TRUE : FORM 56-1 for the Year 2014 thai

Page 1

แบบแสดงรายการข้อมูล (แบบ 56-1) ประจําปี 2557

บริษทั ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)


สารบัญ หัวข้ อที - หน้ า ส่ วนที 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1 นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.2 พัฒนาการทีสําคัญในปี 2557 1.3 โครงสร้างเงินลงทุนของกลุ่มบริ ษทั

1–1 1-5 1 - 12

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริ การ 2.2 การตลาด 2.3 การจําหน่ ายและช่องทางการจําหน่าย 2.4 การจัดหาผลิตภัณฑ์หรื อบริ การ 2.5 ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย 2.6 ความคืบหน้าด้านการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม

2-1 2 - 22 2 - 23 2 - 24 2 - 25 2 - 29

3. ปัจจัยความเสียง

3-1

4. ทรัพย์ สินทีใช้ ในการประกอบธุรกิจ

4-1

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย

5-1

6. ข้ อมูลทัวไปและข้ อมูลสําคัญอืน 6.1 ข้อมูลทัวไป 6.2 ข้อมูลสําคัญอืน

6-1 6 - 12

ส่ วนที 2 การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 7.1 ทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้ว 7.2 ผูถ้ ือหุ้น 7.3 การออกหลักทรัพย์อืน 7.4 นโยบายการจ่ายเงินปันผล

7-1 7-2 7-3 7 - 11

8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1 คณะกรรมการบริ ษทั 8.2 ผูบ้ ริ หาร 8.3 เลขานุการบริ ษทั 8.4 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ 8.5 บุคลากร 8.6 การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน

8-1 8-5 8-9 8-9 8 - 11 8 - 12

9. การกํากับดูแลกิจการ 9.1 นโยบายการกํากับดูแลกิจการ 9.2 คณะกรรมการชุดย่อย 9.3 การสรรหาและแต่งตังกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งสุด 9.4 การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม

9-1 9-1 9-4 9-7


9-8 9-9 9-9

9.5 การดูแลเรื องการใช้ขอ้ มูลภายใน 9.6 ค่าตอบแทนทีจ่ายให้แก่สาํ นักงานทีผูส้ อบบัญชีสงั กัด 9.7 การปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีดีในเรื องอืนๆ 10. ความรับผิดชอบต่ อสังคม

10 - 1

11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสียง 11.1 สรุ ปความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั เกียวกับระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ 11.2 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบทีแตกต่างจากความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั 11.3 หัวหน้างานตรวจสอบภายใน

11 - 1 11 - 1 11 - 1

12. รายการระหว่างกัน

12 - 1

ส่ วนที 3 ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินทีสําคัญ 13.1 ตารางสรุ ปงบการเงิน 13.2 ผูส้ อบบัญชี 13.3 อัตราส่ วนทางการเงิน 13.4 จุดเด่นทางการเงิน 14. การวิเคราะห์ และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

13 - 1 13 - 4 13 - 5 13 - 6 14 - 1

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล

1

เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1: รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอาํ นาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

1

เอกสารแนบ 2: รายละเอียดเกียวกับกรรมการของบริษัทย่ อย

1

เอกสารแนบ 3: รายละเอียดเกียวกับหัวหน้ างานตรวจสอบภายใน

1

เอกสารแนบ 4: รายละเอียดเกียวกับการประเมินราคาสิ นทรัพย์

1

เอกสารแนบ 5: รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจําปี 2557

1

ในแบบ 56-1 นี คําว่า “ทรู ” “บริ ษทั ฯ” “บริ ษทั ในเครื อ” และ “บริ ษทั ย่อย” หมายความถึง บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และ/หรื อ บริ ษทั ในเครื อ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย ในกรณี ทีมีขอ้ สงสัยว่าบริ ษทั ใด เป็ นผูร้ ับผิดชอบหรื อดําเนินการกิจการหนึงกิจการใดทีปรากฎในเอกสารฉบับนี สามารถส่งคําถามมาได้ที ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษทั ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) เลขที 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 699-2515 โทรสาร (662) 643-0515 อีเมล์ ir_office@truecorp.co.th


ศัพท์ เทคนิคและคําย่ อ ADC

บริ ษัท แอดวานซ์ ดาต้ าเน็ทเวอร์ ค คอมมิวนิเคชันส์ จํากัด

AWC

บริ ษัท เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน จํากัด

BITCO

บริ ษัท กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค จํากัด (มหาชน)

CAT หรื อ CAT Telecom

บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)

China Mobile

China Mobile International Holdings Limited

IFC

International Finance Corporation

IMT

กิจการโทรคมนาคมเคลือนทีสากล International Mobile Telecommunications

JAS

บริ ษัท จัสมิน อินเตอร์ เนชันแนล จํากัด (มหาชน)

KfW

Kreditanstalt fur Wiederaufbau

KSC

บริ ษัท เคเอสซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์ เนต จํากัด

MKSC

บริ ษัท เอ็มเคเอสซีเวิลด์ดอทคอม จํากัด

MVNO

ผู้ให้ บริ การเครื อข่ายโทรศัพท์เคลือนทีแบบเสมือน หรื อ Mobile Virtual Network Operator

NVDR

บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด หรือ Thai NVDR Company Limited

TIC

บริ ษัท ทรู อินเตอร์ เนชันแนล คอมมิวนิเคชัน จํากัด

TIG

บริ ษัท ทรู อินเตอร์ เนชันแนล เกตเวย์ จํากัด

TOT หรื อ ทีโอที

บริ ษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน)

TU

บริ ษัท ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ จํากัด

TUC

บริ ษัท ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน จํากัด (เดิมชือ “บริ ษัท เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด”)

UCOM

บริ ษัท ยูไนเต็ด คอมมูนิเกชัน อินดัสตรี จํากัด (มหาชน)

UIH

บริ ษัท ยูไนเต็ด อินฟอร์ เมชัน ไฮเวย์ จํากัด


Verizon

Verizon Communications, Inc

กทค.

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม

กสท

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์

กลุม่ ทรู

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อยของบริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ข้ อตกลง AC

ข้ อตกลง เรื องการเชือมโยงโครงข่าย (Access Charge agreement)

ข้ อตกลง IC

ข้ อตกลง เรื องการเชือมต่อโครงข่ายระหว่างกัน (Interconnection agreement)

คณะกรรมการ กทช.

คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

คณะกรรมการ กสช.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ

คณะกรรมการ กสทช.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ค่า AC

ค่าเชือมต่อโครงข่ายแบบเดิม หรือ ค่าเชือมโยงโครงข่าย (access charges)

ค่า IC

ค่าเชือมต่อโครงข่าย (interconnection charges)

ดีแทค

บริ ษัท โทเทิล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน จํากัด (มหาชน)

ทรูไอเอฟ ทรูจีไอเอฟ หรื อ ทรูโกรท กองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐานโทรคมนาคมทรูโกรท ทรูมฟู

บริ ษัท ทรู มูฟ จํากัด

ทรูมลั ติมีเดีย หรื อ ทรู มัลติมีเดีย

บริ ษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

ทรูวิชนส์ ั

บริ ษัท ทรู วิชนส์ ั จํากัด (มหาชน)

ทรูวิชนส์ ั กรุ๊ป

บริ ษัท ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป จํากัด (มหาชน)

ทรูวิชนส์ ั เคเบิล

บริ ษัท ทรู วิชนส์ ั เคเบิล จํากัด (มหาชน)

ทรูอินเทอร์ เน็ต ทรู อินเทอร์ เน็ต หรื อ TI

บริ ษัท ทรู อินเตอร์ เน็ต จํากัด

บริ ษัทฯ

บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

บีเอฟเคที หรื อ BFKT

บริ ษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด


ใบอนุญาต ใช้ คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz

ใบอนุญาตให้ ใช้ คลืนความถีสําหรับกิจการโทรคมนาคมเคลือนทีสากล IMT ย่าน 2.1 GHz

ประกาศ เรื อง IC

ประกาศคณะกรรมการ กทช. ว่าด้ วยการใช้ และเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Regulation)

ป.ป.ช.

สํานักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

พ.ร.บ. การประกอบกิจการ โทรคมนาคม

พระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544

พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ

พระราชบัญญัตวิ า่ ด้ วยการให้ เอกชนเข้ าร่วมงานหรื อดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535

พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลืนความถีและกํากับการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553

พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2543

พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลืนความถีและกํากับการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543

เรี ยลมูฟ

บริ ษัท เรี ยล มูฟ จํากัด

สัญญาขายส่งบริ การฯ

สัญญาบริ การขายส่งบริ การโครงข่ายโทรศัพท์เคลือนทีในระบบ HSPA ระหว่าง CAT Telecom ในฐานะผู้ให้ บริ การขายส่ง และ เรี ยลมูฟ ในฐานะผู้ให้ บริ การขายต่อบริ การ ลงวันที 27 มกราคม 2554 ตามทีอาจมีการแก้ ไขเพิมเติมเป็ นครังคราว

สัญญาร่วมการงานฯ

สัญญาร่วมการงานและร่วมลงทุนขยายบริ การโทรศัพท์พนฐานระหว่ ื าง ทีโอที (องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ในขณะนัน) กับ บริ ษัทฯ (บริ ษัท ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชัน จํากัด ในขณะนัน) ลงวันที 2 สิงหาคม 2534 ตามทีได้ มีการแก้ ไขเพิมเติมเป็ นครังคราว

สัญญาร่วมดําเนินกิจการฯ

สัญญาร่ วมดําเนินกิจการให้ บริ การโทรทัศน์ ทางสายระบบบอกรับเป็ นสมาชิก ระหว่าง อสมท (องค์ การสือสารมวลชนแห่ งประเทศไทย ในขณะนัน) และ ทรู วิ ชันส์ เคเบิ ล (บริ ษัท ไทยเคเบิลวิชนั จํากัด (มหาชน) ในขณะนัน) ลงวันที 6 มิถนุ ายน 2537 ตามทีได้ มี การแก้ ไขเพิมเติมเป็ นครังคราว และ สัญญาร่ วมดําเนินกิจการให้ บริ การโทรทัศน์ระบบ บอกรับเป็ นสมาชิก ระหว่าง อสมท (องค์การสือสารมวลชนแห่งประเทศไทย ในขณะนัน) และ ทรู วิชันส์ (บริ ษัท อินเตอร์ เนชันแนล บรอดคาสติง คอร์ ปอร์ เรชัน จํากัด (มหาชน) ในขณะนัน) ลงวันที 17 เมษายน 2532 ตามทีได้ มีการแก้ ไขเพิมเติมเป็ นครังคราว แล้ วแต่กรณี

สัญญาให้ ดาํ เนินการฯ

สัญญาให้ ดาํ เนินการให้ บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลา่ DIGITAL PCN 1800 ระหว่าง CAT Telecom (การสือสารแห่งประเทศไทย ในขณะนัน) และ ทรู มูฟ (บริ ษัท ไวร์ เลส คอมมูนิเคชันส์ เซอร์ วิส จํากัด ในขณะนัน) ลงวันที 20 มิถนุ ายน 2539


สัญญา IC

สัญญาเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection contract)

อสมท

บริ ษัท อสมท จํากัด (มหาชน)

เอเซีย อินโฟเน็ท หรื อ เอเซียอินโฟเน็ท

บริ ษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

เอไอเอส

บริ ษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์ วิส จํากัด (มหาชน)

ฮัทชิสนั ซีเอที

บริ ษัท ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์ เลส มัลติมีเดีย จํากัด


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ส่ วนที 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

กลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การสื อสารโทรคมนาคมครบวงจรรายเดียวในประเทศไทย และเป็ นผูน้ าํ ด้านธุ รกิจ คอนเวอร์เจนซ์ กลุ่มทรู มุ่งมันสนับสนุ นการพัฒนาประเทศด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีทีลําหน้า การให้บริ การ เทคโนโลยีดา้ นการสื อสารใหม่ๆ ของกลุ่มช่ วยเพิมโอกาสในการเข้าถึ งข้อมูลและข่าวสารของประชาชน ชาวไทยได้ อ ย่ า งทัวถึ ง โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื นที ห่ า งไกล รวมทังมี ส่ ว นสํ า คัญ ในการลด ความเหลือมลําทางเทคโนโลยี และการสร้ างสังคมแห่ งการเรี ยนรู้ อย่างยังยืนของประเทศ แนวทางในการ ดําเนินธุ รกิจของกลุ่มทรู มาจากวัฒนธรรมองค์กร 4 ประการ ประกอบด้วย เชื อถือได้ สร้างสรรค์ เอาใจใส่ กล้าคิดกล้าทํา โดยมีเป้ าหมายเพิมคุณค่าแก่ผถู ้ ือหุน้ ลูกค้า องค์กร สังคมและพนักงานเป็ นสําคัญ ยุทธศาสตร์คอนเวอร์ เจนซ์ เป็ นหนึ งในกลยุทธ์หลักทีสร้างความโดดเด่นและความได้เปรี ยบให้กบั กลุ่มทรู โดยแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ ซึ งเป็ นการผสมผสานสิ นค้าและบริ การต่าง ๆ ภายในกลุ่ม สามารถตอบสนอง ความต้องการของลู กค้าแต่ละกลุ่ มทีมี ไลฟ์ สไตล์หลากหลายได้เป็ นอย่างดี ทําให้ได้รับผลตอบรับทีดี อย่าง ต่อเนื อง สิ งเหล่ านี ช่ วยสนับสนุ นและเสริ มสร้ างความแข็งแกร่ งให้กบั ธุ รกิ จหลักของกลุ่ มทรู ช่ วยเพิ มยอด ผูใ้ ช้บริ การ และยังช่วยรักษาฐานลูกค้าเดิมจากการสร้างความผูกพันกับบริ การต่าง ๆ ของกลุ่มทรู อีกด้วย ทังนี ธุ รกิ จหลัก 3 ธุ รกิ จของกลุ่ มทรู ประกอบด้วย กลุ่ มทรู โมบาย ซึ งส่ วนใหญ่ ประกอบธุ รกิ จ โทรศัพท์เคลือนทีระบบ 4G LTE และ 3G ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช ในขณะที ปั จจุบนั ทรู มูฟให้บริ การ โทรศัพท์เคลือนทีระบบ 2G ตามประกาศมาตรการคุ ม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัวคราวในกรณี สินสุ ดการ อนุญาตสัมปทาน ทังนี ณ สิ นปี 2557 กลุ่มทรู โมบายขยายฐานผูใ้ ช้บริ การเป็ น 23.6 ล้านราย ซึ งในจํานวนนี เป็ นผูใ้ ช้บริ การ 4G LTE และ 3G ของ ทรู มูฟ เอช ประมาณ 21.9 ล้านราย โดยกลุ่มทรู โมบายมีส่วนแบ่ง ตลาดโทรศัพท์เคลือนทีประมาณร้ อยละ 25 ของจํานวนผูใ้ ช้บริ การ (ไม่รวม CAT Telecom ทีโอที และ ผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของทีโอที) ทรู ออนไลน์ ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พืนฐานรายใหญ่ทีสุ ดในเขตกรุ งเทพมหานคร และปริ มณฑล และผูใ้ ห้บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตและ WiFi ด้วยโครงข่ายที ครอบคลุ มมากที สุ ด ทัวประเทศผ่านเทคโนโลยี FTTx หรื อใยแก้วนําแสง เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และเทคโนโลยี xDSL โดย บริ การ บรอดแบนด์ อิ นเทอร์ เน็ ต ของทรู ออนไลน์ เติ บโตแข็งแกร่ งตลอดทังปี 2557 ส่ งผลให้ มี จ ํานวน ผูใ้ ช้บริ การ บรอดแบนด์รายใหม่สุทธิ สูงทีสุ ดในประวัติการณ์ที 271,836 ราย และมีฐานผูใ้ ช้บริ การเพิมขึนเป็ น จํานวนทังสิ น 2.1 ล้านราย ณ สิ นปี ทรู วิชันส์ ผูใ้ ห้บริ การรายเดียวของประเทศไทยทีให้บริ การโทรทัศน์แบบ ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บอกรับสมาชิกและบริ การในระบบ HD ทัวประเทศ โดย ณ สิ นปี 2557 ทรู วิชนส์ ั มีลูกค้า 2.5 ล้านราย โดยลูกค้า 939,972 ราย บอกรับบริ การประเภทพรี เมียมและมาตรฐาน และลูกค้าส่ วนทีเหลือเป็ นลูกค้าประเภท FreeView และ Free-to-Air กลุ่มทรู ได้รับการสนับสนุนจากเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ (ซี พี) ซึ งเป็ นกลุ่มธุ รกิจด้านการเกษตรครบวงจร ทีใหญ่ทีสุ ดในภูมิภาคเอเชีย ซึ งถือหุ น้ ทรู ในสัดส่ วนร้อยละ 51.3 และ China ซึ งเป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนที รายใหญ่ทีสุ ดของโลก ซึ งถือหุ น้ ทรู ในสัดส่ วนร้อยละ 18.0 ของจํานวนหุ ้นทีจําหน่ายแล้วทังหมดของบริ ษทั ฯ ณ วันที 5 กันยายน 2557 โดยกลุ่มทรู มีทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล้วทังสิ น 246,079 ล้านบาท ทังนี การดําเนิ น ธุ รกิจหลักของบริ ษทั ฯ มิได้มีความสัมพันธ์หรื อเกียวข้องโดยตรงกับการดําเนินธุ รกิจอืนของผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ อย่างมีนยั สําคัญมีเพียงความสัมพันธ์กนั แต่เพียงครังคราวเฉพาะบางธุ รกรรมเท่านัน ในปี 2557 กลุ่มทรู มีรายได้รวม 109.2 พันล้านบาท และมีการลงทุนในโครงสร้างพืนฐานประมาณ 194.4 พันล้านบาท โดยมีพนักงานประจําทังสิ น 16,784 คน ธุรกิจของกลุ่มทรู บริ ษทั ฯ ก่อตังขึนครังแรกในเดือนพฤศจิกายน 2533 ในฐานะผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พืนฐาน ในปี ต่อมา บริ ษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนกับทีโอที โดยให้บริ ษทั ฯ เป็ นผูด้ าํ เนิ นการลงทุ น จัดหา และติดตังควบคุ ม ตลอดจนซ่ อมบํารุ งและรักษาอุปกรณ์ ในระบบสําหรับการขยายบริ การโทรศัพท์ จํานวน 2.6 ล้านเลขหมาย ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล เป็ นระยะเวลา 25 ปี โดยจะสิ นสุ ดสัญญา ในเดือนตุลาคม 2560 ในปี 2536 บริ ษทั ฯ ได้เปลี ยนสถานะเป็ นบริ ษทั มหาชน และเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในชือ บริ ษทั เทเลคอมเอเชี ย คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ในเดือนธันวาคม 2536 มีชือย่อ หลักทรัพย์วา่ “TA” โดยในเดือนเมษายน 2547 บริ ษทั ฯ ได้มีการปรับเปลียนในภาพลักษณ์ภายใต้แบรนด์ทรู และได้เปลียนชือบริ ษทั มาเป็ น บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) มีชือย่อหลักทรัพย์วา่ “TRUE” นอกเหนือจากการให้บริ การโทรศัพท์พืนฐาน และบริ การเสริ มต่าง ๆ ซึ งรวมถึงบริ การโทรศัพท์สาธารณะ และบริ การ WE PCT (บริ การโทรศัพท์พืนฐานพกพา) ในปี 2544 กลุ่มทรู (ผ่านบริ ษทั ย่อย) ได้เปิ ดให้บริ การ โครงข่ายข้อมูลความเร็ วสู ง ซึ งประกอบด้วยบริ การ ADSL และบริ การเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) และ ในปี 2546 ได้เปิ ดให้บริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งแบบไร้สายหรื อบริ การ WiFi ต่อมาในปี 2550 บริ ษทั ย่อยได้ เปิ ดให้บริ การโครงข่ายอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) และได้เปิ ดให้บริ การ โครงข่ายข้อมูลระหว่างประเทศ (International Data Gateway) และบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ในปี 2551 นอกจากนี ในปี 2554 ยังได้ขยายความครอบคลุมของโครงข่ายเคเบิลโมเด็ม (Cable Modem) และปรับเปลียน เทคโนโลยีเป็ น DOCSIS 3.0 ซึ งนอกจากจะทําให้สามารถให้บริ การบรอดแบนด์สําหรับลูกค้าทัวไปด้วยความเร็ ว ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

มาตรฐานสู งสุ ดในประเทศไทยแล้ว ยังทําให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การในแบบทริ ปเปิ ลเพลย์ (Triple play) อย่าง สมบูรณ์แบบ ซึ งเป็ นการผสมผสานบริ การต่าง ๆ ของกลุ่มทรู ผา่ นโครงข่ายเคเบิลเดียวกัน ทังนี กลุ่มทรู มุ่งมันใน การเพิ มประสบการณ์ การใช้งานอิ นเทอร์ เน็ ตประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดให้ ก ับลู กค้า โดยเดิ นหน้าขยายโครงข่ าย บรอดแบนด์อย่างต่อเนื องผ่านเทคโนโลยี FTTx และ DOCSIS ทังนี บริ ก ารบรอดแบนด์ของทรู ออนไลน์ มีความครอบคลุมพืนทีให้บริ การแล้วกว่า 5 ล้านครัวเรื อน และจะมีความครอบคลุม 10 ล้านครัวเรื อนทัวประเทศ ภายในปี 2559 ในส่ วนของธุ รกิจโทรศัพท์เคลือนที กลุ่มทรู ได้เข้าถือหุ ้น ใน BITCO (ซึ งเป็ นบริ ษทั ทีถือหุ ้นในบริ ษทั ทีเอ ออเร้นจ์ จํากัด) ในอัตราร้อยละ 41.1 ในเดือนตุลาคม 2544 ซึ งนับเป็ นการเริ มเข้าสู่ ธุรกิจโทรศัพท์เคลือนที ทังนี ทีเอ ออเร้นจ์ได้เปิ ดให้บริ การอย่างเต็มทีในเดือนมีนาคม 2545 และได้เปลียนชือเป็ น “ทรู มูฟ” เมือต้นปี 2549 โดยปั จจุบนั ทรู มูฟให้บริ การบนคลืนความถี 1800 MHz ตามมาตรการคุ ม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัวคราว ในกรณี สินสุ ดการอนุ ญาตสัมปทาน โดย ณ สิ นปี 2557 กลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถื อหุ ้นทางอ้อมใน BITCO คิดเป็ น ร้อยละ 99.5 นอกเหนือจากนัน กลุ่มทรู ได้ขยายการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ด้วยการเข้าซื อหุ ้น 4 บริ ษทั ของ กลุ่มฮัทชิสันในประเทศไทยได้แก่ บริ ษทั ฮัทชิสัน ไวร์ เลส มัลติมีเดีย โฮลดิงส์ จํากัด บีเอฟเคที บริ ษทั Rosy Legend Limited และ บริ ษทั Prospect Gain Limited รวมมูลค่าการชําระคืนหนีสิ นเดิมของบริ ษทั ดังกล่าวทีมี กับกลุ่มฮัทชิ สันแล้ว เป็ นเงินทังสิ นประมาณ 6,300 ล้านบาท โดยแล้วเสร็ จในเดือนมกราคม 2554 การเข้าซื อหุ ้น ในครังนี ทําให้บริ ษทั ฯ ได้ประโยชน์จากการเป็ นผูใ้ ห้บริ การรายแรกทีสามารถให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ระบบ 3G ด้วยเทคโนโลยี HSPA บนคลืนความถี 850 MHz ของ CAT Telecom ในเชิ งพาณิ ชย์ได้ทวประเทศ ั ทังนีในวันที 30 สิ งหาคม 2554 เรี ยลมูฟ (บริ ษทั ย่อยภายใต้กลุ่มทรู ) ในฐานะผูข้ ายต่อบริ การ 3G+ ของ CAT Telecom ได้เปิ ดให้บริ การ 3G+ ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช อย่างเป็ นทางการ โดยสามารถให้บริ การได้อย่าง ต่อเนืองอย่างน้อยไปจนถึงปี 2568 บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิ เคชัน จํากัด (ชือเดิมคือ บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด) ได้รับ ใบอนุญาตใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz จากคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนธันวาคม ปี 2555 ซึ งช่วยขยาย ระยะเวลาในการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีอย่างน้อยถึงปี 2570 โดยในเดือนพฤษภาคม ปี 2556 ทรู มูฟ เอช เป็ นรายแรกในประเทศไทยทีเปิ ดให้บริ การ 4G LTE บนคลืนความถี 2.1 GHz พร้อมทังยังได้เปิ ดให้บริ การ 3G บนคลืนความถีเดี ยวกันอีกด้วย การผสานจุดเด่นของคลืน 2.1 GHz และคลืน 850 MHz ของ CAT Telecom รวมถึงการขยายความครอบคลุมของโครงข่ายอย่างต่อเนือง ทําให้กลุ่มทรู โมบายสามารถให้บริ การ โมบาย อินเทอร์ เน็ต ทีมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดแก่ลูกค้า ทังนี ทรู มูฟ เอช มีเครื อข่าย 3G+ ทีครอบคลุมแล้ว มากกว่าร้อยละ 97 ของประชากรทัวประเทศ โดยบริ ษทั ฯ มีเป้ าหมายจะขยายเครื อข่าย 4G ให้ครอบคลุม ร้อยละ 80 ของประชากรไทยภายในไตรมาส 2 ปี 2558

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สําหรับธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก กลุ่มทรู ได้เข้าซื อหุ ้น ยูบีซี ทังหมดทีถือโดยบริ ษทั MIH Ltd. ซึงเดิมเป็ นพันธมิตรธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กกับกลุ่มทรู ในเดือนมกราคม 2549 และต่อมาได้ ดําเนิ นการเข้าซื อหุ ้นสามัญจากผูถ้ ื อหุ ้นรายย่อย (Tender Offer) ทําให้มีสัดส่ วนการถื อหุ ้นทางอ้อมในยูบีซี ั ” ร้อยละ 91.8 ภายหลังการเข้าซื อหุ น้ ดังกล่าวเสร็ จสิ นในเดือนมีนาคม 2549 ทังนี ยูบีซีได้เปลียนชือเป็ น “ทรู วชิ นส์ เมือต้นปี 2550 นอกจากนี หลังการปรับโครงสร้างของกลุ่มบริ ษทั ทรู วิชนส์ ั ในช่วงครึ งแรกของปี 2553 และ การซื อคื นหุ ้นจากผูถ้ ื อหุ ้นรายย่อย ในระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึ งเดื อนกุมภาพันธ์ 2554 ส่ งผลให้ ั กรุ๊ ป จํากัด ซึ งเป็ น holding company สําหรับธุ รกิจโทรทัศน์ กลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถือหุ ้นในบริ ษทั ทรู วิชนส์ แบบบอกรับสมาชิกของกลุ่มทรู อยูร่ ้อยละ 100.0 และมีสัดส่ วนการถือหุ ้นทางอ้อม ใน ทรู วิชนส์ ั และ ทรู วิชนส์ ั เคเบิล ทังสิ นร้อยละ 99.5 และ ร้อยละ 99.1 ณ สิ น ปี 2557 ในขณะทีรายได้หลักของทรู วิชนส์ ั มาจากค่าสมาชิ ก รายเดือน ในปี 2552 ทรู วิชนส์ ั ได้รับอนุญาตจาก อสมท ให้สามารถหารายได้จากการโฆษณา ซึ งเป็ นโอกาสใหม่ ั ในการผลักดันการเติบโตของรายได้และการทํากําไรให้กบั ทรู วชิ นส์ ตลอดปี 2554 ทรู วิชนส์ ั มุ่งเน้นหาแนวทางเพือป้ องกันการละเมิดลิขสิ ทธิ รายการ ซึ งเป็ นผลมาจาก การลักลอบใช้สัญญาณ ทังนี ในเดือนตุลาคม 2554 ทรู วชิ นส์ ั ได้เริ มแคมเปญเปลียนกล่องรับสัญญาณสําหรับ ระบบออกอากาศใหม่ ภายใต้เทคโนโลยี MPEG-4 และได้เปิ ดใช้งานระบบออกอากาศดังกล่าวในกลางเดือน กรกฎาคม 2555 ซึ งช่ วยขจัดการลักลอบใช้สัญญาณช่ องพรี เมียมของทรู วิชนส์ ั ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และ สามารถเพิมประสบการณ์การรับชมทีดียงขึ ิ นผ่านการนําเสนอช่องรายการในระบบ HD นอกจากนี ในเดือน ั ได้รับใบอนุ ญาตเพือให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิ จิตอล เมษายน 2557 บริ ษทั ย่อยภายใต้กลุ่มทรู วิชนส์ ประเภทบริ การทางธุ รกิจระดับชาติ ทังนี ช่ องดิจิตอลของกลุ่มทรู โดยเฉพาะช่ องวาไรตี “True4U” ยังคง ครองใจผูช้ มและได้รับความนิ ยมอย่างต่อเนื อง ในขณะที การปรับรู ปแบบแพ็กเกจโฆษณาให้ตรงตามความ ต้อ งการของผูซ้ ื อโฆษณาและผูซ้ ื อสื อโฆษณาได้ดี ยิ งขึ นได้รับ ผลตอบรั บที ดี สิ งเหล่ า นี ส่ ง ผลให้ รายได้ ค่าโฆษณาของทรู วชิ นส์ ั เติบโตกว่าร้อยละ 40 ในปี 2557 การปรั บปรุ งโครงสร้ างทางการเงิ น (Recapitalization) ของกลุ่ มทรู เป็ นหนึ งในพัฒนาการสําคัญ ของกลุ่ม ซึ งถือเป็ นจุดเปลียนสําคัญทีทําให้กลุ่มทรู มีโครงสร้ างเงินทุนทีดีขึน มีผลประกอบการทีแข็งแกร่ งขึน และมีความพร้อมทีจะรองรับการขยายตัวของธุ รกิจในอนาคต ในปี 2556 กลุ่มทรู ขายเงินลงทุนในหุ ้นสามัญของ 8 บริ ษทั ย่อยทีไม่ใช่ธุรกิ จหลักของกลุ่มให้แก่ บริ ษทั ธนเทเลคอม จํากัด ด้วยราคาขายประมาณ 5.4 พันล้านบาท ทําให้กลุ่มทรู สามารถบันทึกกําไรจากการขายพร้อมทัง สามารถมุ่งเน้นการดําเนิ นงานในธุ รกิจหลักของกลุ่มได้อย่างเต็มความสามารถ นอกจากนี TRUEIF ซึ งถือเป็ น กองทุนรวมโครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคมรายแรกในประเทศไทยได้ถูกจัดตังขึนและสามารถเริ มทําการ ซื อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในเดือนธันวาคม 2556 โดยกลุ่มทรู ถือหน่วยลงทุนของกองทุน คิดเป็ นอัตราส่ วนร้อยละ 28.1 ของจํานวนหน่วยลงทุนทีจําหน่ายได้ทงหมดของกองทุ ั น ณ สิ นปี 2557 ทังนี กลุ่มทรู จําหน่ ายสิ นทรัพย์และสิ ทธิ ในการรับประโยชน์รายได้ในอนาคตจากสิ นทรัพย์โครงสร้างพืนฐาน ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โทรคมนาคมของกลุ่ม ให้แก่ TRUEIF และทําสัญญาเช่าสิ นทรัพย์กลับจากกองทุนนี เพือใช้ประโยชน์จาก สิ นทรั พ ย์ใ นการดําเนิ น ธุ รกิ จ ของกลุ่ ม ตามปกติ ต่อไปโดยสิ นทรั พ ย์โครงสร้ า งพื นฐานโทรคมนาคมนี ประกอบด้วย เสาโทรคมนาคมจํานวน 11,845 เสา ระบบใยแก้วนําแสง (FOC) และอุ ปกรณ์ ระบบสื อ สัญญาณทีเกี ยวข้อง ของบริ ษทั ย่อยของกลุ่ ม ซึ งมีระยะทางประมาณ 1,037,545 คอร์ กิโลเมตร และระบบ บรอดแบนด์ ใ นเขตพื นที ต่ า งจัง หวัด ซึ งสามารถรองรั บ ผู ้ใ ช้ บ ริ การบรอดแบนด์ ไ ด้ จ ํา นวนประมาณ 1.2 ล้านพอร์ต นอกจากนี ในเดือนกันยายน 2557 กลุ่มทรู ประสบความสําเร็ จในการระดมทุนจํานวน 65.0 พันล้านบาท ผ่านการเสนอขายหุ ้นแก่ผถู ้ ื อหุ ้นเดิมตามสัดส่ วนการถือหุ ้น (Rights Offering) จํานวน 36.4 พันล้านบาท และผ่านการจัดสรรหุ ้นแบบเฉพาะเจาะจง (Private Placement) ให้แก่ China Mobile จํานวน 28.6 พันล้านบาท โดย กลุ่มทรู นาํ เงินส่ วนใหญ่ทีได้รับไปชําระคืนหนี สิ น ซึ งทําให้อนั ดับเครดิตองค์กรของทรู และโครงสร้าง เงินทุนปรับดีขึนมาก อย่างมีนยั สําคัญ โดยอัตราส่ วนหนี สิ นต่อ EBITDA สุ ทธิ ลดลงเป็ น 1.6 เท่า ณ สิ นปี 2557 จาก 4.6 เท่าในปี ก่อนหน้า (ไม่รวม นอกจากนี ความร่ วมมือผลประกอบการของ 8 บริ ษทั ย่อยทีขายไป ในปี 2556 เพือการเปรี ยบเที ยบผลการดําเนิ นงานได้อย่างถู กต้องและเหมาะสม) นอกจากนี ความร่ วมมื อทางธุ รกิ จ ในหลากหลายด้านกับ China Mobile อาทิ ด้านการจัดซื อดีไวซ์และโครงข่าย รวมถึงธุ รกิจระหว่างประเทศ จะช่วยเสริ มความแข็งแกร่ งในการดําเนินธุ รกิจและสร้างรากฐานทีมันคงให้กบั กลุ่มทรู 1.2

พัฒนาการทีสํ าคัญในปี 2557

กลุ่มทรู

พฤษภาคม: กลุ่มทรู เปิ ดตัวแพ็กเกจ “ทรู สุขX2 โทร+ดูทรู วชิ นส์ ั ” ให้ลูกค้าได้ทงแพ็ ั กเกจของทรู มูฟ เอช และรับชมช่องรายการจากทรู วชิ นส์ ั ทังบนทีวแี ละมือถือผ่านแอพพลิเคชันทรู วชิ นส์ ั เอนิ แวร์ ในราคา เริ มต้นเพียงเดือนละ 499 บาท โดยสามารถอัพเกรดเพิมช่องทรู วชิ นส์ ั เป็ นแพ็กเกจ ทรู โนว-เลจ กว่า 80 ช่อง นาน 12 เดือน และเพิมการใช้งาน 3G ดาต้า สู งสุ ด 1 GB ต่อเดือน สําหรับดูทรู วชิ นส์ ั เอนิแวร์ ผ่านมือถือ กรกฎาคม: กลุ่มทรู เพิมความคุม้ ค่าให้กบั ลูกค้าในแคมเปญ “ทรู สุขX3” โดยปรับเพิมความเร็ วอินเทอร์เน็ต เริ มต้นจากทรู ออนไลน์เป็ น 30 Mbps (เฉพาะอินเทอร์ เน็ตผ่านไฟเบอร์ เคเบิล) ร่ วมกับการรับชม Enjoy Pack จากทรู วชิ นส์ ั ได้มากถึง 103 ช่องรายการ และ 3 ช่องในระบบ HD พร้อมเลือกใช้แพ็กเกจ iSmart/ iNet/ iTalk จากทรู มูฟ เอช ในราคา 199 บาทต่อเดือน และฟรี ค่าติดตังโทรศัพท์แบบพืนฐาน ได้รับค่าโทร 100 บาทต่อเดือน ด้วยอัตราค่าบริ การเริ มต้นเพียง 799 บาทต่อเดือน กรกฎาคม: ทีประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครังที 1/2557 มีมติอนุมตั ิการเพิมทุนจดทะเบียนและการจัดสรร หุ น้ สามัญเพิมทุนใหม่ เพือทําการปรับฐานการเงิน (Recapitalization) จากการระดมทุนเพิมด้วยการ เสนอขายหุ น้ สามัญเพิมทุนใหม่ รวมทังสิ นไม่เกิน 10,077,712,886 หุ น้ เตรี ยมเดินหน้าแผนเพิมทุน ทังการจัดสรรหุ ้นแบบเฉพาะเจาะจง (Private Placement) ให้แก่ China Mobile ทีจะเข้ามาเป็ นพันธมิตร เชิงยุทธศาสตร์ ของกลุ่มทรู และการจัดสรรหุ ้นสามัญใหม่เพือเสนอขายแก่ผถู้ ือหุน้ เดิม (Rights Offering)

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กันยายน: กลุ่มทรู ประสบความสําเร็ จในการระดมทุนมูลค่าทังสิ น 65.0 พันล้านบาท ผ่านการจัดสรร หุน้ แบบเฉพาะเจาะจง (Private Placement) แก่ China Mobile ซึงเป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนที รายใหญ่ทีสุ ดของโลก มูลค่า 28.6 พันล้านบาท และการเสนอขายหุ ้นให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นเดิมตามสัดส่ วน การถือหุน้ (Rights Offering) มูลค่าประมาณ 36.4 พันล้านบาท โดยการปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงิน ครังนี และการร่ วมเป็ นพันธมิตรกับ China Mobile ช่วยสร้างความแข็งแกร่ งให้กบั ฐานะการเงินและ โครงสร้างเงินทุนของกลุ่มทรู อีกทังยังเสริ มศักยภาพในการขยายธุ รกิจ พฤศจิกายน: กลุ่มทรู เปิ ดตัว “มะลิ” สาวน้อยอัจฉริ ยะประจําคอลเซ็นเตอร์ ทีรับคําสังด้วยเสี ยงรายแรก ในไทย โดยเป็ นการยกระดับ งานบริ ก ารเพื อมอบประสบการณ์ ที ดี ที สุ ด ให้ แ ก่ ลู ก ค้า กลุ่ ม ทรู มะลิ ให้บริ การผ่านทรู มูฟ เอช แคร์ 1331 สําหรับลูกค้าระบบรายเดือนของทรู มูฟเอช โดยกลุ่มทรู มีแผนที จะขยายบริ การนีไปสู่ ลูกค้าระบบเติมเงิน รวมถึงลูกค้าทรู ออนไลน์และทรู วชิ นส์ ั ต่อไป

กลุ่มทรู โมบาย

เมษายน: ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัวแคมเปญ 4G แจกซูเปอร์ คาร์ Ferrari และรางวัลอืนๆ รวมมูลค่าถึง 35 ล้านบาท สําหรับลูกค้าปัจจุบนั ในระบบรายเดือน ลูกค้าใหม่ และลูกค้าย้ายค่ายเบอร์ เดิม โดยแคมเปญนี ได้รับผล ตอบรับทีดีมาก และเพิมจํานวนผูใ้ ช้บริ การ 4G ของทรู มูฟ เอช ได้ต่อเนื อง นอกจากนี ทรู มูฟ เอช ได้ ขยายบริ การ 4G LTE ไปสู่ ผใู้ ช้บริ การระบบเติมเงิน โดยเปิ ดตัว “ซิ ม 4G แบบเติมเงิน” และแพ็กเกจเสริ ม 4G เพิมเติมในเดือนกรกฎาคม เมษายน: ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัวฟี เจอร์โฟน 3G รุ่ นใหม่ล่าสุ ด “ทรู ซูเปอร์ 1” และ “ทรู ซูเปอร์ อัลตร้า 1” ซึง มีฟังชันการใช้งานทีลําหน้าและโปรโมชันสุ ดคุม้ ด้วยราคาทีเข้าถึงได้ โดยแคมเปญดังกล่าว เน้นเจาะ กลุ่มลูกค้าทียังใช้มือถือ 2G ให้เปลียนมาสัมผัสประสบการณ์ 3G ทีเร็ วและคุณภาพเครื อข่ายทีเหนือกว่า ของทรู มูฟ เอช บนเครื องและซิมทีรองรับ 3G กันยายน: ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัว สมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ต ภายใต้ “ทรู สมาร์ ทซี รีส์” ด้วยเทคโนโลยีขนสู ั ง ในราคาที น่ า ดึ ง ดู ด ใจ พร้ อมแพ็ก เกจค่ า บริ ก ารที คุ ้ม ค่ า ของทรู มู ฟ เอช และข้อเสนอสุ ด พิ เศษ อาทิ ั เอนิแวร์ การรับชมรายการของทรู วชิ นส์ ั กว่า 90 ช่อง ผ่านทรู วชิ นส์ กันยายน: ทรู มูฟ เอช มอบโปรโมชันพิเศษ “True 006” สําหรับลูกค้าทังระบบเติมเงินและรายเดือนที เปิ ดเบอร์ใหม่หรื อย้ายค่ายเบอร์ เดิม เมือกด 006 โทรไปประเทศในกลุ่ม AEC บวกอีก 6 ประเทศ ได้แก่ ญีปุ่ น จีน เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินเดีย และนิวซีแลนด์ ด้วยราคาเริ มต้นเพียงนาทีละ 2.50 บาท โดย โปรโมชันดังกล่าวจะช่วยผูป้ ระกอบการไทยให้แข่งขันในประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนได้ดียงขึ ิ น ตุลาคม: ทรู มูฟ เอช ประสบความสําเร็ จ ในการเปิ ดตัว iPhone 6 และ iPhone 6 Plus พร้อมกับแพ็กเกจ สุ ดพิเศษหลากหลาย โดยมุ่งมอบประสบการการใช้งาน iPhone 6 และ iPhone 6 Plus ได้อย่างเต็ม ประสิ ทฺธิภาพให้กบั ผูใ้ ช้บริ การผ่านเครื อข่าย 4G LTE และ 3G ทัวประเทศทีเหนือกว่าของทรู มูฟ เอช

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ธันวาคม: ทรู มูฟ เอช เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายแรกในไทยทีทํางานร่ วมกับ Google ประเทศไทย เพือเปิ ดตัวแพ็ก เกจ “YouTube ไม่อน” ั โดยลู กค้าสามารถรับ ชมวิดีโอและคอนเทนต์ต่าง ๆ จาก YouTube ทรู วิชนส์ ั เอนิ แวร์ และแอพพลิเคชันโซเชียล แคม บนมือถือ ได้ในราคาเพียง 29 บาทต่อวัน หรื อ 99 บาทต่อสัปดาห์ ทรู ออนไลน์

กรกฎาคม: ทรู ออนไลน์ มอบความคุ ม้ ค่ายิงขึนสําหรับลูกค้าใหม่ทีสมัครแพ็กเกจ “ทรู สุขX3” ด้วย การปรับเพิมความเร็ วเริ มต้นเป็ น 30 Mbps เพือให้ลูกค้าได้ใช้บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต ทีเร็ วและ แรงยิงขึน กันยายน: ทรู ออนไลน์ เป็ นผูใ้ ห้บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ต รายแรกและรายเดียว ทีสร้างมาตรฐาน ความเร็ วใหม่ในประเทศ ด้วยการปรับเพิมความเร็ วมาตรฐานของบริ การบรอดแบนด์เป็ น 15 Mbps จาก 10 Mbps ผ่านเทคโนโลยี DOCCIS 3.0 ในราคาเดิมเพียง 599 บาทต่อเดือน กันยายน: ทรู อินเตอร์ เน็ต เดินหน้ารุ กตลาดลูกค้าองค์กรแบ่งตามประเภทธุ รกิ จ ขยายฐานเจาะกลุ่มธุ รกิ จ ขนาดกลางและขนาดเล็กทัวประเทศ ด้วยบริ การใหม่ “วงจรเช่าสําหรับธุ รกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก” (Leased Line for Business & Small Business ) ทีตอบโจทย์การใช้งานอินเทอร์ เน็ตสําหรับองค์กรธุ รกิจ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพในราคาทีเหมาะสม ตุลาคม: ทรู อินเตอร์ เน็ต ร่ วมมือกับไวเซอร์ ผูใ้ ห้บริ การด้านการตลาดด้วยการส่ งอีเมล และออกแบบ แอพพลิ เคชันบนสมาร์ ท โฟนในประเทศญี ปุ่ น เปิ ดบริ ก าร “Intelligence Mail” เครื องมื อสื อสาร การตลาดใหม่ล่าสุ ด ซึ งช่วยเพิมประสิ ทธิ ภาพในการทําการตลาดออนไลน์ โดยสามารถจัดการกับข้อมูล อีเมลลูกค้าจํานวนมากได้อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ บนเทคโนโลยีคลาวด์ คอมพิวติง

ทรู วชิ ั นส์

เมษายน: บริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู วิชนส์ ั ได้รับใบอนุญาตเพือให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลประเภท บริ การทางธุ รกิจระดับชาติ จํานวน 2 ช่อง ได้แก่ TNN24 และ True4U ซึ งกลุ่มทรู สามารถเริ มออกอากาศ ช่องเหล่านีได้ในเดือนเดียวกัน มิถุนายน-กรกฎาคม: ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป ถ่ายทอดสดฟุตบอลโลก “2014 ฟี ฟ่ า เวิลด์คพั บราซิ ล” ให้สมาชิก ทังฐานได้รับชมครบทัง 64 แมตช์ โดยสมาชิกแพ็กเกจ แพลทินมั เอชดี โกลด์ เอชดี ซูเปอร์ แฟมิลี เอชดี และลู ก ค้าคอนเวอร์ เจนซ์ ข องกลุ่ ม ทรู ที มี แพ็ก เกจทรู วิชันส์ สามารถเพิ มอรรถรสในการรั บ ชมผ่า น ช่ อ งรายการในระบบ HD ครบทุ ก แมตช์ ซึ งผลตอบรั บ ที ดี ม ากต่ อแคมเปญนี ส่ ง ผลให้ ท รู วิ ชันส์ ประสบความสําเร็ จในการย้ายลูกค้ามาอยู่ ทรู วชิ นส์ ั กรุ๊ ป ซึงเป็ นบริ ษทั ทีได้รับใบอนุญาตจาก กสทช.

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กรกฎาคม: ทรู วิชนส์ ั จับมือเป็ นพันธมิตรกับ RTL CBS Asia Entertainment Network เปิ ดตัวช่องรายการล่าสุ ด ในระบบ HD ซึ งได้รับความนิ ยมอย่างสู งจากอเมริ กา “RTL CBS Extreme HD” มอบความบันเทิงแนว ั ช่อง 338 เอ็กซ์ตรี มทัง กีฬาเอ็กซ์ตรี ม เรี ยลลิตีโชว์ มายากลชันนําระดับโลก และสารคดีช็อคโลก ผ่านทรู วชิ นส์ กันยายน: ทรู วชิ นส์ ั เดินหน้าเพิมประสบการณ์การรับชมให้กบั ลูกค้า ภายใต้คอนเซ็ป “Committed to be No.1” ด้วยการเพิมช่ องรายการในระบบ HD และการปรับโฉมแพ็ก เกจตลาดกลางและแมสที เพิ ม ความคุม้ ค่าให้กบั ลูกค้ามากยิงขึน ซึ งได้รับผลตอบรับทีดีจากกลุ่มเป้ าหมายอย่างต่อเนือง กันยายน: ทรู วิชนส์ ั ขยายสิ ทธิ พิเศษให้ลูกค้ากลุ่มทรู ทังทรู มูฟ เอช ทรู ออนไลน์ และทรู วิชนส์ ั สามารถ รับชมช่องรายการคุณภาพจากทรู วิชนส์ ั ผ่านแอพพลิเคชัน ทรู วิชนส์ ั เอนิ แวร์ โดยลูกค้าทรู มูฟ เอช และ ทรู ออนไลน์ สามารถรับชมได้ 90 ช่ อง ส่ วนลูกค้าทรู วิชนส์ ั สามารถรับชมได้สูงสุ ดถึ ง 180 ช่ อง ทุกที ทุกเวลาผ่านเครื อข่าย TrueMove H 3G+ หรื อ WiFi ทุกเครื อข่าย

รางวัลทีได้ รับในปี 2557 รางวัลความเป็ นเลิศด้านการสร้างสรรค์ นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร • กลุ่มทรู ได้รับรางวัล Thailand ICT Excellence Awards จากสมาคมการจัดการธุ รกิ จแห่ งประเทศไทย เป็ นครั งที 4 ในปี 2557 จํานวน 3 รางวัล Thailand ICT Excellence Awards 2013 ซึ งประกอบด้วย 1. โครงการระบบแจ้งปั ญหาผ่าน GIS ของ บริ ษทั ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี จํากัด ได้รับรางวัล ชนะเลิศ ประเภทโครงการพัฒนากระบวนการหลักภายใน 2.โครงการทรู เอชอาร์ โมบายล์ แอพพลิเคชัน ของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ได้รับรางวัลชมเชย ประเภทโครงการนวัตกรรม และ 3.โครงการทรู มนั นี วอลเล็ท แอพพลิเคชัน ของ บริ ษทั ทรู มันนี จํากัด ได้รับรางวัลชมเชย ประเภทโครงการขับเคลือนธุ รกิจ รางวัลนวัตกรรมระดับโลก จาก ผลงาน “ออทิสติก แอพพลิเคชัน” • กลุ่มทรู ได้รับรางวัลนวัตกรรมระดับโลก ณ กรุ งเจนี วา สมาพันธรัฐสวิสในงาน The 42nd International Exhibition of Inventions, Geneva 2014 จัดโดย รัฐบาลสวิส และองค์กรทรัพย์สินทางปั ญญาแห่ งโลก (WIPO) โดย จาก ผลงาน “ออทิสติก แอพพลิเคชัน” เสริ มศักยภาพเด็กพิเศษโดดเด่น รับทังเหรี ยญทอง ประเภท ซอฟท์แวร์ & เทคโนโลยีการสื อสาร และรางวัลพิเศษ “Special Prize of Innovation Distinction” จากประเทศซาอุดิอาระเบีย โดยกลุ่มทรู ถื อเป็ นบริ ษทั ด้านการสื อสารโทรคมนาคมไทยเพียงรายเดียวที ได้รับรางวัลระดับเหรี ยญทอง

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

รางวัลองค์กรทีมีความเป็ นเลิศในการดําเนินธุ รกิจจากฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน • กลุ่มทรู ได้รับรางวัลในฐานะองค์กรในประเทศไทยทีมีความเป็ นเลิ ศด้านการดําเนิ นธุ รกิจ ต่อเนื องเป็ น ปี ที 2 ในงานมอบรางวัล 2014 Frost & Sullivan Thailand Excellence Awards ซึ งปี นี ทรู ออนไลน์ รับรางวัล องค์กรทีมีความเป็ นเลิศด้านบริ การบรอดแบนด์ และ ทรู ไอดีซี ได้ รับรางวัล องค์กรทีมีความเป็ นเลิศ ด้านบริ การคลาวด์ คอมพิวติง รางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด้านความเป็ นเลิศด้านการตลาด • กลุ่ ม ทรู ไ ด้รั บ การจัด อัน ดับ ให้เ ป็ นองค์ก รที มี ค วามเป็ นเลิ ศ ด้า นการตลาด รั บ รางวัล พระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี Thailand Corporate Excellence Awards 2013 สาขา ความเป็ นเลิศด้านการตลาด พร้อมโล่ทีระลึก Consistency of Excellence ในฐานะบริ ษทั ด้านการสื อสาร โทรคมนาคมไทยเพียงรายเดี ยวทีได้รับรางวัลดังกล่าวต่อเนื องเป็ นปี ที 6 นอกจากนี กลุ่มทรู ยงั เป็ น 1 ใน 5 องค์กรทีได้รับการเสนอชื อพร้ อมรับโล่ทีระลึ กสําหรั บรางวัลในอีก 2 สาขา ได้แก่ สาขาความเป็ นเลิ ศ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และสาขาความเป็ นเลิศด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์สิงใหม่ๆ โล่ประกาศเกียรติคุณ องค์กร CSR ทีมีความเป็ นเลิศ จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ • กลุ่ มทรู ได้รับมอบโล่ ประกาศเกี ยรติ คุณ องค์กร CSR ทีมีความเป็ นเลิศ ใน "งานประกาศเกี ยรติ คุณ ผลงานด้านการพัฒนาสังคมเป็ นเลิศ เนื องในวันคล้ายวันสถาปนา 12 ปี เดินหน้ากระทรวงการพัฒนาสังคม และความมันคงของมนุ ษย์ เพือส่ งเสริ มยกย่องความเป็ นเลิ ศของภาคีเครื อข่ายในการเข้ามามีส่วนร่ วม ทํางานกับกระทรวงฯ โล่รางวัลเกียรติยศ สนับสนุนงานด้านคนพิการดีเด่นต่อเนือง • กลุ่มทรู ได้รับมอบโล่รางวัลเกียรติยศองค์กรเอกชนทีสนับสนุ นงานด้านคนพิการดี เด่นต่อเนื อง เนืองใน วันคนพิ การสากล ประจํา ปี 2557 จากการกระทรวงพัฒนาสั งคมและความมันคงของมนุ ษ ย์ จัดโดย สํานักงานส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชี วิตคนพิการแห่ งชาติ ร่ วมกับสมาคมสภาคนพิการทุกประเภท แห่ งประเทศไทย โดยทรู ในฐานะองค์กรธุ รกิ จที ให้การสนับสนุ นคนพิการ และเป็ น 1 ใน 6 องค์กรที ได้รับโล่รางวัลเกียรติยศองค์กร รางวัลช่อสะอาด สนับสนุนและส่ งเสริ มการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต • กลุ่มทรู ได้รับรางวัลโล่เกี ยรติยศ พร้ อมเกี ยรติบตั รผลงานดี เด่นด้านสนับสนุ นและส่ งเสริ มการป้ องกัน และปราบปรามการทุ จริ ตหรื อรางวัลช่ อสะอาด สาขาสื อสนับสนุ นประจําปี 2557 จัดโดยสํานักงาน คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ (ปปช.) ร่ วมกับ กลุ่มทรู และ ปตท. ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

• ช่ อ งทรู ป ลู ก ปั ญญาผูเ้ ผยแพร่ "โครงการสามเณรปลู ก ปั ญญาธรรม" ผ่า นทรู วิชันส์ ได้รับ รางวัล โล่ เกียรติยศ พร้อมเกียรติบตั รผลงานดีเด่นด้านสนับสนุนและส่ งเสริ มการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต หรื อ รางวัล ช่ อ สะอาด สาขาสื อสนับ สนุ น ประจํา ปี 2557 จากสํ า นัก งานคณะกรรมการป้ อกัน และ ปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ (ปปช.) รางวัล สถานประกอบการดีเด่น ด้านการส่ งเสริ มการพัฒนาฝี มือแรงงาน ประจําปี 2556 • บริ ษทั ทรู ทัช จํากัด ซึ งเป็ นบริ ษทั ในเครื อของบริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ทีดําเนิ นธุ รกิ จ Outsourced Call Center ได้รับมอบรางวัล “สถานประกอบการดีเด่น ด้านการส่ งเสริ มการพัฒนาฝี มือ แรงงาน ประจําปี พ.ศ.2556" จากกระทรวงแรงงาน ในงานวันมาตรฐานฝี มือแรงงานแห่ งชาติ (World Skills Thailand 2014) ครังที 25 รางวัลดาวเมขลา ประเภทส่ งเสริ มความรู ้และการศึกษา เด็ก-เยาวชน จาก โครงการสามเณร ปลูกปัญญาธรรม • โครงการสามเณร ปลูกปั ญญาธรรม รายการธรรมะรู ปแบบเรี ยลลิตีถ่ายทอดสดทางทรู วิชนส์ ั ของกลุ่มทรู ได้รับรางวัลเกียรติยศเชิ ดชูเกียรติ "ดาวเมขลา" ประจําปี 2557 สาขารายการโทรทัศน์ดาวเทียม ประเภท ส่ งเสริ มความรู ้และการศึกษา เด็ก-เยาวชน จัดโดยสมาคมผูส้ ื อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย รางวัล “หุ น้ ยอดนิยมประจํากลุ่มเทคโนโลยี” และ “หุน้ ขวัญใจมหาชน” • ทรู ได้รับรางวัล “หุ น้ ยอดนิยมประจํากลุ่มเทคโนโลยี (Technology)” ในงานประกาศรางวัล “หุ ้นขวัญใจ (Popular Stock Awards) ปี ที 2” ซึ งตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ หนังสื อพิมพ์ข่าวหุ น้ ธุ รกิจร่ วมกันจัดขึน โดยได้พิจารณาคัดเลือกจากการสํารวจความนิ ยมของนักลงทุน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รางวัลโฆษณาดีเด่น จาก Adman Awards & Symposium 2014 • กลุ่มทรู ได้รับ 4 รางวัลโฆษณาดีเด่น Adman Awards & Symposium 2014 จัดโดยสมาคมโฆษณาแห่ ง ประเทศไทย รับ 3 รางวัลจากภาพยนตร์โฆษณา “Giving” ของทรู มูฟ โดยรางวัลทีได้รับคือ รางวัล Silver award ประเภท Film Category : Corporate รางวัล Bronze award ประเภท Telecommunication, Business Equipment & Service รางวัล Bronze award ประเภท Viral Advertising และอีก 1 รางวัลจากหนังสื อทรู ไทยแลนด์ ของทรู ยู รางวัล Silver ประเภท Design Print

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

รางวัลชนะเลิศภาพยนตร์โฆษณา จาก สคบ. แอด อะวอร์ด • ทรู มูฟได้รับรางวัลชนะเลิศ สคบ.แอด อะวอร์ ด ประเภทส่ งเสริ มสังคม ศิลปวัฒนธรรมและสิ งแวดล้อม ประจํา ปี 2557 จากภาพยนตร์ โ ฆษณา “การให้ คื อ การสื อสารที ดี ที สุ ด " ในงานประกาศผลรางวัล ภาพยนตร์ โฆษณาดี เด่ นทางโทรทัศ น์ เพื อผูบ้ ริ โภค ครั งที 13 จากสํา นักงานคณะกรรมการคุ ้ม ครอง ผูบ้ ริ โภค (สคบ.) รางวัลภาพยนตร์ โฆษณาทีสุ ดแห่งปี “Daradaily The Great Awards” • ทรู มูฟได้รับรางวัลภาพยนตร์ โฆษณาทีสุ ดแห่ งปี 2013 จากภาพยนตร์ โฆษณาชุ ด Giving “การให้ คือ การสื อสารทีดี ทีสุ ด ” ซึ งได้รับผลโหวตสู งสุ ดจากประชาชนทัวประเทศ ในงานประกาศผลรางวัล “Daradaily The Great Awards” ครังที 3 รางวัล Top LINE Official Account on Business จากเวที Thailand Zocial Awards 2014 • ทรู มูฟได้รับรางวัล Top LINE Official Account on Business โดยเป็ นแบรนด์ทีมีคนติดตามมากทีสุ ด ในไทยบนแอพพลิเคชัน LINE จากงาน Thailand Zocial Awards 2014 presented by True Money รับรางวัลสื อมวลชนดีเด่น จากสื อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย • กลุ่มทรู ได้รับมอบรางวัลสื อมวลชนดีเด่น ประเภทภาพยนตร์ โฆษณา แก่ภาพยนตร์ โฆษณาชุ ด “King of Giving หมอตามรอยในหลวง” ภายใต้แนวคิด “พระ...ผูเ้ ป็ นต้นแบบการให้ทียิงใหญ่” ของเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และกลุ่มทรู ในงานคาทอลิก มีเดีย อวอร์ ดส์ 2014 ซึ งสื อมวลชนคาทอลิ กจัดขึนเป็ นครังที 32 เพือเป็ น กําลังใจและสนับสนุนผูผ้ ลิตสื อทีดีมีคุณค่าต่อสังคม

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างเงินลงทุนของกลุ่มบริษัท ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) 99.99% บริ ษทั เทเลคอมโฮลดิง จํากัด 91.08% 99.99% 99.99% 99.99%

บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จํากัด บริ ษทั เอเซีย ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน จํากัด บริ ษทั ทรู อินฟอร์เมชัน เทคโนโลยี จํากัด

บริ ษทั ศูนย์บริ การ วิทยาการ อินเตอร์เนต จํากัด

99.53%

60.00% บริ ษทั เทเลคอม เค เอส ซี จํากัด

99.99% บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชัน จํากัด (เดิมชือ “บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด”)

99.48%

บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์เทเลเทค จํากัด (มหาชน) 99.95%

99.84%

บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์เนต จํากัด

99.99%

99.99%

บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั จํากัด (มหาชน) 99.99%

บริ ษทั ทรู วอยซ์ จํากัด

บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด

100.00%

Goldsky Co., Ltd. 100.00%

บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชันแนล เกตเวย์ จํากัด

บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จํากัด

บริ ษทั ซีนิเพล็กซ์ จํากัด

99.99%

บริ ษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด

บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน จํากัด

99.99%

บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ ง แอนด์ เซอร์วิสเซส จํากัด

15.76%

บริ ษทั ทรู วิสต้าส์ จํากัด 99.99%

99.99%

บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จํากัด

99.99%

บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ จํากัด

65.00%

บริ ษทั เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

99.99%

บริ ษทั ทรู โฟร์ย ู สเตชัน จํากัด (เดิมชือ “บริ ษทั ทรู ดีทีที จํากัด”)

99.99%

บริ ษทั ทรู ไอคอนเท้นท์ จํากัด

70.00%

บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด

51.00%

บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จํากัด

50.00%

บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนส์ ั จํากัด

45.00%

บริ ษทั ทรู จีเอส จํากัด

70.00%

บริ ษทั เอพีแอนด์เจ โปรดักชัน จํากัด

100.00%

GP Logistics Co., Ltd.

100.00% Golden Pearl Global Limited

99.99%

บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จํากัด บริ ษทั บี บอยด์ ซีจี จํากัด บริ ษทั ทรู มิวสิค เรดิโอ จํากัด

Gold Palace Logistics Lmited

บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน แอนด์ เซลส์ จํากัด

99.96%

บริ ษทั ทรู มิวสิค จํากัด

99.94%

บริ ษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ปอเรชัน จํากัด

99.93%

บริ ษทั ส่องดาว จํากัด

99.99%

บริ ษทั เรี ยล มูฟ จํากัด

บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด 99.99%

Golden Light Co., Ltd.

True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd.

99.99%

บริ ษทั ฮัทชิสนั ไวร์เลส มัลติมีเดีย โฮลดิงส์ จํากัด

92.50%

73.92% บริ ษทั ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จํากัด 100.00%

บริ ษทั ไทยสมาร์ท คาร์ด จํากัด

บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั เคเบิล จํากัด (มหาชน)

100.00%

69.94%

99.99%

บริ ษทั ทรู มูฟ จํากัด

99.99% บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชันแนล คอมมิวนิเคชัน จํากัด

บริ ษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด

99.10%

100.00% Gold Palace Investments Limited

70.00%

บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วิส จํากัด

99.99%

99.99%

99.99%

Dragon Delight Investments Lmited

100.00%

99.99%

บริ ษทั คลิกทีวี จํากัด

99.99%

บริ ษทั ทรู ทัช จํากัด 54.99%

ส่วนที 1

บริ ษทั เอ็มเค เอสซีเวิลด์ ดอทคอม จํากัด

K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนทีต่างประเทศ)

99.99%

100.00%

62.50%

บริ ษทั เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

100.00%

99.99%

99.99%

บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จํากัด

บริ ษทั ทรานส์ฟอร์เมชัน ฟิ ล์ม จํากัด

บริ ษทั ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์วิส (ประเทศไทย) จํากัด 99.99% บริ ษทั ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิ เคชันส์ (ประเทศไทย) จํากัด

100.00% 99.99%

28.57%

Rosy Legend Limited

Prospect Gain Limited บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จํากัด

99.99%

บริ ษทั เคโอเอ จํากัด

19.94%

บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จํากัด

หมายเหตุ: 1. โครงสร้างเงินลงทุนของกลุ่มบริ ษทั แสดงเฉพาะทีบริ ษทั ถือหุน้ ตังแต่ 10% ขึนไป 2 ไม่มีบุคคลทีอาจมีความขัดแย้งของบริ ษทั เป็ นผูถ้ ือหุน้ ในสัดส่วนเกินร้อยละ 10 ของจํานวนหุน้ ทีจําหน่ายได้แล้วทังหมดของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม 3. ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคม ทรูโกรท จํานวน 1,632,790,800 หน่วย หรื อเท่ากับร้อยละ 28.11 ของหน่วยลงทุนทังหมด

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างเงินลงทุนแยกตามธุรกิจของกลุ่มบริษทั ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ธุรกิจโทรศัพท์พืนฐาน 2.6 ล้านเลขหมาย บริ การเสริ ม และ บริ การสื อสารข้อมูล บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ทรู โมบาย - บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน จํากัด (เดิมชือ “บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด”) 100.00 % - บริ ษทั ทรู มูฟ จํากัด 99.44 % - บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน แอนด์ เซลล์ จํากัด 99.44 % - บริ ษทั ทรู มิวสิ ค จํากัด 99.40 % - บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท เมเนจเมนท์ จํากัด 100.00 %

ธุรกิจโทรศัพท์พืนฐาน -

บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน จํากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู ทัช จํากัด 100.00 % บริ ษทั เอเซี ย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน จํากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู วอยซ์ จํากัด 55.00 %

ทรู วิชนส์ ั

ทรู ออนไลน์ -

บริ ษทั เรี ยล มูฟ จํากัด 99.48 % บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชันแนล คอมมิวนิเคชัน จํากัด 99.43 % บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด 100.00 % บริ ษทั เคโอ เอ จํากัด 100.00%

ธุรกิจให้บริ การสื อสารข้อมูล - บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 91.08 % - บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) - บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จํากัด 100.00 %

-

บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั จํากัด (มหาชน) 99.53 % บริ ษทั ซี นิเพล็กซ์ จํากัด 100.00 % บริ ษทั คลิกทีวี จํากัด 99.53 % บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั เคเบิล จํากัด (มหาชน) 99.10 % บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์ วิส จํากัด 99.53 % บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ จํากัด 99.92 % บริ ษทั เอพีแอนด์เจ โปรดักชัน จํากัด 70.00 %

ธุรกิจบรอดแบนด์และบริ การอินเตอร์ เน็ต -

บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จํากัด 91.08 % บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต จํากัด 100.00 % บริ ษทั เอเซี ย อินโฟเน็ท จํากัด 65.00 % บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จํากัด 100.00 % บริ ษทั ศูนย์บริ การวิทยาการ อินเตอร์เนต จํากัด 56.93 % บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์ เนต จํากัด 56.83 % บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชันแนล เกตเวย์ จํากัด 100.00 %

หมายเหตุ : - บริ ษทั ทีไม่มีกิจกรรมทางธุรกิจ แต่ยงั มีความจําเป็ นต้องคงไว้ ได้แก่ บริ ษทั เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน) (100.00 %) บริ ษทั เทเลคอม เคเอสซี จํากัด (34.39%) บริ ษทั ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์ วิส (ประเทศไทย) จํากัด (100.00 % ) บริ ษทั ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชันส์ (ประเทศไทย) จํากัด (100.00 %) บริ ษทั ฮัทชิสนั ซี เอที ไวร์ เลส มัลติมีเดีย จํากัด (68.02 %) บริ ษทั ฮัทชิสนั ไวร์ เลส มัลติมีเดีย โฮลดิงส์ จํากัด (92.02 %) Rosy Legend Limited (99.48 %) Prospect Gain Limited (100.00 %) บริ ษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชัน จํากัด (99.42 %) และ บริ ษทั ส่องดาว จํากัด (99.41 %)

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

-

บริ ษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ จํากัด 70.00 % บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จํากัด 51.00 % บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จํากัด 100.00 % บริ ษทั ทรู จีเอส จํากัด 45.00 % บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ ง แอนด์ เซอร์ วิสเซส จํากัด 100.00 % บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนส์ ั จํากัด 50.00% บริ ษทั ทรู โฟร์ ยู สเตชัน จํากัด (เดิมชือ “บริ ษทั ทรู ดีทีที จํากัด”) 100.00%

ธุรกิจอืน ธุรกิจลงทุน - บริ ษทั เทเลคอมโฮลดิง จํากัด 100.00 % - บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์ เทเลเทค จํากัด (มหาชน) 99.48 % - บริ ษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด 100.00 % - K.I.N. (Thailand) Co., Ltd. (จดทะเบียนต่างประเทศ) 100.00 % - บริ ษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ดอทคอม จํากัด 91.08 % - Dragon Delight Investments Limited 100.00 % - Gold Palace Investments Limited 100.00 % - Golden Light Co., Ltd. 100.00 % - Goldsky Co., Ltd. 100.00 % - GP Logistics Co., Ltd. 100.00 % - Golden Pearl Global Limited 100.00 % - Gold Palace Logistics Limited 100.00 % ธุรกิจอืน ๆ - บริ ษทั ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี จํากัด 100.00 % - บริ ษทั บีบอยด์ ซี จี จํากัด 70.00 % - บริ ษทั ทรู วิสต้าส์ จํากัด 100.00 % - บริ ษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จํากัด 69.94 % - บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จํากัด 19.94 % - True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd 100.00 % - บริ ษทั ทรู ไอคอนเท้นท์ จํากัด 100.00 % - บริ ษทั ทรานส์ฟอร์เมชัน ฟิ ล์ม จํากัด 28.57 %

หัวข ้อที 1 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โครงสร้างรายได้ตามกลุม่ ธุ รกิจ กลุม่ ธุ รกิจ

2557 ล้านบาท %

2556 ล้านบาท %

2555 ล้านบาท %

1. ทรูออนไลน์

26,640

24.5%

23,086

24.0%

23,295

26.3%

2. ทรูโมบาย

73,581

67.3%

63,073

65.5%

56,124

62.6%

3. ทรูวิชนส์ ั

8,995

8.2%

10,055

10.5%

9,963

11.1%

รวมรายได้

109,216

100.0%

96,214

100.0%

89,382

100.0%

โครงสร้างรายได้ แยกตามการดําเนินงานของแต่ละบริษทั กลุม่ ธุรกิจ / ดําเนินการโดย

2557 ล้านบาท %

2556 ล้านบาท %

2555 ล้านบาท %

1. ทรูออนไลน์ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู มัลติมเี ดีย จํากัด บริษัท ทรู อินเทอร์เน็ ต จํากัด บริษัท ทรู ลีสซิง จํากัด บริษัท ทรู ไลฟ์ พลัส จํากัด บริษัท เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์เนต จํากัด บริษัท ไวร์เออ แอนด์ ไวร์เลส จํากัด บริษัท เอเซีย ไวร์เลส คอมมิวนิ เคชัน จํากัด บริษัท ทรู พับลิ ค คอมมิวนิ เคชัน จํากัด บริษัท ทรู ทัช จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล คอนเท้นท์ แอนด์ มีเดีย จํากัด บริษัท ทรู อินเตอร์เนชันแนล เกตเวย์ จํากัด บริษัท ทรู ไลฟ์ สไตล์ รีเทล จํากัด บริษัท ทรู มันนี จํากัด บริษัท ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จํากัด บริษัท ทรู อินเทอร์เน็ ต ดาต้า เซ็นเตอร์ จํากัด บริษัท ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด บริษัท ทรู พรอพเพอร์ตีส์ จํากัด True Internet Technology (Shanghai) Co., Ltd. อีนๆ รวม

11,264 46 11,455 356 508 11 409 371 2,089 25 106 26,640

10.4% 0.0% 10.6% 0.3% 0.5% 0.0% 0.4% 0.3% 1.9% 0.0% 0.1% 24.5%

6,380 52 10,012 1,199 636 470 397 1 26 372 283 297 168 296 1,829 62 303 31 242 30 23,086

6.6% 0.1% 10.4% 1.2% 0.7% 0.5% 0.4% 0.0% 0.0% 0.4% 0.3% 0.3% 0.2% 0.3% 1.9% 0.1% 0.3% 0.0% 0.3% 0.0% 24.0%

6,636 97 8,485 1,669 1,196 418 775 1 46 291 259 310 223 326 1,682 88 478 39 273 3 23,295

7.5% 0.1% 9.6% 1.9% 1.3% 0.5% 0.9% 0.0% 0.1% 0.3% 0.3% 0.3% 0.2% 0.4% 2.0% 0.1% 0.5% 0.0% 0.3% 0.0% 26.3%

2. ทรูโมบาย กลุ่มบริษัท กรุงเทพอินเตอร์เทเลเทค บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมเี ดีย จํากัด บริษัท เรียล มูฟ จํากัด บริษัท ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิ เคชัน จํากัด บริษัท เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จํากัด รวม

17,823 16,785 33,000 5,948 25 73,581

16.3% 15.4% 30.2% 5.4% 0.0% 67.3%

30,862 7,410 7 23,464 1,326 4 63,073

32.0% 7.7% 0.0% 24.4% 1.4% 0.0% 65.5%

39,336 5,394 546 10,848 56,124

43.9% 6.0% 0.6% 12.1% 62.6%

8,995 109,216

8.2% 100.0%

10,055 96,214

10.5% 100.0%

9,963 89,382

11.1% 100.0%

3. ทรูวิชนส์ ั กลุ่มบริษัท ทรูวชิ นส์ ั กรุป๊ รวมรายได้

ส่วนที 1

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 1- หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

2.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.1

ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การสื อสารครบวงจรหนึงเดียวของประเทศไทย และเป็ นผูน้ าํ คอนเวอร์ เจนซ์ ทีตอบสนอง ไลฟ์ สไตล์ของลู กค้าได้ตรงใจ โดยสร้ างความแตกต่างจากการผสมผสานสิ นค้าและบริ การหลากหลายในกลุ่ มทรู ทังการให้ บริ ก ารด้านเสี ย ง (โทรศัพ ท์พื นฐานและโทรศัพ ท์เ คลื อนที ) บริ ก ารบรอดแบนด์ อิ น เทอร์ เน็ ต บริ การโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิ ก บริ การด้านข้อมู ล และคอนเทนต์ อี กทังการประสานประโยชน์จาก โครงข่าย บริ การ และผลิตภัณฑ์ทีหลากหลายของกลุ่ม ทําให้กลุ่มทรู พร้อมอย่างเต็มทีสําหรับการเติบโตอย่าง แข็งแกร่ งไปพร้อมกับอุตสาหกรรมโทรคมนาคมและการก้าวเข้าสู่ เศรษฐกิจ ดิจิตอลของประเทศไทย ยุทธศาสตร์การเป็ นผูน้ าํ คอนเวอร์ เจนซ์ไลฟ์ สไตล์ ทําให้กลุ่มทรู มีเอกลักษณ์โดดเด่น ด้วยการผสานบริ การ สื อสารครบวงจรในกลุ่มเข้ากับคอนเทนต์ทีเน้นความหลากหลาย ทําให้กลุ่มทรู แตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การรายอืน ๆ โดยช่ วยเพิ มยอดผูใ้ ช้บริ การและสร้ า งความผูกพันกับ บริ การต่ าง ๆ ของกลุ่ ม ทรู อี กทังยัง ทํา ให้ สามารถ ใช้ประโยชน์จากศักยภาพของบริ การได้อย่างเต็มที นอกจากนี การนําเสนอสิ นค้าและบริ การด้วยยุทธศาสตร์ คอนเวอร์เจนซ์ยงั ช่วยเพิมมูลค่า มอบคุณประโยชน์และตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้ตรงใจ กลุ่มทรู ได้มีการแบ่งกลุ่มธุ รกิจหลักออกเป็ น 3 กลุ่ม ซึ งประกอบด้วย ธุ รกิ จออนไลน์ ภายใต้ทรู ออนไลน์ ซึ งประกอบด้วย บริ การโทรศัพท์พืนฐานและบริ การเสริ มต่าง ๆ บริ การโครงข่ ายข้อมูล บริ การอิ นเทอร์ เน็ ต และบริ การอิ นเทอร์ เน็ ตความเร็ วสู ง หรื อบริ การบรอดแบนด์ บริ การอินเทอร์เน็ตไร้สาย (WiFi) และบริ การ WE PCT (บริ การโทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานที)

ธุ รกิจโทรศัพท์เคลือนที ภายใต้กลุ่มทรู โมบาย ซึ งส่ วนใหญ่ให้บริ การระบบ 3G และ 4G LTE ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช

ส่วนที 1

ธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก ภายใต้ ทรู วชิ นส์ ั

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตารางด้านล่างแสดงองค์ประกอบรายได้จากการให้บริ การของกลุ่มทรู และกําไรจากการดําเนินงานทีเป็ นเงินสด (EBITDA) รายได้ จากการให้ บริการ1/: หน่ วย:ล้ านบาท ทรู ออนไลน์ กลุ่มทรู โมบาย (ไม่รวมค่า IC และค่าเช่า โครงข่าย) ทรู วชิ นส์ ั รวม กําไรจากการดําเนินงาน ทีเป็ นเงินสด (EBITDA)2/: หน่ วย: ล้ านบาท ทรู ออนไลน์ กลุ่มทรู โมบาย ทรู วชิ นส์ ั รายการระหว่างกัน รวม

2554

ร้ อยละ

2555

ร้ อยละ

2556

ร้ อยละ

2557

ร้ อยละ

21,433

38

21,891

35

22,144

33

20,633

31

26,113

46

30,187

49

34,211

52

37,875

56

9,256 56,802

16 100

9,788 61,865

16 100

9,936 66,291

15 100

8,989 67,497

13 100

2554

ร้ อยละ

2555

ร้ อยละ

2556

ร้ อยละ

2557

ร้ อยละ

9,973 4,974 2,236 (80) 17,104

58 29 13 100

10,089 4,852 1,966 (169) 16,738

60 29 11 100

10,243 4,910 1,458 (271) 16,340

62 30 8 100

11,084 7,769 1,429 (232) 20,050

55 38 7 100

หมายเหตุ: 1/ หลังหักรายการระหว่างกัน; 2/ ก่อนหักรายการระหว่างกัน

ภายหลังการได้รับอนุมตั ิจากทีประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครังที 1/2556 กลุ่มทรู ประสบความสําเร็ จใน การขายเงิ นลงทุนในหุ ้นสามัญของบริ ษทั ย่อยทีมิใช่ ธุรกิ จหลักของบริ ษทั ฯ จํานวน 8 บริ ษทั ประกอบด้วย TLS, WW, TMN, TIDC, TLR, TP, TDP และ TDCM ให้แก่ บริ ษทั ธนเทเลคอม จํากัด ทําให้กลุ่มทรู สามารถ รับรู ้กาํ ไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนดังกล่าวจํานวน 857.6 ล้านบาท ในไตรมาส 4 ปี 2556 โดยก่อนการขาย เงินลงทุนนี ผลประกอบการทางด้านการเงินของ 8 บริ ษทั เหล่านีถูกรวมอยูใ่ นผลประกอบการของทรู ออนไลน์ ตาราง แสดง 8 บริ ษทั ย่อย ทีกลุ่มทรู จาํ หน่ายเงินลงทุนในหุน้ สามัญออกไป บริษัท 1. บริ ษทั ทรู ลีสซิง จํากัด (TLS) 2. บริ ษทั ไวร์เออ แอนด์ ไวร์เลส จํากัด (WW) 3. บริ ษทั ทรู พรอพเพอร์ตีส์ จํากัด (TP) 4. บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต ดาต้า เซ็นเตอร์ จํากัด (TIDC) 5. บริ ษทั ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล จํากัด (TLR) 6. บริ ษทั ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด (TDP) 7. บริ ษทั ทรู มันนี จํากัด (TMN) 8. บริ ษทั ทรู ดิจิตอล คอนเท้นท์ แอนด์ มีเดีย จํากัด (TDCM)

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจโดยย่ อ จัดหารถยนต์ให้เช่าแบบการเช่าดําเนินงาน ให้บริ การทางด้านงานวิศวกรรม ให้เช่าพืนทีอาคารสํานักงาน ให้บริ การศูนย์กลางข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ดําเนินธุรกิจร้านทรู คอฟฟี บริ การเกมออนไลน์ บริ การรับชําระเงินและบัตรเติมเงินอิเล็กทรอนิกส์ บริ การเนือหาในระบบดิจิตอล และระบบ ธุรกิจพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี ในไตรมาส 3 ปี 2557 กลุ่มทรู ประสบความสําเร็ จในการระดมทุนจํานวน 65 พันล้านบาท ผ่านการ เสนอขายหุ ้นให้แก่ ผถู ้ ื อหุ ้นเดิ มตามสัดส่ วนการถื อหุ ้น (Rights Offering) และผ่านการจัดสรรหุ ้นแบบ เฉพาะเจาะจง (Private Placement) แก่ China Mobile ซึ งส่ งผลให้โครงสร้ างเงิ นทุ นและฐานะทาง การเงินของกลุ่มทรู ดีขึนมากอย่างมีนยั สําคัญ ในขณะที การลงนามสัญญาร่ วมเป็ นพันธมิตรเชิ งยุทธศาสตร์ กับ China Mobile นําไปสู่ ความร่ วมมือในหลากหลายด้าน อาทิ การจัดซื ออุปกรณ์โครงข่าย และดีไวซ์ รวมถึง ธุ รกิจระหว่างประเทศ ซึ งช่วยเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั ธุ รกิจของกลุ่มทรู ได้เป็ นอย่างดี (1)

ทรู ออนไลน์

ทรู ออนไลน์ ประกอบด้วย บริ การโทรศัพท์พืนฐาน และบริ การเสริ มต่าง ๆ เช่ น บริ การโทรศัพท์ สาธารณะ และบริ การ WE PCT นอกจากนี ยังรวมถึงบริ การอินเทอร์ เน็ต บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต บริ การโครงข่ายข้อมูล และดาต้าเกตเวย์ รวมทังบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ ซึ งได้มีการโอนย้าย ไปอยู่ในกลุ่มทรู โมบายตังแต่ตน้ ปี 2554 ทังนี ธุ รกิจบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตเติบโตอย่างรวดเร็ ว และเป็ น ปัจจัยหลักทีช่วยเพิมรายได้โดยรวมของกลุ่มธุ รกิจทรู ออนไลน์ ื โทรศัพท์พนฐานใช้ ื นอกสถานที (WE PCT) และโทรศัพท์สาธารณะ i) บริการโทรศัพท์พนฐาน ทรู ออนไลน์เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พืนฐานรายใหญ่ทีสุ ดในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล โดย สามารถให้บริ การโทรศัพท์พืนฐานจํานวนทังสิ น 2.6 ล้านเลขหมาย และมี เลขหมายทีให้บริ การอยู่ทงสิ ั น ประมาณ 1.6 ล้านเลขหมาย นอกจากนี กลุ่มทรู ยงั ได้รับอนุ ญาตจาก องค์การโทรศัพท์แห่ งประเทศไทย ซึ ง ภายหลังเปลียนชื อเป็ น บริ ษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) เพือให้บริ การโทรศัพท์สาธารณะในเขตกรุ งเทพมหานคร และปริ มณฑลจํานวนทังสิ น 26,000 ตู้ กลุ่มทรู ให้บริ การโทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานที WE PCT ผ่าน AWC ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อย (กลุ่มทรู ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้ อยละ 100.0) โดยได้เปิ ดให้บริ การอย่างเป็ นทางการ เมือเดื อนพฤศจิกายน 2542 ซึ งถือเป็ น บริ การเสริ มของบริ การโทรศัพท์พืนฐาน บริ การ WE PCT เป็ นบริ การทีทําให้ผใู้ ช้บริ การสามารถพกพาโทรศัพท์บา้ นไปใช้นอกบ้านได้ โดยใช้ หมายเลขเดี ยวกับโทรศัพท์บา้ น และสามารถใช้ได้ถึง 9 เครื องต่อโทรศัพท์พืนฐาน 1 เลขหมาย โดย WE PCT แต่ละเครื องจะมีหมายเลขประจําเครื องของตนเอง ในเดือนสิ งหาคม 2534 กลุ่มทรู ได้ทาํ สัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างกลุ่มทรู กบั องค์การโทรศัพท์ แห่ งประเทศไทย ซึ งภายหลังเปลี ยนชื อเป็ น บริ ษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) โดยให้กลุ่มทรู เป็ นผูด้ าํ เนิ นการ ลงทุ น จัดหา และติ ดตังควบคุ ม ตลอดจนซ่ อมบํารุ งและรั กษาอุ ป กรณ์ ในระบบสําหรั บการขยายบริ การ

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โทรศัพท์จาํ นวน 2 ล้านเลขหมาย ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล เป็ นระยะเวลา 25 ปี สิ นสุ ดปี 2560 ต่ อ มาได้รับ สิ ท ธิ ใ ห้ข ยายบริ ก ารโทรศัพ ท์อี ก จํา นวน 6 แสนเลขหมาย กลุ่ ม ทรู ไ ด้โ อนทรั พ ย์สิ น ที เป็ น โครงข่ายทังหมดให้แก่ทีโอที โดยทีโอที เป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้จากลู กค้าในโครงข่ายทังหมด และชําระให้ กลุ่ มทรู ตามสัดส่ วนทีระบุ ไว้ในสัญญาร่ วมการงานฯ คื อในอัตราร้ อยละ 84.0 สําหรับบริ การโทรศัพท์ พืนฐานในส่ วน 2 ล้านเลขหมายแรก และอัตราร้อยละ 79.0 สําหรับในส่ วน 6 แสนเลขหมายทีได้รับการ จัดสรรเพิมเติมในภายหลัง ในส่ วนของบริ การเสริ มต่าง ๆ ทีกลุ่มทรู ได้ให้บริ การอยู่ กลุ่มทรู ได้รับส่ วนแบ่ง รายได้ในอัตราร้อยละ 82.0 ของรายได้จากบริ การเสริ มนัน ๆ ยกเว้นบริ การโทรศัพท์สาธารณะ ซึ งกลุ่มทรู ได้รับส่ วนแบ่งรายได้ในอัตราร้อยละ 76.5 สําหรับบริ การ WE PCT นัน รายได้ทงหมดจะถู ั กจัดเก็บโดยทีโอที และทีโอที จะแบ่งรายได้ที จัดเก็บก่อนหักค่าใช้จา่ ยให้กลุ่มทรู ในอัตราร้อยละ 82.0 และเนื องจากกลุ่มทรู ได้มอบหมายให้ AWC ซึ งเป็ น บริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ดําเนิ นการให้บริ การ PCT แก่ลูกค้า ดังนัน กลุ่มทรู จึงต้องแบ่งรายได้ทีได้รับมาจาก ทีโอทีในอัตราประมาณร้อยละ 70.0 ให้กบั AWC นอกจากนัน ทีโอทีก็สามารถให้บริ การ PCT แก่ผทู ้ ีใช้ หมายเลขโทรศัพท์ของที โอที ได้โดยผ่านโครงข่ าย PCT ของกลุ่ มทรู ดัง นัน ที โอที จึง ต้องแบ่ งรายได้ ส่ วนหนึงทีทีโอทีได้รับจากผูใ้ ช้บริ การ PCT จากหมายเลขโทรศัพท์ของทีโอทีให้แก่กลุ่มทรู เพือเป็ นเสมือน ค่าเช่าโครงข่าย โดยในส่ วนนี ทีโอทีจะต้องแบ่งรายได้ประมาณร้อยละ 80.0 ให้แก่กลุ่มทรู บริการเสริม นอกเหนื อจากโทรศัพท์พืนฐาน และโทรศัพท์สาธารณะ กลุ่มทรู ได้พฒั นาบริ การเสริ มต่าง ๆ เพือ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึงประกอบด้วย บริ การรับฝากข้อความอัตโนมัติ (Voice Mailbox) บริ การรับสายเรี ยกซ้อน (Call Waiting) บริ การสนทนา 3 สาย (Conference Call) บริ การโอนเลขหมาย (Call Forwarding) บริ การเลขหมายด่วน (Hot Line) บริ การย่อเลขหมาย (Abbreviated Dialing) บริ การโทรซําอัตโนมัติ (Automatic Call Repetition) บริ การจํากัดการโทรออก (Outgoing Call Barring) และบริ การแสดงหมายเลขเรี ยกเข้า (Caller ID)

นอกจากนี กลุ่มทรู ยงั ได้ให้บริ การเสริ มอื น ๆ แก่ลูกค้าธุ รกิ จ ซึ งมีความต้องการใช้เลขหมายเป็ น จํานวนมาก และต้องการใช้บริ การเสริ มทีหลากหลายมากยิงขึน ได้แก่

บริ การตูส้ าขาอัตโนมัติระบบต่อเข้าตรง (Direct Inward Dialing หรื อ “DID”)

บริ การเลขหมายนําหมู่ (Hunting Line) เป็ นบริ การทีจัดกลุ่มเลขหมายให้สามารถเรี ยกเข้า ได้โดยใช้เลขหมายหลักเพียงเลขหมายเดียว

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โครงข่ายบริ การสื อสารร่ วมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network: ISDN) เป็ น บริ การรับ-ส่ งสัญญาณภาพ เสี ยง และข้อมูลพร้อมกันได้บนคู่สายเพียง 1 คู่สายในเวลาเดียวกัน

บริ การ Televoting

บริ การฟรี โฟน 1-800 (Free Phone 1-800) เป็ นบริ การหมายเลขโทรฟรี เพือให้ลูกค้าสามารถ โทรมายังหมายเลขต้นทางซึ งเป็ นศูนย์บริ การของบริ ษทั โดยบริ ษทั จะเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าโทร

บริ การประชุมผ่านสายโทรศัพท์ (Voice Conference)

บริ การโทรศัพท์ผา่ นอินเทอร์ เน็ต (Voice over Internet Protocol หรื อ VoIP) ภายใต้ชือ NetTalk by True

โครงข่ ายโทรศัพท์พนฐาน ื และพืนทีให้ บริการ WE PCT โครงข่ ายโทรศัพท์พืนฐานของกลุ่ มทรู เป็ นโครงข่า ยใยแก้วนํา แสงที ทันสมัย โดยใช้สายเคเบิ ล ทองแดงในระยะทางสัน ๆ เพือคุณภาพทีดีทีสุ ดในการให้บริ การทังด้านเสี ยงและข้อมูล ณ สิ น ปี 2557 กลุ่มทรู มีเลขหมายโทรศัพท์พืนฐานทีให้บริ การแก่ลูกค้าเป็ นจํานวนรวม 1,613,504 เลขหมาย ประกอบด้วย ลูกค้าบุคคลทัวไปจํานวน 1,060,784 เลขหมาย และลูกค้าธุ รกิจจํานวน 552,720 เลขหมาย ซึ งลดลง ในอัตราร้อยละ 4.9 จาก ณ สิ นปี 2556 โดยการลดลงของรายได้และผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พืนฐานเป็ นไปตาม แนวโน้มเดียวกันทัวโลก ในขณะทีรายได้เฉลียต่อเลขหมายต่อเดือน สําหรับ ปี 2557 ลดลงร้อยละ 6.4 จาก ปี ก่อนหน้า เป็ น 239 บาทต่อเดือน ทังนี รายได้จากการให้บริ การส่ วนใหญ่ (ร้อยละ 60.9) ยังคงมาจากลูกค้าธุ รกิจ ตารางแสดงจํานวนผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พืนฐาน และรายได้เฉลียต่อผูใ้ ช้บริ การ ณ วันที 31 ธ.ค. บริการโทรศัพท์ พืนฐาน 2553 2554 2555 จํานวนผูใ้ ช้บริ การ 1,834,694 1,805,892 1,766,141 รายได้เฉลียต่อ 285 272 265 ผูใ้ ช้บริ การ (บาทต่อเดือน)

2556 1,696,155

2557 1,613,504

255

239

ผูใ้ ช้บริ การ WE PCT ยังคงมีจาํ นวนลดลง ซึ งเป็ นไปในทิศทางเดียวกับแนวโน้มทัวโลก ส่ วนหนึ ง จากผลกระทบจากความนิ ยมในการใช้ โทรศัพท์เคลื อนทีทีเพิมขึนอย่างต่อเนื อง โดย ณ สิ นปี 2557 กลุ่มทรู มี ผูใ้ ช้บริ การ WE PCT จํานวน 13,938 ราย ลดลงจาก 17,966 ราย ณ สิ นปี 2556

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตารางแสดงจํานวนผูใ้ ช้บริ การ WE PCT และรายได้เฉลียต่อผูใ้ ช้บริ การ ณ วันที 31 ธ.ค. WE PCT 2553 2554 2555 จํานวนผูใ้ ช้บริ การ1/ 89,698 45,599 28,885 รายได้เฉลียต่อ 160 117 223 2/ ผูใ้ ช้บริ การ 1/ 2/

2556 17,966 259

2557 13,938 351

รวมผูใ้ ช้บริ การเลขหมายของ TOT รวมผูใ้ ช้บริ การ PCT Buddy (บริ การแบบเติมเงิน)

ii)

บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต บริการอินเทอร์ เน็ตอืน ๆ และบริการเสริม บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต

กลุ่ มทรู เป็ นผูน้ าํ การให้บริ การบรอดแบนด์หรื ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งของประเทศ และครอง ส่ วนแบ่งตลาดรายได้บรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ ตทัวประเทศประมาณร้อยละ 41 ในปี 2557 (แหล่ งที มา: ประมาณการโดยกลุ่มทรู ) กลุ่มทรู ให้บริ การบรอดแบนด์สําหรับลูกค้าทัวไปผ่าน 3 เทคโนโลยี คือ เทคโนโลยี FTTx (ผ่าน ใยแก้วนําแสง) เทคโนโลยี DOCSIS (ผ่าน Cable Modem) และเทคโนโลยี xDSL (Digital Subscriber Line) ทรู ออนไลน์ยงั คงเป็ นผูน้ าํ ในตลาดบริ การบรอดแบนด์ ด้วยการขยายความครอบคลุมของ โครงข่ายอย่างต่อเนือง อีกทังยังนําเสนอสิ นค้าทีโดดเด่นและน่าดึงดูดใจ รวมถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ และการเพิมประสิ ทธิ ภาพการให้บริ การลูกค้าให้ดียงขึ ิ น ในปี 2546 กลุ่ มทรู และผูใ้ ห้บริ การรายอื น ได้นาํ เสนอบริ การอิ นเทอร์ เน็ ตไร้ สายความเร็ วสู ง หรื อ WiFi ทังนี โครงข่าย WiFi ของกลุ่มทรู ทีสามารถให้บริ การครอบคลุ มได้อย่างกว้างขวาง เป็ นหนึ งในปั จจัย สําคัญทีสร้างความแตกต่างให้กบั สิ นค้าและบริ การของกลุ่มทรู รวมทังยังมีส่วนในการสร้างความเติบโตให้กบั บริ การบรอดแบนด์ โดยปั จจุบนั กลุ่มทรู มีจุดเชื อมต่อสัญญาณ WiFi กว่า 100,000 จุด ด้วยความเร็ วสู งสุ ดถึง 200 Mbps TU เป็ นหนึงในบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ซึ งได้รับใบอนุญาตประเภทที 3 จากคณะกรรมการ กทช. เพือ ให้บริ การโทรศัพท์พืนฐาน บริ การบรอดแบนด์ และบริ การโครงข่ายข้อมูลทัวประเทศ โดย TU ให้บริ การ วงจรสื อสารข้อมู ล และบรอดแบนด์ รวมทัง โครงข่ ายสื อสารข้อ มู ล ให้ แ ก่ บ ริ ษัท ย่ อ ยอื นในกลุ่ ม ทรู รวมทรู อินเทอร์ เน็ต และทรู มัลติมีเดี ย เพือนําไปให้บริ การต่อแก่ ลูกค้าอิ นเทอร์ เน็ ตความเร็ วสู งรายย่อย บริ การข้อมูล และบริ การทีไม่ใช่เสี ยง แก่ลูกค้าทัวไปและลูกค้าธุ รกิจ ตามลําดับ

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ด้วยโครงข่ายทีทันสมัย ทําให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การบรอดแบนด์ทีมีความเร็ วสู ง และการเชื อมต่อทีมี เสถียรภาพมากขึน อีกทังยังสามารถ ดําเนินงานและให้การบํารุ งรักษาได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี กลุ่มทรู ยังให้บริ การด้านคอนเทนต์ทีเปี ยมด้วยคุณภาพซึ งมีความหลากหลายและเหมาะกับทุกไลฟ์ สไตล์ ไม่วา่ จะเป็ น คอนเทนต์สําหรั บผูท้ ี ชื นชอบการฟั งเพลง เล่ นเกมออนไลน์ ดู กี ฬา หรื อรั กการอ่ านหนัง สื อออนไลน์ใ น รู ปแบบของ e-Book รวมทังบริ การเสริ มต่าง ๆ เช่น บริ การ Internet Security Program (เพือความปลอดภัย ในทุกครังทีออนไลน์ ด้วย Anti-Virus ชันนํา) และบริ การ WhiteNet (เพือกลันกรองและสกัดจับภาพและสื อ บนอินเทอร์ เน็ตทีไม่เหมาะสมสําหรับเยาวชน) ในเดื อนธันวาคม 2553 ทรู ออนไลน์ ไ ด้เปิ ดให้ บ ริ ก ารบรอดแบนด์ อย่า งไม่ เป็ นทางการโดยใช้ เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ด้วยความเร็ วตังแต่ 10 - 100 Mbps ในราคาเริ มต้น 699 บาทต่อเดือน และเปิ ดให้บริ การ อย่างเป็ นทางการพร้อม ๆ กับการเปิ ดบริ การ WiFi ด้วยความเร็ วมาตรฐานใหม่ 8 Mbps ในเดือนมีนาคม 2554 ซึ งเทคโนโลยี DOCSIS ไม่เพียงมีขีดความสามารถทีจะขยายความเร็ วได้สูงกว่า 1 Gbps แต่ยงั สามารถรองรับ การให้บริ การแบบทริ ปเปิ ลเพลย์ ซึ งเป็ นการให้บริ การบรอดแบนด์ บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ ก และบริ การเสี ยงผ่านอุปกรณ์เชื อมต่อหรื อ Router บนโครงข่ายเดียวกันได้อีกด้วย ทรู ออนไลน์ยงั คงมุ่งมัน ในการเพิ มประสบการณ์ ก ารใช้ง านอิ นเทอร์ เน็ ต อย่า งเต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพให้ ก ับ ลู ก ค้า ด้ว ยการปรั บเพิ ม ความเร็ วมาตรฐานของบริ การบรอดแบนด์ อย่างต่ อเนื อง โดยในไตรมาส 3 ปี 2557 ทรู ออนไลน์เป็ น ผูใ้ ห้บริ การรายแรกและรายเดียวทีสร้างมาตรฐานความเร็ วใหม่ในประเทศ ด้วยการเพิมความเร็ วมาตรฐาน ของบริ การบรอดแบนด์เป็ น 15 Mbps สําหรับแพ็กเกจเดียว เป็ น 18 Mbps สําหรับแพ็กเกจทีรวมสองบริ การ ของกลุ่ม และเป็ น 30 Mbps สําหรับแพ็กเกจทีรวมสามบริ การของกลุ่ม นอกจากนี ทรู ออนไลน์ยงั ทําการตลาดสู่ กลุ่มเป้ าหมายระดับบน โดยในปี 2552 ได้เปิ ดตัวบริ การ ULTRA broadband โดยให้การเชื อมต่ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู งถึง 50 Mbps ผ่านเทคโนโลยี VDSL และ ในเดือนกันยายน 2554 ได้เปิ ดตัวบริ การ ULTRA hi-speed Internet ผ่านเทคโนโลยี FTTH (Fiber to the home) หรื อใยแก้วนําแสง ด้วยความเร็ วดาวน์โหลดตังแต่ 50 Mbps ถึง 100 Mbps อีกทัง ทรู ออนไลน์ยงั ได้ ขยายการนําเสนอแพ็กเกจสําหรับลูกค้าระดับบน ด้วยการให้บริ การบรอดแบนด์ ผ่านเทคโนโลยี FTTx ด้วย ความเร็ วตังแต่ 20 Mbps ถึง 1000 Mbps โดยบริ การระดับพรี เมียมเหล่านี สามารถเชื อมต่ออินเทอร์ เน็ตด้วย ความเร็ วทีมีเสถียรภาพ ทําให้สามารถอัพโหลดและดาวน์โหลดคอนเทนต์ประเภท High Definition ได้ เป็ นอย่างดี รวมทังยังรองรับการรับชมภาพและเสี ยงผ่านอินเทอร์ เน็ต หรื อ Audio-visual streaming ได้อีกด้วย พัฒนาการทีสําคัญและการนําเสนอสิ นค้าทีน่าดึงดูดใจและโดดเด่นสําหรับลูกค้าทุกกลุ่มเป้ าหมาย เหล่านี ช่วยตอกยําความเป็ นผูน้ าํ ของกลุ่มทรู ในฐานะผูป้ ระกอบการไทยรายเดียวทีให้บริ การคอนเวอร์ เจนซ์ ไลฟ์ สไตล์ครอบคลุมทุกรู ปแบบการสื อสาร และตอบสนองความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่มได้อย่างแท้จริ ง รวมทังยังคงเป็ นผูน้ าํ ทังในการให้บริ การบรอดแบนด์ดว้ ยความเร็ วสู ง ด้วยคุณภาพและนําหน้าด้วยนวัตกรรม

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความนิยมต่อแพ็กเกจบรอดแบนด์ของทรู ออนไลน์ ความสําเร็ จจากการขยายบริ การบรอดแบนด์ ไปสู่ พืนทีใหม่ ๆ อย่างต่อเนื อง และผลตอบรับทีดีต่อการจัดกิจกรรมทางการตลาดทีเข้าถึงความต้องการของ ลูกค้าในแต่ละพืนทีได้เป็ นอย่างดี ส่ งผลให้จาํ นวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์รายใหม่สุทธิ ในปี 2557 มีจาํ นวน ทีสู งเป็ นประวัติการณ์ถึง 271,836 ราย ทําให้ ทรู ออนไลน์มีผใู ้ ช้บริ การบรอดแบนด์เพิมขึนเป็ นจํานวนทังสิ น 2,081,436 ราย ณ สิ นปี ในขณะทีรายได้เฉลียต่อผูใ้ ช้บริ การต่อเดือนยังคงแข็งแกร่ งที 710 บาท ตารางแสดงจํานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ และรายได้เฉลียต่อผูใ้ ช้บริ การ ณ วันที 31 ธ.ค. บริการบรอดแบนด์ 2553 2554 2555 จํานวนผูใ้ ช้บริ การ 1,175,391 1,334,936 1,569,556 รายได้เฉลียต่อ 701 707 699 ผูใ้ ช้บริ การ (บาทต่อเดือน)

2556 1,809,600 712

2557 2,081,436 710

หมายเหตุ: ในปี 2554 ได้มีการรวมผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์สําหรั บลู กค้าธุ รกิ จและลู กค้าบริ การโครงข่ ายข้อมู ลเข้ามาอยู่ภายใต้ ผูใ้ ช้บริ การ บรอดแบนด์ ดังนัน จํานวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ตงแต่ ั ปี 2551 เป็ นต้นมา จึงมีการปรับปรุ งเพือให้สอดคล้องกับการเปลียนแปลงดังกล่าว

สําหรับลูกค้าธุ รกิจ กลุ่มทรู ให้บริ การโครงข่ายข้อมูลในลักษณะโซลูชนั ทังบริ การด้านเสี ยงและข้อมูล ไปด้วยกัน รวมทังให้บริ การด้านการบริ หารโครงข่ายข้อมูลผ่านเทคโนโลยีต่าง ๆ ทีหลากหลาย ซึ งประกอบด้วย บริ การโครงข่ายข้อมูลดิจิตอล DDN (Digital Data Network) หรื อบริ การวงจรเช่า (Leased Line) บริ การโครงข่าย ข้อมูลผ่านเครื อข่าย IP ได้แก่ บริ การ MPLS (Multiprotocol Label Switching) บริ การ Metro Ethernet ซึ งเป็ น บริ การโครงข่ายข้อมูลทีใช้เทคโนโลยี Fiber-to-the-building และถูกออกแบบมาเฉพาะลูกค้าธุ รกิจ รวมทัง บริ การวงจรเช่าผ่านเครื อข่าย IP (IP-based leased line) ทีผสมผสานระหว่างบริ การข้อมูลผ่านเครื อข่าย IP และ บริ การวงจรเช่ า ซึ งมี คุณภาพดี กว่าบริ การเครื อข่าย IP แบบมาตรฐาน นอกจากนัน ยังเน้นการให้บริ การการ บริ หารจัดการเครื อข่ายข้อมูล (Managed Network Service) ซึ งเป็ นบริ การทีผสมผสานบริ การเกียวกับการ ปฏิ บตั ิการเครื อข่าย 3 บริ การเข้าด้วยกัน ตังแต่การจัดการประสิ ทธิ ภาพของเครื อข่าย การบริ หารข้อผิดพลาด และการกําหนดค่าต่าง ๆ ของเครื อข่าย ยิงไปกว่านัน สาธารณู ปโภคด้านโครงข่ายของกลุ่มทรู ยงั สร้ างขึน ด้วยเทคโนโลยี IP ทีทันสมัย พร้อมสนับสนุนการทํางานบนเทคโนโลยีคลาวด์ คอมพิวติง (Cloud Computing) บริ การ “ทรู อีเธอร์ เน็ต ไฟเบอร์ ” (True Ethernet Fiber) ของกลุ่มทรู เป็ นบริ การวงจรสื อสารความเร็ วสู ง บนโครงข่าย IP ทีสามารถรับ-ส่ งข้อมูลขนาดใหญ่ได้หลากหลายประเภท ผ่านโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนําแสง ทีมีความเร็ ว ความเสถียร และความปลอดภัยของข้อมูลสู ง อีกทังสามารถเลือกความเร็ วได้ตงแต่ ั 2 Mbps 10 Gbps ซึ งให้บริ การด้วยมาตรฐานระดับโลกจาก Metro Ethernet Forum (MEF) รายแรกในประเทศไทย นอกจากนี กลุ่มทรู ให้บริ การโซลูชนวงจรสื ั อสารข้อมูลความเร็ วสู งรู ปแบบใหม่ (โดยใช้เทคโนโลยี MPLS)

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เพือสนองความต้องการใช้งานของลู ก ค้า กลุ่ มเอสเอ็ม อี โดยเริ มที กลุ่ มร้ านเกมออนไลน์ ทวประเทศ ั ซึ ง โซลู ชนนี ั มีความเสถี ยรสู ง สามารถให้ความเร็ วในการอัพโหลดและดาวน์โหลดทีเท่ากัน รวมถึ งมีระบบ สํารองแบบอัตโนมัติ ซึ งล้วนเป็ นปั จจัยสําคัญในการแข่งขันการให้บริ การของธุ รกิจเกมออนไลน์ กลุ่มธุ รกิจ โครงข่ายข้อมูลธุ รกิจ ยังคงให้ความสําคัญกับกลุ่มลูกค้าในตลาดเคเบิลใยแก้วนําแสง ซึ งยังมีโอกาสในการ เติบโตได้อีกมาก โดยได้วางระบบเคเบิลใยแก้วนําแสง โดยใช้เทคโนโลยี Gigabit-capable Passive Optical Network (GPON) ซึ งได้เข้าถึ งลู กค้าองค์กรทีมี สํานักงานตังอยู่ในอาคารและบนถนนสายสําคัญ ๆ ใน เขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล รวมถึ งนิ คมอุ ตสาหกรรมในต่างจังหวัด และพืนที ท่องเที ยวหลัก ๆ นอกจากนี ทรู อินเทอร์ เน็ต ได้ทาํ การอัพเกรดอินเทอร์ เน็ตแบ็ คโบนเป็ น 100 กิ กะบิตต่อวินาที เป็ นรายแรก ในเอเชียด้วย Cisco Nexus 7000 มาตรฐานระดับโลกจากซิ สโก้ เพือเพิมศักยภาพเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตทีมีอยู่ ในปั จจุบนั ให้สามารถรองรับการใช้งานของลูกค้าทีมีแนวโน้มเพิมขึนหลายเท่าตัวในอนาคต ให้สามารถใช้ งานได้เต็มประสิ ทธิ ภาพและมีความเสถียรมากยิงขึน นอกเหนือจากการให้บริ การลูกค้าทีเป็ นองค์กรธุ รกิจขนาดใหญ่แล้ว กลุ่มทรู ยังมุ่งเน้นในการขยาย การให้บริ การสู่ กลุ่มธุ รกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรื อ เอสเอ็มอี ซึ งมีศกั ยภาพในการเติบโตทางธุ รกิจสู ง ในปี 2557 ทรู ออนไลน์ได้เปิ ดตัวบริ การใหม่ “วงจรเช่าสําหรับธุ รกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก” (Leased Line for Business & Small Business ) ให้ธุรกิจเอสเอ็มอี ได้ใช้อินเทอร์ เน็ตคุณภาพระดับองค์กรทีมีประสิ ทธิ ภาพสู ง และเหมาะสมกับความต้องการใช้งาน ในราคาทีเหมาะสม ทังนี กลุ่มทรู จะใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์และ บริ การของกลุ่มทีมีความหลากหลาย เพือขยายส่ วนแบ่งทางการตลาดในต่างจังหวัด ผ่านยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ และการนําเสนอผลิตภัณฑ์ภายในกลุ่มไปด้วยกัน กลุ่มทรู คือหนึงในผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายข้อมูลรายใหญ่ของประเทศ ซึ งมีความได้เปรี ยบในการแข่งขัน เนืองจากมีโครงข่ายทีทันสมัย โดยมีกลยุทธ์ในการเน้นสร้างความแตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การรายอืน ด้วยคุณภาพที ดีเยียม และการนําเสนอบริ การตามความต้องการเฉพาะของลูกค้า อีกทังยังสามารถผสมผสานผลิตภัณฑ์และ บริ การภายในกลุ่มไว้ดว้ ยกัน อาทิ บริ การด้านคอนเทนต์ VoIP และอินเทอร์ เน็ต หรื อการนํา เสนอบริ การ ร่ วมกับคู่คา้ ทางธุ รกิจต่าง ๆ อาทิ ร่ วมมือกับบริ ษทั ซิ สโก้ (Cisco) เพือให้บริ การวางระบบเครื อข่าย IP คุณภาพสู ง ทําให้ไม่จาํ เป็ นต้องแข่งขันด้านราคาเพียงอย่างเดียว ทังนี กลุ่มทรู ได้ให้บริ การโครงข่ายข้อมูลแก่ลูกค้ารวม 29,332 วงจร โดยมีรายได้เฉลียต่อวงจรที 8,685 บาทต่อเดือน ในปี 2557 ตารางแสดงจํานวนวงจรทีให้บริ การ และรายได้เฉลียต่อวงจรในแต่ละช่วงเวลาดังกล่าว จํานวนวงจรทีให้บริ การ รายได้เฉลียต่อวงจร (บาทต่อเดือน)

ส่วนที 1

2553 21,566 9,035

2554 22,533 9,266

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ณ วันที 31 ธ.ค. 2555 25,552 8,593

2556 27,241 8,775

2557 29,332 8,685

หัวข ้อที 2 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บริการอินเทอร์ เน็ตอืน ๆ และ บริการเสริม กลุ่มทรู ดาํ เนินธุ รกิจการให้บริ การอินเทอร์ เน็ต (รวมทังคอนเทนต์และแอพพลิเคชัน) โดยผ่านบริ ษทั ย่อย คือ (1) ทรู อินเทอร์ เน็ต ซึ งกลุ่มทรู ถือหุ น้ ในสัดส่ วนร้อยละ 100.0 เป็ นบริ ษทั หลักสําหรับการให้บริ การ อินเทอร์เน็ตความเร็ วสู ง หรื อบริ การบรอดแบนด์ และบริ การเสริ ม ซึ งในเดือนสิ งหาคม 2557 ทรู อินเทอร์ เน็ต ได้รับการต่ออายุใบอนุญาต ในการให้บริ การอินเทอร์ เน็ตแบบที 1 จากคณะกรรมการ กสทช. ไปอีกเป็ นเวลา 5 ปี และจะหมดอายุในวันที 17 เดือนสิ งหาคม 2562 ใบอนุญาตดังกล่าวนีสามารถต่ออายุได้ทุก 5 ปี (2) KSC ซึ งกลุ่มทรู ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้อยละ 56.8 ดําเนิ นธุ รกิจการให้บริ การอินเทอร์ เน็ตสําหรับ ลูกค้าองค์กร ซึ งในเดือนมิถุนายน 2557 KSC ได้รับการต่ออายุใบอนุ ญาต ในการให้บริ การอินเทอร์ เน็ตแบบที 1 จากคณะกรรมการ กทช. ไปอีกเป็ นเวลา 5 ปี และจะหมดอายุในวันที 22 เดือนมิถุนายน 2562 ใบอนุญาตดังกล่าวนี สามารถต่ออายุได้ทุก 5 ปี (3) เอเซี ย อินโฟเน็ท ซึ งกลุ่มทรู ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้อยละ 65.0 ได้รับอนุญาตจาก CAT Telecom (ก่อนหน้าคือการสื อสารแห่ งประเทศไทย) ให้ดาํ เนิ นธุ รกิ จการให้บริ การอินเทอร์ เน็ตเชิ งพาณิ ชย์ (ISP) แก่ ผูใ้ ช้บริ การทัวประเทศ จนกระทังถึงปี 2549 ด้วยอุปกรณ์ทีได้ทาํ สัญญาเช่าระยะยาวจาก CAT Telecom หรื อ หน่วยงานทีได้รับอนุญาตจาก CAT Telecom ทังนี ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 เอเซี ย อินโฟเน็ท ได้รับการต่ออายุ ใบอนุ ญาตในการให้บริ การอินเทอร์ เน็ ตแบบที 1 จากคณะกรรมการ กทช. ไปอีก โดยจะหมดอายุในวันที 4 กุมภาพันธ์ 2558 ใบอนุญาตดังกล่าวนีสามารถต่ออายุทุก 5 ปี ในภาพรวมของธุ รกิ จอินเทอร์ เน็ ต กลุ่ มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การอิ นเทอร์ เน็ ตอันดับหนึ งของประเทศ โดย ให้บริ การทังในกลุ่มลูกค้าทัวไป และลูกค้าธุ รกิ จ เนื องจากสามารถให้บริ การพร้ อมบริ การเสริ มต่าง ๆ อย่างครบวงจร นอกจากนี หลังจาก TIG ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ได้รับใบอนุ ญาตจากคณะกรรมการ กทช. ให้เปิ ด บริ การโครงข่ายอินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) บริ การอินเทอร์ เน็ตและ บรอดแบนด์ของกลุ่มทรู ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ ว สามารถให้บริ การทีมีคุณภาพสู งขึนแก่ลูกค้า รวมทังช่ วย ประหยัดต้นทุนในการให้บริ การ iii)

บริการอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ

TIG ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่ มทรู ได้รับใบอนุ ญาตประกอบกิ จการบริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ ระหว่างประเทศ (International Internet Gateway) และบริ การชุมสายอินเทอร์ เน็ต (Domestic Internet Exchange Service) ประเภทที 2 แบบมีโครงข่าย เมือวันที 19 พฤษภาคม 2554 และใบอนุญาตโทรคมนาคม ประเภทที 3 สําหรับการให้บริ การขายต่อวงจรเช่าส่ วนบุคคลระหว่างประเทศ เมือวันที 11 พฤศจิกายน 2552

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ด้วยใบอนุ ญาตดังกล่าว ทําให้ TIG สามารถให้บริ การโครงข่ายอินเทอร์ เน็ ต และข้อมูลระหว่าง ประเทศได้ ในส่ วนของบริ การอินเทอร์ เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศ TIG ซึ งมีชุมสายในกรุ งเทพฯ สิ งคโปร์ ฮ่องกง สหราชอาณาจักร เนเธอร์ แลนด์ และสหรัฐอเมริ กา ทําให้การเชื อมต่อไปยังประเทศเหล่านี มีประสิ ทธิ ภาพ ดีขึน และทําให้สามารถให้บริ การลูกค้าได้อย่างมีคุณภาพ ตังแต่เปิ ดให้บริ การ TIG มีการขยายแบนด์วิธอย่างต่อเนื อง เพือรองรับความต้องการใช้งานอินเทอร์ เน็ต และบริ การด้านข้อมูลต่างประเทศ ทีเติบโตขึนทุกปี โดย ณ สิ นปี 2557 TIG มีปริ มาณแบนด์วิธของแบ็คโบน อยูป่ ระมาณ 180 GB ซึ งบริ ษทั มีแผนทีจะขยายเพิมเป็ น 300 GB ภายในสิ นปี 2558 ทังนี ปริ มาณแบนด์วิธที TIG ให้บริ การ ส่ วนใหญ่เป็ นการให้บริ การแก่บริ ษทั ในกลุ่มทรู โดยส่ วนทีเหลือสําหรับกลุ่มลูกค้าภายนอก ซึงครอบคลุมผูใ้ ห้บริ การอินเทอร์ เน็ตในประเทศ บริ ษทั ข้ามชาติ และผูใ้ ห้บริ การด้านโทรคมนาคมในต่างประเทศ ในส่ วนของบริ การโครงข่ายข้อมูลระหว่างประเทศ มี 3 รู ปแบบบริ การ คือ บริ การวงจรเช่าส่ วนบุคคล ระหว่างประเทศ (International Private Leased Circuit - IPLC) บริ การวงจรเช่าเสมือนส่ วนบุคคลระหว่าง ประเทศ (Internet Protocol Virtual Private Network - IP VPN) และ บริ การ Virtual Node ปั จจุบนั TIG มุ่งเน้น กลุ่มลูกค้าซึ งเป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Carrier) ซึ งมีทีตังสาขาอยูใ่ นภูมิภาค เอเชียแปซิฟิค ซึงมีความต้องการแบนด์วธิ ปริ มาณมากและคุณภาพการให้บริ การสู ง นอกจากนี TIG คํานึงถึง ความต้องการแบนด์วธิ ของลูกค้ากลุ่มองค์กรทีหลากหลาย ทังขนาดแบนด์วธิ และประเทศปลายทาง TIG จึง มีพนั ธมิตรผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมระดับโลก เพือเป็ นการขยายพืนทีการให้บริ การต่างประเทศเพิมมากขึน TIG ได้ลงนามสัญญาให้บริ การ Virtual Node ให้แก่ผใู ้ ห้บริ การโทรคมนาคมระหว่างประเทศชันนํา หลายราย นอกจากนี ยังขยายบริ การอินเทอร์ เน็ตและดาต้าเกตเวย์ไปยังประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และ พม่า ซึ งเป็ นส่ วนหนึงของเป้ าหมายใหม่ในการพัฒนาธุ รกิจสู่ ประเทศเพือนบ้าน โดยพัฒนาการต่าง ๆ เหล่านี ช่วยเสริ มสร้างรายได้ และสนับสนุนการเติบโตอย่างต่อเนืองให้กบั กลุ่มทรู อีกด้วย (2)

กลุ่มทรู โมบาย

กลุ่มทรู โมบาย ให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีส่ วนใหญ่บนระบบ 3G และ 4G LTE ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช โดยกลุ่มทรู ถือหุ น้ ร้อยละ 100.0 ใน TUC (เดิมชือ “บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด”) ซึ งเป็ น holding company และบริ ษทั ทีได้รับใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที 3 และถือหุ ้นทางอ้อมในทรู มูฟ (ชือเดิม ทีเอ ออเร้นจ์) และ เรี ยลมูฟ (ผูข้ ายต่อบริ การ 3G+ ของ CAT Telecom ภายใต้แบรนด์ทรู มูฟ เอช ซึ ง เป็ นแบรนด์สาํ คัญในการทําตลาด 3G+ ของกลุ่มทรู ) ผ่าน BITCO ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู โดยกลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถือหุ น้ ใน BITCO เป็ นร้อยละ 99.5 ณ สิ นปี 2557 ทรู มูฟ ให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ภายใต้สัญญาให้ดาํ เนินการฯ ระหว่าง CAT Telecom กับทรู มูฟ ลงวันที 20 มิถุนายน 2539 ในการให้บริ การและจัดหาบริ การโทรศัพท์เคลือนทีระบบดิจิตอล 1800 จนถึง

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เดือนกันยายน 2556 ภายใต้สัญญาดังกล่าว ทรู มูฟจะต้องจ่ายส่ วนแบ่งรายได้แก่ CAT Telecom ในอัตราร้อยละ 25 จากรายได้ (หลังหักค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิ มและค่าใช้จ่ายอืนทีอนุ ญาตให้หัก เช่น คอนเทนต์) จนถึง เดื อนกันยายน 2554 และเพิมขึนเป็ นร้ อยละ 30 จนสิ นสุ ดระยะเวลาของสัญญา ปั จจุบนั สัญญาดังกล่าวได้ สิ นสุ ดแล้ว และทรู มูฟให้บริ การภายใต้มาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัวคราวในกรณี สินสุ ด การอนุญาต สัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีของคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนมกราคม 2554 กลุ่มทรู ได้เข้าซื อหุ ้น 4 บริ ษทั ของกลุ่มฮัทชิ สัน ในประเทศไทยเป็ นทีเรี ยบร้อย การเข้าซื อหุ น้ ดังกล่าวเอือประโยชน์ในการขยายฐานธุ รกิจโทรศัพท์เคลือนทีของกลุ่มทรู เนื องจากบริ ษทั ฮัทชิ สัน ในประเทศไทย มีลูกค้าโทรศัพท์เคลือนทีโดยรวมประมาณ 800,000 ราย ถัดมาในเดือนเมษายน 2554 กลุ่มทรู โดยเรี ยลมูฟ ได้ลงนามในสัญญาเพือขายต่อบริ การของ CAT Telecom โดยสัญญาดังกล่าวมีระยะเวลาไป จนถึงปี 2568 เป็ นผลให้กลุ่ มทรู เปิ ดตัวแบรนด์ ทรู มูฟ เอช เพือขายต่อบริ การ 3G+ ของ CAT Telecom เชิ งพาณิ ชย์ได้ทวประเทศ ั ผ่านเทคโนโลยี HSPA บนคลืนความถี 850 MHz ทังนี ทรู มูฟ เอช เปิ ดตัวอย่าง เป็ นทางการ ในกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล และอีก 16 จังหวัดทัวไทย เมือวันที 30 สิ งหาคม 2554 โดย ให้บริ การด้วยความเร็ วสู งสุ ด 42 Mbps ภายใต้แนวคิด มอบชีวิตอิสระ หรื อ FREEYOU รวมทังให้บริ การ WiFi ความเร็ ว 8 Mbps ทําให้กลุ่มทรู มีความได้เปรี ยบในเชิ งการแข่งขันจากการเป็ นผูใ้ ห้บริ การ 3G เชิงพาณิ ชย์ ทัวประเทศรายแรกของประเทศไทย ในปี 2554 กลุ่มทรู ได้ทาํ การจัดโครงสร้างธุ รกิจโทรศัพท์เคลือนทีใหม่ โดยรวมธุ รกิจโทรศัพท์เคลือนที ทังหมดของกลุ่มทรู เข้าด้วยกัน ภายใต้กลุ่มทรู โมบาย ซึ งดําเนิ นกิจการโดย TUC (เดิมชือ “บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด”) ในฐานะบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู เพือให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการดําเนิ นธุ รกิจและโอกาสในการจัดหา เงินทุนเพือสนับสนุนธุ รกิจในอนาคต TUC (เดิมชือ “บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด”) ได้เข้าร่ วมการประมูลใบอนุ ญาตใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz และได้รับใบอนุญาตให้ใช้คลืนความถีดังกล่าวในเดือนธันวาคม ปี 2555 ทําให้กลุ่มทรู โมบาย สามารถให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีได้อย่างน้อยถึงปี 2570 โดยในเดือนพฤษภาคม ปี 2556 ทรู มูฟ เอช เปิ ด ให้บริ การ 4G LTE บนคลืนความถี 2.1 GHz เป็ นรายแรกในประเทศไทย ครอบคลุมย่านเศรษฐกิจสําคัญ ๆ ในกรุ งเทพฯ เช่น สยามสแควร์ สี ลม และสาทร เพิมเติมจากการขยายโครงข่าย 3G อย่างต่อเนื อง โดยกลุ่ม ทรู เดินหน้าขยายโครงข่าย 4G อย่างต่อเนื อง ซึ งจะมีความครอบคลุมกว่าร้อยละ 80 ของประชากรภายใน ไตรมาส 2 ปี 2558 ทังนี การผสมผสานทีลงตัวและการใช้ประโยชน์อย่างสู งสุ ดของทังคลืน 2.1 GHz และ คลืน 850 MHz ของ CAT Telecom เพิมความแข็งแกร่ งให้กบั กลุ่มทรู โมบาย อีกทังยังช่วยตอกยําความเป็ น ผูน้ าํ ในการให้บริ การ 3G และ 4G LTE ทีดีทีสุ ด และมีความพร้อมทีสุ ดของทรู มูฟ เอช

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ผู้ใช้ บริการ ฐานลูกค้า 3G และ 4G ของทรู มูฟเอช ยังคงเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง หลังการเปิ ดให้บริ การอย่างเป็ น ทางการ โดยเพิมขึ นเป็ น 21.9 ล้านราย ณ สิ นปี 2557 ส่ งผลให้ กลุ่มทรู โมบายมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การทังสิ น ประมาณ 23.6 ล้านราย ซึ งคิดเป็ นสัดส่ วนร้ อยละ 25 ของจํานวนผูใ้ ช้บริ การในตลาดโทรศัพท์เคลือนที โดยรวมของประเทศ (ไม่รวม CAT Telecom ทีโอที และผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของทีโอที) ความเป็ นผูน้ าํ เครื อข่าย 3G และ 4G ของทรู มูฟ เอช และแพ็กเกจบริ การหลากหลายทีน่าดึงดูดใจ โดยเฉพาะ โปรโมชันคุม้ ค่าร่ วมกับดีไวซ์หลากหลาย ส่ งผลให้บริ การระบบรายเดือนของกลุ่มทรู โมบายเติบโต อย่างแข็งแกร่ ง อีกทัง ผลตอบรับทีดี ต่อแคมเปญการตลาดเฉพาะพืนทีและมือถื อ 3G ภายใต้แบรนด์ “ทรู ” ช่วยขยายฐานลูกค้า 3G ครอบคลุมทัวประเทศมากยิงขึน และเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั ตลาดบริ การระบบ เติมเงินของกลุ่มได้เป็ นอย่างดี โดยรายได้เฉลียต่อเลขหมายของกลุ่มทรู โมบายเพิมสู งขึนเป็ น 130 บาท ต่อเดือน ในปี 2557 จาก 124 บาท ต่อเดือน ในปี ก่อนหน้า ตารางแสดงจํานวนผู้ใช้ บริการโทรศัพท์ เคลือนทีของกลุ่มทรู โมบาย และรายได้ เฉลียต่ อผู้ใช้ บริการ บริการโทรศัพท์ เคลือนที กลุ่มทรู โมบาย จํานวนผูใ้ ช้บริ การ - บริ การระบบเติมเงิน - บริ การระบบรายเดือน รวม รายได้รวมเฉลียต่อผูใ้ ช้บริ การ - รายได้เฉลีย ผูใ้ ช้บริ การระบบเติมเงิน - รายได้เฉลีย ผูใ้ ช้บริ การระบบรายเดือน

2553 15,804,698 1,313,166 17,117,864 105 79 424

ณ วันที 31 ธ.ค. 2554 2555 17,126,512 1,813,751 18,940,263 113 73 508

18,413,588 2,558,732 20,972,320 123 72 539

2556

2557

19,714,534 3,161,617 22,876,151 124 59 577

19,768,653 3,878,781 23,647,434 130 59 527

บริการ บริการระบบเติมเงิน (Pre Pay) รายได้ของกลุ่ มทรู โมบายส่ วนหนึ งมาจากค่ าใช้บริ การระบบเติ มเงิ น ซึ งผูใ้ ช้บ ริ ก ารไม่ต้องเสี ย ค่าบริ การรายเดือน โดยผูใ้ ช้บริ การซื อซิ มการ์ ดพร้อมค่าโทรเริ มต้น และเมือค่าโทรเริ มต้นหมดก็สามารถเติมเงิ น ได้ในหลากหลายวิธีดว้ ยกัน เช่น บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน เครื องเอทีเอ็ม การโอนเงินจากผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ของกลุ่มทรู โมบายรายอืน และการเติมเงินอัตโนมัติแบบ “over-the-air” นอกจากนี ผูใ้ ช้บริ การของกลุ่มทรู โมบาย ยังสามารถชําระค่าใช้บริ การด้วยบริ การการเงินบนโทรศัพท์เคลือนทีโดยทรู มนั นี เพือตอบสนองไลฟ์ สไตล์ คนรุ่ นใหม่

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บริการระบบรายเดือน (Post Pay) บริ การ Post Pay ของกลุ่มทรู โมบาย คือบริ การระบบรายเดือน ซึ งผูใ้ ช้บริ การสามารถเลือกอัตรา ค่าบริ การรายเดือนสําหรับบริ การเสี ยงเพียงอย่างเดียว หรื อบริ การด้านข้อมูลเพียงอย่างเดียว หรื อบริ การด้านเสี ยง และบริ การด้านข้อมูลได้ตามความต้องการ นอกจากนี ยังมีแพ็กเกจ Top-up ซึ งผูใ้ ช้บริ การสามารถสมัครบริ การ ด้านเสี ยงหรื อบริ การทีไม่ใช่เสี ยง เพิมเติมจากแพ็กเกจรายเดือนทีใช้อยู่ ทังนี ผูใ้ ช้บริ การระบบรายเดือนของ กลุ่มทรู โมบายจะได้รับใบแจ้งค่าบริ การเป็ นรายเดือน ซึ งจะประกอบด้วย ค่าบริ การรายเดือนและค่าใช้บริ การ สําหรับบริ การเสี ยง และบริ การไม่ใช่เสี ยงต่าง ๆ บริการเสี ยง (Voice Services) ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื อนที ของกลุ่ มทรู โมบาย นอกจากจะสามารถโทรศัพท์ภายในพืนที เดี ยวกัน โทรไปยังต่างจังหวัดและโทรทางไกลต่างประเทศแล้ว ยังสามารถใช้บริ การเสริ มต่าง ๆ ซึ งขึนอยูก่ บั แพ็กเกจ ทีเลือกใช้ บริ การเสริ มเหล่านีประกอบด้วย บริ การรับสายเรี ยกซ้อน บริ การโอนสายเรี ยกเข้า บริ การสนทนา สามสาย และบริ การแสดงหมายเลขโทรเข้า นอกจากนียังมีบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ เพือให้ ผูใ้ ช้บริ การสามารถโทรออกและรับสายเมือเดินทางไปต่างประเทศอีกด้วย บริการทีไม่ ใช่ เสี ยง (Non-voice) กลุ่มทรู โมบายให้บริ การทีไม่ใช่เสี ยง ทีหลากหลายเพือเติมเต็มและสอดคล้องกับไลฟ์ สไตล์ของลูกค้า โดยลูกค้าสามารถใช้บริ การคอนเทนต์ผา่ นช่องทางต่าง ๆ ได้หลายทาง ทังบนโทรศัพท์เคลือนที และทีเว็บพอร์ ทลั บริ การทีไม่ใช่ เสี ยงประกอบด้วย คอนเทนต์ต่าง ๆ ทีได้รับความนิ ยมจากผูใ้ ช้บริ การ อาทิ การสื อสารด้วยภาพ หรื อรู ปถ่าย บริ การข้อมูลทางการเงิน เกม การ์ ตูน สกรี นเซฟเวอร์ และริ งโทน รวมถึง คอนเทนต์ประเภทเพลง และกีฬา ลูกค้าทีใช้บริ การทีไม่ใช่เสี ยง มีปริ มาณทีเพิมขึนอย่างต่อเนื อง โดยเฉพาะอย่างยิง การดาวน์โหลดและ อัพโหลดภาพถ่าย และวิดีโอ รวมถึงการใช้บริ การโซเชียลเน็ตเวิร์กโดยผ่านบริ การโมบาย อินเทอร์เน็ต บริการทีไม่ ใช่ เสี ยงแบ่ งออกเป็ น 3 ประเภทดังนี: บริ การส่ งข้อความ ซึ งประกอบด้วย Short Messaging Service (SMS): บริ การส่ งข้อความ ไปยังผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีรายอืน Voice SMS: บริ การส่ งข้อความเสี ยงไปยังผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนที และโทรศัพท์พืนฐาน และ Multimedia Messaging Service (MMS): บริ การส่ งภาพ ข้อความ และเสี ยง ไปยัง ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีรายอืน

บริ การเชือมต่ออินเทอร์ เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลือนที หรื อ โมบาย อินเทอร์ เน็ต ผ่านเทคโนโลยี 4G LTE 3G+/HSPA และ EDGE/GPRS รวมทังเทคโนโลยี WiFi ซึ งผูใ้ ช้บริ การสามารถใช้งานผ่านโทรศัพท์เคลือนที

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เพือใช้บริ การอีเมล อินเทอร์ เน็ต VoIP ตลอดจนบริ การวิดีโอและเสี ยง รวมทังบริ การเสริ มอืน ๆ ซึ งประกอบด้วย Mobile Chat บริ การรับ-ส่ งข้อความในรู ปของ WAP based ทําให้ผใู ้ ช้บริ การสามารถเชื อมต่ออินเทอร์ เน็ต บนมือถือ หรื อสนทนาสดออนไลน์ บริ การสําหรับ BlackBerry และ iPhone บริ การด้านคอนเทนต์ ซึ งประกอบด้วย Ring-back Tone บริ การเสี ยงรอสาย ซึ งผูใ้ ช้บริ การ สามารถเลือกเสี ยงหรื อเพลงได้ดว้ ยตัวเอง Voicemail และ Multimedia Content Services บริ การคอนเทนต์ มัลติมีเดีย ซึ งประกอบด้วย เพลง กีฬา ข่าว และข่าวการเงิน กลุ่มทรู โมบาย สามารถใช้ประโยชน์จากคอนเทนต์ ั เพือสร้างความเติบโตให้กบั รายได้ ซึงเป็ นลิขสิ ทธิ เฉพาะของ ทรู มิวสิ ค ทรู ไลฟ์ ทรู ออนไลน์ และทรู วชิ นส์

ความนิ ย มในการใช้บ ริ ก ารเครื อข่ า ยสั ง คมออนไลน์ และการใช้ง านสมาร์ ท ดี ไ วซ์ ที เพิ มสู ง ขึ น รวมถึ งการออกโปรโมชันทีน่ าดึ งดูดใจของกลุ่มทรู โมบาย ส่ งผลให้รายได้จากบริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ต เติบโตแข็งแกร่ ง ซึงเป็ นปัจจัยสําคัญทีทําให้รายได้จากบริ การทีไม่ใช่เสี ยงในปี 2557 เพิมสู งขึนร้อยละ 24.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 16.7 พันล้านบาท โดยรายได้จากบริ การทีไม่ใช่เสี ยงมีสัดส่ วนร้อยละ 43.5 ของรายได้ จากบริ การโดยรวม (ไม่รวมรายได้ค่าเชือมต่อโครงข่าย และค่าเช่าโครงข่าย) ของกลุ่มทรู โมบาย การจําหน่ ายเครืองโทรศัพท์ เคลือนทีและอุปกรณ์ กลุ่มทรู โมบายจัดจําหน่ายเครื องโทรศัพท์เคลือนทีคุณภาพสู ง รวมทังอุปกรณ์ต่างๆ โดยผลิตภัณฑ์ทีจัด จําหน่ ายคือสมาร์ ทโฟนและสมาร์ ทดีไวซ์ คุณภาพสู ง รวมถึงมือถือและดีไวซ์หลากหลายทีสามารถรองรับ บริ การระบบ 3G และ 4G ภายใต้แบรนด์ “ทรู ” อาทิ “True Smart 4G 5.5" Enterprise” (ภายใต้ความร่ วมมือ กับ China Mobile) “True Beyond” “True Smart Series” และ “True Super” โดยดีไวซ์เหล่านี ได้รับผล ตอบ รับทีดีอย่างต่อเนือง อีกทังยังทําให้คนไทยสามารถเข้าถึงบริ การ 3G และ 4G LTE ได้อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ และง่ายยิงขึน ทังนี เครื องโทรศัพท์ทีจัดจําหน่าย เป็ นทังการจําหน่ายเครื องเปล่าโดยไม่ผกู พันกับบริ การใด ๆ กับการจําหน่ายเครื องโดยลูกค้าใช้แพ็กเกจรายเดือนของกลุ่มทรู โมบาย บริการโทรศัพท์ข้ามแดนระหว่างประเทศ (International Roaming Services) เป็ นบริ การเสริ มทีช่วยให้ลูกค้าของกลุ่มทรู โมบายสามารถนําเครื องโทรศัพท์และหมายเลขโทรศัพท์ที ใช้งานอยู่ ไปใช้งานในต่างประเทศ (Outbound) ได้ ผ่านเครื อข่ายทีกลุ่มทรู โมบายมีสัญญาบริ การโทรศัพท์ ข้ามแดนระหว่างประเทศด้วย โดย ลูกค้าสามารถใช้บริ การต่าง ๆ ขณะอยูต่ ่างประเทศ อาทิ บริ การรับฝาก ข้อความเสี ยง (Voicemail) บริ การส่ งข้อความ (SMS) บริ การส่ งภาพ ข้อความและเสี ยง (MMS) บริ การโมบาย อินเทอร์เน็ต อีเมล บริ การแสดงเบอร์โทรเข้า บริ การเตือนเมือไม่ได้รับสาย บริ การ Short Code บริ การแบล็ก เบอร์ รีข้ามแดน และบริ การ WiFi ทังนี บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ ทําให้ผใู้ ช้บริ การของ กลุ่มทรู โมบายสามารถติดต่อสื อสารได้ทงกั ั บภาคธุ รกิจและบุคคลทัวไปใน 230 ปลายทางทัวโลก

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี ผูใ้ ช้โทรศัพท์เคลือนทีจากต่างประเทศทีมีสัญญาบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศ กับกลุ่มทรู โมบาย สามารถใช้บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศผ่านโครงข่ายของกลุ่มทรู โมบาย (Inbound) เมือเดินทางมาเมืองไทยได้เช่นกัน กลุ่มทรู โมบายได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเครื อข่ายพันธมิตรคอนเน็กซัส โมบายล์ (Conexus Mobile Alliance)ในปี 2551 และกลุ่มโวดาโฟน ในปี 2555 โดยปั จจุบนั คอนเน็กซัส โมบายล์และโวดาโฟน มีฐาน ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนที (ทังบริ การเสี ยงและบริ การทีไม่ใช่เสี ยง) รวมอยูป่ ระมาณ 690 ล้านราย ทําให้ ผูใ้ ช้บริ การเหล่านีสามารถใช้บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศเมือเดินทางเข้ามายังประเทศไทยบน เครื อข่ายของกลุ่มทรู โมบาย ในขณะเดียวกันยังเป็ นการเพิมทางเลือกและความสะดวกสบายให้ลูกค้ากลุ่ม ทรู โมบายในการใช้บริ การเสี ยงและข้อมูลเมือเดินทางไปทัวภูมิภาคเอเชี ย ยุโรป อเมริ กาเหนือ และ โอเชียเนีย นอกจากนี กลุ่มทรู โมบาย กลุ่มคอนเน็กซัส โมบายล์และกลุ่มโวดาโฟน ยังได้เปิ ดบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดน ระหว่างประเทศในส่ วนของการส่ งและรับข้อมูลผ่านสมาร์ ทโฟน พร้อมกันทุกประเทศในกลุ่มสมาชิ ก เพือ ตอบรับความต้องการใช้งานด้านข้อมูลทีเพิมสู งขึนและยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้ลูกค้านักธุ รกิจทีเดินทาง เป็ นประจําและใช้บริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศในเครื อข่ายของบริ ษทั ทีเป็ นพันธมิตรของคอน เน็กซัสและโวดาโฟนได้เป็ นอย่างดี กลุ่มทรู ได้เปิ ดตัวโปรโมชัน “Data Roaming Flat Rate” ตังแต่ปี 2552 ให้ผใู้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ของกลุ่มทรู โมบาย สามารถรับส่ งข้อมูลผ่านบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนระหว่างประเทศบนเครื อข่ายของ ผูใ้ ห้บริ การทีเป็ นสมาชิ กเครื อข่ายพันธมิตร ด้วยอัตราค่าบริ การแบบเหมาจ่ายรายวันอัตราเดียวสู งสุ ดเพียง วันละ 399 บาท เนื องจากโปรโมชันนี ได้รับความนิ ยมเป็ นอย่างมาก จึงได้มีการจัดโปรโมชันดังกล่าวอย่าง ต่อเนื อง ปั จจุบนั กลุ่มทรู โมบายได้ปรับปรุ งโปรโมชันนี ด้วยการคิดอัตราค่าบริ การแบบเหมาจ่ายรายวัน อัตราเดียวสู งสุ ดวันละ 499 บาท โดยผูใ้ ช้บริ การสามารถโทรออกและรับสายด้วยอัตรา 25 บาทต่อนาที และ ส่ งข้อความด้วยอัตรา 11 บาทต่อข้อความสําหรับการใช้งานในทวีปยุโรป อเมริ กาเหนือ และโอเชียเนีย หรื อ จ่ายเพียงวันละ 333 บาท โดยผูใ้ ช้บริ การสามารถโทรออกและรับสายด้วยอัตรา 33 บาทต่อนาที และส่ งข้อความ ด้วยอัตรา 11 บาทต่อข้อความ สําหรับการใช้งานในทวีปเอเชีย โดยลูกค้าของกลุ่มทรู โมบาย สามารถใช้ บริ การ Data Roaming Flat Rate ได้ทงสิ ั น 99 เครื อข่าย ใน 51 ประเทศทัวโลก ทังนี กลุ่มทรู โมบายและ China Mobile ได้ร่วมกันพัฒนานวัตกรรมล่าสุ ด และเปิ ดตัว บริ การเบอร์ ไทย-แดนมังกร ในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 โดยเป็ นครังแรกของบริ การโทรข้ามแดน ทีสะดวกและคุม้ ค่าทีสุ ด กับเทคโนโลยีซิมเดียวหลายเบอร์ ซึงใช้ได้ทงเบอร์ ั เดิมและเพิมเบอร์ ทอ้ งถินสําหรับติดต่อได้ทงในประเทศ ั ไทย จีน และฮ่องกง ซึ งตอบโจทย์ความต้องการทังด้านความสะดวกสบายและความคุม้ ค่า เหมาะกับนักธุ รกิจ และนักท่องเทียวชาวไทยทีจะเดินทางไปยังประเทศจีน และฮ่องกง

