ไดการรับรองจากซิสโกใหเปน “Cisco Powered” ในป 2550 โดยมีบริษัทที่ไดรับ Cisco Powered ทั่วโลกกวา 300 ราย นอกจากนี้ ในป 2551 ลูกคา ของซิสโก (ซึ่งกลุมทรูเปนผูใหบริการ) จัดอันดับคุณภาพการใหบริการของกลุมทรูอยูในระดับ “ยอดเยี่ยม” ในป 2554 กลุมทรูเปดใหบริการ “ทรู อีเธอรเน็ต ไฟเบอร” (True Ethernet Fiber) บริการวงจร สื่อสารความเร็วสูง บนโครงขาย IP สามารถรับ-สงขอมูลขนาดใหญไดหลากหลายประเภท ผานโครงขาย เคเบิลใยแกวนําแสงที่มีความเร็ว ความเสถียร และความปลอดภัยของขอมูลสูง โดยสามารถเลือกความเร็วได ตั้งแต 2 Mbps - 10 Gbps ซึ่งใหบริการดวยมาตรฐานระดับโลกจาก Metro Ethernet Forum (MEF) รายแรก และรายเดียวในประเทศไทย กลุมทรูมีเปาหมายหลักที่จะใหบริการลูกคาที่เปนองคกรธุรกิจขนาดใหญ รวมทั้งจะขยายการ ใหบริการสูกลุมธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม หรือ เอสเอ็มอี อยางจริงจัง โดยเฉพาะอยางยิ่งในตางจังหวัด เนื่องจากยังมีสวนแบงตลาดในพื้นที่ดังกลาวคอนขางต่ํา อีกทั้งตลาดตางจังหวัดยังมีโอกาสเติบโตไดอีกมาก โดยวางแผนที่จะใชประโยชนจากผลิตภัณฑและบริการของกลุมที่มีความหลากหลาย (อาทิ บริการดาน ขอมูล VoIP และ อินเทอรเน็ต) เพื่อขยายสวนแบงตลาดในตางจังหวัดโดยผานยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ และการนําเสนอผลิตภัณฑภายในกลุมไปดวยกัน นอกจากนี้ กลุมธุรกิจโครงขายขอมูลธุรกิจ ยังใหความสําคัญกับกลุมลูกคาในตลาดเคเบิลใยแกว นําแสง ซึ่งยังมีโอกาสในการเติบโตไดอีกมาก โดยไดวางระบบเคเบิลใยแกวนําแสง โดยใชเทคโนโลยี Gigabitcapable Passive Optical Network (GPON) เพื่อเขาถึงลูกคาองคกรซึ่งมีสํานักงานตั้งอยูใน 143 อาคารบน 5 ถนนสายสําคัญ ๆ ใจกลางกรุงเทพมหานคร ในป 2554 และมีเปาหมายขยายการใหบริการครอบคลุมอีกกวา 200 อาคาร บน 13 ถนนสายหลักในป 2555 ทั้งนี้ ณ สิ้น ป 2554 กลุมทรูไดใหบริการโครงขายขอมูลแกลูกคา รวม 22,533 วงจร โดยมีรายไดเฉลี่ยตอวงจรที่ 9,266 บาทตอเดือน

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนวงจรที่ใหบริการ และรายไดเฉลี่ยตอวงจรในแตละชวงเวลาดังกลาว

จํานวนวงจรที่ใหบริการ รายไดเฉลี่ยตอวงจร (บาทตอเดือน)

2550 13,976 11,253

2551 17,741 9,808

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552 19,940 8,696

2553 21,566 9,035

2554 22,533 9,266

บริการอินเทอรเน็ตอื่นๆ และ บริการเสริม กลุมทรูดําเนินธุรกิจการใหบริการอินเทอรเน็ต (รวมทั้ง คอนเทนต และ แอพพลิเคชั่น) โดยผาน บริษัทยอย คือ (1) บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (“AI”) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 65 ไดรับอนุญาต จาก กสท โทรคมนาคม หรือ กสท (กอนหนาคือ การสื่อสารแหงประเทศไทย) ใหดําเนินธุรกิจการใหบริการ อินเทอรเน็ตเชิงพาณิชย (ISP) แกผูใชบริการทั่วประเทศ จนกระทั่งถึงป 2549 ดวยอุปกรณที่ไดทําสัญญาเชา ระยะยาวจาก กสท หรือหนวยงานที่ไดรับอนุญาตจาก กสท ทั้งนี้ ในเดือนกุมภาพันธ 2553 เอเซีย อินโฟเน็ท ไดรับการตออายุใบอนุญาตในการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบที่ 1 จาก คณะกรรมการ กทช. ไปอีกเปนเวลา 5 ป โดยจะหมดอายุในวันที่ 4 กุมภาพันธ 2558 ใบอนุญาตดังกลาวนี้สามารถตออายุทุก 5 ป (2) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด ("TI") ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 100.0 ในเดือน สิงหาคม 2552 ทรู อินเทอรเน็ต ไดรับการตออายุใบอนุญาต ในการใหบริการอินเทอรเน็ตแบบที่ 1 จาก คณะกรรมการ กทช. ไปอีกเปนเวลา 5 ป และจะหมดอายุในวันที่ 17 เดือนสิงหาคม 2557 ใบอนุญาตดังกลาวนี้ สามารถตออายุไดทุก 5 ป ในภาพรวมของธุรกิจอินเทอรเน็ต กลุมทรูเปนผูใหบริการอินเทอรเน็ตอันดับหนึ่งของประเทศ มีผูใชบริการทั้งสิ้นกวา 1.6 ลานราย (รวมผูใชบริการบรอดแบนดและบริการอินเทอรเน็ตแบบ Dial up) โดย ใหบริการทั้งในกลุมลูกคาทั่วไป และลูกคาธุรกิจ เนื่องจากสามารถใหบริการพรอมบริการเสริมตางๆ อยาง ครบวงจร อาทิ บริการ Internet Data Center บริการเก็บรักษาขอมูลและบริการปองกันความปลอดภัยขอมูล สําหรับลูกคาธุรกิจขนาดใหญ ภายหลังจากบริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย (True International Gateway หรือ TIG) ซึ่ง เปนบริษัทยอยในกลุมทรูไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. ในป 2549 ใหเปดบริการโครงขาย อินเทอรเน็ตระหวางประเทศ (International Internet Gateway) บริการอินเทอรเน็ตและ บรอดแบนดของ กลุมทรูไดขยายตัวอยางรวดเร็ว สามารถใหบริการที่มีคุณภาพสูงขึ้นแกลูกคา รวมทั้งชวยประหยัดตนทุนใน การใหบริการ

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ต/บรอดแบนด (ประกอบดวย ผูใชบริการอินเทอรเน็ตแบบ dial-up บรอดแบนด และ WiFi) บริการอินเทอรเน็ต/บรอดแบนด จํานวนผูใชบริการ 1/ 1/

2550 1,104,586

2551 1,274,802

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552 1,437,680

2553 1,867,852

2554 1,570,192

รวมผูใชบริการบรอดแบนด

iii) บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด (“TIG”) ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู ไดรับใบอนุญาต ประกอบกิจการบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ (International Internet Gateway) และบริการ ชุมสายอินเทอรเน็ต (Domestic Internet Exchange Service) ประเภทที่ 2 แบบมีโครงขาย จาก คณะกรรมการ กทช. เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2549 และใบอนุญาตประเภทที่ 2 แบบมีโครงขายเปนของตนเอง สําหรับการ ใหบริการโครงขายขอมูลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2551 ดวยใบอนุญาตทั้งสองดังที่กลาวขางตน ทําให TIG สามารถใหบริการโครงขายอินเทอรเน็ต และขอมูลระหวางประเทศได ในสวนของบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ TIG ซึ่งมีชุมสายใน กรุงเทพฯ สิงคโปร ฮองกง สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ทําใหการเชื่อมตอไปยังประเทศเหลานี้ มีประสิทธิภาพดีขึ้น และทําใหสามารถใหบริการลูกคาไดอยางมีคุณภาพ ตั้งแตเปดใหบริการ TIG มีการขยายแบนดวิธอยางตอเนื่อง เพื่อรองรับความตองการใชงาน อินเทอรเน็ต และบริการดานขอมูลตางประเทศ ซึ่งเติบโตขึ้นทุกป ทําให TIG มีสัดสวนรายไดเพิ่มขึ้นเปนลําดับ โดยในป 2554 TIG มีสัดสวนรายไดเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 26.6 เมื่อเทียบกับป 2553 ซึ่งปริมาณแบนดวิธที่ TIG ใหบริการ สวนใหญเปนการใหบริการแกบริษัทในกลุมทรู โดยสวนที่เหลือสําหรับกลุมลูกคาภายนอก ซึ่ง ครอบคลุมผูใหบริการอินเทอรเน็ตในประเทศ บริษัทขามชาติ และผูใหบริการดานโทรคมนาคมในตางประเทศ ในสวนของบริการโครงขายขอมูลระหวางประเทศ มี 3 รูปแบบบริการ คือ บริการวงจรเชา สวนบุคคลระหวางประเทศ (International Private Leased Circuit - IPLC) บริการวงจรเชาเสมือนสวนบุคคล ระหวางประเทศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IP VPN) และ บริการ Virtual Node ปจจุบัน มุงเนนกลุมลูกคาซึ่งเปนผูใหบริการโทรคมนาคมระหวางประเทศ (International Carrier) ซึ่งมีที่ตั้งสาขาอยู ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค ซึ่งมีความตองการแบนดวิธปริมาณมากและคุณภาพการใหบริการสูง นอกจากนี้ TIG คํานึงถึงความตองการแบนดวิธของลูกคากลุมองคกรที่หลากหลาย ทั้งขนาดแบนดวิธ และประเทศ ปลายทาง TIG จึงมีพันธมิตรผูใหบริการโทรคมนาคมระดับโลก เพื่อเปนการขยายพื้นที่การใหบริการตางประเทศ เพิ่มมากขึ้น จากประเทศสิงคโปร และฮองกง ที่ TIG มีชุมสายตั้งอยูเองอีกดวย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในเดือนพฤศจิกายน 2552 ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย เปนบริษัทเอกชนรายแรกที่ไดรับใบอนุญาต เพื่อใหบริการผานโครงขายเคเบิลใยแกวใตน้ําจากคณะกรรมการ กทช. ทําใหเปนผูประกอบการธุรกิจเกตเวย เอกชนรายแรกที่ไดรับอนุญาตใหเชื่อมตอโครงขายใตน้ําของตนเอง และสามารถเชื่อมตอกับเคเบิลใตน้ําของ ผูใหบริการรายอื่นๆ ในตลาด ซึ่งเมื่อผนวกเขากับโครงขายภาคพื้นดินที่มีอยู ทําให TIG มีความไดเปรียบใน การแขงขัน เนื่องจากสามารถใหบริการอินเทอรเน็ตเกตเวยที่มีโครงขายครบถวนทั้งบนพื้นดินและใตน้ํา ทําให TIG มีความไดเปรียบในการแขงขันทั้งในเชิงพาณิชยและในเชิงเทคนิค ในป 2553 TIG ไดลงนามสัญญาใหบริการ Virtual Node และมีใบอนุญาตใหบริการแกผูใหบริการ โทรคมนาคมระหวางประเทศชั้นนํา ในสหรัฐอเมริกา เยอรมัน ไตหวัน ญี่ปุน อินเดีย และ จีน นอกจากนี้ บริษัท ยังขยายบริการอินเทอรเน็ตและดาตาเกตเวยไปยังประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ เปาหมายใหม คือการพัฒนาธุรกิจสูประเทศเพื่อนบาน ทั้งนี้ ในป 2554 TIG ไดลงนามสัญญาใหบริการกับ ไชนา เทเลคอม (China Telecom) เพื่อขยายโครงสรางพื้นฐานของไชนา เทเลคอม ในประเทศไทย นอกจากนี้ยัง ไดทําสัญญากับกรมไปรษณียโทรเลขของสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา (พมา) เพื่อพัฒนาโครงขายพื้นฐาน และการเชื่อมตอบริการระหวาง 2 ประเทศ ณ อําเภอแมสอด จังหวัดตาก สัญญาดังกลาวจะเปนสวนหนึ่งที่ ชวยสนับสนุนพัฒนาการดานการสื่อสารโทรคมนาคมของบริษัทขามชาติและนิคมอุตสาหกรรมตางๆ ที่อยู รอบๆ โครงการทาเรือน้ําลึกทวาย ซึ่งกําลังอยูในระหวางการดําเนินการโดยรัฐบาลพมา iv) บริการอื่นๆ ในเดือนพฤษภาคม 2553 ทรู ไอดีซี เปดบริการ “ทรู คลาวด” (True Cloud Services) บนเทคโนโลยี คลาวด คอมพิวติ้ง รายแรกในไทย สําหรับองคกรทุกประเภท ทั้งใหญ กลาง และเล็ก ดวยบริการคลาวดสวนตัว (Private Cloud) ใชงานเฉพาะลูกคาแตละราย คลาวดสาธารณะ (Public Cloud) ใชงานรวมกับผูใชบริการรายอื่น และคลาวดแบบผสมผสาน (Hybrid Cloud) ผสมการใชงานคลาวดสวนตัวและคลาวดสาธารณะ โดยลูกคา สามารถเลือกแพ็กเกจบริการได 2 รูปแบบ คือ คลาวด เซิรฟเวอร (Cloud Server) บริการเครื่องแมขายเสมือนจริง (Virtual Server) บนเครือขายอินเทอรเน็ต และคลาวด สตอเรจ (Cloud Storage) บริการพื้นที่บนเครือขาย อินเทอรเน็ต โดยไมจํากัดขนาดของพื้นที่ ซึ่งทั้งสองบริการคิดคาบริการตามการใชงานจริง (Pay Per Use) เปนรายวัน ในป 2554 ไดมีการขยายบริการเพิ่มเติมดวยการนําเสนอบริการใหม “True Cloud Protection” ดวยบริการสํารองขอมูลและกูคืนระบบไอทีจากภัยคุกคามตางๆ (Back Up & Recovery) สําหรับลูกคาองคกร (2) กลุมทรู โมบาย ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัทฯ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ผานบริษัทยอยคือ ทรูมูฟ (ชื่อเดิม ทีเอ ออเรนจ) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุนทางออม ผานบริษัทกรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) หรือ “BITCO” ซึ่งเปนบริษัทยอยของ กลุมทรู โดยกลุมทรูมีสัดสวนการถือหุนใน BITCOเปนรอยละ 99.4 ณ สิ้นป 2554 สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูมูฟใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ภายใตสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบ เซลลูลา ระหวาง กสท กับ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“สัญญาใหดําเนินการฯ”) ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ในการ ใหบริการและจัดหาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบดิจิตอล 1800 จนถึงเดือนกันยายน 2556 ภายใตสัญญาดังกลาว ทรูมูฟจะตองจายสวนแบงรายไดแก กสท ในอัตรารอยละ 25.0 จากรายได (หลังหักคาเชื่อมตอโครงขาย และ คาใชจายอื่นที่อนุญาตใหหัก เชน คอนเทนต) ทั้งนี้จนถึงเดือนกันยายน 2554 และจะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 30.0 จนสิ้นสุดระยะเวลาของสัญญา ในเดือนมิถุนายน 2551 กสท โทรคมนาคม ไดอนุญาตใหทรูมูฟใชคลื่นความถี่ยาน 850 MHz เพื่อพัฒนาการใหบริการ HSPA (High Speed Package Access) จํานวน 5 MHz ภายใตเงื่อนไขสัญญาใหดําเนินการฯ ที่ กสท มีกับทรูมูฟเดิม โดยทรูมูฟยินดีให กสท รวมใชสถานีฐาน และใชเกตเวยของ กสท นอกจากนี้ ยังจะ ใหบริการภายใตการทําการตลาดรวมกัน (Co-branding) อีกดวย ในเดือนมกราคม 2552 ทรูมูฟลงนามในบันทึกขอตกลงรวมกัน (Memorandum of Agreement) รวมกับ กสท โทรคมนาคมในการรับสิทธิที่จะเชาใชโครงขายและอุปกรณที่ทรูมูฟไดสรางและโอนใหกับ กสท เพื่อการใหบริการตอไปอีก 5 ป หลังสิ้นสุดสัญญาใหดําเนินการฯ ในป 2556 นอกจากนี้ ทรูมูฟยังไดรับ อนุญาตจาก กสท ใหใชคลื่นความถี่ 850 MHz เพื่อทดลองใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในยุคที่สาม หรือ 3G ในลักษณะที่ไมใชเพื่อการคา (Non-commercial basis) ซึ่งบริษัทฯ มีแผนจะยุติการทดลองใหบริการดังกลาวนี้ ในป 2555 ในเดือนมกราคม 2554 กลุมทรูไดเขาซื้อหุน 4 บริษัทของกลุมฮัทชิสัน ในประเทศไทยเปนที่ เรียบรอย การเขาซื้อหุนดังกลาวเอื้อประโยชนในการขยายฐานธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัทฯ เนื่องจาก บริษัทฮัทชิสันในประเทศไทย มีลูกคาโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมประมาณ 800,000 ราย ถัดมาในเดือนเมษายน 2554 บริษัทฯ โดยบริษัท เรียล มูฟ จํากัด (เรียล มูฟ) ไดลงนามในสัญญาเพื่อขายตอบริการของบริษัท กสท โทรคมนาคม โดยสัญญาดังกลาวมีระยะเวลาไปจนถึงป 2568 เปนผลใหบริษัทฯ เปดตัวแบรนด ทรูมูฟ เอช เพื่อขายตอบริการ 3G+ ของ กสท เชิงพาณิชยไดทั่วประเทศ ผานเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ทั้งนี้ ทรูมูฟ เอช เปดตัวอยางเปนทางการ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และอีก 16 จังหวัดทั่วไทย เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2554 โดยใหบริการดวยความเร็วสูงสุด 42 Mbps ภายใตแนวคิด มอบชีวิตอิสระ หรือ FREEYOU รวมทั้งใหบริการ WiFi ความเร็ว 8 Mbps ทําใหกลุมทรูมีความไดเปรียบในเชิงการแขงขันจากการเปนผูใหบริการ 3G รายแรก ของประเทศ ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2554 ซึ่งจัดขึ้นในเดือนเมษายน 2554 มีมติอนุมัติการจัดโครงสราง ธุรกิจใหมของธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจและโอกาสในการจัดหา เงินทุนเพื่อสนับสนุนธุรกิจในอนาคต โดยรวมธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ทั้งหมดของบริษัทฯ ซึ่งประกอบดวย ทรูมูฟ ทรูมูฟ เอช และฮัทชเขาดวยกัน ภายใตกลุมทรู โมบาย ซึ่งดําเนินกิจการโดยบริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในฐานะบริษัทยอยของกลุมทรู ทั้งนี้ บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด มีสัดสวนการถือหุนรอยละ 99.4 ใน BITCO ในขณะที่ BITCO ถือหุนรอยละ 99.99 ในบริษัทเรียล มูฟ จํากัด อนึ่ง บริษัท เรียล มูฟ จํากัด เปนผูขายตอ บริการ 3G+ ของบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ภายใตแบรนดทรูมูฟ เอช ซึ่งเปนแบรนดสําคัญใน การทําตลาด 3G+ ของบริษัท ผูใชบริการ หลังเปดใหบริการอยางเต็มรูปแบบในเดือนมีนาคม 2545 ทรูมูฟเติบโตอยางรวดเร็ว ทําให ณ สิ้นป 2554 ทรูมูฟเปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับ 3 ของประเทศ โดยมีจํานวนผูใชบริการทั้งสิ้น ประมาณ 18.2 ลานราย โดยมีผูใชบริการแบบรายเดือนคิดเปนสัดสวนรอยละ 7.0 ของจํานวนผูใชบริการโดยรวม ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการ ทรูมูฟ และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ - ทรูมูฟ จํานวนผูใชบริการ - บริการแบบเติมเงิน - บริการแบบรายเดือน รวม รายไดรวมเฉลี่ยตอผูใชบริการ - รายไดเฉลี่ย ผูใชบริการแบบเติมเงิน - รายไดเฉลี่ย ผูใชบริการแบบรายเดือน

2550

2551

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552

11,362,331 717,758 12,080,089 191 158 676

13,786,283 970,551 14,756,834 130 105 510

14,575,094 1,226,070 15,801,164 115 90 428

2553

2554

15,804,698 1,313,166 17,117,864 105 79 424

16,880,422 1,276,840 18,157,262 101 72 454

กลุมทรู โมบายสามารถครองสวนแบงตลาดลูกคาใหมไดเกือบ 1 ใน 3 ของตลาดทุกป นับจากป 2547 เปนตนมา ณ สิ้นป 2554 กลุมทรู โมบายมีจํานวนผูใชบริการทั้งสิ้นประมาณ 18.9 ลานราย โดยมีผูใชบริการ แบบเติมเงิน 17.1 ลานราย และผูใชบริการแบบรายเดือน 1.8 ลานราย ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 25 ของจํานวน ผูใชบริการในตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมของประเทศ (ไมรวม กสท ทีโอที และผูใหบริการ MVNO ของทีโอที) บริการ บริการแบบเติมเงิน (Pre Pay) รายไดสวนใหญของกลุมทรู โมบายมาจากคาใชบริการแบบเติมเงิน ซึ่งผูใชบริการไมตองเสีย คาบริการรายเดือน โดยผูใชบริการซื้อซิมการดพรอมคาโทรเริ่มตน และเมื่อคาโทรเริ่มตนหมดก็สามารถเติมเงิน ไดในหลากหลายวิธีดวยกัน เชน บัตรเติมเงิน เครื่องเอทีเอ็ม การโอนเงินจากผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ กลุมทรู โมบายรายอื่น และการเติมเงินอัตโนมัติแบบ “over-the-air”

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ ผูใชบริการแบบเติมเงินของทรูมูฟสามารถเติมเงินผานตูโทรศัพทสาธารณะกวา 28,000 เครื่อง ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสามารถเติมเงินขั้นต่ําเพียง 10 บาท ยิ่งไปกวานั้น ผูใชบริการของกลุมทรู โมบายยังสามารถชําระคาใชบริการดวยบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่โดยทรูมันนี่ เพื่อตอบสนองไลฟสไตลคนรุนใหม บริการแบบรายเดือน (Post Pay) บริการ Post Pay ของกลุมทรู โมบาย คือบริการแบบรายเดือน ซึ่งผูใชบริการสามารถเลือกอัตรา คาบริการรายเดือนสําหรับบริการเสียงเพียงอยางเดียว หรือบริการดานขอมูลเพียงอยางเดียว หรือบริการดานเสียง และบริการดานขอมูล ไดตามความตองการ (ตั้งแตราคา 99 – 2,000 บาท) นอกจากนี้ยังมีแพ็กเกจ Top-up ซึ่ง ผูใชบริการสามารถสมัครบริการดานเสียงหรือบริการที่ไมใชเสียง (ในอัตราคาบริการที่คุมคากวา) เพิ่มเติมจาก แพ็กเกจรายเดือนที่ใชอยู ทั้งนี้ ผูใชบริการแบบรายเดือนของกลุมทรู โมบายจะไดรับใบคาแจงคาบริการเปน รายเดือน ซึ่งจะประกอบดวย คาบริการรายเดือนและคาใชบริการสําหรับบริการเสียง และบริการไมใชเสียงตางๆ บริการเสียง (Voice Services) ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมทรู โมบาย นอกจากจะสามารถโทรศัพทภายในพื้นที่เดียวกัน โทรไปยังตางจังหวัดและโทรทางไกลตางประเทศแลว ยังสามารถใชบริการเสริมตางๆ ซึ่งขึ้นอยูกับแพ็กเกจ ที่เลือกใช บริการเสริมเหลานี้ประกอบดวย บริการรับสายเรียกซอน บริการโอนสายเรียกเขา บริการสนทนา สามสาย และบริการแสดงหมายเลขโทรเขา นอกจากนี้ยังมีบริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ เพื่อให ผูใชบริการสามารถโทรออกและรับสายเมื่อเดินทางไปตางประเทศอีกดวย บริการที่ไมใชเสียง (Non-voice) กลุมทรู โมบายใหบริการที่ไมใชเสียง ที่หลากหลายเพื่อเติมเต็มและสอดคลองกับไลฟสไตลของ ลูกคา โดยลูกคาสามารถใชบริการคอนเทนตผานชองทางตางๆ ไดหลายทาง ทั้งบนโทรศัพทเคลื่อนที่ และ ที่พอรทัล www.truelife.com บริการที่ไมใชเสียงประกอบดวย คอนเทนตตางๆ ที่ไดรับความนิยมจากผูใชบริการ อาทิ การสื่อสารดวยภาพหรือรูปถาย บริการขอมูลทางการเงิน เกม การตูน สกรีนเซฟเวอร และริงโทน รวมถึง คอนเทนตประเภทเพลงและกีฬา ลูกคาที่ใชบริการที่ไมใชเสียง มีปริมาณที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ อยางยิ่งบริการเสียงรอสาย บริการรับ-สงขอความ การดาวนโหลดภาพหรือรูปถาย และ เสียงโดยผานบริการ โมบาย อินเทอรเน็ต บริการที่ไมใชเสียงแบงออกเปน 3 ประเภทดังนี:้ บริการสงขอความ ซึ่งประกอบดวย Short Messaging Service (SMS): บริการสงขอความไป ยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น Voice SMS: บริการสงขอความเสียงไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ และโทรศัพทพื้นฐานรายแรกของประเทศไทย และ Multimedia Messaging Service (MMS): บริการสงภาพ ขอความและเสียง ไปยังผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายอื่น สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือ โมบาย อินเทอรเน็ต ผานเทคโนโลยี

EDGE/GPRS และ CDMA รวมทั้ง 3G/HSPA (บริการ 3G+/HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ของทรูมูฟ เอช สามารถใชงานไดตามหัวเมืองใหญๆ ใน 77 จังหวัด) รวมทั้งเทคโนโลยี WiFi ซึ่งผูใชบริการสามารถ ใชงานผานโทรศัพทเคลื่อนที่ เพื่อใชบริการอีเมล อินเทอรเน็ต VoIP ตลอดจนบริการวิดีโอและเสียง รวมทั้ง บริการเสริมอื่นๆ ซึ่งประกอบดวย Mobile Chat บริการรับ-สงขอความในรูปของ WAP based ทําให ผูใชบริการสามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตบนมือถือ หรือสนทนาสดออนไลน บริการสําหรับ BlackBerry และ iPhone ประกอบดวย บริการ BlackBerry Messenger บริการ Chat บริการ Push-mail และ การเชื่อมตอ อินเทอรเน็ต บริการดานคอนเทนต ซึ่งประกอบดวย Ring-back Tone บริการเสียงรอสาย ซึ่งผูใชบริการสามารถ

เลือกเสียงหรือเพลงไดดวยตัวเอง Voicemail และ Multimedia Content Services บริการคอนเทนตมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบดวย เพลง กีฬา ขาว และขาวการเงิน ทรูมูฟ และทรูมูฟ เอช สามารถใชประโยชนจากคอนเทนต ซึ่งเปนลิขสิทธิ์เฉพาะของ ทรูมิวสิค ทรูไลฟ ทรูออนไลน และทรูวิชั่นส เพื่อสรางความเติบโตใหกับรายได ในป 2554 รายไดจากบริการที่ไมใชเสียงมีสัดสวนเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 20 ของรายไดจากบริการ โดยรวม (ไมรวมรายไดคาเชื่อมโยงโครงขายและ คาเชาโครงขาย) ของกลุมทรู โมบาย โดยรายไดจากบริการ โมบาย อินเทอรเน็ต มีสัดสวนรอยละ 52 บริการรับ-สงขอความ (SMS/MMS) คิดเปนรอยละ 19 และบริการ ดานคอนเทนต คิดเปนรอยละ 29 ของรายไดจากบริการที่ไมใชเสียงโดยรวม นอกเหนือจากนั้น รายไดจาก บริการโมบาย อินเทอรเน็ต มีอัตราการเติบโตที่สูงมาก เนื่องจากความนิยมในการใชบริการเครือขายสังคม ออนไลน และการใชงานของสมารทโฟนและอุปกรณแท็บเล็ตที่เพิ่มสูงขึ้น โดยในป 2554 บริการโมบาย อินเทอรเน็ต ของกลุมทรู โมบาย เติบโตถึงรอยละ 144.5 ของชวงเวลาเดียวกันปกอนหนา เปน 2.7 พันลานบาท ทั้งนี้ รายไดจากบริการโมบาย อินเทอรเน็ต ยังคงเติบโตอยางแข็งแกรง (รอยละ 115.3 ในป 2554) แมไมรวม รายไดจากการรวมผลประกอบการฮัทช และการเปดใหบริการทรูมูฟ เอช การจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่และอุปกรณ กลุมทรู โมบายจัดจําหนายเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่คุณภาพสูง รวมทั้งอุปกรณ โดยผลิตภัณฑที่ จัดจําหนายคือสมารทโฟนคุณภาพสูง ซึ่งประกอบดวย iPhone รุนตางๆ ทั้ง iPhone 4 และ iPhone 4 S รวมทั้ง BlackBerry นอกจากนี้ยังจําหนายอุปกรณอื่นๆ อาทิ แท็บเล็ต ทั้งนี้เครื่องโทรศัพทที่จัดจําหนาย เปนทั้งการ จําหนายเครื่องเปลาโดยไมผูกพันกับบริการใดๆ กับการจําหนายเครื่องโดยลูกคาใชแพ็กเกจรายเดือนจาก ทรูมูฟหรือทรูมูฟ เอช บริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ (International Roaming) ผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่จากตางประเทศที่เดินทางมาเมืองไทย สามารถใชบริการโทรศัพทขามแดน ระหวางประเทศผานโครงขายของกลุมทรู โมบาย (Inbound) ในกรณีที่ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชาวตางชาติรายนั้นๆ มีสัญญาโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศกับกลุมทรู โมบาย และในขณะเดียวกัน ผูใชบริการของกลุมทรู โมบาย ในประเทศไทย ก็สามารถใชบริการนี้ เมื่อเดินทางไปยังตางประเทศ (Outbound) ไดอีกดวย ลูกคาสามารถใชบริการตางๆ อาทิ บริการรับฝากขอความเสียง บริการสงขอความ (SMS) บริการ สงภาพ ขอความและเสียง (MMS) บริการโมบาย อินเทอรเน็ต (ผาน EDGE/GPRS/3G) อีเมล บริการแสดง เบอรโทรเขา บริการเตือนเมื่อไมไดรับสาย บริการ Short Code บริการแบล็กเบอรรี่ขามแดน และบริการ WiFi ทั้งนี้ บริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศ ทําใหผูใชบริการของกลุมทรู โมบายสามารถติดตอสื่อสาร ทั้งกับภาคธุรกิจและบุคคลทั่วไปใน 230 ประเทศทั่วโลก ในเดือนมิถุนายน 2551 ทรูมูฟไดประกาศเขารวมเครือขายพันธมิตรคอนเน็กซัส โมบายล (Conexus Mobile Alliance) โดยทําใหคอนเน็กซัส โมบายล มีฐานผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชบริการโรมมิ่ง (ทั้ง บริการเสียงและบริการที่ไมใชเสียง) เพิ่มขึ้นเปน 210 ลานราย โดย ณ สิ้นเดือนกันยายน 2554 มีฐานผูใชบริการ โรมมิ่งของเครือขายพันธมิตรดังกลาวเพิ่มขึ้นเปนกวา 320 ลานราย ทําใหผูใชบริการเหลานี้สามารถใชบริการ โรมมิ่งในประเทศไทยบนเครือขายของกลุมทรู โมบาย ในขณะเดียวกันยังเปนการเพิ่มทางเลือกและความ สะดวกสบายใหลูกคากลุมทรู โมบายในการโรมมิ่งเสียงและขอมูลเมื่อเดินทางไปทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก นอกจากนี้ กลุมทรู โมบายและกลุมคอนเน็กซัส โมบายล ยังไดเปดบริการโรมมิ่งขอมูลผานสมารทโฟน พรอมกันทุกประเทศในกลุมสมาชิก ตอบรับความตองการใชงานดานขอมูลที่เพิ่มสูงขึ้น สามารถเชื่อมตอกับ อีเมลขององคกรและทองอินเทอรเน็ตไรสายไดอยางสะดวก ชวยประหยัดคาใชจายใหลูกคานักธุรกิจที่เดินทาง เปนประจํา และใชบริการโรมมิ่งในเครือขายของบริษัทที่เปนพันธมิตรของคอนเน็กซัสไดเปนอยางดี ตั้งแตป 2552 บริษัทฯ ไดเปดตัวโปรโมชั่นใหม “Data Roaming Flat Rate” ใหผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ของทรูมูฟ ใชบริการโรมมิ่งขอมูลบนเครือขายของผูใหบริการที่เปนสมาชิกกลุมคอนเน็กซัส โมบายล ดวย อัตราคาบริการแบบเหมาจายรายวันอัตราเดียวสูงสุดเพียงวันละ 399 บาท และคิดคาบริการตามการใชงานจริง หากใชงานไมถึงวันละ 399 บาท เนื่องจากโปรโมชั่นนี้ไดรับความนิยมเปนอยางมาก จึงไดมีการนําเสนอ ตอมาทุกป โดยในเดือนธันวาคม 2554 กลุมทรู โมบายไดนําเสนอโปรโมชั่นนี้อีกครั้ง ดวยอัตราคาบริการ แบบเหมาจายรายวันอัตราเดียวสูงสุดเพียงวันละ 299 บาท สู 14 ประเทศทั่วโลก (10 ประเทศบนเครือขาย ของผูใหบริการที่เปนสมาชิกกลุมคอนเน็กซัส โมบายล) นอกจากนั้น กลุมทรู โมบายยังไดกําหนดคาบริการ การสงขอความ (SMS) สําหรับผูใชบริการที่อยูในตางประเทศในราคา 11 บาทตอขอความ และลดอัตราคา รับสายโทรเขาสูงสุดถึงรอยละ 70 สําหรับทุกโครงขายในทุกประเทศ บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ บริษัทฯ เริ่มตนเปดใหบริการและทําธุรกิจใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ รวมทั้ง รายการผลการดําเนินงานของบริการดังกลาวภายใตธุรกิจทรูออนไลน ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 ไดมีมติอนุมัติใหโอนยาย บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (“TIC”) มาอยูภายใตทรูมูฟ

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ TIC ไดรับใบอนุญาตใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ (ประเภทที่ 3) จาก คณะกรรมการ กทช. โดยเปดใหบริการผานหมายเลข “006” อยางเปนทางการในวันที่ 8 กรกฎาคม 2551 ปจจุบัน บริการโทรศัพท ทางไกลระหวางประเทศของทรู สามารถใหบริการเฉพาะผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ และผูใชบริการ ของกลุมทรู โมบายเทานั้น เนื่องจากขอจํากัดดานการกํากับดูแล ตั้งแตเริ่มเปดใหบริการ บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศก็มีการเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีรายไดรวม 601 ลานบาท (กอนหักรายการระหวางกัน) ในป 2554 ซึ่งลดลงเล็กนอยจากป 2553 สวนใหญ จากมีการใชงานบริการ VoIP เพิ่มขึ้น และลูกคาจากตางประเทศที่มาใชบริการโครงขายของกลุมทรู โมบาย ในประเทศไทย มีจํานวนลดลงจากเหตุการณน้ําทวมในไตรมาส 4 ป 2554 ในเดือนกรกฎาคม 2552 TIC ไดนําเสนอโปรโมชั่นใหม “ซิมอินเตอร ทรูมูฟแบบเติมเงิน” สําหรับ ผูใชบริการ ทรูมูฟแบบเติมเงินที่เนนโทรศัพททางไกลตางประเทศ ดวยเทคโนโลยี VoIP ผานหมายเลข “00600” ดวยอัตราคาโทรเริ่มตนเพียง 1 บาทตอนาที ตลอด 24 ชั่วโมง ใน 15 ประเทศทั่วโลก ซึ่งมีอัตราคาบริการ ถูกกวาการโทรผานหมายเลข “006” นอกจากนี้ ในเดือนสิงหาคม 2552 ทรูมูฟยังไดเปดใหบริการ “ซิมอินเตอร” สําหรับผูใชบริการแบบรายเดือน ปจจุบัน ซิมอินเตอร สามารถใชบริการไดใน 230 ปลายทางทั่วโลกดวย บริการโทรศัพทขามแดนระหวางประเทศของกลุมทรู โมบาย นับตั้งแตปลายป 2553 ทรูรวมกับการทาอากาศยาน แหงประเทศไทยมอบฟรี “ซิมอินเตอร” ใหกับนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ณ สนามบินทั่วประเทศ เพื่อกระตุน การใชบริการของกลุมทรู โมบายและบริการโทรทางไกลระหวางประเทศ โครงขาย กลุมทรู โมบายเปนผูใหบริการที่เขามาดําเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่รายลาสุด ในจํานวนผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ 3 ราย จึงทําใหไดรับประโยชนจากพัฒนาการเทคโนโลยีใหมลาสุด ดวยการลงทุนที่ มีประสิทธิภาพและตนทุนถูกกวา ปจจุบันโครงขาย 2G ของบริษัทฯ ขยายการใหบริการครอบคลุมพื้นที่รอยละ 93 ของจํานวนประชากรของประเทศ ซึ่งทําใหเทียบเทากับผูใหบริการรายอื่น อยางไรก็ตาม ในเดือนกุมภาพันธ 2554 บริการ 3G+ ของบริษัทฯ มีโครงขายบริการครอบคลุมมากที่สุดในประเทศไทย โดยสามารถใหบริการใน 633 อําเภอ ใน 77 จังหวัดทั่วประเทศ และมีแผนขยายบริการใหครอบคลุม 8,000 ตําบล ครอบคลุมพื้นที่รอยละ 95 ของ จํานวนประชากรของประเทศ ภายในป 2555 การนําเสนอแพ็กเกจรวมกับกลุมทรู กลุมทรู โมบายคือองคประกอบสําคัญของกลุมทรู ดังจะเห็นไดจากการนําเสนอผลิตภัณฑและ บริการตางๆ ภายในกลุมในรูปแบบของแพ็กเกจ ซึ่งประกอบดวย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูมูฟและทรูมูฟ เอช ยังมีสวนสําคัญในการนําเสนอโปรโมชั่นรวมกับทรูวิชั่นส และ ทรูออนไลน ในรายการอคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซั่น 8 (True AF8) รายการเรียลลิตี้โชวยอดนิยม ซึ่งตัง้ แตป 2549 เปนตนมา ผูใชบริการทรูมูฟและทรูมูฟ เอช เทานั้นที่สามารถเขารวมสนุกดวยการโหวตใหคะแนนผูแขงขันที่ตนชื่นชอบ

นอกจากนี้ทรูมูฟและทรูมูฟ เอช ยังรวมมือกับทรูวิชั่นสนําเสนอแพ็กเกจทรูไลฟฟรีวิว ซึ่ง เปนโปรโมชั่นสําหรับตลาดลูกคาระดับกลางและลาง (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอ ทรูวิชั่นส)

All Together Bonus ซึ่งเปดตัวในป 2547 เปนแพ็กเกจแรกที่ผสมผสานผลิตภัณฑและบริการ ในกลุมทรูเขาดวยกันในรูปแบบของแพ็กเกจคอนเวอรเจนซ โดยปจจุบันยังคงไดรับความนิยมจากผูใชบริการ ทรูมูฟอยางตอเนื่อง ความสําเร็จของ All Together Bonus ทําใหมีการนําเสนอแพ็กเกจคอนเวอรเจนซตามมา อีกหลายแพ็กเกจ อาทิ ลูกคาทรูมูฟและทรูมูฟ เอช สามารถดูแพ็กเกจทรูไลฟฟรีวิวไดฟรี ขึ้นกับคาบริการ รายเดือนและระยะเวลาที่เปนลูกคา บริการ WiFi ฟรี สําหรับลูกคาทรูมูฟ ทรูมูฟ เอช หรือทรูวิชั่นสที่ใชบริการ ไฮสปดอินเทอรเน็ตของทรูออนไลน โดยคอนเวอรเจนซคือยุทธศาสตรสําคัญในการสรางความเติบโตอยาง ยั่งยืนใหกับผลิตภัณฑและบริการของกลุมทรู

บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการพัฒนาและนําเสนอนวัตกรรม สําหรับบริการที่ไมใชเสียงมา โดยตลอด ตัวอยางเชน เปนผูประกอบการรายแรกในประเทศไทยที่เปดใหบริการ Voice SMS บริการริงโทน แนวใหมที่ผูใชสามารถผสมผสานใหเปนทํานองของตนเอง (ผานบริการ IRemix) และบริการเติมเงิน ‘overthe-air’ รวมทั้งยังเปดใหบริการ 3G และบริการ EDGE (Enhanced Data rates for GSM Evolution) ในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งบริการมัลติมีเดียคอนเทนตตางๆ ตลอดจนขยายการใหบริการอินเตอรเน็ต ไรสาย ดวยเทคโนโลยี WiFi ทั้งนี้ ในป 2551 ทรูมูฟ ไดเปดตัวเกมซิม เพื่อเจาะกลุมผูชื่นชอบเกมออนไลน และซิมอินเตอร สําหรับผูที่เนนการโทรทางไกลตางประเทศ นอกจากนี้ยังไดนําเสนอ ทัชซิม ผานเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) เปนครั้งแรกในโลก ทัชซิมเปนซิมโทรศัพทเคลื่อนที่ที่มีแผนรับสัญญาณ RFID พวงติดกับทัชซิม แผนรับสัญญาณนี้จะทําหนาที่รับสงสัญญาณ เพื่ออานขอมูลจากกระเปาเงินอิเล็กทรอนิกส (E-purse & E-wallet) ในซิม จึงสามารถทําการชําระคาสินคาและบริการตางๆไดอยางสะดวก และงายดาย เพียงสัมผัสโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ใชทัชซิมกับเครื่องอานสัญญาณ ในป 2554 บริษัทฯ เปดตัว iSim ซึ่งเปนนวัตกรรม ในการนําเสนอแพ็กเกจบริการดานขอมูลสําหรับอุปกรณแท็บเล็ตและแอรการด เพื่อดึงดูดลูกคาที่เนนใชบริการ ดานขอมูลโดยเฉพาะ ในป 2552 ทรูมูฟประสบความสําเร็จในการเปดตัว iPhone 3G และ iPhone 3G S ในประเทศไทย ในปลายเดือนกันยายน 2553 การเปดตัว iPhone 4 ของทรูมูฟประสบความสําเร็จอยางดียิ่ง ตามมาดวยความสําเร็จ ในการเปดตัว iPad 2 ในเดือนกันยายน 2554 และ iPhone 4 S ในเดือนธันวาคม ปเดียวกัน นอกเหนือจากนั้น บริการ 3G+ บนคลื่นความถี่ 850 MHz ภายใตแบรนดทรูมูฟ เอช ไดขยายโครงขาย WiFi ใหครอบคลุม กวางขวางยิ่งขึ้น รวมทั้งใหบริการดวยคอนเทนตและแอพพลิเคชั่นตางๆ ที่หลากหลายยิ่งขึ้นจากกลุมทรู

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลอดจนอัตราคาบริการที่ดึงดูดใจ ทําให กลุมทรู โมบายไดเปรียบในเชิงการแขงขัน และเปนผูนําบริการ 3G และสมารทโฟนในประเทศไทย (3) ทรูวิชั่นส ทรู วิ ชั่น ส คื อ ผูนํา ในการใหบริการโทรทัศน แ บบบอกรับสมาชิ ก ซึ่ ง ใหบริการทั่ว ประเทศ ผานดาวเทียมในระบบดิจิตอลตรงสูบานสมาชิก และผานโครงขายผสมระหวางเคเบิลใยแกวนําแสง และ สายโคแอ็กเชียล (coaxial) ที่มีประสิทธิภาพสูง ทรูวิชั่นส เกิดจากการควบรวมกิจการเมื่อป 2541 ระหวางยูบีซี (เดิมคือ ไอบีซี) และ ยูบีซีเคเบิล (เดิมคือ ยูทีวี) โดยดําเนินธุรกิจภายใตสัญญารวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศน (และบริการโทรทัศนทางสาย) แบบบอกรับสมาชิก (“สัญญารวมดําเนินกิจการฯ”) อายุ 25 ป ที่ไดรับจากองคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย (อสมท) โดยสัญญารวมดําเนินกิจการฯ สําหรับบริการผานดาวเทียมจะหมดอายุในวันที่ 30 กันยายน 2557 และสัญญารวมดําเนินกิจการฯ สําหรับบริการโทรทัศนทางสาย (หรือ เคเบิล) จะหมดอายุในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ทรูวิชั่นสใหบริการในระบบดิจิตอลผานดาวเทียม (DSTV) โดยการสงสัญญาณในระบบ Ku-band และ C-band โดยใชระบบการบีบอัดสัญญาณ MPEG-2 และ MPEG-4 ซึ่งทําใหบริษัทฯ สามารถเพิ่มจํานวน ชองรายการไดมากขึ้น ปรับปรุงคุณภาพเสียงและภาพใหคมชัดยิ่งขึ้น สามารถควบคุมการเขาถึงสัญญาณของ ทรูวิชั่นส และสามารถกระจายสัญญาณใหบริการไปยังทุกๆ พื้นที่ในประเทศไทย ปจจุบันการใหบริการระบบนี้ ถายทอดสัญญาณผานดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่งมีขีดความสามารถสูงกวาเดิมมาก ในไตรมาส 3 ป 2554 ทรูวิชั่นส มอบสิทธิประโยชนสําหรับลูกคาระดับบนที่แจงความประสงคจะเปลี่ยนกลองรับสัญญาณใหมกอนใคร โดยกลองรับสัญญาณ hybrid ใหมนี้ ไมเพียงรองรับรายการในระบบ HD แตยังประกอบดวยเทคโนโลยีการ บีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4 และเทคโนโลยี secured silicon ซึ่งนอกจากจะเพิ่มอรรถรสในการรับชมใหกับ สมาชิกแลว ยังชวยลดปญหาจากการลักลอบใชสัญญาณ เมื่อเริ่มใชระบบออกอากาศใหมที่มีความปลอดภัยสูง ในเดือนเมษายนและตุลาคม ป 2555 สําหรับระบบเคเบิลและดาวเทียม ตามลําดับ นอกจากนั้น ทรูวิชั่นสใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกระบบเคเบิล (CATV) โดยใหบริการ ทั้งระบบดิจิตอลและระบบอานาล็อกในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลผานโครงขายผสมระหวางเคเบิล ใยแกวนําแสง และสายโคแอ็กเชียล ของบริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (ซึ่งเปนบริษัทยอยของทรู) โดยปจจุบัน โครงขายดังกลาวผานบานถึงประมาณ 800,000 หลังคาเรือนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในตนป 2549 บริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการรวมทรูวิชั่นสเขามาเปนสวนหนึ่งของกลุมทรู ทําใหบริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 91.8 ของทรูวิชั่นส ภายหลังการรวมเปนสวนหนึ่งของกลุมทรู ทรูวิชั่นส ไดปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการตลาด โดยขยายบริการสูตลาดกลางและลาง ซึ่งทําใหทรูวิชั่นสสามารถเพิ่ม ฐานลูกคาไดกวา 2 เทา

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2553 ทรูวิชั่นส ไดปรับโครงสรางกลุมบริษัท เปนกลุมบริษัททรูวิชั่นส (ซึ่ง ณ สิ้นป 2554 กลุมทรูมีสัดสวนการถือหุนรอยละ 100 โดยทางออม) ทั้งนี้เพื่อรองรับกรอบการกํากับดูแลที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อการรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก และทําใหการดําเนินธุรกิจ ของทรูวิชั่นสมีความคลองตัวมากขึ้นรองรับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต ซึ่งสงผลให ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2554 กลุมทรูมีสัดสวนการถือหุนรอยละ 99.31 ในบมจ. ทรู วิชั่นส และรอยละ 98.99 ในบมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล นับตั้งแตมีการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน พ.ศ.2551ในเดือนมีนาคม 2551 ทรูวิชั่นสไดมีการเจรจากับ บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) เพื่อใหสามารถหา รายไดจากการโฆษณาไดเชนเดียวกับผูใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกรายอื่นๆ โดยในวันที่ 8 ตุลาคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการ อสมท อนุญาตใหทรูวิชั่นสหารายไดจากการรับทําโฆษณาผานชองรายการตางๆ โดยจายสวนแบงรายไดรอยละ 6.5 ใหแก อสมท ทําใหทรูวิชั่นสเริ่มหารายไดจากการรับทําโฆษณาผานชอง รายการตางๆ โดยเริ่มทําการโฆษณาอยางคอยเปนคอยไป ทั้งนี้เพื่อไมใหขัดจังหวะการรับชมรายการของ สมาชิก นอกจากนี้ ในป 2553 ทรูวิชั่นสจะทยอยเพิ่มชองรายการเพื่อออกอากาศโฆษณา ซึ่งรวมทั้งชองรายการ ที่ทรูวิชั่นสรับมาออกอากาศ (Turnaround channel) โดยทรูวิชั่นสมีรายไดจากการรับทําโฆษณาเต็มปเปนปแรก ในป 2553 เปนจํานวนทั้งสิ้น 482 ลานบาท ทั้งนี้ ณ สิ้นป 2554 ชองรายการ 27 ชอง จากทั้งหมด 127 ชองรายการ ของทรูวิชั่นสมีรายไดจากการรับทําการโฆษณา ดวยความสามารถของทีมขายที่มีความชํานาญงาน ทําใหใน ป 2554 ทรูวิชั่นสมีรายไดจากการรับทําโฆษณาจํานวน 707 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นรอยละ 46.7 จากป 2553 ณ สิ้นป 2554 ทรูวิชั่นสมีจํานวนผูใชบริการรวม 1,641,998 ราย โดย 826,590 ราย เปนผูใชบริการ แพ็กเกจมาตรฐาน สวนที่เหลือเปนผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิวและฟรีทูแอร ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก และรายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ ทรูวิชั่นส จํานวนผูใชบริการ เฉพาะลูกคาแพ็กเกจปกติ - ระบบเคเบิล - ระบบจานดาวเทียม (DsTV) รวมผูใชบริการแพ็กเกจปกติ แพ็กเกจ ฟรีวิว 1/ แพ็กเกจ ฟรีทูแอร 1/ รวมผูใชบริการทั้งหมด รายไดเฉลี่ยตอผูใชบริการ 2/ 1/ 2/

2550

2551

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552

132,868 496,920 629,788 318,790 90,342 1,038,920 1,104

129,659 670,178 799,837 527,096 142,538 1,469,471 988

123,349 805,207 928,556 536,324 198,527 1,663,407 806

2553

2554

118,784 810,708 929,492 519,727 255,835 1,705,054 744

114,925 711,995 826,590 525,816 289,592 1,641,998 765

ไมรวมผูใชบริการชําระคาบริการเพิ่มเพื่อเปลี่ยนแพ็กเกจเปนแพ็กเกจปกติ ไมรวมผูใชบริการประเภท ฟรีวิว และ ฟรีทูแอร

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูวิชั่นสนําเสนอความบันเทิงหลากหลายดวยชองรายการชั้นนําที่มีคุณภาพทั้งจากในประเทศ และตางประเทศ ประกอบดวย ภาพยนตร (เชน HBO, Cinemax, Star Movies) กีฬา (เชน ESPN, Star Sport และรายการของทรูวิชั่นสเอง) สาระบันเทิง (เชน Discovery Channel, National Geographic) และขาว (เชน CNN, CNBC, Bloomberg, BBC World, Phoenix InfoNews) นอกจากนั้นยังมีรายการจากสถานีโทรทัศน ภาคปกติของไทย (Free TV) และ บริการ Pay Per View แพ็กเกจหลักของทรูวิชั่นสทั้ง 4 แพ็กเกจ รวมชองรายการอื่นๆ นอกเหนือจากรายการมาตรฐาน (ไดแก ชองรายการฟรีทีวี รวมทั้งหมด 6 ชองรายการ และชองรายการเพื่อการศึกษาอีก 15 ชองรายการ และ มีรายละเอียดของแตละแพ็กเกจดังตารางดานลาง แพ็กเกจ แพลทินัม (Platinum) โกลด (Gold) ซิลเวอร (Silver) ทรู โนวเลจ (True Knowledge)

จํานวนชองรายการ 106 97 84 74

คาบริการตอเดือน (บาท) 2,000 1,413 590 340

นอกเหนือจากแพ็กเกจขางตน ทรูวิชั่นสยังนําเสนอแพ็กเกจตามสั่ง (A-La-Carte) ซึ่งประกอบดวย 10 ชองรายการ เชน HBO, Disney, Discovery และ NHK ผูใชบริการแพ็กเกจแพลทินัม (Platinum) สามารถ เลือกรับชมแพ็กเกจตามสั่งที่ชื่นชอบไดในราคาพิเศษ ในขณะที่ผูใชบริการแพ็กเกจซิลเวอร (Silver) สามารถ เลือกซื้อแพ็กเกจ Discovery, Disney และ NHK เพิ่มไดเชนกัน ทรูวิชั่นสขยายบริการไปยังตลาดกลางและลาง โดยนําเสนอแพ็กเกจรวมกับกลุมทรู โมบาย ภายใตชื่อทรูไลฟฟรีวิว (เดิมชื่อ ทรูวิชั่นส-ยูบีซี ทรูมูฟ ฟรีวิว) โดย “ทรูไลฟฟรีวิว” คือหนึ่งในแพ็คเกจ คอนเวอรเจนซหลักของกลุมทรู ซึ่งปจจุบันแบงออกเปน 3 แพ็กเกจสําหรับลูกคาในระบบรายเดือนของ กลุมทรู โมบาย และอีก 1 แพ็กเกจสําหรับลูกคาในระบบเติมเงินของกลุมทรู โมบาย นอกจากนี้ ทรูไลฟฟรีวิวยังทําใหทรูวิชั่นสสามารถขยายตลาดสูลูกคาในระดับกลางและลาง และ มีบทบาทสําคัญในการเพิ่มยอดผูใชบริการในตางจังหวัด โดย ณ สิ้นป 2554 ผูใชบริการในตางจังหวัดมีสัดสวน รอยละ 49.8 ของผูใชบริการทั้งหมดของทรูวิชั่นส ทั้งนี้กลยุทธในการขยายตลาดสูลูกคาระดับกลางและลาง ทําใหทรูวิชั่นสมีผูใชบริการรวมทั้งสิ้น 1,614,998 ราย ในป 2554 ยิ่งไปกวานั้น ผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิวยัง สามารถเปลี่ยนมาใชแพ็กเกจโนวเลจ และรับชมชองรายการของทรูวิชั่นสไดเพิ่มอีก 15 ชอง ทําให ณ สิ้นป 2554 รอยละ 32.4 ของผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิว เปลี่ยนมาใชแพ็กเกจโนวเลจหรือแพ็กเกจที่มีคาบริการสูงกวา นอกจากนี้ทรูวิชั่นสยังจําหนายจานดาวเทียมแบบขายขาด ใหรับชมทรูวิชั่นสฟรี 47 ชอง และ สามารถเปลี่ยนมาใชบริการแพ็กเกจโนวเลจไดเชนเดียวกับผูใชบริการแพ็กเกจฟรีวิว

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริการอื่นๆ ของทรูวิชั่นส ประกอบดวย: High Definition Personal Video Recorder (HD PVR): กลองรับสัญญาณรุนใหมที่ใหภาพคมชัด และมีคุณสมบัติเพิ่มเติม (เชน สามารถอัดรายการ ขยายภาพในระหวางการรับชม หรือ เลนซ้ํา) เพื่ออํานวย ความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพในการรับชมใหกับสมาชิก

โปรโมชั่นจานแดงทรูวิชั่นส DSTV ขายขาด ใหสมาชิกรับชมทรูวิชั่นสฟรี 47 ชอง โดยไมมี คาบริการรายเดือน นอกจากนี้ ผูใชบริการที่ใชบริการทรูมูฟและทรูมูฟ เอช และเติมเงินทุกเดือน จะสามารถ รับชมทรูวิชั่นสเพิ่มอีก 12 ชอง

รายการเรียลลิตี้โชวยอดนิยม อคาเดมี แฟนเทเชีย ซึ่งออกอากาศปละครั้ง (โดยปกติจะออกอากาศ ระหวางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน) เปนโปรแกรมสําคัญในการรักษาฐานลูกคาของทรูวิชั่นสในชวง ที่มีการชะลอตัวตามฤดูกาลแลว ยังเปนการสรางคอนเทนตใหกับธุรกิจอื่นๆ ภายในกลุมทรูอีกดวย

ทรูวิชั่นสยังคงเดินหนาตอยอดความเปนผูนําดานคอนเทนต แพ็กเกจแบบพรีเมียมของทรูวิชั่นส นําเสนอรายการที่ไดรับความนิยมอยางสูงในตางประเทศ และเกือบทั้งหมดเปนรายการที่ทรูวิชั่นสไดรับลิขสิทธิ์ แตเพียงผูเดียว (โดยมีเพียง 3 ชองรายการ จากทั้งหมด 47 ชองรายการที่ไมใชรายการที่ไดรับลิขสิทธิ์เฉพาะ) และเพื่ออรรถรสในการรับชมรายการตางๆ เหลานี้ ทรูวิชั่นสจึงไดอํานวยความสะดวกใหผูชมชาวไทยได รับชมรายการจากตางประเทศดวยเสียงและคําบรรยายภาษาไทย รวมทั้งผลิตคอนเทนตขึ้นเอง เพื่อใหเหมาะ กับรสนิยมของคนไทย ทั้งนี้ ในเดือนพฤษภาคม 2553 ทรูวิชั่นสเปนผูใหบริการในระบบเคเบิลและดาวเทียมรายแรกที่เปด ใหบริการในระบบ High Definition (HDTV) เพื่อเพิ่มประสบการณการรับชมใหกับลูกคาระดับบน ดวย 3 ชอง ในระบบ HD ซึ่งประกอบไปดวยชอง TrueSport HD (ชอง 122) ซึ่งถายทอดสดรายการกีฬาสําคัญระดับโลก ตาง ๆ และ ชอง HBO HD (ชอง 121) ซึ่งรวบรวมภาพยนตรทําเงินอันดับ 1 ทั่วโลกมานําเสนอ กวา 100 เรื่อง ตอเดือน รวมทั้ง การถายทอดสดฟุตบอลโลก 2010 (FIFA World Cup 2010) และ True AF HD (ชอง 120) ซึ่งเปนชองรายการเรียลลิตี้ ทั้งนี้ ในเดือนกรกฎาคม 2554 ทรูวิชั่นสไดเพิ่มชองรายการในระบบ HD เปน 11 ชอง (ซึ่งรวมทั้งชอง TrueSport HD 2, Star Movies HD และ AXN HD) สําหรับสมาชิกในระบบเคเบิล ในขณะที่ สมาชิกในระบบดาวเทียมรับชม HD ได 3 ชอง (4) ทรูมันนี่ ในป 2548 ทรูมันนี่ไดรับใบอนุญาตจากธนาคารแหงประเทศไทยใหประกอบธุรกิจบัตรเงิน อิเล็กทรอนิกสและไดรับอนุมัติจากกรมสรรพากรในการแตงตั้งเปนตัวแทนรับชําระคาสินคาและบริการ พรอมการออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกํากับภาษี โดยใหบริการทางการเงินสําหรับลูกคาทั่วไปภายใตแนวคิด เติม-จาย-โอน-ซื้อ-จอง โดยบริการตางๆ ของทรูมันนี่ประกอบดวย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บัตรเงินสดทรูมันนี่ ซึ่งชวยใหผูใชบริการของกลุมทรูสามารถเติมเงินใหกับบริการตางๆ ภายในกลุมทรู ซึ่งประกอบดวย บริการทรูมูฟ/ทรูมูฟ เอช บริการ WiFi และบริการเกม ออนไลนตางๆ ตัวแทนรับชําระและจัดเก็บคาสินคาและบริการ ทรูมันนี่มีจุดรับชําระคาสินคาและบริการ ประมาณ 28,500 แหง (ในทรูชอปและทรูมูฟชอป และทรูมันนี่เอ็กซเพรส) ณ สิ้นป 2554 และสามารถรับชําระตามใบแจงหนี้จาก 300 บริการ รวมทั้งในบางบริการ ลูกคายังสามารถ ชําระแบบออนไลนไดอีกดวย ทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ใหบริการชําระคาสินคาและบริการตางๆ จําหนายบัตรเงินสด และ บริการเติมเงินสําหรับบริการแบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู

