TRUE : FORM 56-1 for the Year 2013 thai

Page 1

แบบแสดงรายการข้อมูล (แบบ 56-1) ประจาปี 2556

บริษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)


สารบัญ หัวข้ อที่ - หน้ า ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1 นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.2 พัฒนาการที่สาคัญในปี 2556 1.3 โครงสร้างเงินลงทุนของกลุ่มบริ ษทั 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริ การ 2.2 การตลาด 2.3 การจาหน่ ายและช่องทางการจาหน่าย) 2.4 การจัดหาผลิตภัณฑ์หรื อบริ การ 2.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย 2.6 ความคืบหน้าด้านการกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม 3. ปัจจัยความเสี่ยง 4. ทรัพย์ สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ 5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้ อมูลทั่วไปและข้ อมูลสาคัญอืน่ 6.1 ข้อมูลทัว่ ไป 6.2 ข้อมูลสาคัญอื่น

1–1 1-5 1 - 11 2-1 2 - 24 2 - 24 2 - 26 2 - 27 2 - 33 3-1 4-1 5-1 6-1 6 - 12

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 ทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ว 7.2 ผูถ้ ือหุ้น 7.3 การออกหลักทรัพย์อื่น 7.4 นโยบายการจ่ายเงินปันผล 8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1 คณะกรรมการบริ ษทั 8.2 ผูบ้ ริ หาร 8.3 เลขานุการบริ ษทั 8.4 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ 8.5 บุคลากร 8.6 การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน 9. การกากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ 9.2 คณะกรรมการชุดย่อย 9.3 การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ด 9.4 การกากับดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม 9.5 การดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน 9.6 ค่าตอบแทนที่จ่ายให้แก่สานักงานที่ผสู ้ อบบัญชี สงั กัด 9.7 การปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีในเรื่ องอื่นๆ 10. ความรับผิดชอบต่ อสังคม 11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ ยง 11.1 สรุ ปความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ 11.2 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบที่แตกต่างจากความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั 11.3 หัวหน้างานตรวจสอบภายใน 12. รายการระหว่างกัน

7-1 7-3 7-4 7 - 12 8-1 8-5 8-8 8-8 8 - 10 8 - 11 9-1 9-1 9-4 9-6 9-7 9-7 9-8 10 - 1 11 - 1 11 - 1 11 - 1 12 - 1


ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินที่สาคัญ 13.1 ตารางสรุ ปงบการเงิน 13.2 ผูส้ อบบัญชี 13.3 อัตราส่ วนทางการเงิน 13.4 จุดเด่นทางการเงิน 14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ

13 - 1 13 - 4 13 - 5 13 - 6 14 - 1

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล

1

เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1: เอกสารแนบ 2: เอกสารแนบ 3: เอกสารแนบ 4: เอกสารแนบ 5:

1 1 1 1 1

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย รายละเอียดเกีย่ วกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน รายละเอียดเกีย่ วกับการประเมินราคาสิ นทรัพย์ รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาปี 2556

ในแบบ 56-1 นี้ คาว่า “ทรู ” “บริ ษทั ฯ” “บริ ษทั ในเครื อ” และ “บริ ษทั ย่อย” หมายความถึง บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และ/หรื อ บริ ษทั ในเครื อ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย ในกรณี ที่มีขอ้ สงสัยว่าบริ ษทั ใด เป็ นผูร้ ับผิดชอบหรื อดาเนินการกิจการหนึ่งกิจการใดที่ปรากฎในเอกสารฉบับนี้ สามารถส่งคาถามมาได้ที่ ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 699-2515 โทรสาร (662) 643-0515 อีเมล์ ir_office@truecorp.co.th


ศัพท์ เทคนิคและคำย่ อ 3G

มาตรฐานโทรศัพท์เคลือ่ นที่ยคุ ที่ 3 หรื อ 3rd Generation of Mobile Telecommunications Technology

ADC

บริ ษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชัน่ ส์ จากัด

AWC

บริ ษัท เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

BITCO

บริ ษัท กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค จากัด (มหาชน)

CAT หรื อ CAT Telecom

บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)

IFC

International Finance Corporation

IMT

กิจการโทรคมนาคมเคลือ่ นที่สากล International Mobile Telecommunications

JAS

บริ ษัท จัสมิน อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน)

KfW

Kreditanstalt fur Wiederaufbau

KSC

บริ ษัท เคเอสซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์ เนต จากัด

MKSC

บริ ษัท เอ็มเคเอสซี เวิลด์ดอทคอม จากัด

MVNO

ผู้ให้ บริ การเครื อข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่แบบเสมือน หรื อ Mobile Virtual Network Operator

NVDR

บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด หรือ Thai NVDR Company Limited

TIC

บริ ษัท ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

TIG

บริ ษัท ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด

TOT หรื อ ทีโอที

บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน)

TUC

บริ ษัท ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ จากัด

UCOM

บริ ษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชัน่ อินดัสตรี จากัด (มหาชน)

UIH

บริ ษัท ยูไนเต็ด อินฟอร์ เมชัน่ ไฮเวย์ จากัด

Verizon

Verizon Communications, Inc

กทค.

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม

กสท

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์


กลุม่ ทรู

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อยของ บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)

ข้ อตกลง AC

ข้ อตกลง เรื่ องการเชื่อมโยงโครงข่าย (Access Charge agreement)

ข้ อตกลง IC

ข้ อตกลง เรื่ องการเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างกัน (Interconnection agreement)

คณะกรรมการ กทช.

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

คณะกรรมการ กสช.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ

คณะกรรมการ กสทช.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ค่า AC

ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิม หรือ ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (access charges)

ค่า IC

ค่าเชื่อมต่อโครงข่าย (interconnection charges)

ดีแทค

บริ ษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จากัด (มหาชน)

ทรูจีไอเอฟ ทรูไอเอฟ หรื อ ทรูโกรท กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโทรคมนาคมทรูโกรท ทรูมฟู

บริ ษัท ทรูมฟู จากัด

ทรูมลั ติมีเดีย หรื อ ทรู มัลติมีเดีย

บริ ษัท ทรู มัลติมีเดีย จากัด

ทรูวิชนั่ ส์

บริ ษัท ทรู วิชนั่ ส์ จากัด (มหาชน)

ทรูวิชนั่ ส์ กรุ๊ป

บริ ษัท ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป จากัด (มหาชน)

ทรูวิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล

บริ ษัท ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล จากัด (มหาชน)

ทรูอินเทอร์ เน็ต หรื อ ทรู อินเทอร์ เน็ต

บริ ษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต จากัด

บริ ษัทฯ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)

บีเอฟเคที หรื อ BFKT

บริ ษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จากัด

ใบอนุญาต ใช้ คลืน่ ความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz

ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืน่ ความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมเคลือ่ นที่สากล IMT ย่าน 2.1 GHz

ประกาศ เรื่ อง IC

ประกาศคณะกรรมการ กทช. ว่าด้ วยการใช้ และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Regulation)

ป.ป.ช.

สานักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ

พ.ร.บ. การประกอบกิจการ โทรคมนาคม

พระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544


พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ

พระราชบัญญัตวิ า่ ด้ วยการให้ เอกชนเข้ าร่วมงานหรื อดาเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535

พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืน่ ความถี่

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลืน่ ความถี่และกากับการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553

พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืน่ ความถี่ พ.ศ. 2543

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลืน่ ความถี่และกากับการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543

เรี ยลฟิ วเจอร์

บริ ษัท เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด

เรี ยลมูฟ

บริ ษัท เรี ยล มูฟ จากัด

สัญญาขายส่งบริ การฯ

สัญญาบริ การขายส่งบริ การโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ในระบบ HSPA ระหว่าง CAT Telecom ในฐานะผู้ให้ บริ การขายส่ง และ เรี ยลมูฟ ในฐานะผู้ให้ บริ การขายต่อบริ การ ลงวันที่ 27 มกราคม 2554 ตามที่อาจมีการแก้ ไขเพิ่มเติมเป็ นครัง้ คราว

สัญญาร่วมการงานฯ

สัญ ญาร่ ว มการงานและร่ ว มลงทุ น ขยายบริ ก ารโทรศั พ ท์ พื น้ ฐานระหว่ า ง ที โ อที (องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ในขณะนัน) ้ กับ บริ ษัทฯ (บริ ษัท ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชัน่ จากัด ในขณะนัน) ้ ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2534 ตามที่ได้ มีการแก้ ไขเพิ่มเติมเป็ นครัง้ คราว

สัญญาร่วมดาเนินกิจการฯ

สัญญาร่ วมดาเนินกิจการให้ บริ การโทรทัศน์ ทางสายระบบบอกรับเป็ นสมาชิก ระหว่าง อสมท (องค์การสือ่ สารมวลชนแห่งประเทศไทย ในขณะนัน) ้ และ ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล (บริ ษัท ไทยเคเบิล้ วิชั่น จากัด (มหาชน) ในขณะนัน้ ) ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2537 ตามที่ได้ มีการ แก้ ไขเพิ่มเติมเป็ นครัง้ คราว และ สัญญาร่วมดาเนินกิจการให้ บริ การโทรทัศน์ระบบบอกรับ เป็ นสมาชิก ระหว่าง อสมท (องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ในขณะนัน) ้ และ ทรู วิชนั่ ส์ (บริ ษัท อินเตอร์ เนชั่นแนล บรอดคาสติ ้ง คอร์ ปอร์ เรชัน่ จากัด (มหาชน) ในขณะนัน) ้ ลงวันที่ 17 เมษายน 2532 ตามที่ได้ มีการแก้ ไขเพิ่มเติมเป็ นครัง้ คราว แล้ วแต่กรณี

สัญญาให้ ดาเนินการฯ

สัญญาให้ ดาเนินการให้ บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า DIGITAL PCN 1800 ระหว่าง CAT Telecom (การสื่อสารแห่งประเทศไทย ในขณะนัน) ้ และ ทรู มูฟ (บริ ษัท ไวร์ เลส คอมมูนิเคชัน่ ส์ เซอร์ วิส จากัด ในขณะนัน) ้ ลงวันที่ 20 มิถนุ ายน 2539

สัญญา IC

สัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection contract)

อสมท

บริ ษัท อสมท จากัด (มหาชน)

เอเซีย อินโฟเน็ท หรื อ เอเซียอินโฟเน็ท

บริ ษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จากัด

เอไอเอส

บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จากัด (มหาชน)

ฮัทชิสนั ซีเอที

บริ ษัท ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์ เลส มัลติมีเดีย จากัด


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

กลุ่ ม ทรู เ ป็ นหนึ่ งในแบรนด์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง และได้รั บ การยอมรั บ มากที่ สุ ด ในประเทศ โดยเป็ น ผูใ้ ห้บริ การสื่ อสารโทรคมนาคมครบวงจร ด้วยจานวนผูใ้ ช้บริ การกว่า 29 ล้านรายทัว่ ประเทศ กลุ่มทรู มุ่งมัน่ สนับสนุ นการพัฒนาประเทศด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมทั้งมีส่วนในการลด ความเหลื่อมล้ าทางเทคโนโลยี และการสร้ างสังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ อย่างยัง่ ยืน ด้วยการพลิ กโฉมการสื่ อสาร ด้านข้อมูลข่าวสาร (Digital Revolution) ให้ทุกครัวเรื อนในประเทศและเยาวชนของชาติมีโอกาสเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและแหล่งความรู ้ได้ทวั่ ถึง แนวทางการดาเนิ นธุ รกิจของกลุ่มทรู มาจากวัฒนธรรมองค์กร 4 ประการ ประกอบด้วย เชื่ อถื อได้ สร้ างสรรค์ เอาใจใส่ กล้าคิดกล้าทา โดยมีเป้ าหมายเพิ่มคุ ณค่าแก่ผถู ้ ื อหุ ้น ลูกค้า องค์กร สังคมและพนักงานเป็ นสาคัญ ความแข็งแกร่ งของกลุ่มทรู เป็ นผลจากยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ ซึ่ งเป็ นการผสมผสานแพ็กเกจ และบริ การต่าง ๆ ภายในกลุ่มทรู ทาให้กลุ่มทรู มีเอกลักษณ์โดดเด่นและแตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การรายอื่น โดย แพ็กเกจเหล่ านี้ ได้รับผลตอบรั บที่ดีอย่างต่อเนื่ อง เนื่ องจากสามารถเพิ่มความคุ ม้ ค่าและตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่มที่มีไลฟ์ สไตล์หลากหลายได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี้ ยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ ยังช่วยสนับสนุนและเสริ มสร้างความแข็งแกร่ งให้กบั ธุ รกิจหลักของกลุ่มทรู ช่วยเพิ่มยอดผูใ้ ช้บริ การ และยัง ช่วยรักษาฐานลูกค้าเดิมจากการสร้างความผูกพันกับบริ การต่าง ๆ ของกลุ่มทรู อีกด้วย ทั้งนี้ ธุ รกิ จหลัก 3 ธุ รกิ จของกลุ่ มทรู ประกอบด้วยกลุ่ มทรู โมบาย ซึ่ งประกอบด้วยเรี ยลฟิ วเจอร์ เรี ยลมู ฟ ทรู มู ฟ และอื่ น ๆ โดยเรี ยลฟิ วเจอร์ ซ่ ึ งกลุ่ มทรู ถื อหุ ้นอยู่ท้ งั หมดและบริ ษ ัทย่อยของเรี ยลฟิ วเจอร์ ประกอบธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 2G 3G และ 4G LTE ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ และทรู มูฟ เอช ทั้งนี้ ณ สิ้ นปี 2556 ฐานลูกค้าของทรู มูฟ เอช ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่ อง โดยเพิ่มขึ้นเป็ น 12.2 ล้านราย ส่ งผลให้ กลุ่มทรู โมบายขยายฐานผูใ้ ช้บริ การเป็ น 22.9 ล้านราย ประกอบด้วยผูใ้ ช้บริ การแบบเติมเงิน 19.7 ล้านราย และผูใ้ ช้บริ การแบบรายเดือน 3.2 ล้านราย โดยกลุ่มทรู โมบายมีส่วนแบ่งตลาดโทรศัพท์เคลื่ อนที่ประมาณ ร้อยละ 25 ของจานวนผูใ้ ช้บริ การ (ไม่รวม CAT Telecom ทีโอที และผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของทีโอที) ณ สิ้นปี 2556 ทรู อ อนไลน์ ผู ้ใ ห้ บ ริ การโทรศัพ ท์ พ้ื น ฐานรายใหญ่ ที่ สุ ดในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล และ ผูใ้ ห้บ ริ การบรอดแบนด์ อิ น เทอร์ เ น็ ต และ WiFi ด้ว ยโครงข่ า ยที่ ค รอบคลุ ม มากที่ สุ ด ทั่ว ประเทศผ่ า น เทคโนโลยี FTTH (Fiber to the Home) หรื อใยแก้วนาแสง เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และเทคโนโลยี DSL

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ทรู วชิ ั่ นส์ เป็ นผูใ้ ห้บริ การรายเดียวของประเทศไทยที่ให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกและบริ การในระบบ HD ทัว่ ประเทศ โดย ณ สิ้ นปี 2556 กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ มีลูกค้า 2.4 ล้านราย โดยลูกค้ากว่า 761,000 รายบอกรับบริ การ ประเภทพรี เมียมและมาตรฐาน และลูกค้าส่ วนที่เหลือเป็ นลูกค้าประเภท FreeView และ Free-to-Air กลุ่มทรู ได้รับการสนับสนุนจากเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ (ซี พี) ซึ่ งเป็ นกลุ่มธุ รกิจด้านการเกษตรครบวงจร ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชี ย ซึ่ งถือหุ ้นทรู ในสัดส่ วนร้อยละ 60.1 ของทุนจดทะเบียนที่เรี ยกชาระแล้วทั้งสิ้ น 145,302.2 ล้านบาท ณ วันที่ 18 มีนาคม 2557 ทั้งนี้ การดาเนิ นธุ รกิจหลักของบริ ษทั ฯ มิได้มีความสัมพันธ์ หรื อเกี่ยวข้องโดยตรงกับการดาเนิ นธุ รกิจอื่นของผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่อย่างมีนยั สาคัญมีเพียงความสัมพันธ์กนั แต่เพียงครั้งคราวเฉพาะบางธุ รกรรมเท่านั้น เช่น การให้บริ การสื่ อโฆษณา เป็ นต้น ในปี 2556 กลุ่มทรู มีรายได้รวม 96.2 พันล้านบาท และมีการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานประมาณ 241.0 พันล้านบาท โดยมีพนักงานประจาทั้งสิ้ น 16,430 คน ธุรกิจของกลุ่มทรู บริ ษทั ฯ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 ในฐานะผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน ในปี ต่อมา บริ ษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนกับทีโอที โดยให้บริ ษทั ฯ เป็ นผูด้ าเนิ นการลงทุน จัดหา และติดตั้งควบคุ ม ตลอดจนซ่ อมบารุ งและรักษาอุปกรณ์ ในระบบสาหรับการขยายบริ การโทรศัพท์ จานวน 2.6 ล้านเลขหมาย ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล เป็ นระยะเวลา 25 ปี โดยจะสิ้ นสุ ดสัญญา ในเดือนตุลาคม 2560 ในปี 2536 บริ ษทั ฯ ได้เปลี่ยนสถานะเป็ นบริ ษทั มหาชน และเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทยในชื่ อ บริ ษทั เทเลคอมเอเชี ย คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชื่อย่อ หลักทรัพย์วา่ “TA” ในเดือนเมษายน 2547 บริ ษทั ฯ ได้มีการปรับเปลี่ยนในภาพลักษณ์ภายใต้แบรนด์ทรู และได้เปลี่ยนชื่อบริ ษทั มาเป็ น บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) มีชื่อย่อหลักทรัพย์วา่ “TRUE” นอกเหนือจากการให้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน และบริ การเสริ มต่าง ๆ ซึ่ งรวมถึงบริ การโทรศัพท์สาธารณะ และบริ การ WE PCT (บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานพกพา) ในปี 2544 กลุ่มทรู (ผ่านบริ ษทั ย่อย) ได้เปิ ดให้บริ การ โครงข่ายข้อมูลความเร็ วสู ง ซึ่ งประกอบด้วยบริ การ ADSL และบริ การเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) และ ในปี 2546 ได้เปิ ดให้บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งแบบไร้สายหรื อบริ การ WiFi ต่อมาในปี 2550 บริ ษทั ย่อยได้ เปิ ดให้บริ การโครงข่ายอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) และได้เปิ ดให้บริ การ โครงข่ายข้อมูลระหว่างประเทศ (International Data Gateway) และบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ในปี 2551 นอกจากนี้ ในปี 2554 ยังได้ขยายความครอบคลุมของโครงข่ายเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) และปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีเป็ น DOCSIS 3.0 ซึ่ งนอกจากจะทาให้สามารถให้บริ การบรอดแบนด์สาหรับลูกค้าทัว่ ไปด้วยความเร็ ว สู งสุ ดในประเทศไทยแล้ว ยังทาให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การในแบบทริ ปเปิ้ ลเพลย์ (Triple play) อย่างสมบูรณ์

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

แบบ ซึ่ งเป็ นการผสมผสานบริ การต่าง ๆ ของกลุ่มทรู ผา่ นโครงข่ายเคเบิลเดียวกัน ทั้งนี้ กลุ่มทรู ได้ขยายโครงข่าย บริ การบรอดแบนด์ อย่างต่อเนื่ อง โดยครอบคลุมพื้นที่ให้บริ การประมาณ 4.3 ล้านครัวเรื อน ใน 61 จังหวัด ทัว่ ประเทศ ณ สิ้ นปี 2556 ในเดือนตุลาคม 2544 กลุ่มทรู ได้เข้าถื อหุ ้น ใน BITCO (ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ที่ถือหุ ้นในบริ ษทั ทีเอ ออเร้ นจ์ จากัด) ในอัตราร้อยละ 41.1 ซึ่ งนับเป็ นการเริ่ มเข้าสู่ ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้งนี้ ทีเอ ออเร้นจ์ได้เปิ ดให้บริ การ อย่างเต็มที่ในเดือนมีนาคม 2545 และได้เปลี่ยนชื่อเป็ น “ทรู มูฟ” เมื่อต้นปี 2549 โดยปั จจุบนั ทรู มูฟให้บริ การ บนคลื่นความถี่ 1800 MHz ตามมาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณี สิ้นสุ ดการอนุ ญาตสัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของคณะกรรมการ กสทช. กลุ่มทรู ได้เพิ่มสัดส่ วนการถือหุ ้นใน BITCO มากขึ้นตามลาดับ โดย ณ สิ้ นปี 2556 กลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถือหุ น้ ทางอ้อมใน BITCO คิดเป็ นร้อยละ 99.5 นอกเหนือจากนั้น กลุ่มทรู ได้ขยายการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ด้วยการเข้าซื้ อหุ ้น 4 บริ ษทั ของ กลุ่มฮัทชิสันในประเทศไทยได้แก่ บริ ษทั ฮัทชิสัน ไวร์ เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จากัด บีเอฟเคที บริ ษทั Rosy Legend Limited และ บริ ษทั Prospect Gain Limited รวมมูลค่าการชาระคืนหนี้สินเดิมของบริ ษทั ดังกล่าวที่มี กับกลุ่มฮัทชิ สันแล้ว เป็ นเงินทั้งสิ้ นประมาณ 6,300 ล้านบาท โดยแล้วเสร็ จในเดือนมกราคม 2554 การเข้าซื้ อหุ ้น ในครั้งนี้ ทาให้บริ ษทั ฯ ได้ประโยชน์จากการเป็ นผูใ้ ห้บริ การรายแรกที่สามารถให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ 3G ด้วยเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ของ CAT Telecom ในเชิ งพาณิ ชย์ได้ทวั่ ประเทศ ทั้งนี้ในวันที่ 30 สิ งหาคม 2554 เรี ยลมูฟ (บริ ษทั ย่อยภายใต้กลุ่มทรู ) ในฐานะผูข้ ายต่อบริ การ 3G+ ของ CAT Telecom ได้เปิ ดให้บริ การ 3G+ ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช อย่างเป็ นทางการ โดยสามารถให้บริ การได้อย่าง ต่อเนื่องไปจนถึงปี 2568 ในเดือนตุลาคม 2555 เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้เข้าร่ วมการประมูลใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz และได้รับใบอนุ ญาต ใช้คลื่ นความถี่ ดงั กล่าวจากคณะกรรมการ กสทช.ในเดือนธันวาคม ปี 2555 ซึ่ งช่ วย ขยายระยะเวลาในการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ อย่างน้อยถึ งปี 2570 โดยในเดื อนพฤษภาคม ปี 2556 ทรู มูฟ เอช เป็ นรายแรกในประเทศไทยที่เปิ ดให้บริ การ 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz พร้อมทั้งยังได้เปิ ด ให้บริ การ 3G บนคลื่นความถี่เดียวกันอีกด้วย การผสานจุดเด่นของคลื่น 2.1 GHz และคลื่น 850 MHz ของ CAT Telecom รวมถึ งการขยายความครอบคลุ มของโครงข่ายอย่างต่อเนื่ อง ทาให้กลุ่มทรู โมบายสามารถ ให้บริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ตที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดแก่ลูกค้า ในเดือนมกราคม 2549 กลุ่มทรู ได้เข้าซื้ อหุ ้น ยูบีซี ทั้งหมดที่ถือโดยบริ ษทั MIH Ltd. ซึ่ งเดิมเป็ น พันธมิตรธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กกับกลุ่มทรู และต่อมาได้ดาเนิ นการเข้าซื้ อหุ ้นสามัญจากผูถ้ ื อหุ ้น รายย่อย (Tender Offer) ทาให้มีสัดส่ วนการถื อหุ ้นทางอ้อมในยูบีซี ร้ อยละ 91.8 ภายหลังการเข้าซื้ อหุ ้นดังกล่าว เสร็ จสิ้ นในเดือนมีนาคม 2549 ทั้งนี้ ยูบีซีได้เปลี่ ยนชื่ อเป็ น “ทรู วิชนั่ ส์ ” เมื่อต้นปี 2550 นอกจากนี้ หลังการ ปรับโครงสร้างของกลุ่มบริ ษทั ทรู วชิ นั่ ส์ในช่วงครึ่ งปี แรกของปี 2553 และการซื้ อคืนหุ ้นจากผูถ้ ือหุ ้นรายย่อย

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ในระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ส่ งผลให้กลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถือหุ ้นในบริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ซึ่ งเป็ น holding company สาหรับธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กของกลุ่มทรู อยู่ ร้อยละ 100.0 และมีสัดส่ วนการถือหุ น้ ทางอ้อม ใน ทรู วิชนั่ ส์ และ ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ทั้งสิ้ นร้อยละ 99.3 และ ร้อยละ 99.0 ณ สิ้ น ปี 2556 ในขณะที่รายได้หลักของทรู วชิ นั่ ส์มาจากค่าสมาชิ กรายเดือน ในปี 2552 ทรู วิชนั่ ส์ ได้รับอนุญาตจาก อสมท ให้สามารถหารายได้จากการโฆษณา ซึ่ งเป็ นโอกาสใหม่ในการผลักดันการเติบโตของรายได้และการทากาไร ให้กบั ทรู วชิ นั่ ส์ ตลอดปี 2554 ทรู วิชนั่ ส์ มุ่งเน้นหาแนวทางเพื่อป้ องกันการละเมิดลิขสิ ทธิ์ รายการ ซึ่ งเป็ นผล มาจากการลักลอบใช้สัญญาณ ทั้งนี้ ในเดือนตุลาคม 2554 ทรู วิชนั่ ส์ ได้เริ่ มแคมเปญเปลี่ยนกล่องรับสัญญาณ สาหรับระบบออกอากาศใหม่ ภายใต้เทคโนโลยี MPEG-4 และได้เปิ ดใช้งานระบบออกอากาศดังกล่ าว ในกลางเดือนกรกฎาคม 2555 ซึ่ งช่วยขจัดการลักลอบใช้สัญญาณของทรู วิชนั่ ส์ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และ สามารถเพิ่มประสบการณ์การรับชมที่ดียิ่งขึ้นจากจานวนช่องรายการในระบบ HD ที่เพิ่มสู งขึ้น ซึ่ งปั จจุบนั เป็ นจานวนที่มากที่สุดในไทย ถึง 50 ช่อง นอกจากนี้ ในเดือนธันวาคม 2556 บริ ษทั ย่อยภายใต้กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้เข้าร่ วมประมูลคลื่ นความถี่ เพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิ จิตอลประเภทบริ การทางธุ รกิ จระดับชาติ และคาดว่าจะได้รับใบอนุ ญาตดังกล่าวสาหรับการให้บริ การในช่องข่าว และช่องวาไรตี้ จากคณะกรรมการ กสทช. ในกลางเดือน มีนาคม 2557 ซึ่ งการได้รับใบอนุญาตสาหรับการให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล นี้ จะสร้ างโอกาสในการเพิ่ มฐานรายได้ของทรู วิชั่นส์ จากการผลักดันการเติ บโตของรายได้ค่ าโฆษณาและ สปอนเซอร์ หนึ่ งในพัฒนาการสาคัญของกลุ่มทรู ในปี 2556 คือการปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงินของกลุ่ม ซึ่ งจะ เป็ นจุดเปลี่ ยนสาคัญที่ ทาให้ กลุ่ มทรู มี โครงสร้ างเงิ นทุ นที่ ดีข้ ึ น มี ผลประกอบการที่ แข็งแกร่ งขึ้ น และมี ความพร้ อมที่จะรองรับการขยายตัวของธุ รกิ จในอนาคต กลุ่ มทรู ประสบความสาเร็ จในการขายเงินลงทุนใน หุ ้นสามัญของ 8 บริ ษ ทั ย่อยที่ ไม่ใช่ ธุรกิ จหลักของกลุ่ มให้แก่ บริ ษ ทั ธนเทเลคอม จากัด ด้วยราคาขายประมาณ 5.4 พันล้านบาท ทาให้กลุ่มทรู สามารถบันทึกกาไรจากการขายพร้ อมทั้งสามารถมุ่งเน้นการดาเนิ นงานใน ธุ รกิ จหลักของกลุ่มได้อย่างเต็มความสามารถ นอกจากนี้ กลุ่มทรู ประสบความสาเร็ จในการจัดตั้งทรู โกรท (“TRUEGIF”) ซึ่ งถือเป็ นกองทุนรวมโครงสร้ างพื้นฐานโทรคมนาคมที่จดั ขึ้นเป็ นรายแรกในประเทศไทย และสามารถเริ่ มทาการซื้ อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ในเดือนธันวาคม 2556 ภายใต้ตวั ย่อ หลักทรัพย์วา่ “TRUEIF” โดยกลุ่มทรู ได้เข้าจองซื้ อและเป็ นผูถ้ ือหน่วยลงทุนของกองทุน คิดเป็ นอัตราส่ วน ร้อยละ 33.29 ของจานวนหน่วยลงทุนที่จาหน่ายได้ท้ งั หมดของกองทุนในการเสนอขายครั้งแรก ซึ่ งกองทุน มีมูลค่ารวมทั้งสิ้ นประมาณ 58.1 พันล้านบาท ทั้งนี้ กลุ่มทรู จาหน่ายสิ นทรัพย์และสิ ทธิ ในการรับประโยชน์ รายได้ในอนาคตจากสิ นทรัพย์โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมของกลุ่ม ให้แก่ TRUEGIF และทาสัญญาเช่า สิ นทรัพย์กลับ จากกองทุนนี้ เพื่อใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์ในการดาเนิ นธุ รกิ จของกลุ่มตามปรกติต่อไป โดยสิ นทรัพย์โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมนี้ ประกอบด้วย เสาโทรคมนาคมจานวน 11,845 เสา ระบบ ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ใยแก้วนาแสง (FOC) และอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญาณที่เกี่ยวข้อง ของบริ ษทั ย่อยชองกลุ่ม (TUC และ BFKT) ซึ่ งมี ระยะทางประมาณ 1,037,545 คอร์ กิ โลเมตร และระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ ต่างจังหวัด ซึ่ งสามารถ รองรับผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ได้จานวนประมาณ 1.2 ล้านพอร์ต ทั้งนี้กลุ่มทรู นาเงินส่ วนใหญ่ที่ได้รับจากกองทุน ไปชาระคืนหนี้ สิน ซึ่ งช่ วยปรับปรุ งโครงสร้ างเงิ นทุนของกลุ่มทรู ให้ดีข้ ึน พร้ อมทั้งเพิ่มขีดความสามารถใน การลงทุนให้กบั กลุ่ม 1.2

พัฒนาการทีส่ าคัญในปี 2556

กลุ่มทรู 

กุมภาพันธ์: กลุ่มทรู ได้รับการสนับสนุนเงินทุน 21,000 ล้านบาท จาก 4 ธนาคารชั้นนาของประเทศ เพื่อ เสริ มศักยภาพให้บริ ษทั ฯ สามารถเดินหน้าพัฒนาโครงข่ายสื่ อสารไร้สายให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด และ มีความครอบคลุมทัว่ ประเทศ มีนาคม: กลุ่มทรู และจังหวัดนครนายก ลงนามบันทึกความร่ วมมือ สร้าง “นครนายก” เป็ นจังหวัดต้นแบบ “จังหวัดอัจฉริ ยะ” หรื อ “Smart Province” เน้นการวางระบบโครงข่ายการสื่ อสารพื้นฐานเป็ นสาคัญ เพิ่มประสิ ทธิ ภาพการใช้ 3G+ และ WiFi จากทรู มูฟ เอช ได้ทุกพื้นที่ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารของชุมชน มิถุนายน: กลุ่มทรู ริ เริ่ มโครงการ ทรู อินคิวบ์ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผปู ้ ระกอบการด้านเทคโนโลยีมือใหม่ ที่ยงั ขาดความพร้อมในด้านต่าง ๆ ให้สามารถเริ่ มต้นและสร้างธุ รกิจให้ประสบความสาเร็ จได้จริ ง พร้อม นาศักยภาพของพันธมิตรที่มีชื่อเสี ยงระดับโลก ได้แก่ 500 Startups และ Gobi Partners ร่ วมผลักดัน ผูเ้ ข้าร่ วมโครงการให้เติบโตและเป็ นที่ยอมรับในระดับสากลอีกด้วย ตุลาคม: ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ครั้งที่ 1/2556 มีมติอนุมตั ิให้ บริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย เข้าทาธุ รกรรม กับกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน และขายเงินลงทุนในหุ น้ สามัญของบริ ษทั ย่อยที่มิใช่ธุรกิจหลักของบริ ษทั ฯ จานวน 8 บริ ษทั ให้แก่ บริ ษทั ธนเทเลคอม จากัด โดยการขายเงินลงทุนใน 8 บริ ษทั ย่อยนี้ ได้เสร็ จสิ้ นลง ในไตรมาส 4 ทาให้กลุ่มทรู มีโครงสร้างธุ รกิจที่ชดั เจนขึ้น และสามารถมุ่งเน้นการดาเนิ นงานในธุ รกิ จหลัก ของกลุ่มได้อย่างเต็มความสามารถ ธันวาคม: กลุ่มทรู ร่ วมกับ บริ ษทั ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) (ทอท.) เปิ ดให้บริ การฟรี WiFi ภายใต้ชื่อ AOT Free WiFi by TrueMove H เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผโู ้ ดยสาร ให้สามารถเชื่ อมต่อ อินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็ วสู งถึง 10 Mbps. ทัว่ พื้นที่ในท่าอากาศยานเชี ยงใหม่และท่าอากาศยานดอนเมือง ผ่านโครงข่ายไฟเบอร์ ออพติก ความเร็ วสู งสุ ดถึง 200 Mbps.

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ธันวาคม: กลุ่มทรู ประสบความสาเร็ จในการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้ างพื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท (ทรู จีไอเอฟ หรื อ TRUEGIF) ซึ่ งถือเป็ นกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมรายแรกในประเทศไทย เพื่อสนับสนุนการใช้โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมร่ วมกัน ซึ่ งเป็ นการลดการลงทุนซ้ าซ้อนของผูป้ ระกอบการ โดย TRUEGIF มีมูลค่าการเสนอขายทั้งสิ้ นประมาณ 58,080 ล้านบาท และหน่ วยลงทุนของ TRUEGIF เริ่ มทาการซื้ อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยเป็ นวันแรก ในวันที่ 27 ธันวาคม 2556 ภายใต้ ตัวย่อหลักทรัพย์วา่ “TRUEIF”

กลุ่มทรู โมบาย 

มีนาคม: ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัวโปรโมชัน่ สาหรับ ครู อาจารย์ นักเรี ยน นักศึกษา ข้าราชการ ทหาร และตารวจ ให้ได้ใช้บริ การ 3G+ ด้วยแพ็กเกจพิเศษ iSmart 299 เพียงเดือนละ 199 บาท พร้อมรับโบนัสใช้ฟรี สูงสุ ด 1,200 บาท เมื่อเปิ ดเบอร์ ใหม่ หรื อ รับโบนัสใช้ฟรี เท่าราคาเครื่ อง เมื่อซื้ อเครื่ องพร้อมเปิ ดเบอร์ ใหม่ พร้อมทั้ง เปิ ดตัวแอร์ การ์ ดและมือถือรุ่ นใหม่ ๆ ภายใต้แบรนด์ “GO Live” ให้เลือกตามความต้องการใช้งาน พฤษภาคม: ทรู มูฟ เอช เปิ ดให้บริ การ 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz รายแรกในไทยด้วยความเร็ วสู งสุ ด ในการดาวน์โหลดและอัพโหลดเร็ วกว่าเดิม 3-5 เท่า ครอบคลุมย่านเศรษฐกิจสาคัญ ๆ ในกรุ งเทพฯ เช่น สยามสแควร์ สี สม และสาทร พร้อมตอกย้าความเป็ นผูน้ า 3G ที่มีเครื อข่ายที่ดีที่สุด โดยผสมผสานเทคโนโลยี บนคลื่นความถี่ 850 MHz และ 2.1 GHz ให้ผบู ้ ริ โภคใช้งานสื่ อสารได้อย่างราบรื่ น และครอบคลุมทุกพื้นที่ ทัว่ ประเทศ พฤษภาคม: ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัวสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ตรุ่ นใหม่คุณภาพระดับโลก ภายใต้แบรนด์ “TRUE” ตระกูล BEYOND ในราคาที่เข้าถึงได้ ซึ่ งรวมรุ่ นที่สามารถรองรับทั้ง 4G LTE และ 3G พร้อมทั้งเปิ ดตัว แบรนด์แอมบาสเดอร์ ศิลปิ นหญิงอันดับ 1 จากประเทศเกาหลี “GIRLS’ GENERATION” มิถุนายน: ทรู มูฟ เอช ต่อยอดความร่ วมมือกับซัมซุ ง เปิ ดตัวแพ็กเกจสุ ดคุม้ “TrueMove H Galaxy Package” ด้วยส่ วนลดค่าบริ การรายเดือน 50% นาน 18 เดือน เมื่อซื้ อสมาร์ ทโฟนหรื อแท็บเล็ตซัมซุ งกาแล็คซี่ ทุกรุ่ น พร้อมเปิ ดเบอร์ ทรู มูฟ เอช หรื อย้ายค่ายเบอร์ เดิมเป็ นทรู มูฟ เอช กรกฎาคม: ทรู มูฟ เอช ประกาศความร่ วมมือกับพันธมิตรระดับโลกด้านกี ฬา จับมือ “แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด” สโมสรฟุตบอลชื่อดังของอังกฤษภายใต้สัญญา 3 ปี เปิ ดตัว “ทรู มูฟ เอช แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ซิ ม” และ “ทรู บียอนด์ 4G และแอร์ การ์ ด รุ่ นแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด” พร้อมทั้งเพิ่มบริ การพิเศษให้กบั ลูกค้า ทรู มูฟ เอช ด้วยคอนเทนต์และแอพพลิเคชัน่ สุ ดเอ็กซ์คลูซีฟจากแมนเชสเตอร์ ยไู นเต็ด กันยายน: ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัว “ซิ มท่องโลก” แบบเติมเงิน ราคา 199 บาท รับฟรี โบนัสมูลค่า 150 บาท ที่สามารถใช้เป็ นค่าโทร หรื อส่ ง SMS มอบความคุ ม้ ค่าสู งสุ ดสาหรับนักเดินทางให้สามารถติดต่อสื่ อสาร และใช้งานอินเทอร์ เน็ตขณะอยู่ต่างประเทศ ด้วยอัตราค่าบริ การราคาเดี ยวทั้งโทรออก รับสาย เริ่ มต้น

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เพียง 20 บาทต่อนาที ส่ ง SMS ครั้งละ 9 บาท อีกทั้งยังเพิ่มความคุม้ ค่าด้วยแพ็กเกจดาต้าโรมมิ่งให้ใช้งาน ได้ไม่อ้ นั เริ่ มต้นเพียงวันละ 333 บาท บนเครื อข่ายพันธมิตรของกลุ่มทรู โมบายในกว่า 20 ประเทศทัว่ โลก 

ตุลาคม: ทรู มูฟ เอช ประสบความสาเร็ จในการเปิ ดตัว iPhone 5s และ 5c พร้อมแพ็กเกจที่รวมบริ การ ด้านเสี ยงและข้อมูลที่น่าดึงดูดใจ โดยมอบประสบการณ์การใช้งานสมาร์ ทโฟนอย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ บนเครื อข่ายคุณภาพความเร็ วสู งที่เหนือกว่า ผ่านเทคโนโลยี 4G LTE และ 3G HSPA+

ทรู ออนไลน์ 

กุมภาพันธ์: ทรู ออนไลน์ เปิ ดตัวโปรโมชัน่ พิเศษรับฟรี WiFi by TrueMove H 30 ชม.ต่อเดือนสาหรับลูกค้า ปั จจุบนั และลูกค้าใหม่เมื่อสมัครแพ็กเกจ ULTRA hi-speed Internet ความเร็ ว 10-200 Mbps จากทรู ออนไลน์ กุมภาพันธ์: ทรู อินเทอร์ เน็ต ขยายความร่ วมมือในการให้บริ การสื่ อประชาสัมพันธ์ดิจิตอลบนระบบคลาวด์ ร่ วมกับ ซิ สโก้ และ ฮาตาริ ไวร์ เลส ผูใ้ ห้บริ การสื่ อประชาสัมพันธ์ดิจิตอลชั้นนาของไทย ภายใต้ชื่อ Hatari AdNet โดยนาเสนอนวัตกรรมที่ช่วยเพิ่มความรวดเร็ วในการปรับใช้บริ การ เพิ่มรายได้ และขยายโอกาส ด้านการจัดจาหน่ายและการทาการตลาด มีนาคม: ทรู อินเทอร์ เน็ต อัพเกรดอินเทอร์ เน็ตแบ็คโบนเป็ น 100 กิกะบิตต่อวินาที เป็ นรายแรกในเอเชีย ด้วย Cisco Nexus 7000 มาตรฐานระดับโลกจากซิ สโก้ เพื่อเพิ่มศักยภาพเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตที่มีอยูใ่ น ปั จจุบนั ให้สามารถรองรับการใช้งานของลูกค้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในอนาคต ให้สามารถใช้งาน ได้เต็มประสิ ทธิ ภาพและมีความเสถียรมากยิง่ ขึ้น พฤษภาคม: ทรู ออนไลน์ ร่ วมกับทรู วิชั่นส์ เปิ ดตัวแคมเปญสุ ดคุม้ “สุ ขX2” ให้บริ การอินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสู งผ่านสายเคเบิลด้วยความเร็ ว 12 Mbps พร้อมทั้งสามารถรับชมช่องรายการคุณภาพของทรู วิชนั่ ส์ ได้ถึง 78 ช่องรายการ และ 3 ช่องรายการในระบบ HD ในราคาเพียง 699 บาท ต่อเดือน กันยายน: ผลตอบรับที่ดีมากต่อ แพ็กเกจ “สุ ขX2” ผ่านโครงข่ายเคเบิล DOCSIS 3.0 ส่ งผลให้ทรู ออนไลน์ ขยายแคมเปญนี้ไปสู่ บริ การผ่านสายโทรศัพท์บนเทคโนโลยี ADSL

ทรู วชิ ั่ นส์ 

มกราคม: ทรู วิชนั่ ส์ ปรับโฉมแพ็กเกจทรู โนวเลจ โดยเพิ่มช่องรายการคุณภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งปรับราคา เพื่อให้ลูกค้าเข้าถึงง่ายยิง่ ขึ้นเพียง 299 บาทต่อเดือน พร้อมบริ การหลังการขายฟรี ตลอดอายุสมาชิก กุมภาพันธ์ : ทรู วิชนั่ ส์ เปิ ดตัวนวัตกรรมการดู ทีวีรูปแบบใหม่ “ดูทีวีแบบเติ มเงิ น ดู วนั ไหนจ่ายวันนั้น” โดยนาความบันเทิงคุณภาพระดับโลกครบถ้วนทั้งหนัง บันเทิง กีฬา สารคดี รวม 78 ช่อง สู่ ผบู้ ริ โภคผ่าน

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กล่องรับสัญญาณ ทรู ไลฟ์ พลัส กล่องแพ็กเกจทรู ไลฟ์ ฟรี ววิ และกล่องรับสัญญาณทรู วชิ นั่ ส์แบบขายขาด ไม่มีรายเดือน 

เมษายน: ทรู วชิ นั่ ส์ เปิ ดตัว “ทรู วชิ นั่ ส์ เอนิแวร์ ” บริ การโมบายเพย์ทีวคี รั้งแรกในประเทศไทยเปิ ดโอกาสให้ ผูช้ มสามารถรับชมช่องรายการคุณภาพจากทรู วชิ นั่ ส์ 65 ช่อง และช่องรายการฟรี ทูแอร์ อีก 55 ช่อง ได้ทุกที่ ทุกเวลาตามความต้องการผ่านอุปกรณ์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ตรวมไปถึงเครื่ องคอมพิวเตอร์ และโน้ตบุ๊ค กรกฎาคม: ทรู วชิ นั่ ส์ เปิ ดตัวแพ็กเกจใหม่ “ซูเปอร์ แฟมิลี่ แพ็กเกจ” ในราคา 899 บาทต่อเดือน ซึ่ งถือเป็ น แพ็กเกจที่ดีที่สุดเมื่อเทียบกับแพ็กเกจอื่นในราคาที่ใกล้เคียงกัน โดยสมาชิกสามารถรับชมรายการคุณภาพ ได้อย่างเต็มอิ่ม ครบทุกอรรถรส ทั้งรายการบันเทิง ภาพยนตร์ และกีฬา สู งสุ ดถึง 140 ช่อง รวมช่องรายการ ในระบบ HD 32 ช่อง สิ งหาคม: ทรู วิชนั่ ส์ ตอกย้ าภาพความเป็ นผูน้ าในการถ่ ายทอดสดกี ฬาชั้นนา ด้วยการคว้าลิ ขสิ ท ธิ์ การถ่ ายทอดสดการแข่งขันฟุ ตบอลไทย 4 รายการหลัก ต่อเนื่ อง 3 ฤดูกาล ตั้งแต่ปี 2557 - 2559 ประกอบด้วย “ไทยพรี เมียร์ลีก, ลีกวัน, เอฟเอ คัพ และลีกคัพ” สิ งหาคม: ทรู วิชนั่ ส์ ชูศกั ยภาพผูน้ าคอนเทนต์ พร้อมรับการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ด้วยการร่ วมมือ กับสถานีโทรภาพแห่งชาติลาว ถ่ายทอดสดฟุตบอล ยูฟ่า แชมเปี้ ยน ลีก และ ยูโรป้ า ลีก 2013/2014 กว่า 30 แมทช์ ในประเทศลาว พร้อมคัดสรรรายการบันเทิงสุ ดฮิตจากช่อง KMTV ของเกาหลีเพื่อแฟนเพลงชาวลาว กันยายน: ทรู วชิ นั่ ส์ เพิ่มความคุม้ ค่าให้กบั ลูกค้า โดยเพิ่มช่องรายการในระบบ HD มากกว่าเท่าตัว จาก 23 ช่อง เป็ นจานวนที่สูงสุ ดในประเทศไทยถึง 50 ช่อง

บริการคอนเวอร์ เจนซ์ 

มกราคม: ทรู ไลฟ์ พลัส เสริ มสิ ทธิ พิเศษเพิ่มเติ มให้กบั ลู กค้าที่ใช้บริ การทรู มูฟ เอช หรื อ อินเทอร์ เน็ต จากทรู ออนไลน์ ที่รับฟรี “กล่องรับสัญญาณดาวเทียม” ให้สามารถอัพเกรดชมช่ องรายการในแพ็กเกจ ทรู โนวเลจ โดยดูเพิ่มอีก 13 ช่องคุณภาพ ในราคาเพียง 199 บาทต่อเดือน หรื อเลือกสั่งซื้ อเพื่อรับชมเป็ น รายครั้ง ครั้งละ 100 บาท ต่อ 10 วัน หรื อ 300 บาท ต่อ 30 วัน มีนาคม: ทรู ไลฟ์ พลัส นาเสนอแคมเปญ “ยิ่งใช้ ยิ่งคุม้ ยิ่งลุน้ จาก ทรู ไลฟ์ พลัส” โดยมอบสิ ทธิ พิเศษแก่ ลูกค้าของกลุ่มทรู สาหรับลูกค้าที่ใช้ 1 บริ การ รับฟรี กล่องดูทรู วิชนั่ ส์ ลูกค้าที่ใช้ 2 บริ การ รับสิ ทธิ พิเศษ เพิ่มเติม อาทิ ฟรี WiFi ไม่จากัดชัว่ โมง และลูกค้าที่ใช้ 3 บริ การ รับส่ วนลดค่าบริ การรายเดือน 10% พฤศจิกายน: กลุ่มทรู เปิ ดตัวแคมเปญ “สุ ขx 3” ตอกย้ าความเป็ นผูน้ าคอนเวอร์ เจนซ์ที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้ ลูกค้าได้มากยิง่ ขึ้น ด้วยการผสานบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งถึง 12 Mbps จาก ทรู ออนไลน์ และฟรี ค่าโทรศัพท์บา้ นนาน 12 เดือน พร้อมคอนเทนต์รายการคุณภาพครบครัน 78 ช่องรายการและ 3 ช่อง HD

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

จากทรู วิชนั่ ส์ รวมถึงแพ็กเกจ iSmart เพียงเดือนละ 199 บาท จากทรู มูฟ เอช ได้รับค่าโทร 100 นาที พร้อมใช้งาน 3G ฟรี 150 MB และ WiFi จานวน 5 ชัว่ โมง ด้วยอัตราค่าบริ การเริ่ มต้นเพียง 799 บาทต่อเดือน รางวัลทีไ่ ด้ รับในปี 2556 รางวัลองค์กรในประเทศไทยที่มีความเป็ นเลิศจากฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน กลุ่มทรู ได้รับ 3 รางวัล องค์กรในประเทศไทยที่มีความเป็ นเลิศในการดาเนินธุ รกิจ ประจาปี 2556 จัดโดย บริ ษทั ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน ประกอบด้วย ทรู มูฟ รับรางวัลองค์กรที่มีความเป็ นเลิศด้านบริ การโมบายล์ ทรู ออนไลน์ รับรางวัลองค์กรที่มีความเป็ นเลิศด้านบริ การบรอดแบนด์ และ ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้า เซ็นเตอร์ รับรางวัลองค์กรที่มีความเป็ นเลิศด้านบริ การให้เช่าเซิ ร์ฟเวอร์ เสมือนบนระบบคลาวด์ คอมพิวติ้ง 

มาตรฐาน COPC Customer Operation Performance (CSP) กลุ่มทรู เป็ นองค์กรไทยรายแรกของประเทศที่ได้รับการรับรองมาตรฐานโลก COPC CSP ทั้งคอลล์ เซ็นเตอร์ ทรู มูฟ เอช และคอลล์ เซ็นเตอร์ ทรู ออนไลน์ จาก Customer Operation Performance Center (COPC) องค์กรระดับโลกจากประเทศสหรัฐอเมริ กา ที่ให้คาปรึ กษา ฝึ กอบรม และให้การรับรองมาตรฐานด้านการ ให้บริ การ คอลล์ เซ็นเตอร์ แก่บริ ษทั ที่มีชื่อเสี ยงกว่า 1,500 แห่ง ใน 60 ประเทศทัว่ โลก 

รางวัล ICT ทาดีเพื่อสังคม โครงการทรู ปลูกปั ญญามีเดีย และโครงการ Autistic Application ของกลุ่มทรู ได้รับรางวัล “ICT ทาดี เพื่ อ สั ง คม” ในฐานะองค์ก รที่ ส ามารถน าศัก ยภาพด้า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร มาสร้ างสรรค์ให้เกิดนวัตกรรม เพื่อมอบคุณประโยชน์ให้แก่สังคม โดยรางวัลดังกล่าว เป็ นส่ วนหนึ่ งใน งานประกาศผลรางวัล Thailand ICT Excellence Awards 2012 จัดโดยสมาคมการจัดการธุ รกิจแห่ งประเทศ ไทย ร่ วมกับศู นย์เทคโนโลยีอิเล็ กทรอนิ กส์ และคอมพิ วเตอร์ แห่ งชาติ เขตอุ ตสาหกรรมซอฟท์แวร์ แห่ ง ประเทศไทย และวิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 

รางวัลวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ ช่องทรู ปลูกปั ญญา ได้รับประทานรางวัล "พิฆเนศวร" รางวัลวิทยุโทรทัศน์แห่ งชาติ ประจาปี 2556 ครั้งที่ 2 จัดโดย สมัชชานักจัดรายการข่าววิทยุโทรทัศน์หนังสื อพิมพ์แห่ งประเทศไทย (สว.นท.) 2 ประเภทรางวัล ได้แก่ รางวัลรายการศิลปดนตรี ดีเด่น และรางวัลรายการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวดีเด่น 

Reader’s Digest Trusted Brand Award กลุ่มทรู ได้รับ 2 รางวัล “Trusted Brand Awards 2013” แบรนด์ที่เชื่ อมัน่ ได้ จากนิ ตยสารรี ดเดอร์ ส ไดเจสท์ ได้แก่ รางวัลแพลตตินมั่ ในหมวด “ผูใ้ ห้บริ การสัญญาณอินเทอร์ เน็ตทรู ออนไลน์ ” และรางวัลโกลด์ ใน หมวด “ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์ ทรู มูฟ เอช” ซึ่ งบริ ษทั วิจยั ชั้นนาของโลก ได้สารวจความเชื่ อมัน่ ของผูบ้ ริ โภค ทัว่ เอเชีย เพื่อมอบรางวัลให้แบรนด์สินค้าที่ได้รับการยอมรับสู งสุ ด 

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

Thailand Corporate Excellence Award กลุ่มทรู ได้รับรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี Thailand Corporate Excellence Awards 2012 จัดโดยสมาคมการจัดการธุ รกิ จแห่ งประเทศไทย ร่ วมกับสถาบันบัณฑิ ต บริ หารธุ รกิ จศศินทร์ แห่ งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดยได้รับ 2 รางวัล ได้แก่ รางวัลสาขาความเป็ นเลิ ศ ด้านการตลาด (Marketing Excellence) ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 5 และรางวัล สาขาความเป็ นเลิศด้านการพัฒนาการ บริ หารจัดการขององค์กร (Corporate Improvement Excellence) ซึ่ งพิจารณาจากการประมวลผลองค์กรที่ มีพฒั นาการในการบริ หารจัดการในทุกๆ ด้าน 

โล่เกียรติคุณจากสานักงานส่ งเสริ มสวัสดิภาพและพิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาส และผูส้ ู งอายุ (สท.) โครงการสามเณร ปลูกปั ญญาธรรมของกลุ่มทรู ได้รับการคัดเลือกจากสานักงานส่ งเสริ มสวัสดิภาพและ พิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาส และผูส้ ู งอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์ ให้ รับมอบโล่เกียรติคุณพระราชทาน ในฐานะองค์กรที่ทาคุณประโยชน์ต่อเด็กและเยาวชน เนื่ องในวันเยาวชน แห่งชาติ ประจาปี 2556 

รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ รับรางวัลนวัตกรรมแห่ งชาติ ประจาปี 2556 รองชนะเลิศอันดับ 1 ด้านสังคม จาก สานักงานนวัตกรรมแห่ งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในฐานะองค์กรที่นาศักยภาพด้าน เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร ร่ วมพัฒนาศัก ยภาพเยาวชน ด้วยการสร้ า งสรรค์ผ ลงานนวัต กรรม “Autistic Application” ซึ่ งพนักงานกลุ่มทรู ได้คิดค้นและพัฒนาขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์เป็ นสื่ อการสอนเสริ มทักษะ การเรี ยนรู ้แก่เด็กพิเศษโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย 

รางวัล Top 500 Asia Brand และรางวัลบุคคล Asia Brand Management Innovation Personality Award กลุ่มทรู รับรางวัล “Top 500 Asia Brand” ในฐานะที่เป็ นหนึ่งใน 500 แบรนด์ช้ นั นาที่ได้รับการยอมรับสู งสุ ด ในเอเชี ย โดยทรู เป็ นบริ ษทั ด้านการสื่ อสารโทรคมนาคมไทยเพียงรายเดียวที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ รางวัลดังกล่าว และยังได้รับรางวัลบุคคล “Asia Brand Management Innovation Personality Award” ที่มอบให้แก่นายศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานคณะผูบ้ ริ หาร บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ในฐานะผูบ้ ริ หารตัวอย่างด้านการบริ หารจัดการแบรนด์และส่ งเสริ มนวัตกรรม ในพิธีมอบรางวัล Asia Brand ครั้งที่ 8 ณ เขตปกครองพิเศษฮ่องกง จัดโดยสมาคม Asia Brand ร่ วมกับองค์กรและสื่ อชั้นนาของ ประเทศจีน 

รางวัล คานส์ อวอร์ดส์ ประเภท รายการสารคดีโทรทัศน์ สาขา การศึกษา กลุ่มทรู รับรางวัล คานส์ อวอร์ ดส์ (The Cannes Corporate Media & TV Awards 2013) ประเภท รายการ สารคดีโทรทัศน์ สาขา การศึกษา โดยรายการธรรมะรู ปแบบเรี ยลลิ ต้ ี “สามเณร ปลูกปั ญญาธรรม ปี 2” ของกลุ่มทรู ที่ออกอากาศทางทรู วิชนั่ ส์ เป็ นรายการเดี ยวจากประเทศไทย และในภูมิภาคเอเชี ยที่ ได้รับ 

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รางวัลดังกล่าว จากผลงานที่ส่งเข้าประกวดทั้งหมด 719 ผลงาน จาก 40 ประเทศ ทัว่ ทุกมุมโลก ในพิธี ประกาศผลรางวัล ณ เมืองคานส์ ประเทศฝรั่ งเศส โดยถื อเป็ นครั้ งแรกของเมืองไทยที่ ได้รับรางวัลที่ มี ชื่อเสี ยงระดับโลกนี้ โล่เกียรติยศจากสานักงาน ป.ป.ช. กลุ่มทรู รับโล่เกียรติยศหน่ วยงานหรื อองค์กรที่มีส่วนร่ วมสนับสนุ นภารกิ จของสานักงาน ป.ป.ช. โดย กลุ่มทรู ได้สนับสนุนการเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของป.ป.ช. ผ่านสื่ อต่างๆ ของกลุ่มทรู รวมถึงการจัดให้ศิลปิ นทรู อคาเดมี แฟนเทเชีย เข้าร่ วมกิจกรรมของป.ป.ช. อีกด้วย 

รางวัลสื่ อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย ทรู มูฟ เอช รับรางวัลสื่ อมวลชนดี เด่น ประเภทภาพยนตร์ โฆษณา จากภาพยนตร์ โฆษณาชุ ด “การให้ คือ การสื่ อสารที่ดีที่สุ ด” จัดโดยสื่ อมวลชนคาทอลิ กประเทศไทย ซึ่ งภาพยนตร์ โฆษณาดังกล่าวถ่ายทอด แนวคิดเรื่ องพลังของการให้ 

โล่เกี ยรติคุณจากสานักงานส่ งเสริ มและพัฒนาคุ ณภาพชี วิตคนพิการแห่ งชาติ ร่วมกับสมาคมสภาคนพิการ ทุกประเภทแห่งประเทศไทย กลุ่ ม ทรู รับ โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณองค์ก รดี เด่ นสนับ สนุ นงานด้านคนพิ ก าร ในงานวันคนพิ ก ารสากล ประจาปี 2556 ในฐานะองค์กรภาคธุ รกิ จดี เด่นที่สนับสนุ นงานด้านคนพิการ จัดโดยสานักงานส่ งเสริ ม และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการแห่งชาติร่วมกับสมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทย 

1.3

โครงสร้ างเงินลงทุนของกลุ่มบริษัทฯ กลุ่มทรู รายงานผลประกอบการด้านการเงิน โดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มธุ รกิจ คือ ทรู ออนไลน์ กลุ่มทรู โมบาย และ ทรู วชิ นั่ ส์ (1) ทรู ออนไลน์ ประกอบด้วยบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยที่ยงั คงมีกิจกรรมทางธุ รกิจ 26 บริ ษทั และกิจการร่ วมค้า 1 บริ ษทั (2) กลุ่มทรู โมบาย ประกอบด้วยบริ ษทั ย่อยที่ยงั คงมีกิจกรรมทางธุ รกิจ 10 บริ ษทั (3) ทรู วชิ นั่ ส์ ประกอบด้วยบริ ษทั ย่อยที่ยงั คงมีกิจกรรมทางธุ รกิจ 13 บริ ษทั กิจการร่ วมค้า 1 บริ ษทั และบริ ษทั ร่ วม 2 บริ ษทั

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างเงินลงทุนของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)

ณ วันที่ 30 กันยายน 2551

99.99% บริ ษทั เทเลคอมโฮลดิ้ง จากัด 91.08% 99.99% 99.99% 90.00%

บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จากัด บริ ษทั เอเซีย ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด บริ ษทั ทรู อินฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จากัด

99.84%

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด (มหาชน)

K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนที่ต่างประเทศ)

99.99%

บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วิส จากัด

25.99%

บริ ษทั แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จากัด

บริ ษทั ทรู ทัช จากัด บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด Goldsky Co., Limited. 100.00%

Dragon Delight Investments Limited

100.00%

Golden Light Co., Ltd.

99.99%

บริ ษทั ซีนิเพล็กซ์ จากัด

99.99%

บริ ษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จากัด

99.99%

บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์วิสเซส จากัด

100.00% Gold Palace Investments Limited

99.34%

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จากัด (มหาชน)

True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd.

99.99%

บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จากัด

99.99%

บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ จากัด

100.00% 100.00%

GP Logistics Co., Ltd.

100.00% Golden Pearl Global Limited

99.99%

บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จากัด

70.00%

บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จากัด

บริ ษทั บี บอยด์ ซีจี จากัด

51.00%

บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จากัด

บริ ษทั ทรู มิวสิค เรดิโอ จากัด

50.00%

บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จากัด

45.00%

บริ ษทั ทรู จีเอส จากัด

99.99% 70.00% 69.94%

Gold Palace Logistics Limited

99.99% 99.99%

99.31%

99.48%

99.99%

บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด

บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์เทเลเทค จากัด (มหาชน) 99.95%

บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์เนต จากัด

บริ ษทั คลิกทีวี จากัด

100.00%

ส่วนที่ 1

บริ ษทั ศูนย์บริ การ วิทยาการ อินเตอร์เนต จากัด

99.99%

99.99%

100.00%

บริ ษทั เอ็มเค เอสซีเวิลด์ ดอทคอม จากัด

บริ ษทั เทเลคอม เค เอส ซี จากัด

60.00%

62.50%

บริ ษทั เอเชีย ดีบีเอส จากัด (มหาชน)

100.00%

99.99%

99.99%

99.99% 99.99%

99.99%

15.76%

บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด

บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จากัด

บริ ษทั ทรู มูฟ จากัด 99.99%

บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ เซลส์ จากัด

99.96%

บริ ษทั ทรู มิวสิค จากัด

99.99% บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

บริ ษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จากัด 99.94%

บริ ษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ปอเรชัน่ จากัด

99.93%

บริ ษทั ส่องดาว จากัด

99.99%

บริ ษทั เรี ยล มูฟ จากัด

บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

บริ ษทั ทรู วิสต้าส์ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั ทรู แมจิค จากัด”) 99.99%

บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จากัด

92.50%

บริ ษทั ฮัทชิสนั ไวร์เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จากัด 73.92% บริ ษทั ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จากัด

100.00%

บริ ษทั ไทยสมาร์ท คาร์ด จากัด 99.99%

99.99%

บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จากัด 65.00%

บริ ษทั เอเซีย อินโฟเน็ท จากัด

บริ ษทั ทรู ดีทีที จากัด

Rosy Legend Limited

บริ ษทั ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์วิส (ประเทศไทย) จากัด 99.99% บริ ษทั ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จากัด

100.00%

Prospect Gain Limited

99.99%

บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จากัด

99.99%

บริ ษทั เคโอเอ จากัด

19.94%

บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จากัด

หมายเหตุ: 1. โครงสร้างเงินลงทุนของกลุ่มบริ ษทั ฯ แสดงเฉพาะที่บริ ษทั ฯ ถือหุน้ ตั้งแต่ 10% ขึ้นไป 2 ไม่มีบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งของบริ ษทั ฯ เป็ นผูถ้ ือหุน้ ในสัดส่วนเกินร้อยละ 10 ของจานวนหุน้ ที่จาหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม 3. นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ กาลังดาเนินการปิ ดบริ ษทั ย่อยที่ไม่มีการดาเนินธุรกิจและไม่มีความจาเป็ นต้องคงไว้ อีกจานวน 1 บริ ษทั คือ บริ ษทั เทเลคอม อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด (99.99%) 4. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้เข้าจองซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท จานวน 1,933,601,000 หน่วย หรื อเท่ากับร้อยละ 33.29 ของหน่วยลงทุนทั้งหมดที่เสนอขาย นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 1 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างเงินลงทุนแยกตามธุรกิจของกลุ่มบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธุรกิจโทรศัพท์พ้นื ฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย บริ การเสริ ม และ บริ การสื่ อสารข้อมูล บริ ษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ทรู โมบาย -

บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู มูฟ จากัด 99.43 % บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ เซลล์ จากัด 99.43 % บริ ษทั ทรู มิวสิ ค จากัด 99.40 %

ธุรกิจโทรศัพท์พ้นื ฐาน -

บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู ทัช จากัด 100.00 % บริ ษทั เอเซี ย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 100.00 %

ทรู วิชนั่ ส์

ทรู ออนไลน์ -

บริ ษทั เรี ยล มูฟ จากัด 99.48 % บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 99.43 % บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จากัด 100.00 % บริ ษทั เคโอ เอ จากัด 100.00% บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท เมเนจเมนท์ จากัด 100.00%

ธุรกิจให้บริ การสื่ อสารข้อมูล - บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จากัด 91.08 % - บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) - บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จากัด 100.00 %

-

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด (มหาชน) 99.31 % บริ ษทั ซี นิเพล็กซ์ จากัด 100.00 % บริ ษทั คลิกทีวี จากัด 99.31 % บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จากัด (มหาชน) 98.99 % บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์ วิส จากัด 99.31 % บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเม้นท์ จากัด 99.77 % บริ ษทั แชนแนล (วี) มิวสิ ค (ประเทศไทย) จากัด 25.82 %

ธุรกิจบรอดแบนด์และบริ การอินเตอร์เน็ต -

บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จากัด 91.08 % บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต จากัด 100.00 % บริ ษทั เอเซี ย อินโฟเน็ท จากัด 65.00 % บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จากัด 100.00 % บริ ษทั ศูนย์บริ การวิทยาการ อินเตอร์เนต จากัด 56.93 % บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ เนต จากัด 56.83 % บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด 100.00 %

หมายเหตุ : - บริ ษทั เทเลคอม อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด (100.00%) กาลังอยูร่ ะหว่างดาเนินการปิ ดบริ ษทั - บริ ษทั ที่ไม่มีกิจกรรมทางธุรกิจ แต่ยงั มีความจาเป็ นต้องคงไว้ ได้แก่ บริ ษทั เอเชีย ดีบีเอส จากัด (มหาชน) (90.00%) บริ ษทั เทเลคอม เคเอสซี จากัด (34.39%) บริ ษทั ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์ วิส (ประเทศไทย) จากัด (100.00 %) บริ ษทั ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชันส์ (ประเทศไทย) จากัด (100.00 %) บริ ษทั ฮัทชิสนั ซี เอที ไวร์ เลส มัลติมีเดีย จากัด (68.02 %) บริ ษทั ฮัทชิสนั ไวร์ เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จากัด (92.02 %) Rosy Legend Limited (99.48 %) Prospect Gain Limited (100.00 %) บริ ษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (99.42 %) และ บริ ษทั ส่องดาว จากัด (99.41 %)

ส่วนที่ 1

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

-

บริ ษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จากัด 70.00 % บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จากัด 51.00 % บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู จีเอส จากัด 45.00 % บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์ วิสเซส จากัด 100.00 % บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จากัด 50.00% บริ ษทั ทรู ดีทีที จากัด 100.00%

ธุรกิจอื่น ธุรกิจลงทุน - บริ ษทั เทเลคอมโฮลดิ้ง จากัด 100.00 % - บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์ เทเลเทค จากัด (มหาชน) 99.48 % - บริ ษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จากัด 100.00 % - K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนต่างประเทศ) 100.00 % - บริ ษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ดอทคอม จากัด 91.08 % - Dragon Delight Investments Limited 100.00 % - Gold Palace Investments Limited 100.00 % - Golden Light Co., Ltd. 100.00 % - Goldsky Co., Ltd. 100.00 % - GP Logistics Co., Ltd. 100.00 % - Golden Pearl Global Limited 100.00 % - Gold Palace Logistics Limited 100.00 % ธุรกิจอื่น ๆ - บริ ษทั ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี จากัด 100.00 % - บริ ษทั บีบอยด์ ซี จี จากัด 70.00 % - บริ ษทั ทรู วิสต้าส์ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั ทรู แมจิค จากัด”) 100.00 % - บริ ษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จากัด 69.94 % - บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จากัด 19.94 % - True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd 100.00 %

หัวข ้อที่ 1 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โครงสร้างรายได้ตามกลุม่ ธุ รกิจ กลุม่ ธุ รกิจ

2556 ล้านบาท %

2555 ล้านบาท %

2554 ล้านบาท %

1. ทรูออนไลน์

23,086

24.0%

23,295

26.3%

22,440

31.2%

2. ทรูโมบาย

63,073

65.5%

56,124

62.6%

40,102

55.7%

3. ทรูวิชนส์ ั่

10,055

10.5%

9,963

11.1%

9,396

13.1%

รวมรายได้

96,214

100.0%

89,382

100.0%

71,938

100.0%

2553

โครงสร้างรายได้ แยกตามการดาเนินงานของแต่ละบริษทั กลุม่ ธุรกิจ / ดาเนินการโดย

2556 ล้านบาท %

1. ทรูออนไลน์ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู มัลติมเี ดีย จำกัด บริษัท ทรู อินเทอร์เน็ ต จำกัด บริษัท ทรู ลีสซิง่ จำกัด บริษัท ทรู ไลฟ์ พลัส จำกัด บริษัท เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์เนต จำกัด บริษัท ไวร์เออ แอนด์ ไวร์เลส จำกัด บริษัท เอเซีย ไวร์เลส คอมมิวนิ เคชัน่ จำกัด บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิ เคชัน่ จำกัด บริษัท ทรู ทัช จำกัด บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเท้นท์ แอนด์ มีเดีย จำกัด บริษัท ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล เกตเวย์ จำกัด บริษัท ทรู ไลฟ์ สไตล์ รีเทล จำกัด บริษัท ทรู มันนี่ จำกัด บริษัท ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จำกัด บริษัท ทรู อินเตอร์เน็ ต ดำต้ำ เซ็นเตอร์ จำกัด บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จำกัด บริษัท ทรู พรอพเพอร์ตีส์ จำกัด True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd. อีน่ ๆ รวม 2. ทรูโมบาย กลุ่มบริษัท กรุงเทพอินเตอร์เทเลเทค บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมเี ดีย จำกัด บริษัท เรียล มูฟ จำกัด บริษัท เรียล ฟิ วเจอร์ จำกัด บริษัท เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จำกัด รวม 3. ทรูวิชั ่นส์ กลุ่มบริษัท ทรูวชิ นั ่ ส์ กรุป๊ รวมรายได้

ส่วนที่ 1

2555 ล้านบาท %

2554 ล้านบาท %

6,380 52 10,012 1,199 636 470 397 1 26 372 283 297 168 296 1,829 62 303 31 242 30 23,086

6.6% 0.1% 10.4% 1.2% 0.7% 0.5% 0.4% 0.0% 0.0% 0.4% 0.3% 0.3% 0.2% 0.3% 1.9% 0.1% 0.3% 0.0% 0.3% 0.0% 24.0%

6,636 97 8,485 1,669 1,196 418 775 1 46 291 259 310 223 326 1,682 88 478 39 273 3 23,295

7.5% 0.1% 9.6% 1.9% 1.3% 0.5% 0.9% 0.0% 0.1% 0.3% 0.3% 0.3% 0.2% 0.4% 2.0% 0.1% 0.5% 0.0% 0.3% 0.0% 26.3%

7,216 127 7,186 1,591 1,592 415 644 73 74 195 230 302 188 303 1,609 82 546 32 21 14 22,440

10.0% 0.2% 10.0% 2.2% 2.2% 0.6% 0.9% 0.1% 0.1% 0.3% 0.3% 0.4% 0.3% 0.4% 2.2% 0.1% 0.9% 0.0% 0.0% 0.0% 31.2%

30,862 7,410 7 23,464 1,326 4 63,073

32.0% 7.7% 0.0% 24.4% 1.4% 0.0% 65.5%

39,336 5,394 546 10,848 56,124

43.9% 6.0% 0.6% 12.1% 62.6%

35,165 1,559 2,717 661 40,102

48.8% 2.2% 3.8% 0.9% 55.7%

10,055 96,214

10.5% 100.0%

9,963 89,382

11.1% 100.0%

9,396 71,938

13.1% 100.0%

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิจ

2553

หัวข ้อที่ 1- หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

2.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1

ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การสื่ อสารครบวงจรหนึ่งเดียวของประเทศไทย และเป็ นผูน้ าคอนเวอร์ เจนซ์ไลฟ์ สไตล์ ซึ่งเชื่อมโยงทุกบริ การ พร้อมพัฒนาโซลูชนั่ ตอบสนองทุกไลฟ์ สไตล์ตรงใจลูกค้าได้อย่างแท้จริ ง โดยให้บริ การ ด้า นเสี ย ง (โทรศัพ ท์พ้ื นฐานและโทรศัพ ท์เคลื่ อนที่ ) บริ ก ารบรอดแบนด์ อิ นเทอร์ เน็ ต บริ ก ารโทรทัศ น์ แบบบอกรับสมาชิ ก บริ ก ารด้านข้อมู ล และคอนเทนต์ โดยประสานประโยชน์จากโครงข่าย บริ การ และ ผลิตภัณฑ์หลากหลายของกลุ่ม ซึ่ งเป็ นพื้นฐานทาให้ธุรกิจเติบโตต่อไปในอนาคต ยุทธศาสตร์ การเป็ นผูน้ าคอนเวอร์ เจนซ์ ไลฟ์ สไตล์ ทาให้กลุ่ มทรู มีเอกลักษณ์ ความโดดเด่ น ด้วยการ ผสานบริ การสื่ อสารครบวงจรในกลุ่มเข้ากับคอนเทนต์ที่เน้นความหลากหลาย ทาให้กลุ่มทรู แตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การ รายอื่ น ๆ โดยช่ วยเพิ่ มยอดผูใ้ ช้บริ การและสร้ างความผูกพันกับบริ การต่าง ๆ ของกลุ่ มทรู อี กทั้งยังท าให้ สามารถใช้ประโยชน์จากศักยภาพของบริ การได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ ยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ยงั ช่วยเพิ่ม มูลค่า และมอบคุณประโยชน์แก่ลูกค้าทั้งในระยะกลางและระยะยาว กลุ่มทรู ได้มีการแบ่งกลุ่มธุ รกิจหลักออกเป็ น 3 กลุ่ม ซึ่ งประกอบด้วย ธุ รกิ จออนไลน์ ภายใต้ทรู ออนไลน์ ซึ่ งประกอบด้วย บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานและบริ การเสริ ม ต่าง ๆ บริ การโครงข่ายข้อมูล บริ การอินเทอร์ เน็ต และบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง หรื อบริ การบรอดแบนด์ สาหรับลูกค้าทัว่ ไป บริ การอินเทอร์ เน็ตไร้สาย (WiFi) และบริ การ WE PCT (บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานใช้นอกสถานที่) 

ธุ รกิ จโทรศัพท์เคลื่ อนที่ ภายใต้กลุ่มทรู โมบาย ซึ่ งให้บริ การระบบ 2G 3G และ 4G LTE ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ และทรู มูฟ เอช โดยบริ การ CDMA ถูกปิ ดอย่างเป็ นทางการเมื่อเดือนเมษายน ปี 2556 

ธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก ภายใต้ชื่อ ทรู วชิ นั่ ส์

ทั้งนี้ สาหรั บผลประกอบการด้านการเงิ นของธุ รกิ จคอนเวอร์ เจนซ์ และอื่ น ๆ ซึ่ งรวมธุ รกิ จค้าปลี ก สาหรับแพ็กเกจที่รวมผลิตภัณฑ์ภายในกลุ่มทรู เข้าด้วยกัน จะถูกรวมอยูใ่ นกลุ่มธุ รกิจของทรู ออนไลน์

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ตารางด้านล่างแสดงองค์ประกอบรายได้จากการให้บริ การของกลุ่มทรู และกาไรจากการดาเนินงานที่เป็ นเงินสด (EBITDA) รายได้จากการให้ บริการ1/: หน่ วย:ล้ านบาท ทรู ออนไลน์ กลุ่มทรู โมบาย (ไม่รวมค่า IC และค่าเช่า โครงข่าย) ทรู วชิ นั่ ส์ รวม กาไรจากการดาเนินงาน ทีเ่ ป็ นเงินสด (EBITDA)2/: หน่ วย: ล้ านบาท ทรู ออนไลน์ กลุ่มทรู โมบาย ทรู วชิ นั่ ส์ รายการระหว่างกัน รวม

2553

ร้ อยละ

2554

ร้ อยละ

2555

ร้ อยละ

2556

ร้ อยละ

21,267

40

21,433

38

21,891

35

22,144

33

22,076

42

26,113

46

30,187

49

34,211

52

9,305 52,649

18 100

9,256 56,802

16 100

9,788 61,865

16 100

9,936 66,291

15 100

2553

ร้ อยละ

2554

ร้ อยละ

2555

ร้ อยละ

2556

ร้ อยละ

9,751 6,233 2,322 87 18,392

53 34 13 100

9,973 4,974 2,236 (80) 17,104

58 29 13 100

10,089 4,852 1,966 (169) 16,738

60 29 11 100

10,243 4,910 1,458 (226) 16,385

62 30 8 100

หมายเหตุ: 1/ หลังหักรายการระหว่างกัน; 2/ ก่อนหักรายการระหว่างกัน

ภายหลังการได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2556 กลุ่มทรู ประสบความสาเร็ จใน การขายเงินลงทุนในหุ น้ สามัญของบริ ษทั ย่อยที่มิใช่ธุรกิจหลักของบริ ษทั ฯ จานวน 8 บริ ษทั ประกอบด้วย TLS, WW, TMN, TIDC, TLR, TP, TDP และ TDCM ให้แก่ บริ ษทั ธนเทเลคอม จากัด ทาให้กลุ่มทรู สามารถรับรู ้ กาไรจากการจาหน่ายเงินลงทุนดังกล่าวจานวน 857.6 ล้านบาท ในไตรมาส 4 ปี 2556 โดยก่อนการขายเงิน ลงทุนนี้ ผลประกอบการทางด้านการเงินของ 8 บริ ษทั เหล่านี้ถูกรวมอยูใ่ นผลประกอบการของทรู ออนไลน์

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ตาราง แสดง 8 บริ ษทั ย่อย ที่กลุ่มทรู จาหน่ายเงินลงทุนในหุน้ สามัญออกไป บริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจโดยย่ อ 1. บริ ษทั ทรู ลีสซิ่ ง จากัด (TLS) จัดหารถยนต์ให้เช่าแบบการเช่าดาเนินงาน 2. บริ ษทั ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส จากัด (WW) ให้บริ การทางด้านงานวิศวกรรม 3. บริ ษทั ทรู พรอพเพอร์ ตีส์ จากัด (TP) ให้เช่าพื้นที่อาคารสานักงาน 4. บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้า เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) ให้บริ การศูนย์กลางข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต 5. บริ ษทั ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล จากัด (TLR) ดาเนินธุ รกิจร้านทรู คอฟฟี่ 6. บริ ษทั ทรู ดิจิตอล พลัส จากัด (TDP) บริ การเกมออนไลน์ 7. บริ ษทั ทรู มันนี่ จากัด (TMN) บริ การรับชาระเงินและบัตรเติมเงินอิเล็กทรอนิกส์ 8. บริ ษทั ทรู ดิจิตอล คอนเท้นท์ แอนด์ มีเดีย จากัด (TDCM) บริ การเนื้อหาในระบบดิจิตอล และระบบ ธุ รกิจพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (1)

ทรู ออนไลน์

ทรู ออนไลน์ ประกอบด้วย บริ การโทรศัพท์พ้ื นฐาน และบริ การเสริ มต่ าง ๆ เช่ น บริ การโทรศัพท์ สาธารณะ และบริ การ WE PCT นอกจากนี้ ยังรวมถึ งบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต บริ การโครงข่ายข้อมูล บริ การอินเทอร์ เน็ตและดาต้าเกตเวย์ รวมทั้งบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ซึ่ งได้มีการโอนย้ายไปอยูใ่ น กลุ่ มทรู โมบายตั้งแต่ ต้นปี 2554 ทั้งนี้ ธุ รกิ จบรอดแบนด์ อิ นเทอร์ เน็ ตเติ บโตอย่างรวดเร็ ว และเป็ นปั จจัยที่ ช่วยรักษาระดับรายได้โดยรวมของกลุ่มธุ รกิจทรู ออนไลน์ i)

บริการโทรศัพท์พนื้ ฐาน โทรศัพท์พนื้ ฐานใช้ นอกสถานที่ (WE PCT) และโทรศัพท์สาธารณะ

ทรู ออนไลน์เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานรายใหญ่ที่สุดในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล โดย สามารถให้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานจานวนทั้งสิ้ น 2.6 ล้านเลขหมาย และมี เลขหมายที่ให้บริ การอยู่ท้ งั สิ้ น ประมาณ 1.7 ล้านเลขหมาย นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยงั ได้รับอนุ ญาตจาก องค์การโทรศัพท์แห่ งประเทศไทย ซึ่ ง ภายหลังเปลี่ยนชื่ อเป็ น บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน) เพื่อให้บริ การโทรศัพท์สาธารณะในเขตกรุ งเทพมหานคร และปริ มณฑลจานวนทั้งสิ้ น 26,000 ตู้ กลุ่มทรู ให้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานใช้นอกสถานที่ WE PCT ผ่าน AWC ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย (กลุ่มทรู ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้ อยละ 100.0) โดยได้เปิ ดให้บริ การอย่างเป็ นทางการ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 ซึ่ งถือเป็ น บริ การเสริ มของบริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บริ การ WE PCT เป็ นบริ การที่ทาให้ผใู้ ช้บริ การสามารถพกพาโทรศัพท์บา้ นไปใช้นอกบ้านได้ โดยใช้ หมายเลขเดี ยวกับโทรศัพท์บา้ น และสามารถใช้ได้ถึง 9 เครื่ องต่อโทรศัพท์พ้ืนฐาน 1 เลขหมาย โดย WE PCT แต่ละเครื่ องจะมีหมายเลขประจาเครื่ องของตนเอง ในเดือนสิ งหาคม 2534 กลุ่มทรู ได้ทาสัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างกลุ่มทรู กบั องค์การโทรศัพท์ แห่ งประเทศไทย ซึ่ งภายหลังเปลี่ ยนชื่ อเป็ น บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน) โดยให้กลุ่มทรู เป็ นผูด้ าเนิ นการ ลงทุ น จัดหา และติ ดตั้งควบคุ ม ตลอดจนซ่ อมบารุ งและรั กษาอุ ป กรณ์ ในระบบสาหรั บการขยายบริ การ โทรศัพท์จานวน 2 ล้านเลขหมาย ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล เป็ นระยะเวลา 25 ปี สิ้ นสุ ดปี 2560 ต่ อ มาได้รับ สิ ท ธิ ใ ห้ข ยายบริ ก ารโทรศัพ ท์อี ก จ านวน 6 แสนเลขหมาย กลุ่ ม ทรู ไ ด้โ อนทรั พ ย์สิ น ที่ เ ป็ น โครงข่ายทั้งหมดให้แก่ทีโอที โดยทีโอที เป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้จากลู กค้าในโครงข่ายทั้งหมด และชาระให้ กลุ่ มทรู ตามสัดส่ วนที่ระบุ ไว้ในสัญญาร่ วมการงานฯ คื อในอัตราร้ อยละ 84.0 สาหรับบริ การโทรศัพท์ พื้นฐานในส่ วน 2 ล้านเลขหมายแรก และอัตราร้อยละ 79.0 สาหรับในส่ วน 6 แสนเลขหมายที่ได้รับการ จัดสรรเพิ่มเติมในภายหลัง ในส่ วนของบริ การเสริ มต่าง ๆ ที่กลุ่มทรู ได้ให้บริ การอยู่ กลุ่มทรู ได้รับส่ วนแบ่ง รายได้ในอัตราร้อยละ 82.0 ของรายได้จากบริ การเสริ มนั้น ๆ ยกเว้นบริ การโทรศัพท์สาธารณะ ซึ่ งกลุ่มทรู ได้รับส่ วนแบ่งรายได้ในอัตราร้อยละ 76.5 สาหรับบริ การ WE PCT นั้น รายได้ท้ งั หมดจะถูกจัดเก็บโดยทีโอที และทีโอที จะแบ่งรายได้ที่ จัดเก็บก่อนหักค่าใช้จ่ายให้กลุ่มทรู ในอัตราร้อยละ 82.0 และเนื่ องจากกลุ่มทรู ได้มอบหมายให้ AWC ซึ่ งเป็ น บริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ดาเนิ นการให้บริ การ PCT แก่ลูกค้า ดังนั้น กลุ่มทรู จึงต้องแบ่งรายได้ที่ได้รับมาจาก ทีโอทีในอัตราประมาณร้อยละ 70.0 ให้กบั AWC นอกจากนั้น ทีโอทีก็สามารถให้บริ การ PCT แก่ผทู ้ ี่ใช้ หมายเลขโทรศัพ ท์ของที โอที ได้โดยผ่านโครงข่า ย PCT ของกลุ่ ม ทรู ดังนั้น ที โอที จึงต้องแบ่งรายได้ ส่ วนหนึ่งที่ทีโอทีได้รับจากผูใ้ ช้บริ การ PCT จากหมายเลขโทรศัพท์ของทีโอทีให้แก่กลุ่มทรู เพื่อเป็ นเสมือน ค่าเช่าโครงข่าย โดยในส่ วนนี้ ทีโอทีจะต้องแบ่งรายได้ประมาณร้อยละ 80.0 ให้แก่กลุ่มทรู บริการเสริม นอกเหนื อจากโทรศัพท์พ้ืนฐาน และโทรศัพท์สาธารณะ กลุ่มทรู ได้พฒั นาบริ การเสริ มต่าง ๆ เพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึ่ งประกอบด้วย บริ การรับฝากข้อความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริ การรับสายเรี ยกซ้อน (Call Waiting) บริ การสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริ การโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริ การเลขหมายด่วน (Hot Line) บริ การย่อเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริ การโทรซ้ าอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) บริ การจากัดการโทรออก (Outgoing Call Barring) และบริ การแสดงหมายเลขเรี ยกเข้า (Caller ID) 

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยงั ได้ให้บริ การเสริ มอื่ น ๆ แก่ลูกค้าธุ รกิ จ ซึ่ งมีความต้องการใช้เลขหมายเป็ น จานวนมาก และต้องการใช้บริ การเสริ มที่หลากหลายมากยิง่ ขึ้น ได้แก่ 

บริ การตูส้ าขาอัตโนมัติระบบต่อเข้าตรง (Direct Inward Dialing หรื อ “DID”)

บริ การเลขหมายนาหมู่ (Hunting Line) เป็ นบริ การที่จดั กลุ่มเลขหมายให้สามารถเรี ยกเข้า ได้โดยใช้เลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว 

โครงข่ายบริ การสื่ อสารร่ วมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network: ISDN) เป็ นบริ การรับ-ส่ งสัญญาณภาพ เสี ยง และข้อมูลพร้อมกันได้บนคู่สายเพียง 1 คู่สายในเวลาเดียวกัน 

บริ การ Televoting

บริ การฟรี โฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เป็ นบริ การหมายเลขโทรฟรี เพื่อให้ลูกค้า สามารถโทรมายังหมายเลขต้นทางซึ่งเป็ นศูนย์บริ การของบริ ษทั โดยบริ ษทั จะเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าโทร 

บริ การประชุมผ่านสายโทรศัพท์ (Voice Conference)

บริ การโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์ เน็ต (Voice over Internet Protocol หรื อ VoIP) ภายใต้ชื่อ

NetTalk by True โครงข่ ายโทรศัพท์พนื้ ฐาน และพืน้ ทีใ่ ห้ บริการ WE PCT โครงข่ ายโทรศัพท์พ้ืนฐานของกลุ่ มทรู เป็ นโครงข่า ยใยแก้วนาแสงที่ ท นั สมัย โดยใช้สายเคเบิ ล ทองแดงในระยะทางสั้น ๆ เพื่อคุณภาพที่ดีที่สุดในการให้บริ การทั้งด้านเสี ยงและข้อมูล ณ สิ้ น ปี 2556 กลุ่มทรู มีเลขหมายโทรศัพท์พ้ืนฐานที่ให้บริ การแก่ลูกค้าเป็ นจานวนรวม 1,696,155 เลขหมาย ประกอบด้วย ลูกค้าบุคคลทัว่ ไปจานวน 1,122,071 เลขหมาย และลูกค้าธุ รกิจจานวน 574,084 เลขหมาย ซึ่ ง ลดลงในอัตราร้ อยละ 4.0 จาก ณ สิ้ นปี 2555 โดยการลดลงของรายได้และผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน เป็ นไปตามแนวโน้มเดี ยวกันทัว่ โลก ในขณะที่รายได้เฉลี่ ยต่อเลขหมายต่อเดือน สาหรับ ปี 2556 ลดลง 3.6 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 255 บาทต่อเดือน ทั้งนี้ รายได้จากการให้บริ การส่ วนใหญ่ (ร้อยละ 59.8) ยังคงมาจาก ลูกค้าธุ รกิจ

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจานวนผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐาน และรายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การ ณ วันที่ 31 ธ.ค. บริการโทรศัพท์ พืน้ ฐาน 2552 2553 2554 จานวนผูใ้ ช้บริ การ 1,858,310 1,834,694 1,805,892 รายได้เฉลี่ยต่อ ผูใ้ ช้บริ การ 303 285 272 (บาทต่อเดือน)

2555 1,766,141

2556 1,696,155

265

255

บริ การ WE PCT ให้บริ การครอบคลุ มพื้นที่ ราว 1,500 ตารางกิ โลเมตร ในเขตพื้นที่ ช้ นั ในของ กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล ในระยะเวลาหลายปี ที่ผ่านมา ผูใ้ ช้บริ การ WE PCT มีจานวนลดลงอย่าง มีนยั สาคัญ ซึ่ งเป็ นไปในทิศทางเดี ยวกับแนวโน้มทัว่ โลก ส่ วนหนึ่ งจากผลกระทบจากความนิ ยมในการใช้ โทรศัพท์เคลื่ อนที่ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง และจากการปรับอัตราค่าบริ การจากเดิมซึ่ งเป็ นลักษณะค่าบริ การต่อครั้ง เป็ นต่อนาที เพื่อลดผลกระทบต่อกลุ่มทรู หากมีการจัดเก็บค่า IC สาหรับบริ การ PCT ในลักษณะเดียวกันกับ ที่ใช้กบั ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ อย่างไรก็ตาม ผูใ้ ช้บริ การ WE PCT บางส่ วนได้ยา้ ยไปใช้บริ การอื่น ๆ ภายในกลุ่มทรู อาทิ ทรู มูฟ เอช โดย ณ สิ้ นปี 2556 กลุ่มทรู มีผใู ้ ช้บริ การ WE PCT จานวน 17,966 ราย ลดลงจาก 28,885 ราย ณ สิ้ นปี 2555 ตารางแสดงจานวนผูใ้ ช้บริ การ WE PCT และรายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การ ณ วันที่ 31 ธ.ค. WE PCT 2552 2553 2554 จานวนผูใ้ ช้บริ การ 177,970 89,698 45,599 รายได้เฉลี่ยต่อ 155 160 117 ผูใ้ ช้บริ การ 1/ 1/

2555 28,885 223

2556 17,966 259

รวมผูใ้ ช้บริ การ PCT Buddy (บริ การแบบเติมเงิน)

ii)

บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต บริการอินเทอร์ เน็ตอืน่ ๆ และบริการเสริม บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต

กลุ่มทรู เป็ นผูน้ าการให้บริ การบรอดแบนด์หรื ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งของประเทศ และครองส่ วน แบ่งตลาดประมาณร้ อยละ 36.8 ของฐานลู ก ค้าตลาดอิ นเทอร์ เน็ ตความเร็ วสู งทัว่ ประเทศ ณ สิ้ นปี 2556 (แหล่งที่มา: ประมาณการโดยกลุ่มทรู ) กลุ่มทรู ให้บริ การบรอดแบนด์สาหรับลูกค้าทัว่ ไปผ่าน 3 เทคโนโลยี คือ เทคโนโลยี FTTx (ผ่าน ใยแก้วนาแสง) เทคโนโลยี DOCSIS (ผ่าน Cable Modem) และเทคโนโลยี DSL (Digital Subscriber Line) ทรู ออนไลน์ยงั คงเป็ นผูน้ าในตลาดบริ การบรอดแบนด์ ทั้งในด้านนวัตกรรม ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

และคุณภาพการให้บริ การ ซึ่ งเป็ นผลมาจากการขยายความครอบคลุมอย่างต่อเนื่ อง การนาเสนอเทคโนโลยี ใหม่ ๆ รวมถึงการให้บริ การด้วยความเร็ วที่เพิ่มขึ้น และการให้ความสาคัญกับการให้บริ การลูกค้า ในปี 2546 กลุ่ มทรู และผูใ้ ห้บริ การรายอื่ น ได้นาเสนอบริ การอิ นเทอร์ เน็ ตไร้ สายความเร็ วสู ง หรื อ WiFi ทั้งนี้ โครงข่าย WiFi ของกลุ่มทรู ที่สามารถให้บริ การครอบคลุ มได้อย่างกว้างขวาง เป็ นหนึ่ งในปั จจัย สาคัญที่สร้างความแตกต่างให้กบั สิ นค้าและบริ การของกลุ่มทรู รวมทั้งยังมีส่วนในการสร้างความเติบโตให้กบั บริ การบรอดแบนด์ โดยปั จจุ บนั กลุ่มทรู มีจุดเชื่ อมต่อสัญญาณ WiFi กว่า 100,000 จุด โดยให้บริ การ WiFi ความเร็ วสู งสุ ดถึง 200 Mbps ซึ่งเป็ นความเร็ วสู งสุ ดในประเทศไทย TUC เป็ นหนึ่ งในบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ซึ่ งได้รับใบอนุ ญาตประเภทที่ 3 จากคณะกรรมการ กทช. เพื่ อให้ บริ การโทรศัพท์ พ้ื นฐาน บริ ก ารบรอดแบนด์ และบริ ก ารโครงข่ า ยข้อ มู ล ทัว่ ประเทศ โดย TUC ให้บริ การวงจรสื่ อสารข้อมูล และบรอดแบนด์ รวมทั้ง โครงข่ายสื่ อสารข้อมูล ให้แก่บริ ษทั ย่อยอื่นในกลุ่มทรู รวมทรู อิ นเทอร์ เน็ต และทรู มัลติมีเดี ย เพื่อนาไปให้บริ การต่อแก่ ลูกค้าอิ นเทอร์ เน็ ตความเร็ วสู งรายย่อย บริ การข้อมูล และบริ การที่ไม่ใช่เสี ยง แก่ลูกค้าทัว่ ไปและลูกค้าธุ รกิจ ตามลาดับ ด้วยโครงข่ายที่ทนั สมัย ทาให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การบรอดแบนด์ที่มีความเร็ วสู ง และการเชื่ อมต่อที่มี เสถียรภาพมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถ ดาเนิ นงานและให้การบารุ งรักษาได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยไม่เพียงแต่ สามารถให้บริ การ ADSL เท่านั้น แต่ยงั สามารถให้บริ การ ADSL2+ VDSL2 G.SHDSL Gigabit Ethernet DOCSIS และใยแก้วนาแสง รวมทั้งมีความพร้อมที่จะพัฒนาไปเป็ นโครงข่าย NGN ซึ่ งเป็ นเทคโนโลยีระบบ IP นอกจากนี้ กลุ่ ม ทรู ยงั ให้บ ริ ก ารด้านคอนเทนต์ที่เปี่ ยมด้วยคุ ณภาพซึ่ งมี ความหลากหลายและเหมาะกับ ทุกไลฟ์ สไตล์ ไม่วา่ จะเป็ น คอนเทนต์สาหรับผูท้ ี่ชื่นชอบการฟั งเพลง เล่นเกมออนไลน์ ดูกีฬา หรื อรักการอ่าน หนังสื อออนไลน์ในรู ปแบบของ e-Book รวมทั้งบริ การเสริ มต่าง ๆ เช่น บริ การ WhiteNet (เพื่อกลัน่ กรอง และสกัดจับภาพและสื่ อบนอินเทอร์ เน็ตที่ไม่เหมาะสมสาหรับเยาวชน) ในเดือนสิ งหาคม 2553 ทรู ออนไลน์เป็ นผูใ้ ห้บริ การรายแรกของประเทศที่ปรับความเร็ วมาตรฐาน ของบริ การบรอดแบนด์จาก 4 Mbps เป็ น 6 Mbps (ด้วยอัตราค่าบริ การ 599 บาทต่อเดือน) สู่ ตลาดในวงกว้าง ทาให้มีผูใ้ ช้บริ การเพิ่มขึ้ นอย่างต่อเนื่ องในปี 2553 โดยสามารถเพิ่มจานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ ได้ มากกว่าเท่าตัวเมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า ทั้งนี้ ทรู ออนไลน์ได้ปรับเพิ่มความเร็ วมาตรฐานของบริ การบรอดแบนด์ ขึ้นอีก เป็ น 7 Mbps ในเดือนมิถุนายน 2554 และเป็ น 10 Mbps ในเดือนตุลาคม 2555 ในเดื อนธันวาคม 2553 ทรู ออนไลน์ ไ ด้เปิ ดให้บ ริ ก ารบรอดแบนด์อย่า งไม่ เป็ นทางการโดยใช้ เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ด้วยความเร็ วตั้งแต่ 10 - 100 Mbps ในราคาเริ่ มต้น 699 บาทต่อเดือน และเปิ ดให้บริ การ อย่างเป็ นทางการพร้อม ๆ กับการเปิ ดบริ การ WiFi ด้วยความเร็ วมาตรฐานใหม่ 8 Mbps ในเดือนมีนาคม 2554 ซึ่ งเทคโนโลยี DOCSIS ไม่เพียงมีขีดความสามารถที่จะขยายความเร็ วได้สูงกว่า 1 Gbps แต่ยงั สามารถรองรับ

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การให้บริ การแบบทริ ปเปิ้ ลเพลย์ ซึ่ งเป็ นการให้บริ การบรอดแบนด์ บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ ก และบริ การเสี ยงผ่านอุปกรณ์เชื่อมต่อหรื อ Router บนโครงข่ายเดียวกันได้อีกด้วย นอกจากนี้ ทรู ออนไลน์ยงั ทาการตลาดสู่ กลุ่มเป้ าหมายระดับบน โดยในปี 2552 ได้เปิ ดตัวบริ การ ULTRA broadband โดยให้การเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งถึง 50 Mbps ผ่านเทคโนโลยี VDSL และ ในเดือนกันยายน 2554 ได้เปิ ดตัวบริ การ ULTRA hi-speed Internet ผ่านเทคโนโลยี FTTH (Fiber to the home) หรื อใยแก้วนาแสง ด้วยความเร็ วดาวน์โหลดตั้งแต่ 50 Mbps ถึง 100 Mbps อีกทั้ง ทรู ออนไลน์ยงั ได้ ขยายการนาเสนอแพ็กเกจสาหรับลูกค้าระดับบน ด้วยการให้บริ การ ULTRA hi-speed Internet 200 Mbps ผ่านเทคโนโลยี FTTH และ DOCSIS 3.0 โดยบริ การดังกล่าวเป็ นบริ การระดับพรี เมียม สามารถเชื่ อมต่อ อินเทอร์ เน็ตด้วยความเร็ วที่มีเสถียรภาพ ทาให้สามารถอัพโหลดและดาวน์โหลดคอนเทนต์ประเภท High Definition ได้เป็ นอย่างดี รวมทั้งยังรองรั บการรั บชมภาพและเสี ยงผ่านอิ นเทอร์ เน็ ต หรื อ Audio-visual streaming ได้อีกด้วย แพ็กเกจบริ การบรอดแบนด์ของทรู ออนไลน์เริ่ มต้นด้วยความเร็ วดาวน์โหลดตั้งแต่ 10 Mbps ถึง 200 Mbps ซึ่ งถื อเป็ นความเร็ วสู งสุ ดในการให้บริ การบรอดแบนด์สาหรับลู กค้าทัว่ ไปในประเทศไทย เป็ นบริ การที่ ครอบคลุมกว้างขวางที่สุดในประเทศซึ่ งสามารถตอบสนองความต้องการใช้งานที่หลากหลายของลูกค้าทุกกลุ่ม ทรู ออนไลน์ยงั คงไม่หยุดนิ่งในการสรรหาบริ การใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มความคุม้ ค่าสู งสุ ดให้กบั ลูกค้า โดย ในเดื อนพฤษภาคม 2556 ทรู ออนไลน์เปิ ดตัว แพ็ก เกจคอนเวอร์ เจนซ์ “สุ ขX2” เพิ่ มความคุ ้มค่ าด้วยการ ให้บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง เริ่ มต้นที่ 12 Mbps พร้อมทั้งรับชม 78 ช่องบันเทิงจากทรู วิชนั่ ส์ และ 3 ช่องรายการ ในระบบ HD ผ่านโครงข่ายเคเบิล DOCSIS 3.0 เดียวกัน ด้วยราคาเพียง 699 บาทต่อเดือน ผลตอบรับที่ดีมากต่อ แพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์น้ ี ส่ งผลให้กลุ่มทรู เปิ ดตัวแคมเปญ “สุ ขX3” ซึ่ งเป็ นการผสมผสานบริ การของทั้งสามธุ รกิจหลัก ของกลุ่มทรู ในเดือนพฤศจิกายน 2556 (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ “การนาเสนอแพ็กเกจร่ วมกันของ ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มทรู ”) พัฒนาการที่สาคัญเหล่านี้ช่วยตอกย้าความเป็ นผูน้ าของกลุ่มทรู ในฐานะผูป้ ระกอบการไทยรายเดียว ที่ให้บริ การคอนเวอร์ เจนซ์ไลฟ์ สไตล์ครอบคลุมทุกรู ปแบบการสื่ อสาร และตอบสนองความต้องการของ ลู ก ค้า ทุ ก กลุ่ ม ได้อ ย่า งแท้จ ริ ง รวมทั้ง ยัง คงเป็ นผูน้ าทั้ง ในการให้ บ ริ ก ารบรอดแบนด์ ด้ว ยความเร็ ว สู ง ด้วยคุณภาพและนาหน้าด้วยนวัตกรรม ความส าเร็ จจากการขยายบริ ก ารบรอดแบนด์ไ ปสู่ พ้ื นที่ ใ หม่ ๆ ในต่ า งจัง หวัด โดยเฉพาะผ่า น เทคโนโลยี DOCSIS และผลตอบรับที่ดีต่อการจัดกิ จกรรมทางการตลาดเฉพาะพื้นที่ ช่วยตอกย้ าความเป็ น ผูน้ าบริ การบรอดแบนด์ของทรู ออนไลน์ อีกทั้งยังส่ งผลให้ จานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์รายใหม่สุทธิ ในปี 2556 มีจานวนที่สูงถึ งกว่า 240,000 ราย โดยทรู ออนไลน์มีผใู ้ ช้บริ การบรอดแบนด์เพิ่มขึ้นเป็ นจานวน

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ทั้ง สิ้ น 1,809,600 ราย นอกจากนี้ กลุ่ ม ทรู ยัง ได้ข ยายโครงข่ า ยบรอดแบนด์เ พิ่ ม เติ ม อย่า งต่ อเนื่ อง โดย ครอบคลุมพื้นที่ให้บริ การแล้วถึง 4.3 ล้านครัวเรื อน ใน 61 จังหวัด ทัว่ ประเทศ ณ สิ้ นปี 2556 ตารางแสดงจานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ และรายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การ ณ วันที่ 31 ธ.ค. บริการบรอดแบนด์ 2552 2553 2554 จานวนผูใ้ ช้บริ การ 1,025,517 1,175,391 1,334,936 รายได้เฉลี่ยต่อ 728 701 707 ผูใ้ ช้บริ การ (บาทต่อเดือน)

2555 1,569,556 699

2556 1,809,600 712

หมายเหตุ: ในปี 2554 ได้มี การรวมผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ส าหรั บลู กค้าธุ รกิ จและลู กค้าบริ การโครงข่ ายข้อมู ลเข้ามาอยู่ภายใต้ ผูใ้ ช้บริ การ บรอดแบนด์ ดังนั้น จานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ต้ งั แต่ปี 2551 เป็ นต้นมา จึงมีการปรับปรุ งเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว

สาหรับลูกค้าธุ รกิจ กลุ่มทรู ให้บริ การโครงข่ายข้อมูลในลักษณะโซลูชนั่ ทั้งบริ การด้านเสี ยงและข้อมูล ไปด้วยกัน รวมทั้งให้บริ การด้านการบริ หารโครงข่ายข้อมูลผ่านเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่หลากหลาย ซึ่ งประกอบด้วย บริ การโครงข่ายข้อมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรื อบริ การวงจรเช่า (Leased Line) บริ การโครงข่าย ข้อมูลผ่านเครื อข่าย IP ได้แก่ บริ การ MPLS (Multiprotocol Label Switching) บริ การ Metro Ethernet ซึ่ งเป็ น บริ การโครงข่ายข้อมูลที่ใช้เทคโนโลยี Fiber-to-the-building และถูกออกแบบมาเฉพาะลูกค้าธุ รกิจ รวมทั้งบริ การ วงจรเช่ าผ่านเครื อข่าย IP (IP-based leased line) ที่ผสมผสานระหว่างบริ การข้อมูลผ่านเครื อข่าย IP และบริ การ วงจรเช่ า ซึ่ งมี คุณภาพดี กว่าบริ การเครื อข่าย IP แบบมาตรฐาน นอกจากนั้น ยังเน้นการให้บริ การการบริ หาร จัดการเครื อข่ายข้อมูล (Managed Network Service) ซึ่ งเป็ นบริ การที่ผสมผสานบริ การเกี่ ยวกับการปฏิ บตั ิการ เครื อข่ าย 3 บริ การเข้าด้วยกัน ตั้งแต่ การจัดการประสิ ทธิ ภาพของเครื อข่ าย การบริ หารข้อผิ ดพลาด และ การก าหนดค่ าต่ าง ๆ ของเครื อข่ าย ยิ่งไปกว่านั้น สาธารณู ปโภคด้านโครงข่ ายของกลุ่ มทรู ย งั สร้ างขึ้ นด้วย เทคโนโลยี IP ที่ทนั สมัย พร้อมสนับสนุนการทางานบนเทคโนโลยีคลาวด์ คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) กลุ่ ม ทรู มีเป้ าหมายหลัก ที่ จะให้บ ริ การลู ก ค้าที่ เป็ นองค์ก รธุ รกิ จขนาดใหญ่ รวมทั้ง จะขยายการ ให้บริ การสู่ กลุ่มธุ รกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรื อ เอสเอ็มอี อย่างจริ งจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในต่างจังหวัด เนื่องจากยังมีส่วนแบ่งตลาดในพื้นที่ดงั กล่าวค่อนข้างต่า อีกทั้งตลาดต่างจังหวัดยังมีโอกาสเติบโตได้อีกมาก โดยวางแผนที่จะใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์และบริ การของกลุ่มที่มีความหลากหลาย เพื่อขยายส่ วนแบ่งตลาด ในต่างจังหวัดโดยผ่านยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ และการนาเสนอผลิตภัณฑ์ภายในกลุ่มไปด้วยกัน กลุ่ ม ทรู คื อ หนึ่ ง ในผูใ้ ห้ บ ริ ก ารโครงข่ า ยข้อ มู ล รายใหญ่ ข องประเทศ ซึ่ งมี ค วามได้เ ปรี ย บใน การแข่งขัน เนื่ องจากมีโครงข่ายที่ทนั สมัยที่สุด โดยมีกลยุทธ์ในการเน้นสร้างความแตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การ รายอื่น ด้วยการนาเสนอบริ การตามความต้องการเฉพาะของลูกค้า ผสมผสานผลิตภัณฑ์และบริ การภายใน

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กลุ่มไปด้วยกัน อาทิ บริ การด้านคอนเทนต์ VoIP และอิ นเทอร์ เน็ต หรื อการนาเสนอบริ การร่ วมกับคู่คา้ ทางธุ รกิจต่าง ๆ อาทิ ร่ วมมือกับบริ ษทั ซิ สโก้ (Cisco) เพื่อให้บริ การวางระบบเครื อข่าย IP คุณภาพสู ง ทาให้ ไม่จาเป็ นต้องแข่งขันด้านราคาเพียงอย่างเดียว ในปี 2554 กลุ่มทรู เปิ ดให้บริ การ “ทรู อีเธอร์ เน็ต ไฟเบอร์ ” (True Ethernet Fiber) ซึ่ งเป็ นบริ การ วงจรสื่ อสารความเร็ วสู ง บนโครงข่ า ย IP โดยสามารถรั บ -ส่ ง ข้อมู ล ขนาดใหญ่ ไ ด้หลากหลายประเภท ผ่านโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนาแสงที่มีความเร็ ว ความเสถียร และความปลอดภัยของข้อมูลสู ง อีกทั้งสามารถ เลือกความเร็ วได้ต้ งั แต่ 2 Mbps - 10 Gbps ซึ่ งให้บริ การด้วยมาตรฐานระดับโลกจาก Metro Ethernet Forum (MEF) รายแรกในประเทศไทย ต่ อมาในปี 2555 กลุ่ มทรู ได้เปิ ดตัวโซลู ชั่นวงจรสื่ อสารข้อมู ลความเร็ วสู งรู ปแบบใหม่ (โดยใช้ เทคโนโลยี MPLS) เพื่อสนองความต้องการใช้งานของลูกค้ากลุ่มเอสเอ็มอี โดยเริ่ มที่กลุ่มร้ านเกมออนไลน์ ทัว่ ประเทศ ซึ่ งโซลู ชั่นนี้ มี ความเสถี ยรสู ง สามารถให้ความเร็ วในการอัพโหลดและดาวน์โหลดที่ เท่ ากัน รวมถึงมีระบบสารองแบบอัตโนมัติ ซึ่ งล้วนเป็ นปั จจัยสาคัญในการแข่งขันการให้บริ การของธุ รกิจเกมออนไลน์ กลุ่มธุ รกิจโครงข่ายข้อมูลธุ รกิจ ยังคงให้ความสาคัญกับกลุ่มลูกค้าในตลาดเคเบิลใยแก้วนาแสง ซึ่ ง ยังมีโอกาสในการเติบโตได้อีกมาก โดยได้วางระบบเคเบิ ลใยแก้วนาแสง โดยใช้เทคโนโลยี Gigabit-capable Passive Optical Network (GPON) ซึ่ งได้เข้าถึงลูกค้าองค์กรที่มีสานักงานตั้งอยูใ่ นอาคารและบนถนนสายสาคัญ ๆ ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล รวมถึงนิคมอุตสาหกรรมในต่างจังหวัด และพื้นที่ท่องเที่ยวหลัก ๆ นอกจากนี้ ในปี 2556 ทรู อินเทอร์ เน็ต ได้ทาการอัพเกรดอินเทอร์ เน็ตแบ็คโบนเป็ น 100 กิ กะบิ ต ต่อวินาที เป็ นรายแรกในเอเชี ยด้วย Cisco Nexus 7000 มาตรฐานระดับโลกจากซิ สโก้ เพื่อเพิ่มศักยภาพ เครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ มี อ ยู่ ใ นปั จ จุ บ ัน ให้ ส ามารถรองรั บ การใช้ ง านของลู ก ค้า ที่ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น หลายเท่าตัวในอนาคต ให้สามารถใช้งานได้เต็มประสิ ทธิ ภาพและมีความเสถียรมากยิง่ ขึ้น ทั้งนี้ กลุ่มทรู ได้ให้บริ การโครงข่ายข้อมูลแก่ลูกค้ารวม 27,241 วงจร โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อวงจรที่ 8,775 บาทต่อเดือน ในปี 2556 ตารางแสดงจานวนวงจรที่ให้บริ การ และรายได้เฉลี่ยต่อวงจรในแต่ละช่วงเวลาดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552 2553 2554 2555 จานวนวงจรที่ให้บริ การ 19,940 21,566 22,533 25,552 รายได้เฉลี่ยต่อวงจร 8,696 9,035 9,266 8,593 (บาทต่อเดือน)

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

2556 27,241 8,775

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บริการอินเทอร์ เน็ตอืน่ ๆ และ บริการเสริม กลุ่มทรู ดาเนินธุ รกิจการให้บริ การอินเทอร์ เน็ต (รวมทั้งคอนเทนต์และแอพพลิเคชัน่ ) โดยผ่าน บริ ษทั ย่อย คือ (1) ทรู อิ น เทอร์ เ น็ ต ซึ่ งกลุ่ ม ทรู ถื อ หุ ้ น ในสั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 100.0 เป็ นบริ ษ ัทหลัก ส าหรั บ การให้บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง หรื อบริ การบรอดแบนด์ และบริ การเสริ ม ซึ่ งในเดือนสิ งหาคม 2552 ทรู อินเทอร์เน็ต ได้รับการต่ออายุใบอนุ ญาต ในการให้บริ การอินเทอร์ เน็ตแบบที่ 1 จากคณะกรรมการ กทช. ไปอีกเป็ นเวลา 5 ปี และจะหมดอายุในวันที่ 17 เดือนสิ งหาคม 2557 ใบอนุญาตดังกล่าวนี้สามารถต่ออายุได้ทุก 5 ปี (2) KSC ซึ่ งกลุ่มทรู ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้ อยละ 56.8 ดาเนิ นธุ รกิ จการให้บริ การอินเเทอร์ เน็ต ส าหรั บลู กค้าองค์กร ซึ่ งในเดื อนมิ ถุ นายน 2552 KSC ได้รับ การต่ อ อายุ ใ บอนุ ญาต ในการให้บ ริ ก าร อินเทอร์เน็ตแบบที่ 1 จากคณะกรรมการ กทช. ไปอีกเป็ นเวลา 5 ปี และจะหมดอายุในวันที่ 22 เดือนมิถุนายน 2557 ใบอนุญาตดังกล่าวนี้สามารถต่ออายุได้ทุก 5 ปี (3) เอเซีย อินโฟเน็ท ซึ่ งกลุ่มทรู ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้อยละ 65.0 ได้รับอนุญาตจาก CAT Telecom (ก่อนหน้าคือการสื่ อสารแห่ งประเทศไทย) ให้ดาเนิ นธุ รกิ จการให้บริ การอินเทอร์ เน็ตเชิ งพาณิ ชย์ (ISP) แก่ ผูใ้ ช้บริ การทัว่ ประเทศ จนกระทัง่ ถึงปี 2549 ด้วยอุปกรณ์ที่ได้ทาสัญญาเช่าระยะยาวจาก CAT Telecom หรื อ หน่ วยงานที่ได้รับอนุ ญาตจาก CAT Telecom ทั้งนี้ ในเดื อนกุมภาพันธ์ 2553 เอเซี ย อินโฟเน็ท ได้รับการ ต่ออายุใบอนุ ญาตในการให้บริ การอินเทอร์ เน็ตแบบที่ 1 จากคณะกรรมการ กทช. ไปอีก โดยจะหมดอายุใน วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558 ใบอนุญาตดังกล่าวนี้สามารถต่ออายุทุก 5 ปี ในภาพรวมของธุ รกิ จอินเทอร์ เน็ ต กลุ่ มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การอิ นเทอร์ เน็ ตอันดับหนึ่ งของประเทศ โดย ให้บริ การทั้งในกลุ่มลูกค้าทัว่ ไป และลูกค้าธุ รกิ จ เนื่ องจากสามารถให้บริ การพร้ อมบริ การเสริ มต่าง ๆ อย่างครบวงจร อาทิ บริ ก ารเก็ บ รั ก ษาข้อ มู ล และบริ ก ารป้ องกัน ความปลอดภัย ข้อ มู ล ส าหรั บ ลู ก ค้า ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ นอกจากนี้ หลังจาก TIG ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ได้รับใบอนุ ญาตจากคณะกรรมการ กทช. ในปี 2549 ให้เปิ ดบริ การโครงข่ายอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) บริ การอินเทอร์ เน็ต และบรอดแบนด์ของกลุ่มทรู ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ ว สามารถให้บริ การที่มีคุณภาพสู งขึ้นแก่ลูกค้า รวมทั้ง ช่วยประหยัดต้นทุนในการให้บริ การ iii)

บริการอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ

TIG ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการบริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ ระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) และบริ การชุมสายอินเทอร์ เน็ต (Domestic Internet

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

Exchange Service) ประเภทที่ 2 แบบมีโครงข่าย เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 และใบอนุญาตโทรคมนาคม ประเภทที่ 3 สาหรับการให้บริ การขายต่อวงจรเช่าส่ วนบุคคลระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2552 ด้วยใบอนุ ญาตดังกล่าว ทาให้ TIG สามารถให้บริ การโครงข่ายอินเทอร์ เน็ ต และข้อมูลระหว่าง ประเทศได้ ในส่ วนของบริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ TIG ซึ่ งมีชุมสายในกรุ งเทพฯ สิ งคโปร์ ฮ่ อ งกง สหราชอาณาจัก ร เนเธอร์ แ ลนด์ และสหรั ฐ อเมริ ก า ท าให้ ก ารเชื่ อ มต่ อ ไปยัง ประเทศเหล่ า นี้ มีประสิ ทธิ ภาพดีข้ ึน และทาให้สามารถให้บริ การลูกค้าได้อย่างมีคุณภาพ ตั้ง แต่ เปิ ดให้บ ริ ก าร TIG มี ก ารขยายแบนด์วิธ อย่า งต่ อเนื่ อง เพื่ อรองรั บ ความต้องการใช้ง าน อินเทอร์ เน็ต และบริ การด้านข้อมูลต่างประเทศ ที่เติบโตขึ้นทุกปี โดย ณ สิ้ นปี 2556 TIG มีปริ มาณแบนด์วิธ ของแบ็คโบนอยูป่ ระมาณ 70 GB ซึ่ งบริ ษทั มีแผนที่จะขยายเพิม่ เป็ น 180 GB ภายในสิ้ นปี 2557 ทั้งนี้ ปริ มาณ แบนด์วิธ ที่ TIG ให้บ ริ การ ส่ วนใหญ่ เป็ นการให้บ ริ ก ารแก่ บ ริ ษทั ในกลุ่ ม ทรู โดยส่ วนที่ เหลื อสาหรั บ กลุ่ ม ลู ก ค้า ภายนอก ซึ่ ง ครอบคลุ ม ผูใ้ ห้บ ริ ก ารอิ นเทอร์ เน็ ตในประเทศ บริ ษ ทั ข้ามชาติ และผูใ้ ห้บริ ก าร ด้านโทรคมนาคมในต่างประเทศ ในส่ วนของบริ การโครงข่ายข้อมูลระหว่างประเทศ มี 3 รู ปแบบบริ การ คือ บริ การวงจรเช่าส่ วนบุคคล ระหว่างประเทศ (International Private Leased Circuit - IPLC) บริ การวงจรเช่าเสมือนส่ วนบุคคลระหว่าง ประเทศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IP VPN) และ บริ การ Virtual Node ปั จจุบนั มุ่งเน้น กลุ่มลูกค้าซึ่ งเป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Carrier) ซึ่ งมีที่ต้ งั สาขาอยู่ใน ภูมิภาคเอเชียแปซิ ฟิค ซึ่ งมีความต้องการแบนด์วิธปริ มาณมากและคุณภาพการให้บริ การสู ง นอกจากนี้ TIG คานึงถึงความต้องการแบนด์วธิ ของลูกค้ากลุ่มองค์กรที่หลากหลาย ทั้งขนาดแบนด์วธิ และประเทศปลายทาง TIG จึงมีพนั ธมิตรผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมระดับโลก เพื่อเป็ นการขยายพื้นที่การให้บริ การต่างประเทศ เพิ่มมากขึ้น จากประเทศสิ งคโปร์ และฮ่องกง ที่ TIG มีชุมสายตั้งอยูเ่ องอีกด้วย TIG ได้ลงนามสัญญาให้บริ การ Virtual Node ให้แก่ผใู ้ ห้บริ การโทรคมนาคมระหว่างประเทศชั้นนา ในสหรั ฐอเมริ กา เยอรมัน ไต้หวัน ญี่ ปุ่น อินเดี ย สิ งคโปร์ สหราชอาณาจักร และจี น นอกจากนี้ ยังขยาย บริ การอินเทอร์ เน็ตและดาต้าเกตเวย์ไปยังประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของ เป้ าหมายใหม่ในการพัฒนาธุ รกิ จสู่ ประเทศเพื่อนบ้าน โดยพัฒนาการต่าง ๆ เหล่านี้ ช่วยเสริ มสร้ างรายได้ และสนับสนุนการเติบโตอย่างต่อเนื่องให้กบั กลุ่มทรู อีกด้วย (2)

กลุ่มทรู โมบาย

กลุ่มทรู โมบาย ให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 2G ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ และระบบ 3G และ 4G LTE ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช โดยกลุ่มทรู ถือหุ ้นร้อยละ 100.0 ในเรี ยลฟิ วเจอร์ ซึ่ งเป็ น holding company และบริ ษทั ที่ได้รับใบอนุ ญาตประกอบกิ จการโทรคมนาคมแบบที่ 3 และถือหุ ้นทางอ้อมในทรู มูฟ (ชื่ อเดิม ทีเอ ออเร้นจ์) ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

และ เรี ยลมูฟ (ผูข้ ายต่อบริ การ 3G+ ของ CAT Telecom ภายใต้แบรนด์ทรู มูฟ เอช ซึ่ งเป็ นแบรนด์สาคัญในการ ทาตลาด 3G+ ของกลุ่มทรู ) ผ่าน BITCO ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู โดยกลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถื อหุ ้นใน BITCO เป็ นร้อยละ 99.5 ณ สิ้ นปี 2556 ทรู มูฟให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ภายใต้สัญญาให้ดาเนินการฯ ระหว่าง CAT Telecom กับทรู มูฟ ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2539 ในการให้บริ การและจัดหาบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอล 1800 จนถึงเดือน กันยายน 2556 ภายใต้สัญญาดังกล่าว ทรู มูฟจะต้องจ่ายส่ วนแบ่งรายได้แก่ CAT Telecom ในอัตราร้อยละ 25 จากรายได้ (หลังหักค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิ มและค่าใช้จ่ายอื่ นที่ อนุ ญาตให้หัก เช่ น คอนเทนต์) ทั้งนี้ จนถึงเดือนกันยายน 2554 และจะเพิ่มขึ้นเป็ นร้อยละ 30 จนสิ้ นสุ ดระยะเวลาของสัญญา ปั จจุบนั สัญญาดังกล่าว ได้สิ้นสุ ดแล้ว และทรู มูฟให้บ ริ การภายใต้ม าตรการคุ ม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชั่วคราวในกรณี สิ้นสุ ด การอนุญาตสัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ของคณะกรรมการ กสทช. ในเดื อนมกราคม 2554 กลุ่ มทรู ได้เข้าซื้ อหุ ้น 4 บริ ษทั ของกลุ่ มฮัทชิ สั น ในประเทศไทยเป็ นที่ เรี ยบร้ อย การเข้าซื้ อหุ ้นดังกล่าวเอื้อประโยชน์ในการขยายฐานธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลุ่มทรู เนื่ องจากบริ ษทั ฮัทชิ สันใน ประเทศไทย มีลูกค้าโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยรวมประมาณ 800,000 ราย ถัดมาในเดือนเมษายน 2554 กลุ่มทรู โดยเรี ยลมูฟ ได้ลงนามในสัญญาเพื่อขายต่อบริ การของ CAT Telecom โดยสัญญาดังกล่าวมีระยะเวลาไปจนถึงปี 2568 เป็ นผลให้ กลุ่มทรู เปิ ดตัวแบรนด์ ทรู มูฟ เอช เพื่อขายต่อบริ การ 3G+ ของ CAT Telecom เชิ งพาณิ ชย์ได้ทวั่ ประเทศ ผ่านเทคโนโลยี HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ทั้งนี้ ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการ ในกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล และอีก 16 จังหวัดทัว่ ไทย เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2554 โดยให้บริ การด้วยความเร็ วสู งสุ ด 42 Mbps ภายใต้แนวคิด มอบชีวิตอิสระ หรื อ FREEYOU รวมทั้งให้บริ การ WiFi ความเร็ ว 8 Mbps ทาให้กลุ่มทรู มีความได้เปรี ยบในเชิ งการแข่งขันจากการเป็ น ผูใ้ ห้บริ การ 3G เชิงพาณิ ชย์ทวั่ ประเทศรายแรกของประเทศไทย ในปี 2554 กลุ่ มทรู ได้ท าการจัดโครงสร้ างธุ รกิ จใหม่ ของธุ รกิ จโทรศัพท์เคลื่ อนที่ โดยรวมธุ รกิ จ โทรศัพท์เคลื่ อนที่ท้ งั หมดของกลุ่มทรู เข้าด้วยกัน ภายใต้กลุ่มทรู โมบาย ซึ่ งดาเนิ นกิจการโดยเรี ยลฟิ วเจอร์ ใน ฐานะบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู เพื่อให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพในการดาเนิ นธุ รกิ จและโอกาสในการจัดหาเงิ นทุนเพื่อ สนับสนุนธุ รกิจในอนาคต เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้เข้าร่ วมการประมูลใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz และได้รับใบอนุญาต ให้ใช้คลื่นความถี่ ดงั กล่าวในเดือนธันวาคม ปี 2555 ทาให้กลุ่มทรู โมบายสามารถให้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ ได้อย่างน้อยถึงปี 2570 โดยในเดือนพฤษภาคม ปี 2556 ทรู มูฟ เอช เปิ ดให้บริ การ 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz เป็ นรายแรกในประเทศไทย ครอบคลุ มย่านเศรษฐกิ จสาคัญ ๆ ในกรุ งเทพฯ เช่น สยามสแควร์ สี ลม และสาทร เพิ่มเติมจากการขยายโครงข่าย 3G อย่างต่อเนื่ อง โดยการผสมผสานที่ลงตัวและการใช้ประโยชน์ อย่างสู งสุ ดของทั้งคลื่น 2.1 GHz และคลื่น 850 MHz ของ CAT Telecom เพิ่มความแข็งแกร่ งให้กบั กลุ่มทรู โมบาย อีกทั้งยังช่วยตอกย้าความเป็ นผูน้ าในการให้บริ การ 3G และ 4G LTE ที่ดีที่สุด และมีความพร้อมที่สุดของทรู มูฟ เอช

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ผู้ใช้ บริการ ฐานลูกค้าของทรู มูฟเอช ยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง โดยเฉพาะหลังการเปิ ดให้บริ การทรู มูฟ เอช อย่างเป็ นทางการ ในไตรมาส 3 ปี 2554 โดยเพิ่มขึ้นเป็ น 12.2 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2556 ส่ งผลให้ กลุ่มทรู โมบายมี จานวนผูใ้ ช้บริ การทั้งสิ้ นประมาณ 22.9 ล้านราย โดยมีผใู้ ช้บริ การแบบเติมเงิน 19.7 ล้านราย และผูใ้ ช้บริ การ แบบรายเดือน 3.2 ล้านราย ซึ่ งคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 25.0 ของจานวนผูใ้ ช้บริ การในตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยรวมของประเทศ (ไม่รวม CAT Telecom ทีโอที และผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของทีโอที) อีกทั้ง ความสาเร็ จ ในการขยายการให้บริ การ 3G อย่างต่อเนื่อง ทาให้กลุ่มทรู โมบาย สามารถเพิ่มสัดส่ วนของลูกค้าที่มีการใช้งานสู งได้ อย่างต่อเนื่อง ส่ งผลให้รายได้เฉลี่ยต่อเลขหมายเพิม่ สู งขึ้นจาก 113 บาท ต่อเดือน ในปี 2554 เป็ น 123 บาท ต่อเดือน ในปี 2555 และเพิ่มขึ้นเป็ น 124 บาท ต่อเดือน ในปี 2556 ตารางแสดงจานวนผู้ใช้ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ของกลุ่มทรู โมบาย และรายได้ เฉลี่ยต่ อผู้ใช้ บริ การ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ กลุ่มทรู โมบาย จานวนผูใ้ ช้บริ การ - บริ การแบบเติมเงิน - บริ การแบบรายเดือน รวม รายได้รวมเฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การ - รายได้เฉลี่ย ผูใ้ ช้บริ การแบบเติมเงิน - รายได้เฉลี่ย ผูใ้ ช้บริ การแบบรายเดือน

2552 14,575,094 1,226,070 15,801,164 115 90 428

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2553 2554 15,804,698 1,313,166 17,117,864 105 79 424

17,126,512 1,813,751 18,940,263 113 73 508

2555

2556

18,413,588 2,558,732 20,972,320 123 72 539

19,714,534 3,161,617 22,876,151 124 59 577

บริการ บริการแบบเติมเงิน (Pre Pay) รายได้ข องกลุ่ ม ทรู โมบายส่ ว นหนึ่ ง มาจากค่ า ใช้บ ริ ก ารแบบเติ ม เงิ น ซึ่ ง ผูใ้ ช้บ ริ ก ารไม่ ต้องเสี ย ค่าบริ การรายเดือน โดยผูใ้ ช้บริ การซื้ อซิ มการ์ ดพร้อมค่าโทรเริ่ มต้น และเมื่อค่าโทรเริ่ มต้นหมดก็สามารถเติมเงิ น ได้ใ นหลากหลายวิ ธี ด้วยกัน เช่ น บัตรเงิ นสด บัตรเติ ม เงิ น เครื่ องเอที เอ็ ม การโอนเงิ นจากผูใ้ ช้ บ ริ ก าร โทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลุ่มทรู โมบายรายอื่น และการเติมเงินอัตโนมัติแบบ “over-the-air” นอกจากนี้ ผูใ้ ช้บ ริ ก ารแบบเติ ม เงิ น ของทรู มู ฟ และทรู มู ฟ เอชสามารถเติ ม เงิ น ผ่า นตู ้โ ทรศัพ ท์ สาธารณะประมาณ 30,000 เครื่ อง ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล โดยสามารถเติมเงินขั้นต่าเพียง 10 บาท ยิง่ ไปกว่านั้น ผูใ้ ช้บริ การของกลุ่มทรู โมบายยังสามารถชาระค่าใช้บริ การด้วยบริ การการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยทรู มนั นี่ เพื่อตอบสนองไลฟ์ สไตล์คนรุ่ นใหม่

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บริการแบบรายเดือน (Post Pay) บริ การ Post Pay ของกลุ่มทรู โมบาย คือบริ การแบบรายเดื อน ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การสามารถเลื อกอัตรา ค่าบริ การรายเดือนสาหรับบริ การเสี ยงเพียงอย่างเดียว หรื อบริ การด้านข้อมูลเพียงอย่างเดียว หรื อบริ การด้านเสี ยง และบริ การด้านข้อมูลได้ตามความต้องการ นอกจากนี้ ยังมี แพ็กเกจ Top-up ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การสามารถสมัคร บริ การด้านเสี ยงหรื อบริ การที่ไม่ใช่เสี ยง (ในอัตราค่าบริ การที่คุม้ ค่ากว่า) เพิ่มเติมจากแพ็กเกจรายเดือนที่ใช้อยู่ ทั้งนี้ ผูใ้ ช้บริ การแบบรายเดือนของกลุ่มทรู โมบายจะได้รับใบแจ้งค่าบริ การเป็ นรายเดือน ซึ่ งจะประกอบด้วย ค่าบริ การรายเดือนและค่าใช้บริ การสาหรับบริ การเสี ยง และบริ การไม่ใช่เสี ยงต่าง ๆ บริการเสี ยง (Voice Services) ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ ของกลุ่ มทรู โมบาย นอกจากจะสามารถโทรศัพท์ภายในพื้นที่ เดี ยวกัน โทรไปยังต่างจังหวัดและโทรทางไกลต่างประเทศแล้ว ยังสามารถใช้บริ การเสริ มต่าง ๆ ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั แพ็กเกจ ที่เลือกใช้ บริ การเสริ มเหล่านี้ประกอบด้วย บริ การรับสายเรี ยกซ้อน บริ การโอนสายเรี ยกเข้า บริ การสนทนา สามสาย และบริ การแสดงหมายเลขโทรเข้า นอกจากนี้ยงั มีบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ เพื่อให้ ผูใ้ ช้บริ การสามารถโทรออกและรับสายเมื่อเดินทางไปต่างประเทศอีกด้วย บริการทีไ่ ม่ ใช่ เสี ยง (Non-voice) กลุ่มทรู โมบายให้บริ การที่ ไม่ใช่ เสี ยง ที่หลากหลายเพื่อเติมเต็มและสอดคล้องกับไลฟ์ สไตล์ของ ลูกค้า โดยลูกค้าสามารถใช้บริ การคอนเทนต์ผา่ นช่องทางต่าง ๆ ได้หลายทาง ทั้งบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ ที่พอร์ทลั www.truelife.com บริ การที่ไม่ใช่เสี ยงประกอบด้วย คอนเทนต์ต่าง ๆ ที่ได้รับความนิ ยมจากผูใ้ ช้บริ การ อาทิ การสื่ อสารด้วยภาพหรื อรู ปถ่าย บริ การข้อมูลทางการเงิน เกม การ์ ตูน สกรี นเซฟเวอร์ และริ งโทน รวมถึ ง คอนเทนต์ประเภทเพลงและกีฬา ลูกค้าที่ใช้บริ การที่ไม่ใช่เสี ยง มีปริ มาณที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิง่ การดาวน์โหลดและอัพโหลดภาพถ่าย และวิดีโอ รวมถึงการใช้บริ การโซเชี ยลเน็ตเวิร์กโดยผ่านบริ การโมบาย อินเทอร์เน็ต บริการทีไ่ ม่ ใช่ เสี ยงแบ่ งออกเป็ น 3 ประเภทดังนี:้ บริ การส่ งข้อความ ซึ่ งประกอบด้วย Short Messaging Service (SMS): บริ การส่ งข้อความ ไปยังผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น Voice SMS: บริ การส่ งข้อความเสี ยงไปยังผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ และโทรศัพท์พ้นื ฐานรายแรกของประเทศไทย และ Multimedia Messaging Service (MMS): บริ การส่ งภาพ ข้อความ และเสี ยง ไปยังผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายอื่น 

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บริ การเชื่ อมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่ อนที่ หรื อ โมบาย อินเทอร์ เน็ต ผ่านเทคโนโลยี 4G LTE 3G+/HSPA และ EDGE/GPRS รวมทั้งเทคโนโลยี WiFi ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การสามารถใช้งานผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อใช้บริ การอีเมล อินเทอร์ เน็ต VoIP ตลอดจนบริ การวิดีโอและเสี ยง รวมทั้งบริ การ เสริ มอื่น ๆ ซึ่ งประกอบด้วย Mobile Chat บริ การรับ-ส่ งข้อความในรู ปของ WAP based ทาให้ผใู้ ช้บริ การ สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตบนมือถือ หรื อสนทนาสดออนไลน์ บริ การสาหรับ BlackBerry และ iPhone 

