ทุกหัวอกพสกไทยไหวผวา แดดรอนรอน..ทินกรจะลาไกล ๗๐ ปี ครองไผท ครองใจราษฎร์ จารึกไว้ใต้ร่มฟ้าพระบารมี
ทั้งแผ่นดินรินน�้าตาฟ้าร�่าไห้ ร้าวดวงใจราววูบดับกับระวี ๗๐ ปี มิ่งขวัญชาติราชธรรมน�าสุขศรี ว่าวันนี้ ทุกข์ร่วมไทยเป็นใจเดียว ประพันธ์ : จิระนันท์ พิตรปรีชา
ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมร�าลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ คณะผู้บริหาร และพนักงานบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ากัด (มหาชน)
ถวายบังคมเทิดไท้ คุณะ ธ อนันต์ ทวยราษฎร์สุขเกษมสันต์ ธ ท่านคือขวัญหล้า
ราชันย์ เทียบฟ้า ถ้วนทั่ว ปกเกล้าชาวสยาม ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมร�าลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ คณะผู้บริหาร และพนักงานบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ากัด (มหาชน)
สารบัญ
หนา ว�สัยทัศน พันธกิจ และวัฒนธรมองคกร จ�ดเดนในรอบป สาสนจากประธานกรรมการบร�ษัท สาสนจากประธานเจาหนาที่บร�หาร รายงานคณะกรรรมการตรวจสอบ ประวัติคณะกรรมการบร�ษัท ขอมูลทั่วไป โครงสรางองคกร ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ลักษณะการดำเนินธุรกิจ โครงสรางรายได ปจจัยเสี่ยง ขอพ�พาททางกฎหมาย ทรัพยสินที่ใช ในการประกอบธุรกิจ การกำกับดูแลกิจการที่ดี (CG) การประเมินความเพ�ยงพอของระบบการควบคุมภายใน ความรับผิดชอบตอสังคม ( CSR) รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบร�ษัทตอรายงานทางการเง�น คำอธิบายและการว�เคราะหผลการดำเนินงานของฝายจัดการประจำป 2559 รายการระหวางกัน งบการเง�นประจำป 2559
4 6 8 9 10 12 16 18 19 20 25 46 49 50 52 75 77 84 85 98 109
สั ั เปน Logistics Service Provider (LSPs) ในระดับแนวหน้าด้าน การจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ให้บริการที่สร้างคุณค่า ในงานโลจิสติกส์ แก่ผู้ส่งออก ผู้นำาเข้า เปนสำาคัญ
4
ั ส่งมอบบริการอย่างมีคณ ุ าพ ประสิทธิผล และประสิทธิ าพ เพื่อให้ลูกค้าพึงพอใจ สร้างความพร้อมด้านบุคลากร กระบวนการและระบบ IT เพื่อรองรับการเจริญเติบโต สร้างความน่าเชื่อ ือ เพื่อเพิ่มความจงรัก ักดีของลูกค้า และคู่ค้าต่อองค์กร พั นาความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ ลู ก ค้ า และคู่ ค้ า เพื่ อ สร้ า ง ความร่วมมือทางธุรกิจ สร้ า งการเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และยั่ ง ยื น เพื่ อ สร้ า งผล ตอบแทนอย่างเหมาะสมแก่ทุก าย
ั
1. 2. 3. 4. 5.
รร
ร
มุ่งเน้นการรู้หน้าที่รับผิดชอบอย่างมีวินัยในตนเอง (Self-Discipline Culture) มุ่งเน้นการทำางานโดยยึดหลักคุณธรรมและความซื่อสัตย์ (Integrity Culture) มุ่งเน้นการทำางานเปนทีม ทุ่มเทเพื่อเปาหมายเดียวกัน (Team Work Culture) มุ่งเน้นการปรับปรุงงานและบริการอย่างต่อเนื่องด้วย PDCA (Continuous Improvement Culture) มุ่งเน้นการแบ่งปันและดูแลสังคม (Share and Care Society Culture)
5
า าร 2557
งบกำ�ไรข�ดทุน หน่วย: ล้�นบ�ท
ราย ด าก หบริการ 1. จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล (Sea Freight) 2. จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Air Freight) 3. บริการโลจิสติกส์ (Logistics) ร มราย ด ากการ หบริการ ราย ดอน ร มราย ด กำา รสุทธิ
งบแสดงฐ�นะก�รเงิน หน่วย: ล้�นบ�ท สินทรัพย์ร ม หนสินร ม ส่ น อง ูถอหุน
อัตร�ส่วนสภ�พคล่อง อัตราส่ นส าพคล่อง อัตราส่ นส าพคล่องหมุน เร อัตราส่ นส าพคล่องกระแสเงินสด อัตราส่ นหมุนเ ยนลูกหนการคา ระยะเ ลาเกบหนเ ลย อัตราส่ นหมุนเ ยนเ าหน ระยะเ ลา ำาระหน ง รเงินสด
(เท่า) (เท่า) (เท่า) (เท่า) (วัน) (เท่า) (วัน) (วัน)
อัตรากำาไรขั้นต้น อัตรากำาไรจากการดำาเนินงาน อัตราส่วนเงินสดต่อการทำากำาไร อัตราส่วนกำาไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ ือหุ้น
( ( ( ( (
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ าวร อัตราการหมุนของสินทรัพย์
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ ือหุ้น อัตราส่วนความสามาร ชำาระดอกเบี้ย อัตราส่วนความสามาร ชำาระ าระผูกพัน อัตราการจ่ายเงินปันผล อัตรากำาไรสุทธิต่อหุ้น (Fully Dilute)
อัตร�ส่วนแสดงคว�มส�ม�รถในก�รห�กำ�ไร
อัตร�ส่วนแสดงประสิทธิภ�พในก�รดำ�เนินง�น
อัตร�ส่วนวิเคร�ะห์นโยบ�ยก�รเงิน
6
) ) ) ) )
2558
2559
377 171 122 670 7 677 62
396 152 133 682 8 689 61
503 294 225 1,022 13 1,035 77
359 80 279
696 95 601
1,067 205 862
3.75 3.71 1.68 6.13 59 14.72 25 34
7.03 7.00 0.80 5.63 65 14.90 24 41
3.55 3.52 1.13 5.75 64 9.01 41 23
25.83 12.03 64.79 9.23 25.09
25.46 10.86 73.89 8.79 13.79
25.53 7.55 91.80 7.45 11.20
( ) ( ) (เท่า)
18.42 72.61 2.00
11.56 52.07 1.31
8.74 51.21 0.97
(เท่า) (เท่า) (เท่า) ( ) (บาท)
0.29 41.94 0.87 44.69 0.10
0.16 52.63 0.13 57.54 0.12
0.24 141.13 0.35 54.55 0.12
ั ราส
า าร
อัตราส่ นส าพคล่อง เท่า 8.00
อัตราส่ นส าพคล่องกระแสเงินสด เท่า 2.00
7.03
6.00 4.00
1.50 3.75
3.55
1.00
2557
2558
2559
0.00
อัตราส่ นหมุนเ ยนลูกหนการคา เท่า 8.00 6.00
6.13
5.63
5.75
60
2.00
20
0.00
0
2558
2559
อัตราส่ นหมุนเ ยนเ าหนการคา เท่า 20.00 14.72
14.90 9.01
10.00 5.00 0.00
2557
2558
2559
5.
5.53
2557
2558
2559
0.00 0.00 0.00
65
64
2558
2559
59
2557
50 40 30 20 10 0
41 25
24
2557
2558
อัตราส่ นกำา รสุทธิ
5. 3
2559
ระยะเ ลา ำาระหน ัน
อัตรากำา ร ันตน 30.00
2558
80 40
2557
2557
ระยะเ ลาเกบหนเ ลย ัน
4.00
15.00
1.13
0.80
0.50
2.00 0.00
1.68
0.00 .00 .00 .00 .00 0.00
.3
.
2557
2558
2559 .5
2559 7
สาส า ร า รร ารบร ั เรยน ท่าน ู ถอหุ น ในป 2559 ที่ผ่านมา าพรวมเศรษ กิจโลกแสดงอาการ อย่างชัดเจน ึงปัญหาการฟนตัวที่อ่อนแอ เศรษ กิจคู่ค้าสำาคัญ ของไทยชะลอตัว การส่งออก นำาเข้าปรับตัวลง การค้าระหว่าง ประเทศทรุดหนักเปนประวัติการณ์ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ าคธุรกิจ ทุก าคส่วน รวม ึงธุรกิจโลจิสติกส์ด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ายใต้ าวะเศรษ กิจที่อ่อนแอนั้น บริษัทยังคงดำาเนินธุรกิจตามแนวทาง วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละแผนกลยุ ท ธ์ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มต่ อ การ เปลี่ ย นแปลงที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เพิ่ ม ขี ด ความสามาร ในการแข่ ง ขั น ขยายการค้า การลงทุน รองรับการขยายตัวของการเคลื่อนย้าย ของสินค้าและบริการ จึงนำามาซึ่งโอกาสของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ระหว่างประเทศแบบครบวงจร ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ได้ มี ก ารเสริ ม สร้ า งธุ ร กิ จ ให้ ขั บ เคลื่ อ นการ เติบโตอย่างยั่งยืน พร้อมต่อยอดธุรกิจ สร้างโครงข่ายพันธมิตร ขยาย านลูกค้า เพื่อการเติบโตก้าวกระโดด และขยายการลงทุน เปิ ด ให้ บ ริ ก ารธุ ร กิ จ บริ ห ารจั ด การคลั ง สิ น ค้ า การให้ เช่ า พื้ น ที่ คลังสินค้า ขยายพื้นที่ลานจอด ลานวางตู้คอนเทนเนอร์ การเพิ่ม ร หัวลาก-หางพ่วง รองรับการขนส่งในประเทศ ประกอบกับได้มีการลงนามเซ็นสัญญาร่วมมือทางธุรกิจ กับ Sun Express Logistics Pte. Ltd. (SEL) ประเทศสิงคโปร์ ผู้ ดำ า เนิ น ธุ ร กิ จ รั บ จั ด การขนส่ ง สิ น ค้ า ระหว่ า งประเทศ ซึ่ ง การ ขยายธุ ร กิ จ และการร่ ว มมื อ กั บ SEL ดั ง กล่ า ว ื อ เปนพั น ธกิ จ ที่สำาคัญ ในการขับคลื่อน WICE ให้ก้าวสู่การเปนผู้นำาด้านโลจิสติกส์ อย่างครบวงจร สุดท้ายนี้ ในนามของคณะกรรมการ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) ขอขอบคุณท่านผู้ ือหุ้นเปนอย่างยิ่งที่ได้ให้ความ สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ มและพนั ก งานบริ ษั ท ควบคู่ ไ ปกั บ การสร้ า ง ไว้ ว างใจในการดำ า เนิ น งานของบริ ษั ท และขอขอบคุ ณ ท่ า นผู้ มี ผลประกอบการของบริษัทให้เติบโตไปพร้อมกัน อุปการะคุณทุกท่านที่ให้การสนับสนุนบริษัทด้วยดีมาโดยตลอด ทั้งนี้ บริษัทหวังเปนอย่างยิ่งว่าจะได้รับเกียรติและการสนับสนุน นอกจากนี้ ข อ ื อ โอกาสขอบคุ ณ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน ที่ดีจากท่านเช่นนี้ตลอดไป ของบริษัททุกท่าน ที่ได้ร่วมมือร่วมใจป ิบัติหน้าที่ด้วยความขยัน ขันแข็ง และมีความรับผิดชอบในงานอันเปนส่วนสำาคัญที่ได้สร้าง บริ ษั ท จะยึ ด มั่ น การบริ ห าร ายใต้ ห ลั ก ธรรมา ิ บ าล ความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ การดำ า เนิ น งานของบริ ษั ท ในป 59 ทำ า ให้ ให้ความสำาคัญกับทุกองค์ประกอบ เพื่อสร้างสมดุลของประโยชน์ บริษัทมีความมั่นคงและสามาร ที่จะเติบโตอย่างยั่งยืน และบรรลุ แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุก ายไม่ว่าจะเปนผู้ ือหุ้น คู่ค้า พันธมิตร เปาหมายขององค์กรต่อไป
นายเอกพล พงศ์สถาพร ประธานกรรมการบริษัท 8