นอกจากนี้ทรูมันนี่ยังเปดใหบริการ “WeBooking by TrueMoney” ซึ่งเปนบริการจองจายครบวงจร ดวยจุดเดน “จองงาย จายสะดวก รวดเร็ว หลายชองทาง” ใหบริการครอบคลุมกลุมไลฟสไตลตางๆ ไดแก ความ บันเทิง การทองเที่ยวและที่พัก การศึกษา กีฬา และ สุขภาพ เปนตน บริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ของกลุมทรู โมบาย (บริการทรูมันนี่) ทรูมันนี่เปดใหบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ในป 2549 เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการ ของกลุมทรู โมบาย ใหสามารถทําธุรกรรมทางการเงินตางๆ บนโทรศัพทเคลื่อนที่ไดทุกที่ ทุกเวลา และมี ความปลอดภัยสูงดวยระบบรักษาความปลอดภัยมาตรฐานสากล โดยผูใชบริการสามารถ เติมเงินใหกับสินคาและบริการระบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู เชน บริการทรูมูฟ/ทรูมูฟ เอช แบบเติมเงิน การซื้อชั่วโมงอินเทอรเน็ต เกมออนไลน และบริการ WE PCT เปนชองทางในการชําระเงินของแพ็กเกจทรูไลฟฟรีวิว โดยหักเงินอัตโนมัติจากเงินในบัญชี ทรูมันนี่ทุกเดือนเมื่อถึงกําหนดชําระ ผูใชบริการแพ็กเกจทรูวิชั่นสฟรีวิว ยังสามารถเปลี่ยนเปน สมาชิกรายการตามสั่ง ที่มีอัตราคาบริการรายเดือนที่สูงขึ้น หรือสั่งซื้อรายการแบบจายเงิน ลวงหนา ดวยการชําระผานบริการทรูมันนี่ไดอีกดวย ชําระคาบริการผลิตภัณฑและบริการตางๆ ภายในกลุมทรู รวมทั้งชําระคาสินคาและบริการ อื่นๆ อาทิ คาสาธารณูปโภคตางๆ คาประกัน และบริการอีคอมเมิรซตางๆ รวมทั้งการชําระ ภาษีรถยนตประจําป โอนเงินจากบัญชีทรูมันนี่ของตนเองไปยังบัญชีทรูมันนี่อื่น หรือโอนจากบัญชีธนาคารของ ตนเองไปยังบัญชีทรูมันนี่ ถอนเงินสดจากบัญชีทรูมันนี่ของตนเอง โดยใชบัตรเงินสดทรูมันนี่ ที่เครื่องเอทีเอ็ม ทั่วประเทศ ผูใชบริการสามารถเก็บเงินไวในบัญชีทรูมันนี่สูงสุดถึง 30,000 บาท และสามารถเติมเงินเขา บั ญ ชี ท รู มั น นี่ จ ากหลายช อ งทาง ไม ว า จะเป น บั ต รเงิ น สดทรู มั น นี่ ผ า นบั ญ ชี ธ นาคารที่ ลงทะเบียนไวแลวกับธนาคารเจาของบัญชี หรือผานบัตรเครดิตที่ลงทะเบียนไวแลวกับบริษัทฯ

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2550 ทรูมันนี่เปดตัว ทรูมันนี่ เอ็กซเพรส (TrueMoney Express) จุดรับชําระคาบริการผาน ระบบแฟรนไชส เพื่อใหบริการชําระคาสินคาและบริการตางๆ จําหนายบัตรเงินสด และบริการเติมเงิน สําหรับบริการแบบเติมเงินตางๆ ของกลุมทรู โดยจับมือเปนพันธมิตรกับธุรกิจคาปลีกใหบริการในกวา 2,000 จุดทั่วประเทศ และขยายบริการครอบคลุมราว 25,000 จุด ณ สิ้นป 2554 นอกจากนี้ ในเดือนพฤศจิกายน 2550 ทรูมันนี่และบริษัท วอชทดาตา เทคโนโลยี จํากัด ผูนําเทคโนโลยีดานความปลอดภัยจากประเทศจีน ประกาศ ความสําเร็จรวมกันในการพัฒนา Touch SIM บริการการเงินบนมือถือแบบ Contactless ดวยเทคโนโลยี RFID SIM โดยเปดใหบริการในตนป 2551 ในเดือนกรกฎาคม 2552 ทรูมันนี่ ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส ใหเปนผูใ หบริการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส เปนระยะเวลา 10 ป เมื่อเดือนพฤษภาคม 2553 ทรูมันนี่เปนผูใหบริการไทยรายแรกที่ไดรับเงินสนับสนุนจํานวน 250,000 ดอลลารสหรัฐ จากสมาคม GSM เพื่อขยายการใหบริการทรูมันนี่ เอ็กซเพรส ในประเทศไทย นอกจากนี้ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ทรูมันนี่ไดรวมลงนามกับธนาคารแหงประเทศไทย เพื่อใชมาตรฐาน กลางขอความการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ในฐานะองคกรที่ไดรับอนุญาตจากธนาคารแหงประเทศไทย ใหดําเนินกิจการธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส ในเดือนพฤศจิกายน 2554 ทรูมันนี่เปดตัว ตูบริการอัตโนมัติ ตลอด 24 ชั่วโมง หรือ TrueMoney Kiosk ใหบริการ เติม จาย โอน ซื้อ จอง ผานสถานีบริการน้ํามัน ปตท สถานีรถไฟฟา MRT และ BTS ทรูชอปทุกสาขา กวา 2,000 ตูทั่วประเทศ ณ สิ้นป 2554 มีลูกคากลุมทรู โมบาย ที่ใชบริการทรูมันนี่ประมาณ 9 ลานราย จาก 7.3 ลานราย ณ สิ้นป 2553 (5) ทรูไลฟ ทรู ไ ลฟ เป น บริ ก ารดิ จิ ต อลคอนเทนต และเป น ช อ งทางที่ ทํ า ให ส ามารถเข า ถึ ง ชุ ม ชนผู ใ ช โทรศัพทเคลื่อนที่และชุมชนออนไลน อีกทั้งยังเปนสื่อสําหรับธุรกรรมระหวางผูบริโภคกับผูบริโภค ธุรกิจ กับผูบริโภค และธุรกิจกับธุรกิจ ทรูไลฟประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ ดิจิตอลคอนเทนตและบริการชุมชนตางๆ ทรูไลฟชอป และ ทรูไลฟพลัส (แพ็กเกจที่ผสานผลิตภัณฑและบริการในกลุมทรูเขาดวยกัน) ตั้งแตป 2549 เปนตนมา พอรทัลออนไลน Truelife.com ใหบริการชุมชนออนไลน เชน มินิโฮม (Minihome) คลับ หองแชท (Chatroom) และบริการ Instant Messaging ซึ่งผูใชสามารถติดตอและสื่อสาร ระหวางกัน นอกจากนี้ยังนําเสนอคอนเทนตที่เชื่อมโยงผูที่มีความสนใจหรือมีไลฟสไตลใกลเคียงกันเขาดวยกัน โดยมีคอนเทนตหลัก 4 ประเภทคือ ดนตรี กีฬา รายการโทรทัศนและภาพยนตร เปดใหบริการในป 2549 ปจจุบันมีผูลงทะเบียนใชบริการ Truelife.com ทั้งสิ้นประมาณ 1.8 ลานราย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรู ดิจิตอล พลัส ผูใหบริการเกมออนไลน และ การจัดกิจกรรม E-Sports ตางๆ เริ่มมีบทบาทสําคัญ ในตลาดเกมออนไลน ในป 2550 จากการเปดใหบริการ “Special Force” ซึ่งประสบความสําเร็จและไดรับความนิยม จากผูเลนเกมออนไลนชาวไทยอยางรวดเร็ว โดยขึ้นนําเปนเกมออนไลนประเภท casual อันดับหนึ่งของเมืองไทย ตั้งแตป 2550 จนถึงปจจุบัน (ป 2554) ในขณะที่ FIFA Online ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นเปนลําดับ เนื่องจาก กระแสฟุตบอลโลกในป 2553 ณ สิ้นป 2554 FIFA Online มีผูลงทะเบียนเลนเกมประมาณ 5 ลานราย ในขณะที่ Special Force มีผูลงทะเบียนเลนเกมทั้งสิ้นประมาณ 20 ลานราย ปจจุบันเกมออนไลนทั้งสองมีสัดสวนรายได เกือบรอยละ 70 ของรายไดโดยรวมจากทรู ดิจิตอล พลัส นอกจากนี้ ในป 2552 ทรู ดิจิตอล พลัส ไดลงนาม เปนพันธมิตรทางธุรกิจ กับบริษัท ดรากอน ฟลาย จีเอฟ จํากัด ผูพัฒนาซอฟแวรเกมรายใหญจากเกาหลี เพื่อให มีการเปดตัวเกมใหมๆ ในตลาดเกมของไทยมากยิ่งขึ้น ในป 2554 ไดมีการเปดตัวเกมใหม Magic World 2 ซึ่งประสบความสําเร็จอยางดียิ่ง เนื่องจากไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องนับตั้งแตเริ่มเปดตัว นอกเหนือจากนั้น กลุมทรูยังเปนผูใหบริการเกมออนไลนรายใหญ โดยบริษัท NC True จํากัด ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนกับบริษัท NCsoft จํากัด ผูผลิตเกมออนไลนชั้นนําระดับโลกจากประเทศเกาหลี เปด ใหบริการเกม “Lineage II” “กิลดวอรส” และ “Point Blank” ซึ่งเปนเกมออนไลนซึ่งเริ่มเปนที่นิยมในป 2552 และสามารถสรางรายไดไดอยางมาก ณ สิ้นป 2554 Point Blank ไดกลายเปนหนึ่งในเกมออนไลนที่ไดรับ ความนิยมมากที่สุดของเมืองไทย นอกจากนี้ NC True ยังไดนําเสนอเกม Love Beat ในป 2553 โดยเปน เกมแดนซ ซึ่งมีทั้งเพลงไทยและเพลงสากลยอดนิยมใหผูเลนเลือกใชประกอบการเลมเกมไดอยางหลากหลาย ณ สิ้นป 2554 Love Beat เปนเกมออนไลนประเภทเกมแดนซอันดับสองของไทย และกําลังไดรับความนิยม ในหมูนักเลนเกมวัยรุนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในป 2554 ทรู ดิจิตอล พลัส ไดเปดใหบริการ แฟรนไชสรานอินเทอรเน็ตคาเฟภายใตแบรนด “ไอแฟมิลี พลัส” ในบรรยากาศของครอบครัว โดยเปนรานอินเทอรเน็ตคาเฟที่ปลอดภัยสําหรับเยาวชน มีการ แบงพื้นที่ใชงานเปน 4 โซน ประกอบไปดวย Fun Zone เปนสวนบริการชั่วโมงอินเทอรเน็ต และเกมออนไลน โซนที่ 2 เรียกวา Service Zone ที่ใหบริการชําระบิลและคาสาธารณูปโภคตางๆ จากทรูมันนี่ เอ็กซเพรส โซนที่ 3 Cafe Zone เปนโซนบริการอาหารและเครื่องดื่ม และสุดทาย Education Zone เปนโซนสําหรับเด็กๆ ที่มี หลักสูตรเรียนรูผานคอมพิวเตอร ปจจุบันไอแฟมิลี่ พลัสเปดใหบริการแลว 3 สาขา โดยคาดวาจะขยายสาขา เปน 15 สาขา ภายในป 2555 ทรูไลฟชอป เปนสถานที่ที่ใหลูกคาไดสัมผัสกับประสบการณคอนเวอรเจนซไลฟสไตล ดวย ผลิตภัณฑและบริการหลากหลายของกลุมทรู รวมไปถึงทรู คอฟฟ ทรู มิวสิค และบริการบรอดแบนด โดย สวนใหญจะตั้งอยูในบริเวณที่คนรุนใหมใหความนิยมมาพักผอน หรือจับจายใชสอยในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 25


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทรูไลฟพลัส เปดตัวในป 2553 โดยเปนการผสานผลิตภัณฑและบริการภายในกลุมทรู เพื่อนําเสนอ แพ็กเกจที่ตรงใจตามไลฟสไตลของผูใชบริการ ในเดือนมกราคม 2554 ทรูไลฟพลัส เปดตัวแพ็กเกจใหม “ทรูไลฟ ฟรีวิว 215 ชอง” ดูรายการคุณภาพ 215 ชอง และ คาโทรทรูมูฟ 399 บาท ซึ่งตอมาไดขยายจํานวน ชองรายการเปน 240 ชอง ในอัตราคาบริการเดือนละ 349 บาท พรอมคาโทรทรูมูฟ 349 บาท ในเดือนธันวาคม 2554 ทรูไลฟพลัส เปดตัวกลองรับสัญญาณดาวเทียมใหมลาสุด รับสัญญาณ จากจานดาวเทียมไดทั้งระบบ Ku-Band และ C-Band ในราคา 1,590 บาท โดยไมมคี าบริการรายเดือน และ สามารถรับชมรายการตางๆ ทั้งจากชองรายการของทรูวิชนั่ ส และชองรายการฟรีทแู อรอื่นๆ มากถึง 240 ชอง ดวยสัญญาณทีม่ ีคุณภาพ แมในระหวางฝนตก นอกจากนีย้ งั ผสมผสานบริการภายใตยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ โดยเพิ่มสิทธิพิเศษสําหรับลูกคาทรูมูฟ และลูกคาทรูมูฟ เอช รับชมรายการของทรูวิชั่นสเพิ่มเปน 59 ชอง และยังสามารถเปลี่ยนไปใชแพ็กเกจที่มีราคาสูงกวาไดถงึ แพ็กเกจแพลทินัม ปรับขยายไดตามความตองการ ของลูกคา ทรูไลฟเผยโฉมใหมบริการชอปปงออนไลน www.weloveshopping.com ภายหลังการรวมตัวกับ เว็บไซต www.marketathome.com ในป 2550 โดย ณ สิ้นป 2554 weloveshopping เปนศูนยรวมรานคา ออนไลนกวา 289,000 ราน และมีสินคากวา 7.2 ลานรายการ ในเดือนมิถุนายน 2552 กลุมทรูไดเปดตัว ทรู แอพ เซ็นเตอร (True App Center) สถาบันศูนยกลาง การศึกษาเพื่อสรางนักพัฒนาแอพลิเคชั่นบนมือถือ บน ไอโฟน (iPhone) วินโดวส โมบายล (Windows Mobile) และ แอนดรอยด (Android) ซึ่งแอพพลิเคชั่นเหลานี้มีสวนชวยเพิ่มยอดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ และยอดขายแพ็กเกจสําหรับบริการโมบาย อินเทอรเน็ต ทั้งนี้ ณ สิ้นป 2554 ทรูมีแอพพลิเคชั่นที่พัฒนาขึ้น มากกวา 220 แอพพลิเคชั่น จาก 122 แอพพลิเคชั่นในปกอนหนา 4.2 การตลาด ปจจุบัน กลุมทรู คือ ผูนําดานบริการไลฟสไตลของไทย บริษัทฯ ยังคงมุงมั่นใหบริการสื่อสาร โทรคมนาคม โดยเชื่อมโยงทุกบริการ พรอมพัฒนาโซลูชั่น ซึ่งประกอบดวย บริการดานเสียง วิดีโอ เพื่อ ตอบสนองทุกไลฟสไตลตรงใจลูกคาไดอยางแทจริง ภายใตยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ โดยการนําเสนอ ผลิตภัณฑและบริการภายใตแบรนด “ทรู” ยุทธศาสตรคอนเวอรเจนซ ทําใหกลุมทรูแตกตางจากผูใหบริการ รายอื่น และมีสวนสําคัญในการเพิ่มสวนแบงตลาด ตลอดจนชวยลดอัตราการเลิกใชบริการ (Churn Rate) ทั้งนี้ การรักษาฐานลูกคา ยังเปนกลยุทธหลักทางการตลาดของบริษัทฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งใน การดําเนินธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ซึ่งมีการแขงขันสูง

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 26


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4.3 การจําหนายเเละชองทางการจําหนาย เพื่ อ ให เ ข า ถึ ง กลุ ม ลู ก ค า บุ ค คล บริ ษั ท ฯ ได เ ป ด ศู น ย บ ริ ก ารทั้ ง ในเขตกรุ ง เทพมหานครและ ปริมณฑล รวมทั้งตางจังหวัด โดยในแตละศูนยบริการจะมีเจาหนาที่พรอมใหคําแนะนําแบบ one-stop shopping ในแหงเดียว เกี่ยวกับบริการสื่อสารทั้งแบบมีสายและไรสาย เครื่องโทรศัพทและอุปกรณเสริม และอุปกรณสื่อสารอื่นๆ รวมทั้งโมเด็ม ADSL ซึ่งในศูนยบริการใหญจะเปดใหบริการอินเทอรเน็ตดวย นอกจากนี้กลุมทรูยังไดจําหนายสินคาและบริการผานตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ ทั้งที่เปนรานคาที่เปน ตัวแทนจําหนายและตัวแทนจําหนายอิสระซึ่งรับคาตอบแทนจากคาคอมมิชชั่น ชองทางการจําหนายของบริษัทฯ ประกอบดวย คาขายสง คือ ผูที่คูขายซิมการดที่ยังไมไดเปดใชงานและบัตรเติมเงินเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ และอุปกรณที่เกี่ยวของของบริษัทฯ โดยเปนผูกระจายสินคาไปยังตัวแทนจําหนาย (sub-dealer) ตลอดจน ดูแลและใหการสนับสนุนดานการกระจายสินคากับ sub-dealer โดยคูคาขายสงจะเปนผูขายซิมการดแบบ เติมเงินและบัตรเติมเงิน ในขณะที่ Sub-dealer จะใหบริการอื่นๆ ดวย อาทิ บริการซอมโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการดาวนโหลดเพลงและเกมตางๆ

ชองทางการขายตรง โดยขายผลิตภัณฑและบริการของบริษัทฯ ใหกับลูกคา SME และลูกคา องคกรธุรกิจ ชองทางจัดจําหนายนี้มีบทบาทสําคัญในการเพิ่มจํานวนผูใชบริการใหกับกลุมทรู โมบาย ชองทาง การขายตรงแบงออกเปน ทีมขายตรง ตัวแทนขายตรง และตัวแทนอิสระ

รานคาปลีกประเภท Multi-retailer ซึ่งตั้งอยูในรานคาปลีกขนาดใหญ (Hypermart) รานคา ประเภท Specialty Store รานสะดวกซื้อตางๆ

รานคาปลีกซึ่งในที่นี้หมายถึง ทรูชอป รานคาของตัวแทนขายของกลุมทรู และ Kiosk ตางๆ ที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่เห็นไดงายและเปนแหลงชุมชน อยางเชน ศูนยการคา รานคาปลีกขนาดใหญ อาคารสํานักงาน เปนตน โดยรวมถึง ทรูไลฟชอป และ ทรู คอฟฟดวยเชนกัน

คูคาผานชองทางการขายปลีก ประกอบดวย คูคาขายปลีก และ การขายผานโครงการ “Move UP Vans” โดยการจัดรถ Move Up Van จําหนายสินคาและบริการของกลุมทรู อํานวยความสะดวกแกลูกคา ชนิดใกลบาน โดยรวมกับตัวแทนจําหนายของแตละภูมิภาคทั่วประเทศ

บริการประเภท Prepaid ของกลุมทรู (สวนใหญเปนบริการสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่) โดยปกติ จะขายผาน 3 ชองทางจัดจําหนายแรก คือ คูคาขายสง ชองทางการขายตรง และ รานคาปลีกประเภท Multiretailer ในขณะที่รานคาปลีก (ทั้งของบริษัทฯ และคูคา) จะทําหนาที่เปนชองทางการจําหนายผลิตภัณฑและ บริการแบบรายเดือน รวมทั้งผลิตภัณฑคอนเวอรเจนซของกลุมทรู รวมทั้งชองทางการใหบริการหลังการ ขายอีกดวย

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 27


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สําหรับบริการเติมเงิน (เพื่อเติมเงินทรูมูฟ ทรูมูฟ เอช ทรูมันนี่ หรือ แพ็กเกจฟรีวิว) มีชองทางผาน บริการอิเล็กทรอนิกสหลายชองทาง นอกเหนือจากการใชบัตร (เชน บัตรเงินสดหรือบัตรเติมเงิน) ดังตอไปนี้ เครื่องเอทีเอ็มโดยผูใชบริการสามารถโอนเงินจากบัญชีธนาคารของตนเองเพือ ่ เติมเงินทรูมูฟ ทรูมูฟ เอช หรือทรูมันนีไ่ ดโดยตรง ทรูมันนี่ ซึ่งเปนบริการการเงินบนโทรศัพทเคลื่อนที่ (ดูรายละเอียดใน “บริการการเงินบน โทรศัพทเคลื่อนที่ผานทรูมูฟและทรูมูฟ เอช”) บัตรเงินสดอิเล็กทรอนิกส ซึ่งสามารถซื้อไดจากคูคา เชน ธนาคารกสิกรไทย และเซเวนอีเลฟเวน เติมเงินโดยตรง ลูกคาสามารถเติมเงินไดจากอุปกรณที่ติดตั้งในรานคาปลีกของบริษัทฯ และ คูคา อาทิ เซเวนอีเลฟเวน หรือเติมเงินผานระบบออนไลน เติมเงินผานโทรศัพทสาธารณะของทรู ที่มีสญ ั ลักษณ "เติมเงิน ทรูมฟู ที่นี่" 28,000 เครือ่ ง ทั่วกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยผูใชสามารถเติมเงินขั้นต่ําเพียง 10 บาท โดยเปดใหบริการ มาตั้งแตป 2550 นอกจากนี้ผูใชบริการทรูมูฟและทรูมูฟ เอช ยังสามารถเติมเงินอัตโนมัติแบบ ‘over-the-air’ ผาน ตัวแทนซึ่งเปนบุคคลธรรมดา หรือรานคาขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับบริษัทฯ และไดรับอนุญาตใหโอนคาโทร แบบ over-the-air ไปยังโทรศัพทเคลื่อนที่ของผูใชบริการ โดยตัวแทนเหลานี้สามารถเติมเงินคาโทรไดผาน หลายชองทาง (เชน บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน และ เครื่องเอทีเอ็ม) ในป 2554 มีตัวแทนที่ลงทะเบียนกับบริษัทฯ ราว 80,000 ราย ถึงแมวาบัตรเติมเงินจะเปนชองทางการจําหนายหลักสําหรับการเติมเงิน แตชองทางผานระบบ อิเล็กทรอนิกสก็ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีวิธีชําระเงินที่หลากหลาย และมีสถานที่ใหบริการเพิ่มมาก ขึ้น ในป 2552 บริษัทฯ สามารถเพิ่มกําไร โดยเนนการเติมเงินผานชองทางอิเล็กทรอนิกส ทั้งนี้เพื่อประหยัด คาใชจายที่เกี่ยวเนื่องกับบัตรเติมเงิน (การผลิต การกระจายสินคา และการจัดเก็บ) นอกจากนี้ยังจะผสมผสาน การขายผานชองทางตางๆ ที่มีคาคอมมิชชั่นต่ํา (เชน เครื่องเอทีเอ็ม) เพื่อเพิ่มรายได สําหรับลูกคา SME และลูกคาองคกรธุรกิจ กลุมทรูมีผูบริหารงานลูกคา ทีมขาย (Account Executive) ที่มีความเชี่ยวชาญในการเขาถึงความตองการของลูกคาตามแตละธุรกิจไดเปนอยางดี ชองทางการจําหนายหลักของทรูวิชั่นส คือ การขายทางโทรศัพท การขายตรง ผานเว็บไซตและ เครือขายตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ รวมทั้งชองทางใหมผาน Move Up vans 4.4 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ ความสามารถในการใหบริการของโครงขาย กลุมทรูเชื่อวาความสามารถในการใหบริการของโครงขายของกลุมทรู เปนจุดเดนที่สําคัญใน การใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน รวมทั้งอินเตอรเน็ต และบรอดแบนดของกลุมทรู กลาวคือ กลุมทรูมีโครงขาย เคเบิลใยแกวนําแสงที่ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการและเขาถึงผูใชบริการไดอยางทั่วถึง โดยมีสวนประกอบที่เปน สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 28


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สายทองแดงเปนระยะทางสั้นๆ ทําใหสามารถสงสัญญาณ เสียง ภาพ หรือ ขอมูล ไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การออกแบบโครงขายในลักษณะใยแมงมุม ยังสามารถขจัดปญหาที่ผูใชบริการไมสามารถใชโทรศัพทได อันเนื่องจากการที่สายโทรศัพทหรือเสนทางในการติดตอถูกตัดขาดเพราะอุบัติเหตุ หรือดวยเหตุอื่นใดโดย ทําใหบริษัทฯ สามารถเลือกใชเสนทางอื่นทดแทนเสนทางที่ตองผานจุดที่เกิดเหตุเสียนั้นได ทรู มูฟเป นผู ใ หบริการที่เ ข ามาดําเนิน ธุรกิจโทรศัพ ท เคลื่อนที่ หลังสุดในจํานวนผูใ หบริก าร โทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญ 3 ราย ซึ่งทําใหไดรับประโยชนจากพัฒนาการใหมๆ ทางเทคโนโลยี โดยทําใหมี การลงทุนที่มีประสิทธิภาพและตนทุนถูกกวา แหลงที่มาของผลิตภัณฑและบริการ บริ ษั ท ฯ ได สั่ ง ซื้ อ อุ ป กรณ โ ครงข า ยโทรคมนาคมจากผู ผ ลิ ต อุ ป กรณ ชั้ น นํ า ของโลก ได แ ก Siemens Alcatel-Lucent NEC และ Huawei นอกจากนั้นมีผูรับเหมาจํานวนมากในการจัดหาและติดตั้ง โครงขายของบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ ไมไดมีการพึ่งพิง ผูจัดจําหนายหรือผูรับเหมารายใดเปนการเฉพาะ และ บริษัทฯ ไมมีปญหาในการจัดหาผูจัดจําหนายและผูรับเหมาเนื่องจากมีจํานวนมากราย การสนับสนุนทางดานเทคนิคและการบริหาร ในอดีตกลุมทรูเคยไดรับความชวยเหลือทางดานเทคนิค และการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจ ซึ่งประกอบดวย บริษัท Verizon Communications, Inc (“Verizon”) สําหรับบริษัท Orange SA ใหความชวยเหลือ ดานเทคนิคและการบริหารสําหรับทรูมูฟ และ บริษัท MIH สําหรับทรูวิชั่นส แตในปจจุบันกลุมทรูไมไดรับ การสนับสนุนดานเทคนิคและการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจดังกลาวอีกตอไป เนื่องจากพันธมิตรเหลานี้ ไดขายหรือลดสัดสวนการถือหุนลง อยางไรก็ตาม กลุมทรูสามารถรับถายทอดเทคโนโลยีและความรูไวจน สามารถบริหารงานไดเองโดยไมตองพึ่งพาการสนับสนุนดานเทคนิคและการบริหารจากพันธมิตรทางธุรกิจ อีกแตอยางใด 4.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ประกอบดวย บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส และบริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด หรือ ดีพีซี ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ ดีแทค และบริษัทยอย ของกลุมบริษัททรู โดยมีบริษัทฯ เปนผูถือหุนใหญ ซึ่งประกอบดวย บริษัท ทรู มูฟ จํากัด และ บริษัท เรียล มูฟ จํากัด (ซึ่งใหบริการภายใตแบรนด “ทรูมูฟ เอช”) และบริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด รวมทั้ง บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนองคกรของรัฐ

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 29


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศไทยมีการเติบโตอยางรวดเร็วในระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมา จากจํานวนผูใชบริการ 7.9 ลานรายในป 2544 เปนมากกวา 75.6 ลานราย ณ สิ้นป 2554 ซึ่งรวมผูใชบริการ ของทีโอที และ กสท และผูใหบริการ MVNO (mobile Virtual Network Operator) ที่ใชโครงขายของ ทีโอที ในขณะที่ ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญที่สุด 3 ราย ซึ่งประกอบดวย เอไอเอส ดีแทค และ กลุมทรู สามารถเพิ่มจํานวนผูใชบริการรายใหมไดประมาณ 5.7 ลานราย ในป 2554 (เพิ่มขึ้นรอยละ 8.1 จากปกอน หนา) ทําใหมีอัตราการใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ตอประชากร 100 คน เพิ่มขึ้นเปนอัตรารอยละ 115 (ขอมูลจํานวนประชากรจาก สํานักงานสถิติแหงชาติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น 67.8 ลานคน) จากการที่มีผูใชงานจํานวนไมนอย นิยมใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่มากกวา 1 เครื่อง และ/หรือ มีอุปกรณที่พรอม เขาถึงบริการอินเทอรเน็ต อาทิ แท็บเล็ตหรือเน็ตบุก อยางไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเดียวกันจะเห็นวาตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ ของไทยมีอัตราการใชบริการต่ํากวาประเทศอื่นๆ อาทิ ฮองกง (รอยละ 202.7 ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2554 แหลงที่มา: สํานักงานโทรคมนาคม รัฐบาลเขตปกครองพิเศษฮองกง) และ สิงคโปร (รอยละ 143.6 แหลงที่มา: สถิติการใหบริการโทรคมนาคม ป 2553 จาก องคการพัฒนาการสื่อสารและสารสนเทศประเทศ สิงคโปร) คูแขงรายใหญที่สุด 2 ราย คือ เอไอเอส (และ ดีพีซี ซึ่งเปนบริษัทยอยที่เอไอเอสถือหุนใหญ) และ ดีแทค ซึ่งมีจํานวนผูใชบริการคิดเปนสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 44.3 และ 30.7 ตามลําดับ (ไมรวม จํานวนผูใชบริการของ กสท และ ทีโอที และผูใหบริการ MVNO ของทีโอที) ณ สิ้นป 2554 โดยกลุมทรู โมบาย เปนผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหญอันดับ 3 ดวยสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 25 ตารางแสดงจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550

2551

2552

2553

2554

เอไอเอส

24,105,400

27,310,200

28,772,900

31,200,700

33,459,900

ดีแทค

15,772,026

18,682,076

19,657,049

21,620,397

23,216,508

ทรู โมบาย

12,080,089

14,756,834

15,801,164

17,117,864

18,940,263

1/

51,957,515

60,749,110

64,231,113

69,938,961

75,616,671

23.2

24.3

24.6

24.5

25.0

รวม

สวนแบงตลาดผูใชบริการ ของ ทรู โมบาย (รอยละ)

แหลงขอมูล: บริษัทที่เกี่ยวของ หมายเหตุ: 1/ ไมรวมผูใชบริการ ทีโอที กสท และผูใหบริการ MVNO ของทั้ง ทีโอที และ กสท นอกจากนี้ ตั้งแตป 2554 เปนตนไป จํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ในกลุมทรูโมบายประกอบดวย ผูใชบริการ ทรูมูฟ ทรูมูฟเอช และฮัทช

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 30


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแขงขันสูง ผูใหบริการตางพยายามแขงขันเพื่อเพิ่ม สวนแบงตลาด โดยผานกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ รวมทั้งการเสนอคาบริการแบบเติมเงินราคาถูก เพื่อ ดึงดูดผูใชบริการที่มีรายไดนอย ทั้งนี้ไดอํานวยความสะดวกในการซื้อบัตรเติมเงินโดยสามารถซื้อไดจาก รานสะดวกซื้อและสถานีบริการน้ํามันตางๆ ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหจํานวนผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ แบบเติมเงินมีจํานวนเพิ่มสูงขึ้นมากตั้งแตป 2545 เปนตนมา นอกจากนี้ผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยังมุงเนน สรางความเติบโตใหกับบริการที่ไมใชเสียงตางๆ ซึ่งเปนผลมาจากเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่รุนใหมๆ มี ความสามารถในการใชงานที่หลากหลายยิ่งขึ้น หลังตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแขงขันดานราคาอยางรุนแรงในระหวางป 2548-2551 การแขงขันดานราคา โดยเฉพาะอยางยิ่ง อัตราคาโทรเริ่มปรับตัวดีขึ้นในป 2552 ผูประกอบการรายใหญทั้ง 3 รายยังสามารถรักษาระดับรายได หรือมีรายไดเพิ่มขึ้นจากบริการที่ไมใชเสียง โดยเฉพาะอยางยิ่ง จาก บริการโมบาย อินเทอรเน็ต โดยปริมาณการใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ต ในประเทศไทย เติบโตอยาง แข็งแกรง สวนใหญเนื่องจากสมารทโฟน (อาทิ iPhone และ BlackBerry) ไดรับความนิยมมากขึ้นรวมทั้งมี ราคาถูกลง นอกจากนี้ยังเปนผลจากการที่มีการพัฒนาคอนเทนตและแอพพลิเคชั่นสําหรับสมารทโฟน เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในป 2553 มีการแขงขันเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย เนื่องจากผูประกอบการเริ่มปรับลดราคาเพื่อกระตุน อุปสงคที่ลดต่ําลงในครึ่งปแรก จากเหตุการณความไมสงบทางการเมือง โดยสวนใหญเปนการแขงขันใน การโทรภายในโครงขาย ซึ่งคูแขงมีการลดอัตราคาโทรลง ทําใหอัตราคาโทรตอนาทีโดยรวมปรับลดลงตาม ไปดวย และสงผลกระทบตอผลการดําเนินงานของทรูมูฟ อยางไรก็ดี รายไดจากบริการดานเสียงเริ่มฟนตัว นับตั้งแตเดือนสิงหาคมของป 2553 เปนตนมา หลังจากมีการนําเสนอโปรโมชั่นใหม คิดคาโทรตามจํานวนครั้ง และ อัตราเดียวทุกเครือขาย สําหรับกลุมลูกคาที่โทรในระดับปานกลางถึงนอย ในป 2554 การเติบโตของอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่โดยสวนใหญ เปนผลมาจากความนิยม ใชบริการดานขอมูลที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการเปดใหบริการ 3G ในเชิงพาณิชย และการใชงานอุปกรณสมารทโฟน ตางๆ และบริการเครือขายสังคมออนไลนที่เพิ่มมากขึ้น โดยการแขงขันระหวางผูประกอบการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ยังคงอยูในระดับสูง มีการเปดตัวแคมเปญและบริการใหมๆ โดยเฉพาะบริการ 3G ทั้งนี้เพื่อดึงดูดผูใชบริการ ที่นิยมใชบริการดานขอมูล ดวยการนําเสนอแพ็กเกจบริการโมบาย อินเทอรเน็ตรวมกับอุปกรณโทรศัพท หรือ การขาย SIM สําหรับบริการดานขอมูลเทานั้น นอกจากนี้ยังมีการนําเสนออัตราคาบริการดานขอมูลที่หลากหลาย ยิ่งไปกวานั้น หลังการเปดใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (MNP) ผูประกอบการบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ ยังหันมาใหความสนใจกับ คุณภาพของบริการและความครอบคลุมของโครงขาย และการบริหารงานลูกคาสัมพันธ เนื่องจากบริการ MNP ทําใหผูใชบริการสามารถยายไปใชบริการของโครงขายอื่นไดงายและสะดวกสบายยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ในไตรมาส 4 ป 2554 อุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทยไดรับผลกระทบจากวิกฤตน้ําทวม ทําให ตองเลื่อนการเป ด ตัว บริการใหม ๆ ออกไปเปนการชั่วคราว ในขณะที่ลูก ค าบางส ว นก็มี กํ าลั งซื้อลดลง เนื่องจากสถานการณน้ําทวม ในป 2554 ทรูมูฟ เอช ไดเปรียบในเชิงการแขงขันจากการเปนผูใหบริการรายแรกที่

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 31


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เปดใหบริการ 3G ในขณะที่ทรูมูฟ ไดรับประโยชนจากการขยายความครอบคลุมของโครงขาย (โดยเฉพาะ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) การเปดตัวโปรโมชั่นโทรทุกเครือขายซึ่งชวยผลักดันการเติบโตของรายไดจาก บริการแบบเติมเงิน และการเติบโตเพิ่มขึ้นของบริการที่ไมใชเสียงในระบบเติมเงิน ซึ่งสวนใหญจากประสิทธิภาพ ของโครงขายขอมูลและอัตราคาบริการดานขอมูลที่มีความยืดหยุนยิ่งขึ้น ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐาน บริการโทรศัพทพื้นฐานในปจจุบันมีผูใหบริการทั้งสิ้น 3 ราย โดย ทีโอที (ซึ่งเปนองคกรของรัฐ โดยในอดีตเปนผูกํากับดูแลบริการโทรศัพทพื้นฐาน) เปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานทั้งในกรุงเทพมหานคร กับปริมณฑลและตางจังหวัดเพียงรายเดียวของประเทศ สวนผูใหบริการอีก 2 ราย คือ ผูใหบริการที่อยูภายใต สัญญารวมการงานฯ ของ ทีโอที โดยกลุมทรูเปนผูใหบริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด (มหาชน) เปนผูใหบริการในตางจังหวัด ประเทศไทยมีผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานทั้งสิ้นราวรอยละ 10-12 ของประชากร (หรือประมาณ รอยละ 30-32 ของจํานวนครัวเรือนทั่วประเทศ ติดตอกันเปนเวลาหลายป โดย ณ สิ้นป 2553 ทีโอทียังคงเปน ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานที่ใหญที่สุดในประเทศไทย (ตามจํานวนผูใชบริการ) โดยมีผูใชบริการประมาณ 3.8 ลานราย ในขณะที่กลุมทรูเปนผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐานที่ใหญที่สุด ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ดวยจํานวนผูใชบริการราว 1.8 ลานราย ในป 2554 จํานวนผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานของ กลุมทรูยังคงมีจํานวนประมาณ 1.8 ลานราย ผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ทีโอที ทรู

จํานวนผูใชบริการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) 3,770,450

1//

1,834,694

ทีทีแอนดที

949,429 รวม

6,554,573

แหลงขอมูล: รายงานสภาพตลาดโทรคมนาคม โดย สํานักงานกทช. ประจําไตรมาสที่ 4 ป 2553 1/ ขอมูลของบริษัททรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ในระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมา ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ ไดรับผลกระทบสวนใหญเนื่องจาก ผูใชบริการเปลี่ยนไปใชโทรศัพทเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนไปในทิศทางเดียวกันกับแนวโนมทั่วโลก นอกจากนี้ ธุรกิจโทรศัพทพื้นฐานของบริษัทฯ ยังเผชิญกับการแขงขันจากบริการ VoIP ซึ่งมี คาบริการถูกกวา เนื่องจากในปจจุบันมีการใชอินเทอรเน็ตและเครื่องคอมพิวเตอรอยางแพรหลาย ทําใหผูบริโภค จะหันมาใชบริการ VoIP มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ คณะกรรมการ กทช. ยังไดออกใบอนุญาตใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ซึ่งอาจทําใหทรูตองแขงขันกับผูใชบริการโทรศัพทพื้นฐานรายใหมๆ สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 32


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจสื่อสารขอมูลธุรกิจ ธุรกิจโครงขายขอมูลของประเทศไทยยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยมีอัตราการเติบโตที่ประมาณ รอยละ 10 ตอป เนื่องจากความนิยมในการสงขอมูลออนไลน และจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตที่เพิ่มมาก ขึ้น การแขงขันในธุรกิจโครงขายขอมูลยังคงสูงเนื่องจากมีจํานวนผูใหบริการหลายราย ประกอบกับลูกคามี ทางเลือกเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีเทคโนโลยีใหมๆ เชน ADSL ผูใหบริการสื่อสารขอมูลรายใหญในประเทศไทย ประกอบดวย ทีโอที กสท บริษัท ยูไนเต็ด อินฟอรเมชั่น ไฮเวย จํากัด (“UIH”) และ บริษัท ยูไนเต็ด บรอดแบนด เทคโนโลยี จํากัด (“UCOM”) บริษัท แอดวานซ ดาตาเน็ทเวิรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (“ADC”) ซึ่งเปน บริษัทฯ ภายใต อินทัช (เดิ มคื อ กลุมบริ ษัท ชิ น คอรปอเรชั่น) บริษัท ทีทีแอนด ที และกลุ มบริษั ททรู โดย ผูใหบริการเหลานี้ใหบริการวงจรเชา บริการ Frame Relay และ บริการ MPLS (Multiprotocol Label Switching) ทั้งนี้ คูแขงหลักของบริษัทฯ ไดแก ทีโอที (เนื่องจากสามารถใหบริการครอบคลุมพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย) และยูคอม (ซึ่งสามารถใหบริการนอกเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไดมากกวากลุมทรู) ผูใหบริการรายใหม อยางเชน Symphony มีการเติบโตอยางรวดเร็วนับตั้งแตป 2551 เปนตนมา เนื่องจากเนนการขายกลุมลูกคา ระดับบนที่ใชบริการผานโครงขายใยแกวนําแสง ณ สิ้นป 2554 กลุมทรูเปนผูใหบริการโครงขายขอมูลรายใหญอันดับ 2 โดยครองสวนแบงรอยละ 24 ของตลาดโดยรวมซึ่งมีมูลคาตลาดประมาณ 11.0 พันลานบาท ในขณะที่ทีโอทียังคงเปนผูนําตลาด โดยครอง สวนแบงราวรอยละ 26 และ UIH เปนผูใหบริการรายใหญอันดับ 3 โดยมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 21 ธุรกิจอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) อัตราของผูใชบริการบรอดแบนดรวมตอจํานวนครัวเรือนในเมืองไทย ยังมีระดับที่ต่ํามากที่อัตรา ประมาณรอยละ 14.0 จากทั้งหมด 20.3 ลานครัวเรือน ซึ่งยังคงเปนระดับที่ต่ํากวาประเทศที่พฒ ั นาแลวใน แถบเอเซีย เชน สิงคโปร (รอยละ 82 แหลงที่มา: สถิติการใหบริการโทรคมนาคม ป 2553 จาก องคการ พัฒนาการสื่อสารและสารสนเทศประเทศสิงคโปร) ผูใหบริการในตลาดอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) มีอยูห ลายรายทัว่ ประเทศ เชน ทีโอที กสท บริษัท จัสมิน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) (“JAS”) ซึ่งดําเนินงานภายใตแบรนด “3BB” บริษัท CS Loxinfo จํากัด บริษัท เอดีซี จํากัด และ กลุมทรู กลุมทรู สามารถเพิ่มฐานผูใชบริการบรอดแบนดไดอยางกวางขวางจากจํานวน 3,708 ราย ณ สิ้น ป 2545 มาเปน 1.33 ลานราย ณ สิ้นป 2554 ซึ่งกลุมทรูเปนหนึ่งในผูใหบริการบรอดแบนดรายใหญที่สุดใน ประเทศไทยคิดจากฐานจํานวนลูกคา โดยมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 58 ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ณ สิ้นไตรมาส 3 ป 2554

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 33


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มีปจจัยหลายประการที่ทําใหจํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) เพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว ซึ่งประกอบดวย ราคาโมเด็มที่ถูกลง ผูบริโภคความนิยมใชบริการคอนเทนตตางๆ เพิ่มมากขึ้น เชน เกมออนไลนและบริการเครือขายสังคมออนไลนตางๆ ประกอบกับอัตราคาใชบริการรายเดือนของ อินเทอรเน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด) ถูกลง เนื่องจากจํานวนผูใหบริการเพิ่มมากขึ้น อีกทั้ง คณะกรรมการ กทช. ไดเปดเสรีธุรกิจวงจรอินเทอรเน็ตตางประเทศ ทําใหมีการปรับลดอัตราคาเชาวงจรลงอยางมาก ธุรกิจบริการอินเทอรเน็ต ตลาดอินเทอรเน็ตในประเทศไทยเติบโตอยางเห็นไดชัดในระยะเวลา 2 ถึง 3 ปที่ผานมา จากการ ประเมินของ Internet World Stat จํานวนผูใชบริการอินเทอรเน็ตในประเทศไทยเติบโตเปนประมาณ 18.3 ลานราย ณ สิ้นป 2554 โดยมีอัตราการใชบริการอินเทอรเน็ตรวม ประมาณรอยละ 27.4 ของประชากรโดยรวม ซึ่งถือวา ต่ํากวาหลายๆ ประเทศในภูมิภาค นับตั้งแตเดือนมิถุนายน 2548 คณะกรรมการ กทช. ไดออกใบอนุญาตประกอบกิจการอินเทอรเน็ต ใหแกผูใหบริการอินเทอรเน็ตหลายราย รวมทั้ง บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด และ บริษัท เอเชีย อินโฟเน็ต จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ รวมทั้งผูใหบริการรายใหญ อาทิ CS Loxinfo และ Internet Thailand การแขงขันธุรกิจอินเทอรเน็ตยังคงรุนแรงในป 2549 จนถึง ป 2554 เนื่องจากมีจํานวนผูใหบริการ อินเทอรเน็ตเพิ่มมากขึ้นประกอบกับบริษัทโทรคมนาคมไดเขามาทําธุรกิจนี้มากขึ้น นอกจากนี้คณะกรรมการ กทช. ยังไดออกใบอนุญาตใหบริการโทรศัพทพื้นฐานทั่วประเทศ ซึ่งอาจจะสงผลใหการแขงขันในธุรกิจ โทรศัพทพื้นฐานและบรอดแบนดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ซึ่งเปนพื้นที่หลักของบริษัทฯ) เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม แมการแขงขันจะเพิ่มสูงขึ้น แตอัตราคาบริการยังคงตัว โดยคาบริการแบบ Dial Up อยู ที่ระดับประมาณ 9 บาทตอชั่วโมง และอัตราคาบริการบรอดแบนดขั้นต่ําอยูที่ประมาณ 390 บาทตอเดือน นอกจากนี้ในเดือนพฤศจิกายน ป 2553 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัตินโยบายบรอดแบนดแหงชาติของ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดวยเงินลงทุนทั้งสิ้น 2 หมื่นลานบาท เพื่อพัฒนาโครงขาย บรอดแบนดใหครอบคลุมประชากร ไมต่ํากวารอยละ 80 ของประเทศ ในอีก 5 ปขางหนา รวมทั้งใหมีบริการ บรอดแบนดความเร็วสูงความเร็วไมต่ํากวา 100 เมกะบิตตอวินาที โดยมีเปาหมายที่จะใหบริการบรอดแบนด ครอบคลุมโรงเรียนและโรงพยาบาลในระดับตําบล ตลอดจนประชาชนผูมีรายไดนอย ทั้งนี้ ทรูมูฟ รวมกับ ผูใหบริการอีก 5 ราย อาทิ ทีโอที และ กสท ไดลงนามในบันทึกขอตกลงเพื่อสนับสนุนนโยบายดังกลาว ซึ่ง สอดคลองกับพันธกิจของกลุมทรูเพื่อลดความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศ และ เปนสวนหนึ่งเพื่อการพัฒนาสังคมไทยสูสังคมแหงการเรียนรู ดังนั้นหากสามารถดําเนินงานตามนโยบาย บรอดแบนดแหงชาติไดสําเร็จตามเปาหมาย ความครอบคลุมของบริการบรอดแบนดจะกวางขวางยิ่งขึ้น และ ทําใหการเขาถึงบริการบรอดแบนดของประชากรไทยมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเปนปจจัยที่ชวยสนับสนุน ประเทศไทย ในการเขารวมเปนสวนหนึ่งของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 ดวยเหตุนี้บริษัทฯ จึง เชื่อมั่นวา ตลาดบริการบรอดแบนดของไทยจะมีการเติบโตอยางแข็งแกรง สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 34


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก จํานวนสมาชิกโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกในประเทศไทย ณ สิ้นป 2554 มีทั้งสิ้นประมาณ 11.6 ลานราย คิดเปนสัดสวนราวรอยละ 57 ของจํานวนครัวเรือน (แหลงที่มา: ขอมูลของบริษัทฯ) ซึ่งต่ํากวา ประเทศที่พัฒนาแลวในแถบเอเชีย โดยในป 2553 สิงคโปรมีอัตราการใชบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิก อยูที่ รอยละ 65 ฮองกง รอยละ 84 และไตหวัน รอยละ 94 (แหลงที่มา: Asia-Pacific Pay-TV Industry 2010) จึงนับวามีโอกาสเติบโตไดอีกมาก ปจจุบันกลุมทรูวิชั่นสเปนผูประกอบธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกที่ใหบริการครอบคลุม ทั่วประเทศรายใหญรายเดียวในประเทศไทย แตยังเผชิญความเสี่ยงจากระเบียบและกฎเกณฑตางๆ ที่กําหนด โดยภาครัฐ ทั้งยังจะตองเผชิญกับอุปสรรคจากผูประกอบการรายใหมอีกดวย นอกจากนี้ องคการสื่อสารมวลชน แหงประเทศไทย (อสมท) ยังไดใหใบอนุญาตดําเนินธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกแกบริษัทอื่นอีก 2 ราย ในป 2539 แตปจจุบันผูไดรับใบอนุญาตเหลานี้ยังไมเริ่มหรือประกาศวาจะเริ่มดําเนินการแตอยางใด ในสวน ของกรมประชาสัมพันธไดใหใบอนุญาตดําเนินการแกผูประกอบการเคเบิลตามภูมิภาคหลายรายดวยกัน ปจจุบัน ดําเนินการอยูประมาณ 77 ราย ภายหลังการประกาศใชพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศนซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2551 ผูประกอบธุรกิจโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกไดรับ อนุญาตใหสามารถจัดเก็บรายไดจากคาโฆษณา ซึ่งชวยเพิ่มโอกาสในการสรางรายไดจากคอนเทนตเดิมที่มีอยู รวมทั้งเปนการเพิ่มมูลคาใหกับกิจการของทรูวิชั่นส แตรายไดจากคาโฆษณาอาจจะชวยเสริมสรางความแข็งแกรง ทางการเงินใหกับผูใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกรายเล็กๆ และอาจทําใหมีการแขงขันในตลาดเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตาม ทรูวิชั่นสมีความไดเปรียบในเชิงการแขงขันจากการมีคอนเทนตที่ดี และมีคุณภาพสูง นอกจากนี้ ยังมีผูประกอบการอีกไมนอยกวา 445 รายที่ไมมีใบอนุญาต ซึ่งผูประกอบการเหลานี้ ลวนเปนผูประกอบการทองถิ่นที่ใหบริการในระบบเคเบิล โดยมีสมาชิกรวมกันประมาณ 2.6 ลานราย ปจจุบัน ผูประกอบการเหลานี้กําลังถูกตรวจสอบถึงการไดมาซึ่งลิขสิทธิ์รายการตางๆ ที่ออกอากาศโดยเจาของลิขสิทธิ์ ซึ่งไดรวมมือกับภาครัฐในการผลักดันใหผูประกอบการทุกรายปฏิบัติตามกฎหมาย ในขณะเดียวกัน พระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนฉบับใหม จะมีผลบังคับใหผูประกอบการทุกราย ดําเนิน กิจการภายใตกรอบการกํากับดูแลเชนเดียวกับทรูวิชั่นส หลังไดรับอนุญาตจาก อสมท ใหสามารถหารายไดจากการโฆษณา ทรูวิชั่นสเล็งเห็นวา ทรูวิชั่นส นาจะเปนทางเลือกที่ดีสําหรับบริษัทโฆษณา เนื่องจากมีกลุมผูชมรายการที่โดดเดน ซึ่งประกอบดวยลูกคา ระดับบนที่มีกําลังซื้อสูง รวมทั้งลูกคาระดับลางซึ่งมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ จากชองรายการ ที่มีความหลากหลายของทรูวิชั่นส ทําใหสามารถแยกกลุมผูชมที่มีคุณลักษณะตางๆ ไดอยางชัดเจน เพื่อ ประโยชนของผูซื้อโฆษณา

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 35


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในระหวางป 2553-2554 ทรูวิชั่นสใชกลยุทธในการขยายบริการสูตลาดสําหรับลูกคาระดับกลาง และระดับลางมากยิ่งขึ้น เพื่อสรางรายไดจากการรับทําการโฆษณา ซึ่งมีอัตราการทํากําไรสูง เนื่องจากเพิ่ม จํานวนผูรับชมคือปจจัยสําคัญตอความสําเร็จในการขยายบริการสูตลาดสําหรับกลุมลูกคาระดับกลางและลาง เนื่องจากมีการแขงขันสูง ทั้งนี้ การโฆษณาทางสื่อโทรทัศนในป 2554 มีมูลคาสูงถึง 62 พันลานบาท (แหลงที่มา: บริษัท AGB Nielsen) ในขณะที่สัดสวนมูลคาการโฆษณาทางโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกยังคงอยูในระดับ ต่ําจึงมีโอกาสเติบโตในระยะยาว ตลอดระยะเวลา 2 ถึง 3 ปที่ผานมา ทรูวิชั่นสไดรวมมืออยางใกลชิดกับเจาของลิขสิทธิ์ ในการหา แนวทางดําเนินการใหมๆ ในการปกปองลิขสิทธิ์รายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการ เปาหมายในการดําเนินการ ขั้นตอไปของทรูวิชั่นสจะมุงเนนไปที่การแกปญหาการละเมิดลิขสิทธิ์โดยการนํารายการตางๆ เชน รายการ ภาพยนตรที่อยูบนสื่ออื่น เชน ดีวีดี มาออกอากาศ อยางผิดกฎหมาย โดยรายการเหลานั้น มีการออกอากาศอยาง ถูกกฎหมายในชองรายการที่ทรูวิชั่นสใหบริการอยูดวย เชน HBO ในป 2554 ทรูวิชั่นสไดเริ่มตนการเปลี่ยนกลองรับสัญญาณรุนใหมซึ่งสามารถรองรับระบบ ออกอากาศใหมที่มีความปลอดภัยสูง (ใชเทคโนโลยีบีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4) ซึ่งคาดวาจะสามารถเปลี่ยนกลอง รับสัญญาณใหมใหแลวเสร็จไดในเดือนตุลาคม 2555 โดยทรูวิชั่นสจะสามารถสกัดกั้นการละเมิดลิขสิทธิ์ รายการไดอยางมีประสิทธิภาพ ทันทีที่เริ่มใชระบบออกอากาศใหมดังกลาวนี้ การลงทุนในโครงสรางพื้นฐานเพื่อใหบริการโทรทัศนแบบบอกรับสมาชิกคุณภาพสูง มีความ จําเปนอยางยิ่ง นอกจากนี้ ทรูวิชั่นสยังตองแขงขันทางออมกับสถานีโทรทัศนภาคปกติในประเทศไทย แต ดวยการนําเสนอรายการที่ไมสามารถหาดูไดจากชองอื่น รวมถึงภาพยนตร รายการสาระความรู และรายการ กีฬาที่แพรภาพที่ทรูวิชั่นสกอนชองใดๆ ทําใหทรูวิชั่นสมีขอไดเปรียบเหนือสถานีโทรทัศนภาคปกติทั่วไป การ ไดรับลิขสิทธิ์ในการถายทอดสดการแขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีกแตผูเดียวในประเทศไทย ทําใหทรูวิชั่นส สามารถดึงดูดผูใชบริการรายใหม และรักษาฐานลูกคาเดิมไปพรอมๆ กัน ทั้งนี้ กลุมทรูยังไดรับสิทธิในการ นําเสนอการแขงขันฟุตบอลพรีเมียรลีก และคอนเทนตที่เกี่ยวของผานบริการอื่นๆ ซึ่งประกอบดวย ทรูมูฟ ทรูมูฟ เอช และทรูออนไลนอีกดวย 4.6 ความคืบหนาดานการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โครงสรางการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมมีความคืบหนาขึ้นเปนลําดับ โดยมีพื้นฐานจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศนและกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ. 2543 และ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 อยางไรก็ตาม บริษัทฯ หวังวาจะไดเห็นความกาวหนาดานการกํากับดูแล ในประเด็นตางๆ ที่ยัง ไมคืบหนา ซึ่งประกอบดวย การออกใบอนุญาต 3G บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz การจัดสรรคลื่นความถี่ใหม (Re-farming) สําหรับคลื่นความถี่ที่ปจจุบันถูกใชงานโดยผูประกอบการภายใตสัญญาใหดําเนินการฯ โดย สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 36


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สัญญาดังกลาวนั้นใกลจะสิ้นสุดลง การใชระบบคาเชื่อมโยงโครงขาย หรือ IC กับผูใหบริการทุกราย และการ เพิ่มปริมาณการใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability - MNP) ตอ ผูประกอบการตอวัน ทั้งนี้ ในเดือนสิงหาคม 2550 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ภายหลังการ เปลี่ยนแปลงทางการเมือง โดยตัวบทกฎหมายและกฎเกณฑตางๆ ยังคงมีผลบังคับใช และในมาตรา 47 ของ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไดกําหนดใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (“คณะกรรมการ กสทช.”) ภายในเวลา 180 วัน นับตั้งแตรัฐบาลไดมีการแถลงนโยบาย ตอรัฐสภา ในเดือนธันวาคม 2553 พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (“พรบ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ”) ไดรับการประกาศ ลงในราชกิจจานุเบกษา และการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. แลวเสร็จในเดือนกันยายน 2554 ในวันที่ 5 มีนาคม 2551 พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน มี ผลบังคับใช โดยไดใหอํานาจคณะกรรมการ กทช. ในการออกใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชนชั่วคราว มีอายุไมเกิน 1 ป สําหรับผูประกอบการวิทยุกระจายเสียงชุมชนและกิจการที่ไมใชคลื่นความถี่ กอนจะมี การจัด ตั้ งคณะกรรมการ กสทช. โดยหลัก เกณฑการออกใบอนุญาตดัง กลา วได มี ผลบังคั บใช เ มื่อวั น ที่ 9 พฤศจิกายน 2552 และสามารถออกใบอนุญาตใหผูประกอบการรายเล็กไดในกลางป 2553 นับตั้งแตไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการ กทช. จนกระทั่งถึงปจจุบัน คณะกรรมการ กทช. ไดออก ประกาศ กฎเกณฑ ขอบังคับที่สําคัญๆ หลายฉบับ รวมทั้ง ประกาศคณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและ การเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งมีผลใหอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ของไทย ไดเขาสู ระบบเชื่อมโยงโครงขายนับตั้งแตป 2550 และทําใหการแขงขันระหวางผูประกอบการมีความเทาเทียมกัน มากขึ้น นอกจากนั้น ในเดือนสิงหาคม 2552 คณะกรรมการ กทช. ยังไดออกกฎเกณฑสําหรับบริการคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Number Portability - MNP) โดยเปดใหบริการในวงจํากัดในเขตกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 5 ธันวาคม 2553 และขยายบริการอยางตอเนื่องในป 2554 ทั้งนี้ ในเดือนกุมภาพันธ 2555 คณะกรรมการ กสทช. ไดมีคําสั่งใหผูใหบริการเพิ่มบริการ MNP เปนวันละ 40,000 เลขหมายตอผูใหบริการ ซึ่งบริษัทให การสนับสนุนคําสั่งนี้อยางเต็มที่ นอกจากนี้ ในไตรมาส 2 ของป 2553 คณะกรรมการ กทช. ไดเสนออัตราคาเชื่อมโยงโครงขาย ระหวางโทรศัพทพื้นฐาน และโทรศัพทเคลื่อนที่ โดยคิดคาเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทพื้นฐาน จากผูใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ในอัตรา 0.36 บาทตอนาที และคิดคาเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ จากผูใหบริการ โทรศัพทพื้นฐานในอัตรา 0.50 บาทตอนาที ทั้งนี้ กลุมทรู ซึ่งเปนหนึ่งในผูใหบริการโทรศัพทพื้นฐาน ไมเห็นดวย กับอัตราดังกลาว จึงยื่นฟองตอศาลปกครองในกรณีดังกลาว