บริ การด้านคอนเทนต์ ซึ่ งประกอบด้วย Ring-back Tone บริ การเสี ยงรอสาย ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การ สามารถเลือกเสี ยงหรื อเพลงได้ดว้ ยตัวเอง Voicemail และ Multimedia Content Services บริ การคอนเทนต์ มัลติมีเดีย ซึ่ งประกอบด้วย เพลง กีฬา ข่าว และข่าวการเงิน กลุ่มทรู โมบาย สามารถใช้ประโยชน์จากคอนเทนต์ ซึ่ งเป็ นลิขสิ ทธิ์ เฉพาะของ ทรู มิวสิ ค ทรู ไลฟ์ ทรู ออนไลน์ และทรู วชิ นั่ ส์ เพื่อสร้างความเติบโตให้กบั รายได้ 

ความนิ ย มในการใช้บ ริ ก ารเครื อข่ า ยสั ง คมออนไลน์ และการใช้ง านสมาร์ ท ดี ไ วซ์ ที่ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น รวมถึ งการออกโปรโมชัน่ ที่น่าดึ งดูดใจของกลุ่มทรู โมบาย ส่ งผลให้รายได้จากบริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ต เติบโตสู งถึงร้อยละ 68.6 จากช่ วงเวลาเดี ยวกันปี ก่อนหน้าเป็ น 11.0 พันล้านบาท ในปี 2556 ซึ่ งการเติบโต อย่างแข็งแกร่ งของการใช้งานโมบาย อินเทอร์ เน็ตนี้ ทาให้รายได้จากบริ การที่ไม่ใช่เสี ยงในปี 2556 เพิ่มขึ้น สู งถึงร้อยละ 49.0 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า โดยรายได้จากบริ การที่ไม่ใช่เสี ยงมีสัดส่ วนร้อยละ 38.2 ของรายได้จากบริ การโดยรวม (ไม่รวมรายได้ค่าเชื่ อมต่อโครงข่าย และค่าเช่าโครงข่าย) ของกลุ่มทรู โมบาย ทั้ง นี้ รายได้จากบริ ก ารโมบาย อิ น เทอร์ เ น็ ต มี สั ด ส่ ว นคิ ด เป็ นร้ อ ยละ 81.5 บริ ก ารรั บ -ส่ ง ข้อ ความ (SMS/MMS) มีสัดส่ วนคิดเป็ นร้อยละ 5.7 และบริ การด้านคอนเทนต์ มีสัดส่ วนคิดเป็ นร้ อยละ 12.8 ของ รายได้จากบริ การที่ไม่ใช่เสี ยงโดยรวม การจาหน่ ายเครื่องโทรศัพท์ เคลือ่ นทีแ่ ละอุปกรณ์ กลุ่มทรู โมบายจัดจาหน่ายเครื่ องโทรศัพท์เคลื่อนที่คุณภาพสู ง รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ โดยผลิตภัณฑ์ที่ จัดจาหน่ า ยคื อสมาร์ ท โฟนคุ ณภาพสู ง ซึ่ งประกอบด้วย iPhone รุ่ นต่า ง ๆ Samsung และอื่ นๆ อี กทั้ง ยังจาหน่ายมือถือ 3G และสมาร์ ทโฟน (ทั้งรุ่ นที่สามารถใช้บริ การ 3G และ 4G-LTE) ในราคาย่อมเยาเพื่อให้ คนไทยเข้าถึงบริ การ 3G และ 4G LTE ได้ง่ายยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยงั จาหน่ายอุปกรณ์อื่น ๆ อาทิ แท็บเล็ตและ แอร์ การ์ ด ทั้งนี้ เครื่ องโทรศัพท์ที่จดั จาหน่ าย เป็ นทั้งการจาหน่ ายเครื่ องเปล่าโดยไม่ผูกพันกับบริ การใด ๆ กับการจาหน่ายเครื่ องโดยลูกค้าใช้แพ็กเกจรายเดือนจากทรู มูฟ เอช บริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศ (International Roaming Services) เป็ นบริ การเสริ มที่ช่วยให้ลูกค้าของกลุ่มทรู โมบายสามารถนาเครื่ องโทรศัพท์ และหมายเลขโทรศัพท์ที่ ใช้งานอยู่ ไปใช้งานในต่างประเทศ (Outbound) ได้ ผ่านเครื อข่ายที่กลุ่มทรู โมบายมีสัญญาบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดน

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ระหว่างประเทศด้วย โดย ลูกค้าสามารถใช้บริ การต่าง ๆ ขณะอยู่ต่างประเทศ อาทิ บริ การรับฝากข้อความเสี ยง (Voicemail) บริ การส่ งข้อความ (SMS) บริ การส่ งภาพ ข้อความและเสี ยง (MMS) บริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ต (ผ่าน EDGE/ GPRS/ 3G/ 4G LTE) อีเมล์ บริ การแสดงเบอร์ โทรเข้า บริ การเตือนเมื่อไม่ได้รับสาย บริ การ Short Code บริ การแบล็กเบอร์ รี่ขา้ มแดน และบริ การ WiFi ทั้งนี้ บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ ทาให้ ผูใ้ ช้บริ การของกลุ่มทรู โมบายสามารถติดต่อสื่ อสารได้ท้ งั กับภาคธุ รกิจและบุคคลทัว่ ไปใน 230 ปลายทางทัว่ โลก นอกจากนี้ ผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลื่อนที่จากต่างประเทศที่มีสัญญาบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ กับกลุ่ มทรู โมบาย สามารถใช้บริ การโทรศัพท์ข ้ามแดนระหว่างประเทศผ่านโครงข่ ายของกลุ่ มทรู โมบาย (Inbound) เมื่อเดินทางมาเมืองไทยได้เช่นกัน ทรู มูฟได้ประกาศเข้าร่ วมเป็ นสมาชิ กเครื อข่ายพันธมิตรคอนเน็กซัส โมบายล์ (Conexus Mobile Alliance)ในปี 2551 และกลุ่มโวดาโฟน ในปี 2555 โดยปั จจุบนั คอนเน็กซัส โมบายล์และโวดาโฟน มีฐาน ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ (ทั้งบริ การเสี ยงและบริ การที่ ไม่ใช่ เสี ยง) อยู่ประมาณ 690 ล้านราย ทาให้ ผูใ้ ช้บริ การเหล่านี้สามารถใช้บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศเมื่อเดินทางเข้ามายังประเทศไทยบน เครื อข่ายของกลุ่มทรู โมบาย ในขณะเดียวกันยังเป็ นการเพิ่มทางเลื อกและความสะดวกสบายให้ลูกค้ากลุ่ม ทรู โมบายในการใช้บริ การเสี ยงและข้อมูลเมื่อเดิ นทางไปทัว่ ภูมิภาคเอเชี ย ยุโรป อเมริ กาเหนื อ และโอเชี ยเนี ย นอกจากนี้ กลุ่มทรู โมบาย กลุ่มคอนเน็กซัส โมบายล์และกลุ่มโวดาโฟน ยังได้เปิ ดบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดน ระหว่างประเทศในส่ วนของการส่ งและรับข้อมูลผ่านสมาร์ ทโฟน พร้อมกันทุกประเทศในกลุ่มสมาชิ ก เพื่อ ตอบรับความต้องการใช้งานด้านข้อมูลที่เพิ่มสู งขึ้น อันจะช่วยให้ลูกค้าของกลุ่มทรู โมบายสามารถเชื่ อมต่อ กับอีเมล์ขององค์กรและท่องอินเทอร์ เน็ตไร้สายได้อย่างสะดวกสบายเพิ่มขึ้น อีกทั้งยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ให้ลูกค้านักธุ รกิ จที่ เดิ นทางเป็ นประจาและใช้บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศในเครื อข่ายของ บริ ษทั ที่เป็ นพันธมิตรของคอนเน็กซัสและโวดาโฟนได้เป็ นอย่างดี ตั้งแต่ปี 2552 กลุ่มทรู ได้เปิ ดตัวโปรโมชัน่ ใหม่ “Data Roaming Flat Rate” ให้ผใู้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของกลุ่มทรู โมบาย สามารถรับส่ งข้อมูลผ่านบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศบนเครื อข่ายของผูใ้ ห้บริ การ ที่เป็ นสมาชิกเครื อข่ายพันธมิตร ด้วยอัตราค่าบริ การแบบเหมาจ่ายรายวันอัตราเดียวสู งสุ ดเพียงวันละ 399 บาท และ คิดค่าบริ การตามการใช้งานจริ งหากใช้งานไม่ถึงวันละ 399 บาท เนื่องจากโปรโมชัน่ นี้ได้รับความนิ ยมเป็ นอย่างมาก จึงได้มีการจัดโปรโมชัน่ ดังกล่าวอย่างต่อเนื่ อง ปั จจุบนั กลุ่มทรู โมบายได้ปรับปรุ งโปรโมชัน่ นี้ ด้วยการคิดอัตรา ค่ าบริ การแบบเหมาจ่ ายรายวันอัตราเดี ยวสู งสุ ดวันละ 499 บาท โดยผูใ้ ช้บริ การสามารถโทรออกและรั บสาย ด้วยอัตรา 25 บาทต่อนาที และส่ งข้อความด้วยอัตรา 11 บาทต่อข้อความสาหรับการใช้งานในทวีปยุโรป อเมริ กาเหนือ และโอเชียเนีย หรื อจ่ายเพียงวันละ 333 บาท โดยผูใ้ ช้บริ การสามารถโทรออกและรับสายด้วยอัตรา 33 บาทต่อนาที และส่ งข้อความด้วยอัตรา 11 บาทต่อข้อความ สาหรับการใช้งานในทวีปเอเชีย โดยลูกค้าของกลุ่มทรู โมบายสามารถ ใช้บริ การ Data Roaming Flat Rate ได้ท้ งั สิ้ น 99 เครื อข่าย ใน 51 ประเทศทัว่ โลก

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ กลุ่ มทรู เริ่ ม ต้นเปิ ดให้บ ริ ก ารและทาธุ รกิ จให้บ ริ ก ารโทรศัพ ท์ท างไกลระหว่า งประเทศ รวมทั้ง รายงานผลการดาเนิ นงานของบริ การดังกล่าวภายใต้ธุรกิจทรู ออนไลน์ ที่ประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นประจาปี 2553 ได้มีมติอนุ มตั ิให้โอนย้าย TIC มาอยู่ภายใต้ทรู มูฟ ทั้งนี้ TIC ได้รับใบอนุ ญาตให้บริ การโทรศัพท์ทางไกล ระหว่างประเทศ (ประเภทที่ 3) จากคณะกรรมการ กทช. โดยเปิ ดให้บริ การผ่านหมายเลข “006” ปั จจุบนั บริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศของ TIC สามารถให้บริ การเฉพาะผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานของกลุ่ม ทรู และผูใ้ ช้บริ การของกลุ่มทรู โมบายเท่านั้น เพื่อเป็ นการขยายตลาดโทรศัพท์ระหว่างประเทศให้ครอบคลุม ผูใ้ ช้บริ การให้มากขึ้น ขณะนี้ TIC กาลังอยูร่ ะหว่างการเจรจาเชื่อมต่อโครงข่ายกับผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์มือถือ และผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานรายอื่ น ๆ นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยงั ได้นาเสนอโปรโมชัน่ ซิ มอิ นเตอร์ เพื่อ ให้บริ ก ารโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ โดยซิ มอินเตอร์ จะมีความพิเศษที่สามารถให้ลูกค้าเลื อกที่จะ โทรศัพท์ระหว่างประเทศด้วยการโทรผ่านรหัส “006” ที่เป็ นบริ การแบบ Premium ด้วยเทคโนโลยี Time Division Multiplexing (TDM) ที่ให้คุณภาพเสี ยง คมชัด ต่อติดไว และสายไม่หลุดขณะสนทนา หรื อเลือกกด ผ่านรหัส “00600” ด้วยเทคโนโลยี VoIP ในราคาที่ประหยัดยิง่ ขึ้นได้ ซึ่ งปั จจุบนั ซิ มอินเตอร์ สามารถใช้บริ การ ได้ใน 230 ปลายทางทัว่ โลกด้วยบริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศของกลุ่มทรู โมบาย ตั้งแต่เริ่ มเปิ ดให้บริ การ บริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศก็มีการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง และยัง ช่ วยขยายฐานลูกค้าให้กบั กลุ่ มทรู โมบายอีกด้วย TIC ยังคงมุ่งส่ งเสริ มการขายบริ การโทรศัพท์ทางไกล ระหว่างประเทศ โดยเน้นทาการตลาดย่านชุมชนสาคัญ เช่น J-Avenue และสถานีรถไฟฟ้ าใต้ดินสุ ขุมวิท เป็ น ต้น อี กทั้งยังมุ่ งพัฒนาผลิ ตภัณฑ์อย่างต่ อเนื่ องเพื่อตอบสนองไลฟ์ สไตล์ของลู กค้าได้ดียิ่งขึ้ น จากความนิ ยม ในการใช้สมาร์ ทโฟนที่เพิ่มขึ้น ทาให้ TIC ได้นาเสนอแอพพลิ เคชัน่ ใหม่ “NetTalk by True” ในเดือน สิ งหาคม ปี 2555 เพื่อเพิ่มความสะดวกและความคุม้ ค่าให้กบั ผูใ้ ช้บริ การที่ใช้งานบนสมาร์ ทโฟนทั้ง iOS (iPhone และ iPad) และ Android โครงข่ าย กลุ่มทรู โมบายเป็ นผูใ้ ห้บริ การที่เข้ามาดาเนิ นธุ รกิ จโทรศัพท์เคลื่ อนที่รายล่าสุ ด ในจานวนผูใ้ ห้บริ การ โทรศัพท์เคลื่ อนที่ รายใหญ่ 3 ราย จึ งท าให้ได้รับประโยชน์ จากพัฒนาการเทคโนโลยีใหม่ ล่ าสุ ด ปั จจุ บ ัน กลุ่มทรู โมบาย มีโครงข่าย 2G ที่ให้บริ การครอบคลุมเทียบเท่ากับผูใ้ ห้บริ การรายอื่น อย่างไรก็ตาม บริ การ 3G+ ของ กลุ่มทรู โมบาย มีโครงข่ายบริ การครอบคลุมมากที่สุดในประเทศไทย โดยมีความครอบคลุมแล้วกว่าร้อยละ 95 ของ ประชากรทัว่ ประเทศ กลุ่ มทรู โมบาย ให้ความสาคัญกับการพัฒนาและนาเสนอนวัตกรรมสาหรั บบริ การที่ ไม่ใช่ เสี ย ง มาโดยตลอด ตัวอย่างเช่น เป็ นผูป้ ระกอบการรายแรกในประเทศไทยที่เปิ ดให้บริ การ Voice SMS บริ การริ งโทน

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

แนวใหม่ที่ผใู ้ ช้สามารถผสมผสานให้เป็ นทานองของตนเอง (ผ่านบริ การ IRemix) และบริ การเติมเงิน ‘overthe-air’ อีกทั้งยังเป็ นรายแรกที่เปิ ดให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G HSPA บนคลื่นความถี่ 850 MHz ในเชิ งพาณิ ชย์ได้ทวั่ ประเทศ และบริ การ 4G LTE บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz รวมทั้งบริ การมัลติ มีเดี ย คอนเทนต์ต่าง ๆ ตลอดจนขยายการให้บริ การอินเทอร์ เน็ตไร้ สาย ด้วยเทคโนโลยี WiFi นอกจากนี้ ยังได้ นาเสนอ ทัชซิ ม ผ่านเทคโนโลยี RFID (Radio Frequency Identification) เป็ นครั้งแรกในโลก ทัชซิ มเป็ น ซิ มโทรศัพท์เคลื่ อนที่ที่มีแผ่นรับสัญญาณ RFID พ่วงติดกับทัชซิ ม แผ่นรับสัญญาณนี้ จะทาหน้าที่รับส่ ง สัญญาณ เพื่ออ่านข้อมูลจากกระเป๋ าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-purse & E-wallet) ในซิ ม จึงสามารถทาการชาระ ค่าสิ นค้าและบริ การต่ าง ๆ ได้อย่า งสะดวก และง่ า ยดาย เพี ยงสัม ผัส โทรศัพท์เคลื่ อนที่ ที่ใ ช้ท ชั ซิ มกับ เครื่ องอ่านสัญญาณ นอกจากนี้ กลุ่มทรู ได้นาเสนอ iSim ซึ่ งเป็ นนวัตกรรมในการนาเสนอแพ็กเกจบริ การ ด้า นข้อ มู ล ส าหรั บ อุ ป กรณ์ แ ท็บ เล็ ต และแอร์ ก าร์ ด เพื่ อ ดึ ง ดู ด ลู ก ค้า ที่ เ น้น ใช้บ ริ ก ารด้า นข้อ มู ล รวมถึ ง การนาเสนอแอพพลิเคชัน่ ใหม่ ๆ อย่างเช่น H TV ซึ่ งลูกค้าทรู มูฟ เอช สามารถเพิ่มประสบการณ์การดูทีวี บนมือถื อรู ปแบบใหม่ โดยเพิ่มอิสระการรับชมรายการโปรดได้ทุกที่ทุกเวลา โดยเฉพาะคอนเทนต์ระดับโลก จากทรู วิชนั่ ส์ และช่องอื่น ๆ กว่า 90 ช่อง และ H MUSIC ซึ่ งถือได้วา่ เป็ นคลังดิจิตอลคอนเทนต์ทางดนตรี ครบทุกรู ปแบบ เพื่อให้ผใู้ ช้บริ การได้รับความบันเทิงจากเพลงยอดนิยมจากศิลปิ นระดับโลกมากมาย หลังประสบความสาเร็ จจากการเปิ ดตัว iPhone 3G ในประเทศไทย การเปิ ดตัว iPhone 4 และ สมาร์ ทดีไวซ์รุ่นอื่นๆ ก็ประสบความสาเร็ จอย่างดียิ่ง และผลตอบรับอย่างสู งต่อการเปิ ดตัว iPhone 5s ใน เดือนตุลาคม ปี 2556 ทั้งนี้ กลุ่มทรู โมบายยังรุ กเจาะตลาดผูเ้ ริ่ มใช้ 3G และสมาร์ ทโฟน เพื่อขยายส่ วนแบ่ง การตลาด โดยได้มีการเปิ ดตัวมื อถื อรุ่ นต่าง ๆ ภายใต้แบรนด์ GO Live โดยมีท้ งั มือถื อ 3G และสมาร์ ทโฟน ในราคาย่อ มเยา ซึ่ ง ได้รั บ ผลตอบรั บ อย่า งล้นหลาม พร้ อ มทั้ง มี แคมเปญร่ วมกับ ผูผ้ ลิ ตและจาหน่ า ย โทรศัพท์เคลื่อนที่ยอดนิ ยม เช่น Samsung และ HTC อีกด้วย นอกเหนื อจากนี้ ในปี 2556 ทรู มูฟ เอช ยังได้ เปิ ดตัวสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตคุณภาพระดับโลกภายใต้แบรนด์ทรู บียอนด์ เพื่อเพิ่มประสบการณ์การใช้งาน 3G และ 4G LTE ที่ดีที่สุดของทรู มูฟ เอช ได้อย่างสู งสุ ดด้วยราคาที่เข้าถึงได้ โครงข่ายของทรู มูฟ เอช ที่ครอบคลุมมากที่สุดในประเทศไทย แคมเปญที่นาเสนอโทรศัพท์มือถือและ อุปกรณ์ต่าง ๆ ร่ วมกับแพ็กเกจที่น่าดึงดูดใจ และการนาเสนอแอพพลิเคชัน่ ส์ และคอนเทนต์ต่าง ๆ ภายในกลุ่มทรู ทาให้ทรู มูฟ เอชได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขัน และเป็ นผูน้ าบริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย (3)

กลุ่มทรู วชิ ั่ นส์

ทรู วิชั่นส์ คื อ ผูน้ าในการให้บริ ก ารโทรทัศ น์แบบบอกรั บสมาชิ ก ซึ่ ง ให้บ ริ ก ารทัว่ ประเทศผ่า น ดาวเที ย มในระบบดิ จิตอลตรงสู่ บ ้า นสมาชิ ก และผ่า นโครงข่ า ยผสมระหว่า งเคเบิ ล ใยแก้วนาแสง และ สายโคแอ็กเชียล (coaxial) ที่มีประสิ ทธิภาพสู ง

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ทรู วิชั่นส์ เกิ ดจากการควบรวมกิ จการเมื่ อปี 2541 ระหว่างยูบีซี (เดิ มคือ ไอบีซี ) และ ยูบีซีเคเบิล (เดิมคือ ยูทีว)ี โดยดาเนินธุ รกิจภายใต้สัญญาร่ วมดาเนินกิจการฯ อายุ 25 ปี ที่ได้รับจากองค์การสื่ อสารมวลชนแห่ ง ประเทศไทย (อสมท) โดยสั ญ ญาร่ วมด าเนิ นกิ จการฯ ส าหรั บ บริ ก ารผ่า นดาวเที ย มจะหมดอายุใ นวัน ที่ 30 กันยายน 2557 และสัญญาร่ วมดาเนินกิจการฯ สาหรับบริ การโทรทัศน์ทางสาย (หรื อ เคเบิล) จะหมดอายุในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 นอกจากนี้ ในเดือนมกราคม 2556 บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด ในกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้รับ ใบอนุ ญาตประกอบกิ จการกระจายเสี ย งหรื อโทรทัศ น์ จากคณะกรรมการ กสทช. ท าให้ก ลุ่ ม ทรู วิชั่น ส์ สามารถขยายเวลาให้บริ การแก่ลูกค้าได้ถึง 20 มกราคม 2571 ทรู วิชนั่ ส์ ให้บริ การในระบบดิจิตอลผ่านดาวเทียม (DStv) โดยการส่ งสัญญาณในระบบ Ku-band และ C-band โดยใช้ระบบการบีบอัดสัญญาณ MPEG-2 และ MPEG-4 ซึ่ งทาให้กลุ่ มทรู สามารถเพิ่มจานวน ช่องรายการได้มากขึ้น ปรับปรุ งคุณภาพเสี ยงและภาพให้คมชัดยิ่งขึ้น สามารถควบคุมการเข้าถึงสัญญาณของ ทรู วิชนั่ ส์ และสามารถกระจายสัญญาณให้บริ การไปยังทุก ๆ พื้นที่ในประเทศไทย ปั จจุบนั การให้บริ การด้วย ระบบนี้ สามารถถ่ ายทอดสัญญาณผ่านดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่ งมีขีดความสามารถสู งกว่าเดิ มมาก นอกจากนั้น ทรู วิชนั่ ส์ ให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กระบบเคเบิล (CATV) โดยให้บริ การทั้งระบบดิ จิตอลและ ระบบอานาล็อกในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑลผ่านโครงข่ายผสมระหว่างเคเบิลใยแก้วนาแสง และ สายโคแอ็กเชียลของทรู มัลติมีเดีย (ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ) ในต้นปี 2549 กลุ่มทรู ประสบความสาเร็ จในการรวมทรู วิชนั่ ส์ เข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่ งของกลุ่มทรู ทาให้กลุ่มทรู ถื อหุ ้นในสัดส่ วนร้ อยละ 91.8 ของทรู วิชนั่ ส์ ต่อมาในปี 2553 ทรู วิชนั่ ส์ ได้ปรับโครงสร้าง กลุ่มบริ ษทั เป็ นกลุ่มบริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ ทั้งนี้ เพื่อรองรับกรอบการกากับดูแลที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพื่อการรับใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ ก และทาให้การดาเนิ นธุ รกิ จของทรู วิชนั่ ส์ มี ความคล่องตัวมากขึ้นรองรับการเติบโตของธุ รกิจในอนาคต โดย ณ สิ้ นปี 2556 กลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถือหุ ้นใน บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จากัด ซึ่ งเป็ น holding company สาหรับธุ รกิจเพย์ทีวีของกลุ่มทรู อยูร่ ้อยละ 100.0 และมี สัดส่ วนการถือหุ น้ ทางอ้อมร้อยละ 99.3 ในบมจ. ทรู วิชนั่ ส์ และร้อยละ 99.0 ในบมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล นับตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการประกอบกิ จการกระจายเสี ยงและกิ จการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 ในเดือนมีนาคม 2551 ทรู วิชนั่ ส์ ได้มีการเจรจากับ บริ ษทั อสมท จากัด (มหาชน) เพื่อให้สามารถ หารายได้จากการโฆษณาได้เช่นเดียวกับผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กรายอื่น ๆ โดยในวันที่ 8 ตุลาคม 2552 ที่ ประชุ มคณะกรรมการ อสมท อนุ ญาตให้ทรู วิชั่นส์ หารายได้จากการรับทาโฆษณาผ่านช่ องรายการต่าง ๆ โดยจ่ายส่ วนแบ่งรายได้ร้อยละ 6.5 ให้แก่ อสมท ทาให้ ทรู วิชนั่ ส์ เริ่ มหารายได้จากการรับทาโฆษณาผ่าน ช่องรายการต่าง ๆ โดยเริ่ มทาการโฆษณาอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้ขดั จังหวะการรับชมรายการ ของสมาชิ ก โดยทรู วิชนั่ ส์ มีรายได้จากการรับทาโฆษณาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ องเป็ น 934 ล้านบาท ในปี 2556 จาก ผลตอบรั บที่ ดี ต่ อแพ็กเกจขนาดใหญ่ ที่ เพิ่ มความคุ ้มค่ าให้ ก ับผูซ้ ้ื อโฆษณามากขึ้ น ฐานผูช้ มที่ เพิ่ มมากขึ้ น

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โดยเฉพาะผูช้ มกลุ่มฟรี ทูแอร์ และจานวนช่องรายการที่มีรายได้จากการโฆษณาที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ณ สิ้ นปี 2556 ช่องรายการ 31 ช่อง จากทั้งหมด 180 ช่องรายการของทรู วิชนั่ ส์ มีรายได้จากการรับทาการโฆษณา นอกจากนี้ บริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ ประสบความสาเร็ จในการประมูลคลื่นความถี่เพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบ ดิ จิ ต อลประเภทบริ ก ารทางธุ ร กิ จ ระดับ ชาติ จ านวน 2 ช่ อ ง ซึ่ งคาดว่า จะได้รั บ ใบอนุ ญ าตดัง กล่ า วจาก คณะกรรมการ กสทช. ในกลางเดือนมีนาคม 2557 โดยการได้รับในอนุ ญาตนี้ จะช่วยส่ งเสริ มการเติบโตของ รายได้ค่าโฆษณา และช่วยเพิ่มโอกาสในการทาการตลาดคอนเทนต์ ของทรู วชิ นั่ ส์ผา่ นฐานลูกค้าขนาดใหญ่ ทรู วิชนั่ ส์ ได้ดาเนิ นงานด้วยกลยุทธ์ ที่หลากหลายเพื่อส่ งเสริ มโอกาสทางธุ รกิ จในอนาคตและช่ วยเพิ่มฐาน ลูกค้าให้กบั ทรู วชิ นั่ ส์ได้อย่างต่อเนื่อง ในเดือนพฤษภาคม 2553 ทรู วิชนั่ ส์ เป็ นผูใ้ ห้บริ การในระบบเคเบิลและดาวเทียม รายแรกที่เปิ ดให้บริ การในระบบ High Definition (HDTV) เพื่อเพิ่มประสบการณ์ การรับชมให้กบั ลูกค้าระดับบน อีกทั้งในเดื อนตุ ลาคม ปี 2554 ทรู วิชั่นส์ มอบสิ ทธิ ประโยชน์สาหรั บลู กค้าระดับบนที่แจ้งความประสงค์จะเปลี่ ยน กล่ องรั บสั ญญาณใหม่ ก่ อนใคร โดยกล่ องรั บสั ญญาณ hybrid ใหม่ น้ ี ไม่ เพี ยงรองรั บรายการในระบบ HD แต่ยงั ประกอบด้วยเทคโนโลยีการบีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4 และเทคโนโลยี Secured silicon โดยทรู วิชนั่ ส์ ได้เริ่ ม เปิ ดใช้ระบบออกอากาศใหม่ภายใต้เทคโนโลยี MPEG-4 ในกลางเดือนกรกฎาคมปี 2555 การดาเนิ นการดังกล่าวส่ งผล ในเชิงบวกในทันที โดยสามารถขจัดการลักลอบใช้สัญญาณได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทรู วชิ นั่ ส์ยงั คงมุ่งสร้างความแตกต่างและเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั สิ นค้าและบริ การ โดยเพิ่มรายการ คุณภาพระดับโลกที่หลากหลายมากขึ้น พร้อมทั้งทาสัญญากับพันธมิตรชั้นนาระดับโลกเพื่อนาคอนเทนต์พิเศษ ที่ทรู วิชนั่ ส์ ได้รับสิ ทธิ เฉพาะมาเผยแพร่ ให้กบั ลูกค้า อีกทั้ง ทรู วิชนั่ ส์ เพิ่มช่ องรายการในระบบ HD ถึ งเกื อบ 3 เท่าเป็ น 50 ช่อง ซึ่ งถือเป็ นจานวนที่มากที่สุดในไทยเหนื อกว่าผูป้ ระกอบการรายอื่น จาก 17 ช่องในปี ก่อนหน้า นอกจากนี้ ยังได้มีการนาเสนอบริ การเสริ มสาหรับลูกค้าพรี เมียมในปี 2556 อาทิ บริ การดูโทรทัศน์แบบสามมิติ เป็ นรายแรกในไทย และการดูโทรทัศน์ผ่านทรู วิชนั ส์ เอนิ แวร์ ทาให้ลูกค้าสามารถดูรายการจากทรู วิชนั่ ส์ ได้ ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านหลายแพลตฟอร์ ม ทรู วิชั่นส์ ยงั คงส่ งเสริ มกลยุทธ์ ส าหรั บตลาดกลางและล่ างให้แข็งแกร่ งยิ่งขึ้ นโดยเพิ่มความคุ ม้ ค่ า ให้กบั ลูกค้าด้วยการปรับโฉมแพ็กเกจทรู โนวเลจ โดยเพิ่มช่องรายการคุณภาพ ในราคาที่เข้าถึงได้มากยิ่งขึ้น รวมถึงการนาเสนอแพ็กเกจที่ผสมผสานบริ การร่ วมกับทรู ออนไลน์ อีกทั้งยังได้ร่วมมือกับหลายกลุ่มธุ รกิจใน วงการอย่างเช่ น พีเอสไอ และผูป้ ระกอบการเคเบิลท้องถิ่ นชั้นนามากมาย ซึ่ งนอกจากจะช่ วยเพิ่มฐานลูกค้า และเพิ่มรายได้ค่าโฆษณาให้กบั ทรู วิชนั่ ส์ แล้ว ยังช่วยเพิ่มโอกาสในการทาการตลาดคอนเทนต์ของทรู วิชนั่ ส์ ผ่านฐานลูกค้าขนาดใหญ่ของพันธมิตรเหล่านี้อีกด้วย นอกจากนี้ ทรู วิชั่นส์ ย งั ได้ออกแพ็กเกจพิ เศษส าหรั บลู กค้าเฉพาะกลุ่ มด้วยคอนเทนต์ที่ น่ าดึ งดู ดใจ ที่ทรู วชิ นั่ ส์ได้รับสิ ทธิ เฉพาะในการเผยแพร่ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด และเข้าถึงกลุ่มลูกค้า ที่มีไลฟ์ สไตล์แตกต่างกันได้มากยิง่ ขึ้น อย่างเช่น แพ็กเกจ ซูปเปอร์ แฟมิลี่ ซูปเปอร์ โนวเลจ และซูปเปอร์ สปอร์ ต ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

พัฒนาการต่าง ๆ เหล่ านี้ รวมกับแพลตฟอร์ มที่ หลากหลายของทรู วิชั่นส์ ซึ่ งมี คอนเทนต์คุณภาพ ที่เติมเต็มทุกความต้องการของลูกค้า รวมถึงการให้บริ การที่ดีเยี่ยม จะช่วยส่ งเสริ มให้ทรู วิชนั่ ส์ ยงั คงความเป็ นผูน้ า ในตลาดเพย์ทีวี ณ สิ้ นปี 2556 ทรู วิชนั่ ส์ มีจานวนผูใ้ ช้บริ การรวม 2,370,972 ราย โดย 761,274 ราย เป็ นผูใ้ ช้บริ การ แพ็กเกจ พรี เมียมและมาตรฐาน ส่ วนที่เหลือเป็ นผูใ้ ช้บริ การแพ็กเกจฟรี ววิ และกล่องฟรี ทูแอร์ ตารางแสดงจานวนผู้ใช้ บริการโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิ ก และรายได้ เฉลีย่ ต่ อผู้ใช้ บริ การ ทรูวชิ ั่นส์

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2554

2552

2553

123,349 805,207 928,556 536,324 198,527 1,663,407 806

118,784 810,708 929,492 519,727 255,835 1,705,054 744

2555

2556

จานวนผูใ้ ช้บริ การ เฉพาะลูกค้าแพ็กเกจปกติ - ระบบเคเบิล - ระบบจานดาวเทียม (DStv) รวมผู้ใช้ บริการแพ็กเกจปกติ1/ แพ็กเกจ ฟรี วิว 2/ แพ็กเกจ ฟรี ทูแอร์ 2/ รวมผู้ใช้ บริการทั้งหมด รายได้ เฉลีย่ ต่ อผู้ใช้ บริการ 3/ 1/ 2/ 3/

114,595 711,995 826,590 525,816 289,592 1,641,998 765

128,046 614,959 743,005 564,198 735,057 2,042,260 870

169,687 591,587 761,274 739,769 869,929 2,370,972 895

รวมผูใ้ ช้บริ การแพ็กเกจพรี เมียมและมาตรฐาน ไม่รวมผูใ้ ช้บริ การชาระค่าบริ การเพิ่มเพื่อเปลี่ยนแพ็กเกจเป็ นแพ็กเกจปกติ ไม่รวมผูใ้ ช้บริ การประเภท ฟรี วิว และ กล่องฟรี ทูแอร์

ทรู วิชนั่ ส์ นาเสนอความบันเทิงหลากหลายด้วยช่องรายการชั้นนาที่มีคุณภาพทั้งจากในประเทศและ ต่างประเทศ ประกอบด้วย ภาพยนตร์ (เช่ น HBO, Cinemax, Fox) กี ฬา (เช่ น Star Sport และรายการของ ทรู วิชนั่ ส์ เอง) สาระบันเทิง (เช่ น Discovery Channel, National Geographic) และข่าว (เช่ น CNN, CNBC, Bloomberg, BBC World, Phoenix InfoNews) นอกจากนั้น ยังมีรายการจากสถานี โทรทัศน์ภาคปกติของไทย (Free TV) และบริ การ Pay Per View แพ็กเกจหลักของทรู วิชนั่ ส์ ท้ งั 6 แพ็กเกจ รวมช่ องรายการอื่น ๆ นอกเหนื อจากรายการมาตรฐาน (ได้แก่ ช่องรายการฟรี ทีวี รวมทั้งหมด 6 ช่องรายการ และช่องรายการเพื่อการศึกษาอีก 21 ช่องรายการ) และ มีรายละเอียดของแต่ละแพ็กเกจดังตารางด้านล่าง แพ็กเกจ แพลทินมั เอชดี (Platinum HD) โกลด์ เอชดี (Gold HD) ซูปเปอร์ แฟมิลี่ (Super Family) ซูปเปอร์ โนวเลจ (Super Knowledge ) ซูปเปอร์ สปอร์ตส์ (Super Sports) ทรู โนวเลจ (True Knowledge)

ส่วนที่ 1

จานวนช่ องรายการ

ค่าบริการต่ อเดือน (บาท) 177 151 145 129 110 97

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

2,155.15 1,568.12 1,054.15 590.00 495.15 299.00

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

นอกเหนื อจากแพ็กเกจข้างต้น ทรู วิชนั่ ส์ ยงั นาเสนอแพ็กเกจตามสั่ง (A-La-Carte) ซึ่ งผูใ้ ช้บริ การ สามารถเลือกรับชมได้มากสู งสุ ดถึง 14 ช่องตามแต่แพ็กเกจที่ใช้บริ การอยู่ บริการอืน่ ๆ ของทรู วชิ ั่ นส์ ประกอบด้ วย: High Definition Personal Video Recorder (HD PVR): กล่องรับสัญญาณรุ่ นใหม่ที่ให้ภาพคมชัด และมีคุณสมบัติเพิ่มเติม (เช่น สามารถอัดรายการ ขยายภาพในระหว่างการรับชม หรื อเล่นซ้ า) เพื่ออานวย ความสะดวกและเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพในการรับชมให้กบั สมาชิก 

โปรโมชัน่ จานแดงทรู วิชั่นส์ DStv/SSK ขายขาด ให้สมาชิ กรับชมทรู วิชนั่ ส์ ฟรี 59 ช่ อง โดย ไม่มีค่าบริ การรายเดือน 

ทรู วิชั่นส์ เอนิ แ วร์ ให้ ส มาชิ ก สามารถรั บ ชมช่ องรายการจากทรู วิ ชั่น ส์ แ ละช่ องรายการ ฟรี ทูแอร์ ได้ทุกที่ทุกเวลา ผ่านอุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน และแท็บเล็ต รวมถึ งเครื่ องคอมพิวเตอร์ และโน้ตบุ๊ค พร้ อมคุ ณสมบัติเพิ่ มเติ ม โดยสามารถดู รายการสดย้อนหลังได้มากถึ ง 2 ชัว่ โมง และดู รายการย้อนหลัง ได้มากถึง 2 วัน 

รายการเรี ยลลิต้ ีโชว์ยอดนิ ยม อคาเดมี แฟนเทเชี ย ซึ่ งออกอากาศปี ละครั้ง (โดยปกติจะออกอากาศ ระหว่างเดื อนพฤษภาคมถึ งเดื อนกันยายน) เป็ นโปรแกรมสาคัญ ในการรักษาฐานลู กค้าของทรู วิชั่นส์ ใน ช่วงที่มีการชะลอตัวตามฤดูกาล และยังเป็ นการสร้างคอนเทนต์ให้กบั ธุ รกิจอื่น ๆ ภายในกลุ่มทรู อีกด้วย 

ทรู ไลฟ์ พลัส ทรู ไลฟ์ พลัส เปิ ดตัวในปี 2553 โดยเป็ นการผสานผลิตภัณฑ์และบริ การภายในกลุ่มทรู เพื่อนาเสนอ แพ็กเกจที่ตรงใจตามไลฟ์ สไตล์ของผูใ้ ช้บริ การ การนาเสนอแพ็กเกจร่ วมกันของผลิตภัณฑ์ ในกลุ่มทรู แพ็กเกจทรู ไลฟ์ ฟรี วิวมอบโบนัสโทรฟรี สาหรับลูกค้าทรู มูฟ และทรู มู ฟ เอช โดยขึ้นกับ ค่าบริ การรายเดือนและระยะเวลาที่เป็ นลูกค้า โดยลูกค้าสามารถอัพเกรดการรับชมเป็ น แพ็กเกจทรู โนวเลจ เพื่อรับชมรายการเพิ่มอีก 13 ช่อง 

ทรู ไลฟ์ พลัส เปิ ดตัวกล่องรับสัญญาณดาวเทียมใหม่ล่าสุ ด รับสัญญาณจากจานดาวเทียมได้ ทั้งระบบ Ku-Band และ C-Band ในราคา 1,290 บาท (เมื่อสั่งซื้ อผ่าน www.weloveshopping.com) โดยไม่มี ค่าบริ การรายเดื อน และสามารถรั บชมรายการต่าง ๆ ทั้งจากช่ องรายการของทรู วิชนั่ ส์ และช่ องรายการ 

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ฟรี ทูแอร์ อื่น ๆ ได้สูงสุ ดถึง 240 ช่ อง ด้วยสัญญาณที่มีคุณภาพ แม้ในระหว่างฝนตก นอกจากนี้ ยังเพิ่มสิ ทธิ พิเศษสาหรับลูกค้าทรู มูฟ และลูกค้าทรู มูฟ เอช ให้ได้รับชมรายการของทรู วชิ นั่ ส์เพิ่มอีก 12 ช่อง ลูกค้าที่ใช้บริ การของกลุ่มทรู ครบ 2 บริ การสามารถรับสิ ทธิ พิเศษเพิ่มเติม อาทิ การใช้บริ การ WiFi ไม่จากัดชัว่ โมง ฟรี การใช้บริ การ HD PVR โดยไม่มีค่าบริ การรายเดือนหรื อฟรี ค่าบริ การช่อง HD เป็ นต้น 

ลูกค้าที่ใช้บริ การของกลุ่มทรู ครบ 3 บริ การ ตั้งแต่ 599 บาทต่อเดือนขึ้นไปจะได้รับส่ วนลด ค่าบริ การรายเดือน 10% สาหรับทุกบริ การ ทุกรอบบิล 

แพ็กเกจ “สุ ขX2” บริ การคอนเวอร์ เจนซ์บนโครงข่าย DOCSIS ซึ่ งรวมบริ การอินเทอร์ เน็ต คุณภาพสู งความเร็ วเริ่ มต้น 12 Mbps. พร้อมชมช่องบันเทิงจากทรู วิชนั่ ส์ ฟรี 78 ช่อง และ 3 ช่องรายการใน ระบบ HD ด้วยราคาเพียงเดือนละ 699 บาท 

แพ็กเกจ “สุ ขX3” ผสานบริ การอินเทอร์เน็ตความเร็ วสู ง 12 Mbps จาก ทรู ออนไลน์ และฟรี ค่าโทรศัพท์บา้ นนาน 12 เดื อน พร้ อมคอนเทนต์จากทรู วิชนั่ ส์ 78 ช่ องรายการและ 3 ช่ อง HD รวมถึง แพ็กเกจ iSmart เพียงเดือนละ 199 บาท จากทรู มูฟ เอช ได้รับค่าโทร 100 นาที พร้อมใช้งาน 3G ฟรี 150 MB และ WiFi จานวน 5 ชัว่ โมง ด้วยอัตราค่าบริ การเริ่ มต้นเพียง 799 บาท 

ทั้งนี้ กลุ่ มทรู เชื่ อมัน่ ว่า คอนเวอร์ เจนซ์ คื อยุทธศาสตร์ ส าคัญในการสร้ างความเติ บโตอย่างยัง่ ยืนให้ก ับ ผลิตภัณฑ์และบริ การของกลุ่มทรู ในระยะยาว 2.2

การตลาด

ปั จจุ บนั กลุ่ ม ทรู คื อ ผูน้ าด้านบริ การไลฟ์ สไตล์ของไทย กลุ่ ม ทรู ยังคงมุ่ งมัน่ ให้บ ริ ก ารสื่ อสาร โทรคมนาคม โดยเชื่ อมโยงทุ กบริ การ พร้ อมพัฒนาโซลูชนั่ ซึ่ งประกอบด้วย บริ การด้านเสี ยง วิดีโอ เพื่อ ตอบสนองทุ กไลฟ์ สไตล์ตรงใจลู กค้าได้อย่างแท้จริ ง ภายใต้ยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ ซึ่ งทาให้กลุ่ มทรู แตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การรายอื่น และมีส่วนสาคัญในการเพิ่มส่ วนแบ่งตลาด ตลอดจนช่วยลดอัตราการเลิกใช้ บริ การ (Churn Rate) การแข่งขันที่เพิม่ สู งขึ้นในกลุ่มธุ รกิจหลักของกลุ่มทรู ทาให้การรักษาฐานลูกค้า ยังเป็ น กลยุทธ์หลักทางการตลาดของกลุ่มทรู 2.3

การจาหน่ ายเเละช่ องทางการจาหน่ าย

เพื่อให้เข้าถึ งกลุ่ มลู กค้าบุ คคล กลุ่ มทรู ได้เปิ ดศูนย์บริ การทั้งในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล รวมทั้ง ต่างจังหวัด โดยในแต่ละศูนย์บริ การจะมีเจ้าหน้าที่พร้อมให้คาแนะนาแบบ One-stop shopping ในแห่ งเดียว เกี่ยวกับบริ การ สื่ อสารทั้งแบบมี สายและไร้ สาย เครื่ องโทรศัพท์และอุ ปกรณ์ เสริ ม และอุ ปกรณ์ สื่ อสารอื่ น ๆ รวมทั้งโมเด็ ม ซึ่ ง ในศูนย์บริ การใหญ่จะเปิ ดให้บริ การอิ นเทอร์ เน็ตด้วย นอกจากนี้ กลุ่มทรู ยงั ได้จาหน่ ายสิ นค้าและบริ การผ่านตัวแทน จาหน่ายทัว่ ประเทศ ทั้งที่เป็ นร้านค้าที่เป็ นตัวแทนจาหน่ายและตัวแทนจาหน่ายอิสระซึ่ งรับค่าตอบแทนจากค่าคอมมิชชัน่ ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ช่องทางการจาหน่ายของกลุ่มทรู ประกอบด้วย ค้าขายส่ ง คือ ผูท้ ี่คู่ขายซิ มการ์ ดที่ยงั ไม่ได้เปิ ดใช้งานและบัตรเติมเงิ นเครื่ องโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์ ที่เกี่ ยวข้องของกลุ่มทรู โดยเป็ นผูก้ ระจายสิ นค้าไปยังตัวแทนจาหน่าย (Sub-dealer) ตลอดจน ดูแลและให้การสนับสนุ นด้านการกระจายสิ นค้ากับ Sub-dealer โดยคู่คา้ ขายส่ งจะเป็ นผูข้ ายซิ มการ์ ดแบบเติม เงินและบัตรเติมเงิน ในขณะที่ Sub-dealer จะให้บริ การอื่น ๆ ด้วย อาทิ บริ การซ่ อมโทรศัพท์เคลื่ อนที่ บริ การ ดาวน์โหลดเพลงและเกมต่าง ๆ 

ช่องทางการขายตรง โดยขายผลิตภัณฑ์และบริ การของกลุ่มทรู ให้กบั ลูกค้า SME และลูกค้า องค์กรธุ รกิ จ ช่ องทางจัดจาหน่ ายนี้ มีบทบาทสาคัญในการเพิ่มจานวนผูใ้ ช้บริ การให้กบั กลุ่มทรู โมบาย ช่ องทาง การขายตรงแบ่งออกเป็ นทีมขายตรง ตัวแทนขายตรง และตัวแทนอิสระ 

ร้านค้าปลีกประเภท Multi-retailer ซึ่ งตั้งอยู่ในร้ านค้าปลี กขนาดใหญ่ (Hypermart) ร้านค้า ประเภท Specialty Store ร้านสะดวกซื้ อต่าง ๆ 

ร้านค้าปลีกซึ่ งในที่น้ ีหมายถึง ทรู ชอ้ ป ร้านค้าของตัวแทนขายของกลุ่มทรู และ Kiosk ต่าง ๆ ที่ต้ งั อยูใ่ นพื้นที่ที่เห็ นได้ง่ายและเป็ นแหล่งชุ มชน อย่างเช่น ศูนย์การค้า ร้ านค้าปลีกขนาดใหญ่ อาคารสานักงาน เป็ นต้น โดยรวมถึง ทรู ไลฟ์ ช้อป และทรู คอฟฟี่ ด้วยเช่นกัน 

คู่คา้ ผ่านช่องทางการขายปลีก ประกอบด้วย คู่คา้ ขายปลีก และการขายผ่านโครงการ “Move UP Vans” โดยการจัดรถ Move Up Van จาหน่ายสิ นค้าและบริ การของกลุ่มทรู อานวยความสะดวกแก่ลูกค้า ชนิดใกล้บา้ น โดยร่ วมกับตัวแทนจาหน่ายของแต่ละภูมิภาคทัว่ ประเทศ 

บริ การประเภท Prepaid ของกลุ่มทรู (ส่ วนใหญ่เป็ นบริ การสาหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่) โดยปกติจะขายผ่าน 3 ช่ องทางจัดจาหน่ ายแรก คื อ คู่คา้ ขายส่ ง ช่ องทางการขายตรง และร้ านค้าปลี กประเภท Multi-retailer ในขณะที่ร้านค้าปลีก (ทั้งของกลุ่มทรู และคู่คา้ ) จะทาหน้าที่เป็ นช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์และบริ การ แบบรายเดือน รวมทั้งผลิตภัณฑ์คอนเวอร์ เจนซ์ของกลุ่มทรู รวมทั้งช่องทางการให้บริ การหลังการขายอีกด้วย สาหรั บบริ การเติ มเงิ น (เพื่ อเติ มเงิ นทรู มูฟ ทรู มูฟ เอช ทรู มนั นี่ หรื อแพ็กเกจฟรี วิว ) มี ช่ องทางผ่าน บริ การอิเล็กทรอนิกส์หลายช่องทาง นอกเหนือจากการใช้บตั ร (เช่น บัตรเงินสดหรื อบัตรเติมเงิน) ดังต่อไปนี้ เครื่ องเอทีเอ็มโดยผูใ้ ช้บริ การสามารถโอนเงินจากบัญชี ธนาคารของตนเองเพื่อเติมเงินทรู มูฟ ทรู มูฟ เอช หรื อทรู มนั นี่ได้โดยตรง 

ส่วนที่ 1

ทรู มนั นี่ ซึ่งเป็ นบริ การการเงินบนโทรศัพท์เคลื่อนที่

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บัตรเงินสดอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งสามารถซื้ อได้จากคู่คา้ เช่น ธนาคารกสิ กรไทย และเซเว่นอีเลฟเว่น

เติมเงินโดยตรง ลูกค้าสามารถเติมเงินได้จากอุปกรณ์ที่ติดตั้งในร้านค้าปลีกของกลุ่มทรู และ คู่คา้ อาทิ เซเว่นอีเลฟเว่น หรื อเติมเงินผ่านระบบออนไลน์ 

เติมเงิ นผ่านโทรศัพท์สาธารณะของทรู ที่มีสัญลักษณ์ “เติมเงิ น ทรู มูฟที่นี่ ” 30,000 เครื่ อง ทัว่ กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล โดยผูใ้ ช้สามารถเติมเงินขั้นต่าเพียง 10 บาท โดยเปิ ดให้บริ การมาตั้งแต่ปี 2550 

นอกจากนี้ ผูใ้ ช้บริ การทรู มูฟและทรู มูฟ เอช ยังสามารถเติมเงินอัตโนมัติแบบ ‘over-the-air’ ผ่านตัวแทนซึ่ ง เป็ นบุคคลธรรมดา หรื อร้านค้าขนาดเล็กที่ลงทะเบียนกับกลุ่มทรู และได้รับอนุ ญาตให้โอนค่าโทรแบบ overthe-air ไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผูใ้ ช้บริ การ โดยตัวแทนเหล่านี้ สามารถใช้บริ การเติมเงินได้ผา่ นหลายช่องทาง (เช่น บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน และเครื่ องเอทีเอ็ม) ในปี 2556 มีตวั แทนที่ลงทะเบียนกับกลุ่มทรู ราว 100,000 ราย ถึ งแม้ว่าบัตรเติมเงิ นจะเป็ นช่ องทางการจาหน่ ายหลักสาหรับการเติมเงิน แต่ช่องทางผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ก็ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีวธิ ี ชาระเงินที่หลากหลาย และมีสถานที่ให้บริ การเพิ่มมากขึ้น ในปี 2552 กลุ่มทรู สามารถเพิ่มกาไร โดยเน้นการเติมเงิ นผ่านช่ องทางอิเล็กทรอนิ กส์ ทั้งนี้ เพื่อประหยัด ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่ องกับบัตรเติมเงิน (การผลิต การกระจายสิ นค้า และการจัดเก็บ) นอกจากนี้ ยังจะผสมผสาน การขายผ่านช่องทางต่าง ๆ ที่มีค่าคอมมิชชัน่ ต่า (เช่น เครื่ องเอทีเอ็ม) เพื่อเพิ่มรายได้ สาหรับลูกค้า SME และลูกค้าองค์กรธุ รกิจ กลุ่มทรู มีผบู ้ ริ หารงานลูกค้า ทีมขาย (Account Executive) ที่ มีความเชี่ยวชาญในการเข้าถึงความต้องการของลูกค้าตามแต่ละธุ รกิจได้เป็ นอย่างดี 2.4

การจัดหาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ความสามารถในการให้ บริการของโครงข่ าย

กลุ่มทรู เชื่ อว่าความสามารถในการให้บริ การของโครงข่ายของกลุ่มทรู เป็ นจุดเด่นที่สาคัญในการ ให้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน รวมทั้งอินเทอร์ เน็ต และบรอดแบนด์ของกลุ่มทรู กล่าวคือ กลุ่มทรู มีโครงข่าย เคเบิลใยแก้วนาแสงที่ครอบคลุมพื้นที่ให้บริ การและเข้าถึ งผูใ้ ช้บริ การได้อย่างทัว่ ถึง โดยมีส่วนประกอบที่ เป็ นสายทองแดงเป็ นระยะทางสั้ น ๆ ท าให้ ส ามารถส่ ง สั ญ ญาณ เสี ย ง ภาพ หรื อข้อ มู ล ได้ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี้ การออกแบบโครงข่ายในลักษณะใยแมงมุม ยังสามารถขจัดปั ญหาที่ผใู ้ ช้บริ การ ไม่ ส ามารถใช้โทรศัพ ท์ไ ด้อนั เนื่ อ งจากการที่ ส ายโทรศัพ ท์ห รื อเส้ น ทางในการติ ดต่ อ ถู ก ตัดขาดเพราะ อุบตั ิ เหตุ หรื อด้วยเหตุ อื่นใด โดยทาให้กลุ่ มทรู สามารถเลื อกใช้เส้นทางอื่นทดแทนเส้นทางที่ตอ้ งผ่านจุ ด ที่เกิดเหตุเสี ยนั้นได้

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

แหล่งทีม่ าของผลิตภัณฑ์ และบริการ กลุ่มทรู ได้สั่งซื้ ออุปกรณ์โครงข่ายโทรคมนาคมจากผูผ้ ลิตอุปกรณ์ช้ นั นาของโลก นอกจากนั้น ยังมี ผูร้ ับเหมาจานวนมากในการจัดหาและติดตั้งโครงข่ายของกลุ่มทรู ซึ่ งกลุ่มทรู ไม่ได้มีการพึ่งพิง ผูจ้ ดั จาหน่าย หรื อผูร้ ับเหมารายใดเป็ นการเฉพาะ และกลุ่มทรู ไม่มีปัญหาในการจัดหาผูจ้ ดั จาหน่ายและผูร้ ับเหมาเนื่ องจาก มีจานวนมากราย การสนับสนุนทางด้ านเทคนิคและการบริหาร ในอดีตกลุ่มทรู เคยได้รับความช่วยเหลือทางด้านเทคนิ ค และการบริ หารจากพันธมิตรทางธุ รกิจ ซึ่ ง ประกอบด้วย บริ ษทั Verizon Communications, Inc สาหรับบริ ษทั Orange SA ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิคและ การบริ หารสาหรับทรู มูฟ และบริ ษทั MIH สาหรับทรู วิชนั่ ส์ แต่ในปั จจุบนั กลุ่มทรู ไม่ได้รับการสนับสนุ น ด้านเทคนิ คและการบริ หารจากพันธมิตรทางธุ รกิ จดังกล่าวอีกต่อไป เนื่ องจากพันธมิตรเหล่านี้ ได้ขายหรื อ ลดสัดส่ วนการถื อหุ ้นลง อย่างไรก็ตาม กลุ่ มทรู สามารถรับถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู ้ ไว้จนสามารถ บริ หารงานได้เองโดยไม่ต้องพึ่งพาการสนับสนุ นด้านเทคนิ ค และการบริ หารจากพันธมิ ตรทางธุ รกิ จอี ก แต่อย่างใด 2.5

ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพท์ เคลือ่ นที่

ตลาดโทรศัพท์เคลื่ อนที่ของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง โดยมี จานวนผูใ้ ช้บริ การเพิ่มขึ้ น เป็ นประมาณ 91.7 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2556 ทั้งนี้ ไม่ รวมผูใ้ ช้บริ การของที โอที และ CAT Telecom และ ผูใ้ ห้บริ การ MVNO (Mobile Virtual Network Operator) ที่ใช้โครงข่ายของทีโอที ทาให้มีอตั ราการใช้บริ การ โทรศัพท์เคลื่ อนที่ต่อประชากร 100 คน เพิ่มขึ้นเป็ นอัตราร้อยละ 133.3 (ข้อมูลจานวนประชากรจากสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ซึ่ งมีจานวนทั้งสิ้ น 68.8 ล้านคน) จากการที่มีผใู ้ ช้งานจานวนไม่นอ้ ยนิ ยมใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่มากกว่า 1 เครื่ อง และ/หรื อ มีอุปกรณ์ที่พร้อม เข้าถึงบริ การอินเทอร์เน็ต อาทิ ฟี เจอร์โฟน สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และ เน็ตบุก๊ อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเดี ยวกันจะเห็ นว่าตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของไทยมี อตั ราการใช้บริ การต่ ากว่าประเทศอื่ น ๆ อาทิ ฮ่ องกง (มี อตั ราการใช้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ ร้อยละ 230) และ สิ งคโปร์ (มีอตั ราการใช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ร้อยละ 159) แหล่งที่มา: คาดการณ์จาก BuddeComm

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

คู่แข่งรายใหญ่ที่สุด 2 ราย คือ เอไอเอส และ ดีแทค ซึ่ งมีจานวนผูใ้ ช้บริ การคิดเป็ นส่ วนแบ่งตลาด ประมาณร้อยละ 44.5 และ 30.5 ตามลาดับ (ไม่รวมจานวนผูใ้ ช้บริ การของ CAT Telecom และ ทีโอที และผู้ ให้บริ การ MVNO ของทีโอที) โดยกลุ่มทรู โมบายถื อครองส่ วนแบ่งตลาดรวมประมาณร้ อยละ 25.0 จาก จานวนผูใ้ ช้บริ การทั้งสิ้ น 22.9 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2556 ตารางแสดงจานวนผู้ใช้ บริการโทรศัพท์ เคลือ่ นทีใ่ นประเทศไทย

เอไอเอส ดีแทค กลุ่มทรู โมบาย รวม 1/ ส่วนแบ่งตลาดผูใ้ ช้บริ การ ของ กลุ่มทรู โมบาย (ร้อยละ)

2552 28,772,900 19,657,049 15,801,164 64,231,113

2553 31,200,700 21,620,397 17,117,864 69,938,961

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2554 33,459,900 24,016,059 18,940,263 76,416,222

24.6

24.5

24.8

2555 35,743,700 26,318,023 20,972,320 83,034,043

2556 40,860,900 27,942,008 22,876,151 91,679,059

25.3

25.0

แหล่งข้อมูล: บริ ษทั ที่เกี่ยวข้อง (เอไอเอส ดีแทค ทรู มูฟ เรี ยลมูฟ และเรี ยลฟิ วเจอร์ ) หมายเหตุ: 1/ ไม่รวมผูใ้ ช้บริ การ ทีโอที CAT Telecom และผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของทีโอที

การเข้า สู่ ระบบเสรี ม ากขึ้ น ภายหลังการออกใบอนุ ญาตต่ า ง ๆ ของคณะกรรมการ กสทช. และ ความสาเร็ จจากการจัดตั้ง กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท ในเดือนธันวาคม 2556 เป็ น ก้าวใหม่ที่สาคัญของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย ซึ่ งสนับสนุ นการเติบโตและการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม ในอุตสาหกรรม ในปี 2556 ที่ผา่ นมา ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยมีการแข่งขันที่เพิ่มสู งขึ้น โดยเฉพาะภายหลัง การเปิ ดตัวบริ การ 3G บนคลื่นความถี่ 2.1 GHz ของผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่ท้ งั สามราย โดยบริ การ นอนวอยซ์ หรื อบริ การที่ ไม่ ใช่ เสี ยงยังคงเป็ นปั จจัยสาคัญที่ ส่งเสริ มการเติ บโตของอุ ตสาหกรรมโทรคมนาคม ในปี ที่ผา่ นมา ซึ่ งเป็ นผลจากความนิ ยมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่เพิ่มขึ้น ราคาสมาร์ ทดีไวซ์และสมาร์ ทโฟนที่ ถูกลงและการใช้งานอุปกรณ์ เหล่านี้ ที่เพิ่มขึ้น รวมถึ งการพัฒนาคอนเทนต์และแอพพลิ เคชัน่ ต่าง ๆ ที่น่าดึ งดูดใจ อย่างต่ อเนื่ อง ซึ่ งผูใ้ ห้ บริ การพยายามแข่ งขันเพื่ อเพิ่ มส่ วนแบ่ งตลาด ผ่านการขยายโครงข่ ายและคุ ณภาพการ ให้บริ การที่ดีเยี่ยม พร้อมทั้งนาเสนอแพ็กเกจโทรศัพท์มือถือที่มีความหลากหลายและน่าดึงดูดใจมากยิ่งขึ้น โดยมี การออกแคมเปญและบริ การใหม่ ๆ ซึ่ งรวมแพ็กเกจทางด้านเสี ยงและข้อมู ลหลากหลายร่ วมกับอุ ปกรณ์ ต่าง ๆ ที่สามารถตอบสนองการใช้งานของลูกค้าได้ทุกกลุ่ม นอกจากนี้ ยังได้มีการเปิ ดตัวสมาร์ ทโฟน และสมาร์ ทดีไวซ์ ที่หลากหลาย โดยเฉพาะ รุ่ นที่มีราคาย่อมเยาสาหรับผูท้ ี่เริ่ มใช้สมาร์ ทโฟน อย่างไรก็ตาม รายได้จากบริ การเสี ยงยังคง ลดลงอย่างต่อเนื่ อง จากการเข้าใกล้จุดอิ่มตัวของบริ การเสี ยง ในขณะที่ การลดลงของค่า IC ในเดือนกรกฎาคมที่

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 28


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ผ่านมา ทาให้ผปู ้ ระกอบการสามารถนาเสนอแพ็กเกจและค่าบริ การสาหรับบริ การประเภทเสี ยง ได้ถูกลง โดยกลุ่มทรู โมบาย มีการเปิ ดตัวแพ็จเกจสาหรับการโทรภายในโครงข่ายที่น่าดึ งดูดใจเพิ่มมากขึ้น เพื่อช่ วยส่ งเสริ มการโอนย้ายลูกค้า จากทรู มูฟ มาทรู มูฟ เอช สื บเนื่องจากการหมดอายุสัมปทานของทรู มูฟ ในเดือนกันยายนที่ผา่ นมา ธุรกิจโทรศัพท์ พนื้ ฐาน บริ การโทรศัพท์พ้นื ฐานในปั จจุบนั มีผใู ้ ห้บริ การทั้งสิ้ น 3 ราย โดยทีโอที (ซึ่ งเป็ นองค์กรของรัฐ โดย ในอดี ตเป็ นผูก้ ากับดูแลบริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน) เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานทั้งในกรุ งเทพมหานครกับ ปริ มณฑลและต่างจังหวัดเพียงรายเดียวของประเทศ ส่ วนผูใ้ ห้บริ การอีก 2 ราย คือ ผูใ้ ห้บริ การที่อยู่ภายใต้ สัญญาร่ วมการงานฯ ของทีโอที โดยกลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล และ บริ ษทั ทีทีแอนด์ที จากัด (มหาชน) เป็ นผูใ้ ห้บริ การในต่างจังหวัด ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานในประเทศไทยยังคงลดลงโดยมีจานวนทั้งสิ้ น 6.1 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2556 (แหล่งข้อมูล: กลุ่มงานวิชาการและจัดการทรัพยากรโทรคมนาคม สานักงานคณะกรรมการ กสทช.) หรื อ ร้ อ ยละ 9 ของประชากร :ซึ่ งเป็ นผลจากความนิ ย มในการใช้ โ ทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ แ ละบริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ตที่เพิ่มขึ้น โดยกลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานที่ใหญ่ที่สุด ในเขตกรุ งเทพมหานครและ ปริ มณฑล ด้วยจานวนผูใ้ ช้บริ การราว 1.7 ล้านราย และถือครองส่ วนแบ่งราวร้อยละ 28.0 ของตลาดโดยรวม ธุ รกิ จโทรศัพท์พ้ื นฐานของกลุ่ ม ทรู ได้รับผลกระทบส่ วนใหญ่เนื่ องจากผูใ้ ช้บริ ก ารเปลี่ ยนไปใช้ โทรศัพท์เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับแนวโน้มทัว่ โลก นอกจากนี้ ธุ รกิ จ โทรศัพท์พ้ืนฐานของกลุ่ ม ทรู ยงั เผชิ ญกับการแข่ง ขันจากบริ การ VoIP ซึ่ งมี ค่าบริ การถู กกว่า เนื่ องจาก ในปั จจุบนั มี การใช้อินเทอร์ เน็ต เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ที่ พร้ อมเข้าถึ งบริ การอิ นเทอร์ เน็ต อาทิ สมาร์ทโฟนหรื อแท็บเล็ต อย่างแพร่ หลาย ทาให้ผบู ้ ริ โภคจะหันมาใช้บริ การ VoIP มากยิง่ ขึ้น ธุรกิจสื่ อสารข้ อมูลธุรกิจ ธุ รกิ จโครงข่ ายข้อมู ลของประเทศไทยยังคงเติ บโตอย่ างต่ อเนื่ อง โดยมี อ ัตราการเติ บโตที่ ประมาณ ร้อยละ 7 ต่อปี เนื่ องจากความนิ ยมในการส่ งข้อมูลออนไลน์ และจานวนผูใ้ ช้บริ การอิ นเทอร์ เน็ ตที่ เพิ่มมากขึ้น การ แข่งขันในธุ รกิจโครงข่ายข้อมูลยังคงสู งเนื่องจากมีจานวนผูใ้ ห้บริ การหลายราย ประกอบกับลูกค้ามีทางเลือกเพิ่มขึ้น ผู ้ ให้บริ การสื่ อสารข้อมูลรายใหญ่ในประเทศไทยประกอบด้วย ทีโอที CAT Telecom UIH และ UCOM ADC ซึ่ งอยูภ่ ายใต้ อินทัช (เดิ มคื อ กลุ่มบริ ษทั ชิ น คอร์ ปอเรชั่น) บริ ษทั ทีทีแอนด์ที และกลุ่ มบริ ษทั ทรู ทั้งนี้ คู่แข่งหลักของกลุ่มทรู ได้แก่ ทีโอที (เนื่องจากสามารถให้บริ การครอบคลุมพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทย) และ UCOM (ซึ่ งสามารถให้บริ การ นอกเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑลได้มากกว่ากลุ่มทรู ) นอกจากนี้ คู่แข่งอีกรายอย่าง Symphony มีการเติบโตสู ง เนื่องจากเน้นการขายกลุ่มลูกค้าระดับบนที่ใช้บริ การผ่านโครงข่ายใยแก้วนาแสง

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 29


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ณ สิ้ นปี 2556 กลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายข้อมูลรายใหญ่อนั ดับ 2 โดยครองส่ วนแบ่งร้ อยละ 24 ของตลาดโดยรวมซึ่ งมีมูลค่าตลาดประมาณ 18.1 พันล้านบาท ในขณะที่ทีโอทียงั คงเป็ นผูน้ าตลาด โดยครอง ส่ วนแบ่งราวร้ อยละ 26 และ UIH เป็ นผูใ้ ห้บริ การรายใหญ่อนั ดับ 3 โดยมีส่วนแบ่งตลาดประมาณร้ อยละ 21 (แหล่งข้อมูล: ประมาณการโดยกลุ่มทรู ) ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสู ง (บรอดแบนด์ ) อัตราของผูใ้ ช้บ ริ ก ารบรอดแบนด์รวมต่อจานวนครั วเรื อนในเมื องไทย ยัง คงมี ระดับต่ า ที่ อตั รา ประมาณร้ อยละ 22.1 จากทั้งหมด 22.8 ล้านครัวเรื อน (แหล่ งที่ มา: จานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์จาก สานักงานคณะกรรมการ กสทช. และคาดการณ์จานวนครัวเรื อนจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย) เมื่อเทียบกับประเทศที่พฒั นาแล้วในแถบเอเซี ย เช่ น ฮ่องกง ร้อยละ 85 เกาหลีใต้ ร้อยละ 39 (แหล่งที่มา: คาดการณ์จาก BuddeComm) โดยผูใ้ ห้บริ การในตลาดอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง (บรอดแบนด์) มีอยู่หลายราย ทัว่ ประเทศ เช่น ทีโอที CAT Telecom JAS ซึ่ งดาเนินงานภายใต้แบรนด์ “3BB” บริ ษทั CS Loxinfo จากัด ADC และกลุ่มทรู กลุ่มทรู สามารถเพิ่มฐานผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ได้อย่างแข็งแกร่ งและต่อเนื่ องเป็ น 1.81 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2556 ซึ่ งกลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การบรอดแบนด์รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทยคิดจากฐานจานวนลูกค้า โดยมีส่วนแบ่งตลาดทัว่ ประเทศประมาณร้อยละ 36.8 (แหล่งที่มา: ข้อมูลของกลุ่มทรู ) ณ สิ้ นปี 2556 มีปัจจัยหลายประการที่ทาให้จานวนผูใ้ ช้บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง (บรอดแบนด์) เพิ่มขึ้ น อย่างรวดเร็ ว อย่างต่อเนื่องด้วยราคาโมเด็มที่ถูกลง การเปิ ดตัวแพ็กเกจใหม่ ๆ ที่น่าดึงดูดใจมากขึ้น ประกอบ กับ ผูบ้ ริ โภคนิ ย มใช้บ ริ ก ารคอนเทนต์ต่า ง ๆ เพิ่ ม มากขึ้ น เช่ น เกมออนไลน์ และบริ ก ารเครื อข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ต่าง ๆ ในขณะที่ทรู ออนไลน์มีความได้เปรี ยบจากการสามารถผสมผสานบริ การบรอดแบนด์กบั บริ การอื่น ๆ ภายในกลุ่มทรู ซึ่ งแพคเกจคอนเวอร์ เจนซ์ได้รับผลตอบรับที่ดีอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ในเดื อนพฤศจิ กายน ปี 2553 คณะรั ฐมนตรี ได้อนุ มตั ิ นโยบายบรอดแบนด์แห่ งชาติ ของ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ด้วยเงินลงทุนทั้งสิ้ น 2 หมื่นล้านบาท เพื่อพัฒนาโครงข่าย บรอดแบนด์ให้ครอบคลุมประชากร ไม่ต่ ากว่าร้ อยละ 80 ของประเทศ ในอีก 5 ปี ข้างหน้า รวมทั้งให้มีบริ การ บรอดแบนด์ความเร็ วสู ง โดยมีความเร็ วไม่ต่ากว่า 100 เมกะบิตต่อวินาที โดยมีเป้ าหมายที่จะให้บริ การบรอดแบนด์ ครอบคลุมโรงเรี ยนและโรงพยาบาลในระดับตาบล ตลอดจนประชาชนผูม้ ีรายได้นอ้ ย ทั้งนี้ ทรู มูฟ ร่ วมกับ ผูใ้ ห้บริ การอีก 5 ราย อาทิ ทีโอที และ CAT Telecom ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงเพื่อสนับสนุ นนโยบาย ดังกล่าว ซึ่ งสอดคล้องกับพันธกิ จของกลุ่มทรู เพื่อลดความเหลื่ อมล้ าในการเข้าถึ งเทคโนโลยีสารสนเทศของ ประเทศ และเป็ นส่ วนหนึ่ งเพื่อการพัฒนาสังคมไทยสู่ สังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ ดังนั้น หากสามารถดาเนิ นงาน ตามนโยบายบรอดแบนด์แห่ งชาติได้สาเร็ จตามเป้ าหมาย ความครอบคลุ มของบริ การบรอดแบนด์จะกว้างขวาง

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 30


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ยิง่ ขึ้น และทาให้การเข้าถึงบริ การบรอดแบนด์ของประชากรไทยมีจานวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งจะเป็ นปั จจัยที่ช่วย สนับสนุ นประเทศไทย ในการเข้าร่ วมเป็ นส่ วนหนึ่ งของประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยนในปี 2558 สิ่ งเหล่านี้ กลุ่มทรู จึงเชื่อมัน่ ว่า ตลาดบริ การบรอดแบนด์ของไทยจะมีการเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง อีกทั้งโครงการสมาร์ ท ไทยแลนด์ของรัฐบาลไทย มีเป้ าหมายเพิ่มความครอบคลุมโครงข่ายบรอดแบนด์ในประเทศไทย เป็ นร้อยละ 95 ของประชากรภายในปี 2563 ซึ่ งจะช่วยส่ งเสริ มการเข้าถึงบริ การบรอดแบนด์ในประเทศได้เป็ นอย่างดี ธุรกิจโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิ ก จานวนสมาชิกโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกในประเทศไทย ณ สิ้ นปี 2556 มีท้ งั สิ้ นประมาณ 4.8 ล้านราย คิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 21.1 ของจานวนครัวเรื อน โดยถ้านับรวมสมาชิกดาวเทียม ฟรี ทูแอร์ ดว้ ย จะมี จานวนทั้งสิ้ นประมาณ 12.4 ล้านราย คิดเป็ นสัดส่ วนราวร้อยละ 70.6 ของจานวนครัวเรื อน (แหล่งที่มา: ข้อมูล ของกลุ่มทรู ) ซึ่ งต่ากว่าประเทศที่พฒั นาแล้วในแถบเอเชี ย อย่างเช่น ฮ่องกง (ร้อยละ 86) และไต้หวัน (ร้อยละ 97) (แหล่งที่มา: CASBAA) จึงนับว่ามีโอกาสเติบโตได้อีกมาก ทรู วชิ นั่ ส์เป็ นผูป้ ระกอบธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กที่ให้บริ การครอบคลุมทัว่ ประเทศรายใหญ่ รายเดี ยวในประเทศไทย แต่ยงั เผชิ ญความเสี่ ยงจากระเบียบและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่กาหนดโดยภาครัฐ ทั้งยัง จะต้องเผชิญกับอุปสรรคจากผูป้ ระกอบการรายใหม่ และการแข่งขันทางธุ รกิจที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย ภายหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสี ยงและกิจการโทรทัศน์ซ่ ึ งมีผล บังคับใช้เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2551 ผูป้ ระกอบธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กได้รับอนุ ญาตให้สามารถจัดเก็บ รายได้จากค่าโฆษณา ซึ่ งช่ วยเพิ่มโอกาสในการสร้ างรายได้จากคอนเทนต์เดิ มที่ มีอยู่ รวมทั้งเป็ นการเพิ่มมูลค่า ให้ก ับกิ จการของทรู วิชั่นส์ แม้รายได้จากค่าโฆษณาอาจจะช่ วยเสริ มสร้ างความแข็งแกร่ งทางการเงิ นให้ก ับ ผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กรายเล็ก ๆ และอาจทาให้มีการแข่งขันในตลาดเพิ่มขึ้น ทรู วิชนั่ ส์ ยงั คงมี ความได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขันจากการมีคอนเทนต์ที่ดีและมีคุณภาพสู ง หลังได้รับอนุ ญาตจาก อสมท ให้สามารถหารายได้จากการโฆษณา ทรู วิชนั่ ส์ เล็งเห็นว่า ทรู วิชนั่ ส์ น่าจะ เป็ นทางเลื อ กที่ ดี ส าหรั บ บริ ษ ทั โฆษณา เนื่ องจากมี ก ลุ่ ม ผูช้ มรายการที่ โ ดดเด่ น ซึ่ งประกอบด้ว ยลู ก ค้า ระดับ บนที่ มี กาลัง ซื้ อสู ง รวมทั้ง ลู ก ค้า ระดับ กลางและล่ า งซึ่ งมี จานวนเพิ่ม ขึ้ นอย่า งต่อเนื่ อง นอกจากนี้ จากช่ องรายการที่มีความหลากหลายของทรู วิชนั่ ส์ ทาให้สามารถแยกกลุ่มผูช้ มที่มีคุณลักษณะต่าง ๆ ได้อย่าง ชัดเจน เพื่อประโยชน์ของผูซ้ ้ื อโฆษณา ตั้งแต่ปี 2553 เป็ นต้นมา ทรู วชิ นั่ ส์ใช้กลยุทธ์ในการขยายบริ การสู่ ตลาดสาหรับลูกค้าระดับกลางและ ระดับล่างมากยิง่ ขึ้น เพื่อสร้างรายได้จากการรับทาการโฆษณา ซึ่ งมีอตั ราการทากาไรสู ง โดยการเพิ่มจานวน ผูร้ ับชมคือปั จจัยสาคัญต่อความสาเร็ จในการขยายบริ การสู่ ตลาดสาหรั บกลุ่ มลูกค้าระดับกลางและล่าง ซึ่ งมี

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 31


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การแข่งขันที่ สูง ทั้งนี้ การโฆษณาทางสื่ อโทรทัศน์ มี มูลค่าสู งถึ ง 69.2 พันล้านบาท ใน ปี 2556 (แหล่ งที่ มา: บริ ษทั AGB Nielsen) ในขณะที่สัดส่ วนมูลค่าการโฆษณาทางโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กยังคงอยู่ในระดับต่ า จึงมีโอกาสเติบโตในระยะยาว ปั ญหาการลักลอบใช้สัญญาณส่ งผลกระทบต่อผลประกอบการของทรู วิชนั่ ส์ ในหลายปี ที่ ผ่านมา ซึ่ ง ทรู วิชั่นส์ ไ ด้หาแนวทางดาเนิ นการใหม่ ๆ ในการปกป้ องลิ ข สิ ทธิ์ รายการที่ ท รู วิชั่นส์ ให้บริ ก ารอย่า ง ต่อเนื่ อง โดยในเดื อนตุลาคม ปี 2554 ทรู วิชนั่ ส์ ได้เริ่ มต้นการเปลี่ ยนกล่องรั บสัญญาณรุ่ นใหม่ซ่ ึ งสามารถ รองรับระบบออกอากาศใหม่ที่มีความปลอดภัยสู ง (ใช้เทคโนโลยีบีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4) ซึ่ งจากการตอบรับ ที่ดี ทรู วิชนั่ ส์ สามารถเปลี่ ยนกล่องรับสัญญาณใหม่ให้แล้วเสร็ จและเริ่ มใช้ระบบออกอากาศใหม่ดงั กล่าวได้ ในเดือนกรกฎาคม ปี 2555 ซึ่ งเร็ วกว่าเป้ าหมายเดิมในเดือนตุลาคมปี เดียวกัน โดยทรู วิชนั่ ส์ สามารถสกัดกั้น การละเมิดลิขสิ ทธิ์ รายการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพในทันที แม้ว่าการแข่งขันเพื่อให้ได้รับสิ ท ธิ ในการแพร่ ภาพ แพร่ เสี ยง รายการสาคัญๆ จะเพิ่มสู งขึ้ น แต่ ทรู วิชนั่ ส์ มีความได้เปรี ยบผูป้ ระกอบการรายอื่นจากการมีแพลตฟอร์ มที่แข็งแกร่ ง และความสัมพันธ์อนั ดี กับผูใ้ ห้บริ การคอนเทนต์ช้ นั นา การจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ในเดื อนตุลาคม 2554 ส่ งผลให้มีการจัดทาร่ างกฎระเบียบ และ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผูป้ ระกอบกิจการโทรทัศน์ ทั้งในระบบภาคพื้นดิน ระบบดาวเทียม และระบบ เคเบิล ซึ่ งเมื่ อบังคับใช้ จะทาให้ผูป้ ระกอบการทุ กรายต้องดาเนิ นกิ จการภายใต้กรอบการกากับดู แลของ คณะกรรมการ กสทช. เช่ นเดี ยวกับทรู วิชนั่ ส์ โดยในเดื อนมกราคม ปี 2556 กสท. ได้อนุ มตั ิการออกใบอนุ ญาต ให้กบั ผูป้ ระกอบการโทรทัศน์ผ่านดาวเที ยม ซึ่ งรวมถึ งกลุ่ มทรู วิชนั่ ส์ ด้วย ทาให้ตลาดมีการแข่งขันอย่าง เป็ นธรรมและมีกฎระเบียบที่ชดั เจนยิง่ ขึ้นอีกด้วยการแข่งขัน คณะกรรมการ กสทช. มีแผนที่จะออกใบอนุญาตเพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลจานวน 24 ช่อง ให้ก ับ ผูท้ ี่ ช นะการประมู ล ได้ ประมาณกลางเดื อนมี นาคม 2557 โดยกลุ่ ม ทรู ช นะการประมู ล ส าหรั บ ให้บริ การในช่องข่าวและช่องวาไรตี้ จานวน 2 ช่องรายการ การก้าวเข้าสู่ ระบบดิจิตอลทีวี นับเป็ นก้าวสาคัญ ของธุ รกิ จโทรทัศน์ใ นประเทศไทย โดยจะมี ผูใ้ ห้บ ริ การรายใหม่เพิ่มมากขึ้ น ซึ่ งส่ งผลให้มีค อนเทนต์ที่ หลากหลายและการแข่งขันในตลาดโฆษณาที่เพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ทรู วิชนั่ ส์ มีความพร้อมอย่างเต็มที่ สาหรั บการเติบโตในตลาดนี้ จากการมี แพลตฟอร์ มที่ แข็งแกร่ ง หลากหลายและครบถ้วนด้วยคอนเทนต์ คุ ณภาพที่ ทรู วิชนั่ ส์ ผลิ ตเอง และได้รับสิ ท ธิ์ ขาดในการเผยแพร่ แต่ เพียงผูเ้ ดี ยว การเข้า สู่ ตลาดดิ จิตอลที วี จะช่วยเสริ มธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กของทรู วิชนั่ ส์ และผลักดันการเติบโตของรายได้ค่าโฆษณา และค่าสปอนเซอร์

ส่วนที่ 1

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 32


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

2.6

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความคืบหน้ าด้ านการกากับดูแลกิจการโทรคมนาคม

โครงสร้ า งการก ากับ ดู แ ลกิ จ การโทรคมนาคมในประเทศไทยมี ค วามคื บ หน้ า ขึ้ น เป็ นล าดับ โดยเฉพาะหลังการจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ในเดื อนตุลาคม 2554 ส่ งผลให้มีการออกกฎเกณฑ์และ ข้อบังคับต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น รวมถึ งการก้าวเข้าสู่ ระบบเสรี มากขึ้นของธุ รกิ จโทรคมนาคมในประเทศไทย จากการที่คณะกรรมการ กสทช. ได้ออกใบอนุ ญาตต่าง ๆ ให้กบั ผูป้ ระกอบการทั้งในด้าน กิ จการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม อาทิเช่น ใบอนุ ญาตใช้คลื่ นความถี่ 2.1 GHz ในเดือนธันวาคม 2555 ใบอนุ ญาต ให้บริ การกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์ ในเดือน มกราคม 2556 นอกจากนี้ ในเดื อ นธัน วาคม 2556 คณะกรรมการ กสทช. ประสบความส าเร็ จ ในการจัด ตั้ง การประมูลคลื่นความถี่เพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลเพื่อให้บริ การทางธุ รกิจระดับชาติ โดยมีแผน ที่จะสามารถออกใบอนุ ญาตให้กบั ผูช้ นะการประมูลซึ่ งรวมถึ งบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ในกลางเดื อนมีนาคม 2557 และเริ่ มให้บริ การในเดือนเมษายนปี เดียวกันอีกด้วย อย่างไรก็ตาม กลุ่ มทรู หวังว่าจะได้เห็ นความก้าวหน้าด้านการกากับดู แล ในประเด็นต่าง ๆ ที่ ยงั ไม่คืบหน้า อาทิเช่น การจัดสรรคลื่นความถี่ใหม่ (Re-farming) สาหรับคลื่นความถี่ที่ปัจจุบนั ถูกใช้งานโดย ผูป้ ระกอบการภายใต้มาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณี สิ้นสุ ดการอนุ ญาตสัมปทานหรื อ สัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ของคณะกรรมการ กสทช. ตารางแสดงใบอนุญาตทีก่ ลุ่มทรู ได้ รับ ประเภท ใบอนุญาต

บริษทั ย่อย และบริษทั ในเครือ ใบอนุญาตบริการอินเทอร์ เน็ต 1 บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชี ยล อินเตอร์เนต จากัด 2 บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต จากัด 3 บริ ษทั เอเชีย อินโฟเน็ท จากัด 4 บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ เนล เกตเวย์ จากัด

1 1 1 2

5 บริ ษทั ทรู มูฟ จากัด ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม

1

บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จากัด (เดิมชื่อ ทรู ดิจิตอล เอ็น 6 เตอร์เทนเม้นท์) 7

บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จากัด

ส่วนที่ 1

1 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ISP ISP ISP บริ การอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ ระหว่างประเทศ และบริ การ ชุมสายอินเทอร์เน็ต ISP บริ การขายต่อบริ การ อินเทอร์เน็ต และ โทรศัพท์เคลื่อนที่ บริ การบัตรโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

อายุ วันที่ใบอนุญาต วันที่บอร์ ดอนุมัติ ใบอนุญาต หมดอายุ 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี

23 มิ.ย. 2552 18 ส.ค. 2552 5 ก.พ. 2553 19 พ.ค. 2554

22 มิ.ย. 2557 17 ส.ค. 2557 4 ก.พ. 2558 18 พ.ค. 2559

5 ปี

25 ส.ค. 2552

24 ส.ค. 2557

5 ปี

2 ส.ค. 2552

1 ส.ค. 2557

5 ปี

11 ต.ค. 2552

10 ต.ค. 2557

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 33


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ประเภท ใบอนุญาต

บริษทั ย่อย และบริษทั ในเครือ 8 บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ เนล เกตเวย์ จากัด 9

1 3

10 บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด

3

11 บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จากัด

3

12 บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จากัด

1

13 บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์ เชียลอินเตอร์ เนต จากัด

1

14 บริ ษทั เรี ยล มูฟ จากัด

1

15 บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จากัด

3

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริ การโทรศัพท์สาธารณะ บริ การขายต่อบริ การวงจรเช่า ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริ การเสริ ม บริ การโทรศัพท์ประจาที่ และ บริ การเสริ ม บริ การขายต่อบริ การโทรคมนาคม เพื่อสาธารณะ บริ การวงจร หรื อ ช่องสัญญาณเช่า บริ การขายต่อบริ การวงจรเช่ า ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ บริ การขายต่อบริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่ บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมไร้ สาย

อายุ วันที่ใบอนุญาต วันที่บอร์ ดอนุมัติ ใบอนุญาต หมดอายุ 5 ปี 15 ปี

29 มิ.ย. 2552 11 พ.ย. 2552

28 มิ.ย. 2557 10 พ.ย. 2567

20 ปี

25 ม.ค. 2550

24 ม.ค. 2570

20 ปี

8 ธ.ค. 2549

7 ธ.ค. 2569

5 ปี

26 ส.ค. 2552

25 ส.ค. 2557

5 ปี

11 พ.ย. 2552

10 พ.ย. 2557

5 ปี

16 ธ.ค. 2553

15 ธ.ค. 2558

15 ปี

7 ธ.ค. 2555

6 ธ.ค. 2570

2 ปี

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

2 ปี

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

2 ปี

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

15 ปี

21 ม.ค. 2556

20 ม.ค. 2571

ใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ 16 บริ ษทั ซี นิเพล็กซ์ จากัด 17 บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จากัด 18 บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด 19 บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จากัด

ส่วนที่ 1

บริ การกระจายเสี ยงหรื อ โทรทัศน์ บริ การกระจายเสี ยงหรื อ โทรทัศน์ บริ การกระจายเสี ยงหรื อ โทรทัศน์ โครงข่ายกระจายเสี ยง หรื อโทรทัศน์ (ระดับชาติ)

ลักษณะกำรประกอบธุรกิจ

บริ การโทรทัศน์บอกรับ สมาชิก บริ การโทรทัศน์บอกรับ สมาชิก บริ การโทรทัศน์บอกรับ สมาชิก บริ การโครงข่ายโทรทัศน์ บอกรับสมาชิก

หัวข ้อที่ 2 - หน ้ำ 34


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

3.

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ปัจจัยความเสี่ ยง

กลุ่มทรู เล็งเห็นโอกาสการเติบโตในธุ รกิจหลักของบริ ษทั ฯ สาหรับปี 2557 โดยเฉพาะกลุ่มทรู โมบาย หลังได้รับใบอนุ ญาตประกอบกิ จการโทรคมนาคมบนคลื่ น 2.1 GHz ซึ่ งทาให้กลุ่ มทรู โมบายสามารถ เปิ ดให้บริ การ 4G LTE เป็ นรายแรกในประเทศในเดือนพฤษภาคม 2556 พร้อมทั้งการก้าวข้ามผ่านระบบ สัมปทานหลังจากสัญญาให้ดาเนิ นการฯ ระหว่าง CAT Telecom และทรู มูฟ สิ้ นสุ ดลงในเดือนกันยายน 2556 ที่ ผ่ า นมา รวมทั้ง การเพิ่ ม ความคุ ้ม ค่ า ให้ ก ับ บริ ก ารบรอดแบนด์ อิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นเทคโนโลยี FTTx เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และเทคโนโลยี xDSLและการขยายโครงข่า ยบรอดแบนด์อย่างต่ อเนื่ องซึ่ ง ครอบคลุมแล้วถึง 4.3 ล้านครัวเรื อน ใน 61 จังหวัดทัว่ ประเทศ ณ สิ้ นปี 2556 ในขณะที่ทรู วิชนั่ ส์ เสริ มความ แข็งแกร่ งให้กบั แพลตฟอร์ มด้วยความเป็ นผูน้ าทั้งด้านคอนเทนต์และเทคโนโลยี อีกทั้งบริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ ได้ เป็ นหนึ่ งในผูช้ นะการประมูลคลื่นความถี่ เพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิ จิตอลเพื่อให้บริ การทางธุ รกิ จ ระดับชาติ ทาให้มีความพร้อมในการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู ตระหนักถึ งปั จจัยความเสี่ ยง ต่าง ๆ ซึ่ งอาจส่ งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย ดังต่อไปนี้ ความเสี่ ยงทีเ่ กี่ยวกับการดาเนินงาน ความเสี่ ยงทีเ่ กี่ยวข้ องกับการแข่ งขันทางการตลาด บริ ษทั ฯ และกลุ่มธุ รกิจต่าง ๆ ของกลุ่มทรู ยงั คงต้องเผชิ ญกับการแข่งขันในตลาดโทรคมนาคมที่ทวี ความรุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะหลัง การก้า วเข้า สู่ ก ารแข่ ง ขัน โดยเสรี อ ย่า งเป็ นธรรมมากขึ้ น ของธุ ร กิ จ โทรคมนาคมในประเทศไทย ตลาดบริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ยงั คงมีการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง โดยเฉพาะตลาดบริ การที่ ไม่ใช่เสี ยง ภายหลังจากการที่คณะกรรมการ กสทช. ได้ออกใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที่ 3 และใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz ในเดือนธันวาคม ปี 2555 ให้กบั เรี ยลฟิ วเจอร์ ซึ่ งเป็ น บริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู รวมทั้งบริ ษทั ดี แทค เนทเวอร์ ค จากัด และบริ ษทั แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ ทเวอร์ ค จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของดี แทคและเอไอเอส ตามลาดับ ส่ งผลให้มีผใู ้ ห้บริ การรายใหม่ที่ให้บริ การ 3G บนคลื่น 2.1 GHz ตั้งแต่เดื อนพฤษภาคม 2556 เป็ นต้นมา โดยเครื อข่ายสังคมออนไลน์และการใช้งาน สมาร์ ทดีไวซ์ที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับราคาสมาร์ ทดีไวซ์ที่ปรับตัวลดลง ทาให้ผปู ้ ระกอบการมีการแข่งขันกัน นาเสนอแพ็กเกจร่ วมกับสมาร์ ทดีไวซ์ที่หลากหลายในราคาที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้เพื่อดึงดูดลูกค้าและ โอนย้ายลูกค้าที่ใช้บริ การบนระบบ 2G มาสู่ ระบบ 3G มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ กลุ่มทรู มีความได้เปรี ยบผูใ้ ห้บริ การ 3G รายอื่น เนื่องจากบริ การ 3G+ ของทรู มูฟ เอช บนคลื่น 850 MHz ของ CAT Telecom มีความครอบคลุม มากที่สุดทัว่ ประเทศแล้วกว่าร้ อยละ 95 ของประชากร ณ สิ้ นปี 2556 โดยกลุ่มทรู มุ่งมัน่ ที่จะวางโครงข่าย การให้บริ การบนคลื่น 2.1 GHz ผ่านทั้งเทคโนโลยี 3G และ 4G LTE ให้ครอบคลุมกว่าร้อยละ 50 ของ ประชากรภายในสิ้ นปี 2557 เพื่อเสริ มบริ การ 3G+ ของทรู มูฟ เอช ให้มีคุณภาพสู งยิ่งขึ้น โดยการผสานข้อดี ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ของการให้บริ การบนคลื่น 2.1 GHz ที่มีความจุสัญญาณต่อพื้นที่สูง ซึ่ งรองรับการใช้บริ การของกลุ่มลูกค้า ในเมืองและย่านธุ รกิจที่มีการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่สูงได้เป็ นอย่างดี กับการให้บริ การบนคลื่น 850 MHz ที่สามารถให้บริ การครอบคลุมพื้นที่ได้กว้างขวางกว่า จึงทาให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การลูกค้าได้ครอบคลุม ทัว่ ประเทศด้วยประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ทั้งยังสร้างความได้เปรี ยบในแง่ของการลงทุนให้กบั กลุ่มทรู ส่ วนธุ รกิ จโทรศัพท์พ้ืนฐานของบริ ษทั ฯ ที่ทาหน้าที่จดั สร้ างโครงข่ายพื้นฐานตามสัญญาร่ วมการ งานฯ กับทีโอที ยังคงเผชิ ญกับการแข่งขันที่ทวีความรุ นแรงยิ่งขึ้นจากบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่และบริ การ เสี ยงผ่านการให้บริ การอินเทอร์ เน็ต (VoIP) เนื่องจากบริ การดังกล่าวมีอตั ราค่าบริ การที่ต่ากว่าอัตราค่าบริ การ โทรศัพท์พ้นื ฐานแบบเดิม แม้โทรศัพท์พ้นื ฐานจะสามารถให้บริ การด้วยคุณภาพที่ดีกว่า สาหรับตลาดอินเทอร์ เน็ตและบรอดแบนด์น้ นั กลุ่มทรู มีคู่แข่งรายสาคัญ ได้แก่ ทีโอทีและบริ ษทั ทริ ป เปิ ลที บรอดแบนด์ จากัด (หรื อ 3BB ในปั จจุบนั ) ซึ่ งปั จจุบนั มีการขยายพื้นที่ให้บริ การสู่ กรุ งเทพมหานครและ ปริ มณฑลซึ่ งเป็ นตลาดหลักในปั จจุบนั ของกลุ่ มทรู ออนไลน์เพิ่มมากขึ้ น อย่างไรก็ดี ผูใ้ ห้บริ การอิ นเทอร์ เน็ ต ความเร็ วสู งทุกรายยังคงใช้เทคโนโลยี ADSL เป็ นหลักในการให้บริ การแก่กลุ่มลูกค้าทัว่ ไป ซึ่ งปั จจุบนั ใกล้เข้าถึง ขีดจากัดของเทคโนโลยีแล้ว ในขณะที่เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และเทคโนโลยี FTTx เป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่เข้ามา เสริ มและสามารถให้บริ การอินเทอร์ เน็ตที่มีความเร็ วสู งกว่าเทคโนโลยี ADSL มาก ทาให้กลุ่มทรู เล็งเห็นโอกาสใน การเติบโตรายได้แบบก้าวกระโดดและเพิ่มส่ วนแบ่งการตลาด โดยได้เน้นการลงทุนในเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และขยายความครอบคลุมของโครงข่ายไปยังพื้นที่ในต่างจังหวัด ซึ่ งเป็ นตลาดที่มีขนาดใหญ่และมีโอกาสในการ เติบโตรายได้ที่สูงกว่าพื้นที่ในส่ วนกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล ซึ่ งเทคโนโลยี DOCSIS 3.0 นี้ ยงั สามารถ รองรั บบริ การเคเบิลที วีได้อีกด้วย จึ งช่ วยให้กลุ่ มทรู มีโอกาสได้รับผลตอบแทนจากการลงทุ นที่สูงกว่าคู่แข่ง นอกจากนี้ ในปี 2556 ที่ผา่ นมา ผูใ้ ห้บริ การบรอดแบนด์ในประเทศไทยได้เริ่ มมีการนาเสนอแพ็กเกจบรอดแบนด์ ผ่านเทคโนโลยี FTTH มากยิ่งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการใช้อินเทอร์ เน็ตด้วยความเร็ วที่สูงขึ้น โดยกลุ่มทรู นาเสนอบริ การผ่านเทคโนโลยี FTTH ให้กบั ลูกค้าระดับบนในเขตที่อยูอ่ าศัยหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าพรี เมียมได้ดียงิ่ ขึ้น กลุ่ มทรู คาดว่าการแข่งขันในธุ รกิ จต่าง ๆ ที่กลุ่ มทรู ให้บริ การจะยังคงสู งขึ้ นในอนาคต แต่เชื่ อว่า กลุ่มทรู มีความพร้อมสาหรับการแข่งขัน โดยมีขอ้ ได้เปรี ยบจากการมีแบรนด์ที่แข็งแกร่ ง และมีบริ การที่ครบ วงจร รวมทั้ ง มี ค อนเทนต์ ที่ ห ลากหลายภายใต้ ก ลยุ ท ธ์ ค อนเวอร์ เจนซ์ โดยเป็ นทั้ ง ผู ้ใ ห้ บ ริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่ บรอดแบนด์ รวมถึงธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ที่ทาหน้าที่จดั สร้างโครงข่ายพื้นฐานให้แก่ทีโอที เพื่อให้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน บริ การโทรทัศน์ระบบบอกรับสมาชิ ก และบริ การ WiFi ซึ่ งทาให้กลุ่มทรู แตกต่ างจากผูใ้ ห้บริ การรายอื่ น นอกจากที่ กล่ าวแล้ว กลุ่ มทรู ย งั มุ่ง มัน่ ที่ จะรั ก ษาและพัฒนาคุ ณภาพการ ให้บ ริ ก าร ทั้ง การบริ การลู ก ค้า และคุ ณภาพของโครงข่ า ย ด้วยการเดิ นหน้า ขยายพื้ นที่ การให้บริ ก ารให้ ครอบคลุ มและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการให้บริ การอย่างต่อเนื่ อง ยิ่งไปกว่านั้น บริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ยงั ได้ ยื่น ขอรั บ ใบอนุ ญาตใหม่ ๆ เพื่ อให้ ได้รั บประโยชน์ จากการปฏิ รู ปการก ากับดู แล และเพื่ อการแข่ งขันที่ เท่าเทียมกับผูป้ ระกอบการรายอื่น ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความเสี่ ยงเฉพาะธุรกิจของกลุ่มทรู วชิ ั่ นส์ ความเสี่ ยงหลักของกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ที่ผา่ นมา ได้แก่ การต้องพึ่งพาผูจ้ ดั หารายการเพื่อซื้ อรายการจาก ต่างประเทศ และความเสี่ ยงจากการถูกลักลอบใช้สัญญาณหรื อการละเมิดลิขสิ ทธิ์ ทาให้หากกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ไม่ สามารถจัดหารายการที่ เป็ นที่ สนใจของสมาชิ ก หรื อหากต้นทุ นของการจัดหารายการเพิ่ มสู ง ขึ้ นใน อนาคตก็ จ ะมี ผ ลกระทบต่ อ ผลประกอบการของกลุ่ มทรู วิ ชั่ นส์ ปั จจุ บ ันลู กค้าที่ สนใจในรายการจาก ต่างประเทศ ส่ วนใหญ่เป็ นลูกค้าที่สมัครแพ็กเกจพรี เมียม ซึ่ ง ณ สิ้ นปี 2556 มีจานวนรวม 342,535 ราย คิดเป็ น อัตราร้อยละ 14.4 ของฐานลูกค้ารวมของกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ทั้งนี้ ต้นทุ นรายการต่างประเทศรวมคิ ดเป็ นอัตรา ร้อยละ 19.8 ของรายได้จากค่าบริ การของกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ ในปี 2556 (เทียบกับอัตราร้อยละ 21.1 ในปี 2555) อย่างไรก็ดี จากการประกาศใช้ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 ทาให้มีผเู ้ ข้าแข่งขันใน ธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กเพิ่มมากขึ้น จึงเกิดการแข่งขันเพื่อแย่งชิ งส่ วนแบ่งการตลาดและเพื่อให้ ได้มาซึ่ งสิ ทธิ ในการแพร่ ภาพคอนเทนต์สาคัญ ๆ โดยเฉพาะคอนเทนต์กีาาจากต่างประเทศที่การแข่งขันยัง ทวีความรุ นแรงขึ้นซึ่ งอาจทาให้กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์มีค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่ งคอนเทนต์ต่าง ๆ เหล่านี้เพิ่มสู งขึ้น ทั้งนี้ กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ มิได้ชนะการประมูลสิ ทธิ ในการแพร่ ภาพและเสี ยง รายการฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก ฤดูกาล ปี 2013/2014 ถึง 2015/2016 ซึ่ งจัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2555 จึงมีความเสี่ ยงที่กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ จะ สู ญ เสี ย สมาชิ ก บางส่ ว นที่ ส มัค รใช้ บ ริ การเพื่ อ ดู ร ายการฟุ ต บอลพรี เมี ย ร์ ลี ก โดยเฉพาะ อย่ า งไรก็ ดี กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้มุ่งพัฒนาและนาเสนอรายการคุ ณภาพระดับโลกอย่างต่อเนื่ องเพื่อเพิ่มความคุ ม้ ค่าให้กบั สมาชิก โดยมีช่องรายการคุณภาพสู งสุ ดถึง 180 ช่อง ณ สิ้ นปี 2556 อีกทั้งยังคงสรรหารายการกีาาให้ลูกค้า รับชมอย่างเต็มอรรถรส โดยมี ช่องกี าารวม 29 ช่ อง ซึ่ งคิดเป็ นร้ อยละ 16 ของเนื้ อหาทั้งหมด นอกจากนี้ กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ ยงั มีจานวนช่องรายการระบบ HD 50 ช่อง ซึ่ งเป็ นจานวนที่สูงที่สุดในประเทศไทยในปี 2556 ที่ผา่ นมา สิ่ งเหล่านี้ช่วยลดผลกระทบจากการไม่ได้สิทธิ ในการแพร่ ภาพและเสี ยง รายการฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก โดยรายได้จากค่าสมาชิ กและค่าติดตั้งของกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ในปี 2556 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อนหน้า กลุ่มทรู เชื่ อว่าคอนเทนต์คุณภาพสู งที่หลากหลาย ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ เป็ นผูถ้ ือลิ ขสิ ทธิ์ เพียงรายเดี ยวในประเทศไทย จะช่วยรักษาความได้เปรี ยบในเชิ งการแข่งขันของกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ นอกจากนี้ ฐานสมาชิ กที่มีขนาดใหญ่ รวมทั้งประสบการณ์ในการดาเนิ นงานในธุ รกิจนี้ มายาวนานของกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ยังเป็ นหลักประกันด้านรายได้สาหรับผูใ้ ห้บริ การคอนเทนต์ จึงรักษาความเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจระหว่าง ผูใ้ ห้บริ การคอนเทนต์กบั กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ได้เป็ นอย่างดี ส่ วนความเสี่ ยงด้านการลักลอบใช้สัญญาณหรื อการละเมิดลิขสิ ทธิ์ เป็ นเรื่ องที่ป้องกันได้ยากและมี ผลกระทบต่ อผลการดาเนิ นงาน กระแสเงิ นสด และการจัดหารายการของกลุ่ มทรู วิชั่นส์ อย่างไรก็ตาม การจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนตุลาคม 2554 ส่ งผลให้มีการจัดทาร่ างกฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับผูป้ ระกอบกิ จการโทรทัศน์ ทั้งที่เป็ นโทรทัศน์ภาคพื้นดิน โทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม และผ่านสาย ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เคเบิ ล ซึ่ งเมื่ อบังคับใช้ จะทาให้ผูป้ ระกอบการทุ กรายต้องดาเนิ นกิ จการภายใต้กรอบการกากับดู แลของ คณะกรรมการ กสทช. เช่ นเดียวกับกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ โดยผูป้ ระกอบการทุกรายต้องซื้ อคอนเทนต์และรายการต่าง ๆ อย่า งถู ก กฎหมาย ซึ่ ง จะท าให้ขี ดความสามารถในการแข่ ง ขันลดลง โดยล่ า สุ ดในเดื อ นมกราคม 2556 คณะกรรมการกิ จการกระจายเสี ยงและกิ จการโทรทัศน์ได้อนุ มตั ิการออกใบอนุ ญาตให้กบั ผูป้ ระกอบการ โทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม ซึ่ งรวมถึงกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ดว้ ย ทาให้อุตสาหกรรมโทรทัศน์มีความชัดเจนขึ้นในเรื่ อง การกากับดูแล รวมทั้งจะทาให้ตลาดมีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมและมีกฎระเบียบที่ดียิ่งขึ้น ซึ่ งจะเป็ นผลดี ต่อผูป้ ระกอบการที่ดาเนินกิจการอย่างถูกต้องตามกฎหมาย แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อลดความเสี่ ยงจากการถูกลักลอบใช้สัญญาณหรื อการละเมิดลิขสิ ทธิ์ กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้เริ่ มดาเนิ นการปรับเปลี่ ยนระบบออกอากาศใหม่ที่มีความปลอดภัยสู ง ตั้งแต่เดื อนตุลาคม 2554 โดยให้ สิ ทธิ พิเศษเพื่อจูงใจลูกค้าแพ็กเกจพรี เมียมให้เปลี่ยนจากกล่องรับสัญญาณเดิมมาเป็ นกล่องรับสัญญาณรุ่ นใหม่ (Hybrid Set Top Box) ที่สามารถถอดรหัสสัญญาณ MPEG-4 ได้ และได้เปิ ดใช้งานระบบออกอากาศใหม่ ตั้งแต่กลางเดื อนกรกฎาคม 2555 ซึ่ งนอกจากจะเป็ นการมอบประสบการณ์ ในการรั บชมที่ดียิ่งขึ้ นให้กบั สมาชิ กด้วยคอนเทนต์ที่มีคุณภาพคมชัดระดับเอชดี (High Definition) รวมถึ งการรองรับบริ การอื่ น ๆ เช่ น ออนดีมานด์ สั่งอัดรายการล่วงหน้า ฯลฯ แล้วยังสามารถช่วยขจัดการลักลอบใช้สัญญาณได้ เนื่ องจากคอนเทนต์ และรายการเฉพาะสาหรับกลุ่มลูกค้าพรี เมียมของกลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ได้รับการเข้ารหัสสัญญาณเป็ น MPEG-4 ทั้งหมด ทั้งนี้ กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้ลงทุนมากกว่า 2,000 ล้านบาท เพื่อเปลี่ยนกล่องรับสัญญาณรุ่ นใหม่ (Hybrid Set Top Box) เกือบ 500,000 กล่อง เป็ นระบบเอชดีท้ งั หมด เพื่อแก้ปัญหาการลักลอบใช้สัญญาณ ซึ่ งการ ลงทุ นดังกล่ าวอาจกระทบต่อกระแสเงิ นสดของกลุ่ มทรู วิชั่นส์ แต่อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีการเข้ารหัส สัญญาณใหม่ และ MPEG-4 ของกล่องดังกล่าวได้พิสูจน์แล้วว่าสามารถป้ องกันการลักลอบชมรายการได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และยังช่ วยกระตุน้ ให้ผทู ้ ี่ชมรายการของกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ แบบไม่ถูกกฎหมายเข้าสมัคร เป็ นสมาชิกกับกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ทั้งนี้ การที่คณะกรรมการ กสทช. ได้ประกาศแผนสาหรับการออกใบอนุญาต เพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิ จิตอลจานวน 24 ช่องรายการ และแผนการเริ่ มให้บริ การในเดือนเมษายน 2557 จะส่ งผลให้มีผปู ้ ระกอบการฟรี ทีวีเพิ่มมากขึ้นและทาให้การแข่งขันในตลาดฟรี ทีวีและคอนเทนต์เพิ่มสู งขึ้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ มีความพร้ อมอย่างยิ่งด้วยการมีคอนเทนต์คุณภาพที่หลากหลายอยูใ่ นแพลตฟอร์ ม จึงทาให้กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์มีความได้เปรี ยบและมีการลงทุนที่ไม่ได้สูงมากเมื่อเทียบกับผูป้ ระกอบการรายใหม่ ความเสี่ ยงจากการทีก่ ลุ่มทรู วชิ ั่ นส์ อาจถูกจัดเก็บค่ าลิขสิ ทธิ์ในการเผยแพร่ งานดนตรีกรรม จากการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยง ในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงของคอนเทนต์ต่าง ๆ ทางกลุ่มทรู วิชนั่ ส์ มีนโยบายที่จะแพร่ ภาพแพร่ เสี ยง เฉพาะคอนเทนต์ที่กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้สรรค์สร้ างขึ้นมาและที่กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้รับสิ ทธิ ให้แพร่ ภาพแพร่ เสี ยง จากผูท้ รงสิ ทธิ ในลิขสิ ทธิ์ ของคอนเทนต์น้ นั โดยบริ ษทั ฯ เข้าใจว่าสิ ทธิ ที่กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ ได้รับมาในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงนั้นรวมถึงสิ ทธิ ในการแพร่ เสี ยงดนตรี กรรมจากคอนเทนต์ดงั กล่าวด้วย โดยแม้วา่ กลุ่มทรู วิชนั่ ส์ จะ ได้รับแจ้งจากองค์กรจัดเก็บค่าลิ ขสิ ทธิ์ ให้ชาระค่าตอบแทนการเผยแพร่ งานดนตรี กรรมผ่านคอนเทนต์ของ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ทรู วิชนั่ ส์ ดว้ ยมูลค่าประมาณ 6 ล้านบาท โดยอ้างว่าลิขสิ ทธิ์ ในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงที่บริ ษทั ย่อยได้รับมานั้น ไม่รวมถึงสิ ทธิ ในการแพร่ เสี ยงของดนตรี กรรมด้วย กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ได้มีการเจรจากับองค์กรจัดเก็บค่าลิขสิ ทธิ์ เป็ นการเรี ยบร้อย และได้มีการดาเนินการถอนฟ้ องคดีดงั กล่าวแล้วตั้งแต่วนั ที่ 27 ธันวาคม 2556 ความเสี่ ยงทีเ่ กี่ยวข้ องกับการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื่ อสารมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและความต้องการของลูกค้าก็เปลี่ยนแปลงไป ตามวิวฒั นาการในผลิตภัณฑ์และบริ การใหม่ ๆ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงด้านกฎเกณฑ์การกากับดูแลต่างก็มีส่วน ทาให้มีการเปิ ดตลาดและให้บริ การด้วยเทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงคาดว่าปั จจัยต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น จะยังคงมี ผลต่อธุ รกิ จสื่ อสารของประเทศไทยในอนาคต เพื่อตอบรับกับแนวโน้มใหม่ ๆ ด้านเทคโนโลยี อาจทาให้ กลุ่ ม ทรู มี ค่ า ใช้จ่ า ยในการลงทุ น และการด าเนิ น งานสู ง ขึ้ นเป็ นอย่า งมาก และหากกลุ่ ม ทรู ไ ม่ ล งทุ นใน เทคโนโลยีใหม่อาจจะมีผลทาให้ขีดความสามารถในการแข่งขันและความพึงพอใจของลูกค้าลดลง อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู คาดว่า ด้วยผลิตภัณฑ์และบริ การ ตลอดจนฐานรายได้และลูกค้าที่หลากหลาย จะทาให้สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและรักษารายได้ให้อยูใ่ นกลุ่มทรู ได้ดีกว่าผูใ้ ห้บริ การที่มี เพียงบริ การเดียว ความเสี่ ยงด้ านการกากับดูแล ความเสี่ ยงของบริการคงสิ ทธิเลขหมายโทรศัพท์เคลือ่ นที่และข้ อจากัดของบริการ ในเดื อนธันวาคม 2553 ผูป้ ระกอบการโทรศัพ ท์เคลื่ อนที่ ได้เริ่ มเปิ ดให้บริ ก ารคงสิ ทธิ เลขหมาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Number Portability - MNP) ทาให้ลูกค้าสามารถเปลี่ยนผูใ้ ห้บริ การได้โดยไม่ จ าเป็ นต้อ งเปลี่ ย นเลขหมายโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ ซึ่ งนั บ ตั้ง แต่ มี ก ารเปิ ดให้ บ ริ การคงสิ ท ธิ เ ลขหมาย โทรศัพท์เคลื่ อนที่ กลุ่ มทรู โมบายสามารถเพิ่มลู กค้ารายเดื อนซึ่ งมีรายได้ต่อเลขหมายต่อเดื อนสู งมากขึ้ น โดยเฉพาะกลุ่มผูใ้ ช้สมาร์ ทโฟนที่ สนใจใช้บริ การ 3G+ ของกลุ่ มทรู โมบายที่ ให้บริ การครอบคลุ มพื้นที่ มากกว่าผูใ้ ห้บริ การรายอื่น ๆ ทั้งนี้ การจากัดจานวนการให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อวัน ของ บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จากัด (Clearing House) อาจส่ งผลให้อตั ราการได้มา ซึ่ งลูกค้าใหม่ (ซึ่ งปั จจุ บนั ใช้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ของผูป้ ระกอบการรายอื่น ) ของบริ ษทั ย่อยภายใต้ กลุ่มทรู โมบายไม่สูงเท่าที่ควร อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 กทค. ได้แถลงนโยบายผ่านสื่ อ ว่า พร้ อ มผลัก ดัน การปรั บ ปรุ ง การให้ บ ริ ก ารคงสิ ท ธิ เ ลขหมายโทรศัพ ท์เ คลื่ อ นที่ เพื่ อ รองรั บ การเปิ ด ให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G กทค. จึงมีนโยบายดาเนินการ ดังนี้ 1. ปรับปรุ งขยายขีดความสามารถในการโอนย้ายเลขหมายโทรศัพท์เพื่อให้รองรับปริ มาณความ ต้องการโอนย้ายเลขหมายของผูใ้ ช้บริ การได้อย่างเพียงพอและเต็มประสิ ทธิ ภาพ

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2. ขยายจุ ดพื้นที่ และช่ องทางการให้บ ริ ก ารการขอโอนย้า ยเลขหมายโทรศัพท์รวมทั้งปรั บ ปรุ ง ขั้นตอนการขอโอนย้ายเลขหมายโทรศัพท์ โดยผลักดันให้สามารถดาเนิ นการได้รวดเร็ วกว่าเดิม ซึ่ ง ปั จ จุ บ ัน ก าหนดไว้ 3 วันท าการ และเพิ่ ม ช่ อ งทางการให้ บ ริ ก ารใหม่ ๆ โดยผูใ้ ช้บ ริ ก าร ไม่จาเป็ นต้องเดิ นทางไปยังจุดให้บริ การ เช่ น การยื่นคาขอผ่านช่ องทางอินเทอร์ เน็ต หรื อผ่าน ระบบ SMS บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของตนเอง เป็ นต้น 3. ทบทวนค่าธรรมเนี ยมการโอนย้ายผูใ้ ช้บริ การจากเดิ มที่กาหนดไว้ 99 บาทต่อเลขหมาย เพื่อลด ภาระค่าใช้จ่ายของผูใ้ ช้บริ การ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2555 กทค. ได้เชิ ญผูแ้ ทนจากผูป้ ระกอบการโทรศัพท์เคลื่ อนที่ทุกราย ได้แก่ เอไอเอส ดี แทค ทรู มูฟ CAT Telecom และทีโอที และผูแ้ ทนจาก Clearing House ร่ วมกันหารื อทั้ง 3 ประเด็นดังกล่ าว ซึ่ งผูป้ ระกอบการทุ กรายรวมทั้งผูแ้ ทนจาก Clearing House ยินดีให้การสนับสนุ น นโยบายของ กทค. และรับไปร่ วมกันพิจารณาจัดทาแผนเพื่อให้เกิดเป็ นรู ปธรรมโดยจะเสนอรายละเอียดต่อ กทค. ภายในเดือนมกราคม 2556 โดยผูป้ ระกอบการโทรศัพท์เคลื่ อนที่ เอไอเอส ดี แทค ทรู มูฟ ได้ทยอย จัดส่ งร่ างเงื่อนไขแนวทางปฏิบตั ิการโอนย้ายผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ฉบับปรับปรุ งตามแนวทางข้างต้น ให้แก่เลขาธิ การสานักงานคณะกรรมการ กสทช. ก่อนสิ้ นเดื อนมกราคม 2556 แล้วโดยวันที่ 5 มิถุนายน 2556 สานักงานคณะกรรมการ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้งมติการประชุม กทค. ครั้งที่ 19/2556 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 ว่ามีมติเห็นชอบให้กาหนดอัตราค่าธรรมเนียมการโอนย้ายในอัตรา 29 บาทต่อเลขหมาย (รวม VAT) โดยให้ ผูป้ ระกอบการก าหนดใช้ อ ัต ราค่ า ธรรมเนี ย มดัง กล่ า ว ภายในวัน ที่ 30 มิ ถุ น ายน 2556 และต่ อ มาเมื่ อ วันที่ 10 มิถุนายน 2556 กทค. ได้มีมติการประชุ มครั้งที่ 22/2556 ให้ใช้วิธีการส่ งข้อความสั้น SMS เพื่อการ ลงทะเบียนขอใช้บริ การล่วงหน้า (Pre-Register) เพื่อการยืนยันตัวตนผูใ้ ช้บริ การเท่านั้น และเห็นชอบให้ใช้ ช่องทางการโอนย้าย ซึ่ งได้แก่ (1) จุดให้บริ การของผูใ้ ห้บริ การรายใหม่ (2) Website ของผูใ้ ห้บริ การรายใหม่ และ (3) Call center ของผูใ้ ห้บริ การรายใหม่ เพื่อส่ งเสริ มการให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ นอกจากนี้ ในวันที่ 24 มิถุนายน 2556 ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั Clearing House ได้มีมติ ครั้งที่ 8/2556 ให้ขยายความสามารถของระบบ ให้สามารถรองรับได้ 300,000 เลขหมายต่อวัน โดยให้เริ่ ม มี ผ ลตั้ง แต่ ว นั ที่ 1 กรกฎาคม 2556 ทั้ง นี้ ให้ แ บ่ ง จ านวนที่ ร ะบบสามารถรองรั บ ได้ ให้ แ ก่ ผูใ้ ห้ บ ริ ก าร โทรศัพท์เคลื่อนที่ท้ งั 5 กลุ่ม เป็ นจานวนเท่า ๆ กัน คือ กลุ่มละ 60,000 เลขหมายต่อวันอีกด้วย อย่างไรก็ตาม การเพิ่มความสามารถในการให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลื่ อนที่ดงั กล่าว ทาให้กลุ่มทรู โมบายอาจจะมีความเสี่ ยงในการสู ญเสี ยลูกค้าแบบเติมเงินบางส่ วน โดยเฉพาะในต่างจังหวัด เนื่องจากการให้บริ การ 2G ของบริ ษทั ย่อยครอบคลุมพื้นที่นอ้ ยกว่าผูป้ ระกอบการรายใหญ่รายอื่น ๆ

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความเสี่ ยงจากการเปลีย่ นแปลงด้ านกฎเกณฑ์ การกากับดูแล ตามข้อตกลงที่ประเทศไทยได้ให้ไว้กบั องค์กรการค้าโลก หรื อ WTO เพื่อเปิ ดเสรี ธุรกิจโทรคมนาคมไทย ภายในปี 2549 รั ฐ บาลไทยได้ เ ริ่ ม ด าเนิ น การปฏิ รู ป การก ากับ ดู แ ลกิ จ การโทรคมนาคม โดยการออก พระราชบัญญัติ หลัก 2 ฉบับ อันได้แก่ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่ นความถี่ พ.ศ. 2543 ซึ่ งประกาศใช้เมื่ อ วันที่ 7 มีนาคม 2543 และ พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2544 ทั้งนี้ เพื่อให้เป็ นไปตาม พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2543 จะต้องมีการจัดตั้งองค์กรเพื่อการกากับ ดูแล 2 องค์กร คือ คณะกรรมการ กทช. และคณะกรรมการ กสช. โดยในเดือนตุลาคม 2547 คณะกรรมการ กทช. ได้ถู กจัดตั้งขึ้ นเพื่ อเป็ นองค์ กรอิ สระในการก ากับดู แลกิ จการโทรคมนาคมซึ่ งเดิ มเป็ นอ านาจหน้ าที่ ของ องค์การโทรศัพท์แห่ งประเทศไทย (ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2545 ได้แปรสภาพเป็ น บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน) หรื อ ที โอที ) และการสื่ อสารแห่ งประเทศไทย (ณ วันที่ 14 สิ งหาคม 2546 ได้แปรสภาพเป็ น บริ ษ ทั กสท โทรคมนาคม จ ากัด (มหาชน) หรื อ CAT Telecom) และกรมไปรษณี ย ์โทรเลข (ปั จจุ บ ันเปลี่ ยนเป็ น บริ ษทั ไปรษณี ยไ์ ทย จากัด) อย่างไรก็ดี ความขัดแย้งทางการเมืองและนิติบญั ญัติ ทาให้ความพยายามในการจัดตั้งคณะกรรมการ กสช. ทั้ง สองครั้ ง (ในปี 2544 และ 2548) ไม่ เป็ นผลส าเร็ จ ก่ อให้ เกิ ดความสั บ สนในอุ ตสาหกรรม โทรคมนาคม กิจการกระจายเสี ยง กิจการวิทยุคมนาคม และกิจการโทรทัศน์ จนกระทัง่ ในวันที่ 20 ธันวาคม 2553 ได้มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 ซึ่ งมีผลให้มีการรวมองค์กรการกากับดูแลเป็ นองค์กรเดียว คือ คณะกรรมการ กสทช. เพื่อทาหน้าที่ กากับดูแลกิ จการวิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิ จการโทรคมนาคม แทนคณะกรรมการ กทช. ซึ่ ง คณะกรรมการ กสทช. ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้เข้าดารงตาแหน่งตั้งแต่วนั ที่ 7 ตุลาคม 2554 ทั้งนี้ ในการ ปฏิ บตั ิ หน้าที่ กฎหมายได้ก าหนดให้แบ่ง คณะกรรมการย่อย 2 คณะ เพื่อปฏิ บตั ิ การแทนคณะกรรมการ กสทช. คือ กสท. และ กทค. และนับแต่คณะกรรมการ กสทช. เข้ารับตาแหน่ งนั้น คณะกรรมการ กสทช. ได้เร่ งวางกรอบกฎเกณฑ์ก ารกากับ ดู แลกิ จการกระจายเสี ยง กิ จการโทรทัศน์ กิ จการวิทยุคมนาคม และ กิจการโทรคมนาคม โดย กทค. ได้เริ่ มปฏิรูปและประกาศแก้ไขกฎเกณฑ์ที่มีอยูใ่ ห้สอดคล้องกับสภาวการณ์ ในปั จจุบนั แต่อย่างไรก็ดี ขึ้นอยูว่ า่ คณะกรรมการ กสทช. ทั้ง 11 ท่าน จะผลักดันให้เกิดการเปิ ดเสรี และการ กาหนดกฎระเบียบต่าง ๆ ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลหรื อไม่ กลุ่ ม ทรู จ ะยัง คงนโยบายเชิ ง รุ ก ในการเจรจากับ คณะกรรมการ กสทช. กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร รวมทั้งกระทรวงการคลัง (ซึ่ งเป็ นผูถ้ ือหุ ้นของ CAT Telecom และทีโอที) เพื่อ สนับสนุนให้กระบวนการปฏิรูปธุ รกิจโทรคมนาคมให้เกิดการแข่งขันอย่างเสรี และเป็ นธรรมอย่างแท้จริ ง

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความเสี่ ยงจากการจัดสรรคลื่นความถี่สาหรับการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2555 เรี ยลฟิ วเจอร์ ซ่ ึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ได้เข้าร่ วมการประมูลใบอนุ ญาต ใช้คลื่นความถี่ สาหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล (International Mobile Telecommunications - IMT) ย่าน 2.1 GHz ตามประกาศของคณะกรรมการ กสทช. เรื่ องหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz 2555 และเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2555 เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้รับแจ้งว่าเป็ นหนึ่ งในผูช้ นะการประมูล ใบอนุญาตคลื่นความถี่ดงั กล่าว ในเดือนพฤศจิกายน 2555 สานักงานผูต้ รวจการแผ่นดินได้ยนื่ ฟ้ อง สานักงานคณะกรรมการ กสทช. ต่ อ ศาลปกครองกลาง เพื่ อ ขอให้ มี ค าสั่ ง เพิ ก ถอนผลการประมู ล และให้ มี ค าสั่ ง คุ ้ม ครองชั่ว คราวให้ คณะกรรมการ กสทช. ระงับการออกใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz โดยขอให้ศาลปกครอง กลางวิ นิ จ ฉั ย ว่ า การประมู ล ดัง กล่ า วเป็ นการแข่ ง ขัน โดยเสรี อย่ า งเป็ นธรรม ตามรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 47 และ พ.ร.บ. องค์ก รจัดสรรคลื่ นความถี่ พ.ศ. 2553 มาตรา 45 ประกอบมาตรา 41 วรรค 1 และวรรค 7 หรื อไม่ อย่างไรก็ดี เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2555 ศาลปกครองกลางมี คาสั่งไม่รับคาฟ้ องของผูต้ รวจการแผ่นดิ นในคดี ดงั กล่ าวไว้พิจารณา โดยระบุ ว่าผูต้ รวจการแผ่นดิ นไม่มี อานาจฟ้ อง และมี คาสั่งจาหน่ ายคดี ออกจากสารบบความ ดังนั้น ภายหลังจากศาลปกครองกลางมี คาสั่ ง ไม่รับคาฟ้ องของผูต้ รวจการแผ่นดินคดีดงั กล่าว เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการ กสทช. จึงได้ออก ใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz ให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ และผูช้ นะการประมูลรายอื่น ๆ แม้กระนั้น ผูต้ รวจการแผ่นดินและกลุ่มบุคคลที่อา้ งว่าเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยในคดีได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่งศาลปกครองกลางที่ ไม่รับคาฟ้ องของผูต้ รวจการแผ่นดิ นต่อศาลปกครองสู งสุ ด ดังนั้น ขณะนี้ คดี จึงอยู่ในระหว่างการพิจารณา อุทธรณ์ของศาลปกครองสู งสุ ด การได้มาซึ่ งใบอนุ ญาตใช้คลื่ นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz เป็ นการเดิ นหน้าเพื่อการเปิ ดเสรี อุตสาหกรรมโทรคมนาคม ซึ่ งส่ งผลให้มีการแข่งขันในธุ รกิ จนี้ เพิ่มมากขึ้ น และยังทาให้กลุ่ มทรู มีความ จาเป็ นต้องใช้เงิ นลงทุนเพิ่มขึ้นจากการประมูลใบอนุ ญาต รวมทั้งก่อสร้ างและขยายโครงข่ายและอุปกรณ์ เพื่อรองรับการให้บริ การบนคลื่นความถี่ 2.1 GHz เพิ่มเติมจากการลงทุนสาหรับการขยายบริ การ 3G บน คลื่ นความถี่ 850 MHz ทั้ง นี้ มี ค วามเสี่ ย งที่ เรี ย ลฟิ วเจอร์ อาจไม่ ส ามารถขยายโครงข่ า ยเพื่ อรองรั บ การให้บริ การบนคลื่ นความถี่ 2.1 GHz ได้ทนั ตามข้อกาหนดและเงื่ อนไขในการอนุ ญาตใช้คลื่ นดังกล่ าว และอาจถู ก ก าหนดค่ า ปรั บ รายวัน ในอัต ราร้ อ ยละ 0.05 ของราคาประมู ล สู ง สุ ด ของผู้รั บ ใบอนุ ญ าต ตลอดระยะเวลาที่ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขภายในระยะเวลาที่กาหนด อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู เชื่ อว่าการ ได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่ 2.1 GHz จะเป็ นประโยชน์ต่อกลุ่มทรู ดังได้กล่าวมาแล้วในหัวข้อ “ความเสี่ ยง ที่เกี่ ยวข้องกับการแข่งขันทางการตลาด” ซึ่ งโดยภาพรวมน่ าจะช่ วยส่ งเสริ มการวางแผนการพัฒนาธุ รกิ จ การทาการตลาด และการขยายฐานลูกค้าของบริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้มากขึ้น