สาส า ร า า า บร าร เรยน ท่าน ู ถอหุ น นับเปนช่วงเวลาสำาคัญอย่างยิ่งที่ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) ได้ดำาเนินการมาครบ 23 ป ในป 2559 และ เปนเวลา 2 ปกว่า ที่บริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทย โดยในปที่ ผ่ า นมา ื อ เปนปที่ บ ริ ษั ท ได้ เ ผชิ ญ กั บ ความท้ า ทายครั้ ง สำ า คั ญ ท่ า มกลางอุ ต สาหกรรมโลจิ ส ติ กส์ ที่ เ กิ ด การชะลอตั ว ตามความผั น ผวนของ าวะเศรษ กิ จ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามบริ ษั ท ยั ง คงเดิ น หน้ า ปรั บ กลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ ให้ สามาร รองรั บ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ในทุ ก ด้ า น พร้ อ มทั้ ง มุ่งมั่นสร้างการเติบโตอย่างต่อเนื่อง และรักษาอัตราการเติบโต ตามเปาหมายที่วางไว้ ทั้งนี้ บริษัทมีความมั่นใจว่าในป 2560 จะเปนปที่ WICE เติบโตอย่างมีนัยสำาคัญกว่าปที่ผ่านมา เนื่องจากบริษัทมีความ พร้อมในการบริการลูกค้าได้อย่างครบวงจร มีการขยายงานใน กลุ่มลูกค้าเดิม อีกทั้งขยาย านลูกค้าใหม่ทั้งในและต่างประเทศ การขยายงานบริ ก ารนำ า เข้ า ส่ ง ออกทางทะเล (Sea Freight) ทางอากาศ (Air Freight) งานบริการพิธีการศุลกากร งานขนส่ง ในประเทศ และงานบริ ห ารจั ด การคลั ง สิ น ค้ า และหลั ง จากที่ บริ ษั ท ได้ เข้ า ซื้ อ กิ จ การ Sun Express Logistics Pte. Ltd. (SEL) ประเทศสิ ง คโปร์ ใ นช่ ว งกลางปที่ ผ่ า นมา SEL จะช่ ว ย สร้างประโยชน์ทางธุรกิจทั้งด้านรายได้และความสามาร ในการ ทำากำาไรในระยะยาว โดยในปนี้บริษัทจะรับรู้รายได้จากการดำาเนิน งานของ SEL เข้ามาเต็มปเปนปแรก อีกทั้งบริษัทยังมุ่งมั่นสร้าง โครงข่ายพันธมิตร เพื่อต่อยอดธุรกิจ ขยาย านลูกค้าใหม่ทั้งใน และต่างประเทศ โดยมองหาพันธมิตรที่มีวิสัยทัศน์ตรงกันมาร่วม เสริมศักย าพธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกันในอนาคต
สุดท้ายนี้ ดิ ันขอขอบคุณท่านผู้ ือหุ้น พันธมิตรทางธุรกิจ ดิ ันเชื่อว่าสิ่งที่ท้าทายความรู้ ความสามาร และวิสัยทัศน์ ลูกค้า และผู้มีอุปการะคุณ ที่เชื่อมั่น ไว้วางใจ และสนับสนุนบริษัท ในด้ า นต่ า ง จะเกิ ด ขึ้ น ตลอดปนี้ ซึ่ ง ดิ ั น ขอให้ ท่ า นผู้ ื อ หุ้ น ด้วยดีเสมอมา และที่สำาคัญที่สุด คือ ทีมงานทุก ายที่ป ิบัติงาน ทุ ก ท่ า นช่ ว ยเปนกำ า ลั ง ใจให้ กั บ ที ม ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานบริ ษั ท และพนักงานทุกท่านที่ทุ่มเทแรงกาย แรงใจ มีความพร้อม ที่จะ ให้ ส ามาร าฟั น ปั ญ หา อุ ป สรรค และนำ า พาธุ ร กิ จ ให้ เจริ ญ ปรั บ เปลี่ ย นและเผชิ ญ กั บ ทุ ก ส านการณ์ จนสิ่ ง นี้ ก ลายมาเปน ก้าวหน้าและเติบโตขึ้นได้อย่างมั่นคง ซึ่งเปนเปาหมายที่สำาคัญ วั นธรรม และจุดแข็งสำาคัญของชาว WICE ในการร่วมกันนำาพา ที่สุดของชาว WICE ทุกคน โดยบริษัทจะยังคงรักษาคำามั่นที่จะ องค์ ก รของเราให้ ก้ า วเดิ น ต่ อ ไปข้ า งหน้ า สู่ เ ปาหมายที่ ว างไว้ ไ ด้ ตั้งใจบริหารงาน เพื่อสร้างผลกำาไรตอบแทนกับผู้ ือหุ้นต่อไป อย่างแข็งแกร่งและยั่งยืน
นางอารยา คงสุนทร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 9
รา า
รร าร ร ส บ
เรยน ท่าน ูถอหุน คณะกรรมการบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) เปนผู้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยคณะกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) กำาหนด และคณะกรรมการบริษัท ได้กำาหนดองค์ประกอบ คุณสมบัติ วาระการดำารงตำาแหน่ง และหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ไว้ในก บัตรคณะกรรมการตรวจ สอบ ปัจจุบันคณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วย รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์ เปนประธานกรรมการตรวจสอบ นายวิชัย แซ่เซียว และ นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ เปนกรรมการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการตรวจสอบทั้ง 3 ท่าน มิได้เปนกรรมการในบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วมและบริษัทย่อยในลำาดับเดียวกัน ไม่ได้เปนผู้ ือหุ้นตามที่ก หมาย ก ระเบียบกำาหนดไว้ และมีนางสาววรลักษณ์ ลิ้มสุขประเสริ เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ในป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง ซึ่งได้รวม ึงการประชุมหารือร่วมกับผู้ตรวจสอบ ายใน ผู้บริหารของบริษัท และผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการประชุมและการดำาเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบต่อที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท ทุกไตรมาส ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบป ิบัติหน้าที่ตามที่ระบุไว้ในก บัตรคณะกรรมการการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องกับข้อกำาหนดของ ก.ล.ต และ ตลท. อย่างครบ ้วนสรุปสาระสำาคัญในการป ิบัติหน้าที่ได้ดังนี้
. สอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินประจำาป และรายไตรมาส ของบริษัท และงบการเงินรวม ร่วมกับผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบ ายใน ตลอดจนรับฟังคำาชี้แจงจาก ายบริหาร ผลการสอบทานพบว่างบการเงินดังกล่าวมีความ ูกต้อง เชื่อ ือได้ และมีการเปิดเผยข้อมูลที่เพียงพอและทันเวลา รวมทั้งคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ข้อสังเกตในประเด็นที่จะเปนประโยชน์แก่ บริษัท นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มี ายบริหารของบริษัท 1 ครั้ง เพื่อรับทราบ ความเปนอิสระและขอบเขตการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี
. สอบทานประสิทธิ ล องระบบการค บคุม าย น คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแผนการตรวจสอบ ายในประจำาป 2559 ซึ่งรวม ึงขอบเขตการตรวจสอบโดยพิจารณา บนพื้น านความเสี่ยง ( isk Based Internal Audit Plan) กระบวนการในการป ิบัติงานทั้งหมดของบริษัท
คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาสอบทานผลการตรวจประเมินประสิทธิ าพและประสิทธิผล ระบบการควบคุม ายในตามที ่ ายตรวจสอบ ายในได้ดำาเนินการทดสอบตามมาตร านสากล กระบวนการทำ างานต่าง ายในบริษัท ทุกไตรมาส ซึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติมทีเ่ ปนประโยชน์ในการปรับปรุงการป บิ ตั งิ านให้มปี ระสิทธิผลยิง่ ขึน้ แก่บริษทั และมีการติดตาม ายบริหารในการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง โดยให้รายงานการปรับปรุงแก้ไขต่อที่ประชุม คณะกรรมการตรวจสอบทุกครั้ง รวมทั้งได้ให้ ายบริหารในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประเมินการควบคุม ายในตามแบบประเมิน ความเพียงพอของการควบคุม ายในของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ ผลการประเมินพบว่า บริษทั มีระบบการควบคุม ายในที่ดี และเหมาะสมเพียงพอ
10
3. สอบทานการป ิบัติตามก หมาย ก ระเบยบ อบังคับทเกย อง คณะกรรมการตรวจสอบได้กำากับดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และได้สอบทานให้บริษัท ป ิบัติตามข้อกำาหนด ก หมายที่เกี่ยวกับการดำาเนินธุรกิจ ก หมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อกำาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รวมทั้งให้ ายบริหารรายงานสรุปผลการป ิบัติตามก หมาย ก ระเบียบที่เกี่ยวข้องของบริษัท เปนประจำาทุกป
. การกำากับดูแลงานตร สอบ าย น คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและอนุมัติ แผนป ิบัติการ งบประมาณประจำาป ตลอดจนสนับสนุนและส่งเสริมให้ าย ตรวจสอบสามาร ป ิบัติงานได้อย่างเปนอิสระและเพื่อให้การป ิบัติงานมีประสิทธิ าพมากยิ่งขึ้นจึงกำาหนดให้ ายตรวจสอบ มีสายบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ
5. สอบทานการป ิบัติงาน อง ูสอบบัญ และการพิ ารณาแต่งตัง ูสอบบัญ ี คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมเปนการเ พาะกับผู้สอบบัญชี เพื่อให้ความมั่นใจว่าผู้สอบบัญชี มีความเปนอิสระ และเพื่อ ทำาความเข้าใจในแผนงานและขอบเขตการทำางานของผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาข้อกำาหนดการจ้างงานผู้สอบบัญชี เพื่อการสรรหาและคัดเลือกผู้สอบบัญชีของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) ประจำาป 2560 และนำาเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท พิจารณาเห็นชอบ และเสนอขออนุมัติ ต่อที่ประชุมสามัญผู้ ือหุ้น ประจำาป 2559 ต่อไป
รศ. ดร.รุธิร์ พนมยงค์ ประธานกรรมการตรวจสอบ
11
รร ารบร ั (Board of Directors) นายเอกพล พงศ์สถาพร อายุ 53 ปี การศึกษา • ปริญญาโท MBA (Finance & Marketing), Kellog School of Management, Northwestern University, USA • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรสำาคัญ • DCP 141/2011 • Certified Internal Auditor (CIA) with Certificate of Honor by The Institute of Internal Audit (USA) ตำาแหน่ง • ประธานกรรมการบริษัท / กรรมการอิสระ
ประสบการณ์ทำางาน • 2559 - ปัจจุบัน - ประธานกรรมการ Sun Express Logistics Pte.Ltd • 2557 - ปัจจุบัน - ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) (ก)
• 2555 - ปัจจุบัน - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จำากัด (มหาชน) (ก) บริษัท ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จำากัด (ข) บริษัท ทิปโก้ ไบโอเท็ค จำากัด (ข) • 2555 - ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ทิปโก้ รีเทล จำากัด (ข) • 2552 - 2555 - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยฟิล์ม อินดัสตรี่ จำากัด (มหาชน) • 2549 - 2555 - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยคอปเปอร์ อินดัสตรี่ จำากัด (มหาชน)
สรุป การดำารงตำาแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 2 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 4 แห่ง
รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์ อายุ 50 ปี