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 37


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2552 คณะกรรมการ กทช. ไดดําเนินการเพื่อใหเกิดความคืบหนา ในเรื่องการจัดสรรคลื่น ความถี่ 3G ในยาน 2.1 GHz โดยพยายามจัดทําเอกสารขอสนเทศเพื่อกําหนดเงื่อนไขการจัดสรรคลื่นความถี่ IMT หรือ 3G and beyond และไดจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะ 2 ครั้ง เพื่อรวมรวมความคิดเห็น จากทุกฝายที่มีผลประโยชนเกี่ยวของในเรื่องนี้ โดยเอกสารขอสนเทศเพื่อกําหนดเงื่อนไขการจัดสรรคลื่น ความถี่ IMT หรือ 3G and beyond ไดประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาในเดือนกรกฎาคม 2553 ซึ่งสงผลให คณะกรรมการกทช. สามารถเปดรับสมัครผูสนใจเขารวมประมูลคลื่นความถี่ และเปนผูรับใบอนุญาต 3G ทั้งนี้ กลุมทรู ในฐานะผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่รายหลักของประเทศ ไดแสดงความประสงคจะเขารวม การประมูลครั้งนี้ เชนเดียวกับผูใหบริการรายอื่น คือ เอไอเอสและดีแทค เปน 3 บริษัทที่ผานขั้นตอนการ ตรวจคุณสมบัติขั้นแรกของคณะกรรมการ กทช. และมีสิทธิในการเขารวมประมูลคลื่นความถี่ซึ่งจัดขึ้นใน วันที่ 20 กันยายน 2553 อยางไรก็ตาม กอนจะมีการประมูลเพียงไมกี่วัน กสท ไดยื่นฟองศาลปกครองกลาง เพื่อขอใหมีคําสั่งเพิกถอนการเปดประมูลครั้งนี้ พรอมทั้งขอใหคุมครองชั่วคราว เนื่องจากเห็นวา คณะกรรมการ กทช.ชุดปจจุบันไมมีอํานาจจัดการประมูลดังกลาว ในวันที่ 16 กันยายน 2553 ศาลปกครองกลางรับคําฟอง คดี กสท และมีคําสั่งใหระงับการประมูลคลื่นความถี่ 3G ของ คณะกรรมการ กทช. การดําเนินขั้นตอนตางๆ เพื่อการจัดประมูลคลื่นความถี่และการออกใบอนุญาต 3G เริ่มขึ้นอีกครั้ง หลังการแตงตั้งคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนกันยายน 2554 โดยคณะกรรมการ กสทช. ไดมีการจัดทําราง แผนแมบทคลื่นความถี่แหงชาติ และไดจัดการรับฟงความคิดเห็นสาธารณะสําหรับแผนแมบทดังกลาว ในชวงตนป 2555 โดยคาดวาการประมูลคลื่นความถี่ 3G นาจะดําเนินการไดใน ป 2555

สวนที่ 1

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

หัวขอที่ 4 - หนา 38


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ภายใตการกํากับดูแล โดยคณะกรรมการ กทช. ซึ่งถือเปนการเปดเสรีธุรกิจตางๆโดยการออกใบอนุญาตให ผูประกอบการสามารถเปดใหบริการใหมๆ ไดเพิ่มเติม โดยกลุมทรูไดรับใบอนุญาตตางๆ ดังตอไปนี้ บริษัทยอย และบริษัทในเครือ ใบอนุญาตบริการอินเทอรเน็ต 1 บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด 2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด 3 บริษัท เอเชีย อินโฟเน็ท จํากัด 4 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด

ประเภท ใบอนุญาต 1 1 1 2

5 บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด (เดิมชื่อ ทรู ดิจิตอล 6 เอ็นเตอรเทนเมนท) 7 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด 8 บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

1 1

9

บริษัท เอเชีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด

1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด

3

10 11

บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด 13 บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด 12

1 1

3 3

14 บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด

1

15 บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด

3

16 บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียลอินเตอรเนต จํากัด

1

17 บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด 18 บริษัท เรียล มูฟ จํากัด

1 1

สวนที่ 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ISP ISP ISP บริการอินเทอรเน็ตเกตเวยระหวางประเทศ และบริการชุมสายอินเทอรเน็ต ISP บริการขายตอบริการอินเทอรเน็ต และ โทรศัพทเคลื่อนที่* บริการบัตรโทรศัพทระหวางประเทศ บริการโทรศัพทสาธารณะ บริการขายตอบริการโทรศัพทพื้นฐานใช นอกสถานที่ และโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการขายตอบริการอินเทอรเน็ต และ บริการ VDO Conference บริการขายตอบริการวงจรเชาสวนบุคคล ระหวางประเทศ บริการโทรศัพทระหวางประเทศ และ บริการเสริม บริการโทรศัพทประจําที่ และบริการเสริม บริการขายตอบริการโทรคมนาคมเพื่อ สาธารณะ บริการวงจร หรือ ชองสัญญาณเชา บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ บริการขายตอบริการวงจรเชาสวนบุคคล ระหวางประเทศ บริการขายตอบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่ บริการขายตอบริการโทรศัพทเคลือ่ นที่

TRUETF: การประกอบธุรกิจของแตละสายผลิตภัณฑ

อายุ วันที่ใบอนุญาต วันที่บอรดอนุมัติ ใบอนุญาต หมดอายุ 5 ป 5 ป 5 ป 5 ป

23 มิ.ย. 2552 18 ส.ค. 2552 5 ก.พ. 2553 19 พ.ค. 2554

22 มิ.ย. 2557 17 ส.ค. 2557 4 ก.พ. 2558 18 พ.ค. 2559

5 ป

25 ส.ค. 2552

25 ส.ค. 2557

5 ป

2 ส.ค. 2552

1 ส.ค. 2557

5 ป 5 ป

11 ต.ค. 2552 29 มิ.ย. 2552

10 ต.ค. 2557 28 มิ.ย. 2557

5 ป

23 ก.พ. 2553

22 ก.พ. 2558

5 ป

20 พ.ค. 2552

19 พ.ค. 2557

15 ป

11 พ.ย. 2552

10 พ.ย. 2567

20 ป

25 ม.ค. 2550

24 ม.ค. 2570

20 ป

8 ธ.ค. 2549

7 ธ.ค. 2569

5 ป

26 ส.ค. 2552

25 ส.ค. 2557

15 ป

23 ก.ย. 2552

22 ก.ย. 2567

5 ป

11 พ.ย. 2552

10 พ.ย. 2557

5 ป 5 ป

1 ธ.ค. 2553 16 ธ.ค. 2553

30 พ.ย. 2558 15 ธ.ค. 2558

หัวขอที่ 4 - หนา 39


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ สินทรัพยของบริษัทฯ และ บริษัทยอย ที่สําคัญ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ บริษั ทฯ ได จั ดประเภทของทรั พย สิ นที่ใชในการประกอบธุรกิ จ เปน 2 ประเภท คื อ อุ ปกรณ โครงขายและอุปกรณนอกระบบโครงขาย ภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน / สัญญาอนุญาตให ดําเนินการเฉพาะทรัพยสินที่เกี่ยวกับอุปกรณโครงขาย โทรศัพทพื้นฐาน 2.6 ลานเลขหมาย โทรศัพทพื้นฐานใช นอกสถานที่ PCT โทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร และระบบ HSPA บริการอินเทอรเน็ต และโทรทัศน ระบบบอกรับเปนสมาชิก บริษัทฯ และกลุมบริษัทฯ จะตองโอนใหกับ ทศท กสท และ อสมท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และวันที่ 31 ธันวาคม 2553 กลุมบริษัทฯ มีทรัพยสินทั้งสิ้น ดังตอไปนี้ หนวย : ลานบาท

ที่ดินและสวนปรับปรุง อาคารและสิ่งปลูกสราง อุปกรณระบบโทรศัพท อุปกรณโครงขายโทรศัพทเคลือ่ นที่ โทรศัพทสาธารณะ ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร ระบบเคเบิลทีวี งานระหวางกอสราง มูลคาตามบัญชีสุทธิ

สวนที่ 1

อุปกรณโครงขายสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท เฉพาะบริษัท 1,849 1,849 1,849 1,849 521 145 603 557 7,726 7,730 8,920 8,921 33,587 427 30,132 551 99 99 149 150 7,278 5,325 154 114 196 127 7,314 7,250 7,564 15 3,451 6 66,092 10,712 57,875 12,161

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 5 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มูลคาสุทธิของอุปกรณโครงขายในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทที่โอนให ทศท และ กสท ภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน / สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ มีดังตอไปนี้

ทศท กสท มูลคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท 8,325 7,782 10,459 18,784 7,782

หนวย : ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท 9,179 9,179 9,640 18,819 9,179

กลุมบริษัทฯ ไดรับสิทธิดําเนินการและใชประโยชนจากทรัพยสินนั้นตามระยะเวลาของสัญญา รวมการงานและรวมลงทุน / สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ บริษัทฯ ไดนําสิทธิในการใชที่ดิน อาคารและ อุปกรณ ที่โอนให ทศท (ตามสั ญญาโอนสิทธิเ รี ย กร องแบบมีเ งื่อ นไขเหนื อสั ญญาร ว มการงานฯ) เป น หลักประกันอยางหนึ่งสําหรับเงินกูยืมที่เปนสกุลบาททั้งหมดของบริษัทฯ สวนอุปกรณนอกระบบโครงขาย เปนกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัทฯ ซึ่งกลุมบริษัทฯ สามารถจําหนายจายโอนและใชประโยชนจากทรัพยสิน ดังกลาวได โดยมีรายละเอียดโดยสรุป ดังนี้ หนวย : ลานบาท อุปกรณนอกระบบโครงขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริษัท เฉพาะบริษัท 546 547 ที่ดินและสวนปรับปรุง 1,132 18 1,183 22 สวนปรับปรุงอาคารเชา 1,316 56 1,275 109 เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณสํานักงาน 3,312 3,609 รถยนต 943 91 715 69 อุปกรณไฟฟาและเครื่องคอมพิวเตอร 479 2 164 1 งานระหวางทํา 7,728 167 7,493 201 มูลคาตามบัญชีสุทธิ

คาความนิยม คาความนิยมเปนสวนของราคาทุนของเงินลงทุนของกลุมบริษัทฯ ในบริษัทรวมและบริษัทยอย ที่สูงกวามูลคายุติธรรมของสวนแบงสินทรัพยสุทธิของบริษัทรวมและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 11,403 ลานบาท แบงเปนคาความนิยมจากการซื้อกิจการในบริษัท ทรูวิชั่นส จํากัด (มหาชน) (“True Visions”) มียอดรวมสุทธิ 11,043 ลานบาท บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (“BITCO”) ไดตั้งสํารองการดอยคาเต็มจํานวน บริษัท เอ็มเคเอสซี เวิลดดอทคอม จํากัด (“MKSC”) มียอดรวมสุทธิ 313 ลานบาท และ บริษัท เคเอสซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด (“KSC”) มียอดรวมสุทธิ 47 ลานบาท สวนที่ 1

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 5 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สินทรัพยไมมตี ัวตน ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ตนทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนรายจายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรมคอมพิวเตอร เกินกวาประสิทธิภาพเดิมถือเปนสวนปรับปรุง และบันทึกรวมเปนราคาทุนของโปรแกรมคอมพิวเตอร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 2,267 ลานบาท สิทธิในการเชาระยะยาว สิทธิในการเชาระยะยาว เปนคาตอบแทนที่บริษัทฯ และบริษัทยอยไดจาย เพื่อไดรับสิทธิในการเชา พื้นที่ในอาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 70 ลานบาท สิทธิอื่น ๆ สิทธิอื่น ๆ เปนคาตอบแทนที่บริษัทยอยไดจาย เพื่อไดรับสิทธิในการใชประโยชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 17 ลานบาท คาสิทธิสําหรับรายการและภาพยนตรรอตัดบัญชี คาสิทธิสําหรับรายการและภาพยนตรเปนคาตอบแทนสิทธิและภาระผูกพันที่เกิดขึ้นภายใต สัญญาของบริษัทยอยเพื่อการไดรับสิทธิรายการและวัสดุรายการพรอมที่จะแพรภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 774 ลานบาท (รวมคาสิทธิที่ครบกําหนดชําระภายใน 1 ป) คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และคาสิทธิในการพาดสาย คาสิทธิในการใหบริการเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูง และการพาดสายกระจาย เปนรายจาย เพื่อใหไดมาซึ่งใบอนุญาตซึ่งแสดงดวยราคามูลคายุติธรรมของหุนที่ออกโดยบริษัทยอยเพื่อเปนการแลกกับ สิทธิดังกลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 203 ลานบาท สิทธิตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ สิทธิตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ แสดงดวยมูลคาปจจุบันของจํานวนผลประโยชนตอบแทน ขั้นต่ําที่ตองจายตลอดอายุของสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 3,772 ลานบาท สัญญาการใหบริการ สิทธิตามสัญญาการใหบริการ แสดงดวยมูลคาปจจุบันของจํานวนรายไดตามอายุของสัญญาที่ ตองจายตลอดอายุของสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยดังกลาวมีมูลคาตามบัญชีสุทธิ 313, 546 ลานบาท

สวนที่ 1

TRUETH: ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

หัวขอที่ 5 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. ขอพิพาททางกฎหมาย สรุปคดีและขอพิพาทที่สําคัญของบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และ บริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้ คดีฟองรองทีค่ างอยูที่ศาลปกครอง 1. ขอพิพาทเกี่ยวกับการติดรูปสัญลักษณของบริษัทฯ บนตูโทรศัพทสาธารณะ เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2547 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการจากการที่บริษัทฯ ติดรูปสัญลักษณของบริษัทฯ บนตูโทรศัพท สาธารณะเปนการไมปฏิบัติตามขอตกลงรวมกันระหวางบริษัทฯ กับ ทีโอที เรื่องโทรศัพทสาธารณะ ทีโอที เรียก คาเสียหายเปนจํานวนเงิน 433.85 ลานบาท เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคานตออนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 อนุญาโตตุลาการไดตัดสินชี้ขาดให ทีโอที ชนะคดีดังกลาว เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคานคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2551 ทีโอที ไดยื่น คํารองเพื่อใหศาลบังคับใหเปนไปตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ และใหบริษัทฯ ชดใชเปนจํานวนเงิน 150.00 ลานบาท และจายคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 90 บาทตอเดือน ตอตูโทรศัพทหนึ่งตู ตั้งแตวันที่ฟองรอง จนกวาบริษัทฯ จะหยุดใชตราสัญลักษณบนตูโทรศัพทสาธารณะ ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหรวมคดีกับ สํานวนคดีที่บริษัทฯ ขอใหศาลปกครองกลางเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลาง ไดกําหนดใหวันที่ 26 ธันวาคม 2551 เปนวันสิ้นสุดการแสวงหาขอเท็จจริง เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2552 ศาลปกครองกลางพิจารณาใหยกคํารองของบริษัทฯ และใหบังคับตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 61/2547 ขอพิพาทหมายเลขแดงที่ 77/2549 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 โดยใหบริษัทฯ ชําระเงินจํานวน 150 ลานบาท ภายใน 60 วันนับแตวันที่คดีถึงที่สุด และใหคืนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมดจํานวน 80,000 บาท ใหแก ทีโอที บริษัทฯ ไดดําเนินการยื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุดแลวเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 ขณะนี้คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด 2. เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554 บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) ไดยื่น คําฟองตอศาลปกครองกลาง เพื่อขอใหบริษัทฯ และ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) รวมกันชําระคาใชและ เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมจํานวน 3.28 พันลานบาท ขณะนี้คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้น บริษัทฯ จึงไมไดตั้งสํารอง สําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงินเวนแตตามที่ระบุไว ขอพิพาทที่ยงั คงคางอยู ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ 1. ขอพิพาทที่บริษัทฯ เปนผูเสนอ (1) ขอพิพาทเกีย่ วกับสวนแบงรายไดในสวนคาโทรศัพททางไกลตางประเทศ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2548 บริษัทฯ ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับเรื่อง การคํานวณสวนแบงรายไดที่เกิดจากคาโทรศัพททางไกลตางประเทศภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน บริษัทฯ ไดเรียกรองคาเสียหายสําหรับการที่ ทีโอที ไมสามารถคํานวณแยกคาสวนแบงรายไดที่ ทีโอที ไดรับ จากการใชโทรศัพทตางประเทศในสวนโครงขายของบริษัทฯ ออกจากสวนของโครงขาย ทีโอที เปนจํานวนเงิน 5,000.00 ลานบาท และคาเสียหายจากการคํานวณจํานวนเงินผิดพลาดอีก 3,407.68 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย ขณะนี้อยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(2) ขอพิพาทเกีย่ วกับสัญญาขอ 38 ของสัญญารวมการงาน เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับ เรื่องขอให ทศท. ระงับการใชอํานาจกํากับดูแลสัญญารวมการงาน และระงับการใชอํานาจตามสัญญา นับตั้งแตวันที่ สถานภาพ ทศท. เปลี่ยนแปลงไป และใหอํานาจกํากับดูแลเปนของกระทรวงคมนาคม หรือกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร คดีนี้เปนคดีไมมีทุนทรัพย ทศท. ไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ตอมาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรื่องการปฏิเสธ อํานาจกํากับดูแลของ ทศท. ตามขอ 38 ของสัญญารวมการงาน เปนคดีใหมอีกคดีหนึ่ง ขณะนี้อยูระหวาง กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (3) ขอพิพาทเกีย่ วกับสวนแบงรายไดคาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 บริษัทฯ ไดยื่นเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกรองใหทีโอที ชําระเงินที่เปนสวนแบงรายไดอันเกิดจากคาโทรศัพททางไกลระหวางประเทศเปนจํานวนเงิน 1,968.70 ลานบาท ซึ่ง ทีโอที นําสงสวนแบงรายไดดังกลาวขาดไป ไมเปนไปตามเงื่อนไขของอัตราสวนแบงรายไดที่ระบุไวในสัญญา โดยบริษัทฯ ไดรองขอใหอนุญาโตตุลาการพิจารณาวินิจฉัยสั่งการในเรื่องตอไปนี้ 1. ให ทีโอที ปฏิบัติตามสัญญารวมการงานฯ และขอตกลงเรื่องการจัดเก็บและแบงรายได โดยใหชําระสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศใหถูกตองครบถวน ตามเงื่อนไขของสัญญาขอตกลงดังกลาว 2. ให ทีโอที ชําระคาเสียหายใหแกบริษัทฯ เปนจํานวนเงิน 1,968.70 ลานบาท 3. ให ทีโอที คํานวณสวนแบงรายไดคาบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศโดยทั้งจาก การเรียกเขาและเรียกออกโดยใชอัตรา 6 บาทตอนาทีตามที่ระบุในสัญญามาเปนฐานใน การคํานวณสวนแบงรายไดนับแตเดือนกันยายน 2550 เปนตนไป 4. ให ทีโอที ชําระดอกเบี้ยที่เกี่ยวของตามสัญญาขอ 21 (อัตราเฉลี่ย MLR+1) หรือในอัตรา รอยละ 7.86 ตอปจากสวนแบงรายไดที่ ทีโอที คางชําระนับแตวันที่ยื่นคําเสนอขอพิพาท จนกวาจะชําระครบถวน เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 ทีโอที ไดยื่นคําคัดคาน ขณะนี้กรณีพิพาทอยูระหวางกระบวนการ ทางอนุญาโตตุลาการ 2. ขอพิพาทที่ ทีโอที เปนผูเสนอ (1) ขอพิพาทกรณีบริษัทฯ พิมพรูปสัญลักษณของบริษัทฯ บนใบแจงหนี้ ใบกํากับภาษี และ ใบเสร็จรับเงิน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2547 ทีโอทีไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรียกคาเสียหายจากการที่บริษัทฯ พิมพรูปสัญลักษณบนใบแจงหนี้และใบเสร็จรับเงินฉบับละ 4 บาท นับตั้งแตเดือนสิงหาคม 2544 จนถึง เดือนสิงหาคม 2547 เปนจํานวนเงิน 785.64 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย นอกจากนี้ในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ทีโอที ไดเรียกรองคาเสียหายอีกเปนจํานวนเงิน 106.80 ลานบาท สําหรับคาเสียหายเพิ่มเติม และ 1,030.50 ลานบาท สําหรับการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบใบแจงหนี้คาบริการเปนกระดาษขนาด A4 บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2548 ขณะนี้กรณีพิพาทอยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(2) ขอพิพาทเกี่ยวกับคาใชทอรอยสาย เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทใหบริษัทฯ ชําระเงินคาเชาทอรอยสาย ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2547 ถึง เดือนเมษายน 2548 เปนจํานวนเงิน 6.72 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย บริษัทฯ ได ยื่นคําคัดคาน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ (3) ขอพิพาทเกี่ยวกับเรื่องคาโทรศัพททางไกลในประเทศ TA 1234 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรียกรองคาเสียหายจากการสูญเสีย รายไดตั้งแตวันที่ 16 พฤศจิกายน 2543 ถึงเดือนมีนาคม 2548 เปนจํานวนเงิน 15,804.18 ลานบาทพรอมดอกเบี้ย อันเนื่องมาจากบริษัทฯ ลดคาบริการทางไกลในประเทศภายใตโครงการ TA 1234 และรองขอใหบริษัทฯ เรียกเก็บคาบริการทางไกลในประเทศตามอัตราที่ตกลงกันภายใตสัญญารวมการงานและรวมลงทุน ขณะนี้ อยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (4) ขอพิพาทเกี่ยวกับการใหบริการ ADSL เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2548 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทระบุวาบริษัทฯ ละเมิดขอตกลงใน สัญญารวมการงานฯ โดยใหบริการหรือยินยอมใหผูอื่นนําอุปกรณในระบบไปใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (ADSL) ทีโอที เรียกรองคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 2,010.21 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย นอกจากนี้ ทีโอที ยังเรียกรองใหบริษัทฯ ชําระคาเสียหายตอเนื่องจากเดือนกรกฎาคม 2548 อีกเดือนละ 180.00 ลานบาท พรอม ดอกเบี้ย และขอใหบริษัทฯ ระงับการใหบริการหรืออนุญาตใหผูอื่นใหบริการ ADSL ขณะนี้อยูระหวาง กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (5) ขอพิพาทเกี่ยวกับสวนแบงรายไดตามสัญญารวมการงานฯ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 ทีโอที ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกคืนสวนแบง รายไดที่บริษัทฯ ไดรับเกินกวาสิทธิที่พึงจะไดรับจํานวน 1,479.62 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย บริษัทฯ ไดยื่น คําคัดคานเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ขณะนี้อยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ขอพิพาทที่คางอยูที่สถาบันอนุญาโตตุลาการดังกลาวขางตนไดถูกเสนอใหมีการเจรจาไกลเกลีย่ โดยสํานักงานอนุญาโตตุลาการ แตเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2550 คูกรณีทั้งสองฝายไดยกเลิกการไกลเกลี่ยและ ไดนําขอพิพาทเขาสูกระบวนการอนุญาโตตุลาการตามเดิม (6) ขอพิพาทเกี่ยวกับคาตอบแทนการใช Gateway สําหรับบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2554 ทีโอที ไดเสนอขอพิพาทกับบริษัทฯ ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ เรียกรองใหบริษัทฯ ชําระเงินจํานวน 91.88 ลานบาทรวมภาษีมูลคาเพิ่มและดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นเปนคาตอบแทนการ ใช Gateway สําหรับบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศโดยใชรหัส 007 สําหรับงวดระหวาง เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ถึงเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2554 และเรียกรองดอกเบี้ยเพิ่มเติมจนกวาการชําระจะเสร็จสิ้น นอกจากนี้ ยั งเรี ยกร องให ชํ าระเงิ นตามใบแจ งหนี้ ประจํ าเดื อน มิ ถุ นายน พ.ศ. 2554 บวกดอกเบี้ ยและ ภาษีมูลคาเพิ่มที่เกิดขึ้น ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 บริษัทฯ ไดตั้งคางจายคาใชจายดังกลาวไวเปนจํานวน 72.62 ลานบาท ขอพิพาทดังกลาวขณะนี้อยูระหวางกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้น บริษัทฯ จึงไมไดบันทึก รายไดหรือไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงินนอกจาก ตามที่ระบุไว สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. การประเมินภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2549 บริษัทฯ ไดรับแจงเรื่องการประเมินภาษีสรรพสามิตจากกรมสรรพสามิต ใหบริษัทฯ ชําระเบี้ยปรับและเงินเพิ่มของภาษีสรรพสามิต ตั้งแตเดือนมกราคม 2548 ถึง เดือนมีนาคม 2548 ที่นําสงลาชากวากําหนดเปนจํานวนเงิน 185.87 ลานบาท เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําขอ ทุเลาการชําระภาษีสรรพสามิตตามคําสั่งทางปกครอง และตอมาเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2549 บริษัทฯ ไดยื่น คําคัดคานการประเมินดังกลาว ตอมาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 อธิบดีกรมสรรพสามิตไดวินิจฉัยใหยกคําคัดคาน การประเมิน เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2550 บริษัทฯ ไดยื่นอุทธรณคัดคานคําวินิจฉัยและใหเพิกถอนคําวินิจฉัย ดังกลาวตอคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ ตอมาเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ ไดวินิจฉัยยกอุทธรณของบริษัทฯ และใหบริษัทฯ ชําระภาษีสรรพสามิตตามคําวินิจฉัยคําคัดคานการประเมิน ภาษีสรรพสามิต จํานวน 185.87 ลานบาท เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 บริษัทฯ ไดยื่นฟองขอเพิกถอนคําวินิจฉัย ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณตอศาลภาษีอากรกลาง เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ศาลภาษีอากรกลาง ไดมีคําพิพากษาใหงดเบี้ยปรับทั้งหมด อยางไรก็ดี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 บริษัทฯ ไดยื่นอุทธรณในประเด็นอื่น ที่เปนผลจากการตัดสิน ขณะนี้คดีกําลังอยูระหวางกระบวนการพิจารณาอุทธรณ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริษัทฯ ไดยื่นฟองกรมสรรพสามิตตอศาลภาษีอากรกลาง เพื่อขอให พิจารณาพิพากษาใหคืนเงินคาภาษีสรรพสามิตตั้งแตรอบเดือนภาษีมกราคม 2548 ถึงรอบเดือนภาษีธันวาคม 2548 จํานวน 372.02 ลานบาท ที่บริษัทฯ ไดนําสงไปโดยไมมีหนาที่ตองนําสงและไดยื่ นขอคืนจากกรม สรรพสามิ ต แล ว แต ก รมสรรพสามิ ต ปฏิ เ สธที่ จ ะจ า ยคื น เมื่ อ วั น ที่ 29 ตุ ล าคม 2551 ศาลพิ พ ากษาว า กรมสรรพสามิตจําเลยไมมีหนาที่คืนคาภาษีสรรพสามิตพรอมดอกเบี้ยใหแกโจทกตามฟอง จึงพิพากษายกฟอง ขณะนี้ คดีกําลังอยูระหวางกระบวนการอุทธรณ เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ 2552 บริษัทฯ ไดยื่นคํารองตออธิบดีกรมสรรพสามิต เพื่อขอคืนภาษี สรรพสามิต สําหรับรอบเดือนภาษีมกราคม 2549 ถึงเดือนกุมภาพันธ 2550 เปนจํานวนเงินรวม 348.87 ลานบาท ที่บริษัทฯ นําสงโดยไมมีหนาที่ตองนําสง เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2552 กรมสรรพสามิตไดปฏิเสธคํารองขอคืนภาษีสรรพสามิตดังกลาว และเมื่อ วันที่ 13 พฤษภาคม 2552 บริษัทฯ ไดยื่นอุทธรณคําสั่งปฏิเสธของกรมสรรพสามิต ขณะนี้เรื่องกําลังอยูระหวาง การพิจารณาอุทธรณที่กรมสรรพสามิต ผลที่สุดของคดีความดังกลาวไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทฯ จึงไมไดตั้งสํารอง สําหรับผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากผลของคดีความดังกลาวไวในงบการเงิน 4. คดีฟองรองและขอพิพาทของบริษัทยอย (1) เมื่ อเดื อ นมี นาคม 2548 ตัว แทนใหบริก ารจํ า หนา ยสั ญ ญาณของบริษั ทยอ ยแหง หนึ่ ง คื อ บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) ซึ่งไดถูกยกเลิกสัญญาไปแลว ไดฟองบริษัทยอยดังกลาวเพื่อเรียกรองให

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชดเชยคาเสียหายเปนจํานวนเงินสูงสุด 300.00 ลานบาท โดยกลาวหาวาบริษัทยอยดังกลาวผิดเงื่อนไขตาม สัญญาบอกรับการเปนสมาชิกประเภทโครงการแบบเหมาจาย (“CMDU”) ตอมาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2551 ศาลแพงไดตัดสินโดยพิพากษาใหบริษัทยอยเปนฝายชนะคดีใหยกฟองของโจทกและมีคําสั่งใหโจทกชําระเงิน จํานวน 1.66 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป นับจากวันฟองแยงจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น ขณะนี้คดีอยู ระหวางกระบวนการพิจารณาอุทธรณ (2) เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2549 กสท ไดยื่นฟองบริษัทยอย แหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอศาลปกครองกลาง เพื่อขอใหชําระคาใชพื้นที่อาคารและเสาอากาศจํานวนเงิน 12.48 ลานบาท และเมื่อ วันที่ 21 มกราคม 2552 ศาลปกครองกลางไดยกฟอง โดยบริษัทยอยไมมีหนาที่ตองชําระเงินจํานวนดังกลาว ให กสท อยางไรก็ตาม กสท ไดยื่นอุทธรณเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552 และ บริษัทยอยไดยื่นคัดคานคําอุทธรณ ไปเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2552 ขณะนี้คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด (3) เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2549 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอยชําระคาธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมเปน จํานวนเงิน 113.58 ลานบาท ตอมาเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2551 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดใหบริษัท ยอยชําระเงินให กสท จํานวน 99.60 ลานบาท (ไมรวมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป) บริษัทยอยไดรับทราบคําชี้ขาด เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2551 และบริษัทยอยไดดําเนินการคัดคานคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการตอ ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองกลางได มี คํ าพิ พากษาเมื่ อวั นที่ 23 กุ มภาพั นธ 2554 ว าคํ าชี้ ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการไมชอบดวยกฎหมายซึ่งการยอมรับหรือบังคับตามคําชี้ขาดนั้นจะเปนการขัดตอความสงบ เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ศาลจึงมีคําสั่งเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2554 กสท ไดอุธรณคําสั่งดังกลาวตอศาลปกครองสูงสุด ตอมาเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2554 กสท ไดยื่นคํารองตอศาลปกครองกลางเพื่อขอใหบังคับตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการใหบริษัทยอย ชําระเงินแก กสท ซึ่งบริษัทยอยจะเตรียมการโตแยงคํารองดังกลาวเนื่องจากคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ไดถูกเพิกถอนไปแลวโดยคําสั่งศาล และขณะนี้กําลังอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด กสท ไมสมควรที่จะยื่นคํารองดังกลาว คดีอยูระหวางกระบวนการพิจารณาของศาล (4) เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2549 บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ไดถูกฟองคดีแพง โดยบุคคลกลุมหนึ่ง โดยเรียกรองคาเสียหายเปนจํานวน 44.37 ลานบาท เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2550 คดีดังกลาว ไดมีการถอนฟองออกไปคงเหลืออยูเพียงคดีเดียว คาเสียหายที่เรียกรองคงเหลือเปนจํานวนเงิน 7.00 ลานบาท ซึ่งศาลไดมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2554 ใหบริษัทยอยชําระเงินใหแกผูเสียหายเปนเงินรวมทั้งสิ้น 1.06 ลานบาท (ไมรวมดอกเบี้ยผิดนัด) คดีอยูระหวางดําเนินการอุทธรณตอศาลอุทธรณภาค 4 (5) เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2550 กสท ไดมีหนังสือถึงธนาคารสี่แหงซึ่งเปนผูออกหนังสือค้ําประกัน ใหกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด เรียกรองใหธนาคารทั้งสี่แหงจายชําระเงินจํานวน

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

370.00 ลานบาท แทนบริษัทยอย โดยกลาวหาวาบริษัทยอยแหงนั้นไมปฏิบัติตามสัญญา กรณีนี้ สืบเนื่องมาจาก กรณีพิพาทที่ กสท ไดนําเสนอสูสถาบันอนุญาโตตุลาการและคดียังอยูระหวางการดําเนินการของอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2550 บริษัทยอยแหงนั้นไดยื่นคํารองตอศาลแพงและศาลปกครองกลางเพื่อขอใหศาล มีคําสั่งการคุมครองเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราว และมีคําสั่งให กสท ระงับการใชสิทธิเรียกรองและใหทั้งสี่ธนาคาร ระงับการชําระเงินตามหนังสือค้ําประกันไวจนกวาจะมีคําชี้ขาดจากอนุญาโตตุลาการ ศาลทั้งสองไดตัดสิน และมีคําสั่งในทางเปนประโยชนตอบริษัทยอยดังกลาว เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2550 บริษัทยอยไดยื่นคําเสนอ ขอพิพาทเรื่องนี้ตออนุญาโตตุลาการ และขณะนี้คดีอยูระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (6) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 กสท ไดยื่นเสนอขอพิพาทกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอยแหงนั้นจายชําระคาสวนแบงรายไดที่สงขาดไป รวมค า ปรั บ และดอกเบี้ ย จํ า นวนรวมทั้ ง สิ้ น 8,969.08 ล า นบาท เมื่ อ วั น ที่ 16 กั น ยายน พ.ศ. 2554 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําวินิจฉัยชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาทดังกลาว เปนผลทําใหบริษัทยอยแหงนั้น ไม ต อ งชํ า ระผลประโยชน ต อบแทนตามคํ า เรี ย กร อ งดั ง กล า ว กสท ได ยื่ น คํ า ร อ งขอเพิ ก ถอนคํ า ชี้ ข าด อนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 และบริษัทยอยตองดําเนินการทําคําคัดคาน คํารองยื่นตอศาลปกครองกลาง (7) เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2551 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกรองให บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระสวนแบงรายไดเพิ่มเติมจํานวน 45.95 ลานบาท ขณะนี้ คดีกําลังอยูในกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (8) เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2551 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกรองให บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระคาเชื่อมโยงโทรศัพทเคลื่อนที่ที่บริษัทยอยหักออกจาก ผลประโยชนตอบแทนของปดําเนินการที่ 7 ถึงปที่ 11 (หักสวนลดคาแอสเสสชารจ จํานวน 22 บาทตอเลขหมาย) เปนจํานวนเงิน 689.84 ลานบาท เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2553 กสท ไดยื่นขอเสนอขอแกไขจํานวนเงินเรียกรอง จาก 689.84 ลานบาท เปน 1,379.68 ลานบาท เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2553 คณะอนุญาโตตุลาการไดทําคําชี้ขาด ใหยกคําเสนอขอพิพาทของ กสท และเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553 กสท ไดยื่นคํารองตอศาลปกครองกลางเพื่อ ขอใหเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (9) เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการ เรียกรองให บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด สงมอบและโอนกรรมสิทธิ์เสาอากาศและอุปกรณเสาอากาศ จํานวน 4,546 ตน ให กสท หากบริษัทยอยไมสามารถสงมอบและโอนกรรมสิทธิ์ในเสาดังกลาวได ไมวา ดวยเหตุใดๆ ใหบริษัทยอยชําระคาเสียหาย เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 2,766.16 ลานบาท บริษัทยอยแหงนั้นได ยื่นคัดคานคําเสนอขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2552 คดีอยูระหวางกระบวนการ ทางอนุญาโตตุลาการ

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(10) เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตออนุญาโตตุลาการเรียกรอง ใหบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระคาธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษสี่หลัก เลขหมาย 1331 เปนจํานวนเงิน 3.96 ลานบาทพรอมดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป ภาษีมูลคาเพิ่มและคาปรับ รอยละ 1.25 ตอเดือน ของยอดเงินคาธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษ นับแตวันที่ กสท ไดชําระ ใหแก กทช. จนกวาบริษัทยอยแหงนั้นจะชําระใหแก กสท บริษัทยอยแหงนั้นไดยื่นเสนอคําคัดคานเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 ขณะนี้กําลังอยูในกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (11) เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2553 บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (“AIS”) ได ยื่นคําเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ เพื่อขอใหอนุญาโตตุลาการมีคําวินิจฉัยใหบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมที่ยังคงคางชําระจํานวน 88.60 ลานบาท ขณะนี้ขอพิพาทอยูระหวางการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ (12) เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2554 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มู ฟ จํ า กั ด ต อ สถาบั น อนุ ญ าโตตุ ล าการ เพื่ อ เรี ย กร อ งให บ ริ ษั ท ย อ ยแห ง นั้ น นํ า หนั ง สื อ ค้ํ า ประกั น ผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําวงเงิน 646.00 ลานบาทและ 679.00 ลานบาทรวมทั้งสิ้น 1,325.00 ลานบาท มาวางค้ําประกันการดําเนินงาน เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2554 บริษัทยอยไดทําการฟองแยงในคดีดังกลาว ให กสท คืนหนังสือค้ําประกันผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําของปดําเนินการที่ 11 ถึงปที่ 13 และ เรียกรองคาเสียหาย จาก กสท เปนเงินทั้งสิ้น 56.19 ลานบาท ขณะนี้ขอพิพาทอยูระหวางการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ (13) เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554 กสท ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทเรียกรองใหบริษัทยอย คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ชําระคาผลประโยชนตอบแทนใหครบถวนจํานวน 11,946.15 ลานบาท ขณะนี้คดีอยู ระหวางกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (14) บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด ในฐานะจําเลยรวม โดยบุคคลธรรมดาไดฟองตอศาลแพงในคดีละเมิดสัญญานายหนา เรียกรองคาเสียหายจํานวน 438.58 ลานบาท ขณะนี้คดีอยูในกระบวนการพิจารณาของศาลฎีกา (15) เมื่อวัน ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และวัน ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2552 กสท ไดยื่ นคํารองต อ อนุญาโตตุลาการเรียกรองใหบริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด จายชําระ สวนแบงรายไดที่จายขาดไปตามสัญญาบริการดานการตลาดระบบเซลลูลาร ดิจิตอล แอมป 800 แบนด เอ จํานวนเงิน 1,445.00 ลานบาท ขณะนี้คดีอยูระหวางการระงับกระบวนพิจารณาไวชั่วคราวและจําหนายคดี จากสารบบความ ซึ่งปจจุบันยังไมมีความคืบหนามากกวานี้ ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนยังไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นกลุมบริษัทฯ จึงไมได ตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สัญญาอนุญาตใหดําเนินการของบริษัทยอย ในเดือนพฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีความเห็นวาสัญญาอนุญาตใหดําเนินการใหบริการ วิ ทยุ คมนาคมระบบเซลลู ล าร ระหว าง กสท กั บบริ ษั ทย อย อาจต องผ านการอนุ มั ติ จากคณะรั ฐมนตรี ตาม พระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ ซึ่ง กสท ไมไดดําเนินการตามนั้น อาจสงผลในทางเสี ย หายต อสถานะของบริษั ทยอย ที่ปรึ ก ษากฎหมายของกลุ ม บริ ษั ทฯ มี ค วามเห็ น ว า ตามหลักกฎหมายแลว ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาไมมีผลผูกพันทางกฎหมายตอบริษัทยอย ดังนั้น บริษัทยอยจึงสามารถประกอบธุรกิจใหบริการภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ตอไปได คาแอสเสสชารจ กลุมบริษัทฯ มีคดีความเกี่ยวกับคาแอสเสสชารจ ที่อยูในระหวางการพิจารณาและยังไมทราบผล ของคดีความดังนี้ 1. คาแอสเสสชารจของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2545 บริษัทฯ ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการเกี่ยวกับ กรณีพิพาทที่เกิดจากสัญญารวมการงานฯ ระหวางบริษัทฯ กับ ทีโอที ตามสัญญารวมการงานฯ ระบุไววาบริษัทฯ มีสิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทนจากการที่ ทีโอที นําบริการหรืออนุญาตใหบุคคลที่สามใหบริการพิเศษบน โครงขาย ทีโอที ไดอนุญาตให กสท และผูใหบริการโทรคมนาคมรายอื่นใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนโครงขาย และไดรับคาเชื่อมโยงโครงขายจาก กสท และผูใหบริการโทรคมนาคมรายอื่น อยางไรก็ตาม ทีโอที เห็นวาบริการดังกลาว ไมไดเปนบริการพิเศษ ดังนั้นจึงปฏิเสธที่จะจายผลตอบแทนในสวนของบริษัทฯ ดังกลาว ดังนั้นบริษัทฯ จึงขอให อนุญาโตตุลาการชี้ขาดให ทีโอที จายสวนแบงในสวนของบริษัทฯ สําหรับคาเชื่อมโยงโครงขายที่ ทีโอที ไดรับ นับตั้งแตเดือนตุลาคม 2535 ถึงเดือนมิถุนายน 2546 เปนจํานวนเงิน 25,419.40 ลานบาท เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2549 คณะอนุญาโตตุลาการไดสงคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 17 มกราคม 2549 มายังบริษัทฯ คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดโดยเสียงขางมาก ซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ 1) ใหบริษัทฯ มีสิทธิรับผลประโยชนจากการที่ ทีโอที นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขาย ของบริษัทฯ หรือการที่ ทีโอที อนุญาตใหบุคคลอื่น นําบริการพิเศษมาใชผานโครงขายของ บริษัทฯ 2) สําหรับผลประโยชนนับตั้งแตเริ่มตนจนถึงวันที่ 22 สิงหาคม 2545 ให ทีโอที ชําระเงิน จํานวน 9,175.82 ลานบาท พรอมดวยดอกเบี้ยอัตรารอยละ 7.5 ตอปของเงินจํานวนดังกลาว นับตั้งแตวันที่ 22 สิงหาคม 2545 ใหแกบริษัทฯ จนกวา ทีโอที จะชําระเสร็จสิ้นให ทีโอที ชําระเงินตามคําชี้ขาดขอนี้ใหแกบริษัทฯ ภายใน 60 วันนับตั้งแตวันที่ไดรับคําชี้ขาด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ทีโอที ยังไมไดชําระเงินตามคําชี้ขาดดังกลาว ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 มีมูลคารวม 15,620.26 ลานบาท

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3) สําหรับผลประโยชนตั้งแตวันที่ 23 สิงหาคม 2545 เปนตนไป ให ทีโอที แบงผลประโยชน ตอบแทนใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 50 ของผลประโยชนที่ ทีโอที ไดรับจริง เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 ทีโอที ยื่นคํารองตอศาลปกครองกลางเพื่อขอเพิกถอนคําชี้ขาดของ อนุญาโตตุลาการ ตอมาเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 บริษัทฯ ไดยื่นคําคัดคานตอศาลปกครองกลางและศาลปกครองกลาง ไดรับเรื่องไวแลวเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549 และเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริษัทฯ ไดขอใหมีการบังคับ ตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหรวมคดีที่ ทีโอที เปนผูรองเพื่อขอใหศาล เพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการมาพิจารณาพรอมกัน ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 2. คาแอสเสสชารจของบริษัทยอย เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2549 บริษัทยอยแหงหนึ่ง คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด ไดสงจดหมายถึง ทีโอที ใหเขารวมเจรจาเกี่ยวกับสัญญาการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (“IC”) ระหวางโครงขายของบริษัทยอย และโครงขายของ ทีโอที ตอมาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 บริษัทยอยไดสงหนังสือแจง ทีโอที และ กสท เพื่อแจงวาจะหยุดชําระคาแอสเสสชารจ (“Access Charge”) ภายใตสัญญาเชื่อมตอโครงขาย (“สัญญา AC”) เนื่องจากอัตราและการเรียกเก็บคาแอสเสสชารจภายใตสัญญา AC ขัดแยงกับกฎหมายหลายประการ บริษัทยอย ไดรองขอให ทีโอที เขารวมลงนามในสัญญา IC กับบริษัทยอยเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายหรือใหเรียกเก็บ อัตราเรียกเก็บชั่วคราวที่ประกาศโดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (“กทช.”) ขณะที่การเจรจา เรื่องการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมกับ ทีโอที ยังไมมีขอยุติ อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอที ไดสงหนังสือเพื่อแจงวาบริษัทยอยดังกลาว ไมมีสิทธิที่จะใชและเชื่อมตอโครงขายของบริษัทยอยกับโครงขายของ ทีโอที เนื่องจากบริษัทยอยแหงนั้น ไมไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมซึ่งออกโดย กทช. และไมมีโครงขายโทรคมนาคมเปนของ ตนเอง ทีโอที โตแยงวาสัญญา AC ไมไดฝาฝนกฎหมายใดๆ ดังนั้น อัตราและการเรียกเก็บคาแอสเสสชารจ ภายใตสัญญา AC ยังคงมีผลใชบังคับตอไป เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2550 บริษัทยอยดังกลาวไดยื่นขอพิพาทเขาสูกระบวนการระงับขอพิพาท ตามประกาศของคณะกรรมการ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (IC) เพื่อขอให คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท (“กวพ.”) มีคําวินิจฉัยให ทีโอที ดําเนินการทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายฯ (IC) กับบริษัทยอย กวพ. มีคําวินิจฉัยและ กทช. มีคําชี้ขาดวา บริษัทยอยมีสิทธิที่จะเขาเจรจาทําสัญญา เชื่อมตอโครงขายฯ (IC) กับ ทีโอที เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 และวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 ตามลําดับ ตอมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอที ไดตกลงที่จะเขาเจรจาทําสัญญาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม (IC) กับบริษัทยอยแลว แตมีเงื่อนไขวา จะทําสัญญาเฉพาะกับเลขหมายใหมที่บริษัทยอยไดรับจัดสรรจาก กทช. เท า นั้ น บริ ษั ท ย อ ยดั ง กล า วได ต กลงตามที่ ที โ อที เสนอ แต สํ า หรั บ เลขหมายเก า นั้ น บริ ษั ท ย อ ยยั ง คง ดําเนินการใหเปนเรื่องของขอพิพาทและอยูในดุลยพินิจของศาลแพงตอไป

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอที ไดยื่นฟองบริษัทยอยตอศาลแพง ฐานผิดสัญญาเชื่อมโยง โครงขาย (ขอตกลง) และเรียกรองใหบริษัทยอยชําระคาแอสเสสชารจที่คางชําระ พรอมดอกเบี้ยและภาษีมูลคาเพิ่ม เปนจํานวนเงิน 4,508.10 ลานบาท เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ศาลแพงและศาลปกครองกลางมีความเห็น พองกันวาคดีดังกลาวอยูในเขตอํานาจศาลปกครอง ดังนั้น ศาลแพงจึงจําหนายคดีออกจากศาลแพง เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ทีโอที ไดยื่นฟอง กสท รวมกับบริษัทยอย เรียกรองใหชําระ คาเชื่อมโยงโครงขายจํานวนเงิน 41,540.27 ลานบาท ขณะนี้คดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ถาบริษัทยอยตองชําระคาแอสเสสชารจ บริษัทยอยอาจตองบันทึกคาแอสเสสชารจ เปนคาใชจาย และคาใชจายคางจายเพิ่มเติม สําหรับระยะเวลาตั้งแตวันที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้ ผลกระทบสุทธิตอ กําไรหรือขาดทุนรวม ซึ่งสุทธิจากเงิน คาแอสเสสชารจ สวนแบงรายไดที่จาย คางจาย ใหแก กสท (ลานบาท) (ลานบาท) สําหรับระยะเวลา ตั้งแตวนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 20,049.81 14,965.71 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 5,724.49 4,198.91 รวม 25,774.30 19,164.62 ฝายบริหารและที่ปรึกษากฎหมายมีความเห็นวา บริษัทยอยแหงนั้น ไมมีภาระผูกพันที่จะตอง จายคาแอสเสสชารจขางตน ผลที่สุดของคดีความดังกลาวขางตนไมสามารถคาดการณไดในขณะนี้ ดังนั้นบริษัทฯ และบริษัทยอย จึงไมไดบันทึกรายไดและไมไดตั้งสํารองสําหรับผลเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดังกลาวไวในงบการเงิน

สวนที่ 1

TRUETJ: ขอพิพาททางกฎหมาย

หัวขอที่ 6 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. โครงสรางเงินทุน 7.1 หลักทรัพยของบริษัทฯ (ก) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 153,332,070,330 บาท แบงออกเปนหุนสามัญ จํานวน 15,333,207,033 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลว จํานวน 77,757,424,030 บาท แบงออกเปน หุนสามัญจํานวน 7,775,742,403 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ในระหวางป 2554 บริษัทฯ ไดทําการจัดสรรหุนสามัญใหมจากการเพิ่มทุนใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวน การถือหุน มีผลการจองซื้อเปนจํานวน 6,727,436,748 หุน บริษัทฯ ไดรับชําระคาหุนเพิ่มทุนดังกลาว และได จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชําระแลวตอกระทรวงพาณิชยเปนที่เรียบรอยแลว ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 153,332,070,330 บาท แบงออกเปน หุนสามัญจํานวน 15,333,207,033 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยมีทุนที่เรียกชําระแลว จํานวน 145,031,791,510 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 14,503,179,151 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ตลาดรองของหุนสามัญในปจจุบัน หุนสามัญของบริษัทฯ สามารถทําการซื้อขายไดในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพยฯ”) (ข) เอ็นวีดีอาร (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) NVDR หรือใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิงไทย เปนตราสารที่ออกโดย “บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด” (Thai NVDR Company Limited) ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จัดตั้งขึ้น NVDR มีลักษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุนใน NVDR จะ ไดรับสิทธิประโยชนทางการเงินตาง ๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัทฯ แตไมมีสิทธิในการออกเสียง ในที่ประชุมผูถือหุน ณ วันที่ 12 เมษายน 2554 ปรากฏชื่อ บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ถือหุนในบริษัท จํานวน 190.57 ลานหุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 2.45 ของหุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมดของบริษัทฯ (ค) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ (“ใบสําคัญแสดงสิทธิ”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งสิ้น จํานวน 3 โครงการ ในระหวางป 2554 ใบสําคัญแสดงสิทธิไดหมดอายุลง จํานวน 1 โครงการ ดังนี้ โครงการ ESOP 2005 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหารภายใตโครงการ ESOP 2005 มียอดคงเหลือจํานวน 18,774,429 หนวย โดยใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญ 1 หนวย สามารถซื้อหุนสามัญของบริษัทฯได 1 หุน ในราคาใชสิทธิ 9.75 บาทตอหุน ใบสําคัญแสดงสิทธิ ดังกลาวไดหมดอายุลง เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2554 สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ มีใบสําคัญแสดงสิทธิที่ยังไมหมดอายุจํานวน 2 โครงการ ดังนี้ 1) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร ภายใตโครงการ ESOP 2007 2) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร ภายใตโครงการ ESOP 2006 โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) โครงการ ESOP 2007 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2550 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 และที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2550 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร (“ESOP 2007”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้: จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 38,000,000 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 15 พฤษภาคม 2551

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 14 พฤษภาคม 2556

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรบั ใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนพฤษภาคม 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนกุมภาพันธ 2552 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนกุมภาพันธ 2553 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

สวนที่ 1

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 7.00 บาท TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2)

โครงการ ESOP 2006 ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2549 วันที่ 11 เมษายน 2549 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและพนักงานในระดับ ผูบริหาร (“ESOP 2006”) โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี:้ จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิทั้งหมด ที่ออกและคงเหลือ

: 36,051,007 หนวย

วันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 31 มกราคม 2550

อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปนับจากวันที่ออก

วันหมดอายุใบสําคัญแสดงสิทธิ

: 30 มกราคม 2555

ระยะเวลาการใชสิทธิ

: ผูที่ไดรับการจัดสรรจะไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบับ แตละฉบับมีสัดสวนเทากับ 1 ใน 3 ของจํานวนหนวยของ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่บุคคลดังกลาวไดรับการจัดสรรทั้งหมด โดยใบสําคัญแสดงสิทธิแตละฉบับมีระยะเวลาการใชสิทธิ ดังนี้ ฉบับที่ 1 ใชสิทธิซื้อหุนสามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2550 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 2 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2551 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 3 ใชสิทธิซื้อหุน สามัญครั้งแรกไดตั้งแตวนั ทําการสุดทาย ของเดือนเมษายน 2552 เปนตนไป จนกวาจะครบอายุ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ราคาและอัตราการใชสิทธิ

: ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิในการซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคา 10.19 บาท

พันธะการออกหุนในอนาคต 1) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2000 ตามที่ ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2543 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2543 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออก ใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ออกไมเกิน 58,150,000 หนวย

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 58,150,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาว ไดหมดอายุลงแลวเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2553 ดังนั้น หุน ที่สํารองไว เพื่อการนี้ จะถูกยกเลิกตามขัน้ ตอนทางกฎหมายในอนาคต 2) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2004 ตามที่ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 3/2547 เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2547 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออก ใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารจํานวนไมเกิน 35 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ออกไมเกิน 19,111,159 หนวย (ซึ่งเปนมติของที่ประชุมผูถือหุนที่ทดแทนมติเดิมของที่ประชุมวิสามัญครั้งที่ 2/2547 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547) ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 19,111,159 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาว ไดหมดอายุลงแลวเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ 2553 ดังนั้น หุนที่สํารองไว เพื่อการนี้ จะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต 3) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2005 ตามที่ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2548 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2548 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออก ใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 18,774,429 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 18,774,429 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาว ไดหมดอายุลงแลวเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2554 ดังนั้น หุนที่สํารองไว เพื่อการนี้ จะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต 4) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2006 ตามที่ ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2549 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2549 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออก ใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 36,051,007 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 36,051,007 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาว ไดหมดอายุลงแลวเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2555 ดังนั้น หุนที่สํารองไว เพื่อการนี้ จะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5) เพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกตามโครงการ ESOP 2007 ตามที่ ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2550 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 และที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2550 ไดมีมติใหบริษัทฯ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกกรรมการและ พนักงานในระดับผูบริหาร จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกไมเกิน 38,000,000 หนวย ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 38,000,000 หุน สํารองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิตามโครงการดังกลาว 6) เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวนการถือหุน ตามที่ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 ไดมีมติอนุมัติการจัดสรร หุนสามัญใหมจากการเพิ่มทุน จํานวน 10,000,000,000 หุน เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมตามสัดสวนการ ถือหุน (Rights Offering) บริษัทฯ ไดดําเนินการรับจองซื้อหุนสามัญใหมดังกลาว 2 ครั้ง คือ ระหวางวันที่ 2 ถึง 6 กุมภาพันธ 2552 และระหวางวันที่ 30 พฤษภาคม ถึง 3 มิถุนายน 2554 โดยมีผลการจองซื้อหุนรวม จํานวน 9,999,999,996 หุน ดังนั้น จึงมีหุนคงเหลือจากการเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิม จํานวน 4 หุน ซึ่งจะทําการยกเลิกตาม ขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต 7) เพื่อรองรับการจัดสรรใหกับ IFC ตามที่ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 (เพื่อทดแทนมติเดิม ของที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2551 ที่เคยใหไว) อนุมัติการจัดสรรหุน จํานวน 29,941,283 หุน เพื่อ เสนอขายใหแก International Finance Corporation (“IFC”) เพื่อใหเปนไปตามขอตกลงระหวางบริษัทฯ กับ IFC ซึ่งเปนสถาบันการเงินที่ค้ําประกันหุนกูสวนหนึ่งของบริษัทฯ ตามสัญญา C Loan กับ IFC ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดชําระหนี้ใหแก IFC ทั้งหมดแลวเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ดังนั้น หุนที่สํารองไว เพื่อการนี้ จะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต 8) เพื่อรองรับการใชสิทธิของหุน กูแปลงสภาพ ตามที่ ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2551 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 ไดมีมติอนุมัติการออก และเสนอขายหุนกูแปลงสภาพในวงเงินหุนกูที่เสนอขายไมเกิน 4,000 ลานบาท ในการนี้ ที่ประชุมผูถือหุนไดมี มติอนุมัติใหจัดสรรหุนสามัญที่ยังมิไดออกและเรียกชําระจํานวน 630,000,000 บาท สํารองไวสําหรับการใชสิทธิ แปลงสภาพของผูถือหุนกูแปลงสภาพเปนหุนสามัญของบริษัทฯ โดยราคาแปลงสภาพอาจต่ํากวามูลคาที่ตราไว ของหุนของบริษัทฯ (10 บาท) แตจะตองไมต่ํากวา 6.35 บาทตอหุน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไมมีการออกหุนกูแปลงสภาพ ดังนั้น หุนที่สํารองไวเพื่อการนี้จะถูกยกเลิกตามขั้นตอน ทางกฎหมายในอนาคต

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

7.2 ผูถือหุน (ก) ผูถ ือหุนรายใหญ

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ผูถือหุนรายใหญ 1/ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2555 ชื่อผูถือหุน

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด 2/ UBS AG LONDON BRANCH 3/

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 4/ UBS AG HONG KONG BRANCH 3/

บริษัท ธนโฮลดิ้ง จํากัด CLEARSTREAM NOMINEES LTD 5/

นายเกรียงชัย พานิชภักดี UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account 6/ CORE PACIFIC-YAMAICHI INTERNATIONAL (H.K.) LIMITED - CLIENT 6/ MAYBANK KIM ENG SECURITIES PTE. LTD. A/C CLIENT 7/

จํานวนหุน (ลานหุน) 9,320.31 465.28 404.90 367.01 82.65 69.56 64.80 55.82 50.66 50.34

รอยละของหุน ทั้งหมด 64.26 3.21 2.79 2.53 0.57 0.48 0.45 0.38 0.35 0.35

1/ ไมมีการถือหุนไขวกันระหวางบริษัทฯ กับผูถือหุนรายใหญ 2/ ประกอบดวย 1) บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด (“CPG”) โดย CPG มีกลุมครอบครัวเจียรวนนทเปนผูถือหุนรายใหญถือหุนรวมกันคิดเปนสัดสวนรอยละ 91.65 (ผูถือหุน 10 รายแรกของ CPG ไดแก นายสุเมธ เจียรวนนท รอยละ 12.96 นายธนินท เจียรวนนท รอยละ 12.96 นายจรัญ เจียรวนนท รอยละ 12.75 นายมนตรี เจียรวนนท รอยละ 12.63 นายเกียรติ์ เจียรวนนท รอยละ 5.76 นายพงษเทพ เจียรวนนท รอยละ 3.65 และนางยุพา เจียรวนนท นายประทีป เจียรวนนท นางภัทนีย เล็กศรีสมพงษ นายวัชรชัย เจียรวนนท นายมนู เจียรวนนท และนายมนัส เจียรวนนท ถือหุนรายละรอยละ 3.62) 2) บริษัท กรุงเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด (ถือหุนโดย บจ. เจริญโภคภัณฑ โฮลดิ้ง 99.99%) 3) บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จํากัด (มหาชน) (ถือหุนโดย บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร (“CPF”) 99.44%) 4) บริษัท เกษตรภัณฑอุตสาหกรรม จํากัด (ถือหุน โดย CPG 99.99%) 5) บริษัท ยูนีค เน็ตเวิรค จํากัด (ถือหุน โดย บจ. ธนโฮลดิง้ 41.06% และ บจ. อารท เทเลคอมเซอรวิส 58.94%) 6) บริษัท ไวด บรอด คาสท จํากัด (ถือหุนโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 58.55% และ บจ. เทเลคอมมิวนิเคชั่นเนตเวอรค 41.45%) 7) บริษทั ซี.พี.อินเตอรฟูด (ไทยแลนด) จํากัด (ถือหุน โดย CPG 99.99%) 8) บริษัท สตารมารเก็ตติง้ จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) 9) บริษัท เจริญโภคภัณฑโฮลดิ้ง จํากัด (ถือหุนโดย CPG 99.99%) และ 10) Golden Tower Trading Ltd. (ถือหุนโดยบุคคลภายนอกที่ไมมีความ เกี่ยวของกับ CPG แตรายงานอยูในกลุมเดียวกันเนื่องจาก Golden Tower Trading Ltd. อาจจะออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถอื หุน ของ True ไปในทางเดียวกันกับ CPG ได) (ทั้ง 10 บริษัทดังกลาวไมมีบริษัทใดประกอบธุรกิจเดียวกันและแขงขันกันกับกลุมบริษัทฯ) 3/ บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศสวิตเซอรแลนด ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอํานาจที่จะขอให ผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น 4/ บริษัทยอยที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยจัดตัง้ ขึ้น NVDR มีลักษณะเปนหลักทรัพยจดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูลงทุนใน NVDR จะไดรับสิทธิประโยชนทาง การเงินตางๆ เสมือนการลงทุนในหุนสามัญของบริษัทฯ แตไมมีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน 5/ บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศอังกฤษ ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุน ดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น 6/ บริษัทจดทะเบียนที่ฮองกง ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอํานาจที่จะขอใหผูถือหุน ดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น 7/ บริษัทจดทะเบียนที่ประเทศสิงคโปร ซื้อขายหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยไมไดเปดเผยวาถือหุนเพื่อตนเองหรือเพื่อบุคคลอื่น บริษัทฯ ไมมีอํานาจที่จะขอให ผูถือหุนดังกลาวเปดเผยขอมูลเชนวานั้น