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กลุ่มทรู มีความเสี่ ยงจากการสิ้ นสุ ดลงของสั ญญาให้ ดาเนินการฯ ของทรู มูฟจาก CAT Telecom และสั ญญา ร่ วมการงานฯ กิจการโทรศัพท์ พนื้ ฐานจากทีโอทีทจี่ ะสิ้นสุ ดลง เนื่องจากสัญญาให้ดาเนินการฯ ของทรู มูฟ สิ้ นสุ ดลงในเดือนกันยายน 2556 เพื่อสร้างความต่อเนื่ อง สาหรับธุ รกิ จของกลุ่มทรู โมบาย กลุ่มทรู ได้เข้าซื้ อหุ ้นของบริ ษทั ในกลุ่มฮัทชิ สัน ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 และต่อมาได้มีการทาสัญญากับ CAT Telecom ในวันที่ 27 มกราคม 2554 ทาให้เรี ยลมูฟซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ภายใต้กลุ่ มทรู โมบายเป็ นผูใ้ ห้บริ การ 3G+ แก่ ผูใ้ ช้บริ การในรู ปแบบขายต่อบริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ (Reseller) บนเทคโนโลยี 3G+ ของ CAT Telecom บนคลื่นความถี่ 850 MHz (ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช) จนถึงปี 2568 และในวันที่ 16 ตุลาคม 2555 เรี ยลฟิ วเจอร์ ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ได้เข้าร่ วมการประมูล ใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่สาหรับกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล (International Mobile Telecommunications IMT) ย่าน 2.1 GHz และคณะกรรมการ กสทช. ได้ออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ เพื่อประกอบกิจการได้ถึงปี 2570 ซึ่ งได้ช่วยขยายระยะเวลาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ของกลุ่มทรู โมบาย ออกไป นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 คณะอนุ กรรมการซึ่ งได้รับการแต่งตั้งจาก กทค. ได้เชิ ญ ผูป้ ระกอบการรายต่าง ๆ เข้าชี้ แจงเกี่ยวกับการกาหนดแนวทางการดาเนิ นการในกรณี สัญญาสัมปทานสิ้ นสุ ดลง โดยได้มีการกาหนดแนวทางที่ จาเป็ นต่าง ๆ เพื่อมิ ให้ผูใ้ ช้บริ การได้รับผลกระทบ โดยทรู มูฟนั้นมี ความ พร้อมที่จะดาเนินการต่าง ๆ เพื่อให้ผใู ้ ช้บริ การของทรู มูฟสามารถใช้บริ การต่อไปได้อย่างต่อเนื่ อง โดยต่อมา เมื่ อวันที่ 14 สิ ง หาคม 2556 คณะกรรมการ กสทช. จึ ง มี ม ติ เห็ นชอบในร่ า งประกาศมาตรการคุ ้ม ครอง ผูใ้ ช้บริ การในกรณี สิ้นสุ ดการอนุญาตสัมปทานหรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ งมีผลใช้บงั คับ ตั้งแต่วนั ที่ 30 สิ งหาคม 2556 โดยกาหนดให้ CAT Telecom และทรู มูฟมีหน้าที่ให้บริ การกับผูใ้ ช้บริ การ ต่อไปในระหว่างสัญญาสัมปทานสิ้ นสุ ดจนถึงวันที่คณะกรรมการ กสทช. ได้จดั สรรคลื่นความถี่ให้กบั ผูร้ ับ ใบอนุญาตที่ชนะการประมูลแล้วเสร็ จ โดยระยะเวลาดังกล่าวต้องไม่เกิน 1 ปี นับจากวันที่สิ้นสุ ดการอนุ ญาต สัมปทานหรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตามประกาศนี้ CAT Telecom และทรู มูฟมีหน้าที่ใน การจัดทาแผนคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การซึ่ งต้องมีสาระสาคัญเกี่ยวกับแผนงานประชาสัมพันธ์ให้ผใู ้ ช้บริ การทราบ ถึ ง การสิ้ น สุ ด สั ญ ญาสั ม ปทาน แผนงานส่ ง เสริ มให้ ผู ้ใ ช้ บ ริ ก ารสามารถใช้ บ ริ ก ารคงสิ ท ธิ เ ลขหมาย โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ และค่าใช้จ่ายในการให้บริ การและภาระที่เกิดขึ้นจากการที่ตอ้ งรักษาคุณภาพมาตรฐาน ในขณะที่จานวนผูใ้ ช้บริ การลดลงตลอดเวลา นอกจากนี้ ประกาศดังกล่าวยังกาหนดห้าม CAT Telecom และ ทรู มูฟ รับผูใ้ ช้บริ การรายใหม่เพิ่มขึ้นจากเดิม และกาหนดให้ CAT Telecom และทรู มูฟเป็ นผูร้ ับชาระเงิน รายได้จากการให้บริ การแทนรัฐโดยแยกบัญชี การรับเงินไว้เป็ นการเฉพาะ แล้วรายงานจานวนเงินรายได้ และดอกผลที่เกิดขึ้นซึ่ งได้หกั ต้นทุนค่าใช้โครงข่าย ค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคม ต้นทุนค่าใช้จ่ายใน การบริ หารจัดการ และต้นทุ นค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็ นในการให้บริ การแล้ว ส่ วนที่ เหลื อให้นาส่ งสานักงาน คณะกรรมการ กสทช. เพื่อตรวจสอบก่ อนนาส่ งเป็ นรายได้แผ่นดิ นต่อไป ทั้ง นี้ ยังมี ความไม่แน่ นอนว่า คณะกรรมการ กสทช. จะจัดประมูลคลื่นความถี่และออกใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่แก่ผชู ้ นะการประมูล ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ภายใน 1 ปี ได้หรื อไม่ หากคณะกรรมการ กสทช. ไม่สามารถดาเนิ นการดังกล่าวได้และไม่อนุ ญาตให้ CAT Telecom และทรู มูฟมีหน้าที่ให้บริ การกับผูใ้ ช้บริ การต่อไป อาจส่ งผลให้การบริ การแก่ผใู ้ ช้บริ การของทรู มูฟต้อง หยุดชะงักลง อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู เชื่ อว่า การบังคับใช้ประกาศฉบับนี้ และการที่กลุ่ มทรู มี เรี ยลมูฟและ เรี ยลฟิ วเจอร์ ในฐานะผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ จะช่วยให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การแก่ผใู ้ ช้บริ การของ ทรู มูฟได้อย่างต่อเนื่องภายหลังสัญญาให้ดาเนินการฯ สิ้ นสุ ด นอกเหนื อ จากที่ ก ล่ า วมาแล้ว นี้ สั ญ ญาร่ ว มการงานฯ ระหว่ า งบริ ษ ัท ฯ และที โ อที ที่ บ ริ ษ ัท ฯ ทาหน้าที่จดั สร้ างโครงข่ายพื้นฐานให้แก่ทีโอที สาหรับให้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานและบริ การเสริ ม ซึ่ งจะ สิ้ นสุ ดลงในเดือนตุลาคม 2560 อาจทาให้บริ ษทั ฯ มีความเสี่ ยงที่ตอ้ งขาดรายได้จากส่ วนแบ่งรายได้ที่ได้รับ จาก ที โ อที ภ ายหลัง สั ญญาร่ วมการงานฯ สิ้ น สุ ด ลง อย่า งไรก็ ต าม ในปั จจุ บ ัน บริ ษ ัท ทรู ยูนิเ วอร์ แ ซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษ ทั ย่อยที่ บ ริ ษ ทั ฯ ถื อหุ ้นในสั ดส่ วนร้ อยละ 100.0 ได้รับอนุ ญาตจาก คณะกรรมการ กทช. สาหรั บการให้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐานและบรอดแบนด์ทวั่ ประเทศ ซึ่ งบริ ษ ทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จากัด ได้ขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื่ อง ทาให้ความเสี่ ยงดังกล่าวลดลง ยิ่งไปกว่านั้น การสร้ างและขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ใหม่ภายใต้เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ยังช่ วยให้กลุ่ มทรู สามารถ ให้บริ การด้านเสี ยงที่มีคุณภาพสู งและสามารถบริ หารต้นทุนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้ง นี้ รั ฐบาลไทยได้มี ก ารขอให้ผูใ้ ห้บ ริ ก ารโทรคมนาคมจานวนหนึ่ ง เข้า ร่ วมการปรึ ก ษาหารื อ เกี่ ยวกับการแปรรู ปสัญญาร่ วมการงานฯ หรื อสัญญาให้ดาเนิ นการฯ เป็ นใบอนุ ญาตหรื อความตกลงอื่น ๆ โดยเป็ นส่ วนหนึ่ งของการเปิ ดเสรี ตลาดโทรคมนาคม อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู ไม่อาจคาดการณ์ ได้ว่าข้อกาหนด ของความตกลงแปรรู ปจะเป็ นอย่างไร อีกทั้งไม่อาจรับรองได้วา่ การแปรรู ปสัญญาร่ วมการงานฯ หรื อสัญญา ให้ดาเนิ นการฯ ของกลุ่มทรู จะเป็ นไปตามข้อกาหนดที่เอื้อประโยชน์ได้เท่ากับข้อกาหนดที่ใช้กบั คู่แข่งของ กลุ่มทรู หรื อข้อกาหนดที่กลุ่มทรู มีอยู่ในขณะนี้ หากผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายอื่นสามารถเจรจาต่อรอง ข้อกาหนดสาหรับการแปรรู ปสัญญาร่ วมการงานฯ หรื อสัญญาให้ดาเนินการฯ ได้ดีกว่ากลุ่มทรู กลุ่มทรู ก็อาจ เสี ยเปรี ยบในเชิงการแข่งขัน จึงอาจได้รับผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อการประกอบธุ รกิจของกลุ่มทรู อีกทั้ง ธุ รกิจ ฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และโอกาสทางธุ รกิจของกลุ่มทรู อาจได้รับผลกระทบในทางลบด้วย ทรู มูฟมีความเสี่ ยงที่เกิดจากข้ อโต้ แย้ งที่ทีโอทีเรี ยกให้ ทรู มูฟและ CAT Telecom ชาระค่ าเชื่ อมต่ อโครงข่ าย แบบเดิม (Access Charge) ให้ แก่ทโี อที ซึ่งอาจจะทาให้ บริษัทฯ มีค่าใช้ จ่ายเพิม่ ขึน้ ในอนาคต ทรู มูฟได้ดาเนิ นกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ภายใต้สัญญาให้ดาเนิ นการฯ ที่ CAT Telecom ตกลงให้ ทรู มูฟดาเนินการให้บริ การวิทยุคมนาคมซึ่ งสัญญาให้ดาเนิ นการฯ ได้สิ้นสุ ดลงแล้วตั้งแต่วนั ที่ 15 กันยายน 2556 โดยปั จจุบ นั ทรู มูฟ ยังคงมีหน้าที่ ให้บริ การตามประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ ม้ ครอง ผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณี สิ้นสุ ดการอนุญาต สัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 นอกจากนั้น ทรู มูฟได้ลงนามในข้อตกลงเรื่ องการเชื่ อมโยงโครงข่าย หรื อข้อตกลง AC กับ CAT Telecom และทีโอที ซึ่ งทาให้ทรู มูฟ และ CAT Telecom จะต้องจ่ายค่า AC ให้แก่ทีโอทีในอัตรา 200 บาท ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ต่อเดือนต่อลูกค้าหนึ่ งเลขหมาย และครึ่ งหนึ่ งของเงินผลประโยชน์ตอบแทนที่ CAT Telecom ได้รับจากท รู มูฟ สาหรับลูกค้าแบบเหมาจ่ายรายเดือน (Post Pay) และในอัตราร้อยละ 18 ของรายได้สาหรับลูกค้าแบบ เติมเงิน (Pre Pay) นอกเหนื อจากที่ทรู มูฟต้องจ่ายเงินผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ในอัตราร้อยละ 25 หรื อ 30 (ตามแต่ช่วงเวลาที่กาหนดไว้ในสัญญาให้ดาเนินการฯ ) จากรายได้สุทธิภายหลังจากหักค่า AC ในเดือนพฤษภาคม 2549 คณะกรรมการ กทช. ได้ออกประกาศ เรื่ อง IC ซึ่ งระบุให้ผปู้ ระกอบการ โทรคมนาคมที่ มี โครงข่า ยของตนเองต้องอนุ ญาตให้ผูป้ ระกอบการรายอื่ นสามารถเข้า เชื่ อมต่ อและใช้ โครงข่ายของตนเองได้อย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ หากมีสัญญาใดที่มีผลบังคับใช้ก่อนหน้า แต่ขดั ต่อประกาศ เรื่ อง IC ให้ถือตามประกาศดังกล่าว ทั้งนี้ ประกาศคณะกรรมการ กทช. ฉบับนี้ ได้กาหนดระบบการจ่าย ค่ า เชื่ อ มต่ อ โครงข่ า ยรู ป แบบใหม่ หรื อ ค่ า IC ที่ ส ะท้อ นปริ ม าณการใช้ง านระหว่ า งโครงข่ า ยของ ผูป้ ระกอบการแต่ละราย และได้กาหนดให้ผปู ้ ระกอบการเจรจาเพื่อการเข้าสู่ ขอ้ ตกลง IC โดยค่าเชื่ อมต่อ โครงข่ายต้องอยู่บนพื้นฐานของต้นทุนของผูป้ ระกอบการแต่ละราย ซึ่ งต่อมาในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรู มูฟได้ร่วมลงนาม ในสัญญา IC กับดีแทค โดยสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ทนั ที และในวันที่ 16 มกราคม 2550 ทรู มูฟก็ได้ลงนามในสัญญา IC กับเอไอเอส ภายหลังการลงนามกับดีแทค ทรู มูฟได้หยุดจ่ายค่า AC ตามข้อตกลง AC กับ CAT Telecom และ ทีโอที เนื่องจากข้อตกลง AC ขัดต่อประกาศเรื่ อง IC ของ คณะกรรมการ กทช. ดังกล่าว ในกรณี การปฏิบตั ิ อย่างเท่าเที ยมกัน จากการเรี ยกเก็บค่า AC (ซึ่ งทีโอทีเป็ นผูไ้ ด้รับประโยชน์แต่เพียงฝ่ ายเดี ยวจากค่า AC) เนื่องจากทรู มูฟและ CAT Telecom เชื่อว่าเป็ นการปฏิบตั ิตามกฎหมาย และต้องเข้าสู่ ระบบเชื่ อมต่อโครงข่าย แบบใหม่ตามประกาศ IC อี กทั้งทรู มูฟยังได้มีการบอกเลิ กข้อตกลง AC แล้ว ทรู มูฟจึ งไม่มีภาระตาม กฎหมายใด ๆ ที่จะต้องจ่ายค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิมอีกต่อไป ในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรู มูฟได้ส่งหนังสื อแจ้งทีโอทีและ CAT Telecom ว่าจะหยุดชาระ ค่า AC เนื่ องจากอัตราและการเรี ยกเก็บค่า AC ขัดแย้งกับกฎหมายหลายประการ ทั้งนี้ ทรู มูฟได้ร้องขอให้ ทีโอทีปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการ กทช. และเข้าร่ วมลงนามในสัญญา IC เพื่อให้เป็ นไปตาม กฎหมายหรื อให้เรี ยกเก็บตามอัตราชัว่ คราวที่ประกาศโดยคณะกรรมการ กทช. ในขณะที่การเจรจากับทีโอที เกี่ยวกับสัญญาดังกล่าวยังไม่ได้ขอ้ สรุ ป ต่อมาในวันที่ 23 พฤศจิ กายน 2549 ที โอที ได้ส่งหนังสื อเพื่อแจ้ง ว่าทรู มูฟ ไม่มีสิ ทธิ ที่ จะใช้หรื อ เชื่ อมต่อโครงข่า ยตามกฎหมายใหม่ เนื่ องจากทรู มูฟ ไม่ไ ด้รับอนุ ญาตประกอบกิ จการโทรคมนาคมจาก คณะกรรมการ กทช. และไม่ มี โครงข่ า ยโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง นอกจากนั้น ที โอที ไ ด้โ ต้แย้ง ว่า ข้อตกลง AC ไม่ได้ฝ่าฝื นกฎหมายใด ๆ ดังนั้นการเรี ยกเก็บค่า AC ยังมีผลใช้บงั คับต่อไป อย่างไรก็ตาม ทรู มูฟเห็นว่า ข้อโต้แย้งของทีโอทีไม่เป็ นไปตาม พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคมอีกด้วย นอกจากนั้น ทีโอทีได้ประกาศว่าจะไม่เชื่อมต่อสัญญาณให้กบั ลูกค้าที่เป็ นเลขหมายใหม่ที่ทรู มูฟเพิ่ง ได้รับการจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. จานวน 1.5 ล้านเลขหมาย เพราะทรู มูฟไม่ชาระค่า AC ซึ่ งอาจจะ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

มีผลทาให้ลูกค้าของที โอทีไม่สามารถติ ดต่อลูกค้าของทรู มูฟที่ เป็ นเลขหมายใหม่น้ ี อย่างไรก็ตาม ทรู มูฟ ได้ยนื่ ขอคุม้ ครองชัว่ คราวต่อศาลปกครองกลาง ซึ่ งศาลได้มีคาสั่งกาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชวั่ คราวก่อน มีคาพิพากษา เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2550 โดยให้ทีโอทีดาเนิ นการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเพื่อให้ ผูใ้ ช้บริ การของทรู มูฟทุกเลขหมายสามารถติ ดต่อกับเลขหมายของทีโอทีได้ ซึ่ งเป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของ คณะกรรมการ กทช. และผลประโยชน์ต่อสาธารณะ และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 ทีโอทีได้ยื่นอุทธรณ์ คาสั่งดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด ซึ่ งต่อมาได้พิพากษายืนตามคาสั่งของศาลปกครองกลาง ทาให้ต้ งั แต่ วันที่ 2 มีนาคม 2550 ทีโอทีได้ดาเนิ นการเชื่ อมต่อเลขหมายใหม่ท้ งั หมดของทรู มูฟแล้วเสร็ จ นอกจากนั้น เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลปกครองกลางได้มีค าพิพากษาให้ที โอที ดาเนิ นการเชื่ อมต่อโครงข่า ย โทรคมนาคม เพื่ อให้เลขหมายดัง กล่ า วใช้ง านได้อย่า งต่ อเนื่ องสมบู รณ์ และให้ที โอที ช าระค่ า สิ นไหม ทดแทนให้แก่ ทรู มู ฟจานวน 1,000,000 บาท ซึ่ งต่ อมา ที โอที ได้ยื่นอุ ท ธรณ์ ต่อศาลปกครองสู ง สุ ด และ ปั จจุ บ นั อยู่ใ นระหว่า งการพิ จารณาของศาลปกครองสู ง สุ ด นอกเหนื อจากนั้น ในวันที่ 9 ตุ ล าคม 2552 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกฟ้ อง กรณี ทีโอทียื่นฟ้ องขอเพิกถอนคาสั่งคณะกรรมการ กทช. ที่กาหนดให้ ทีโอทีตอ้ งเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรศัพท์เลขหมายใหม่ 1.5 ล้านเลขหมายให้กบั ดีแทคและทรู มูฟ ซึ่ งต่อมาทีโอที ก็ได้อุทธรณ์ ต่อศาลปกครองสู งสุ ด โดยในวันที่ 2 มีนาคม 2553 ทรู มูฟได้ยื่นเอกสารที่ สนับสนุ นคาสั่งของ คณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองสู งสุ ด อย่างไรก็ตาม คดีท้ งั สองยังไม่เป็ นที่สิ้นสุ ดในปั จจุบนั ในเดื อ นมิ ถุ น ายน 2550 ทรู มู ฟ ได้ยื่ น ค าร้ อ งเสนอข้อ พิ พ าทเกี่ ย วกับ การที่ ที โ อที ป ฏิ เ สธการ เข้าทาสัญญา IC กับทรู มูฟต่อคณะกรรมการ กทช. โดยมีคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท (กวพ.) เป็ น ผูพ้ ิจารณา โดยในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 คณะกรรมการ กทช. ได้ช้ ี ขาดให้ทรู มูฟมีสิทธิ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบในการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเช่นเดี ยวกับผูไ้ ด้รับใบอนุ ญาต และได้มีมติเป็ นเอกฉันท์ ชี้ ข าดข้อ พิ พ าท ให้ที โ อที เ ข้า ร่ ว มเจรจาเพื่ อ ท าสั ญ ญาเชื่ อ มต่ อ โครงข่ า ยโทรคมนาคม (Interconnection Contract) กับทรู มูฟ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2551 ทีโอทีได้ตกลงที่จะเข้าเจรจาทาสัญญา IC กับทรู มูฟ แต่มีเงื่อนไขว่าจะทาสัญญาเฉพาะเลขหมายใหม่ที่ได้รับจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เท่านั้น ซึ่ งทรู มูฟได้ ตกลงตามที่เสนอ ดังนั้น เฉพาะในส่ วนของเลขหมายเก่าเท่านั้นที่การเจรจายังไม่บรรลุ ขอ้ ตกลง โดยทรู มูฟ ยังคงดาเนินการให้เป็ นเรื่ องของข้อพิพาทและอยูใ่ นดุลยพินิจของกระบวนการทางศาลต่อไป ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอทีได้ฟ้องร้องต่อศาลแพ่งเพื่อขอเรี ยกเก็บค่า AC ที่ทรู มูฟ ไม่ได้จ่ายจานวนประมาณ 4,508.1 ล้านบาท พร้ อมดอกเบี้ยและภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ได้มีคาสั่งว่า คดี ดงั กล่าวไม่อยู่ในเขตอานาจศาลแพ่ง ดังนั้น จึงมีการจาหน่ ายคดี ออกจากสารบบความของ ศาลแพ่ง ต่อมาเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอทีได้ยื่นฟ้ อง CAT Telecom ร่ วมกับทรู มูฟที่ศาลปกครอง กลางเรี ยกร้ องให้ชาระค่า AC จานวนเงิ น 41,540.27 ล้านบาท ขณะนี้ ค ดี อยู่ระหว่า งการพิ จารณาของ ศาลปกครองกลางในวันที่มีการจัดทารายงานฉบับนี้ คดีดงั กล่าวจึงยังไม่ถึงที่สุด

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

แต่หากผลการตัดสิ นของศาลเป็ นที่สุดในทางลบต่อกลุ่มทรู อาจจะทาให้ทรู มูฟต้องจ่ายเงินค่าปรับ จานวนหนึ่งเท่าของค่า AC ที่ CAT Telecom อาจจะจ่ายแทนทรู มูฟ พร้อมทั้งดอกเบี้ย และทรู มูฟอาจจะต้อง จ่ายทั้งค่า AC และค่า IC ซึ่ งจะทาให้ค่าใช้จ่ายของทรู มูฟเพิ่มขึ้นอย่างมาก หากศาลมีคาสั่งให้ทรู มูฟต้องชาระค่า AC ที่ไม่ได้จ่าย ทรู มูฟอาจจะต้องบันทึกค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม จานวน 32,344.56 ล้านบาท (หรื อจานวน 23,762.55 ล้านบาท สุ ทธิ จากผลประโยชน์ตอบแทนที่จ่ายให้แก่ CAT Telecom) สาหรับระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2556 ทั้งนี้ กลุ่มทรู ยงั ไม่มีการตั้งสารองทางบัญชีสาหรับรายการค่าเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นจากรายการนี้ ทรู มูฟมีความเสี่ ยงที่เกิดจากข้ อโต้ แย้ งที่ CAT Telecom เรี ยกให้ ทรู มูฟส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ในเสา สาหรับติดตั้งเครื่องและอุปกรณ์ โทรคมนาคมจานวน 4,546 เสา ให้ CAT Telecom เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้ อง ให้ทรู มูฟส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาที่ติดตั้งเครื่ องและอุปกรณ์ และอุปกรณ์เสาโทรคมนาคม จานวน 4,546 เสา ให้ CAT Telecom หากทรู มูฟไม่สามารถส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาดังกล่าวได้ ไม่วา่ ด้วย เหตุใด ๆ ให้ทรู มูฟชาระค่าเสี ยหาย เป็ นเงินจานวนทั้งสิ้ น 2,766,165,293 บาท อย่างไรก็ดี ตามความเห็นของ กลุ่มทรู ทรู มูฟไม่ได้ถูกผูกพันตามสัญญาให้ดาเนิ นการฯ ซึ่ งได้สิ้นสุ ดลงแล้วตั้งแต่วนั ที่ 15 กันยายน 2556 โดยปัจจุบนั ทรู มูฟยังคงมีหน้าที่ให้บริ การตามประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ เป็ นการชัว่ คราวในกรณี สิ้นสุ ดการอนุ ญาต สัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 ให้ ต้องส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาโทรคมนาคมและอุปกรณ์ เสาโทรคมนาคมตามที่ CAT Telecom เรี ยกร้อง โดยเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2552 ทรู มูฟได้ยื่นคัดค้านคาเสนอข้อพิพาทต่อคณะอนุ ญาโตตุลาการ เมื่อ เดือนสิ งหาคม 2556 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีมติเป็ นเอกฉันท์วินิจฉัยชี้ ขาดให้ยกคาเสนอข้อพิพาทของ CAT Telecom เนื่ องจากขณะนั้นยังไม่ครบกาหนดระยะเวลาที่ให้สิทธิ CAT Telecom ใช้สิทธิ ตามสัญญา CAT Telecom จึงไม่มีสิทธิ เรี ยกร้องตามประเด็นข้อพิพาทคดีน้ ี คณะอนุญาโตตุลาการได้ตดั สิ นว่า ในสัญญา ให้ดาเนินการฯ หากทรู มูฟจะต้องส่ งมอบทรัพย์สินให้แก่ CAT Telecom ก็จะต้องทาการส่ งมอบภายในเวลา 60 วัน นับจากวันที่สัญญาให้ดาเนิ นการฯ หมดอายุลงหรื อวันที่ ได้มีการเลิ กสัญญาดังกล่ าวเท่านั้น และ เนื่ องจากสัญญาให้ดาเนิ นการฯ ยังไม่หมดอายุและยังไม่ได้มีการเลิ กสัญญา ณ วันที่ CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอ ข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ กล่าวคือวันที่ 29 มกราคม 2552 CAT Telecom จึงไม่มีสิทธิ ตามกฎหมายที่จะ เรี ยกร้องกรรมสิ ทธิ์ ในเสาโทรคมนาคม ดังนั้น คณะอนุ ญาโตตุลาการจึงไม่ได้พิจารณาว่าทรู มูฟจะต้องส่ งมอบ และ/หรื อ โอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาและอุปกรณ์ให้แก่ CAT Telecom ตามสัญญาให้ดาเนิ นการฯ หรื อไม่ โดย เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2556 CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องขอให้ศาลปกครองกลางมีคาสัง่ เพิกถอนคาชี้ ขาดของ อนุ ญาโตตุลาการดังกล่าวเป็ นคดีหมายเลขดาที่ 1813/2556 ขณะนี้ อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ กลุ่มทรู เชื่อว่าความเห็นของอนุ ญาโตตุลาการดังกล่าวเป็ นคุณกับทรู มูฟ แม้ CAT Telecom อาจใช้สิทธิ เรี ยกกร้องในประเด็นดังกล่าวอีกครั้งภายหลังวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ สานักระงับข้อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม โดยเรี ยกร้องให้ทรู มูฟส่ งมอบพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ์ เครื่ องและ อุปกรณ์ Generator จานวน 59 สถานี ให้แก่ CAT Telecom หากส่ งมอบไม่ได้ไม่ว่ากรณี ใด ๆ ให้ทรู มูฟ ชดใช้ราคาแทนรวมมูลค่าทั้งสิ้ นเป็ นเงิ นจานวน 39,570,000 บาท ขณะนี้ อยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณา ของอนุญาโตตุลาการ ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) และส่ วนแบ่ งรายได้ ในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรี ได้อนุมตั ิให้มีการลดอัตราภาษีสรรพสามิตที่จดั เก็บจากบริ การ โทรคมนาคมเป็ นร้อยละ 0 (จากเดิมร้อยละ 2 สาหรับกิจการโทรศัพท์พ้ืนฐาน และร้อยละ 10 สาหรับกิจการ โทรศัพท์เคลื่อนที่) นอกจากนั้น คณะรัฐมนตรี ยงั ได้มีมติให้คู่สัญญาภาครัฐ (ทีโอทีและ CAT Telecom) เป็ น ผูร้ ับผิดชอบสาหรั บภาษีสรรพสามิต เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อผูบ้ ริ โภค โดยในปี 2546 คณะรัฐมนตรี ได้ อนุ ญาตให้คู่สัญญาภาคเอกชนนาค่าภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากส่ วนแบ่งรายได้หรื อผลประโยชน์ตอบ แทนที่คู่สัญญาภาคเอกชนต้องนาส่ งให้คู่สัญญาภาครัฐ และนาส่ งให้กบั กระทรวงการคลังโดยตรง ซึ่ งส่ งผล ให้ส่วนแบ่งรายได้หรื อผลประโยชน์ตอบแทนที่ นาส่ งคู่สัญญาภาครัฐลดลง ทั้งนี้ เป็ นความเห็ นชอบของ คู่สัญญาภาครัฐ รวมทั้ง เป็ นไปตามมติของคณะรัฐมนตรี ที่กล่าวมาแล้ว ภายหลังการเปลี่ยนแปลงของรัฐบาล ในปี 2550 ได้มีการประกาศลดอัตราภาษีสรรพสามิตเป็ นร้อยละ 0 ทาให้ทีโอทีและ CAT Telecom ได้รับ ส่ วนแบ่ ง รายได้หรื อ ผลประโยชน์ ตอบแทนเต็ ม จ านวน อย่า งไรก็ ตาม ในระหว่า งที่ มี ก ารจัดเก็ บ ภาษี สรรพสามิต ผูป้ ระกอบการภาคเอกชนยังคงมีรายจ่ายรวมให้ภาครัฐเท่าเดิม (รวมที่จ่ายให้กระทรวงการคลัง และทีโอที หรื อ CAT Telecom) โดยปั จจุบนั ยังมีขอ้ พิพาทระหว่างภาคเอกชนและคู่สัญญาภาครัฐใน ประเด็นนี้ ซึ่ งเป็ นประเด็นเกี่ ยวกับการชาระส่ วนแบ่งรายได้ให้ทีโอที และชาระผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ไม่ครบ ซึ่ ง CAT Telecom มีหนังสื อเรี ยกให้ทรู มูฟชาระเรื่ อยมาจนถึงปั จจุบนั โดยในเดือน มกราคม 2551 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกค่าเสี ยหายจากทรู มูฟนับ จนถึงวันเสนอข้อพิพาท เป็ นจานวนเงินประมาณ 9.0 พันล้านบาท รวมดอกเบี้ย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได้มีคาวินิจฉัยชี้ ขาดให้ยกคาเสนอข้อพิพาทดังกล่าว เป็ นผลทาให้ทรู มูฟไม่ตอ้ งชาระ ผลประโยชน์ ตอบแทนตามค าเรี ย กร้ อ งดัง กล่ า ว CAT Telecom ได้ยื่นค าร้ องขอเพิ ก ถอนค าชี้ ข าด อนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของ ศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ CAT Telecom ได้เรี ยกให้ทรู มูฟรับผิดในเงินค่าภาษีมูลค่าเพิ่มจากผลประโยชน์ตอบแทน ในส่ วนค่าภาษีสรรพสามิต พร้อมเบี้ยปรับและเงินเพิ่มที่ CAT Telecom ถูกกรมสรรพากรประเมินและแพ้คดี ในชั้น ศาลภาษี ไ ปแล้ว ตลอดจนค่ า ใช้จ่ า ยในการด าเนิ น คดี ค่ า ธรรมเนี ย ม และดอกเบี้ ย รวมเป็ นเงิ น ค่าเสี ยหายจากการไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาในส่ วนดังกล่าวที่ CAT Telecom เรี ยกมาในช่วงเดือนมีนาคม 2555 จานวนทั้งสิ้ น 1,302.8 ล้านบาท (คานวณถึงสิ้ นเดือนมีนาคม 2555) โดย CAT Telecom อาจเสนอข้อพิพาท ต่ออนุญาโตตุลาการต่อไป ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเพื่อ เรี ยกร้ องให้ทรู มูฟชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้ครบถ้วนจากการที่ทรู มูฟหักค่า IC จากรายได้ก่อน คานวณผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ในปี ดาเนินการที่ 10 -14 เป็ นเงินทั้งสิ้ น 11,946,145,608.55 บาท ต่อมาเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเพื่อ เรี ยกร้องให้ทรู มูฟชาระเงินค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้ครบถ้วนจากการที่ทรู มูฟหักค่า IC จากรายได้ก่อน คานวณผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ในปี ดาเนินการที่ 15 เป็ นเงินทั้งสิ้ น 1,571,599,139.64 บาท ซึ่ งขณะนี้ขอ้ พิพาททั้งสองเรื่ องดังกล่าวยังอยูใ่ นระหว่างกระบวนการของอนุญาโตตุลาการ นอกจากนั้น ทีโอทีได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 เรี ยกคืน ส่ วนแบ่งรายได้ที่บริ ษทั ฯ ได้รับเกินกว่าสิ ทธิ ที่พึงจะได้รับจานวน 1,479.6 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย สาหรับ กิจการโทรศัพท์พ้ืนฐาน ต่อมาบริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาคัดค้าน เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ซึ่ งปั จจุบนั เรื่ องดังกล่าว ยังอยูใ่ นระหว่างกระบวนการของอนุญาโตตุลาการและยังไม่เป็ นที่ยุติ อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554 ทีโอทีได้มีหนังสื อแจ้งให้บริ ษทั ฯ คืนเงินที่ทีโอทีได้นาส่ งให้บริ ษทั ฯ เพื่อนาไปชาระเป็ นค่าภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที ตั้งแต่เดือนมกราคม 2546 จนถึงเดือนธันวาคม 2549 เป็ นเงินจานวน 1,479.6 ล้านบาท พร้ อมดอกเบี้ยในอัตราร้ อยละ 7.5 และภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมายให้แก่ ทีโอที ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2554 ซึ่ งในกรณี น้ ี บริ ษทั ฯ ไม่มีหน้าที่ชาระคืนเงิ นดังกล่าวให้แก่ทีโอที เนื่ องจากได้ปฏิ บตั ิตามที่ทีโอทีมอบหมายครบถ้วน โดยได้นาเงิ นดังกล่าวไปชาระเป็ นค่าภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที และกรมสรรพสามิตได้ออกใบเสร็ จรับเงินเป็ นเลขที่ กากับภาษีของทีโอที ดังนั้น บริ ษทั ฯ มิได้ผิดสัญญา หรื อละเมิดกฎหมาย จึงไม่มีหน้าที่ชาระเงินดังกล่าวคืน ให้แก่ ที โอที อี ก ทั้ง ที โอที ไ ด้เรี ย กร้ องเงิ นซ้ าซ้อนอันเป็ นจานวนเดี ย วกันกับ ที่ ทีโอที ไ ด้ยื่นข้อพิ พ าทต่ อ อนุญาโตตุลาการดังกล่าว ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาททีม่ ีอยู่เดิมระหว่ าง CAT Telecom กับบริษัทย่ อยกลุ่มฮัทชิ สันซึ่งกลุ่มทรู เข้ าซื้อหุ้น ฮัทชิ สัน ซี เอที ซึ่ งกลุ่มทรู ซ้ื อหุ ้นมาจากกลุ่มฮัทชิ สันมีขอ้ พิพาทเดิ มอยูก่ บั CAT Telecom ซึ่ งอาจ ทาให้กลุ่มทรู ตอ้ งบันทึ กค่าใช้จ่ายเป็ นจานวนเงิ น 1,445.0 ล้านบาท และอาจส่ งผลกระทบในทางลบกับ ความสัมพันธ์ทางธุ รกิจระหว่างกลุ่มทรู และ CAT Telecom ในปลายปี 2551 และ 2552 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการกับฮัทชิ สัน ซี เอที ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยที่กลุ่มทรู เข้าซื้ อหุ ้น โดยเรี ยกร้ องเงิ นประกันรายได้ข้ นั ต่ า เงิ นค่าภาษีสรรพสามิ ต พร้ อมภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ค่ า ธรรมเนี ย มใบอนุ ญาต ค่ า ธรรมเนี ย มเลขหมาย ค่ า ใช้บ ริ ก ารที่ เ ป็ นหนี้ เสี ย และ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดี ค่าปรับจากการนาส่ งค่าบริ การรายเดือน และค่าธรรมเนียมล่าช้า จานวน 1,445.0 ล้านบาท ภายใต้สัญญาทาการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ Digital AMPS 800Band A ซึ่ งข้อพิพาทดังกล่าวได้มี การระงับกระบวนพิจารณาไว้ชวั่ คราวและจาหน่ายคดีจากสารบบความ แต่ขณะนี้ได้มีการนาข้อพิพาทเข้าสู่

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กระบวนการทางอนุ ญาโตตุ ลาการตามเดิ ม และข้อพิพาทอยู่ระหว่างการดาเนิ นการทางอนุ ญาโตตุลาการ นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2557 CAT Telecom ได้มีหนังสื อถึ งธนาคารเพื่อขอให้ชาระเงินตาม หนังสื อค้ าประกันจานวนเงิน 63,002,000.00 บาท โดยอ้างว่า กลุ่มฮัทชิ สันปฏิบตั ิผิดสัญญาทาการตลาดวิทยุ คมนาคมระบบเซลลูล่าร์ Digital AMPS 800Band A สัญญาทาการตลาดบริ การโทรข้ามแดนอัตโนมัติ และ สัญญาการดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า CDMA ซึ่ งแม้วา่ กลุ่มฮัทชิ สันเชื่ อว่าไม่ได้ผิดสัญญา และข้อเรี ยกร้องของ CAT Telecom ยังไม่ได้มีคาชี้ ขาดจนถึ งที่ สุดของคณะอนุ ญาโตตุ ลาการหรื อศาล (แล้วแต่กรณี ) ว่ากลุ่มฮัทชิ สันปฏิ บตั ิผิดสัญญาหรื อไม่ อย่างไรก็ดี มีความเสี่ ยงที่ธนาคารอาจชาระเงิ นตาม หนังสื อค้ าประกันซึ่ งทาให้กลุ่มทรู จะต้องชาระเงินคืนให้แก่ธนาคาร ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาทเกีย่ วกับการจัดเก็บข้ อมูลและรายละเอียดเกีย่ วกับผู้ใช้ บริการ เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งคือ ทรู มูฟ ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิ หน้า ที่ ค ณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ ก าร กสทช. ต่ อศาลปกครองกลางเกี่ ย วกับ ข้อพิ พ าทเรื่ องการ ดาเนิ นการจัดเก็บข้อมูลและรายละเอี ยดเกี่ ยวกับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การ ล่วงหน้า ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 โดยฟ้ องขอให้เพิกถอนประกาศฉบับดังกล่ าว เฉพาะข้อ 38 และข้อ 96 และเพิกถอนมติและ คาวินิจฉัยของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. และคาสั่งของเลขาธิ การ กสทช. ที่ ให้ทรู มูฟปฏิบตั ิตามประกาศฉบับดังกล่าว ซึ่ งเฉพาะในส่ วนข้อหาที่ 1 ซึ่ งฟ้ องเพิกถอนประกาศฉบับดังกล่าว นั้น ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งไม่รับฟ้ อง เนื่ องจากเห็นว่าได้ยื่นคาฟ้ องต่อศาลพ้นกาหนดระยะเวลาฟ้ อง คดี และไม่อาจถื อได้ว่าคาฟ้ องในข้อหานี้ จะเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวม เพราะประกาศดังกล่าวไม่มีผลต่อ ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ งทรู มูฟได้ยื่นอุทธรณ์ คาสั่งไม่รับฟ้ องบางข้อหาไว้พิจารณาดังกล่าว ขณะนี้ อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด ส่ วนประเด็นพิพาทอื่นในคดี อยู่ระหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ เมื่ อวันที่ 25 มกราคม 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้งเตื อน และต่อมาเมื่ อ วันที่ 30 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ได้มีหนังสื อมายังทรู มูฟว่า ทรู มูฟยังคงฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตาม คาสั่งเลขาธิ การ กสทช. และคาวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. และหนังสื อแจ้งเตือน จึงอาศัยอานาจตามมาตรา 66 แห่ ง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม กาหนด มาตรการบังคับทางปกครอง ปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท ให้ทรู มูฟชาระนับแต่วนั พ้นกาหนด 30 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับหนังสื อฉบับดังกล่าว ทรู มูฟจึงได้ยื่นคาร้ องขอให้ศาลมี คาสั่งทุ เลาการบังคับตามคาสั่ง ก่อนมีคาพิพากษา ต่อมาเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ศาลปกครองกลางมีคาสั่งยกคาขอในส่ วนที่ขอให้ศาลมีคาสั่งทุเลา การบังคับคดีตามคาสั่งทางปกครอง ที่ให้จดั เก็บข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การ เพราะเห็นว่าหาก มีการทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครองดังกล่ าวให้แก่ ทรู มูฟ จะก่อให้เกิ ดความได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ระหว่างผูป้ ระกอบกิ จการโทรคมนาคมด้วยกัน อันจะก่อให้เกิดอุปสรรคแก่การบริ หารงานของรัฐหรื อแก่ บริ การสาธารณะ ดังนั้น ผลของค าสั่งดังกล่ า วทาให้ทรู มู ฟต้องดาเนิ นการจัดเก็ บข้อมู ลและรายละเอี ย ด เกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การต่อไป อย่างไรก็ดี สาหรับคาสั่งกาหนดค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท ศาลปกครอง กลางมีคาสั่งให้ระงับการกาหนดค่าปรับตามคาสั่งของเลขาธิ การ กสทช. ไว้เป็ นการชัว่ คราว ซึ่ งคาสั่งศาล ดังกล่าวทาให้ ทรู มูฟไม่ตอ้ งถูกบังคับให้ตอ้ งชาระค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท จนกว่าคดีจะถึงที่สุด หรื อจนกว่า ศาลจะมี คาพิพ ากษาหรื อคาสั่ง เป็ นอย่า งอื่ น ทั้ง นี้ เมื่ อวันที่ 17 ตุ ลาคม 2555 คณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. ได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่งของศาลปกครองกลางดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ดซึ่ ง ต่อมาศาลปกครองสู งสุ ดได้มีคาสั่งลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 กลับคาสั่งของศาลปกครองกลาง เป็ นให้ ยกคาขอของทรู มูฟทั้งหมด ทาให้ทรู มูฟอาจได้รับผลกระทบจากกาหนดมาตรการบังคับทางปกครอง โดย ต้องชาระค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท และมาตรการบังคับอื่นที่อาจมีการกาหนดเพิ่มเติมในส่ วนของ คดีพิพาทหลัก หากศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงที่สุดว่า ประกาศ คาสั่ง มติ และคาวินิจฉัยที่พิพาทชอบด้วย กฎหมาย อาจส่ งผลให้ทรู มูฟต้องชาระค่าปรั บและต้องปฏิ บตั ิ ตามคาสั่งของเลขาธิ การ กสทช. และหาก ทรู มูฟยังเพิกเฉยไม่ปฏิบตั ิให้ถูกต้อง หรื อกรณี ที่มีความเสี่ ยงร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ คณะกรรมการ กสทช. มีอานาจพักใช้หรื อเพิกถอนสัญญาให้ดาเนินการฯ ของทรู มูฟได้ ทั้งนี้ ปั จจุบนั สัญญาให้ดาเนิ นการฯ ได้สิ้นสุ ดลงแล้วตั้งแต่ วนั ที่ 15 กันยายน 2556 โดยปั จจุ บนั ทรู มูฟ ยังคงมีหน้าที่ใ ห้บริ การตามประกาศ คณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุ ้ม ครองผูใ้ ช้บ ริ ก ารเป็ นการชั่วคราวในกรณี สิ้ นสุ ดการอนุ ญาต สัม ปทาน หรื อสั ญญาการให้บ ริ ก ารโทรศัพ ท์เคลื่ อ นที่ พ.ศ. 2556 อย่า งไรก็ ดี มาตรา 66 แห่ ง พ.ร.บ. การประกอบกิ จการโทรคมนาคม ก าหนดว่า การกระท าความผิดกรณี ใ ดจะต้องถู ก พัก ใช้หรื อเพิ ก ถอน ใบอนุ ญาตให้เป็ นไปตามที่คณะกรรมการ กสทช. ประกาศกาหนด แต่ ณ ปั จจุบนั ยังไม่มีการออกประกาศ ดังกล่าว แต่หากผลของคดีมีคาพิพากษาถึงที่สุดอันเป็ นคุณแก่ทรู มูฟ ทรู มูฟสามารถเรี ยกคืนเงินค่าปรับทาง ปกครองที่ชาระต่อคณะกรรมการ กสทช. คืนได้ ความเสี่ ยงจากข้ อพิพาทเกีย่ วกับการเรียกเก็บค่ าบริการล่วงหน้ า เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้งเตือนให้ทรู มูฟดาเนินการปรับปรุ ง เงื่ อนไขการให้บริ ก ารโทรศัพ ท์เคลื่ อนที่ ป ระเภทเรี ย กเก็ บ เงิ นค่ า บริ ก ารล่ วงหน้า ไม่ใ ห้มี ข ้อกาหนดใน ลักษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนดและห้ามมิให้กาหนดเงื่อนไขที่ มี ล ัก ษณะเป็ นการบัง คับ ให้ ผูใ้ ช้บ ริ ก ารต้อ งใช้ บ ริ ก ารภายในระยะเวลาที่ ก าหนดอี ก ต่ อ ไป ต่ อ มาเมื่ อ วันที่ 8 พฤษภาคม 2555 ทรู มูฟได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครอง กลาง ขอให้เพิ ก ถอนค าสั่ ง และมติ ข องคณะกรรมการ กสทช. และค าสั่ ง ของเลขาธิ ก าร กสทช. ที่ ห้า ม ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้ากาหนดรายการส่ งเสริ มการขายในลักษณะ เป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนด (Validity) พร้อมขอให้ศาลกาหนด มาตรการและวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์เป็ นการชัว่ คราวก่อนการพิพากษา ซึ่ งปั จจุ บนั ยังอยู่ในระหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กาหนดให้ทรู มูฟจะต้องชาระค่าปรับทางปกครองในอัตราวันละ 100,000 บาท ตั้งแต่วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2555 เป็ นต้นไป ต่อมาทรู มูฟได้ยื่นคาร้องขอต่อศาลปกครองกลางให้มีคาสั่งให้ทุเลาการบังคับตามคาสั่งและมติ ของคณะกรรมการ กสทช. และคาสั่งของเลขาธิ การ กสทช. รวมถึงการกาหนดค่าปรับทางปกครองดังกล่าว หรื อกาหนดมาตรการและวิธีการเพื่อบรรเทาทุ กข์เป็ นการชัว่ คราวก่ อนมี คาพิพากษา แต่ศาลได้ยกคาขอ ดังกล่าว ส่ งผลให้ทรู มูฟไม่มีสิทธิ ที่จะได้รับการทุเลาการบังคับตามคาสั่งและมติที่พิพาท และยังคงต้องถูกบังคับ ให้จ่ายค่าปรับดังกล่าว ต่อมา กทค. มีมติยนื ตามคาสั่งปรับของเลขาธิ การ กสทช. ทาให้ทรู มูฟดาเนินการฟ้ อง มติ กทค. ที่ยนื ตามคาสั่งปรับของเลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครองพร้อมกับขอบรรเทาทุกข์ชวั่ คราว โดยสานัก งานคณะกรรมการ กสทช. ได้มีหนังสื อลงวันที่ 7 มกราคม 2556 เชิ ญผูป้ ระกอบการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกรายเข้าร่ วมประชุ มเพื่อหารื อในประเด็นดังกล่าว โดยสานักงานคณะกรรมการ กสทช. ได้แจ้ง ให้ผูป้ ระกอบการทุ กรายปฏิ บ ตั ิ ตามคาสั่ ง ทางปกครองโดยการยกเลิ กการกาหนดระยะเวลาการ ใช้ บ ริ การส าหรั บ ผู ้ ใ ช้ บ ริ การโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ป ระเภทเรี ยกเก็ บ ค่ า บริ การล่ ว งหน้ า นั บ ตั้ ง แต่ วันที่ 18 มกราคม 2556 เป็ นต้นไป จนกว่าจะได้รับความเห็นชอบการกาหนดระยะเวลาการใช้บริ การจาก คณะกรรมการ กสทช. ทรู มูฟจึงได้มีหนังสื อลงวันที่ 18 มกราคม 2556 ถึ ง กทค. แจ้งว่าได้ดาเนิ นการให้ผใู ้ ช้บริ การที่เปิ ด ใช้บริ การ และผูใ้ ช้บริ การที่เติ มเงิ นทุ กมูลค่าตั้งแต่วนั ที่ 18 มกราคม 2556 เป็ นต้นไป สามารถใช้บริ การ โทรศัพ ท์เ คลื่ อ นที่ ป ระเภทเรี ย กเก็ บ ค่ า บริ ก ารล่ ว งหน้า ต่ อ ไปได้อ ย่า งต่ อ เนื่ อ ง จนกว่า ทรู มู ฟ จะได้รั บ ความเห็นชอบการกาหนดระยะเวลาจากคณะกรรมการ กสทช. ซึ่งเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 ทรู มูฟได้รับ หนัง สื อ จากส านัก งานคณะกรรมการ กสทช. แจ้ง ว่ า กทค. ได้มี ม ติ เ ห็ น ชอบเงื่ อ นไขการให้ บ ริ ก าร โทรศัพ ท์เ คลื่ อ นที่ ใ นลัก ษณะที่ เ รี ย กเก็ บ ค่ า บริ ก ารเป็ นการล่ ว งหน้า ที่ มี ก าหนดระยะเวลาให้ ใ ช้บ ริ ก าร (Validity) ของทรู มูฟแล้ว อย่างไรก็ตาม เมื่ อวันที่ 29 มกราคม 2556 สานักงานคณะกรรมการ กสทช. มี หนังสื อแจ้งมายังทรู มูฟว่าก่อนวันที่ 18 มกราคม 2556 ทรู มูฟได้กาหนดเงื่อนไขที่มีลกั ษณะเป็ นการบังคับให้ ผูใ้ ช้ บ ริ ก ารต้อ งใช้บ ริ ก ารภายในก าหนดระยะเวลา (Validity) อัน เป็ นการฝ่ าฝื นค าสั่ ง ของเลขาธิ ก าร ส านัก งานคณะกรรมการ กสทช. จึ ง ขอให้ ท รู มู ฟ ช าระค่ า ปรั บ ในอัต ราวันละ 100,000 บาท นับ ตั้ง แต่ วันที่ 30 พฤษภาคม 2555 จนถึ งวันที่ 17 มกราคม 2556 รวมเป็ นเงิ นทั้งสิ้ น 23,300,000 บาท ทั้งนี้ หาก ทรู มูฟไม่ชาระค่าปรับจานวนดังกล่าว เลขาธิ การ กสทช. อาจเพิ่มมาตรการบังคับ เช่ น เพิ่มอัตราค่าปรั บ รายวันได้ อย่างไรก็ตาม ทรู มูฟได้ยื่นฟ้ องขอเพิกถอนคาสั่งกาหนดค่าปรับดังกล่ าวต่อศาลปกครองกลาง เมื่ อวันที่ 10 มกราคม 2556 และปั จจุ บ นั ยัง คงอยู่ระหว่า งการพิ จารณาของศาลปกครอง ทั้ง นี้ หากศาล ปกครองพิพากษาว่าคาสั่งกาหนดค่าปรับดังกล่าวชอบด้วยกฎหมาย มีความเสี่ ยงที่ทรู มูฟต้องชาระค่าปรับ จานวนดังกล่าว

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความเสี่ ยงจากการใช้ และการเชื่อมต่ อโครงข่ ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สาหรับโทรศัพท์พนื้ ฐาน ในเดือนเมษายน 2553 คณะกรรมการ กทช. ได้ออกคาสั่งประกาศอัตราชั่วคราวของค่าเชื่ อมต่อ โครงข่าย (Interconnection Charge หรื อ IC) สาหรับโทรศัพท์พ้ืนฐานที่อตั รา 0.36 บาทต่อนาที ทาให้บริ ษทั ฯ มีความเสี่ ยงที่อาจจะถูกเรี ยกเก็บค่า IC จากผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากปริ มาณการโทรออกของ ผูใ้ ช้บ ริ ก ารโทรศัพ ท์พ้ื น ฐานไปยัง ผูใ้ ช้บ ริ ก ารโทรศัพ ท์เคลื่ อนที่ ม ัก จะสู ง กว่า ปริ ม าณการโทรเข้า จาก ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่มายังผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พ้ืนฐาน ซึ่ งอาจทาให้บริ ษทั ฯ มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นใน อนาคตสาหรั บกิ จการโทรศัพท์พ้ืนฐาน โดยมี ผูป้ ระกอบการบางรายได้ยื่นเรื่ องต่อคณะกรรมการ กทช. เพื่อให้บริ ษทั ฯ เข้าทาสัญญา IC สาหรับกิจการโทรศัพท์พ้นื ฐานและต่อมาได้ยื่นเรื่ องเพื่อเรี ยกเก็บค่า IC จาก กิ จการโทรศัพท์พ้ืนฐานของบริ ษทั ฯ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ เชื่ อว่าบริ ษทั ฯ ไม่มีหน้าที่ ที่จะต้องจ่ายค่า IC เนื่องจากสัญญาร่ วมการงานฯ สาหรับกิจการโทรศัพท์พ้นื ฐานระหว่างบริ ษทั ฯ กับทีโอที กาหนดให้บริ ษทั ฯ มีหน้าที่ ลงทุ น จัดหา และติ ดตั้ง ตลอดจนบารุ งรั กษาอุ ปกรณ์ ให้แก่ ทีโอที โดยที โอที เป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้ ทั้งหมดจากลูกค้า และจะแบ่งรายได้ที่ได้รับให้บริ ษทั ฯ ตามสัดส่ วนที่ระบุไว้ในสัญญาร่ วมการงานฯ และ บริ ษทั ฯ ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลางเมื่อวันที่ 3 สิ งหาคม 2553 เพื่อขอให้ศาล เพิกถอนคาสั่งที่ออกประกาศอัตราชัว่ คราวของค่า IC และเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2555 ศาลปกครองกลางได้มี คาพิพากษาให้ยกฟ้ อง ปั จจุบนั คดี อยู่ระหว่างอุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองกลางต่อศาลปกครองสู งสุ ด และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 ดีแทคได้ยนื่ คาฟ้ องต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้บริ ษทั ฯ และทีโอทีร่วมกัน ชาระค่าใช้และเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมจานวน 3.28 พันล้านบาท อย่างไรก็ดี บริ ษทั ฯ เห็ นว่าดี แทคไม่มี สิ ทธิ เรี ยกเก็บค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่ายกับบริ ษทั ฯ และคดี น่าจะอยูใ่ นเขตอานาจของศาลยุติธรรม จึงได้ยนื่ คาร้องโต้แย้งเขตอานาจศาลตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการวินิจฉัยชี้ ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. 2542 ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาทาความเห็นเกี่ยวกับเรื่ องเขตอานาจศาลของศาลปกครองกลางและศาลแพ่ง ความเสี่ ยงจากการทาสั ญญาที่เกี่ยวข้ อ งกั บ การเข้ า ถื อ หุ้ นในกลุ่ ม ฮั ทชิ สั นและสั ญญา HSPA ระหว่ า ง CAT Telecom กับกลุ่มทรู ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 กลุ่ ม ทรู ได้ลงนามในสั ญญาซื้ อขายหุ ้นกับ กลุ่ มฮัทชิ สัน และในวันที่ 27มกราคม 2554 กลุ่มทรู ได้บรรลุขอ้ ตกลงกับ CAT Telecom ทาให้เรี ยลมูฟเป็ นผูใ้ ห้บริ การ 3G+ ได้ทวั่ ประเทศ ในรู ปแบบเป็ นผูข้ ายต่อบริ การ (reseller) โทรศัพท์เคลื่อนที่บนเทคโนโลยี HSPA ของ CAT Telecom เป็ นระยะเวลาประมาณ 14 ปี จนถึงปี 2568 นอกจากนั้น บีเอฟเคที หนึ่ งในบริ ษทั ที่ได้มีการซื้ อใน ครั้งนี้ ได้ทาสัญญากับ CAT Telecom เพื่อให้ CAT Telecom เช่าใช้เครื่ องและอุปกรณ์ โครงข่าย รวมทั้ง ให้บริ การดูแลและบารุ งรักษาอุปกรณ์โครงข่าย โดยจะมุ่งเน้นการให้บริ การเช่ าและดูแลบารุ งรักษาเครื่ อง และอุปกรณ์ โครงข่ายโทรคมนาคมเทคโนโลยี 3G HSPA ให้แก่ CAT Telecom ทัว่ ประเทศ ซึ่ งต่อมา หน่ ว ยงานภาครั ฐ อาทิ ส านัก งานคณะกรรมการ กสทช. ส านัก งานตรวจเงิ น แผ่น ดิ น และส านัก งาน คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุ จริ ตแห่ งชาติ ได้ดาเนิ นการตรวจสอบในประเด็นต่าง ๆ เช่ น ประเด็นว่าการทาสัญญาดังกล่าวเข้าข่าย พ.ร.บ. ร่ วมทุนฯ และขัดต่อมาตรา 46 แห่ ง พ.ร.บ. องค์กรจัดสรร ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

คลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 หรื อไม่ เป็ นต้น และนอกจากมติของ กทค. ดังที่จะได้กล่าวถึ งต่อไปแล้ว ปั จจุบนั หน่วยงานอื่น ๆ ยังอยูร่ ะหว่างการทาการสอบสวนเรื่ องนี้ อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู เชื่ อว่าทุกฝ่ ายได้ปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมาย เนื่ องจากเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2554 CAT Telecom ได้รายงานไปยังกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร กรณี การตรวจสอบความ ถู กต้องของการดาเนิ นการเข้าท าสั ญญาเกี่ ยวกับการดาเนิ นธุ รกิ จโทรศัพท์เคลื่ อนที่ รูปแบบใหม่ของ CAT Telecom กับกลุ่มทรู ว่า ได้มีการดาเนิ นการตามขั้นตอนของกฎหมายที่เกี่ ยวข้องและข้อสังเกตของสานักงาน อัยการสู งสุ ดแล้ว ดังนั้น เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารจึงได้ ขอหารื อกับสานักงานอัยการสู งสุ ดว่าประเด็นข้อกฎหมายตามที่ CAT Telecom ชี้ แจงนั้น มี ความถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลุ ม และเป็ นไปตามระเบียบของการทาสัญญาแล้วหรื อไม่ อีกทั้ง ยังมีประเด็นข้อกฎหมายที่ ควรค านึ งถึ งเพิ่ มเติ มอี กหรื อไม่ โดยในวันที่ 8 กรกฎาคม 2554 ส านักงานอัยการสู งสุ ดได้ส่ งหนังสื อตอบ กลับไปยังรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ซึ่ งขอให้ตรวจสอบการทาสัญญา ระหว่างกลุ่มทรู คือ เรี ยลมูฟ และบีเอฟเคที (ซึ่งเป็ นหนึ่งใน 4 บริ ษทั ที่กลุ่มทรู ได้ซ้ื อกิจการมาจากกลุ่มฮัทชิ สัน ในช่วงปลายปี 2553) กับ CAT Telecom โดยสานักงานอัยการสู งสุ ดได้ยืนยันอย่างชัดเจนในหนังสื อดังกล่าวว่า สัญญาระหว่างกลุ่มทรู กบั CAT Telecom ไม่เข้าข่ายที่จะต้องดาเนิ นการตาม พ.ร.บ. ร่ วมทุนฯ แต่อย่างใด และ ไม่ขดั ต่อมาตรา 46 แห่ ง พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 ในขณะเดี ยวกัน สัญญาระหว่างเรี ยลมูฟ กับ CAT Telecom เป็ นสัญญาในรู ปแบบของการขายส่ งบริ การและการขายต่อบริ การ (Wholeseller - Reseller) ที่เป็ นไปตามประกาศของคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง การประกอบกิ จการโทรคมนาคมประเภทการขายส่ ง บริ การและบริ การขายต่อบริ การ ซึ่ งมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 29 ธันวาคม 2549 โดยเรี ยลมูฟซึ่ งเป็ นผูป้ ระกอบ กิจการโทรคมนาคมขายต่อบริ การโดยการรับซื้ อบริ การโทรคมนาคมสาเร็ จรู ปเป็ นจานวนนาทีสาหรับบริ การ ทางเสี ยง และเป็ นจานวนเม็กกะไบต์สาหรับบริ การทางข้อมูลของ CAT Telecom ส่ วนหนึ่ ง เพื่อมาขายต่อให้แก่ ลูกค้าอีกทอดหนี่ ง โดยไม่ได้เข้าใช้ทรัพย์สินหรื อสิ ทธิ ของ CAT Telecom แต่ประการใด ทั้งนี้ คลื่นความถี่และ โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่ อนที่ยงั คงเป็ นของ CAT Telecom ในขณะที่ บีเอฟเคที เป็ นแต่เพียงผูใ้ ห้เช่ าอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทางโทรคมนาคมแก่ CAT Telecom ซึ่ งเป็ นการดาเนินงานตามปกติของ CAT Telecom ที่อาจจะ เช่าทรัพย์สินและอุปกรณ์ จากผูป้ ระกอบการรายอื่นตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุของ CAT Telecom ได้อยูแ่ ล้ว นอกจากนี้ เมื่อเดื อนมิถุนายน 2556 คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตอบข้อหารื อ CAT Telecom ตามเรื่ องเสร็ จ ที่ 774/2556 สรุ ปได้ว่าสัญญาระหว่างกลุ่มทรู กบั CAT Telecom ไม่เข้าข่ายที่จะต้องดาเนิ นการตาม พ.ร.บ. ร่ วมทุนฯ แต่อย่างใด เช่ นเดี ยวกันสาหรับกรณี ที่ดีแทคได้ยื่นฟ้ อง CAT Telecom และ คณะกรรมการ CAT Telecom ต่อ ศาลปกครองกลาง เมื่อเดือนเมษายน 2554 กล่าวอ้างว่า คณะกรรมการ CAT Telecom มีมติให้ CAT Telecom เข้าทาสัญญาดาเนิ นธุ รกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่รูปแบบใหม่บนเทคโนโลยี 3G HSPA ของ CAT Telecom กับกลุ่ม ทรู โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และ CAT Telecom ละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งปฏิ บตั ิและ เข้าทาสัญญา HSPA โดยไม่เป็ นไปตามกฎหมาย ขอให้ศาลปกครองพิพากษาให้เพิกถอนมติคณะกรรมการ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

CAT Telecom และขอให้ระงับการปฏิบตั ิตามโครงการดังกล่าวทั้งหมด นอกจากนี้ ดีแทคยังได้ยื่นคาร้องขอให้ ศาลมีคาสั่งกาหนดมาตรการหรื อวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์ชวั่ คราวก่อนพิพากษามาพร้อมกับคาฟ้ อง แต่ปรากฏว่า ศาลมี คาสั่งไม่รับคาฟ้ องในข้อหาที่ 2 ซึ่ งดี แทคกล่าวอ้างว่า CAT Telecom ละเลยต่อหน้าที่ ตามที่กฎหมาย ก าหนดให้ ต้ อ งปฏิ บ ั ติ ซึ่ งเป็ นข้ อ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ค าร้ อ งขอคุ ้ ม ครองชั่ ว คราวไว้พิ จ ารณา ดั ง นั้ น ศาลจึ งไม่รับคาร้ องขอคุ ม้ ครองชัว่ คราวไว้พิจารณาด้วยเช่ นเดี ยวกัน ทั้งนี้ เนื่ องจากผลของคดี ดงั กล่าวอาจมี ผลกระทบต่อกลุ่มทรู ในฐานะคู่สัญญาของ CAT Telecom ในโครงการดังกล่าว กลุ่มทรู โดยบีเอฟเคทีและ เรี ยลมูฟ จึงได้ร้องสอดเข้าไปเป็ นคู่ความในคดี น้ นั แต่ต่อมาดี แทคได้ยื่นคาร้ องขอถอนคาฟ้ อง และเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งอนุ ญาตให้ถอนคาฟ้ องและจาหน่ ายคดี ดงั กล่าวออกจากสารบบ ความแล้ว เนื่ องจากเห็ นว่าเป็ นเรื่ องเกี่ ยวกับการปกป้ องประโยชน์ของผูฟ้ ้ องคดี ในทางธุ รกิ จ จึ งไม่เป็ นคดี ที่ เกี่ยวกับการคุม้ ครองประโยชน์สาธารณะ หรื อคดีที่พิจารณาต่อไปจะเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวม เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2554 คณะกรรมการ กสทช. โดยเลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อถึ งบริ ษทั ฯ และ เรี ยลมูฟแจ้งมติและคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ที่สั่งให้แก้ไขในส่ วนที่ เกี่ ยวกับการท าความตกลงเพื่ อควบรวมกิ จการโดยการเข้าซื้ อหุ ้นของกลุ่ มฮัทชิ สันให้เป็ นไปตามประกาศ คณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการควบรวมกิ จการและการถื อหุ ้นไขว้ในกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และในส่ วนที่เกี่ยวกับการทาความตกลงกับ CAT Telecom เกี่ยวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ CDMA และระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง มาตรการเพื่อป้ องกันมิให้มี การกระทาอันเป็ นการผูกขาดหรื อก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 แต่อย่างไรก็ดี บริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟ เห็นว่ามติและคาสั่งของ คณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ดังกล่าว ไม่มีความชัดเจนและไม่ชอบด้วยกฎหมาย บริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟจึงได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 เพื่อขอให้เพิกถอนมติและคาสัง่ ดังกล่าว ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ ปั จจุบนั มีหน่วยงานต่าง ๆ เช่น คณะกรรมาธิ การศึกษาตรวจสอบเรื่ องการทุจริ ตและเสริ มสร้าง ธรรมาภิบาลของวุฒิสภา ป.ป.ช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร และกระทรวงการคลัง เป็ นต้น ดาเนินการตรวจสอบสัญญาดังกล่าว โดยเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2555 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อสารได้แถลงผลของคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งกรณี สัญญาโครงการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G บนเทคโนโลยี HSPA ระหว่าง CAT Telecom กับบริ ษทั ฯ ซึ่ งได้ขอ้ สรุ ปใน 5 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1. เห็นว่า มีการเตรี ยมการวางแผนและดาเนิ นการโดยผูเ้ กี่ยวข้องอย่างมีนยั สาคัญเกี่ยวกับการเข้าซื้ อ กิจการ CDMA ในส่ วนกลางจากกลุ่มฮัทชิสัน โดยให้ CAT Telecom ทาการเจรจาต่อรองราคา เข้าซื้ อกิจการดังกล่าวภายในวงเงินไม่เกิน 4,000 ล้านบาท ทาให้การเจรจาเข้าซื้ อกิจการดังกล่าว ของ CAT Telecom ไม่ประสบผลสาเร็ จ

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2. เห็ นว่า CAT Telecom ไม่ได้ดาเนิ นการในเรื่ องวิเคราะห์ภาระทางการเงิน และวิเคราะห์ถึง ผลประโยชน์ของรัฐก่อน CAT Telecom ยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับโครงการ CDMA ทั้ง 2 ฉบับ 3. เห็นว่า การเสนอโครงการต่อคณะรัฐมนตรี เป็ นการกระทาที่มีการวางแผนร่ วมกันโดยกาหนด บุคคลที่จะดาเนิ นการและวิธีการสร้ างความชอบธรรมในการเสนอเรื่ อง โดยทาหลักฐานเท็จ และดาเนิ นการโดยเร่ งรี บ ทั้ง ๆ ที่ไม่เข้าข่ายเป็ นกรณี เรื่ องเร่ งด่วน อันเป็ นการกระทาที่เข้าข่าย ผิดระเบียบและกฎหมายของทางราชการ 4. เห็ นว่า การยกเลิ กสัญญาเกี่ ยวกับโครงการ CDMA ทั้ง 2 ฉบับ CAT Telecom ยังไม่ได้ขอ ความชัดเจนจาก สองหน่วยงาน คือ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ และสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสี ยก่อน 5. เห็ นว่า CAT Telecom ได้ละเลยขั้นตอนในการปฏิบตั ิตามบทบัญญัติ ตามมาตรา 12 (2) และ มาตรา 13 ของพระราชบัญญัติพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ พ.ศ. 2521 และข้อ 5 ของ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2550 อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู เห็นว่าการตรวจสอบดังกล่าวเป็ นเพียงการตรวจสอบเบื้องต้นของคณะกรรมการ สอบข้อเท็จจริ งภายในหน่วยงานเท่านั้นและผลการตรวจสอบในปั จจุบนั ก็ยงั ไม่เป็ นที่ยุติ อีกทั้งยังเป็ นการ ตรวจสอบเกี่ ยวกับความผิดของเจ้าหน้าที่ ของรั ฐ ซึ่ งไม่มีความเกี่ ยวข้องกับบริ ษทั ย่อยของกลุ่ มทรู ที่เป็ น คู่สัญญากับ CAT Telecom แต่อย่างใด โดยกลุ่มทรู เชื่อว่าทุกฝ่ ายได้ปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมายและได้รับการ ตรวจสอบจากสานักงานอัยการสู งสุ ดซึ่ งเป็ นหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่โดยตรงแล้ว การตรวจสอบดังกล่าว จึงไม่น่าจะส่ งผลกระทบในทางลบต่อการดาเนินธุ รกิจ 3G ของกลุ่มทรู โมบาย เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2555 กรมสอบสวนคดีพิเศษได้มีจดหมายถึงบริ ษทั ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอร์ วิส ประเทศไทย จากัด บริ ษทั ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิ เคชันส์ (ประเทศไทย) จากัด ฮัทชิ สัน ซี เอที และบีเอฟเคที ซึ่ ง เป็ นบริ ษทั ย่อยที่กลุ่มทรู ซ้ื อหุ ้นมาจากกลุ่มฮัทชิ สัน โดยอ้างเหตุถึงการที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารมี หนังสื อถึ งกรมสอบสวนคดี พิ เศษให้พิ จารณาการดาเนิ นธุ รกิ จตามโครงการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ HSPA (3G) ระหว่าง CAT Telecom กับกลุ่มทรู และขอให้บริ ษทั ย่อยส่ งมอบสาเนา เอกสารต่าง ๆ (ซึ่ งรวมถึ งเอกสารเกี่ยวกับการซื้ อขายกิจการบริ ษทั ย่อยทั้งสามบริ ษทั ดังกล่าวที่ CAT Telecom ได้ ล งนามในฐานะผู ้ซ้ื อ) ให้ ค ณะท างานสื บสวนใช้ เ ป็ นหลั ก ฐานประกอบการพิ จ ารณา ซึ่ งตั้ งแต่ วันที่ 4 กรกฎาคม 2555 บริ ษทั ย่อยได้ทยอยนาส่ งสาเนาเอกสารที่มีพร้อมทั้งจดหมายชี้ แจงให้แก่กรมสอบสวน คดี พิเศษ ทั้งนี้ กลุ่มทรู เข้าใจว่าทางกรมสอบสวนคดี พิเศษกาลังดาเนิ นการแต่งตั้งคณะทางานชุ ดใหม่ และอยู่ ระหว่างการตรวจสอบข้อผูกพันที่ CAT Telecom ได้เคยตกลงเกี่ยวกับการซื้ อขายกิจการของบริ ษทั ย่อยทั้งสี่ กบั กลุ่มฮัทชิสันก่อนที่กลุ่มทรู จะได้ตกลงซื้ อบริ ษทั ทั้งสี่ มาจากกลุ่มฮัทชิ สันเมื่อเดือนธันวาคม 2553 ซึ่ งกลุ่มทรู ได้ ตรวจสอบกับทางกลุ่มฮัทชิ สันซึ่ งเป็ นผูข้ าย และได้รับการแจ้งว่าข้อผูกพันเดิ มระหว่าง CAT Telecom กับ กลุ่มฮัทชิ สันได้สิ้นอายุไปแล้วก่อนที่กลุ่มฮัทชิ สันจะได้ลงนามขายกิจการบริ ษทั ย่อยทั้งสี่ บริ ษทั ให้แก่กลุ่มทรู ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ในขณะนี้ กลุ่ มทรู เห็ นว่าการตรวจสอบดังกล่ าวไม่ น่าจะส่ งผลกระทบในทางลบต่ อการด าเนิ นธุ รกิ จการ ให้บริ การ 3G ของกลุ่มทรู โมบาย เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2555 ที่ประชุม กทค. ครั้งที่ 23/2555 ได้พิจารณารายงานผลการศึกษา วิเคราะห์ และเสนอความเห็นของคณะอนุกรรมการฯ กรณี การทาสัญญาระหว่าง CAT Telecom กับกลุ่มบริ ษทั ในกลุ่มทรู ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่รูปแบบใหม่ บนคลื่นความถี่ 800 MHz ประกอบข้อสัญญา ข้อกฎหมาย และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องแล้ว มีความเห็นสอดคล้องกับรายงานผลการศึกษาของคณะอนุกรรมการฯ ดังกล่าว ในวันที่ 28 มิถุนายน 2555 สานักงานคณะกรรมการ กสทช. จึงได้มีหนังสื อถึง CAT Telecom เกี่ยวกับเรื่ อง ดังกล่าว โดยสรุ ปมติของ กทค. ได้ดงั นี้ 1. การทาสัญญาระหว่าง CAT Telecom กับกลุ่มบริ ษทั ในกลุ่มทรู เป็ น “สัญญาทางปกครอง” ที่การ กากับดูแลกิ จการโทรคมนาคมต้องคานึ งถึ ง “ประโยชน์สาธารณะ” เป็ นสาคัญ จึงมีคาสั่งให้ CAT Telecom ในฐานะผูไ้ ด้รับจัดสรรคลื่นความถี่ปฏิบตั ิให้ถูกต้องตาม มาตรา 46 แห่ ง พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 โดยให้มีการแก้ไขข้อสัญญาที่เกี่ ยวข้อง 6 ประเด็น ดังนี้ และให้ CAT Telecom รายงานผลการดาเนินการต่อ กทค. ภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รับคาสั่ง 1.1 CAT Telecom ต้องสามารถนาคลื่นความถี่ยา่ น 800 MHz (Band V) ไปใช้กบั เครื่ องและ อุปกรณ์ของตนเองหรื อของบริ ษทั อื่นได้ 1.2 CAT Telecom ต้องสามารถควบคุมดูแลและบริ หารจัดการผ่าน Network Operation Center (NOC) อย่างสมบูรณ์ และ CAT Telecom ต้องสามารถเข้าไปในสถานที่ติดตั้งเครื่ องและ อุปกรณ์ของบีเอฟเคทีได้ 1.3 CAT Telecom ต้องสามารถเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน (Call Detail Record หรื อ CDR) อย่างสมบูรณ์ 1.4 CAT Telecom ต้องสามารถบริ หารจัดการคลื่ นความถี่ ของ CAT Telecom ผ่า น คณะกรรมการควบคุมการปฏิบตั ิงาน (Operation Supervision Committee) อย่างชัดเจน 1.5 CAT Telecom ต้องเป็ นผูค้ วบคุมบริ หารคลื่นความถี่ดว้ ยตนเองผ่านกระบวนการสร้างและ จัดหาความจุ ข องบี เอฟเคที ใ นเรื่ อง การวางแผนและบริ หารจัดการเกี่ ยวกับ คลื่ นความถี่ รวมทั้งการขยายและดู แลโครงข่ ายอย่างสมบู รณ์ และให้แก้ไขนิ ยามคาว่า “ความจุตาม สัญญา” ในข้อ 1 ของสัญญาขายส่ งบริ การฯ ให้เป็ นไปตามกลไกตลาด 1.6 CAT Telecom ต้องสามารถบริ หารจัดการคลื่นความถี่ของ CAT Telecom ผ่านการเจรจา การให้บริ การข้ามโครงข่ายภายในประเทศ (Inbound domestic roaming) และการเชื่ อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมกับผูป้ ระกอบการรายอื่น ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2555 บี เอฟเคทีและเรี ยลมูฟซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่ มทรู และ CAT Telecom ได้ร่วมกันลงนามบันทึ กความเข้าใจ จานวน 2 ฉบับ โดยมี ใจความโดยสรุ ปว่า บี เอฟเคทีและ CAT Telecom ตกลงเห็ นชอบเงื่ อนไขของสัญญาเช่ าเครื่ องและอุ ปกรณ์ วิทยุคมนาคมฯ ที่ จะดาเนิ นการแก้ไขตามคาสั่ง กทค. และเรี ยลมูฟ และ CAT Telecom ตกลงเห็นชอบเงื่อนไขสัญญาขายส่ งบริ การฯ ที่จะดาเนิ นการแก้ไขตามคาสั่ง กทค. โดยในประเด็นอื่น ๆ คู่สัญญาจะดาเนินการเจรจาแยกต่างหากเพื่อให้ได้ขอ้ ยุติโดยเร็ ว ทั้งนี้ คู่สัญญาจะดาเนิ นการ แก้ไขสัญญาตามเงื่อนไขที่เห็นชอบร่ วมกัน และ/หรื อ ตามที่ กทค. จะพิจารณาให้ดาเนิ นการแก้ไข ภายหลังจากที่ ได้รับความเห็ นชอบจากหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องแล้ว ซึ่ งบีเอฟเคทีและเรี ยลมูฟได้มีการนาส่ งบันทึ กความเข้าใจ ทั้ง 2 ฉบับดังกล่ าวต่ อ กทค. แล้วในวันเดี ยวกัน โดยกลุ่ มทรู ประเมิ นว่าการปรั บแก้สั ญญาดังกล่ าวจะไม่ มี ผลกระทบในทางลบอย่างมีนยั สาคัญต่อธุ รกิจ 3G ที่กลุ่มทรู โมบายดาเนินอยูใ่ นปั จจุบนั โดยเหตุผลดังต่อไปนี้ (1) ปัจจุบนั CAT Telecom เป็ นผูบ้ ริ หารจัดการคลื่นความถี่ยา่ น 800 MHz (Band V) ด้วยตนเองได้อยูแ่ ล้ว ประเด็นการแก้ไขตามข้อ 1.1 ข้างต้น เพียงแต่แก้ถอ้ ยคาในสัญญาให้ชดั เจนยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม การแก้ไขถ้อยคาในสัญญาให้ชดั เจนยิ่งขึ้นนี้ อาจทาให้เกิดการแข่งขันที่สูงขึ้นได้ เนื่ องจากเป็ นที่ เข้าใจของทุกฝ่ ายแล้วว่า CAT Telecom สามารถดาเนิ นการดังกล่าวได้ แต่อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู เชื่อมัน่ ว่าแผนธุ รกิจและคุณภาพของบริ การของกลุ่มบริ ษทั จะสามารถรักษาลูกค้าไว้ได้ (2) ปัจจุบนั CAT Telecom สามารถควบคุมดูแลและบริ หารจัดการผ่าน Network Operation Center (NOC) ที่มีการนาไปติ ดตั้งให้ CAT Telecom แล้วอย่างน้อย 3 ชุ ด อย่างสมบูรณ์ และสามารถเข้าไปใน สถานที่ ติดตั้งเครื่ องและอุ ปกรณ์ ของบี เอฟเคที ได้อยู่แล้ว ประเด็ นการแก้ไขตามข้อ 1.2 ข้างต้น จึงมิได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการดาเนินการของบีเอฟเคทีแต่อย่างใด (3) ปั จจุบนั CAT Telecom สามารถเข้าถึงข้อมูลการใช้งานของลูกค้าได้อยูแ่ ล้ว ประเด็นการแก้ไขตาม ข้อ 1.3 ข้างต้น จึงมิได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการดาเนินการของบีเอฟเคทีแต่อย่างใด (4) ปั จจุบนั CAT Telecom เป็ นผูบ้ ริ หารจัดการคลื่นความถี่ของ CAT Telecom อยูแ่ ล้ว ประเด็น การแก้ไขตามข้อ 1.4 ข้างต้น เป็ นเพียงแต่เขียนระบุในสัญญาให้ชดั เจนยิ่งขึ้ นว่าจะต้องผ่าน คณะกรรมการควบคุมการปฏิบตั ิงาน (Operation Supervision Committee) โดยคณะกรรมการ ดังกล่าวก็อยูภ่ ายใต้การดาเนิ นงานของ CAT Telecom จึงมิได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการ ดาเนินการของบีเอฟเคทีแต่อย่างใด (5) ปัจจุบนั CAT Telecom เป็ นผูค้ วบคุมบริ หารคลื่นความถี่ดว้ ยตนเองผ่านกระบวนการสร้างและ จัดหาความจุของบีเอฟเคที ในเรื่ องการวางแผนและบริ หารจัดการเกี่ยวกับคลื่นความถี่ รวมทั้ง การขยายและดูแลโครงข่ายอยูแ่ ล้ว ประเด็นการแก้ไขตามข้อ 1.5 ข้างต้น จึงเพียงแต่เขียนระบุ ในสั ญญาให้ชัดเจนยิ่ง ขึ้ นเท่ า นั้น และมิ ไ ด้ส่ ง ผลกระทบในทางลบต่ อการดาเนิ นการของ บี เอฟเคที แต่อย่างใด สาหรั บประเด็นเงื่ อนไขการรั บซื้ อความจุ โครงข่ายตามสั ญญาขายส่ ง บริ การฯ นั้น ได้มีการประชุ มในรายละเอี ยดของการแก้ไขสัญญาบางส่ วนแล้ว ซึ่ งอาจมีการ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

แก้ไขนิยามคาว่า “ความจุตามสัญญา” ในข้อ 1 ของสัญญาขายส่ งบริ การฯ จากเดิมที่กาหนดไว้ ไม่เกิ นร้ อยละ 80 ของความจุเป้ าหมายแรกและของความจุขยาย เปลี่ ยนเป็ นให้เป็ นไปตาม กลไกตลาด เพื่ อให้ เกิ ดความชัด เจนมากขึ้ น ว่า ผูใ้ ห้บ ริ ก ารรายอื่ นก็ ส ามารถขอซื้ อ ความจุ โครงข่ายของ CAT Telecom ได้ โดยไม่กระทบสิ ทธิ ในการรับซื้ อความจุโครงข่ายจาก CAT Telecom โดยเรี ยลมูฟ เนื่องจาก CAT Telecom มีสิทธิ ที่จะสั่งผลิตความจุโครงข่ายเพิ่มขึ้นเพื่อ รองรั บ ความต้อ งการของผูใ้ ห้บ ริ ก ารทุ ก รายได้ต ลอดอยู่แ ล้ว การเจรจาแก้ไ ขสั ญ ญาตาม แนวทางดังกล่าวก็เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากขึ้นตามมติของ กทค. ดังกล่าวเท่านั้น ทั้งนี้ ในปั จจุบนั เรี ยลมูฟและ CAT Telecom ได้มีขอ้ ผูกพันในการขายส่ งและรับซื้ อความจุ ขยายตามสั ญญาขายส่ ง บริ ก ารฯ ครอบคลุ ม เป้ าหมายการให้บ ริ ก ารตามแผนธุ รกิ จไว้แล้ว การแก้ไขสัญญาในส่ วนดังกล่าวจึงไม่มีผลกระทบต่อการใช้งานของลูกค้าเนื่ องจากสามารถ ให้บริ การได้ตามปกติ และไม่ได้ทาให้กลุ่มทรู มีขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง ตลอดจน ไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ การขยายเลขหมายในอนาคต รวมไปถึ ง ไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ แผนการ ดาเนินงานในอนาคตแต่อย่างใด (6) ปั จจุบนั CAT Telecom สามารถบริ หารจัดการคลื่นความถี่ของ CAT Telecom ผ่านการเจรจา การให้บริ การข้ามโครงข่ายภายในประเทศ (Inbound domestic roaming) และการเชื่ อมต่อ โครงข่ า ยโทรคมนาคมกับ ผูป้ ระกอบการรายอื่ นได้อยู่แล้ว ประเด็ นการแก้ไ ขตามข้อ 1.6 ข้างต้น จึงเป็ นเพียงการเขียนระบุในสั ญญาให้ชดั เจนยิ่งขึ้นเท่านั้น ซึ่ งการเขียนระบุในสัญญา ให้ชดั เจนยิ่งขึ้นนี้ อาจทาให้เกิ ดการแข่งขันที่สูงขึ้นได้ เนื่ องจากเป็ นที่เข้าใจของทุกฝ่ ายแล้วว่า CAT Telecom สามารถดาเนิ นการดังกล่าวได้ แต่อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู เชื่ อมัน่ ว่าแผนธุ รกิ จ และคุณภาพของบริ การของกลุ่มทรู จะสามารถรักษาลูกค้าไว้ได้ ทั้งนี้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556 สานักงานคณะกรรมการ กสทช. ได้มีหนังสื อถึง CAT Telecom เพื่อแจ้งมติที่ประชุม กทค. ในการประชุมครั้งที่ 12/2556 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556 ว่า กทค. ได้พิ จ ารณาเงื่ อ นไขสั ญ ญาที่ จ ะด าเนิ น การแก้ไ ขตามบันทึ ก ความเข้าใจแล้ว โดยมี ความเห็นให้ปรับปรุ งเงื่อนไขดังกล่าวเพียง 2 ข้อเท่านั้น และได้สั่งให้ CAT Telecom จัดส่ งร่ าง สั ญ ญาเช่ า เครื่ อ งและอุ ป กรณ์ วิ ท ยุ ค มนาคมฯ ฉบับ แก้ไ ข และร่ า งสั ญ ญาขายส่ ง บริ ก ารฯ ฉบับแก้ไข แทนบันทึกความเข้าใจ ซึ่ งต่อมาเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 ทั้งสองฝ่ ายได้ร่วมกัน จัดทาร่ างสัญญาแก้ไขทั้งสองฉบับและจัดส่ งให้แก่ กทค. พิจารณา โดย กทค. ได้มีมติเห็นชอบ ร่ างแก้ไขสัญญาทั้งสองฉบับเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2556 ว่าสอดคล้องกับมาตรา 46 แห่ ง พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 และแจ้งให้ CAT Telecom ดาเนินการลงนามในสัญญา แก้ไขสัญญาทั้งสองฉบับซึ่ ง CAT Telecom และคู่สัญญาได้ลงนามในสัญญาแก้ไขสัญญาทั้ง สองฉบับและจัดส่ งให้ กทค. เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2556 แล้ว ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2. ส าหรั บ ประเด็ น ที่ เกี่ ย วข้องกับ กฎหมายโทรคมนาคมอื่ น ๆ ที่ จ ะต้อ งพิ จารณาว่า สั ญญาใน โครงการ 3G HSPA ชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่น้ นั กทค. มีมติวา่ จะไม่มีมติใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่ องดังกล่าวซ้ าอีก ทั้งนี้ เพราะว่าคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. (หรื อ คณะกรรมการ กสทช. ชุ ด ก่ อ น) เคยมี ม ติ ใ นเรื่ อ งดัง กล่ า วไว้อ ยู่ แ ล้ว (ตามมติ ที่ ป ระชุ ม ครั้งที่ 30/2554) ซึ่ งขณะนี้ บริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟก็ได้ฟ้องเพิกถอนมติดงั กล่าวแล้ว และระหว่างนี้ ก็อยูใ่ นการพิจารณาคดีของศาลปกครองกลาง 3. ในประเด็ นที่ ว่า บี เอฟเคที ก ระท าการฝ่ าฝื นต่ อมาตรา 67 แห่ ง พ.ร.บ. การประกอบกิ จ การ โทรคมนาคม พ.ศ. 2544 โดยประกอบกิจการโทรคมนาคมโดยไม่ได้รับใบอนุ ญาตให้ประกอบกิจการ หรื อไม่น้ นั กทค. ได้มอบหมายให้คณะทางานของสานักงานคณะกรรมการ กสทช. ตรวจสอบ ข้อเท็จจริ งว่า บีเอฟเคทีกระทาการฝ่ าฝื นกฎหมายหรื อไม่และรายงานผลการตรวจสอบต่อ กทค. ซึ่งเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ผูแ้ ทนบีเอฟเคที ได้เข้าชี้ แจงข้อเท็จจริ งกับคณะทางานเพื่อชี้ แจง ว่า บีเอฟเคทีไม่ได้กระทาการฝ่ าฝื นกฎหมายใด ๆ ต่อมาเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2556 ในการประชุม กทค. ครั้ งที่ 13/2556 ที่ ป ระชุ ม กทค. ได้พิ จารณาผลการตรวจสอบของคณะท างานของ สานักงานคณะกรรมการ กสทช. โดยภายหลังจากที่ กทค. ได้พิจารณารายงานของคณะทางาน ที่ประชุม กทค. มีมติวา่ บีเอฟเคทีไม่ได้กระทาการฝ่ าฝื นต่อกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบกิจการ โทรคมนาคมโดยไม่ได้รับอนุ ญาตให้ประกอบกิ จการ หรื อโดยไม่ได้รับใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่ น ความถี่อนั เป็ นความผิดตามมาตรา 67 แห่ ง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคมแต่อย่างใด เนื่ องจากบีเอฟเคทีนาอุปกรณ์โทรคมนาคมให้ กสท. เช่ าแต่เพียงผูเ้ ดี ยว ดังนั้น การกระทาของ บีเอฟเคทีไม่ถือเป็ นการประกอบกิ จการโทรคมนาคมตามมาตรา 4 แห่ ง พ.ร.บ.การประกอบกิ จการ โทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ซึ่ งจะต้องเป็ นผูใ้ ห้บริ การด้านกิจการโทรคมนาคมแก่บุคคลอื่นทัว่ ไป ประกอบกับไม่ ปรากฏพฤติ ก ารณ์ และพยานหลักฐานเพี ยงพอที่ จะเชื่ อได้ว่า บี เอฟเคที มี การ กระทาที่ฝ่าฝื นมาตรา 67 แต่อย่างใด ทาให้บีเอฟเคที ยังคงสามารถให้ CAT Telecom เช่าอุปกรณ์ ได้ต่อไป อย่างไรก็ดี กทค. เห็ นว่า การให้เช่ าเครื่ องและอุปกรณ์ วิทยุคมนาคมเพื่อให้บริ การ โทรศัพท์เคลื่ อนที่ ซ่ ึ งสามารถเพิ่มจานวนเครื่ องและอุปกรณ์ โทรคมนาคมที่ให้เช่ าเป็ นจานวนมาก จนสามารถรวมเป็ นโครงข่ายโทรคมนาคมซึ่ งทาให้มีปัจจัยที่ พร้ อมจะให้บริ การแก่บุคคลอื่ น ทัว่ ไปได้น้ ัน กทค. มี ค วามจ าเป็ นต้อ งเข้า มาก ากับ ดู แ ลบริ ษ ัท ที่ ใ ห้ เ ช่ า เครื่ อ งและอุ ป กรณ์ โทรคมนาคมดังกล่าว เพราะหากมีเหตุ ขดั ข้องหรื อมี ปัญหาเกิ ดขึ้นกับอุ ปกรณ์ โทรคมนาคมที่ ให้เช่าที่เกี่ยวข้องกับระบบการติดต่อสื่ อสารของประเทศ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อประโยชน์ สาธารณะ การแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็ นธรรม รวมถึงอาจก่อให้เกิ ดผลกระทบต่อผูบ้ ริ โภคหรื อ ผูใ้ ช้บริ การ ดังนั้น กทค. จึงมีมติมอบหมายให้ สานักงานคณะกรรมการ กสทช. เร่ งดาเนิ นการ ยกร่ างหลักเกณฑ์เพื่อให้การดาเนิ นกิ จการการให้เช่ าเครื่ องและอุ ปกรณ์ วิทยุคมนาคมเพื่อให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในลักษณะดังกล่าวของบุคคลใด ๆ ต้องตกอยูภ่ ายใต้การกากับดูแลของ กทค. และให้เสนอร่ างดังกล่าวต่อที่ประชุม กทค. เพื่อพิจารณาภายใน 30 วันนับแต่มีมติ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ทั้งนี้ หากประกาศนี้ มีผลใช้บงั คับเพื่อกากับดูแลการดาเนิ นกิจการการให้เช่าเครื่ องและอุปกรณ์ วิทยุคมนาคม กลุ่มทรู เชื่ อว่า บีเอฟเคทีไม่อยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ที่ กทค. กาหนด เนื่ องจากบีเอฟเคที ให้ CAT Telecom เช่าอุปกรณ์ โทรคมนาคมเพียงบางส่ วนของโครงข่ายโทรคมนาคมเท่านั้น มิได้ให้ CAT Telecom เช่าอุปกรณ์โทรคมนาคมทุกประเภทที่ประกอบขึ้นเป็ นโครงข่าย อย่างไรก็ดี หากประกาศหลักเกณฑ์ดงั กล่าวมีผลบังคับกับบีเอฟเคทีดว้ ย กรณี น้ ีอาจส่ งผลกระทบต่อบีเอฟเคที ให้ตอ้ งรับภาระค่าธรรมเนี ยมเพิ่มขึ้น ซึ่ ง ณ ปั จจุบนั ยังไม่เป็ นที่ชดั เจน และกลุ่มทรู ไม่สามารถ คาดการณ์ได้วา่ ภาระค่าธรรมเนียมจะเป็ นจานวนเท่าใด ความเสี่ ยงทีส่ ื บเนื่องจากสั ญญา HSPA เนื่องจาก CAT Telecom จะต้องดาเนิ นการตามขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขสัญญา เช่น การส่ ง ร่ างสัญญาแก้ไขให้สานักงานอัยการสู งสุ ด และการเสนอโครงการ 3G HSPA ต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อขออนุ มตั ิ ดังนั้น ในระหว่างที่ CAT Telecom ยังไม่ได้รับอนุ มตั ิงบประมาณที่เกี่ ยวกับโครงการ 3G HSPA CAT Telecom ปฏิเสธที่จะดาเนิ นการชาระหนี้ หรื อรับชาระหนี้ ใด ๆ อันอาจเกี่ยวเนื่ องกับสัญญา HSPA ทาให้ CAT Telecom ไม่สามารถชาระเงิ นหรื อรับชาระเงิ นคืนเพื่อระงับหนี้ ที่มีกบั บีเอฟเคที หรื อเรี ยลมูฟ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มูลค่ารายได้คา้ งรับที่บีเอฟเคทีมีอยูก่ บั CAT Telecom ภายใต้สัญญาเช่าเครื่ องและ อุปกรณ์วิทยุคมนาคมฯ มีจานวนประมาณ 14.1 พันล้านบาท แม้จะเป็ นหนี้ ที่เกิดขึ้นระหว่าง CAT Telecom กับบริ ษทั ย่อยอื่นของกลุ่มทรู หรื อผูป้ ระกอบการรายอื่ น เช่ น การชาระหรื อรั บชาระค่าเชื่ อมต่อโครงข่าย โทรคมนาคมที่เกิดขึ้นระหว่างโครงข่ายทรู มูฟ หรื อของผูป้ ระกอบการรายอื่น กับโครงข่าย 3G HSPA ของ CAT Telecom ล่าช้าเป็ นต้น ซึ่ งที่ผา่ นมาบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ได้แสดงเจตนาชัดแจ้งที่จะปฏิบตั ิการชาระ หนี้ หรื อรับชาระหนี้ ตามที่ผูกพันในสัญญา อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2556 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติ เห็นชอบการดาเนินโครงการ 3G HSPA และได้อนุ มตั ิงบประมาณในการลงทุนโครงข่าย 3G HSPA รวมทั้ง งบประมาณที่เกี่ยวข้องกับการชาระค่าเช่าและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ตามสัญญา HSPA ทั้งนี้ ในช่วงก่อน CAT Telecom ได้รับอนุมตั ิงบประมาณ CAT Telecom อาจต้องชาระดอกเบี้ยที่ เกิดจากการชาระค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมล่าช้าให้แก่ผปู ้ ระกอบการรายอื่น และมีความเสี่ ยงที่ CAT Telecom จะเรี ยกร้องดอกเบี้ยที่เกิดจากการชาระค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมล่าช้าดังกล่าวจากเรี ยลมูฟ ซึ่ งเป็ นผูข้ ายต่อบริ การ (Reseller) ของ CAT Telecom ทั้งนี้ ภาระดอกเบี้ยดังกล่าวไม่สามารถคานวณ ตัวเลขที่แน่ นอนได้เนื่ องจากเป็ นภาระดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นตามสัญญาเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมซึ่ ง CAT Telecom ได้เข้าทากับผูป้ ระกอบการรายอื่นเอง และไม่สามารถคาดหมายได้ว่า CAT จะดาเนิ นการจ่าย ค่าเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมต่อผูป้ ระกอบการอื่นเมื่อใด นอกจากนี้ ภายหลัง จากคณะรั ฐ มนตรี ไ ด้มี ม ติ เห็ นชอบการดาเนิ นโครงการ 3G HSPA CAT Telecom ได้ทาการเรี ยกร้องค่าขายส่ งบริ การจากเรี ยลมูฟในช่วงระหว่างที่ยงั ไม่ได้รับมีมติเห็นชอบย้อนหลัง ตั้งแต่วนั ที่ 28 กรกฏาคม 2554 เป็ นต้นมา ซึ่ งเรี ยลมูฟได้ปฏิเสธการชาระเงินดังกล่าวไว้พลางก่อน เนื่ องจาก ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กาลังอยู่ในระหว่างการตรวจสอบความถู กต้องของจานวนค่าขายส่ งบริ การ กรณี จึงมี ความเสี่ ยงที่ CAT Telecom อาจเรี ยกดอกเบี้ยผิดนัดจากการชาระค่าขายส่ งล่าช้า ความเสี่ ยงจากการที่กลุ่มทรู ต้องแข่ งขันกับทีโอทีและ CAT Telecom ซึ่ งเป็ นคู่สัญญาร่ วมการงานฯ และ คู่สัญญาให้ ดาเนินการฯ ซึ่งอาจนาไปสู่ ข้อพิพาทต่ าง ๆ ทีอ่ าจส่ งผลกระทบต่ อการดาเนินธุรกิจของกลุ่มทรู บริ ษทั ฯ และทรู มูฟได้ดาเนิ นกิ จการภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ และ/หรื อ สัญญาให้ดาเนิ นการฯ กับทีโอที และ/หรื อ CAT Telecom แล้วแต่กรณี ซึ่ งสัญญาให้ดาเนิ นการฯ กับ CAT Telecom ได้สิ้นสุ ดลง แล้วตั้งแต่วนั ที่ 15 กันยายน 2556 โดยปั จจุบนั ทรู มูฟ ยังคงมีหน้าที่ให้บริ การตามประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื่ อง มาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัว่ คราวในกรณี สิ้นสุ ดการอนุ ญาต สัมปทาน หรื อสัญญา การให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ พ.ศ. 2556 โดยความเห็นที่แตกต่างกันของผูป้ ระกอบกิจการในกลุ่มทรู กบั ที โอที และ CAT Telecom ทั้งในประเด็นการตีความข้อกฎหมาย และข้อสัญญาร่ วมการงานฯ และ/หรื อ สั ญ ญาให้ ด าเนิ น การฯ การได้รั บ การอนุ ญ าต รวมทั้ง ประกาศ กฎเกณฑ์ และข้อ บัง คับ ต่ า ง ๆ โดย คณะกรรมการ กสทช. อาจมีผลต่อความสามารถในการดาเนิ นธุ รกิจของผูป้ ระกอบกิ จการซึ่ งเป็ นบริ ษทั ใน กลุ่มทรู และมีความเสี่ ยงที่สัญญาร่ วมการงานฯ อาจถูกยกเลิ ก อย่างไรก็ดีในกรณี ของสัญญาร่ วมการงานฯ ที่ บ ริ ษ ทั ฯ ท าหน้า ที่ จ ัดสร้ า งโครงข่ า ยพื้ นฐานให้แ ก่ ที โ อที เพื่ อให้ บ ริ ก ารโทรศัพ ท์พ้ื น ฐาน ที โอที ต้อ ง นาเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการเป็ นผูช้ ้ ีขาดก่อนดาเนินการยกเลิกสัญญา ซึ่ งทีโอทีอาจจะยกเลิกสัญญา ร่ วมการงานฯ ได้เฉพาะในกรณี ที่บริ ษทั ฯ ทาผิดกฎหมาย หรื อบริ ษทั ฯ ถูกศาลมีคาสั่งพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด ในคดีลม้ ละลาย หรื อบริ ษทั ฯ จงใจผิดสัญญาในส่ วนสาระสาคัญอย่างต่อเนื่ องเท่านั้น ซึ่ งตามสัญญาทีโอที เป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้จากลูกค้าในโครงข่ายทั้งหมด และแบ่งส่ วนแบ่งรายได้ให้บริ ษทั ฯ ตามสัดส่ วนที่ระบุไว้ ในสัญญาร่ วมการงานฯ ดังนั้น ทีโอทีอาจชะลอการชาระเงินให้บริ ษทั ฯ เพื่อเป็ นการชาระค่าใช้จ่ายใด ๆ ที่ ที โอที เชื่ อว่าบริ ษทั ฯ ติ ดค้าง (แต่จนถึ งขณะนี้ ก็ ยงั ไม่เคยมี กรณี ดงั กล่ าวเกิ ดขึ้ น) ท าให้มี ความเป็ นไปได้ น้อยมากที่บริ ษทั ฯ จะผิดสัญญาในส่ วนสาระสาคัญอันเป็ นเหตุให้ทีโอทีบอกเลิกสัญญา อนึ่ ง แม้วา่ ทีโอทีและ CAT Telecom เป็ นคู่สัญญาร่ วมกับบริ ษทั ฯ และทรู มูฟ แต่ท้ งั สององค์กรยัง เป็ นคู่แข่งในการประกอบธุ รกิ จของกลุ่มทรู อีกด้วย ด้วยเหตุน้ ี จึงอาจก่อให้เกิ ดข้อพิพาทระหว่างบริ ษทั ฯ และทีโอที หรื อทรู มูฟ และ CAT Telecom ได้ ตัวอย่างเช่น กลุ่มทรู ตกอยูภ่ ายใต้ขอ้ ตกลงการแบ่งรายได้ตาม สัญญาร่ วมการงานฯ และสัญญาให้ดาเนิ นการฯ และที่ผา่ นมาทีโอทีได้ปฏิเสธหรื อประวิงการจ่ายส่ วนแบ่ง รายได้ของกลุ่มทรู ในระหว่างรอการตัดสิ นข้อพิพาทเกี่ยวกับการคานวณหรื อขอบเขตของการจ่ายส่ วนแบ่ง รายได้ที่ติดค้างต่อกลุ่มทรู ภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ ซึ่ งที่ผา่ นมาได้มีการยื่นคาฟ้ องหรื อคาเสนอข้อพิพาท เรื่ องความขัดแย้งบางกรณี ที่เกิ ดขึ้นต่อศาลปกครองหรื อคณะอนุ ญาโตตุลาการเป็ นผูต้ ดั สิ น ทั้งนี้ กลุ่มทรู ไม่ สามารถรั บรองได้ว่าจะสามารถชนะข้อพิ พ าททั้ง หลายเหล่ านั้น ซึ่ งจะท าให้ธุ รกิ จ รวมถึ งฐานะทาง การเงิ นของกลุ่ ม ทรู อาจจะได้รั บ ผลกระทบ โดยในช่ วงที่ ผ่า นมากระบวนการยุติธ รรมก็ ไ ด้มี ค าตัดสิ น ข้อพิพาทต่าง ๆ ทั้งในทางที่เป็ นประโยชน์และไม่เป็ นประโยชน์ต่อกลุ่มทรู แต่คดีส่วนใหญ่ยงั ไม่ถึงที่สุด ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 28


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความเสี่ ยงจากการอนุญาตต่ าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการประกอบกิจการโทรทัศน์ และ/หรือ กิจการโทรคมนาคม ในเดือนธันวาคม 2553 ได้มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ พ.ศ. 2553 เป็ นผลให้มี การจัดตั้งคณะกรรมการ กสทช. ซึ่ งแล้วเสร็ จในเดือนตุลาคม 2554 โดยหน่วยงานดังกล่าวมีหน้าที่กากับดูแลการ ประกอบกิ จการกระจายเสี ยงกิ จการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ซึ่ งปั จจุบนั คณะกรรมการ กสทช. มีการ พิจารณาทบทวนปรับปรุ ง กฎระเบียบต่าง ๆ ทางด้านการกากับกิจการโทรคมนาคม ที่คณะกรรมการ กทช. ได้เคย ออกประกาศ และมีผลใช้บงั คับไปแล้ว ขณะเดียวกันคณะกรรมการ กสทช. ก็ได้เตรี ยมออกกฎเกณฑ์ใหม่ รวมทั้ง การวางหลักเกณฑ์แนวทางการกากับดูแลการประกอบกิจการเพื่อให้เกิดความชัดเจนเพิ่มเติม อันอาจทาให้กลุ่มทรู มีความเสี่ ยงจากเรื่ องการขอรับ และ/หรื อ การต่อใบอนุ ญาตต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้องกับการประกอบกิ จการโทรทัศน์ และ/หรื อ กิจการโทรคมนาคมของกลุ่มทรู หรื ออาจเป็ นกรณี ที่มีการตีความด้านกฎหมายแตกต่างกันและยังไม่มี ข้อกาหนดที่ชดั เจนในขณะนี้ ทั้งนี้ หากคณะกรรมการ กสทช. พิจารณาไม่ให้ หรื อไม่พิจารณาต่ออายุใบอนุ ญาต ต่ าง ๆ ที่ เกี่ ยวข้องให้ ก็ จะส่ งผลให้ บริ ษ ัทย่อยที่ เกี่ ยวข้องในกลุ่ มทรู ที่ ถู กสั่ งว่าได้ใบอนุ ญาตไม่ ครบหรื อ ใบอนุ ญาตหมดอายุ ถูกปรับหรื อถูกดาเนิ นการตามกฎหมาย นอกจากนี้ แม้กลุ่มทรู จะมีธุรกิ จให้บริ การกิ จการ โทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กตามสัญญาสัมปทาน ซึ่ งตามกฎหมายกาหนดให้คณะกรรมการ กสทช. ต้องออก ใบอนุ ญาตแก่ บ ริ ษ ัท ตามขอบเขตที่ ได้ รั บ อนุ ญาตให้ ป ระกอบกิ จการก็ ตาม แต่ ปั จจุ บ ันยัง ไม่ ชัดเจนว่ า คณะกรรมการ กสทช. จะพิจารณาออกใบอนุ ญาตแก่บริ ษทั ในกลุ่มทรู ในรู ปแบบและขอบเขตเช่นใด ซึ่ งกลุ่มทรู มีความเชื่ อมัน่ ว่าน่าจะได้รับใบอนุ ญาตตามขอบเขตที่บริ ษทั ย่อยได้รับสัมปทาน เนื่ องจากได้รับความคุ ม้ ครอง ทั้งโดยรัฐธรรมนูญ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ นโยบายการกากับดูแลของ คณะกรรมการ กสทช. ยังมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างธุ รกิ จ โดยรวม ซึ่ งคาดว่าการแข่งขันในตลาดจะรุ นแรงมากขึ้น อีกทั้ง บริ ษทั ฯ อาจได้รับความเสี่ ยงจากนโยบายการกากับดูแล ของคณะกรรมการ กสทช. ที่มีความไม่เท่าเทียมกันระหว่างผูร้ ับสัมปทานที่ถูกเปลี่ยนผ่านเป็ นผูร้ ับใบอนุ ญาตกับผูร้ ับ ใบอนุญาตรายใหม่จนส่ งผลให้เกิดความได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบระหว่างผูเ้ ล่นในตลาดเดียวกันหรื อตลาดที่เกี่ยวข้อง และ จากนโยบายการกากับดูแลที่ก่อให้เกิดต้นทุนการประกอบกิจการเพิ่มขึ้น เช่น กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการแพร่ ภาพ แพร่ เสี ยงรายการสาคัญทุกช่องทางที่คาดว่าจะมีการบังคับใช้ในอนาคต ซึ่ งส่ งผลให้กลุ่มทรู มีตน้ ทุนในการซื้ อลิขสิ ทธิ์ รายการดังกล่าวแพงขึ้น เนื่องจากมีความจาเป็ นต้องซื้ อให้ครอบคลุมสิ ทธิ์ ในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงในทุกช่องทาง ความเสี่ ยงทางด้ านการเงิน ความเสี่ ยงจากการมีหนีส้ ิ นในระดับสู ง และอาจมีข้อจากัดจากข้ อผูกพันตามสั ญญาทางการเงินต่ าง ๆ ณ สิ้ นปี 2556 กลุ่มทรู มีเงินกูย้ ืมระยะยาว (รวมส่ วนที่ถึงกาหนดชาระใน 1 ปี ) จานวน 86.2 พันล้านบาท ซึ่ งลดลงจากจานวน 96.3 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2555 จากความสาเร็ จจากการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้ าง พื้นฐานในปลายปี 2556 ที่ผ่านมา ส่ งผลให้ระดับหนี้ สินของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมี จานวนลดลง ทั้งนี้ ระดับหนี้สินของกลุ่มทรู ยงั อยูใ่ นระดับที่สูง จึงอาจมีความเสี่ ยงจากการที่ไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้เพียงพอ สาหรับภาระการชาระคื นเงิ นต้นและดอกเบี้ ยในแต่ละปี หรื ออาจมี ผลกระทบต่อการขยายการลงทุ นใน ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 29


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

อนาคตได้ อย่า งไรก็ ดี กลุ่ ม ทรู ส ามารถเจรจากับ เจ้า หนี้ หรื อ จัด หาเงิ นกู้ใ หม่ เพื่ อ ใช้คื น เงิ น กู้เดิ ม และ ปรับเปลี่ยนการชาระคืนเงินต้นให้เหมาะสมกับกระแสเงินสดของกลุ่มทรู นอกจากนั้น การดาเนิ นงานของกลุ่มทรู อาจมีขอ้ จากัดจากข้อผูกพันตามสัญญาทางการเงิ นต่าง ๆ สัญญาเหล่านี้อาจทาให้กลุ่มทรู เสี ยโอกาสทางธุ รกิจ และเจ้าหนี้อาจเรี ยกร้องให้บริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อยชาระ หนี้ก่อนกาหนด หากมีระดับอัตราส่ วนหนี้สินบางประการ ไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญา หรื อคู่สัญญา (เช่ น ทีโอที) ภายใต้สัญญาหลักที่มีความสาคัญต่อการดาเนิ นธุ รกิจของกลุ่มทรู (เช่ น สัญญาร่ วมการงานฯ) ยกเลิกสัญญา อย่างไรก็ตาม การเลิกสัญญาก็จะต้องเป็ นไปตามเงื่อนไขในสัญญาที่เกี่ยวข้อง ยกตัวอย่าง เช่น ที โอที ต้องเสนอข้อ พิ พ าทให้ อนุ ญาโตตุ ล าการชี้ ขาดว่า ที โอที มี สิ ท ธิ โดยชอบด้ว ยกฎหมายที่ จะยกเลิ ก ข้อตกลงตามสัญญาร่ วมการงานฯ ได้ บริ ษทั ฯ ได้ปฏิ บตั ิ ตามข้อผูกพันทางการเงิ นที่ ตกลงไว้กบั เจ้าหนี้ สถาบันการเงิ น ซึ่ งหากบริ ษทั ฯ ไม่สามารถปฏิ บตั ิตามข้อผูกพันทางการเงิ นดังกล่ าวได้ บริ ษทั ฯ อาจจาเป็ นต้องทาเอกสารขอผ่อนผันกับ เจ้าหนี้ สถาบันการเงิน ทั้งนี้ หากบริ ษทั ฯ ไม่ได้รับการผ่อนผันและส่ งผลให้เกิ ดกรณี ผิดนัด เจ้าหนี้ สถาบัน การเงินอาจสามารถเรี ยกคืนเงินกูด้ งั กล่าวได้ก่อนกาหนด โดยหากมีการเรี ยกคืนเงินกูก้ ่อนกาหนด อาจส่ งผล ให้เจ้าหนี้ ทางการเงิ นอื่น ๆ ของบริ ษทั ฯ (รวมถึ งผูถ้ ือหุ ้นกูภ้ ายใต้หุ้นกูบ้ างรุ่ นของบริ ษทั ฯ) มีสิทธิ เรี ยกคืน เงินกู้ หรื อ เงินลงทุน (แล้วแต่กรณี ) ก่อนหนี้ดงั กล่าวจะถึงกาหนดชาระเงิน ความเสี่ ยงเฉพาะจากการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้ างพืน้ ฐาน กลุ่มทรู มีภาระเพิ่มขึ้นจากการเข้าทาธุ รกรรมกับกองทุนรวมโครงสร้ างพื้นฐาน โดยการจ่ายค่าเช่ า ทรั พย์สินภายใต้สัญญาเช่ าทรั พย์สิ นจากกองทุ น และการส่ งมอบรายได้ค่า เช่ าที่ บริ ษ ทั ย่อยได้จ่ายให้แก่ กองทุน สุ ทธิรวมประมาณ 5 พันล้านบาทต่อปี ซึ่ งอาจส่ งผลกระทบต่อความสามารถในการชาระคืนหนี้ สิน หรื ออาจส่ งผลให้เกิดการผิดข้อกาหนดและเงื่อนไขแก่เจ้าหนี้สถาบันการเงิน และ/หรื อ ผูถ้ ือหุ น้ กูไ้ ม่วา่ ชุดใด ๆ นอกจากนี้ ภายใต้สัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ระหว่างกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน กับกลุ่มทรู กลุ่มทรู มีหน้าที่ส่งมอบหรื อดาเนินการให้มีการส่ งมอบเสาโทรคมนาคมจานวน 6,000 เสาให้แก่ กองทุ น รวมโครงสร้ า งพื้ น ฐาน โดยเสาโทรคมนาคมจ านวน 3,000 เสาจะต้อ งส่ ง มอบภายในวัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 และเสาโทรคมนาคมจานวน 3,000 เสาที่เหลื อจะต้องส่ งมอบภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ทั้ง นี้ ทรู สามารถส่ ง มอบเสาจานวน 6,000 เสาได้ถึ งวันที่ 31 ธันวาคม 2563 โดยหาก ทรู ส่ ง มอบเสา โทรคมนาคมล่าช้า กองทุนมีสิทธิ เรี ยกค่าเสี ยหายจาก ทรู เป็ นจานวนเงินเท่ากับจานวนเงินค่าเช่าล่วงหน้าที่ กองทุนจะต้องชาระคืนให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ ในปี ดังกล่าวภายใต้สัญญาเช่าดาเนิ นการและบริ หารจัดการหลัก ของ เรี ยลฟิ วเจอร์ สาหรั บเสาโทรคมนาคมที่ ไ ม่สามารถจัดหาให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้ (“ส่ วนต่างค่าเช่ า รายปี ”) บวกด้วย ร้ อยละ 15 ต่อปี จากการส่ งมอบล่ าช้าตามกาหนดเวลาดังกล่ าวโดยคานวณทุ ก วันที่ 31 ธันวาคมของปี 2558 - 2563 ทั้งนี้ เนื่ องจาก เรี ยลฟิ วเจอร์ เป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ที่จะได้รับเงินค่าเช่ า ล่วงหน้าคื นจากกองทุน สาหรับการที่ เรี ยลฟิ วเจอร์ ไม่สามารถใช้พ้ืนที่บนเสาโทรคมนาคม 6,000 เสาที่ ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 30


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ทรู ต้องส่ งมอบให้แก่ กองทุ นได้ ดังนั้น การพิจารณาผลกระทบที่เกิ ดขึ้ นต่อกลุ่มทรู จึ งต้องพิจารณาจาก ค่าเสี ยหายที่กลุ่มทรู ตอ้ งชาระให้แก่กองทุนเป็ นเงิ นสุ ทธิ โดยไม่ตอ้ งนาเงิ นส่ วนต่างค่าเช่ ารายปี ที่กองทุ น จะต้องชาระคืนให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ มาคานวณ ในกรณี กลุ่มทรู ส่งมอบเสาโทรคมนาคมจานวนทั้งหมด 6,000 เสาให้แก่กองทุนล่าช้าเมื่อพิจารณา ผลกระทบทางการเงินที่เกิ ดขึ้นต่อกลุ่มทรู กลุ่มทรู ตอ้ งชาระค่าเสี ยหายสุ ทธิ จากการส่ งมอบล่าช้าในจานวน ร้อยละ 15 ต่อปี ของส่ วนต่างค่าเช่ ารายปี ซึ่ งจานวนค่าเสี ยหายสุ ทธิ ที่กลุ่มทรู ตอ้ งชาระดังกล่าวมีจานวน ประมาณการเฉลี่ยสู งสุ ดไม่เกิน 200 ล้านบาทต่อปี ตั้งแต่ปี 2558 - 2563 ทั้งนี้ กลุ่มทรู เชื่อว่ามีความเป็ นไปได้ ที่ต่ามากหรื อแทบจะเป็ นไปไม่ได้เลยที่จะกลุ่มทรู จะส่ งมอบเสาล่าช้าทั้งหมด 6,000 เสา เนื่ องจากกลุ่มทรู มี ประสบการณ์ ในการดาเนิ นธุ รกิ จโทรคมนาคมมาอย่างยาวนาน กลุ่ มทรู เชื่ อมัน่ ว่าทรู จะสามารถส่ งมอบ เสาทั้งหมด 6,000 เสาให้แก่กองทุนได้ตามเงื่อนไขของสัญญา ทั้งนี้ กลุ่ มทรู ได้นาเงิ นทุนส่ วนใหญ่ที่ได้ จากการจาหน่ ายสิ นทรัพย์ให้แก่ กองทุนรวมโครงสร้ าง พื้นฐาน ไปชาระคืนหนี้ สินก่อนกาหนด ซึ่ งนอกจากจะเป็ นการลดภาระการชาระคืนหนี้ สินในแต่ละปี ของ กลุ่มทรู แล้ว ยังจะช่วยลดค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยอีกด้วย ความเสี่ ยงจากการเคลือ่ นไหวของอัตราแลกเปลีย่ นและอัตราดอกเบีย้ ในอดีตที่ผา่ นมาสถานภาพทางการเงินของกลุ่มทรู อาจได้รับผลกระทบจากความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยน เนื่ องจากหนี้ สินส่ วนหนึ่ งเป็ นเงินกูต้ ่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลี่ ยนลดลงอย่างมี ในนัยสาคัญในปี 2554 เนื่ องจากการชาระคื นเงิ นกู้มีหลักทรั พย์ค้ าประกัน ของทรู มูฟ (ซึ่ งเป็ นเงิ นกูจ้ าก IFC) และการชาระคื นเงิ นกู้ของ KfW ก่อนกาหนดในระหว่างไตรมาส 2 ปี 2554 รวมทั้ง การด าเนิ น การเพื่ อ ซื้ อ คื น หุ ้ น กู้ ส กุ ล ดอลลาร์ ส หรั ฐ ในเดื อ นกัน ยายน 2554 โดยใน เดือนตุลาคม 2554 มี ผถู ้ ื อหุ ้นกูต้ ่างประเทศแสดงความจานงขายคื นหุ ้นกูท้ ี่จะครบกาหนดในปี 2556 และ 2557 ประมาณร้ อ ยละ 99 และร้ อ ยละ 95 ตามล าดับ ซึ่ งกลุ่ ม ทรู ช าระเงิ นเพื่ อ ซื้ อคื นหุ ้ นกู้แ ล้ว เสร็ จ ใน วันที่ 12 ตุลาคม 2554 การซื้ อคืนหุ ้นกูใ้ นครั้งนี้ เป็ นปั จจัยสาคัญในการลดความเสี่ ยงในการรี ไฟแนนซ์ และ ความเสี่ ยงทางการเงินที่เกิดจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 หนี้ สินระยะยาวที่อยูใ่ นสกุลเงินต่างประเทศ ของกลุ่มทรู ลดลงอยู่ ในสัดส่ วนประมาณร้ อยละ 2.9 จากเงิ นกู้ยืมไม่หมุนเวียน (ไม่รวมหนี้ สินตามสัญญาเช่ าทางการเงิ น) เมื่อ เทียบกับ ร้อยละ 5.3 ณ สิ้ นปี 2555 ส่ วนหนึ่งจากการชาระคืนหนี้สินในสกุลเยนและสกุลดอลลาร์ สหรัฐในปี 2556 นอกจากนี้ หนี้ สินใหม่ที่เกิดขึ้นของกลุ่มทรู ต้ งั แต่ปี 2551 เป็ นต้นมา เป็ นการกูย้ ืมจากสถาบันการเงิ น ภายในประเทศ หรื อออกหุ ้นกู้ภายในประเทศ จึ งทาให้สัดส่ วนของหนี้ สินในสกุลเงิ นต่างประเทศลดลง ไปด้วย ทั้ง นี้ สั ดส่ วนหนี้ สิ นในสกุ ล เงิ นต่ า งประเทศ ลดลงอย่า งมากเมื่ อเที ย บกับ ร้ อยละ 41.0 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซึ่ งเป็ นผลจากการซื้ อคืนหุ น้ กูส้ กุลดอลลาร์ สหรัฐของทรู มูฟในปี 2554 ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 31


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556 กลุ่ ม ทรู มี ห นี้ สิ น รวม (ไม่ ร วมต้น ทุ น เงิ น กู้ยื ม ที่ ย งั ไม่ ต ัด จ าหน่ า ย) ในสัดส่ วนประมาณร้อยละ 54.0 หรื อประมาณ 47.2 พันล้านบาท เป็ นหนี้สินที่มีอตั ราดอกเบี้ยลอยตัว ดังนั้น หากอัตราดอกเบี้ ย มี ก ารปรั บตัวเพิ่ม ขึ้ น จะมี ผ ลท าให้กลุ่ มทรู มี ภาระดอกเบี้ ย จ่า ยเพิ่ม ขึ้ น อย่า งไรก็ ตาม ความเสี่ ยงดังกล่าวอาจลดลงในระดับหนึ่ง เนื่องจากหนี้สินของกลุ่มทรู โมบายในบางส่ วนจะมีอตั ราดอกเบี้ย ลดลงในปี ต่อ ๆ ไป หากมีผลการดาเนินงานเป็ นไปตามเงื่อนไขที่ได้กาหนดไว้ในสัญญาเงินกู้ ความเสี่ ยงจากการทีบ่ ริษัทฯ มีผ้ ถู ือหุ้นรายใหญ่ ถือหุ้นในสั ดส่ วนมากกว่าร้ อยละ 50 ณ วันที่ 18 มีนาคม 2557 กลุ่มผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ของบริ ษทั ฯ คือ บริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด และบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องถือหุ ้นรวมกันเป็ นจานวนร้ อยละ 60.12 ของจานวนหุ ้นที่จาหน่ ายได้แล้วทั้งหมดของ บริ ษทั ฯ ซึ่ งโดยลักษณะเช่นนี้ อาจพิจารณาได้วา่ นักลงทุนอาจมีความเสี่ ยงจากการที่ผถู ้ ือหุ ้นรายใหญ่ถือหุ ้น ในบริ ษทั ฯ มากกว่าร้อยละ 50 เนื่องจากกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่สามารถควบคุมมติที่ประชุมที่ตอ้ งใช้เสี ยงส่ วน ใหญ่ เช่ น การแต่งตั้งกรรมการ เป็ นต้น ดังนั้น ผูถ้ ื อหุ ้นรายย่อยอาจไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสี ยงเพื่อ ตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล เรื่ อ งที่ ผูถ้ ื อ หุ ้ น รายใหญ่ เ สนอได้ อย่า งไรก็ ต าม คณะกรรมการของบริ ษ ัท ฯ ให้ ความสาคัญต่อการดาเนินการภายใต้หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีเป็ นอย่างยิ่ง เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นราย ย่อยสามารถเสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุ มและเสนอชื่ อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาคัดเลือก เป็ นกรรมการ เป็ นการล่วงหน้าก่อนการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี นอกจากนี้ หากเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้อง กับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ และเป็ นรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ฯ จะต้องดาเนิ นการตาม มาตรการและขั้นตอนที่กาหนดไว้ใน “ระเบียบในการเข้าทารายการระหว่างกัน” ซึ่ งอยูภ่ ายใต้กรอบของ กฎหมายอย่างเคร่ งครัด

ส่วนที่ 1

่ ง ปั จจัยควำมเสีย

หัวข ้อที่ 3 - หน ้ำ 32


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

4. ทรัพย์ สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ สิ นทรัพย์ของบริษัทฯ และ บริษัทย่ อย ทีส่ าคัญ ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ กลุ่มบริ ษทั ได้จดั ประเภทของสิ นทรัพย์ที่ใช้ในการประกอบธุ รกิ จ เป็ น 2 ประเภท คือ อุปกรณ์ โครงข่าย และอุปกรณ์นอกระบบโครงข่าย ภายใต้สัญญาร่ วมการงาน และร่ วมลงทุน และสัญญาอนุญาตให้ ดาเนิ นการ เฉพาะสิ นทรั พ ย์ที่ เกี่ ย วกับ อุ ปกรณ์ โครงข่ า ย โทรศัพ ท์พ้ื นฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย โทรศัพ ท์ พื้นฐานใช้นอกสถานที่ PCT โทรศัพท์เคลื่ อนที่ระบบเซลลูล่าร์ และโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิ ก ที่ กลุ่ ม บริ ษทั จะต้องโอนให้กบั บริ ษ ทั ที โอที จากัด (มหาชน) (“ทศท“) บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (“กสท”) และ บริ ษทั อสมท จากัด (มหาชน) (“อสมท”) หน่วย : ล้านบาท

ที่ดินและส่ วนปรับปรุ ง อาคารและสิ่ งปลูกสร้าง อุปกรณ์ระบบโทรศัพท์ อุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์สาธารณะ ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณ์ไฟฟ้ าและเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ระบบเคเบิ้ลทีวี งานระหว่างก่อสร้าง มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

อุปกรณ์โครงข่ายสุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน เฉพาะบริ ษทั รวม เฉพาะบริ ษทั 1,735 1,735 1,849 1,849 389 318 449 398 5,495 5,495 6,655 6,657 33,168 218 40,977 321 20 20 49 49 9,482 10,544 100 5,499 11,895 67,783

86 16 7,888

126 5,186 11,611 77,446

100 15 9,389

มูลค่าตามบัญชี สุทธิ ของอุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ได้ รวมสิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาให้เช่าเครื่ องและอุปกรณ์วิทยุคมนาคมเพื่อให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ HSPA ของบริ ษ ทั ย่อยกับ กสท ซึ่ ง มี จานวนสุ ทธิ ท้ งั สิ้ น 17,619.56 ล้านบาท (ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่จานวน 14,264.34 ล้านบาท งานระหว่างก่อสร้างจานวน 3,213.93 ล้านบาท และ อื่นๆ จานวน 141.29 ล้านบาท) โดยสิ นทรัพย์จานวนสุ ทธิ 16,702.68 ล้านบาท (หรื อคิดเป็ นสัดส่ วนร้ อยละ 94.80 จากสิ นทรัพย์ท้ งั สิ้ นภายใต้สัญญาดังกล่าว) ซึ่งประกอบด้วย เสาโทรคมนาคม อุปกรณ์สื่อสัญญาณและ

ส่วนที่ 1

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

อุปกรณ์อิเลคทรอนิค เป็ นสิ นทรัพย์ที่ กสท มีสิทธิ ซ้ื อในราคาต้นทุนบวกด้วยดอกเบี้ยตามอัตราที่ระบุไว้ใน สัญญาฯ ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ได้นามาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง สัญญาเช่ า มาปฏิบตั ิกบั สิ นทรัพย์ดงั กล่าว โดยบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ให้เช่าภายใต้สัญญาเช่าการดาเนินงาน เนื่องจากบริ ษทั มีความเห็น ว่า ความเสี่ ยงและผลตอบแทนยังคงตกอยู่กบั กลุ่ มบริ ษทั อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริ หารของกลุ่ มบริ ษทั เห็ นว่ามี ความเป็ นไปได้นอ้ ยมากที่ กสท. จะขอซื้ อสิ นทรัพย์ดงั กล่าว มูลค่าสุ ทธิ ของอุปกรณ์ โครงข่ายในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ที่โอนให้ ทศท และ กสท ภายใต้สัญญาร่ วมการงาน / สัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ มีดงั ต่อไปนี้

ทศท กสท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงิน งบการเงิน รวม เฉพาะ บริ ษทั 5,691 5,458 5,733 มูลค่าตามบัญชีสุทธิ 11,424 5,458

หน่วย : ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงิน งบการเงิน รวม เฉพาะ บริ ษทั 7,030 6,646 8,329 15,359 6,646

หน่วย : ล้านบาท อุปกรณ์โครงข่ายที่โอนภายใต้สัญญาร่ วมการงาน / สัญญา อนุญาตให้ดาเนินการ สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน รวม เฉพาะ รวม เฉพาะ บริ ษทั บริ ษทั ที่ดินและส่ วนปรับปรุ ง 1,735 1,735 1,849 1,849 อาคารและสิ่ งปลูกสร้าง 292 292 370 370 อุปกรณ์ระบบโทรศัพท์ 3,241 3,241 4,142 4,142 อุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 6,156 190 8,998 285 มูลค่าตามบัญชีสุทธิ 11,424 5,458 15,359 6,646 กลุ่มบริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ดาเนิ นการและใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์น้ นั ตามระยะเวลาของสัญญาร่ วม การงาน / สัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ ทธิ ในการดาเนิ นการและใช้ประโยชน์ จากสิ นทรัพย์ของกลุ่มบริ ษทั มีมูลค่าสุ ทธิ 11,195.12 ล้านบาท

ส่วนที่ 1

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ส่ วนอุ ปกรณ์ นอกระบบโครงข่าย กลุ่ มบริ ษทั ได้รวมสิ นทรั พย์ภายใต้สั ญญาเช่ า การเงิ นประเภท เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์สานักงาน เป็ นจานวนสุ ทธิ 73.56 ล้านบาท ส่ วนที่เหลือเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ กลุ่ ม บริ ษ ัท ซึ่ ง กลุ่ ม บริ ษ ัท สามารถจาหน่ า ยจ่ า ยโอนและใช้ป ระโยชน์ จ ากสิ นทรั พ ย์ดัง กล่ า วได้ โดยมี รายละเอียดโดยสรุ ปดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

ที่ดินและส่ วนปรับปรุ ง ส่ วนปรับปรุ งอาคารเช่า เครื่ องตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์สานักงาน ยานพาหนะ อุปกรณ์ไฟฟ้ าและเครื่ องคอมพิวเตอร์ งานระหว่างทา มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

อุปกรณ์นอกระบบโครงข่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน รวม เฉพาะบริ ษทั รวม เฉพาะ บริ ษทั 149 581 503 36 1,158 25 1,246 74 1,526 81 16 1 3,295 2 1,369 57 1,392 55 1,096 13 1,281 23 4,379 181 9,233 186

สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน หน่วย : ล้านบาท

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครื่ องหมายการค้าและค่าสิ ทธิ สิ ทธิ ในการใช้ช่องสัญญาณดาวเทียม ค่าสิ ทธิ สาหรับรายการและภาพยนตร์ รอตัด บัญชี สิ ทธิตามสัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ สัญญาการให้บริ การ งานระหว่างทา มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

ส่วนที่ 1

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน งบการเงิน รวม เฉพาะบริ ษทั รวม เฉพาะบริ ษทั 2,947 144 2,658 206 12,594 13,554 3,079 2,448 690 957 1,288 3,755 8,587 12,550 240 296 29,425 144 36,218 206

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ต้ นทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้น ทุ น การพัฒ นาโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ เ ป็ นรายจ่ า ยเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เกิ นกว่าประสิ ทธิ ภาพเดิ มถื อเป็ นส่ วนปรั บปรุ ง และบันทึ กรวมเป็ นราคาทุ นของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 2,947 ล้านบาท เครื่องหมายการค้ าและค่ าสิ ทธิ ประกอบด้วย สิ ทธิอื่น ๆ สิ ท ธิ อื่น ๆ เป็ นค่า ตอบแทนที่ บริ ษ ทั ย่อยได้จ่าย เพื่อได้รับสิ ทธิ ใ นการใช้ป ระโยชน์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 29 ล้านบาท ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz ค่าใบอนุ ญาตให้ใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz ซึ่ งออกโดยคณะกรรมการ กสทช. ให้แก่บริ ษทั ย่อย เพื่ออนุ ญาตให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยใช้คลื่นความถี่ IMT ย่าน 2.1 GHz ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 12,565 ล้านบาท สิ ทธิการใช้ ช่องสั ญญาณดาวเทียม สิ ทธิ การใช้ช่องสัญญาณดาวเทียมภายใต้สัญญาเช่ าระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ ดังกล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 3,079 ล้านบาท ค่ าสิ ทธิสาหรับรายการและภาพยนตร์ รอตัดบัญชี ค่าสิ ทธิ สาหรับรายการและภาพยนตร์ เป็ นค่าตอบแทนสิ ทธิ และภาระผูกพันที่เกิ ดขึ้นภายใต้สัญญา ของบริ ษ ัทย่อยเพื่ อการได้รั บสิ ทธิ รายการและวัสดุ รายการพร้ อมที่ จะแพร่ ภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 690 ล้านบาท (รวมค่าสิ ทธิ ที่ครบกาหนดชาระภายใน 1 ปี ) สิ ทธิตามสั ญญาอนุญาตให้ ดาเนินการ ประกอบด้วย ค่าสิ ทธิ ในการให้บริ การเช่าวงจรสื่ อสัญญาณความเร็ วสู ง และค่าสิ ทธิ ในการพาดสาย ค่าสิ ทธิ ในการให้บริ การเช่ าวงจรสื่ อสัญญาณความเร็ วสู ง และการพาดสายกระจาย เป็ นรายจ่าย เพื่อให้ได้มาซึ่ งใบอนุญาตซึ่ งแสดงด้วยราคามูลค่ายุติธรรมของหุ ้นที่ออกโดยบริ ษทั ย่อยเพื่อเป็ นการแลกกับ สิ ทธิ ดงั กล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 147 ล้านบาท

ส่วนที่ 1

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

สิ ทธิตามสัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ สิ ทธิ ตามสัญญาอนุ ญาตให้ดาเนิ นการแสดงด้วยมูลค่ากระแสเงินสดคิดลดจากจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ ง จ่ายตลอดอายุของสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 1,141 ล้านบาท สั ญญาการให้ บริการ สิ ทธิ ตามสัญญาการให้บริ การแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึ่ งได้มาจากการซื้ อ กิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 8,587 ล้านบาท นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม บริ ษทั ฯ มีนโยบายการลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมในลักษณะที่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นใหญ่โดยตรงหรื อ ผ่านบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ฯ ถือหุ ้นในสัดส่ วนมากกว่าร้ อยละ 90 และ/หรื อ มีอานาจควบคุมในบริ ษทั ที่ลงทุน เว้นแต่สภาพเงื่ อนไขของธุ รกิ จ การแข่งขัน ไม่เอื้ออานวย หรื อ การดาเนิ นธุ รกิ จต้องได้รับการสนับสนุ น ร่ วมมือจากผูร้ ่ วมทาธุ รกิ จอื่น บริ ษทั ฯ จึงจะลงทุนในลักษณะร่ วมลงทุนในสัดส่ วนที่บริ ษทั นั้นจะมีสถานะ เป็ นบริ ษทั ร่ วม ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั มีกลไกในการกากับดูแลที่ทาให้สามารถควบคุมดูแลการจัดการ และรับผิดชอบการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงิ นลงทุนของ บริ ษทั ฯ ตามที่ได้เปิ ดเผยข้อมูลไว้ในเรื่ อง “การกากับดูแลกิจการ” ภายใต้หวั ข้อ “การกากับดูแลการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม”

ส่วนที่ 1

ิ ทีใ่ ช ้ในกำรประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที่ 4 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย สรุ ปคดีและข้อพิพาทที่สาคัญของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ดังนี้ คดีฟ้องร้ องทีค่ ้ างอยู่ที่ศาลปกครอง (ในส่ วนทีไ่ ม่ เกี่ยวกับค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) และ ภาษีสรรพสามิต) 1. ข้ อพิพาทเกีย่ วกับการติดรู ปสั ญลักษณ์ ของบริษัทฯ บนตู้โทรศัพท์ สาธารณะ เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2547 ทีโอที ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการจากการที่ บริ ษทั ฯ ติดรู ปสัญลักษณ์ ของบริ ษทั ฯ บนตูโ้ ทรศัพท์สาธารณะอันเป็ นการไม่ปฏิ บตั ิตามข้อตกลงร่ วมกัน ระหว่างบริ ษทั ฯ กับ ทีโอที เรื่ องโทรศัพท์สาธารณะ ทีโอที เรี ยกค่าเสี ยหายเป็ นจานวนเงิน 433.85 ล้านบาท เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาคัดค้านต่ออนุ ญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 อนุญาโตตุลาการได้ตดั สิ นชี้ขาดให้ ทีโอที ชนะคดีดงั กล่าว เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาคัดค้าน คาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2551 ทีโอที ได้ยื่นคาร้องเพื่อให้ ศาลบังคับให้เป็ นไปตามคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ และให้บริ ษทั ฯ ชดใช้เป็ นจานวนเงิน 150.00 ล้านบาท และจ่ายค่าเสี ยหายเป็ นจานวนเงิน 90 บาทต่อเดือนต่อตูโ้ ทรศัพท์หนึ่ งตู ้ ตั้งแต่วนั ที่ฟ้องร้องจนกว่าบริ ษทั ฯ จะหยุดใช้ตราสัญลักษณ์ บนตูโ้ ทรศัพท์สาธารณะ ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งให้รวมคดี กบั สานวนคดี ที่ บริ ษทั ฯ ขอให้ศาลปกครองกลางเพิกถอนคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางได้กาหนดให้ วันที่ 26 ธันวาคม 2551 เป็ นวันสิ้ นสุ ดการแสวงหาข้อเท็จจริ ง เมื่ อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลปกครองกลาง พิจารณาให้ยกคาร้องของบริ ษทั ฯ และให้บงั คับตามคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการข้อพิพาทหมายเลขดา ที่ 61/2547 ข้อพิพาทหมายเลขแดงที่ 77/2549 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 โดยให้บริ ษทั ฯ ชาระเงินจานวน 150 ล้านบาท ภายใน 60 วันนับแต่วนั ที่คดีถึงที่สุด และให้คืนค่าธรรมเนี ยมศาลทั้งหมดจานวน 80,000 บาท ให้แก่ ทีโอที บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสู งสุ ดแล้วเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด 2. ข้ อพิพาทเกีย่ วกับค่ าใช้ และเชื่ อมต่ อโครงข่ ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) (1) เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2551 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาฟ้ อง คณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอเพิกถอนคาชี้ขาดของคณะกรรมการ กทช. ในคดีขอ้ พิพาทของ กวพ. ที่ 1/2551 ที่ ดีแทค ได้เรี ยกร้องให้ บริ ษทั ฯ ทาสัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม กับ ดีแทค และให้กาหนดอัตราค่าเชื่ อมต่อโครงข่าย และ ขอให้คณะกรรมการ กทช. ดาเนินกระบวนพิจารณาข้อพิพาทที่ 1/2551 ใหม่ โดยให้เรี ยกทีโอที เข้ามาเป็ นคู่กรณี และขอทุเลาการบังคับตามคาสั่งทางปกครองของคณะกรรมการ กทช. ทั้งนี้ ดีแทคได้ร้องสอดเข้ามาในคดี ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกคาฟ้ อง บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ อุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด (2) เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กทช. และ เลขาธิ การ กทช. ขอเพิกถอนมติของคณะกรรมการ กทช. ตามหนังสื อลงวันที่ 9 เมษายน 2553 เรื่ อง การกาหนดอัตรา ค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่ายเป็ นการชัว่ คราว ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกฟ้ อง และบริ ษทั ฯ ได้ ดาเนินการอุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ดต่อไป