ตำาแหน่ง • ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ การศึกษา • ปริ ญ ญาเอก Doctor of Philosophy (Ph.D.) International Logistics, Cardiff Business School Cardiff University, Wales, United Kingdom • ปริ ญ ญาโท Maitrise en Droit des Affaires Internationales (L.L.M International Business Law), Universite de Paris I, Pantheon-Sorbonne, France • ปริญญาตรี Licence en Droit International (L.L.B International Law), Universite de Paris I, Pantheon - Sorbonne, France การอบรมหลักสูตรสำาคัญ • DAP 44/2004 • ACP 13/2005 • DCP 103/2007 ประสบการณ์ทำางาน • 2557 - ปัจจุบัน - ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท ซี.พี.แอล.กรุ๊ป จำากัด (มหาชน) (ก) - ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) (ก) • 2553 - ที่ปรึกษา Association of South East Asian Nations (ASEAN) on “ASEAN Strategic Transport Action Plan 2011-2015”
12
• 2548 - 2554 - กรรมการอิสระ บริษัท อีเทอร์นิตี้ แกรนด์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) • 2544 - ปัจจุบัน - ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท ซีออยล์ จำากัด (มหาชน) (ก) • 2539 - ปัจจุบัน - กรรมการ - บริษัท โกลบอล อินไซท์ จำากัด (ข) • 2539 - ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ลีฟวิ่ง เฮดควอเตอร์ จำากัด (ข) • 2538 - ปัจจุบัน - ที่ปรึกษา United Nations Economics and Social Commission for Asia and the Pacific (UN-ESCAP) : transport division in Bangkok • 2536 - ปัจจุบัน - อาจารย์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ ระหว่างประเทศโลจิสติกส์และการขนส่ง
สรุป การดำารงตำาแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 3 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 2 แห่ง
นาย ิ ัย แ ่เ ย อายุ 50 ปี ตำาแหน่ง • กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ • กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน การศึกษา • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การอบรมหลักสูตรสำาคัญ • DAP 111/2014 • ประกาศนียบัตรบัณฑิต (การ าษีอากร) ( raduate Diploma, Taxation) รุ่นที่ 2 • Training in Accounting Course of Continuing Professional Development Program ประสบการณ์ทำางาน • 2558 - ปัจจุบัน - ผู้อำานวยการ ายการเงินและบัญชี บริษัท ไทรทัน-อิส จำากัด (ข) • 2558 - ปัจจุบัน - ผู้อำานวยการ ายการเงินและบัญชี บริษัท เพอร์ซุท อาร์ม (ไทยแลนด์) จำากัด (ข)
• 2557 - ปัจจุบัน - กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ - กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) (ก) • 2556 - ปัจจุบัน - ผู้อำานวยการสายการเงิน (CF ) /กรรมการ บริษัท ไทรทัน - เอ็กซ์ จำากัด (ข) • 2556 - ปัจจุบัน - ผู้อำานวยการ ายการเงินและบัญชี บริษัท ไทรทัน ฟิล์ม จำากัด (ข) • 2556 - 2558 - ที่ปรึกษา กลุ่มบริษัทศรีไทยใหม่ • 2548 - 2557 - หุ้นส่วน Trinity Auditor ffice • 2543 - ปัจจุบัน - ผู้อำานวยการสายการเงิน (CF ) /กรรมการ บริษัท ไทรทัน จำากัด (ข)
สรุป การดำารงตำาแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 5 แห่ง
นายเ ริญเกยรติ หุตะนานันทะ อายุ ปี ประสบการณ์ทำางาน • 2557 - ปัจจุบัน - กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร - ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) (ก) การศึกษา • 2545 - 2555 • ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยี - รองประธาน ายโลจิสติกส์ คอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม ส าบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง บริษัท ยูแทคไทย จำากัด ตำาแหน่ง • กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน • ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร
การอบรมหลักสูตรสำาคัญ • DAP 111/2014 • ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาโทรคมนาคม ส าบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
สรุป การดำารงตำาแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน ไม่มี
13
รร ารบร ั นางอารยา คงสุนทร อายุ 5 ปี ประสบการณ์ทำางาน • 2559 - ปัจจุบัน - กรรมการ Sun Express Logistics Pte.,Ltd. • 2557 - ปัจจุบัน การศึกษา • ปริญญาโท การจัดการมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทัว่ ไป - ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร - กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) • ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต สาขาการเงิน • 2551 - 2556 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด การอบรมหลักสูตรสำาคัญ • 2549 - ปัจจุบัน • DAP 181/2013 - กรรมการ • Mini Master of Information Technology, Faculty of Information Technology,King Mongkut s บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด • 2549 - 2556 Institute of Technology Ladkrabang - กรรมการผู้จัดการ บริษัท พร็อมทเฟรท แอนด์ โลจิสติคส์ จำากัด • 2536 - 2557 - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำากัด ตำาแหน่ง • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร • กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
นาย ูเด คงสุนทร อายุ 53 ปี ตำาแหน่ง • กรรมการผู้จัดการ ายพั นาธุรกิจ การศึกษา • ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์บัณฑิต สาขาพาณิชนาวี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรสำาคัญ • DAP SEC/2014
14
ประสบการณ์ทำางาน • 2559 - ปัจจุบัน - กรรมการ Sun Express Logistics Pte.,Ltd. • 2557 - ปัจจุบัน - กรรมการผู้จัดการ ายพั นาธุรกิจ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) • 2549 - ปัจจุบัน - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด • 2549 - 2557 - กรรมการบริหาร บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำากัด
นางสา ติ มิ า ตันติกลุ สุนทร อายุ 5 ปี ตำาแหน่ง • กรรมการผู้จัดการ ายป ิบัติการและสนับสนุน • กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร การศึกษา • ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ สาขาประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม • ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย การอบรมหลักสูตรสำาคัญ • DAP SEC/2014 • SME AD ANCED รุ่นที่ 1
ประสบการณ์ทำางาน • 2559 - ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด • 2557 - ปัจจุบัน - กรรมการผู้จัดการ ายป ิบัติการและสนับสนุน กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) • 2537 - 2557 - กรรมการ/ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำากัด
นางสา พร พเราะ ตันติกุลสุนทร อายุ 3 ปี ตำาแหน่ง • กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร • กรรมการ การศึกษา • ปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย การอบรมหลักสูตรสำาคัญ • DAP 111/2014
ประสบการณ์ทำางาน • 2557 - ปัจจุบัน - กรรมการ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) • 2549 - 2559 - กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด • 2537 - 2557 - กรรมการ/ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำากัด
15
ั
บร ั
อบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิ หลัก
: บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) : ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศแบบครบวงจร (International Logistics Service and Solution Provider)
ทตังสำานักงาน หญ่ เล ทะเบยนบริษัท ทรศัพท์ ทรสาร
: อาคาร WICE PLACE เลขที่ 88/8 นนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 : 0107558000156 : 02-681-6181 : 02-681-6173-75 : info wice.co.th : www.wice.co.th
ทุน ดทะเบยนและเรยก ำาระแล
: 325,949,750 บาท (สามร้อยยี่สิบห้าล้านเก้าแสนสี่หมื่นเก้าพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาท ้วน) ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 651,899,500 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 0.50 บาท ทุนชำาระแล้วเปนจำานวนเงิน 325,949,750 บาท (สามร้อยยี่สิบห้าล้านเก้าแสนสี่หมื่นเก้าพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาท ้วน)
บุคคลอางอิง นายทะเบยนหลักทรัพย์ ูแทน ูถอหุนกู
ูสอบบัญ
16
: บริษัทศูนย์รับ ากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำากัด เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นนรัชดา ิเษก เขตดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพ 10400 โทรศัพท์ : 0 2009-9000 โทรสาร : 0 2009-9991 SET Contact center: 0 2009-9999 E-mail : SETContactCenter set.or.th Website: http://www.tsd.co.th : ไม่มี : บริษัท สำานักงาน อีวาย จำากัด โดย นางสาวพิมพ์ใจ มานิตขจรกิจ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 4521 อาคารเลครัชดา ออฟฟิช คอมเพล็กซ์ เลขที่ 193/136-137 ชั้น 33 นนรัชดา ิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 0-2264-0777 , 0-2661-9190 โทรสาร : 0-2264-0789-90 อีเมล์ : ernstyoung.thailand th.ey.com
ูตร สอบ าย น
:
บริษัท เวล แพลนนิ่ง โซลูชั่น จำากัด โดยนางสาววรลักษณ์ ลิ้มสุขประเสริ และ นางสาวหัสยา ใจบูชาศักดิ 11 ซอย 6 นนบรมราชชนนี แขวงบางบำาหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพ 10700 โทรศัพท์ : 0-2434-3746 อีเมล์ : wpsthai gmail.com
ทปรึกษาทางการเงิน
: บริษัทหลักทรัพย์ ฟิลลิป (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน)
ทปรึกษาหรอ ู ัดการ าย ตสัญญาการ ัดการ
: ไม่มี
17
18
ู ดั การทั ป าย ายและการตลาด
คณะกรรมการบริหาร ค ามเสยงองค์กร
ู ัดการ ายพั นาธุรกิ น
กรรมการ ู ัดการ ายพั นาธุรกิ