(ข) กลุมผูถือหุนรายใหญที่โดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายการจัดการหรือการดําเนินการ ของบริษัทฯ อยางมีนัยสําคัญ คือ กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7.3 นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทฯ ยังไมเคยประกาศจายเงินปนผลนับตั้งแตเปดดําเนินกิจการ บริษัทฯ สามารถจายเงินปนผล ไดจากผลกําไรภายหลังการลางขาดทุนสะสมไดทั้งหมด และภายหลังการตั้งสํารองตามกฎหมาย บริษัทฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลในอัตราอยางนอยรอยละ 50 ของกําไรสุทธิจากงบการเงินเฉพาะ ของบริษัทฯ ในแตละป ภายหลังการจัดสรรเปนสํารองตางๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทั้งเปนไปตามขอกําหนด ของกฎหมายที่เกี่ยวของ และสัญญาเงินกูตางๆ สําหรับนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย คณะกรรมการของบริษัทยอยแตละแหงจะพิจารณา การจายเงินปนผลจากกระแสเงินสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริษัทยอยนั้นๆ หากกระแสเงินสดคงเหลือ ของบริษัทยอยมีเพียงพอ และไดตั้งสํารองตามกฎหมายแลว คณะกรรมการของบริษัทยอยนั้นๆ จะพิจารณา จายเงินปนผลเปนกรณีไป 7.4 โครงสรางหนี้สิน หนี้สินของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หนี้สินของบริษัทฯ และบริษัทยอยตามงบการเงินมีจํานวนทั้งสิ้น 130,049 ลานบาท ประกอบดวยหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไมหมุนเวียนดังนี้ หนวย : ลานบาท หนี้สินของบริษัทฯ และบริษัทยอย 31 ธันวาคม 2554 หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น 366 เจาหนีก้ ารคา 29,154 สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของเงินกูยืมระยะยาว 6,896 ภาษีเงินไดคางจาย 379 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 4,014 รวมหนี้สนิ หมุนเวียน 40,809 หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว 77,976 หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี 4,635 เจาหนีก้ ารคาระยะยาว 36 หนี้สินภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ 3,640 ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน 866 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 2,087 รวมหนี้สนิ ไมหมุนเวียน 89,240 รวมหนี้สิน 130,049

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินกูยืมรวมทั้งหนี้การคาระยะยาว (ทั้งสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป และเกิน 1 ป) ของบริษัทฯ และบริษัทยอยมีจํานวนรวมทั้งสิ้น 84,872 ลานบาท แบงเปนเงินกูยืมของ บริษัทฯ และบริษัทยอยในเงินสกุลบาท (“เงินกูสกุลบาท”) จํานวน 76,934 ลานบาท เงินสกุลเหรียญสหรัฐ (“เงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ”) จํานวน 3,264 ลานบาท (หรือจํานวน 102 ลานเหรียญสหรัฐ) และเงินสกุลเยน ญี่ปุน (“เงินกูสกุลเยนญี่ปุน”) จํานวน 4,674 ลานบาท (หรือจํานวน 11,334 ลานเยนญี่ปุน) ภายหลังจากการปรับโครงสรางหนี้เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 บริษัทฯ สามารถชําระเงินกูได ครบตามกําหนดการชําระเงินตนที่มีไวกับเจาหนี้มีประกันมาโดยตลอด และยังสามารถชําระเงินกูกอนกําหนด บางสวนจากเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานของบริษัทฯ ไดอีกเปนจํานวนประมาณ 3,223 ลานบาท เพื่อ ชวยลดภาระดอกเบี้ยจายและชวยลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในอดีตเงินกูระยะยาวจํานวนมากของบริษัทฯ เปนเงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ บริษัทฯ จึงมีนโยบาย ลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน และบริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการลดเงินกูระยะยาวสกุลเหรียญสหรัฐ และชวยปรับโครงสรางหนี้เพื่อใหมีกําหนดการชําระหนี้ที่เหมาะสมกับความสามารถในการชําระหนี้ของบริษัทฯ โดยมีมาตรการตางๆ ที่นํามาใชอยางตอเนื่อง อาทิเชน การนําเงินสดสวนเกินจากการดําเนินงานมาชําระคืน เงินกูของเจาหนี้มีประกันบางสวนกอนกําหนด การทําสัญญาเงินกูวงเงินใหมกับกลุมธนาคารพาณิชยและ สถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใชคืนเงินกูสกุลเงินบาทเดิมในจํานวนเทากัน โดยเงินกูใหมมีอัตราดอกเบี้ยที่ ลดลง สงผลใหบริษัทฯ สามารถลดคาใชจายดานดอกเบี้ย การนํากระแสเงินสดของบริษัทฯ มาซื้อคืนตราสาร การชําระหนี้ที่มีเงื่อนไขในการผอนการชําระหนี้ที่ตราไวในสกุลเยน การออกและเสนอขายหุนกูประเภท ตางๆ เพื่อนํากระแสเงินสดที่ไดมาจากการออกหุนกู ไปชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยูหรือเพื่อชําระ คืนเงินตนใหกับเงินกูสกุลบาทกอนกําหนดหรือเพื่อไถถอนหุนกูเดิมกอนกําหนด เปนตน ทั้งนี้ ในชวง 5 ป ที่ผานมา บริษัทฯ ไดดําเนินการตางๆ ดังนี้ มิถุนายน 2550

ณ วัน ที่ 6 มิถุนายน 2550 บริษั ทฯ ไดออกหุน กูมี ประกั นสกุลบาท 3 ชุดไดแ ก หุน กู ชุดที่ 1 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2552 เปนจํานวน 1,000 ลานบาท หุนกูชุดที่ 2 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2553 เปนจํานวนเงิน 2,000 ลานบาท หุนกูชุดที่ 3 ครบกําหนดไถถอน ป พ.ศ. 2555 เปนจํานวน 1,000 ลานบาท บริษัทฯ ไดนํากระแสเงินสดที่ไดมาจากการออก หุนกูครั้งนี้ไปไถถอนหุนกูมีประกันครั้งที่ 1/2545 กอนกําหนด (จํานวนประมาณ 3,603 ลานบาทกอนกําหนด ในเดือนกรกฎาคม 2550) และไดนํากระแสเงินสดสวนเกินจาก การดําเนินงานประมาณ 103 ลานบาท รวมกับเงินที่ไดจากการออกหุนกูดังกลาวอีก ประมาณ 397 ลานบาท เพื่อชําระคืนเงินตนใหกับเงินกูสกุลบาทกอนกําหนด (จํานวนเงิน 500 ลานบาทในเดือนมิถุนายน 2550)

เมษายน 2552

ณ วันที่ 2 เมษายน 2552 บริษัทฯ ไดออกหุนกูมีประกันสกุลบาท 1 ชุด เปนเงินจํานวน 6,183ลานบาท บริษัทฯ ไดนําเงินจากการออกหุนกูครั้งนี้ไปไถถอนหุนกูมีประกันครั้งที่ 2/2545

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

สิงหาคม 2552

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2552 บริษัทฯ ไดออกหุนกูมีประกันสกุลบาท 1 ชุด เปนเงินจํานวน 7,000 ลานบาท บริษัทฯ ไดนําเงินจากการออกหุนกูครั้งนี้ไปใชดังตอไปนี้: 1) ชําระคืนหนี้เงินกู IFC ทั้งจํานวน เปนจํานวน 1,125 ลานบาทกอนกําหนด (ชําระคืน ในเดือนกันยายน 2552) 2) ชําระคืนหนี้บางสวนของเงินสกุลบาท เปนจํานวน 1,309 ลานบาทกอนกําหนด (ชําระคืนในเดือนกันยายน 2552) 3) ชํ า ระคื น หุ น กู มี ป ระกั น ชุ ด ที่ 1/2550 ทั้ ง จํ า นวน เป น จํ า นวน 3,000 ล า นบาท กอนกําหนด (ชําระคืนในเดือนตุลาคม 2552) และ 4) ชําระคืนหุนกูมีประกันสวนที่เหลือทั้งหมดของชุดที่ 1/2545 เปนจํานวน 1,566 ลานบาท กอนกําหนด (ชําระคืนในเดือนพฤศจิกายน 2552)

พฤศจิกายน 2553 ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2553 บริษัทฯ ไดออกหุนกูไมมีประกันสกุลบาท 1 ชุด เปนเงิน จํานวน 1,100 ลานบาท บริษัทฯ ไดนําเงินจากการออกหุนกูดังกลาวไปชําระคืนหนี้หุนกู ระยะสั้นและตั๋วแลกเงินระยะสั้น มีนาคม 2554

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 บริษัทฯ ไดออกหุนกูไมมีประกันสกุลบาท 1 ชุดเปนเงินจํานวน 1,000 ลานบาท บริษัทฯ ไดนําเงินจากการออกหุนกูดังกลาวไปใชในการดําเนินงานของ บริษัทฯ

ทั้งนี้ ในการชําระคืนเงินตนกอนกําหนด (Prepayment) ของบริษัทฯ สําหรับหนี้เงินกูมีประกัน สกุลดอลลารสหรัฐฯ ที่นอกเหนือจากการชําระคืนเงินตนตามกําหนดการนั้น เงินจํานวนดังกลาวจะถูกนําไป หักลดยอดชําระคืนเงินตนจากงวดทายที่สุดยอนขึ้นมา (Inverse Chronological Order) และแบงจายคืนเจาหนี้มีประกัน ตามสัดสวนของยอดการชําระคืนเงินตนของเจาหนี้รายนั้นๆ (Pro-rata) หลังจากที่มีการดําเนินมาตรการตางๆ เพื่อลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนดังที่กลาวขางตนแลว บริษัทฯ มีสัดสวนของเงินกูที่เปนเงินสกุล ตางประเทศตอเงินกูทั้งหมดลดลงจากระดับรอยละ 68.20 ณ สิ้นป 2543 เปนรอยละ 9.35 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

แผนภูมิ: โครงสรางเงินกูของบริษัทฯ จนถึงปจจุบัน หนวย : ลานบาท 100,000

95,200 4,010

86,044 80,000

75,051 76,520 16,091

78,710 73,634 16,239

60,000

73,379 11,376

77,187

7,000

89,906 3,431

4,729

83,236 3,369

6,664

11,581

4,391

73,098 4,127

33,636

3,153

84,872

80,517

4,674 3,264

71,846 4,232

38,584

5,624

40,614

24,005 34,991

40,000

35,134

25,242

84,190

76,934

74,651 56,379

62,453 52,839 41,283

20,000 32,152

43,609 35,512

33,981

2551

2552

23,826

0 2543

2544

2545

2546

2547

เงินกูสกุลเยน สวนที่ 1

2548

2549

2550

เงินกูสกุลเหรียญสหรัฐ TRUETK: โครงสรางเงินทุน

2553

2554

เงินกูสกุลบาท หัวขอที่ 7 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารหลักประกัน เอกสารหลักประกันหุนกู และประเภทของหลักประกัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.

ชื่อสัญญา** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองสัญญาโครงการ*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในการแบงผลประโยชนที่เกี่ยวของ*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือสัมปทาน*** สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในหุนกู สัญญาโอนสิทธิเรียกรองในประกันภัย สัญญาโอนสิทธิเรียกรองประกันภัย PCT สัญญาโอนสิทธิเรียกรองประกันภัยรวม สัญญาโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญา PCT แบบมีเงื่อนไข หนังสือแนบทายสัญญาจัดหามิตซุย สัญญาโอนสิทธิเรียกรองการเชาแบบมีเงื่อนไข สัญญาหลักในการจํานําการลงทุนที่ไดรับอนุญาต สัญญาจํานําสิทธิรับเงินฝาก สัญญาจํานําบัญชี PCT สัญญาจํานําบัญชีเงินประกันผลงานของ PCT สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีธนาคารแบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีธนาคารของ PCT แบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองบัญชีเงินประกันผลงานของ PCT แบบมีเงื่อนไข สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขตามสัญญาจัดหา สัญญาจํานําตามขอ (6) และ (7) และ (8) ตามนิยามคําวาผลประโยชนในหลักประกันที่ไดรับอนุญาต สัญญาจํานําบัญชีเงินฝากพิเศษ สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขบัญชีเงินฝากพิเศษ สัญญาเหนือทรัพยสินแบบถาวร (fixed) หรือไมจํากัด (floating) ซึ่งไดจัดทําขึ้นตามขอ 4.1.13 ของสัญญาระบุขอกําหนดรวมกัน สัญญาโอนสิทธิเรียกรองแบบมีเงื่อนไขเหนือบัญชีเพื่อการชําระเงินของหุนกู*** สัญญาจํานําสิทธิในการไดรับเงินฝากเพื่อหุนกู*** หนังสือค้ําประกัน***

ประเภทของหลักประกัน การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การจํานํา การจํานํา การจํานํา การจํานํา การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การโอนสิทธิ การจํานํา การจํานํา การโอนสิทธิ สิทธิเหนือทรัพยสิน การโอนสิทธิ การจํานํา การค้ําประกัน

หลักประกันจะถือเปนประกันรวมเทาๆ กันตามสัดสวนหนี้คางชําระในแตละขณะของบรรดาหนี้จํานวนตางๆ ไดแก (ก) หนี้ที่บริษัทฯ มีอยูกับ เจาหนี้มีประกันอื่นๆ อันไดแกสถาบันการเงินในประเทศ และ(ข) ดอกเบี้ยและเงินตนตามหุนกูมีประกันอื่นๆ ไดแก หุนกูครั้งที่ 1/2547 หุนกู ครั้งที่ 1/2552 และหุนกูครั้งที่ 2/2552 ** ไดมีการนิยามคําที่ใชในเอกสารแนบทาย 1 เวนแตในขอ 25 ไวในสัญญาแกไขและแทนที่สัญญาหลักประกัน ซึง่ เอกสารดังกลาวรวมถึงการแกไข เพิ่มเติม และแทนที่สัญญาดังกลาวเปนคราวๆ ไปดวย *** เอกสารหลักประกันเหลานี้จะใชบังคับอยางสมบูรณตลอดระยะเวลาของหุน กูครั้งที่ 1/2547 หุนกูครั้งที่ 1/2552 และหุนกูครั้งที่ 2/2552 ของขอกําหนดสิทธิหุนกูมีประกัน

*

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หุนกู 1. ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2544 วันที่ 28 มิถุนายน 2544 มีมติอนุมัติให บริษัทฯ ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 36,000 ลานบาท โดยมีอายุไมเกิน 20 ป เพื่อ ชําระหนี้สินเงินสกุลตางประเทศที่มีอยู ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด ครั้งที่1/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2551 (“TRUE087A”) จํานวน 11,715,400 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 11,715,400,000 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันเจ็ดรอยสิบหาลานสี่แสนบาทถวน) (หุนกูร ุนนี้ ไดรับ การไถถอนเต็มจํานวนไปแลวตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2554) (2) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน สามารถไถถอนกอนกําหนด และมีผูค้ําประกัน บางสวน ครั้งที่2/2545 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 (“TRUE112A”) จํานวน 6,750,000 หนวย มูลคาที่ตราไว หนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 6,750,000,000 บาท (หกพันเจ็ดรอยหาสิบลานบาทถวน) (3) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2546 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2550 (“TRUE07OA”) จํานวน 3,319,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 3,319,000,000 บาท (สามพันสามรอยสิบเกาลานบาทถวน) (หุน กูรุนนีไ้ ดถกู ไถถอนไปหมดแลวตามกําหนดในเดือน ตุลาคม 2550) 2. ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2547 วันที่ 16 มกราคม 2547 มีมติอนุมัติให บริษัทฯ ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 15,000 ลานบาท โดยสามารถออกและเสนอขาย ในคราวเดียวกันทั้งหมดหรือหลายคราวก็ได ขึ้นอยูกับการพิจารณาและเงื่อนไขที่กําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรือ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูมีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินตน ครั้งที่ 1/2547 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2554 (“TRUE117A”) จํานวน 2,413,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 2,413,000,000 บาท (สองพันสี่รอยสิบสามลานบาทถวน) (2) หุนกูระยะสั้นภายใตโครงการหุนกูระยะสั้นของ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) โครงการที่ 1/2549 ภายในระยะเวลา 3 ป ตั้งแตวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เปนตนไป เปนจํานวนเงินไมเกิน 3,000,000,000 บาท (สามพันลานบาทถวน) (3) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 1 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2552 (“TRUE097A”) จํานวน 1,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,000,000,000 บาท (หนึ่งพันลานบาทถวน) (4) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 2 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2553 (“TRUE107A”) จํานวน 2,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 2,000,000,000 บาท (สองพันลานบาทถวน) (5) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2550 ชุดที่ 3 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2555 (“TRUE127A”) จํานวน 1,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,000,000,000 บาท (หนึ่งพันลานบาทถวน) สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ประจําป 2551 วันที่ 29 เมษายน 2551 มีมติอนุมัติให บริษัทฯ ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 20,000 ลานบาท โดยสามารถออกและเสนอขาย ในคราวเดียวกันทั้งหมดหรือหลายคราวก็ได ขึ้นอยูกับการพิจารณาและเงื่อนไขที่กําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรือ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 1/2552 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2557 (“TRUE144A”) จํานวน 6,183,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 6,183,000,000 บาท (หกพันหนึ่งรอยแปด สิบสามลานบาทถวน) (2) หุนกูมีประกัน ครั้งที่ 2/2552 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2558 (“TRUE151A”) จํานวน 7,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 7,000,000,000 บาท (เจ็ดพันลานบาทถวน) 4. ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ ประจําป 2553 วันที่ 23 เมษายน 2553 มีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ออกและเสนอขายหุนกูประเภทตางๆ ในวงเงินไมเกิน 30,000 ลานบาท โดยสามารถออกและเสนอขายใน คราวเดียวกันทั้งหมดหรือหลายคราวก็ได ขึ้นอยูกับการพิจารณาและเงื่อนไขที่กําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรือ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ซึ่งจนถึงปจจุบันบริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนกูแลวดังนี้ (1) หุนกูระยะสั้น ครั้งที่ 1/2553 ครบกําหนดไถถอน 18 พฤศจิกายน 2553 (“TRUE10N18A”) จํานวน 900,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 900,000,000 บาท (เการอยลานบาทถวน) (2) หุ น กู ไ ม มี ป ระกั น ครั้ ง ที่ 1/2553 ครบกํ า หนดไถ ถ อนป 18 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2556 (“TRUE13NA”) จํานวน 1,100,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,100,000,000 บาท (หนึ่งพันหนึ่งรอยลานบาทถวน) (3) หุนกูไมมปี ระกันครั้งที่ 1/2554 ครบกําหนดไถถอน 7 เมษายน 2557 (“TRUE144B”) จํานวน 1,000,000 หนวย มูลคาที่ตราไวหนวยละ 1,000 บาท รวมเปนมูลคา 1,000,000,000 บาท (หนึ่งพันลานบาทถวน)

สวนที่ 1

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

หัวขอที่ 7 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หุนกูระยะยาวของบริษัทฯ ที่ยังไมครบกําหนดไถถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มูลคาหุนกู มูลคาหุนกู อายุหุนกู วันครบกําหนด อัตราดอกเบี้ย สัญลักษณหุนกู วันที่ออกหุนกู ณ วันออกหุน กู ณ 31 ธ.ค. 54 (ป) ไถถอนหุนกู (ตอป) (ลานบาท) (ลานบาท) TRUE144A 2 เมษายน 2552 6,183 6,183 5.00 7 เมษายน 2557 6.50% TRUE151A 28 สิงหาคม 2552 7,000 7,000 5.42 28 มกราคม 2558 6.70% TRUE13NA 17 พฤศจิกายน 2553 1,100 1,100 3.00 18 พฤศจิกายน 2556 6.20% TRUE144B 31 มีนาคม 2554 1,000 1,000 3.00 7 เมษายน 2557 6.30% รวม 15,283 15,283

สวนที่ 2

TRUETK: โครงสรางเงินทุน

ประเภทของ การเสนอขาย Public Offering Public Offering Public Offering Public Offering

การจัดอันดับ ความนาเชื่อถือ ณ 31 ธ.ค. 54 BBB BBB BBBBBB-

หัวขอที่ 7 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8. การจัดการ 8.1 โครงสรางการจัดการ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการกําหนด คาตอบแทนและสรรหากรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการดานการเงิน กรรมการผูจ  ัดการใหญ / ประธานคณะผูบริหาร

คณะกรรมการดานการจัดการและ บริหารทั่วไป

ธุรกิจ โมบาย

บริหารแบรนดและ สื่อสารการตลาด

สวนที่ 1

ธุรกิจ ออนไลน

สื่อสารองคกร และ ประชาสัมพันธการตลาด

ธุรกิจ เพย ทีวี

ธุรกิจ คอนเวอรเจนซ

หนวยงานดาน ความรับผิดชอบ ตอสังคม

การตลาด

คณะกรรมการดานการตลาดและ บริหารแบรนด

โครงขายและ เทคโนโลยี

จัดจําหนาย และการขาย

TRUETL: การจัดการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

บริการ ลูกคา

การเงินและการบัญชี

ลูกคาองคกรธุรกิจ ขนาดใหญและ บริการระหวางประเทศ

จัดซื้อ

กฎหมาย

ทรัพยากร บุคคล

การลงทุนกลุม

การวิจย ั และ นวัตกรรม

หัวขอที่ 8

-

หนาที่ 1

ตรวจสอบ ภายใน


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวย ก. คณะกรรมการบริษัท ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ 3) คณะกรรมการดานการเงิน 4) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ค. คณะผูบริหาร ก. คณะกรรมการบริษัท ตามขอบังคับของบริษัทฯ กําหนดใหคณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการ จํานวน ไมนอยกวา 5 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริษัทฯ จะตองเปนผูมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกําหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิ รวมทั้งสิ้น จํานวน 15 ทาน ประกอบดวย (1) กรรมการที่เปนผูบริหาร (Executive Directors) จํานวน 4 ทาน (2) กรรมการทีไ่ มเปนผูบริหาร (Non-Executive Directors) จํานวน 11 ทาน ประกอบดวย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จํานวน 5 ทาน คิดเปนสัดสวน 1 ใน 3 หรือ เทากับ รอยละ 33.33 ของจํานวนกรรมการทั้งคณะ - กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไมเกี่ยวของในการบริหารงานประจํา ซึ่งรวมตัวแทนของผูถือหุน รายใหญ จํานวน 6 ทาน คํานิยาม กรรมการที่เปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่ดํารงตําแหนงเปนผูบริหารและมีสวนเกีย่ วของในการบริหารงานประจําของบริษัทฯ กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร หมายถึง กรรมการที่มิไดดํารงตําแหนงเปนผูบริหารและไมมีสวนเกี่ยวของในการบริหารงานประจําของ บริษัทฯ อาจจะเปนหรือไมเปนกรรมการอิสระก็ได

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการผู ซึ่ ง เป น อิ ส ระจากผู ถื อหุ น รายใหญ แ ละเป น อิ ส ระจากความสั มพั น ธ อื่ น ใดที่ จ ะ กระทบตอการใชดุลพินิจอยางอิสระ และมีคุณสมบัติ (ซึ่งมีความเขมงวดมากกวาขอกําหนด ของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนในเรื่องสัดสวนการถือหุนในบริษัทฯ) ดังตอไปนี้ (1) ถือหุนไมเกินรอยละ 0.75 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ใหนับรวม การถือหุนของผูที่เกี่ยวของกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย (2) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่ไดเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือของผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เวนแตจะ ไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (3) ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายใน ลั ก ษณะที่ เ ป น บิ ด า มารดา คู ส มรส พี่ น อ ง และบุ ต ร รวมทั้ ง คู ส มรสของบุ ต ร ของ กรรมการรายอื่น ผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการ เสนอใหเปนกรรมการ ผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย (4) ไมมีห รือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริ ษัทยอย บริ ษัทรว ม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการ ใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือ ผูมี อํานาจควบคุ มของผู ที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษั ทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมี ลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง “ความสัมพันธทางธุรกิจ” ตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการทางการคาที่กระทําเปนปกติ เพื่อประกอบกิจการ การเชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือ บริการ หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือใหกูยืม ค้ําประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอื่นทํานองเดียวกัน ซึ่งเปน ผลใหบริษัทฯ หรือคูสัญญามีภาระหนี้ที่ตองชําระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละสามของ สินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทฯ หรือตั้งแตยี่สิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวนใดจะ ต่ํากวา ทั้งนี้ การคํานวณภาระหนี้ดังกลาวใหเปนไปตามวิธีการคํานวณมูลคาของรายการ ที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาดวยหลักเกณฑในการทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ใหนับรวมภาระหนี้ที่ เกิดขึ้นในระหวางหนึ่งปกอนวันที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

(5) ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู เวนแตจะไดพน จากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (6) ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมาย หรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ และ ไมเปน ผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแต จะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลว ไมนอยกวาสองปกอนวันที่ไดรับการแตงตั้ง (7) ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ (8) ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวม ในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุนเกินรอยละหนึ่ง ของจํานวนหุน ที่มีสิทธิ ออกเสีย งทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิ จการที่มี สภาพ อยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย (9) ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงาน ของบริษัทฯ (10) ภายหลังไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการอิสระที่มีลักษณะเปนไปตามขอ (1) - (9) แลว กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการ ของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (collective decision) ได (11) ในกรณีที่เปนบุคคลที่มีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพเกิน มูลคาที่กําหนดในขอ (4) หรือ (6) ใหบุคคลดังกลาวไดรับการผอนผันขอหามการมีหรือเคยมี ความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพเกินมูลคาดังกลาว หากคณะกรรมการบริษัท ไดพิจารณาตามหลักในมาตรา 89/7 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 แลวมีความเห็นวา การแตงตั้งบุคคลดังกลาวไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่และ การใหความเห็นที่เปนอิสระ และจัดใหมีการเปดเผยขอมูลตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน กําหนด ในหนังสือเชิญประชุมผูถือหุน ในวาระพิจารณาแตงตั้งกรรมการอิสระ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม 1. นายวิทยา 2. ดร. โกศล 3. นายโชติ

4. นายฮาราลด 5. ศ. (พิเศษ) เรวัต 6. นายธนินท 7. ดร. อาชว 8. นายเฉลียว 9. ศ. (พิเศษ) อธึก 10. นายอํารุง 11. นายวิเชาวน 12. นายชัชวาลย 13. นายสุภกิต 14. นายณรงค 15. นายศุภชัย

1/

ตําแหนง

เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ เพ็ชรสุวรรณ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี โภควนิช กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน และสรรหากรรมการ ลิงค กรรมการอิสระ ฉ่ําเฉลิม กรรมการอิสระ เจียรวนนท ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและ สรรหากรรมการ เตาลานนท รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี สุวรรณกิตติ 2/ รองประธานกรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน อัศวานันท รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย สรรพสิทธิ์วงศ กรรมการ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนด คาตอบแทนและสรรหากรรมการ รักพงษไพโรจน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ -โครงขาย และเทคโนโลยี เจียรวนนท กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - การลงทุนกลุม เจียรวนนท กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการ กําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ เจียรวนนท กรรมการ เจียรวนนท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร

จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ในป 2554 3/ 6/6 6/6 6/6

2/6 6/6 4/6 6/6 1/6 6/6 6/6 5/6 6/6 1/6 5/6 6/6

หมายเหตุ : 1/ นายณรงค ศรีสอาน กรรมการอิสระ ไดลาออกจากการเปนกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ โดยมีผลในวันที่ 30 เมษายน 2554 2/ นายเฉลียว สุวรรณกิตติ รองประธานกรรมการ ไดถึงแกกรรม เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2555 ในเวลาตอมา ที่ประชุม คณะกรรมการของบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 ไดมีมติแตงตั้ง ศาสตราจารย ดร.วรภัทร โตธนะเกษม เขาดํารงตําแหนงกรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงินของบริษัทฯ แทน นายเฉลียว สุวรรณกิตติ โดย มีผลในวันที่ 1 มีนาคม 2555 3/ ในป 2554 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุม รวมทั้งสิ้น จํานวน 6 ครั้ง นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการกําหนดไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี ใหกรรมการที่มิใชผูบริหาร สามารถที่จะประชุม ระหวางกันเองตามความจําเปนโดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารหรือฝายจัดการเขารวมประชุม เพื่ออภิปรายปญหาตางๆ เกี่ยวกับการจัดการหรือเรื่องที่อยูในความสนใจ ซึ่งในป 2554 มีการประชุมในลักษณะดังกลาวจํานวน 1 ครั้ง

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ กรรมการบริษัททุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด ไมมีลักษณะ ตองหามตามกฎหมาย และ ไมมีลักษณะขาดความนาไววางใจตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย กรรมการทุกทานทุมเทใหกับการปฏิบัติหนาที่เปนกรรมการ ใหความรวมมือชวยเหลือในการ ดําเนินกิจการของบริษัทฯ ในทุกๆ ดาน ซึ่งเปนภาระที่หนักและตองรับผิดชอบอยางยิ่ง สําหรับบทบาท หนาที่และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตลอดจนการเขารวมประชุมของกรรมการแตละทานนั้น กรรมการทุกทาน เขารวมในการประชุมทุกครั้ง เวนแตกรณีที่มีเหตุสําคัญและจําเปนที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได อยางไรก็ตาม กรรมการทานใด ที่ติดภารกิจจําเปนไมสามารถเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัทได จะบอกกลาวแจงเหตุผลขอลาการประชุม และใหความคิดเห็นตอวาระการประชุมที่สําคัญเปนการลวงหนาทุกครั้ง นอกจากนี้ กรรมการของบริษัทฯ ให ความสําคัญกับการเขาอบรมตามหลักสูตรที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กรรมการทานที่เปนกรรมการอิสระ มีความเปนอิสระโดยแทจริง ไมมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ กรรมการอิสระทุกทานมีคุณสมบัติครบถวนตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และ นโยบาย การกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ กรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ นายศุภชัย เจียรวนนท หรือ นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน ลงลายมือชื่อรวมกับนายอธึก อัศวานันท หรือ นายสุภกิต เจียรวนนท หรือ นายชัชวาลย เจียรวนนท รวมเปนสองคนและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจและหนาที่จัดการบริษัทฯ ใหเปนไปตามวัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน ในสวนของการจัดการบริษัทฯ นั้น คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ตัดสินใจและดูแล การดําเนินงานของบริษัทฯ เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใด ปฏิบัติการ อยางใดอยางหนึ่งแทนคณะกรรมการได อยางไรก็ตาม การตัดสินใจในการดําเนินงานที่สําคัญ อาทิเชน การ ลงทุนและการกูยืมที่มีนัยสําคัญ ฝายบริหารจะตองนําเสนอตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 8.2 การสรรหากรรมการ บริษัทฯ เปดโอกาสและกําหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผูถือหุนสวนนอยสามารถ เสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการเปนการลวงหนา สําหรับการประชุมสามัญ ผูถือหุนประจําป ซึ่งผูถือหุนที่มีคุณสมบัติตามที่บริษัทฯ กําหนดสามารถสงขอมูลตามแบบฟอรม โดยสง เปนจดหมายลงทะเบียนมายังบริษัทฯ ได ภายในระยะเวลาที่กําหนด คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการทําหนาที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่ จะไดรับการเสนอชื่อเพื่อเลือกตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการหรือกรรมการอิสระของบริษัทฯ โดยพิจารณาจาก

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คุณวุฒิ และประสบการณ เพื่อใหไดบุคคลที่มีความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ แลวจึงนําเสนอพรอมทั้งให ความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติในกรณีที่เปนการแตงตั้งเพื่อทดแทนตําแหนงกรรมการเดิม สวนกรณีที่เปนการแตงตั้งกรรมการเพิ่มเติม คณะกรรมการบริษัทจะเปนผูเสนอขอมูลพรอมทั้งความเห็นของ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาและอนุมัติ สําหรับสิทธิของผูถือหุนในการแตงตั้งกรรมการนั้น ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการบริษัท โดยใชเกณฑเสียงขางมาก ทั้งนี้ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิในการออกเสียงเลือกตั้งกรรมการ โดยผูถือหุนแตละคนมี คะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง และสามารถเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได โดยใชคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได ข. คณะกรรมการชุดยอยภายใตคณะกรรมการบริษัท 1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบดวยบุคคลผูทรงคุณวุฒิจาํ นวน 3 ทาน มีรายนาม ดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ ตําแหนง รายนาม ในป 2554 1/ 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 7/7 2. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ กรรมการตรวจสอบ 7/7 3. นายโชติ โภควนิช กรรมการตรวจสอบ 7/7 หมายเหตุ : 1/ ในป 2554 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จํานวน 7 ครั้ง โดยที่เปนการประชุมกับผูสอบบัญชี

โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวย จํานวน 1 ครั้ง

อํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและอํานาจหนาที่รับผิดชอบ ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงาน ตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง หัวหนา หนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของ บริษัทฯ และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี โดย ไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไป ตามกฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผล และเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกลาว จะไดลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและประกอบดวย ขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ค) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ฉ) จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของ กรรมการตรวจสอบแตละทาน ช) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ ตามกฎบัตร (Charter) ซ) รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และ ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนด หรือ คณะกรรมการของบริษัทฯ จะมอบหมาย 2) คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทําหนาที่พิจารณาการกําหนดคาตอบแทน ของกรรมการและประธานคณะผู บริหาร รวมทั้งพิจารณากลั่ นกรองการสรรหากรรมการ กอนนําเสนอต อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยมีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม 1. 2. 3. 4.

นายธนินท นายสุภกิต นายอํารุง นายโชติ

เจียรวนนท เจียรวนนท สรรพสิทธิ์วงศ โภควนิช

จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ในป 2554 1/ 1/2 1/2 2/2 1/12/

หมายเหตุ : 1/ ในป 2554 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการมีการประชุม จํานวน 2 ครั้ง 2/ คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการไดมีการประชุมไปแลว จํานวน 1 ครั้ง กอนที่นายโชติ โภควนิช จะไดรับการแตงตั้งเขาเปนกรรมการฯ สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3) คณะกรรมการดานการเงิน คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุมคณะกรรมการดานการเงิน รายนาม ในป 2554 1/ 1. ดร. อาชว เตาลานนท 6/6 2/ 1/6 2. นายเฉลียว สุวรรณกิตติ 3. นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ 5/6 4. นายโชติ โภควนิช 5/53/ หมายเหตุ : 1/ ในป 2554 คณะกรรมการดานการเงินมีการประชุม จํานวน 6 ครั้ง 2/ นายเฉลียว สุวรรณกิตติ ไดถึงแกกรรม เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2555 ในเวลาตอมา ที่ประชุมคณะกรรมการของ บริษัทฯ ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 ไดมีมติแตงตั้ง ศาสตราจารย ดร.วรภัทร โตธนะเกษม เขาดํารง ตําแหนงกรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการดานการเงินของบริษัทฯ แทน นายเฉลียว สุวรรณกิตติ โดยมีผล ในวันที่ 1 มีนาคม 2555 3/ คณะกรรมการดานการเงิน ไดมีการประชุมไปแลว จํานวน 1 ครั้ง กอนที่นายโชติ โภควนิช จะไดรับการ แตงตั้งเขาเปนกรรมการฯ

4) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการกํากั บดู แลกิ จการที่ ดี ทํ าหน าที่ ช วยคณะกรรมการบริ ษัทในการกํ าหนดและ ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ตลอดจนดูแลใหบริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ เหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ โดยมีรายนามดังตอไปนี้ จํานวนครั้งที่เขารวมประชุมคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี รายนาม 1/ ในป 2554 2/ 1. ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ 4/4 2. นายวิทยา เวชชาชีวะ 4/4 3. ดร. อาชว เตาลานนท 4/4 หมายเหตุ : 1/ นายณรงค ศรีสอาน กรรมการอิสระ ไดลาออกจากการเปนกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ โดยมีผลในวันที่ 30 เมษายน 2554 2/ ในป 2554 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีการประชุม จํานวน 4 ครั้ง

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้ง นางรังสินี สุจริตสัญชัย ดํารงตําแหนง เลขานุการบริษัท ทําหนาที่ ใหคําแนะนําดานกฎหมาย และ กฎเกณฑตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบ และ ปฏิบัติหนาที่ในการดูแล กิจกรรมของคณะกรรมการ ประสานงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ รวมทั้งมีหนาที่ตามที่กําหนด ในพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ค. คณะผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผูบริหารของบริษัทฯ มีรายนามดังตอไปนี้ รายนาม ตําแหนง 1. นายศุภชัย เจียรวนนท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร 2. นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร - การลงทุนกลุม 3. นายชัชวาลย เจียรวนนท รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย 4. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท 5. นายวิลเลี่ยม แฮริส ผูอํานวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจระหวางประเทศ และ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ/ประธานคณะผูบริหาร 6. นายนพปฎล เดชอุดม หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน นันทพัฒนสิริ ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี 7. นายธิติฏฐ 8. นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอรเจนซ ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจ 9. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญและบริการระหวางประเทศ และหัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ-เทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริหารลูกคา หมายเหตุ : “ผูบริหาร” ในหัวขอนี้ มีความหมายตามที่กําหนดโดยคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ซึ่ง หมายถึง กรรมการผูจัดการใหญ ผูดํารงตําแหนงระดับบริหารสี่รายแรกนับตอจากกรรมการผูจัดการใหญลงมา และผูซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทากับผูดํารงตําแหนงระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย

ทั้งนี้ ผูบริหารของบริษัทฯ ทุกทาน เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด ไมมีลักษณะ ตองหามตามกฎหมาย และ ไมมีลักษณะขาดความนาไววางใจตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย อํานาจหนาทีข่ องประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ ประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการใหญ เปนตําแหนงทางการบริหารสูงสุดของบริษัทฯ และ เปนตําแหนงที่ไดรับการแตงตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทฯ ความสัมพันธระหวางคณะกรรมการบริษัทและฝายบริหารเปนไปในรูปแบบการทํางานรวมกัน โดยที่คณะกรรมการบริษัทเปนผูกํากับดูแล ใหคําปรึกษา ขอคิดเห็น และ ขอเสนอแนะแกฝายบริหาร สนับสนุน การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนติดตามดูแลการบริหารงานของฝายบริหารและผลการดําเนินงานของบริษัท ฯ แตจะไมเขาไปกาวกายในการบริหารกิจการของบริษัทฯ สวนประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดการ ใหญ มีความรับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัทในดานการนํานโยบายของคณะกรรรมการบริษัทไปใชในทาง ปฏิบัติ บริหารจัดการและควบคุมดูแลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามขอบังคับ มติที่ประชุมผูถือ หุน มติคณะกรรมการ ทิศทางธุรกิจของบริษัทฯ และกฎหมายที่เกี่ยวของ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

อํานาจหนาทีข่ องประธานคณะผูบริหารและกรรมการผูจัดใหญ มีดังตอไปนี้ 1. ดําเนินการใหมีการกําหนดทิศทางธุรกิจ พันธกิจ แผนธุรกิจ พรอมทั้ง งบประมาณ และ นําเสนอตอ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติ 2. วางกลยุทธและแผนปฏิบัติการของบริษัทฯ ตามกรอบทิศทางธุรกิจและพันธกิจของบริษัทฯ ที่ไดรับอนุมัติ จากคณะกรรมการ 3. ควบคุมดูแลใหการดําเนินการตามแผนธุรกิจของบริษัทฯ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และ สอดคลอง กับกลยุทธทางธุรกิจของบริษัทฯ 4. กํากับ ดูแล และ ควบคุมการดําเนินธุรกิจประจําวันอันเปนปกติธุระของบริษัทฯ รวมทั้งการบริหารความเสี่ยง ของบริษัทฯ ใหเปนไปตามทิศทาง แผนธุรกิจ และ งบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ 5. ควบคุมดูแลใหการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ เปนไปตามกฎหมายและกฎเกณฑที่เกี่ยวของ 6. นําเสนอรายงานการดําเนินงานและผลประกอบการของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการบริษัทอยางสม่ําเสมอ ซึ่งหากคณะกรรมการมีการใหขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะแกฝายบริหาร ประธานคณะผูบริหารและ กรรมการผูจัดการใหญมีหนาที่นําขอคิดเห็นหรือขอเสนอแนะของคณะกรรมการไปสูการปฏิบัติ เพื่อให บรรลุผลอยางมีประสิทธิภาพ 7. มีอํานาจในการเขาทําสัญญา หรือ ขอตกลงตาง ๆ และ มีอํานาจในการอนุมัติคาใชจายตาง ๆ ตามขอบเขต ที่กําหนดไวในนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติของบริษัทฯ เรื่อง Signing Authority ทั้งนี้ ในกรณีที่เปน การเขาทํารายการระหวางกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย จะตองปฏิบัติตามกฎหมาย และ ระเบียบที่เกี่ยวของกับเรื่องดังกลาว 8. ปฏิบัติหนาที่อนื่ ใดตามทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 8.3 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1.1) คาตอบแทนกรรมการ ตั้งแตวนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2554 คาตอบแทนกรรมการรวม 16 ทาน เปน เงินรวมทั้งสิ้น จํานวน 28,880,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

กลุมที่ 1 - ประธานกรรมการ ไดแก นายธนินท เจียรวนนท - กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงประธานกรรมการในคณะกรรมการชุดยอยไดแก นายวิทยา เวชชาชีวะ นายณรงค ศรีสอาน (ม.ค. - เม.ย. 2554) ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ (กรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ม.ค. - พ.ค. 54 ประธานกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ตั้งแตเดือน มิ.ย.54) รวม

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

ไดรับคาตอบแทน ทานละ (บาท)

รวม (บาท)

3,600,000 3,600,000 1,200,000 3,080,000 11,480,000

หัวขอที่ 8

-

หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กลุมที่ 2 - กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดแก นายโชติ โภควนิช

ไดรับคาตอบแทน ทานละ (บาท)

รวม

กลุมที่ 3 - รองประธานกรรมการ ไดแก ดร. อาชว เตาลานนท นายเฉลียว สุวรรณกิตติ และ ศาสตราจารยพิเศษอธึก อัศวานันท รวม กลุมที่ 4 - กรรมการอิสระ ไดแก นายฮาราลด ลิงค และ ศาสตราจารยพิเศษเรวัต ฉ่ําเฉลิม - กรรมการ ไดแก นายศุภชัย เจียรวนนท นายสุภกิต เจียรวนนท นายชัชวาลย เจียรวนนท นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ และ นายณรงค เจียรวนนท รวม รวมทั้งสิ้น

รวม (บาท)

2,400,000

2,400,000

1,800,000

5,400,000

1,200,000 1,200,000 9,600,000 28,880,000

นอกจากนี้ นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ มีการดํารงตําแหนง เปนกรรมการในบริษัทยอย จํานวน 2 แหง (ในฐานะตัวแทนของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ) โดยไดรับคาตอบแทนกรรมการจากบริษัทยอยรวม ในป 2554 ดังนี้ 1) กรรมการของบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) 2) กรรมการของบริษัท ทรู มูฟ จํากัด

คาตอบแทนในป 2554 - บาท 600,000 บาท คาตอบแทนรวม 600,000 บาท

(1.2) คาตอบแทนผูบ ริหาร ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2554 คาตอบแทนผูบริหารรวม 9 ทาน เปนเงินทั้งสิ้น จํานวน 102.55 ลานบาท ประกอบดวยคาตอบแทนในรูปเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน เงินสมทบกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ และ ผลประโยชนอื่นๆ (2) คาตอบแทนอืน่ คาตอบแทนอื่นของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ไดแก โครงการออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและพนักงานในระดับผูบริหารของบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอย (โครงการ ESOP) ซึ่งในปจจุบัน คงเหลือโครงการที่ยังไมหมดอายุ จํานวน 2 โครงการ ดังนี้ (2.1) โครงการ ESOP 2007 (2.2) โครงการ ESOP 2006 สําหรับรายละเอียดโครงการ ESOP ทั้ง 2 โครงการดังกลาว บริษัทฯ ไดเปดเผยรายละเอียดไว ในหัวขอโครงสรางเงินทุน เรื่อง “ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ (ใบสําคัญแสดงสิทธิ) และ “พันธะการออกหุนในอนาคต” สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายละเอียดการไดรับจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิภายใตโครงการ ESOP ของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ มีดังนี้ ชื่อ 1. นายสุภกิต 2. นายศุภชัย 3. นายวิเชาวน 4. นายชัชวาลย 5. ศ. (พิเศษ) อธึก 6. นายวิลเลี่ยม 7. นายอติรุฒม 8 . นายธิติฏฐ 9. นายทรงธรรม 10. นายนพปฎล

เจียรวนนท เจียรวนนท รักพงษไพโรจน เจียรวนนท อัศวานันท แฮริส โตทวีแสนสุข นันทพัฒนสิริ เพียรพัฒนาวิทย เดชอุดม

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2007 ใบสําคัญแสดงสิทธิ ESOP 2006 จํานวนหนวย รอยละของโครงการ จํานวนหนวย รอยละของโครงการ 1,400,000 3.68 1,875,000 4.93 3,200,000 8.88 1,875,000 4.93 1,600,000 4.44 300,000 0.79 300,000 0.83 1,875,000 4.93 2,000,000 5.55 1,875,000 4.93 1,600,000 4.44 1,400,000 3.68 1,600,000 4.44 1,400,000 3.68 1,600,000 4.44 1,400,000 3.68 1,600,000 4.44 1,000,000 2.63 800,000 2.22

8.4 รายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี จึงไดกําหนดใหมี “นโยบายการ กํากับดูแลกิจการที่ดี” ของบริษัทฯ ตั้งแตป 2545 และไดทําการปรับปรุงนโยบายดังกลาวเปนระยะๆ อยาง ตอเนื่อง เพื่อใหเหมาะสมกับสถานการณของบริษัทฯ ที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนเพื่อใหสอดคลองกับ กฎหมายที่เกี่ยวของ และหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีที่แนะนําโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่ง เทียบเคียงไดกับมาตรฐานสากล บริ ษั ท ฯ ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ โดยแบ ง เป น สองส ว น คื อ ในระดั บ คณะกรรมการ และ ในระดับบริหาร โดยในระดับคณะกรรมการนั้น ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการชุดยอยขึ้น คือ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Committee) ซึ่งประกอบดวย ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร.อาชว เตาลานนท สวนในระดับบริหารดําเนินการโดยเจาหนาที่ บริหาร ไดแก CEO และ เจาหนาที่ระดับสูงอื่นๆ ในป 2554 บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี สรุปไดดังนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน 1. คณะกรรมการตระหนักและใหความสําคัญตอสิทธิของผูถือหุน ตลอดจนการปฏิบัติตอผูถือหุน อยางเทาเทียมกันและเปนธรรม จึงไดกําหนดนโยบายในการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยคํานึงถึงสิทธิของผูถือหุน ใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดโดยไมจํากัดเฉพาะสิทธิที่กฎหมายกําหนดไว

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2. ในป 2554 บริษัทฯ มีการประชุมผูถือหุน 1 ครั้ง คือ การประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2554 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 ซึ่งการประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ จัดขึ้นในวัน เวลา และสถานที่ ที่คํานึงถึงความ สะดวกของผู ถือหุ นที่ จะเข าประชุ ม โดยบริษัทฯ จั ดให มีการประชุมในวั นและเวลาทําการ คื อ 14.00 น. ณ ที่ทําการสํานักงานใหญของบริษัทฯ ตั้งอยูในกรุงเทพมหานครซึ่งมีการคมนาคมที่สะดวกตอการเดินทาง 3. บริษัทฯ จัดทําหนังสือเชิญประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2554 พรอมเอกสารที่เกี่ยวของ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เชนเดียวกันกับทุกปที่ผานมา โดยไดแจงในเอกสารเชิญประชุมใหผูถือหุน ทราบถึงขอมูล วัน เวลา สถานที่ วาระการประชุม ขอมูลทั้งหมดที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ตองตัดสินใจในที่ประชุม รวมตลอดถึงสาเหตุและความเปนมาของเรื่องที่ตองตัดสินใจ โดยระบุถึงขอเท็จจริงและเหตุผล ความเห็นของ คณะกรรมการ ในแตละวาระของทุกวาระที่เสนอในหนังสือเชิญประชุม กฎเกณฑตาง ๆ ที่ใชในการประชุม และขั้นตอนการออกเสียงลงมติ โดยเนนรายละเอียดใหผูอานที่ไมทราบถึงความเปนมาของเรื่องนั้นๆ มากอน สามารถเขาใจเรื่องไดโดยงาย โดยไดนําสงใหแกผูถือหุนเปนการลวงหนากอนวันประชุมเปนเวลา 16 วัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารประกอบการประชุมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไวบนเว็บไซต ของบริษัทฯ เปนการลวงหนากอนวันประชุมเปนเวลา 26 วัน เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนไดมีเวลา ศึกษาขอมูลประกอบการประชุมลวงหนาอยางเพียงพอ และไดประชาสัมพันธใหผูถือหุนทราบ โดยแจงสารสนเทศ ผานสื่ออิเล็กทรอนิกสของตลาดหลักทรัพยฯ 4. ในการประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2554 บริษัทฯ ไมมีการเพิ่มวาระอื่นๆ ที่ไมไดระบุไว ในหนังสือนัดประชุมใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณา 5. บริษัทฯ ไดนําเสนอวาระคาตอบแทนกรรมการซึ่งกําหนดไวเปนรายตําแหนง ตอที่ประชุม สามั ญ ผู ถื อ หุ น ประจํ า ป 2554 เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ โดยบริ ษั ท ฯ ได มี ก ารนํ า เสนอวาระการพิ จ ารณา คาตอบแทนกรรมการเพื่อใหผูถือหุนพิจารณาอนุมัติเปนประจําทุกป สําหรับป 2554 คณะกรรมการกําหนด คาตอบแทนและสรรหากรรมการ ไดพิจารณาทบทวนความเหมาะสมของอัตราคาตอบแทนกรรมการ โดย คํานึงถึงระดับที่ปฏิบัติอยูในอุตสาหกรรม ประสบการณ ภาระหนาที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ และได นํ า เสนอความเห็ น ต อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ว า ควรเสนอให ที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น อนุ มั ติ คาตอบแทนกรรมการในอัตราเดิม ตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2553 ไดเคยมีมติอนุมัติไว โดย เปนอัตราเดิมที่มิไดเปลี่ยนแปลงมาตั้งแตป 2545 6. บริษัทฯ มีนโยบายที่จะละเวนการกระทําใด ๆ ที่เปนการจํากัดโอกาสของผูถือหุน ในการศึกษา สารสนเทศของการประชุมผูถือหุน และเปดโอกาสใหผูถือหุนซักถามขอมูลที่ไมเขาใจ หรือสามารถสงคําถาม ลวงหนาไดโดยติดตอที่ฝายนักลงทุนสัมพันธ (“IR”) ที่โทร 0-2699-2515 และฝายเลขานุการบริษัทและหลักทรัพย ที่โทร 0-2699-2660

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. บริษัทฯ เปดโอกาสใหผูถือหุนลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคล โดยบริษัทฯ เสนอชื่อกรรมการใหผูถือหุนลงคะแนนทีละคน เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเลือกกรรมการที่ตองการได อยางแทจริง 8. บริษัทฯ อํานวยความสะดวกใหผูถือหุนไดใชสิทธิในการเขารวมประชุมและออกเสียงอยางเต็มที่ โดยไมมีคาใชจาย และละเวนการกระทําใดๆ ที่เปนการจํากัดโอกาสการเขาประชุมของผูถือหุน จัดขั้นตอน การลงทะเบียนเขาประชุมเพื่อออกเสียงลงมติเพื่อไมใหมีวิธีการที่ยุงยาก 9. ประธานที่ประชุมจัดสรรเวลาใหเหมาะสมและสงเสริมใหผูถือหุนมีโอกาสในการแสดง ความเห็นและตั้งคําถามตอที่ประชุมในเรื่องที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ และภายหลังการประชุม กรรมการที่เขา รวมประชุมไดเดินพบปะกับผูมารวมประชุมเพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนที่ไมประสงคจะถามคําถามในระหวาง การประชุมสามารถสอบถามเรื่องที่ตนยังสงสัยได 10. บริษัทฯ มีการใชบัตรลงคะแนนเสียงในวาระเพื่อพิจารณาในทุกกรณีที่ตองมีการลงคะแนนเสียง พรอมทั้งจัดใหมีสํานักงานกฎหมายอิสระ เปนผูตรวจสอบการนับคะแนนเสียงเพื่อความโปรงใส และเก็บ บัตรลงคะแนนไวเปนหลักฐานเพื่อจะไดตรวจสอบไดในกรณีมีขอโตแยงในภายหลัง หมวดที่ 2 การปฏิบตั ิตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน 1. บริษัทฯ ใหสิทธิแกผูถือหุนในการออกเสียงลงคะแนนที่เทาเทียมกัน คือ หนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2. บริษัทฯ อํานวยความสะดวกใหแกผูถือหุนที่ไมสามารถเขาประชุมดวยตนเอง สามารถใช สิทธิออกเสียงโดยมอบฉันทะใหผูอื่นมาประชุมและออกเสียงลงมติแทน โดยไมมีการกําหนดเงื่อนไขใดๆ ซึ่งทํา ใหยากตอการมอบฉั นทะ และเปดโอกาสใหสงหนังสือมอบฉันทะมาใหฝายเลขานุการบริษัทและหลักทรั พย ตรวจสอบลวงหนา เพื่อจะไดไมเสียเวลาตรวจสอบในวันประชุม 3. บริ ษั ทฯ เป ดโอกาสให ผูถื อหุ นใช หนังสื อมอบฉั นทะรู ปแบบที่ ผูถื อหุ นสามารถกํ าหนดทิ ศ ทางการลงคะแนนเสียงได โดยจัดสงหนังสือมอบฉันทะแนบไปพรอมกับหนังสือเชิญประชุมผูถือหุนและได เสนอชื่อกรรมการอิสระ 1 ทาน พรอมทั้งขอมูลเกี่ยวกับกรรมการอิสระดังกลาว เปนทางเลือกในการมอบฉันทะ ของผูถือหุน บริษัทฯ ไดแจงใหผูถือหุนทราบถึงเอกสารหรือหลักฐานที่ตองนํามาแสดงตนในการเขา รวมประชุมผูถือหุน ตลอดจนคําแนะนําและขั้นตอนในการมอบฉันทะอยางชัดเจน ไวในหนังสือเชิญประชุม สามัญผูถือหุนประจําป 2554 เชนเดียวกันกับที่บริษัทฯ ปฏิบัติในทุกปที่ผานมา

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

4. บริษัทฯ เปดโอกาสและกําหนดหลักเกณฑอยางชัดเจนในการใหผูถือหุนสวนนอยสามารถ เสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ เป น การล ว งหน า ซึ่ ง ผู ถื อหุ น สามารถส งข อ มูล ตามแบบฟอรม ที่บ ริ ษัท ฯ กํ า หนด โดยส ง เป น จดหมาย ลงทะเบียนมายังบริษัทฯ ได ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2553 จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2554 สําหรับการประชุม สามัญผูถือหุน ประจําป 2554 โดยบริษัทฯ เผยแพรสารสนเทศดังกลาวไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ และได ประชาสัมพันธใหผูถือหุนทราบโดยแจงสารสนเทศผานสื่ออิเล็กทรอนิกสของตลาดหลักทรัพยฯ ซึ่งในการ ประชุมผูถือหุนดังกลาว ไมมีผูถือหุนเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมและชื่อบุคคลเพื่อเขารับ การพิจารณาคัดเลือกเปนกรรมการ 5. บริษัทฯ มีการกํากับดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดยกําหนดขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการใช ขอมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลั กทรัพ ย ไวในคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํ างานควบคูกั บการใช มาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบริหารในการนําขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตน และผูที่เกี่ยวของ กําหนดเปนหลักใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศที่สําคัญที่ยัง ไมไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะกรรมการและผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัทฯ กรรมการและผูบริหารตองแจง ตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (สํานักงาน ก.ล.ต.) ภายใน 3 วันทําการ นับแตวันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้งสงสําเนารายงานดังกลาว จํานวน 1 ชุด ใหกับบริษัทฯ เพื่อเก็บเปน หลักฐานและรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจํา โดยในป 2554 ไมปรากฏวามีกรรมการ และผูบริหารของบริษัทฯ ไมปฏิบัติตามหลักปฏิบัติดังกลาว 6. ในป 2554 ไมมีกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ ตลอดจนผูเกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว ปฏิบัติผิดขอกําหนดเกี่ยวกับเรื่องความขัดแยงของผลประโยชนในการทําธุรกรรมของบริษัทฯ เชนเดียวกับ ทุกปที่ผานมา 7. ในป 2554 บริษัทฯ ไมมีการทํารายการที่เปนการใหความชวยเหลือทางการเงินแกบริษัทที่ ไมใชบริษัทยอยของบริษัทฯ 8. บริษัทฯ มีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันตามที่กฎหมายกําหนด และเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไวตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย โดยมีการประกาศใช “ระเบียบในการเขาทํารายการระหวางกัน” ซึ่งเปนระเบียบที่ไดรับการอนุมัติ โดยคณะกรรมการบริษัท ในป 2554 บริ ษั ท ฯ ยั ง คงปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บในเรื่ อ งการทํ า รายการระหว า งกั น อย า ง เครงครัด และไดเปดเผยรายละเอียดของรายการระหวางกันที่เกิดในระหวางป 2554 ไวในรายงานประจําป และแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) ภายใตหัวขอ “รายการระหวางกัน”