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี กลุ่มทรู โมบายยังให้ความสําคัญกับการเติบโตของประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ด้วยการจับ มือเป็ นพันธมิตรกับ “Ooredoo” ผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมในพม่า นําเสนอโปรโมชันโทรออกและรับสาย ในราคาทีถูกทีสุ ดเพียง 25 บาทต่อนาที พร้อมบริ การออนไลน์ไม่อนเพี ั ยง 333 บาทต่อวัน ซึ งโปรโมชันดังกล่าว สร้างความคุม้ ค่าและความสะดวกให้ผปู ้ ระกอบการและนักท่องเทียว เสริ มความแข็งแกร่ งให้กลุ่มทรู โมบาย ก้าวเป็ นผูน้ าํ ในการให้บริ การโรมมิงในพม่า บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ กลุ่ มทรู เริ มต้นเปิ ดให้บ ริ ก ารและทํา ธุ รกิ จ ให้บ ริ ก ารโทรศัพ ท์ท างไกลระหว่า งประเทศ รวมทัง รายงานผลการดําเนิ นงานของบริ การดังกล่าวภายใต้ธุรกิจทรู ออนไลน์ ทีประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นประจําปี 2553 ได้มีมติอนุมตั ิให้โอนย้าย TIC มาอยูภ่ ายใต้ทรู มูฟ ทังนี TIC ได้รับใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ประเภท 3 จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่ งชาติ (กทช) เพือให้บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริ การเสริ ม โดยเปิ ดให้บริ การผ่านหมายเลข “006” ซึ งเป็ นบริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ แบบต่อ ตรงอัตโนมัติ (International Direct Dialing: IDD) โดยไม่ตอ้ งผ่าน Operator ไปยังเลขหมายปลายทาง ครอบคลุมกว่า 230 ปลายทางทัวโลก ด้วยเทคโนโลยี Time Division Multiplexing (TDM) ทีให้คุณภาพ ระดับพรี เมียม เสี ยงคมชัด ต่อติดง่าย สายไม่หลุ ดและไม่ดีเลย์ขณะสนทนา หรื อผูใ้ ช้บริ การสามารถเลือก กดผ่านรหัส “00600” ด้วยเทคโนโลยี VoIP ในราคาทีประหยัดยิงขึน นอกจากนี กลุ่มทรู ยงั เสนอบริ การอืน ๆ อาทิ “ซิ ม 3G ทัวร์ ริส อินเตอร์ ” ให้นกั ท่องเทียวสามารถเลือกซื อทังแบบเติมเงินและแบบพร้อมใช้ สําหรับ การใช้งานอิ นเตอร์ เน็ ตและโทรศัพท์ดว้ ยอัตราเดี ยวกับประเทศไทย และการโทรศัพท์ผ่านแอพพลิ เคชัน “NetTalk by True” ปั จจุบนั บริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศของ TIC สามารถให้บริ การเฉพาะ ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พืนฐานของกลุ่มทรู และผูใ้ ช้บริ การของกลุ่มทรู โมบายเท่านัน ธุ รกิจโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศมีการเติบโตอย่างต่อเนื อง และยังช่วยขยายฐานลูกค้าให้กบั กลุ่ มทรู โมบาย โดยในปี ที ผ่านมา การเสนอบริ ก ารเพือรองรั บศักยภาพการเติบ โตของเศรษฐกิ จในกลุ่ ม ประเทศอินโดจีนและประชาคมอาเซี ยน ด้วยอัตราค่าบริ การพิเศษของTIC ได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็ น อย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิง การเปิ ดตัว “ซิมมิงกะลาบา” ให้โทรกลับพม่าผ่านรหัส “00600” และ โปรโมชัน ค่าโทรราคาพิเศษ ผ่านหมายเลข “006” เมือโทรหาประเทศในกลุ่ม AEC+6 ได้แก่ พม่า ลาว ฟิ ลิ ปปิ นส์ เวียดนาม มาเลเซี ย บรู ไน สิ งคโปร์ อินโดนี เซี ย และกัมพูชา บวกอีก 6 ประเทศ ได้แก่ ญีปุ่ น จีน เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินเดีย และนิวซีแลนด์ ในราคาเริ มต้นเพียงนาทีละ 2.50 บาท โครงข่ าย กลุ่มทรู โมบายเป็ นผูใ้ ห้บริ การทีเข้ามาดําเนิ นธุ รกิ จโทรศัพท์เคลื อนทีรายล่าสุ ด ในจํานวนผูใ้ ห้บริ การ โทรศัพท์เคลื อนที รายใหญ่ 3 ราย จึ งทําให้ได้รับประโยชน์จากพัฒนาการเทคโนโลยีใหม่ล่าสุ ด ปั จจุ บนั

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กลุ่มทรู โมบาย มีโครงข่าย 3G ทีครอบคลุมมากทีสุ ดในประเทศไทย โดยมีความครอบคลุมแล้ว มากกว่าร้อย ละ 97 ของประชากรในทุก 77 จังหวัดทัวประเทศ นอกจากนี โครงข่าย 4G ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดของกลุ่มจะ มีความครอบคลุ มร้อยละ 80 ของประชากรไทยภายในไตรมาส 2 ปี 2558 ซึ งโครงข่าย 3G และ 4G คุณภาพสู งนี เป็ นปั จจัยหลักทีสร้างความได้เปรี ยบและโดดเด่นให้กบั กลุ่มทรู โมบาย (3)

กลุ่มทรู วชิ ั นส์

ทรู วิชันส์ คื อ ผูน้ าํ ในการให้บริ ก ารโทรทัศ น์แบบบอกรั บสมาชิ ก ซึ งให้บ ริ ก ารทัวประเทศผ่า น ดาวเที ย มในระบบดิ จิตอลตรงสู่ บ ้า นสมาชิ ก และผ่านโครงข่ า ยผสมระหว่างเคเบิ ล ใยแก้วนํา แสง และ สายโคแอ็กเชียล (coaxial) ทีมีประสิ ทธิภาพสู ง ทรู วิชันส์ เกิ ดจากการควบรวมกิ จการเมื อปี 2541 ระหว่างยูบีซี (เดิ มคือ ไอบีซี ) และ ยูบีซีเคเบิล (เดิมคือ ยูทีว)ี โดยดําเนินธุ รกิจภายใต้สัญญาร่ วมดําเนินกิจการฯ อายุ 25 ปี ทีได้รับจากองค์การสื อสารมวลชนแห่ ง ประเทศไทย (อสมท) โดยสั ญ ญาร่ ว มดํา เนิ น กิ จ การฯ สํ า หรั บ บริ ก ารผ่ า นดาวเที ย มหมดอายุ เ มื อวัน ที 30 กันยายน 2557 และสัญญาร่ วมดําเนินกิจการฯ สําหรับบริ การโทรทัศน์ทางสาย (หรื อ เคเบิล) จะหมดอายุในวันที ั กรุ๊ ป จํากัด ในกลุ่มทรู วิชนส์ ั ได้รับใบอนุ ญาต 31 ธันวาคม 2562 ทังนี ในเดือนมกราคม 2556 บริ ษทั ทรู วชิ นส์ ประกอบกิจการกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์จากคณะกรรมการ กสทช. ทําให้กลุ่มทรู วิชนส์ ั สามารถขยายเวลา ั ประสบความสําเร็ จอย่างสู งใน ให้บริ การแก่ลูกค้าได้อย่างน้อยถึงปี 2571 โดยในไตรมาส 3 ปี 2557 ทรู วชิ นส์ การโอนย้ายลูกค้าเกือบทังหมดมาอยูภ่ ายใต้ระบบใบอนุญาตทีบริ ษทั ทรู วชิ นส์ ั กรุ๊ ป จํากัด ทรู วิชนส์ ั ให้บริ การในระบบดิจิตอลผ่านดาวเทียม โดยการส่ งสัญญาณในระบบ Ku-band และ C-band โดยใช้ระบบการบีบอัดสัญญาณ MPEG-2 และ MPEG-4 ซึ งทําให้กลุ่มทรู สามารถเพิมจํานวนช่องรายการได้ มากขึน ปรับปรุ งคุ ณภาพเสี ยงและภาพให้คมชัดยิงขึน สามารถควบคุมการเข้าถึ งสัญญาณของทรู วิชนส์ ั และ ั สามารถกระจายสัญญาณให้บริ การไปยังทุก ๆ พืนทีในประเทศไทย ผ่านดาวเทียมไทยคม นอกจากนัน ทรู วิชนส์ ให้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กระบบเคเบิลผ่านโครงข่ายของทรู มลั ติมีเดีย และ TU ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ของกลุ่มทรู ในต้นปี 2549 กลุ่มทรู ประสบความสําเร็ จในการรวมทรู วิชันส์ เข้ามาเป็ นส่ วนหนึ งของกลุ่มทรู ทําให้กลุ่มทรู ถื อหุ ้นในสัดส่ วนร้ อยละ 91.8 ของทรู วิชนส์ ั ต่อมาในปี 2553 ทรู วิชนส์ ั ได้ปรับโครงสร้าง กลุ่มบริ ษทั เป็ นกลุ่มบริ ษทั ทรู วิชนส์ ั ทังนี เพือรองรับกรอบการกํากับดูแลทีเปลียนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิง เพือการรับใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ ก และทําให้การดําเนิ นธุ รกิ จของทรู วิชนส์ ั มี ความคล่องตัวมากขึนรองรับการเติบโตของธุ รกิจในอนาคต โดย ณ สิ นปี 2557 กลุ่มทรู มีสัดส่ วนการถือหุ ้นใน บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั จํากัด ซึ งเป็ น holding company สําหรับธุ รกิจเพย์ทีวีของกลุ่มทรู อยูร่ ้อยละ 100.0 และมี สัดส่ วนการถือหุ น้ ทางอ้อมร้อยละ 99.5 ในบมจ. ทรู วิชนส์ ั และร้อยละ 99.1 ในบมจ. ทรู วิชนส์ ั เคเบิล ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 18


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นับตังแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการประกอบกิ จการกระจายเสี ยงและกิ จการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 ในเดือนมีนาคม 2551 ทรู วิชนส์ ั ได้มีการเจรจากับ บริ ษทั อสมท จํากัด (มหาชน) เพือให้สามารถ หารายได้จากการโฆษณาได้เช่นเดียวกับผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กรายอืน ๆ โดยในวันที 8 ตุลาคม 2552 ที ประชุ มคณะกรรมการ อสมท อนุ ญาตให้ทรู วิชันส์ หารายได้จากการรับทําโฆษณาผ่านช่ องรายการต่าง ๆ โดยจ่ายส่ วนแบ่งรายได้ร้อยละ 6.5 ให้แก่ อสมท ทําให้ ทรู วิชนส์ ั เริ มหารายได้จากการรับทําโฆษณาผ่าน ช่องรายการต่าง ๆ โดยเริ มทําการโฆษณาอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ทังนี เพือไม่ให้ขดั จังหวะการรับชมรายการ ของสมาชิ ก โดยทรู วิชนส์ ั มีรายได้จากการรับทําโฆษณาเพิมขึนอย่างต่อเนื องเป็ น 1.3 พันล้านบาท ในปี 2557 จากผลตอบรับทีดีต่อแพ็กเกจโฆษณาทีเพิมความคุ ม้ ค่าให้กบั ผูซ้ ื อโฆษณามากขึน และรายได้ทีเพิมขึนจากช่ อง ทีวดี ิจิตอลของกลุ่มซึ งบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู วชิ นส์ ั ได้รับใบอนุ ญาตเพือให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทบริ การทางธุ รกิ จระดับชาติจาํ นวน 2 ช่ อง สําหรับช่ องข่าว และวาไรตี จากคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนเมษายน ปี 2557 โดยการได้รับในอนุ ญาตนี นอกจากจะส่ งเสริ มการเติบโตของรายได้ค่าโฆษณาแล้ว ยังช่วยเพิมโอกาสในการทําการตลาดคอนเทนต์ ของทรู วชิ นส์ ั ผา่ นฐานลูกค้าขนาดใหญ่ ทรู วิ ชันส์ ได้ด ําเนิ นงานด้วยกลยุทธ์ ที หลากหลายเพื อส่ งเสริ มโอกาสทางธุ รกิ จในอนาคตและช่ วยเพิ ม ฐานลูกค้าให้กบั ทรู วิชันส์ ได้อย่างต่อเนื อง ในเดื อนพฤษภาคม 2553 ทรู วิชนส์ ั เป็ นผูใ้ ห้บริ การในระบบเคเบิลและ ดาวเทียมรายแรกทีเปิ ดให้บริ การในระบบ High Definition (HDTV) เพือเพิมประสบการณ์ การรับชมให้กบั ลู กค้า ระดับบน อีกทังในเดือนตุลาคม ปี 2554 ทรู วิชนส์ ั มอบสิ ทธิ ประโยชน์สําหรับลูกค้าระดับบนทีแจ้งความประสงค์จะ เปลี ยนกล่ องรั บสัญญาณใหม่ก่อนใคร โดยกล่ องรั บสัญญาณ hybrid ใหม่นี ไม่เพียงรองรับรายการในระบบ HD ั ได้เริ ม แต่ยงั ประกอบด้วยเทคโนโลยีการบีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4 และเทคโนโลยี Secured silicon โดยทรู วิชนส์ เปิ ดใช้ระบบออกอากาศใหม่ภายใต้เทคโนโลยี MPEG-4 ในกลางเดือนกรกฎาคมปี 2555 การดําเนิ นการดังกล่าวส่ งผล เชิงบวกในทันที โดยสามารถขจัดการลักลอบใช้สัญญาณได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทรู วชิ นส์ ั ยงั คงมุ่งสร้างความแตกต่างและเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั สิ นค้าและบริ การ โดยเพิมรายการ คุณภาพระดับโลกทีหลากหลายมากขึน พร้อมทังทําสัญญากับพันธมิตรชันนําระดับโลกเพือนําคอนเทนต์พิเศษ ที ทรู วิชันส์ ได้รับสิ ทธิ เฉพาะมาเผยแพร่ ให้ก ับลู กค้า อี กทัง ยังได้มีการนําเสนอบริ การเสริ มสําหรั บลู กค้า พรี เมียม อาทิ บริ การดู โทรทัศน์แบบสามมิ ติเป็ นรายแรกในไทยและการดู โทรทัศน์ผ่านทรู วิชันส์ เอนิ แวร์ ทําให้ลูกค้าสามารถดูรายการจากทรู วิชนส์ ั ได้ทุกที ทุกเวลา ผ่านหลายแพลตฟอร์ ม นอกจากนี ตลอดทังปี 2557 ทรู วชิ นส์ ั ได้ตอกยําการเป็ นผูน้ าํ เพย์ทีวี ด้วยการเพิมรายการคุณภาพหลากหลายมากยิงขึน โดยเฉพาะช่อง รายการในระบบ HD รายการถ่ายทอดสด คอนเทนต์สุดเอ็กซ์คลูซีฟ และสิ ทธิ พิเศษมากมายเพิมเติม ทรู วิชนส์ ั ยงั คงส่ งเสริ มกลยุทธ์ สําหรั บตลาดกลางและล่างให้แข็งแกร่ งยิงขึ น โดยเพิมความคุ ม้ ค่า ให้กบั ลูกค้าด้วยการปรับโฉมแพ็กเกจของทรู วิชนส์ ั ให้ตอบโจทย์ความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายได้ดี ยิงขึน รวมถึงการนําเสนอแพ็กเกจคอนเวอร์เจนซ์ทีผสมผสานสิ นค้าและบริ การอืน ๆ ภายใต้กลุ่มทรู ซึ งได้รับ

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 19


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ผลตอบรับทีดีอย่างต่อเนื อง สิ งเหล่านี นอกจากจะช่วยเพิมฐานลูกค้าให้กบั ทรู วิชนส์ ั แล้ว ยังส่ งผลให้รายได้ ค่าสมาชิ กปรับตัวดีขึนตังแต่ไตรมาส 2 ปี 2557 เป็ นต้นมา แม้จะได้รับผลกระทบจากภาวการณ์แข่งขันและ การชะลอตัวของเศรษฐกิจ นอกจากนี ทรู วิชนส์ ั เปิ ดตัว “กล่องทรู ดิจิทลั เอชดี” กล่องทีวีดาวเทียมรุ่ นใหม่ ให้ลูกค้าสามารถรั บชมช่ องรายการยอดนิ ยมหลากหลาย พร้ อมทังสามารถเลื อกสมัครแพ็กเกจเพิมเติ มเพือ รับชมความบันเทิงเต็มอิมจากทรู วิชันส์ ซึ งจะช่ วยเพิมโอกาสในการทําการตลาดคอนเทนต์ของทรู วิชันส์ ผ่าน ฐานลูกค้าขนาดใหญ่ และกระตุน้ การสมัครสมาชิกแพ็กเกจของทรู วชิ นส์ ั ได้มากยิงขึน พัฒนาการต่าง ๆ เหล่ านี รวมกับแพลตฟอร์ มที หลากหลายของทรู วิชันส์ ซึ งมี คอนเทนต์คุณภาพ ทีเติมเต็มทุกความต้องการของลูกค้า รวมถึงการให้บริ การทีดีเยียม จะช่วยส่ งเสริ มให้ทรู วิชนส์ ั ยงั คงความเป็ นผูน้ าํ ในตลาดเพย์ทีวี ทังนี ณ สิ นปี 2557 ทรู วิชนส์ ั มีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การรวม 2,471,770 ราย โดย 939,972 ราย เป็ น ผูใ้ ช้บริ การแพ็กเกจพรี เมียมและมาตรฐาน ส่ วนทีเหลือเป็ นผูใ้ ช้บริ การแพ็กเกจฟรี ววิ และกล่องฟรี ทูแอร์ ตารางแสดงจํานวนผู้ใช้ บริการโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิ ก และรายได้ เฉลียต่ อผู้ใช้ บริ การ ทรู วชิ ันส์ จํานวนผูใ้ ช้บริ การ เฉพาะลูกค้าแพ็กเกจปกติ - ระบบเคเบิล - ระบบจานดาวเทียม (DStv) รวมผู้ใช้ บริการแพ็กเกจปกติ1/ แพ็กเกจ ฟรี ววิ 2/ แพ็กเกจ ฟรี ทูแอร์ 2/ รวมผู้ใช้ บริการทังหมด รายได้ เฉลียต่ อผู้ใช้ บริการ 3/ 1/ 2/ 3/

ณ วันที 31 ธ.ค. 2554 2555

2553 118,784 810,708 929,492 519,727 255,835 1,705,054 744

114,595 711,995 826,590 525,816 289,592 1,641,998 765

128,046 614,959 743,005 564,198 735,057 2,042,260 870

2556 235,551 525,723 761,274 739,769 869,929 2,370,972 895

2557 472,819 467,153 939,972 584,751 947,047 2,471,770 715

รวมผูใ้ ช้บริ การแพ็กเกจพรี เมียมและมาตรฐาน ไม่รวมผูใ้ ช้บริ การชําระค่าบริ การเพิมเพือเปลียนแพ็กเกจเป็ นแพ็กเกจปกติ ไม่รวมผูใ้ ช้บริ การประเภท ฟรี วิว และ กล่องฟรี ทูแอร์

ทรู วิชนส์ ั นาํ เสนอความบันเทิงหลากหลายด้วยช่องรายการชันนําทีมีคุณภาพทังจากในประเทศและ ต่างประเทศ ประกอบด้วย ภาพยนตร์ (เช่ น HBO, Cinemax, Fox) กี ฬา (เช่ น Star Sports และรายการของ ทรู วิชนส์ ั เอง) สาระบันเทิง (เช่ น Discovery Channel, National Geographic) และข่าว (เช่ น CNN, CNBC, Bloomberg, BBC World นอกจากนัน ยังมีรายการจากสถานีโทรทัศน์ภาคปกติของไทย (Free TV) และบริ การ Pay Per View

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 20


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตารางแสดงแพ็กเกจหลักและรายละเอียดของแต่ละแพ็กเกจของทรู วชิ นส์ ั แพ็กเกจ

จํานวนช่ อง รายการ

แพลทินมั เอชดี (Platinum HD) โกลด์ เอชดี (Gold HD) ซูปเปอร์ แฟมิลี เอชดี (Super Family HD) สมาร์ท แฟมิลี เอชดี (Smart Family HD)/ ซูปเปอร์ โนวเลจ (Super Knowledge ) สปอร์ต แฟมิลี เอชดี (Sports Family HD)/ ซูปเปอร์ สปอร์ตส์ (Super Sports) แฮปปี แฟมิลี เอชดี (Happy Family HD)/ โนวเลจ (Knowledage )

195 170 166 155/152 133 125

ค่าบริการต่ อเดือน (บาท)

2,155 1,568 899 590/ 490 495/ 590 299

นอกเหนื อจากแพ็กเกจข้างต้น ทรู วิชนส์ ั ยงั นําเสนอแพ็กเกจตามสัง (A-La-Carte) ซึ งผูใ้ ช้บริ การ สามารถเลือกรับชมได้มากสู งสุ ดถึง 13 ช่องตามแต่แพ็กเกจทีใช้บริ การอยู่ บริการอืน ๆ ของทรูวชิ ั นส์ ประกอบด้ วย: High Definition Personal Video Recorder (HD PVR): กล่องรับสัญญาณรุ่ นใหม่ทีให้ภาพคมชัด และมีคุณสมบัติเพิมเติม (เช่น สามารถอัดรายการ ขยายภาพในระหว่างการรับชม หรื อเล่นซํา) เพืออํานวย ความสะดวกและเพิมประสิ ทธิ ภาพในการรับชมให้กบั สมาชิก

ทรู วิชันส์ เอนิ แ วร์ ให้ ส มาชิ ก สามารถรั บ ชมช่ องรายการจากทรู วิ ชันส์ แ ละช่ องรายการ ฟรี ทูแอร์ ได้ทุกทีทุ กเวลา ผ่านอุปกรณ์ สมาร์ ทโฟน และแท็บเล็ต รวมถึ งเครื องคอมพิวเตอร์ และโน้ตบุ๊ค พร้ อมคุ ณสมบัติเพิ มเติ ม โดยสามารถดู รายการสดย้อนหลังได้มากถึ ง 2 ชัวโมง และดู รายการย้อนหลัง ได้มากถึง 2 วัน

แพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ กลุ่ ม ทรู มุ่ง เพิมความคุ ้มค่ าให้กบั ลู กค้า ด้วยการนําเสนอแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ ทีโดดเด่ น และ น่าดึงดูดใจ โดยเป็ นการผสมผสานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ภายในกลุ่มทรู เข้าไว้ดว้ ยกัน เพือตอบสนองไลฟ์ สไตล์ และความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด ลูกค้าทีใช้บริ การของกลุ่มทรู ครบ 2 บริ การสามารถรับสิ ทธิ พิเศษเพิมเติม อาทิ การใช้บริ การ WiFi ไม่จาํ กัดชัวโมง ฟรี การใช้บริ การ HD PVR โดยไม่มีค่าบริ การรายเดื อน หรื อ เพิมการรับชมช่ อง รายการ HD เป็ นต้น

ลูกค้าทีใช้บริ การของกลุ่มทรู ครบ 3 บริ การ ตังแต่ 599 บาทต่อเดือนขึนไปจะได้รับส่ วนลด ค่าบริ การรายเดือน 10% สําหรับทุกบริ การ ทุกรอบบิล

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 21


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

แพ็กเกจ “เน็ตทรู สุขX2” รวมบริ การอินเทอร์ เน็ตคุณภาพสู งความเร็ วเริ มต้น 18 Mbps. พร้อม ชมช่องบันเทิงจากทรู วิชนส์ ั 103 ช่อง และ 3 ช่องรายการในระบบ HD รวมถึงได้โบนัสค่าโทรศัพท์บา้ นฟรี มูลค่า 100 บาท ทังหมดนีด้วยราคาเพียงเดือนละ 699 บาท

แพ็กเกจ “เน็ตทรู สุ ข X2 พลัส” รวมบริ ก ารอิ นเทอร์ เน็ ตคุ ณภาพสู งความเร็ วเริ มต้น 15 Mbps. พร้อมชมช่องบันเทิงจากทรู วิชนส์ ั 85 ช่อง ผ่าน “ทรู วิชนส์ ั เอนิแวร์ ” และรับซิ ม 3G จากทรู มูฟ เอช สําหรับการใช้งานโมบาย อินเทอร์เน็ต 300 MB ด้วยราคาเพียงเดือนละ 699 บาท

แพ็กเกจ “ทรู สุ ขX2 โทรและดู ทรู วิชันส์ ” บริ การคอนเวอร์ เจนซ์ ทีให้โทรและใช้งาน โมบาย อินเทอร์ เน็ต จากทรู มูฟ เอช พร้ อมชมช่ องบันเทิ งจากทรู วิชนส์ ั ทังทางโทรทัศน์และ “ทรู วิชันส์ เอนิแวร์” ด้วยราคาเพียงเดือนละ 499 บาท

แพ็กเกจ “ทรู สุขX3” ผสานบริ การอินเทอร์เน็ตความเร็ วสู ง 30 Mbps จาก ทรู ออนไลน์ และ ฟรี ค่าโทรศัพท์บา้ นมูลค่า 100 บาทต่อเดือน พร้อมรับชมคอนเทนต์จากทรู วิชนส์ ั จํานวน 103 ช่องรายการ และ 3 ช่อง HD รวมถึงเลือกรับแพ็กเกจ iSmart/ iNet/ iTalk เพียงเดือนละ 199 บาท จากทรู มูฟ เอช ทังหมดนี ด้วยอัตราค่าบริ การเริ มต้นเพียง 799 บาท

แพ็กเกจ “ทรู ดบั เบิลสุ ข” รวมบริ การอินเทอร์ เน็ตคุณภาพสู งความเร็ วเริ มต้น 13 Mbps. และ ฟรี ค่าโทรศัพท์บา้ นมูลค่า 100 บาทต่อเดือน พร้อมชมช่องบันเทิงจากทรู วิชนส์ ั 97 ช่องรายการ และ 3 ช่อง HD ด้วยราคาเริ มต้นเพียงเดือนละ 699 บาท

แพ็กเกจ “ทรู ทริ ปเปิ ลสุ ข” รวมบริ การอินเทอร์ เน็ตคุ ณภาพสู งความเร็ วเริ มต้น 16 Mbps. พร้อมชมช่ องบันเทิงจากทรู วิชนส์ ั 97 ช่องรายการ และ 3 ช่ อง HD รวมถึงเลือกรับแพ็กเกจ iSmart/ iNet/ iTalk เพียงเดือนละ 199 บาท ด้วยอัตราค่าบริ การเริ มต้นเพียง 799 บาท

กลุ่มทรู เชื อมันว่า คอนเวอร์ เจนซ์คือยุทธศาสตร์ สําคัญในการสร้างความเติบโตอย่างยังยืนให้กบั ผลิ ตภัณฑ์ และบริ การของกลุ่มทรู ในระยะยาว 2.2

การตลาด

ปั จจุ บนั กลุ่ ม ทรู คื อ ผูน้ ําด้านบริ การไลฟ์ สไตล์ของไทย กลุ่ ม ทรู ยังคงมุ่ งมันให้บ ริ ก ารสื อสาร โทรคมนาคม โดยเชื อมโยงทุ กบริ การ พร้ อมพัฒนาโซลูชนั ซึ งประกอบด้วย บริ การด้านเสี ยง วิดีโอ เพือ ตอบสนองทุ กไลฟ์ สไตล์ตรงใจลู กค้าได้อย่างแท้จริ ง ภายใต้ยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ ซึ งทําให้กลุ่ มทรู แตกต่างจากผูใ้ ห้บริ การรายอืน และมีส่วนสําคัญในการเพิมส่ วนแบ่งตลาด ตลอดจนช่วยลดอัตราการเลิกใช้ บริ การ (Churn Rate) การแข่งขันทีเพิมสู งขึนในกลุ่มธุ รกิจหลักของกลุ่มทรู ทําให้การรักษาฐานลูกค้า ยังเป็ น หนึงในกลยุทธ์หลักทางการตลาดของกลุ่มทรู

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 22


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

2.3

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การจําหน่ ายเเละช่ องทางการจําหน่ าย

เพือให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าบุคคล กลุ่มทรู ได้เปิ ดศูนย์บริ การทังในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล รวมทังต่างจังหวัด โดยในแต่ละศูนย์บริ การจะมีเจ้าหน้าทีพร้อมให้คาํ แนะนําแบบ One-stop shopping ใน แห่ งเดียว เกียวกับบริ การสื อสารทังแบบมีสายและไร้สาย เพย์ทีวี เครื องโทรศัพท์และอุปกรณ์เสริ ม และอุปกรณ์ สื อสารอืน ๆ รวมทังโมเด็ม ซึ งในศูนย์บริ การใหญ่จะเปิ ดให้บริ การอินเทอร์ เน็ตด้วย นอกจากนี กลุ่มทรู ยงั ได้จาํ หน่ายสิ นค้าและบริ การผ่านตัวแทนจําหน่ายทัวประเทศ ทังทีเป็ นร้านค้าทีเป็ นตัวแทนจําหน่ายและตัวแทน จําหน่ายอิสระซึ งรับค่าตอบแทนจากค่าคอมมิชชัน ช่องทางการจําหน่ายของกลุ่มทรู ประกอบด้วย ค้าขายส่ ง คือ คู่คา้ ขายส่ งซิ มการ์ ดทียังไม่ได้เปิ ดใช้งานและบัตรเติมเงินเครื องโทรศัพท์เคลือนที และอุปกรณ์ ทีเกี ยวข้องของกลุ่มทรู โดยเป็ นผูก้ ระจายสิ นค้าไปยังตัวแทนจําหน่าย (Sub-dealer) ตลอดจน ดูแลและให้การสนับสนุ นด้านการกระจายสิ นค้ากับ Sub-dealer โดยคู่คา้ ขายส่ งจะเป็ นผูข้ ายซิ มการ์ ดระบบ เติมเงิ นและบัตรเติมเงิ น ในขณะที Sub-dealer จะให้บริ การอื น ๆ ด้วย อาทิ บริ การซ่ อมโทรศัพท์เคลื อนที บริ การดาวน์โหลดเพลงและเกมต่าง ๆ

ช่องทางการขายตรง โดยขายผลิตภัณฑ์และบริ การของกลุ่มทรู ให้กบั ลูกค้า SME และลูกค้า องค์กรธุ รกิ จ ช่ องทางจัดจําหน่ ายนี มี บทบาทสําคัญในการเพิมจํานวนผูใ้ ช้บริ การให้กบั กลุ่มทรู โมบาย ช่ องทาง การขายตรงแบ่งออกเป็ นทีมขายตรง ตัวแทนขายตรง และตัวแทนอิสระ

ร้านค้าปลีกประเภท Multi-retailer ซึ งตังอยู่ในร้ านค้าปลี กขนาดใหญ่ (Hypermart) ร้านค้า ประเภท Specialty Store ร้านสะดวกซื อต่าง ๆ

ร้านค้าปลีกซึ งในทีนีหมายถึง ทรู ชอ้ ป ร้านค้าของตัวแทนขายของกลุ่มทรู และ Kiosk ต่าง ๆ ทีตังอยูใ่ นพืนทีทีเห็ นได้ง่ายและเป็ นแหล่งชุ มชน อย่างเช่น ศูนย์การค้า ร้ านค้าปลีกขนาดใหญ่ อาคารสํานักงาน เป็ นต้น โดยรวมถึง ทรู ไลฟ์ ช้อป และทรู คอฟฟี ด้วยเช่นกัน

คู่คา้ ผ่านช่องทางการขายปลีก ประกอบด้วย คู่คา้ ขายปลีก และการขายผ่านโครงการ “Move UP Vans” โดยการจัดรถ Move Up Van จําหน่ายสิ นค้าและบริ การของกลุ่มทรู อํานวยความสะดวกแก่ลูกค้า ชนิดใกล้บา้ น โดยร่ วมกับตัวแทนจําหน่ายของแต่ละภูมิภาคทัวประเทศ

สําหรั บบริ การเติ มเงิ น (เพื อเติ มเงิ นทรู มูฟ ทรู มู ฟ เอช ทรู ม นั นี หรื อแพ็กเกจฟรี วิว ) มี ช่ องทางผ่าน บริ การอิเล็กทรอนิกส์หลายช่องทาง นอกเหนือจากการใช้บตั ร (เช่น บัตรเงินสดหรื อบัตรเติมเงิน) ดังต่อไปนี

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 23


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เครื องเอทีเอ็มโดยผูใ้ ช้บริ การสามารถโอนเงิ นจากบัญชี ธนาคารของตนเองเพือเติมเงินทรู มูฟ ทรู มูฟ เอช หรื อทรู มนั นีได้โดยตรง

ทรู มนั นี ซึงเป็ นบริ การการเงินบนโทรศัพท์เคลือนที

บัตรเงินสดอิเล็กทรอนิกส์ ซึ งสามารถซื อได้จากคู่คา้ เช่น เซเว่นอีเลฟเว่น

เติมเงินโดยตรง ลูกค้าสามารถเติมเงินได้จากอุปกรณ์ทีติดตังในร้านค้าปลีกของกลุ่มทรู และคู่คา้ อาทิ เซเว่นอีเลฟเว่น หรื อเติมเงินผ่านระบบออนไลน์

เติมเงินผ่านโทรศัพท์สาธารณะของทรู โดยผูใ้ ช้สามารถเติมเงินขันตําเพียง 10 บาท

นอกจากนี ผู ้ใ ช้ บ ริ การทรู มู ฟ และทรู มู ฟ เอช ยัง สามารถเติ ม เงิ น อัต โนมัติ แ บบ over-the-air ผ่านตัวแทนซึ งเป็ นบุคคลธรรมดา หรื อร้านค้าขนาดเล็กทีลงทะเบียนกับกลุ่มทรู และได้รับอนุ ญาตให้โอน ค่าโทรแบบ over-the-air ไปยังโทรศัพท์เคลือนทีของผูใ้ ช้บริ การ โดยตัวแทนเหล่านี สามารถใช้บริ การเติมเงิน ได้ผา่ นหลายช่องทาง (เช่น บัตรเงินสด บัตรเติมเงิน และเครื องเอทีเอ็ม) ช่ องทางผ่านระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ได้รับความนิ ยมเพิมขึ น เนื องจากมีวิธีชาํ ระเงิ นทีหลากหลาย และ มี สถานที ให้บริ การเพิมมากขึ น ในปี 2552 กลุ่ มทรู สามารถเพิ มกําไร โดยเน้นการเติ มเงิ นผ่า นช่ องทาง อิ เล็ กทรอนิ ก ส์ ทังนี เพื อประหยัด ค่ าใช้จ่ายที เกี ยวเนื องกับบัตรเติ มเงิ น (การผลิ ต การกระจายสิ นค้า และ การจัดเก็บ) นอกจากนี ยังจะผสมผสานการขายผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยเน้นช่องทางทีมีค่าคอมมิชชันตํา สําหรับลูกค้า SME และลูกค้าองค์กรธุ รกิจ กลุ่มทรู มีผบู ้ ริ หารงานลูกค้า ทีมขาย (Account Executive) ทีมีความเชียวชาญในการเข้าถึงความต้องการของลูกค้าตามแต่ละธุ รกิจได้เป็ นอย่างดี 2.4

การจัดหาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ แหล่งทีมาของผลิตภัณฑ์ และบริการ

กลุ่มทรู ได้สังซื ออุปกรณ์โครงข่ายโทรคมนาคมจากผูผ้ ลิตอุปกรณ์ชนนํ ั าของโลก นอกจากนัน ยังมี ผูร้ ับเหมาจํานวนมากในการจัดหาและติดตังโครงข่ายของกลุ่มทรู ซึ งกลุ่มทรู ไม่ได้มีการพึงพิง ผูจ้ ดั จําหน่าย หรื อผูร้ ับเหมารายใดเป็ นการเฉพาะ และกลุ่มทรู ไม่มีปัญหาในการจัดหาผูจ้ ดั จําหน่ายและผูร้ ับเหมาเนื องจาก มีจาํ นวนมากราย นอกจากนี กลุ่มทรู ยังสามารถได้ประโยชน์ทางด้าน economy of scale จากการร่ วมมือกับ China Mobile ในด้านการจัดซื ออุปกรณ์โครงข่ายโทรคมนาคมต่าง ๆ

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 24


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การสนับสนุนทางด้ านเทคนิคและการบริหาร ในอดีตกลุ่มทรู เคยได้รับความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค และการบริ หารจากพันธมิตรทางธุ รกิจ ซึง ประกอบด้วย บริ ษทั Verizon Communications, Inc สําหรับบริ ษทั Orange SA ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค ั แต่ในปั จจุบนั กลุ่มทรู ไม่ได้รับการสนับสนุน และการบริ หารสําหรับทรู มูฟ และบริ ษทั MIH สําหรับทรู วชิ นส์ ด้านเทคนิ คและการบริ หารจากพันธมิตรทางธุ รกิจดังกล่าวอีกต่อไป เนืองจากพันธมิตรเหล่านีได้ขายหรื อ ลดสัดส่ วนการถือหุ น้ ลง อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู สามารถรับถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู้ไว้จนสามารถบริ หารงาน ได้เองอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทังนี การเข้ามาร่ วมเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจของ China Mobile ในปี 2557 จะนํามา ซึ งความร่ วมมือในหลาย ๆ ด้าน ซึ งรวมถึงด้านบุคลากร ความรู ้ และการปฎิบตั ิงานในด้านต่าง ๆ ในอนาคตต่อไป 2.5

ภาวะธุรกิจโทรคมนาคมไทย ธุรกิจโทรศัพท์ เคลือนที

ตลาดโทรศัพท์เคลือนทีของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างต่อเนื องในปี 2557 โดยมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การ เพิมขึนเป็ นประมาณ 97.7 ล้านราย ณ สิ นปี ทําให้มีอตั ราการใช้บริ การโทรศัพท์เคลื อนทีต่อประชากร เพิมขึน เป็ นร้อยละ 145.8 (ข้อมูลจากคณะกรรมการสํานักงาน กสทช. ) ซึ งเป็ นผลจากการเพิมขึนของจํานวนผูใ้ ช้งาน โทรศัพท์เคลือนทีมากกว่า 1 เครื อง และ/หรื อ มีอุปกรณ์ทีพร้อมเข้าถึงบริ การอินเทอร์ เน็ต และความนิยมใน การใช้งานสมาร์ทโฟนและเครื อข่ายสังคมออนไลน์ ทีเพิมสู งขึน คู่แข่งรายใหญ่ทีสุ ด 2 ราย คือ เอไอเอส และ ดีแทค ซึ งมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การคิดเป็ นส่ วนแบ่งตลาด ประมาณร้อยละ 46 และ 29 ตามลําดับ (ไม่รวมจํานวนผูใ้ ช้บริ การของ CAT Telecom และ ทีโอที และผูใ้ ห้บริ การ MVNO ของทีโอที) โดยกลุ่มทรู โมบายถือครองส่ วนแบ่งตลาดรวมประมาณร้อยละ 24 จากจํานวนผูใ้ ช้บริ การ ทังสิ น 23.6 ล้านราย ณ สิ นปี 2557 ทังนี บริ การระบบรายเดื อนของกลุ่มทรู โมบายเติบโตเป็ นอย่างมากใน ปี 2557 โดยมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การระบบรายเดือนเพิมสู งเป็ นอันดับ 2 ของตลาดแล้ว การเข้าสู่ ระบบเสรี มากขึน ภายหลังการออกใบอนุญาตต่าง ๆ ของคณะกรรมการ กสทช. และความสําเร็ จ จากการจัดตัง กองทุนรวมโครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท “TRUEIF” นับเป็ นก้าวสําคัญของอุตสาหกรรม โทรคมนาคมไทย ซึ งสนับสนุนการเติบโตและแข่งขันอย่างเป็ นธรรมในอุตสาหกรรม การเติบโตของอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลือนทีในหลายปี ทีผ่านมา ส่ วนใหญ่เป็ นผลมาจากความนิ ยม ใช้บริ การด้านข้อมูล สื อสังคมออนไลน์ และการใช้งานสมาร์ ทโฟนทีเพิมสู งขึน ทังนี อุตสาหกรรมโทรคมนาคม ของไทยยังคงมีการแข่งขันทีสู ง โดยเฉพาะภายหลังการเปิ ดให้บริ การ 3G ในเชิ งพาณิ ชย์เต็มรู ปแบบ ซึ ง ผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีต่างพยายามโอนย้ายลูกค้าบนระบบ 2G มาใช้บริ การ 3G และ 4G มากยิงขึน โดยในปี 2557 คุ ณภาพเครื อข่ายและการให้บริ การ รวมถึ งแพ็กเกจทีน่ าดึ งดูดใจร่ วมกับดี ไวซ์หลากหลาย ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 25


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เป็ นปั จจัยสําคัญในการเติบโตและเพิมส่ วนแบ่งทางการตลาดของผูใ้ ห้บริ การ ส่ งผลให้มีการนําเสนอแพ็กเกจ ค่าบริ การและโปรโมชันที หลากหลายมากยิงขึน รวมถึ งการมุ่งเน้นนําเสนอมื อถื อทีรองรับระบบ 3G ใน ราคาทีเข้าถึงได้ง่ายมากยิงขึน เพือดึงดูดลูกค้าใหม่และช่วยขยายฐานลูกค้า 3G และ 4G ให้เติบโตแข็งแกร่ ง ความเป็ นผูน้ าํ เครื อข่าย 4G และ 3G ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดของกล่มทรู สิ นค้าและบริ การทีโดดเด่ น และน่ าดึ งดูดใจ รวมถึ งแคมเปญทางการตลาดเฉพาะพืนที ยังจะคงเป็ นปั จจัยสําคัญในการเติบโตและเพิม ส่ วนแบ่งตลาดของกลุ่มทรู โมบาย ทําให้กลุ่มมีความพร้อมเป็ นอย่างมากสําหรับการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งไป กับการก้าวเข้าสู่ เศรษฐกิจดิจิตอลของประเทศไทย ธุรกิจโทรศัพท์ พนฐาน ื บริ การโทรศัพท์พืนฐานมีผใู ้ ห้บริ การทังสิ น 3 ราย โดยทีโอที (ซึงเป็ นองค์กรของรัฐ โดยในอดีตเป็ น ผูก้ าํ กับดูแลบริ การโทรศัพท์พืนฐาน) เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พืนฐานทังในกรุ งเทพมหานครกับปริ มณฑลและ ต่างจังหวัดเพียงรายเดียวของประเทศ ส่ วนผูใ้ ห้บริ การอีก 2 ราย คือ ผูใ้ ห้บริ การทีอยูภ่ ายใต้สัญญาร่ วมการ งานฯ ของทีโอที โดยกลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล และบริ ษทั ทีทีแอนด์ที จํากัด (มหาชน) เป็ นผูใ้ ห้บริ การในต่างจังหวัด ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์พื นฐานในประเทศไทยยังคงลดลงต่ อเนื องโดยมี จาํ นวนทังสิ น 5.7 ล้านราย ณ สิ นปี 2557 (แหล่งข้อมูล: สํานักงานคณะกรรมการ กสทช.) หรื อร้อยละ 8.5 ของประชากร ซึ งเป็ นผลจาก ความนิยมในการใช้บริ การโทรศัพท์เคลือนที โดยเฉพาะสมาร์ ทโฟน และบริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ตทีเพิม มากขึน โดยกลุ่ มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์พืนฐานทีใหญ่ทีสุ ด ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล ด้วยจํานวนผูใ้ ช้บริ การราว 1.6 ล้านราย และถือครองส่ วนแบ่งตลาดราวร้อยละ 28.4 ของตลาดโดยรวม ธุ รกิจโทรศัพท์พืนฐานของกลุ่มทรู ได้รับผลกระทบจากการทีผูใ้ ช้บริ การเปลียนไปใช้โทรศัพท์เคลือนที เพิมขึนอย่างต่อเนือง ซึ งเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับแนวโน้มทัวโลก นอกจากนี ธุ รกิจโทรศัพท์พืนฐานของ กลุ่มทรู ยงั เผชิ ญกับการแข่งขันจากบริ การ VoIP ซึ งมีค่าบริ การถูกกว่า เนืองจาก ในปั จจุบนั มีการใช้อินเทอร์ เน็ต เครื องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ทีพร้อมเข้าถึงบริ การอินเทอร์ เน็ต อาทิ สมาร์ ทโฟนหรื อแท็บเล็ต อย่างแพร่ หลาย ทําให้ผบู้ ริ โภคจะหันมาใช้บริ การ VoIP มากยิงขึน ธุรกิจสื อสารข้ อมูลธุรกิจ ธุ รกิจโครงข่ายข้อมูลของประเทศไทยยังคงเติบโตอย่างต่อเนื อง โดยมีอตั ราการเติบโตทีประมาณ ร้อยละ 8 ต่อปี เนืองจากความนิยมในการส่ งข้อมูลออนไลน์ และจํานวนผูใ้ ช้บริ การอินเทอร์ เน็ตทีเพิมมากขึน ผูใ้ ห้บริ การสื อสารข้อมูลในประเทศไทยประกอบด้วย ทีโอที CAT Telecom UIH 3BB Symphony SBN

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 26


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

Interlink บริ ษทั ทีทีแอนด์ที และกลุ่มบริ ษทั ทรู ทังนี การแข่งขันในธุ รกิจโครงข่ายข้อมูลยังคงสู ง เนืองจาก มีจาํ นวนผูใ้ ห้บริ การหลายราย ประกอบกับลูกค้ามีทางเลือกเพิมขึน โดย คู่แข่งหลักของกลุ่มทรู ได้แก่ ทีโอที (ซึงสามารถให้บริ การครอบคลุมพืนทีมากทีสุ ดในประเทศไทย) CAT Telecom และ UIH ณ สิ นปี 2557 กลุ่มทรู เป็ นผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายข้อมูลรายใหญ่อนั ดับ 2 โดยมีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 23 ของตลาดโดยรวมซึ งมีมูลค่าตลาดประมาณ 18.5 พันล้านบาท ในขณะทีทีโอทียงั คงเป็ นผูน้ าํ ตลาด โดยครอง ส่ วนแบ่งราวร้อยละ 24 และ CAT Telecom เป็ นผูใ้ ห้บริ การรายใหญ่อนั ดับ 3 ซึ งมีส่วนแบ่งตลาดประมาณ ร้อยละ 20 (แหล่งข้อมูล: ประมาณการโดยกลุ่มทรู ) ธุรกิจอินเทอร์ เน็ตความเร็วสู ง (บรอดแบนด์ ) อัตราของผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์รวมต่อจํานวนครัวเรื อนในเมืองไทย ยังคงอยูใ่ นระดับตําทีประมาณ ร้อยละ 27.4 ในปี 2557 (แหล่งทีมา: สํานักงานคณะกรรมการ กสทช.) เมือเทียบกับประเทศอืนในแถบเอเชี ย เช่น ฮ่องกง ซึงอยูท่ ีอัตราร้อยละ 83 และมาเลเซี ย ซึ งธุ รกิจบรอดแบรนด์ อินเตอร์ เน็ตมีอตั ราการเติบโตอย่าง สู งในช่วงหลายปี ทีผ่านมา โดยเพิมสู งขึนเป็ นอัตราร้อยละ 70 (แหล่งทีมา: Hong Kong’s Office of the Communications Authority และคาดการณ์จาก BuddeComm) โดยผูใ้ ห้บริ การหลักในตลาดอินเทอร์ เน็ต ความเร็ วสู ง ในประเทศไทย คือ กลุ่มทรู ทีโอที และ JAS ซึงดําเนินงาน ภายใต้แบรนด์ “3BB” ในปี 2557 ธุ รกิ จบรอดแบรนด์ อินเตอร์ เน็ตในประเทศไทยมีการเติบโตสู ง และมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การ บรอดแบนด์เพิมขึ นอย่างต่อเนื อง เป็ นผลจากความนิ ยมในการใช้บริ การคอนเทนต์ เกมส์ ออนไลน์ และ เครื อข่ายสังคมออนไลน์ทีเพิมสู งขึน ประกอบกับการทีผูบ้ ริ โภคหันมาใช้สือออนไลน์ในการรับรู ้ ข่าวสาร เพิมมากขึน และความต้องการใช้อินเทอร์ เน็ตด้วยความเร็ วทีสู งขึน กลุ่ มทรู สามารถเพิมฐานผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์ได้อย่างแข็งแกร่ งและต่อเนื อง โดยในปี 2557 ทรู ออนไลน์มีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การบรอดแบนด์รายใหม่สุทธิ ทีสู งเป็ นประวัติการณ์ถึง 271,836 ราย ส่ งผลให้ ฐานลูกค้าบรอดแบนด์เพิมขึนเป็ น 2.1 ล้านราย ณ สิ นปี ซึ งกลุ่มทรู ยังคงเป็ นผูใ้ ห้บริ การบรอดแบนด์รายใหญ่ ทีสุ ดในประเทศไทย โดยมีส่วนแบ่งตลาดจํานวนลูกค้าทัวประเทศประมาณร้อยละ 38 (แหล่งทีมา: ประมาณการ ของกลุ่ มทรู ) ณ สิ นปี 2557 โดยการเติบโตสู งนี เป็ นผลจากการขยายโครงข่ายบรอดแบนด์อย่างต่อเนื อง พร้ อ มทังแพ็ก เกจบรอดแบนด์ อิ นเทอร์ เน็ ต ที น่ า ดึ ง ดู ดใจทังแพ็ก เกจเดี ยวและคอนเวอร์ เ จนซ์ ซึ งเพิ ม ความคุม้ ค่าให้กบั ลูกค้าจากการผสมผสานผลิตภัณฑ์ภายในกลุ่มทรู ได้อย่างลงตัว แผนการดํา เนิ น งานของรั ฐ บาลในการมุ่ ง นํา ประเทศไทยเข้า สู่ เ ศรษฐกิ จ ดิ จิ ต อล จะส่ ง ผลให้ ความครอบคลุมของบริ การบรอดแบนด์กว้างขวางยิงขึน และการเข้าถึงบริ การบรอดแบนด์ของประชากรไทย เติบโตอย่างแข็งแกร่ งซึ งจะช่วยลดความเหลือมลําในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศ และพัฒนา

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 27


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สังคมไทยให้กา้ วสู่ สังคมแห่ งการเรี ยนรู ้ได้อย่างแท้จริ ง ดังนัน กลุ่มทรู เชื อมันว่า ตลาดบริ การบรอดแบนด์ ของไทยจะมีการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งและมันคงต่อไป ธุรกิจโทรทัศน์ แบบบอกรับสมาชิ ก จํานวนสมาชิกโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกในประเทศไทย ณ สิ นปี 2557 มีทงสิ ั นประมาณ 4.7 ล้านราย คิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้ อยละ 23 ของจํานวนครัวเรื อน โดยถ้านับรวมสมาชิ กดาวเทียม ฟรี ทูแอร์ ด้วย จะมี จํานวนทังสิ นประมาณ 17.9 ล้านราย คิดเป็ นสัดส่ วนราวร้อยละ 89 ของจํานวนครัวเรื อน (แหล่งทีมา: ข้อมูล ของกลุ่มทรู ) ซึ งยังตํากว่าประเทศทีพัฒนาแล้วในแถบเอเชี ย อย่างเช่ น ฮ่องกง ทีมีจาํ นวนสมาชิกโทรทัศน์แบบ บอกรับสมาชิ ก คิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 102 ของจํานวนครัวเรื อน (แหล่งทีมา: Hong Kong’s Office of the Communications Authority) จึงนับว่ามีโอกาสเติบโตได้อีกมาก ทรู วชิ นส์ ั เป็ นผูป้ ระกอบธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กทีให้บริ การครอบคลุมทัวประเทศรายใหญ่ รายเดี ยวในประเทศไทย แต่ยงั เผชิ ญความเสี ยงจากระเบียบและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทีกําหนดโดยภาครัฐ ทังยัง ได้รับผลกระทบจากการแข่งขันทางธุ รกิจทีเพิมขึนและภาวะเศรษฐกิจอีกด้วย ภายหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสี ยงและกิจการโทรทัศน์ซึงมีผล บังคับใช้เมือวันที 5 มีนาคม 2551 ผูป้ ระกอบธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กได้รับอนุ ญาตให้สามารถจัดเก็บ รายได้จากค่าโฆษณา ซึ งช่ วยเพิมโอกาสในการสร้ างรายได้จากคอนเทนต์เดิมที มีอยู่ รวมทังเป็ นการเพิมมูลค่า ให้ก ับกิ จการของทรู วิชันส์ แม้รายได้จากค่าโฆษณาอาจจะช่ วยเสริ มสร้ างความแข็งแกร่ งทางการเงิ นให้ก ับ ผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กรายเล็ก ๆ และอาจทําให้มีการแข่งขันในตลาดเพิมขึน ทรู วิชนส์ ั ยงั คง มีความได้เปรี ยบในเชิงการแข่งขันจากการมีคอนเทนต์ทีดีและมีคุณภาพสู ง หลังได้รับอนุ ญาตจาก อสมท ให้สามารถหารายได้จากการโฆษณา ทรู วิชนส์ ั เล็งเห็นว่า ทรู วิชนส์ ั น่าจะ เป็ นทางเลื อ กที ดี สํา หรั บ บริ ษ ทั โฆษณา เนื องจากมี ก ลุ่ ม ผูช้ มรายการที โดดเด่ น ซึ งประกอบด้ว ยลู ก ค้า ระดับบนที มี กาํ ลัง ซื อสู ง รวมทังลู ก ค้า ระดับ กลางและล่ า งซึ งมี จาํ นวนเพิมขึ นอย่า งต่อเนื อง นอกจากนี จากช่ องรายการทีมีความหลากหลายของทรู วิชนส์ ั ทําให้สามารถแยกกลุ่มผูช้ มทีมีคุณลักษณะต่าง ๆ ได้อย่าง ชัดเจน เพือประโยชน์ของผูซ้ ื อโฆษณา ตังแต่ปี 2553 เป็ นต้นมา ทรู วชิ นส์ ั ใช้กลยุทธ์ในการขยายบริ การสู่ ตลาดสําหรับลูกค้าระดับกลางและ ระดับล่างมากยิงขึน เพือสร้างรายได้จากการรับทําการโฆษณา ซึ งมีอตั ราการทํากําไรสู ง โดยการเพิมจํานวน ผูร้ ับชมคือปั จจัยสําคัญต่อความสําเร็ จในการขยายบริ การสู่ ตลาดสําหรั บกลุ่ มลูกค้าระดับกลางและล่าง ซึ งมี การแข่งขันที สู ง ทังนี การโฆษณาทางสื อโทรทัศน์ มี มูลค่าสู งถึ ง 63.8 พันล้านบาท ใน ปี 2557 (แหล่ งที มา: บริ ษทั AGB Nielsen) ในขณะทีสัดส่ วนมูลค่าการโฆษณาทางโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กยังคงอยู่ในระดับตํา จึงมีโอกาสเติบโตในระยะยาว ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 28


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ปั ญหาการลักลอบใช้สัญญาณส่ งผลกระทบต่อผลประกอบการของทรู วิชันส์ ซึ งทรู วิชันส์ ได้หา แนวทางดําเนิ นการ ในการปกป้ องลิขสิ ทธิ รายการทีทรู วิชนส์ ั ให้บริ การอย่างต่อเนื อง โดยในเดือนตุลาคม ปี 2554 ทรู วชิ นส์ ั ได้เริ มต้นการเปลียนกล่องรับสัญญาณรุ่ นใหม่ซึงสามารถรองรับระบบออกอากาศใหม่ทีมี ความปลอดภัยสู ง (ใช้เทคโนโลยีบีบอัดสัญญาณภาพ MPEG-4) ซึ งจากการตอบรับทีดี ทรู วิชนส์ ั สามารถ เปลี ยนกล่องรับสัญญาณใหม่ให้แล้วเสร็ จและเริ มใช้ระบบออกอากาศใหม่ดงั กล่าวได้ ในเดือนกรกฎาคม ั สามารถสกัดกันการละเมิดลิ ขสิ ทธิ รายการได้อย่างมี ปี 2555 ซึ งเร็ วกว่าเป้ าหมายเดิมทีตังไว้ โดยทรู วิชนส์ ประสิ ทธิภาพในทันที ทังนี แม้วา่ การแข่งขันเพือให้ได้รับสิ ทธิ ในการแพร่ ภาพ แพร่ เสี ยง รายการสําคัญๆ จะ เพิ มสู ง ขึ น แต่ ท รู วิชันส์ มี ค วามได้เปรี ย บผูป้ ระกอบการรายอื นจากการมี แพลตฟอร์ ม ที แข็ง แกร่ ง และ ความสัมพันธ์ อันดีกบั ผูใ้ ห้บริ การคอนเทนต์ชนนํ ั า การจัดตังคณะกรรมการ กสทช. ในเดื อนตุลาคม 2554 ส่ งผลให้มีการจัดทําร่ างกฎระเบียบ และ ข้อบังคับต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับผูป้ ระกอบกิจการโทรทัศน์ ทังในระบบภาคพืนดิน ระบบดาวเทียม และระบบ เคเบิล ซึ งทําให้ผปู ้ ระกอบการทุกรายต้องดําเนินกิจการภายใต้กรอบการกํากับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. เช่นเดียวกับทรู วชิ นส์ ั โดยในเดือนมกราคม ปี 2556 กสท. ได้อนุมตั ิการออกใบอนุ ญาตให้กบั ผูป้ ระกอบการโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียม ซึ งรวมถึงกลุ่มทรู วชิ นส์ ั ดว้ ย ทําให้ตลาดมีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมและมีกฎระเบียบทีชัดเจนยิงขึน การก้าวเข้าสู่ ระบบดิจิตอลทีวี ภายหลังการออกใบอนุญาตเพือให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอลของ คณะกรรมการ กสทช. ซึ งบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู วิชนส์ ั ได้รับใบอนุ ญาตจํานวน 2 ช่ อง ในเดือนเมษายน ปี 2557 นับเป็ นอีกก้าวสําคัญของธุ รกิจโทรทัศน์ในประเทศไทย โดยมีผใู ้ ห้บริ การรายใหม่เพิมมากขึน ซึ งส่ งผลให้มี คอนเทนต์ทีหลากหลายและการแข่งขันในตลาดโฆษณาทีเพิมมากขึน อย่างไรก็ตาม ทรู วิชนส์ ั มีความพร้อม อย่างเต็มทีสําหรั บการเติ บโตในตลาดนี จากการมี แพลตฟอร์ มที แข็งแกร่ ง หลากหลายและครบถ้วนด้วย คอนเทนต์คุณภาพ โดย การเข้าสู่ ตลาดดิ จิตอลทีวีนี ช่วยผลักดันการเติบโตของรายได้ค่าโฆษณา รวมทังยัง เพิมโอกาสในการทําตลาดคอนเทนต์ของทรู วชิ นส์ ั ผา่ นฐานลูกค้าขนาดใหญ่ขึน คอนเทนต์คุณภาพทีครบถ้วนของทรู วชิ นส์ ั และยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ของกลุ่มทรู จะยังคงเป็ น ปั จจัยสําคัญทีสร้ างความแตกต่าง รักษาความเป็ นผูน้ าํ ตลาดเพย์ทีวี และเสริ มความแข็งแกร่ งในตลาดแมส และดิจิตอลทีวขี องกลุ่ม 2.6

ความคืบหน้ าด้ านการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม

โครงสร้างการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทยมีความคืบหน้าขึนเป็ นลําดับ โดยเฉพาะหลัง การจัดตังคณะกรรมการ กสทช. ในเดือนตุลาคม 2554 ส่ งผลให้มีการออกกฎเกณฑ์และข้อบังคับต่าง ๆ เพิมมากขึน รวมถึงการก้าวเข้าสู่ ระบบเสรี มากขึนของธุ รกิจโทรคมนาคมในประเทศไทย จากการทีคณะกรรมการ กสทช. ได้ออก ใบอนุ ญาตต่าง ๆ ให้กบั ผูป้ ระกอบการทังในด้าน กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม อาทิเช่น ใบอนุญาตใช้

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

หัวข ้อที 2 - หน ้า 29


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

คลืนความถี 2.1 GHz ใบอนุญาตให้บริ การกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์ และ ใบอนุญาตให้บริ การโทรทัศน์ในระบบ ดิจิตอลเพือให้บริ การทางธุ รกิจระดับชาติ อย่างไรก็ตามในปี 2557 รัฐบาลได้มีนโยบายขับเคลือนเศรษฐกิจประเทศ ไทยไปสู่ ดิจิตอล โดยจะปรับปรุ งโครงสร้างเศรษฐกิ จ รวมทังกระทรวง ทบวง กรม ซึ งจะส่ งผลให้ตอ้ งแก้ไข กฎหมายต่างๆ ทีเกียวข้อง ซึงรวมถึงการแก้ไข พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 ซึ งอาจส่ งผลกระทบต่อ อํานาจหน้าทีและการกํากับดูแลของ คณะกรรมการ กสทช. ในอนาคต ทังนี กลุ่มทรู หวังว่าจะได้เห็นความก้าวหน้า ด้านการกํากับดูแล ในประเด็นต่าง ๆ ทียังไม่คืบหน้า อาทิเช่น การจัดสรรคลืนความถีใหม่ (Re-farming) สําหรับ คลื นความถี ทีปั จจุบนั ถูกใช้งานโดยผูป้ ระกอบการภายใต้มาตรการคุ ม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัวคราวในกรณี สิ นสุ ดการอนุญาตสัมปทาน ตารางแสดงใบอนุญาตทีกลุ่มทรู ได้ รับ ประเภท ใบอนุญาต

บริษทั ย่อย และบริษทั ในเครือ ใบอนุญาตบริการอินเทอร์ เน็ต 1 บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์เนต จํากัด 2 บริ ษทั ทรู อินเทอร์ เน็ต จํากัด 3 บริ ษทั เอเชี ย อินโฟเน็ท จํากัด 4 บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชันเนล เกตเวย์ จํากัด

1 1 1 2

5 บริ ษทั ทรู มูฟ จํากัด ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม

1

6 บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จํากัด

1

7 บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิ เคชัน จํากัด

1

8 บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชันเนล เกตเวย์ จํากัด

3

9 บริ ษทั ทรู อินเตอร์ เนชันแนล คอมมิวนิเคชัน จํากัด

3

10 บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จํากัด

3

11 บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์เจ้นซ์ จํากัด

1

12 บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชี ยลอินเตอร์เนต จํากัด

1

13 บริ ษทั เรี ยล มูฟ จํากัด

1

14 บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด

3

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ISP ISP ISP บริ การอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ ระหว่างประเทศ และบริ การ ชุมสายอินเทอร์เน็ต ISP บริ การบัตรโทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ บริ การโทรศัพท์สาธารณะ บริ การขายต่อบริ การวงจรเช่า ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศ และบริ การเสริ ม บริ การโทรศัพท์ประจําที และ บริ การเสริ ม บริ การขายต่อบริ การ โทรคมนาคมเพือสาธารณะ บริ การวงจร หรื อ ช่องสัญญาณเช่า บริ การขายต่อบริ การวงจรเช่า ส่วนบุคคลระหว่างประเทศ บริ การขายต่อบริ การ โทรศัพท์เคลือนที บริ การโครงข่ายโทรคมนาคมไร้สาย

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

อายุ วันทีใบอนุญาต วันทีบอร์ ดอนุมัติ ใบอนุญาต หมดอายุ 5 ปี 5 ปี 5 ปี 5 ปี

23 มิ.ย. 2557 18 ส.ค. 2557 5 ก.พ. 2553 19 พ.ค. 2554

22 มิ.ย. 2562 17 ส.ค. 2562 4 ก.พ. 2558 18 พ.ค. 2559

5 ปี

25 ส.ค. 2557

24 ส.ค. 2562

5 ปี

11 ต.ค. 2557

10 ต.ค. 2562

5 ปี 15 ปี

29 มิ.ย. 2557 28 มิ.ย. 2562 11 พ.ย. 2552 10 พ.ย. 2567

20 ปี

25 ม.ค. 2550 24 ม.ค. 2570

20 ปี

8 ธ.ค. 2549

5 ปี

26 ส.ค. 2557 25 ส.ค. 2562

5 ปี

11 พ.ย. 2557 10 พ.ย. 2562

5 ปี

16 ธ.ค. 2553 15 ธ.ค. 2558

15 ปี

7 ธ.ค. 2555

7 ธ.ค. 2569

6 ธ.ค. 2570

หัวข ้อที 2 - หน ้า 30


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

บริษทั ย่อย และบริษทั ในเครือ

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภท ใบอนุญาต

ใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ 15 บริ ษทั ซีนิเพล็กซ์ จํากัด 16 17 18 19 20

ลักษณะการประกอบ ธุรกิจ

บริ การกระจายเสี ยงหรื อ บริ การโทรทัศน์ โทรทัศน์ บอกรับสมาชิก บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จํากัด บริ การกระจายเสี ยงหรื อ บริ การโทรทัศน์ โทรทัศน์ บอกรับสมาชิก บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด บริ การกระจายเสี ยงหรื อ บริ การโทรทัศน์ โทรทัศน์ บอกรับสมาชิก บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด โครงข่ายกระจายเสี ยง บริ การโครงข่ายโทรทัศน์ หรื อโทรทัศน์ (ระดับชาติ) บอกรับสมาชิก บริ ษทั ทรู โฟร์ยู สเตชัน จํากัด (True4U) บริ การกระจายเสี ยงและ บริ การโทรทัศน์ โทรทัศน์ ทีเป็ นการทัวไป บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จํากัด บริ การกระจายเสี ยงและ บริ การโทรทัศน์ (TNN 24) โทรทัศน์ ทีเป็ นการทัวไป

ส่วนที 1

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

อายุ วันทีใบอนุญาต วันทีบอร์ ดอนุมัติ ใบอนุญาต หมดอายุ 2 ปี

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

2 ปี

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

2 ปี

21 ม.ค. 2557

20 ม.ค. 2559

15 ปี

21 ม.ค. 2556

20 ม.ค. 2571

15 ปี

25 เม.ย. 2557

24 เม.ย. 2572

15 ปี

25 เม.ย. 2557

24 เม.ย. 2572

หัวข ้อที 2 - หน ้า 31


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

3.

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ปัจจัยความเสี ยง

กลุ่ ม ทรู เล็ งเห็ นโอกาสการเติ บโตอย่า งแข็ง แกร่ ง ในทุ ก ธุ รกิ จหลัก ของบริ ษ ทั ฯ สํา หรั บ ปี 2558 ภายหลังความสําเร็ จในการดํา เนิ นยุ ทธศาสตร์ หลายประการ ซึ งรวมถึ งการปรั บโครงสร้ างทางการเงิ น (Recapitalization) ในเดือนกันยายน 2557 ทีผ่านมา การโอนย้ายลูกค้าทีสมัครใจมาอยูภ่ ายใต้ระบบการแข่งขันเสรี หรื อใบอนุญาตของกลุ่ม และการขยายโครงข่ายคุณภาพสู งครอบคลุมทัวประเทศ อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู ตระหนักถึง ปั จจัยความเสี ยงต่าง ๆ ซึ งอาจส่ งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อย ดังต่อไปนี ความเสี ยงทีเกียวกับการดําเนินงาน ความเสี ยงทีเกียวข้ องกับการแข่ งขันทางการตลาด บริ ษทั ฯ และกลุ่ มธุ รกิ จต่าง ๆ ของกลุ่มทรู ยงั คงต้องเผชิ ญกับการแข่งขันในตลาดโทรคมนาคมที ทวีความรุ นแรงยิงขึ น โดยเฉพาะหลังการก้าวเข้าสู่ การแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็ นธรรมมากขึ นของธุ รกิ จ โทรคมนาคมในประเทศไทย ตลาดบริ การโทรศัพท์เคลือนทียังคงมีการแข่งขันทีเพิมขึนอย่างต่อเนือง ภายหลังจากการทีคณะกรรมการ กสทช. ได้ออกใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม แบบที 3 และใบอนุญาตใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz ให้กบั เรี ยลฟิ วเจอร์ (ปั จจุบนั ได้เปลียนชือเป็ นบริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิ เคชัน จํากัด) ซึ งเป็ น บริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู รวมทังบริ ษทั ดี แทค เนทเวอร์ ค จํากัด และบริ ษทั แอดวานซ์ ไวร์ เลส เน็ทเวอร์ ค จํากัด ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของดีแทคและเอไอเอส ตามลําดับ ส่ งผลให้มีผใู ้ ห้บริ การรายใหม่ทีให้บริ การ 3G และ 4G บนคลืน 2.1 GHz ตังแต่เดื อนพฤษภาคม 2556 เป็ นต้นมา โดยผูใ้ ห้บริ การยังคงมุ่งเน้นการขยายโครงข่าย อย่า งต่ อเนื อง ทังนี ความนิ ย มในการใช้สื อสั ง คมออนไลน์ ผ่านโทรศัพ ท์เ คลื อนที เติ บ โตอย่า งรวดเร็ ว โดยเฉพาะครึ งหลังของปี 2557 เมือโครงข่ายมีความครอบคลุ มมากขึน ประกอบกับราคาสมาร์ ทดี ไวซ์และ อุปกรณ์ทีรองรับ 3G มีการปรับตัวลดลง ทําให้ระดับการแข่งขันในอุตสาหกรรมสู งขึน เพือช่วงชิ งส่ วนแบ่งทาง การตลาด ซึงผูป้ ระกอบการมีการนําเสนอแคมเปญต่าง ๆ และแพ็กเกจทีหลากหลายมากยิงขึนเพือดึงดูดลูกค้าใหม่ และโอนย้ายลูกค้าทีใช้บริ การบนระบบ 2G มาสู่ ระบบ 3G และ 4G ได้มากยิงขึน ทังนี กลุ่มทรู มีความได้เปรี ยบ ผูใ้ ห้บริ การรายอื น เนื องจาก ทรู มู ฟ เอช มี โครงข่ ายที ดี และครอบคลุ มมากสุ ดทัวประเทศ โดยบริ การ 3G ครอบคลุมแล้วกว่าร้อยละ 97 ของประชากร ในขณะทีบริ การ 4G ครอบคลุมพืนทีในกรุ งเทพฯ ปริ มณฑล และใจกลางเมืองอีก 14 จังหวัด โดยกลุ่มทรู มุ่งมันทีจะขยายโครงข่าย 4G ให้ครอบคลุมกว่าร้อยละ 80 ของ ประชากรทัวประเทศภายในกลางปี 2558 เพือเสริ มบริ การ 3G ของทรู มูฟ เอช ให้มีคุณภาพสู งยิงขึน โดยการผสาน ข้อดีของการให้บริ การบนคลืน 2.1 GHz ทีมีความจุสัญญาณต่อพืนทีสู ง ซึ งรองรับการใช้บริ การของกลุ่มลูกค้า ในเมืองและย่านธุ รกิจทีมีการใช้งานโทรศัพท์เคลือนทีสู งได้เป็ นอย่างดี กับการให้บริ การบนคลืน 850 MHz ทีสามารถให้บริ การครอบคลุมพืนทีได้กว้างขวางกว่า จึงทําให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การลูกค้าได้ครอบคลุม ทัวประเทศด้วยประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ทังยังสร้างความได้เปรี ยบในแง่ของการลงทุนให้กบั กลุ่มทรู ส่ วนธุ รกิ จโทรศัพท์พืนฐานของบริ ษทั ฯ ทีทําหน้าที จัดสร้ างโครงข่ายโทรศัพท์พืนฐานตามสัญญา ร่ วมการงานฯ กับที โอที ยังคงเผชิ ญกับการแข่งขันที ทวีความรุ นแรงยิงขึ นจากบริ การโทรศัพท์เคลือนทีและ ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บริ การเสี ยงผ่านการให้บริ การอิ นเทอร์ เน็ ต (VoIP) เนื องจากบริ การดังกล่ าวมี อตั ราค่าบริ การที ตํากว่าอัตรา ค่าบริ การโทรศัพท์พืนฐานแบบเดิม แม้โทรศัพท์พืนฐานจะสามารถให้บริ การด้วยคุณภาพทีดีกว่า สําหรับตลาดอินเทอร์ เน็ตและบรอดแบนด์นนั กลุ่มทรู มีคู่แข่งรายสําคัญ ได้แก่ ทีโอทีและบริ ษทั ทริ ปเปิ ลที บรอดแบนด์ จํากัด (หรื อ 3BB ในปั จจุบนั ) ซึ งปั จจุบนั มีการขยายพืนทีให้บริ การสู่ กรุ งเทพมหานคร และปริ มณฑลซึ งเป็ นตลาดหลัก ในปั จจุ บนั ของกลุ่ ม ทรู ออนไลน์เพิมมากขึ น อย่างไรก็ ดี ทรู ออนไลน์มี ความได้เปรี ยบจากการให้บริ การด้วยเทคโนโลยีทีทันสมัยและมี คุณภาพสู งอย่างเทคโนโลยี FTTx และ เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 ซึ งสามารถรองรับบริ การเคเบิลทีวีได้ จึงช่ วยให้มีโอกาสได้รับผลตอบแทนจาก การลงทุนทีสู งกว่า อีกทังยังสามารถเพิมความคุม้ ค่าให้กบั ลูกค้าด้วยการผสมผสานบริ การต่าง ๆ ของกลุ่มทรู เข้า ไว้ดว้ ยกัน นอกจากนี ทรู ออนไลน์ ยังมีโครงข่ายบรอดแบนด์ทีครอบคลุมทัวประเทศแล้วกว่า 5 ล้านครัวเรื อน โดยมี การขยายโครงข่ ายอย่างต่อเนื องไปยังพืนที ในต่างจังหวัด ซึ งเป็ นตลาดที มี ขนาดใหญ่ และมี โอกาสใน การเติบโตรายได้ทีสู ง ทังนี กลุ่มทรู จะเดินหน้าขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุม 10 ล้านครัวเรื อน ทัวประเทศ ภายในปี 2559 กลุ่มทรู คาดว่าการแข่งขันในธุ รกิจต่าง ๆ ทีกลุ่มทรู ให้บริ การจะยังคงสู งขึนในอนาคต แต่เชื อว่ากลุ่มทรู มีความพร้อมสําหรับการแข่งขัน โดยมีขอ้ ได้เปรี ยบจากการมีแบรนด์ทีแข็งแกร่ ง และมีบริ การทีครบวงจร รวมทัง มีคอนเทนต์ทีหลากหลายโดยสามารถสร้างความแตกต่างผ่านการผสมผสานสิ นค้าและบริ การในกลุ่มทรู ได้ อย่างลงตัวภายใต้กลยุทธ์คอนเวอร์เจนซ์ ความเสี ยงเฉพาะธุรกิจของกลุ่มทรู วชิ ั นส์ ความเสี ยงหลักของกลุ่มทรู วิชนส์ ั ทีผ่านมา ได้แก่ การต้องพึงพาผูจ้ ดั หารายการเพือซื อรายการจาก ต่างประเทศ และการแข่งขันทีทวีความรุ นแรงขึนทังในธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กและโทรทัศน์ใน ระบบดิจิตอลหลังการออกใบอนุญาตเพือให้บริ การโทรทัศน์ภาคพืนดินในระบบดิจิตอลประเภทบริ การทาง ธุ รกิจระดับชาติ จํานวน 24 ช่ องรายการ ในเดื อนเมษายน 2557 ของคณะกรรมการ กสทช. โดยผูป้ ระกอบการ รายเดิมและรายใหม่ต่างแข่งขันเพือแย่งชิ งส่ วนแบ่งการตลาดและเพือให้ได้มาซึ งสิ ทธิ ในการแพร่ ภาพคอนเทนต์ สําคัญ ๆ ซึ งอาจทําให้กลุ่มทรู วชิ นส์ ั มีค่าใช้จ่ายเพือการได้มาซึ งคอนเทนต์ต่าง ๆ เหล่านี เพิมสู งขึน นอกจากนี ทรู วชิ นส์ ั ยงั มีความเสี ยงจากการถูกลักลอบใช้สัญญาณหรื อการละเมิดลิขสิ ทธิ ทําให้หากกลุ่มทรู วิชนส์ ั ไม่สามารถ จัดหารายการทีเป็ นทีสนใจของสมาชิก หรื อหากต้นทุนของการจัดหารายการเพิมสู งขึนในอนาคตก็จะมีผลกระทบ ต่อผลประกอบการของกลุ่มทรู วชิ นส์ ั ปั จจุบนั ลูกค้าทีสนใจในรายการจากต่างประเทศ ส่ วนใหญ่เป็ นลูกค้าที สมัครแพ็กเกจพรี เมียม ซึ ง ณ สิ นปี 2557 มีจาํ นวนรวม 310,593 ราย คิดเป็ นอัตราร้อยละ 12.6 ของฐานลูกค้า รวมของกลุ่มทรู วชิ นส์ ั ทังนี ต้นทุนรายการต่างประเทศรวมคิดเป็ นอัตราร้อยละ 25.8 ของรายได้จากค่าบริ การ ของกลุ่มทรู วชิ นส์ ั ในปี 2557 (เทียบกับอัตราร้อยละ 19.8 ในปี 2556) อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู เชื อว่าคอนเทนต์คุณภาพสู งทีหลากหลายและครบถ้วน ซึ งโดยส่ วนใหญ่กลุ่ ม ั เป็ นผูผ้ ลิตเองซึ งได้รับ ทรู วชิ นส์ ั เป็ นผูถ้ ือลิขสิ ทธิ เพียงรายเดียวในประเทศไทย รวมถึงคอนเทนต์ทีทรู วิชนส์ ความนิยมอย่างสู งจากผูร้ ับชมในประเทศ อีกทังการสามารถผสมผสานบริ การอืน ๆ ของกลุ่มทรู ผา่ นยุทธศาสตร์ ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

คอนเวอร์ เจนซ์ จะช่วยรักษาความได้เปรี ยบในเชิ งการแข่งขันของกลุ่มทรู วิชนส์ ั นอกจากนี ฐานสมาชิกทีมี ขนาดใหญ่ รวมทังประสบการณ์ในการดําเนินงานในธุ รกิจนี มายาวนานของกลุ่มทรู วิชนส์ ั ยังเป็ นหลักประกัน ด้านรายได้สาํ หรับผูใ้ ห้บริ การคอนเทนต์ จึงรักษาความเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจระหว่างผูใ้ ห้บริ การคอนเทนต์ กับกลุ่มทรู วชิ นส์ ั ได้เป็ นอย่างดี ส่ วนความเสี ยงด้านการลักลอบใช้สัญญาณหรื อการละเมิดลิ ขสิ ทธิ เป็ นเรื องทีป้ องกันได้ยากและ ั อย่างไรก็ตาม การจัดตัง มีผลกระทบต่อผลการดําเนินงาน กระแสเงินสด และการจัดหารายการของกลุ่มทรู วิชนส์ คณะกรรมการ กสทช. ในเดือนตุลาคม 2554 ส่ งผลให้มีการจัดทําร่ างกฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ทีเกียวข้อง กับผูป้ ระกอบกิจการโทรทัศน์ ทังทีเป็ นโทรทัศน์ภาคพืนดิน โทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม และผ่านสายเคเบิล รวมถึง โทรทัศน์ภาคพืนดินในระบบดิจิตอล ซึ งทําให้ผปู้ ระกอบการทุกรายต้องขอรับใบอนุญาตและมีหน้าที ต้อง ดําเนินกิจการภายใต้กรอบการกํากับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. เช่นเดียวกับกลุ่มทรู วิชนส์ ั โดยผูป้ ระกอบการ ทุกรายต้องซื อคอนเทนต์และรายการต่าง ๆ อย่างถูกกฎหมาย ซึ งจะทําให้ขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง โดยในเดือนมกราคม 2556 คณะกรรมการกิจการกระจายเสี ยงและกิจการโทรทัศน์ได้อนุ มตั ิการออกใบอนุ ญาต ให้กบั ผูป้ ระกอบการโทรทัศน์แบบไม่ใช้คลืนความถีไม่ว่าจะผ่านดาวเทียม หรื อผ่านเคเบิล ซึ งรวมถึ งกลุ่ม ทรู วชิ นส์ ั ดว้ ย ซึ งนอกจากจะช่วยลดความเสี ยงของผลกระทบจากการหมดอายุของสัญญาร่ วมดําเนิ นกิจการ ฯ สําหรับบริ การผ่านดาวเทียมในเดือนกันยายน 2557 ของกลุ่มทรู วชิ นส์ ั แล้ว ยังทําให้อุตสาหกรรมโทรทัศน์ มีความชัดเจนขึนในเรื องการกํากับดูแล รวมทังทําให้ตลาดมีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมและมีกฎระเบียบทีดี ยิงขึน ซึ งจะเป็ นผลดีต่อผูป้ ระกอบการทีดําเนินกิจการอย่างถูกต้องตามกฎหมาย แต่อย่างไรก็ตาม เพือลดความเสี ยงจากการถูกลักลอบใช้สัญญาณหรื อการละเมิดลิขสิ ทธิ กลุ่มทรู วิชนส์ ั ได้ปรับเปลียนระบบออกอากาศใหม่ทีมีความปลอดภัยสู ง โดยให้สิทธิ พิเศษเพือจูงใจลูกค้าแพ็กเกจพรี เมียม ให้เปลียนจากกล่องรับสัญญาณเดิมมาเป็ นกล่องรับสัญญาณรุ่ นใหม่ (Hybrid Set Top Box) ทีสามารถถอดรหัส สัญญาณ MPEG-4 ได้ และได้เปิ ดใช้งานระบบออกอากาศใหม่ตงแต่ ั กลางเดือนกรกฎาคม 2555 ซึ งนอกจาก จะเป็ นการมอบประสบการณ์ในการรับชมทีดี ยิงขึนให้กบั สมาชิ กด้วยคอนเทนต์ทีมีคุณภาพคมชัดระดับเอชดี (High Definition) รวมถึงการรองรับบริ การอืน ๆ เช่น ออนดีมานด์ สังอัดรายการล่วงหน้า ฯลฯ แล้วยังสามารถ ช่ วยขจัดการลักลอบใช้สัญญาณได้ เนื องจากคอนเทนต์และรายการเฉพาะสําหรับกลุ่ มลูกค้าพรี เมียมของ กลุ่มทรู วชิ นส์ ั ได้รับการเข้ารหัสสัญญาณเป็ น MPEG-4 ทังหมด ทังนี กลุ่มทรู วิชนส์ ั ได้ลงทุนมากกว่า 2,000 ล้านบาท เพือเปลียนกล่องรับสัญญาณรุ่ นใหม่ (Hybrid ั เพือแก้ปัญหาการลักลอบใช้สัญญาณ ซึ งแม้วา่ Set Top Box) เกือบ 500,000 กล่อง เป็ นระบบเอชดีทงหมด การลงทุนดังกล่าวกระทบต่อกระแสเงินสดของกลุ่มทรู วิชนส์ ั แต่ เทคโนโลยีการเข้ารหัสสัญญาณใหม่ และ MPEG-4 ของกล่องดังกล่าวได้พิสูจน์แล้วว่าสามารถป้ องกันการลักลอบชมรายการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และยังช่ วยกระตุ น้ ให้ผูท้ ี ชมรายการของกลุ่ มทรู วิชนส์ ั แบบไม่ถูกกฎหมายเข้าสมัครเป็ นสมาชิ กกับกลุ่ ม ทรู วชิ นส์ ั อีกด้วย

ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความเสี ยงจากการทีกลุ่มทรู วชิ ั นส์ อาจถูกจัดเก็บค่ าลิขสิ ทธิในการเผยแพร่ งานดนตรี กรรม จากการแพร่ ภาพ แพร่ เสี ยง ในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงของคอนเทนต์ต่าง ๆ ทางกลุ่มทรู วิชนส์ ั มีนโยบายทีจะแพร่ ภาพแพร่ เสี ยง ั ได้รับสิ ทธิ ให้แพร่ ภาพแพร่ เสี ยงจาก เฉพาะคอนเทนต์ทีกลุ่มทรู วชิ นส์ ั ได้สรรค์สร้างขึนมาและทีกลุ่มทรู วชิ นส์ ผูท้ รงสิ ทธิในลิขสิ ทธิ ของคอนเทนต์นนั โดยบริ ษทั ฯ เข้าใจว่าสิ ทธิ ทีกลุ่มทรู วิชนส์ ั ได้รับมาในการแพร่ ภาพ แพร่ เสี ยงนันรวมถึงสิ ทธิ ในการแพร่ เสี ยงดนตรี กรรมจากคอนเทนต์ดงั กล่าวด้วย โดยแม้วา่ กลุ่มทรู วิชนส์ ั จะ ได้รับแจ้งจากองค์กรจัดเก็บค่าลิขสิ ทธิ ให้ชาํ ระค่าตอบแทนการเผยแพร่ งานดนตรี กรรมผ่านคอนเทนต์ของ ทรู วิชนส์ ั ดว้ ยมูลค่าประมาณ 6 ล้านบาท โดยอ้างว่าลิขสิ ทธิ ในการแพร่ ภาพแพร่ เสี ยงทีบริ ษทั ย่อยได้รับมานัน ไม่รวมถึงสิ ทธิ ในการแพร่ เสี ยงของดนตรี กรรมด้วย กลุ่มทรู วชิ นส์ ั ได้มีการเจรจากับองค์กรจัดเก็บค่าลิขสิ ทธิ เป็ นการเรี ยบร้อย และได้มีการดําเนินการถอนฟ้ องคดีดงั กล่าวแล้วตังแต่วนั ที 27 ธันวาคม 2556 ความเสี ยงทีเกียวข้ องกับการเปลียนแปลงของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการสื อสารมีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ วและความต้องการของลูกค้าก็เปลียนแปลงไป ตามวิวฒั นาการในผลิตภัณฑ์และบริ การใหม่ ๆ รวมถึงการเปลียนแปลงด้านกฎเกณฑ์การกํากับดูแลต่างก็มี ส่ วนทําให้มีการเปิ ดตลาดและให้บริ การด้วยเทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงคาดว่าปั จจัยต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น จะยังคงมีผล ต่อธุ รกิจสื อสารของประเทศไทยในอนาคต เพือตอบรับกับแนวโน้มใหม่ ๆ ด้านเทคโนโลยี อาจทําให้กลุ่มทรู มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการดําเนินงานสู งขึนเป็ นอย่างมาก และหากกลุ่มทรู ไม่ลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ อาจจะมีผลทําให้ขีดความสามารถในการแข่งขันและความพึงพอใจของลูกค้าลดลง อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู คาดว่า ด้วยผลิตภัณฑ์และบริ การ ตลอดจนฐานรายได้และลูกค้าทีหลากหลาย จะทําให้สามารถรับมือกับการเปลียนแปลงทีเกิดขึนและรักษารายได้ให้อยูใ่ นกลุ่มทรู ได้ดีกว่าผูใ้ ห้บริ การทีมี เพียงบริ การเดียว ความเสี ยงด้ านการกํากับดูแล ความเสี ยงของบริการคงสิ ทธิเลขหมายโทรศัพท์เคลือนทีและข้ อจํากัดของบริการ ในเดื อนธันวาคม 2553 ผูป้ ระกอบการโทรศัพ ท์เคลื อนที ได้เริ มเปิ ดให้บริ ก ารคงสิ ทธิ เลขหมาย โทรศัพท์เคลือนที (Mobile Number Portability - MNP) ทําให้ลูกค้าสามารถเปลียนผูใ้ ห้บริ การได้โดยไม่ จํา เป็ นต้อ งเปลี ยนเลขหมายโทรศัพ ท์ เ คลื อนที ซึ งนั บ ตังแต่ มี ก ารเปิ ดให้ บ ริ การคงสิ ท ธิ เ ลขหมาย โทรศัพท์เคลื อนที กลุ่ มทรู โมบายสามารถเพิมลู กค้ารายเดื อนซึ งมีรายได้ต่อเลขหมายต่อเดื อนสู งมากขึ น โดยเฉพาะกลุ่ มผูใ้ ช้สมาร์ ทโฟนที สนใจใช้บริ การ 3G+ ของกลุ่ มทรู โมบายที ให้บริ การคุ ณภาพสู งและ ครอบคลุมทัวประเทศ ทังนี การจํากัดจํานวนการให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลื อนทีต่อวันของ บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จํากัด (Clearing House) อาจส่ งผลให้อตั ราการได้มาซึ งลูกค้าใหม่ (ซึ งปั จจุบนั ใช้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีของผูป้ ระกอบการรายอืน) ของบริ ษทั ย่อยภายใต้กลุ่มทรู โมบายไม่สูง เท่าทีควร อย่างไรก็ตาม เมือวันที 30 พฤศจิกายน 2555 กทค. ได้แถลงนโยบายผ่านสื อว่า พร้อมผลักดันการปรับปรุ ง ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลือนที เพือรองรับการเปิ ดให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีระบบ 3G กทค. จึงมีนโยบายดําเนินการ ดังนี 1. ปรับปรุ งขยายขีดความสามารถในการโอนย้ายเลขหมายโทรศัพท์เพือให้รองรับปริ มาณความต้องการ โอนย้ายเลขหมายของผูใ้ ช้บริ การได้อย่างเพียงพอและเต็มประสิ ทธิ ภาพ 2. ขยายจุดพืนทีและช่องทางการให้บริ การการขอโอนย้ายเลขหมายโทรศัพท์รวมทังปรับปรุ งขันตอน การขอโอนย้ายเลขหมายโทรศัพท์ โดยผลักดันให้สามารถดําเนิ นการได้รวดเร็ วกว่าเดิมซึ งปั จจุบนั กําหนดไว้ 3 วันทําการ และเพิมช่องทางการให้บริ การใหม่ ๆ โดยผูใ้ ช้บริ การไม่จาํ เป็ นต้องเดินทางไป ยังจุดให้บริ การ เช่น การยืนคําขอผ่านช่องทางอินเทอร์ เน็ต หรื อผ่านระบบ SMS บนโทรศัพท์เคลือนที ของตนเอง เป็ นต้น 3. ทบทวนค่าธรรมเนี ยมการโอนย้ายผูใ้ ช้บริ การจากเดิมทีกําหนดไว้ 99 บาทต่อเลขหมาย เพือลดภาระ ค่าใช้จ่ายของผูใ้ ช้บริ การ เมือวันที 19 ธันวาคม 2555 กทค. ได้เชิญผูแ้ ทนจากผูป้ ระกอบการโทรศัพท์เคลือนทีทุกราย ได้แก่ เอไอเอส ดีแทค ทรู มูฟ CAT Telecom และทีโอที และผูแ้ ทนจาก Clearing House ร่ วมกันหารื อทัง 3 ประเด็นดังกล่าว ซึ งผูป้ ระกอบการทุกรายรวมทังผูแ้ ทนจาก Clearing House ยินดีให้การสนับสนุนนโยบายของ กทค. และรับ ไปร่ วมกันพิจารณาจัดทําแผนเพือให้เกิดเป็ นรู ปธรรมโดยจะเสนอรายละเอียดต่อ กทค. ภายในเดือนมกราคม 2556 โดยผูป้ ระกอบการโทรศัพท์เคลือนที เอไอเอส ดีแทค ทรู มูฟ ได้ทยอยจัดส่ งร่ างเงือนไขแนวทางปฏิบตั ิการ โอนย้ายผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีฉบับปรับปรุ งตามแนวทางข้างต้น ให้แก่เลขาธิ การสํานักงานคณะกรรมการ กสทช. ก่อนสิ นเดือนมกราคม 2556 แล้วโดยวันที 5 มิถุนายน 2556 สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. ได้มี หนังสื อแจ้งมติการประชุม กทค. ครังที 19/2556 เมือวันที 21 พฤษภาคม 2556 ว่ามีมติเห็นชอบให้กาํ หนด อัตราค่าธรรมเนี ยมการโอนย้ายในอัตรา 29 บาทต่อเลขหมาย (รวม VAT) โดยให้ผปู ้ ระกอบการกําหนดใช้ อัตราค่าธรรมเนียมดังกล่าว ภายในวันที 30 มิถุนายน 2556 และต่อมาเมือวันที 10 มิถุนายน 2556 กทค. ได้มี มติการประชุ มครังที 22/2556 ให้ใช้วิธีการส่ งข้อความสัน SMS เพือการลงทะเบียนขอใช้บริ การล่วงหน้า (Pre-Register) เพือการยืนยันตัวตนผูใ้ ช้บริ การเท่านัน และเห็ นชอบให้ใช้ช่องทางการโอนย้าย ซึ งได้แก่ (1) จุดให้บริ การของผูใ้ ห้บริ การรายใหม่ (2) Website ของผูใ้ ห้บริ การรายใหม่ และ (3) Call center ของ ผูใ้ ห้บริ การรายใหม่ เพือส่ งเสริ มการให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลือนที นอกจากนี ในวันที 24 มิถุนายน 2556 ทีประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั Clearing House ได้มีมติครังที 8/2556 ให้ขยายความสามารถของระบบ ให้สามารถรองรับได้ 300,000 เลขหมายต่อวัน โดยให้เริ มมีผลตังแต่ วันที 1 กรกฎาคม 2556 ทังนีให้แบ่งจํานวนทีระบบสามารถรองรับได้ ให้แก่ผใู ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีทัง 5 กลุ่ม เป็ นจํานวนเท่า ๆ กัน คือ กลุ่มละ 60,000 เลขหมายต่อวันอีกด้วย อย่างไรก็ตาม การเพิมความสามารถในการให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลื อนทีดังกล่าว ทําให้กลุ่มทรู โมบายอาจจะมีความเสี ยงในการสู ญเสี ยลูกค้าแบบเติมเงินบางส่ วน โดยเฉพาะในต่างจังหวัด เนืองจากการให้บริ การ 2G ของบริ ษทั ย่อยครอบคลุมพืนทีน้อยกว่าผูป้ ระกอบการรายใหญ่รายอืน ๆ ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความเสี ยงจากการเปลียนแปลงด้ านกฎเกณฑ์ การกํากับดูแล ตามข้อตกลงทีประเทศไทยได้ให้ไว้กบั องค์กรการค้าโลก หรื อ WTO เพือเปิ ดเสรี ธุรกิจโทรคมนาคมไทย ภายในปี 2549 รัฐบาลไทยได้เริ มดําเนิ นการปฏิรูปการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคม โดยการออกพระราชบัญญัติหลัก 2 ฉบับ อันได้แก่ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2543 ซึ งประกาศใช้เมือวันที 7 มีนาคม2543 และ พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม ซึ งประกาศใช้เมือวันที 16 พฤศจิกายน 2544 ทังนี เพือให้เป็ นไปตาม พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2543 จะต้องมีการจัดตังองค์กรเพือ การกํากับดูแล 2 องค์กร คือ คณะกรรมการ กทช. และคณะกรรมการ กสช. โดยในเดือนตุลาคม 2547 คณะกรรมการ กทช. ได้ถูกจัดตังขึนเพือเป็ นองค์กรอิสระในการกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมซึ งเดิมเป็ นอํานาจหน้าทีของ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ณ วันที 31 กรกฎาคม 2545 ได้แปรสภาพเป็ น บริ ษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) หรื อ ทีโอที) และการสื อสารแห่งประเทศไทย (ณ วันที 14 สิ งหาคม 2546 ได้แปรสภาพเป็ น บริ ษทั กสทโทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรื อ CAT Telecom) และกรมไปรษณี ยโ์ ทรเลข (ปั จจุบนั เปลียนเป็ น บริ ษทั ไปรษณี ยไ์ ทย จํากัด) อย่างไรก็ดี ความขัดแย้งทางการเมืองและนิติบญั ญัติ ทําให้ความพยายามในการจัดตังคณะกรรมการ กสช. ทังสองครัง (ในปี 2544 และ 2548) ไม่เป็ นผลสําเร็ จ ก่อให้เกิดความสับสนในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม กิจการกระจายเสี ยง กิจการวิทยุคมนาคม และกิจการโทรทัศน์ จนกระทังในวันที 20 ธันวาคม 2553 ได้มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 ซึ งมีผลให้มีการรวมองค์กรการกํากับดูแลเป็ นองค์กรเดี ยว คือ คณะกรรมการ กสทช. เพือทําหน้าทีกํากับ ดูแลกิจการวิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม แทนคณะกรรมการ กทช. ซึ งคณะกรรมการ กสทช. ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้เข้าดํารงตําแหน่ งตังแต่วนั ที 7 ตุลาคม 2554 ทังนี ในการปฏิ บตั ิหน้าที กฎหมายได้กาํ หนดให้แบ่งคณะกรรมการย่อย 2 คณะ เพือปฏิบตั ิการแทนคณะกรรมการ กสทช. คือ กสท. และ กทค. และนับแต่คณะกรรมการ กสทช. เข้ารับตําแหน่ งนัน คณะกรรมการ กสทช. ได้เร่ งวางกรอบ กฎเกณฑ์การกํากับดูแลกิจการกระจายเสี ยง กิจการโทรทัศน์ กิจการวิทยุคมนาคม และกิจการโทรคมนาคม โดย กทค. ได้เริ มปฏิรูปและประกาศแก้ไขกฎเกณฑ์ทีมีอยูใ่ ห้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปั จจุบนั แต่อย่างไรก็ดี ขึนอยู่วา่ คณะกรรมการ กสทช. ทัง 11 ท่าน จะผลักดันให้เกิดการเปิ ดเสรี และการกําหนดกฎระเบียบต่าง ๆ ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลหรื อไม่ กลุ่มทรู จะยังคงนโยบายเชิ งรุ กในการเจรจากับคณะกรรมการ กสทช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื อสาร รวมทังกระทรวงการคลัง (ซึ งเป็ นผูถ้ ือหุ ้นของ CAT Telecom และทีโอที) เพือสนับสนุนให้ กระบวนการปฏิรูปธุ รกิจโทรคมนาคมให้เกิดการแข่งขันอย่างเสรี และเป็ นธรรมอย่างแท้จริ ง อย่างไรก็ตามในปี 2557 รัฐบาลได้มีนโยบายขับเคลื อนเศรษฐกิจประเทศไทยไปสู่ ดิจิตอล โดยจะ ปรับปรุ งโครงสร้างเศรษฐกิจ รวมทังกระทรวง ทบวง กรม ซึ งจะส่ งผลให้ตอ้ งแก้ไขกฎหมายต่างๆ ทีเกียวข้อง ซึ งรวมถึงการแก้ไข พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 ซึ งอาจส่ งผลกระทบต่ออํานาจหน้าทีและ การกํากับดูแลของ คณะกรรมการ กสทช. ในอนาคต ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความเสี ยงจากการจัดสรรคลืนความถีสํ าหรับการประกอบกิจการโทรศัพท์เคลือนที เมือวันที 16 ตุลาคม 2555 เรี ยลฟิ วเจอร์ ซึงเป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ได้เข้าร่ วมการประมูลใบอนุ ญาตใช้ คลืนความถีสําหรับกิจการโทรคมนาคมเคลือนทีสากล (International Mobile Telecommunications - IMT) ย่าน 2.1 GHz ตามประกาศของคณะกรรมการ กสทช. เรื องหลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz 2555 และเมือวันที 18 ตุลาคม 2555 เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้รับแจ้งว่าเป็ นหนึ งในผูช้ นะการประมูล ใบอนุญาตคลืนความถีดังกล่าว ในเดือนพฤศจิกายน 2555 สํานักงานผูต้ รวจการแผ่นดินได้ยนฟ้ ื อง สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพือขอให้มีคาํ สังเพิกถอนผลการประมูล และให้มีคาํ สังคุม้ ครองชัวคราวให้คณะกรรมการ กสทช. ระงับการออกใบอนุญาตใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz โดยขอให้ศาลปกครองกลางวินิจฉัยว่า การประมูลดังกล่าวเป็ นการแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็ นธรรม ตามรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 47 และ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 มาตรา 45 ประกอบมาตรา 41 วรรค 1 และวรรค 7 หรื อไม่ อย่างไรก็ดี เมือวันที 3 ธันวาคม 2555 ศาลปกครองกลางมีคาํ สังไม่รับคําฟ้ องของผูต้ รวจการแผ่นดิน ในคดี ดงั กล่าวไว้พิจารณา โดยระบุว่าผูต้ รวจการแผ่นดิ นไม่มีอาํ นาจฟ้ อง และมีคาํ สังจําหน่ ายคดี ออกจาก สารบบความ ดังนัน ภายหลังจากศาลปกครองกลางมีคาํ สังไม่รับคําฟ้ องของผูต้ รวจการแผ่นดินคดีดงั กล่าว เมือวันที 7 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการ กสทช. จึงได้ออกใบอนุญาตใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz ให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ และผูช้ นะการประมูลรายอืน ๆ แม้กระนัน ผูต้ รวจการแผ่นดินและกลุ่มบุคคลทีอ้างว่า เป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยในคดี ได้ยืนอุ ทธรณ์ คาํ สังศาลปกครองกลางที ไม่รับคําฟ้ องของผูต้ รวจการแผ่นดิ นต่อ ศาลปกครองสู งสุ ด ซึ งต่อมาศาลปกครองสู งสุ ดได้มีคาํ สังยืนตามศาลปกครองกลางไม่รับคําฟ้ องและให้ จําหน่ายคดีดงั กล่าวออกจากสารบบความ การได้มาซึ งใบอนุญาตใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz เป็ นการเดินหน้าเพือการเปิ ดเสรี อุตสาหกรรม โทรคมนาคม ซึ งส่ งผลให้มีการแข่งขันในธุ รกิจนี เพิมมากขึน และยังทําให้กลุ่มทรู มีความจําเป็ นต้องใช้เงิน ลงทุ นเพิมขึ นจากการประมูลใบอนุ ญาต รวมทังก่ อสร้ างและขยายโครงข่ายและอุ ปกรณ์ เพือรองรั บการ ให้บริ การบนคลืนความถี 2.1 GHz เพิมเติมจากการลงทุนสําหรับการขยายบริ การ 3G บนคลืนความถี 850 MHz ทังนี มีความเสี ยงที เรี ยลฟิ วเจอร์ อาจไม่สามารถขยายโครงข่ายเพือรองรับการให้บริ การบนคลืนความถี 2.1 GHz ได้ทนั ตามข้อกําหนดและเงือนไขในการอนุ ญาตใช้คลืนดังกล่าว และอาจถูกกําหนดค่าปรับรายวัน ในอัตรา ร้อยละ 0.05 ของราคาประมูลสู งสุ ดของผูร้ ับใบอนุ ญาต ตลอดระยะเวลาทีไม่สามารถปฏิ บตั ิตามเงื อนไข ภายในระยะเวลาทีกําหนด อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู เชื อว่าการได้รับการจัดสรรคลืนความถี 2.1 GHz จะเป็ น ประโยชน์ต่อกลุ่มทรู ดังได้กล่าวมาแล้วในหัวข้อ “ความเสี ยงทีเกี ยวข้องกับการแข่งขันทางการตลาด” ซึ ง โดยภาพรวมน่ าจะช่วยส่ งเสริ มการวางแผนการพัฒนาธุ รกิจ การทําการตลาด และการขยายฐานลูกค้าของ บริ การโทรศัพท์เคลือนทีได้มากขึน

ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กลุ่มทรู มีความเสี ยงจากการสิ นสุ ดลงของสั ญญาให้ ดําเนินการฯ ของทรู มูฟจาก CAT Telecom และสั ญญา ร่ วมการงานฯ กิจการโทรศัพท์ พนฐานจากที ื โอทีทจะสิ ี นสุ ดลง เนืองจากสัญญาให้ดาํ เนินการฯ ของทรู มูฟ สิ นสุ ดลงในเดือนกันยายน 2556 เพือสร้างความต่อเนื อง สําหรับธุ รกิจของกลุ่มทรู โมบาย กลุ่มทรู ได้เข้าซื อหุ ้นของบริ ษทั ในกลุ่มฮัทชิ สัน ในวันที 30 ธันวาคม 2553 และต่อมาได้มีการทําสัญญากับ CAT Telecom ในวันที 27 มกราคม 2554 ทําให้เรี ยลมูฟซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อย ภายใต้กลุ่มทรู โมบายเป็ นผูใ้ ห้บริ การ 3G+ แก่ผใู ้ ช้บริ การในรู ปแบบขายต่อบริ การโทรศัพท์เคลือนที (Reseller) บนเทคโนโลยี 3G+ ของ CAT Telecom บนคลืนความถี 850 MHz (ภายใต้แบรนด์ ทรู มูฟ เอช) จนถึงปี 2568 และในวันที 16 ตุลาคม 2555 เรี ยลฟิ วเจอร์ ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ได้เข้าร่ วมการประมูลใบอนุ ญาตใช้ คลืนความถีสําหรับกิจการโทรคมนาคมเคลือนทีสากล (International Mobile Telecommunications - IMT) ย่าน 2.1 GHz และคณะกรรมการ กสทช. ได้ออกใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ เพือประกอบกิจการได้ถึงปี 2570 ซึ งได้ช่วยขยายระยะเวลาการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีของกลุ่มทรู โมบาย ออกไป นอกจากนี เมือวันที 16 พฤษภาคม 2556 คณะอนุ กรรมการซึ งได้รับการแต่งตังจาก กทค. ได้เชิ ญ ผูป้ ระกอบการรายต่าง ๆ เข้าชี แจงเกียวกับการกําหนดแนวทางการดําเนิ นการในกรณี สัญญาสัมปทานสิ นสุ ดลง โดยได้มีการกําหนดแนวทางทีจําเป็ นต่าง ๆ เพือมิให้ผใู ้ ช้บริ การได้รับผลกระทบ โดยทรู มูฟนันมีความพร้ อมที จะดําเนินการต่าง ๆ เพือให้ผใู ้ ช้บริ การของทรู มูฟสามารถใช้บริ การต่อไปได้อย่างต่อเนื อง โดยต่อมาเมือวันที 14 สิ งหาคม 2556 คณะกรรมการ กสทช. จึงมีมติเห็ นชอบในร่ างประกาศมาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การใน กรณี สินสุ ดการอนุ ญาตสัมปทานหรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลื อนที ซึ งมีผลใช้บงั คับตังแต่วนั ที 30 สิ งหาคม 2556 เรี ยกว่า ประกาศมาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัวคราวในกรณี สินสุ ดการอนุ ญาต สัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที พ.ศ. 2556 (“ประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ”) โดยประกาศ คุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การฉบับนีกําหนดให้ CAT Telecom และทรู มูฟ มีหน้าทีให้บริ การกับผูใ้ ช้บริ การต่อไปใน ระหว่างสัญญาสัมปทานสิ นสุ ดจนถึงวันทีคณะกรรมการ กสทช. ได้จดั สรรคลืนความถีให้กบั ผูร้ ับใบอนุ ญาต ทีชนะการประมูลแล้วเสร็ จ โดยระยะเวลาดังกล่าวต้องไม่เกิน 1 ปี นับจากวันทีสิ นสุ ดการอนุ ญาตสัมปทาน หรื อ สั ญ ญาการให้บ ริ ก ารโทรศัพ ท์เคลื อนที ตามประกาศนี CAT Telecom และทรู มู ฟ ในฐานะ ผูใ้ ห้บริ การตามประกาศดังกล่าว มีหน้าทีในการจัดทําแผนคุ ม้ ครองผูใ้ ช้บริ การซึ งต้องมีสาระสําคัญเกี ยวกับ แผนงานประชาสัมพันธ์ให้ผใู ้ ช้บริ การทราบถึ งการสิ นสุ ดสัญญาสัมปทาน แผนงานส่ งเสริ มให้ผใู ้ ช้บริ การ สามารถใช้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์เคลือนทีได้ และค่าใช้จ่ายในการให้บริ การและภาระทีเกิ ดขึน จากการทีต้องรักษาคุณภาพมาตรฐานในขณะทีจํานวนผูใ้ ช้บริ การลดลงตลอดเวลา นอกจากนี ประกาศดังกล่าว ยังกําหนดห้าม CAT Telecom และ ทรู มูฟ รับผูใ้ ช้บริ การรายใหม่เพิมขึ นจากเดิ ม และกําหนดให้ CAT Telecom และทรู มูฟเป็ นผูร้ ับชําระเงินรายได้จากการให้บริ การแทนรัฐโดยแยกบัญชีการรับเงินไว้เป็ นการ เฉพาะ แล้วรายงานจํานวนเงินรายได้และดอกผลทีเกิดขึนซึ งได้หกั ต้นทุนค่าใช้โครงข่าย ค่าธรรมเนี ยมเลข หมายโทรคมนาคม ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการบริ หารจัดการ และต้นทุนค่าใช้จ่ายอืนทีจําเป็ นในการให้บริ การ แล้ว ส่ วนที เหลือให้นาํ ส่ งสํานักงานคณะกรรมการ กสทช. เพือตรวจสอบก่ อนนําส่ งเป็ นรายได้แผ่นดิ น ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ต่อไป ซึงปัจจุบนั ได้มีการแต่งตังคณะทํางานเพือตรวจสอบรายได้และต้นทุนค่าใช้จ่ายตามประกาศคุม้ ครอง ผูใ้ ช้บริ การ ดังนันจึงยังมีความเสี ยงจากความไม่แน่ นอนว่าผลการพิจารณาจะเป็ นอย่างไร ซึ งอาจส่ งผลให้ ทรู มูฟต้องมีภาระค่าใช้จ่ายเพิมเติมได้ ต่อมาเมือวันที 17 กรกฎาคม 2557 (ก่อนครบกําหนด 1 ปี ตามประกาศ คุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ) คณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ได้มีคาํ สังที 94/2557 (“คําสัง คสช.”) ให้ชะลอการ ดําเนินการเกียวกับการประมูลคลืนความถีเพือกิจการโทรคมนาคม ออกไปเป็ นระยะเวลาหนึงปี นับจากวันทีมี คําสัง และคณะกรรมการ กสทช. ได้ออกประกาศ เรื อง การคุ ม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัวคราวในกรณี สินสุ ด การอนุญาตหรื อสัมปทานตามคําสัง คสช. ทําให้ระยะเวลาตามประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การขยายไปจนถึงวันที 17 กรกฎาคม 2558 ทังนี ยังมีความไม่แน่นอนว่าคณะกรรมการ กสทช. จะจัดประมูลคลืนความถีและออก ใบอนุ ญาตให้ใช้คลื นความถี สําหรับคลื นความถี ที สิ นสุ ดตามการอนุ ญาตสัมปทานหรื อสัญญาแก่ ผูช้ นะ การประมูลภายในปี 2558 ได้หรื อไม่ หากคณะกรรมการ กสทช. ไม่สามารถดําเนิ นการดังกล่ าวได้และไม่ อนุ ญาตให้ CAT Telecom และทรู มูฟมีหน้าที ให้บริ การกับผูใ้ ช้บริ การต่อไป อาจส่ งผลให้การบริ การแก่ ผูใ้ ช้บริ การของ ทรู มูฟ ทียังเหลือคงใช้บริ การอยูต่ อ้ งหยุดชะงักลง อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู เชื อว่า การบังคับใช้ประกาศฉบับนี และการทีกลุ่มทรู มี เรี ยลมูฟและเรี ยลฟิ วเจอร์ ในฐานะผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนที จะช่วยให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การแก่ผใู ้ ช้บริ การของทรู มูฟได้อย่าง ต่อเนืองภายหลังสัญญาให้ดาํ เนินการฯ สิ นสุ ด นอกเหนื อจากทีกล่ าวมาแล้วนี สัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างบริ ษทั ฯ และทีโอที ทีบริ ษทั ฯ ทําหน้าที จัดสร้างโครงข่ายโทรศัพท์พืนฐานให้แก่ทีโอที สําหรับให้บริ การโทรศัพท์พืนฐานและบริ การเสริ ม ซึ งจะ สิ นสุ ดลงในเดือนตุลาคม 2560 อาจทําให้บริ ษทั ฯ มีความเสี ยงทีต้องขาดรายได้จากส่ วนแบ่งรายได้ทีได้รับ จาก ทีโอที ภายหลังสัญญาร่ วมการงานฯ สิ นสุ ดลง อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จํากัด ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยทีบริ ษทั ฯ ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้อยละ 100.0 ได้รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ กทช. สําหรับการให้บริ การโทรศัพท์พืนฐานและบรอดแบนด์ทวประเทศ ั ซึ งบริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จํากัด ได้ขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื อง ทําให้ความเสี ยงดังกล่าวลดลง ยิงไปกว่านัน การสร้ างและขยายโครงข่าย บรอดแบนด์ใหม่ภายใต้เทคโนโลยี DOCSIS 3.0 และ FTTx ยังช่วยให้กลุ่มทรู สามารถให้บริ การด้านเสี ยงที มีคุณภาพสู งและสามารถบริ หารต้นทุนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทังนี รัฐบาลไทยได้มีการขอให้ผใู ้ ห้บริ การโทรคมนาคมจํานวนหนึ งเข้าร่ วมการปรึ กษาหารื อเกียวกับ การแปรรู ปสัญญาร่ วมการงานฯ หรื อสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ เป็ นใบอนุ ญาตหรื อความตกลงอืน ๆ โดยเป็ น ส่ วนหนึงของการเปิ ดเสรี ตลาดโทรคมนาคม อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู ไม่อาจคาดการณ์ได้วา่ ข้อกําหนดของความ ตกลงแปรรู ปจะเป็ นอย่างไร อีกทังไม่อาจรับรองได้วา่ การแปรรู ปสัญญาร่ วมการงานฯ หรื อสัญญาให้ดาํ เนิ นการ ฯ ของกลุ่มทรู จะเป็ นไปตามข้อกําหนดทีเอือประโยชน์ได้เท่ากับข้อกําหนดทีใช้กบั คู่แข่งของกลุ่มทรู หรื อ ข้อกําหนดที กลุ่ มทรู มีอยู่ในขณะนี หากผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายอืนสามารถเจรจาต่อรองข้อกําหนด สําหรับการแปรรู ปสัญญาร่ วมการงานฯ หรื อสัญญาให้ดาํ เนินการฯ ได้ดีกว่ากลุ่มทรู กลุ่มทรู ก็อาจเสี ยเปรี ยบ ในเชิ งการแข่งขัน จึงอาจได้รับผลกระทบอย่างมี นยั สําคัญต่อการประกอบธุ รกิ จของกลุ่ มทรู อีกทังธุ รกิ จ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุ รกิจของกลุ่มทรู อาจได้รับผลกระทบในทางลบด้วย ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ทรู มูฟมีความเสี ยงทีเกิดจากข้ อโต้ แย้ งทีทีโอทีเรี ยกให้ ทรู มูฟและ CAT Telecom ชํ าระค่ าเชื อมต่ อโครงข่ าย แบบเดิม (Access Charge) ให้ แก่ทโี อที ซึงอาจจะทําให้ บริษัทฯ มีค่าใช้ จ่ายเพิมขึนในอนาคต ทรู มูฟได้ดาํ เนิ นกิจการโทรศัพท์เคลือนทีภายใต้สัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ ที CAT Telecom ตกลงให้ ทรู มูฟดําเนินการให้บริ การวิทยุคมนาคมซึ งสัญญาให้ดาํ เนินการฯ ได้สินสุ ดลงแล้วตังแต่วนั ที 15 กันยายน 2556 โดยปัจจุบนั ทรู มูฟยังคงมีหน้าทีให้บริ การตามประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื อง มาตรการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ เป็ นการชัวคราวในกรณี สินสุ ดการอนุญาต สัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที พ.ศ. 2556 ประกอบกับคําสังคณะรักษาความสงบแห่ งชาติฉบับที 94/2557 นอกจากนัน ทรู มูฟได้ลงนามในข้อตกลง เรื องการเชื อมโยงโครงข่าย หรื อข้อตกลง AC กับ CAT Telecom และทีโอที ซึ งทําให้ทรู มูฟ และ CAT Telecom จะต้องจ่ายค่า AC ให้แก่ทีโอทีในอัตรา 200 บาท ต่อเดือนต่อลูกค้าหนึงเลขหมาย และครึ งหนึงของ เงินผลประโยชน์ตอบแทนที CAT Telecom ได้รับจาก ทรู มูฟ สําหรับลูกค้าแบบเหมาจ่ายรายเดือน (Post Pay) และในอัตราร้อยละ 18 ของรายได้สําหรับลูกค้าแบบเติมเงิน (Pre Pay) นอกเหนื อจากทีทรู มูฟต้องจ่ายเงิ น ผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ในอัตราร้อยละ 25 หรื อ 30 (ตามแต่ช่วงเวลาทีกําหนดไว้ในสัญญา ให้ดาํ เนินการฯ ) จากรายได้สุทธิ ภายหลังจากหักค่า AC ในเดือนพฤษภาคม 2549 คณะกรรมการ กทช. ได้ออกประกาศ เรื อง IC ซึ งระบุให้ผปู้ ระกอบการ โทรคมนาคมทีมีโครงข่ายของตนเองต้องอนุ ญาตให้ผปู ้ ระกอบการรายอืนสามารถเข้าเชื อมต่อและใช้โครงข่าย ของตนเองได้อย่างเท่าเที ยมกัน ทังนี หากมี สัญญาใดที มีผลบังคับใช้ก่อนหน้า แต่ขดั ต่อประกาศเรื อง IC ให้ถือตามประกาศดังกล่าว ทังนี ประกาศคณะกรรมการ กทช. ฉบับนี ได้กาํ หนดระบบการจ่ายค่าเชื อมต่อ โครงข่ายรู ปแบบใหม่ หรื อ ค่า IC ทีสะท้อนปริ มาณการใช้งานระหว่างโครงข่ายของผูป้ ระกอบการแต่ละราย และได้กาํ หนดให้ผปู ้ ระกอบการเจรจาเพือการเข้าสู่ ขอ้ ตกลง IC โดยค่าเชื อมต่อโครงข่ายต้องอยูบ่ นพืนฐาน ของต้นทุนของผูป้ ระกอบการแต่ละราย ซึ งต่อมาในวันที 17 พฤศจิกายน 2549 ทรู มูฟได้ร่วมลงนาม ในสัญญา IC กับดีแทค โดยสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ทนั ที และในวันที 16 มกราคม 2550 ทรู มูฟก็ได้ลงนามใน สัญญา IC กับเอไอเอส ภายหลังการลงนามกับดีแทค ทรู มูฟได้หยุดจ่ายค่า AC ตามข้อตกลง AC กับ CAT Telecom และ ทีโอที เนืองจากข้อตกลง AC ขัดต่อประกาศเรื อง IC ของ คณะกรรมการ กทช. ดังกล่าว ในกรณี การปฏิบตั ิ อย่างเท่าเทียมกัน จากการเรี ยกเก็บค่า AC (ซึ งทีโอทีเป็ นผูไ้ ด้รับประโยชน์แต่เพียงฝ่ ายเดียวจากค่า AC เนืองจาก ทรู มูฟและ CAT Telecom เชือว่าเป็ นการปฏิบตั ิตามกฎหมาย และต้องเข้าสู่ ระบบเชือมต่อโครงข่ายแบบใหม่ ตามประกาศ IC อีกทังทรู มูฟยังได้มีการบอกเลิกข้อตกลง AC แล้ว ทรู มูฟจึงไม่มีภาระตามกฎหมายใด ๆ ที จะต้องจ่ายค่าเชือมต่อโครงข่ายแบบเดิมอีกต่อไป ในวันที 17 พฤศจิกายน 2549 ทรู มูฟได้ส่งหนังสื อแจ้งทีโอทีและ CAT Telecom ว่าจะหยุดชําระ ค่า AC เนื องจากอัตราและการเรี ยกเก็บค่า AC ขัดแย้งกับกฎหมายหลายประการ ทังนี ทรู มูฟได้ร้องขอให้ ทีโอทีปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการ กทช. และเข้าร่ วมลงนามในสัญญา IC เพือให้เป็ นไปตาม

ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กฎหมายหรื อให้เรี ยกเก็บตามอัตราชัวคราวทีประกาศโดยคณะกรรมการ กทช. ในขณะทีการเจรจากับทีโอที เกียวกับสัญญาดังกล่าวยังไม่ได้ขอ้ สรุ ป ต่อมาในวันที 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอทีได้ส่งหนังสื อเพือแจ้งว่าทรู มูฟไม่มีสิทธิ ทีจะใช้หรื อเชื อมต่อ โครงข่ายตามกฎหมายใหม่ เนืองจากทรู มูฟไม่ได้รับอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจากคณะกรรมการ กทช. และไม่มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของตนเอง นอกจากนัน ทีโอทีได้โต้แย้งว่าข้อตกลง AC ไม่ได้ฝ่าฝื น กฎหมายใด ๆ ดังนันการเรี ยกเก็บค่า AC ยังมีผลใช้บงั คับต่อไป อย่างไรก็ตาม ทรู มูฟเห็นว่า ข้อโต้แย้งของ ทีโอทีไม่เป็ นไปตาม พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคมอีกด้วย นอกจากนัน ทีโอทีได้ประกาศว่าจะไม่เชื อมต่อสัญญาณให้กบั ลูกค้าทีเป็ นเลขหมายใหม่ทีทรู มูฟ เพิงได้รับการจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. จํานวน 1.5 ล้านเลขหมาย เพราะทรู มูฟไม่ชาํ ระค่า AC ซึ งอาจจะ มีผลทําให้ลูกค้าของทีโอทีไม่สามารถติดต่อลูกค้าของทรู มูฟทีเป็ นเลขหมายใหม่นี อย่างไรก็ตาม ทรู มูฟได้ ั อน ยืนขอคุม้ ครองชัวคราวต่อศาลปกครองกลาง ซึ งศาลได้มีคาํ สังกําหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชวคราวก่ มีคาํ พิพากษา เมือวันที 26 มกราคม 2550 โดยให้ทีโอทีดาํ เนิ นการเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเพือให้ ผูใ้ ช้บริ การของทรู มูฟทุกเลขหมายสามารถติ ดต่อกับเลขหมายของทีโอทีได้ ซึ งเป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของ คณะกรรมการ กทช. และผลประโยชน์ต่อสาธารณะ และเมือวันที 30 มกราคม 2550 ทีโอทีได้ยืนอุทธรณ์ คําสังดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด ซึ งต่อมาได้พิพากษายืนตามคําสังของศาลปกครองกลาง ทําให้ตงแต่ ั วันที 2 มีนาคม 2550 ทีโอทีได้ดาํ เนิ นการเชื อมต่อเลขหมายใหม่ทงหมดของทรู ั มูฟแล้วเสร็ จ นอกจากนัน เมือวันที 26 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลปกครองกลางได้มีคาํ พิพากษาให้ทีโอทีดาํ เนิ นการเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม เพือให้เลขหมายดังกล่าวใช้งานได้อย่างต่อเนื องสมบูรณ์ และให้ทีโอทีชาํ ระค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ทรู มูฟ จํานวน 1,000,000 บาท ซึ งต่อมา ทีโอทีได้ยืนอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสู งสุ ด และปั จจุบนั อยูใ่ นระหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด นอกเหนื อจากนัน ในวันที 9 ตุลาคม 2552 ศาลปกครองกลางมีคาํ พิพากษา ยกฟ้ อง กรณี ทีโอทียืนฟ้ องขอเพิกถอนคําสังคณะกรรมการ กทช. ทีกําหนดให้ทีโอทีตอ้ งเชื อมต่อโครงข่าย โทรศัพท์เลขหมายใหม่ 1.5 ล้านเลขหมายให้กบั ดีแทคและทรู มูฟ ซึ งต่อมาทีโอทีก็ได้อุทธรณ์ต่อศาลปกครองสู งสุ ด โดยในวันที 2 มีนาคม 2553 ทรู มูฟได้ยนเอกสารที ื สนับสนุนคําสังของคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองสู งสุ ด อย่างไรก็ตาม คดีทงสองยั ั งไม่เป็ นทีสิ นสุ ดในปั จจุบนั ในเดือนมิถุนายน 2550 ทรู มูฟได้ยนคํ ื าร้องเสนอข้อพิพาทเกียวกับการทีทีโอทีปฏิเสธการเข้าทําสัญญา IC กับทรู มูฟต่อคณะกรรมการ กทช. โดยมีคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท (กวพ.) เป็ นผูพ้ ิจารณา โดยใน วันที 28 พฤศจิกายน 2550 คณะกรรมการ กทช. ได้ชีขาดให้ทรู มูฟมีสิทธิ หน้าที และความรับผิดชอบในการ เชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเช่นเดียวกับผูไ้ ด้รับใบอนุ ญาต และได้มีมติเป็ นเอกฉันท์ชีขาดข้อพิพาท ให้ทีโอที เข้าร่ วมเจรจาเพือทําสัญญาเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection Contract) กับทรู มูฟ ต่อมาเมือ วันที 23 มิถุนายน 2551 ทีโอทีได้ตกลงทีจะเข้าเจรจาทําสัญญา IC กับทรู มูฟ แต่มีเงือนไขว่าจะทําสัญญาเฉพาะ เลขหมายใหม่ทีได้รับจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เท่านัน ซึ งทรู มูฟได้ตกลงตามทีเสนอ ดังนัน เฉพาะ ในส่ วนของเลขหมายเก่าเท่านันทีการเจรจายังไม่บรรลุขอ้ ตกลง โดยทรู มูฟยังคงดําเนิ นการให้เป็ นเรื องของ ข้อพิพาทและอยูใ่ นดุลยพินิจของกระบวนการทางศาลต่อไป ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ทังนี เมือวันที 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอทีได้ฟ้องร้องต่อศาลแพ่งเพือขอเรี ยกเก็บค่า AC ทีทรู มูฟ ไม่ได้จ่ายจํานวนประมาณ 4,508.1 ล้านบาท พร้ อมดอกเบียและภาษีมูลค่าเพิม โดยเมือวันที 16 กันยายน 2552 ได้มีคาํ สังว่า คดี ดงั กล่าวไม่อยู่ในเขตอํานาจศาลแพ่ง ดังนัน จึงมีการจําหน่ ายคดี ออกจากสารบบความของ ศาลแพ่ง ต่อมาเมือวันที 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอทีได้ยืนฟ้ อง CAT Telecom ร่ วมกับทรู มูฟทีศาลปกครองกลาง เรี ยกร้องให้ชาํ ระค่า AC จํานวนเงิน 41,540.27 ล้านบาท ขณะนี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ในวันทีมีการจัดทํารายงานฉบับนี คดีดงั กล่าวจึงยังไม่ถึงทีสุ ด แต่หากผลการตัดสิ นของศาลเป็ นทีสุ ดในทางลบต่อกลุ่มทรู อาจจะทําให้ทรู มูฟต้องจ่ายเงินค่าปรับ จํานวนหนึงเท่าของค่า AC ที CAT Telecom อาจจะจ่ายแทนทรู มูฟ พร้อมทังดอกเบีย และทรู มูฟอาจจะต้อง จ่ายทังค่า AC และค่า IC ซึ งจะทําให้ค่าใช้จ่ายของทรู มูฟเพิมขึนอย่างมาก หากศาลมีคาํ สังให้ทรู มูฟต้องชําระค่า AC ทีไม่ได้จ่าย ทรู มูฟอาจจะต้องบันทึกค่าใช้จ่ายเพิมเติมจํานวน 32,344.6 ล้านบาท (หรื อจํานวน 23,762.6 ล้านบาท สุ ทธิ จากผลประโยชน์ตอบแทนทีจ่ายให้แก่ CAT Telecom) สําหรับระยะเวลาตังแต่วนั ที 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที 15 กันยายน 2556 ทังนี กลุ่มทรู ยงั ไม่มีการตังสํารอง ทางบัญชีสาํ หรับรายการค่าเสี ยหายทีอาจเกิดขึนจากรายการนี ทรู มูฟมีความเสี ยงทีเกิดจากข้ อโต้ แย้ งที CAT Telecom เรี ยกให้ ทรู มูฟส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิในเสา สํ าหรับติดตังเครืองและอุปกรณ์โทรคมนาคมจํานวน 4,546 เสา ให้ CAT Telecom เมือวันที 29 มกราคม 2552 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้ทรู มูฟ ส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ ในเสาทีติดตังเครื องและอุปกรณ์ และอุปกรณ์เสาโทรคมนาคม จํานวน 4,546 เสา ให้ CAT Telecom หากทรู มูฟไม่สามารถส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ ในเสาดังกล่าวได้ ไม่วา่ ด้วยเหตุใด ๆ ให้ทรู มูฟชําระค่าเสี ยหาย เป็ นเงินจํานวนทังสิ น 2,766.2 ล้านบาท อย่างไรก็ดี ตามความเห็นของกลุ่มทรู ทรู มูฟ ไม่ได้ถูกผูกพันให้ตอ้ งส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ ในเสาโทรคมนาคมและอุปกรณ์เสาโทรคมนาคมตามที CAT Telecom เรี ยกร้องตามสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ ซึ งได้สินสุ ดลงแล้วตังแต่วนั ที 15 กันยายน 2556 โดยปั จจุบนั ทรู มูฟยังคงมีหน้าที ให้บริ การตามประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื อง มาตรการคุ ้มครองผูใ้ ช้บริ การเป็ น การชัวคราวในกรณี สินสุ ดการอนุญาต สัมปทาน หรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที พ.ศ. 2556 โดย เมือวันที 3 กันยายน 2552 ทรู มูฟได้ยืนคัดค้านคําเสนอข้อพิพาทต่อคณะอนุ ญาโตตุลาการ เมือเดื อนสิ งหาคม 2556 คณะอนุ ญาโตตุ ลาการได้มีมติ เป็ นเอกฉันท์วินิจฉัยชี ขาดให้ยกคําเสนอข้อพิพาทของ CAT Telecom เนืองจากขณะนันยังไม่ครบกําหนดระยะเวลาทีให้สิทธิ CAT Telecom ใช้สิทธิ ตามสัญญา CAT Telecom จึง ไม่มีสิทธิ เรี ยกร้องตามประเด็นข้อพิพาทคดีนี คณะอนุ ญาโตตุลาการได้ตดั สิ นว่า ในสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ หากทรู มูฟจะต้องส่ งมอบทรัพย์สินให้แก่ CAT Telecom ก็จะต้องทําการส่ งมอบภายในเวลา 60 วัน นับจาก วันทีสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ หมดอายุลงหรื อวันทีได้มีการเลิกสัญญาดังกล่าวเท่านัน และเนื องจากสัญญาให้ ดําเนิ นการฯ ยังไม่หมดอายุและยังไม่ได้มีการเลิ กสัญญา ณ วันที CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อ อนุญาโตตุลาการ กล่าวคือ วันที 29 มกราคม 2552 CAT Telecom จึงไม่มีสิทธิ ตามกฎหมายทีจะเรี ยกร้องกรรมสิ ทธิ ในเสาโทรคมนาคม ดังนัน คณะอนุ ญาโตตุลาการจึงไม่ได้พิจารณาว่าทรู มูฟจะต้องส่ งมอบ และ/หรื อ โอน ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กรรมสิ ทธิ ในเสาและอุปกรณ์ให้แก่ CAT Telecom ตามสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ หรื อไม่ โดยเมือวันที 12 กันยายน 2556 CAT Telecom ได้ยืนคําร้องขอให้ศาลปกครองกลางมีคาํ สังเพิกถอนคําชี ขาดของอนุ ญาโตตุลาการดังกล่าวเป็ น คดีหมายเลขดําที 1813/2556 ขณะนีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลางทังนี เมือวันที 12 พฤศจิกายน 2556 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม โดยเรี ยกร้องให้ทรู มูฟส่ งมอบพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ เครื องและ อุปกรณ์ Generator จํานวน 59 สถานี ให้แก่ CAT Telecom หากส่ งมอบไม่ได้ไม่วา่ กรณี ใด ๆ ให้ทรู มูฟชดใช้ ราคาแทนรวมมูลค่าทังสิ นเป็ นเงินจํานวน 39.6 ล้านบาท ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ความเสี ยงจากข้ อพิพาทอันเนืองจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) และส่ วนแบ่ งรายได้ ในเดือนมกราคม 2550 คณะรัฐมนตรี ได้อนุมตั ิให้มีการลดอัตราภาษีสรรพสามิตทีจัดเก็บจากบริ การ โทรคมนาคมเป็ นร้อยละ 0 (จากเดิมร้อยละ 2 สําหรับกิจการโทรศัพท์พืนฐาน และร้อยละ 10 สําหรับกิจการ โทรศัพท์เคลือนที) นอกจากนัน คณะรัฐมนตรี ยงั ได้มีมติให้คู่สัญญาภาครัฐ (ทีโอทีและ CAT Telecom) เป็ น ผูร้ ับผิดชอบสําหรับภาษีสรรพสามิต เพือไม่ให้มีผลกระทบต่อผูบ้ ริ โภค โดยในปี 2546 คณะรัฐมนตรี ได้อนุญาต ให้คู่สัญญาภาคเอกชนนําค่าภาษีสรรพสามิตไปหักออกจากส่ วนแบ่งรายได้หรื อผลประโยชน์ตอบแทนที คู่สัญญาภาคเอกชนต้องนําส่ งให้คู่สัญญาภาครั ฐ และนําส่ งให้กบั กระทรวงการคลังโดยตรง ซึ งส่ งผลให้ ส่ วนแบ่งรายได้หรื อผลประโยชน์ตอบแทนทีนําส่ งคู่สัญญาภาครัฐลดลง ทังนี เป็ นความเห็นชอบของคู่สัญญา ภาครัฐ รวมทัง เป็ นไปตามมติของคณะรัฐมนตรี ทีกล่าวมาแล้ว ภายหลังการเปลียนแปลงของรัฐบาลในปี 2550 ได้มีการประกาศลดอัตราภาษีสรรพสามิตเป็ นร้อยละ 0 ทําให้ทีโอทีและ CAT Telecom ได้รับส่ วนแบ่งรายได้ หรื อผลประโยชน์ตอบแทนเต็มจํานวน อย่างไรก็ตาม ในระหว่างทีมีการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต ผูป้ ระกอบการ ภาคเอกชนยังคงมีรายจ่ายรวมให้ภาครัฐเท่าเดิม (รวมทีจ่ายให้กระทรวงการคลังและทีโอที หรื อ CAT Telecom) โดยปั จจุบนั ยังมีขอ้ พิพาทระหว่างภาคเอกชนและคู่สัญญาภาครัฐในประเด็นนี ซึ งเป็ นประเด็นเกียวกับการ ชําระส่ วนแบ่งรายได้ให้ทีโอที และชําระผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ไม่ครบ ซึ ง CAT Telecom มีหนังสื อเรี ยกให้ทรู มูฟชําระเรื อยมาจนถึงปัจจุบนั โดยในเดือนมกราคม 2551 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอ ข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกค่าเสี ยหายจากทรู มูฟนับจนถึ งวันเสนอข้อพิพาท เป็ นจํานวนเงิ นประมาณ 9.0 พันล้านบาท รวมดอกเบีย เมือวันที 16 กันยายน 2554 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาํ วินิจฉัยชี ขาดให้ยก คําเสนอข้อพิพาทดังกล่าว เป็ นผลทําให้ทรู มูฟไม่ตอ้ งชําระผลประโยชน์ตอบแทนตามคําเรี ยกร้องดังกล่าว CAT Telecom ได้ยืนคําร้องขอเพิกถอนคําชี ขาดอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลางเมือวันที 25 พฤศจิกายน 2554 ทังนี เมือวันที 22 กรกฎาคม 2557 ศาลปกครองกลางได้มีพิพากษา ยกคําร้องขอเพิกถอนคําชี ขาดอนุญาโตตุลาการ ของ CAT Telecom ซึ งต่อมา CAT Telecom ได้ยืนอุทธรณ์คาํ พิพากษาของศาลปกครองกลางเป็ นคดีหมายเลขดํา ที อ.850/2557 ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองสู งสุ ด นอกจากนี CAT Telecom ได้เรี ยกให้ทรู มูฟรับผิดในเงินค่าภาษีมูลค่าเพิมจากผลประโยชน์ตอบแทนในส่ วนค่าภาษีสรรพสามิต พร้ อมเบียปรับและเงิ นเพิมที CAT Telecom ถูกกรมสรรพากรประเมินและแพ้คดี ในชันศาลภาษีไปแล้ว ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการดําเนินคดี ค่าธรรมเนียม และดอกเบีย รวมเป็ นเงินค่าเสี ยหายจากการไม่ปฏิบตั ิตาม สัญญาในส่ วนดังกล่าวที CAT Telecom เรี ยกมาในช่วงเดือนมีนาคม 2555 จํานวนทังสิ น 1,302.8 ล้านบาท (คํานวณถึงสิ นเดือนมีนาคม 2555) โดย CAT Telecom อาจเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการต่อไป ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เมือวันที 1 กันยายน 2554 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเพือ เรี ยกร้ องให้ทรู มูฟชําระค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้ครบถ้วนจากการทีทรู มูฟหักค่า IC จากรายได้ก่อน คํานวณผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ในปี ดําเนินการที 10 -14 เป็ นเงินทังสิ น 11,946.15 ล้านบาท ต่อมาเมือวันที 28 กุมภาพันธ์ 2556 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเพือ เรี ยกร้องให้ทรู มูฟชําระเงินค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้ครบถ้วนจากการทีทรู มูฟหักค่า IC จากรายได้ก่อน คํานวณผลประโยชน์ตอบแทนให้ CAT Telecom ในปี ดําเนินการที 15 เป็ นเงินทังสิ น 1,571.60 ล้านบาท ซึ ง ขณะนีข้อพิพาททังสองเรื องดังกล่าวยังอยูใ่ นระหว่างกระบวนการของอนุญาโตตุลาการ นอกจากนัน ทีโอทีได้ยนคํ ื าเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ เมือวันที 22 มกราคม 2551 เรี ยกคืน ส่ วนแบ่งรายได้ทีบริ ษทั ฯ ได้รับเกินกว่าสิ ทธิ ทีพึงจะได้รับจํานวน 1,479.6 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย สําหรับ กิจการโทรศัพท์พืนฐาน ต่อมาบริ ษทั ฯ ได้ยืนคําคัดค้าน เมือวันที 18 เมษายน 2551 ซึ งปั จจุบนั เรื องดังกล่าว ยังอยูใ่ นระหว่างกระบวนการของอนุญาโตตุลาการและยังไม่เป็ นทียุติ อย่างไรก็ตาม ในวันที 9 กุมภาพันธ์ 2554 ทีโอทีได้มีหนังสื อแจ้งให้บริ ษทั ฯ คืนเงินทีทีโอทีได้นาํ ส่ งให้บริ ษทั ฯ เพือนําไปชําระเป็ นค่าภาษีสรรพสามิต และภาษีมูลค่าเพิมเพือกระทรวงมหาดไทยแทนทีโอที ตังแต่เดือนมกราคม 2546 จนถึงเดือนธันวาคม 2549 เป็ นเงินจํานวน 1,479.6 ล้านบาท พร้อมดอกเบียในอัตราร้ อยละ 7.5 และภาษีมูลค่าเพิมตามกฎหมายให้แก่ ทีโอที ภายในวันที 15 กุมภาพันธ์ 2554 ซึ งในกรณี นี บริ ษทั ฯ ไม่มีหน้าทีชําระคืนเงิ นดังกล่าวให้แก่ทีโอที เนื องจากได้ปฏิ บตั ิตามทีทีโอทีมอบหมายครบถ้วน โดยได้นาํ เงิ นดังกล่าวไปชําระเป็ นค่าภาษีสรรพสามิต และภาษี มูล ค่า เพิ มเพือกระทรวงมหาดไทยแทนที โอที และกรมสรรพสามิ ตได้ออกใบเสร็ จรั บ เงิ นเป็ น เลขที กํา กับ ภาษี ของที โอที ดัง นัน บริ ษ ทั ฯ มิ ไ ด้ผิดสัญญา หรื อละเมิ ด กฎหมาย จึ ง ไม่มี หน้า ที ชําระเงิ น ดัง กล่ า วคื นให้แก่ ที โอที อี ก ทัง ที โอที ไ ด้เรี ย กร้ องเงิ นซําซ้อนอันเป็ นจํานวนเดี ย วกันกับ ที ที โอที ไ ด้ยื น ข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการดังกล่าว ความเสี ยงจากข้ อพิพาททีมีอยู่เดิมระหว่ าง CAT Telecom กับบริษัทย่ อยกลุ่มฮัทชิ สันซึงกลุ่มทรู เข้ าซือหุ้น ฮัทชิสัน ซี เอที ซึ งกลุ่มทรู ซือหุ ้นมาจากกลุ่มฮัทชิ สันมีขอ้ พิพาทเดิมอยูก่ บั CAT Telecom ซึ งอาจทําให้ กลุ่มทรู ตอ้ งบันทึกค่าใช้จ่ายเป็ นจํานวนเงิน 1,445.0 ล้านบาท และอาจส่ งผลกระทบในทางลบกัความสัมพันธ์ ทางธุ รกิจระหว่างกลุ่มทรู และ CAT Telecom ในปลายปี 2551 และ 2552 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการกับฮัทชิ สัน ซี เอที ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยทีกลุ่มทรู เข้าซื อหุน้ โดยเรี ยกร้องเงินประกันรายได้ขนตํ ั า เงินค่าภาษีสรรพสามิตพร้อม ภาษีมูลค่าเพิม ค่าธรรมเนี ยมใบอนุ ญาต ค่าธรรมเนี ยมเลขหมาย ค่าใช้บริ การทีเป็ นหนี เสี ยและค่าใช้จ่ายใน การดําเนิ นคดี ค่าปรับจากการนําส่ งค่าบริ การรายเดื อน และค่าธรรมเนี ยมล่าช้า จํานวน 1,445.0 ล้านบาท ภายใต้สัญญาทําการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ Digital AMPS 800Band A ซึ งข้อพิพาทดังกล่าวได้มี การระงับกระบวนพิจารณาไว้ชวคราวและจํ ั าหน่ายคดีจากสารบบความ แต่ขณะนีได้มีการนําข้อพิพาทเข้าสู่ กระบวนการทางอนุ ญาโตตุ ลาการตามเดิ ม และข้อพิพาทอยู่ระหว่างการดําเนิ นการทางอนุ ญาโตตุลาการ นอกจากนี เมือวันที 10 มกราคม 2557 CAT Telecom ได้มีหนังสื อถึงธนาคารเพือขอให้ชาํ ระเงินตามหนังสื อ ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

คําประกันจํานวนเงิน 63,002,000.0 บาท โดยอ้างว่า กลุ่มฮัทชิ สันปฏิบตั ิผิดสัญญาทําการตลาดวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูล่าร์ Digital AMPS 800Band A สัญญาทําการตลาดบริ การโทรข้ามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการ ดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า CDMA ซึ งต่อมาเมือวันที 21 กุมภาพันธ์ 2557 ศาลแพ่งมีคาํ สัง ให้ CAT Telecom ระงับการใช้สิทธิ เรี ยกร้องให้ธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึง ชําระเงิน ตามหนังสื อสัญญาคําประกัน ทัง 4 ฉบับ และให้ CAT Telecom ระงับการรับเงินตามหนังสื อคําประกันดังกล่าวไว้เป็ นการชัวคราว จนกว่า ศาลจะมีคาํ สังเป็ นอย่างอืน ทังนี ต่อมา เมือวันที 20 มีนาคม 2557 CAT Telecom ได้ยืนฟ้ อง ฮัทชิสัน ซี เอที บีเอฟเคที และธนาคารผูอ้ อกหนังสื อคําประกัน ต่อศาลปกครองกลาง ให้ชาํ ระเงินโดยอ้างว่า ฮัทชิ สัน ซี เอที ปฏิบตั ิผิดสัญญาทําการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ Digital AMPS 800Band A สัญญาทําการตลาด บริ การโทรข้ามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่าร์ CDMA ขณะนี ยัง อยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองกลาง ซึ งแม้วา่ กลุ่มฮัทชิ สันเชื อว่าไม่ได้ผิดสัญญาและข้อเรี ยกร้องของ CAT Telecom ยังไม่ได้มีคาํ ชี ขาดจนถึงทีสุ ดของคณะอนุ ญาโตตุลาการหรื อศาล (แล้วแต่กรณี ) ว่ากลุ่มฮัทชิ สัน ปฏิบตั ิผดิ สัญญาหรื อไม่ อย่างไรก็ดี มีความเสี ยงทีธนาคารอาจชําระเงินตามหนังสื อคําประกันซึ งทําให้กลุ่มทรู จะต้องชําระเงินคืนให้แก่ธนาคาร ความเสี ยงจากข้ อพิพาทเกียวกับการจัดเก็บข้ อมูลและรายละเอียดเกียวกับผู้ใช้ บริการ เมือวันที 14 กันยายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ งคือ ทรู มูฟ ได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิ หน้าทีคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครองกลางเกียวกับข้อพิพาทเรื องการดําเนิ นการ จัดเก็บข้อมูลและรายละเอียดเกียวกับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้า ตาม ประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 โดย ฟ้ องขอให้เพิกถอนประกาศฉบับดังกล่าว เฉพาะข้อ 38 และข้อ 96 และเพิกถอนมติและคําวินิจฉัยของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. และคําสังของเลขาธิ การ กสทช. ทีให้ทรู มูฟปฏิบตั ิตามประกาศ ฉบับดังกล่าว ซึ งเฉพาะในส่ วนข้อหาที 1 ซึ งฟ้ องเพิกถอนประกาศฉบับดังกล่าวนัน ศาลปกครองกลางได้มี คําสังไม่รับฟ้ อง เนื องจากเห็นว่าได้ยืนคําฟ้ องต่อศาลพ้นกําหนดระยะเวลาฟ้ องคดี และไม่อาจถื อได้วา่ คําฟ้ อง ในข้อหานี จะเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวม เพราะประกาศดังกล่าวไม่มีผลต่อผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ซึ ง ทรู มู ฟได้ยืนอุ ทธรณ์ ค าํ สังไม่รับ ฟ้ องบางข้อหาไว้พิ จารณาดังกล่ าว ขณะนี อยู่ระหว่างการพิ จารณาของ ศาลปกครองสู งสุ ด ส่ วนประเด็นพิพาทอืนในคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง นอกจากนี เมือวันที 25 มกราคม 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้งเตือน และต่อมาเมือวันที 30 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ได้มีหนังสื อมายังทรู มูฟว่า ทรู มูฟยังคงฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง เลขาธิการ กสทช. และคําวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. และ หนังสื อแจ้งเตือน จึงอาศัยอํานาจตามมาตรา 66 แห่ ง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม กําหนดมาตรการ บังคับทางปกครอง ปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท ให้ทรู มูฟชําระนับแต่วนั พ้นกําหนด 30 วัน นับแต่วนั ที ได้รับหนังสื อฉบับดังกล่าว ทรู มูฟจึงได้ยนคํ ื าร้องขอให้ศาลมีคาํ สังทุเลาการบังคับตามคําสังก่อนมีคาํ พิพากษา

ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ต่อมาเมือวันที 19 กันยายน 2555 ศาลปกครองกลางมีคาํ สังยกคําขอในส่ วนทีขอให้ศาลมีคาํ สังทุเลา การบังคับคดีตามคําสังทางปกครอง ทีให้จดั เก็บข้อมูลและรายละเอียดเกียวกับผูใ้ ช้บริ การ เพราะเห็นว่าหาก มีการทุเลาการบังคับตามคําสังทางปกครองดังกล่าวให้แก่ทรู มูฟ จะก่อให้เกิดความได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบระหว่าง ผูป้ ระกอบกิจการโทรคมนาคมด้วยกัน อันจะก่อให้เกิดอุปสรรคแก่การบริ หารงานของรัฐหรื อแก่บริ การสาธารณะ ดังนัน ผลของคําสังดังกล่าวทําให้ทรู มูฟต้องดําเนิ นการจัดเก็บข้อมูลและรายละเอียดเกียวกับผูใ้ ช้บริ การต่อไป อย่างไรก็ดี สําหรับคําสังกําหนดค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท ศาลปกครองกลางมี คาํ สังให้ระงับการ กําหนดค่าปรับตามคําสังของเลขาธิ การ กสทช. ไว้เป็ นการชัวคราว ซึ งคําสังศาลดังกล่าวทําให้ ทรู มูฟไม่ตอ้ ง ถูกบังคับให้ตอ้ งชําระค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท จนกว่าคดีจะถึงทีสุ ดหรื อจนกว่าศาลจะมีคาํ พิพากษา หรื อคําสังเป็ นอย่างอืน ทังนี เมือวันที 17 ตุลาคม 2555 คณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. ได้ยืน อุทธรณ์คาํ สังของศาลปกครองกลางดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ดซึ งต่อมาศาลปกครองสู งสุ ดได้มีคาํ สังลง วันที 21 พฤศจิกายน 2556 กลับคําสังของศาลปกครองกลาง เป็ นให้ยกคําขอของทรู มูฟทังหมด ทําให้ทรู มูฟ อาจได้รับผลกระทบจากกําหนดมาตรการบังคับทางปกครอง โดยต้องชําระค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท และมาตรการบังคับอืนทีอาจมีการกําหนดเพิมเติมในส่ วนของคดีพิพาทหลัก หากศาลปกครองมีคาํ พิพากษาถึงทีสุ ดว่า ประกาศ คําสัง มติ และคําวินิจฉัยทีพิพาทชอบด้วยกฎหมาย อาจส่ งผลให้ทรู มูฟต้องชําระค่าปรับและต้องปฏิบตั ิตามคําสังของเลขาธิ การ กสทช. และหากทรู มูฟยังเพิกเฉย ไม่ปฏิบตั ิให้ถูกต้อง หรื อกรณี ทีมีความเสี ยงร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ คณะกรรมการ กสทช. มีอาํ นาจ พักใช้หรื อเพิกถอนสัญญาให้ดาํ เนินการฯ ของทรู มูฟได้ ทังนี ปั จจุบนั สัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ ได้สินสุ ดลงแล้ว ตังแต่วนั ที 15 กันยายน 2556 โดยปัจจุบนั ทรู มูฟยังคงมีหน้าทีให้บริ การตามประกาศคณะกรรมการ กสทช. เรื อง มาตรการคุ ม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัวคราวในกรณี สินสุ ดการอนุ ญาต สัมปทาน หรื อสัญญาการ ให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที พ.ศ. 2556 อย่างไรก็ดี มาตรา 66 แห่ง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม กําหนดว่าการกระทําความผิดกรณี ใดจะต้องถูกพักใช้หรื อเพิกถอนใบอนุ ญาตให้เป็ นไปตามทีคณะกรรมการ กสทช. ประกาศกําหนด แต่ ณ ปั จจุบนั ยังไม่มีการออกประกาศดังกล่าว ต่อมาเมือวันที 3 มีนาคม 2557 ทรู มูฟ ได้ชาํ ระค่าปรับทางปกครองให้แก่สํานักงาน กสทช. เป็ นจํานวนเงิน 34,960,000 บาท (ตามหนังสื อ กสทช. ที สทช.5011/9465 ลว.30 พฤษภาคม 2555 แจ้งกําหนดค่าปรับทางปกครองในอัตราวันละ 80,000 บาท โดย คํานวณตังแต่วนั ที 6 กรกฎาคม 2555 จนถึงวันที 15 กันยายน 2556) ทังนี การชําระค่าปรับทางปกครองดังกล่าว มิได้เป็ นการยอมรับว่า คําสังทางปกครองทีให้ ทรู มูฟ ดําเนิ นการจัดเก็บข้อมูลผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนที แบบชําระค่าบริ การล่วงหน้า และคําสังกําหนดค่าปรับทางปกครองนันชอบด้วยกฎหมาย และหากผลของคดี มีคาํ พิพากษาถึ งทีสุ ดอันเป็ นคุ ณแก่ ทรู มูฟ ทรู มูฟ สามารถเรี ยกคืนเงิ นค่าปรับทางปกครองทีต้องชําระต่อ กสทช.ได้ ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ความเสี ยงจากข้ อพิพาทเกียวกับการเรียกเก็บค่ าบริการล่วงหน้ า เมือวันที 7 กุมภาพันธ์ 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้งเตือนให้ทรู มูฟดําเนินการปรับปรุ ง เงือนไขการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีประเภทเรี ยกเก็บเงินค่าบริ การล่วงหน้า ไม่ให้มีขอ้ กําหนดในลักษณะ เป็ นการบังคับให้ผูใ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาทีกําหนดและห้ามมิให้กาํ หนดเงือนไขทีมีลกั ษณะ ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาทีกําหนดอีกต่อไป ต่อมาเมือวันที 8 พฤษภาคม 2555 ทรู มูฟได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้เพิกถอนคําสัง และมติของคณะกรรมการ กสทช. และคําสังของเลขาธิ การ กสทช. ทีห้ามผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้ากําหนดรายการส่ งเสริ มการขายในลักษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การ ต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาทีกําหนด (Validity) พร้อมขอให้ศาลกําหนดมาตรการและวิธีการเพือบรรเทา ทุกข์เป็ นการชัวคราวก่อนการพิพากษา ซึ งปัจจุบนั ยังอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง นอกจากนี เมือวันที 31 พฤษภาคม 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อกําหนดให้ทรู มูฟจะต้องชําระค่าปรับทางปกครอง ในอัตราวันละ 100,000 บาท ตังแต่วนั ที 30 พฤษภาคม 2555 เป็ นต้นไป ต่อมาทรู มูฟได้ยืนคําร้ องขอต่อ ศาลปกครองกลางให้มีคาํ สังให้ทุเลาการบังคับตามคําสังและมติของคณะกรรมการ กสทช. และคําสังของ เลขาธิ การ กสทช. รวมถึ งการกําหนดค่าปรั บทางปกครองดังกล่าว หรื อกําหนดมาตรการและวิธีการเพือ บรรเทาทุกข์เป็ นการชัวคราวก่อนมีคาํ พิพากษา แต่ศาลได้ยกคําขอดังกล่าว ส่ งผลให้ทรู มูฟไม่มีสิทธิ ทีจะ ได้รับการทุ เลาการบังคับตามคําสังและมติ ทีพิพาท และยังคงต้องถู กบังคับให้จ่ายค่าปรั บดังกล่าว ต่อมา กทค. มีมติยนื ตามคําสังปรับของเลขาธิ การ กสทช. ทําให้ทรู มูฟดําเนินการฟ้ องมติ กทค. ทียืนตามคําสังปรับ ของเลขาธิการ กสทช. ต่อศาลปกครองพร้อมกับขอบรรเทาทุกข์ชวคราว ั โดยสํานัก งานคณะกรรมการ กสทช. ได้มีหนังสื อลงวันที 7 มกราคม 2556 เชิ ญผูป้ ระกอบการ โทรศัพท์เคลือนทีทุกรายเข้าร่ วมประชุ มเพือหารื อในประเด็นดังกล่าว โดยสํานักงานคณะกรรมการ กสทช. ได้แจ้งให้ผปู ้ ระกอบการทุกรายปฏิ บตั ิตามคําสังทางปกครองโดยการยกเลิกการกําหนดระยะเวลาการใช้บริ การ สําหรับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลื อนทีประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้านับตังแต่วนั ที 18 มกราคม 2556 เป็ นต้นไป จนกว่าจะได้รับความเห็นชอบการกําหนดระยะเวลาการใช้บริ การจากคณะกรรมการ กสทช. ทรู มูฟจึงได้มีหนังสื อลงวันที 18 มกราคม 2556 ถึง กทค. แจ้งว่าได้ดาํ เนิ นการให้ผใู ้ ช้บริ การทีเปิ ด ใช้บริ การ และผูใ้ ช้บริ การทีเติ มเงิ นทุ กมูลค่าตังแต่วนั ที 18 มกราคม 2556 เป็ นต้นไป สามารถใช้บริ การ โทรศัพท์เคลือนทีประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้าต่อไปได้อย่างต่อเนือง จนกว่าทรู มูฟจะได้รับความเห็นชอบ การกําหนดระยะเวลาจากคณะกรรมการ กสทช. ซึ งเมือวันที 13 กุมภาพันธ์ 2556 ทรู มูฟได้รับหนังสื อจาก สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. แจ้งว่า กทค. ได้มีมติเห็นชอบเงือนไขการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีใน ลักษณะทีเรี ยกเก็บค่าบริ การเป็ นการล่วงหน้าทีมีกาํ หนดระยะเวลาให้ใช้บริ การ (Validity) ของทรู มูฟแล้ว อย่างไรก็ตาม เมือวันที 29 มกราคม 2556 สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. มีหนังสื อแจ้งมายังทรู มูฟว่าก่อน วันที 18 มกราคม 2556 ทรู มูฟได้กาํ หนดเงื อนไขที มี ลกั ษณะเป็ นการบังคับให้ผูใ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การ ภายในกําหนดระยะเวลา (Validity) อันเป็ นการฝ่ าฝื นคําสังของเลขาธิ การสํานักงานคณะกรรมการ กสทช. จึงขอให้ทรู มูฟชําระค่าปรับในอัตราวันละ 100,000 บาท นับตังแต่วนั ที 30 พฤษภาคม 2555 จนถึงวันที 17 มกราคม 2556 รวมเป็ นเงิ นทังสิ น 23,300,000 บาท ทังนี หากทรู มูฟไม่ชาํ ระค่าปรั บจํานวนดังกล่ า ว เลขาธิ การ กสทช. อาจเพิมมาตรการบังคับ เช่น เพิมอัตราค่าปรับรายวันได้ อย่างไรก็ตาม ทรู มูฟได้ยืนฟ้ อง ขอเพิกถอนคําสังกําหนดค่าปรับดังกล่าวต่อศาลปกครองกลาง เมือวันที 10 มกราคม 2556 และปั จจุบนั ยังคง อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง ทังนี หากศาลปกครองพิพากษาว่าคําสังกําหนดค่าปรับดังกล่าว ชอบด้วยกฎหมาย มีความเสี ยงทีทรู มูฟต้องชําระค่าปรับจํานวนดังกล่าว ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความเสี ยงจากการใช้ และการเชือมต่ อโครงข่ ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) สํ าหรับโทรศัพท์พนฐาน ื ในเดือนเมษายน 2553 คณะกรรมการ กทช. ได้ออกคําสังประกาศอัตราชัวคราวของค่าเชื อมต่อ โครงข่าย (Interconnection Charge หรื อ IC) สําหรับโทรศัพท์พืนฐานทีอัตรา 0.36 บาทต่อนาที ทําให้บริ ษทั ฯ มีความเสี ยงทีอาจจะถูกเรี ยกเก็บค่า IC จากผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ซึ งอาจทําให้บริ ษทั ฯ มีค่าใช้จ่าย เพิมขึนในอนาคตสําหรับกิจการโทรศัพท์พืนฐาน โดยมีผปู ้ ระกอบการบางรายได้ยืนเรื องต่อคณะกรรมการ กทช. เพือให้บริ ษทั ฯ เข้าทําสัญญา IC สําหรับกิจการโทรศัพท์พืนฐานและต่อมาได้ยืนเรื องเพือเรี ยกเก็บค่า IC จากกิจการโทรศัพท์พืนฐานของบริ ษทั ฯ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ เชื อว่าบริ ษทั ฯ ไม่มีหน้าทีทีจะต้องจ่ายค่า IC เนืองจากสัญญาร่ วมการงานฯ สําหรับกิจการโทรศัพท์พืนฐานระหว่างบริ ษทั ฯ กับทีโอที กําหนดให้บริ ษทั ฯ มีหน้าที ลงทุ น จัดหา และติ ดตัง ตลอดจนบํารุ งรั กษาอุ ปกรณ์ ให้แก่ ทีโอที โดยที โอที เป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้ ทังหมดจากลูกค้า และจะแบ่งรายได้ทีได้รับให้บริ ษทั ฯ ตามสัดส่ วนทีระบุไว้ในสัญญาร่ วมการงานฯ และ บริ ษทั ฯ ได้ยนฟ้ ื องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลางเมือวันที 3 สิ งหาคม 2553 เพือขอให้ศาลเพิกถอน คําสังทีออกประกาศอัตราชัวคราวของค่า IC และเมือวันที 26 ธันวาคม 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาํ พิพากษา ให้ยกฟ้ อง ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างอุทธรณ์คาํ พิพากษาของศาลปกครองกลางต่อศาลปกครองสู งสุ ด และเมือวันที 4 กุมภาพันธ์ 2554 ดี แทคได้ยืนคําฟ้ องต่อศาลปกครองกลาง เพือขอให้บริ ษทั ฯ และ ทีโอทีร่วมกันชําระค่าใช้และเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมจํานวน 3.28 พันล้านบาท อย่างไรก็ดี บริ ษทั ฯ เห็นว่าดีแทคไม่มีสิทธิ เรี ยกเก็บค่าตอบแทนการเชื อมต่อโครงข่ายกับบริ ษทั ฯ และคดีน่าจะอยูใ่ นเขตอํานาจ ของศาลยุติธรรม จึงได้ยืนคําร้ องโต้แย้งเขตอํานาจศาลตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี ขาดอํานาจ หน้าทีระหว่างศาล พ.ศ. 2542 ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาทําความเห็นเกียวกับเรื องเขตอํานาจศาลของ ศาลปกครองกลางและศาลแพ่ง ความเสี ยงจากการทําสั ญญาทีเกียวข้ องกับการเข้ าถือหุ้นในกลุ่มฮัทชิ สันและสั ญญา HSPA ระหว่ าง CAT Telecom กับกลุ่มทรู ในวันที 30 ธันวาคม 2553 กลุ่ม ทรู ได้ลงนามในสั ญญาซื อขายหุ ้นกับ กลุ่ มฮัทชิ สัน และในวันที 27 มกราคม 2554 กลุ่มทรู ได้บรรลุขอ้ ตกลงกับ CAT Telecom ทําให้เรี ยลมูฟเป็ นผูใ้ ห้บริ การ 3G+ ได้ทวประเทศ ั ในรู ปแบบเป็ นผูข้ ายต่อบริ การ (reseller) โทรศัพท์เคลือนทีบนเทคโนโลยี HSPA ของ CAT Telecom เป็ น ระยะเวลาประมาณ 14 ปี จนถึงปี 2568 นอกจากนัน บีเอฟเคที หนึ งในบริ ษทั ทีได้มีการซื อในครังนี ได้ทาํ สัญญากับ CAT Telecom เพือให้ CAT Telecom เช่าใช้เครื องและอุปกรณ์โครงข่าย รวมทังให้บริ การดูแล และบํารุ งรั กษาอุ ปกรณ์ โครงข่าย โดยจะมุ่งเน้นการให้บริ การเช่ าและดู แลบํารุ งรั กษาเครื องและอุปกรณ์ โครงข่ายโทรคมนาคมเทคโนโลยี 3G HSPA ให้แก่ CAT Telecom ทัวประเทศ ซึ งต่อมาหน่วยงานภาครัฐ อาทิ สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. สํานักงานตรวจเงินแผ่นดิน และสํานักงานคณะกรรมการป้ องกันและ ปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติ ได้ดาํ เนิ นการตรวจสอบในประเด็นต่าง ๆ เช่น ประเด็นว่าการทําสัญญาดังกล่าว เข้าข่าย พ.ร.บ. ร่ วมทุนฯ และขัดต่อมาตรา 46 แห่ ง พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 หรื อไม่ เป็ นต้น และนอกจากมติของ กทค. ดังทีจะได้กล่าวถึงต่อไปแล้ว ปั จจุบนั หน่วยงานอืน ๆ ยังอยูร่ ะหว่างการ ทําการสอบสวนเรื องนี ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 18


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู เชื อว่าทุกฝ่ ายได้ปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมาย เนื องจากเมือวันที 3 กุมภาพันธ์ 2554 CAT Telecom ได้รายงานไปยังกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร กรณี การตรวจสอบความ ถูกต้องของการดําเนิ นการเข้าทําสัญญาเกี ยวกับการดําเนิ นธุ รกิ จโทรศัพท์เคลื อนทีรู ปแบบใหม่ของ CAT Telecom กับกลุ่มทรู วา่ ได้มีการดําเนินการตามขันตอนของกฎหมายทีเกียวข้องและข้อสังเกตของสํานักงาน อัยการสู งสุ ดแล้ว ดังนัน เมือวันที 11 กุมภาพันธ์ 2554 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารจึงได้ ขอหารื อกับสํานักงานอัยการสู งสุ ดว่าประเด็นข้อกฎหมายตามที CAT Telecom ชี แจงนัน มีความถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลุม และเป็ นไปตามระเบียบของการทําสัญญาแล้วหรื อไม่ อีกทัง ยังมีประเด็นข้อกฎหมายที ควรคํานึงถึงเพิมเติมอีกหรื อไม่ โดยในวันที 8 กรกฎาคม 2554 สํานักงานอัยการสู งสุ ดได้ส่งหนังสื อตอบกลับไป ยังรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร ซึ งขอให้ตรวจสอบการทําสัญญาระหว่าง กลุ่มทรู คือ เรี ยลมูฟ และบีเอฟเคที (ซึ งเป็ นหนึงใน 4 บริ ษทั ทีกลุ่มทรู ได้ซือกิจการมาจากกลุ่มฮัทชิ สันในช่วง ปลายปี 2553) กับ CAT Telecom โดยสํานักงานอัยการสู งสุ ดได้ยืนยันอย่างชัดเจนในหนังสื อดังกล่าวว่า สัญญาระหว่างกลุ่มทรู กบั CAT Telecom ไม่เข้าข่ายทีจะต้องดําเนิ นการตาม พ.ร.บ. ร่ วมทุนฯ แต่อย่างใด และไม่ขดั ต่อมาตรา 46 แห่ง พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 ในขณะเดี ยวกัน สัญญาระหว่าง เรี ยลมูฟกับ CAT Telecom เป็ นสัญญาในรู ปแบบของการขายส่ งบริ การและการขายต่อบริ การ (Wholeseller - Reseller) ทีเป็ นไปตามประกาศของคณะกรรมการ กทช. เรื อง การประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภท การขายส่ งบริ การและบริ การขายต่อบริ การ ซึ งมีผลบังคับใช้ตงแต่ ั วนั ที 29 ธันวาคม 2549 โดยเรี ยลมูฟซึ ง เป็ นผูป้ ระกอบกิ จการโทรคมนาคมขายต่อบริ การโดยการรับซื อบริ การโทรคมนาคมสําเร็ จรู ปเป็ นจํานวน นาทีสําหรับบริ การทางเสี ยง และเป็ นจํานวนเม็กกะไบต์สําหรับบริ การทางข้อมูลของ CAT Telecom ส่ วนหนึ ง เพือมาขายต่อให้แก่ลูกค้าอีกทอดหนีง โดยไม่ได้เข้าใช้ทรัพย์สินหรื อสิ ทธิ ของ CAT Telecom แต่ประการใด ทังนี คลืนความถีและโครงข่ายโทรศัพท์เคลือนทียังคงเป็ นของ CAT Telecom ในขณะทีบีเอฟเคทีเป็ นแต่เพียง ผูใ้ ห้เช่าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทางโทรคมนาคมแก่ CAT Telecom ซึ งเป็ นการดําเนินงานตามปกติของ CAT Telecom ทีอาจจะเช่าทรัพย์สินและอุปกรณ์ จากผูป้ ระกอบการรายอืนตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุของ CAT Telecom ได้อยูแ่ ล้ว นอกจากนี เมือเดือนมิถุนายน 2556 คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตอบข้อหารื อ CAT Telecom ตามเรื องเสร็ จที 774/2556 สรุ ปได้วา่ สัญญาระหว่างกลุ่มทรู กบั CAT Telecom ไม่เข้าข่ายทีจะต้องดําเนิ นการ ตาม พ.ร.บ. ร่ วมทุนฯ แต่อย่างใด เช่นเดียวกันสําหรับกรณี ทีดีแทคได้ยืนฟ้ อง CAT Telecom และ คณะกรรมการ CAT Telecom ต่อ ศาลปกครองกลาง เมือเดือนเมษายน 2554 กล่าวอ้างว่า คณะกรรมการ CAT Telecom มีมติให้ CAT Telecom เข้าทําสัญญาดําเนิ นธุ รกิจโทรศัพท์เคลือนทีรู ปแบบใหม่บนเทคโนโลยี 3G HSPA ของ CAT Telecom กับ กลุ่มทรู โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และ CAT Telecom ละเลยต่อหน้าทีตามทีกฎหมายกําหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ และเข้าทําสัญญา HSPA โดยไม่เป็ นไปตามกฎหมาย ขอให้ศาลปกครองพิพากษาให้เพิกถอนมติคณะกรรมการ CAT Telecom และขอให้ระงับการปฏิ บตั ิตามโครงการดังกล่าวทังหมด นอกจากนี ดี แทคยังได้ยืนคําร้อง ขอให้ศาลมีคาํ สังกําหนดมาตรการหรื อวิธีการเพือบรรเทาทุกข์ชวคราวก่ ั อนพิพากษามาพร้อมกับคําฟ้ อง แต่ ปรากฏว่าศาลมีคาํ สังไม่รับคําฟ้ องในข้อหาที 2 ซึ งดีแทคกล่าวอ้างว่า CAT Telecom ละเลยต่อหน้าทีตามที ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 19


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กฎหมายกําหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ ซึ งเป็ นข้อหาทีเกียวข้องกับคําร้องขอคุม้ ครองชัวคราวไว้พิจารณา ดังนัน ศาล จึงไม่รับคําร้องขอคุม้ ครองชัวคราวไว้พิจารณาด้วยเช่นเดียวกัน ทังนี เนื องจากผลของคดี ดงั กล่าวอาจมีผลกระทบ ต่อกลุ่มทรู ในฐานะคู่สัญญาของ CAT Telecom ในโครงการดังกล่าว กลุ่มทรู โดยบีเอฟเคทีและเรี ยลมูฟ จึง ได้ร้องสอดเข้าไปเป็ นคู่ความในคดีนนั แต่ต่อมาดีแทคได้ยืนคําร้องขอถอนคําฟ้ อง และเมือวันที 28 ตุลาคม 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาํ สังอนุ ญาตให้ถอนคําฟ้ องและจําหน่ ายคดีดงั กล่าวออกจากสารบบความแล้ว เนื องจาก เห็นว่าเป็ นเรื องเกียวกับการปกป้ องประโยชน์ของผูฟ้ ้ องคดีในทางธุ รกิจ จึงไม่เป็ นคดีทีเกียวกับการคุม้ ครอง ประโยชน์สาธารณะ หรื อคดีทีพิจารณาต่อไปจะเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวม เมือวันที 7 ตุลาคม 2554 คณะกรรมการ กสทช. โดยเลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อถึงบริ ษทั ฯ และ เรี ยลมูฟแจ้งมติและคําสังของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. ทีสังให้แก้ไขในส่ วน ทีเกียวกับการทําความตกลงเพือควบรวมกิจการโดยการเข้าซื อหุ ้นของกลุ่มฮัทชิ สันให้เป็ นไปตามประกาศ คณะกรรมการ กทช. เรื อง หลักเกณฑ์และวิธีการควบรวมกิจการและการถือหุ ้นไขว้ในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และในส่ วนทีเกียวกับการทําความตกลงกับ CAT Telecom เกี ยวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ระบบ CDMA และระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื อง มาตรการเพือป้ องกันมิให้มี การกระทําอันเป็ นการผูกขาดหรื อก่อให้เกิ ดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 แต่อย่างไรก็ดี บริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟ เห็ นว่ามติและคําสัง ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. ดังกล่าว ไม่มีความชัดเจนและไม่ชอบด้วย กฎหมาย บริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟจึงได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครอง กลาง เมื อวัน ที 2 ธัน วาคม 2554 เพื อขอให้เ พิ ก ถอนมติ แ ละคํา สั งดัง กล่ า ว ขณะนี คดี อ ยู่ร ะหว่า ง การพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทังนี ปั จจุบนั มีหน่วยงานต่าง ๆ เช่น คณะกรรมาธิ การศึกษาตรวจสอบเรื องการทุจริ ตและเสริ มสร้าง ธรรมาภิบาลของวุฒิสภา ป.ป.ช. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร และกระทรวงการคลัง เป็ นต้น ดําเนิ นการตรวจสอบสัญญาดังกล่าว โดยเมือวันที 26 มีนาคม 2555 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื อสารได้แถลงผลของคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริ งกรณี สัญญาโครงการโทรศัพท์เคลือนที 3G บน เทคโนโลยี HSPA ระหว่าง CAT Telecom กับบริ ษทั ฯ ซึงได้ขอ้ สรุ ปใน 5 ประเด็นหลัก ดังนี 1. เห็นว่า มีการเตรี ยมการวางแผนและดําเนินการโดยผูเ้ กียวข้องอย่างมีนยั สําคัญเกียวกับการเข้าซื อ กิจการ CDMA ในส่ วนกลางจากกลุ่มฮัทชิ สัน โดยให้ CAT Telecom ทําการเจรจาต่อรองราคา เข้าซื อกิจการดังกล่าวภายในวงเงินไม่เกิน 4,000 ล้านบาท ทําให้การเจรจาเข้าซื อกิจการดังกล่าว ของ CAT Telecom ไม่ประสบผลสําเร็ จ 2. เห็ นว่า CAT Telecom ไม่ได้ดาํ เนิ นการในเรื องวิเคราะห์ ภาระทางการเงิ น และวิเคราะห์ถึง ผลประโยชน์ของรัฐก่อน CAT Telecom ยกเลิกสัญญาเกียวกับโครงการ CDMA ทัง 2 ฉบับ

ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 20


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

3. เห็นว่า การเสนอโครงการต่อคณะรัฐมนตรี เป็ นการกระทําทีมีการวางแผนร่ วมกันโดยกําหนด บุคคลทีจะดําเนิ นการและวิธีการสร้ างความชอบธรรมในการเสนอเรื อง โดยทําหลักฐานเท็จ และดําเนิ นการโดยเร่ งรี บ ทัง ๆ ทีไม่เข้าข่ายเป็ นกรณี เรื องเร่ งด่วน อันเป็ นการกระทําทีเข้าข่าย ผิดระเบียบและกฎหมายของทางราชการ 4. เห็นว่า การยกเลิกสัญญาเกียวกับโครงการ CDMA ทัง 2 ฉบับ CAT Telecom ยังไม่ได้ขอความชัดเจน จาก สองหน่ วยงาน คือ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ และสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาเสี ยก่อน 5. เห็นว่า CAT Telecom ได้ละเลยขันตอนในการปฏิบตั ิตามบทบัญญัติ ตามมาตรา 12 (2) และมาตรา 13 ของพระราชบัญญัติพฒั นาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ พ.ศ. 2521 และข้อ 5 ของระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2550 อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู เห็นว่าการตรวจสอบดังกล่าวเป็ นเพียงการตรวจสอบเบืองต้นของคณะกรรมการ สอบข้อเท็จจริ งภายในหน่วยงานเท่านันและผลการตรวจสอบในปั จจุบนั ก็ยงั ไม่เป็ นทียุติ อีกทังยังเป็ นการ ตรวจสอบเกียวกับความผิดของเจ้าหน้าทีของรัฐ ซึ งไม่มีความเกียวข้องกับบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ทีเป็ นคู่สัญญา กับ CAT Telecom แต่อย่างใด โดยกลุ่มทรู เชื อว่าทุกฝ่ ายได้ปฏิบตั ิถูกต้องตามกฎหมายและได้รับการตรวจสอบ จากสํานักงานอัยการสู งสุ ดซึ งเป็ นหน่วยงานทีมีอาํ นาจหน้าทีโดยตรงแล้ว การตรวจสอบดังกล่าวจึงไม่น่าจะ ส่ งผลกระทบในทางลบต่อการดําเนินธุ รกิจ 3G ของกลุ่มทรู โมบาย เมือวันที 25 มิถุนายน 2555 กรมสอบสวนคดีพิเศษได้มีจดหมายถึงบริ ษทั ฮัทชิสัน มัลติมีเดีย เซอร์ วิส ประเทศไทย จํากัด บริ ษทั ฮัทชิสันเทเลคอมมิวนิ เคชันส์ (ประเทศไทย) จํากัด ฮัทชิ สัน ซี เอที และบีเอฟเคที ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยทีกลุ่มทรู ซือหุ ้นมาจากกลุ่มฮัทชิ สัน โดยอ้างเหตุถึงการทีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื อสารมีหนังสื อถึงกรมสอบสวนคดีพิ เศษให้พิจารณาการดําเนิ นธุ รกิ จตามโครงการ โทรศัพท์เคลือนทีในระบบ HSPA (3G) ระหว่าง CAT Telecom กับกลุ่มทรู และขอให้บริ ษทั ย่อยส่ งมอบ สําเนาเอกสารต่าง ๆ (ซึ งรวมถึ งเอกสารเกี ยวกับการซื อขายกิจการบริ ษทั ย่อยทังสามบริ ษทั ดังกล่าวที CAT Telecom ได้ลงนามในฐานะผูซ้ ื อ) ให้คณะทํางานสื บสวนใช้เป็ นหลักฐานประกอบการพิจารณา ซึ งตังแต่ วันที 4 กรกฎาคม 2555 บริ ษทั ย่อยได้ทยอยนําส่ งสําเนาเอกสารทีมีพร้อมทังจดหมายชี แจงให้แก่กรมสอบสวน คดีพิเศษ ทังนี กลุ่มทรู เข้าใจว่าทางกรมสอบสวนคดีพิเศษกําลังดําเนินการแต่งตังคณะทํางานชุ ดใหม่ และอยู่ ระหว่างการตรวจสอบข้อผูกพันที CAT Telecom ได้เคยตกลงเกียวกับการซื อขายกิจการของบริ ษทั ย่อยทังสี กับกลุ่มฮัทชิ สันก่อนทีกลุ่มทรู จะได้ตกลงซื อบริ ษทั ทังสี มาจากกลุ่มฮัทชิ สันเมือเดือนธันวาคม 2553 ซึ งกลุ่มทรู ได้ตรวจสอบกับทางกลุ่มฮัทชิสันซึ งเป็ นผูข้ าย และได้รับการแจ้งว่าข้อผูกพันเดิมระหว่าง CAT Telecom กับ กลุ่มฮัทชิ สันได้สินอายุไปแล้วก่อนทีกลุ่มฮัทชิ สันจะได้ลงนามขายกิจการบริ ษทั ย่อยทังสี บริ ษทั ให้แก่กลุ่มทรู ในขณะนี กลุ่ มทรู เห็ นว่าการตรวจสอบดังกล่ าวไม่น่าจะส่ งผลกระทบในทางลบต่อการดําเนิ นธุ รกิ จการ ให้บริ การ 3G ของกลุ่มทรู โมบาย

ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 21


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เมือวันที 20 มิถุนายน 2555 ทีประชุม กทค. ครังที 23/2555 ได้พิจารณารายงานผลการศึกษา วิเคราะห์ และเสนอความเห็นของคณะอนุ กรรมการฯ กรณี การทําสัญญาระหว่าง CAT Telecom กับกลุ่มบริ ษทั ใน กลุ่มทรู ทีเกียวข้องกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีรู ปแบบใหม่ บนคลืนความถี 800 MHz ประกอบข้อสัญญา ข้อกฎหมาย และหลักเกณฑ์ทีเกียวข้องแล้ว มีความเห็นสอดคล้องกับรายงานผลการศึกษาของคณะอนุ กรรมการฯ ดังกล่าว ในวันที 28 มิถุนายน 2555 สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. จึงได้มีหนังสื อถึง CAT Telecom เกียวกับ เรื องดังกล่าว โดยสรุ ปมติของ กทค. ได้ดงั นี 1. การทําสัญญาระหว่าง CAT Telecom กับกลุ่มบริ ษทั ในกลุ่มทรู เป็ น “สัญญาทางปกครอง” ทีการ กํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมต้องคํานึ งถึง “ประโยชน์สาธารณะ” เป็ นสําคัญ จึงมีคาํ สังให้ CAT Telecom ในฐานะผูไ้ ด้รับจัดสรรคลืนความถีปฏิบตั ิให้ถูกต้องตาม มาตรา 46 แห่ ง พ.ร.บ. องค์กร จัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 โดยให้มีการแก้ไขข้อสัญญาทีเกียวข้อง 6 ประเด็น ดังนี และให้ CAT Telecom รายงานผลการดําเนินการต่อ กทค. ภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีได้รับคําสัง 1.1 CAT Telecom ต้องสามารถนําคลืนความถีย่าน 800 MHz (Band V) ไปใช้กบั เครื องและอุปกรณ์ ของตนเองหรื อของบริ ษทั อืนได้ 1.2 CAT Telecom ต้องสามารถควบคุมดูแลและบริ หารจัดการผ่าน Network Operation Center (NOC) อย่างสมบูรณ์ และ CAT Telecom ต้องสามารถเข้าไปในสถานทีติดตังเครื องและ อุปกรณ์ของบีเอฟเคทีได้ 1.3 CAT Telecom ต้องสามารถเข้าถึงข้อมูลการใช้งาน (Call Detail Record หรื อ CDR) อย่าง สมบูรณ์ 1.4 CAT Telecom ต้องสามารถบริ หารจัดการคลืนความถีของ CAT Telecom ผ่านคณะกรรมการ ควบคุมการปฏิบตั ิงาน (Operation Supervision Committee) อย่างชัดเจน 1.5 CAT Telecom ต้องเป็ นผูค้ วบคุมบริ หารคลืนความถีด้วยตนเองผ่านกระบวนการสร้างและ จัดหาความจุของบีเอฟเคทีในเรื อง การวางแผนและบริ หารจัดการเกียวกับคลืนความถี รวมทัง การขยายและดูแลโครงข่ายอย่างสมบูรณ์ และให้แก้ไขนิ ยามคําว่า “ความจุตามสัญญา” ใน ข้อ 1 ของสัญญาขายส่ งบริ การฯ ให้เป็ นไปตามกลไกตลาด 1.6 CAT Telecom ต้องสามารถบริ หารจัดการคลืนความถีของ CAT Telecom ผ่านการเจรจา การให้บริ การข้ามโครงข่ายภายในประเทศ (Inbound domestic roaming) และการเชื อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมกับผูป้ ระกอบการรายอืน เมือวันที 4 ธันวาคม 2555 บีเอฟเคทีและเรี ยลมูฟซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู และ CAT Telecom ได้ร่วมกันลงนามบันทึ กความเข้าใจ จํานวน 2 ฉบับ โดยมี ใจความโดยสรุ ปว่า 1.) บีเอฟเคทีและ CAT Telecom ตกลงเห็นชอบเงือนไขของสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์วิทยุคมนาคมฯ ทีจะดําเนิ นการแก้ไขตาม คําสัง กทค. และ 2.) เรี ยลมูฟ และ CAT Telecom ตกลงเห็นชอบเงื อนไขสัญญาขายส่ งบริ การฯ ทีจะดําเนิ นการ ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 22


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

แก้ไขตามคําสัง กทค. โดยในประเด็นอืน ๆ คูส่ ัญญาจะดําเนินการเจรจาแยกต่างหากเพือให้ได้ขอ้ ยุติโดยเร็ ว ทังนี คู่สัญญาจะดําเนินการแก้ไขสัญญาตามเงือนไขทีเห็นชอบร่ วมกัน และ/หรื อ ตามที กทค. จะพิจารณาให้ ดําเนินการแก้ไข ภายหลังจากทีได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานทีเกียวข้องแล้ว ซึ งบีเอฟเคทีและเรี ยลมูฟ ได้มีการนําส่ งบันทึกความเข้าใจทัง 2 ฉบับดังกล่าวต่อ กทค. แล้วในวันเดียวกัน โดยกลุ่มทรู ประเมินว่าการ ปรับแก้สัญญาดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบในทางลบอย่างมีนยั สําคัญต่อธุ รกิจ 3G ทีกลุ่มทรู โมบายดําเนิ นอยู่ ในปั จจุบนั โดยเหตุผลดังต่อไปนี (1) ปัจจุบนั CAT Telecom เป็ นผูบ้ ริ หารจัดการคลืนความถีย่าน 800 MHz (Band V) ด้วยตนเองได้ อยูแ่ ล้ว ประเด็นการแก้ไขตามข้อ 1.1 ข้างต้น เพียงแต่แก้ถอ้ ยคําในสัญญาให้ชดั เจนยิงขึน อย่างไรก็ตาม การแก้ไขถ้อยคําในสัญญาให้ชดั เจนยิงขึนนี อาจทําให้เกิดการแข่งขันทีสู งขึนได้ เนื องจากเป็ น ทีเข้าใจของทุกฝ่ ายแล้วว่า CAT Telecom สามารถดําเนิ นการดังกล่าวได้ แต่อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู เชือมันว่าแผนธุ รกิจและคุณภาพของบริ การของกลุ่มบริ ษทั จะสามารถรักษาลูกค้าไว้ได้ (2) ปั จจุบนั CAT Telecom สามารถควบคุมดูแลและบริ หารจัดการผ่าน Network Operation Center (NOC) ทีมีการนําไปติดตังให้ CAT Telecom แล้วอย่างน้อย 3 ชุ ด อย่างสมบูรณ์ และสามารถ เข้า ไปในสถานที ติ ดตังเครื องและอุ ปกรณ์ ของบี เอฟเคที ได้อยู่แล้ว ประเด็ นการแก้ไขตาม ข้อ 1.2 ข้างต้น จึงมิได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการดําเนินการของบีเอฟเคทีแต่อย่างใด (3) ปัจจุบนั CAT Telecom สามารถเข้าถึงข้อมูลการใช้งานของลูกค้าได้อยูแ่ ล้ว ประเด็นการแก้ไข ตามข้อ 1.3 ข้างต้น จึงมิได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการดําเนินการของบีเอฟเคทีแต่อย่างใด (4) ปั จจุบนั CAT Telecom เป็ นผูบ้ ริ หารจัดการคลืนความถีของ CAT Telecom อยูแ่ ล้ว ประเด็น การแก้ไขตามข้อ 1.4 ข้างต้น เป็ นเพียงแต่เขียนระบุในสัญญาให้ชดั เจนยิงขึ นว่าจะต้องผ่าน คณะกรรมการควบคุมการปฏิบตั ิงาน (Operation Supervision Committee) โดยคณะกรรมการ ดังกล่าวก็อยูภ่ ายใต้การดําเนิ นงานของ CAT Telecom จึงมิได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการ ดําเนินการของบีเอฟเคทีแต่อย่างใด (5) ปัจจุบนั CAT Telecom เป็ นผูค้ วบคุมบริ หารคลืนความถีด้วยตนเองผ่านกระบวนการสร้างและ จัดหาความจุของบีเอฟเคที ในเรื องการวางแผนและบริ หารจัด การเกียวกับคลืนความถี รวมทัง การขยายและดูแลโครงข่ายอยูแ่ ล้ว ประเด็นการแก้ไขตามข้อ 1.5 ข้างต้น จึงเพียงแต่เขียนระบุ ในสัญญาให้ชดั เจนยิงขึนเท่านัน และมิได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการดําเนิ นการของบีเอฟเคที แต่อย่างใด สําหรับประเด็นเงือนไขการรับซื อความจุโครงข่ายตามสัญญาขายส่ งบริ การฯ นัน ได้มีการประชุมในรายละเอียดของการแก้ไขสัญญาบางส่ วนแล้ว ซึ งอาจมีการแก้ไขนิ ยามคําว่า “ความจุตามสัญญา” ในข้อ 1 ของสัญญาขายส่ งบริ การฯ จากเดิมทีกําหนดไว้ไม่เกินร้อยละ 80 ของความจุเป้ าหมายแรกและของความจุขยาย เปลียนเป็ นให้เป็ นไปตามกลไกตลาด เพือให้เกิด ความชัดเจนมากขึนว่า ผูใ้ ห้บริ การรายอืนก็สามารถขอซื อความจุโครงข่ายของ CAT Telecom ได้ โดยไม่กระทบสิ ทธิ ในการรับซื อความจุโครงข่ายจาก CAT Telecom โดยเรี ยลมูฟ เนืองจาก ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 23


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

CAT Telecom มีสิทธิ ทีจะสังผลิตความจุโครงข่ายเพิมขึนเพือรองรับความต้องการของผูใ้ ห้บริ การ ทุกรายได้ตลอดอยู่แล้ว การเจรจาแก้ไขสัญญาตามแนวทางดังกล่าวก็เพือให้เกิ ดความชัดเจน มากขึนตามมติของ กทค. ดังกล่าวเท่านัน ทังนี ในปั จจุบนั เรี ยลมูฟและ CAT Telecom ได้มีขอ้ ผูกพันในการขายส่ งและรับซื อความจุ ขยายตามสัญญาขายส่ งบริ การฯ ครอบคลุมเป้ าหมายการให้บริ การตามแผนธุ รกิจไว้แล้ว การแก้ไข สัญญาในส่ วนดังกล่าวจึงไม่มีผลกระทบต่อการใช้งานของลูกค้าเนืองจากสามารถให้บริ การได้ ตามปกติ และไม่ได้ทาํ ให้กลุ่มทรู มีขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง ตลอดจนไม่มีผลกระทบ ต่อการขยายเลขหมายในอนาคต รวมไปถึ งไม่มีผลกระทบต่อแผนการดําเนิ นงานในอนาคต แต่อย่างใด (6) ปั จจุบนั CAT Telecom สามารถบริ หารจัดการคลืนความถีของ CAT Telecom ผ่านการเจรจา การให้บริ การข้ามโครงข่ายภายในประเทศ (Inbound domestic roaming) และการเชือมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมกับผูป้ ระกอบการรายอืนได้อยูแ่ ล้ว ประเด็นการแก้ไขตามข้อ 1.6 ข้างต้น จึงเป็ นเพียงการเขียนระบุในสัญญาให้ชดั เจนยิงขึนเท่านัน ซึ งการเขียนระบุในสัญญาให้ชดั เจน ยิงขึนนี อาจทํา ให้เกิ ดการแข่ ง ขันที สู ง ขึ นได้ เนื องจากเป็ นที เข้าใจของทุ ก ฝ่ ายแล้วว่า CAT Telecom สามารถดําเนิ นการดังกล่ าวได้ แต่อย่างไรก็ตาม กลุ่มทรู เชื อมันว่าแผนธุ รกิ จและ คุณภาพของบริ การของกลุ่มทรู จะสามารถรักษาลูกค้าไว้ได้ ทังนี ต่อมาเมือวันที 23 เมษายน 2556 สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. ได้มีหนังสื อถึง CAT Telecom เพือแจ้งมติทีประชุม กทค. ในการประชุมครังที 12/2556 เมือวันที 3 เมษายน 2556 ว่า กทค. ได้พิจารณาเงือนไขสัญญาทีจะดําเนิ นการแก้ไขตามบันทึกความเข้าใจแล้ว โดยมีความเห็น ให้ปรับปรุ งเงื อนไขดังกล่าวเพียง 2 ข้อเท่านัน และได้สังให้ CAT Telecom จัดส่ งร่ างสัญญา เช่ าเครื องและอุปกรณ์ วิทยุคมนาคมฯ ฉบับแก้ไข และร่ างสัญญาขายส่ งบริ การฯ ฉบับแก้ไข แทนบันทึกความเข้าใจ ซึ งต่อมาเมือวันที 16 กรกฎาคม 2556 ทังสองฝ่ ายได้ร่วมกันจัดทําร่ าง สัญญาแก้ไขทังสองฉบับและจัดส่ งให้แก่ กทค. พิจารณา โดย กทค. ได้มีมติเห็นชอบร่ างแก้ไข สัญญาทังสองฉบับเมือวันที 16 ตุลาคม 2556 ว่าสอดคล้องกับมาตรา 46 แห่ ง พ.ร.บ. องค์กร จัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 และแจ้งให้ CAT Telecom ดําเนิ นการลงนามในสัญญาแก้ไข สัญญาทังสองฉบับซึ ง CAT Telecom และคู่สัญญาได้ลงนามในสัญญาแก้ไขสัญญาทังสองฉบับ และจัดส่ งให้ กทค. เมือวันที 12 ธันวาคม 2556 แล้ว 2. สําหรับประเด็นทีเกียวข้องกับกฎหมายโทรคมนาคมอืน ๆ ทีจะต้องพิจารณาว่า สัญญาในโครงการ 3G HSPA ชอบด้วยกฎหมายหรื อไม่นนั กทค. มีมติวา่ จะไม่มีมติใด ๆ ทีเกียวข้องกับเรื องดังกล่าว ซําอีก ทังนี เพราะว่าคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. (หรื อคณะกรรมการ กสทช. ชุดก่อน) เคยมีมติในเรื องดังกล่าวไว้อยูแ่ ล้ว (ตามมติทีประชุ มครังที 30/2554) ซึ งขณะนี บริ ษทั ฯ และเรี ยลมูฟก็ได้ฟ้องเพิกถอนมติดงั กล่าวแล้ว และระหว่างนี ก็อยู่ในการพิจารณาคดี ของศาลปกครองกลาง ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 24


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

3. ในประเด็นทีว่า บีเอฟเคทีกระทําการฝ่ าฝื นต่อมาตรา 67 แห่ง พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 โดยประกอบกิจการโทรคมนาคมโดยไม่ได้รับใบอนุ ญาตให้ประกอบกิจการหรื อไม่ นัน กทค. ได้มอบหมายให้คณะทํางานของสํานักงานคณะกรรมการ กสทช. ตรวจสอบข้อเท็จจริ ง ว่า บีเอฟเคทีกระทําการฝ่ าฝื นกฎหมายหรื อไม่และรายงานผลการตรวจสอบต่อ กทค. ซึ งเมือ วันที 26 กรกฎาคม 2555 ผูแ้ ทนบีเอฟเคที ได้เข้าชี แจงข้อเท็จจริ งกับคณะทํางานเพือชี แจงว่า บีเอฟเคทีไม่ได้กระทําการฝ่ าฝื นกฎหมายใด ๆ ต่อมาเมือวันที 5 เมษายน 2556 ในการประชุม กทค. ครังที 13/2556 ทีประชุม กทค. ได้พิจารณา ผลการตรวจสอบของคณะทํางานของสํานักงานคณะกรรมการ กสทช. โดยภายหลังจากที กทค. ได้พิจารณารายงานของคณะทํางาน ทีประชุม กทค. มีมติวา่ บีเอฟเคทีไม่ได้กระทําการฝ่ าฝื นต่อ กฎหมายเกียวกับการประกอบกิจการโทรคมนาคมโดยไม่ได้รับอนุ ญาตให้ประกอบกิจการ หรื อ โดยไม่ได้รับใบอนุญาตให้ใช้คลืนความถีอันเป็ นความผิดตามมาตรา 67 แห่ ง พ.ร.บ. การประกอบ กิจการโทรคมนาคมแต่อย่างใด เนืองจากบีเอฟเคทีนาํ อุปกรณ์โทรคมนาคมให้ กสท. เช่าแต่เพียง ผูเ้ ดียว ดังนัน การกระทําของบีเอฟเคทีไม่ถือเป็ นการประกอบกิจการโทรคมนาคมตามมาตรา 4 แห่ ง พ.ร.บ.การประกอบกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ซึ งจะต้องเป็ นผูใ้ ห้บริ การด้านกิ จการ โทรคมนาคมแก่บุคคลอืนทัวไป ประกอบกับไม่ปรากฏพฤติการณ์และพยานหลักฐานเพียงพอทีจะ เชื อได้วา่ บีเอฟเคทีมีการกระทําทีฝ่ าฝื นมาตรา 67 แต่อย่างใด ทําให้บีเอฟเคที ยังคงสามารถให้ CAT Telecom เช่าอุปกรณ์ได้ต่อไป อย่างไรก็ดี กทค. เห็นว่า การให้เช่าเครื องและอุปกรณ์วิทยุ คมนาคมเพือให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีซึ งสามารถเพิมจํานวนเครื องและอุปกรณ์โทรคมนาคม ทีให้เช่าเป็ นจํานวนมาก จนสามารถรวมเป็ นโครงข่ายโทรคมนาคมซึ งทําให้มีปัจจัยทีพร้ อมจะ ให้บริ การแก่บุคคลอืนทัวไปได้นนั กทค. มีความจําเป็ นต้องเข้ามากํากับดูแลบริ ษทั ทีให้เช่าเครื อง และอุปกรณ์โทรคมนาคมดังกล่าว เพราะหากมีเหตุขดั ข้องหรื อมีปัญหาเกิดขึนกับอุปกรณ์โทรคมนาคม ทีให้เช่ าทีเกี ยวข้องกับระบบการติดต่อสื อสารของประเทศ อาจก่อให้เกิ ดผลกระทบต่อประโยชน์ สาธารณะ การแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็ นธรรม รวมถึ งอาจก่อให้เกิ ดผลกระทบต่อผูบ้ ริ โภคหรื อ ผูใ้ ช้บริ การ ดังนัน กทค. จึงมีมติมอบหมายให้ สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. เร่ งดําเนิ นการยก ร่ างหลักเกณฑ์เพือให้การดําเนินกิจการการให้เช่าเครื องและอุปกรณ์วิทยุคมนาคมเพือให้บริ การ โทรศัพท์เคลือนทีในลักษณะดังกล่าวของบุคคลใด ๆ ต้องตกอยูภ่ ายใต้การกํากับดูแลของ กทค. และให้เสนอร่ างดังกล่าวต่อทีประชุม กทค. เพือพิจารณาภายใน 30 วันนับแต่มีมติ ทังนี หากประกาศนี มีผลใช้บงั คับเพือกํากับดูแลการดําเนิ นกิ จการการให้เช่ าเครื องและอุปกรณ์ วิทยุคมนาคม กลุ่มทรู เชือว่า บีเอฟเคทีไม่อยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ที กทค. กําหนด เนื องจากบีเอฟเคที ให้ CAT Telecom เช่าอุปกรณ์โทรคมนาคมเพียงบางส่ วนของโครงข่ายโทรคมนาคมเท่านัน มิได้ให้ CAT Telecom เช่ าอุ ปกรณ์ โทรคมนาคมทุกประเภททีประกอบขึ นเป็ นโครงข่าย อย่างไรก็ดี หากประกาศหลักเกณฑ์ดงั กล่าวมีผลบังคับกับบีเอฟเคทีดว้ ย กรณี นีอาจส่ งผลกระทบต่อบีเอฟเค ทีให้ตอ้ งรับภาระค่าธรรมเนียมเพิมขึน ซึ ง ณ ปั จจุบนั ยังไม่เป็ นทีชัดเจน และกลุ่มทรู ไม่สามารถ คาดการณ์ได้วา่ ภาระค่าธรรมเนียมจะเป็ นจํานวนเท่าใด ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 25


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความเสี ยงทีสื บเนืองจากสั ญญา HSPA เนืองจาก CAT Telecom จะต้องดําเนิ นการตามขันตอนทีเกียวข้องกับการแก้ไขสัญญา เช่น การส่ ง ร่ างสัญญาแก้ไขให้สาํ นักงานอัยการสู งสุ ด และการเสนอโครงการ 3G HSPA ต่อคณะรัฐมนตรี เพือขออนุ มตั ิ ดังนัน ในระหว่างที CAT Telecom ยังไม่ได้รับอนุ มตั ิงบประมาณทีเกียวกับโครงการ 3G HSPA CAT Telecom ปฏิเสธทีจะดําเนิ นการชําระหนี หรื อรับชําระหนีใด ๆ อันอาจเกียวเนื องกับสัญญา HSPA ทําให้ CAT Telecom ไม่สามารถชําระเงิ นหรื อรับชําระเงินคืนเพือระงับหนี ทีมีกบั บีเอฟเคที หรื อเรี ยลมูฟ แม้จะเป็ นหนี ทีเกิ ดขึน ระหว่าง CAT Telecom กับบริ ษทั ย่อยอืนของกลุ่มทรู หรื อผูป้ ระกอบการรายอืน เช่น การชําระหรื อรับชําระ ค่าเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมทีเกิดขึนระหว่างโครงข่ายทรู มูฟ หรื อของผูป้ ระกอบการรายอืน กับโครงข่าย 3G HSPA ของ CAT Telecom ทังนี ทีผ่านมาบริ ษทั ย่อยของกลุ่มทรู ได้แสดงเจตนาชัดแจ้งทีจะปฏิบตั ิการชําระหนี หรื อรับชําระหนีตามทีผูกพันในสัญญา โดยเมือวันที 8 ตุลาคม 2556 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบการดําเนิน โครงการ 3G HSPA และได้อนุ มตั ิงบประมาณในการลงทุนโครงข่าย 3G HSPA รวมทังงบประมาณทีเกียวข้อง กับการชําระค่าเช่าและค่าใช้จ่ายอืน ๆ ตามสัญญา HSPA ซึ งกลุ่มทรู และ CAT Telecom อยูร่ ะหว่างการตรวจสอบ ความถูกต้องของหนีทีเกิดขึนก่อนทีทังสองฝ่ ายจะปฏิบตั ิการชําระหนีต่อกัน ทังนี ในช่วงก่อน CAT Telecom ได้รับอนุมตั ิงบประมาณ CAT Telecom อาจต้องชําระดอกเบียที เกิดจากการชําระค่าเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมล่าช้าให้แก่ผปู้ ระกอบการรายอืน และมีความเสี ยงที CAT Telecom จะเรี ยกร้องดอกเบียทีเกิดจากการชําระค่าเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมล่าช้าดังกล่าวจากเรี ยลมูฟ ซึ งเป็ นผูข้ ายต่อบริ การ (Reseller) ของ CAT Telecom ทังนี ภาระดอกเบียดังกล่าวไม่สามารถคํานวณตัวเลขที แน่นอนได้เนื องจากเป็ นภาระดอกเบียทีเกิดขึนตามสัญญาเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมซึ ง CAT Telecom ได้ เข้าทํากับผูป้ ระกอบการรายอืนเอง และไม่สามารถคาดหมายได้วา่ CAT Telecom จะดําเนิ นการจ่ายค่าเชื อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมต่อผูป้ ระกอบการอืนเมือใด นอกจากนี ภายหลังจากคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบการดําเนิ นโครงการ 3G HSPA CAT Telecom ได้ทาํ การเรี ยกร้ องค่าขายส่ งบริ การจากเรี ยลมูฟในช่ วงระหว่างที ยังไม่ได้รับมีมติ เห็ นชอบย้อนหลังตังแต่ วันที 28 กรกฏาคม 2554 เป็ นต้นมา ซึ งเรี ยลมูฟได้ปฏิเสธการชําระเงินดังกล่าวไว้พลางก่อน เนื องจากกําลัง อยูใ่ นระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องของจํานวนค่าขายส่ งบริ การ กรณี จึงมีความเสี ยงที CAT Telecom อาจเรี ยกดอกเบียผิดนัดจากการชําระค่าขายส่ งล่าช้า ความเสี ยงจากการทีกลุ่มทรู ต้องแข่ งขันกับทีโอทีและ CAT Telecom ซึ งเป็ นคู่สัญญาร่ วมการงานฯ และ คู่สัญญาให้ ดําเนินการฯ ซึงอาจนําไปสู่ ข้อพิพาทต่ าง ๆ ทีอาจส่ งผลกระทบต่ อการดําเนินธุรกิจของกลุ่มทรู บริ ษทั ฯ และทรู มูฟได้ดาํ เนิ นกิ จการภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ และ/หรื อ สัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ กับทีโอที และ/หรื อ CAT Telecom แล้วแต่กรณี ซึ งแม้สัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ กับ CAT Telecom ได้สินสุ ด ลงแล้วตังแต่วนั ที 15 กันยายน 2556 แต่ ทรู มูฟ ยังคงมีหน้าทีให้บริ การตามประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ ประกอบกับ คําสัง คสช. จนถึงวันที 17 กรกฎาคม 2558 โดยความเห็นทีแตกต่างกันของผูป้ ระกอบกิจการ ในกลุ่มทรู กบั ทีโอที และ CAT Telecom ทังในประเด็นการตีความข้อกฎหมาย และข้อสัญญาร่ วมการงานฯ และ/หรื อ สัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ รวมทังประกาศ กฎเกณฑ์ และข้อบังคับต่าง ๆ โดยคณะกรรมการ กสทช. อาจมีผลต่อความสามารถในการดําเนินธุ รกิจของผูป้ ระกอบกิจการซึ งเป็ นบริ ษทั ในกลุ่มทรู และมีความเสี ยง ทีสัญญาร่ วมการงานฯ อาจถูกยกเลิก ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 26


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

อย่างไรก็ดีในกรณี ของสัญญาร่ วมการงานฯ ที บริ ษทั ฯ ทําหน้าทีจัดสร้ างโครงข่ายพืนฐานให้แก่ ทีโอที เพือให้บริ การโทรศัพท์พืนฐาน ที โอทีตอ้ งนําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการเป็ นผูช้ ี ขาดก่ อน ดําเนินการยกเลิกสัญญา ซึ งทีโอทีอาจจะยกเลิกสัญญาร่ วมการงานฯ ได้เฉพาะในกรณี ทีบริ ษทั ฯ ทําผิดกฎหมาย หรื อบริ ษทั ฯ ถูกศาลมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดในคดีลม้ ละลาย หรื อบริ ษทั ฯ จงใจผิดสัญญาในส่ วนสาระสําคัญ อย่างต่อเนืองเท่านัน ซึ งตามสัญญาทีโอทีเป็ นผูจ้ ดั เก็บรายได้จากลูกค้าในโครงข่ายทังหมด และแบ่งส่ วนแบ่ง รายได้ให้บริ ษทั ฯ ตามสัดส่ วนทีระบุไว้ในสัญญาร่ วมการงานฯ ดังนัน ทีโอทีอาจชะลอการชําระเงิ นให้บริ ษทั ฯ เพือเป็ นการชําระค่าใช้จ่ายใดๆ ทีทีโอทีเชื อว่าบริ ษทั ฯ ติดค้าง (แต่จนถึงขณะนี ก็ยงั ไม่เคยมีกรณี ดงั กล่าวเกิดขึน) ทําให้มีความเป็ นไปได้นอ้ ยมากทีบริ ษทั ฯ จะผิดสัญญาในส่ วนสาระสําคัญอันเป็ นเหตุให้ทีโอทีบอกเลิกสัญญา ในขณะทีทรู มูฟ อาจมีความเสี ยงต่อความสามารถในการดําเนิ นธุ รกิจ เช่น ภาระค่าใช้จ่ายทีเกิดขึน จากการใช้เครื องและอุปกรณ์ตามสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ เพือให้บริ การในช่ วงประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ และคําสัง คสช. ซึง CAT Telecom เห็นว่าตามประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ ทรู มูฟ ต้องชําระค่าใช้เครื องและ อุปกรณ์ที ทรู มูฟ ใช้เพือให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีบนคลืน 1800 MHz ในช่วงเวลาดังกล่าว ให้ CAT Telecom แต่ ทรู มูฟ เห็นว่ายังไม่มีความชัดเจนและยังไม่เป็ นทียุติวา่ ทรู มูฟ มีหน้าทีในการรับภาระค่าใช้จ่ายดังกล่าว ตามประกาศคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การหรื อไม่ อนึ ง แม้วา่ ทีโอทีและ CAT Telecom เป็ นคู่สัญญาร่ วมกับบริ ษทั ฯ และทรู มูฟ แต่ทงสององค์ ั กรยัง เป็ นคู่แข่งในการประกอบธุ รกิจของกลุ่มทรู อีกด้วย ด้วยเหตุนี จึงอาจก่อให้เกิดข้อพิพาทระหว่างบริ ษทั ฯ และ ทีโอที หรื อทรู มูฟ และ CAT Telecom ได้ ตัวอย่างเช่น กลุ่มทรู ตกอยู่ภายใต้ขอ้ ตกลงการแบ่งรายได้ตาม สัญญาร่ วมการงานฯ และสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ และทีผ่านมาทีโอทีได้ปฏิเสธหรื อประวิงการจ่ายส่ วนแบ่ง รายได้ของกลุ่มทรู ในระหว่างรอการตัดสิ นข้อพิพาทเกียวกับการคํานวณหรื อขอบเขตของการจ่ายส่ วนแบ่ง รายได้ทีติดค้างต่อกลุ่มทรู ภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ ซึ งทีผ่านมาได้มีการยืนคําฟ้ องหรื อคําเสนอข้อพิพาท เรื องความขัดแย้งบางกรณี ทีเกิ ดขึนต่อศาลปกครองหรื อคณะอนุ ญาโตตุลาการเป็ นผูต้ ดั สิ น ทังนี กลุ่มทรู ไม่สามารถรับรองได้ว่าจะสามารถชนะข้อพิพาททังหลายเหล่านัน ซึ งจะทําให้ธุรกิ จ รวมถึ งฐานะทางการเงิ น ของกลุ่มทรู อาจจะได้รับผลกระทบ โดยในช่วงทีผ่านมากระบวนการยุติธรรมก็ได้มีคาํ ตัดสิ นข้อพิพาทต่าง ๆ ทังในทางทีเป็ นประโยชน์และไม่เป็ นประโยชน์ต่อกลุ่มทรู แต่คดีส่วนใหญ่ยงั ไม่ถึงทีสุ ด ความเสี ยงจากการอนุญาตต่ าง ๆ ทีเกียวข้ องกับการประกอบกิจการโทรทัศน์ และ/หรือ กิจการโทรคมนาคม ในเดือนธันวาคม 2553 ได้มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลืนความถี พ.ศ. 2553 เป็ นผลให้ มีการจัดตังคณะกรรมการ กสทช. ซึ งแล้วเสร็ จในเดือนตุลาคม 2554 โดยหน่วยงานดังกล่าวมีหน้าทีกํากับ ดูแลการประกอบกิจการกระจายเสี ยงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ซึ งปั จจุบนั คณะกรรมการ กสทช. มีการพิจารณาทบทวนปรับปรุ ง กฎระเบียบต่าง ๆ ทางด้านการกํากับกิ จการโทรคมนาคม ทีคณะกรรมการ กทช. ได้เคยออกประกาศ และมีผลใช้บงั คับไปแล้ว ขณะเดียวกันคณะกรรมการ กสทช. ก็ได้ออกกฎเกณฑ์ ใหม่ รวมทังการวางหลักเกณฑ์แนวทางการกํากับดูแลการประกอบกิ จการเพือให้เกิ ดความชัดเจนเพิมเติม อันอาจทําให้กลุ่มทรู มีความเสี ยงจากเรื องการขอรับ และ/หรื อ การต่อใบอนุ ญาตต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับการ ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 27


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประกอบกิ จการโทรทัศน์ และ/หรื อ กิจการโทรคมนาคมของกลุ่มทรู หรื ออาจเป็ นกรณี ทีมีการตีความด้าน กฎหมายแตกต่างกันและยังไม่มีขอ้ กําหนดทีชัดเจนในขณะนี ทังนี หากคณะกรรมการ กสทช. พิจารณาไม่ให้ หรื อไม่พิจารณาต่ออายุใบอนุญาตต่าง ๆ ทีเกียวข้องให้ ก็จะส่ งผลให้บริ ษทั ย่อยทีเกียวข้องในกลุ่มทรู ทีถูกสัง ว่าได้ใบอนุญาตไม่ครบหรื อใบอนุญาตหมดอายุ ถูกปรับหรื อถูกดําเนิ นการตามกฎหมาย นอกจากนี แม้กลุ่มทรู จะมีธุรกิ จให้บริ การกิ จการโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กตามสัญญาสัมปทาน ซึ งตามกฎหมายกําหนดให้ คณะกรรมการ กสทช. ต้องออกใบอนุ ญาตแก่บริ ษทั ตามขอบเขตทีได้รับอนุ ญาตให้ประกอบกิ จการก็ตาม แต่ปัจจุบนั ยังไม่ชดั เจนว่าคณะกรรมการ กสทช. จะพิจารณาออกใบอนุ ญาตแก่บริ ษทั ในกลุ่มทรู ในรู ปแบบ และขอบเขตเช่นใด ซึ งกลุ่มทรู มีความเชื อมันว่าน่าจะได้รับใบอนุ ญาตตามขอบเขตทีบริ ษทั ย่อยได้รับสัมปทาน เนื องจากได้รับความคุม้ ครองทังโดยรัฐธรรมนูญ และกฎหมายทีเกียวข้องโดยนอกเหนือจากการให้บริ การ ภายใต้สัญญาสัมปทานดังกล่าว ปั จจุบนั คณะกรรมการ กสทช. ได้ให้ใบอนุ ญาตให้บริ การโทรทัศน์ภาคพืนดิ น ในระบบดิ จิตอล ประเภทบริ การทางธุ รกิจระดับชาติ จํานวน 2 ช่ องรายการ ให้แก่บริ ษทั ในกลุ่มทรู ทีชนะ การประมูลคลืนความถีในปี 2557 และได้ให้ใบอนุ ญาตให้บริ การโครงข่ายกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์ทีไม่ใช้ คลื นความถี ระดับชาติ ให้แก่ ทรู วิชนส์ ั รวมถึ งให้ใบอนุ ญาตให้บริ การกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์ทีไม่ใช้ คลืนความถีระดับชาติให้แก่ ทรู วชิ นส์ ั และบริ ษทั ในกลุ่มทรู นอกจากนี นโยบายการกํากับดูแลของ คณะกรรมการ กสทช. ยังมีผลต่อการเปลียนแปลงโครงสร้าง ธุ รกิจโดยรวม ซึ งคาดว่าการแข่งขันในตลาดจะรุ นแรงมากขึน อีกทัง บริ ษทั ฯ อาจได้รับความเสี ยงจากนโยบาย การกํากับดูแลของคณะกรรมการ กสทช. ทีมีความไม่เท่าเทียมกันระหว่างผูร้ ับสัมปทานทีถูกเปลียนผ่านเป็ น ผูร้ ับใบอนุ ญาตกับผูร้ ับใบอนุ ญาตรายใหม่จนส่ งผลให้เกิ ดความได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบระหว่างผูเ้ ล่นในตลาด เดียวกันหรื อตลาดทีเกียวข้อง และจากนโยบายการกํากับดูแลทีก่อให้เกิดต้นทุนการประกอบกิจการเพิมขึน รวมถึงความเสี ยงจากความเปลียนแปลงในเรื องกฎเกณฑ์การกํากับดูแลการประกอบกิจการ และการกํากับ ดูแลการแข่งขันสําหรับบริ ษทั ในกลุ่มทรู ทีเป็ นผูร้ ับใบอนุญาต ความเสี ยงทางด้ านการเงิน ความเสี ยงจากการมีหนีสิ นในระดับสู ง และอาจมีข้อจํากัดจากข้ อผูกพันตามสั ญญาทางการเงินต่ าง ๆ ณ สิ นปี 2557 กลุ่มทรู มีเงินกูย้ ืมระยะยาว (รวมส่ วนทีถึงกําหนดชําระใน 1 ปี ) จํานวน 42.0 พันล้านบาท ซึ งลดลงอย่างมีนยั สําคัญจากจํานวน 86.2 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2556 จากความสําเร็ จในการระดมทุนจํานวน 65 พันล้านบาท ในไตรมาส 3 ปี 2557 ซึ งกลุ่มทรู ได้นาํ เงินนีมาชําระคืนหนี สิ นเป็ นจํานวนประมาณ 56 พันล้านบาท ทังนี ทางบริ ษทั ฯ อาจมีแผนในการจัดหาเงินทุนผ่านการกูย้ มื เงิน และ/หรื อ การออกตราสารหนี จึงอาจมีความเสี ยงจาก การทีไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้เพียงพอสําหรับการชําระเงินต้นและดอกเบียในแต่ละปี หรื ออาจมีผลกระทบ ต่อการขยายการลงทุนในอนาคตได้ อย่างไรก็ดี กลุ่มทรู เชื อว่าจะสามารถจัดหาเงิ นกูย้ ืมใหม่ เพือชําระคืน หนีสิ นเดิมและปรับเปลียนการชําระคืนเงินต้นให้เหมาะสมกับกระแสเงินสดของกลุ่มทรู ได้เป็ นอย่างดี

ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 28


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นอกจากนัน การดําเนินงานของกลุ่มทรู อาจมีขอ้ จํากัดจากข้อผูกพันตามสัญญาทางการเงินต่าง ๆ ที เกิดขึนเมือมีการจัดหาเงินกู้ ซึ งสัญญาเหล่านี อาจทําให้กลุ่มทรู เสี ยโอกาสทางธุ รกิจ และเจ้าหนี อาจเรี ยกร้อง ให้บริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อยชําระหนี ก่อนกําหนด หากมีระดับอัตราส่ วนหนี สิ นบางประการ ไม่เป็ นไปตาม ข้อกําหนดในสัญญา หรื อคู่สัญญา (เช่น ทีโอที) ภายใต้สัญญาหลักทีมีความสําคัญต่อการดําเนิ นธุ รกิจของ กลุ่มทรู (เช่น สัญญาร่ วมการงานฯ) ยกเลิกสัญญา อย่างไรก็ตาม การเลิกสัญญาก็จะต้องเป็ นไปตามเงือนไข ในสัญญาทีเกียวข้อง ยกตัวอย่าง เช่น ทีโอทีตอ้ งเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการชีขาดว่าทีโอทีมีสิทธิ โดย ชอบด้วยกฎหมายทีจะยกเลิกข้อตกลงตามสัญญาร่ วมการงานฯ ได้ ความเสี ยงเฉพาะจากการจัดตังกองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐาน กลุ่มทรู มีภาระเพิมขึนจากการเข้าทําธุ รกรรมกับกองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐาน โดยการจ่ายค่าเช่ า ทรัพย์สินภายใต้สัญญาเช่าทรัพย์สินจากกองทุน และการส่ งมอบรายได้ค่าเช่าทีบริ ษทั ย่อยได้จ่ายให้แก่กองทุน สุ ทธิรวมประมาณ 5 พันล้านบาทต่อปี ซึ งอาจส่ งผลกระทบต่อความสามารถในการชําระคืนหนี สิ นหรื ออาจ ส่ งผลให้เกิดการผิดข้อกําหนดและเงือนไขแก่เจ้าหนี นอกจากนี ภายใต้สัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ระหว่างกองทุนรวมโครงสร้างพืนฐานกับ กลุ่มทรู กลุ่มทรู มีหน้าทีส่ งมอบหรื อดําเนิ นการให้มีการส่ งมอบเสาโทรคมนาคมจํานวน 6,000 เสาให้แก่กองทุน รวมโครงสร้างพืนฐาน โดยเสาโทรคมนาคมจํานวน 3,000 เสาจะต้องส่ งมอบภายในวันที 31 ธันวาคม 2557 (“เสาชุ ดแรกจํานวน 3,000 เสา”) และเสาโทรคมนาคมจํานวน 3,000 เสาทีเหลือจะต้องส่ งมอบภายในวันที 31 ธันวาคม 2558 (“เสาชุดสองจํานวน 3,000 เสา”) รวมทังกลุ่มทรู มีหน้าทีตามสัญญาเช่ า ดําเนิ นการและ บริ หารจัดการหลัก ในการเช่า slot บนเสาจํานวน 6,000 เสา โดยมีการกําหนดจํานวน slot ขันตําและประเภทเสาที กลุ่มทรู ตกลงเช่าตลอดอายุสัญญา ทังนี ทรู สามารถส่ งมอบเสาจํานวน 6,000 เสาได้ถึงวันที 31 ธันวาคม 2563 โดยหาก ทรู ส่ งมอบเสาโทรคมนาคมล่าช้า กองทุนมีสิทธิ เรี ยกค่าเสี ยหายจาก ทรู เป็ นจํานวนเงิ นเท่ากับ จํานวนเงินค่าเช่าล่วงหน้าทีกองทุนจะต้องชําระคืนให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ ในปี ดังกล่าวภายใต้สัญญาเช่าดําเนิ นการ และบริ หารจัดการหลักของ เรี ยลฟิ วเจอร์ สําหรับเสาโทรคมนาคมทีไม่สามารถจัดหาให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้ (“ส่ วนต่างค่าเช่ารายปี ”) บวกด้วย ร้อยละ 15 ต่อปี จากการส่ งมอบล่าช้าตามกําหนดเวลาดังกล่าวโดยคํานวณ ทุกวันที 31 ธันวาคมของปี 2558 - 2563 ทังนี เนื องจาก เรี ยลฟิ วเจอร์ เป็ นบริ ษทั ย่อยในกลุ่มทรู ทีจะได้รับ เงินค่าเช่าล่วงหน้าคืนจากกองทุน สําหรับการที เรี ยลฟิ วเจอร์ ไม่สามารถใช้พืนทีบนเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา ที ทรู ต้องส่ งมอบให้แก่กองทุนได้ ดังนัน การพิจารณาผลกระทบทีเกิ ดขึนต่อกลุ่มทรู จึงต้องพิจารณาจาก ค่าเสี ยหายทีกลุ่มทรู ตอ้ งชําระให้แก่กองทุนเป็ นเงินสุ ทธิ โดยไม่ตอ้ งนําเงินส่ วนต่างค่าเช่ารายปี ทีกองทุนจะต้อง ชําระคืนให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ มาคํานวณ ในกรณี กลุ่มทรู ส่งมอบเสาโทรคมนาคมจํานวนทังหมด 6,000 เสาให้แก่กองทุนล่าช้าเมือพิจารณา ผลกระทบทางการเงินทีเกิ ดขึนต่อกลุ่มทรู กลุ่มทรู ตอ้ งชําระค่าเสี ยหายสุ ทธิ จากการส่ งมอบล่าช้าในจํานวน ร้อยละ 15 ต่อปี ของส่ วนต่างค่าเช่ารายปี ซึ งจํานวนค่าเสี ยหายสุ ทธิ ทีกลุ่มทรู ตอ้ งชําระดังกล่าวมีจาํ นวนประมาณ การเฉลียสู งสุ ดไม่เกิน 200 ล้านบาทต่อปี ตังแต่ปี 2558 - 2563 ทังนี กลุ่มทรู เชื อว่ามีความเป็ นไปได้ทีตํามาก ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 29


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

หรื อแทบจะเป็ นไปไม่ได้เลยทีจะกลุ่มทรู จะส่ งมอบเสาล่าช้าทังหมด 6,000 เสา เนื องจากกลุ่มทรู ได้ส่งมอบ เสาชุดแรกจํานวน ภายในระยะเวลาทีกําหนดแล้ว ดังนัน กลุ่มทรู เชื อว่าจะส่ งมอบเสาชุ ดสองได้ภายในระยะเวลา ทีกําหนด ตามเงือนไขของสัญญา นอกจากนี ในวันกําหนดส่ งมอบเสาแต่ละปี หากกลุ่มทรู ส่ งมอบเสาผิดประเภท (Nonconforming Delivery) โดยแยกพิจารณาเป็ นสองกรณี คือ กรณี กลุ่มทรู ส่ งมอบเสาประเภท Ground-based towers (“GBTs”) เกินจํานวนทีระบุในสัญญา แต่ จํานวนไม่เกิน 200 เสา ถ้ากลุ่มทรู ตกลงเช่ าเสาส่ วนเกิ นดังกล่าว กองทุนจะจ่ายเงินให้กลุ่มทรู เป็ นจํานวน เท่ากับจํานวนเงิ นค่าเช่ าพืนที (Slot) สุ ทธิ ที กลุ่มทรู ต้องจ่ายเพิมให้กองทุน ในปี 2558 และในปี ต่อๆ ไป จนถึงวันทีกลุ่มทรู ส่ งมอบเสาครบจํานวนหรื อจนถึงวันที 31 ธันวาคม 2563 แล้วแต่เหตุการณ์ใดเหตุการณ์ หนึงจะเกิดขึนก่อน (“ส่ วนเพิมค่าเช่ารายปี ”) ทังนี เมือกลุ่มทรู ส่ งมอบเสาครบทัง 6,000 เสาแล้ว หากมี GBTs เกินจํานวนทีกําหนดแต่ไม่เกินกว่า 200 เสา กองทุนตกลงชําระเงินจํานวน 12 เท่าของจํานวนรวมของเงินค่าเช่า ส่ วนเพิมรายปี ให้กลุ่มทรู อย่างไรก็ตามหากกลุ่มทรู ส่ งมอบเสา GBTs ส่ วนเกินมากกว่า 200 เสา กองทุนมีสิทธิ ปฏิเสธไม่รับเสาจํานวนทีเกิน 200 เสาได้ กรณี กลุ่มทรู ส่ งมอบเสาประเภท Rooftop-based towers (“RBTs”) เกินจํานวนทีระบุในสัญญา แต่ จํานวนไม่เกิ น 200 เสา ถ้า กลุ่มทรู ตกลงเช่าเสาส่ วนเกินดังกล่าว กลุ่มทรู จะจ่ายเงินให้กองทุนเป็ นจํานวน เท่ากับค่าเช่าสุ ทธิ ทีกองทุนต้องคืนกลุ่มทรู ในแต่ละปี (“ส่ วนขาดค่าเช่ารายปี ”) บวกดอกเบียร้อยละ 15 ในปี 2558 และในปี ต่อๆ ไป จนถึงวันทีกลุ่มทรู ส่ งมอบเสาครบจํานวนหรื อจนถึงวันที 31ธันวาคม 2563 แล้วแต่เหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึงจะเกิดขึนก่อน ทังนี เมือกลุ่มทรู ส่ งมอบเสาครบทัง 6,000 เสาแล้ว หากมี RBTs เกินจํานวนที กําหนด แต่ไม่เกินกว่า 200 เสา กลุ่มทรู ตกลงชําระเงินจํานวน 12 เท่าของจํานวนรวมของเงินค่าเช่าส่ วนขาด รายปี ให้กองทุน อย่างไรก็ตามหากกลุ่มทรู ส่ งมอบเสา RBTs ส่ วนเกินมากกว่า 200 เสา กองทุนมีสิทธิ ปฏิเสธ ไม่รับเสาจํานวนทีเกิน 200 เสาได้ ทังนี กลุ่มทรู ได้นาํ เงินทุนส่ วนใหญ่ทีได้ จากการจําหน่ายสิ นทรัพย์ให้แก่กองทุนรวมโครงสร้างพืนฐาน ไปชําระคืนหนี สิ นก่อนกําหนด ซึ งนอกจากจะเป็ นการลดภาระการชําระคืนหนี สิ นในแต่ละปี ของกลุ่มทรู แล้ว ยังจะช่วยลดค่าใช้จ่ายดอกเบียอีกด้วย ความเสี ยงจากการเคลือนไหวของอัตราแลกเปลียนและอัตราดอกเบีย ในอดีตทีผ่านมาสถานภาพทางการเงินของกลุ่มทรู อาจได้รับผลกระทบจากความผันผวนของอัตรา แลกเปลียน เนื องจากหนี สิ นส่ วนหนึ งเป็ นเงินกูต้ ่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลียนลดลงอย่างมีในนัยสําคัญในปี 2554 เนื องจากการชําระคืนเงิ นกูม้ ีหลักทรัพย์คาประกั ํ นของ ทรู มูฟ (ซึ งเป็ นเงินกูจ้ าก IFC) และการชําระคืนเงินกูข้ อง KfW ก่อนกําหนดในระหว่างไตรมาส 2 ปี 2554 รวมทังการดําเนิ นการเพือซื อคืนหุ ้นกูส้ กุลดอลลาร์ สหรัฐ ในเดือนกันยายน 2554 โดยในเดือนตุลาคม 2554 มีผถู ้ ือหุ น้ กูต้ ่างประเทศแสดงความจํานงขายคืนหุ ้นกูท้ ีจะครบกําหนดในปี 2556 และ 2557 ประมาณร้อยละ 99 และร้อยละ 95 ตามลําดับ ซึ งกลุ่มทรู ชาํ ระเงินเพือซื อคืนหุ น้ กูแ้ ล้วเสร็ จในวันที 12 ตุลาคม 2554 การซื อคืนหุ ้นกู้ ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 30


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ในครังนีเป็ นปั จจัยสําคัญในการลดความเสี ยงในการรี ไฟแนนซ์ และความเสี ยงทางการเงินทีเกิดจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลียน ทังนี ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 หนี สิ นระยะยาวทีอยูใ่ นสกุลเงินต่างประเทศ ของกลุ่มทรู ลดลงอยู่ เป็ นประมาณร้อยละ 1.6 จากเงินกูย้ ืมไม่หมุนเวียน (ไม่รวมหนี สิ นตามสัญญาเช่าทางการเงิน) เมือเทียบกับ ร้อยละ 2.9 ณ สิ นปี 2556 ส่ วนหนึ งจากการชําระคืนหนี สิ นในสกุลเยนและสกุลดอลลาร์ สหรัฐในปี 2557 โดยกลุ่มทรู ไม่มีหุน้ กูส้ กุลดอลล่าร์ สหรัฐเหลืออยูแ่ ล้ว ณ สิ นปี 2557 มูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ ืมประเภทไม่หมุนเวียน (ไม่รวมหนี สิ นภายใต้สัญญาเช่า การเงิน) ของกลุ่มบริ ษทั มีดงั นี (โปรดดูรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 26) มูลค่าตามบัญชี พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ล้ านบาท ล้านบาท เงินกูย้ มื จากธนาคารและสถาบันการเงิน หุ้นกู้ เงินกูย้ มื ทีเกียวกับสัญญาจัดหาและติดตังอุปกรณ์

28,897.62 471.43

42,335.25 28,364.62 2,108.25

มูลค่ายุติธรรม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ล้านบาท ล้านบาท 29,694.41 582.25

43,260.75 29,059.99 1,585.97

นอกจากนี กลุ่มทรู ยังมีค่าใช้จ่ายทีต้องจ่ายให้เจ้าหนี การค้าเป็ นสกุลเงิ นดอลลาร์ สหรัฐ ทังนี กลุ่ม บริ ษทั ได้นาํ วิธีการบริ หารความเสี ยงทีเกิดจากเงินตราต่างประเทศดังต่อไปนีมาใช้ เพือป้ องกันความเสี ยงที เกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ -

ทําสัญญาซื อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า

-

เจรจาตกลงเงือนไขการจ่ายชําระหนีในสกุลเงินตราต่างประเทศเป็ นแต่ละรายการ และ

เจรจาตกลงกับเจ้าหนีต่างประเทศ เพือแบ่งภาระจากการเปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียน เงินตราต่างประเทศ การพิ จ ารณาความเสี ยงจากอัต ราแลกเปลี ยนจะทํา ในแต่ ล ะสกุ ล เงิ น และประมาณการอัต รา แลกเปลี ยนล่ ว งหน้ า หกเดื อ น ซึ งประมาณการอัต ราแลกเปลี ยนดัง กล่ า วจะอาศัย ข้อ มู ล เกี ยวกับ การ เคลื อนไหวของอัตราแลกเปลี ยนจากสถาบันวิจยั และวิเคราะห์ข ้อมูลทางการเงิ นที เชื อถื อได้และข้อมูล ดังกล่าวข้างต้นจะนํามาพิจารณาร่ วมกับต้นทุ นในการประกันความเสี ยง และความเสี ยงทีเกี ยวข้องอืนๆ เพือทีจะตัดสิ นใจในการทําการประกันความเสี ยงทีอาจเกิดขึนจากการเปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียน ใน การป้ องกัน ความเสี ยงจากการเปลี ยนแปลงของอัต ราแลกเปลี ยน โดยการใช้ สั ญ ญาซื อขายเงิ น ตรา ต่างประเทศล่วงหน้านัน กลุ่มบริ ษทั จะพิจารณารายการทีเป็ นเงินตราต่างประเทศแต่ละรายการ ความเสี ยงจากการลงทุนทีอาจทําให้ เกิดการด้ อยค่ า กลุ่มทรู มี การประเมินมูลค่าและพิจารณาถึ งความคุ ม้ ค่าของการลงทุ นอย่างถี ถ้วนก่อนจะทําการ ลงทุนในแต่ละธุ รกิจหรื อสิ นทรัพย์ใด ๆ นอกจากนี บริ ษทั มีการทดสอบการด้อยค่าของมูลค่าของเงินลงทุน ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 31


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เมือมีขอ้ บ่งชีว่าเงินลงทุนนันอาจเกิดการด้อยค่า สิ งเหล่านี ทําให้ผบู ้ ริ หารเชื อมันว่าบริ ษทั ไม่มีความเสี ยงจาก การด้อยค่าอย่างมีนยั สําคัญต่องบการเงินของบริ ษทั ความเสี ยงจากการทีบริษัทฯ มีผ้ ูถือหุ้นรายใหญ่ ถือหุ้นในสั ดส่ วนมากกว่ าร้ อยละ 50 ณ วันที 5 กันยายน 2557 กลุ่มผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ของบริ ษทั ฯ คือ บริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จํากัด และบริ ษทั ทีเกียวข้องถือหุ น้ รวมกันเป็ นจํานวนร้อยละ 51.3 ของจํานวนหุ ้นทีจําหน่ายได้แล้วทังหมดของบริ ษทั ฯ ซึ งโดยลักษณะเช่นนี อาจพิจารณาได้วา่ นักลงทุนอาจมีความเสี ยงจากการทีผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ถือหุ ้นในบริ ษทั ฯ มากกว่าร้ อยละ 50 เนื องจากกลุ่ ม ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่สามารถควบคุ มมติ ทีประชุ ม ที ต้องใช้เสี ย งส่ วนใหญ่ เช่น การแต่งตังกรรมการ เป็ นต้น ดังนัน ผูถ้ ือหุ น้ รายย่อยอาจไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสี ยงเพือตรวจสอบ และถ่ วงดุ ลเรื องที ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่เสนอได้ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการของบริ ษ ทั ฯ ให้ความสําคัญต่ อการ ดําเนินการภายใต้หลักการกํากับดูแลกิจการทีดีเป็ นอย่างยิง เพือเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นรายย่อยสามารถเสนอ เรื องเพือบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมและเสนอชือบุคคลเพือเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ นกรรมการ เป็ นการ ล่วงหน้าก่อนการประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นประจําปี นอกจากนี หากเป็ นเรื องทีเกี ยวข้องกับผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ และเป็ นรายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ฯ จะต้องดําเนิ นการตามมาตรการและขันตอนที กําหนดไว้ใน “ระเบียบในการเข้าทํารายการระหว่างกัน” ซึ งอยูภ่ ายใต้กรอบของกฎหมายอย่างเคร่ งครัด

ส่วนที 1

ปั จจัยความเสียง

หัวข ้อที 3 - หน ้า 32


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

4. ทรัพย์ สินทีใช้ ในการประกอบธุรกิจ สิ นทรัพย์ของบริษัทฯ และ บริษัทย่ อย ทีสํ าคัญ ทีดิน อาคาร และอุปกรณ์ กลุ่มบริ ษทั ได้จดั ประเภทของสิ นทรัพย์ทีใช้ในการประกอบธุ รกิ จ เป็ น 2 ประเภท คือ อุปกรณ์ โครงข่าย และอุปกรณ์ นอกระบบโครงข่าย ภายใต้สัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนิ นการ เฉพาะสิ นทรัพย์ทีเกี ยวกับ อุปกรณ์ โครงข่าย โทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานที PCT โทรศัพท์เคลื อนทีระบบเซลลูล่าร์ และโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็ นสมาชิ ก ทีกลุ่มบริ ษทั จะต้องโอนให้กบั บริ ษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทศท“) บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (“กสท”) และ บริ ษทั อสมท จํากัด (มหาชน) (“อสมท”) หน่วย : ล้านบาท

อาคารและสิ งปลูกสร้าง อุปกรณ์ระบบโทรศัพท์ อุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลือนที โทรศัพท์สาธารณะ อุปกรณ์ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณ์ระบบไฟฟ้ าและเครื องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์โทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิก งานระหว่างทํา มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

อุปกรณ์โครงข่ายสุทธิ ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที 31 ธันวาคม 2556 (ตามทีปรับใหม่) งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริ ษทั เฉพาะบริ ษทั 224 23 96 26 1,997 1,997 2,254 2,254 35,505 20 32,302 172 12 12 20 20 15,217 10,439 125 73 100 86 4,740 5,498 12,878 15 12,779 16 70,698 2,140 63,488 2,574

มูลค่าตามบัญชี สุทธิ ของอุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลือนที ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ได้รวม สิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาให้เช่าเครื องและอุปกรณ์ วิทยุคมนาคมเพือให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีในระบบ HSPA ั น 20,229.38 ล้านบาท (ประกอบไปด้วยอุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลือนที ของบริ ษทั ย่อยกับ กสท ซึ งมีจาํ นวนสุ ทธิ ทงสิ จํานวน 17,743.16 ล้านบาท งานระหว่างก่อสร้างจํานวน 2,357.45 ล้านบาท และอืนๆ จํานวน 128.77 ล้านบาท) ั นภายใต้ โดยสิ นทรัพย์จาํ นวนสุ ทธิ 19,577.34 ล้านบาท (หรื อคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 96.78 จากสิ นทรัพย์ทงสิ สัญญาดังกล่าว) ซึ งประกอบด้วย เสาโทรคมนาคม อุปกรณ์สือสัญญาณและอุปกรณ์อิเลคทรอนิค เป็ นสิ นทรัพย์ ที กสท มี สิ ทธิ ซื อในราคาต้นทุ นบวกด้วยดอกเบี ยตามอัตราทีระบุ ไ ว้ในสัญญาฯ ทังนี กลุ่ ม บริ ษทั ได้นํา มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 17 (ปรับปรุ ง 2552) เรื อง สัญญาเช่ า มาปฏิ บตั ิกบั สิ นทรัพย์ดงั กล่าว โดยบันทึก เป็ นสิ นทรัพย์ให้เช่าภายใต้สัญญาเช่าการดําเนิ นงาน เนื องจากบริ ษทั มีความเห็นว่า ความเสี ยงและผลตอบแทน ยังคงตกอยูก่ บั กลุ่มบริ ษทั อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริ หารของกลุ่มบริ ษทั เห็นว่ามีความเป็ นไปได้นอ้ ยมากที กสท. จะ ขอซื อสิ นทรัพย์ดงั กล่าว ส่วนที 1

ิ ทีใช ้ในการประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที 4 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

มูลค่าสุ ทธิ ของอุปกรณ์โครงข่ายในงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษทั ทีโอนให้ ทศท และ กสท ภายใต้สัญญาสร้ างโอนกรรมสิ ท ธิ และดําเนิ น งานโทรศัพ ท์เคลื อนที ระบบเซลลู ล่ า ร์ แสดงภายใต้ อุปกรณ์โครงข่ายโทรศัพท์เคลือนที มีดงั ต่อไปนี

ทศท กสท

มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

หน่วย : ล้านบาท ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที 31 ธันวาคม 2556 (ตามทีปรับใหม่) งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน* เฉพาะบริ ษทั เฉพาะบริ ษทั 377 144 5,733 6,110 144

กลุ่มบริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ดาํ เนินการและใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์นนตามระยะเวลาของสั ั ญญา *บริ ษทั ได้จดั ประเภทรายการอุปกรณ์โครงข่ายการทีต้องโอนให้กบั ทศท. ภายใต้สัญญาร่ วมการงาน ตามการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที 12 เรื อง ข้อตกลงสัมปทานบริ การ ในปี พ.ศ.2556 บริ ษทั ได้แสดงอุปกรณ์ โครงข่ายดังกล่าว จํานวนเงิน 5,314 ล้านบาท เป็ น “สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน” ภายใต้ “สิ ทธิตามสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการ” ส่ วนอุ ปกรณ์ นอกระบบโครงข่าย กลุ่ มบริ ษทั ได้รวมสิ นทรั พย์ภายใต้สัญญาเช่ าการเงิ นประเภท เครื องตกแต่ง ติดตัง และอุปกรณ์สาํ นักงาน เป็ นจํานวนสุ ทธิ 47.63 ล้านบาท ส่ วนทีเหลือเป็ นกรรมสิ ทธิ ของ กลุ่ ม บริ ษ ัท ซึ งกลุ่ ม บริ ษ ัท สามารถจํา หน่ า ยจ่ า ยโอนและใช้ป ระโยชน์ จากสิ นทรั พ ย์ดัง กล่ า วได้ โดยมี รายละเอียดโดยสรุ ปดังนี หน่วย : ล้านบาท

ทีดินและส่วนปรับปรุ ง อาคารและสิ งปลูกสร้าง เครื องตกแต่ง ติดตัง และอุปกรณ์สาํ นักงาน ยานพาหนะ อุปกรณ์ระบบไฟฟ้ าและเครื องคอมพิวเตอร์ งานระหว่างทํา มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

ส่วนที 1

อุปกรณ์นอกระบบโครงข่าย ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที 31 ธันวาคม 2556 (ตามทีปรับใหม่) งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริ ษทั เฉพาะบริ ษทั 149 149 787 18 503 36 1,194 63 1,246 74 22 1 16 1 1,719 49 1,369 57 516 39 1,096 13 4,387 170 4,379 181

ิ ทีใช ้ในการประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที 4 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน หน่วย : ล้านบาท

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครื องหมายการค้า ค่าสิ ทธิและใบอนุญาต สิ ทธิในการใช้ช่องสัญญาณดาวเทียม ค่าสิ ทธิสาํ หรับรายการและภาพยนตร์รอตัดบัญชี สิ ทธิตามสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการ สัญญาการให้บริ การ งานระหว่างทํา มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที 31 ธันวาคม 2556 (ตามทีปรับใหม่) งบการเงินรวม งบการเงิน งบการเงินรวม งบการเงิน เฉพาะบริ ษทั เฉพาะบริ ษทั 3,380 112 2,947 144 15,175 12,594 2,850 3,079 764 690 5,082 3,928 6,602 5,314 7,846 8,587 183 240 35,280 4,040 34,739 5,458

ต้ นทุนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้น ทุ น การพัฒ นาโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ เ ป็ นรายจ่ า ยเพื อเพิ มประสิ ท ธิ ภ าพของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เกิ นกว่าประสิ ทธิ ภาพเดิ มถื อเป็ นส่ วนปรับปรุ ง และบันทึ กรวมเป็ นราคาทุ นของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 3,380 ล้านบาท เครืองหมายการค้ า ค่ าสิ ทธิและใบอนุญาต ประกอบด้วย ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz ซึ งออกโดยคณะกรรมการ กสทช. ให้แก่บริ ษทั ย่อย เพืออนุญาตให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีโดยใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 11,663 ล้านบาท ค่าใบอนุญาตให้ใช้คลืนความถีเพือบริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ค่าใบอนุ ญาตให้ใช้คลื นความถี เพือบริ การโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ซึ งออกโดยคณะกรรมการ กสทช. ให้แก่ บ ริ ษ ทั ย่อย เพื ออนุ ญ าตให้บ ริ ก ารโทรทัศ น์ใ นระบบดิ จิต อล ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 3,465 ล้านบาท สิ ทธิอืน ๆ สิ ท ธิ อื น ๆ เป็ นค่ า ตอบแทนที บริ ษ ัท ย่อ ยได้จ่ า ย เพื อได้รั บ สิ ท ธิ ใ นการใช้ป ระโยชน์ ณ วัน ที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 47 ล้านบาท สิ ทธิการใช้ ช่องสั ญญาณดาวเทียม สิ ทธิ การใช้ช่องสัญญาณดาวเทียมภายใต้สัญญาเช่าระยะยาว ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าว มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 2,850 ล้านบาท ส่วนที 1

ิ ทีใช ้ในการประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที 4 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ค่ าสิ ทธิสําหรับรายการและภาพยนตร์ รอตัดบัญชี ค่าสิ ทธิ สําหรับรายการและภาพยนตร์ เป็ นค่าตอบแทนสิ ทธิ และภาระผูกพันทีเกิ ดขึนภายใต้สัญญา ของบริ ษ ัทย่อยเพื อการได้รั บสิ ทธิ รายการและวัสดุ รายการพร้ อมที จะแพร่ ภาพ ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 764 ล้านบาท (รวมค่าสิ ทธิ ทีครบกําหนดชําระภายใน 1 ปี ) สิ ทธิตามสั ญญาอนุญาตให้ ดําเนินการ ประกอบด้วย ค่าสิ ทธิ ในการให้บริ การเช่าวงจรสื อสัญญาณความเร็ วสู ง และค่าสิ ทธิ ในการพาดสายกระจาย ค่าสิ ทธิ ในการให้บริ การเช่าวงจรสื อสัญญาณความเร็ วสู ง และค่าสิ ทธิ ในการพาดสายกระจาย เป็ น รายจ่ายเพือให้ได้มาซึ งใบอนุ ญาตซึ งแสดงด้วยราคามูลค่ายุติธรรมของหุ ้นที ออกโดยบริ ษทั ย่อยเพือเป็ น การแลกกับสิ ทธิ ดงั กล่าว ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 119 ล้านบาท สิ ทธิตามสัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการ สิ ทธิ ตามสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนิ นการแสดงด้วยมูลค่ากระแสเงิ นสดคิ ดลดจากจํานวนเงิ นขันตําที ต้องจ่ายให้กบั กสท และ อสมท ตลอดอายุของสัญญา ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่า ตามบัญชีสุทธิ 1,035 ล้านบาท สิ ทธิ ตามสัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนขยายบริ การโทรศัพท์ แสดงด้วยมูลค่าตัดจําหน่ ายด้วย วิธี เ ส้ น ตรงตลอดอายุข องสั ญญา ณ วัน ที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรั พ ย์ดัง กล่ า วมี มู ล ค่ า ตามบัญชี สุ ท ธิ 3,928 ล้านบาท สั ญญาการให้ บริการ สิ ทธิ ตามสัญญาการให้บริ การแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึ งได้มาจากการซื อกิจการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 สิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ 7,846 ล้านบาท นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม บริ ษทั ฯ มีนโยบายการลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมในลักษณะทีเป็ นผูถ้ ือหุ ้นใหญ่โดยตรงหรื อ ผ่านบริ ษทั ย่อยทีบริ ษทั ฯ ถือหุ ้นในสัดส่ วนมากกว่าร้ อยละ 90 และ/หรื อ มีอาํ นาจควบคุมในบริ ษทั ทีลงทุน เว้นแต่สภาพเงื อนไขของธุ รกิ จ การแข่งขัน ไม่เอืออํานวย หรื อ การดําเนิ นธุ รกิ จต้องได้รับการสนับสนุ น ร่ วมมือจากผูร้ ่ วมทําธุ รกิ จอืน บริ ษทั ฯ จึงจะลงทุนในลักษณะร่ วมลงทุนในสัดส่ วนทีบริ ษทั นันจะมีสถานะ เป็ นบริ ษทั ร่ วม ทังนี คณะกรรมการบริ ษทั มีกลไกในการกํากับดูแลทีทําให้สามารถควบคุมดูแลการจัดการ และรับผิดชอบการดําเนิ นงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม เพือดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงิ นลงทุนของ บริ ษทั ฯ ตามทีได้เปิ ดเผยข้อมูลไว้ในเรื อง “การกํากับดูแลกิจการ” ภายใต้หวั ข้อ “การกํากับดูแลการดําเนิ นงาน ของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม” ส่วนที 1

ิ ทีใช ้ในการประกอบธุรกิจ ทรัพย์สน

หัวข ้อที 4 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย สรุ ปคดีและข้อพิพาททางกฎหมายทีสําคัญของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ดังนี คดีฟ้องร้ องทีค้ างอยู่ทีศาลปกครอง (ในส่ วนทีไม่ เกียวกับค่ าเชื อมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) และ ภาษีสรรพสามิต) 1. ข้ อพิพาทเกียวกับการติดรู ปสั ญลักษณ์ ของบริษัทฯ บนตู้โทรศัพท์ สาธารณะ เมือวันที 23 กรกฎาคม 2547 ทีโอที ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการจากการที บริ ษทั ฯ ติดรู ปสัญลักษณ์ ของบริ ษทั ฯ บนตูโ้ ทรศัพท์สาธารณะอันเป็ นการไม่ปฏิ บตั ิตามข้อตกลงร่ วมกัน ระหว่างบริ ษทั ฯ กับ ทีโอที เรื องโทรศัพท์สาธารณะ ทีโอที เรี ยกค่าเสี ยหายเป็ นจํานวนเงิน 433.85 ล้านบาท เมือวันที 30 พฤศจิกายน 2548 บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําคัดค้านต่ออนุ ญาโตตุลาการ เมือวันที 12 กรกฎาคม 2549 อนุญาโตตุลาการได้ตดั สิ นชีขาดให้ ทีโอที ชนะคดีดงั กล่าว เมือวันที 6 พฤศจิกายน 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยนคํ ื าคัดค้าน คําชีขาดของอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง เมือวันที 27 กุมภาพันธ์ 2551 ทีโอที ได้ยืนคําร้องเพือให้ ศาลบังคับให้เป็ นไปตามคําชีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ และให้บริ ษทั ฯ ชดใช้เป็ นจํานวนเงิน 150.00 ล้านบาท และจ่ายค่าเสี ยหายเป็ นจํานวนเงิน 90 บาทต่อเดือนต่อตูโ้ ทรศัพท์หนึ งตู ้ ตังแต่วนั ทีฟ้ องร้องจนกว่าบริ ษทั ฯ จะหยุดใช้ตราสัญลักษณ์ บนตูโ้ ทรศัพท์สาธารณะ ศาลปกครองกลางได้มีคาํ สังให้รวมคดี กบั สํานวนคดี ที บริ ษทั ฯ ขอให้ศาลปกครองกลางเพิกถอนคําชีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางได้กาํ หนดให้ วันที 26 ธันวาคม 2551 เป็ นวันสิ นสุ ดการแสวงหาข้อเท็จจริ ง เมื อวันที 24 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลปกครองกลาง พิจารณาให้ยกคําร้องของบริ ษทั ฯ และให้บงั คับตามคําชีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการข้อพิพาทหมายเลขดํา ที 61/2547 ข้อพิพาทหมายเลขแดงที 77/2549 ลงวันที 12 กรกฎาคม 2549 โดยให้บริ ษทั ฯ ชําระเงินจํานวน 150 ล้านบาท ภายใน 60 วันนับแต่วนั ทีคดีถึงทีสุ ด และให้คืนค่าธรรมเนี ยมศาลทังหมดจํานวน 80,000 บาท ให้แก่ ทีโอที บริ ษทั ฯ ได้ดาํ เนินการยืนอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสู งสุ ดแล้วเมือวันที 25 มีนาคม 2552 ขณะนี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด 2. ข้ อพิพาทเกียวกับค่ าใช้ และเชื อมต่ อโครงข่ ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) (1) เมือวันที 10 พฤศจิกายน 2551 บริ ษทั ฯ ได้ยนคํ ื าฟ้ อง คณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพือขอเพิกถอนคําชีขาดของคณะกรรมการ กทช. ในคดีขอ้ พิพาทของ กวพ. ที 1/2551 ที ดีแทค ได้เรี ยกร้องให้ บริ ษทั ฯ ทําสัญญาเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม กับ ดีแทค และให้กาํ หนดอัตราค่าเชื อมต่อโครงข่าย และ ขอให้คณะกรรมการ กทช. ดําเนินกระบวนพิจารณาข้อพิพาทที 1/2551 ใหม่ โดยให้เรี ยกทีโอที เข้ามาเป็ นคู่กรณี และขอทุเลาการบังคับตามคําสังทางปกครองของคณะกรรมการ กทช. ทังนี ดีแทคได้ร้องสอดเข้ามาในคดี ศาลปกครองกลางมีคาํ พิพากษายกคําฟ้ อง บริ ษทั ฯ ได้ยนอุ ื ทธรณ์คาํ พิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(2) เมือวันที 27 พฤษภาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ยนฟ้ ื องคณะกรรมการ กทช. และ เลขาธิ การ กทช. ขอเพิกถอนมติของคณะกรรมการ กทช. ตามหนังสื อลงวันที 9 เมษายน 2553 เรื อง การกําหนดอัตรา ค่าตอบแทนการเชื อมต่อโครงข่ายเป็ นการชัวคราว ศาลปกครองกลางมีคาํ พิพากษายกฟ้ อง และบริ ษทั ฯ ได้ ดําเนินการอุทธรณ์คาํ พิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ดต่อไป (3) เมือวันที 3 สิ งหาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ขอเพิกถอนคําสัง คณะกรรมการ กทช. ตามหนังสื อ ฉบับลงวันที 29 มิถุนายน 2553 ทีคณะกรรมการ กทช. มีคาํ สังจําหน่าย ข้อพิพาทที 1/2552 ออกจากกระบวนการระงับข้อพิพาทที กวพ. และสังให้บริ ษทั ฯ และ ดีแทค ใช้อตั รา ค่าเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเดี ยวกับคําสังที 11/2553 ตามหนังสื อฉบับลงวันที 9 เมษายน 2553 ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (4) เมือวันที 4 กุมภาพันธ์ 2554 ดีแทคได้ยืนคําฟ้ องต่อศาลปกครองกลาง เพือขอให้บริ ษทั ฯ และ ทีโอที ร่ วมกันชําระค่าใช้และเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ตามข้อเสนอการเชื อมต่อโครงข่ายของ ดีแทค คือ 1.00 บาท/นาที สําหรับ Call Termination และ อัตรา 0.50 บาท/นาที สําหรับ Call Transit ตังแต่วนั ที 17 พฤศจิกายน 2549 โดยเรี ยกให้บริ ษทั ฯ ชําระค่าตอบแทนการเชื อมต่อโครงข่ายฯ ให้แก่ดีแทค เป็ นเงิน จํานวน 3,283.05 ล้านบาท และให้บริ ษทั ฯ ร่ วมรับผิดชําระค่าตอบแทนการเชื อมต่อโครงข่ายกับ ทีโอที อีก เป็ นจํานวน 654.81 ล้านบาท รวมเป็ นจํานวนเงิ นทังสิ น 3,937.86 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําร้ องโต้แย้ง เขตอํานาจศาลตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี ขาดอํานาจหน้าทีระหว่างศาล พ.ศ. 2542 เมือวันที 23 มีนาคม 2557 ศาลปกครองกลางวินิจฉัยชีขาดว่าคดีนีอยูใ่ นอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง จึงทําให้ คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (5) เมือวันที 12 มีนาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพือขอเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื อง การใช้และการเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2556 ซึ งกําหนด นิยามในข้อ 5 "ผูร้ ับใบอนุญาตทีมีโครงข่ายโทรคมนาคม" อันอาจหมายรวมถึง บริ ษทั ฯ ทีเป็ นผูร้ ับสัมปทาน ด้วย และกําหนดหน้าทีให้ผรู ้ ับใบอนุ ญาตทีมีโครงข่าย ตามข้อ 72 ประกอบกับ ข้อ 13 ของประกาศดังกล่าว ให้ยนื RIO (ข้อเสนอการเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม) ฉบับใหม่ พร้อมยืนเอกสารแสดงหลักการและวิธีการ คํานวณอัตราค่าตอบแทนการเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ซึ งหากไม่จดั ส่ งข้อมูลดังกล่าว บริ ษทั ฯ อาจถูก บังคับให้ใช้อตั ราค่าเชือมต่อโทรคมนาคมอ้างอิงที กสทช. อาจกําหนดให้ผปู ้ ระกอบการใช้ ตามหนังสื อแจ้ง ของ สํานักงาน กสทช. โดยกําหนดให้ บริ ษทั ฯ ต้องยืน RIO ภายในวันที 31 มีนาคม 2557 ขณะนี คดีอยูร่ ะหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

3. ข้ อพิพาทเกียวกับมติและคําสั งของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบัติหน้ าทีคณะกรรมการ กสทช. ทีเกียวข้ องกับการเข้ าซื อหุ้นของกลุ่มฮัทชิ สันและการทําความตกลงกับ CAT Telecom เกียวกับการให้ บริ การ โทรศัพท์เคลือนทีระบบ CDMA และระบบ HSPA เมือวันที 2 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ยนฟ้ ื องคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. เพือขอเพิกถอนมติ และคําสังของคณะกรรมการ กทช. ปฏิ บตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. ตามหนังสื อ ลงวันที 7 ตุลาคม 2554 ทีสํานักงาน กสทช. โดย เลขาธิการ กสทช. ได้มีหนังสื อถึงบริ ษทั ฯ แจ้งมติและคําสัง ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. ทีสังให้แก้ไขในส่ วนทีเกียวกับการทําความตกลง เพือควบรวมกิ จการโดยการเข้าซื อหุ ้นของกลุ่มฮัทชิ สันให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื อง หลักเกณฑ์และวิธีการควบรวมกิจการและการถือหุ ้นไขว้ในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และ ในส่ วนที เกียวกับการทําความตกลงกับ CAT Telecom เกียวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีระบบ CDMA และ ระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื อง มาตรการเพือป้ องกันมิให้มีการกระทําอัน เป็ นการผูก ขาดหรื อก่ อให้เกิ ดความไม่ เป็ นธรรมในการแข่ง ขันในกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื นความถี และกํากับการประกอบกิ จการวิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ซึ งบริ ษทั ฯ เห็นว่ามติและคําสังดังกล่าว ไม่มีความชัดเจนและไม่น่าจะ ชอบด้วยกฎหมาย ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง 4. ข้ อพิพาทกรณีบริ ษั ทฯ พิมพ์ รูปสั ญลักษณ์ ของบริ ษั ทฯ บนใบแจ้ งหนี ใบกํากับภาษี และ ใบเสร็จรับเงิน เมือวันที 27 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําร้องคัดค้านคําชี ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการต่อ ศาลปกครอง เป็ นคดีหมายเลขดําที 2525/2556 ข้อพิพาทนี สื บเนื องมาจากเมือวันที 13 ธันวาคม 2547 ทีโอที ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทเรี ยกค่าเสี ยหายจากการทีบริ ษทั ฯ พิมพ์รูปสัญลักษณ์ บนใบแจ้งหนี และใบเสร็ จรับเงิน ฉบับละ 4.00 บาท นับตังแต่เดือนสิ งหาคม 2544 จนถึงเดือนสิ งหาคม 2547 เป็ นจํานวนเงิน 785.64 ล้านบาท และตังแต่ เดือนกันยายน 2547 จนถึงเดือนธันวาคม 2547 รวมถึงตังแต่ พฤษภาคม 2548 จนถึงเดือนมีนาคม 2549 เป็ นเงิน จํานวน 272.80 ล้านบาท นอกจากนี ยังได้เรี ยกร้องค่าเสี ยหายทางไปรษณี ย ์ ตังแต่เดือนธันวาคม 2547 จนถึง เดือนเมษายน 2548 เป็ นเงินจํานวน 8.12 ล้านบาท ค่าพัสดุทีจัดหามาแล้วไม่ได้ใช้ เป็ นเงินจํานวน 2.35 ล้านบาท ค่าเสี ยหายด้านการตลาดและภาพลักษณ์ เป็ นเงินจํานวน 780.02 ล้านบาท รวมเป็ นทุนทรัพย์ทงสิ ั น 1,848.95 ล้าน บาท เมือวันที 20 กันยายน 2556 คณะอนุ ญาโตตุ ลาการได้มีคาํ ชี ขาดให้ บริ ษทั ชําระค่าเสี ยหาย ตังแต่เดื อน พฤศจิกายน 2545 ถึงเดือนมีนาคม 2549 ในอัตราฉบับละ 40 สตางค์ รวมจํานวน 241,490,000 ฉบับ รวมเป็ นเงิน 96.59 ล้านบาท และให้ชาํ ระค่าเสี ยหายเป็ นค่าพัสดุจดั หาแล้วไม่ได้ใช้งาน 2.35 ล้านบาท ให้แก่ TOT รวมเป็ น เงินจํานวน 98.59 ล้านบาท ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีรับทราบคําชี ขาดข้อพิพาท ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําฟ้ อง ขอเพิกถอนคําชี ขาดคณะอนุ ญาโตตุลาการ ต่อศาลปกครองกลาง จึงทําให้คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาล ปกครองกลาง ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

5. ข้ อพิพาทกรณีเกียวกับการก่อสร้ างและการใช้ เสาส่ งสั ญญาณโทรศัพท์ เมือวันที 26 กันยายน 2557 บริ ษทั ฯ ได้ถูกบุคคลธรรมดา 2 ราย ยืนฟ้ องเป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที 3 ร่ วมกับ นายกเทศมนตรี ตาํ บลบ้านเป็ ด และ คณะกรรมการ กสทช. เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดี ที 1 และ 2 ตามลําดับ ต่อ ศาลปกครองขอนแก่น เป็ นคดีหมายเลขดําที 650/2557 โดยผูฟ้ ้ องคดีได้อา้ งว่าได้รับความเดื อดร้ อนจากการ ก่อสร้างเสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ของบริ ษทั ฯ พร้อมกับมี คําขอให้ศาลกําหนดมาตรการหรื อวิธีการคุม้ ครอง อนพิพากษา โดยมีคาํ สังให้ระงับการก่อสร้ างและการใช้เสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ที เพือบรรเทาทุกข์ชวคราวก่ ั พิพาทโดยทันที แต่เนืองจากศาลพิจารณาแล้วข้อเท็จจริ งยังไม่ชดั เจนไม่เพียงพอต่อการพิจารณา ศาลปกครอง ขอนแก่ นจึ งได้มีค าํ สั งเรี ย กให้บริ ษทั ฯหรื อผูแ้ ทนที รู ้ เรื องดี เกี ยวกับกรณี นีไปให้ถ้อยคําต่อศาลปกครอง ขอนแก่นในวันที 6 พฤศจิกายน 2557 ขณะนีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองขอนแก่น ข้อพิพาททียังคงค้างอยู่ ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ 1. ข้ อพิพาททีบริษัทฯ เป็ นผู้เสนอ (1) ข้อพิพาทเกียวกับส่ วนแบ่งรายได้ในส่ วนค่าโทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศ เมื อวันที 28 มกราคม 2548 บริ ษ ทั ฯ ได้ยืนคําเสนอข้อพิ พ าทต่ ออนุ ญาโตตุ ล าการ เกียวกับเรื องการคํานวณส่ วนแบ่งรายได้ทีเกิดจากค่าโทรศัพท์ทางไกลต่างประเทศภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ บริ ษทั ฯ ได้เรี ยกร้ องค่าเสี ยหายสําหรั บการที ที โอที ไม่สามารถคํานวณแยกค่าส่ วนแบ่งรายได้ที ที โอที ได้รับจากการใช้โทรศัพท์ต่างประเทศในส่ วนโครงข่ายของบริ ษทั ฯ ออกจากส่ วนของโครงข่าย ทีโอที เป็ น จํานวนเงิน 5,000.00 ล้านบาท และค่าเสี ยหายจากการคํานวณจํานวนเงิ นผิดพลาดอีก 3,407.68 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (2) ข้อพิพาทเกียวกับสัญญาข้อ 38 ของสัญญาร่ วมการงานฯ เมือวันที 15 พฤษภาคม 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เกี ยวกับเรื องขอให้ ทศท. ระงับการใช้อาํ นาจกํากับดูแลสัญญาร่ วมการงานฯ และระงับการใช้อาํ นาจตาม สัญญา นับตังแต่วนั ทีสถานภาพ ทศท. เปลียนแปลงไป และให้อาํ นาจกํากับดูแลเป็ นของกระทรวงคมนาคม หรื อกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร คดี นีเป็ นคดี ไม่มีทุนทรั พย์ ทศท. ได้ยืนคําคัดค้า น เมือวันที 17 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ต่อมาเมือวันที 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาท ต่ออนุญาโตตุลาการ เรื องการปฏิเสธอํานาจกํากับดูแลของ ทศท. ตามข้อ 38 ของสัญญาร่ วมการงานฯ เป็ นคดีใหม่ อีก คดี หนึ ง ซึ งทัง 2 ข้อพิ พาทนี คณะอนุ ญาโตตุ ล าการได้มี คาํ ชี ขาดแล้วเมื อวันที 4 กันยายน 2557 โดย คณะอนุ ญาโตตุ ลาการมี คาํ ชี ขาดว่าการใช้อาํ นาจของ ทศท. ตามข้อพิพาทนี เป็ นการใช้อาํ นาจตามสัญญา พิ พ าททังสิ น ซึ งต่ อ มาเมื อวัน ที 26 พฤศจิ ก ายน 2557 บริ ษ ัท ฯได้ยื นคํา ร้ อ งขอเพิ ก ถอนคํา ชี ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการของทัง 2 ข้อพิพาทนี ต่อศาลปกครองกลางซึ งศาลปกครองกลางได้มีคาํ สังรับฟ้ องเมือ วันที 3 ธันวาคม 2557 เป็ นคดีหมายเลขดําที 1978/2557 ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(3) ข้อพิพาทเกียวกับส่ วนแบ่งรายได้ค่าโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ เมื อวันที 25 ธันวาคม 2550 บริ ษ ทั ฯ ได้ยืนคํา เสนอข้อพิ พาทต่ ออนุ ญาโตตุ ล าการ เรี ยกร้ องให้ ที โอที ชําระเงิ นที เป็ นส่ วนแบ่งรายได้อนั เกิ ดจากค่าโทรศัพท์ท างไกลระหว่า งประเทศเป็ น จํานวนเงิน 1,968.70 ล้านบาท ซึ ง ทีโอที นําส่ งส่ วนแบ่งรายได้ดงั กล่าวขาดไป ไม่เป็ นไปตามเงือนไขของ อัตราส่ วนแบ่งรายได้ทีระบุไว้ในสัญญา โดยบริ ษทั ฯ ได้ร้องขอให้อนุ ญาโตตุลาการพิจารณาวินิจฉัยสังการ ในเรื องต่อไปนี 1. ให้ ที โ อที ปฏิ บ ัติ ต ามสั ญ ญาร่ ว มการงานฯ และข้อ ตกลงเรื องการจัด เก็ บ และ แบ่งรายได้ โดยให้ชาํ ระส่ วนแบ่งรายได้ค่าบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศให้ถูกต้องครบถ้วนตาม เงือนไขของสัญญาข้อตกลงดังกล่าว 2. ให้ ทีโอที ชําระค่าเสี ยหายให้แก่บริ ษทั ฯ เป็ นจํานวนเงิน 1,968.70 ล้านบาท 3. ให้ ทีโอที คํานวณส่ วนแบ่งรายได้ค่าบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศโดย ทังจากการเรี ยกเข้าและเรี ยกออกโดยใช้อตั รา 6 บาทต่อนาทีตามทีระบุในสัญญามาเป็ นฐานในการคํานวณ ส่ วนแบ่งรายได้นบั แต่เดือนกันยายน 2550 เป็ นต้นไป 4. ให้ ทีโอที ชําระดอกเบียทีเกียวข้องตามสัญญาข้อ 21 (อัตราเฉลีย MLR+1) หรื อใน อัตราร้ อยละ 7.86 ต่อปี จากส่ วนแบ่งรายได้ที ที โอที ค้างชําระนับแต่วนั ทียืนคําเสนอข้อพิพาทจนกว่าจะ ชําระครบถ้วน เมื อวัน ที 29 เมษายน 2551 ที โอที ไ ด้ยื นคํา คัด ค้า น ขณะนี กรณี พิ พ าทอยู่ร ะหว่า ง กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ทังนี เมือวันที 11 กรกฎาคม 2556 ที โอที ได้มีหนังสื อแจ้งขอชําระเงิ นค่าส่ วนแบ่ง รายได้ค่าโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศในช่วงระหว่างวันที 1 มกราคม 2547 ถึงวันที 30 มิถุนายน 2547 ให้แก่ บริ ษทั ฯ รวมทังสิ นเป็ นเงิน 133,115,094.34 บาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิม) ซึ ง บริ ษทั ฯ ได้มีหนังสื อฉบับลงวันที 26 กรกฎาคม 2556 ตอบรับชําระเงินดังกล่าว โดย บริ ษทั ฯ ไม่ติดใจเรี ยกร้องค่าส่ วนแบ่งรายได้ค่าโทรศัพท์ ทางไกลระหว่างประเทศในช่วงระหว่างวันที 1 มกราคม 2547 ถึงวันที 30 มิถุนายน 2547 อย่างไรก็ตามใน หนังสื อดังกล่าวยังระบุดว้ ยว่า การที บริ ษทั ฯ รับชําระหนี ดังกล่าวไม่ถือว่าเป็ นการสละประเด็นข้อต่อสู ้หรื อ เป็ นการระงับข้อพิพาทแต่อย่างใด

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

2.

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ข้ อพิพาททีทีโอทีเป็ นผู้เสนอ (1) ข้อพิพาทเกียวกับค่าใช้ท่อร้อยสาย

เมือวันที 31 พฤษภาคม 2548 ที โอที ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทให้บริ ษทั ฯ ชําระเงิ นค่าเช่ า ท่อร้อยสาย ตังแต่เดือนพฤษภาคม 2547 ถึง เดือนเมษายน 2548 เป็ นจํานวนเงิน 6.72 ล้านบาทพร้อมดอกเบีย บริ ษทั ฯ ได้ยนคํ ื าคัดค้าน เมือวันที 19 กันยายน 2548 ขณะนีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ (2) ข้อพิพาทเกียวกับเรื องค่าโทรศัพท์ทางไกลในประเทศ TA 1234 เมือวันที 30 มิถุนายน 2548 ทีโอที ได้ยนคํ ื าเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจากการ สู ญเสี ยรายได้ตงแต่ ั วนั ที 16 พฤศจิกายน 2543 ถึงเดือนมีนาคม 2548 เป็ นจํานวนเงิน 15,804.18 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย อันเนื องมาจากบริ ษทั ฯ ลดค่าบริ การทางไกลในประเทศภายใต้โครงการ TA 1234 และร้องขอให้ บริ ษทั ฯ เรี ยกเก็บค่าบริ การทางไกลในประเทศตามอัตราทีตกลงกันภายใต้สัญญาร่ วมการงานฯ เมือวันที 12 มีนาคม 2556 สถาบันอนุญาโตตุลาการได้แจ้งคําร้องขอแก้ไขเพิมเติมจํานวนทุนทรัพย์ โดยคิดค่าเสี ยหาย เพิมเติมจากเดือนเมษายน 2548 จนถึงวันที 30 มิถุนายน 2548 เป็ นจํานวน 1,060,911,627.84 บาท รวมเป็ น จํานวนเงินทังสิ น 16,865.09 ล้านบาท ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (3) ข้อพิพาทเกียวกับการให้บริ การ ADSL เมื อวัน ที 28 ตุ ล าคม 2548 ที โ อที ได้ยื นคํา เสนอข้อ พิ พ าทระบุ ว่า บริ ษ ัท ฯ ละเมิ ด ข้อตกลงในสั ญ ญาร่ ว มการงานฯ โดยให้ บ ริ ก ารหรื อยิ น ยอมให้ผูอ้ ื นนํา อุ ปกรณ์ ใ นระบบไปให้ บ ริ ก าร อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง (ADSL) ทีโอที เรี ยกร้องค่าเสี ยหายเป็ นจํานวนเงิน 2,010.21 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย นอกจากนี ที โอที ยังเรี ยกร้ องให้บริ ษทั ฯ ชําระค่าเสี ยหายต่อเนื องจากเดื อนกรกฎาคม 2548 อีกเดื อนละ 180.00 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย และขอให้บริ ษทั ฯ ระงับการให้บริ การหรื ออนุญาตให้ผอู ้ ืนให้บริ การ ADSL ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (4) ข้อพิพาทเกียวกับส่ วนแบ่งรายได้ตามสัญญาร่ วมการงานฯ เมือวันที 22 มกราคม 2551 ทีโอที ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการเรี ยกคืน ส่ วนแบ่งรายได้ทีบริ ษทั ฯ ได้รับเกินกว่าสิ ทธิ ทีพึงจะได้รับจํานวน 1,479.62 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย บริ ษทั ฯ ได้ ยืนคําคัดค้านเมือวันที 18 เมษายน 2551 ต่อมาเมือวันที 26 มิถุนายน 2557 อนุญาโตตุลาการโดยเสี ยงข้างมากได้ ชี ขาดให้ บริ ษทั ฯ ชําระเงิ นจํานวน 1,217,505,724.17 บาท พร้ อมด้วยอัตราดอกเบียร้ อยละ 7.5 ต่อปี นับตังแต่ วันที 22 มกราคม 2551 จนกว่าจะชําระเสร็ จสิ น ให้แก่ทีโอที ทังนีเมือวันที 7 ตุลาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําร้อง ขอเพิกถอนคําชี ขาดของอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง ขณะนี อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(5) ข้อพิพาทเกียวกับค่าตอบแทนการใช้ Gateway สําหรับบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ เมือวันที 1 สิ งหาคม 2554 ทีโอที ได้เสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ฯ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ฯ ชําระเงินจํานวน 91.88 ล้านบาท รวมภาษีมูลค่าเพิมและดอกเบียทีเกิ ดขึน เป็ นค่าตอบแทน การใช้ Gateway สําหรับบริ การโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศโดยใช้รหัส 007 สําหรับงวดระหว่าง เดือนกรกฎาคม 2547 ถึง เดือนพฤษภาคม 2554 และเรี ยกร้ องดอกเบียเพิมเติมจนกว่าการชําระจะเสร็ จสิ น นอกจากนียังเรี ยกร้องให้ชาํ ระเงินตามใบแจ้งหนีประจําเดือนมิถุนายน 2554 บวกดอกเบียและภาษีมูลค่าเพิม ทีเกิ ดขึน ณ วันที 30 กันยายน 2554บริ ษทั ฯ ได้ตงค้ ั างจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าวไว้เป็ นจํานวน 72.62 ล้านบาท ข้อพิพาทดังกล่าวขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ผลทีสุ ดของคดีความดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถคาดการณ์ ได้ในขณะนี ดังนัน บริ ษทั ฯ จึงไม่ได้บนั ทึกรายได้ห รื อไม่ได้ตงสํ ั ารองสําหรับผลเสี ยหายที อาจจะเกิ ดขึนจากผลของคดี ดงั กล่ าวไว้ใน งบการเงินนอกจากตามทีระบุไว้ (6) ข้อพิพาทเกียวกับค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคม เมื อวัน ที 21 มิ ถุ น ายน 2556 ที โ อที ไ ด้ เ สนอข้อ พิ พ าทกั บ บริ ษัท ฯ ต่ อ สถาบัน อนุ ญาโตตุ ล าการเรี ย กร้ องให้บริ ษ ทั ฯ ชํา ระค่ า ธรรมเนี ย มเลขหมายโทรคมนาคมพร้ อ มภาษี มู ล ค่ าเพิ ม เป็ นจํานวนเงิน 512,380,498.31 บาท รวมทังให้ชาํ ระค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมทีเพิมขึ นตาม ประกาศ กทช. เรื อง หลักเกณฑ์ในการจัดสรรเลขหมายโทรคมนาคมชัวคราว พ.ศ. 2548 ตังแต่รอบชําระ เดื อนสิ งหาคม 2548 ถึ งรอบชํา ระเดื อนกรกฎาคม 2551 และ ตามหลัก เกณฑ์ ใ นการจัดสรรเลขหมาย โทรคมนาคมชัวคราว พ.ศ. 2551 รอบชําระเดือนธันวาคม 2552 พร้อมภาษีมูลค่าเพิมและดอกเบีย เป็ นจํานวน ั น 539,023,718.60 บาท ทังนี เมือวันที 11 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ 26,643,220.29 บาท รวมทุนทรัพย์ทงสิ ดําเนินการยืนคําคัดค้านต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ ข้อพิพาทนี สื บเนื องมาจากคดี ทีทีโอทีฟ้องบริ ษทั ฯ ต่อศาลปกครองกลาง เพือขอให้ บริ ษทั ฯ ชําระค่าธรรมเนียมเลขหมายคืนทีโอทีทีได้ชาํ ระให้แก่ กทช. ไปแล้ว ซึ งต่อมาศาลปกครองกลางได้ มีคาํ สังให้จาํ หน่ายคดี เพือให้ไปดําเนินการทางอนุญาโตตุลาการ (7) ข้อพิพาทเกียวกับค่าเช่าใช้ท่อร้อยสายบริ เวณเมืองทองธานี เมื อวัน ที 17 กุ ม ภาพัน ธ์ 2557 ที โ อที ได้เ สนอข้อ พิ พ าทกับ บริ ษ ัท ฯ ต่ อ สถาบัน อนุญาโตตุลาการเรี ยกร้องให้บริ ษทั ฯ ชําระค่าเช่าใช้ท่อร้อยสายบริ เวณเมืองทองธานี ให้แก่ ทีโอที (สําหรับค่าเช่า ในช่วงเวลาตังแต่เดือนพฤษภาคม 2548 ถึงเดือนธันวาคม 2556 ) จํานวน 59,171,284.64 บาท (ห้าสิ บเก้าล้าน หนึงแสนเจ็ดหมืนหนึงพันสองร้อยแปดสิ บสี บาทหกสิ บสี สตางค์) พร้ อมด้วยดอกเบีย ทังนี เมือวันที 4 มีนาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้รับสําเนาคําเสนอข้อพิพาทดังกล่าว จากสถาบันอนุญาโตตุลาการ ขณะนี อยูร่ ะหว่างกระบวนการ ทางอนุญาโตตุลาการ ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

3. ข้ อพิพาทเกียวกับภาษีสรรพสามิต (1) ข้อพิพาทเบียปรับภาษีสรรพสามิต เมือวันที 21 กรกฎาคม 2549 บริ ษทั ฯ ได้รับแจ้งเรื องการประเมินภาษีสรรพสามิ ตจาก กรมสรรพสามิตให้บริ ษทั ฯ ชําระเบี ยปรับและเงิ นเพิมของภาษี สรรพสามิ ต ตังแต่เดื อนมกราคม 2548 ถึ ง เดื อนมีนาคม 2548 ทีนําส่ งล่ าช้ากว่ากําหนดเป็ นจํานวนเงิ น 185.87 ล้านบาท เมือวันที 21 สิ งหาคม 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําขอทุเลาการชําระภาษีสรรพสามิตตามคําสังทางปกครอง และต่อมาเมือวันที 1 กันยายน 2549 บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําคัดค้านการประเมิ นดังกล่ าว ต่อมาเมื อวันที 30 เมษายน 2550 อธิ บดี กรมสรรพสามิตได้ วินิจฉัยให้ยกคําคัดค้านการประเมิน เมือวันที 2 พฤษภาคม 2550 บริ ษทั ฯ ได้ยืนอุทธรณ์คดั ค้านคําวินิจฉัยและ ให้ เ พิ ก ถอนคํา วิ นิ จ ฉัย ดั ง กล่ า วต่ อ คณะกรรมการพิ จ ารณาอุ ท ธรณ์ ต่ อ มาเมื อวัน ที 19 กัน ยายน 2551 คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้วินิจฉัยยกอุทธรณ์ของบริ ษทั ฯ และให้บริ ษทั ฯ ชําระภาษีสรรพสามิตตาม คําวินิจฉัยคําคัดค้านการประเมินภาษีสรรพสามิต จํานวน 185.87 ล้านบาท เมือวันที 22 มกราคม 2552 บริ ษทั ฯ ได้ ยืนฟ้ องขอเพิกถอนคําวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ต่อศาลภาษีอากรกลาง เมือวันที 29 กันยายน 2552 ศาลภาษีอากรกลางได้มีคาํ พิพากษาให้งดเบียปรับทังหมด อย่างไรก็ดี เมือวันที 2 มีนาคม 2553 บริ ษทั ฯ ได้ ยืนอุทธรณ์ ในประเด็นอื นทีเป็ นผลจากการตัดสิ น ขณะนี คดี กาํ ลังอยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาอุ ทธรณ์ ของศาลฎีกา (2) ข้อพิพาทการขอคืนภาษีสรรพสามิต เมือวันที 8 พฤษภาคม 2551 บริ ษทั ฯ ได้ยืนฟ้ องกรมสรรพสามิตต่อศาลภาษีอากรกลาง เพือขอให้พิจารณาพิพากษาให้คืนเงินค่าภาษีสรรพสามิตตังแต่รอบเดือนภาษีมกราคม 2548 ถึงรอบเดือนภาษี ธันวาคม 2548 จํานวน 372.02 ล้านบาท ทีบริ ษทั ฯ ได้นาํ ส่ งไปโดยไม่มีหน้าทีต้องนําส่ งและได้ยืนขอคืนจาก กรมสรรพสามิตแล้ว แต่กรมสรรพสามิตปฏิเสธทีจะจ่ายคืน เมือวันที 29 ตุลาคม 2551 ศาลพิพากษาว่า กรมสรรพสามิต จําเลยไม่มีหน้าทีคืนค่าภาษีสรรพสามิตพร้อมดอกเบียให้แก่โจทก์ตามฟ้ อง จึงพิพากษายกฟ้ อง บริ ษทั ฯ ได้ยืน อุ ทธรณ์ ไ ปยังศาลฎี กา เมื อวันที 1 สิ งหาคม 2557 ศาลฎี ก าได้อ่า นคําพิ พ ากษาโดยมี ค าํ พิ พากษายืนตาม ศาลชันต้น มี ผลให้คดี ดังกล่ าวถึ งที สุ ดเมื อวันที 13 กุ มภาพันธ์ 2552 บริ ษ ทั ฯ ได้ยืนคําร้ องต่ ออธิ บดี กรม สรรพสามิต เพือขอคืนภาษีสรรพสามิต สําหรับรอบเดือนภาษีมกราคม 2549 ถึง 26 กุมภาพันธ์ 2550 เป็ นจํานวน เงินรวม 348.87 ล้านบาททีบริ ษทั ฯ นําส่ งโดยไม่มีหน้าทีต้องนําส่ ง เมือวันที 23 เมษายน 2552 กรมสรรพสามิต ได้ปฏิเสธคําร้องขอคืนภาษี สรรพสามิตดังกล่าว เมื อวันที 13 พฤษภาคม 2552 บริ ษทั ฯ ได้ยืนอุทธรณ์ คาํ สัง ปฏิเสธของกรมสรรพสามิต และเมือวันที 24 กุมภาพันธ์ 2555 กรมสรรพสามิตได้มีหนังสื อแจ้งยกอุทธรณ์ การขอคืนภาษีสรรพสามิตทังหมดของบริ ษทั ฯ ซึ งบริ ษทั ฯ มีสิทธิ โต้แย้งโดยยืนฟ้ องกรมสรรพสามิตต่อศาล ภาษีอากรกลาง เพือขอให้พิพากษาให้คืนเงินค่าภาษี ภายในกําหนดอายุความ 10 ปี นับจากวันทีได้ชาํ ระเงินค่า ภาษีดงั กล่าว

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(3) ข้อพิพาทเบียปรับภาษีมูลค่าเพิมของเงินชดเชยค่าภาษีสรรพสามิต เมือวันที 21 มีนาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ยืนฟ้ องรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังต่อ ศาลปกครองกลาง เพือขอให้ศาลมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังเพิกถอนคําสังของ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง เรื อง ภาษีมูลค่าเพิมของเงินชดเชยค่าภาษีสรรพสามิต กรณี ขยายระยะเวลาการยืนแบบแสดงรายการและนําส่ ง ภาษีมูลค่าเพิม ฉบับลงวันที 15 ธันวาคม 2553 ซึ งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังพิจารณาไม่อนุ มตั ิขยายเวลา การยืนแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิมออกไปตามความจําเป็ นแห่งกรณี เพือให้บริ ษทั ฯ ไม่ตอ้ งรับผิดชําระเงินเพิม ในอัตราร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรื อเศษของเดือนตามมาตรา 89/1 วรรคสองแห่ งประมวลรัษฎากร ซึ งเมือคํานวณแล้ว เป็ นเงิ นเท่ ากับ 7.31 ล้านบาท และขอให้ศาลมี ค าํ พิ พากษาหรื อคําสั งให้ผูถ้ ู กฟ้ องคดี พิ จารณาอนุ มตั ิ ขยาย ระยะเวลาการยืนแบบรายการภาษีมูลค่าเพิมสําหรับเดื อนภาษีกุมภาพันธ์ 2546 ถึงเดือนภาษีพฤษภาคม 2548 เป็ นวันที 15 สิ งหาคม 2548 เพือไม่ให้เกิดภาระเงินเพิมดังกล่าว และเมือวันที 30 มกราคม 2556 ศาลปกครองกลางได้ มี คาํ สั งไม่รับคําฟ้ องไว้พิจารณาและให้จาํ หน่ ายคดี ออกจากสารบบความ โดยให้เหตุ ผลว่าคดี ไม่อยู่ในอํานาจ พิ จารณาของศาลปกครอง เนื องจากอยู่ ในอํานาจพิ จารณาของศาลภาษี อากรกลาง ตามมาตรา 7 (1) แห่ ง พระราชบัญญัติจดั ตังศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร พ.ศ. 2528 ต่อมาเมือวันที 6 มีนาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ยืนอุ ทธรณ์ ค าํ สังไม่ รับคําฟ้ องไว้พิ จารณาดังกล่ าวต่ อศาลปกครองสู งสุ ด ต่ อมาเมื อวันที 13 มี นาคม 2557 ศาลปกครองสู งสุ ดมีคาํ สังให้ ยกคําสังของศาลปกครองชันต้นทีไม่รับคําฟ้ องของผูฟ้ ้ องคดี ไว้พิจารณาและให้ จําหน่ ายคดี ออกจากสารบบความ โดยให้ศาลปกครองชันต้นจัดทําความเห็ นเกี ยวกับเขตอํานาจศาลส่ งไปยังศาล ยุติธรรมตามมาตรา 10 แห่ง พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการวินิจฉัยชีขาดอํานาจหน้าทีระหว่างศาล พ.ศ.2542 ซึ งบริ ษทั ฯ ได้ยืนคําชี แจงในประเด็นเกียวกับเขตอํานาจศาลส่ งไปยังศาลปกครองแล้ว ขณะนี คดี อยูร่ ะหว่างการดําเนิ นงาน ภายในของศาลปกครองในขันตอนการจัดส่ งคําชีแจง 4. คดีฟ้องร้ องทีอยู่ทีศาลต่ างประเทศ เมือวันที 3 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ได้ถูกบริ ษทั หองซู่ น จํากัด โจทก์ ยืนฟ้ องคดีแพ่งต่อศาล ประชาชนระดับกลางเมืองเซี ยเหมิน แห่งประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เพือให้ศาลวินิจฉัยในประเด็นข้อ พิพาทเกี ยวกับสิ ทธิ ความเป็ นเจ้าของโดเมนเนม truecorp.com และtruemoveh.com เนื องจากก่อนหน้านี บริ ษทั ได้ใช้สิทธิ เรี ยกคืนโดเมนเนมข้างต้นจากบริ ษทั หองซู่ น จํากัด โดยบริ ษทั ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อ สถาบันอนุญาโตตุลาการของ WIPO (World Intellectual Property Organization) ซึ งคณะอนุญาโตตุลาการ ได้วนิ ิ จฉัยและมีคาํ ชี ขาดว่าบริ ษทั เป็ นเจ้าของโดเมนเนม truecorp.com และ truemoveh.com โดยชอบด้วย กฎหมาย ทังนี บริ ษ ทั ได้รับสําเนาคํา ฟ้ องดัง กล่ าวเมื อวันที 15 กรกฎาคม 2557 ปั จจุ บ นั คดี อยู่ระหว่า ง กระบวนการพิจารณา

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

5. คดีฟ้องร้ องและข้ อพิพาทของบริษัทย่อย (1) เมือวันที 23 กรกฎาคม 2544 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือฮัทชิสัน ซี เอที ถูกบุคคลธรรมดาฟ้ อง เป็ นจําเลยร่ วมกับจําเลยอื นรวม 5 ราย ต่ อศาลแพ่ งในคดี ละเมิ ดสั ญญานายหน้า เรี ยกร้ องค่ าเสี ยหายจํานวน 438,579,804.75 บาท ศาลชันต้นได้พิพากษายกฟ้ องโจทก์ในส่ วนของฮัทชิสัน ซี เอที และจําเลยบางราย และ ต่อมาศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาแก้เป็ นให้ยกฟ้ องโจทก์ทงหมด ั ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา (2) เมือเดือนมีนาคม 2548 ตัวแทนให้บริ การจําหน่ายสัญญาณของบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึง คือ ทรู วิชนส์ ั ซึ งได้ถูกยกเลิกสัญญาไปแล้ว ได้ฟ้อง ทรู วิชนส์ ั เพือเรี ยกร้องให้ชดเชยค่าเสี ยหายเป็ นจํานวนเงินสู งสุ ด ั ผิดเงื อนไขตามสัญญาบอกรับการเป็ นสมาชิ กประเภทโครงการ 300.00 ล้านบาท โดยกล่าวหาว่า ทรู วิชนส์ แบบเหมาจ่าย (CMDU) ต่อมาเมือวันที 26 พฤษภาคม 2551 ศาลแพ่งได้ตดั สิ นโดยพิพากษาให้ ทรู วิชนส์ ั เป็ น ฝ่ ายชนะคดี โดยให้ยกฟ้ องของโจทก์และมีคาํ สังให้โจทก์ชาํ ระเงินจํานวน 1.66 ล้านบาท พร้ อมดอกเบี ย ร้อยละ 7.5 ต่อปี นับจากวันฟ้ องแย้งจนกว่าจะชําระเสร็ จสิ น ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาอุทธรณ์ (3) เมือวันที 23 สิ งหาคม 2549 CAT Telecom ได้ยืนฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ ต่อศาลปกครองกลาง เพือขอให้ชาํ ระค่าใช้พืนทีอาคารและเสาอากาศจํานวนเงิน 12.48 ล้านบาท และเมือ วันที 21 มกราคม 2552 ศาลปกครองกลางได้มีคาํ พิพากษายกฟ้ อง โดย ทรู มูฟ ไม่มีหน้าที ต้องชําระเงิ น จํานวนดังกล่าวให้ CAT Telecom อย่างไรก็ตาม CAT Telecom ได้ยนอุ ื ทธรณ์เมือวันที 19 กุมภาพันธ์ 2552 และ ทรู มูฟ ได้ยืนคัดค้านคําอุทธรณ์ไปเมือวันที 26 เมษายน 2552 และทรู มูฟได้ยืนคัดค้านคําอุทธรณ์ไป เมือวันที 26 เมษายน 2552 ต่อมาเมือวันที 31 กรกฎาคม 2557 ศาลปกครองสู งสุ ดพิพากษากลับคําพิพากษา ศาลปกครองชันต้น เป็ นผลให้ ทรู มูฟ ต้องชําระเงินจํานวน 233,688 บาท พร้อมดอกเบียในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ฟ้ องเป็ นต้นไปจนกว่าจะชําระเสร็ จให้แก่ CAT Telecom รวมเป็ นจํานวนเงินทังสิ น 374,813.14 บาท ซึ ง ทรู มูฟ ได้ชาํ ระเงินจํานวนดังกล่าวให้แก่ CAT Telecom เมือวันที 10 กันยายน 2557 (4) เมือวันที 13 ตุลาคม 2549 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ ต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการเรี ยกร้ องให้ ทรู มูฟ ชําระค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมเป็ น จํานวนเงิน 113.58 ล้านบาท ต่อมาเมือวันที 15 สิ งหาคม 2551 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาํ ชี ขาดให้ ทรู มูฟ ชําระเงินให้ CAT Telecom จํานวน 99.60 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบียร้อยละ 7.5 ต่อปี ) ทรู มูฟ ได้รับทราบคําชี ขาด เมือวันที 24 สิ งหาคม 2551 และทรู มูฟได้ดาํ เนินการคัดค้านคําชีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง และศาลปกครองกลางได้มีคาํ พิพากษาเมือวันที 23 กุมภาพันธ์ 2554 ว่าคําชี ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ ไม่ชอบด้วยกฎหมายซึ งการยอมรั บหรื อบังคับตามคําชี ขาดนันจะเป็ นการขัดต่อความสงบเรี ยบร้ อยหรื อ ศีลธรรมอันดีของประชาชน ศาลจึงมีคาํ สังเพิกถอนคําชี ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ เมือวันที 22 มีนาคม 2554 CAT Telecom ได้อุทธรณ์ คาํ สังดังกล่ า วต่ อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี คดี อยู่ระหว่า งการพิ จารณาของ