เล านุการบริษัท
คณะกรรมการสรรหาและ พิ ารณาค่าตอบแทน
ู ัดการทั ป ายคลังสินคา
ประธานเ าหนาทบริหาร
คณะกรรมการบริหาร
ูตร สอบ าย น
ู ัดการทั ป ายป ิบัติการ
ู ัดการทั ป ายบัญ และการเงิน
คณะกรรมการตร สอบ
ร
กรรมการ ู ัดการ ายป ิบัติการและสนับสนุน
คณะกรรมการบริษัท
ร สรา
รา
ญ
รา ร
ผู้ ือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2560 เปนดังนี้ ลำาดับท
ูถอหุน
ำาน นหุน
สัดส่ น
1
นางอารยา คงสุนทร
154,320,280
23.672
2
นายชูเดช คงสุนทร
108,939,320
16.711
3
นางสาว ิติมา ตันติกุลสุนทร
66,857,280
10.256
4
นางสาวพรไพเราะ ตันติสุนทร
46,298,200
7.102
5
Mr. Lim Meng Pui
30,579,760
4.691
6
Ms. Choo ie Ngoh
24,990,860
3.834
7
Mr. Hock Loong Lien
31,175,060
4.783
8
Mr. Tai Wai Fung
15,577,060
2.389
9
นางปยะนันท์ ชัยศรีสุรพันธ์
13,400,000
2.056
10
นายราม ตันติกุลสุนทร
12,157,880
1.865
11
ผู้ ือหุ้นอื่น
147,603,800
22.641
651,899,500
100
รม
ที่มา : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (แห่งประเทศไทย) จำากัด
บา าร า คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายที่จะเสนอให้ที่ประชุมผู้ ือหุ้นพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ ือหุ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกำาไรสุทธิหลักหัก าษีเงินได้นิติบุคคลและสำารองตามก หมายในแต่ละปสำาหรับงบการเงินเ พาะของบริษัท ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผล รวม ึงความจำาเปนและความเหมาะสมอื่น ตามที่บริษัท เห็นสมควร
19
ั า ร
าร ร าร ร
บร
บร
บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) เปนผู้ให้บริการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ แบบครบวงจร (International Logistics Service and Solution Provider) ให้บริการทัง้ การนำาเข้าและส่งออก ทัง้ ทางทะเลและทางอากาศ ให้บริการด้านพิธกี ารศุลกากร การขนส่งในประเทศ และคลังสินค้า
า า
บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) ได้กำาหนดเปาหมายในการดำาเนินธุรกิจ ายในระยะ 3 ปข้างหน้า ดังนี้
1. บริษัท มีแผนในการขยายธุรกิจไปยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง หรือขยายสาขาไปยังต่างประเทศ เพื่อรักษาอัตราการเติบโตอย่างยั่งยืน สำาหรับรองรับความต้องการของลูกค้าที่เพิ่มขึ้น ในอนาคตได้ 2. บริษัท มีแผนเน้นการให้บริการที่มีอัตรากำาไรขั้นต้นในเกณฑ์ดี เพื่อรักษาความสามาร ในการทำากำาไรขั้นต้น ให้อยู่ในระดับ ที่แข่งขันได้ในอุตสาหกรรม และสร้างผลตอบแทนให้แก่ผู้ ือหุ้นได้มากขึ้น 3. บริษัท เน้นการให้บริการที่มีคุณ าพเพื่อรักษา านลูกค้าปัจจุบัน และมีแผนขยาย านลูกค้าใหม่ ส่งผลให้บริษัท มีรายได้เพิ่ม สูงขึ้น สามาร สร้างผลตอบแทนให้แก่ผู้ ือหุ้นได้มากยิ่งขึ้น
20
ร ั
า ร ั
า า
าร
ั
า าร สา ัญ
า
บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “WICE”) ย่อมาจาก Worldwide Industrial Commercial Enterprise) (เดิมชื่อ บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำากัด) เริ่มดำาเนินธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในป 2536 ซึ่ง เน้นการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าทางทะเล โดยมีเส้นทางหลัก คือ ไทย-สหรั อเมริกา ด้วยทุนจดทะเบียน 1.00 ล้านบาท โดยเปนการ ร่วมทุนระหว่างกลุม่ นักลงทุนชาวไทยรวม 70 และกลุม่ บริษทั Wice roup ซึง่ เปนกลุม่ บริษทั ต่างชาติทมี่ ชี อื่ เสียงด้านธุรกิจเฟรท (Freight) ตั้งอยู่ในประเทศสิงคโปร์และเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรั ประชาชนจีนรวม 30 ต่อมาบริษัทได้ขยายการให้บริการครอบคลุม การให้บริการด้านพิธีการทางศุลกากร โดยในป 2545 และ ป 2547 กลุ่มคุณอารยา คงสุนทร ซึ่งเปนกลุ่มผู้ ือหุ้นใหญ่ของบริษัทได้มีการซื้อหุ้นของบริษัทจากกลุ่มหุ้นส่วน ชาวฮ่องกงและชาวสิงคโปร์ ตามลำาดับ ส่งผลให้บริษัท ือหุ้นโดยคนไทย 100 และเพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิ าพในการบริหารจัดการ บริษทั ได้มกี ารปรับโครงสร้างกลุม่ บริษทั ใหม่ ในเดือนพ ศจิกายน ป 2556 โดยวิธกี ารควบบริษทั (Amalgamation) ระหว่าง บริษทั ไวส์เฟรท เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำากัด, บริษัท พร็อมทเฟรท แอนด์ โลจิสติคส์ จำากัด, และ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด จัดตั้งเปนบริษัทใหม่ แต่ยังคงใช้ชื่อเดิม คือ บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำากัด โดยมีทุนจดทะเบียนและทุนชำาระแล้วเปน 15.00 ล้านบาท และมี สำานักงานให้บริการอยู่ที่ท่าเรือแหลม บัง นอกจากนี้ ในเดือนธันวาคม ป 2556 บริษัทได้เพิ่มทุนจดทะเบียนและทุนชำาระแล้วเปน 180.00 ล้านบาท และเข้า ือหุ้นร้อยละ 99.99 ในบริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด ทั้งนี้ บริษัทได้ดำาเนินการแปรส าพเปนบริษัทมหาชน จำากัด และเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 โดยมีทุนจดทะเบียน 300 ล้านบาท (ทุนชำาระแล้ว 225 ล้านบาท) บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด (“SUN”) ซึ่งเปนบริษัทย่อย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2545 ด้วยทุนจดทะเบียน 3.00 ล้านบาท โดยการร่วมทุนกันระหว่างกลุ่มนักลงทุนชาวไทยรวม 60 และกลุ่มนักลงทุนชาวสิงคโปร์และชาวฮ่องกงรวม 40 เพื่อ ดำาเนินธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ รวมทั้งให้บริการด้านพิธีการทางศุลกากร ซึ่งเน้นการให้บริการรับจัดการขนส่ง สินค้าทางอากาศ โดยมีสาขาตั้งอยู่ที่ท่าอากาศยานสุวรรณ ูมิ ปัจจุบันบริษัทเปนผู้ ือหุ้นใหญ่ ร้อยละ 99.99 ของทุนชำาระแล้ว ปัจจุบัน SUN มีทุนจดทะเบียนและชำาระแล้วทั้งสิ้น 54.00 ล้านบาท
21
บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) ได้ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. (“SEL”) ซึ่งเปนบริษัทที่จัดตั้ง อยู่ในประเทศสิงคโปร์ จากกลุ่มนายลิม เมง ปุย ผู้ ือหุ้นใหญ่ซึ่งประกอบด้วยนายลิม เมง ปุย นายเลียน ฮก ลุง และนางสาวซู ยิ โนจ จำานวน 700,000 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 เหรียญดอลลาร์สิงคโปร์ คิดเปนร้อยละ 100 ของหุ้นสามัญ ทั้งหมดของ SEL โดยวิธีการแลกหุ้นสามัญ (Share Swap ) และชำาระด้วยเงินสด จำานวน 424,973,343 บาท การเข้าซื้อหุ้นสามัญของ SEL จะดำาเนินการเปน 2 ส่วน คือ ส่ นท วันที่ 15 สิงหาคม 2559 บริษัท ได้เข้าซื้อหุ้นสามัญของ SEL จำานวน 490,000 หุ้น คิดเปน 70 ของจำานวนหุ้นสามัญ ทั้งหมดของ SEL โดยชำาระด้วยเงินสด 50 เปนเงิน 145,318,327 บาท และออกหุ้นสามัญใหม่ ให้แก่บุคคลในวงจำากัดเ พาะเจาะจง (PrivatePlacement) เพื่อเปนค่าตอบแทนในการได้มาซึ่งหุ้น SEL จำานวนไม่เกิน 51,899,500 หุ้น ทำาให้บริษัท มีทุนจดทะเบียนและ ทุน ชำาระแล้ว จำานวน 325,949,750 บาท หุ้นสามัญ 651,899,500 หุ้น ส่ นท บริษัท และผู้ ือหุ้นของ SEL ได้ตกลงให้ บริษัท สามาร ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญของ SEL จำานวนที่เหลืออยู่ คือ จำานวน 210,000 หุ้น คิดเปนสัดส่วนร้อยละ 30 ของจำานวนหุ้น ในช่วงระหว่าง วันที่ 1 มกราคม 2563 จน ึงวันที่ 31 สิงหาคม 2563
22
ั
า าร สา ัญ 1993-2536 2002-2545 2003-2546 2006-2549 2009-2552 2014-2557 2015-2558 2016-2559
WICE เขาซื้อหุนกิจการ SEL จำนวน 70% และเพิ่มทุนเปน 325 ลานบาท
23
ร สรา าร
บร ั
ร สรา บร ั
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัท มีโครงสร้างการ ือหุ้นในบริษัทย่อย ดังนี้
บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำ�กัด (มห�ชน) (“WICE”)
ทุนจดทะเบียน 325,949,750 บาท ทุนชำาระแล้ว 325,949,750 ล้านบาท มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท
ร้อยละ 99.99 บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำ�กัด (“SUN”) ทุนจดทะเบียน 54 ล้านบาท ทุนชำาระแล้ว 54 ล้านบาท มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1,000 บาท
24
ร้อยละ 70 Sun Express Logistics Pte.,Ltd. (“SEL”) ทุนจดทะเบียน 700,000 เหรียญดอลลาร์สิงคโปร์
ร สรา รา ร สรา รา
า ร
ารบร าร
บริษัท และบริษัทย่อยมีรายได้จากการประกอบธุรกิจหลักดังนี้ ประเ ท องราย ด
2556*
ราย ด ากการ หบริการ
2557*
2558
2559
ลานบาท
รอยละ
ลานบาท
รอยละ
ลานบาท
รอยละ
ลานบาท
รอยละ
1. จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล (Sea Freight)
277.99
51.69
377.29
55.75
396.17
57.46
503.93
48.66
2. จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Air Freight)
146.80
27.29
170.57
25.20
152.37
22.10
293.76
28.37
3. พิธีการศุลกากรและการขนส่งในประเทศ (Customs and Transport)
104.01
19.34
122.34
18.08
132.99
19.29
224.79
21.70
ร มราย ด ากการ หบริการ
528.80
98.32
670.20
99.03
681.53
98.85 1022.48
98.73
9.03
1.68
6.57
0.97
7.94
537.84
100.00
676.77
100.00
689.47
รายได้อื่น ร มราย ด หมายเหตุ
รา
13.15
1.27
100.00 1035.63 100.00
งบการเงินรวม ประหนึ่งทำาใหม่ป 2556 จัดทำาโดยผู้บริหาร และรายงานโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายได้อื่น เช่นกำาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ดอกเบี้ยรับ กำาไรขาดทุนจากการขายเงินลงทุน เปนต้น
ั ั
1.15
บร าร
าร บร าร