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หมวดที่ 3 บทบาทของผูม ีสวนไดเสีย 1. คณะกรรมการดูแลสิทธิตามที่กฎหมายกําหนดของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน ร ว มกั น อย า งเหมาะสม เพื่ อ ให Stakeholders มั่ น ใจว า สิ ท ธิ ดั ง กล า วได รั บ การ คุมครองและปฏิบัติดวยดี ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดทํา “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางาน” ซึ่งไดกําหนด ขอพึงปฏิบัติของพนักงานตอผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ไดแก พนักงาน - มีสิทธิสวนบุคคล และมีสิทธิที่จะไดรับการคุมครองไมใหใครละเมิดสิทธิสวนบุคคล - สิทธิในการไดรับการปฏิบัติ และไดรับโอกาสเทาเทียมกัน - สิทธิตางๆ เกี่ยวกับการจางงานที่เปนธรรมและเทาเทียมกัน เชน การอนุญาตใหลางาน สิทธิประโยชน โอกาสในการเลื่อนขัน้ การโอนยาย การประเมินผลการปฏิบัติงาน ลูกคา - มีสิทธิไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการบริการจากพนักงานอยางเต็มความรู ความสามารถ - สิทธิที่จะไดรบั สินคาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผล - สิทธิที่จะไดรบั การปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ ผูจัดหาสินคาและบริการ และตัวแทนอื่นๆ (คูคา) - สิทธิที่จะไดรบั การปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรบั การปกปองรักษาขอมูลอันเปนความลับ - สิทธิที่จะไดรบั การปฏิบัติดวยความซื่อตรง และเชื่อถือได - สิทธิที่จะไดรบั ทราบกฎหมาย ขอบังคับ และนโยบายทีเ่ กี่ยวของ - สิทธิที่จะไดรบั การแขงขันอยางเปนธรรม คูแขง - สิทธิที่จะไดรบั การเปรียบเทียบสินคาและบริการอยางเปนธรรมและตามความเปนจริง โดยไมบิดเบือนขอเท็จจริง ไมใสรายคูแขงตลอดจนสินคาและบริการของคูแขง - ไมรวมทําจารกรรม กอวินาศกรรม หรือติดสินบน คูแขงทางการคา ทั้งคูแขงในปจจุบนั หรือผูที่อาจจะเปนคูแ ขงในอนาคต - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเทาเทียมกัน ไมปฏิบัติตอคูแขงรายใดเปน พิเศษเหนือคูแขงรายอื่น ไมวาในดานคุณภาพ การทดสอบ การติดตั้ง ตลอดจนการ บํารุงรักษาในการใหบริการสื่อสงสัญญาณ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เจาหนี้ - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาภายใตหลักเกณฑและกฎหมายที่กําหนด - สิทธิที่จะไดรบั ขอมูลทางการเงินที่ถูกตองครบถวน - สิทธิที่จะไดรับการชําระหนี้ตรงตามเวลา และไดรับการดูแลคุณภาพของหลักทรัพยค้ําประกัน ผูลงทุน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรม และเทาเทียมกัน - สิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติอยางมุงมั่นที่จะดําเนินธุรกิจดวยความรูและทักษะการบริหาร จัดการอยางสุดความสามารถดวยความซื่อสัตยสุจริต - สิทธิที่จะไดรับการปกปองไมใหเกิดการแสวงหาผลประโยชน โดยการใชขอมูลใดๆ ของ องคกรซึ่งยังไมเปดเผยตอสาธารณะ หนวยงานของรัฐ - สิทธิในการกํากับ ดูแล และลงโทษ ตามกฎหมาย ขอบังคับ และมาตรฐานการปฏิบัติของ หนวยงานของรัฐ 2. บริษัทฯ ใหความสําคัญเกี่ยวกับการดูแลเรื่องความปลอดภัย และสุขอนามัย โดยไดประกาศใช “นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน” และมีการบริหารจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ดังนี้ 1) จัดทําคูมือ และ ขั้นตอนการปฏิบัติงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทํางานในระบบ เอกสารระบบคุณภาพของบริษัทฯ (PMS) เชน การตรวจสอบความ ปลอดภัยฯ การจัดใหมีการซอมอพยพกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เปนตน 2) จัดทําคูมือความปลอดภัยใหกับพนักงานที่ทํางานในสํานักงาน และ พนักงานชาง เทคนิค โดยจัดอยูในรูป e-book เพื่อใหพนักงานทุกคนสามารถเขามาศึกษา ทําความเขาใจ และนําไปปฏิบัติ 3) มีการกําหนดกฎระเบียบ คําสั่ง วาดวยเรื่องความปลอดภัยในการทํางานใหกับ พนักงาน และผูรับเหมาที่มารับงานจากบริษัทฯ 4) มีการจัดทําแผนปองกัน และ แผนอพยพกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินของบริษัทฯ สําหรับแตละ สถานประกอบการของบริษัทฯ และจัดทําคูมือ คําแนะนําวิธีปฏิบัติตนกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินตางๆ ใหกับ พนักงาน 5) จัดใหมีการอบรมหลักสูตรความปลอดภัยตางๆ ใหกับพนักงาน และผูรับเหมางานของ บริษัทฯ ในป 2554 บริษัทฯ ไดรับรางวัลสถานประกอบการดีเดนดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานระดับประเทศ (ติดตอกันเปนระยะเวลา 6 ป) จากกระทรวงแรงงาน บริษัทฯ ไดดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขอนามัยอยางหลากหลาย เชน สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1) จัดโครงการปลูกรักสุขภาพใหกับพนักงาน เพื่อเปนการดูแล สงเสริม และ กระตุนให พนักงานไดใสใจดูแลสุขภาพของตนเองใหมีสุขภาพดี แข็งแรง 2) จัดใหมีมาตรการเฝาระวัง และโตตอบการเกิดโรคระบาดทางเดินหายใจ และการฉีด วัคซีนปองกันไขหวัดใหญตามฤดูกาล และไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009ใหกับพนักงานกลุม Touch Point โดยไมคิดคาใชจาย และกลุมพนักงานทั่วไปในราคาพิเศษ 3) จัดใหมีการตรวจสุขภาพประจําป ใหกับพนักงานเปนประจําทุกป 4) จัดใหมีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกใหกับพนักงานหญิงของบริษัทฯ กับโครงการ เลดี้เช็ค ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) และการตรวจมะเร็งโดย Mammography กับ มูลนิธิถันยรักษ 5) จัดใหมีการบริการฉีดวัคซีนปองกันไวรัสตาง ๆ เชน ไวรัส ตับอักเสบ B, A วัคซีน ปองกันมะเร็งปากมดลูก วัคซีนปองกันอีสุกอีใส วัคซีนปองกันไขหวัดใหญ ในราคาถูก ใหกับพนักงานและ ครอบครัว 6) เจาหนาที่ความปลอดภัยของแตละสถานประกอบการของบริษัทฯ ทําการตรวจสอบความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเปนประจําทุกเดือน และมีการทบทวนผลการตรวจสอบ โดยฝายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเปนประจํา 7) จัดใหมีกิจกรรมรณรงคดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย เชน โครงการขับรถดีมีรางวัล โครงการประกวดสถานประกอบการดีเดนดานความปลอดภัย สายงานชาง โครงการลดน้ําหนัก 5Kg & 10Kg โครงการวิ่งขึ้นตึกพิชิตดาดฟาทรูทาวเวอร และ งานกีฬาเชื่อมความสัมพันธพนักงาน เปนตน 3. บริษัทฯ กําหนดสายงานองคกรใหฝายตรวจสอบภายใน (Internal Audit) รายงานโดยตรง ตอคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งจะเปนผูพิจารณาใหคณ ุ ใหโทษตอหัวหนาฝายตรวจสอบภายใน 4. บริษัทฯ จัดใหมีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงาน 5. บริษัทฯ ใหความสําคัญตอการตอตานการทุจริต ตลอดจนการรับและการจายสินบน โดยได มีการกําหนดไวใน “คุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการทํางาน” หามพนักงานเรียกรองหรือรับสินน้ําใจเพื่อ ตนเองหรือเพื่อผูอื่น จากบุคคลที่รวมทําธุรกิจดวย และ หามการจายเงินหรือใหความชวยเหลือที่ถือวาเปน การติดสินบนหรือใหผลประโยชน 6. บริษัทฯ จัดใหมีชองทางสําหรับใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทําการรองเรียน หรือ แจงเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือการกระทําผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการ บริษัทโดยผานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยประชาสัมพันธไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ www.truecorp.co.th ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้:

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ชองทางใหผูมีสวนไดเสียสามารถรองเรียนหรือแจงเบาะแสตอคณะกรรมการบริษัทผานคณะกรรมการตรวจสอบ ผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถทําการรองเรียนหรือแจงเบาะแส (โดยจะไดรับการเก็บรักษาขอมูล ไวเปนความลับ) เกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือ การกระทําผิดจรรยาบรรณธุรกิจ ตอคณะกรรมการบริษัทฯ โดยผานคณะกรรมการตรวจสอบได ตามที่อยูดังนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส: auditcommittee@truecorp.co.th จดหมายสงทางไปรษณีย: เรียน คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคารทรูทาวเวอร ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โดยหนวยงานเลขานุการบริษัท ในฐานะที่เปนเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ จะเปน ผูดูแลรับผิดชอบในการรวบรวมและนําสงเรื่องรองเรียนหรือการแจงเบาะแสตางๆ ใหแกคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาและดําเนินการตอไป ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุปผลการดําเนินการและนําเสนอรายงานตอ คณะกรรมการบริษัทฯ เปนรายไตรมาส เงื่อนไขในการรับเรื่องรองเรียนหรือการแจงเบาะแส: ไมรับบัตรสนเทห ผูรองเรียน/ผูแจงเบาะแส ตองระบุชื่อและนามสกุลจริง โดยบริษัทฯ จะเก็บรักษาขอมูลไว เปนความลับ ซึ่งจะรับรูไดเฉพาะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบเทานัน้ เรื่องที่ไมเกี่ยวของตางๆ ดังตัวอยางดานลางนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะไมรบั ดําเนินการให: - การสมัครงาน - แบบสํารวจ หรือ การขอรับขอมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ - การเสนอขายสินคาหรือบริการ - การขอรับบริจาคหรือการสนับสนุนตางๆ ในป 2554 คณะกรรมการตรวจสอบไมไดรับเรื่องที่เปนการรองเรียนหรือการแจงเบาะแส เกี่ยวกับการทุจริต ประพฤติมิชอบ หรือการกระทําผิดจรรยาบรรณธุรกิจ แตไดรับเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับปญหา การใหบริการของบริษัทฯ จํานวน 1 เรื่อง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไดนําสงเรื่องรองเรียนดังกลาวไปยัง หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อการดําเนินการที่เหมาะสม และ หนวยงานที่เกี่ยวของของบริษัทฯ ไดดําเนินการ แกไขปญหาเปนที่เรียบรอยแลว §

§

§

§

§

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

7. บริษัทฯ มีนโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งรับรองโดยคณะกรรมการบริษัท และ ได เป ดเผยนโยบายด านความรับผิ ดชอบต อสั งคมทั้ งภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษบนเว็ บ ไซต ข องบริ ษั ท ฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจโดยยึดแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยคํานึงถึงความสําคัญดาน สังคมและสิ่งแวดลอม ในดานสังคมนั้น บริษัทฯ มุงเนนดานการสงเสริมการเรียนรูใหแกสังคม เพื่อเปนสวน หนึ่งในการพัฒนาสังคมไทยอยางยั่งยืน ดวยการนําเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย มาจัดทําโครงการดาน การศึกษาและการเรียนรู เพื่อพัฒนาเยาวชนและผูดอยโอกาสในสังคมไทย ในป 2554 ที่ผานมา กลุมบริษัทฯ ไดทํากิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมหลายประการ โดยมีรายละเอียด ดังปรากฏในเอกสารแนบทายรายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดี หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1. บริษัทฯ มีการเผยแพรทั้งขอมูลทางการเงินและขอมูลที่มิใชการเงินตามขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา โปรงใส ผานชองทางตางๆ ทั้งชองทางของ ตลาดหลั ก ทรั พ ยแ ห งประเทศไทย และ เว็บไซตของบริษั ทฯ ด วย รวมทั้ งเป ดเผยข อมู ลทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ อีกทั้งมีการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันเปนระยะๆ นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทําขอมูลรายละเอียดอื่นๆ ที่คาดวาจะเปนที่สนใจของนักลงทุนและนักวิเคราะห เชน แผนภูมิสรุปผลการดําเนินงานดานตางๆ ที่สําคัญ ขอมูลงบการเงินยอนหลังเพื่อการเปรียบเทียบ ขาวประชาสัมพันธที่นาสนใจสําหรับนักลงทุน เปนตน โดยแสดง ไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใหนักลงทุนและนักวิเคราะหเขาถึงไดอยางเทาเทียมกัน 2. บริษัทฯ นําสงรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาส และ รายป ในป 2554 ไดภายในเวลาที่ สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด ทั้งนี้ บริษัทฯ ใหความสําคัญในการจัดทํา งบการเงินใหถูกตองตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือ ปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ บริษัทฯ เครงครัดในการนําสงงบการเงินและรายงานทางการเงินใหทันภายในเวลาที่ กําหนดไวเ ปน อย างยิ่ง และไม เคยมีประวัติถูก สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. สั่งให แก ไขงบการเงิ น ตลอดจนไมเคยนําสงรายงานทางการเงินลาชา 3. บริษัทฯ ไดรายงานนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีที่คณะกรรมการไดใหความเห็นชอบไว โดยสรุป และรายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายผานชองทางตางๆ เชน รายงานประจําป และ เว็บไซตของบริษัทฯ 4. บริษัทฯ ไดแสดงรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงินควบคูกับ รายงานของผูสอบบัญชีไวในรายงานประจําป 5. บริษัทฯ ไดมีการเปดเผยบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอย จํานวนครั้งของการประชุม และจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมคณะกรรมการในปที่ผานมา ตลอดจนความเห็นจากการทําหนาที่ของคณะกรรมการชุดยอย ไวในรายงานประจําป ตามขอกําหนดของตลาด หลักทรัพยฯ และ สํานักงาน ก.ล.ต. สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

6. บริษัทฯ จายคาตอบแทนใหแกกรรมการ ในป 2554 ตามอัตราซึ่งอนุมัติโดยที่ประชุมสามัญ ผูถือหุน ประจําป 2554 โดยยังคงเปนอัตราเดิมตามที่ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2553 ไดเคยมีมติ อนุมัติไว ซึ่งอัตราคาตอบแทนดังกลาวไมมีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแตป 2545 แลว โดยมีรายละเอียดดังนี้ กรรมการไดรับคาตอบแทนเปนรายเดือน โดยมีหลักเกณฑในการจายดังนี้ ประธานกรรมการ 300,000 บาทตอเดือน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 200,000 บาทตอเดือน รองประธานกรรมการ 150,000 บาทตอเดือน กรรมการ 100,000 บาทตอเดือน หากกรรมการทานใดเปนลูกจางของบริษัทฯ ก็ใหคาตอบแทนกรรมการนี้เปนสวนเพิ่มเติมจาก คาจางปกติของลูกจางแตละทาน สําหรับกรรมการอิสระที่ทําหนาที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ไดรับคาตอบแทน ดังนี้ กรรมการอิสระที่เปนประธานในคณะกรรมการชุดยอย 300,000 บาทตอเดือน กรรมการอิสระที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย 200,000 บาทตอเดือน สวนกรรมการอิสระที่มิไดเปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอย และกรรมการทุกทานที่ มิใชกรรมการอิสระ ใหไดรับคาตอบแทนคงเดิม 7. ในป 2554 บริษัทฯ จายคาตอบแทนผูบริหารระดับสูงสอดคลองกับนโยบายของบริษัทฯ ที่ ใหจายคาตอบแทนโดยสะทอนภาระหนาที่และความรับผิดชอบของผูบริหารระดับสูงแตละคน และเปนอัตรา ที่เหมาะสมโดยศึกษาเทียบเคียงกับธุรกิจประเภทเดียวกัน 8. บริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลการจายผลตอบแทนกรรมการและผูบริหารระดับสูงโดยละเอียด ทั้งรูปแบบ ลักษณะ และ จํานวนเงินคาตอบแทน ไวในรายงานประจําป และ แบบ 56-1 9. บริษัทฯ มีหนวยงาน “ฝายนักลงทุนสัมพันธ” หรือ “Investor Relations” เพื่อสื่อสารกับบุคคลภายนอก อยางเทาเทียมและเปนธรรม ทั้งนี้ ผูลงทุนสามารถติดตอฝายนักลงทุนสัมพันธได ที่หมายเลขโทรศัพท 0-2699-2515 หรือ e-mail address ir_office@truecorp.co.th สําหรับในป 2554 ฝายนักลงทุนสัมพันธไดจัด ใหมีการประชุมนักวิเคราะหและนักลงทุนภายหลังจากที่บริษัทฯ ประกาศผลประกอบการทุกไตรมาส โดย จัดใหมีการประชุม ณ สํานักงานใหญของบริษัทฯ รวมทั้งผาน Webcast สําหรับนักวิเคราะหและนักลงทุน ที่ไมสามารถมารวมประชุมดวยตนเองได นอกจากนี้ไดจัด Roadshow เพื่อพบปะนักลงทุนทั้งในประเทศ และตางประเทศ และเปดโอกาสใหนักลงทุนทั้งประเภทสถาบันและนักลงทุนรายยอยสามารถโทรศัพท สอบถามขอมูลจากทางบริษัทฯ ไดอยางเทาเทียมกัน

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสรางคณะกรรมการ 1.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัท มีจํานวน 15 ทาน ประกอบดวย กรรมการบริหาร (Executive Directors) 4 ทาน กรรมการที่มิใชผูบริหาร (Non-Executive Directors) 11 ทาน โดยมีกรรมการอิสระ จํานวน 1 ใน 3 หรือ คิดเปนรอยละ 33.33 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด บริษัทฯ เปดเผย ประวัติของกรรมการแตละทานไวในรายงานประจําป และ แบบ 56-1 ตลอดจนเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.2 บริษัทฯ มีการกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการไวอยางชัดเจน โดยระบุ ไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และ ขอบังคับของบริษัทฯ ซึ่งเปนไปตามกฎหมาย 1.3 บริษัทฯ กําหนดคุณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” อยางละเอียด โดยเปดเผยไวใน รายงานประจําป และ แบบ 56-1 โดย นายโชติ โภควนิช เปนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบผูมี ความรูดานบัญชีและการเงิน บริษัทฯ กําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไวเขมงวดกวาขอกําหนดของ คณะกรรมการกํากับตลาดทุนในเรื่องสัดสวนการถือหุนในบริษัทฯ กลาวคือ กรรมการอิสระของบริษัทฯ จะตองไมถือหุนเกินรอยละ 0.75 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของ กับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย 1.4 บริษัทฯ เปดเผยขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการแตละคนใหผูถือหุนทราบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจําป และ แบบ 56-1 ซึ่งผูถือหุนสามารถดาวนโหลดขอมูลไดจากเว็บไซตของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่ www.set.or.th และ เว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.5 บริษัทฯ มีการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับจํานวนบริษัท ที่กรรมการแตละคนสามารถไปดํารง ตําแหนง โดยกําหนดไวในนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ วา กรรมการสามารถดํารงตําแหนง กรรมการในบริษัทอื่นได แตทั้งนี้ ในการเปนกรรมการดังกลาว ตองไมเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติหนาที่กรรมการ ของบริษัทฯ สําหรับจํานวนบริษัทที่กรรมการแตละคนสามารถไปดํารงตําแหนงกรรมการไดนั้น คณะกรรมการ สนับสนุนใหกรรมการพิจารณาจํากัดไวที่จํานวนไมเกิน 5 บริษัทจดทะเบียน 1.6 ประธานกรรมการของบริษัทฯ เปน Non-Executive Director และ มิใชบุคคลเดียวกับ กรรมการผูจัดการใหญ อํานาจหนาที่ ของประธานกรรมการนั้นเปนไปตามกฎหมาย สวนอํานาจหนาที่ของ กรรมการผูจัดการใหญนั้น คณะกรรมการบริษัทมีการกําหนดไวอยางชัดเจน

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.7 บริษัทฯ มีเลขานุการบริษัทซึ่งทําหนาที่ใหคําแนะนําดานกฏหมายและกฎเกณฑ ตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบและปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงาน ใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ เลขานุการบริษัททําการประชุมหารือรวมกันกับเลขานุการบริษัทของบริษัทจดทะเบียนอื่นๆ เปนครั้งคราวเพื่อรวมกันหาแนวทางที่ดีที่สุดในการปฏิบัติหนาที่ 2. คณะกรรมการชุดยอย 2.1 คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีคณะกรรมการชุดยอยดานตางๆ เพื่อการกํากับดูแล กิจการที่ดี ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ทําหนาที่สอบทานกระบวนการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทฯ ระบบการ ควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ พิจารณาความเปน อิสระของหนายงานตรวจสอบภายใน พิจารณาเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และ พิจารณารายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน โดยมีรายละเอียดของบทบาทและ หนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบตามที่ปรากฏในหัวขอ “การจัดการ” คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ ทําหนาที่พิจารณาการกําหนดคาตอบแทนของกรรมการและ CEO และ พิจารณา กลั่นกรองการสรรหากรรมการ กอนนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการดานการเงิน ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการจัดการดานการเงิน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ทําหนาที่ชวยคณะกรรมการบริษัทในการกําหนดและทบทวนนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ตลอดจนดูแลใหบริษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการที่ดีและ เหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ ผูถือหุน และ ผูลงทุนทั่วไปสามารถดาวนโหลดขอมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอย ของบริษัทฯ เชน หนาที่ รายชื่อคณะกรรมการ ไดจาก เว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.truecorp.co.th นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเปดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดยอยของบริษัทฯ การเขารวมประชุม ตลอดจนรายงาน ของคณะกรรมการ ไวในรายงานประจําป

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 24


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

2.2 เพื่อความโปรงใสและเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่ และในขณะเดียวกันเพื่อให คณะกรรมการชุดยอยสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิผล สมาชิกสวนใหญของคณะกรรมการชุดยอย ประกอบไปดวย กรรมการอิสระ และ กรรมการที่มิใชผูบริหาร 3. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการไดทําหนาที่พิจารณาและใหความเห็นชอบในเรื่องที่สําคัญเกี่ยวกับ การดําเนินงานของบริษัทฯ เชน วิสัยทัศนและภารกิจ กลยุทธ เปาหมายทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงานและ งบประมาณ รวมทั้งกํากับ ควบคุม ดูแลใหฝายจัดการดําเนินงานตามนโยบายและแผนที่กําหนดไวอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (ตระหนัก ถึงขีดความสามารถที่แทจริงของบริษัทฯ) ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว โดยตั้งมั่นอยูบน พื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริต และ ความรอบคอบระมัดระวัง ตลอดทุกปที่ผานมา รวมถึงป 2554 บริษัทฯ ไมมีการกระทําใดที่เปนการฝาฝนหรือ กระทําผิดกฎระเบียบของ ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพยฯ 3.2 คณะกรรมการไดจัดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ เปนลายลักษณอักษร และใหความเห็นชอบตอนโยบายดังกลาว คณะกรรมการจะทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาว เปนประจําทุกป 3.3 คณะกรรมการไดสงเสริมใหบริษัทฯ จัดทําจรรยาบรรณธุรกิจที่เปนลายลักษณอักษร เพื่อใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคนเขาใจถึงมาตรฐานดานจริยธรรมที่บริษัทฯ ใชในการดําเนินธุรกิจ อีกทั้งไดมีการติดตามใหมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณดังกลาวอยางจริงจัง 3.4 คณะกรรมการไดมีการกําหนด “หลักเกณฑและวิธีการในการรายงานการมีสวนไดเสีย ของกรรมการและผูบริหาร” อยางเปนทางการ ซึ่งกรรมการและผูบริหารทุกทานไดดําเนินการอยางถูกตอง ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการบริษัทกําหนด 3.5 คณะกรรมการไดพิจารณาเรื่องความขัดแยงทางผลประโยชนอยางรอบคอบ การ พิ จ ารณาการทํ า รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน มี แ นวทางที่ ชั ด เจนและเป น ไปเพื่ อ ผลประโยชนของบริษัทฯ และผูถือหุนโดยรวมเปนสําคัญ โดยที่ผูมีสวนไดเสียไมมีสวนรวมในการตัดสินใจ และคณะกรรมการได กํ า กั บ ดู แ ลให มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามข อ กํ า หนดเกี่ ย วกั บ ขั้ น ตอนการดํ า เนิ น การและ การเปดเผยขอมูลของรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอยางถูกตองครบถวน 3.6 คณะกรรมการไดจัดใหมีระบบการควบคุมดานการดําเนินงาน ดานรายงานทางการเงิน และดานการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย คณะกรรมการไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบ เปนผูรับผิดชอบในการดูแลการตรวจสอบระบบการควบคุมดังกลาว และทําการทบทวนระบบอยางนอย ปละ 1 ครั้ง

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 25


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3.7 บริษัทฯ มีระบบการบริหารความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองคกรโดยไดมีการประกาศใช “นโยบายและกรอบในการบริหารจัดการความเสี่ยง” อยางเปนทางการ เพื่อนําการบริหารจัดการความเสี่ยง ไปผสานรวมกับกลยุทธทางธุรกิจและการปฏิบัติงาน อีกทั้งมีระบบการตรวจสอบภายในแบบ Risk-based Audit Approach ซึ่งฝายตรวจสอบภายในจะทําการสอบทานระบบงานตางๆ และรายงานใหคณะกรรมการ ตรวจสอบทราบเปนประจํา นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการทบทวนการประเมินความเสี่ยงเพื่อใชเปนแนวทางในการ บริหารจัดการเปนประจําทุกป 4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริษัทฯ กําหนดการประชุมคณะกรรมการเปนการลวงหนา และแจงใหกรรมการ แตละคนทราบกําหนดการดังกลาว อยางไรก็ตาม ในกรณีจําเปนเรงดวน อาจมีการเรียกประชุมคณะกรรมการ เปนการเพิ่มเติมได 4.2 บริษัทฯ มีการกําหนดไวในนโยบายการกํากั บดูแลกิจการที่ดี ใหกรรมการที่มิใช ผูบริหารสามารถที่จะประชุมระหวางกันเองไดตามความจําเปนโดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารหรือฝายจัดการ เขารวมประชุม เพื่ออภิปรายปญหาตางๆ เกี่ยวกับการจัดการหรือเรื่องที่อยูในความสนใจ โดยในป 2554 มีการประชุมในลักษณะดังกลาวจํานวน 1 ครั้ง 4.3 ในป 2554 บริ ษั ทฯ มี การประชุ มคณะกรรมการ จํ านวน 6 ครั้ ง ซึ่ ง เหมาะสมกั บ ภาระหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการและการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ 4.4 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ รวมกัน พิจารณาการเลือกเรื่องเพื่อบรรจุเขาเปนวาระการประชุมคณะกรรมการ นอกจากนี้ กรรมการแตละคนมี ความเปนอิสระที่จะเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุม 4.5 บริษัทฯ จัดสงเอกสารประกอบการประชุมใหแกกรรมการเปนการลวงหนา โดยเอกสาร มีลักษณะโดยยอแตใหสารสนเทศครบถวน สําหรับเรื่องที่ไมประสงคเปดเผยเปนลายลักษณอักษรก็ใหนํา เรื่องอภิปรายกันในที่ประชุม 4.6 ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไวอยางเพียงพอที่ฝายจัดการจะเสนอเรื่องและมากพอที่ กรรมการจะอภิปรายปญหาสําคัญกันอยางรอบคอบโดยทั่วกัน 4.7 คณะกรรมการสามารถเขาถึงสารสนเทศที่จําเปนเพิ่มเติมไดจากกรรมการผูจัดการใหญ หรือ เลขานุการบริษัท หรือผูบริหารอื่นที่ไดรับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่กําหนดไว 4.8 คณะกรรมการสนับสนุนใหกรรมการผูจัดการใหญเชิญผูบริหารระดั บสู งเขาร วม ประชุมคณะกรรมการเพื่อใหสารสนเทศรายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะที่เปนผูเกี่ยวของกับปญหาโดยตรง

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 26


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 5.1 คณะกรรมการบริษัท ทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเปนประจําทุกป 6. คาตอบแทน 6.1 คาตอบแทนของกรรมการของบริษัทฯ จัดไดวาอยูในลักษณะที่เปรียบเทียบไดกับ ระดั บ ที่ ปฏิ บั ติ อยู ในอุ ตสาหกรรม ประสบการณ ภาระหน าที่ ขอบเขตของบทบาทและความรั บ ผิ ด ชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากกรรมการแตละคน นอกจากนี้ กรรมการที่ไดรับมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น เชน กรรมการอิสระที่ เปนสมาชิก ของ คณะกรรมการชุดยอยก็ไดรับคาตอบแทนเพิ่มที่เหมาะสมดวย บริษัทฯ เปดเผยคาตอบแทนของกรรมการในป 2554 เปนรายบุคคลไวในรายงานประจําป และ แบบ 56-1 6.2 คาตอบแทนของกรรมการผูจัดการใหญและผูบริหารระดับสูงเปนไปตามหลักการและ นโยบายที่คณะกรรมการกํ าหนดภายในกรอบที่ไ ดรับอนุมั ติจากที่ประชุ มผูถือหุน (สํ าหรับคาตอบแทน ประเภทที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน) และเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ระดับคาตอบแทนที่ เปนเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบัติงาน และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ก็มีความสอดคลองกับผลงาน ของบริษัทฯ และผลการปฏิบัติงานของผูบริหารแตละคนดวย 6.3 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนฯ เปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของประธาน คณะผูบริหารเปนประจําทุกปเพื่อนําไปใชในการพิจารณากําหนดคาตอบแทนของประธานคณะผูบริหาร โดยใชบรรทัดฐานที่ไดตกลงกันลวงหนากับประธานคณะผูบริหารตามเกณฑที่เปนรูปธรรม ซึ่งรวมถึง ผลการปฏิบัติงานทางการเงิน ผลงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามวัตถุประสงคเชิงกลยุทธในระยะยาว การพัฒนา ผูบริหาร ฯลฯ และกรรมการอาวุโสที่ไดรับมอบหมายจากประธานกรรมการ เปนผูสื่อสาร ผลการพิจารณา ใหประธานคณะผูบริหารทราบ 7. การพัฒนากรรมการและผูบริหาร 7.1 บริษัทฯ สงเสริมและอํานวยความสะดวกใหมีการฝกอบรมและการใหความรูแก ผูเกี่ยวของในระบบการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ เชน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบริหาร เลขานุการบริษัท เปนตน เพื่อใหมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง การฝกอบรมและใหความรูดังกลาว มีทั้งที่กระทํา เปนการภายในบริษัทฯ และใชบริการของสถาบันภายนอก ในป 2554 มีกรรมการของบริษัทฯ จํานวน 2 ทาน เขารับการอบรมหลักสูตรกรรมการ Director Accreditation Program (DAP) ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 7.2 ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม ฝายจัดการไดจัดทําและนําสงเอกสารและ ขอมูลที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการใหม รวมถึงการจัดใหมีการแนะนําลักษณะธุรกิจ และแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหแกกรรมการใหม 7.3 บริษัทฯ มีการจัด ทํา “แผนสืบทอดตําแหนง” อยางเปนทางการสําหรั บผู บริ หาร ระดับสูง เนื่องจาก ตระหนักยิ่งวา การวางแผนสืบทอดตําแหนงเปนองคประกอบที่สําคัญประการหนึ่งของ สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 27


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ความสําเร็จทางธุรกิจในอนาคต บริษัทฯ จึงไดมีการกําหนดกระบวนการและขั้นตอนปฏิบัติในการคัดเลือก บุ ค ลากรที่ จ ะเข า มารั บ ผิ ด ชอบในตํ า แหน ง บริ ห ารที่ สํ า คั ญ ทุ ก ระดั บ ให เ ป น ไปอย า งเหมาะสม โดยมี กระบวนการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง ดังตอไปนี้ 1. กําหนดรายรายชื่อและทําการประเมินผูที่อยูในขายไดรับคัดเลือกใหเขากระบวนการ สืบทอดตําแหนง ผูบริหารระดับสูง และผูบริหารที่ดํารงตําแหนงที่สําคัญ กําหนดรายชื่อและทําการ ประเมินผูบริหารในลําดับถัดลงมา และผูที่อยูในขายไดรับคัดเลือกใหเขากระบวนการสืบทอดตําแหนง โดย ดําเนินการประเมินดังนี้ - การประเมินพนักงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบดวย การ ประเมินผลการปฏิบัติงานที่ผานมาและแนวโนมผลการปฏิบัติงานในอนาคต การประเมินความสามารถใน การตัดสินใจ จุดเดน สิ่งที่ตองปรับปรุงและพัฒนา การใหคําแนะนําเกี่ยวกับงานและเสนทางอาชีพ และการ ประเมินศักยภาพของพนักงาน - การประเมิน 360 องศา ตามพฤติกรรมที่สอดคลองกับคานิยมองคกร - การประเมิ นตาราง 9 ช อง โดยพิ จารณาจากผลการปฏิ บั ติ งานและพฤติ ก รรมที่ สอดคลองกับคานิยมองคกร 2. จัดทําผังรายชือ่ ผูสืบทอดตําแหนง ผู ดํ า รงตํ า แหน ง จั ด ทํ า ผั ง รายชื่ อ ผู สื บ ทอดตํ า แหน ง ของตน โดยระบุ ชื่ อ ผูใตบังคับบัญชาที่เปนผูที่เหมาะสมที่สุดที่สามารถรับตําแหนงแทนไดจํานวน 3 คน (อาจมีจํานวนมากหรือ นอยกวานี้ได) โดยเรียงตามลําดับความพรอมของผูไดรับการเสนอชื่อแตละคน 3. พิจารณาทบทวนผังรายชื่อผูสืบทอดตําแหนงและจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง ของบริษัทฯ โดยรวม กรรมการผูจัดการใหญ ผูบริหารระดับสูง และผูบริหารฝายทรัพยากรบุคคล ประชุม พิจารณาทบทวนผังรายชื่อผูสืบทอดตําแหนง และรวบรวมแผนสืบทอดตําแหนงทั้งหมดของบริษัทฯ โดยมี องคประกอบ คือ รายงานภาพรวมธุรกิจ โครงสรางองคกร ผังรายชื่อผูไดรับคัดเลือกใหเขากระบวนการ สืบทอดตําแหนง ตาราง 9 ชอง ผลการประเมินพนักงาน และผลการประเมิน 360 องศา 4. จัดทําแผนพัฒนาผูบริหารที่ไดรับการบรรจุชื่อลงในแผนสืบทอดตําแหนงเปน รายบุคคล ดําเนินการพัฒนาตามแผน และติดตามผลการพัฒนา 5. ดําเนินการประเมินและทบทวนแผนสืบทอดตําแหนงเปนประจําทุกป อนึ่ง ผูบริหารที่ไดรับการบรรจุชื่อลงในแผนสืบทอดตําแหนง จะไดรับการพัฒนาตาม แผนที่วางไวเปนรายบุคคล มีโครงการอบรมพัฒนาที่เนนการลงมือปฏิบัติจริง การมอบหมายงานที่ทาทาย รวมทั้งการหมุนเวียนงาน เพื่อพัฒนาทักษะการเปนผูนําพรอมทั้งความรอบรูในธุรกิจและการพัฒนาองคกร อยางรอบดาน ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวามีความตอเนื่องในการจัดเตรียมผูนําที่มีความพรอม เหมาะสมสําหรับ ตําแหนงผูบริหารระดับสูง และตําแหนงที่สําคัญไดทันทีเมื่อมีตําแหนงวางลงหรือเพื่อรองรับการขยายตัว ของธุรกิจ สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 28


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

เอกสารแนบทายรายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดี

สรุปรายงานกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) ประจําป 2554 กลุมบริษัททรู มุงมั่นดําเนินกิจกรรมเพื่อสังคมอยางตอเนื่อง โดยมุงเนนการสงเสริมการศึกษา และสรางสังคมไทยใหเปนสังคมแหงภูมิปญญา เพื่อพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ดวยการนําเทคโนโลยีการ สื่อสารที่ทันสมัยมาจัดทําโครงการ “ทรูปลูกปญญา” สงเสริมใหเกิดการปลูกความรู ปลูกความดี และ ปลูกใจรักสิ่งแวดลอม เพื่อเสริมสรางความรู ควบคูกับการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และปลุกจิตสํานึกตอ สิ่งแวดลอม ใหแกเยาวชนทุกระดับ และประชาชนทั่วประเทศ ซึ่งในป 2554 กลุมทรูไดดําเนินกิจกรรม เพื่อสังคมตางๆ เพื่อรวมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ปลูกความรู โครงการ “ เปดโลกทัศนแหงการเรียนรูสูโรงเรียนทั่วประเทศ” กลุมทรู ไดติดตั้งและสงมอบ “ชุดอุปกรณและสื่อดิจิตอลเพื่อการเรียนรู” ใหแก 500 โรงเรียน ประจําป 2554 ซึ่งเปนโรงเรียนที่ขาดแคลนและอยูในพื้นที่หางไกล รวมเปน 3,500 โรงเรียนทั่วประเทศ ณ สิ้ น ป 2554 อีก ทั้ งจัด ตั้ งโรงเรี ย นตนแบบทรูปลูก ปญญา ประจําป 2554 จํ า นวน 14 โรงเรียน รวมมี โรงเรียนตนแบบทุกภูมิภาค 26 โรงเรียน ณ สิ้นป 2554 ซึ่งในป 2554 นี้ มีโรงเรียนตนแบบทรูปลูกปญญา ที่ ไดรับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน 2 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนดอยคํา จ.ลําพูน และโรงเรียนบานปางสวรรค จ.นครสวรรค นอกจากนี้ กลุมทรู ยังสนับสนุนโครงการในพระดําริ พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา โดยมอบชุดสื่อการเรียนรูทรูปลูกปญญาใหโครงการตางๆ ไดแก “กําลังใจ...ในพระราชดําริฯ” ใหแก เรือนจําชั่วคราว 4 แหง และเรือนจํากลาง จ.ราชบุรี เพื่อสรางกําลังใจใหผูตองขังกลับสูสังคม และโครงการ “จัดทํามุมหนังสือกฎหมายและใหความรูทั่วไปในหองสมุดของโรงเรียน” ใหแก 6 โรงเรียน ใน 6 อําเภอ จ.หนองบั ว ลํ า พู พร อ มรั บ เข า เป น โรงเรี ย นในโครงการทรู ป ลู ก ป ญ ญา เพื่ อ ร ว มเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว เนื่ อ งในวโรกาสพระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 นักวิทยนอยทรู (True Young Scientist) การประกวดโครงงานวิทยาศาสตรระดับประถมศึกษาแหงชาติ หัวขอ “โครงงานวิทยาศาสตรกับการ พัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดลอม และความเปนอยูอยางพอเพียง” ซึ่งจัดตอเนื่องเปนปที่ 16 และไดรับความสนใจ จากเยาวชนในวงกว าง โดยในป 2554 มี นั กเรี ยนส งโครงงานเข าร วมประกวดทั้ งสิ้ น 332 โครงงาน จาก 207 โรงเรียน ใน 63 จังหวัดทั่วประเทศ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 29


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คายเยาวชนทรู (True Youth Camp) กิจกรรมคายเยาวชนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยในป 2554 กําหนดหัวขอ “คายเยาวชนทรู คิดดี ทําดี เพื่อเรา เพื่อโลก” มีนักเรียนสงผลงานทั้งสิ้น 108 ผลงาน จาก 45 จังหวัดทั่วประเทศ “True Young Producer Award” โครงการประกวดภาพยนตรโฆษณาเพื่อสังคมในหัวขอ “คิดดี ทําดี เทดี” ซึ่งการประชาสัมพันธ สามารถเขาถึงกลุมเปาหมาย และไดรับการตอบรับเปนอยางดียิ่ง โดยในป 2554 มีผูสงผลงานเขารวมแขงขัน ทั้งหมด 862 ทีม จาก 39 สถาบันการศึกษาทั่วประเทศ

ปลูกความดี สารคดีสั้น ชุด “บันทึกทรู บันทึกคนดี” ทรูปลูกปญญาจัดทําสารคดีสั้น ชุด “บันทึกทรู บันทึกคนดี” เพื่อบันทึกความดีของคนในหลากหลาย รูปแบบ พรอมยกยองเชิดชูและเปนกําลังใจใหผูทําความดี รวมถึงสรางแรงบันดาลใจใหแกคนในสังคม อันจะ นําไปสูสังคมอุดมสุขอยางยั่งยืน ออกอากาศทางชองตางๆ ของทรูวิชั่นส ตั้งแตเดือนมกราคม 2551 เปนตนมา ปลูกใจรักสิ่งแวดลอม โครงการประกวดภาพถายอนุรักษธรรมชาติ “สัตวมีคา ปามีคุณ” กลุมทรู รวมกับอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช จัดการประกวดภาพถายอนุรักษธรรมชาติ “สัตวมีคา ปามีคุณ” โดยในป 2554 มีผูสนใจสงผลงานเขารวมแขงขันทั้งสิ้นถึง 363 คน จํานวนภาพ 1,911 ภาพ จากทั่วประเทศ และนํานิทรรศการภาพชนะเลิศ พรอมภาพเขารอบรวมแสดงในงานสัปดาหวันคุมครอง สัตวปาแหงชาติ ณ สถานที่เพาะพันธุสัตวปาแมลาว จ.เชียงราย กลุมทรูชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวม นอกจากโครงการ “ทรูปลู กปญญา” ที่กลุมบริษัททรูมุงมั่นดําเนินการอยางจริงจังและตอเนื่อง กลุ ม ทรู ยั ง ประกอบกิ จ กรรมเพื่ อ สาธารณะประโยชน อื่ น ๆ โดยในป 2554 ประเทศไทยได เกิ ดอุ ทกภั ย ครั้งรุนแรง ซึ่งกลุมทรูไดสนับสนุนใหความชวยเหลือแกผูประสบภัยน้ําทวมอยางเรงดวน ทั้งที่ดําเนินการเอง และผานหนวยงานตางๆ เพื่อบรรเทาความเดือดรอนของผูประสบภัย ดังนี้ สนั บ สนุ น ศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารช ว ยเหลื อ ผู ป ระสบอุ ท กภั ย (ศปภ.) ณ ดอนเมื อ ง โดยจั ด เจ าหน า ที่ ปฎิบัติงาน Call Center รับแจงขอความชวยเหลือ ใหใชสินคาและบริการตางๆ ในกลุมทรูโดยไมมี คาใชจาย ไดแก บริการเติมใหลูกคาทรูมูฟ พรอมเพิ่มวันใชงาน ซิมทรูมูฟ อินเทอรเน็ตผาน Wifi ทรูมูฟ เอช 3G+ แอรการด และบริการทรูวิชั่นส ใหความชวยเหลือพนักงาน โดยจัดตั้งหนวยปฏิบัติการพิเศษ True Search & Rescue ชวยเหลือ พนักงานและครอบครัวออกจากพื้นที่น้ําทวมกวา 300 ราย นอกจากนี้ ยังจัดหาที่พักชั่วคราว ที่จอดรถ กระสอบทราย และน้ําดื่ ม แก พ นักงาน รวมถึงสิ่งอํานวยความสะดวกใหแ ก พ นั กงานเฝา ระวัง เครือขาย พรอมออกมาตรการตางๆ เพื่อชวยเหลือพนักงานที่ประสบภัยน้ําทวม อาทิ เงินชวยเหลือ เรื่องบาน เงินชวยเหลือเรื่องยานพาหนะ คาที่พัก และเงินยืมแบบปลอดดอกเบี้ย สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 30


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มาตรการชวยเหลือลูกคา โดยขยายเวลาชําระคาบริการรายเดือนใหลูกคาในกลุมทรู จัดทีมฟนฟู ระบบรับสัญญาณทรูออนไลน และทรูวิชั่นส ในเขตพื้นที่น้ําทวมในกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยไมมี คาใชจาย จัด iSIM ทรูมูฟ เอช ใหลูกคาทรูออนไลนใชฟรี จัดระบบสํารองและกูคืนขอมูลฟรี 60 วัน ใหคาโทรฉุกเฉินในเขตน้ําทวมวิกฤต 10 จังหวัด เพิ่มวันใชงานแกลูกคาแบบเติมเงินในพื้นที่ประสบภัย 28 จังหวัด อีกทั้งเปดจุดโทรฟรี และสง SMS ขอความชวยเหลือโดยไมมีคาใชจายที่ 4567892 บริจาคเงินผานมูลนิธิ และหนวยงานตางๆ ไดแก รัฐบาล วุฒิสภา สภากาชาดไทย มูลนิธิเภสัชศาสตร มูลนิธิสาธารณสุขเพื่อการพัฒนา สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย ชมรมนักขาว สายเทคโนโลยีสารสนเทศ (ศปสภ.) และอสมท คลื่นขาว 100.5 MHz เปนตน บริจาคอาหารและสิ่งของตางๆ อาทิ ถุงยังชีพ ซิมทรูมูฟ อุปกรณชารจแบตเตอรี่ฉุกเฉิน ใหแกองคกรและ มูลนิธิตางๆ ไดแก ทีโอที กสท โทรคมนาคม ไปรษณียไทย ไทยพีบีเอส กรุงเทพมหานคร สภากาชาดไทย กองทัพอากาศ และโครงการ One Heart รวมใจไทยชวยกัน เปนตน ใหการสนับสนุนบริการในกลุมทรู ไดแก สื่อประชาสัมพันธตางๆ ในกลุมทรู เชิญชวนบริจาคเงิน ชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวมผานบัญชีมูลนิธิราชประชานุเคราะห หรือบริจาคผาน SMS ทรูมูฟ เพื่อมูลนิธิฯ และครอบครัวขาว 3 นอกจากนี้ยังเปดเว็บไซตรายงานสถานการณน้ําทวม ตลอด 24 ชั่วโมง อีกทั้งเปดบริการฟรี Wi-Fi by TrueMove H ที่ราน 7-Eleven กวา 2,500 สาขาทั่วกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล และใหโทรฟรีผานตูโทรศัพทสาธารณะของทรูกวา 600 เครื่อง กลุมทรู รวมเปนหนึ่งใน 12 องคกรเอกชน จัดตั้งโครงการ “พลังน้ําใจไทย Power of Thai” ระดมทุน ฟนฟูโรงเรียนภายหลังน้ําลด ตั้งเปา 84 โรงเรียนภายในเดือนกุมภาพันธ 2555 โดยกลุมทรูเปน เจาภาพ 11 โรงเรียน และชวยประชาสัมพันธโครงการผานสื่อตางๆ ของกลุมทรู ตลอดจนรวมกิจกรรม หารายไดสมทบทุนโครงการฯ

สาธารณะประโยชนอื่นๆ กลุ ม ทรู สนั บ สนุ น โครงการรณรงค จั ด หารถเข็ น สํ า หรั บ คนพิ ก าร ถวายเป น พระราชกุ ศลแด พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา บริจาคเงินจํานวน 8,500,000 บาท ซื้อรถเข็นสําหรับคนพิการรวม 2,000 คัน ในงาน “สองยกกําลังสอง เพื่อพี่นองคนพิการ” จัดโดยกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย นอกจากนี้ ยังรวมกับศูนยรับบริจาคอวัยวะ และศูนยดวงตาสภากาชาดไทย จัดโครงการ Let Them See Love ปที่ 5 เพื่อรณรงคใหประชาชนบริจาคอวัยวะและดวงตา พรอมรับบริจาคทุน ทรัพยผาน SMS และเพิ่มชองทางการบริจาคผาน www.helplink.net ซึ่งเปนเว็บไซตศูนยกลางความชวยเหลือของ กลุมทรู ในการประชาสัมพันธกิจกรรมและขอความชวยเหลือดานตางๆ แกผูที่เดือดรอน จนถึงปจจุบัน รางวัลและประกาศเกียรติคุณ กลุมทรู รับมอบเกียรติบัตรประกาศเกียรติคุณ “จิตอาสาทําดี มีคนเห็น” โครงการ “สงตอความดี... ไมมีวันหมด” จากกรมประชาสัมพันธ ในฐานะองคกรเอกชนที่มีจิตอาสาบําเพ็ญประโยชนเพื่อสวนรวม ชวงเกิดมหาอุทกภัยและวิกฤติอื่นๆ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการฝายประชาสัมพันธ การจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว กรมประชาสัมพันธ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 31


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

8.5 การดูแลเรื่องการใชขอ มูลภายใน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสําคัญของการปองกันการนําขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนเปนอยางยิ่ง บริษัทฯ มีการกํากับดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน โดยกําหนด ขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการใชขอมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยไวในคุณธรรมและขอพึงปฏิบัติในการ ทํางานควบคูกับการใชมาตรการตามกฎหมายในการดูแลกรรมการและผูบริหารในการนําขอมูลภายในของ บริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนและผูที่เกี่ยวของ ปองกันมิใหกรรมการและผูบริหารที่มีสวนใกลชิด กับขอมูลของบริษัทฯ นําขอมูลภายในที่ตนลวงรูมาจากการเปนกรรมการและผูบริหารไปแสวงหาประโยชน ใดๆ อันจะเปนการฝาฝนหนาที่ความรับผิดชอบของตนที่มีตอบริษัทฯ และผูถือหุน จึงกําหนดเปนหลัก ใหถือปฏิบัติอยางเครงครัดในการที่ตองเก็บรักษาสารสนเทศที่สําคัญที่ยังไมไดเปดเผยไวเปนความลับ โดยจํากัดใหรับรูไดเฉพาะกรรมการและผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของเทานั้น นอกจากนี้ในการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยที่ออกโดยบริษัทฯ กรรมการและผูบริหารตองรายงานตอสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) ภายใน 3 วันทําการนับแตวันที่เกิดรายการขึ้น พรอมทั้งสงสํ า เนารายงานดัง กลาว จํ า นวน 1 ชุด ใหกับบริษั ท ฯ เพื่ อเก็ บ เป น หลัก ฐานและรายงานต อ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจํา ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวา กรรมการและผูบริหารสามารถบริหารและ ดําเนินกิจการดวยความซื่อสัตยสุจริต โปรงใส และสอดคลองกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และยังมีสวนชวยใหผูถือหุนตลอดจนผูลงทุนทั่วไปเกิดความเชื่อมั่นในกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ 8.6 บุคลากร จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แบงแยกตามกลุมงานมีดังนี้ กลุมงาน พนักงานในระดับบริหาร ปฏิบัติการโครงขาย และ บํารุงรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการลูกคา การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน

จํานวนพนักงาน (คน) 86 1,149 711 117 186 190 264 2,703

ที่มา : บริษัทฯ

สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 32


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาตอบแทน และผลประโยชนของพนักงาน (1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน y เงินเดือน y เงิ น ตอบแทนการปฏิ บั ติ ง านประจํ า ป ในอั ต รา 0-4 เท า ของเงิ น เดื อ นพนั ก งาน ขึ้ น อยู กั บ ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริษัทฯ y กรณี เกษี ยณอายุ พนั กงานที่ จะมี อายุ ครบ 60 ป บริ บู รณ หรื อในกรณี ที่ บริ ษั ทฯ และพนั กงาน เห็ นพองต องกั นอาจใหพนักงานเกษียณอายุกอนกําหนดได โดยพนักงานจะได รับคาชดเชย การเกษียณอายุตามกฎหมาย ในป 2554 สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2554 ค า ตอบแทนพนั ก งานรวมทั้ ง สิ้ น ประมาณ 2,170.88 ลานบาท โดยประกอบดวย คาแรง เงินเดือน เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ และอื่นๆ (2) คาตอบแทนอืน่ y

y

สวนที่ 1

แผนประกันสุขภาพและสวัสดิการพนักงาน - หองพยาบาลของบริษัทฯ - การตรวจสุขภาพประจําป - การตรวจรางกายพนักงานใหม - การประกันสุขภาพกลุม - การประกันอุบัติเหตุกลุม - การประกันชีวติ กลุม - กองทุนประกันสังคม - กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ วันหยุดพักผอนประจําป พนักงานของบริษัทฯ มีสิทธิหยุดพักผอนประจําป 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทํางาน ขึ้นอยูกับ ระดับตําแหนงและอายุการทํางาน ดังนี้ - พนักงานระดับผูชวยผูอํานวยการฝายหรือเทียบเทาขึ้นไป มีสิทธิหยุดพักผอน ปละ 15 วันทํางาน - พนักงานระดับผูจัดการหรือเทียบเทาลงมา มีสิทธิหยุดพักผอนประจําป ตามอายุงานดังนี้ - พนทดลองงาน แตไมถึง 3 ป 10 วันทํางาน - อายุงาน 3 ป แตไมถึง 5 ป 12 วันทํางาน - อายุงานตั้งแต 5 ปขึ้นไป 15 วันทํางาน

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 33


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ ใหความสําคัญตอการฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน จึงไดมีการจัดตั้งหนวยงานที่ดูแล ในเรื่องนี้โดยเฉพาะ คือ ศูนยฝกอบรมและการพัฒนาบุคลากร ซึ่งมีเปาหมายหลักในการพัฒนาความรู ความสามารถในการเปนพนักงานของบริษัทฯ ความรูความสามารถเหลานี้เปนรากฐานที่สําคัญของการ พัฒนาบุคลากร สายงาน และเปนการเปดโอกาสใหพนักงานเกิดความกาวหนาในอาชีพ ศูนยฝกอบรมและ พัฒนามีทางเลือกหลากหลายเพื่อการเรียนรู เพื่อการพัฒนาอยางตอเนื่อง ชวยใหพนักงานสามารถปฏิบัติงาน ลุลวงตามที่ไดรับมอบหมาย และเตรียมความพรอมใหพนักงานมุงสูเปาหมายในอาชีพการงานของตน ซึ่ง การพัฒนาบุคลากรนี้ในที่สุดก็จะสงผลถึงความแข็งแกรงของการดําเนินกิจการของบริษัทฯ นั่นเอง บทบาทอื่นๆ ที่สําคัญของศูนยฝกอบรมและพัฒนา นอกเหนือจากการเปนผูใหการฝกอบรมและ พัฒนาพนักงานแลว ศูนยฝกอบรมและพัฒนายังเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง และเปนเพื่อนรวมธุรกิจกับ ทุกหนวยงาน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาทําหนาที่ผูนําการเปลี่ยนแปลง โดยการเปนผูอํานวยความสะดวกใน การเปลี่ ย นแปลง ซึ่ ง จะให ก ารสนั บ สนุ น กลยุ ท ธ แ ละทิ ศ ทางใหม ๆ ของบริ ษั ท ฯ พร อ มทั้ ง ส ง เสริ ม ให พนักงานทุกคนพรอมที่จะเผชิญกับความทาทายที่มีความสลับซับซอนมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ศูนยฝกอบรมและพัฒนาก็เปนเพื่อนรวมธุ รกิจกับทุกหนวยงาน โดยการ รวมมือกับหนวยงานตางๆ ในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมและพัฒนาที่เหมาะสมกับ แผนธุรกิจของแตละหนวยงาน รวมทั้งใหการสนับสนุนที่จําเปนทุกอยาง ปจจุบันไดจัดทําระบบการเรียนทางไกลผานระบบ MPLS ไปยังพนักงานในตางจังหวัดเพื่อ อํานวยความสะดวกและเพิ่มชองทางการเรียนรูและพัฒนาอยางตอเนื่อง หลั ก สู ต รที่ จั ด ฝ ก อบรมภายในบริ ษั ท ฯ มี ป ระมาณ 350 - 400 หลั ก สู ต รต อ ป ในป 2554 รวมจํานวนคน-วันอบรมได 48,000 Training Mandays ใชงบประมาณรวมทั้งสิ้น 48 ลานบาท โดยจัดใหมี หลักสูตรการฝกอบรมดานความรูความสามารถหลักใหแกพนักงานทุกระดับ เชน วัฒนธรรมองคกร 4Cs การสื่อสารอยางมีประสิทธิผล การวางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน การพัฒนาตนเองสูความเปน ผูมีประสิทธิผลสูง เปนตน หลักสูตรการพัฒนาผูบริหาร เชน ทักษะการเปนผูนํา การแกปญหาและการ ตัดสินใจ การบริหารการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิผล เปนตน หลักสูตรการฝกอบรมดานความรูความสามารถ ตามธุรกิจหลัก และเทคโนโลยีใหมๆ เชน 3G Technology, GPRS & EDGE, Broadband Network, NGN Network, VOIP Technology, DOCSIS Technology รวมทั้งหลักสูตรความปลอดภัยในการทํางานสําหรับ ชางเทคนิคและวิศวกร หลักสูตรพัฒนาทักษะดานการขายและการใหบริการลูกคาสําหรับพนักงานขาย เจาหนาที่บริการลูกคาและทีมงานชางเทคนิคตางๆ เชน True Product & Services ทักษะการใหบริการอยาง มืออาชีพ บุคลิกภาพในงานบริการ และหลักสูตรดาน IT ทั้งที่เปนระบบใหบริการลูกคาและระบบสนับสนุน ทั้งหลายในบริษัทฯ เปนตน นอกจากนีไ้ ดใหความรวมมือกับภาครัฐในการจัดการเรียนการสอนดาน ICT และเทคโนโลยีที่ เกี่ยวของแกนกั ศึกษารวมทั้งการฝกงานแกนักศึกษาทุกปซึ่งเปน Corporate Social Responsibility ที่สราง คุณคาตอสังคมและประเทศชาติ สวนที่ 1

TRUETL: การจัดการ

หัวขอที่ 8

-

หนา 34


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

9. การควบคุมภายใน จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษัท รวมกั บ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอและ เหมาะสม และผูสอบบัญชีของบริษัทฯ มิไดพบสถานการณใดๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ที่เปนจุดออนที่มีสาระสําคัญอันอาจมีผลกระทบที่เปนสาระสําคัญตองบการเงิน นอกจากนี้ คณะกรรมการ ไดเนนใหมีการพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการเพื่อใหระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง

สวนที่ 1

TRUETM: การควบคุมภายใน

หัวขอที่ 9

-

หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

10. รายการระหวางกัน ก. ในระหวางป พ.ศ. 2554 บริษัทฯ มีรายการคาระหวางกันกับ บริษัทยอย บริษัทรวม กิจการรวมคาและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ตามที่ไดมีการเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 (หมายเหตุขอ 42) โดยรายการระหวางกันของบริษัทฯ และบริษัทยอยที่มีกับบริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของกันที่สําคัญ สามารถสรุปไดดังนี้: ชื่อบริษัท 1. ผูทํารายการ : บริษัทฯ 1.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ บริษัทฯ

ขาย : - ใหบริการในการรับแลกเหรียญและ บริการอื่น ซื้อ : - จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการ อื่นที่เกี่ยวของ

- จายคาพัฒนาระบบจัดซื้อ - จายคาบริการอื่น - จายคาสินคา

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

1,073 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทฯ ใหบริการลูกคาทั่วไป 24,493 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไป โดยมีอัตราคาเชาอยูใ นอัตราระหวาง 200 - 220 บาทตอตารางเมตร ตอเดือน และอัตราคาบริการอยูระหวาง 220 - 520 บาทตอ ตารางเมตรตอเดือน ซึ่งสัญญาเชาอาคารสํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 1,500 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 26,723 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 1,963 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 1.2

1.3

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

NEC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยออมอยูรอยละ 9.62 และมี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายชัชวาล เจียรวนนท

ซื้อ : - จายคาซอมบํารุงรักษาโครงขาย

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยออมอยูรอยละ 70.00 มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

ขาย : - ขายสินคาและบริการที่เกี่ยวของกับ โทรศัพทพื้นฐาน ซื้อ : - จายคาบริการเชาเซิฟเวอรอินเทอรเน็ต

- จายคาบริการอื่น 1.4

สวนที่ 1

บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด (AI)

AI เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออม ขาย : อยูรอยละ 65.00 มีความสัมพันธกัน - ขายสินคาและบริการที่เกี่ยวของกับ โดยมีกรรมการรวมกัน คือ โทรศัพทพื้นฐาน นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน ซื้อ : - สวนลดคาบริการ

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

120 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

315 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 2,918 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาทีร่ าคา 810,536.60 บาทตอ เดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 4,525 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 1 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

(408) - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

หัวขอที่ 10 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

2. ผูทํารายการ : กลุมบริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) (BITCO) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรวมรอยละ 99.40) 2.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ BITCO เปนกลุมบริษัทที่ - ขายโทรศัพทมือถือและอุปกรณ บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.40 ที่เกี่ยวของ - ขายบัตรเติมเงิน

ซื้อ : - จายคาเชาสํานักงานและบริการ ที่เกี่ยวของ - คาคอมมิชชั่นจากการขายบัตรเติมเงิน และอื่นๆ - จายคาบริการอื่น 2.2

สวนที่ 1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.40 และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 70.00 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ขาย : - ใหบริการอื่นๆ

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

18,109 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทยอยของ BITCO ใหบริการ ลูกคาทั่วไป 3,509,727 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทยอยของ BITCO ใหบริการ ลูกคาทั่วไป 40,953 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ โดยมีอัตราคาเชาทีร่ าคา 816,998 บาทตอ เดือน ซึ่งสัญญาเชามีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา 63,822 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 102,622 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 43 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

หัวขอที่ 10 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 2.3

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด (Bboyd)

BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 99.40 และ Bboyd เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 70.00 มีความสัมพันธ กันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท 2.4 บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE) BITCO เปนกลุมบริษัทที่บริษัทฯ ถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 99.40 และ NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 40.00 มี ความสัมพันธกันโดยมีกรรมการ รวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท 3. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 91.08) 3.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ (CPG) บริษัทฯ และ TM เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 91.08

ลักษณะรายการ ซื้อ : - Content

ซื้อ : - Content

ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซื้อ : - จายคาบริการอื่น

3.2

สวนที่ 1

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

TM และ NEC เปนบริษัทที่บริษัทฯถือ หุนโดยออมอยูรอยละ 91.08 และ 9.62 ตามลําดับ

ซื้อ : - ซื้ออุปกรณ

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

1,178 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

1,973 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

644 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 309 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 259 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

4. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด (TI) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 100.00) 4.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TI เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ใหบริการอินเทอรเน็ต ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 100.00 ซื้อ : - จายคาเชาอาคารสํานักงานและบริการ อื่น

4.2

4.3

4.4

สวนที่ 1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด (Bboyd)

TI เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรง อยูรอยละ 100.00 และ TIDC เปน บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู รอยละ 70.00

TI และ NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 100.00 และ รอยละ 40.00 ตามลําดับ มีความ สัมพันธกันโดย มีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท TI และ Bboyd เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 100.00 และ รอยละ 70.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกันโดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท

ขาย : - ใหบริการอินเทอรเน็ต ซื้อ : - จายคาบริการเชาเซิฟเวอรอินเทอรเน็ต ขาย : - ใหบริการอินเทอรเน็ต

ซื้อ : - คาผลิตการตูนแอนนิเมชั่น

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

10,272 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป 21,011 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 149,688 บาทตอเดือน ซึ่งสัญญาเชา อาคารสํานักงานมีอายุปตอป และมีสทิ ธิจะตออายุสัญญาเชา

2,618 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป 29,386 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 4,344 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TI ใหบริการลูกคาทั่วไป

1,050 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

หัวขอที่ 10 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

5. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด (TP) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 5.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TP เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00

ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 5.2

TP เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 100.00 และ NC TRUE เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยู รอยละ 40.00

ขาย : - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น

TP และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00 และ 70.00 ตามลําดับ มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท 6. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด (TLS) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 100.00) 6.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ (CPG) บริษัทฯ และ TLS เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 100.00