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ศาลปกครองสู งสุ ด ต่อมาเมือวันที 16 มิถุนายน 2554 CAT Telecom ได้ยืนคําร้องต่อศาลปกครองกลางเพือ ขอให้บงั คับตามคําชีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการให้ทรู มูฟชําระเงินแก่ CAT Telecom ซึ งทรู มูฟได้โต้แย้ง คํา ร้ องดัง กล่ าวเนื องจากคํา ชี ขาดของคณะอนุ ญาโตตุ ล าการได้ถู กเพิ ก ถอนไปแล้วโดยคํา พิ พากษาของ ศาลปกครองกลาง และ CAT Telecom ไม่มีสิทธิ ทีจะยืนคําร้องดังกล่าว ในส่ วนคดีเกียวกับคําร้องของ CAT Telecom ดังกล่าวอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (5) เมือวันที 1 ธันวาคม 2549 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึง คือ ทรู มูฟ ได้ถูกฟ้ องคดีแพ่งโดยบุคคล กลุ่มหนึง โดยเรี ยกร้องค่าเสี ยหายเป็ นจํานวน 44.37 ล้านบาท เมือวันที 9 กันยายน 2550 คดีดงั กล่าวได้มีการ ถอนฟ้ องออกไปคงเหลืออยูเ่ พียงคดีเดียว ค่าเสี ยหายทีเรี ยกร้องคงเหลือเป็ นจํานวนเงิน 7.00 ล้านบาท ซึ งศาล ได้มีคาํ พิพากษาเมือวันที 29 กันยายน 2554 ให้ทรู มูฟชําระเงินให้แก่ผเู ้ สี ยหายเป็ นเงินรวมทังสิ น 1.06 ล้านบาท (ไม่รวมดอกเบียผิดนัด) ผูเ้ สี ยหายได้ยนอุ ื ทธรณ์ ต่อมาเมื อวันที 22 มกราคม 2556 ศาลจังหวัดมหาสารคามได้อ่านคําพิพากษาของ ศาลอุทธรณ์ภาค 4 โดยศาลได้พิพากษากลับคําพิพากษาศาลชันต้น ให้ ทรู มูฟ ชนะคดี ผูเ้ สี ยหายได้ยืนฎีกา เมื อวันที 22 เมษายน 2556 และทรู มู ฟ ได้ยืนคัดค้านฎี ก าแล้วเมื อวันที 11 กรกฎาคม 2556 ขณะนี ยังอยู่ ระหว่างการดําเนินคดีในชันฎีกา (6) เมือวันที 30 เมษายน 2550 ทีโอที ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กทช. และ เลขาธิ การคณะกรรมการ กทช. เพือขอเพิกถอนคําสังของคณะกรรมการ กทช. ทีมีคาํ สังให้ ทีโอที ต้องทําให้เลขหมายโทรคมนาคม ของ ทีโอที สามารถติดต่อกันได้ทุกโครงข่าย ดังนัน บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ จึงได้ร้องสอดเข้าไปเป็ น คู่ความในคดี และเมือวันที 9 ตุลาคม 2552 ศาลปกครองกลางมีคาํ พิพากษายกฟ้ องของ ทีโอที ต่อมาเมือวันที 6 พฤศจิกายน 2552 ทีโอที ได้อุทธรณ์คาํ พิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ด และเมือวันที 2 มีนาคม 2553 ทรู มูฟ ได้ยนคํ ื าแก้อุทธรณ์ต่อศาลปกครองสู งสุ ดแล้ว ขณะนีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (7) เมือวันที 9 สิ งหาคม 2550 CAT Telecom ได้มีหนังสื อถึงธนาคารสี แห่ งซึ งเป็ นผูอ้ อก หนังสื อคําประกันให้กบั บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ เรี ยกร้องให้ธนาคารทังสี แห่ งจ่ายชําระเงิ นจํานวน 370.00 ล้านบาท แทน ทรู มูฟ โดยกล่าวหาว่า ทรู มูฟไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา กรณี นี สื บเนื องมาจากกรณี พิพาทที CAT Telecom ได้นาํ เสนอสู่ สถาบันอนุ ญาโตตุลาการและคดียงั อยูร่ ะหว่างการดําเนิ นการของอนุ ญาโตตุลาการ เมือวันที 29 สิ งหาคม 2550 ทรู มูฟ ได้ยืนคําร้องต่อศาลแพ่งและศาลปกครองกลางเพือขอให้ศาลมีคาํ สังการคุม้ ครอง เพือบรรเทาทุกข์ชวคราว ั และมีคาํ สังให้ CAT Telecom ระงับการใช้สิทธิ เรี ยกร้องและให้ทงสี ั ธนาคารระงับ การชําระเงิ นตามหนังสื อคําประกันไว้จนกว่าจะมี คาํ ชี ขาดจากอนุ ญาโตตุ ลาการ ศาลทังสองได้ตดั สิ นและ มีคาํ สังในทางเป็ นประโยชน์ต่อทรู มูฟ ต่อมาเมือวันที 27 กันยายน 2550 ทรู มูฟได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทเรื องนี ต่ออนุ ญาโตตุ ลาการ เป็ นคดี ดาํ หมายเลขที 105/2550 ซึ งมีทุนทรัพย์ 1 ล้านบาท ทังนี ระหว่างการดําเนิ น

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กระบวนพิจารณาชันอนุ ญาโตตุลาการ คู่พาททัง 2 ฝ่ าย สามารถตกลงกันได้ตามสัญญาประนี ประนอมยอมความ โดยเมือวันที 10 ตุลาคม 2557 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาํ ชี ขาดตามสัญญาประนี ประนอม เป็ นข้อพิพาท หมายเลขแดงที 99/2557 ซึ งมีขอ้ ตกลงมิให้ CAT Telecom เรี ยกร้องให้ธนาคารทุกธนาคารผูอ้ อกหนังสื อ คําประกัน ชําระเงิ นตามหนังสื อคําประกัน จนกว่าข้อพิพาทตามสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ จะสิ นสุ ดลง และ ทรู มูฟไม่ติดใจเรี ยกร้องค่าเสี ยหายตามข้อพิพาทหมายเลขดําที 105/2550 (8) เมือวันที 9 มกราคม 2551 CAT Telecom ได้ยืนเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการเรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ จ่ายชําระค่าส่ วนแบ่งรายได้ทีส่ งขาดไปรวมค่าปรับ และดอกเบียจํานวนรวมทังสิ น 8,969.08 ล้านบาท ต่อมาเมือวันที 16 กันยายน 2554 คณะอนุญาโตตุลาการ ได้มีคาํ วินิจฉัยชีขาดให้ยกคําเสนอข้อพิพาทดังกล่าว ทําให้ ทรู มูฟ ไม่ตอ้ งชําระผลประโยชน์ตอบแทนตาม คําเสนอข้อพิพาทดังกล่าว CAT Telecom ได้ยนคํ ื าร้องขอเพิกถอนคําชี ขาดอนุ ญาโตตุลาการต่อศาลปกครองกลาง เมื อวันที 25 พฤศจิ ก ายน 2554 และ ทรู มู ฟ ได้ดาํ เนิ นการทํา คํา คัดค้านคํา ร้ องยืนต่ อศาลปกครองกลาง ทังนี เมื อวัน ที 22 กรกฎาคม 2557 ศาลปกครองกลางได้มี พิ พ ากษา ยกคํา ร้ อ งขอเพิ ก ถอนคํา ชี ขาด อนุญาโตตุลาการของ CAT Telecom ซึ งต่อมา CAT Telecom ได้ยืนอุทธรณ์คาํ พิพากษาของศาลปกครองกลาง เป็ นคดีหมายเลขดําที อ.850/2557 ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองสู งสุ ด (9) เมือวันที 19 กุมภาพันธ์ 2551 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ ชําระส่ วนแบ่งรายได้เพิมเติมจํานวน 45.95 ล้านบาท (เบียปรับ จากการชําระผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิมปี ที 6-8 ล่าช้า) เมือวันที 6 มีนาคม 2555 คณะอนุญาโตตุลาการ มีคาํ วินิจฉัยชีขาดให้ ทรู มูฟ ชําระเงินจํานวน 7.0 ล้านบาท ทรู มูฟ ได้ยนคํ ื าร้องขอเพิกถอนคําชี ขาดของคณะ อนุญาโตตุลาการ ต่อศาลปกครองกลาง เมือ 29 มิถุนายน 2555 และ CAT Telecom ก็ได้ยืนขอเพิกถอนคําชี ขาด ของคณะอนุ ญาโตตุลาการ เช่นกัน ซึ ง ทรู มูฟ ได้ขอรวมคดี และศาลได้มีคาํ สังให้รวมคดีได้ ขณะนี คดี อยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (10) เมือวันที 6 สิ งหาคม 2551 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้ องให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ ชําระค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิ ม (Access Charge) ทีทรู มูฟ หักออกจากผลประโยชน์ตอบแทนของปี ดําเนินการที 7 ถึงปี ที 11 (หักส่ วนลดค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) จํานวน 22 บาท ต่อเลขหมาย) เป็ นจํานวนเงิน 689.84 ล้านบาท เมือวันที 19 มีนาคม 2553 CAT Telecom ได้ยนข้ ื อเสนอขอแก้ไขจํานวนเงินเรี ยกร้องจากเดิม 689.84 ล้านบาท เป็ น 1,379.68 ล้านบาท เมือวันที 16 กรกฎาคม 2553 คณะอนุญาโตตุลาการได้ทาํ คําชีขาดให้ยกคําเสนอข้อพิพาทของ CAT Telecom และเมือวันที 27 ตุลาคม 2553 CAT Telecom ได้ยืนคําร้องต่อศาลปกครองกลางเพือขอให้เพิกถอนคําชี ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการ ต่อมาเมือวันที 3 มิถุนายน 2557 ศาลปกครองกลางได้พิพากษายกคําร้องของ CAT Telecom

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ซึง CAT Telecom มิได้ใช้สิทธิ อุทธรณ์คาํ พิพากษาของศาลปกครองกลางภายในกําหนดระยะเวลาทีอุทธรณ์ได้ คดีนีจึงเป็ นอันสิ นสุ ดกระบวนการพิจารณาแล้ว (11) เมือวันที 30 ธันวาคม 2551 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้อง ให้บริ ษทั ย่อย แห่งหนึง คือ ฮัทชิสนั ซีเอที ชําระค่าบริ การที CAT Telecom ไม่สามารถเรี ยกเก็บได้ ค่าธรรมเนี ยมใบอนุ ญาต ค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคม เงินประกันรายได้ขนตํ ั าเพิมเติม และเงิ นค่าภาษีสรรพสามิตที CAT Telecom ได้ชาํ ระไปพร้อมภาษีมูลค่าเพิม ตามสัญญาทําการตลาดบริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 Band A เป็ นเงินจํานวน 1,204.0 ล้านบาท ซึ งข้อพิพาทดังกล่าวได้มีการระงับกระบวนพิจารณาไว้ ชั วคราวและจํา หน่ า ยคดี จ ากสารบบความ แต่ ปั จ จุ บ ัน ได้ มี ก ารนํ า ข้ อ พิ พ าทเข้ า สู่ ก ระบวนการทาง อนุญาโตตุลาการตามเดิม คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (12) เมือวันที 29 มกราคม 2552 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้ องให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ ส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ ในเสาอากาศและอุปกรณ์เสาอากาศ จํานวน 4,546 ต้น ให้ CAT Telecom หากทรู มูฟไม่สามารถส่ งมอบและโอนกรรมสิ ทธิ ในเสาดังกล่าวได้ไม่ว่า ด้วยเหตุ ใดๆ ให้ทรู มู ฟชําระค่ าเสี ยหาย เป็ นจํานวนเงิ นทังสิ น 2,766.16 ล้านบาท ทรู มู ฟ ได้ยืนคัดค้าน คําเสนอข้อพิ พาทต่ อคณะอนุ ญาโตตุ ลาการเมื อวันที 3 กันยายน 2552 และเมื อวันที 2 สิ งหาคม 2556 คณะอนุ ญาโตตุ ลาการได้วิ นิ จฉัยชี ขาดให้ ยกข้อเรี ยกร้ องของผู ้เรี ยกร้ องคดี นี โดยให้ เหตุ ผลโดยสรุ ปว่ า ตามสัญญาให้ดาํ เนินการฯ กําหนดให้ ทรู มูฟต้องส่ งมอบสถานที อาคาร และสิ งปลูกสร้างอืนใดทีใช้ติดตังเครื อง และอุปกรณ์ในสภาพใช้งานได้ดีแก่ CAT Telecom ภายใน 60 วันนับแต่วนั สิ นสุ ดแห่ งสัญญา เมือ CAT Telecom ยืนคําเสนอข้อพิพาทเมือวันที 29 มกราคม 2552 ซึ งสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ ยังไม่สินสุ ดลงและยังไม่มีการเลิ ก สัญญาจึงเป็ นการใช้สิทธิ เรี ยกร้องยังไม่ครบกําหนดระยะเวลาทีให้สิทธิ ผเู ้ รี ยกร้องใช้สิทธิ ตามสัญญาได้ ดังนัน คณะอนุ ญาโตตุลาการจึงไม่ได้พิจารณาว่าทรู มูฟจะต้องส่ งมอบ และ/หรื อ โอนกรรมสิ ทธิ ในเสาสําหรับติดตัง เครื องและอุปกรณ์โทรคมนาคมให้แก่ CAT Telecom หรื อไม่ ต่อมาเมือวันที 12 กันยายน 2556 CAT Telecom ได้ยนคํ ื าร้องขอให้ศาลปกครองกลางมีคาํ สังเพิกถอนคําชี ขาดของอนุ ญาโตตุลาการดังกล่าว เป็ นคดีหมายเลขดําที 1813/2556 ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (13) เมือวันที 15 พฤษภาคม 2552 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟชําระค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษสี หลักเลขหมาย 1331 เป็ นจํานวนเงิน 3.96 ล้านบาทพร้อมดอกเบียร้อยละ 7.5 ต่อปี ภาษีมูลค่าเพิมและค่าปรับร้อยละ 1.25 ต่อเดือน ของยอดเงินค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคมพิเศษ นับแต่วนั ที CAT Telecom ได้ชาํ ระให้แก่คณะกรรมการ กทช. จนกว่า ทรู มูฟจะชําระให้แก่ CAT Telecom ทรู มูฟ ได้ยืนเสนอคําคัดค้านเมือวันที 11 ธันวาคม 2552 ขณะนี กําลัง อยูใ่ นกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(14) เมือวันที 14 ตุลาคม 2552 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทเรี ยกร้ องให้บริ ษทั ย่อย แห่ งหนึ ง คือ ฮัทชิ สัน ซี เอที ชําระค่าธรรมเนี ยมใบอนุ ญาต ค่าธรรมเนี ยมเลขหมายโทรคมนาคม เงิ นประกัน รายได้ขนตํ ั าระหว่างเดือนตุลาคม 2550 ถึงเดือนกันยายน 2551 และค่าปรับจากการทีชําระค่าบริ การรายเดือนตาม งวดใบแจ้งหนี ให้ CAT Telecom ล่าช้าตามสัญญาทําการตลาดบริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 Band A เป็ นเงินจํานวน 241.0 ล้านบาท ซึ งข้อพิพาทดังกล่าวได้มีการระงับกระบวนพิจารณาไว้ชวคราวและ ั จําหน่ ายคดี จากสารบบความ แต่ปัจจุ บนั ได้มีการนําข้อพิพาทเข้าสู่ กระบวนการทางอนุ ญาโตตุลาการตามเดิ ม ข้อพิพาทอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (15) เมือวันที 11 มิถุนายน 2553 เอไอเอส ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ เพือขอให้อนุญาโตตุลาการมีคาํ วินิจฉัยให้บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ งคือ ทรู มูฟ ชําระค่าเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ทียังคงค้างชําระจํานวน 88.60 ล้านบาท ขณะนีข้อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ (16) เมือวันที 15 มิถุนายน 2553 สํานักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค (สคบ.) ได้เป็ น โจทก์ยนฟ้ ื องบริ ษทั ย่อยแห่งหนึง คือ ฮัทชิสัน ซีเอที เป็ นจําเลยร่ วมกับ บริ ษทั แคท คอร์ ปอเรชัน จํากัด เรื อง ผิดสัญญากรณี การเรี ยกร้องให้จาํ เลยจ่ายค่าตอบแทนแก่ผรู ้ ้องเรี ยนว่า ไม่สามารถใช้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ได้ฟรี เป็ นเวลา 10 ปี ตามข้อเสนอของบริ ษทั แคท คอร์ ปอเรชัน จํากัด ทุนทรัพย์ของคดี คือ 138,604.65 บาท ศาลชันต้น ได้มีคาํ พิพากษาให้จาํ เลยทังสองร่ วมกันรับผิดชดใช้ค่าเสี ยหายจํานวน 138,604.65 บาท พร้อม ดอกเบียร้อยละ 7.5 ต่อปี ต่อมา เมือวันที 27 สิ งหาคม 2556 ศาลอุทธรณ์ได้มีคาํ พิพากษายืนตามศาลชันต้น ต่อมาเมือวันที 4 ตุลาคม 2556 จําเลยได้ยนฎี ื กา ขณะนียังอยูร่ ะหว่างรอคําสังของศาลฎีกา (17) เมือวันที 16 มิถุนายน 2553 นายวิลเลียม ไลล์ มอนซัน ยืนฟ้ องบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึง คือ ทรู วชิ นส์ ั เป็ นจําเลยที 1 และบุคคลธรรมดา 3 คน เป็ นจําเลยที 2-4 ในข้อหาละเมิด ให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน และค่าเสี ยหายจํานวน 660,000,000 บาท โดยโจทก์กล่าวอ้างว่า ทรู วิชนส์ ั กับจําเลยทังหมด ร่ วมกันทุจริ ต ยึดอุปกรณ์เครื องส่ งไปจากโจทก์ จําเลยที 1 และที 3 ขอให้ศาลวินิจฉัย ชี ขาดปั ญหาข้อกฎหมายเบืองต้น เรื องขาดอายุความ และเป็ นฟ้ องซ้อน ศาลชันต้นมีคาํ พิพากษายกฟ้ อง เมือวันที 15 พฤศจิกายน 2553 และ ศาลอุทธรณ์ได้มีคาํ พิพากษายืนตามคําพิพากษาศาลชันต้น เมือวันที 22 พฤศจิกายน 2555 โดยมีคาํ วินิจฉัยว่า สิ ทธิ เรี ยกร้องอันเกิดจากมูลละเมิดขาดอายุความเมือพ้นกําหนด 1 ปี นับแต่วนั ทีโจทก์รู้ถึงการละเมิดและ รู้ตวั ผูซ้ ึ งต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทน โจทก์ได้ยนฎี ื กาเมือวันที 7 กุมภาพันธ์ 2556 ต่อมาเมือวันที 11 ธันวาคม 2557 ศาลฎีกาได้มีคาํ พิพากษาว่าคดี ฟ้องของโจทก์ขาดอายุความพิพากษายกฟ้ อง คดีถึงทีสุ ดนอกจากนี โจทก์ยงั ได้ยืนฟ้ องทรู วิชนส์ ั เป็ นคดีอาญา 2 คดี ในข้อหา 1) เบิกความเท็จพร้อมเรี ยกค่าเสี ยหาย และ 2) แสดงหลักฐาน อันเป็ นเท็จ ศาลชันต้นและศาลอุทธรณ์ ได้มีคาํ พิพากษายกฟ้ องทัง2 คดี เนื องจากขาดอายุความ ซึ งกรณี ศาลชันต้นและศาลอุทธรณ์ยกฟ้ องโจทก์นนั ต้องห้ามฎีกาทังปั ญหาข้อเท็จจริ งและข้อกฎหมาย เว้นแต่ ในกรณี ทีผูพ้ ิพากษาคนใดซึ งทําการพิจารณาหรื อลงชือในคําพิพากษา ได้ทาํ ความเห็นแย้งในศาลชันต้นหรื อชันอุทธรณ์ ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ว่าเป็ นเหตุสาํ คัญอันควรขึนสู่ ศาลสู งหรื อฎีกา หรื อ อธิ บดีกรมอัยการ (อัยการสู งสุ ด) ลงลายมือชือรับรองใน ฎีกาว่ามีเหตุสมควรฎีกา สําหรับข้อหาที1) โจทก์ยนฎี ื กาเมือวันที26 พฤศจิกายน 2555 ศาลมีคาํ สังไม่รับฎีกา ส่ วนข้อหาที 2) โจทก์ยืนฎีกาต่อศาลเมือวันที 9 มกราคม 2556 และยืนคําร้องขอให้ศาลรับรองฎีกา ปั จจุบนั ศาลฎีกาได้มีคาํ สังไม่รับฎีกาโจทก์ เนืองจากไม่มีเหตุอนั ควรในการฎีกา ทําให้คดีสินสุ ด (18) เมือวันที 5 กรกฎาคม 2553 CAT Telecom ได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลาง ขอให้เพิกถอนคําชีขาดไต่สวนข้อเท็จจริ งที 1/2553 ของคณะกรรมการ กทช. กรณี เอไอเอส ดีแทค และบริ ษทั ย่อย แห่ งหนึ งคือ ทรู มูฟ ร้องเรี ยนเรื อง CAT Telecom กระทําการกําหนดราคาอันเป็ นการทุ่มตลาด โดยกําหนดอัตรา ค่าเชื อมต่อโครงข่าย ในอัตรา 0.50 บาทต่อนาที ต่อมาศาลได้มีคาํ สังเรี ยกให้ เอไอเอส ดีแทค และ ทรู มูฟ เข้ามา ในคดี ทังนี เมือวันที 28 พฤศจิกายน 2557 ศาลปกครองกลางได้มีคาํ พิพากษาว่าคําสังของคณะกรรมการ กทช. เป็ นคําสังทีชอบด้วยกฎหมาย จึงพิพากษายกฟ้ อง ขณะนี อยูร่ ะหว่างระยะเวลาที CAT Telecom อาจยืนอุทธรณ์ คําพิพากษาต่อศาลปกครองสู งสุ ดภายในวันที 26 กุมภาพันธ์ 2558 (19) เมือวันที 14 ตุลาคม 2553 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ งคือ ทรู มูฟ ได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ต่อศาลปกครองกลางในกรณี พิพาทเรื อง On-net, Off-net ทีคณะกรรมการ กทช. มีมติ ครังที 10/2553 และคําสังที 19/2553 ห้ามมิให้ผปู ้ ระกอบการเก็บค่าบริ การจากลูกค้าทีโทรข้ามโครงข่าย (Off-net) แตกต่างจากลูกค้าทีโทร ภายในโครงข่าย (On-net) ทังนี เมือวันที 23 เมษายน 2557 ศาลปกครองกลางได้พิพากษายกฟ้ องของ ทรู มูฟ ซึ ง ทรู มูฟ ได้ยนอุ ื ทธรณ์คาํ พิพากษาของศาลปกครองดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ดในวันที 25 เมษายน 2557 ขณะนี ข้อพิพาทอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (20) เมือวันที 25 กุมภาพันธ์ 2554 CAT Telecom ได้ยนคํ ื าเสนอข้อพิพาทกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ เพือเรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ นําหนังสื อคําประกันผลประโยชน์ตอบแทนขันตํา วงเงิน 646.00 ล้านบาทและ 679.00 ล้านบาทรวมทังสิ น 1,325.00 ล้านบาท มาวางคําประกันการดําเนิ นงานสําหรับ ปี ที 14 และ ปี ที 15 ต่อมาเมือวันที 7 ตุลาคม 2554 ทรู มูฟ ได้ทาํ การฟ้ องแย้งในคดี ดงั กล่าวให้ CAT Telecom คืนหนังสื อคําประกันผลประโยชน์ตอบแทนขันตําของปี ดําเนิ นการที 11 ถึงปี ที 13 และ เรี ยกร้องค่าเสี ยหายจาก CAT Telecom เป็ นเงินทังสิ น 56.19 ล้านบาท ซึ งขณะนี สถาบันอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาํ สังให้รวมการพิจารณา คดีนีกับคดีที CAT Telecom เรี ยกร้องให้ทรู มูฟวางหนังสื อคําประกันการดําเนิ นงานสําหรับปี ที 16 ซึ ง ทรู มูฟได้ ยืนคําคัดค้านไปแล้ว ขณะนีข้อพิพาทนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (21) เมือวันที 8 เมษายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ งคือ ทรู มูฟ ได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ต่อศาลปกครองกลางเกียวกับข้อพิพาทในส่ วนของ ค่าปรับทางปกครองอันเนื องมาจากการจัดให้มีบริ การคงสิ ทธิ เลขหมาย (MNP) เป็ นเงินจํานวนประมาณ 13 ล้านบาท โดยคณะกรรมการ กทช. กล่าวอ้างว่า ผูป้ ระกอบการจัดให้มีบริ การคงสิ ทธิ เลขหมายล่าช้ากว่าที

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กําหนด โดยศาลปกครองกลางได้กาํ หนดให้วนั ที 15 กรกฎาคม 2556 เป็ นวันสิ นสุ ดการแสวงหาข้อเท็จจริ ง ต่อมาเมือวันที 17 ธันวาคม 2557 ศาลปกครองกลางพิพากษายกฟ้ องเพราะเห็ นว่า คําสังทางปกครองและ การกําหนดค่าปรับทางปกครองของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. ชอบด้ว ยกฎหมาย ต่ อ มา ทรู มู ฟ ได้ยื นอุ ท ธรณ์ ค าํ พิ พ ากษาของศาลปกครองกลางดัง กล่ า วต่ อ ศาลปกครองสู งสุ ดเมือวันที 16 มกราคม 2558 ศาลปกครองสู งสุ ดรับไว้เป็ นคดีหมายเลข อ.105/2558 เมือ วันที 6 กุมภาพันธ์ 2558 ขณะนี คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (22) เมือวันที 9 สิ งหาคม 2554 บริ ษทั ย่อย คือ ทรู มูฟ ได้มีหนังสื อถึงคณะกรรมการ กทช. ปฏิ บตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. ขอให้ปรั บปรุ งหรื อแก้ไขเปลี ยนแปลงอัตราค่าตอบแทนการเชื อมต่อ โครงข่าย ระหว่าง ทรู มูฟ กับ เอไอเอส และ ระหว่าง ทรู มูฟ กับ ดีแทค โดยขอให้มีคาํ สังให้ เอไอเอส และ ดีแทค ทําสัญญาเชื อมต่อโครงข่ายในอัตราเดียวกันกับทีทําสัญญากับ CAT Telecom ตามทีคณะกรรมการ กทช. ได้มี คําชี ขาดในข้อพิพาทที 2/2553 และ ที 1/2553 เมือวันที 26 เมษายน 2555 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม และ กสทช. ได้มีคาํ สังให้จาํ หน่ ายคําร้ องในเรื องดังกล่าว และให้ดาํ เนิ นการเจรจาผ่านคณะกรรมการร่ วมตามสัญญา เชื อมต่อโครงข่ายระหว่างกัน โดยให้คาํ นึ งถึง ประกาศ กสทช. เรื อง อัตราขันสู งของค่าบริ การฯ และแจ้งผลการ ดําเนิ นการดังกล่ าวให้ กสทช. ทราบ ซึ งทรู มูฟไม่ เห็ นด้วยกับคําสังดังกล่ าว และเมื อวันที 19 กันยายน 2555 ทรู มูฟได้ยนฟ้ ื องคดีต่อศาลปกครองกลางเพือขอให้มีการเพิกถอนคําสังดังกล่าวเป็ นคดีหมายเลขดํา ที 2292/2555 ซึ งขณะนีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทังนี เมือวันที 22 มีนาคม 2555 ทรู มูฟได้มีหนังสื อถึง กสทช. ขอให้มีคาํ สังให้ปรับปรุ ง หรื อแก้ไขอัตราค่าตอบแทนการเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม หรื ออนุ ญาตให้ยกเลิ กสัญญาเชื อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคม กับ เอไอเอส และ ดีแทค เพือให้สอดคล้องกับคําสังของคณะกรรมการ กสทช. ที 14.1/2554 เมือวันที 8 กรกฎาคม 2554 ประกอบกับคําสังคณะกรรมการ กทช. ที 11/2553 เมือวันที 20 เมษายน 2553 เกียวกับเรื อง อัตราค่าเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมอ้างอิง (Reference Rate) โดยเพิมเติม ประเด็นในส่ วนที เอไอเอส และ ดีแทค เป็ นผูม้ ีอาํ นาจเหนือตลาด ต่อมา กทค. มีคาํ สังให้ตงคณะกรรมการ ั ไต่สวนข้อเท็จจริ งเพือพิจารณาเรื อง มาตรการป้ องกันการผูกขาด และ ทรู มูฟ ได้ยืนเอกสารชี แจงข้อเท็จจริ ง เมือ 19 ธันวาคม 2555 และได้เข้าชีแจงข้อเท็จจริ งต่อคณะกรรมการไต่สวนข้อเท็จจริ งในวันที 11 มกราคม 2556 แล้ว โดยเมือวันที 29 กรกฎาคม 2556 กทค. ได้มีคาํ สังจําหน่ายคําร้องของ ทรู มูฟ อย่างไรก็ดี ณ ปั จจุบนั ทรู มูฟ เอไอเอส และ ดี แทค ได้ตกลงปรับลดอัตราค่าเชื อมต่อโครงข่ายลงเป็ นอัตรา 0.45 บาทต่อนาทีตามคําร้ อง ของทรู มูฟแล้ว โดยมีผลตังแต่วนั ที 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 (23) เมือวันที 1กันยายน 2554 CAT Telecom ได้ยนคํ ื าเสนอข้อพิพาทเป็ นข้อพิพาทหมายเลขดํา ที 83/2554 เรี ยกร้องให้บริ ษทั ย่อย คือ ทรู มูฟ ชําระค่าผลประโยชน์ตอบแทนให้ครบถ้วนจากการหักค่า IC เป็ นค่าใช้จ่าย ก่อนคํานวณส่ วนแบ่งรายได้ เป็ นเงินจํานวน 11,946.15 ล้านบาท ขณะนี คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการ ทางอนุญาโตตุลาการ ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(24) เมือวันที 14 กันยายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ งคือ ทรู มูฟ ได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กทช. ปฏิ บ ัติ หน้าที คณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ต่ อศาลปกครองกลางเกี ยวกับข้อพิ พาทเรื อง ดําเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายละเอียดเกียวกับผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้า ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื อง หลักเกณฑ์การจัดสรรและบริ หารเลขหมายโทรคมนาคม พ.ศ. 2551 โดยฟ้ องขอให้ เ พิ ก ถอนประกาศฉบับ ดัง กล่ า ว ข้อ 38 และข้อ 96 และเพิ ก ถอนมติ แ ละคํา วินิ จฉัย ของ คณะกรรมการ กทช. ปฏิบติหน้าที กสทช. และคําสังของเลขาธิ การ กสทช. ทีให้ ทรู มูฟ ปฏิบตั ิตามประกาศ ฉบับดังกล่าว ซึ งในส่ วนทีฟ้ องเพิกถอนประกาศนัน ศาลปกครองกลางได้มีคาํ สังไม่รับฟ้ องในข้อหาที 1. คือ การเพิกถอนประกาศฉบับดังกล่าว เนื องจากเห็นว่าได้ยืนคําฟ้ องต่อศาลพ้นกําหนดระยะเวลาฟ้ องคดีและ ไม่อาจถื อได้วา่ คําฟ้ องในข้อหานี จะเป็ นประโยชน์แก่ส่วนรวม เพราะประกาศดังกล่าวไม่มีผลต่อผูใ้ ช้บริ การ โทรศัพท์เคลือนที ซึ งทรู มูฟได้ยืนอุทธรณ์ คาํ สังไม่รับฟ้ องบางข้อหาไว้พิจารณาดังกล่าว ขณะนี อยู่ระหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด ส่ วนประเด็นพิพาทอืนในคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง กลาง นอกจากนี เมือวันที 25 มกราคม 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้งเตื อน และต่อมาเมือวันที 30 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ได้มีหนังสื อมายัง ทรู มูฟว่าทรู มูฟยังคงฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง เลขาธิการ กสทช. และคําวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. และ หนังสื อแจ้งเตือน จึงอาศัยอํานาจตามมาตรา 66 แห่ ง พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 กําหนดมาตรการบังคับทางปกครองในอัตราวันละ 80,000 บาท ให้ทรู มูฟ ชําระนับแต่วนั พ้นกําหนด 30 วัน นับแต่วนั ทีได้รับหนังสื อฉบับดังกล่าว ทรู มูฟ จึงได้ยืนคําร้องขอให้ศาลมีคาํ สังทุเลาการบังคับฯ ต่อมา เมือ วันที 19 กันยายน 2555 ศาลปกครองกลางมีคาํ สังกําหนดมาตรการหรื อวิธีการคุ ม้ ครองเพือบรรเทาทุกข์ ชัวคราวก่อนการพิพากษาโดยให้ระงับการกําหนดมาตรการบังคับทางปกครองตามคําสังของ เลขาธิ การ กสทช. ทีได้กาํ หนดค่าปรับในอัตราวันละ 80,000 บาท ไว้เป็ นการชัวคราวจนกว่าคดีจะถึงทีสุ ดหรื อจนกว่า ศาลจะมีคาํ พิพากษาเป็ นอย่างอืน เมือวันที 17 ตุลาคม 2555 กสทช. และ เลขาธิ การ กสทช. ได้ยืนอุทธรณ์คาํ สัง ของศาลปกครองกลางดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด โดยเมือวันที 20 มกราคม 2557 ศาลปกครองกลางได้อ่าน คําสังของศาลปกครองสู งสุ ดฉบับลงวันที 21 พฤศจิกายน 2556 ซึ งมีคาํ สังกลับคําสังของศาลปกครองกลาง ให้ ร ะงับการกํา หนดมาตรการบัง คับ ทางปกครองทํา ให้ ทรู มู ฟ ต้องชํา ระค่ า ปรั บ ทางปกครอง เพราะ หากศาลปกครองสู งสุ ดมีคาํ พิพากษาถึงทีสุ ดว่า ประกาศ คําสัง มติ และคําวินิจฉัยทีพิพาทชอบด้วยกฎหมาย การทีทรู มูฟ ยังเพิกเฉยไม่ชาํ ระค่าปรับทางปกครองดังกล่าว คณะกรรมการ กสทช. มีอาํ นาจพักใช้หรื อเพิกถอน ใบอนุ ญาตได้ อย่างไรก็ดี ตามมาตรา 66 แห่ งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 กํา หนดว่ า การกระทํา ความผิ ด กรณี ใ ดจะต้ อ งถู ก พัก ใช้ ห รื อเพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตให้ เ ป็ นไปตามที คณะกรรมการ กสทช. ประกาศกําหนด แต่ ณ ปั จจุบนั ยังไม่มีการออกประกาศดังกล่าว และหากผลของคดี มีคาํ พิพากษาถึ งทีสุ ดอันเป็ นคุ ณแก่ ทรู มูฟ ทรู มูฟ สามารถเรี ยกคืนเงิ นค่าปรับทางปกครองทีต้องชําระต่อ กสทชได้ ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(25) เมือวันที 2 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึง คือ เรี ยลมูฟ ได้ยนฟ้ ื องคณะกรรมการ กสทช. และ เลขาธิการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพือขอให้เพิกถอนมติและคําสังของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าที คณะกรรมการ กสทช. ทีแจ้งมายัง เรี ยลมูฟ ตามหนังสื อของ สํานักงาน กสทช. โดย เลขาธิ การ กสทช. ฉบับลง วันที 7 ตุลาคม 2554 โดยสังให้แก้ไขในส่ วนทีเกียวกับการทําความตกลงเพือควบรวมกิจการโดยการเข้าซื อหุ น้ ของ กลุ่ มฮัทชิ สั นให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื อง หลักเกณฑ์และวิธี การควบรวมกิ จการและ การถื อหุ ้นไขว้ในกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 และในส่ วนทีเกี ยวกับการทําความตกลงกับ CAT Telecom เกียวกับการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีระบบ CDMA และระบบ HSPA ให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื อง มาตรการเพือฟ้ องกันมิให้มีการกระทําอันเป็ นการผูกขาดหรื อก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในการแข่งขันใน กิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื นความถี และกํากับการประกอบกิ จการ วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิ จการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 อย่างไรก็ดี เรี ยลมูฟ เห็ นว่า มติ และคําสัง ของคณะกรรมการ กทช. ปฏิบตั ิหน้าทีคณะกรรมการ กสทช. ดังกล่าว ไม่มีความชัดเจนและไม่น่าจะชอบด้วย กฎหมาย ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง (26) เมือวันที 7 พฤศจิกายน 2554 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ TIC ได้ร้องต่อ กวพ. ขอให้วินิจฉัย ชีขาดให้ เอไอเอส เข้าทําสัญญาเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ในอัตรา 0.50 บาท ซึ งเป็ นอัตราเดียวกันกับ ที เอไอเอส เข้าทําสัญญาเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม กับ CAT Telecom และขอให้เชื อมต่อโครงข่ายชัวคราว เป็ นการเร่ งด่วน และ เมือวันที 14 มิถุนายน 2555 กวพ. ได้มีคาํ วินิจฉัย ให้ TIC และ เอไอเอส เจรจาเกียวกับ สัญญาการเชื อมต่อโครงข่ายระหว่างกันตามแนวทางในข้อเสนอการเชื อมต่อโครงข่ายของ เอไอเอส แต่ ไม่สามารถตกลงกันได้ภายใน 90 วัน นับแต่วนั ที เอไอเอส ได้รับหนังสื อขอเชื อมต่อโครงข่าย อันถือเป็ น วันเริ มต้นของการเจรจา อันเป็ นกรอบระยะเวลาทีกําหนดไว้ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. ว่าด้วยการใช้ และเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 (Interconnection Charge Regulation) ดังนัน อัตราค่าตอบแทน การเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมระหว่าง TIC และเอไอเอสจึงต้องใช้บงั คับตามทีกําหนดไว้ในคําสังคณะกรรมการ กสทช. ในอัตรา 0.50 บาทต่อนาที ซึง กทค. ได้มีคาํ ชี ขาดให้ TIC ทําสัญญากับเอไอเอสในอัตรา 0.50 บาทต่อนาที ทังนี เมือวันที 27 มกราคม 2557 TIC ได้เข้าทําสัญญากับเอไอเอสในอัตรา 0.50 บาทต่อนาที ข้อพิพาทนี จึง เป็ นอันยุติ (27) เมือวันที 8 พฤษภาคม 2555 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ งคือ ทรู มูฟ ได้ยืนฟ้ องคณะกรรมการ กทค และ เลขาธิ การ กสทช. ขอให้เพิกถอนคําสังและมติของคณะกรรมการ กทค. และคําสังของเลขาธิ การ กสทช. ทีห้ามผูใ้ ห้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้ากําหนดรายการส่ งเสริ มการขาย ในลักษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาทีกําหนด (Validity) พร้อมขอให้ศาล กําหนดมาตรการและวิธีการเพือบรรเทาทุกข์เป็ นการชัวคราวก่อนการพิพากษา ปั จจุบนั ยังอยูใ่ นระหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง นอกจากนี เมือวันที 8 พฤษภาคม 2555 เลขาธิ การ กสทช. ได้มีหนังสื อแจ้งเตือน

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 18


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ให้ ทรู มูฟ ดําเนิ นการปรั บปรุ งเงื อนไขการให้บ ริ ก ารโทรศัพ ท์เคลื อนที ประเภทเรี ย กเก็ บเงิ นค่ า บริ ก าร ล่วงหน้า ไม่ให้มีขอ้ กําหนดในลักษณะเป็ นการบังคับให้ผใู ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาทีกําหนด และห้ามมิ ให้กาํ หนดเงื อนไขที มี ลกั ษณะเป็ นการบัง คับให้ผูใ้ ช้บริ การต้องใช้บริ การภายในระยะเวลาที กําหนดอีกต่อไป และเมือวันที 31 พฤษภาคม 2555 เลขาธิการ กสทช. ได้มีหนังสื อกําหนดให้ ทรู มูฟ จะต้อง ชําระค่าปรับทางปกครองในอัตราวันละ 100,000 บาท ตังแต่วนั ที 30 พฤษภาคม 2555 เป็ นต้นไป ต่อมาวันที 19 มิถุนายน 2555 ทรู มูฟ ได้ยืนอุทธรณ์ คาํ สังกําหนดค่าปรับทางปกครอง ต่อเลขาธิ การ กสทช. และเมือ วันที 16 กรกฎาคม 2555 ทรู มูฟ ได้ยนคํ ื าร้องขอต่อศาลปกครองกลาง ขอให้มีคาํ สังทุเลาการบังคับตามคําสัง และมติของคณะกรรมการ กสทช. และเลขาธิ การ กสทช. รวมถึ งการกําหนดค่าปรับทางปกครองดังกล่าว หรื อ กําหนดมาตรการและวิธีการเพือบรรเทาทุกข์เป็ นการชัวคราวก่อนการพิพากษา ซึ งเมือวันที 9 พฤศจิกายน 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาํ สังยกคําขอดังกล่าว ส่ งผลให้ทรู มูฟ นอกจากจะต้องปฏิบตั ิตามคําสังของเลขาธิ การ กสทช. แล้ว ทรู มูฟยังจะต้องชําระค่าปรับเป็ นจํานวนวันละ 100,000 บาท จนกว่าทรู มูฟจะปฏิบตั ิให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย ต่อมาเมือวันที 25 กันยายน 2555 ภายใต้มติ ทีประชุ มครั งที 35/2555 ของกทค. โดย เลขาธิการ กสทช.จึงมีหนังสื อถึงทรู มูฟ ลงวันที 11 ตุลาคม 2555 แจ้งผลพิจารณาการอุทธรณ์คาํ สังดังกล่าว โดยยืนตามคําสังเลขาธิ การ กสทช ทีกําหนดค่าปรับทางปกครองต่อทรู มูฟ วันละ 100,000 บาท ด้วยเหตุจาก คําสั งพิ จารณาอุ ทธรณ์ ดังกล่ าว เมื อวันที 10 มกราคม 2556 ทรู มู ฟ ได้ยืนฟ้ อง เลขาธิ ก าร กสทช. ต่ อ ศาล ปกครองกลางเพือเพิกถอนคําสังกําหนดค่าปรับทางปกครองวันละ 100,000 บาท และได้ยืนคําร้องขอให้ศาล กําหนดมาตรการและวิธีการเพือบรรเทาทุกข์เป็ นการชัวคราวก่อนการพิพากษา ต่อมาเมือวันที 14 มกราคม 2556 กสทช ได้ เ ชิ ญ ผู ้ ป ระกอบการเข้ า ร่ วมประชุ ม เพื อกํ า หนดแนวทางการพิ จ ารณาการให้ บ ริ การ โทรศัพท์เคลือนทีแบบชําระค่าบริ การล่วงหน้าในระยะเวลาทีกําหนด ซึ งวันที 18 มกราคม 2556 ทรู มูฟ ได้ ยืนเงื อนไขในการให้บริ การต่อ กสทช. และ กสทช. ได้พิจารณาและมีมติเห็นชอบในเงือนไขของ ทรู มูฟ ั ทรู มูฟ ยังคง เมือวันที 29 มกราคม 2556 และได้มีคาํ สังยุติการกําหนดค่าปรับวันละ 100,000 บาท แต่ทงนี ต้องชําระค่าปรับทางปกครองนับตังแต่วนั ที 30 พฤษภาคม 2555 จนถึงวันที 18 มกราคม 2556 เป็ นจํานวน 23,300,000 บาท ซึ งต่อมาในวันที 20 กุมภาพันธ์ 2557 ทรู มูฟ ได้ชาํ ระค่าปรับทางปกครองให้แก่ กสทช เป็ นจํานวนเงิน 23,300,000 บาท (ตามหนังสื อ กสทช. ที สทช 5011/39413 ลว.27 ธันวาคม 2556 แจ้งให้ ชําระค่าปรับทางปกครองวันละ 100,000 บาท นับตังแต่วนั ที 30 พฤษภาคม 2555 ถึงวันที 17 มกราคม 2557 รวมเป็ นเงิ นทังสิ น 23,300,000 บาท) ทังนี การชําระค่า ปรั บ ดังกล่ าว มิ ไ ด้เป็ นการยอมรั บ ว่า คําสั งทาง ปกครองทีห้าม ทรู มูฟ กําหนดระยะเวลาการใช้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีประเภทเรี ยกเก็บค่าบริ การล่วงหน้า และคําสังกําหนดค่าปรับทางปกครองนันชอบด้วยกฎหมาย และหากผลของคดีหลักมีคาํ พิพากษาทีเป็ นคุณ แก่ ทรู มู ฟ ทรู มู ฟสามารถเรี ยกคื นเงิ นค่ าปรั บทางปกครองที ต้องชํา ระต่ อ กสทช.ได้ ขณะนี คดี ย งั อยู่ใ น ระหว่างพิจารณาของศาลปกครองกลาง

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 19


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(28) เมือวันที 30 สิ งหาคม 2555 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เป็ นคําเสนอข้อพิพาทหมายเลขดําที 112/2555 โดยเรี ยกให้ บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ ง คือ ทรู มูฟ นําหนังสื อคําประกันมาวางคําประกันสําหรับปี ดําเนิ นการที 16 ตามสัญญาข้อ 6.4 โดย CAT Telecom กล่าวอ้างว่า ทรู มูฟ วางหนังสื อคําประกันรายได้ขนตํ ั าตามสัญญาในปี ที 1 ปี ที 13 แต่ ทรู มูฟไม่ได้วางหนังสื อคําประกันปี ที 14 และ ปี ที 15 CAT Telecom จึงยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อ อนุญาโตตุลาการเป็ นข้อพิพาทหมายเลขดําที 14/2554 จนกระทังเมือครบกําหนดทีทรู มูฟต้องนําส่ งหนังสื อ คําประกันของปี ที 16 ทรู มูฟ ก็ยงั ไม่ได้นาํ ส่ งให้กบั CAT Telecom โดยต่อมาเมือวันที 18 มิถุนายน 2556 ทรู มูฟได้ยนคํ ื าคัดค้านต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ ทังนี ณ ปั จจุบนั สถาบันอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาํ สังให้รวมการพิจารณาชี ขาดข้อพิพาทดํา เลขที 112/2555 และข้อพิพาทดําเลขที 14/2554 ซึ งเป็ นสํานวนข้อพิพาทหลักเข้าไว้ดว้ ยกัน ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่าง กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ (29) เมือวันที 28 กันยายน 2555 นายสุ พล สุ ขศรี มงมี ั โจทก์ ฟ้ อง ฮัทชิ สัน ซี เอที เป็ นจําเลยที 4 ฐานละเมิด โดยขอให้รือถอนเสาอุปกรณ์และเครื องส่ งสัญญาณโทรศัพท์ออกจากอาคารอุรุพงษ์คอนโด และ ขอให้ชดใช้ค่าเสี ยหายทีได้ทาํ อันตรายต่อสุ ขภาพของโจทก์เป็ นเงินจํานวน 32,000,000 บาท อย่างไรก็ดี เมือ วันที 6 มิถุนายน 2556 ศาลชันต้นได้มีคาํ พิพากษายกฟ้ องโจทก์ ซึ งต่อมาเมือวันที 2 สิ งหาคม 2556 โจทก์ได้ ยืนอุทธรณ์ ทังนี เมือวันที 28 สิ งหาคม 2557 ศาลอุทธรณ์ได้มีคาํ พิพากษายืนตามศาลชันต้น ทังนีโจทก์ได้ยืน ฎีกาต่อศาลเมือวันที 22 ตุลาคม 2557 คดีนียังอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา (30) เมือวันที 28 กุมภาพันธ์ 2556 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อ สถาบันอนุ ญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เป็ นคําเสนอข้อพิพาทหมายเลขดําที 17/2556 โดยเรี ยกให้ ทรู มูฟ ชําระเงิ นค่าผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิมของปี ดําเนิ นการที 15 ให้ครบจากการที ทรู มูฟ นําค่า ใช้และ เชื อมต่อโครงข่าย (IC) ไปหักเป็ นค่าใช้จ่ายก่อนคํานวณส่ วนแบ่งรายได้ให้กบั CAT Telecom จํานวนทุนทรัพย์ 1,571,599,139.64 บาท โดยทรู มูฟ ได้ยืนคําคัดค้านเมือวันที 18 มิถุนายน 2556 ทังนี เมือวันที26 พฤศจิกายน 2557 ทรู มูฟ ได้รับหมายแจ้งคําสังศาลปกครองกลางให้เข้ามาในคดีที ค.10/2557 กรณี CAT Telecom ยืนคัดค้าน การตังอนุ ญาโตตุ ลาการในข้อพิพาทดําที 17/2556 ซึ งเมือวันที 4 ธันวาคม 2557 ศาลปกครองได้มีคาํ สัง ยกคําขอของ CAT Telecom ทีขอให้ศาลมีคาํ สังให้คณะอนุญาโตตุลาการในข้อพิพาทหมายเลขดําที 17/2556 ระงับการพิจารณาวินิจฉัยไว้ชวคราว ั จนกว่าการพิจารณาวินิจฉัยชี ขาดคําร้องนี จะถึงทีสุ ด ขณะนี อยูร่ ะหว่าง กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 20


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(31) เมือวันที 22 เมษายน 2556 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อ สถาบันอนุ ญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เป็ นคําเสนอข้อพิพาทหมายเลขดําที 52/2556 เรี ยกให้ ทรู มูฟ ส่ งมอบทรัพย์สินทีเป็ นโครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคมประเภท Passive จํานวนหนึงซึ งใช้กบั เสาโทรคมนาคม ทีได้สร้างขึนตามสัญญาให้ดาํ เนิ นการฯ รวมถึงอุปกรณ์การให้บริ การเคลือนที (mobile car) ตูค้ อนเทนเนอร์ อาคารสิ งปลูกสร้าง (shelter) และเครื องและอุปกรณ์ (หม้อแปลงไฟฟ้ า) ในส่ วนของไฟฟ้ ากระแสสลับ (adaptor for AC transformer) ให้แก่ CAT Telecom โดยหากส่ งไม่ได้ไม่วา่ กรณี ใด ๆ ขอให้ชดใช้ราคารวมเป็ นเงินทังสิ น จํานวน 821,137,046 บาท ทังนี เมือวันที 28 สิ งหาคม 2556 ทรู มูฟ ได้ยืนคัดค้านคําเสนอข้อพิพาท ขณะนี ยัง อยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (32) เมือวันที 30 สิ งหาคม 2556 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อสถาบันอนุ ญาโตตุลาการ สํานักระงับข้อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เป็ นคําเสนอข้อพิพาทหมายเลขดําที 84/2556 โดยเรี ยกให้ ทรู มูฟ ชําระเงิ นค่าผลประโยชน์ตอบแทนส่ วนเพิมของปี ดําเนิ นการที 16 ให้ครบจากการที ทรู มูฟ นําค่า ใช้และ เชื อมต่อโครงข่าย (IC)ไปหักเป็ นค่าใช้จ่ายก่อนคํานวณส่ วนแบ่งรายได้ให้กบั CAT Telecom จํานวนทุนทรัพย์ 2,441,689,187.99 บาท ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (33) เมือวันที 15 ตุลาคม 2556 CAT Telecom ได้ยืนฟ้ อง บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จํากัด ต่อศาลปกครองกลาง เป็ นคดี หมายเลขดําที 2119/2556 เรี ยกให้บริ ษทั ชําระค่าใช้บริ การพืนทีติดตัง และเชื อมต่ออุปกรณ์ โทรคมนาคม ค่าบํารุ งรักษาสําหรับการขอใช้อาคารสถานที ค่าใช้รางพาดสายเคเบิล และค่าใช้ไฟฟ้ า ภายในนิ คมอุตสาหกรรม อีสเทิร์น ซี บอร์ ด จังหวัดระยอง ในทุนทรัพย์ 625,435.98 บาท และให้บริ ษทั ดําเนิ นการรื อถอนและขนย้ายอุปกรณ์ โทรคมนาคมของบริ ษทั ออกจากพืนที ชุ มสายสถานี ทวนสัญญาณในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์น ซี บอร์ ด จังหวัดระยอง ต่อมา ได้มีการเจรจากัน ซี ง CAT Telecom ได้พิจารณาปรับลดค่าใช้บริ การให้กบั บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จํากัด คงเหลื อจํานวนเงิ น 547,356.79 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิมแล้ว) ทังนี เมือวันที 12 กันยายน 2557 บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล คอนเวอร์ เจ้นซ์ จํากัด ได้ชาํ ระเงินจํานวนดังกล่าวให้แก่ CAT Telecom แล้วเสร็ จ ซึ งเมือวันที 23 กันยายน 2557 CAT Telecom ได้ยืนคําร้องขอถอนฟ้ องคดีนีต่อศาลปกครองกลาง ต่อมาในวันที 14 ตุลาคม 2557 ศาลปกครองกลางได้มี คําสังอนุญาตให้ CAT Telecom ถอนฟ้ องและให้จาํ หน่ายคดีนีออกจากสารบบความ (34) เมือวันที 12 พฤศจิกายน 2556 CAT Telecom ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน อนุ ญ าโตตุ ล าการ สํา นัก ระงับ ข้อ พิ พ าท สํา นัก งานศาลยุติ ธ รรม เป็ นคํา เสนอข้อ พิ พ าทหมายเลขดํา ที 109/2556 กรณี ที CAT Telecom ผูเ้ รี ยกร้อง เรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ ส่ งมอบพร้อมโอนกรรมสิ ทธิ เครื องและ อุปกรณ์ Generator จํานวน 59 สถานี ให้แก่ CAT Telecom หากส่ งมอบไม่ได้ไม่วา่ กรณี ใดๆขอให้ชดใช้ ราคาแทนรวมมูลค่าทังสิ นเป็ นเงิ นจํานวน 39,570,000 บาท ขณะนี อยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการ ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 21


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(35) เมือวันที 27 มกราคม 2557 บริ ษทั และ บริ ษทั ย่อย ทรู ดิจิตอล คอนแทนท์ แอนด์มีเดีย ถูกโจทก์ซึงเป็ นนิติบุคคลต่างด้าวฟ้ องเป็ นจําเลยร่ วม ต่อศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง เป็ นคดี ห มายเลขดํา ที อ.134/2557 ในข้อ หาละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ เผยแพร่ ร ายการโทรทัศ น์ บ นเว็ บ ไซต์ www.truelife.com ต่อมาศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ได้ส่งเรื องไปยังศูนย์ไกล่เกลีย ของศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ตามความประสงค์ของคู่ความทังสอง ซึ งคดีนี ยังอยูร่ ะหว่างการไกล่เกลีย (36) เมือวันที 27 มกราคม 2557 บริ ษทั และ บริ ษทั ย่อย ทรู ดิจิตอล คอนแทนท์ แอนด์มีเดีย ถูกโจทก์ซึงเป็ นนิติบุคคลต่างด้าวฟ้ องเป็ นจําเลยร่ วม ต่อศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศ กลาง เป็ นคดี หมายเลขดํา ที อ.135/2557 ในข้อหาละเมิ ดลิ ขสิ ท ธิ เผยแพร่ รายการโทรทัศน์ บนเว็บไซต์ www.truelife.com ต่อมาศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ได้ส่งเรื องไปยังศูนย์ไกล่เกลีย ของศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ตามความประสงค์ของคู่ความทังสอง ซึ งคดีนี ยังอยูร่ ะหว่างการไกล่เกลีย (37) เมือวันที 20 กุมภาพันธ์ 2557 ฮัทชิสัน ซี เอที ได้ยืนฟ้ อง CAT Telecom พร้อมกับยืน ขอคุ ้มครองชัวคราวต่ อศาลแพ่ง เป็ นคดี ห มายเลขดํา ที 635/2557 เพื อขอให้ศ าลมี ค าํ พิ พ ากษาให้ CAT Telecom หยุดการกระทําอันเป็ นการผิดสัญญาทําการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 BAND A สัญญาทําการตลาดบริ การโทรข้ามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูล่า CDMA โดยเรี ยกร้องให้ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด(มหาชน) ชําระเงินตามหนังสื อสัญญาคําประกัน และไม่ให้ CAT Telecom เรี ยก หรื อ รับเงินตามหนังสื อสัญญาคําประกันจากธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด (มหาชน) อีกทังให้ CAT Telecom ชําระค่าเสี ยหายเป็ นจํานวน 63,002,000 บาท ให้แก่ฮทั ชิ สัน ซี เอที ซึ ง ต่อมาเมือวันที 21 กุมภาพันธ์ 2557 ศาลแพ่งมีคาํ สังคุ ม้ ครองชัวคราวให้ CAT Telecom ระงับการใช้สิทธิ เรี ยกร้องให้ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด (มหาชน) ชําระเงิน ตามหนังสื อสัญญาคําประกันทัง 4 ฉบับ และให้ CAT Telecom ระงับการรับเงินตามหนังสื อคําประกันดังกล่าวไว้เป็ นการชัวคราว จนกว่าศาลจะมีคาํ สังเป็ น อย่างอืน ต่อมา CAT Telecom ได้ยืนคําให้การต่อศาลแพ่งแล้วเมือวันที 15 เมษายน 2557 และเมือวันที 19 พฤษภาคม 2557 CAT Telelcom ได้ยืนคําร้องขอให้มีการชี เขตอํานาจศาลแพ่ง โดยเห็นว่าคดีนีอยูใ่ นเขต อํานาจพิจารณาของศาลปกครองกลาง ทังนี ปั จจุ บนั กําลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการ วินิจฉัยชีขาดอํานาจหน้าทีระหว่างศาลเพือทําการชีขาดว่าคดีอยูใ่ นเขตอํานาจศาลแพ่งหรื อศาลปกครอง (38) เมือวันที 19 มีนาคม 2557 บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด ได้ยืนฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง ให้มีคาํ สังเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื อง หลักเกณฑ์การกําหนดหมวดหมู่และ การจัดลําดับบริ การโทรทัศน์ทีไม่ใช้คลื นความถี พ.ศ. 2556 (“ประกาศกําหนดหมวดหมู่และจัดลําดับ”) ประกอบกับประกาศ กสทช. เรื อง หลักเกณฑ์การจัดลําดับบริ การโทรทัศน์ พ.ศ. 2556 (“ประกาศหลักเกณฑ์ ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 22


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การจัดลําดับบริ การโทรทัศน์”) ส่ งผลให้ บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด ในฐานะผูใ้ ห้บริ การโครงข่ายกระจายเสี ยง หรื อโทรทัศน์ทีให้บริ การแก่ผรู ้ ับใบอนุญาตให้บริ การโทรทัศน์ทีไม่ใช้คลืนความถีมีหน้าทีต้องจัดหมวดหมู่ และจัดลําดับช่ องรายการก่อน - หลัง ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ทีกําหนดไว้ในประกาศทังสองฉบับข้างต้น การที บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด มีหน้าทีต้องจัดเรี ยงช่องรายการใหม่ โดยจัดให้มีการออกอากาศรายการ ฟรี ทีวใี นลําดับช่องแรก ๆ ก่อนช่องรายการ บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัดเองนัน ย่อมทําให้บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด ขาดโอกาสในการทําการตลาดอย่างมีอิสระ และมีค่าใช้จ่ายในการจัดเรี ยงช่องรายการใหม่ จึงมี ภาระหน้าที เพิมมากขึ นก่อให้เกิ ดความเสี ยหาย ซึ งเมื อวันที 24 มิถุนายน 2557 ศาลปกครองกลางมีคาํ สัง รับคําฟ้ องเฉพาะส่ วนทีขอให้เพิกถอนประกาศหลักเกณฑ์การจัดลําดับบริ การโทรทัศน์ เท่านัน ทังนี เมือ วันที 25 กรกฎาคม 2557 บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด ได้ยืนอุทธรณ์คาํ สังของศาลปกครองกลางทีสังรับคําฟ้ อง เฉพาะส่ วนทีขอให้ศาลเพิกถอนประกาศหลักเกณฑ์การจัดลําดับบริ การโทรทัศน์ พ.ศ. 2556 และมี คาํ สัง ไม่รับคําฟ้ องในส่ วนทีขอให้ศาลเพิกถอนประกาศ กสทช. เรื อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุ ญาตให้บริ การ โครงข่ายกระจายเสี ยงหรื อโทรทัศน์ พ.ศ. 2555 และประกาศ กสทช. เรื อง หลักเกณฑ์การกําหนดหมวดหมู่ และการจัดลําดับบริ การโทรทัศน์ทีไม่ใช้คลืนความถี พ.ศ. 2556 ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนี คดีอยูร่ ะหว่าง การพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (39) เมือวันที 19 มีนาคม 2557 บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด ได้ยืนฟ้ อง คณะกรรมการ กสทช. ต่อศาลปกครองกลาง ให้มีคาํ สังเพิก ถอนประกาศ กสทช. เรื อง หลักเกณฑ์การเผยแพร่ กิจการ โทรทัศน์ทีให้บริ การเป็ นการทัวไป ส่ งผลให้บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด ในฐานะของผูใ้ ห้บริ การโทรทัศน์ แบบบอกรั บสมาชิ ก ที มี โครงข่ า ยเป็ นของตนเองจึ ง มี หน้า ที ต้องนําสั ญญาณโทรทัศ น์ ของช่ องฟรี ที วีม า ออกอากาศบนสถานี (Platform) ของทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ทีกําหนดไว้ในประกาศดังกล่าว การที บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด มีหน้าทีต้องเผยแพร่ รายการฟรี ทีวีตามจํานวนช่องที กสทช. กําหนด ซึ ง ั ขณะนี มีจาํ นวนช่ องเริ มต้นที 36 ช่ อง และอาจเพิมมากขึนได้ในอนาคต ย่อมก่อภาระให้บริ ษทั ทรู วิชนส์ กรุ๊ ป จํากัด ในเชิงเทคนิคอย่างไม่อาจเยียวยาได้ โดยต้องจัดหาอุปกรณ์ทางเทคนิ คหรื อทรัพยากรช่องรายการ (Capacity) เพิมเติ ม เพื อรองรั บ ช่ องรายการฟรี ที วี ยิงไปกว่า นันอาจจะต้องเปลี ยนอุ ปกรณ์ รับสั ญญาณ (Set Top Box) ซึ งจะทําให้ บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด ได้รับความเสี ยหาย ซึ งเมือวันที 2 กรกฎาคม 2557 ั กรุ๊ ป จํากัด ศาลปกครองกลางได้มีคาํ สังให้จาํ หน่ายคดี ซึ งต่อมาเมือวันที 4 สิ งหาคม 2557 บริ ษทั ทรู วิชนส์ ได้ยนอุ ื ทธรณ์คาํ สังดังกล่าว ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด (40) เมือวันที 20 มีนาคม 2557 CAT Telecom ได้ยืนฟ้ อง ฮัทชิสัน ซี เอที เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที 1 บีเอฟเคที เป็ น ผูถ้ ู ก ฟ้ องคดี ที 2 และ ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ จํา กัด(มหาชน) เป็ นผูถ้ ูก ฟ้ องคดี ที 3 ต่ อศาล ปกครองกลาง เป็ นคดีหมายเลขดําที 391/2557 โดย CAT Telecom ได้กล่าวอ้างว่า (i) ฮัทชิสัน ซี เอที และ บีเอฟเคที กระทําผิดสัญญาทําการตลาดวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า Digital AMPS 800 BAND A สัญญาทําการตลาด

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 23


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บริ การโทรข้ามแดนอัตโนมัติ และสัญญาการดูแลผูใ้ ช้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลูล่า CDMA และเรี ยก ค่าเสี ยหายที ฮัทชิสัน ซี เอที จะต้องรับผิดเป็ นเงิน 1,277,787,335.08 บาท และส่ วนเฉพาะในส่ วนที ฮัทชิ สัน ซี เอที และ บีเอฟเคที ต้องร่ วมรับผิดเป็ นจํานวนเงิน 298,400,738.49 บาท นอกจากนี CAT Telecom ยังได้ เรี ยกร้องให้ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด (มหาชน) ชําระหนี ตามหนังสื อคําประกันรวม 4 ฉบับ (ทีบีเอฟเคที และ BITCOได้ขอให้ธนาคารคําประกันการปฏิ บตั ิตามสัญญาของ ฮัทชิ สัน ซี เอที เนื องจากฮัทชิ สัน ซี เอที หยุดการดําเนิ นธุ รกิ จตังแต่ปี 2555 และกําลังจะปิ ดตัวลง)เป็ นจํานวนเงิน 63,815,416.23 บาท ให้แก่ CAT Telecom ศาลแพ่งได้มีคาํ สังคุ ม้ ครองชัวคราวตามคดี หมายเลขดําที 635/2557 ทําให้ CAT Telecom ยัง ไม่สามารถเรี ยกร้องให้ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด(มหาชน) ชําระเงินตามสัญญาคําประกันได้ และเนื องจาก ฮัทชิ สัน ซี เอที เห็ นว่าคดี นีอยู่ในเขตอํานาจพิจารณาของศาลแพ่ง เมื อวันที 18 มิถุนายน 2557 จึงได้ยืน คําร้องโต้แย้งเขตอํานาจศาลปกครอง ทําให้ ณ ปั จจุบนั การพิจารณาคดีของศาลปกครองกลางถูกระงับไว้ ชัวคราวจนกว่าจะมีความเห็นหรื อคําสังเป็ นทียุติเกียวกับเขตอํานาจศาล (41) เมือวันที 8 ธันวาคม 2557 บริ ษทั เอเชี ย ไวร์ เลส คอมมิวนิ เคชัน จํากัด ได้รับคําสังเรี ยก ให้เข้ามาเป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที 4 ในคดีหมายเลขดําที ส.12/2556 กรณี กลุ่มบุคคลธรรมดา ได้ยืนฟ้ อง นายกองค์การ บริ หารส่ วนตําบลหนองบัว สํานักงานคณะกรรมการ กสทช. และคณะกรรมการ กสทช เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดี ที 1- 3 ตามลําดับ ต่อศาลปกครองนครราชสี มา กรณี ให้ระงับการก่อสร้ างและให้เพิกถอนใบอนุ ญาตในการก่อสร้าง เสาส่ งสัญญาณโทรศัพท์ ขณะนีอยูร่ ะหว่างกระบวนการของศาลปกครองนครราชสี มา สั ญญาอนุญาตให้ ดําเนินการของบริษัทย่ อย ในเดือนพฤษภาคม 2550 คณะกรรมการกฤษฎีกาได้มีความเห็ นว่าสัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนิ นการ ให้บริ การวิทยุคมนาคมระบบเซลลู ล่าร์ ระหว่าง CAT Telecom กับบริ ษทั ย่อย อาจต้องผ่านการอนุ มตั ิ จาก คณะรัฐมนตรี ตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่ วมงานหรื อดําเนิ นการในกิจการของรัฐ ซึ ง CAT Telecom ไม่ได้ดาํ เนินการตามนัน อาจส่ งผลในทางเสี ยหายต่อสถานะของบริ ษทั ย่อย โดยทีปรึ กษากฎหมายของกลุ่มบริ ษทั ฯ มี ความเห็ นว่า ตามหลักกฎหมายแล้ว ความเห็ นของคณะกรรมการกฤษฎี กาไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายต่ อ บริ ษทั ย่อย ดังนัน บริ ษทั ย่อยจึงสามารถประกอบธุ รกิจให้บริ การภายใต้สัญญาให้ดาํ เนินการฯ ต่อไปได้ ค่ าเชือมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) กลุ่มบริ ษทั ฯ มีคดีความเกี ยวกับค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ทีอยู่ในระหว่าง การพิจารณาและยังไม่ทราบผลของคดีความดังนี

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 24


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

1. ค่ าเชือมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) ของบริษัทฯ เมือวันที 21 สิ งหาคม 2545 บริ ษทั ฯ ได้ยืนคําเสนอข้อพิพาทต่อคณะอนุ ญาโตตุลาการเกียวกับ กรณี พิพาททีเกิดจากสัญญาร่ วมการงานฯ ระหว่างบริ ษทั ฯ กับทีโอทีตามสัญญาร่ วมการงานฯ ระบุไว้วา่ บริ ษทั ฯ มีสิทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทนจากการที ทีโอที นําบริ การหรื ออนุญาตให้บุคคลทีสามให้บริ การพิเศษบน โครงข่าย ทีโอที ได้อนุ ญาตให้ CAT Telecom และผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายอืนให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที บนโครงข่ายและได้รับค่าเชือมต่อโครงข่ายจาก CAT Telecom และผูใ้ ห้บริ การโทรคมนาคมรายอืน อย่างไรก็ตาม ทีโอที เห็ นว่าบริ การดังกล่าวไม่ได้เป็ นบริ การพิเศษ ดังนันจึงปฏิ เสธทีจะจ่ายผลตอบแทนในส่ วนของบริ ษทั ฯ ดังกล่าว ดังนันบริ ษทั ฯ จึงขอให้อนุ ญาโตตุลาการชี ขาดให้ ทีโอทีจ่ายส่ วนแบ่งในส่ วนของบริ ษทั ฯ สําหรับ ค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ทีทีโอทีได้รับนับตังแต่เดือนตุลาคม 2535 ถึงเดือนมิถุนายน 2546 เป็ นจํานวนเงิน 25,419.40 ล้านบาท เมือวันที 21 กุมภาพันธ์ 2549 คณะอนุ ญาโตตุลาการได้ส่งคําชี ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที 17 มกราคม 2549 มายังบริ ษทั ฯ คณะอนุ ญาโตตุลาการได้มีคาํ ชี ขาดโดยเสี ยงข้างมาก มีคาํ ชีขาดสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี (1) ให้บริ ษทั ฯ มีสิทธิ รับผลประโยชน์จากการที ทีโอที นําบริ การพิเศษมาใช้ผา่ นโครงข่าย ของบริ ษทั ฯ หรื อการทีทีโอทีอนุญาตให้บุคคลอืน นําบริ การพิเศษมาใช้ผา่ นโครงข่ายของบริ ษทั ฯ (2) สําหรับผลประโยชน์นบั ตังแต่เริ มต้นจนถึงวันที 22 สิ งหาคม 2545 ให้ ทีโอที ชําระเงิน จํานวน 9,175.82 ล้านบาท พร้ อมด้วยดอกเบียอัตราร้ อยละ 7.5 ต่อปี ของเงิ นจํานวนดังกล่าวนับตังแต่วนั ที 22 สิ งหาคม 2545 ให้แก่บริ ษทั ฯ จนกว่า ทีโอที จะชําระเสร็ จสิ น ให้ ทีโอที ชําระเงินตามคําชี ขาดข้อนี ให้แก่ บริ ษทั ฯ ภายใน 60 วันนับตังแต่วนั ทีได้รับคําชีขาด อย่างไรก็ดี ทีโอที ยังไม่ได้ชาํ ระเงินตามคําชี ขาดดังกล่าว ซึง ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 มีมูลค่ารวม 15,620.26 ล้านบาท (3) สําหรับผลประโยชน์ตงแต่ ั วนั ที 23 สิ งหาคม 2545 เป็ นต้นไป ให้ ทีโอที แบ่งผลประโยชน์ ตอบแทนให้บริ ษทั ฯ ในอัตราร้อยละ 50 ของผลประโยชน์ทีทีโอทีได้รับจริ ง เมือวันที 20 เมษายน 2549 ทีโอที ยืนคําร้องต่อศาลปกครองกลางเพือขอเพิกถอนคําชี ขาดของ อนุ ญาโตตุ ลาการ ต่ อมาเมื อวันที 19 กันยายน 2549 บริ ษ ัทฯ ได้ยื นคําคัดค้านต่ อศาลปกครองกลางและ ศาลปกครองกลางได้รับเรื องไว้แล้วเมือวันที 28 กันยายน 2549 และ เมือวันที 8 พฤษภาคม 2551 บริ ษทั ฯ ได้ ขอให้มีการบังคับตามคําชี ขาดของอนุ ญาโตตุลาการ ศาลปกครองกลางได้มีคาํ สังให้รวมคดีทีทีโอทีเป็ นผูร้ ้อง เพือขอให้ศาลเพิกถอนคําชีขาดของอนุญาโตตุลาการมาพิจารณาพร้อมกัน

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 25


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เมือวันที 19 กันยายน 2555 ศาลปกครองกลางได้มีคาํ พิพากษาให้เพิกถอนคําชี ขาดของ คณะอนุ ญาโตตุลาการและปฏิ เสธการขอบังคับตามคําชี ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ โดยให้เหตุผลว่าคําชี ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการไม่ชอบด้วยสัญญาร่ วมการงานฯ ดังนันการบังคับตามคําชี ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการ จึงเป็ นการขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชนจึงเป็ นกรณี ทีศาลสามารถเพิกถอนคําชี ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการได้ ต่อมา เมือวันที 18 ตุลาคม 2555 บริ ษทั ฯ ได้ยืนอุทธรณ์คาํ พิพากษาของศาลปกครองกลาง ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนีคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด 2. ค่ าเชือมต่ อโครงข่ ายแบบเดิม (Access Charge) ของบริษัทย่อย เมือวันที 5 ตุลาคม 2549 บริ ษทั ย่อยแห่งหนึง คือ ทรู มูฟ ได้ส่งจดหมายถึง ทีโอที ให้เข้าร่ วม เจรจาเกียวกับสัญญาการเชื อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม (“IC”) ระหว่างโครงข่ายของ ทรู มูฟ และโครงข่าย ของ ทีโอที ต่อมาเมือวันที 17 พฤศจิกายน 2549 ทรู มูฟ ได้ส่งหนังสื อแจ้ง ทีโอที และ CAT Telecom เพือ แจ้งว่าจะหยุดชําระค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ภายใต้สัญญา AC เนืองจากอัตราและ การเรี ยกเก็บค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ภายใต้สัญญา AC ขัดแย้งกับกฎหมายหลายประการ ทรู มูฟ ได้ร้องขอให้ ทีโอที เข้าร่ วมลงนามในสัญญา IC กับทรู มูฟเพือให้เป็ นไปตามกฎหมายหรื อให้เรี ยกเก็บ อัตราเรี ยกเก็บชัวคราวทีประกาศโดยคณะกรรมการ กทช. ในระหว่างทีการเจรจาเรื องการเข้าทําสัญญา IC กับ ทีโอที ยังไม่มีขอ้ ยุติ อย่างไรก็ตาม เมือวันที 23 พฤศจิกายน 2549 ทีโอที ได้ส่งหนังสื อเพือแจ้งว่า ทรู มูฟ ไม่มีสิทธิ ทีจะใช้และเชือมต่อโครงข่ายของ ทรู มูฟ กับโครงข่ายของ ทีโอที เนื องจาก ทรู มูฟ ไม่ได้เป็ นผูร้ ับใบอนุญาต ประกอบกิ จการโทรคมนาคมซึ งออกโดยคณะกรรมการ กทช. และไม่มีโครงข่ายโทรคมนาคมเป็ นของ ตนเอง ที โอที โต้แย้ง ว่า สัญญา AC ไม่ ได้ฝ่ าฝื นกฎหมายใดๆ ดัง นัน อัตราและการเรี ยกเก็ บค่ า เชื อมต่ อ โครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ภายใต้สัญญา AC ยังคงมีผลใช้บงั คับต่อไป เมื อวันที 24 มกราคม 2550 ทรู มู ฟ ได้ยืนฟ้ อง ที โอที ต่ อศาลปกครองกลาง ขอให้ศ าล พิพากษาให้ทีโอที ดําเนินการเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม เพือให้เลขหมายของผูใ้ ช้บริ การของ ทรู มูฟ ใน ส่ วนทีเป็ นเลขหมายใหม่ทีทรู มูฟ ได้รับการจัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. จํานวน 1.5 ล้านเลขหมาย ใช้งานได้ อย่างต่อเนืองสมบูรณ์ และให้ทีโอทีชาํ ระค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ ทรู มูฟ จํานวน 84 ล้านบาท พร้อมทังได้ ยืนคําร้องขอให้ศาลกําหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชวคราวก่ ั อนการพิพากษา เพือให้ผใู้ ช้บริ การของ ทรู มูฟ ทุกเลขหมายสามารถติดต่อกับเลขหมายของ ทีโอที ได้ ซึ งเมือวันที 26 มกราคม 2550 ศาลปกครองกลางได้ มีคาํ สังกําหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ชวคราวก่ ั อนการพิพากษา โดยมีคาํ สังให้ ทีโอที ดําเนิ นการเชื อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคมให้ผใู ้ ช้บริ การของ ทรู มูฟ ทุกเลขหมายสามารถติดต่อกับเลขหมายของ ทีโอทีได้ และ เมือวันที 30 มกราคม 2550 ทีโอทีได้ยนอุ ื ทธรณ์คาํ สังดังกล่าวต่อศาลปกครองสู งสุ ด ซึ งต่อมาศาลปกครองสู งสุ ดได้ ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 26


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

พิพากษายืนตามคําสังของศาลปกครองกลาง นอกจากนัน เมือวันที 26 กุมภาพันธ์ 2552 ศาลปกครองกลางได้ มีคาํ พิพากษาให้ ทีโอที ดําเนิ นการเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม เพือให้เลขหมายดังกล่าวใช้งานได้อย่าง ต่อเนืองสมบูรณ์ และให้ ทีโอที ชําระค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ ทรู มูฟ จํานวน 1 ล้านบาท ซึ งต่อมา ทีโอที ได้ยืน อุทธรณ์ต่อศาลปกครองสู งสุ ด ขณะนีคดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด นอกจากนี เมื อวันที 29 มิ ถุ นายน 2550 ทรู มู ฟ ได้ยืนข้อพิ พ าทเข้า สู่ กระบวนการระงับ ข้อพิพาท ตามประกาศของคณะกรรมการ กทช. ว่าด้วยการใช้และเชือมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 เพือขอให้คณะกรรมการวินิจ ฉัยข้อพิพาท (“กวพ.”) มี คาํ วินิจฉัยให้ ที โอที ดําเนิ นการทําสัญญาเชื อมต่อ โครงข่ายฯ (IC) กับ ทรู มูฟ กวพ. มีคาํ วินิจฉัยและคณะกรรมการ กทช. มีคาํ ชี ขาดว่า ทรู มูฟ มีสิทธิ ทีจะเข้า เจรจาทําสัญญาเชื อมต่อโครงข่ายฯ (IC) กับ ทีโอที เมือวันที 21 พฤศจิกายน 2550 และวันที 28 พฤศจิกายน 2550 ตามลํา ดับ ต่ อมาเมื อวันที 23 มิ ถุนายน 2551 ที โอที ได้ตกลงที จะเข้าเจรจาทําสั ญญาเชื อมต่ อโครงข่ า ย โทรคมนาคม (IC) กับ ทรู มูฟแล้ว แต่มีเงื อนไขว่า จะทําสัญญาเฉพาะกับเลขหมายใหม่ที ทรู มูฟ ได้รับ จัดสรรจากคณะกรรมการ กทช. เท่านัน ทรู มูฟ ได้ตกลงตามที ที โอที เสนอ แต่สําหรั บเลขหมายเก่ านัน ทรู มูฟ ยังคงดําเนินการให้เป็ นเรื องของข้อพิพาทและอยูใ่ นดุลยพินิจของศาลต่อไป เมือวันที 16 พฤศจิกายน 2550 ทีโอที ได้ยนฟ้ ื อง ทรู มูฟ ต่อศาลแพ่ง ฐานผิดสัญญา AC และ เรี ยกร้องให้ ทรู มูฟ ชําระค่าเชือมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ทีค้างชําระ พร้อมดอกเบียและภาษีมูลค่าเพิม เป็ นจํานวนเงิน 4,508.10 ล้านบาท เมือวันที 16 กันยายน 2552 ศาลแพ่งและศาลปกครองกลางมีความเห็นพ้องกัน ว่าคดีดงั กล่าวอยูใ่ นเขตอํานาจศาลปกครอง ดังนัน ศาลแพ่งจึงจําหน่ายคดีออกจากสารบบเมือวันที 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอที ได้ยืนฟ้ อง CAT Telecom ร่ วมกับ ทรู มูฟ ต่อศาลปกครองกลาง เพือเรี ยกร้องให้ชาํ ระค่าเชื อมต่อโครงข่าย แบบเดิม (Access Charge) จํานวนเงิน 41,540.27 ล้านบาท และเมือวันที 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ทีโอทีได้ ยืนคําร้องขอแก้ไขเพิมเติมคําฟ้ อง เพือแก้ไขจํานวนเงินทีเรี ยกร้องค่า AC พร้อมภาษีมูลค่าเพิมคิดจนถึงวันที 16 กันยายน พ.ศ. 2556 อันเป็ นวันที ทีโอที อ้างว่าสัญญา AC สิ นสุ ด พร้อมกับเรี ยกดอกเบียทีคิดตังแต่ช่วง ปลายปี 2549 แล้วแต่กรณี จนถึ ง ณ วันที 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โดยรวมเป็ นต้นเงิ นที ทีโอที เรี ยกให้ CAT Telecom และ ทรู มูฟ ร่ วมกันรับผิดประมาณ 59,628 ล้านบาท นอกจากนี ยังเรี ยกดอกเบียของต้นเงิน ดังกล่าวคิด ตังแต่วนั ที 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็ นต้นไปจนกว่าจะชําระเสร็ จขณะนี คดี อยู่ระหว่างการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง ปั จ จุ บ ัน ที โ อที รั บ ว่ า สั ญ ญา AC ได้ สิ นสุ ดลงแล้ ว โดยเห็ น ว่ า สิ นสุ ดลงตังแต่ ว ัน ที 16 กันยายน พ.ศ. 2556 เป็ นต้นไป ดังนัน ในส่ วนจํานวนต้นเงิ น พิพาท ซึ ง ทีโอที เรี ยกร้ อง จึงไม่เกิ นไปกว่า 59,628 ล้านบาท ทังนีถ้า ทรู มูฟ ต้องชําระค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ทรู มูฟ อาจต้องบันทึก ค่าเชื อมต่อโครงข่ายแบบเดิ ม (Access Charge) เป็ นค่าใช้จ่ายและค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเพิมเติม สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที 15 กันยายน 2556 ดังนี ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 27


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ค่า AC ค้างจ่าย (ล้านบาท) สําหรับระยะเวลา ตังแต่วนั ที 18 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที 15 กันยายน 2556

32,344.56

ผลกระทบสุ ทธิ ต่อ กําไรหรื อขาดทุนรวม ซึงสุ ทธิจากเงิน ส่ วนแบ่งรายได้ทีจ่าย ให้แก่ CAT Telecom (ล้านบาท) 23,762.55

ฝ่ ายบริ หารและทีปรึ กษากฎหมายมีความเห็ นว่า ทรู มูฟ ไม่มีภาระผูกพันที จะต้องจ่ายเชื อมต่ อ โครงข่ายแบบเดิม (Access Charge) ตามทีทีโอที เรี ยกร้อง ข้างต้น ทังนี ผลทีสุ ดของคดีความดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถคาดการณ์ได้ในขณะนี ดังนันบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย จึงไม่ได้บนั ทึกรายได้และไม่ได้ตงสํ ั ารองสําหรั บผลเสี ยหายที อาจจะเกิ ดขึนจากผลของคดี ดงั กล่าวไว้ใน งบการเงิน

ส่วนที 1

ข ้อพิพาททางกฎหมาย

หัวข ้อที 5 - หน ้า 28


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

6. ข้ อมูลทัวไปและข้ อมูลสํ าคัญอืน 6.1

ข้ อมูลทัวไป (1) บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) มีชือย่อหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ว่า “TRUE” ได้จดทะเบียนก่อตังบริ ษทั ฯ เมือวันที 13 พฤศจิกายน 2533 ในนามบริ ษทั ซี พี เทเลคอมมิวนิ เคชัน จํากัด โดยมีทุนจดทะเบียนเริ มแรก 1,000 ล้านบาท เพือดําเนิ นธุ รกิจทางด้านโทรคมนาคม ต่อมาได้จดทะเบียน แปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด เมือวันที 11 กุมภาพันธ์ 2536 ทะเบียนเลขที 0107536000081 ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียนทังสิ น 246,079,281,520 บาท เป็ นหุ ้นสามัญ จํานวน 24,607,928,152 หุ ้น มูลค่าทีตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยมีทุนทีเรี ยกชําระแล้วจํานวน 246,079,281,500 บาท เป็ นหุน้ สามัญจํานวน 24,607,928,150 หุ น้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท โดยมีทีตังสํานักงานใหญ่อยูท่ ี เลขที 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 Website : www.truecorp.co.th (2) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และ บริ ษทั ทีเข้าร่ วมลงทุน ชือบริษัท บริ ษทั เอพีแอนด์เจ โปรดักชัน จํากัด

บริ ษทั เอเชีย ดีบีเอส จํากัด (มหาชน)

บริ ษทั เอเซีย ไวร์เลส คอมมิวนิเคชัน จํากัด

ส่วนที 1

สถานทีตังสํานักงานใหญ่ เลขที 105/1 ถนนเทศบาลสงเคราะห์ แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900 โทรศัพท์ (662) 954-3512 โทรสาร (662) 954-3513 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ประเภทธุรกิจ ธุรกิจบันเทิง

ทุนชําระแล้ ว 16.67 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 166,667หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

ผูใ้ ห้บริ การระบบ 25 ล้านบาท แบ่งเป็ น DBS หุน้ สามัญจํานวน 2.5 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า ผูใ้ ห้บริ การ PCT

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

% การถือหุ้น 70.00

100.00

11,441.85 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สามัญจํานวน 1,144.18 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

หัวข ้อที 6 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

สถานทีตังสํานักงานใหญ่

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแล้ ว

% การถือหุ้น 99.48

บริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์เทเลเทค จํากัด (มหาชน)

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ธุรกิจลงทุน ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

172,828.29 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 69,131.31 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 2.50 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

บริ ษทั บี บอยด์ ซีจี จํากัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ผลิตการ์ตูน แอนนิเมชัน

16.52 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1.65 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

70.00

ให้เช่าอุปกรณ์ โทรคมนาคม

27,458.32 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 274.58 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

100.00

ผลิตรายการ โทรทัศน์

1,283.43 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 128.34 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

100.00

ธุรกิจโทรทัศน์ แบบสื อสาร สองทาง

46 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 4.6 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

99.53

หยุดดําเนินงาน

950 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 95 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

68.02

หยุดดําเนินงาน

230 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 23 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

100.00

หยุดดําเนินงาน

54 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 3.6 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 15 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

100.00

บริ ษทั บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด

บริ ษทั ซีนิเพล็กซ์ จํากัด

บริ ษทั คลิกทีวี จํากัด

บริ ษทั ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จํากัด

บริ ษทั ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์วสิ (ประเทศไทย) จํากัด

บริ ษทั ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิ เคชันส์ (ประเทศไทย) จํากัด

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท บริ ษทั ฮัทชิสนั ไวร์เลส มัลติมีเดีย โฮลดิงส์ จํากัด

บริ ษทั ศูนย์บริ การวิทยาการ อินเตอร์เนต จํากัด

บริ ษทั เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) จํากัด

บริ ษทั เคโอเอ จํากัด

บริ ษทั เค เอส ซี คอมเมอร์เชียล อินเตอร์เนต จํากัด

บริ ษทั เอ็มเคเอสซี เวิลด์ ดอทคอม จํากัด

บริ ษทั แพนเทอร์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จํากัด

ส่วนที 1

สถานทีตังสํานักงานใหญ่

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 2/4 อาคารไทยพาณิ ชย์สามัคคี ประกันภัย ชัน 10 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสาร (662) 979-7111

ธุรกิจลงทุน

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 2/4 อาคารไทยพาณิ ชย์สามัคคี ประกันภัย ชัน 10 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสาร (662) 979-7111 2/4 อาคารไทยพาณิ ชย์สามัคคี ประกันภัย ชัน 10 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสาร (662) 979-7111 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 725-7400 โทรสาร (662) 725-7401

ธุรกิจลงทุน

การสื อสาร โทรคมนาคมที มิใช่ภาครัฐ

ทุนชําระแล้ ว

% การถือหุ้น 92.02

10 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 590,000 หุน้ และ หุน้ บุริมสิทธิจาํ นวน 410,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า 50 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญ 56.93 จํานวน 12 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้ หุน้ ละ 10 บาท ซึงประกอบด้วย หุน้ สามัญทีเรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้ว จํานวน 2.67 ล้านหุน้ และ หุน้ สามัญ ทีเรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าอีก จํานวน 9.33 ล้านหุน้ โดยเรี ยกชําระ ไว้ทีมูลค่าหุน้ ละ 2.50 บาท 192.70 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สามัญจํานวน 11.75 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 16.40 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

บริ การจัดการ ทรัพย์สิน

2.5 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระมูลค่าหุน้ ละ 2.50 บาท

100.00

ผูใ้ ห้บริ การ อินเทอร์เน็ต

153.04 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 15.30 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

56.83

ธุรกิจอินเทอร์เน็ต 139.64 ล้านบาท แบ่งเป็ น และผูจ้ ดั จําหน่าย หุน้ สามัญจํานวน 13.95 ล้านหุน้ และหุน้ บุริมสิ ทธิ จํานวน 0.01 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

91.08

ให้บริ การด้าน การบริ หารจัดการ แก่ศิลปิ น และ ธุรกิจอืนที เกียวข้อง

99.92

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

155 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 15.5 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

หัวข ้อที 6 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท บริ ษทั เรี ยล มูฟ จํากัด

บริ ษทั สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ปอเรชัน จํากัด

บริ ษทั แซทเทลไลท์ เซอร์วสิ จํากัด

บริ ษทั เอสเอ็ม ทรู จํากัด

บริ ษทั ส่องดาว จํากัด

บริ ษทั เทเลเอ็นจิเนียริ ง แอนด์ เซอร์วสิ เซส จํากัด

บริ ษทั เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จํากัด

ส่วนที 1

สถานทีตังสํานักงานใหญ่ 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแล้ ว

ผูใ้ ห้บริ การ 7,000 ล้านบาท แบ่งเป็ น ขายต่อบริ การ หุน้ สามัญจํานวน 70 ล้านหุน้ โทรศัพท์เคลือนที มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

% การถือหุ้น 99.48

หยุดดําเนินงาน

1 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 10,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

99.42

ขายและให้เช่า อุปกรณ์ทีเกียวกับ บริ การโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็ น สมาชิก ให้บริ การด้าน การบริ หารจัดการ แก่ศิลปิ นและ ธุรกิจอืนทีเกียวข้อง

1,338 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 223 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 6 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

99.53

20 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 0.2 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

51.00

หยุดดําเนินงาน

1 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 10,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

99.41

ให้บริ การเนือหา

25 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 2.5 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

100.00

บริ หารจัดการ การตลาด

2.5 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระมูลค่าหุน้ ละ 2.50 บาท

100.00

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

สถานทีตังสํานักงานใหญ่

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

บริ ษทั เทเลคอม โฮลดิง จํากัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ธุรกิจลงทุน ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริ ษทั เทเลคอม เคเอสซี จํากัด

2/4 อาคารไทยพาณิ ชย์สามัคคี หยุดดําเนินงาน ประกันภัย ชัน 10 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี กรุ งเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (662) 979-7000 โทรสาร (662) 979-7111 118/1 อาคารทิปโก้ ช่องข่าวโทรทัศน์ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

บริ ษทั ไทย นิวส์ เน็ตเวิร์ค (ทีเอ็นเอ็น) จํากัด

บริ ษทั ทรู ดิจิตอล มีเดีย จํากัด

บริ ษทั ทรู ดิสทริ บิวชัน แอนด์ เซลส์ จํากัด

ส่วนที 1

118/1 อาคารทิปโก้ ขายโฆษณา และ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน ตัวแทนโฆษณา เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ธุรกิจจัดจําหน่าย ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

ทุนชําระแล้ ว 34,290.25 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 4,332.62 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท ซึงประกอบด้วย หุน้ สามัญที เรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้ว จํานวน 2,132.62 ล้านหุน้ และ หุน้ สามัญ ทีเรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าอีก จํานวน 1,200 ล้านหุน้ โดย เรี ยกชําระไว้ทีมูลค่าหุน้ ละ 8.72 บาท และหุน้ สามัญที เรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าอีก จํานวน 1,000 ล้านหุน้ โดย เรี ยกชําระไว้ทีมูลค่าหุน้ ละ 2.50 บาท 250,000 บาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 100,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระมูลค่าหุน้ ละ 2.50 บาท

% การถือหุ้น 100.00

34.39

645 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สามัญจํานวน 10 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท ซึงประกอบด้วย หุน้ สามัญที เรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้ว จํานวน 5 ล้านหุน้ และ หุน้ สามัญทีเรี ยก ชําระยังไม่เต็มมูลค่าอีกจํานวน 5 ล้านหุน้ โดยเรี ยกชําระไว้ที มูลค่าหุน้ ละ 29 บาท 25 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สามัญจํานวน 2.5 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า 6,501 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 65.01 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

หัวข ้อที 6 - หน ้า 5

99.44


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท บริ ษทั ทรู โฟร์ยสู เตชัน จํากัด (เดิมชือ “บริ ษทั ทรู ดีทีที จํากัด”)

บริ ษทั ทรู ไอคอนเท้นท์ จํากัด

บริ ษทั ทรู อินฟอร์เมชัน เทคโนโลยี จํากัด

บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชันแนล คอมมิวนิเคชัน จํากัด

บริ ษทั ทรู อินเตอร์เนชันแนล เกตเวย์ จํากัด

ส่วนที 1

สถานทีตังสํานักงานใหญ่

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

118/1 อาคารทิปโก้ กิจการโทรทัศน์ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน และบริ การอืน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 ทีเกียวเนือง โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

ทุนชําระแล้ ว

% การถือหุ้น 100.00

699.50 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 10 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท ซึงประกอบด้วยหุน้ สามัญที เรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้วจํานวน 100,000 หุน้ และ หุน้ สามัญที เรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าจํานวน 9.90 ล้านหุน้ โดยเรี ยกชําระไว้ที มูลค่าหุน้ ละ 69.65 บาท 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ให้บริ การเนือหา 51 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง หุน้ สามัญจํานวน 20.10 ล้านหุน้ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท โทรศัพท์ (662) 643-1111 ซึงประกอบด้วยหุน้ สามัญที โทรสาร (662) 643-1651 เรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้วจํานวน 100,000หุน้ และ หุน้ สามัญที เรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าจํานวน 20 ล้านหุน้ โดยเรี ยกชําระไว้ที มูลค่าหุน้ ละ 2.50 บาท 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ให้บริ การ 1,278 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง ระบบเทคโนโลยี หุน้ สามัญจํานวน 134.70 ล้านหุน้ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 สารสนเทศ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท โทรศัพท์ (662) 643-1111 ซึงประกอบด้วยหุน้ สามัญที โทรสาร (662) 643-1651 เรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้วจํานวน 84.70 ล้านหุน้ และ หุน้ สามัญที เรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าจํานวน 50 ล้านหุน้ โดยเรี ยกชําระไว้ที มูลค่าหุน้ ละ 8.62 บาท 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ บริ การ 22 ล้านบาท แบ่งเป็ น 99.43 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง โทรคมนาคม หุน้ สามัญจํานวน 850,000 หุน้ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท โทรศัพท์ (662) 643-1111 ซึงประกอบด้วยหุน้ สามัญที โทรสาร (662) 643-1651 เรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้วจํานวน 10,000 หุน้ และ หุน้ สามัญที เรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าจํานวน 840,000 หุน้ โดยเรี ยกชําระไว้ที มูลค่าหุน้ ละ 25 บาท 1 อาคารฟอร์จูนทาวน์ บริ การ 436 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 ชัน 15 ถนนรัชดาภิเษก โทรคมนาคมและ หุน้ สามัญจํานวน 4.36 ล้านหุน้ อินเทอร์เน็ต มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า โทรศัพท์ (662) 641-1800

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

สถานทีตังสํานักงานใหญ่

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

บริ ษทั ทรู อินเทอร์เน็ต จํากัด

1 อาคารฟอร์จูนทาวน์ ชัน 14, 27 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 641-1800

บริ ษทั ทรู ไลฟ์ พลัส จํากัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ผูค้ า้ ปลีกบริ การ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง โทรคมนาคม เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

บริ ษทั ทรู มูฟ จํากัด

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 23/6-7 ชันที 2-4 ซอยศูนย์วจิ ยั ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 641-4838-9 โทรสาร (662) 641-4840

บริ ษทั ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์แซล คอมมิวนิเคชัน จํากัด (เดิมชือ “บริ ษทั เรี ยล ฟิ วเจอร์ จํากัด”) บริ ษทั ทรู มัลติมีเดีย จํากัด

บริ ษทั ทรู มิวสิ ค จํากัด

บริ ษทั ทรู มิวสิ ค เรดิโอ จํากัด

ส่วนที 1

ผูใ้ ห้บริ การ อินเทอร์เน็ต

ผูใ้ ห้บริ การ ระบบเซลลูล่าร์

ทุนชําระแล้ ว

% การถือหุ้น 100.00

2,212.80 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 275.28 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท ซึงประกอบด้วยหุน้ สามัญ ทีเรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้วจํานวน 75.28 ล้านหุน้ และ หุน้ สามัญที เรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าอีก จํานวน 200 ล้านหุน้ โดยเรี ยกชําระ ไว้ทีมูลค่าหุน้ ละ 7.30 บาท 1,775 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สามัญจํานวน 257.50 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท ซึงประกอบด้วยหุน้ สามัญ ทีเรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้วจํานวน 97.50 ล้านหุน้ และ หุน้ สามัญที เรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าอีก จํานวน 160 ล้านหุน้ โดยเรี ยกชําระ ไว้ทีมูลค่าหุน้ ละ 5 บาท 71,306.49 ล้านบาท แบ่งเป็ น 99.44 หุน้ สามัญจํานวน 7,130.65 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

ให้บริ การ โทรคมนาคม ประเภทสื อสารไร้ สาย

84,844.39 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สามัญจํานวน 8,484.44 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

ให้บริ การเช่า วงจรสื อสัญญาณ ความเร็ วสูงและ บริ การมัลติมีเดีย

6,562 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 656.20 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

91.08

ให้บริ การเนือหา

200,000 บาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 20,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

99.40

ซือ ขายและ ผลิตสื อโฆษณา

1 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 10,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

69.94

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท บริ ษทั ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน จํากัด

สถานทีตังสํานักงานใหญ่

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู ทัช จํากัด 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง จํากัด เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู ยูนิเวอร์แซล 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง คอนเวอร์เจ้นซ์ จํากัด เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั จํากัด (มหาชน) 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั เคเบิล จํากัด 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน (มหาชน) เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900 บริ ษทั ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ ป จํากัด 118/1 อาคารทิปโก้ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 615-9000 โทรสาร (662) 615-9900

บริ ษทั ทรู วิสต้าส์ จํากัด

ส่วนที 1

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแล้ ว

บริ การ โทรคมนาคม

86 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 860,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

บริ การ Call centre

193 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1.93 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

% การถือหุ้น 100.00

100.00

จัดการทีมฟุตบอล 20 ล้านบาท แบ่งเป็ น และกิจกรรมที หุน้ สามัญจํานวน 2 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เกียวข้อง เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

70.00

ให้บริ การ โทรคมนาคม ประเภทสื อสาร ผ่านสาย

10,000 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 100 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

100.00

ให้บริ การ โทรทัศน์ ระบบบอกรับ เป็ นสมาชิก

2,266.72 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 755.57 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 3 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

99.53

ให้บริ การ โทรทัศน์ ระบบบอกรับ เป็ นสมาชิก ผ่านสายเคเบิล ธุรกิจลงทุน

7,608.65 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 760.86 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

99.10

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ผลิตและจําหน่าย ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง ภาพยนตร์ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

17,326.70 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สามัญจํานวน 225.17 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท ซึงประกอบด้วยหุน้ สามัญ ทีเรี ยกชําระเต็มมูลค่าแล้วจํานวน 75.17 ล้านหุน้ และ หุน้ สามัญที เรี ยกชําระยังไม่เต็มมูลค่าอีก จํานวน 150 ล้านหุน้ โดยเรี ยกชําระ ไว้ทีมูลค่าหุน้ ละ 65.40 บาท 23.50 ล้านบาท แบ่งเป็ น 100.00 หุน้ สามัญจํานวน 2.35 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

หัวข ้อที 6 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท บริ ษทั ทรู วอยซ์ จํากัด

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สถานทีตังสํานักงานใหญ่

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแล้ ว

18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651

ประกอบกิจการ ค้าอุปกรณ์หรื อ คอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ และ/ หรื อ ให้บริ การเกียวกับ การรู ้จาํ เสี ยงพูด ธุรกิจลงทุน

24 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 240,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

K.I.N. (Thailand) Company Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands Gold Palace Logistics Limited P.O. Box 71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Virgin Island Dragon Delight Investments P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Limited Road Town, Tortola, British Virgin Islands Gold Palace Investments Limited P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands Golden Light Company Limited Suite 308, St James Court, St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

Goldsky Company Limited

Suite 308, St James Court, St Denis Street, Port Louis, Republic of Mauritius

ธุรกิจลงทุน

Golden Pearl Global Limited

P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands P.O.Box71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola, British Vergin Island P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands

ธุรกิจลงทุน

GP Logistics Company Limited

Rosy Legend Limited

ส่วนที 1

ธุรกิจลงทุน

ธุรกิจลงทุน

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

USD 1 แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า USD 8,000 แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 8,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า USD 4.97 แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 4.97 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า USD 14.36 ล้าน แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 14.36 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า USD 16.86 ล้าน แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 16.86 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า USD 4.97 ล้าน แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 4.97 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า USD 50,000 แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 50,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า USD 1 แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า USD 1 แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

% การถือหุ้น 55.00

100.00

100.00

100.00

100.00

100.00

100.00

100.00

100.00

หัวข ้อที 6 - หน ้า 9

99.48


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท Prospect Gain Limited

True Internet Technology (Shanghai) Company Limited

บริ ษทั เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

บริ ษทั บีอีซี-เทโร ทรู วิชนส์ ั จํากัด

บริ ษทั ทรานส์ฟอร์เมชัน ฟิ ล์ม จํากัด

บริ ษทั ทรู จีเอส จํากัด

บริ ษทั เอ็นอีซี คอร์ปอเรชัน (ประเทศไทย) จํากัด

บริ ษทั ไทยสมาร์ทคาร์ด จํากัด

ส่วนที 1

สถานทีตังสํานักงานใหญ่ P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands Room 2202-05, Johnson Building, No.145 Pujian Road, Shanghai 200127, P.R.China Tel. (86) 21 5889 0800 - 8049 Fax. (86) 21 5889 0800 - 8033 1 อาคารฟอร์จูนทาวน์ ชัน 14, 17 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (662) 641-1800 3199 อาคารมาลีนนท์ทาวเวอร์ ชัน 28 ถนนพระราม 4 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุ งเทพฯ 10110 โทรศัพท์ (662) 204-3333 โทรสาร (662) 204-1384 เลขที 6 ซอยนาคนิวาส 12 ถนนนาคนิวาส แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุ งเทพฯ 10230 โทรศัพท์ (662) 932-5600 โทรสาร (662) 932-5600 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ (662) 643-1111 โทรสาร (662) 643-1651 159 อาคารเสริ มมิตร ทาวเวอร์ ชัน 2 และ 24 ซอยอโศก ถนนสุขมุ วิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุ งเทพฯ 10110 191 อาคารสี ลมคอมเพล็กซ์ ชัน 27 ห้องเลขที 2 ถนนสี ลม แขวงสี ลม เขตบางรัก กรุ งเทพฯ

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแล้ ว

ธุรกิจลงทุน

USD 1 แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า พัฒนา ออกแบบ USD 14.93 ล้าน แบ่งเป็ น ผลิตและขาย หุน้ สามัญจํานวน 14.93 ล้านหุน้ ผลิตภัณท์ซอฟแวร์ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ USD 1 เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

% การถือหุ้น 100.00

100.00

ให้บริ การ อินเทอร์เน็ต

15 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1.5 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

65.00

กีฬาและสันทนา การ

50 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 0.5 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

50.00

ผลิตและจัดสร้าง ภาพยนตร์

87.50 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 1.75 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระมูลค่าหุน้ ละ 50 บาท

28.57

จําหน่ายสิ นค้า ผ่านสื อต่าง ๆ

240 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 2.4 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

45.00

ผูผ้ ลิตอุปกรณ์ โทรคมนาคม

343 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 343,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 1,000 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

9.62

ศูนย์กลาง ให้บริ การ การเคลียร์ริง ของระบบ การจ่ายเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์

1,600 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 160 ล้านหุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

15.76

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท บริ ษทั ศูนย์ให้บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายโทรศัพท์ จํากัด

สถานทีตังสํานักงานใหญ่ 598 ชันที 6 อาคารคิวเฮ้าส์ เพลินจิต ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ 10330

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประเภทธุรกิจ

ทุนชําระแล้ ว

บริ การคงสิ ทธิ เลขหมายตามที กฎหมายกําหนด

2 ล้านบาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญจํานวน 20,000 หุน้ มูลค่าทีตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชําระเต็มมูลค่า

% การถือหุ้น 19.94

(3) ข้อมูลทัวไปของบุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหุน้ สามัญ : บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259 Call center (662) 229-2888 เว็บไซต์ http://www.tsd.co.th ผูส้ อบบัญชี

: นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที 3445 บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จํากัด 179/74-80 บางกอกซิ ตีทาวเวอร์ ชัน 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุ งเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 286-9999, (662) 344-1000 โทรสาร (662) 286-5050

นายทะเบียนหุ น้ กู/้ ผูแ้ ทนผูถ้ ือหุ ้นกู้

: ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จํากัด (มหาชน) 1222 ชัน AA ถนนพระราม 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุ งเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ (662) 296-2030, (662) 296-4494, (662) 296-5715, (662) 296-2988 (662) 296-2796, (662) 296-4788 โทรสาร (662) 683-1389, (662) 683-1298

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

6.2 ข้ อมูลสํ าคัญอืน 1. การจําหน่ ายทรัพย์ สินกิจการโครงสร้ างพืนฐานประเภทโทรคมนาคมเพิมเติมเข้ ากองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐาน โทรคมนาคม ทรู โกรท โดยบริษัทย่ อย ในเดือนมีนาคม 2558 บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ ได้แก่ บริ ษทั เอเซี ย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน จํากัด (“AWC”) และ/หรื อ บริ ษทั ย่อยอืนใดในกลุ่มของบริ ษทั ฯ ได้ทาํ การจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพืนฐานประเภท โทรคมนาคมเพิมเติมเข้ากองทุนรวมโครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท (“กองทุนฯ”) ซึ งไม่ใช่บุคคล ทีเกี ยวโยงกันของบริ ษทั ฯ โดยจะเข้าทํารายการภายหลังจากทีกองทุนฯ ได้รับมติอนุ มตั ิจากทีประชุ มผูถ้ ื อ หน่วยลงทุนของกองทุนฯ ซึ งจะมีขึนประมาณปลายเดื อนกุมภาพันธ์ 2558 และ คาดว่าจะแล้วเสร็ จภายใน เดือนมีนาคม 2558 ทังนี ทรัพย์สินทีบริ ษทั ย่อยได้จาํ หน่ายไปในครังนี ประกอบด้วย (ก) ใยแก้วนําแสง (fiber optic cable หรื อ FOC) ความยาวไม่เกิน 7,981 กิโลเมตร และ (ข) เสาโทรคมนาคม จํานวน 338 เสา และ โครงสร้ างพืนฐานโทรคมนาคมประเภท Passive อื นทีเกี ยวข้อง (หากมี ) รวมเรี ยกทรั พย์สินดังกล่ าวว่า “ทรั พ ย์สิ น โครงสร้ า งพื นฐานโทรคมนาคมเพิ มเติ ม ” โดยอาจเป็ นการขายกรรมสิ ท ธิ และ/หรื อ สิ ท ธิ ครอบครอง และ/หรื อ สิ ทธิ การเช่าระยะยาวในทรัพย์สินโครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคมดังกล่าว และ/หรื อ สิ ทธิ ในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตทีเกิ ดขึนจากการบริ หารจัดการโครงสร้ างพืนฐานทีเกี ยวข้อง กับทรัพย์สินโครงสร้ างพืนฐานโทรคมนาคมเพิมเติมดังกล่าว อันรวมถึ งการนําทรัพย์สินออกให้เช่ า และ/ หรื อ รู ปแบบการลงทุนอืนใดตามทีกองทุนสามารถลงทุนได้ตามกฎหมาย โดยมีมูลค่ารวมของสิ งตอบแทน ทังสิ น จํานวนประมาณ 12,000 - 14,000 ล้านบาท ซึ งเมือคํานวณขนาดของรายการตามประกาศคณะกรรมการ กํากับตลาดทุน ที ทจ. 20/2551 เรื อง หลักเกณฑ์ในการทํารายการทีมีนยั สําคัญ ทีเข้าข่ายเป็ นการได้มาหรื อ จําหน่ายไปซึ งทรัพย์สินและประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื อง การเปิ ดเผยข้อมูล และการปฏิบตั ิการของบริ ษทั จดทะเบียนในการได้มาหรื อจําหน่ายไปซึ งสิ นทรัพย์ พ.ศ. 2547 (“ประกาศการ ได้มาหรื อจําหน่ ายไปซึ งสิ นทรัพย์”) โดยอ้างอิงข้อมูลจากงบการเงิ นรวมฉบับสอบทานล่าสุ ดของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ณ วันที 30 กันยายน 2557 ขนาดของรายการคํานวณได้ผลสู งสุ ดจากเกณฑ์มูลค่ารวมของ สิ งตอบแทน มีขนาดของรายการเท่ากับร้อยละ 6.03 รายการดังกล่าวข้างต้น ไม่เข้าข่ายเป็ นรายการทีเกียวโยงกัน และ ขนาดของรายการไม่เข้าข่ายเป็ นรายการ ได้มาหรื อจําหน่ายไปซึ งสิ นทรัพย์ทีมีนยั สําคัญตามประกาศการได้มาหรื อจําหน่ายไปซึ งสิ นทรัพย์

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

2. สรุปสาระสํ าคัญของสั ญญาทีเกียวกับการประกอบธุรกิจของกลุ่มทรู (1) สั ญญาร่ วมการงานฯ ระหว่าง ทีโอที (องค์ การโทรศัพท์แห่ งประเทศไทย ในขณะนัน) และ บริษัทฯ (บริษัท ซี พี เทเลคอมมิวนิเคชัน จํากัด ในขณะนัน) เมือวันที 2 สิ งหาคม 2534 และแก้ไขเมือวันที 8 กันยายน 2538 โดยสั ญญาร่ วมการงานฯ มีกาํ หนดเวลา 25 ปี นับแต่ วนั ที 31 ธันวาคม 2535 หรือวันที ทีโอ ที ได้ รับมอบอุปกรณ์ ในระบบงวดแรกจากบริษัทฯ (วันที 29 ตุลาคม 2535) แล้วแต่ วนั ใดจะถึงกําหนดก่อน (วันที 29 ตุลาคม 2535 - วันที 29 ตุลาคม 2560) สัญญาร่ วมการงานฯ มีวตั ถุ ประสงค์เพือ ขยายบริ การโทรศัพท์พืนฐานในพืนทีเขตโทรศัพท์ นครหลวงจํานวน 2 ล้าน และ 6 แสนเลขหมาย (เป็ นไปตามลําดับของสัญญาร่ วมการงานฯ ข้างต้น) โดย ลักษณะของสัญญาร่ วมการงานฯ เป็ นลักษณะของ Build-Transfer-Operate (BTO) โดย บริ ษทั ฯ มีหน้าที จัดหาและโอนกรรมสิ ทธิ ของอุปกรณ์ในระบบให้แก่ ทีโอที โดยอุปกรณ์ในระบบ ตามสัญญาร่ วมการงานฯ ได้ระบุไว้ในนิยามศัพท์ สัญญาข้อ 1 “อุปกรณ์ในระบบ” ซึ งหมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ในโครงข่ายทีประกอบ เข้าเป็ นระบบโทรคมนาคมและอุปกรณ์ อืนใดทีนํามาใช้ร่วมในระบบ อาทิ อุปกรณ์ เครื องชุ มสาย โครงข่าย ตอนนอก โครงข่ายต่อผ่านท้องถินทีบริ ษทั จะจัดหาและโอนกรรมสิ ทธิ ให้ ทศท ซึ งบริ ษทั ฯ ต้องส่ งมอบอุปกรณ์ ในระบบทีติดตังแล้วเสร็ จให้แก่ ทีโอที และให้อุปกรณ์ในระบบดังกล่าวตกเป็ นกรรมสิ ทธิ ของ ทีโอที ทันที และตลอดระยะเวลาตามสัญญานี บริ ษทั ฯ ต้องบํารุ งรักษาอุปกรณ์ในระบบทียกให้เป็ นกรรมสิ ทธิ ของ ทีโอที ให้อยูใ่ นสภาพใช้งานได้ดีตลอดเวลาในระดับทีไม่ตากว่ ํ ามาตรฐานที ทีโอที ใช้อยูใ่ นโครงข่าย ทีโอที จากการทําสัญญาร่ วมการงานฯ ดังกล่าว บริ ษทั ฯ มีสิทธิ ดังนี - สิ ทธิทีจะใช้ ครอบครอง และบํารุ งรักษาอุปกรณ์ในระบบ ทีดิน อาคาร และทรัพย์สินอืนใด ทีบริ ษทั ฯ ได้จดั หามาและโอนกรรมสิ ทธิ ให้แก่ ทีโอที หรื อโอนสิ ทธิ การเช่าให้แก่ ทีโอที แล้วแต่กรณี สิ ทธิ ในการแสวงหาประโยชน์จากอุปกรณ์ในระบบ ทีดิน อาคารและทรัพย์สิน อืนใดตามสัญญา - สิ ทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ตามที บริ ษทั ฯ จะได้ทาํ ความตกลงกับ ทีโอที กรณี บุคคล อืนนําบริ การพิเศษมาผ่านโครงข่ายบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ตามที บริ ษทั ฯ จะได้ทาํ ความตกลงกับ ทีโอที กรณี ทีโอที นําบริ การพิเศษมาใช้ผา่ นโครงข่ายบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ทีจะได้รับค่าเสี ยหาย หรื อ ค่าชดเชย กรณี ทีโอที ตัดทอนสิ ทธิ ของบริ ษทั ฯ - สิ ทธิ ทีสามารถใช้ทีดิน อาคาร และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ของ ทีโอที เท่าที ทีโอที จะพิจารณา อนุญาตโดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

จากการดําเนิ นการตามสัญญาร่ วมการงานฯ นัน ทีโอที จะเป็ นผูด้ าํ เนิ นการเก็บเงิ นจากผูเ้ ช่ า (ผูใ้ ช้บริ การ) โดยเงินค่าบริ การในส่ วนของโทรศัพท์ 2 ล้านเลขหมาย ทีโอที จะแบ่งรายได้ทีได้รับจริ งก่อน หักค่าใช้จ่ายให้บริ ษทั ฯ ในอัตราร้อยละ 84 และ เงินค่าบริ การในส่ วนของโทรศัพท์ 6 แสนเลขหมาย ทีโอที จะแบ่งรายได้ทีได้รับจริ งก่อนหักค่าใช้จ่ายให้บริ ษทั ฯ ในอัตราร้อยละ 79 สิ ทธิ ในการบอกเลิกสัญญาร่ วมการงานฯ - ทีโอที มี สิทธิ บอกเลิ กสัญญาในกรณี ต่อไปนี โดยก่ อนใช้สิทธิ บอกเลิ กนี หากเป็ นกรณี ที ไม่สามารถแก้ไขได้ ทีโอที จะมีหนังสื อถึงบริ ษทั ฯ ล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 1 เดือน แต่หากเป็ นกรณี ทีแก้ไขได้ ทีโอที จะมีหนังสื อบอกกล่าวมาทีบริ ษทั ฯ ให้ปฏิบตั ิให้ถูกต้อง หรื อปรับปรุ งภายในเวลาที ทีโอที กําหนด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 6 เดือน หากบริ ษทั ฯ ไม่สามารถปรับปรุ งได้ในเวลา ทีโอที มีสิทธิ บอกเลิกได้

บริ ษทั ฯ ทําผิดกฎหมายเกียวกับการป้ องกันภัยพิบตั ิสาธารณะ หรื อความมันคงของรัฐ

บริ ษทั ฯ ถูกศาลมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดในคดีลม้ ละลาย

บริ ษทั ฯ จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอย่างต่อเนือง

- บริ ษทั ฯ ไม่มีสิทธิ เลิกสัญญา เว้นแต่กรณี ต่อไปนี โดยก่อนใช้สิทธิ บอกเลิกสัญญา บริ ษทั ฯ ต้องมีหนังสื อบอกกล่าว ทีโอที ให้ทาํ การแก้ไขหรื อปฏิบตั ิให้ถูกต้อง ภายในเวลาทีบริ ษทั ฯ กําหนด แต่ตอ้ ง ไม่นอ้ ยกว่า 6 เดือน หาก ทีโอที ไม่สามารถปรับปรุ งหรื อแก้ไข บริ ษทั ฯ จะแจ้งเป็ นหนังสื อบอกเลิกไปยัง ทีโอที

ทีโอที จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอย่างต่อเนื อง จนเป็ นเหตุให้บริ ษทั ฯ ไม่อาจปฏิบตั ิ ตามสัญญาได้ รัฐบาล หน่วยงานของรัฐ หรื อ ทีโอที ยกเลิกสิ ทธิ หรื อดําเนิ นการอย่างใดเป็ นเหตุให้บริ ษทั ฯ เสื อมสิ ทธิ มีผลกระทบกระเทือนต่อการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ อย่างมาก จนไม่สามารถ ประกอบกิจการตามสัญญาได้ บริ ษทั ฯ ไม่ได้รับเงินส่ วนแบ่งทีเกียวข้องหรื อเงินอืนใดตามทีระบุในสัญญา

(2) สั ญญาอนุ ญาตให้ ดําเนิ นกิจการให้ บ ริ การให้ เช่ าวงจรสื อสั ญญาณความเร็ วสู งผ่ า นโครงข่ า ย มัลติมีเดีย ระหว่าง ทีโอที (องค์ การโทรศัพท์แห่ งประเทศไทย ในขณะนัน) และ ทรู มัลติมีเดีย (บริษัท เอเซีย มัลติมีเดีย จํากัด ในขณะนัน) (“สั ญญาฯ”) สั ญญาฯ นีทําเมือวันที 20 ตุลาคม 2540 โดยมีกําหนดเวลา 20 ปี โดยเริมนับตังแต่ วนั ทีลงนามในสั ญญาฯ สัญญาฯ มี วตั ถุ ประสงค์เพือ ดําเนิ นกิ จการให้บริ การให้เช่ าวงจรสื อสัญญาณความเร็ วสู งทัง ระบบ Digital และ Analog เพือให้บริ การแก่ผใู ้ ช้บริ การทัวไป และผูม้ ีสิทธิ และ/หรื อ ได้รับสิ ทธิ เป็ นผูด้ าํ เนินการ ให้บริ การผ่านโครงข่ายมัลติ มีเดี ย โดยลักษณะของสัญญาฯ เป็ นลักษณะของ Build-Transfer-Operate (BTO) โดย ทรู มัลติมีเดีย มีหน้าที ต้องโอนกรรมสิ ทธิ ในเครื องมือและอุปกรณ์ในระบบทีทรู มัลติมีเดีย ติดตังเพิมเติม ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ขึนจากโครงข่ายมัลติมีเดียทีใช้ในการให้บริ การตามสัญญาให้ตกเป็ นกรรมสิ ทธิ ของ ทีโอที และ ทรู มัลติมีเดีย ต้องทําการบํารุ งรักษาบรรดาเครื องมือและอุปกรณ์ในระบบซึ งเป็ นกรรมสิ ทธิ ของ ทีโอที ให้อยูใ่ นสภาพใช้ งานได้ดีตลอดเวลา หากอุปกรณ์หรื อชินส่ วนใดสู ญหายหรื อเสี ยหายจนใช้การไม่ได้ ทรู มัลติมีเดีย ต้องจัดหา มาเปลียนทดแทนหรื อซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพใช้การได้ดี ในการดําเนินการตามสัญญาฯ นี ทรู มัลติมีเดีย ได้ จัดสรรหุน้ ของทรู มัลติมีเดีย จํานวน 18,525,000 หุ น้ ให้แก่ ทีโอที โดย ทีโอที ไม่ตอ้ งชําระค่าหุ น้ ดังกล่าว จากการทําสัญญาฯ ทรู มัลติมีเดีย มีสิทธิ ดังนี - สิ ทธิ แต่เพียงผูเ้ ดียวในการครอบครองทรัพย์สินทีตกเป็ นกรรมสิ ทธิ ของ ทีโอที - สิ ทธิ ใช้พืนทีภายในอาคารของ ทีโอที ทีจะทําการติดตังระบบวงจรความเร็ วสู ง - สิ ทธิ เช่าโครงข่ายของ ทีโอที ตามอัตราที ทีโอที กําหนดเพือนําไปให้บริ การ - สิ ทธิ ในการเชือมต่อโครงข่ายเข้ากับชุมสายและโครงข่ายโทรคมนาคมของ ทีโอที สิ ทธิในการบอกเลิกสัญญาฯ ตามสัญญาฯ ทีโอที มีสิทธิบอกเลิกสัญญาฯ ได้ หากทรู มัลติมีเดีย ไม่สามารถดําเนินกิจการงานตามสัญญานีตามปกติธุระ หรื อปฏิบตั ิผิดสัญญาข้อหนึงข้อใด (3) สั ญญาร่ วมดําเนินกิจการให้ บริ การโทรทัศน์ ทางสายระบบบอกรั บเป็ นสมาชิ ก ระหว่ าง อสมท (องค์ การสื อสารมวลชนแห่ งประเทศไทย ในขณะนัน) และ ทรู วิชันส์ เคเบิล (บริษัท ไทยเคเบิลวิชัน จํากัด (มหาชน) ในขณะนัน) โดยมีระยะเวลา 25 ปี นับตังแต่ วันที 1 มกราคม 2538 ถึงวันที 31 ธันวาคม 2562 และ มีการแก้ ไขเพิมเติมครังที 1 เมือวันที 7 กันยายน 2537 มีการแก้ ไขเพิมเติมครั งที 2 เมือวันที 9 พฤศจิกายน 2537 แก้ ไขเพิมเติมครั งที 3 เมือวันที 17 เมษายน 2541 และ แก้ ไขเพิมเติมครั งที 4 เมือวันที 8 ตุลาคม 2552 และ ข้ อตกลงระหว่าง อสมท และ ทรู วิชันส์ เคเบิล เมือวันที 8 ตุลาคม 2552 โดยสัญญานีมีวตั ถุประสงค์เพือร่ วมดําเนิ นกิจการให้บริ การโทรทัศน์ทางสายระบบบอกรับเป็ น สมาชิก โดย ทรู วิชนส์ ั เคเบิล มีสิทธิ ในการดําเนินกิจการให้บริ การโทรทัศน์ทางสายระบบบอกรับเป็ นสมาชิก โดย ทรู วิชนส์ ั เคเบิล มีหน้าทีต้องปฏิบตั ิตามสัญญา โดยต้องส่ งมอบ ทรัพย์สินทังหมดรวมทัง ส่ งมอบอุปกรณ์เครื องรับทังหมด ให้ อสมท ได้แก่ อุปกรณ์การขนส่ ง ได้แก่ อุปกรณ์ Headend อุปกรณ์ห้องส่ ง ต้องมอบให้แก่ อสมท ภายใน 1 มกราคม 2538 ไม่ตากว่ ํ า 50 ล้านบาท และต้องส่ งมอบให้แก่ อสมท ภายใน 5 ปี นับจากวันทีทําสัญญาแก้ไขเพิมเติมครังที 2 (9 พฤศจิกายน 2537) มีมูลค่าไม่นอ้ ยกว่า 120 ล้านบาท และ อุปกรณ์การรับ ได้แก่ ระบบ Set Top Converter ของสมาชิ ก ต้องส่ งมอบให้เป็ นกรรมสิ ทธิ ของ อสมท เมือ สิ นสุ ดสัญญาลง โดย ทรู วิชนส์ ั เคเบิล เป็ นผูต้ อ้ งลงทุนทังหมดเพือใช้ในดําเนิ นกิจการไม่นอ้ ยกว่า 100 ล้านบาท เป็ นค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ และ หน้าทีในการบํารุ งรักษาอุปกรณ์และเครื องมือ ให้อยู่ ในสภาพใช้งานได้ตลอดเวลา ซึ งในการดําเนิ นการตามสัญญานี ทรู วิชนส์ ั เคเบิล ตกลงจ่ายค่าตอบแทนใน การเข้าร่ วมดําเนินกิจการเป็ นเงินร้อยละ 6.5 ของรายได้ทงหมดแต่ ั ละปี ก่อนหักค่าใช้จ่ายใด ๆ

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สิ ทธิ ในการบอกเลิกสัญญา ตามสัญญากําหนดว่า หากทรู วิชนส์ ั เคเบิล ไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาใน ข้อหนึ งข้อใด อสมท จะแจ้งเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรให้ปฏิ บตั ิตามสัญญาให้ถูกต้องในเวลาอันสมควร หาก ั เคเบิล ต้องแจ้งเหตุผลเป็ นลายลักษณ์อกั ษรให้ ทรู วิชนส์ ั เคเบิล ไม่ยอมปฏิบตั ิให้ถูกต้องในเวลา ทรู วิชนส์ อสมท ทราบ เมือ อสมท พิจารณาคําชี แจงแล้ว จะแจ้งให้ทรู วิชันส์ เคเบิล ทราบและปฏิบตั ิให้ถูกต้องใน กําหนดเวลาอันควรอีกครัง หากทรู วิชนส์ ั เคเบิล ไม่ปฏิ บตั ิให้ถูกต้องในกําหนดครังนี อสมท มีสิทธิ เรี ยก ค่าเสี ยหาย หรื อให้งดให้บริ การ และ/หรื อมีสิทธิ บอกเลิกสัญญาได้ทนั ที และในกรณี ถา้ มติ ครม. เป็ นว่ามี ความจํา เป็ นเพื อความมันคงของรั ฐ อสมท มี สิ ท ธิ บ อกเลิ ก สั ญญาทังหมดหรื อ บางส่ ว นได้โ ดยแจ้ง ให้ ทรู วิชนส์ ั เคเบิลทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 180 วัน (4) สั ญญาร่ วมดําเนินกิจการให้ บริการโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็ นสมาชิ ก ระหว่ าง อสมท (องค์ การ สื อสารมวลชนแห่ งประเทศไทย ในขณะนั น) และ ทรู วิชั นส์ ( บริ ษั ท อิน เตอร์ เนชั นแนล บรอดคาสติง คอร์ ปอร์ เรชั น จํากัด (มหาชน) ในขณะนัน) โดยมีระยะเวลา 25 ปี นับตังแต่ วันที 1 ตุลาคม 2532 ถึง วันที 30 กันยายน 2557 และมีการแก้ ไขเพิมเติมครังที 1 เมือวันที 19 พฤษภาคม 2537 และ แก้ ไขเพิมเติมครังที 2 เมือวันที 17 เมษายน 2541 แก้ ไขเพิมเติมครั งที 3 เมือวันที 8 ตุลาคม 2552 และ บันทึกข้ อตกลงระหว่ าง อสมท และ ทรู วิชันส์ เมือวันที 8 ตุลาคม 2552 โดยสัญญานีมีวตั ถุประสงค์ เพือร่ วมดําเนินกิจการให้บริ การโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิ ก และทรู วิชนส์ ั ได้สิทธิ ในการดําเนินกิจการให้บริ การโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิ ก โดยมีหน้าทีในการ ต้องลงทุนทังหมดเพือใช้ในการดําเนิ นกิ จการไม่น้อยกว่า 50 ล้านบาท เป็ นค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื องมือ อุปกรณ์ ต่าง ๆ และต้องส่ งมอบทรัพย์สินทังหมดรวมทังส่ งมอบอุปกรณ์ เครื องรับทังหมด ให้ อสมท ได้แก่ อุปกรณ์การส่ ง ได้แก่ อุปกรณ์เครื องส่ ง อุปกรณ์ห้องส่ ง และสายอากาศภาคส่ ง เพือดําเนิ นการในระบบ MMDS โดยส่ งมอบให้ อสมท ภายใน 180 วัน นับตังแต่วนั ทําสัญญา (วันที 17 เมษายน 2532) โดยมีมูลค่ารวมไม่ตากว่ ํ า 50 ล้านบาท และต้องส่ งมอบอุปกรณ์จากการขยายบริ การตามสัญญาแก้ไขเพิมเติมครังที 1 ให้ อสมท ภายใน 3 ปี นับจากวันทําสัญญา (วันที 19 พฤษภาคม 2537) มีมูลค่ารวมไม่น้อยกว่า 120 ล้านบาท และ อุปกรณ์ เครื องรับ ได้แก่ ระบบสายอากาศของสมาชิ ก (Down Converter) รวมทังอุปกรณ์ ป้องกันไม่ให้ผอู ้ ืนทีมิใช่ สมาชิ กรับสัญญาณได้ ต้องส่ งมอบให้เป็ นกรรมสิ ทธิ ของ อสมท เมือสัญญาสิ นสุ ดลง รวมทังหน้าทีในการ โอนสิ ทธิ ในคลืนความถี 2507 - 2517 MHz และ 2521 - 2528 MHz ทีได้รับจากคณะกรรมการประสานงาน และบริ หารความถีวิทยุแห่งชาติ และอีก 1 คลืนความถีทีได้รับจากคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริ หาร คลื นความถีให้ อสมท ภายใน 180 วัน (นับแต่วนั ที 17 เมษายน 2532) ซึ งในการดําเนิ นการตามสัญญานี ทรู วิชนส์ ั ตกลงจ่ายค่าตอบแทนในการเข้าร่ วมดําเนิ นกิจการเป็ นเงิ นร้ อยละ 6.5 ของรายได้ทงหมดแต่ ั ละปี ก่อนหักค่าใช้จ่ายใด ๆ

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สิ ทธิ ในการบอกเลิ กสัญญาตามสัญญากําหนดว่าหาก ทรู วิชนส์ ั ไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาในข้อหนึ งข้อใด อสมท จะแจ้งเป็ นลายลักษณ์อกั ษรให้ปฏิบตั ิตามสัญญาให้ถูกต้องในเวลาอันสมควร หากทรู วิชนส์ ั ไม่ยอมปฏิบตั ิให้ ั ต้องแจ้งเหตุผลเป็ นลายลักษณ์อกั ษรให้ อสมท ทราบ เมือ อสมท พิจารณาคําชี แจง ถูกต้องในเวลา ทรู วิชนส์ แล้ว จะแจ้ง ให้ ท รู วิ ชันส์ ทราบและปฏิ บ ัติ ใ ห้ ถู ก ต้อ งในกํา หนดเวลาอัน ควรอี ก ครั ง หากทรู วิ ชันส์ ไม่ปฏิบตั ิให้ถูกต้องในกําหนดครังนี อสมท มีสิทธิ เรี ยกค่าเสี ยหาย หรื อให้งดให้บริ การ และ/หรื อมีสิทธิ บอก เลิกสัญญาได้ทนั ที และ ในกรณี ถา้ มติ ครม. เห็นว่ามีความจําเป็ นเพือความมันคงของรัฐ อสมท มีสิทธิ บอก เลิกสัญญาทังหมดหรื อบางส่ วนได้โดยแจ้งให้ทรู วชิ นส์ ั ทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 180 วัน (5) สั ญญาเช่ าเครื องและอุปกรณ์ วิทยุคมนาคมเพือให้ บริ การโทรศั พ ท์ เคลือนทีในระบบ HSPA (“สั ญญาเช่ าเครื องและอุปกรณ์ ฯ”) ระหว่ าง CAT Telecom ในฐานะผู้เช่ า และบีเอฟเคทีในฐานะผู้ให้ เช่ า เมือวันที 27 มกราคม 2554 โดยมีกาํ หนดระยะเวลา 14.5 ปี (วันที 27 มกราคม 2554 – วันที 3 สิ งหาคม 2568) และบันทึกข้ อตกลงแนบท้ายสั ญญาฉบับลงวันที 27 มกราคม 2554 และฉบับลงวันที 17 กุมภาพันธ์ 2554 โดยสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ นี มีวตั ถุประสงค์เพือให้ CAT Telecom เช่าเครื องและอุปกรณ์ ระบบ HSPA ทัวประเทศทีจะมีการติดตังบนโครงข่ายของ CAT Telecom และ เสาโทรคมนาคมของทังใน ส่ วนกลางและภูมิภาคของบีเอฟเคที และ บีเอฟเคที ตกลงให้เช่ า และตกลงรับดําเนิ นการ เปลียน ซ่ อมแซม และบํารุ งรักษา เครื องและอุปกรณ์ HSPA ทีให้เช่าทัวประเทศ เป็ นระยะเวลาประมาณ 14.5 ปี (ตามระยะเวลา ของใบอนุ ญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบทีสามของ CAT Telecom) โดย บีเอฟเคที ได้รับค่าเช่าใน อุปกรณ์เป็ นการตอบแทนโดยคํานวณจากจํานวนสถานีฐานทีนําออกให้บริ การเชิงพาณิ ชย์ ซึ งมีการคํานวณ ค่าเช่ าตามหลักเกณฑ์และวิธีการคํานวณค่าเช่ าทีกําหนดในสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ และเรี ยกเก็บจาก CAT Telecom ทังนี บีเอฟเคที หรื อ CAT Telecom อาจขอปรับหรื อเปลียนแปลงค่าเช่าได้เป็ นครังคราว ตาม เงือนไขทีกําหนดในสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ (6) สั ญญาบริ การขายส่ งบริ การโครงข่ ายโทรศัพท์ เคลือนที (HSPA) (“สั ญญาขายส่ งบริ การฯ”) ระหว่ าง CAT Telecom ในฐานะผู้ให้ บริ การขายส่ ง และ เรี ยลมูฟ ในฐานะผู้ให้ บริ การขายต่ อบริ การ โดยมี กําหนดระยะเวลา 14.5 ปี (วันที 27 มกราคม 2554 – วันที 3 สิ งหาคม 2568) และบันทึกข้ อตกลงแนบท้ าย สั ญญาฉบับลงวันที 27 มกราคม 2554 และฉบับลงวันที 17 กุมภาพันธ์ 2554 โดยสัญญาขายส่ งบริ การฯ นี เป็ นสัญญาขายส่ งบริ การโทรศัพท์เคลือนที ตามประกาศคณะกรรมการ กทช. เรื อง การประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทการขายส่ งบริ การและบริ การขายต่อบริ การ ฉบับประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที 123 ตอนพิเศษ 136 ง วันที 29 ธันวาคม 2549 และตามทีจะได้มีการแก้ไขเพิมเติม เป็ นคราว ๆ ไป รวมทังประกาศอืนของหน่ วยงานกํากับดูแลทีจะออกในอนาคตในเรื องการขายต่อบริ การ โทรศัพท์เคลือนที โดยในการขายส่ งบริ การโทรศัพท์เคลือนทีดังกล่าว CAT Telecom ตกลงขายส่ งบริ การ โทรศัพท์เคลื อนที ให้แก่ เรี ยลมูฟ หรื อ ผูป้ ระกอบกิ จการขายต่อบริ การทีได้รับอนุ ญาตจากคณะกรรมการ ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กสทช. โดย เรี ยลมูฟ ตกลงรับซื อ บริ การและความจุ (Capacity) ร้อยละ 80 ของความจุในโครงข่ายโทรศัพท์เคลือนที HSPA ของ CAT Telecom ทังหมด หรื อเท่ากับจํานวนผูใ้ ช้บริ การจําลองประมาณ 13.3 ล้านราย ภายในวันที 31 ธันวาคม 2555 เพือให้บริ การขายต่อบริ การโทรศัพท์เคลือนทีแก่ประชาชนในฐานะผูป้ ระกอบกิ จการ โทรคมนาคมขายต่อบริ การโทรศัพท์เคลือนทีบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลือนทีระบบ HSPA ทังนี เงือนไขของ สัญญาขายส่ งบริ การฯ จะเป็ นเงือนไขสัญญาทีเป็ นมาตรฐานและใช้กบั ผูป้ ระกอบการขายต่อทุ กรายตาม เงือนไขที CAT Telecom กําหนด โดย CAT Telecom มีสิทธิ นาํ Capacity ทีเหลื อไปขายต่อแก่ผปู้ ระกอบ กิจการขายต่อบริ การรายอืนได้ นอกจากนี CAT Telecom จะสอบถามความต้องการซื อความจุเพิมเติมของ เรี ย ลมูฟ หรื อผูป้ ระกอบกิ จการขายต่ อบริ ก ารรายอื นในทุ ก ๆ ปี เพื อประกอบการพิ จารณาขยายความจุ โครงข่ายในปี ต่อ ๆ ไป (7)

สั ญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้

(7.1) สั ญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ ระหว่ างบีเอฟเคทีในฐานะผู้ขาย และกองทุนรวม โครงสร้ างพืนฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท (“กองทุน”) ในฐานะผู้ซือ (“สั ญญาโอนขายทรั พย์ สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT”) มีระยะเวลา 12 ปี นับตังแต่ วนั ที 24 ธันวาคม 2556 - วันที 3 สิ งหาคม 2568 โดยสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT นี มีวตั ถุประสงค์เพือขายและโอน รายได้ทีคาดว่าจะได้รับของ BFKT จาก (ก) ค่าเช่าทรัพย์สินโทรคมนาคมของ BFKT ซึงประกอบไปด้วยเสาโทรคมนาคมจํานวน 1,485 เสาและระบบ FOC รวมทังอุปกรณ์ระบบสื อสัญญาณรวม 9,169 links ตามสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ (รวมถึงสิ ทธิ เรี ยกร้อง และสิ ทธิ อืนทังหมดทีเกิดจากรายได้ดงั กล่าวตามทีระบุไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สิน และสิ ทธิรายได้ BFKT) นับแต่วนั เริ มคํานวณรายได้ (1 ตุลาคม 2556) จนถึงวันครบกําหนดสัญญา และ (ข) ค่าเช่าเสาโทรคมนาคมของ BFKT จํานวนไม่เกิน 50 เสา (“ทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ”) นับแต่วนั ถัดจากวันครบกําหนดสัญญาหรื อวันทีสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ ถูกยกเลิ กก่อนครบกําหนด ระยะเวลาหรื อครบกําหนดระยะเวลาทีได้มีการขยาย (“วันยกเลิ กสัญญาเช่ าเครื องและอุปกรณ์ ฯ”) แล้วแต่ กรณี ใดจะเกิ ดขึนก่อน จนถึงวันครบรอบ 10 ปี นับแต่วนั ถัดจากวันครบกําหนดสัญญาหรื อวันยกเลิกสัญญา เช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ ดังกล่าว ในแต่ละกรณี หกั ด้วยต้นทุนและค่าใช้จ่ายบางส่ วนสําหรับการดําเนิ นงานและซ่ อมบํารุ ง เงินค่าเช่าตามสัญญาเช่าทีดิน (รวมถึงภาษีโรงเรื อน) และเบียประกันภัย และค่าใช้จ่ายในการให้ได้มาซึ งสิ ทธิ แห่ งทาง (“ต้นทุนค่าใช้จ่ายของ BFKT”) โดยต้นทุนค่าใช้จ่ายของ BFKT จะมีการปรับอัตราเพิมขึนรายปี (annual escalation) (รวมเรี ยกว่า “รายได้สุทธิ ของ BFKT”) ให้แก่กองทุน และกองทุนจะต้องซื อและรับโอน รายได้สุทธิ ของ BFKT ในวันที ทําการซื อขายเสร็ จสิ นที กําหนดไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT (“วันทีทําการซื อขายรายได้ BFKT เสร็ จสิ น”) ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 18


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี BFKT ตกลงให้สิท ธิ โดยเพิ กถอนมิ ไ ด้แก่ ก องทุ นในการซื อทรั พ ย์สิ น โทรคมนาคมของ BFKT บางส่ วน (“ทรัพย์สิน BFKT หลัก”) ในราคา 10 ล้านบาท (“ราคาใช้สิทธิ ”) ซึ งกองทุน สามารถใช้สิทธิ ได้ในวันครบกําหนดสัญญาหรื อวันยกเลิกสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ แล้วแต่กรณี (“สิ ทธิ ในการซื อ”) ทรัพย์สิน BFKT หลัก ณ วันทีของสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT ประกอบด้วย เสาโทรคมนาคมจํานวน 1,435 เสา และระบบ FOC และอุปกรณ์ระบบสื อสัญญาณจํานวน 9,169 links โดย ความยาวของระบบ FOC อยูท่ ี 47,250 กิโลเมตร เมือกองทุนใช้สิทธิ ในการซื อและชําระราคาใช้สิทธิ แล้ว หากมีทรัพย์สิน BFKT หลัก ส่ วนใดทียังไม่สามารถโอนและส่ งมอบให้แก่กองทุนได้ในวันทีกําหนดไว้ให้เป็ นวันทีทําการโอนและส่ ง มอบทรัพย์สิน BFKT หลัก (“วันโอนทรัพย์สิน BFKT หลัก”) BFKT จะชําระเงินให้กองทุนเป็ นมูลค่าสุ ดท้าย (terminal value) ของทรัพย์สิน BFKT หลักส่ วนดังกล่าว เมือ BFKT ชําระมูลค่าสุ ดท้าย (terminal value) ดังกล่าวจนครบถ้วนแล้ว BFKT จะหมดภาระผูกพันต่อกองทุนในการโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน BFKT หลัก ส่ วนดังกล่าว มูลค่าสุ ดท้าย (terminal value) ของทรัพย์สิน BFKT หลักทีเกียวข้อง คือ จํานวนทีเท่ากับ 18 เท่า ของรายได้ค่าเช่า BFKT รายเดือนสําหรับระยะเวลา 12 เดือนก่อนหน้าเดือนทีมีวนั โอนทรัพย์สิน BFKT หลัก (“มูลค่าสุ ดท้ายของ BFKT”) ในส่ วนของทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือนัน ในหรื อก่อนวันครบกําหนดสัญญาหรื อ วันยกเลิกสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ แล้วแต่กรณี BFKT จะเข้าทําสัญญาเช่ากับนิติบุคคลในกลุ่มทรู เพือให้ เช่าพืนที (slots) หนึงพืนทีบนเสาโทรคมนาคมของ BFKT ซึงเป็ นทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ (“สัญญาเช่า ทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ”) โดยมีระยะเวลาการเช่าอย่างน้อย 10 ปี นับถัดจากวันครบกําหนดสัญญาหรื อ วันยกเลิกสัญญาเช่าเครื องและอุปกรณ์ฯ แล้วแต่กรณี (“วันครบกําหนดการขายรายได้ BFKT ขันสุ ดท้าย”) และจัดหาและส่ งมอบรายได้สุทธิ รายเดือนทีเกิดจากค่าเช่าทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ จนถึงวันครบกําหนดการ ขายรายได้ BFKT ขันสุ ดท้าย หรื อ จนถึงวันทีมีการโอนทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ ให้แก่กองทุนหากเกิด กรณี ดงั กล่าวขึนก่อน ทังนี ตามข้อกําหนดและเงือนไขของสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT ภายใต้ขอ้ กําหนดและเงือนไขในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT หาก ในระหว่างระยะเวลาของสัญญาเช่าทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ BFKT ได้รับหลักฐานเกียวกับสิ ทธิ ในทีดิน และ/หรื อ สิ ทธิ การเช่าโดยชอบด้วยกฎหมายของสถานทีตัง และ/หรื อ สิ ทธิ แห่งทางทีเป็ นทีตังหรื อใช้ดาํ เนิ นงาน ของทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ BFKT จะโอนและขายทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือดังกล่าวให้กองทุน และกองทุนจะรับโอนและซื อทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือนันตามราคาทีกองทุนและ BFKT จะตกลงกัน (“ราคาซื อขายทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ”) โดยเป็ นไปตามสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ BFKT กรรมสิ ทธิ และความเสี ยงภัยในความสู ญเสี ยหรื อเสี ยหายในรายได้สุทธิ ของ BFKT ทรัพย์สิน BFKT หลักและทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือจะเป็ นของกองทุนในวันทีธุ รกรรมทีเกียวข้องเสร็ จ สิ น เว้นแต่จะกําหนดไว้เป็ นอย่างอืนในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 19