บริษัทไวส์โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เปนผู้ให้บริการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศแบบครบวงจร (International Logistics Service and Solution Provider) ทั้งการนำาเข้าและส่งออก โดยการขนส่งทั้งทางทะเล (แบบเต็มตู้และแบบไม่เต็มตู้) และ ทางอากาศ และการให้บริการด้านพิธีการศุลกากร และการขนส่งในประเทศ เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของลูกค้า รวม ึงการ ให้บริการขนส่งสินค้าแบบประตูสู่ประตู (Door to Door) คือ การให้บริการรับจัดการขนส่งตั้งแต่หน้าประตูโรงงานลูกค้าต้นทางเพื่อส่งมอบ ไปยังหน้าประตูโรงงานลูกค้าปลายทาง โดยผูส้ ง่ ออกเปนผูร้ บั ผิดชอบ าระค่าขนส่ง และแบบ Exwork คือ การให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้า ที่ผู้นำาเข้ารับผิดชอบ าระค่าขนส่งตั้งแต่หน้าประตูโรงงานผู้ส่งออกไปจน ึงมือผู้รับปลายทาง
25
แ น าพการ หบริการ ล ิสติกส์ระห ่างประเทศ
บริษัท และบริษัทย่อยเปนผู้ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Freight Forwarder) ทั้งนำาเข้าและส่งออก ด้วย การขนส่งทางทะเลและการขนส่งทางอากาศครอบคลุมกว่า 100 ประเทศ โดยทีมงานผู้มีประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญด้านระบบโล จิสติกส์ที่พร้อมเปนที่ปรึกษาและให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับการจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ตลอดจนวางแผนและออกแบบเส้นทางการขนส่ง ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าเพื่อให้เกิดประสิทธิ าพสูงสุด โดยคำานึง ึงระยะเวลาในการขนส่ง ต้นทุนในการขนส่ง ประเ ท/ ลักษณะของสินค้าที่ขนส่ง ความสะดวกต่อลูกค้าในการจัดการขนส่ง เปนต้น บริษัท และบริษัทย่อยเปนผู้ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศประเ ทที่ไม่มีเรือ/ เครื่องบินเปนของตนเอง (Non- essel peration Common Carrier หรือ N. . .C.C) ซึ่งบริษัท และบริษัทย่อยจะจัดหาระวางเรือหรือเครื่องบินจากผู้ประกอบการขนส่ง คือสายการเดินเรือ หรือสายการบิน ที่เหมาะสมเพื่อให้บริการแก่ ลูกค้า ตลอดจนประสานงานกับตัวแทนต่างประเทศ ( versea Agent) ซึง่ อื เปนคูค่ า้ ทางธุรกิจ (Business Partner) ของบริษทั ในประเทศ ต่าง ในการดำาเนินการจัดการเพื่อให้สินค้า ึงผู้รับอย่างปลอด ัยตามเวลาที่กำาหนด การให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ของบริษัท และบริษัทย่อยสามาร แบ่งได้ดังนี้ . การรับ ัดการ นส่งสินคาระห ่างประเทศทางทะเล บริษัทเปนผู้ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่าง ประเทศ ซึ่งเน้นการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าทางทะเล โดยบริษัท จะเปนผู้จัดหาระวางเรือและตู้คอนเทนเนอร์จากสายการเดินเรือ ชั้นนำาที่มีชื่อเสียงเชื่อ ือได้ ซึ่งบริษัท จะเปนผู้พิจารณาติดต่อสายการเดินเรือดำาเนินการต่อรองและจองระวางเรือที่เหมาะสมกับความ ต้องการของลูกค้าแต่ละราย ทั้งนี้ บริษัท ได้ขยายเครือข่ายโดยเข้าร่วมเปน าคีสมาชิกต่าง เช่น C LN ายใต้ WCAFamily Network ทำาให้ปัจจุบันบริษัท สามาร ให้บริการรับจัดการขนส่งทางทะเลครอบคลุมท่าเรือหลักในเขตการค้าสำาคัญในประเทศต่าง โดยตลาดหลัก ยังคงเปนตลาดสหรั อเมริกา เนือ่ งจากบริษทั มีประสบการณ์และความเชีย่ วชาญในเส้นทางการขนส่งไทย-สหรั อเมริกาตัง้ แต่แรกเริม่ สำาหรับ ตลาดหลักรองลงมา คือ ประเทศจีน ประเทศญี่ปุน และประเทศฟิลิปินส์ การขนส่งสินค้าโดยเรือสามาร ขนส่งสิน ค้าได้คราวละมาก มีตน้ ทุนในการขนส่งที่ กู กว่าการขนส่งสินค้าทางเครือ่ งบิน เหมาะสำาหรับ การขนส่งที่ไม่เร่งด่วน โดยสินค้าหลัก ได้แก่ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ (สินค้าสำาเร็จรูป)ชิ้นส่วนยานยนต์ โครงสร้างเหล็กและวัสดุก่อสร้าง อาหารกระปอง เปนต้น การขนส่งทางเรือจะบรรจุสินค้าลงในตู้คอนเทนเนอร์ซึ่งช่วยให้การเคลื่อนย้ายสินค้ารวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น โดยตู้คอนเทนเนอร์จะแบ่งออกเปน 2 ขนาดหลัก คือ ขนาด 20 ฟุต เหมาะกับการใช้งานบรรทุกสินค้าที่มีนำ้าหนักมากแต่มีปริมาณน้อย และ ขนาด 40 ฟุต เหมาะกับการใช้งานบรรทุกสินค้าที่มีนำ้าหนักน้อยแต่มีปริมาณมาก นอกจากนี้ ตู้คอนเทนเนอร์ยังมีรูปแบบต่าง เช่น ตูค้ อนเทนเนอร์แบบแห้ง (Dry) แบบควบคุมอุณห มู ิ ( eefer) แบบเปิดหลังคา ( pen Top) เปนต้น เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และให้เหมาะกับประเ ทของสินค้าที่ขนส่ง
26
ปริมา การ น ่ง ิน าทางทะเล งบริษัท และบริษัทย่ ย ป ประเ ทการ หบริการ
ปริมาณตูคอนเทนเนอร์ต่อปี 2556
2557
2558
2559
สินค้าขาออก (Export)
6,087
6,315
11,645
15,268
สินค้าขาเข้า (Import)
3,235
3,529
5,917
6,150
รม
9,322
9,844
17,562
21,418
หมายเหตุ Twenty Foot E uipment Unit หรือตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต
การขนส่งทางทะเลสามาร แบ่งเปน 2 แบบ ดังนี้ • การขนส่งแบบเต็มตู้คอนเทนเนอร์ (Full Container Load : FCL) หมาย ึง การบรรจุสินค้าจนเต็มตู้คอนเทนเนอร์โดยสินค้า ในตู้จะเปนของลูกค้าเพียงรายเดียว ไม่มีการร่วมใช้ตู้คอนเทนเนอร์กับลูกค้ารายอื่น เหมาะสำาหรับลูกค้าที่มีการขนส่งสินค้า ปริมาณมาก โดยหลังจากบรรจุสนิ ค้าจนเต็มตูแ้ ล้วจะไม่มกี ารเปิดตูจ้ นกว่าจะ งึ จุดหมายปลายทาง บริษทั จะเปนผูด้ าำ เนินการ ตัง้ แต่การติดต่อสายการเดินเรือ ต่อรองค่าระวางเรือ จองระวางเรือ จัดหาตูค้ อนเทนเนอร์ทเี่ หมาะกับสินค้า ออกแบบเส้นทาง การขนส่ง ส่งมอบสินค้าลงเรือ ตลอดจนติดตามส านะของสินค้าจน ึงท่าเรือปลายทาง จัดการด้านเอกสารพิธีการศุลกากร ตลอดจนประสานงานกับตัวแทนต่างประเทศในการส่งมอบสินค้าให้กบั ผูร้ บั ทัง้ นี ้ ลูกค้าส่วนใหญ่จะเปนกลุม่ ผูน้ าำ เข้า-ส่งออก • การขนส่งแบบไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์ (Less than Container Load : LCL) หมาย ึง การบรรจุสินค้าไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์ โดยสินค้าในตู้จะเปนของลูกค้ามากกว่าหนึ่งราย ซึ่งต้องร่วมแบ่งใช้พื้นที่ตู้คอนเทนเนอร์เดียวกัน ส่วนใหญ่จะเปนลูกค้าที่มี ปริมาณขนส่งไม่มากพอทีจ่ ะเช่าตูค้ อนเทนเนอร์ทงั้ ตูเ้ พือ่ บรรจุสนิ ค้าเ พาะของตนเอง บริษทั จะทำาหน้าทีเ่ ปนผูร้ วบรวมสินค้า จากลูกค้าแล้วนำามาบรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ โดยจะมีการคำานวณพื้นที่ในการจัดวางและจัดทำาเปนแผนงาน (Consol Plan) ส่งให้กับผู้รับบรรจุสินค้าลงตู้ที่ท่าเรือ โดยจะมีส านีสำาหรับการบรรจุสินค้าเข้าตู้หรือแยกออกจากตู้ เรียกว่า Container Freight Station
27
. การ ดั การ นส่งระห า่ งประเทศทางอากาศ บริษทั ย่อยเปนผูใ้ ห้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึง่ เน้นการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ โดยการขนส่งสินค้าทางอากาศเปนการขนส่งทีม่ ศี กั ย าพสูง เหมาะกับการขนส่งระหว่าง ประเทศทีต่ อ้ งการความรวดเร็วในระยะเวลาจำากัด และเปนการขนส่งทีใ่ ห้ความยืดหยุน่ สูงตอบสนองการเปลีย่ นแปลงและเวลาได้เปนอย่างดี แต่มีต้นทุนที่สูงกว่าการขนส่งทางเรือสินค้าส่วนใหญ่ที่ขนส่งทางอากาศจะมีปริมาณค่อนข้างน้อยหรือมีมูลค่าสูงและต้องใช้ความระมัดระวัง เปนพิเศษ ซึ่งบริษัทย่อยจะเปนผู้ติดต่อและจองระวางสายการบินตามตารางเวลาและข้อกำาหนดที่ลูกค้าต้องการ โดยคำานึง ึงความรวดเร็ว ความตรงต่อเวลา และการประหยัดต้นทุนให้ลูกค้า โดยสามาร ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศได้ครอบคลุมเขตการค้าสำาคัญ ในประเทศต่าง ซึ่งตลาดหลักจะเปนตลาดในแ บเอเชีย เช่น ประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง ประเทศจีน เปนต้น สินค้าส่วนใหญ่จะเปนชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ การจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางอากาศ ให้ความสำาคัญกับความรวดเร็วและความชำานาญในตัวสินค้า โดยเ พาะสินค้า ในกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งบริษัทย่อยสามาร ให้บริการจัดส่งสินค้าแบบเร่งด่วน ายใน 24 ชั่วโมง จากสิงคโปร์มากรุงเทพ แบบประตู ึงประตู (Door-to-Door) ือเปนการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับบริการ โดยสินค้าส่วนใหญ่จะเปนชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่นำ าเข้าจากประเทศ สิงคโปร์มาประกอบในประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทย่อยยังมีการให้บริการเสริมสำาหรับลูกค้าที่ต้องการให้จัดการขนส่งสินค้ากรณี ุกเ ิน เช่น การให้บริการรับหิ้วสินค้าแบบ ึงมือผู้รับ (Hand Carrier) ายใน 24 ชั่วโมง เส้นทางเชียงใหม่-กรุงเทพ -เซี่ยงไฮ้ เปนต้น นอกจาก การให้บริการจัดการขนส่งดังกล่าวแล้ว บริษทั ย่อยยังมีบริการให้คาำ ปรึกษาในการจัดการระบบโลจิสติกส์ โดยร่วมกับลูกค้าในการคิดหาวิธกี าร จัดการระบบโลจิสติกส์เพือ่ ประหยัดต้นทุนในการขนส่งให้กบั ลูกค้า ในลักษณะการรวมสินค้าจากหลาย Supplier ของลูกค้ารายใดรายหนึง่ (Combined Cargo) แล้วจัดส่งพร้อมกัน เพื่อประหยัดต้นทุนในการขนส่ง ปริมา การ น ่ง ิน าทาง ากาศ ป ประเ ทการ หบริการ
ป ปริมาณ นส่งต่อปี ตัน 2556
2557
2558
2559
สินค้าขาออก (Export)
1,583
1,664
1,182
1,185
สินค้าขาเข้า (Import)
4,474
3,448
3,049
3,530
รม
6,057
5,112
4,231
4,715
3. การ หบริการดานพิธการศุลกากรและการ นส่ง นประเทศ การให้บริการด้านพิธีการศุลกากรควบคู่ไปกับการให้บริการขนส่งในประเทศ
บริษัท มีนโยบาย
การ หบริการดานพิธการศุลกากร การนำาเข้าหรือส่งออกสินค้าระหว่างประเทศต้องผ่านพิธีการศุลกากรก่อนนำาสินค้าขึ้นหรือลงเรือ/เครื่องบิน โดยบริษัท และบริษัท ย่อยมีการให้บริการด้านพิธีการศุลกากรและเปนตัวแทนในการออกสินค้า รวม ึงการจัดเตรียมเอกสารและการให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับสิทธิ ประโยชน์ทาง าษีในการนำาเข้า-ส่งออกให้แก่ลูกค้า ซึ่งการดำาเนินการดังกล่าวต้องอาศัยผู้ชำานาญการด้านพิธีการศุลกากร ซึ่งต้องมีความรู้ ความเข้าใจก ระเบียบเกี่ยวกับการนำาเข้า-ส่งออก บริษัท ที่ให้บริการด้านพิธีการศุลกากรจะต้องมีผู้ชำานาญการศุลกากรประจำาสำานักงาน อย่างน้อย 1 คน ซึ่งจะต้องไปสอบกับกรมศุลกากร ปัจจุบันบริษัท และบริษัทย่อยมีผู้ชำานาญการศุลกากรจำานวน 6 คน และมีที่ปรึกษา อาวุโส ซึ่งเปนอดีตผู้อำานวยการด้านพิธีการศุลกากร (ปัจจุบันเกษียณอายุแล้ว) 28