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(3) เมื่อวันที่ 3 สิ งหาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ขอเพิกถอนคาสั่ง คณะกรรมการ กทช. ตามหนังสื อ ฉบับลงวันที่ 29 มิถุนายน 2553 ที่คณะกรรมการ กทช. มีคาสั่งจาหน่าย ข้อพิพาทที่ 1/2552 ออกจากกระบวนการระงับข้อพิพาทที่ กวพ. และสั่งให้บริ ษทั ฯ และ ดีแทค ใช้อตั รา ค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเดี ยวกับคาสั่งที่ 11/2553 ตามหนังสื อฉบับลงวันที่ 9 เมษายน 2553 ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (4) เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 ดีแทคได้ยื่นคาฟ้ องต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้บริ ษทั ฯ และ ทีโอที ร่ วมกันชาระค่าใช้และเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ตามข้อเสนอการเชื่ อมต่อโครงข่ายของ ดีแทค คือ 1.00 บาท/นาที สาหรับ Call Termination และ อัตรา 0.50 บาท/นาที สาหรับ Call Transit ตั้งแต่วนั ที่ 17 พฤศจิกายน 2549 โดยเรี ยกให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่ายฯ ให้แก่ ดีแทค เป็ นเงินจานวน 3,283.05 ล้านบาท และให้บริ ษทั ฯ ร่ วมรับผิดชาระค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่าย กับที โอที อีกเป็ นจานวน 654,81 ล้านบาท รวมเป็ นจานวนเงิ นทั้งสิ้ น 3,937.86 ล้านบาท บริ ษ ทั ฯ ได้ยื่น คาร้องโต้แย้งเขตอานาจศาลตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. 2542 ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาทาความเห็นเกี่ยวกับเรื่ องเขตอานาจศาลของศาลปกครองกลางและศาลแพ่ง 3. ข้ อพิพาทเกีย่ วกับมติและคาสั่ งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติหน้ าทีค่ ณะกรรมการ กสทช. ทีเ่ กี่ยวข้ องกับการเข้ าซื้อหุ้นของกลุ่มฮัทชิ สันและการทาความตกลงกับ CAT Telecom เกี่ยวกับการให้ บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะบบ CDMA และระบบ HSPA เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. เพื่อขอเพิกถอนมติ และคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิ บตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ตามหนังสื อ ลงวันที่ 7 ตุลาคม 2554 ที่สานักงาน กสทช. โดย เลขาธิการ กสทช. ได้มีหนังสื อถึงบริ ษทั ฯ แจ้งมติและคาสั่ง ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ที่สั่งให้แก้ไขในส่ วนที่เกี่ยวกับการทาความตกลง เพื่ อ ควบรวมกิ จ การโดยการเข้า ซื้ อ หุ ้ น ของกลุ่ ม ฮัท ชิ สั น ให้ เ ป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการควบรวมกิ จการและการถือหุ ้นไขว้ในกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และใน ส่ วนที่เกี่ยวกับการทาความตกลงกับ CAT Telecom เกี่ยวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ CDMA และระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง มาตรการเพื่อป้ องกันมิให้มีการกระทา อันเป็ นการผูกขาดหรื อก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่ นความถี่ และกากับการประกอบกิ จการวิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ซึ่ งบริ ษทั ฯ เห็นว่ามติและคาสั่งดังกล่าว ไม่มีความชัดเจนและไม่น่าจะ ชอบด้วยกฎหมาย ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 4. ข้ อพิพาทกรณีบริษัทฯ พิมพ์ รูปสั ญลักษณ์ ของบริษัทฯ บนใบแจ้ งหนี้ ใบกากับภาษี และ ใบเสร็จรับเงิน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาร้องคัดค้านคาชี้ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ ต่อศาลปกครอง เป็ นคดี หมายเลขดาที่ 2525/2556 ข้อพิพาทนี้ สืบเนื่ องมาจากเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2547 ที โอที ไ ด้ยื่ นค าเสนอข้อพิ พ าทเรี ย กค่ า เสี ย หายจากการที่ บ ริ ษ ทั ฯ พิ ม พ์รู ป สั ญลัก ษณ์ บ นใบแจ้ง หนี้ และ

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ใบเสร็ จรับเงินฉบับละ 4.00 บาท นับตั้งแต่เดือนสิ งหาคม 2544 จนถึงเดือนสิ งหาคม 2547 เป็ นจานวนเงิน 785.64 ล้านบาท และตั้งแต่เดือนกันยายน 2547 จนถึงเดือนธันวาคม 2547 รวมถึ งตั้งแต่ พฤษภาคม 2548 จนถึงเดือนมีนาคม 2549 เป็ นเงินจานวน 272.80 ล้านบาท นอกจากนี้ ยงั ได้เรี ยกร้องค่าเสี ยหายทางไปรษณี ย ์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2547 จนถึงเดือนเมษายน 2548 เป็ นเงินจานวน 8.12 ล้านบาท ค่าพัสดุที่จดั หามาแล้ว ไม่ได้ใช้ เป็ นเงินจานวน 2.35 ล้านบาท ค่าเสี ยหายด้านการตลาดและภาพลักษณ์ เป็ นเงินจานวน 780.02 ล้านบาท รวมเป็ นทุนทรัพย์ท้ งั สิ้ น 1,848.95 ล้านบาท เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาชี้ ขาด ให้ บริ ษทั ชาระค่าเสี ยหาย ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2545 ถึงเดือนมีนาคม 2549 ในอัตราฉบับละ 40 สตางค์ รวมจานวน 241,490,000 ฉบับ รวมเป็ นเงิน 96.59 ล้านบาท และให้ชาระค่าเสี ยหายเป็ นค่าพัสดุจดั หาแล้ว ไม่ได้ใช้งาน 2.35 ล้านบาท ให้แก่ TOT รวมเป็ นเงินจานวน 98.59 ล้านบาท ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ที่ รับทราบคาชี้ขาดข้อพิพาทที่ยงั คงค้างอยู่ ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ ข้ อพิพาทที่ยงั คงค้ างอยู่ ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ 1. ข้ อพิพาททีบ่ ริษัทฯ เป็ นผู้เสนอ (1) ข้อพิพาทเกี่ยวกับส่ วนแบ่งรายได้ในส่ วนค่าโทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศ เมื่ อวันที่ 28 มกราคม 2548 บริ ษ ทั ฯ ได้ยื่นค าเสนอข้อพิ พ าทต่ ออนุ ญาโตตุ ล าการ เกี่ยวกับเรื่ องการคานวณส่ วนแบ่งรายได้ที่เกิดจากค่าโทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ บริ ษทั ฯ ได้เรี ยกร้ องค่าเสี ยหายสาหรั บการที่ ที โอที ไม่สามารถคานวณแยกค่าส่ วนแบ่งรายได้ที่ ที โอที ได้รับจากการใช้โทรศัพท์ต่างประเทศในส่ วนโครงข่ายของบริ ษทั ฯ ออกจากส่ วนของโครงข่าย ทีโอที เป็ น จานวนเงิน 5,000.00 ล้านบาท และค่าเสี ยหายจากการคานวณจานวนเงิ นผิดพลาดอีก 3,407.68 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (2) ข้อพิพาทเกี่ยวกับสัญญาข้อ 38 ของสัญญาร่ วมการงานฯ เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เกี่ ยวกับเรื่ องขอให้ ทศท. ระงับการใช้อานาจกากับดูแลสัญญาร่ วมการงานฯ และระงับการใช้อานาจตาม สัญญา นับตั้งแต่วนั ที่สถานภาพ ทศท. เปลี่ยนแปลงไป และให้อานาจกากับดูแลเป็ นของกระทรวงคมนาคม หรื อกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร คดีน้ ี เป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์ ทศท. ได้ยื่นคาคัดค้าน เมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ต่อมาเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อ อนุญาโตตุลาการ เรื่ องการปฏิเสธอานาจกากับดูแลของ ทศท. ตามข้อ 38 ของสัญญาร่ วมการงานฯ เป็ นคดีใหม่ อีกคดีหนึ่ง ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (3) ข้อพิพาทเกี่ยวกับส่ วนแบ่งรายได้ค่าโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ เมื่ อวันที่ 25 ธันวาคม 2550 บริ ษ ทั ฯ ได้ยื่น ค าเสนอข้อพิ พาทต่ ออนุ ญาโตตุ ล าการ เรี ยกร้ องให้ ทีโอที ชาระเงิ นที่ เป็ นส่ วนแบ่งรายได้อนั เกิ ดจากค่าโทรศัพท์ท างไกลระหว่า งประเทศเป็ น จานวนเงิน 1,968.70 ล้านบาท ซึ่ ง ทีโอที นาส่ งส่ วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวขาดไป ไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขของ อัตราส่ วนแบ่งรายได้ที่ระบุไว้ในสัญญา โดยบริ ษทั ฯ ได้ร้องขอให้อนุ ญาโตตุลาการพิจารณาวินิจฉัยสั่งการ ในเรื่ องต่อไปนี้

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1. ให้ ทีโอที ปฏิ บตั ิตามสัญญาร่ วมการงานฯ และข้อตกลงเรื่ องการจัดเก็บและแบ่ง รายได้ โดยให้ชาระส่ วนแบ่งรายได้ค่าบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศให้ถูกต้องครบถ้วนตาม เงื่อนไขของสัญญาข้อตกลงดังกล่าว 2. ให้ ทีโอที ชาระค่าเสี ยหายให้แก่บริ ษทั ฯ เป็ นจานวนเงิน 1,968.70 ล้านบาท 3. ให้ ทีโอที คานวณส่ วนแบ่งรายได้ค่าบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศโดย ทั้งจากการเรี ยกเข้าและเรี ยกออกโดยใช้อตั รา 6 บาทต่อนาทีตามที่ระบุในสัญญามาเป็ นฐานในการคานวณ ส่ วนแบ่งรายได้นบั แต่เดือนกันยายน 2550 เป็ นต้นไป 4. ให้ ทีโอที ชาระดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้องตามสัญญาข้อ 21 (อัตราเฉลี่ย MLR+1) หรื อใน อัตราร้ อยละ 7.86 ต่อปี จากส่ วนแบ่งรายได้ที่ ที โอที ค้างชาระนับแต่วนั ที่ยื่นคาเสนอข้อพิพาทจนกว่าจะ ชาระครบถ้วน เมื่ อ วัน ที่ 29 เมษายน 2551 ที โอที ไ ด้ยื่ นค าคัด ค้า น ขณะนี้ กรณี พิ พ าทอยู่ร ะหว่า ง กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 ที โอที ได้มีหนังสื อแจ้งขอชาระเงิ นค่าส่ วนแบ่ง รายได้ค่าโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศในช่วงระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2547 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2547 ให้แก่ บริ ษทั ฯ รวมทั้งสิ้ นเป็ นเงิ น 133,115,094.34 บาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ซึ่ ง บริ ษทั ฯ ได้มีหนังสื อ ฉบับลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2556 ตอบรับชาระเงินดังกล่าว โดย บริ ษทั ฯ ไม่ติดใจเรี ยกร้องค่าส่ วนแบ่งรายได้ ค่า โทรศัพท์ท างไกลระหว่า งประเทศในช่ วงระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2547 ถึ งวันที่ 30 มิถุ นายน 2547 อย่างไรก็ตามในหนังสื อดังกล่าวยังระบุด้วยว่า การที่ บริ ษทั ฯ รับชาระหนี้ ดงั กล่ าวไม่ถือว่าเป็ นการสละ ประเด็นข้อต่อสู ้หรื อเป็ นการระงับข้อพิพาทแต่อย่างใด 2. ข้ อพิพาทที่ทโี อทีเป็ นผู้เสนอ (1) ข้อพิพาทเกี่ยวกับค่าใช้ท่อร้อยสาย เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2548 ทีโอที ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทให้บริ ษทั ฯ ชาระเงิ นค่าเช่ า ท่อร้อยสาย ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2547 ถึง เดือนเมษายน 2548 เป็ นจานวนเงิน 6.72 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ย บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาคัดค้าน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2548 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ (2) ข้อพิพาทเกี่ยวกับเรื่ องค่าโทรศัพท์ทางไกลในประเทศ TA 1234 เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2548 ทีโอที ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจากการ สู ญเสี ยรายได้ต้ งั แต่วนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2543 ถึงเดือนมีนาคม 2548 เป็ นจานวนเงิน 15,804.18 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย อันเนื่ องมาจากบริ ษทั ฯ ลดค่าบริ การทางไกลในประเทศภายใต้โครงการ TA 1234 และร้องขอให้ บริ ษทั ฯ เรี ยกเก็บค่าบริ การทางไกลในประเทศตามอัตราที่ตกลงกันภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการได้แจ้งคาร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมจานวนทุนทรัพย์ โดยคิดค่าเสี ยหาย เพิ่มเติมจากเดือนเมษายน 2548 จนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2548 เป็ นจานวน 1,060,911,627.84 บาท รวมเป็ น จานวนเงินทั้งสิ้ น 16,865.09 ล้านบาท ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(3) ข้อพิพาทเกี่ยวกับการให้บริ การ ADSL เมื่ อวัน ที่ 28 ตุ ล าคม 2548 ที โ อที ได้ยื่ นค าเสนอข้อ พิ พ าทระบุ ว่า บริ ษ ัท ฯ ละเมิ ด ข้อตกลงในสั ญ ญาร่ ว มการงานฯ โดยให้ บ ริ ก ารหรื อยิ นยอมให้ผูอ้ ื่ นน าอุ ป กรณ์ ใ นระบบไปให้ บ ริ ก าร อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง (ADSL) ทีโอที เรี ยกร้องค่าเสี ยหายเป็ นจานวนเงิน 2,010.21 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย นอกจากนี้ ที โอที ยังเรี ยกร้ องให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าเสี ยหายต่อเนื่ องจากเดื อนกรกฎาคม 2548 อีกเดื อนละ 180.00 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย และขอให้บริ ษทั ฯ ระงับการให้บริ การหรื ออนุญาตให้ผอู ้ ื่นให้บริ การ ADSL ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (4) ข้อพิพาทเกี่ยวกับส่ วนแบ่งรายได้ตามสัญญาร่ วมการงานฯ เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 ทีโอที ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการเรี ยกคืน ส่ วนแบ่งรายได้ที่บริ ษทั ฯ ได้รับเกินกว่าสิ ทธิ ที่พึงจะได้รับจานวน 1,479.62 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย บริ ษทั ฯ ได้ยนื่ คาคัดค้านเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ข้อพิพาทที่คา้ งอยูท่ ี่สถาบันอนุญาโตตุลาการดังกล่าวข้างต้นได้ถูกเสนอให้มีการเจรจาไกล่เกลี่ย โดยสานักงานอนุญาโตตุลาการ แต่เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2550 คู่กรณี ท้ งั สองฝ่ ายได้ยกเลิกการไกล่เกลี่ยและ ได้นาข้อพิพาทเข้าสู่ กระบวนการอนุญาโตตุลาการตามเดิม (5) ข้อพิพาทเกี่ยวกับค่าตอบแทนการใช้ Gateway สาหรับบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม 2554 ทีโอที ได้เสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ฯ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ย กร้ อ งให้บ ริ ษ ัท ฯ ช าระเงิ น จ านวน 91.88 ล้า นบาท รวมภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม และดอกเบี้ ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น ค่าตอบแทนการใช้ Gateway สาหรับบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศโดยใช้รหัส 007 สาหรับงวด ระหว่าง เดือนกรกฎาคม 2547 ถึง เดือนพฤษภาคม 2554 และเรี ยกร้ องดอกเบี้ยเพิ่มเติมจนกว่าการชาระจะ เสร็ จสิ้ น นอกจากนี้ ยงั เรี ยกร้ องให้ชาระเงิ นตามใบแจ้งหนี้ ประจาเดื อนมิถุนายน 2554 บวกดอกเบี้ ยและ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ เกิ ดขึ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2554บริ ษทั ฯ ได้ต้ งั ค้างจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าวไว้เป็ นจานวน 76.57 ล้านบาท ข้อพิพาทดังกล่าวขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ผลที่สุดของคดีความดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถคาดการณ์ได้ในขณะนี้ ดังนั้น บริ ษทั ฯ จึงไม่ได้ บันทึกรายได้หรื อไม่ได้ต้ งั สารองสาหรับผลเสี ยหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดงั กล่าวไว้ในงบการเงิ น นอกจากตามที่ระบุไว้ (6) ข้อพิพาทเกี่ยวกับค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคม เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2556 ทีโอทีได้เสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ฯ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ย กร้ อ งให้ บ ริ ษ ัท ฯ ช าระค่ า ธรรมเนี ย มเลขหมายโทรคมนาคมพร้ อ มภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม เป็ นจ านวนเงิ น 512,380,498.31 บาท รวมทั้งให้ชาระค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมที่ เพิ่มขึ้ นตามประกาศ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์ในการจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคมชัว่ คราว พ.ศ. 2548 ตั้งแต่รอบชาระเดื อนสิ งหาคม 2548 ถึงรอบชาระเดือนกรกฎาคม 2551 และ ตามหลักเกณฑ์ในการจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคมชัว่ คราว พ.ศ. 2551 รอบชาระเดือนธันวาคม 2552 พร้อมภาษีมูลค่าเพิ่มและดอกเบี้ย เป็ นจานวน 26,643,220.29 บาท รวมทุนทรัพย์

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ทั้งสิ้ น 539,023,718.60 บาท ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการยื่นคาคัดค้านต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ข้อพิพาทนี้ สืบเนื่ องมาจากคดี ที่ทีโอทีฟ้องบริ ษทั ฯ ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้บริ ษทั ฯ ชาระค่าธรรมเนี ยมเลขหมายคืนทีโอทีที่ได้ชาระให้แก่ กทช. ไปแล้ว ซึ่ งต่อมาศาลปกครองกลางได้มีคาสั่ง ให้จาหน่ายคดี เพื่อให้ไปดาเนินการทางอนุญาโตตุลาการ 3. ข้ อพิพาทเกีย่ วกับภาษีสรรพสามิต (1) ข้อพิพาทเบี้ยปรับภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2549 บริ ษทั ฯ ได้รับแจ้งเรื่ องการประเมินภาษีสรรพสามิตจาก กรมสรรพสามิตให้บริ ษทั ฯ ชาระเบี้ ยปรับและเงิ นเพิ่มของภาษี สรรพสามิ ต ตั้งแต่เดื อนมกราคม 2548 ถึ ง เดื อนมีนาคม 2548 ที่ นาส่ งล่ าช้ากว่ากาหนดเป็ นจานวนเงิ น 185.87 ล้านบาท เมื่อวันที่ 21 สิ งหาคม 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาขอทุเลาการชาระภาษีสรรพสามิตตามคาสั่งทางปกครอง และต่อมาเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาคัดค้านการประเมิ นดังกล่ าว ต่อมาเมื่ อวันที่ 30 เมษายน 2550 อธิ บดี กรมสรรพสามิตได้ วินิจฉัยให้ยกคาคัดค้านการประเมิน เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2550 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นอุทธรณ์คดั ค้านคาวินิจฉัยและ ให้ เ พิ ก ถอนค าวิ นิ จ ฉั ย ดัง กล่ า วต่ อ คณะกรรมการพิ จ ารณาอุ ท ธรณ์ ต่ อ มาเมื่ อ วัน ที่ 19 กัน ยายน 2551 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้วินิจฉัยยกอุทธรณ์ของบริ ษทั ฯ และให้บริ ษทั ฯ ชาระภาษีสรรพสามิตตาม คาวินิจฉัยคาคัดค้านการประเมินภาษีสรรพสามิต จานวน 185.87 ล้านบาท เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2552 บริ ษทั ฯ ได้ ยืน่ ฟ้ องขอเพิกถอนคาวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลภาษีอากรกลาง เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ศาลภาษีอากรกลางได้มีคาพิพากษาให้งดเบี้ยปรับทั้งหมด อย่างไรก็ดี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ ยื่นอุทธรณ์ในประเด็นอื่ นที่เป็ นผลจากการตัดสิ น ขณะนี้ คดี กาลังอยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาอุ ทธรณ์ ของศาลฎีกา (2) ข้อพิพาทการขอคืนภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นฟ้ องกรมสรรพสามิตต่อศาลภาษีอากรกลาง เพื่อขอให้พิจารณาพิพากษาให้คืนเงินค่าภาษีสรรพสามิตตั้งแต่รอบเดือนภาษีมกราคม 2548 ถึงรอบเดือนภาษี ธันวาคม 2548 จานวน 372.02 ล้านบาท ที่บริ ษทั ฯ ได้นาส่ งไปโดยไม่มีหน้าที่ตอ้ งนาส่ งและได้ยื่นขอคืนจาก กรมสรรพสามิตแล้ว แต่กรมสรรพสามิตปฏิเสธที่จะจ่ายคืน เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2551 ศาลพิพากษาว่า กรมสรรพสามิต จาเลยไม่มีหน้าที่คืนค่าภาษีสรรพสามิตพร้อมดอกเบี้ยให้แก่โจทก์ตามฟ้ อง จึงพิพากษายกฟ้ อง บริ ษทั ฯ ได้ยื่น อุทธรณ์ไปยังศาลฎีกา ขณะนี้คดีกาลังอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ของศาลฎีกา เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2552 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาร้องต่ออธิ บดีกรมสรรพสามิต เพื่อขอคืน ภาษีสรรพสามิต สาหรับรอบเดือนภาษีมกราคม 2549 ถึง 26 กุมภาพันธ์ 2550 เป็ นจานวนเงินรวม 348.87 ล้านบาท ที่บริ ษทั ฯ นาส่ งโดยไม่มีหน้าที่ตอ้ งนาส่ ง เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2552 กรมสรรพสามิตได้ปฏิเสธคาร้องขอคืน ภาษีสรรพสามิตดังกล่าว เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่งปฏิเสธของกรมสรรพสามิต และเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2555 กรมสรรพสามิตได้มีหนังสื อแจ้งยกอุทธรณ์ การขอคืนภาษีสรรพสามิต ทั้งหมดของบริ ษทั ฯ ซึ่ งบริ ษทั ฯ มีสิทธิ โต้แย้งโดยยื่นฟ้ องกรมสรรพสามิตต่อศาลภาษีอากรกลาง เพื่อขอให้ พิพากษาให้คืนเงินค่าภาษี ภายในกาหนดอายุความ 10 ปี นับจากวันที่ได้ชาระเงินค่าภาษีดงั กล่าว

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(3) ข้อพิพาทเบี้ยปรับภาษีมูลค่าเพิ่มของเงินชดเชยค่าภาษีสรรพสามิต เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นฟ้ องรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลังต่อ ศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรื อคาสั่งเพิกถอนคาสั่งของ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง เรื่ อง ภาษีมูลค่าเพิ่มของเงินชดเชยค่าภาษีสรรพสามิต กรณี ขยายระยะเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและนาส่ ง ภาษีมูลค่าเพิ่ม ฉบับลงวันที่ 15 ธันวาคม 2553 ซึ่ งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังพิจารณาไม่อนุ มตั ิขยายเวลา การยืน่ แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มออกไปตามความจาเป็ นแห่งกรณี เพื่อให้บริ ษทั ฯ ไม่ตอ้ งรับผิดชาระเงินเพิ่ม ในอัตราร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรื อเศษของเดือนตามมาตรา 89/1 วรรคสองแห่ งประมวลรัษฎากร ซึ่ งเมื่อคานวณแล้ว เป็ นเงิ นเท่ ากับ 7.31 ล้านบาท และขอให้ศาลมี ค าพิ พากษาหรื อค าสั่ งให้ผูถ้ ู กฟ้ องคดี พิ จารณาอนุ ม ตั ิ ขยาย ระยะเวลาการยื่นแบบรายการภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรับเดื อนภาษีกุมภาพันธ์ 2546 ถึงเดือนภาษีพฤษภาคม 2548 เป็ นวันที่ 15 สิ งหาคม 2548 เพื่อไม่ให้เกิดภาระเงินเพิ่มดังกล่าว และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2556 ศาลปกครองกลางได้ มี คาสั่ งไม่รับคาฟ้ องไว้พิจารณาและให้จาหน่ ายคดี ออกจากสารบบความ โดยให้เหตุ ผลว่าคดี ไม่อยู่ในอานาจ พิ จารณาของศาลปกครอง เนื่ องจากอยู่ ในอ านาจพิ จารณาของศาลภาษี อากรกลาง ตามมาตรา 7 (1) แห่ ง พระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. 2528 ต่อมาเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่งไม่รับคาฟ้ องไว้พิจารณาดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองสู งสุ ด และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ศาลปกครองสู งสุ ดยังไม่มีคาสั่งใดๆ เกี่ยวกับผลของการ อุทธรณ์ดงั กล่าว 4. คดีฟ้องร้ องและข้ อพิพาทของบริษัทย่อย (1) เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2544 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือฮัทชิสัน ซี เอที ถูกบุคคลธรรมดาฟ้ อง เป็ นจาเลยร่ วมกับจ าเลยอื่ นรวม 5 ราย ต่ อศาลแพ่ งในคดี ละเมิ ดสั ญญานายหน้า เรี ยกร้ องค่ าเสี ยหายจานวน 438,579,804.75 บาท ศาลชั้นต้นได้พิพากษายกฟ้ องโจทก์ในส่ วนของฮัทชิสัน ซี เอที และจาเลยบางราย และต่อมา ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาแก้เป็ นให้ยกฟ้ องโจทก์ท้ งั หมด ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา (2) เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2546 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ฮัทชิสัน ซี เอที ได้ถูกบริ ษทั โบ๊เบ๊อินท์ จากัด ยื่นฟ้ องต่ อศาลแพ่ง เรื่ อง ผิดสั ญญาเช่ าพื้ นที่ สถานี ฐาน ฟ้ องให้ช าระค่ าเช่ าและค่ าใช้จ่ายในการขนย้าย ทรัพย์สิน เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2547 มีคาพิพากษาให้ ฮัทชิสัน ซี เอที รับผิดชอบค่าใช้จ่ายให้โจกท์ เป็ นจานวนเงิน 10,000 บาท เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2547 ฮัทชิสัน ซี เอที ยื่นอุทธรณ์ แต่บริ ษทั โบ๊เบ๊อินท์ จากัด ไม่ได้ยื่นอุทธรณ์ ต่อมาวันที่ 19 กันยายน 2552 ศาลอุทธรณ์พิพากษากลับให้ยกฟ้ อง บริ ษทั โบ๊เบ๊อินท์ จากัด เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 บริ ษทั โบ๊เบ๊อินท์ จากัด ได้ยื่นฎีกา ศาลฎีการับฎีกาของ บริ ษทั โบ๊เบ๊อินท์ จากัด แล้ว แต่บริ ษทั โบ๊เบ๊อินท์ จากัด เพิ กเฉย ไม่ ร้องขอให้เจ้าพนักงานนาส่ งฎี กาแก่ ฮัทชิ สัน ซี เอที โดยไม่ ได้แจ้งเหตุ ขดั ข้อง เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2556 ศาลแพ่งได้อ่านคาสั่งของศาลฎีกาที่ให้จาหน่ายคดีออกจากสารบบความเนื่องจากโจทก์ไม่นาส่ ง สาเนาให้จาเลยตามคาสั่งศาล ถือเป็ นการเพิกเฉยไม่ดาเนินคดีภายในเวลาที่ศาลชั้นต้นกาหนดเป็ นการทิ้งฟ้ องฎีกา (3) เมื่อเดือนมีนาคม 2548 ตัวแทนให้บริ การจาหน่ายสัญญาณของบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ง คือ ทรู วิชนั่ ส์ ซึ่ งได้ถูกยกเลิกสัญญาไปแล้ว ได้ฟ้อง ทรู วิชนั่ ส์ เพื่อเรี ยกร้องให้ชดเชยค่าเสี ยหายเป็ นจานวนเงิน สู งสุ ด 300.00 ล้านบาท โดยกล่าวหาว่า ทรู วิชนั่ ส์ ผิดเงื่ อนไขตามสัญญาบอกรั บการเป็ นสมาชิ กประเภท โครงการแบบเหมาจ่าย (CMDU) ต่อมาเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2551 ศาลแพ่งได้ตดั สิ นโดยพิพากษาให้ ทรู วิชนั่ ส์ เป็ นฝ่ ายชนะคดี โดยให้ยกฟ้ องของโจทก์และมีคาสั่งให้โจทก์ชาระเงินจานวน 1.66 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ร้อยละ 7.5 ต่อปี นับจากวันฟ้ องแย้งจนกว่าจะชาระเสร็ จสิ้ น ขณะนี้ คดี อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณา อุทธรณ์ (4) เมื่อวันที่ 23 สิ งหาคม 2549 CAT Telecom ได้ยื่นฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ชาระค่าใช้พ้ืนที่อาคารและเสาอากาศจานวนเงิน 12.48 ล้านบาท และเมื่อ วันที่ 21 มกราคม 2552 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษายกฟ้ อง โดย ทรู มูฟ ไม่มีหน้าที่ ตอ้ งชาระเงิ น จานวนดังกล่าวให้ CAT Telecom อย่างไรก็ตาม CAT Telecom ได้ยนื่ อุทธรณ์เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 และ ทรู มูฟ ได้ยื่นคัดค้านคาอุทธรณ์ไปเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2552 ขณะนี้ คดี อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองสู งสุ ด (5) เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2549 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คื อ ฮัทชิ สัน ซี เอที ได้ฟ้องบริ ษ ทั โปรลิงก์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด ต่อศาลแพ่ง เรื่ องค่าบริ การ สาหรับบริ การ เซลลูล่า ดิจิตอล CDMA ของ CAT Telecom ตั้งแต่ วันที่ 28 มกราคม 2549 ถึง 27 มิถุนายน 2549 ในจานวน 28,428,740.20 บาท เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2550 ศาลแพ่งได้มีคาพิพากษาให้ บริ ษทั โปรลิงก์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด ชาระค่าบริ การ จานวน 25.60 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ที่ฟ้องจนถึงวันที่ชาระครบ ต่อมา เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2553 บริ ษทั โปรลิงก์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด ได้ยื่นอุทธรณ์ และขอทุเลาการบังคับคดี ศาลมีคาสั่งยกคาร้องขอทุเลาการบังคับคดี เพราะบริ ษทั โปรลิงก์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด ขาดนัดพิจารณา คาร้องขอทุเลาการบังคับคดี ศาลอุทธรณ์มีคาพิพากษาเมื่อ 1 ธันวาคม 2554 ยืนตามคาพิพากษาศาลชั้นต้น แต่เนื่องจากบริ ษทั โปรลิงก์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด ได้ปิดบริ ษทั ไปแล้ว และขณะนี้ ตรวจสอบไม่พบว่ามี ทรัพย์สินใดที่สามารถบังคับคดีได้ คดีน้ ีจึงยังไม่สามารถบังคับคดีได้ (6) เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2549 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเรี ยกร้ องให้ ทรู มูฟ ชาระค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมเป็ น จานวนเงิน 113.58 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2551 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาชี้ ขาดให้ ทรู มูฟ ชาระเงินให้ CAT Telecom จานวน 99.60 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ) ทรู มูฟ ได้รับทราบคาชี้ ขาด เมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม 2551 และทรู มูฟได้ดาเนินการคัดค้านคาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง และศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 ว่าคาชี้ ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ ไม่ชอบด้วยกฎหมายซึ่ งการยอมรั บหรื อบังคับตามคาชี้ ขาดนั้นจะเป็ นการขัดต่อความสงบเรี ยบร้ อยหรื อ ศีลธรรมอันดีของประชาชน ศาลจึงมีคาสั่งเพิกถอนคาชี้ ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 CAT Telecom ได้อุทธรณ์ คาสั่งดังกล่ าวต่ อศาลปกครองสู งสุ ด ต่อมาเมื่ อวันที่ 16 มิถุนายน 2554 CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องต่อศาลปกครองกลางเพื่อขอให้บงั คับตามคาชี้ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการให้ทรู มูฟ ชาระเงิ นแก่ CAT Telecom ซึ่ งทรู มูฟได้โต้แย้งคาร้ องดังกล่าวเนื่ องจากคาชี้ ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ ได้ถูกเพิกถอนไปแล้วโดยคาพิพากษาของศาลปกครองกลาง และ CAT Telecom ไม่สมควรที่จะยื่นคาร้อง ดังกล่าว คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (7) เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2549 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้ถูกฟ้ องคดีแพ่งโดยบุคคล กลุ่มหนึ่ง โดยเรี ยกร้องค่าเสี ยหายเป็ นจานวน 44.37 ล้านบาท เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2550 คดีดงั กล่าวได้มีการ ถอนฟ้ องออกไปคงเหลืออยูเ่ พียงคดีเดียว ค่าเสี ยหายที่เรี ยกร้องคงเหลือเป็ นจานวนเงิน 7.00 ล้านบาท ซึ่ งศาล ได้มีคาพิพากษาเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2554 ให้ทรู มูฟชาระเงินให้แก่ผเู ้ สี ยหายเป็ นเงินรวมทั้งสิ้ น 1.06 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบี้ยผิดนัด) ผูเ้ สี ยหายได้ยนื่ อุทธรณ์ ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ต่อมาเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2556 ศาลจังหวัดมหาสารคามได้อ่านคาพิพากษาของศาล อุทธรณ์ภาค 4 โดยศาลได้พิพากษากลับคาพิพากษาศาลชั้นต้น ให้ ทรู มูฟ ชนะคดี ผูเ้ สี ยหายได้ยื่นฎีกาเมื่อ วันที่ 22 เมษายน 2556 และทรู มูฟได้ยื่นคัดค้านฎีกาแล้วเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 ขณะนี้ ยงั อยู่ระหว่าง การดาเนินคดีในชั้นฎีกา (8) เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ทีโอที ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. และ เลขาธิ การ คณะกรรมการ กทช. เพื่อขอเพิกถอนคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ที่มีคาสั่งให้ ทีโอที ต้องทาให้เลขหมาย โทรคมนาคมของ ทีโอที สามารถติดต่อกันได้ทุกโครงข่าย ดังนั้น บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ จึงได้ร้องสอด เข้าไปเป็ นคู่ความในคดี และเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2552 ศาลปกครองกลางมีคาพิพากษายกฟ้ องของ ทีโอที ต่อมาเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552 ทีโอที ได้อุทธรณ์คาพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้ อยูร่ ะหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (9) เมื่อวันที่ 9 สิ งหาคม 2550 CAT Telecom ได้มีหนังสื อถึงธนาคารสี่ แห่ งซึ่ งเป็ นผูอ้ อก หนังสื อค้ าประกันให้กบั บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ เรี ยกร้องให้ธนาคารทั้งสี่ แห่ งจ่ายชาระเงิ นจานวน 370.00 ล้านบาท แทน ทรู มูฟ โดยกล่าวหาว่า ทรู มูฟไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา กรณี น้ ี สื บเนื่ องมาจากกรณี พิพาทที่ CAT Telecom ได้นาเสนอสู่ สถาบันอนุ ญาโตตุลาการและคดียงั อยูร่ ะหว่างการดาเนิ นการของอนุ ญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 29 สิ งหาคม 2550 ทรู มูฟ ได้ยื่นคาร้องต่อศาลแพ่งและศาลปกครองกลางเพื่อขอให้ศาลมีคาสั่งการคุม้ ครอง เพื่อบรรเทาทุกข์ชวั่ คราว และมีคาสั่งให้ CAT Telecom ระงับการใช้สิทธิ เรี ยกร้องและให้ท้ งั สี่ ธนาคารระงับ การชาระเงิ นตามหนังสื อค้ าประกันไว้จนกว่าจะมี คาชี้ ขาดจากอนุ ญาโตตุ ลาการ ศาลทั้งสองได้ตดั สิ นและ มีคาสั่งในทางเป็ นประโยชน์ต่อทรู มูฟ ต่อมาเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2550 ทรู มูฟได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทเรื่ องนี้ ต่ออนุญาโตตุลาการ และขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (10) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 CAT Telecom ได้ยื่นเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการเรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ จ่ายชาระค่าส่ วนแบ่งรายได้ที่ส่งขาดไปรวมค่าปรับ และดอกเบี้ยจานวนรวมทั้งสิ้ น 8,969.08 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2554 คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มีคาวินิจฉัยชี้ ขาดให้ยกคาเสนอข้อพิพาทดังกล่าว ทาให้ ทรู มูฟ ไม่ตอ้ งชาระผลประโยชน์ตอบแทนตาม คาเสนอข้อพิพาทดังกล่าว CAT Telecom ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ ขาดอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 และ ทรู มูฟ ได้ดาเนินการทาคาคัดค้านคาร้องยื่นต่อศาลปกครองกลาง ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง (11) เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2551 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ ชาระส่ วนแบ่งรายได้เพิ่มเติมจานวน 45.95 ล้านบาท (เบี้ยปรับ จากการชาระผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มปี ที่ 6-8 ล่าช้า) เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2555 คณะอนุญาโตตุลาการ มีคาวินิจฉัยชี้ขาดให้ ทรู มูฟ ชาระเงินจานวน 7.0 ล้านบาท ทรู มูฟ ได้ยนื่ คาร้องขอเพิกถอนคาชี้ ขาดของคณะ อนุญาโตตุลาการ ต่อศาลปกครองกลาง เมื่อ 29 มิถุนายน 2555 และ CAT Telecom ก็ได้ยื่นขอเพิกถอนคาชี้ ขาด ของคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการ เช่ น กัน ซึ่ ง ทรู มู ฟ ได้ข อรวมคดี และศาลได้มี ค าสั่ ง ให้ ร วมคดี ไ ด้ ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (12) เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 2551 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้ องให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ ชาระค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิ ม (Access Charge) ที่ทรู มูฟ หักออกจากผลประโยชน์ตอบแทนของปี ดาเนินการที่ 7 ถึงปี ที่ 11 (หักส่ วนลดค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) จานวน 22 บาท ต่อเลขหมาย) เป็ นจานวนเงิน 689.84 ล้านบาท เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2553

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

CAT Telecom ได้ยนื่ ข้อเสนอขอแก้ไขจานวนเงินเรี ยกร้องจากเดิม 689.84 ล้านบาท เป็ น 1,379.68 ล้านบาท เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2553 คณะอนุญาโตตุลาการได้ทาคาชี้ขาดให้ยกคาเสนอข้อพิพาทของ CAT Telecom และเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553 CAT Telecom ได้ยื่นคาร้องต่อศาลปกครองกลางเพื่อขอให้เพิกถอนคาชี้ ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (13) เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้อง ให้บริ ษทั ย่อย แห่ งหนึ่ ง คือ ฮัทชิ สัน ซี เอที ชาระค่าบริ การที่ CAT Telecom ไม่สามารถเรี ยกเก็บได้ ค่าธรรมเนี ยมใบอนุ ญาต ค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคม เงิ นประกันรายได้ข้ นั ต่าเพิ่มเติม และเงินค่าภาษีสรรพสามิตที่ CAT Telecom ได้ชาระไปพร้อมภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามสัญญาทาการตลาดบริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 Band A เป็ นเงินจานวน 1,204.0 ล้านบาท ซึ่ งข้อพิพาทดังกล่าวได้มีการระงับกระบวนพิจารณา ไว้ชั่ว คราวและจ าหน่ า ยคดี จ ากสารบบความ แต่ ปั จ จุ บ ัน ได้มี ก ารน าข้อ พิ พ าทเข้า สู่ ก ระบวนการทาง อนุญาโตตุลาการตามเดิม คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (14) เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ ส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาอากาศและอุปกรณ์เสาอากาศ จานวน 4,546 ต้น ให้ CAT Telecom หากทรู มูฟไม่สามารถส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสาดังกล่าวได้ไม่วา่ ด้วยเหตุใดๆ ให้ทรู มูฟชาระค่าเสี ยหาย เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้ น 2,766.16 ล้านบาท ทรู มูฟ ได้ยื่นคัดค้านคาเสนอ ข้อพิ พ าทต่ อคณะอนุ ญาโตตุ ล าการเมื่ อวันที่ 3 กันยายน 2552 และเมื่ อวันที่ 2 สิ งหาคม 2556 คณะ อนุ ญาโตตุลาการได้วินิจฉัยชี้ ขาดให้ยกข้อเรี ยกร้องของผูเ้ รี ยกร้องคดีน้ ี โดยให้เหตุผลโดยสรุ ปว่าตามสัญญา ให้ดาเนิ นการฯ กาหนดให้ ทรู มูฟต้องส่ งมอบสถานที่ อาคาร และสิ่ งปลูกสร้ างอื่นใดที่ใช้ติดตั้งเครื่ องและ อุปกรณ์ในสภาพใช้งานได้ดีแก่ CAT Telecom ภายใน 60 วันนับแต่วนั สิ้ นสุ ดแห่ งสัญญา เมื่อ CAT Telecom ยื่นคาเสนอข้อพิพาทเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2552 ซึ่ งสัญญาให้ดาเนิ นการฯ ยังไม่สิ้นสุ ดลงและยังไม่มีการเลิ ก สัญญาจึ งเป็ นการใช้สิทธิ์ เรี ยกร้ องยังไม่ ครบกาหนดระยะเวลาที่ ให้สิทธิ ผูเ้ รี ยกร้ องใช้สิ ทธิ ตามสัญญาได้ ดังนั้น คณะอนุ ญาโตตุ ลาการจึ งไม่ได้พิ จารณาว่าทรู มู ฟจะต้องส่ งมอบ และ/หรื อ โอนกรรมสิ ทธิ์ ในเสา สาหรับติดตั้งเครื่ องและอุปกรณ์โทรคมนาคมให้แก่ CAT Telecom หรื อไม่ ต่อมาเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2556 CAT Telecom ได้ยื่นคาร้ องขอให้ศาลปกครองกลางมีคาสั่งเพิกถอนคาชี้ ขาดของอนุ ญาโตตุลาการดังกล่าว เป็ นคดีหมายเลขดาที่ 1813/2556 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (15) เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 CAT Telecom ได้ยนื่ คาเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟชาระค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษสี่ หลักเลขหมาย 1331 เป็ นจานวนเงิน 3.96 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ภาษีมูลค่าเพิ่มและค่าปรับร้อยละ 1.25 ต่อเดือน ของยอดเงินค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษ นับแต่วนั ที่ CAT Telecom ได้ชาระให้แก่คณะกรรมการ กทช. จนกว่า ทรู มูฟจะชาระให้แก่ CAT Telecom ทรู มูฟ ได้ยื่นเสนอคาคัดค้านเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2552 ขณะนี้ กาลัง อยูใ่ นกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (16) เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2552 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ TIC ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลาง กรณี ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ องการขอความเห็นชอบสัญญาอันเกี่ยวเนื่ อง กับการประกอบกิจการโทรคมนาคมที่ทากับรัฐบาลต่างประเทศได้กาหนดให้ผรู ้ ับใบอนุ ญาต (ในเรื่ องนี้ คือ TIC) ต้องส่ งสาเนาสัญญาที่ จะทากับต่างประเทศล่ วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วันให้แก่ คณะกรรมการ กทช. เพื่อให้คณะกรรมการ กทช. พิจารณาให้ความเห็ นชอบนั้น คณะกรรมการ กทช. ได้มีมติให้ TIC แก้ไข ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เพิ่มเติมข้อความในสัญญาให้มีสาระสาคัญว่า “การดาเนิ นการใดที่มีบทบัญญัติว่าด้วยการประกอบกิ จการ โทรคมนาคมไทยได้บญั ญัติไว้ให้อยูภ่ ายใต้กฎหมายไทย คู่สัญญาต้องถือปฏิบตั ิตามกฎหมายดังกล่าวด้วย” ซึ่ งแม้วา่ คณะกรรมการ กทช. จะไม่ได้บงั คับเรื่ องการแสดงเจตนาในการที่คู่สัญญาจะเลือกใช้กฎหมายหรื อ ศาลของประเทศที่ 3 เพื่อระงับข้อพิพาทในเรื่ องที่เกี่ยวกับทางแพ่งก็ตาม แต่เนื่ องจากการบังคับให้ TIC ต้อง ใช้ขอ้ ความดังกล่าวน่าจะเป็ นการก่อให้เกิดภาระเกินสมควรต่อ TIC เพราะทาให้คู่สัญญาที่อยูต่ ่างประเทศ ไม่ยอมตกลงทาสัญญาด้วย ซึ่ งทาให้ TIC ได้รับความเดือดร้อนเสี ยหาย หรื ออาจจะเดือดร้อนเสี ยหายจาก คาสั่งดังกล่าว ต่อมาเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษายกฟ้ อง โดยเห็ นว่า คณะกรรมการ กทช. มีมติโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว และเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 TIC ได้ยื่นอุทธรณ์คดั ค้าน คาพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด อย่างไรก็ดี เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2556 TIC ได้ยื่นคาร้องขอถอนอุทธรณ์คดีหมายเลขดาที่ อ.573/2555 ซึ่ งต่อมาเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2556 ศาลปกครองสู งสุ ดมีคาสั่งอนุ ญาตให้ถอนอุทธรณ์ และ จาหน่ายคดีหมายเลขดาที่ อ.573/2555 ออกจากสารบบความ (17) เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2552 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้ องให้บริ ษทั ย่อย แห่ งหนึ่ ง คือ ฮัทชิ สัน ซี เอที ชาระค่าธรรมเนี ยมใบอนุ ญาต ค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคม เงิ นประกัน รายได้ข้ นั ต่าระหว่างเดือนตุลาคม 2550 ถึงเดือนกันยายน 2551 และค่าปรับจากการที่ชาระค่าบริ การรายเดือนตาม งวดใบแจ้งหนี้ ให้ CAT Telecom ล่าช้าตามสัญญาทาการตลาดบริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 Band A เป็ นเงินจานวน 241.0 ล้านบาท ซึ่ งข้อพิพาทดังกล่าวได้มีการระงับกระบวนพิจารณาไว้ชวั่ คราวและ จาหน่ ายคดี จากสารบบความ แต่ปัจจุ บนั ได้มีการนาข้อพิพาทเข้าสู่ กระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการตามเดิ ม ข้อพิพาทอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (18) เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2553 เอไอเอส ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เพื่อขอให้อนุญาโตตุลาการมีคาวินิจฉัยให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งคือ ทรู มูฟ ชาระค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ที่ยงั คงค้างชาระจานวน 88.60 ล้านบาท ขณะนี้ขอ้ พิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ (19) เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2553 สานักงานคณะกรรมการคุ ม้ ครองผูบ้ ริ โภค (สคบ.) ได้เป็ น โจทก์ยื่นฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ฮัทชิ สัน ซี เอที เป็ นจาเลยร่ วมกับ บริ ษทั แคท คอร์ ปอเรชัน่ จากัด เรื่ อง ผิ ด สั ญ ญากรณี ก ารเรี ย กร้ อ งให้ จา เลยจ่ า ยค่ า ตอบแทนแก่ ผู ้ร้ อ งเรี ย นว่ า ไม่ ส ามารถใช้ บ ริ ก าร โทรศัพ ท์เ คลื่ อ นที่ ไ ด้ฟ รี เป็ นเวลา 10 ปี ตามข้อเสนอของบริ ษทั แคท คอร์ ปอเรชัน่ จากัด ทุนทรัพย์ของคดี คื อ 138,604.65 บาท ศาลชั้นต้น ได้มี ค าพิ พากษาให้ จาเลยทั้งสองร่ วมกันรั บผิ ดชดใช้ค่ าเสี ยหายจานวน 138,604.65 บาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ต่อมา เมื่อวันที่ 27 สิ งหาคม 2556 ศาลอุทธรณ์ได้มีคาพิพากษา ยืนตามศาลชั้นต้น คดีน้ ียงั อยูร่ ะหว่างการยืน่ ฎีกา (20) เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2553 นายวิลเลี่ยม ไลล์ มอนซัน ยื่นฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู วชิ นั่ ส์ เป็ นจาเลยที่ 1 และบุคคลธรรมดา 3 คน เป็ นจาเลยที่ 2-4 ในข้อหาละเมิด ให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน และค่าเสี ยหายจานวน 660,000,000 บาท โดยโจทก์กล่าวอ้างว่า ทรู วิชนั่ ส์ กับจาเลยทั้งหมด ร่ วมกันทุจริ ต ยึดอุปกรณ์เครื่ องส่ งไปจากโจทก์ จาเลยที่ 1 และที่ 3 ขอให้ศาลวินิจฉัย ชี้ ขาดปั ญหาข้อกฎหมายเบื้องต้น เรื่ องขาดอายุความ และเป็ นฟ้ องซ้อน ศาลชั้นต้นมีคาพิพากษายกฟ้ อง เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 และ ศาลอุทธรณ์ได้มีคาพิพากษายืนตามคาพิพากษาศาลชั้นต้น เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 โดยมีคาวินิจฉัยว่า สิ ทธิ เรี ยกร้องอันเกิดจากมูลละเมิดขาดอายุความเมื่อพ้นกาหนด 1 ปี นับแต่วนั ที่โจทก์รู้ถึงการละเมิดและ ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รู ้ตวั ผูซ้ ่ ึ งต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทน ขณะนี้โจทก์ได้ยนื่ คาร้องขอขยายระยะเวลายื่นฎีกาถึงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 คดีอยูใ่ นระหว่างกระบวนพิจารณาชั้นฎีกา นอกจากนี้ โจทก์ยงั ได้ยื่นฟ้ องทรู วิชั่นส์ เป็ นคดี อาญา 2 คดี ในข้อหา 1) เบิกความเท็จ พร้อมเรี ยกค่าเสี ยหาย และ 2) แสดงหลักฐานอันเป็ นเท็จ ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์ ได้มีคาพิพากษายกฟ้ องทั้ง 2 คดี เนื่ องจากขาดอายุ ความ ซึ่ งกรณี ศาลชั้นต้นและศาลอุ ทธรณ์ ยกฟ้ องโจทก์น้ ัน ต้องห้ ามฎี กาทั้งปั ญหา ข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมาย เว้นแต่ ในกรณี ที่ผพู้ ิพากษาคนใดซึ่ งทาการพิจารณาหรื อลงชื่อในคาพิพากษา ได้ทา ความเห็นแย้งในศาลชั้นต้นหรื อชั้นอุทธรณ์วา่ เป็ นเหตุสาคัญอันควรขึ้นสู่ ศาลสู งหรื อฎีกา หรื อ อธิ บดีกรมอัยการ (อัยการสู งสุ ด) ลงลายมือชื่ อรับรองในฎี กาว่ามีเหตุสมควรฎีกา สาหรับข้อหาที่1) โจทก์ยื่นฎี กาเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2555 ศาลมีคาสั่งไม่รับฎีกา ส่ วนข้อหาที่ 2) โจทก์ยื่นฎีกาต่อศาลเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2556 และยืน่ คาร้องขอให้ศาลรับรองฎีกา ปั จจุบนั ศาลฎีกาได้มีคาสั่งไม่รับฎีกาโจทก์ เนื่ องจากไม่มีเหตุอนั ควรใน การฎีกา ทาให้คดีสิ้นสุ ด (21) เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 CAT Telecom ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้เพิกถอนคาชี้ขาดไต่สวนข้อเท็จจริ งที่ 1/2553 ของคณะกรรมการ กทช. กรณี เอไอเอส ดีแทค และบริ ษทั ย่อย แห่ งหนึ่ งคือ ทรู มูฟ ร้องเรี ยนเรื่ อง CAT Telecom กระทาการกาหนดราคาอันเป็ นการทุ่มตลาด โดยกาหนดอัตรา ค่าเชื่ อมต่อโครงข่าย ในอัตรา 0.50 บาทต่อนาที ต่อมาศาลได้มีคาสั่งเรี ยกให้ เอไอเอส ดีแทค และ ทรู มูฟ เข้ามา ในคดี ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (22) เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2553 บริ ษทั ย่อยสองแห่ ง คือ ทรู วิชนั่ ส์ และ ทรู วิชนั่ ส์ ถูกบุคคล ธรรมดาฟ้ องเป็ นจาเลยร่ วม ต่อศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ในข้อหาละเมิดลิขสิ ทธิ์ โดยอ้างว่าลิขสิ ทธิ์ ในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงที่บริ ษทั ย่อยได้รับลิขสิ ทธิ์ มานั้น ไม่รวมถึงสิ ทธิ ในการแพร่ เสี ยง ของดนตรี กรรม และเรี ยกค่าเสี ยหายเป็ นจานวนเงิน 6,000,000 บาท ปั จจุบนั โจทก์ท้ งั หมดได้ขอถอนฟ้ อง และศาลทรัพย์สินทางปั ญญาฯ มีคาสัง่ อนุญาตให้ถอนฟ้ องและจาหน่ายคดีออกจากสารบบความแล้ว (23) เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2553 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งคือ ทรู มูฟ ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลางในกรณี พิพาทเรื่ อง On-net, Off-net ที่คณะกรรมการ กทช. มีมติ ครั้งที่ 10/2553 และ คาสั่งที่ 19/2553 ห้ามมิให้ผปู ้ ระกอบการเก็บค่าบริ การจากลูกค้าที่โทรข้ามโครงข่าย (Off-net) แตกต่างจาก ลู ก ค้า ที่ โทรภายในโครงข่ า ย (On-net) เมื่ อวันที่ 1 กันยายน 2554 ทรู มูฟ ได้ยื่นคาคัดค้านค าให้ก ารแล้ว ขณะนี้ขอ้ พิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (24) เมื่ อ วัน ที่ 25 กุ ม ภาพัน ธ์ 2554 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เพื่อเรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ นาหนังสื อค้ าประกันผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่าวงเงิน 646.00 ล้านบาทและ 679.00 ล้านบาทรวมทั้งสิ้ น 1,325.00 ล้านบาท มาวางค้ าประกันการดาเนินงานสาหรับปี ที่ 14 และ ปี ที่ 15 ต่อมาเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2554 ทรู มูฟ ได้ทาการฟ้ องแย้งในคดี ดังกล่ าวให้ CAT Telecom คื นหนังสื อค้ าประกันผลประโยชน์ ตอบแทนขั้นต่ าของ ปี ดาเนินการที่ 11 ถึงปี ที่ 13 และ เรี ยกร้องค่าเสี ยหายจาก CAT Telecom เป็ นเงินทั้งสิ้ น 56.19 ล้านบาท ซึ่ งขณะนี้ สถาบันอนุ ญาโตตุ ลาการได้มีคาสั่งให้รวมการพิจารณา คดี น้ ี กบั คดี ที่ CAT Telecom เรี ยกร้องให้ทรู มูฟวาง หนังสื อค้ าประกันการดาเนินงานสาหรับปี ที่ 16 และปี ที่ 17 ซึ่ ง ทรู มูฟได้ยื่นคาคัดค้านไปแล้ว ขณะนี้ ขอ้ พิพาทนี้ อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(25) เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งคือ ทรู มูฟ ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครองกลางเกี่ยวกับข้อพิพาทในส่ วน ของค่าปรับทางปกครองอันเนื่องมาจากการจัดให้มีบริ การคงสิ ทธิ เลขหมาย (MNP) เป็ นเงินจานวนประมาณ 13 ล้านบาท โดยคณะกรรมการ กทช. กล่าวอ้างว่า ผูป้ ระกอบการจัดให้มีบริ การคงสิ ทธิ เลขหมายล่าช้ากว่าที่ กาหนด โดยศาลปกครองกลางได้กาหนดให้วนั ที่ 15 กรกฎาคม 2556 เป็ นวันสิ้ นสุ ดการแสวงหาข้อเท็จจริ ง ขณะนี้ขอ้ พิพาทนี้ยงั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (26) เมื่อวันที่ 9 สิ งหาคม 2554 บริ ษทั ย่อย คือ ทรู มูฟ ได้มีหนังสื อถึงคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ขอให้ปรับปรุ งหรื อแก้ไขเปลี่ยนแปลงอัตราค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อ โครงข่าย ระหว่าง ทรู มูฟ กับ เอไอเอส และ ระหว่าง ทรู มูฟ กับ ดีแทค โดยขอให้มีคาสั่งให้ เอไอเอส และ ดีแทค ทาสัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายในอัตราเดียวกันกับที่ทาสัญญากับ CAT Telecom ตามที่คณะกรรมการ กทช. ได้ มีคาชี้ ขาดในข้อพิพาทที่ 2/2553 และ ที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม และ กสทช. ได้มีคาสั่งให้จาหน่ ายคาร้ องในเรื่ องดังกล่าว และให้ดาเนิ นการเจรจาผ่านคณะกรรมการร่ วม ตามสัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างกัน โดยให้คานึ งถึง ประกาศ กสทช. เรื่ อง อัตราขั้นสู งของค่าบริ การฯ และแจ้งผลการดาเนิ นการดังกล่าวให้ กสทช. ทราบ ซึ่ งทรู มูฟไม่เห็นด้วยกับคาสั่งดังกล่าว และเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ทรู มูฟได้ยนื่ ฟ้ องคดีต่อศาลปกครองกลางเพื่อขอให้มีการเพิกถอนคาสั่งดังกล่าวเป็ นคดีหมายเลขดา ที่ 2292/2555 ซึ่ งขณะนี้อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทั้งนี้ เมื่ อวันที่ 22 มีนาคม 2555 ทรู มูฟได้มีหนังสื อถึ ง กสทช. ขอให้มีคาสั่งให้ปรั บปรุ ง หรื อแก้ไขอัตราค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม หรื ออนุ ญาตให้ยกเลิ กสัญญาเชื่ อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคม กับ เอไอเอส และ ดีแทค เพื่อให้สอดคล้องกับคาสั่งของคณะกรรมการ กสทช. ที่ 14.1/2554 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2554 ประกอบกับคาสั่งคณะกรรมการ กทช. ที่ 11/2553 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2553 เกี่ยวกับเรื่ อง อัตราค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมอ้างอิง (Reference Rate) โดยเพิ่มเติม ประเด็นในส่ วนที่ เอไอเอส และ ดีแทค เป็ นผูม้ ีอานาจเหนือตลาด และกสทช. ได้เรี ยก เอไอเอส และ ดีแทค เข้ามาชี้ แจงข้อเท็จจริ ง และ มีคาสั่งให้ทรู มูฟ ยื่นคาคัดค้านข้อเท็จจริ งของ เอไอเอส และดีแทค ภายในวันที่ 8 ตุลาคม 2555 ต่อ กสทช. ซึ่ งทรู มูฟได้ยื่นเรี ยบร้อยแล้ว ต่อมา กทค. มีคาสั่งให้ต้ งั คณะกรรมการไต่สวน ข้อเท็จจริ งเพื่อพิจารณาเรื่ อง มาตรการป้ องกันการผูกขาด และ ทรู มูฟ ได้ยื่นเอกสารชี้ แจงข้อเท็จจริ งเมื่ อ 19 ธันวาคม 2555 และได้เข้าชี้แจงข้อเท็จจริ งต่อคณะกรรมการไต่สวนข้อเท็จจริ งในวันที่ 11 มกราคม 2556 แล้ว โดยเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2556 กทค. ได้มีคาสั่งจาหน่ ายคาร้ องของ ทรู มูฟ อย่างไรก็ดี ณ ปั จจุบนั ทรู มูฟ เอไอเอส และ ดีแทค ได้ตกลงปรับลดอัตราค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายลงเป็ นอัตรา 0.45 บาทต่อนาทีตาม คาร้องของทรู มูฟแล้ว โดยมีผลตั้งแต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 (27) เมื่อวันที่ 1กันยายน 2554 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทเป็ นข้อพิพาทหมายเลข ดาที่ 83/2554 เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อย คือ ทรู มูฟ ชาระค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้ครบถ้วนจากการหักค่า IC เป็ น ค่าใช้จ่าย ก่อนคานวณส่ วนแบ่งรายได้ เป็ นเงินจานวน 11,946.15 ล้านบาท ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทาง อนุญาโตตุลาการ (28) เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งคือ ทรู มูฟ ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิ บ ัติ หน้าที่ คณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ต่ อศาลปกครองกลางเกี่ ยวกับข้อพิ พาทเรื่ อง ดาเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้า

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 โดยฟ้ องขอให้ เ พิ ก ถอนประกาศฉบับ ดัง กล่ า ว ข้อ 38 และข้อ 96 และเพิ ก ถอนมติ แ ละค าวินิ จฉัย ของ คณะกรรมการ กทช. ปฏิบติหน้าที่ กสทช. และคาสั่งของเลขาธิ การ กสทช. ที่ให้ ทรู มูฟ ปฏิบตั ิตามประกาศ ฉบับดังกล่าว ซึ่ งในส่ วนที่ฟ้องเพิกถอนประกาศนั้น ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งไม่รับฟ้ องในข้อหาที่ 1. คือ การเพิกถอนประกาศฉบับดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าได้ยื่นคาฟ้ องต่อศาลพ้นกาหนดระยะเวลาฟ้ องคดีและไม่ อาจถื อได้ว่าคาฟ้ องในข้อหานี้ จะเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวม เพราะประกาศดังกล่ าวไม่มีผลต่อผูใ้ ช้บริ การ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งทรู มูฟได้ยนื่ อุทธรณ์คาสั่งไม่รับฟ้ องบางข้อหาไว้พิจารณาดังกล่าว ขณะนี้ อยูร่ ะหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด ส่ วนประเด็นพิพาทอื่นในคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ เมื่ อ วัน ที่ 25 มกราคม 2555 เลขาธิ ก าร กสทช. ได้มี ห นัง สื อ แจ้ง เตื อ น และต่ อ มาเมื่ อ วัน ที่ 30 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ได้มีหนังสื อมายัง ทรู มูฟว่าทรู มูฟยังคงฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคาสั่ง เลขาธิการ กสทช. และคาวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. และ หนังสื อแจ้งเตือน จึงอาศัยอานาจตามมาตรา 66 แห่ ง พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 กาหนดมาตรการบังคับทางปกครองในอัตราวันละ 80,000 บาท ให้ทรู มูฟ ชาระนับแต่วนั พ้นกาหนด 30 วัน นับแต่วนั ที่ ได้รับหนังสื อฉบับดังกล่ าว ทรู มูฟ จึงได้ยื่นคาร้ องขอให้ ศาลมี คาสั่ งทุ เลาการบังคับฯ ต่อมา เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ศาลปกครองกลางมีคาสั่งกาหนดมาตรการหรื อวิธีการคุม้ ครองเพื่อบรรเทา ทุ ก ข์ชั่ว คราวก่ อ นการพิ พ ากษาโดยให้ ร ะงับ การก าหนดมาตรการบัง คับ ทางปกครองตามค าสั่ ง ของ เลขาธิ การ กสทช. ที่ได้กาหนดค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท ไว้เป็ นการชัว่ คราวจนกว่าคดีจะถึงที่สุด หรื อจนกว่าศาลจะมีคาพิพากษาเป็ นอย่างอื่น ผลของคาสั่งดังกล่าวทาให้ ทรู มูฟ ไม่ตอ้ งถูกบังคับให้ตอ้ ง ชาระค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท จนกว่าคดีจะถึงที่สุดหรื อจนกว่าศาลจะมีคาพิพากษาหรื อคาสั่งเป็ น อย่างอื่น อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2555 กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่งของศาล ปกครองกลางดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด ต่อมาในวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 ซึ่ งศาลปกครองสู งสุ ดมีคาสั่ง กลับคาสั่งของศาลปกครองชั้นต้น เป็ นให้ยกคาขอของ ทรู มูฟ ส่ งผลให้ค่าปรับทางปกครองยังคงมีผลอยู่ และ ทรู มูฟ ต้องชาระค่าปรับทางปกครอง ทั้งนี้ หากศาลปกครองมีคาพิพากษาถึงที่สุดว่า ประกาศ คาสั่ง มติ และ คาวินิจฉัยที่พิพาทชอบด้วยกฎหมาย อาจส่ งผลให้ทรู มูฟต้องชาระค่าปรับและต้องปฏิบตั ิตามคาสั่ง และหาก ทรู มูฟ ยังเพิกเฉยไม่ปฏิบตั ิให้ถูกต้อง หรื อกรณี ที่มีความเสี่ ยงร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ คณะกรรมการ กสทช. มี อานาจพักใช้หรื อเพิกถอนใบอนุ ญาตได้ อย่างไรก็ดี ตามมาตรา 66 แห่ งพระราชบัญญัติการ ประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 กาหนดว่าการกระทาความผิดกรณี ใดจะต้องถูกพักใช้หรื อเพิกถอน ใบอนุ ญาตให้เป็ นไปตามที่ คณะกรรมการ กสทช. ประกาศกาหนด แต่ ณ ปั จจุบนั ยังไม่มีการออกประกาศ ดังกล่าว และหากผลของคดีมีคาพิพากษาถึ งที่สุดอันเป็ นคุณแก่ ทรู มูฟ ทรู มูฟ สามารถเรี ยกคืนเงินค่าปรับ ทางปกครองที่ตอ้ งชาระต่อ กสทชได้ (29) เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ เรี ยลมูฟ ได้ยนื่ ฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้เพิกถอนมติและคาสั่งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่ คณะกรรมการ กสทช. ที่ แจ้งมายัง เรี ยลมู ฟ ตามหนังสื อของ ส านักงาน กสทช. โดย เลขาธิ การ กสทช. ฉบับลงวันที่ 7 ตุลาคม 2554 โดยสั่งให้แก้ไขในส่ วนที่เกี่ยวกับการทาความตกลงเพื่อควบรวมกิจการโดยการเข้าซื้ อ หุน้ ของกลุ่มฮัทชิสันให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการควบรวมกิจการและ การถื อหุ ้นไขว้ในกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และในส่ วนที่เกี่ ยวกับการทาความตกลงกับ CAT Telecom

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เกี่ยวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ CDMA และระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื่ อง มาตรการเพื่อฟ้ องกันมิให้มีการกระทาอันเป็ นการผูกขาดหรื อก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันใน กิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่ นความถี่ และกากับการประกอบกิ จการ วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 อย่างไรก็ดี เรี ยลมูฟ เห็ นว่า มติ และคาสั่ง ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที่คณะกรรมการ กสทช. ดังกล่าว ไม่มีความชัดเจนและไม่น่าจะชอบด้วย กฎหมาย ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (30) เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ TIC ได้ร้องต่อ กวพ. ขอให้วินิจฉัย ชี้ขาดให้ เอไอเอส เข้าทาสัญญาเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ในอัตรา 0.50 บาท ซึ่ งเป็ นอัตราเดียวกันกับ ที่ เอไอเอส เข้าทาสัญญาเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม กับ CAT Telecom และขอให้เชื่ อมต่อโครงข่าย ชัว่ คราวเป็ นการเร่ งด่วน และ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2555 กวพ. ได้มีคาวินิจฉัย ให้ TIC และ เอไอเอส เจรจา เกี่ยวกับสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างกันตามแนวทางในข้อเสนอการเชื่อมต่อโครงข่ายของ เอไอเอส แต่ไม่ สามารถตกลงกันได้ภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที่ เอไอเอส ได้รับหนังสื อขอเชื่ อมต่อโครงข่าย อันถือเป็ นวัน เริ่ มต้นของการเจรจา อันเป็ นกรอบระยะเวลาที่ กาหนดไว้ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. ว่าด้วยการใช้ และเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Charge Regulation) ดังนั้น อัตราค่าตอบแทน การเชื่ อมต่อโครงข่า ยโทรคมนาคมระหว่า ง TIC และเอไอเอสจึ ง ต้องใช้บงั คับตามที่ กาหนดไว้ในคาสั่ ง คณะกรรมการ กสทช. ในอัตรา 0.50 บาทต่อนาที ซึ่ง กทค. ได้มีคาชี้ ขาดให้ TIC ทาสัญญากับเอไอเอสในอัตรา 0.50 บาทต่อนาที ขณะนี้อยูร่ ะหว่างเจรจาทาสัญญา (31) เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ TIC ได้ร้องต่อ กวพ. ขอให้วินิจฉัย ชี้ขาดให้ ดีแทค เข้าทาสัญญาเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ในอัตรา 0.50 บาท ซึ่ งเป็ นอัตราเดียวกันกับที่ ดีแทค เข้าท าสั ญญาเชื่ อมต่ อโครงข่ ายโทรคมนาคม กับ CAT Telecom และขอให้ เชื่ อมต่ อโครงข่ ายชั่วคราว เป็ นการเร่ งด่วน และ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2555 กวพ. ได้มีคาวินิจฉัยให้ยกคาร้องของ TIC และให้ยกคาขอ ของ TIC ที่ขอให้มีคาสัง่ เชื่ อมต่อชัว่ คราวกับคาขอให้กาหนดอัตราค่าตอบแทนการเชื่ อมต่อเป็ นการชัว่ คราว โดยเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2556 คณะกรรมการ กสทช. ได้มีคาชี้ขาดยกคาร้องของ TIC (32) เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งคือ ทรู มูฟ ได้ยื่นฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ขอให้เพิกถอนคาสั่งและมติของคณะกรรมการ กสทช. และคาสั่งของเลขาธิ การ กสทช. ที่ห้ามผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้ากาหนดรายการส่ งเสริ มการ ขายในลักษณะเป็ นการบังคับให้ผใู้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนด (Validity) พร้อมขอให้ ศาลกาหนดมาตรการและวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์เป็ นการชัว่ คราวก่อนการพิพากษา ปั จจุบนั ยังอยูใ่ นระหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองกลาง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้ง เตือนให้ ทรู มูฟ ดาเนิ นการปรับปรุ งเงื่อนไขการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่ประเภทเรี ยกเก็บเงินค่าบริ การ ล่วงหน้า ไม่ให้มีขอ้ กาหนดในลักษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่กาหนด และห้ามมิ ให้กาหนดเงื่ อนไขที่ มี ลกั ษณะเป็ นการบัง คับให้ผูใ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที่ กาหนดอีกต่อไป และเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ได้มีหนังสื อกาหนดให้ ทรู มูฟ จะต้อง ชาระค่าปรับทางปกครองในอัตราวันละ 100,000 บาท ตั้งแต่วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2555 เป็ นต้นไป ต่อมาวันที่ 19 มิถุนายน 2555 ทรู มูฟ ได้ยื่นอุทธรณ์ คาสั่งกาหนดค่าปรับทางปกครอง ต่อเลขาธิ การ กสทช. และเมื่อ วันที่ 16 กรกฎาคม 2555 ทรู มูฟ ได้ยนื่ คาร้องขอต่อศาลปกครองกลาง ขอให้มีคาสั่งทุเลาการบังคับตามคาสั่ง ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

และมติของคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. รวมถึงการกาหนดค่าปรับทางปกครองดังกล่าว หรื อ ก าหนดมาตรการและวิ ธี ก ารเพื่ อ บรรเทาทุ ก ข์เ ป็ นการชั่ว คราวก่ อ นการพิ พ ากษา ซึ่ งเมื่ อ วัน ที่ 9 พฤศจิกายน 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งยกคาขอดังกล่าว ส่ งผลให้ทรู มูฟ นอกจากจะต้องปฏิบตั ิ ตามคาสั่งของเลขาธิ การ กสทช. แล้ว ทรู มูฟยังจะต้องชาระค่าปรับเป็ นจานวนวันละ 100,000 บาท จนกว่า ทรู มูฟจะปฏิบตั ิให้ถูกต้องตามกฎหมาย ต่อมาเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2555 ภายใต้มติ ที่ประชุ มครั้ งที่ 35/2555 ของกทค. โดย เลขาธิการ กสทช.จึงมีหนังสื อถึงทรู มูฟ ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2555 แจ้งผลพิจารณาการอุทธรณ์คาสั่งดังกล่าว โดยยืนตามคาสั่งเลขาธิ การ กสทช ที่กาหนดค่าปรับทางปกครองต่อทรู มูฟ วันละ 100,000 บาท ด้วยเหตุจากคาสั่งพิจารณาอุทธรณ์ดงั กล่าว เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 ทรู มูฟ ได้ยื่นฟ้ อง เลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครองกลางเพื่อเพิกถอนคาสั่งกาหนดค่าปรับทางปกครองวันละ 100,000 บาท และได้ยื่นคาร้องขอให้ศาลกาหนดมาตรการและวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์เป็ นการชัว่ คราวก่อนการพิพากษา ปั จจุบนั คดียงั อยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง ต่อมาเมื่ อวันที่ 14 มกราคม 2556 กสทช ได้เชิ ญผูป้ ระกอบการเข้าร่ วมประชุ มเพื่ อ กาหนดแนวทางการพิจารณาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่ อนที่แบบชาระค่าบริ การล่วงหน้าในระยะเวลาที่ ก าหนด ซึ่ ง วันที่ 18 มกราคม 2556 ทรู มู ฟ ได้ยื่นเงื่ อนไขในการให้บ ริ ก ารต่ อ กสทช. และ กสทช. ได้ พิจารณาและมีมติเห็นชอบในเงื่อนไขของ ทรู มูฟ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2556 และได้มีคาสั่งยุติการกาหนด ค่าปรับวันละ 100,000 บาท แต่ท้ งั นี้ ทรู มูฟ ยังคงต้องชาระค่าปรับทางปกครองนับตั้งแต่วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2555 จนถึงวันที่ 18 มกราคม 2556 เป็ นจานวน 23,300,000 บาท ปั จจุบนั คดี ยงั อยู่ในระหว่างพิจารณาของ ศาลปกครองกลาง (33) เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2555 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม เป็ นคาเสนอข้อพิพาทหมายเลขดาที่ 112/2555 โดยเรี ยกให้ บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง คือ ทรู มูฟ นาหนังสื อค้ าประกันมาวางค้ าประกันสาหรับปี ดาเนิ นการที่ 16 ตามสัญญาข้อ 6.4 โดย CAT Telecom กล่าวอ้างว่า ทรู มูฟ วางหนังสื อค้ าประกันรายได้ข้ นั ต่ าตามสัญญาใน ปี ที่ 1 - ปี ที่ 13 แต่ ทรู มูฟไม่ได้วางหนังสื อค้ าประกันปี ที่ 14 และ ปี ที่ 15 CAT Telecom จึงยื่นคาเสนอข้อพิพาท ต่ออนุ ญาโตตุลาการเป็ นข้อพิพาทหมายเลขดาที่ 14/2554 จนกระทัง่ เมื่อครบกาหนดที่ทรู มูฟต้องนาส่ ง หนังสื อค้ าประกันของปี ที่ 16 ทรู มูฟ และปี ที่ 17 ก็ยงั ไม่ได้นาส่ งให้กบั CAT Telecom โดยต่อมาเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2556 ทรู มูฟได้ยนื่ คาคัดค้านต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ผลที่สุดของคดีความดังกล่าวข้างต้นยังไม่สามารถคาดการณ์ได้ในขณะนี้ ดังนั้นกลุ่มบริ ษทั ฯ จึงไม่ได้ต้ งั สารองสาหรับผลเสี ยหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดงั กล่าวไว้ในงบการเงิน (34) เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2555 นายสุ พล สุ ขศรี มงั่ มี โจทก์ ฟ้ อง ฮัทชิ สัน ซี เอที เป็ นจาเลย ที่ 4 ฐานละเมิด โดยขอให้ร้ื อถอนเสาอุปกรณ์และเครื่ องส่ งสัญญาณโทรศัพท์ออกจากอาคารอุรุพงษ์คอนโด และขอให้ชดใช้ค่าเสี ยหายที่ได้ทาอันตรายต่อสุ ขภาพของโจทก์เป็ นเงินจานวน 32,000,000 บาท อย่างไรก็ดี เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2556 ศาลชั้นต้นได้มีคาพิพากษายกฟ้ องโจทก์ ซึ่ งต่อมาเมื่อวันที่ 2 สิ งหาคม 2556 โจทก์ ได้ยนื่ อุทธรณ์ คดีน้ ียงั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(35) เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อ สถาบัน อนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม เป็ นคาเสนอข้อพิพาทหมายเลขดาที่ 17/2556 โดยเรี ยกให้ ทรู มูฟ ชาระเงิ นค่าผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มของปี ดาเนิ นการที่ 15 ให้ครบจากการที่ ทรู มูฟ นาค่า ใช้และเชื่ อมต่อโครงข่าย (IC) ไปหักเป็ นค่าใช้จ่ายก่อนคานวณส่ วนแบ่งรายได้ให้กบั CAT Telecom จานวนทุนทรัพย์ 1,571,599,139.64 บาท โดยทรู มูฟ ได้ยื่นคาคัดค้านเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2556 ขณะนี้อยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (36) เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2556 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อ สถาบัน อนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม เป็ นคาเสนอข้อพิพาทหมายเลขดาที่ 52/2556 เรี ยกให้ ทรู มูฟ ส่ งมอบทรัพย์สินที่เป็ นโครงสร้ างพื้นฐานโทรคมนาคมประเภท Passive จานวนหนึ่งซึ่ งใช้ กับเสาโทรคมนาคมที่ได้สร้างขึ้นตามสัญญาให้ดาเนิ นการฯ รวมถึงอุปกรณ์การให้บริ การเคลื่อนที่ (mobile car) ตูค้ อนเทนเนอร์ อาคารสิ่ งปลูกสร้าง (shelter) และเครื่ องและอุปกรณ์ (หม้อแปลงไฟฟ้ า) ในส่ วนของ ไฟฟ้ ากระแสสลับ (adaptor for AC transformer) ให้แก่ CAT Telecom โดยหากส่ งไม่ได้ไม่วา่ กรณี ใด ๆ ขอให้ชดใช้ราคารวมเป็ นเงิ นทั้งสิ้ น จานวน 821,137,046 บาท ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 28 สิ งหาคม 2556 ทรู มูฟ ได้ยนื่ คัดค้านคาเสนอข้อพิพาท ขณะนี้ยงั อยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (37) เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ สานักระงับข้อพิพาท สานักงานศาลยุติธรรม เป็ นคาเสนอข้อพิพาทหมายเลขดาที่ 84/2556 โดยเรี ยกให้ ทรู มูฟ ชาระเงิ นค่าผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิ่มของปี ดาเนิ นการที่ 16 ให้ครบจากการที่ ทรู มูฟ นาค่า ใช้และเชื่ อมต่อโครงข่าย (IC)ไปหักเป็ นค่าใช้จ่ายก่ อนคานวณส่ วนแบ่งรายได้ให้กบั CAT Telecom จ านวนทุ น ทรั พ ย์ 2,441,689,187.99 บาท ขณะนี้ อยู่ร ะหว่า งกระบวนการพิ จ ารณาของ อนุญาโตตุลาการ (38) เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2556 CAT Telecom ได้ยื่นฟ้ อง บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอน เวอร์ เจ้นซ์ จากัด ต่อศาลปกครองกลาง เป็ นคดี หมายเลขดาที่ 2119/2556 เรี ยกให้บริ ษทั ชาระค่าใช้บริ การ พื้นที่ติดตั้งและเชื่ อมต่ออุปกรณ์ โทรคมนาคม ค่าบารุ งรักษาสาหรับการขอใช้อาคารสถานที่ ค่าใช้รางพาด สายเคเบิ ล และค่ า ใช้ไ ฟฟ้ า ภายในนิ ค มอุ ต สาหกรรม อี ส เทิ ร์ น ซี บ อร์ ด จัง หวัด ระยอง ในทุ น ทรั พ ย์ 625,435.98 บาท และให้บริ ษทั ดาเนินการรื้ อถอนและขนย้ายอุปกรณ์โทรคมนาคมของบริ ษทั ออกจากพื้นที่ ชุ มสายสถานี ทวนสัญญาณในนิ คมอุตสาหกรรมอีสเทิร์น ซี บอร์ ด จังหวัดระยอง ขณะนี้ คดีอยู่ระหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง (39) เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 CAT Telecom ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน อนุ ญ าโตตุ ล าการ ส านัก ระงับ ข้อ พิ พ าท ส านัก งานศาลยุติ ธ รรม เป็ นค าเสนอข้อ พิ พ าทหมายเลขด าที่ 109/2556 กรณี ที่ CAT Telecom ผูเ้ รี ยกร้อง เรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ ส่ งมอบพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ์ เครื่ องและ อุปกรณ์ Generator จานวน 59 สถานี ให้แก่ CAT Telecom หากส่ งมอบไม่ได้ไม่วา่ กรณี ใดๆขอให้ชดใช้ ราคาแทนรวมมูลค่าทั้งสิ้ นเป็ นเงิ นจานวน 39,570,000 บาท ขณะนี้ อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการ

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

สั ญญาอนุญาตให้ ดาเนินการของบริษัทย่ อย ในเดือนพฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎี กาได้มีความเห็ นว่าสัญญาอนุ ญาตให้ดาเนิ นการ ให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลู ล่าร์ ระหว่าง CAT Telecom กับบริ ษทั ย่อย อาจต้องผ่านการอนุ มตั ิ จาก คณะรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่ วมงานหรื อดาเนิ นการในกิจการของรัฐ ซึ่ ง CAT Telecom ไม่ได้ดาเนินการตามนั้น อาจส่ งผลในทางเสี ยหายต่อสถานะของบริ ษทั ย่อย โดยที่ปรึ กษากฎหมายของกลุ่มบริ ษทั ฯ มี ความเห็ นว่า ตามหลักกฎหมายแล้ว ความเห็ นของคณะกรรมการกฤษฎี กาไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายต่ อ บริ ษทั ย่อย ดังนั้น บริ ษทั ย่อยจึงสามารถประกอบธุ รกิจให้บริ การภายใต้สัญญาให้ดาเนินการฯ ต่อไปได้ ค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) กลุ่มบริ ษทั ฯ มีคดีความเกี่ ยวกับค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ที่อยู่ในระหว่าง การพิจารณาและยังไม่ทราบผลของคดีความดังนี้ 1. ค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 สิ งหาคม 2545 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นคาเสนอข้อพิพาทต่อคณะอนุ ญาโตตุลาการเกี่ยวกับ กรณี พิพาทที่เกิดจากสัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างบริ ษทั ฯ กับทีโอทีตามสัญญาร่ วมการงานฯ ระบุไว้วา่ บริ ษทั ฯ มีสิทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากการที่ ทีโอที นาบริ การหรื ออนุญาตให้บุคคลที่สามให้บริ การพิเศษบน โครงข่าย ทีโอที ได้อนุ ญาตให้ CAT Telecom และผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายอื่นให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ บนโครงข่ายและได้รับค่าเชื่อมต่อโครงข่ายจาก CAT Telecom และผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายอื่น อย่างไรก็ตาม ทีโอที เห็ นว่าบริ การดังกล่าวไม่ได้เป็ นบริ การพิเศษ ดังนั้นจึงปฏิ เสธที่จะจ่ายผลตอบแทนในส่ วนของบริ ษทั ฯ ดังกล่าว ดังนั้นบริ ษทั ฯ จึงขอให้อนุ ญาโตตุลาการชี้ ขาดให้ ทีโอทีจ่ายส่ วนแบ่งในส่ วนของบริ ษทั ฯ สาหรับ ค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ที่ทีโอทีได้รับนับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2535 ถึงเดือนมิถุนายน 2546 เป็ นจานวนเงิน 25,419.40 ล้านบาท เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2549 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้ส่งคาชี้ ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 17 มกราคม 2549 มายังบริ ษทั ฯ คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาชี้ ขาดโดยเสี ยงข้างมาก มีคาชี้ขาดสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ (1) ให้ บ ริ ษ ัท ฯ มี สิ ท ธิ รั บ ผลประโยชน์ จ ากการที่ ที โ อที น าบริ การพิ เ ศษมาใช้ ผ่ า น โครงข่ายของบริ ษทั ฯ หรื อการที่ทีโอทีอนุญาตให้บุคคลอื่น นาบริ การพิเศษมาใช้ผา่ นโครงข่ายของบริ ษทั ฯ (2) สาหรับผลประโยชน์นบั ตั้งแต่เริ่ มต้นจนถึ งวันที่ 22 สิ งหาคม 2545 ให้ ทีโอที ชาระ เงินจานวน 9,175.82 ล้านบาท พร้ อมด้วยดอกเบี้ยอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี ของเงิ นจานวนดังกล่าวนับตั้งแต่ วันที่ 22 สิ งหาคม 2545 ให้แก่บริ ษทั ฯ จนกว่า ทีโอที จะชาระเสร็ จสิ้ น ให้ ทีโอที ชาระเงินตามคาชี้ ขาดข้อนี้ ให้แก่บริ ษทั ฯ ภายใน 60 วันนับตั้งแต่วนั ที่ได้รับคาชี้ ขาด อย่างไรก็ดี ทีโอที ยังไม่ได้ชาระเงินตามคาชี้ ขาด ดังกล่าว ซึ่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 มีมูลค่ารวม 15,620.26 ล้านบาท (3) ส าหรั บ ผลประโยชน์ ต้ ัง แต่ ว ัน ที่ 23 สิ ง หาคม 2545 เป็ นต้น ไป ให้ ที โ อที แบ่ ง ผลประโยชน์ตอบแทนให้บริ ษทั ฯ ในอัตราร้อยละ 50 ของผลประโยชน์ที่ทีโอทีได้รับจริ ง เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 ทีโอที ยื่นคาร้องต่อศาลปกครองกลางเพื่อขอเพิกถอนคาชี้ ขาดของ อนุ ญาโตตุ ลาการ ต่ อมาเมื่ อวันที่ 19 กันยายน 2549 บริ ษ ัทฯ ได้ยื่ นค าคัดค้านต่ อศาลปกครองกลางและ ศาลปกครองกลางได้รับเรื่ องไว้แล้วเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549 และ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 บริ ษทั ฯ ได้ ขอให้มีการบังคับตามคาชี้ ขาดของอนุ ญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางได้มีคาสั่งให้รวมคดีที่ทีโอทีเป็ นผูร้ ้อง เพื่อขอให้ศาลเพิกถอนคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการมาพิจารณาพร้อมกัน ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาให้เพิกถอนคาชี้ ขาดของ คณะอนุ ญาโตตุลาการและปฏิ เสธการขอบังคับตามคาชี้ ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ โดยให้เหตุผลว่าคาชี้ ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการไม่ชอบด้วยสัญญาร่ วมการงานฯ ดังนั้นการบังคับตามคาชี้ ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ จึงเป็ นการขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชนจึงเป็ นกรณี ที่ศาลสามารถเพิกถอนคาชี้ ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการได้ ต่อมา เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2555 บริ ษทั ฯ ได้ยื่นอุทธรณ์คาพิพากษาของศาลปกครองกลาง ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด 2. ค่ าเชื่อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) ของบริษัทย่อย เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2549 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ง คือ ทรู มูฟ ได้ส่งจดหมายถึง ทีโอที ให้เข้าร่ วม เจรจาเกี่ยวกับสัญญาการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (“IC”) ระหว่างโครงข่ายของ ทรู มูฟ และโครงข่าย ของ ทีโอที ต่อมาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 ทรู มูฟ ได้ส่งหนังสื อแจ้ง ทีโอที และ CAT Telecom เพื่อ แจ้งว่าจะหยุดชาระค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ภายใต้สัญญา AC เนื่องจากอัตราและการ เรี ยกเก็บค่าเชื่อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ภายใต้สัญญา AC ขัดแย้งกับกฎหมายหลายประการ ทรู มูฟ ได้ร้องขอให้ ทีโอที เข้าร่ วมลงนามในสัญญา IC กับทรู มูฟเพื่อให้เป็ นไปตามกฎหมายหรื อให้เรี ยกเก็บ อัตราเรี ยกเก็บชัว่ คราวที่ประกาศโดยคณะกรรมการ กทช. ในระหว่างที่การเจรจาเรื่ องการเข้าทาสัญญา IC กับ ทีโอที ยังไม่มีขอ้ ยุติ อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอที ได้ส่งหนังสื อเพื่อแจ้งว่า ทรู มูฟ ไม่มีสิทธิ ที่จะใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายของ ทรู มูฟ กับโครงข่ายของ ทีโอที เนื่ องจาก ทรู มูฟ ไม่ได้เป็ นผูร้ ับใบอนุญาต ประกอบกิ จการโทรคมนาคมซึ่ งออกโดยคณะกรรมการ กทช. และไม่มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเอง ที โอที โต้แย้ง ว่า สัญญา AC ไม่ ได้ฝ่ าฝื นกฎหมายใดๆ ดัง นั้น อัตราและการเรี ยกเก็ บค่ า เชื่ อมต่ อ โครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ภายใต้สัญญา AC ยังคงมีผลใช้บงั คับต่อไป เมื่ อวันที่ 24 มกราคม 2550 ทรู มูฟ ได้ยื่น ฟ้ อง ที โอที ต่ อศาลปกครองกลาง ขอให้ศาล พิพากษาให้ทีโอที ดาเนินการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม เพื่อให้เลขหมายของผูใ้ ช้บริ การของ ทรู มูฟ ใน ส่ วนที่เป็ นเลขหมายใหม่ที่ทรู มูฟ ได้รับการจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. จานวน 1.5 ล้านเลขหมาย ใช้งานได้ อย่างต่อเนื่องสมบูรณ์ และให้ทีโอทีชาระค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ ทรู มูฟ จานวน 84 ล้านบาท พร้อมทั้งได้ ยื่นคาร้องขอให้ศาลกาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชวั่ คราวก่อนการพิพากษา เพื่อให้ผใู้ ช้บริ การของ ทรู มูฟ ทุกเลขหมายสามารถติดต่อกับเลขหมายของ ทีโอที ได้ ซึ่ งเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2550 ศาลปกครองกลางได้ มีคาสั่งกาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชวั่ คราวก่อนการพิพากษา โดยมีคาสั่งให้ ทีโอที ดาเนิ นการเชื่ อมต่อ โครงข่ า ยโทรคมนาคมให้ ผู ้ใ ช้ บ ริ การของ ทรู มู ฟ ทุ ก เลขหมายสามารถติ ด ต่ อ กั บ เลขหมายของ ทีโอทีได้ และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2550 ทีโอทีได้ยื่นอุทธรณ์คาสั่งดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด ซึ่ งต่อมา ศาลปกครองสู งสุ ดได้พิพากษายืนตามคาสั่งของศาลปกครองกลาง นอกจากนั้น เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลปกครองกลางได้มีคาพิพากษาให้ ทีโอที ดาเนิ นการเชื่ อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม เพื่อให้เลขหมาย ดังกล่าวใช้งานได้อย่างต่อเนื่ องสมบูรณ์ และให้ ทีโอที ชาระค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ ทรู มูฟ จานวน 1 ล้านบาท ซึ่ งต่อมา ทีโอที ได้ยนื่ อุทธรณ์ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี้คดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด นอกจากนี้ เมื่ อวันที่ 29 มิ ถุ นายน 2550 ทรู มูฟ ได้ยื่นข้อพิ พ าทเข้า สู่ กระบวนการระงับ ข้อพิพาท ตามประกาศของคณะกรรมการ กทช. ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เพื่อขอให้คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท (“กวพ.”) มี คาวินิจฉัยให้ ที โอที ดาเนิ นการทาสัญญาเชื่ อมต่อ โครงข่ายฯ (IC) กับ ทรู มูฟ กวพ. มีคาวินิจฉัยและคณะกรรมการ กทช. มีคาชี้ ขาดว่า ทรู มูฟ มีสิทธิ ที่จะเข้า เจรจาทาสัญญาเชื่ อมต่อโครงข่ายฯ (IC) กับ ทีโอที เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 และวันที่ 28 พฤศจิกายน 2550 ตามลาดับ ต่ อมาเมื่ อวันที่ 23 มิ ถุนายน 2551 ที โอที ได้ตกลงที่ จะเข้าเจรจาท าสั ญญาเชื่ อมต่ อโครงข่ า ย โทรคมนาคม (IC) กับ ทรู มูฟแล้ว แต่มีเงื่ อนไขว่า จะทาสัญญาเฉพาะกับเลขหมายใหม่ที่ ทรู มูฟ ได้รับ จัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เท่านั้น ทรู มูฟ ได้ตกลงตามที่ ที โอที เสนอ แต่สาหรั บเลขหมายเก่ านั้น ทรู มูฟ ยังคงดาเนินการให้เป็ นเรื่ องของข้อพิพาทและอยูใ่ นดุลยพินิจของศาลต่อไป เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอที ได้ยนื่ ฟ้ อง ทรู มูฟ ต่อศาลแพ่ง ฐานผิดสัญญา AC และ เรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ ชาระค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิ ม (Access Charge) ที่คา้ งชาระ พร้ อมดอกเบี้ยและ ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นจานวนเงิน 4,508.10 ล้านบาท เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2552 ศาลแพ่งและศาลปกครองกลาง มีความเห็ นพ้องกันว่าคดีดงั กล่าวอยู่ในเขตอานาจศาลปกครอง ดังนั้น ศาลแพ่งจึงจาหน่ายคดี ออกจากสารบบ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอที ได้ยื่นฟ้ อง CAT Telecom ร่ วมกับ ทรู มูฟ เพื่อเรี ยกร้ องให้ชาระค่าเชื่ อมต่อ โครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) จานวนเงิน 41,540.27 ล้านบาท ขณะนี้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของ ศาลปกครองกลาง ถ้า ทรู มูฟ ต้องชาระค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิ ม (Access Charge) ทรู มูฟ อาจต้องบันทึก ค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายแบบเดิ ม (Access Charge) เป็ นค่าใช้จ่ายและค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิ่มเติม สาหรับระยะเวลา ตั้งแต่วนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2556 ดังนี้ ผลกระทบสุ ทธิ ต่อ กาไรหรื อขาดทุนรวม ซึ่งสุ ทธิจากเงิน ค่า AC ส่ วนแบ่งรายได้ที่จ่าย ค้างจ่าย ให้แก่ CAT Telecom (ล้านบาท) (ล้านบาท) สาหรับระยะเวลา ตั้งแต่วนั ที่ 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 30,323.17 22,305.15 สาหรับปี 2556 สิ้ นสุ ดวันที่ 15 กันยายน 2556 2,021.39 1,457.40 รวม 32,344.56 23,762.55 ฝ่ ายบริ หารและที่ปรึ กษากฎหมายมีความเห็นว่า ทรู มูฟ ไม่มีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายเชื่ อมต่อ โครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ข้างต้น ผลที่สุดของคดีความดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถคาดการณ์ได้ในขณะนี้ ดังนั้นบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย จึงไม่ได้บนั ทึกรายได้และไม่ได้ต้ งั สารองสาหรับผลเสี ยหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลของคดีดงั กล่าวไว้ในงบการเงิน

ส่วนที่ 1

ข ้อพิพำททำงกฎหมำย

หัวข ้อที่ 5 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสำคัญอืน่ 6.1

ข้ อมูลทัว่ ไป (1) บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน)

บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) (“บริ ษทั ฯ”) มีชื่อย่อหลักทรัพย์ในตลำดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ว่ำ “TRUE” ได้จดทะเบียนก่อตั้งบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกำยน 2533 ในนำมบริ ษทั ซี พี เทเลคอมมิวนิ เคชัน่ จำกัด โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก 1,000 ล้ำนบำท เพื่อดำเนิ นธุ รกิจทำงด้ำนโทรคมนำคม ต่อมำได้จดทะเบียน แปรสภำพเป็ นบริ ษทั มหำชนจำกัด เมื่อวันที่ 11 กุมภำพันธ์ 2536 ทะเบียนเลขที่ 0107536000081 ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2556 บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้ น 153,332,070,330 บำท เป็ นหุ ้นสำมัญ จำนวน 15,333,207,033 หุ ้น มูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 10 บำท โดยมีทุนที่เรี ยกชำระแล้วจำนวน 145,302,152,660 บำท เป็ นหุน้ สำมัญจำนวน 14,530,215,266 หุ น้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท โดยมีที่ต้ งั สำนักงำนใหญ่อยูท่ ี่ เลขที่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพมหำนคร 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 Website : www.truecorp.co.th (2) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และ บริ ษทั ที่เข้ำร่ วมลงทุน ชื่อบริษัท บริ ษทั เอเชีย ดีบีเอส จำกัด (มหำชน)

บริ ษทั เอเซีย ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด

บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์เทเลเทค จำกัด (มหำชน)

ส่วนที่ 1

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

ผูใ้ ห้บริ กำรระบบ 100 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น DBS หุน้ สำมัญจำนวน 10 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

% กำรถือหุ้น 90.00

ผูใ้ ห้บริ กำร PCT

11,441.85 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 1,144.18 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

ธุรกิจลงทุน

172,828.29 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 69,131 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 2.50 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

99.48

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท บริ ษทั บี บอยด์ ซีจี จำกัด

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) 1768 อำคำรไทยซัมมิท ทำวเวอร์ จำกัด ชั้น 14 ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงบำงกะปิ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ซีนิเพล็กซ์ จำกัด 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั คลิกทีวี จำกัด 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส 1768 อำคำรไทยซัมมิท ทำวเวอร์ มัลติมีเดีย จำกัด ชั้น 23 ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงบำงกะปิ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์ วสิ 539/2 อำคำรมหำนครยิบซัม่ (ประเทศไทย) จำกัด ชั้น 18 ถนนศรี อยุธยำ แขวงถนนพญำไท เขตรำชเทวี กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ 539/2 อำคำรมหำนครยิบซัม่ (ประเทศไทย) จำกัด ชั้น 18 ถนนศรี อยุธยำ แขวงถนนพญำไท เขตรำชเทวี กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น 70.00

ผลิตกำร์ตูน แอนนิเมชัน่

16.52 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 1.65 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ให้เช่ำอุปกรณ์ โทรคมนำคม ทั้งแบบ active และ passive

12,458.32 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 124.58 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

ผลิตรำยกำร โทรทัศน์

1,283.43 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 128.34 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

ธุรกิจโทรทัศน์ แบบสื่ อสำร สองทำง

46 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 4.6 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

99.31

ผูใ้ ห้บริ กำรขำย ต่อบริ กำร โทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบเซลลูล่ำร์ แอมป์ 800 แบนด์เอ

950 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 95 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

68.02

หยุดดำเนินงำน

230 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 23 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

หยุดดำเนินงำน

54 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 3.6 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 15 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ชื่อบริษัท

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่

บริ ษทั ฮัทชิสนั ไวร์เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จำกัด

1768 อำคำรไทยซัมมิท ทำวเวอร์ ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงบำงกะปิ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 2/4 อำคำรไทยพำณิ ชย์สำมัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภำวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสำร (662) 979-7111

ธุรกิจลงทุน

10 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 590,000 หุน้ และ หุน้ บุริมสิทธิจำนวน 410,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

กำรสื่ อสำร โทรคมนำคมที่ มิใช่ภำครัฐ

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 2/4 อำคำรไทยพำณิ ชย์สำมัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภำวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสำร (662) 979-7111 2/4 อำคำรไทยพำณิ ชย์สำมัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภำวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสำร (662) 979-7111 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 725-7400 โทรสำร (662) 725-7401

ธุรกิจลงทุน

50 ล้ำนบำท แบ่งเป็ นหุน้ สำมัญ จำนวน 12 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้ หุน้ ละ 10 บำท ซึ่งประกอบด้วย หุน้ สำมัญที่เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน 2.67 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำอีก จำนวน 9.33 ล้ำนหุน้ โดยเรี ยกชำระ ไว้ที่มูลค่ำหุน้ ละ 2.50 บำท 192.70 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 11.75 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 16.40 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

บริ ษทั ศูนย์บริ กำรวิทยำกำร อินเตอร์เนต จำกัด

บริ ษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จำกัด

บริ ษทั เคโอเอ จำกัด

บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์เนต จำกัด

บริ ษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ดอทคอม จำกัด

บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเม้นท์ จำกัด

ส่วนที่ 1

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น 92.02

56.93

100.00

บริ กำรจัดกำร ทรัพย์สิน

2.5 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 1 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระมูลค่ำหุน้ ละ 2.50 บำท

100.00

โทรคมนำคม และบริ กำร อินเตอร์เน็ต

153.04 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 15.30 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

56.83

ธุรกิจอินเตอร์เน็ต 139.64 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น และผูจ้ ดั จำหน่ำย หุน้ สำมัญจำนวน 13.95 ล้ำนหุน้ และหุน้ บุริมสิ ทธิ จำนวน 0.01 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

91.08

ให้บริ กำรด้ำน กำรบริ หำรจัดกำร แก่ศิลปิ น และ ธุรกิจอื่นที่ เกี่ยวข้อง

99.77

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

75 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 7.5 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จำกัด

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั เรี ยล มูฟ จำกัด 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั สมุทรปรำกำร มีเดีย 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วสิ จำกัด 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จำกัด 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั ส่องดำว จำกัด 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ เซอร์วสิ เซส จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ แมเนจเมนท์ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

ให้บริ กำร โทรคมนำคม ประเภทสื่ อสำรไร้ สำย

46,244.39 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 4,624.44 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

% กำรถือหุ้น 100.00

ผูใ้ ห้บริ กำร 7,000 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น ขำยต่อบริ กำร หุน้ สำมัญจำนวน 70 ล้ำนหุน้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

99.48

หยุดดำเนินงำน

1 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 10,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

99.42

ขำยและให้เช่ำ อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ บริ กำรโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็ น สมำชิก ให้บริ กำรด้ำน กำรบริ หำรจัดกำร แก่ศิลปิ นและ ธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้อง

1,338 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 223 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 6 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

99.31

20 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 0.2 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

51.00

หยุดดำเนินงำน

1 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 10,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

99.41

ให้บริ กำรเนื้อหำ

25 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 2.5 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

บริ หำรจัดกำร กำรตลำด

2.5 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 1 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระมูลค่ำหุน้ ละ 2.50 บำท

100.00

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท บริ ษทั เทเลคอมโฮลดิง้ จำกัด

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่

ประเภทธุรกิจ

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ธุรกิจลงทุน ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

บริ ษทั เทเลคอม อินเตอร์เนชัน่ แนล 1252 อำคำรทรู ทำวเวอร์ 2 จำกัด ถนนพัฒนำกำร แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุ งเทพมหำนคร 10250 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 บริ ษทั เทเลคอม เค เอส ซี จำกัด 2/4 อำคำรไทยพำณิ ชย์สำมัคคี ประกันภัย ชั้น 10 ถนนวิภำวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสำร (662) 979-7111 บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค 118/1 อำคำรทิปโก้ (ทีเอ็นเอ็น) จำกัด ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จำกัด 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ เซลส์ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ธุรกิจลงทุน

หยุดดำเนินงำน

ทุนชำระแล้ ว 25,733.82 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 3,332.62 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท ซึ่งประกอบด้วย หุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้ว จำนวน 2,007.72 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำอีก จำนวน 124.90 ล้ำนหุน้ โดย เรี ยกชำระไว้ที่มูลค่ำหุน้ ละ 9.26 บำท และหุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำอีก จำนวน 1,200 ล้ำนหุน้ โดย เรี ยกชำระไว้ที่มูลค่ำหุน้ ละ 3.75 บำท 300 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 30 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

% กำรถือหุ้น 100.00

250,000 บำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 100,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระมูลค่ำหุน้ ละ 2.50 บำท

100.00

34.39

ช่องข่ำวโทรทัศน์ 240 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 2.4 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

ขำยโฆษณำ และ ตัวแทนโฆษณำ

25 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 2.5 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

ธุรกิจจัดจำหน่ำย

1,501 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 15.01 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

99.43

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท บริ ษทั ทรู ดีทีที จำกัด

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่

118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 บริ ษทั ทรู อินฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ จำกัด ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด

บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล เกตเวย์ จำกัด

บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จำกัด

บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จำกัด

ส่วนที่ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

กิจกำรโทรทัศน์ และบริ กำรอื่น ที่เกี่ยวเนื่อง

5 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 100,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระมูลค่ำหุน้ ละ 50 บำท

% กำรถือหุ้น 100.00

ให้บริ กำร ระบบเทคโนโลยี สำรสนเทศ

688.22 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 84.7 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท ซึ่งประกอบด้วยหุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้วจำนวน 38 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำจำนวน 46.7 ล้ำนหุน้ โดยเรี ยกชำระไว้ที่ มูลค่ำหุน้ ละ 6.6 บำท 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ บริ กำร 22 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง โทรคมนำคม หุน้ สำมัญจำนวน 850,000 หุน้ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท โทรศัพท์ (662) 643-1111 ซึ่งประกอบด้วยหุน้ สำมัญที่ โทรสำร (662) 643-1651 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้วจำนวน 10,000 หุน้ และ หุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำจำนวน 840,000 หุน้ โดยเรี ยกชำระไว้ที่ มูลค่ำหุน้ ละ 25 บำท 1 อำคำรฟอร์จูนทำวน์ บริ กำร 436 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น ชั้น 15 ถนนรัชดำภิเษก โทรคมนำคมและ หุน้ สำมัญจำนวน 4.36 ล้ำนหุน้ แขวงดินแดง เขตดินแดง อินเทอร์เน็ต มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท กรุ งเทพฯ 10400 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ โทรศัพท์ (662) 641-1800 1 อำคำรฟอร์จูนทำวน์ ผูใ้ ห้บริ กำร 752.80 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น ชั้น 14, 27 ถนนรัชดำภิเษก อินเทอร์เน็ต หุน้ สำมัญจำนวน 75.28 ล้ำนหุน้ แขวงดินแดง เขตดินแดง มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท กรุ งเทพฯ 10400 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ โทรศัพท์ (662) 641-1800 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ผูค้ ำ้ ปลีกบริ กำร 1,775 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง โทรคมนำคม หุน้ สำมัญจำนวน 257.50 ล้ำนหุน้ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท โทรศัพท์ (662) 643-1111 ซึ่งประกอบด้วยหุน้ สำมัญ โทรสำร (662) 643-1651 ที่เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้วจำนวน 97.5 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำอีก จำนวน 160 ล้ำนหุน้ โดยเรี ยกชำระ ไว้ที่มูลค่ำหุน้ ละ 5 บำท

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 6

100.00

99.43

100.00

100.00

100.00


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท บริ ษทั ทรู มูฟ จำกัด

บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จำกัด

บริ ษทั ทรู มิวสิ ค จำกัด

บริ ษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จำกัด

บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด

บริ ษทั ทรู ทัช จำกัด

บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จำกัด

บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จำกัด

ส่วนที่ 1

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 23/6-7 ชั้นที่ 2-4 ซอยศูนย์วจิ ยั ถนนพระรำม 9 แขวงบำงกะปิ เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 641-4838-9 โทรสำร (662) 641-4840 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น 99.43

ผูใ้ ห้บริ กำร ระบบเซลลูล่ำร์

65,181.30 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 6,518.13 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ให้บริ กำรเช่ำ วงจรสื่ อสัญญำณ ควำมเร็ วสูงและ บริ กำรมัลติมีเดีย

6,562 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 656.2 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

91.08

ให้บริ กำรเนื้อหำ

200,000 บำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 20,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

99.40

ซื้อ ขำยและ ผลิตสื่ อโฆษณำ

1 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 10,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

69.94

บริ กำร โทรคมนำคม

86 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 860,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

บริ กำร Call centre

193 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 1.93 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

จัดกำรทีมฟุตบอล 20 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น และกิจกรรมที่ หุน้ สำมัญจำนวน 2 ล้ำนหุน้ เกี่ยวข้อง มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

70.00

ให้บริ กำร โทรคมนำคม ประเภทสื่ อสำร ผ่ำนสำย

100.00

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

7,000 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 100 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท ซึ่งประกอบด้วยหุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้วจำนวน 40 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญที่ เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำอีก จำนวน 60 ล้ำนหุน้ โดยเรี ยกชำระ ไว้ที่มูลค่ำหุน้ ละ 50 บำท

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ จำกัด (มหำชน)

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จำกัด (มหำชน)

บริ ษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ ป จำกัด

บริ ษทั ทรู วสิ ต้ำส์ จำกัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั ทรู แมจิค จำกัด”) K.I.N. (Thailand) Company Limited Gold Palace Logistics Limited

Dragon Delight Investments Limited Gold Palace Investments Limited

Golden Light Company Limited

ส่วนที่ 1

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น 99.31

118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900 118/1 อำคำรทิปโก้ ถนนพระรำม 6 แขวงสำมเสนใน เขตพญำไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสำร (662) 615-9900

ให้บริ กำร โทรทัศน์ ระบบบอกรับ เป็ นสมำชิก

2,266.72 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 755.57 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 3 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ให้บริ กำร โทรทัศน์ ระบบบอกรับ เป็ นสมำชิก ผ่ำนสำยเคเบิ้ล ธุรกิจลงทุน

7,608.65 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 760.86 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

98.99

100.00

18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands P.O. Box 71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Virgin Island P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands Suite 308, St James Court, St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius

ผลิตและจำหน่ำย ภำพยนตร์

3,017.6 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 75.176 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท ซึ่งประกอบด้วยหุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำแล้วจำนวน 15.176 ล้ำนหุน้ และ หุน้ สำมัญ ที่เรี ยกชำระยังไม่เต็มมูลค่ำอีก จำนวน 60 ล้ำนหุน้ โดยเรี ยกชำระ ไว้ที่มูลค่ำหุน้ ละ 25 บำท 3.5 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 350,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ USD 1 แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 1 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ USD 8,000 แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 8,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ USD 4.97 แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 4.97 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ USD 12.7 ล้ำน แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 12.7 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ USD 15.2 ล้ำน แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 15.2 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

100.00

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 8

100.00

100.00

100.00

100.00

100.00


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท Goldsky Company Limited

Golden Pearl Global Limited

Rosy Legend Limited

Prospect Gain Limited

True Internet Technology (Shanghai) Company Limited

GP Logistics Company Limited

บริ ษทั เอเซีย อินโฟเน็ท จำกัด

บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จำกัด

บริ ษทั แชนแนล (วี) มิวสิ ค (ประเทศไทย) จำกัด

ส่วนที่ 1

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่ Suite 308, St James Court, St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ ธุรกิจลงทุน

ทุนชำระแล้ ว

USD 4.97 ล้ำน แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 4.97 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน USD 50,000 แบ่งเป็ น Offshore Incorporations Centre, หุน้ สำมัญจำนวน 50,000 หุน้ Road Town, Tortola, มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 British Virgin Islands เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน USD 1 แบ่งเป็ น Offshore Incorporations Centre, หุน้ สำมัญจำนวน 1 หุน้ Road Town, Tortola, มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 British Virgin Islands เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ P.O. Box 957, ธุรกิจลงทุน USD 1 แบ่งเป็ น Offshore Incorporations Centre, หุน้ สำมัญจำนวน 1 หุน้ Road Town, Tortola, มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 British Virgin Islands เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ Room 2202-05, พัฒนำ ออกแบบ USD 11.7 ล้ำน แบ่งเป็ น Johnson Building, No.145 ผลิตและขำย หุน้ สำมัญจำนวน 11.7 ล้ำนหุน้ Pujian Road, Shanghai 200127, ผลิตภัณท์ซอฟแวร์ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 P.R.China เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ Tel. (86) 21 5889 0800 - 8049 Fax. (86) 21 5889 0800 - 8033 P.O.Box71, ธุรกิจลงทุน USD 1 แบ่งเป็ น Craigmuir Chambers, หุน้ สำมัญจำนวน 1 หุน้ Road Town, Tortola, มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ USD 1 British Vergin Island เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ 1 อำคำรฟอร์จูนทำวน์ ให้บริ กำร 15 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น ชั้น 14, 17 ถนนรัชดำภิเษก อินเทอร์เน็ต หุน้ สำมัญจำนวน 1.5 ล้ำนหุน้ แขวงดินแดง เขตดินแดง มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท กรุ งเทพฯ 10400 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ โทรศัพท์ (662) 641-1800 3199 อำคำรมำลีนนท์ทำวเวอร์ กีฬำและสันทนำ 50 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น ชั้น 28 ถนนพระรำม 4 กำร หุน้ สำมัญจำนวน 0.5 ล้ำนหุน้ แขวงคลองตัน เขตคลองเตย มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท กรุ งเทพฯ 10110 เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ โทรศัพท์ (662) 204-3333 โทรสำร (662) 204-1384 608-609 ชั้น 6 ประกอบกิจกำร 84.70 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น อำคำรสยำมดิสคัฟเวอรรี่ เกี่ยวกับเพลง หุน้ สำมัญจำนวน 1.1 ล้ำนหุน้ เลขที่ 989 ถนนพระรำม 1 มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 77 บำท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ กรุ งเทพฯ 10330 โทรศัพท์ (662) 207-6788 โทรสำร (662) 207-6789 ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

% กำรถือหุ้น 100.00

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 9

100.00

99.48

100.00

100.00

100.00

65.00

50.00

25.82


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท บริ ษทั ทรู จีเอส จำกัด

บริ ษทั เอ็นอีซี คอร์ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด

บริ ษทั ไทยสมำร์ทคำร์ด จำกัด

บริ ษทั ศูนย์ให้บริ กำรคงสิ ทธิ เลขหมำยโทรศัพท์ จำกัด

ส่วนที่ 1

สถำนทีต่ ้งั สำนักงำนใหญ่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสำร (662) 643-1651 159 อำคำรเสริ มมิตร ทำวเวอร์ ชั้น 2 และ 24 ซอยอโศก ถนนสุขมุ วิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนำ กรุ งเทพฯ 10110 191 อำคำรสี ลมคอมเพล็กซ์ ชั้น 27 ห้องเลขที่ 2 ถนนสี ลม แขวงสี ลม เขตบำงรัก กรุ งเทพฯ

598 ชั้นที่ 6 อำคำรคิวเฮ้ำส์ เพลินจิต ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ 10330

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชำระแล้ ว

% กำรถือหุ้น 45.00

จำหน่ำยสิ นค้ำ ผ่ำนสื่ อต่ำง ๆ

240 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 2.4 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

ผูผ้ ลิตอุปกรณ์ โทรคมนำคม

343 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 343,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 1,000 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

9.62

ศูนย์กลำง ให้บริ กำร กำรเคลียร์ริ่ง ของระบบ กำรจ่ำยเงินทำง อิเล็กทรอนิกส์ บริ กำรคงสิ ทธิ เลขหมำยตำมที่ กฎหมำยกำหนด

1,600 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 160 ล้ำนหุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 10 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

15.76

2 ล้ำนบำท แบ่งเป็ น หุน้ สำมัญจำนวน 20,000 หุน้ มูลค่ำที่ตรำไว้หุน้ ละ 100 บำท เรี ยกชำระเต็มมูลค่ำ

19.94

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(3) ข้อมูลทัว่ ไปของบุคคลอ้ำงอิง นำยทะเบียนหุน้ สำมัญ : บริ ษทั ศูนย์รับฝำกหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อำคำรตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดำภิเษก เขตคลองเตย กรุ งเทพมหำนคร 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800 โทรสำร (662) 359-1259 Call center (662) 229-2888 เว็บไซต์ http://www.tsd.co.th ผูส้ อบบัญชี

: นำยขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญำตเลขที่ 3445 บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮำส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จำกัด 179/74-80 บำงกอกซิ ต้ ีทำวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสำทรใต้ แขวงทุ่งมหำเมฆ เขตสำทร กรุ งเทพมหำนคร 10120 โทรศัพท์ (662) 286-9999, (662) 344-1000 โทรสำร (662) 286-5050

นำยทะเบียนหุ น้ กู/้ ผูแ้ ทนผูถ้ ือหุ ้นกู้

: ธนำคำรกรุ งศรี อยุธยำ จำกัด (มหำชน) 1222 ชั้น AA ถนนพระรำม 3 แขวงบำงโพงพำง เขตยำนนำวำ กรุ งเทพมหำนคร 10120 โทรศัพท์ (662) 296-2030, (662) 296-4494, (662) 296-5715, (662) 296-2988 (662) 296-2796, (662) 296-4788 โทรสำร (662) 683-1389, (662) 683-1298

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

6.2 ข้ อมูลสำคัญอืน่ 1. กำรได้ มำและจำหน่ ำยไปซึ่งสิ นทรัพย์ ทสี่ ำคัญ อันเนื่องมำจำกกำรเข้ ำทำธุรกรรมกับกองทุนรวมโครงสร้ ำงพืน้ ฐำน ที่ประชุมวิสำมัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 7 ตุลำคม 2556 ได้มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย เข้ำทำธุ รกรรมกับกองทุนรวมโครงสร้ ำงพื้นฐำน (“กองทุน”) เพื่อกำรระดมทุน (“ธุ รกรรมกองทุนรวมโครงสร้ำง พื้นฐำน”) โดยมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ (ก) ธุ รกรรมขำยทรัพย์สินและรำยได้ (ข) ธุ รกรรมเช่ำ ดำเนินกำร และบริ หำรจัดกำร และ (ค) ธุ รกรรมจองซื้ อหน่วยลงทุน และในเวลำต่อมำ เมื่อวันที่ 23 ธันวำคม 2556 สำนักงำน คณะกรรมกำรกำกับหลักทรั พย์และตลำดหลักทรั พย์ได้อนุ มตั ิ กำรจดทะเบียนกองทรัพย์สินตำมโครงกำร กองทุนรวมโครงสร้ำงพื้นฐำนโทรคมนำคม ทรู โกรท เป็ นกองทุนรวมโครงสร้ ำงพื้นฐำน มีชื่อว่ำ “กองทุน รวมโครงสร้ำงพื้นฐำนโทรคมนำคม ทรู โกรท” โดยกองทุนมีจำนวนหน่วยลงทุนที่เสนอขำยทั้งหมดจำนวน 5,808,000,000 หน่ วย รำคำเสนอขำยต่อหน่ วยและมูลค่ำที่ ตรำไว้ต่อหน่ วย คื อ 10.00 บำท และ จำนวนเงิ นทุนของ กองทุนที่ได้จำกกำรเสนอขำยหน่วยลงทุนทั้งหมดเท่ำกับ 58,080,000,000 บำท ทั้งนี้ หน่วยลงทุนได้เริ่ มทำกำรซื้ อขำย ในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 ธันวำคม 2556 ภำยใต้ชื่อย่อ “TRUEIF” ในกำรนี้ บริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย ได้เข้ำทำธุ รกรรมกองทุนรวมโครงสร้ ำงพื้นฐำน ตำมมติของ ที่ประชุมวิสำมัญผูถ้ ือหุ น้ ครั้งที่ 1/2556 ดังนี้ (1) ธุรกรรมขำยทรั พย์ สินและรำยได้ บริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วย บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จำกัด (“TUC”) บริ ษทั บีเอฟเคที จำกัด (“BFKT”) และ บริ ษทั เอเซี ย ไวร์ เลส คอมมิวนิ เคชั่น จำกัด (“AWC”) ได้เข้ำ ทำสัญญำโอนขำยทรั พย์สินและสิ ทธิ รำยได้ก ับ กองทุนแยกต่ำงหำกรำยละฉบับ โดยสัญญำแต่ละฉบับลงวันที่ 24 ธันวำคม 2556 เพื่อจำหน่ำยไป ซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินและสิ ทธิ ในกำรรับประโยชน์จำกรำยได้สุทธิ ดังต่อไปนี้ (1.1) กรรมสิ ทธิ์ ในเสำโทรคมนำคมจำนวน 6,000 เสำ และ โครงสร้ ำงพื้นฐำนโทรคมนำคมประเภท Passive อื่นที่เกี่ ยวข้องที่ใช้สำหรับกำรให้บริ กำรโทรศัพท์เคลื่ อนที่ ซึ่ งบริ ษทั ฯ จะส่ งมอบหรื อ ดำเนินกำรให้มีกำรส่ งมอบเสำโทรคมนำคมจำนวน 3,000 เสำ ภำยในวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2557 และ เสำโทรคมนำคมจำนวน 3,000 เสำ ภำยในวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 (1.2) กรรมสิ ทธิ์ ในระบบใยแก้วนำแสงหลัก (core fiber optic cable grid) (“ระบบ FOC หลัก”) อุปกรณ์ ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ ยวข้อง และ ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดของ TUC และ (1.3) สิ ท ธิ ใ นกำรรั บ ประโยชน์จำกรำยได้สุ ท ธิ (รวมถึ งเงิ นที่ ไ ด้รั บจำกกำรใช้สิ ทธิ เรี ย กร้ อ ง คำตัดสิ น คำพิพำกษำ คดีควำมที่ตดั สิ นให้แก่ BFKT และ AWC รวมทั้งกำรดำเนิ นกำรหรื อ สิ ทธิ อื่นใดซึ่ ง BFKT และ AWC มีสิทธิ ได้รับ ที่เกิดขึ้นจำก หรื อเกี่ยวกับรำยได้หรื อสัญญำ ซึ่ งก่อให้เกิ ดรำยได้ดงั กล่ำว ที่เกิ ดขึ้นตั้งแต่และรวมถึ งวันเริ่ มคำนวณรำยได้จนถึ งวันครบ ก ำหนดสั ญญำ HSPA ที่ เกิ ดจำกกำรให้เ ช่ ำ ทรั พ ย์สิ น โทรคมนำคมของ BFKT และ ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เสำโทรคมนำคมของ AWC (โดยไม่รวมถึงสิ ทธิ และเงินที่ได้รับจำกกำรใช้สิทธิ เรี ยกร้องที่ เกิดขึ้นจำก หรื อเกี่ยวกับรำยได้หรื อสัญญำซึ่ งก่อให้เกิดรำยได้ดงั กล่ำวซึ่ ง BFKT หรื อ AWC มีสิทธิ ได้รับก่อนหน้ำวันเริ่ มคำนวณรำยได้ ไม่วำ่ BFKT หรื อ AWC จะได้ดำเนินกำรใช้ สิ ท ธิ เรี ย กร้ องหรื อได้รับช ำระตำมสิ ทธิ หรื อ กำรใช้สิท ธิ เรี ยกร้ องดัง กล่ ำวก่ อนหน้ำหรื อ ภำยหลังวันเริ่ มคำนวณรำยได้ก็ตำม)) ดังต่อไปนี้ (1.3.1) เสำโทรคมนำคมจำนวนหนึ่งและโครงสร้ำงพื้นฐำนโทรคมนำคมประเภท Passive อื่นที่เกี่ยวข้อง (กล่ำวคือ เสำโทรคมนำคมของ BFKT และเสำโทรคมนำคมของ AWC) และ (1.3.2) ระบบใยแก้วนำแสง (กล่ำวคือ ระบบ fiber optic cable ของ BFKT และอุปกรณ์ ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ยวข้อง) รวมทั้งกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินดังกล่ำวจำนวนหนึ่ งของ BFKT และ AWC ภำยหลังจำก วันครบกำหนดสัญญำ HSPA ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2556 วันครบกำหนดสัญญำ HSPA คือ วันที่ 3 สิ งหำคม พ.ศ. 2568 โดยเป็ นวันที่สัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์วิทยุโทรคมนำคม เพื่อให้บริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ HSPA ลงวันที่ 27 มกรำคม พ.ศ. 2554 ระหว่ำง BFKT และ บริ ษทั กสท โทรคมนำคม จำกัด (มหำชน) (รวมทั้งที่แก้ไขเพิ่มเติม) จะครบกำหนด อำยุของสัญญำ อนึ่ง รำคำขำยของกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินและสิ ทธิ ในกำรรับประโยชน์จำกรำยได้สุทธิ ที่ขำยให้แก่ กองทุนเป็ นจำนวนรวมประมำณ 58,080 ล้ำนบำท (2) ธุ รกรรมเช่ ำ ด ำเนิ น กำร และ บริ หำรจั ด กำร บริ ษ ทั ย่อยของบริ ษ ทั ฯ ประกอบด้วย TUC และ บริ ษทั เรี ย ล ฟิ วเจอร์ จำกัด (“เรี ย ลฟิ วเจอร์ ” ) ได้เข้ำ ทำสัญญำเช่ ำ ดำเนิ นกำร บำรุ ง รั ก ษำ และ บริ หำรจัดกำรหลัก กับกองทุนแยกต่ำงหำกรำยละฉบับ โดยสัญญำแต่ละฉบับลงวันที่ 24 ธันวำคม 2556 เพื่อกำรเช่ำ ดำเนินกำร บำรุ งรักษำ และบริ หำรจัดกำร ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ (2.1) ทรัพย์สินที่เรี ยลฟิ วเจอร์ เช่ำ ดำเนินกำร บำรุ งรักษำ และบริ หำรจัดกำร ประกอบด้วย (2.1.1) พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม และ (2.1.2) ทรัพย์สินสิ่ งอำนวยควำมสะดวกประเภท Passive ที่เกี่ยวข้องกับเสำโทรคมนำคม บำงเสำ และ (2.2) ทรัพย์สินที่ TUC เช่ำ ดำเนินกำร บำรุ งรักษำ และบริ หำรจัดกำร ประกอบด้วย (2.2.1) ระบบ FOC หลัก ควำมยำวประมำณ 5,112 กิโลเมตร (2.2.2) อุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ยวข้องกับระบบ FOC หลัก

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(2.2.3) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Passive (สำหรับกำรใช้แต่เพียงผูเ้ ดียวของ TUC เว้นแต่ TUC ตกลงเป็ นอย่ำงอื่น หลังจำกระยะเวลำ 5 ปี แรก) และ (2.2.4) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active (สำหรับกำรใช้แต่เพียงผูเ้ ดียวของ TUC) (3) ธุ รกรรมจองซื้ อหน่ วยลงทุน บริ ษทั ฯ ได้เข้ำจองซื้ อและเป็ นผูถ้ ื อหน่ วยลงทุ นของกองทุ นจำนวน 1,930,601,000 หน่ วย ที่ รำคำ 10.00 บำทต่ อหน่ วย (หรื อจำนวนรวมเท่ำกับ 19,306.01 ล้ำนบำท) คิ ดเป็ นอัตรำส่ วนร้ อยละ 33.24 ของจ ำนวนหน่ วยลงทุ นที่ จ ำหน่ ำ ยได้ท้ งั หมดของกองทุ นใน กำรเสนอขำยครั้งแรก นอกจำกนี้ บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วย เรี ยลฟิ วเจอร์ และบริ ษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จำกัด ยังได้เข้ำทำสัญญำต่ำงๆ ที่เกี่ ยวข้องหรื อเกี่ยวเนื่ องกับกำรทำธุ รกรรมกองทุนรวม โครงสร้ำงพื้นฐำน โดยเป็ นกำรดำเนิ นกำรที่สอดคล้องกับสัญญำและข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับธุ รกรรมกองทุนรวม โครงสร้ำงพื้นฐำนตำมที่ระบุขำ้ งต้น 2. สรุ ปสำระสำคัญของสั ญญำที่เกีย่ วกับกำรประกอบธุรกิจของกลุ่มทรู (1) สั ญญำร่ วมกำรงำนฯ ระหว่ ำง ทีโอที (องค์ กำรโทรศั พ ท์ แห่ งประเทศไทย ในขณะนั้น ) และ บริ ษัทฯ (บริษัท ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชั่ น จำกัด ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 2 สิ งหำคม 2534 และแก้ ไขเมื่อวันที่ 8 กันยำยน 2538 โดยสั ญญำร่ วมกำรงำนฯ มีกำหนดเวลำ 25 ปี นับแต่ วันที่ 31 ธันวำคม 2535 หรือวันที่ ทีโอที ได้ รับมอบอุปกรณ์ ในระบบงวดแรกจำกบริ ษัทฯ (วันที่ 29 ตุ ลำคม 2535) แล้ วแต่ วันใดจะถึงกำหนดก่ อน (วันที่ 29 ตุลำคม 2535 - วันที่ 29 ตุลำคม 2560) สัญญำร่ วมกำรงำนฯ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อ ขยำยบริ กำรโทรศัพท์พ้ืนฐำนในพื้นที่เขตโทรศัพท์ นครหลวงจำนวน 2 ล้ำน และ 6 แสนเลขหมำย (เป็ นไปตำมลำดับของสัญญำร่ วมกำรงำนฯ ข้ำงต้น) โดย ลักษณะของสัญญำร่ วมกำรงำนฯ เป็ นลักษณะของ Build-Transfer-Operate (BTO) โดย บริ ษทั ฯ มีหน้ำที่ จัดหำและโอนกรรมสิ ทธิ์ ของอุปกรณ์ในระบบให้แก่ ทีโอที โดยอุปกรณ์ในระบบ ตำมสัญญำร่ วมกำรงำนฯ ได้ระบุไว้ในนิยำมศัพท์ สัญญำข้อ 1 “อุปกรณ์ในระบบ” ซึ่ งหมำยถึง อุปกรณ์ต่ำง ๆ ในโครงข่ำยที่ประกอบ เข้ำเป็ นระบบโทรคมนำคมและอุปกรณ์ อื่นใดที่นำมำใช้ร่วมในระบบ อำทิ อุปกรณ์ เครื่ องชุ มสำย โครงข่ำย ตอนนอก โครงข่ำยต่อผ่ำนท้องถิ่ นที่บริ ษทั จะจัดหำและโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้ ทศท ซึ่ งบริ ษทั ฯ ต้องส่ งมอบ อุปกรณ์ในระบบที่ติดตั้งแล้วเสร็ จให้แก่ ทีโอที และให้อุปกรณ์ ในระบบดังกล่ำวตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที ทันที และตลอดระยะเวลำตำมสัญญำนี้ บริ ษทั ฯ ต้องบำรุ งรักษำอุปกรณ์ในระบบที่ยกให้เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที ให้อยูใ่ นสภำพใช้งำนได้ดีตลอดเวลำในระดับที่ไม่ต่ำกว่ำมำตรฐำนที่ ทีโอที ใช้อยูใ่ นโครงข่ำย ทีโอที

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

จำกกำรทำสัญญำร่ วมกำรงำนฯ ดังกล่ำว บริ ษทั ฯ มีสิทธิ ดังนี้ - สิ ทธิที่จะใช้ ครอบครอง และบำรุ งรักษำอุปกรณ์ในระบบ ที่ดิน อำคำร และทรัพย์สินอื่นใด ที่บริ ษทั ฯ ได้จดั หำมำและโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่ ทีโอที หรื อโอนสิ ทธิ กำรเช่ำให้แก่ ทีโอที แล้วแต่กรณี สิ ทธิ ในกำรแสวงหำประโยชน์จำกอุปกรณ์ในระบบ ที่ดิน อำคำรและทรัพย์สิน อื่นใดตำมสัญญำ - สิ ทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ตำมที่ บริ ษทั ฯ จะได้ทำควำมตกลงกับ ทีโอที กรณี บุคคลอื่น นำบริ กำรพิเศษมำผ่ำนโครงข่ำยบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ตำมที่ บริ ษทั ฯ จะได้ทำควำมตกลงกับ ทีโอที กรณี ทีโอที นำบริ กำรพิเศษมำใช้ผำ่ นโครงข่ำยบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ที่จะได้รับค่ำเสี ยหำย หรื อ ค่ำชดเชย กรณี ทีโอที ตัดทอนสิ ทธิ ของบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ที่สำมำรถใช้ที่ดิน อำคำร และวัสดุอุปกรณ์ต่ำง ๆ ของ ทีโอที เท่ำที่ ทีโอที จะพิจำรณำ อนุญำตโดยไม่เสี ยค่ำใช้จ่ำย จำกกำรดำเนิ นกำรตำมสัญญำร่ วมกำรงำนฯ นั้น ทีโอที จะเป็ นผูด้ ำเนิ นกำรเก็บเงิ นจำกผูเ้ ช่ ำ (ผูใ้ ช้บริ กำร) โดยเงินค่ำบริ กำรในส่ วนของโทรศัพท์ 2 ล้ำนเลขหมำย ทีโอที จะแบ่งรำยได้ที่ได้รับจริ งก่อน หักค่ำใช้จ่ำยให้บริ ษทั ฯ ในอัตรำร้อยละ 84 และ เงินค่ำบริ กำรในส่ วนของโทรศัพท์ 6 แสนเลขหมำย ทีโอที จะแบ่งรำยได้ที่ได้รับจริ งก่อนหักค่ำใช้จ่ำยให้บริ ษทั ฯ ในอัตรำร้อยละ 79 สิ ทธิ ในกำรบอกเลิกสัญญำร่ วมกำรงำนฯ - ทีโอที มีสิทธิ บอกเลิกสัญญำในกรณี ต่อไปนี้ โดยก่อนใช้สิทธิ บอกเลิกนี้ หำกเป็ นกรณี ที่ไม่ สำมำรถแก้ไขได้ ทีโอที จะมีหนังสื อถึงบริ ษทั ฯ ล่วงหน้ำไม่นอ้ ยกว่ำ 1 เดือน แต่หำกเป็ นกรณี ที่แก้ไขได้ ทีโอที จะมีหนังสื อบอกกล่ำวมำที่บริ ษทั ฯ ให้ปฏิ บตั ิให้ถูกต้อง หรื อปรับปรุ งภำยในเวลำที่ ทีโอที กำหนด แต่ตอ้ ง ไม่นอ้ ยกว่ำ 6 เดือน หำกบริ ษทั ฯ ไม่สำมำรถปรับปรุ งได้ในเวลำ ทีโอที มีสิทธิ บอกเลิกได้  บริ ษท ั ฯ ทำผิดกฎหมำยเกี่ยวกับกำรป้ องกันภัยพิบตั ิสำธำรณะ หรื อควำมมัน่ คงของรัฐ  บริ ษท ั ฯ ถูกศำลมีคำสั่งพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขำดในคดีลม้ ละลำย  บริ ษท ั ฯ จงใจผิดสัญญำในสำระสำคัญอย่ำงต่อเนื่อง - บริ ษทั ฯ ไม่มีสิทธิ เลิ กสัญญำ เว้นแต่กรณี ต่อไปนี้ โดยก่อนใช้สิทธิ บอกเลิกสัญญำ บริ ษทั ฯ ต้องมีหนังสื อบอกกล่ำว ทีโอที ให้ทำกำรแก้ไขหรื อปฏิบตั ิให้ถูกต้อง ภำยในเวลำที่บริ ษทั ฯ กำหนด แต่ตอ้ ง ไม่นอ้ ยกว่ำ 6 เดือน หำก ทีโอที ไม่สำมำรถปรับปรุ งหรื อแก้ไข บริ ษทั ฯ จะแจ้งเป็ นหนังสื อบอกเลิกไปยัง ทีโอที  ทีโอที จงใจผิดสัญญำในสำระสำคัญอย่ำงต่อเนื่ อง จนเป็ นเหตุให้บริ ษท ั ฯ ไม่อำจปฏิบตั ิ ตำมสัญญำได้  รั ฐ บำล หน่ ว ยงำนของรั ฐ หรื อ ที โ อที ยกเลิ ก สิ ท ธิ ห รื อ ด ำเนิ น กำรอย่ำ งใดเป็ นเหตุ ใ ห้ บริ ษทั ฯ เสื่ อมสิ ทธิ มีผลกระทบกระเทือนต่อกำรดำเนิ นงำนของบริ ษทั ฯ อย่ำงมำก จน ไม่สำมำรถประกอบกิจกำรตำมสัญญำได้  บริ ษท ั ฯ ไม่ได้รับเงินส่ วนแบ่งที่เกี่ยวข้องหรื อเงินอื่นใดตำมที่ระบุในสัญญำ