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ก่อนวันโอนทรัพย์สิน BFKT หลัก หากเกิดเหตุผิดนัดใดทีกําหนดไว้ในสัญญาโอนขาย ทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT กองทุนอาจเรี ยกให้ BFKT ชําระเงินเป็ นมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value) ของรายได้สุทธิ ของ BFKT ทีเหลือทังหมด รวมกับมูลค่าสุ ดท้ายของ BFKT (terminal value) ของ ทรัพย์สิน BFKT หลัก (“รายได้สุทธิ BFKT คงค้าง”) และอาจบังคับใช้สิทธิ ของกองทุนไม่วา่ ทังหมดหรื อ บางส่ วนตามสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT การจํากัดความรับผิดของ BFKT ภายใต้สัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT ความรับผิดของ BFKT จะมีอยูอ่ ย่างจํากัดตามกรณี ทวไปซึ ั งรวมถึงกรณี ดงั ต่อไปนี BFKT ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกียวกับทรัพย์สิน BFKT ทีโอนแล้ว หากกองทุนได้มีการบอกกล่าวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภายในสองปี นับจากวันโอนทรัพย์สิน BFKT เสร็ จสิ นทีเกียวข้องแต่ละครัง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องทีเกิดจากเรื องสําคัญบาง เรื องทีกําหนดไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT ซึ งไม่มีกาํ หนดระยะเวลาสิ นสุ ดในการ บอกกล่าวเรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจากทีกฎหมายกําหนด) เรื องดังกล่าวรวมถึงคํารับรองของ BFKT ในเรื องอํานาจ หน้าที กรรมสิ ทธิ ของ BFKT ในทรัพย์สิน BFKT ทีโอนแล้ว และการไม่ปฏิบตั ิตามข้อตกลงกระทําการทีสําคัญ ความรับผิดโดยรวมของ BFKT เกียวกับ (ก) รายได้สุทธิ ของ BFKT ทีเกียวกับสัญญาเช่า เครื องและอุปกรณ์ฯ ต้องไม่เกินรายได้สุทธิ BFKT คงค้าง (ข) ทรัพย์สิน BFKT หลักทีโอนให้แก่กองทุนต้อง ไม่เกินมูลค่าสุ ดท้ายของ BFKT (terminal value) ของทรัพย์สินนัน (ค) ทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือทีโอน ให้กองทุนต้องไม่เกินราคาซื อทีกองทุนชําระสําหรับทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือดังกล่าว (ง) รายได้สุทธิ ของ BFKT ทีเกียวกับสัญญาเช่าทรัพย์สิน BFKT ส่ วนทีเหลือ ต้องไม่เกินมูลค่าสุ ทธิ ปัจจุบนั ของรายได้ค่าเช่า สุ ทธิทีค้างชําระ และ (จ) การทําผิดสัญญาอืนใดทังหมด ความรับผิดรวมของ BFKT จะต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของราคาซื อขาย BFKT ทังนี BFKT ต้องรับผิดต่อความเสี ยหาย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้อง ภาษี (เว้นแต่ภาษีมูลค่าเพิม) อากรแสตมป์ ภาระผูกพัน และต้นทุนค่าใช้จ่ายทีเกี ยวข้อง ทีเกิ ดขึนหรื อเป็ นผลจากการเข้าทํา การใช้สิทธิ การบังคับสิ ทธิตามสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ BFKT ในเรื องการประกันภัย BFKT ตกลงทีจะ (ก) ดําเนิ นการให้กองทุนมีชือเป็ นผูเ้ อาประกันภัย ร่ วมและผูร้ ับผลประโยชน์ร่วมภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ทีเกียวกับทรัพย์สินโทรคมนาคมของ BFKT ภายใน 45 วันนับแต่วนั ทีทําการซื อขายรายได้ BFKT เสร็ จสิ น (ข) จัดให้มีการประกันภัยทีเกียวกับ ทรัพย์สินโทรคมนาคมของ BFKT ภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ตามข้อกําหนดทีกําหนดไว้ใน สัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ BFKT (ค) ในวันโอนทรัพย์สิน BFKT เสร็ จสิ นแต่ละครังทีเกียวข้อง จัดหากรมธรรม์ประกันภัยในนามของกองทุนสําหรับทรัพย์สิน BFKT ทีโอนแล้ว โดยกองทุนจะรับผิดชอบ ในเบียประกันภัยสําหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าว (ง) ไม่เปลียนแปลงข้อกําหนดในกรมธรรม์ประกันภัย ของกลุ่มทรู เกียวกับทรัพย์สิน BFKT ทีโอนแล้ว โดยไม่ได้รับความยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากกองทุนก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ความยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (จ) ดําเนินการให้มีการนําเงินทีได้รับตาม กรมธรรม์ประกันภัยทังหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภาพ หรื อเปลียนทดแทนทรัพย์สินทีได้มีการเรี ยกร้องให้ มีการชดใช้เงินประกันดังกล่าว ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 20


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(7.2) สั ญญาโอนขายทรั พย์ สินและสิ ทธิรายได้ ระหว่ าง AWC ในฐานะผู้ขาย และกองทุน ใน ฐานะผู้ซือ (“สั ญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ AWC”) มีระยะเวลา 12 ปี นับตังแต่ วันที 24 ธันวาคม 2556 - วันที 3 สิ งหาคม 2568 โดยสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ AWC นี มีวตั ถุประสงค์เพือขายและโอน รายได้ทีคาดว่าจะได้รับของ AWC จาก (ก) ค่าเช่ าเสาโทรคมนาคมของ AWC จํานวน 4,360 เสาตามสัญญาเช่ าเสาโทรคมนาคม ของ AWC ลงวันที 1 ตุลาคม 2556 ระหว่าง BFKT และ AWC รวมทังที แก้ไขเพิมเติม (“สัญญาเช่ าเสา โทรคมนาคมของ AWC”) (รวมถึงเงินทีได้รับจากการใช้สิทธิ เรี ยกร้อง และสิ ทธิ อืนทังหมดทีเกิดจากรายได้ ดังกล่ าวตามที ระบุ ไ ว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ท ธิ รายได้ AWC) นับ แต่วนั เริ มคํานวณรายได้ (1 ธันวาคม 2556) จนถึงวันทีครบกําหนดสัญญาเช่ าเสาโทรคมนาคมของ AWC (“วันครบกําหนดสัญญา AWC”) และ (ข) ค่าเช่าเสาโทรคมนาคมของ AWC จํานวนไม่เกิน 392 เสา (“ทรัพย์สิน AWC ส่ วนที เหลือ”) นับแต่วนั ถัดจากวันครบกําหนดสัญญา AWC หรื อวันทีสัญญาเช่าเสาโทรคมนาคมของ AWC ถูกยกเลิก ก่อนครบกําหนดระยะเวลาหรื อกําหนดระยะเวลาทีได้มีการขยาย (“วันยกเลิกสัญญา AWC”) แล้วแต่กรณี ใด จะเกิดขึนก่อน จนถึงวันครบรอบ 10 ปี นับแต่วนั ถัดจากวันครบกําหนดสัญญา AWC หรื อวันยกเลิกสัญญา AWC ดังกล่าว ในแต่ละกรณี หกั ด้วยต้นทุนและค่าใช้จ่ายบางส่ วนสําหรับการดําเนิ นงานและซ่ อมบํารุ ง เงินค่าเช่าตามสัญญาเช่าทีดิน (รวมถึงภาษีโรงเรื อน) และเบียประกันภัย (“ต้นทุนค่าใช้จ่ายของ AWC”) โดย ต้นทุนค่าใช้จ่ายของ AWC จะมีการปรับอัตราเพิมขึนรายปี (annual escalation) (รวมเรี ยกว่า “รายได้สุทธิ ของ AWC”) ในวันทีทําการซื อขายเสร็ จสิ นทีกําหนดไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ AWC (“วันทีทําการซื อขายรายได้ AWC เสร็ จสิ น”) ภายหลังวันครบกําหนดสัญญา AWC หรื อวันครบยกเลิกสัญญา AWC แล้วแต่กรณี AWC จะต้องโอนให้แก่กองทุน และกองทุนจะต้องรับโอนเสาโทรคมนาคมของ AWC จํานวน 3,968 เสา(“ทรัพย์สิน AWC หลัก”) ในวันทีกําหนดไว้ให้เป็ นวันทีทําการโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน AWC หลัก (“วันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก”) (ทังนี รายได้สุทธิ ของ AWC และทรัพย์สิน AWC หลัก รวมเรี ยกว่า “ทรัพย์สินทีขายของ AWC”) สําหรับทรัพย์สิน AWC หลักทีไม่สามารถโอนและส่ งมอบได้ในวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก AWC จะชําระเงินให้กองทุนเป็ นมูลค่าสุ ดท้าย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC หลักทีไม่ได้มีการ โอนและส่ งมอบดังกล่าวในวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก เมือ AWC ชําระมูลค่าสุ ดท้าย (terminal value) ดังกล่าวจนครบถ้วนแล้ว AWC จะหมดภาระผูกพันต่อกองทุนในการโอนและส่ งมอบทรัพย์สิน AWC หลัก

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 21


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ทีเกียวข้องดังกล่าว โดยมูลค่าสุ ดท้าย (terminal value) ของทรัพย์สิน AWC หลักทีเกียวข้อง คือ จํานวนที เท่ากับ 14 เท่าของรายได้ค่าเช่า AWC รายเดือนเป็ นระยะเวลา 12 เดือนก่อนเดือนทีมีวนั โอนทรัพย์สิน AWC หลัก (“มูลค่าสุ ดท้ายของ AWC”) ในส่ วนของทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือ AWC ตกลงจะเข้าทําสัญญาเช่ากับนิติบุคคลใน กลุ่มทรู เพือให้เช่าพืนที (slots) หนึ งพืนทีบนเสาโทรคมนาคมของ AWC ซึ งเป็ นทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือ (“สัญญาเช่าทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือ”) โดยมีระยะเวลาการเช่าอย่างน้อย 10 ปี นับจากวันถัดจากวันครบ กําหนดสัญญา AWC หรื อ วันยกเลิกสัญญา AWC แล้วแต่กรณี (“วันครบกําหนดการขายรายได้ AWC ขัน สุ ดท้าย”) และจัดหาและส่ งมอบรายได้สุทธิ รายเดือนทีเกิดจากค่าเช่าทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือ จนถึงวัน ครบกําหนดการขายรายได้ AWC ขันสุ ดท้ายหรื อ จนถึงวันทีมีการโอนทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือ หากเกิด กรณี ดงั กล่าวขึนก่อน ตามข้อกําหนดและเงือนไขของสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ AWC ภายใต้ขอ้ กําหนดและเงือนไขในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ AWC หากใน ระหว่างระยะเวลาของสัญญาเช่าทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือ AWC ได้รับหลักฐานเกียวกับสิ ทธิ ในทีดิน และ/หรื อสิ ทธิ การเช่าโดยชอบด้วยกฎหมายของสถานทีอันเป็ นทีตังหรื อใช้ดาํ เนิ นงานทรัพย์สิน AWC ส่ วน ทีเหลือ AWC จะโอนและขายทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือ ให้กองทุน และกองทุนจะรับโอนและซื อทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือนันตามราคาทีกองทุนและ AWC จะตกลงกันโดยเป็ นไปตามสัญญาโอนขายทรัพย์สิน และสิ ทธิรายได้ AWC กรรมสิ ทธิ และความเสี ยงภัยในความสู ญเสี ยหรื อเสี ยหายในรายได้สุทธิ ของ AWC ทรัพย์สิน AWC หลักและทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือจะเป็ นของกองทุนในวันทีธุ รกรรมทีเกียวข้องเสร็ จสิ น เว้นแต่ จะกําหนดไว้เป็ นอย่างอืนในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ AWC ก่อนวันโอนทรัพย์สิน AWC หลัก หากเกิดเหตุผิดนัดใดทีกําหนดไว้ในสัญญาโอนขาย ทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ AWC กองทุนอาจเรี ยกให้ AWC ชําระเงินเป็ นมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ (Net Present Value) ของรายได้สุทธิ ของ AWC ทีเหลือทังหมด รวมกับมูลค่าสุ ดท้ายของ AWC (terminal value) ของ ทรัพย์สิน AWC หลัก (“รายได้สุทธิ AWC คงค้าง”) และอาจบังคับใช้สิทธิ ของกองทุนไม่วา่ ทังหมดหรื อ บางส่ วนตามสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ AWC การจํากัดความรับผิดของ AWC ภายใต้สัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ AWC ั งรวมถึงกรณี ดงั ต่อไปนี AWC ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ ความรับผิดของ AWC จะมีอยูอ่ ย่างจํากัดตามกรณี ทวไปซึ เรี ยกร้ องใดเกี ยวกับทรัพย์สิน AWC ทีโอนแล้ว หากกองทุนได้มีการบอกกล่าวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภายในสองปี นับจากวันโอนทรัพย์สิน AWC เสร็ จสิ นทีเกียวข้องแต่ละครัง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องทีเกิดจากเรื องสําคัญบาง เรื องทีกําหนดไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิ รายได้ AWC ซึ งไม่มีกาํ หนดระยะเวลาสิ นสุ ดในการ บอกกล่าวเรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจากทีกฎหมายกําหนด) เรื องดังกล่าวรวมถึง คํารับรองของ AWC ในเรื อง อํานาจหน้าที กรรมสิ ทธิ ของ AWC ในทรัพย์สิน AWC ทีโอนแล้ว และการไม่ปฏิบตั ิตามข้อตกลงกระทําการ ทีเกียวข้อง

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 22


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความรับผิดโดยรวมของ AWC เกียวกับ (ก) รายได้สุทธิ ของ AWC ทีเกียวกับสัญญาเช่า เสาโทรคมนาคมของ AWC ต้องไม่เกิ นรายได้สุทธิ AWC คงค้าง (ข) ทรัพย์สิน AWC หลักทีโอนให้แก่ กองทุนต้องไม่เกินมูลค่าสุ ดท้ายของ AWC (terminal value) ของทรัพย์สินนัน (ค) ทรัพย์สิน AWC ส่ วนที เหลื อที โอนให้กองทุ นต้องไม่เกิ นราคาซื อที กองทุ นชําระสําหรั บทรั พย์สิน AWC ส่ วนที เหลื อดังกล่ า ว (ง) รายได้สุทธิ ของ AWC ทีเกียวกับสัญญาเช่าทรัพย์สิน AWC ส่ วนทีเหลือ ต้องไม่เกินมูลค่าสุ ทธิ ปัจจุบนั ของรายได้ค่าเช่าสุ ทธิ ทีค้างชําระ และ (จ) การทําผิดสัญญาอืนใดทังหมด ความรับผิดรวมของ AWC จะต้อง ไม่เกินร้อยละ 50 ของราคาซื อขาย AWC ทังนี AWC ต้องรับผิดต่อความเสี ยหาย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้อง ภาษี (เว้นแต่ภาษีมูลค่าเพิม) อากรแสตมป์ ภาระผูกพัน และต้นทุนค่าใช้จ่ายทีเกี ยวข้อง ทีเกิดขึนหรื อเป็ นผลจาก การเข้าทําการใช้สิทธิ การบังคับสิ ทธิ ตามสัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ AWC ในเรื องการประกันภัย AWC ตกลงทีจะ (ก) ดําเนิ นการให้กองทุนมีชือเป็ นผูเ้ อาประกันภัย ร่ วมและผูร้ ับผลประโยชน์ร่วมภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ทีเกียวกับทรัพย์สินโทรคมนาคมของ AWC ภายใน 45 วันนับแต่วนั ทีทําการซื อขายรายได้ AWC เสร็ จสิ น (ข) จัดให้มีการประกันภัยทีเกียวกับเสา โทรคมนาคมของ AWC ภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่ มทรู ทงหมด ั ตามข้อกําหนดที กําหนดไว้ใน สัญญาโอนขายทรัพย์สินและสิ ทธิรายได้ AWC (ค) ในวันโอนทรัพย์สิน AWC เสร็ จสิ นแต่ละครังทีเกียวข้อง จัดหากรมธรรม์ประกันภัยในนามของกองทุนสําหรับทรัพย์สิน AWC ทีโอนแล้ว โดยกองทุนจะรับผิดชอบ ในเบียประกันภัยสําหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าว (ค) ไม่เปลียนแปลงข้อกําหนดในกรมธรรม์ประกันภัย ของกลุ่มทรู เกียวกับเสาโทรคมนาคมของ AWC โดยไม่ได้รับความยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากกองทุน ก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ความยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (ง) ดําเนินการให้มีการนําเงินทีได้รับ ตามกรมธรรม์ประกันภัยทังหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภาพ หรื อเปลียนทดแทนทรัพย์สินทีได้มีการเรี ยกร้อง ให้มีการชดใช้เงินประกันดังกล่าว (8) สั ญญาโอนขายทรัพย์สิน (8.1) สั ญญาโอนขายทรัพย์สินระหว่างบริษัทฯ ในฐานะผู้ขาย และกองทุน ในฐานะผู้ซือ (“สั ญญาโอนขายทรัพย์ สินทรู ”) โดยสัญญาโอนขายทรัพย์สินทรู นี มีวตั ถุประสงค์เพือขายและโอนให้แก่กองทุน และ กองทุนตกลงรับซื อและรับโอนทรัพย์สินเสาโทรคมนาคม ดังต่อไปนี (ก) เสาโทรคมนาคม 3,000 เสา ภายใน วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และ (ข) เสาโทรคมนาคม 3,000 เสา ภายใน วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (แต่ละกรณี เรี ยกว่า “วันครบกําหนดส่ งมอบ”)

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 23


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โดยราคาซื อขายทรั พ ย์สินเสาโทรคมนาคมดังกล่ าว (“ราคาซื อขายทรู ”) เป็ นไปตาม จํานวนทีระบุไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สิน ทรู โดยกองทุนต้องชําระราคาซื อขายเต็มจํานวนในวันทีทําการ โอนเสร็ จสิ นนับจากวันถัดจากวันครบกําหนดส่ งมอบแต่ละครังจนถึงวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (“วันส่ ง มอบขันสุ ดท้ายของทรู ”) หากในวันที 31 ธันวาคมของแต่ละปี ยังมีทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมทียังไม่ได้ส่งมอบ ให้แก่กองทุน บริ ษทั ฯ จะจ่ายค่าเสี ยหายจากความล่าช้าในการส่ งมอบให้แก่กองทุนเป็ นจํานวนเงิ นเท่ากับ จํานวนเงินทีกองทุนจะต้องชําระคืนให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ในปี ดังกล่าวภายใต้สัญญาเช่า ดําเนิ นการและบริ หาร จัดการหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ สําหรับทรั พย์สินเสาโทรคมนาคมทีไม่สามารถจัดหาให้แก่ เรี ยลฟิ วเจอร์ ได้ (“ส่ วนต่างค่าเช่ารายปี ”) บวกด้วย ร้อยละ 15 ต่อปี ในวันส่ งมอบขันสุ ดท้ายของทรู หากมีทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมส่ วนเพิมทียังไม่สามารถ โอนได้ บริ ษทั ฯ จะชดใช้กองทุนเป็ นจํานวนเงินเท่ากับสิ บสองเท่าของส่ วนต่างค่าเช่ารายปี ของปี 2563 ตาม ข้อกําหนดและเงือนไขของสัญญาโอนขายทรัพย์สินทรู ในวันทีบริ ษทั ฯ ส่ งมอบทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมให้แก่กองทุนครบถ้วนหรื อวันส่ งมอบ ขันสุ ดท้ายของทรู แล้วแต่วนั ใดจะถึงก่อน หากปรากฏว่าทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมทีบริ ษทั ฯ ส่ งมอบให้แก่ กองทุ นมีลกั ษณะไม่ตรงตามรายละเอี ยดทีระบุ ไว้ในสัญญาโอนขายทรั พย์สินทรู คู่สัญญาตกลงจะชดใช้ ส่ วนต่างใด ๆ ทีเกิดจากการส่ งมอบทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมส่ วนเพิมทีมีลกั ษณะไม่ตรงตามรายละเอียดที ระบุไว้ดงั กล่าว ทังนี เป็ นไปตามข้อกําหนดและเงือนไขของสัญญาโอนขายทรัพย์สินทรู กรรมสิ ทธิ และความเสี ยงภัยในความสู ญหายหรื อเสี ยหายในทรัพย์สินเสาโทรคมนาคม จะตกเป็ นของกองทุนเมือมีการส่ งมอบทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมแต่ละครัง (“การส่ งมอบ”) ตามกระบวนการที กําหนดไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สินทรู ก่อนการส่ งมอบแต่ละครั ง บริ ษทั ฯ จะต้องให้คาํ รั บรองและคํารั บประกันแก่ กองทุ น โดยรวมถึงแต่ไม่จาํ กัดเพียง การรับรองและรับประกันว่าบริ ษทั ฯ จะต้องมีกรรมสิ ทธิ โดยชอบด้วยกฎหมาย ในทรั พ ย์สิ น เสาโทรคมนาคมที จะส่ ง มอบ และทรั พ ย์สิ น เสาโทรคมนาคมดัง กล่ า วจะต้อ งปราศจาก ภาระผูกพันใด ๆ ภาระหน้า ทีหลักของบริ ษ ทั ฯ นับจากการส่ งมอบแต่ล ะครั ง บริ ษ ทั ฯ จะดําเนิ นการ ต่อไปนี เกี ยวกับทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมทีได้มีการส่ งมอบ โดยค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ฯ เอง ในกรณี ทีไม่ สามารถโอน หรื อ แปลงคู่สัญญาเกียวกับสิ ทธิ การเช่าในทีดิน และ/หรื อ ทรัพย์สินให้กบั กองทุนได้ บริ ษทั ฯ จะดําเนินการให้กองทุน ผูเ้ ช่าทรัพย์สินเสาโทรคมนาคม ผูจ้ ดั การทรัพย์สินโทรคมนาคม และบุคคลทีได้รับ การแต่งตังมีสิทธิ เข้าไปและใช้สถานทีตังทีเกียวข้องกับทรัพย์สินนัน

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 24


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ในกรณี ของสัญญาอืน ๆ ทีเกี ยวกับทรัพย์สินเสาโทรคมนาคม ซึ งไม่สามารถโอน หรื อ แปลงคู่สัญญาให้แก่กองทุนได้ บริ ษทั ฯ จะดําเนิ นการให้กองทุนได้รับสิ ทธิ และผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ ตามสัญญาอืน ๆ นัน ความรับผิดของบริ ษทั ฯ เกียวกับการทําผิดสัญญา ทังหมดรวมแล้วจะไม่เกินราคาซื อขายทรู ทังนี บริ ษทั ฯ ต้องรับผิดต่อความเสี ยหาย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้ อง ภาษี (เว้นแต่ภาษีมูลค่าเพิม) อากรแสตมป์ ภาระผูกพัน และต้นทุ นค่าใช้จ่ายที เกี ยวข้อง ที เกิ ดขึ นหรื อเป็ นผลจากการเข้าทํา ใช้สิทธิ บังคับสิ ทธิ ตาม สัญญาโอนขายทรัพย์สินทรู ในเรื องของการประกันภัย นับจากการส่ งมอบทีเกียวข้อง บริ ษทั ฯ ตกลงทีจะ (ก) จัดให้ มีการประกันภัยทีเกียวกับเสาโทรคมนาคมของบริ ษทั ฯ ทีโอนแล้วภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ตามข้อ กํา หนดที กํา หนดไว้ใ นสั ญญาโอนขายทรั พ ย์สิ น ทรู จนกว่ากองทุ น จะทําประกันภัย ที เกี ยวข้อ ง (ข) จัดหากรมธรรม์ประกันภัยสํา หรั บเสาโทรคมนาคมของบริ ษทั ฯ ทีโอนแล้วในนามของกองทุน โดย กองทุนจะรับผิดชอบในเบียประกันภัยสําหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าว (ค) ไม่เปลียนแปลงข้อกําหนด ในกรมธรรม์ประกันภัย ของกลุ่ มทรู เกี ยวกับเสาโทรคมนาคมของบริ ษทั ฯ ทีโอนแล้วโดยไม่ ได้รับความ ยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากกองทุนก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ความยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (ง) ดําเนินการให้มีการนําเงินทีได้รับตามกรมธรรม์ประกันภัยทังหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภาพ หรื อ เปลียนทดแทนทรัพย์สินทีได้มีการเรี ยกร้องให้มีการชดใช้เงินประกันดังกล่าว การจํากัดความรับผิดของบริ ษทั ฯ นับจากวันทีทําการโอนเสร็ จสิ น บริ ษทั ฯ ต้องรับผิด ต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกียวกับเสาโทรคมนาคมของบริ ษทั ฯ ทีโอนแล้ว หากกองทุนได้มีการบอกกล่าวเรี ยกร้อง สิ ทธิภายในสองปี นับจากการส่ งมอบทีเกียวข้อง เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้องทีเกิดจากเรื องสําคัญบางเรื องทีกําหนด ไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สินทรู ซึ งไม่มีกาํ หนดระยะเวลาสิ นสุ ดในการบอกกล่าวเรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจาก ทีกฎหมายกําหนด) เรื องดังกล่าวรวมถึง คํารับรองของ บริ ษทั ฯ ในเรื องอํานาจหน้าที กรรมสิ ทธิ ของบริ ษทั ฯ ในทรัพย์สินเสาโทรคมนาคม และการไม่ปฏิบตั ิตามข้อตกลงกระทําการทีสําคัญ นอกจากนี ภาระผูกพันของบริ ษทั ฯ เกียวกับการย้ายสถานทีและซื อคืนเสาโทรคมนาคม ของบริ ษทั ฯ ทีได้รับผลกระทบทีตังอยูใ่ นสถานที (หรื อบางส่ วนของสถานที) ซึงได้มีการโอนให้แก่ หรื อ แปลงคู่สัญญาเป็ นกองทุนแล้วซึงส่ งผลให้เสาโทรคมนาคมของบริ ษทั ฯ ทีโอนแล้วนันถูกยึดไป ถูกควบคุม หรื อถูกดําเนินการโดยประการอืนใดทําให้ไม่สามารถใช้งานได้โดยผูเ้ ช่าอันเนืองมาจากการเข้าถึงหรื อการ ใช้สถานทีหรื อส่ วนหนึงส่ วนใดของสถานทีนันไม่ชอบด้วยกฎหมายให้กาํ หนดไว้เพียงห้าปี หลังจากวันทีมี การโอนสิ ทธิหรื อแปลงคู่สัญญาทีเกียวกับสถานทีทีเกียวข้องดังกล่าวเป็ นชื อกองทุน

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 25


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(8.2) สั ญญาโอนขายทรัพย์สินระหว่าง TU ในฐานะผู้ขายและกองทุน ในฐานะผู้ซือ (“สั ญญา โอนขายทรัพย์สิน TU”) โดยสัญญาโอนขายทรัพย์สิน TU นี มีวตั ถุประสงค์เพือขายและโอนให้แก่กองทุน และ กองทุนตกลงซื อและรับโอน (ก) ระบบ FOC หลักความยาว 5,112 กิโลเมตร (รวมทังอุปกรณ์ระบบสื อสัญญาณ) ในเขตพืนทีต่างจังหวัด และ (ข) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพืนทีต่างจังหวัดซึ งมีความจุทีสามารถรองรับได้ จํานวนประมาณ 1.2 ล้านพอร์ต (“ทรัพย์สินทีขายของ TU”) กรรมสิ ทธิ และความเสี ยงภัยในความสู ญเสี ยหรื อเสี ยหายในทรัพย์สินทีขายของ TU จะ เป็ นของกองทุนในวันทีธุรกรรมทีเกียวข้องกับการขายและโอนเสร็ จสิ น เว้นแต่จะกําหนดไว้เป็ นอย่างอืนใน สัญญาโอนขายทรัพย์สิน TU ภาระหน้าทีหลักของ TU นับจากวันทีทําการโอนเสร็ จสิ น TU จะดําเนิ นการต่อไปนี โดยค่าใช้จ่ายของ TU เอง TU จะดําเนิ นการให้กองทุน ผูเ้ ช่ าทรัพย์สินทีขายของ TU ผูจ้ ดั การทรัพย์สิน โทรคมนาคม และบุคคลทีได้รับการแต่งตังมีสิทธิ เข้าถึงและใช้สิทธิ แห่ งทางทีเกียวข้องกับทรัพย์สินนันตาม เงือนไขและข้อกําหนดของสัญญาโอนขายทรัพย์สิน TU ในกรณี ของสัญญาอืน ๆ ทีเกียวกับทรัพย์สินทีขายของ TU ซึงไม่สามารถโอน และ/หรื อ แปลงคู่สัญญาให้แก่กองทุนได้ TU จะดําเนินการให้กองทุนได้รับสิ ทธิ และผลประโยชน์ของ TU ตามสัญญา อืน ๆ นัน ความรับผิดของ TU เกียวกับการทําผิดสัญญาใด ๆ ภายใต้สัญญาโอนขายทรัพย์สิน TU ทังหมดรวมแล้วจะไม่เกินราคาซื อขายของทรัพย์สินทีขายของ TU ทังนี TU ต้องรับผิดต่อความเสี ยหาย สู ญเสี ย สิ ทธิ เรี ยกร้อง ภาษี (เว้นแต่ภาษีมูลค่าเพิม) อากรแสตมป์ ภาระผูกพัน และต้นทุนค่าใช้จ่ายทีเกียวข้อง ทีเกิดขึน หรื อเป็ นผลจากการเข้าทํา การใช้สิทธิ การบังคับสิ ทธิ ตามสัญญาโอนขายทรัพย์สิน TU การจํากัดความรับผิดของ TU นับจากวันที ทําการโอนเสร็ จสิ น TU ต้องรับผิดต่อสิ ทธิ เรี ยกร้องใดเกียวกับทรัพย์สินทีขายของ TU ทีโอนแล้ว หากกองทุนได้มีการบอกกล่าวเรี ยกร้องสิ ทธิ ภายใน สองปี นับจากวันที ทําการโอนเสร็ จสิ น เว้นแต่สิทธิ เรี ยกร้ องทีเกิ ดจากเรื องสําคัญบางเรื องที กําหนดไว้ใน สัญญาโอนขายทรัพย์สิน TU ซึ งไม่มีกาํ หนดระยะเวลาสิ นสุ ดในการบอกกล่าวเรี ยกร้องสิ ทธิ (นอกจากที กฎหมายกําหนด) เรื องดัง กล่ าวรวมถึ ง คํา รั บ รองของ TU ในเรื องอํา นาจหน้า ที กรรมสิ ท ธิ ของ TU ใน ทรัพย์สินทีขายของ TU และการไม่ปฏิบตั ิตามข้อตกลงกระทําการทีสําคัญ ในเรื องของการประกันภัย นับจากการส่ งมอบทีเกียวข้อง บริ ษทั ฯ ตกลงทีจะ (ก) จัดให้ มีการประกันภัยทีเกี ยวกับทรั พย์สินทีขายของ TU ทีโอนแล้วภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยของกลุ่มทรู ตาม ข้อกําหนดทีกําหนดไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สิน TU จนกว่ากองทุนจะทําประกันภัยทีเกียวข้อง (ข) จัดหา

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 26


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กรมธรรม์ประกันภัยสําหรับทรัพย์สินทีขายของ TU ทีโอนแล้วในนามของกองทุน โดยกองทุนจะรับผิดชอบ ในเบียประกันภัยสําหรับกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าว (ค) ไม่เปลียนแปลงข้อกําหนดในกรมธรรม์ประกันภัย ของกลุ่มทรู เกียวกับทรัพย์สินทีขายของ TU ทีโอนแล้วโดยไม่ได้รับความยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจาก กองทุนก่อน โดยกองทุนจะไม่ให้ความยินยอมโดยไม่มีเหตุอนั ควรไม่ได้ และ (ง) ดําเนินการให้มีการนําเงิน ทีได้รับตามกรมธรรม์ประกันภัยทังหมดไปใช้ซ่อมแซม ปรับสภาพ หรื อเปลียนทดแทนทรัพย์สินทีได้มีการ เรี ยกร้องให้มีการชดใช้เงินประกันดังกล่าว (9) สั ญญาเช่ า ดําเนินการและบริหารจัดการหลัก (9.1) สั ญญาเช่ า ดําเนินการ บํ ารุ งรั กษา และบริ หารจั ดการหลัก ระหว่ าง เรี ยลฟิ วเจอร์ ใน ฐานะผู้เช่ า ดําเนินการ บํารุ งรั กษาและบริ หารจัดการ และ กองทุนในฐานะผู้ให้ เช่ า (“สั ญญาเช่ า ดําเนินการ และบริหารจัดการหลักของเรียลฟิ วเจอร์ ”) โดยมีระยะเวลา 14 ปี นับตังแต่ วันที 24 ธันวาคม 2556 - วันที 31 ธันวาคม 2570 โดยสัญญาเช่า ดําเนินการและบริ หารจัดการหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ นี มีวตั ถุประสงค์เพือ เช่าพืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคม และทรัพย์สินสิ งอํานวยความสะดวกประเภท Passive ทีเกียวข้องกับ เสาโทรคมนาคมบางเสา (รวมเรี ยกว่า “ทรัพย์สินทีเช่า”) รวมทัง ดําเนิ นการและบริ หารจัดการทรัพย์สินทีเช่า มีกาํ หนดอายุจนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2570 ทรัพย์สินทีเช่า ประกอบไปด้วยทรัพย์สินดังต่อไปนีเป็ นอย่างน้อย (“ทรัพย์สินขันตําทีเช่า”) (ก) พืนที (slots) จํานวน 6,619 พืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคม 3,000 เสา เริ มตังแต่ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (ข) พืนที (slots) จํานวน 13,993 พืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา เริ มตังแต่ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2559 และ (ค) พืนที (slots) จํานวน 15,249 พืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา เริ มตังแต่ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2560 อัตราค่าเช่า สําหรับทรัพย์สินทีเช่า ซึ งแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทตามรายละเอียดดังต่อไปนี และอาจมีส่วนลด และ/หรื อ การปรับเปลียนทีเหมาะสม ดังทีระบุไว้ดา้ นล่างนี ประเภทที 1: เสาโทรคมนาคมทีตังบนพืนดิน: 25,400 บาท ต่อเดือน ต่อพืนที (slot) ประเภทที 2: เสาโทรคมนาคมทีตังบนดาดฟ้ า: 23,200 บาท ต่อเดือน ต่อพืนที (slot) และ ประเภทที 3: โครงข่าย IBC/DAS: 39,400 บาท ต่อเดือน ต่อพืนที (slot)

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 27


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ส่ วนลด และ/หรื อ การปรับเปลียนอัตราค่าเช่า อยูภ่ ายใต้เงือนไขด้านล่างนี (ก) ส่ วนลดจากการเป็ นผูเ้ ช่าและบริ หารจัดการดังเดิม: ร้อยละ 32 (ข) ส่ วนลดจากจํานวน (โดยไม่คาํ นึงถึงประเภทของทรัพย์สินทีเช่า) พืนที (slots) จํานวน 1 - 3,000 พืนที (slots): ไม่มีส่วนลด พืนที (slots) จํานวน 3,001 - 5,000 พืนที (slots): ส่ วนลดในอัตราร้อยละ 30 พืนที (slots) จํานวน 5,001 - 10,000 พืนที (slots): ส่ วนลดในอัตราร้อยละ 35 และ พืนที (slots) จํานวน 10,001 พืนที (slots) เป็ นต้นไป: ส่ วนลดในอัตราร้อยละ 40 หากเรี ยลฟิ วเจอร์ หรื อผูเ้ ช่าและบริ หารจัดการทีเป็ นบริ ษทั ในกลุ่มทรู (“ผูเ้ ช่าและบริ หาร จัดการดังเดิ ม”) รายใดต้องการเช่ า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการพืนที (slots) เพิ มเติ ม ไม่ว่าในเวลาใด ๆ เรี ยลฟิ วเจอร์ หรื อผูเ้ ช่ าและบริ หารจัดการดังเดิมนันจะได้รับทังส่ วนลดจากการเป็ นผูเ้ ช่าและบริ หารจัดการดังเดิ ม และส่ วนลดจากจํานวน สําหรับค่าเช่าพืนที (slots) เพิมเติมดังกล่าว การปรับอัตราเพิมขึนรายปี (annual escalation) ในอัตราคงทีทีร้อยละ 2.7 ต่อปี เริ มคิด คํานวณจากเดือนมกราคม พ.ศ. 2558 การชําระค่าเช่า เรี ยลฟิ วเจอร์ จะชําระค่าเช่าสุ ทธิ สําหรับทรัพย์สินทีเช่าล่วงหน้าตังแต่เดือน มกราคม 2557 โดยจะชําระภายในวันที 7 ของทุกเดือนหรื อวันทําการถัดไป และจะชําระค่าเช่าสุ ทธิ ให้แก่ กองทุนล่วงหน้าเป็ นรายเดือนสําหรับการเช่า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการทรัพย์สินขันตําทีเช่า (Minimum Leased Properties) ซึ งจะเป็ นระยะเวลาหนึ งปี ล่วงหน้าสําหรับการเช่ า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการพืนที (slot) บนเสาโทรคมนาคมกลุ่มแรกจํานวน 3,000 เสาทีมีกาํ หนดส่ งมอบให้แก่กองทุนโดยบริ ษทั ฯ ภายใน วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และเป็ นระยะเวลาสองปี ล่วงหน้าสําหรับการเช่า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการ พืนที (slot) บนเสาโทรคมนาคมกลุ่มทีสองจํานวน 3,000 เสาทีมีกาํ หนดส่ งมอบให้แก่กองทุนโดยบริ ษทั ฯ ภายในวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ณ สิ นปี ของแต่ละปี นับจากปี พ.ศ. 2558 ถึง ปี พ.ศ. 2563 กองทุนจะชําระคืนเงิ นค่าเช่ า ล่วงหน้าทีเรี ยลฟิ วเจอร์ ได้ชาํ ระเกินไปคืนให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ในกรณี ทีจํานวนเสาโทรคมนาคมทีเรี ยลฟิ วเจอร์ เช่ า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการจริ งภายใต้สัญญาเช่ า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ มีจาํ นวนน้อยกว่าทรัพย์สินขันตําทีเช่า (Minimum Leased Properties) สําหรับปี นัน ๆ ทังนี กองทุนจะทําการ ชําระคืนเงินค่าเช่าล่วงหน้าดังกล่าวให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ภายในวันทําการถัดจากวันทีบริ ษทั ฯได้ชาํ ระค่าเสี ยหาย จากความล่าช้าในการส่ งมอบทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมทีเกียวข้องภายใต้เงือนไขของสัญญาโอนขายทรัพย์สินทรู ให้แก่กองทุนแล้ว

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 28


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ในวันทีบริ ษทั ฯ ส่ งมอบทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมให้แก่กองทุนครบถ้วนตามสัญญาโอนขาย ทรัพย์สินทรู หรื อวันที 31 ธันวาคม 2563 แล้วแต่วนั ใดจะถึงก่อน หากปรากฎว่าทรัพย์สินเสาโทรคมนาคมที บริ ษทั ฯ ส่ งมอบให้แก่กองทุนมีลกั ษณะไม่ตรงตามรายละเอียดทีระบุไว้ในสัญญาโอนขายทรัพย์สินทรู ทําให้ ค่าเช่าล่วงหน้าทีเรี ยลฟิ วเจอร์ ได้ชาํ ระให้แก่กองทุนแตกต่างไปจากค่าเช่าทีแท้จริ งทีเรี ยลฟิ วเจอร์ ควรชําระให้แก่ กองทุนสําหรับการเช่ าทรัพย์สินทีเช่า คู่สัญญาตกลงจะชดใช้ส่วนต่างใด ๆ ทีเกิดจากกรณี ดงั กล่าว ทังนี เป็ นไป ตามข้อกําหนดและเงือนไขของสัญญาเช่า ดําเนินการและบริ หารจัดการหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ กองทุนจะเป็ นผูร้ ับผิดชอบค่าเช่ าที ดิ นสําหรับการเช่ าทีดิ นที ทรั พย์สินที เช่ าตังอยู่ โดย (ก) ในระหว่างระยะเวลาการเช่า เรี ยลฟิ วเจอร์ จะเป็ นผูช้ าํ ระค่าเช่ าทีดินสําหรับการเช่าทีดิ นทีทรัพย์สินทีเช่า ตังอยู่ และ (ข) สําหรับช่วงการต่ออายุการเช่า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการ กองทุนจะเป็ นผูช้ าํ ระค่าเช่าทีดิน สําหรับการเช่าทีดินทีทรัพย์สินทีเช่าตังอยู่ การประกันภัย กองทุนมีหน้าทีความรับผิดชอบในการจัดให้มีและคงไว้ซึงประกันภัย สําหรับทรัพย์สินที เช่ า (รวมถึ ง ประกันภัยประเภทความรับผิดต่อบุคคลภายนอก และความคุ ม้ ครองทาง ประกันภัยอืนใด) ทีเพียงพอและเป็ นไปตามหลักปฏิบตั ิในอุตสาหกรรมสําหรับทรัพย์สินทีเช่า รวมทังมีหน้าที ต้องชําระเบียประกันภัย และ เรี ยลฟิ วเจอร์ มีหน้าทีความรับผิดชอบในการจัดให้มีและคงไว้ซึงประกันภัย สําหรับอุปกรณ์โทรคมนาคมทีเรี ยลฟิ วเจอร์ ติดตัง หรื อ นําไปไว้บนทรัพย์สินทีเช่าใด ๆ (รวมถึง ประกันภัย ประเภทความรับผิดต่อบุคคลภายนอก และความคุม้ ครองทางประกันภัยอืนใด) ทีเพียงพอและเป็ นไปตาม หลักปฏิบตั ิในอุตสาหกรรมสําหรับอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทเดียวกัน ความรับผิดของคู่สัญญา กองทุน และ เรี ยลฟิ วเจอร์ ต่างตกลงทีจะรับผิดชดใช้ค่าสิ นไหม ทดแทนและค่าเสี ยหายทังปวงให้แก่อีกฝ่ าย อันเป็ นผลมาจากการผิดคํารับรอง คํารับประกัน และข้อปฏิบตั ิ ของตนภายใต้สัญญาเช่า ดําเนินการและบริ หารจัดการหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ โดยมีขอ้ ยกเว้นต่าง ๆ ตามหลัก ปฏิบตั ิในอุตสาหกรรม การให้เช่ าช่ วงพืนที บนเสาโทรคมนาคม เรี ยลฟิ วเจอร์ สามารถให้เช่ าช่ วงพืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคมทีตนเช่า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการภายใต้สัญญาเช่ า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการ หลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ โดยไม่จาํ เป็ นต้องได้รับความยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากกองทุนก่อน ดังต่อไปนี (1) ให้เช่าช่วงทรัพย์สินขันตําทีเช่า (Minimum Leased Properties) ให้แก่ บุคคลใด ๆ (2) ให้เช่ าช่ วงพืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคม (นอกเหนื อจากทรั พย์สินขันตําที เรี ยลฟิ วเจอร์ เช่า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการ) ให้แก่ (ก) ผูเ้ ช่าและบริ หารจัดการดังเดิ มอืนใด (ข) บริ ษทั ฯ หรื อ บริ ษทั ย่อยในปั จจุบนั และในอนาคตของบริ ษทั ฯ และ/หรื อ นิ ติบุคคลทีไม่ใช่ กลุ่มทรู ผูไ้ ด้รับสิ ทธิ ในการ ประกอบกิ จการโทรคมนาคมทีใช้ค ลื นความถี ในย่า นความถี 1800 MHz (ค) CAT (ง) ทีโอที และ (จ) ผูป้ ระกอบการรายอืน ๆ ทีมีการแลกเปลียนการใช้ประโยชน์บนพืนที (slots) ของผูป้ ระกอบการรายอืน ๆ นัน โดยไม่มีค่าตอบแทน ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 29


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(3) ให้เช่าช่วงพืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคม (นอกเหนือจากทรัพย์สินขันตําทีเรี ยล ฟิ วเจอร์ เช่าและดําเนินการบริ หารจัดการ) ให้แก่ บุคคลใด ๆ นอกเหนื อจากบุคคลตามทีระบุใน (2) โดยอัตรา ค่าเช่าทีเรี ยลฟิ วเจอร์ จะต้องชําระให้แก่กองทุนสําหรับพืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคมดังกล่าวนันจะเป็ น อัตราค่าเช่าทีคิดส่ วนลดตามทีผูเ้ ช่าช่วงจากเรี ยลฟิ วเจอร์ รายนัน ๆ ควรจะได้รับจากกองทุนหากผูเ้ ช่าช่วงราย ดังกล่าวเช่า ดําเนินการและบริ หารจัดการทรัพย์สินดังกล่าวจากกองทุนโดยตรงโดยไม่มีส่วนลดจากการเป็ น ผูเ้ ช่าและบริ หารจัดการดังเดิม โดยกองทุนอาจตกลงให้ส่วนลดเพิมเติมแก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ในการทีเรี ยลฟิ วเจอร์ ให้เช่าช่วงพืนที (slots) บนเสาโทรคมนาคม แก่บุคคลอืนตามทีระบุในข้อ (3) นี การเสริ มความสามารถของเสาโทรคมนาคมทีเช่ า ในกรณี จาํ เป็ น หรื อ สมควร (ไม่ว่า เป็ นผลมาจากการร้องขอของ เรี ยลฟิ วเจอร์ และ/หรื อ ผูเ้ ช่าและบริ หารจัดการทีเป็ นบุคคลภายนอก) ทีจะต้อง มีการเสริ มความสามารถหรื อปรับปรุ งเสาโทรคมนาคมใด ๆ ทีกองทุนได้รับจากเรี ยลฟิ วเจอร์ หรื อ บริ ษทั ฯ และ/หรื อ บริ ษทั ย่อยของบริ ษ ทั ฯ และอยู่ภายใต้ก ารเช่ า ดํา เนิ นการและบริ หารจัดการภายใต้สัญญาเช่ า ดําเนินการและบริ หารจัดการหลักของเรี ยลฟิ วเจอร์ เรี ยลฟิ วเจอร์ จะดําเนินการเพือให้มีการเสริ มความสามารถ หรื อปรั บ ปรุ ง ดัง กล่ า วในทุ ก กรณี ด้ว ยค่ า ใช้จ่ายของกองทุ นและบวกด้ว ยส่ วนเพิ มที สมเหตุ ส มผล หาก กองทุนขาดเงินทุนในการเสริ ม ความสามารถหรื อปรับปรุ งเสาโทรคมนาคม เรี ยลฟิ วเจอร์ จะสํารองจ่ายเงิ น ไปก่อน โดยกองทุนจะชําระค่าใช้จ่ายและส่ วนเพิมคืนให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ภายใน 30 วันนับจากวันทีเรี ยลฟิ วเจอร์ ออกใบเรี ยกเก็บเงิน หากกองทุนไม่สามารถปฏิ บตั ิตามเงือนไขดังกล่าวได้ กองทุนตกลงจะชําระดอกเบียที คิดบนจํานวนเงินทีถึงกําหนดชําระแต่ยงั ไม่ได้รับชําระ ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ทีถึงกําหนดชําระ จนกว่าวันที ได้ชาํ ระเงิ นดังกล่ า วทังหมดจนครบถ้วนเต็ม จํานวนแล้ว ให้แก่ เรี ย ลฟิ วเจอร์ ทังนี ในกรณี ที กองทุนไม่สามารถชดใช้เงิ นคืนให้แก่เรี ยลฟิ วเจอร์ ภายในเวลาทีกําหนด เรี ยลฟิ วเจอร์ มีสิทธิ หกั กลบลบหนี ค่าใช้จ่ายดังกล่าว และส่ วนเพิมและดอกเบียทีเกียวข้อง กับค่าเช่ารายเดือนทีถึงกําหนดชําระซึ งเรี ยลฟิ วเจอร์ ต้องชําระให้แก่กองทุนได้ (9.2) สั ญญาเช่ า ดําเนินการ บํารุ งรั กษา และบริ หารจัดการหลัก ระหว่ าง TU ในฐานะผู้เช่ า ดําเนินการ บํารุ งรั กษาและบริ หารจัดการ และ กองทุน ในฐานะผู้ให้ เช่ า (“สั ญญาเช่ า ดําเนินการและบริหาร จัดการหลักของ TU”) มีระยะเวลา 13 ปี และ 5 ปี แล้วแต่ กรณี นับตังแต่ วนั ที 24 ธันวาคม 2556 โดยสัญญาเช่า ดําเนินการและบริ หารจัดการหลักของ TU นี มีวตั ถุประสงค์เพือเช่า ดําเนิ นการ และบริ หารจัดการ (ก) ระบบ FOC หลัก ความยาวประมาณ 5,112 กิโลเมตร โดยทีในแต่ละปี TU จะเช่ า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการระบบ FOC หลัก ไม่น้อยกว่าจํานวนทีกําหนดในสัญญาเช่ า ดําเนิ นการและ บริ หารจัดการหลัก ของ TU (ข) อุ ปกรณ์ ระบบสื อสัญญาณที เกี ยวข้องกับระบบ FOC หลัก (ค) ระบบบ รอดแบนด์ในเขตพืนทีต่างจังหวัดซึ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภท Passive (สําหรับการใช้แต่เพียงผู ้ เดียวของ TU เว้นแต่ TU ตกลงเป็ นอย่างอืนหลังจากระยะเวลา 5 ปี แรก) และระบบบรอดแบนด์ในเขตพืนที ต่างจังหวัดซึ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภท Active (สําหรับการใช้แต่เพียงผูเ้ ดียวของ TU) (รวมเรี ยกว่า “ทรัพย์สินทีเช่า”) โดยมีระยะเวลาของการเช่า ดําเนินการและบริ หารจัดการดังต่อไปนี ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 30


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(1) จนถึง ปี พ.ศ. 2569 สําหรับระบบ FOC หลัก และระบบบรอดแบนด์ในเขตพืนที ต่างจังหวัดซึ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภท Passive และ (2) จนถึง ปี พ.ศ. 2561 สําหรับอุปกรณ์ ระบบสื อสัญญาณทีเกี ยวข้องกับระบบ FOC หลัก และ ระบบบรอดแบนด์ในเขตพืนทีต่างจังหวัดซึ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภท Active อัตราค่าเช่า สําหรับทรัพย์สินทีเช่า เท่ากับ (ก) ระบบ FOC หลัก: (1) จนถึง 76% ของระบบ FOC หลัก (93,370 คอร์ กิโลเมตร): 350 บาทต่อเดือน ต่อกิโลเมตรหลัก และ (2) ในส่ วนทีเกิน 76% จนถึง 100% ของระบบ FOC หลัก: 1,100 บาทต่อเดือน ต่อกิโลเมตรหลัก โดยอัตราค่าเช่าสุ ทธิ ทีกองทุนจะได้รับต่อปี สําหรับระบบ FOC หลักจะคํานวณจาก อัตราทีระบุดา้ นบนหักด้วยค่าบํารุ งรักษาระบบ FOC หลักทีอัตรา 186 ล้านบาทต่อปี (ข) อุปกรณ์ระบบสื อสัญญาณทีเกียวข้องกับระบบ FOC หลัก: 38 ล้านบาทต่อปี (ค) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพืนทีต่างจังหวัดซึ งเป็ นอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภท Passive: 791 ล้านบาทต่อปี (ทังนี อยูภ่ ายใต้การปรับเปลียนอัตราในอนาคตซึ งจะมี การตกลงกัน ในกรณี ที TU ตกลงสละสิ ทธิ ในการใช้แต่เพียงผูเ้ ดียวของตน หลังจากระยะเวลา 5 ปี แรก) (ง) ระบบบรอดแบนด์ในเขตพืนที ต่างจังหวัดซึ งเป็ นอุ ปกรณ์ โทรคมนาคมประเภท Active: 317 ล้านบาทต่อปี การปรับอัตรา ค่าเช่าเพิมขึนรายปี (annual escalation) สําหรับอัตราค่าเช่าระบบบรอดแบนด์ ในเขตพืนทีต่างจังหวัด (สําหรับอุปกรณ์ โทรคมนาคมประเภท Active และอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภท Passive) ในอัตราร้อยละ 5 ต่อปี ในปี พ.ศ. 2558 และในอัตราเท่ากับดัชนี ราคาผูบ้ ริ โภค (Consumer Price Index หรื อ CPI) ทีประกาศโดยกระทรวงพาณิ ชย์ ประเทศไทยสําหรับปี ก่อนหน้า โดยเริ มคิดคํานวณจาก เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ทังนี อัตราดังกล่าวต้องไม่เกินร้อยละ 3.5 และไม่มีการปรับอัตราค่าเช่าเพิมสําหรับ การเช่า ดําเนินการและบริ หารจัดการระบบ FOC หลัก และอุปกรณ์ระบบสื อสัญญาณ การประกันภัย กองทุนมีหน้าที ความรั บผิดชอบในการจัดให้มีและคงไว้ซึงประกันภัย ประเภทความรับผิดต่อบุคคลภายนอกบนทรัพย์สินทีเช่า รวมทังมีหน้าทีต้องชําระเบียประกันภัย

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 31


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การยกระดับประสิ ทธิ ภาพ (Upgrade) ในกรณี จาํ เป็ น หรื อ สมควร ทีจะต้องมีการยกระดับ ประสิ ทธิ ภาพ (upgrade) ทรัพย์สินทีเช่าใด ๆ หรื อทรัพย์อืนใดทีเกียวข้อง ทีกองทุนได้รับจาก TU หรื อ บริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ และอยูภ่ ายใต้การเช่า ดําเนิ นการและบริ หารจัดการภายใต้สัญญาเช่า ดําเนิ นการ และบริ หารจัดการหลักของ TU นัน TU จะดําเนินการเพือให้มีการยกระดับประสิ ทธิ ภาพ (upgrade) ดังกล่าว ในทุกกรณี ด้วยค่าใช้จ่ายของตนเอง โดยทีการยกระดับประสิ ทธิ ภาพ (upgrade) จะกลายเป็ นสิ นทรัพย์เพิมเติม ของ TU ซึ งหาก TU ประสงค์จะขายให้แก่ บุคคลใด TU ต้องยืนคําเสนอในการขายสิ นทรั พย์ดงั กล่ าวแก่ กองทุนก่อน

ส่วนที 1

ข ้อมูลทัวไปและข ้อมูลสําคัญอืน

หัวข ้อที 6 - หน ้า 32


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ส่ วนที 2 การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 7.

ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น

7.1

ทุนจดทะเบียนและทุนชํ าระแล้ ว

1) ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียน จํานวน 246,079,281,520 บาท แบ่งออกเป็ น หุ ้นสามัญ จํานวน 24,607,928,152 หุ ้น มูลค่าทีตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยมีทุนทีออกและเรี ยกชําระแล้ว จํานวน 246,079,281,500 บาท แบ่งออกเป็ นหุ น้ สามัญ จํานวน 24,607,928,150 หุ ้น มูลค่าทีตราไว้หุ้นละ 10 บาท และ มีหุน้ ทียังมิได้ออกและเรี ยกชําระ จํานวน 2 หุน้ ซึ งเป็ นหุ น้ ทีคงเหลือจากการเสนอขายให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นเดิม ตามสัดส่ วนการถือหุ ้น โดยหุ ้นทียังมิได้ออกและเรี ยกชําระดังกล่าว จะถูกยกเลิกตามขันตอนทางกฎหมาย ในอนาคต ตลาดรองของหุน้ สามัญในปัจจุบนั ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เอ็นวีดีอาร์ (NVDR: Non-Voting Depository Receipt) หรื อใบแสดงสิ ทธิ ในผลประโยชน์ทีเกิดจาก หลักทรัพย์อา้ งอิงไทย เป็ นตราสารทีออกโดย NVDR ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยทีตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย จัดตังขึน NVDR มีลกั ษณะเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูล้ งทุนใน NVDR จะได้รับสิ ทธิประโยชน์ทางการเงินต่างๆ เสมือนการลงทุนในหุ ้นสามัญของบริ ษทั ฯ แต่ไม่มีสิทธิ ในการออกเสี ยง ในทีประชุมผูถ้ ือหุน้ ณ วันที 17 มีนาคม 2558 ปรากฏชื อ NVDR ถือหุ ้นในบริ ษทั ฯ จํานวน 1,597 ล้านหุ ้น คิดเป็ น สัดส่ วนร้อยละ 6.49 ของหุ น้ ทีออกและเรี ยกชําระแล้วทังหมดของบริ ษทั ฯ

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

7.2

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ผู้ถือหุ้น (1) รายชือผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ บริ ษทั ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ 1/ ณ วันที 17 มีนาคม 2558 ชือผูถ้ ือหุ ้น

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กลุ่มบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จํากัด 2/ CHINA MOBILE INTERNATIONAL HOLDINGS LIMITED 3/ บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด 4/ UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account 3/ UBS AG HONG KONG BRANCH 6/ HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 7/ STATE STREET BANK EUROPE LIMITED 8/ นายภมร พลเทพ นายพิชิต ชินวิทยากุล CORE PACIFIC-YAMAICHI INTERNATIONAL (H.K.) LIMITED-CLIENT 3/

จํานวนหุ ้น (ล้านหุ ้น) 12,554.31 4,429.43 1,597.00 456.14 206.52 185.03 155.48 131.22 84.00 79.01

ร้อยละของ หุน้ ทังหมด 51.02 18.00 6.49 1.85 0.84 0.75 0.63 0.53 0.34 0.32

1/ ไม่มีการถือหุ ้นไขว้กนั ระหว่างบริ ษทั ฯ กับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ 2/ กลุ่มบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จํากัด ประกอบด้วย (1) บริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จํากัด (“CPG”) ประกอบธุรกิจลงทุน นําเข้าและจําหน่ายเคมีภณั ฑ์ และให้บริ การด้านเทคนิควิชาการ (CPG มีกลุ่มครอบครัวเจียรวนนท์เป็ น ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ โดยผูถ้ ือหุ ้น 10 รายแรกของ CPG ได้แก่ นายสุ เมธ เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.96 นายธนินท์ เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.96 นายจรัญ เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.75 นายมนตรี เจียรวนนท์ ร้อยละ 12.63 นายเกียรติ เจียรวนนท์ ร้อยละ 5.76 นายพงษ์เทพ เจียรวนนท์ ร้อยละ 3.65 และนางยุพา เจียรวนนท์ นายประทีป เจียรวนนท์ นางภัทนีย ์ เล็กศรี สมพงษ์ นายวัชรชัย เจียรวนนท์ นายมนู เจียรวนนท์ และ นายมนัส เจียรวนนท์ ถือหุ ้นรายละร้อยละ 3.62) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 27.95 (2) บริ ษทั ยูนีค เน็ตเวิร์ค จํากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. ธนโฮลดิง 41.06% และ บจ. อาร์ท เทเลคอมเซอร์วสิ 58.94%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 7.40 (3) บริ ษทั ไวด์ บรอด คาสท์ จํากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. ธนโฮลดิง 58.55% และ บจ. เทเลคอมมิวนิเคชันเนตเวอร์ ค 41.45%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 3.95 (4) บริ ษทั ซี .พี.อินเตอร์ฟู้ด (ไทยแลนด์) จํากัด ประกอบธุรกิจผลิตและจําหน่ายส่ ง ผลิตภัณฑ์อาหารสําเร็ จรู ปจากเนือสัตว์ (ถือหุ ้นโดย CPG 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 3.33 (5) Worth Access Trading Limited ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย CPG Overseas Company Limited 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 2.36 (6) บริ ษทั กรุ งเทพเทเลคอมโฮลดิง จํากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิง 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.42 (7) Creative Light Investments Limited ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย บจ. เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิง 100%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.33 (8) บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์โฮลดิง จํากัด ประกอบธุรกิจลงทุน (ถือหุ ้นโดย CPG 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.18 (9) บริ ษทั กรุ งเทพโปรดิวส จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจซื อและขายวัตถุดิบอาหารสัตว์ (ถือหุ ้นโดย บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร (“CPF”) 99.44%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.07 และ (10) บริ ษทั เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จํากัด ประกอบธุรกิจผลิตและจําหน่ายอุปกรณ์การเลียงสัตว์ (ถือหุ ้นโดย CPG 99.99%) ถือหุ ้นบริ ษทั ฯ ร้อยละ 1.01 (ทัง 10 บริ ษทั ดังกล่าวไม่มีบริ ษทั ใดประกอบธุรกิจเดียวกันและแข่งขันกันกับกลุ่มบริ ษทั ฯ) 3/ บริ ษทั จดทะเบียนทีฮ่องกง ซื อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพือตนเองหรื อเพือบุคคลอืน บริ ษทั ฯ ไม่มีอาํ นาจทีจะขอให้ผถู ้ ือหุ ้น ดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านัน 4/ บริ ษทั ย่อยทีตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยจัดตังขึน NVDR มีลกั ษณะเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) ผูล้ งทุนใน NVDR จะได้รับสิ ทธิประโยชน์ ทางการเงินต่าง ๆ เสมือนการลงทุนในหุ ้นสามัญของบริ ษทั ฯ แต่ไม่มีสิทธิในการออกเสี ยงในทีประชุมผูถ้ ือหุ ้น 5/ บริ ษทั จดทะเบียนทีหมู่เกาะบริ ติชเวอร์ จิน ซื อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพือตนเองหรื อเพือบุคคลอืน บริ ษทั ฯ ไม่มีอาํ นาจทีจะ ขอให้ผถู ้ ือหุ ้นดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านัน 6/ บริ ษทั จดทะเบียนทีประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ ซื อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพือตนเองหรื อเพือบุคคลอืน บริ ษทั ฯ ไม่มีอาํ นาจทีจะขอให้ ผูถ้ ือหุ ้นดังกล่าว เปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านัน 7/ บริ ษทั จดทะเบียนทีประเทศสิ งคโปร์ ซื อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพือตนเองหรื อเพือบุคคลอืน บริ ษทั ฯ ไม่มีอาํ นาจทีจะขอให้ ผูถ้ ือหุ ้นดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านัน 8/ บริ ษทั จดทะเบียนทีสหราชอาณาจักร ซื อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยไม่ได้เปิ ดเผยว่าถือหุ ้นเพือตนเองหรื อเพือบุคคลอืน บริ ษทั ฯ ไม่มีอาํ นาจทีจะขอให้ ผูถ้ ือหุ ้นดังกล่าวเปิ ดเผยข้อมูลเช่นว่านัน

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(2) ข้อตกลงระหว่างกลุ่มผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ในเรื องทีมีผลกระทบต่อการออกและเสนอขาย หลักทรัพย์หรื อการบริ หารงานของบริ ษทั ฯ โดยทีข้อตกลงดังกล่าวมีบริ ษทั ฯ ร่ วมลงนามด้วย - ไม่มี 7.3

การออกหลักทรัพย์อนื หนีสิ นของบริษัทฯ

ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 หนีสิ นของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยตามงบการเงินมีจาํ นวนทังสิ น 163,630 ล้านบาท ประกอบด้วยหนีสิ นหมุนเวียน และหนีสิ นไม่หมุนเวียนดังนี หน่วย : ล้านบาท หนีสิ นของบริษัทฯ และบริษัทย่อย จํานวนเงิน หนีสิ นหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน 2,977 เจ้าหนีการค้า 101,370 ส่ วนทีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี ของเงินกูย้ มื ระยะยาว 8,873 ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย 271 หนีสิ นหมุนเวียนอืน 4,159 รวมหนีสิ นหมุนเวียน 117,650 หนีสิ นไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาว 33,137 หนีสิ นภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 2,454 เจ้าหนีการค้าระยะยาว หนีสิ นภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดาํ เนินการ 104 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 1,232 หนีสิ นไม่หมุนเวียนอืน 9,053 รวมหนีสิ นไม่หมุนเวียน 45,980 รวมหนีสิ น 163,630 ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 เงินกูย้ มื รวมทังหนี การค้าระยะยาว (ทังส่ วนทีถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปี และเกิน 1 ปี ) ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมีจาํ นวนรวมทังสิ น 42,010 ล้านบาท แบ่งเป็ นเงินกูย้ ืมของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยในเงินสกุลบาท (“เงิ นกูส้ กุลบาท”) จํานวน 38,177 ล้านบาท เงินสกุลเหรี ยญสหรัฐ (“เงิ นกู้ สกุลเหรี ยญสหรัฐ”) จํานวน 3,125 ล้านบาท (หรื อจํานวน 94 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) และเงิ นสกุลเยนญีปุ่ น (“เงินกูส้ กุลเยนญีปุ่ น”) จํานวน 708 ล้านบาท (หรื อจํานวน 2,561 ล้านเยนญีปุ่ น)

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ภายหลังจากการปรับโครงสร้ างหนี เมือวันที 22 ธันวาคม 2542 บริ ษทั ฯ สามารถชําระเงินกูไ้ ด้ครบ ตามกําหนดการชําระเงิ นต้นทีมีไว้กบั เจ้าหนี มีประกันมาโดยตลอด และยังสามารถชําระเงิ นกูก้ ่อนกําหนด บางส่ วนจากเงินสดส่ วนเกินจากการดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ได้อีกเป็ นจํานวนประมาณ 3,223 ล้านบาท เพือ ช่วยลดภาระดอกเบียจ่ายและช่วยลดความเสี ยงจากอัตราแลกเปลียน ในอดี ตเงิ นกูร้ ะยะยาวจํานวนมากของบริ ษทั ฯ เป็ นเงิ นกู้สกุลเหรี ยญสหรัฐ บริ ษทั ฯ จึ งมี นโยบาย ลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลียน และบริ ษทั ฯ ประสบความสําเร็ จในการลดเงินกูร้ ะยะยาวสกุลเหรี ยญสหรัฐ และช่วยปรับโครงสร้างหนีเพือให้มีกาํ หนดการชําระหนีทีเหมาะสมกับความสามารถในการชําระหนี ของบริ ษทั ฯ โดยมีมาตรการต่างๆ ทีนํามาใช้อย่างต่อเนื อง อาทิเช่ น การนําเงินสดส่ วนเกินจากการดําเนิ นงานมาชําระคืน เงิ นกูข้ องเจ้าหนี มีประกันบางส่ วนก่อนกําหนด การทําสัญญาเงิ นกูว้ งเงินใหม่กบั กลุ่มธนาคารพาณิ ชย์และ สถาบันการเงินในประเทศ เพือใช้คืนเงินกูส้ กุลเงินบาทเดิมในจํานวนเท่ากัน โดยเงินกูใ้ หม่มีอตั ราดอกเบียที ลดลง ส่ งผลให้บริ ษทั ฯ สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านดอกเบีย การนํากระแสเงินสดของบริ ษทั ฯ มาซื อคืนตราสาร การชําระหนี ทีมีเงือนไขในการผ่อนการชําระหนี ทีตราไว้ในสกุลเยน การออกและเสนอขายหุ ้นกูป้ ระเภทต่างๆ เพือนํากระแสเงิ นสดทีได้มาจากการออกหุ ้นกู้ ไปชําระหนี สิ นเงินสกุลต่างประเทศทีมีอยู่หรื อเพือชําระคืน เงิ นต้นให้กบั เงิ นกู้สกุลบาทก่ อนกําหนดหรื อเพือไถ่ ถอนหุ ้นกู้เดิ มก่ อนกําหนด เป็ นต้น หลังจากที มี การ ดําเนินมาตรการต่าง ๆ เพือลดความผันผวนจากอัตราแลกเปลียนดังทีกล่าวข้างต้นแล้ว บริ ษทั ฯ มีสัดส่ วนของ เงินกูท้ ีเป็ นเงินสกุลต่างประเทศต่อเงินกูท้ งหมดลดลงจากระดั ั บร้อยละ 68.20 ณ สิ นปี 2543 เป็ นร้อยละ 1.91 ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ทังนี ในช่วง 5 ปี ทีผ่านมา บริ ษทั ฯ ได้ดาํ เนินการต่างๆ ดังนี พฤศจิกายน 2553 ณ วันที 17 พฤศจิก ายน 2553 บริ ษ ทั ฯ ได้ออกหุ ้นกู้ไม่ มีป ระกันสกุ ลบาท 1 ชุ ด เป็ นเงิ น จํา นวน 1,100 ล้า นบาท บริ ษ ัท ฯ ได้นํา เงิ น จากการออกหุ ้ น กู้ดัง กล่ า ว ไปชําระคืนหนีหุ น้ กูร้ ะยะสันและตัวแลกเงินระยะสัน มีนาคม 2554

ณ วันที 31 มีนาคม 2554 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีประกันสกุลบาท 1 ชุดเป็ นเงิน จํานวน 1,800 ล้า นบาท บริ ษ ทั ฯ ได้นําเงิ น จากการออกหุ ้นกู้ดัง กล่ า วไปใช้ใ น การดําเนินงานของบริ ษทั ฯ

ตุลาคม 2555

ณ วันที 5 ตุลาคม 2555 บริ ษทั ฯได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีประกันสกุลบาท 1 ชุ ด เป็ นเงิน จํานวน 6,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯได้นาํ เงินจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าว ไปใช้ในการ ดําเนินงานของบริ ษทั ซึ งรวมถึงการชําระคืนหนีคงค้าง และการขยายธุ รกิจของบริ ษทั ฯ

เมษายน 2556

ณ วันที 5 เมษายน 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 1 ชุ ด เป็ น จํานวน 7,800 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาํ เงินจากการออกหุ น้ กูด้ งั กล่าวเพือใช้ในการชําระ คืนหนีคงค้างก่อนกําหนด และใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนเพือการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กรกฎาคม 2556

ณ วันที 5 กรกฎาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 1 ชุด เป็ น จํานวน 11,213 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาํ เงิ นจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวเพือใช้ในการ ชําระคืนหนี คงค้างก่อนกําหนด และใช้เป็ นเงิ นทุนหมุ นเวียนเพือการดําเนิ นงาน ของบริ ษทั ฯ ณ วันที 8 กรกฎาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้ชาํ ระคื นหนี ทีมี ประกันทังหมด ให้แก่เจ้าหนีมีประกันของบริ ษทั ฯ

พฤศจิกายน 2556

ณ วันที 15 พฤศจิกายน 2556 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 2 ชุ ด เป็ นจํานวนรวม 6,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาํ เงิ นจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวเพือใช้ ในการชําระคื นหนี คงค้าง และ/หรื อ ใช้เป็ นเงิ นทุ นหมุ นเวียนเพื อการดําเนิ นงาน ของบริ ษทั ฯ

มีนาคม 2557

ณ วันที 6 มีนาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้ออกหุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันสกุลบาท 2 ชุ ด เป็ น จํานวนรวม 8,000 ล้านบาท บริ ษทั ฯ ได้นาํ เงินจากการออกหุ ้นกูด้ งั กล่าวเพือใช้ในการ ชําระคืนหนี คงค้าง และ/หรื อ ใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนเพือการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ รวมทังเพือใช้ลงทุนในธุ รกิจภายในกลุ่มทรู

กันยายน 2557

ณ วันที 2 กันยายน 2557 บริ ษทั ฯ ได้มีการเพิมทุน จํานวน 65 พันล้านบาท โดยเสนอ ขายหุ ้นสามัญเพิมทุนให้แก่ผถู ้ ื อหุ ้นเดิ ม ตามสัดส่ วนการถื อหุ ้น และเสนอขายแบบ เฉพาะเจาะจงให้แก่ China Mobile International Holding Limited บริ ษทั ฯ ได้นาํ เงิน ส่ วนใหญ่จากการเพิมทุนดังกล่าวมาชําระคืนหนี ให้แก่เจ้าหนี มีประกันของบริ ษทั ใน กลุ่มทรู ทังหมด

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 5


แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

แผนภูมิ: โครงสร้ างเงินกู้ของบริษัทฯ จนถึง 31 ธันวาคม 2557 หน่วย : ล้านบาท

100,000

95,200 86,044

80,000 60,000

77,187

4,729 6,664

4,010 7,000

11,581 3,153

40,000 62,453

96,327 89,906

3,431

83,236

3,369

80,517

4,391

33,636 38,584

74,651

84,872

40,614

73,099

71,846

4,127

4,232

34,991

20,000

35,512

33,981

2551

2552

2,812 3,625

4,674 3,264

42,010

76,934

41,283

86,155

24,005

84,190 52,839

4,066 2,836

89,425

79,718

43,609

708 3,125

38,177

0 2546

2547

2548

เงินกูส้ กุลบาท ส่วนที 2

2549

2550

เงินกูส้ กุลเหรี ยญสหรัฐ ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

2553

2554

2555

2556

2557

เงินกูส้ กุลเยน หัวข ้อที 7 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

หุ้นกู้ 1. ที ประชุ มวิส ามัญผูถ้ ื อหุ ้น ของบริ ษทั ฯ ครั งที 1/2544 วันที 28 มิ ถุนายน 2544 มี มติอนุ มตั ิใ ห้ บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ น้ กูป้ ระเภทต่าง ๆ ในวงเงินไม่เกิน 36,000 ล้านบาท โดยมีอายุไม่เกิน 20 ปี เพือ ชําระหนีสิ นเงินสกุลต่างประเทศทีมีอยู่ ซึ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี (1) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิดทยอยชําระคืนเงินต้น สามารถไถ่ถอนก่อนกําหนด ครังที 1/2545 ครบกําหนด ไถ่ถอนปี พ.ศ. 2551 (“TRUE087A”) จํานวน 11,715,400 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ น มูลค่า 11,715,400,000 บาท (หนึงหมืนหนึงพันเจ็ดร้อยสิ บห้าล้านสี แสนบาทถ้วน) (หุ ้นกูร้ ุ่ นนี ได้รับการไถ่ถอน เต็มจํานวนไปแล้วตังแต่เดือนกรกฎาคม 2554) (2) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชําระคืนเงินต้น สามารถไถ่ถอนก่อนกําหนด และมีผคู ้ าประกั ํ นบางส่ วน ครังที 2/2545 ครบกําหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2554 (“TRUE112A”) จํานวน 6,750,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,750,000,000 บาท (หกพันเจ็ดร้อยห้าสิ บล้านบาทถ้วน) (3) หุ น้ กูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชําระคืนเงินต้น ครังที 1/2546 ครบกําหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ. 2550 (“TRUE07OA”) จํานวน 3,319,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 3,319,000,000 บาท (สามพันสามร้อยสิ บเก้าล้านบาทถ้วน) (หุ ้นกูร้ ุ่ นนีได้ถูกไถ่ถอนไปหมดแล้วตามกําหนดในเดือนตุลาคม 2550) 2. ทีประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ฯ ครังที 1/2547 วันที 16 มกราคม 2547 มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ ้นกูป้ ระเภทต่างๆ ในวงเงิ นไม่เกิ น 15,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและเสนอขายใน คราวเดี ยวกันทังหมดหรื อหลายคราวก็ได้ ขึนอยู่กบั การพิจารณาและเงื อนไขทีกําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรื อ บุคคลทีคณะกรรมการมอบหมาย ซึ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี (1) หุ ้นกูม้ ีประกัน ชนิ ดทยอยชําระคืนเงินต้น ครังที 1/2547 ครบกําหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2554 (“TRUE117A”) จํานวน 2,413,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 2,413,000,000 บาท (สองพันสี ร้อยสิ บสามล้านบาทถ้วน) (2) หุ ้นกูร้ ะยะสันภายใต้โครงการหุ ้นกูร้ ะยะสันของ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) โครงการที 1/2549 ภายในระยะเวลา 3 ปี ตังแต่ วนั ที 19 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เป็ นต้นไป เป็ นจํานวนเงิ น ไม่เกิน 3,000,000,000 บาท (สามพันล้านบาทถ้วน) (3) หุ ้นกูม้ ีประกัน ครังที 1/2550 ชุ ดที 1 ครบกําหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2552 (“TRUE097A”) จํานวน 1,000,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,000,000,000 บาท (หนึงพันล้านบาทถ้วน) (4) หุ น้ กูม้ ีประกัน ครังที 1/2550 ชุดที 2 ครบกําหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2553 (“TRUE107A”) จํานวน 2,000,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 2,000,000,000 บาท (สองพันล้านบาทถ้วน) (5) หุ น้ กูม้ ีประกัน ครังที 1/2550 ชุดที 3 ครบกําหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2556 (“TRUE127A”) จํานวน 1,000,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,000,000,000 บาท (หนึงพันล้านบาทถ้วน)

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

3. ทีประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ประจําปี 2551 วันที 29 เมษายน 2551 มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ ้นกูป้ ระเภทต่างๆ ในวงเงิ นไม่เกิ น 20,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและเสนอขายใน คราวเดี ยวกันทังหมดหรื อหลายคราวก็ได้ ขึนอยู่กบั การพิจารณาและเงื อนไขทีกําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรื อ บุคคลทีคณะกรรมการมอบหมาย ซึ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี (1) หุ ้นกู้มีประกัน ครังที 1/2552 ครบกําหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2557 (“TRUE144A”) จํานวน 6,183,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่ วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,183,000,000 บาท (หกพันหนึงร้อย แปดสิ บสามล้านบาทถ้วน) (2) หุ ้นกู้มี ประกัน ครั งที 2/2552 ครบกําหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2558 (“TRUE151A”) จํานวน 7,000,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 7,000,000,000 บาท (เจ็ดพันล้านบาทถ้วน) 4. ทีประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ประจําปี 2553 วันที 23 เมษายน 2553 มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ฯ ออกและเสนอขายหุ ้นกู้ประเภทต่างๆ ในวงเงิ นไม่เกิ น 30,000 ล้านบาท โดยสามารถออกและเสนอขาย ในคราวเดียวกันทังหมดหรื อหลายคราวก็ได้ ขึนอยูก่ บั การพิจารณาและเงือนไขทีกําหนดโดยคณะกรรมการ และ/หรื อ บุคคลทีคณะกรรมการมอบหมาย ต่อมา ทีประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจําปี 2556 วันที 23 เมษายน 2556 ได้มีมติ อนุ มตั ิการแก้ไข เพิมเติมวงเงินในการออกหุ ้นกูแ้ ละใช้แทนซึ งมติทีประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2553 โดยทีประชุมได้มี มติอนุ มตั ิการแก้ไขเพิมเติมวงเงินในการออกหุ ้นกูอ้ ีกในจํานวนไม่เกิน 30,000 ล้านบาท และเมือนับรวมกับ มูลค่าหุ ้นกู้ของบริ ษทั ฯ ที ยังมิ ได้ไถ่ถอนทังหมดทุ กประเภท ณ ขณะใดขณะหนึ ง จะต้องมี จาํ นวนไม่เกิ น 60,000 ล้านบาท หรื อสกุลเงินอืนทีเทียบเท่า ซึ งจนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุ น้ กูแ้ ล้วดังนี (1) หุ ้นกูร้ ะยะสัน ครังที 1/2553 ครบกําหนดไถ่ถอนวันที 18 พฤศจิกายน 2553 (“TRUE10N18A”) จํานวน 900,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 900,000,000 บาท (เก้าร้อยล้านบาทถ้วน) (2) หุ น้ กูไ้ ม่มีประกัน ครังที 1/2553 ครบกําหนดไถ่ถอนวันที 18 พฤศจิกายน 2556 (“TRUE13NA”) จํานวน 1,100,000 หน่ วย มูลค่าทีตราไว้หน่ วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูล ค่า 1,100,000,000 บาท (หนึงพัน หนึงร้อยล้านบาทถ้วน) (3) หุ ้นกูไ้ ม่มีประกันครังที 1/2554 ครบกําหนดไถ่ถอนวันที 7 เมษายน 2557 (“TRUE144B”) จํานวน 1,800,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 1,800,000,000 บาท (หนึงพัน แปดร้อยล้านบาทถ้วน) (4) หุ ้นกู้ไม่มีประกันครังที 1/2555 ครบกําหนดไถ่ ถอนวันที 5 ตุลาคม 2559 (“TRUE16OA”) จํานวน 6,000,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 6,000,000,000 บาท (หกพันล้านบาทถ้วน)

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(5) หุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันครังที 1/2556 ครบกําหนดไถ่ถอน 5 เมษายน 2560 (“TRUE174A”) จํานวน 7,800,000 หน่ วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 7,800,000,000 บาท (เจ็ดพัน แปดร้อยล้านบาทถ้วน) (6) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครังที 2/2556 ครบกําหนดไถ่ถอน 5 กรกฏาคม 2560 (“TRUE177A”) จํานวน 11,213,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 11,213,000,000 บาท (หนึงหมืน หนึงพันสองร้อยสิ บสามล้านบาทถ้วน) (7) หุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันครั งที 3/2556 (หุ ้นกูช้ ุ ดที 1) ครบกําหนดไถ่ถอน 15 พฤศจิกายน 2557 (“TRUE14NA”) จํานวน 2,500,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 2,500,000,000 บาท (สองพันห้าร้อยล้านบาทถ้วน) (8) หุ ้นกูไ้ ม่มีหลักประกันครังที 3/2556 (หุ ้นกูช้ ุ ดที 2) ครบกําหนดไถ่ถอน 15 พฤศจิกายน 2558 (“TRUE15NA”) จํานวน 3,500,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 3,500,000,000 บาท (สามพันห้าร้อยล้านบาทถ้วน) (9) หุ น้ กูไ้ ม่มีหลักประกันครังที 1/2557 (หุ น้ กูช้ ุดที 1) ครบกําหนดไถ่ถอน 15 พฤศจิกายน 2558 (“TRUE15NB”) จํานวน 4,000,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 4,000,000,000 บาท (สี พันล้านบาทถ้วน) (10) หุ ้นกู้ไม่มีหลัก ประกันครั งที 1/2557 (หุ ้นกู้ชุดที 2) ครบกํา หนดไถ่ ถอน 6 มีนาคม 2561 (“TRUE183A”) จํานวน 4,000,000 หน่วย มูลค่าทีตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท รวมเป็ นมูลค่า 4,000,000,000 บาท (สี พันล้านบาทถ้วน)

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

หุ้นกู้ระยะยาวของบริษทั ฯ ทียังไม่ ครบกําหนดไถ่ ถอน ณ วันที 31 ธันวาคม 2557

TRUE160A TRUE174A

5 ตุลาคม 2555 5 เมษายน 2556

มูลค่าหุน้ กู้ ณ วันออกหุน้ กู้ (ล้านบาท) 6,000 7,800

TRUE177A TRUE15NA

5 กรกฎาคม 2556 15 พฤศจิกายน 2556

11,213 3,500

11,213 3,500

TRUE15NB

6 มีนาคม 2557

4,000

4,000

TRUE183A

6 มีนาคม 2557

4,000

4,000

สัญลักษณ์หุน้ กู้

วันทีออกหุ น้ กู้

มูลค่าหุน้ กู้ ณ 31 ธ.ค. 57 (ล้านบาท) 6,000 7,800

อายุหุน้ กู้ (ปี )

วันครบกําหนด ไถ่ถอนหุน้ กู้

อัตราดอกเบีย (ต่อปี )

ประเภทของ การเสนอขาย

4 4

5 ตุลาคม 2559 5 เมษายน 2560

6.00% 5.80%

Public Offering Public Offering

การจัดอันดับ ความน่าเชือถือ ณ 9 ต.ค. 57 BBB+ BBB+

4 2

5 กรกฎาคม 2560 15 พฤศจิกายน 2558

5.55% 4.95%

Public Offering Public Offering

BBB+ BBB+

1 ปี 8 เดือน 15 พฤศจิกายน 2558 9 วัน 4 6 มีนาคม 2561

4.80%

Public Offering

BBB+

5.40%

Public Offering

BBB+

รวม 36,513 36,513 หมายเหตุ: หุน้ กูท้ ุกรุ่ นดังกล่าวเป็ นหุน้ กูช้ นิดระบุชือผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน และมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุน้ กู้

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

7.4

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นโยบายการจ่ ายเงินปันผล

บริ ษทั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลในอัตราอย่างน้อยร้ อยละ 50 ของกําไรสุ ทธิ จากงบการเงิ นเฉพาะ ของบริ ษทั ฯ ในแต่ละปี ภายหลังการจัดสรรเป็ นสํารองต่าง ๆ และหากมีเงินสดคงเหลื อ รวมทังเป็ นไปตาม ข้อกําหนดของกฎหมายทีเกียวข้อง และสัญญาเงินกูต้ ่าง ๆ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ ยังไม่เคยประกาศจ่ายเงินปั นผลนับตังแต่เปิ ดดําเนิ นกิจการ เนื องจากบริ ษทั ฯ ยังมีขาดทุนสะสม ซึ งตามกฎหมายแล้ว บริ ษทั ฯ ไม่สามารถจ่ายเงินปั นผลให้ผถู ้ ือหุ น้ ได้ สําหรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษทั ย่อย คณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยแต่ละแห่ งจะพิจารณาการ จ่ายเงิ นปั นผลจากกระแสเงิ นสดคงเหลือเทียบกับงบลงทุนของบริ ษทั ย่อยนัน ๆ หากกระแสเงินสดคงเหลือ ของบริ ษทั ย่อยมีเพียงพอ และได้ตงสํ ั ารองตามกฎหมายแล้ว คณะกรรมการของบริ ษทั ย่อยนัน ๆ จะพิจารณา จ่ายเงินปั นผลเป็ นกรณี ไป

ส่วนที 2

ข ้อมูลหลักทรัพย์และผู ้ถือหุ ้น

หัวข ้อที 7 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1

คณะกรรมการบริษัท

ตามข้อบังคับของบริ ษทั ฯ กําหนดให้คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการ จํานวน ไม่ น้อยกว่า 5 คน และกรรมการไม่ น้อยกว่ากึ งหนึ งของจํา นวนกรรมการทังหมดนันต้องมี ถิ นที อยู่ใ น ราชอาณาจักร โดยกรรมการของบริ ษทั ฯ จะต้องเป็ นผูม้ ีคุณสมบัติตามทีกฎหมายกําหนด ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยบุคคลผูท้ รงคุณวุฒิ รวมทังสิ นจํานวน 18 ท่าน ประกอบด้วย (1)

กรรมการทีเป็ นผูบ้ ริ หาร (Executive Directors) จํานวน 4 ท่าน

(2)

กรรมการทีไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร (Non-Executive Directors) จํานวน 14 ท่าน ประกอบด้วย - กรรมการอิสระ (Independent Directors) จํานวน 6 ท่าน คิดเป็ นสัดส่ วน 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทังคณะ ซึงเป็ นไปตามข้อกําหนดของ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน - กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ งไม่เกียวข้องในการบริ หารงานประจํา ซึ งรวมตัวแทนของ ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ จํานวน 8 ท่าน

คํานิยาม กรรมการทีเป็ นผูบ้ ริ หาร หมายถึง กรรมการทีดํารงตําแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หารและมีส่วนเกียวข้องในการบริ หารงานประจําของบริ ษทั ฯ กรรมการทีไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร หมายถึง กรรมการทีมิได้ดาํ รงตําแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หารและไม่มีส่วนเกียวข้องในการบริ หารงานประจําของบริ ษทั ฯ อาจจะเป็ นหรื อไม่เป็ นกรรมการอิสระก็ได้ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการผูซ้ ึ งเป็ นอิสระจากผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่หรื อกลุ่มของผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่และผูบ้ ริ หารของนิ ติบุคคลที เป็ นผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ และ เป็ นอิสระจากความสัมพันธ์อืนใดทีจะกระทบต่อการใช้ดุลพินิจอย่างอิสระ และ มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดีของบริ ษทั ฯ

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

คณะกรรมการบริ ษทั ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 มีรายนามดังต่อไปนี รายนาม

การประชุมคณะกรรมการ จํานวนครัง จํานวนครัง การประชุม 1/ ทีเข้าร่ วมประชุม 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 9 8 และ กรรมการในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี 2. ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ 9 8 ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี 3. นายโชติ โภควนิช กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ 9 9 กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 4. นายฮาราลด์ ลิงค์ กรรมการอิสระ 9 7 5. ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉําเฉลิม กรรมการอิสระ 9 8 2/ 3/ กรรมการอิสระ 4 4 6. นายฉวี เกิงโหล่ว 7. นายธนินท์ เจียรวนนท์ ประธานกรรมการ และ 9 7 ประธานคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 8. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ รองประธานกรรมการ 9 7 ประธานคณะกรรมการด้านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี 9. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์ รองประธานกรรมการ และ 9 7 หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านกฎหมาย เจิงเม่า 2/ รองประธานกรรมการ และ 4 3/ 2 10. นายหลี กรรมการในคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ 11.ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม กรรมการ และ 9 8 กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน 12. นายอํารุ ง สรรพสิ ทธิ วงศ์ กรรมการ กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน 9 9 และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

ส่วนที 2

ตําแหน่ง

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

รายนาม

13.นายวิเชาวน์

14.นายชัชวาลย์ 15.นายสุ ภกิต

16.นายณรงค์ 17. นายเกา 18.นายศุภชัย หมายเหตุ :

1/

2/

3/

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตําแหน่ง

การประชุมคณะกรรมการ จํานวนครัง จํานวนครัง การประชุม 1/ ทีเข้าร่ วมประชุม 9 6

รักพงษ์ไพโรจน์ กรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฏิบตั ิการ ด้านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการ และ บํารุ งรักษา ธุ รกิจบรอดแบนด์ โมบาย ซี เอทีวี เจียรวนนท์ กรรมการ และ ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร - การลงทุนกลุ่ม เจียรวนนท์ กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ เจียรวนนท์ กรรมการ กรรมการ และ เนียนชู 2/ กรรมการในคณะกรรมการด้านการเงิน เจียรวนนท์ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร

9

6

9

4

9 4 3/

7 2

9

9

ในปี 2557 คณะกรรมการบริ ษทั มีการประชุมทังสิ น จํานวน 9 ครัง นอกจากนี บริ ษทั ฯ มีการกําหนดไว้ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดี ให้กรรมการทีมิใช่ผบู ้ ริ หาร สามารถทีจะประชุ มระหว่างกันเอง ตามความจําเป็ น โดยไม่มีกรรมการทีเป็ นผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายจัดการเข้าร่ วมประชุ ม เพืออภิปรายปั ญหาต่างๆ เกียวกับการจัดการหรื อเรื องที อยู่ในความสนใจ ซึ งในปี 2557 กรรมการที มิใช่ ผบู ้ ริ หารมีการประชุ มระหว่างกันเองในรู ปแบบของการประชุ มอย่างไม่เป็ นทางการ หลังจากเสร็ จสิ นการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ทีประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ครังที 5/2557 เมือวันที 2 กันยายน 2557 ได้มีมติแต่งตัง นายฉวี เกิงโหล่ว ดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระ นายหลี เจิงเม่า ดํารงตําแหน่งรองประธานกรรมการ และ นายเกา เนียนชู ดํารงตําแหน่งกรรมการ โดยมีผลตังแต่วนั ที 2 กันยายน 2557 ก่อนที นายฉวี เกิงโหล่ว นายหลี เจิงเม่า และ นายเกา เนียนชู จะได้รับการแต่งตังเข้าเป็ นกรรมการบริ ษทั ได้มีการประชุมคณะกรรมการ ไปแล้ว จํานวน 4 ครัง

ทังนี กรรมการบริ ษ ทั ทุ ก ท่ า น เป็ นผูม้ ี คุ ณ สมบัติค รบถ้ว นตามที กฎหมายกํา หนด ไม่ มี ล ัก ษณะ ต้องห้ามตามกฎหมาย และ ไม่มีลกั ษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กรรมการทุกท่ านทุ่ม เทให้ก ับการปฏิ บตั ิ หน้าที เป็ นกรรมการ ให้ความร่ วมมื อช่ วยเหลื อในการ ดําเนิ นกิ จการของบริ ษทั ฯ ในทุ ก ๆ ด้าน ซึ งเป็ นภาระที หนักและต้องรับผิดชอบอย่างยิง สําหรั บบทบาท หน้าที และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษ ทั ตลอดจนการเข้าร่ วมประชุ มของกรรมการแต่ละท่านนัน กรรมการทุกท่านเข้าร่ วมในการประชุ มทุกครัง เว้นแต่กรณี ทีมี เหตุสําคัญและจําเป็ นทีไม่อาจหลี กเลี ยงได้ อย่างไรก็ตาม กรรมการท่านใดทีติดภารกิจจําเป็ นไม่สามารถเข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ได้ จะบอก กล่าวแจ้งเหตุผลขอลาการประชุ มและให้ความคิดเห็นต่อวาระการประชุ มทีสําคัญเป็ นการล่วงหน้าทุกครัง นอกจากนี กรรมการของบริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญกับการเข้าอบรมตามหลักสู ตรทีจัดโดยสมาคมส่ งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) กรรมการซึงมีอาํ นาจลงลายมือชือแทนบริษัทฯ นายสุ ภกิต เจียรวนนท์ นายศุภชัย เจียรวนนท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ศาสตราจารย์พิเศษอธึ ก อัศวานันท์ นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ กรรมการสองในห้าคนลงลายมือชื อร่ วมกันและประทับตราสําคัญของบริ ษทั ฯ ในกรณี ทีลงนามในงบการเงิน หนังสื อรับรองงบการเงิน และ เอกสารประกอบงบการเงิน ให้กรรมการคนใดคนหนึงในห้าคน ดังกล่าวข้างต้นลงนามและประทับตราสําคัญของบริ ษทั ฯ อํานาจหน้ าทีและความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท x

x x x x

x

x x

ส่วนที 2

กํากับดูแลการดําเนินกิจการของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของ บริ ษทั ฯ ตลอดจนมติของทีประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ความซื อสัตย์สุจริ ต เพื อรั ก ษาผลประโยชน์ ของบริ ษ ทั ฯ และผูถ้ ื อหุ ้น และเปิ ดเผยข้อมูล ต่อ ผูถ้ ื อหุ ้นอย่างถู กต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส และ ทันเวลา อนุมตั ิวสิ ัยทัศน์ แผนยุทธศาสตร์ พันธกิจ แผนการธุ รกิจ และ เป้ าหมายทางการเงิน ประเมินผลการดําเนินการของบริ ษทั ฯ และผลการปฏิบตั ิงานของประธานคณะผูบ้ ริ หาร (ซีอีโอ) ดูแลให้เกิดความมันใจในการรับช่วงบริ หารงานของสมาชิกระดับสู งในฝ่ ายจัดการ ดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามนโยบายทีเกียวกับจริ ยธรรมทางธุ รกิจ รวมทังคุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิ ในการทํางาน ข้อกําหนดการเปิ ดเผยข้อมูล ข้อกําหนดของการเข้าทํารายการระหว่างกัน ตลอดจน ข้อ กํา หนดการใช้ข ้อมู ลภายในเพื อซื อขายหลักทรั พย์ รวมทังตรวจสอบให้ มี การปฏิ บ ัติ ตาม ข้อกําหนดดังกล่าว โดยยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุม้ กันทีดีในตัว ดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี การจัดการความเสี ยง ตลอดจนระบบการควบคุมและ กฎหมายทีเกียวข้อง ดูแลให้มีกลไกในการรับเรื องร้องเรี ยนและการดําเนินการกรณี มีการชีเบาะแส เสนอชือผูท้ ีจะเข้ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการบริ ษทั ต่อผูถ้ ือหุ น้

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ในส่ วนของการจัด การบริ ษ ทั ฯ นัน คณะกรรมการบริ ษ ทั มี อาํ นาจหน้า ที ตัดสิ นใจและดู แ ลการ ดํา เนิ น งานของบริ ษ ัท ฯ เว้น แต่ เ รื องที กฎหมายกํา หนดให้ ต้อ งได้รั บ มติ อ นุ ม ัติ จ ากที ประชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้ น นอกจากนัน คณะกรรมการบริ ษ ทั อาจมอบหมายให้ก รรมการคนหนึ งหรื อ หลายคนหรื อบุ ค คลอื นใด ปฏิ บตั ิการอย่างใดอย่างหนึ งแทนคณะกรรมการบริ ษทั ได้ อย่างไรก็ตาม การตัดสิ นใจในการดําเนิ นงานที สําคัญ อาทิเช่ น การลงทุ นและการกูย้ ืมที มีนัยสําคัญ ฝ่ ายบริ หารจะต้องนําเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพือพิจารณาอนุมตั ิ อํานาจหน้ าทีและความรับผิดชอบของประธานกรรมการ x

x x

x

8.2

รับผิดชอบในฐานะผูน้ าํ ของคณะกรรมการในการกํากับดูแลการบริ หารงานของคณะกรรมการบริ ษทั และคณะอนุกรรมการอืนๆ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ตามแผนงานทีวางไว้ เป็ นประธานทีประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประธานทีประชุมผูถ้ ือหุน้ และควบคุมการประชุมให้เป็ นไปตามข้อบังคับและระเบียบวาระ ทีกําหนดไว้ ปฏิบตั ิหน้าทีตามทีกฎหมายกําหนดไว้โดยเฉพาะให้เป็ นหน้าทีของประธานกรรมการ

ผู้บริหาร ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 ผูบ้ ริ หาร 1/ ของบริ ษทั ฯ มีจาํ นวน 15 ท่าน ดังมีรายนามต่อไปนี รายนาม

1. นายศุภชัย

ตําแหน่ง

เจียรวนนท์

กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร

2. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์

รองประธานกรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านกฎหมาย

3. นายวิเชาวน์

กรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฏิบตั ิการ -

รักพงษ์ไพโรจน์

ด้านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการและบํารุ งรักษา ธุ รกิจบรอดแบรนด์ โมบาย ซีเอทีวี 4. นายชัชวาลย์

เจียรวนนท์

กรรมการ และ ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร - การลงทุนกลุ่ม

5. นายนพปฎล

เดชอุดม

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านการเงิน

6. นายวิลเลียม

แฮริ ส

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร - ด้านพัฒนาธุ รกิจระหว่างประเทศ และ ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่/ประธานคณะผูบ้ ริ หาร

7. นายขจร

เจียรวนนท์

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร - ด้านกิจการองค์กร

8. นายธิติฏฐ์

นันทพัฒน์สิริ

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร – ด้านรัฐกิจสัมพันธ์

9. นายอติรุฒม์

โตทวีแสนสุ ข 2/

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร – ด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

รายนาม

ตําแหน่ง

10. นายทรงธรรม

เพียรพัฒนาวิทย์

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร - ด้านลูกค้าองค์กรธุ รกิจและบริ การระหว่างประเทศ

11. นายอาณัติ

เมฆไพบูลย์วฒั นา

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร - ด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค

12. นายเจริ ญ

ลิมกังวาฬมงคล

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร – ด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค

13. ดร. ปพนธ์

รัตนชัยกานนท์

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร - ด้านพัฒนาธุ รกิจเชิงกลยุทธ์ และ ผูช้ ่วยบริ หารงานประธานคณะผูบ้ ริ หาร

14. นายคาร์ล

กูเดียร์

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หาร – ด้านบริ การลูกค้า

15. นายศิริพจน์

คุณากรพันธุ์

ผูอ้ าํ นวยการบริ หาร – ด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค

หมายเหตุ :

1/

2/

“ผูบ้ ริ หาร” ในหัวข้อนี มีความหมายตามทีกําหนดโดยคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ งหมายถึง กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูด้ าํ รงตําแหน่งระดับบริ หารสี รายแรกนับต่อจากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ลงมา และผูซ้ ึ งดํารงตําแหน่งเทียบเท่ากับผูด้ าํ รงตําแหน่งระดับ บริ หารรายทีสี ทุกราย เมื อวันที 3 กุมภาพันธ์ 2558 บริ ษทั ฯ มี การปรั บปรุ งโครงสร้ างองค์กร และแต่งตังผูบ้ ริ หาร เป็ นผลให้มี การเปลี ยนชื อเรี ยกตําแหน่ ง สําหรับผูบ้ ริ หารเดิ ม จํานวน 1 ท่าน คือ นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุ ข หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ผูอ้ าํ นวยการ บริ หารด้านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค

ทังนี ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ทุ กท่ าน เป็ นผูม้ ี คุ ณสมบัติครบถ้วนตามที กฎหมายกําหนด ไม่มี ลกั ษณะ ต้องห้ามตามกฎหมาย และ ไม่มีลกั ษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างการบริหารจัดการ คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี

คณะกรรมการด ้านการเงิน

กรรมการผู ้จัดการใหญ่ / ประธานคณะผู ้บริหาร

คณะกรรมการบริหาร

หัวหน ้าคณะผู ้บริหาร ด ้านกฎหมาย

หัวหน ้าคณะผู ้บริหาร ด ้านปฏิบัตก ิ าร

หัวหน ้าคณะผู ้บริหาร ด ้านการเงิน

หัวหน ้าคณะผู ้บริหาร ด ้านบริการลูกค ้า

หัวหน ้าคณะผู ้บริหาร ด ้านการพาณิชย์และ การตลาด

ผู ้อํานวยการบริหาร การลงทุนกลุม ่

ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านพัฒนาธุรกิจ เชิงกลยุทธ์

ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านพัฒนาธุรกิจ ระหว่างประเทศ

ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านรัฐกิจสัมพันธ์

ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านกิจการองค์กร

ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านลูกค ้าองค์กร ธุรกิจและบริการ ระหว่างประเทศ

ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านการบริหารจัดการระดับภูมภ ิ าค 1 ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านการบริหารจัดการระดับภูมภ ิ าค 2 ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านการบริหารจัดการระดับภูมภ ิ าค 3 ผู ้อํานวยการบริหาร ด ้านการบริหารจัดการระดับภูมภ ิ าค 4

ผู ้อํานวยการ ด ้านบัญชี

ส่วนที 2

การวิจัยและ พัฒนา

ปฏิบัตก ิ ารเทคโนโลยี สารสนเทศ

โครงสร ้างการจัดการ

ทรัพยากรบุคคลและ พัฒนาองค์กร

จัดซือ

สือสารองค์กร ประชาสัมพันธ์การตลาด และ กิจกรรมองค์กรเพือสังคม

บริหารแบรนด์และ สือสารแบรนด์

หัวข ้อที 8 - หน ้า 7

ตรวจสอบ ภายใน


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

อํานาจหน้ าทีของประธานคณะผู้บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็ นตําแหน่งทางการบริ หารสู งสุ ดของบริ ษทั ฯ และ เป็ นตําแหน่งทีได้รับการแต่งตังโดยคณะกรรมการบริ ษทั ความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หารเป็ นไปในรู ปแบบการทํางานร่ วมกัน โดยที คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูก้ าํ กับดูแล ให้คาํ ปรึ กษา ข้อคิดเห็ น และ ข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายบริ หาร สนับสนุ นการ ดําเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ตลอดจนติดตามดูแลการบริ หารงานของฝ่ ายบริ หารและผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ แต่จะไม่เข้าไปก้าวก่ายในการบริ หารกิจการของบริ ษทั ฯ ส่ วนประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษทั ในด้านการนํานโยบายของคณะกรรรมการบริ ษทั ไปใช้ในทางปฏิบตั ิ บริ หารจัดการและควบคุ มดูแลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามข้อบังคับ มติทีประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น มติคณะกรรมการ ทิศทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ และกฎหมายทีเกียวข้อง อํานาจหน้าทีของประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีดงั ต่อไปนี x

x

x

x

x x

x

x

ส่วนที 2

ดําเนิ นการให้มีการกําหนดทิศทางธุ รกิจ พันธกิจ แผนธุ รกิ จ พร้อมทัง งบประมาณ และ นําเสนอ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพือขออนุมตั ิ วางกลยุทธ์ และแผนปฏิ บตั ิ การของบริ ษทั ฯ ตามกรอบทิ ศทางธุ รกิ จและพันธกิ จของบริ ษทั ฯ ทีได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการ ควบคุ ม ดู แลให้ก ารดําเนิ นการตามแผนธุ รกิ จ ของบริ ษ ทั ฯ เป็ นไปอย่างมี ประสิ ท ธิ ภาพ และ สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ กํากับ ดู แล และ ควบคุ มการดําเนิ นธุ รกิ จประจําวันอันเป็ นปกติ ธุระของบริ ษ ทั ฯ รวมทังการ บริ หารความเสี ยงของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามทิศทาง แผนธุ รกิ จ และ งบประมาณทีได้รับอนุ มตั ิ จากคณะกรรมการ ควบคุมดูแลให้การดําเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ เป็ นไปตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ทีเกียวข้อง นํา เสนอรายงานการดํา เนิ น งานและผลประกอบการของบริ ษ ทั ฯ ต่ อคณะกรรมการบริ ษ ัท อย่า งสมําเสมอ ซึ งหากคณะกรรมการมี ก ารให้ ข ้อคิ ด เห็ น หรื อ ข้อ เสนอแนะแก่ ฝ่ ายบริ ห าร ประธานคณะผูบ้ ริ หารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่มีหน้าทีนําข้อคิดเห็ นหรื อข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการไปสู่ การปฏิบตั ิ เพือให้บรรลุผลอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เข้าทําสัญญา หรื อ ข้อตกลงต่างๆ และ อนุ มตั ิค่าใช้จ่ายต่างๆ ตามขอบเขตทีกําหนดไว้ในนโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบตั ิของบริ ษทั ฯ เรื อง Signing Authority ทังนี ในกรณี ทีเป็ นการเข้าทํารายการ ระหว่างกันหรื อรายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริ ษทั ฯ หรื อ บริ ษทั ย่อย จะต้อง ปฏิบตั ิตามกฎหมาย และ ระเบียบทีเกียวข้องกับเรื องดังกล่าว ปฏิบตั ิหน้าทีอืนใดตามทีได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

8.3

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษ ัท ได้มี ม ติ แ ต่ ง ตัง นางรั ง สิ นี สุ จริ ตสั ญชัย ดํา รงตําแหน่ ง เลขานุ ก ารบริ ษ ัท ตังแต่วนั ที 27 กุมภาพันธ์ 2552 เพือทําหน้าทีให้คาํ แนะนําด้านกฎหมาย และ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทีคณะกรรมการ จะต้องทราบ และ ปฏิบตั ิหน้าทีในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ประสานงานให้มีการปฏิบตั ิตามมติ คณะกรรมการ รวมทังมีหน้าทีตามทีกําหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และทีแก้ไขเพิมเติม โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลทีสําคัญของเลขานุการบริ ษทั ไว้ในรายละเอียดเกียวกับ เลขานุการบริ ษทั 8.4

ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ (1) ค่ าตอบแทนทีเป็ นตัวเงิน (1.1) ค่าตอบแทนกรรมการ

ตังแต่วนั ที 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2557 ค่าตอบแทนกรรมการรวม 19 ท่าน เป็ นเงิ น รวมทังสิ น จํานวน 27,574,409 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี ได้รับค่าตอบแทน รวม ท่านละ (บาท) (บาท) กลุ่มที 1 - ประธานกรรมการ ได้แก่ นายธนินท์ เจียรวนนท์ 3,600,000 - กรรมการอิสระทีดํารงตําแหน่ งประธานกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ์ 3,600,000 รวม 10,800,000 กลุ่มที 2 - กรรมการอิสระทีดํารงตําแหน่งกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ นายโชติ โภควนิ ช 2,400,000 รวม 2,400,000 กลุ่มที 3 - รองประธานกรรมการ ได้แก่ ดร. อาชว์ เตาลานนท์ และ ศาสตราจารย์พิเศษ อธึก อัศวานันท์ 1,800,000 รวม 3,600,000 กลุ่มที 4 - กรรมการอิสระ ได้แก่ นายฮาราลด์ ลิงค์ และ ศาสตราจารย์พิเศษ เรวัต ฉําเฉลิม 1,200,000 นายฉวี เกิงโหล่ว ( วันที 2 ก.ย. 57 - 31 ธ.ค. 57) 396,667 - กรรมการ ได้แก่ นายศุภชัย เจียรวนนท์ ( 1 ม.ค. 57 - 30 เม.ย. 57 ) 400,000 - นายสุ ภกิต เจียรวนนท์ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์ นายอํารุ ง สรรพสิ ทธิวงศ์ 1,200,000 นายณรงค์ เจียรวนนท์ และ ศาสตราจารย์ ดร. วรภัทร โตธนะเกษม - นายนพปฎล เดชอุดม นายวิลเลียม แฮริ ส และ ดร. กันทิมา กุญชร ณ อยุธยา (25 ก.ค. 57 - 1 ก.ย. 57) 125,914 รวม 10,774,409 รวมทังสิ น 27,574,409

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี นายโชติ โภควนิ ช กรรมการอิ สระ และ กรรมการตรวจสอบของบริ ษ ัทฯ มีการดํารงตําแหน่ งเป็ นกรรมการในบริ ษทั ย่อย จํานวน 2 แห่ ง (ในฐานะตัวแทนของคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริ ษทั ฯ) โดยได้รับค่าตอบแทนกรรมการจากบริ ษทั ย่อยรวมในปี 2557 ดังนี

1) กรรมการของบริ ษทั กรุ งเทพอินเตอร์ เทเลเทค จํากัด (มหาชน) 2) กรรมการของบริ ษทั ทรู มูฟ จํากัด ค่าตอบแทนรวม

ค่าตอบแทน (1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 57) - บาท 600,000 บาท 600,000 บาท

(1.2) ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ตังแต่วนั ที 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2557 ค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หารรวม 15 ท่าน เป็ นเงินทังสิ น จํานวน 218.12 ล้านบาท ประกอบด้วยค่าตอบแทนในรู ปของเงินเดือน ผลตอบแทนการปฏิบตั ิงาน และ ผลประโยชน์อืน ๆ (2) ค่ าตอบแทนอืน (2.1) ค่าตอบแทนอืนของกรรมการ -

ไม่มี -

(2.2) ค่าตอบแทนอืนของผูบ้ ริ หาร (2.2.1) เงินกองทุนสํารองเลียงชีพ บริ ษ ทั ฯ ได้จดั ให้มีก องทุ นสํารองเลี ยงชี พ ให้แก่ ผูบ้ ริ หาร โดยบริ ษ ทั ฯ ได้ส มทบใน อัตราร้อยละ 3 - 7 ของเงินเดือน โดยในปี 2557 บริ ษทั ฯ ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสํารองเลียงชี พสําหรับ ผูบ้ ริ หาร 15 ราย รวมทังสิ น จํานวน 10.95 ล้านบาท (2.2.2) โครงการร่ วมลงทุนระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ปี 2557 - 2560 (“EJIP”) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีโครงการ EJIP เพือเป็ นแรงจูงใจแก่ผบู ้ ริ หารในการปฏิบตั ิงานและ ร่ วมทํางานกับบริ ษทั ฯ ในระยะยาว โดยมีระยะเวลาของโครงการ 4 ปี (นับระยะเวลารวม Slient Period) โดยเริ ม ตังแต่วนั ที 1 มกราคม 2557 สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560 ผูบ้ ริ หารทีสามารถเข้าร่ วมโครงการ EJIP ได้จะต้อง มีอายุงานไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี นับถึงวันทีเริ มจ่ายสะสม โดยบริ ษทั ฯ จะหักเงินเดือนผูบ้ ริ หารทีเข้าร่ วมโครงการ ในอัตราร้อยละ 5 จากฐานเงินเดือน และ บริ ษทั ฯ จะจ่ายเงินสมทบอีกในอัตราร้อยละ 10 จากฐานเงินเดือน ในปี 2557 มีผบู ้ ริ หารเข้าร่ วมโครงการจํานวน 14 ราย บริ ษทั ได้จ่ายเงินสมทบทังสิ น 13.95 ล้านบาท

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

8.5

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บุคลากร จํานวนพนักงานของบริ ษทั ฯ ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 แบ่งแยกตามกลุ่มงานมีดงั นี กลุ่มงาน พนักงานในระดับบริ หาร ปฏิบตั ิการโครงข่าย และ บํารุ งรักษา การขายและการตลาด เทคโนโลยีสารสนเทศ บริ การลูกค้า การเงิน สนับสนุน รวมพนักงาน

จํานวนพนักงาน (คน) 93 1,043 448 90 166 103 510 2,453

ทีมา : บริ ษทั ฯ

ค่ าตอบแทน และสวัสดิการพนักงาน (1) ค่ าตอบแทนทีเป็ นตัวเงิน x เงินเดือน x เงิ น ตอบแทนการปฏิ บ ต ั ิงานประจําปี ในอัตรา 0-4 เท่าของเงิ นเดื อนพนักงาน ขึ นอยู่กบั ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบริ ษทั ฯ x กรณี เ กษี ย ณอายุ พนั ก งานที จะมี อ ายุ ค รบ 60 ปี บริ บู ร ณ์ หรื อ ในกรณี ที บริ ษ ัท ฯ และ พนักงานเห็นพ้องต้องกันอาจให้พนักงานเกษียณอายุก่อนกําหนดได้ โดยพนักงานจะได้รับ ค่าชดเชยการเกษียณอายุตามกฎหมาย ตังแต่วนั ที 1 มกราคม ถึ ง 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้จ่ายค่าตอบให้แก่ แทนพนักงานรวมทังสิ น ประมาณ 2,332.43 ล้านบาท โดยประกอบด้วย ค่าแรง เงิ นเดื อน เงิ นสมทบกองทุ นประกันสังคม เงินสมทบกองทุนสํารองเลียงชีพ และอืน ๆ (2) สวัสดิการ x แผนประกันสุ ขภาพและสวัสดิการพนักงาน - ห้องพยาบาลของบริ ษทั ฯ - การตรวจสุ ขภาพประจําปี - การตรวจร่ างกายพนักงานใหม่ - การประกันสุ ขภาพกลุ่ม - การประกันอุบตั ิเหตุกลุ่ม - การประกันชีวิตกลุ่ม - กองทุนประกันสังคม - กองทุนสํารองเลียงชีพ

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

x

8.6

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

วันหยุดพักผ่ อนประจําปี พนักงานของบริ ษทั ฯ มีสิทธิ หยุดพักผ่อนประจําปี 10 วัน 12 วัน และ 15 วันทํางาน ขึนอยูก่ บั ระดับตําแหน่งและอายุการทํางาน ดังนี - พนักงานระดับผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายหรื อเทียบเท่าขึนไป มีสิทธิ หยุดพักผ่อน ปี ละ 15 วันทํางาน - พนักงานระดับผูจ้ ดั การหรื อเทียบเท่าลงมา มีสิทธิ หยุดพักผ่อนประจําปี ตามอายุงานดังนี ก) พ้นทดลองงาน แต่ไม่ถึง 3 ปี 10 วันทํางาน 12 วันทํางาน ข) อายุงาน 3 ปี แต่ไม่ถึง 5 ปี ค) อายุงานตังแต่ 5 ปี ขึนไป 15 วันทํางาน

การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน

บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญต่อการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน จึ งได้มีการจัดตังหน่ วยงานทีดูแลใน เรื องนี โดยเฉพาะ คื อ ศู นย์ฝึ กอบรมและการพัฒ นาบุ ค ลากร ซึ งมี เ ป้ าหมายหลัก ในการพัฒนาความรู ้ ความสามารถในการเป็ นพนัก งานของบริ ษ ัท ฯ ความรู ้ ค วามสามารถเหล่ า นี เป็ นรากฐานที สํ า คัญของ การพัฒนาบุคลากร สายงาน และเป็ นการเปิ ดโอกาสให้พนักงานเกิดความก้าวหน้าในอาชี พ ศูนย์ฝึกอบรมและ พัฒนามีทางเลือกหลากหลายเพือการเรี ยนรู้ เพือการพัฒนาอย่างต่อเนื อง ช่ วยให้พนักงานสามารถปฏิบตั ิงาน ลุล่วงตามทีได้รับมอบหมาย และเตรี ยมความพร้อมให้พนักงานมุ่งสู่ เป้ าหมายในอาชี พการงานของตน ซึ งการ พัฒนาบุคลากรนีในทีสุ ดก็จะส่ งผลถึงความแข็งแกร่ งของการดําเนินกิจการของบริ ษทั ฯ นันเอง บทบาทอืน ๆ ทีสําคัญของศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนา นอกเหนื อจากการเป็ นผูใ้ ห้การฝึ กอบรมและ พัฒนาพนัก งานแล้ว ศู นย์ฝึกอบรมและพัฒนายังเป็ นผูน้ ํา การเปลี ยนแปลง และเป็ นเพือนร่ วมธุ รกิ จกับ ทุกหน่วยงาน ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาทําหน้าที เป็ นผูน้ าํ การเปลียนแปลง โดยการเป็ นผูอ้ าํ นวยความสะดวกใน การเปลี ยนแปลง ซึ งจะให้ก ารสนับ สนุ น กลยุ ท ธ์ แ ละทิ ศ ทางใหม่ ๆ ของบริ ษ ทั ฯ พร้ อมทังส่ ง เสริ ม ให้ พนักงานทุกคนพร้อมทีจะเผชิญกับความท้าทายทีมีความสลับซับซ้อนมากขึน นอกจากนี ทางบริ ษทั ฯได้เปิ ด ศูนย์ฝึกอบรมแห่ งใหม่ ตังอยู่ ณ อาคารทรู ทาวน์เวอร์ 2 ถนนพัฒนาการ ออกแบบตกแต่งเอืออํานวยให้เกิ ด บรรยากาศแห่ งการเรี ยนรู ้ พร้ อมทังติดตังระบบทีทันสมัยสําหรับแสดงข้อมูลข่าวสารต่างๆของบริ ษทั และ การลงทะเบียนเข้ารับการอบรม อีกทังยังติดตังอุปกรณ์ simulator เพือใช้ในการฝึ กปฏิบตั ิงาน ทังนี เพือให้ พนักงานได้มีทกั ษะอย่างเพียงพอในการทํางาน ในขณะเดียวกัน ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาก็เป็ นเพือนร่ วมธุ รกิจกับทุกหน่วยงาน โดยการร่ วมมือกับ หน่วยงานต่าง ๆ ในการออกแบบและพัฒนาหลักสู ตรการฝึ กอบรมและพัฒนาทีเหมาะสมกับแผนธุ รกิจของ แต่ละหน่วยงาน รวมทังให้การสนับสนุนในเรื องจําเป็ นทุกประการ

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ปั จจุบนั ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาได้จดั ทําระบบการเรี ยนทางไกลผ่านระบบ VDO Conference ไปยังพนักงานในต่างจังหวัด ระบบการเรี ยนด้วยตนเอง ด้วย E-Learning และระบบหนังสื ออิเล็คโทรนิคซึ ง มีชือว่า True-iBook เพืออํานวยความสะดวกและเพิมช่องทางการเรี ยนรู ้และพัฒนาอย่างต่อเนือง หลัก สู ตรทีจัดฝึ กอบรมภายในบริ ษทั ฯ มีประมาณ 300 หลักสู ตรต่ อปี โดยในปี 2557 มีจาํ นวน คน-วันอบรมรวม 31,200 Training Mandays ใช้งบประมาณรวมทังสิ น 44 ล้านบาท โดยจัดให้มีหลักสู ตร การฝึ กอบรมด้านความรู ้ความสามารถหลักให้แก่พนักงานทุกระดับ เช่น วัฒนธรรมองค์กร4Cs การสื อสาร อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล การวางแผนเพื อเพิ มประสิ ท ธิ ภ าพในการทํา งาน การพัฒ นาตนเองสู่ ค วามเป็ น ผูม้ ีประสิ ทธิผลสู ง เป็ นต้น ในปี 2557 บริ ษทั ฯ มุ่งเน้นเรื อง Customer Centric Organization & High Productivity และการพัฒนา ผูน้ าํ ทุกระดับ ตามโครงการ Leader Developing Leader Cascade Program ซึ งมีผเู้ ข้ารับการอบรมตาม โครงการนี มากกว่า 3,500 คน และหลักสู ตรเพือพัฒนาทักษะการบริ หารต่าง ๆ เช่น ทักษะการสื อสารอย่างมี ประสิ ทธิ ผล การแก้ปัญหาและการตัดสิ นใจ การเจรจาต่อรอง การบริ หารโครงการ การบริ หารความเสี ยง การบริ หารการเงิน การบริ หารงานขายและงานบริ การ (Operation Management) เป็ นต้น หลักสู ตรฝึ กอบรม ด้านความรู ้ ความสามารถตามธุ รกิ จหลัก การพัฒนาธุ รกิ จและผลิ ตภัณฑ์ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่ น 4G Technology, FTTx, Digital TV, Broadband Network, NGN Network & Applicationหลักสู ตรความปลอดภัย ในการทํางานสําหรั บช่ างเทคนิ คและวิศวกร อี กทังได้มีการนํา ระบบ Teletech ซึ งเป็ นการเรี ยนการสอน แบบผสมผสานระหว่างการอบรมโดยวิทยากรณ์ ประกอบกับใช้สือ E-Learning เข้ามาพัฒนาหัวหน้างาน พร้ อมทังหลักสู ตรพัฒนาทักษะด้านการขายและการให้บริ การลูกค้าสําหรับพนักงานขาย เจ้าหน้าทีบริ การ ลูกค้าและทีมงานช่ างเทคนิ คต่าง ๆ เช่ น True Product & Services ทักษะการให้บริ การอย่างมื ออาชี พ บุคลิกภาพในงานบริ การ การนําเสนอเชิ งธุ รกิ จ สุ นทรี ยสนทนา และหลักสู ตรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทังทีเป็ นระบบให้บริ การลูกค้าและระบบสนับสนุ นทังหลายในบริ ษทั รวมทังระบบเครื อข่ายสื อสารข้อมูล และการรักษาความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นต้น นอกจากนี ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาของบริ ษทั ฯ ได้ให้ความร่ วมมือกับสถาบันการศึกษาภาครัฐและ เอกชนในการจัดการเรี ยนการสอนด้าน ICT และเทคโนโลยีทีเกียวข้องแก่นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี และโท อาทิ หลักสู ตรวิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาสถาปั ตยกรรมองค์กร ( Enterprise Architecture) ร่ วมกับ มหาวิทยาลัยมหิ ดล หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการค้าปลี ก ร่ วมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) , หลักสู ตรบริ หารธุ รกิ จมหาบัณฑิต สาขาการจัดการสาระและการสร้างคุ ณค่า มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ, หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาการบริ การลูกค้า (Customer Management) ร่ วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฎ สวนดุสิต รวมทังการฝึ กงานแก่นกั ศึกษาทุกปี ซึ งเป็ น Corporate Social Responsibility และ Social Enterprise เพือ เป็ นแบบอย่างทีดีขององค์กรขนาดใหญ่ในการสร้างคุณค่าต่อสังคมและประเทศชาติ

ส่วนที 2

โครงสร ้างการจัดการ

หัวข ้อที 8 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

9.

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การกํากับดูแลกิจการ

9.1 นโยบายการกํากับดูแลกิจการ บริ ษทั ฯ ตระหนักถึ งความสําคัญของการกํากับดูแลกิ จการทีดี จึงได้กาํ หนดให้มี “นโยบายการ กํากับดูแลกิจการทีดี” ของบริ ษทั ฯ ตังแต่ปี 2545 และได้ทาํ การปรับปรุ งนโยบายดังกล่าวเป็ นระยะๆ อย่างต่อเนื อง เพือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ของบริ ษทั ฯ ทีเปลี ยนแปลงไป ตลอดจนเพือให้สอดคล้องกับกฎหมายทีเกียวข้อง หลักการกํากับดูแลกิจการทีดีทีแนะนําโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) ซึ งเทียบเคียงได้ กับมาตรฐานสากล โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยเนือหารายละเอียดของ “นโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดี” ไว้บนเว็บไซต์ ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th 9.2 คณะกรรมการชุ ดย่ อย คณะกรรมการชุ ดย่อยภายใต้คณะกรรมการบริ ษทั มีจาํ นวน 4 คณะ ดังนี 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ 3) คณะกรรมการด้านการเงิน 4) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี 1)

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ฯ มีวาระการดํารงตําแหน่ง 3 ปี 4 เดือน ประกอบด้วยบุคคล ผูท้ รงคุณวุฒิ จํานวน 3 ท่าน โดยมีรายนามดังต่อไปนี รายนาม

การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบประจําปี 2557 จํานวนครังการประชุม 1/ จํานวนครังทีเข้าร่ วมประชุม 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 7 7 2. ดร. โกศล เพ็ชร์สุวรรณ กรรมการตรวจสอบ 7 6 3. นายโชติ โภควนิช 2/ กรรมการตรวจสอบ 7 7 หมายเหตุ :

1/

2/

ส่วนที 2

ตําแหน่ง

ในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม จํานวน 7 ครัง โดยทีเป็ นการประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วย จํานวน 1 ครัง นายโชติ โภควนิช เป็ นผูม้ ีความรู ้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงินของบริ ษทั ฯ โดย มีรายละเอียดเกียวกับคุณวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทํางานตามทีปรากฏในรายงานประจําปี และ แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2557 (“แบบ 56-1”)

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

อํานาจหน้าทีของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทและอํานาจหน้าทีรับผิดชอบ ดังต่อไปนี 1. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริ ษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ทีเหมาะสมและมีประสิ ทธิ ผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจน ให้ความเห็ นชอบในการพิจารณาแต่งตัง โยกย้าย เลิ กจ้าง หัวหน้าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน หรื อ หน่วยงานอืนใดทีรับผิดชอบเกียวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และกฎหมายทีเกียวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ 4. พิจารณา คัดเลื อก เสนอแต่งตังบุ คคลซึ งมีความเป็ นอิสระเพือทําหน้าที เป็ นผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้าร่ วมประชุ มกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการ เข้าร่ วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง 5. พิจารณารายการทีเกียวโยงกันหรื อรายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็ นไปตามกฎหมายและ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เพือให้มนใจว่ ั ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ น ประโยชน์สูงสุ ดต่อบริ ษทั ฯ 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปี ของบริ ษทั ฯ ซึ งรายงานดังกล่าว จะได้ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี ก) ความเห็นเกียวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นทีเชือถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ ข) ความเห็นเกียวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษทั ฯ ค) ความเห็ นเกี ยวกับการปฏิ บตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรั พย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายทีเกียวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ง) ความเห็นเกียวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี จ) ความเห็นเกียวกับรายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ฉ) จํานวนครังของการประชุ มคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่ วมประชุ มของกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่าน ช) ความเห็นหรื อข้อสังเกตโดยรวมทีคณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบตั ิหน้าทีตามกฎบัตร (Charter) ซ) ข้อมูลอืนทีเห็นว่าผูถ้ ือหุ ้นและผูล้ งทุนทัวไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าทีและความรับผิดชอบที ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั 7. ปฏิบตั ิการอืนใดตามทีกฎหมายกําหนด หรื อ คณะกรรมการของบริ ษทั ฯ จะมอบหมาย ทังนี บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th และเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบสําหรับการปฏิบตั ิงาน ประจําปี 2557 ไว้ใน รายงานประจําปี แบบ 56-1 และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

2)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ

คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ทําหน้าทีพิจารณาการกําหนดค่าตอบแทน ของกรรมการและประธานคณะผูบ้ ริ หาร รวมทังพิจารณากลันกรองการสรรหากรรมการ ก่อนนําเสนอต่อทีประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั โดยมีรายนามดังต่อไปนี รายนาม

การประชุมคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ประจําปี 2557 จํานวนครังทีเข้าร่ วมประชุม จํานวนครังการประชุม 1. นายธนิ นท์ เจียรวนนท์ 3 1 2. นายสุ ภกิต เจียรวนนท์ 3 3. นายอํารุ ง สรรพสิ ทธิ วงศ์ 3 3 4. นายโชติ โภควนิช 3 3 1/ 1/ - 1/ 5. นายหลี เจิงเม่า หมายเหตุ :

1/

นายหลี เจิงเม่า ได้รับการแต่งตังเข้าเป็ นกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ โดยมติทีประชุม คณะกรรมการบริ ษทั ในวันที 15 ตุลาคม 2557 และ ก่อนได้รับการแต่งตัง ได้มีการประชุมไปแล้ว จํานวน 3 ครัง

ทังนี บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยกฎบัตรของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th และเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการสําหรับการปฏิบตั ิงานประจําปี 2557 ไว้ในรายงานประจําปี และบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย 3)

คณะกรรมการด้านการเงิน

คณะกรรมการด้านการเงิ น ทําหน้าทีช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการดูแลการจัดการด้านการเงิน โดยมีรายนามดังต่อไปนี รายนาม

1. 2. 3. 4. 5.