ทั้งนี้ การเปนตัวแทนออกสินค้าจะแบ่งเปน 2 ประเ ท คือ ผู้ประกอบการระดับมาตร านทั่วไป และผู้ประกอบการระดับมาตร าน เออีโอ (Authori ed Economic perator หรือ AE ) ปัจจุบันบริษัทเปนตัวแทนออกสินค้าระดับมาตร านทั่วไป และอยู่ระหว่างยกระดับ เปนมาตร าน AE ซึง่ จะเปนทีย่ อมรับในระดับสากลมากยิง่ ขึน้ การยกระดับมาตร านเปน AE ต้องมีคณ ุ สมบัตผิ า่ นเกณฑ์ตามทีก่ รมศุลกากร กำาหนด และมีการทบทวนส าน าพทุก 3 ป ซึ่งคาดว่า ายในป 2559 บริษัทจะสามาร ยกระดับเปนมาตร าน AE ได้ โดยจะได้รับสิทธิ พิเศษของตัวแทนออกของระดับมาตร าน AE เช่น การยกเว้นการตรวจสินค้า การยกเว้นการชักตัวอย่างสินค้าที่ส่งออก สามาร ใช้หลัก ประกันการเปนตัวแทนออกของระดับมาตร าน AE แทนการวางเงินหรือหลักประกันของผู้ขนส่ง เปนต้น ทำาให้การดำาเนินการด้านพิธีการ ศุลกากรและการตรวจปล่อยสินค้ามีความรวดเร็วขึ้น และสร้างความน่าเชื่อ ือให้กับบริษัทและบริษัทย่อยมากขึ้น
ปริมา งานพิ ีการศลกากร ป รายการ
ปริมาณงานต่อปี 2557
2558
2559
จำานวน Shipment
10,495
11,648
15,164
จำานวน ตู้
27,995
28,293
30,689
. การ หบริการ นส่งสินคา นประเทศ บริษทั ให้บริการขนส่งสินค้า ายในประเทศเพือ่ เปนการสนับสนุนธุรกิจให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เปนการให้บริการเพือ่ อำานวยความสะดวกแก่ลกู ค้า โดยบริษทั ให้บริการขนส่งสินค้าในประเทศด้วยร บรรทุกหัวลาก-หางพ่วง ร บรรทุกแบบเทกอง (DumpTruck) ร บรรทุก 6 ล้อ ร บรรทุก 4 ล้อเปนต้น โดยให้บริการขนส่งจากท่าเรือ/ท่าอากาศยานไปส่งยังจุดหมายปลายทางทีล่ กู ค้าต้องการ เช่น โรงงาน หรือ คลังสินค้าของลูกค้า หรือ รับสินค้าจากโรงงานหรือคลังสินค้าไปส่งยังที่ท่าเรือ/ท่าอากาศยาน ทั้งนี้ ลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งดังกล่าวจะ เปนลูกค้าทีใ่ ช้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศกับบริษทั หรือบริษทั ย่อย เนือ่ งจากบริษทั และบริษทั ย่อยเห็นว่าการให้บริการ ดังกล่าวเปนการเพิ่มความสะดวกให้กับลูกค้าที่ต้องการเคลื่อนย้ายสินค้าจากท่าเรือหรือท่าอากาศยานไปยังจุดหมายปลายทาง โดยบริษัท และบริษทั ย่อยจะเปนผูจ้ ดั หาร ขนส่งทีเ่ หมาะสมเพือ่ ให้บริการขนส่งแก่ลกู ค้า ปัจจุบนั บริษทั มีหน่วยงานให้บริการอยูท่ แี่ หลม บัง และบริษทั ย่อยมีสาขาอยู่ที่ท่าอากาศยานสุวรรณ ูมิ โดยบริษัทมีร บรรทุกขนส่งสรุปได้ดังนี้
29
จำาน นร บรรทก ป
ำาน นรถ นส่ง คัน
รายการ
2557
2558
2559
หัวลาก
17
27
27
หางพ่วงบรรทุก
23
37
37
ร บรรทุก 6 ล้อ
4
4
4
ร บรรทุก 4 ล้อ
6
6
6
ร ม ำาน นคัน
50
74
74
ปริมา การ น ่ง ิน า าย นประเทศ ป รายการ จำานวนตู้ที่ให้บริการ
ปริมาณการ นส่งต่อปี ตู
2557
2558
2559
15,016
19,560
26,552
มาตร านค ามปลอด ัย นการ หบริการ นส่ง ดยรถบรรทุก บริษัท และบริษัทย่อยได้คำานึง ึงมาตร านความปลอด ัยในการให้บริการขนส่งเปนอันดับแรกควบคู่ไปกับความตรงต่อเวลาซึ่ง บริษทั และบริษทั ย่อยตระหนักว่าการเลือกใช้ร ทีม่ สี มรร นะสูงประกอบกับการคัดสรรบุคลากรทีม่ คี ณ ุ าพเปนส่วนสำาคัญทีท่ าำ ให้การป บิ ตั ิ งานเปนไปตามเปาหมาย สามาร ส่งสินค้าให้ งึ จุดหมายตามกำาหนดอย่างปลอด ยั โดยไม่กอ่ ให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ของลูกค้าและ บริษัท ร ขนส่งทุกคันของบริษัท และบริษัทย่อยได้มาตร านตามที่ก หมายกำาหนด และจะต้องผ่านการตรวจเช็คส าพก่อนการใช้งาน และมีการตรวจสอบส าพความพร้อมของพนักงานขับร ก่อนป บิ ตั หิ น้าที ่ บริษทั ได้ผา่ นการรับรองมาตรา านคุณ าพบริการร บรรทุก จาก กรมการขนส่งทางบก กระทราวงคมนาคม ( MA K) ตลอดจนได้นำาระบบ PS มาใช้เพื่อให้การดำาเนินงานและการบริหารงานยานพาหนะ มีประสิทธิ าพ โดยติดตัง้ กับตัวร เพือ่ ติดตามตำาแหน่งของร ในขณะป บิ ตั งิ าน บันทึกและควบคุมความเร็วในการขับขีใ่ ห้เหมาะสม เปนต้น 5. การ หบริการคลังสินคา เพื่อขยายการให้บริการครบวงจรในด้านโลจิสติกส์ บริษัทจึงได้ขยายการให้บริการ คลังสินค้า เพื่อครอบคลุมความต้องการของลูกค้า โดยปัจจุบัน บริษัทให้บริการคลังสินค้าใน 3 รูปแบบ คือ 5.1 5.2
30
คลังสินค้าทั่วไป (Multiusers Warehouse) โดยเปนคลังสินค้าสำาหรับเก็บรักษาสินค้า ที่อยู่ในรูปของวัต ุดิบ หรือ สินค้า สำาเร็จรูปเพือ่ จัดเก็บและส่งสินค้าเข้ายังโรงงานผลิตสินค้า จัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าของลูกค้า หรือ ใช้ในการเก็บสินค้าสำาเร็จรูป ของลูกค้า เพื่อ รอการจัดส่งไปยังลูกค้าในประเทศ หรือ จัดส่งไปยังต่างประเทศ คลังสินค้าที่ออกแบบเพื่อลูกค้าเ พาะราย (Dedicated Warehouse) เปนคลังสินค้าที่ออกแบบเพื่อลูกค้าเ พาะราย เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้ารายนั้น เช่น เปนคลังสินค้าที่อยู่ในพื้นที่ที่ลูกค้าต้องการ โดยอาจจะอยู่ใกล้กับ โรงงานของลูกค้า หรือ อยูใ่ กล้กบั ลูกค้าของลูกค้า หรือออกแบบเพือ่ ตอบสนองความต้องการด้านอืน่ ของลูกค้า โดยขึน้ อยู ่ กับเงื่อนไขและข้อตกลงของบริษัท กับลูกค้า
5.3
บริหารคลังสินค้าให้ลูกค้า ( nsite Warehouse Management) โดยบริษัทให้บริการบริหารคลังสินค้าให้กับคลังสินค้า ของลูกค้าเอง ด้วยการออกแบบขั้นตอนการป ิบัติงานในคลังสินค้า การวางแผนกำาลังคนในคลังสินค้า การจัดหากำาลังคน ในการป ิบัติการ และการควบคุมการทำางาน ายในคลังสินค้าของลูกค้าให้เปนไปตาม ดัชนีชี้วัดผลงาน (KPI) ที่ตกลงกับ ลูกค้า
การตลาดและการแ ่ง ัน
กลยุทธ์ทางการตลาด จากการที่ผู้บริหารของบริษัท และบริษัทย่อยเปนผู้ที่มีประสบการณ์ ความรู้ และความชำานาญในธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศทัง้ ทางทะเลและทางอากาศ รวม งึ การให้บริการขนส่งสินค้า ายในประเทศด้วยร บรรทุกหัวลาก-หางพ่วง จึงสามาร พั นาบริษัท ให้เปนที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เปนหนึ่งในผู้ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศที่มีคุณ าพมาตร าน และมี บริการทีค่ รบวงจร ทัง้ ในด้านความหลากหลายของประเ ทการให้บริการและความครอบคลุมในเส้นทางขนส่งในหลายประเทศ รวมทัง้ ระบบ บริหารจัดการสำาหรับการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศได้รับการรับรองโดยมาตร าน IS 9001: 2015 จาก TU N D โดยบริษทั มีนโยบายทีจ่ ะรักษาความสัมพันธ์ทดี่ กี บั ลูกค้าและพันธมิตรทางธุรกิจอย่างสม่าำ เสมอ ทัง้ นี ้ บริษทั มีกลยุทธ์ในการแข่งขัน เพือ่ รักษา านลูกค้าที่มีอยู่เดิมรวมทั้งเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดของบริษัท ดังต่อไปนี้ การ หบริการ นหลายรูปแบบ บริษัท และบริษัทย่อยมีการให้บริการในหลายรูปแบบโดยให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ทั้งตลาดสินค้านำาเข้าและ ส่งออก โดยการขนส่งทั้งทางทะเล (แบบเต็มตู้และแบบไม่เต็มตู้) และทางอากาศ เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของลูกค้าซึ่งเปนการ ให้บริการที่ครอบคลุมการจองระวาง ายใต้ต้นทุนที่ดีที่สุด, ดำาเนินการด้านพิธีการศุลกากรทั้งต้นทางและปลายทาง, จัดหาคลังสินค้าและ กระจายสินค้า, จัดทำาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทั้งหมด, การจัดหาร บรรทุกเพื่อรับ-ส่งสินค้า, บริการอื่น เช่น จัดทำาหีบห่อ (กรณี ลูกค้าร้องขอ), จัดทำาประกัน ัยสินค้า เปนต้น ให้คำาปรึกษาเกี่ยวกับการนำาเข้า-ส่งออก ดูแลและติดตามส านะสินค้าจน ึงเมืองท่าปลาย ทาง ตลอดจนประสานงานกับตัวแทนต่างประเทศ ในการดำาเนินการจัดการเพื่อให้สินค้า ึงผู้รับอย่างปลอด ัยตามเวลาที่กำาหนด ซึ่งการให้ บริการที่ครบวงจรดังกล่าวเปนการเพิ่มมูลค่าให้กับบริการ และเปนการอำานวยความสะดวกให้กับลูกค้า ช่วยลดต้นทุนและลดขั้นตอนในการ ติดต่อสือ่ สารกับหลายหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องโดยบริษทั เน้นการให้บริการแบบประตูสปู่ ระตู (Door to Door) คือ การให้บริการรับจัดการขนส่ง ตั้งแต่หน้าประตูโรงงานลูกค้าต้นทางเพื่อส่งมอบไปยังหน้าประตูโรงงานลูกค้าปลายทาง และ แบบ Exworkคือ การให้บริการรับจัดการขนส่ง สินค้าที่ผู้นำาเข้ารับผิดชอบ าระค่าขนส่งตั้งแต่หน้าประตูโรงงานผู้ส่งออกไปจน ึงมือผู้รับปลายทาง การ หบริการอย่างมคุณ าพ บริษทั และบริษทั ย่อยให้ความสำาคัญกับคุณ าพของงานบริการทีน่ าำ เสนอต่อลูกค้าให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า ซึง่ ต้องรวดเร็ว ูกต้อง และน่าเชื่อ ือ โดยเริ่มจากการศึกษาความต้องการของลูกค้า จัดรูปแบบและเส้นทางการขนส่งที่เหมาะสม โดยจะเสนอรูปแบบการ ขนส่งอย่างน้อย 3 รูปแบบเพือ่ เปนทางเลือกให้กบั ลูกค้า และเมือ่ ลูกค้าตัดสินใจเลือกแล้ว บริษทั จะติดต่อสายการเดินเรือ/สายการบินเพือ่ จอง/ ต่อรองค่าระวาง ประสานงานกับตัวแทนในต่างประเทศ รับผิดชอบงานด้านเอกสารทีเ่ กีย่ วกับการจัดการขนส่งสินค้าทัง้ หมดอย่าง กู ต้องและ รวดเร็ว ตลอดจนให้คาำ ปรึกษาและแก้ปญ ั หาให้กบั ลูกค้า ทำาให้ได้รบั ความไว้วางใจจากลูกค้าทัง้ ในและต่างประเทศเรือ่ ยมา เพือ่ เปนการควบคุม คุณ าพของการให้บริการแก่ลกู ค้า ความ กู ต้องแม่นยำาด้านเอกสารเปนสิง่ สำาคัญ และเพือ่ ให้เกิดประสิทธิ าพในการจัดการด้านกระบวนการ ให้บริการ บริษทั ได้พั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีช่ ว่ ยเพิม่ ศักย าพและลดความซ้ำาซ้อนในการทำางาน โดยบริษทั ได้รบั ใบรับรองการยก ระดับคุณ าพการบริหารจัดการธุรกิจตามเกณฑ์มาตร านคุณ าพโลจิสติกส์ กรมพั นาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ในป 2556 และใบรับ รองการตรวจประเมินตามเกณฑ์คุณ าพโลจิสติกส์ใน “ระดับดี” กรมพั นาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ในป 2555 นอกจากนี้ บริษัทยัง ได้รับรางวัลสุดยอด SMEs แห่งชาติ กลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์ จาก สสว. ในป 2553 ป 2554 และป 2555 31