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(2) สั ญญำอนุ ญำตให้ ดำเนิ นกิจกำรให้ บ ริ กำรให้ เช่ ำวงจรสื่ อ สั ญญำณควำมเร็ วสู งผ่ ำ นโครงข่ ำ ย มัลติมีเดีย ระหว่ำง ทีโอที (องค์ กำรโทรศัพท์แห่ งประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู มัลติมีเดีย (บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จำกัด ในขณะนั้น) (“สั ญญำฯ”) สั ญญำฯ นี้ทำเมื่อวันที่ 20 ตุลำคม 2540 โดยมีกำหนดเวลำ 20 ปี โดยเริ่มนับตั้งแต่ วนั ทีล่ งนำมในสั ญญำฯ สัญญำฯ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ ดำเนิ นกิจกำรให้บริ กำรให้เช่ำวงจรสื่ อสัญญำณควำมเร็ วสู งทั้งระบบ Digital และ Analog เพื่อให้บริ กำรแก่ผใู ้ ช้บริ กำรทัว่ ไป และผูม้ ีสิทธิ และ/หรื อ ได้รับสิ ทธิ เป็ นผูด้ ำเนิ นกำร ให้บริ กำรผ่ำนโครงข่ำยมัลติ มีเดี ย โดยลักษณะของสัญญำฯ เป็ นลักษณะของ Build-Transfer-Operate (BTO) โดย ทรู มัลติมีเดีย มีหน้ำที่ ต้องโอนกรรมสิ ทธิ์ ในเครื่ องมือและอุปกรณ์ในระบบที่ทรู มัลติมีเดีย ติดตั้งเพิ่มเติม ขึ้นจำกโครงข่ำยมัลติมีเดียที่ใช้ในกำรให้บริ กำรตำมสัญญำให้ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที และ ทรู มัลติมีเดีย ต้องทำกำรบำรุ งรักษำบรรดำเครื่ องมือและอุปกรณ์ในระบบซึ่ งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที ให้อยูใ่ นสภำพใช้งำน ได้ดีตลอดเวลำ หำกอุปกรณ์ หรื อชิ้ นส่ วนใดสู ญหำยหรื อเสี ยหำยจนใช้กำรไม่ได้ ทรู มัลติมีเดี ย ต้องจัดหำมำ เปลี่ ยนทดแทนหรื อซ่ อมแซมให้อยู่ในสภำพใช้กำรได้ดี ในกำรดำเนิ นกำรตำมสัญญำฯ นี้ ทรู มัลติมีเดี ย ได้ จัดสรรหุน้ ของทรู มัลติมีเดีย จำนวน 18,525,000 หุ น้ ให้แก่ ทีโอที โดย ทีโอที ไม่ตอ้ งชำระค่ำหุ น้ ดังกล่ำว จำกกำรทำสัญญำฯ ทรู มัลติมีเดีย มีสิทธิ ดังนี้ - สิ ทธิ แต่เพียงผูเ้ ดียวในกำรครอบครองทรัพย์สินที่ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ ทีโอที - สิ ทธิ ใช้พ้นื ที่ภำยในอำคำรของ ทีโอที ที่จะทำกำรติดตั้งระบบวงจรควำมเร็ วสู ง - สิ ทธิ เช่ำโครงข่ำยของ ทีโอที ตำมอัตรำที่ ทีโอที กำหนดเพื่อนำไปให้บริ กำร - สิ ทธิ ในกำรเชื่อมต่อโครงข่ำยเข้ำกับชุมสำยและโครงข่ำยโทรคมนำคมของ ทีโอที สิ ทธิในกำรบอกเลิกสัญญำฯ ตำมสัญญำฯ ทีโอที มีสิทธิ บอกเลิกสัญญำฯ ได้ หำกทรู มัลติมีเดีย ไม่สำมำรถดำเนินกิจกำรงำนตำมสัญญำนี้ตำมปกติธุระ หรื อปฏิบตั ิผดิ สัญญำข้อหนึ่งข้อใด (3) สั ญ ญำร่ วมด ำเนิ น กิ จ กำรให้ บ ริ ก ำรโทรทั ศ น์ ท ำงสำยระบบบอกรั บ เป็ นสมำชิ ก ระหว่ ำ ง อสมท (องค์ กำรสื่ อสำรมวลชนแห่ งประเทศไทย ในขณะนั้น ) และ ทรู วิชั่นส์ เคเบิล้ (บริษัท ไทยเคเบิล้ วิชั่น จำกัด (มหำชน) ในขณะนั้น) โดยมีระยะเวลำ 25 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกรำคม 2538 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2562 และมี ก ำรแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ครั้ งที่ 1 เมื่ อ วั น ที่ 7 กั น ยำยน 2537 มี ก ำรแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ครั้ งที่ 2 เมื่ อ วั น ที่ 9 พฤศจิกำยน 2537 แก้ ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 17 เมษำยน 2541 และ แก้ ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 8 ตุลำคม 2552 และ ข้ อตกลงระหว่ ำง อสมท และ ทรู วิชั่นส์ เคเบิล้ เมื่อวันที่ 8 ตุลำคม 2552 โดยสัญญำนี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อร่ วมดำเนิ นกิ จกำรให้บริ กำรโทรทัศน์ทำงสำยระบบบอกรับเป็ น สมำชิก โดย ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล มีสิทธิ ในกำรดำเนินกิจกำรให้บริ กำรโทรทัศน์ทำงสำยระบบบอกรับเป็ นสมำชิก

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โดย ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล มีหน้ำที่ตอ้ งปฏิบตั ิตำมสัญญำ โดยต้องส่ งมอบ ทรั พย์สินทั้งหมดรวมทั้ง ส่ งมอบอุปกรณ์เครื่ องรับทั้งหมด ให้ อสมท ได้แก่ อุปกรณ์กำรขนส่ ง ได้แก่ อุปกรณ์ Headend, อุปกรณ์ห้องส่ ง ต้องมอบให้แก่ อสมท ภำยใน 1 มกรำคม 2538 ไม่ต่ำกว่ำ 50 ล้ำนบำท และต้องส่ งมอบให้แก่ อสมท ภำยใน 5 ปี นับจำกวันที่ ท ำสัญญำแก้ไขเพิ่ มเติ มครั้ งที่ 2 (9 พฤศจิ กำยน 2537) มี มู ลค่ ำไม่ น้อยกว่ำ 120 ล้ำนบำท และ อุปกรณ์ กำรรับ ได้แก่ ระบบ Set Top Converter ของสมำชิ ก ต้องส่ งมอบให้เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ อสมท เมื่อ สิ้ นสุ ดสัญญำลง โดย ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล เป็ นผูต้ อ้ งลงทุนทั้งหมดเพื่อใช้ในดำเนิ นกิจกำรไม่นอ้ ยกว่ำ 100 ล้ำนบำท เป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดหำเครื่ องมืออุปกรณ์ ต่ำง ๆ และ หน้ำที่ในกำรบำรุ งรักษำอุปกรณ์ และเครื่ องมื อ ให้อยู่ ในสภำพใช้งำนได้ตลอดเวลำ ซึ่ งในกำรดำเนิ นกำรตำมสัญญำนี้ ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ตกลงจ่ำยค่ำตอบแทนในกำร เข้ำร่ วมดำเนินกิจกำรเป็ นเงินร้อยละ 6.5 ของรำยได้ท้ งั หมดแต่ละปี ก่อนหักค่ำใช้จ่ำยใด ๆ สิ ทธิ ในกำรบอกเลิกสัญญำ ตำมสัญญำกำหนดว่ำ หำกทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ไม่ปฏิบตั ิตำมสัญญำใน ข้อหนึ่งข้อใด อสมท จะแจ้งเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้ปฏิบตั ิตำมสัญญำให้ถูกต้องในเวลำอันสมควร หำกทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ไม่ยอมปฏิ บตั ิให้ถูกต้องในเวลำ ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ต้องแจ้งเหตุผลเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้ อสมท ทรำบ เมื่อ อสมท พิจำรณำคำชี้ แจงแล้ว จะแจ้งให้ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ทรำบและปฏิบตั ิให้ถูกต้องในกำหนดเวลำอันควร อีกครั้ง หำกทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล ไม่ปฏิ บตั ิให้ถูกต้องในกำหนดครั้งนี้ อสมท มีสิทธิ เรี ยกค่ำเสี ยหำย หรื อให้งด ให้บริ กำร และ/หรื อมีสิทธิบอกเลิกสัญญำได้ทนั ที และในกรณี ถำ้ มติ ครม. เป็ นว่ำมีควำมจำเป็ นเพื่อควำมมัน่ คง ของรั ฐ อสมท มี สิทธิ บอกเลิ กสัญญำทั้งหมดหรื อบำงส่ วนได้โดยแจ้งให้ทรู วิชั่นส์ เคเบิ้ลทรำบล่ วงหน้ำ ไม่นอ้ ยกว่ำ 180 วัน (4) สั ญญำร่ วมดำเนินกิจกำรให้ บริกำรโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็ นสมำชิ ก ระหว่ ำง อสมท (องค์ กำร สื่ อสำรมวลชนแห่ งประเทศไทย ในขณะนั้น) และ ทรู วิชั่นส์ ( บริษัท อินเตอร์ เนชั่ นแนล บรอดคำสติง้ คอร์ ปอร์ เรชั่ น จ ำกัด (มหำชน) ในขณะนั้ น ) โดยมีระยะเวลำ 25 ปี นั บ ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุ ล ำคม 2532 ถึง วัน ที่ 30 กันยำยน 2557 และมีกำรแก้ ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 19 พฤษภำคม 2537 และ แก้ ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 17 เมษำยน 2541 แก้ ไขเพิ่มเติมครั้ งที่ 3 เมื่อวันที่ 8 ตุลำคม 2552 และ บันทึกข้ อตกลงระหว่ ำง อสมท และ ทรู วิชั่นส์ เมื่อวันที่ 8 ตุลำคม 2552 โดยสัญญำนี้มีวตั ถุประสงค์ เพื่อร่ วมดำเนินกิจกำรให้บริ กำรโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมำชิ ก และทรู วิชนั่ ส์ ได้สิทธิ ในกำรดำเนินกิจกำรให้บริ กำรโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมำชิ ก โดยมีหน้ำที่ในกำร ต้องลงทุนทั้งหมดเพื่อใช้ในกำรดำเนิ นกิ จกำรไม่น้อยกว่ำ 50 ล้ำนบำท เป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดหำเครื่ องมือ อุปกรณ์ ต่ำง ๆ และต้องส่ งมอบทรัพย์สินทั้งหมดรวมทั้งส่ งมอบอุปกรณ์ เครื่ องรับทั้งหมด ให้ อสมท ได้แก่ อุ ปกรณ์ กำรส่ ง ได้แก่ อุ ปกรณ์ เครื่ องส่ ง อุ ปกรณ์ ห้องส่ ง และสำยอำกำศภำคส่ ง เพื่อดำเนิ นกำรในระบบ MMDS โดยส่ งมอบให้ อสมท ภำยใน 180 วัน นับตั้งแต่วนั ทำสัญญำ (วันที่ 17 เมษำยน 2532) โดยมีมูลค่ำ รวมไม่ต่ำกว่ำ 50 ล้ำนบำท และต้องส่ งมอบอุปกรณ์จำกกำรขยำยบริ กำรตำมสัญญำแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ให้ อสมท ภำยใน 3 ปี นับจำกวันทำสัญญำ (วันที่ 19 พฤษภำคม 2537) มีมูลค่ำรวมไม่นอ้ ยกว่ำ 120 ล้ำนบำท ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

และ อุปกรณ์เครื่ องรับ ได้แก่ ระบบสำยอำกำศของสมำชิ ก (Down Converter) รวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันไม่ให้ ผูอ้ ื่ นที่ มิใช่ สมำชิ กรั บสัญญำณได้ ต้องส่ งมอบให้เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของ อสมท เมื่ อสัญญำสิ้ นสุ ดลง รวมทั้ง หน้ำที่ในกำรโอนสิ ทธิ์ ในคลื่นควำมถี่ 2507 - 2517 MHz และ 2521 - 2528 MHz ที่ได้รับจำกคณะกรรมกำร ประสำนงำนและบริ หำรควำมถี่วิทยุแห่ งชำติ และอีก 1 คลื่นควำมถี่ที่ได้รับจำกคณะกรรมกำรประสำนงำน กำรจัดและบริ หำรคลื่นควำมถี่ให้ อสมท ภำยใน 180 วัน (นับแต่วนั ที่ 17 เมษำยน 2532) ซึ่งในกำรดำเนินกำร ตำมสัญญำนี้ ทรู วิชนั่ ส์ ตกลงจ่ำยค่ำตอบแทนในกำรเข้ำร่ วมดำเนิ นกิ จกำรเป็ นเงิ นร้ อยละ 6.5 ของรำยได้ ทั้งหมดแต่ละปี ก่อนหักค่ำใช้จ่ำยใด ๆ สิ ทธิ ในกำรบอกเลิกสัญญำตำมสัญญำกำหนดว่ำหำก ทรู วิชนั่ ส์ ไม่ปฏิบตั ิตำมสัญญำในข้อหนึ่งข้อใด อสมท จะแจ้งเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้ปฏิบตั ิตำมสัญญำให้ถูกต้องในเวลำอันสมควร หำกทรู วิชนั่ ส์ ไม่ยอมปฏิบตั ิ ให้ถูกต้องในเวลำ ทรู วิชนั่ ส์ ต้องแจ้งเหตุผลเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรให้ อสมท ทรำบ เมื่อ อสมท พิจำรณำคำชี้ แจงแล้ว จะแจ้งให้ทรู วิชนั่ ส์ ทรำบและปฏิบตั ิให้ถูกต้องในกำหนดเวลำอันควรอีกครั้ง หำกทรู วชิ นั่ ส์ ไม่ปฏิบตั ิให้ถูกต้องใน กำหนดครั้ งนี้ อสมท มีสิทธิ เรี ยกค่ำเสี ยหำย หรื อให้งดให้บริ กำร และ/หรื อมีสิทธิ บอกเลิ กสัญญำได้ทนั ที และ ในกรณี ถำ้ มติ ครม. เห็นว่ำมีควำมจำเป็ นเพื่อควำมมัน่ คงของรัฐ อสมท มีสิทธิ บอกเลิ กสัญญำทั้งหมดหรื อบำงส่ วนได้ โดยแจ้งให้ทรู วชิ นั่ ส์ ทรำบล่วงหน้ำไม่นอ้ ยกว่ำ 180 วัน (5) สั ญญำเช่ ำเครื่ องและอุปกรณ์ วิทยุคมนำคมเพื่อให้ บริ กำรโทรศั พ ท์ เคลื่อ นที่ในระบบ HSPA (“สั ญญำเช่ ำเครื่ องและอุปกรณ์ ฯ”) ระหว่ ำง CAT Telecom ในฐำนะผู้เช่ ำ และบีเอฟเคทีในฐำนะผู้ให้ เช่ ำ เมื่อวันที่ 27 มกรำคม 2554 โดยมีกำหนดระยะเวลำ 14.5 ปี (วันที่ 27 มกรำคม 2554 – วันที่ 3 สิ งหำคม 2568) และบันทึกข้ อตกลงแนบท้ำยสั ญญำฉบับลงวันที่ 27 มกรำคม 2554 และฉบับลงวันที่ 17 กุมภำพันธ์ 2554 โดยสัญญำเช่ ำเครื่ องและอุ ปกรณ์ ฯ นี้ มี วตั ถุ ประสงค์เพื่อให้ CAT Telecom เช่ ำเครื่ องและ อุปกรณ์ระบบ HSPA ทัว่ ประเทศที่จะมีกำรติดตั้งบนโครงข่ำยของ CAT Telecom และ เสำโทรคมนำคมของ ทั้งในส่ วนกลำงและภูมิ ภำคของบี เอฟเคที และ บี เอฟเคที ตกลงให้เช่ ำ และตกลงรั บ ดำเนิ นกำร เปลี่ ย น ซ่ อมแซม และบำรุ งรักษำ เครื่ องและอุปกรณ์ HSPA ที่ให้เช่ ำทัว่ ประเทศ เป็ นระยะเวลำประมำณ 14.5 ปี (ตำมระยะเวลำของใบอนุ ญำตประกอบกิจกำรโทรคมนำคมแบบที่สำมของ CAT Telecom) โดย บีเอฟเคที ได้รับค่ำเช่ำในอุปกรณ์เป็ นกำรตอบแทนโดยคำนวณจำกจำนวนสถำนี ฐำนที่นำออกให้บริ กำรเชิ งพำณิ ชย์ ซึ่ ง มีกำรคำนวณค่ำเช่ำตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรคำนวณค่ำเช่ำที่กำหนดในสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ และ เรี ยกเก็บจำก CAT Telecom ทั้งนี้ บีเอฟเคที หรื อ CAT Telecom อำจขอปรับหรื อเปลี่ยนแปลงค่ำเช่ำได้เป็ น ครั้งครำว ตำมเงื่อนไขที่กำหนดในสัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(6) สั ญญำบริ กำรขำยส่ งบริ กำรโครงข่ ำยโทรศัพท์ เคลื่อนที่ (HSPA) (“สั ญญำขำยส่ งบริ กำรฯ”) ระหว่ ำง CAT Telecom ในฐำนะผู้ให้ บริ กำรขำยส่ ง และ เรี ยลมูฟ ในฐำนะผู้ให้ บริ กำรขำยต่ อบริ กำร โดยมี กำหนดระยะเวลำ 14.5 ปี (วันที่ 27 มกรำคม 2554 – วันที่ 3 สิ งหำคม 2568) และบันทึกข้ อตกลงแนบท้ ำย สั ญญำฉบับลงวันที่ 27 มกรำคม 2554 และฉบับลงวันที่ 17 กุมภำพันธ์ 2554 โดยสั ญ ญำขำยส่ ง บริ ก ำรฯ นี้ เป็ นสั ญ ญำขำยส่ ง บริ ก ำรโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ ตำมประกำศ คณะกรรมกำร กทช. เรื่ อง กำรประกอบกิ จกำรโทรคมนำคมประเภทกำรขำยส่ งบริ กำรและบริ กำรขำยต่อ บริ กำร ฉบับประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่มที่ 123 ตอนพิเศษ 136 ง วันที่ 29 ธันวำคม 2549 และตำมที่จะ ได้มีกำรแก้ไขเพิ่มเติมเป็ นครำว ๆ ไป รวมทั้งประกำศอื่นของหน่ วยงำนกำกับดูแลที่จะออกในอนำคตใน เรื่ องกำรขำยต่อบริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยในกำรขำยส่ งบริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่ดงั กล่ำว CAT Telecom ตกลงขำยส่ งบริ กำรโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้แก่ เรี ยลมูฟ หรื อผูป้ ระกอบกิจกำรขำยต่อบริ กำรที่ได้รับอนุญำตจำก คณะกรรมกำร กสทช. โดย เรี ยลมูฟ ตกลงรับซื้ อ บริ กำรและควำมจุ (Capacity) ร้อยละ 80 ของควำมจุใน โครงข่ำยโทรศัพท์เคลื่ อนที่ HSPA ของ CAT Telecom ทั้งหมด หรื อเท่ำกับจำนวนผูใ้ ช้บริ กำรจำลอง ประมำณ 13.3 ล้ำนรำย ภำยในวันที่ 31 ธันวำคม 2555 เพื่อให้บริ กำรขำยต่อบริ กำรโทรศัพท์เคลื่ อนที่แก่ ประชำชนในฐำนะผู ้ป ระกอบกิ จ กำรโทรคมนำคมขำยต่ อ บริ กำรโทรศัพ ท์ เ คลื่ อ นที่ บ นโครงข่ ำ ย โทรศัพ ท์เ คลื่ อนที่ ร ะบบ HSPA ทั้ง นี้ เงื่ อ นไขของสั ญ ญำขำยส่ ง บริ ก ำรฯ จะเป็ นเงื่ อ นไขสั ญ ญำที่ เ ป็ น มำตรฐำนและใช้กบั ผูป้ ระกอบกำรขำยต่อทุกรำยตำมเงื่อนไขที่ CAT Telecom กำหนด โดย CAT Telecom มีสิทธินำ Capacity ที่เหลือไปขำยต่อแก่ผปู้ ระกอบกิจกำรขำยต่อบริ กำรรำยอื่นได้ นอกจำกนี้ CAT Telecom จะสอบถำมควำมต้องกำรซื้ อควำมจุเพิ่มเติมของ เรี ยลมูฟ หรื อผูป้ ระกอบกิจกำรขำยต่อบริ กำรรำยอื่นในทุก ๆ ปี เพื่อประกอบกำรพิจำรณำขยำยควำมจุโครงข่ำยในปี ต่อ ๆ ไป (7)

สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้

(7.1) สั ญญำโอนขำยทรั พย์ สินและสิ ทธิรำยได้ ระหว่ ำงบีเอฟเคทีในฐำนะผู้ขำย และกองทุนรวม โครงสร้ ำงพืน้ ฐำนโทรคมนำคม ทรู โกรท (“กองทุน”) ในฐำนะผู้ซื้อ (“สั ญญำโอนขำยทรัพย์ สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT”) มีระยะเวลำ 12 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 24 ธันวำคม 2556 - วันที่ 3 สิ งหำคม 2568 โดยสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อขำยและโอน รำยได้ที่คำดว่ำจะได้รับของ BFKT จำก (ก) ค่ำเช่ ำทรัพย์สินโทรคมนำคมของ BFKT ซึ่ งประกอบไปด้วยเสำโทรคมนำคม จำนวน 1,485 เสำและระบบ FOC รวมทั้งอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณรวม 9,169 links ตำมสัญญำเช่ำเครื่ อง และอุปกรณ์ฯ (รวมถึงสิ ทธิ เรี ยกร้อง และสิ ทธิ อื่นทั้งหมดที่เกิดจำกรำยได้ดงั กล่ำวตำมที่ระบุไว้ในสัญญำโอน ขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT) นับแต่วนั เริ่ มคำนวณรำยได้ (1 ตุลำคม 2556) จนถึงวันครบกำหนด สัญญำ และ ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(ข) ค่ำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ BFKT จำนวนไม่เกิน 50 เสำ (“ทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ”) นับแต่วนั ถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำหรื อวันที่สัญญำเช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ ถูกยกเลิ กก่อนครบกำหนด ระยะเวลำหรื อครบกำหนดระยะเวลำที่ได้มีกำรขยำย (“วันยกเลิกสัญญำเช่ ำเครื่ องและอุปกรณ์ ฯ”) แล้วแต่ กรณี ใดจะเกิ ดขึ้นก่อน จนถึงวันครบรอบ 10 ปี นับแต่วนั ถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำหรื อวันยกเลิกสัญญำ เช่ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ ดังกล่ำว ในแต่ละกรณี หกั ด้วยต้นทุนและค่ำใช้จ่ำยบำงส่ วนสำหรับกำรดำเนิ นงำนและซ่ อมบำรุ ง เงินค่ำเช่ำตำมสัญญำเช่ำที่ดิน (รวมถึงภำษีโรงเรื อน) และเบี้ยประกันภัย และค่ำใช้จ่ำยในกำรให้ได้มำซึ่ งสิ ทธิ แห่ งทำง (“ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ BFKT”) โดยต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ BFKT จะมีกำรปรับอัตรำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) (รวมเรี ยกว่ำ “รำยได้สุทธิ ของ BFKT”) ให้แก่กองทุน และกองทุนจะต้องซื้ อและรับโอน รำยได้สุทธิ ของ BFKT ในวันที่ ทำกำรซื้ อขำยเสร็ จสิ้ นที่ กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT (“วันที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ BFKT เสร็ จสิ้ น”) นอกจำกนี้ BFKT ตกลงให้สิทธิ โดยเพิกถอนมิได้แก่กองทุนในกำรซื้ อทรัพย์สินโทรคมนำคม ของ BFKT บำงส่ วน (“ทรัพย์สิน BFKT หลัก”) ในรำคำ 10 ล้ำนบำท (“รำคำใช้สิทธิ ”) ซึ่ งกองทุนสำมำรถใช้สิทธิ ได้ในวันครบก ำหนดสั ญญำหรื อวันยกเลิ กสัญญำเช่ ำเครื่ องและอุ ปกรณ์ ฯ แล้วแต่กรณี (“สิ ทธิ ในกำรซื้ อ”) ทรัพย์สิน BFKT หลัก ณ วันที่ของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT ประกอบด้วยเสำโทรคมนำคม จำนวน 1,435 เสำ และระบบ FOC และอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณจำนวน 9,169 links โดยควำมยำวของระบบ FOC อยูท่ ี่ 47,250 กิโลเมตร เมื่อกองทุนใช้สิทธิ ในกำรซื้ อและชำระรำคำใช้สิทธิ แล้ว หำกมีทรัพย์สิน BFKT หลักส่ วนใด ที่ยงั ไม่สำมำรถโอนและส่ งมอบให้แก่กองทุนได้ในวันที่กำหนดไว้ให้เป็ นวันที่ทำกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน BFKT หลัก (“วันโอนทรัพย์สิน BFKT หลัก”) BFKT จะชำระเงินให้กองทุนเป็ นมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของ ทรัพย์สิน BFKT หลักส่ วนดังกล่ำว เมื่อ BFKT ชำระมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ดังกล่ำวจนครบถ้วนแล้ว BFKT จะหมดภำระผูกพันต่อกองทุนในกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน BFKT หลักส่ วนดังกล่ำว มูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน BFKT หลักที่เกี่ยวข้อง คือ จำนวนที่เท่ำกับ 18 เท่ำของรำยได้ค่ำเช่ำ BFKT รำยเดือนสำหรับ ระยะเวลำ 12 เดือนก่อนหน้ำเดือนที่มีวนั โอนทรัพย์สิน BFKT หลัก (“มูลค่ำสุ ดท้ำยของ BFKT”) ในส่ วนของทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลื อนั้น ในหรื อก่อนวันครบกำหนดสัญญำหรื อ วันยกเลิ กสัญญำเช่ ำเครื่ องและอุปกรณ์ ฯ แล้วแต่กรณี BFKT จะเข้ำทำสัญญำเช่ ำกับนิ ติบุคคลในกลุ่มทรู เพื่อให้เช่ำพื้นที่ (slots) หนึ่ งพื้นที่บนเสำโทรคมนำคมของ BFKT ซึ่ งเป็ นทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลื อ (“สัญญำเช่ำทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ”) โดยมีระยะเวลำกำรเช่ำอย่ำงน้อย 10 ปี นับถัดจำกวันครบกำหนด สัญญำหรื อวันยกเลิ กสัญญำเช่ ำเครื่ องและอุปกรณ์ฯ แล้วแต่กรณี (“วันครบกำหนดกำรขำยรำยได้ BFKT ขั้นสุ ดท้ำย”) และจัดหำและส่ งมอบรำยได้สุทธิ รำยเดือนที่เกิดจำกค่ำเช่ำทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ จนถึง วันครบกำหนดกำรขำยรำยได้ BFKT ขั้นสุ ดท้ำย หรื อ จนถึงวันที่มีกำรโอนทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลื อ

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ให้แก่กองทุนหำกเกิดกรณี ดงั กล่ำวขึ้นก่อน ทั้งนี้ ตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน และสิ ทธิรำยได้ BFKT ภำยใต้ขอ้ กำหนดและเงื่อนไขในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT หำก ในระหว่ำงระยะเวลำของสัญญำเช่ำทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ BFKT ได้รับหลักฐำนเกี่ยวกับสิ ทธิ ในที่ดิน และ/หรื อ สิ ทธิ ก ำรเช่ ำ โดยชอบด้วยกฎหมำยของสถำนที่ ต้ งั และ/หรื อ สิ ทธิ แห่ งทำงที่ เป็ นที่ ต้ งั หรื อใช้ ดำเนินงำนของทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ BFKT จะโอนและขำยทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือดังกล่ำวให้ กองทุน และกองทุนจะรับโอนและซื้ อทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือนั้นตำมรำคำที่กองทุนและ BFKT จะ ตกลงกัน (“รำคำซื้ อขำยทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลื อ”) โดยเป็ นไปตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยในรำยได้สุทธิ ของ BFKT ทรัพย์สิน BFKT หลักและทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือจะเป็ นของกองทุนในวันที่ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องเสร็ จสิ้ น เว้นแต่จะกำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่นในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT ก่อนวันโอนทรัพย์สิน BFKT หลัก หำกเกิดเหตุผิดนัดใดที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำย ทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT กองทุนอำจเรี ยกให้ BFKT ชำระเงินเป็ นมูลค่ำปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value) ของรำยได้สุทธิ ของ BFKT ที่เหลือทั้งหมด รวมกับมูลค่ำสุ ดท้ำยของ BFKT (terminal value) ของ ทรัพย์สิน BFKT หลัก (“รำยได้สุทธิ BFKT คงค้ำง”) และอำจบังคับใช้สิทธิ ของกองทุนไม่วำ่ ทั้งหมดหรื อ บำงส่ วนตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT กำรจำกัดควำมรับผิดของ BFKT ภำยใต้สัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT ควำมรับผิดของ BFKT จะมีอยูอ่ ย่ำงจำกัดตำมกรณี ทวั่ ไปซึ่ งรวมถึงกรณี ดงั ต่อไปนี้ BFKT ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ยวกับทรัพย์สิน BFKT ที่โอนแล้ว หำกกองทุนได้มีกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภำยในสองปี นับจำกวันโอนทรัพย์สิน BFKT เสร็ จสิ้ นที่เกี่ยวข้องแต่ละครั้ง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญบำงเรื่ อง ที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดในกำรบอกกล่ำว เรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจำกที่กฎหมำยกำหนด) เรื่ องดังกล่ำวรวมถึงคำรับรองของ BFKT ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่ กรรมสิ ทธิ์ ของ BFKT ในทรัพย์สิน BFKT ที่โอนแล้ว และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่สำคัญ ควำมรับผิดโดยรวมของ BFKT เกี่ยวกับ (ก) รำยได้สุทธิ ของ BFKT ที่เกี่ยวกับสัญญำเช่ำ เครื่ องและอุปกรณ์ฯ ต้องไม่เกินรำยได้สุทธิ BFKT คงค้ำง (ข) ทรัพย์สิน BFKT หลักที่โอนให้แก่กองทุนต้อง ไม่เกินมูลค่ำสุ ดท้ำยของ BFKT (terminal value) ของทรัพย์สินนั้น (ค) ทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือที่โอน ให้กองทุนต้องไม่เกินรำคำซื้ อที่กองทุนชำระสำหรับทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือดังกล่ำว (ง) รำยได้สุทธิ

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ของ BFKT ที่เกี่ยวกับสัญญำเช่ำทรัพย์สิน BFKT ส่ วนที่เหลือ ต้องไม่เกินมูลค่ำสุ ทธิ ปัจจุบนั ของรำยได้ค่ำเช่ำ สุ ทธิที่คำ้ งชำระ และ (จ) กำรทำผิดสัญญำอื่นใดทั้งหมด ควำมรับผิดรวมของ BFKT จะต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของรำคำซื้ อขำย BFKT ทั้งนี้ BFKT ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้ อง ภำษี (เว้นแต่ ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) อำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้อง ที่เกิดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำ กำรใช้สิทธิ กำรบังคับสิ ทธิตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ BFKT ในเรื่ องกำรประกันภัย BFKT ตกลงที่จะ (ก) ดำเนินกำรให้กองทุนมีชื่อเป็ นผูเ้ อำประกันภัย ร่ วมและผูร้ ับผลประโยชน์ร่วมภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ที่เกี่ ยวกับทรัพย์สินโทรคมนำคมของ BFKT ภำยใน 45 วันนับแต่วนั ที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ BFKT เสร็ จสิ้ น (ข) จัดให้มีกำรประกันภัยที่เกี่ ยวกับ ทรัพย์สินโทรคมนำคมของ BFKT ภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่ มทรู ตำมข้อกำหนดที่กำหนดไว้ใน สัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ BFKT (ค) ในวันโอนทรัพย์สิน BFKT เสร็ จสิ้ นแต่ละครั้งที่เกี่ยวข้อง จัดหำกรมธรรม์ประกันภัยในนำมของกองทุนสำหรับทรัพย์สิน BFKT ที่โอนแล้ว โดยกองทุนจะรับผิดชอบใน เบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่ำว (ง) ไม่เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดในกรมธรรม์ประกันภัยของ กลุ่มทรู เกี่ยวกับทรัพย์สิน BFKT ที่โอนแล้ว โดยไม่ได้รับควำมยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำกกองทุนก่อน โดยกองทุ นจะไม่ให้ควำมยินยอมโดยไม่มีเหตุ อนั ควรไม่ได้ และ (จ) ดำเนิ นกำรให้มีกำรนำเงิ นที่ได้รับตำม กรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภำพ หรื อเปลี่ ยนทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำรเรี ยกร้ องให้มี กำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว (7.2) สั ญญำโอนขำยทรัพย์ สินและสิ ทธิรำยได้ ระหว่ ำง AWC ในฐำนะผู้ขำย และกองทุน ในฐำนะ ผู้ซื้อ (“สั ญญำโอนขำยทรั พย์ สินและสิ ทธิรำยได้ AWC”) มีระยะเวลำ 12 ปี นับตั้งแต่ วันที่ 24 ธันวำคม 2556 วันที่ 3 สิ งหำคม 2568 โดยสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อขำยและโอน รำยได้ที่คำดว่ำจะได้รับของ AWC จำก (ก) ค่ำเช่ ำเสำโทรคมนำคมของ AWC จำนวน 4,360 เสำตำมสัญญำเช่ำเสำโทรคมนำคม ของ AWC ลงวันที่ 1 ตุ ลำคม 2556 ระหว่ำง BFKT และ AWC รวมทั้งที่ แก้ไขเพิ่ มเติ ม (“สั ญญำเช่ ำเสำ โทรคมนำคมของ AWC”) (รวมถึ งเงิ นที่ได้รับจำกกำรใช้สิทธิ เรี ยกร้ อง และสิ ทธิ อื่นทั้งหมดที่เกิ ดจำกรำยได้ ดังกล่ ำวตำมที่ ระบุ ไว้ในสั ญญำโอนขำยทรั พย์สิ นและสิ ทธิ รำยได้ AWC) นับแต่ ว นั เริ่ มค ำนวณรำยได้ (1 ธันวำคม 2556) จนถึ งวันที่ ครบก ำหนดสัญญำเช่ ำเสำโทรคมนำคมของ AWC (“วันครบกำหนดสัญญำ AWC”) และ (ข) ค่ำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC จำนวนไม่เกิน 392 เสำ (“ทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ”) นับแต่วนั ถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำ AWC หรื อวันที่สัญญำเช่ำเสำโทรคมนำคมของ AWC ถูกยกเลิกก่อน

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ครบกำหนดระยะเวลำหรื อกำหนดระยะเวลำที่ได้มีกำรขยำย (“วันยกเลิกสัญญำ AWC”) แล้วแต่กรณี ใดจะเกิดขึ้นก่อน จนถึงวันครบรอบ 10 ปี นับแต่วนั ถัดจำกวันครบกำหนดสัญญำ AWC หรื อวันยกเลิกสัญญำ AWC ดังกล่ำว ในแต่ละกรณี หกั ด้วยต้นทุนและค่ำใช้จ่ำยบำงส่ วนสำหรับกำรดำเนิ นงำนและซ่ อมบำรุ ง เงินค่ำเช่ำตำมสัญญำเช่ำที่ดิน (รวมถึงภำษีโรงเรื อน) และเบี้ยประกันภัย (“ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ AWC”) โดย ต้นทุนค่ำใช้จ่ำยของ AWC จะมีกำรปรับอัตรำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) (รวมเรี ยกว่ำ “รำยได้สุทธิ ของ AWC”) ในวันที่ทำกำรซื้ อขำยเสร็ จสิ้ นที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC (“วันที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ AWC เสร็ จสิ้ น”) ภำยหลังวันครบกำหนดสัญญำ AWC หรื อวันครบยกเลิกสัญญำ AWC แล้วแต่กรณี AWC จะต้องโอนให้แก่กองทุน และกองทุนจะต้องรับโอนเสำโทรคมนำคมของ AWC จำนวน 3,968 เสำ (“ทรัพย์สิน AWC หลัก”) ในวันที่กำหนดไว้ให้เป็ นวันที่ทำกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน AWC หลัก (“วันโอน ทรัพย์สิน AWC หลัก”) (ทั้งนี้ รำยได้สุทธิ ของ AWC และทรัพย์สิน AWC หลัก รวมเรี ยกว่ำ “ทรัพย์สินที่ขำย ของ AWC”) สำหรับทรัพย์สิน AWC หลักที่ไม่สำมำรถโอนและส่ งมอบได้ในวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก AWC จะชำระเงินให้กองทุนเป็ นมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC หลักที่ไม่ได้มีกำรโอนและส่ ง มอบดังกล่ำวในวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก เมื่อ AWC ชำระมูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ดังกล่ำวจนครบถ้วน แล้ว AWC จะหมดภำระผูกพันต่อกองทุนในกำรโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน AWC หลักที่เกี่ ยวข้องดังกล่ำว โดย มูลค่ำสุ ดท้ำย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC หลักที่เกี่ยวข้อง คือ จำนวนที่เท่ำกับ 14 เท่ำของรำยได้ค่ำเช่ ำ AWC รำยเดือนเป็ นระยะเวลำ 12 เดือนก่อนเดือนที่มีวนั โอนทรัพย์สิน AWC หลัก (“มูลค่ำสุ ดท้ำยของ AWC”) ในส่ วนของทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ AWC ตกลงจะเข้ำทำสัญญำเช่ำกับนิ ติบุคคล ในกลุ่มทรู เพื่อให้เช่ำพื้นที่ (slots) หนึ่ งพื้นที่บนเสำโทรคมนำคมของ AWC ซึ่ งเป็ นทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่ เหลือ (“สัญญำเช่ำทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ”) โดยมีระยะเวลำกำรเช่ำอย่ำงน้อย 10 ปี นับจำกวันถัดจำกวัน ครบกำหนดสัญญำ AWC หรื อ วันยกเลิกสัญญำ AWC แล้วแต่กรณี (“วันครบกำหนดกำรขำยรำยได้ AWC ขั้นสุ ดท้ำย”) และจัดหำและส่ งมอบรำยได้สุทธิ รำยเดือนที่เกิดจำกค่ำเช่ำทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ จนถึง วันครบกำหนดกำรขำยรำยได้ AWC ขั้นสุ ดท้ำยหรื อ จนถึงวันที่มีกำรโอนทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ หำก เกิดกรณี ดงั กล่ำวขึ้นก่อน ตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC ภำยใต้ขอ้ กำหนดและเงื่อนไขในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC หำกใน ระหว่ำงระยะเวลำของสัญญำเช่ำทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ AWC ได้รับหลักฐำนเกี่ยวกับสิ ทธิ ในที่ดิน และ/หรื อสิ ทธิ กำรเช่ำโดยชอบด้วยกฎหมำยของสถำนที่อนั เป็ นที่ต้ งั หรื อใช้ดำเนิ นงำนทรัพย์สิน AWC ส่ วน ที่เหลือ AWC จะโอนและขำยทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลื อ ให้กองทุน และกองทุนจะรับโอนและซื้ อ ทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือนั้นตำมรำคำที่กองทุนและ AWC จะตกลงกันโดยเป็ นไปตำมสัญญำโอนขำย ทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยในรำยได้สุทธิ ของ AWC ทรัพย์สิน AWC หลักและทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือจะเป็ นของกองทุนในวันที่ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องเสร็ จ สิ้ น เว้นแต่จะกำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่นในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC ก่อนวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก หำกเกิดเหตุผิดนัดใดที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำย ทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC กองทุนอำจเรี ยกให้ AWC ชำระเงินเป็ นมูลค่ำปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value) ของรำยได้สุทธิ ของ AWC ที่เหลือทั้งหมด รวมกับมูลค่ำสุ ดท้ำยของ AWC (terminal value) ของ ทรัพย์สิน AWC หลัก (“รำยได้สุทธิ AWC คงค้ำง”) และอำจบังคับใช้สิทธิ ของกองทุนไม่วำ่ ทั้งหมดหรื อ บำงส่ วนตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC กำรจำกัดควำมรับผิดของ AWC ภำยใต้สัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC ควำมรับผิดของ AWC จะมีอยูอ่ ย่ำงจำกัดตำมกรณี ทวั่ ไปซึ่ งรวมถึงกรณี ดงั ต่อไปนี้ AWC ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ยวกับทรัพย์สิน AWC ที่โอนแล้ว หำกกองทุนได้มีกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภำยในสองปี นับจำก วันโอนทรัพย์สิน AWC เสร็ จสิ้ นที่เกี่ยวข้องแต่ละครั้ง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญบำงเรื่ องที่ กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิ รำยได้ AWC ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดในกำรบอกกล่ำว เรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจำกที่กฎหมำยกำหนด) เรื่ องดังกล่ำวรวมถึง คำรับรองของ AWC ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่ กรรมสิ ทธิ์ของ AWC ในทรัพย์สิน AWC ที่โอนแล้ว และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่เกี่ยวข้อง ควำมรับผิดโดยรวมของ AWC เกี่ยวกับ (ก) รำยได้สุทธิ ของ AWC ที่เกี่ยวกับสัญญำเช่ำ เสำโทรคมนำคมของ AWC ต้องไม่เกิ นรำยได้สุทธิ AWC คงค้ำง (ข) ทรัพย์สิน AWC หลักที่โอนให้แก่ กองทุนต้องไม่เกินมูลค่ำสุ ดท้ำยของ AWC (terminal value) ของทรัพย์สินนั้น (ค) ทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่ เหลือที่โอนให้กองทุนต้องไม่เกิ นรำคำซื้ อที่กองทุนชำระสำหรับทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลื อดังกล่ำว (ง) รำยได้สุทธิ ของ AWC ที่เกี่ยวกับสัญญำเช่ำทรัพย์สิน AWC ส่ วนที่เหลือ ต้องไม่เกินมูลค่ำสุ ทธิ ปัจจุบนั ของ รำยได้ค่ำเช่ำสุ ทธิ ที่คำ้ งชำระ และ (จ) กำรทำผิดสัญญำอื่นใดทั้งหมด ควำมรับผิดรวมของ AWC จะต้องไม่เกิน ร้อยละ 50 ของรำคำซื้ อขำย AWC ทั้งนี้ AWC ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้อง ภำษี (เว้นแต่ ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) อำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้อง ที่เกิดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำกำร ใช้สิทธิ กำรบังคับสิ ทธิ ตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC ในเรื่ องกำรประกันภัย AWC ตกลงที่จะ (ก) ดำเนินกำรให้กองทุนมีชื่อเป็ นผูเ้ อำประกันภัยร่ วม และผูร้ ั บผลประโยชน์ร่วมภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่ มทรู ที่เกี่ ยวกับทรั พย์สินโทรคมนำคมของ AWC ภำยใน 45 วันนับแต่วนั ที่ทำกำรซื้ อขำยรำยได้ AWC เสร็ จสิ้ น (ข) จัดให้มีกำรประกันภัยที่เกี่ยวกับเสำ โทรคมนำคมของ AWC ภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่ มทรู ท้ งั หมด ตำมข้อกำหนดที่ กำหนดไว้ใน สัญญำโอนขำยทรัพย์สินและสิ ทธิรำยได้ AWC (ค) ในวันโอนทรัพย์สิน AWC เสร็ จสิ้ นแต่ละครั้งที่เกี่ยวข้อง จัดหำกรมธรรม์ประกันภัยในนำมของกองทุนสำหรับทรัพย์สิน AWC ที่โอนแล้ว โดยกองทุนจะรับผิดชอบ ในเบี้ยประกันภัยสำหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่ำว (ค) ไม่เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดในกรมธรรม์ประกันภัย ของกลุ่มทรู เกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของ AWC โดยไม่ได้รับควำมยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำกกองทุนก่อน ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โดยกองทุนจะไม่ให้ควำมยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (ง) ดำเนิ นกำรให้มีกำรนำเงินที่ได้รับตำม กรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภำพ หรื อเปลี่ยนทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำรเรี ยกร้องให้ มีกำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว (8) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สิน (8.1) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินระหว่ำงบริษัทฯ ในฐำนะผู้ขำย และกองทุน ในฐำนะผู้ซื้อ (“สั ญญำโอนขำยทรัพย์ สินทรู ”) โดยสัญญำโอนขำยทรั พย์สินทรู น้ ี มี วตั ถุ ประสงค์เพื่อขำยและโอนให้แก่ กองทุ น และ กองทุนตกลงรับซื้ อและรับโอนทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม ดังต่อไปนี้ (ก) เสำโทรคมนำคม 3,000 เสำ ภำยใน วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2557 และ (ข) เสำโทรคมนำคม 3,000 เสำ ภำยใน วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 (แต่ละกรณี เรี ยกว่ำ “วันครบกำหนดส่ งมอบ”) โดยรำคำซื้ อขำยทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมดังกล่ำว (“รำคำซื้ อขำยทรู ”) เป็ นไปตำมจำนวน ที่ระบุไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู โดยกองทุนต้องชำระรำคำซื้ อขำยเต็มจำนวนในวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น นับจำกวันถัดจำกวันครบก ำหนดส่ งมอบแต่ ละครั้ งจนถึ งวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2563 (“วันส่ งมอบขั้นสุ ดท้ำยของทรู ”) หำกในวันที่ 31 ธันวำคมของแต่ละปี ยังมีทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่ยงั ไม่ได้ ส่ งมอบให้แก่ กองทุ น บริ ษทั ฯ จะจ่ำยค่ำเสี ยหำยจำกควำมล่ ำช้ำในกำรส่ งมอบให้แก่ กองทุ นเป็ นจำนวนเงิ น เท่ำกับจำนวนเงิ นที่ กองทุ นจะต้องชำระคื นให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ในปี ดังกล่ำวภำยใต้สัญญำเช่ ำ ดำเนิ นกำรและ บริ หำรจัดกำรหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ สำหรับทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่ไม่สำมำรถจัดหำให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้ (“ส่ วนต่ำงค่ำเช่ำรำยปี ”) บวกด้วย ร้อยละ 15 ต่อปี ในวันส่ งมอบขั้นสุ ดท้ำยของทรู หำกมีทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมส่ วนเพิ่มที่ยงั ไม่สำมำรถ โอนได้ บริ ษทั ฯ จะชดใช้กองทุ นเป็ นจำนวนเงิ นเท่ำกับสิ บสองเท่ำของส่ วนต่ำงค่ำเช่ ำรำยปี ของปี 2563 ตำม ข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู ในวันที่บริ ษทั ฯ ส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมให้แก่กองทุนครบถ้วนหรื อวันส่ งมอบ ขั้นสุ ดท้ำยของทรู แล้วแต่วนั ใดจะถึงก่อน หำกปรำกฏว่ำทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่บริ ษทั ฯ ส่ งมอบให้แก่กองทุน มีลกั ษณะไม่ตรงตำมรำยละเอียดที่ ระบุไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู คู่สัญญำตกลงจะชดใช้ส่วนต่ำงใด ๆ ที่เกิ ดจำกกำรส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมส่ วนเพิ่มที่มีลกั ษณะไม่ตรงตำมรำยละเอียดที่ระบุไว้ดงั กล่ำว ทั้งนี้ เป็ นไปตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญหำยหรื อเสี ยหำยในทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมจะ ตกเป็ นของกองทุนเมื่อมีกำรส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมแต่ละครั้ง (“กำรส่ งมอบ”) ตำมกระบวนกำรที่ กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู ก่อนกำรส่ งมอบแต่ละครั้ง บริ ษทั ฯ จะต้องให้คำรับรองและคำรับประกันแก่กองทุน โดยรวมถึง แต่ ไม่ จ ำกัดเพี ยง กำรรั บรองและรั บประกันว่ำบริ ษ ทั ฯ จะต้องมี กรรมสิ ทธิ์ โดยชอบด้วยกฎหมำยในทรั พย์สิ น เสำโทรคมนำคมที่จะส่ งมอบ และทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมดังกล่ำวจะต้องปรำศจำกภำระผูกพันใด ๆ ภำระหน้ำที่หลักของบริ ษทั ฯ นับจำกกำรส่ งมอบแต่ละครั้ง บริ ษทั ฯ จะดำเนิ นกำรต่อไปนี้ เกี่ยวกับทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่ได้มีกำรส่ งมอบ โดยค่ำใช้จ่ำยของบริ ษทั ฯ เอง ในกรณี ที่ไม่สำมำรถโอน หรื อ แปลงคู่สัญญำเกี่ยวกับสิ ทธิ กำรเช่ำในที่ดิน และ/หรื อ ทรัพย์สินให้กบั กองทุนได้ บริ ษทั ฯ จะดำเนินกำรให้ กองทุน ผูเ้ ช่ ำทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม ผูจ้ ดั กำรทรัพย์สินโทรคมนำคม และบุคคลที่ได้รับกำรแต่งตั้งมีสิทธิ เข้ำไปและใช้สถำนที่ต้ งั ที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้น ในกรณี ของสัญญำอื่น ๆ ที่เกี่ ยวกับทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม ซึ่ งไม่สำมำรถโอน หรื อ แปลงคู่สัญญำให้แก่กองทุนได้ บริ ษทั ฯ จะดำเนิ นกำรให้กองทุนได้รับสิ ทธิ และผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ ตำมสัญญำอื่น ๆ นั้น ควำมรับผิดของบริ ษทั ฯ เกี่ยวกับกำรทำผิดสัญญำ ทั้งหมดรวมแล้วจะไม่เกินรำคำซื้ อขำยทรู ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ต้องรับผิดต่อควำมเสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้ อง ภำษี (เว้นแต่ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) อำกรแสตมป์ ภำระ ผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ ยวข้อง ที่เกิ ดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำ ใช้สิทธิ บังคับสิ ทธิ ตำมสัญญำโอน ขำยทรัพย์สินทรู ในเรื่ องของกำรประกันภัย นับจำกกำรส่ งมอบที่เกี่ยวข้อง บริ ษทั ฯ ตกลงที่จะ (ก) จัดให้ มีกำรประกันภัยที่เกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้วภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ตำมข้อกำหนดที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู จนกว่ำกองทุนจะทำประกันภัยที่เกี่ยวข้อง (ข) จัดหำกรมธรรม์ประกันภัยสำหรับเสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้วในนำมของกองทุน โดยกองทุน จะรับผิดชอบในเบี้ ยประกันภัยสำหรั บกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่ ำว (ค) ไม่เปลี่ ยนแปลงข้อกำหนดใน กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู เกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้วโดยไม่ได้รับควำมยินยอม เป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำกกองทุนก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ควำมยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (ง) ดำเนิ นกำรให้มีกำรนำเงินที่ได้รับตำมกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภำพ หรื อเปลี่ ยน ทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำรเรี ยกร้องให้มีกำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว กำรจำกัดควำมรับผิดของบริ ษทั ฯ นับจำกวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น บริ ษทั ฯ ต้องรับผิดต่อ สิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ยวกับเสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้ว หำกกองทุนได้มีกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภำยในสองปี นับจำกกำรส่ งมอบที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้ องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญบำงเรื่ องที่กำหนดไว้ใน ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

สัญญำโอนขำยทรัพย์สินทรู ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดในกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้ องสิ ทธิ (นอกจำกที่ กฎหมำยกำหนด) เรื่ องดังกล่ำวรวมถึง คำรับรองของ บริ ษทั ฯ ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่ กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ ใน ทรัพย์สินเสำโทรคมนำคม และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่สำคัญ นอกจำกนี้ ภำระผูกพันของบริ ษทั ฯ เกี่ยวกับกำรย้ำยสถำนที่และซื้ อคืนเสำโทรคมนำคม ของบริ ษทั ฯ ที่ได้รับผลกระทบที่ต้ งั อยูใ่ นสถำนที่ (หรื อบำงส่ วนของสถำนที่) ซึ่ งได้มีกำรโอนให้แก่ หรื อ แปลงคู่สัญญำเป็ นกองทุนแล้วซึ่ งส่ งผลให้เสำโทรคมนำคมของบริ ษทั ฯ ที่โอนแล้วนั้นถูกยึดไป ถูกควบคุม หรื อถูกดำเนิ นกำรโดยประกำรอื่นใดทำให้ไม่สำมำรถใช้งำนได้โดยผูเ้ ช่ำอันเนื่ องมำจำกกำรเข้ำถึงหรื อกำร ใช้สถำนที่หรื อส่ วนหนึ่ งส่ วนใดของสถำนที่น้ นั ไม่ชอบด้วยกฎหมำยให้กำหนดไว้เพียงห้ำปี หลังจำกวันที่มี กำรโอนสิ ทธิ หรื อแปลงคู่สัญญำที่เกี่ยวกับสถำนที่ที่เกี่ยวข้องดังกล่ำวเป็ นชื่อกองทุน (8.2) สั ญญำโอนขำยทรัพย์สินระหว่ำง TUC ในฐำนะผู้ขำยและกองทุน ในฐำนะผู้ซื้อ (“สั ญญำโอนขำยทรัพย์สิน TUC”) โดยสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TUC นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อขำยและโอนให้แก่กองทุน และ กองทุนตกลงซื้ อและรับโอน (ก) ระบบ FOC หลักควำมยำว 5,112 กิโลเมตร (รวมทั้งอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณ) ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัด และ (ข) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งมีควำมจุที่สำมำรถรองรับได้ จำนวนประมำณ 1.2 ล้ำนพอร์ต (“ทรัพย์สินที่ขำยของ TUC”) กรรมสิ ทธิ์ และควำมเสี่ ยงภัยในควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยในทรัพย์สินที่ขำยของ TUC จะ เป็ นของกองทุนในวันที่ธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับกำรขำยและโอนเสร็ จสิ้ น เว้นแต่จะกำหนดไว้เป็ นอย่ำงอื่นใน สัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TUC ภำระหน้ำที่หลักของ TUC นับจำกวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น TUC จะดำเนิ นกำรต่อไปนี้ โดยค่ำใช้จ่ำยของ TUC เอง TUC จะดำเนินกำรให้กองทุน ผูเ้ ช่ำทรัพย์สินที่ขำยของ TUC ผูจ้ ดั กำรทรัพย์สิน โทรคมนำคม และบุคคลที่ได้รับกำรแต่งตั้งมีสิทธิ เข้ำถึงและใช้สิทธิ แห่ งทำงที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นตำม เงื่อนไขและข้อกำหนดของสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TUC ในกรณี ของสัญญำอื่น ๆ ที่เกี่ ยวกับทรัพย์สินที่ขำยของ TUC ซึ่ งไม่สำมำรถโอน และ/ หรื อ แปลงคู่สัญญำให้แก่กองทุนได้ TUC จะดำเนิ นกำรให้กองทุนได้รับสิ ทธิ และผลประโยชน์ของ TUC ตำมสัญญำอื่น ๆ นั้น ควำมรับผิดของ TUC เกี่ ยวกับกำรทำผิดสัญญำใด ๆ ภำยใต้สัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TUC ทั้งหมดรวมแล้วจะไม่เกินรำคำซื้ อขำยของทรัพย์สินที่ขำยของ TUC ทั้งนี้ TUC ต้องรับผิดต่อควำม เสี ยหำย สู ญเสี ย สิ ทธิเรี ยกร้อง ภำษี (เว้นแต่ภำษีมูลค่ำเพิ่ม) อำกรแสตมป์ ภำระผูกพัน และต้นทุนค่ำใช้จ่ำยที่ เกี่ยวข้อง ที่เกิดขึ้นหรื อเป็ นผลจำกกำรเข้ำทำ กำรใช้สิทธิ กำรบังคับสิ ทธิ ตำมสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TUC ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กำรจำกัดควำมรับผิดของ TUC นับจำกวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น TUC ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกี่ ยวกับทรัพย์สินที่ขำยของ TUC ที่โอนแล้ว หำกกองทุนได้มีกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภำยใน สองปี นับจำกวันที่ทำกำรโอนเสร็ จสิ้ น เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องที่เกิดจำกเรื่ องสำคัญบำงเรื่ องที่กำหนดไว้ในสัญญำ โอนขำยทรัพย์สิน TUC ซึ่ งไม่มีกำหนดระยะเวลำสิ้ นสุ ดในกำรบอกกล่ำวเรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจำกที่กฎหมำย กำหนด) เรื่ องดังกล่ำวรวมถึงคำรับรองของ TUC ในเรื่ องอำนำจหน้ำที่ กรรมสิ ทธิ์ ของ TUC ในทรัพย์สินที่ขำย ของ TUC และกำรไม่ปฏิบตั ิตำมข้อตกลงกระทำกำรที่สำคัญ ในเรื่ องของกำรประกันภัย นับจำกกำรส่ งมอบที่เกี่ยวข้อง บริ ษทั ฯ ตกลงที่จะ (ก) จัดให้ มี กำรประกันภัยที่ เกี่ ยวกับทรั พย์สิ นที่ ขำยของ TUC ที่ โอนแล้วภำยใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่ มทรู ตำม ข้อกำหนดที่กำหนดไว้ในสัญญำโอนขำยทรัพย์สิน TUC จนกว่ำกองทุนจะทำประกันภัยที่เกี่ยวข้อง (ข) จัดหำ กรมธรรม์ ป ระกัน ภัย ส ำหรั บ ทรั พ ย์สิ น ที่ ข ำยของ TUC ที่ โ อนแล้ว ในนำมของกองทุ น โดยกองทุ น จะ รั บ ผิดชอบในเบี้ ย ประกันภัย ส ำหรั บ กรมธรรม์ป ระกันภัย ดัง กล่ ำ ว (ค) ไม่ เปลี่ ย นแปลงข้อก ำหนดใน กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู เกี่ยวกับทรัพย์สินที่ขำยของ TUC ที่โอนแล้วโดยไม่ได้รับควำมยินยอมเป็ น ลำยลัก ษณ์ อ ัก ษรจำกกองทุ น ก่ อ น โดยกองทุ น จะไม่ ใ ห้ ค วำมยิ น ยอมโดยไม่ มี เ หตุ อ ัน ควรไม่ ไ ด้ และ (ง) ดำเนิ นกำรให้ มีก ำรนำเงิ นที่ ได้รับ ตำมกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรั บ สภำพ หรื อ เปลี่ยนทดแทนทรัพย์สินที่ได้มีกำรเรี ยกร้องให้มีกำรชดใช้เงินประกันดังกล่ำว (9) สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำรและบริหำรจัดกำรหลัก (9.1) สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำร บำรุ งรั กษำ และบริ หำรจัดกำรหลัก ระหว่ ำง เรี ยลฟิ วเจอร์ ในฐำนะ ผู้เช่ ำ ดำเนินกำร บำรุ งรั กษำและบริ หำรจัดกำร และ กองทุนในฐำนะผู้ให้ เช่ ำ (“สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำรและบริหำร จัดกำรหลักของเรียลฟิ วเจอร์ ”) โดยมีระยะเวลำ 14 ปี นับตั้งแต่ วนั ที่ 24 ธันวำคม 2556 - วันที่ 31 ธันวำคม 2570 โดยสัญญำเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ เช่ำพื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม และทรัพย์สินสิ่ งอำนวยควำมสะดวกประเภท Passive ที่เกี่ยวข้องกับ เสำโทรคมนำคมบำงเสำ (รวมเรี ยกว่ำ “ทรัพย์สินที่เช่ำ”) รวมทั้ง ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินที่เช่ำ มีกำหนดอำยุจนถึง 31 ธันวำคม พ.ศ. 2570 ทรัพย์สินที่เช่ำ ประกอบไปด้วยทรัพย์สินดังต่อไปนี้เป็ นอย่ำงน้อย (“ทรัพย์สินขั้นต่ำที่เช่ำ”) (ก) พื้นที่ (slots) จำนวน 6,619 พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม 3,000 เสำ เริ่ มตั้งแต่ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 (ข) พื้นที่ (slots) จำนวน 13,993 พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม 6,000 เสำ เริ่ มตั้งแต่ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 และ

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 28


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(ค) พื้นที่ (slots) จำนวน 15,249 พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม 6,000 เสำ เริ่ มตั้งแต่ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 อัตรำค่ำเช่ำ สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทตำมรำยละเอียดดังต่อไปนี้ และอำจมีส่วนลด และ/หรื อ กำรปรับเปลี่ยนที่เหมำะสม ดังที่ระบุไว้ดำ้ นล่ำงนี้ ประเภทที่ 1: เสำโทรคมนำคมที่ต้ งั บนพื้นดิน: 25,400 บำท ต่อเดือน ต่อพื้นที่ (slot) ประเภทที่ 2: เสำโทรคมนำคมที่ต้ งั บนดำดฟ้ ำ: 23,200 บำท ต่อเดือน ต่อพื้นที่ (slot) และ ประเภทที่ 3: โครงข่ำย IBC/DAS: 39,400 บำท ต่อเดือน ต่อพื้นที่ (slot) ส่ วนลด และ/หรื อ กำรปรับเปลี่ยนอัตรำค่ำเช่ำ อยูภ่ ำยใต้เงื่อนไขด้ำนล่ำงนี้ (ก) ส่ วนลดจำกกำรเป็ นผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิม: ร้อยละ 32 (ข) ส่ วนลดจำกจำนวน (โดยไม่คำนึงถึงประเภทของทรัพย์สินที่เช่ำ) พื้นที่ (slots) จำนวน 1 - 3,000 พื้นที่ (slots): ไม่มีส่วนลด พื้นที่ (slots) จำนวน 3,001 - 5,000 พื้นที่ (slots): ส่ วนลดในอัตรำร้อยละ 30 พื้นที่ (slots) จำนวน 5,001 - 10,000 พื้นที่ (slots): ส่ วนลดในอัตรำร้อยละ 35 และ พื้นที่ (slots) จำนวน 10,001 พื้นที่ (slots) เป็ นต้นไป: ส่ วนลดในอัตรำร้อยละ 40 หำกเรี ยลฟิ วเจอร์ หรื อผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรที่เป็ นบริ ษทั ในกลุ่มทรู (“ผูเ้ ช่ำและบริ หำร จัดกำรดั้งเดิม”) รำยใดต้องกำรเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรพื้นที่ (slots) เพิ่มเติมไม่วำ่ ในเวลำใด ๆ เรี ยล ฟิ วเจอร์ หรื อผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิมนั้นจะได้รับทั้งส่ วนลดจำกกำรเป็ นผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิม และส่ วนลดจำกจำนวน สำหรับค่ำเช่ำพื้นที่ (slots) เพิ่มเติมดังกล่ำว กำรปรับอัตรำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) ในอัตรำคงที่ที่ร้อยละ 2.7 ต่อปี เริ่ มคิด คำนวณจำกเดือนมกรำคม พ.ศ. 2558 กำรชำระค่ำเช่ ำ เรี ยลฟิ วเจอร์ จะชำระค่ำเช่ ำสุ ทธิ สำหรั บทรัพย์สินที่ เช่ ำล่วงหน้ำตั้งแต่ เดือน มกรำคม 2557 โดยจะชำระภำยในวันที่ 7 ของทุกเดือนหรื อวันทำกำรถัดไป และจะชำระค่ำเช่ ำสุ ทธิ ให้แก่ ก องทุ นล่ วงหน้ำ เป็ นรำยเดื อนส ำหรั บ กำรเช่ ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรทรั พ ย์สิ นขั้นต่ ำ ที่ เช่ ำ (Minimum Leased Properties) ซึ่ งจะเป็ นระยะเวลำหนึ่ งปี ล่วงหน้ำสำหรับกำรเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำร จัดกำรพื้ นที่ (slot) บนเสำโทรคมนำคมกลุ่ มแรกจำนวน 3,000 เสำที่ มีก ำหนดส่ งมอบให้แก่ กองทุ นโดย บริ ษทั ฯ ภำยในวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2557 และเป็ นระยะเวลำสองปี ล่วงหน้ำสำหรับกำรเช่ำ ดำเนิ นกำรและ บริ หำรจัดกำรพื้นที่ (slot) บนเสำโทรคมนำคมกลุ่มที่สองจำนวน 3,000 เสำที่มีกำหนดส่ งมอบให้แก่กองทุน โดยบริ ษทั ฯ ภำยในวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 29


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ณ สิ้ นปี ของแต่ ละปี นับจำกปี พ.ศ. 2558 ถึ ง ปี พ.ศ. 2563 กองทุ นจะช ำระคื นเงิ นค่ ำเช่ ำ ล่วงหน้ำที่เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้ชำระเกินไปคืนให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ในกรณี ที่จำนวนเสำโทรคมนำคมที่เรี ยลฟิ วเจอร์ เช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรจริ งภำยใต้สัญญำเช่ ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ มี จำนวนน้อยกว่ำทรัพย์สินขั้นต่ำที่เช่ำ (Minimum Leased Properties) สำหรับปี นั้น ๆ ทั้งนี้ กองทุนจะทำกำร ช ำระคื น เงิ น ค่ ำ เช่ ำ ล่ ว งหน้ำ ดัง กล่ ำ วให้ แ ก่ เ รี ย ลฟิ วเจอร์ ภ ำยในวัน ท ำกำรถัด จำกวัน ที่ บ ริ ษ ัท ฯได้ช ำระ ค่ำเสี ยหำยจำกควำมล่ำช้ำในกำรส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมที่เกี่ยวข้องภำยใต้เงื่อนไขของสัญญำโอน ขำยทรัพย์สินทรู ให้แก่กองทุนแล้ว ในวันที่บริ ษทั ฯ ส่ งมอบทรัพย์สินเสำโทรคมนำคมให้แก่ กองทุ นครบถ้วนตำมสัญญำ โอนขำยทรั พ ย์สิ นทรู หรื อ วันที่ 31 ธันวำคม 2563 แล้วแต่ วนั ใดจะถึ ง ก่ อน หำกปรำกฎว่ำ ทรั พ ย์สิ นเสำ โทรคมนำคมที่บริ ษทั ฯ ส่ งมอบให้แก่กองทุนมีลกั ษณะไม่ตรงตำมรำยละเอียดที่ระบุไว้ในสัญญำโอนขำย ทรัพย์สินทรู ทำให้ค่ำเช่ำล่วงหน้ำที่เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้ชำระให้แก่กองทุนแตกต่ำงไปจำกค่ำเช่ำที่แท้จริ งที่เรี ยลฟิ วเจอร์ ควรชำระให้แก่กองทุนสำหรับกำรเช่ำทรัพย์สินที่เช่ำ คู่สัญญำตกลงจะชดใช้ส่วนต่ำงใด ๆ ที่เกิดจำกกรณี ดงั กล่ำว ทั้งนี้ เป็ นไปตำมข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญำเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ กองทุนจะเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่ำเช่ ำที่ ดินสำหรับกำรเช่ ำที่ดินที่ ทรั พย์สินที่ เช่ ำตั้งอยู่ โดย (ก) ในระหว่ำงระยะเวลำกำรเช่ำ เรี ยลฟิ วเจอร์ จะเป็ นผูช้ ำระค่ำเช่ ำที่ดินสำหรับกำรเช่ำที่ดินที่ทรัพย์สินที่เช่ ำ ตั้งอยู่ และ (ข) สำหรับช่วงกำรต่ออำยุกำรเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำร กองทุนจะเป็ นผูช้ ำระค่ำเช่ำที่ดิน สำหรับกำรเช่ำที่ดินที่ทรัพย์สินที่เช่ำตั้งอยู่ กำรประกันภัย กองทุนมีหน้ำที่ควำมรับผิดชอบในกำรจัดให้มีและคงไว้ซ่ ึ งประกันภัย สำหรับทรัพย์สินที่ เช่ ำ (รวมถึ ง ประกันภัยประเภทควำมรับผิดต่อบุคคลภำยนอก และควำมคุ ม้ ครองทำง ประกันภัยอื่นใด) ที่เพียงพอและเป็ นไปตำมหลักปฏิบตั ิ ในอุตสำหกรรมสำหรับทรั พย์สินที่ เช่ ำ รวมทั้งมี หน้ำ ที่ ต้องช ำระเบี้ ย ประกันภัย และ เรี ย ลฟิ วเจอร์ มี หน้ำ ที่ ค วำมรั บ ผิดชอบในกำรจัดให้มี และคงไว้ซ่ ึ ง ประกันภัยสำหรับอุปกรณ์โทรคมนำคมที่เรี ยลฟิ วเจอร์ ติดตั้ง หรื อ นำไปไว้บนทรัพย์สินที่เช่ำใด ๆ (รวมถึง ประกันภัยประเภทควำมรับผิดต่อบุคคลภำยนอก และควำมคุม้ ครองทำงประกันภัยอื่นใด) ที่เพียงพอและ เป็ นไปตำมหลักปฏิบตั ิในอุตสำหกรรมสำหรับอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภทเดียวกัน ควำมรับผิดของคู่สัญญำ กองทุน และ เรี ยลฟิ วเจอร์ ต่ำงตกลงที่จะรับผิดชดใช้ค่ำสิ นไหม ทดแทนและค่ำเสี ยหำยทั้งปวงให้แก่อีกฝ่ ำย อันเป็ นผลมำจำกกำรผิดคำรับรอง คำรับประกัน และข้อปฏิ บตั ิของ ตนภำยใต้สัญญำเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ โดยมีขอ้ ยกเว้นต่ำง ๆ ตำมหลักปฏิบตั ิใน อุตสำหกรรม

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 30


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กำรให้เช่ ำช่วงพื้นที่บนเสำโทรคมนำคม เรี ยลฟิ วเจอร์ สำมำรถให้เช่ ำช่วงพื้นที่ (slots) บน เสำโทรคมนำคมที่ตนเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรภำยใต้สัญญำเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของ เรี ยลฟิ วเจอร์ โดยไม่จำเป็ นต้องได้รับควำมยินยอมเป็ นลำยลักษณ์อกั ษรจำกกองทุนก่อน ดังต่อไปนี้ (1) ให้เช่ำช่วงทรัพย์สินขั้นต่ำที่เช่ำ (Minimum Leased Properties) ให้แก่ บุคคลใด ๆ (2) ให้เช่ำช่วงพื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม (นอกเหนื อจำกทรัพย์สินขั้นต่ำที่เรี ยลฟิ วเจอร์ เช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำร) ให้แก่ (ก) ผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรดั้งเดิมอื่นใด (ข) บริ ษทั ฯ หรื อ บริ ษทั ย่อย ในปั จจุบนั และในอนำคตของบริ ษทั ฯ และ/หรื อ นิติบุคคลที่ไม่ใช่กลุ่มทรู ผูไ้ ด้รับสิ ทธิ ในกำรประกอบกิจกำร โทรคมนำคมที่ใช้คลื่นควำมถี่ในย่ำนควำมถี่ 1800 MHz (ค) CAT (ง) ทีโอที และ (จ) ผูป้ ระกอบกำรรำยอื่น ๆ ที่มีกำรแลกเปลี่ยนกำรใช้ประโยชน์บนพื้นที่ (slots) ของผูป้ ระกอบกำรรำยอื่น ๆ นั้น โดยไม่มีค่ำตอบแทน (3) ให้เช่ำช่วงพื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม (นอกเหนื อจำกทรัพย์สินขั้นต่ำที่เรี ยลฟิ วเจอร์ เช่ำและดำเนินกำรบริ หำรจัดกำร) ให้แก่ บุคคลใด ๆ นอกเหนื อจำกบุคคลตำมที่ระบุใน (2) โดยอัตรำค่ำเช่ำที่ เรี ยลฟิ วเจอร์ จะต้องชำระให้แก่กองทุนสำหรับพื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคมดังกล่ำวนั้นจะเป็ นอัตรำค่ำเช่ำที่ คิดส่ วนลดตำมที่ผเู ้ ช่ ำช่ วงจำกเรี ยลฟิ วเจอร์ รำยนั้น ๆ ควรจะได้รับจำกกองทุนหำกผูเ้ ช่ ำช่ วงรำยดังกล่ำวเช่ ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรทรัพย์สินดังกล่ำวจำกกองทุนโดยตรงโดยไม่มีส่วนลดจำกกำรเป็ นผูเ้ ช่ ำและ บริ หำรจัดกำรดั้งเดิม โดยกองทุนอำจตกลงให้ส่วนลดเพิ่มเติมแก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ในกำรที่เรี ยลฟิ วเจอร์ ให้เช่ ำช่วง พื้นที่ (slots) บนเสำโทรคมนำคม แก่บุคคลอื่นตำมที่ระบุในข้อ (3) นี้ กำรเสริ มควำมสำมำรถของเสำโทรคมนำคมที่เช่ ำ ในกรณี จำเป็ น หรื อ สมควร (ไม่ว่ำ เป็ นผลมำจำกกำรร้องขอของ เรี ยลฟิ วเจอร์ และ/หรื อ ผูเ้ ช่ำและบริ หำรจัดกำรที่เป็ นบุคคลภำยนอก) ที่จะต้อง มีกำรเสริ มควำมสำมำรถหรื อปรับปรุ งเสำโทรคมนำคมใด ๆ ที่กองทุนได้รับจำกเรี ยลฟิ วเจอร์ หรื อ บริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษ ัท ย่อ ยของบริ ษ ัท ฯ และอยู่ภำยใต้กำรเช่ ำ ด ำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรภำยใต้สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ เรี ยลฟิ วเจอร์ จะดำเนินกำรเพื่อให้มีกำรเสริ ม ควำมสำมำรถ หรื อปรับปรุ งดังกล่ำวในทุกกรณี ด้วยค่ำใช้จ่ำยของกองทุนและบวกด้วยส่ วนเพิ่มที่สมเหตุสมผล หำกกองทุน ขำดเงินทุนในกำรเสริ มควำมสำมำรถหรื อปรับปรุ งเสำโทรคมนำคม เรี ยลฟิ วเจอร์ จะสำรองจ่ำยเงินไปก่อน โดยกองทุน จะชำระค่ำใช้จ่ำยและส่ วนเพิม่ คืนให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ภำยใน 30 วันนับจำกวันที่เรี ยลฟิ วเจอร์ ออกใบเรี ยกเก็บเงิน หำกกองทุนไม่สำมำรถปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขดังกล่ำวได้ กองทุนตกลงจะชำระดอกเบี้ยที่คิดบนจำนวนเงินที่ถึง กำหนดชำระแต่ยงั ไม่ได้รับชำระ ในอัตรำร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ที่ถึงกำหนดชำระจนกว่ำวันที่ได้ชำระ เงินดังกล่ำวทั้งหมดจนครบถ้วนเต็มจำนวนแล้วให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ทั้งนี้ ในกรณี ที่กองทุนไม่สำมำรถชดใช้เงิ น คืนให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ภำยในเวลำที่กำหนด เรี ยลฟิ วเจอร์ มีสิทธิ หกั กลบลบหนี้ ค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำว และส่ วนเพิ่ม และดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง กับค่ำเช่ำรำยเดือนที่ถึงกำหนดชำระซึ่ งเรี ยลฟิ วเจอร์ ตอ้ งชำระให้แก่กองทุนได้

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 31


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(9.2) สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำร บำรุ งรั กษำ และบริหำรจัดกำรหลัก ระหว่ ำง TUC ในฐำนะผู้เช่ ำ ดำเนินกำร บำรุ งรั กษำและบริ หำรจัดกำร และ กองทุน ในฐำนะผู้ให้ เช่ ำ (“สั ญญำเช่ ำ ดำเนินกำรและบริหำรจัดกำรหลักของ TUC”) มีระยะเวลำ 13 ปี และ 5 ปี แล้วแต่ กรณี นับตั้งแต่ วนั ที่ 24 ธันวำคม 2556 โดยสัญญำเช่ ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรหลักของ TUC นี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อเช่ ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำร (ก) ระบบ FOC หลัก ควำมยำวประมำณ 5,112 กิโลเมตร โดยที่ในแต่ละปี TUC จะเช่ ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรระบบ FOC หลัก ไม่น้อยกว่ำจำนวนที่ กำหนดในสัญญำเช่ ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรหลัก ของ TUC (ข) อุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ยวข้องกับระบบ FOC หลัก (ค) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์ โทรคมนำคมประเภท Passive (สำหรับกำรใช้ แต่เพียงผูเ้ ดียวของ TUC เว้นแต่ TUC ตกลงเป็ นอย่ำงอื่นหลังจำกระยะเวลำ 5 ปี แรก) และระบบบรอดแบนด์ ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active (สำหรับกำรใช้แต่เพียงผูเ้ ดียวของ TUC) (รวมเรี ยกว่ำ “ทรัพย์สินที่เช่ำ”) โดยมีระยะเวลำของกำรเช่ำ ดำเนินกำรและบริ หำรจัดกำรดังต่อไปนี้ (1) จนถึง ปี พ.ศ. 2569 สำหรับระบบ FOC หลัก และระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Passive และ (2) จนถึง ปี พ.ศ. 2561 สำหรับอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ยวข้องกับระบบ FOC หลัก และ ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active อัตรำค่ำเช่ำ สำหรับทรัพย์สินที่เช่ำ เท่ำกับ (ก) ระบบ FOC หลัก: (1) จนถึง 76% ของระบบ FOC หลัก (93,370 คอร์ กิโลเมตร): 350 บำทต่อเดือน ต่อกิโลเมตรหลัก และ (2) ในส่ วนที่เกิน 76% จนถึง 100% ของระบบ FOC หลัก: 1,100 บำทต่อเดือน ต่อกิโลเมตรหลัก โดยอัตรำค่ำเช่ำสุ ทธิ ที่กองทุนจะได้รับต่อปี สำหรับระบบ FOC หลักจะคำนวณจำก อัตรำที่ระบุดำ้ นบนหักด้วยค่ำบำรุ งรักษำระบบ FOC หลักที่อตั รำ 186 ล้ำนบำทต่อปี (ข) อุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณที่เกี่ยวข้องกับระบบ FOC หลัก: 38 ล้ำนบำทต่อปี (ค) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ ต่ำงจังหวัดซึ่ งเป็ นอุ ปกรณ์ โทรคมนำคมประเภท Passive: 791 ล้ำนบำทต่อปี (ทั้งนี้ อยูภ่ ำยใต้กำรปรับเปลี่ยนอัตรำในอนำคตซึ่ งจะมี กำรตกลงกัน ในกรณี ที่ TUC ตกลงสละสิ ท ธิ ใ นกำรใช้แ ต่ เ พี ย งผูเ้ ดี ย วของตน หลังจำกระยะเวลำ 5 ปี แรก) (ง) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพื้นที่ตำ่ งจังหวัดซึ่ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active: 317 ล้ำนบำทต่อปี ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 32


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กำรปรับอัตรำ ค่ำเช่ำเพิ่มขึ้นรำยปี (annual escalation) สำหรับอัตรำค่ำเช่ำระบบบรอดแบนด์ ในเขตพื้นที่ต่ำงจังหวัด (สำหรับอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Active และอุปกรณ์โทรคมนำคมประเภท Passive) ในอัตรำร้อยละ 5 ต่อปี ในปี พ.ศ. 2558 และในอัตรำเท่ำกับดัชนี รำคำผูบ้ ริ โภค (Consumer Price Index หรื อ CPI) ที่ประกำศโดยกระทรวงพำณิ ชย์ ประเทศไทยสำหรับปี ก่อนหน้ำ โดยเริ่ มคิดคำนวณจำกเดือนมกรำคม พ.ศ. 2559 ทั้งนี้ อัตรำดังกล่ำวต้องไม่เกินร้อยละ 3.5 และไม่มีกำรปรับอัตรำค่ำเช่ำเพิ่มสำหรับกำรเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำร จัดกำรระบบ FOC หลัก และอุปกรณ์ระบบสื่ อสัญญำณ กำรประกันภัย กองทุนมีหน้ำที่ ควำมรั บผิดชอบในกำรจัดให้มีและคงไว้ซ่ ึ งประกันภัย ประเภทควำมรับผิดต่อบุคคลภำยนอกบนทรัพย์สินที่เช่ำ รวมทั้งมีหน้ำที่ตอ้ งชำระเบี้ยประกันภัย กำรยกระดับประสิ ทธิ ภำพ (Upgrade) ในกรณี จำเป็ น หรื อ สมควร ที่จะต้องมีกำรยกระดับ ประสิ ทธิ ภำพ (upgrade) ทรัพย์สินที่เช่ำใด ๆ หรื อทรัพย์อื่นใดที่เกี่ยวข้อง ที่กองทุนได้รับจำก TUC หรื อ บริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ และอยูภ่ ำยใต้กำรเช่ำ ดำเนิ นกำรและบริ หำรจัดกำรภำยใต้สัญญำเช่ำ ดำเนิ นกำรและ บริ หำรจัดกำรหลักของ TUC นั้น TUC จะดำเนินกำรเพื่อให้มีกำรยกระดับประสิ ทธิ ภำพ (upgrade) ดังกล่ำวใน ทุกกรณี ด้วยค่ำใช้จ่ำยของตนเอง โดยที่กำรยกระดับประสิ ทธิ ภำพ (upgrade) จะกลำยเป็ นสิ นทรัพย์เพิ่มเติมของ TUC ซึ่งหำก TUC ประสงค์จะขำยให้แก่บุคคลใด TUC ต้องยืน่ คำเสนอในกำรขำยสิ นทรัพย์ดงั กล่ำวแก่กองทุนก่อน

ส่วนที่ 1

ข ้อมูลทัว่ ไปและข ้อมูลสำคัญอืน ่

หัวข ้อที่ 6 - หน ้ำ 33


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7.

ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น

7.1

ทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ ว

1) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียน จานวน 153,332,070,330 บาท แบ่งออกเป็ น หุ ้นสามัญ จานวน 15,333,207,033 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยมีทุนที่ ออกและเรี ยกชาระแล้ว จานวน 145,302,152,660 บาท แบ่งออกเป็ นหุ น้ สามัญ จานวน 14,530,215,266 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และ มีหุน้ ที่ยงั มิได้ออกและเรี ยกชาระ จานวน 802,991,767 หุน้ ทั้งนี้ หุ ้นที่ยงั มิได้ออกและเรี ยกชาระจานวน 802,991,767 หุ ้น จะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมาย ในอนาคต เนื่ องจากวัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงซึ่ งที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นได้อนุ มตั ิการเพิ่มทุนจดทะเบียนดังกล่าว ได้สิ้นสุ ดลงทั้งหมดแล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้ หุน้ ที่ยงั มิได้ออกและเรี ยกชาระ ซึ่ งจะถูกยกเลิกตามขั้นตอนทางกฎหมายในอนาคต หุ ้นที่ คงเหลื อจากการใช้สิทธิ ของใบสาคัญ 143,050,480 หุน้ แสดงสิ ทธิที่ออกตามโครงการ ESOP หุ น้ ที่คงเหลือจากการเสนอขายให้แก่ 4 หุน้ ผูถ้ ือหุ น้ เดิมตามสัดส่ วนการถือหุ น้

เหตุผล

ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ออกตามโครงการ ESOP ทุกโครงการ ได้หมดอายุลงแล้ว การเสนอขายและจัดสรรหุ ้นสามัญใหม่จาก การเพิ่ ม ทุ น ให้ แ ก่ ผู้ ถื อหุ ้ น เดิ มตาม สัดส่ วนการถือหุน้ ได้เสร็ จสิ้ นลงแล้ว 29,941,283 หุน้ บริ ษทั ฯ ได้ชาระหนี้ให้แก่ IFC ทั้งหมดแล้ว

หุ ้นที่จะเสนอขายให้แก่ International Finance Corporation (“IFC”) เพื่ อให้เป็ นไปตาม ข้อ ตกลงระหว่ า งบริ ษัท ฯ กับ IFC ซึ่ งเป็ น สถาบันการเงิ นที่ ค้ าประกันหุ ้ นกู้ส่ วนหนึ่ ง ของบริ ษทั ฯ ตามสัญญา C Loan กับ IFC หุน้ ที่สารองไว้สาหรับการใช้สิทธิ แปลงสภาพ 630,000,000 หุน้ บริ ษทั ฯ ไม่มีการออกหุ ้นกูแ้ ปลงสภาพ ของผูถ้ ือหุ น้ กูแ้ ปลงสภาพเป็ นหุ ้นสามัญของ ภายในระยะเวลาที่กาหนด บริ ษทั ฯ รวม 802,991,767 หุน้

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ตลาดรองของหุน้ สามัญในปัจจุบนั ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เอ็นวีดีอาร์ (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) หรื อใบแสดงสิ ทธิ ในผลประโยชน์ที่เกิดจาก หลักทรัพย์อา้ งอิงไทย เป็ นตราสารที่ออกโดย NVDR ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย จัดตั้งขึ้น NVDR มีลกั ษณะเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูล้ งทุนใน NVDR จะได้รับสิ ทธิประโยชน์ทางการเงินต่างๆ เสมือนการลงทุนในหุ ้นสามัญของบริ ษทั ฯ แต่ไม่มีสิทธิ ในการออกเสี ยง ในที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ณ วันที่ 18 มีนาคม 2557 ปรากฏชื่ อ NVDR ถือหุ ้นในบริ ษทั ฯ จานวน 632.05 ล้านหุ ้น คิดเป็ น สัดส่ วนร้อยละ 4.35 ของหุ น้ ที่ออกและเรี ยกชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

7.2

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ผู้ถือหุ้น (1) รายชื่อผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ 1/ ณ วันที่ 18 มีนาคม 2557 ชื่อผูถ้ ือหุ ้น

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กลุ่มบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด 2/ บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 3/ UBS AG HONG KONG BRANCH 4/ CREDIT SUISSE INTERNATIONAL 5/ นายวิชยั วชิรพงศ์ CORE PACIFIC-YAMAICHI INTERNATIONAL (H.K.) LIMITED - CLIENT 6/ UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account 6/ นายจักรพันธุ์ วชิรพงศ์ นายศิริศกั ดิ์ สนโสภณ STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 7/

จานวนหุ ้น (ล้านหุ ้น) 8,735.32 632.05 473.29 349.99 203.13 180.94 170.71 66.89 57.50 57.43

ร้อยละของ หุน้ ทั้งหมด 60.12 4.35 3.26 2.41 1.40 1.25 1.17 0.46 0.40 0.40

1/ ไม่มีการถือหุ ้นไขว้กนั ระหว่างบริ ษทั ฯ กับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ 2/ กลุ่มบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด ประกอบด้วย (1) บริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด (“CPG”) ประกอบธุรกิจลงทุน นาเข้าและจาหน่ายเคมีภณั ฑ์ และให้บริ การด้านเทคนิควิชาการ (CPG มีกลุ่มครอบครัวเจียรวนนท์เป็ น ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ถือหุ ้นรวมกัน คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ91.65 ผูถ้ ือหุ ้น 10 รายแรกของ CPG ได้แก่ นายสุ เมธ เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.96 นายธนิ นท์ เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.96 นายจรัญ เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.75 นายมนตรี เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.63 นายเกียรติ์ เจียรวนนท์ ร้อยละ 5.76 นายพงษ์เทพ เจียรวนนท์ ร้อยละ 3.65 และนางยุพา เจียรวนนท์ นายประทีป เจียรวนนท์ นางภัทนี ย ์ เล็กศรี สมพงษ์ นายวัชรชัย เจียรวนนท์ นายมนู เจียรวนนท์ และ นายมนัส เจียรวนนท์ ถือหุ ้นรายละร้อยละ 3.62) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 34.16 (2) บริ ษทั ยูนีค เน็ตเวิร์ค จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 41.06% และ บจ. อาร์ท เทเลคอมเซอร์วสิ 58.94%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 9.21 (3) บริ ษทั ไวด์ บรอด คาสท์ จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. ธนโฮลดิ้ง 58.55% และ บจ. เทเลคอมมิวนิเคชัน่ เนตเวอร์ ค 41.45%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 6.70 (4) บริ ษทั ซี .พี.อินเตอร์ฟู้ด (ไทยแลนด์) จากัด ประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายส่ ง ผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็ จรู ปจากเนื้อสัตว์ (ถือหุ ้นโดย CPG 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 4.07 (5) บริ ษทั กรุ งเทพโปรดิ๊วส จากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจซื้ อและขายวัตถุดิบอาหารสัตว์ (ถือหุ ้นโดย บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร (“CPF”) 99.44%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.75 (6) บริ ษทั กรุ งเทพเทเลคอมโฮลดิ้ง จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.73 (7) บริ ษทั เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จากัด ประกอบธุรกิจผลิตและจาหน่ายอุปกรณ์การเลี้ยงสัตว์ (ถือหุ ้นโดย CPG 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.23 (8) บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย CPG 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 0.94 และ (9) บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 0.32 (ทั้ง 9 บริ ษทั ดังกล่าวไม่มีบริ ษทั ใดประกอบธุรกิจเดียวกันและแข่งขันกันกับกลุ่มบริ ษทั ฯ) 3/ บริ ษทั ย่อยที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยจัดตั้งขึ้น NVDR มีลกั ษณะเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูล้ งทุนใน NVDR จะได้รับสิ ทธิประโยชน์ ทางการเงินต่าง ๆ เสมือนการลงทุนในหุ ้นสามัญของบริ ษทั ฯ แต่ไม่มีสิทธิในการออกเสี ยงในที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น 4/ บริ ษทั จดทะเบียนที่ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะ ขอให้ผถู ้ ือหุ ้นดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น 5/ บริ ษทั จดทะเบียนที่สหราชอาณาจักร ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะขอให้ผถู ้ ือหุ ้น ดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น 6/ บริ ษทั จดทะเบียนที่ฮ่องกง ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะขอให้ผถู ้ ือหุ ้นดังกล่าว เปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น 7/ บริ ษทั จดทะเบียนที่สหรัฐอเมริ กา ซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพื่อตนเองหรื อเพื่อบุคคลอื่น บริ ษทั ฯ ไม่มีอานาจที่จะขอให้ผถู ้ ือหุ ้น ดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านั้น

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(2) ข้อตกลงระหว่างผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ ไม่มีขอ้ ตกลงระหว่างผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ (Shareholders’ Agreement) ในเรื่ องที่มีผลกระทบต่อ การออกและเสนอขายหลักทรัพย์หรื อการบริ หารงานของบริ ษทั ฯ 7.3

การออกหลักทรัพย์อนื่ หนีส้ ิ นของบริษัทฯ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 หนี้สินของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยตามงบการเงินมีจานวนทั้งสิ้ น 201,120 ล้านบาท ประกอบด้วยหนี้สินหมุนเวียน และหนี้สินไม่หมุนเวียนดังนี้ หน่วย : ล้านบาท หนีส้ ิ นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย จานวนเงิน หนีส้ ิ นหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้น 3,743 เจ้าหนี้การค้า 88,393 ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ของเงินกูย้ มื ระยะยาว 9,894 ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 879 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 4,439 รวมหนี้สินหมุนเวียน 107,348 หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาว 76,261 หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 4,095 เจ้าหนี้การค้าระยะยาว หนี้สินภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดาเนินการ 120 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 1,137 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 12,159 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 93,772 รวมหนีส้ ิ น 201,120 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เงินกูย้ มื รวมทั้งหนี้ การค้าระยะยาว (ทั้งส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายใน 1 ปี และเกิน 1 ปี ) ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมีจานวนรวมทั้งสิ้ น 86,155 ล้านบาท แบ่งเป็ นเงินกูย้ ืมของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยในเงินสกุลบาท (“เงิ นกูส้ กุลบาท”) จานวน 79,718 ล้านบาท เงินสกุลเหรี ยญสหรัฐ (“เงิ นกู้ สกุลเหรี ยญสหรัฐ”) จานวน 3,625 ล้านบาท (หรื อจานวน 110 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) และเงินสกุลเยนญี่ปุ่น (“เงินกูส้ กุลเยนญี่ปุ่น”) จานวน 2,812 ล้านบาท (หรื อจานวน 8,904 ล้านเยนญี่ปุ่น) ภายหลังจากการปรับโครงสร้ างหนี้ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2542 บริ ษทั ฯ สามารถชาระเงินกูไ้ ด้ครบ ตามกาหนดการชาระเงิ นต้นที่มีไว้กบั เจ้าหนี้ มีประกันมาโดยตลอด และยังสามารถชาระเงิ นกูก้ ่อนกาหนด ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บางส่ วนจากเงินสดส่ วนเกินจากการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ได้อีกเป็ นจานวนประมาณ 3,223 ล้านบาท เพื่อ ช่วยลดภาระดอกเบี้ยจ่ายและช่วยลดความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในอดีตเงินกูร้ ะยะยาวจานวนมากของบริ ษทั ฯ เป็ นเงินกูส้ กุลเหรี ยญสหรัฐ บริ ษทั ฯ จึงมีนโยบายลด ความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ ยน และบริ ษทั ฯ ประสบความสาเร็ จในการลดเงินกูร้ ะยะยาวสกุลเหรี ยญสหรัฐ และช่ วยปรับโครงสร้ างหนี้ เพื่อให้มีกาหนดการชาระหนี้ ที่เหมาะสมกับความสามารถในการชาระหนี้ ของ บริ ษทั ฯ โดยมีมาตรการต่างๆ ที่นามาใช้อย่างต่อเนื่ อง อาทิเช่น การนาเงินสดส่ วนเกินจากการดาเนิ นงานมา ชาระคืนเงินกูข้ องเจ้าหนี้ มีประกันบางส่ วนก่อนกาหนด การทาสัญญาเงินกูว้ งเงินใหม่กบั กลุ่มธนาคารพาณิ ชย์ และสถาบันการเงินในประเทศ เพื่อใช้คืนเงินกูส้ กุลเงินบาทเดิมในจานวนเท่ากัน โดยเงินกูใ้ หม่มีอตั ราดอกเบี้ย ที่ลดลง ส่ งผลให้บริ ษทั ฯ สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านดอกเบี้ย การนากระแสเงินสดของบริ ษทั ฯ มาซื้ อคืนตราสาร การชาระหนี้ ที่มีเงื่อนไขในการผ่อนการชาระหนี้ ที่ตราไว้ในสกุลเยน การออกและเสนอขายหุ ้นกูป้ ระเภทต่างๆ เพื่อนากระแสเงินสดที่ได้มาจากการออกหุ ้นกู้ ไปชาระหนี้ สินเงินสกุลต่างประเทศที่มีอยูห่ รื อเพื่อชาระคืนเงินต้น ให้กบั เงิ นกูส้ กุลบาทก่อนกาหนดหรื อเพื่อไถ่ถอนหุ ้นกูเ้ ดิมก่อนกาหนด เป็ นต้น ทั้งนี้ ในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั ฯ ได้ดาเนินการต่างๆ ดังนี้ เมษายน 2552

ณ วันที่ 2 เมษายน 2552 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูม้ ีประกันสกุลบาท 1 ชุ ด เป็ นเงิ น จานวน 6,183 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ ้นกูค้ รั้งนี้ ไปไถ่ถอนหุ ้นกู้ มีประกันครั้งที่ 2/2545

สิ งหาคม 2552

ณ วันที่ 28 สิ งหาคม 2552 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูม้ ีประกันสกุลบาท 1 ชุด เป็ นเงิน จานวน 7,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ น้ กูค้ รั้งนี้ไปใช้ดงั ต่อไปนี้: 1) ชาระคืนหนี้ เงินกู้ IFC ทั้งจานวน เป็ นจานวน 1,125 ล้านบาทก่อนกาหนด (ชาระคืนในเดือนกันยายน 2552) 2) ชาระคืนหนี้บางส่ วนของเงินสกุลบาท เป็ นจานวน 1,309 ล้านบาท ก่อนกาหนด (ชาระคืนในเดือนกันยายน 2552) 3) ชาระคืนหุ น้ กูม้ ีประกันชุดที่ 1/2550 ทั้งจานวน เป็ นจานวน 3,000 ล้านบาท ก่อนกาหนด (ชาระคืนในเดือนตุลาคม 2552) และ 4) ชาระคืนหุ น้ กูม้ ีประกันส่ วนที่เหลือทั้งหมดของชุดที่ 1/2545 เป็ นจานวน 1,566 ล้านบาท ก่อนกาหนด (ชาระคืนในเดือนพฤศจิกายน 2552)

พฤศจิกายน 2553

ณ วันที่ 17 พฤศจิก ายน 2553 บริ ษ ทั ฯ ได้ออกหุ ้นกู้ไม่ มีป ระกันสกุ ลบาท 1 ชุ ด เป็ นเงิ น จ านวน 1,100 ล้า นบาท บริ ษ ัท ฯ ได้น าเงิ น จากการออกหุ ้ น กู้ดัง กล่ า ว ไปชาระคืนหนี้หุน้ กูร้ ะยะสั้นและตัว๋ แลกเงินระยะสั้น

มีนาคม 2554

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีประกันสกุลบาท 1 ชุดเป็ นเงิน จานวน 1,800 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวไปใช้ในการ ดาเนินงานของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ตุลาคม 2555

ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2555 บริ ษทั ฯได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีประกันสกุลบาท 1 ชุ ด เป็ นเงิน จานวน 6,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯได้นาเงินจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าว ไปใช้ในการ ดาเนินงานของบริ ษทั ซึ่ งรวมถึงการชาระคืนหนี้คงค้าง และการขยายธุ รกิจของบริ ษทั ฯ

เมษายน 2556

ณ วันที่ 5 เมษายน 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกู้ไม่มีหลักประกันสกุลบาท 1 ชุ ด เป็ น จานวน 7,800 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นา เงินจากการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวเพื่อใช้ในการชาระ คืนหนี้คงค้างก่อนกาหนด และใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ

กรกฎาคม 2556

ณ วันที่ 5 กรกฎาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 1 ชุด เป็ น จานวน 11,213 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงิ นจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวเพื่อใช้ในการ ชาระคืนหนี้ คงค้างก่อนกาหนด และใช้เป็ นเงิ นทุนหมุ นเวียนเพื่อการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ฯ

พฤศจิกายน 2556

ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 2 ชุ ด เป็ นจานวนรวม 6,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาเงินจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวเพื่อใช้ใน การช าระคื นหนี้ คงค้าง และ/หรื อ ใช้เป็ นเงิ นทุ นหมุนเวียนเพื่อการดาเนิ นงานของ บริ ษทั ฯ

ทั้งนี้ ในการชาระคื นเงิ นต้นก่ อนกาหนด (Prepayment) ของบริ ษทั ฯ สาหรั บหนี้ เงิ นกูม้ ี ประกัน สกุลดอลล่าร์ สหรัฐฯ ที่นอกเหนือจากการชาระคืนเงินต้นตามกาหนดการนั้น เงินจานวนดังกล่าวจะถูกนาไป หักลดยอดชาระคืนเงินต้นจากงวดท้ายที่สุดย้อนขึ้นมา (Inverse Chronological Order) และแบ่งจ่ายคืนเจ้าหนี้ มีประกันตามสัดส่ วนของยอดการชาระคืนเงิ นต้นของเจ้าหนี้ รายนั้นๆ (Pro-rata) หลังจากที่มีการดาเนิ น มาตรการต่างๆ เพื่อลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยนดังที่กล่าวข้างต้นแล้ว บริ ษทั ฯ มีสัดส่ วนของเงินกูท้ ี่ เป็ นเงิ นสกุ ลต่ า งประเทศต่ อเงิ นกู้ท้ งั หมดลดลงจากระดับร้ อยละ 68.20 ณ สิ้ นปี 2543 เป็ นร้ อยละ 3.86 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 อย่างไรก็ดี ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ชาระคืนหนี้ ที่มีประกันทั้งหมดให้แก่เจ้าหนี้ มีประกัน ของบริ ษทั ฯ แล้ว

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 6


แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

แผนภูมิ: โครงสร้ างเงินกู้ของบริษัทฯ จนถึง 31 ธันวาคม 2556 หน่วย : ล้านบาท

100,000 86,044

80,000

73,379

11,376 60,000

96,327

95,200

5,624

77,187

4,729 6,664

20,000

3,431

83,236

84,872

80,517

4,391

73,099

4,127

33,636 38,584

74,651 62,453

89,906

3,369

11,581 3,153

40,000 56,379

4,010 7,000

40,614

34,991

71,846

4,066 2,836

4,674 3,264

4,232

24,005 89,425

84,190

76,934 52,839

41,283

35,512

33,981

86,155

2,812 3,625

79,718

43,609

0

เงินกูส้ กุลบาท ส่วนที่ 2

เงินกูส้ กุลเหรี ยญสหรัฐ ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

เงินกูส้ กุลเยน หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

หุ้นกู้ 1. ที่ ประชุ มวิส ามัญผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั ฯ ครั้ งที่ 1/2544 วันที่ 28 มิ ถุนายน 2544 มี มติอนุ มตั ิใ ห้ บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ น้ กูป้ ระเภทต่าง ๆ ในวงเงินไม่เกิน 36,000 ล้านบาท โดยมีอายุไม่เกิน 20 ปี เพื่อ ชาระหนี้สินเงินสกุลต่างประเทศที่มีอยู่ ซึ่ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี้ (1) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชาระคืนเงินต้น สามารถไถ่ถอนก่อนกาหนด ครั้งที่ 1/2545 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2551 (“TRUE087A”) จานวน 11,715,400 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 11,715,400,000 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันเจ็ดร้อยสิ บห้าล้านสี่ แสนบาทถ้วน) (หุ น้ กูร้ ุ่ นนี้ ได้รับ การไถ่ถอนเต็มจานวนไปแล้วตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2554) (2) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชาระคืนเงินต้น สามารถไถ่ถอนก่อนกาหนด และมีผคู ้ ้ าประกันบางส่ วน ครั้งที่ 2/2545 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2554 (“TRUE112A”) จานวน 6,750,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,750,000,000 บาท (หกพันเจ็ดร้อยห้าสิ บล้านบาทถ้วน) (3) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชาระคืนเงินต้น ครั้งที่ 1/2546 ครบกาหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2550 (“TRUE07OA”) จานวน 3,319,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 3,319,000,000 บาท (สามพันสามร้อยสิ บเก้าล้านบาทถ้วน) (หุ ้นกูร้ ุ่ นนี้ได้ถูกไถ่ถอนไปหมดแล้วตามกาหนดในเดือนตุลาคม 2550) 2. ที่ ประชุ มวิสามัญผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั ฯ ครั้ งที่ 1/2547 วันที่ 16 มกราคม 2547 มีมติอนุ มตั ิใ ห้ บริ ษ ทั ฯ ออกและเสนอขายหุ ้นกู้ประเภทต่ างๆ ในวงเงิ นไม่เกิ น 15,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและ เสนอขายในคราวเดี ย วกัน ทั้ง หมดหรื อ หลายคราวก็ ไ ด้ ขึ้ น อยู่ ก ับ การพิ จ ารณาและเงื่ อ นไขที่ ก าหนด โดยคณะกรรมการ และ/หรื อ บุ ค คลที่ ค ณะกรรมการมอบหมาย ซึ่ งจนถึ ง ปั จจุ บนั บริ ษ ทั ฯ ได้ออกและ เสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี้ (1) หุ ้ น กู้ มี ป ระกั น ชนิ ดทยอยช าระคื น เงิ น ต้ น ครั้ งที่ 1/2547 ครบก าหนดไถ่ ถ อน ปี พ.ศ. 2554 (“TRUE117A”) จานวน 2,413,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 2,413,000,000 บาท (สองพันสี่ ร้อยสิ บสามล้านบาทถ้วน) (2) หุ ้นกูร้ ะยะสั้นภายใต้โครงการหุ ้นกูร้ ะยะสั้นของ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) โครงการที่ 1/2549 ภายในระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่วนั ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เป็ นต้นไป เป็ นจานวนเงิ นไม่เกิ น 3,000,000,000 บาท (สามพันล้านบาทถ้วน) (3) หุ ้นกูม้ ี ประกัน ครั้ ง ที่ 1/2550 ชุ ดที่ 1 ครบก าหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2552 (“TRUE097A”) จ านวน 1,000,000 หน่ ว ย มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ห น่ ว ยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมู ล ค่ า 1,000,000,000 บาท (หนึ่งพันล้านบาทถ้วน) (4) หุ ้นกูม้ ี ประกัน ครั้ ง ที่ 1/2550 ชุ ดที่ 2 ครบก าหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2553 (“TRUE107A”) จ านวน 2,000,000 หน่ ว ย มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ห น่ ว ยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมู ล ค่ า 2,000,000,000 บาท (สองพันล้านบาทถ้วน) ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(5) หุ ้นกู้มี ประกัน ครั้ ง ที่ 1/2550 ชุ ดที่ 3 ครบก าหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2556 (“TRUE127A”) จ านวน 1,000,000 หน่ ว ย มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ห น่ ว ยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมู ล ค่ า 1,000,000,000 บาท (หนึ่งพันล้านบาทถ้วน) 3. ที่ ป ระชุ ม สามัญผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั ฯ ประจาปี 2551 วันที่ 29 เมษายน 2551 มี มติ อ นุ มตั ิ ใ ห้ บริ ษ ทั ฯ ออกและเสนอขายหุ ้นกู้ประเภทต่ างๆ ในวงเงิ นไม่เกิ น 20,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและ เสนอขายในคราวเดี ย วกัน ทั้ง หมดหรื อ หลายคราวก็ ไ ด้ ขึ้ น อยู่ ก ับ การพิ จ ารณาและเงื่ อ นไขที่ ก าหนด โดยคณะกรรมการ และ/หรื อ บุ ค คลที่ ค ณะกรรมการมอบหมาย ซึ่ งจนถึ ง ปั จจุ บนั บริ ษ ทั ฯ ได้ออกและ เสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี้ (1) หุ ้นกูม้ ีประกัน ครั้งที่ 1/2552 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2557 (“TRUE144A”) จานวน 6,183,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่ วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,183,000,000 บาท (หกพันหนึ่งร้อย แปดสิ บสามล้านบาทถ้วน) (2) หุ ้นกู้มี ประกัน ครั้ งที่ 2/2552 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2558 (“TRUE151A”) จานวน 7,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 7,000,000,000 บาท (เจ็ดพันล้านบาทถ้วน) 4. ที่ ป ระชุ ม สามัญผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั ฯ ประจาปี 2553 วันที่ 23 เมษายน 2553 มี มติ อ นุ มตั ิ ใ ห้ บริ ษ ทั ฯ ออกและเสนอขายหุ ้นกู้ประเภทต่ างๆ ในวงเงิ นไม่เกิ น 30,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและ เสนอขายในคราวเดี ยวกันทั้งหมดหรื อหลายคราวก็ ได้ ขึ้ นอยู่กบั การพิจารณาและเงื่ อนไขที่ กาหนดโดย คณะกรรมการ และ/หรื อ บุคคลที่คณะกรรมการมอบหมาย ต่อมา ที่ประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2556 วันที่ 23 เมษายน 2556 ได้มีมติ อนุ มตั ิการแก้ไข เพิ่มเติมวงเงินในการออกหุ ้นกูแ้ ละใช้แทนซึ่ งมติที่ประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2553 โดยที่ประชุมได้มี มติอนุ มตั ิการแก้ไขเพิ่มเติมวงเงินในการออกหุ ้นกูอ้ ีกในจานวนไม่เกิน 30,000 ล้านบาท และเมื่อนับรวมกับ มูลค่าหุ ้นกู้ของบริ ษทั ฯ ที่ ยงั มิ ได้ไถ่ถอนทั้งหมดทุ กประเภท ณ ขณะใดขณะหนึ่ ง จะต้องมี จานวนไม่เกิ น 60,000 ล้านบาท หรื อสกุลเงินอื่นที่เทียบเท่า ซึ่ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี้ (1) หุ ้นกูร้ ะยะสั้น ครั้งที่ 1/2553 ครบกาหนดไถ่ถอนวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 (“TRUE10N18A”) จานวน 900,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 900,000,000 บาท (เก้าร้อยล้านบาทถ้วน) (2) หุ น้ กูไ้ ม่มีประกัน ครั้งที่ 1/2553 ครบกาหนดไถ่ถอนวันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 (“TRUE13NA”) จานวน 1,100,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,100,000,000 บาท (หนึ่งพันหนึ่ ง ร้อยล้านบาทถ้วน) (3) หุ ้นกูไ้ ม่มีประกันครั้งที่ 1/2554 ครบกาหนดไถ่ถอนวันที่ 7 เมษายน 2557 (“TRUE144B”) จานวน 1,800,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,800,000,000 บาท (หนึ่งพัน แปดร้อยล้านบาทถ้วน) ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(4) หุ ้นกู้ไม่มีประกันครั้งที่ 1/2555 ครบกาหนดไถ่ ถอนวันที่ 5 ตุลาคม 2559 (“TRUE16OA”) จานวน 6,000,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,000,000,000 บาท (หกพันล้านบาท) (5) หุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 1/2556 ครบกาหนดไถ่ถอน 5 เมษายน 2560 (“TRUE174A”) จานวน 7,800,000 หน่ วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 7,800,000,000 บาท (เจ็ดพัน แปดร้อยล้านบาทถ้วน) (6) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 2/2556 ครบกาหนดไถ่ถอน 5 กรกฏาคม 2560 (“TRUE177A”) จานวน 11,213,000 หน่ วย มูลค่าที่ตราไว้หน่ วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 11,213,000,000 บาท (หนึ่ ง หมื่นหนึ่งพันสองร้อยสิ บสามล้านบาทถ้วน) (7) หุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันครั้ งที่ 3/2556 (หุ ้นกูช้ ุ ดที่ 1) ครบกาหนดไถ่ถอน 15 พฤศจิกายน 2557 (“TRUE14NA”) จานวน 2,500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 2,500,000,000 บาท (สองพันห้าร้อยล้านบาทถ้วน) (8) หุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันครั้งที่ 3/2556 (หุ ้นกูช้ ุ ดที่ 2) ครบกาหนดไถ่ถอน 15 พฤศจิกายน 2558 (“TRUE15NA”) จานวน 3,500,000 หน่วย มูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 3,500,000,000 บาท (สามพันห้าร้อยล้านบาทถ้วน)

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

หุ้นกู้ระยะยาวของบริษทั ฯ ที่ยงั ไม่ ครบกาหนดไถ่ ถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

TRUE144B TRUE160A

31 มีนาคม 2554 5 ตุลาคม 2555

มูลค่าหุน้ กู้ ณ วันออกหุน้ กู้ (ล้านบาท) 1,800 6,000

TRUE174A TRUE177A

5 เมษายน 2556 5 กรกฎาคม 2556

7,800 11,213

7,800 11,213

4.00 4.00

5 เมษายน 2560 5 กรกฎาคม 2560

5.80% 5.55%

Public Offering Public Offering

BBBBBB-

TRUE14NA TRUE15NA

15 พฤศจิกายน 2556 15 พฤศจิกายน 2556

2,500 3,500

2,500 3,500

1.00 2.00

15 พฤศจิกายน 2557 15 พฤศจิกายน 2558

4.70% 4.95%

Public Offering Public Offering

BBBBBB-

สัญลักษณ์หุน้ กู้

วันที่ออกหุ น้ กู้

มูลค่าหุน้ กู้ ณ 31 ธ.ค. 56 (ล้านบาท) 1,800 6,000

อายุหุน้ กู้ (ปี )

วันครบกาหนด ไถ่ถอนหุน้ กู้

อัตราดอกเบี้ย (ต่อปี )

ประเภทของ การเสนอขาย

3.00 4.00

7 เมษายน 2557 5 ตุลาคม 2559

6.30% 6.00%

Public Offering Public Offering

การจัดอันดับ ความน่าเชื่อถือ ณ 22 ต.ค. 56 BBBBBB-

รวม 32,813 32,813 หมายเหตุ: หุน้ กูท้ ุกรุ่ นดังกล่าวเป็ นหุน้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน และมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุน้ กู้

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

7.4

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

นโยบายการจ่ ายเงินปันผล

บริ ษทั ฯ มี นโยบายการจ่ายเงิ นปั นผลในอัตราอย่างน้อยร้ อยละ 50 ของกาไรสุ ทธิ จากงบการเงิ น เฉพาะของบริ ษทั ฯ ในแต่ละปี ภายหลังการจัดสรรเป็ นสารองต่าง ๆ และหากมีเงินสดคงเหลือ รวมทั้งเป็ นไป ตามข้อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสัญญาเงินกูต้ ่าง ๆ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ ยังไม่เคยประกาศจ่ายเงินปั นผลนับตั้งแต่เปิ ดดาเนิ นกิจการ เนื่ องจากบริ ษทั ฯ ยังมีขาดทุนสะสม ซึ่ งตามกฎหมายแล้ว บริ ษทั ฯ ไม่สามารถจ่ายเงินปั นผลให้ผถู ้ ือหุ น้ ได้ สาหรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษทั ย่อย คณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยแต่ละแห่ งจะพิจารณาการ จ่ายเงิ นปั นผลจากกระแสเงิ นสดคงเหลื อเทียบกับงบลงทุนของบริ ษทั ย่อยนั้น ๆ หากกระแสเงินสดคงเหลือ ของบริ ษทั ย่อยมีเพียงพอ และได้ต้ งั สารองตามกฎหมายแล้ว คณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยนั้น ๆ จะพิจารณา จ่ายเงินปั นผลเป็ นกรณี ไป

ส่วนที่ 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที่ 7 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1

คณะกรรมการบริษัท

ตามข้อบังคับของบริ ษทั ฯ กาหนดให้คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการ จานวน ไม่ น้อยกว่า 5 คน และกรรมการไม่ น้อยกว่ากึ่ งหนึ่ ง ของจานวนกรรมการทั้งหมดนั้นต้องมี ถิ่ นที่ อยู่ใ น ราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริ ษทั ฯ จะต้องเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกาหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยบุคคลผูท้ รงคุณวุฒิ รวมทั้งสิ้ นจานวน 15 ท่าน ประกอบด้วย (1)

กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร (Executive Directors) จานวน 4 ท่าน

(2)

กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร (Non-Executive Directors) จานวน 11 ท่าน ประกอบด้วย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จานวน 5 ท่าน คิดเป็ นสัดส่ วน 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งคณะ ซึ่ งเป็ นไปตามข้อกาหนดของ คณะกรรมการกากับตลาดทุน - กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ่ งไม่เกี่ยวข้องในการบริ หารงานประจา ซึ่ งรวมตัวแทนของ ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ จานวน 6 ท่าน

คานิยาม กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร หมายถึง กรรมการที่ดารงตาแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หารและมีส่วนเกี่ยวข้องในการบริ หารงานประจาของบริ ษทั ฯ กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร หมายถึง กรรมการที่มิได้ดารงตาแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หารและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริ หารงานประจาของ บริ ษทั ฯ อาจจะเป็ นหรื อไม่เป็ นกรรมการอิสระก็ได้ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการผูซ้ ่ ึ งเป็ นอิสระจากผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่หรื อกลุ่มของผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่และผูบ้ ริ หารของนิ ติบุคคลที่ เป็ นผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ และ เป็ นอิสระจากความสัมพันธ์อื่นใดที่จะกระทบต่อการใช้ดุลพินิจอย่างอิสระ และ มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุน และนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

คณะกรรมการบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม

การประชุมคณะกรรมการ จานวนครั้ง จานวนครั้ง การประชุม1/ ที่เข้าร่ วมประชุม 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 9 8 และ กรรมการในคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 2. ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ 9 9 ประธานคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 3. นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ 9 9 กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 4. นายฮาราลด์ ลิงค์ กรรมการอิสระ 9 7 5. ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่ าเฉลิม กรรมการอิสระ 9 9 6. นายธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการ และ 9 4 ประธานคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 7. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ รองประธานกรรมการ 9 9 ประธานคณะกรรมการด้านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 8. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์ รองประธานกรรมการ และ 9 8 หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านกฎหมาย 9. ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม กรรมการ และ 9 9 กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน 10. นายอารุ ง สรรพสิ ทธิ์ วงศ์ กรรมการ กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน 9 9 และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 11. นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ กรรมการ และ 9 8 หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฏิบตั ิการ ด้านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการ และ บารุ งรักษา 2/

ส่วนที่ 2

ตาแหน่ง

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

รายนาม

ตาแหน่ง

12. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 13. นายสุ ภกิต

เจียรวนนท์

14. นายณรงค์ 15. นายศุภชัย

เจียรวนนท์ เจียรวนนท์

หมายเหตุ :

1/

2/

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การประชุมคณะกรรมการ จานวนครั้ง จานวนครั้ง การประชุม1/ ที่เข้าร่ วมประชุม 9 5

กรรมการ และ ผูอ้ านวยการบริ หาร – การลงทุนกลุ่ม กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร

9

5

9 9

5 7

ในปี 2556 คณะกรรมการบริ ษทั มีการประชุมทั้งสิ้น จานวน 9 ครั้ง นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ มีการกาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ให้กรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หาร สามารถที่จะประชุ มระหว่างกันเอง ตามความจาเป็ น โดยไม่มีกรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายจัดการเข้าร่ วมประชุ ม เพื่ออภิปรายปั ญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการหรื อเรื่ องที่ อยู่ในความสนใจ ซึ่ งในปี 2556 กรรมการที่ มิใช่ ผบู ้ ริ หารมีการประชุ มระหว่างกันเองในรู ปแบบของการประชุ มอย่างไม่เป็ นทางการ หลังจากเสร็ จสิ้นการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557 บริ ษทั ฯ มีการปรับปรุ งโครงสร้างองค์กร และแต่งตั้งผูบ้ ริ หาร เป็ นผลให้มีการเปลี่ยนชื่ อตาแหน่งทางการบริ หาร ของนายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ เป็ น “หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฏิบตั ิการ - ด้านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการและบารุ งรักษา ธุ รกิจบรอดแบนด์ โมบาย ซีเอทีวี”

ทั้ง นี้ กรรมการบริ ษ ทั ทุ ก ท่ า น เป็ นผูม้ ี คุ ณสมบัติค รบถ้วนตามที่ ก ฎหมายก าหนด ไม่ มี ล ัก ษณะ ต้องห้ามตามกฎหมาย และ ไม่มีลกั ษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ กรรมการทุ กท่ านทุ่ม เทให้ก ับการปฏิ บตั ิ หน้าที่ เป็ นกรรมการ ให้ความร่ วมมื อช่ วยเหลื อในการ ดาเนิ นกิ จการของบริ ษทั ฯ ในทุก ๆ ด้าน ซึ่ งเป็ นภาระที่ หนักและต้องรับผิดชอบอย่างยิ่ง สาหรั บบทบาท หน้าที่ และ ความรั บผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ตลอดจนการเข้าร่ วมประชุ มของกรรมการแต่ละท่านนั้น กรรมการทุกท่านเข้าร่ วมในการประชุ มทุกครั้ง เว้นแต่กรณี ที่มีเหตุสาคัญและจาเป็ นที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ อย่างไรก็ตาม กรรมการท่านใดที่ติดภารกิจจาเป็ นไม่สามารถเข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ได้ จะบอก กล่าวแจ้งเหตุผลขอลาการประชุ มและให้ความคิดเห็ นต่อวาระการประชุ มที่สาคัญเป็ นการล่วงหน้าทุกครั้ง นอกจากนี้ กรรมการของบริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญกับการเข้าอบรมตามหลักสู ตรที่จดั โดยสมาคมส่ งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กรรมการซึ่งมีอานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ นายสุ ภกิต เจียรวนนท์ นายศุภชัย เจียรวนนท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ศาสตราจารย์พิเศษอธึ ก อัศวานันท์ นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ กรรมการสองในห้าคนลงลายมือชื่ อร่ วมกันและประทับตราสาคัญของบริ ษทั ฯ ในกรณี ที่ลงนามในงบการเงิน หนังสื อรับรองงบการเงิน และ เอกสารประกอบงบการเงิน ให้กรรมการคนใดคนหนึ่งในห้าคน ดังกล่าวข้างต้นลงนามและประทับตราสาคัญของบริ ษทั ฯ อานาจหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 

   

 

กากับดูแลการดาเนินกิจการของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของ บริ ษทั ฯ ตลอดจนมติของที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ความซื่ อสัตย์สุจริ ต เพื่ อรั ก ษาผลประโยชน์ ของบริ ษ ทั ฯ และผูถ้ ื อหุ ้น และเปิ ดเผยข้อมูล ต่อ ผูถ้ ื อหุ ้นอย่างถู กต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส และ ทันเวลา อนุมตั ิวสิ ัยทัศน์ แผนยุทธศาสตร์ พันธกิจ แผนการธุ รกิจ และ เป้ าหมายทางการเงิน ประเมินผลการดาเนินการของบริ ษทั ฯ และผลการปฏิบตั ิงานของประธานคณะผูบ้ ริ หาร (ซีอีโอ) ดูแลให้เกิดความมัน่ ใจในการรับช่วงบริ หารงานของสมาชิกระดับสู งในฝ่ ายจัดการ ดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามนโยบายที่เกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุ รกิจ รวมทั้งคุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิ ในการทางาน ข้อกาหนดการเปิ ดเผยข้อมูล ข้อกาหนดของการเข้าทารายการระหว่างกัน ตลอดจน ข้อ ก าหนดการใช้ข ้อมู ลภายในเพื่ อซื้ อขายหลักทรั พย์ รวมทั้งตรวจสอบให้ มี การปฏิ บ ัติ ตาม ข้อกาหนดดังกล่าว โดยยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว ดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี การจัดการความเสี่ ยง ตลอดจนระบบการควบคุมและ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดูแลให้มีกลไกในการรับเรื่ องร้องเรี ยนและการดาเนินการกรณี มีการชี้เบาะแส เสนอชื่อผูท้ ี่จะเข้ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการบริ ษทั ต่อผูถ้ ือหุ น้

ในส่ วนของการจัดการบริ ษ ทั ฯ นั้น คณะกรรมการบริ ษ ทั มี อานาจหน้า ที่ ตดั สิ นใจและดู แลการ ด าเนิ น งานของบริ ษ ัท ฯ เว้น แต่ เ รื่ อ งที่ ก ฎหมายก าหนดให้ ต้อ งได้รั บ มติ อ นุ ม ัติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้ น นอกจากนั้น คณะกรรมการบริ ษ ทั อาจมอบหมายให้ก รรมการคนหนึ่ งหรื อ หลายคนหรื อบุ คคลอื่ นใด ปฏิ บตั ิการอย่างใดอย่างหนึ่ งแทนคณะกรรมการบริ ษทั ได้ อย่างไรก็ตาม การตัดสิ นใจในการดาเนิ นงานที่ สาคัญ อาทิเช่ น การลงทุ นและการกูย้ ืมที่ มีนัยสาคัญ ฝ่ ายบริ หารจะต้องนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

8.2

ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ผูบ้ ริ หาร 1/ ของบริ ษทั ฯ มีรายนามดังต่อไปนี้

รายนาม 1. นายศุภชัย เจียรวนนท์ 2. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์ 3. นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ 2/ 4. นายชัชวาลย์ 5. นายนพปฎล 6. นายวิลเลี่ยม

เจียรวนนท์ เดชอุดม แฮริ ส

7. นายขจร 8. นายธิติฏฐ์ 9. นายอติรุฒม์ 10. นายทรงธรรม 11. นายอาณัติ 12. นายเจริ ญ 13. ดร. ปพนธ์ 14. นายคาร์ล

เจียรวนนท์ นันทพัฒน์สิริ โตทวีแสนสุ ข 2/ เพียรพัฒนาวิทย์ เมฆไพบูลย์วฒั นา 2/ ลิ่มกังวาฬมงคล 2/ รัตนชัยกานนท์ 2/ กูเดียร์

หมายเหตุ :

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1/

2/

ตาแหน่ง กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร รองประธานกรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านกฎหมาย กรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฏิบตั ิการ ด้านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการและบารุ งรักษา กรรมการ และ ผูอ้ านวยการบริ หาร - การลงทุนกลุ่ม หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านการเงิน ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านพัฒนาธุ รกิจระหว่างประเทศ และ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่/ประธานคณะผูบ้ ริ หาร ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านกิจการองค์กร ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านรัฐกิจสัมพันธ์ ผูอ้ านวยการบริ หาร - ธุ รกิจโมบาย ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านลูกค้าองค์กรธุ รกิจและบริ การระหว่างประเทศ ผูอ้ านวยการบริ หาร - ธุ รกิจเพย์ ทีวี ผูอ้ านวยการบริ หาร - ธุ รกิจออนไลน์ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านการพาณิ ชย์ - ด้านการขายและรี เทล หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หาร - ด้านบริ การลูกค้า

“ผูบ้ ริ หาร” ในหัวข้อนี้ มีความหมายตามที่กาหนดโดยคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่ งหมายถึง กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริ หารสี่ รายแรกนับต่อจากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ลงมา และผูซ้ ่ ึ งดารงตาแหน่งเทียบเท่ากับผูด้ ารงตาแหน่งระดับ บริ หารรายที่สี่ทุกราย เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2557 บริ ษทั ฯ มีการปรับปรุ งโครงสร้างองค์กร และแต่งตั้งผูบ้ ริ หาร เป็ นผลให้มีการเปลี่ยนชื่ อเรี ยกตาแหน่ง สาหรับ ผูบ้ ริ หารเดิม จานวน 5 ท่าน ดังนี้ 1. นายวิเชาวน์ รักพงษ์โรจน์ กรรมการ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฎิบตั ิการ- ด้านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการและบารุ งรักษาธุ รกิจบอร์ดแบนด์ โมบาย ซีเอทีวี 2. นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุ ข ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค 2 3. นายอาณัติ เมฆไพบูลย์วฒั นา ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค 4 4. นายเจริ ญ ลิ่มกังวาฬมงคล ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค 3 5. ดร. ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์ ผูอ้ านวยการบริ หาร – ด้านพัฒนาธุ รกิจเชิงกลยุทธ์ และ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ / ประธานคณะผูบ้ ริ หาร นอกจากนี้ มีผบู ้ ริ หารที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ที่เข้าข่ายเป็ นผูบ้ ริ หารตามนัยของประกาศสานักงาน ก.ล.ต. จานวน 1 ท่าน ดังนี้ นายศิริพจน์ คุณากรพันธุ ์ ผูอ้ านวยการบริ หาร - ด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค 1

ทั้งนี้ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ทุ กท่ าน เป็ นผูม้ ี คุ ณสมบัติครบถ้วนตามที่ กฎหมายก าหนด ไม่มี ลกั ษณะ ต้องห้ามตามกฎหมาย และ ไม่มีลกั ษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างการบริหารจัดการ คณะกรรมกำรบริษัท

คณะกรรมกำรกำหนดค่ำตอบแทนและสรรหำกรรมกำร

คณะกรรมกำรตรวจสอบ

คณะกรรมกำรกำกับดูแลกิจกำรทีด ่ ี

คณะกรรมกำรด ้ำนกำรเงิน

กรรมกำรผู ้จัดกำรใหญ่ / ประธำนคณะผู ้บริหำร

คณะกรรมกำรบริหำร

หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำร ด ้ำนกฎหมำย

หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำร ด ้ำนปฏิบัตก ิ ำร

หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำร ด ้ำนกำรเงิน

หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำร ด ้ำนบริกำรลูกค ้ำ

หัวหน ้ำคณะผู ้บริหำร ด ้ำนกำรพำณิชย์และ กำรตลำด

ผู ้อำนวยกำรบริหำร กำรลงทุนกลุม ่

ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนพัฒนำธุรกิจ เชิงกลยุทธ์

ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนพัฒนำธุรกิจ ระหว่ำงประเทศ

ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนรัฐกิจสัมพันธ์

ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนกิจกำรองค์กร

ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนลูกค ้ำองค์กร ธุรกิจและบริกำร ระหว่ำงประเทศ

ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนกำรบริหำรจัดกำรระดับภูมภ ิ ำค 1 ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนกำรบริหำรจัดกำรระดับภูมภ ิ ำค 2 ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนกำรบริหำรจัดกำรระดับภูมภ ิ ำค 3 ผู ้อำนวยกำรบริหำร ด ้ำนกำรบริหำรจัดกำรระดับภูมภ ิ ำค 4

ผู ้อำนวยกำร ด ้ำนบัญชี

ส่วนที่ 2

กำรวิจัยและ พัฒนำ

ปฏิบัตก ิ ำรเทคโนโลยี สำรสนเทศ

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

ทรัพยำกรบุคคลและ พัฒนำองค์กร

้ จัดซือ

่ สำรองค์กร สือ ประชำสัมพันธ์กำรตลำด และ กิจกรรมองค์กรเพือ ่ สังคม

บริหำรแบรนด์และ ่ สำรแบรนด์ สือ

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 6

ตรวจสอบ ภำยใน


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

อานาจหน้ าทีข่ องประธานคณะผู้บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็ นตาแหน่งทางการบริ หารสู งสุ ดของบริ ษทั ฯ และ เป็ นตาแหน่งที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริ ษทั ความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หารเป็ นไปในรู ปแบบการทางานร่ วมกัน โดยที่ คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูก้ ากับดูแล ให้คาปรึ กษา ข้อคิดเห็ น และ ข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายบริ หาร สนับสนุ นการ ดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ตลอดจนติดตามดูแลการบริ หารงานของฝ่ ายบริ หารและผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ แต่จะไม่เข้าไปก้าวก่ายในการบริ หารกิจการของบริ ษทั ฯ ส่ วนประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษทั ในด้านการนานโยบายของคณะกรรรมการบริ ษทั ไปใช้ในทางปฏิบตั ิ บริ หารจัดการและควบคุ มดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ให้ เป็ นไปตามข้อบังคับ มติที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น มติคณะกรรมการ ทิศทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อานาจหน้าที่ของประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีดงั ต่อไปนี้ 

 

ส่วนที่ 2

ดาเนิ นการให้มีการกาหนดทิศทางธุ รกิจ พันธกิจ แผนธุ รกิ จ พร้อมทั้ง งบประมาณ และ นาเสนอ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อขออนุมตั ิ วางกลยุทธ์ และแผนปฏิ บตั ิ การของบริ ษทั ฯ ตามกรอบทิ ศทางธุ รกิ จและพันธกิ จของบริ ษทั ฯ ที่ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการ ควบคุ ม ดู แลให้ก ารดาเนิ นการตามแผนธุ รกิ จของบริ ษ ทั ฯ เป็ นไปอย่างมี ประสิ ท ธิ ภาพ และ สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ กากับ ดู แล และ ควบคุ มการดาเนิ นธุ รกิ จประจาวันอันเป็ นปกติ ธุระของบริ ษ ทั ฯ รวมทั้งการ บริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามทิศทาง แผนธุ รกิ จ และ งบประมาณที่ได้รับอนุ มตั ิ จากคณะกรรมการ ควบคุมดูแลให้การดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ เป็ นไปตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง นาเสนอรายงานการดาเนิ น งานและผลประกอบการของบริ ษ ัท ฯ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษ ัท อย่า งสม่ า เสมอ ซึ่ งหากคณะกรรมการมี ก ารให้ข ้อ คิ ด เห็ นหรื อ ข้อ เสนอแนะแก่ ฝ่ ายบริ ห าร ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่มีหน้าที่นาข้อคิดเห็ นหรื อข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการไปสู่ การปฏิบตั ิ เพื่อให้บรรลุผลอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มี อ านาจในการเข้าท าสั ญญา หรื อ ข้อตกลงต่ างๆ และ มี อ านาจในการอนุ ม ัติ ค่ าใช้จ่ ายต่ างๆ ตามขอบเขตที่กาหนดไว้ในนโยบายและระเบียบวิธีปฏิ บตั ิ ของบริ ษทั ฯ เรื่ อง Signing Authority ทั้งนี้ ในกรณี ที่เป็ นการเข้าทารายการระหว่างกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริ ษทั ฯ หรื อ บริ ษทั ย่อย จะต้องปฏิบตั ิตามกฎหมาย และ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องดังกล่าว ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

8.3

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้ง นางรังสิ นี สุ จริ ตสัญชัย ดารงตาแหน่ง เลขานุ การบริ ษทั ตั้งแต่วนั ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 เพื่อทาหน้าที่ให้คาแนะนาด้านกฎหมาย และ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่คณะกรรมการจะต้องทราบ และ ปฏิบตั ิหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ประสานงานให้มีการปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการ รวมทั้งมีหน้าที่ตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลที่สาคัญของเลขานุการบริ ษทั ไว้ในรายละเอียดเกี่ยวกับเลขานุการบริ ษทั 8.4

ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ (1) ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน (1.1) ค่าตอบแทนกรรมการ

ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2556 ค่าตอบแทนกรรมการรวม 15 ท่าน เป็ นเงินรวม ทั้งสิ้ น จานวน 27,600,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ได้รับค่าตอบแทน รวม ท่านละ (บาท) (บาท) กลุ่มที่ 1 - ประธานกรรมการ ได้แก่ นายธนินท์ เจียรวนนท์ 3,600,000 - กรรมการอิสระที่ดารงตาแหน่ งประธานกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร. โกศล เพ็ชร์ สุวรรณ์ 3,600,000 รวม 10,800,000 กลุ่มที่ 2 - กรรมการอิสระที่ดารงตาแหน่งกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ นายโชติ โภควนิ ช 2,400,000 รวม 2,400,000 กลุ่มที่ 3 - รองประธานกรรมการ ได้แก่ ดร. อาชว์ เตาลานนท์ และ ศาสตราจารย์พิเศษ อธึก อัศวานันท์ 1,800,000 รวม 3,600,000 กลุ่มที่ 4 - กรรมการอิสระ ได้แก่ นายฮาราลด์ ลิงค์ และ ศาสตราจารย์พิเศษ เรวัต ฉ่ าเฉลิม 1,200,000 - กรรมการ ได้แก่ นายศุภชัย เจียรวนนท์ นายสุ ภกิต เจียรวนนท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ นายอารุ ง สรรพสิ ทธิ์วงศ์ นายณรงค์ เจียรวนนท์ และ ศาสตราจารย์ ดร. วรภัทร โตธนะเกษม 1,200,000 รวม 10,800,000 รวมทั้งสิ้ น 27,600,000

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี้ นายโชติ โภควนิ ช กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ฯ มีการ ดารงตาแหน่ งเป็ นกรรมการในบริ ษทั ย่อย จานวน 2 แห่ ง (ในฐานะตัวแทนของคณะกรรมการตรวจสอบของ บริ ษทั ฯ) โดยได้รับค่าตอบแทนกรรมการจากบริ ษทั ย่อยรวมในปี 2556 ดังนี้

1) กรรมการของบริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์ เทเลเทค จากัด (มหาชน) 2) กรรมการของบริ ษทั ทรู มูฟ จากัด ค่าตอบแทนรวม

ค่าตอบแทน (1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56) - บาท 600,000 บาท 600,000 บาท

(1.2) ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2556 ค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หารรวม 14 ท่าน เป็ นเงินทั้งสิ้ น จานวน 187.25 ล้า นบาท ประกอบด้ว ยค่ า ตอบแทนในรู ป ของเงิ นเดื อ น ผลตอบแทนการปฏิ บ ัติง าน และ ผลประโยชน์อื่น ๆ (2) ค่ าตอบแทนอืน่ (2.1) เงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ บริ ษ ทั ฯ ได้จดั ให้มีก องทุ นสารองเลี้ ย งชี พ ให้แก่ ผูบ้ ริ หาร โดยบริ ษ ทั ฯ ได้ส มทบใน อัตราร้อยละ 3 - 7 ของเงินเดือน โดยในปี 2556 บริ ษทั ฯ ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชี พสาหรับผูบ้ ริ หาร 14 ราย รวมทั้งสิ้ น จานวน 9.64 ล้านบาท (2.2) โครงการร่ วมลงทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ปี 2557 - 2560 (“EJIP”) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีโครงการ EJIP เพื่อเป็ นแรงจูงใจแก่ผบู ้ ริ หารในการปฏิบตั ิงานและ ร่ วมทางานกับบริ ษทั ฯ ในระยะยาว โดยมีระยะเวลาของโครงการ 4 ปี (นับระยะเวลารวม Slient Period) โดยเริ่ ม ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2557 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผูบ้ ริ หารที่สามารถเข้าร่ วมโครงการ EJIP ได้จะต้อง มีอายุงานไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี นับถึงวันที่เริ่ มจ่ายสะสม โดยบริ ษทั ฯ จะหักเงินเดือนผูบ้ ริ หารที่เข้าร่ วมโครงการ ในอัตราร้อยละ 5 จากฐานเงินเดือน และ บริ ษทั ฯ จะจ่ายเงินสมทบอีกในอัตราร้อยละ 10 จากฐานเงินเดือน

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

8.5

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บุคลากร จานวนพนักงานของบริ ษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 แบ่งแยกตามกลุ่มงานมีดงั นี้ กลุ่มงาน พนักงานในระดับบริ หาร ปฏิบตั ิการโครงข่าย และ บารุ งรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริ การลูกค้า การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน

จานวนพนักงาน (คน) 91 1,122 416 94 181 110 520 2,534

ที่มา : บริ ษทั ฯ

ค่ าตอบแทน และสวัสดิการพนักงาน (1) ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน  เงินเดือน  เงิ น ตอบแทนการปฏิ บ ต ั ิงานประจาปี ในอัตรา 0-4 เท่าของเงิ นเดื อนพนักงาน ขึ้ นอยู่กบั ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริ ษทั ฯ  กรณี เ กษี ย ณอายุ พนั ก งานที่ จ ะมี อ ายุ ค รบ 60 ปี บริ บู ร ณ์ หรื อ ในกรณี ที่ บ ริ ษ ัท ฯ และ พนักงานเห็นพ้องต้องกันอาจให้พนักงานเกษียณอายุก่อนกาหนดได้ โดยพนักงานจะได้รับ ค่าชดเชยการเกษียณอายุตามกฎหมาย ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2556 ค่าตอบแทนพนักงานรวมทั้งสิ้ นประมาณ 2,212.12 ล้านบาท โดยประกอบด้วย ค่าแรง เงินเดือน เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชี พ และอื่น ๆ (2) สวัสดิการ 

ส่วนที่ 2

แผนประกันสุ ขภาพและสวัสดิการพนักงาน - ห้องพยาบาลของบริ ษทั ฯ - การตรวจสุ ขภาพประจาปี - การตรวจร่ างกายพนักงานใหม่ - การประกันสุ ขภาพกลุ่ม

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

8.6

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การประกันอุบตั ิเหตุกลุ่ม การประกันชีวิตกลุ่ม กองทุนประกันสังคม กองทุนสารองเลี้ยงชีพ

วันหยุดพักผ่ อนประจาปี พนักงานของบริ ษทั ฯ มีสิทธิ หยุดพักผ่อนประจาปี 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทางาน ขึ้นอยูก่ บั ระดับตาแหน่งและอายุการทางาน ดังนี้ - พนักงานระดับผูช้ ่วยผูอ้ านวยการฝ่ ายหรื อเทียบเท่าขึ้นไป มีสิทธิ หยุดพักผ่อน ปี ละ 15 วันทางาน - พนักงานระดับผูจ้ ดั การหรื อเทียบเท่าลงมา มีสิทธิ หยุดพักผ่อนประจาปี ตามอายุงานดังนี้ ก) พ้นทดลองงาน แต่ไม่ถึง 3 ปี 10 วันทางาน ข) อายุงาน 3 ปี แต่ไม่ถึง 5 ปี 12 วันทางาน ค) อายุงานตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป 15 วันทางาน

การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน

บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญต่อการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน จึ งได้มีการจัดตั้งหน่ วยงานที่ดูแลใน เรื่ อ งนี้ โดยเฉพาะ คื อ ศู นย์ฝึ กอบรมและการพัฒ นาบุ ค ลากร ซึ่ งมี เ ป้ าหมายหลัก ในการพัฒนาความรู ้ ความสามารถในการเป็ นพนัก งานของบริ ษ ัท ฯ ความรู ้ ค วามสามารถเหล่ า นี้ เป็ นรากฐานที่ ส าคัญของ การพัฒนาบุคลากร สายงาน และเป็ นการเปิ ดโอกาสให้พนักงานเกิดความก้าวหน้าในอาชี พ ศูนย์ฝึกอบรมและ พัฒนามีทางเลือกหลากหลายเพื่อการเรี ยนรู ้ เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง ช่ วยให้พนักงานสามารถปฏิบตั ิงาน ลุล่วงตามที่ได้รับมอบหมาย และเตรี ยมความพร้อมให้พนักงานมุ่งสู่ เป้ าหมายในอาชี พการงานของตน ซึ่ งการ พัฒนาบุคลากรนี้ในที่สุดก็จะส่ งผลถึงความแข็งแกร่ งของการดาเนินกิจการของบริ ษทั ฯ นัน่ เอง บทบาทอื่น ๆ ที่สาคัญของศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนา นอกเหนื อจากการเป็ นผูใ้ ห้การฝึ กอบรมและ พัฒนาพนัก งานแล้ว ศู นย์ฝึกอบรมและพัฒนายังเป็ นผูน้ าการเปลี่ ย นแปลง และเป็ นเพื่อนร่ วมธุ รกิ จกับ ทุกหน่วยงาน ศู นย์ฝึกอบรมและพัฒนาท าหน้า ที่ ผูน้ าการเปลี่ ย นแปลง โดยการเป็ นผูอ้ านวยความสะดวกใน การเปลี่ ย นแปลง ซึ่ ง จะให้ก ารสนับ สนุ นกลยุ ท ธ์ และทิ ศ ทางใหม่ ๆ ของบริ ษ ทั ฯ พร้ อมทั้ง ส่ ง เสริ ม ให้ พนักงานทุกคนพร้อมที่จะเผชิญกับความท้าทายที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ในขณะเดียวกัน ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาก็เป็ นเพื่อนร่ วมธุ รกิจกับทุกหน่วยงาน โดยการร่ วมมือกับ หน่วยงานต่าง ๆ ในการออกแบบและพัฒนาหลักสู ตรการฝึ กอบรมและพัฒนาที่เหมาะสมกับแผนธุ รกิจของ แต่ละหน่วยงาน รวมทั้งให้การสนับสนุนที่จาเป็ นทุกอย่าง

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ปั จ จุ บ ัน ได้จ ัด ท าระบบการเรี ย นทางไกลผ่า นระบบ MPLS ไปยัง พนัก งานในต่ า งจัง หวัด เพื่ อ อานวยความสะดวกและเพิ่มช่องทางการเรี ยนรู ้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หลัก สู ตรที่จดั ฝึ กอบรมภายในบริ ษทั ฯ มีประมาณ 300 หลักสู ตรต่ อปี โดยในปี 2556 มีจานวน คน-วันอบรมรวม 36,000 Training Mandays ใช้งบประมาณรวมทั้งสิ้ น 135 ล้านบาท โดยจัดให้มีหลักสู ตร การฝึ กอบรมด้านความรู ้ความสามารถหลักให้แก่พนักงานทุกระดับ เช่น วัฒนธรรมองค์กร4Cs การสื่ อสาร อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล การวางแผนเพื่ อเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพในการท างาน การพัฒนาตนเองสู่ ค วามเป็ นผูม้ ี ประสิ ทธิผลสู ง เป็ นต้น ในปี 2556 บริ ษทั ฯ มุ่งเน้นเรื่ อง Customer Centric Organization & High Productivity และการพัฒนา ผูน้ าทุกระดับ ตามโครงการ Leader Developing Leader Cascade Program ซึ่ งมีผเู้ ข้ารับการอบรมตาม โครงการนี้ มากกว่า 3,500 คน และหลักสู ตรเพื่อพัฒนาทักษะการบริ หารต่าง ๆ เช่น ทักษะการสื่ อสารอย่างมี ประสิ ทธิผล การแก้ปัญหาและการตัดสิ นใจ การเจรจาต่อรอง การบริ หารโครงการ การบริ หารความเสี่ ยง การ บริ หารการเงิน การบริ หารงานขายและงานบริ การ (Operation Management) เป็ นต้น หลักสู ตรฝึ กอบรมด้าน ความรู ้ ความสามารถตามธุ รกิ จหลัก การพัฒนาธุ รกิ จและผลิ ตภัณฑ์ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่ น 3G, 4G Technology, GPRS & EDGE, Broadband Network, NGN Network & Applicationหลักสู ตรความปลอดภัยใน การทางานสาหรับช่างเทคนิ คและวิศวกร หลักสู ตรพัฒนาทักษะด้านการขายและการให้บริ การลูกค้าสาหรับ พนักงานขาย เจ้าหน้าที่บริ การลูกค้าและทีมงานช่างเทคนิ คต่าง ๆ เช่น True Product & Services ทักษะการ ให้บริ การอย่างมืออาชี พ บุคลิกภาพในงานบริ การ การนาเสนอเชิ งธุ รกิจ สุ นทรี ยสนทนา และหลักสู ตรด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งที่เป็ นระบบให้บริ การลูกค้าและระบบสนับสนุ นทั้งหลายในบริ ษทั รวมทั้งระบบ เครื อข่ายสื่ อสารข้อมูลและการรักษาความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นต้น นอกจากนี้ ได้ให้ความร่ วมมือกับสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชนในการจัดการเรี ยนการสอน ด้าน ICT และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องแก่นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี และโท อาทิ หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาสถาปั ตยกรรมองค์กร ( Enterprise Architecture) ร่ วมกับมหาวิทยาลัยมหิ ดล หลักสู ตร บริ หารธุ รกิ จมหาบัณฑิ ต สาขาการจัดการค้าปลี ก ร่ วมกับ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) , หลักสู ตร บริ หารธุ ร กิ จมหาบัณ ฑิ ต สาขาการจัด การสาระและการสร้ า งคุ ณ ค่ า มหาวิทยาลัย กรุ ง เทพ, หลัก สู ต ร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาการบริ การลูกค้า (Customer Management) ร่ วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต รวมทั้งการฝึ กงานแก่นกั ศึกษาทุกปี ซึ่ งเป็ น Corporate Social Responsibility และ Social Enterprise เพื่อเป็ น แบบอย่างที่ดีขององค์กรขนาดใหญ่ในการสร้างคุณค่าต่อสังคมและประเทศชาติ

ส่วนที่ 2

โครงสร ้ำงกำรจัดกำร

หัวข ้อที่ 8 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

9.