ดร. อาชว์ ศ. ดร. วรภัทร นายอํารุ ง นายโชติ นายเกา

หมายเหตุ :

1/

เตาลานนท์ โตธนะเกษม สรรพสิ ทธิ วงศ์ โภควนิช เนียนชู 1/

การประชุมคณะกรรมการด้านการเงิน ประจําปี 2557 จํานวนครังทีเข้าร่ วมประชุม จํานวนครังการประชุม 4 4 4 3 4 3 4 4 1/ 1 1 1/

นายเกา เนียนชู ได้รับการแต่งตังเข้าเป็ นกรรมการด้านการเงิน โดยมติทีประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ในวันที 15 ตุลาคม 2557 และ ก่อนได้รับการแต่งตัง ได้มีการประชุมไปแล้ว จํานวน 3 ครัง

ทังนี บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยกฎบัตรของคณะกรรมการด้านการเงินไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th และเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการด้านการเงิ นสําหรับการปฏิ บตั ิงานประจําปี 2557 ไว้ในรายงานประจําปี และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

4) คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี ทําหน้าทีช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการกําหนดและทบทวน นโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดีของบริ ษทั ฯ ตลอดจนดูแลให้บริ ษทั ฯ มีการกํากับดูแลกิจการทีดีและเหมาะสม กับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ โดยมีรายนามดังต่อไปนี รายนาม 1. ดร. โกศล 2. นายวิทยา

3. ดร. อาชว์

เพ็ชร์สุวรรณ์ เวชชาชีวะ เตาลานนท์

การประชุมคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี ประจําปี 2557 จํานวนครังทีเข้าร่ วมประชุม จํานวนครังการประชุม 4 4

4

4

4

3

ทังนี บริ ษทั ฯ ได้มีการเปิ ดเผยกฎบัตรของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดีไว้บนเว็บไซต์ของ บริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th และเปิ ดเผยรายงานจากคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดีสําหรับการปฏิบตั ิงาน ประจําปี 2557 ไว้ในรายงานประจําปี และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย 9.3 การสรรหาและแต่ งตังกรรมการและผู้บริ หารระดับสู งสุ ด 1)

กรรมการอิสระ กระบวนการสรรหากรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ มีหลักเกณฑ์และวิธีการเช่ นเดียวกับการสรรหา กรรมการ โดยมีรายละเอียดสรุ ปไว้ใน ข้อ 2) อย่างไรก็ตาม บุคคลซึ งจะดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ จะต้องเป็ นผูซ้ ึ งเป็ นอิสระจากผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่หรื อกลุ่มของผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่และผูบ้ ริ หารของนิ ติบุคคลทีเป็ น ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ ตลอดจนเป็ นอิสระจากความสัมพันธ์อืนใดทีจะกระทบต่อการใช้ดุลพินิจอย่างอิสระ และ ต้องมีคุณสมบัติตามทีกําหนดไว้ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดีของบริ ษทั ฯ (ซึ งมีความเข้มงวดมากกว่า ข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนในเรื องสัดส่ วนการถือหุ น้ ในบริ ษทั ฯ) ดังต่อไปนี (1) ถือหุ ้นไม่เกินร้อยละ 0.75 ของจํานวนหุ ้นทีมีสิทธิ ออกเสี ยงทังหมดของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุ มของบริ ษทั ฯ ทังนี ให้นบั รวมการถื อหุ ้นของผูท้ ี เกียวข้องกับกรรมการอิสระรายนันๆ ด้วย (2) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการทีมีส่วนร่ วมในการบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีปรึ กษา ทีได้ เงินเดือนประจํา หรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลําดับเดียวกัน ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อของผูม้ ี อาํ นาจควบคุ มของบริ ษ ทั ฯ เว้นแต่ จะได้พ น้ จากการมี ล ักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันทีได้รับการแต่งตัง

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(3) ไม่ เป็ นบุ ค คลที มี ค วามสั ม พัน ธ์ ทางสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบี ย นตามกฎหมาย ในลักษณะทีเป็ น บิดา มารดา คู่สมรส พีน้อง และบุตร รวมทังคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอืน ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ ผูม้ ีอาํ นาจควบคุม หรื อบุคคลทีจะได้รับการเสนอให้เป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุม ของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย (4) ไม่ มี หรื อเคยมี ค วามสั ม พันธ์ ท างธุ รกิ จกับ บริ ษ ทั ฯ บริ ษ ทั ใหญ่ บริ ษ ทั ย่อย บริ ษ ทั ร่ ว ม ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุ มของบริ ษทั ฯ ในลักษณะทีอาจเป็ นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณ อย่างอิสระของตน รวมทังไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูถ้ ือหุ ้นทีมีนยั หรื อ ผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของผูท้ ีมีความสัมพันธ์ ทางธุ รกิจกับบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของบริ ษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันทีได้รับการแต่งตัง “ความสัมพันธ์ทางธุ รกิจ” ตามวรรคหนึง รวมถึงการทํารายการทางการค้าทีกระทําเป็ นปกติ เพือประกอบกิจการ การเช่าหรื อให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์ รายการเกียวกับสิ นทรัพย์หรื อบริ การ หรื อการให้หรื อ รับความช่วยเหลื อทางการเงิ น ด้วยการรับหรื อให้กูย้ ืม คําประกัน การให้สินทรัพย์เป็ นหลักประกันหนี สิ น รวมถึงพฤติการณ์อืนทํานองเดียวกัน ซึ งเป็ นผลให้บริ ษทั ฯ หรื อคู่สัญญามีภาระหนี ทีต้องชําระต่ออีกฝ่ ายหนึ ง ตังแต่ร้อยละสามของสิ นทรัพย์ทีมีตวั ตนสุ ทธิ ของบริ ษทั ฯ หรื อตังแต่ยีสิ บล้านบาทขึนไป แล้วแต่จาํ นวนใด จะตํากว่า ทังนี การคํานวณภาระหนีดังกล่าวให้เป็ นไปตามวิธีการคํานวณมูลค่าของรายการทีเกียวโยงกันตาม ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุ นว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทํารายการที เกี ยวโยงกัน โดยอนุ โลม แต่ ในการพิจารณาภาระหนีดังกล่าว ให้นบั รวมภาระหนีทีเกิดขึนในระหว่างหนึงปี ก่อนวันทีมีความสัมพันธ์ทาง ธุ รกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ี อาํ นาจควบคุ มของบริ ษทั ฯ และไม่เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นที มี นยั ผูม้ ี อาํ นาจควบคุ ม หรื อหุ ้นส่ วนของสํานักงาน สอบบัญชี ซึ งมีผสู้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุม ของบริ ษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันทีได้รับการแต่งตัง (6) ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึ งรวมถึงการให้บริ การเป็ นทีปรึ กษากฎหมาย หรื อทีปรึ กษาทางการเงิ น ซึ งได้รับค่าบริ การเกิ นกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุ มของบริ ษทั ฯ และ ไม่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นทีมีนยั ผูม้ ีอาํ นาจควบคุม หรื อหุ น้ ส่ วนของผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชีพนันด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่า สองปี ก่อนวันทีได้รับการแต่งตัง (7) ไม่เป็ นกรรมการทีได้รับการแต่งตังขึนเพือเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษทั ฯ ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุ น้ ซึ งเป็ นผูท้ ีเกียวข้องกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

(8) ไม่ประกอบกิ จการที มี สภาพอย่างเดี ยวกันและเป็ นการแข่งขันที มีนัยกับกิ จการของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ ้นส่ วนที มี นัยในห้างหุ ้นส่ วน หรื อเป็ นกรรมการที มี ส่วนร่ วมในการบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีปรึ กษาที รับเงิ นเดื อนประจํา หรื อถื อหุ ้นเกิ นร้ อยละหนึ งของจํานวนหุ ้นที มี สิทธิ ออกเสี ยง ทังหมดของบริ ษทั อืน ซึ งประกอบกิจการทีมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันทีมีนยั กับกิจการของบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย (9) ไม่มีลกั ษณะอื นใดทีทําให้ไม่สามารถให้ความเห็ นอย่างเป็ นอิ สระเกี ยวกับการดําเนิ นงาน ของบริ ษทั ฯ (10) ภายหลังได้รับการแต่งตังให้เป็ นกรรมการอิสระทีมีลกั ษณะเป็ นไปตามข้อ (1) - (9) แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สิ นใจในการดําเนิ นกิจการของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลําดับเดียวกัน ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของบริ ษทั ฯ โดยมี การตัดสิ นใจในรู ปแบบขององค์คณะ (collective decision) ได้ (11) ในกรณี ทีเป็ นบุ คคลที มีหรื อเคยมี ความสัมพันธ์ ทางธุ รกิ จหรื อการให้บริ การทางวิชาชี พ เกินมูลค่าทีกําหนดในข้อ (4) หรื อ (6) ให้บุคคลดังกล่าวได้รับการผ่อนผันข้อห้ามการมีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุ รกิ จหรื อการให้บริ การทางวิชาชี พเกิ นมูลค่าดังกล่ าว หากคณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาตามหลักใน มาตรา 89/7 แห่ งพระราชบัญญัติหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ พ.ศ. 2535 แล้วมี ความเห็ นว่า การแต่งตัง บุคคลดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อการปฏิ บตั ิหน้าทีและการให้ความเห็ นที เป็ นอิสระ และจัดให้มีการเปิ ดเผย ข้อมูลตามที คณะกรรมการกํากับตลาดทุ นกําหนด ในหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ในวาระพิจารณาแต่งตัง กรรมการอิสระ กรรมการอิ สระของบริ ษ ทั ฯ ทุ กท่ าน มี ความเป็ นอิ สระโดยแท้จริ ง ไม่ มี อาํ นาจลงนามผูกพัน บริ ษทั ฯ และเป็ นผูม้ ี คุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุ น และ นโยบายการ กํากับดูแลกิจการทีดีของบริ ษทั ฯ 2)

กรรมการ

บริ ษทั ฯ เปิ ดโอกาสและกําหนดหลักเกณฑ์อย่างชัดเจนในการให้ผูถ้ ื อหุ ้นส่ วนน้อยสามารถ เสนอชือบุคคลเพือเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ นกรรมการเป็ นการล่วงหน้า สําหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี โดยบริ ษทั ฯ ประกาศแจ้งรายละเอียดหลักเกณฑ์ตลอดจนวิธีดาํ เนินการไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th ซึงผูถ้ ือหุ ้นทีมีคุณสมบัติตามทีบริ ษ ทั ฯ กําหนดสามารถส่ งข้อมูลตามแบบฟอร์ ม โดย ส่ งเป็ นจดหมายลงทะเบียนมายังบริ ษทั ฯ ได้ ภายในระยะเวลาทีกําหนด คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการทําหน้าทีพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลทีจะ ได้รับการเสนอชื อเพือเลื อกตังให้ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการหรื อกรรมการอิ สระของบริ ษทั ฯ โดยพิจารณาจาก คุ ณวุฒิ และประสบการณ์ เพื อให้ ได้บุ คคลที มี ความเหมาะสมกับธุ รกิ จของบริ ษ ทั ฯ และเป็ นผูม้ ี คุณสมบัติ ครบถ้วนตามทีกฎหมายกําหนด ไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย และ ไม่มีลกั ษณะขาดความน่ าไว้วางใจตาม ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ แล้วจึ งนําเสนอพร้ อมทังให้ความเห็ นต่ อ คณะกรรมการบริ ษทั เพือพิจารณาอนุมตั ิในกรณี ทีเป็ นการแต่งตังเพือทดแทนตําแหน่งกรรมการเดิม ส่ วนกรณี ที เป็ นการแต่ ง ตังกรรมการเพิ มเติ ม คณะกรรมการบริ ษัท จะเป็ นผู้เสนอข้อ มู ล พร้ อมทังความเห็ นของ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการต่อทีประชุมผูถ้ ือหุ น้ เพือพิจารณาและอนุมตั ิ สําหรับสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ในการแต่งตังกรรมการนัน ทีประชุ มผูถ้ ือหุ ้นเป็ นผูแ้ ต่งตังกรรมการบริ ษทั โดยใช้เกณฑ์เสี ยงข้างมากของผูถ้ ือหุ ้นซึ งมาประชุมและออกเสี ยงลงคะแนน ทังนี ผูถ้ ื อหุ ้นทุกรายมีสิทธิ ใน การออกเสี ยงเลือกตังกรรมการ โดยผูถ้ ือหุ น้ แต่ละคนมีคะแนนเสี ยงเท่ากับหนึ งหุ ้นต่อหนึงเสี ยง และสามารถ เลื อกตังบุ ค คลคนเดี ย วหรื อหลายคนเป็ นกรรมการก็ไ ด้โดยใช้คะแนนเสี ยงทังหมดที ตนมี อยู่ แต่จะแบ่ ง คะแนนเสี ยงให้แก่ผใู ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ทีดี คือ เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อหุ ้นสามารถใช้สิทธิ ในการแต่งตังกรรมการเป็ นรายบุ คคล โดยจะเสนอรายชื อ พร้อมสรุ ปข้อมูลสําคัญของผูท้ ีได้รับการเสนอชือให้ทีประชุมผูถ้ ือหุ ้นพิจารณาลงคะแนนเสี ยงเป็ นรายบุคคล บุคคลซึงได้รับคะแนนเสี ยงสู งสุ ดตามลําดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รับการเลือกตังเป็ นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการ ทีจะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครังนัน ในกรณี ทีบุคคลซึ งได้รับการเลือกตังในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสี ยง เท่ากันเกินจํานวนทีจะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครังนัน ให้ผเู ้ ป็ นประธานในทีประชุมผูถ้ ือหุ น้ เป็ นผูอ้ อกเสี ยงชีขาด 3)

ผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ด คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการทําหน้าทีพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที จะได้รับการเสนอชื อเพือแต่งตังให้ดาํ รงตําแหน่ งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานคณะผูบ้ ริ หาร ซึ งเป็ น ตําแหน่ งผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ดของบริ ษ ทั ฯ โดยพิ จารณาจากคุ ณวุฒิ และประสบการณ์ เพื อให้ได้บุคคลที มี ความเหมาะสมกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ แล้วจึงนําเสนอพร้อมทังให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพือพิจารณาอนุมตั ิ 9.4 การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม บริ ษทั ฯ มีกลไกในการกํากับดูแลการดําเนินงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ดังต่อไปนี - มีการส่ งบุคคลเพือเป็ นตัวแทนของบริ ษทั ฯ ไปเป็ นกรรมการและผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ย่อยและ บริ ษ ัทร่ วมตามสั ดส่ วนการถื อหุ ้น โดยคณะกรรมการบริ ษ ัทฯ มอบหมายให้ป ระธานคณะผูบ้ ริ ห ารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็ นผูพ้ ิจารณาการส่ งตัวแทนของบริ ษทั ฯ เพือการดังกล่าว - กรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม มี หน้า ที กํากับดู แลให้การกําหนด นโยบายทีสําคัญต่อการดําเนินธุ รกิจของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมสอดคล้องกับนโยบายทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ - มีการกํากับดูแลให้บริ ษทั ย่อยปฏิบตั ิตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ในเรื องที ข้อกําหนดดังกล่ าวมี ผลบังคับใช้ครอบคลุ มถึ งบริ ษทั ย่อย ซึ งได้แก่ การจัดทําข้อมูลทางการเงิ น การเข้าทํารายการทีเกียวโยงกัน การได้มาหรื อจําหน่ายไปซึ งสิ นทรัพย์ทีสําคัญ หรื อ การทํารายการสําคัญอืนใด ของบริ ษทั ดังกล่าว 1)

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

- ดําเนินการให้บริ ษทั ย่อยมีระบบการควบคุมภายในทีเหมาะสมและเพียงพอ ตลอดจนมีการจัดทํา ข้อมูลทางการเงินต่างๆ ให้แก่บริ ษทั ฯ เพือให้บริ ษทั ฯ สามารถจัดทํางบการเงินรวมให้เป็ นไปตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินของไทย - มีการจัดทํารายงานสรุ ปผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ย่อย โดยจัดกลุ่มแยกตามประเภทธุ รกิ จ เสนอต่อทีประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจําทุกไตรมาส เพือติดตามผลการดําเนินงานของบริ ษทั ย่อย 2) ข้อตกลงระหว่างบริ ษทั ฯ กับผูถ้ ือหุ น้ อืนในการบริ หารจัดการบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม (shareholders’ agreement) ทีมีผลอย่างมีสาระสําคัญต่อการบริ หารงานหรื อมีอาํ นาจควบคุม หรื อการแบ่งผลตอบแทนนอกเหนื อจาก ผลตอบแทนตามสัดส่ วนการถือหุ น้ ปกติ - ไม่มี 9.5 การดูแลเรืองการใช้ ข้อมูลภายใน คณะกรรมการบริ ษทั ตระหนักถึงความสําคัญของการป้ องกันการนําข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพือประโยชน์ส่วนตนเป็ นอย่างยิง บริ ษทั ฯ มีการกํากับดูแลเรื องการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยกําหนดข้อพึงปฏิบตั ิ เกี ยวกับการใช้ขอ้ มูลภายในเพือการซื อขายหลักทรัพย์ไว้ในคุ ณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทํางานควบคู่ กับการใช้มาตรการตามกฎหมายในการดูแลกรรมการและผูบ้ ริ หารในการนําข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้ เพือประโยชน์ส่วนตนและผูท้ ีเกียวข้อง ป้ องกันมิให้กรรมการและผูบ้ ริ หารทีมีส่วนใกล้ชิดกับข้อมูลของ บริ ษทั ฯ นําข้อมูลภายในทีตนล่วงรู ้มาจากการเป็ นกรรมการและผูบ้ ริ หารไปแสวงหาประโยชน์ใดๆ อันจะเป็ น การฝ่ าฝื นหน้าทีความรับผิดชอบของตนทีมีต่อบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุ น้ จึงกําหนดเป็ นหลักให้ถือปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด ในการทีต้องเก็บรักษาสารสนเทศทีสําคัญทียังไม่ได้เปิ ดเผยไว้เป็ นความลับ โดยจํากัดให้รับรู ้ได้เฉพาะกรรมการ และผูบ้ ริ หารระดับสู งทีเกียวข้องเท่านัน นอกจากนี ในการซื อ ขาย โอน หรื อรับโอนหลักทรัพย์ทีออกโดยบริ ษทั ฯ กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องรายงานต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) ภายใน 3 วันทําการนับแต่วนั ทีเกิดรายการขึน พร้อมทังส่ งสําเนารายงานดังกล่าว จํานวน 1 ชุ ด ให้แก่บริ ษทั ฯ เพือเก็บเป็ นหลักฐานและรายงานต่อทีประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจํา ทังนี เพือให้มนใจว่ ั า กรรมการ และผูบ้ ริ หารสามารถบริ หารและดําเนิ นกิ จการด้วยความซื อสัตย์สุจริ ต โปร่ งใส และสอดคล้องกับนโยบายการ กํากับดูแลกิ จการที ดี ของบริ ษทั ฯ และ ยังมีส่วนช่ วยให้ผูถ้ ื อหุ ้นตลอดจนผูล้ งทุนทัวไปเกิ ดความเชื อมันใน กรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ นอกจากนี ในปี 2558 บริ ษทั ฯ จะจัดให้มีแนวปฏิบตั ิเพิมเติมเกียวกับการดูแลการใช้ขอ้ มูลภายใน ซึ งเป็ นเรื องที เกี ยวข้องกับการห้ า มซื อขายหลัก ทรั พ ย์ของบริ ษ ทั ฯ ก่ อ นการประกาศผลการดํา เนิ น งาน กล่ าวคื อ ห้ามมิ ให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานในหน่ วยงานที เกี ยวข้องกับ ข้อมูลในงบการเงิ นของ บริ ษทั ฯ รวมถึงคู่สมรสและบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ทําการซื อหรื อขายหลักทรัพย์ของ บริ ษทั ฯ ในช่ วงระยะเวลา 1 เดื อน ก่อนวันทีเผยแพร่ งบการเงิ นต่อสาธารณชนผ่านระบบตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และ 24 ชัวโมง ภายหลังจากการเผยแพร่ ขอ้ มูลดังกล่าว ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

9.6 ค่ าตอบแทนทีจ่ ายให้ แก่สํานักงานทีผู้สอบบัญชี สังกัด 1)

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชี ให้แก่ สํานักงานทีผูส้ อบบัญชีสังกัด ประจําปี 2557 รวมจํานวน 28.34 ล้านบาท โดยได้จ่ายในรอบปี บัญชี 2557 จํานวนเงิน 15.15 ล้านบาท และ ทีเหลืออีกจํานวน 13.19 ล้านบาท จะจ่ายในปี ถัดไป ซึงประกอบด้วย - ค่าสอบบัญชีของบริ ษทั ฯ ประจําปี 2557 จํานวน 6.20 ล้านบาท ซึ งได้จ่ายไปในรอบปี 2557 จํานวน 3.99 ล้านบาท และจะจ่ายในปี ถัดไปอีกจํานวน 2.21 ล้านบาท - ค่าสอบบัญชีของบริ ษทั ย่อย ประจําปี 2557 รวมจํานวน 22.14 ล้านบาท ซึ งได้จ่ายไปในรอบปี 2557 จํานวน 11.16 ล้านบาท และจะจ่ายในปี ถัดไปอีกจํานวน 10.98 ล้านบาท 2)

ค่าบริ การอืน (non-audit fee) สํานักงานสอบบัญชี ที ได้รับการแต่ งตังจากบริ ษ ัทฯ ได้ให้บริ การอื นๆ ที นอกเหนื อจากการ ตรวจสอบบัญชี แก่ บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ซึ งได้แก่ การตรวจสอบตามวิธี การที ตกลงร่ วมกัน และการให้ คําปรึ กษาด้านภาษีและอืนๆ ในระหว่างปี 2557 มีค่าตอบแทนเป็ นจํานวนเงิน 1.99 ล้านบาท ในจํานวนนี บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ได้จ่ายชําระแล้วระหว่างปี เป็ นจํานวนเงิน 0.25 ล้านบาท ทีเหลืออีกจํานวน 1.74 ล้านบาท จะจ่าย ในปี ถัดไป 9.7 การปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีดีในเรืองอืนๆ บริ ษ ทั ฯ ดําเนิ นการเกี ยวกับ การกํา กับ ดู แ ลกิ จการที ดี โดยแบ่ งเป็ นสองส่ วน คื อ ในระดับ คณะกรรมการ และ ในระดับบริ หาร โดยในระดับคณะกรรมการนัน ได้มีการจัดตังคณะกรรมการชุ ดย่อยขึน คือ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี (Corporate Governance Committee) ซึ งประกอบด้วย ดร. โกศล เพ็ชร์ สุวรรณ์ นายวิทยา เวชชาชีวะ และ ดร. อาชว์ เตาลานนท์ ส่ วนในระดับบริ หารดําเนินการโดยเจ้าหน้าทีบริ หาร ได้แก่ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร และ เจ้าหน้าทีระดับสู งอืนๆ ในปี 2557 บริ ษทั ฯ มีการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีดี สรุ ปได้ดงั นี หมวดที 1 สิ ทธิของผู้ถือหุ้น 1. การประชุมผูถ้ ือหุน้ 1.1 คณะกรรมการตระหนักและให้ความสําคัญต่อสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้น ตลอดจนการปฏิ บตั ิต่อ ผูถ้ ื อหุ ้นอย่างเท่ าเที ยมกันและเป็ นธรรม จึ งได้ก าํ หนดนโยบายเกี ยวกับผูถ้ ื อหุ ้นไว้เป็ นส่ วนหนึ งในนโยบาย การกํากับดูแลกิจการทีดีของบริ ษทั ฯ โดยคํานึงถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ทุกกลุ่มให้มากทีสุ ดเท่าทีจะทําได้โดยไม่จาํ กัด เฉพาะสิ ทธิ ทีกฎหมายกําหนดไว้ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

1.2 ในปี 2557 บริ ษ ัท ฯ มี ก ารประชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น 2 ครั ง คื อ การประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อ หุ ้ น ประจําปี 2557 เมือวันที 25 เมษายน 2557 และ การประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครังที 1/2557 เมือวันที 25 กรกฎาคม 2557 ซึงการประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ทุกครัง จัดขึนในวัน เวลา และสถานที ทีคํานึ งถึงความสะดวกของผูถ้ ือหุ ้น ทีจะเข้าร่ วมประชุม โดยบริ ษทั ฯ จัดให้มีการประชุมในวันและเวลาทําการ คือ 14.00 น. ณ ทีทําการสํานักงานใหญ่ ของบริ ษทั ฯ ตังอยู่ในกรุ งเทพมหานครซึ งมีการคมนาคมทีสะดวกต่อการเดิ นทาง พร้ อมทังได้จดั ทําแผนที และข้อมูลการเดินทางมายังสถานทีจัดการประชุ ม โดยจัดทําเป็ นเอกสารแนบส่ วนหนึ งในหนังสื อเชิ ญประชุ ม และนําส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ทุกรายทีมีสิทธิเข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุน้ 1.3 ในการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นทุ กครั ง รวมถึ งการประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจําปี 2557 และ การประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ครังที 1/2557 บริ ษทั ฯ ได้แจ้งในหนังสื อเชิญประชุมและเอกสารทีเกียวข้องให้ผถู้ ือหุ ้น ทราบถึงข้อมูล วัน เวลา สถานที วาระการประชุ ม ข้อมูลทังหมดทีเกี ยวข้องกับเรื องทีต้องตัดสิ นใจในทีประชุ ม รวมตลอดถึ งสาเหตุและความเป็ นมาของเรื องทีต้องตัดสิ นใจ โดยระบุถึงข้อเท็จจริ ง เหตุ ผล และวัตถุ ประสงค์ ตลอดจนความเห็ นของคณะกรรมการ ในแต่ละวาระอย่างชัดเจน โดยเน้นรายละเอี ยดให้ผูอ้ ่ านที ไม่ ทราบถึ ง ความเป็ นมาของเรื องนันๆ มาก่ อนสามารถเข้าใจเรื องได้โดยง่ าย นอกจากนี บริ ษทั ฯ ยังได้มีการให้ขอ้ มูลเกี ยวกับ คะแนนเสี ยงของผูถ้ ื อหุ ้นในการลงมติเพืออนุ มตั ิ ในแต่ละวาระของทุกวาระทีเสนอในหนังสื อเชิ ญประชุ ม กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที ใช้ในการประชุ ม ประเภทของหุ ้นและสิ ทธิ การออกเสี ยงลงคะแนน ตลอดจนขันตอน การออกเสี ย งลงมติ โดยจัด ส่ ง หนัง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ให้ แ ก่ ผูถ้ ื อ หุ ้ น ทุ ก รายที มี สิ ท ธิ เ ข้า ร่ ว มประชุ ม เป็ น การล่วงหน้าก่อนวันประชุมเพือให้ผถู ้ ือหุ น้ มีเวลาเพียงพอในการพิจารณาข้อมูล และ ละเว้นการกระทําทีอาจ เป็ นการจํากัดโอกาสของผูถ้ ือหุ น้ ในการศึกษาสารสนเทศของบริ ษทั ฯ ตลอดจนไม่มีนโยบายทีจะกีดกันหรื อ สร้างอุปสรรคในการเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ น้ สามารถติดต่อสื อสารระหว่างกัน 1.4 ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2557 และการประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครังที 1/2557 กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานคณะผูบ้ ริ หาร และประธานคณะกรรมการตรวจสอบได้เข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ น้ 1.5 ในการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นทุกครังทีผ่านมา รวมถึงการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2557 และการประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครังที 1/2557 ทีประชุมผูถ้ ือหุ ้นได้ทาํ การพิจารณาเรื องต่างๆ ตามลําดับระเบียบวาระ ที ได้ก าํ หนดไว้ใ นหนัง สื อ เชิ ญประชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้น ซึ งบริ ษ ทั ฯ ได้นํา ส่ ง ให้แ ก่ ผูถ้ ื อ หุ ้นเป็ นการล่ ว งหน้าโดย ไม่มีการเปลียนแปลงลําดับวาระการประชุม และไม่มีการเพิมวาระอืนๆ ทีไม่ได้ระบุไว้ในหนังสื อนัดประชุม 1.6 ค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษทั ฯ มีรูปแบบเดียว คือ ค่าตอบแทนประจําเป็ นรายเดือน ซึ งกําหนดไว้เป็ นรายตําแหน่ง บริ ษทั ฯ ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนรู ปแบบอืน อาทิ เบียประชุ ม และโบนัสหรื อ บําเหน็จให้แก่กรรมการทังนี บริ ษทั ฯ นําเสนอวาระค่าตอบแทนกรรมการต่อทีประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นเพือ พิจารณาอนุ ม ตั ิ เป็ นประจํา ทุ กปี สํา หรั บปี 2557 คณะกรรมการกําหนดค่ าตอบแทนและสรรหากรรมการ ได้พิ จารณาทบทวนความเหมาะสมของอัต ราค่ า ตอบแทนกรรมการ โดยคํา นึ ง ถึ ง ระดับ ที ปฏิ บ ัติ อ ยู่ใ น อุตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที และความรับผิดชอบของกรรมการ และได้นาํ เสนอความเห็ นต่อ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ทีประชุ มคณะกรรมการบริ ษ ัทว่า ควรเสนอให้ทีประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจําปี 2557 อนุ มตั ิ ค่าตอบแทน กรรมการในอัตราเดิม ตามทีทีประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2556 ได้เคยมีมติอนุ มตั ิไว้ โดยเป็ นอัตราเดิมที มิได้เปลียนแปลงมาตังแต่ปี 2545 1.7 ในการประชุ ม สามัญ ผู้ถื อ หุ ้น ประจํา ปี 2557 คณะกรรมการบริ ษ ัท เห็ น ชอบกับ ข้อ เสนอของคณะกรรมการตรวจสอบ เสนอต่ อที ประชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้ นเพื อพิ จารณาแต่ ง ตังผูส้ อบบัญ ชี แ ละ กําหนดค่าสอบบัญชี ประจําปี ดังเช่นทีบริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิต่อเนื องเป็ นประจําทุกปี และ ในการนี เพือให้ผถู้ ือหุ ้น ได้มีขอ้ มูลพิจารณาความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลไว้ในหนังสื อเชิญประชุ มโดย ให้รายละเอียดเกียวกับชือผูส้ อบบัญชี อายุ บริ ษทั ทีสังกัด คุณวุฒิการศึกษา ประวัติการทํางาน ประวัติการเป็ น ผู้ล งลายมื อ ชื อในงบการเงิ น ของบริ ษัท ฯ ความสั ม พันธ์ ทางครอบครั วระหว่ า งผู ้บ ริ หารของบริ ษัท ฯ ความสัมพันธ์หรื อส่ วนได้เสี ยในลักษณะทีอาจจะมีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าทีอย่างเป็ นอิสระ ตลอดจน ค่าสอบบัญชีประจําปี ทีนําเสนอและปี ก่อนหน้าเพือการเปรี ยบเทียบด้วย 1.8 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยนโยบายการจ่ายเงิ นปั นผลของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ย่อย ไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 นอกจากนี ยังได้นาํ เสนอให้ทีประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นพิจารณาเรื องเงินปั นผลเป็ นประจําทุกปี โดยมีการ ให้ขอ้ มูลและเหตุผลประกอบอย่างชัดเจน สําหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี 2557 บริ ษทั ฯ เสนอให้ ทีประชุมผูถ้ ือหุ น้ อนุมตั ิการงดจ่ายเงินปั นผล และงดการจัดสรรทุนสํารองสําหรับผลการดําเนินงานประจําปี 2556 โดยได้อธิ บายไว้ในหนังสื อเชิญประชุมเพือให้ผถู ้ ือหุ ้นได้ทราบเหตุผลว่า บริ ษทั ฯ ยังมีขาดทุนสะสม ซึ งตาม กฎหมายแล้ว บริ ษทั ฯ ไม่สามารถจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ได้ และไม่ตอ้ งจัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย 1.9 ในวาระพิจารณาแต่งตังกรรมการ บริ ษทั ฯ เสนอชือกรรมการให้ผถู้ ือหุ ้นลงคะแนนทีละคน โดยได้มีการระบุขอ้ มูลทีสําคัญของบุคคลแต่ละท่านทีได้รับการเสนอชือ ไว้ในหนังสื อเชิญประชุมผูถ้ ือหุ ้น ซึ ง ได้แก่ ชื อ-นามสกุล ตําแหน่งปั จจุบนั ในบริ ษทั ฯ ประเภทกรรมการทีจะเสนอแต่งตัง หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผูบ้ ริ หารหรื อผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ของบริ ษทั ฯ วัน เดือน ปี ทีได้รับการแต่งตังเป็ น กรรมการ ระยะเวลาที เคยดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษทั ฯ ข้อมูลการเข้าร่ วมประชุ มคณะกรรมการและ คณะกรรมการชุ ดย่อย (ถ้ามี) ในปี ที ผ่านมา อายุ สัญชาติ ประวัติการศึกษา ประวัติการอบรมในหลักสู ตรที เกียวข้องกับการเป็ นกรรมการ ประสบการณ์การทํางานและจํานวนบริ ษทั ทีดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการหรื อ ผูบ้ ริ หารในกิจการอืนโดยแยกประเภทเป็ นบริ ษทั ทีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย บริ ษทั ที มิ ใ ช่ บริ ษ ัทจดทะเบี ยนในตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย และ บริ ษ ทั ที อาจทําให้เกิ ดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ต่อบริ ษทั ฯ ตลอดจนการถือหลักทรัพย์ทีออกโดยบริ ษทั ฯ 1.10 บริ ษทั ฯ กําหนดวาระการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นไว้เป็ นเรื องๆ อย่างชัดเจน เช่ น ในวาระที เกียวกับกรรมการ บริ ษทั ฯ ได้แยกเรื องพิจารณาเลือกตังกรรมการ และ พิจารณาอนุ มตั ิค่าตอบแทนกรรมการ ออกเป็ นแต่ละวาระ เป็ นต้น

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

1.11 ในกรณี ทีมีการเสนอให้ทีประชุ มผูถ้ ือหุ ้นพิจารณาหลายรายการในวาระเดี ยวกันซึ ง เป็ นเรื องที ไม่มี ผลเกี ยวเนื องกัน ในทางกฎหมาย บริ ษ ทั ฯ จะจัดให้มี การลงมติ สําหรั บแต่ ละรายการ เช่ น วาระพิจารณาเลือกตังกรรมการบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ ้นลงคะแนนเสี ยงเลือกตังกรรมการเป็ นรายบุคคล โดยบริ ษทั ฯ เสนอชือกรรมการให้ผถู้ ือหุน้ ลงคะแนนทีละคน ทังนี เพือเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุน้ มีสิทธิเลือกกรรมการ ทีต้องการได้อย่างแท้จริ ง 1.12 บริ ษทั ฯ อํานวยความสะดวกให้ผถู้ ือหุ ้นทุกกลุ่ม ทังผูถ้ ือหุ ้นทีเป็ นบุคคลธรรมดาและ ผูถ้ ือหุน้ ประเภทสถาบัน ให้ได้ใช้สิทธิ ในการเข้าร่ วมประชุ มและออกเสี ยงอย่างเต็มที โดยไม่มีค่าใช้จ่ายและ ไม่ให้มีวธิ ี การทียุง่ ยาก ละเว้นการกระทําใดๆ ทีเป็ นการจํากัดโอกาสการเข้าประชุ มของผูถ้ ือหุ ้น จัดให้มีจุดบริ การ ตรวจรายชือและจํานวนหุ น้ ของผูถ้ ือหุ น้ แยกตามประเภทของผูถ้ ือหุ น้ ซึ งช่วยให้การลงทะเบียนในวันประชุม ทําได้สะดวกและรวดเร็ วขึน 1.13 ในการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นทุ กครั ง รวมถึ งการประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจําปี 2557 และ การประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครังที 1/2557 บริ ษทั ฯ จัดช่องทางให้ผถู ้ ือหุ ้นส่ งคําถามมายังบริ ษทั ฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุ ม ได้โดยผ่าน E-mail Address : ir_office@truecorp.co.th ล่วงหน้า 7 วันก่อนวันประชุ มผูถ้ ือหุ ้น หรื อ ทางไปรษณี ยล์ งทะเบียน มายัง ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ชัน 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ เลขที 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวางกรุ งเทพมหานคร 10310 ล่วงหน้า 15 วันก่อนวันประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ซึ งบริ ษทั ฯ ได้ ประชาสัมพันธ์ให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ และ แจ้งไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุ มทีจัดส่ งให้แก่ ผูถ้ ือหุน้ ทุกรายทีมีสิทธิเข้าประชุมผูถ้ ือหุน้ 2. การดําเนินการในวันประชุมผูถ้ ือหุน้ 2.1 ประธานทีประชุ มจัดสรรเวลาให้เหมาะสมและส่ งเสริ มให้ผถู ้ ือหุ ้นมีโอกาสในการแสดง ความเห็นและตังคําถามต่อทีประชุมในเรื องทีเกียวข้องกับบริ ษทั ฯ 2.2 บริ ษทั ฯ นําเทคโนโลยีมาใช้กบั การประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ทังการลงทะเบียน การนับคะแนนและ แสดงผล เพือให้การดําเนินการประชุมสามารถกระทําได้อย่างรวดเร็ ว ถูกต้อง และ แม่นยํา 2.3 บริ ษทั ฯ ใช้บตั รลงคะแนนเสี ยงในวาระเพือพิจารณาในทุกกรณี ทีต้องมีการลงคะแนนเสี ยง พร้อมทังจัดให้มีสํานักงานกฎหมายอิสระ เป็ นผูต้ รวจสอบการนับคะแนนเสี ยงเพือความโปร่ งใสโดยได้แจ้งชื อ บุคคลผูท้ าํ หน้าทีดังกล่าวให้ทีประชุ มผูถ้ ือหุ ้นทราบก่อนเริ มเข้าสู่ ระเบียบการประชุ ม และเก็บบัตรลงคะแนนไว้ เป็ นหลักฐานเพือจะได้ตรวจสอบได้ในกรณี มีขอ้ โต้แย้งในภายหลัง 3. การจัดทํารายงานการประชุม และ การเปิ ดเผยมติการประชุมผูถ้ ือหุน้ 3.1 บริ ษ ัทฯ แจ้งมติ ของที ประชุ ม สามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจําปี 2557 และ มติ ของที ประชุ ม วิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครังที 1/2557 พร้อมทังระบุจาํ นวนคะแนนเสี ยง เห็นด้วย ไม่เห็ นด้วย และงดออกเสี ยง ในแต่ละ วาระการประชุมต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ภายในวันเดี ยวกันกับวันประชุ มผูถ้ ือหุ ้น และเปิ ดเผยไว้ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ในวันทําการถัดไป เพือให้ผถู ้ ื อหุ ้นและผูล้ งทุนทัวไปทราบและสามารถตรวจสอบ ผลการลงมติได้อย่างรวดเร็ ว 3.2 รายงานการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั ฯ ได้มีก ารบันทึก รายละเอี ยดในเรื องต่างๆ ดังต่อไปนี ไว้ดว้ ย (1) วิธีการลงคะแนนและนับคะแนนซึ งเลขานุ การทีประชุ มได้ชีแจงให้ผถู ้ ื อหุ ้นทราบ ก่อนเริ มการประชุมตามวาระ (2) คะแนนเสี ยงของผูถ้ ือหุน้ โดยระบุอย่างชัดเจนว่า เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และ งดออกเสี ยง เป็ นจํานวนเสี ยงและสัดส่ วนเท่าใดในแต่ละวาระ (3) รายชื อพร้อมทังตําแหน่ งของกรรมการ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง ผูส้ อบบัญชี ที ปรึ กษากฎหมาย และ ผูต้ รวจสอบการนับคะแนนเสี ยง ที เข้าร่ วมประชุ ม (4) สรุ ปสาระสําคัญของข้อซักถาม ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ของผูถ้ ือหุ ้น รวมทัง คําชี แจงของกรรมการ และผูบ้ ริ หารทีได้ตอบข้อซักถามของผูถ้ ือหุ น้ ในแต่ละวาระ เพือให้ผถู้ ือหุ น้ ทีไม่ได้เข้าประชุมได้รับทราบด้วย 4. ไม่มีการถือหุ น้ ไขว้ในกลุ่มของบริ ษทั ฯ 5. บริ ษทั ฯ มีการกระจายการถือหุ น้ ของผูถ้ ือหุ น้ รายย่อยเป็ นไปตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย กล่าวคือ ณ วันที 18 มีนาคม 2557 ซึ งเป็ นวันปิ ดสมุดทะเบียนผูถ้ ือหุ ้นเพือสิ ทธิ ในการเข้าประชุมสามัญ ผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2557 บริ ษทั ฯ มีสัดส่ วนการถือหุ ้นของผูถ้ ือหุ ้นรายย่อย (free float) ร้อยละ 39.72 สัดส่ วน การถือหุน้ ของนักลงทุนสถาบันร้อยละ 6.98 และสัดส่ วนการถือหุ ้นของคณะกรรมการบริ ษทั รวมผูเ้ กียวข้อง ร้อยละ 0.16 หมวดที 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน 1. หุ ้นของบริ ษทั ฯ มีประเภทเดียว คือ หุ ้นสามัญ ซึ งมีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนทีเท่าเทียมกัน คือ หนึงหุ น้ ต่อหนึงเสี ยง 2. การให้ขอ้ มูลก่อนการประชุมผูถ้ ือหุ น้ 2.1 เมือทีประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้มีมติอนุ มตั ิให้จดั การประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2557 บริ ษทั ฯ ได้มีการแจ้งมติทีสําคัญของคณะกรรมการเกียวกับกําหนดการประชุ มพร้อมระเบียบ วาระการประชุ ม ตลอดจนความเห็ น ของคณะกรรมการ ต่ อตลาดหลัก ทรั พ ย์แห่ ง ประเทศไทย ภายใน วันเดียวกันกับวันประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ฯ และเผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ในวันทําการถัดไป ซึงเป็ นการเปิ ดเผยข้อมูลล่วงหน้าก่อนวันประชุมผูถ้ ือหุ น้ 56 วัน 2.2 บริ ษทั ฯ จัดทําหนังสื อเชิ ญประชุ มพร้ อมเอกสารที เกี ยวข้องเป็ นภาษาไทยสําหรับ ผูถ้ ือหุ ้นสัญชาติไทย และ ภาษาอังกฤษสําหรับผูถ้ ื อหุ ้นต่างด้าว และได้นาํ ส่ งให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นทุกรายพร้อมกัน เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุ มทุกครัง สําหรับการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2557 บริ ษทั ฯ ได้นาํ ส่ ง หนังสื อเชิญประชุมพร้อมเอกสารทีเกียวข้องให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมเป็ นเวลา 23 วัน ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

2.3 บริ ษ ัท ฯ เผยแพร่ ห นัง สื อ เชิ ญ ประชุ ม และเอกสารที เกี ยวข้อ งทังภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ พร้ อมกัน เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุ มทุกครั ง โดยในการประชุ ม สามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2557 บริ ษทั ฯ เผยแพร่ หนังสื อเชิ ญประชุ มและเอกสารทีเกี ยวข้องบนเว็บไซต์ของ บริ ษทั ฯ เป็ นการล่วงหน้าก่อนวันประชุ มเป็ นเวลา 34 วัน เพือเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ ้นได้มีเวลาศึกษาข้อมูล ประกอบการประชุ มล่วงหน้าอย่างเพียงพอก่อนได้รับข้อมูลในรู ปแบบเอกสารจากบริ ษทั ฯ และได้ประชาสัมพันธ์ ให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบ โดยแจ้งสารสนเทศผ่านสื ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ 2.4 ในการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ทุกครัง ก่อนเริ มเข้าสู่ ระเบี ยบวาระการประชุ ม เลขานุ การที ประชุมได้แจ้งให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ทีใช้ในการประชุ ม ประเภทของหุ ้นและสิ ทธิ การออกเสี ยง ลงคะแนน ขันตอนการออกเสี ยงลงมติ ตลอดจนวิธีการนับและแสดงผลคะแนน 3. การคุม้ ครองสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ ส่ วนน้อย 3.1 บริ ษ ัท ฯ อํา นวยความสะดวกให้ แ ก่ ผูถ้ ื อ หุ ้ น ที ไม่ ส ามารถเข้า ประชุ ม ด้ว ยตนเอง สามารถใช้สิทธิ ออกเสี ยงโดยมอบฉันทะให้ผอู้ ืนมาประชุ มและออกเสี ยงลงมติ แทน โดยไม่มีการกําหนด เงือนไขใดๆ ซึ งทําให้ยากต่อการมอบฉันทะ และเปิ ดโอกาสให้ส่งหนังสื อมอบฉันทะมาให้ฝ่ายเลขานุ การบริ ษทั และหลักทรัพย์ตรวจสอบล่วงหน้า เพือจะได้ไม่เสี ยเวลาตรวจสอบในวันประชุม 3.2 บริ ษ ทั ฯ เปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อหุ ้นใช้หนัง สื อมอบฉัน ทะรู ปแบบที ผูถ้ ื อหุ ้น สามารถ กําหนดทิศทางการลงคะแนนเสี ยงได้ โดยจัดส่ งหนังสื อมอบฉันทะแนบไปพร้อมกับหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ือหุ ้น และได้เสนอชื อกรรมการอิสระ 2 ท่าน พร้ อมทังข้อมูลเกี ยวกับกรรมการอิ สระดังกล่ าว เป็ นทางเลื อกใน การมอบฉันทะของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ฯ ได้แจ้งให้ผถู้ ือหุน้ ทราบถึงเอกสารหรื อหลักฐานทีต้องนํามาแสดงตนในการ เข้าร่ วมประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ตลอดจนคําแนะนําและขันตอนในการมอบฉันทะอย่างชัดเจน ไว้ในหนังสื อเชิ ญ ประชุมผูถ้ ือหุน้ ทุกครัง 3.3 ในวาระการเลือกตังกรรมการในการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น บริ ษทั ฯ จะเสนอชื อกรรมการ ให้ผถู ้ ื อหุ ้นพิจารณาทีละคน ซึ งเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ื อหุ ้นได้ใช้สิทธิ ลงคะแนนเสี ยงเลื อกตังกรรมการ เป็ นรายบุคคล 3.4 บริ ษัทฯ ให้ ความสํ าคัญต่ อการคุ ้ มครองสิ ทธิ ของผู ้ถื อหุ ้ นส่ วนน้ อยเป็ นอย่ า งยิ ง แนวปฏิบตั ิหนึ งทีบริ ษทั ฯ ดําเนิ นการมาโดยตลอด คือ การขอให้ผถู้ ือหุ ้น ทีเป็ นผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ละเว้น การเพิมวาระการประชุ มทีไม่ได้แจ้งเป็ นการล่วงหน้าในทุกกรณี ถ้าหากมีวาระเพิมเติมทีจําเป็ นก็จะขอให้ทาํ การ จัดการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นครั งใหม่เพือวาระดังกล่าว เพือให้ผูถ้ ื อหุ ้นอื นๆ สามารถมีเวลาเพียงพอในการศึกษา ข้อมูลก่อนตัดสิ นใจ

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

3.5 บริ ษทั ฯ เปิ ดโอกาสและกําหนดหลักเกณฑ์อย่างชัดเจนในการให้ผถู ้ ื อหุ ้นส่ วนน้อย สามารถเสนอเรื องเพือบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมและเสนอชือบุคคลเพือเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ น กรรมการเป็ นการล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 3 เดือนก่อนวันประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ซึ งได้กระทําต่อเนื องเป็ นประจํา ทุกปี มาจนถึ งปั จจุบนั โดยผูถ้ ื อหุ ้นสามารถส่ งข้อมูลตามหลักเกณฑ์และแบบฟอร์ มทีบริ ษทั ฯ กําหนดและ เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ สําหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี 2557 บริ ษทั ฯ กําหนดให้ผถู ้ ือหุ ้นเสนอเรื อง และชือบุคคลเป็ นการล่วงหน้า โดยส่ งเป็ นจดหมายลงทะเบียนมายังบริ ษทั ฯ ได้ ตังแต่วนั ที 17 ตุลาคม 2556 จนถึงวันที 31 ธันวาคม 2556 โดยบริ ษทั ฯ ได้เผยแพร่ สารสนเทศดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ และได้ ประชาสัมพันธ์ให้ผถู ้ ือหุ ้นทราบโดยแจ้งสารสนเทศผ่านสื ออิเล็กทรอนิ กส์ ของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ซึ งในการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ดังกล่าว ไม่มีผถู ้ ือหุ น้ เสนอเรื องเพือบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุมและชื อบุคคลเพือ เข้ารับการพิจารณาคัดเลือกเป็ นกรรมการ 4. การป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน บริ ษทั ฯ มีการกํากับดูแลเรื องการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยกําหนดไว้ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดี และ คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทํางาน ควบคู่กบั การใช้มาตรการตามกฎหมายในการดูแลผูบ้ ริ หารใน การนําข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้เพือประโยชน์ส่วนตนและผูท้ ีเกียวข้อง กําหนดเป็ นหลักให้ถือปฏิบตั ิ อย่างเคร่ งครัดในการทีต้องเก็บรักษาสารสนเทศทีสําคัญทียังไม่ได้เปิ ดเผยไว้เป็ นความลับ โดยจํากัดให้รับรู้ ได้เฉพาะกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งที เกี ยวข้องเท่ านัน นอกจากนี ในการซื อ ขาย โอน หรื อรั บโอน หลักทรัพย์ทีออกโดยบริ ษทั ฯ กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องแจ้งต่อ สํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 3 วันทําการนับแต่ วันทีเกิดรายการขึน พร้อมทังส่ งสําเนารายงานดังกล่าว จํานวน 1 ชุด ให้แก่บริ ษทั ฯ เพือเก็บเป็ นหลักฐานและ รายงานต่ อที ประชุ มคณะกรรมการบริ ษ ทั เป็ นประจํา โดยในปี 2557 ไม่ ปรากฏว่ามี กรณี ทีกรรมการหรื อ ผูบ้ ริ ห ารของบริ ษ ัท ฯ ใช้ข ้อ มู ล ภายในเพื อประโยชน์ ใ นการซื อขายหลัก ทรั พ ย์ที ออกโดยบริ ษ ัท ฯ และ การไม่ปฏิบตั ิตามหลักปฏิบตั ิดงั กล่าว ทังนี บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลเกี ยวกับจํานวนหุ ้น ของบริ ษทั ฯ ทีกรรมการและผูบ้ ริ หาร แต่ละท่านถืออยูซ่ ึ งแยกรายการจํานวนหุ ้นออกเป็ นการถือโดยตนเองและโดยคู่สมรส โดยแสดงยอดยกมา ณ สิ นปี 2556 จํานวนทีได้มาและจําหน่ ายไปในระหว่างปี 2557 และ ยอดคงเหลือ ณ สิ นปี 2557 ไว้ในแบบ 56-1 และรายงานประจําปี 2557 ด้วย 5. การมีส่วนได้เสี ยของกรรมการ คณะกรรมการได้มีการกําหนด “หลักเกณฑ์และวิธีการในการรายงานการมีส่วนได้เสี ยของ กรรมการและผูบ้ ริ หาร” อย่างเป็ นทางการ ซึ งกรรมการและผูบ้ ริ หารทุกท่านได้ดาํ เนิ นการอย่างถูกต้องตาม หลักเกณฑ์และวิธีการทีคณะกรรมการบริ ษทั กําหนด ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี ในการประชุ มคณะกรรมการ กรรมการรายใดทีมีส่วนได้เสี ยอย่างมีนยั สําคัญทีอาจ ทําให้กรรมการรายดังกล่าวไม่สามารถให้ความเห็นได้อย่างอิสระ กรรมการรายนันจะงดเว้นจากการมีส่วนร่ วม ในการพิจารณาในวาระนัน และบันทึกไว้ในรายงานการประชุมคณะกรรมการ 6. ตลอดระยะเวลาที ผ่า นมา รวมถึ ง ในปี 2557 บริ ษ ัท ฯ ไม่ มี ก ารทํา รายการที เป็ นการให้ ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริ ษทั ทีไม่ใช่บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ 7. บริ ษทั ฯ มีมาตรการและขันตอนในการอนุ มตั ิการทํารายการระหว่างกันตามทีกฎหมายกําหนด และเป็ นไปตามมาตรฐานทีกําหนดไว้ตามข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย โดยมี การประกาศใช้ “ระเบียบในการเข้าทํารายการระหว่างกัน” ซึ งเป็ นระเบียบทีได้รับ การอนุ ม ตั ิ โดยคณะกรรมการบริ ษ ทั สําหรั บรายการที เกี ยวโยงกันที ต้องขออนุ ม ัติจากที ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ก่อนการเข้าทํารายการ บริ ษทั ฯ จะเปิ ดเผยข้อมูลเกียวกับรายการดังกล่าวไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุ ม อาทิ ชื อและ ความสัมพันธ์ของบุคคลทีเกี ยวโยงกัน ลักษณะของรายการ นโยบายการกําหนดราคาและมูลค่าของรายการ เหตุผลของการเข้าทํารายการ รวมทังความเห็ นของคณะกรรมการและทีปรึ กษาทางการเงิ นอิสระเกี ยวกับ รายการดังกล่าว เป็ นต้น และนําส่ งหนังสื อเชิ ญประชุ มภายในระยะเวลาทีกําหนด ตลอดจนการดําเนินการอืนๆ ในส่ วนทีเกียวข้องให้ถูกต้องและครบถ้วนตามข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย ทังนี ตลอดระยะเวลาที ผ่านมาจนถึ งปั จจุ บนั บริ ษทั ฯ ปฏิ บตั ิ ตามกฎหมาย ข้อกําหนด ตลอดจนระเบียบในเรื องการทํารายการระหว่างกันอย่างเคร่ งครัด บริ ษทั ฯ ไม่เคยมีการทํารายการทีเกียวโยงกัน โดยฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและหลักเกณฑ์การทํารายการระหว่างกันตลอดจนข้อกําหนดทีเกียวข้อง ในปี 2557 บริ ษ ทั ฯ ไม่ มี การทํารายการที เกี ยวโยงกันประเภทที ต้องขออนุ ม ตั ิ จากที ประชุ ม ผูถ้ ือหุน้ ก่อนการเข้าทํารายการ สําหรับรายการระหว่างกันประเภทอืนๆ บริ ษทั ฯ ได้ดาํ เนินการด้วยความยุติธรรม โดยมีราคา และเงือนไขเป็ นไปตามปกติธุรกิจทางการค้า (Fair and at arms’ length) ทังนี โครงสร้างการถื อหุ ้นภายในกลุ่มบริ ษทั ฯ ไม่มีบุคคลทีเกี ยวโยงกันของบริ ษทั ฯ ถือหุ ้นใน บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมใด ในสัดส่ วนเกิ นร้ อยละ 10 ของทุนทีออกและเรี ยกชําระแล้วทังหมดของบริ ษทั ย่อย หรื อบริ ษทั ร่ วมนัน บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการระหว่างกันทุกประเภททีเกิดขึนในระหว่างปี 2557 ไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ภายใต้หวั ข้อ “รายการระหว่างกัน” 8. บริ ษทั ฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย และข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทยที เกี ยวกับการเข้าทํารายการได้มาหรื อจําหน่ ายไปซึ งสิ นทรัพย์อย่างเคร่ งครัด ในกรณี ทีเป็ น การเข้าทํารายการได้มาหรื อจําหน่ ายไปซึ งสิ นทรัพย์ทีสําคัญที ได้รับอนุ มตั ิจากที ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น บริ ษทั ฯ จะ เปิ ดเผยรายละเอียดของรายการไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ประจําปี นันๆ ด้วย ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตลอดระยะเวลาทีผ่านมาจนถึ งปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ไม่เคยมีการเข้าทํารายการได้มาหรื อจําหน่ าย ไปซึ งสิ นทรัพย์ทีเป็ นการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกําหนดทีเกียวข้อง ทังนี ในปี 2557 บริ ษทั ฯ ไม่มีการเข้าทํารายการได้มาและจําหน่ ายไปซึ งสิ นทรั พย์ทีเข้าข่ายที ต้องปฏิบตั ิตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หมวดที 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้ เสี ย 1. การกําหนดนโยบายการปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย และ การปฏิบตั ิตามนโยบาย 1.1 คณะกรรมการบริ ษทั ดู แลสิ ทธิ ตามทีกฎหมายกําหนดของผูม้ ี ส่วนได้เสี ยกลุ่ มต่างๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน์ร่วมกันอย่างเหมาะสม เพือให้ Stakeholders มันใจว่าสิ ทธิ ดงั กล่าวได้รับ การคุ ้มครองและปฏิ บ ตั ิ ด้วยดี ทังนี บริ ษ ทั ฯ ได้จดั ทํา “คุ ณธรรมและข้อพึ งปฏิ บตั ิ ในการทํางาน” ซึ งได้ กําหนดข้อพึงปฏิบตั ิของพนักงานต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยกลุ่มต่างๆ ได้แก่ พนักงาน - มีสิทธิ ส่วนบุคคล และมีสิทธิ ทีจะได้รับการคุม้ ครองไม่ให้ใครละเมิดสิ ทธิ ส่วนบุคคล - สิ ทธิ ในการได้รับการปฏิบตั ิ และได้รับโอกาสเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ต่างๆ เกียวกับการจ้างงานทีเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน เช่น การอนุ ญาตให้ลางาน สิ ทธิประโยชน์ โอกาสในการเลือนขัน การโอนย้าย การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ลูกค้า - มีสิทธิ ได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ทีจะได้รับการบริ การจากพนักงานอย่างเต็มความรู ้ ความสามารถ - สิ ทธิ ทีจะได้รับสิ นค้าทีมีคุณภาพและมีประสิ ทธิผล - สิ ทธิทีจะได้รับการปกป้ องรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับ ผูจ้ ดั หาสิ นค้าและบริ การ และตัวแทนอืนๆ (คู่คา้ ) - สิ ทธิ ทีจะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน - สิ ทธิทีจะได้รับการปกป้ องรักษาข้อมูลอันเป็ นความลับ - สิ ทธิทีจะได้รับการปฏิบตั ิดว้ ยความซือตรง และเชือถือได้ - สิ ทธิทีจะได้รับทราบกฎหมาย ข้อบังคับ และนโยบายทีเกียวข้อง - สิ ทธิ ทีจะได้รับการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

คู่แข่ง - สิ ทธิทีจะได้รับการเปรี ยบเทียบสิ นค้าและบริ การอย่างเป็ นธรรมและตามความเป็ นจริ ง โดยไม่บิดเบือนข้อเท็จจริ ง ไม่ใส่ ร้ายคู่แข่งตลอดจนสิ นค้าและบริ การของคู่แข่ง - ไม่ร่วมทําจารกรรม ก่อวินาศกรรม หรื อติดสิ นบน คู่แข่งทางการค้า ทังคู่แข่งในปั จจุบนั หรื อผูท้ ีอาจจะเป็ นคู่แข่งในอนาคต - สิ ทธิ ทีจะได้รับการปฏิ บตั ิอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน ไม่ปฏิ บตั ิต่อคู่แข่งรายใด เป็ นพิเศษเหนื อคู่แข่งรายอืน ไม่ว่าในด้านคุ ณภาพ การทดสอบ การติดตัง ตลอดจน การบํารุ งรักษาในการให้บริ การสื อส่ งสัญญาณ เจ้าหนี - สิ ทธิ ทีจะได้รับการปฏิบตั ิตามเงือนไขในสัญญาภายใต้หลักเกณฑ์และกฎหมาย ทีกําหนด - สิ ทธิทีจะได้รับข้อมูลทางการเงินทีถูกต้องครบถ้วน - สิ ทธิ ทีจะได้รับการชําระหนี ตรงตามเวลา และได้รับการดูแลคุณภาพของ น หลักทรัพย์คาประกั ํ ผูล้ งทุน - สิ ทธิ ทีจะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรม และเท่าเทียมกัน - สิ ทธิ ทีจะได้รับการปฏิบตั ิอย่างมุ่งมันทีจะดําเนินธุ รกิจด้วยความรู ้และทักษะ การบริ หารจัดการอย่างสุ ดความสามารถด้วยความซื อสัตย์สุจริ ต - สิ ทธิ ทีจะได้รับการปกป้ องไม่ให้เกิดการแสวงหาผลประโยชน์ โดยการใช้ขอ้ มูลใดๆ ขององค์กรซึ งยังไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณะ หน่วยงานของรัฐ - สิ ทธิ ในการกํากับ ดูแล และลงโทษ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และมาตรฐานการปฏิบตั ิ ของหน่วยงานของรัฐ 1.2 บริ ษ ัทฯ ให้ ความสําคัญเกี ยวกับการดู แลเรื องความปลอดภัย และสุ ขอนามัย โดยได้ ประกาศใช้ “นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน” และ “นโยบายการส่ งเสริ ม สุ ขภาพพนักงานของกลุ่มบริ ษทั ทรู ” จัดให้มีการบริ หารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน รวมทังการส่ งเสริ มสุ ขภาพแก่พนักงาน ดังนี 1) จัดทําคู่มือ และ ขันตอนการปฏิ บตั ิงานด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานในระบบ เอกสารระบบคุณภาพของบริ ษทั ฯ เช่น การตรวจสอบความปลอดภัยฯ ความปลอดภัยในการทํางานบนเสาสู ง การทํางานกับไฟฟ้ า การทํางานในทีอับอากาศบ่อพักเคเบิ ลใต้ดิน และการซ้อมอพยพกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น เป็ นต้น ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 18


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

2) จัดทําคู่มือความปลอดภัยให้กบั พนักงานทีทํางานในสํานักงาน และ พนักงานช่าง เทคนิค โดยจัดอยูใ่ นรู ป e-book เพือให้พนักงานทุกคนสามารถเข้ามาศึกษา ทําความเข้าใจ และนําไปปฏิบตั ิ 3) กําหนดกฎระเบียบ คําสัง ว่าด้วยเรื องความปลอดภัยในการทํางานให้กบั พนักงาน และผูร้ ับเหมาทีรับงานจากบริ ษทั ฯ 4) มีการจัดทําแผนป้ องกัน และ แผนอพยพกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นของบริ ษทั ฯ สําหรับ แต่ละสถานประกอบการของบริ ษทั ฯ จัดทําสมุดและภาพวิดีโอคําแนะนําวิธีปฏิบตั ิตนกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นต่างๆ ให้กบั พนักงาน 5) จัด ให้มี ก ารอบรมหลัก สู ตรความปลอดภัย ต่ า งๆ เช่ น การทํา งานบนเสาสู ง การทํางานในบ่อพักเคเบิลใต้ดิน และการปฐมพยาบาลการช่วยเหลือชี วิตขันพืนฐาน ให้กบั พนักงาน และ ผูร้ ับเหมางานของบริ ษทั ฯ 6) รณรงค์ ส นั บ สนุ น ส่ ง เสริ มสุ ข อนามัย ให้ ก ับ พนัก งานทังในกรุ งเทพฯ และ ต่างจังหวัดอย่างหลากหลาย สนับสนุ นผลักดันชมรมกี ฬาต่างๆ ของบริ ษทั ฯ ให้จดั กิจกรรมเพือให้พนักงาน ได้ออกกําลังกายมากขึน รวมทังการดูแลสภาพจิตใจ โดยการส่ งเสริ มให้พนักงานสามารถไปศึกษา ปฏิ บตั ิ ดูแลจิตใจโดยไม่นบั เป็ นวันลา จํานวน 5 วันต่อปี 7) ติ ด ตาม ดู แ ล สุ่ ม ตรวจวัด คุ ณ ภาพอากาศในสํ า นัก งานที มี พ นัก งานทํา งานอยู่ เป็ นจํานวนมาก ได้แก่ สํ านักงานใหญ่ อาคารสํานักงานที มี กลุ่ มพนัก งานรั บสายโทรศัพ ท์ท าํ งาน อาคาร สํานักงานชุมสายโทรศัพท์หลัก (พารามิเตอร์ทีตรวจวัด ได้แก่ คาร์ บอนไดออกไซด์ คาร์ บอนมอนอกไซด์ รา ยีสต์ โมลด์ แบคทีเรี ยฟอร์ มาดีไฮด์ อนุภาคฝุ่ น อุณหภูมิ ความชืน เป็ นต้น) 8) ในช่ วงทีมีการระบาดของโรคระบบทางเดินหายใจ บริ ษทั ฯ ได้ดาํ เนินการอบพ่น ฆ่าเชือโรคในสถานประกอบการ เพือป้ องกันมิให้สถานทีทํางานเป็ นทีแพร่ เชื อโรค และจัดหาวัคซี นป้ องกัน โรคไข้หวัดใหญ่ในราคาพิเศษสําหรับพนักงาน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าบริ ษทั ฯ จะมีการบริ หารจัดการด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานแล้วก็ตาม ในบางกรณี อุบตั ิเหตุก็ยงั คงเกิ ดขึนได้จากการปฏิบตั ิงาน โดย มีสถิติของพนักงานทีประสบอุบตั ิเหตุจากการทํางานในปี พ.ศ. 2556 และ 2557 เป็ นดังนี

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 19


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ปี

จํานวนพนักงาน ประสบอุบตั ิเหตุ (คน)

จํานวนวันหยุด พักรักษา (วัน)

IFR

ISR

2556 2557

10 7

87 41

1.897 1.372

16.506 8.036

หมายเหตุ: IFR : Injury Frequency Rate = ISR : Injury Severity Rate

=

จํานวนพนักงานประสบอุบตั ิเหตุ x 1,000,000 ชม. จํานวนพนักงานทังหมด x จํานวนชัวโมงการทํางาน(ทังปี ) จํานวนวันหยุดพักรักษา x 1,000,000 ชม. จํานวนพนักงานทังหมด x จํานวนชัวโมงการทํางาน(ทังปี )

จํานวนพนักงานทังหมด ในปี พ.ศ. 2556 และ 2557 เท่ากับ 2,534 คน และ 2,453 คน ตามลําดับ

1.3 บริ ษทั ฯ มีนโยบายค่าตอบแทนพนักงานทีสอดคล้องกับผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ทังระยะสันและระยะยาว โดยมีการกําหนด Balanced Scorecard (BSC) เพือเป็ นเครื องมือด้านการจัดการที ช่วยในการนํากลยุทธ์ขององค์กรไปสู่ การปฏิบตั ิ และกําหนดตัวชี วัด (Key Performance Indicators : KPIs) เพือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของพนักงานและประเมินผลการปฏิบตั ิงาน 1.4 บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยถึ งแนวปฏิ บตั ิเกี ยวกับค่าตอบแทนและสวัสดิ การของพนักงาน โดยมีการระบุค่าตอบแทนและสวัสดิ การไว้อย่างละเอียด ไว้ในหัวข้อ “บุคลากร” ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 1.5 บริ ษทั ฯ จัดให้มีกองทุนสํารองเลียงชีพสําหรับพนักงาน 1.6 บริ ษทั ฯ มุ่งเน้นทีจะพัฒนาและปรับปรุ งระบบการบริ หารและการพัฒนาทรัพยากร บุคคลให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีและเป็ นไปตามมาตรฐานสากล เพือทีจะเสริ มสร้ างและ พัฒนาให้พ นัก งาน เป็ นทังคนดี แ ละคนเก่ ง ตลอดจนมี ส่ ว นร่ วมในการพัฒนาและช่ ว ยเหลื อ สังคมโดย ส่ วนรวม บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มให้มีการเรี ยนรู ้ทงภายในและภายนอกองค์ ั กรเพือให้พนักงานได้มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื อง มีการจัดทําระบบการเรี ยนทางไกลไปยังพนักงานในต่างจังหวัด บริ ษทั ฯ จัดตังศูนย์ฝึกอบรมและ การพัฒนาบุ คลากร เพือออกแบบและพัฒนาหลักสู ตรการฝึ กอบรมที เหมาะสม หลัก สู ตรที จัดฝึ กอบรม ภายในบริ ษทั ฯ มีประมาณ 300 หลักสู ตรต่อปี โดยในปี 2557 มีจาํ นวนคน-วันอบรมรวม 31,200 Training Mandays ใช้งบประมาณทังสิ นรวมจํานวน 44 ล้านบาท ทังนี บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการฝึ กอบรมและ พัฒนาพนักงานไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ในหัวข้อ “บุคลากร” 1.7 บริ ษ ัท ฯ มี น โยบายและการปฏิ บ ัติ เ กี ยวกับ การคัด เลื อ กคู่ ค ้า อย่า งเป็ นธรรมและ รับผิดชอบต่อคู่คา้ กล่าวคือ บริ ษทั ฯ มีกระบวนการสังซื อสิ นค้าและบริ การระหว่างบริ ษทั กับผูข้ ายสิ นค้าและ บริ การ โดยใช้ระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ทีสะดวกในการตรวจสอบในด้านต่างๆ อาทิ งบประมาณ การตรวจสอบ อํานาจอนุมตั ิ และการตรวจสอบข้อมูลอืนๆ ทีเกียวข้องกับกระบวนการสังซื อ ด้วยการใช้อินเทอร์ เน็ตเข้ามา ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 20


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ช่วยในกระบวนการสังซื อสิ นค้าและบริ การเพือให้ผขู ้ อซื อสิ นค้าสามารถเลือกซื อสิ นค้าและบริ การเองได้จาก ออนไลน์แค็ตตาล็อก (Online Catalog) ในลักษณะของ self-service และสามารถระบุความต้องการสังซื อได้ ด้วยตนเอง (Online Purchasing) โดยบริ ษทั ฯ มีกระบวนการคัดเลือกผูข้ ายสิ นค้าและบริ การอย่างเท่าเทียมกัน ด้วยการเปรี ยบเที ยบราคาที เหมาะสมตามนโยบายของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่ มบริ ษทั ฯ ทังนี โดยมี มาตรการ กํากับดู แลทีดี เพือให้เกิ ดความโปร่ งใสเป็ นธรรม และประโยชน์ทีเท่าเที ยมกันทุกฝ่ าย ตลอดจนมี ระบบที ตรวจสอบได้ 1.8 บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญต่อการต่อต้านการทุจริ ต ตลอดจนการรับและการจ่ายสิ นบน โดยได้มีการกําหนดไว้ใน “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทํางาน” ห้ามพนักงานเรี ยกร้องหรื อรับสิ นนําใจ เพือตนเองหรื อเพือผูอ้ ืน จากบุคคลทีร่ วมทําธุ รกิ จด้วย และ ห้ามการจ่ายเงิ นหรื อให้ความช่ วยเหลื อทีถื อว่า เป็ นการติดสิ นบนหรื อให้ผลประโยชน์ 1.9 บริ ษทั ฯ จัดให้มีช่องทางสําหรับให้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถทําการร้องเรี ยน หรื อ แจ้งเบาะแสเกียวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อการกระทําผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ ต่อคณะกรรมการบริ ษทั โดยผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ โดยประชาสัมพันธ์ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.truecorp.co.th ซึ ง มีรายละเอียดดังนี: ช่ องทางให้ ผ้ มู ีส่วนได้ เสี ยสามารถร้ องเรียนหรือแจ้ งเบาะแสต่ อคณะกรรมการบริษัทผ่ านคณะกรรมการตรวจสอบ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถทําการร้องเรี ยนหรื อแจ้งเบาะแส (โดยจะได้รับการเก็บรักษา ข้อมูลไว้เป็ นความลับ) เกียวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อ การกระทําผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ ต่อคณะกรรมการ บริ ษทั ฯ โดยผ่านคณะกรรมการตรวจสอบได้ ตามทีอยูด่ งั นี §

§

จดหมายอิเล็กทรอนิกส์: auditcommittee@truecorp.co.th จดหมายส่ งทางไปรษณี ย:์ เรี ยน คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) เลขที 18 อาคาร ทรู ทาวเวอร์ ชัน 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310

โดยหน่ ว ยงานเลขานุ ก ารบริ ษัท และหลั ก ทรั พ ย์ ในฐานะที เป็ นเลขานุ ก ารของ คณะกรรมการตรวจสอบ จะเป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบในการรวบรวมและนําส่ งเรื องร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแสต่างๆ ให้ แก่ คณะกรรมการตรวจสอบเพื อพิ จารณาและดําเนิ นการต่ อไป ซึ งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุ ปผล การดําเนินการและนําเสนอรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นรายไตรมาส

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 21


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เงือนไขในการรับเรื องร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแส: §

§

§

ไม่รับบัตรสนเท่ห์ ผูร้ ้องเรี ยน/ผูแ้ จ้งเบาะแส ต้องระบุชือและนามสกุลจริ ง โดยบริ ษทั ฯ จะเก็บรักษา ข้อมูลไว้เป็ นความลับ ซึงจะรับรู้ได้เฉพาะบุคคลทีได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการตรวจสอบเท่านัน เรื องทีไม่เกียวข้องต่างๆ ดังตัวอย่างด้านล่างนี คณะกรรมการตรวจสอบจะไม่รับ ดําเนินการให้: - การสมัครงาน - แบบสํารวจ หรื อ การขอรับข้อมูลเกียวกับบริ ษทั ฯ - การเสนอขายสิ นค้าหรื อบริ การ - การขอรับบริ จาคหรื อการสนับสนุนต่างๆ

ในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบไม่ได้รับเรื องทีเป็ นการร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแส เกี ยวกับการทุ จริ ต หรื อประพฤติมิชอบ แต่ได้รับเรื องร้ องเรี ยนเกี ยวกับการกระทําผิดจรรยาบรรณธุ รกิ จของ พนักงานบริ ษทั จํานวน 1 เรื อง และปัญหาการให้บริ การของบริ ษทั ฯ จํานวน 8 เรื อง ซึ งคณะกรรมการตรวจสอบ ได้นาํ ส่ งเรื องร้องเรี ยนดังกล่าวไปยังหน่วยงานทีเกียวข้องเพือการดําเนินการทีเหมาะสม และ หน่วยงานทีเกียวข้อง ของบริ ษทั ฯ ได้ดาํ เนินการแก้ไขปั ญหาเป็ นทีเรี ยบร้อยแล้ว 1.10 บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญกับเรื องสิ งแวดล้อมและสนับสนุ นในเรื องการปลูกจิตสํานึ ก ของพนักงานและขยายวงกว้างไปยังบุคคลทัวไป และได้จดั ให้มีการอบรมให้ความรู ้แก่พนักงานและบุคคลทัวไป ในเรื องสิ งแวดล้อมผ่านโครงการประกวดภาพถ่ายอนุ รักษ์ธรรมชาติ ซึ งเปิ ดโอกาสให้พนักงานและบุคคล ทัวไปเข้าร่ วมกิ จกรรมอบรมการถ่ายภาพธรรมชาติและส่ งผลงานภาพถ่ายเข้าร่ วมประกวดการอบรมการ ถ่ายภาพธรรมชาติให้แก่พนักงานและบุคคลทัวไปจะสร้างความรู้สึกรักและหวงแหนธรรมชาติ กระตุน้ จิตสํานึ ก ในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ งแวดล้อม เชิ ญชวนให้เกิดความสนใจในธรรมชาติโดยการเข้าไปสัมผัสอย่าง ใกล้ชิดและถ่ายทอดความงามเหล่านันผ่านออกมาทางภาพถ่ายทีงดงาม และมีความรู ้สึกร่ วมกันทีจะปกป้ อง ให้คงอยู่สืบไป ในการนี บริ ษทั ฯ ร่ วมกับกรมอุ ทยานแห่ งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์ พืช จัดโครงการประกวด ภาพถ่ายอนุ รักษ์ธรรมชาติ “สัตว์มีค่า ป่ ามีคุณ” ซึ งจัดต่อเนื องเป็ นประจําทุกปี เริ มตังแต่ปีพ.ศ. 2538 จนถึ ง ปั จจุบนั นับเป็ นปี ที 20 มี การเชิ ญผูท้ รงคุ ณ วุฒิแ ละนัก วิชาการด้านอนุ รัก ษ์สิ งแวดล้อม มาร่ วมเสวนาให้ ความรู ้ดา้ นสิ งแวดล้อม เพือปลูกฝังให้คนไทยเกิดความรู ้สึกเป็ นเจ้าของร่ วมกัน และเกิดความร่ วมมือในการ ฟื นฟูและเพิมจํานวนสัตว์ป่า ซึ งจะช่วยรักษาดุลยภาพของธรรมชาติให้ดาํ รงอยูส่ ื บไป 1.11 บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และสนับสนุ นให้มีการ สร้างสรรค์นวัตกรรมเพือเป็ นการเพิมประสิ ทธิ ภาพการใช้ทรัพยากรทีมีอยูใ่ ห้คุม้ ค่ามากทีสุ ด มีการจัดอบรม สัมมนาโดยเชิ ญอาจารย์และผูเ้ ชี ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ มาบรรยายให้แก่พนักงานอย่างสมําเสมอ ทังนี เพือเป็ นการต่อยอดความคิดให้แก่พนักงานในการนํานวัตกรรมทีได้สร้างสรรค์ขึนมาปรับประยุกต์ใช้เพือ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 22


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ประโยชน์ในเชิ งพัฒนาธุ รกิจ โดยล่าสุ ดเมือเดือนพฤศจิกายน 2557 ทีผ่านมา บริ ษทั ฯ ได้เชิ ญ Mr. Thomas Kosnik อาจารย์จาก Stanford University (Fenwick and West Consulting Professor from Stanford University) ซึงเป็ นผูอ้ ยูเ่ บืองหลังความสําเร็ จของบริ ษทั Start Up ทัวโลก และ เป็ นทีปรึ กษาธุ รกิจให้แก่บริ ษทั ชันนํากว่า 100 บริ ษทั ในประเทศสหรัฐอเมริ กา มาบรรยายในหัวข้อ “Gear Up: Test Your Business Model Potential and Plan Your Path to Success” นอกจากนี บริ ษทั ฯ ได้จดั โครงการ “True Innovative Award for True” มาอย่าง ต่อเนื องเป็ นประจําทุกปี จนถึงปั จจุบนั ซึ งเป็ นโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมเป็ นการภายในบริ ษทั ฯ เพือ ส่ งเสริ มให้พนักงานทุ กคน ทุ กระดับ มี ส่วนร่ วมในการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ทีเป็ นประโยชน์ต่อ องค์ก รและสั ง คมโดยรวม เป็ นการกระตุ ้น ให้ พ นัก งานเห็ น ความสํา คัญ และประโยชน์ ข องการสร้ า ง นวัตกรรม อีกทังนํามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงานให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื อง เพือพัฒนาพนักงานทีเข้ามาร่ วม โครงการ ให้มีความรู้ ด้านนวัตกรรมอย่างบูรณาการ และสามารถต่อยอดงานนวัตกรรม และความคิ ด สร้างสรรค์ให้เป็ นรู ปธรรมและสัมฤทธิ ผล เพือนําผลงานนวัตกรรม มาแก้ปัญหาให้กบั ลูกค้า เพือพัฒนาสิ นค้า บริ การ และ กระบวนการ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร ลูกค้า และ สังคม (Benefits to customers, corporate and social) อาทิเช่ น เพิมความพึงพอใจลูกค้า (Customer Satisfaction) เพิมรายได้ (Revenue Increase) ปรับปรุ งกระบวนการทํางาน (Process Improvement) คุ ณค่าทีได้รับเพิม (Value Adding) การสร้างสรรค์ (Creation) เป็ นต้น นอกเหนื อจากการจัดโครงการประกวดผลงานนวัตกรรมภายในบริ ษทั ฯ ดังกล่าวแล้ว บริ ษทั ฯ ยังได้ให้ความสําคัญและมีความตังใจทีจะมีส่วนร่ วมในการจุดประกายและสร้ างแรงบันดาลให้คนไทย สนใจนวัตกรรมอย่างจริ งจัง ซึ งเป็ นปั จจัยสําคัญในการขับเคลื อนให้ประเทศเจริ ญก้าวหน้า บริ ษทั ฯ จึงได้จดั โครงการประกวด “ทรู อิ นโนเวชัน อวอร์ ดส์ ” ซึ งจัดเป็ นประจําต่อเนื องมาทุ กปี เริ มตังแต่ ปี พ.ศ. 2553 เพือ เปิ ดโอกาสให้นวัตกรไทยได้นาํ เสนอความคิ ดสร้ างสรรค์ และพัฒนาผลงานนวัตกรรมเพือคุ ณประโยชน์แก่ สังคมและประเทศชาติ อีกทังยกระดับขีดความสามารถของคนไทยให้ทดั เทียมกับนานาชาติ 1.12 บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญกับเรื องทรัพย์สินทางปั ญญา มีการจัดทําเอกสารเผยแพร่ ผา่ น ทางเว็บไซต์ www.trueinnovationcenter.com เพื อให้พ นัก งานมี ค วามรู้ ค วามเข้า ใจว่า ทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญา หมายถึงอะไร สนับสนุ นให้พนักงานตระหนักถึงคุณค่าและให้ความเคารพตลอดจนไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สิน ทางปั ญญาต่อผูเ้ ป็ นเจ้าของ ทังในเรื องของลิขสิ ทธิ และ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็ น สิ ทธิ บตั ร เครื องหมายการค้า ความลับทางการค้า ชือทางการค้า เป็ นต้น สําหรับทรัพย์สินทางปั ญญาในส่ วนทีบริ ษทั ฯ เป็ นเจ้าของนัน บริ ษทั ฯ ได้ก าํ หนดแนวทางปฏิ บตั ิ ข องพนักงานไว้อย่างชัดเจนเป็ นลายลัก ษณ์ อกั ษรใน “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทํางาน” โดยมีสาระสําคัญกําหนดให้พนักงานต้องปกป้ องทรัพย์สินทาง ปั ญญาของบริ ษทั ฯ ไม่เปิ ดเผยก่อนได้รับอนุญาต ตลอดจนไม่ใช้อย่างผิดวิธีหรื อผิดกฎหมาย

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 23


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

2. การจัดทํารายงานความรับผิดชอบต่อสังคม บริ ษทั ฯ มีนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ งรับรองโดยคณะกรรมการบริ ษทั และ ได้เปิ ดเผยนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมทังภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th นอกจากนี บริ ษ ัท ฯ ประกอบธุ รกิ จโดยยึด แนวทางปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดย คํานึ งถึงความสําคัญด้านสังคมและสิ งแวดล้อม ในด้านสังคมนัน บริ ษทั ฯ มุ่งเน้นด้านการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ให้แก่สังคม เพือเป็ นส่ วนหนึ งในการพัฒนาสังคมไทยอย่างยังยืน ด้วยการนําเทคโนโลยีการสื อสารทีทันสมัย มาจัดทําโครงการด้านการศึกษาและการเรี ยนรู้ เพือพัฒนาเยาวชนและผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมไทย ทังนี บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลตลอดจนกิจกรรมต่างๆ เกียวกับความรับผิดชอบต่อสังคมไว้ ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ภายใต้หวั ข้อ “ความรับผิดชอบต่อสังคม” หมวดที 4 การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส 1. การเปิ ดเผยข้อมูล 1.1 บริ ษทั ฯ นําส่ งรายงานทางการเงินทังรายไตรมาส และ รายปี ในปี 2557 ได้ภายในเวลาที สํานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรั พย์ฯ กําหนด ทังนี บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญในการจัดทํางบการเงิ นให้ ถู กต้องตามมาตรฐานการบัญชี ที รั บรองทัวไป โดยเลื อกใช้นโยบายบัญชี ที เหมาะสมและถื อปฏิ บ ตั ิ อย่า ง สมําเสมอ บริ ษทั ฯ เคร่ งครั ดในการนําส่ งงบการเงิ นและรายงานทางการเงิ นให้ทนั ภายในเวลาทีกฎหมาย กําหนดไว้เป็ นอย่างยิง งบการเงิ นของบริ ษทั ฯ ได้รับการรั บรองโดยไม่มีเงื อนไขจากผูส้ อบบัญชี ไม่เคยมี ประวัติถูกสํานักงาน ก.ล.ต. สังให้แก้ไขงบการเงิน และ ไม่เคยนําส่ งรายงานทางการเงินล่าช้า 1.2 บริ ษทั ฯ จัดทําคําอธิ บายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการโดยอธิ บายเชิ งวิเคราะห์ เกี ยวกับฐานะการเงิ น ผลการดําเนินงาน การเปลียนแปลงทีสําคัญ ตลอดจนปั จจัยทีเป็ นสาเหตุหรื อมีผลต่อ ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ และ นําส่ งต่อ สํานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย พร้ อมกับการนํา ส่ ง งบการเงิ นทุ กไตรมาส ตลอดจนเผยแพร่ บนเว็บ ไซต์ข องบริ ษทั ฯ ทังนี เพื อเป็ นข้อ มู ล ประกอบการเปิ ดเผยงบการเงิ น ทุ กไตรมาสเพื อให้ ผู้ล งทุ นได้รั บทราบข้อมู ลและเข้า ใจ การเปลียนแปลงทีเกิดขึนกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ ในแต่ละไตรมาสได้ดียงขึ ิ น 1.3 บริ ษทั ฯ ได้รายงานนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดีและนโยบายด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมทีคณะกรรมการได้ให้ความเห็นชอบไว้โดยสรุ ป และรายงานผลการปฏิบตั ิตามนโยบายผ่านช่องทางต่างๆ เช่น รายงานประจําปี และ เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.4 บริ ษทั ฯ ได้แสดงรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินควบคู่ กับรายงานของผูส้ อบบัญชีไว้ในรายงานประจําปี ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 24


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

1.5 ผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ เป็ นผูส้ อบบัญชี ทีได้รับความเห็ นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. และ ได้รับการแต่งตังโดยทีประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนแก่ผสู ้ อบบัญชี ประจําปี 2557 ไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 โดยได้แสดงรายละเอียดแยกประเภทเป็ นค่าตอบแทน จากการสอบบัญชี (audit fee) และ ค่าบริ การอืน (non-audit fee) ไว้อย่างชัดเจน 1.6 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยรายชือ บทบาทและหน้าทีของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุ ดย่อย จํานวนครังของการประชุ ม และจํานวนครังทีกรรมการแต่ละท่านเข้าร่ วมประชุ มคณะกรรมการในปี ทีผ่านมา ตลอดจนความเห็นจากการทําหน้าทีของคณะกรรมการชุ ดย่อย รวมถึงการฝึ กอบรมและพัฒนาความรู ้ดา้ นวิชาชี พ อย่างต่อเนื องของกรรมการ ไว้ในรายงานประจําปี ตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และ สํานักงาน ก.ล.ต. 1.7 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยประวัติของกรรมการทุกท่านไว้ใน รายงานประจําปี แบบ 56-1 และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ โดยระบุ ชื อ-นามสกุล อายุ ตําแหน่ง ประวัติการศึกษา การฝึ กอบรม ประสบการณ์ การทํางาน จํานวนและสัดส่ วนการถื อหุ ้นในบริ ษทั ฯ การดํารงตําแหน่ งกรรมการในบริ ษทั อืนโดยแยกอย่าง ชัดเจนออกเป็ นหัวข้อบริ ษทั จดทะเบียนและบริ ษทั อืน วันเดือนปี ทีได้รับแต่งตังเป็ นกรรมการ ตลอดจนระบุ ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผูบ้ ริ หาร 1.8 ค่าตอบแทนกรรมการของบริ ษทั ฯ สะท้อนถึงภาระหน้าทีและความรับผิดชอบของ กรรมการแต่ ล ะคน ทังนี บริ ษทั ฯ จ่า ยค่าตอบแทนให้แก่ ก รรมการ ในปี 2557 ตามอัตราซึ งอนุ ม ตั ิโดยที ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2557 โดยยังคงเป็ นอัตราเดิมตามทีทีประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 2556 ได้เคยมีมติอนุมตั ิไว้ ซึ งอัตราค่าตอบแทนดังกล่าวไม่มีการเปลียนแปลงมาตังแต่ปี 2545 แล้ว โดยมีรายละเอียดดังนี กรรมการได้รับค่าตอบแทนเป็ นรายเดือน โดยมีหลักเกณฑ์ในการจ่ายดังนี ประธานกรรมการ 300,000 บาทต่อเดือน ประธานกรรมการกิตติมศักดิ 200,000 บาทต่อเดือน รองประธานกรรมการ 150,000 บาทต่อเดือน กรรมการ 100,000 บาทต่อเดือน หากกรรมการท่านใดเป็ นลูกจ้างของบริ ษทั ฯ ก็ให้ค่าตอบแทนกรรมการนีเป็ น ส่ วนเพิมเติมจากค่าจ้างปกติของลูกจ้างแต่ละท่าน สําหรับกรรมการอิสระทีทําหน้าทีเป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย ได้รับค่าตอบแทน ดังนี กรรมการอิสระทีเป็ นประธานในคณะกรรมการชุดย่อย 300,000 บาทต่อเดือน กรรมการอิสระทีเป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุ ดย่อย 200,000 บาทต่อเดือน สําหรับกรรมการอิสระทีมิได้เป็ นกรรมการในคณะกรรมการชุ ดย่อย และกรรมการ ทุกท่านทีมิใช่กรรมการอิสระ ให้ได้รับค่าตอบแทนคงเดิม

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 25


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ในการนี บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยจํา นวนเงิ นและประเภทของค่าตอบแทนที กรรมการ แต่ละคนได้รับจากบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย เป็ นรายบุ คคล ไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ภายใต้ หัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” และได้นาํ ขึนเผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.9 ในปี 2557 บริ ษทั ฯ จ่ายค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารระดับสู งสอดคล้องกับนโยบายของบริ ษทั ฯ ทีให้จ่ายค่าตอบแทนโดยสะท้อนภาระหน้าทีและความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารระดับสู งแต่ละคน และเป็ นอัตรา ทีเหมาะสมโดยศึ กษาเทียบเคียงกับธุ รกิ จประเภทเดี ยวกัน และ ได้เปิ ดเผยข้อมูลการจ่ายค่าตอบแทนโดย ละเอียดทังรู ปแบบ ลักษณะ และ จํานวนเงินค่าตอบแทน ไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 1.10 บริ ษทั ฯ กําหนดนโยบายให้ก รรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู ง ต้องส่ งสําเนารายงาน การถื อหลัก ทรั พ ย์ ข องบริ ษัทฯ ทังกรณี ก ารรายงานครั งแรก (แบบ 59-1) และ กรณี ก ารเปลี ยนแปลง การถือหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) ให้แก่ บริ ษทั ฯ ภายในช่ วงเวลาเดี ยวกันกับทีกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งได้ นําส่ งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เพือให้บริ ษทั ฯ เก็บไว้เป็ นหลักฐาน และ รายงานต่อทีประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจํา นอกจากนี บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยการเปลี ยนแปลงการถื อครองหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ของกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู ง โดยแสดงจํานวนหุ ้นทีถื อ ณ ต้นปี จํานวนการเปลี ยนแปลงระหว่างปี และ จํานวนหุ น้ ณ สิ นปี ไว้ใน รายงานประจําปี 1.11 บริ ษทั ฯ มีหน่วยงาน “ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์” หรื อ “Investor Relations” เพือสื อสาร กับ บุ ค คลภายนอกอย่างเท่ า เที ย มและเป็ นธรรม ทังนี ผูล้ งทุ น สามารถติ ดต่ อฝ่ ายนักลงทุ นสั มพันธ์ ได้ที หมายเลขโทรศัพท์ 0-2699-2515 หรื อ e-mail address : ir_office@truecorp.co.th ซึ งบริ ษทั ฯ ได้แจ้งช่องทาง การติดต่อให้ผลู ้ งทุนทัวไปทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ รายงานประจําปี และ แบบ 56-1 สําหรับในปี 2557 ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ได้มีการจัดทําจดหมายข่าวทีนําเสนอผลการดําเนินงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ และ ได้จดั ให้มีการประชุมนักวิเคราะห์และนักลงทุนภายหลังจากทีบริ ษทั ฯ ประกาศผลประกอบการทุกไตรมาส โดยจัดให้มีการประชุม ณ สํานักงานใหญ่ของบริ ษทั ฯ รวมทังผ่าน Webcast สําหรับนักวิเคราะห์และนักลงทุน ทีไม่สามารถมาร่ วมประชุ มด้วยตนเองได้ นอกจากนี ได้ให้ขอ้ มูลเกี ยวกับบริ ษทั ฯ และพบปะนักวิเคราะห์ รวมถึงได้จดั Roadshow เพือพบปะนักลงทุนทังในประเทศและต่างประเทศ และเปิ ดโอกาสให้นักลงทุ น ทังประเภทสถาบันและนักลงทุนรายย่อยสามารถโทรศัพท์สอบถามข้อมูลจากทางบริ ษทั ฯ ได้อย่างเท่าเทียมกัน 2. ข้อมูลทีเปิ ดเผยบนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ั อมู ล ทางการเงิ น และข้อมู ล ที มิ ใ ช่ ก ารเงิ น ตามข้อกําหนดของ บริ ษ ทั ฯ มี ก ารเผยแพร่ ท งข้ ตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยอย่างถู กต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่ งใส ทังฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านช่ องทางต่างๆ ทังช่ องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ รายงานประจําปี แบบ 56-1 และ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ นอกจากนี บริ ษทั ฯ ยังได้เผยแพร่ เอกสารทีสําคัญและจัดทําข้อมูลรายละเอี ยดอืนๆ ที คาดว่าจะเป็ นทีสนใจของ นักลงทุ นและนักวิเคราะห์ เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษ ัทฯ ด้วย เช่ น วิ สั ยทัศน์ และพันธกิ จ ลักษณะ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 26


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การประกอบธุ รกิจ โครงสร้างกลุ่มบริ ษทั ฯ ผูถ้ ื อหุ ้น 10 ลําดับแรก รายชือและอํานาจหน้าทีของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุ ด ย่อ ย โครงสร้ า งองค์ก ร งบการเงิ น และข้อมู ลทางการเงิ นซึ งมี ข้อมู ลย้อนหลังเพื อ การเปรี ยบเทียบไม่น้อยกว่า 3 ปี รายงานประจําปี แบบ 56-1 หนังสื อเชิ ญประชุ มพร้อมเอกสารเกี ยวกับการ ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ข้อบังคับและหนังสื อบริ คณห์สนธิ นโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดี เอกสารข่าวของบริ ษทั ฯ เป็ นต้น และมีการปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปั จจุบนั เป็ นระยะๆ โดยเอกสารและข้อมูลทุกประเภททีเผยแพร่ อยู่ บนเว็บไซต์มีทงภาษาไทยและภาษาอั ั งกฤษ เพือให้นกั ลงทุ นและนักวิเคราะห์เข้าถึ งข้อมูลได้อย่างสะดวก และเท่าเทียมกัน และ สามารถดาวน์โหลดข้อมูลทีอยู่ในความสนใจได้ ทังนี บริ ษทั ฯ ได้แจ้งเบอร์ โทรศัพท์ โทรสาร และ อีเมล์ เพือเป็ นช่องทางสําหรับการติดต่อฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ด้วย หมวดที 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ 1.1 ณ วันที 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริ ษทั มีจาํ นวน 18 ท่าน ซึ งเป็ นผูท้ รงคุณวุฒิ มีความรู้ ประสบการณ์ หลากหลาย และ มีค วามสามารถเฉพาะด้านทีเป็ นประโยชน์ ต่อบริ ษทั ฯ จํานวน กรรมการมีความเหมาะสมและเพี ย งพอกับ ขนาดและประเภทธุ รกิ จของบริ ษ ทั ฯ โดยมี ก รรมการที มิ ใ ช่ ผูบ้ ริ หารมีประสบการณ์ ในธุ รกิจหลักทีบริ ษทั ฯ ดําเนิ นกิ จการอยู่ โครงสร้างของคณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วย (1) กรรมการบริ หาร (Executive Directors) 4 ท่าน และ (2) กรรมการทีมิใช่ผบู ้ ริ หาร (Non-Executive Directors) 14 ท่าน โดยในจํานวนนี มี กรรมการอิสระ 6 ท่าน หรื อคิดเป็ นจํานวน 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทังหมด ซึ ง เป็ นไปตามข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุ น และ มี กรรมการผูท้ รงคุ ณวุฒิ ซึ งไม่ เกี ยวข้องใน การบริ หารงานประจํา ซึ งรวมตัวแทนของผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ จํานวน 8 ท่าน ทังนี เป็ นไปตามสัดส่ วนอย่าง ยุติธรรมของเงินลงทุนของผูถ้ ือหุ น้ แต่ละกลุ่ม บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยโครงสร้างคณะกรรมการ อํานาจหน้าที หลักเกณฑ์ในการสรรหา ข้อมูลสําคัญของกรรมการแต่ละท่าน เช่น ชื อ-นามสกุล ตําแหน่ง วันเดือนปี ทีได้รับแต่งตังเข้าดํารงตําแหน่ง กรรมการ ตลอดจนประวัติของกรรมการแต่ละท่าน ไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ตลอดจนเว็บไซต์ ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th 1.2 บริ ษทั ฯ มีการกําหนดวาระการดํารงตําแหน่งของกรรมการไว้อย่างชัดเจน โดยระบุ ไว้ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดี และ ข้อบังคับของบริ ษทั ฯ ซึงเป็ นไปตามกฎหมาย สําหรั บวาระการดํารงตําแหน่ งของกรรมการอิ สระมี หลักเกณฑ์ เ ช่ นเดี ย วกับ วาระ การดํารงตําแหน่งกรรมการ

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 27


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

1.3 บริ ษทั ฯ กําหนดคุ ณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” อย่างละเอี ยด โดยเปิ ดเผยไว้ใน รายงานประจําปี และ แบบ 56-1 โดย นายโชติ โภควนิช เป็ นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบผูม้ ีความรู้ ด้านบัญชีและการเงิน บริ ษทั ฯ กําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไว้เข้มงวดกว่าข้อกําหนดของคณะกรรมการ กํากับตลาดทุ นในเรื องสัดส่ วนการถื อหุ ้นในบริ ษทั ฯ กล่ าวคื อ กรรมการอิ สระของบริ ษ ทั ฯ จะต้องถื อหุ ้น ไม่เกินร้อยละ 0.75 ของจํานวนหุ ้นทีมีสิทธิ ออกเสี ยงทังหมดของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม ผูถ้ ื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผูม้ ี อ าํ นาจควบคุ ม ของบริ ษ ัท ฯ ทังนี ให้ นับ รวมการถื อ หุ ้ น ของผูท้ ี เกี ยวข้อ งกับ กรรมการอิสระรายนันๆ ด้วย 1.4 บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยข้อมูล การดํารงตําแหน่ งของกรรมการแต่ละคนให้ผูถ้ ื อหุ ้นทราบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ซึ งผูถ้ ือหุ ้นสามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที www.set.or.th และ เว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th 1.5 ไม่มีกรรมการหรื อผูบ้ ริ หารระดับสู งของบริ ษทั ฯ ท่านใดเป็ นหรื อเคยเป็ นพนักงาน หรื อหุ น้ ส่ วนของบริ ษทั สอบบัญชีภายนอกทีบริ ษทั ฯ ใช้บริ การอยูใ่ นช่วง 2 ปี ทีผ่านมา 1.6 บริ ษทั ฯ มีการกําหนดนโยบายเกี ยวกับจํานวนบริ ษทั ทีกรรมการแต่ละคนซึ งรวมถึ ง กรรมการอิสระและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่สามารถไปดํารงตําแหน่ง โดยกําหนดไว้ในนโยบายการกํากับดูแล กิ จการที ดี ของบริ ษ ทั ฯ ซึ งได้เปิ ดเผยไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษ ทั ฯ กล่ าวคื อ กรรมการสามารถดํารงตําแหน่ ง กรรมการในบริ ษ ทั อื นได้ แต่ ท งนี ั ในการเป็ นกรรมการดังกล่ าว ต้อ งไม่ เป็ นอุ ปสรรคต่ อการปฏิ บ ตั ิ หน้า ที กรรมการของบริ ษทั ฯ สําหรับจํานวนบริ ษทั ทีกรรมการแต่ละคนสามารถไปดํารงตําแหน่ งกรรมการได้นนั คณะกรรมการสนับสนุนให้กรรมการพิจารณาจํากัดไว้ทีจํานวนไม่เกิน 5 บริ ษทั จดทะเบียน ทังนี ตลอดระยะเวลา ทีผ่านมา ไม่มีกรรมการอิสระท่านใดดํารงตําแหน่งกรรมการในบริ ษทั จดทะเบียนอืนเกินกว่า 5 บริ ษทั 1.7 ประธานกรรมการของบริ ษทั ฯ เป็ น Non-Executive Director และ มิใช่บุคคลเดียวกับ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ อํานาจหน้าที ของประธานกรรมการนันเป็ นไปตามกฎหมาย ส่ วนอํานาจหน้าที ของ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่นัน คณะกรรมการบริ ษทั มี การกําหนดไว้อย่างชัดเจน และเปิ ดเผยอํานาจหน้าทีของ ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ไว้ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ซึ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 1.8 บริ ษทั ฯ กําหนดสายงานองค์กรให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน (Internal Audit) รายงาน โดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ งจะเป็ นผูพ้ ิจารณาให้คุณให้โทษต่อหัวหน้าฝ่ ายตรวจสอบภายใน ทังนี บริ ษ ัท ฯ ได้เ ปิ ดเผยชื อและประวัติ ข องหัว หน้ า ฝ่ ายตรวจสอบภายในไว้ใ น รายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ซึ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 28


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

1.9 บริ ษทั ฯ มีเลขานุการบริ ษทั ซึงทําหน้าทีให้คาํ แนะนําด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ทีคณะกรรมการจะต้องทราบและปฏิ บตั ิหน้าทีในการดูแลกิ จกรรมของคณะกรรมการรวมทังประสานงานให้มี การปฏิ บตั ิ ตามมติ คณะกรรมการ ทังนี เลขานุ การบริ ษทั จบการศึ กษาด้านบัญชี และได้ผ่านการอบรมใน หลักสู ตรทีเกียวข้องกับการปฏิบตั ิหน้าทีของเลขานุการบริ ษทั บริ ษ ัทฯ ได้เปิ ดเผยหน้าที ความรั บผิดชอบของเลขานุ การบริ ษ ัท ประวัติ การศึ กษา ประสบการณ์ทาํ งาน ตลอดจนการผ่านการอบรมในหลักสู ตรทีเกียวข้องกับการปฏิบตั ิหน้าทีของเลขานุ การบริ ษทั ไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ซึ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 2. คณะกรรมการชุ ดย่อย 2.1 คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีคณะกรรมการชุ ดย่อยด้านต่างๆ เพือช่วยคณะกรรมการ ในการกํากับดูแลกิจการ ดังนี คณะกรรมการตรวจสอบ ทํา หน้า ทีสอบทานกระบวนการจัดทํา รายงานทางการเงิ นของบริ ษ ทั ฯ ระบบการ ควบคุ มภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน การปฏิ บตั ิ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนกฎหมายที เกี ยวข้องกับธุ รกิ จของบริ ษทั ฯ พิจารณา ความเป็ นอิ สระของหน่ วยงานตรวจสอบภายใน พิจารณาเสนอแต่งตังผูส้ อบบัญชี ของบริ ษ ทั ฯ และ พิ จารณารายการที อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมี รายละเอียดของบทบาทและหน้า ทีของคณะกรรมการตรวจสอบตามทีปรากฏใน หัวข้อ 2. “คณะกรรมการชุดย่อย” คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ ทําหน้าทีพิจารณาการกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการและ ประธานคณะผูบ้ ริ หาร และ พิจารณากลันกรองการสรรหากรรมการ ก่อนนําเสนอต่อทีประชุมคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการด้านการเงิน ทําหน้าทีช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการดูแลการจัดการด้านการเงิน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี ทําหน้าทีช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการกําหนดและทบทวนนโยบายการกํากับดูแล กิ จการที ดี ข องบริ ษทั ฯ ตลอดจนดู แลให้บ ริ ษทั ฯ มี ก ารกํา กับ ดู แ ลกิ จ การที ดี แ ละ เหมาะสมกับธุ รกิจของบริ ษทั ฯ

ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 29


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลรายละเอี ยดเกี ยวกับคณะกรรมการชุ ดย่อยดังกล่ าว ได้แก่ รายชือกรรมการ หน้าที จํานวนครังการประชุ มและการเข้าร่ วมประชุ มของกรรมการแต่ละท่าน ไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ในหัวข้อ 2.“คณะกรรมการชุ ดย่อย” นอกจากนี ผูถ้ ือหุ น้ และ ผูล้ งทุนทัวไปสามารถดาวน์โหลด ข้อมูลเกียวกับคณะกรรมการชุดย่อยของบริ ษทั ฯ ได้จากเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ที www.truecorp.co.th 2.2 เพือความโปร่ งใสและเป็ นอิ สระในการปฏิ บตั ิ หน้า ที และในขณะเดี ยวกันเพือให้ คณะกรรมการชุ ดย่อยสามารถปฏิ บตั ิ หน้าที ได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล สมาชิ กส่ วนใหญ่ของคณะกรรมการชุ ดย่อย ประกอบไปด้วย กรรมการอิสระ และ กรรมการทีมิใช่ผบู ้ ริ หาร 3. บทบาท หน้าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการได้ทาํ หน้าที พิจารณาและให้ความเห็ นชอบในเรื องที สําคัญเกี ยวกับ การดําเนินงานของบริ ษทั ฯ เช่น วิสัยทัศน์และภารกิจ กลยุทธ์ เป้ าหมายทางการเงิน ความเสี ยง แผนงานและ งบประมาณ รวมทังกํากับ ควบคุ ม ดูแลให้ฝ่ายจัดการดําเนิ นงานตามนโยบายและแผนทีกําหนดไว้อย่างมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (ตระหนักถึง ขีดความสามารถทีแท้จริ งของบริ ษทั ฯ) ความมีเหตุผล และ การมีภูมิคุม้ กันทีดีในตัว โดยตังมันอยูบ่ นพืนฐาน ของความซื อสัตย์สุจริ ต และ ความรอบคอบระมัดระวัง ดูแลให้การดําเนิ นธุ รกิ จต่อเนื องในระยะยาว ทังนี บริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยอํานาจหน้าทีของคณะกรรมการไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ซึ งได้เผยแพร่ ไว้ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ตลอดระยะเวลาทีผ่านมา รวมถึงปี 2557 บริ ษทั ฯ ไม่มีการกระทําใดทีเป็ นการฝ่ าฝื น หรื อกระทําผิดกฎระเบียบของสํานักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3.2 คณะกรรมการได้จดั ให้มีนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดีของบริ ษทั ฯ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยคณะกรรมการเป็ นผูร้ ิ เริ ม มีส่วนร่ วมในการพิจารณา และอนุ มตั ินโยบายดังกล่าว นอกจากนี คณะกรรมการจะ ทบทวนนโยบายและการปฏิบตั ิตามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจําทุกปี 3.3 คณะกรรมการได้ส่งเสริ มให้บริ ษทั ฯ จัดทําจรรยาบรรณธุ รกิ จทีเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร เพือให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคนเข้าใจและปฏิ บตั ิตามมาตรฐานด้านจริ ยธรรมทีบริ ษทั ฯ ใช้ใน การดําเนิ นธุ รกิ จ โดยได้มีการติ ดตามให้มีการปฏิ บตั ิ ตามจรรยาบรรณดังกล่ าวอย่างจริ งจัง ทังนี บริ ษทั ฯ ได้ เปิ ดเผย “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทํางาน” ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ 3.4 คณะกรรมการได้พิจารณาเรื องความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบ การพิจารณา การทํารายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์มีแนวทางทีชัดเจนและเป็ นไปเพือผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุ น้ โดยรวมเป็ นสําคัญโดยทีผูม้ ีส่วนได้เสี ยไม่มีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ และคณะกรรมการได้กาํ กับดูแล ให้มีการปฏิบตั ิตามข้อกําหนดเกียวกับขันตอนการดําเนินการและการเปิ ดเผยข้อมูลของรายการทีอาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อย่างถูกต้องครบถ้วน ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 30


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ในปี 2557 ไม่มีกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ ตลอดจนผูเ้ กียวข้องกับบุคคลดังกล่าว ปฏิบตั ิผดิ ข้อกําหนดเกียวกับเรื องความขัดแย้งของผลประโยชน์ในการทําธุ รกรรมของบริ ษทั ฯ เช่นเดียวกับ ทุกปี ทีผ่านมา 3.5 คณะกรรมการได้จดั ให้มีระบบการควบคุมด้านการดําเนินงาน ด้านรายงานทางการเงิน และ ด้านการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย โดยคณะกรรมการได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ เป็ น ผูร้ ับผิดชอบในการดูแลการตรวจสอบระบบการควบคุมดังกล่าว และทําการทบทวนระบบทีสําคัญเป็ นประจําทุกปี รวมทังได้มีการเปิ ดเผยความเห็นไว้ในรายงานประจําปี ภายใต้หวั ข้อ “รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ” 3.6 บริ ษทั ฯ มีคณะกรรมการบริ หารความเสี ยง และมีระบบการบริ หารความเสี ยงครอบคลุม ทังองค์กรโดยได้มีการประกาศใช้ “นโยบายและกรอบในการบริ หารจัดการความเสี ยง” อย่างเป็ นทางการ เพือนําการบริ หารจัดการความเสี ยงไปผสานรวมกับกลยุทธ์ทางธุ รกิจและการปฏิบตั ิงาน โดยฝ่ ายจัดการเป็ น ผูป้ ฏิบตั ิตามนโยบาย และ รายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็ นประจํา อีกทังมีระบบการตรวจสอบ ภายในแบบ Risk-based Audit Approach ซึ งฝ่ ายตรวจสอบภายในจะทําการสอบทานระบบงานต่างๆ และรายงาน ให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็ นประจํา และได้มีการเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปี ภายใต้หวั ข้อ “รายงานจาก คณะกรรมการตรวจสอบ” นอกจากนี บริ ษทั ฯ ได้มีการทบทวนการประเมินความเสี ยงเพือใช้เป็ นแนวทางใน การบริ หารจัดการเป็ นประจําทุกปี 3.7 บริ ษทั ฯ ได้ลงนามในคําประกาศเจตนารมณ์ใน “โครงการแนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริ ต” (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)) ซึ งมี สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (Thai Institute of Directors หรื อ IOD) เป็ นเลขานุการของโครงการ นอกจากนี คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีช่องทางสําหรั บผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุ กกลุ่ ม สามารถทําการร้องเรี ยนหรื อแจ้งเบาะแสเกียวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อการกระทําผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ มายังคณะกรรมการบริ ษทั ได้ โดยผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ โดยบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยรายละเอียดเกียวกับ การดําเนินการในเรื องดังกล่าวไว้ในหมวดที 3 เรื อง บทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสี ย บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญต่อการต่อต้านการทุจริ ต ตลอดจนการรับและการจ่ายสิ นบน โดยได้มีการกําหนดไว้ใน “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทํางาน” ห้ามพนักงานเรี ยกร้องหรื อรับสิ นนําใจ เพือตนเองหรื อเพือผูอ้ ืน จากบุคคลทีร่ วมทําธุ รกิ จด้วย และ ห้ามการจ่ายเงิ นหรื อให้ความช่ วยเหลื อทีถื อว่า เป็ นการติดสิ นบนหรื อให้ผลประโยชน์ 3. 8 คณะกรรมการมี ก ลไกการกํา กับ ดู แ ลบริ ษ ทั ย่อย เพื อดู แ ลรั ก ษาผลประโยชน์ ใ น เงินลงทุนของบริ ษทั ซึ งบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ ภายใต้หวั ข้อ “การกํากับดูแลการดําเนิ นงานของ บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม” ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 31


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

4. การประชุมคณะกรรมการ 4.1 บริ ษทั ฯ กําหนดตารางการประชุ มคณะกรรมการและวาระการประชุ มหลักเป็ นการ ล่ วงหน้า และแจ้งให้กรรมการแต่ ละคนทราบกําหนดการและวาระการประชุ มหลักดังกล่ าว อย่างไรก็ ตาม ในกรณี จาํ เป็ นเร่ งด่วน อาจมีการเรี ยกประชุมคณะกรรมการเป็ นการเพิมเติมได้ 4.2 บริ ษทั ฯ มีการกําหนดไว้ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดี ให้กรรมการทีมิใช่ผบู ้ ริ หาร สามารถทีจะประชุ มระหว่างกันเองได้ตามความจําเป็ นโดยไม่มีกรรมการทีเป็ นผูบ้ ริ หารหรื อฝ่ ายจัดการเข้าร่ วมประชุ ม เพืออภิปรายปั ญหาต่างๆ เกียวกับการจัดการหรื อเรื องทีอยูใ่ นความสนใจ ซึ งในปี 2557 กรรมการทีมิใช่ผบู ้ ริ หารได้มี การประชุมระหว่างกันเองในรู ปแบบของการประชุมอย่างไม่เป็ นทางการหลังจากเสร็ จสิ นการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 4.3 ในปี 2557 บริ ษทั ฯ มีการประชุมคณะกรรมการ จํานวน 9 ครัง ซึ งเหมาะสมกับภาระหน้าที และความรับผิดชอบของคณะกรรมการและการดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ทังนี สัดส่ วนการเข้าร่ วมประชุ ม ของกรรมการทุกคนคิดเป็ นร้อยละ 79.01 ของจํานวนการประชุมทังปี 4.4 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ร่ วมกันพิจารณา การเลือกเรื องเพือบรรจุเข้าเป็ นวาระการประชุ มคณะกรรมการ นอกจากนี กรรมการแต่ละคนมีความเป็ นอิสระ ทีจะเสนอเรื องเข้าสู่ วาระการประชุม 4.5 บริ ษทั ฯ จัดส่ งข้อมูลประกอบการประชุ มให้แก่กรรมการเป็ นการล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันทําการก่อนวันประชุม โดยข้อมูลมีลกั ษณะโดยย่อแต่ให้สารสนเทศครบถ้วน สําหรับเรื องทีไม่ประสงค์ เปิ ดเผยเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก็ให้นาํ เรื องอภิปรายกันในทีประชุม 4.6 ประธานกรรมการจัดสรรเวลาไว้อย่างเพียงพอทีฝ่ ายจัดการจะเสนอเรื องและมากพอที กรรมการจะอภิปรายปั ญหาสําคัญกันอย่างรอบคอบโดยทัวกัน และส่ งเสริ มให้มีการใช้ดุลยพินิจทีรอบคอบ โดยกรรมการให้ความสนใจกับทุกประเด็นทีนําสู่ ทีประชุม รวมถึงประเด็นการกํากับดูแลกิจการ 4.7 คณะกรรมการสามารถเข้าถึงสารสนเทศทีจําเป็ นเพิมเติมได้จากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หรื อเลขานุ การบริ ษทั หรื อผูบ้ ริ หารอืนทีได้รับมอบหมาย ภายในขอบเขตนโยบายทีกําหนดไว้ นอกจากนี ในกรณี ทีจําเป็ นคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุ ดย่อยแต่ละคณะ อาจจัดให้มีความเห็นอิสระจาก ทีปรึ กษาหรื อผูป้ ระกอบวิชาชีพภายนอก โดยถือเป็ นค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ฯ 4.8 คณะกรรมการสนับสนุ นให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เชิ ญผูบ้ ริ หารระดับสู งเข้าร่ วมประชุ ม คณะกรรมการเพือให้สารสนเทศรายละเอียดเพิมเติมในฐานะทีเป็ นผูเ้ กียวข้องกับปั ญหาโดยตรง 5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย 5.1 คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อย ทําการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ ตนเองเป็ นประจําทุกปี 5.2 หลักเกณฑ์การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นการประเมินตามระดับ ความเห็นด้วยของกรรมการ ซึ งแบ่งออกเป็ น 3 ระดับ กล่าวคือ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 32


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

- ระดับตํา (สมควรปรับปรุ ง) - ระดับปานกลาง (ยอมรับได้ แต่สามารถปรับปรุ งได้อีก) - ระดับดีมาก (สมควรรักษาไว้) ทังนี หลัก เกณฑ์ ก ารประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการบริ ษ ัท จะครอบคลุ ม ใน เรื องหลักๆ ดังต่อไปนี - ความพึงพอใจของคณะกรรมการทีมีผลต่อการดําเนินงานของคณะกรรมการ โดยรวม ผลการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ ผลการดําเนินงานของบริ ษทั ย่อย ตลอดจนการดําเนิ นการแก้ไขปั ญหาของฝ่ ายจัดการ - ความเข้าใจของกรรมการทีมีต่อบทบาทหน้าทีของกรรมการ ธุ รกิจของบริ ษทั กลยุทธ์ของบริ ษทั - ความสัมพันธ์ระหว่างกรรมการและฝ่ ายบริ หาร - บทบาทและกระบวนการประเมินผลงานของประธานคณะผูบ้ ริ หาร - ประสิ ทธิ ภาพการทํางานของคณะกรรมการชุ ดย่อยต่างๆ - การจัดสรรเวลาอย่างเหมาะสมสําหรับเรื องต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั - การเตรี ยมตัวก่อนการประชุ มของกรรมการ - ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นของกรรมการอย่างเป็ นอิสระและเป็ นกลาง - การเปิ ดโอกาสและสนับสนุนให้กรรมการทุกท่านสามารถแสดงความเห็นได้ อย่างเป็ นอิสระ 5.3 คณะกรรมการบริ ษทั ฯ จะทําการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของตนเองเป็ นประจําทุกปี โดยมีกระบวนการ คือ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิ จการทีดี จะเป็ นผูล้ งนามในจดหมาย เพือนําส่ ง แบบฟอร์ มการประเมิ นให้แก่ กรรมการทุกท่าน โดยขอให้กรรมการแต่ละท่านส่ งแบบประเมิ นกลับมายัง เลขานุ การบริ ษทั เพือทําหน้าทีรวบรวมข้อมูล ลําดับต่อมา เลขานุ การบริ ษทั จะทําการประมวลผลและนําเสนอ ผลสรุ ปต่อคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดีเพือวิเคราะห์ผลการประเมิน หลังจากนัน คณะกรรมการกํากับดูแล กิ จการทีดี จะรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ พร้ อมทังให้ขอ้ เสนอแนะเพือการปรับปรุ ง ตามควรแก่กรณี 6. ค่าตอบแทน 6.1 ค่าตอบแทนของกรรมการของบริ ษทั ฯ จัดได้ว่าอยู่ในลักษณะที เปรี ยบเทียบได้กบั ระดับที ปฏิ บตั ิ อยู่ใ นอุ ตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที ขอบเขตของบทบาทและความรั บผิดชอบ (Accountability and Responsibility) รวมถึงประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากกรรมการแต่ละคน นอกจากนี กรรมการที ได้รับ มอบหมายหน้า ที และความรั บ ผิดชอบเพิ มขึ น เช่ น กรรมการอิ ส ระที เป็ นสมาชิ ก ของ คณะกรรมการชุดย่อยก็ได้รับค่าตอบแทนเพิมทีเหมาะสมด้วย บริ ษทั ฯ เปิ ดเผยค่าตอบแทนของกรรมการในปี 2557 เป็ นรายบุคคลไว้ในรายงานประจําปี และ แบบ 56-1 ซึ งได้เผยแพร่ ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 33


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

6.2 ค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริ หารระดับสู งเป็ นไปตามหลักการ และนโยบายทีคณะกรรมการกําหนดภายในกรอบทีได้รับอนุ มตั ิจากทีประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น (สําหรับค่าตอบแทน ประเภททีต้องได้รับการอนุมตั ิจากที ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น) และเพือประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั ฯ ระดับค่าตอบแทนที เป็ นเงินเดื อน ผลตอบแทนการปฏิบตั ิงาน และผลตอบแทนจูงใจในระยะยาว ก็มีความสอดคล้องกับผลงาน ของบริ ษทั ฯ และผลการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารแต่ละคนด้วย 6.3 คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ เป็ นผูป้ ระเมินผลการปฏิบตั ิงาน ของประธานคณะผูบ้ ริ หารเป็ นประจําทุกปี เพือนําไปใช้ในการพิจารณากําหนดค่าตอบแทนของประธานคณะผูบ้ ริ หาร โดยใช้บรรทัดฐานทีได้ตกลงกันล่วงหน้ากับประธานคณะผูบ้ ริ หารตามเกณฑ์ทีเป็ นรู ปธรรม ซึ งรวมถึงผลการปฏิบตั ิงาน ทางการเงิน ผลงานเกียวกับการปฏิบตั ิตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ในระยะยาว การพัฒนาผูบ้ ริ หาร ฯลฯ และ กรรมการอาวุโสทีได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการ เป็ นผูส้ ื อสาร ผลการพิจารณาให้ประธานคณะผูบ้ ริ หารทราบ 7. การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริ หาร 7.1 บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มและอํานวยความสะดวกให้มีก ารฝึ กอบรมและการให้ความรู ้ แก่ ผูเ้ กียวข้องในระบบการกํากับดูแลกิจการของบริ ษทั ฯ เช่น กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริ หาร เลขานุ การบริ ษทั ั กระทํา เป็ นต้น เพือให้มีความรู้ ในการปฏิ บ ตั ิงานอย่างต่อเนื อง การฝึ กอบรมและให้ความรู ้ ดงั กล่ าว มี ทงที เป็ นการภายในบริ ษทั ฯ และใช้บริ การของสถาบันภายนอก 7.2 คณะกรรมการสนับสนุ นกรรมการให้เข้าอบรมหลักสู ตรหรื อเข้าร่ วมกิจกรรมสัมมนาที เป็ นการเพิมพูนความรู ้ในการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื อง โดยในปี 2557 มีกรรมการของบริ ษทั ฯ จํานวน 3 ท่าน เข้ารั บการอบรมต่ อเนื อง ซี งเป็ นหลักสู ตรที จัดโดยสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบัน กรรมการบริ ษ ทั ไทย (IOD) ตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ โดย หลักสู ตรทีอบรม มีดงั นี IOD Director Briefing 2/2014 : The Four Pillars of Board Effectiveness - Directors Forum 2014 ธุ รกิจครอบครัว : กํากับดูแลอย่างไรให้ยงยื ั น - Improving Corporate Governance Key to advancing Thailand (the 3rd National Director Conference 2014) - Going from ‘Good’ to ‘Great’ in IT Fraud Prevention and Information Security Governance - ความท้าทายของกรรมการตรวจสอบกับการพัฒนาอย่างยังยืนของบริ ษทั จดทะเบียน 7.3 ทุกครังทีมีการแต่งตังหรื อเปลียนแปลงกรรมการใหม่ ฝ่ ายจัดการได้จดั ทําและนําส่ ง เอกสารและข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ต่อการปฏิ บตั ิ หน้าที ของกรรมการใหม่ รวมถึ งการจัดให้มีการแนะนํา ลักษณะธุ รกิจและแนวทางการดําเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ให้แก่กรรมการใหม่ 7.4 บริ ษทั ฯ มีการจัดทํา “แผนสื บทอดตําแหน่ง” อย่างเป็ นทางการสําหรับผูบ้ ริ หารระดับสู ง เนืองจาก ตระหนักยิงว่า การวางแผนสื บทอดตําแหน่งเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญประการหนึ งของความสําเร็ จทาง ธุ รกิ จในอนาคต บริ ษทั ฯ จึ งได้มีการกําหนดกระบวนการและขันตอนปฏิ บตั ิในการคัดเลือกบุคลากรทีจะ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 34


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เข้ามารับผิดชอบในตําแหน่ งบริ หารที สําคัญทุกระดับ ให้เป็ นไปอย่างเหมาะสม โดยมี กระบวนการจัดทํา แผนสื บทอดตําแหน่ง ดังต่อไปนี (1) กําหนดรายรายชือและทําการประเมินผูท้ ีอยูใ่ นข่ายได้รับคัดเลือกให้เข้ากระบวนการ สื บทอดตําแหน่ง ผูบ้ ริ หารระดับสู ง และผูบ้ ริ หารทีดํารงตําแหน่งทีสําคัญ กําหนดรายชื อและทําการ ประเมินผูบ้ ริ หารในลําดับถัดลงมา และผูท้ ีอยู่ในข่ายได้รับคัดเลือกให้เข้ากระบวนการสื บทอดตําแหน่ ง โดย ดําเนินการประเมินดังนี - การประเมิ น พนัก งาน และการประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติง าน ประกอบด้ว ย การประเมินผลการปฏิบตั ิงานทีผ่านมาและแนวโน้มผลการปฏิบตั ิงานในอนาคต การประเมินความสามารถ ในการตัดสิ นใจ จุดเด่น สิ งทีต้องปรับปรุ งและพัฒนาการให้คาํ แนะนําเกียวกับงานและเส้นทางอาชี พ และ การประเมินศักยภาพของพนักงาน - การประเมิน 360 องศา ตามพฤติกรรมทีสอดคล้องกับค่านิยมองค์กร - การประเมินตาราง 9 ช่อง โดยพิจารณาจากผลการปฏิบตั ิงานและพฤติกรรม ทีสอดคล้องกับค่านิยมองค์กร (2) จัดทําผังรายชือผูส้ ื บทอดตําแหน่ง ผู้ด ํา รงตํา แหน่ ง จัด ทํา ผัง รายชื อผู ้สื บ ทอดตํา แหน่ ง ของตน โดยระบุ ชื อ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทีเป็ นผูท้ ีเหมาะสมทีสุ ดทีสามารถรับตําแหน่งแทนได้จาํ นวน 3 คน (อาจมีจาํ นวนมากหรื อ น้อยกว่านีได้) โดยเรี ยงตามลําดับความพร้อมของผูไ้ ด้รับการเสนอชือแต่ละคน (3) พิจารณาทบทวนผังรายชื อผูส้ ื บทอดตําแหน่ งและจัดทําแผนสื บทอดตําแหน่ ง ของบริ ษทั โดยรวม กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง และผูบ้ ริ หารฝ่ ายทรั พ ยากรบุ คคล ประชุ มพิจารณาทบทวนผังรายชื อผูส้ ื บทอดตําแหน่ง และรวบรวมแผนสื บทอดตําแหน่ งทังหมดของบริ ษทั โดยมีองค์ประกอบคือ รายงานภาพรวมธุ รกิจ โครงสร้างองค์กร ผังรายชือผูไ้ ด้รับคัดเลือกให้เข้ากระบวนการ สื บทอดตําแหน่ง ตาราง 9 ช่อง ผลการประเมินพนักงาน และผลการประเมิน 360 องศา (4) จัด ทํา แผนพัฒ นาผูบ้ ริ ห ารที ได้รั บ การบรรจุ ชื อลงในแผนสื บ ทอดตํา แหน่ ง เป็ นรายบุคคล ดําเนินการพัฒนาตามแผน และติดตามผลการพัฒนา (5) ดําเนินการประเมินและทบทวนแผนสื บทอดตําแหน่งเป็ นประจําทุกปี อนึ ง ผูบ้ ริ หารทีได้รับการบรรจุชือลงในแผนสื บทอดตําแหน่ ง จะได้รับการพัฒนา ตามแผนทีวางไว้เป็ นรายบุคคล มีโครงการอบรมพัฒนาทีเน้นการลงมือปฏิ บตั ิ จริ ง การมอบหมายงานที ท้าทาย รวมทังการหมุนเวียนงาน เพือพัฒนาทักษะการเป็ นผูน้ าํ พร้อมทังความรอบรู ้ในธุ รกิจและการพัฒนา องค์กรอย่างรอบด้าน ทังนี เพือให้มนใจว่ ั ามี ความต่อเนื องในการจัดเตรี ยมผูน้ าํ ทีมี ความพร้ อม เหมาะสม สํา หรั บ ตํา แหน่ ง ผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง และตํา แหน่ ง ที สํา คัญ ได้ท นั ที เมื อมี ตาํ แหน่ ง ว่า งลงหรื อ เพื อรองรั บ การขยายตัวของธุ รกิจ ส่วนที 2

การกํากับดูแลกิจการ

หัวข ้อที 9 - หน ้า 35


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

10. ความรับผิดชอบต่ อสั งคม 1. การประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม บริ ษทั ฯ ดําเนิ นธุ รกิ จภายใต้ความถูกต้องตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อกําหนดทีเกี ยวข้อง ตลอดจน หลักคุ ณธรรมและการมีหลักการกํากับดูแลกิ จการทีดี ดูแลสิ ทธิ ตามทีกฎหมายกําหนดของผูม้ ีส่วนได้เสี ย กลุ่มต่างๆ (Stakeholders) และประสานประโยชน์ร่วมกันอย่างเหมาะสม เพือให้ Stakeholders มันใจว่าสิ ทธิ ดังกล่าวได้รับการคุม้ ครองและปฏิบตั ิดว้ ยดี ได้รับผลตอบแทนทีเป็ นธรรมด้วยกันทุกฝ่ าย คณะกรรมการ บริ ษทั ฯ จึงมี “นโยบายการกํากับดูแลกิ จการทีดี ” เพือกําหนดหลักการกํากับดูแลทีเหมาะสมของบริ ษทั ฯ และจัดทํา “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิ” เพือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิทีถูกต้องให้แก่ผบู ้ ริ หารและพนักงาน ทุกคนของกลุ่มบริ ษทั ฯ ให้ถือปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด นโยบายการกํากับดูแลกิจการทีดี และคุณธรรม ข้อพึงปฏิบตั ิในการทํางาน เป็ นกรอบและแนวทาง ปฏิ บตั ิ ให้ดาํ เนิ น ธุ รกิ จโดยคํา นึ ง ถึ งความเสมอภาค เป็ นธรรม ไม่ เอารั ดเอาเปรี ย บ มี ค วามซื อสั ตย์แ ละ โปร่ งใสในการดําเนินธุรกิจ ไม่เรี ยกรับและจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ทีไม่สุจริ ตในการค้ากับคู่คา้ กลุ่มทรู ตระหนักดีวา่ การประกอบกิจการด้วยความเป็ นธรรมและโปร่ งใส เป็ นหัวใจสําคัญในการดําเนิ นงาน คือ ต้องมีความสุ จริ ตและตรวจสอบได้เพือประโยชน์ทีเท่าเทียมกันของทุกฝ่ าย โดยมีกระบวนการสังซื อสิ นค้า และ บริ การ ระหว่างบริ ษทั กับผูข้ ายสิ นค้าและบริ การ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิ กส์ทีสะดวกต่อการตรวจสอบในด้านต่างๆ อาทิ งบประมาณ, การตรวจสอบอํานาจอนุมตั ิ และการตรวจสอบข้อมูลอืนๆ ทีเกี ยวข้อง ซึ งการสังซื อสิ นค้านัน สามารถสังซื อสิ นค้าและบริ การได้โดยตรงผ่านระบบอินเทอร์ เน็ต ผูส้ ังซื อสิ นค้า สามารถเลือกซื อสิ นค้า และบริ การได้เอง จาก Online Catalogue ในลักษณะของ Self Service และสามารถระบุความต้องการสังซื อได้ดว้ ยตนเอง (Online Purchasing) นอกจากนี ยังมีมาตรการกํากับดูแลทีดีทาํ ให้เกิดความโปร่ งใส เป็ นธรรม เพือประโยชน์ทีเท่าเทียมกันทุกฝ่ าย และมีระบบทีตรวจสอบได้ ดังนี x มีกระบวนการคัดเลื อกผูข ้ ายสิ นค้าและบริ การ อย่างเท่าเทียมกัน ด้วยการเปรี ยบเทียบราคาทีเหมาะสม ตามนโยบายของแต่ละบริ ษทั ฯในกลุ่มทรู x มีการระบุงบประมาณ เพือควบคุมค่าใช้จ่ายของหน่ วยงานต่างๆ หากงบประมาณไม่เพียงพอ ก็ไม่สามารถดําเนินการในการสังซื อได้ x ในการอนุ มต ั ิการสังซื อสิ นค้าและบริ การ มีการอนุมตั ิอย่างเป็ นขันตอนตามระดับตําแหน่ง ทําให้ สามารถตรวจสอบผูม้ ีอาํ นาจอนุมตั ิ ตามมูลค่าสิ นค้าได้ x ฝ่ ายจัดซื อ มีการตรวจสอบการสังซื อสิ นค้าและบริ การทุกครัง อย่างไรก็ตามต้องมีการตรวจสอบในทุกขันตอนของกระบวนการสังซื อสิ นค้าและบริ การ สามารถ ตรวจเช็คข้อมูลต่างๆ ได้ตงแต่ ั ตน้ จนจบกระบวนการแล้ว และสามารถเรี ยกดูประวัติ รายละเอียดการสังซื อ สิ นค้าและบริ การต่างๆ ได้อีกด้วย

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

2. การต่ อต้ านการทุจริตคอรัปชัน บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญในการต่อต้านการทุจริ ต ตลอดจนการรับและการจ่ายสิ นบน กําหนดไว้ใน “คุณธรรมและข้อพึงปฏิบตั ิในการทํางาน” โดยห้ามพนักงานเรี ยกร้ องหรื อรับสิ นนําใจเพือตนเองหรื อเพือ ผูอ้ ืน จากบุ คคลที ร่ วมทําธุ รกิ จด้วย และห้ามการจ่ายเงิ นหรื อให้ความช่ วยเหลื อทีถื อว่าเป็ นการติ ดสิ นบน หรื อให้ผลประโยชน์ รวมทังสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐรณรงค์การต่อต้านคอรัปชัน 1) เปิ ดช่องร้องเรี ยนเพือความเป็ นธรรม บริ ษทั ฯ จัดช่องทางให้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถร้องเรี ยน หรื อแจ้งเบาะแสเกียวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อการกระทําผิดจรรยาบรรณธุ รกิ จ ส่ งถึ งคณะกรรมการบริ ษทั ผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ โดยประชาสัมพันธ์ไว้บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.truecorp.co.th นอกจากนีผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถร้องเรี ยนหรื อแจ้งเบาะแส (โดยจะได้รับการเก็บรักษาข้อมูล ไว้เป็ นความลับ) เกียวกับการทุจริ ต ประพฤติมิชอบ หรื อ การกระทําผิดจรรยาบรรณธุ รกิจ ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี x จดหมายอิเล็กทรอนิ กส์ : auditcommittee@truecorp.co.th x จดหมายส่ งทางไปรษณี ย ์ เรี ยน คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) เลขที 18 อาคารทรู ทาวเวอร์ ชัน 28 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 หน่วยงานเลขานุการบริ ษทั และหลักทรัพย์ ในฐานะทีเป็ นเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ จะเป็ น ผูด้ ูแลรับผิดชอบในการรวบรวมและนําส่ งเรื องร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแสต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบ เพือพิจารณาและดําเนินการต่อไป ซึ งคณะกรรมการตรวจสอบจะสรุ ปผลการดําเนินการและนําเสนอรายงาน ต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ เป็ นรายไตรมาส เงือนไขในการรับเรื องร้องเรี ยนหรื อการแจ้งเบาะแส: x ไม่รับบัตรสนเท่ห์ x ผูร้ ้ องเรี ยน/ผูแ ้ จ้งเบาะแส ต้องระบุชือและนามสกุลจริ ง โดยบริ ษทั ฯ จะเก็บรักษาข้อมูลไว้เป็ น ความลับ ซึ งจะรับรู ้ได้เฉพาะบุคคลทีได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบเท่านัน x เรื องทีไม่เกียวข้องต่างๆ ดังตัวอย่างด้านล่างนี คณะกรรมการตรวจสอบจะไม่รับดําเนิ นการให้: - การสมัครงาน - แบบสํารวจ หรื อ การขอรับข้อมูลเกียวกับบริ ษท ั ฯ - การเสนอขายสิ นค้าหรื อบริ การ - การขอรับบริ จาคหรื อการสนับสนุ นต่างๆ

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

2) ร่ วมรณรงค์ตา้ นทุจริ ตคอรัปชัน กลุ่มทรู สนับสนุ นสํานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่ งชาติ (ปปช.) ใน โครงการช่อสะอาดประจําปี 2557 ซึงจัดต่อเนืองเป็ นปี ที 4 เพือให้กาํ ลังใจผูส้ ร้างสรรค์สือทีมีผลงานด้านการ ป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต โดยสนับสนุนการผลิตและเผยแพร่ สปอตประชาสัมพันธ์เชิ ญชวนให้สือต่างๆ ส่ งผลงานเข้าประกวด รวมทังประมวลภาพ พิธีมอบรางวัลออกอากาศผ่านทรู วิชนส์ ั กว่า 20 ช่ องรายการ เพือช่วยขับเคลือนแนวคิดและสร้างค่านิยมทีดีของการต่อต้านคอรัปชัน 3. การเคารพสิ ทธิมนุษยชน บริ ษทั ฯ ดําเนิ นธุ รกิ จโดยให้ความเคารพสิ ทธิ ทีมนุ ษย์ทุกคนสมควรได้รับในฐานะทีเป็ นส่ วนหนึ ง ของสังคม ตลอดจนความมีเสรี ภาพและศักดิ ศรี ของความเป็ นมนุ ษย์ ให้ความเสมอภาคโดยปราศจากการ เลื อกปฏิ บตั ิ เคารพความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีการปฏิ บตั ิทีเป็ นรู ปธรรมอย่างชัดเจน โดยให้สิทธิ และส่ งเสริ มให้ทาํ งานตรงตามความสามารถและศักยภาพ ทังนี บริ ษทั จ้างผูพ้ ิการเข้าร่ วมงานตามความรู้ ความสามารถของคนพิการในตําแหน่งวิศวกร ฝ่ ายบริ การลูกค้า ช่างเทคนิ ค ณ สิ นปี 2557 มีผพู ้ ิการเข้าร่ วมงาน กับทรู จาํ นวน 33 คน 1) ตังศูนย์ฝึกอาชีพสร้างรายได้คนพิการ นอกจากนี บริ ษทั ยังร่ วมดําเนินโครงการส่ งเสริ มอาชี พผูพ้ ิการ ตามมาตรา 35 แห่ งพระราชบัญญัติ ส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวติ ผูพ้ ิการ พ.ศ.2550 โดยส่ งเสริ มกลุ่มบุคคลออทิสติกและผูพ้ ิการทางการมองเห็น จํานวน 203 คน ภายใต้ชือ “โครงการพัฒนาศักยภาพงานพิมพ์และการจัดการสํานักงานสําหรับบุคคลออทิสติก และครอบครัว ”จัดตังศูนย์ฝึกอบรมเพือการทํางาน (True Autistic Thai Center) และ ฝึ กอาชี พแก่บุคคลออทิสติก เพือให้ประกอบอาชีพเลียงตัวเองได้ ในขณะเดียวกันยังมีแนวคิดสนับสนุนบริ การของศูนย์ฝึกอบรมฯ ทังนี ได้จดั หลักสู ตรการฝึ กอบรมเพือพัฒนาศักยภาพในการดําเนิ นงานบริ หารศูนย์วิชาชี พให้แก่ ผูพ้ ิการ โดยพัฒนาทักษะใน 6 หลักสู ตรๆละ 600 ชัวโมง รวมจํานวน 3,600 ชัวโมง ประกอบด้วย 1. หลักสู ตรการสอนงานสํ านักงาน เพือให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ พืนฐาน สามารถใช้โปรแกรม สํานักงานด้านการพิมพ์เอกสาร โดยใช้โปรแกรมสํานักงานด้านการพิมพ์เอกสาร เพือให้ผรู้ ับการ ฝึ กสามารถสื บค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และมีทกั ษะขันพืนฐานทีจําเป็ นในการสื อสารผ่าน Tablet 2. หลักสู ตรการอบรมคอมพิวเตอร์ เพือการทํางานและงานพิมพ์ เพือให้ผรู ้ ับการฝึ กมีทกั ษะขันพืนฐานที จําเป็ นในระบบงานพิมพ์ On Demand และการสําเนาดิจิทลั เพือการทํางานและสร้างรายได้ให้แก่ตนเอง 3. หลักสู ตรธุรกิจร้ านกาแฟ เพือเรี ยนรู ้กระบวนการทําธุ รกิจร้านกาแฟ และทักษะการทําเครื องดืม ประเภทต่างๆ เพือให้ผรู ้ ับการฝึ กสามารถประกอบอาชีพธุ รกิจร้านกาแฟ และมีรายได้เป็ นของตนเอง

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

4. หลักสู ตรการเกษตรกรรม เพือให้ผเู ้ ข้ารับการฝึ กสามารถประกอบอาชีพการเกษตรกรรมอย่าง ผสมผสาน สอดคล้องกับศักยภาพตนเอง ชุมชน สังคม มีความรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะการประกอบ อาชีพการเกษตรกรรม มีรายได้จากการเกษตรกรรมด้วยตนเอง 5. หลักสู ตรการปัน เรี ยนรู้ทกั ษะการปั นดินไทยเพือให้นาํ ไปปรับใช้ในการสร้างชิ นงาน พร้อมทัง แนะนําแนวทางและช่องทางจําหน่ายงานปั นดินไทยด้วยตนเอง 6. หลักสู ตรการทํานํายาล้ างจาน เรี ยนรู้วธิ ีการทํานํายาล้างจาน นําความรู้ทีได้ไปประกอบอาชีพ และมีรายได้เป็ นของตนเอง 4. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็ นธรรม บริ ษทั มีความห่ วงใย และเอาใจใส่ ชีวิตความเป็ นอยู่ของพนักงาน จึงได้จดั โครงการปลูกรัก โดย มีกิจกรรมต่าง ดังนี โครงการปลูกรัก x Happiness Temperature (HT) สํารวจระดับความสุ ขของพนักงาน เพือนําผลทีได้มาพัฒนาปรับปรุ งให้ เหมาะสมความต้องการของพนักงาน โดยสํารวจผ่าน HR website x Wellness Spa บริ การนวดแผนไทย เพือเป็ นการผ่อนคลายแก่พนักงาน x ปลูกรักสุ ขภาพดี เพือเป็ นการกระตุน ้ ให้พนักงานดูแลสุ ขภาพในเชิงป้ องกัน จึงจัดให้มีการตรวจ ร่ างกายพิเศษ x ปลูกรักปลูกธรรม จัดให้มีการสวดมนต์และตักบาตรร่ วมกันทุกเดือน รวมทังจัดบรรยายธรรมะ ทุกเดือน นอกจากนี ยังมีการจัดอุปสมบทพนักงาน-ผูบ้ ริ หารเพือถวายเป็ นพระราชกุศล และจัด หลักสู ตรให้พนักงานสามารถไปฝึ กอบรมปฏิบตั ิธรรม เป็ นเวลา 5 วันต่อปี 5. ความรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค กลุ่มทรู ได้จดั ให้มีโครงการต่างๆ เพือปลูกฝังให้พนักงานให้ความสําคัญต่อลูกค้า ดังนี 1. All4One Contest จัดประกวดสายงานบริ การทีดูแลลูกค้า เพือสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดแก่ลูกค้า ทีมทีชนะเลิศจะได้รับเงินรางวัลและศึกษาดูงานในต่างประเทศ 2. Caring Forwards Contest จัดประกวดสายงานทีสนับสนุ น เพือให้เกิดกระบวนการส่ งต่อการบริ การที ราบรื น โดยจัดสลับปี เว้นปี กับ All4One Contest ทีมทีชนะเลิศจะได้รับเงินรางวัลและศึกษาดูงาน ในต่างประเทศ 3. Total Quality Management (TQM) นํากระบวนการพัฒนาระบบบริ หารจัดการคุณภาพองค์กร หรื อ TQM มาปรั บใช้ในการดํา เนิ นงานทุ ก หน่ วยงานในองค์กรเพื อเพิมคุ ณภาพสิ นค้าและ บริ การสําหรับลูกค้า 4. การตรวจสอบคุ ณภาพและความปลอดภัยของผลิ ตภัณฑ์ตามมาตรฐานของ กสทช. อุปกรณ์ อิเล็ก ทรอนิ กส์ (โทรศัพ ท์และแท็บ เล็ ต) ทังเฮ้า ส์ แบรนด์และแบรนด์ชนนํ ั าที วางจําหน่ ายใน สํานักบริ การลูกค้า หรื อ ทรู ช็อป ผ่านการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานของเครื องโทรคมนาคม ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

และอุ ปกรณ์ ตามหลักเกณฑ์มาตรฐานทางเทคนิ คที เกี ยวข้องจากคณะกรรมการกระจายเสี ยง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เพือสุ ขภาพและความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภค 5. จัดทําสื อเพือสร้างความรู ้ความเข้าใจในการใช้งานเทคโนโลยีและอุปกรณ์ไอทีต่างๆ นําเสนอใน รู ปแบบถาม-ตอบ พร้อมคําแนะนําเกร็ ดความรู ้ดา้ นเทคโนโลยีทีเกียวกับบริ การ ผ่านสื อสิ งพิมพ์ วิทยุและโทรทัศน์ทีเข้าถึงกลุ่มประชาชนทัวไป 6. การดูแลรักษาสิ งแวดล้ อม กลุ่ ม ทรู ใ ห้ค วามสํา คัญ และตระหนัก ถึ ง ปั ญหาสิ งแวดล้อม โดยจัดกิ จกรรมที ส่ ง เสริ ม ด้า นการ อนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ งแวดล้อม ภายใต้โครงการทรู ปลูกปัญญา มาอย่างต่อเนืองทุกปี ดังนี 1) การส่ งเสริ มกิจกรรมเพือรักษาสิ งแวดล้อม x ประกวดภาพถ่ายอนุ รักษ์ธรรมชาติ “สัตว์มีค่า ป่ ามีคุณ” กลุ่ ม ทรู ภายใต้โครงการทรู ป ลู กปั ญญา ร่ วมกับ กรมอุ ทยานแห่ งชาติ สั ตว์ป่ าและพันธุ์พื ช จัดโครงการประกวดภาพถ่ายอนุ รักษ์ธรรมชาติ “สัตว์มีค่า ป่ ามีคุณ” ครังที 20 ประจําปี 2557 เพือกระตุน้ จิตสํานึกคนไทยให้ร่วมกันอนุ รักษ์ธรรมชาติและสิ งแวดล้อมผ่านภาพถ่าย ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี และถ้วยประทานสมเด็จพระเจ้าพีนางเธอเจ้าฟ้ ากัลยาณิ วฒั นา กรมหลวง นราธิ วาสราชนคริ นทร์ พร้อมเงินรางวัลรวมมูลค่ากว่า 500,000 แสนบาท และรับสิ ทธิ ท่องเทียวอุทยานแห่ งชาติ หรื อเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทัวประเทศโดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่าย ในปี นีมีภาพส่ งเข้าประกวดรวม 2,036 ภาพ แบ่งเป็ นประเภทป่ าไม้ 966 ภาพ และประเภทสัตว์ป่า 1,074 ภาพ โดยจํานวนผูเ้ ข้าประกวดทังระดับบุคคลทัวไป และระดับนักเรี ยน นิ สิต นักศึกษา เพิมขึนอย่าง ต่อเนือง และภาพทีส่ งเข้าประกวดก็มีคุณภาพมากขึน เผยแพร่ ผลงานภาพถ่ายอนุรักษ์ธรรมชาติครบรอบ 20 ปี กลุ่มทรู จัดโครงการประกวดภาพถ่ายมาตังแต่ปี 2538 โดยครบรอบ 20 ปี ในปี 2557 ซึ งใน โอกาสพิเศษนีกลุ่มทรู ได้รวบรวมผลงานภาพถ่ายอนุ รักษ์ธรรมชาติทีได้รับรางวัลตังแต่มี 2538 จนถึงปั จจุบนั จัดนิทรรศการภาพถ่ายอนุ รักษ์ธรรมชาติ “สัตว์มีค่า ป่ ามีคุณ” เผยแพร่ ความงามของธรรมชาติผา่ นภาพถ่าย กระตุน้ ให้คนไทยหันมาสนใจและให้ความสําคัญในการอนุรักษ์ธรรมชาติสิงแวดล้อมมากขึน โดยจัดขึน ณ หอศิลปวัฒนธรรม กรุ งเทพฯ x

รางวัลอนุรักษ์ธรรมชาติผา่ นภาพถ่าย บริ ษทั จัดพิธีมอบรางวัลแก่ผชู ้ นะการประกวดประจําปี 2557 พร้อมทังมอบเงินทุนสนับสนุ น แก่มูลนิธิสืบนาคะเสถียร และโครงการพ่อแม่อุปถัมภ์สัตว์ป่าในเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่าในฐานะทีดําเนิ นกิจกรรม ด้านส่ งเสริ มการอนุ รักษ์ธรรมชาติสิงแวดล้อม พร้อมทังจัดเสวนาในหัวข้อ "20 ปี บนเส้นทางการอนุรักษ์ ธรรมชาติผา่ นภาพถ่าย" รวมทังจัดทําสมุด รวมผลงานภาพถ่ายอนุ รักษ์ธรรมชาติ จากโครงการประกวดภาพถ่าย ตลอด 20 ปี และสมุดภาพโครงการประกวดภาพถ่ายประจําปี 2557 ด้วยงานพิมพ์สีเขียวรับผิดชอบต่อสิ งแวดล้อม (Green Print Reduce CO2 Emission) x

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ส่ งเสริ มการอนุรักษ์ธรรมชาติผา่ นกิจกรรมดูนก บริ ษทั โดยทีมงาน ทรู ปลูกปั ญญา จัดกิ จกรรมดูนก วาดภาพ ระบายสี และเรี ยนรู ้ เทคนิ คถ่ายภาพ ให้แก่พนักงานกลุ่มทรู โดยจัดขึน ณ สวนศรี นครเขือนขันธ์ (บางกระเจ้า) จังหวัดสมุทรปราการ กิจกรรมดังกล่าว เป็ นการเปิ ดโอกาสให้พนักงานและสมาชิกครอบครัวทีมีความสนใจธรรมชาติและสิ งแวดล้อม ได้รับความรู ้ และทํากิจกรรมร่ วมกัน ทําให้เกิดความ สัมพันธ์ทีดีระหว่างเพือนร่ วมงาน และทัศนคติทีดีต่อองค์กร x

2) กิจกรรมเพือรักษาสิ งแวดล้อม x โครงการลดใช้พลังงาน ลดการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ เพือโลกสี เขียว ทรู ยงั ให้ความสําคัญเรื องลดการใช้พลังงาน โดยดําเนิ นโครงการประหยัดพลังงาน พร้อมทัง เปิ ดเผยข้อมูลปริ มาณการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ รณรงค์ให้แต่ละกลุ่มธุ รกิจคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ รวมทังปรับปรุ งระบบการทํางาน เพือใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ดังนี 1) โครงการประหยัดพลังงานของอุปกรณ์ ในอาคารชุมสาย ด้วยการบริ หารการใช้งานสื อสารข้อมูล บนอุปกรณ์แม่ข่าย (Server) และอุปกรณ์ลูกข่ายให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึน โดยปิ ดอุปกรณ์แม่ข่ายทีใช้งานน้อย แล้วควบรวมอุปกรณ์ลูกข่ายไปรวมบนอุปกรณ์แม่ข่ายเดี ยวกัน เพือใช้งานอุปกรณ์ แม่ข่ายอย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ รวมทังปรับเปลี ยนหลอดไฟแสงสว่างในอาคารจากหลอดฟลูออเรสเซ้นท์เป็ นหลอดตะเกี ยบ ซึ งใช้พลังงาน ไฟฟ้ าน้อย และบํารุ งรักษาง่ายกว่า 2) โครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้ าของเครื องปรับอากาศในห้อง GPRS โดยนําระบบ Free Flow (ระบบระบายความร้อนด้วยอากาศ) มาใช้ในการลดระยะเวลาการใช้งานเครื องปรับอากาศ พร้อมทัง ออกแบบพัดลมให้ดูดอากาศภายในห้องออกไปทิงนอกห้อง และออกแบบช่องลมเพือปรับปริ มาณลมเข้าที เหมาะสม สามารถรักษาอุณหภูมิภายในห้องให้อยูใ่ นเกณฑ์ทีกําหนด (28 - 35 องศาเซลเซี ยส) เป็ นการช่วยลด พลังงานไฟฟ้ าของเครื องปรับอากาศ 3) ปิ ดอุปกรณ์ทีให้บริ การ PCT ทังหมดรวมทังปิ ดไฟอุปกรณ์ Line Test ในโครงข่าย 2.6 ล้านเลขหมาย เฉพาะทีตรวจสอบพบว่าอุปกรณ์ RTU เสี ย และไม่สามารถแก้ไขกลับคืนได้ เพือลดการใช้พลังงานไฟฟ้ า 4) ปิ ดระบบอุปกรณ์บริ การ 2G ยกเลิกรื อถอนอุปกรณ์ NE4 CORE Router และ BRAS SSG (Red black) เนืองจากได้ Cutover ไปใช้อุปกรณ์ทีเป็ นเทคโนโลยีใหม่กว่าแล้ว ทําให้ประหยัดพลังงานได้ 5) ปิ ดไฟชุมสาย PNC1-TDM ลดการใช้พลังงานโดยการปิ ดอุปกรณ์แม่ข่าย Server และ ยกเลิกใช้งานอุปกรณ์ metronet Extreme 5 แห่ง เพิมประสิ ทธิภาพการทางานระบบเครื องอากาศในชุมสาย 6) ยกเลิกฟั งก์ชนั และถอดการ์ ด Emergency Standalone ชุ มสายย่อย Siemens เพือลดค่าซ่ อม การ์ ดและค่าไฟฟ้ า Band Width ให้ลูกค้าโดยใช้หลักใกล้อนั ไหนใช้อนั นัน

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

7. การร่ วมพัฒนาชุ มชนและสั งคม 1) ส่ งเสริ มกิจกรรมด้านพัฒนาการศึกษา (1) ปลูกความรู้: โครงการ เปิ ดโลกทัศน์แห่งการเรี ยนรู ้สู่โรงเรี ยนทัวประเทศ ภายใต้โครงการทรู ปลูกปั ญญา กลุ่มบริ ษทั ทรู ร่วมส่ งเสริ มและพัฒนาด้านการศึกษาผ่าน โครงการ เปิ ดโลกทัศน์แห่ งการเรี ยนรู ้ สู่ โรงเรี ยนทัวประเทศ ภายใต้โครงการทรู ปลูกปั ญญา โดยนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสื อสารทีครบวงจร ของทรู มาเสริ มศักยภาพการเรี ยนการสอนแก่โรงเรี ยนทีขาดแคลนสื อการเรี ยนรู ้ โดยคัดเลือกโรงเรี ยนทัวประเทศใน สังกัด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิน สังกัดกองบัญชาการตํารวจ ตระเวนชายแดน สังกัดสํานักการศึกษากรุ งเทพมหานคร ซึงจัดการศึกษาภาคบังคับ (ป.1-ม.3 ) และขาดแคลนสื อการ เรี ยนการสอน รวมทังสามารถทํากิจกรรมตามตัวชีวัดของโครงการ และมีการสรุ ปผลสัมฤทธิ ทางการศึกษา เข้าร่ วมโครงการ คัดเลือกโรงเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปัญญา ในปี 2557 บริ ษทั ได้คดั เลือกโรงเรี ยนเข้าร่ วมโครงการทรู ปลูกปั ญญาเพิมอีก 500 โรงเรี ยน โดยได้ส่งมอบและติดตังอุปกรณ์เป็ นทีเรี ยบร้อยแล้ว ทําให้ปัจจุบนั มีโรงเรี ยนเข้าร่ วมโครงการทรู ปลูกปั ญญา รวม 5,500 โรงเรี ยน โดยมีนกั เรี ยนเข้าถึงสื อการเรี ยนรู้จาํ นวน 1,749,482 คน และครู เข้าถึงสื อเรี ยนรู้ จํานวน 87,257 คน x

คัดเลือกโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปัญญา บริ ษทั คัดเลือกจากโรงเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปั ญญาทีมีศกั ยภาพ สามารถนํา สื อดิจิทลั เพือการเรี ยนรู้ทีทรู มอบให้ เข้ามาใช้ในการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สามารถสร้ างและขยายผล การเรี ยนรู้ สู่โรงเรี ยนเครื อข่ายในเขตพืนทีเดี ยวกัน มี การดําเนิ นการตามตัวชี วัดทีสามารถวัดผลสัมฤทธิ ทางการศึกษาได้ อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง และนําผลการประเมินทีได้มาพัฒนาโรงเรี ยนให้เกิ ดความเข้มแข็ง ก้าวไปสู่ ความยังยืนในอนาคต x

ทังนีได้คดั เลือกโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปั ญญาเพิมขึน อีก 15 โรงเรี ยน ในปี 2557 จากเดิม ทีมี 36 โรงเรี ยน โดยส่ งมอบชุดอุปกรณ์และสื อดิจิทลั เพือการเรี ยนรู ้เพิมเติมแก่โรงเรี ยนต้นแบบเป็ นทีเรี ยบร้อยแล้ว อาทิ การติดตังระบบคอมพิวเตอร์ และโทรทัศน์ทุกห้องเรี ยน ติดตังระบบภาพและเสี ยงรองรับการกระจาย สัญญาณภาพและเสี ยงไปทุกห้องเรี ยน รวมทังติ ดตังระบบออกอากาศไปยังทุ กห้องเรี ยน เป็ นต้น โดยที ณ สิ นปี 2557 มีโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปัญญารวม 51 โรงเรี ยน วัดผลสัมฤทธิ ทางการศึกษาของโรงเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปัญญา บริ ษทั ร่ วมกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน (สพฐ.) จัดทําแบบประเมิ น เพือวัดผลสัมฤทธิ ทางการศึกษา ซึงประเมินทังผูบ้ ริ หาร ครู และนักเรี ยน โดยมีโรงเรี ยนร่ วมทําแบบประเมิน จํานวน 1,238 โรงเรี ยน จาก 5,500 โรงเรี ยน โดยสรุ ปผลการประเมินดังนี x

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

-

-

-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนมีนโยบายในการใช้สือทรู ปลูกปั ญญาและแต่งตังครู ผรู ้ ับผิดชอบ โครงการ 97% ครู มีความเข้าใจในการใช้สือทรู ปลูกปัญญาและสามารถนํามาสอนเสริ มแก่นกั เรี ยน ได้ 94% นักเรี ยนสนใจเรี ยนมากขึนผ่านสื อจากทรู ปลูกปั ญญา 94%

นอกจากนียังนําผลการสอบโอเน็ตของนักเรี ยนมาร่ วมในการประเมินด้วย เสริ มความเข้มแข็งขยายเครื อข่ายโรงเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปัญญา ทรู ปลู กปั ญญาจัดอบรมการใช้สือดิ จิทลั เพือการเรี ยนรู ้ แก่ ผูบ้ ริ หารและครู อย่างต่อเนื อง เพือให้ สามารถใช้สือเพือการเรี ยนรู้ ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี ยังมีการตรวจติดตามประเมินผลโรงเรี ยน โดยมีพนักงานจิตอาสาและทีมงานทรู ปลูกปั ญญา ไปตรวจเยียมให้คาํ แนะนํา พร้อมทังยังมีบริ การ Call Center รับเรื องและช่ วยแก้ไขปั ญหาการใช้งานเบื องต้น และจัดส่ งผังรายการทีน่ าสนใจในแต่ละเดื อนไปให้ล่วงหน้า เพือช่วยให้ครู ผสู ้ อนสามารถวางแผนการนําสื อมาใช้ในวิชาทีเรี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ x

ร่ วมมือกับสํานักงานเขตพืนทีการศึกษาสร้างต้นแบบเข้มแข็ง บริ ษทั ได้ร่วมลงนามความร่ วมมือระหว่างทรู ปลูกปั ญญา โรงเรี ยนต้นแบบ และสํานักงานเขต พื นที การศึ ก ษา ที จะร่ ว มกัน สร้ างความเข้ม แข็ง ของโรงเรี ย นต้นแบบ โดยจัดสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บ ตั ิ ก ารแก่ โรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปั ญญา เพือเสริ มศักยภาพ เสริ มสร้างความเข้มแข็ง และสามารถขยายผลในการ ใช้สือการเรี ยนการสอนของทรู ปลูกปั ญญาไปสู่ โรงเรี ยนในโครงการปลูกปั ญญาในพืนที ใกล้เคียงให้เกิ ด ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด อีกทังโรงเรี ยนต้นแบบต้องช่ วยจัดกิจกรรมกระตุน้ การใช้สือเรี ยนรู ้ให้แก่โรงเรี ยนใน พืนทีทัวประเทศเพือสร้างเครื อข่ายให้เข้มแข็งยิงขึน x

มอบสื อดิจิทลั เพือการศึกษา ทีม IT Functional Program CP Group ซึงประกอบด้วยผูบ้ ริ หาร และหัวหน้าแผนกด้าน IT ใน เครื อ CP กว่า 40 คน ทีเข้าร่ วมอบรมหลักสู ตรการพัฒนาผูน้ าํ และการจัดการของพนักงานในเครื อ CP Group ร่ วมกันทํากิ จรรมเพือสังคม โดยได้ต่อเชื อมระบบ LAN ในห้องคอมพิวเตอร์ พร้อมกับมอบเครื องคอมพิวเตอร์ และ LCD Projector ให้กบั โรงเรี ยนวัดหนองเคียม อ.บ้านนา จ.นครนายก นอกจากนี ยังมอบทุนการศึกษา ให้กบั นักเรี ยนอีกด้วย โดยทีมทรู ปลูกปั ญญาร่ วมสนับสนุ นด้วยการจัดกิจกรรมนันทนาการผ่านชุ ดสื อดิจิทลั เพือการเรี ยนรู ้จาก ทรู ปลูกปั ญญา พร้อมอบรมให้ความรู ้ถึงประโยชน์ของการใช้สือแก่คณะครู x