3 การสรางสมดุลระห ่างการ หบริการรับ ัดการ นส่งดานการส่งออกและนำาเ า ธุรกิจของบริษัท ครอบคลุมการให้บริการรับจัดการขนส่งทั้งด้านการส่งออกและนำาเข้า ปัจจุบันบริษัทมีรายได้ส่วนใหญ่จากการให้ บริการรับจัดการขนส่งทางด้านส่งออก และจะขยาย านลูกค้ากลุ่มผู้นำาเข้า ด้วยการเสนอบริการที่หลากหลายรูปแบบ เพื่อช่วยลูกค้าบริหาร ต้นทุน การสร้างสมดุลระหว่างการให้บริการรับจัดการขนส่งทัง้ ด้านส่งออกและนำาเข้า เพือ่ รักษาความสามาร ในการทำากำาไร อันเนือ่ งมาจาก ความผันผวนของการเติบโตของการส่งออกของไทย โดยทีร่ ายได้จากการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าด้านการนำาเข้าของบริษทั ในป 2558 มีอัตราการเติบโตประมาณร้อยละ 5 และในป 2559 มีอัตราการเติบโตประมาณร้อยละ 15 ค าม ำานาญดาน ูมิศาสตร์ บริษัท มีความชำานาญด้าน ูมิศาสตร์ โดยมีความเชี่ยวชาญในเส้นทางการขนส่งสินค้าทางทะเล ไทย-สหรั อเมริกา มากว่า 20 ป สามาร รับและส่งมอบสินค้าได้ทุกรั ของประเทศสหรั อเมริกาในรูปแบบประตูสู่ประตู (Door to Door) ทั้งประเ ทขนส่งแบบเต็มตู้ (FCL) และแบบไม่เต็มตู ้ (LCL) ด้วยรั บาลสหรั อเมริกนั มีก หมายเข้ามาควบคุมธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้า คือ จะต้องมีการวางทัณฑ์บน (Bonded) กับทาง FMC egulation (Federal Maritime Commission) เปนเงิน 150,000 เหรียญสหรั อเมริกา เพื่อเปนการคุ้มครองผู้บริโ คที่ อาจจะได้รับความเสียหายจากการขนส่ง ซึ่งต่างจากตลาดอื่นที่ไม่มีก หมายดังกล่าวรองรับ โดยบริษัทได้มีการดำาเนินการดังกล่าวกับทาง FMC แล้ว ดังนั้น จึงเปนการลดคู่แข่งให้น้อยลง ือเปนข้อได้เปรียบของบริษัท นอกจากนี้ การใช้บริการกับสายการเดินเรือที่วิ่งอยู่ในเส้นทาง ไทย-สหรั อเมริกา ไม่ว่าจะเปนผู้ส่งออกหรือบริษัทรับจัดการขนส่งสินค้า จะต้องมีการทำาสัญญาบริการ (Services Contract) กับสาย การเดินเรือจึงจะสามาร ใช้บริการได้ โดยปัจจุบันบริษัทมีสัญญาบริการกับสายการเดินเรือที่วิ่งอยู่ในเส้นทางไทย-สหรั อเมริกาประมาณ 7 บริษัท และมีตัวแทนในประเทศสหรั อเมริกา เพื่อทำาหน้าที่ประสานงานจัดการด้านพิธีการศุลกากรเมื่อสินค้าไป ึงท่าเรือ ตลอดจน จัดส่งสินค้าให้กับผู้รับปลายทาง ซึ่งตัวแทนต่างประเทศดังกล่าวเปนตัวแทนที่บริษัททำางานร่วมกันมานานกว่า 20 ป นอกจากนี้ บริษัทย่อย มีประสบการณ์และความชำานาญในการให้บริการขนส่งทางอากาศใน ูมิ าคเอเชียตะวันออกเ ียงใต้และประเทศจีน 5 ค ามพรอม องบุคลากรทมค ามรูค าม ำานาญ เนื่องจากธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้าเปนธุรกิจให้บริการ บุคลากรนับว่าเปนปัจจัยสำาคัญที่จะต้องเปนผู้มีความรู้มีประสบการณ์และ ความชำานาญ ทำางานด้วยความ ูกต้อง แม่นยำา มีความยืดหยุ่นในการให้บริการ และมีจิตใจรักการบริการ (Service Mind) ซึ่งจะทำาให้ลูกค้า ที่มาใช้บริการเกิดความมั่นใจและเกิดความพึงพอใจต่อการให้บริการ โดยบริษัทมีการวางแผนด้านบุคลากรและพั นาความรู้ความสามาร เพือ่ ให้สอดคล้องกับการขยายตัวของธุรกิจ โดยมุง่ เน้นการสรรหาบุคลากรทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ รงตามความต้องการของบริษทั และให้ความสำาคัญ กับการพั นาบุคลากรโดยจัดให้มีการ กอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งบริษัท มีการจัดทำาแผนการอบรมพนักงานประจำาป โดยพนักงาน แต่ละคนต้องได้เข้าอบรมอย่างน้อย 5 หลักสูตรต่อปและหรือ 48 ชัว่ โมงต่อป เพือ่ ให้เกิดความรูค้ วามสามาร และทักษะให้แก่พนักงานในการ ป ิบัติงาน จัดให้มีการประเมินผลการป ิบัติงานเพื่อกำาหนดและพิจารณาผลตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อจูงใจให้บุคลากรเกิดขวัญและกำาลังใจ ในการทำางาน โดยพนักงานของบริษัท และบริษัทย่อยมีอายุการทำางานเ ลี่ยประมาณ 5 ป นอกจากนี้ การให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจในก ระเบียบต่าง ที่บังคับใช้ในการส่งออกหรือนำาเข้า โดยบริษัท และบริษัทย่อยได้จัดเตรียม บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามชำานาญเพือ่ ให้บริการแก่ลกู ค้า โดยมีพนักงานทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตเปนผูช้ าำ นาญการศุลกากรประจำาบริษทั และบริษทั ย่อยรวม 6 คน เพื่อให้คำาแนะนำาแก่พนักงานในส่วนงานต่าง ได้ การสรางพันธมิตรทางธุรกิ ธุรกิจของบริษทั เติบโตมาจากการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางทะเลเปนหลัก โดยมีความชำานาญในเส้นทาง ไทย-สหรั อเมริกามากว่า 20 ป จึงทำาให้มีความสัมพันธ์ทดี่ ีกับสายการเดินเรือที่วิ่งอยู่ในเส้นทางดังกล่าว ต่อมาบริษัทมีการขยายเส้นทางการ บริการในเส้นทางอืน่ มากขึน้ จึงทำาให้มคี วามสัมพันธ์อนั ดีกบั สายการเดินเรือเพิม่ ขึน้ ซึง่ ปัจจุบนั บริษทั มีการจัดหาระวางเรือจากสายการเดินเรือ รวมกว่า 15 ราย และธุรกิจของบริษัทย่อยซึ่งเติบโตมาจากการให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางอากาศเปนหลัก จึงทำาให้มีความ สัมพันธ์อันดีกับสายการบินกว่า 10 ราย นอกจากนี้ ตัวแทนต่างประเทศ ( versea Agent) ือเปนพันธมิตรทางธุรกิจหรือคู่ค้าที่สำาคัญ ทำาหน้าทีเ่ ปนตัวแทนของบริษทั และบริษทั ย่อยในการติดต่อประสานงานเพือ่ ให้บริการจัดการการขนส่งในเขตประเทศทีต่ วั แทนแต่ละรายดูแล ปัจจุบันบริษัทมีตัวแทนในประเทศต่าง ครอบคลุมกว่า 100 ประเทศทั่วโลก ทั้งนี้ บริษัทย่อยยังเปนหนึ่งในสมาชิกเครือข่าย Sun Express roup ซึ่งประกอบด้วยบริษัทใน 6 ประเทศและตัวแทนอื่นกว่า 100 แห่งทั่วโลก ซึ่ง ือเปนพันธมิตรทางการค้าที่สำาคัญนอกจากนี้ บริษัท และบริษัทย่อยยังเข้าร่วมเปน าคีสมาชิกต่าง ทั้งในและต่างประเทศ ได้แก่ TIFFA, TAFA, C LN ายใต้ WCA Family Network.
32
ค ามสามารถ นการบริหารตนทุน ด้วยบริษัท และบริษัทย่อยเปนผู้ประกอบการในธุรกิจจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน โดยธุรกิจมีการเติบโต อย่างต่อเนื่อง ทำาให้มีปริมาณการขนส่งอย่างสม่ำาเสมอ โดยบริษัท และบริษัทย่อยจะมีการวางแผนและจองระวางเรือ/เครื่องบินในปริมาณ มาก ส่งผลให้บริษัท และบริษัทย่อยสามาร เจรจาต่อรองราคากับสายการเดินเรือ/สายการบิน เพื่อบริหารต้นทุนค่าระวางซึ่งเปนต้นทุน หลัก โดยการบริหารต้นทุนดังกล่าวเพิ่มความสามาร ในการแข่งขันให้กับบริษัทและบริษัทย่อย ในการนำาเสนอราคาแก่ลูกค้า ซึ่งจะช่วย ลดต้นทุนในการขนส่งสินค้าให้กับลูกค้าด้วย รักษา านลูกคาป ุบัน ลูกค้าปัจจุบันเปน านลูกค้าที่สร้างรายได้หลักให้กับบริษัท ดังนั้น บริษัทและบริษัทย่อยจึงให้ความสำาคัญกับการรักษา านลูกค้าดัง กล่าวให้มากที่สุด ซึ่งจะเน้นการสร้างสายสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับ านลูกค้ากลุ่มดังกล่าว โดยพนักงานจะติดต่อกับลูกค้าปัจจุบันอย่าง สมำ่าเสมอ ทั้งการเข้าเยี่ยมเยียนด้วยตัวเอง หรือ ติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ เพื่อสอบ าม ึงความต้องการใช้บริการและเสนอการบริการได้ทัน กับความต้องการ เนือ่ งจากลูกค้าส่วนใหญ่เปนผูน้ าำ เข้า-ส่งออก ซึง่ มีความต้องการใช้บริการอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งสมำา่ เสมอ โดยจะพยายามให้กลุม่ ลูกค้าปัจจุบันเพิ่มปริมาณการใช้บริการมากยิ่งขึ้นให้ครอบคลุมทุกด้าน ทั้งนี้ กลยุทธ์ในการรักษา านลูกค้ากลุ่มนี้ ยังประกอบด้วย การรักษา คุณ าพการบริการ ความสะดวกในการติดต่อสือ่ สาร การส่งมอบสินค้าให้ตรงเวลาทีก่ าำ หนด ซึง่ บริษทั มีการจัดทำาแบบสอบ ามความพึงพอใจ ของลูกค้า เพื่อนำามาปรับปรุงการให้บริการให้มีคุณ าพมากยิ่งขึ้น การ ยายการ หบริการ บริษัท มีแผนเพิ่มการให้บริการในลักษณะการต่อยอดการให้บริการกับลูกค้ารายใดรายหนึ่ง เช่น การให้บริการทั้งด้านนำ าเข้าและ ส่งออก หรือทางเรือควบคู่ไปกับทางอากาศ รวมทั้งการให้บริการพิธีการศุลกากรและการขนส่ง หรือแม้กระทั่งการขยายขอบเขตเมืองท่า (Port) นอกจากนี้ยังขยายไปยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง เช่น การให้บริการคลังสินค้า โดยบริษัท มองว่าเปนโอกาสทางธุรกิจและเปนการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับการบริการ นอกจากนี้ บริษัท ยังขยายสาขาไปยังต่างประเทศ เมื่อมีโอกาสทางธุรกิจที่เหมาะสม ตลอดจนขยาย านลูกค้า ไปยังตลาดใหม่ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละอุตสาหกรรมทีม่ คี วามแตกต่าง โดยมีการจัดทำาเว็บไซต์(Website) ของบริษทั และบริษัทย่อย ได้แก่ www.wice.co.thและ www.sunexpress.co.thเพื่อให้บริการของบริษัท และบริษัทย่อยเปนที่รู้จักแก่คนทั่วไป และให้ลูกค้าสามาร เข้า ึงได้สะดวกขึ้น กลุ่มลูกคาเปาหมาย กลุ่มลูกค้าเปาหมายของบริษัทและบริษัทย่อยเปนกลุ่มลูกค้าขนาดกลาง ึงขนาดใหญ่ โดยพิจารณา ึงปริมาณการใช้บริการและทุน จดทะเบียน รวม ึงความสามาร ในการทำากำาไร ลูกค้าของบริษัทและบริษัทย่อยจะกระจายอยู่ในอุตสาหกรรมต่าง ซึ่งสินค้าหลักที่บริษัท และบริษัทย่อยให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ได้แก่ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ สินค้าประเ ทชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งสามาร แบ่งตาม ประเ ทการใช้บริการของลูกค้าได้ดังนี้ ประเ ทการบริการ
ประเ ทสินคาหลัก
ประเทศนำาเ า ส่งออกหลัก
บริการ Sea Freight