ขาย : - ใหบริการเชาสํานักงานและบริการอื่น

5.3

สวนที่ 1

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

ขาย : - ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่น

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

9,818 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา 2,217 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 5,775 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันที่ราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการสํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุ สัญญาเชา 6,625 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญาที่ไดตกลงกัน ตามราคา 455 บาทตอเดือนตอตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริการ สํานักงานมีอายุปตอป และมีสิทธิจะตออายุสัญญาเชา

328,736 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดใน ระยะเวลาตางกัน

หัวขอที่ 10 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 6.2

บริษัท ทรู จีเอส จํากัด (TGS)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ TLS เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 100.00 และ TGS เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวนไดเสียอยู รอยละ 45.00

ลักษณะรายการ ขาย : - ใหบริการเชารถยนตและบริการอื่น

7. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด (TLP) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงและโดยออมรวมรอยละ 100.00) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TLP เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาเชาสํานักงานและบริการอื่น ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 21.73 และ โดยออมอยูรอยละ 78.27 8. ผูทํารายการ : บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 8.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ AWC เปนบริษัททีบ่ ริษัทฯ - จายคาบริการอื่น ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00 - จายเงินซื้อโทรศัพท 8.2

AWC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ซื้อ : ออมอยูรอยละ 100.00 และ NEC เปน - จายคาซอมบํารุงรักษาโครงขาย บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู รอยละ 9.62 9. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 70.00) 9.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TIDC เปนบริษัททีบ่ ริษัทฯ - ใหบริการอินเทอรเน็ตและบริการอื่น ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00

สวนที่ 1

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

435 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใตเงื่อนไขการคาทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ไดตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทตอคันตอเดือน ซึ่งสัญญาใหเชายานพาหนะมีอายุสัญญา 3 ป สิ้นสุดใน ระยะเวลาตางกัน

1,198 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

10 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 362 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 2,375 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

4,921 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 9.2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ขาย : ออมอยูรอยละ 70.00 และ NC TRUE - ใหบริการเชาเซิฟเวอรอินเทอรเน็ต เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยู และบริการอื่น รอยละ 40.00 10. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด (TLR) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TLR เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ซื้อสินคา ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00 11. ผูทํารายการ : กลุมบริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด (TVG) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 11.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TVG เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ไดรับเงินสนับสนุนรวมกิจกรรม ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00

11.3

สวนที่ 1

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE)

ซื้อ : - จายคาบริการอื่น 11.2

ป 2554 (พันบาท)

บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด (Channel V)

บริษัท ทรู จีเอส จํากัด (TGS)

TVG เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 100.00 และ Channel V เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยู รอยละ 25.82 TVG เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุนโดย ออมอยูรอยละ 100.00 และ TGS เปน บริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยู รอยละ 45.00

ซื้อ : - จายคาผลิตรายการเพลง

ขาย : - คาโฆษณา

TRUETN: รายการระหวางกัน

3,888 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสัญญา โดยมีอัตรา 54,000 บาทตอหนวยตอเดือน สัญญาเชามีอายุ 1 ป

12,079 - เปนการดําเนินงานตามปกติที่มีสัญญาที่ไดตกลงกันตาม ราคาตลาดทั่วไป

91,464 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ TVG ใหบริการลูกคา ทั่วไป 16,940 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ 48,198 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

652 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

12. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ทัช จํากัด (TT) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) 12.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ (CPG) บริษัทฯ และ บริษัทฯ ถือหุน TT โดย ออมอยูรอยละ 100.00

ลักษณะรายการ ขาย : - บริการ call center ซื้อ : - จายคาเชาสํานักงานและบริการอื่น

12.2

TT เปนบริษัทที่บริษัทฯถือหุนโดยออม ขาย : อยูรอยละ 100.00 และ TGS เปนบริษัท - บริการ call center ที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยูรอยละ 45.00 13. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด (TMN) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงและโดยออมรอยละ 100.00) 13.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TMN เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาคอมมิชชั่นจากการขาย ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 49.00 และโดย บัตรเติมเงิน ออมอยูรอยละ 51.00 ขาย : 13.2 บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด (NC TRUE) TMN เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 49.00 และโดยออม - ใหบริการตัวแทนชําระคาบริการ อยูรอยละ 51.00 และ NC TRUE เปน บริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสียอยู รอยละ 40.00 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายศุภชัย เจียรวนนท และ นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

สวนที่ 1

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

2,574 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 25,572 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

บริษัท ทรู จีเอส จํากัด (TGS)

TRUETN: รายการระหวางกัน

4,026 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

248,049 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

71,906 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ TMN ใหบริการลูกคาทั่วไป

หัวขอที่ 10 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 13.3

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

ซื้อ : TMN เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 49.00 และโดยออม - จายคาบริการอินเทอรเน็ต อยูรอยละ 51.00 และ TIDC เปนบริษัท ที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 70.00 14. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด (TIG) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 100.00) 14.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และบริษัทฯ ถือหุน TIG - จายคาเชาอาคารและบริการอื่น โดยตรงอยูรอยละ 100.00 14.2 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา TIG เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ซื้อ : เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) โดยตรงอยูรอยละ 100.00 และ TIDC - จายคาเชาเซิฟเวอรอินเทอรเน็ต เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู และบริการอื่น รอยละ 70.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย 15. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (TPC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 100.00) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และบริษัทฯ ถือหุน TPC - จายคาบริการอื่นๆ โดยตรงอยูรอยละ 100.00

สวนที่ 1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

1,337 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

1,734 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 5,241 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

7,292 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

16. ผูทํารายการ : บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด (WW) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงรอยละ 87.50) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และบริษัทฯถือหุน WW - ขายอุปกรณตางๆ โดยตรงอยูรอยละ 87.50 - ใหบริการติดตั้งอุปกรณ ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 17. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (TUC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยตรงและโดยออมรอยละ 100.00) 17.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ TUC เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ถือหุนโดยตรงอยูรอยละ 0.03 และ โดยออมอยูรอยละ 99.97 ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 17.2

สวนที่ 1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

TUC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน โดยตรงอยูรอยละ 0.03 และโดยออม อยูรอยละ 99.97 และ TIDC เปน บริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยู รอยละ 70.00 มีความสัมพันธกันโดยมี กรรมการรวมกัน คือ นายชัชวาลย เจียรวนนท

ขาย : - ใหบริการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

4,030 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ WW ใหบริการลูกคาทั่วไป 14,469 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่ WW ใหบริการลูกคาทั่วไป 921 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

190,094 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 8,009 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ 3,261 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 1,369 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เปนทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

18. ผูทํารายการ : บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด (KSC) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 56.83) 18.1 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : (CPG) บริษัทฯ และ KSC เปนบริษัทที่บริษัทฯ - ขายสินคา ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 56.83 - ใหบริการอินเตอรเน็ต

ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ 18.2

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

KSC และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 56.83 และ 70.00 ตามลําดับ

ขาย : - ใหบริการอินเตอรเน็ต

ซื้อ : - จายคาบริการอินเทอรเน็ต และ คาบริการอื่นๆ 19. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด (TDCM) (บริษัทฯ ถือหุนโดยออมรอยละ 98.52) 19.1 บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด TDCM เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุน ขาย : (NC True) โดยออมอยูรอยละ 98.52 และ NC True - คาโฆษณา เปนบริษัทที่บริษัทฯ มีสวนไดเสีย อยูรอยละ 40.00 มีความสัมพันธกัน ซื้อ : โดยมีกรรมการรวมกัน คือ - คา content นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข - คาสินคาอื่นๆ

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

4,450 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 1,186 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป

466 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 259 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 4,526 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

41,791 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 342 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ 932 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท 19.2

กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (CPG)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ขาย : บริษัทฯ และ TDCM เปนบริษัทที่ - ขายสินคา บริษัทฯถือหุนโดยออมอยูรอยละ 98.52 - คาโฆษณา ซื้อ : - จายคาบริการอื่นๆ

19.3

TDCM และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัท ซื้อ : ฯ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 98.52 และ - จายคาบริการอินเตอรเน็ต และ 70.00 ตามลําดับ คาบริการอื่นๆ 20. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด (TDP) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 100) ซื้อ : 20.1 บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา TDP และ TIDC เปนบริษัทที่บริษัทฯ เซ็นเตอร จํากัด (TIDC) ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00 และ - จายคาบริการอินเตอรเน็ต และ คาบริการอื่นๆ 70.00 ตามลําดับ 20.2 บริษัท เอ็น ซี ทรู จํากัด TDP เปนบริษัทที่บริษัทฯ ถือหุนโดย ซื้อ : (NC True) ออมอยูรอยละ 100.00 และ NC True - คา content เปนบริษัทที่บริษัทฯมีสวนไดเสีย อยูรอยละ 40.00 มีความสัมพันธกัน โดยมีกรรมการรวมกัน คือ นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข 20.3 กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TDP เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาบริการอื่นๆ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00 21. ผูทํารายการ : บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (TIT) (บริษัทถือหุนโดยออมรอยละ 100.00) กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ กลุมบริษัท CPG เปนผูถือหุนใหญของ ซื้อ : (CPG) บริษัทฯ และ TIT เปนบริษัทที่บริษัทฯ - จายคาบริการอื่นๆ ถือหุนโดยออมอยูรอยละ 100.00

สวนที่ 1

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด (TIDC)

TRUETN: รายการระหวางกัน

ป 2554 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเปนของรายการระหวางกัน

9,681 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 1,200 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติตามราคาที่ บริษัทใหบริการลูกคาทั่วไป 6,391 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ 1,670 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

7,616 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ 10,466 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

864 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

7,841 - เปนการดําเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่เปน ทางการคาปกติ

หัวขอที่ 10 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ข. ยอดคางชําระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากการขายสินคาและบริการ มีดังนี้ หนวย : พันบาท บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

20,113

(12,559)

7,554

3,288

392

3,680

2

19

21

บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

36,275

(31,725)

4,550

บริษัท ทรู จีเอส จํากัด

-

57,109

57,109

บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด

บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ รวม

165

-

165

948,432

730,686

1,679,118

1,008,275

743,922

1,752,197

ค. ยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากการซื้อสินคาและบริการ มีดังนี้ หนวย : พันบาท บริษัทรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด กลุมบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด รวม

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

3,708

(2,734)

974

14,996

11,218

26,214

3,037

(2,014)

1,023

108,814

69,512

178,326

3,951

18,096

22,047

31,118

18,076

49,194

45

(3)

42

165,669

112,151

277,820

หวัขอที่ 10 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ง. ยอดคงเหลือเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกีย่ วของกัน การเปลี่ยนแปลงยอดคางชําระที่เกิดจากเงินใหกูยืมจากกิจการที่เกีย่ วของกัน มีดังนี้

หนวย : พันบาท

บริษัทที่เกี่ยวของกัน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด

3,500

(3,500)

บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด

8,400

300

8,700

11,900

(3,200)

8,700

รวม

-

จ. ภาระผูกพันระหวางบริษัทฯ กับบริษัทยอย บริษัทฯ มีภาระผูกพันในการใหการสนับสนุนแกบริษัทยอย คือ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“ทรูมูฟ”) ตามสัญญาเงินกูที่ทรูมูฟทํากับกลุมเจาหนี้ ดังนี้ 1. ใหการสนับสนุนการชําระเงินใหแกหนวยงานของรัฐอันเนื่องมาจากสัญญาอนุญาตให ดําเนินการโทรศัพทเคลื่อนที่ ในกรณี ที่ กระแสเงิ นสดของทรู มู ฟไม เพี ยงพอสํ าหรั บการดํ าเนิ นงานอั นเนื่ องมาจากการ ที่ตองชําระเงินใหแกคูสัญญาผูใหอนุญาต บริษัทฯ จะใหการสนับสนุนทางการเงินเปนรายไตรมาส สํ า หรั บ จํ านวนเงิ นส วนที่ ไม เพี ยงพออั นเกิ ดจากการที่ ต องชํ าระให แก คู สั ญญาอนุ ญาตให ดํ าเนิ นการ โทรศัพทเคลื่อนที่ 2. ใหการสนับสนุนสําหรับการดําเนินงานโดยทัว่ ไป ในกรณีที่กระแสเงินสดของทรูมูฟไมเพียงพอที่จะนํามาใชในการดําเนินงานหรือชําระหนี้ ภายใตสัญญาที่มีกับกลุมเจาหนี้ บริษัทฯ จะใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ ไมเกิน 7,000 ลานบาท ภายใตเงื่อนไขของสัญญา บริษัทฯ และผูมีสวนเกี่ยวของตองปฏิบัติตามที่ระบุไวในสัญญา ดังกลาว การใหการสนับสนุนทางการเงินแกทรูมูฟ จะตองเปนไปตามรูปแบบตามที่ไดระบุไวในสัญญา มาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน บริษัทฯ มีมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการทํารายการระหวางกันตามที่กฎหมาย และ ขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนรวมทั้งตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดกาํ หนดไว โดยบริษทั ฯ ไดนํากฎหมายและขอกําหนดดังกลาวมาจัดทําเปน “ระเบียบในการเขาทํารายการระหวางกัน” ไวอยางชัดเจน เพื่อใหกรรมการและพนักงานไดยึดถือและปฏิบัติอยางถูกตอง ภายใตระเบียบในการเขาทํารายการระหวางกัน ของบริษัทฯ ไดกําหนดมาตรการและขั้นตอนในการอนุมัติการเขาทํารายการระหวางกันไวดังนี้

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

หวัขอที่ 10 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ฝายจัดการสามารถอนุมัติการเขาทํารายการได โดยไมตอง ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ ภายใตวัตถุประสงค ของมาตรา 89/12 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 1.1 รายการที่เปนขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป “ขอตกลงทางการคาโดยทั่วไป” หมายถึง ขอตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับที่ วิญูชนจะพึงกระทํากับคูสัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกัน ดวยอํานาจตอรอง ทางการคาที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเปนกรรมการ ผูบริห าร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของ แลวแตกรณี ซึ่งรวมถึงขอตกลงทางการคาที่มีราคาและ เงื่อนไข หรือ อัตรากําไรขั้นตน ดังตอไปนี้ (ก) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอยไดรับหรือใหกับบุคคลทั่วไป (ข) ราคาและเงื่อนไขที่ กรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่มีความเกี่ยวของใหกับ บุคคลทั่วไป (ค) ราคาและเงื่อนไขที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอย สามารถแสดงไดวาผูประกอบ ธุรกิจในลักษณะทํานองเดียวกันใหกับบุคคลทั่วไป (ง) ในกรณีที่ไมสามารถเปรียบเทียบราคาของสินคาหรือบริการได เนื่องจากสินคา หรือบริการที่เกี่ยวของนั้นมีลักษณะเฉพาะ หรือมีการสั่งทําตามความตองการ โดยเฉพาะ แตบริษัทฯ หรือบริษัทยอยสามารถแสดงไดวาอัตรากําไรขั้นตนที่ บริษัทฯ หรือบริษัทยอยไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับคูคาอื่น หรื อ อั ต รากํ า ไรขั้ น ต น ที่ก รรมการ ผู บริ ห าร หรื อ บุ ค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ ง ไดรับจากรายการระหวางกันไมตางจากธุรกรรมกับคูคาอื่น และมีเงื่อนไข หรือขอตกลงอื่นๆ ไมแตกตางกัน 1.2 การใหกูยืมเงินตามระเบียบสงเคราะหพนักงานและลูกจาง 1.3 รายการที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งของบริษัทฯ หรือ คูสัญญาทั้งสองฝายมีสถานะเปน (ก) บริษัทยอยที่บริษัทฯ เปนผูถอื หุนไมนอยกวารอยละเกาสิบของหุนที่จําหนาย ไดแลวทั้งหมดของบริษัทยอย หรือ (ข) บริษัทยอยทีก่ รรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของถือหุนหรือ มีสวนไดเสียอยูดวย ไมวาโดยตรงหรือโดยออม ไมเกินจํานวน อัตรา หรือ มีลักษณะตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

หวัขอที่ 10 - หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

1.4 รายการในประเภทหรือที่มีมูลคาไมเกินจํานวนหรืออัตราที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ประกาศกําหนด 2. รายการระหวางกันดังตอไปนี้ ไมตองขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ แตตอง ขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2.1 รายการตามขอ 1 ซึ่งตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ภายใตระเบียบวิธี ปฏิบัติภายในอื่นที่เกี่ยวของ เชน ระเบียบวิธีปฏิบัติดานงบประมาณ เปนตน 2.2 รายการตามขอ 1.3 (ข) หรือ 1.4 ที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุน อาจกําหนดใหตอง ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ดวย ตามที่จะไดมีการประกาศกําหนดตอไป 3. รายการระหวางกันที่นอกเหนือจากขอ 1 และ 2 ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ กอนการเขาทํารายการ นโยบายและแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต สําหรับแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคตนั้น อาจจะยังคงมีอยูในสวนที่เปนการ ดําเนินธุรกิจตามปกติระหวางบริษัทฯ กับบริษัทยอยของบริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ จะดําเนินการดวยความโปรงใส ตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และปฏิบัติตามขอกําหนดที่เกี่ยวของอยางเครงครัด

สวนที่ 1

TRUETN: รายการระหวางกัน

หวัขอที่ 10 - หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.1 ขอมูลทางการเงินโดยสรุป บริษทั ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554, พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 (หนวย : พันบาท) Common Size (%)

(ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Common Size (%)

11,447,692 997,852 400,727 15,936,511 8,700 1,596,738 2,630,683 1,030,217 2,920,369 36,969,489

7.55 0.66 0.26 10.52 0.01 1.05 1.74 0.68 1.93 24.40

4,540,535 1,168,321 426,230 10,467,137 11,900 997,332 2,448,598 670,026 1,368,814 22,098,893

3.97 1.02 0.37 9.16 0.01 0.87 2.14 0.59 1.20 19.33

4,916,296 1,347,635 85,420 8,347,318 7,500 746,541 2,252,536 662,905 2,190,899 20,557,050

4.22 1.16 0.07 7.17 0.01 0.64 1.94 0.57 1.88 17.66

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินลงทุนในบริษัทรวม - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทอื่น - สุทธิ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ คาความนิยม - สุทธิ สินทรัพยไมมตี ัวตน - สุทธิ สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

126,198 215,221 293,323 55,486 73,819,259 11,403,094 20,226,470 7,436,077 973,552 114,548,680

0.08 0.14 0.19 0.04 48.72 7.53 13.35 4.91 0.64 75.60

140,412 90,029 293,323 53,356 65,377,512 12,428,009 5,119,317 7,775,107 899,965 92,177,030

0.12 0.08 0.26 0.05 57.21 10.88 4.48 6.80 0.79 80.67

144,481 49,623 292,923 55,981 68,692,548 12,428,009 5,340,454 8,224,358 635,562 95,863,939

0.12 0.04 0.25 0.05 59.00 10.68 4.59 7.06 0.55 82.34

รวมสินทรัพย

151,518,169

100.00

114,275,923

100.00

116,420,989

100.00

365,952 29,154,077

0.24 19.24

625,925 18,568,995

0.55 16.25

2,330,000 7,126,491

2.00 6.13

6,896,130 379,434 4,013,469 40,809,062

4.55 0.25 2.65 26.93

7,170,770 346,045 3,237,423 29,949,158

6.28 0.30 2.83 26.21

7,676,895 2,941,097 7,766,848 560,404 3,020,483 31,422,218

6.59 2.53 6.67 0.48 2.59 26.99

77,976,289 36,320 4,634,508 3,640,166 865,701 2,086,780 89,239,764 130,048,826

51.47 0.02 3.06 2.40 0.57 1.38 58.90 85.83

64,675,353 1,635,740 4,123,452 2,184,834 72,619,379 102,568,537

56.60 1.43 3.61 1.91 63.55 89.76

65,421,889 74,590 2,079,807 4,482,285 2,297,765 74,356,336 105,778,554

56.20 0.06 1.79 3.85 1.97 63.87 90.86

31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดที่มีภาระผูกพัน เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ - สุทธิ ภาษีหัก ณ ที่จาย ภาษีมลู คาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้น เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ ่นื สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึง่ ปของ เงินกูยืมระยะยาว รายไดรอการรับรู คาใชจายคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย หนีส้ ินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว เจาหนีก้ ารคาระยะยาว หนีส้ ินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี หนีส้ ินภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน หนีส้ ินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุน หุนสามัญ สวนต่ํากวามูลคาหุน หุนบุริมสิทธิ หุนสามัญ สวนเกิน(ลด)ทุน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน กําไร(ขาดทุน)สะสม สํารองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน รวมสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนไดเสียที่ไมมอี ํานาจควบคุม รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

สวนที่ 1

153,332,070

153,332,070

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Common Size (%)

6,993,340 146,338,731

145,031,792

95.72

77,757,424

68.01

6,993,340 70,764,084

6.01 60.77

11,432,046

7.55

11,432,046

10.00

11,432,046

9.82

(85,987,466) -

(56.75) -

(31,827,900) -

(27.84) -

(1,492,776) (30,335,124) (1,498,438) 104,219

(1.28) (26.05) (1.29) 0.09

34,881 (48,206,801) (1,527,107) 20,777,345 691,998 21,469,343 151,518,169

0.02 (31.82) (1.01) 13.71 0.46 14.17 100.00

34,881 (44,838,626) (1,418,690) 11,139,135 568,251 11,707,386 114,275,923

0.03 (39.22) (1.24) 9.74 0.50 10.24 100.00

34,881 (46,043,332) 9,958,900 683,535 10,642,435 116,420,989

0.03 (39.54) 8.56 0.58 9.14 100.00

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554, พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

Common Size (%)

(ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น รายไดจากการขายสินคา รวมรายได

65,132,462 6,805,156 71,937,618

90.54 9.46 100.00

59,062,427 3,316,041 62,378,468

94.68 5.32 100.00

59,670,658 2,803,595 62,474,253

95.51 4.49 100.00

ตนทุนขายและการใหบริการ ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขาย ตนทุนขายและการใหบริการ

46,045,350 5,881,483 51,926,833

64.01 8.18 72.19

39,976,480 2,903,936 42,880,416

64.09 4.66 68.75

39,660,758 2,537,891 42,198,649

63.48 4.06 67.54

20,010,785 12,838,087 (6,247,834) (9,689,443) (1,283,684) 46,922 (14,971,146) 703,687 (3,439,601) (2,735,914)

27.81 17.85 (8.69) (13.47) (1.78) 0.07 (20.81) 0.98 (4.78) (3.80)

19,498,052 640,153 (4,466,128) (7,892,997) (447,849) 40,406 (5,693,410) 1,678,227 (577,981) 1,100,246

31.25 1.03 (7.16) (12.65) (0.72) 0.06 (9.13) 2.68 (0.93) 1.75

20,275,604 356,321 (3,932,582) (7,590,948) (323,140) (773) (5,639,170) 3,145,312 (1,934,216) 1,211,096

32.46 0.57 (6.29) (12.15) (0.52) 0.00 (9.03) 5.04 (3.10) 1.94

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น: ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

11,561 (31,567) (2,755,920)

0.02 (0.04) (0.02)

27 1,100,273

0.00 1.75

1,211,096

1.94

การปนสวนกําไร(ขาดทุน)สําหรับป สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไร(ขาดทุน)สําหรับป

(2,693,688) (42,226) (2,735,914)

98.46 1.54 100.00

1,210,517 (110,271) 1,100,246

110.02 (10.02) 100.00

1,227,584 (16,488) 1,211,096

101.36 (1.36) 100.00

การแบงปนกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

(2,713,633) (42,287) (2,755,920)

98.47 1.53 100.00

1,210,556 (110,283) 1,100,273

110.02 (10.02) 100.00

1,227,584 (16,488) 1,211,096

101.36 (1.36) 100.00

กําไรขั้นตน รายไดอื่น คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาใชจายอื่น สวนแบงกําไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทรวม ตนทุนทางการเงิน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)สําหรับป

กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐานและลดลงเต็มที่สวนที่เปนของบริษัท กําไร(ขาดทุน)ขัน้ พื้นฐาน กําไร(ขาดทุน)ปรับลด

สวนที่ 1

(0.23) (0.23)

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

0.17 0.17

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Common Size (%)

0.18 0.16

หัวขอที่ 11 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปส้นิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554, พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 (หนวย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย กําไรจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ หนีส้ งสัยจะสูญ การดอยคาของสินทรัพย การดอยคาของคาความนิยม สินทรัพยและหนีส้ ินในการดําเนินงานอื่นตัดจําหนาย กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัทยอยและรวม กําไรจากการเลิกกิจการของบริษัทยอย ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานเพิ่มขึ้น กําไรจากการตอรองราคาซื้อ ขาดทุน(กําไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวกับการจายชําระคืนเงินกูยืม สวนแบงผล(กําไร)ขาดทุนของบริษัทรวม การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยและหนีส้ ินดําเนินงาน - ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ ่นื - เงินลงทุนชั่วคราว - สินคาคงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น - เงินลงทุนในคาสิทธิสําหรับรายการภาพยนตร - รถยนตมีไวใหเชา - สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น - เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ ื่น - หนีส้ ินหมุนเวียนอื่น - หนีส้ ินไมหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน บวก เงินสดรับ - ดอกเบี้ยรับ หัก เงินสดจาย - ดอกเบี้ยจาย เงินสดจาย - ภาษีเงินได เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

1,678,227

3,145,312

14,883,121 (335,742) 9,290,503 (62,766) 1,124,722 73,168 1,024,915 3,866 (146,135) 74,471 (12,077,098) 737,425 3,416,411 (46,922)

12,989,595 (59,727) 6,100,499 (175,767) 1,235,140 49,967 (13,062) (873) (2,520,654) 924,783 (40,406)

12,536,768 (86,348) 6,879,581 (165,435) 1,034,664 64,868 2,281 (1,906,371) 38,607 773

(6,666,192) 20,399 (1,926,517) 406,199 (1,819,550) 202,219 24,869 6,136,287 (105,046) (122,170) 14,814,124 333,162 (8,829,835) (1,687,448) 4,630,003

(1,518,788) (23,179) (896,769) 442,764 (1,465,746) (264,404) (735,571) 991,240 (169,450) 16,527,819 52,536 (5,539,827) (1,771,977) 9,268,551

(1,347,720) 120,907 (735,469) 541,439 (1,386,740) (82,714) (951,303) 162,121 (294,893) 17,570,328 84,409 (6,333,838) (1,876,883) 9,444,016

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดที่มีภาระผูกพันลดลง เงินสดรับ(จาย)จากเงินลงทุนชั่วคราว เงินใหกูยืมแกบริษัทยอยและกิจการรวมคา เงินสด(จาย)รับจากการซื้อบริษัทยอย - สุทธิจากเงินที่ไดมา เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทรวม เงินสดรับจากการชําระบัญชีบริษัทยอย เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนระยะยาวในบริษัทอื่น เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดจายซื้ออสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณและสินทรัพยไมมีตัวตน เงินปนผลรับ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

184,683 5,105 (6,015,869) 146,135 (81,000) (10,375,610) (645,233) (2,130) 274,343 2,730 (16,506,846)

169,755 (317,631) (4,400) 1,572 (400) (7,154,361) (328,325) 696,880 (6,936,910)

69,491 589,969 (1,500) 27,092 (3,540,000) (5,078,424) (210,578) 562,493 3,120 (7,578,337)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากการออกหุนสามัญ เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยโดยสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม เงินปนผลจายใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทยอยในการซื้อหุนจากสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดรับจากเงินกูยืม - สุทธิจากเงินสดจายคาตนทุนการกูยืม เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้น เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืม เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ ยอดยกมาตนป ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ยอดคงเหลือสิ้นป

13,114,802 9,847 (12,954) (114,822) 7,885,337 40,750,941 (8,115,856) (34,745,495) 18,771,800 6,894,957 4,540,535 12,200 11,447,692

6,001 (35,513) 2,901,233 15,982,188 (4,605,308) (16,955,424) (2,706,823) (375,182) 4,916,296 (579) 4,540,535

6,379,435 61 (25,977) 3,400,000 13,511,671 (3,200,000) (21,371,461) (1,306,271) 559,408 4,356,596 292 4,916,296

สวนที่ 1

703,687

(ตามที่ปรับใหม) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หัวขอที่ 11 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

หัวขอที่ 11 - หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

11.2

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

ภาพรวม ผลการดําเนินงานของกลุมทรูในป 2554 ยังคงมีพัฒนาการดานยุทธศาสตรหลายประการ อาทิ การเปดบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช และการปรับปรุงโครงขายบรอดแบนดดวยเทคโนโลยีใหม DOCSIS 3.0 แมตองเผชิญกับความทาทายทั้งจากการแขงขันและผลกระทบที่เกิดจากสถานการณน้ําทวมในไตรมาส 4 ซึ่ง ความสําเร็จจากพัฒนาการตางๆ เหลานี้เปนปจจัยที่ทําใหรายไดจากการใหบริการในป 2554 เติบโตอยาง แข็งแกรง ซึ่งจะเปนรากฐานที่มั่นคงเพื่อสรางความเติบโตอยางตอเนื่องในป 2555 และในอนาคต ในป 2554 กลุมทรูมีรายไดจากการใหบริการโดยรวม (ไมรวมรายไดจากคาเชื่อมโยงโครงขาย และคาเชาโครงขาย) จํานวน 56.8 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 7.9 เมื่อเทียบกับปที่ผานมา สวนใหญจาก ความสําเร็จของบริการ Ultra hi-speed Internet และการขยายธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ อยางไรก็ตาม กลุมทรู รายงานผลขาดทุนสุทธิในป 2554 จากคาใชจายในการขยายบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช ขณะที่ทรูออนไลน และทรูวิชั่นสยังรักษาผลกําไรไดดี ทั้งนี้ คาใชจายที่เพิ่มขึ้นจากการขยายบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช ซึ่งจําเปนอยางยิ่งในการสราง ทรูมูฟ เอช ใหเปนแบรนด 3G ชั้นนําของประเทศ รวมทั้ง คาใชจายตางๆ ซึ่งเกี่ยวของกับวิกฤตน้ําทวม และ สวนแบงรายไดที่เพิ่มขึ้นของทรูมูฟ ทําใหกําไรจากการดําเนินงาน กอนดอกเบี้ย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจํ าหนาย หรือ EBITDA ของกลุมทรู ออ นตั วลงรอยละ 7.0 จากปที่ ผานมาเป น 17.1 พัน ล านบาท ในขณะที่ ผลการดําเนินงานปกติ (NIOGO) ไมรวมภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ปรับเปนขาดทุน 3.2 พันลานบาท โดยในป 2554 ทรูรายงานผลขาดทุนสุทธิสําหรับสวนที่เปนของบริษัท จํานวนทั้งสิ้น 2.7 พันลานบาท (จาก กําไร 1.2 พันลานบาทในปกอนหนา) โดยรวมรายการพิเศษที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวซึ่งรวมเปนกําไรทั้งสิ้น 2.7 พันลานบาท ในป 2554 กลุมทรู ประสบความสําเร็จในการจัดหาแหลงเงินทุนที่ประกอบดวย การระดมทุน จากการเสนอขายหุนสามัญใหมใหแกผูถือหุนเดิม การสนับสนุนวงเงินกูระยะยาวจํานวน 49 พันลานบาท จากกลุมธนาคารพาณิชยในประเทศเพื่อขยายธุรกิจของกลุมทรู โมบาย และการซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลาร สหรั ฐ ของทรู มู ฟ ซึ่ ง ทั้ ง หมดนี้ เป น พั ฒ นาการด า นการเงิ น ที่ สํ า คั ญ ที่ เ สริ ม สร า งความแข็ ง แกร ง ให กั บ สถานภาพทางการเงินของบริษัท จากอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง ทั้งยังลดความเสี่ยงในการรีไฟแนนซ และรองรับ การขยายตัวของธุรกิจในอนาคตอีกดวย กลุมทรู โมบาย มีรายไดจากบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ (ไมรวมรายไดคาเชื่อมโยงโครงขายและ คาเชาโครงขาย) จํานวน 27.2 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 17.0 จากปกอนหนา จากรายไดใหมในการเปด ใหบริการ ทรูมูฟ เอช การเติบโตอยางแข็งแกรงของทรูมูฟ และการรวมผลประกอบการของฮัทช นอกจากนี้ สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

การใชบริการโมบาย อินเทอรเน็ตและสมารทโฟนที่เพิ่มขึ้น สงผลใหรายไดจากบริการที่ไมใชเสียงเพิ่มขึ้น รอยละ 50.4 จากปที่ผานมา ในขณะที่มีรายไดจากการขายสินคาทั้งสิ้น 5.8 พันลานบาท เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 112.7 เนื่องจากอุปกรณสมารทโฟนตางๆ ยังคงไดรับความนิยมอยางตอเนื่อง ประกอบกับความโดดเดน ของบริการทรูมูฟ เอช 3G+ และการนําเสนอแพ็กเกจบริการที่ไมใชเสียงและอัตราคาโทรของกลุมทรู โม บายที่นาสนใจ ทั้งนี้ ในป 2554 กลุมทรู โมบาย มียอดผูใชบริการรายใหมสุทธิ (สําหรับทรูมูฟ และทรูมูฟ เอช) รวมทั้งสิ้น 1.5 ลานราย ทําใหมีจํานวนผูใชบริการรวมทั้งสิ้น 18.9 ลานราย ณ สิ้นป 2554 ทรูออนไลน มีรายไดจากการใหบริการ 26.9 พันลานบาท ในป 2554 เพิ่มขึ้นรอยละ 3.2 จากป ที่ผานมา เปนผลจากการเติบโตอยางแข็งแกรงของบริการบรอดแบนด บริการขอมูลเพื่อธุรกิจ และการ ดําเนินกลยุทธคอนเวอรเจนซ ในขณะที่รายไดของบริการบรอดแบนด เพิ่มขึ้นรอยละ 15.1 จากปที่ผานมา ซึ่งเปนผลจากความสําเร็จในการเปดบริการ Ultra hi-speed Internet ความเร็ว 7-100 Mbps ดวยเทคโนโลยี ADSL และ DOCSIS 3.0 โดยในป 2554 ทรูออนไลนมียอดผูใชบริการบรอดแบนดรายใหมสุทธิเพิ่ม 160,000 ราย แมจะไดรับผลกระทบจากภัยน้ําทวม ทั้งนี้ ยอดผูใชบริการบรอดแบนดโดยรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 13.6 เปน 1.33 ลานราย ณ สิ้นป 2554 นอกจากนี้ ทรูออนไลนยังคงรักษาความเปนผูนําการใหบริการ WiFi โดยนําเสนอบริการ WiFi ความเร็วสูงที่สุด และครอบคลุมที่สุด ดวยจุดเชื่อมตอ WiFi มากกวา 100,000 จุด ทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งปรับมาตรฐานความเร็ว WiFi ใหมเปน 8 Mbps และเปดตัวบริการ Ultra WiFi ความเร็วสูงสุด 100 Mbps อีกดวย ทรูวิชั่นส มีรายไดจากการใหบริการ 9.7 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 0.9 จากปที่ผานมา เนื่องจาก รายไดคาโฆษณาสามารถชดเชยผลกระทบที่เกิดขึ้นจากคาสมาชิกที่ลดลงในระหวางป 2554 ซึ่งเปนผลมาจาก การลักลอบใชสัญญาณในกลุมลูกคาพรีเมี่ยม การแขงขันในตลาดระดับกลางและลาง และผลกระทบจาก วิกฤตน้ําทวมในไตรมาส 4 ป 2554 เปาหมายในป 2555 สําหรับป 2555 บริษัท จะเดินหนาขยายบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช ใหครอบคลุมทั่วประเทศ (8,000 ตําบลใน 77 จังหวัดทั่วไทย) ขยายโครงขาย DOCSIS 3.0 และ ADSL ของทรูออนไลน ใหครอบคลุม พื้นที่ใหบริการประมาณ 3 ลานครัวเรือนทั่วประเทศ รวมทั้งเปลี่ยนระบบออกอากาศใหมของทรูวิชั่นส ซึ่งใช เทคโนโลยีบีบอัดสัญญาณ MPEG-4 และ secure-silicon เพื่อขจัดปญหาจากการลักลอบใชสัญญาณ โดยจะ แลวเสร็จในเดือนตุลาคม 2555 นอกจากนี้ จะมีการนําเสนอบริการคอนเวอรเจนซตางๆ ใหมากขึ้น เพื่อสราง ความแข็งแกรงใหกับผลิตภัณฑและบริการภายใตกลุมทรู ในขณะที่การขยายบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช ยังคงดําเนินไปอยางตอเนื่อง

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

บริษัทตั้งเปาหมายเพิ่มรายไดจากการใหบริการโดยรวมในอัตรารอยละ 5 ถึงรอยละ 9 จากป กอนหนา โดยมีเปาหมายขยายการเติบโตรายไดของกลุม ทรู โมบายและทรูวิชั่นส ในระดับใกลเคียงกับ รายไดรวมของกลุมทรู และมีอัตราการเติบโตประมาณรอยละ 5 ที่ ทรูออนไลน ในป 2555 กลุมทรูตั้งงบประมาณรายจายลงทุนไวที่ 23 พันลานบาท (15 พันลานบาท ที่กลุมทรู โมบาย 7 พันลานบาท ที่ทรูออนไลน และ 500 ลานบาทที่ทรูวิชั่นส) บริษัทคาดวา EBITDA ของทุกกลุมธุรกิจจะปรับตัวดีขึ้นในป 2555 แตอยางไรก็ตาม คาเสื่อมราคา และดอกเบี้ยจายที่เพิ่มขึ้น จากการขยายธุรกิจตลอดป 2555 นาจะมีผลกดดันตอกําไรของบริษัท แตคาดวา จะเขาใกลจุดคุมทุนมากขึ้นในชวงปลายป กลุมทรู จะเดินหนาขยายธุรกิจที่มีศักยภาพเติบโตสูงตามแผนการลงทุนที่วางไว ในขณะเดียวกัน จะมุงมั่นรักษาวินัยทางการเงิน และดําเนินมาตรการลดคาใชจาย เพื่อเพิ่มกําไรใหแกบริษัทในระยะยาว ผลการดําเนินงานโดยรวมประจําป 2554 การวิเคราะหผลประกอบการของบริษัทฯ อยูบนพื้นฐานของผลการดําเนินงานปกติ ไมนับรวม ผลกระทบจากรายการที่ไมเกี่ยวของกับผลการดําเนินงานโดยตรง ซึ่งปรากฏในตารางสรุปงบการเงินรวม ของบริษัทฯ และบริษัทยอย (ปรับปรุง) ในป 2554 กลุมทรูมี รายไดจากการใหบริการโดยรวม เพิ่มขึ้นรอยละ 7.9 จากปกอ  นหนา เปน 56.8 พันลานบาท จากการเติบโตอยางแข็งแกรงของบริการบรอดแบนด รายไดจากบริการที่ไมใชเสียงจาก บริการโทรศัพทเคลื่อนที่ การปรับตัวดีขึ้นของผลประกอบการทรูมูฟ รายไดใหมจาก ทรูมูฟ เอช และ การรวมผลประกอบการฮัทช ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2554 เปนตนมา ในไตรมาส 4 ป 2554 รายไดจาก การใหบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 4.8 จากไตรมาสเดียวกันปกอนหนา สวนใหญจากธุรกิจใหมของกลุมทรู โมบาย อยางไรก็ตาม รายไดจากการใหบริการลดลงเล็กนอย (รอยละ 0.6 จากไตรมาสที่ผานมา) โดยการ เติบโตของธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ ถูกชดเชยดวยรายไดที่ลดลงของธุรกิจเพยทีวีและออนไลน สวนใหญจาก วิกฤตน้ําทวมในไตรมาส 4

รายไดจากการขายสินคา เพิ่มขึ้นรอยละ 105.2 จากปกอนหนา เปน 6.8 พันลานบาท จากการใชบริการ โมบาย อินเทอรเน็ตที่เพิ่มขึ้น และจากกระแสความนิยมที่เพิ่มขึ้นของสมารทโฟน อุปกรณประเภทแท็บเล็ต และแอรการด ทั้งนี้ ในไตรมาส 4 ป 2554 รายไดจากการขายสินคาเติบโตอยางแข็งแกรง โดยเพิ่มขึ้น รอยละ 69.2 จากไตรมาสที่ผานมา และรอยละ 53.5 จากไตรมาสเดียวกันปกอนหนา สวนใหญจากการ เปดตัว iPhone 4 S รวมทั้งแพ็กเกจบริการดานขอมูลที่นาสนใจของ ทรูมูฟ เอช และการเปนผูนําตลาด จากความครอบคลุมที่กวางขวางของบริการ 3G+

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

คาใชจายในการดําเนินงานโดยรวม ในป 2554 เพิ่มขึ้นรอยละ 22.9 จากปกอนหนา เปน 67.9 พันลานบาท ในขณะที่ คาใชจายในการดําเนินงานที่เปนเงินสด เพิ่มขึ้นรอยละ 16.1 จากปกอนหนา เปน 32.3 พันลานบาท สวนใหญจากการรวมคาใชจายของฮัทช คาใชจายในการใหบริการ รวมทั้งคาใชจายในการขายและ บริหารที่เพิ่มขึ้น ที่กลุมทรู โมบาย

ในไตรมาส 4 ป 2554 คาใชจายในการดําเนินงานที่เปนเงินสด เพิ่มขึ้นรอยละ 12.4 จากไตรมาสกอนหนา เปน 9.2 พันลานบาท จากคาใชจายทีเ่ พิ่มขึ้นจากฤดูกาลในทั้ง 3 ธุรกิจหลัก รวมทั้ง คาธรรมเนียมขายสง ความจุสัญญาณ 3G (ภายใต ตนทุนการใหบริการ) และคาใชจายในการขายที่เพิ่มขึ้น ที่กลุมทรู โมบาย เพื่อสนับสนุนบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช

คาใชจายในการขายและบริหารที่เปนเงินสด เพิ่มขึ้นรอยละ 22.3 จากปกอนหนา เปน 13.7 พันลานบาท สวนใหญจากคาใชจายดานการขายเพื่อขยายบริการทรูมูฟ เอช และบริการ Ultra hi-speed Internet ของทรูออนไลน รวมทั้งคาใชจายเพื่อชวยเหลือพนักงานที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤตน้ําทวม ทั้งนี้ ใน ไตรมาส 4 คาใชจายในการขายและบริหารที่เปนเงินสด เพิ่มขึ้นรอยละ 23.0 จากไตรมาสที่ผานมา และ รอยละ 37.5 จากไตรมาสเดียวกันปกอนหนา เปน 4.1 พันลานบาท สวนใหญจากคาใชจายดานการโฆษณา ประชาสัมพันธ และจัดกิจกรรมทางการตลาดตางๆ เพื่อสนับสนุนการขยายฐานลูกคาของทรูมูฟ เอช

EBITDA ลดลงรอยละ 7.0 จากปกอนหนา เปน 17.1 พันลานบาท จากการที่ผลประกอบการที่ดีขึ้น ของทรูออนไลน ถูกชดเชยโดยกําไรที่ออนตัวลงของกลุม ทรู โมบาย สวนใหญจาก สวนแบงรายไดที่ เพิ่มขึ้นที่ทรูมฟู และคาใชจายที่เพิ่มขึ้นเพื่อสนับสนุนการขยายการใหบริการ 3G+ โดยทรูมูฟ เอช

ในป 2554 อัตราทํากําไร ณ ระดับ EBITDA ลดลงเปนรอยละ 26.9 จากรอยละ 32.9 ในปกอนหนา จาก อัตรากําไรที่ลดลงที่กลุมทรู โมบาย ตามเหตุผลที่กลาวมาแลว รวมทั้ง ยอดขายสมารทโฟนที่เพิ่มขึ้น อยางมาก (โดยปกติอัตรากําไรขั้นตนจากการขายสินคา จะต่ํากวาการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่)

ในป 2554 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย เพิ่มขึ้นรอยละ 15.8 จากปกอนหนา เปน 13.0 พันลานบาท สวนใหญจากการขยายโครงขายอยางตอเนือ่ งโดยกลุมทรู โมบาย และคาตัดจําหนายที่เพิ่มขึ้น จากการ บันทึกมูลคาสัญญาการใหบริการ เปนสินทรัพย (capitalization of service contracts) (ดูรายละเอียดใน หัวขอ “การปรับปรุงทางบัญชีที่สําคัญและประเด็นอื่นๆ”)

ดอกเบี้ยจาย เพิ่มขึ้นรอยละ 9.1 จากปกอนหนา เปน 6.7 พันลานบาท จากระดับหนี้สิน และอัตรา ดอกเบี้ยเฉลี่ยในระหวางป ที่เพิ่มขึ้นจากปกอ นหนา ในขณะที่ ดอกเบี้ยจาย (สุทธิ) เพิ่มขึ้นรอยละ 4.7 จากปกอนหนา เปน 6.3 พันลานบาท จากการเพิ่มขึ้นของดอกเบี้ยรับ (จากเงินสดทีย่ ังคงเหลือจากการ เพิ่มทุนผาน Rights Offering ในกลางป 2554)

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ภาษีเงินได สําหรับป 2554 เพิ่มขึ้นรอยละ 27.4 จากปกอนหนา เปน 2.8 พันลานบาท สวนใหญจากการ บันทึกรายการตัดจําหนายของภาษีเงินไดรอตัดบัญชีที่เกีย่ วของกับการซื้อกิจการฮัทช สําหรับทั้งป 2554 ลงในไตรมาส 4 เพียงไตรมาสเดียว

ผลการดําเนินงานปกติ (NIOGO) กอนภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ของป 2554 ปรับเปนขาดทุน 3.2 พันลานบาท (เมื่อเทียบกับกําไร 264 ลานบาท ในป 2553) จาก EBITDA ที่ลดลง ดอกเบี้ยจายที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งคาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนายที่เพิ่มขึ้น

ในป 2554 กลุมทรูมี ขาดทุนสุทธิ สวนที่เปนของบริษัท เปน 2.7 พันลานบาท (จากกําไร 1.2 พันลานบาท ใน ป 2553) โดยมีรายการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวซึ่งรวมเปนกําไรจํานวนทั้งสิ้น 2.7 พันลานบาท สวนใหญเปน ผลกระทบที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวจากการซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐ การปรับยอดภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ซึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล ซึ่งถูกชดเชยโดยกําไรจากการซื้อสินทรัพย (ดูรายละเอียด ในหัวขอ “การปรับปรุงทางบัญชีที่สําคัญและประเด็นอื่นๆ”)

การปรับปรุงทางบัญชีที่สําคัญและประเด็นอื่นๆ ในไตรมาส 4 ป 2554 กลุมทรู โมบาย ไดชําระคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐ ของ ทรูมูฟ หลังจากไดยื่น เสนอเพื่อซื้อคืน ในชวงเดือนกันยายน ถึง ตุลาคม 2554 เปนผลใหมีการบันทึกคาใชจายที่เกิดขึ้นเพียง ครั้งเดียว (ทั้งที่เปนเงินสด และไมเปนเงินสด) ทั้งนี้ รายงานฉบับนี้ ไดถูกปรับปรุงเพื่อแยกคาใชจาย ดังกลาวออกจากผลการดําเนินงานปกติ โดยประกอบไปดวย คาใชจายเกี่ยวกับสวนตางพรีเมียม (ระหวางราคาซื้อหุนกู กับมูลคาตามบัญชีของหุนกู) และภาษีหัก ณ ที่จาย สําหรับผูถือหุนกู รวมจํานวน 2,632 ลานบาท และ คาใชจายเกี่ยวกับการชําระตามสัญญาปองกันความเสี่ยงทางการเงินและคําธรรม เนียมอื่น ๆ รวม 980 ลานบาท และการกลับรายการกําไรทางบัญชี (unrealized) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ เกิดขึ้นในไตรมาสกอน ๆ จํานวน 2,681 ลานบาท

ในเดือนธันวาคม 2554 สํานักงานกฤษฎีกาไดรับรองการปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล จากอัตรา รอยละ 30 เปน รอยละ 23 สําหรับระยะเวลาตั้งแต 1 มกราคม 2555 เปนตนไป และลดลงเปน อัตรารอยละ 20 ตั้งแต 1 มกราคม 2556 เปนระยะเวลา 2 รอบปบัญชี และปรับขึ้นเปนอัตรารอยละ 30 หลังจากนั้น ซึ่ง สงผลกระทบระยะสั้นในทางลบตอผลประกอบการของบริษัท เนื่องจากบริษัท มียอดสินทรัพยภาษีเงิน ไดรอตัดบัญชีสุทธิ (หลังหักหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี) เปนบวก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทั้งนี้ รายงานฉบับนี้ ไดถูกปรับปรุงผลกระทบตองบกําไรขาดทุนรวมของบริษัท และผลการดําเนินงานตาม กลุมธุรกิจ จากกรณีดังกลาว ไดเปนดังนี้ - เพิ่มขึ้นในภาษีเงินไดการรอตัดบัญชี ที่งบการเงินรวม ทั้งสิ้น 646 ลานบาท ที่ทรูออนไลน ทั้งสิ้น 1,525 ลานบาท และที่ทรูวิชั่นส 240 ลานบาท - ลดลงในภาษีเงินไดการรอตัดบัญชี สําหรับ กลุมทรู โมบาย จํานวน 1,009 ลานบาท

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในไตรมาส 4 ป 2554 ไดมีการบันทึกการดอยคาของสินทรัพย จํานวนทั้งสิ้น 1,025 ลานบาท ในงบการเงินรวม ทั้งนี้การลดลงของรายไดของธุรกิจทรูมูฟ ทําใหบริษัทบันทึกการดอยคาของคาความนิยม (goodwill) ที่ เกิดขึ้นจากซื้อหุน BITCO จากบริษัท ออเรนจ เพอรซันนัล คอมมิวนิเคชั่น เซอรวิส จํากัด (Orange Personal Communication Services)

ในไตรมาส 4 ป 2554 สินทรัพยสุทธิที่ตีมูลคาไดจากการซื้อ 4 บริษัท ในเครือฮัทชิสัน ประเทศไทย ได ถูกประเมินคาใหมเปน 18.3 พันลานบาท และไดรับรู กําไรจากการซื้อสินทรัพย (gain from bargain purchase) จํานวนทั้งสิ้น 12.1 พันลานบาท ทั้งในงบการเงินรวม และ ผลประกอบการของกลุมทรู โมบาย ในขณะเดียวกันไดมีการบันทึกมูลคาของสัญญาเชาเครื่องและอุปกรณวิทยุคมนาคม เพื่อใหบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ HSPA และ CDMA และสัญญาอนุญาตใหดําเนินการตลาดบริการ CDMA (“สัญญา การใหบริการ และสิทธิตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ”) จํานวน 15.8 พันลานบาท เปนสินทรัพยไม มีตัวตน โดยสินทรัพยดังกลาว จะถูกตัดจําหนายตามระยะเวลาเริ่มตั้งแต ป 2554 ถึง ป 2568 (ดู รายละเอียดในหมายเหตุขอ 41 ประกอบงบการเงินประจําป 2554)

ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2554 กลุมทรูขายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท Chongqing Communication Equipment ที่ราคา 4,668,530 ดอลลารสหรัฐ และไดบันทึกกําไรจากการขายเงินลงทุนระยะยาว จํานวนทั้งสิ้น 146 ลานบาท

ตั้งแตไตรมาส 2 ป 2554 คาใชจายที่เกี่ยวของกับการเดินสายภายใน (internal wiring) ของกลุมทรู ออนไลน จะถูกรับรูเปนตนทุนการไดมาซึ่งผูใชบริการ โดยจะถูกตัดจําหนายตามระยะเวลาเฉลี่ยของ การเปนสมาชิกของลูกคา ภายใต “ตนทุนการใหบริการ” ทั้งนี้ ผลกระทบตอผลการดําเนินงาน งวดครึ่งแรก ของป 2554 จํานวน 32.3 ลานบาท ไดถูกสะทอนในผลการดําเนินงาน ไตรมาส 2 ป 2554

ภายหลังการสอบทานการนํามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 มาใช พบวารายไดและคาใชจายจากการจําหนาย ยานพาหนะที่ใหบุคคลภายนอกกลุมเชา (สวนใหญเปนการจําหนายรถใชแลวของทรูลีสซิ่ง) ไดบันทึกบัญชี เปนกําไรสุทธิจากการจําหนายสินทรัพยซึ่งแสดงอยูในรายได (คาใชจาย) อื่นๆ บริษัทฯ จึงไดเริ่มบันทึก บัญชีเปนรายการดําเนินงานปกติ (กอน NIOGO) ตั้งแตไตรมาส 1 ป 2554

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย (ปรับปรุง)

(ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2554

ป 2553

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการทีม ่ ีการระบุเปนอยางอืน ่ ) รายได ่ รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอืน - รายไดคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) - รายไดคาเชาโครงขาย - รายไดจากการใหบริการ รายไดจากการขาย รวมรายได คาใชจายในการดําเนินงาน ตนทุนการใหบริการรวม สวนแบงรายไดตามสัญญารวมการงาน/สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ คาใชจา ยเกีย ่ วกับโครงขาย - คาใชจา ยเชื่อมโยงโครงขาย ่ วกับโครงขายไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) - คาใชจา ยเกีย คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย - โครงขาย ตนทุนขาย คาใชจา ยในการขายและบริหาร คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ่ ๆ อืน รวมคาใชจายในการดําเนินงาน

% เปลีย ่ นแปลง

(ปรับปรุง) 65,132 6,633 1,697 56,802 6,805

59,062 6,414 52,649 3,316

10.3 3.4 NM 7.9 105.2

71,938

62,378

15.3

46,045 8,615 26,648 6,730 19,917

39,976 7,041 22,849 6,233 16,616

15.2 22.4 16.6 8.0 19.9

10,783 5,881 15,937 2,247 13,690

10,087 2,904 12,359 1,165 11,194

6.9 102.5 29.0 92.8 22.3

67,864

55,240

22.9

17,104 (13,030)

18,392 (11,253)

(7.0) 15.8

4,074 336 (6,658) (446) (2,793) (595) (2,199)

7,139 60 (6,100) (415) (2,192) (570) (1,621)

(42.9) 462.1 9.1 7.5 27.4 4.3 35.6

กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานปกติ สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม (กําไร) ขาดทุนของผูถ  ือหุนสวนนอย

(5,488) 47 42

(1,509) 40 110

(263.8) (16.1) (61.7)

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและผลการลงทุนในบริษัทรวม

(5,399)

(1,358)

(297.6)

2,705 (1,625) (2,681)

2,568 1,497 -

5.3 NM NM

กําไรจากการดําเนินงานทีเ่ ปนเงินสด (EBITDA) คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย กําไรจากการดําเนินงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย * คาใชจา ยทางการเงินอืน ่ * ภาษีเงินได ภาษีเงินไดในปปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี *

รายการทีไ ่ มเกีย ่ วของกับการดําเนินงานปกติ กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ การกลับรายการกําไรทางบัญชี จากอัตราแลกเปลี่ยนทีบ ่ ันทึกในอดีต และขาดทุนจากการทําสัญญา swap สวนตางพรีเมียม และภาษีหัก ณ ทีจ ่ า ยสําหรับผูถ  ือหุนกูส  กุลดอลลารสหรัฐ คาใชจา ยเกีย ่ วกับการชําระตามสัญญาปองกันความเสี่ยงทางการเงิน การปรับยอดภาษีเงินไดรอตัดบัญชี บันทึกการดอยคาของคาความนิยม (impairment of goodwill) กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนระยะยาว กําไรจากการซื้อสินทรัพย (gains on bargain purchase) (คาใชจา ย) รายไดอน ื่ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับสวนทีเ่ ปนของบริษัท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับสวนทีเ่ ปนของผูถ  ือหุนสวนนอย

(2,632) (980) (646) (1,025) 146 12,077 71 (2,694) (42)

(879) 1,614 336 1,211 (110)

NM (11.5) NM NM NM NM (78.8) NM 61.7

กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับงวด

(2,736)

1,100

NM

กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานปกติกอ  นภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

(3,200)

264

NM

หมายเหตุ : * ดูรายละเอียดในหัวขอ “การปรับปรุงทางบัญชีทส ี่ ําคัญและประเด็นอืน ่ ๆ”

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ตารางสรุปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ ทรู โมบาย (ยังไมไดตรวจสอบ) (หนวยลานบาทยกเวนในรายการที่มก ี ารระบุเปนอยางอื่น) รายได รายไดจากการใหบริการโทรศัพทและบริการอื่น - รายไดคาเชื่อมโยงโครงขาย - รายไดคาเชาโครงขาย - รายไดจากการใหบริการ รายไดจากการขายสินคา รวมรายได คาใชจายในการดําเนินงาน ตนทุนการใหบริการ สวนแบงรายไดตามสัญญารวมการงาน/สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ คาใชจายเกี่ยวกับโครงขาย - คาใชจายเชื่อมโยงโครงขาย - คาใชจายเกี่ยวกับโครงขายไมรวมคาเชื่อมโยงโครงขาย (IC) คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย - โครงขาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย อื่นๆ รวมคาใชจายในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงานกอนดอกเบีย ้ จาย ภาษี คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี (EBITDA) คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย

ป 2554

ป 2553

ป 2553

ป 2554

ทรูวช ิ น ั่ ส ป 2553 เปลี่ยนแปลง

ป 2554

ป 2553

รายการระหวางกัน % เปลี่ยนแปลง

ป 2554

งบการเงินรวม

ป 2553

ป 2554

ป 2553

% เปลี่ยนแปลง

35,579 6,633 1,697 27,249 5,787 41,366

29,698 6,414 23,284 2,721 32,418

19.8 3.4 NM 17.0 112.7 27.6

26,876 26,876 1,226 28,102

26,043 26,043 703 26,746

3.2 NM NM 3.2 74.3 5.1

9,669 9,669 188 9,857

9,585 9,585 218 9,803

0.9 NM NM 0.9 (13.4) 0.6

(6,991) (6,991) (397) (7,388)

(6,263) (6,263) (326) (6,589)

65,132 6,633 1,697 56,802 6,805 71,938

59,062 6,414 52,649 3,316 62,378

10.3 3.4 NM 7.9 105.2 15.3

27,027 6,570 15,917 6,730 9,187 4,540 5,334 10,079

20,952 4,913 12,264 6,233 6,032 3,774 2,472 6,994

29.0 33.7 29.8 8.0 52.3 20.3 115.8 44.1

16,867 1,516 9,708 9,708 5,643 826 6,550

16,202 1,600 9,003 9,003 5,598 598 6,267

4.1 (5.3) 7.8 NM 7.8 0.8 38.2 4.5

6,975 530 5,583 5,583 861 115 1,527

6,902 529 5,450 5,450 923 138 1,453

1.1 0.3 2.4 NM 2.4 (6.7) (16.7) 5.1

(4,823) (1) (4,561) (4,561) (261) (393) (2,219)

(4,079) (1) (3,869) (3,869) (209) (304) (2,355)

46,045 8,615 26,648 6,730 19,917 10,783 5,881 15,937

39,976 7,041 22,849 6,233 16,616 10,087 2,904 12,359

15.2 22.4 16.6 8.0 19.9 6.9 102.5 29.0

1,508 8,571 42,440

458 6,536 30,418

229.4 31.1 39.5

471 6,079 24,243

472 5,795 23,066

(0.2) 4.9 5.1

135 1,392 8,617

89 1,364 8,493

52.2 2.0 1.5

133 (2,352) (7,436)

147 (2,502) (6,738)

2,247 13,690 67,864

1,165 11,194 55,240

92.8 22.3 22.9

2.3 0.7

2,236 (996)

2,322 (1,012)

(3.7) (1.6)

17,104 (13,030)

18,392 (11,253)

(7.0) 15.8

1,240

1,310

4,974 (6,048)

6,233 (4,232)

กําไรจากการดําเนินงาน

(1,074)

ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย * คาใชจายทางการเงินอื่น * (คาใชจาย)รายไดภาษีเงินได ภาษีเงินไดในปปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี *

202 (3,656) (273) (1,383) (20) (1,362) (6,184) 11 (6,173) 5,759 (1,018) (2,681)

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติ สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ในบริษท ั รวม (กําไร)ขาดทุนของผูถือหุนสวนนอย

ทรูออนไลน % เปลี่ยนแปลง

(20.2) 42.9

9,973 (6,114)

9,751 (6,070)

2,001

NM

3,859

3,680

4.9

(5.3)

48

149

4,074

7,139

(42.9)