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การกากับดูแลกิจการ

9.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ บริ ษทั ฯ ตระหนักถึงความสาคัญของการกากับดูแลกิจการที่ดี จึงได้กาหนดให้มี “นโยบายการกากับ ดูแลกิจการที่ดี” ของบริ ษทั ฯ ตั้งแต่ปี 2545 และได้ทาการปรับปรุ งนโยบายดังกล่าวเป็ นระยะๆ อย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ ของบริ ษทั ฯ ที่ เปลี่ ยนแปลงไป ตลอดจนเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ เกี่ ยวข้อง และ หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีที่แนะนาโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) ซึ่ งเทียบเคียงได้ กับมาตรฐานสากล โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยเนื้อหารายละเอียดของ “นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี” ไว้บนเว็บไซต์ ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th 9.2 คณะกรรมการชุ ดย่ อย คณะกรรมการชุ ดย่อยภายใต้คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 4 คณะ ดังนี้ 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ 3) คณะกรรมการด้านการเงิน 4) คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี 1)

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ฯ มีวาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี 4 เดือน ประกอบด้วยบุคคล ผูท้ รงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม

1. นายวิทยา เวชชาชีวะ

ตาแหน่ง

7

7

2. ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ กรรมการตรวจสอบ

7

7

3. นายโชติ

7

7

หมายเหตุ :

ส่วนที่ 2

โภควนิช

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ จานวนครั้ง จานวนครั้ง การประชุม ที่เข้าร่ วมประชุม

กรรมการตรวจสอบ

1) ในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จานวน 7 ครั้ง โดยที่เป็ นการประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มี ฝ่ ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วย จานวน 1 ครั้ง 2) นายโชติ โภควนิ ช เป็ นผูม้ ีความรู ้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริ ษทั ฯ โดยมีรายละเอียด เกี่ยวกับคุณวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทางานตามที่ปรากฏในรายงานประจาปี และ แบบแสดงรายการ ข้อมูลประจาปี 2556 (“แบบ 56-1”)

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและอานาจหน้าที่รับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่ เหมาะสมและมี ป ระสิ ทธิ ผ ล และพิ จารณาความเป็ นอิ ส ระของหน่ วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็ นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิ กจ้าง หัวหน้าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่ งมีความเป็ นอิสระเพื่อทาหน้าที่เป็ นผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ และ เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่ วมประชุ มกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้า ร่ วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ น ประโยชน์สูงสุ ดต่อบริ ษทั ฯ 6. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ฯ ซึ่ งรายงาน ดัง กล่ า ว จะได้ล งนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและประกอบด้ว ยข้อ มู ล อย่ า งน้ อ ย ดังต่อไปนี้ ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ฉ) จานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ช) ความเห็นหรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) ซ) ข้อมูลอื่นที่เห็ นว่าผูถ้ ื อหุ ้นและผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั 7. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนด หรื อ คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ จะมอบหมาย ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบสาหรับการปฏิบตั ิงาน ประจาปี 2556 ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

2)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ

คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ทาหน้าที่พิจารณาการกาหนดค่าตอบแทน ของกรรมการและประธานคณะผูบ้ ริ หาร รวมทั้งพิจารณากลัน่ กรองการสรรหากรรมการ ก่อนนาเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริ ษทั โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม

1. 2. 3. 4.

นายธนินท์ นายสุ ภกิต นายอารุ ง นายโชติ 3)

การประชุมคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ จานวนครั้ง จานวนครั้ง การประชุม ที่เข้าร่ วมประชุม

เจียรวนนท์ เจียรวนนท์ สรรพสิ ทธิ์ วงศ์ โภควนิช

2 2 2 2

1 2 2

คณะกรรมการด้านการเงิน

คณะกรรมการด้านการเงิน ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการดูแลการจัดการ ด้านการเงิน โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม

1. 2. 3. 4.

ดร. อาชว์ ศ. ดร. วรภัทร นายอารุ ง นายโชติ 4)

การประชุมคณะกรรมการด้านการเงิน จานวนครั้ง จานวนครั้ง การประชุม ที่เข้าร่ วมประชุม 8 8 8 6 8 8 8 8

เตาลานนท์ โตธนะเกษม สรรพสิ ทธิ์ วงศ์ โภควนิช

คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการกาหนดและทบทวน นโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ ตลอดจนดูแลให้บริ ษทั ฯ มีการกากับดูแลกิจการที่ดีและเหมาะสม กับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ รายนาม

1. ดร. โกศล 2. นายวิทยา

3. ดร. อาชว์

ส่วนที่ 2

เพ็ชร์สุวรรณ์ เวชชาชีวะ เตาลานนท์

การประชุมคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี จานวนครั้ง จานวนครั้ง การประชุม ที่เข้าร่ วมประชุม 4 4

กำรกำกับดูแลกิจกำร

4

4

4

3

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

9.3 การสรรหาและแต่ งตั้งกรรมการและผู้บริ หารระดับสู งสุ ด 1)

กรรมการอิสระ กระบวนการสรรหากรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ มีหลักเกณฑ์และวิธีการเช่ นเดียวกับการสรรหา กรรมการ โดยมีรายละเอียดสรุ ปไว้ใน ข้อ 2) อย่างไรก็ตาม บุคคลซึ่ งจะดารงตาแหน่งกรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ จะต้องเป็ นผูซ้ ่ ึ งเป็ นอิสระจากผูถ้ ือหุ ้น รายใหญ่หรื อกลุ่มของผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่และผูบ้ ริ หารของนิ ติบุคคลที่เป็ น ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ ตลอดจนเป็ นอิสระจากความสัมพันธ์อื่นใดที่จะกระทบต่อการใช้ดุลพินิจอย่างอิสระ และ ต้องมีคุณสมบัติตามที่กาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ (ซึ่ งมีความเข้มงวดมากกว่า ข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุนในเรื่ องสัดส่ วนการถือหุ น้ ในบริ ษทั ฯ) ดังต่อไปนี้ (1) ถือหุ ้นไม่เกินร้อยละ 0.75 ของจานวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุ มของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ ให้นบั รวมการถื อหุ ้นของผูท้ ี่ เกี่ยวข้องกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมในการบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษา ที่ได้ เงินเดือนประจา หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อของผูม้ ีอานาจควบคุ มของบริ ษ ทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมี ลกั ษณะดังกล่ าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (3) ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็ น บิดา มารดา คู่สมรส พี่นอ้ ง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ ผูม้ ีอานาจ ควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย (4) ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้น รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของ ตน รวมทั้งไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูถ้ ือหุ น้ ที่มีนยั หรื อ ผูม้ ีอานาจควบคุมของผูท้ ี่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง “ความสัมพันธ์ทางธุ รกิจ” ตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทารายการทางการค้าที่กระทาเป็ นปกติ เพื่อ ประกอบกิ จการ การเช่ าหรื อให้เช่ าอสังหาริ มทรั พย์ รายการเกี่ ยวกับสิ นทรั พย์หรื อบริ การ หรื อการให้หรื อรั บ ความช่ วยเหลื อทางการเงิ น ด้วยการรั บหรื อให้กูย้ ืม ค้ าประกัน การให้สินทรั พย์เป็ นหลักประกันหนี้ สิน รวมถึ ง พฤติการณ์อื่นทานองเดียวกัน ซึ่ งเป็ นผลให้บริ ษทั ฯ หรื อคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ตอ้ งชาระต่ออีกฝ่ ายหนึ่ ง ตั้งแต่ร้อยละ สามของสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุ ทธิ ของบริ ษทั ฯ หรื อตั้งแต่ยี่สิบล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จานวนใดจะต่ากว่า ทั้งนี้ การ คานวณภาระหนี้ ดงั กล่าวให้เป็ นไปตามวิธีการคานวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ กากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทารายการที่เกี่ ยวโยงกัน โดยอนุ โลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ ดงั กล่าว ให้นบั รวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจกับบุคคลเดียวกัน

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(5) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นราย ใหญ่ หรื อผูม้ ี อานาจควบคุ มของบริ ษ ัทฯ และไม่ เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นที่ มี นัย ผูม้ ี อ านาจควบคุ ม หรื อหุ ้ นส่ วนของ สานักงานสอบบัญชี ซึ่ งมีผสู้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อ ผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (6) ไม่ เป็ นหรื อเคยเป็ นผูใ้ ห้ บริ ก ารทางวิ ช าชี พใดๆ ซึ่ งรวมถึ งการให้ บริ การเป็ นที่ ปรึ กษา กฎหมายหรื อที่ปรึ กษาทางการเงิน ซึ่ งได้รับค่าบริ การเกินกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ี อานาจควบคุ มของบริ ษทั ฯ และ ไม่เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นที่ มีนัย ผูม้ ี อานาจ ควบคุ ม หรื อหุ ้นส่ วนของผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชี พนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมี ลกั ษณะดังกล่ าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง (7) ไม่เป็ นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษทั ฯ ผูถ้ ือหุ ้น รายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิ จการที่ มีสภาพอย่างเดี ยวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนัยกับกิ จการของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ ้นส่ วนที่มีนัยในห้างหุ ้นส่ วน หรื อเป็ นกรรมการที่ มีส่วนร่ วมในการบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่ รับเงิ นเดื อนประจา หรื อถื อหุ ้นเกิ นร้ อยละหนึ่ งของจานวนหุ ้นที่มี สิทธิ ออกเสี ยง ทั้งหมดของบริ ษทั อื่น ซึ่ งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย (9) ไม่มีลกั ษณะอื่ นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็ นอย่างเป็ นอิ สระเกี่ ยวกับการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ฯ (10) ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นกรรมการอิสระที่มีลกั ษณะเป็ นไปตามข้อ (1) - (9) แล้ว กรรมการ อิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สิ นใจในการดาเนิ นกิจการของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ โดยมีการตัดสิ นใจใน รู ปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้ (11) ในกรณี ที่เป็ นบุคคลที่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจหรื อการให้บริ การทางวิชาชี พเกิน มูลค่าที่กาหนดในข้อ (4) หรื อ (6) ให้บุคคลดังกล่าวได้รับการผ่อนผันข้อห้ามการมีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุ รกิจหรื อการให้บริ การทางวิชาชี พเกินมูลค่าดังกล่าว หากคณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาตามหลักใน มาตรา 89/7 แห่ งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แล้วมีความเห็ นว่า การแต่งตั้ง บุคคลดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อการปฏิ บตั ิหน้าที่และการให้ความเห็ นที่ เป็ นอิสระ และจัดให้มีการเปิ ดเผย ข้อมูลตามที่ คณะกรรมการกากับตลาดทุ นกาหนด ในหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ในวาระพิจารณาแต่งตั้ง กรรมการอิสระ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กรรมการอิ สระของบริ ษ ทั ฯ ทุ กท่ าน มี ความเป็ นอิ สระโดยแท้จริ ง ไม่ มี อานาจลงนามผูกพัน บริ ษทั ฯ และเป็ นผูม้ ี คุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุ น และ นโยบายการ กากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ 2)

กรรมการ บริ ษทั ฯ เปิ ดโอกาสและกาหนดหลักเกณฑ์อย่างชัดเจนในการให้ผถู ้ ือหุ ้นส่ วนน้อยสามารถเสนอชื่ อ บุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ นกรรมการเป็ นการล่วงหน้า สาหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี ซึ่ง ผูถ้ ือหุ น้ ที่มีคุณสมบัติตามที่บริ ษทั ฯ กาหนดสามารถส่ งข้อมูลตามแบบฟอร์ ม โดยส่ งเป็ นจดหมายลงทะเบียนมายัง บริ ษทั ฯ ได้ ภายในระยะเวลาที่กาหนด คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการทาหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่จะ ได้รับการเสนอชื่ อเพื่อเลื อกตั้งให้ดารงตาแหน่ งกรรมการหรื อกรรมการอิ สระของบริ ษทั ฯ โดยพิ จารณาจาก คุณวุฒิ และประสบการณ์ เพื่อให้ได้บุคคลที่มีความเหมาะสมกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ แล้วจึงนาเสนอพร้ อมทั้งให้ ความเห็นต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุ มตั ิในกรณี ที่เป็ นการแต่งตั้งเพื่อทดแทนตาแหน่งกรรมการเดิม ส่ วนกรณี ที่เป็ นการแต่งตั้งกรรมการเพิม่ เติม คณะกรรมการบริ ษทั จะเป็ นผูเ้ สนอข้อมูลพร้อมทั้งความเห็นของ คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เพื่อพิจารณาและอนุมตั ิ สาหรับสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ในการแต่งตั้งกรรมการนั้น ที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นเป็ นผูแ้ ต่งตั้งกรรมการบริ ษทั โดยใช้เกณฑ์เสี ยงข้างมากของผูถ้ ือหุ ้นซึ่ งมาประชุมและออกเสี ยงลงคะแนน ทั้งนี้ ผูถ้ ื อหุ ้นทุกรายมีสิทธิ ใน การออกเสี ยงเลือกตั้งกรรมการ โดยผูถ้ ือหุ น้ แต่ละคนมีคะแนนเสี ยงเท่ากับหนึ่ งหุ ้นต่อหนึ่ งเสี ยง และสามารถ เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรื อหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้โดยใช้คะแนนเสี ยงทั้งหมดที่ตนมีอยู่ แต่จะแบ่งคะแนนเสี ยง ให้แก่ผใู ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3)

ผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ด คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการทาหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่ จะได้รับการเสนอชื่ อเพื่อแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานคณะผูบ้ ริ หาร ซึ่ งเป็ น ตาแหน่ งผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ดของบริ ษ ทั ฯ โดยพิ จารณาจากคุ ณวุฒิ และประสบการณ์ เพื่ อให้ได้บุคคลที่ มี ความเหมาะสมกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ แล้วจึงนาเสนอพร้อมทั้งให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 9.4 การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม บริ ษทั ฯ มีกลไกในการกากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ดังต่อไปนี้ - มีการส่ งบุคคลเพื่อเป็ นตัวแทนของบริ ษทั ฯ ไปเป็ นกรรมการและผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ย่อยและ บริ ษ ัทร่ วมตามสั ดส่ วนการถื อหุ ้ น โดยคณะกรรมการบริ ษ ัทฯ มอบหมายให้ป ระธานคณะผูบ้ ริ ห ารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็ นผูพ้ ิจารณาการส่ งตัวแทนของบริ ษทั ฯ เพื่อการดังกล่าว - กรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม มี หน้า ที่ ก ากับดู แลให้การก าหนด นโยบายที่สาคัญต่อการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมสอดคล้องกับนโยบายทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

- มีการกากับดู แลให้บริ ษทั ย่อยปฏิ บตั ิตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยใน เรื่ องที่ ข ้อก าหนดดัง กล่ า วมี ผ ลบัง คับ ใช้ค รอบคลุ ม ถึ ง บริ ษ ทั ย่อย ซึ่ งได้แก่ การจัด ท าข้อมู ล ทางการเงิ น การเข้าทารายการที่เกี่ยวโยงกัน การได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่สาคัญ หรื อ การทารายการสาคัญอื่นใด ของบริ ษทั ดังกล่าว - ดาเนิ นการให้บริ ษทั ย่อยมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและเพียงพอ ตลอดจนมีการ จัดทาข้อมูลทางการเงิ นต่างๆ ให้แก่ บริ ษทั ฯ เพื่อให้บริ ษทั ฯ สามารถจัดทางบการเงิ นรวมให้เป็ นไปตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย - มีการจัดทารายงานสรุ ปผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อย โดยจัดกลุ่มแยกตามประเภทธุ รกิ จ เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อติดตามผลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อย 9.5 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน คณะกรรมการบริ ษทั ตระหนักถึงความสาคัญของการป้ องกันการนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนเป็ นอย่างยิง่ บริ ษทั ฯ มีการกากับดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยกาหนดข้อพึง ปฏิบตั ิเกี่ ยวกับการใช้ขอ้ มูลภายในเพื่อการซื้ อขายหลักทรัพย์ไว้ในคุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน ควบคู่กบั การใช้มาตรการตามกฎหมายในการดูแลกรรมการและผูบ้ ริ หารในการนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ป้ องกันมิให้กรรมการและผูบ้ ริ หารที่มีส่วนใกล้ชิดกับข้อมูล ของบริ ษทั ฯ นาข้อมูลภายในที่ตนล่วงรู ้มาจากการเป็ นกรรมการและผูบ้ ริ หารไปแสวงหาประโยชน์ใดๆ อัน จะเป็ นการฝ่ าฝื นหน้าที่ความรับผิดชอบของตนที่มีต่อบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุ ้น จึงกาหนดเป็ นหลักให้ถือปฏิบตั ิ อย่างเคร่ งครัดในการที่ตอ้ งเก็บรักษาสารสนเทศที่สาคัญที่ยงั ไม่ได้เปิ ดเผยไว้เป็ นความลับ โดยจากัดให้รับรู ้ ได้เฉพาะกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งที่ เกี่ ยวข้องเท่านั้น นอกจากนี้ ในการซื้ อ ขาย โอน หรื อรั บโอน หลัก ทรั พ ย์ที่ออกโดยบริ ษ ทั ฯ กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องรายงานต่ อส านัก งานคณะกรรมการก ากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สานักงาน ก.ล.ต.”) ภายใน 3 วันทาการนับแต่วนั ที่เกิดรายการขึ้น พร้อมทั้ง ส่ ง ส าเนารายงานดัง กล่ า ว จ านวน 1 ชุ ด ให้แ ก่ บ ริ ษ ทั ฯ เพื่ อเก็ บ เป็ นหลัก ฐานและรายงานต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจา ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่า กรรมการและผูบ้ ริ หารสามารถบริ หารและดาเนิ น กิจการด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต โปร่ งใส และสอดคล้องกับนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ และ ยังมีส่วนช่วยให้ผถู ้ ือหุ น้ ตลอดจนผูล้ งทุนทัว่ ไปเกิดความเชื่อมัน่ ในกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ 9.6 ค่ าตอบแทนทีจ่ ่ ายให้ แก่สานักงานที่ผ้ สู อบบัญชี สังกัด 1)

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชี ให้แก่ สานักงานที่ผสู้ อบบัญชี สังกัด ใน รอบปี บัญชี 2556 ที่ผา่ นมา จานวนเงินรวม 31.01 ล้านบาท ซึ่ งประกอบด้วย ค่าสอบบัญชีของบริ ษทั ฯ จานวน 6.20 ล้านบาท และ ค่าสอบบัญชีของบริ ษทั ย่อย จานวน 24.81 ล้านบาท

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2)

ค่าบริ การอื่น (non-audit fee) ส านักงานสอบบัญชี ที่ ได้รับการแต่ งตั้งจากบริ ษ ัทฯ ได้ให้บริ การอื่ นๆ ที่ นอกเหนื อจากการ ตรวจสอบบัญชี แก่ บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ซึ่ งได้แก่ การตรวจสอบตามวิธี การที่ ตกลงร่ วมกัน และการให้ คาปรึ กษาด้านภาษีและอื่นๆ ในระหว่างปี 2556 มีค่าตอบแทนเป็ นจานวนเงิน 4.47 ล้านบาท ในจานวนนี้ บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ได้จ่ายชาระแล้วระหว่างปี เป็ นจานวนเงิน 0.61 ล้านบาท ที่เหลืออีกจานวน 3.86 ล้านบาท จะจ่าย ในปี ถัดไป 9.7 การปฏิบัติตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ีในเรื่องอื่นๆ บริ ษทั ฯ ดาเนินการเกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยแบ่งเป็ นสองส่ วน คือ ในระดับคณะกรรมการ และ ในระดับบริ หาร โดยในระดับคณะกรรมการนั้น ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการชุ ดย่อยขึ้น คือ คณะกรรมการ กากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Committee) ซึ่ งประกอบด้วย ดร. โกศล เพ็ชร์ สุวรรณ์ นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร. อาชว์ เตาลานนท์ ส่ วนในระดับบริ หารดาเนินการโดยเจ้าหน้าที่บริ หาร ได้แก่ CEO และ เจ้าหน้าที่ระดับสู งอื่นๆ ในปี 2556 บริ ษทั ฯ มีการปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี สรุ ปได้ดงั นี้ หมวดที่ 1 สิ ทธิของผู้ถือหุ้น 1. การประชุมผูถ้ ือหุน้ 1.1 คณะกรรมการตระหนักและให้ความสาคัญต่อสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้น ตลอดจนการปฏิ บตั ิต่อ ผูถ้ ือหุ ้นอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม จึงได้กาหนดนโยบายเกี่ ยวกับผูถ้ ื อหุ ้นไว้เป็ นส่ วนหนึ่ งในนโยบายการ กากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ โดยคานึงถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้นทุกกลุ่มให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้โดยไม่จากัด เฉพาะสิ ทธิ ที่กฎหมายกาหนดไว้ 1.2 ในปี 2556 บริ ษ ัท ฯ มี ก ารประชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น 2 ครั้ ง คื อ การประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อ หุ ้ น ประจาปี 2556 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556 และ การประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2556 ซึ่งการประชุมผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ ทุกครั้ง จัดขึ้นในวัน เวลา และสถานที่ ที่คานึ งถึงความสะดวกของผูถ้ ือหุ ้น ที่จะเข้าประชุ ม โดยบริ ษทั ฯ จัดให้มีการประชุ มในวันและเวลาทาการ คือ 14.00 น. ณ ที่ทาการสานักงานใหญ่ ของบริ ษทั ฯ ตั้งอยู่ในกรุ งเทพมหานครซึ่ งมีการคมนาคมที่สะดวกต่อการเดิ นทาง พร้ อมทั้งได้จดั ทาแผนที่ และข้อมูลการเดินทางมายังสถานที่จดั การประชุ ม โดยจัดทาเป็ นเอกสารแนบส่ วนหนึ่ งในหนังสื อเชิ ญประชุ ม และนาส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ทุกรายที่มีสิทธิ เข้าประชุมผูถ้ ือหุ น้ 1.3 ในการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นทุกครั้ง รวมถึงการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2556 และ การ ประชุ มวิ สามัญผูถ้ ื อหุ ้ น ครั้ งที่ 1/2556 บริ ษ ทั ฯ ได้แจ้งในหนังสื อเชิ ญประชุ มรวมถึ งเอกสารที่ เกี่ ยวข้องให้ ผูถ้ ื อหุ ้นทราบถึ งข้อมูล วัน เวลา สถานที่ วาระการประชุ ม ข้อมูลทั้งหมดที่ เกี่ ยวข้องกับเรื่ องที่ ตอ้ งตัดสิ นใจใน

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ที่ประชุมรวมตลอดถึงสาเหตุและความเป็ นมาของเรื่ องที่ตอ้ งตัดสิ นใจ โดยระบุถึงข้อเท็จจริ งและเหตุผล ตลอดจน ความเห็นของคณะกรรมการ ในแต่ละวาระอย่างชัดเจน โดยเน้นรายละเอียดให้ผอู ้ ่านที่ไม่ทราบถึงความเป็ นมาของ เรื่ องนั้นๆ มาก่อนสามารถเข้าใจเรื่ องได้โดยง่าย นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้มีการให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับคะแนนเสี ยงของ ผูถ้ ื อหุ ้นในการลงมติเพื่ออนุ มตั ิ ในแต่ละวาระของทุกวาระที่เสนอในหนังสื อเชิ ญประชุ ม กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ใน การประชุม ประเภทของหุน้ และสิ ทธิการออกเสี ยงลงคะแนน ตลอดจนขั้นตอนการออกเสี ยงลงมติ 1.4 ในการประชุ มผูถ้ ือหุ ้นทุกครั้งที่ผ่านมา รวมถึงการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2556 และการประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2556 ที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นได้ทาการพิจารณาเรื่ องต่างๆ ตามลาดับระเบียบ วาระที่ได้กาหนดไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้นาส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นเป็ นการล่วงหน้าโดย ไม่มีการเปลี่ยนแปลงลาดับวาระการประชุม และไม่มีการเพิ่มวาระอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในหนังสื อนัดประชุม 1.5 ค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษทั ฯ มีรูปแบบเดียว คือ ค่าตอบแทนประจาเป็ นรายเดือน ซึ่ งกาหนดไว้เป็ นรายตาแหน่ ง โดยบริ ษทั ฯ นาเสนอวาระค่าตอบแทนกรรมการต่อที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ เป็ นประจาทุกปี สาหรับปี 2556 คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ได้พิ จารณาทบทวนความเหมาะสมของอัต ราค่ า ตอบแทนกรรมการ โดยค านึ ง ถึ ง ระดับ ที่ ป ฏิ บ ัติ อ ยู่ใ น อุตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ และได้นาเสนอความเห็ นต่อ ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ว่า ควรเสนอให้ที่ประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2556 อนุ มตั ิ ค่าตอบแทน กรรมการในอัตราเดิ ม ตามที่ที่ประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2555 ได้เคยมีมติอนุ มตั ิไว้ โดยเป็ นอัตราเดิ ม ที่มิได้เปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่ปี 2545 1.6 ในการประชุ ม สามัญ ผู้ถื อ หุ ้น ประจ าปี 2556 คณะกรรมการบริ ษ ัท เห็ น ชอบกับ ข้อ เสนอของคณะกรรมการตรวจสอบ เสนอต่ อที่ ป ระชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้ นเพื่ อพิ จารณาแต่ ง ตั้ง ผูส้ อบบัญ ชี แ ละ กาหนดค่าสอบบัญชี ประจาปี ดังเช่นที่บริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิต่อเนื่ องเป็ นประจาทุกปี และ ในการนี้ เพื่อให้ผถู้ ือหุ ้น ได้มีขอ้ มูลพิจารณาความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี บริ ษทั ฯ ได้ เปิ ดเผยข้อมูลไว้ในหนังสื อเชิญประชุ มโดย ให้รายละเอียดเกี่ ยวกับชื่ อผูส้ อบบัญชี อายุ บริ ษทั ที่สังกัด คุ ณวุฒิการศึกษา ประวัติการทางาน ประวัติการ เป็ นผูล้ งลายมือชื่ อในงบการเงิ นของบริ ษ ทั ฯ ความสัมพันธ์ ท างครอบครั วระหว่างผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ความสั มพันธ์ หรื อส่ วนได้เสี ยในลักษณะที่ จะมี ผ ลกระทบต่อการปฏิ บ ตั ิ หน้า ที่ อย่างเป็ นอิ สระ ตลอดจน ค่าสอบบัญชีประจาปี ที่นาเสนอและปี ก่อนหน้าเพื่อการเปรี ยบเทียบด้วย 1.7 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยนโยบายการจ่ายเงิ นปั นผลของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 นอกจากนี้ ยังได้นาเสนอให้ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ พิจารณาเรื่ องเงินปั นผลเป็ นประจาทุกปี โดยมีการ ให้ข ้อมู ลและเหตุ ผลประกอบอย่างชัดเจน สาหรับการประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2556 บริ ษ ทั ฯ เสนอให้ที่ ประชุมผูถ้ ือหุน้ อนุมตั ิการงดจ่ายเงินปั นผล และงดการจัดสรรทุนสารองสาหรับผลการดาเนิ นงานประจาปี 2555 โดย ได้อธิ บายไว้ในหนังสื อเชิญประชุมเพื่อให้ผถู ้ ือหุ น้ ได้ทราบเหตุผลว่า บริ ษทั ฯ ยังมีขาดทุนสะสม ซึ่ งตามกฎหมายแล้ว บริ ษทั ฯ ไม่สามารถจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ได้ และไม่ตอ้ งจัดสรรทุนสารองตามกฎหมาย

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1.8 ในวาระพิจารณาแต่งตั้งกรรมการ บริ ษทั ฯ ได้มีการระบุขอ้ มูลที่สาคัญของบุคคลแต่ละท่าน ที่ได้รับการเสนอชื่ อ ไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ซึ่ งได้แก่ ชื่ อ-นามสกุล ตาแหน่ งปั จจุ บนั ในบริ ษทั ฯ ประเภทกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้ง หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผูบ้ ริ หารหรื อ ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ของบริ ษทั ฯ ระยะเวลาที่ เคยดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษ ทั ฯ ข้อมู ลการเข้าร่ วมประชุ ม คณะกรรมการและคณะกรรมการชุ ดย่อย (ถ้ามี) ในปี ที่ผา่ นมา อายุ สัญชาติ ประวัติการศึกษา ประวัติการอบรม ในหลักสู ตรที่เกี่ยวข้องกับการเป็ นกรรมการ ประสบการณ์การทางานและการดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการ หรื อผูบ้ ริ หารในกิ จการอื่ นที่ เป็ นบริ ษ ทั จดทะเบี ย น ไม่ใ ช่ บ ริ ษ ทั จดทะเบี ย น และ บริ ษ ทั ที่ อาจท าให้เกิ ด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริ ษทั ฯ ตลอดจนการถือหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษทั ฯ 1.9 บริ ษทั ฯ กาหนดวาระการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นไว้เป็ นเรื่ องๆ อย่างชัดเจน เช่ น ในวาระที่ เกี่ยวกับกรรมการ บริ ษทั ฯ ได้แยกเรื่ องพิจารณาเลือกตั้งกรรมการ และ พิจารณาอนุ มตั ิค่าตอบแทนกรรมการ ออกเป็ นแต่ละวาระ 1.10 ในกรณี ที่มีการเสนอให้ที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นพิจารณาหลายรายการในวาระเดี ยวกันซึ่ ง เป็ นเรื่ องที่ไม่มีผลเกี่ยวเนื่ องกันในทางกฎหมาย บริ ษทั ฯ จะจัดให้มีการลงมติสาหรับแต่ละรายการ เช่น วาระ พิจารณาเลื อกตั้งกรรมการ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ ้น ลงคะแนนเสี ยงเลื อกตั้งกรรมการเป็ นรายบุคคล โดยบริ ษทั ฯ เสนอชื่อกรรมการให้ผถู้ ือหุน้ ลงคะแนนทีละคน ทั้งนี้ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุน้ มีสิทธิเลือกกรรมการ ที่ตอ้ งการได้อย่างแท้จริ ง 1.11 บริ ษทั ฯ อานวยความสะดวกให้ผถู้ ือหุ ้นทุกกลุ่ม ทั้งผูถ้ ือหุ ้นที่เป็ นบุคคลธรรมดาและ ผูถ้ ือหุน้ ประเภทสถาบัน ให้ได้ใช้สิทธิ ในการเข้าร่ วมประชุ มและออกเสี ยงอย่างเต็มที่ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายและ ไม่ให้มีวธิ ี การที่ยงุ่ ยาก ละเว้นการกระทาใดๆ ที่เป็ นการจากัดโอกาสการเข้าประชุ มของผูถ้ ือหุ ้น จัดให้มีจุดบริ การ ตรวจรายชื่อและจานวนหุ น้ ของผูถ้ ือหุ น้ แยกตามประเภทของผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งช่วยให้การลงทะเบียนในวันประชุม ทาได้สะดวกและรวดเร็ วขึ้น 1.12 ในการประชุ มผูถ้ ือหุ ้นทุกครั้ง รวมถึงการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2556 และ การ ประชุ มวิสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ครั้ งที่ 1/2556 บริ ษทั ฯ จัดช่ องทางให้ผูถ้ ื อหุ ้นส่ งคาถามมายังบริ ษทั ฯ ล่ วงหน้าก่ อน วันประชุ มได้โดยผ่าน E-mail Address : ir_office@truecorp.co.th ล่วงหน้า 7 วันก่อนวันประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น หรื อ ทาง ไปรษณี ยล์ งทะเบียนมายัง ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) ชั้น 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ เลขที่ 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวางกรุ งเทพมหานคร 10310 ล่วงหน้า 15 วันก่อนวันประชุ ม ผูถ้ ือหุ ้น ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้ประชาสัมพันธ์ให้ ผถู้ ือหุ ้นทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ และ แจ้งไว้ในหนังสื อ เชิญประชุมที่จดั ส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ทุกรายที่มีสิทธิเข้าประชุมผูถ้ ือหุน้ 2. การดาเนินการในวันประชุมผูถ้ ือหุน้ 2.1 ประธานที่ประชุ มจัดสรรเวลาให้เหมาะสมและส่ งเสริ มให้ผถู ้ ือหุ ้นมีโอกาสในการแสดง ความเห็นและตั้งคาถามต่อที่ประชุมในเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2.2 บริ ษทั ฯ นาเทคโนโลยีมาใช้กบั การประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ทั้งการลงทะเบียน การนับคะแนน และแสดงผล เพื่อให้การดาเนินการประชุมสามารถกระทาได้อย่างรวดเร็ ว ถูกต้อง และ แม่นยา 2.3 บริ ษทั ฯ ใช้บตั รลงคะแนนเสี ยงในวาระเพื่อพิจารณาในทุกกรณี ที่ตอ้ งมีการลงคะแนนเสี ยง พร้อมทั้งจัดให้มีสานักงานกฎหมายอิสระ เป็ นผูต้ รวจสอบการนับคะแนนเสี ยงเพื่อความโปร่ งใสโดยได้แจ้งชื่อ บุคคลผูท้ าหน้าที่ดงั กล่าวให้ที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นทราบก่อนเริ่ มเข้าสู่ ระเบียบการประชุ ม และเก็บบัตรลงคะแนนไว้ เป็ นหลักฐานเพื่อจะได้ตรวจสอบได้ในกรณี มีขอ้ โต้แย้งในภายหลัง 3. การจัดทารายงานการประชุม และ การเปิ ดเผยมติการประชุมผูถ้ ือหุน้ 3.1 บริ ษทั ฯ แจ้งมติของที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ พร้อมทั้งระบุจานวนคะแนนเสี ยง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสี ยง ในแต่ละวาระการประชุ มต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายในวันเดียวกันกับวันประชุ มผูถ้ ือหุ ้น และ เปิ ดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ในวันทาการถัดไป เพื่อให้ผถู ้ ือหุ น้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปทราบและสามารถตรวจสอบ ผลการลงมติได้อย่างรวดเร็ ว 3.2 รายงานการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั ฯ ได้มีก ารบันทึก รายละเอี ยดในเรื่ องต่างๆ ดังต่อไปนี้ ไว้ดว้ ย (1) วิธีการลงคะแนนและนับคะแนนซึ่ งเลขานุ การที่ประชุ มได้ช้ ี แจงให้ผถู ้ ื อหุ ้นทราบก่อนเริ่ ม การประชุมตามวาระ (2) คะแนนเสี ยงของผูถ้ ือหุ ้น โดยระบุอย่างชัดเจนว่า เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และ งดออกเสี ยง เป็ นจานวนเสี ยงและสัดส่ วนเท่าใดในแต่ละวาระ (3) รายชื่ อกรรมการ ผูบ้ ริ หารระดับสู งของบริ ษทั ฯ ผูส้ อบบัญชี ที่ปรึ กษากฎหมาย และ ผูต้ รวจสอบการนับคะแนนเสี ยง ที่เข้าร่ วมประชุ ม (4) สรุ ปสาระสาคัญของข้อซักถาม ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ของผูถ้ ือหุ น้ และ คาชี้แจงของกรรมการและผูบ้ ริ หารที่ได้ตอบข้อซักถามของ ผูถ้ ือหุ น้ ในแต่ละวาระ 4. บริ ษทั ฯ มีการกระจายการถือหุ น้ ของผูถ้ ือหุ น้ รายย่อยเป็ นไปตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย กล่าวคือ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2556 ซึ่ งเป็ นวันปิ ดสมุดทะเบียนผูถ้ ือหุ ้น เพื่อสิ ทธิ ในการเข้า ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2556 บริ ษทั ฯ มีสัดส่ วนการถือหุ ้นของผูถ้ ือหุ ้นรายย่อย (free float) ร้อยละ 36.59 สัดส่ วนการถื อหุ ้นของนักลงทุ นสถาบันร้ อยละ 10.53 และสัดส่ วนการถื อหุ ้นของคณะกรรมการบริ ษทั รวม ผูเ้ กี่ยวข้อง ร้อยละ 0.08 หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน 1. หุ ้นของบริ ษทั ฯ มีประเภทเดียว คือ หุ ้นสามัญ ซึ่ งมีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนที่เท่าเทียมกัน คือ หนึ่งหุ น้ ต่อหนึ่งเสี ยง

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2. การให้ขอ้ มูลก่อนการประชุมผูถ้ ือหุ น้ 2.1 บริ ษทั ฯ จัดทาหนังสื อเชิ ญประชุ มพร้ อมเอกสารที่ เกี่ ยวข้องเป็ นภาษาไทยสาหรับ ผูถ้ ือหุน้ สัญชาติไทย และ ภาษาอังกฤษสาหรับผูถ้ ือหุ ้นต่างด้าว และได้นาส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นทุกรายพร้อมกัน เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุ มทุกครั้ง สาหรับการประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2556 และ การประชุ ม วิส ามัญ ผูถ้ ื อหุ ้ น ครั้ งที่ 1/2556 บริ ษ ทั ฯ ได้น าส่ ง หนัง สื อเชิ ญ ประชุ ม พร้ อมเอกสารที่ เกี่ ย วข้อ งให้แ ก่ ผูถ้ ือหุ น้ เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 29 วัน และ 17 วัน ตามลาดับ 2.2 บริ ษ ัท ฯ เผยแพร่ ห นัง สื อ เชิ ญ ประชุ ม และเอกสารที่ เ กี่ ย วข้อ งทั้ง ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ พร้อมกัน เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุ มทุกครั้ง โดยในการประชุ ม สามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2556 และ การประชุมวิสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ครั้งที่ 1/2556 บริ ษทั ฯ เผยแพร่ บนเว็บไซต์ ของบริ ษทั ฯ เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 39 วัน และ 17 วัน ตามลาดับ เพื่อเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ ้น ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุ มล่วงหน้าอย่างเพียงพอก่อนได้รับข้อมูลในรู ปแบบเอกสารจากบริ ษทั ฯ และได้ประชาสัมพันธ์ให้ผถู้ ือหุน้ ทราบ โดยแจ้งสารสนเทศผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ 2.3 ในการประชุมผูถ้ ือหุน้ ทุกครั้ง ก่อนเริ่ มเข้าสู่ ระเบียบวาระการประชุ ม เลขานุการที่ประชุม ได้แจ้งให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประชุ ม ประเภทของหุ ้นและสิ ทธิ การออกเสี ยงลงคะแนน ขั้นตอนการออกเสี ยงลงมติ ตลอดจนวิธีการนับและแสดงผลคะแนน 3. การคุม้ ครองสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ส่ วนน้อย 3.1 บริ ษ ัท ฯ อ านวยความสะดวกให้ แ ก่ ผูถ้ ื อ หุ ้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถเข้า ประชุ ม ด้ว ยตนเอง สามารถใช้สิทธิ ออกเสี ยงโดยมอบฉันทะให้ผอู้ ื่นมาประชุ มและออกเสี ยงลงมติแทน โดยไม่มีการกาหนด เงื่อนไขใดๆ ซึ่ งทาให้ยากต่อการมอบฉันทะ และเปิ ดโอกาสให้ส่งหนังสื อมอบฉันทะมาให้ฝ่ายเลขานุ การบริ ษทั และหลักทรัพย์ตรวจสอบล่วงหน้า เพื่อจะได้ไม่เสี ยเวลาตรวจสอบในวันประชุม 3.2 บริ ษทั ฯ เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุน้ ใช้หนังสื อมอบฉันทะรู ปแบบที่ ผถู้ ือหุ ้นสามารถกาหนด ทิศทางการลงคะแนนเสี ยงได้ โดยจัดส่ งหนังสื อมอบฉันทะแนบไปพร้อมกับหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ือหุ ้นและได้ เสนอชื่ อกรรมการอิสระ 2 ท่าน พร้ อมทั้งข้อมูลเกี่ ยวกับกรรมการอิสระดังกล่าว เป็ นทางเลือกในการมอบฉันทะ ของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ฯ ได้แจ้งให้ผถู้ ือหุน้ ทราบถึงเอกสารหรื อหลักฐานที่ตอ้ งนามาแสดงตนในการ เข้าร่ วมประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ตลอดจนคาแนะนาและขั้นตอนในการมอบฉันทะอย่างชัดเจน ไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุ ม ผูถ้ ือหุน้ ทุกครั้ง

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

3.3 บริ ษทั ฯ เปิ ดโอกาสและกาหนดหลักเกณฑ์อย่างชัดเจนในการให้ผถู ้ ือหุ น้ ส่ วนน้อย สามารถเสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ น กรรมการเป็ นการล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 3 เดือนก่อนวันประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งได้กระทาต่อเนื่องเป็ นประจา ทุกปี มาจนถึงปัจจุบนั โดยผูถ้ ือหุ น้ สามารถส่ งข้อมูลตามหลักเกณฑ์และแบบฟอร์ มที่บริ ษทั ฯ กาหนดและ เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ สาหรับการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2556 บริ ษทั ฯ กาหนดให้ผถู ้ ือหุ ้นเสนอเรื่ อง และชื่ อบุคคลเป็ นการล่วงหน้า โดยส่ งเป็ นจดหมายลงทะเบียนมายังบริ ษทั ฯ ได้ ตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2555 จนถึ ง วันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดยบริ ษ ทั ฯ ได้เผยแพร่ สารสนเทศดังกล่ าวไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษ ทั ฯ และได้ ประชาสัมพันธ์ให้ผถู ้ ื อหุ ้นทราบโดยแจ้งสารสนเทศผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่ งในการ ประชุมผูถ้ ือหุ ้นดังกล่าว ไม่มีผถู ้ ือหุ ้นเสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุ มและชื่ อบุคคลเพื่อเข้ารับการ พิจารณาคัดเลือกเป็ นกรรมการ 4. การป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน บริ ษทั ฯ มีการกากับดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยกาหนดข้อพึงปฏิ บตั ิเกี่ ยวกับการใช้ ข้อมู ล ภายในเพื่ อ การซื้ อ ขายหลัก ทรั พ ย์ไ ว้ใ นคุ ณธรรมและข้อพึ ง ปฏิ บ ตั ิ ใ นการท างานควบคู่ ก ับ การใช้ มาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบ้ ริ หารในการนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง กาหนดเป็ นหลักให้ถือปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัดในการที่ตอ้ งเก็บรักษาสารสนเทศที่สาคัญที่ยงั ไม่ได้เปิ ดเผยไว้เป็ นความลับ โดยจากัดให้รับรู ้ ได้เฉพาะกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งที่เกี่ ยวข้องเท่านั้น นอกจากนี้ ในการซื้ อ ขาย โอน หรื อรับโอนหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริ ษทั ฯ กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องแจ้งต่อ สานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 3 วันทาการนับแต่วนั ที่เกิดรายการขึ้น พร้อมทั้งส่ งสาเนารายงานดังกล่าว จานวน 1 ชุด ให้แก่บริ ษทั ฯ เพื่อเก็บเป็ นหลักฐานและรายงานต่อที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจา โดยในปี 2556 ไม่ปรากฏว่ามีกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ไม่ปฏิบตั ิตามหลักปฏิบตั ิดงั กล่าว 5. การมีส่วนได้เสี ยของกรรมการ คณะกรรมการได้มีการกาหนด “หลักเกณฑ์และวิธีการในการรายงานการมีส่วนได้เสี ยของ กรรมการและผูบ้ ริ หาร” อย่างเป็ นทางการ ซึ่ งกรรมการและผูบ้ ริ หารทุกท่านได้ดาเนิ นการอย่างถูกต้องตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด นอกจากนี้ ในการประชุ มคณะกรรมการ กรรมการรายใดที่มีส่วนได้เสี ยอย่างมีนยั สาคัญที่ อาจทาให้กรรมการรายดังกล่าวไม่สามารถให้ความเห็ นได้อย่างอิสระ จะงดเว้นจากการมีส่วนร่ วมในการ พิจารณาในวาระนั้น 6. ในปี 2556 บริ ษทั ฯ ไม่มีการทารายการที่เป็ นการให้ความช่ วยเหลือทางการเงิ นแก่บริ ษทั ที่ ไม่ใช่บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

7. บริ ษทั ฯ มีมาตรการและขั้นตอนในการอนุ มตั ิการทารายการระหว่างกันตามที่กฎหมายกาหนด และเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย โดยมีการประกาศใช้ “ระเบียบในการเข้าทารายการระหว่างกัน” ซึ่ งเป็ นระเบียบที่ได้รับการอนุมตั ิ โดยคณะกรรมการบริ ษทั ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ปฏิ บตั ิตามกฎหมาย ข้อกาหนด ตลอดจนระเบียบในเรื่ องการทา รายการระหว่างกันอย่างเคร่ งครัด ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ไม่เคยมีการทารายการที่ เกี่ยวโยงกันโดยฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง ในปี 2556 บริ ษทั ฯ มีการทารายการที่เกี่ยวโยงกันประเภทที่ตอ้ งขออนุ มตั ิจากที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ก่อนการเข้าทารายการ ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้นาเสนอเรื่ องดังกล่าวต่อที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2556 เพื่อ พิจารณาอนุ มตั ิ โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ ยวกับรายการดังกล่าวในหนังสื อเชิ ญประชุ ม อาทิ ชื่ อและ ความสัมพันธ์ของบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ลักษณะของรายการ นโยบายการกาหนดราคาและมูลค่าของรายการ เหตุผลของการเข้าทารายการ รวมทั้งความเห็ นของคณะกรรมการและที่ปรึ กษาทางการเงิ นอิสระเกี่ ยวกับ รายการดังกล่าว เป็ นต้น และนาส่ งหนังสื อเชิ ญประชุ มภายในระยะเวลาที่กาหนดตลอดจนดาเนิ นการในส่ วนที่ เกี่ ยวข้องอย่างถูกต้องและครบถ้วนตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทยทุกประการ สาหรับรายการระหว่างกันประเภทอื่นๆ บริ ษทั ฯ ได้ดาเนินการด้วยความยุติธรรม โดยมีราคา และเงื่อนไขเป็ นไปตามปกติธุรกิจทางการค้า (Fair and at arms’ length) บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันทุกประเภทที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2556 ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ภายใต้หวั ข้อ “รายการระหว่างกัน” 8. บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย และข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยที่เกี่ยวกับการเข้าทารายการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์อย่างเคร่ งครัด ตลอดระยะเวลา ที่ผา่ นมาจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ไม่เคยมีการเข้าทารายการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่เป็ นการฝ่ าฝื น หรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ในปี 2556 บริ ษทั ฯ มีการเข้าทารายการได้มาและ จาหน่ ายไปซึ่ งสิ นทรัพย์ที่เข้าข่ายตามประกาศของคณะกรรมการกากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย ซึ่ งกาหนดให้บริ ษทั ฯ ต้องจัดส่ งหนังสื อแจ้งผูถ้ ือหุ ้นเพื่อรับทราบเกี่ยวกับการได้มาและจาหน่าย ไปซึ่ งสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ฯ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้นได้มีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจในการเข้าทาธุ รกรรม บริ ษทั ฯ จึงได้ปฏิบตั ิเกินกว่าหลักเกณฑ์ที่กาหนด โดยการนาเสนอเรื่ องดังกล่าวต่อที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2556 เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ ในการนี้ บริ ษ ทั ฯ ได้เ ปิ ดเผยรายละเอี ย ดของรายการได้มาหรื อจาหน่ ายไปซึ่ งสิ นทรั พย์ ดังกล่าว ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ภายใต้หวั ข้อ “ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมูลสาคัญอื่น”

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ เสี ย 1. การกาหนดนโยบายการปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย และ การปฏิบตั ิตามนโยบาย 1.1 คณะกรรมการดู แ ลสิ ทธิ ตามที่ ก ฎหมายก าหนดของผู ้ มี ส่ วนได้ เ สี ยกลุ่ ม ต่ า งๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน์ร่วมกันอย่างเหมาะสม เพื่อให้ Stakeholders มัน่ ใจว่าสิ ทธิ ดงั กล่ าว ได้รับการคุม้ ครองและปฏิบตั ิดว้ ยดี ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้จดั ทา “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน” ซึ่ งได้ กาหนดข้อพึงปฏิบตั ิของพนักงานต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยกลุ่มต่างๆ ได้แก่ พนักงาน - มีสิทธิ ส่วนบุคคล และมีสิทธิ ที่จะได้รับการคุม้ ครองไม่ให้ใครละเมิดสิ ทธิ ส่วนบุคคล - สิ ทธิ ในการได้รับการปฏิบตั ิ และได้รับโอกาสเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ต่างๆ เกี่ยวกับการจ้างงานที่เป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน เช่น การอนุญาตให้ลางาน สิ ทธิ ประโยชน์ โอกาสในการเลื่อนขั้น การโอนย้าย การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ลูกค้า - มีสิทธิ ได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ที่จะได้รับการบริ การจากพนักงานอย่างเต็มความรู ้ ความสามารถ - สิ ทธิที่จะได้รับสิ นค้าที่มีคุณภาพและมีประสิ ทธิผล - สิ ทธิที่จะได้รับการปกป้ องรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับ ผูจ้ ดั หาสิ นค้าและบริ การ และตัวแทนอื่นๆ (คู่คา้ ) - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน - สิ ทธิที่จะได้รับการปกป้ องรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับ - สิ ทธิที่จะได้รับการปฏิบตั ิดว้ ยความซื่อตรง และเชื่อถือได้ - สิ ทธิที่จะได้รับทราบกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบายที่เกี่ยวข้อง - สิ ทธิ ที่จะได้รับการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม คู่แข่ง - สิ ทธิ ที่จะได้รับการเปรี ยบเทียบสิ นค้าและบริ การอย่างเป็ นธรรมและตามความเป็ นจริ ง โดยไม่บิดเบือนข้อเท็จจริ ง ไม่ใส่ ร้ายคู่แข่งตลอดจนสิ นค้าและบริ การของคู่แข่ง - ไม่ร่วมทาจารกรรม ก่อวินาศกรรม หรื อติดสิ นบน คู่แข่งทางการค้า ทั้งคู่แข่งในปั จจุบนั หรื อ ผูท้ ี่อาจจะเป็ นคู่แข่งในอนาคต - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกันไม่ปฏิบตั ิต่อคู่แข่งรายใด เป็ นพิเศษเหนือคู่แข่งรายอื่น ไม่วา่ ในด้านคุณภาพ การทดสอบ การติดตั้ง ตลอดจนการบารุ งรักษาในการให้บริ การสื่ อส่ งสัญญาณ ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เจ้าหนี้ - สิ ทธิที่จะได้รับการปฏิบตั ิตามเงื่อนไขในสัญญาภายใต้หลักเกณฑ์และกฎหมายที่กาหนด - สิ ทธิที่จะได้รับข้อมูลทางการเงินที่ถูกต้องครบถ้วน - สิ ทธิ ที่จะได้รับการชาระหนี้ตรงตามเวลาและได้รับการดูแลคุณภาพของหลักทรัพย์ค้ าประกัน ผูล้ งทุน - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรม และเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ที่ จะได้รับการปฏิ บตั ิ อย่างมุ่ งมัน่ ที่ จะดาเนิ นธุ รกิ จด้วยความรู ้ และทักษะการ บริ หารจัดการอย่างสุ ดความสามารถด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต - สิ ทธิ ที่จะได้รับการปกป้ องไม่ให้เกิดการแสวงหาผลประโยชน์ โดยการใช้ขอ้ มูลใดๆ ขององค์กรซึ่ งยังไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณะ หน่วยงานของรัฐ - สิ ทธิ ในการกากับ ดูแล และลงโทษ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และมาตรฐานการปฏิบตั ิ ของหน่วยงานของรัฐ 1.2 บริ ษ ัทฯ ให้ ความส าคัญเกี่ ยวกับการดู แลเรื่ องความปลอดภัย และสุ ขอนามัย โดยได้ ประกาศใช้ “นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน” และ “นโยบายการส่ งเสริ ม สุ ขภาพพนักงานของกลุ่มบริ ษทั ทรู ” มีการบริ หารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน รวมทั้งการส่ งเสริ มสุ ขภาพให้กบั พนักงาน ดังนี้ 1) จัดทาคู่มือ และ ขั้นตอนการปฏิ บตั ิงานด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานในระบบ เอกสารระบบคุณภาพของบริ ษทั ฯ เช่น การตรวจสอบความปลอดภัยฯ การจัดให้มีการซ้อมอพยพกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น เป็ นต้น 2) จัดทาคู่มือความปลอดภัยให้กบั พนักงานที่ทางานในสานักงาน และ พนักงานช่าง เทคนิค โดยจัดอยูใ่ นรู ป e-book เพื่อให้พนักงานทุกคนสามารถเข้ามาศึกษา ทาความเข้าใจ และนาไปปฏิบตั ิ 3) มีการกาหนดกฎระเบียบ คาสั่ง ว่าด้วยเรื่ องความปลอดภัยในการทางานให้กบั พนักงาน และผูร้ ับเหมาที่มารับงานจากบริ ษทั ฯ 4) มีการจัดทาแผนป้ องกัน และ แผนอพยพกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นของบริ ษทั ฯ สาหรับ แต่ละสถานประกอบการของบริ ษทั ฯ จัดทาสมุดและภาพวิดีโอคาแนะนาวิธีปฏิบตั ิตนกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น ต่างๆ ให้กบั พนักงาน

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

5) จัดให้มีการอบรมหลักสู ตรความปลอดภัยต่างๆ และการปฐมพยาบาลการช่ วยเหลื อ ชีวติ ขั้นพื้นฐาน ให้กบั พนักงาน และผูร้ ับเหมางานของบริ ษทั ฯ 6) รณรงค์ ส นั บ สนุ น ส่ ง เสริ มสุ ข อนามัย ให้ ก ับ พนัก งานทั้ง ในกรุ งเทพฯ และ ต่างจังหวัดอย่างหลากหลาย สนับสนุ นผลักดันชมรมกี ฬาต่างๆ ของบริ ษทั ฯ ให้จดั กิจกรรมเพื่อให้พนักงาน ได้ออกกาลังกายมากขึ้น รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจ โดยการส่ งเสริ มให้พนักงานสามารถไปศึกษา ปฏิบตั ิ ดูแลจิตใจโดยไม่นบั เป็ นวันลา จานวน 5 วันต่อปี 7) ติดตาม ดูแล สุ่ มตรวจวัดคุณภาพอากาศในสานักงานที่มีพนักงานทางานอยู่เป็ น จ านวนมาก ได้แ ก่ ส านัก งานใหญ่ อาคารส านัก งานที่ มี ก ลุ่ ม พนัก งานรั บ สายโทรศัพ ท์ท างาน อาคาร สานักงานชุมสายโทรศัพท์หลัก (พารามิเตอร์ที่ตรวจวัด ได้แก่ คาร์ บอนไดออกไซด์ คาร์ บอนมอนอกไซด์ รา ยีสต์ โมลด์ แบคทีเรี ยฟอร์ มาดีไฮด์ อนุภาคฝุ่ น อุณหภูมิ ความชื้น เป็ นต้น) 1.3 บริ ษทั ฯ มีนโยบายค่าตอบแทนพนักงานที่สอดคล้องกับผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยมีการกาหนด Balanced Scorecard (BSC) เพื่อเป็ นเครื่ องมือด้านการจัดการที่ ช่วยในการนากลยุทธ์ขององค์กรไปสู่ การปฏิบตั ิ และกาหนดตัวชี้ วดั (Key Performance Indicators : KPIs) เพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของพนักงานและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน บริ ษทั ฯ ได้สรุ ปแนวปฏิ บตั ิเกี่ ยวกับค่าตอบแทนและสวัสดิ การของพนักงานไว้ใน รายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ในหัวข้อ “บุคลากร” 1.4 บริ ษทั ฯ จัดให้มีกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับพนักงาน 1.5 บริ ษทั ฯ มุ่งเน้นที่จะพัฒนาและปรับปรุ งระบบการบริ หารและการพัฒนาทรัพยากร บุคคลให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีและเป็ นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อที่จะเสริ มสร้างและ พัฒนาให้พ นัก งาน เป็ นทั้ง คนดี และคนเก่ ง ตลอดจนมี ส่ ว นร่ วมในการพัฒนาและช่ วยเหลื อ สั ง คมโดย ส่ วนรวม บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มให้มีการเรี ยนรู ้ท้ งั ภายในและภายนอกองค์กรเพื่อให้พนักงานได้มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่ อง มีการจัดทาระบบการเรี ยนทางไกลไปยังพนักงานในต่างจังหวัด บริ ษทั ฯ จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมและ การพัฒนาบุ คลากร เพื่อออกแบบและพัฒนาหลักสู ตรการฝึ กอบรมที่ เหมาะสม หลัก สู ตรที่ จดั ฝึ กอบรม ภายในบริ ษทั ฯ มีประมาณ 300 หลักสู ตรต่อปี โดยในปี 2556 มีจานวนคน-วันอบรมรวม 36,000 Training Mandays ใช้งบประมาณทั้งสิ้ นรวมจานวน 135 ล้านบาท ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการฝึ กอบรมและ พัฒนาพนักงานไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ในหัวข้อ “บุคลากร” 1.6 บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญต่อการต่อต้านการทุจริ ต ตลอดจนการรับและการจ่ายสิ นบน โดยได้มีการกาหนดไว้ใน “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน” ห้ามพนักงานเรี ยกร้องหรื อรับสิ นน้ าใจ เพื่อตนเองหรื อเพื่อผูอ้ ื่น จากบุคคลที่ร่วมทาธุ รกิ จด้วย และ ห้ามการจ่ายเงิ นหรื อให้ความช่ วยเหลื อที่ถือว่า เป็ นการติดสิ นบนหรื อให้ผลประโยชน์

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1.7 บริ ษทั ฯ จัดให้มีช่องทางสาหรับให้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถทาการร้องเรี ยน หรื อ แจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อการกระทาผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั โดยผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ โดยประชาสัมพันธ์ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.truecorp.co.th ซึ่ งมี รายละเอียดดังนี้: ช่ องทางให้ ผ้ มู ีส่วนได้ เสี ยสามารถร้ องเรียนหรือแจ้ งเบาะแสต่อคณะกรรมการบริษัทผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถทาการร้องเรี ยนหรื อแจ้งเบาะแส (โดยจะได้รับการเก็บรักษา ข้อมูลไว้เป็ นความลับ) เกี่ยวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อ การกระทาผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ ต่อคณะกรรมการ บริ ษทั ฯ โดยผ่านคณะกรรมการตรวจสอบได้ ตามที่อยูด่ งั นี้ 

จดหมายอิเล็กทรอนิกส์: auditcommittee@truecorp.co.th จดหมายส่ งทางไปรษณี ย:์ เรี ยน คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) เลขที่ 18 อาคาร ทรู ทาวเวอร์ ชั้น 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310

โดยหน่ ว ยงานเลขานุ ก ารบริ ษัท และหลั ก ทรั พ ย์ ในฐานะที่ เ ป็ นเลขานุ ก ารของ คณะกรรมการตรวจสอบ จะเป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบในการรวบรวมและนาส่ งเรื่ องร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแสต่างๆ ให้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาและดาเนิ นการต่อไป ซึ่ งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุ ปผลการ ดาเนินการและนาเสนอรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ เป็ นรายไตรมาส เงื่อนไขในการรับเรื่ องร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแส: 

ส่วนที่ 2

ไม่รับบัตรสนเท่ห์ ผูร้ ้องเรี ยน/ผูแ้ จ้งเบาะแส ต้องระบุชื่อและนามสกุลจริ ง โดยบริ ษทั ฯ จะเก็บรักษาข้อมูล ไว้เป็ นความลับ ซึ่งจะรับรู้ได้เฉพาะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบ เท่านั้น เรื่ องที่ไม่เกี่ยวข้องต่างๆ ดังตัวอย่างด้านล่างนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะไม่รับ ดาเนินการให้: - การสมัครงาน - แบบสารวจ หรื อ การขอรับข้อมูลเกี่ยวกับบริ ษทั ฯ - การเสนอขายสิ นค้าหรื อบริ การ - การขอรับบริ จาคหรื อการสนับสนุนต่างๆ

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบไม่ ได้รั บเรื่ องที่ เป็ นการร้ องเรี ยนหรื อการแจ้ง เบาะแสเกี่ยวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อการกระทาผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ แต่ได้รับเรื่ องร้องเรี ยนเกี่ยวกับ ปั ญหาการให้บริ การของบริ ษทั ฯ จานวน 4 เรื่ อง ซึ่ งคณะกรรมการตรวจสอบได้นาส่ งเรื่ องร้ องเรี ยนดังกล่าวไป ยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อการดาเนิ นการที่เหมาะสม และ หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องของบริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการ แก้ไขปั ญหาเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว 1.8 บริ ษทั ฯ มีการอบรมให้ความรู ้ แก่พนักงานในเรื่ องสิ่ งแวดล้อมผ่านโครงการประกวด ภาพถ่ายอนุรักษ์ธรรมชาติ โดยเปิ ดโอกาสให้พนักงานเข้าร่ วมกิจกรรมอบรมการถ่ายภาพธรรมชาติและส่ งผลงาน ภาพถ่ายเข้าร่ วมประกวด การอบรมการถ่ายภาพธรรมชาติให้แก่พนักงานจะสร้างความรู ้สึกรักและหวงแหน ธรรมชาติ ทาให้เกิดจิตสานึ กในการอนุรักษ์ธรรมชาติ โดยบริ ษทั ฯ ร่ วมกับกรมอุทยานแห่ งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช จัดโครงการประกวดภาพถ่ายอนุ รักษ์ธรรมชาติ “สัตว์มีค่า ป่ ามีคุณ” ซึ่ งจัดต่อเนื่ องเป็ นประจาทุกปี เริ่ มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2538 จนถึงปัจจุบนั นับเป็ นปี ที่ 19 มีการเชิญผูท้ รงคุณวุฒิและนักวิชาการด้านอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม อาทิ ผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านทรั พยากรชี วภาพ เจ้าหน้าที่จากกรมอุ ทยานแห่ งชาติ เป็ นต้น มาร่ วมเสวนาให้ความรู ้ ด้านสิ่ งแวดล้อม เพื่อปลูกฝังให้คนไทยเกิดความรู ้ สึกเป็ นเจ้าของร่ วมกัน และเกิ ดความร่ วมมือในการฟื้ นฟู และเพิ่มจานวนสัตว์ป่า ซึ่ งจะช่วยรักษาดุลยภาพของธรรมชาติให้ดารงอยูส่ ื บไป 1.9 บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และสนับสนุ นให้มีการ สร้ างสรรค์นวัตกรรมเพื่อเป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้คุม้ ค่ามากที่สุด บริ ษทั ฯ ได้จดั โครงการ “True Innovative Award for True” มาอย่างต่อเนื่ องเป็ นประจาทุกปี จนถึงปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นโครงการ ประกวดผลงานนวัตกรรมเป็ นการภายในบริ ษทั ฯ เพื่อส่ งเสริ มให้พนักงานทุกคน ทุกระดับ มีส่วนร่ วมในการ สร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ที่เป็ นประโยชน์ต่อองค์กรและสังคมโดยรวม เป็ นการกระตุน้ ให้พนักงานเห็น ความสาคัญและประโยชน์ของการสร้างนวัตกรรม อีกทั้งนามาประยุกต์ใช้ในหน่ วยงานให้เกิ ดการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาพนักงานที่เข้ามาร่ วมโครงการ ให้มีความรู้ดา้ นนวัตกรรมอย่างบูรณาการ และสามารถ ต่อยอดงานนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ให้เป็ นรู ปธรรมและสั มฤทธิ์ ผล เพื่อนาผลงานนวัตกรรม มา แก้ปัญหาให้กบั ลูกค้า เพื่อพัฒนาสิ นค้า บริ การ และ กระบวนการ ก่อให้เกิ ดประโยชน์ต่อองค์กร ลูกค้า และ สังคม (Benefits to customers, corporate and social) อาทิเช่น เพิ่มความพึงพอใจลูกค้า (Customer Satisfaction) เพิ่มรายได้ (Revenue Increase) ปรับปรุ งกระบวนการทางาน (Process Improvement) คุ ณค่าที่ได้รับเพิ่ม (Value Adding) การสร้างสรรค์ (Creation) เป็ นต้น นอกเหนื อจากการจัดโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมภายในบริ ษทั ฯ ดังกล่าวแล้ว บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญและมีความตั้งใจที่จะมีส่วนร่ วมในการจุดประกายและสร้างแรงบันดาลให้คนไทยสนใจ นวัตกรรมอย่างจริ งจัง ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญในการขับเคลื่ อนให้ประเทศเจริ ญก้าวหน้า โดยร่ วมกับหลักสู ตร เทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรมบัณฑิ ตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และสานักข่าวต่างประเทศ CNBC (Asia Pacific) จัดโครงการประกวด “ทรู อินโนเวชั่น อวอร์ ดส์ ” ซึ่ งจัดเป็ นประจาต่อเนื่ องมาทุกปี เริ่ ม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 เพื่อเปิ ดโอกาสให้นวัตกรไทยได้นาเสนอความคิดสร้างสรรค์ และพัฒนาผลงานนวัตกรรม เพื่อคุ ณประโยชน์ แก่ สังคมและประเทศชาติ อี กทั้ง ยกระดับขี ดความสามารถของคนไทยให้ทดั เที ยมกับ นานาชาติ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2. การจัดทารายงานความรับผิดชอบต่อสังคม บริ ษทั ฯ มีนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่ งรับรองโดยคณะกรรมการบริ ษทั และ ได้เปิ ดเผยนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th นอกจากนี้ บริ ษ ัท ฯ ประกอบธุ รกิ จโดยยึด แนวทางปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดย คานึ งถึงความสาคัญด้านสังคมและสิ่ งแวดล้อม ในด้านสังคมนั้น บริ ษทั ฯ มุ่งเน้นด้านการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ให้แก่สังคม เพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งในการพัฒนาสังคมไทยอย่างยัง่ ยืน ด้วยการนาเทคโนโลยีการสื่ อสารที่ทนั สมัย มา จัดทาโครงการด้านการศึกษาและการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาเยาวชนและผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมไทย ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลตลอดจนกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมไว้ ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ภายใต้หวั ข้อ “ความรับผิดชอบต่อสังคม” หมวดที่ 4 การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส 1. การเปิ ดเผยข้อมูล 1.1 บริ ษทั ฯ นาส่ งรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาส และ รายปี ในปี 2556 ได้ภายในเวลาที่ สานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ กาหนด ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญในการจัดทางบการเงิ นให้ ถู กต้องตามมาตรฐานการบัญชี ที่ รับรองทัว่ ไป โดยเลื อกใช้นโยบายบัญชี ที่ เหมาะสมและถื อปฏิ บ ตั ิ อย่า ง สม่ าเสมอ บริ ษทั ฯ เคร่ งครั ดในการนาส่ งงบการเงิ นและรายงานทางการเงิ นให้ทนั ภายในเวลาที่กฎหมาย กาหนดไว้เป็ นอย่างยิ่ง งบการเงิ นของบริ ษทั ฯ ได้รับการรั บรองโดยไม่มีเงื่ อนไขจากผูส้ อบบัญชี ไม่เคยมี ประวัติถูกสานักงาน ก.ล.ต. สั่งให้แก้ไขงบการเงิน และ ไม่เคยนาส่ งรายงานทางการเงินล่าช้า 1.2 บริ ษทั ฯ จัดทาคาอธิ บายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการโดยอธิ บายเชิ งวิเคราะห์ เกี่ ยวกับฐานะการเงิ น ผลการดาเนิ นงาน การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ ตลอดจนปั จจัยที่เป็ นสาเหตุหรื อมีผลต่อ ฐานะการเงินและผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ และ นาส่ งต่อ สานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ พร้ อมกับการนาส่ งงบการเงิ นทุกไตรมาส ตลอดจนเผยแพร่ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ เพื่อเป็ นข้อมูล ประกอบการเปิ ดเผยงบการเงินทุกไตรมาสเพื่อให้ผลู ้ งทุนได้รับทราบข้อมูลและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ในแต่ละไตรมาสได้ดียงิ่ ขึ้น 1.3 บริ ษทั ฯ ได้รายงานนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีและนโยบายด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมที่คณะกรรมการได้ให้ความเห็ นชอบไว้โดยสรุ ป และรายงานผลการปฏิ บตั ิตามนโยบายผ่านช่ องทาง ต่างๆ เช่น รายงานประจาปี และ เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.4 บริ ษทั ฯ ได้แสดงรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินควบคู่ กับรายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ในรายงานประจาปี

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1.5 ผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ เป็ นผูส้ อบบัญชี ที่ได้รับความเห็ นชอบจากสานักงาน ก.ล.ต. และ ได้รับการแต่งตั้งโดยที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนแก่ผสู ้ อบบัญชี ประจาปี 2556 ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 โดยได้แสดงรายละเอียดแยกประเภทเป็ นค่าตอบแทน จากการสอบบัญชี (audit fee) และ ค่าบริ การอื่น (non-audit fee) ไว้อย่างชัดเจน 1.6 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยรายชื่อ บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุ ดย่อย จานวนครั้งของการประชุ ม และจานวนครั้งที่กรรมการแต่ละท่านเข้าร่ วมประชุ มคณะกรรมการในปี ที่ผ่านมา ตลอดจนความเห็นจากการทาหน้าที่ของคณะกรรมการชุ ดย่อย รวมถึงการฝึ กอบรมและพัฒนาความรู้ดา้ นวิชาชีพ อย่างต่อเนื่องของกรรมการ ไว้ในรายงานประจาปี ตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ สานักงาน ก.ล.ต. 1.7 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยประวัติของกรรมการทุกท่านไว้ใน รายงานประจาปี แบบ 56-1 และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ โดยระบุ ชื่ อ -นามสกุล อายุ ตาแหน่ง ประวัติการศึกษา การฝึ กอบรม ประสบการณ์ การทางาน จานวนและสัดส่ วนการถื อหุ ้นในบริ ษทั ฯ การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษทั อื่นโดยแยกอย่าง ชัดเจนออกเป็ นหัวข้อบริ ษทั จดทะเบียนและบริ ษทั อื่น วันเดือนปี ที่ได้รับแต่งตั้งเป็ นกรรมการ ตลอดจนระบุ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริ หาร 1.8 ค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษทั ฯ สะท้อนถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของ กรรมการแต่ล ะคน ทั้ง นี้ บริ ษ ทั ฯ จ่ ายค่ า ตอบแทนให้แก่ ก รรมการ ในปี 2556 ตามอัตราซึ่ งอนุ มตั ิ โดยที่ ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2556 โดยยังคงเป็ นอัตราเดิมตามที่ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2555 ได้ เคยมีมติอนุมตั ิไว้ ซึ่งอัตราค่าตอบแทนดังกล่าวไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่ปี 2545 แล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี้ กรรมการได้รับค่าตอบแทนเป็ นรายเดือน โดยมีหลักเกณฑ์ในการจ่ายดังนี้ ประธานกรรมการ 300,000 บาทต่อเดือน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 200,000 บาทต่อเดือน รองประธานกรรมการ 150,000 บาทต่อเดือน กรรมการ 100,000 บาทต่อเดือน หากกรรมการท่านใดเป็ นลู กจ้างของบริ ษทั ฯ ก็ให้ค่าตอบแทนกรรมการนี้ เป็ นส่ วน เพิ่มเติมจากค่าจ้างปกติของลูกจ้างแต่ละท่าน สาหรับกรรมการอิสระที่ทาหน้าที่เป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้รับค่าตอบแทน ดังนี้ กรรมการอิสระที่เป็ นประธานในคณะกรรมการชุดย่อย 300,000 บาทต่อเดือน กรรมการอิสระที่เป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุ ดย่อย 200,000 บาทต่อเดือน สาหรับกรรมการอิสระที่มิได้เป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุ ดย่อย และกรรมการ ทุกท่านที่มิใช่กรรมการอิสระ ให้ได้รับค่าตอบแทนคงเดิม

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ในการนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยจานวนเงินและประเภทของค่าตอบแทนที่กรรมการแต่ละคน ได้รับจากบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย เป็ นรายบุคคล ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 และได้นาขึ้นเผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.9 ในปี 2556 บริ ษทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารระดับสู งสอดคล้องกับนโยบายของบริ ษทั ฯ ที่ให้จ่ายค่าตอบแทนโดยสะท้อนภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารระดับสู งแต่ละคน และเป็ นอัตรา ที่เหมาะสมโดยศึ กษาเทียบเคียงกับธุ รกิ จประเภทเดี ยวกัน และ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนโดย ละเอียดทั้งรู ปแบบ ลักษณะ และ จานวนเงินค่าตอบแทน ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 1.10 บริ ษทั ฯ กาหนดนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งต้องส่ งสาเนารายงานการ ถือหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ทั้งกรณี การรายงานครั้งแรก (แบบ 59-1) และ กรณี การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) ให้แก่บริ ษทั ฯ ภายในช่วงเวลาเดียวกันกับที่กรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งได้ส่งต่อสานักงาน ก.ล.ต. เพื่อบริ ษทั ฯ เก็บเป็ นหลักฐาน และ รายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจา นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยการเปลี่ ยนแปลงการถื อครองหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ของกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู ง โดยแสดงจานวนหุ ้นที่ถือ ณ ต้นปี จานวนการเปลี่ ยนแปลงระหว่างปี และ จานวนหุ น้ ณ สิ้ นปี ไว้ใน รายงานประจาปี 1.11 บริ ษทั ฯ มีหน่วยงาน “ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์” หรื อ “Investor Relations” เพื่อสื่ อสาร กับ บุ ค คลภายนอกอย่า งเท่ า เที ย มและเป็ นธรรม ทั้ง นี้ ผูล้ งทุ น สามารถติ ดต่ อฝ่ ายนักลงทุ นสั มพันธ์ ได้ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2699-2515 หรื อ e-mail address : ir_office@truecorp.co.th ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้แจ้งช่องทาง การติดต่อให้ผลู ้ งทุนทัว่ ไปทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ รายงานประจาปี และ แบบ 56-1 สาหรับในปี 2556 ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ได้มีการจัดทาจดหมายข่าวที่นาเสนอผลการดาเนิ นงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ และได้ จัดให้มีการประชุ มนักวิเคราะห์และนักลงทุนภายหลังจากที่บริ ษทั ฯ ประกาศผลประกอบการทุกไตรมาส โดยจัดให้มีการประชุม ณ สานักงานใหญ่ของบริ ษทั ฯ รวมทั้งผ่าน Webcast สาหรับนักวิเคราะห์และนักลงทุน ที่ไม่สามารถมาร่ วมประชุ มด้วยตนเองได้ นอกจากนี้ ได้ให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับบริ ษทั ฯ และพบปะนักวิเคราะห์ รวมถึงได้จดั Roadshow เพื่อพบปะนักลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ และเปิ ดโอกาสให้นกั ลงทุนทั้ง ประเภทสถาบันและนักลงทุนรายย่อยสามารถโทรศัพท์สอบถามข้อมูลจากทางบริ ษทั ฯ ได้อย่างเท่าเทียมกัน 2. ข้อมูลที่เปิ ดเผยบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ บริ ษ ทั ฯ มีการเผยแพร่ ท้ งั ข้อมูลทางการเงิ นและข้อมูล ที่ มิ ใช่ ก ารเงิ นตามข้อกาหนดของ ตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทยอย่ า งถู ก ต้อ ง ครบถ้ว น ทัน เวลา โปร่ ง ใส ทั้ง ฉบับ ภาษาไทยและ ภาษาอัง กฤษ ผ่า นช่ องทางต่ า งๆ ทั้ง ช่ องทางของตลาดหลักทรั พย์ฯ รายงานประจาปี แบบ 56-1 และ บน เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังได้เผยแพร่ เอกสารที่สาคัญและจัดทาข้อมูลรายละเอียดอื่นๆ ที่คาดว่าจะ เป็ นที่ สนใจของนักลงทุ นและนักวิเคราะห์ เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย เช่ น วิสัยทัศน์และพันธกิ จ ลักษณะการประกอบธุ รกิ จ โครงสร้ างกลุ่ มบริ ษ ัทฯ ผูถ้ ื อหุ ้ น 10 ล าดับแรก รายชื่ อ และอ านาจหน้า ที่ ข อง คณะกรรมการและคณะกรรมการชุ ด ย่อ ย งบการเงิ น และข้อมู ลทางการเงิ นซึ่ งมี ข้อมู ลย้อนหลังเพื่ อการ ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เปรี ยบเที ยบไม่น้อยกว่า 3 ปี รายงานประจาปี แบบ 56-1 หนัง สื อเชิ ญประชุ ม พร้ อมเอกสารเกี่ ยวกับ การ ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ข้อบังคับและหนังสื อบริ คณห์ สนธิ นโยบายการกากับดู แลกิ จการที่ ดี เป็ นต้น และมีการ ปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปั จจุบนั เป็ นระยะๆ โดยเอกสารและข้อมูลทุกประเภทที่เผยแพร่ อยู่บนเว็บไซต์มีท้ งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อให้นกั ลงทุนและนักวิเคราะห์เข้าถึง ข้อมูลได้อย่างสะดวกและเท่าเทียมกัน และ สามารถดาวน์โหลดข้อมูลที่ อยู่ในความสนใจได้ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้แจ้งเบอร์ โทรศัพท์ โทรสาร และ อีเมล์ เพื่อเป็ นช่องทางสาหรับการติดต่อฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ 1.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 15 ท่าน ซึ่งเป็ นผูท้ รงคุณวุฒิ มีความรู้ ประสบการณ์หลากหลาย และ มีความสามารถเฉพาะด้านที่เป็ นประโยชน์ต่อบริ ษทั ฯ จานวนกรรมการ มีความเหมาะสมและเพียงพอกับขนาดและประเภทธุ รกิจของบริ ษทั ฯ โครงสร้างของคณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วย (1) กรรมการบริ หาร (Executive Directors) 4 ท่าน และ (2) กรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หาร (Non-Executive Directors) 11 ท่าน โดยในจานวนนี้มี กรรมการอิสระ 5 ท่าน หรื อคิดเป็ นจานวน 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด ซึ่ง เป็ นไปตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับตลาดทุน และ มีกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ่ งไม่เกี่ยวข้องในการ บริ หารงานประจา ซึ่งรวมตัวแทนของผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ จานวน 6 ท่าน บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยโครงสร้างคณะกรรมการ อานาจหน้าที่ หลักเกณฑ์ในการสรรหา ข้อมูลสาคัญของกรรมการแต่ละท่าน เช่น ชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง วันเดือนปี ที่ได้รับแต่งตั้งเข้าดารงตาแหน่ง กรรมการ ตลอดจนประวัติของกรรมการแต่ละท่าน ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ตลอดจนเว็บไซต์ ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.2 บริ ษทั ฯ มีการกาหนดวาระการดารงตาแหน่งของกรรมการไว้อย่างชัดเจน โดยระบุ ไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี และ ข้อบังคับของบริ ษทั ฯ ซึ่งเป็ นไปตามกฎหมาย สาหรับวาระการดารงตาแหน่งของกรรมการอิสระมีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกับวาระการ ดารงตาแหน่งกรรมการ 1.3 บริ ษทั ฯ กาหนดคุ ณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” อย่างละเอี ยด โดยเปิ ดเผยไว้ใน รายงานประจาปี และ แบบ 56-1 โดย นายโชติ โภควนิช เป็ นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบผูม้ ีความรู้ ด้านบัญชีและการเงิน บริ ษทั ฯ กาหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไว้เข้มงวดกว่าข้อกาหนดของคณะกรรมการ กากับตลาดทุนในเรื่ องสัดส่ วนการถือหุ น้ ในบริ ษทั ฯ กล่าวคือ กรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ จะต้องถือหุ ้นไม่เกิน ร้อยละ 0.75 ของจานวนหุ น้ ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้น รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ ให้นบั รวมการถือหุ น้ ของผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1.4 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยข้อมูล การดารงตาแหน่ งของกรรมการแต่ละคนให้ผูถ้ ื อหุ ้นทราบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งผูถ้ ือหุ ้นสามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ www.set.or.th และ เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th 1.5 ไม่มีกรรมการหรื อผูบ้ ริ หารระดับสู งของบริ ษทั ฯ ท่านใด เป็ นหรื อเคยเป็ นพนักงาน หรื อหุ น้ ส่ วนของบริ ษทั สอบบัญชีภายนอกที่บริ ษทั ฯ ใช้บริ การอยูใ่ นช่วง 2 ปี ที่ผา่ นมา 1.6 บริ ษทั ฯ มีการกาหนดนโยบายเกี่ยวกับจานวนบริ ษทั ที่กรรมการแต่ละคนซึ่ งรวมถึง กรรมการอิสระและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่สามารถไปดารงตาแหน่ง โดยกาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแล กิ จการที่ ดีของบริ ษ ทั ฯ ซึ่ งได้เปิ ดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษ ทั ฯ กล่ าวคื อ กรรมการสามารถดารงตาแหน่ ง กรรมการในบริ ษ ทั อื่ นได้ แต่ ท้ งั นี้ ในการเป็ นกรรมการดังกล่ าว ต้องไม่ เป็ นอุ ป สรรคต่ อการปฏิ บ ตั ิ หน้า ที่ กรรมการของบริ ษทั ฯ สาหรับจานวนบริ ษทั ที่กรรมการแต่ละคนสามารถไปดารงตาแหน่ งกรรมการได้น้ นั คณะกรรมการสนับสนุนให้กรรมการพิจารณาจากัดไว้ที่จานวนไม่เกิน 5 บริ ษทั จดทะเบียน ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลา ที่ผา่ นมา ไม่มีกรรมการอิสระท่านใดดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั จดทะเบียนอื่นเกินกว่า 5 บริ ษทั 1.7 ประธานกรรมการของบริ ษทั ฯ เป็ น Non-Executive Director และ มิใช่บุคคลเดียวกับ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ อ านาจหน้าที่ ของประธานกรรมการนั้นเป็ นไปตามกฎหมาย ส่ วนอ านาจหน้าที่ ของ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่น้ นั คณะกรรมการบริ ษทั มีการกาหนดไว้อย่างชัดเจน และเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.8 บริ ษทั ฯ กาหนดสายงานองค์กรให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน (Internal Audit) รายงาน โดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ งจะเป็ นผูพ้ ิจารณาให้คุณให้โทษต่อหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยชื่อและประวัติของหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายในไว้ในรายงาน ประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.9 บริ ษทั ฯ มีเลขานุการบริ ษทั ซึ่งทาหน้าที่ให้คาแนะนาด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการจะต้องทราบและปฏิ บตั ิหน้าที่ในการดูแลกิ จกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงานให้มี การปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ สนับสนุ นให้เลขานุ การบริ ษทั เข้ารับการฝึ กอบรมและพัฒนา ความรู ้อย่างต่อเนื่องด้านกฎหมาย การบัญชี ตลอดจนหลักสู ตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิหน้าที่ของเลขานุ การ บริ ษทั บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยหน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริ ษทั ประวัติการศึกษา ประสบการณ์ทางาน ตลอดจนการผ่านการอบรมในหลักสู ตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิหน้าที่ของเลขานุการบริ ษทั ไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2. คณะกรรมการชุ ดย่อย 2.1 คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีคณะกรรมการชุ ดย่อยด้านต่างๆ เพื่อช่วยคณะกรรมการในการ กากับดูแลกิจการ ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ทาหน้า ที่ส อบทานกระบวนการจัดท ารายงานทางการเงิ นของบริ ษ ทั ฯ ระบบการ ควบคุ มภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน การปฏิ บตั ิ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนกฎหมายที่ เกี่ ยวข้องกับธุ รกิ จของบริ ษทั ฯ พิจารณา ความเป็ นอิสระของหน่ ายงานตรวจสอบภายใน พิจารณาเสนอแต่งตั้งผูส้ อบบัญชี ของบริ ษ ทั ฯ และ พิ จารณารายการที่ อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมี รายละเอียดของบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบตามที่ปรากฏใน หัวข้อ 9.2 “คณะกรรมการชุดย่อย” คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ทาหน้าที่ พิจารณาการก าหนดค่ าตอบแทนของกรรมการและ CEO และ พิจารณา กลัน่ กรองการสรรหากรรมการ ก่อนนาเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการด้านการเงิน ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการดูแลการจัดการด้านการเงิน คณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี ทาหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการกาหนดและทบทวนนโยบายการกากับดูแล กิ จการที่ ดีข องบริ ษทั ฯ ตลอดจนดู แลให้บ ริ ษทั ฯ มี ก ารก ากับ ดู แลกิ จการที่ ดีและ เหมาะสมกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลรายละเอียดเกี่ ยวกับคณะกรรมการชุ ดย่อยดังกล่ าว ได้แก่ รายชื่ อกรรมการ หน้า ที่ จานวนครั้ ง การประชุ ม และการเข้า ร่ วมประชุ ม ของกรรมการแต่ ล ะท่ า น ไว้ใ น รายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ในหัวข้อ 9.2 “คณะกรรมการชุ ดย่อย” นอกจากนี้ ผูถ้ ือหุ ้น และ ผูล้ งทุน ทัว่ ไปสามารถดาวน์โหลดข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการชุ ดย่อยของบริ ษทั ฯ ได้จาก เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที่ www.truecorp.co.th 2.2 เพื่อความโปร่ งใสและเป็ นอิ สระในการปฏิ บตั ิ หน้า ที่ และในขณะเดี ยวกันเพื่อให้ คณะกรรมการชุ ดย่อยสามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล สมาชิ กส่ วนใหญ่ของคณะกรรมการชุ ดย่อย ประกอบไปด้วย กรรมการอิสระ และ กรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หาร

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการได้ทาหน้าที่พิจารณาและให้ความเห็นชอบในเรื่ องที่สาคัญเกี่ยวกับการ ดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ เช่ น วิสัยทัศน์และภารกิ จ กลยุทธ์ เป้ าหมายทางการเงิน ความเสี่ ยง แผนงานและ งบประมาณ รวมทั้งกากับ ควบคุ ม ดูแลให้ฝ่ายจัดการดาเนิ นงานตามนโยบายและแผนที่กาหนดไว้อย่างมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (ตระหนักถึง ขีดความสามารถที่แท้จริ งของบริ ษทั ฯ) ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว โดยตั้งมัน่ อยูบ่ นพื้นฐาน ของความซื่ อสั ตย์สุ จ ริ ต และ ความรอบคอบระมัด ระวัง ทั้ง นี้ บริ ษ ัท ฯ ได้เปิ ดเผยอานาจหน้า ที่ ข อง คณะกรรมการไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา รวมถึงปี 2556 บริ ษทั ฯ ไม่มีการกระทาใดที่เป็ นการฝ่ าฝื น หรื อกระทาผิดกฎระเบียบของสานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ 3.2 คณะกรรมการได้จดั ให้มีนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร และให้ความเห็ นชอบต่อนโยบายดังกล่าว คณะกรรมการจะทบทวนนโยบายและการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าว เป็ นประจาทุกปี 3.3 คณะกรรมการได้ส่งเสริ มให้บริ ษทั ฯ จัดทาจรรยาบรรณธุ รกิ จที่เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร เพื่อให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคนเข้าใจถึงมาตรฐานด้านจริ ยธรรมที่บริ ษทั ฯ ใช้ในการดาเนิ นธุ รกิ จ อีกทั้งได้มีการติดตามให้มีการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณดังกล่าวอย่างจริ งจัง ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผย “คุณธรรม และข้อพึงปฏิบตั ิในการทางาน” ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 3.4 คณะกรรมการได้พิจารณาเรื่ องความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ การพิจารณา การทารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีแนวทางที่ชดั เจนและเป็ นไปเพื่อผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุ น้ โดยรวมเป็ นสาคัญโดยที่ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยไม่มีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ และคณะกรรมการได้กากับ ดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดเกี่ยวกับขั้นตอนการดาเนินการและการเปิ ดเผยข้อมูลของรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างถูกต้องครบถ้วน ในปี 2556 ไม่มีกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ตลอดจนผูเ้ กี่ยวข้องกับบุคคล ดังกล่าวปฏิบตั ิผดิ ข้อกาหนดเกี่ยวกับเรื่ องความขัดแย้งของผลประโยชน์ในการทาธุ รกรรมของบริ ษทั ฯ เช่นเดียวกับทุกปี ที่ผา่ นมา 3.5 คณะกรรมการได้จดั ให้มีระบบการควบคุมด้านการดาเนินงาน ด้านรายงานทางการเงิน และด้านการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย โดยคณะกรรมการได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูร้ ับผิดชอบในการดูแลการตรวจสอบระบบการควบคุมดังกล่าว และทาการทบทวนระบบที่สาคัญ เป็ น ประจาทุกปี รวมทั้งได้มีการเปิ ดเผยความเห็นไว้ในรายงานประจาปี ภายใต้หวั ข้อ “รายงานจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ”

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

3.6 บริ ษ ัท ฯ มี ค ณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง และมี ร ะบบการบริ ห ารความเสี่ ย ง ครอบคลุมทั้งองค์กรโดยได้มีการประกาศใช้ “นโยบายและกรอบในการบริ หารจัดการความเสี่ ยง” อย่างเป็ น ทางการ เพื่อนาการบริ หารจัดการความเสี่ ยงไปผสานรวมกับกลยุทธ์ทางธุ รกิ จและการปฏิ บตั ิงาน อีกทั้งมี ระบบการตรวจสอบภายในแบบ Risk-based Audit Approach ซึ่ งฝ่ ายตรวจสอบภายในจะทาการสอบทาน ระบบงานต่างๆ และรายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็ นประจา และได้มีการเปิ ดเผยไว้ในรายงาน ประจาปี ภายใต้หวั ข้อ “รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ” นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้มีการทบทวนการประเมินความเสี่ ยงเพื่อใช้เป็ นแนวทางใน การบริ หารจัดการเป็ นประจาทุกปี 3.7 บริ ษทั ฯ กาลังพิจารณาเรื่ องการเข้าร่ วม “โครงการแนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยใน การต่อต้านการทุจริ ต” (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) ซึ่ งมีสมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (Thai Institute of Directors หรื อ IOD) เป็ นเลขานุ การของโครงการ โดย ขณะนี้ อยู่ในระหว่างศึ กษาข้อมู ลเพื่ อพิ จารณาเรื่ องการลงนามในค าประกาศเจตนารมณ์ แนวร่ วมปฏิ บ ตั ิ ของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีช่องทางสาหรั บผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุ กกลุ่ ม สามารถทาการร้องเรี ยนหรื อแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อการกระทาผิดจรรยาบรรณ ธุ รกิ จมายังคณะกรรมการบริ ษทั ได้ โดยผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยรายละเอียด เกี่ยวกับการดาเนินการในเรื่ องดังกล่าวไว้ในหมวดที่ 3 เรื่ อง บทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสี ย 3. 8 คณะกรรมการมีกลไกการกากับดูแลบริ ษทั ย่อย เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงิ น ลงทุนของบริ ษทั ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ ภายใต้หัวข้อ “การกากับดูแลการดาเนิ นงานของ บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม” 4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริ ษทั ฯ กาหนดการประชุ มคณะกรรมการและวาระการประชุมหลักเป็ นการล่วงหน้า และแจ้งให้กรรมการแต่ละคนทราบกาหนดการและวาระการประชุมหลักดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ในกรณี จาเป็ น เร่ งด่วน อาจมีการเรี ยกประชุมคณะกรรมการเป็ นการเพิ่มเติมได้ 4.2 บริ ษทั ฯ มีการกาหนดไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ให้กรรมการที่มิใช่ผบู ้ ริ หาร สามารถที่จะประชุ มระหว่างกันเองได้ตามความจาเป็ นโดยไม่มีกรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายจัดการเข้า ร่ วมประชุ ม เพื่ออภิปรายปั ญหาต่างๆ เกี่ ยวกับการจัดการหรื อเรื่ องที่อยู่ในความสนใจ ซึ่ งในปี 2556 กรรมการที่ มิใช่ผบู ้ ริ หารได้มีการประชุมระหว่างกันเองในรู ปแบบของการประชุมอย่างไม่เป็ นทางการหลังจากเสร็ จสิ้ น การประชุมคณะกรรมการบริ ษทั

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

4.3 ในปี 2556 บริ ษทั ฯ มีการประชุมคณะกรรมการ จานวน 9 ครั้ง ซึ่ งเหมาะสมกับภาระหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการและการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ สัดส่ วนการเข้าร่ วมประชุ ม ของกรรมการทุกคนคิดเป็ นร้อยละ 82.22 ของจานวนการประชุมทั้งปี 4.4 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ร่ วมกันพิจารณา การเลือกเรื่ องเพื่อบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมคณะกรรมการ นอกจากนี้ กรรมการแต่ละคนมีความเป็ นอิสระที่ จะเสนอเรื่ องเข้าสู่ วาระการประชุม 4.5 บริ ษทั ฯ จัดส่ งข้อมูลประกอบการประชุ มให้แก่กรรมการเป็ นการล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันทาการก่อนวันประชุม โดยข้อมูลมีลกั ษณะโดยย่อแต่ให้สารสนเทศครบถ้วน สาหรับเรื่ องที่ไม่ประสงค์ เปิ ดเผยเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก็ให้นาเรื่ องอภิปรายกันในที่ประชุม 4.6 ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไว้อย่างเพียงพอที่ฝ่ายจัดการจะเสนอเรื่ องและมากพอที่ กรรมการจะอภิปรายปั ญหาสาคัญกันอย่างรอบคอบโดยทัว่ กัน 4.7 คณะกรรมการสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่จาเป็ นเพิ่มเติมได้จากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หรื อเลขานุการบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารอื่นที่ได้รับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ ใน กรณี ที่จาเป็ นคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุ ดย่อยแต่ละคณะ อาจจัดให้มีความเห็ นอิ สระจาก ที่ปรึ กษาหรื อผูป้ ระกอบวิชาชีพภายนอก โดยถือเป็ นค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ฯ 4.8 คณะกรรมการสนับสนุ นให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เชิ ญผูบ้ ริ หารระดับสู งเข้าร่ วมประชุ ม คณะกรรมการเพื่อให้สารสนเทศรายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะที่เป็ นผูเ้ กี่ยวข้องกับปั ญหาโดยตรง 5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ 5.1 คณะกรรมการบริ ษทั ทาการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเองเป็ นประจาทุกปี 6. ค่าตอบแทน 6.1 ค่าตอบแทนของกรรมการของบริ ษทั ฯ จัดได้วา่ อยูใ่ นลักษณะที่เปรี ยบเทียบได้กบั ระดับ ที่ปฏิบตั ิอยู่ในอุตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ขอบเขตของบทบาทและความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึ งประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากกรรมการแต่ละคน นอกจากนี้ กรรมการที่ได้รับ มอบหมายหน้าที่ และความรั บผิดชอบเพิ่มขึ้ น เช่ น กรรมการอิ สระที่ เป็ นสมาชิ กของคณะกรรมการชุ ดย่อยก็ ได้รับค่าตอบแทนเพิม่ ที่เหมาะสมด้วย บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยค่าตอบแทนของกรรมการในปี 2556 เป็ นรายบุคคลไว้ในรายงานประจาปี และ แบบ 56-1 ซึ่ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 6.2 ค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริ หารระดับสู งเป็ นไปตามหลักการและ นโยบายที่คณะกรรมการกาหนดภายในกรอบที่ได้รับอนุ มตั ิจากที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น (สาหรับค่าตอบแทนประเภท

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 28


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ที่ตอ้ งได้รับการอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น ) และเพื่อประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั ฯ ระดับค่าตอบแทนที่เป็ น เงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบตั ิงาน และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ก็มีความสอดคล้องกับผลงานของบริ ษทั ฯ และผลการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารแต่ละคนด้วย 6.3 คณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนฯ เป็ นผูป้ ระเมินผลการปฏิบตั ิงานของประธานคณะผูบ้ ริ หาร เป็ นประจาทุกปี เพื่อนาไปใช้ในการพิจารณากาหนดค่าตอบแทนของประธานคณะผูบ้ ริ หาร โดยใช้บรรทัดฐานที่ได้ตกลง กันล่วงหน้ากับประธานคณะผูบ้ ริ หารตามเกณฑ์ที่เป็ นรู ปธรรม ซึ่ งรวมถึงผลการปฏิบตั ิงานทางการเงิน ผลงาน เกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ในระยะยาว การพัฒนาผูบ้ ริ หาร ฯลฯ และกรรมการอาวุโสที่ ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการ เป็ นผูส้ ื่ อสาร ผลการพิจารณาให้ประธานคณะผูบ้ ริ หารทราบ 7. การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริ หาร 7.1 บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มและอานวยความสะดวกให้มีก ารฝึ กอบรมและการให้ความรู ้ แก่ ผูเ้ กี่ยวข้องในระบบการกากับดูแลกิจการของบริ ษทั ฯ เช่น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริ หาร เลขานุ การบริ ษทั เป็ นต้น เพื่อให้มีความรู้ในการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง การฝึ กอบรมและให้ความรู ้ดงั กล่าว มีท้ งั ที่กระทาเป็ น การภายในบริ ษทั ฯ และใช้บริ การของสถาบันภายนอก 7.2 คณะกรรมการสนับสนุนกรรมการให้เข้าอบรมหลักสู ตรหรื อเข้าร่ วมกิจกรรมสัมมนาที่ เป็ นการเพิ่มพูนความรู ้ในการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่ อง โดยในปี 2556 มีกรรมการของบริ ษทั ฯ จานวน 1 ท่าน เข้ารับการอบรมต่อเนื่ อง โดย อบรมในหลักสู ตร IOD Director Briefing 1/2013 Thailand’s Economic Outlook 2013, IOD Tea Talk : “Effective Regulation and Corporate Governance in Asia” and The 2nd National Director Conference 2013 “Board Leadership Evolution” ที่จดั โดยสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) 7.3 ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการใหม่ ฝ่ ายจัดการได้จดั ทาและนาส่ งเอกสารและ ข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการปฏิ บตั ิหน้าที่ของกรรมการใหม่ รวมถึ งการจัดให้มีการแนะนาลักษณะธุ รกิ จ และแนวทางการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ให้แก่กรรมการใหม่ 7.4 บริ ษทั ฯ มีการจัดทา “แผนสื บทอดตาแหน่ง” อย่างเป็ นทางการสาหรับผูบ้ ริ หารระดับสู ง เนื่องจาก ตระหนักยิง่ ว่า การวางแผนสื บทอดตาแหน่งเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญประการหนึ่งของความสาเร็ จทาง ธุ รกิจในอนาคต บริ ษทั ฯ จึงได้มีการกาหนดกระบวนการและขั้นตอนปฏิบตั ิในการคัดเลือกบุคลากรที่จะเข้า มารับผิดชอบในตาแหน่ งบริ หารที่สาคัญทุกระดับ ให้เป็ นไปอย่างเหมาะสม โดยมีกระบวนการจัดทาแผน สื บทอดตาแหน่ง ดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 29


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(1) กาหนดรายรายชื่ อและทาการประเมินผูท้ ี่อยูใ่ นข่ายได้รับคัดเลือกให้เข้ากระบวนการ สื บทอดตาแหน่ง ผูบ้ ริ หารระดับสู ง และผูบ้ ริ หารที่ดารงตาแหน่ งที่สาคัญ กาหนดรายชื่ อและทาการ ประเมินผูบ้ ริ หารในลาดับถัดลงมา และผูท้ ี่อยู่ในข่ายได้รับคัดเลือกให้เข้ากระบวนการสื บทอดตาแหน่ ง โดย ดาเนินการประเมินดังนี้ - การประเมินพนักงาน และการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ประกอบด้วย การ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานที่ผา่ นมาและแนวโน้มผลการปฏิบตั ิงานในอนาคต การประเมินความสามารถใน การตัดสิ นใจ จุดเด่น สิ่ งที่ตอ้ งปรับปรุ งและพัฒนา การให้คาแนะนาเกี่ยวกับงานและเส้นทางอาชีพ และการ ประเมินศักยภาพของพนักงาน - การประเมิน 360 องศา ตามพฤติกรรมที่สอดคล้องกับค่านิยมองค์กร - การประเมินตาราง 9 ช่อง โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั ิงานและพฤติกรรมที่ สอดคล้องกับค่านิยมองค์กร (2) จัดทาผังรายชื่อผูส้ ื บทอดตาแหน่ง ผูด้ ารงตาแหน่ง จัดทาผังรายชื่อผูส้ ื บทอดตาแหน่งของตน โดยระบุชื่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ที่เป็ นผูท้ ี่เหมาะสมที่สุดที่สามารถรับตาแหน่งแทนได้จานวน 3 คน (อาจมีจานวนมากหรื อน้อยกว่านี้ ได้) โดยเรี ยง ตามลาดับความพร้อมของผูไ้ ด้รับการเสนอชื่อแต่ละคน (3) พิจารณาทบทวนผังรายชื่ อผูส้ ื บทอดตาแหน่งและจัดทาแผนสื บทอดตาแหน่งของ บริ ษทั โดยรวม กรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ ผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง และผูบ้ ริ ห ารฝ่ ายทรั พ ยากรบุ ค คล ประชุ มพิจารณาทบทวนผังรายชื่ อผูส้ ื บทอดตาแหน่ง และรวบรวมแผนสื บทอดตาแหน่ งทั้งหมดของบริ ษทั โดยมีองค์ประกอบคือ รายงานภาพรวมธุ รกิ จ โครงสร้ างองค์กร ผังรายชื่ อผูไ้ ด้รับคัดเลื อกให้เข้า กระบวนการสื บทอดตาแหน่ง ตาราง 9 ช่อง ผลการประเมินพนักงาน และผลการประเมิน 360 องศา (4) จัดทาแผนพัฒนาผูบ้ ริ หารที่ได้รับการบรรจุชื่อลงในแผนสื บทอดตาแหน่งเป็ น รายบุคคล ดาเนินการพัฒนาตามแผน และติดตามผลการพัฒนา (5) ดาเนินการประเมินและทบทวนแผนสื บทอดตาแหน่งเป็ นประจาทุกปี อนึ่ง ผูบ้ ริ หารที่ได้รับการบรรจุชื่อลงในแผนสื บทอดตาแหน่ง จะได้รับการพัฒนาตาม แผนที่วางไว้เป็ นรายบุคคล มีโครงการอบรมพัฒนาที่เน้นการลงมือปฏิ บตั ิจริ ง การมอบหมายงานที่ทา้ ทาย รวมทั้งการหมุนเวียนงาน เพื่อพัฒนาทักษะการเป็ นผูน้ าพร้ อมทั้งความรอบรู ้ ในธุ รกิ จและการพัฒนาองค์กร อย่างรอบด้าน ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่ามีความต่อเนื่องในการจัดเตรี ยมผูน้ าที่มีความพร้อม เหมาะสมสาหรับตาแหน่ง ผูบ้ ริ หารระดับสู ง และตาแหน่งที่สาคัญได้ทนั ทีเมื่อมีตาแหน่งว่างลงหรื อเพื่อรองรับการขยายตัวของธุ รกิจ

ส่วนที่ 2

กำรกำกับดูแลกิจกำร

หัวข ้อที่ 9 - หน ้ำ 30


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

10. ความรับผิดชอบต่ อสั งคม 1.

การประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม

บริ ษทั ฯ ดำเนิ นธุ รกิ จภำยใต้ควำมถู กต้องตำมกฎหมำย กฎเกณฑ์ ข้อก ำหนดที่ เกี่ ยวข้อง ตลอดจน หลักคุ ณธรรมและกำรมีหลักกำรกำกับดูแลกิ จกำรที่ ดี ดูแลสิ ทธิ ตำมที่กฎหมำยกำหนดของผูม้ ีส่วนได้เสี ย กลุ่มต่ำงๆ (Stakeholders) และประสำนประโยชน์ร่วมกันอย่ำงเหมำะสม เพื่อให้ Stakeholders มัน่ ใจว่ำสิ ทธิ ดังกล่ำวได้รับกำรคุม้ ครองและปฏิบตั ิดว้ ยดี และได้รับผลตอบแทนที่เป็ นธรรมด้วยกันทุกฝ่ ำย คณะกรรมกำร บริ ษทั ฯ จึงได้จดั ให้มี “นโยบำยกำรกำกับดูแลกิ จกำรที่ดี” เพื่อกำหนดหลักกำรกำกับดูแลที่เหมำะสมกับ บริ ษทั ฯ และ จัดทำ “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิ ในกำรทำงำน” ขึ้นเพื่อเป็ นแนวทำงในกำรปฏิ บตั ิที่ถูกต้อง ให้แก่ผบู ้ ริ หำรและพนักงำนทุกคนของกลุ่มบริ ษทั ฯ ให้ถือปฏิบตั ิอย่ำงเคร่ งครัด ทั้งนี้ นโยบำยกำรกำกับดูแลกิ จกำรที่ดี และ คุ ณธรรม และข้อพึงปฏิบตั ิในกำรทำงำน เป็ นกรอบและ แนวทำงปฏิบตั ิ ให้ดำเนิ นธุ รกิ จโดยคำนึ งถึ งควำมเสมอภำค เป็ นธรรม ไม่เอำรัดเอำเปรี ยบ มีควำมซื่ อสัตย์และ โปร่ งใสในกำรดำเนินธุ รกิจ ไม่เรี ยก ไม่รับและจ่ำยผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริ ตในกำรค้ำกับคู่คำ้ ซึ่ งกลุ่มทรู ตระหนักว่ำ กำรประกอบกิจกำรด้วยควำมเป็ นธรรมและโปร่ งใส เป็ นหัวใจสำคัญในกำร ดำเนิ นงำน คือ ต้องมีควำมสุ จริ ตและตรวจสอบได้เพื่อประโยชน์ที่เท่ำเที ยมกันของทุ กฝ่ ำย กลุ่ มทรู ได้มี กระบวนกำรสั่งซื้ อสิ นค้ำ และบริ กำร ระหว่ำงบริ ษทั กับผูข้ ำยสิ นค้ำและบริ กำร โดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ที่สะดวกในกำรตรวจสอบในด้ำนต่ำงๆ อำทิ งบประมำณ, กำรตรวจสอบอำนำจอนุ มตั ิ และกำรตรวจสอบ ข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรสั่งซื้ อ ด้วยกำรใช้อินเตอร์ เน็ตเข้ำมำช่วยในกระบวนกำรสั่งซื้ อสิ นค้ำ และบริ กำร เพื่อให้ผขู ้ อซื้ อสิ นค้ำ สำมำรถเลือกซื้ อสิ นค้ำ และบริ กำรเองได้จำก Online Catalogue ในลักษณะ ของ Self Service และสำมำรถระบุควำมต้องกำรสั่งซื้ อได้ดว้ ยตนเอง (Online Purchasing) โดยผูข้ ำยสิ นค้ำ และบริ กำร จะต้องผ่ำนกำรคัดเลือกเข้ำมำ ตำมนโยบำยของบริ ษทั นอกจำกนี้ ยังมีมำตรกำรกำกับดูแลที่ดีให้เกิดควำมโปร่ งใสเป็ นธรรม เพื่อประโยชน์ที่เท่ำเทียมกันทุกฝ่ ำย และมีระบบที่ตรวจสอบได้ อำทิ - มี ก ระบวนกำรคัดเลื อกผูข้ ำยสิ นค้ำ และบริ ก ำร อย่ำ งเท่ ำ เที ย มกัน ด้วยกำรเปรี ย บเที ย บรำคำที่ เหมำะสม ตำมนโยบำยของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มทรู - มีกำรระบุงบประมำณ เพื่อควบคุมค่ำใช้จ่ำยของหน่วยงำนต่ำงๆ หำกงบประมำณไม่เพียงพอ ก็ไม่ สำมำรถดำเนินกำรในกำรสั่งซื้ อได้ - ในกำรอนุ มตั ิกำรสั่งซื้ อสิ นค้ำและบริ กำร มีกำรอนุ มตั ิอย่ำงเป็ นขั้นตอนตำมระดับตำแหน่ง ทำให้ สำมำรถตรวจสอบผูม้ ีอำนำจอนุมตั ิ ตำมมูลค่ำสิ นค้ำได้ - ฝ่ ำยจัดซื้ อ ต้องมีกำรตรวจสอบกำรสั่งซื้ อสิ นค้ำและบริ กำรทุกครั้ง

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

นอกจำกจะมีกำรตรวจสอบในทุกขั้นตอนของกระบวนกำรสั่งซื้ อสิ นค้ำและบริ กำร สำมำรถตรวจเช็ค ข้อ มู ล ต่ ำ งๆ ได้ต้ งั แต่ ต้น จนจบกระบวนกำรแล้ว ยิ่ ง ไปกว่ำ นั้น ยัง สำมำรถเรี ย กดู ป ระวัติ รำยละเอี ย ด กำรสั่งซื้ อสิ นค้ำและบริ กำรต่ำงๆ ได้อีกด้วย 2.

การต่ อต้ านการทุจริตคอร์ รัปชั่ น

1) บริ ษทั ฯ ให้ควำมสำคัญต่อกำรต่อต้ำนกำรทุจริ ต ตลอดจนกำรรับและกำรจ่ำยสิ นบน โดยได้มี กำรกำหนดไว้ใน “คุณธรรมและข้อพึงปฏิ บตั ิในกำรทำงำน” ห้ำมพนักงำนเรี ยกร้ องหรื อรับสิ นน้ ำใจเพื่อ ตนเองหรื อเพื่อผูอ้ ื่น จำกบุคคลที่ร่วมทำธุ รกิจด้วย และห้ำมกำรจ่ำยเงินหรื อให้ควำมช่วยเหลือที่ถือว่ำเป็ นกำร ติดสิ นบนหรื อให้ผลประโยชน์ 2) บริ ษทั ฯ จัดให้มีช่องทำงสำหรั บให้ผมู ้ ี ส่วนได้เสี ยทุ กกลุ่ มสำมำรถทำกำรร้ องเรี ยน หรื อแจ้ง เบำะแสเกี่ ยวกับกำรทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อกำรกระทำผิดจรรยำบรรณธุ รกิ จ ต่อคณะกรรมกำรบริ ษทั โดยผ่ำนคณะกรรมกำรตรวจสอบ โดยประชำสัมพันธ์ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.truecorp.co.th ซึ่ งมี รำยละเอียดดังนี้ ช่ อ งทางให้ ผ้ ู มี ส่ วนได้ เสี ย สามารถร้ อ งเรี ยนหรื อ แจ้ งเบาะแสต่ อคณะกรรมการบริ ษั ทผ่ า น คณะกรรมการตรวจสอบ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุ กกลุ่มสำมำรถทำกำรร้ องเรี ยนหรื อแจ้งเบำะแส (โดยจะได้รับกำรเก็บรักษำ ข้อ มู ล ไว้เป็ นควำมลับ ) เกี่ ย วกับ กำรทุ จริ ต ประพฤติ มิ ช อบ หรื อ กำรกระท ำผิ ดจรรยำบรรณธุ ร กิ จ ต่ อ คณะกรรมกำรบริ ษทั ฯ โดยผ่ำนคณะกรรมกำรตรวจสอบได้ ตำมที่อยูด่ งั นี้  จดหมำยอิเล็กทรอนิ กส์ : auditcommittee@truecorp.co.th  จดหมำยส่ งทำงไปรษณี ย:์ เรี ยน คณะกรรมกำรตรวจสอบ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) เลขที่ 18 อำคำรทรู ทำวเวอร์ ชั้น 28 ถนนรัชดำภิเษก แขวงห้วยขวำง เขตห้วยขวำง กรุ งเทพฯ 10310 โดยหน่ วยงำนเลขำนุ กำรบริ ษทั และหลักทรั พย์ ในฐำนะที่เป็ นเลขำนุ กำรของคณะกรรมกำร ตรวจสอบ จะเป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบในกำรรวบรวมและนำส่ งเรื่ องร้องเรี ยนหรื อกำรแจ้งเบำะแสต่ำงๆ ให้แก่ คณะกรรมกำรตรวจสอบเพื่ อพิ จำรณำและดำเนิ นกำรต่ อไป ซึ่ ง คณะกรรมกำรตรวจสอบจะสรุ ปผลกำร ดำเนินกำรและนำเสนอรำยงำนต่อคณะกรรมกำรบริ ษทั ฯ เป็ นรำยไตรมำส

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เงื่อนไขในกำรรับเรื่ องร้องเรี ยนหรื อกำรแจ้งเบำะแส:  ไม่รับบัตรสนเท่ห์  ผูร้ ้องเรี ยน/ผูแ้ จ้งเบำะแส ต้องระบุชื่อและนำมสกุลจริ ง โดยบริ ษท ั ฯ จะเก็บรักษำ ข้อมูลไว้เป็ นควำมลับ ซึ่งจะรับรู้ได้เฉพำะบุคคลที่ได้รับมอบหมำยจำก คณะกรรมกำรตรวจสอบเท่ำนั้น เรื่ องที่ไม่เกี่ยวข้องต่ำงๆ ดังตัวอย่ำงด้ำนล่ำงนี้ คณะกรรมกำรตรวจสอบจะไม่รับ ดำเนินกำรให้: - กำรสมัครงำน - แบบสำรวจ หรื อ กำรขอรับข้อมูลเกี่ยวกับบริ ษทั ฯ - กำรเสนอขำยสิ นค้ำหรื อบริ กำร - กำรขอรับบริ จำคหรื อกำรสนับสนุนต่ำงๆ 

ทั้งนี้ ในปี 2556 คณะกรรมกำรตรวจสอบไม่ได้รับเรื่ องที่เป็ นกำรร้องเรี ยนหรื อกำรแจ้งเบำะแส เกี่ ยวกับกำรทุ จริ ต ประพฤติ มิชอบ หรื อกำรกระทำผิดจรรยำบรรณธุ รกิ จ แต่ได้รับเรื่ องร้ องเรี ยนเกี่ ยวกับ ปัญหำกำรให้บริ กำรของบริ ษทั ฯ จำนวน 4 เรื่ อง ซึ่ งคณะกรรมกำรตรวจสอบได้นำส่ งเรื่ องร้องเรี ยนดังกล่ำว ไปยัง หน่ ว ยงำนที่ เ กี่ ย วข้อ งเพื่ อ กำรด ำเนิ น กำรที่ เ หมำะสม และหน่ ว ยงำนที่ เ กี่ ย วข้อ งของบริ ษ ัท ฯ ได้ ดำเนินกำรแก้ไขปั ญหำเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว นอกจำกนี้ บริ ษทั ฯ กำลังพิจำรณำเรื่ องกำรเข้ำร่ วม “โครงกำรแนวร่ วมปฏิ บตั ิของภำคเอกชน ไทยในกำรต่อต้ำนกำรทุจริ ต” (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) ซึ่ งมี สมำคมส่ งเสริ มสถำบันกรรมกำรบริ ษทั ไทย (Thai Institute of Directors หรื อ IOD) เป็ นเลขำนุกำรของ โครงกำร โดยขณะนี้ อยู่ใ นระหว่ำ งศึ ก ษำข้อมู ล เพื่ อ พิ จำรณำเรื่ องกำรลงนำมในค ำประกำศเจตนำรมณ์ แนวร่ วมปฏิบตั ิของภำคเอกชนไทยในกำรต่อต้ำนกำรทุจริ ต 3) เพื่อเป็ นกำรรณรงค์ต่อต้ำนกำรทุจริ ต กลุ่มทรู ให้กำรสนับสนุนสำนักงำนคณะกรรมกำรป้ องกัน และปรำบปรำมกำรทุจริ ตแห่งชำติ (ปปช.) ในกำรจัดพิธีมอบรำงวัลช่อสะอำด ประจำปี 2556 แก่สื่อมวลชน ที่มีผลงำนดี เด่นด้ำนสนับสนุ นและส่ งเสริ มกำรป้ องกันและปรำบปรำมกำรทุจริ ต กลุ่มทรู ในฐำนะองค์กร สนับสนุนกำรผลิตและเผยแพร่ สปอตประชำสัมพันธ์เชิญชวนให้สื่อต่ำงๆ ส่ งผลงำนเข้ำประกวด รวมทั้งกำร ประมวลภำพพิธีมอบรำงวัล ออกอำกำศทำงทรู วิชนั่ ส์ กว่ำ 20 ช่องรำยกำร ตลอดจนนำศิลปิ นทรู เอเอฟร่ วม ร้ องเพลงรณรงค์ต่อต้ำนกำรทุ จริ ต “ไม่ใฝ่ โกง” สร้ ำงค่ำนิ ยมที่ ดีในกำรต่อต้ำนคอร์ รัปชัน่ ระหว่ำงเดื อน พฤษภำคม - พฤศจิกำยน 2556

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

3.

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การเคารพสิ ทธิมนุษยชน

1) กลุ่มทรู เล็งเห็ นควำมสำคัญในกำรส่ งเสริ มคุณภำพชี วิตผูพ้ ิกำร ให้ดำรงชีวิตได้ตำมมำตรฐำน กำรครองชี พที่เหมำะสมและเป็ นไปอย่ำงยัง่ ยืน กลุ่มบริ ษทั ทรู จึงเปิ ดโอกำสให้ผพู้ ิกำรมีอำชี พและรำยได้เป็ น ของตนเอง ตำมควำมรู้ควำมสำมำรถ และได้เริ่ มจ้ำงงำนผูพ้ ิกำรมำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 จนถึงปั จจุบนั มีผพู้ ิกำร เป็ นพนักงำนจำนวน 21 คน ในสำขำอำชี พต่ำงๆ เช่ น วิศวกร, ช่ำงเทคนิ ค, ฝ่ ำยบริ กำรลูกค้ำ และผูช้ ่วย พนักงำนขำย โดยในปี 2557 กลุ่มบริ ษทั ทรู มีโครงงำนส่ งเสริ มอำชี พผูพ้ ิกำร ตำมมำตรำ 35 แห่ ง พระรำชบัญญัติส่งเสริ มและพัฒนำคุณภำพชีวติ ผูพ้ ิกำร พ.ศ. 2550 โดยส่ งเสริ มกลุ่มบุคคลออทิสติกและผูพ้ ิกำร ทำงกำรมองเห็น จำนวน 203 คน ภำยใต้ชื่อ “โครงกำรพัฒนำศักยภำพงำนพิมพ์และกำรจัดกำรสำนักงำนสำหรับ บุคคลออทิสติก และครอบครัว” โดยจัดกำรฝึ กอบรมเพื่อพัฒนำศักยภำพในกำรดำเนินงำนบริ หำรศูนย์วิชำชีพ ให้แก่ผพู ้ ิกำร โดยพัฒนำทักษะใน 3 หลักสู ตร รวมจำนวน 1,800 ชัว่ โมงได้แก่ (1) (2) (3)

หลักสู ตรกำรอบรมคอมพิวเตอร์ พ้ืนฐำนสำหรับบุคคลออทิสติกและผูพ้ ิกำรทำงกำรเรี ยนรู้ จำนวน 600 ชัว่ โมง หลักสู ตรอบรมคอมพิวเตอร์ เพื่อกำรทำงำนและงำนพิมพ์สำหรับบุคคลออทิสติกและ ผูพ้ ิกำรทำงกำรเรี ยนรู้ จำนวน 600 ชัว่ โมง หลัก สู ตรกำรสอนงำนส ำนัก งำนส ำหรั บบุ คคลออทิ ส ติ ก และผูพ้ ิ ก ำรทำงกำรเรี ย นรู้ จำนวน 600 ชัว่ โมง

2) บริ ษทั ฯ ดำเนิ นธุ รกิจโดยให้ควำมเคำรพสิ ทธิ ที่มนุ ษย์ทุกคนสมควรได้รับในฐำนะที่เป็ นส่ วน หนึ่ งของสังคม ตลอดจนควำมมีเสรี ภำพและศักดิ์ ศรี ของควำมเป็ นมนุ ษย์ ให้ควำมเสมอภำคโดยปรำศจำก กำรเลือกปฏิบตั ิ เคำรพควำมเท่ำเทียมกันภำยใต้กฎหมำย 3) บริ ษทั ฯ มีกำรปฏิ บตั ิ ที่เป็ นรู ปธรรมอย่ำงชัดเจน ให้โอกำสและไม่รังเกี ยจเดี ยดฉันท์ผูพ้ ิกำร เข้ำร่ วมเป็ นพนักงำน ให้สิทธิ และสนับสนุนส่ งเสริ ม 4) Autistic application กลุ่ มทรู และมูลนิ ธิออทิ สติกไทย ร่ วมพัฒนำศักยภำพเด็กออทิ สติ กและ ครอบครัว โดยนำนวัตกรรมของกลุ่มทรู “Autistic Application” ที่ติด 1 ใน 10 แอพพลิเคชัน่ กำรศึกษำที่ได้รับควำม นิ ยมใน 25 ประเทศทั่วโลก มำเสริ มทักษะแก่ เด็ กออทิ สติ ก พร้ อมประชำสั มพันธ์ ผ่ำนสื่ อต่ ำงๆ ของกลุ่ มทรู อย่ำงต่อเนื่ อง ทั้งนี้ ผูส้ นใจ สำมำรถดำวน์โหลด Autistic Application ได้แก่ Daily Tasks, Trace & Share และ Communications โดยไม่เสี ยค่ำใช้จ่ำย 5) Closed Caption on TrueVisions Channel กลุ่มทรู ได้มีกำรจัดทำ Closed Caption หรื อ Digital Video Broadcasting (DVB) subtitles ให้กบั คนหู หนวกขึ้น และได้ทำกำรทดลองออกอำกำศตั้งแต่วนั ที่ 17 กันยำยน 2555 โดยได้ทดลองออกอำกำศใน 3 ช่อง คือ ช่อง True Explore 1, ช่องTrue Explore 2 และช่อง TNN24 ทั้งนี้ ได้ ประสำนงำนกับทำงสมำคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย เพื่อหำควำมร่ วมมือต่อไป 6) “From True to TAB...Opening the World to the Blind” (TAB = Thailand Association of the Blind) เพื่อเป็ นกำรอำนวยควำมสะดวกในกำรเข้ำถึงข่ำวสำรของผูพ้ ิกำรทำงสำยตำ กลุ่มทรู ร่วมกับสมำคม คนตำบอดแห่ งประเทศไทย จัดงำน “From True to TAB...Opening the World to the Blind” (TAB = Thailand Association of the Blind) เปิ ดตัวแพ็กเกจพิเศษที่จดั ขึ้นสำหรับผูพ้ ิกำรทำงสำยตำโดยเฉพำะ ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ให้สำมำรถโทรศัพท์และใช้งำนอินเทอร์ เน็ตได้ไม่จำกัด ผ่ำน iPhone 4 รุ่ น 8GB ด้วยฟั งก์ชนั่ 'Voice Over' มอบประสบกำรณ์กำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรแก่ผพู ้ ิกำรทำงสำยตำผ่ำนเทคโนโลยี 3G จำกทรู มูฟ เอช 4.

การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็ นธรรม 1)

5.