ศึกษางานโรงเรี ยนทรู ปลูกปัญญา คณาจารย์แ ละนัก ศึ ก ษาของสถาบัน การจัด การปั ญ ญาภิ ว ฒ ั น์ เ ยียมชมร.ร.ทรู ป ลู ก ปั ญ ญา ได้เรี ยนรู ้และเข้าใจ และเห็ นความสําคัญของการส่ งเสริ มกิจกรรมองค์กรเพือสังคมทางด้านการศึกษาของ กลุ่มบริ ษทั ทรู ตลอดจนสร้างการมีส่วนร่ วม พันธมิตรด้านการศึกษาให้เยาวชนไทย x

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นอกจากนี คณะผูบ้ ริ หารและเจ้าหน้าที กสทช.ได้เยียมชมการนําเทคโนโลยี 3G มาพัฒนา ศักยภาพการเรี ยนรู ้ของครู และนักเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปั ญญาที โรงเรี ยนบ้านแม่คาํ (ประชานุ เคราะห์) อ.แม่ จ ัน จ.เชี ย งราย ซึ งเป็ นโรงเรี ย นที สามารถนํา สื อต่ า งๆ ที ได้รั บ จากโครงการทรู ป ลู ก ปั ญ ญา มา ประยุกต์ใช้ในการเรี ยนการสอนได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ส่ งผลให้นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ อย่างสนุ กสนาน และ สามารถสร้างผลสัมฤทธิ ต่อผลการเรี ยนของนักเรี ยนอีกด้วย หมู่บา้ นทรู ปลูกปั ญญาส่ งเสริ มชุมชนสร้างงานสร้างอาชีพ ทีมงานของ หมู่บา้ นทรู ปลูกปั ญญา ทีหมู่บา้ นโป่ งไทร ต.ลําสุ มพุง อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี ได้นาํ ตัวแทนชุมชนศึกษาเรี ยนรู ้การจัดการทําเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวคิด "โคก หนอง นา โมเดล" แหล่งเรี ยนรู ้ และท่องเทียวเชิ งเกษตรธรรมชาติวิทยากร เพือนําความรู ้ดา้ นการบริ หารจัดการพืนทีเกษตรไปปรับใช้ในชุ มชน รวมทังในครัวเรื อนของตนเอง และขยายผลให้แก่ผสู ้ นใจรายอืนๆ ในชุ มชนต่อไป ทังนี เพือลดรายจ่ายใน ครัวเรื อน เพิมรายได้ให้แก่เกษตรกร x

นอกจากนียังร่ วมกับคณะกรรมการกองทุนโซล่าเซลล์ ออกบูธสาธิ ตการใช้พลังงานจากแผงโซ ล่าเซลล์ ณ โรงเรี ยนลําสมพุง อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี เพือประชาสัมพันธ์โครงการให้แก่นกั เรี ยน นักศึกษา และชุมชน ชาวบ้าน หน่วยงานราชการนักเรี ยน นักศึกษาและชุ มชน ชาวบ้าน หน่วยงานราชการ กว่า 150 คน มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนําความรู้ไปปรับใช้ในชุมชน ทีมทรู ปลูกปั ญญายังได้รวมพลังพนักงานทรู ในพืนที อาทิ ทีมงาน D&S ทีมงาน Network ทัง TrueOnline และ TrueMove พร้อมด้วยครู และนักเรี ยนโรงเรี ยนบ้านโป่ งไทร ซึงเป็ นโรงเรี ยนต้นแบบ ทรู ปลูกปั ญญา ยังสร้างฝายชะลอนําและฝายดักตะกอนดินเพือพัฒนาและรักษาทางนําไหลให้ กักเก็บความชุ่มชืนสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้ผนื ป่ าบริ เวณหมู่บา้ นโป่ งไทรและพืนทีใกล้เคียง อีกด้วย พนักงานจิตอาสาร่ วมพัฒนาโรงเรี ยนทรู ปลูกปัญญา ทรู ปลูกปั ญญา ลงพืนทีร่ วมกับพนักงานในพืนทีภาคใต้ตอนล่าง ร่ วมทํากิจกรรมแนะนําการใช้ สื อทรู ปลูกปัญญาและปรับภูมิทศั น์ ให้กบั โรงเรี ยนวัดโพรงงู อําเภอศรี บรรพต จังหวัดพัทลุง และ ในพืนทีภาคเหนื อ ณ โรงเรี ยนราษฎร์ รัฐพัฒนา อ.สันติสุข จ.น่าน ทังนีเพือให้พนักงานมีส่วนร่ วมกับกิจกรรมเพือสังคม เป็ น ส่ วนหนึงทีจะช่วยดูแลโรงเรี ยนในโครงการให้มีการใช้สือทรู ปลูกปั ญญาได้มากขึน x

นอกจากนี พนักงานในหน่ วยงาน Human Resources & Organization Development (HR&OD) กว่า 100 คน ร่ วมกับทีมงานทรู ปลูกปั ญญา จัดกิจกรรมต้นแบบ ทรู อาสา ปลูกปั ญญา ภายใต้แนวคิดปลูกความรู้ ปลูกความดี ปลูกใจรักสิ งแวดล้อม ณ โรงเรี ยนวัดสี ชมพู กรุ งเทพฯ โดยร่ วมกับคณะครู นักเรี ยน ช่วยกัน ปรับปรุ งภูมิทศั น์ สิ งแวดล้อมภายในโรงเรี ยน พร้อมทังเรี ยนรู ้ การใช้สือทรู ปลูกปั ญญา ผ่านกิ จกรรมเกมต่างๆ เพือให้เป็ นต้นแบบแก่หน่วยงานอืนๆ ทีจะเข้าไปดําเนินกิจกรรมในโรงเรี ยนทรู ปลูกปั ญญาต่อไป

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

(2)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ปลูกความรู้: โครงการด้านอืนๆ ภายใต้โครงการทรู ปลูกปัญญา

English We Can ส่ งเสริ มครู สอนภาษาอังกฤษ บริ ษทั ร่ วมกับ British Council ประเทศไทยจัดอบรมหลักสู ตรการพัฒนาทักษะบริ ษทั ภาษาอังกฤษ English We Can อย่างต่อเนื องเป็ นปี ที 2 ให้แก่ครู จากโรงเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปั ญญาทีผ่านการประเมินผล และคัดเลือกจากครู สอนภาษาอังกฤษของโรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปั ญญาเข้าร่ วมอบรมกับเจ้าของภาษา เป็ น ระยะเวลา 120 ชัวโมง เพือพัฒนาเทคนิคการสอนภาษาอังกฤษรู ปแบบใหม่ ส่ งเสริ มความกล้าในการสื อสาร ภาษาอังกฤษ เป็ นการยกระดับและเสริ มทักษะการสอนภาษาอังกฤษแก่คณะครู โรงเรี ยนต้นแบบทรู ปลูกปั ญญา ให้ ได้มาตรฐานและเตรี ยมความพร้อมก้าวสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน x

นักวิทย์นอ้ ยทรู ปี ที 19 บริ ษทั ร่ วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีศึกษาไทย (สวทศ.) จัดโครงการประกวด โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับประถมศึกษา ระดับชาติ “นักวิทย์นอ้ ยทรู ” ปี ที 19 ประจําปี 2557 ในหัวข้อ “วิทยาศาสตร์ เพือการพัฒนาคุณภาพชี วิต ” เปิ ดโอกาสให้นัก เรี ยนระดับประถมศึกษาปี ที 4–6 ทังภาครัฐและเอกชนทัวประเทศ ส่ งผลงานเข้าประกวด x

ทังนีมีนกั เรี ยนส่ งผลงานเข้าร่ วมแข่งขันถึง 334 โครงงาน จาก 220 โรงเรี ยนจาก 65 จังหวัด ทัวประเทศ โดยโครงงานเครื องโกยมูลวัว ประเภทสิ งประดิ ษฐ์ จาก โรงเรี ยนวัดควนขีแรด จังหวัดพัทลุง ทีมี แนวคิดกําจัดกลิ นเหม็นจากมูลวัวบริ เวณรอบโรงเรี ยน ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง พร้ อมเงิ นสนับสนุ น ทําโครงงาน และจะได้เข้าร่ วมเป็ นโรงเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปั ญญา ค่ายเยาวชนทรู สร้างสรรค์สังคมด้วยการให้ บริ ษทั ดําเนิ นโครงการค่ายเยาวชนทรู ครังที 8 ประจําปี 2557 หัวข้อ “สร้างสรรค์ชุมชน เริ มต้นด้วยการให้” สําหรับนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4-5 ทีสามารถคิดค้นแผนงานรณรงค์ และ นําไปปฏิบตั ิจริ งเพือสร้างสรรค์และเปลียนแปลงชี วิตให้ดียิงขึน โดยมีโรงเรี ยนส่ งผลงานเข้าร่ วมประกวด ถึง 90 โรงเรี ยน จาก 47 จังหวัดทัวประเทศ x

ผลงานทีชนะเลิ ศ ได้แก่ โครงการ “สุ ขกับชี วิต ทีมี จิตอาสา เยียวยาผูป้ ่ วยมะเร็ ง ” ของ โรงเรี ยนธาตุนารายณ์ วิทยา จ.สกลนคร รับรางวัลทุนการศึกษาและสื อดิจิทลั เพื อการเรี ยนรู้ พร้ อมได้ เข้าร่ วมเป็ นโรงเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปั ญญาด้วย และยังข้อมูลของทัง 10 โครงการออกอากาศผ่าน ทรู วชิ นส์ ั 32 ช่องรายการ ทังใน ระบบ SD และระบบ HD นักข่าวฝึ กปฏิบตั ิ “พิราบน้อย” โครงการอบรมเชิ งปฏิ บตั ิการ “นักข่าวพิราบน้อย” รุ่ นที 17 ประจําปี 2557 โดยบริ ษทั ร่ วมกับสมาคมนักข่าวนักหนังสื อพิมพ์แห่ งประเทศไทย เปิ ดโอกาสให้นิสิต นักศึกษา ภาควิชาวารสารศาสตร์ นิ เทศศาสตร์ และสื อสารมวลชน จํานวนกว่า 70 คน ทีได้รับการคัดเลือกจากสถาบันการศึกษาทัวประเทศ ได้เ รี ยนรู้ แ ละฝึ กฝนทัก ษะ พร้ อ มฝึ กปฏิ บ ัติ ก ารทํา หนัง สื อพิ ม พ์ เ สมื อ นจริ ง ก่ อ นก้ า วเข้า สู่ ว งการ สื อสารมวลชนอย่างมีคุณภาพ x

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

นักข่าวสายฟ้ าน้อยยุคสื อดิจิทลั กลุ่ ม ทรู ร่ว มกับ สมาคมนัก ข่ า ววิท ยุและโทรทัศ น์ไ ทย จัดอบรมเชิ ง ปฏิ บ ตั ิ ก าร “นัก ข่ า ว สายฟ้ าน้อย” รุ่ นที 12 ประจําปี 2557 ให้นิสิต นักศึกษา ภาควิชาวารสารศาสตร์ นิเทศศาสตร์ และสื อสารมวลชน จํานวน 72 คน จาก 30 สถาบันการศึกษาทัวประเทศ ฝึ กปฏิบตั ิการทําข่าววิทยุ โทรทัศน์เสมือนจริ งแบบเข้มข้น จากนักสื อสารมวลชน พร้อมทังเรี ยนรู ้ประโยชน์จากการใช้สือดิจิทลั ในการรายงานข่าว x

True Young Producer Award 2014 บริ ษทั ร่ วมกับสมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย จัดโครงการ True Young Producer Award 2014 ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพือเปิ ดโอกาสให้เยาวชนนิสิต นักศึกษาใน ระดับอุดมศึกษามีเวทีแสดงความสามารถและความคิดสร้ างสรรค์ โดยในปี นี จัดประกวดประเภท Viral VDO เพือเผยแพร่ ในโลกออนไลน์ ในหัวข้อ “การให้...คือการสื อสารทีดีทีสุ ด” ได้รับความสนใจจากนิสิต นักศึกษาส่ งผลงานเข้าประกวดจํานวน 683 ทีม จาก 53 สถาบันทัวประเทศ โดยผลงานเรื อง “อย่าทําผมเลย” ของทีม ซี ลอง ปั ก คณะนิ เทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คว้ารางวัลภาพยนตร์ โฆษณายอดเยียม และ รางวัล Popular Vote การประกวดภาพยนตร์โฆษณาเพือสังคม x

ทรู ปลูกปั ญญาดอทคอมเปิ ดศูนย์ข่าวสอบตรง ทรู ป ลู ก ปั ญญาดอทคอม เว็บ ไซต์ค ลัง ความรู ้ คู่ คุณธรรมที ใหญ่ ทีสุ ดในประเทศ เปิ ดตัว เมนูใหม่ “ศูนย์ข่าวสอบตรง / Admissions” ให้เด็กมัธยมปลายสามารถเข้าถึงศูนย์รวมข่าวสอบตรง โควตา โครงการพิเศษ และสอบแอดมิ ช ชัน ครบทุ กสถาบันทัวประเทศไทย พร้ อมทังสามารถลิ ง ค์เข้าสู่ ระบบ รับสมัครของสถาบันได้ทนั ที สะดวก รวดเร็ ว รวมถึ งไม่พลาดทุกสนามสอบด้วยบริ การส่ งอีเมลแจ้งเตือน โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ พร้อมฟังก์ชนั My List ทีให้เลือกปักหมุดข่าวทีสนใจเป็ นพิเศษ x

ทรู ปลูกปัญญาดอทคอมเปิ ดตัวคลังข้อสอบ เว็บไซต์คลังความรู ้คู่คุณธรรมทีใหญ่ทีสุ ดในประเทศ ทรู ปลูกปั ญญาดอทคอม เปิ ดตัวห้อง สอบเสมือนจริ ง ฟั งก์ชนั ใหม่ล่าสุ ด ตังแต่ปฐมวัย - มัธยมปลายกับ “คลังข้อสอบ” เมนูท็อปฮิตโฉมใหม่ ที ให้นกั เรี ยนไทยคลิกดูแนวข้อสอบจริ งได้หลากหลายครบทุกวิชาทุกระดับชัน โดยไม่เสี ยค่าใช้จ่ายใด ๆ เช่น แนวข้อสอบโควตา แนวข้อสอบ O-NET และ GAT/PAT ทีรวบรวมโดยทีมงานคุณภาพ พร้อมทังคําอธิ บาย เฉลยอย่างละเอียดจากอาจารย์ผทู ้ รงคุ ณวุฒิ ช่ วยให้นกั เรี ยนมีความมันใจในการสอบมากขึน นอกจากนี ยัง สามารถจับเวลาการทําข้อสอบ เก็บสถิ ติการทําข้อสอบของตนเองได้ ผูส้ นใจสามารถเข้ามาทดสอบความรู ้ ได้ที www.trueplookpanya.com/examination x

รายการสร้างสรรค์สังคม “สมองดี สร้างได้ ปี 2” สถานี โทรทัศ น์ทรู ปลู ก ปั ญ ญา ทรู วิชันส์ ช่ อง 6 ร่ วมกับ สํา นัก งานบริ หารและพัฒนา องค์ความรู้ (องค์การมหาชน) สร้างสรรค์รายการ “สมองดี สร้ างได้ ปี 2” คู่มือเลี ยงลูกออนแอร์ สําหรั บ ผูป้ กครอง และคุณครู เพือยกระดับคุณภาพของเด็ก และเยาวชนไทย เพือส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของเด็ก วัย 0 – 9 ปี ซึ งเป็ นช่วงอายุทีเป็ นโอกาสทองแห่ งการเรี ยนรู ้ โดยเน้นเนื อหาทีเข้มข้น และผูช้ มสามารถนําไปปฏิบตั ิได้จริ ง x

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

พร้อมจัดกิจกรรมดีๆ มากมาย ติดตามรายการ “สมองดีสร้างได้” ทุกวันอาทิตย์ เวลา 10.00 - 10.30 น. เริ ม 5 ตุลาคมนี ทางช่องทรู ปลูกปั ญญา ทรู วชิ นส์ ั ช่อง 6 The Symphony of Inspiration ทีมงานทรู ปลูกปั ญญา นําคณะครู จากโครงการทรู ปลูกปั ญญา จํานวน 400 ท่าน ชมการแสดง “The Symphony of Inspiration” บทบรรเลงแห่ งแรงบันดาลใจ โดย ดร.เมล กิลล์ 1 ใน 17 นักพูดระดับโลก เป็ นการพูดสร้างแรงบันดาลใจผสมผสานกับดนตรี เพือกระตุน้ การสร้างพลังด้านบวก ซึ งจะเป็ นเส้นทางลัด สู่ มิติแห่ งความยิงใหญ่ของแต่ละคน เป็ นการสะท้อนความมุ่งมันของกลุ่มทรู ทีต้องการให้คุณครู มีพลังใน การบ่มเพาะเยาวชนให้เติบโตอย่างมีคุณภาพรากฐานสังคมแห่งการเรี ยนรู ้อย่างยังยืน x

(3)

ปลูกความดี: กิจกรรมภายใต้โครงการทรู ปลูกปัญญา

สามเณร ปลูกปัญญาธรรม ปี 3 โครงการสามเณร ปลูกปัญญาธรรม เป็ นโครงการทีกลุ่มทรู จดั ขึนอย่างต่อเนื องมาเป็ นปี ที 3 เพือส่ งเสริ มให้เยาวชนได้ศึกษาหลักธรรมคําสอน ปลูกผังคุณธรรมจริ ยธรรม และปฏิบตั ิตนตามแนวทาง พุทธศาสนา โดยคัดเลือกเยาวชน 12 คน จากผูส้ มัครทังหมดกว่า 1,500 คนทัวประเทศ ทีตังใจจะเรี ยนรู้ และ ปฏิ บตั ิธรรมตามหลักพุทธศาสนา สามเณรทัง 12 รู ป เป็ นต้นแบบที ดี และเป็ นแรงบันดาลใจให้พ่อแม่ ผูป้ กครองให้ความสําคัญกับการนําเยาวชนเข้ารับการอบรมคุณธรรม จริ ยธรรมในวัดมากขึน x

รายการ สามเณร ปลูกปั ญญาธรรม ปี 3 จัดพิธีบรรพชา ณ วัดเม็งรายมหาราช จ.เชียงราย พร้ อมเข้าเรี ยนรู ้ และปฏิ บตั ิ ธรรม ณ ศูนย์วิปัสสนาสากลไร่ เชิ ญตะวัน ภายใต้แนวคิด “เรี ยน-รู้ -รัก-โลก” สู่ เป้ าหมายแห่ ง “เมตตาธรรม” โดยอยู่ใ นความดู แลของพระมหาวุฒิชัย วชิ รเมธี (ว.วชิ รเมธี ) เป็ นเวลา 1 เดื อนเต็ม ถ่ายทอดสดทางทรู วิชนส์ ั และรับชมออนไลน์ได้ที www.trueplookpanya.com/truelittlemonk และมือถือผ่านแอพพลิเคชัน trueplookpanya.com โดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย นอกจากนีเยาวชนทัง 12 คน ทีเข้าร่ วมบวชเป็ นสามเณร ยังได้รับการคัดเลือกเป็ นเยาวชน ตัวอย่างทีมีความประพฤติเรี ยบร้อย และเป็ นต้นแบบทีดีให้แก่เด็กและคนในสังคมไม่ยุ่งเกียวกับยาเสพติด จาก สํานักงานตํารวจแห่งชาติ และได้รับโล่เชิ ดชูเกียรติ “D.A.R.E. STAR” เนื องในกิจกรรมรณรงค์ต่อต้าน ยาเสพติด ประจําปี 2557 Deaf Call Center เพือผูบ้ กพร่ องทางการได้ยนิ กลุ่ มทรู ได้เปิ ด Deaf Call Center ศูนย์บริ การลู กค้าสําหรั บผูบ้ กพร่ องทางการได้ยิน โดยเฉพาะ ด้วยระบบสนทนาผ่านวิดีโอ (Video chat) และยังนําศักยภาพความเป็ นสื อของทรู วิชันส์ เพิมความรู ้ให้ผดู ้ อ้ ยโอกาส โดยออกอากาศรายการ Deaf Channel ทีเป็ นความร่ วมมือของ กสทช. ทรู วิชนส์ ั และมหาวิท ยาลัย ธุ ร กิ จ บัณฑิ ตย์ ทางช่ อ ง TNN2 รายการโทรทัศ น์ที นํา เสนอด้วยภาษามื อ เต็ม รู ป แบบ รายการแรกในประเทศ ออกอากาศทางทรู วชิ นส์ ั ช่อง True Explore 1 และ 2 x

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

รายการโทรทัศน์เพือคนพิการ รายการพลังใจไร้ขีด เป็ นรายการโทรทัศน์ที จะช่ วยให้คนพิการ 3 กลุ่ ม คื อ คนพิการทาง สติปัญญา บุคคลออทิสติก และผูบ้ กพร่ องทางจิต รวมถึงพ่อ-แม่ ผูป้ กครอง ผูด้ ูแล ตลอดจนประชาชนทัวไป ได้เข้าใจคนพิ การกลุ่ มต่ างๆ มากขึ น และรู ้ ว่ากลุ่ มคนดังกล่ า วมี ศ กั ยภาพที จะพัฒนาตนเองและสามารถ อยูร่ ่ วมกับคนในสังคมได้ อันจะนํามาซึ งคุณภาพชีวติ ทีดีขึนในทีสุ ด x

ตังศูนย์ฝึกอาชีพบุคคลออทิสติก กลุ่ มทรู ส่ งเสริ มศักยภาพและพัฒนาคุ ณภาพชี วิตที ดี ขึนของผูพ้ ิการ ผ่านนวัตกรรมและ เทคโนโลยีการสื อสารของกลุ่มทรู ร่ วมปลูกความดีดว้ ยแนวคิด “Creating a Better Life for the Disabled” โดยสนับ สนุ นผูพ้ ิ ก ารทังด้า น การสร้ า งอาชี พ และรายได้ ด้ว ยการจัด ตังศู น ย์ฝึ กอบรมเพื อการทํา งาน (True Autistic Thai Center) ร่ วมกับมูลนิ ธิออทิสติกไทย ใน 20 จังหวัดทัวประเทศ เป็ นการพัฒนาบริ การ เพืออํานวยความสะดวกให้ผพู ้ ิการสามารถเข้าถึ งบริ การต่างๆ ได้เช่ นเดี ยวกับคนปกติ รวมทังสร้ างสรรค์ นวัตกรรมทีเอือให้ผพู ้ ิการและผูด้ ูแลผูพ้ ิการทัวประเทศ มีคุณภาพชี วิตทีดี ขึน และดําเนิ นชี วิตในสังคมได้ อย่างมีความสุ ข x

แท็บเล็ตมือสองเพือน้องอทิสติก พนักงานชาวทรู ร่ วมบริ จาคเงินจํานวน 121,806 บาท และแท็บเล็ตมือสอง จํานวน 17 เครื อง ในโครงการ “แท็บเล็ตมือสอง เพือมอบให้น้องๆ ออทิสติก ” ตลอดจนพ่อแม่ผปู ้ กครองทีต้องผูด้ ูแลบุคคล ออทิสติก ทีอยู่ในศูนย์ส่งเสริ มทักษะชี วิตบุคคลออทิสติกของ 20 จังหวัดทัวประเทศ โดยแท็ปเล็ตดังกล่าว นําไปเป็ นอุปกรณ์ในการฝึ กใช้ True Autistic application ทีกลุ่มทรู พฒั นาขึนมา x

ทรู อาสาทําความสะอาดคอมพิวเตอร์ ทีม True IT มีจิตอาสา รวมพลัง ร่ วมแรงร่ วมใจใช้เวลาหลังเลิกงาน ตรวจสภาพและทําความสะอาด เครื องคอมพิวเตอร์ มือสอง พร้อมติดตังโปรแกรมและสื อดิจิทลั เพือการเรี ยนรู ้ จากทรู ปลูกปั ญญา เพือให้ พร้อมใช้งานก่อนส่ งมอบสู่ โรงเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปั ญญา x

2) ส่ งเสริ มกิจกรรมด้านพัฒนาชุมชนและส่ งเสริ มสังคม (1) โครงการส่ งเสริ มด้านสาธารณสุ ขชุมชน เทคโนโลยี 3G ช่วยงานสาธารณสุ ขชุมชน ทรู ร่ วมพัฒนาและยกระดับคุณภาพบริ การสาธารณสุ ขเพือชุ มชน โดยมอบ Air Card Truemove H 3G ให้แก่โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตําบล (รพ.สต.) และโรงพยาบาลระดับอําเภอทัวประเทศ เพือให้ เจ้าหน้าที รพ.สต ติดต่อสื อสารแบบ Real Time กับแพทย์ในโรงพยาบาลใหญ่ หรื อโรงพยาบาลประจําจังหวัด สามารถขอคําปรึ กษาในการดูแลผูป้ ่ วยเบืองต้น ทังจากจุดให้บริ การที รพ.สต. หรื อขณะติดตามอาการผูป้ ่ วย ติดเตียงทีบ้านของผูป้ ่ วยเอง ทําให้การดูแลผูป้ ่ วยมีประสิ ทธิ ภาพมากขึน ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางของ ผูป้ ่ วยอีกด้วย ปัจจุบนั มี รพ.สต. และ โรงพยาบาลเข้าร่ วมโครงการทังสิ น 300 แห่ งครอบคลุม 24 จังหวัดใน ทุกภาค ซึ งแต่ละแห่งให้บริ การประชาชนกว่า 50,000 คนขึนไป x

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สารภีโมเดลจัดเก็บข้อมูลสุ ขภาพชุมชน ทรู ร่ วมสนับสนุน “สารภีโมเดล” โครงการพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสุ ขภาพ โดยมอบซิ ม Truemove H 3G พร้อมแพ็กเกจดาต้ากว่า 300 ชุด เพือบันทึกข้อมูลสุ ขภาพแบบ Real Time อาทิ ข้อมูลสภาพแวดล้อม การครอบคลุ มของสวัสดิการต่างๆ การเจ็บป่ วย จํานวนของประชากรแต่ละกลุ่มวัย ฯลฯ ผ่านแอพพลิเคชัน Saraphi Health ทีเชื อมโยงกับระบบแผนที (GIS) ระบุพิกดั ทีตังของข้อมูลชุ มชน โดยบันทึกข้อมูลจากทุกชุมชน กว่า 26,000 ครัวเรื อนใน 12 ตําบลของ อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เข้าสู่ เซิ ร์พเวอร์ แบบ Real Time เพือนําไปวิเคราะห์ ประมวลผล และนําผลทีได้ไปใช้วางแผนพัฒนาต่อไป พร้อมกันนียังได้ให้นกั เรี ยนในโครงการทรู ปลูกปั ญญา ร่ วมเป็ นอาสาสมัครเก็บข้อมูลด้วย x

อําเภอสร้างสุ ขกับโครงการ 24 DHS กลุ่มทรู ขยายผลโครงการสารภีโมเดล สู่ โครงการอําเภอสร้างเสริ มสุ ขภาพของมหาวิทยาลัย นเรศวร หรื อทีเรี ยกว่า โครงการ 24 DHS โดยนํานวัตกรรมเทคโนโลยีสือสารแบบคอนเวอร์ เจนซ์ และ ศักยภาพของเครื อข่าย 3G/4G/WiFi ทีครอบคลุมที 1 ทัวประเทศ Truemove H พร้อมด้วยเซิ ร์ฟเวอร์ บนคลาวด์ สําหรับเก็บฐานข้อมูลขนาดใหญ่ แท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือ และแพ็กเกจดาต้าแบบไม่อนในราคาพิ ั เศษ ร่ วม สนับสนุ น การจัดเก็บข้อมูลสุ ขภาวะของประชาชน ในพืนที 24 อําเภอของ 10 จังหวัดภาคเหนื อตอนล่าง กว่า 300,000 คน แบบเรี ยลไทม์ ผ่านแอพพลิเคชัน 24 DHS x

ทังนีหน่วยงานสาธารณสุ ขและชุมชนจะนําข้อมูลทีได้ไปประมวลผลและนําไปวางแผนใน การสร้างเสริ มสุ ขภาพ สิ งแวดล้อม ตลอดจนการบริ หารจัดการต่างๆ รวมทังกระตุน้ ให้ชุมชนตระหนักถึง ความสําคัญของการนําข้อมูลสุ ขภาวะและข้อมูลชุมชนมาใช้ในการจัดการชุมชน ซึ งจะส่ งผลต่อการ ดําเนินการตามแผนการพัฒนาคุณภาพชีวติ นอกจากนีทรู ยงั ประสานโรงเรี ยนโครงการทรู ปลูกปั ญญา กว่า 124 แห่งในพืนที เข้าเป็ น จิตอาสาในการบันทึกข้อมูลลงในแท็บเล็ต หรื อโทรศัพท์มือถือ โดยทํางานร่ วมกับเจ้าหน้าทีสาธารณสุ ข อําเภออีกด้วย เชียงใหม่ เฮลท์ โมเดล กลุ่มทรู ยงั นําเทคโนโลยี 3G ไปส่ งเสริ มและสนับสนุนงานพัฒนาสาธารณะสุ ขชุมชน ใน โครงการพัฒนาระบบสุ ขภาพจังหวัดผ่านเครื อข่ายสุ ขภาพระดับอําเภอ จังหวัดเชี ยงใหม่ (Chiang Mai Health Model) เพือให้เป็ นต้นแบบจังหวัดจัดการตนเองแห่ งแรกของไทย โดยทรู ปลูกปั ญญาได้ร่วมกับหน่ วยงาน Government Sector และ True Innovation นํา โมบายล์ เฮลธ์ โซลูชนั ของกลุ่มทรู ประกอบด้วย ระบบ จัดเก็บข้อมูล (Cloud Server) สําหรับเก็บข้อมูลสุ ขภาพของประชาชน ใน 25 อําเภอ พร้อมด้วยแท็บเล็ต และซิ ม 3G สําหรับหน่วยงานทีเข้าร่ วมโครงการ Chiang Mai Health Model x

นอกจากนี ยังได้มอบแอร์ การ์ ด พร้อมซิ ม 3G และแพ็กเกจในราคาพิเศษ ดาต้าแบบไม่จาํ กัด จํานวนใช้งาน สามารถใช้ได้ทงบนความถี ั 850 MHz และ 2100 MHz ของทรู มูฟ เอช สนับสนุนโครงการ Tele-Medicine ของสาธารณสุ ขจังหวัดเชี ยงใหม่ และมอบซิ ม 3G พร้อมแพ็กเกจในราคาพิเศษ ดาต้าแบบ ไม่จาํ กัด เป็ นเวลา 2 เดือน เพิมให้แก่คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ เพือใช้เก็บข้อมูลเพิมเติม ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ในพืนทีอําเภอสารภี และยังนํานักเรี ยนในโรงเรี ยนโครงการทรู ปลูกปั ญญากว่า 200 แห่ งในจังหวัดเชี ยงใหม่ เข้าร่ วมเป็ นจิตอาสาเก็บข้อมูลอีกด้วย (2) กิจกรรมส่ งเสริ มสาธารณะประโยชน์อืนๆ Let Them See Love” ปี 8 กลุ่มทรู เปิ ดตัวโครงการ “Let Them See Love” ปี ที 8 เพือรณรงค์ให้ทุกคนตระหนักถึง ความสําคัญของการให้ ภายใต้แนวคิด “ความรัก ทําให้ คนตาบอด” เพิมโอกาสให้ผูพ้ ิการทางสายตาได้ กลับ มามองเห็ น ได้อี ก ครั ง ด้ว ยการโทรบริ จ าคดวงตาแทนญาติ ที เสี ย ชี วิต ที หมายเลข 081-836-4927 โดยได้ป ระชาสั ม พันธ์ ผ่า นสื อสนับ สนุ นโครงการต่ างๆ และเปิ ดรั บ บริ จ าคผ่า น SMS รายได้มอบให้ สภากาชาดไทย และจัดทําช่องทางในการแสดงความจํานงในการบริ จาคอวัยวะและดวงตา ผ่านการบริ จาค ออนไลน์บนเว็บไซต์ x

HelpLink ช่วยสังคม ปี 2557 ทีผ่านมา HelpLink ช่วยประชาสัมพันธ์ และจัดกิจกรรมเพือสังคมต่างๆ ดังนี 1. ขอรับบริ จาคเสื อยืดเก่าให้แก่ด่านกักกันสัตว์ เพือนําไปใส่ ให้สุนขั ในช่วงฤดูหนาว 2. ขอรับบริ จาคโลหิ ตให้แก่ผบู้ าดเจ็บทีโดนระเบิด ในช่วงทีมีเหตุการณ์ชุมนุม รวมถึง เส้นทางในการเดินทางให้แก่ผบู้ ริ จาค 3. เชิญชวนประชาชนร่ วมซื อดอกป๊ อบปี ในวันทหารผ่านศึก 4. สนับสนุน Earth Hour 2014 ปิ ดไฟให้โลกพัก โดยประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ ประชาชนร่ วมปิ ดไฟ 1 ชัวโมงเพือประหยัดพลังงานและลดภาวะโลกร้อน x

สนับสนุนพัฒนากีฬาลอนเทนนิส กลุ่ มทรู มอบเงิ น จํานวน 5,000,000 บาท แก่ ลอนเทนนิ สสมาคมแห่ งประเทศไทยฯ เพือ พัฒนานักเทนนิ สและผูฝ้ ึ กสอนชาวไทย ร่ วมกับสถาบัน Sanchez Casal ประเทศสเปนและสนับสนุนทีม หญิง Fed Cup รอบ World Group II Play-off 2014 พร้อมถ่ายทอดสดทางทรู วิชนส์ ั ช่องทรู สปอร์ ต 7 เพือ นําไปพัฒนานักเทนนิสและผูฝ้ ึ กสอนของประเทศไทย x

ยิงปั น..ยิงให้..ยิงได้กุศล กลุ่ ม ทรู ร่ ว มเฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่หัว เนื องในโอกาสทรงเฉลิ ม พระชนมพรรษาครบ 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 สานต่อโครงการทําดีให้พ่อดู ปี ที 9 ตอน “ปั นเพือให้” เชิญชวนผูส้ นใจ ร่ วมกิจกรรม “ปั นเพือให้” ตามเส้นทางสะพานพระราม 8 พร้อมจุดเทียนชัยและร่ วมร้องเพลง ถวายพระพร ก่อนปั นจักรยานเพือสะสมระยะทาง “ยิงปั น ยิงให้” x

โดยทุก ๆ 200 กม. ที ผูร้ ่ วมกิ จกรรมปั นสะสมระยะทางรวมกัน จะสนับสนุ นแท็บ เล็ต ั 1 ปี True SMART TAB ขนาด 7 นิว ทีติดตังแอพพลิเคชันออทิสติก และแพ็กเกจอินเทอร์ เน็ตฟรี ไม่อนนาน 1 เครื อง รวมสู งสุ ด 299 เครื อง มอบให้แก่มูลนิ ธิออทิสติกไทย เพือนําไปใช้พฒั นาทักษะการเรี ยนรู ้ การสื อสาร

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

และเสริ มศักยภาพบุคคลออทิสติก พร้อมเชิญชวนดาวน์โหลดแอพพลิ เคชัน “I Will Do” ฟรี ซึ งเป็ นส่ วนหนึ ง ของกิจกรรมทีจะใช้วดั และบันทึกระยะทาง การปั นจักรยาน ตลอดจนเก็บข้อมูลสุ ขภาพผูร้ ่ วมโครงการ ทรู ช่วยผูป้ ่ วย ALS ทรู สนับสนุนแคมเปญ Ice Bucket Challenge ซึ งเป็ นการระดมทุนช่ วยผูป้ ่ วย ALS โดย มอบเงินสนับสนุนแก่องค์กรการกุศลต่างๆ ดังนี x

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

มูลนิธิสนับสนุนสถาบันประสาทวิทยา เพือกองทุนผูป้ ่ วย ALS มูลนิธิรามาธิบดี มูลนิธิออทิสติกไทย มูลนิธิสวัสดิการนักแสดงอาวุโส ศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย มูลนิธิกระจกเงา มูลนิธิเมาไม่ขบั มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก มูลนิธิเด็ก

เผยแพร่ ข่าวสารช่วยงานประชาสัมพันธ์ กลุ่มทรู เผยแพร่ ข่าวประชาสัมพันธ์ (Public Service Announcement-PSA) ให้หน่วยงาน ทังภาครัฐและเอกชน ผ่านทางช่องรายการต่างๆ ของทรู วชิ นส์ ั 1. มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ 2. สํานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) 3. มูลนิธิคณะนักบุญคามิลโลแห่งประเทศไทย 4. องค์การพิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ แห่งชาติ 5. มูลนิธิเยาวชนสัมพันธ์นานาชาติ 6. สภากาชาดไทย 7. กระทรวงการต่างประเทศ 8. สํานักวิจยั และพัฒนาประมงชายฝัง กรมประมง 9. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช 10. มูลนิธิเวชดุสิต ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพีนางเธอเจ้าฟ้ ากัลยาณิ วฒั นา 11. มูลนิธิอุทกพัฒน์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 12. โครงการพีนําน้องรักษ์นาํ ตามแนวพระราชดําริ มูลนิธิอุทกพัฒน์ 13. งานวันสถาปนาวิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ครบรอบ 51 ปี 14. งาน EVA Project หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุ งเทพมหานคร 15. งานสัมมนาเวทีทอ้ งถินไทย ประจําปี 2557 สถาบันพระปกเกล้า 16. สปอตการแสดงโขนมูลนิธิส่งเสริ มศิลปาชีพฯ ชุด ศึกอินทรชิต ตอน นาคบาศ x

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

17. สปอตนิชคุณห่วงใยคุณแม่ ศูนย์ถนั ยรักษ์ฯ 18. 30 ปี วันสถาปนาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มสธ. 19. งานสัมมนา 17 ปี ของศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง “พระมหาชนก The Phenomenon Live Show” กลุ่มทรู ในฐานะภาคเอกชนไทย ร่ วมสนับสนุ นการแสดง “พระมหาชนก The Phenomenon Live Show” ละครเพลงเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนืองในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา โดยมีลูกค้ากลุ่ มทรู คณะครู และนักเรี ยนในโครงการทรู ปลูกปั ญญา เข้าร่ วมชมปรากฏการณ์ การแสดงที ยิงใหญ่ สะท้อนหลักคิดอันดีงามจากพระราชนิพนธ์พระมหาชนกด้านความเพียรพยายามทีบริ สุทธิ ความวิริยะอุตสาหะ การใช้สติปัญญาแก้ไขปั ญหา และก้าวพ้นความยากลําบากต่างๆ รวมทังน้อมนําเป็ นแนวทางในการดําเนิ น ชีวติ อย่างมีความสุ ขต่อไป x

8. การมีนวัตกรรมและเผยแพร่ นวัตกรรมซึงได้ จากการดําเนินงานทีมีความรับผิดชอบต่ อสั งคม สิ งแวดล้อม และ ผู้มีส่วนได้ เสี ย 1) True Innovation Awards บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และสนับสนุนให้มีการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพือเป็ นการเพิมประสิ ทธิ ภาพการใช้ทรัพยากรทีมีอยูใ่ ห้คุม้ ค่ามากทีสุ ด โดยจัดโครงการ True Innovation Awards เพือส่ งเสริ มให้พนักงานทุกคน ทุกระดับ มีส่วนร่ วมในการสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ทีเป็ นประโยชน์ ต่อองค์กรและสั งคมโดยรวม เป็ นการกระตุ ้นให้พ นักงานเห็ นความสํา คัญและประโยชน์ข องการสร้ า ง นวัตกรรม อีกทังนํามาประยุกต์ใช้ในหน่ วยงานให้เกิ ดการพัฒนาอย่างต่อเนื อง เพือพัฒนาพนักงานทีเข้า มาร่ วมโครงการ ให้มีความรู ้ดา้ นนวัตกรรมอย่างบูรณาการ และสามารถต่อยอดงานนวัตกรรม และความคิด สร้างสรรค์ให้เป็ นรู ปธรรมและสัมฤทธิ ผล ทังนี เพือนําผลงานนวัตกรรม ไปช่วยแก้ปัญหาให้แก่ลูกค้า รวมทังนําแนวคิดและนวัตกรรมใหม่ๆ ไปพัฒนาสิ นค้า บริ การ และกระบวนการกการผลิตทีก่อให้เกิ ดประโยชน์ต่อองค์กร ลูกค้า และ สังคม ( Benefits to customers, corporate and social) เพิมความพึงพอใจลูกค้า (Customer Satisfaction) เพิมรายได้ (Revenue Increase) ปรับปรุ งกระบวนการทํางาน (Process Improvement) คุณค่าทีได้รับเพิม (Value Adding) การสร้างสรรค์ (Creation) เป็ นต้น 2) “We Grow แอพพลิเคชันเพือโลกสี เขียว กลุ่มทรู ให้การสนับสนุ นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดทําแอพพลิ เคชัน “We Grow” ซึ งเป็ น แอพพลิเคชันทีช่วยส่ งเสริ มและเปิ ดโอกาสให้ประชาชนคนไทยได้มีส่วนร่ วมกับโครงการฯ ด้วยการปลูกต้นไม้ เพือสร้างพืนทีสี เขียวในแต่ละพืนทีทัวประเทศ และทัวโลก ร่ วมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนืองในโอกาส ทรงมีพระชนมายุครบ 60 พรรษา ในวันที 2 เมษายน 2558 ทังนีผูท้ ีปลูกต้นไม้สามารถใช้งานแอพพลิเคชัน แสดงจํานวนต้นไม้ทีปลูก ดูพืนทีและจํานวนทีได้มี การปลูกต้นไม้ในโครงการฯ ร่ วมแชร์ และแลกเปลียนข้อมูลระหว่างผูป้ ลูกต้นไม้ ตลอดจนการเรี ยนรู้วิธีการ ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ปลูก และการดูแล รักษาต้นไม้แต่ละสายพันธุ์ โดยมีเป้ าหมาย 6 ล้านต้น พร้อมทังจัดทําเว็บไซต์ ‘Wegrow.in.th’ เพือประชาสัมพันธ์โครงการ และเผยแพร่ การใช้งาน We Grow Application เพือรณรงค์ให้ประชาชนเข้าร่ วมโครงการ 3) แอพพลิเคชันเพือพัฒนาศักยภาพเด็กออทิสติก ที มนวัตกรรมกลุ่ ม ทรู ได้นําศักยภาพและนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสื อสารต่ างๆ ร่ วมสร้ างสรรค์ Autistic Application เพือพัฒนาทักษะการเรี ยนรู ้และความสามารถในการสื อสารของเด็กออทิสติก ส่ งเสริ ม ให้มีพฒั นาการทีดีขึน สามารถดํารงชี วิตร่ วมกับผูอ้ ืนได้ดียิงขึน และยังเป็ นแอพพลิ เคชันที ประสบความสําเร็ จ อย่างสู งทังในและต่างประเทศ นอกจากนี ยัง เป็ นแอพพลิ เ คชั นการศึ ก ษาที ติ ด อัน ดับ หนึ งในประเทศแถบตะวัน ออกกลาง อาทิ ซาอุดิอาระเบีย กาตาร์ คูเวต และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อีกทังยังเคยติดหนึ งใน 10 แอพพลิเคชันการศึกษาที ได้รับความนิยมสู งสุ ดใน 25 ประเทศทัวโลก และเคยติดหนึงใน iTunes What’s Hot Education ในประเทศ สหรัฐอเมริ กา อินโดนีเซีย มาเลเซีย และกาตาร์ 4) MEM เพือ 18 ผูพ้ ิการทางการมองเห็น กลุ่มทรู ร่ วมมหาวิทยาลัยมหิ ดล พัฒนาและจดสิ ทธิ บตั ร นวัตกรรม MEM - My Eyes Memory (Braille Note Taker) ซึ งเป็ นอุปกรณ์ทีช่วยให้ผพู้ ิการทางการมองเห็น สามารถบันทึกข้อมูล โดยการกดปุ่ ม ตามอักษรเบรลล์ทีออกแบบในลักษณะและตําแหน่ งทีสะดวกต่อการใช้งาน สามารถย้อนกลับไปฟั งความ ถูกต้องของข้อมูลทีจดบันทึกได้ และส่ งข้อมูลทีบันทึกไปยังอุปกรณ์ไอที เพือส่ งข้อความหรื อสร้างเอกสาร ติดต่อกับคนปกติได้ 5) เปิ ด True Lab แหล่งเรี ยนรู ้ “Active Learning” กลุ่มทรู นํานวัตกรรมเทคโนโลยีสือสารมาพัฒนาด้านการศึกษาตามนโยบายส่ งเสริ มการเรี ยนรู้แบบ “แอ็คทิฟ เลิ ร์นนิ ง”ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เน้นให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาศักยภาพผ่านการเรี ยนรู ้ ดว้ ยตนเอง พร้อมเปิ ดศูนย์วจิ ยั “True Lab @ Thammasat” สําหรับอาจารย์-นักศึกษา ใช้เป็ นแหล่งคิดค้นผลงานวิจยั และ บ่มเพาะนวัตกรในอนาคต เพือก้าวสู่ มหาวิทยาลัยแห่งการวิจยั ทีมีมาตรฐานระดับนานาชาติ และออกแบบแอพพลิเคชัน “myCampus TU” แพลทฟอร์ มเครื อข่ายการสื อสารรู ปแบบใหม่เพือชาว ธรรมศาสตร์ โดยเฉพาะ มุ่งให้ผเู ้ รี ยนได้รับทังสาระและความบันเทิง ควบคู่กบั การเป็ นเครื อข่ายการสื อสารของ ประชาคมธรรมศาสตร์ ได้แก่ ศิษย์ปัจจุบนั ศิษย์เก่า คณาจารย์ และบุคลากร เพือให้สามารถติดต่อถึงกันได้ ทุกที ทุกเวลาแบบไร้ขีดจํากัด ภายใต้แนวคิด “Thammasat Everywhere, Thammasat Every time” รางวัลและโล่ เกียรติคุณด้ านความรับผิดชอบต่ อสั งคม x

กลุ่มทรู รับมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ องค์กร CSR ทีมีความเป็ นเลิศ ใน "งานประกาศเกียรติคุณผลงาน ด้านการพัฒนาสังคมเป็ นเลิศ เนืองในวันคล้ายวันสถาปนา 12 ปี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคง ของมนุษย์ เพือส่ งเสริ มยกย่องความเป็ นเลิศของภาคีเครื อข่ายในการเข้ามามีส่วนร่ วมทํางานกับกระทรวง การพัฒนาสังคมฯ โดยคัดเลือกผลงานด้านการพัฒนาสังคมเป็ นเลิ ศ 3 ประเภท ได้แก่ ข้าราชการหรื อ

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 18


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

x

x

x

x

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เจ้าหน้าทีของกระทรวง พม. ทีมีผลงานการปฏิบตั ิงานเป็ นเลิศ หน่วยงานของกระทรวง พม. ทีมีผลงาน เป็ นเลิศ และองค์กร CSR ทีมีความเป็ นเลิศ กลุ่มทรู รับโล่รางวัลเกี ยรติยศ องค์กรภาคเอกชนทีสนับสนุ นงานด้านคนพิการดี เด่นต่อเนื อง “ในวัน คนพิการสากล ประจําปี 2557” จัดโดยสํานักงานส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชี วิตคนพิการแห่ งชาติ ร่ วมกับ สมาคมสภาคนพิการทุกประเภทแห่ งประเทศไทย โดยทรู ในฐานะองค์กรธุ รกิจทีให้การสนับสนุ นคนพิการ และเป็ น 1 ใน 6 องค์กรทีได้รับโล่รางวัลเกียรติยศองค์กรเอกชนทีสนับสนุนงานด้านคนพิการดีเด่นต่อเนือง ทรู องค์กรชันนําทีสามารถนํากลยุทธ์การตลาดร่ วมตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภคได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และได้รับการจัดอันดับให้เป็ นองค์กรทีมีความเป็ นเลิศด้านการตลาด รับรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี Thailand Corporate Excellence Awards 2013 สาขาความเป็ นเลิศด้านการตลาด พร้อมโล่ทีระลึก Consistency of Excellence ในฐานะบริ ษทั ด้านการสื อสารโทรคมนาคมไทยเพียงรายเดียวที ได้รับรางวัลดังกล่าวต่อเนืองเป็ นปี ที 6 นอกจากนีทรู ยังเป็ น 1 ใน 5 องค์กรทีได้รับการเสนอชือพร้อมรับ โล่ ทีระลึ กสําหรั บรางวัลในอี ก 2 สาขา ได้แก่ สาขาความเป็ นเลิ ศด้านความรั บผิดชอบต่อสังคม และ สาขาความเป็ นเลิศด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์สิงใหม่ ๆ กลุ่มทรู ได้รับรางวัลชนะเลิศ สคบ.แอด อะวอร์ ด ประเภทส่ งเสริ มสังคม ศิลปวัฒนธรรมและสิ งแวดล้อม ประจําปี 2557 จากภาพยนตร์ โฆษณา “การให้ คือการสื อสารทีดีทีสุ ด" ในงานประกาศผลรางวัลภาพยนตร์ โฆษณาดีเด่นทางโทรทัศน์เพือผูบ้ ริ โภค ครังที 13 โดยคัดเลือกจากภาพยนตร์ โฆษณา จํานวน 4,940 เรื อง ทีออกอากาศในปี 2556 ช่องทรู ปลูกปั ญญาผูเ้ ผยแพร่ "โครงการสามเณรปลูกปั ญญาธรรม" ผ่านทรู วิชนส์ ั ได้รับรางวัลโล่เกี ยรติยศ พร้ อมเกี ยรติ บ ตั รผลงานดี เด่ นด้า นสนับ สนุ นและส่ ง เสริ ม การป้ องกันและปราบปรามการทุ จริ ตหรื อ รางวัลช่ อสะอาด สาขาสื อสนับสนุนประจําปี 2557 จากสํานักคณะกรรมการป้ องกันและปราบปราม การทุจริ ตแห่งชาติ (ปปช.)

ส่วนที 2

ความรับผิดชอบต่อสังคม

หัวข ้อที 10 - หน ้า 19


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

11.

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี ยง

11.1

สรุ ปความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกียวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ

จากการประเมินระบบการควบคุ มภายในของคณะกรรมการบริ ษทั ร่ วมกับ คณะกรรมการตรวจสอบ ในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษ ัท ครั งที 1/2558 เมื อวันที 27 กุ ม ภาพันธ์ 2558 ซึ งกรรมการตรวจสอบ เข้าร่ วมประชุมครบทัง 3 ท่าน คณะกรรมการบริ ษทั มีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั มีความ เพียงพอและเหมาะสม และผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั มิได้พบสถานการณ์ใดๆ เกียวกับระบบการควบคุมภายใน ของบริ ษทั ที เป็ นจุ ดอ่อนที มี สาระสําคัญอันอาจมีผลกระทบที เป็ นสาระสําคัญต่องบการเงิ น นอกจากนี คณะกรรมการได้เน้นให้มีการพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการเพือให้ระบบการควบคุมภายในมีการปรับปรุ ง อย่างต่อเนือง 11.2

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบทีแตกต่ างจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัท - ไม่มี -

ทังนี บริ ษทั ฯ ได้แนบสําเนารายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ประจําปี 2557 เป็ นเอกสารแนบท้าย แบบ 56-1 นีด้วย (เอกสารแนบ 5) 11.3

หัวหน้ างานตรวจสอบภายใน

หัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ คือ นางดาวประกาย ลักษณะกุลบุตร โดยได้รับการแต่งตัง ให้ดาํ รงตําแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ ตังแต่ วันที 1 ธันวาคม 2543 คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้า งาน ตรวจสอบภายใน และดู แลให้ผูด้ าํ รงตําแหน่ งหัวหน้างานตรวจสอบภายในมี วุฒิการศึ กษา ประสบการณ์ และการอบรม ทีเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิ บตั ิหน้าที เกี ยวกับการตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯ โดยมี ข้อมูลสําคัญ รายละเอียดเกียวกับคุณวุฒิการศึกษา และ ประสบการณ์การทํางานของหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ดังทีปรากฏใน “รายละเอียดเกียวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน” (เอกสารแนบ 3)

ส่วนที 2

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสียง

หัวข ้อที 11 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

12.

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

รายการระหว่ างกัน

ก. ในระหว่างปี พ.ศ. 2557 กลุม่ ทรู มีรายการค้ าระหว่างกันกับ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม กิจการร่วมค้ าและบริ ษัททีเกียวข้ องกัน ตามทีได้ มีการเปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปี สินสุดวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 (หมายเหตุข้อ 41) โดยรายการระหว่างกันของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยทีมีกบั บริ ษัทร่วมและบริ ษัททีเกียวข้ องกันทีสําคัญ สามารถสรุปได้ ดงั นี: ชือบริษัท 1. ผู้ทํารายการ : บริษัทฯ 1.1 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CPG)*

ลักษณะความสัมพันธ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัทฯ

ลักษณะรายการ ขาย : - ค่าบริการรับชําระ - ให้ บริการในด้ านการบริหารจัดการ และบริการอืน ซือ : - จ่ายค่าเช่าอาคารสํานักงานและ บริการอืนทีเกียวข้ อง

- จ่ายค่าบริหารจัดการสํานักงาน - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และ บริการอืน

- จ่ายค่าซ่อมบํารุงรักษา ระบบปรับอากาศ

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

37,400 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทฯ ให้ บริการลูกค้ าทัวไป 21,139 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทฯ ให้ บริการลูกค้ าทัวไป 202,059 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไป โดยมีอตั ราค่าเช่าอยูใ่ นอัตราระหว่าง 200 - 220 บาทต่อตารางเมตร ต่อเดือน และอัตราค่าบริการอยูร่ ะหว่าง 220 - 520 บาทต่อ ตารางเมตรต่อเดือน ซึงสัญญาเช่าอาคารสํานักงานมีอายุปีต่อปี และมีสิทธิจะต่ออายุสญ ั ญาเช่า 87,993 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 79,615 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันตามราคาเฉลีย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน ซึงสัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สินสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 11,443 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2 ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท 1.1

กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CPG)*

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัทฯ

ลักษณะรายการ ซือ : - จ่ายค่าบริการอืน - ค่าก่อสร้ างเสา

1.2

1.3

บริษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

NEC เป็ นบริษัททีบริษัทฯ ถือหุ้น โดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 9.42 และ มีความสัมพันธ์กนั โดยมีกรรมการ ร่วมกัน คือ นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์

ซือ : - จ่ายค่าซ่อมบํารุงรักษาโครงข่าย

กองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐาน โทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEIF)

TRUEIF เป็ นบริษัททีบริษัทฯ มีสว่ นได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 28.11

ขาย : - ขายเสาโครงสร้ างพืนฐาน โทรคมนาคม

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

29,825 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 900,195 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 16 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

8,252,645 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

2. ผู้ทํารายการ : กลุม่ บริษัท กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค จํากัด (มหาชน) (BITCO) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมรวมร้ อยละ 99.48) 2.1 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ BITCO เป็ นกลุม่ บริษัทที - ขายโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.48 ทีเกียวข้ อง - ขายบัตรเติมเงิน

- ให้ บริการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

1,923,905 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทย่อยของ BITCO ให้ บริการลูกค้ าทัวไป 92,315 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทย่อยของ BITCO ให้ บริการลูกค้ าทัวไป 473,245 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

ซือ : - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการ ทีเกียวข้ อง

178,159 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนทีเป็ น ทางการค้ าปกติ โดยมีอตั ราค่าเช่าทีราคา 816,998 บาทต่อเดือน ซึงสัญญาเช่ามีอายุ 3 ปี และมีสทิ ธิจะต่ออายุสญ ั ญาเช่า 157,550 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที - ค่าคอมมิชชันจากการขายบัตรเติมเงิน และอืนๆ เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และบริการ 138,208 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที ทีเกียวข้ อง มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันตามราคาเฉลีย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน ซึงสัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สินสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 290,091 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที - จ่ายค่าโฆษณาและบริการอืน เป็ นทางการค้ าปกติ 5,186,821 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที - จ่ายเงินซือโทรศัพท์มือถือและ บัตรเติมเงิน เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2 ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท 2.2

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

BITCO เป็ นกลุม่ บริษัททีบริษัทฯ ขาย : ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.48 และ - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ TGS เป็ นบริษัททีบริษัทฯมีสว่ นได้ เสีย อยูร่ ้ อยละ 45.00 3. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู มัลติมีเดีย จํากัด (TM) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 91.08) 3.1 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซือ : (CPG)* บริษัทฯ และ TM เป็ นบริษัททีบริษัทฯ - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 91.08 ทีเกียวข้ อง

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

บริษัท ทรู จีเอส จํากัด (TGS)

- จ่ายค่าบริการอืน 3.2

ปี 2557 (พันบาท)

บริษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน (ประเทศไทย) จํากัด (NEC)

TM และ NEC เป็ นบริษัททีบริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 91.08 และ 9.42 ตามลําดับ

ซือ : - ซืออุปกรณ์

4. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต จํากัด (TI) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TI เป็ นบริษัททีบริษัทฯ - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต ถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00

205 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป

7,895 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริ การสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 3,100 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป 22 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

36,147 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที TI ให้ บริการลูกค้ าทัวไป

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ (CPG)* บริษัทฯ และ TI เป็ นบริษัททีบริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00

ลักษณะรายการ ซือ : - จ่ายค่าซือสินค้ า - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการ ทีเกียวข้ อง

- จ่ายค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ อินเตอร์ เน็ต - จ่ายค่าโฆษณา - จ่ายค่าบริการรับชําระ - จ่ายค่าบริการอืนๆ

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

169,901 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 91,350 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไป โดยมีอตั ราค่าเช่าอยูใ่ นอัตราระหว่าง 200 - 220 บาทต่อตารางเมตร ต่อเดือน และอัตราค่าบริการอยูร่ ะหว่าง 220 - 520 บาทต่อ ตารางเมตรต่อเดือน ซึงสัญญาเช่าอาคารสํานักงานมีอายุปีต่อปี และมีสิทธิจะต่ออายุสญ ั ญาเช่า 142,284 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 57,593 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 112,701 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 32,787 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

5. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู ไลฟ์ พลัส จํากัด (TLP) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กลุ่ ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซือ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TLP เป็ นบริ ษัททีบริ ษัทฯ - จ่ายค่าบริการรับชําระ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการอืน

18,890 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 16,896 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2 ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

6. ผู้ทํารายการ : บริษัท เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน จํากัด (AWC) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 6.1 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซือ : (CPG)* บริษัทฯ และ AWC เป็ นบริษัททีบริษัทฯ - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการอืน ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00

- ค่างานก่อสร้ างเสา AWC เป็ นบริษัททีบริษัทฯถือหุ้นโดย ซือ : ค่าเช่าเสา อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TRUEIF เป็ นบริษัททีบริษัทฯมีสว่ นได้ เสียอยู่ ร้ อยละ 28.11 7. ผู้ทํารายการ : กลุม่ บริษัท ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป จํากัด (TVG) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 7.1 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TVG เป็ นบริ ษัททีบริ ษัทฯ - ได้ รับเงินสนับสนุนร่วมกิจกรรม ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ต่างๆ 6.2

กองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐาน โทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEIF)

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

6,872 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 868,060 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 863,280 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

125,913 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที TVG ให้ บริการลูกค้ าทัวไป

ซือ : - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการ ทีเกียวข้ อง

19,614 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปทีมี สัญญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท 7.1

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซือ : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TVG เป็ นบริ ษัททีบริ ษัทฯ - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00

- จ่ายค่าบริการรับชําระ - ค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ IVR - จ่ายค่าบริการอืนๆ - ซือสินค้ า 7.2

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

46,806 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปทีมี สัญญาทีได้ ตกลงกันตามราคาเฉลีย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน ซึงสัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สินสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 45,379 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติทีมีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัวไป 7,942 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติทีมีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัวไป 35,353 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติทีมีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันตาม ราคาตลาดทัวไป ั ญาทีได้ ตกลงกันตาม 4,337 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติทีมีสญ ราคาตลาดทัวไป

TVG เป็ นบริษัททีบริษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อม ขาย : 2,911 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที อยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TGS เป็ นบริษัท - อุปกรณ์ ทีบริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อม มีสว่ นได้ เสีย เป็ นทางการค้ าปกติ อยู่ ร้ อยละ 45.00 มีกรรมการร่วมกัน - ค่าโฆษณา 47,437 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที คือ นายองอาจ ประภากมล เป็ นทางการค้ าปกติ นายอาณัติ เมฆไพบูลวัฒนา และ นางยุภา ลีวงศ์เจริญ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครื อเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

บริษัท ทรู จีเอส จํากัด (TGS)

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

8. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู ทัช จํากัด (TT) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 8.1 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ (CPG)* บริษัทฯ และ TT เป็ นบริษัทฯ ถือหุ้นโดย อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00

ลักษณะรายการ ขาย : - บริการ call center ซือ : - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการอืน

8.2

TT เป็ นบริษัททีบริษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อม ขาย : อยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TGS เป็ นบริษัท - บริการ call center ทีบริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมมีสว่ นได้ เสีย อยูร่ ้ อยละ 45.00 9. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู อินเตอร์ เนชันแนล เกตเวย์ จํากัด (TIG) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และบริษัทฯ ถือหุ้น TIG - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต โดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซือ : - จ่ายค่าเช่าอาคารและบริการอืน

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

5,586 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป 6,685 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า

บริษัท ทรู จีเอส จํากัด (TGS)

23,901 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

4,028 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที TIG ให้ บริการลูกค้ าทัวไป

29,310 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

10. ผู้ทํารายการ : บริษัท เรียล มูฟ จํากัด (RMV) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 99.48) 10.1 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ RMV เป็ นบริษัททีบริษัทฯ - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.48 ซือ : - จ่ายค่าซือสินค้ า - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการ ทีเกียวข้ อง - ค่า content - ค่าคอมมิชชัน - ค่าการตลาด - ค่าบริการรับชําระและต้ นทุนบัตร - จ่ายค่าบริการอืนๆ

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

6,044 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที RMV ให้ บริการลูกค้ าทัวไป 4,739 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 65,285 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 91,713 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 377,209 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 161,628 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 318,521 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 104,720 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

10.2 บริษัท ทรู จีเอส จํากัด (TGS)

RMV เป็ นบริษัททีบริษัทฯ ถือหุ้นโดย ขาย : - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.48 และ TGS 151 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นบริษัททีบริ ษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อม เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีRMVให้ บริการลูกค้ าทัวไป มีสว่ นได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 45.00 *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

11. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ จํากัด (TU) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงและโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 11.1 บริษัท ทรู จีเอส จํากัด (TGS) TU เป็ นบริษัททีบริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรง ขาย : อยูร่ ้ อยละ 0.01 และโดยอ้ อมอยู่ - ให้ บริการสือสารข้ อมูลความเร็วสูง ร้ อยละ 99.99 และ TGS เป็ นบริษัทที บริษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อมมีสว่ นได้ เสียอยู่ ร้ อยละ 45.00 มีความสัมพันธ์กนั โดยมี กรรมการร่วมกัน คือ นางยุภา ลีวงศ์เจริญ 11.2 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TU เป็ นบริษัททีบริษัทฯ - ให้ บริการสือสารข้ อมูลความเร็วสูง ถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 0.01 และ โดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.99 ซือ : - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการ ทีเกียวข้ อง

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

1,134 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป

188,782 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป

94,970 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 199,193 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปที - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และบริการที เกียวข้ อง มีสญ ั ญาทีได้ ตกลงกันตามราคาเฉลีย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน ซึงสัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สินสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 30,578 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที - จ่ายค่าซ่อมแซมบํารุงรักษาโครงข่าย เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าบริการอืนๆ 25,769 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริ ญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท 11.2 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CPG)*

11.3 กองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐาน โทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEIF)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัทฯ และ TU เป็ นบริษัททีบริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 0.01 และ โดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 99.99 TU เป็ นบริษัททีบริษัทฯ ถือหุ้นโดยตรง อยูร่ ้ อยละ 0.01 และโดยอ้ อมอยู่ ร้ อยละ 99.99และ TRUEIF เป็ นบริษัท ทีบริษัทฯมีสว่ นได้ เสียอยูร่ ้ อยละ 28.11

ลักษณะรายการ ซือ : - ค่าก่อสร้ างโครงข่าย

ซือ : - ค่าเช่าระบบใยแก้ วนําแสง

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

18,475 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

1,267,755 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

12. ผู้ทํารายการ : บริษัท เค เอส ซี คอมเมอร์ เชียล อินเตอร์ เนต จํากัด (KSC) (บริษัทฯ ถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 56.83) กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ KSC เป็ นบริ ษัททีบริ ษัทฯ - ให้ บริการอินเตอร์ เน็ต 2,349 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาทีบริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 56.83 ซือ : - จ่ายค่าบริการอินเตอร์ เน็ต และ 25,904 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที ค่าบริการอืนๆ เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

13. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี จํากัด (TIT) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TIT เป็ นบริษัททีบริษัทฯ - ให้ บริการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซือ : - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและ บริการอืนๆ

- ค่าใบอนุญาตการใช้ ซอฟท์แวร์

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

37,838 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป 34,895 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปทีมี สัญญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 7,397 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

14. ผู้ทํารายการ : บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด (BFKT) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) 14.1 กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซือ : (CPG)* บริษัทฯ และ BFKT เป็ นบริษัทที บริษัทฯ - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการ ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 ทีเกียวข้ อง

33,610 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปทีมี สัญญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 44,033 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปทีมี - จ่ายค่าบริการเช่ารถยนต์และ สัญญาทีได้ ตกลงกันตามราคาเฉลีย 15,000 บาทต่อคันต่อเดือน บริการทีเกียวข้ อง ซึงสัญญาให้ เช่ายานพาหนะมีอายุสญ ั ญา 3 ปี สินสุดใน ระยะเวลาต่างกัน 16,374 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที - จ่ายค่าบริการเช่าเซิฟเวอร์ อินเตอร์ เน็ต เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา 55,014 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที โครงข่าย เป็ นทางการค้ าปกติ - จ่ายค่าซืออุปกรณ์โครงข่าย 37,187 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2 ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท 14.2 กองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐาน โทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEIF)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์ BFKT เป็ นบริษัททีบริษัทฯถือหุ้นโดย อ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TRUEIF เป็ นบริษัททีบริษัทฯมีสว่ นได้ เสียอยู่ ร้ อยละ 28.11

ลักษณะรายการ ซือ : - ค่าเช่าเสาโทรคมนาคม

15. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู ไอคอนเท้ นท์ จํากัด (TICT) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริษัทฯ และ TICT เป็ นบริษัททีบริษัทฯ - ขายสินค้ า ถือหุ้นโดยอ้ อมอยูร่ ้ อยละ 100.00 - ค่า content ซือ : - ค่า content

16. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน จํากัด (TPC) (บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ซือ : (CPG)* บริษัทฯ และ TPC เป็ นบริษัททีบริษัทฯ - ซือสินค้ า ถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 - ค่าคอมมิชชันโทรศัพท์สาธารณะ

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

1,156,272 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

5,371 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป 7,787 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป 15,610 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

4,814 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 5,158 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

*หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือบริษัท

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะรายการ

17. ผู้ทํารายการ : บริษัท ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน จํากัด (TU) (บริษัทถือหุ้นโดยตรงร้ อยละ 100.00) กลุ่ม บริ ษั ท เครื อ เจริ ญ โภคภัณ ฑ์ กลุม่ บริษัท CPG เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ ขาย : (CPG)* บริ ษัทฯ และ TU เป็ นบริ ษัททีบริ ษัทฯ - ให้ บริการโทรศัพท์มือถือ ถือหุ้นโดยตรงอยูร่ ้ อยละ 100.00 ซือ : - จ่ายค่าเช่าสํานักงานและบริการ ทีเกียวข้ อง - ค่าคอมมิชชัน - ค่าบริการรับชําระ - ค่าบริการเกียวกับโครงข่าย - ค่าบริการอืน

ปี 2557 (พันบาท)

ความสมเหตุสมผล และความจําเป็ นของรายการระหว่ างกัน

7,577 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป 12,384 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจภายใต้ เงือนไขการค้ าทัวไปทีมี สัญญาทีได้ ตกลงกันทีราคา 455 บาทต่อเดือนต่อตารางเมตร ซึงสัญญาบริการสํานักงานมีอายุ 3 ปี และมีสิทธิจะต่ออายุ สัญญาเช่า 282,046 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 33,950 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 34,355 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ 10,017 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที เป็ นทางการค้ าปกติ

18. ผู้ทํารายการ : บริษัท เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ จํากัด (TAM) (บริษัทถือหุ้นโดยอ้ อมร้ อยละ 100.00) กองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐาน TAM เป็ นบริษัททีบริษัทฯถือหุ้นโดยอ้ อม ขาย : โทรคมนาคม ทรู โกรท (TRUEIF) อยูร่ ้ อยละ 100.00 และ TRUEIF เป็ น - ให้ บริการด้ านบริหารจัดการและ 18,425 - เป็ นการดําเนินงานตามปกติธุรกิจทีมีราคาและผลตอบแทนที บริษัททีบริษัทฯ มีสว่ นได้ เสียอยู่ การตลาด เป็ นทางการค้ าปกติตามราคาที บริษัทให้ บริการลูกค้ าทัวไป ร้ อยละ 28.11 *หมายเหตุ: กลุม่ บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีครอบครัวเจียรวนนท์เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยสามารถดูรายละเอียดเพิมเติมได้ ทีหัวข้ อที 7 “ข้ อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น” หน้ า 2

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ข. ยอดค้ างชําระทีเกิดจากการขายสินค้ าและบริ การ การเปลียนแปลงยอดค้ างชําระทีเกิดจากการขายสินค้ าและบริ การ มีดงั นี หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บริ ษัทร่วมค้ า บริ ษัทร่วม และบริ ษัททีเกียวข้ องกัน บริ ษัท เอเซีย อินโฟเน็ท จํากัด

เพิมขึน (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 (3)

3

บริ ษัท เอ็นซี ทรู จํากัด

(211)

บริ ษัท ทรู จีเอส จํากัด

20,984

2,753

3,415

(3,415)

กองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท บริ ษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน (ประเทศไทย) จํากัด

164

กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รวม

-

-

(211) 23,737 -

-

164

8,576,332

1,950,334 10,526,666

8,600,687

1,949,669 10,550,356

ค. ยอดค้ างชําระทีเกิดจากการซือสินค้ าและบริ การ การเปลียนแปลงยอดค้ างชําระทีเกิดจากการซือสินค้ าและบริ การ มีดงั นี หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บริ ษัทร่วมค้ า บริ ษัทร่วม และบริ ษัททีเกียวข้ องกัน กองทุนรวมโครงสร้ างพืนฐานโทรคมนาคม ทรู โกรท บริ ษัท เอ็นซี ทรู จํากัด กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ บริ ษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน (ประเทศไทย) จํากัด รวม

เพิมขึน (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

341,612

(24,938)

316,674

320

(318)

2

8,885,402

637,405

9,522,807

1

(1)

9,227,335

612,148

6,839,483

ง. ยอดคงเหลือเงินให้ ก้ ยู ืมจากกิจการทีเกียวข้ องกัน การเปลียนแปลงยอดค้ างชําระทีเกิดจากเงินให้ ก้ ยู มื จากกิจการทีเกียวข้ องกัน มีดงั นี หน่วย : พันบาท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

บริ ษัททีเกียวข้ องกัน กลุม่ บริ ษัทเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รวม

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

เพิมขึน (ลดลง)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

147,000

-

147,000

147,000

-

147,000

หัวข ้อที 12 - หน ้า 15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

มาตรการและขันตอนในการอนุมัติการทํารายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ มีมาตรการและขันตอนในการอนุมตั ิการทํารายการระหว่างกันตามทีกฎหมาย และ ข้ อกําหนด ของคณะกรรมการกํ ากับตลาดทุนรวมทังตลาดหลักทรั พย์แห่งประเทศไทยได้ กําหนดไว้ โดยบริ ษัทฯ ได้ นํากฎหมายและ ข้ อกําหนดดังกล่าวมาจัดทําเป็ น “ระเบียบในการเข้ าทํารายการระหว่างกัน” ไว้ อย่างชัดเจน เพือให้ กรรมการและพนักงาน ได้ ยึดถื อและปฏิบตั ิอย่างถูกต้ อง ภายใต้ ระเบียบในการเข้ าทํารายการระหว่างกัน ของบริ ษัทฯ ได้ กําหนดมาตรการและ ขันตอนในการอนุมตั ิการเข้ าทํารายการระหว่างกันไว้ ดงั นี 1. รายการระหว่างกันดังต่อไปนี ฝ่ ายจัดการสามารถอนุมัติการเข้ าทํารายการได้ โดยไม่ต้องขออนุมัติ จากคณะกรรมการบริ ษัท และทีประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ภายใต้ วตั ถุประสงค์ของมาตรา 89/12 ของ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที 4) พ.ศ. 2551 1.1

รายการทีเป็ นข้ อตกลงทางการค้ าโดยทัวไป “ข้ อตกลงทางการค้ าโดยทัวไป” หมายถึง ข้ อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับทีวิญ ูชน จะพึงกระทํากับคูส่ ญ ั ญาทัวไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้ วยอํานาจต่อรองทางการค้ าทีปราศจาก อิทธิพลในการทีตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อ บุคคลทีมีความเกียวข้ อง แล้ วแต่กรณี ซึงรวมถึงข้ อตกลงทางการค้ าทีมีราคาและเงือนไข หรื อ อัตรากําไรขันต้ น ดังต่อไปนี

ส่วนที 2

(ก)

ราคาและเงือนไขทีบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยได้ รับหรื อให้ กบั บุคคลทัวไป

(ข)

ราคาและเงือนไขที กรรมการ ผู้บริ หาร หรื อ บุคคลทีมีความเกียวข้ องให้ กบั บุคคลทัวไป

(ค)

ราคาและเงื อนไขที บริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่อ ย สามารถแสดงได้ ว่า ผู้ป ระกอบธุ ร กิ จ ใน ลักษณะทํานองเดียวกันให้ กบั บุคคลทัวไป

(ง)

ในกรณีทีไม่สามารถเปรี ยบเทียบราคาของสินค้ าหรื อบริ การได้ เนืองจากสินค้ าหรื อบริ การ ทีเกียวข้ องนันมีลกั ษณะเฉพาะ หรื อมีการสังทําตามความต้ องการโดยเฉพาะ แต่บริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยสามารถแสดงได้ ว่าอัตรากําไรขันต้ นทีบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยได้ รับจาก รายการระหว่างกันไม่ตา่ งจากธุรกรรมกับคู่ค้าอืน หรื ออัตรากําไรขันต้ นทีกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลทีมีความเกียวข้ อง ได้ รับจากรายการระหว่างกันไม่ตา่ งจากธุรกรรมกับคูค่ ้ าอืน และมีเงือนไข หรื อข้ อตกลงอืนๆ ไม่แตกต่างกัน

1.2

การให้ ก้ ยู ืมเงินตามระเบียบสงเคราะห์พนักงานและลูกจ้ าง

1.3

รายการทีคูส่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึงของบริ ษัทฯ หรื อ คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ายมีสถานะเป็ น (ก)

บริ ษัทย่อยทีบริ ษัทฯ เป็ นผู้ถือหุ้น ไม่น้อ ยกว่าร้ อยละเก้ าสิบของหุ้นทีจํ า หน่า ยได้ แล้ ว ทังหมดของบริ ษัทย่อย หรื อ

(ข)

บริ ษัทย่อยทีกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลทีมีความเกียวข้ องถือหุ้นหรื อมีสว่ นได้ เสียอยู่ด้วย ไม่ว่าโดยตรงหรื อโดยอ้ อม ไม่เกิ นจํ านวน อัตรา หรื อมีลกั ษณะตามทีคณะกรรมการ กํากับตลาดทุนประกาศกําหนด

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

1.4

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

รายการในประเภทหรื อทีมีมูลค่าไม่เกินจํานวนหรื ออัตราทีคณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศ กําหนด

2. รายการระหว่างกันดังต่อไปนี ไม่ต้องขออนุมตั ิจากทีประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ แต่ต้องขออนุมตั ิจาก คณะกรรมการบริ ษัท 2.1

รายการตามข้ อ 1 ซึงต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทฯ ภายใต้ ระเบียบวิธีปฏิบตั ิภายใน อืนทีเกียวข้ อง เช่น ระเบียบวิธีปฏิบตั ิด้านงบประมาณ เป็ นต้ น

2.2

รายการตามข้ อ 1.3 (ข) หรื อ 1.4 ทีคณะกรรมการกํากับตลาดทุน อาจกําหนดให้ ต้องได้ รับอนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริ ษัทฯ ด้ วย ตามทีจะได้ มีการประกาศกําหนดต่อไป

3. รายการระหว่างกันทีนอกเหนือจากข้ อ 1 และ 2 ต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทและทีประชุม ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ก่อนการเข้ าทํารายการ นโยบายและแนวโน้ มการทํารายการระหว่ างกันในอนาคต สําหรั บแนวโน้ มการทํารายการระหว่างกันในอนาคตนัน อาจจะยังคงมีอยู่ในส่วนทีเป็ นการดําเนินธุรกิ จ ตามปกติระหว่างบริ ษัทฯ กับบริ ษัทย่อยของบริ ษัทฯ ซึงบริ ษัทฯ จะดําเนินการด้ วยความโปร่งใสตามนโยบายการกํากับดูแล กิจการทีดีของบริ ษัทฯ และปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดทีเกียวข้ องอย่างเคร่งครัด นอกจากนี หากเป็ นรายการระหว่างกันประเภท ทีต้ องได้ รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท บริ ษัทฯ มีนโยบายทีจะต้ องเสนอให้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัทฯ พิจารณาก่อนทีจะเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิ

ส่วนที 2

รายการระหว่างกัน

หัวข ้อที 12 - หน ้า 17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ส่ วนที 3 ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินทีสํ าคัญ 13.1 ตารางสรุ ปงบการเงิน บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557, พ.ศ. 2556, พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 (หน่ วย : พันบาท) Common Size (%)

(ตามทีปรับใหม่) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Common Size (%)

6,611,594 1,139,791 1,039 62,825,918 147,000 4,294,126 4,078,067 4,694,752 4,273,796 88,066,083

2.82 0.49 0.00 26.79 0.06 1.83 1.74 2.00 1.82 37.55

14,726,283 2,346,446 101,832 38,537,982 147,000 5,049,989 2,952,598 3,207,269 2,989,197 70,058,596

7.16 1.14 0.05 18.72 0.07 2.46 1.43 1.56 1.45 34.04

6,103,167 964,823 374,406 21,424,871 14,251 1,941,475 3,018,739 2,048,861 3,321,860 39,212,453

3.38 0.54 0.21 11.88 0.01 1.07 1.67 1.14 1.84 21.74

11,447,692 997,852 400,727 12,899,586 8,700 1,596,738 2,630,683 1,030,217 2,920,369 33,932,564

7.62 0.66 0.27 8.59 0.01 1.06 1.75 0.69 1.94 22.59

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินสดทีมีภาระผูกพัน เงินลงทุ นในบริษัทร่วม - สุ ทธิ เงินลงทุ นในบริษัทอืน - สุ ทธิ อสังหาริมทรัพย์เพือการลงทุ น - สุ ทธิ ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ ค่าความนิ ยม - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

50,690 16,428,665 322,772 5,528 75,084,946 11,403,094 34,685,215 5,767,271 2,756,198 146,504,379

0.02 7.00 0.14 0.00 32.01 4.86 14.79 2.46 1.17 62.45

100,043 16,138,797 313,798 5,528 67,867,052 11,403,094 34,194,629 4,757,812 1,012,819 135,793,572

0.05 7.84 0.15 0.00 32.97 5.54 16.61 2.31 0.49 65.96

122,231 275,708 293,323 54,763 81,082,685 11,403,094 41,819,387 5,181,781 917,945 141,150,917

0.07 0.15 0.16 0.03 44.96 6.32 23.19 2.87 0.51 78.26

126,198 215,221 293,323 55,486 73,938,685 11,403,094 23,096,001 6,081,500 973,552 116,183,060

0.08 0.14 0.20 0.04 49.26 7.60 15.39 4.05 0.65 77.41

รวมสินทรัพย์

234,570,462

100.00

205,852,168

100.00

180,363,370

100.00

150,115,624

100.00

2,977,087 101,369,643

1.27 43.22

3,742,847 88,392,478

1.82 42.93

5,096,095 44,721,775

2.83 24.80

365,952 30,217,408

0.24 20.14

8,872,851 270,765 4,158,955 117,649,301

3.78 0.12 1.77 50.16

9,894,129 878,854 4,439,348 107,347,656

4.81 0.43 2.16 52.15

9,521,909 348,115 3,299,293 62,987,187

5.28 0.19 1.83 34.93

6,896,129 379,434 2,902,171 40,761,094

4.60 0.25 1.93 27.16

33,136,810 2,454,385 104,088 1,232,105 9,053,048 45,980,436

14.13 1.05 0.04 0.53 3.86 19.61

76,260,992 4,095,175 120,139 1,137,085 12,158,983 93,772,374

37.04 1.99 0.06 0.55 5.91 45.55

86,804,608 3,579,374 3,079,521 914,055 8,994,247 103,371,805

48.13 1.98 1.71 0.51 4.99 57.32

77,976,290 3,279,930 3,640,166 865,701 2,123,100 87,885,187

51.94 2.19 2.43 0.58 1.41 58.55

163,629,737

69.77

201,120,030

97.70

166,358,992

92.25

128,646,281

85.71

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเที ยบเท่ าเงินสด เงินสดทีมีภาระผูกพัน เงินลงทุ นชัวคราว ลูกหนี การค้าและลูกหนี อน ื เงินให้กยู ้ มื ระยะสันแก่กิจการทีเกียวข้องกัน สิ นค้าคงเหลื อ - สุ ทธิ ภาษี หัก ณ ทีจ่าย ภาษี มลู ค่าเพิม สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

หนีสินและส่วนของผูถ้ ือหุน้ หนีสินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน เจ้าหนี การค้าและเจ้าหนี อน ื ส่ วนทีถึ งกําหนดชําระภายในหนึ งปี ของ เงินกูย้ มื ระยะยาว ภาษี เงินได้คา้ งจ่าย หนี สินหมุนเวียนอืน รวมหนีสินหมุนเวียน หนีสินไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาว หนี สินภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี หนี สินภายใต้สัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนิ นการ ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนั กงาน หนี สินไม่หมุนเวียนอืน รวมหนีสินไม่หมุนเวียน รวมหนีสิน ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ทุ นเรือนหุน้ ทุ นจดทะเบียน หุน้ สามัญ ทุ นทีออกและชําระเต็มมูลค่าแล้ว หุน้ สามัญ ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่ วนตํากว่ามูลค่าหุน้ กําไร(ขาดทุ น)สะสม สํารองตามกฎหมาย ขาดทุ นสะสม องค์ประกอบอืนของส่ วนของผูถ้ ื อหุน้ รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ บริษท ั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยทีไม่มอี าํ นาจควบคุม รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ รวมหนีสินและส่วนของผูถ้ ือหุน้

ส่วนที 3

246,079,282

153,332,070

(ตามทีปรับใหม่) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 (หรือ 1 มกราคม พ.ศ. 2556)

Common Size (%)

153,332,070

31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

Common Size (%)

153,332,070

246,079,282 11,432,046 (121,995,650)

104.88 4.87 (51.99)

145,302,153 11,432,046 (86,070,641)

70.61 5.56 (41.83)

145,031,792 11,432,046 (85,987,466)

80.27 6.33 (47.59)

145,031,792 11,432,046 (85,987,466)

96.57 7.61 (57.25)

34,881 (63,424,799) (1,776,122) 70,349,638 591,087 70,940,725

0.01 (27.03) (0.76) 29.98 0.25 30.23

34,881 (64,850,076) (1,767,250) 4,081,113 651,025 4,732,138

0.02 (31.52) (0.86) 1.98 0.32 2.30

34,881 (55,634,566) (1,529,867) 13,346,820 657,558 14,004,378

0.02 (30.79) (0.85) 7.39 0.36 7.75

34,881 (48,206,801) (1,527,107) 20,777,345 691,998 21,469,343

0.02 (32.10) (1.02) 13.83 0.46 14.29

234,570,462

100.00

205,852,168

100.00

180,363,370

100.00

150,115,624

100.00

ข ้อมูลทางการเงินทีสําคัญ

หัวข ้อที 13 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สําหรับปี สินสุดวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557, พ.ศ. 2556, พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554

รายได้ รายได้จากการให้บริการโทรศัพท์และบริการอืน รายได้จากการขายสินค้า รวมรายได้ ต้นทุนขายและการให้บริการ ต้นทุนการให้บริการ ต้นทุนขาย รวมต้นทุนขายและการให้บริการ กําไรขันต้น รายได้อนื ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอืน ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ต้นทุนทางการเงิน กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ รายได้(ค่าใช้จ่าย)ภาษีเงินได้ กําไร(ขาดทุน)สําหรับปี

Common Size (%)

(หน่ วย : พันบาท) 31 ธันวาคม Common พ.ศ. 2554 Size (%)

74,298,460 15,083,454 89,381,914

83.12 16.88 100.00

65,132,462 6,805,156 71,937,618

90.54 9.46 100.00

61.83 16.36 78.19

54,892,586 13,779,018 68,671,604

61.41 15.42 76.83

46,045,350 5,881,483 51,926,833

64.01 8.18 72.19

20,988,693 8,662,466 (11,420,067) (11,217,976) (4,918,582) 62,298 (8,401,652) (6,244,820) (2,896,121) (9,140,941)

21.81 9.00 (11.87) (11.66) (5.11) 0.06 (8.73) (6.50) (3.01) (9.51)

20,710,310 847,836 (8,475,378) (10,634,727) (2,183,994) 41,417 (6,154,422) (5,848,958) (1,598,739) (7,447,697)

23.17 0.95 (9.48) (11.90) (2.44) 0.05 (6.89) (6.54) (1.79) (8.33)

20,010,785 12,838,087 (6,247,834) (9,689,443) (1,283,684) 46,922 (14,971,146) 703,687 (3,439,601) (2,735,914)

27.81 17.85 (8.69) (13.47) (1.78) 0.07 (20.81) 0.98 (4.78) (3.80)

(0.11) (0.16) (9.78)

(2,760) (7,450,457)

0.00 (8.33)

11,561 (31,567) (2,755,920)

0.02 (0.04) (3.82)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Common Size (%)

31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

Common Size (%)

86,985,629 22,230,410 109,216,039

79.65 20.35 100.00

79,136,772 17,076,923 96,213,695

82.25 17.75 100.00

66,106,899 18,413,253 84,520,152

60.53 16.86 77.39

59,489,193 15,735,809 75,225,002

24,695,887 2,223,482 (10,119,225) (11,692,962) (5,573,728) 6,220,469 (6,442,429) (688,506) 2,062,975 1,374,469

22.61 2.04 (9.27) (10.71) (5.10) 5.70 (5.90) (0.63) 1.89 1.26

31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอืน : ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

(2,599) 1,371,870

0.00 1.26

(101,857) (152,764) (9,395,562)

การแบ่งปั นกําไร(ขาดทุน)สําหรับปี ส่วนทีเป็ นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียทีไม่มอี าํ นาจควบคุม กําไร(ขาดทุน)สําหรับปี

1,425,277 (50,808) 1,374,469

103.70 (3.70) 100.00

(9,062,747) (78,194) (9,140,941)

99.14 0.86 100.00

(7,427,765) (19,932) (7,447,697)

99.73 0.27 100.00

(2,693,688) (42,226) (2,735,914)

98.46 1.54 100.00

การแบ่งปั นกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ส่วนทีเป็ นของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียทีไม่มอี าํ นาจควบคุม กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

1,422,678 (50,808) 1,371,870

103.70 (3.70) 100.00

(9,317,368) (78,194) (9,395,562)

99.17 0.83 100.00

(7,430,525) (19,932) (7,450,457)

99.73 0.27 100.00

(2,713,633) (42,287) (2,755,920)

98.47 1.53 100.00

กําไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ขันพืนฐานและลดลงเต็มทีส่วนทีเป็ นของบริษทั ใหญ่ -กําไร(ขาดทุน)ขันพืนฐาน -กําไร(ขาดทุน)ปรับลด

ส่วนที 3

0.07 ไม่มี

(0.56) (0.56)

ข ้อมูลทางการเงินทีสําคัญ

(0.51) (0.51)

(0.23) (0.23)

หัวข ้อที 13 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสดรวม สําหรับปี สินสุดวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557, พ.ศ. 2556, พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2554 (หน่ วย : พันบาท) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ส่วนที 3

กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนิ นงาน กําไร(ขาดทุ น)ก่อนภาษี เงินได้ รายการปรับปรุง ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่ าย ดอกเบียรับ ดอกเบียจ่าย เงินปั นผลรับ ขาดทุ น(กําไร)จากการขายทีดิน อาคารและอุปกรณ์ หนี สงสัยจะสูญ ตัดจําหน่ ายอุปกรณ์โครงข่าย การด้อยค่าของเงินลงทุ น กําไรจากการขายสิ นทรัพย์พืนฐานโทรคมนาคม การด้อยค่าของทีดิน อาคารและอุปกรณ์และสิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน กําไรจากการกลับรายการสิ ทธิ และหนี สินภายใต้สัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนิ นการ การด้อยค่าของอสังหาริมทรัพย์เพือการลงทุ น การด้อยค่าของค่าความนิ ยม สิ นทรัพย์และหนี สินในการดําเนิ นงานอืนตัดจําหน่ าย ขาดทุ น(กําไร)จากการจําหน่ ายเงินลงทุ นในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม ขาดทุ นจากการเลิ กกิจการของบริษัทร่วม กําไรจากการเลิ กกิจการของบริษัทย่อย กลับรายการประมาณการหนี สินจากการใช้สิทธิ ของ กสท. ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนั กงานเพิมขึน กําไรจากการต่อรองราคาซือ (กําไร)ขาดทุ นจากอัตราแลกเปลียนทียังไม่เกิดขึนจริง ขาดทุ น(กําไร)จากอัตราแลกเปลียนทีเกียวกับการจ่ายชําระคืนเงินกูย้ ม ื กําไรจากการชําระคืนตัวเงินก่อนกําหนด กําไรจากการยกเลิ กสัญญาเช่าการเงิน ส่ วนแบ่งผลกําไรของบริษัทร่วม การเปลียนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี สินดําเนิ นงาน - ลูกหนี การค้าและลูกหนี อน ื - เงินลงทุ นชัวคราว - สิ นค้าคงเหลื อ - สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน - เงินลงทุ นในค่าสิ ทธิ สาํ หรับรายการและภาพยนตร์ - รถยนต์มไี ว้ให้เช่า - สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน - เจ้าหนี การค้าและเจ้าหนี อน ื - หนี สินหมุนเวียนอืน - หนี สินไม่หมุนเวียนอืน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนิ นงาน บวก เงินสดรับ - ดอกเบียรับ หัก เงินสดจ่าย - ดอกเบียจ่าย เงินสดจ่าย - ภาษี เงินได้จ่าย เงินสดสุ ทธิ(ใช้ไปใน)ได้มาจากกิจกรรมดําเนิ นงาน

(ตามทีปรับใหม่) 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556

31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

31 ธันวาคม พ.ศ. 2554

(688,506)

(6,244,819)

(5,848,958)

25,373,942 (175,981) 5,118,802 (10,000) 274,327 1,243,536 410,184 15,806 6,072 (1,162,471) 95,020 (223,001) 6,162 (350,932) (6,220,469)

22,253,496 (148,092) 7,765,546 147,709 1,143,824 8,719 (6,334,904) 2,056,089 (791,180) 110 (857,569) 23,035 (104,480) 136,731 439,978 (130,304) (145,283) (54,910) (62,298)

17,151,752 (259,566) 6,551,433 (43,026) 1,415,186 2,123,848 724 17,093 48,354 (864,711) (41,417)

14,883,121 (335,742) 9,290,503 (62,766) 1,124,722 73,168 1,024,915 3,866 (146,135) 74,471 (12,077,098) 737,425 3,416,411 (46,922)

(25,726,991) 100,317 764,512 (5,230,943) (2,390,759) 35,381 13,203,277 (719,383) (167,599) 3,580,303 158,082 (5,103,277) (2,278,912) (3,643,804)

(12,940,393) (85,214) (2,854,118) (278,922) (1,441,795) 113,317 (257,998) 29,584,190 1,539,787 (200,721) 32,279,531 140,727 (7,201,782) (2,289,021) 22,929,455

(10,331,060) 50,908 (1,252,658) (734,543) (1,935,571) 197,531 55,607 7,573,846 397,122 145,000 14,416,170 313,430 (5,786,497) (1,631,246) 7,311,857

(4,581,556) 20,399 (1,926,517) 406,199 (1,819,550) 202,219 24,869 6,178,940 (105,046) (122,170) 16,941,413 333,162 (8,829,835) (1,687,448) 6,757,292

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดทีมีภาระผูกพัน(เพิมขึน)ลดลง เงินสดรับ(จ่าย)จากเงินลงทุ นชัวคราว เงินให้กยู ้ ม ื แก่กิจการทีเกียวข้องกัน เงินสดจ่ายซือบริษัทย่อย - สุ ทธิ จากเงินสดทีได้มา เงินสดรับจากการขายเงินลงทุ นในบริษัทร่วม เงินลงทุ นเพิมในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและเงินลงทุ นในบริษัทอืน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุ นในกิจการทีเกียวข้องกัน -สุ ทธิ จากเงินสดและรายการเที ยบเท่ าเงินสด เงินสดจ่ายซือทีดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายซือสิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินสดรับจากเงินให้กยู ้ ม ื แก่กิจการร่วมค้า เงินสดจ่ายซืออสังหาริมทรัพย์เพือการลงทุ น เงินสดรับจากการเลิ กกิจการของบริษัทร่วม เงินสดรับจากการลดเงินลงทุ นในบริษัทร่วม เงินสดรับจากการขายทีดิน อาคารและอุปกรณ์และสิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินปั นผลรับ เงินสดสุ ทธิ ใช้ไปในกิจกรรมลงทุ น

1,256,008 476 (45,165) 3,193,423 (22,519,912) (4,940,550) 7,230 256,333 1,355,746 (21,436,411)

(1,984,739) 346,537 (3,750) (19,355,743) 3,203,157 (25,058,085) (816,881) 100,000 40,432,859 55,801 (3,080,844)

36,996 (24,587) (6,320) (27,000) (19,313,715) (7,812,497) 770 6,578 178,686 1,352 (26,959,737)

184,682 5,105 (6,015,869) 146,135 (81,000) (12,495,892) (652,239) (2,130) 274,343 2,730 (18,634,135)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากการออกหุน ้ สามัญ ส่ วนได้เสี ยทีไม่มอี าํ นาจควบคุมลงทุ นเพิมในหุน ้ ทีออกหุน ้ ใหม่ของบริษัทย่อย เงินปั นผลจ่ายให้ส่วนได้เสี ยทีไม่มอี าํ นาจควบคุม ลงทุ นเพิมในบริษัทย่อยโดยซือหุน ้ จากส่ วนได้เสี ยทีไม่มอี าํ นาจควบคุม เงินสดรับจากเงินกูย้ ม ื ระยะสัน เงินสดรับจากเงินกูย้ ม ื - สุ ทธิ จากเงินสดจ่ายค่าต้นทุ นการกูย้ ม ื เงินสดจ่ายชําระคืนเงินกูย้ ม ื ระยะสัน เงินสดจ่ายชําระคืนเงินกูย้ ม ื เงินสดสุ ทธิ ได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิมขึน(ลดลง)สุทธิ ยอดยกมาต้นปี ผลกระทบจากการเปลียนแปลงของอัตราแลกเปลียน ยอดคงเหลื อสินปี

64,852,120 15,989 (31,392) 11,210,303 14,242,603 (12,003,840) (61,307,112) 16,978,671 (8,101,544) 14,726,283 (13,145) 6,611,594

187,186 (2,591) 30,182,538 32,550,467 (31,535,786) (42,611,917) (11,230,103) 8,618,508 6,103,167 4,608 14,726,283

(14,509) 9,120,978 17,482,493 (4,393,083) (7,888,830) 14,307,049 (5,340,831) 11,447,692 (3,694) 6,103,167

13,114,802 9,847 (12,954) (114,822) 7,885,337 40,750,941 (8,115,856) (34,745,495) 18,771,800 6,894,957 4,540,535 12,200 11,447,692

ข ้อมูลทางการเงินทีสําคัญ

703,687

หัวข ้อที 13 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

13.2

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ผู้สอบบัญชี

ผูส้ อบบัญชีทีได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ สําหรับตรวจสอบงบการเงิน รวมและงบการเงินของบริ ษทั ฯ ในระยะ 3 ปี ทีผ่านมา มีดงั นี งบการเงินประจําปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

บริษัทผู้ตรวจสอบ บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส บจก.ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส

ชือผู้สอบบัญชี นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล นายขจรเกียรติ อรุ ณไพโรจนกุล

เลขประจําตัว ผู้สอบบัญชี รับอนุญาต 3445 3445 3445

รายงานการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชีในระยะ 3 ปี ทีผ่านมา (2555-2557) ผูส้ อบบัญชีได้ให้ ความเห็นในรายงานการตรวจสอบงบการเงินของบริ ษทั ฯ ถูกต้องแบบไม่มีเงือนไข บจก.ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส และ ผูส้ อบบัญชี ไม่มีความสัมพันธ์หรื อส่ วนได้เสี ย กับบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อผูบ้ ริ หาร หรื อผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูท้ ีเกี ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ในลักษณะทีจะมีผลกระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าทีอย่างเป็ นอิสระแต่อย่างใด

ส่วนที 3

ข ้อมูลทางการเงินทีสําคัญ

หัวข ้อที 13 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

13.3

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

อัตราส่ วนทางการเงิน ปี 2557

ปี 2556

ปี 2555

(ปร ับปรุง) อ ัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) อัตราส่วนสภาพคล่อง

เท่า

0.75

0.65

0.64

อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว

เท่า

0.57

0.48

0.42

ิ ทร ัพย์ (Activity Ratios) อ ัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการใช้สน อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนีการค ้า

เท่า

2.34

3.60

5.92

ระยะเวลาเก็บหนีเฉลีย

วัน

153.96

100.12

60.78

อัตราส่วนหมุนเวียนสินค ้าคงเหลือ

เท่า

3.94

4.03

6.32 56.94

ระยะเวลาหมุนเวียนของสินค ้าคงเหลือเฉลีย

วัน

91.34

89.36

อัตราส่วนหมุนเวียนเจ ้าหนีการค ้า

เท่า

2.39

2.80

3.90

ระยะเวลาชําระหนี

วัน

150.37

128.73

92.36

Cash Cycle

วัน

94.94

60.75

25.36

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร

เท่า

1.53

1.25

1.11

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์

เท่า

0.50

0.50

0.54

อัตราส่วนหนีสินต่อส่วนของผู ้ถือหุ ้น

เท่า

2.31

42.50

11.88

อัตราส่วนหนีสินสุทธิตอ ่ EBITDA

เท่า

1.61

4.19

5.26

อัตราส่วนหนีสินสุทธิตอ ่ EBITDA

เท่า

1.61

4.60

N/A

เท่า

3.62

1.90

2.43

%

1.31%

-9.42%

-8.31%

อ ัตราส่วนทีแสดงถึงความเสียงจาการกูย ้ ม ื (Leverage Ratios)

(ไม่รวมผลประกอบการบริษัทย่อยทีขายไปในปี 2556)

อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบีย อ ัตราส่วนแสดงความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratios) อัตรากําไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนสินทรัพย์

1/

%

1.31%

-0.85%

0.97%

%

3.77%

-96.74%

-41.88%

%

13.95%

14.13%

20.15%

หนีสินรวม

%

-18.64%

20.90%

29.32%

รายได ้รวม

%

13.51%

7.64%

24.25%

ค่าใช ้จ่ายดําเนินงาน 2/

%

8.65%

11.48%

29.35%

กําไรสุทธิ

%

NM

-22.01%

-175.75%

อัตราผลตอบแทนผู ้ถือหุ ้น อ ัตราการเติบโต (Growth Ratios) สินทรัพย์รวม

หมายเหตุ : อัตราผลตอบแทนสิ นทรัพย์คาํ นวณจากกําไรขันต้นหักค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร/สิ นทรัพย์รวม(เฉลีย) 2/ รวมต้นทุนขายและการให้บริ การรวมค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร 1/

ส่วนที 3

ข ้อมูลทางการเงินทีสําคัญ

หัวข ้อที 13 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

13.4

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

จุดเด่ นทางการเงิน ปี 2557

(หน่วย: ล้านบาท) ปี 2556 ปี 2555 (ปร ับปรุง)

ผลการดําเนินงานของบริษท ั และบริษท ั ย่อ ย รายได ้จากการให ้บริการ

1/

รายได ้รวม กําไรจากการดําเนินงานก่อนดอกเบีย ภาษี ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย (EBITDA)

67,497

66,291

61,865

109,216

96,214

89,382

20,050

16,340

16,738

กําไรจากการขายและการให ้บริการ

2,884

(1,649)

1,600

กําไรจากการดําเนินงานปกติ

5,859

(11,376)

(6,631)

กําไรจากการดําเนินงานปกติ ก่อนภาษีเงินได ้รอการตัดบัญชี

3,209

(10,138)

(5,354)

กําไร(ขาดทุน)สุทธิ ส่วนทีเป็ นของบริษัท

1,425

(9,063)

(7,428)

ฐานะการเงินและกระแสเงินสดของบริษท ั และบริษท ั ย่อ ย สินทรัพย์รวม

234,570

205,852

180,363

หนีสินรวม

163,630

201,120

166,359

ส่วนของผู ้ถือหุ ้น

70,941

4,732

14,004

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน

(3,644)

22,929

7,312

อ ัตราส่วนทางการเงิน และประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราการทํากําไรจากการขายและการให ้บริการ (บนรายได ้รวม หลังหักค่า IC และค่าเช่าโครงข่าย)

3.2%

-2.0%

3/

2.1%

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (เท่า)

0.5

0.5

3/

EBITDA / ดอกเบียจ่าย (เท่า)

3.6

1.9

3/

2.4

หนีสินสุทธิ / EBITDA (เท่า) 2/

1.6

4.2

3/

5.3

กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ ้น (บาท)

0.07

(0.56)

(0.51)

มูลค่าตามบัญชีตอ ่ หุ ้น (บาท)

2.88

0.33

0.97

11.10

7.50

5.45

0.5

ข้อมูลต่อ หุน ้ และอืนๆ

ราคาหุ ้น ณ สินงวด (บาท) จํานวนหุ ้นสามัญ ณ สินงวด (ล ้านหุ ้น) มูลค่าตลาดของหุ ้น

24,608

14,530

14,503

273,148

108,977

79,042

1/

รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์และบริการอืน ยกเว ้น รายได ้ค่าเชือมโยงโครงข่าย (IC) และรายไดค่้ าเช่าโครงข่าย

2/

เงินกู ้ยืมระยะสันและระยะยาว ไม่รวมหนีสินตามสัญญาเช่าทางการเงิน

3/

อัตราส่วนด ้านล่างสําหรับ ปี 2556 ไม่รวมผลประกอบการ 8 บริษัท ย่อยทีขายไป เพือการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานไดอย่ ้ างถูกต ้องและเหมาะสม ปี 2557

ปี 2556

อัตราการทํา กําไรจากการขายและการให ้บริการ (บนรายได ้รวม หลังหักค่า IC และค่าเช่าโครงข่าย)

ส่วนที 3

3.2%

-2.4%

อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (เท่า)

0.5

0.5

EBITDA / ดอกเบียจ่าย (เท่า)

3.6

1.8

หนีสินสุท ธิ / EBITDA (เท่า)

1.6

4.6

ข ้อมูลทางการเงินทีสําคัญ

หัวข ้อที 13 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

14. การวิเคราะห์ และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ คําอธิบายและการวิเคราะห์ ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน จุดเด่ นในปี 2557 • ปี 2557 นับเป็ นปี แห่งการเปลียนแปลงครังสําคัญของกลุ่มทรู ด้วยความสําเร็ จในหลายด้าน ทังรายได้และ อัตรา productivity ของทุกกลุ่มธุ รกิจทีปรับตัวดีขึนอย่างสู ง รวมถึงความสําเร็ จในการปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงิน และการร่ วมเป็ นพันธมิตรทางยุทธศาสตร์ กบั China Mobile สิ งเหล่านี ส่ งผลให้กลุ่มทรู สามารถพลิกกลับมาเป็ นองค์กร ทีสร้างผลกําไรได้ และมีความพร้อมอย่างเต็มทีสําหรับการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งไปกับการก้าวเข้าสู่ เศรษฐกิจดิจิตอล ของประเทศ • กลุ่มทรู โมบาย ยังคงเติบโตเหนื อกว่าภาพรวมตลาด โดยสามารถเพิมส่ วนแบ่งตลาดของรายได้จากการ ให้บริ การได้อย่างมี นยั สําคัญ ทังนี บริ การระบบรายเดื อนของกลุ่มเติบโตอย่างแข็งแกร่ งและมีจาํ นวนผูใ้ ช้บริ การ ระบบรายเดือนเพิมสู งเป็ นอันดับ 2 ของตลาดแล้ว • บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต เติบโตแข็งแกร่ ง โดยรายได้บรอดแบนด์เพิมขึนมากกว่าร้อยละ 15 เมือ เทียบกับปี ก่อนหน้า และมียอดผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ ในปี ทีสู งสุ ดในประวัติการณ์ • ทรู วชิ นส์ ั คงความแข็งแกร่ งในตลาดแมส ส่ งผลให้รายได้จากค่าสมาชิกปรับตัวเพิมขึนตังแต่ ไตรมาส 2 ของปี ภาพรวม ปี 2557 เป็ นปี ทีกลุ่มทรู ประสบความสําเร็ จทังด้านฐานะทางการเงิ นและการดําเนิ นงานตามเป้ าหมายทีตังไว้ จากการเปลี ยนแปลงสําคัญในหลายด้าน ทังรายได้และส่ วนแบ่งตลาดรายได้ทีเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง การเพิมอัตรา productivity ของทุ กกลุ่ มธุ รกิ จจากการมุ่ง มันบริ หารค่ าใช้จ่ายอย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ รวมถึ ง ความสํา เร็ จจากการ ปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงิน และการเป็ นพันธมิตรทางยุทธศาสตร์ กบั China Mobile สิ งเหล่านี ร่ วมกับการสร้าง และโอนเสาโทรคมนาคมและการลงทุนใน TRUEIF ทําให้กลุ่มทรู พลิกกลับมาเป็ นองค์กรทีสร้างผลกําไรได้ในปี ในขณะทีโครงสร้างทางการเงินของกลุ่ มทรู แข็งแกร่ งขึนและเป็ นไปตามเป้ าหมาย ด้วยอัตราส่ วนหนี สิ นสุ ทธิ ต่อ EBITDA และอัตราส่ วนหนี สุ ทธิ ต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ทีลดลงอย่างสู งเป็ น 1.6 เท่า และ 0.5 เท่า ตามลําดับ ณ สิ นปี 2557 ทังนี แคมเปญคอนเวอร์ เจนซ์ ของกลุ่ ม ยังคงได้รับความนิ ยมสู งต่อเนื อง ส่ งผลให้ฐานลูกค้าในทัง 3 ธุ รกิ จหลักของ กลุ่มทรู เติบโตเพิมขึนเป็ น 28.2 ล้านราย ณ สิ นปี 2557 ประกอบด้วย ฐานลูกค้ากลุ่มทรู โมบายจํานวน 23.6 ล้านราย ทรู ออนไลน์ (บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ต) จํานวน 2.1 ล้านราย และทรู วชิ นส์ ั จาํ นวน 2.5 ล้านราย

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การแข่งขันในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศไทยยังคงอยู่ในระดับสู งแต่เป็ นไปอย่างสมเหตุสมผล โดยคุณภาพโครงข่ายและบริ การ รวมถึงโปรโมชันทีผสานความคุม้ ค่าของแพ็กเก็จค่าบริ การร่ วมกับดีไวซ์หรื อสิ นค้าอืน ๆ ยังคงเป็ นปั จจัยสําคัญในการเติบโตและเพิมส่ วนแบ่งทางการตลาดของผูใ้ ห้บริ การ กลุ่มทรู ยังคงมีรายได้ทีเติบโต ต่อเนื องในปี 2557 แม้ตอ้ งเผชิ ญกับสภาวะการแข่งขันทีสู ง โดยรายได้จากการให้บริ การโทรศัพท์เคลื อนทีสามารถ เติบโตเหนื อกว่าภาพรวมอุตสาหกรรม ในขณะที ทรู ออนไลน์ ยังคงความเป็ นผูน้ าํ บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต โดยมีส่วนแบ่งตลาดในด้านรายได้ทีร้อยละ 41 โดยการเติบโตทีแข็งแกร่ งเหล่ านี เป็ นผลจากกลยุทธ์หลักของกลุ่ ม ในการมุ่งขยายโครงข่าย 4G 3G WiFi และไฟเบอร์ บรอดแบนด์ รวมถึงบริ การคอนเวอร์ เจนซ์ทีน่าดึงดูดใจของกลุ่ม และการจัดกิจกรรมทางการตลาดให้เหมาะสมกับแต่ละพืนที ในขณะที สภาวะเศรษฐกิจทีชะลอตัว ส่ วนใหญ่ส่งผล กระทบต่อผลประกอบการของธุ รกิจโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิ กของกลุ่ม ซึ งมีรายได้ค่าสมาชิ กและลูกค้าแพ็กเกจ พรี เมียมทีลดลงในปี 2557 อย่างไรก็ ตาม ความแข็งแกร่ งของกลุ่ มทรู ในตลาดแมส ผ่านแคมเปญคอนเวอร์ เจนซ์ สามารถบรรเทาผลกระทบจากเศรษฐกิ จดัง กล่ า ว ส่ ง ผลให้รายได้ค่ าสมาชิ ก ของทรู วิชันส์ ป รั บตัวเพิ มขึ นตังแต่ ไตรมาส 2 ปี 2557 ผลการดําเนิ นงานรวมของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ประจําปี 2557 สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2557 ปรากฏผล กําไรสุ ทธิ ส่วนทีเป็ นของบริ ษทั ฯ จํานวน 1.4 พันล้านบาท ซึ งเปลียนแปลงในอัตราทีสู งกว่าร้ อยละ 20 จากผลการ ดําเนินงานสุ ทธิของปี ก่อน ทังนี โดยมีสาเหตุสาํ คัญ สรุ ปได้ดงั นี รายได้ จากการให้ บริการโดยรวมของกลุ่มทรู เพิมขึนเป็ น 67.5 พันล้านบาท ในปี 2557 ด้วยความแข็งแกร่ ง ของกลุ่ มทรู ในการให้บริ การด้วยคุ ณภาพโครงข่ายประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดและการบริ การทีดี เยียม แพ็กเกจบริ การ หลากหลายทีน่าดึ งดูดใจ และผลตอบรับทีดี ต่อแคมเปญการตลาดเฉพาะพืนทีอย่างต่อเนื อง ทําให้รายได้จากการ ให้บริ การของธุรกิจโทรศัพท์เคลือนทีและบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต มีการเติบโตอย่างสู ง โดย กลุ่มทรู โมบาย เติบโตเหนื ออุตสาหกรรมและสามารถเพิมส่ วนแบ่งตลาดของรายได้จากการให้บริ การได้อย่างแข็งแกร่ ง เป็ นร้อยละ 17.8 ในไตรมาส 4 ปี 2557 จากอัตราเฉลียร้อยละ 15.9 ในปี 2556 นอกจากนี รายได้บริ การบรอดแบนด์ ของทรู ออนไลน์ ั ปรับตัว เพิมขึนอย่างสู งถึงมากกว่าร้อยละ 15 เมือเทียบกับปี ก่อนหน้า ในขณะที รายได้จากค่าสมาชิ กของ ทรู วิชนส์ เพิมขึนต่อเนืองตังแต่ ไตรมาส 2 ของปี แม้จะได้รับผลกระทบจากภาวะการแข่งขันและการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ กําไรจากการดําเนินงาน ก่ อนดอกเบีย ภาษี ค่ าเสื อมราคา และค่ าตัดจําหน่ าย หรื อ EBITDA ของกลุ่มทรู เติบโตแข็งแกร่ ง เป็ น 20.1 พันล้านบาท จากรายได้ทีเพิมขึน และค่าใช้จ่ายด้านการตลาดและการกํากับดูแลทีลดลง รวมถึงการรับรู ้กาํ ไรจากการโอนเสาโทรคมนาคมใหม่ให้กบั TRUEIF ทังนี ในไตรมาส 4 ปี 2557 ซึ งเป็ นไตรมาส แรกหลังความสําเร็ จจากการปรับปรุ งโครงสร้า งทางการเงิน ในเดื อนกันยายน ดอกเบียจ่ายสุ ทธิ ของกลุ่มทรู ลดลง อย่างมีนยั สําคัญกว่าร้อยละ 71 เมือเทียบกับช่วงเดี ยวกันปี ก่อนหน้า สิ งเหล่านี ร่ วมกับการลงทุนใน TRUEIF ทําให้ ผลประกอบการของกลุ่มทรู ดีขึนมากและมีผลกําไรสุ ทธิส่วนทีเป็ นของบริษัท จํานวน 1.4 พันล้านบาท ในปี 2557

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สํ าหรั บปี 2558 กลุ่มทรู ตังเป้ าหมายการเติบโตของรายได้จากการให้บริ การโดยรวมในอัตรา high singledigit โดยมีงบลงทุน (ทีเป็ นเงิ นสด) รวมประมาณ 32 พันล้านบาท (โดย 18 พันล้านบาท สําหรั บกลุ่มทรู โมบาย 12 พันล้านบาท สําหรับทรู ออนไลน์ และ 2 พันล้านบาท สําหรับทรู วชิ นส์ ั ) กลุ่ มทรู จะยังคงมุ่งสร้ างความแตกต่างให้กบั สิ นค้าและบริ การของกลุ่ ม ด้วยยุทธศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ ร่ วมกับการเดิ นหน้าเสริ มคุณภาพโครงข่ายและบริ การ ด้วยเทคโนโลยีชนนํ ั า โดยพร้อมขยายโครงข่าย 4G ให้ครอบคลุม ร้อยละ 80 ของประชากรในเร็ ว ๆ นี รวมถึ งการขยายโครงข่ายบรอดแบนด์ให้ครอบคลุม 10 ล้านครัวเรื อนทัวประเทศ ภายในปี หน้า นอกจากนี ทรู วิชนส์ ั ยังมุ่งมันเพิมประสบการณ์ ในการรับชมโทรทัศน์ ผ่านช่ องรายการคมชัดระดับ HD และคอนเทนต์คุณภาพของกลุ่ม โดยเฉพาะคอนเทนต์ทีทรู วิชนส์ ั ได้รับสิ ทธิ เฉพาะในการเผยแพร่ ทังนี กลุ่ มทรู จะเน้นการรักษาวินยั ทางการเงิน เพือเพิมผลกําไรให้กบั บริ ษทั ฯ อย่างต่อเนือง การแข่งขันอย่างรุ นแรงในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในประเทศไทย เป็ นหนึ งในปั จจัยสําคัญทีอาจมีผลต่อ การดําเนิ นงานหรื อฐานะทางการเงิ นในอนาคตของกลุ่มทรู อย่างไรก็ตาม การทีกลุ่มทรู มุ่งมอบความคุ ม้ ค่าสู งสุ ด ให้แก่ลูกค้าผ่านเครื อข่ายประสิ ทธิ ภาพสู งด้วยเทคโนโลยีลาหน้ ํ า รวมถึ งแคมเปญคอนเวอร์ เจนซ์ทีน่าดึ งดูดใจ และ การมี แบรนด์ทีผูบ้ ริ โภคให้ความเชื อมันสู ง น่ า จะทํา ให้ก ลุ่ ม ทรู คงความได้เปรี ย บผูใ้ ห้บริ ก ารรายอื นและเติบโต แข็งแกร่ งได้อย่างต่อเนือง รายงานของผูส้ อบบัญชีมีขอ้ สังเกตเกียวกับความไม่แน่นอนเกียวกับคดีฟ้องร้องทียังไม่ทราบผล และสัญญา สําคัญทางธุ รกิ จทีอยูร่ ะหว่างการสรุ ปในรายละเอียด (รายละเอียดเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37.4 ข้อ 38 และข้อ 39.2) ซึงผลสุ ดท้ายของคดีและข้อสรุ ปของสัญญายังไม่สามารถระบุได้ อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริ หารเชื อมัน เป็ นอย่างยิงว่างบการเงินหรื อการดําเนินงานของกลุ่มจะไม่ได้รับผลกระทบอย่างมีนยั สําคัญจากปั จจัยดังกล่าว

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตารางสรุปงบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่ อย (ปรับปรุง) (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ) (หน่วย : ล ้านบาท ยกเว ้นในรายการทีมีการระบุเป็ นอย่างอืน) รายได้ รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์และบริการอืน - รายได ้ค่าเชือมต่อโครงข่าย (IC) - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการให ้บริการ รายได ้จากการขาย รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน ต ้นทุนการให ้บริการรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกํากับดูแล (Regulatory cost) ค่าใช ้จ่ายเชือมต่อโครงข่าย ต ้นทุนการให ้บริการ ไม่รวมค่าเชือมต่อโครงข่าย (IC) ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน

ไตรมาส 4

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

ปี 2557

ปี 2557

ปี 2556

22,513 1,141 3,804 17,569 10,863

22,595 1,059 4,435 17,101 3,853

20,923 948 3,467 16,508 5,843

33,376

26,448

26,766

16,778 708 1,468 11,578 3,025 8,448 6,618 910 5,709

17,780 892 1,335 11,756 3,797 2,739 5,371 767 4,604

16,132 942 1,157 9,911 4,122 5,561 6,542 645 5,897

31,844

25,889

28,235

% เปลียนแปลง

ปี 2557

ปี 2556

Q-o-Q

Y-o-Y

(0.4) 7.7 (14.2) 2.7 181.9

7.6 20.3 9.7 6.4 85.9

86,986 4,009 15,479 67,497 22,230

79,137 4,764 8,082 66,291 17,077

26.2

24.7

109,216

96,214

(5.6) (20.6) 9.9 (1.5) (20.3) 208.4 23.2 18.7 24.0

4.0 (24.8) 26.9 16.8 (26.6) 51.9 1.2 41.1 (3.2)

66,107 2,668 4,935 44,283 14,222 18,413 21,812 2,945 18,867

59,489 5,378 5,973 32,863 15,275 15,736 22,638 2,715 19,923

106,332

% เปลียนแปลง

% เปลียนแปลง ไม่ รวมบริษ ัทย่อยทีขาย ไป*

9.9 (15.8) 91.5 1.8 30.2

12.3 (15.8) 91.5 4.5 34.8

13.5

16.3

11.1 (50.4) (17.4) 34.8 (6.9) 17.0 (3.6) 8.5 (5.3)

15.5 (50.4) (17.4) 40.8 (1.3) 19.2 (6.1) 19.7 (9.2)

23.0

12.8

97,863

8.7

10.9

กําไรจากการดําเนินงานทีเป็นเงินสด (EBITDA) ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย

5,467 (3,935)

5,123 (4,563)

3,298 (4,767)

6.7 (13.8)

65.8 (17.5)

20,050 (17,167)

16,340 (17,990)

22.7 (4.6)

34.6 1.7

กําไรจากการดําเนินงาน ดอกเบียรับ ดอกเบียจ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน ภาษี เงินได ้ ภาษี เงินได ้ในปี ปัจจุบน ั ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี

1,532 57 (616) (62) 1,261 (168) 1,429

559 51 (1,347) (209) 149 (318) 467

(1,469) 38 (1,975) (332) 441 81 360

173.9 12.8 (54.3) (70.2) 745.2 47.2 205.8

NM 49.3 (68.8) (81.3) 186.0 NM 297.2

2,884 176 (5,006) (529) 2,063 (587) 2,650

(1,649) 148 (7,766) (845) (1,405) (167) (1,238)

NM 18.8 (35.5) (37.4) NM (252.6) NM

NM 22.8 (34.5) (37.3) NM (784.2) NM

กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานปกติ ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (กําไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสียทีไม่มอ ี ํานาจการควบคุม

2,173 203 1

(796) 173 (1)

(3,296) 80 51

NM 17.0 NM

NM 152.2 (97.7)

(412) 6,220 51

(11,516) 62 78

96.4 NM (35.0)

96.5 NM (36.8)

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและผลการลงทุนในบริษ ัทร่วม

2,377

(11,376)

NM

NM

NM NM (100.0) 100.0 100.0 NM 100.0 (114.2) (100.0) (100.0) (80.1)

NM NM (100.0) 100.0 100.0 NM 100.0 (114.2) (100.0) (100.0) (73.0)

รายการทีไม่เกียวข้องก ับการดําเนินงานปกติ กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ กําไรทีเกียวข ้องกับ TRUEGIF ทีรับรู ้ในปี 2556 ภาษี เงินได ้ทีเกียวข ้องกับ TRUEGIF ภาษี เงินได ้รอตัดบัญชีทเกี ี ยวข ้องกับ TRUEGIF กําไรจากการขาย 7 บริษัทย่อยและ 1 กิจการร่วมค ้า บันทึกการด ้อยค่าของสินทรัพย์โครงข่าย ค่าเสือมราคาของสินทรัพย์โครงข่าย กําไร (ขาดทุน) จากการกลับรายการสิทธิตามสัญญาอนุญาตให ้ดําเนินการ การปรับยอดภาษี เงินได ้รอตัดบัญชี จากบันทึกการด ้อยค่าของสินทรัพย์ / (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหร ับส่วนทีเป็นของบริษ ัท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับส่วนทีเป็ นของส่วนได ้เสียทีไม่มอ ี ํานาจการควบคุม ํ หร ับปี กําไร (ขาดทุน) สุทธิสา

กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานปกติกอ ่ นภาษีเงินได้รอการต ัดบ ัญชี

(456) (185) (0) (271) 1,920 (1)

(624)

(3,165)

NM

NM

5,859

(2,018) 156 (1,457) (718)

2,637 (468) 6,335 (1,730) (607) 858 (1,738) (13)

77.4 NM NM NM NM NM NM 100.0 NM NM 62.2

NM 60.5 (100.0) 100.0 100.0 NM NM 100.0 NM NM (2,009.6)

(4,434) 175 (0) (4,690) 81

2,313 (340) 6,335 (1,730) (607) 858 (2,056) (2,189) 791 845 406

(2,641)

(528)

NM

NM

1,425

(9,063)

NM

NM

(51)

NM

97.7

(78)

35.0

36.8

1

(51)

1,919

(2,640)

(579)

NM

NM

1,374

(9,141)

NM

NM

948

(1,091)

(3,525)

NM

NM

3,209

(10,138)

NM

NM

หมายเหตุ: * ไม่รวมผลประกอบการของ 8 บริษัทย่อยทีขายไปในปี 2556 เพือการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานได ้อย่างถูกต ้องและเหมาะสม

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ผลการดําเนินงานโดยรวม บทวิเคราะห์ในรายงานนี ไม่รวมผลประกอบการในปี 2556 ของ 8 บริ ษทั ย่อยทีขายไป เพือการเปรี ยบเทียบผลการ ดําเนินงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม • รายได้ จากการให้ บริการโดยรวมของกลุ่มทรู เพิมขึนเป็ น 67.5 พันล้านบาท ในปี 2557 ส่ วนใหญ่จากการ เติบโตอย่างแข็งแกร่ งและต่อเนื องของกลุ่มทรู โมบาย และบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตของทรู ออนไลน์ ซึ งเป็ น ผลจากการใช้งานอินเทอร์ เน็ตแบบมีสายและไร้สายทีเพิมขึนอย่างสู ง รวมถึงการเติบโตของฐานผูใ้ ช้บริ การของกลุ่ม • ค่ าใช้ จ่ายด้ านการกํากับดูแล (Regulatory cost) ลดลงสู งกว่าร้อยละ 50 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 2.7 พันล้านบาท จากความสําเร็ จในการโอนย้ายลูกค้ามาอยูภ่ ายใต้ระบบใบอนุ ญาตของกลุ่มทรู โมบายและ ทรู วิชนส์ ั หลังสัญญาสัมปทาน สิ นสุ ดลง • ค่ าใช้ จ่ายในการดําเนินงานทีเป็ นเงินสด จํานวน 47.7 พันล้านบาท เพิมขึนจากค่าใช้จ่ายทีเกียวกับการขยาย โครงข่าย และค่าใช้จ่ายในการเช่าใช้ทรัพย์สินโทรคมนาคมจาก TRUEIF อย่างไรก็ตาม มาตรการควบคุมค่าใช้จ่าย อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ในทุกกลุ่มธุ รกิจ ส่ งผลให้ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารของกลุ่มทรู ลดลงในปี 2557 • EBITDA เพิมขึนแข็งแกร่ งมากกว่าร้อยละ 34 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 20.1 พันล้านบาทในปี 2557 โดยการ เติบโตอย่างแข็งแกร่ งนี เป็ นผลจากรายได้ทีเพิมขึนสู ง และค่าใช้จ่ายด้านการตลาดและการกํากับดูแลทีลดลง รวมถึง การรับรู ้กาํ ไรจากการโอนเสาโทรคมนาคมใหม่ให้กบั TRUEIF • ค่ าเสื อมราคาและค่ าตัดจําหน่ าย เพิมขึนร้อยละ 1.7 เมือเทียบกับปี ก่อนหน้า เป็ น 17.2 พันล้านบาท จากการ ขยายโครงข่ายและการให้บริ การอย่างต่อเนือง • ดอกเบียจ่ าย (สุ ทธิ ) ลดลงอย่างมีนยั สําคัญมากกว่าร้ อยละ 71 เมือเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อนหน้า เป็ น 559 ล้านบาท ในไตรมาส 4 ปี 2557 ซึงเป็ นไตรมาสแรกหลังความสําเร็ จจากการปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงิน โดย สามารถชําระคืนหนีสิ นได้อย่างมากในเดือนกันยายน ทังนี กลุ่มทรู จะสามารถรับรู ้ผลกระทบเชิ งบวกเต็มจํานวนได้ ในปี 2558 • รายได้ ภาษีเงินได้ จํานวน 2.1 พันล้านบาท เมื อเทียบกับค่าใช้จ่ายภาษี เงิ นได้จาํ นวน 1.3 พันล้านบาท ในปี 2556 จากการลดลงของหนี สิ นภาษีเงินได้ทีเกี ยวกับสิ นทรัพย์โอนของทรู มูฟ และการตังสิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้ เพือใช้ขาดทุนสะสมทางภาษี • กําไรสุ ทธิจากการดําเนินงานปกติ (NIOGO) ก่ อนภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี จํานวนทังสิ น 3.2 พันล้านบาท ในปี 2557 ซึ งปรับตัวดี ขึนอย่างแข็งแกร่ งจากขาดทุนกว่า 10 พันล้านบาท ในปี ก่อนหน้า เป็ นผลจากกําไรจากการ ดําเนินงานทีเพิมขึน ดอกเบียจ่ายทีลดลงอย่างมาก รวมถึงการรับรู ้ผลประกอบการและการเพิมขึนของมูลค่าสิ นทรัพย์ สุ ทธิของ TRUEIF ในปี

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

• กลุ่มทรู มีผลกําไรสุ ทธิส่วนทีเป็ นของบริ ษัทฯ จํานวน 1.4 พันล้านบาท ในปี 2557 หลังการบันทึกค่าเสื อม ราคาจากการร่ นระยะเวลาการตัดค่าเสื อมของสิ นทรัพย์โครงข่าย 2G ของทรู มูฟ ประมาณ 4.7 พันล้านบาท ในปี หมายเหตุ: รายการทีไม่เกียวข้องกับการดําเนิ นงานปกติ ในปี 2557 ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยค่าเสื อมราคาของ อุปกรณ์โครงข่ายทีต้องส่ งมอบให้แก่ CAT และการกลับรายการประมาณการหนี สิ นสําหรับการใช้สิทธิ ซือสิ นทรัพย์ ของ CAT ตามรายละเอียดด้านล่าง (ดูรายละเอียดเพิมเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 21.1 และ ข้อ 40) สั ญญาอนุ ญ าตให้ดาํ เนิ นการในโครงข่ า ยโทรศัพ ท์ระบบเซลลู ล่ า ร์ ภายใต้สัญญาประเภท “สร้ า ง โอน กรรมสิ ทธิ และดําเนิ นงาน” ซึ งบริ ษทั ย่อย (“TMV”) ได้รับจาก CAT ได้สินสุ ดลงเมื อวันที 15 กันยายน พ.ศ. 2556 เมือวันที 16 สิ งหาคม พ.ศ. 2556 กสทช. ได้ประกาศมาตรการเกียวกับการคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การให้สามารถใช้บริ การ บนเครื อข่ายของผูใ้ ห้บริ การทีสัญญาสัมปทานสิ นสุ ดได้อย่างต่อเนื อง มาตรการดังกล่าวกําหนดให้บริ ษทั ย่อยเป็ น “ผูด้ ูแล” เพือให้บริ การโทรศัพท์เคลือนทีบนคลืนความถื 1800 MHz หลังวันสิ นอายุสัญญาเป็ นเวลาอีกหนึงปี ดังนัน TMV ได้เปลียนแปลงอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ภายใต้สั ญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนิ นการเหลือเพียงหนึ งปี โดย สิ นสุ ดเมือวันที 15 กันยายน พ.ศ. 2557 ผลแตกต่างระหว่างค่าเสื อมราคาตามปกติและค่าเสื อมราคาทีคิดด้วยอายุการ ใช้งานทีลดลง จํานวน 4.7 พันล้านบาท ถูกแสดงไว้ภายใต้ “ค่าใช้จ่ายอืน” สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เนืองจากเป็ นค่าเสื อมราคาทีไม่เป็ นไปตามธุ รกิจปกติ นอกจากนี กลุ่มทรู ได้บนั ทึกประมาณการหนี สิ นทีเกียวข้องกับการจําหน่ายสิ นทรัพย์เข้ากองทุน TRUEIF โดยประมาณการหนีสิ นสําหรับการใช้สิทธิของ CAT มีจาํ นวน 5.8 พันล้านบาท การตังประมาณการหนี สิ นดังกล่าว เพือวัตถุ ประสงค์ตามหลักความรอบคอบและระมัดระวังเนื องจากรายการนี เกี ยวกับผลประโยชน์สาธารณะและ สัญญากับหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ทังนี ในปี 2557 กล่มทรู ได้กลับรายการประมาณการใช้สิทธิ ของ CAT ดังกล่าว เป็ นจํานวนทังสิ น 1,162 ล้านบาท (อยูภ่ ายใต้ “รายได้อืน”) เนืองจาก CAT ไม่ได้ทาํ การใช้สิทธิ ซือสิ นทรัพย์ดงั กล่าว ในระหว่างปี การเปลียนแปลงนโยบายการบัญชี กลุ่มบริ ษทั ได้เริ มใช้มาตรฐานการตีความและมาตรฐานการบัญชีทีปรับปรุ งดังต่อไปนีตังแต่วนั ที 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ผลกระทบต่องบแสดงฐานะของงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ณ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2556 และ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 มีดงั นี นโยบายการบัญชีสาํ หรับข้อตกลงสัมปทาน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที 12 “ข้อตกลงสัมปทานบริ การ” มีผลบังคับในปี พ.ศ. 2557 บริ ษทั ได้ร่วมลงนามในสัญญาร่ วมการงานกับ ทศท. ในเดือนสิ งหาคม พ.ศ. 2534 โดยบริ ษทั ได้รับอนุญาตให้ขยาย การติดตังและบริ การโทรศัพท์พืนฐานรวมทังสิ น 2.6 ล้านเลขหมายในเขตโทรศัพท์นครหลวง บริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ใน ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การให้บริ การและเรี ยกเก็บค่าบริ การจากผูใ้ ช้บริ การเป็ นระยะเวลา 25 ปี สิ ทธิ ดงั กล่าวถื อเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ภายใต้การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที 12 และกําหนดให้กิจการวัดมูลค่าเครื องมือทางการเงิน หรื อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนทีได้รับจากผูใ้ ห้สัมปทานด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันทีรับมา บริ ษทั ไม่สามารถปรับข้อมูลทาง การเงินย้อนหลังได้เต็มรู ปแบบในทุกรอบบัญชีทีนํามาแสดงตามข้อกําหนดของการตีความมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับที 12 เนื องจากไม่สามารถหาข้อมูลเกี ยวกับมูลค่ายุติธรรม ณ วันทีได้สิทธิ ภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 8 “นโยบายการบัญชี การเปลียนแปลงประมาณการบัญชี และข้อผิดพลาด” กําหนดให้นาํ นโยบายการบัญชี ใหม่ มาถื อปฏิ บ ตั ิ ในรอบบัญชี แ รกที สามารถปฏิ บ ตั ิ ไ ด้ คื อ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2556 นอกจากนี ผลกระทบต่ อ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ไม่มีนยั สําคัญ ดังนันบริ ษทั ไม่ได้ทาํ รายการ ปรับปรุ งในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ผลกระทบจากการปฏิบตั ิตามการ ตีความมาตรฐานการรายงานทางการงินฉบับนีมีดงั นี งบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะบริ ษทั งบแสดงฐานะการเงิน 31 ธันวาคม 1 มกราคม พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2556 ล้านบาท ล้านบาท ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ ลดลง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุ ทธิ เพิมขึน

(5,314.08) 5,314.08

(6,417.60) 6,417.60

นโยบายบัญชีเกียวกับชินส่ วนอะไหล่และอุปกรณ์สาํ รองไว้ใช้งาน กลุ่มบริ ษทั ได้พิจารณาว่า การจัดประเภทอะไหล่และวัสดุอุปกรณ์โครงข่ายซึ งมีไว้สําหรับซ่ อมบํารุ งอุปกรณ์ โครงข่ายเป็ นทีดิน อาคารและอุปกรณ์ จะสะท้อนลักษณะทีถูกต้องกว่าการจัดประเภทเป็ นสิ นค้าคงเหลือ ดังนันมูลค่า คงเหลื อตามบัญชี ของอะไหล่และวัสดุดงั กล่าวได้ถูกจัดประเภทรายการใหม่ ผลกระทบจากการจัดประเภทรายการ ใหม่ทีมีต่องบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และวันที 1 มกราคม พ.ศ. 2556 มีดงั นี งบการเงินรวม งบแสดงฐานะการเงิน 31 ธันวาคม 1 มกราคม พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2556 ล้านบาท ล้านบาท ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ เพิมขึน สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ ลดลง

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

1,019.55 (1,019.55)

820.45 (820.45)

หัวข ้อที 14 - หน ้า 7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตารางสรุ ปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ – เทียบปี 2557 กับปี 2556 กลุม ่ ทรูโมบาย (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ) (หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีมีการระบุเป็ นอย่างอืน) รายได้ รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์และบริการอืน - รายได ้ค่าเชือมต่อโครงข่าย - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการให ้บริการ รายได ้จากการขายสินค ้า รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน ต ้นทุนการให ้บริการรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกํากับดูแล (Regulatory cost) ค่าใช ้จ่ายเชือมต่อโครงข่าย ต ้นทุนการให ้บริการ ไม่รวมค่าเชือมต่อโครงข่าย (IC) ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงานก่อนดอกเบียจ่าย ภาษี ค่าเสือมราคาและรายจ่ายต ัดบ ัญชี (EBITDA) ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย กําไรจากการดําเนินงาน ดอกเบียรับ ดอกเบียจ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน (ค่าใช ้จ่าย)รายได ้ภาษี เงินได ้ ภาษีเงินได ้ในปี ปัจจุบัน ภาษีเงินได ้รอการตัดบัญชี กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติ ส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทร่วม (กําไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสียทีไม่มอ ี ํานาจการควบคุม

ปี 2557

ปี 2556

ั ทรูวช ิ นส์

ทรูออนไลน์ % เปลียนแปลง

ปี 2557

ปี 2556

% เปลียนแปลง

ปี 2557

รายการระหว่างก ัน

ปี 2556

% เปลียนแปลง

ปี 2557

งบการเงินรวม

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2556

% เปลียนแปลง

% เปลียนแปลง

ไม่รวมบริษ ัทย่อยทีขายไป*

57,898 4,012 15,480 38,406 16,260 74,158

48,057 4,764 8,082 35,211 16,059 64,116

20.5 (15.8) 91.5 9.1 1.2 15.7

25,602 25,602 6,007 31,610

28,658 28,658 1,006 29,664

(10.7) NM NM (10.7) 496.9 6.6

10,803 10,803 27 10,830

10,728 10,728 131 10,859

0.7 NM NM 0.7 (79.2) (0.3)

(7,318) (3) (7,314) (64) (7,382)

(8,306) (8,306) (120) (8,427)

86,986 4,009 15,479 67,497 22,230 109,216

79,137 4,764 8,082 66,291 17,077 96,214

9.9 (15.8) 91.5 1.8 30.2 13.5

12.3 (15.8) 91.5 4.5 34.8 16.3

44,230 379 4,937 31,777 7,137 15,703 15,965 2,372 13,593 75,898

37,749 2,998 5,974 20,773 8,004 15,019 16,199 1,756 14,443 68,967

17.2 (87.4) (17.4) 53.0 (10.8) 4.6 (1.4) 35.1 (5.9) 10.0

16,921 1,907 9,635 5,379 2,715 6,668 400 6,268 26,305

18,179 1,850 10,442 5,887 642 7,281 793 6,488 26,102

(6.9) 3.1 NM (7.7) (8.6) 323.2 (8.4) (49.5) (3.4) 0.8

9,429 382 7,279 1,768 26 1,898 183 1,715 11,353

8,491 530 6,393 1,569 124 2,426 72 2,354 11,042

11.0 (28.0) NM 13.9 12.7 (79.2) (21.8) 153.7 (27.1) 2.8

(4,473) (2) (4,408) (63) (31) (2,719) (11) (2,708) (7,223)

(4,931) (4,745) (185) (49) (3,269) 93 (3,362) (8,249)

66,107 2,668 4,935 44,283 14,222 18,413 21,812 2,945 18,867 106,332

59,489 5,378 5,973 32,863 15,275 15,736 22,638 2,715 19,923 97,863

11.1 (50.4) (17.4) 34.8 (6.9) 17.0 (3.6) 8.5 (5.3) 8.7

15.5 (50.4) (17.4) 40.8 (1.3) 19.2 (6.1) 19.7 (9.2) 10.9 34.6 (1.7)

7,769 (9,510)

4,910 (9,761)

58.2 (2.6)

11,084 (5,779)

10,243 (6,681)

8.2 (13.5)

1,429 (1,951)

1,458 (1,641)

(2.0) 18.9

(232) 74

(270) 92

20,050 (17,167)

16,340 (17,990)

22.7 (4.6)

(1,740)

(4,851)

64.1

5,305

3,562

48.9

(523)

(182)

(186.6)

(158)

(178)

2,884

(1,649)

NM

NM

51 (1,699) (428) 2,834 (451) 3,285

51 (4,476) (642) (1,092) (66) (1,026)

1.8 (62.0) (33.4) NM NM NM

163 (2,701) (80) (602) (99) (503)

121 (2,489) (172) (497) (44) (453)

35.1 8.5 (53.7) (21.1) (124.3) (11.0)

11 (656) (22) (169) (37) (132)

86 (911) (30) 173 (56) 229

(86.7) (28.0) (28.9) NM 33.9 NM

(50) 50 -

(110) 110 12 12

176 (5,006) (529) 2,063 (587) 2,650

148 (7,766) (845) (1,405) (167) (1,238)

18.8 (35.5) (37.4) NM (252.6) NM

22.8 (34.5) (37.3) NM (784.2) NM

(982) 11

(11,010) 11

91.1 1.7

2,086 6,253 (14)

525 (3) (44)

297.2 NM 68.5

(1,358) (32) 23

(865) (26) 38

(56.9) (23.8) (39.5)

(158) 30

(166) 91 73

(412) 6,220 51

(11,516) 62 78

96.4 NM (35.0)

96.5 NM (36.8)

91.2

8,325

NM

(1,366)

(852)

(60.3)

(129)

(11,376)

NM

NM

(335) (1) -

(286) (290) -

(17.2) 99.5 NM NM NM NM NM NM NM NM

NM NM (100.0) 100.0 100.0 NM 100.0 (114.2) (100.0) (100.0)

NM NM (100.0) 100.0 100.0 NM 100.0 (114.2) (100.0) (100.0)

(80.1)

(73.0)

NM 35.0

NM 36.8

-

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและส่วนแบ่ง (970)

(10,999)

รายการทีไม่เกียวข้องก ับการดําเนินงานปกติ กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ กําไรทีเกียวข ้องกับ TRUEGIF ทีรับรู ้ในปี 2556 ภาษีเงินได ้ทีเกียวข ้องกับ TRUEGIF ภาษีเงินได ้รอตัดบัญชีทเกี ี ยวข ้องกับ TRUEGIF กําไรจากการขาย 7 บริษัทย่อยและ 1 กิจการร่วมค ้า บันทึกการด ้อยค่าของสินทรัพย์โครงข่าย ค่าเสือมราคาของสินทรัพย์โครงข่าย กําไร (ขาดทุน) จากการกลับรายการสิทธิตามสัญญาอนุญาตให ้ดําเนินการ การปรับยอดภาษี เงินได ้รอตัดบัญชี จากบันทึกการด ้อยค่าของสินทรัพย์/ การเปลียนแปลงอัตราภาษีเงินได ้นิตบ ิ ค ุ คล (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน

กําไร(ขาดทุน)ในบริษ ัทร่วม (NIOGO)

(4,568) 80 (4,690) -

(6,697) (510) (4,371) 597 (2,056) (2,189) 791 845

กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหร ับส่วนทีเป็นของบริษ ัท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับส่วนทีเป็ นของส่วนได ้เสียทีไม่มอ ี ํานาจการควบคุม

(5,539) (11)

(17,696) (11)

ํ หร ับปี กําไร (ขาดทุน) สุทธิสา

(5,550)

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติกอ ่ นภาษีเงินได้รอการต ัดบ ัญชี

(4,255)

41

196

31.8 NM 100.0 NM (100.0) NM 100.0 (114.2) (100.0) (100.0)

469 96 (0) -

478 12,515 461 14,031 (1,730) (1,204) 680 -

(96.3) (79.1) (100.0) 100.0 100.0 NM NM NM NM NM

(78.9)

373

277

68.7 (1.7)

8,794 14

12,993 44

(32.3) (68.5)

34.6

(17,707)

68.7

8,808

13,037

(9,973)

57.3

8,827

931

(334)

4

(1,702) (23)

(1,138) (38)

(32.4)

(1,725)

NM

(1,235)

NM

1 1

(2) (3,219) (3,326) 177 (71)

5,859 (4,434) 175 (0) (4,690) 81

2,313 (340) 6,335 (1,730) (607) 858 (2,056) (2,189) 791 845 406

(49.5) 39.5

(128) (30)

(3,221) (73)

1,425 (51)

(9,063) (78)

(1,177)

(46.6)

(158)

(3,294)

1,374

(9,141)

NM

NM

(1,081)

(14.2)

(129)

(14)

3,209

(10,138)

NM

NM

หมายเหตุ : *ไม่รวมผลประกอบการของ 8 บริษัทย่อยทีขายไปในปี 2556 เพือการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานได ้อย่างถูกต ้องและเหมาะสม

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตารางสรุ ปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ – เทียบไตรมาส 4 ปี 2557 กับไตรมาส 4 ปี 2556 กลุม ่ ทรูโมบาย (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ) (หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีมีการระบุเป็ นอย่างอืน) รายได้ รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์และบริการอืน - รายได ้ค่าเชือมต่อโครงข่าย - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการให ้บริการ รายได ้จากการขายสินค ้า รวมรายได้ ค่าใช้จา ่ ยในการดําเนินงาน ต ้นทุนการให ้บริการรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกํากับดูแล (Regulatory cost) ค่าใช ้จ่ายเชือมต่อโครงข่าย ต ้นทุนการให ้บริการ ไม่รวมค่าเชือมต่อโครงข่าย (IC) ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา ่ ยในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงานก่อนดอกเบียจ่าย ภาษี ค่าเสือมราคาและรายจ่ายต ัดบ ัญชี (EBITDA) ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย

ั ทรูวช ิ นส์

ทรูออนไลน์

ไตรมาส 4 ปี 2557

ไตรมาส 4 ปี 2556

% เปลียนแปลง

ไตรมาส 4 ปี 2557

ไตรมาส 4 ปี 2556

15,132 1,141 3,804 10,187 6,910 22,042

13,533 948 3,467 9,118 5,773 19,306

11.8 20.3 9.7 11.7 19.7 14.2

6,564 6,564 3,966 10,530

6,160 6,160 57 6,217

11,212 135 1,469 8,450 1,158 6,601 4,958 744 4,214 22,772

10,584 332 1,157 6,877 2,218 5,479 4,929 429 4,500 20,991

5.9 (59.3) 27.0 22.9 (47.8) 20.5 0.6 73.5 (6.3) 8.5

4,360 476 2,449 1,435 1,851 2,028 112 1,916 8,240

% เปลียนแปลง

ไตรมาส 4 ปี 2556

6.6 NM NM 6.6 NM 69.4

3,059 3,059 20 3,079

2,665 2,665 30 2,695

14.8 NM NM 14.8 (31.3) 14.2

(2,242) (2,241) (34) (2,275)

4,062 486 2,210 1,366 54 1,648 198 1,451 5,765

7.3 (1.9) NM 10.8 5.0 NM 23.0 (43.4) 32.1 42.9

2,551 96 1,996 459 16 651 57 593 3,218

2,322 124 1,642 556 29 630 21 608 2,981

9.9 (22.1) NM 21.5 (17.5) (46.2) 3.4 168.0 (2.4) 7.9

(1,345) (1) (1,317) (27) (21) (1,019) (3) (1,016) (2,385)

1,173 (1,902)

962 (2,646)

22.0 (28.1)

3,838 (1,547)

2,016 (1,564)

90.4 (1.1)

378 (516)

292 (577)

กําไรจากการดําเนินงาน

(730)

(1,685)

56.7

2,291

ดอกเบียรับ ดอกเบียจ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน (ค่าใช ้จ่าย)รายได ้ภาษี เงินได ้ ภาษี เงินได ้ในปี ปัจจุบัน ภาษี เงินได ้รอการตัดบัญชี

19 (50) (45) 1,809 (137) 1,945

15 (1,116) (288) 127 6 122

30.7 (95.6) (84.3) NM NM NM

1,003 3

(2,947) 3

NM

1,006

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติ ส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทร่วม (กําไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสียทีไม่มอ ี ํานาจการควบคุม

รายการระหว่างก ัน

ไตรมาส 4 ปี 2557

% เปลียนแปลง

29.5 (10.6)

ไตรมาส 4 ปี 2557

ไตรมาส 4 ปี 2557

ไตรมาส 4 ปี 2556

% เปลียนแปลง

(1,436) (1,435) (16) (1,452)

22,513 1,141 3,804 17,569 10,863 33,376

20,923 948 3,467 16,508 5,843 26,766

7.6 20.3 9.7 6.4 85.9 24.7

(836) (818) (18) (1) (665) (3) (662) (1,502)

16,778 708 1,468 11,578 3,025 8,448 6,618 910 5,709 31,844

16,132 942 1,157 9,911 4,122 5,561 6,542 645 5,897 28,235

4.0 (24.8) 26.9 16.8 (26.6) 51.9 1.2 41.1 (3.2) 12.8

79 31

29 21

5,467 (3,935)

3,298 (4,767)

109

50

1,532

(1,469)

NM

38 (1,975) (332) 441 81 360

49.3 (68.8) (81.3) 186.0 NM 297.2

452

407.2

(138)

(286)

51.5

84 (553) (17) (102) (3) (99)

20 (620) (36) 188 90 98

329.9 (10.8) (53.9) NM NM NM

3 (62) (446) (28) (417)

5 (240) (7) 126 (15) 140

(43.8) (74.0) (100.0) NM (95.5) NM

(49) 49 -

1.8

1,704 211 (2)

3 (26)

NM NM 91.1

(644) (8) 6

(402) (11) 41

(60.0) 23.8 (86.0)

109 (5)

1,912

104

-

งบการเงินรวม

ไตรมาส 4 ปี 2556

(1) 1 -

57 (616) (62) 1,261 (168) 1,429

65.8 (17.5)

50 91 33

2,173 203 1

(3,296) 80 51

NM 152.2 (97.7)

174

2,377

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและส่วนแบ่ง กําไร(ขาดทุน)ในบริษ ัทร่วม (NIOGO) รายการทีไม่เกียวข้องก ับการดําเนินงานปกติ กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ กําไรทีเกียวข ้องกับ TRUEGIF ทีรับรู ้ในปี 2556 ภาษี เงินได ้ทีเกียวข ้องกับ TRUEGIF ภาษี เงินได ้รอตัดบัญชีทเกี ี ยวข ้องกับ TRUEGIF กําไรจากการขาย 7 บริษัทย่อยและ 1 กิจการร่วมค ้า ค่าเสือมราคาของสินทรัพย์โครงข่าย (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหร ับส่วนทีเป็นของบริษ ัท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับส่วนทีเป็ นของส่วนได ้เสียทีไม่มอ ี ํานาจการควบคุม ํ หร ับปี กําไร (ขาดทุน) สุทธิสา

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติกอ ่ นภาษีเงินได้รอการต ัดบ ัญชี

ส่วนที 3

(2,944)

NM

(255) (150) (104)

(5,780) (348) (4,371) 597 (1,738) 79

95.6 56.7 100.0 NM (100.0) NM 100.0 NM

752 (3)

(8,724) (3)

NM (1.8)

NM

(646)

(372)

(73.9)

11,718 57 14,031 (1,730) (1,204) 680 (117)

(99.2) (29.3) (100.0) 100.0 100.0 NM NM NM

(299) (75) (224)

(193) (178) (15)

(55.3) 57.8 NM NM NM NM NM NM

2,010 2

11,695 26

(82.8) (91.1)

(945) (6)

(564) (41)

(67.5) 86.0

11,721

(82.8)

(951)

(605)

NM

(229)

(512)

98 41 (0) 57

749

(8,727)

NM

2,012

(939)

(3,066)

69.4

2,011

(23)

(121)

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

(3,165)

NM

(3,109) (3,326) 177 40

(456) (185) (0) (271)

2,637 (468) 6,335 (1,730) (607) 858 (1,738) (13)

NM 60.5 (100.0) 100.0 100.0 NM 100.0 (2,009.6)

104 5

(2,935) (33)

1,920 (1)

(528) (51)

NM 97.7

(57.1)

109

(2,968)

1,919

(579)

NM

55.3

104

948

(3,525)

NM

(1) (1)

174

หัวข ้อที 14 - หน ้า 9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ตารางสรุ ปงบการเงิน แยกตามประเภทธุรกิจ – เทียบไตรมาส 4 ปี 2557 กับไตรมาส 3 ปี 2557 กลุม ่ ทรูโมบาย (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ) (หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีมีการระบุเป็ นอย่างอืน) รายได้ รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์และบริการอืน - รายได ้ค่าเชือมต่อโครงข่าย - รายได ้ค่าเช่าโครงข่าย - รายได ้จากการให ้บริการ รายได ้จากการขายสินค ้า รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน ต ้นทุนการให ้บริการรวม ค่าใช ้จ่ายด ้านการกํากับดูแล (Regulatory cost) ค่าใช ้จ่ายเชือมต่อโครงข่าย ต ้นทุนการให ้บริการ ไม่รวมค่าเชือมต่อโครงข่าย (IC) ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ต ้นทุนขาย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช ้จ่ายในการขายและบริหารทีเป็ นเงินสด รวมค่าใช้จา่ ยในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงานก่อนดอกเบียจ่าย ภาษี ค่าเสือมราคาและรายจ่ายต ัดบ ัญชี (EBITDA) ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย

ไตรมาส 4 ปี 2557

ไตรมาส 3 ปี 2557

15,132 1,141 3,804 10,187 6,910 22,042

15,267 1,062 4,435 9,770 1,985 17,252

11,212 135 1,469 8,450 1,158 6,601 4,958 744 4,214 22,772

12,177 331 1,335 8,633 1,877 1,955 4,130 718 3,412 18,262

ไตรมาส 4 ปี 2557

ไตรมาส 3 ปี 2557

(0.9) 7.4 (14.2) 4.3 248.1 27.8

6,564 6,564 3,966 10,530

6,374 6,374 1,872 8,246

(7.9) (59.2) 10.0 (2.1) (38.3) 237.8 20.0 3.6 23.5 24.7

4,360 476 2,449 1,435 1,851 2,028 112 1,916 8,240

ไตรมาส 3 ปี 2557

3.0 NM NM 3.0 111.9 27.7

3,059 3,059 20 3,079

2,843 2,843 3 2,846

7.6 NM NM 7.6 NM 8.2

(2,242) (2,241) (34) (2,275)

4,358 478 2,390 1,490 782 1,463 (6) 1,470 6,603

0.0 (0.3) NM 2.5 (3.7) 136.8 38.6 NM 30.4 24.8

2,551 96 1,996 459 16 651 57 593 3,218

2,494 83 1,960 450 6 407 58 350 2,906

2.3 16.1 NM 1.8 1.9 185.9 59.8 (0.4) 69.8 10.7

(1,345) (1) (1,317) (27) (21) (1,019) (3) (1,016) (2,385)

22.7 4.2

378 (516)

448 (508)

(15.6) 1.6

1,585 (2,595)

(26.0) (26.7)

3,838 (1,547)

3,126 (1,484)

กําไรจากการดําเนินงาน

(730)

(1,010)

27.8

2,291

1,643

ดอกเบียรับ ดอกเบียจ่าย ค่าใช ้จ่ายทางการเงินอืน (ค่าใช ้จ่าย)รายได ้ภาษีเงินได ้ ภาษีเงินได ้ในปี ปัจจุบัน ภาษีเงินได ้รอการตัดบัญชี

19 (50) (45) 1,809 (137) 1,945

19 (456) (183) 210 (294) 504

1,003 3

(1,421) 3

1,006

% เปลียนแปลง

รายการระหว่างก ัน

ไตรมาส 4 ปี 2557

1,173 (1,902)

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติ ส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)ในบริษัทร่วม (กําไร) ขาดทุนของส่วนได ้เสียทีไม่มอ ี ํานาจการควบคุม

ั ทรูวช ิ นส์

ทรูออนไลน์ % เปลียนแปลง

% เปลียนแปลง

ไตรมาส 4 ปี 2557

งบการเงินรวม

ไตรมาส 3 ปี 2557

ไตรมาส 4 ปี 2557

ไตรมาส 3 ปี 2557

(1,888) (3) (1,886) (7) (1,895)

22,513 1,141 3,804 17,569 10,863 33,376

22,595 1,059 4,435 17,101 3,853 26,448

(0.4) 7.7 (14.2) 2.7 181.9 26.2

(1,250) (1,228) (21) (3) (630) (2) (628) (1,883)

16,778 708 1,468 11,578 3,025 8,448 6,618 910 5,709 31,844

17,780 892 1,335 11,756 3,797 2,739 5,371 767 4,604 25,889

(5.6) (20.6) 9.9 (1.5) (20.3) 208.4 23.2 18.7 24.0 23.0

79 31

(37) 24

5,467 (3,935)

5,123 (4,563)

6.7 (13.8)

109

(13)

1,532

559

173.9

51 (1,347) (209) 149 (318) 467

12.8 (54.3) (70.2) NM 47.2 205.8

(796) 173 (1)

NM 17.0 NM

39.5

(138)

(60)

(129.7)

84 (553) (17) (102) (3) (99)

28 (724) (20) (115) (16) (99)

202.0 (23.6) (15.1) 11.2 80.4 (0.1)

3 (62) (446) (28) (417)

4 (168) (5) 54 (8) 62

(40.9) (62.9) (100.0) NM (265.7) NM

(49) 49 -

1.8

1,704 211 (2)

812 183 (3)

109.7 15.3 33.4

(644) (8) 6

(175) (10) 1

(268.5) 15.0 307.7

109 (5)

(13) (2)

2,173 203 1

992

92.8

(646)

(183)

(253.4)

104

(15)

2,377

NM (45.0) NM NM

(299) (75) (224)

(79) 20 (100)

(277.3) NM NM (125.0)

998 3

101.4 (33.4)

(945) (6)

(262) (1)

(260.6) (307.7) (260.9)

1.2 (89.1) (75.3) NM 53.6 286.0 NM -

% เปลียนแปลง

-

57 (616) (62) 1,261 (168) 1,429

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติและส่วนแบ่ง กําไร(ขาดทุน)ในบริษ ัทร่วม (NIOGO) รายการทีไม่เกียวข้องก ับการดําเนินงานปกติ กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ ค่าเสือมราคาของสินทรัพย์โครงข่าย (ค่าใช ้จ่าย) รายได ้อืน กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหร ับส่วนทีเป็นของบริษ ัท กําไร (ขาดทุน) สุทธิ สําหรับส่วนทีเป็ นของส่วนได ้เสียทีไม่มอ ี ํานาจการควบคุม ํ หร ับปี กําไร (ขาดทุน) สุทธิสา

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานปกติกอ ่ นภาษีเงินได้รอการต ัดบ ัญชี

ส่วนที 3

(1,418)

NM

1,912

(255) (150) (104)

(1,943) 62 (1,457) (548)

86.9 NM 100.0 81.0

98 41 57

752 (3)

(3,361) (3)

NM (1.8)

2,010 2

6 74 (68)

749

(3,364)

NM

2,012

1,001

101.0

(951)

(263)

(939)

(1,922)

51.1

2,011

1,091

84.4

(229)

(245)

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

6.6

(624)

NM

(2) (2)

(456) (185) (271)

(2,018) 156 (1,457) (718)

77.4 NM 100.0 62.2

(17) 2

1,920 (1)

(2,641) 1

NM NM

109

(15)

1,919

(2,640)

NM

104

(15)

948

(1,091)

NM

(1) (1) 104 5

หัวข ้อที 14 - หน ้า 10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างรายได้ รวม แยกตามประเภทธุรกิจ– เทียบปี 2557 กับปี 2556 รายได้รวม (ก่อนต ัดรายการระหว่างก ันระหว่างกลุม ่ ธุรกิจ) (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ)

ปี 2557

(หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีมีการระบุเป็ นอย่างอืน)

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

ั ทรูวช ิ นส์

ปี 2556

รายได้

10,830

10,859

- รายได ้จากการให ้บริการ

10,803

10,728

- รายได ้จากการขายสินค ้า

27

131

รายการระหว่างกัน

(1,835)

ั ทรูวช ิ นส์ หลังตัดรายการระหว่างกัน

8,995

กลุม ่ ทรูโมบาย

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

(0.3) 0.7 (79.2)

(804) 8.2%

10,055

% เปลียนแปลง

128.1 10.5%

(10.5)

74,158

64,116

- รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์เคลือนที

38,406

35,211

9.1

- รายได ้ค่าเช่าโครงข่ายและค่าเชือมต่อโครงข่าย (IC)

19,492

12,846

51.7

- รายได ้จากการขายสินค ้า

16,260

16,059

1.2

(1,043)

(44.7)

รายการระหว่างกัน

(577)

กลุม ่ ทรูโมบาย หลังตัดรายการระหว่างกัน

73,581

ทรูออนไลน์ - บริการเสียงพืนฐาน - โทรศัพท์พนฐาน ื (ไม่รวมโทรทางไกลระหว่างประเทศ และ VOIP) - โทรศัพท์สาธารณะ ี ี - พีซท

67.4%

63,073

15.7

65.6%

16.7

31,610

29,664

6.6

5,584

6,217

5,549

6,119

(9.3)

28

68

(58.6)

(10.2)

7

29

- บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต สือสารข้อมูลธุรกิจ และ อืนๆ

18,020

16,183

- บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต และสือสารข ้อมูลธุรกิจ

16,546

14,377

15.1

1,475

1,806

(18.4)

1,998

6,259

(68.1)

384

495

(22.4)

- บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ

280

398

(29.8)

- อืน ๆ

105

97

1,614

5,764

รายได้จากการให้บริการทรูออนไลน์

25,602

28,658

รายได้จากการขายสินค้าทรูออนไลน์

6,007

1,006

- บริการอินเทอร์เน็ ตอืน ๆ และบริการเสริม - รายได้จากธุรกิจใหม่ คอนเวอร์เจนซ์ และ อืน ๆ - รายได ้จากธุรกิจใหม่

- ธุรกิจคอนเวอร์เจนซ์ และ อืน ๆ

รายการระหว่างกัน

(4,969)

ทรูออนไลน์ หลังตัดรายการระหว่างกัน

26,641

รายได้รวม รวมรายการระหว่างกัน รายได้รวม - สุทธิ

ส่วนที 3

8.0 (72.0) (10.7) 496.9

(6,579) 24.4%

116,598

23,086

(24.5) 24.0%

104,640

(7,382) 109,216

(77.5) 11.4

(8,427) 100.0%

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

96,214

15.4 11.4 (12.4)

100.0%

13.5

หัวข ้อที 14 - หน ้า 11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างรายได้ รวม แยกตามประเภทธุรกิจ– เทียบไตรมาส 4 ปี 2557 กับไตรมาส 4 ปี 2556 รายได้รวม (ก่อนต ัดรายการระหว่างก ันระหว่างกลุม ่ ธุรกิจ) (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ)

ไตรมาส 4 ปี 2557

(หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีมีการระบุเป็ นอย่างอืน)

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

ั ทรูวช ิ นส์

ไตรมาส 4 ปี 2556 % ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

3,079

2,695

- รายได ้จากการให ้บริการ

3,059

2,665

- รายได ้จากการขายสินค ้า

20

30

รายการระหว่างกัน

(801)

ั ทรูวช ิ นส์ หลังตัดรายการระหว่างกัน

2,278

กลุม ่ ทรูโมบาย - รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์เคลือนที

14.2 14.8 (31.3)

(263) 6.8%

2,432

22,042

19,306

% เปลียนแปลง

204.0 9.1%

(6.3) 14.2

10,187

9,118

11.7

- รายได ้ค่าเช่าโครงข่ายและค่าเชือมต่อโครงข่าย (IC)

4,945

4,415

12.0

- รายได ้จากการขายสินค ้า

6,910

5,773

รายการระหว่างกัน

(161)

กลุม ่ ทรูโมบาย หลังตัดรายการระหว่างกัน

21,881

ทรูออนไลน์

19.7

(214) 65.6%

19,092

(24.7) 71.3%

14.6

10,530

6,217

69.4

1,354

1,585

(14.6)

1,348

1,563

(13.8)

- โทรศัพท์สาธารณะ

6

14

(59.2)

ี ี - พีซท

0

8

- บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต สือสารข้อมูลธุรกิจ และ อืนๆ

4,736

3,927

20.6

- บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต และสือสารข ้อมูลธุรกิจ

4,321

3,601

20.0

415

326

27.4

474

647

(26.8)

- บริการเสียงพืนฐาน - โทรศัพท์พนฐาน ื (ไม่รวมโทรทางไกลระหว่างประเทศ และ VOIP)

- บริการอินเทอร์เน็ ตอืน ๆ และบริการเสริม - รายได้จากธุรกิจใหม่ คอนเวอร์เจนซ์ และ อืน ๆ - รายได ้จากธุรกิจใหม่

(94.6)

96

90

- บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ

71

65

9.0

- อืน ๆ

25

25

(0.6) (32.2)

- ธุรกิจคอนเวอร์เจนซ์ และ อืน ๆ

6.4

378

557

รายได้จากการให้บริการทรูออนไลน์

6,564

6,160

6.6

รายได้จากการขายสินค้าทรูออนไลน์

3,966

57

NM

รายการระหว่างกัน ทรูออนไลน์ หลังตัดรายการระหว่างกัน รายได้รวม รวมรายการระหว่างกัน รายได้รวม - สุทธิ

ส่วนที 3

(1,313) 9,217

(974) 27.6%

35,652

34.8 19.6%

28,218

(2,275) 33,376

5,242 (1,452)

100.0%

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

26,766

75.8 26.3 56.7

100.0%

24.7

หัวข ้อที 14 - หน ้า 12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โครงสร้ างรายได้ รวม แยกตามประเภทธุรกิจ– เทียบไตรมาส 4 ปี 2557 กับไตรมาส 3 ปี 2557 รายได้รวม (ก่อนต ัดรายการระหว่างก ันระหว่างกลุม ่ ธุรกิจ) (ยังไม่ได ้ตรวจสอบ)

ไตรมาส 4 ปี 2557

(หน่วยล ้านบาทยกเว ้นในรายการทีมีการระบุเป็ นอย่างอืน)

% ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

ั ทรูวช ิ นส์

ไตรมาส 3 ปี 2557 % ของรายได้รวม หล ังต ัดรายการ ระหว่างก ัน

รายได้

3,079

2,846

- รายได ้จากการให ้บริการ

3,059

2,843

- รายได ้จากการขายสินค ้า

20

3

รายการระหว่างกัน

(801)

ั ทรูวช ิ นส์ หลังตัดรายการระหว่างกัน

2,278

กลุม ่ ทรูโมบาย - รายได ้จากการให ้บริการโทรศัพท์เคลือนที

8.2 7.6 505.7

(597) 6.8%

2,249

22,042

17,252

% เปลียนแปลง

34.1 8.5%

1.3 27.8

10,187

9,770

4.3

- รายได ้ค่าเช่าโครงข่ายและค่าเชือมต่อโครงข่าย (IC)

4,945

5,497

(10.1)

- รายได ้จากการขายสินค ้า

6,910

1,985

248.1

รายการระหว่างกัน

(161)

กลุม ่ ทรูโมบาย หลังตัดรายการระหว่างกัน

21,881

ทรูออนไลน์ - บริการเสียงพืนฐาน - โทรศัพท์พนฐาน ื (ไม่รวมโทรทางไกลระหว่างประเทศ และ VOIP) - โทรศัพท์สาธารณะ ี ี - พีซท

(112) 65.6%

17,140

44.3 64.8%

27.7

10,530

8,246

27.7

1,354

1,376

(1.6)

1,348

1,368

(1.5)

6

7

(17.7) 320.3

0

0

- บรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต สือสารข้อมูลธุรกิจ และ อืนๆ

4,736

4,564

3.8

- บริการบรอดแบนด์ อินเทอร์เน็ ต และสือสารข ้อมูลธุรกิจ

4,321

4,179

3.4

415

385

7.9

474

434

9.1

- บริการอินเทอร์เน็ ตอืน ๆ และบริการเสริม - รายได้จากธุรกิจใหม่ คอนเวอร์เจนซ์ และ อืน ๆ - รายได ้จากธุรกิจใหม่

96

98

- บริการโทรศัพท์ทางไกลระหว่างประเทศ

71

72

(1.2)

- อืน ๆ

25

26

(4.7) 12.4

- ธุรกิจคอนเวอร์เจนซ์ และ อืน ๆ

(2.1)

378

336

รายได้จากการให้บริการทรูออนไลน์

6,564

6,374

3.0

รายได้จากการขายสินค้าทรูออนไลน์

3,966

1,872

111.9

รายการระหว่างกัน ทรูออนไลน์ หลังตัดรายการระหว่างกัน รายได้รวม รวมรายการระหว่างกัน รายได้รวม - สุทธิ

ส่วนที 3

(1,313) 9,217

(1,186) 27.6%

35,652

10.7 26.7%

28,344

(2,275) 33,376

7,060 (1,895)

100.0%

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

26,448

30.6 25.8 20.1

100.0%

26.2

หัวข ้อที 14 - หน ้า 13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ผลการดําเนินงานตามประเภทธุรกิจ กลุ่มทรู โมบาย • รายได้ จากการให้ บริการโทรศัพท์ เคลือนทีของกลุ่มทรู โมบาย ในปี 2557 เพิมขึนร้อยละ 9.1 เมือเทียบกับ ปี ก่อนหน้า เป็ น 38.4 พันล้านบาท ซึ งเติบโตสู งกว่าภาพรวมอุตสาหกรรมและมีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิมขึน ทังนี ในไตรมาส 4 กลุ่มทรู โมบาย มีส่วนแบ่งทางการตลาดสําหรับรายได้จากการให้บริ การ เพิมขึนสู งเป็ นร้ อยละ 17.8 จากอัตราเฉลียร้อยละ 15.9 ในปี 2556 โดยส่ วนใหญ่เป็ นผลจากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของบริ การทีไม่ใช่ เสี ยง หรื อนอนวอยซ์ ตามการใช้งานโมบาย อินเทอร์ เน็ตทีเพิมขึน • รายได้ จากบริการเสี ยงของกลุ่มทรู โมบาย เพิมขึนเล็กน้อยจากปี ก่อนหน้า จากการทีกลุ่มทรู โมบาย สามารถ เข้าถึ งผูใ้ ช้บริ การระบบรายเดื อนในตลาดระดับแมสมากยิงขึน อีกทัง ยังสามารถจูงใจให้ผใู ้ ช้บริ การระบบเติมเงิ น เปลียนมาใช้บริ การระบบ รายเดือนได้เพิมขึน • รายได้ จากบริการทีไม่ ใช่ เสี ยงของกลุ่มทรู โมบาย เติบโตร้อยละ 24.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 16.7 พันล้านบาท (คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 43.5 ของรายได้จากการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ) โดยเป็ นผลจากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ ง ของบริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ต (ทังในกลุ่มผูใ้ ช้บริ การระบบเติมเงินและรายเดื อน) ซึ งมีสัดส่ วนรายได้เพิมขึนเป็ น ร้อยละ 82.3 ของรายได้จากบริ การทีไม่ใช่เสี ยง • รายได้ จากบริการโทรศัพท์ข้ามแดนอัตโนมัติและบริการอืน ๆ เป็ น 2.6 พันล้านบาท ในปี 2557 ลดลงจาก ปี ก่อนหน้า ส่ วนหนึงเป็ นผลจากความกดดันทางด้านราคาทัวโลก และความกังวลด้านสถานการณ์ทางการเมือง ส่ งผลให้ มีจาํ นวนนักท่องเทียวทีเดินทางมายังประเทศไทยลดลง อย่างไรก็ตาม รายได้จากบริ การโทรศัพท์ขา้ มแดนอัตโนมัติ และบริ การอืน ๆ ปรับตัวเพิมขึนในครึ งหลังของปี 2557 • รายได้ จากการขายสิ นค้ า เป็ น 16.3 พันล้านบาท สู งเป็ นประวัติการณ์ จากความนิยมในการใช้งานสมาร์ ท ดีไวซ์ ทีเพิมขึนอย่างต่อเนื อง โดยเฉพาะ iPhone 6 และ iPhone 6 Plus รวมทัง โทรศัพท์เคลือนที 3G ภายใต้แบรนด์ “ทรู ” • รายจ่ ายค่ า IC สุ ทธิ ลดลงร้อยละ 23.5 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 925 ล้านบาท ส่ วนหนึ งเป็ นผลจากอัตราค่า IC ทีลดลงจาก 1 บาทต่อนาที เป็ น 0.45 บาทต่อนาที ซึ งมีผลตังแต่เดือนกรกฎาคม ปี 2556 • ค่ าใช้ จ่ายด้ านการกํากับดูแล (Regulatory cost) ลดลงสู งถึงร้อยละ 87.4 เมือเที ยบกับปี ก่อนหน้า เป็ น 379 ล้านบาท จากการทีลูกค้าเปลียนมาใช้บริ การ 3G และ 4G ของทรู มูฟ เอช อย่างต่อเนือง

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

• ค่ าใช้ จ่ายในการดําเนินงานทีเป็ นเงินสด เพิมขึนร้อยละ 10.2 จากปี 2556 เป็ น 29.9 พันล้านบาทในปี 2557 จากการเพิมขึนของค่าใช้จ่ายเกียวกับการขยายโครงข่าย ซึ งรวมถึงค่าธรรมเนี ยมขายส่ งบริ การบนโครงข่าย 3G สุ ทธิ ทีเพิมขึน จากการบันทึกการใช้อุปกรณ์ 3G เต็มจํานวน บนคลืนความถี 850 MHz ในขณะที การบริ หารค่าใช้จ่ายอย่าง มีประสิ ทธิ ภาพตลอดทังปี 2557 ส่ งผลให้ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารลดลงร้อยละ 6 จากปี ก่อนหน้า • EBITDA เพิมขึนแข็งแกร่ งในอัตราร้ อยละ 58.2 เมือเทียบกับปี ก่อนหน้า เป็ น 7.8 พันล้านบาท จากการ เติบโตอย่างสู งของรายได้ ร่ วมกับค่าใช้จ่ายด้านการตลาดและการกํากับดูแลทีลดลง แม้ค่าใช้จ่ายเกี ยวกับการขยาย โครงข่ายจะเพิมสู งขึน • ค่ าเสื อมราคาและค่ าตัดจําหน่ าย ลดลงจากปี ก่อนหน้า จากการสิ นสุ ดการบันทึกค่าเสื อมราคาของอุปกรณ์ โครงข่ายของทรู มูฟ • ดอกเบียจ่ าย ลดลงร้อยละ 62.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 1.7 พันล้านบาท จากความสําเร็ จในการปรับปรุ ง โครงสร้ างทางการเงิ น โดยสามารถชําระคื นหนี สิ นจํา นวนมากในเดื อนกันยายนที ผ่า นมา ทังนี กลุ่ มทรู โมบาย จะสามารถรับรู ้ผลกระทบเชิงบวกนีเต็มจํานวนในปี 2558 • ผลขาดทุนจากการดําเนินงานปกติ ก่อนภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี จํานวน 4.3 พันล้านบาท ในปี 2557 ปรับตัว ดีขึนอย่างมากเมือเทียบกับปี 2556 จากการเติบโตแข็งแกร่ งของ EBITDA และดอกเบียจ่ายทีลดลง • ณ สิ นปี 2557 กลุ่ มทรู โมบายมี จํานวนผู้ใช้ บริ การเพิมขึ นเป็ น 23.6 ล้านราย ซึ งธุ รกิ จ 3G และ 4G ของ ทรู มูฟ เอช มีฐานผูใ้ ช้บริ การทังสิ นจํานวน 21.9 ล้านราย คิดเป็ นสัดส่ วนร้ อยละ 93 ของจํานวนผูใ้ ช้บริ การทังหมดของ กลุ่มทรู โมบาย ทังนี รายได้เฉลี ยต่อผูใ้ ช้บริ การต่อเดื อน เพิมขึนเป็ น 130 บาท ในปี 2557 เมือเทียบกับ 124 บาท ในปี ก่อนหน้า • ในปี 2557 บริ การระบบรายเดื อนของกลุ่มทรู โมบาย เติบโตอย่างแข็งแกร่ ง ด้วยจุ ดแข็งจากบริ การ 4G LTE และ 3G ของทรู มูฟ เอช ทีมีเครื อข่ายคุณภาพความเร็ วสู งทีเหนื อกว่า และครอบคลุมทัวประเทศ รวมถึงการนําเสนอ แพ็กเกจค่าบริ การร่ วมกับดีไวซ์ ทีน่าดึงดูดใจและมีความหลากหลาย นอกจากนี ผลตอบรับทีดีต่อแคมเปญการตลาด เฉพาะพืนทีและมือถือ 3G ภายใต้แบรนด์ “ทรู ” ช่วยขยายฐานลูกค้า 3G ครอบคลุมทัวประเทศมากยิงขึน อีกทังยังเสริ ม ความแข็งแกร่ งให้กบั บริ การระบบเติมเงินของกลุ่มได้เป็ นอย่างดี • กลุ่มทรู โมบาย จะยังคงมุ่งเสริ มความแข็งแกร่ งให้กบั ความเป็ นผูน้ าํ บริ การโมบาย อินเทอร์ เน็ตในประเทศ ไทย ด้วยการเดินหน้าขยายเครื อข่าย 4G LTE ให้ครอบคลุมทัวประเทศกว่าร้อยละ 80 ของประชากรภายใน ไตรมาส 2 ปี 2558 เพิมเติมจากเครื อข่าย 3G+ คุณภาพสู งของทรู มูฟ เอช บนคลืนความถี 850 MHz ซึ งมีความครอบคลุมแล้วมากกว่า ร้อยละ 97 ของประชากรทัวประเทศ นอกจากนี กลุ่มทรู โมบาย ได้สานต่อความร่ วมมือกับ China Mobile ในการพัฒนา

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

และเปิ ดตัว สมาร์ ทโฟน ภายใต้แบรนด์ “ทรู ” ในเดือนกุมภาพันธ์ 2558 ซึ งสมาร์ ทโฟนรุ่ นใหม่นีสามารถรองรับการ ใช้งานเครื อข่ายได้ทุกช่วงความถี (รวมถึงบริ การ 4G ผ่านคลืนความถี 2.1 GHz ของทรู มูฟ เอช) โดยกลุ่มทรู จะทยอย เปิ ดตัว ดีไวซ์ รุ่ นอืนๆ ทีรองรับบริ การ 4G ตลอดปี 2558 สิ งเหล่านี รวมถึงการนําเสนอแพ็กเกจค่าบริ การร่ วมกับ ดีไวซ์ทีน่าดึงดูดใจ และการทํากิจกรรมทางการตลาดเพือเข้าถึงลูกค้าในแต่ละท้องถินอย่างต่อเนื อง จะเป็ นกลยุทธ์ที สําคัญในการขับเคลือนธุ รกิจของกลุ่มทรู โมบายให้เติบโตแข็งแกร่ งในปี นี ทรู ออนไลน์ • รายได้ จากการให้ บริการของทรู ออนไลน์ เพิมขึนร้อยละ 2.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 25.6 พันล้านบาท ในปี 2557 จากการเติบโตอย่างสู งของบริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต ซึ งสามารถชดเชยการลดลงของรายได้จากบริ การเสี ยง พืนฐาน • รายได้ จากการให้ บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต เพิมขึนอย่างสู งถึ งร้ อยละ 15.1 เมื อเที ยบปี ก่ อนหน้า เป็ น 16.5 พันล้านบาท ในปี 2557 จากการเติบโตอย่างแข็งแกร่ งของบริ การบรอดแบนด์ ทังสําหรับลูกค้าทัวไปและ ลูกค้าองค์กร โดยในปี 2557 สัดส่ วนรายได้จากการให้บริ การบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต เพิมขึนเป็ นร้อยละ 65 ของ รายได้จากการให้บริ การของทรู ออนไลน์ เมือเทียบกับร้อยละ 50 ในปี ก่อนหน้า • ผลตอบรับทีดี ต่อสิ นค้าและบริ การของทรู ออนไลน์ ทังแพ็กเกจบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ต และแพ็กเกจ คอนเวอร์ เจนซ์ทีโดดเด่ นและแตกต่าง ร่ วมกับการขยายโครงข่ายอย่างต่อเนื องทัวประเทศ ส่ งผลให้ ทรู ออนไลน์ สามารถขยายฐานผู้ใช้ บริ การบรอดแบรนด์ เพิมขึ นเป็ น 2.1 ล้านราย โดยมียอดผูใ้ ช้บริ การรายใหม่สุทธิ ทีสู งเป็ น ประวัติการณ์กว่า 272 พันราย ในปี 2557 ในขณะที รายได้เฉลียต่อผูใ้ ช้บริ การต่อเดือนยังคงแข็งแกร่ งที 710 บาท • EBITDA ปรับตัวเพิมขึนร้อยละ 26.7 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 11.1 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จากการรับรู ้กาํ ไร จากการโอนเสาโทรคมนาคมใหม่ จํานวนมากกว่า 3,000 ต้น ให้ TRUEIF ในปี 2557 ทังนี ทรู ออนไลน์ ยังมีผลประกอบการ ทีแข็งแกร่ ง ในปี 2557 แม้วา่ จะมีค่าใช้จ่ายในการเช่าใช้ทรัพย์สินโทรคมนาคมทีต้องจ่ายให้ TRUEIF และผลประกอบการ ทีลดลงของบริ การเสี ยงพืนฐาน • ดอกเบียจ่ าย เพิมขึนร้ อยละ 14.0 จากปี ก่อนหน้าเป็ น 2.7 พันล้านบาท ส่ วนหนึ งเป็ นผลจากกลยุทธ์ทาง การเงินของกลุ่มทรู ในการออกหุ ้นกูภ้ ายใต้บริ ษทั ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) (ซึ งผลประกอบการทางการเงิน จะรายงานภายใต้ทรู ออนไลน์) โดยมีอตั ราดอกเบียทีตํากว่าเงินกูจ้ ากธนาคารพาณิ ชย์ ทังนี การออกหุ ้นกูไ้ ม่เพียงแต่ จะช่วยลดภาระดอกเบียจ่ายของกลุ่มทรู ยังช่วยขจัดความกังวลเกียวกับการปฏิบตั ิตามข้อผูกพันทางการเงินทีตกลงไว้ กับเจ้าหนี สถาบันการเงิ นอีกด้วย ทังนี ดอกเบียจ่ายลดลง เมือเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อนหน้า ในอัตราร้ อยละ 10.8 ในไตรมาส 4 ปี 2557 ซึงเป็ นไตรมาสแรกหลังความสําเร็ จจากการปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงิน

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

• กําไรสุ ทธิจากการดําเนินงานปกติ (NIOGO) ก่อนภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี เพิมขึนอย่างมีนยั สําคัญ เป็ น 8.8 พันล้านบาท ซึงเป็ นผลจากกําไรจากการดําเนิ นงานทีเพิมขึน รวมถึงการรับรู ้ผลประกอบการและการเพิมขึนของ มูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ของTRUEIF (ซึ งถูกประเมินโดยทีปรึ กษาทางการเงินอิสระของกองทุน ตามกฎข้อบังคับของ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) ในปี 2557 • ทรู ออนไลน์ จะยังคงมุ่งมันมอบประสบการณ์อินเทอร์ เน็ตความเร็ วสู ง ทีมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด พร้อมกับ การให้บริ การทีดีเยียม รวมไปถึงการเพิมความคุม้ ค่าให้กบั ลูกค้าผ่านแพ็คเกจบรอดแบนด์ อินเทอร์ เน็ตทีน่าดึงดูดใจ และแพ็คเกจคอนเวอร์ เจนซ์ทีโดดเด่นและแตกต่าง โดย ทรู ออนไลน์ จะมุ่งเสริ มศักยภาพในการเป็ นผูน้ าํ ตลาดบรอดแบรนด์ ด้วยการขยายโครงข่ายใยแก้วนําแสง ผ่านเทคโนโลยี FTTx ให้ครอบคลุมกว่า 4 ล้านครัวเรื อน ในเขตกรุ งเทพมหานคร และปริ มณฑล ในขณะเดียวกัน จะเดินหน้าขยายโครงข่ายบรอดแบนด์อย่างต่อเนื อง ให้ครอบคลุมกว่า 10 ล้านครัวเรื อน ทัวประเทศ ภายในปี 2559 กลุ่มทรู วชิ ั นส์ • รายได้ จ ากการให้ บ ริ การของทรู วิชันส์ ในปี 2557 เพิมขึ นเล็ กน้อย (ร้ อยละ 0.7) จากปี ก่ อนหน้า เป็ น 10.8 พันล้านบาท จากการเติบโตของรายได้ค่าโฆษณาและรายได้มิวสิ ค เอ็นเตอร์ เทนเมนท์ ซึ งช่วยชดเชยรายได้จาก ค่าสมาชิกทีลดลง • อย่างไรก็ตาม ผลตอบรับทีดี ต่อแคมเปญคอนเวอร์ เจนซ์ของกลุ่มทรู ส่ งผลให้ ทรู วิชนส์ ั สามารถเข้าถึ ง ตลาดแมสได้มากยิงขึน ซึ งเป็ นปั จจัยสําคัญทีทําให้รายได้ จากค่ าสมาชิ กของทรู วิชนส์ ั ปรับตัวเพิมขึน ตังแต่ ไตรมาส 2 ปี 2557 และเติบโตต่อเนืองแม้จะได้รับผลกระทบจากภาวะการแข่งขันและการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ • รายได้ จากค่ าโฆษณา เพิมขึ นร้ อยละ 40.0 เมื อเทียบกับปี ก่อนหน้าเป็ น 1.3 พันล้านบาท ส่ วนหนึ งจาก ผลตอบรับทีดี ต่อการปรับรู ปแบบแพ็กเกจโฆษณาให้ตรงตามความต้องการของผูซ้ ื อโฆษณาและผูซ้ ื อสื อโฆษณา (media buyer) ได้ดียงขึ ิ น อีกทัง รายได้ค่าโฆษณาจากช่องทีวดี ิจิตอลเพิมสู งขึน • รายได้ จ ากมิ ว สิ ค เอ็ น เตอร์ เทนเมนท์ และอื นๆ เพิ มขึ นร้ อ ยละ 19.6 เมื อเที ย บกับ ปี ก่ อ นหน้ า เป็ น 2.1 พันล้านบาท จากความนิ ยมต่อคอนเทนต์คุณภาพของทรู วิชนส์ ั โดยเฉพาะคอนเทนต์ทีทรู วิชนส์ ั ผลิตขึนเอง และ คอนเสิ ร์ตชันนําทีจัดขึนในระหว่างปี อาทิ EXO และ Girls Generation • ค่ าใช้ จ่ายด้ านการกํากับดูแล (Regulatory cost) ลดลงร้อยละ 28.0 จากปี ก่อนหน้าเป็ น 382 ล้านบาท ซึ ง เป็ นผลสําเร็ จจากการโอนย้ายสมาชิกมาอยูภ่ ายใต้ระบบใบอนุญาตทีบริ ษทั ทรู วชิ นส์ ั กรุ๊ ป จํากัด • ค่ าใช้ จ่ายในการดําเนินงานทีเป็ นเงินสด เพิมขึนร้อยละ 2.8 จากปี ก่อนหน้าเป็ น 9.0 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่ จากค่าใช้จ่ายด้านคอนเทนต์ทีเพิมสู งขึน จากการเน้นสรรหาคอนเทนต์คุณภาพหลากหลาย โดยเฉพาะช่องรายการใน ระบบ HD อย่างไรก็ดี ทรู วชิ นส์ ั สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายด้านการขายและบริ หารได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ งลดลงถึง ร้อยละ 27.1 เมือเทียบกับปี ก่อนหน้า เป็ น 1.7 พันล้านบาท

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

• EBITDA ลดลงร้อยละ 2.0 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 1.4 พันล้านบาท จากค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงานทีเป็ น เงินสดทีเพิมขึน แม้รายได้จากการให้บริ การเพิมขึนและค่าใช้จ่ายด้านการกํากับดูแลลดลง • ค่ าเสื อมราคาและค่ าตัดจําหน่ าย เพิมขึนร้ อยละ 18.9 จากปี ก่อนหน้าเป็ น 2.0 พันล้านบาท จากการขยาย การให้บริ การของกลุ่มทรู วิชนส์ ั และค่าตัดจําหน่ายของใบอนุ ญาตเพือให้บริ การโทรทัศน์ในระบบดิ จิตอลจํานวน 2 ช่อง ทีได้รับจาก คณะกรรมการ กสทช. ในเดือนเมษายน 2557 • ดอกเบียจ่ าย ลดลงร้อยละ 28.0 เป็ น 656 ล้านบาท จากผลสําเร็ จในการปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงิน และการชําระคืนหนีสิ นล่วงหน้าได้ในเดือนกันยายน ปี 2557 • ผลการดําเนินงานปกติ (NIOGO) ไม่ รวมภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ขาดทุนเพิมขึนเป็ น 1.2 พันล้านบาท ส่ วนใหญ่จากค่าเสื อมราคาและค่าตัดจําหน่ายทีเพิมขึน • ในปี 2557 กลยุทธ์ในการเข้าถึงตลาดแมสของทรู วิชนส์ ั ได้รับผลตอบรับเป็ นอย่างดีจากกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย ส่ งผลให้สมาชิกทีสมัครใช้บริ การรายเดือนของทรู วชิ นส์ ั (สมาชิกแพ็กเกจพรี เมียมและแพ็กเกจมาตรฐาน) มีจาํ นวนสู ง เป็ นประวัติการณ์ และสามารถขยายฐานลูกค้ า ของทรู วชิ นส์ ั เพิมเป็ น 2.5 ล้านราย ณ สิ นปี 2557 ในขณะที รายได้ เฉลีย ต่ อผู้ใช้ บริการต่ อเดือน อยูท่ ี 715 บาท • ทังนี ในปี 2558 ทรู วิชนส์ ั จะยังคงมอบประสบการณ์ในการรับชมรายการคุณภาพให้กบั ลูกค้า ด้วยการ นําเสนอคอนเทนต์คุณภาพทีครบถ้วนและหลากหลายทังในและต่างประเทศ โดยเฉพาะช่องรายการคุณภาพคมชัดใน ระบบ HD นอกจากนี ทรู วชิ นส์ ั จะมุ่งสร้างความแตกต่าง ด้วยรายการถ่ายทอดสด คอนเทนต์เอ็กซ์คลูซีฟทีหลากหลาย รวมไปถึงสิ ทธิ พิเศษต่างๆ มากขึน • นอกจากนี ทรู วิชนส์ ั จะเดินหน้าเสริ มความแข็งแกร่ งในตลาดแมส ด้วยการนําเสนอแพ็กเกจคอนเวอร์ เจนซ์ ร่ วมกับบริ การอืนๆภายในกลุ่มทรู รวมถึ งการนําเสนอแพ็กเกจคุ ม้ ค่าสําหรับตลาดแมส และสิ ทธิ พิเศษอืนๆ ด้วย คอนเทนต์ทีน่าดึงดูดใจและครบครันของทรู วชิ นส์ ั • ในช่วงต้นปี 2558 ทรู วิชนส์ ั ได้เปิ ดตัว “กล่องทรู ดิจิทลั เอชดี" กล่องทีวีดาวเทียมรุ่ นใหม่ ให้ลูกค้าสามารถ รับชมหลากหลายช่ องรายการยอดนิ ยม พร้อมทังสามารถเลื อกสมัครแพ็กเกจเพิมเติมเพือรับชมความบันเทิงเต็มอิม จากทรู วิชนส์ ั การเปิ ดตัวกล่องทรู ดิจิทลั เอชดี ได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็ นอย่างดี ทําให้ ทรู วิชนส์ ั มุ่งทีจะนําเสนอ กล่องทีวี รุ่ นใหม่ๆ เพิมเติมตลอดปี 2558 เพือให้สามารถเข้าถึงลูกค้าหลากหลายกลุ่มได้ดียิงขึน ซึ งจะช่วยผลักดันรายได้ โฆษณาของทรู วชิ นส์ ั ให้เติบโต พร้อมทังยังเพิมโอกาสทางการตลาดในการถ่ายทอดคอนเทนต์คุณภาพของทรู วิชนส์ ั สู่ สายตาผูร้ ับชมโทรทัศน์ และกระตุน้ การสมัครสมาชิกแพ็กเกจของทรู วชิ นส์ ั ได้มากขึน

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 18


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

งบดุลรวม และงบกระแสเงินสดรวม

ปี 2557

ปี 2556

% เปลียนแปลง

(ปร ับปรุง) งบกระแสเงินสดรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงาน* กระแสเงินสด (ใช ้ไปใน) จากกิจกรรมการลงทุน* - รายจ่ายลงทุน* กระแสเงินสด (ใช ้ไปใน) จากกิจกรรมการจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิมขึน (ลดลง) สุทธิ ยอดยกมาต ้นงวด และผลกระทบจากการเปลียนแปลงอัตราแลกเปลียน ยอดเงินคงเหลือสินงวด

(3,644) (21,436) (27,460) 16,979 (8,102) 14,713 6,612

22,929 (3,081) (25,875) (11,230) 8,619 6,108 14,726

NM 595.8 6.1 NM NM 140.9 (55.1)

* รายการในงบดุล อาทิ ทีดินอาคารและอุปกรณ์ สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน และสินค้ าคงเหลือ ในปี 2556 ได้ ถูกปรั บปรุ ง จากการเปลียนแปลงการแสดง รายการ ในงบการเงินงวดปี 2556 ตามการเปลียนแปลงนโยบายการบัญชี และการจัดประเภทรายการใหม่ (ดูรายละเอียดในหมายเหตุข้อ 4 ประกอบงบ การเงิน ปี 2557) ** ค่ าเผือการด้ อยค่ าของสินทรั พย์ จํานวนทังสิน 1,948.2 ล้ านบาท ทีปรากฏใน “หมายเหตุประกอบงบการเงินหัวข้ อที 23: สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน-สุทธิ”ของ งบการเงินปี 2557 เป็ นจํานวนทีสะสมมาตังแต่ เริ มครอบครองจนถึง ณ สินปี 2555 ทังนี ณ สินปี 2557 ค่ าเผื อการด้ อยค่ าของสินทรั พย์ มีจํานวนทังสิน 734.8 ล้ านบาท โดยส่ วนใหญ่ เกียวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (รายละเอียดเพิมเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อที 23:สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน-สุทธิใน งบการเงินบริษัทฯปี 2557)

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 19


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การวิเคราะห์ ฐานะทางการเงิน กลุ่มทรู มีฐานะทางการเงินและโครงสร้างเงินทุนทีแข็งแกร่ งขึนภายหลังการปรับปรุ งโครงสร้างทางการเงิน (Recapitalization) ในไตรมาส 3 ปี 2557 อัตราส่ วนทีแสดงถึงความเสี ยงจากการกูย้ ืมและอัตราส่ วนแสดงความสามารถ ในการทํากําไรของปี 2557 ดี ขึนอย่างมีนัยสําคัญ โดย กลุ่มทรู มีอตั ราส่ วนหนี สิ นสุ ทธิ ต่อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น ทีลดลง อย่างสู ง เป็ น 0.5 เท่า ณ สิ นปี 2557 เมือเทียบกับ 14.5 เท่า ณ สิ นปี 2556 ในขณะทีอัตราผลตอบแทนผูถ้ ื อหุ ้นเพิมขึน เป็ นร้อยละ 3.8 ในปี 2557 เมือเทียบกับ จํานวนติดลบร้อยละ 96.7 ในปี ก่อนหน้า อัตราส่ วนทีปรับตัวดีขึนเหล่านี เป็ น ผลจากการปรับปรุ งโครงสร้ างการเงิ น และการชําระคืนหนี สิ นจํานวนสู งถึง 56 พันล้านบาท ในเดือนกันยายน 2557 อีกทังผลประกอบการของกลุ่มทรู สามารถพลิ กกลับมาเป็ นกําไรในปี 2557 โดยมีผลกําไรสุ ทธิ ในส่ วนทีเป็ นของบริ ษทั จํานวน 1.4 พันล้านบาท เมือเทียบกับขาดทุนจํานวน 9.1 พันล้านบาท ในปี ก่อนหน้า กลุ่มทรู สามารถชําระหนีสิ นและปฏิบตั ิตามข้อผูกพันตามสัญญาทางการเงินต่าง ๆ อัตราส่ วนความสามารถ ในการชําระดอกเบียของกลุ่ มทรู เพิมขึนเป็ น 3.6 เท่า ในปี 2557 เมือเทียบกับ 1.9 เท่า ในปี 2556 จาก EBITDA ทีเพิมขึนและภาระดอกเบียจ่ายทีลดลง อัตรากําไรสุ ทธิ เพิมขึนเป็ นร้อยละ 1.3 ในปี 2557 เมือเทียบกับ จํานวนติดลบร้อยละ 9.4 ในปี ก่อนหน้า จากผล กําไรทีเพิมขึน ในขณะทีรายได้เติบโตแข็งแกร่ ง ทังนี หากไม่รวมรายการทีไม่เกี ยวข้องกับการดําเนิ นงานปกติ (nonrecurring items) อาทิ กําไรจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์เข้ากองทุน TRUEIF และค่าใช้จ่ายเกียวกับการร่ นระยะเวลาการ ตัดค่าเสื อมของสิ นทรัพย์โครงข่าย 2G อัตรากําไรสุ ทธิ เพิมขึนเป็ นร้อยละ 5.4 ในปี 2557 เมือเทียบกับ จํานวนติดลบ ร้อยละ 11.8 ในปี ก่อนหน้า จากกําไรจากการดําเนินงานปกติทีเพิมขึน กลุ่มทรู มีสภาพคล่องทางการเงินทีดีขึนเป็ นลําดับในระหว่างปี 2555-2557 โดยอัตราส่ วนสภาพคล่องเพิมขึน เป็ น 0.75 เท่า ณ สิ นปี 2557 จากการเพิมขึ นของลูกหนี การค้า ซึ งสอดคล้องกับรายได้ทีเพิมขึน ทังนี วงจรเงิ นสด (cash cycle) ของกลุ่มมีจาํ นวน 95 วัน ในปี 2557 โดยมีระยะเวลาชําระหนี เฉลียเพิมขึนเป็ น 150 วันในปี 2557 เมือ เที ยบกับ 129 วันในปี ก่ อนหน้า จากการที กลุ่มทรู ได้รับสิ นเชื อจากเจ้าหนี การค้า (Vendor financing) ในขณะที ระยะเวลาเก็บหนี เฉลียเพิมขึนเป็ น 154 วันในปี 2557 เมือเทียบกับ 100 วันในปี ก่อนหน้า ส่ วนใหญ่จากการเพิมขึน ของลูกหนีการค้าทีเกียวกับสัญญาดําเนินการให้บริ การโทรคมนาคมภายใต้เทคโนโลยี HSPA กับ CAT ซึ งระยะเวลา เก็บหนีเฉลียน่าจะปรับตัวดีขึนภายหลังการเริ มชําระเงินสดภายใต้สัญญานีตังแต่เดือนเมษายน ปี 2558

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 20


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง ระยะเวลาเก็บหนีเฉลีย ระยะเวลาชําระหนีเฉลีย อัตราส่วนความสามารถในการชําระดอกเบีย อัตราส่วนหนีสิ นสุทธิต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ อัตรากําไรสุทธิ อัตรากําไรสุทธิ (ไม่รวมส่วนทีไม่เกียวข้องกับการดําเนินงานปกติ) อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ (ไม่รวมส่วนทีไม่เกียวข้องกับการดําเนินงานปกติ)

เท่า วัน วัน เท่า เท่า % % % %

ปี 2557 0.75 154 150 3.6 0.5 1.3% 5.4% 3.8% 15.5%

ปี 2556 0.65 100 129 1.9 14.5 -9.4% -11.8% -96.7% -121.4%

งบดุล สิ นทรัพย์ • กลุ่มทรู มีสินทรั พย์ รวมเพิมขึน เป็ น 234.6 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2557 เมือเทียบกับ 205.9 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2556 ส่ วนใหญ่จากลูกหนีทีเพิมขึน • ทีดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุ ทธิ) เพิมขึนร้อยละ 10.6 จาก ณ สิ นปี 2556 เป็ น 75.1 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2557 จากการขยายความครอบคลุมโครงข่ายอย่างต่อเนืองของกลุ่มทรู โมบาย และบริ การบรอดแบนด์ของทรู ออนไลน์ • ลูกหนีการค้ าและลูกหนีอืน เพิมขึน เป็ น 62.8 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2557 จากลูกหนี การค้าสุ ทธิ ทีเพิมขึน เป็ น 58.9 พันล้านบาท ซึ งสอดคล้องกับการเติ บโตของธุ รกิ จในกลุ่ ม ทรู โดยเฉพาะสั ญญาดําเนิ น การให้บ ริ ก าร โทรคมนาคมภายใต้เทคโนโลยี HSPA บนคลืน 850 MHz กับ CAT ทําให้ระยะเวลาเก็บหนี เฉลียเพิมขึนเป็ น 154 วัน ในปี 2557 เมือเทียบกับ 100 วันในปี ก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ระยะเวลาเก็บหนีเฉลียน่าจะปรับตัวดีขึนภายหลังการเริ ม ชําระเงินสดภายใต้สัญญานีตังแต่เดือนเมษายน ปี 2558 งบการเงินรวม ณ วันที 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

ลูกหนี ทศท. ลูกหนีการค้า ลูกหนี และรายได้คา้ งรับ - กิจการทีเกียวข้องกัน (หมายเหตุขอ้ 41) ลูกหนีการค้า

ส่วนที 3

งบการเงินเฉพาะบริษทั

พ.ศ. 2556 ล้านบาท

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

พ.ศ. 2556 ล้านบาท

651.47 32,512.93

612.50 14,120.78

651.47 2,298.87

612.50 2,340.73

10,550.36 43,714.76

8,600.69 23,333.97

1,714.24 4,664.58

1,882.87 4,836.10

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 21


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

รายได้คา้ งรับ รวมลูกหนีการค้า หัก ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ ลูกหนีการค้า - สุทธิ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี อืน ดอกเบียค้างรับ

22,565.29 66,280.05 (7,423.47) 58,856.58 2,792.09 1,134.84 42.41

18,859.80 42,193.77 (7,632.86) 34,560.91 1,119.87 2,832.69 24.51

1,901.26 6,565.84 (2,906.48) 3,659.36 45.32 62.90 26.03

1,752.95 6,589.05 (2,671.81) 3,917.24 65.54 1,214.95 40.32

ลูกหนีการค้าและลูกหนี อืน

62,825.92

38,537.98

3,793.61

5,238.05

ลูกหนีการค้า ณ วันที 31 ธันวาคม สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี ณ วันที 31 ธันวาคม ยอดทียังไม่ครบกําหนดชําระ ค้างชําระน้อยกว่า 3 เดือน ค้างชําระ 3 - 6 เดือน ค้างชําระ 6 - 12 เดือน ค้างชําระมากกว่า 12 เดือน ลูกหนีการค้า รายได้คา้ งรับ รวมลูกหนีการค้า หัก ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ ลูกหนีการค้า - สุทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ล้านบาท ล้านบาท 24,348.47 5,193.22 3,231.89 5,115.80 5,825.38 43,714.76 22,565.29 66,280.05 (7,423.47) 58,856.58

7,259.02 5,199.73 2,074.41 4,929.51 3,871.30 23,333.97 18,859.80 42,193.77 (7,632.86) 34,560.91

งบการเงินเฉพาะบริษทั พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ล้านบาท ล้านบาท 1,858.91 608.88 222.29 120.66 1,853.84 4,664.58 1,901.26 6,565.84 (2,906.48) 3,659.36

1,535.40 1,005.72 234.83 400.21 1,659.94 4,836.10 1,752.95 6,589.05 (2,671.81) 3,917.24

ลูกหนีการค้ารับรู ้เริ มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจํานวนเงินทีเหลืออยูห่ กั ด้วย ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญซึ งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ นงวด ค่าเผือหนี สงสัยจะสู ญหมายถึงผลต่าง ระหว่างราคาตามบัญชี ของลูกหนีการค้าเปรี ยบเทียบกับมูลค่าทีคาดว่าจะได้รับจากลูกหนี การค้า หนี สู ญทีเกิ ดขึนจะ รับรู ้ไว้ในกําไรหรื อขาดทุนโดยถือเป็ นส่ วนหนึงของค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าเผือหนี สงสั ยจะสู ญ เป็ นประมาณการที พิจารณาจากหลายๆวิธีผสมกัน เช่ น ตามอัตราร้ อยละของ รายได้ การวิเคราะห์ อายุหนี ประสบการณ์ การเก็บหนี โดยพิจารณาสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิ จปั จจุ บนั ร่ วมด้วย ทังนี ความชํานาญและประสบการณ์ในการเก็บหนีของกลุ่มร่ วมกับวิธีประมาณการอย่างเหมาะสมตามทีกล่าวข้างต้น ทําให้ผบู ้ ริ หารมีความเชือมันว่า ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญทีตังไว้ (จํานวน 7,423 ล้านบาท) มีความเพียงพอ

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 22


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

กลุ่ ม บริ ษ ทั ไม่ มี การกระจุ ก ตัวของความเสี ยงจากการให้สินเชื อแก่ ลู กหนี การค้า เนื องจากลู ก ค้าของ กลุ่มบริ ษทั มีจาํ นวนมาก ซึ งได้แก่ ผูใ้ ช้บริ การโทรศัพท์ ทังภาคธุ รกิจและผูใ้ ช้รายย่อยทัวไป ผูบ้ ริ หารเชื อว่าค่าเผือหนี สงสัยจะสู ญทีได้บนั ทึกไว้เพียงพอแล้ว และจะไม่มีความเสี ยงด้านการให้สินเชื อมากไปกว่าจํานวนหนี สงสัยจะสู ญที ได้บนั ทึกแล้ว โดยคํานึงจากลักษณะของลูกหนีการค้าของกลุ่มบริ ษทั และจากประสบการณ์การเรี ยกเก็บหนีของกลุ่ม • เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อยและบริ ษัทร่ วม (สุ ทธิ) เพิมขึน เป็ น 16.4 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2557 จาก 16.1 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2556 ส่ วนใหญ่จากเงินลงทุนใน TRUEIF (รายละเอียดเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 19) • ค่ าความนิยม (สุ ทธิ) คงทีจากปี ก่อนหน้าที 11.4 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2557 ตามรายละเอียดด้านล่าง (สามารถดูรายละเอียดเพิมเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 22) งบการเงินรวม ล้านบาท ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม มูลค่าตามบัญชีสุทธิ

18,800.04 (7,396.95) 11,403.09

หนีสิ น • หนีสิ นรวม ลดลงร้อยละ 18.6 จาก ณ สิ นปี 2556 เป็ น 163.6 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2557 ส่ วนใหญ่จาก ผลสําเร็ จในการปรับปรุ งโครงสร้ างการเงิน ทําให้กลุ่มทรู สามารถชําระคืนหนี สิ นได้เป็ นจํานวนมากในไตรมาส 3 ของปี ซึ งส่ งผลให้ เงินกู้ยืมระยะยาว ลดลงสู งมากถึงร้อยละ 57 ในปี 2557 อีกทังยังทําให้กลุ่มทรู ไม่มีหนี สิ นทีมี หลักประกันเหลืออยู่ • เจ้ าหนีการค้ าและเจ้ าหนีอืน มีจาํ นวน 101.4 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2557 เพิมขึนเมือเทียบกับปี ก่อนหน้า ตามการขยายตัวของธุ รกิ จในกลุ่มทรู โดยเฉพาะสัญญาดําเนิ นการให้บริ การโทรคมนาคมภายใต้เทคโนโลยี HSPA บนคลืน 850 MHz กับ CAT Telecom ส่ วนของผู้ถือหุ้น • ส่ วนของผู้ถือหุ้ น เพิมขึนอย่างมีนัยสําคัญ เป็ น 70.9 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2557 เมื อเทียบกับจํานวน 4.7 พันล้านบาท ณ สิ นปี 2556 จากการระดมทุนจํานวน 65 พันล้านบาท ในไตรมาส 3 และผลกําไรในปี 2557

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 23


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

สภาพคล่ องและแหล่ งเงินทุน • แหล่ งเงิ นทุนหลัก ของกลุ่ ม ทรู สํา หรั บ ปี 2557 มาจากกระแสเงินสดจากกิจ กรรมจัด หาเงิน จํานวน 17.0 พันล้านบาท ซึ งเพิมขึนอย่างมีนยั สําคัญเมือเทียบกับปี ก่อนหน้า เป็ นผลจากการระดมทุนผ่านการเสนอขายหุ ้น แก่ผถู ้ ือหุ ้นเดิมตามสัดส่ วนการถือหุ ้น (Rights Offering) และผ่านการจัดสรรหุ ้นแบบเฉพาะเจาะจง (Private Placement) ในไตรมาส 3 ปี 2557 • กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน ในปี 2557 มีจาํ นวนติดลบ 3.6 พันล้านบาท โดยลดลงจากกระแส เงิ นสดจากกิ จกรรมดําเนิ นงานทีมีระดับสู งในปี 2556 ซึ งเป็ นปี ที กลุ่มทรู รับรู ้ เงิ นรับล่วงหน้าสําหรับเสาโทรคมนาคม 6,000 เสา ทีจะต้องส่ งมอบให้ TRUEIF (จํานวน 16.4 พันล้านบาท) นอกจากนี กลุ่มทรู ยังมีความต้องการใช้เงินทุน หมุนเวียนในกิจการทีเพิมขึนในปี 2557 • กระแสเงินสดใช้ ไปสุ ทธิจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2557 เพิมขึนเป็ น 21.4 พันล้านบาท เมือเทียบกับปี 2556 จากการชําระค่าประมูลใบอนุญาตใช้คลืนความถี 2.1 GHz งวดทีสอง (เป็ นจํานวนทังสิ น 3,375 ล้านบาท) ในปี 2557 อีกทัง ปี 2556 ยังเป็ นปี ทีกลุ่ มทรู มีเงิ นทีได้จากการขายสิ นทรั พย์และสิ ทธิ รายได้ของสิ นทรั พย์เข้า TRUEIF และ การขายเงินลงทุนในหุ ้นสามัญของ 8 บริ ษทั ย่อยทีไม่ใช่ธุรกิจหลักของกลุ่มมารวมอยูใ่ นกระแสเงินสดได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมลงทุน • ในปี 2557 กลุ่มทรู มีรายจ่ ายลงทุน รวม 27.5 พันล้านบาท ซึ งเพิมขึนเมือเทียบกับปี ก่อนหน้า โดยเฉพาะที กลุ่มทรู โมบาย ซึ งยังคงขยายเครื อข่าย 4G บนคลืนความถี 2.1 GHz อย่างต่อเนือง • ผูบ้ ริ หารเชื อมันว่าโครงสร้ างเงินทุนในปั จจุบนั ของกลุ่มมีความเหมาะสม และเพียงพอต่อการดําเนิ นงาน ของบริ ษทั อีกทังบริ ษทั ยังมีหลายแหล่งเงิ นทุนเพิมเติมเพือรองรับการลงทุนในอนาคต อาทิ สิ นเชื อจากเจ้าหนี การค้า (Vendor financing) การกูย้ มื เพิมเติมซึ งปั จจุบนั เงินกูย้ มื ของกลุ่มยังอยูใ่ นระดับตําและมีตน้ ทุนการกูย้ ืมทีตําลง เงินสด จากการดําเนินงานของบริ ษทั รวมถึงหน่วยลงทุนใน TRUEIF และการจําหน่ายสิ นทรัพย์เพิมเติมเข้ากองทุน TRUEIF สั ญญาและภาระผูกพัน กลุ่มทรู ปฏิบตั ิตามสัญญาและภาระผูกพัน (ส่ วนใหญ่เกียวข้องกับหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ) อย่างเคร่ งครัด รายละเอียดของสัญญาและภาระผูกพันต่าง ๆ ตามด้านล่าง 1. บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุนขยายบริ การโทรศัพท์พืนฐานจํานวน 2.6 ล้านเลขหมาย ในเขตโทรศัพท์นครหลวงกับ ทศท. และได้จดั ทําข้อตกลงแนบท้ายสัญญาดังกล่าว สําหรับบริ การดังต่อไปนี

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 24


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

-

บริ การโทรศัพท์พืนฐาน ข้อตกลงบริ การเสริ ม ข้อตกลงดําเนินการโทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานที (Personal Communication Telephone) ข้อตกลงดําเนินการโทรศัพท์สาธารณะ ข้อตกลงดําเนินการเกียวกับการรับคําขอโทรศัพท์ กําหนดเลขหมายโทรศัพท์ รวมทังการชําระค่าติดตัง และเงินประกันการใช้โทรศัพท์แทน ทศท. ข้อตกลงการรับแจ้งเหตุขดั ข้องและการซ่อมบํารุ งจากตูพ้ กั ปลายทาง (Distribution Point) ถึงราวกันฟ้ า (Protector) ข้อตกลงให้ดาํ เนินการโทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานทีภายใต้โครงข่ายของ ทศท. ภายใต้เงือนไขของสัญญา สัญญาแก้ไขเพิมเติมและข้อตกลงแนบท้ายดังกล่าว ทศท.จะแบ่งรายได้ทีได้รับจริ ง ก่อนหักค่าใช้จ่ายให้แก่บริ ษทั ในอัตราร้ อยละทีระบุในสัญญาและข้อตกลงแนบท้าย นอกจากนี บริ ษทั มีภาระ ผูกพันต่างๆ เช่น จะต้องลงทุน จัดหา ติดตังจัดการ ตลอดจนบํารุ งรักษาอุปกรณ์ในระบบต่างๆ และจะต้องโอน กรรมสิ ทธิ ในอุปกรณ์ ในระบบดังกล่าวบางส่ วนตลอดจนทีดิ นและอาคารทีบริ ษทั เป็ นผูจ้ ดั หาและติดตังให้แก่ ทศท. เป็ นต้น 2.

สัญญาดําเนินการโครงข่ายระบบโทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานที

ตามสัญญาร่ วมการงานและร่ วมลงทุน และสัญญาแก้ไขเพิมเติมการให้บริ การโทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานที (รวมเรี ยกว่า “สัญญาร่ วมการงาน”) ระหว่างบริ ษทั กับ ทศท. เพือร่ วมดําเนิ นการและลงทุนขยายบริ การโทรศัพท์ พื นฐาน รวมถึ ง พัฒ นาระบบโทรศัพ ท์พื นฐานใช้น อกสถานที โดยใช้รหัส พื นที โทรทางไกลเช่ นเดี ย วกับ กรุ งเทพมหานคร (“เขตให้บริ การ”) บริ ษทั มีสิทธิ ในการจัดหาผูร้ ับผิดชอบในการดําเนิ นงานบางส่ วนตามสัญญา ร่ วมการงานดังกล่าว บริ ษทั ได้ให้สิทธิ การดําเนินงานให้แก่ AWC ซึ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั โดยมีการดําเนิ นงาน และส่ วนแบ่งรายได้ให้แก่บริ ษทั ย่อยตามสัญญาโทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานที (“สัญญา”) ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 บริ ษทั ได้ลงนามในสัญญากับ AWC ซึ งสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้เมือวันที 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ข้อตกลงและเงือนไขภายใต้สัญญาดังกล่าวมีสาระสําคัญดังนี ก) AWC จะเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการจัดหา ติดตัง ดําเนิ นการ ตลอดจนบํารุ งรักษาระบบโทรศัพท์พืนฐาน ใช้นอกสถานทีในเขตการให้บริ การด้วยค่าใช้จ่ายของตนเอง ซึ งการดําเนิ นการทังสิ นเป็ นไปตามสัญญาร่ วมการงาน และสัญญาแก้ไขเพิมเติมการให้บริ การโทรศัพท์พืนฐานใช้นอกสถานที และ ข) ผลตอบแทนในการปฏิบตั ิดงั กล่าว AWC จะได้รับสิ ทธิ ในส่ วนแบ่งรายได้จากการให้บริ การ PCT ตาม วิธีการคํานวนทีระบุในสัญญา

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 25


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เมือวันที 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 บริ ษทั และ AWC ได้ร่วมลงนามในบันทึกเพิมเติมสัญญา PCT โดยบริ ษทั ได้ ปรับส่ วนแบ่งรายได้จากการให้บริ การ PCT เพิมเติม โดยมีผลบังคับตังแต่วนั ที 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เป็ นต้นไป บันทึกเพิมเติมสัญญา PCT ดังกล่าวสิ นสุ ดการบังคับใช้ตงแต่ ั วนั ที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ข้อตกลงและเงื อนไข อืนๆ ยังคงมีผลบังคับเหมือนเดิม 3. บริ ษทั ย่อยบางแห่ งได้ทาํ สัญญากับ กสท. ทศท. และ อสมท. เพือให้บริ การโทรศัพท์ระบบเซลลูลาร์ บริ การเช่าวงจรสื อสัญญาณความเร็ วสู งผ่านโครงข่ายมัลติมีเดีย และ บริ การโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็ นสมาชิ ก ตามลําดับ ภายใต้สัญญาเหล่านี บริ ษทั ย่อยมีภาระในการลงทุน จัดหา ติดตัง ควบคุม ตลอดจนบํารุ งรักษาอุปกรณ์ บริ ษทั ย่อยมีภาระทีจะต้องโอนกรรมสิ ทธิ ในอุปกรณ์ในระบบข้างต้นให้แก่ กสท. ทศท. และ อสมท. เมืออุปกรณ์และ ระบบข้างต้นติดตังแล้วเสร็ จ ตามเงือนไขของสัญญา บริ ษทั ย่อยได้รับสิ ทธิ ในการเรี ยกเก็บเงินมัดจํา ค่าสมาชิ ก และค่าธรรมเนียมบริ การอืนๆ จากผูใ้ ช้บริ การในอัตราทีระบุไว้ในสัญญา นอกจากนีบริ ษทั ย่อยดังกล่าวข้างต้นมีภาระผูกพันกับธนาคารในประเทศบางแห่ งจากการออกหนังสื อคําประกัน แก่ กสท. ทศท. และ อสมท. เป็ นจํานวนเงิน 1,440.43 ล้านบาท หนังสื อคําประกันเหล่านี ใช้เพือเป็ นหลักประกัน การปฏิบตั ิตามสัญญาข้างต้นของบริ ษทั ย่อย ภายใต้เงือนไขในสัญญา บริ ษทั ย่อยบางแห่งมีขอ้ ผูกพันทีต้องจ่ายผลตอบแทนขันตําให้แก่คู่สัญญาดังต่อไปนี จํานวนเงินขันตํา ทีต้ องชําระ ล้านบาท

งวดกําหนดชําระ ภายใน 1 ปี ระหว่าง 1 ถึง 2 ปี ระหว่าง 2 ถึง 5 ปี

30.00 30.00 105.00

4. เมือวันที 27 มกราคม พ.ศ. 2554 BFKT บริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั ได้ทาํ สัญญา กับ กสท. ในการเช่าเครื อง และอุปกรณ์วทิ ยุคมนาคมระบบ CDMA และระบบ HSPA โดยมีอายุสัญญา 2 ปี และ 14.5 ปี ตามลําดับ ภายใต้ เงื อนไขของสัญญาเช่ าอุปกรณ์ระบบ CDMA BFKT ต้องให้เช่าอุปกรณ์ ในระบบดังกล่าวเป็ นระยะเวลา 2 ปี ภายใต้สัญญาเช่ าอุปกรณ์ระบบ HSPA BFKT มีภาระต้องจัดหา ติดตัง บริ หารจัดการและบํารุ งรักษาอุปกรณ์ ตามทีจําเป็ นต่อการให้บริ การภายใต้เทคโนโลยี HSPA โดยให้เป็ นไปตามความจุทีได้ระบุไว้ในสัญญาและ สัญญาแก้ไขเพิมเติมทีมีผลบังคับใช้วนั ที 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เป็ นระยะเวลา 14.5 ปี และเพือเป็ นการตอบ แทน BFKT มีสิทธิ ได้รับรายได้จากการให้บริ การดังกล่าวตามทีได้ระบุไว้ในสัญญา

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 26


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เมือวันที 16 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และวันที 24 มิถุนายน พ.ศ. 2554 RMV บริ ษทั ย่อยของกลุ่ มบริ ษทั ได้รับใบอนุ ญาตประกอบกิจการให้บริ การขายต่อบริ การโทรศัพท์เคลือนทีและบริ การอินเตอร์ เน็ตแบบทีหนึ ง จาก กทช. RMV มีสิทธิ และหน้าทีตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และเงือนไข ตามทีระบุไว้ในใบอนุญาต ใบอนุ ญาตมีกาํ หนดสิ นสุ ดวันที 15 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ต่อมาเมือวันที 27 มกราคม พ.ศ. 2554 RMV ได้ทาํ สัญญากับ กสท. (“สัญญา”) ภายใต้เงือนไขในสัญญา RMV ต้องให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ภายใต้เทคโนโลยี HSPA ซึ งได้รับขายส่ งมาจาก กสท. เป็ นระยะเวลา 14.5 ปี ต่อมา หน่ วยงานของรัฐบางแห่ งได้ตรวจสอบสัญญาดังกล่าวในหลายประเด็นว่าเป็ นไปตามพระราชบัญญัติ องค์ก รจัด สรรคลื นความถี และกํา กับ การประกอบกิ จ การวิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทัศ น์ และกิ จ การ โทรคมนาคม พ.ศ. 2553 หรื อไม่ เมือวันที 28 มิถุนายน พ.ศ. 2555 คณะกรรมการ กสทช. ได้มีหนังสื อถึง กสท. สรุ ปมติของคณะกรรมการกิ จการโทรคมนาคม (“กทค”) ว่าสัญญาดังกล่าวยังไม่ชดั เจนในหกประเด็น RMV BFKT และ กสท. ได้ดาํ เนิ นการปฏิบตั ิตามคําสังของ กทค. แล้วเสร็ จ ในทีสุ ด RMV BFKT และ กสท. ได้ ข้อสรุ ปที จะแก้ไขเพิมเติ ม ข้อกําหนดในสัญญาในหกประเด็นโดยการลงนามในบันทึ กความเข้าใจร่ วมกัน (“MOU”) และได้ส่ง MOU ไปยัง กทค. เรี ยบร้อยแล้วเมือวันที 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 และ กทค ได้มีมติ เห็ นชอบร่ างแก้ไขสัญญาดังกล่ าวแล้วเมื อวันที 16 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ทุกฝ่ ายทีเกี ยวข้องได้ลงนามในสัญญา แก้ไขเพิมเติมในประเด็นดังกล่าวและมีผลบังคับใช้เมือวันที 3 ธันวาคม พ.ศ. 2556 นอกจากนี คณะกรรมการกฤษฎีกา ยังได้ให้ความเห็นว่า สัญญา HSPA ระหว่าง กสท. กับ BFKT และระหว่าง กสท. กับ RMV ไม่อยู่ภายใต้บงั คับของพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่ วมงานหรื อดําเนิ นการใน กิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ในระหว่างไตรมาสที 1 ของปี พ.ศ. 2556 หน่วยงานกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมได้มีความเห็นสอดคล้องกัน ว่า BFKT ไม่ได้ทาํ ผิดพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และพระราชบัญญัติองค์กร จัดสรรคลืนความถีและกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ดังนัน BFKT จึงสามารถให้บริ การเช่าเครื องอุปกรณ์โทรคมนาคมได้ ดังนันการรับรู ้ รายได้ค่าเช่ าเสาของ BFKT และการรับรู้ตน้ ทุนดําเนิ นงานของ RMV จึงเป็ นไปตามสัญญาที ได้รับการตรวจสอบจากหน่ วยงานทีเกี ยวข้องดังกล่าว ซึ งขณะนี ทุกฝ่ ายอยู่ระหว่างการเจรจารายละเอียดของ การชําระหนี ฝ่ ายบริ หารจึงมีความเห็นว่าจะไม่มีผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญต่อการดําเนินงานของกลุ่มบริ ษทั ตามสัญญาข้างต้น กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันกับธนาคารในประเทศบางแห่งจากการออกหนังสื อคําประกันให้แก่ กสท. เป็ นจํานวนเงิน 841.49 ล้านบาท

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 27


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

5. เมือวันที 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555 TUC บริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั ได้รับใบอนุญาตให้ใช้คลืนความถี IMT ย่าน 2.1 GHz (“ใบอนุญาต”) จาก กสทช. ใบอนุญาตครอบคลุมสามแถบย่านความถี และอนุ ญาตให้ใช้เพือให้ บริ การโทรศัพ ท์ เ คลื อนที เป็ นระยะเวลา 15 ปี TUC ต้อ งปฏิ บ ัติ ต ามข้อ กํา หนดและเงื อนไขและชํา ระ ค่าธรรมเนี ยมตามทีกําหนดไว้ในใบอนุ ญาต TUC ได้วางหนังสื อคําประกันทีออกโดยธนาคารในประเทศเป็ น จํานวนเงิน 3,611.25 ล้านบาท เพือเป็ นหลักประกันเงินค่าใบอนุญาตทียังไม่ได้ชาํ ระ 6. บริ ษ ทั และบริ ษทั ย่อยมี ภาระผูก พันกับธนาคารในประเทศบางแห่ งตามสั ญญาคําประกันที ออกให้ หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและบริ ษทั ต่าง ๆ รวมเป็ นเงิน 235.26 ล้านบาท และ 684.04 ล้านบาท ตามลําดับ 7. ภายใต้ขอ้ กําหนดของสัญญาต่างๆ ทีบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยบางแห่ งได้ทาํ ไว้ สิ นทรัพย์ของบริ ษทั และ บริ ษทั ย่อยบางแห่งซึ งนําไปคําประกันหรื อจํานองเพือเป็ นหลักประกันสําหรับหนีสิ น มีรายละเอียดดังนี

พ.ศ. 2557 ล้านบาท เงินฝากประจําและเงินฝาก ออมทรัพย์ เงินลงทุนในหุ้นทุนใน บริษทั ย่อย ทีดิน และอาคาร

1,190.48 -

มูลค่าตามบัญชี ณ วันที 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษทั มูลค่าจดจํานอง พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 2,446.49

-

15,364.45 115.17

-

23,604.15

1,100.55

2,344.58

-

-

8. บริ ษ ทั และบริ ษทั ย่อยมี สั ญญากับ บริ ษทั หลายแห่ งเพือจัดหาและติ ดตังอุ ป กรณ์ โครงข่ ายโทรศัพ ท์ เพิ มเติ ม เพื อขยายประสิ ท ธิ ภ าพของอุ ปกรณ์ โครงข่ า ยและสั ญญาต่ า งๆ ที เกี ยวกับ รายจ่ า ยฝ่ ายทุ น ณ วัน ที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ภาระผูกพันตามสัญญาดังกล่าวข้างต้นถูกบันทึกไว้ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษทั เป็ นจํานวน 12,437.59 ล้านบาท และ 7.03 ล้านบาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2556 : 17,484.84 ล้านบาท และ 38.35 ล้านบาท ตามลําดับ) 9. สัญญาอนุ ญาตให้ดาํ เนิ นการในโครงข่ายโทรศัพท์ระบบเซลลูล่าร์ Digital PCN 1800 ซึ ง TMV ได้รับ ครบอายุในวันที 15 กันยายน พ.ศ. 2556 เมือวันที 16 สิ งหาคม พ.ศ. 2556 กสทช. ประกาศใช้มาตรการคุ ม้ ครองผูใ้ ช้บริ การเป็ นการชัวคราวในกรณี สิ นสุ ดการอนุญาตสัมปทานหรื อสัญญาการให้บริ การโทรศัพท์เคลือนที ต่อมาในปี พ.ศ. 2557 คณะรักษาความ สงบแห่งชาติ (“คสช”) ได้ประกาศขยายช่วงเวลาคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ ตามมาตรการของกสทช. จากสิ นสุ ดวันที 15 กันยายน พ.ศ. 2557 เป็ นวันที 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 โดยประกาศนี อนุ ญาตให้ TMV สามารถให้บริ การ

ส่วนที 3

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

หัวข ้อที 14 - หน ้า 28


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

โทรศัพท์เคลือนทีบนคลืนความถี 1800 MHz หลังวันสิ นอายุสัมปทานในระหว่างช่วงคุม้ ครองผูใ้ ช้บริ การ และ กํา หนดให้ ผูใ้ ห้ บ ริ ก ารนํา ส่ ง ส่ ว นที เหลื อ หลัง จากหัก ต้น ทุ น ในการให้ บ ริ ก ารในช่ ว งเวลาคุ ้ม ครองให้ ก ับ สํานักงาน กสทช. เพือตรวจสอบและนําส่ งเป็ นรายได้แผ่นดิ นต่อไป ต้นทุนการให้บริ การ ได้แก่ ต้นทุนค่าใช้ โครงข่าย ค่าธรรมเนียมเลขหมายโทรคมนาคม ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการบริ หารจัดการ และต้นทุนค่าใช้จ่ายอืนที จําเป็ นสําหรับการให้บริ การ เนื องจากเกณฑ์การกําหนดประเภทค่าใช้จ่ายทีจะต้องนํามาหักยังไม่มีขอ้ สรุ ปที ชัดเจนว่าค่าใช้จ่ายใดบ้างทีสามารถหักเป็ นต้นทุนได้ TMV กําลังทําการหารื อกับ กสทช. เกียวกับเรื องดังกล่าว จากข้อมูลทางการเงิน TMV มีผลการดําเนิ นงานขาดทุน ซึ งทําให้ไม่มีส่วนเหลือทีจะต้องนําส่ ง กสทช. ดังนัน จึงไม่มีการบันทึกหนีสิ นในงบการเงินสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2557 10. กลุ่มบริ ษทั ทําสัญญาเช่าดําเนิ นงานทีไม่สามารถยกเลิกได้สําหรับอุปกรณ์โทรคมนาคมระยะเวลาของ สัญญาเช่าอยูร่ ะหว่าง 5 ถึง 15 ปี ยอดรวมของจํานวนเงินขันตําทีต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดําเนินงานทีไม่สามารถยกเลิกได้ มีดงั นี งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2556 ล้านบาท ล้านบาท ภายใน 1 ปี เกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี เกินกว่า 5 ปี

ส่วนที 3

2,349.91 9,752.69 16,019.75 28,122.35

การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ

2,510.76 9,864.81 18,257.53 30,633.10

หัวข ้อที 14 - หน ้า 29


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล “บริ ษทั ฯ ได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ฉบับนี แล้ว ด้วยความระมัดระวัง บริ ษทั ฯ ขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาํ ให้ผูอ้ ืนสําคัญผิด หรื อไม่ขาดข้อมูลทีควรต้องแจ้งใน สาระสําคัญ นอกจากนี บริ ษทั ฯ ขอรับรองว่า (1) งบการเงิ นและข้อมูลทางการเงิ นที สรุ ปมาในแบบแสดงรายการข้อมูล ประจําปี ได้แสดงข้อมูลอย่าง ถูกต้องครบถ้วนในสาระสําคัญเกียวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยแล้ว (2) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีระบบการเปิ ดเผยข้อมูลทีดี เพือให้แน่ใจว่าบริ ษทั ฯ ได้เปิ ดเผยข้อมูลในส่ วนทีเป็ น สาระสําคัญทังของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทังควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว (3) บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีระบบการควบคุมภายในทีดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว และ บริ ษทั ฯ ได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที 24 กุมภาพันธ์ 2558 ต่อผูส้ อบบัญชีและกรรมการตรวจสอบ ของบริ ษทั ฯ แล้ว ซึงครอบคลุมถึงข้อบกพร่ องและการเปลียนแปลงทีสําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทังการกระทํา ทีมิชอบทีอาจมีผลกระทบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ในการนี เพือเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทังหมดเป็ นเอกสารชุดเดียวกันกับทีบริ ษทั ฯ ได้รับรองความถูกต้องแล้ว บริ ษทั ฯ ได้มอบหมายให้ นางสาวยุภา ลีวงศ์เจริ ญ นายธนิศร์ วินิจสร และ นางรังสิ นี สุ จริ ตสัญชัย เป็ นผูล้ งลายมือชือกํากับ เอกสารนี ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชือของ นางสาวยุภา ลีวงศ์เจริ ญ นายธนิ ศร์ วินิจสร และ นางรังสิ นี สุ จริ ตสัญชัย กํากับไว้ บริ ษทั ฯ จะถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลทีบริ ษทั ฯ ได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลแล้วดังกล่าวข้างต้น” ชือ

ตําแหน่ง

ลายมือชือ

1. ศาสตราจารย์พิเศษอธึก อัศวานันท์

รองประธานกรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านกฎหมาย

……………………………………

2. นายวิเชาวน์

รักพงษ์ไพโรจน์

กรรมการ และ หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านปฏิบตั ิการ ด้านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการ และบํารุ งรักษาธุรกิจบรอดแบนด์ โมบาย ซีเอทีวี

…………………………………….

ผูร้ ับมอบอํานาจ นางสาวยุภา

ลีวงศ์เจริ ญ

หัวหน้าคณะผูบ้ ริ หารด้านการเงิน

…………………………………….

นายธนิศร์

วินิจสร

ผูอ้ าํ นวยการ ด้านบัญชีกลุ่มบริ ษทั

…………………………………….

นางรังสิ นี

สุจริ ตสัญชัย

เลขานุการบริ ษทั

…………………………………….

การรับรองความถูกต ้องของข ้อมูล

1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

1. ข้ อมูลของกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอาํ นาจควบคุม และเลขานุการบริษัท 1.1 รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอาํ นาจควบคุม และเลขานุการบริษัท (ณ 31 ธันวาคม 2557) กรรมการ ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายวิทยา เวชชาชีวะ / 4 ม.ค. 2542

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการทีดี

78

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

นิติศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา อักษรศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริ ดจ์ ประเทศอังกฤษ

ปริ ญญาตรี

นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเคมบริ ดจ์ ประเทศอังกฤษ

เนติบณ ั ฑิต

สํานักเกรส์ อินน์

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Audit Committee Program (ACP) - Chairman 2000

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2542-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. โกลว์ พลังงาน 2545-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ฟิ นนั ซ่า บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. บางกอกกล๊ าส 2541-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. เค ไลน์ (ประเทศไทย) และ บริ ษัทในเครื อ 2534-2535 ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ 2531 เอกอัครราชทูตประจําประเทศสหรัฐอเมริ กา 2527 เอกอัครราชทูตประจําประเทศเบลเยียม และ ประชาคมยุโรป 2524 เอกอัครราชทูตประจําประเทศแคนาดา 2522 อธิบดีกรมเศรษฐกิจ

1


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก ดร. โกศล เพ็ชร์ สวุ รรณ์ / 11 ก.พ. 2536

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการทีดี

75

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาเอก

สาขาวิศวกรรมศาสตร์ Imperial College London

ปริ ญญาตรี

สาขาวิศวกรรมศาสตร์ Imperial College London

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Director Certification Program (DCP) - Audit Committee Program (ACP) - Role of the Chairman Program (RCP) - Financial Institutions Governance Program (FGP) - Finance for Non-Finance Directors (FND) - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) - Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR) - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) - Chartered Director Class (R-CDC) - Audit Committee Effectiveness Seminar: What Works Best – Global Practices vs. Practices in Thailand - 2012 Theme: Innovative Approaches to Create Value for Business and Society - IOD Director Briefing 1/2013 Thailand’s Economic Outlook 2013 - IOD Tea Talk : “Effective Regulation and Corporate Governance in Asia” - The 2nd National Director Conference 2013 “Board Leadership Evolution” - IOD Director Briefing 2/2014 : The Four Pillars of Board Effectiveness - Directors Forum 2014 - ธุรกิจครอบครัว : กํากับดูแลอย่างไรให้ ยงยื ั น - Improving Corporate Governance Key to Advancing Thailand (the 3rd National Director Conference 2014)

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2554-ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2557-ปั จจุบนั สมาชิกสภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติ 2547-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จํากัด (มหาชน) (เดิมชือ ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน)) 2544-2552 กรรมการ โรงเรี ยนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) 2544-2548 นายกสมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2543-2544 ประธานกรรมการ บจ. วิทยุการบินแห่งประเทศไทย 2529-2535 อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

2


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายโชติ โภควนิช / 22 ธ.ค. 2542

นายฮาราลด์ ลิงค์ / 1 มี.ค. 2553

เอกสารแนบ 1

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ ในคณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

72

กรรมการอิสระ

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตประเทศอังกฤษ หลักสูตรพัฒนาการจัดการ มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา หลักสูตรการจัดการด้ านการตลาด มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ ด ประเทศสหรัฐอเมริ กา การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP) - IOD National Director Conference 2012 – Moving Corporate Governance Forward : Challenge for Thai Directors - Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) - Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) - How to Measure the Success of Corporate Strategy (HMS) - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR)

60

ตนเอง: 198,883 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

- ไม่มี -

MBA, St. Gallen University, Switzerland การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2542-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2556-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. สยามแม็คโคร 2555-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ล็อกซเล่ย์ 2543-2544 ประธานกรรมการบริ หาร บริ ษัทเงินทุน ทิสโก้ จํากัด (มหาชน) (ปั จจุบนั ชือ ธนาคารทิสโก้ จํากัด (มหาชน)) 2537-2540 ประธานกรรมการบริ หาร กลุม่ บมจ. ไทยวา 2535-2537 กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ กงสุลใหญ่แห่งเดนมาร์ ก ประจําประเทศไทย บมจ. อีสต์เอเชียติก (ประเทศไทย) บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. บางกอกแร้ นช์ 2545-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2542-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. คิงฟิ ชเชอร์ โฮลดิงส์ 2552-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด 2547-2549 ประธานเจ้ าหน้ าทีบริ หาร ธนาคารสินเอเซีย จํากัด (มหาชน) (ปั จจุบนั ชือ ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จํากัด (มหาชน)) บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มี.ค. 2553-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2543-ก.พ. 2553 กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2541-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ปูนซีเมนต์นครหลวง บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2553-ปั จจุบนั Director, G&L Beijer AB (จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สวีเดน) 2530-ปั จจุบนั Chairman, B. Grimm Group of Companies

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

3


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉําเฉลิม / 1 มี.ค. 2553

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ

70

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 84,471 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: 75,595 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

นิติศาสตร์ มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาตรี

นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เนติบณ ั ฑิต

สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา

ปริ ญญาบัตร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน (วปรอ. รุ่นที 1)

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มี.ค. 2553-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2553-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บมจ. ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ ง แอนด์ คอนสตรัคชัน กรรมการอิสระ บมจ. เสริ มสุข ปั จจุบนั ทีปรึกษา บมจ. การบินกรุงเทพ 2547- 2549 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. อสมท 2546-2548 กรรมการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย ทีปรึกษาประธานกรรมการ บมจ. การบินไทย บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ บมจ. ทางยกระดับดอนเมือง รองประธานกรรมการ บมจ. นครหลวง ลีสซิง-แฟ็ กเตอริ ง ศาสตราจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์พิเศษสํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา ศาสตราจารย์พิเศษชันปริ ญญาโท คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์พิเศษชันปริ ญญาเอก มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ศาสตราจารย์พิเศษคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ทีปรึกษา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาแห่งชาติ กรรมการคณะกรรมการบริ หารงานยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ผู้บรรยายหลักสูตรกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ผู้บรรยายหลักสูตรกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม ผู้บรรยายหลักสูตรวิทยาลัยการปกครอง กระทรวงมหาดไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบริ หารสํานักงานวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม 2547-ปั จจุบนั ผู้บรรยายพิเศษ สํานักงานอัยการสูงสุด กระทรวงมหาดไทย ทีปรึกษา สมาคมกรี ฑาแห่งประเทศไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กฤษฎีกาคณะพิเศษ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายในคณะอนุกรรมการข้ าราชการ พลเรื อน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2545-ปั จจุบนั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายตํารวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กระทรวงสาธารณสุข กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ กรรมการบริ หาร สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประธานกรรมการจริ ยธรรม สํานักงานมาตรฐานสินค้ าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กรรมการ คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิ ดเผยข้ อมูลข่าวสารสาขาต่างๆ (สขร.) 2544-ปั จจุบนั กรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2538-ปั จจุบนั กรรมการ คณะกรรมการโอลิมปิ คแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ 2546-2547 อัยการสูงสุด สํานักงานอัยการสูงสุด อุปนายก เนติบณ ั ฑิตยสภา 2544-2547 กรรมการ กองทุนบําเหน็จบํานาญข้ าราชการ 2543-2546 รองอัยการสูงสุด สํานักงานอัยการสูงสุด 2545-2547 ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ องค์การสือสารมวลชนแห่งประเทศไทย กรรมการ องค์การสือสารมวลชนแห่งประเทศไทย 2543-2545 2539-2543 อธิบดีอยั การฝ่ ายวิชาการ สํานักงานอัยการสูงสุด 2539 อธิบดีอยั การ ฝ่ ายพัฒนาข้ าราชการฝ่ ายอัยการ สํานักงานอัยการ 2543-2549 กรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค 2539-2552 กรรมการ มูลนิธิแสงชัย สุนทรวัฒน์ 2530-2536 ทีปรึกษากฎหมาย ผู้บญ ั ชาการทหารบก ทีปรึกษากฎหมาย ผู้บญ ั ชาการทหารสูงสุด 2536-2539 กรรมการ การสือสารแห่งประเทศไทย (ปั จจุบนั ชือ บมจ. กสท โทรคมนาคม) 2528-2540 กรรมการ การประปานครหลวง

4


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายฉวี เกิงโหล่ว / 2 ก.ย. 2557

นายธนินท์ เจียรวนนท์ / 11 ก.พ. 2536

ดร.อาชว์ เตาลานนท์ / 11 ก.พ. 2536

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการอิสระ

56

ประธานกรรมการ และ ประธาน คณะกรรมการ กําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการทีดี

75

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา

Electronics Major, Hangzhou Institute of Electronic Engineering

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

เป็ นบิดาของ นายสุภกิต เจียรวนนท์ นายณรงค์ เจียรวนนท์ นายศุภชัย เจียรวนนท์

Commercial School ประเทศฮ่องกง Shantou Secondary School สาธารณรัฐประชาชนจีน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

76

ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

- ไม่มี -

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั President, Thai - Chinese Rayong Industrial Realty Development Co., Ltd. Vice-Chairman, Chinese - Thai Enterprise Association บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และ ประธานคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ประธานกรรมการ บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร ประธานกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานกรรมการกิตติมศักดิ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง ประธานกรรมการ และ ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ และ บริ ษัทในเครื อ

ปริ ญญากิตติมศักดิ

บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ประธานคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีดี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2536-2542 กรรมการ และ กรรมการผู้จดั การใหญ่ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน

ศิลปศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ (การจัดการ) มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย วิศวกรรมศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ มหาวิทยาลัยรามคําแหง วิศวกรรมศาสตร์ ดษุ ฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาเอก

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ และระบบงาน Illinois Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Iowa State of University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พิเศษ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรรัฐร่วมเอกชนรุ่นที 1

บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2535-ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ 2544-2547 ประธานกรรมการ หอการค้ าไทย และ สภาหอการค้ าแห่งประเทศไทย 2534-2535 รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัทในเครื อของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ประธาน Board of Trustee สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) - Chairman 2000 - Director Certification Program (DCP) เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

5


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก ศ.(พิเศษ)อธึก อัศวานันท์ */ 22 ส.ค. 2540

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

รองประธานกรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านกฎหมาย

63

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 3,241,895 หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

สาขานิติศาสตร์ Specialised in International Legal Studies, New York University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขานิติศาสตร์ (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การอบรม หลักสูตรผู้บริ หารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที 3 การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

นายหลี เจิงเม่า / 2 ก.ย. 2557

รองประธานกรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

52

ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

- ไม่มี -

PhD in Radio Engineering Department, Southeast University of China

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2540-ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกฎหมาย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ทีปรึกษาคณะกรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ ส.ค.-ธ.ค. 2554 กรรมการอิสระ บมจ. โทรี เซนไทย เอเยนต์ซีส์ 2551-ก.พ. 2552 เลขานุการบริ ษัท บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2540-ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัทในเครื อของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน หัวหน้ านักกฎหมาย กลุม่ บริ ษัท เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จํากัด 2545-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค ปั จจุบนั อาจารย์พิเศษ กฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544-2549 ผู้พิพากษาสมทบในศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและ การค้ าระหว่างประเทศกลาง 2521-2540 Baker & McKenzie บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานกรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2552-ปั จจุบนั Vice President, China Mobile Communications Corporation

* กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

6


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก ศ.ดร. วรภัทร โตธนะเกษม / 1 มี.ค. 2555

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ ด้ านการเงิน

65

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 10,484 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาเอก

เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ University of Illinois at Urbana-Champaign สหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

เศรษฐศาสตร์ University of Illinois at Urbana-Champaign สหรัฐอเมริ กา บริ หารธุรกิจ Kellogg School of Management, Northwestern University, Evanston, Illinois สหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

เศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยม”ดีมาก”) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Accreditation Program (DAP) - The Role of Chairman (RCM) - Role of the Compensation Committee (RCC)

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2555-ปั จจุบนั กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2553-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บมจ. นําตาลขอนแก่น 2552-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บมจ. ปริ ญสิริ บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2556-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. อมตะ วีเอ็น มิ.ย. 2555-ปั จจุบนั กรรมการ และ เลขานุการ มูลนิธิสถาบันวิจยั และพัฒนาองค์กร ภาครัฐ (สพร.) 2555-ปั จจุบนั อนุกรรมการติดตามประเมินผล โครงการกองทุนพัฒนาไฟฟ้ า เพือกิจการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน 2553-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บริ ษัท พันธวณิช จํากัด กรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจํากระทรวงคมนาคม 2550-ปั จจุบนั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อนุญาโตตุลาการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประสบการณ์การทํางาน -

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

กรรมการผู้จดั การ บริ ษัท ทริ ส คอร์ ปอเรชัน จํากัด (ทริ ส) กรรมการผู้จดั การ บริ ษัท ทริ สเรทติง จํากัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) กรรมการ ร่างพระราชบัญญัติแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ กระทรวงการคลัง กรรมการ การจัดตังองค์กรกํากับดูแลอิสระ สํานักรัฐวิสาหกิจและ หลักทรัพย์ของรัฐ กระทรวงการคลัง กรรมการสรรหากรรมการผู้จดั การ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการทีดี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อนุกรรมการพิจารณาวิสามัญเกียวกับการบริ หารกําลังคนภาครัฐ อย่างมีประสิทธิภาพ สํานักงาน ก.พ. ผู้ประเมินคุณภาพภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ประธานกรรมการบริ หาร หลักสูตรปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ (สําหรับนักบริ หาร) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการพิจารณาเนือหาวิชาการกํากับดูแลกิจการทีดี คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การประกันคุณภาพการศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์

7


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายอํารุง สรรพสิทธิวงศ์ / 16 พ.ย. 2544

เอกสารแนบ 1

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ กรรมการใน คณะกรรมการ ด้ านการเงิน และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

62

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 1,022,225 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: 3,888 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปริ ญญาตรี

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - IOD National Director Conference 2012 – Moving Corporate Governance Forward : Challenge for Thai Directors

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2544-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ปั จจุบนั กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ กรรมการ บมจ. อลิอนั ซ์ ซี.พี. ประกันภัย กรรมการ บมจ.สยามแม็คโคร บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั รองประธานสํานักการเงินเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ ธนาคารวีนาสยาม จํากัด กรรมการ บจ. ซี.พี. โลตัส คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ เพลส คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ ฟรอนท์ คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บจ. แกรนด์ ริ เวอร์ พาร์ ค คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิง กรรมการ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส กรรมการ บจ. ทรู มันนี กรรมการ บจ. ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล กรรมการ บจ. ทรู พรอพเพอร์ ตีส์ กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล คอนเท้ นท์ แอนด์ มีเดีย กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล พลัส

8


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายวิเชาวน์ รักพงษ์ไพโรจน์* / 30 พ.ย. 2543

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านปฏิบตั ิการ ด้ านคุณภาพโครงข่าย การปฏิบตั ิการและ บํารุงรักษา ธุรกิจบรอดแบนด์ โมบาย ซีเอทีวี

57

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 430,813 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

บริ หารธุรกิจ Pepperdine University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาโท

วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้ า) University of Wisconsin ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้ า) Arizona State University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การอบรม หลักสูตรผู้บริ หารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (หลักสูตร บ.ย.ส.) รุ่นที 15 หลักสูตรผู้บริ หารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที 14 การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุ่นที 16)

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2557-ปั จจุบนั กรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ ด้ านคุณภาพ โครงข่าย การปฏิบตั ิการและบํารุงรักษา ธุรกิจบรอดแบนด์ โมบาย ซีเอทีวี 2555-2556 กรรมการ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ ด้ านคุณภาพ โครงข่าย การปฏิบตั ิการและบํารุงรักษา 2543-2555 กรรมการ กรรมการผู้จดั การ และ หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการ - โครงข่ายและเทคโนโลยี 2541-2543 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านธุรกิจและบริ การ 2540-2541 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านปฏิบตั ิการกลางและ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2539-2540 ผู้จดั การทัวไปสายงานโทรศัพท์นครหลวงตะวันออกเฉียงใต้ 2538-2539 ผู้จดั การทัวไปสายงานโทรศัพท์นครหลวงตะวันตก บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการบริ หาร บจ. พันธวณิช ประธานคณะกรรมการบริ หาร บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนส์ ั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ กรรมการ บจ. เอเซีย อินโฟเน็ท กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง กรรมการ บจ. เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู ทัช กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. ไทยสมาร์ ทคาร์ ด กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. เรี ยล ฟิ วเจอร์ กรรมการ บจ. ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป กรรมการ บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์

* กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

9


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ และ ผู้อํานวยการบริ หาร การลงทุนกลุม่

52

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 304,103 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ University of Southern, California, ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP)

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2536-ปั จจุบนั กรรมการ และ ผู้อํานวยการบริ หาร – การลงทุนกลุม่ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2556-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. เอสวีไอ 2544-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน 2550-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการบริ หาร บล. ฟิ นนั เซีย ไซรัส จํากัด (มหาชน) 2548-2556 กรรมการ บมจ. อะมานะฮ์ ลิสซิง 2543-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2543-ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. เทเลคอมโฮลดิง 2540-ปั จจุบนั ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. ทรู มัลติมีเดีย ประธานคณะผู้บริ หาร บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต 2549-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก 2533-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. เมโทรแมชีนเนอรี ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัทในเครื อของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2535-2548 กรรมการ บจ. ไทยโคโพลีอตุ สาหกรรมพลาสติก

* กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

10


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายสุภกิต เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ กําหนดค่าตอบแทน และสรรหากรรมการ

51

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 2,732,250 หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: 3,000 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นพีชายของ นายณรงค์ เจียรวนนท์ และ นายศุภชัยเจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ New York University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 92/2011

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและ สรรหากรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ กรรมการ บมจ. สยามแม็คโคร บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป รองประธานกรรมการบริ หาร บจ. เครือเจริญโภคภัณฑ์ ประธานกรรมการบริ หาร บจ. เทเลคอมโฮลดิง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ แลนด์ โฮลดิง ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ พร็ อพเพอร์ ตี เมเนสเม้ นท์ ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ เรี ยล เอสเตรส กรุ๊ป ประธานคณะกรรมการ บจ. เจียไต๋ โลตัส (เซียงไฮ้ ) ประธานคณะกรรมการ บจ. ฟอร์ จนู ลิสซิง ประธานคณะกรรมการ บจ. แมส เจียน อินเวสเม้ นท์ ประธานคณะกรรมการ บจ. ปั กกิง โลตัส ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต เชนส์ สโตร์ ประธานคณะกรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู ประธานกรรมการร่ วม บจ. เซียงไฮ้ คิงฮิวล์ – ซุปเปอร์ แบรนด์มอล์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าทีบริ หาร กลุม่ ธุรกิจการตลาด และการจัดจําหน่าย (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าทีบริ หาร กลุม่ ธุรกิจพัฒนาทีดิน (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าทีบริ หาร บจ. ซีพี โลตัส คอร์ ปอเรชัน รองประธานกรรมการ และ ประธานเจ้ าหน้ าทีบริหาร บจ. เซียงไฮ้ โลตัส ซุปเปอร์ มาร์ เก็ต เชนส์ สโตร์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจการตลาด และการจัดจําหน่าย (ไทย) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจพัฒนาทีดิน (ไทย) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจโทรคมนาคม บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจยานยนต์และอุตสาหกรรม (จีน) บจ. เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ รองประธาน บจ. เจียไต๋ เทรดดิง (ปั กกิง) รองประธาน บจ. เจียไต๋ วิชนั รองประธาน บจ. เจียไต๋ อินเตอร์ เนชันแนลไฟแนนซ์ รองประธาน บจ. เซียงไฮ้ ฟอร์ จนู เวิลด์ ดีเวลลอปเม้ นท์ กรรมการ บจ. เจียไต๋ ดีเวลลอปเม้ นท์ อินเวสเม้ นท์ กรรมการ บจ. เจียไต๋ กรุ๊ป กรรมการ บจ. ซีพี โภคภัณฑ์ กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. ฟอร์ จนู เซียงไฮ้ กรรมการ บจ. โลตัส ซีพีเอฟ (จีน) อินเวสเม้ นท์ กรรมการ บจ. ผิง อัน อินชัวรันช์ (กรุ๊ป) ออฟ ไชน่า กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบเี อส กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต (มีต่อหน้ าถัดไป)

* กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

11


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายสุภกิต เจียรวนนท์*

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประวัติการทํางานทีสําคัญ (ต่อจากหน้ าทีแล้ ว) ตําแหน่งทางสังคม 2557 ปรึกษารัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ทีปรึกษาพิเศษรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 2556 ทีปรึกษารัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ทีปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม 2555 ผู้ชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการการแรงงานและสวัสดิการสังคม วุฒิสภา 2554 Vice Chairman of Youth Committee of China Overseas Chinese Investment Enterprises Association 2553 ประธานหอการค้ าไทยในจีน 2552 กรรมการมูลนิธิเดอะบิลด์ ทีปรึกษาประจําคณะกรรมาธิการการศึกษา สภาผู้แทนราษฎร ทีปรึกษารัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรม 2551 กงสุลกิตติมศักดิสหพันธรัฐรัสเซียประจําจังหวัดภูเก็ต กระบี และ พังงา Committeee of Chinese People’s Government Consultant Committee-Wuhan Province No.10th 2549 Award of Bai Yu Lan from Shanghai Government Member of Fudan Incentive Management Fund Committee of Fudan University Management Committee of Chia Tai International Center of Peking University ทีปรึกษาประจําคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร 2548 สมาชิกสมาคมธุรกิจไทยรุ่นใหม่ อุปนายกสมาคมส่งเสริ มการลงทุนและการค้ าไทย-จีน 2547 กรรมการกองทุนส่งเสริ มงานวัฒนธรรม สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ อุปนายกสมาคมขีม้ าแห่งประเทศไทย 2545 สมาชิกชมรมธุรกิจไทยรุ่นใหม่ รองประธานสภาธุรกิจไทย-จีน 2538 ทีปรึกษากิตติมศักดิประจําคณะกรรมาธิการกีฬา สภาผู้แทนราษฎร 2536 กรรมการสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน คณะกรรมาธิการเด็กเยาวชนและผู้สงู อายุ เครื องราชอิสริ ยาภรณ์ทีได้ รับ 2556 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) 2555 จัตรุ ถาภรณ์ช้างเผือก (จ.ช.) 2553 จัตรุ ถาภรณ์มงกุฎไทย (จ.ม.) 2551 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก (บ.ช.)

* กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

12


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายณรงค์ เจียรวนนท์ / 29 เม.ย. 2551

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ

50

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 224,386 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นน้ องชายของ นายสุภกิตเจียรวนนท์ และ เป็ นพีชายของ นายศุภชัย เจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญากิตติมศักดิ

ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ สาขาวิชาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ปริ ญญาตรี

วิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิต สาขาวิชา Business Administration New York University, USA

Advance Management Program: Transforming Proven Leaders into Global Executives, Harvard Business School, Harvard University การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) (2550)

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2551-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2556-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. สยามแม็คโคร 2542-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. ซีพี ออลล์ บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Changfa Shopping Center Company Limited กรรมการ Shanghai Yalian Supermarket Company Limited กรรมการ Shanghai Jialian Supermarket Company Limited กรรมการ Zhengzhou Lotus Supermarket Chain Store Company Limited กรรมการ Foshan Nanhai Huanantong Trading Development Company Limited กรรมการ Guangdong Huanantong Trading Development Company Limited กรรมการ Zhanjing C.P. Lotus Supermarket Company Limited กรรมการ Shanghai Xinlian Supermarket Company Limited Governance Committee, Leadership Development Institute 2556-ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Songlian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Wenzhou Yichu Ailian Supermarket Co., Ltd. 2555-ปั จจุบนั กรรมการ Shanghai Cailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Nantung Tonglian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Kunshan Tailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ C.P. Zonglian (Shanghai) Management Co., Ltd. กรรมการผู้จดั การ Shanghai Litai Logistics Co., Ltd. กรรมการ Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. 2554-ปั จจุบนั กรรมการ Chia Tai Qingdao Holdings (Hongkong) Limited กรรมการ Chia Tai Xiangyang Holdings (Hongkong) Limited กรรมการ Chia Tai Qingdao Holdings Limited กรรมการ Chia Tai Xiangyang Holdings Limited กรรมการบริ หาร The ICONSIAM Superlux Residences Corporation Limited (เดิมชือ Grand River Park Company Limited) กรรมการบริ หาร The ICONSIAM Residences Corporation Limited (เดิมชือ Grand River Place Company Limited) กรรมการบริ หาร The ICONSIAM Corporation Limited (เดิมชือ Grand River Front Company Limited) รองประธานคณะกรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู ผู้ช่วยอาวุโสประธานกรรมการเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ “สรรหาบุคลากรของเครื อ” ผู้อํานวยการใหญ่ มหาวิทยาลัยธุรกิจ ซีพี 2553-ปั จจุบนั รองประธานคณะกรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจการตลาดและการจัดจําหน่าย (ไทย) รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจการตลาดและการจัดจําหน่าย (จีน) รองประธานกรรมการ กลุม่ ธุรกิจพัฒนาทีดิน (จีน) รองประธานกรรมการ Shanghai Kinghill Limited รองประธานกรรมการ CP Lotus Corporate Management Co., Ltd. (มีต่อหน้ าถัดไป)

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

13


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายณรงค์ เจียรวนนท์

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประวัติการทํางานทีสําคัญ

2552-ปั จจุบนั

2551-ปั จจุบนั

2550-ปั จจุบนั 2550-2553 2548-ปั จจุบนั 2547-ปั จจุบนั 2546-ปั จจุบนั 2545-ปั จจุบนั 2544-ปั จจุบนั 2543-ปั จจุบนั 2540-2545 2538-2540

นายเกา เนียนชู / 2 ก.ย. 2557

กรรมการ และ กรรมการ ในคณะกรรมการ ด้ านการเงิน

51

ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: -ไม่มี-

- ไม่มี -

MBA, Guanghua School of Management of Peking University Master of Engineering, Institute of Computing Technology of Chinese Academy of Sciences B.S. in Computer Mathematics, Jilin University

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 92/2011

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

(ต่อจากหน้ าทีแล้ ว) กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วิส กรรมการ Wuxi Ailian Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Wuxi Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Taizhou Yilian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Hefei Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Changsha Chulian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Wuhan Yichu Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Changsha Ailian Supermarket Co., Ltd. กรรมการ Guangzhou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร บมจ. ซีพีพีซี กรรมการบริ หาร Beston Action Utility Wear (Lianyungang) Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Jiangsu CP Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Beijing CP Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Zhejiang CP Trading Co., Ltd. กรรมการ Foshan C.P. Lotus Management Consulting Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส CP Lotus Corporation Co., Ltd. รองประธานกรรมการอาวุโส Chia Tai (China) Investment Co., Ltd. กรรมการบริ หาร C.P. Pokphand Co., Ltd. กรรมการ Qingdao Lotus Supermarket Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Xi’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Shantou Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Tai’an Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร Beijing Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการบริ หาร ธนาคาร Business Development กรรมการ Yangtze Supermarket Investment Co., Ltd. กรรมการ Wuhan Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการ Shanghai Lotus Supermarket Chain Store Co., Ltd. กรรมการผู้จดั การ Ex-Chor Trading (Shanghai) Co., Ltd. กรรมการผู้จดั การ Ex-Chor Distribution (Thailand) Co., Ltd.

บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ และ กรรมการในคณะกรรมการด้ านการเงิน บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2555-ปั จจุบนั General Manager of Marketing Department, China Mobile Communications Corporation 2548-2555 General Manager of Data Department, China Mobile Communications Corporation

14


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง เป็ นกรรมการครังแรก นายศุภชัย เจียรวนนท์* / 11 ก.พ. 2536

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

กรรมการ กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร

47

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 3,983,755 หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: 1,901,710 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร เป็ นบุตรของ นายธนินท์ เจียรวนนท์ เป็ นน้ องชายของ นายสุภกิต เจียรวนนท์ และ นายณรงค์ เจียรวนนท์

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาบริ หารธุรกิจ (การเงิน) Boston University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 92/2011

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2542-ปั จจุบนั กรรมการ กรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานคณะผู้บริ หาร 2540 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส 2539 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านปฏิบตั ิการและพัฒนาธุรกิจ 2538 ผู้จดั การทัวไปโทรศัพท์นครหลวงตะวันออก 2537 ผู้อํานวยการอาวุโสฝ่ ายสนับสนุนและประสานงานการวางแผนและ ปฏิบตั ิงานโครงการ 2536 ผู้อํานวยการฝ่ ายห้ องปฏิบตั ิการ 2535 เจ้ าหน้ าทีอาวุโสประจําสํานักกรรมการผู้จดั การใหญ่ บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการและประธานคณะผู้บริ หาร บจ. ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป 2544-ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2543-ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนส์ ั 2548-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. เค.ไอ.เอ็น. (ประเทศไทย) 2542-2556 ประธานกรรมการ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2544-2553 ประธานกรรมการ บจ. พันธวณิช 2539 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย มัลติมีเดีย 2538 กรรมการผู้จดั การ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2534 ประสบการณ์ทํางานประมาณ 2 ปี ใน บจ. วีนิไทย 2533 ประสบการณ์ทํางาน 1 ปี ใน Soltex Federal Credit Union, USA 2532 ประสบการณ์ทํางาน 1 ปี ใน บจ. สยามแม็คโคร ประวัติด้านกรรมการ - บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน - บจ. ทรู มูฟ - บริ ษัทย่อยอืน ๆ ในเครือของ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน - บจ. พันธวณิช - บมจ. ซีพีพีซี - บจ. ซี.พี. โลตัส คอร์ ปอเรชัน - บจ. เอเชีย ฟรี วิลล์ - บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนส์ ั - บจ. ซี.พี. โภคภัณฑ์ ประวัติด้านกิจกรรมเพือสังคมและตําแหน่งอืน ๆ 2553-ปั จจุบนั กรรมการทีปรึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบนั ฑิต สาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีการจัดการนวัตกรรม (สหสาขาวิชา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553-2554 กรรมการบริ หารศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ 2553-ปั จจุบนั ทีปรึกษาประธานกรรมการบริ หาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ กรรมการกลางมูลนิธิรามาธิบดีฯ กรรมการมูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 2552-ปั จจุบนั กรรมการสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2551-ปั จจุบนั กรรมการคณะกรรมการอํานวยการโครงการจัดหาและบริ การดวงตาเชิงรุกทัวประเทศ 2551-2552 กรรมการคณะกรรมการจัดหาทุนและประชาสัมพันธ์เพือก่อสร้ าง อาคารรักษาพยาบาลรวมเฉลิมพระเกียรติ และอุปกรณ์เครื องมือทาง การแพทย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 2549-ปั จจุบนั ประธานคณะอนุกรรมการหาทุน ศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย กรรมการจัดหาและบริ การดวงตาแห่งสภากาชาดไทย 2542-ปั จจุบนั กรรมการทีปรึกษาสมาคมโทรคมนาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (TCT) 2548-2550 กรรมการสมาคมบริ ษัทจดทะเบียน (LCA)

* กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

15


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ผู้บริ หาร ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายนพปฎล เดชอุดม /

หัวหน้ าคณะ ผู้บริ หารด้ านการเงิน

47

1 ม.ค. 2551

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 1,559,818 หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: -ไม่มี-

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

บริ หารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมศาสตร์ Rensselaer Polytechnic Institute, USA

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program รุ่น 101/2008

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2551-ปั จจุบนั หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน 2546-2550 ผู้อํานวยการและผู้จดั การทัวไป ด้ านออนไลน์ 2543-2546 ผู้อํานวยการอาวุโส สายงานการเงิน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต กรรมการ บจ. ทรู อินเตอร์ เนชันแนล คอมมิวนิเคชัน กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บจ. เรี ยล มูฟ กรรมการ บจ. เรี ยล ฟิ วเจอร์ กรรมการ บจ. ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง กรรมการ บจ. เทเลคอม แอสเซท แมเนจเมนท์ กรรมการ บจ. ทรูโฟร์ ยู สเตชัน กรรมการ Gold Palace Investment Limited กรรมการ Golden Light Company Ltd. กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited กรรมการ Goldsky Company Ltd. กรรมการ Gold Palace Logistics Limited กรรมการ GP Logistics Limited กรรมการ Golden Pearl Global Limited 2552-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี 2547-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. เอเชีย ดีบีเอส

16


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายวิลเลียม แฮริ ส /

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านพัฒนาธุรกิจ ระหว่างประเทศ และ ผู้ช่วยอาวุโส กรรมการผู้จดั การใหญ่/ ประธานคณะผู้บริ หาร

53

7 ต.ค. 2552

เอกสารแนบ 1

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 1,109,240 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา Master Degree of Business Administration, Major in Finance and Marketing, Wharton School of the University of Pennsylvania Bachelor of Science in Economics, Wharton School of the University of Pennsylvania การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ และ ผู้ช่วยอาวุโสกรรมการผู้จดั การใหญ่ / ประธานคณะผู้บริ หาร 2552-2557 ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ และ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ / ประธานคณะผู้บริ หาร 2544-2550 หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการเงิน 2542-2543 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านการเงิน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2557-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู วิชนส์ ั กรุ๊ป กรรมการ บจ. ทรู วิสต้ าส์ 2556-ปั จจุบนั กรรมการ Golden Pearl Global Limited 2555-ปั จจุบนั กรรมการ GP Logistics Company Limited 2554-ปั จจุบนั กรรมการ Rosy Legend Limited กรรมการ Prospect Gain Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited 2553-ปั จจุบนั กรรมการ Dragon Delight Investments Limited กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ Golden Light Company Limited กรรมการ Gold Palace Logistics Limited 2549-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2536-2542 กรรมการ สํานักนโยบายสินเชือ Verizon Communications, Philadelphia

17


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายขจร เจียรวนนท์ /

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านกิจการองค์กร

48

21 ก.พ. 2555

เอกสารแนบ 1

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 301,271หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

การจัดการ Fairleigh Dickinson University in New Jersey, USA

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร - ด้ านกิจการองค์กร บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. อลิอนั ซ์ ซี.พี. ประกันภัย กรรมการ บมจ. ซีพีพีซี กรรมการ บจ. โภคภัณฑ์เอ็นเตอร์ ไพรซ์ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ บจ. ทรู ดิสทริ บิวชัน แอนด์ เซลส์ กรรมการ บจ. ส่องดาว กรรมการ บจ. ทรู ยูนิเวอร์ แซล คอนเวอร์ เจ้ นซ์ กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วิส กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง กรรมการ บจ. ทรู ลีสซิง กรรมการ บจ. ทรู พรอพเพอร์ ตีส์ กรรมการ บจ. ทรูวิชนส์ ั กรุ๊ป กรรมการ บจ. เอสเอไอซี มอเตอร์ -ซีพี กรรมการ บจ. เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เอคโค ออโต้ พาร์ ท (ไทยแลนด์) กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ

18


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายธิติฏฐ์ นันทพัฒน์สิริ /

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านรัฐกิจสัมพันธ์

60

1 มิ.ย. 2546

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 371,053 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมไฟฟ้ า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า วิทยาเขตลาดกระบัง

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก.พ. 2555-ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร - ด้ านรัฐกิจสัมพันธ์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2551-ม.ค. 2555 ผู้อํานวยการบริ หาร - ธุรกิจ เพย์ทีวี บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน มิ.ย. 2546-2550 2542-2546 2540-2542

ผู้อํานวยการบริ หาร-Home/Consumer Solution & Highspeed Access บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน กรรมการบริ หาร บมจ. ล็อกซเล่ย์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ บมจ. ล็อกซเล่ย์

บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง กรรมการ บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ ง แอนด์ เซอร์ วสิ เซส กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เอสเอ็ม ทรู 2551-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ 2550-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ 2549-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู อินเทอร์ เน็ต กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. คลิกทีวี กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค 2544-2545 กรรมการผู้จดั การ และ ประธานเจ้ าหน้ าทีบริ หาร บจ. ฮัทชิสนั ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย 2535-2543 กรรมการผู้จดั การ และ ประธานเจ้ าหน้ าทีบริ หาร บจ. ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชันส์ (ประเทศไทย)

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

19


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุข /

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านการบริหารจัดการ ระดับภูมิภาค

51

13 ม.ค. 2541

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 2,840,053 หุ้น (ร้ อยละ 0.01) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

สาขาการเงินและการตลาด Indiana University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริ กา

ปริ ญญาตรี

สาขาการบริ หารอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การอบรม - สถาบันวิจยั ตลาดทุน (CMA16) การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP) - Director Diploma of Australian Institution of Director 2005

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร - ด้ านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2555-2557 ผู้อํานวยการบริ หารธุรกิจโมบายล์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2544 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ด้านพัฒนาธุรกิจและผลิตภัณฑ์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู ไลฟ์ พลัส กรรมการ บจ. บีเอฟเคที (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู ยูไนเต็ด ฟุตบอล คลับ กรรมการ Gold Palace Investments Limited กรรมการ บจ. แซทเทลไลท์ เซอร์ วสิ กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง กรรมการ บจ. ทรู มูฟ กรรมการ Golden Light Company Ltd. กรรมการ Gold Palace Logistics Limited กรรมการ True Internet Technology (Shanghai) Company Limited กรรมการ GP Logistics Limited 2549-ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู พับลิค คอมมิวนิเคชัน 2546 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน 2545 รองกรรมการผู้จดั การใหญ่สายงานธุรกิจ บจ. ทรู มูฟ 2541-2545 ผู้จดั การทัวไป บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2541-2544 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. เอเซีย ไวร์ เลส คอมมิวนิเคชัน

20


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย์ /

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านลูกค้ าองค์กร ธุรกิจและบริ การ ระหว่างประเทศ

56

1 เม.ย. 2546

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 850,611 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาตรี

สาขาวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ University of South Alabama ประเทศสหรัฐอเมริ กา

การอบรม หลักสูตรผู้บริ หารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที 15 การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Director Certification Program (DCP รุ่นที 54)

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร – ด้ านลูกค้ าองค์กรธุรกิจและบริ การ ระหว่างประเทศ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชันส์ (ประเทศไทย) กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู อินฟอร์ เมชัน เทคโนโลยี กรรมการ และ Group Executive Director Enterprise / Business Sector & International Service บจ. ทรู มูฟ กรรมการบริ หาร บจ. พันธวณิช กรรมการ บจ. ฟรี วิลล์ โซลูชนส์ ั กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง กรรมการ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2549-ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ทรู อินเตอร์ เนชันแนล เกตเวย์ กรรมการ บมจ. กรุงเทพอินเตอร์ เทเลเทค 2546-2551 กรรมการ บจ. ทรู มัลติมีเดีย 2544-2546 กรรมการผู้จดั การ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ประธานกรรมการ บจ. ไอบีเอ็ม Solution Delivery 2544-2545 ผู้อํานวยการ บจ. ไอบีเอ็ม Storage Product ประเทศไทย 2543 ผู้อํานวยการฝ่ ายการขายและการตลาด บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ผู้จดั การฝ่ ายผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2541 ผู้จดั การฝ่ ายการเงินและบริ หาร บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย 2540 ผู้จดั การฝ่ ายธุรกิจบริ การ บจ. ไอบีเอ็ม ประเทศไทย

21


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายอาณัติ เมฆไพบูลย์วฒ ั นา /

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านการบริหารจัดการ ระดับภูมิภาค

54

21 ก.พ. 2555

เอกสารแนบ 1

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 827,724 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

บริ หารการตลาด, West Coast University, USA

ปริ ญญาตรี

วิศวกรรมเครื องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร – ด้ านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. ทรู ดิสทริ บิวชัน แอนด์ เซลส์ กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บจ. ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์ วิส (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ ง แอนด์ เซอร์ วสิ เซส กรรมการ บจ. ซีนิเพล็กซ์ กรรมการ บจ. ทรู ดิจิตอล มีเดีย กรรมการ บจ. แซทแทลไลท์ เซอร์ วิส กรรมการ บจ. แพนเทอร์ เอ็นเทอร์ เทนเมนท์ กรรมการ บจ. ทรู จีเอส กรรมการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง 2555-2557 กรรมการผู้จดั การ บมจ. ทรู วิชนส์ ั จํากัด (มหาชน) 2552-2555 รองหัวหน้ ากลุม่ คณะผู้บริ หารด้ านการพาณิชย์ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2545-2552 ผู้อํานวยการและผู้จดั การทัวไป บมจ. ทรู คอร์ปอเรชัน 2541-2545 กรรมการผู้จดั การใหญ่ บจ. ไวร์ เออ แอนด์ ไวร์ เลส 2540-2541 ผู้จดั การทัวไป บจ. เทเลเอ็นจิเนียริ ง แอนด์ เซอร์ วิสเซส 2539-2540 ผู้อํานวยการ บจ. เอเชีย มัลติมีเดีย 2538-2539 ผู้จดั การทัวไป บจ. ยูเน็ต 2538 ผู้อํานวยการ บจ. ยูทีวี เคเบิล เน็ตเวอร์ ค 2537 ผู้อํานวยการ บจ. เทเลคอมโฮลดิง

22


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายเจริ ญ ลิมกังวาฬมงคล /

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านการบริหารจัดการ ระดับภูมิภาค

51

26 ต.ค. 2555

ดร. ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์ / 21 ก.พ. 2555

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านพัฒนาธุรกิจ เชิงกลยุทธ์ และ ผู้ช่วยบริ หารงาน ประธานคณะผู้บริหาร

48

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: 233,789 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: 278,139 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

ตนเอง: 629,790 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: 181,930 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา Mini MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริ ญญาตรี

บริ หารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

- ไม่มี -

ปริ ญญาเอก

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการพัฒนาองค์การ (หลักสูตร) นานาชาติ

ปริ ญญาโท

Communication Advertising and Public Relations Emerson College, Boston, Massachusetts, USA

ปริ ญญาตรี

Management มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

Advertising of Public Relations and Print Production, The Advertising Club of Greater Boston

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร – ด้ านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บจ. ทรู มัลติมีเดีย กรรมการบริ ษัท บจ. ทรู ไลฟ์ พลัส 2546-2549 ผู้อํานวยการฝ่ ายการตลาด บจ. ยัมส์ เรสเตอรอง (ประเทศไทย) 2535-2546 ผู้อํานวยการฝ่ ายการขายและการตลาด บจ. ฮัทชิสนั เทเลคอมมิวนิเคชันส์ 2532-2535 ผู้จดั การผลิตภัณฑ์ บจ. ยูนิลิเวอร์ (ประเทศไทย) 2529-2532 เจ้ าหน้ าทีบริ หารลูกค้ า บจ. ลินตาส (ประเทศไทย) บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2557-ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร – ด้ านพัฒนาธุรกิจเชิงกลยุทธ์ และ ผู้ช่วยบริ หารงานประธานคณะผู้บริ หาร 2555-2556 หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการพาณิชย์ - ด้ านการขายและรี เทล 2548-2555 ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่ และ รองหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านการพาณิชย์ บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บจ. สมุทรปราการ มีเดีย คอร์ ปอเรชัน กรรมการ บจ. ทรู มิวสิค เรดิโอ กรรมการ Dragon Delight Investment Limited กรรมการ บจ. ฮัทชิสนั มัลติมีเดีย เซอร์ วิส (ประเทศไทย) กรรมการ บจ. ทรู ไลฟ์ สไตล์ รี เทล กรรมการ บจ. เบคเฮาส์ 2543-2548 ผู้อํานวยการด้ านการตลาดและการขาย บจ. มาสด้ า เซลส์ (ประเทศไทย) 2542-2543 Chief Operating Officer เบเกอรี มิวสิค กรุ๊ป 2541-2542 Group Account Director and General Manager Grey Advertising Thailand and WhizzbangArts 2536-2541 Managing Director The Print International Co., Ltd. and Design Arts Co.,Ltd. 2534-2535 Project Manager Ammirati Puris Lintas (Thailand) Company

23


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นายคาร์ ล กูเดียร์ /

หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ด้ านบริ การลูกค้ า

50

1 ก.พ. 2556

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: - ไม่มี คู่สมรส: - ไม่มี -

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา Bachelor Degree of Aircraft Operational Engineering, AH Amsterdam การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ก.พ. 2556-ปั จจุบนั หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านบริ การลูกค้ า บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน เม.ย.2553-ปั จจุบนั รักษาการผู้อํานวยการ ด้ านการรับรองคุณภาพ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน ก.พ. 2555-ก.พ. 2556 ผู้อํานวยการ ด้ านบริ การลูกค้ า บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน มี.ค.2549.-มิ.ย. 2553 ทีปรึกษากรรมการผู้จดั การใหญ่ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน มี.ค.2543- ก.พ.2548 ผู้อํานวยการ ด้ านบริ หารการบริ การลูกค้ า บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน เม.ย.2542-มี.ค.2543 รองผู้อํานวยการ สายงานพัฒนาและตรวจสอบระบบ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจ. ทรู วอยซ์ เม.ย.2543-ม.ค.2548 กรรมการผู้จดั การ บจ. ทรู ทัช 2539-2542 กรรมการผู้จดั การ บจ. อซิมธุ 2536-2539 กรรมการผู้จดั การ บจ. คิวเอ็มไอ-เควสท์ (ประเทศไทย) 2534-2537 ทีปรึกษาและทีปรึกษาด้ านการจัดการ บจ. คิวเอ็มไอ-เควสท์ (มาเลเซีย)

นายศิริพจน์ คุณากรพันธุ์ / 21 ม.ค. 2557

เอกสารแนบ 1

ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านการบริ หารจัดการ ระดับภูมิภาค

51

ตนเอง: 195,070 หุ้น (ร้ อยละ 0.00) คู่สมรส: -ไม่มี-

- ไม่มี -

ปริ ญญาตรี

สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - ไม่มี -

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั ผู้อํานวยการบริ หาร ด้ านการบริ หารจัดการระดับภูมิภาค บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) 2549-2550 ผู้อํานวยการฝ่ ายขาย Business Customer I บริ ษัท ทรู คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) บริ ษัททีมิได้ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จํากัด 2551-2557 หัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านปฏิบตั ิการโครงข่าย บริ ษัท ทรู มูฟ จํากัด

24


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

เลขานุการบริ ษัท ชือ-นามสกุล / วันทีได้ รับการแต่งตัง

ตําแหน่ง

อายุ (ปี )

นางรังสินี สุจริ ตสัญชัย / 27 ก.พ. 2552

เลขานุการบริ ษัท

50

จํานวนและสัดส่วน การถือหุ้นในบริ ษัท ณ 31 ธ.ค. 57 ตนเอง: -ไม่มีคู่สมรส: 3,200 หุ้น (ร้ อยละ 0.00)

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริ หาร - ไม่มี -

คุณวุฒิทางการศึกษา ปริ ญญาโท

คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี วิชาเอก – การเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ปริ ญญาตรี

คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี วิชาเอก – บัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การอบรม - ทบทวนกฎเกณฑ์เกียวกับบริ ษัทจดทะเบียน - Workshop การทํารายงาน Corporate Governance - โครงการ Smart Disclosure Program (SDP) - Moving Corporate Governance Forward: Challenge for Thai Directors - SEC 20th Anniversary International Symposium เรื อง "Asia: The Dynamic Capital Market Frontier" และงานกาลาดินเนอร์ ในวาระครบรอบ 20 ปี ก.ล.ต. - "ASEAN CG Scorecard" บทบาทของเลขานุการต่อการเตรี ยมความพร้ อมรับมือ AEC - การเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทจดทะเบียนเกียวกับการต่อต้ านการทุจริ ตคอร์ รัปชัน Corporate Social Responsibilities และบุคคลทีทําหน้ าทีสนับสนุนให้ เกิดการกํากับดูแล กิจการทีดีในบริ ษัท (Gatekeepers) - Capital Market Research Forum ครังที 2/2556 หัวข้ อ “แนวทางสนับสนุน การทําโครงการสะสมหุ้นสําหรับพนักงาน (Employee Joint Investment Plan:EJIP) ของบริ ษัทจดทะเบียนไทย" - การสือสารและขันตอนการกําหนดนโยบายทีเกียวข้ องกับการป้องกันการทุจริ ตคอร์ รัปชัน ของบริ ษัทจดทะเบียน - การพัฒนากฎเกณฑ์การจัดประชุมคณะกรรมการและผู้ถือหุ้นของบริ ษัทจดทะเบียน - หลักเกณฑ์การจัดทํารายงานตามมาตรา 56 และการจัดทําแบบแสดงรายการข้ อมูล ประจําปี 56-1 ทีปรับปรุงใหม่ - แนวทางการจัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการทีดีสําหรับบริ ษัทจดทะเบียน ปี 2556 - แนวทางการเปิ ดเผยข้ อมูลเรื องความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ตามแบบ 56-1 - ประชุมหารื อการรับฟั งความคิดเห็นกฎหมายว่าด้ วยบริ ษัทมหาชนจํากัดและ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้ วยหุ้นส่วนบริ ษัท

ประวัติการทํางานทีสําคัญ บมจ. ทรู คอร์ ปอเรชัน 2552-ปั จจุบนั 2544-ปั จจุบนั กรรมการ

เลขานุการบริ ษัท เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนและสรรหา

เลขานุการคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการด้ านการเงิน 2544-2552 รองเลขานุการบริ ษัท 2543-2544 ผู้ช่วยหัวหน้ าคณะผู้บริ หารด้ านกฎหมาย – ด้ านการประสานงานกับหน่วยงานกํากับดูแลหลักทรัพย์ จดทะเบียน บมจ. เจริ ญโภคภัณฑ์อาหาร 2534-2543 ผู้จดั การฝ่ ายบัญชี และ ดูแลการปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2533-2534 เจ้ าหน้ าทีวิเคราะห์อาวุโส – สํานักทีปรึกษาทางเศรษฐกิจ

การผ่านการอบรมทีเกียวข้ อง ทีจัดโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) - Company Secretary Program 19/2006 (CSP) - Effective Minute Taking 5/2006 (EMT) - Corporate Governance and Social Responsibilities 1/2007 (CSR) - Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG5/2013)

1.2 หน้ าทีความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษัทได้ แต่งตัง นางรังสินี สุจริ ตสัญชัย ดํารงตําแหน่ง เลขานุการบริ ษัท ตังแต่วนั ที 27 กุมภาพันธ์ 2552 เพือทําหน้ าทีให้ คําแนะนําด้ านกฎหมาย และ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ทีคณะกรรมการ จะต้ องทราบ และ ปฏิบตั ิหน้ าทีในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ ประสานงานให้ มีการปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการ รวมทังมีหน้ าทีตามทีกําหนดในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และทีแก้ ไขเพิมเติม เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

25


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

1.3 การถือหลักทรัพย์ ของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ณ วันที 31 ธันวาคม 2557

ชือ 1. นายวิทยา เวชชาชีวะ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 2. ดร. โกศล เพ็ชร์ สวุ รรณ์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 3. นายโชติ โภควนิช คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 4. นายฮาราลด์ ลิงค์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 5. ศ. (พิเศษ) เรวัต ฉําเฉลิม คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 6. นายฉวี เกิงโหล่ว 1/ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 7. นายธนินท์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 8. ดร. อาชว์ เตาลานนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1

หุ้นสามัญ (จํานวนหุ้น)

ณ 31 ธ.ค. 2556

-

50,000 -

54,435 -

เปลียนแปลงในปี 2557

ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

148,883

จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

84,471

จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย -

21,160

ณ 31 ธ.ค. 2557 จํานวน สัดส่วน

ณ 31 ธ.ค. 2556

หุ้นกู้ (จํานวนหน่ วย) เปลียนแปลง ในปี 2557

ณ 31 ธ.ค. 2557 จํานวน สัดส่วน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

198,883

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

84,471

0.00

-

-

-

-

75,595

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

26


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ 9. ศ. (พิเศษ) อธึก อัศวานันท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 10. นายหลี เจิงเม่า 1/ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิตภิ าวะ 11. ศ. ดร. วรภัทร โตธนะเกษม คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 12. นายอํารุง สรรพสิทธิวงศ์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 13. นายวิเชาวน์ รักพงษ์ ไพโรจน์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 14. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 15. นายสุภกิต เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 16. นายณรงค์ เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

หุ้นสามัญ (จํานวนหุ้น)

ณ 31 ธ.ค. 2556

1,875,000

-

716,000 2,800 303,000 1,400,000

3,000 161,577 -

เปลียนแปลงในปี 2557

ได้ มา จําหน่าย

1,466,895 100,000

ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

10,484

จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

306,225

จําหน่าย ได้ มา

1,088

จําหน่าย ได้ มา

430,813

จําหน่าย

303,000

ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

304,103

จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

1,332,250

จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย -

62,809

ณ 31 ธ.ค. 2557 จํานวน สัดส่วน

ณ 31 ธ.ค. 2556

หุ้นกู้ (จํานวนหน่ วย) เปลียนแปลง ในปี 2557

ณ 31 ธ.ค. 2557 จํานวน สัดส่วน

3,241,895

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

10,484

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,022,225

0.00

-

-

-

-

3,888

0.00

-

-

-

-

430,813

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

304,103

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2,732,250

0.01

-

-

-

-

3,000

0.00

-

-

-

-

224,386

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

27


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ 17. นายเกา เนียนชู 1/ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 18. นายศุภชัย เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 19. นายนพปฎล เดชอุดม คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 20. นายวิลเลียม แฮริส คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 21. นายขจร เจียรวนนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 22. นายธิติฏฐ์ นันทพัฒน์สิริ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 23. นายอติรุฒม์ โตทวีแสนสุข คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 24. นายทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ 1

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

หุ้นสามัญ (จํานวนหุ้น)

ณ 31 ธ.ค. 2556

-

2,385,205 1,894,234 756,773

625,067

160,000 233,332

1,969,129

100

-

เปลียนแปลงในปี 2557

ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

1,598,550

จําหน่าย ได้ มา

7,476

จําหน่าย ได้ มา

803,045

จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

484,173

จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย

380,128 78,857

ได้ มา จําหน่าย

160,000

ได้ มา

337,721

จําหน่าย

200,000

ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย

1,170,924 300,000

ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย -

850,511

ณ 31 ธ.ค. 2557 จํานวน สัดส่วน

ณ 31 ธ.ค. 2556

หุ้นกู้ (จํานวนหน่ วย) เปลียนแปลง ในปี 2557

ณ 31 ธ.ค. 2557 จํานวน สัดส่วน

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

3,983,755

0.02

-

-

-

-

1,901,710

0.01

-

-

-

-

1,559,818

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,109,240

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

301,271

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

371,053

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2,840,053

0.01

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

850,611

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

28


บริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)

ชือ 25. นายอาณัติ เมฆไพบูลย์วฒ ั นา คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 26. นายเจริญ ลิมกังวาฬมงคล คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 27. ดร. ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 28. นายคาร์ ล กูเดียร์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ 29. นายศิริพจน์ คุณากรพันธุ์ คูส่ มรส และบุตรทียังไม่บรรลุนิติภาวะ หมายเหตุ

1/

2/

แบบแสดงรายการข ้อมูลประจําปี (แบบ 56-1)

หุ้นสามัญ (จํานวนหุ้น)

ณ 31 ธ.ค. 2556

400,000

200,000 200,000

-

75 2/

-

เปลียนแปลงในปี 2557

ได้ มา

627,724

จําหน่าย

200,000

ได้ มา จําหน่าย ได้ มา

233,789

จําหน่าย ได้ มา

78,139

จําหน่าย ได้ มา

729,790

จําหน่าย

300,000

ได้ มา

181,930

จําหน่าย ได้ มา

300,000

จําหน่าย

300,000

ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย ได้ มา จําหน่าย -

194,995

ณ 31 ธ.ค. 2557 จํานวน สัดส่วน

ณ 31 ธ.ค. 2556

หุ้นกู้ (จํานวนหน่ วย) เปลียนแปลง ในปี 2557

ณ 31 ธ.ค. 2557 จํานวน สัดส่วน

827,724

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

233,789

0.00

-

-

-

-

278,139

0.00

-

-

-

-

629,790

0.00

-

-

-

-

181,930

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

195,070

0.00

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

นายฉวี เกิงโหล่ว นายหลี เจิงเม่า และ นายเกา เนียนชู ได้ รับการแต่งตังเป็ นกรรมการของบริ ษัทฯ เมือวันที 2 กันยายน 2557 ซึงทังสามท่านไม่ได้ ถือหุ้นสามัญของบริ ษัทฯ ณ วันทีได้ รับแต่งตัง นายศิริพจน์ คุณากรพันธุ์ ได้ รับการแต่งตังเป็ นผู้บริ หาร เมือวันที 21 มกราคม 2557 มีห้ นุ สามัญของบริษัทฯ ทีได้ ถืออยู่ ณ วันทีได้ รับแต่งตัง จํานวน 75 หุ้น

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกียวกับกรรมการ ผู ้บริหาร ผู ้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท

29


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.