23 (3,193) (145) (945) (0) (944) (2,258) -

761.8 14.5 89.1 46.4 11,593.4 44.2

126 (2,266) (136) (1,186) (470) (717) 398 63 (33)

35 (2,476) (227) (890) (431) (460) 122 39 141

264.2 (8.5) (40.2) 33.2 9.0 55.9

209 (937) (37) (165) (105) (60)

195 (624) (43) (297) (139) (158)

7.2 50.2 (15.0) (44.5) (24.8) (62.0)

(201) 201 (60) (60)

(193) 193 (60) (60)

310 (16) 0

539 2 (25)

(42.6) NM NM

(11) 65

89 (5)

60 (6,100) (415) (2,192) (570) (1,621) (1,509) 40 110

462.1 9.1 7.5 27.4 4.3 35.6

226.9 62.9 NM

336 (6,658) (446) (2,793) (595) (2,199) (5,488) 47 42

(263.8) 16.1 (61.7)

(2,258) 2,544 1,938 -

(173.3)

427 (1,264) (464) -

301 (753) (444) -

42.0

294

516

(43.0)

53

83

(5,399)

(1,358)

(297.6)

126.4 NM NM

67.8 (4.6) NM

(402) (143) -

786 3 -

NM NM NM

(1,387) -

(7) -

2,705 (1,625) (2,681)

2,568 1,497 -

5.3 NM NM

(261) 1,016 27

NM 100.0 NM NM NM NM NM

109 (1,025) (471)

(7)

(2,632) (980) (646) (1,025) 146 12,077 71

(879) 1,614 336

NM (11.5) NM NM NM NM (78.8)

NM NM

(1,334) (65)

76 5

(2,694) (42)

1,211 (110)

NM (61.7)

NM

(1,398)

81

(2,736)

1,100

NM

143

(3,200)

264

NM

(173.8) NM

(80) 128

87 62

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและสวนแบง กําไร(ขาดทุน)ในบริษัทรวม (NIOGO) รายการทีไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานปกติ กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ การกลับรายการกําไรทางบัญชี จากอัตราแลกเปลี่ยนที่บันทึกในอดีต และขาดทุนจากการทําสัญญา swap สวนตางพรีเมียม และภาษีหก ั ณ ที่จายสําหรับผูถือหุน  กูสกุลดอลลารสหรัฐ คาใชจายเกี่ยวกับการชําระตามสัญญาปองกันความเสี่ยงทางการเงิน การปรับยอดภาษีเงินไดรอตัดบัญชี บันทึกการดอยคาของคาความนิยม (impairment of goodwill) กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนระยะยาว กําไรจากการซื้อสินทรัพย (gains on bargain purchase) (คาใชจาย) รายไดอื่น กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับสวนทีเ่ ปนของบริษัท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับสวนที่เปนของผูถือหุน  สวนนอย กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับงวด

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติกอนภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

(2,632) (980) 1,009 12,077 (17)

548 58

NM NM 84.2 NM NM NM NM

(1,525) 146 579

(618) 50 258

NM 100.0 NM NM NM NM 124.1

(240) (20)

(415) (11)

285 -

NM NM

(837) 33

(453) (141)

(84.9) NM

(108) (0)

1,302 25

(804)

(593)

(35.5)

(109)

1,327

(425)

285

(4,811)

(1,314)

อัตรากําไร ณ ระดับ EBITDA (คิดจากรายไดรวมคา IC)

12.0%

อัตรากําไร ณ ระดับ EBITDA (คิดจากรายไดทไ ี่ มรวมคา IC และคาเชาโครงขาย)

15.1%

NM

(266.2)

1,144

760

50.4

354

674

(47.5)

113

19.2%

35.5%

36.5%

22.7%

23.7%

23.8%

29.5%

24.0%

35.5%

36.5%

22.7%

23.7%

26.9%

32.9%

หมายเหตุ : * ดูรายละเอียดในหัวขอ “การปรับปรุงทางบัญชีที่สําคัญและประเด็นอื่นๆ”

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงสรางรายไดรวม แยกตามประเภทธุรกิจ รายไดรวม (กอนตัดรายการระหวางกันระหวางกลุม  ธุรกิจ) (ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2554

(หนวยลานบาทยกเวนในรายการทีม ่ ีการระบุเปนอยางอื่น)

รายได

ทรูวิชั่นส - รายไดจากการใหบริการ - รายไดจากการขายสินคา รายการระหวางกัน

ป 2553

% ของรายไดรวม หลังตัดรายการ ระหวางกัน

9,857

9,803

9,669

9,585

188

218

(461)

ทรูวช ิ ั่นส หลังตัดรายการระหวางกัน

9,396

ทรูโมบาย - รายไดจากการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่

รายได

% ของรายไดรวม หลังตัดรายการ ระหวางกัน

0.6 0.9 (13.4)

(341) 13.1%

9,462

% เปลีย ่ นแปลง

35.1 15.2%

(0.7)

41,366

32,418

27.6 17.0

27,249

23,284

- รายไดคาเชาโครงขาย

8,330

6,414

29.9

- รายไดจากการขายสินคา

5,787

2,721

112.7

รายการระหวางกัน

(1,264)

ทรูโมบาย หลังตัดรายการระหวางกัน

40,102

ทรูออนไลน - บริการเสียงพื้นฐาน - โทรศัพทพื้นฐาน (ไมรวมโทรทางไกลระหวางประเทศ และ VOIP) - โทรศัพทสาธารณะ - พีซีที

(1,340) 55.7%

31,078

(5.7) 49.8%

29.0

28,102

26,746

6,812

7,538

6,491

6,975

(6.9)

203

328

(38.3)

119

5.1 (9.6)

235

(49.5)

- บรอดแบนด อินเทอรเน็ต สือ ่ สารขอมูลธุรกิจ และ อื่นๆ

13,021

-

11,532

-

12.9

- บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต และสื่อสารขอมูลธุรกิจ

10,659

-

9,262

-

15.1

2,363

-

2,270

-

4.1

7,043

-

6,973

-

1.0

369

-

292

-

26.7

- บริการอินเทอรเน็ตอื่น ๆ และบริการเสริม - รายไดจากธุรกิจใหม คอนเวอรเจนซ และ อื่น ๆ - รายไดจากธุรกิจใหม - บริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ

217

-

180

-

21.1

- อื่น ๆ

152

-

112

-

35.6 (0.1)

6,674

-

6,681

-

รายไดจากการใหบริการทรูออนไลน

- ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ อื่น ๆ

26,876

-

26,043

-

3.2

รายไดจากการขายสินคาทรูออนไลน

1,226

-

703

-

74.3

(4,907)

-

15.4

-

15.0

รายการระหวางกัน ทรูออนไลน หลังตัดรายการระหวางกัน รายไดรวม รวมรายการระหวางกัน รายไดรวม - สุทธิ

สวนที่ 1

(5,663) 22,440

31.2%

79,325 (7,388) 71,938

21,839 -

100.0%

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

35.0%

68,968 (6,589) 62,378

2.8 -

100.0%

12.1 15.3

หัวขอที่ 11 - หนา 14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผลการดําเนินงานตามประเภทธุรกิจ กลุมทรู โมบาย

ในป 2554 รายไดจากการใหบริการ ของกลุมทรู โมบาย เพิ่มขึ้นรอยละ 17.0 จากปกอนหนา เปน 27.2 พันลานบาท จากการรวมผลประกอบการของฮัทช ผลประกอบการที่เติบโตแข็งแกรงของทรูมูฟ และการเติบโตของรายไดจากธุรกิจ 3G ใหมของทรูมูฟ เอช

รายไดจากการขายสินคา เพิ่มขึ้นรอยละ 112.7 จากปกอนหนา เปน 5.8 พันลานบาท ในป 2554 จาก กระแสความนิยมที่เพิ่มขึ้นของสมารทโฟนและอุปกรณแท็บเล็ตตางๆ ทั้งนี้ ในไตรมาส 4 รายไดจาก การขายสินคาเพิ่มขึ้นรอยละ 46.6 จากไตรมาสเดียวกันปกอนหนา เปน 1.9 พันลานบาท จากการ เปดตัว iPhone 4 S การที่ยอดขายสมารทโฟนของกลุมทรู โมบายเติบโตเพิ่มขึ้นมาก สวนหนึ่งมาจาก โครงขายบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช มีความครอบคลุมมากที่สุดในประเทศไทย

คาใชจายในการดําเนินงานโดยรวม เพิ่มขึ้นรอยละ 39.5 จากปกอนหนา เปน 42.4 พันลานบาท โดย คาใชจายในการดําเนินงานที่เปนเงินสด เพิ่มขึ้นรอยละ 30.7 จากปกอนหนา เปน 16.4 พันลานบาท จากการรวมผลประกอบการฮัทช และคาใชจายที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง คาใชจายดานโฆษณา กิจกรรมทางการตลาดตางๆ และคาความจุใชงานบริการ 3G (หรือคาธรรมเนียมขายสง) ที่ทรูมูฟ เอช ทั้งนี้ ในไตรมาส 4 คาใชจายในการดําเนินงานที่เปนเงินสด เพิ่มขึ้นรอยละ 20.8 จากไตรมาสกอนหนา เปน 4.9 พันลานบาท จากการเรงขยายบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช ตลอดจนคาใชจายดานโฆษณา ประชาสัมพันธ และจัดกิจกรรมทางการตลาดตางๆ ที่เพิ่มขึ้น เพื่อเสริมสรางแบรนดทรูมูฟ เอช ใน ฐานะผูนําตลาดบริการ 3G สําหรับลูกคาระดับบน

รายจายคา IC สุทธิ เพิ่มขึ้นเปน 98 ลานบาท ในป 2554 (โดยในไตรมาส 4 มีรายจายคา IC สุทธิ เกิดขึ้น 177 ลานบาท เมื่อเทียบกับรายรับคา IC จํานวน 181 ลานบาท ในป 2553) ซึ่งสวนใหญ เปน ผลจากการปรับเปลี่ยนกลยุทธ จากการเนนโปรโมชั่นโทรภายในโครงขาย มาเปนการสรางรายได จากโปรโมชั่นโทรทุกโครงขาย ทั้งนี้ ตั้งแตไตรมาส 4 ป 2554 เปนตนมา กลุมทรู โมบายตองรับผิดชอบ คา IC ของฮัทชซึ่งเรียกเก็บโดย กสท ภายใตสัญญาทําการตลาดบริการ CDMA ฉบับปรับปรุง

EBITDA ลดลงรอยละ 20.2 จากปกอนหนา เปน 5.0 พันลานบาท จากผลขาดทุนของบริการฮัทช (CDMA) และคาใชจายที่เพิม่ ขึ้นเพื่อสนับสนุนการขยายบริการของทรูมูฟ เอช และสวนแบงรายไดที่ เพิ่มขึ้นของทรูมูฟ ทั้งนี้ ในไตรมาส 4 กลุมทรู โมบายมี EBITDA ลดลงรอยละ 49.5 จากไตรมาสที่ ผานมา และรอยละ 60.2 จากไตรมาสเดียวกันปกอนหนา เปน 617 ลานบาท จากคาใชจายในการ ดําเนินงานที่เปนเงินสดที่เพิม่ ขึ้น

ดอกเบี้ยจาย (สุทธิ) เพิ่มขึ้นรอยละ 9.0 จากปกอนหนา เปน 3.5 พันลานบาท สวนใหญจากหนี้สินที่ เพิ่มขึ้น

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผลการดําเนินงานปกติ กอนภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ปรับลดลงเปนขาดทุน 4.8 พันลานบาท จาก ขาดทุน 1.3 พันลานบาท ในป 2553 ขาดทุนสุทธิ สวนที่เปนของบริษัท สําหรับป 2554 เปน 415 ลานบาท โดยมีรายการที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว ซึ่งรวมเปนกําไรจํานวนทั้งสิ้น 5.8 พันลานบาท หลังเปดใหบริการอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2554 ทรูมูฟ เอช เดินหนาขยายบริการ 3G+ อยางเต็มที่ โดยปจจุบันครอบคลุมพื้นที่ 77 อําเภอเมืองทั่วประเทศ และสามารถเพิ่มฐานลูกคาได ประมาณ 500,000 ณ สิ้นป 2554 ทั้งนี้ การเพิ่มฐานลูกคาแบบเติมเงินของบริการทรูมูฟ เอช (เปดตัวในเดือนธันวาคม 2554) ในชวง 2-3 เดือนแรกเปนไปไดชากวาที่บริษัทคาดการณไว เนื่องจากจํานวนเลขหมายที่ทางคณะกรรมการ กสทช. อนุมัติเบื้องตนสําหรับทรูมูฟ เอช คอนขางจํากัด ซึ่งในปจจุบัน คณะกรรมการ กสทช. ได อนุมัติเลขหมายใหเพียงพอตอความตองการเปนที่เรียบรอยแลว นอกจากนี้ ในป 2554 การเพิ่มฐานลูกคาแบบรายเดือนก็เปนไปไดชากวาที่คาดไวเชนกัน เนื่องจาก ผูใหบริการบางรายจํากัดจํานวนการใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพทเคลื่อนที่ (MNP) ตอวัน แต อยางไรก็ตาม เมื่อตนไตรมาส 1 ป 2555 คณะกรรมการ กสทช. ไดมีคําสั่งใหผูใหบริการเพิ่มบริการ MNP เปนวันละ 40,000 เลขหมายตอผูใหบริการ ซึ่งบริษัทใหการสนับสนุนคําสั่งนี้อยางเต็มที่ และ มุงมั่นดําเนินการอยางเต็มกําลังเพื่อตอบสนองความตองการบริการ MNP ของผูบริโภค

ทรูออนไลน ในป 2554 ทรูออนไลนมีรายไดจากการใหบริการโดยรวม เพิ่มขึ้นรอยละ 3.2 จากปกอนหนา เปน 26.9 พันลานบาท จากการเติบโตอยางแข็งแกรงของรายไดจากบริการบรอดแบนด ซึ่งสามารถชดเชย รายไดที่ลดลงตอเนื่องของบริการเสียง (บริการโทรศัพทพื้นฐาน พีซีที และ โทรศัพทสาธารณะ) และ ผลกระทบจากวิกฤตน้ําทวมในไตรมาส 4 ป 2554 รายไดจากบริการโทรศัพทพื้นฐาน ยังคงลดลงแตดวยอัตราการลดลงที่ชาลงเมื่อเทียบปกอนหนา (รอยละ 9.6 เทียบกับอัตราการลดลงที่รอยละ 12.0 ในป 2553) ทั้งนี้ในไตรมาส 4 อัตราการลดลงของ รายไดจากบริการโทรศัพทพื้นฐานเพิ่มสูง (ลดลงรอยละ 6.6 จากไตรมาสที่ผานมา และรอยละ 12.1 ไตรมาสเดียวกันปกอนหนา) จากวิกฤตน้ําทวม ซึ่งทําใหมีเลขหมายโทรศัพทพื้นฐานที่ไมไดใชงาน (idle line) เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผูใชบริการบางสวนยายออกจากที่พักอาศัยซึ่งประสบภัยน้ําทวม ในขณะที่ตูโทรศัพทสาธารณะบางสวน (ประมาณ 2,000 ตู) ไมสามารถใชงานไดในระหวางที่เกิดน้ําทวม บริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ต (ซึ่งรวมรายไดจากบริการโครงขายขอมูล) มีการเติบโตรายไดที่ดม ี าก เพิ่มขึน้ รอยละ 15.1 จากปกอนหนา เปน 10.7 พันลานบาท โดยในไตรมาส 4 อัตราการเติบโตของรายได จากบริการบรอดแบนด อินเทอรเน็ตเมื่อเทียบกับงวดเดียวกันปกอ นหนาเพิม่ ขึ้นเปนรอยละ 17.7 ใน ไตรมาส 4 ทามกลางวิกฤตน้าํ ทวม จากความสําเร็จอยางตอเนื่องของบริการ Ultra hi-speed Internet ความเร็ว 7-100 Mbps (ซึ่งเปนการรวมเทคโนโลยี ADSL และ DOCSIS 3.0 เขาดวยกัน) และการ ขยายโครงขายบริการ DOCSIS 3.0 อยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในพื้นที่ตา งจังหวัด สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ในป 2554 ทรูออนไลนไดขยายโครงขาย DOCSIS 3.0 ครอบคลุมพื้นที่ใหบริการเพิ่มขึ้นเปน 1.1 ลานครัวเรือน ใน 20 จังหวัดทั่วไทย (รวมกรุงเทพมหานคร) นอกจากนี้ยังเปดตัวบริการ Ultra WiFi ความเร็วสูงสุด 100 Mbps ในไตรมาส 3 และขยายความครอบคลุมของบริการ WiFi ความเร็ว 8 Mbps โดยมีจุดเชื่อมตอสัญญาณ WiFi เพิ่มขึ้นกวา 100,000 จุด (ในประเทศและตางประเทศ) ซึ่งทั้งหมดนี้ เปนการเสริมสรางความแข็งแกรงในการนําเสนอบริการแบบ คอนเวอรเจนซ และยังมีสวนชวยลด ภาระการใชงานโครงขาย 3G ไดอีกดวย

ณ สิ้นป 2554 ทรูออนไลนมีจํานวนผูใชบริการบรอดแบนดรายใหมสุทธิสูงถึง 159,545 ราย ทําใหมี ฐานลูกคาเพิ่มขึ้นเปนประมาณ 1.3 ลานราย โดยในไตรมาส 4 จํานวนผูใ ชบริการ บรอดแบนดรายใหม สุทธิลดลงเปน 33,686 ราย (จาก 47,124 รายในไตรมาส 3) จากเหตุการณน้ําทวม อยางไรก็ตาม ยอดขายบรอดแบนดในเดือนธันวาคมไดปรับตัวดีขึ้นมาก

สําหรับกลุมลูกคาองคกร ณ สิ้นป 2554 บริษัทไดขยายบริการใยแกวนําแสงครอบคลุม 140 อาคาร สําคัญๆ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (จาก 120 อาคารในไตรมาส 3) ซึ่งนอยกวาเปาหมาย 170 อาคาร ที่บริษัทไดวางไว โดยสวนใหญเปนผลจากวิกฤตน้ําทวมในไตรมาส

ในป 2554 ทรูออนไลนมี EBITDA เพิ่มขึ้นรอยละ 2.3 จากปกอนหนา ซึ่งสอดคลองกับการเติบโต ของรายได อยางไรก็ตาม ในไตรมาส 4 EBITDA ลดลงรอยละ 14.3 จากไตรมาสกอนหนา จาก คาใชจายที่เพิม่ ขึ้นจากฤดูกาล และคาใชจา ยที่เกีย่ วของกับการบรรเทาทุกขจากวิกฤตน้ําทวมและการ รักษาฐานลูกคา

คาใชจายในการดําเนินงานที่เปนเงินสด เพิม่ ขึ้นรอยละ 6.7 จากปกอนหนา เปน 15.8 พันลานบาท สวน ใหญจากคาใชจายในการดําเนินการและบํารุงรักษาโครงขาย และคาใชจายดานบุคลากรที่เพิ่มขึ้น

ดอกเบี้ยจาย (สุทธิ) ลดลงรอยละ 12.3 จากปกอนหนา เปน 2.1 พันลานบาท สวนใหญจากระดับ หนี้สินเฉลี่ยทีล่ ดลง เมื่อเทียบกับปกอนหนา โดยหนี้สนิ ที่เกี่ยวของกับการซื้อกิจการทรูวิชั่นสในอดีต ซึ่งเดิมสวนหนึ่งอยูภายใตทรูออนไลน ไดถูกยายไปเปนหนี้สินทีก่ ลุมทรูวิชั่นส หลังการรีไฟแนนซ หนี้ของทรูวิชนั่ สในไตรมาส 2 ป 2553

กําไรจากการดําเนินงานปกติ (NIOGO) กอนภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ปรับตัวดีขึ้นจากปกอนหนา เปน 1.1 พันลานบาท (จากกําไร 760 ลานบาท ในป 2553) จาก EBITDA ที่เพิ่มขึ้นและดอกเบี้ยจายที่ลดลง

ทรูวิชั่นส ในป 2554 ทรูวิชั่นสมี รายไดจากการใหบริการ เพิ่มขึ้นเล็กนอย (รอยละ 0.9) จากปกอนหนา เปน 9.7 พันลานบาท โดยการเติบโตอยางแข็งแกรงของรายไดจากคาโฆษณาสามารถชดเชยรายไดที่ลดลง จากคาสมาชิก ซึ่งเปนผลจากการแขงขันและการถูกลักลอบใชสัญญาณ

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 17


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

รายไดจากคาโฆษณา ในป 2554 เพิ่มขึ้นรอยละ 46.7 จากปกอนหนา จากความทุมเทของทีมขายที่มี ความชํานาญงาน ซึ่งถือวาต่ํากวาเปาหมายของป 2554 ที่รอยละ 50 เล็กนอย

คาใชจายในการดําเนินงานที่เปนเงินสด เพิม่ ขึ้นรอยละ 2.4 จากปกอนหนา เปน 7.0 พันลานบาท ใน ป 2554 สวนใหญจากคาใชจายในการบริหารบริการสําหรับสมาชิก และคาใชจายดานบุคลากรและ การบริหารที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่มีคาใชจายดานการขาย การตลาด และโฆษณาคงตัว

EBITDA ในป 2554 ออนตัวลงรอยละ 3.7 จากปกอนหนา เนื่องจากรายไดจากการใหบริการมีการ เติบโตเพียงเล็กนอย ในขณะที่คาใชจายเพิม่ ขึ้น และคาใชจายที่เกี่ยวของกับวิกฤตน้าํ ทวมในไตรมาส 4 (สวนใหญเปนคาใชจายของพนักงานซึง่ เกี่ยวของกับมาตรการบรรเทาทุกขจากวิกฤตน้ําทวม)

ดอกเบี้ยจาย (สุทธิ) เพิ่มขึ้นรอยละ 69.6 จากปกอนหนา เปน 729 ลานบาท สวนใหญจากระดับ หนี้สินที่สูงขึ้น (เนื่องจากทรูวชิ ั่นสรับภาระหนี้สิน ที่เกี่ยวของกับการซื้อกิจการทรูวิชั่นสในอดีต ซึ่งเดิม สวนหนึ่งอยูภ ายใต กลุมทรูออนไลน หลังการรีไฟแนนซหนี้ของทรูวชิ ั่นสในไตรมาส 2 ป 2553) รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยทีเ่ พิ่มขึ้นจากปกอ นหนา

กําไรสุทธิจากการดําเนินงานปกติ (NIOGO) ไมรวมภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ลดลงเปน 354 ลานบาท จากกําไร 674 ลานบาท ในป 2553 สวนใหญจาก EBITDA ที่ลดลงและดอกเบี้ยจายทีเ่ พิ่มขึ้น

ฐานสมาชิก ลดลงเปน 1,641,998 ราย ณ สิ้นป 2554 เมื่อเทียบกับ 1,705,054 รายในป 2553 สวนใหญ จากการยกเลิกบริการในกลุมลูกคาระดับบน (โดยเฉพาะแพ็กเกจโกลด) อยางไรก็ตาม ฐานลูกคา แพ็กเกจแพลทินัมที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นตอเนือ่ ง (จากสัดสวนรอยละ 7.1 ของลูกคาแพ็คเกจพรีเมียม ทั้งหมด ในป 2553 เปนรอยละ 8.5 ในป 2554) ประกอบกับคอนเทนตคุณภาพสูง และการใหบริการ ในระบบ High Definition (HD) สงผลให รายไดเฉลีย่ ตอลูกคาตอเดือน เพิ่มขึ้นจากปกอนหนา

ในเดือนตุลาคม 2554 ทรูวิชั่นสมอบสิทธิประโยชนสําหรับลูกคาระดับบนที่แจงความประสงคจะ เปลี่ยนกลองรับสัญญาณใหมกอนใคร โดยกลองรับสัญญาณ hybrid ใหมนี้ ไมเพียงรองรับรายการ ในระบบ high definition (HD) แตยังประกอบดวยเทคโนโลยีการบีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4 และ เทคโนโลยี secured silicon ซึ่งนอกจากจะเพิ่มอรรถรสในการรับชมใหกับสมาชิกแลว ยังชวยขจัด ปญหาจากการลักลอบใชสัญญาณ เมือ่ เปดใชงานระบบออกอากาศใหมทมี่ ีความปลอดภัยสูงในป 2555

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 18


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

งบดุลรวม และงบกระแสเงินสดรวม (ยังไมไดตรวจสอบ)

ป 2554

ป 2553

% เปลี่ยนแปลง

(หนวย : ลานบาท ยกเวนในรายการที่มีการระบุเปนอยางอื่น) งบดุลรวม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด รวมเงินสดที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้การคา - สุทธิ

12,446 11,228

5,709 8,529

รวมสินทรัพยหมุนเวียน

36,969

22,099

67.3

เงินลงทุนในบริษท ั ยอย กิจการรวมคา และบริษท ั รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ

215 73,819 20,226

90 65,378 5,119

139.1 12.9 295.1

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

118.0 31.7

114,549

92,177

151,518 13,462 4,764 6,896

114,276 6,998 4,088 7,171

รวมหนี้สินหมุนเวียน

40,809

29,949

36.3

เงินกูระยะยาว หนี้สินภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ

77,976 3,640

64,675 4,123

20.6 (11.7)

สินทรัพยรวม เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปของเงินกูยืมระยะยาว

24.3 32.6 92.4 16.5 (3.8)

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน

89,240

72,619

22.9

หนี้สินรวม สวนของผูถือหุนรวม

130,049 21,469

102,569 11,707

26.8 83.4

งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน - รายจายลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด (ลดลง) เพิ่มขึ้นสุทธิ ยอดยกมาตนงวด และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน ยอดเงินคงเหลือสิ้นงวด กระแสเงินสดสุทธิ *

4,630 (16,507) (11,021) 18,772 6,895 4,553 11,448 (6,391)

9,269 (6,937) (7,483) (2,707) (375) 4,916 4,541 1,786

(50.0) 138.0 47.3 (793.5) (1937.8) (7.4) 152.1 NM

หมายเหตุ : * กระแสเงินสดสุทธิ คือ กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานหักรายจายลงทุน

การวิเคราะหฐานะทางการเงิน สินทรัพย สินทรัพยรวมของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจํานวนเพิ่มขึ้นเปน 151.5 พันลานบาท จาก 114.3 พันลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สวนใหญมาจากรายการเงินสด สินทรัพยไมมีตัวตน และการลงทุนในอุปกรณเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ที่เพิ่มขึ้น

เงินสดและเงินสดที่มีภาระผูกพัน ในป 2554 มีจํานวนเพิ่มขึ้นเปน 12.4 พันลานบาท จาก 5.7 พันลานบาท ในป 2553 สวนใหญจากเงินสดที่ไดจากการเพิ่มทุนผาน Rights Offering การเบิกใชวงเงินกูจาก ธนาคารเพื่อการดําเนินธุรกิจ และเพื่อชําระคาใชจายและชําระคืนหนี้เจาหนี้การคา ในชวงตนป 2555

สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) เพิ่มขึ้นเปน 20.2 พันลานบาท จาก 5.1 พันลานบาทในปกอนหนา สวนใหญ จากการบั น ทึ ก มู ลค า สัญ ญา (ประกอบดว ย สั ญ ญาใหบ ริก ารและสิ ทธิ์ ใ นการดํ า เนิ น การ) เป น สินทรัพย ซึ่งเกี่ยวของกับการซื้อกิจการฮัทช จํานวนทั้งสิ้น 15.8 พันลานบาท (ดูรายละเอียดใน หมายเหตุขอ 41 ประกอบงบการเงินประจําป 2554 และ 2553)

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 19


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) เพิ่มขึ้นเปน 73.8 พันลานบาท ในป 2554 จาก 65.4 พันลานบาท ในปกอนหนา สวนใหญจากการลงทุนในโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่

หนี้สิน หนี้สินรวมของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นเปน 130.0 พันลานบาท ณ สิ้นป 2554 จาก 102.6 พันลานบาท ณ สิ้นป 2553 สวนใหญเงินกูยืมที่เพิ่มขึ้น

เจาหนี้การคา เพิ่มขึ้นเปน 13.5 พันลานบาท ณ สิ้นป 2554 จาก 7.0 พันลานบาท ณ สิ้นป 2553 จาก เจาหนี้การคาของบริษัทตางๆ ที่กลุมทรูซื้อกิจการมา (สวนใหญคือ BFKT และ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด หรือ ฮัทช) ที่ยังคางชําระตอ กสท

เงินกูยืมระยะยาวโดยรวม (รวมสวนที่ถึงกําหนดชําระในปจจุบัน) เพิ่มขึ้นเปน 84.9 พันลานบาท จาก 71.8 พันลานบาท ในปกอนหนา สวนใหญเพื่อการขยายบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช และเพื่อ การซื้อคืนหุนกูสกุลดอลลารสหรัฐของทรูมูฟ (รอยละ 97.8 ของจํานวนหุนกูทั้งหมด)

บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามขอผูกพันทางการเงินที่ตกลงไวกับผูถือหุนกู ตามตารางที่แสดงดานลาง ทั้งนี้ หากบริษัทฯ ไมสามารถปฏิบัติตามขอผูกพันทางการเงินดังกลาวได บริษัทฯ จําเปนตองทําเอกสาร ขอผอนผันกับผูถือหุนกู ทั้งนี้ หาก บริษัทฯ ซึ่งเปนผูออกหุนกู ไมไดรับการผอนผัน และสงผลให เกิดกรณีผิดนัด ผูถือหุนกูสามารถเรียกคืนเงินลงทุนในหุนกูดังกลาวได หากไดรับความเห็นชอบ จากเสียงสวนใหญของกลุมเจาหนี้มีประกันและเปนไปตามเงื่อนไขในเอกสารทางการเงินของบริษัทฯ หุนกูของบริษทั ฯ ชื่อหุนกู

TRUE144A

ขอผูกพัน (ตองเปนไปตามอัตราสวนที่กําหนด ตลอดเวลา) อัตราสวนหนีส้ ินสุทธิ ตอ EBITDA <= 5

อัตราสวนที่คํานวณ ลาสุด (ณ 31 ธันวาคม 2554) * 3.06

TRUE151A

อัตราสวนหนีส้ ินสุทธิ ตอ EBITDA <= 5

3.06

TRUE 13NA (1/2553)

-

-

TRUE 144B (1/2554)

-

-

หมายเหตุ : *อางอิงจาก งบการเงิน (ตรวจสอบแลว) ของ บริษัท ทรู และงบการเงินเบื้องตนผูค้ําประกัน ที่เปนบริษัทในเครือ 6 แหง หนี้สินสุทธิ ไดแก หนี้สินที่กอดอกเบีย้ ทั้งหมด โดยไมรวมสินเชื่อจากผูขายอุปกรณ ซึ่งอยูในรูป เอกสารการยืดเวลาการชําระหนี้ (Deferred payment note) หักลบดวย เงินสด เงินสดที่มีภาระผูกพัน และเงินลงทุนชั่วคราว สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 20


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

EBITDA คํานวณโดยการรวม 1) ผลกําไร (ขาดทุน) สุทธิ 2) หักดวย กําไร (ขาดทุน) จากอัตรา แลกเปลี่ยน และกําไรจากการขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ และรายไดอื่นที่ไมใชเงินสด (ถามี) ออก จากกําไร (ขาดทุน) สุทธิ และ 3) บวกกลับ คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ดอกเบี้ยจาย (รวมตนทุนทางการเงินอื่น) คาใชจายอื่นทีไ่ มใชเงินสด (ถามี) และ ภาษีเงินได อัตราสวนที่คํานวณได อางอิงจากงบการเงินของบริษัท ทรู และงบการเงินผูค้ําประกันที่เปนบริษทั ในเครือ 6 แหง ไดแก บริษทั ทรู ลิสซิ่ง จํากัด (TLS) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (AWC) บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต จํากัด (TI) บริษัท ทรู อินเตอรเน็ต เกตเวย จํากัด (TIG) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (TPC) และ บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด (TUC) สวนของผูถือหุน เพิ่มขึ้นเปน 21.5 พันลานบาท ณ สิ้นป 2554 จาก 11.7 พันลานบาท ณ สิ้นป 2553 สวนใหญ จากการเพิ่มทุนผาน Rights offering จํานวน 13.1 พันลานบาท ระหวางป 2554 สภาพคลองและแหลงเงินทุน

แหลงเงินทุนหลักของบริษัทสําหรับป 2554 มาจากกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน การออก หุนสามัญใหม (การเพิ่มทุนจํานวน 13.1 พันลานบาท จาก Rights Offering) และการกูยืม (สวนใหญ จากสัญญาวงเงินกูระยะยาวจํานวน 48.9 พันลานบาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน ในป 2554 ลดลงเปน 4.6 พันลานบาท จาก 9.3 พันลานบาท ในป 2553 โดยการทํากําไรในระยะสั้นลดลงในชวงแรกของการขยายธุรกิจ และจากผลกระทบจาก น้ําทวมในไตรมาส 4 ป 2554

กระแสเงินสดใชไปสุทธิจากกิจกรรมลงทุน ในป 2554 เพิ่มขึ้นเปน 16.5 พันลานบาท จาก 6.9 พันลานบาท ในป 2553 สวนใหญเนื่องจากการขยายบริการ 3G+ ของทรูมูฟ เอช และบริการบรอดแบนด รวมทั้ง การซื้อกิจการบริษัทยอย (บริษัทตางๆ ภายใตกลุมฮัทชิสันในประเทศไทย)

รายจายลงทุนที่เปนเงินสด เพิ่มขึ้นเปน 11.0 พันลานบาท (ประกอบดวย 6.5 พันลานบาทสําหรับ กลุมทรู โมบาย 3.1 พันลานบาทสําหรับทรูออนไลน และ 1.4 พันลานบาทสําหรับทรูวิชั่นส) ทั้งนี้ เพื่อขยายความครอบคลุมของบริการ 3G+ และ บริการบรอดแบนดแบบมีสาย รวมทั้งแคมเปญการ เปลี่ยนกลองรับสัญญาณใหมของทรูวิชั่นส เพื่อขจัดการลักลอบใชสัญญาณ การลดลงของกระแส เงินสดจากการดําเนินงาน ในขณะที่รายจายลงทุนเพิ่มขึ้นนั้น สงผลใหกลุมทรูมีกระแสเงินสดสุทธิ (free cash flow) เปนลบ จํานวน 6.4 พันลานบาท

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในป 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 18.8 พันลานบาท (ประกอบดวย 13.1 พันลานบาทจาก Rights Offering และ 40.8 พันลานบาท จากการกูยืม) เทียบกับ 2.7 พันลานบาท ในป 2553

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 21


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โครงการในอนาคต ในป 2555 กลุมทรูและบริษัทในเครือมีโครงการที่จะลงทุนเพิ่มราว 23 พันลานบาท เพื่อขยาย ธุรกิจในกลุม สวนใหญสําหรับบริการโทรศัพทเคลื่อนที่บนโครงขาย HSPA และบริการบรอดแบนด ตลอดจนเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับคอนเวอรเจนซ แพลตฟอรม ทั้งนี้การลงทุนหลักๆ ในป 2555 ไดแก กลุมทรู โมบาย กลุมทรู โมบายมีโครงการที่จะลงทุนราว 15 พันลานบาทในป 2555 เพื่อขยายความ ครอบคลุมของบริการ 3G+ จากทรูมูฟ เอช ใหครอบคลุมพื้นที่บริการประมาณ 8,000 ตําบลใน 77 จังหวัดทั่วประเทศ ภายในสิ้นป 2555 ซึ่งจะทําใหทรูมูฟ เอชมีพื้นที่ใหบริการครอบคลุมรอยละ 95 ของ จํานวนประชากรทั้งประเทศ ธุรกิจออนไลน ทรูออนไลนมีโครงการที่จะลงทุนราว 7 พันลานบาทในป 2555 สวนใหญเพื่อขยายบริการ Ultra hi-speed Internet บนเทคโนโลยี ADSL และ DOCSIS 3.0 ใหครอบคลุมประชากรจํานวนประมาณ 3 ลานครัวเรือน ทั่วประเทศ โดยจะขยายบริการบรอดแบนดบนเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ใหครอบคลุม ประมาณ 60 จังหวัดภายในป 2555 ปจจุบันเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ใหบริการดาวนโหลดดวยความเร็ว สูงสุด 100 Mbps (และจะเพิ่มความเร็วสูงสุดเปน 200 Mbps) และสามารถรองรับคอนเทนตที่เปน High Definition รวมทั้งบริการเสียง ในรูปของบริการแบบ Triple-play ธุรกิจโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก (ทรูวิชั่นส) ทรูวิชั่นสวางแผนลงทุนประมาณ 500 ลานบาทเพื่อเปลี่ยนระบบออกอากาศใหมใหเสร็จ สมบูรณ ระบบออกอากาศใหมนี้ใชเทคโนโลยีบีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4 และ secured silicon ที่มี ความปลอดภัยสูง ซึ่งจะชวยขจัดการลักลอบใชสัญญาณอยางผิดกฎหมาย รวมทั้งใชประโยชนจากโครงขาย เคเบิลของกลุม ซึ่งใหบริการดวยเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใหทรูวิชั่นสในการ ใหบริการโทรทัศนแบบ Interactive และการเพิ่มชองรายการในระบบ High Definition ทรูวิชั่นสมี เปาหมายเปลี่ยนกลองรับสัญญาณสําหรับลูกคาพรีเมี่ยมที่ใชระบบเคเบิลใหแลวเสร็จในเดือนเมษายน 2555 ในขณะที่ลูกคาพรีเมี่ยมที่ใชระบบดาวเทียมจะดําเนินการแลวเสร็จในเดือนตุลาคมปเดียวกัน

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 22


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

11.3 ผูสอบบัญชี ผูสอบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริษัทฯ สําหรับตรวจสอบงบการเงิน รวมและงบการเงินของบริษัทฯ ในระยะ 3 ป ที่ผานมา มีดังนี้ งบการเงินประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

บริษัทผูตรวจสอบ บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส

ชื่อผูสอบบัญชี นายพิสิฐ ทางธนกุล นายพิสิฐ ทางธนกุล นายพิสิฐ ทางธนกุล

เลขประจําตัว ผูสอบบัญชี รับอนุญาต 4095 4095 4095

รายงานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีในระยะ 3 ปที่ผานมา (2552-2554) ผูสอบบัญชีไดให ความเห็นในรายงานการตรวจสอบงบการเงินของบริษัทฯ ถูกตองแบบไมมีเงื่อนไข บจก.ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส และ ผูสอบบัญชีไมมีความสัมพันธหรือสวนไดเสียกับ บริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือผูบริหาร หรือผูถือหุนรายใหญ หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว ในลักษณะที่ จะมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระแตอยางใด 11.4 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษัทฯ และบริษัทยอยมีคาตอบแทนการสอบบัญชี ใหแกสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชี สังกัด สําหรับ ป พ.ศ. 2554 เปนจํานวนเงินรวม 30.11 ลานบาท ไดจายระหวางปเปนจํานวนเงิน 22.09 ลานบาท สําหรับจํานวนเงินที่เหลือ 8.02 ลานบาทจะจายในปถัดไป 2. คาบริการอื่น (non-audit fee) สํานักงานสอบบัญชีที่ไดรับการแตงตั้งจากบริษัทฯ ไดใหบริการอื่นๆ ที่นอกเหนือจากการ ตรวจสอบบัญชีแกบริษัทฯ ซึ่งไดแก การตรวจสอบตามวิธีการที่ตกลงรวมกัน และการใหคําปรึกษาดาน ภาษีและอื่นๆ ในระหวางป 2554 มีคาตอบแทนเปนจํานวนเงิน 1.84 ลานบาท ในจํานวนนี้กลุมบริษัทฯ ได จายชําระแลวระหวางปเปนจํานวนเงิน 0.25 ลานบาทที่เหลืออีกจํานวน 1.59 ลานบาทจะจายในปถัดไป

สวนที่ 1

TRUETO: ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

หัวขอที่ 11 - หนา 23


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ 1. การแตงตั้งกรรมการบริษัท และ กรรมการในคณะกรรมการชุดยอย ของบริษัทฯ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 มีมติที่สําคัญดังนี้ (1) เห็นชอบกับขอเสนอของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ และมีมติแตงตั้ง ศาสตราจารย ดร. วรภั ท ร โตธนะเกษม เข า ดํ า รงตํ า แหน ง กรรมการ และ กรรมการใน คณะกรรมการดานการเงิน ของบริษัทฯ เพื่อทดแทน นายเฉลียว สุวรรณกิตติ ผูลวงลับ โดยใหมีผล ตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม 2555 (2) เห็นชอบกับขอเสนอของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ และมีมติแตงตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบตามรายชื่อดังตอไปนี้ กลับเขาดํารงตําแหนงอีกวาระหนึ่ง โดยมีวาระการ ดํารงตําแหนง 3 ป 4 เดือน และใหมีผลตั้งแตวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 1) นายวิทยา เวชชาชีวะ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2) ดร. โกศล เพ็ชรสุวรรณ กรรมการตรวจสอบ 3) นายโชติ โภควนิช กรรมการตรวจสอบ และมีนางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีรายละเอียดของขอบเขต หนาที่ และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ เชนเดิม ทุกประการ 2. การแตงตั้งผูบริหารของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ 2555 บริษัทฯ มีการปรับปรุงโครงสรางองคกรและแตงตั้งผูบริหาร ซึ่งมีผูบริหาร ใหมจํานวน 3 ทานที่เขาขายเปนผูบริหารตามนิยามของประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) ดังนี้ 1) นายขจร เจียรวนนท Group Executive Director 2) นายอาณัติ เมฆไพบูลยวัฒนา Managing Director 3) นายปพนธ รัตนชัยกานนท Group Chief Commercial Officer นอกจากนี้ ผูบริหารทานเดิมของบริษัทฯ ที่มีชื่ออยูในระบบขอมูลรายชื่อกรรมการและผูบริหารของ สํานักงาน ก.ล.ต. อยูแลว ไดมีการเปลี่ยนแปลงชื่อเรียกตําแหนง รวมจํานวน 4 ทาน ดังนี้ 1) นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน Director and Group Chief Operating Officer 2) นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ Group Executive Director 3) นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย Group Executive Director 4) นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข Managing Director

สวนที่ 1

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

3. การปรับโครงสรางการถือหุนภายในกลุมบริษัทฯ ซึ่งตองไดรับอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถือหุนกอนการ เขาทํารายการ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 เห็นชอบกับขอเสนอของ คณะกรรมการดานการเงิน และมีมติใหเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2555 เพื่อพิจารณา อนุมัติใหบริษัทฯ ขายเงินลงทุนในหุนสามัญของบริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด ที่บริษัทฯ ถืออยูทั้งหมด จํานวน 55,950,001 หุน ในราคาหุนละ 3.76 บาท ใหแก บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย ที่บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 99.99 ของทุนที่ออกและเรียกชําระแลวทั้งหมด โดยมีวัตถุประสงค เพื่อปรับโครงสรางการถือหุนภายในกลุมบริษัทฯ ซึ่งภายใตบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 107 (2) (ก) การทํารายการดังกลาวตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน กอนการเขาทํารายการ 4. การกําหนด “ขอหามการกระทําที่มีลักษณะเปนการครอบงํากิจการโดยคนตางดาว” ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 ไดมีมติเห็นชอบตอการ กํา หนดขอหา มการกระทํา ที่มีลัก ษณะเป นการครอบงํ ากิ จการโดยคนต า งด าว ตามมาตรฐานของ ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ โดยให บรรจุขอหามดังกลาวเขาเปนขอบังคับของบริษัทฯ ขอที่ 31 และใหนําเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2555 เพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ขอ 31. ขอหามการกระทําที่มีลักษณะเปนการครอบงํากิจการโดยคนตางดาว เนื่องดวย ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ เรื่อง การกําหนดขอหามการกระทําที่มีลักษณะเปนการครอบงํากิจการโดยคนตางดาว พ.ศ. 2554 ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 23 สิงหาคม 2554 และลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2554 โดยมี ผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 31 สิงหาคม 2554 ไดกําหนดหนาที่ใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม กําหนดขอหามการกระทําที่มีลักษณะเปนการครอบงํากิจการโดยคนตางดาว และโดยเหตุที่ บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ซึ่งเปนผูรวมการงานและรวมลงทุนกับองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (ปจจุบัน คือบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)) ในการจัดหา ติดตั้ง ควบคุม ตลอดจนบํารุงรักษาอุปกรณในระบบเพื่อ โอนและสงมอบใหองคการโทรศัพทแหงประเทศไทยดําเนินการใหบริการแกประชาชนดวยตนเอง บริ ษั ท ฯ จึ ง เข า ใจโดยสุ จ ริ ต ว า บริ ษั ท ฯ มิ ไ ด เ ป น ผู ป ระกอบกิ จ การโทรคมนาคมตามความใน พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และมิไดเปนผูรับใบอนุญาตตามความใน ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เรื่อง การ กําหนดขอหามการกระทําที่มีลักษณะเปนการครอบงํากิจการโดยคนตางดาว พ.ศ. 2554 ("ประกาศ กสทช.ฯ") ซึ่งจะตองปฏิบัติตามขอกําหนดและเงื่อนไขตามที่ประกาศ กสทช.ฯ กําหนด อยางไรก็ตาม เนื่องจาก บริษัทฯ เปนบริษัทมหาชนซึ่งไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และเพื่อแสดงความ

สวนที่ 1

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

โปรงใสวาบริษัทฯ มิไดถูกครอบงํากิจการโดยคนตางดาวตามมาตรฐานที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติไดกําหนดขึ้น บริษัทฯ จึงใชมาตรฐานตามประกาศ กสทช.ฯ ดังกลาวในการแสดงตน และกําหนดขอหามเพื่อเปนการรับรองวาบริษัทฯ จะไมถูกครอบงํา กิจการโดยคนตางดาวตามลักษณะพฤติการณหรือขอเท็จจริงตามที่ประกาศ กสทช.ฯ กําหนด บริษัทฯ จึงกําหนดขอหามการกระทําที่มีลักษณะเปนการครอบงํากิจการโดยคนตางดาวไว ดังตอไปนี้ (1) ในขอหามนี้ “ประกาศ กสทช.ฯ” หมายถึ ง ประกาศคณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เรื่อง การกําหนดขอหามการกระทําที่มีลักษณะเปนการ ครอบงํากิจการโดยคนตางดาว พ.ศ. 2554 “บริษัทฯ” หมายถึง บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) “คนต า งด า ว” หมายถึ ง คนต า งด า วตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบธุ ร กิ จ ของ คนตางดาว พ.ศ. 2542 “การครอบงํ า กิ จ การโดยคนต า งด า ว” หมายถึ ง การที่ ค นต า งด า วมี อํ า นาจควบคุ ม ในกิจการของบริษัทฯ รวมกันแลวตั้งแตกึ่งหนึ่งของอํานาจควบคุมในบริษัทฯ “อํานาจควบคุม” หมายถึง การมีอํานาจควบคุมหรือมีอิทธิพลไมวาโดยทางตรงหรือ ทางออมในการกําหนดนโยบาย การบริหารจัดการ การดําเนินงาน การแตงตั้งกรรมการ การแตงตั้ง ผูบริหารระดับสูง หรือการกระทําอื่นใดอันอาจมีผลตอการบริหารกิจการหรือการประกอบกิจการ โทรคมนาคมของบริษัทฯ (2) การครอบงํากิจการโดยคนตางดาวผานพฤติการณดังตอไปนี้ เขาขายเปนขอหามการ กระทําที่มีลักษณะเปนการครอบงํากิจการโดยคนตางดาว ตามประกาศ กสทช.ฯ (2.1) การครอบงํ า กิ จ การผ า นการให ค นต า งด า วหรื อ ตั ว แทนเข า มาถื อ หุ น ไม ว า ทางตรงหรือทางออมในบริษัทฯ (2.2) การครอบงํากิจการผานการถือหุนของคนตางดาวโดยผานตัวแทนเชิด หรือ ผูกระทําการแทนในลักษณะอื่น อันมีผลเปนการเพื่อหลีกเลี่ยงประกาศ กสทช.ฯ (2.3) การครอบงํากิจการผานการถือหุนโดยคนตางดาวเอง หรือถือผานผูแทนหรือ ตัวแทนของคนตางดาว โดยหุนดังกลาวมีสิทธิพิเศษในการออกเสียงลงมติในการประชุมผูถือหุนเกิน กวาสัดสวนจํานวนหุนที่ถือไวจริง หรือเปนหุนที่มีสิทธิพิเศษเหนือกวาหุนที่ถือโดยผูมีสัญชาติไทย (2.4) การครอบงํ า กิ จ การผ า นการที่ ค นต า งด า วมี ส ว นในการแต ง ตั้ ง หรื อ ควบคุ ม คณะกรรมการหรือผูบริหารระดับสูง

สวนที่ 1

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ผูบ ริ ห ารระดั บ สู ง หมายถึง ประธานกรรมการ กรรมการผู จั ด การ ผู จั ด การ ผูอํานวยการ หัวหนาผูบริหารดานจัดซื้อ หัวหนาผูบริหารดานการเงิน หรือบุคคลอื่นใดซึ่งมีอํานาจ ควบคุมหรืออิทธิพลตอการบริหารกิจการหรือประกอบกิจการโทรคมนาคมในกิจการของบริษัทฯ (2.5) การครอบงํากิจการผานการมีนิติสัมพันธกับแหลงที่มาของเงินลงทุนและเงินกู จากคนต า งด า วหรื อ นิ ติ บุ ค คลในเครื อ อาทิ การค้ํ า ประกั น เงิ น กู การให กู เ งิ น ในอั ต ราดอกเบี้ ย ต่ํากวาราคาตลาด การประกันความเสี่ยงทางธุรกิจ หรือการใหสินเชื่อในลักษณะที่มีการเลือกปฏิบัติ (2.6) การครอบงํากิจการผานการทําสัญญาเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา สัญญาแฟ รนสไชส (Franchise) หรือสัญญาที่ใหสิทธิแตเพียงผูเดียวกับคนตางดาวหรือนิติบุคคลในเครือ และ สัญญาดังกลาวมีผลเปนการถายโอนคาใชจายและผลประโยชนตอบแทนใหแกคนตางดาว (2.7) การครอบงํากิจการผานการทําสัญญาจัดซื้อจัดจางหรือสัญญาจางบริหารกับคน ตางดาวหรือนิติบุคคลในเครือ หรือลูกจาง หรือพนักงานของคนตางดาวหรือนิติบุคคลในเครือ และ สัญญาดังกลาวมีผลเปนการถายโอนคาใชจายและผลประโยชนตอบแทนใหแกคนตางดาว (2.8) การครอบงํ า กิ จ การผ า นการร ว มประกอบกิ จ การกั บ คนต า งด า วหรื อ นิติบุคคลในเครือ โดยมีการจัดสรรหรือแบงตนทุนในการประกอบกิจการในลักษณะที่มีผลเปนการถายโอน คาใชจายและผลประโยชนตอบแทนใหแกคนตางดาว (2.9) การครอบงํากิจการผานการทําธุรกรรมในลักษณะโอนราคา (Transfer pricing) หรือสมยอมดานราคากับคนตางดาวหรือนิติบุคคลในเครือ (2.10) การครอบงํากิจการผานพฤติกรรมในลักษณะอื่นใดอันมีผลเปนการใหคนตางดาวหรือ ตัวแทนของคนตางดาวเขามามีอํานาจควบคุมในกิจการของบริษัทฯ ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม

สวนที่ 1

TRUETP: ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

หัวขอที่ 12 - หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล “บริษัทฯ ไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว ดวยความระมัดระวัง บริษัทฯ ขอรับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงใน สาระสําคัญ นอกจากนี้ บริษัทฯ ขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดงขอมูลอยาง ถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทฯ และบริษัทยอยแลว (2) บริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลในสวนที่เปน สาระสําคัญทั้งของบริษัทฯ และบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) บริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และ บริษัทฯ ไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ 2555 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทฯ แลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทํา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริษัทฯ ไดรับรองความถูกตองแลว บริษัทฯ ไดมอบหมายให นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับ เอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร วินิจสร และ นางรังสินี สุจริตสัญชัย กํากับไว บริษัทฯ จะถือวาไมใชขอมูลที่บริษัทฯ ไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

1. ศาสตราจารยพิเศษอธึก อัศวานันท

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย

……………………………………

2. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

กรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ ดานคุณภาพโครงขาย การปฏิบัติการ และบํารุงรักษา

…………………………………….

ผูรับมอบอํานาจ นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน

…………………………………….

นายธนิศร

วินิจสร

ผูอํานวยการ ดานบัญชีกลุมบริษัท

…………………………………….

นางรังสินี

สุจริตสัญชัย

เลขานุการบริษัท

…………………………………….