โครงกำรปลูกรัก จัดกิจกรรมต่ำงๆ ดังนี้ (1) Happiness Temperature (HT) สำรวจระดับควำมสุ ขของพนักงำน เพื่อนำผลที่ได้มำ พัฒนำปรับปรุ งให้เหมำะสมกับควำมต้องกำรของพนักงำน โดยสำรวจผ่ำน HR website (2) Wellness Spa บริ กำรนวดแผนไทย เพื่อเป็ นกำรผ่อนคลำยแก่พนักงำน (3) ปลูกรักสุ ขภำพดี เพื่อเป็ นกำรกระตุน้ ให้พนักงำนดูแลสุ ขภำพในเชิ ง ป้ องกัน จึงจัดให้มี กำรตรวจร่ ำ งกำยพิ เศษ จัดแข่ ง ขันรณรงค์ดูแลสุ ข ภำพ เช่ น กำรลดน้ ำ หนัก 5K10K, กำรเดิน-วิง่ 5K10K, กำรเดิน-วิง่ ขึ้นชมวิวดำดฟ้ ำ, กำรแข่งกระโดดเชือก ฯลฯ (4) ปลูกรักปลูกธรรม จัดให้มีกำรสวดมนต์และตักบำตรร่ วมกันทุกสัปดำห์ รวมทั้งจัดบรรยำย ธรรมะทุ ก เดื อน นอกจำกนี้ ยัง มี ก ำรจัดอุ ป สมบทพนัก งำน-ผูบ้ ริ หำรเพื่ อถวำยเป็ น พระรำชกุศล และจัดหลัก สู ตรให้พนักงำนสำมำรถไปฝึ กอบรมปฏิ บตั ิธรรม เป็ นเวลำ 5 วันต่อปี

ความรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค 1)

กลุ่มทรู ได้จดั ให้มีโครงกำรต่ำงๆ เพื่อปลูกฝังให้พนักงำนให้ควำมสำคัญต่อลูกค้ำ ดังนี้ (1) (2)

All4One Contest กลุ่ มทรู จัดประกวดสำยงำนบริ กำรที่ดูแลลูกค้ำ เพื่ อสร้ ำงควำม พึงพอใจสู งสุ ดแก่ลูกค้ำ ทีมที่ชนะเลิศจะได้รับเงินรำงวัลและศึกษำดูงำนในต่ำงประเทศ Caring Forwards Contest กลุ่มทรู จดั ประกวดสำยงำนที่สนับสนุ น เพื่อให้เกิดกระบวนกำร ส่ งต่อกำรบริ กำรที่รำบรื่ น โดยจัดสลับปี เว้นปี กับ All4One Contest ทีมที่ชนะเลิศจะได้รับ เงินรำงวัลและศึกษำดูงำนในต่ำงประเทศ

2) Tech Tips by True กลุ่มทรู จดั ทำสื่ อเพื่อสร้ำงควำมรู ้ควำมเข้ำใจแก่ผบู้ ริ โภคในเรื่ องกำรใช้งำนด้ำน เทคโนโลยีและอุปกรณ์ไอทีต่ำงๆ (Tech Tips by True) เพื่อลดกำรร้องเรี ยนของลูกค้ำในกลุ่มทรู อนั เนื่ องมำจำก ควำมไม่รู้หรื อเข้ำใจผิด รวมทั้งสร้ ำงภำพลักษณ์ ที่ดีของกลุ่ มทรู โดยกำรนำเสนอในรู ปแบบถำม-ตอบ พร้ อม คำแนะนำเกร็ ดควำมรู ้ ดำ้ นเทคโนโลยีที่เกี่ ยวกับบริ กำรของกลุ่มทรู ผ่ำนสื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุและโทรทัศน์ที่เข้ำถึ ง กลุ่มประชำชนทัว่ ไป 3) กลุ่มทรู ยงั ให้ควำมสำคัญต่อผูบ้ ริ โภค โดยริ เริ่ มกำรนำระบบ Total Quality Management (TQM) ซึ่ งเป็ นกระบวนกำรพัฒ นำระบบบริ หำรจัด กำรคุ ณ ภำพองค์ ก ร มำปรั บใช้ ในกำรด ำเนิ นงำนส ำหรั บ ทุกหน่วยงำนในองค์กร เพื่อปรับกระบวนกำรทำงำนที่จะส่ งผลต่อคุณภำพสิ นค้ำและบริ กำรสำหรับลูกค้ำต่อไป

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

6.

การดูแลรักษาสิ่ งแวดล้ อม 1)

2)

ส่วนที่ 2

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กิจกรรมปลูกใจรักสิ่ งแวดล้อมภำยใต้โครงกำรทรู ปลูกปัญญำ (1)

เพื่ อเป็ นกำรเชิ ญชวนให้ค นไทยร่ วมอนุ รัก ษ์ธ รรมชำติ กลุ่ ม ทรู ร่ วมกับ กรมอุ ท ยำน แห่ งชำติสัตว์ป่ำและพันธุ์พืช เปิ ดโครงกำรประกวดภำพถ่ำยอนุ รักษ์ธรรมชำติ “สัตว์มีค่ำ ป่ ำมีคุณ” ประจำปี 2556 ต่อเนื่ องเป็ นปี ที่ 19 ณ เขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำห้วยขำแข้ง ชิงถ้วย พระรำชทำนสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี และถ้วยประทำนสมเด็จ พระเจ้ำพี่นำงเธอเจ้ำฟ้ ำกัลยำณิ วฒั นำ กรมหลวงนรำธิ วำสรำชนคริ นทร์ พร้อมเงินรำงวัล รวมมูลค่ำกว่ำ 400,000 บำท พร้ อมสิ ทธิ พิเศษท่องเที่ ยวอุ ทยำนแห่ งชำติ หรื อเขตรั กษำ พันธุ์สัตว์ป่ำทัว่ ประเทศ ซึ่ งในปี 2556 มีภำพถ่ำยส่ งเข้ำประกวดทั้งสิ้ น 2,475 ภำพ จำก 425 คน จำก 46 สถำบัน ใน 46 จังหวัดทัว่ ประเทศ

(2)

มีกำรจัดทำสมุดภำพและปฏิ ทินเพื่อรวบรวมภำพถ่ ำยอนุ รักษ์ธรรมชำติ ซึ่ งทำมำจำกงำน พิมพ์สีเขียวรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม (GreenPrint Reduce CO2 Emission) ซึ่ งในส่ วนของ สมุดภำพสำมำรถช่วยลดกำรปล่อยก๊ำซคำร์ บอนได้ 20.68% และในส่ วนของปฏิทินลดได้ 24.82%

กลุ่มทรู ได้จดั ทำโครงกำรประหยัดพลังงำนประจำปี พ.ศ. 2556 จำนวน 3 โครงกำร ได้แก่ (1)

กำรลดกำรใช้พลังงำนโดยกำรปิ ดอุปกรณ์แม่ข่ำย (Server) โดยที่ผำ่ นมำมีกำรใช้งำนกำร สื่ อสำรข้อมูล บนอุปกรณ์ Server และอุปกรณ์ลูกข่ำยลดลง ในขณะที่จำนวนอุปกรณ์ยงั คง เปิ ดใช้งำนเท่ำเดิ ม จึ งมี แนวคิ ดที่จะยุบควบรวมอุ ปกรณ์ ท้ งั 2 ประเภทให้ลดลง เหลื อเฉพำะ ที่ตอ้ งกำรใช้เท่ำนั้น โดยนำข้อมูลกำรใช้งำนมำวิเครำะห์หำอุปกรณ์ ลูกข่ำยที่ไม่มีกำรใช้งำน หรื อใช้งำนน้อยมำกมำพิจำรณำกำรลดจำนวนอุปกรณ์ แม่ข่ำยและลูกข่ำยไปพร้อมๆ กัน ทั้งนี้เพื่อลดกำรใช้พลังงำนให้นอ้ ยลง

(2)

กำรเปลี่ยนหลอดไฟส่ องสว่ำงฟลูออเรสเซนส์ เป็ นหลอดตะเกียบ ปั จจุบนั หลอดไฟส่ อง สว่ำงที่ใช้ในห้องชุมสำยโทรศัพท์ เป็ นแบบฟลูออเรสเซนส์ หรื อหลอดแบบยำวสี ขำวได้ เสื่ อมสภำพแล้ว จึ งได้ท ำกำรเปลี่ ย นเป็ นหลอดแบบตะเกี ยบเพรำะใช้ไ ฟฟ้ ำน้อยกว่ำ รวมทั้งง่ำยต่อกำรบำรุ งรักษำ ทั้งขั้นตอนกำรเปลี่ยนและติดตั้ง

(3)

โครงกำรติดตั้ง Free Flow สำหรับห้อง GPRS โดยเปลี่ยนกำรใช้อุปกรณ์ทำควำมเย็น เครื่ องปรับอำกำศที่ใช้พลังงำนไฟฟ้ ำจำนวนมำก มำเป็ นระบบให้ควำมเย็นโดยใช้พดั ลม และอำกำศจำกภำยนอกร่ วมกั น ทั้ งนี้ กำรใช้ พ ลั ง งำนไฟฟ้ ำภำยในอำคำร ชุมสำยโทรศัพท์จะเกิดจำกกำรทำงำนของระบบปรับอำกำศ 40-50 % หำกสำมำรถหยุด กำรทำงำนของเครื่ องปรับอำกำศ หรื อลดจำนวนชัว่ โมงกำรใช้งำนลงก็จะช่วยลดกำรใช้ พลังงำนได้ จึงได้ดำเนิ นโครงกำรติดตั้ง Free Flow (ระบบระบำยควำมร้อนด้วยอำกำศ) สำหรับห้อง GPRS โดยออกแบบพัดลมให้ดูดอำกำศภำยในห้องออกไปทิ้งนอกห้อง ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

และออกแบบช่องลมเข้ำให้มีปริ มำณลมที่เหมำะสม ก็จะทำให้อุณหภูมิภำยในห้องอยูใ่ น เกณฑ์ ที่ ก ำหนด (ประมำณ 28-35 องศำเซลเซี ย ส) ท ำให้ ส ำมำรถหยุ ด กำรใช้ง ำน เครื่ องปรับอำกำศลงได้ ซึ่ งช่วยลดกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ ำได้มำกถึง 25-30% 7.

การร่ วมพัฒนาชุ มชนหรือสั งคม 1)

โครงกำรเปิ ดโลกทัศน์กำรเรี ยนรู ้สู่โรงเรี ยนทัว่ ประเทศ (1)

(2)

(3)

(4)

(5)

ส่วนที่ 2

คัดเลือกโรงเรี ยนทรู ปลูกปั ญญำและโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปั ญญำประจำปี 2556 กลุ่มทรู คัดเลือกโรงเรี ยนในโครงกำรทรู ปลูกปั ญญำประจำปี 2556 เพิ่มอีก 1,000 โรงเรี ยน และ คัดเลือกโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปั ญญำ จำนวน 5 โรงเรี ยน และได้ส่งมอบชุ ดอุปกรณ์ และสื่ อ ดิ จิท ัล เพื่ อกำรเรี ย นรู ้ เพิ่ ม เติ ม แก่ ทุ ก โรงเรี ย นภำยใต้โ ครงกำรทรู ป ลู ก ปั ญญำ ประกอบด้วย วิดีโอแนะนำเนื้ อหำ วิธีติดตั้ง ตลอดจนกำรดูแลรั กษำสื่ อดิ จิทลั เพื่อกำร เรี ยนรู ้ อุปกรณ์ ช่วยบันทึกรำยกำรสำระควำมรู ้ต่ำง ๆ ที่ออกอำกำศทำงทรู วิชนั่ ส์ เก็บไว้ เป็ นดิ จิท ัล ไฟล์ เพื่ อนำไปเป็ นคลังควำมรู ้ โดย ณ สิ้ นปี 2556 มี โรงเรี ยนในโครงกำร ทรู ปลูกปั ญญำทั้งสิ้ น 5,000 แห่ง และมีโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปัญญำทั้งสิ้ น 36 โรงเรี ยน ส่ งมอบและติดตั้งชุ ดกระดำนอัจฉริ ยะเพื่อกำรเรี ยนกำรสอน (Active Board) เพื่อเป็ นกำร ส่ งเสริ มและขยำยศักยภำพของผูบ้ ริ หำรและคณะครู ของโรงเรี ยนที่สำมำรถบูรณำกำรกำรใช้ สื่ อ ทรู ปลูกปั ญญำได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพสู งสุ ด กลุ่มทรู ได้ส่งมอบและติดตั้งชุ ดกระดำน อัจฉริ ยะเพื่อกำรเรี ยนกำรสอน (Active Board) ให้กบั โรงเรี ยนบ้ำนดอนไทรงำม จ.ชุมพร ซึ่ งเป็ น โรงเรี ยนต้นแบบที่ได้รับกำรคัดเลือกเป็ นโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปัญญำดีเด่น ประจำปี 2556 จัดกำรประชุ มเชิงปฏิบตั ิกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้โรงเรี ยนต้นแบบ เพื่อเป็ นกำรสร้ำง ควำมร่ วมมือในกำรพัฒนำโครงกำรทรู ปลูกปั ญญำ กลุ่มทรู จดั กำรประชุมเชิงปฏิบตั ิกำร สร้ำงควำมเข้มแข็งให้โรงเรี ยนต้นแบบเพื่อหำแนวทำงในกำรพัฒนำและขยำยผลกำรใช้สื่อ ทรู ปลูกปัญญำสู่ โรงเรี ยนในโครงกำรทรู ปลูกปัญญำใกล้เคียง สร้ำงเครื อข่ำยกำรเรี ยนรู้ ให้เกิด ผลสัมฤทธิ์ ต่อนักเรี ยน โดยมีโรงเรี ยนในโครงกำร กว่ำ 700 โรงเรี ยน และมีคุณครู 1,355 ท่ำน เข้ำร่ วมอบรม โครงกำรประกวดผลงำนครู ประจำปี 2556 หัวข้อ “สื่ อทรู ปลูกปั ญญำสร้ำงสรรค์กำรเรี ยนรู้ สู่ Student Centric” เพื่อกระตุน้ ให้ครู ในโรงเรี ยนทรู ปลูกปั ญญำสร้ำงผลงำนโดยใช้สื่อ ดิ จิทลั เพื่อกำรเรี ยนรู ้ ทรู ปลู กปั ญญำมำใช้ในกำรเรี ยนกำรสอนโดยมุ่งเน้นนักเรี ยนเป็ น ศู น ย์ก ลำงได้อ ย่ำ งมี ป ระสิ ท ธิ ภำพสู ง สุ ด กลุ่ ม ทรู จึง จัด โครงกำรประกวดผลงำนครู ประจำปี 2556 โดยจะคัดเลือกครู ที่มีผลงำนดีที่สุด 25 ท่ำน เดิ นทำงไปทัศนศึกษำกำร เรี ยนกำรสอนของโรงเรี ยนที่ใช้ไอซีที ณ ประเทศเกำหลีใต้ พลังวตท. ลดควำมเหลื่ อมล้ ำในสั งคม ในปี 2556 โครงกำรทรู ปลู กปั ญญำร่ วมสนับ สนุ น โครงกำร “พลังวตท.ลดควำมเหลื่อมล้ ำในสังคม” ของคณะนักศึกษำ วตท. รุ่ นที่ 16 โดย กำรรับมอบ 4 โรงเรี ยน ตชด. ใน จ.อุดรธำนี ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนภำยใต้กำรดูแลของวตท. 16 เข้ำร่ วมเป็ นโรงเรี ยนภำยใต้โครงกำรทรู ปลูกปั ญญำ ปี 2556 ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

(6)

(7)

(8)

(9)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โครงกำรทรู อำสำ True ปลูกปั ญญำ เพื่อเปิ ดโอกำสให้พนักงำนกลุ่ มทรู ได้มีส่วนร่ วมใน โครงกำรทรู ปลูกปั ญญำอย่ำงต่อเนื่ อง กลุ่ มทรู จดั โครงกำร ทรู อำสำ True ปลูกปั ญญำ นำ พนักงำน จำนวน 85 คน เข้ำร่ วมกิ จกรรมอำสำฟื้ นฟูโรงเรี ยนบ้ำนโป่ งไทร อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี ซึ่งเป็ น 1 ในโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปัญญำ ในวันที่ 31 ตุลำคม 2556 เว็บ ไซต์ท รู ป ลู ก ปั ญญำดอทคอม เพื่ อเป็ นกำรส่ ง เสริ ม ใช้สื่ อและเทคโนโลยีใ นกำร พัฒนำศักยภำพด้ำ นกำรศึ กษำ แสวงหำควำมรู้ และแลกเปลี่ ยนข้อมูลที่หลำกหลำยและ กว้ำงขวำง กลุ่มทรู จัดประกวด “สร้ ำงคลังควำมรู ้ กบั ทรู ปลูกปั ญญำดอทคอม ครั้งที่ 3” ทั้ง ประเภทกลุ่ ม สำระกำรเรี ยนรู ้ และประเภทส่ ง เสริ มคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ชิ ง ถ้ ว ย พระรำชทำนสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี พร้อมทุนกำรศึกษำและ รำงวัลรวมมูลค่ำกว่ำ 1 ล้ำนบำท English We Can ด้วยตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรพัฒนำทักษะภำษำอังกฤษแก่ครู และนักเรี ยนในพื้นที่ ห่ำงไกล เพื่อเตรี ยมพร้ อมก้ำวสู่ กำรเป็ นสมำชิ กประชำคมอำเซี ยน กลุ่มทรู ร่ วมกับบริ ติช เคำนซิ ล ประเทศไทย จัดโครงกำร “English … We Can” คัดเลือกคณะครู 40 สถำบันจำกโรงเรี ย นในโครงกำรทรู ปลูกปั ญญำ 4,000 แห่ ง ทัว่ ประเทศที่ ผ่ำนกำร คัดเลื อกรอบแรก เข้ำร่ วมอบรมหลักสู ตรพัฒนำกำรสอนภำษำอังกฤษโดยผูเ้ ชี่ ยวชำญ จำกสถำบันเจ้ำของภำษำชั้นนำ เป็ นเวลำ 120 ชั่วโมง (6 เดื อน) ชู หลักสู ตรทันสมัยผสำน 3 รู ปแบบกำรเรี ยน ประกอบด้วย 1. กำรเรี ยนแบบ Face-to-Face กับครู ผสู ้ อนของ British Council ที่กรุ งเทพฯ 2. กำรเรี ยนทำแบบฝึ กหัดผ่ำนโปรแกรมออนไลน์ของ British Council 3. กำรเรี ยนผ่ำนโปรแกรม iMeeting ที่ผเู้ รี ยนและผูส้ อนสำมำรถสื่ อสำรแบบ realtime interactive จำกหลำยพื้ นที่ ใ นเวลำเดี ย วกัน หลังอบรมที มทรู ปลู ก ปั ญญำและ British Council ได้คดั เลือกคุณครู ที่มีศกั ยภำพดีเด่น 6 ท่ำน และลงพื้นที่ติดตำมประเมินผล เพื่อตัดสิ น หำโรงเรี ยนชนะเลิศรับรำงวัล “Best English Practice School” ไปทัศนศึกษำดูงำนกำร จัดกำรเรี ยนกำรสอน ณ กรุ งลอนดอน ประเทศอังกฤษ Once Upon a Time Award ทรู ปลูกปั ญญำร่ วมกับ บริ ติช เคำนซิ ล ประเทศไทยร่ วมจัด กิจกรรมประกวดกำรเล่ำนิทำนเป็ นภำษำอังกฤษ “Once Upon a Time Award” โดยเชิญ มิ ส แจน เบลค นักเล่ ำนิ ทำนระดับโลกจำกประเทศอัง กฤษมำนำเสนอกำรเล่ ำนิ ทำน ณ โรงเรี ยนบ้ำนหนองฝ้ ำย อ. เลำขวัญ จ. กำญจนบุรี เพื่อฝึ กทักษะกำรใช้ภำษำอังกฤษ และกำรแสดงออกของเด็กนักเรี ยน

(10) หมู่ บ ้ำ นทรู ป ลู ก ปั ญญำ เพื่ อ เป็ นกำรต่ อ ยอดกำรสนับ สนุ น กิ จ กรรมเพื่ อสั งคมภำยใต้ โครงกำรทรู ปลูกปั ญญำ โดยใช้โรงเรี ยนทรู ปลูกปั ญญำเป็ นศูนย์กลำง กลุ่มทรู มีดำริ พฒั นำ หมู่บำ้ นใกล้โรงเรี ยนขยำยกำรช่วยเหลือเพื่อพัฒนำชุมชน มีกำรลงพื้นที่เพื่อสำรวจควำม ต้องกำรในด้ำนต่ำงๆ ของชุ มชนเพื่อจัดตั้งเป็ นหมู่บำ้ นทรู ปลูกปั ญญำในอนำคต โดยในขณะนี้ ได้มีกำรคัดเลือกหมู่บำ้ นโป่ งไทร อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี เป็ นหมู่บำ้ นนำร่ อง

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2) กิจกรรมปลูกควำมรู ้ภำยใต้โครงกำรทรู ปลูกปั ญญำ (1) นักวิทย์น้อยทรู ครั้ งที่ 18 เพื่อเป็ นกำรส่ งเสริ มเยำวชนให้มีควำมรู ้ ดำ้ นวิทยำศำสตร์ และ เทคโนโลยี ทรู ร่วมกับสมำคมวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยีศึกษำไทย (สวทศ.) จัดโครงกำร “นัก วิท ย์น้อยทรู ” โครงกำรประกวดโครงงำนวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี ระดับ ประถมศึกษำ ระดับชำติ ประจำปี 2556 ต่อเนื่ องเป็ นปี ที่ 18 ในหัวข้อ “พัฒนำคุณภำพชีวิต ด้วยเศรษฐกิ จพอเพียง” ชิ งทุนกำรศึกษำ พร้อมรับสื่ อดิจิทลั เพื่อกำรเรี ยนรู้ และรับเข้ำเป็ น โรงเรี ย นในโครงกำรทรู ป ลู ก ปั ญญำ โดยในปี นี้ มี นัก เรี ย นส่ ง ผลงำนเข้ำ ร่ วมแข่ งขันถึ ง 445 โครงงำน จำก 298 โรงเรี ยนใน 70 จังหวัดทัว่ ประเทศ 15 โครงกำรที่ได้รับกำรพิจำรณำ คัดเลื อก จะได้ลงมือดำเนิ นโครงกำรจริ ง และนำผลกำรศึกษำมำเสนอผลงำนด้วยวำจำ ต่อ หน้ำคณะกรรมกำร เพื่อคัดเลือกผูช้ นะเลิศในวันที่ 16 ส.ค. และทั้ง 15 ทีม ได้นำผลงำนไปร่ วม แสดงในงำนสัปดำห์วทิ ยำศำสตร์ แห่งชำติ ไบเทค บำงนำ ระหว่ำงวันที่ 18-20 สิ งหำคม 2556 (2) ค่ำยเยำวชนทรู ครั้งที่ 7 เพื่อเป็ นกำรส่ งเสริ มเยำวชนให้สำมำรถวิเครำะห์ ปั ญหำในชุ มชนและ สังคม ปลูกจิ ตสำนึ กสู่ กำรเปลี่ ยนแปลงอย่ำงสร้ ำงสรรค์ กลุ่ มทรู ร่วมกับองค์กำรพิพิธภัณฑ์ วิทยำศำสตร์ แห่งชำติ รับสมัครนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 4-5 เข้ำร่ วมโครงกำร “ค่ำยเยำวชนทรู ” “เปลี่ยน...อย่ำงสร้ำงสรรค์ ร่ วมกันเพื่อชุ มชน” โดยในปี นี้ มีผสู ้ มัครทั้งสิ้ นจำนวน 84 โรงเรี ยน จำก 45 จังหวัดทัว่ ประเทศ และคัดเลื อกโรงเรี ยนที่ มี ผลงำนดี เด่ นเพื่ อรั บเป็ นโรงเรี ยนใน โครงกำรทรู ปลู กปั ญญำ กิ จกรรมของทั้ง 10 โรงเรี ยนจะมำนำมำเผยแพร่ ออกอำกำศทำง ช่องต่ำงๆ ของทรู วชิ นั่ ส์ต่อไป (3) นักข่ำวสำยฟ้ ำน้อย รุ่ นที่ 11 เพื่อเป็ นกำรเปิ ดโอกำสแก่นิสิตนักศึกษำสำขำนิ เทศศำสตร์ และ สื่ อสำรมวลชน ได้เตรี ยมพร้ อมทำงำนข่ำวอย่ำงมื ออำชี พ กลุ่ มทรู ร่ วมกับสมำคมนักข่ำว วิทยุและโทรทัศน์ไทย จัดโครงกำรอบรม “นักข่ำวสำยฟ้ ำน้อย” รุ่ นที่ 11 ประจำปี 2556 รั บ สมั ค รนิ สิ ตนั ก ศึ ก ษำสำขำสื่ อมวลชนและนิ เทศศำสตร์ จ ำนวน 62 คนจำก สถำบันอุ ด มศึ ก ษำทัว่ ประเทศ ได้เรี ย นรู ้ วิ ธี ก ำรท ำงำนข่ ำ ววิ ท ยุก ระจำยเสี ย งและวิ ท ยุ โทรทัศน์จำกนักข่ำวมืออำชีพ ทั้งเทคนิคกำรจับประเด็นข่ำว เข้ำถึงแหล่งข้อมูล และรำยงำนข่ำว อย่ำงมีจริ ยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ พร้อมฝึ กปฏิบตั ิจริ ง (4) นักข่ำวพิรำบน้อย รุ่ นที่ 16 เพื่อเปิ ดโอกำสให้นิสิต นักศึกษำเตรี ยมพร้ อมเข้ำสู่ กำรเป็ นนัก สื่ อสำรมวลชนมืออำชี พ กลุ่มทรู ร่ วมกับสมำคมนักข่ำวนักหนังสื อพิมพ์แห่ งประเทศไทย จัดโครงกำรอบรม “นักข่ำวพิรำบน้อย” รุ่ นที่ 16 ประจำปี 2556 ให้นิสิต นักศึกษำภำควิชำ วำรสำรศำสตร์ นิ เทศศำสตร์ และสื่ อสำรมวลชน จำนวนกว่ำ 60 คน จำกสถำบันกำรศึกษำ ทัว่ ประเทศ ได้เรี ยนรู ้และฝึ กฝนทักษะ พร้อมฝึ กปฏิบตั ิกำรทำข่ำวเพื่อสื่ อหนังสื อพิมพ์ และ Social Media ต่ำงๆ เสมือนจริ ง พร้อมเรี ยนรู้เทคโนโลยีคลำวด์ คอมพิวติ้ง ซึ่ งมีส่วนสำคัญ ในกำรใช้งำนคอมพิวเตอร์ในโลกออนไลน์

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(5) TrueVisions BBC Future Journalist เพื่ อเป็ นกำรเปิ ดโอกำสให้นิ สิ ต นักศึ กษำด้ำน สื่ อสำรมวลชนได้มีโอกำสสัมผัสประสบกำรณ์ทำข่ำว จำกสำนักข่ำวระดับโลก ทรู วิชนั่ ส์ ร่วมกับ บี บี ซี เวิ ล ด์ นิ ว ส์ และสภำสถำบั น นั กวิ ชำกำรสื่ อสำรมวลชนแห่ งประเทศไทย จั ด โครงกำร “TrueVisions - BBC World News Future Journalist Award 2013” ขึ้น เป็ นปี ที่ 10 โดยรับสมัครและคัดเลือก 30 คน เพื่อเข้ำรับกำรอบรมเชิ งปฏิบตั ิ “กระบวนกำรข่ำว” โดย วิทยำกรผูท้ รงคุ ณวุฒิท้ งั ในและต่ำงประเทศร่ วมถ่ำยทอดประสบกำรณ์ ข่ำว รวมถึงฝึ กปฏิ บตั ิ ในสนำมข่ำวจริ งและตัดสิ นคัดเลื อก 5 นักข่ำวแห่ งอนำคตดี เด่นประจำภูมิภำค รับทุนฝึ กงำน ณ สถำนี ข่ำว TNN 24 เป็ นเวลำ 1 เดือน และคัดเลือก 2 นักข่ำวแห่ งอนำคตดีเลิศ รับทุนฝึ กงำน กับสำนักข่ำว BBC WORLD NEWS ประเทศอังกฤษเป็ นเวลำ 3 สัปดำห์ 3) กิจกรรมปลูกควำมดีภำยใต้โครงกำรทรู ปลูกปั ญญำ (1) สำมเณรปลูกปัญญำธรรม ปี 2 เพื่อเป็ นกำรเผยแพร่ ควำมรู ้ คุณธรรม และจริ ยธรรมตำมแนวทำงพุทธ ศำสนำ และนำไปปฏิ บตั ิเพื่อพัฒนำตนเองและสังคม กลุ่มทรู จดั พิธีบรรพชำสำมเณร ปลูกปั ญญำ ธรรม ปี 2 ณ วัดพระรำม ๙ กำญจนำภิเษก ภำยใต้แนวคิด “จำกสิ่ งที่เป็ น สู่ สิ่งที่เปลี่ยน” ถ่ำยทอดสด เรื่ องรำวกำรใช้ชีวติ จริ งและกิจวัตรประจำวันของสำมเณรภำคฤดูร้อนทั้ง 9 รู ป ตลอด 1 เดือน (2) True Young Producer Award เพื่ อเป็ นกำรเปิ ดโอกำสให้เยำวชนนิ สิตนัก ศึก ษำใน ระดับอุดมศึกษำ ได้มีเวทีเพื่อแสดงควำมสำมำรถและควำมคิดสร้ำงสรรค์ กลุ่มทรู ร่วมกับ สมำคมโฆษณำแห่ งประเทศไทย จัดโครงกำร “True Young Producer Award 2013” ประกวดผลงำนผลิ ตภำพยนตร์ โฆษณำเพื่ อสังคม ในหัวข้อ “Change …เปลี่ ย นอะไร สัง คมไทยถึ งน่ ำ อยู่” ควำมยำว 60 วินำที เพื่ อกระตุ น้ ให้เกิ ดกำรเปลี่ ยนแปลงอย่ำ ง สร้ำงสรรค์ในสังคมไทย ชิงถ้วยพระรำชทำนสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำช กุมำรี พร้อมทุนกำรศึกษำ และศึกษำดูงำน ณ ประเทศญี่ปุ่น โดยในปี นี้ มีนกั ศึกษำส่ งผลงำน เข้ำร่ วมประกวดจำนวน 487 ทีมจำก 43 สถำบัน จำก 18 จังหวัดทัว่ ประเทศ 4) โครงกำร “3G+ เพื่อโรงเรี ยนและชุมชน” (1) กลุ่มทรู ร่วมกับ สำนักงำนกองทุนสนับสนุ นกำรสร้ำงเสริ มสุ ขภำพ (สสส.), คณะพยำบำล ศำสตร์ มหำวิทยำลัย เชี ย งใหม่ และ Google Thailand พัฒนำกำรใช้ระบบสำรสนเทศ ภูมิศ ำสตร์ (GIS) ผ่ำ นเครื อข่ ำยของ TrueMove H 3G+ เพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิ ภำพบริ กำร สำธำรณสุ ขชุ มชนอย่ำงทัว่ ถึ ง รวมทั้งกำรพัฒนำ อ.สำรภี ให้เป็ นต้นแบบ “อำเภอสร้ำงสุ ข” โดยทรู ได้สนับสนุ นซิ ม 3G+ และ data package ให้แพทย์ของโรงพยำบำลสำรภี เพื่อ สำมำรถให้คำปรึ กษำทำงกำรแพทย์แบบ real time แก่เจ้ำหน้ำที่โรงพยำบำลส่ งเสริ มสุ ขภำพ ตำบล (รพ.สต.) เครื อข่ำยทั้ง 12 แห่งของโรงพยำบำลสำรภี (2) กลุ่ มทรู ส่ งมอบแอร์ กำร์ ด 3G ให้กบั รพ.ลำปำง และ โรงพยำบำลระดับอำเภอ 4 แห่ ง และ โรงพยำบำลส่ งเสริ มสุ ขภำพตำบล อีก 14 แห่ง เพื่อสนับสนุนโครงกำรส่ งตัวผูป้ ่ วยฉุ กเฉิ นของ รพ. ลำปำง โดยอุปกรณ์ แอร์กำร์ด 3G จะเชื่อมต่ออุปกรณ์ส่งคลื่นสัญญำณกำรเต้นหัวใจ (EKG) เข้ำกับ โปรแกรม Thai Refer ซึ่งทำให้แพทย์ รพ.ปลำยทำงสำมำรถเตรี ยมกำรรักษำผูป้ ่ วยได้อย่ำงทันท่วงที ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(3) กลุ่มทรู โดยหน่วยงำน Government Sector ร่ วมมือกับจังหวัดนครนำยก พัฒนำโครงข่ำยบริ หำร รำชกำร โดยมี“นครนำยก” เป็ นต้นแบบ “จังหวัดอัจฉริ ยะ” ในโครงกำร "Smart Province" วำง ระบบโครงข่ำย 3G+ และ WiFi จำกทูรมูฟ เอช เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำร ของชุ มชน ผ่ำนอุปกรณ์ สมำร์ ทดี ไวซ์ เชื่ อมต่อไร้ สำยครอบคลุ ม 408 หมู่บำ้ นทัว่ จังหวัด พร้ อมโครงข่ำยอิ นเทอร์ เน็ ตควำมเร็ วสู ง และร่ วมพัฒนำ Solution และ Application ให้ สอดคล้องกับกำรใช้งำน (4) กระทรวงเทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่ อสำร ร่ วมกับ กลุ่ มทรู ประกำศควำมร่ วมมื อ ให้บริ กำร “ICT Free WiFi by TRUE” ให้บริ กำร Free WiFi ที่จงั หวัดเชี ยงใหม่ และ นครสวรรค์ ตอบรั บนโยบำย Smart Thailand ของรั ฐบำล เสริ มศักยภำพกำรใช้งำน อินเทอร์ เน็ตควำมเร็ วสู งในพื้นที่สำธำรณะ เพื่อกำรเข้ำถึงข่ำวสำรผ่ำนอินเทอร์ เน็ตควำมเร็ วสู ง ทุกที่ที่มีสัญลักษณ์ ICT Free WiFi by TRUE (5) กลุ่มทรู สนับสนุ น WiFi by TrueMove H แก่ชมรมนักข่ำวเทคโนโลยีสำรสนเทศ เพื่อ เชื่ อมต่ออิ นเทอร์ เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลำ ครอบคลุ มพื้นที่กว่ำ 1 แสนฮอตสปอต ทัว่ ประเทศ จำนวน 20 แอคเคำท์ๆ ละ 20 ชัว่ โมง/ เดือน เป็ นระยะเวลำ 1 ปี (6) เพื่อเป็ นกำรถ่ำยทอดองค์ควำมรู ้ กำรใช้เทคโนโลยีกำรสื่ อสำรให้เกิ ดประโยชน์ และสร้ ำง ควำมได้เปรี ยบในกำรแข่งขันสำหรับธุ รกิ จท่องเที่ยวทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ กลุ่มทรู ร่ วมกับสมำคมโรงแรมไทยภำคใต้ และสมำคมมัคคุ เทศก์อำชี พ ภูเก็ต เพิ่มศักยภำพธุ รกิ จ ท่องเที่ ยวและโรงแรมรองรั บ ประชำคมเศรษฐกิ จอำเซี ยน พร้ อมให้คำแนะนำในกำรใช้ เทคโนโลยี สื่ อ สำรโทรคมนำคม และน ำเสนอนวัต กรรมบริ กำรสื่ อ สำรใหม่ ๆ เพิ่ ม ประสิ ทธิภำพงำนบริ กำรและขยำยธุ รกิจท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวชำวต่ำงชำติ โดยช่วย เผยแพร่ ประชำสั มพันธ์ กิจกรรมต่ำ งๆ รวมถึ ง จัดงำนสัมมนำถ่ ำ ยทอดองค์ค วำมรู ้ กำรใช้ เทคโนโลยีกำรสื่ อสำรให้เกิดประโยชน์แก่ธุรกิจด้วย (7) เพื่อเป็ นกำรต่อยอดให้บริ กำรเทคโนโลยีสำรสนเทศด้ำนกำรสื่ อสำรสำหรับบริ หำรจัดกำร ระบบกำรศึกษำยุคใหม่ กลุ่ มทรู ร่ วมลงนำมข้อตกลงควำมร่ วมมือกับสถำบันกำรศึ กษำ ระดับ อุ ดมศึ กษำ ในโครงกำรติ ดตั้งอุ ปกรณ์ ระบบสื่ อสำรข้อมูล แบบไร้ ส ำย กับสถำบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง และมหำวิทยำลัยขอนแก่น (วิทยำเขตขอนแก่นและ วิทยำเขตหนองคำย) เพื่อให้บริ กำร WiFi by TrueMove H แก่นกั ศึกษำและบุคลำกรอย่ำง ทัว่ ถึงทั้งมหำวิทยำลัย ตอบสนองกำรเป็ น Digital University ก่อนจะขยำยควำมร่ วมมือไปยัง สถำบันกำรศึกษำทุกระดับชั้นทัว่ ประเทศ

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

5) กิจกรรมสำธำรณประโยชน์อื่น ๆ (1) www.helplink.net จัดกิจกรรมและร่ วมประชำสัมพันธ์กิจกรรมต่ำงๆ ดังนี้ (1.1) ร่ วมกับศูนย์รับบริ จำคอวัยวะและศูนย์ดวงตำสภำกำชำดไทย จัดโครงกำร “Let Them See Love 2013” ซึ่ งจัดขึ้นปี ที่ 7 ด้วยแนวคิด “เบอร์ บอกบุญ 1666” รับแจ้งบริ จำค อวัย วะและดวงตำ และรั บ บริ จำคเงิ น ผ่ำ น SMS ระบบทรู มูฟ และทรู มูฟ เอช มอบให้ แ ก่ ศู น ย์ด วงตำและศู น ย์รั บ บริ จ ำคอวัย วะ สภำกำชำดไทย สมทบทุ น ค่ำใช้จ่ำยในกระบวนกำรบริ จำคอวัยวะและดวงตำ (1.2) เชิญชวนร่ วมประชำชนร่ วมประหยัดพลังงำน ในโครงกำร Earth Hour 2013 ปิ ดไฟให้ โลกพัก จัดโดยกรุ งเทพมหำนครร่ วมกับ WWF ประเทศไทย เชิ ญชวนให้ประชำชน ร่ วมปิ ดไฟ 1 ชั่วโมง โดยในปี นี้ ตรงกับวันที่ 23 มี นำคม 2556 เพื่ อร่ วมประหยัด พลังงำนและลดภำวะโลกร้อน (1.3) เชิ ญชวนร่ วมทำบุญซื้ อเสื้ อ “คำว่ำให้ ...ไม่สิ้นสุ ด” และสนับสนุ นของที่ระลึกจำก มูลนิ ธิรำมำธิ บดี สมทบทุนโครงกำรพัฒนำอำคำรและจัดหำเครื่ องมือแพทย์เพื่อ ผูป้ ่ วยยำกไร้ โรงพยำบำลรำมำธิบดี (1.4) เชิ ญ ชวนร่ ว มบริ จ ำคสิ่ ง ของจ ำเป็ นส ำหรั บ ผู ้ห ญิ ง และเด็ ก ให้ ส มำคมส่ ง เสริ ม สถำนภำพสตรี (บ้ำนฉุ กเฉิ น ) ซึ่ งเป็ นบ้ำนพัก พิงชั่วครำวให้แก่ ผูห้ ญิ งและเด็ก ที่ ประสบปัญหำ (1.5) ส่ งมอบเงินบริ จำคผ่ำน SMS ของลูกค้ำทรู มูฟและทรู มูฟ เอช ให้แก่มูลนิ ธิและองค์กร สำธำรณกุ ศล 3 แห่ ง ได้แก่ 1. ศูนย์สมเด็จพระเทพรั ตนฯแก้ไ ขควำมพิกำรบน ใบหน้ำและกะโหลกศีรษะ โรงพยำบำลจุฬำลงกรณ์ 2. สถำบันสุ ขภำพเด็กแห่ งชำติ มหำรำชินี โรงพยำบำลเด็ก และ 3. มูลนิ ธิช่วยคนปั ญญำอ่อนแห่ งประเทศไทย โดย ไม่หกั ค่ำใช้จ่ำย รวมเป็ นเงินบริ จำคทั้งหมด 1,201,890 บำท (1.6) เชิญชวนคนไทย ร่ วมบริ จำคเงินผ่ำนธนำคำรไทยพำณิ ชย์ สำขำสภำกำชำดไทย เพื่อ ช่วยเหลือชำวฟิ ลิปปิ นส์ หลังเกิดเหตุกำรณ์ซุปเปอร์ พำยุไต้ฝนไห่ ุ่ เยีย่ นพัดถล่ม (2) โครงกำรทำดี ให้พ่อดู ปี ที่ 7 กลุ่ มทรู จัดกิ จกรรมทำควำมดี ในโครงกำรทำดี ให้พ่อดูปีที่ 7 ตอน “รวมพลังควำมดี เพื่อพ่อ” เชิ ญชวนคนไทยร่ วมกิ จกรรม ทั้งสิ้ น 9 กิ จกรรม โดยเริ่ ม 3 กิจกรรมในปี 2555 และกิจกรรมที่ 4 - 9 ในต้นปี นี้ ได้แก่ (2.1) กิจกรรมที่ 4 วันที่ 10 ม.ค. เชิ ญชวนร่ วมบริ จำคโลหิ ต 900,000 ซี ซี สะท้อนเรื่ อง “กำรบริ จำค” โดยเปิ ดรับบริ จำค ณ ศูนย์บริ กำรโลหิ ตแห่งชำติสภำกำชำดไทย (2.2) กิ จกรรมที่ 5 วันที่ 14 ม.ค. เชิ ญชวนผูม้ ีจิตอำสำจัดเวิร์คช็อป เพิ่ม “ศีล” บำรุ งใจ บำเพ็ญประโยชน์ เพื่อเสริ มทักษะ และเตรี ยมควำมพร้ อมก่อนเข้ำเรี ยนให้แก่เด็ก พิเศษด้วยกิจกรรมสร้ำงสรรค์ต่ำงๆ ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(2.3) กิจกรรมที่ 6 วันที่ 17 ม.ค. เชิ ญชวนร่ วมบริ จำค พร้อมทั้งส่ งมอบของเล่นบริ จำค แก่เยำวชนที่ขำดแคลนเพื่อสนับสนุ น “ควำมเพียร” โดยจัดเดิ นขบวนบริ เวณย่ำน สยำมสแควร์ (2.4) กิ จกรรมที่ 7 วันที่ 21 ม.ค. ร่ วมกับมูลนิ ธิเพื่อเยำวชนชนบทเชิ ญชวนประชำชน ร่ วมกิจกรรม สะท้อนหลักทศพิธรำชธรรมเรื่ อง “ทำน” มอบเสื้ อผ้ำที่ไม่ได้ใช้เป็ น ทำนแก่ผขู ้ ำดแคลนในชนบท (2.5) กิ จกรรมที่ 8 วันที่ 31 ม.ค. ร่ วมกับมูลนิ ธิบำ้ นสงเครำะห์สัตว์พิกำร ร่ วมบำเพ็ญ ประโยชน์ จัดกิจกรรม รักเพื่อนสี่ ขำ “อย่ำเบียดเบียน” ทำควำมสะอำดกรงและให้ อำหำรสัตว์พิกำร พร้อมมอบเงินแก่มูลนิธิบำ้ นสงเครำะห์สัตว์พิกำร (2.6) กิ จกรรมที่ 9 วันที่ 7 ก.พ. นำพนักงำนปฏิบตั ิธรรม ฝึ กใจให้ “ไม่โกรธ” ณ เสถียร ธรรมสถำน ด้วยกำรนั่งสมำธิ เดิ นจงกรม และฟั ง ธรรมะบรรยำย ซึ่ ง กิ จ กรรม ดังกล่ำว เป็ นกิจกรรมสุ ดท้ำยของโครงกำรทำดีให้พอ่ ดูในปี นี้ (3) Public Service Announcement รำยกำร Public Service Announcement ของทรู วชิ นั่ ส์ประชำสัมพันธ์ กิ จกรรมต่ำงๆ ที่ เป็ นประโยชน์ต่อสังคม แก่ หน่ วยงำนภำครั ฐและเอกชน โดยไม่คิดค่ำใช้จ่ำย ออกอำกำศสปอตละ 3 ครั้ง/วัน/ช่ อง เป็ นเวลำ 15-30 วันต่อ 1 สปอต ผ่ำน 22 ช่ องรำยกำรต่ำงๆ ของทรู วชิ นั่ ส์ (3.1) เดื อนมกรำคม-มีนำคม 2556 ได้ส นับ สนุ นกำรออกอำกำศของหน่ วยงำนต่ ำ งๆ จำนวน 72 หน่วยงำน รวมทั้งสิ้ น 2,160 ครั้ง (3.2) เดือนเมษำยน - มิถุนำยน 2556 ได้สนับสนุ นกำรออกอำกำศของหน่ วยงำนต่ำงๆ จำนวน 53 หน่วยงำน รวมทั้งสิ้ น 1,590 ครั้ง (3.3) เดือนกรกฎำคม - กันยำยน 2556 ได้สนับสนุ นกำรออกอำกำศของหน่วยงำนต่ำงๆ จำนวน 40 หน่วยงำน รวมทั้งสิ้ น 1,200 ครั้ง (3.4) เดื อนตุลำคม-ธันวำคม 2556 ได้สนับสนุ นกำรออกอำกำศของหน่ วยงำนต่ำงๆ จำนวน 47 หน่วยงำน รวมทั้งสิ้ น 1,410 ครั้ง (4) กลุ่มทรู สนับสนุนกิจกรรมของสภำกำชำดไทย ดังนี้ (4.1) เชิญชวนพนักงำนร่ วมบริ จำคโลหิ ตถวำยเป็ นพระรำชกุศลเฉลิมพระเกียรติมหำรำชินี (4.2) มอบสมำร์ ทโฟนและแท็บเล็ตแก่สำนักสำรนิ เทศและสื่ อสำรองค์กร สภำกำชำดไทย เพื่อเผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ข่ำวสำรของสภำกำชำดไทย (5) กลุ่มทรู นำรำยได้จำกกำรโหวตของผูช้ มในรำยกำร ทรู อคำเดมี แฟนเทเชี ย ปฏิบตั ิกำรนักล่ำฝัน ซี ซนั่ 9 ประจำปี 2555 มอบให้แก่มูลนิ ธิและองค์กรกำรกุศล เพื่อนำไปใช้จ่ำยในกิ จกรรม เพื่อสำธำรณประโยชน์ รวมทั้งสิ้ น 12,000,000 บำท ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

(6) กลุ่มทรู ร่วมช่ วยเหลื อผูป้ ระสบภัยน้ ำท่วม จังหวัดอุบลรำชธำนี และศรี สะเกษ ภำยใต้โครงกำร “ทรู รวมน้ ำใจไทย ช่ วยภัยน้ ำท่วม” โดยนำทีมงำนในเขตพื้นที่ UPC10 ส่ งมอบควำมช่ วยเหลื อ เบื้องต้นแก่ผปู ้ ระสบภัยน้ ำท่วม ในพื้นที่ ต. โพธิ์ ไทร อ. พิบูลมังสำหำร จ. อุบลรำชธำนี ต. ท่ำเรื อ อ. เมือง จ. ศรี สะเกษ นอกจำกนี้ ยังได้ร่วมกับคณะกรรมกำรกิจกำรกระจำยเสี ยง กิจกำรโทรทัศน์ และกิจกำรโทรคมนำคมแห่งชำติ (กสทช.) ให้ควำมช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยน้ ำท่วมใน อ. บ้ำนสร้ำง และ อ. ประจันตคำม จ. ปรำจีนบุรี โดยมอบถุงยังชี พ จำนวน 1,000 ชุ ด แก่ผปู ้ ระสบภัย ในเดือน ตุลำคม 2556 (7) กลุ่มทรู สำนต่อโครงกำร “เรื่ องเล่ำ...เรำกับแม่” ปี ที่ 2 ตอน “กล่อมด้วยรัก” เชิญชวนดำวน์ โหลดแอพพลิเคชัน่ ฟรี “The Story of Mom & Me” สำหรับกล่อมเด็ก นำรำยได้โดยไม่หกั ค่ำใช้จ่ำย สร้ ำงอำคำรเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำมหำรำชินี ศูนย์กำรแพทย์เฉพำะทำงโรคเด็ก สถำบันสุ ขภำพเด็กแห่ งชำติมหำรำชิ นี (โรงพยำบำลเด็ก) ถวำยเป็ นพระรำชกุศล พร้อมเชิญ ร่ วมบริ จำคสมทบทุนผ่ำนช่องทำงอื่นๆ อำทิ SMS ระบบ ทรู มูฟ และทรู มูฟ เอช เป็ นต้น 8.

การมี น วัต กรรมและเผยแพร่ น วัต กรรมซึ่ ง ได้ จ ากการด าเนิ น งานที่มี ค วามรั บ ผิด ชอบต่ อ สั ง คม สิ่ งแวดล้ อม และผู้มีส่วนได้ เสี ย

1) บริ ษ ทั ฯ ส่ งเสริ มให้มีกำรใช้ทรั พยำกรอย่ำงมี ประสิ ทธิ ภำพ และสนับสนุ นให้มีกำรสร้ ำงสรรค์ นวัตกรรมเพื่อเป็ นกำรเพิ่มประสิ ทธิ ภำพกำรใช้ทรัพยำกรที่มีอยู่ให้คุม้ ค่ำมำกที่สุด บริ ษทั ฯ ได้จดั โครงกำร “True Innovation Awards” มำอย่ำงต่อเนื่องเป็ นประจำทุกปี จนถึงปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นโครงกำรประกวดผลงำนนวัตกรรมเป็ น กำรภำยในบริ ษทั ฯ เพื่อส่ งเสริ มให้พนักงำนทุกคน ทุกระดับ มีส่วนร่ วมในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำนนวัตกรรม ที่เป็ น ประโยชน์ต่อองค์กรและสังคมโดยรวม เป็ นกำรกระตุน้ ให้พนักงำนเห็นควำมสำคัญและประโยชน์ของกำรสร้ำง นวัตกรรม อีกทั้งนำมำประยุกต์ใช้ในหน่ วยงำนให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่ อง เพื่อพัฒนำพนักงำนที่เข้ำมำร่ วม โครงกำร ให้มีควำมรู้ดำ้ นนวัตกรรมอย่ำงบูรณำกำร และสำมำรถต่อยอดงำนนวัตกรรม และควำมคิดสร้ำงสรรค์ให้ เป็ นรู ปธรรมและสัมฤทธิ์ ผล เพื่อนำผลงำนนวัตกรรม มำแก้ปัญหำให้กบั ลูกค้ำ เพื่อพัฒนำสิ นค้ำ บริ กำร และ กระบวนกำร ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร ลูกค้ำ และ สังคม (Benefits to customers, corporate and social) อำทิเช่น เพิ่มควำมพึงพอใจลูกค้ำ (Customer Satisfaction) เพิ่มรำยได้ (Revenue Increase) ปรับปรุ งกระบวนกำรทำงำน (Process Improvement) คุณค่ำที่ได้รับเพิ่ม (Value Adding) กำรสร้ำงสรรค์ (Creation) เป็ นต้น นอกเหนือจำกกำรจัดโครงกำรประกวดผลงำนนวัตกรรมภำยในบริ ษทั ฯ ดังกล่ำวแล้ว บริ ษทั ฯ ให้ ควำมสำคัญและมีควำมตั้งใจที่จะมีส่วนร่ วมในกำรจุดประกำยและสร้ ำงแรงบันดำลให้คนไทยสนใจนวัตกรรม อย่ำงจริ งจัง ซึ่ งเป็ นปั จจัยสำคัญในกำรขับเคลื่อนให้ประเทศเจริ ญก้ำวหน้ำ โดยร่ วมกับหลักสู ตรเทคโนโลยีและกำร จัดกำรนวัตกรรมบัณฑิ ตวิทยำลัย จุ ฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย และสำนักข่ำวต่ำงประเทศ CNBC (Asia Pacific) จัดโครงกำรประกวด “ทรู อินโนเวชัน่ อวอร์ ดส์ ” ซึ่ งจัดเป็ นประจำต่อเนื่ องมำทุกปี เริ่ มตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 เพื่อเปิ ด ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โอกำสให้นวัตกรไทยได้นำเสนอควำมคิดสร้ำงสรรค์ และพัฒนำผลงำนนวัตกรรมเพื่อคุณประโยชน์แก่สังคมและ ประเทศชำติ อีกทั้งยกระดับขีดควำมสำมำรถของคนไทยให้ทดั เทียมกับนำนำชำติ 2) True Incube ด้วยเชื่ อมัน่ ในศักยภำพของคนไทย กลุ่ มทรู ริ เริ่ ม “ทรู อินคิวบ์” (True Incube) โปรแกรมบ่มเพำะผูป้ ระกอบกำรไทยมือใหม่ดำ้ นเทคโนโลยี แนวคิด “รู ้จริ ง ทำจริ ง ช่วยจริ ง” เปิ ดโอกำสให้ ผูท้ ี่ตอ้ งกำรเริ่ มต้นธุ รกิจ แต่ยงั ขำดควำมพร้อมให้สำมำรถเริ่ มต้นและสร้ำงธุ รกิจให้ประสบควำมสำเร็ จได้จริ ง และยกระดับระบบนิเวศ (Ecosystem) ของกลุ่มผูป้ ระกอบกำรไทยให้ดียิ่งขึ้น เริ่ มตั้งแต่บ่มเพำะควำมคิด ให้ เงินทุนดำเนินงำนตำมแผนธุ รกิจจนเติบโตอย่ำงเป็ นรู ปธรรม โดยกลุ่มทรู เตรี ยมเงินกว่ำ 250 ล้ำนบำท พร้อม สนับสนุนทรัพยำกรต่ำงๆ ของกลุ่มทรู และนำพันธมิตรผูพ้ ฒั นำสตำร์ ทอัพที่มีชื่อเสี ยงระดับโลก ได้แก่ 500 Startups และ Gobi Partners ร่ วมผลักดันให้ผเู ้ ข้ำร่ วมโปรแกรมเติบโตในระดับสำกล โดย 5 ทีมที่ได้รับ คัดเลือกจะได้เงินทุนเบื้องต้นทีมละ 500,000 - 1,000,000 บำท ร่ วม Boot Camp ตลอด 99 วัน และคำปรึ กษำ โดยผูเ้ ชี่ ยวชำญสำขำต่ำ งๆ โดยหนึ่ งที ม ที่ รับกำรคัดเลื อกจะได้เข้ำเรี ยนรู ้ กำรท ำงำนกับ 500 Startups ที่ ซิ ลิคอน วัลเล่ย ์ สหรัฐอเมริ กำ เพื่อเปิ ดมุมมองธุ รกิจสตำร์ ทอัพระดับโลกต่อไป 3) True Young Webmaster Camp เพื่อเป็ นกำรปลูกฝังให้มีกำรเตรี ยมควำมพร้อมในวิชำชี พ กลุ่มทรู โดย ทรู ไ ลฟ์ ทรู ม นั นี่ และ ทรู อินคิ วบ์ ร่ วมสนับ สนุ นโครงกำรอบรมเชิ ง ปฏิ บ ตั ิ ก ำร “ก้ำ วสู่ วิช ำชี พ เว็บ มำสเตอร์ ” (True Young Webmaster Camp) ครั้งที่ 11 ณ มหำวิทยำลัยบูรพำ จ. ชลบุรี จัดโดยสมำคมผูด้ ูแล เว็บไทย ร่ วมบรรยำยในหัวข้อ “โปรแกรมบ่มเพำะสตำร์ ทอัพด้ำนเทคโนโลยีมือใหม่” เพื่อให้ควำมรู้และ แนะแนวทำงแก่ นิสิต นักศึกษำ จำนวนกว่ำ 80 คน ในกำรพัฒนำตนเองสู่ กำรเป็ นผูป้ ระกอบกำรในอนำคต

รางวัลและโล่เกียรติคุณด้ านความรับผิดชอบต่ อสั งคม 

กลุ่มทรู ได้รับรำงวัล “ICTทำดีเพื่อสังคม” จำกสมำคมกำรจัดกำรธุ รกิจแห่ งประเทศไทยใน 2 โครงกำร ได้แก่ o

o

โครงกำร Autistic Application จำกกำรพัฒนำ application เพื่อเด็กออทิสติกสำหรับใช้ในกำรพัฒนำ ทักษะกำรเรี ยนรู ้ เสริ มสมรรถภำพทั้งร่ ำงกำย สติปัญญำ และจิตใจ โครงกำรทรู ป ลู ก ปั ญ ญำมี เ ดี ย จำกกำรน ำเทคโนโลยี ก ำรสื่ อ สำรทุ ก รู ป แบบของกลุ่ ม ทรู ม ำ ประยุกต์ใช้ในกำรจัดทำเว็บไซต์ทรู ปลูกปั ญญำดอทคอมรวบรวมควำมรู้ในรู ปแบบมัลติมีเดีย และ ช่องควำมรู ้คู่คุณธรรมแห่งแรกของไทยที่รวบรวมรำยกำรควำมรู ้คู่คุณธรรมรวมถึงเรี ยลลิต้ ีสำมเณร ปลูกปัญญำธรรม

รำยกำรสำมเณร ปลูกปั ญญำธรรมของกลุ่มทรู ได้รับกำรคัดเลือกจำกสำนักงำนส่ งเสริ มสวัสดิภำพและ พิทกั ษ์เด็ก เยำวชน ผูด้ ้อยโอกำส และผูส้ ู งอำยุ (สท.) กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมัน่ คงของ มนุษย์ รับโล่เกียรติคุณพระรำชทำน ในฐำนะองค์กรที่ทำคุณประโยชน์ต่อเด็กและเยำวชน เนื่ องในวันเยำวชน

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

แห่ งชำติประจำปี 2556 ในกำรนี้ สมเด็จพระบรมโอรสำธิ รำชฯ สยำมมกุฎรำชกุมำร ทรงพระกรุ ณำโปรดเกล้ำ โปรดกระหม่อมให้พระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำศรี รัศมิ์ พระวรชำยำฯ เสด็จแทนพระองค์ พระรำชทำนโล่ รำงวัล ณ อำคำรกีฬำเวสน์ 2 ศูนย์เยำวชนกรุ งเทพมหำนคร (ไทย-ญี่ปุ่น) 

กลุ่ ม ทรู รั บ โล่ เ กี ย รติ ย ศหน่ ว ยงำนหรื อองค์ ก รที่ มี ส่ ว นร่ วมสนั บ สนุ น ภำรกิ จ ของส ำนั ก งำน คณะกรรมกำรป้ องกัน และปรำบปรำมกำรทุ จ ริ ต แห่ ง ชำติ (ป.ป.ช.) เนื่ อ งในโอกำสวัน สถำปนำ สำนักงำน ป.ป.ช. ครบรอบ 14 ปี ในฐำนะองค์กรที่ ให้กำรสนับสนุ นกำรเผยแพร่ กิจกรรมต่ำงๆ ของ ป.ป.ช. ผ่ำนสื่ อต่ำงๆ ของกลุ่มทรู รวมถึงกำรมีส่วนร่ วมของศิลปิ นทรู เอเอฟ

กลุ่ มทรู รั บโล่ ประกำศเกี ยรติ คุณองค์กรดี เด่ นสนับสนุ นงำนด้ำนคนพิกำร ในงำนวันคนพิกำรสำกล ประจำปี 2556 ในฐำนะองค์กรภำคธุ รกิจดีเด่นที่สนับสนุ นงำนด้ำนคนพิกำร จัดโดยสำนักงำนส่ งเสริ ม และพัฒนำคุณภำพชีวติ คนพิกำรแห่งชำติร่วมกับสมำคมสภำคนพิกำรทุกประเภทแห่งประเทศไทย

กลุ่มทรู เป็ นองค์กรไทยรำยแรกของประเทศที่ได้รับกำรรับรองมำตรฐำนโลก COPC CSP ทั้งคอลล์เซ็นเตอร์ ทรู มูฟ เอช และคอลล์เซ็นเตอร์ ทรู ออนไลน์ จำก Customer Operation Performance Center (COPC) องค์กร ระดับโลกจำกประเทศสหรัฐอเมริ กำ ที่ให้คำปรึ กษำ ฝึ กอบรม และให้กำรรับรองมำตรฐำนด้ำนกำรให้บริ กำร คอลล์ เซ็นเตอร์ แก่บริ ษทั ที่มีชื่อเสี ยงกว่ำ 1,500 แห่ง ใน 60 ประเทศทัว่ โลก

กลุ่มทรู รับรำงวัล คำนส์ อวอร์ดส์ (The Cannes Corporate Media & TV Awards 2013) ประเภท รำยกำรสำรคดี โทรทัศน์ สำขำ กำรศึกษำ โดยรำยกำรธรรมะรู ปแบบเรี ยลลิต้ ี “สำมเณร ปลูกปั ญญำธรรม ปี 2” ของกลุ่มทรู ที่ ออกอำกำศทำงทรู วิชนั่ ส์ เป็ นรำยกำรเดียวจำกประเทศไทย และในภูมิภำคเอเชี ยที่ได้รับรำงวัลดังกล่ำว จำก ผลงำนที่ส่งเข้ำประกวดทั้งหมด 719 ผลงำน จำก 40 ประเทศ ทัว่ ทุกมุมโลก ในพิธีประกำศผลรำงวัล ณ เมืองคำนส์ ประเทศฝรั่งเศส โดยถือเป็ นครั้งแรกของเมืองไทยที่ได้รับรำงวัลที่มีชื่อเสี ยงระดับโลกนี้

กลุ่มทรู ได้รับรำงวัลพระรำชทำนสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี Thailand Corporate Excellence Awards 2012 จัดโดยสมำคมกำรจัดกำรธุ รกิจแห่งประเทศไทย ร่ วมกับสถำบันบัณฑิตบริ หำรธุ รกิจ ศศินทร์ แห่ งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย โดยได้รับ 2 รำงวัล ได้แก่ รำงวัลสำขำควำมเป็ นเลิศด้ำนกำรตลำด (Marketing Excellence) ต่อเนื่องเป็ นปี ที่ 5 และรำงวัล สำขำควำมเป็ นเลิศด้ำนกำรพัฒนำกำรบริ หำรจัดกำรของ องค์กร (Corporate Improvement Excellence) ซึ่ งพิจำรณำจำกกำรประมวลผลองค์กรที่มีพฒั นำกำรใน กำรบริ หำรจัดกำรในทุกๆ ด้ำน นอกจำกนี้ กลุ่มทรู ยังเป็ นหนึ่งในห้ำองค์กรที่ได้รับกำรเสนอชื่อสำหรับ รำงวัลในอีก 3 สำขำ ได้แก่ ควำมเป็ นเลิศด้ำนควำมรับผิดชอบต่อสังคม, ควำมเป็ นเลิศด้ำนนวัตกรรมและ กำรสร้ำงสรรค์สิ่งใหม่ๆ และควำมเป็ นเลิศด้ำนสิ นค้ำและกำรบริ กำร

ส่วนที่ 2

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที่ 10 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

11.

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ ยง

11.1

สรุ ปความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ

จากการประเมินระบบการควบคุ มภายในของคณะกรรมการบริ ษทั ร่ วมกับ คณะกรรมการตรวจสอบ ในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 ซึ่ งกรรมการตรวจสอบเข้าร่ วม ประชุ มครบทั้ง 3 ท่ าน คณะกรรมการบริ ษ ทั มี ค วามเห็ นว่า ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษ ทั มี ค วาม เพียงพอและเหมาะสม และผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั มิได้พบสถานการณ์ใดๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ของบริ ษทั ที่ เป็ นจุ ดอ่อนที่ มีสาระส าคัญอันอาจมี ผลกระทบที่ เป็ นสาระสาคัญต่องบการเงิ น นอกจากนี้ คณะกรรมการได้เน้นให้มีการพัฒนาระบบการกากับดูแลกิจการเพื่อให้ระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุ ง อย่างต่อเนื่อง 11.2

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบทีแ่ ตกต่ างจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัท - ไม่มี -

ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้แนบสาเนารายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาปี 2556 เป็ นเอกสารแนบท้าย แบบ 56-1 นี้ดว้ ย (เอกสารแนบ 5) 11.3

หัวหน้ างานตรวจสอบภายใน

หัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ คือ นางดาวประกาย ลักษณะกุลบุตร โดยได้รับการแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ ตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2543 คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้า งาน ตรวจสอบภายใน และดู แลให้ผูด้ ารงตาแหน่ งหัวหน้างานตรวจสอบภายในมี วุฒิการศึ กษา ประสบการณ์ และการอบรม ที่เหมาะสมเพียงพอกับการปฏิ บตั ิหน้าที่ เกี่ ยวกับการตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ โดยมี ข้อมูลสาคัญ รายละเอียดเกี่ยวกับคุณวุฒิการศึกษา และ ประสบการณ์การทางานของหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ดังที่ปรากฏใน “รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน” (เอกสารแนบ 3)

ส่วนที่ 2

่ ง กำรควบคุมภำยในและกำรบริหำรจัดกำรควำมเสีย

หัวข ้อที่ 11 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

12.

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายการระหว่ างกัน

ก. ในระหว่างปี พ.ศ. 2556 กลุม่ ทรู มีรายการค้ าระหว่างกันกับ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม กิจการร่วมค้ าและบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน ตามที่ได้ มีการเปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 (หมายเหตุข้อ 41) โดยรายการระหว่างกันของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยที่มกี บั บริ ษัทร่วมและบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันที่สาคัญ สามารถสรุปได้ ดงั นี:้ ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

1. ผู้ทำรำยกำร : บริษัทฯ 1.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขำย : (CPG)* บริษัทฯ - ให้ บ ริ ก ำรในด้ ำ นกำรบริ ห ำรจัด กำร และบริกำรอื่น ซื ้อ : - จ่ำยค่ำเช่ำอำคำรสำนักงำนและ บริกำรอื่นที่เกี่ยวข้ อง

- จ่ำยค่ำบริหำรจัดกำรสำนักงำน - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และ บริการอื่น

- จ่ำยค่ำซ่อมบำรุงรักษำ ระบบปรับอำกำศ

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

23,468 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติตำมรำคำที่บริษัทฯ ให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป 71,062 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจภำยใต้ เงื่อนไขกำรค้ ำทัว่ ไป โดยมีอตั รำค่ำเช่ำอยูใ่ นอัตรำระหว่ำง 200 - 220 บำทต่อตำรำง เมตรต่อเดือน และอัตรำค่ำบริกำรอยูร่ ะหว่ำง 220 - 520 บำทต่อ ตำรำงเมตรต่อเดือน ซึง่ สัญญำเช่ำอำคำรสำนักงำนมีอำยุปีต่อ ปี และมีสิทธิจะต่ออำยุสญ ั ญำเช่ำ 23,415 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ 20,256 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสัญญาที่ได้ ตกลงกัน ตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึ่งสัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 11,890 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 1.1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริษัทฯ - จ่ำยค่ำบริกำรอื่น - ซื ้อคอมพิวเตอร์

1.2

1.3

บริษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด (NEC)

NEC เป็ นบริษัททีบ่ ริษัทฯ ถือหุ้น โดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 9.42 และมี ควำมสัมพันธ์กนั โดยมีกรรมกำร ร่วมกัน คือ นำยชัชวำลย์ เจียรวนนท์

ซื ้อ : - จ่ำยค่ำซ่อมบำรุงรักษำโครงข่ำย

บริ ษั ท ทรู อิ น เทอร์ เน็ ต ดำต้ ำ ก่ อ นวั น ที่ 30 กั น ยำยน พ.ศ. 2556 ขำย : เซ็นเตอร์ จำกัด (TIDC) TIDC เป็ นกิจกำรร่วมค้ ำของบริษัทฯ - ขำยสินค้ ำและบริ กำรที่ เกี่ยวข้ องกับ (เป็ นรำยกำรที่เกิ ดขึน้ ก่อนวัน ที่ 30 โทรศัพท์พื ้นฐำน กัน ยำยน พ.ศ. 2556 ซึ่ง เป็ นวัน ที่ ซื ้อ : - จ่ำยค่ำบริกำรเช่ำเซิฟเวอร์ ขำยกิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป) อินเตอร์ เน็ต

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

20,071 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ 10,095 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ 68 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ

260 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติตำมรำคำที่บริษัทให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป

2,188 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ โดยมีอตั รำค่ำเช่ำที่รำคำ 810,536.60 บำท ต่อเดือน ซึง่ สัญญำเช่ำมีอำยุปีต่อปี และมีสิทธิจะต่ออำยุ สัญญำเช่ำ - จ่ำยค่ำบริกำรอื่น 2,141 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

2. ผู้ทำรำยกำร : กลุม่ บริษัท กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค จำกัด (มหำชน) (BITCO) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมรวมร้ อยละ 99.48) 2.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขำย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ BITCO เป็ นกลุ่มบริ ษัทที่ - ขำยโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ บริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ นโดยอ้ อมอยู่ ร้ อยละ ที่เกี่ยวข้ อง 99.48 - ขำยบัตรเติมเงิน

- ค่ำร่วมใช้ บริกำรโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ซื ้อ : - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ ที่เกี่ยวข้ อง

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

668,138 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติตำมรำคำที่บริษัทย่อยของ BITCO ให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป 994,631 - เป็ นกำรดำเนินงำนตำมปกติธุรกิจที่มีรำคำและผลตอบแทนที่ เป็ นทำงกำรค้ ำปกติตำมรำคำที่บริษัทย่อยของ BITCO ให้ บริกำรลูกค้ ำทัว่ ไป 130,790 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

80,860 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ โดยมีอตั ราค่าเช่าที่ราคา 816,998 บาทต่อ เดือน ซึง่ สัญญาเช่ามีอายุ 3 ปี และมีสทิ ธิจะต่ออายุสญ ั ญาเช่า - ค่า คอมมิ ชชั่น จากการขายบัต รเติ ม 150,050 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เงินและอื่นๆ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และบริการที่ 27,336 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ เกี่ยวข้ อง มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน - จ่ายค่าโฆษณาและบริการอื่น 132,042 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่า ยเงิ น ซื อ้ โทรศัพ ท์ มื อ ถื อ และบัต ร 2,232,037 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เติมเงิน เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3 ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 2.2

บริ ษั ท ทรู อิ น เทอร์ เน็ ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) (เป็ นรำยกำรที่เกิ ดขึน้ ก่อนวัน ที่ 30 กัน ยำยน พ.ศ. 2556 ซึ่ง เป็ นวัน ที่ ขำย กิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป)

2.3

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

BITCO เป็ นกลุ่ ม บริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯ ขาย : ถือหุ้น โดยอ้ อมอยู่ร้อยละ 99.48 และ - ให้ บริการอื่นๆ ก่ อ นวั น ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ. 2556 TIDC เป็ นกิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ อินเตอร์ เน็ต

BITCO เป็ นกลุ่มบริ ษัท ที่บริ ษั ทฯ ถื อ ซื ้อ : หุ้นโดยอ้ อมอยู่ร้อยละ 99.48 และ NC - Content TRUE เป็ นบริษัทที่บริษัทฯมีสว่ นได้ เสีย อยูร่ ้ อยละ 40.00 2.4 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS) BITCO เป็ นกลุ่มบริ ษัท ที่บริ ษั ทฯ ถื อ ขาย : หุ้น โดยอ้ อมอยู่ร้อยละ 99.48 และ - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ TGS เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสีย อยูร่ ้ อยละ 45.00 3. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จากัด (TM) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 91.08) 3.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TM เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ให้ บริการสื่อสารข้ อมูลความเร็วสูง ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 91.08

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

84 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่ มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 644 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

บริษัท เอ็นซี ทรู จากัด (NC TRUE)

373 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

1,059 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

8 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มี ราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 3.1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TM เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 91.08 ทีเ่ กี่ยวข้ อง

- จ่ายค่าบริการอื่น 3.2

บ ริ ษั ท เ อ็ น อี ซี ค อ ร์ ป อ เ ร ชั่ น TM และ NEC เป็ นบริษัทที่บริษัทฯ (ประเทศไทย) จากัด (NEC) ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 91.08 และ 9.42 ตามลาดับ

ซื ้อ : - ซื ้ออุปกรณ์

4. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต จากัด (TI) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) 4.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TI เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถื อ - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต หุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - จ่ายค่าอุปกรณ์

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

1,596 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึ่งสัญญาบริ การสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิ จะต่ออายุ สัญญาเช่า - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ 848 เป็ นทางการค้ าปกติ

249 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

18,964 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TI ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

27,974 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการ 40,324 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ ที่เกี่ยวข้ อง มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 4.1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริษัทฯ และ TI เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือ - จ่ายค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ หุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 อินเตอร์ เน็ต - จ่ายค่าโฆษณาและประชาสัมพันธ์ - จ่ายค่าบริ การรับชาระ - จ่ายค่าบริการอื่นๆ

4.2

4.3

บริ ษั ท ทรู อิ น เทอร์ เน็ ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) (เป็ นรำยกำรที่เกิ ดขึน้ ก่อนวัน ที่ 30 กัน ยำยน พ.ศ. 2556 ซึ่ง เป็ นวัน ที่ ขำย กิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป)

TI เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดยตรง ขาย : อยู่ร้อยละ 100.00 และ ก่อนวัน ที่ 30 - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC เป็ นกิจการ ร่วมค้ าของบริษัทฯ ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ อินเตอร์ เน็ต

บริษัท เอ็นซี ทรู จากัด (NC TRUE)

TI และ NC TRUE เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ขาย : ถือหุ้นโดยตรงอยู่ร้อยละ 100.00 และ - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต ร้ อยละ 40.00 ตามลาดับ

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

33,591 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 49,549 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 26,140 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 10,498 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

1,945 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TI ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 25,211 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 1,658 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TI ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ปี 2556 (พันบาท) 5. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู พรอพเพอร์ ตีส์ จากัด (TP) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ ้นก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็ นวันที่ขำยบริษัทย่อยนี ้ออกไป) ชื่อบริษัท

5.1

5.2

5.3

5.4

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ ก่อ นวัน ที่ 30 กัน ยายน - ให้ บริการเช่าสานักงานและบริการอื่น 2556 TP เป็ นบริษัทย่อยของบริษัทฯ

บริษัท เอ็นซี ทรู จากัด (NC TRUE)

ก่อนวันที่ 30 กันยายน 2556 TP เป็ น ขาย : บริษัทย่อยของบริ ษัทฯ และ NC TRUE - ให้ บริการเช่าสานักงานและบริการอื่น เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงอยู่ ร้ อยละ 40.00

บริ ษั ท ทรู อิ น เทอร์ เน็ ต ดาต้ า ก่อนวันที่ 30 กันยายน 2556 TP และ ขาย : เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) TIDC เป็ นบริ ษัทย่อยและกิจการร่ วม - ให้ บริการเช่าสานักงานและบริการอื่น ค้ าของบริษัทฯ ตามลาดับ

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

7,271 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 1,879 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุปีต่อปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 5,218 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกัน ตามราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการ สานักงานมีอายุปีต่อปี และมีสิทธิจะต่ออายุสญ ั ญาเช่า

ก่อนวันที่ 30 กันยายน 2556 TP เป็ น ขาย : บริ ษัทย่อยของบริ ษัทฯ และ TGS เป็ น - ให้ บริการเช่าสานักงานและบริการอื่น 620 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกัน บริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ ตามราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการ 45.00 สานักงานมีอายุปีต่อปี และมีสิทธิจะต่ออายุสญ ั ญาเช่า *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS)

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ปี 2556 (พันบาท) 6. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ลีสซิ่ง จากัด (TLS) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ ้นก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็ นวันที่ขำยบริษัทย่อยนี ้ออกไป) ชื่อบริษัท

6.1

6.2

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ ก่อ นวัน ที่ 30 กัน ยายน - ให้ บริการเช่ารถยนต์และบริการอื่น 2556 TLS เป็ นบริษัทย่อยของบริษัทฯ

บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS)

ก่อนวันที่ 30 กันยายน 2556 TLS เป็ น ขาย : บริ ษัทย่อยของบริ ษัทฯ และ TGS เป็ น - ให้ บริการเช่ารถยนต์และบริการอื่น บริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ 45.00

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

428,518 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 851 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน

7. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ไลฟ์ พลัส จากัด (TLP) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TLP เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ให้ บริการค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ IVR ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการรับชาระ

2,700 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TLP ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 7,804 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการอื่น 6,605 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

8. ผู้ทารายการ : บริษัท เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ จากัด (AWC) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 8.1 กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ AWC เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการอื่น ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 - ลดหนี ้ค่างานก่อสร้ างเสา

8.2

กองทุ น รว มโค รงสร้ างพื น้ ฐา น AWC เป็ นบริ ษัท ที่บริ ษัทฯถือหุ้นโดย ขาย : โทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEGIF) อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TRUEGIF - สิทธิรายได้ เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯมี ส่ ว นได้ เ สี ย อยู่ ร้ อยละ 33.29

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

2,193 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ (5,293) - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

4,665,784 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

9. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ ้นก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็ นวันที่ขำย กิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป) 9.1

9.2

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ ก่ อนวัน ที่ 30 กั น ยายน - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ตและบริการอื่น พ.ศ. 2556 TIDC เป็ นกิจการร่วมค้ าของ บริษัทฯ ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการอื่นๆ

6,349 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 430 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

ก่อนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC ขาย : เป็ นกิจการร่วมค้ าของบริ ษัทฯ และ NC - ให้ บ ริ ก ารเช่า เซิ ฟ เวอร์ อิ น เตอร์ เ น็ ต 1,252 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีสญ ั ญา โดยมีอตั รา TRUE เป็ นบริ ษั ทที่บริ ษัทฯ มีส่วนได้ และบริการอื่น 54,000 บาทต่อหน่วยต่อเดือน สัญญาเช่ามีอายุ 1 ปี เสียอยู่ ร้ อยละ 40.00 *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

บริษัท เอ็นซี ทรู จากัด (NC TRUE)

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ปี 2556 (พันบาท) 10. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ไลฟ์สไตล์ รีเทล จากัด (TLR) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ ้นก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็ นวันที่ขำยบริษัทย่อยนี ้ออกไป) ชื่อบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ ก่ อนวัน ที่ 30 กัน ยายน - ค่าสินค้ า พ.ศ. 2556 TLR เป็ นบริษัทย่อยบริษัทฯ - ค่าลิขสิทธิ์ ซื ้อ : - ค่าสนับสนุนทางการตลาด - ซื ้อสินค้ า 11. ผู้ทารายการ : กลุม่ บริษัท ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป จากัด (TVG) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 11.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TVG เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ได้ รั บ เงิ น สนั บ สนุ น ร่ ว มกิ จ กรรม ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ต่างๆ

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

791 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 244 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 876 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 18,501 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป

174,156 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TVG ให้ บริการลูกค้ า ทัว่ ไป

ซื ้อ : - จ่ า ยค่ า เช่ า ส านั ก งานและบริ ก าร ที่เกี่ยวข้ อง

3,716 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

11.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TVG เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00

- จ่ายค่าบริการรับชาระ - ให้ บริการค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ IVR - จ่ายค่าบริการอื่นๆ

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

11,492 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 12,957 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 7,717 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป 23,594 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติที่มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัว่ ไป

11.2 บ ริ ษั ท แ ช น แ น ล ( วี ) มิ ว สิ ค TVG เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดย ซื ้อ : (ประเทศไทย) จากัด (Channel V) อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ Channel - จ่ายค่าผลิตรายการเพลง 34,845 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ V เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ มีส่วนได้ เสียอยู่ เป็ นทางการค้ าปกติ ร้ อยละ 25.82 11.3 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS) TVG เป็ นบริษัทที่บริษัทฯถือหุ้นโดย ขาย : อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TGS เป็ น - อุปกรณ์ 2,099 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ บริษัทที่บริษัทฯ มีสว่ นได้ เสียอยู่ เป็ นทางการค้ าปกติ ร้ อยละ 45.00 มีความสัมพันธ์กนั โดยมี - ค่าโฆษณา 43,788 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ กรรมการร่วมกัน คือ นายองอาจ เป็ นทางการค้ าปกติ ประภากมล และ นางยุภา ลีวงศ์เจริญ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 11.4 บริ ษั ท ทรู อิ น เทอร์ เน็ ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึน้ ก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็ นวัน ที่

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

ปี 2556 (พันบาท)

TVG เป็ นบริ ษัท ที่บ ริ ษั ท ฯถื อหุ้นโดย ซื ้อ : อ้ อมอยู่ร้อยละ 100.00 และ ก่อนวันที่ - จ่ายค่าบริการอินเตอร์ เน็ต 30 กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC เป็ น กิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

1,056 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

ขำย กิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป) 12. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ทัช จากัด (TT) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 12.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุ่มบริ ษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ บริ ษัทฯ ถือหุ้น TT โดย - บริการ call center อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - จ่ายค่าเช่าสานักงานและบริการอื่น 12.2 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS)

TT เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อม ขาย : อยู่ร้อยละ 100.00 และ TGS เป็ น - บริการ call center บริ ษัทที่บริ ษัทฯ มีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ 45.00

3,799 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 29,936 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 25,129 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

13. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู มันนี่ จากัด (TMN) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ ้นก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็ นวันที่ขำยบริษัทย่อยนี ้ออกไป) 13.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุ่มบริ ษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ ก่ อ นวัน ที่ 30 กัน ยายน - จ่ า ยค่ า คอมมิ ช ชั่ น จากก ารขาย 441,592 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ พ.ศ. 2556 TMN เป็ นบริ ษัท ย่อยของ บัตรเติมเงิน เป็ นทางการค้ าปกติ บริษัทฯ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

13.2 บริษัท เอ็นซี ทรู จากัด (NC TRUE) ก่ อ นวั น ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ. 2556 ขาย : TMN เป็ นบริ ษัทย่อยบริ ษัทฯ และ NC - ให้ บริการตัวแทนชาระค่าบริการ TRUE เป็ นบริ ษั ทที่ บ ริ ษั ทฯ มีส่วนได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 40.00 13.3 บริ ษั ท ทรู อิ น เทอร์ เน็ ต ดาต้ า ก่ อ นวั น ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ. 2556 ซื ้อ : เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) TMN และ TIDC เป็ นบริ ษัทย่อยและ - จ่ายค่าบริการอินเตอร์ เน็ต กิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ ตามลาดับ 14. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ จากัด (TIG) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) 14.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษั ทฯ แ ละบริ ษั ทฯ ถื อหุ้ น TIG - จ่ายค่าเช่าอาคารและบริการอื่น โดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 14.2 บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า TIG เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ซื ้อ : เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) โดยตรงอยู่ร้อยละ 100.00 และ ก่อน - จ่ า ยค่ า เช่ า เซิ ฟ เวอร์ อิ น เตอร์ เน็ ต (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึน้ ก่อนวันที่ 30 วัน ที่ 30 กัน ยายน พ.ศ. 2556 TIDC และบริการอื่น กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็ นวัน ที่ เป็ นกิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

3,478 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ TMN ให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

1,227 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

7,608 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 4,582 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

ขำย กิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป) *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

15. ผู้ทารายการ : บริษัท เรียล มูฟ จากัด (RMV) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.48) 15.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริษัทฯ และ RMV เป็ นบริษัทที่บริษัทฯ - จ่ายค่าซื ้อสินค้ า ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.48 - จ่ า ยค่ า เช่ า ส านั ก งานและบริ ก าร ที่เกี่ยวข้ อง - ค่า content - ค่าคอมมิชชัน่ - ค่าการตลาด - จ่ายค่าบริการอื่นๆ 15.2 บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึน้ ก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็ นวัน ที่ ขำย กิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป) 15.3 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS)

RMV เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดย ซื ้อ : อ้ อมอยู่ร้อยละ 99.48 และ ก่อนวัน ที่ - จ่ า ยค่ า เช่ า เซิ ฟ เวอร์ อิ น เตอร์ เน็ ต 30 กัน ยายน พ.ศ. 2556 TIDC เป็ น และบริการอื่น กิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

5,689 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 8,889 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 60,232 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 186,047 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 131,767 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 7,453 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 3,764 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

RMV เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ ถือหุ้นโดย ขาย : อ้ อมอยู่ร้อยละ 99.48 และ TGS เป็ น - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ 157 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ บริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 45.00 *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ปี 2556 ความสมเหตุสมผล (พันบาท) และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน 16. ผู้ทารายการ : บริษัท ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส จากัด (WW) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ ้นก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็ นวันที่ขำยบริษัทย่อยนี ้ออกไป) กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ ก่ อนวัน ที่ 30 กัน ยายน - อุปกรณ์ 4,194 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ พ.ศ. 2556 WW เป็ นบริ ษั ทย่อยของ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป บริษัทฯ ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการอื่นๆ 310 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 17. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ จากัด (TUC) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงและโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 17.1 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS) TUC เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ขาย : โดยตรงอยู่ร้อยละ 0.01 และโดยอ้ อม - ให้ บริการสื่อสารข้ อมูลความเร็วสูง 636 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ อยูร่ ้ อยละ 99.99 และ TGS เป็ นบริ ษัท เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป ที่บริษัทฯมีสว่ นได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 45.00 17.2 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TUC เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ให้ บริการสื่อสารข้ อมูลความเร็วสูง 151,785 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ ถือหุ้น โดยตรงอยู่ร้อยละ 0.01 และ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป โดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.99 ซื ้อ : - จ่ า ยค่ า เช่ า ส านั ก งานและบริ ก าร 23,703 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ ที่เกี่ยวข้ อง มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3 ชื่อบริษัท

ส่วนที่ 2

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

17.2 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริษัทฯ และ TUC เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์ ถือหุ้น โดยตรงอยู่ร้อยละ 0.01 และ โดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.99 - จ่ายค่าซ่อมแซมบารุงรักษาโครงข่าย - จ่ายค่าบริการอื่นๆ - ซื ้อคอมพิวเตอร์ 17.3 บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึน้ ก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็ นวัน ที่ ขำย กิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป)

TUC เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น โดยตรงอยู่ร้อยละ 0.01 และโดยอ้ อม อยู่ร้อยละ 99.99 และ ก่อนวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC เป็ นกิจการ ร่วมค้ าของบริษัทฯ

ขาย : - ให้ บริการสื่อสารข้ อมูลความเร็วสูง ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการอื่นๆ

17.4 กองทุ น รวมโครงสร้ างพื น้ ฐาน TUC เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯ ถื อ หุ้ น ขาย : โทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEGIF) โดยตรงอยู่ร้อยละ 0.01 และโดยอ้ อม - ระบบโครงข่าย อยู่ร้อยละ 99.99และ TRUEGIF เป็ น บริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ 33.29

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

46,868 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่ มีสญ ั ญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อ เดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 23,525 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 8,644 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 9,946 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 2,358 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 1,728 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 6,387,234 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

18. ผู้ทารายการ : บริษัท เค เอส ซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์ เนต จากัด (KSC) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 56.83) 18.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ KSC เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 56.83 ซื ้อ : - จ่า ยค่า บริ การอิน เตอร์ เ น็ ต และ ค่าบริการอื่นๆ 18.2 บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า KSC เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯถื อ หุ้น โดย ขาย : เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) อ้ อมอยู่ร้อยละ 56.83 และ ก่อนวัน ที่ - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึน้ ก่อนวันที่ 30 30 กันยายน พ.ศ. 2556 TIDC เป็ น กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็ นวัน ที่ กิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ ซื ้อ : - จ่า ยค่า บริ การอิน เตอร์ เ น็ ต และ ขำย กิจกำรร่วมค้ ำนี ้ออกไป) ค่าบริการอื่นๆ

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

2,387 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 4,655 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 194 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่บริษัทให้ บริการลูกค้ าทั่วไป 3,889 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

19. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเท้ นท์ แอนด์ มีเดีย จากัด (TDCM) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ ้นก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็ นวันที่ขำยบริษัทย่อยนี ้ออกไป) 19.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ ก่อ นวัน ที่ 30 กัน ยายน - ขายสินค้ า พ.ศ. 2556 TDCM เป็ นบริ ษัทย่อยของ บริษัทฯ - ค่าโฆษณา

7,612 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป 3,373 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

ซื ้อ : - จ่ายค่าบริการอื่นๆ

7,241 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

19.2 บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC)

ปี 2556 (พันบาท)

ก่ อ นวัน ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ. 2556 ซื ้อ : TDCM และ TIDC เป็ นบริ ษัทย่อยและ - จ่า ยค่า บริ การอิน เตอร์ เ น็ ต และ 1,830 กิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ ตามลาดับ ค่าบริการอื่นๆ 20. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จากัด (TDP) (เป็ นรำยกำรที่เกิดขึ ้นก่อนวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. 2556 ซึง่ เป็ นวันที่ขำยบริษัทย่อยนี ้ออกไป) 20.1 บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า ก่ อ นวัน ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ. 2556 ซื ้อ : เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) TDP และ TIDC เป็ นบริ ษัทย่อยและ - จ่า ยค่า บริ การอิน เตอร์ เ น็ ต และ 1,677 กิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ ค่าบริการอื่นๆ 20.2 บริษัท เอ็น ซี ทรู จากัด ก่ อ นวัน ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ. 2556 ซื ้อ : (NC True) TDP เป็ นบริ ษัทย่อยของบริ ษัทฯ และ - ค่า content 296 NC True เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 40.00 20.3 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ ก่ อนวัน ที่ 30 กัน ยายน - จ่ายค่าบริการอื่นๆ 147 พ.ศ. 2556 TDP เป็ นบริ ษั ทย่อยของ บริษัทฯ 21. ผู้ทารายการ : บริษัท ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี จากัด (TIT) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TIT เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯ - ให้ บริการเทคโนโลยี สาระสนเทศ 9,144 ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซื ้อ : - จ่า ยค่า เช่ า ส านั ก งานและบริ ก าร 6,858 อื่นๆ

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

- เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

- เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

- เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไป

- เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

22. ผู้ทารายการ : บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จากัด (BFKT) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 22.1 กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซื ้อ : (CPG)* บริ ษั ท ฯ และ BFKT เป็ นบริ ษั ท ที่ - จ่า ยค่า เช่ า ส านั ก งานและบริ ก าร บริ ษั ท ฯถื อ หุ้ นโดยอ้ อมอยู่ ร้ อยละ ที่เกี่ยวข้ อง 100.00 - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์

- จ่ า ย ค่ า บ ริ ก า ร เ ช่ า เ ซิ ฟ เ ว อ ร์ อินเตอร์ เน็ต - จ่ า ยค่ า ซ่ อ มแซมและบ ารุ ง รั ก ษา โครงข่าย - จ่ายค่าซื ้ออุปกรณ์โครงข่าย

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

16,075 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ได้ ตกลงกันที่ราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึง่ สัญญาบริการสานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 15,743 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงื่อนไขการค้ าทัว่ ไปที่มี สัญญาที่ได้ ตกลงกันตามราคาเฉลี่ย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน ซึง่ สัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สิ ้นสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 3,970 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 60,732 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ 16,240 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

22.2 บริษัท ทรู จีเอส จากัด (TGS)

BFKT เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือหุ้นโดย ขาย : อ้ อมอยู่ร้อยละ 100.00 และ TGS เป็ น - ให้ เช่าพื ้นที่ 3,726 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ บริ ษัทที่บริ ษัทฯมีส่วนได้ เสียอยู่ร้อยละ เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที่ บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัว่ ไปเป็ น 45.00 22.3 บริ ษั ท ทรู อิ น เทอร์ เน็ ต ดาต้ า BFKT เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯถื อหุ้น โดย ซื ้อ : เซ็นเตอร์ จากัด (TIDC) อ้ อมอยู่ร้อยละ 100.00 และ ณ วันที่ - จ่ายค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ 4,977 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ (เป็ นรายการที่เกิดขึ น้ ก่อนวันที่ 30 30 กัน ยายน พ.ศ. 2556 TIDC เป็ น อินเตอร์ เน็ต เป็ นทางการค้ าปกติ กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็ นวัน ที่ กิจการร่วมค้ าของบริษัทฯ ขาย กิจการร่วมค้ านี ้ออกไป) *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อบริษัท 22.4 กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน โทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEGIF)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

BFKT เป็ นบริ ษัทที่บริ ษัทฯถือหุ้นโดย ขาย : อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TRUEGIF - สิทธิรายได้ เป็ นบริ ษั ท ที่ บ ริ ษั ท ฯมี ส่ ว นได้ เ สี ย อยู่ ร้ อยละ 33.29

ปี 2556 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจาเป็ นของรายการระหว่ างกัน

9,167,564 - เป็ นการดาเนินงานตามปกติธุรกิจที่มีราคาและผลตอบแทนที่ เป็ นทางการค้ าปกติ

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ที่หวั ข้ อที่ 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 3

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ข. ยอดค้ างชาระที่เกิดจากการขายสินค้ าและบริ การ การเปลีย่ นแปลงยอดค้ างชาระที่เกิดจากการขายสินค้ าและบริ การ มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

บริ ษัทร่วมค้ า บริ ษัทร่วม และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จากัด

เพิ่มขึ ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

3

-

3

6,999

(6,999)

-

72

(72)

-

บริ ษัท เอ็นซี ทรู จากัด

44,854

(45,065)

(211)

บริ ษัท ทรู จีเอส จากัด

7,836

13,148

20,984

-

3,415

3,415

164

-

164

2,022,794

6,553,538

8,576,332

2,082,722

6,517,965

8,600,687

บริ ษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด บริ ษัท บี บอยด์ ซีจี จากัด

กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท บริ ษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จากัด กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รวม

ค. ยอดค้ างชาระที่เกิดจากการซื ้อสินค้ าและบริ การ การเปลีย่ นแปลงยอดค้ างชาระที่เกิดจากการซื ้อสินค้ าและบริ การ มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

บริ ษัทร่วมค้ า บริ ษัทร่วม และบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จากัด

เพิ่มขึ ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

1,841

(1,841)

-

30,417

(30,417)

-

บริ ษัท บี บอยด์ ซีจี จากัด

7

(7)

-

กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท

-

341,612

341,612

78,409

(78,089)

320

8,885

(8,885)

-

189,774

8,695,628

8,885,402

35

(34)

1

309,368

8,917,967

9,227,335

บริ ษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด

บริ ษัท เอ็นซี ทรู จากัด บริ ษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จากัด กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ บริ ษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จากัด รวม

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ง. ยอดคงเหลือเงินให้ ก้ ยู ืมจากกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน การเปลีย่ นแปลงยอดค้ างชาระที่เกิดจากเงินให้ ก้ ยู มื จากกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน มีดงั นี ้ หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

บริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน

เพิ่มขึ ้น (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บริ ษัท บี บอยด์ ซีจี จากัด

14,251

(14,251)

กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์

-

147,000

147,000

14,251

132,749

147,000

รวม

-

การขายเงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทย่ อยที่มิใช่ ธุรกิจหลักของบริษัทฯ ให้ แก่ บริษัท ธนเทเลคอม จากัด ซึ่งเป็ น บุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครัง้ ที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2556 มีมติอนุมตั ิการขายเงินลงทุนในหุ้นสามัญ ของบริ ษัทย่อยที่มิใช่ธุรกิจหลักของบริ ษัทฯ จานวน 8 บริ ษัท คือ (1) บริ ษัท ทรู ลีสซิ่ง จากัด (2) บริ ษัท ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส จากัด (3) บริ ษัท ทรู มันนี่ จากัด (4) บริ ษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต ดาต้ า เซ็นเตอร์ จากัด (5) บริ ษัท ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล จากัด (6) บริ ษัท ทรู พรอพเพอร์ ตีส์ จากัด (7) บริ ษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จากัด และ (8) บริ ษัท ทรู ดิจิตอล คอนเท้ นท์ แอนด์ มีเดีย จากัด ให้ แก่ บริ ษัท ธนเทเลคอม จากัด ซึ่งเป็ นบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษัทฯ ในราคารวมทังสิ ้ ้น จานวน 5,392,612,337 บาท ทังนี ้ ้ การขายเงินลงทุนในบริ ษัทย่อยที่มิใช่ธุรกิจหลักของบริ ษัทฯ ดังกล่าว เข้ าข่ายเป็ นรายการที่เกี่ยวโยงกัน ประเภทรายการ เกี่ยวกับสินทรัพย์หรื อบริ การ ซึ่งมีมูลค่าของรายการมากกว่า 20 ล้ านบาท ตามประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2551 เรื่ อง หลักเกณฑ์ในการทารายการที่เกี่ยวโยงกัน และ ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่ อง การเปิ ดเผยข้ อมูลและการปฏิบตั ิการของบริ ษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 และ ที่แก้ ไขเพิ่มเติม บริ ษัทฯ และ บริ ษัทย่อย ได้ เข้ าทาสัญญาซื ้อขายกับบริ ษัท ธนเทเลคอม จากัด เป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ส่งผลให้ ทงั ้ 8 บริ ษัทดังกล่าว สิ ้นสถานะการเป็ นบริ ษัทย่อยของบริ ษัทฯ มาตรการและขัน้ ตอนในการอนุมัติการทารายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ มีมาตรการและขันตอนในการอนุ ้ มตั ิการทารายการระหว่างกันตามที่กฎหมาย และ ข้ อกาหนด ของคณะกรรมการกากับตลาดทุนรวมทัง้ ตลาดหลักทรั พย์แห่งประเทศไทยได้ กาหนดไว้ โดยบริ ษัทฯ ได้ นากฎหมายและ ข้ อกาหนดดังกล่าวมาจัดทาเป็ น “ระเบียบในการเข้ าทารายการระหว่างกัน ” ไว้ อย่างชัดเจน เพื่อให้ กรรมการและพนักงาน ได้ ยึดถื อและปฏิบตั ิอย่างถูกต้ อง ภายใต้ ระเบียบในการเข้ าทารายการระหว่างกันของบริ ษัทฯ ได้ กาหนดมาตรการและ ขันตอนในการอนุ ้ มตั ิการเข้ าทารายการระหว่างกันไว้ ดงั นี ้ 1. รายการระหว่างกันดังต่อไปนี ้ ฝ่ ายจัดการสามารถอนุมั ติการเข้ าทารายการได้ โดยไม่ต้องขออนุมัติ จากคณะกรรมการบริ ษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ภายใต้ วัตถุประสงค์ของมาตรา 89/12 ของ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

1.1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายการที่เป็ นข้ อตกลงทางการค้ าโดยทัว่ ไป “ข้ อตกลงทางการค้ าโดยทัว่ ไป” หมายถึง ข้ อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชน จะพึงกระทากับคูส่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้ วยอานาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจาก อิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง แล้ วแต่กรณี ซึง่ รวมถึงข้ อตกลงทางการค้ าที่มีราคาและเงื่อนไข หรื อ อัตรากาไรขันต้ ้ น ดังต่อไปนี ้ (ก)

ราคาและเงื่อนไขที่บริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยได้ รับหรื อให้ กบั บุคคลทัว่ ไป

(ข)

ราคาและเงื่อนไขที่ กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้ องให้ กบั บุคคลทัว่ ไป

(ค)

ราคาและเงื่ อ นไขที่ บ ริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่อ ย สามารถแสดงได้ ว่า ผู้ป ระกอบธุ ร กิ จ ใน ลักษณะทานองเดียวกันให้ กบั บุคคลทัว่ ไป

(ง)

ในกรณีที่ไม่สามารถเปรี ยบเทียบราคาของสินค้ าหรื อบริ การได้ เนื่องจากสินค้ าหรื อบริ การ ที่เกี่ยวข้ องนันมี ้ ลกั ษณะเฉพาะ หรื อมีการสัง่ ทาตามความต้ องการโดยเฉพาะ แต่บริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยสามารถแสดงได้ ว่าอัตรากาไรขันต้ ้ นที่บริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยได้ รับจาก รายการระหว่างกันไม่ตา่ งจากธุรกรรมกับคู่ค้าอื่น หรื ออัตรากาไรขันต้ ้ นที่กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง ได้ รับจากรายการระหว่างกันไม่ตา่ งจากธุรกรรมกับคูค่ ้ าอื่น และมีเงื่อนไข หรื อข้ อตกลงอื่นๆ ไม่แตกต่างกัน

1.2

การให้ ก้ ยู ืมเงินตามระเบียบสงเคราะห์พนักงานและลูกจ้ าง

1.3

รายการที่คสู่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึง่ ของบริ ษัทฯ หรื อ คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายมีสถานะเป็ น

1.4

(ก)

บริ ษัทย่อยที่บ ริ ษัทฯ เป็ นผู้ถือหุ้น ไม่น้อ ยกว่าร้ อยละเก้ าสิบของหุ้นที่จาหน่ายได้ แล้ ว ทังหมดของบริ ้ ษัทย่อย หรื อ

(ข)

บริ ษัทย่อยที่กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ องถือหุ้นหรื อมีสว่ นได้ เสียอยู่ ด้ วย ไม่วา่ โดยตรงหรื อโดยอ้ อม ไม่เกินจานวน อัตรา หรื อมีลกั ษณะตามที่คณะกรรมการ กากับตลาดทุนประกาศกาหนด

รายการในประเภทหรื อที่มีมูลค่าไม่เกินจานวนหรื ออัตราที่คณะกรรมการกากับตลาดทุนประกาศ กาหนด

2. รายการระหว่างกันดังต่อไปนี ้ ไม่ต้องขออนุมตั ิจากที่ประชุมผู้ถือหุ้ นของบริ ษัทฯ แต่ต้องขออนุมตั ิจาก คณะกรรมการบริ ษัท 2.1

รายการตามข้ อ 1 ซึง่ ต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทฯ ภายใต้ ระเบียบวิธีปฏิบตั ิภายใน อื่นที่เกี่ยวข้ อง เช่น ระเบียบวิธีปฏิบตั ิด้านงบประมาณ เป็ นต้ น

2.2

รายการตามข้ อ 1.3 (ข) หรื อ 1.4 ที่คณะกรรมการกากับตลาดทุน อาจกาหนดให้ ต้องได้ รับอนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริ ษัทฯ ด้ วย ตามที่จะได้ มีการประกาศกาหนดต่อไป

3. รายการระหว่างกันที่นอกเหนือจากข้ อ 1 และ 2 ต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทและที่ประชุม ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ก่อนการเข้ าทารายการ ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

นโยบายและแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกันในอนาคต สาหรั บแนวโน้ มการทารายการระหว่างกันในอนาคตนัน้ อาจจะยังคงมีอยู่ในส่วนที่เป็ นการดาเนินธุรกิ จ ตามปกติระหว่างบริ ษัทฯ กับบริ ษัทย่อยของบริ ษัทฯ ซึง่ บริ ษัทฯ จะดาเนินการด้ วยความโปร่งใสตามนโยบายการกากับดูแล กิจการที่ดีของบริ ษัทฯ และปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดที่เกี่ยวข้ องอย่างเคร่งครัด

ส่วนที่ 2

รำยกำรระหว่ำงกัน

หัวข ้อที่ 12 - หน ้ำ 24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ 13.1 ตารางสรุ ปงบการเงิน บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั ่น จำกัด (มหำชน) งบแสดงฐำนะกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2556, พ.ศ. 2555, พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2553

31 ธันวำคม พ.ศ. 2556 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเที ยบเท่ าเงินสด เงินสดที่มภ ี าระผูกพัน เงินลงทุ นชัว่ คราว ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อืน ่ เงินให้กยู ้ ม ื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลื อ - สุ ทธิ ภาษี หัก ณ ที่จ่าย ภาษี มลู ค่าเพิ่ม สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน ่ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

Common Size (%)

31 ธันวำคม พ.ศ. 2555

Common Size (%)

(ตำมที่ปรับใหม่) 31 ธันวำคม พ.ศ. 2554

Common Size (%)

(หน่ วย : พันบาท) (ตำมที่ปรับใหม่) 31 ธันวำคม Common พ.ศ. 2553 Size (%)

14,726,283 2,346,446 101,832 38,537,982 147,000 6,069,542 2,952,598 3,207,269 2,989,197 71,078,149

7.16 1.14 0.05 18.73 0.07 2.95 1.43 1.56 1.45 34.54

6,103,167 964,823 374,406 21,424,871 14,251 2,761,928 3,018,739 2,048,861 3,321,860 40,032,906

3.38 0.54 0.21 11.88 0.01 1.53 1.67 1.14 1.84 22.20

11,447,692 997,852 400,727 12,899,586 8,700 1,596,738 2,630,683 1,030,217 2,920,369 33,932,564

7.62 0.66 0.27 8.59 0.01 1.06 1.75 0.69 1.94 22.59

4,540,535 1,168,321 426,230 10,467,137 11,900 997,332 2,448,598 670,026 1,368,814 22,098,893

3.97 1.02 0.37 9.16 0.01 0.87 2.14 0.59 1.20 19.33

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินสดที่มภ ี าระผูกพัน เงินลงทุ นในบริษัทร่วม - สุ ทธิ เงินลงทุ นในบริษัทอืน ่ - สุ ทธิ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุ น - สุ ทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ ค่าความนิ ยม - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน ่ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

100,043 16,138,796 313,798 5,528 72,161,580 11,403,094 28,880,549 4,757,812 1,012,819 134,774,019

0.05 7.84 0.15 0.00 35.05 5.54 14.03 2.31 0.49 65.46

122,231 275,708 293,323 54,763 86,679,838 11,403,094 35,401,781 5,181,781 917,945 140,330,464

0.07 0.15 0.16 0.03 48.06 6.32 19.63 2.87 0.51 77.80

126,198 215,221 293,323 55,486 73,938,685 11,403,094 23,096,001 6,081,500 973,552 116,183,060

0.08 0.14 0.20 0.04 49.26 7.60 15.39 4.05 0.65 77.41

140,412 90,029 293,323 53,356 65,377,512 12,428,009 5,119,317 7,775,107 899,965 92,177,030

0.12 0.08 0.26 0.05 57.21 10.88 4.48 6.80 0.79 80.67

รวมสินทรัพย์

205,852,168

100.00

180,363,370

100.00

150,115,624

100.00

114,275,923

100.00

3,742,847 88,392,478

1.82 42.93

5,096,095 44,721,775

2.83 24.80

365,952 30,217,408

0.24 20.14

625,925 18,568,995

0.55 16.25

9,894,129 878,854 4,439,348 107,347,656

4.81 0.43 2.16 52.15

9,521,909 348,115 3,299,293 62,987,187

5.28 0.19 1.83 34.93

6,896,129 379,434 2,902,171 40,761,094

4.60 0.25 1.93 27.16

7,170,770 346,045 3,237,423 29,949,158

6.28 0.30 2.83 26.21

76,260,992 4,095,175 120,139 1,137,085 12,158,983 93,772,374

37.04 1.99 0.06 0.55 5.91 45.55

86,804,608 14,040 3,579,374 3,079,521 914,055 8,980,207 103,371,805

48.13 0.01 1.98 1.71 0.51 4.98 57.32

77,976,290 36,320 3,279,930 3,640,166 865,701 2,086,780 87,885,187

51.94 0.02 2.19 2.43 0.58 1.39 58.55

64,675,353 1,635,740 4,123,452 2,184,834 72,619,379

56.60 1.43 3.61 1.91 63.55

201,120,030

97.70

166,358,992

92.25

128,646,281

85.71

102,568,537

89.76

หนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุน้ หนี้ สินหมุนเวียน เงินกูย้ ม ื ระยะสั้น เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อืน ่ ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ของ เงินกูย้ ม ื ระยะยาว ภาษี เงินได้คา้ งจ่าย หนี้ สิ นหมุนเวียนอืน ่ รวมหนี้ สินหมุนเวียน หนี้ สินไม่หมุนเวียน เงินกูย้ ม ื ระยะยาว เจ้าหนี้ การค้าระยะยาว หนี้ สิ นภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี หนี้ สิ นภายใต้สัญญาอนุ ญาตให้ดาเนิ นการ ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนั กงาน หนี้ สิ นไม่หมุนเวียนอืน ่ รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้ สิน ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ทุ นเรือนหุน้ ทุ นจดทะเบียน หุน้ สามัญ ทุ นที่ออกและชาระเต็มมูลค่าแล้ว หุน้ สามัญ ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ส่ วนตา่ กว่ามูลค่าหุน้ กาไร(ขาดทุ น)สะสม สารองตามกฎหมาย ขาดทุ นสะสม องค์ประกอบอืน ่ ของส่ วนของผูถ้ ื อหุน้ รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ บริษท ั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มอี านาจควบคุม รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวมหนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุน้

ส่วนที่ 3

153,332,070

153,332,070

153,332,070

153,332,070

145,302,153 11,432,046 (86,070,641)

70.61 5.56 (41.83)

145,031,792 11,432,046 (85,987,466)

80.27 6.33 (47.59)

145,031,792 11,432,046 (85,987,466)

96.57 7.61 (57.25)

77,757,424 11,432,046 (31,827,900)

68.01 10.00 (27.84)

34,881 (64,850,076) (1,767,250) 4,081,113 651,025 4,732,138

0.02 (31.52) (0.86) 1.98 0.32 2.30

34,881 (55,634,566) (1,529,867) 13,346,820 657,558 14,004,378

0.02 (30.79) (0.85) 7.39 0.36 7.75

34,881 (48,206,801) (1,527,107) 20,777,345 691,998 21,469,343

0.02 (32.10) (1.02) 13.83 0.46 14.29

34,881 (44,838,626) (1,418,690) 11,139,135 568,251 11,707,386

0.03 (39.22) (1.24) 9.74 0.50 10.24

205,852,168

100.00

180,363,370

100.00

150,115,624

100.00

114,275,923

100.00

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั ่น จำกัด (มหำชน) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม สำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2556, พ.ศ. 2555, พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2553

31 ธันวำคม พ.ศ. 2556

Common Size (%)

31 ธันวำคม พ.ศ. 2555

Common Size (%)

31 ธันวำคม พ.ศ. 2554

(หน่ วย : พันบาท) (ตำมที่ปรับใหม่) Common 31 ธันวำคม Common Size (%) พ.ศ. 2553 Size (%)

รำยได้ รายได้จากการให้บริการโทรศัพท์และบริการอืน่ รายได้จากการขายสินค้า รวมรำยได้

79,136,772 17,076,923 96,213,695

82.25 17.75 100.00

74,298,460 15,083,454 89,381,914

83.12 16.88 100.00

65,132,462 6,805,156 71,937,618

90.54 9.46 100.00

59,062,427 3,316,041 62,378,468

94.68 5.32 100.00

ต้นทุนขำยและกำรให้บริกำร ต้นทุนการให้บริการ ต้นทุนขาย ต้นทุนขำยและกำรให้บริกำร

61,633,821 15,735,809 77,369,630

64.06 16.36 80.42

54,892,586 13,779,018 68,671,604

61.41 15.42 76.83

46,045,350 5,881,483 51,926,833

64.01 8.18 72.19

39,976,480 2,903,936 42,880,416

64.09 4.66 68.75

18,844,065 8,662,466 (11,420,067) (11,217,976) (2,773,954) 62,298 (8,401,652) (6,244,820) (2,896,121) (9,140,941)

19.58 9.00 (11.87) (11.66) (2.88) 0.06 (8.73) (6.50) (3.01) (9.51)

20,710,310 847,836 (8,475,378) (10,634,727) (2,183,994) 41,417 (6,154,422) (5,848,958) (1,598,739) (7,447,697)

23.17 0.95 (9.48) (11.90) (2.44) 0.05 (6.89) (6.54) (1.79) (8.33)

20,010,785 12,838,087 (6,247,834) (9,689,443) (1,283,684) 46,922 (14,971,146) 703,687 (3,439,601) (2,735,914)

27.81 17.85 (8.69) (13.47) (1.78) 0.07 (20.81) 0.98 (4.78) (3.80)

19,498,052 640,153 (4,466,128) (7,892,997) (447,849) 40,406 (5,693,410) 1,678,227 (577,981) 1,100,246

31.25 1.03 (7.16) (12.65) (0.72) 0.06 (9.13) 2.68 (0.93) 1.75

กำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น : ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน สัดส่วนของส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุมเพิ่มขึ้ น ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย กำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี

(101,858) (135,525) (152,764) (9,531,088)

(0.11) (0.14) (0.16) (9.92)

(2,760) (7,450,457)

0.00 (8.33)

11,561 (31,567) (2,755,920)

0.02 (0.04) (3.82)

27 1,100,273

0.00 1.75

กำรแบ่งปั นกำไร(ขำดทุน)สำหรับปี ส่วนที่เป็ นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี

(9,062,747) (78,194) (9,140,941)

99.14 0.86 100.00

(7,427,765) (19,932) (7,447,697)

99.73 0.27 100.00

(2,693,688) (42,226) (2,735,914)

98.46 1.54 100.00

1,210,517 (110,271) 1,100,246

110.02 (10.02) 100.00

กำรแบ่งปั นกำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี ส่วนที่เป็ นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม กำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี

(9,452,894) (78,194) (9,531,088)

99.18 0.82 100.00

(7,430,525) (19,932) (7,450,457)

99.73 0.27 100.00

(2,713,633) (42,287) (2,755,920)

98.47 1.53 100.00

1,210,556 (110,283) 1,100,273

110.02 (10.02) 100.00

กำไรขั้นต้น รายได้อนื่ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอืน่ ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ต้นทุนทางการเงิน กำไร(ขำดทุน)ก่อนภำษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี

กำไร(ขำดทุน)ต่อหุน้ ขั้นพื้ นฐำนและลดลงเต็มที่สว่ นที่เป็ นของบริษทั กาไร(ขาดทุน)ขั้นพื้ นฐาน กาไร(ขาดทุน)ปรับลด

ส่วนที่ 3

(0.62) (0.62)

(0.51) (0.51)

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

(0.23) (0.23)

0.17 0.17

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั ่น จำกัด (มหำชน) งบกระแสเงินสดรวม สำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2556, พ.ศ. 2555, พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2553

31 ธันวำคม พ.ศ. 2556 กระแสเงินสดจำกกิจกรรมกำรดำเนินงำน กาไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุง ค่าเสื่อมราคาและการตัดจาหน่ าย ดอกเบี้ ยรับ ดอกเบี้ ยจ่าย (กาไร)ขาดทุนจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หนี้ สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการด้อยค่าในเงินลงทุน กาไรจากการขายสินทรัพย์พื้นฐานโทรคมนาคม การด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน กาไรจากการกลับรายการสิทธิและหนี้ สินภายใต้สัญญาอนุ ญาตให้ดาเนิ นการ การด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน การด้อยค่าของค่าความนิ ยม สินทรัพย์และหนี้ สินในการดาเนิ นงานอืน่ ตัดจาหน่ าย กาไรจากการจาหน่ ายเงินลงทุนในบริษัทย่อยและการร่วมค้า ขาดทุนจากการเลิกกิจการของบริษัทร่วม กาไรจากการเลิกกิจการของบริษัทย่อย ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนั กงานเพิ่มขึ้ น กาไรจากการต่อรองราคาซื้ อ ขาดทุน(กาไร)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้ นจริง (กาไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้ นจริงที่เกี่ยวกับการจ่ายชาระคืนเงินกูย้ มื กาไรจากการชาระคืนตัว๋ เงินก่อนกาหนด กาไรจากการยกเลิกสัญญาเช่าการเงิน ส่วนแบ่งผลกาไรในบริษัทร่วม การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และหนี้ สินดาเนิ นงาน - ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อืน่ - เงินลงทุนชัว่ คราว - หลักทรัพย์เพื่อค้า - สินค้าคงเหลือ - สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ - เงินลงทุนในค่าสิทธิสาหรับรายการและภาพยนตร์ - รถยนต์มไี ว้ให้เช่า - สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ - เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อืน่ - หนี้ สินหมุนเวียนอืน่ - หนี้ สินไม่หมุนเวียนอืน่ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนิ นงาน บวก เงินสดรับ - ดอกเบี้ ยรับ หัก เงินสดจ่าย - ดอกเบี้ ยจ่าย เงินสดจ่าย - ภาษีเงินได้จ่าย กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนิ นงาน

31 ธันวำคม พ.ศ. 2555

(ตำมที่ปรับใหม่) 31 ธันวำคม พ.ศ. 2554

(หน่ วย : พันบาท) (ตำมที่ปรับใหม่) 31 ธันวำคม พ.ศ. 2553

703,687

1,678,227

(6,244,819)

(5,848,958)

22,208,977 (148,092) 7,765,546 139,843 1,143,824 8,719 (6,334,904) 2,056,089 (791,180) 110 (857,569) 23,035 (104,480) 136,731 439,978 (130,304) (145,283) (54,910) (62,298)

17,151,752 (259,566) 6,551,433 (43,026) 1,415,186 2,123,848 724 17,093 48,354 (864,711) (41,417)

14,883,121 (335,742) 9,290,503 (62,766) 1,124,722 73,168 1,024,915 3,866 (146,135) 74,471 (12,077,098) 737,425 3,416,411 (46,922)

12,989,595 (59,727) 6,100,499 (175,767) 1,235,140 49,967 (13,062) (873) (2,520,654) 924,783 (40,406)

(12,940,393) (85,214) (3,053,217) (278,922) (1,441,795) 113,317 (257,998) 29,584,190 1,539,787 (200,721) 32,028,047 140,727 (7,201,782) (2,289,021) 22,677,971

(10,331,060) 50,908 (1,252,658) (734,543) (1,935,571) 197,531 55,607 7,573,846 397,122 145,000 14,416,170 313,430 (5,786,497) (1,631,246) 7,311,857

(4,581,556) 20,399 (1,926,517) 406,199 (1,819,550) 202,219 24,869 6,178,940 (105,046) (122,170) 16,941,413 333,162 (8,829,835) (1,687,448) 6,757,292

(1,518,788) (23,179) (896,769) 442,764 (1,465,746) (264,404) (735,571) 991,240 (169,450) 16,527,819 52,536 (5,539,827) (1,771,977) 9,268,551

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน เงินสดที่มภี าระผูกพันลดลง เงินสดรับ(จ่าย)รับจากเงินลงทุนชัว่ คราว เงินให้กยู ้ มื แก่กิจการร่วมค้า เงินสดจ่ายซื้ อบริษัทย่อย - สุทธิจากเงินสดที่ได้มา เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินสดรับจากการชาระบัญชีบริษัทย่อย เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและบริษัทอืน่ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย-สุทธิจากเงินสดจ่าย เงินลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนระยะยาวในบริษัทอืน่ เงินสดจ่ายซื้ อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายซื้ อสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินสดรับจากเงินให้กยู ้ มื แก่กิจการร่วมค้า เงินสดจ่ายซื้ ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดรับจากการเลิกกิจการของบริษัทร่วม เงินสดรับจากการลดเงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินปั นผลรับ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(1,984,739) 346,537 (3,750) (19,355,743) 3,203,157 (24,806,601) (816,881) 100,000 40,432,859 55,801 (2,829,360)

36,996 (24,587) (6,320) (27,000) (19,313,715) (7,812,497) 770 6,578 178,686 1,352 (26,959,737)

184,682 5,105 (6,015,869) 146,135 (81,000) (12,495,892) (652,239) (2,130) 274,343 2,730 (18,634,135)

169,755 (317,631) (4,400) 1,572 (400) (7,154,361) (328,325) 696,880 (6,936,910)

กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินสดรับจากการออกหุน้ สามัญ เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อยโดยส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม เงินปั นผลจ่ายให้ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม เงินลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อยในการซื้ อหุน้ จากส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุม เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสั้น เงินสดรับจากเงินกูย้ มื - สุทธิจากเงินสดจ่ายค่าต้นทุนการกูย้ มื เงินสดจ่ายชาระคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้น เงินสดจ่ายชาระคืนเงินกูย้ มื เงินสดสุทธิ(ใช้ไปใน)ได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดเพิ่มขึ้ น(ลดลง)สุทธิ ยอดยกมาต้นปี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ยอดคงเหลือสิ้ นปี

187,186 (2,591) 30,182,538 32,550,467 (31,535,786) (42,611,917) (11,230,103) 8,618,508 6,103,167 4,608 14,726,283

(14,509) 9,120,978 17,482,493 (4,393,083) (7,888,830) 14,307,049 (5,340,831) 11,447,692 (3,694) 6,103,167

13,114,802 9,847 (12,954) (114,822) 7,885,337 40,750,941 (8,115,856) (34,745,495) 18,771,800 6,894,957 4,540,535 12,200 11,447,692

6,001 (35,513) 2,901,233 15,982,188 (4,605,308) (16,955,424) (2,706,823) (375,182) 4,916,296 (579) 4,540,535

ส่วนที่ 3

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

13.2

ผู้สอบบัญชี ผูส้ อบบัญชี ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ สาหรับตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินของบริ ษทั ฯ ในระยะ 3 ปี ที่ผา่ นมา มีดงั นี้ งบการเงินประจาปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บริษัทผู้ตรวจสอบ บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส

ชื่อผู้สอบบัญชี นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล นายพิสิฐ ทางธนกุล

เลขประจาตัว ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต 3445 3445 4095

รายงานการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี ใ นระยะ 3 ปี ที่ ผ่า นมา (2554-2556) ผูส้ อบบัญชี ไ ด้ใ ห้ ความเห็นในรายงานการตรวจสอบงบการเงินของบริ ษทั ฯ ถูกต้องแบบไม่มีเงื่อนไข บจก.ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์ คูเปอร์ ส เอบีเอเอส และ ผูส้ อบบัญชี ไม่มีความสัมพันธ์ หรื อส่ วนได้เสี ยกับ บริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อผูบ้ ริ หาร หรื อผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูท้ ี่เกี่ ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ในลักษณะที่ จะมีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเป็ นอิสระแต่อย่างใด

ส่วนที่ 3

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

13.3

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

อัตราส่ วนทางการเงิน

อ ัตราส่วนทางการเงิน ่ ั จาก ัด (มหาชน) และบริษ ัทย่อย บริษ ัท ทรู คอร์ปอเรชน 2556

2555

2554 (ปร ับปรุง)

อ ัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) อัตราส่วนสภาพคล่อ ง1/ อัตราส่วนสภาพคล่อ งหมุนเร็ว

1/

เท่า

0.66

0.64

0.83

เท่า

0.48

0.42

0.59

อ ัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการใช้ส ินทร ัพย์ (Activity Ratios) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค ้า

เท่า

3.60

5.92

7.28

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลีย ่

วัน

100.12

60.78

49.44

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลีย ่ *

วัน

22.70

20.11

20.19

*ไม่นับรวมลูกหนี้ทโี อที ซึง่ ลูกค ้าได ้ชาระแล ้วแต่บริษัทยังไม่ได ้รับส่วนแบ่งรายได ้จากทีโอที และรายได ้ค ้างรับทีแ ่ สดงถึงรายได ้ทีย ่ งั ไม่ได ้ส่งใบแจ ้งหนี้ใหลู้ กค ้า อัตราส่วนหมุนเวียนสินค ้าคงเหลือ

เท่า

3.56

6.32

4.53

ระยะเวลาหมุนเวียนของสินค ้าคงเหลือ เฉลีย ่

วัน

101.02

56.94

79.39

อัตราส่วนหมุนเวียนเจ ้าหนี้การค ้า

1/

เท่า

2.86

3.90

4.80

วัน

125.89

92.36

75.06

Cash Cycle1/

วัน

75.24

25.36

53.77

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร1/

เท่า

1.21

1.11

1.03

เท่า

0.50

0.54

0.54

ิ ต่อ ส่วนของผู ้ถือ หุ ้น1/ อัตราส่วนหนี้สน

เท่า

42.50

11.88

5.99

อัตราส่วนความสามารถชาระดอกเบีย ้

เท่า

1.90

2.43

2.41

ระยะเวลาชาระหนี1/ ้

1/

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์

่ งจาการกูย อ ัตราส่วนทีแ ่ สดงถึงความเสีย ้ ม ื (Leverage Ratios)

อ ัตราส่วนแสดงความสามารถในการทากาไร (Profitability Ratios) อัตรากาไรขัน ้ ต ้น

%

20.05%

23.17%

27.82%

อัตรากาไรสุทธิ

%

-9.42%

-8.31%

-3.74%

อัตราผลตอบแทนสินทรัพย์

%

-1.73%

0.97%

3.08%

อัตราผลตอบแทนผู ้ถือ หุ ้น

%

-96.74%

-41.88%

-16.24%

อัตราเงินปั นผล

%

-

-

-

1/, 2/

ข้อมูลต่อหุน ้ (Per Share Analysis) มูลค่าตามบัญชีตอ ่ หุ ้น

บาท

0.33

0.97

1.48

กาไรสุทธิตอ ่ หุ ้น

บาท

(0.62)

(0.51)

(0.23)

เงินปั นผลต่อ หุ ้น

บาท

-

-

-

%

14.13%

20.15%

31.36%

%

20.90%

29.32%

25.42%

%

7.64%

24.25%

15.32%

อ ัตราการเติบโต (Growth Ratios) สินทรัพย์รวม1/ ิ รวม หนี้สน

1/

รายได ้รวม ค่าใช ้จ่ายดาเนินงาน

3/

กาไรสุทธิ

%

13.41%

29.35%

22.85%

%

-22.01%

-175.75%

NM

หมายเหตุ : ในไตรมาส 4 ปี 2555 กลุม ่ ทรูและบริษัทย่อ ยปรับเปลีย ่ นการจัดประเภทรายการบางรายการ ในงบการเงินงวดปี 2554 (ดูรายละเอียดใน “หมายเหตุข ้อ 3.2: การจัดประเภทรายการใหม่” ประกอบงบการเงินประจาปี 2555) อาทิ “เงินจ่ายล่วงหน ้าแก่ผู ้รับเหมา” ซึง่ เดิม บันทึกอยู่ เป็ นส่วนหนึง่ ของ “ลูกหนี้การค ้า และลูกหนี้อ น ื่ ” ได ้ถูกจัดประเภทใหม่ โดยรายงานเป็ นส่วนหนึง่ ของ สินทรัพย์ประเภท ทีด ่ น ิ อาคาร และ 2/ อุปอักรณ์ ตราผลตอบแทนสินทรัพย์คานวณจากกาไรขัน ้ ต ้นหักค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร/สินทรัพย์รวม(เฉลีย ่ ) 3/ รวมต ้นทุนขายและการใหบริ ้ การรวมค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร 1/

ส่วนที่ 3

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

จุดเด่ นานการเงิ ทางการเงินน จุ13.4 ดเด่นทางด้ 2556

(หน่วย: ล้านบาท) 2555 2554 (ปร ับปรุง)

ผลการดาเนินงานของบริษ ัทและบริษ ัทย่อย รายได ้จากการให ้บริการ1/

66,291

61,865

56,802

รายได ้รวม ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย กาไรจากการดาเนินงานก่อนดอกเบีย ้ ภาษี ค่าเสือ (EBITDA)

96,214

89,382

71,938

16,385

16,738

17,104

กาไรจากการขายและการให ้บริการ

(3,343)

1,600

4,074

กาไรจากการดาเนินงานปกติ

(13,069)

(6,632)

(5,399)

กาไรจากการดาเนินงานปกติ ก่อนภาษีเงินได ้รอการตัดบัญชี

(11,831)

(5,354)

(3,200)

(9,063)

(7,428)

(2,694)

กาไร(ขาดทุน)สุทธิ ส่วนทีเ่ ป็ นของบริษัท ฐานะการเงินและกระแสเงินสดของบริษ ัทและบริษ ัทย่อย สินทรัพย์รวม2/

205,852

180,363

150,116

ิ รวม2/ หนี้สน

201,120

166,359

128,646

4,732

14,004

21,469

ส่วนของผู ้ถือหุ ้น กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน

2/

22,678

7,312

6,757

(2,946)

(19,814)

(6,391)

19.7%

21.8%

26.9%

-4.0%

2.1%

6.4%

0.5

0.5

0.5

EBITDA / ดอกเบีย ้ จ่าย (เท่า)

1.9

2.4

2.4

ิ สุทธิ / EBITDA (เท่า)4/ หนี้สน

4.0

5.0

3.9

กาไร (ขาดทุน) ต่อหุ ้น (บาท)

(0.62)

(0.51)

(0.23)

มูลค่าตามบัญชีตอ ่ หุ ้น (บาท)

0.33

0.97

1.48

้ งวด (บาท) ราคาหุ ้น ณ สิน

7.50

5.45

3.14

14,530

14,503

14,503

108,977

79,042

45,540

กระแสเงินสดหลังหักรายจ่ายลงทุน3/ อ ัตราส่วนทางการเงิน และประสิทธิภาพในการดาเนินงาน อัตราการทากาไร ณ ระดับ EBITDA (บนรายได ้รวม หลังหักค่า IC และค่าเช่าโครงข่าย) อัตราการทากาไรจากการขายและการให ้บริการ (บนรายได ้รวม หลังหักค่า IC และค่าเช่าโครงข่าย) อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (เท่า) 4/

ข้อมูลต่อหุน ้ และอืน ่ ๆ

้ งวด (ล ้านหุ ้น) จานวนหุ ้นสามัญ ณ สิน มูลค่าตลาดของหุ ้น

หมายเหตุ: 1/ รายได้ จากการให้ บริการโทรศัพท์และบริการอื่น ยกเว้ น รายได้ คา่ เชื่อมโยงโครงข่าย (IC) และรายได้ คา่ เช่าโครงข่าย 2/ ในไตรมาส 4 ปี 2555 กลุม่ ทรู ได้ มีการปรับเปลี่ยนการจัดประเภทรายการบางรายการ ในงบการเงิน งวดปี 2554 (ดูรายละเอียดใน "หมายเหตุข้อ 3.2: การจัดประเภทรายการใหม่" ประกอบงบการเงิน ประจาปี 2555) ซึง่ การเปลี่ยนการจัดประเภทรายการ อาทิ "เงินจ่ายล่วงหน้ าแก่ผ้ รู ับเหมา" ส่งผลกระทบต่อการแสดงรายการสินทรัพย์รวมหนี ้สินรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน และกระแสเงินสด (ใช้ ไปใน) จากกิจกรรมลงทุน 3/ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน หักด้ วย รายจ่ายลงทุน 4/ ไม่รวม หนี ้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน

ส่วนที่ 3

ข ้อมูลทำงกำรเงินทีส ่ ำคัญ

หัวข ้อที่ 13 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ คาอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ภาพรวม การเข้า สู่ ร ะบบเสรี ม ากขึ้ น ภายหลัง การออกใบอนุ ญ าตต่ า ง ๆ ของคณะกรรมการ กสทช. และ ความสาเร็ จจากการจัดตั้ง กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท (“TRUEGIF” หรื อ “TRUEIF”) ในเดือนธันวาคม 2556 เป็ นก้าวสาคัญของกลุ่มทรู และอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย โดยช่วยสนับสนุ นการ เติ บ โตและการแข่ ง ขัน อย่า งเป็ นธรรมในอุ ตสาหกรรมโทรคมนาคม อี ก ทั้ง ยัง เสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง ให้ก ับ โครงสร้างต้นทุนและเงินทุนของกลุ่มทรู สิ่ งเหล่านี้ ร่วมกับการเป็ นผูน้ าในทั้งธุ รกิจบรอดแบนด์ ธุ รกิจโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิก และธุ รกิจโมบาย อินเทอร์ เน็ต ของกลุ่มทรู จะช่วยสนับสนุ นการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งและ ยัง่ ยืนของกลุ่มทรู ผลการดาเนิ น งานรวมของบริ ษ ทั ฯ และบริ ษ ทั ย่อย ประจาปี 2556 สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ปรากฏผลขาดทุ นสุ ท ธิ ส่ วนที่ เป็ นของบริ ษ ทั ฯ จานวน 9.1 พันล้า นบาท ซึ่ ง เปลี่ ย นแปลงในอัตราที่ สู ง กว่า ร้อยละ 20 จากผลการดาเนินงานสุ ทธิ ของปี ก่อน ทั้งนี้ โดยมีสาเหตุสาคัญ สรุ ปได้ดงั นี้ ในปี 2556 รายได้ จากการให้ บริการโดยรวมของกลุ่มทรู (ซึ่ งไม่รวมรายได้จากค่าเชื่ อมต่อโครงข่ายและ ค่าเช่าโครงข่าย) เติบโตขึ้นร้อยละ 7.2 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 66.3 พันล้านบาท จากการเติบโต อย่างต่อเนื่ องของทั้ง 3 ธุ รกิ จหลักของกลุ่ม โดยเฉพาะบริ การนอนวอยซ์ของกลุ่มทรู โมบาย และบริ การบรอด แบนด์ อินเทอร์ เน็ตของทรู ออนไลน์ ในขณะที่รายได้จากค่าโฆษณาและค่าสปอนเซอร์ เป็ นปั จจัยที่สร้างความ เติบโตให้แก่รายได้ของทรู วชิ นั่ ส์ ในไตรมาส 4 ปี 2556 กลุ่มทรู ขายเงินลงทุนในหุ ้นสามัญของ 8 บริ ษทั ย่อยที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักของกลุ่ม ให้แก่ บริ ษทั ธนเทเลคอม จากัด โดยหากไม่รวมผลประกอบการในทั้งปี 2555 และ 2556 ของ 8 บริ ษทั เหล่านี้ เพื่อการเปรี ยบเทียบผลการดาเนิ นงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ธุ รกิ จหลักของกลุ่มทรู ยงั คงเติบโตดี โดย รายได้จากการให้บริ การและ EBITDA เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8.6 และ 1.0 จากปี ก่อนหน้า ตามลาดับ อย่างไรก็ ตาม หากไม่รวมการปรับปรุ งผลประกอบการดังกล่าว EBITDA ตามงบการเงิ นที่ตรวจสอบแล้วของบริ ษทั ลดลงเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า เป็ น 16.4 พันล้านบาท ขาดทุนสุ ทธิจากการดาเนินงานปกติ (NIOGO) ก่ อนภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ในปี 2556 มีจานวนทั้งสิ้ น 11.8 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับ ขาดทุนจานวน 5.4 พันล้านบาท ในปี 2555 จากค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการขยาย โครงข่ายและทาการตลาด ซึ่ งรวมค่าใช้จ่ายเกี่ ยวกับการโอนย้ายลูกค้า 2G ออกจากทรู มูฟ อีกทั้งค่าเสื่ อมราคา และค่าตัดจาหน่ายที่เพิ่มขึ้น ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ขาดทุนสุ ทธิส่วนทีเ่ ป็ นของบริษัท ในปี 2556 เป็ น 9.1 พันล้านบาท หลังการบันทึกการด้อยค่าสิ นทรัพย์ โครงข่าย 2G ของทรู มูฟ จานวนทั้งสิ้ น 2.1 พันล้านบาท การบันทึกกาไรสุ ทธิ จากการขายสิ นทรัพย์และสิ ทธิ รายได้จากสิ นทรัพย์เข้ากองทุนรวมโครงสร้ างพื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท จานวนทั้งสิ้ น 6.3 พันล้านบาท และการบันทึกกาไรจากการขาย 8 บริ ษทั ที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักของกลุ่ม จานวนทั้งสิ้ น 857.6 ล้านบาท ในปี 2556 รายได้จากการให้บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ของ กลุ่มทรู โมบาย ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่ อง (เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.9 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า) เป็ น 35.2 พันล้านบาท โดยมีปัจจัยหลักมาจากการเติบโต อย่างแข็งแกร่ งของบริ การนอนวอยซ์ ในขณะที่ความนิ ยมในการใช้งานสมาร์ ทดีไวซ์ที่เพิ่มขึ้น และแคมเปญที่ นาเสนอสมาร์ ทโฟนและอุปกรณ์ต่างๆ ร่ วมกับแพ็กเกจที่น่าดึงดูดใจของกลุ่มทรู โมบาย ส่ งผลให้รายได้จากการ ขายในปี 2556 มีจานวนสู งสุ ดในประวัติการณ์ที่ 16.1 พันล้านบาท กลุ่มทรู โมบาย มีจานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ ประมาณ 1.9 ล้านราย ในปี 2556 ซึ่ งทาให้ฐานลูกค้า ขยายเป็ น 22.9 ล้านราย ณ สิ้ นปี โดยประมาณร้อยละ 13.8 เป็ นลูกค้าแบบรายเดือน การได้รับใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 2.1 GHz ส่ งผลให้ ทรู มูฟ เอช สามารถเปิ ดให้บริ การ 4G LTE เป็ นรายแรกในไทย อีกทั้งยังช่วยเสริ มความแข็งแกร่ งในการเป็ นผูน้ าบริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ต จากการผสาน จุดแข็งของทั้งคลื่นความถี่ 2.1 GHz และ 850 MHz นอกจากนี้ กลุ่มทรู โมบายยังคงนาเสนอแพ็กเกจค่าบริ การที่ คุม้ ค่าร่ วมกับดี ไวซ์หลากหลายรุ่ น ซึ่ งสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าและขยายการให้บริ การไปสู่ ลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ ได้ดียงิ่ ขึ้น รายได้จากการให้บริ การของทรู ออนไลน์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 28.7 พันล้านบาท จากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของบริ การบรอดแบนด์ท้ งั สาหรับลูกค้าทัว่ ไปและลูกค้าองค์กร แม้ ในไตรมาส 4 ปี 2556 ผลประกอบการของทรู ออนไลน์ ไม่รวมผลประกอบการของ 8 บริ ษทั ที่กลุ่มทรู ขายไปใน ไตรมาส โดยหากไม่รวมผลประกอบการในทั้งปี 2555 และ 2556 ของ 8 บริ ษทั เหล่านี้ เพื่อการเปรี ยบเทียบผล การดาเนินงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม รายได้จากการให้บริ การของทรู ออนไลน์ เพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่ งใน อัตราร้อยละ 6.4 จากปี ก่อนหน้า ความสาเร็ จอย่างต่อเนื่ องของแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ และการจัดกิจกรรมทางการตลาดในแต่ละพื้นที่ รวมถึงการมีโครงข่ายบรอดแบนด์ที่มีคุณภาพสู งซึ่ งครอบคลุมแล้วกว่า 4.3 ล้านครัวเรื อน ใน 61 จังหวัด ส่ งผล ให้จานวนลูกค้ารายใหม่สุทธิ ในปี 2556 ของทรู ออนไลน์ มีจานวนสู งมากที่ ประมาณ 240,000 ราย โดยฐาน ลูกค้าบริ การบรอดแบนด์ปรับเพิ่มขึ้นเป็ น 1.8 ล้านราย ณ สิ้ นปี ในขณะที่ รายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การต่อเดือน ยัง อยูใ่ นระดับสู ง ที่ 712 บาท ในปี 2556

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ในปี 2556 รายได้จากการให้บริ การของทรู วิชั่นส์ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.5 จากช่ วงเวลาเดี ยวกันปี ก่อนหน้าเป็ น 10.7 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จากการเติบโตที่ดีของรายได้ค่าสปอนเซอร์ ซึ่ งเป็ นผลจากความนิ ยม ต่อรายการเดอะวอยซ์ ไทยแลนด์ และรายได้ค่าโฆษณา ฐานลูกค้าของทรู วิชนั่ ส์ ณ สิ้ นปี 2556 เพิ่มขึ้นเป็ น 2.4 ล้านราย (จาก 2.0 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2555) จาก การเติ บ โตของฐานผูช้ มกลุ่ ม ฟรี ทู แอร์ โดยเป็ นผลจากความร่ วมมื อทางธุ รกิ จกับผูใ้ ห้บ ริ ก ารรายอื่ นๆ และ ผลตอบรับที่ดีต่อแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ และแพ็กเกจทรู โนวเลจ โฉมใหม่ ทั้งนี้ รายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การต่อ เดื อน เพิ่มขึ้ นจากปี ก่ อนหน้า เป็ น 895 บาท จากผลกระทบในแง่บวก ของการเปลี่ ยนระบบออกอากาศใหม่ (MPEG-4) ในเดือนกรกฎาคม ปี 2555 แพลตฟอร์ มที่หลากหลายและครบถ้วนของทรู วชิ นั่ ส์ จากการมีรายการคุณภาพมากมาย ทาให้ทรู วิชนั่ ส์ มี ค วามพร้ อมอย่า งเต็ม ที่ ที่ จ ะต่ อยอดธุ ร กิ จในการให้บ ริ ก ารโทรทัศ น์ ใ นระบบดิ จิ ต อล ซึ่ งบริ ษ ทั ย่อ ยของ กลุ่มทรู วชิ นั่ ส์ประสบความสาเร็ จในการประมูลใบอนุญาตเพื่อให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล จานวน 2 ใบ ในเดือนธันวาคมที่ผา่ นมา สาหรับปี 2557 กลุ่มทรู ตั้งเป้ าหมายการเติบโตของรายได้จากการให้บริ การโดยรวม ที่ร้อยละ 7 ถึง ร้อยละ 9 (high single-digit) โดยมีงบลงทุน (ที่เป็ นเงินสด) รวม 26.5 พันล้านบาท (โดย 15.5 พันล้านบาท สาหรับกลุ่มทรู โมบาย 10 พันล้านบาท สาหรับทรู ออนไลน์ และ 1 พันล้านบาท สาหรับทรู วชิ นั่ ส์)

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ตารางสรุ ปงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่ อย (ปรับปรุ ง) – ปี 2556 (ยั งไม่ได ้ตรวจสอบ)

ปี 2556

ปี 2555

% เปลียนแปลง ่

(หน่วย : ล ้านบาท ยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ ) รายได้ รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์และบริการอืน ่ ่ มต่อโครงข่าย (IC) - รายได ้ค่าเชือ - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการใหบริ ้ การ รายได ้จากการขาย

79,137 4,764 8,082 66,291 17,077

74,298 6,538 5,895 61,865 15,083

6.5 (27.1) 37.1 7.2 13.2

96,214

89,382

7.6

ต ้นทุนการใหบริ ้ การรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกากับดูแล (Regulatory cost) ่ มต่อโครงข่าย ค่าใช ้จ่ายเชือ ่ มต่อโครงข่าย (IC) ต ้นทุนการใหบริ ้ การ ไม่ร วมค่าเชือ ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ

61,182 5,378 5,973 32,818 17,012

54,893 6,596 7,720 27,978 12,598

11.5 (18.5) (22.6) 17.3 35.0

ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเ่ ป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน

15,736

13,779

14.2

22,638 2,715 19,923

19,110 2,539 16,571

18.5 6.9 20.2

99,556

87,782

13.4

กาไรจากการดาเนินงานทีเป ่ ็ นเงินสด (EBITDA) ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ

16,385

16,738

(2.1)

(19,728)

(15,138)

30.3

กาไรจากการดาเนินงาน

(3,343)

1,600

รวมรายได้ ค่าใช้จา ่ ยในการดาเนินงาน

ดอกเบีย ้ รั บ

148

260

NM (42.9)

ดอกเบีย ้ จ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน ่

(7,766)

(6,551)

(845)

(324)

160.6

ภาษี เงินได ้ ภาษี เงินได ้ในปี ปัจจุบน ั ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี

(1,405) (167) (1,238)

(1,678) (400) (1,278)

(16.3) (58.3) (3.1)

(13,209)

(6,693)

(97.3)

กาไร (ขาดทุน) จากการดาเนินงานปกติ

18.5

ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม

62

41

(50.4)

(กาไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสีย ทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

78

20

292.3

กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานปกติและผลการลงทุนในบริษ ัทร่วม รายการทีไม่ ่ เกีย ่ วข้องก ับการดาเนินงานปกติ กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย ่ นเงินตราต่างประเทศ กาไรทีเ่ กีย ่ วข ้องกับ TRUEGIF ทีร่ ั บรู ้ในปี 2556 ภาษี เงินได ้ทีเ่ กีย ่ วข ้องกับ TRUEGIF ภาษี เงินได ้รอตัดบัญชีทเี่ กีย ่ วข ้องกับ TRUEGIF กาไรจากการขาย 7 บริษัทย่อยและ 1 กิจการร่วมค ้า บันทึกการด ้อยค่าของสินทรั พย์โครงข่าย ่ มราคาของสินทรั พย์โครงข่าย ค่าเสือ

(13,069) 4,006

(6,632)

(97.1)

(796)

NM

889

NM

6,335

-

NM

(1,730)

-

NM

(607)

-

NM

858

-

(340)

(2,056)

(1,972)

NM (4.3)

(451)

-

NM

กาไร (ขาดทุน) จากการกลับรายการสิทธิตามสัญญาอนุญาตใหด้ าเนินการ ิ ภายใต ้สัญญาอนุญาตใหด้ าเนินการ และหนีส ้ น

791

-

NM

การปรั บยอดภาษี เงินได ้รอตัดบัญชี จากบันทึกการด ้อยค่าของสินทรั พย์/ การเปลีย ่ นแปลงอัตราภาษี เงินได ้นิตบ ิ ค ุ คล

845

79

971.0

(143)

100.0

352

2.6

บันทึกการด ้อยค่าของค่าความนิย ม/สินทรั พย์ไม่มต ี ัวตน (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน ่ กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหร ับส่วนทีเป ่ ็ นของบริษ ัท กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหรั บส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได ้เสีย ทีไ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม กาไร (ขาดทุน) สุทธิสาหร ับปี

กาไร (ขาดทุน) จากการดาเนินงานปกติกอ ่ นภาษีเงินได้รอการต ัดบ ัญชี

ส่วนที่ 3

361

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

(9,063)

(7,428)

(22.0)

(78)

(20)

(292.3)

(9,141)

(7,448)

(22.7)

(11,831)

(5,354)

(121.0)

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ผลการดาเนินงานโดยรวม การวิเคราะห์ ผลประกอบการของบริ ษ ทั ฯ อยู่บ นพื้ นฐานของผลการดาเนิ นงานปกติ ไม่ นับ รวม ผลกระทบจากรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับผลการดาเนิ นงานโดยตรง ซึ่ งปรากฏในตารางสรุ ปงบการเงินรวมของ บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย (ปรับปรุ ง) ในปี 2556 รายได้ จากการให้ บริการโดยรวม ของกลุ่มทรู (ซึ่ งไม่รวมรายได้จากค่าเชื่ อมต่อโครงข่าย และค่าเช่าโครงข่าย) เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 66.3 พันล้านบาท จากการเติบโต อย่างต่อเนื่ องของทั้ง 3 ธุ รกิ จหลักของกลุ่ม โดยเฉพาะบริ การนอนวอยซ์ของกลุ่มทรู โมบาย และบริ การบรอด แบนด์ อินเทอร์ เน็ตของทรู ออนไลน์ ในขณะที่รายได้จากค่าโฆษณาและค่าสปอนเซอร์ เป็ นปั จจัยที่สร้างความ เติบโตให้แก่รายได้ของทรู วชิ นั่ ส์ 

ในไตรมาส 4 ปี 2556 กลุ่มทรู ขายเงินลงทุนในหุ ้นสามัญของ 8 บริ ษทั ย่อยที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักของกลุ่ม ให้แก่ บริ ษทั ธนเทเลคอม จากัด โดยหากไม่รวมผลประกอบการในทั้งปี 2555 และ 2556 ของ 8 บริ ษทั เหล่านี้ เพื่อการเปรี ยบเทียบผลการดาเนิ นงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ธุ รกิ จหลักของกลุ่มทรู ยงั คงเติบโตดี โดย รายได้จากการให้บริ การและ EBITDA เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8.6 และ 1.0 จากปี ก่อนหน้า ตามลาดับ อย่างไรก็ ตาม หากไม่ รวมการปรั บปรุ งผลประกอบการดังกล่ าว EBITDA ตามงบการเงิ นที่ ตรวจสอบแล้วของบริ ษทั ลดลงเล็กน้อยในอัตราร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า เป็ น 16.4 พันล้านบาท ส่ วน ใหญ่จากค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานที่เป็ นเงินสด ที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 15.5 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า) ซึ่ ง เกิดจากค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื่ อง และจากค่าใช้จ่ายทางการตลาดที่เพิ่มขึ้นเพื่อโป รโมทสิ นค้าและบริ การของกลุ่มทรู โดยเฉพาะบริ การ 4G LTE และ 3G+ รวมถึงการโอนย้ายลูกค้าจากทรู มูฟ มาทรู มูฟ เอช หลังการสิ้ นสุ ดสัญญาสัมปทานของทรู มูฟ ในเดือนกันยายนที่ผา่ นมา 

ค่ าเสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย เพิ่มขึ้นร้ อยละ 30.3 จากช่ วงเวลาเดี ยวกันปี ก่ อนหน้าเป็ น 19.7 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการร่ นระยะเวลาการตัดค่าเสื่ อมของสิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานของท รู มูฟให้ส้ นั ขึ้น รวมถึงการบันทึกค่าตัดจาหน่ายใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ 2.1 GHz ที่ได้รับจาก กสทช. ในวันที่ 7 ธันวาคม 2555 เต็มปี เป็ นปี แรก 

ดอกเบีย้ จ่ าย เพิ่มขึ้นร้ อยละ 18.5 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้าเป็ น 7.8 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่ จากหนี้ สินที่เพิ่มขึ้นในปี ของกลุ่มทรู โมบาย เพื่อสนับสนุ นการขยายการให้บริ การ ก่อนที่จะนาเงิ นจากการขาย สิ นทรัพย์เข้า TRUEGIF และการขายเงินลงทุนใน 8 บริ ษทั ย่อย มาชาระคืนหนี้ สินกว่า 25 พันล้านบาท ซึ่ งจะช่วย ลดภาระดอกเบี้ยจ่ายในปี ถัดไป 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ภาษีเงินได้ ลดลงร้อยละ 16.3 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 1.4 พันล้านบาท ส่ วนหนึ่ งจากอัตราภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่ลดลงในปี 2556 

ขาดทุนสุ ทธิจากการดาเนินงานปกติ (NIOGO) ก่ อนภาษีเงินได้ รอบตัดบัญชี ในปี 2556 มีจานวน ทั้งสิ้ น 11.8 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับ ขาดทุนจานวน 5.4 พันล้านบาท ในปี 2555 จากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเสื่ อม ราคา ค่าตัดจาหน่าย และดอกเบี้ยจ่ายที่เพิ่มขึ้น 

ขาดทุนสุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของบริ ษัท เป็ น 9.1 พันล้านบาท ในปี 2556 หลังการบันทึ กการด้อยค่า สิ นทรัพย์โครงข่าย 2G ของทรู มูฟ จานวนทั้งสิ้ น 2.1 พันล้านบาท การบันทึกกาไรสุ ทธิ จากการขายสิ นทรัพย์ และสิ ท ธิ รายได้จากสิ นทรั พย์เข้า กองทุ นรวมโครงสร้ า งพื้ นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท จานวนทั้ง สิ้ น 6.3 พันล้านบาท และการบันทึกกาไรจากการขาย 8 บริ ษทั ที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักของกลุ่ม จานวนทั้งสิ้ น 857.6 ล้านบาท 

การปรับปรุ งทางบัญชี ทสี่ าคัญและประเด็นอืน่ ๆ 

ธุ รกรรมกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน

เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั มีมติอนุ มตั ิให้บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยบาง แห่งเข้าทาธุ รกรรมการขายสิ นทรัพย์และกระแสเงินสดในอนาคตกับกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท (“TRUEGIF”) เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2556 สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“กลต.”) ได้อนุ มตั ิการจดทะเบียนกองทรัพย์สินตามโครงการกองทุนรวมโครงสร้ างพื้นฐานโทรคมนาคม TRUEGIF โดยมี จานวนหน่ วยลงทุนที่เสนอขาย 5.81 พันล้านหน่วย ราคาเสนอขายต่อหน่วยและมูลค่าที่ตราไว้ 10.00 บาทต่อหน่วย โดยมีมูลค่าของกองทุนทั้งหมด 58.08 พันล้านบาท

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายการขายสิ นทรัพย์สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

เงินสดที่ได้รับมา หัก เงินรับล่วงหน้า เงินรับสุทธิจากเงินรับล่วงหน้า หัก ต้นทุนสิ นทรัพย์และต้นทุนอื่นที่เกี่ยวข้อง หัก ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง กาไรจากการขายสิ นทรัพย์ หัก กาไรที่ยงั ไม่รับรู ้ กาไรที่รับรู ้ในปี พ.ศ. 2556

งบการเงิน งบการเงิน รวม เฉพาะบริษัท พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2556 ล้ านบาท ล้ านบาท 58,080.00 16,390.56 (16,390.56) (16,390.56) 41,689.44 (30,570.44) (1,437.17) 9,681.83 (3,346.93) 6,334.90 -

กาไรที่ยงั ไม่รับรู ้เป็ นสัดส่ วนร้อยละ 33.29 ของกาไรทั้งหมด ซึ่ งไม่สามารถรับรู ้ได้เนื่ องจาก TRUEGIF เป็ นบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั (ดูรายละเอียดใน "หมายเหตุขอ้ 40: ธุ รกรรมกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน" ประกอบงบ การเงินประจาปี 2556) 

การบันทึกการด้อยค่าของสิ นทรัพย์

การสิ้ นสุ ดของสัญญาให้ดาเนิ นการฯ ระหว่าง ทรู มูฟ และ CAT Telecom ในวันที่ 15 กันยายน ปี 2556 ส่ งผลให้มีการบันทึกรายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานปกติ ในไตรมาส 3 ปี 2556 ซึ่งประกอบไปด้วย รายการปรับปรุง 1. บันทึกการด้อยค่าของสิ นทรัพย์โครงข่าย 2. ค่าเสื่ อมราคาของสิ นทรัพย์โครงข่าย 3. กาไร (ขาดทุน) จากการกลับรายการสิ ทธิตามสัญญาให้ดาเนินการฯ และหนี้สินภายใต้สญ ั ญาให้ดาเนิ นการฯ 4. การปรับยอดภาษีเงินได้รอตัดบัญชี จากบันทึกการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ รวมทั้งสิ้น

จานวน (ล้ านบาท) (2,056) (451) 791 845 (871)

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ในไตรมาส 4 ปี 2555 กลุ่มทรู โมบาย บันทึกการด้ อยค่ าของสิ นทรัพย์ รวมทั้งสิ้ น 2.1 พันล้านบาท ซึ่ ง ส่ วนใหญ่เป็ น การด้อยค่าของสิ นทรั พย์โครงข่ายภายใต้สัญญาให้ดาเนิ นการฯ กับ กสท ของทรู มูฟ จานวน 2.0 พันล้านบาท (ดูรายละเอียดใน "หมายเหตุขอ้ 8: ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ" และ "หมายเหตุขอ้ 20: ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ - สุ ทธิ " ประกอบงบการเงินประจาปี 2555) 

การปรับอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล

ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2554 สานักงานกฤษฎีกาได้รับรองการปรับอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ลงจาก อัตราร้อย ละ 30 เป็ น ร้อยละ 23 สาหรับระยะเวลาตั้งแต่ 1 มกราคม 2555 เป็ นต้นไป และลดลงเป็ น อัตราร้อยละ 20 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2556 เป็ นระยะเวลา 2 รอบปี บัญชี และปรับขึ้นเป็ นอัตราร้อยละ 30 หลังจากนั้น ซึ่ งส่ งผลกระทบต่องบ การเงินของบริ ษทั ฯ ในงวดปี 2554 และงวดปี 2555

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ตารางสรุปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ - ปี 2556 กลุม ่ ทรูโมบาย (ยังไม่ไดตรวจสอบ) ้ (หน่วยลานบาทยกเว ้ นในรายการที ้ ม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ ) รายได ้ รายไดจากการให ้ บริ ้ การโทรศัพท์และบริการอืน ่ ่ มต่อ โครงข่าย - รายไดค่ ้ าเชือ - รายไดค่ ้ าเช่าโครงข่าย - รายไดจากการให ้ บริ ้ การ รายไดจากการขายสิ ้ นคา้ รวมรายได ้ ค่า ใช้จา ่ ยในการดาเนน ิ งาน ตนทุ ้ นการใหบริ ้ การรวม ้ ายดานการก ค่าใชจ่ ้ ากับดูแล (Regulatory cost) ้ ายเชือ ่ มต่อ โครงข่าย ค่าใชจ่ ่ มต่อ โครงข่าย (IC) ตนทุ ้ นการใหบริ ้ การ ไม่รวมค่าเชือ ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ตนทุ ้ นขาย ้ ายในการขายและบริหาร ค่าใชจ่ ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ ้ ายในการขายและบริหารทีเ่ ป็ นเงินสด ค่าใชจ่ รวมค่า ใช้จา ่ ยในการดาเนน ิ งาน กาไรจากการดาเนน ิ งานก่อนดอกเบย ี้ จ่า ย ภาษี ื่ ค่า เสอมราคาและรายจ่ า ยต ัดบ ัญชี (EBIT DA) ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเสือ กาไรจากการดาเนน ิ งาน ดอกเบีย ้ รับ ดอกเบีย ้ จ่าย ้ ายทางการเงินอืน ค่าใชจ่ ่ ้ าย)รายไดภาษี (ค่าใชจ่ ้ เงินได ้ ภาษี เงินไดในปี ้ ปั จจุบน ั ภาษี เงินไดรอการตั ้ ดบัญชี กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนน ิ งานปกต ิ ส่วนแบ่งกาไร(ขาดทุน)ในบริษัทร่วม (กาไร) ขาดทุนของส่วนไดเสี ้ ยทีไ ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

ปี 2556

ปี 2555

่ั ส ์ ทรูว ช ิ น

ทรูออนไลน ์

% เปลยนแปลง ี่

ปี 2556

ปี 2555

% เปลยนแปลง ี่

ปี 2556

ปี 2555

รายการระหว่า งก ัน % เปลยนแปลง ี่

ปี 2556

ปี 2555

งบการเงน ิ รวม ปี 2556

ปี 2555

% เปลยนแปลง ี่

48,057 4,764 8,082 35,211 16,059 64,116

43,617 6,538 5,895 31,184 13,720 57,337

10.2 (27.1) 37.1 12.9 17.1 11.8

28,658 28,658 1,006 29,664

28,126 28,126 1,782 29,908

1.9 NM NM 1.9 (43.5) (0.8)

10,728 10,728 131 10,859

10,463 10,463 204 10,667

2.5 NM NM 2.5 (35.5) 1.8

(8,306) (8,306) (120) (8,427)

(7,908) (7,908) (622) (8,530)

79,137 4,764 8,082 66,291 17,077 96,214

74,298 6,538 5,895 61,865 15,083 89,382

6.5 (27.1) 37.1 7.2 13.2 7.6

39,487 2,998 5,974 20,773 9,742 15,019 16,199

34,241 4,890 7,720 15,699 5,932 12,954 12,942

15.3 (38.7) (22.6) 32.3 64.2 15.9 25.2

18,179 1,850 10,442 5,887 642 7,281

17,766 1,184 10,856 5,727 1,239 7,160

2.3 56.3 NM (3.8) 2.8 (48.2) 1.7

8,491 530 6,393 1,569 124 2,426

7,900 523 6,201 1,176 168 1,863

7.5 1.4 NM 3.1 33.3 (25.9) 30.2

(4,975) (4,789) (185) (49) (3,269)

(5,015) (1) (4,777) (237) (581) (2,855)

61,182 5,378 5,973 32,818 17,012 15,736 22,638

54,893 6,596 7,720 27,978 12,598 13,779 19,110

11.5 (18.5) (22.6) 17.3 35.0 14.2 18.5

1,756 14,443 70,705

1,720 11,222 60,137

2.1 28.7 17.6

793 6,488 26,102

619 6,541 26,165

28.3 (0.8) (0.2)

72 2,354 11,042

54 1,809 9,932

34.0 30.1 11.2

93 (3,362) (8,293)

147 (3,002) (8,451)

2,715 19,923 99,556

2,539 16,571 87,782

6.9 20.2 13.4

1.2 50.3

1,966 (1,230)

(2.1) 30.3

4,910 (11,498)

4,852 (7,652)

10,243 (6,681)

10,089 (6,346)

(25.8) 33.4

(226) 92

(169) 90

16,385 (19,728)

16,738 (15,138)

(6,589)

(2,800)

(135.3)

3,562

3,743

(4.8)

(182)

735

NM

(133)

(78)

(3,343)

1,600

NM

51 (4,476)

135 (3,628)

(62.4) 23.4

121 (2,489)

137 (2,300)

(11.9) 8.2

86 (911)

195 (793)

(55.7) 15.0

(110) 110

(207) 169

148 (7,766)

260 (6,551)

(42.9) 18.5

(642) (1,092) (66) (1,026) (12,748) -

(203) (823) (64) (759) (7,320) -

216.2 32.7 2.6 35.3

(172) (497) (44) (453) 525 (3)

(87) (1,048) (250) (798) 446 58

98.7 (52.6) (82.3) (43.3)

(30) 173 (56) 229

(34) (45) (86) 41

(11.9) NM (34.3) 458.6

58 (17)

NM 51.5

(324) (1,678) (400) (1,278) (6,693) 41

160.6 (16.3) (58.3) (3.1)

(865) (26)

(845) (1,405) (167) (1,238) (13,209) 62

11

11

(74.2) -

(44)

(43)

1.5 5.3

17.6 NM (2.9)

1,458 (1,641)

38

(5)

12 12 (121) 91

238 238 121 -

NM

73

57

3.5

(852)

37

NM

43

178

810.9 (29.6) NM NM NM NM NM NM NM

(286) (290) -

69 109 -

NM NM NM NM NM NM NM NM NM

78

20

(97.3) 50.4 292.3

กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนน ิ งานปกต ิและส่ว นแบ่ง กาไร(ขาดทุน)ในบร ิษ ัทร่ว ม (NIOGO) รายการทีไม่เกย ี่ วข ้องก ับการดาเนน ิ งานปกต ิ กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย ่ นเงินตราต่างประเทศ กาไรทีเ่ กีย ่ วของกั ้ บ TRUEGIF ทีร่ ับรู ้ในปี 2556 ภาษี เงินไดที ้ เ่ กีย ่ วของกั ้ บ TRUEGIF ภาษี เงินไดรอตั ้ ดบัญชีทเี่ กีย ่ วของกั ้ บ TRUEGIF กาไรจากการขาย 7 บริษัทย่อ ยและ 1 กิจการร่วมคา้ บันทึกการดอยค่ ้ าของสินทรัพย์โครงข่าย ่ มราคาของสินทรัพย์โครงข่าย ค่าเสือ กาไร (ขาดทุน) จากการกลับรายการสิทธิตามสัญญาอนุญาตใหด ้ าเนินการ ิ ภายใตสั และหนี้สน ้ ญญาอนุญาตใหด ้ าเนินการ การปรับยอดภาษี เงินไดรอตั ้ ดบัญชี จากบันทึกการดอยค่ ้ าของสินทรัพย์/ การเปลีย ่ นแปลงอัตราภาษี เงินไดนิ ้ ตบ ิ ค ุ คล บันทึกการดอยค่ ้ าของค่าความนิยม/สินทรัพย์ไม่มต ี ัวตน ้ าย) รายไดอื (ค่าใชจ่ ้ น ่

(12,737) (4,959) (510) (4,371) 597 (2,056) (451) 791

(7,308) (1,710) 125 (1,972) -

845

117

196

(143) 164

(74.3) 190.0 NM NM NM NM NM (4.3) NM NM

478 12,515 461 14,031 (1,730) (1,204) 680 -

462 1,374 654 -

624.2

-

(100.0)

-

(40)

100.0 19.61

277

687

33

NM (59.7)

4

(1)

(96.2) 0.0

12,993 44

1,836 43

607.8 2.9

(1,138) (38)

กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหรบส่ ั ว นทีเ่ ป็นของบร ิษ ัท กาไร (ขาดทุน) สุทธิ สาหรับส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนไดเสี ้ ยทีไ ่ ม่มอ ี านาจการควบคุม

(17,696) (11)

(9,019) (11)

กาไร (ขาดทุน) สุทธิสาหรบปี ั

(17,707)

(9,030)

(96.1)

13,037

1,879

593.9

(1,177)

กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานปกต ิก่อนภาษีเงน ิ ได้รอการต ัดบ ัญชี

(11,711)

(6,550)

(78.8)

931

1,260

(26.1)

(1,081)

100.0

(3,264) (3,326) 177 -

(6,632)

(97.1)

4,006 (340) 6,335 (1,730) (607) 858 (2,056) (451) 791

(796) 889 (1,972) -

NM NM NM NM NM NM (4.3) NM NM

(31)

845

NM NM

(115)

(497)

361

105 5

NM NM

(3,221) (73)

(350) (57)

110

NM

(3,294)

(4) (25,255.5)

-

(528) -

(13,069)

30

79 (143) 352 (7,428) (20)

(407)

(9,141)

(7,448)

(22.7)

(60)

(11,831)

(5,354)

(121.0)

7.7%

8.5%

34.5%

33.7%

13.4%

18.4%

17.0%

18.7%

อตราก ั าไร ณ ระด ับ EBIT DA (ค ิดจากรายได ้ทีไ ่ ม่รวมค่า IC และค่า เช่า โครงข่า ย)

9.6%

10.8%

34.5%

33.7%

13.4%

18.4%

19.7%

21.8%

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

100.0 2.6

(9,063) (78)

อตราก ั าไร ณ ระด ับ EBIT DA (ค ิดจากรายได ้รวมค่า IC)

ส่วนที่ 3

971.0

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 9

(22.0) 292.3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างรายได้ รวม แยกตามประเภทธุรกิจ รายได้รวม (ก่อนต ัดรายการระหว่างก ันระหว่างกลุม ่ ธุรกิจ) (ยั งไม่ได ้ตรวจสอบ)

ปี 2556

(หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ )

รายได้

่ ั ส์ ทรูวช ิ น - รายได ้จากการใหบริ ้ การ - รายได ้จากการขายสินค ้า รายการระหว่างกัน

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

10,667

10,728

10,463

131

204

10,055

กลุม ่ ทรูโมบาย

รายได้

10,859

(804)

ั่ ส์ หลังตัดรายการระหว่างกัน ทรูวช ิ น

ปี 2555 % ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

1.8 2.5 (35.5)

(704) 10.5%

9,963

% เปลียนแปลง ่

14.3 11.1%

0.9

64,116

57,337

11.8

- รายได ้จากการใหบริ ้ การโทรศัพท์เคลือ ่ นที่

35,211

31,184

12.9

่ มต่อโครงข่าย (IC) - รายได ้ค่าเช่าโครงข่ายและค่าเชือ

12,846

12,433

3.3

- รายได ้จากการขายสินค ้า

16,059

13,720

17.1

รายการระหว่างกัน

(1,043)

กลุม ่ ทรูโมบาย หลังตัดรายการระหว่างกัน

63,073

ทรูออนไลน์ ้ ฐาน - บริการเสียงพืน - โทรศัพท์พน ื้ ฐาน (ไม่ร วมโทรทางไกลระหว่างประเทศ และ VOIP) - โทรศัพท์สาธารณะ ี ี - พีซท ่ - บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต สือสารข้ อมูลธุรกิจ และ อืน ่ ๆ ่ สารข ้อมูลธุร กิจ - บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต และสือ - บริการอินเทอร์เน็ ตอืน ่ ๆ และบริการเสริม - รายได้จากธุรกิจใหม่ คอนเวอร์เจนซ์ และ อืน ่ ๆ - รายได ้จากธุร กิจใหม่ - บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ - อืน ่ ๆ - ธุร กิจคอนเวอร์เจนซ์ และ อืน ่ ๆ รายได้จากการให้บริการทรูออนไลน์ รายได้จากการขายสินค้าทรูออนไลน์

12.4 (0.8)

6,217

6,517

(4.6)

6,119

6,325

(3.3)

68

129

(46.8) (53.8)

29

63

16,183

14,336

14,377

12,258

17.3

1,806

2,078

(13.1)

6,259

7,274

(14.0)

495

344

398

224

77.6

97

120

(19.1)

5,764

6,930

(16.8)

28,658

28,126

1,006

1,782

(6,579) 23,086

43.9

1.9 (43.5)

23,295

(0.5) 26.1%

97,912

(8,427) 96,214

12.9

(6,613) 24.0%

104,640

รายได้รวม - สุทธิ

(14.0) 62.8%

29,908

ทรูออนไลน์ หลังตัดรายการระหว่างกัน รวมรายการระหว่างกัน

56,124

29,664

รายการระหว่างกัน

รายได้รวม

(1,213) 65.6%

6.9

(8,530) 100.0%

89,382

(0.9) (1.2)

100.0%

7.6

ผลการดาเนินงานตามประเภทธุรกิจ กลุ่มทรู โมบาย รายได้ จากการให้ บริ การโทรศั พท์ เคลื่อนที่ของกลุ่มทรู โมบายในปี 2556 เติบโตร้ อยละ 12.9 จากงวดเดี ยวกันปี ก่ อนหน้าเป็ น 35.2 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จากการเติ บโตอย่างแข็งแกร่ งของบริ การที่ ไม่ใช่เสี ยง 

รายได้ จากบริ การที่ไม่ ใช่ เสี ยง ในปี 2556 เพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่ งในอัตราร้ อยละ49.0 จาก ช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้าเป็ น 13.5 พันล้านบาท โดยคิดเป็ นร้อยละ 38.2 ของรายได้จากการให้บริ การ ของกลุ่มทรู โมบาย โดยมีปัจจัยหลักมาจากการเติบโตอย่างต่อเนื่ องในการใช้บริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ต 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ซึ่ งเป็ นผลจากความนิยมในการใช้งานสังคมออนไลน์และนสมาร์ ทดีไวซ์ที่เพิ่มขึ้นร่ วมกับความสาเร็ จจาก การนาเสนอแพ็ก เกจที่ น่า ดึ ง ดู ด ใจของทรู มู ฟ เอช พร้ อมทั้ง การให้ บ ริ ก ารด้วยโครงข่ า ยคุ ณ ภาพซึ่ ง ครอบคลุมแล้วกว่าร้อยละ 95 ของประชากรในประเทศ รายได้ จากการขายสิ นค้ า ในปี 2556 เพิ่มขึ้นในอัตราร้ อยละ 17.1 จากช่ วงเวลาเดี ยวกันปี ก่อน หน้าเป็ น 16.1 พันล้านบาท ซึ่ งเป็ นจานวนสู งสุ ดในประวัติการณ์จากความนิ ยมในการใช้สมาร์ ทดี ไวซ์ที่ เพิม่ ขึ้น โดยเฉพาะ ไอโฟน 5s ซัมซุ งรุ่ น high-end และ แบรนด์ ทรู บียอนด์ 

รายจ่ ายค่ า IC สุ ทธิ ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 เป็ น 1.2 พันล้านบาท จากปริ มาณการโทร ออกนอกโครงข่าย (off-net traffic) ที่เพิม่ ขึ้น ซึ่ งชดเชยกับ การลดลงของอัตราค่า IC บนโครงข่าย 2G ที่ลดลง จาก 1 บาทต่อนาที เป็ น 0.45 บาทต่อนาที 

ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานที่เป็ นเงินสด ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้ อยละ 29.1 จากช่วงเวลาเดี ยวกัน ปี ก่อนหน้าเป็ น 27.1 พันล้านบาท จากค่าใช้จ่ายด้านโครงข่ายที่เพิ่มขึ้น ซึ่ งรวมค่าธรรมเนี ยมขายส่ งบริ การ บนโครงข่าย 3G สุ ทธิ ที่เพิ่มขึ้ นจากการบันทึกการใช้อุปกรณ์ เต็มจานวนที่ 13,000 สถานี ในไตรมาส 4 ปี 2556 ภายหลังจากที่ CAT Telecom ได้รับอนุ มตั ิงบประมาณ ร่ วมกับค่าใช้จ่ายในการทาการตลาดเพื่อโป รโมทการให้บริ การ 4G LTE และ 3G+ ของทรู มูฟเอชที่เพิ่มขึ้นและค่าใช้จ่ายเพื่อเร่ งย้ายลูกค้าจากทรู มูฟ มายังทรู มูฟ เอช ภายหลังการสิ้ นสัญญาสัมปทานของทรู มูฟ 

EBITDA ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้าเป็ น 4.9 พันล้านบาท จากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของรายได้จากการให้บริ การ ค่าใช้จ่ายด้านการกากับดูแลที่ลดลง และกาไร จากการขายสิ นค้าที่เพิ่มขึ้น 

ค่ าเสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้ อยละ 50.3 จากช่ วงเวลาเดี ยวกันปี ก่อน หน้าเป็ น 11.5 พันล้านบาท จากการ่ นระยะเวลาในการตัดค่าเสื่ อมของสิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานของท รู มูฟให้ส้ ันขึ้น รวมทั้งค่าตัดจาหน่ายที่เพิ่มขึ้นจากการบันทึกต้นทุนใบอนุ ญาตใช้คลื่นความถี่ 2.1 GHz เต็ม ปี เป็ นปี แรก 

ดอกเบีย้ จ่ าย ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้าเป็ น 4.5 พันล้าน บาท ส่ วนใหญ่จากการกูย้ ืมที่เพิ่มขึ้นเพื่อขยายธุ รกิจ และโครงข่ายอย่างต่อเนื่ อง ก่อนที่จะนาเงินส่ วนใหญ่ จากการขายสิ นทรัพย์เข้า TRUEGIF มาชาระคืนหนี้ สินกว่า 25 พันล้านบาท ซึ่ งจะช่วยลดภาระดอกเบี้ยในปี ถัดไป 

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้ อยละ 32.7 เป็ น 1.1 พันล้านบาท จากค่าใช้จ่ายภาษี เงินได้รอการตัดบัญชีที่เพิ่มขึ้นจากการโอนสิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานของทรู มูฟ 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ผลขาดทุนจากการดาเนิ นงานปกติ ก่ อนภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ในปี 2556 ลดลงเป็ น 11.7 พันล้านบาท เมื่อเที ยบกับขาดทุน 6.6 พันล้านบาท ในปี 2555 เนื่ องจากค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่ ายที่ เพิ่มขึ้น 

กลุ่มทรู โมบาย มี จานวนผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ 1.9 ล้านราย ในปี 2556 ทาให้มีฐานลูกค้า เพิ่ มขึ้ นเป็ น 22.9 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2556 บริ การระบบรายเดื อนของกลุ่ มทรู โมบายยังคงเติ บโตอย่าง แข็งแกร่ ง โดยมีผใู ้ ช้บริ การเพิ่มขึ้นคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 13.8 ของผูใ้ ช้บริ การทั้งหมด จากร้อยละ 12.2 ใน ปี 2555 ในขณะที่ รายได้เฉลี่ ยต่อเลขหมายต่อเดื อนของกลุ่มทรู โมบาย ค่อนข้างที่คงที่ ที่ 124 บาท ในปี 2556 

ในปี 2557 กลุ่มทรู โมบาย ยังคงมุ่งมัน่ ที่จะมอบประสบการณ์ ที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้าผ่านการใช้ งานโมบาย อินเทอร์ เน็ตที่เต็มประสิ ทธิ ภาพ บนเครื อข่ายคุ ณภาพสู งและการให้บริ การที่ดีเยี่ยม อีกทั้งเพิ่ม ช่องทางการจัดจาหน่ายเพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้ง่ายยิ่งขึ้น พร้อมทั้งนาเสนอแพ็กเกจค่าบริ การที่คุม้ ค่าร่ วมกับดี ไวซ์หลากหลายรุ่ น เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของลูกค้าในแต่ละกลุ่ม รวมถึ งการนาเสนอ แพ็คเกจที่เพิม่ ความคุม้ ค่าให้กบั ลูกค้าด้วยการผสมผสานบริ การต่าง ๆ ภายในกลุ่มทรู นอกจากนี้ กลุ่มทรู โม บายจะยังคงมุ่งโอนย้ายลูกค้าจากทรู มูฟมายังทรู มูฟ เอช ก่อนการสิ้ นสุ ดของมาตรการเยียวยาลูกค้าในเดือน กันยายน ปี 2557 

ทรู ออนไลน์ ในปี 2556 มี รายได้ จากการให้ บริการของทรู ออนไลน์ เติบโตร้อยละ 1.9 จากช่วงเวลาเดียวกัน ปี ก่อนหน้าเป็ น 28.7 พันล้านบาท จากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของรายได้ จากบริ การบรอดแบนด์ ซึ่ ง เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.3 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้าเป็ น 14.4 พันล้านบาท จากการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง ของบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตสาหรับลูกค้าทัว่ ไปและลูกค้าองค์กร 

ความสาเร็ จจากผลตอบรั บที่ ดีใ นแพ็ก เกจคอนเวอร์ เจนซ์ และการท าตลาดเฉพาะพื้ น ที่ ร่ วมกับการให้บริ การผ่านโครงข่ายคุ ณภาพสู งซึ่ งครอบคลุ มแล้วถึ ง 4.3 ล้านครัวเรื อนใน 61 จังหวัด ของทรู ออนไลน์ ส่ งผลให้ ทรู ออนไลน์มียอดผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์รายใหม่สุทธิ สูงถึง 240,000 ราย ทา ให้ฐานผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์เพิ่มขึ้นเป็ น 1.8 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2556 

ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานทีเ่ ป็ นเงินสด เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 16.9 พันล้านบาท เนื่ องจากค่าใช้จ่ายที่ลดลงจากการขายเงินลงทุนในหุ ้นสามัญของ 8 บริ ษทั ย่อยที่ ไม่ใช่ธุรกิจหลัก ในไตรมาส 4 ปี 2556 และการควบคุมค่าใช้จ่ายในการบริ หารจัดการได้ดีข้ ึน ซึ่ งชดเชย ค่าใช้จ่ายด้านโครงข่ายที่เพิ่มขึ้น 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ค่ าใช้ จ่ายด้ านการกากับดูแล เพิ่มขึ้นร้อยละ 56.3 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 1.9 พันล้านบาท ในปี 2556 จากผลกระทบของการเปลี่ ยนอัตราค่าธรรมเนี ยมใบอนุ ญาตประกอบกิ จการ โทรคมนาคม (มีผลบังคับใช้ต้ งั แต่เดือนมกราคม ปี 2556) และส่ วนหนึ่ งจากกฎเกณฑ์ USO ใหม่ ที่ส่งผล ให้ผไู ้ ด้รับใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมทุกประเภทต้องชาระค่าธรรมเนี ยม USO (มีผลบังคับ ใช้ต้ งั แต่เดือนพฤษภาคม ปี 2555) 

EBITDA ในปี 2556 ปรับตัวดีข้ ึน ในอัตราร้อยละ 1.5 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 10.2 พันล้านบาท จากการเติบโตของรายได้ และการควบคุมค่าใช้จ่ายในการบริ หารจัดการได้ดีข้ ึน ซึ่ ง หากไม่รวมผลประการของทั้ง8 บริ ษทั ย่อยนี้ ในงบการเงิ นของทั้งปี 2555 และ 2556 EBITDA ของทรู ออนไลน์ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.5 จากปี ก่อนหน้า 

ดอกเบี้ย จ่ า ย ในปี 2556 เพิ่ ม ขึ้ นร้ อ ยละ 8.2 จากช่ ว งเวลาเดี ย วกันปี ก่ อนหน้า เป็ น 2.5 พันล้านบาท จากเงินกูย้ มื ที่เพิ่มขึ้น เพื่อขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ 

ภาษีเงินได้ ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้ อยละ 52.6 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 497 ล้าน บาท ส่ วนหนึ่งจากอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ลดลง ในปี 2556 

กาไรจากการดาเนินงานปกติ (NIOGO) ก่ อนภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ในปี 2556 ปรับตัว ลดลงเป็ น 931 ล้านบาท (เมื่อเทียบกับ 1.3 พันล้านบาท ในปี 2555) จากค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจาหน่าย และ ดอกเบี้ยจ่าย ที่เพิ่มขึ้น 

ในปี 2557 ทรู ออนไลน์จะเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั การเป็ นผูน้ าในตลาดบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตด้วยการเพิ่มความคุ ม้ ค่าให้กบั ลูกค้าด้วยการนาเสนอแพ็คเกจคอนเวอร์ เจนซ์ ที่น่าดึ งดู ดใจ ร่ วมกับการพัฒนาคุณภาพการให้บริ การ และคุณภาพโครงข่ายบรอดแบนด์อย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งทรู ออนไลน์ มีแผนที่จะขยายการให้บริ การให้ครบ 77 จังหวัดภายในปี 2557 

กลุ่มทรู วชิ ั่ นส์ ในปี 2556 รายได้ จากการให้ บริ การ ของทรู วิชนั่ ส์ เพิ่มขึ้นร้ อยละ 2.5 เมื่อเทียบกับปี ก่อน หน้า เป็ น 10.7 พันล้านบาท จากการเติ บโตที่ ดีของรายได้ค่าสปอนเซอร์ ซึ่ งเป็ นผลจากความนิ ยมต่อ รายการเดอะวอยซ์ ไทยแลนด์ และรายได้ค่าโฆษณา ในขณะที่ รายได้จากค่าสมาชิ กค่อนข้างจะคงที่ แม้ จะได้รับผลกระทบจากการเสี ยสิ ทธิ ในการแพร่ ภาพรายการฟุตบอลพรี เมียร์ ลีก และภาวะเศรษฐกิจ 

รายได้ จากค่ าโฆษณา เติบโตร้อยละ 7.5 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 934 ล้านบาท จากการเพิ่มขึ้น ของฐานผูช้ มและจานวนช่องที่สามารถทาการโฆษณา แม้ตลาดโฆษณาในประเทศจะค่อนข้างทรงตัวใน 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ปี ที่ผา่ นมา อีกทั้งการนาเสนอแพ็กเกจขนาดใหญ่ที่เพิ่มความคุม้ ค่าให้กบั ผูซ้ ้ื อโฆษณามากขึ้นในช่วงครึ่ ง หลัง ปี 2556 ได้รับผลตอบรับที่ดีอย่างต่อเนื่อง ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนินงานทีเ่ ป็ นเงินสด เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.2 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 8.7 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการขายและการทาการตลาดเพื่อโปรโมท แพ็กเกจและบริ การต่าง ๆ ที่น่าดึ งดูดใจของทรู วิชนั่ ส์ รวมถึ งค่าใช้จ่ายด้านคอนเทนต์ที่เพิ่มขึ้น จากการ เพิม่ ช่องรายการ โดยเฉพาะช่องรายการในระบบ HD 

EBITDA ลดลงร้อยละ 25.8 เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า เป็ น 1.5 พันล้านบาท จากค่าใช้จ่ายใน การดาเนินงานที่เป็ นเงินสดที่เพิม่ ขึ้นสู งกว่าการเติบโตของรายได้ 

ดอกเบีย้ จ่ าย เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.0 จากช่วงเวลาเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 911 ล้านบาท จาก ดอกเบี้ยจ่ายที่ค่อนข้างต่าในปี 2555 ซึ่ งเป็ นผลจากการที่ทรู วิชนั่ ส์ ชนะคดีที่ทีโอทีฟ้องร้องเกี่ยวกับการใช้ งานท่อสายนาสัญญาณ ทาให้ทรู วิชนั่ ส์ สามารถกลับรายการค่าใช้จ่ายในส่ วนของดอกเบี้ยจ่าย ที่เคยตั้ง สารองไว้ในอดีต รวมจานวนทั้งสิ้ น 128 ล้านบาท ในไตรมาส 4 ปี 2555 

ปี 2556 ทรู วิชั่นส์ มี รายได้ภาษีเงินได้ จานวน 173 ล้านบาท เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายภาษีเงิ นได้ จานวน 45 ล้านบาท ใน ปี 2555 ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการบันทึกสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จาก ผลขาดทุนจากการดาเนินงานในปี 2556 ผลการดาเนินงานปกติ (NIOGO) ไม่ รวมภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ปรับลดลงจากช่ วงเวลา เดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ นขาดทุน 1.1 พันล้านบาท โดยมีสาเหตุจาก EBITDA ที่ลดลง และค่าเสื่ อมราคา และค่าตัดจาหน่ายที่เพิ่มขึ้น 

ฐานลูกค้ าของทรู วิชั่นส์ ณ สิ้ นปี 2556 เพิ่มขึ้นเป็ น 2.4 ล้านราย (จาก 2.0 ล้านราย ณ สิ้ นปี 2555) จากการเติบโตของฐานผูช้ มกลุ่มฟรี ทูแอร์ โดยเป็ นผลจากความร่ วมมือทางธุ รกิ จกับผูใ้ ห้บริ การ รายอื่นๆ (อาทิ พีเอสไอ) และผลตอบรับที่ดีต่อแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ (โดยเฉพาะแพ็กเกจสุ ขคูณสอง) และแพ็กเกจทรู โนวเลจ โฉมใหม่ ทั้งนี้ รายได้เฉลี่ยต่อผูใ้ ช้บริ การต่อเดือน เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนหน้า เป็ น 895 บาท จากผลกระทบในแง่ บ วก (โดยเฉพาะลู ก ค้า แพ็ก เกจแพลตทิ นัม ) ของการเปลี่ ย นระบบ ออกอากาศใหม่ (MPEG-4) ในเดือนกรกฎาคม ปี 2555 

ในปี 2557 ทรู วิ ชั่น ส์ จ ะมุ่ ง มั่น เพิ่ ม ฐานลู ก ค้า พรี เ มี ย ม ด้ว ยรายการคุ ณ ภาพทั้ง ในและ ต่างประเทศที่หลากหลาย รวมถึ งแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ที่น่าดึ งดูดใจสาหรับลูกค้าพรี เมียมโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ทรู วชิ นั่ ส์จะเดินหน้าพัฒนาคอนเทนต์ที่ดึงดูดลูกค้าในตลาดวงกว้าง อีกทั้งจะมุ่งปรับปรุ งและ ขยายช่องทางการตลาดเพื่อการขยายฐานลูกค้าไปสู่ กลุ่มใหม่ ๆ ได้ดียงิ่ ขึ้น 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

แพลตฟอร์ มที่หลากหลายและครบถ้วนของทรู วิชนั่ ส์ จากการมีรายการคุณภาพมากมาย ทาให้ท รู วิชนั่ ส์ มีความพร้อมอย่างเต็มที่ที่จะต่อยอดธุ รกิจในการให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ซึ่ งบริ ษทั ย่อยของกลุ่ มทรู วิชั่นส์ ประสบความสาเร็ จในการประมูลใบอนุ ญาตเพื่อให้บริ ก ารโทรทัศน์ในระบบ ดิจิตอล จานวน 2 ใบ ในเดือนธันวาคมที่ผา่ นมา โดยจะเป็ นการช่วยเพิม่ รายได้ค่าโฆษณา และเพิ่มโอกาส ในการทาการตลาดคอนเทนต์ของทรู วชิ นั่ ส์ผา่ นฐานผูช้ มขนาดใหญ่อีกด้วย

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

งบดุลรวม และงบกระแสเงินสดรวม (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ)

31 ธ.ค. 2556

31 ธ.ค. 2555

% เปลีย ่ นแปลง

งบดุลรวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค ้าและลูกหนี้อ น ื่ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน ่

14,726 21,425 34,927

6,103 12,900 21,030

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

71,078

40,033

77.5

ทีด ่ น ิ อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มต ี ัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน ่

72,162 11,403 28,881 4,758 17,571

86,680 11,403 35,402 5,182 1,664

(16.7) 0.0 (18.4) (8.2) 956.0

(หน่วย : ล ้านบาท ยกเว ้นในรายการทีม ่ ก ี ารระบุเป็ นอย่างอืน ่ )

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทร ัพย์ ้ เงินกู ้ยืมระยะสัน

134,774

140,330

(4.0)

205,852

180,363

14.1

5,096 44,722 9,894 47,636

366 30,217 9,522 22,882

107,348

62,987

70.4

76,261 4,095 120 13,296

86,805 3,579 3,080 9,908

(12.1) 14.4 (96.1) 34.2

เจ ้าหนี้การค ้าและเจ ้าหนี้อ น ื่ ส่วนทีถ ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึง่ ปี ของเงินกู ้ยืมระยะยาว ิ หมุนเวียนอืน หนี้สน ่

ิ หมุนเวียน รวมหนี้สน เงินกู ้ยืมระยะยาว ิ ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี หนี้สน ิ ภายใต ้สัญญาอนุญาตใหด้ าเนินการ หนี้สน ิ ไม่หมุนเวียนอืน หนี้สน ่

ิ ไม่หมุนเวียน รวมหนี้สน ้ ิน รวมหนีส รวมส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ ้ ินและส่วนของผูถ รวมหนีส ้ อ ื หุน ้

141.3 66.1 66.1

1292.6 48.0 3.9 108.2

93,772

103,372

(9.3)

201,120 4,732 205,852

166,359 14,004 180,363

20.9 (66.2) 14.1

ปี 2556

ปี 2555

% เปลีย ่ นแปลง

งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดาเนินงาน กระแสเงินสด (ใช ้ไปใน) จากกิจกรรมการลงทุน - รายจ่ายลงทุน กระแสเงินสด (ใช ้ไปใน) จากกิจกรรมการจัดหาเงิน ้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม ่ ขึน ยอดยกมาต ้นงวด และผลกระทบจากการเปลีย ่ นแปลงอัตราแลกเปลีย ่ น ้ ยอดเงินคงเหลือสินงวด กระแสเงินสดสุทธิ *

22,678 (2,829) (25,623) (11,230) 8,619 6,108 14,726 (2,946)

7,312 (26,960) (27,126) 14,307 (5,341) 11,444 6,103 (19,814)

210.2 (89.5) (5.5) NM NM (46.6) 141.3 85.1

หมายเหตุ: * กระแสเงินสดสุ ทธิ หมายถึง กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดาเนินงาน หักด้ วยรายจ่ ายลงทุน

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การวิเคราะห์ ฐานะทางการเงิน กลุ่มทรู มีอตั ราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น ณ สิ้ นปี 2556 เป็ น 42.5 เท่า เพิ่มขึ้นเมื่ อเทียบกับ 11.9 เท่า ณ สิ้ นปี 2555 เนื่องจากกลุ่มทรู มุ่งเน้นที่จะแข่งขันในด้านคุณภาพบริ การจึงมีการลงทุนในโครงข่าย อย่างต่อเนื่ องเพื่อขยายการให้บริ การให้มีความครอบคลุ มมากที่สุดทัว่ ประเทศ ซึ่ งการลงทุนส่ วนใหญ่มา จากการกูย้ ืม นอกจากนี้ ค่าเสื่ อมราคาที่เพิ่มสู งขึ้นจากการขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื่ องและการร่ นระยะเวลา การตัดค่าเสื่ อมสิ นทรัพย์โครงข่ายของทรู มูฟให้ส้ ันขึ้น รวมถึงค่าตัดจาหน่ายที่เพิ่มขึ้นจากการบันทึกต้นทุน ใบอนุญาตใช้คลื่นความถี่ 2.1 GHz เต็มปี เป็ นปี แรก อีกทั้งการบันทึกการด้อยค่าของสิ นทรัพย์โครงข่าย 2G ของทรู มูฟ ซึ่ งสัมปทานได้สิ้นสุ ดเมื่อกลางเดือนกันยายน 2556 เป็ นปั จจัยส่ วนหนึ่ งที่ส่งผลให้กลุ่มทรู ยงั คงมี ผลขาดทุนในปี 2556 สิ่ งเหล่านี้ทาให้อตั ราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ความสาเร็ จจากการ จัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานในปลายปี 2556 ที่ผา่ นมา ส่ งผลให้กลุ่มทรู สามารถชาระคืนหนี้ สินก่อน กาหนดได้อย่างมีนยั สาคัญ อีกทั้งกลุ่มทรู ยงั คงอยู่ในระหว่างการศึกษาแนวทางต่าง ๆ เพิ่มเติมเพื่อที่จะลด อัตราส่ วนดังกล่าว สิ นทรัพย์ กลุ่มทรู มีสินทรัพย์ รวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.1 จาก ณ สิ้ นปี 2555 เป็ น 205.9 พันล้านบาท ณ สิ้ น ปี 2556 จาก 180.4 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2555 ส่ วนใหญ่จากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม (กองทุนรวมโครงสร้าง พื้นฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEGIF)) ซึ่ ง บริ ษทั ได้ลงทุนใน TRUEGIF เป็ นเงินจานวน 19.3 พันล้าน บาท คิดเป็ นส่ วนได้เสี ยร้อยละ 33.29 

สิ นทรั พย์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุ ทธิ ) ลดลงร้ อยละ 16.7 จาก ณ สิ้ นปี 2555 เป็ น 72.2 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2556 จากการขายสิ นทรัพย์และสิ ทธิ รายได้ของสิ นทรัพย์เข้า TRUEGIF (ดูรายละเอียด ใน หมายเหตุขอ้ 40 ประกอบงบการเงินประจาปี 2556) 

ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อื่น เพิ่มขึ้นร้อยละ 79.9 จาก ณ สิ้ นปี 2555 เป็ น 38.5 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2556 ซึ่ งสอดคล้องกับการเติ บโตของธุ รกิ จในกลุ่ มทรู โดยเฉพาะสั ญญาด าเนิ นการให้ บริ การ โทรคมนาคมภายใต้เทคโนโลยี HSPA ระหว่าง BFKT และ CAT Telecom โดยมีระยะเวลาเก็บหนี้ เฉลี่ย ณ สิ้ นปี 2556 อยูท่ ี่ 100.1 วัน เพิ่มขึ้นจาก 60.8 วันจาก ณ สิ้ นปี 2555 โดยหลักมาจากรายได้คา้ งรับที่เพิ่มขึ้น มากตั้งแต่ปลายปี 2554 เป็ นต้นมา ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นรายได้คา้ งรับจาก CAT Telecom ตามสัญญาให้เช่ า เครื่ องและอุปกรณ์ HSPA ระหว่าง BFKT และ CAT Telecom โดยสามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี้ 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ยอดที่ยงั ไม่ครบกาหนดชาระ ค้างชาระน้อยกว่า 3 เดือน ค้างชาระ 3 - 6 เดือน ค้างชาระ 6 - 12 เดือน ค้างชาระมากกว่า 12 เดือน ลูกหนี้การค้า รายได้คา้ งรับ รวมลูกหนี้การค้า หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ลูกหนี้การค้า - สุ ทธิ

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2555 ล้านบาท ล้านบาท 7,259.02 5,199.73 2,074.41 4,929.51 3,871.30 23,333.97 18,859.80 42,193.77 (7,632.86) 34,560.91

6,535.87 2,218.38 859.40 2,953.51 3,086.74 15,653.90 10,622.30 26,276.20 (7,322.60) 18,953.60

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2555 ล้านบาท ล้านบาท 1,535.40 1,005.72 234.83 400.21 1,659.94 4,836.10 1,752.95 6,589.05 (2,671.81) 3,917.24

1,528.90 1,199.90 1,077.93 1,131.08 1,567.93 6,505.74 1,563.18 8,068.92 (2,977.30) 5,091.62

กลุ่ ม บริ ษ ัท ไม่ มี ก ารกระจุ ก ตัว ของความเสี่ ย งจากการให้ สิ น เชื่ อ แก่ ลู ก หนี้ การค้า เนื่องจากลูกค้าของกลุ่มบริ ษทั มีจานวนมาก ซึ่ งได้แก่ ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์ ทั้งภาคธุ รกิจและผูใ้ ช้รายย่อย ทัว่ ไป ผูบ้ ริ หารเชื่อว่าค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญที่ได้บนั ทึกไว้เพียงพอแล้ว และจะไม่มีความเสี่ ยงด้านการให้ สิ นเชื่ อมากไปกว่าจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่ได้บนั ทึกแล้ว โดยคานึ งจากลักษณะของลูกหนี้ การค้าของ กลุ่มบริ ษทั และจากประสบการณ์การเรี ยกเก็บหนี้ ของกลุ่มบริ ษทั ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญเป็ นการปรับ มูลค่าของลูกหนี้ดว้ ยมูลค่าที่คาดว่าอาจเกิดความเสี ยหายเนื่ องจากการเก็บหนี้ ไม่ได้ ผูบ้ ริ หารใช้ดุลยพินิจ ในการประมาณค่าความเสี ยหายสาหรับยอดลูกหนี้ คงเหลือโดยพิจารณาจากหลาย ๆ วิธีผสมกัน เช่นตาม อัตราร้ อยละของรายได้ การวิเคราะห์อายุหนี้ ประสบการณ์การเก็บหนี้ โดยพิจารณาสภาพแวดล้อมทาง เศรษฐกิ จ ปั จ จุ บ ัน ร่ ว มด้ว ย อย่า งไรก็ ต ามการใช้วิ ธี ป ระมาณค่ า และสมมติ ฐ านต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ อาจมี ผลกระทบต่อมูลค่าการประมาณการค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญและอาจต้องมีการปรับปรุ งค่าเผื่อดังกล่าวใน อนาคต สิ นทรั พย์ ไม่ มีตัวตน (สุ ทธิ ) ณ สิ้ นปี 2556 มีจานวน 28.9 พันล้านบาท โดยลดลงร้ อยละ 18.4 จาก ณ สิ้ น ปี 2555 ส่ ว นใหญ่ จ ากสั ญ ญาการให้ บ ริ การ (เกี่ ย วกับ การด าเนิ น การให้ บ ริ การ โทรคมนาคมภายใต้เทคโนโลยี HSPA ระหว่าง BFKT และ CAT Telecom) ที่มีมูลค่าสุ ทธิ ทางบัญชี 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2,964.38 ล้านบาท ซึ่ งถูกตัดจาหน่ายเป็ นต้นทุนของการขายสิ นทรัพย์ภายใต้ “สัญญาโอนขายสิ นทรัพย์ และสิ ทธิรายได้รับ” (ดูรายละเอียดใน หมายเหตุขอ้ 22 และ 40 ประกอบงบการเงินประจาปี 2556) หนีส้ ิ น หนี้สินรวม ณ สิ้ นปี 2556 มีจานวน 201.1 พันล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นร้ อยละ 20.9 จาก ณ สิ้ นปี 2555 ส่ วนใหญ่จากรายได้รอการรับรู ้ ที่เกิ ดจากรั บรู ้ เงิ นรับล่วงหน้า สาหรั บเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา จานวน 16.4 พันล้านบาท ที่จะต้องส่ งมอบให้ TRUEGIF 

เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ นื่ มีจานวน 88.4 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 97.6 จาก สิ้ นปี 2555 จากรายได้รอการรั บรู ้ ที่ กล่ าวข้างต้น และตามการขยายตัวของธุ รกิ จในกลุ่ มทรู (โดยเฉพาะ เกี่ยวกับการดาเนินการให้บริ การโทรคมนาคมภายใต้เทคโนโลยี HSPA ระหว่าง BFKT และ CAT Telecom) 

เงินกู้ยืมระยะยาว ลดลงร้อยละ 12.1 จาก ณ สิ้ นปี 2555 เป็ น 76.3 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จาก การชาระคืนหนี้สินระยะยาวก่อนกาหนดจานวน 18.4 พันล้านบาท ในวันที่ 27 ธันวาคม 2556 

ส่ วนของผู้ถือหุ้น ลดลง จาก 14.0 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2555 เป็ น 4.7 พันล้านบาท ณ สิ้ นปี 2556 จากผลขาดทุนจากการดาเนินงานในระหว่างปี 

สภาพคล่ องและแหล่ งเงินทุน แหล่ งเงินทุนหลักของกลุ่มทรู สาหรับปี 2556 มาจากกระแสเงินสดจากกิ จกรรมดาเนิ นงาน (22.7 พันล้านบาท) ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น (29.6 พันล้านบาท) 

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน ในปี 2556 เพิ่มขึ้นสู ง เป็ น 22.7 พันล้านบาท จาก 7.3 พันล้านบาท ในปี 2555 ส่ วนใหญ่จากการที่กลุ่มทรู รับรู ้ เงินรับล่วงหน้า (สาหรับเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา จานวน 16.4 พันล้านบาท ที่จะต้องส่ งมอบให้ TRUEGIF) เป็ นรายได้รอการรับรู ้ ภายใต้เจ้าหนี้ การค้า และเจ้าหนี้อื่น (ดูรายละเอียดใน หมายเหตุขอ้ 35 และ 40 ประกอบงบการเงินประจาปี 2556) 

กระแสเงินสดใช้ ไปสุ ทธิจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2556 ลดลงเป็ น 2.8 พันล้านบาทจาก 27.0 พันล้านบาท ในปี 2555 โดยส่ วนใหญ่จากเงิ นที่ได้จากการขายสิ นทรัพย์และสิ ทธิ รายได้ของสิ นทรัพย์เข้า TRUEGIF และการขายเงินลงทุนในหุน้ สามัญของ 8 บริ ษทั ย่อยที่ไม่ใช่ธุรกิจหลักของกลุ่ม 

ในปี 2556 กลุ่ มทรู มีรายจ่ายลงทุ น รวม 25.6 พันล้านบาท (โดย 12.5 พันล้านบาท สาหรับ กลุ่มทรู โมบาย 11.2 พันล้านบาท สาหรับทรู ออนไลน์ และ 2.1 พันล้านบาท สาหรั บทรู วิชนั่ ส์ ) ลดลง 1.5 พันล้านบาทจากปี 2555 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

กลุ่มทรู มีกระแสเงิ นสดสุ ทธิ (Free cash flow) เป็ นลบ จานวน 2.9 พันล้านบาท ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 85.1 จากปี ก่อนหน้า ส่ วนใหญ่จากกระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงานที่เพิ่มขึ้น 

กระแสเงินสดจากกิ จกรรมจัดหาเงิน เงินสดสุ ทธิ ที่ใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินมีจานวนทั้งสิ้ น 11.2 พันล้านบาท ในปี 2556 ส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการชาระหนี้สิน ล่วงหน้าในปลายธันวาคม 2556 

ความสามารถในการชาระหนี้ ในปี 2556 กลุ่มทรู ได้ชาระหนี้ ตามที่ได้กาหนดในตารางการ ชาระคืนหนี้ อีกทั้งยังสามารถชาระคืนหนี้ ล่วงหน้าส่ วนหนึ่ งจากเงินที่ได้จากการขายสิ นทรัพย์และสิ ทธิ รายได้ของสิ นทรัพย์เข้า TRUEGIF นอกจากนี้ ทรู ออนไลน์ได้มีการออกหุ ้นกูเ้ พื่อรี ไฟแนนซ์หนี้ บางส่ วน โดย ณ สิ้ นปี 2556 อัตราส่ วนหนี้ สินระยะยาว (ไม่รวมสัญญาเช่าทางการเงิน) สุ ทธิ ต่อ EBITDA ของกลุ่ม ทรู ลดลงเป็ น 4.0 เท่า จาก 5.0 เท่า ณ สิ้ นปี 2555 จากการชาระคืนหนี้ สินระยะยายล่วงหน้าจานวน 18.4 พันล้านบาท ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2556 

ส่วนที่ 3

กำรวิเครำะห์และคำอธิบำยของฝ่ ำยจัดกำร

หัวข ้อที่ 14 - หน ้ำ 20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล “บริ ษทั ฯ ได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ฉบับนี้ แล้ว ด้วยความระมัดระวัง บริ ษทั ฯ ขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาให้ผูอ้ ื่นสาคัญผิด หรื อไม่ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งใน สาระสาคัญ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ขอรับรองว่า (1) งบการเงิ นและข้อมูลทางการเงิ นที่ สรุ ปมาในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจาปี ได้แสดงข้อมูลอย่าง ถูกต้องครบถ้วนในสาระสาคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยแล้ว (2) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีระบบการเปิ ดเผยข้อมูลที่ดี เพื่อให้แน่ใจว่าบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลในส่ วนที่เป็ น สาระสาคัญทั้งของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทั้งควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว (3) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว และ บริ ษทั ฯ ได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ต่อผูส้ อบบัญชีและกรรมการตรวจสอบ ของบริ ษทั ฯ แล้ว ซึ่งครอบคลุมถึงข้อบกพร่ องและการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทา ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทารายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ในการนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็ นเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริ ษทั ฯ ได้รับรองความถูกต้องแล้ว บริ ษทั ฯ ได้มอบหมายให้ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิ ศร์ วินิจสร และ นางรังสิ นี สุ จริ ตสัญชัย เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกากับ เอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นายนพปฎล เดชอุดม นายธนิศร์ วินิจสร และ นางรังสิ นี สุจริ ตสัญชัย กากับไว้ บริ ษทั ฯ จะถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่บริ ษทั ฯ ได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชื่อ

ตาแหน่ง

ลายมือชื่อ

1. ศาสตราจารย์พิเศษอธึก อัศวานันท์

รองประธานกรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านกฎหมาย

……………………………………

2. นายวิเชาวน์

รักพงษ์ไพโรจน์

กรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฏิบตั ิการ ด้านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการ และบารุ งรักษาธุรกิจบรอดแบนด์ โมบาย ซีเอทีวี

…………………………………….

ผูร้ ับมอบอานาจ นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านการเงิน

…………………………………….

นายธนิศร์

วินิจสร

ผูอ้ านวยการ ด้านบัญชีกลุ่มบริ ษทั

…………………………………….

นางรังสิ นี

สุจริ ตสัญชัย

เลขานุการบริ ษทั

…………………………………….

กำรรับรองควำมถูกต ้องของข ้อมูล

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1. ข้ อมูลของกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท 1.1 รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท (ณ 31 ธันวาคม 2556) กรรมการ ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายวิทยา เวชชาชีวะ / 4 ม.ค. 2542

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กากับดูแลกิจการที่ดี

77

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 - ไม่มี -

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

นิติศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา อักษรศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริ ดจ์ ประเทศอังกฤษ

ปริ ญญาตรี

นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริ ดจ์ ประเทศอังกฤษ

เนติบณ ั ฑิต

สานักเกรส์ อินน์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2541-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. โกลว์ พลังงาน 2545-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ฟิ นนั ซ่า บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2541-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. เค ไลน์ (ประเทศไทย) และ บริ ษัทในเครื อ 2534-2535 ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ 2531 เอกอัครราชทูตประจาประเทศสหรัฐอเมริ กา 2527 เอกอัครราชทูตประจาประเทศเบลเยี่ยม และ ประชาคมยุโรป 2524 เอกอัครราชทูตประจาประเทศแคนาดา 2522 อธิบดีกรมเศรษฐกิจ

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ดร. โกศล เพ็ชร์ สวุ รรณ์ / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการ กากับดูแลกิจการที่ดี

74

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาเอก

สาขาวิศวกรรมศาสตร์ Imperial College London

ปริ ญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร์ Imperial College London

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Director Certification Program (DCP) - Audit Committee Program (ACP) - Role of the Chairman Program (RCP) - Financial Institutions Governance Program (FGP) - Finance for Non-Finance Directors (FND) - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) - Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR) - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) - Chartered Director Class (R-CDC) - Audit Committee Effectiveness Seminar: What Works Best – Global Practices vs. Practices in Thailand - 2012 Theme: Innovative Approaches to Create Value for Business and Society - IOD Director Briefing 1/2013 Thailand’s Economic Outlook 2013 - IOD Tea Talk : “Effective Regulation and Corporate Governance in Asia” - The 2nd National Director Conference 2013 “Board Leadership Evolution”

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2554-ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2547-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ ธนาคารสินเอเซีย จากัด (มหาชน)) 2544-2552 กรรมการ โรงเรี ยนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) 2544-2548 นายกสมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2543-2544 ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแห่งประเทศไทย 2529-2535 อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายโชติ โภควนิช / 22 ธ.ค. 2542

นายฮาราลด์ ลิงค์ / 1 มี.ค. 2553

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ ในคณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

71

กรรมการอิสระ

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา หลักสูตรการจัดการด้ านการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP) - IOD National Director Conference 2012 – Moving Corporate Governance Forward : Challenge for Thai Directors - Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) - Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) - How to Measure the Success of Corporate Strategy (HMS) - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR)

59

50,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

- ไม่มี -

MBA, St. Gallen University, Switzerland การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2542-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2556-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. สยามแม็คโคร 2555-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ล็อกซเล่ย์ 2543-2544 ประธานกรรมการบริ หาร บริ ษัทเงินทุน ทิสโก้ จากัด (มหาชน) (ปั จจุบนั ชื่อ ธนาคารทิสโก้ จากัด (มหาชน)) 2537-2540 ประธานกรรมการบริ หาร กลุม่ บมจ. ไทยวา 2535-2537 กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ กงสุลใหญ่แห่งเดนมาร์ ก ประจาประเทศไทย บมจ. อี๊สต์เอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. บางกอกแร้ นช์ 2545-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2542-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. คิงฟิ ชเชอร์ โฮลดิ ้งส์ 2552-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด 2547-2549 ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร ธนาคารสินเอเซีย จากัด (มหาชน) (ปั จจุบนั ชื่อ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จากัด (มหาชน)) บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มี.ค. 2553-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2543-ก.พ. 2553 กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2541-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ปูนซีเมนต์นครหลวง บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2553-ปั จจุบนั Director, G&L Beijer AB (จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สวีเดน) 2530-ปั จจุบนั Chairman, B. Grimm Group of Companies

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉ่าเฉลิม / 1 มี.ค. 2553

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ

69

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 54,435 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

นิติศาสตร์ มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาตรี

นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เนติบณ ั ฑิต

สานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา

พิเศษ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ. รุ่นที่ 1)

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มี.ค. 2553-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. เสริ มสุข ประธานกรรมการ บมจ. ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ ง แอนด์ คอนสตรัคชัน่ 2547- 2549 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. อสมท 2546-2548 กรรมการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บมจ. การบินไทย บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ บมจ. ทางยกระดับดอนเมือง รองประธานกรรมการ บมจ. นครหลวง ลีสซิ่ง-แฟ็ กเตอริ ง ศาสตราจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์พิเศษสานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา ศาสตราจารย์พิเศษชันปริ ้ ญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์พิเศษชันปริ ้ ญญาเอก มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ศาสตราจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2545-ปั จจุบนั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) กรรมการ สานักงานคณะกรรมการนโยบายตารวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กระทรวงสาธารณสุข กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ กรรมการบริ หาร สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประธานกรรมการจริ ยธรรม สานักงานมาตรฐานสินค้ าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 2544-ปั จจุบนั กรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารสาขาต่างๆ (สขร.) กรรมการกฤษฎีกา สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2538-ปั จจุบนั กรรมการ คณะกรรมการโอลิมปิ คแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 2546-2547 อัยการสูงสุด สานักงานอัยการสูงสุด อุปนายก เนติบณ ั ฑิตยสภา 2544-2547 กรรมการ กองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการ 2543-2546 รองอัยการสูงสุด สานักงานอัยการสูงสุด 2545-2547 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย 2543-2545 กรรมการ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย 2539-2543 อธิบดีอยั การฝ่ ายวิชาการ สานักงานอัยการสูงสุด 2543-2549 กรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค 2539-2552 กรรมการ มูลนิธิแสงชัย สุนทรวัฒน์ 2530-2536 ที่ปรึกษากฎหมาย ผู้บญ ั ชาการทหารบก ที่ปรึกษากฎหมาย ผู้บญ ั ชาการทหารสูงสุด 2536-2539 กรรมการ การสื่อสารแห่งประเทศไทย (ปั จจุบนั ชื่อ บมจ. กสท โทรคมนาคม) 2528-2540 กรรมการ การประปานครหลวง

4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายธนินท์ เจียรวนนท์ / 11 ก.พ. 2536

ดร.อาชว์ เตาลานนท์ / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

ประธานกรรมการ และ ประธาน คณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

74

รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กากับดูแลกิจการที่ดี

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 - ไม่มี -

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบิดาของ นายสุภกิต เจียรวนนท์ นายณรงค์ เจียรวนนท์ นายศุภชัย เจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา Commercial School ประเทศฮ่องกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

75

- ไม่มี -

- ไม่มี -

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ประธานกรรมการ บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร ประธานกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง ประธานกรรมการ และ ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และ บริ ษัทในเครื อ

ปริ ญญากิตติมศักดิ์

ศิลปศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย วิศวกรรมศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง วิศวกรรมศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ประธานคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกากับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2536-2542 กรรมการ และ กรรมการผู้จดั การใหญ่ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่

ปริ ญญาเอก

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิเศษ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรรัฐร่วมเอกชนรุ่นที่ 1

บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2535-ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ 2544-2547 ประธานกรรมการ หอการค้ าไทย และ สภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย 2534-2535 รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัทในเครื อของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ประธาน Board of Trustee สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย กรรมการ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP)

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ศ.(พิเศษ)อธึก อัศวานันท์ */ 22 ส.ค. 2540

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

รองประธานกรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านกฎหมาย

62

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 1,875,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.01)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

สาขานิติศาสตร์ Specialised in International Legal Studies, New York University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขานิติศาสตร์ (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การอบรม หลักสูตรผู้บริ หารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 3 การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2540-ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกฎหมาย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ ส.ค.-ธ.ค. 2554 กรรมการอิสระ บมจ. โทรี เซนไทย เอเยนต์ซีส์ 2551-ก.พ. 2552 เลขานุการบริ ษัท บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2540-ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกฎหมาย บริ ษัทในเครื อของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ หัวหน้ านักกฎหมาย กลุม่ บริ ษัท เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ และ บริ ษัทในเครื อ 2545-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ 2544-2549 ผู้พิพากษาสมทบในศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและ การค้ าระหว่างประเทศกลาง 2521-2540 Baker & McKenzie ปั จจุบนั อาจารย์พิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม / 1 มี.ค. 2555

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ ด้ านการเงิน

64

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาเอก

เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ University of Illinois at Urbana-Champaign สหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

เศรษฐศาสตร์ University of Illinois at Urbana-Champaign สหรัฐอเมริ กา บริ หารธุรกิจ Kellogg School of Management, Northwestern University, Evanston, Illinois สหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

เศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยม”ดีมาก”) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Accreditation Program (DAP) - The Role of Chairman (RCM) - Role of the Compensation Committee (RCC)

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2555-ปั จจุบนั กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2553-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. น ้าตาลขอนแก่น 2552-ปั จจุบนั ที่ปรึกษาบริ หาร บมจ. อมตะ คอร์ ปอเรชัน ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. ปริ ญสิริ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มิ.ย. 2555-ปั จจุบนั กรรมการ และ เลขานุการ มูลนิธิสถาบันวิจยั และพัฒนาองค์กร ภาครัฐ (สพร.) 2555-ปั จจุบนั อนุกรรมการติดตามประเมินผล โครงการกองทุนพัฒนาไฟฟ้ า เพื่อกิจการ สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน 2553-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บริ ษัท พันธวณิช จากัด กรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจากระทรวงคมนาคม อนุกรรมการพิจารณาร่างประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขาย หลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี ้ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2550-ปั จจุบนั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อนุญาโตตุลาการ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประสบการณ์การทางาน -

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

กรรมการผู้จดั การ บริ ษัท ทริ ส คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (ทริ ส) กรรมการผู้จดั การ บริ ษัท ทริ สเรทติ ้ง จากัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ธนาคารกสิกรไทย จากัด (มหาชน) กรรมการ ร่างพระราชบัญญัติแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ กระทรวงการคลัง กรรมการ การจัดตังองค์ ้ กรกากับดูแลอิสระ สานักรัฐวิสาหกิจและ หลักทรัพย์ของรัฐ กระทรวงการคลัง กรรมการสรรหากรรมการผู้จดั การ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อนุกรรมการพิจารณาวิสามัญเกี่ยวกับการบริ หารกาลังคนภาครัฐ อย่างมีประสิทธิภาพ สานักงาน ก.พ. ผู้ประเมินคุณภาพภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ประธานกรรมการบริ หาร หลักสูตรปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ (สาหรับนักบริ หาร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการพิจารณาเนื ้อหาวิชาการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์

7


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายอารุง สรรพสิทธิ์วงศ์ / 16 พ.ย. 2544

เอกสำรแนบ 1

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ กรรมการใน คณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

61

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 718,800 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปริ ญญาตรี

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - IOD National Director Conference 2012 – Moving Corporate Governance Forward : Challenge for Thai Directors

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2544-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ กรรมการ บมจ. อลิอนั ซ์ ซี.พี. ประกันภัย กรรมการ บมจ.สยามแม็คโคร บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานสานักการเงินเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ ธนาคารวีนาสยาม จากัด กรรมการ บจ. ซี.พี. โลตัส คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ เพลส คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ ฟรอนท์ คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ พาร์ ค คอร์ ปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิ่ง กรรมการ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส กรรมการ บจ. ทรู มันนี่ กรรมการ บจ. ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล กรรมการ บจ. ทรู พรอพเพอร์ ตีส์ กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล คอนเท้ นท์ แอนด์ มีเดีย กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล พลัส

8


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์* / 30 พ.ย. 2543

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านปฏิบตั ิการ ด้ านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการและ บารุงรักษา

56

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 303,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

บริ หารธุรกิจ Pepperdine University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้ า) University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้ า) Arizona State University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การอบรม หลักสูตรผู้บริ หารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (หลักสูตร บ.ย.ส.) รุ่นที่ 15 หลักสูตรผู้บริ หารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 14 การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุ่นที่ 16)

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2555-ปั จจุบนั กรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ ด้ านคุณภาพ โครงข่าย การปฏิบตั ิการและบารุงรักษา 2543-2555 กรรมการ กรรมการผู้จดั การ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ - โครงข่ายและเทคโนโลยี 2541-2543 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านธุรกิจและบริ การ 2540-2541 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านปฏิบตั ิการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2539-2540 ผู้จดั การทัว่ ไปสายงานโทรศัพท์นครหลวงตะวันออกเฉียงใต้ 2538-2539 ผู้จดั การทัว่ ไปสายงานโทรศัพท์นครหลวงตะวันตก บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการบริ หาร บจ. พันธวณิช ประธานคณะกรรมการบริ หาร บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนั่ ส์ กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู ทัช กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. เรี ยล ฟิ วเจอร์ กรรมการ บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป กรรมการ บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

9


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ และ ผู้อานวยการบริ หาร การลงทุนกลุม่

51

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2536-ปั จจุบนั กรรมการ และ ผู้อานวยการบริ หาร – การลงทุนกลุม่ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2556-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. เอสวีไอ 2544-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ 2550-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริ หาร บล. ฟิ นนั เซีย ไซรัส จากัด (มหาชน) 2548-2556 กรรมการ บมจ. อะมานะฮ์ ลิสซิ่ง 2543-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2543-ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง 2540-ปั จจุบนั ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต และ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท 2549-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก 2535-2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก 2533-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี่ ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัทในเครื อของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

10


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายสุภกิต เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56

กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กาหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

50

1,403,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.01)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นพี่ชายของ นายณรงค์ เจียรวนนท์ และ นายศุภชัยเจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ New York University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 92/2011

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและ สรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ กรรมการ บมจ. สยามแม็คโคร บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานบริ หาร บมจ. ยูทีวี เคเบิ ้ล เน็ตเวอร์ ค รองประธานกรรมการบริ หาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ์ ประธานกรรมการบริ ษัท บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ ประธานกรรมการบริ ษัท บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล ประธานกรรมการบริ หาร บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ แลนด์ โฮลดิ ้ง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ พร็ อพเพอร์ ตี ้ เมเนสเม้ นท์ ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ เรี ยล เอสเตรส กรุ๊ป ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ โลตัส (เซี่ยงไฮ้ ) ประธานคณะกรรมการ บจ. ฟอร์ จนู ลิสซิ่ง ประธานคณะกรรมการ บจ. แมส เจียน อินเวสเม้ นท์ ประธานคณะกรรมการ บจ. ปั กกิ่ง โลตัส ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต เชนส์ สโตร์ ประธานคณะกรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู ประธานกรรมการร่ วม บจ. เซี่ยงไฮ้ คิงฮิวล์ – ซุปเปอร์ แบรนด์มอล์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร กลุม่ ธุรกิจการตลาด และการจัดจาหน่าย (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร กลุม่ ธุรกิจพัฒนาที่ดิน (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บจ. ซีพี โลตัส คอร์ ปอเรชัน่ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร บจ. เซี่ยงไฮ้ โลตัส ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต เชนส์ สโตร์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจการตลาด และการจัดจาหน่าย (ไทย) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจพัฒนาที่ดิน (ไทย) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจโทรคมนาคม บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจยานยนต์และอุตสาหกรรม (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธาน บจ. เจียไต๋ เทรดดิ ้ง (ปั กกิ่ง) รองประธาน บจ. เจียไต๋ วิชนั่ รองประธาน บจ. เจียไต๋ อินเตอร์ เนชัน่ แนลไฟแนนซ์ รองประธาน บจ. เซี่ยงไฮ้ ฟอร์ จนู เวิลด์ ดีเวลลอปเม้ นท์ กรรมการ บจ. เจียไต๋ ดีเวลลอปเม้ นท์ อินเวสเม้ นท์ กรรมการ บจ. เจียไต๋ กรุ๊ป กรรมการ บจ. ซีพี โภคภัณฑ์ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. ฟอร์ จนู เซี่ยงไฮ้ กรรมการ บจ. โลตัส ซีพีเอฟ (จีน) อินเวสเม้ นท์ กรรมการ บจ. ผิง อัน อินชัวรันช์ (กรุ๊ป) ออฟ ไชน่า (มีต่อหน้ าถัดไป)

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

11


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายสุภกิต เจียรวนนท์*

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประวัติการทางานที่สาคัญ (ต่อจากหน้ าที่แล้ ว) ตาแหน่งทางสังคม 2556 ที่ปรึกษารัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม 2555 ผู้ชานาญการประจาคณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา 2554 Vice Chairman of Youth Committee of China Overseas Chinese Investment Enterprises Association 2553 ประธานหอการค้ าไทยในจีน 2552 กรรมการมูลนิธิเดอะบิ ้ลด์ ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษารัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรม 2551 กงสุลกิตติมศักดิ์สหพันธรัฐรัสเซียประจาจังหวัดภูเก็ต กระบี่ และ พังงา Committeee of Chinese People’s Government Consultant Committee-Wuhan Province No.10th 2549 Award of Bai Yu Lan from Shanghai Government Member of Fudan Incentive Management Fund Committee of Fudan University Management Committee of Chia Tai International Center of Peking University ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร 2548 สมาชิกสมาคมธุรกิจไทยรุ่นใหม่ อุปนายกสมาคมส่งเสริ มการลงทุนและการค้ าไทย-จีน 2547 กรรมการกองทุนส่งเสริ มงานวัฒนธรรม สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ อุปนายกสมาคมขี่ม้าแห่งประเทศไทย 2545 สมาชิกชมรมธุรกิจไทยรุ่นใหม่ รองประธานสภาธุรกิจไทย-จีน 2538 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ประจาคณะกรรมาธิการกีฬา สภาผู้แทนราษฎร 2536 กรรมการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน คณะกรรมาธิการเด็กเยาวชนและผู้สงู อายุ เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ที่ได้ รับ 2555 จัตรุ ถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) 2553 จัตรุ ถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) 2551 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.)

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

12


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายณรงค์ เจียรวนนท์ / 29 เม.ย. 2551

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ

49

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 161,577 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นน้ องชายของ นายสุภกิตเจียรวนนท์ และ เป็ นพี่ชายของ นายศุภชัย เจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญากิตติมศักดิ์

ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคาแหง

ปริ ญญาตรี

วิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิต สาขาวิชา Business Administration New York University, USA

Advance Management Program: Transforming Proven Leaders into Global Executives, Harvard Business School, Harvard University การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) (2550)

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2551-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2556-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. สยามแม็คโคร 2542-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556-ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Songlian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Wenzhou Yichu Ailian Supermarket Co., Ltd. 2555-ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Cailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Nantung Tonglian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Kunshan Tailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ C.P. Zonglian (Shanghai) Management Co., Ltd. กรรมการผู้จดั การ Shanghai Litai Logistics Co., Ltd. กรรมการ Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. รองประธานคณะกรรมการ CP Food Product (Shanghai) Co., Ltd. 2554-ปั จจุบนั กรรมการ Chia Tai Qingdao Holdings (Hongkong) Limited กรรมการ Chia Tai Xiangyang Holdings (Hongkong) Limited กรรมการ Chia Tai Qingdao Holdings Limited กรรมการ Chia Tai Xiangyang Holdings Limited กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ พาร์ ค คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ เพลส คอร์ ปอเรชัน่ กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ ฟรอนท์ คอร์ ปอเรชัน่ รองประธานคณะกรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู ผู้ช่วยอาวุโสประธานกรรมการเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ “สรรหาบุคลากรของเครื อ” 2553-ปั จจุบนั ผู้อานวยการใหญ่ มหาวิทยาลัยธุรกิจ ซีพี รองประธานคณะกรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจการตลาดและการจัดจาหน่าย (ไทย) รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจการตลาดและการจัดจาหน่าย (จีน) รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจพัฒนาที่ดิน (จีน) รองประธานกรรมการ Shanghai Kinghill Limited รองประธานกรรมการ CP Lotus Corporate Management Co., Ltd. กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล 2552-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วิส กรรมการ Wuxi Ailian Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Wuxi Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Taizhou Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Hefei Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Changsha Chulian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Wuhan Yichu Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Changsha Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. (มีต่อหน้ าถัดไป)

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

13


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายณรงค์ เจียรวนนท์

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประวัติการทางานที่สาคัญ (ต่อจากหน้ าที่แล้ ว) 2551-ปั จจุบนั

2550-ปั จจุบนั 2550-2553 2548-ปั จจุบนั 2547-ปั จจุบนั 2546-ปั จจุบนั 2545-ปั จจุบนั 2544-ปั จจุบนั 2543-ปั จจุบนั 2540 2538-2540

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

กรรมการบริ หาร บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรรมการบริ หาร Beston Action Utility Wear (Lianyungang) Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Jiangsu CP Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Beijing CP Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Zhejiang CP Trading Co., Ltd. กรรมการ Foshan C.P. Lotus Management Consulting Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส CP Lotus Corporation Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส Chia Tai (China) Investment Co., Ltd. กรรมการบริ หาร C.P. Pokphand Co., Ltd. กรรมการ Qingdao Lotus Supermarket Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Xi’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Tai’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร ธนาคาร Business Development กรรมการ Yangtze Supermarket Investment Co., Ltd. กรรมการ Wuhan Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการผู้จดั การ Ek-Chor Trading (Shanghai) Co., Ltd. กรรมการผู้จดั การ Ek-Chor Distribution (Thailand) Co., Ltd.

14


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้ เป็ นกรรมการครัง้ แรก นายศุภชัย เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร

46

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 4,279,439 หุ้น (ร้ อยละ 0.03)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นน้ องชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท์ และ นายณรงค์ เจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ (การเงิน) Boston University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 92/2011

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2542-ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร 2540 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส 2539 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านปฏิบตั ิการและพัฒนาธุรกิจ 2538 ผู้จดั การทัว่ ไปโทรศัพท์นครหลวงตะวันออก 2537 ผู้อานวยการอาวุโสฝ่ ายสนับสนุนและประสานงานการวางแผนและ ปฏิบตั ิงานโครงการ 2536 ผู้อานวยการฝ่ ายห้ องปฏิบตั ิการ 2535 เจ้ าหน้ าที่อาวุโสประจาสานักกรรมการผู้จดั การใหญ่ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์แห่งประเทศไทย 2549-ปั จจุบนั ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ 2545-ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู มูฟ 2543-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนั่ ส์ 2542-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2544-2553 ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2539 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2538 รองประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หารสายปฏิบตั ิการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล กรรมการผู้จดั การ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2534 ประสบการณ์ทางานประมาณ 2 ปี ใน บจ. วีนิไทย 2533 ประสบการณ์ทางาน 1 ปี ใน Soltex Federal Credit Union, USA 2532 ประสบการณ์ทางาน 1 ปี ใน บจ. สยามแม็คโคร ประวัติด้านกรรมการ - บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ - บจ. ทรู มูฟ - บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ - บริ ษัทย่อยอื่น ๆ ในเครือของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ - บจ. พันธวณิช - บมจ. ซีพีพีซี - บจ. ซี.พี. โลตัส คอร์ ปอเรชัน่ - บจ. เอเชีย ฟรี วิลล์ - บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนั่ ส์ - บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ์ ประวัติด้านกิจกรรมเพื่อสังคมและตาแหน่งอื่น ๆ 2553-ปั จจุบนั กรรมการที่ปรึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบนั ฑิต สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีการจัดการนวัตกรรม (สหสาขาวิชา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553-2554 กรรมการบริ หารศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ 2553-ปั จจุบนั ที่ปรึกษาประธานกรรมการบริ หาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ กรรมการกลางมูลนิธิรามาธิบดีฯ กรรมการมูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 2552-ปั จจุบนั กรรมการสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2551-ปั จจุบนั กรรมการคณะกรรมการอานวยการโครงการจัดหาและบริ การดวงตาเชิงรุกทัว่ ประเทศ 2551-2552 กรรมการคณะกรรมการจัดหาทุนและประชาสัมพันธ์เพื่อก่อสร้ าง อาคารรักษาพยาบาลรวมเฉลิมพระเกียรติ และอุปกรณ์เครื่ องมือทาง การแพทย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 2549-ปั จจุบนั ประธานคณะอนุกรรมการหาทุน ศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย กรรมการจัดหาและบริ การดวงตาแห่งสภากาชาดไทย 2542-ปั จจุบนั กรรมการที่ปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (TCT) 2548-2550 กรรมการสมาคมบริ ษัทจดทะเบียน (LCA)

* กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

15


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ผู้บริ หาร ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายนพปฎล เดชอุดม /

หัวหน้ าคณะ ผู้บริ หารด้ านการเงิน

46

1 ม.ค. 2551

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 756,773 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร์ Rensselaer Polytechnic Institute, USA

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program รุ่น 101/2008

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2550-ปั จจุบนั หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน 2546-2550 ผู้อานวยการและผู้จดั การทัว่ ไป ด้ านออนไลน์ 2543-2546 ผู้อานวยการอาวุโส สายงานการเงิน บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต กรรมการ บจ. ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. เรี ยล มูฟ กรรมการ บจ. เรี ยล ฟิ วเจอร์ กรรมการ บจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง จากัด กรรมการ บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จากัด กรรมการ บจ. ทรู ดีทีที จากัด กรรมการ Gold Palace Investment Limited กรรมการ Golden Light Company Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited กรรมการ Goldsky Company Limited กรรมการ Gold Palace Logistics Limited กรรมการ GP Logistics Limited กรรมการ Golden Pearl Global Limited 2552-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี 2547-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส

16


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายวิลเลี่ยม แฮริ ส /

ผู้อานวยการบริ หาร ด้ านพัฒนาธุรกิจ ระหว่างประเทศ และ ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จดั การใหญ่ / ประธานคณะผู้บริ หาร

52

7 ต.ค. 2552

เอกสำรแนบ 1

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 625,067 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา Master Degree of Business Administration, Major in Finance and Marketing, Wharton School of the University of Pennsylvania Bachelor of Science in Economics, Wharton School of the University of Pennsylvania การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2552-ปั จจุบนั ผู้อานวยการบริ หาร ด้ านพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ และ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ / ประธานคณะผู้บริ หาร บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2544-2550 หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2542-2543 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556-ปั จจุบนั กรรมการ Golden Pearl Global Limited 2555-ปั จจุบนั กรรมการ GP Logistics Company Limited 2554-ปั จจุบนั กรรมการ Rosy Legend Limited กรรมการ Prospect Gain Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited 2553-ปั จจุบนั กรรมการ Dragon Delight Investments Limited กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ Golden Light Company Limited กรรมการ Gold Palace Logistics Limited 2549-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2536-2542 กรรมการ สานักนโยบายสินเชื่อ Verizon Communications, Philadelphia

17


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายขจร เจียรวนนท์ /

ผู้อานวยการบริ หาร ด้ านกิจการองค์กร

47

21 ก.พ. 2555

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 160,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

การจัดการ Fairleigh Dickinson University in New Jersey, USA

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อานวยการบริ หาร - ด้ านกิจการองค์กร บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. อลิอนั ซ์ ซี.พี. ประกันภัย กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ บจ. โภคภัณฑ์เอ็นเตอร์ ไพรซ์ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรรมการ บจ. ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ เซลส์ กรรมการ บจ. ส่องดาว กรรมการ บจ. ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วิส กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิ่ง กรรมการ บจ. ทรู พรอพเพอร์ ตีส์ กรรมการ บจ. สยามแลนด์ ฟลายอิ ้ง กรรมการ บจ. เอสเอไอซี มอเตอร์ -ซีพี กรรมการ บจ. เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เอคโค ออโต้ พาร์ ท (ไทยแลนด์)

18


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายธิติฏฐ์ นันทพัฒน์สิริ /

ผู้อานวยการบริ หาร ด้ านรัฐกิจสัมพันธ์

59

1 มิ.ย. 2546

เอกสำรแนบ 1

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 233,332 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟ้ า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า วิทยาเขตลาดกระบัง

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อานวยการบริ หาร - ด้ านรัฐกิจสัมพันธ์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2542-2546 กรรมการบริ หาร บมจ. ล็อกซเล่ย์ 2540-2542 ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ บมจ. ล็อกซเล่ย์ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์ วสิ เซส กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู 2551-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ 2550-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ 2549-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชั่น กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. บี บอยด์ ซีจี 2544-2545 กรรมการผู้จดั การ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บจ. ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย 2535-2543 กรรมการผู้จดั การ และ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บจ. ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย)

19


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุข /

ผู้อานวยการบริ หาร ธุรกิจโมบาย

50

13 ม.ค. 2541

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 1,969,129 หุ้น (ร้ อยละ 0.01)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขาการบริ หารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Diploma of Australian Institution of Director 2005

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อานวยการบริ หาร – ธุรกิจโมบาย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2544 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู ไลฟ์ พลัส กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ Golden Light Company Limited กรรมการ Gold Palace Logistics Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited กรรมการ GP Logistics Limited 2549-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ 2546 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่ 2545 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่สายงานธุรกิจ บจ. ทรู มูฟ 2541-2545 ผู้จดั การทัว่ ไป บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2541-2544 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน่

20


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย์ /

ผู้อานวยการบริ หาร ด้ านลูกค้ าองค์กร ธุรกิจและบริ การ ระหว่างประเทศ

55

1 เม.ย. 2546

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 100 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ University of South Alabama ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การอบรม หลักสูตรผู้บริ หารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 15 การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุ่นที่ 54)

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อานวยการบริ หาร – ด้ านลูกค้ าองค์กรธุรกิจและบริ การ ระหว่างประเทศ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน่ เทคโนโลยี กรรมการ และ Executive Director Corporate Solution บจ. ทรู มูฟ กรรมการบริ หาร บจ. พันธวณิช กรรมการ บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนั่ ส์ กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง กรรมการ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2549-ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู อินเตอร์ เนชัน่ แนล เกตเวย์ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2546-2551 กรรมการ บจ. ทรู มัลติมีเดีย 2544-2546 กรรมการผู้จดั การ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery 2544-2545 ผู้อานวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย 2543 ผู้อานวยการฝ่ ายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผู้จดั การฝ่ ายผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2541 ผู้จดั การฝ่ ายการเงินและบริ หาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2540 ผู้จดั การฝ่ ายธุรกิจบริ การ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย

21


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายอาณัติ เมฆไพบูลย์วฒ ั นา /

ผู้อานวยการบริ หาร ธุรกิจเพย์ ทีวี

53

21 ก.พ. 2555

เอกสำรแนบ 1

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 400,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

บริ หารการตลาด, West Coast University, USA

ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมเครื่ องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อานวยการบริ หาร - ธุรกิจเพย์ ทีวี บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (มหาชน) บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ กรรมการ บจ. ทรู ดิสทริ บิวชัน่ แอนด์ เซลส์ กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ บจ. ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์ วิส (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์ วสิ เซส กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บมจ. ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ ้ล กรรมการ บจ. แซทแทลไลท์ เซอร์ วิส กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. ทรู จีเอส กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง 2552-2555 รองหัวหน้ ากลุม่ คณะผู้บริ หารด้ านการพาณิชย์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2545-2552 ผู้อานวยการและผู้จดั การทัว่ ไป บมจ. ทรู คอร์ปอเรชัน่ 2541-2545 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2540-2541 ผู้จดั การทัว่ ไป บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์ วิสเซส 2539-2540 ผู้อานวยการ บจ. เอเชีย มัลติมีเดีย 2538-2539 ผู้จดั การทัว่ ไป บจ. ยูเน็ต 2538 ผู้อานวยการ บจ. ยูทีวี เคเบิ ้ล เน็ตเวอร์ ค 2537 ผู้อานวยการ บจ. เทเลคอมโฮลดิ ้ง

22


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายเจริ ญ ลิ่มกังวาฬมงคล /

ผู้อานวยการบริ หาร ธุรกิจออนไลน์

50

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 200,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริ ญญาตรี

26 ต.ค. 2555

Mini MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อานวยการบริ หาร – ธุรกิจออนไลน์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่

บริ หารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจ. ทรู มัลติมีเดีย กรรมการบริ ษัท บจ. ทรู ไลฟ์ พลัส 2546-2549 ผู้อานวยการฝ่ ายการตลาด บจ. ยัมส์ เรสเตอรอง (ประเทศไทย) 2535-2546 ผู้อานวยการฝ่ ายการขายและการตลาด บจ. ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ 2532-2535 ผู้จดั การผลิตภัณฑ์ บจ. ยูนิลิเวอร์ (ประเทศไทย) 2529-2532 เจ้ าหน้ าที่บริ หารลูกค้ า บจ. ลินตาส (ประเทศไทย)

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ดร. ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์ / 21 ก.พ. 2555

หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านการพาณิชย์ ด้ านการขายและรี เทล

47

200,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

- ไม่มี -

ปริ ญญาเอก

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการพัฒนาองค์การ (หลักสูตร) นานาชาติ

ปริ ญญาโท

Communication Advertising and Public Relations Emerson College, Boston, Massachusetts, USA

ปริ ญญาตรี

Management มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

Advertising of Public Relations and Print Production, The Advertising Club of Greater Boston

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

เอกสำรแนบ 1

ประวัติการทางานที่สาคัญ

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2555-ปั จจุบนั หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการพาณิชย์ - ด้ านการขายและรี เทล บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2548-2555 ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ และ รองหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการพาณิชย์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชั่น กรรมการ บจ. ทรู วิสต้ าส์ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ กรรมการ Dragon Delight Investment Limited กรรมการ บจ. ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์ วิส (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล 2543-2548 ผู้อานวยการด้ านการตลาดและการขาย บจ. มาสด้ า เซลส์ (ประเทศไทย) 2542-2543 Chief Operating Officer เบเกอรี่ มิวสิค กรุ๊ป 2541-2542 Group Account Director and General Manager Grey Advertising Thailand and WhizzbangArts 2536-2541 Managing Director The Print International Co., Ltd. and Design Arts Co.,Ltd. 2534-2535 Project Manager Ammirati Puris Lintas (Thailand) Company

23


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นายคาร์ ล กูเดียร์ /

หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านบริ การลูกค้ า

49

1 ก.พ. 2556

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 - ไม่มี -

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา Bachelor Degree of Aircraft Operational Engineering, AH Amsterdam การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ประวัติการทางานที่สาคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก.พ. 2556-ปั จจุบนั หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านบริ การลูกค้ า บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ เม.ย.2553-ปั จจุบนั รักษาการผู้อานวยการ ด้ านการรับรองคุณภาพ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ ก.พ. 2555-ก.พ. 2556 ผู้อานวยการ ด้ านบริ การลูกค้ า บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ มี.ค.2549.-มิ.ย. 2553 ที่ปรึกษากรรมการผู้จดั การใหญ่ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ เม.ย.2543-ม.ค.2548 กรรมการผู้จดั การ บจ. ทรู ทัช มี.ค.2543- ก.พ.2548 ผู้อานวยการ ด้ านบริ หารการบริ การลูกค้ า บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ เม.ย.2542-มี.ค.2543 รองผู้อานวยการ สายงานพัฒนาและตรวจสอบระบบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ บริ ษัทที่มิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2539-2542 กรรมการผู้จดั การ บจ. อซิมธุ 2536-2539 กรรมการผู้จดั การ บจ. คิวเอ็มไอ-เควสท์ (ประเทศไทย) 2534-2537 ที่ปรึกษาและที่ปรึกษาด้ านการจัดการ บจ. คิวเอ็มไอ-เควสท์ (มาเลเซีย)

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

24


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

เลขานุการบริ ษัท ชื่อ-นามสกุล / วันที่ได้ รับการแต่งตัง้

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นางรังสินี สุจริ ตสัญชัย / 27 ก.พ. 2552

เลขานุการบริ ษัท

49

จานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 56 9,584 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี วิชาเอก – การเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปริ ญญาตรี

คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี วิชาเอก – บัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การอบรม - ทบทวนกฎเกณฑ์เกี่ยวกับบริ ษัทจดทะเบียน - Workshop การทารายงาน Corporate Governance - โครงการ Smart Disclosure Program (SDP) - Moving Corporate Governance Forward: Challenge for Thai Directors - SEC 20th Anniversary International Symposium เรื่ อง "Asia: The Dynamic Capital Market Frontier" และงานกาลาดินเนอร์ ในวาระครบรอบ 20 ปี ก.ล.ต. - "ASEAN CG Scorecard" บทบาทของเลขานุการต่อการเตรี ยมความพร้ อมรับมือ AEC - การเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทจดทะเบียนเกี่ยวกับการต่อต้ านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ Corporate Social Responsibilities และบุคคลที่ทาหน้ าที่สนับสนุนให้ เกิดการกากับดูแล กิจการที่ดีในบริ ษัท (Gatekeepers) - Capital Market Research Forum ครัง้ ที่ 2/2556 หัวข้ อ “แนวทางสนับสนุน การทาโครงการสะสมหุ้นสาหรับพนักงาน (Employee Joint Investment Plan:EJIP) ของบริ ษัทจดทะเบียนไทย" - การสื่อสารและขันตอนการก ้ าหนดนโยบายที่เกี่ยวข้ องกับการป้องกันการทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ของบริ ษัทจดทะเบียน - การพัฒนากฎเกณฑ์การจัดประชุมคณะกรรมการและผู้ถือหุ้นของบริ ษัทจดทะเบียน - หลักเกณฑ์การจัดทารายงานตามมาตรา 56 และการจัดทาแบบแสดงรายการข้ อมูล ประจาปี 56-1 ที่ปรับปรุงใหม่ - แนวทางการจัดทารายงานการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริ ษัทจดทะเบียน ปี 2556

ประวัติการทางานที่สาคัญ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ 2552-ปั จจุบนั 2544-ปั จจุบนั

เลขานุการบริ ษัท เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ เลขานุการคณะกรรมการกากับดูแลกิจการ ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการด้ านการเงิน 2544-2552 รองเลขานุการบริ ษัท 2543-2544 ผู้ช่วยหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกฎหมาย – ด้ านการประสานงานกับ หน่วยงานกากับดูแลหลักทรัพย์จดทะเบียน บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร 2534-2543 ผู้จดั การฝ่ ายบัญชี และ ดูแลการปฏิบตั ิตามข้ อกาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2533-2534 เจ้ าหน้ าที่วเิ คราะห์อาวุโส – สานักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้ อง ที่จดั โดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Company Secretary Program 19/2006 (CSP) - Effective Minute Taking 5/2006 (EMT) - Corporate Governance and Social Responsibilities 1/2007 (CSR) - Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG5/2013)

1.2 หน้ าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทได้ แต่งตัง้ นางรังสินี สุจริ ตสัญชัย ดารงตาแหน่ง เลขานุการบริ ษัท ตังแต่ ้ วนั ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 เพื่อทาหน้ าที่ให้ คาแนะนาด้ านกฎหมาย และ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่คณะกรรมการ จะต้ องทราบ และ ปฏิบตั ิหน้ าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ประสานงานให้ มีการปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการ รวมทังมี ้ หน้ าที่ตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

25


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1.3 การถือหลักทรัพย์ ของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ชื่อ 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 2. ดร. โกศล เพ็ชร์ สวุ รรณ์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 3. นายโชติ โภควนิช คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 4. นายฮาราลด์ ลิงค์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 5. ศ. (พิเศษ) เรวัติ ฉ่าเฉลิม คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 6. นายธนินท์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 7. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 8. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสำรแนบ 1

หุ้นสามัญ (จานวนหุ้น)

ณ 31 ธ.ค. 2555

50,000 54,435 -

เปลี่ยนแปลงในปี 2556

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย -

1,875,000

ณ 31 ธ.ค. 2556 จานวน สัดส่วน

ณ 31 ธ.ค. 2555

หุ้นกู้ (จานวนหน่ วย) เปลี่ยนแปลง ในปี 2556

ณ 31 ธ.ค. 2556 จานวน สัดส่วน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

50,000

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

54,435

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,875,000

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

26


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ 9. ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 10. นายอารุง สรรพสิทธิ์วงศ์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 11. นายวิเชาวน์ รักษ์ พงษ์ ไพโรจน์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 12. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 13. นายสุภกิต เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 14. นายณรงค์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 15. นายศุภชัย เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 16. นายวิลเลี่ยม แฮริส คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสำรแนบ 1

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

หุ้นสามัญ (จานวนหุ้น)

ณ 31 ธ.ค. 2555

716,000 2,800 1,000,000 3,000 161,577 2,385,205 19,234 1,165,767 -

เปลี่ยนแปลงในปี 2556

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา

1,875,000

จาหน่าย

2,572,000

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา

1,400,000

จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา

1,875,000

จาหน่าย

1,875,000

ได้ มา

1,875,000

จาหน่าย ได้ มา

1,875,000

จาหน่าย

2,415,700

ได้ มา จาหน่าย -

ณ 31 ธ.ค. 2556 จานวน สัดส่วน

ณ 31 ธ.ค. 2555

หุ้นกู้ (จานวนหน่ วย) เปลี่ยนแปลง ในปี 2556

ณ 31 ธ.ค. 2556 จานวน สัดส่วน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

716,000

0.00

-

-

-

-

2,800

0.00

-

-

-

-

303,000

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,400,000

0.01

-

-

-

-

3,000

0.00

-

-

-

-

161,577

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2,385,205

0.02

-

-

-

-

1,894,234

0.01

-

-

-

-

625,067

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

27


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

ชื่อ 17. นายนพปฎล เดชอุดม คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 18. นายขจร เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 19. นายธิติฎฐ์ นันทพัฒน์สิริ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 20. นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุข คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 21. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 22. นายอาณัติ เมฆไพบูลย์วฒ ั นา คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 23. นายเจริญ ลิ่มกังวาฬมงคล คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 24. ดร. ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ 25. นายคาร์ ล กูเดียร์ คูส่ มรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

หุ้นสามัญ (จานวนหุ้น)

ณ 31 ธ.ค. 2555

เปลี่ยนแปลงในปี 2556

606,773 1,635,797 200,000 100,000* -

ได้ มา

1,150,000

จาหน่าย

1,000,000

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา

1,000,000

จาหน่าย

1,000,000

ได้ มา

160,000

จาหน่าย ได้ มา

933,332

จาหน่าย

700,000

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา

933,332

จาหน่าย

600,000

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา

3,840,000

จาหน่าย

3,839,000

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย

1,071,600 671,600

ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา จาหน่าย ได้ มา

903,565

จาหน่าย

703,565

ได้ มา

545,263

จาหน่าย

545,263

ได้ มา

288,569

จาหน่าย

388,569

ได้ มา จาหน่าย -

ณ 31 ธ.ค. 2556 จานวน สัดส่วน

หุ้นกู้ (จานวนหน่ วย)

ณ 31 ธ.ค. 2555

เปลี่ยนแปลง ในปี 2556

ณ 31 ธ.ค. 2556 จานวน สัดส่วน

756,773

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

160,000

0.00

-

-

-

-

233,332

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,969,129

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

100

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

400,000

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

200,000

0.00

-

-

-

-

200,000

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

หมายเหตุ คุณคาร์ล กูเดียร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นผูบ้ ริ หาร เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 มีหุน้ สามัญของบริ ษทั ฯ ที่ถืออยู่ ณ วันที่ได้รับแต่งตั้งจานวน 100,000 หุ น้

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

28


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2. การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม ของกรรมการและผู้บริ หารระดับสูง (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556)

รายชื่ อ

TRUE AI Asia DBS Beboyd BFKT BITCO CNP CTV DDI Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GP Logistics <BVI> GPG <BVI> GPI <BVI> HMSTL HTTCL K.I.N. K.I.N. <BVI> NEC Prospect Gain PTE RFT RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TDM TDS TE TGS TH TIC TIG TIT TITS TLP TM TMR TMS TMV TPC True DTT True Internet TSC TT TUC TUFC TVG TVS TVSC TVT

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

1. นายวิทยา เวชชาชี วะ*

/

2. ดร. โกศล เพ็ชร์ สุวรรณ์*

/

3. นายโชติ โภควนิ ช*

/

4. นายฮาราลด์ ลิ งค์*

/

/

5. ศ. (พิ เศษ) เรวัต ฉ่ าเฉลิ ม*

/

6. นายธนิ น ท์ เจียรวนนท์

C

7. ดร. อาชว์ เตาลานนท์

VC

8. ศ. (พิ เศษ) อธึ ก อัศ วานัน ท์

VC

9. ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม

/

10. นายอารุ ง สรรพสิทธิ์ วงศ์

/

11. นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์

/

12. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

/

/

13. นายสุภกิ ต เจียรวนนท์

/

/

14. นายณรงค์ เจียรวนนท์

/

15. นายศุ ภชัย เจียรวนนท์

/

16. นายวิลเลี่ ยม แฮริ ส

E

17. นายนพปฎล เดชอุ ดม

E

18. นายขจร เจียรวนนท์

E

19. นายธิ ติฏฐ์ นัน ทพัฒน์ สิริ

E

20. นายอติ รุฒม์ โตทวีแ สนสุข

E

21. นายทรงธรรม เพี ยรพัฒนาวิทย์

E

22. นายอาณัติ เมฆไพบูลย์วฒั นา

E

23. นายเจริ ญ ลิ่ มกังวาฬมงคล

E

24. ดร. ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์ 25. นายคาร์ ล กูเดี ยร์

E E

* กรรมการอิสระ เอกสำรแนบ 1

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/ /

/ / /

/ /

C = ประธานกรรมการ

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/ / /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

VC = รองประธานกรรมการ

/ = กรรมการ

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/

/

/ / /

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/ /

/ /

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

E = ผูบ้ ริ หารระดับสูง 29


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

หมายเหตุ ชื่อย่อ TRUE AI Beboyd BITCO CTV Gold Palace Logistics <BVI> Goldsky GPG <BVI> HMSTL K.I.N. NEC PTE RMV SD SMT TAM TDS TGS TIC TIT TLP TMR TMV True DTT TSC TUC TVG TVSC

เอกสำรแนบ 1

ชื่อเต็ม บริษทั ทรู คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (มหำชน) บริษทั เอเชีย อินโฟเน็ท จำกัด บริษทั บี บอยด์ ซี จี จำกัด บริษทั กรุงเทพอินเตอร์เทเลเทค จำกัด (มหำชน) บริษทั คลิกทีวี จำกัด Gold Palace Logistics Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Goldsky Company Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Golden Pearl Global Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั ฮัทชิสัน มัลติมเี ดีย เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั เอ็นอีซี คอร์ปอเรชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด บริษทั เรีย ล มูฟ จำกัด บริษทั ส่ องดำว จำกัด บริษทั เอสเอ็ม ทรู จำกัด บริษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จำกัด บริษทั ทรู ดิสทริบิวชัน่ แอนด์ เซลส์ จำกัด บริษทั ทรู จี เอส จำกัด บริษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด บริษทั ทรู อินฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จำกัด บริษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จำกัด บริษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จำกัด บริษทั ทรู มูฟ จำกัด บริษทั ทรู ดีทีที จำกัด บริษทั ไทยสมำร์ทคำร์ด จำกัด บริษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จำกัด บริษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป จำกัด บริษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จำกัด (มหำชน)

ชื่อย่อ Asia DBS BFKT CNP DDI Golden Light GP Logistics <BVI> GPI <BVI> HTTCL K.I.N. <BVI> Prospect Gain RFT Rosy Legend SM SSV TDM TE TH TIG TITS TM TMS TPC True Internet TT TUFC TVS TVT

ชื่อเต็ม บริษทั เอเชีย ดีบีเอส จำกัด (มหำชน) บริษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั ซี นิเพล็กซ์ จำกัด Dragon Delight Investment Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Golden Light Company Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) GP Logistics Company Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Gold Palace Investments Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Prospect Gain Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั เรีย ล ฟิ วเจอร์ จำกัด Rosy Legend Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั สมุทรปรำกำร มีเดีย คอร์ปอเรชัน่ จำกัด บริษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วิส จำกัด บริษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จำกัด บริษทั เทเลเอ็นจี เนีย ริ่ง แอนด์ เซอร์วิส จำกัด บริษทั เทเลคอมโฮลดิง้ จำกัด บริษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล เกตเวย์ จำกัด True Internet Technology (Shanghai) Company Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั ทรู มัลติมเี ดีย จำกัด บริษทั ทรู มิวสิ ค จำกัด บริษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จากัด บริษทั ทรู อินเตอร์เน็ต จำกัด บริษทั ทรู ทัช จำกัด บริษทั ทรู ยูไนเต็ต ฟุตบอล คลับ จำกัด บริษทั ทรู วิชนั่ ส์ จำกัด (มหำชน) บริษทั ทรู วิสต้ำส์ จำกัด (เดิมชื่อ : บริษทั ทรู แมจิ ค จำกัด)

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

30


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

3. ประวัตขิ องกรรมการ และผู้บริหารระดับสูง ที่ถกู ลงโทษในช่ วง 5 ปี ที่ผ่านมา เนื่องจากกระทาความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรั พย์ และ ตลาดหลักทรั พย์ พ.ศ. 2535 หรือ พระราชบัญญัติสัญญาซือ้ ขายล่ วงหน้ า พ.ศ. 2546 - ไม่มี -

เอกสำรแนบ 1

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำร ผู ้บริหำร ผู ้มีอำนำจควบคุม และเลขำนุกำรบริษัท

31


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556)

รายชื่ อ 1. นายสุเมธ เจียรวนนท์ 2. นายมิน เธี ยรวร 3. นายสุน ทร อรุ ณานนท์ชยั 4. พลเอกสุจิน ดา คราประยูร 5. นายมนตรี นาวิกผล 6. นายจตุรงค์ จตุปาริ สุทธิ์ 7. นายคิ โยฟู มิ คุ ซากะ 8. นายนนท์ อิ งคุ ทานนท์ 9. พล.ต.ม.ร.ว.ศุ ภวัฒน์ เกษมศรี 10. นางสาวนัน ทนี วงศ์อานิ ษฐกุล 11. นางสาวอัธ ยา เชาว์ววิ ฒ ั น์ กุล 12. พลตารวจเอกนพดล สมบูรณ์ทรัพ ย์ 13. นายวสัน ต์ เอารัตน์ 14. นายวิศิ ษฏ์ รักษ์วศิ ิ ษฏ์วงศ์ 15. นายสุทธิ พ ร ยุวจิตติ 16. นายจุมพล ธนะโสภณ 17. ดร. สหัสโรจน์ โรจน์ เมธา 18. นายสืบสกล สกลสัตยาทร 19. นายอุ ทยั คุ ม้ คง 20. นายเกษม กรณ์เสรี 21. นายธัช บุษฎีกานต์ 22 ดร.วัลลภ วิมลวณิชย์ 23. นายฮัน ส์ โรเจอร์ สนุ๊ ค 24. นายสมพัน ธ์ จารุ มิลิน ท 25. นายปุณณมาศ วิจิตรกุลวงศา 26. นายวิสิฐ ตัน ติ สุน ทร 27. นางเพ็ญทิพ ย์ภา ดุ ลยจิน ดา 28. นายสหาย ทรัพ ย์สุน ทรกุล 29. นายก่ อศักดิ์ ไชยรัศ มีศ กั ดิ์ 30. นายพิ สิฏฐ ภัคเกษม เอกสำรแนบ 2

AI Asia DBS AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CHNP CNP CTV DDI Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GP Logistics <BVI> GPG <BVI> GPI HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. KOA KSC MKSC NEC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TDM TDS TE TGS TH TI TIC TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMR TMV TNN TPC True DTT TVT TSC TUC TUFC TVG TVS TVSC

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

/ / /

/ / / / /

/

/ / / /

/

/

/ / / / /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ /

/

/

/ / /

/

/

/

/

/

/

/

/ / / / / / รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556)

รายชื่ อ 31. นายรถพร เอกบุตร 32. นายวัชระ กาญจนพัน ธุ 33. นายเคนเน็ ท แดง 34. นายไพสิฐ วัจนะปกรณ์ 35. นางวิภาภรณ์ ชัยรัตน์ 36. นายเสงี่ ยม รัตนภูพ นั ธ์ 37. นายสงวนศักดิ์ เภสัชสงวน 38. นายชู มนัส เกษเสถี ยร 39. นายโสภณ เนตรสุวรรณ 40. นายขจรศักดิ์ สิงหเสนี 41. นายครรชิ ต บุน ะจิน ดา 42. นายวสุ คุ ณวาสี 43. นางสาวจิรัฐ ติ กาล สุทธิ วรรณารัตน์ 44. ดร.จิตติ วิจกั ขณา 45. ดร.เจน ศรี วฒั นะธรรมา 46. นายทรงพล ศุ ภชลาศัย 47. นายพลพัน ธุ์ อุ ตภาพ 48. นายประสาร มาลี น นท์ 49. นายไบรอัน ลิ น ด์เซ มาร์ การ์ 50. นางวิไลวรรณ ศรี สารวล 51. นายสุพ จน์ มหพัน ธ์ 52. นายชิ ลฮยอน อัน 53. นายอาจกิ จ สุน ทรวัฒน์ 54. พลตารวจเอก พรศักดิ์ ดุ รงควิบลู ย์ 55. ดร. อโณทัย รัตนกุล 56. นายเจนวิทย์ คราประยูร 57. นายกิ ติกร เพ็ญโรจน์ 58. นายพิ รุณ ไพรี พ่ ายฤทธิ์ 59. นางศุ ภสรณ์ โหรชัยยะ 60. นายสมบุญ พัชรโสภาคย์ เอกสำรแนบ 2

AI Asia DBS AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CHNP CNP CTV DDI Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GP Logistics <BVI> GPG <BVI> GPI HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. KOA KSC MKSC NEC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TDM TDS TE TGS TH TI TIC TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMR TMV TNN TPC True DTT TVT TSC TUC TUFC TVG TVS TVSC

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

/ / / /

/ / /

/ /

/

/

/ / / /

/

/

/

/

/ / / / / /

/ /

/

/

/ / /

/

/

/

/

/

/

/

/ / / /

/ / /

/ /

/

/

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

/ 2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556)

รายชื่ อ 61. นายนเรนทร์ ปัญญาปฎิภาณ 62. นายชี วนิ โกสิยพงษ์ 63. นางวรกัญญา โกสิยพงษ์ 64. นายนิ พ นธ์ หลงสมบุญ 65. นายสุภกิ จ วรรธนะดิ ษฐ์ 66. นายอิ ศ ราพล เจียวิริยบุญญา 67. นายอรรถพล ณ บางช้าง 68. นายองอาจ ประภากมล 69. นายวินิ จ เลิ ศ รัตนชัย 70. นายกึ ล เพี ยว ฮง 71. นายฮิโรชิ ซาโต 72. นายมานะ ประภากมล 73. นายชิ เกยูคิ ฟู จิอิ 74. นายเรื องเกี ยรติ เชาวรัตน์ 75. นายสุปรี ดี สุวรรณทัต 76. นายศิ ริพ จน์ คุ ณากรพัน ธุ์ 77. นายอรุ ณ ทัศ นาจัน ทธานี 78. นายธี รศักดิ์ จีรอัศ วพงศ์ 79. นายณัฎฐวิทย์ สุฤทธิ กุล 80. นายวาที เปาทอง 81. นายอุ สาห์ สวัสดิ์- ชู โต 82. นายณัฐ วุฒิ ศาสตราวาหะ 83. นายภาณุพ นั ธ์ สงวนพรรค 84. นายอัศ วิน อ้วนโพธิ์ กลาง 85. นายอภัยชนม์ วัชรสิน ธุ์ 86. นายดาวฤทธิ์ ทองนิ่ ม 87. นายซองฮุน คิ ม 88. นางสาวยุภา ลี วงศ์เจริ ญ 89. นางสาวภาวิณี ช้อยสุนิ รชร 90. นายสมหมาย ดอกไม้ เอกสำรแนบ 2

AI Asia DBS AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CHNP CNP CTV DDI Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GP Logistics <BVI> GPG <BVI> GPI HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. KOA KSC MKSC NEC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TDM TDS TE TGS TH TI TIC TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMR TMV TNN TPC True DTT TVT TSC TUC TUFC TVG TVS TVSC

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

/ / / /

/

/

/ / /

/

/

/

/ /

/

/

/ / /

/

/ / / /

/

/

/

/

/

/ / / / / /

/

/

/

/

/

/ / / / / / /

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

/

/

/

3


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556)

รายชื่ อ 91. นายอภิศ กั ดิ์ ธนเศรษฐกร 92. นายกิ ตติ ณฐั ทีคะวรรณ 93. พลเอกนิ น นาท เบี้ยวไข่มุข 94. นางสาวอมรศรี โฮตระกูล 95. นางปรี เปรม เสรี วงษ์ 96. Mr. Denis Sek Sum 97. Mr. Fung Kong Yune Kim 98. นายสุวชิ า ภรณวลัย 99. นางอารยา สัน ละกะวิทย์ 100. นายภัคพงศ์ พัฒนมาศ 101. นายอรรถ อรุ ณรัตนพงษ์ 102. นางสาวกิ รณา ชี วชื่ น 103. นางรุ่ งฟ้ า เกี ยรติ พ จน์ 104. นายพรรคพงษ์ อัคนิ วรรณ 105. นางสุภาวดี ตระกูลบุญ 106. นางสหัฎชญาณ์ เลิ ศ รัชตะปภัสร์ 107. นางสาวรัตติ กาล อ่ องนุ ช 108. นายดนัน ท์ สุภทั รพัน ธุ์ 109. นางสาวอรพิ น ท์ พงศ์วรามิตรชัย 110. นางอัจฉราวลี ปัญญานนทชัย 111. นางวิภาวี วัลลิ กุล 112. นางสาววาณี วรรณกลาง 113. นางณัฏฐา พสุพ ฒ ั น์ 114. นายวีรวัฒน์ เกี ยรติ พ งษ์ถาวร 115. พัน ตรี บลุ ชัย นิ รัติศ ยั 116. นายรังสรรค์ จัน ทร์ น ฤกุล 117. นายนฤพนธ์ รัตนสมาหาร 118. Ms. Ping Mi 119. นายสุวฒั น์ วาณีสุบตุ ร 120. นายซังกู โจ เอกสำรแนบ 2

AI Asia DBS AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CHNP CNP CTV DDI Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GP Logistics <BVI> GPG <BVI> GPI HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. KOA KSC MKSC NEC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TDM TDS TE TGS TH TI TIC TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMR TMV TNN TPC True DTT TVT TSC TUC TUFC TVG TVS TVSC

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

/ / / / / / /

/ / / /

/ / / / / / / / / /

/ /

/ / / / / / / / รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

4


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่ อย / บริษัทร่ วม (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556)

รายชื่ อ

AI Asia DBS AWC Beboyd BEC TERO TVS BFKT BITCO CHNP CNP CTV DDI Gold Palace Logistics <BVI> Golden Light Goldsky GP Logistics <BVI> GPG <BVI> GPI HCWML HMSTL HTTCL HWMH IKSC K.I.N. KOA KSC MKSC NEC Prospect Gain PTE RMV Rosy Legend SD SM SMT SSV TAM TDM TDS TE TGS TH TI TIC TIG TIT TITS TKSC TLP TM TMR TMV TNN TPC True DTT TVT TSC TUC TUFC TVG TVS TVSC

บริ ษทั ย่อย / บริ ษทั ร่ วม

121. นายแทริ ม คัง

/

122. นางณัฐ ศมน วงศ์กิตติ พ ฒ ั น์

/

123. นายอาพา ยงพิ ศ าลภพ

/

124. นายแกรี่ ชิ น บัน ทาน

/

125. นายยองมิน คิ ม 126. นายเซมิน ฮาน

/ /

127. นายซองโฮ ลี

/

128. นายชางฮวาน จอง

/

129. นายมนัสส์ มานะวุฒิเวช

เอกสำรแนบ 2

/

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

5


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

หมายเหตุ ชื่อย่อ

ชื่อเต็ม

AI AWC BEC TERO TVS BITCO CNP DDI Golden Light GP Logistics <BVI> GPI HMSTL HWMH K.I.N. KSC NEC PTE Rosy Legend SM SSV TDM TE TH TIC TIT TKSC TM TMV TPC TVT TUC TVG TVSC

บริษทั เอเซี ย อินโฟเน็ท จำกัด บริษทั เอเซี ย ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด บริษทั บีอีซี -เทโร ทรู วิชนั่ ส์ จำกัด บริษทั กรุงเทพอินเตอร์เทเลเทค จำกัด (มหำชน) บริษทั ซี นิเพล็กซ์ จำกัด Dragon Delight Investments Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Golden Light Company Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) GP Logistics Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Gold Palace Investments Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั ฮัทชิสัน มัลติมเี ดีย เซอร์วิส (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั ฮัทชิสัน ไวร์เลส มัลติมเี ดีย โฮลดิง้ ส์ จำกัด บริษทั เค. ไอ. เอ็น. (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชีย ล อินเตอร์เนต จำกัด บริษทั เอ็นอีซี คอร์ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด Rosy Legend Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ปอเรชัน่ จากัด บริษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วิส จำกัด บริษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จำกัด บริษทั เทเลเอ็นจิ เนีย ริ่ง แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษทั เทเลคอมโฮลดิง้ จำกัด บริษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด บริษทั ทรู อินฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จำกัด บริษทั เทเลคอม เค เอส ซี จำกัด บริษทั ทรู มัลติมเี ดีย จำกัด บริษทั ทรู มูฟ จำกัด บริษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน่ จำกัด บริษทั ทรู วิสต้ำส์ จำกัด (เดิมชื่อ บริษทั ทรู แมจิ ค จำกัด ) บริษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จำกัด บริษทั ทรู วิชนั่ ส์ กรุ๊ป จำกัด บริษทั ทรู วิชนั่ ส์ เคเบิ้ล จำกัด (มหำชน)

เอกสำรแนบ 2

ชื่อย่อ Asia DBS Beboyd BFKT CHNP CTV Gold Palace Logistics <BVI> Goldsky GPG <BVI> HCWML HTTCL IKSC KOA MKSC Prospect Gain RMV SD SMT TAM TDS TGS TI TIG TITS TLP TMR TNN True DTT TSC TUFC TVS

ชื่อเต็ม บริษทั เอเชีย ดีบีเอส จำกัด (มหำชน) บริษทั บี บอยด์ ซี จี จำกัด บริษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั ศูนย์ให้บริกำรคงสิ ทธิเลขหมำยโทรศัพท์ จำกัด บริษทั คลิกทีวี จำกัด Gold Palace Logistics Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Goldsky Company Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) Golden Pearl Global Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั ฮัทชิสัน ซี เอที ไวร์เลส มัลติมเี ดีย จำกัด บริษทั ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษทั ศูนย์บริกำรวิทยำกำร อินเตอร์เนต จำกัด บริษทั เคโอเอ จำกัด บริษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ดอทคอม จำกัด Prospect Gain Limited (จดทะเบีย นต่ำงประเทศ) บริษทั เรีย ล มูฟ จำกัด บริษทั ส่ องดำว จำกัด บริษทั เอสเอ็ม ทรู จากัด บริษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จำกัด บริษทั ทรู ดิสทริบิวชัน่ แอนด์ เซลส์ จำกัด บริษทั ทรู จี เอส จำกัด บริษทั เทเลคอม อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด บริษทั ทรู อินเตอร์เนชัน่ แนล เกตเวย์ จำกัด True Internet Technology (Shanghai) Company Limited (จดทะเบีย นต่างประเทศ) บริษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จำกัด บริษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จำกัด บริษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิรค์ (ทีเอ็นเอ็น) จำกัด บริษทั ทรู ดีทีที จำกัด บริษทั ไทยสมำร์ทคำร์ด จำกัด บริษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จำกัด บริษทั ทรู วิชนั่ ส์ จำกัด (มหำชน)

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกรรมกำรของบริษัทย่อย/บริษัทร่วม

6


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556) ชื่อ-นามสกุล

ตาแหน่ง

อายุ (ปี )

นางดาวประกาย ลักษณะกุลบุตร

หัวหน้ าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน ของกลุม่ บริ ษัทฯ

57

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

การภาษีอากร Golden Gate University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

การบัญชี บริ หารธุรกิจ George Washington University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ประเทศสหรัฐอเมริ กา ผู้ตรวจสอบภายในรับอนุญาตสากล การฝึ กอบรมภายนอกองค์กร - Brand Training - BS 25999 Transition to ISO 22301 - ISO 19011-2011 Auditing Management System - BS 25999 : มาตรฐานทางด้ านการบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ - Presentation Skills - Power Trainer - Tools & Techniques for Enterprise Risk Management (ERM)

ประวัติการทางานที่สาคัญ 2556-ปั จจุบนั 2549-2556 2542-2548 2535-2542 2531-2535 2524-2531

หัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในของกลุม่ บริ ษัทฯ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ รองผู้อานวยการสายงานตรวจสอบภายใน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน่ หัวหน้ าฝ่ ายตรวจสอบภายใน บจ. ทีเอ ออเรนจ์ (ปั จจุบนั ชื่อ บจ. ทรู มูฟ) ผู้จดั การทัว่ ไป บจ. ซี.พี. อินเตอร์ เทรด Certified Public Accountant RBZ Public Accounting Firm Los Angeles, CA Accounting Manager American Chemical Society Washington DC

การฝึ กอบรมภายในองค์กร - LDL (Leaders Develop Leaders Program) - LDL Cascade Program - Telecommunications Regulations - 3G Network-BFKT - True Leadership - การบริ หารความต่อเนื่องทางธุรกิจ(BCM)

เอกสำรแนบ 3

รำยละเอียดเกีย ่ วกับหัวหน ้ำงำนตรวจสอบภำยใน

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

รายละเอียดเกีย่ วกับการประเมินราคาทรัพย์ สิน - ไม่มี -

เอกสำรแนบ 4

รำยละเอียดเกีย ่ วกับกำรประเมินรำคำสินทรัพย์

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

เอกสำรแนบ 5

รำยงำนจำกคณะกรรมกำรตรวจสอบประจำปี 2556

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

1


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

เอกสำรแนบ 5

รำยงำนจำกคณะกรรมกำรตรวจสอบประจำปี 2556

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

2


่ จำกัด (มหำชน) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน

เอกสำรแนบ 5

รำยงำนจำกคณะกรรมกำรตรวจสอบประจำปี 2556

แบบแสดงรำยกำรข ้อมูลประจำปี (แบบ 56-1)

3


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.