สวนที่ 2

TRUETQ: การรับรองความถูกตองของขอมูล

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554) ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

นายวิทยา เวชชาชีวะ

กรรมการอิสระ ประธาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการที่ดี

75

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54) หุนสามัญ: -

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

หุนกู: TRUE144A -

นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ

TRUE151A -

ปริญญาตรี

นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ

TRUE13NA -

เนติบณ ั ฑิต

สํานักเกรส อินน

TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE -

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000

TRUE 10.375 14 TRUE MOVE ดร.โกศล เพ็ชรสุวรรณ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธาน คณะกรรมการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี

72

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE144B -

-

ปริญญาเอก

สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London

ปริญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร Imperial College London

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Director Certification Program (DCP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2541-ปจจุบัน บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ กรรมการในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ปจจุบัน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. โกลว พลังงาน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2545-ปจจุบัน บมจ. ฟนันซา บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ 2541-ปจจุบัน บจ. เค ไลน (ประเทศไทย) และบริษัทในเครือ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 2534-2535 2531 เอกอัครราชทูตประจําประเทศสหรัฐอเมริกา เอกอัครราชทูตประจําประเทศเบลเยีย่ ม และประชาคมยุโรป 2527 เอกอัครราชทูตประจําประเทศแคนาดา 2524 2522 อธิบดีกรมเศรษฐกิจ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2554-ปจจุบัน บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2547-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน)) 2544-2552 กรรมการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) 2544-2548 นายกสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ 2543-2544 ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแหงประเทศไทย 2529-2535 อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายโชติ โภควนิช

ตําแหนง

อายุ (ป)

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการใน คณะกรรมการ ดานการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กําหนด คาตอบแทนและ สรรหากรรมการ

69

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54) หุนสามัญ: -

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ผูสอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮารวารด ประเทศสหรัฐอเมริกา

หุนกู: TRUE144A -

หลักสูตรการจัดการดานการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ประเทศสหรัฐอเมริกา

TRUE151A -

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP)

TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

นายฮาราลด ลิงค

กรรมการอิสระ

57

หุนสามัญ: 50,000 หุน (รอยละ 0.00) หุนกู: TRUE144A -

-

MBA, St. Gallen University, Switzerland การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ ปจจุบัน กรรมการในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเงินทุน ทิสโก จํากัด (มหาชน) 2543-2544 (ปจจุบันชื่อ ธนาคารทิสโก จํากัด (มหาชน)) 2537-2540 ประธานกรรมการบริหาร กลุมบมจ. ไทยวา กรรมการผูจัดการใหญและกงสุลใหญแหงเดนมารก ประจําประเทศไทย 2535-2537 บมจ. อี๊สตเอเชียติก๊ (ประเทศไทย) บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค กรรมการ บจ. คิงฟชเชอร โฮลดิ้งส ปจจุบัน กรรมการ บจ. ไทยสมารทคารด ประธานเจาหนาที่บริหาร ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน) 2547-2549 (ปจจุบันชื่อ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จํากัด (มหาชน)) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มี.ค. 2553-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2543-ก.พ. 2553 กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2541-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ปูนซีเมนตนครหลวง บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2530-ปจจุบัน Chairman, B. Grimm Group of Companies

TRUE151A TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่ําเฉลิม

กรรมการอิสระ

67

หุนสามัญ: 54,435 หุน (รอยละ 0.00) หุนกู: TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ปริญญาตรี

นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เนติบณ ั ฑิต

สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบณ ั ฑิตยสภา

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มี.ค. 2553-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ กรรมการอิสระ บมจ. เสริมสุข ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริง่ แอนด คอนสตรัคชั่น ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. อสมท 2547- 2549 กรรมการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย 2546-2548 ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บมจ. การบินไทย

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รองประธานกรรมการ บมจ. ทางยกระดับดอนเมือง ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. นครหลวง ลีสซิ่ง-แฟกเตอริง ศาสตราจารย พเิ ศษคณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ศาสตราจารยพเิ ศษสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบณ ั ฑิตยสภา - Director Accreditation Program (DAP) ศาสตราจารยพเิ ศษชัน้ ปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารยพเิ ศษชัน้ ปริญญาเอก มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ศาสตราจารยพเิ ศษคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการคดีพเิ ศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) 2545-ปจจุบัน กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ (ก.ต.ช.) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กระทรวงสาธารณสุข กรรมการผูทรงคุณวุฒิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรรมการ คณะกรรมการอาหารแหงชาติ กรรมการบริหาร สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ประธานกรรมการจริยธรรม สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสารสาขาตางๆ (สขร.) 2544-ปจจุบัน กรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ คณะกรรมการโอลิมปคแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ 2538-ปจจุบัน อัยการสูงสุด สํานักงานอัยการสูงสุด 2546-2547 อุปนายก เนติบณ ั ฑิตยสภา กรรมการ กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ 2544-2547 รองอัยการสูงสุด สํานักงานอัยการสูงสุด 2543-2546 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย 2545-2547 กรรมการ องคการสือ่ สารมวลชนแหงประเทศไทย 2543-2545 อธิบดีอัยการฝายวิชาการ สํานักงานอัยการสูงสุด 2539-2543 กรรมการ การประปาสวนภูมิภาค 2543-2549 กรรมการ มูลนิธิแสงชัย สุนทรวัฒน 2539-2552 ที่ปรึกษากฎหมาย ผูบญ ั ชาการทหารบก 2530-2536 ที่ปรึกษากฎหมาย ผูบญ ั ชาการทหารสูงสุด กรรมการ การสื่อสารแหงประเทศไทย (ปจจุบันชื่อ บมจ. กสท โทรคมนาคม) 2536-2539 กรรมการ การประปานครหลวง 2528-2540 พิเศษ

วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐรวมเอกชน (วปรอ. รุนที่ 1)

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

นายธนินท เจียรวนนท

ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการ กําหนดคาตอบแทนและ สรรหากรรมการ

72

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54) หุนสามัญ: หุนกู: TRUE144A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนบิดาของ นายสุภกิต เจียรวนนท นายณรงค เจียรวนนท นายศุภชัย เจียรวนนท

TRUE151A -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

Commercial School ประเทศฮองกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ ประธานกรรมการ บมจ. เจริญโภคภัณฑอาหาร ประธานกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การผานการอบรมทีเ่ กีย่ วของ ที่จดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ปจจุบัน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บจ. ทรู มูฟ - Director Accreditation Program (DAP) กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค ประธานกรรมการ และ ประธานคณะผูบริหาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ และ บริษัทในเครือ

TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE ดร.อาชว เตาลานนท

รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการ ดานการเงิน และ กรรมการใน คณะกรรมการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี

74

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

-

ปริญญากิตติมศักดิ์ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยหอการคาไทย วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน ปริญญาเอก Illinois Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ปริญญาโท Iowa State of University ประเทศสหรัฐอเมริกา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ปริญญาตรี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร พิเศษ หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรรัฐรวมเอกชนรุนที่ 1

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ กรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2536-2542

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ เครือเจริญโภคภัณฑ 2544-2547 ประธานกรรมการ หอการคาไทย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย 2534-2535 รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประธาน Board of Trustee สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ การผานการอบรมทีเ่ กีย่ วของ ที่จดั โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กรรมการ - Director Accreditation Program (DAP) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP)

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายเฉลียว สุวรรณกิตติ

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

รองประธานกรรมการ และ กรรมการใน คณะกรรมการ ดานการเงิน

83

หุนสามัญ: 5,397,750 หุน (รอยละ 0.04)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

หุนกู: TRUE144A TRUE151A -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

สาขาบริหารธุรกิจ Indiana University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประกาศนียบัตรชั้นสูง

ดานวิชาสถิติ จาก Indian Statistical Institute, กัลกัตตา ประเทศอินเดีย

TRUE13NA TRUE144B -

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท*

รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานกฎหมาย

60

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE144B -

-

ปริญญาโท

สาขานิตศิ าสตร Specialised in International Legal Studies, New York University ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขานิตศิ าสตร (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การอบรม หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุนที่ 3 การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ ปจจุบัน กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2535-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ประวัตกิ ารทํางานสําคัญอืน่ ๆ - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ สภาหอการคาแหงประเทศไทย - กรรมการผูจัดการใหญ บจ. บขส - กรรมการอํานวยการ (กอตั้ง) องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ - กรรมการผูจดั การ บจ. ธนสถาปนา - นายกสมาคมการตลาดแหงประเทศไทย - นายกสมาคมขนสงทางน้ํา - กรรมการผูจดั การ บจ. ซี.พี. อินเตอรเทรด - เลขาธิการ หอการคาไทยและสภาหอการคาแหงประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล 2551-ก.พ. 2552 เลขานุการบริษัท บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2540-ปจจุบัน รองประธานกรรมการ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานกฎหมาย บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น หัวหนานักกฎหมาย กลุมบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส และ บริษัทในเครือ 2545-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มูฟ 2544-2549 ผูพิพากษาสมทบในศาลทรัพยสินทางปญญาและ การคาระหวางประเทศกลาง 2521-2540 Baker & McKenzie ปจจุบัน อาจารยพิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิตศิ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายอํารุง สรรพสิทธิ์วงศ

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

กรรมการ กรรมการใน คณะกรรมการ ดานการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กําหนด คาตอบแทนและ สรรหากรรมการ

59

หุนสามัญ: 717,300 หุน (รอยละ 0.00) หุนกู: TRUE144A TRUE151A TRUE13NA -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ปริญญาตรี

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP)

TRUE144B -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2544-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น ปจจุบัน กรรมการในคณะกรรมการดานการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน รองประธานสํานักการเงินเครือเจริญโภคภัณฑ บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ ธนาคารวีนาสยาม จํากัด กรรมการ บจ. ซี.พี. โลตัส คอรปอเรชั่น

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

นายวิเชาวน รักพงษไพโรจน*

กรรมการ กรรมการผูจัดการ และ หัวหนา คณะผูบริหาร ดานปฏิบัติการ โครงขายและ เทคโนโลยี

54

หุนสามัญ: -

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ Pepperdine University ประเทศสหรัฐอเมริกา

หุนกู: TRUE144A -

ปริญญาโท

วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริกา

TRUE151A -

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร (ไฟฟา) Arizona State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

TRUE13NA -

การผานการอบรมที่เกี่ยวของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุนที่ 16)

TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE นายชัชวาลย เจียรวนนท*

กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร การลงทุนกลุม

49

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE144A TRUE151A TRUE13NA -

เปนหลานของ นายธนินท เจียรวนนท

ปริญญาตรี

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2543-ปจจุบัน กรรมการ กรรมการผูจดั การ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - โครงขายและเทคโนโลยี รองกรรมการผูจัดการใหญดานธุรกิจและบริการ 2541-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการกลางและ 2540-2541 เทคโนโลยีสารสนเทศ ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันออกเฉียงใต 2539-2540 ผูจัดการทั่วไปสายงานโทรศัพทนครหลวงตะวันตก 2538-2539 บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหาร บจ. พันธวณิช ประธานคณะกรรมการบริหาร บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท

สาขาบริหารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2536-ปจจุบัน กรรมการ และ ผูอํานวยการบริหาร – การลงทุนกลุม บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2544-ป จ จุ บ น ั กรรมการ และ กรรมการตรวจสอบ การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) บมจ. ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ - Director Accreditation Program (DAP) 2550-ปจจุบัน ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริหาร บล. ฟนันเซีย ไซรัส จํากัด (มหาชน) 2548-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. อะมานะฮ ลิสซิ่ง 2547-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. เมโทรสตาร พร็อพเพอรตี้ 2543-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. อิออน ธนสินทรัพย (ไทยแลนด)

TRUE144B -

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2543-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบ ริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ้ง 2540-ปจจุบัน ประธานคณะผูบริหาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. ทรู อินเทอรเน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท 2549-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก 2535-2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอุตสาหกรรมพลาสติก 2533-ปจจุบัน กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่ ปจจุบัน กรรมการ บริษัทในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น

TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE * กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

นายสุภกิต เจียรวนนท*

กรรมการ และ กรรมการใน คณะกรรมการ กําหนด คาตอบแทนและ สรรหากรรมการ

48

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54) หุนสามัญ: 3,000 หุน (รอยละ 0.00) หุนกู: TRUE144A TRUE151A TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร เปนบุตรของ นายธนินท เจียรวนนท เปนพี่ชายของ นายณรงค เจียรวนนท และ นายศุภชัย เจียรวนนท

คุณวุฒทิ างการศึกษา ปริญญาตรี

สาขาบริหารธุรกิจ New York University ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุน 92/2011

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริษัท บมจ. ทรู วิชั่นส ประธานคณะกรรมการบริษัท บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล ประธานกรรมการบริหาร บจ. เทเลคอมโฮลดิง้ ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต แลนด โฮลดิ้ง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต พร็อพเพอรตี้ เมเนสเมนท ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต เรียล เอสเตรส กรุป ประธานคณะกรรมการ บจ. ฟอรจูน ลิสซิ่ง ประธานคณะกรรมการ บจ. แมส เจียน อินเวสเมนท ประธานคณะกรรมการ บจ. ปกกิ่ง โลตัส ซุปเปอรมารเก็ต เชนส สโตร ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต โลตัส (เซี่ยงไฮ) ประธานกรรมการรวม บจ. เซี่ยงไฮ คิงฮิวล – ซุปเปอรแบรนดมอล รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจําหนาย (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร กลุมธุรกิจพัฒนาทีด่ ิน (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บจ. เจียไต เอ็นเตอรไพร อินเตอรเนชัน่ แนล รองประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บจ. เซี่ยงไฮ โลตัส ซุปเปอรมารเก็ต เชนส สโตร รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจยานยนตและอุตสาหกรรม (จีน) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ รองประธาน บจ. เจียไต อินเตอรเนชัน่ แนลไฟแนนซ รองประธาน บจ. เจียไต วิชั่น รองประธาน บจ. เซี่ยงไฮ ฟอรจูน เวิลด ดีเวลลอปเมนท รองประธาน บจ. เจียไต เทรดดิ้ง (ปกกิ่ง) รองประธาน กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดนิ (ไทย) บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. เจียไต ดีเวลลอปเมนท อินเวสเมนท กรรมการ บจ. เจียไต กรุป กรรมการ บจ. ซีพี โภคภัณฑ กรรมการ บจ. ฟอรจูน เซี่ยงไฮ กรรมการ บจ. โลตัส ซีพีเอฟ (จีน) อินเวสเมนท ตําแหนงทางสังคม กรรมการมูลนิธิเดอะบิล้ ด 2552 2552 ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม 2551 กงสุลกิตติมศักดิ์สหพันธรัฐรัสเซียประจําจังหวัดภูเก็ต 2549 Award of Bai Yu Lan from Shanghai Government 2549 Member of Fudan Incentive Management Fund Committee of Fudan University 2549 Management Committee of Chia Tai International Center of Peking University 2549 ที่ปรึกษาประจําคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผูแทนราษฎร 2548 สมาชิกสมาคมธุรกิจไทยรุนใหม 2548 อุปนายกสมาคมสงเสริมการลงทุนและการคาไทย-จีน 2547 กรรมการกองทุนสงเสริมงานวัฒนธรรม สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ 2547 อุปนายกสมาคมขี่มาแหงประเทศไทย 2545 สมาชิกชมรมธุรกิจไทยรุนใหม 2545 รองประธานสภาธุรกิจไทย-จีน 2536 คณะกรรมาธิการเด็กเยาวชนและผูส ูงอายุ

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

8


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

นายณรงค เจียรวนนท

กรรมการ

47

หุนสามัญ: 161,577 หุน (รอยละ 0.00)

เปนบุตรของ นายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท และ เปนพี่ชายของ นายศุภชัย เจียรวนนท

หุนกู: TRUE144A TRUE151A -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา Business Administration New York University, USA

Advance Management Program: Transforming Proven Leaders into Global Executives, Harvard Business School, Harvard University การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) (2550)

TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE

-

TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2551 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป 2553 - ปจจุบัน ผูอํานวยการใหญ มหาวิทยาลัยธุรกิจ ซีพี รองประธานคณะกรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจําหนาย (ไทย) รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจการตลาดและการจัดจําหนาย (จีน) รองประธานกรรมการ กลุมธุรกิจพัฒนาที่ดนิ (จีน) 2552 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวสิ 2551 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี ตัวแทนตามกฎหมายและกรรมการ Beston Action Utility Wear (Lianyungang) Co., Ltd. กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส 2550 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล รองประธานกรรมการอาวุโส CP Lotus Corporation Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส Chia Tai (China) Investment Co., Ltd. 2550 - 2553 กรรมการบริหาร C.P. Pokphand Co., Ltd. ปจจุบัน กรรมการ Qingdao Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Jinan Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Xi’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. รองประธานกรรมการบริหาร CP Food Product (Shanghai) Co., Ltd. กรรมการ Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Foshan C.P. Lotus Management Consulting Co., Ltd. กรรมการ Changsha Chulian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Chengdu Ailian Supermarket Co., Ltd. 2545 กรรมการบริหาร ธนาคาร Business Development 2544 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ Yangtze Supermarket Investment Co., Ltd. 2540 กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Trading (Shanghai) Co., Ltd. 2538 - 2540 กรรมการผูจัดการ Ek-Chor Distribution (Thailand) Co., Ltd.

9


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

นายศุภชัย เจียรวนนท*

กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธาน คณะผูบริหาร

44

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54) หุนสามัญ: 2,404,439 หุน (รอยละ 0.02) หุนกู: TRUE144A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหวาง ผูบริหาร

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (การเงิน) เปนบุตรของ Boston University ประเทศสหรัฐอเมริกา นายธนินท เจียรวนนท เปนนองชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท การผานการอบรมที่เกีย่ วของ และนายณรงค เจียรวนนท ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุน 92/2011

TRUE151A TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ และ ประธานคณะผูบริหาร 2540 รองกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส 2539 รองกรรมการผูจัดการใหญดานปฏิบัติการและพัฒนาธุรกิจ 2538 ผูจัดการทั่วไปโทรศัพทนครหลวงตะวันออก 2537 ผูอํานวยการอาวุโสฝายสนับสนุนและประสานงานการวางแผนและปฏิบัติงานโครงการ 2536 ผูอํานวยการฝายหองปฏิบัติการ 2535 เจาหนาที่อาวุโสประจําสํานักกรรมการผูจดั การใหญ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2549-ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บมจ. ทรู วิชั่นส 2545-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มูฟ 2543-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชนั่ ส 2542-ปจจุบัน ประธานกรรมการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2544-2553 ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2539 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2538 รองประธานเจาหนาที่บริหารสายปฏิบัตกิ าร บมจ. ทรู วิชนั่ ส เคเบิล้ กรรมการผูจัดการ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2534 ประสบการณทาํ งานประมาณ 2 ปใน บจ. วีนิไทย 2533 ประสบการณทาํ งาน 1 ปใน Soltex Federal Credit Union, USA 2532 ประสบการณทาํ งาน 1 ปใน บจ. สยามแม็คโคร ประวัตดิ านกรรมการ - บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น - บจ. ทรู มูฟ - บมจ. ทรู วิชั่นส - บริษัทยอยอื่น ๆ ในเครือของ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น - บจ. พันธวณิช - บมจ. ซีพีพีซี - บจ. ซี.พี. โลตัส คอรปอเรชั่น - บจ. เอเชีย ฟรีวิลล - บจ. ฟรีวิลล โซลูชั่นส - บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ ประวัติดานกิจกรรมเพื่อสังคมและตําแหนงอืน่ ๆ 2553-ปจจุบัน กรรมการบริหารศูนยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ กรรมการกลางมูลนิธิรามาธิบดีฯ กรรมการมูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร 2552-ปจจุบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2551-ปจจุบัน กรรมการคณะกรรมการอํานวยการโครงการจัดหาและบริการดวงตาเชิงรุกทัว่ ประเทศ 2549-ปจจุบัน ประธานคณะอนุกรรมการหาทุน ศูนยดวงตาสภากาชาดไทย กรรมการจัดหาและบริการดวงตาแหงสภากาชาดไทย 2542-ปจจุบัน กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (TCT) 2551-2552 กรรมการคณะกรรมการจัดหาทุนและประชาสัมพันธเพื่อกอสรางอาคารรักษาพยาบาลรวม เฉลิมพระเกียรติ และอุปกรณเครือ่ งมือทางการแพทย 2548-2550 กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียน (LCA)

* กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

10


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายวิลเลี่ยม แฮริส

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร

ผูอํานวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจ ระหวางประเทศ และ ผูชวยกรรมการ ผูจัดการใหญ / ประธานคณะ ผูบริหาร

50

หุนสามัญ: 1,165,767 หุน (รอยละ 0.01)

-

คุณวุฒทิ างการศึกษา

Master Degree of Business Administration, Major in Finance and Marketing, Wharton School of the University of Pennsylvania Bachelor of Science in Economics, Wharton School of the University of Pennsylvania

หุนกู: TRUE144A -

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

TRUE151A -

TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE หัวหนาคณะผูบริหาร ดานการเงิน

44

หุนสามัญ: 606,773 หุน (รอยละ 0.00)

ปริญญาโท

บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

หุนกู: TRUE144A -

ปริญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร Rensselaer Polytechnic Institute, USA

TRUE151A -

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program รุน 101/2008

-

TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE เอกสารแนบ 1

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2551-ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร ดานพัฒนาธุรกิจระหวางประเทศ และ ผูชวยกรรมการผูจดั การใหญ / ประธานคณะผูบริหาร บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2544-2550 หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น 2542-2543 รองกรรมการผูจัดการใหญดานการเงิน บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ Rosy Legend Limited 2554-ปจจุบัน กรรมการ Prospect Gain Limited กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย 2553-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป กรรมการ Dragon Delight Investments Limited กรรมการ Gold Palace Investments Limited 2549-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2536-2542 กรรมการ สํานักนโยบายสินเชื่อ Verizon Communications, Philadelphia

TRUE13NA -

นายนพปฎล เดชอุดม

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2550 - ปจจุบัน หัวหนาคณะผูบริหารดานการเงิน 2546 - 2550 ผูอํานวยการและผูจดั การทั่วไป ดานออนไลน 2543 - 2546 ผูอํานวยการอาวุโส สายงานการเงิน บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. ทรู มันนี่ กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิ่ง กรรมการ บจ. เรียล มูฟ กรรมการ บจ. เรียล ฟวเจอร กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป กรรมการ บจ. ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี 2552 - ปจจุบัน 2547 - ปจจุบัน กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส

11


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายธิติฏฐ นันทพัฒนสิริ

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

ผูอํานวยการบริหาร ธุรกิจเพย ทีวี

57

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE144A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตลาดกระบัง

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - ไมมี -

TRUE151A TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจเพย ทีวี บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2542-2546 กรรมการบริหาร บมจ. ล็อกซเลย 2540-2542 ผูชวยกรรมการผูจดั การ บมจ. ล็อกซเลย บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวสิ เซส ปจจุบัน กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู จีเอส กรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู กรรมการผูจัดการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท 2551-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ 2550-ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส 2549-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวสิ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. บี บอยด ซีจี กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร 2544-2545 บจ. ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย กรรมการผูจัดการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร 2535-2543 บจ. ฮัทชิสัน เทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย)

12


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

นายอติรุฒม โตทวีแสนสุข

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

ผูอํานวยการบริหาร ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ ผูอํานวยการบริหาร ดานลูกคาองคกร ธุรกิจ

48

หุนสามัญ: 1,635,797 หุน (รอยละ 0.01) หุนกู: TRUE144A TRUE151A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ปริญญาโท

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา

ปริญญาตรี

สาขาการบริหารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Diploma of Australian Institution of Director 2005

TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร - ธุรกิจคอนเวอรเจนซ และ ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ 2544 รองกรรมการผูจัดการใหญดานพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่ บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู มันนี่ ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ดิจิตอล พลัส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ไลฟ พลัส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอ็นซี ทรู กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส กรรมการ บจ. ทรู วิชั่นส กรุป กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท เซอรวสิ กรรมการ บจ. แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค 2549-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ 2546-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานธุรกิจ บจ. ทรู มูฟ 2545 ผูจัดการทั่วไป บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส 2541-2545 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น 2541-2544

13


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

อายุ (ป)

จํานวนหุน และ หุนกูท ี่ถอื (31/12/54)

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

ผูอํานวยการบริหาร ดานลูกคาองคกร ธุรกิจขนาดใหญ และบริการ ระหวางประเทศ และ หัวหนาคณะ ผูบริหารดาน ปฏิบัติการ เทคโนโลยี สารสนเทศและ การบริหารลูกคา

53

หุนสามัญ: หุนกู: TRUE144A -

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร -

ปริญญาตรี

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ประวัติการทํางานทีส่ ําคัญ

สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร University of South Alabama ประเทศสหรัฐอเมริกา

บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ปจจุบัน ผูอํานวยการบริหาร - ดานลูกคาองคกรธุรกิจขนาดใหญและบริการ ระหวางประเทศ และ หัวหนาคณะผูบริหารดานปฏิบัติการ - เทคโนโลยี สารสนเทศและการบริหารลูกคา บมจ. ทรู คอรปอเรชัน่

การผานการอบรมที่เกีย่ วของ ทีจ่ ัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุนที่ 54)

บริษัทที่มิไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรรมการ บจ. ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส (ประเทศไทย) ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชัน่ กรรมการ และ Executive Director Corporate Solution บจ. ทรู มูฟ กรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไวรเออ แอนด ไวรเลส กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู ทัช กรรมการบริหาร บจ. พันธวณิช กรรมการ บจ. ฟรีวิลล โซลูชนั่ ส กรรมการ บจ. ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท 2549-ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค 2548-ปจจุบัน กรรมการ บจ. ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร 2546-2551 กรรมการ บจ. ทรู มัลติมีเดีย 2544-2546 กรรมการผูจัดการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery 2544-2545 ผูอํานวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย ผูอํานวยการฝายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2543 ผูจัดการฝายผลิตภัณฑคอมพิวเตอรขนาดใหญ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผูจัดการฝายการเงินและบริหาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2541 ผูจัดการฝายธุรกิจบริการ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2540

TRUE151A TRUE13NA TRUE144B TRUE 10.75 13 TRUE MOVE TRUE 10.375 14 TRUE MOVE -

เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

14


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง (ณ 31 ธันวาคม 2554)

รายชื่อ

True TH TP TE TLS TLR K.I.N. TIT W&W TT TMN True Internet Asia DBS AI TIDC TLP Nilubon<BVI> K.I.N.<BVI> TA Orient BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM TVSC SSV PTE TMS Beboyd TIC TMR TDCM TDP RMV Real Future CHNP TVG TUFC DDI GPI HTTCL BFKT Rosy Legend Prospect Gain TGS SMT Golden Light TITS

บริษัทยอย/บริษัทรวม

1. นายวิทยา

เวชชาชีวะ*

/

2. ดร. โกศล

เพ็ชรสุวรรณ*

/

3. นายโชติ

โภควนิช*

/

4. นายฮาราลด

ลิงค*

/

5. ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่ําเฉลิม*

/

6. นายธนินท

เจียรวนนท

C

7. ดร. อาชว

เตาลานนท

VC /

/

8. นายเฉลียว

สุวรรณกิตติ**

VC /

/ /

9. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท

/

สรรพสิทธิ์วงศ

/

11. นายวิเชาวน

รักพงษไพโรจน

/ /

12. นายชัชวาลย

เจียรวนนท

/ /

13. นายสุภกิต

เจียรวนนท

/ /

14. นายณรงค

เจียรวนนท

/

15. นายศุภชัย

เจียรวนนท

/

16. นายวิลเลี่ยม

แฮริส

E

17. นายนพปฎล

เดชอุดม

E

18. นายธิติฏฐ

นันทพัฒนสิริ

E

19. นายอติรุฒม

โตทวีแสนสุข

E

* กรรมการอิสระ

/ / /

/

/

/

/

/

/

/

/

VC /

10. นายอํารุง

20. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/ /

/ /

/ / /

/

/

/

/ / /

/

/

/

/ /

/ /

/

/ /

/

/

/ /

/ /

/

/

/ / /

/ / /

/

/ /

/

/ / /

/ /

/

/ /

/

/

/

/

/ /

/

/ / /

/ /

/ /

/

/

/

/ /

/

/

/ / /

/

/

/

/

/

/ /

/ /

/

/

/ /

/ /

VC = รองประธานกรรมการ

/

/

/ /

/

/ /

/ / /

C = ประธานกรรมการ

/

/ /

/ /

/

E

/ /

/ / /

/ / /

/ /

/ / / / /

/ / /

/

/ = กรรมการ

/

/ / /

/

/ /

/

/

/

/

/ / /

/

/

/ /

/ / /

/

/ /

/

/ / /

/

/

E = ผูบริหารระดับสูง

** ถึงแกกรรม เอกสารแนบ 1

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

15


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

หมายเหตุ ชื่อยอ True TH TE TLR TIT TT True Internet AI TLP K.I.N. <BVI> BITCO TVS NEC TDS TIG TPC CNP TDM SSV TMS TIC TDCM RMV CHNP TUFC GPI BFKT Prospect Gain SMT TITS

เอกสารแนบ 1

ชื่อเต็ม

ชื่อยอ

บริษัท ทรู คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด บริษัท ทรู อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด) บริษัท ทรู ทัช จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด) K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ทรู ดิสทริบิวชัน่ แอนด เซลส จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล เกตเวย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เรด มีเดีย จํากัด) บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด บริษัท ทรู มิวสิค จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชั่นแนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด) บริษัท เรียล มูฟ จํากัด บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด Gold Palace Investments Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด Prospect Gain Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท เอสเอ็ม ทรู จํากัด True Internet Technology (Shanghai) Company Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) (เดิมชื่อ True Software Application (Shanghai) Company Limited)

TP TLS K.I.N. W&W TMN Asia DBS TIDC Nilubon <BVI> TA Orient TMV TSC NC True SD SM TUC CTV TVSC PTE Beboyd TMR TDP Real Future TVG DDI HTTCL Rosy Legend TGS Golden Light

ชื่อเต็ม บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด บริษัท เค. ไอ. เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด Nilubon Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด บริษัท คลิกทีวี จํากัด บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิล้ จํากัด (มหาชน) บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ออนไลน สเตชั่น จํากัด) บริษัท เรียล ฟวเจอร จํากัด บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด Dragon Delight Investments Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด Rosy Legend Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท ทรู จีเอส จํากัด Golden Light Company Limited (จดทะเบียนตางประเทศ)

TRUETR: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหารระดับสูง

16


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2554) TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light Rosy Legend Prospect Gain HWMH HCWML HMSTL HTTCL BFKT TITS TNN TGS SMT

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

1. นายสุเมธ

เจียรวนนท

/

/

2. นายมิน

เธียรวร

/

/

3. นายสุนทร

อรุณานนทชัย

4. พลเอกสุจินดา

คราประยูร

/

5. นายมนตรี

นาวิกผล

/

6. นายจตุรงค

จตุปาริสุทธิ์

/

7. นายขจร

เจียรวนนท

8. นายอาณัติ

เมฆไพบูลยวัฒนา

9. นายคิโยฟูมิ

คุซากะ

10. นายนนท

อิงคุทานนท

11. พล.ต.ม.ร.ว.ศุภวัฒน เกษมศรี

/ / / /

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/ / /

/

/

/

/

/ /

/

/

วงศทองศรี

/

13. นายถาวร

นาคบุตร

/

/

14. พลตํารวจเอกนพดล สมบูรณทรัพย

/ /

15. นายวสันต

เอารัตน

16. นายวิศิษฏ

รักษวิศิษฏวงศ

17. นายสมพล

จันทรประเสริฐ

18. นายซองชัน

รา

19. ดร. สหัสโรจน

โรจนเมธา

20. นายพิชิต

ธันโยดม

21. นายเจซู

ยูน

22. นายเกษม

กรณเสรี

/

23. นายธัช

บุษฎีกานต

/

24. ดร.วัลลภ

วิมลวณิชย

เอกสารแนบ 2

/ /

/

12. นายธนะชัย

25. นายฮันส โรเจอร สนุค

/

/

/ / / / / /

/ /

/

/

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/ / / /

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2554)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light Rosy Legend Prospect Gain HWMH HCWML HMSTL HTTCL BFKT TITS TNN TGS SMT

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

26. นายสมพันธ

จารุมิลินท

27. นายมูจิน

ฮยอน

28. นายวิสิฐ

ตันติสุนทร

/

/ /

/

ทรัพยสุนทรกุล

/

31. นายกอศักดิ์

ไชยรัศมีศักดิ์

/

32. นายพิสิฏฐ

ภัคเกษม

/

33. นายรถพร

เอกบุตร

/

34. นายวัชระ

กาญจนพันธุ /

/ / /

37. นายเอวิแนส คิสชอร ฮิมาทซิงฮานิ

/

38 นายคณิต

คุณาวุฒิ

/

39. นายสงวนศักดิ์

เภสัชสงวน

40. นายชูมนัส

เกษเสถียร

41. นายเต็ก จิน

คิม

42. นายขจรศักดิ์

สิงหเสนี

43. นายครรชิต

บุนะจินดา คุณวาสี

46. นายบุญสน

เจนชัยมหกุล

47. ดร.จิตติ

วิจักขณา

/

/ / / / / /

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/ /

/

/

48. ดร.เจน

ศรีวัฒนะธรรมา

/

49. นายทรงพล

ศุภชลาศัย

/

50. นายพลพันธุ

อุตภาพ

เอกสารแนบ 2

/

/

วัจนะปกรณ

รัตนชัยกานนท

/

/

35. นายวารด ลอเรนซ พลาทท

44. นายวสุ

/

/

29. นางเพ็ญทิพยภา ดุลยจินดา

45. นายปพนธ

/

/

30. นายสหาย

36. นายไพสิฐ

/ /

/

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2554)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light Rosy Legend Prospect Gain HWMH HCWML HMSTL HTTCL BFKT TITS TNN TGS SMT

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

51. นายสุพจน

มหพันธ

52. ดร.พิษณุ

สันทรานันท

53. นายอาจกิจ

สุนทรวัฒน

/ / /

54. พลตํารวจเอก พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย 55. ดร. อโณทัย

/

รัตนกุล

/ /

/ /

/ /

/

/

56. นายเจนวิทย

คราประยูร

57. นายกิติกร

เพ็ญโรจน

58. นายพิรุณ

ไพรีพายฤทธิ์

59. นางศุภสรณ

โหรชัยยะ

60. นายสมบุญ

พัชรโสภาคย

61. นายนเรนทร

ปญญาปฎิภาณ

62. นายชีวิน

โกสิยพงษ

/

63. นางวรกัญญา

โกสิยพงษ

/

64. นายนิพนธ

หลงสมบุญ

65. นายสุภกิจ

วรรธนะดิษฐ

66. นายกรีกรณิ์

ไพรีพินาศ

67. นายอรรถพล

ณ บางชาง

68. นายองอาจ

ประภากมล

69. นายวินิจ

เลิศรัตนชัย

70. นายกึล เพียว

ฮง

71. นายสุระ

เกนทะนะศิล

72. นายฮิโรชิ

ซาโต

73. นายมานะ

ประภากมล

74. นายชิเกยูคิ

ฟูจิอิ

75. นายเรืองเกียรติ

เชาวรัตน

เอกสารแนบ 2

/

/

/ / / / / /

/

/

/ / /

/

/

/ /

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/ / / / /

/

/ /

/

/

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

/ /

3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2554)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light Rosy Legend Prospect Gain HWMH HCWML HMSTL HTTCL BFKT TITS TNN TGS SMT

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

76. นางสาวชารลอต วิคตอเรีย อีสเตอร เบอรร

/

77. นายอรุณ

ทัศนาจันทธานี

/ /

/ /

78. นายธีรศักดิ์

จีรอัศวพงศ

79. นายนิมิตร

สุขุมาสวิน

80. นายวาที

เปาทอง

/

81. นายอุสาห

สวัสดิ์-ชูโต

/

82. นายสมโพช

พานทอง

/

83. นางวีระนุช

กมลยะบุตร

/

84. นางวันทนา

หลอสกุลไพบูลย

/ /

/

/

85. นางสาวมนสินี นาคปนันท

/ / /

/

/

86. นายดาวฤทธิ์

ทองนิ่ม

/

87. นายซองฮุน

คิม

88. นางสาวยุภา

ลีวงศเจริญ

/

89. นายสรกฤช

วรอุไร

/

/ /

90. นางสาวภาวิณี ชอยสุนิรชร

/

91. นายสมหมาย

ดอกไม

/

92. นายภาณุ

ตติรัตน

/

93. นายกิตติณัฐ

ทีคะวรรณ

/

94. นางสาวชอร ซินดี้ ซิง แมน

/

95. นายสุรชัย

เสนศรี

96. นายสงา

สุริยะมงคล

/

97. นายวีรวัฒน

กาญจนดุล

/

98. นางปรีเปรม

เสรีวงษ

/

/

99. Mr. Denis Sek Sum

/

/

100. Mr. Fung Kong Yune Kim

/

/

เอกสารแนบ 2

/

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2554)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light Rosy Legend Prospect Gain HWMH HCWML HMSTL HTTCL BFKT TITS TNN TGS SMT

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

101. นายสุวิชา

ภรณวลัย

/

102. นายปยดรุณ

กัลยาณมิตร

103. นายณรงค

ศรีสอาน

/

104. นายอรรถ

อรุณรัตนพงษ

/

105. นางสาวกิรณา

ชีวชื่น

/

106. นายนฤาชา

จิตรีขันธ

/

107. นายขจรศักดิ์

เอี่ยมโสภา

/

108. นายพรรคพงษ

อัคนิวรรณ

109. นายวุฒิชัย

ตันกุรานันท

110. นางสุภาวดี

ตระกูลบุญ

/

111. นายคมสัน

ขจรชีพพันธุงาม

/

/

/ /

112 นางสหัฎชญาณ เลิศรัชตะปภัสร

/ /

113. นางสาวรัตติกาล อองนุช

/ /

114. นายดนันท

สุภัทรพันธุ

/

115. นางสาวอรพินท พงศวรามิตรชัย

/

116. นางอัจฉราวลี

/

ปญญานนทชัย

117. นางวิภาวี

วัลลิกุล

/

118. นางสาววาณี

วรรณกลาง

/

119. นายนิวัฒน

กิมตระกูล

/

120. นายวีรวัฒน

เกียรติพงษถาวร

/

121. พันตรีบุลชัย

นิรัติศัย

/

122. นายรังสรรค

จันทรนฤกุล

/

123. นายปภาพรต

ภูประเสริฐ

/

124. Ms. Ping Mi 125. นายสุวัฒน

/ วาณีสุบุตร

เอกสารแนบ 2

/

/

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย / บริษัทรวม (ณ 31 ธันวาคม 2554)

TH TP TE TLS TLR TI K.I.N. TIT W&W TMN Asia DBS AI AWC TM TIDC TLP Nilubon<BVI> TA Orient CHV Music BITCO TMV TVS TSC NEC NC True TDS SD TIG SM TPC TUC CNP CTV TDM TVSC SSV PTE MKSC IKSC KSC TKSC Beboyd TIC True Magic TMR TDCM TDP RMV CHNP TVG TUFC DDI GPI Goldsky Golden Light Rosy Legend Prospect Gain HWMH HCWML HMSTL HTTCL BFKT TITS TNN TGS SMT

บริษัทยอย / บริษัทรวม รายชื่อ

126. นายซังกู

โจ

/

127. นายแทริม

คัง

/

128. นางณัฐศมน

วงศกิตติพัฒน

/

129. นายอําพา

ยงพิศาลภพ

/

130. นายแกรี่ ชิน บัน ทาน

/

131. นายยองมิน

คิม

/

132. นายเซมิน

ฮาน

/

133. นายซองโฮ

ลี

/

134. นายชางฮวาน

จอง

/

135. นายชิลฮยอน

อัน

/

136. พลเอกนินนาท เบี้ยวไขมุข

/

137. นายอภัยชนม

วัชรสินธุ

/

138. นายอัศวิน

อวนโพธิ์กลาง

/

139. นายอภิศักดิ์

ธนเศรษฐกร

/

140. นางรุงฟา

เกียรติพจน

/

เอกสารแนบ 2

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

หมายเหตุ ชื่อยอ TH TE TLR K.I.N. W&W Asia DBS AWC TIDC Nilubon <BVI> CHV Music TMV TSC NC True SD SM TUC CTV TVSC PTE IKSC TKSC TIC TMR TDP CHNP TUFC GPI Golden Light Prospect Gain HCWML HTTCL TITS TGS เอกสารแนบ 2

ชื่อเต็ม

ชื่อยอ

บริษัท เทเลคอมโฮลดิ้ง จํากัด บริษัท เทเลเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิสเซส จํากัด บริษัท ทรู ไลฟสไตล รีเทล จํากัด บริษัท เค. ไอ. เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไวรเออ แอนด ไวรเลส จํากัด บริษัท เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอเซีย ไวรเลส คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต ดาตา เซ็นเตอร จํากัด Nilubon Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด บริษัท เอ็นซี ทรู จํากัด บริษัท สองดาว จํากัด บริษัท สมุทรปราการ มีเดีย คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอรแซล คอนเวอรเจนซ จํากัด บริษัท คลิกทีวี จํากัด บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) บริษัท แพนเทอร เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด บริษัท ศูนยบริการวิทยาการ อินเตอรเนต จํากัด บริษัท เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ออนไลน สเตชั่น จํากัด) บริษัท ศูนยใหบริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด บริษัท ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด Gold Palace Investments Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) Golden Light Company Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) Prospect Gain Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวรเลส มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด True Internet Technology (Shanghai) Company Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) (เดิมชือ่ True Software Application (Shanghai) Company Limited) บริษัท ทรู จีเอส จํากัด

ชื่อเต็ม

TP TLS TI TIT TMN AI TM TLP TA Orient BITCO TVS NEC TDS TIG TPC CNP TDM SSV MKSC KSC Beboyd True Magic TDCM RMV TVG DDI Goldsky Rosy Legend HWMH HMSTL BFKT TNN

บริษัท ทรู พรอพเพอรตีส จํากัด บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จํากัด บริษัท เทเลคอม อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด บริษัท ทรู อินฟอรเมชัน่ เทคโนโลยี จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เทเลคอมฝกอบรมและพัฒนา จํากัด) บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด บริษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด บริษัท ทรู ไลฟ พลัส จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู ดิจิตอล เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด) TA Orient Telecom Investment Co., Ltd. (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท กรุงเทพอินเตอรเทเลเทค จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) บริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ทรู ดิสทริบิวชั่น แอนด เซลส จํากัด บริษัท ทรู อินเตอรเนชัน่ แนล เกตเวย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ทรู อินเทอรเน็ต เกตเวย จํากัด) บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท ซีนิเพล็กซ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เรด มีเดีย จํากัด) บริษัท แซทเทลไลท เซอรวิส จํากัด บริษัท เอ็มเคเอสซีเวิลดดอทคอม จํากัด บริษัท เค เอส ซี คอมเมอรเชียล อินเตอรเนต จํากัด บริษัท บี บอยด ซีจี จํากัด บริษัท ทรู แมจิค จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเทนท แอนด มีเดีย จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท ฟวเจอร เกมเมอร จํากัด) บริษัท เรียล มูฟ จํากัด บริษัท ทรู วิชั่นส กรุป จํากัด Dragon Delight Investments Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) Goldsky Company Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) Rosy Legend Limited (จดทะเบียนตางประเทศ) บริษัท ฮัทชิสัน ไวรเลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส จํากัด บริษัท ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอรวิส (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไทย นิวส เน็ตเวิรค (ทีเอ็นเอ็น) จํากัด

SMT

บริษัท เอสเอ็ม ทรู จํากัด

TRUETS: รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย/บริษัทรวม

7


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ 1. สัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ ระหวาง บมจ. ทีโอที (องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บมจ. ทรู คอรปอเรชั่น (บจ. ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชั่น ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2534 และ แกไขเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2538 โดยสัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ มีกําหนดเวลา 25 ป นับแตวันที่ 31 ธันวาคม 2535 หรือวันที่ ทีโอที ไดรับมอบอุปกรณในระบบงวดแรกจากบริษัทฯ (วันที่ 29 ตุลาคม 2535) แลวแตวันใดจะถึงกําหนดกอน (วันที่ 29 ตุลาคม 2535 - วันที่ 29 ตุลาคม 2560) สัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ มีวัตถุประสงคเพื่อ ขยายบริการโทรศัพทพื้นฐานในพื้นที่เขต โทรศัพทนครหลวงจํานวน 2 ลาน และ 6 แสนเลขหมาย (เปนไปตามลําดับของสัญญารวมการงานและ รวมลงทุนฯ ขางตน) โดยลักษณะของสัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ เปนลักษณะของ Built-TransferOperate (BTO) โดย บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) มีหนาที่ จัดหาและโอนกรรมสิทธิ์ ของอุปกรณในระบบใหแก บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) โดยอุปกรณในระบบ ตามสัญญา รวมการงานและรวมลงทุนฯ ไดระบุไวในนิยามศัพท สัญญาขอ 1 “อุปกรณในระบบ” ซึ่งหมายถึง อุปกรณ ตางๆ ในโครงขายที่ประกอบเขาเปนระบบโทรคมนาคมและอุปกรณอื่นใดที่นํามาใชรวมในระบบ อาทิ อุปกรณเครื่องชุมสาย โครงขายตอนนอก โครงขายตอผานทองถิ่นที่บริษัทจะจัดหาและโอนกรรมสิทธิ์ให ทศท ซึ่งบริษัทฯ ตองสงมอบอุปกรณใ นระบบที่ติด ตั้งแลวเสร็จใหแก ทีโอที และใหอุปกรณในระบบ ดังกลาวตกเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที ทันที และตลอดระยะเวลาตามสัญญานี้ บริษัทฯ ตองบํารุงรักษา อุปกรณในระบบที่ยกใหเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที ใหอยูในสภาพใชงานไดดีตลอดเวลาในระดับที่ไมต่ํากวา มาตรฐานที่ ทีโอที ใชอยูในโครงขาย ทีโอที -

-

จากการทําสัญญารวมการงานฯ ดังกลาว บริษัทฯ มีสิทธิ ดังนี้ สิทธิที่จะใช ครอบครอง และบํารุงรักษาอุปกรณในระบบ ที่ดิน อาคาร และทรัพยสินอื่นใดที่บริษัทฯ ได จัดหามาและโอนกรรมสิทธิ์ใหแก ทีโอที หรือโอนสิทธิการเชาใหแก ทีโอที แลวแตกรณี สิทธิในการ แสวงหาประโยชนจากอุปกรณในระบบ ที่ดิน อาคารและทรัพยสินอื่นใดตามสัญญา สิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทน ตามที่ บริษัทฯ จะไดทําความตกลงกับ ทีโอที กรณีบุคคลอื่นนําบริการ พิเศษมาผานโครงขายบริษัทฯ สิทธิไดรับผลประโยชนตอบแทน ตามที่ บริษัทฯ จะไดทําความตกลงกับ ทีโอที กรณี ทีโอที นําบริการ พิเศษมาใชผานโครงขายบริษัทฯ สิทธิที่จะไดรับคาเสียหาย หรือ คาชดเชย กรณี ทีโอที ตัดทอนสิทธิของบริษัทฯ สิทธิที่สามารถใชที่ดิน อาคาร และวัสดุอุปกรณตางๆ ของ ทีโอที เทาที่ ทีโอที จะพิจารณาอนุญาตโดย ไมเสียคาใชจาย

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 1


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

จากการดํ า เนิ น การตามสั ญ ญาร ว มการงานฯ นั้ น ที โ อที จะเป น ผู ดํ า เนิ น การเก็ บ เงิ น จากผู เ ช า (ผูใชบริการ) โดยเงินคาบริการในสวนของโทรศัพท 2 ลานเลขหมาย ทีโอที จะแบงรายไดที่ไดรับจริงกอนหัก คาใชจายใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 84 และ เงินคาบริการในสวนของโทรศัพท 6 แสนเลขหมาย ทีโอที จะแบงรายไดที่ไดรับจริงกอนหักคาใชจายใหบริษัทฯ ในอัตรารอยละ 79 สิทธิในการบอกเลิกสัญญารวมการงานและรวมลงทุนฯ - ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีตอไปนี้ โดยกอนใชสิทธิบอกเลิกนี้ หากเปนกรณีที่ไมสามารถแกไขได ทีโอที จะมีหนังสือถึงบริษัทฯ ลวงหนาไมนอยกวา 1 เดือน แตหากเปนกรณีที่แกไขได ทีโอที จะมี หนังสือบอกกลาวมาที่บริษัทฯ ใหปฏิบัติใหถูกตอง หรือปรับปรุงภายในเวลาที่ ทีโอที กําหนด แตตอง ไมนอยกวา 6 เดือน หากบริษัทฯ ไมสามารถปรับปรุงไดในเวลา ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกได - บริษัทฯ ทําผิดกฎหมายเกีย่ วกับการปองกันภัยพิบัติสาธารณะ หรือความมั่นคงของรัฐ - บริษัทฯ ถูกศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย - บริษัทฯ จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยางตอเนื่อง - บริษัทฯ ไมมีสิทธิเลิกสัญญา เวนแตกรณีตอไปนี้ โดยกอนใชสิทธิบอกเลิกสัญญา บริษัทฯ ตองมีหนังสือ บอกกลาว ทีโอที ใหทําการแกไขหรือปฏิบัติใหถูกตอง ภายในเวลาที่บริษัทฯ กําหนด แตตองไมนอยกวา 6 เดือน หาก ทีโอที ไมสามารถปรับปรุงหรือแกไข บริษัทฯ จะแจงเปนหนังสือบอกเลิกไปยัง ทีโอที - ทีโอที จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยางตอเนื่อง จนเปนเหตุใหบริษัทฯ ไมอาจปฏิบัติตามสัญญาได - รัฐบาล หนวยงานของรัฐ หรือ ทีโอที ยกเลิกสิทธิหรือดําเนินการอยางใดเปนเหตุใหบริษัทฯ เสื่อมสิทธิมีผลกระทบกระเทือนตอการดําเนินงานของบริษัทฯ อยางมาก จนไมสามารถประกอบ กิจการตามสัญญาได - บริษัทฯ ไมไดรับเงินสวนแบงที่เกี่ยวของหรือเงินอื่นใดตามที่ระบุในสัญญา 2. สัญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการใหบริการใหเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงผานโครงขายมัลติมีเดีย ระหวาง บมจ. ทีโอที (องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บจ. ทรู มัลติมีเดีย (บจ. เอเซีย มัลติ มีเดี ย ในขณะนั้น ) สัญญาฯ นี้ทําเมื่อวั น ที่ 20 ตุลาคม 2540 โดยมีกําหนดเวลา 20 ป โดยเริ่ ม นับตั้งแตวันที่ลงนามในสัญญานี้ สัญญาฯ มีวัตถุประสงคเพื่อ ดําเนินกิจการใหบริการใหเชาวงจรสื่อสัญญาณความเร็วสูงทั้งระบบ Digital และ Analog เพื่อใหบริการแกผูใชบริการทั่วไป และผูมีสิทธิ และ/หรือ ไดรับสิทธิเปนผูดําเนินการ ให บ ริ ก ารผ า นโครงข า ยมั ล ติ มี เ ดี ย โดยลั ก ษณะของสั ญ ญาฯ เป น ลั ก ษณะของ Built-Transfer-Operate (BTO) โดย บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (“บริษัทฯ”) มีหนาที่ ตองโอนกรรมสิทธิ์ในเครื่องมือและอุปกรณใน ระบบที่ บ ริ ษั ท ฯ ติ ด ตั้ ง เพิ่ ม เติ ม ขึ้ น จากโครงข า ยมั ล ติ มี เ ดี ย ที่ ใ ช ใ นการให บ ริ ก ารตามสั ญ ญาให ต กเป น กรรมสิทธิ์ของ ทีโอที และ บริษัทฯ ตองทําการบํารุงรักษาบรรดาเครื่องมือและอุปกรณในระบบซึ่งเปน เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 2


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

กรรมสิทธิ์ของ ทีโอที ใหอยูในสภาพใชงานไดดีตลอดเวลา หากอุปกรณหรือชิ้นสวนใดสูญหายหรือเสียหาย จนใชการไมได บริษัทฯ ต องจั ดหามาเปลี่ย นทดแทนหรือซ อมแซมให อยูใ นสภาพใช การได ดี ในการ ดําเนินการตามสัญญาฯ นี้ บริษัทฯ ไดจัดสรรหุนของบริษัทฯ จํานวน 18,525,000 หุนใหแก ทีโอที โดย ทีโอที ไมตองชําระคาหุนดังกลาว -

จากการทําสัญญาฯ บริษัทฯ มีสิทธิ ดังนี้ สิทธิแตเพียงผูเดียวในการครอบครองทรัพยสินที่ตกเปนกรรมสิทธิ์ของ ทีโอที สิทธิใชพื้นที่ภายในอาคารของ ทีโอที ที่จะทําการติดตั้งระบบวงจรความเร็วสูง สิทธิเชาโครงขายของ ทีโอที ตามอัตราที่ ทีโอที กําหนดเพื่อนําไปใหบริการ สิทธิในการเชื่อมตอโครงขายเขากับชุมสายและโครงขายโทรคมนาคมของ ทีโอที

สิทธิในการบอกเลิกสัญญาฯ ตามสัญญา ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได หากบริษัทฯ ไมสามารถ ดําเนินกิจการงานตามสัญญานี้ตามปกติธุระ หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอหนึ่งขอใด 3. สัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ระหวาง บมจ. กสท โทรคมนาคม (การสื่อสารแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บจ. ทรู มูฟ (บจ. ไวรเลส คอมมูนิเคชั่นส เซอรวิส) เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2539 โดยมีกําหนดระยะเวลา 17 ป (วันที่ 20 มิถุนายน 2539 - วันที่ 15 กันยายน 2556) และแกไขครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2543 และแกไขครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2543 โดยสัญญาใหดําเนินการฯ มีวัตถุประสงค เพื่อ ดําเนินการจัดการใหมีและใหบริการวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ในชวงคลื่นความถี่วิทยุคมนาคม ระหวาง 1710 MHz ถึง 1722.6 MHz และ 1805 MHz ถึง 1817.6 MHz ในพื้นที่ตางๆ ทั่วประเทศ โดยสัญญา ใหดําเนินการมีลักษณะของ Built-Transfer-Operate (BTO) โดย บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“บริษัทฯ”) มีหนาที่ ในการสรางและโอน เครื่องและอุปกรณทั้งหมด ซึ่งประกอบดวยเครื่องอุปกรณชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing ระบบเชื่อมโยง เครื่องและอุปกรณสถานีเครือขาย เครื่องมือและอุปกรณตรวจซอม เครื่องทดสอบ และเครื่องอุปกรณอื่นๆ สําหรับ ใหบริการตามสัญญานี้ รวมทั้งอะไหลของเครื่องและอุปกรณดังกลาว รวมทั้ง บริษัทฯ มีหนาที่ในการจัดหาสถานที่ติดตั้ง / เครื่องและอุปกรณทั้งหมดในการใชใหบริการ พรอม จัดทําประกันภัย และดําเนินการจัดตั้งและขยายเครือขาย และจัดใหบริการจัดการฝกอบรมและดูงานให เจาหนาที่ ของ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (“กสท”) โดยบริษัทฯ มีสิทธิในการใหบริการ วิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา Digital PCN (Personal Communication Network) 1800 ทั่วประเทศ

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 3


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สํ า หรั บ ผลประโยชน ต อบแทนขั้ น ต่ํ า และ ผลประโยชน ต อบแทนตลอดอายุ สั ญ ญาเป น รายป มีรายละเอียดดังนี้ - ผลประโยชนตอบแทนขั้นต่าํ ตลอดอายุสัญญา รวมเปนเงินไมต่ําวา 5,046.08 ลานบาท โดยแบงชําระเปน รายป - ปที่ 1 (16 มิ.ย.40 - 15 ก.ย.40) 4.5 ลานบาท - ปที่ 2 (16 ก.ย.40 - 15 ก.ย.41) 16.58 ลานบาท - ปที่ 3 (16 ก.ย.41 - 15 ก.ย.42) ยกเวนไมตองชําระ - ปที่ 4 (16 ก.ย.42 - 15 ก.ย.43) ยกเวนไมตองชําระ - ปที่ 5 (16 ก.ย..43 - 15 ก.ย.44) 15 ลานบาท - ปที่ 6 (16 ก.ย..44 - 15 ก.ย.45) 30 ลานบาท - ปที่ 7 (16 ก.ย..45 - 15 ก.ย.46) 45 ลานบาท - ปที่ 8 (16 ก.ย..46 - 15 ก.ย.47) 240 ลานบาท - ปที่ 9 (16 ก.ย..47 - 15 ก.ย.48) 280 ลานบาท - ปที่ 10 (16 ก.ย..48 - 15 ก.ย.49) 320 ลานบาท - ปที่ 11 (16 ก.ย..49 - 15 ก.ย.50) 350 ลานบาท - ปที่ 12 (16 ก.ย..50 - 15 ก.ย.51) 380 ลานบาท - ปที่ 13 (16 ก.ย..51 - 15 ก.ย.52) 580 ลานบาท - ปที่ 14 (16 ก.ย..52 - 15 ก.ย.53) 646 ลานบาท - ปที่ 15 (16 ก.ย..53 - 15 ก.ย.54) 679 ลานบาท - ปที่ 16 (16 ก.ย..54 - 15 ก.ย.55) 730 ลานบาท - ปที่ 17 (16 ก.ย..55 - 15 ก.ย.56) 730 ลานบาท - ผลประโยชนตอบแทนตลอดอายุสัญญาเปนรายป คิดเปนรอยละของรายไดตามเกณฑสิทธิจากการ ใหบริการตามสัญญานี้ กอนหักคาใชจาย คาภาษี และคาธรรมเนียมตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการใหบริการนี้ ทั้งนี้ คาใชจายที่ตองจายใหแก ทีโอที จะไมนํามาคิดเปนรายได - ปที่ 1 - 4 รอยละ 25 - ปที่ 5 - 10 รอยละ 20 - ปที่ 11 - 15 รอยละ 25 - ปที่ 16 - 17 รอยละ 30

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 4


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

สิทธิในการบอกเลิกสัญญาใหดําเนินการฯ มีดังนี้ - กสท บอกเลิกเนื่องจากบริษัทฯ ไมปฏิบัติตามสัญญา หรือปฏิบัติผิดสัญญาขอใดขอหนึ่งและทําให กสท ไดรับความเสียหาย และบริษัทฯ มิไดดําเนินการแกไขใหแลวเสร็จภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับแจง เปนหนังสือจาก กสท - ทั้ง 2 ฝายตกลงกันเลิกสัญญา - กสท บอกเลิกสัญญา ในกรณีที่บริษัทฯ ตกเปนผูขาดคุณสมบัติตามกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจ ของคนตางดาว และ กสท ไดแจงใหบริษัทฯ ทราบเปนหนังสือลวงหนาเปนเวลาไมนอยกกวา 90 วัน หากมีการบอกเลิกสัญญาใหดําเนินการฯ ทั้งในกรณีที่ กสท เปนผูบอกเลิกและกรณีที่บริษัทฯ เปน ผูบอกเลิก - บริษัทฯ ไมมภี าระตองจายผลประโยชนตอบแทนขั้นต่าํ สําหรับระยะเวลาของสัญญาที่เหลืออยู - หากการเลิกสัญญาเกิดขึ้นโดยมิใชความผิดของ บริษัทฯ แลว บริษัทฯ ไมมีหนาที่ตองชําระผลประโยชน ตอบแทนขั้นต่ํา - กรณีการเลิกสัญญาเกิดจาก บริษัทฯ แลว บริษัทฯ ไมมีหนาที่ตองชําระผลประโยชนตอบแทนขั้นต่าํ เพราะ ขอกําหนดของสัญญาเปนการประกันรายไดใหแก กสท โดยกําหนดวิธกี ารคํานวณเปนรอยละ (เปอรเซนต) ของรายได เมือ่ มีการเลิกสัญญารายไดที่เกิดขึ้นจึงเปน ศูนย ผลประโยชนที่ตองชําระตอ กสท จึงคํานวณ จาก ศูนย จึงไมสามารถเรียกไดอีก 4. สัญญารวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปนสมาชิก ระหวาง บมจ. อสมท (องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล (บมจ. ไทยเคเบิ้ลวิชั่น ในขณะนั้น) โดยมีระยะเวลา 25 ป นับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2538 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2562 และ มี ก ารแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม ครั้ ง ที่ 1 เมื่ อ วั น ที่ 7 กั น ยายน 2537 มี ก ารแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม ครั้ ง ที่ 2 เมื่ อ วั น ที่ 9 พฤศจิกายน 2537 แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2541 และ แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 และ ขอตกลงระหวาง บมจ. อสมท และ บมจ. ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 โดยสัญญานี้มีวัตถุประสงค เพื่อ รวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปน สมาชิก โดย บริษัท ทรู วิชั่นส เคเบิ้ล จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) มีสิทธิในการดําเนินกิจการใหบริการ โทรทัศนทางสายระบบบอกรับเปนสมาชิก โดย บริษั ทฯ มีหนาที่ตองปฏิบัติตามสัญญา โดยตองสงมอบ ทรัพยสินทั้ งหมดรวมทั้งสงมอบ อุปกรณเครื่องรับทั้งหมด ให บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) (“อสมท”) ไดแก อุปกรณการขนสง ไดแก อุปกรณ Headend, อุปกรณหองสง ตองมอบใหแก อสมท ภายใน 1 มกราคม 2538 ไมต่ํากวา 50 ลานบาท และตองสงมอบใหแก อสมท ภายใน 5 ป นับจากวันที่ทําสัญญาแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 2 (9 พฤศจิกายน 2537) เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 5


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

มีมูลคาไมนอยกวา 120 ลานบาท และ อุปกรณการรับ ไดแก ระบบ Set Top Converter ของสมาชิก ตอง สงมอบใหเปนกรรมสิทธิ์ของ อสมท เมื่อสิ้นสุดสัญญาลง โดย บริษัทฯ เปนผูตองลงทุนทั้งหมดเพื่อใชใน ดําเนินกิจการไมนอยกวา 100 ลานบาท เปนคาใชจายในการจัดหาเครื่องมืออุปกรณตางๆ และ หนาที่ในการ บํารุงรักษาอุปกรณและเครื่องมือ ใหอยูในสภาพใชงานไดตลอดเวลา ซึ่งในการดําเนินการตามสัญญานี้ บริษัทฯ ตกลงจายคาตอบแทนในการเขารวมดําเนินกิจการเปนเงินรอยละ 6.5 ของรายไดทั้งหมดแตละป กอนหักคาใชจายใดๆ สิทธิในการบอกเลิกสัญญา ตามสัญญากําหนดวา หาก บริษัทฯ ไมปฏิบัติตามสัญญาในขอหนึ่ง ขอใด อสมท จะแจงเปนลายลักษณอักษรใหปฏิบัติตามสัญญาใหถูกตองในเวลาอันสมควร หากบริษัทฯ ไมยอมปฏิบัติใหถูกตองในเวลา บริษัทฯ ตองแจงเหตุผลเปนลายลักษณอักษรให อสมท ทราบ เมื่อ อสมท พิจารณาคําชี้แจงแลว จะแจงใหบริษัทฯ ทราบและปฏิบัติใหถูกตองในกําหนดเวลาอันควรอีกครั้ง หาก บริษัทฯ ไมปฏิบัติใหถูกตองในกําหนดครั้งนี้ อสมท มีสิทธิเรียกคาเสียหาย หรือ ใหงดใหบริการ และ/หรือมี สิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และในกรณีถามติ ครม.เปนวามีความจําเปนเพื่อความมั่นคงของรัฐ อสมท มี สิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือบางสวนไดโดยแจงใหบริษัททราบลวงหนาไมนอยกวา 180 วัน 5. สัญญารวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก ระหวาง บมจ. อสมท (องคการ สื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย ในขณะนั้น) และ บมจ. ทรู วิชั่นส (บมจ. อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง คอรปอรเรชั่น ในขณะนั้น) โดยมีระยะเวลา 25 ป นับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2532 ถึง วันที่ 30 กันยายน 2557 และมีการแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่19 พฤษภาคม 2537 และ แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2541 แกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 และ บันทึกขอตกลงระหวาง บมจ. อสมท และ บมจ. ทรู วิชั่นส เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 โดยสัญญานี้มีวัตถุประสงค เพื่อรวมดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบบอกรับเปนสมาชิก และบริษัท ทรู วิชั่นส จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) ไดสิทธิในการดําเนินกิจการใหบริการโทรทัศนระบบ บอกรับเปนสมาชิก โดยมีหนาที่ในการตองลงทุนทั้งหมดเพื่อใชในดําเนินกิจการไมนอยกวา 50 ลานบาท เปนคาใชจายในการจัดหาเครื่องมืออุปกรณตางๆ และตองสงมอบทรัพยสินทั้งหมดรวมทั้งสงมอบอุปกรณ เครื่องรับทั้งหมด ให อสมท ไดแก อุปกรณการสง ไดแก อุปกรณเครื่องสง อุปกรณหองสง และสายอากาศ ภาคสง เพื่อดําเนินการในระบบ MMDS โดยสงมอบให อสมท ภายใน 180 วัน นับตั้งแตวันทําสัญญา (วันที่ 17 เมษายน 2532) โดยมีมูลคารวมไมต่ํากวา 50 ลานบาท และตองสงมอบอุปกรณจากการขยายบริการตาม สัญญาแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ให อสมท ภายใน 3 ป นับจากวันทําสัญญา (วันที่ 19 พฤษภาคม 2537) มีมูลคา รวมไมนอยกวา 120 ลานบาท และ อุปกรณเครื่องรับ ไดแก ระบบสายอากาศของสมาชิก (Down Converter) รวมทั้งอุปกรณปองกันไมใหผูอื่นที่มิใชสมาชิกรับสัญญาณได ตองสงมอบใหเปนกรรมสิทธิ์ อสมท เมื่อ สัญญาสิ้นสุดลง รวมทั้งหนาที่ในการโอนสิทธิ์ในคลื่นความถี่ 2507 - 2517 MHz และ 2521 - 2528 MHz ที่

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 6


บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1)

ไดรับจากคณะกรรมการประสานงานและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ และอีก 1 คลื่นความถี่ที่ไดรับจาก คณะกรรมการประสานงานการจั ด และบริห ารคลื่นความถี่ใ ห อสมท ภายใน 180 วั น (นั บ แต วั น ที่ 17 เมษายน 2532) ซึ่งในการดําเนินการตามสัญญานี้ บริษัทฯ ตกลงจายคาตอบแทนในการเขารวมดําเนินกิจการ เปนเงินรอยละ 6.5 ของรายไดทั้งหมดแตละป กอนหักคาใชจายใดๆ สิทธิในการบอกเลิกสัญญา ตามสัญญากําหนดวา หาก บริษัทฯ ไมปฏิบัติตามสัญญาในขอหนึ่ง ขอใด อสมท จะแจงเปนลายลักษณอักษรใหปฏิบัติตามสัญญาใหถูกตองในเวลาอันสมควร หากบริษัทฯ ไม ยอมปฏิบัติใหถูกตองในเวลา บริษัทฯ ตองแจงเหตุผลเปนลายลักษณอักษรให อสมท ทราบ เมื่อ อสมท พิจารณาคําชี้แจงแลว จะแจงใหบริษัทฯ ทราบและปฏิบัติใหถูกตองในกําหนดเวลาอันควรอีกครั้ง หาก บริษัทฯ ไมปฏิบัติใหถูกตองในกําหนดครั้งนี้ อสมท มีสิทธิเรียกคาเสียหาย หรือ ใหงดใหบริการ และ/หรือ มีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และในกรณีถามติ ครม.เปนวามีความจําเปนเพื่อความมั่นคงของรัฐ อสมท มี สิทธิบอกเลิกสัญญาทั้งหมดหรือบางสวนไดโดยแจงใหบริษัทฯ ทราบลวงหนาไมนอยกวา 180 วัน

เอกสารแนบ 3

TRUETT: สรุปสาระสําคัญของสัญญาเกี่ยวกับการไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ

หนา 7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.