เครื่องใช้ไฟฟาและอุปกรณ์สำานักงาน/คอมพิวเตอร์, ชิ้นส่วนยานยนต์, สหรั อเมริกา, ญี่ปุน, จีน, และ อาหารกระปอง, เหล็กและวัสดุก่อสร้างวัสดุก่อสร้าง ประเทศในกลุ่มอาเซียน
บริการ Air Freight
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์, ชิ้นส่วนยานยนต์
จีน, ฮ่องกง, สิงคโปร์
33
นอกจากนี้ บริษัท และบริษัทย่อยสามาร ให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศให้แก่กลุ่มลูกค้าในอุตสาหกรรมอื่น เช่น เคมี ัณฑ์ เสื้อผ้า พลาสติก เปนต้น โดยสามาร แบ่งกลุ่มลูกค้าหลัก ของบริษัท และบริษัทย่อยได้ดังนี้ (1) กลุ่มผู้ประกอบการเพื่อการนำาเข้าและส่งออก(Importer & Exporter) เปนกลุ่มลูกค้าหลักของบริษัท และบริษัทย่อย โดย ป 2558 มีสัดส่วนคิดเปนร้อยละ 92 ของรายได้จากการบริการ ป 2559 สัดส่วนคิดเปนร้อยละ 95 ของรายได้จากการบริการ (2) กลุ่มผู้ให้บริการรับจัดขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Co-Loader) เปนกลุ่มลูกค้าที่ประกอบธุรกิจประเ ทเดียวกับบริษัท คือ ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางทะเล ซึง่ ไม่มสี ญ ั ญาบริการ (Service Contract) กับสายเรือ หรือเปนบริษทั ที่มีปริมาณสินค้าไม่มากพอที่จะใช้บริการแบบเต็มตู้คอนเทนเนอร์ ดังนั้น จึงจำาเปนต้องใช้บริการของบริษัท ทั้งแบบเต็มตู้และ แบบไม่เต็มตูท้ งั้ นี ้ ลูกค้ากลุม่ นี้ อื เปนพันธมิตรทางการค้ากับบริษทั โดยป 2558 มีสดั ส่วนคิดเปนร้อยละ 8 รายได้จากการบริการ ป 2559 สัดส่วนคิดเปนร้อยละ 5 ของรายได้จากการบริการ
บริษทั และบริษทั ย่อยเปนผูใ้ ห้บริการขนส่งสินค้าในประเทศด้วยร บรรทุกหัวลากและหางพ่วง โดยการให้บริการดังกล่าวเปนการ สนับสนุนการให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศเท่านัน้ ดังนัน้ ลูกค้าของบริษทั และบริษทั ย่อยจะเปนลูกค้าต่อเนือ่ ง ซึง่ ใช้บริการรับจัดการ ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศกับบริษัท หรือบริษัทย่อย โดยบริษัท และบริษัทย่อยจะให้บริการจัดหาร บรรทุกที่เหมาะสมกับสินค้าเพื่อ ไปรับสินค้าที่โรงงานของลูกค้ามาที่ท่าเรือเพื่อดำาเนินการส่งออก หรือรับสินค้าจากท่าเรือไปส่งมอบที่โรงงานของลูกค้าในกรณีนำาเข้า เปนต้น ซึง่ เปนการเพิม่ มูลค่าให้กบั บริการและอำานวยความสะดวกต่อลูกค้า ซึง่ ทำาให้บริษทั และบริษทั ย่อยสามาร ให้บริการลูกค้าได้ครบวงจรมากยิง่ ขึ้น โดยบริษัท มีสัดส่วนรายได้จากการบริการแบบครบวงจร ดังนี้ กลุ่มลูกคา
2557
2558
ลานบาท
รอยละ
481.30
71.81
1. กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการ Freight อย่างเดียว
146.62
2. กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการ เ พาะ Custom & Transport
กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการครบวงจร
ลานบาท
2559 รอยละ
ลานบาท
รอยละ
503.93
73.94
814.08
79.62
21.88
153.60
22.53
154.55
15.12
42.28
6.31
24.00
3.53
53.85
5.26
670.20
100.00
681.53
100.00
1,022.48
100.00
กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการอื่น
ร มราย ด ากการบริการ
หมายเหตุ กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการครบวงจร คือ ลูกค้าที่ใช้บริการ Freight และบริการอื่น เช่น การให้บริการ แบบ Door-To-Door/ Door-To-Port/ Port-To-Door) กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการอื่น คือลูกค้าที่ใช้บริการเ พาะด้านใดด้านหนึ่ง เช่น Freight หรือ Custom&Transport
บริษทั และบริษทั ย่อยมีลกู ค้ากระจายอยูใ่ นอุตสาหกรรมต่าง ไม่มกี ารพึง่ พิงลูกค้ารายใดรายหนึง่ โดยลูกค้า 10 รายแรกในป 2557 มีสัดส่วนรายได้ประมาณร้อยละ 34.35 ของรายได้จากการบริการ และในป 2558 มีสัดส่วนรายได้ประมาณร้อยละ 48 ของรายได้จากการ บริการ ไม่มีลูกค้ารายใดมีสัดส่วนรายได้เกินร้อยละ 10ของรายได้จากการบริการ น ยบายการกำาหนดราคา บริษัท และบริษัทย่อยมีนโยบายเสนอราคาที่เหมาะสมแก่ลูกค้า ซึ่งพิจารณาจากรูปแบบการให้บริการและเงื่อนไขของการบริการ โดยกระบวนการให้บริการรับจัดการขนส่งทั้งในและระหว่างประเทศจะปรับให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าแต่ละราย ทั้งนี้ ปัจจัย สำาคัญที่นำามาพิจารณาในการคิดค่าบริการ ได้แก่ รูปแบบการขนส่ง เส้นทางการขนส่ง ระยะเวลาในการขนส่ง ปริมาณสินค้า ประเ ทสินค้า เปนต้น โดยบริษัท และบริษัทย่อยจะคิดค่าบริการตามประเ ท/ลักษณะการให้บริการ ดังนี้
34
นิด องการ หบริการ SEA F EI HT (E P T/IMP T)
การคิดค่าบริการ FCL : คิดตามจำานวนตู้สินค้า และขนาดของตู้สินค้า และเส้นทาง LCL : คิดตามปริมาตร (ลูกบาศ์กเมตร)หรือ คิดตามน้ำาหนัก (ตัน)แล้วแต่ว่าจำานวนใด มากกว่า
AI F EI HT (E P T/IMP T)
คิดตามนำ้าหนัก (กิโลกรัม) หรือ คิดตามปริมาตร (ลูกบาศ์กเมตร) แล้วแต่ว่าจำานวนใด มากกว่า
CUST MS
คิดตามจำานวนใบขนสินค้า และจำานวนตู้ และประเ ทของสินค้า
T ANSP T
คิดตามชนิดของร และระยะทาง
WA EH USE
คิดตามพื้นที่การใช้งาน และค่าจัดการ (Handling) และระยะเวลา
โดยมีนโยบายการกำาหนดราคาดังนี้
1. กำาหนดราคาตามงบประมาณของลูกค้า โดยนำาเสนอบริการต่าง ให้สอดคล้องกับที่ลูกค้าต้องการ ายใต้งบประมาณที่ลูกค้า กำาหนด 2. กำาหนดราคาตามราคาต้นทุนบริการบวกอัตรากำาไรขั้นต้นที่เหมาะสม และเปนไปตาม าวะของอุปสงค์และอุปทานในตลาด โดยจะกำาหนดราคาให้สามาร แข่งขันในตลาดได้ 3. กำาหนดราคาเทียบกับคู่แข่ง แต่เสนอการให้บริการที่มากกว่า โดยคำานึง ึงต้นทุนที่แท้จริงและโอกาสทางธุรกิจที่จะได้ านลูกค้า ใหม่ เปนปัจจัยในการตัดสินใจ ทัง้ นี ้ บริษทั จะพิจารณาการกำาหนดราคาจาก าวะการแข่งขันของตลาดในขณะนัน้ และความต้องการของลูกค้าแต่ละรายควบคูก่ นั ไป การ ำาหน่ายและ ่องทางการ ัด ำาหน่าย ช่องทางการจำาหน่ายของบริษัท และบริษัทย่อยแบ่งเปน 2 ช่องทาง ดังนี้
. การติดต่อลูกคา ดยตรง เปนการติดต่อกับลูกค้าโดยตรงผ่านทางทีมขายของบริษทั และบริษทั ย่อย หรือติดต่อผ่านทางเว็บไซด์ ของบริษัท และบริษัทย่อย ได้แก่ www.wice.co.thและ www.sunexpress.co.thการเสนอบริการโดยการติดต่อลูกค้าโดยตรงคิดเปนสัด ส่วนเ ลีย่ ประมาณร้อยละ 80 ของรายได้จากการบริการ โดยบริษทั จะมีทมี ขายทำาหน้าทีต่ ดิ ต่อและเข้าพบลูกค้า เพือ่ นำาเสนอบริการทีเ่ หมาะ สมให้กับลูกค้า ซึ่งเมื่อบริษัทได้รับโอกาสในการให้บริการแล้ว ลูกค้ามักจะใช้บริการอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันบริษัทมีทีมขายซึ่งมีหน้าที่ความรับ ผิดชอบหลัก คือ • ดูแลลูกค้าปัจจุบนั (Active Clients) ตอบสนองความต้องการของลูกค้า รวม งึ การสร้างความสัมพันธ์อนั ดีและพยายามเสนอ บริการให้ลูกค้าใช้บริการเพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งตลาดใน านลูกค้าเก่า • มุ่งเน้นขยาย านลูกค้าใหม่ในตลาดเปาหมายที่กำาหนดไว้ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละอุตสาหกรรมที่มี ความแตกต่างกัน . การติดต่อลูกคา ดย า่ นตั แทน นต่างประเทศ ( versea Agent) คิดเปนสัดส่วนเ ลีย่ ประมาณร้อยละ 20 ของรายได้จากการ บริการ ซึง่ ตัวแทนในต่างประเทศทำาหน้าทีเ่ ปนผูต้ ดิ ต่อประสานงานในการบริการจัดการขนส่งในประเทศทีต่ นเองเปนผูด้ แู ลให้แก่บริษทั และ บริษทั ย่อย ซึง่ อื เปนคูค่ า้ ทางธุรกิจ โดยตัวแทนในต่างประเทศก็จะแนะนำาหรือมอบหมายให้บริษทั เปนผูด้ แู ลลูกค้าของตัวแทนดังกล่าวในการ บริการจัดการขนส่งในเขตประเทศไทยเช่นกัน ทั้งนี้ บริษัท ได้เข้าร่วมเปน าคีสมาชิกต่าง ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งได้แก่ TIFFA, TAFA, C LN ายใต้ WCA Family Network ซึ่ง ือเปนการประชาสัมพันธ์ให้คู่ค้าและลูกค้ารู้จักบริษัทอีกช่องทางหนึ่ง
35
า ะอุตสาหกรรมและการแ ่ง ัน
า ะอุตสาหกรรม “การบริหารจัดการโลจิสติกส์ หมาย ึง กระบวนการทำางานต่าง ที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน การดำาเนินงาน และการควบคุม การทำางานขององค์กร รวมทั้งการบริหารจัดการข้อมูลและธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวข้อง ให้เกิดการเคลื่อนย้าย การจัดเก็บ การรวบรวม การกระจายสินค้า วัต ุดิบ ชิ้นส่วนประกอบ และการบริการให้มีประสิทธิ าพและประสิทธิผลสูงสุด โดยคำานึง ึงความต้องการและความ พึงพอใจของลูกค้าเปนสำาคัญ” (ที่มา: นิยามของ Council of Logistics Management) รายงานโลจิสติกส์ของประเทศไทยประจำาป 2557 รายงานว่า ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศไทยในป 2556 มีมูลค่ารวม 1.84 ล้าน ล้านบาท หรือคิดเปนสัดส่วนประมาณร้อยละ 14.20 ของผลิต ัณฑ์มวลรวมในประเทศ โดยมีสัดส่วนลดลงจากร้อยละ 14.40 ในป 2555 โครงสร้างต้นทุนโลจิสติกส์ ประกอบด้วย ต้นทุนค่าขนส่งสินค้า ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุนการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ โดยต้นทุนค่าขนส่งสินค้าเปนองค์ประกอบหลักของต้นทุนโลจิสติกส์รวมของไทย คิดเปนสัดส่วนประมาณร้อยละ 51.90 ของต้นทุนโลจิสติกส์ รวม รองลงมา คือ ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุนการบริหารจัดการ คิดเปนร้อยละ 39 และร้อยละ 9.10 ของต้นทุน โลจิสติกส์รวม ตามลำาดับ โดยองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนคิดเปนร้อยละ 7.4 ร้อยละ 5.5 และร้อยละ 1.3 ของผลิต ัณฑ์มวลรวมในประเทศ ตามลำาดับ (ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม) ทั้งนี้ ประเทศไทยมีมูลค่าการค้าทั้งมูลค่า การนำาเข้าและการส่งออก ดังแสดงตามตารางด้านล่าง (หน่วย : ล้านล้านบาท) ปี
มูลค่าการคา
มูลค่าการส่งออก
มูลค่าการนำาเ า
2553
11.97
6.11
5.86
2554
13.69
6.71
6.98
2555
14.89
7.08
7.81
2556
14.57
6.91
7.66
2557
14.72
7.31
7.41
2558
14.13
7.23
6.90
2559
14.45
7.53
6.90
ทมา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
ประเทศไทยเปนประเทศที่มีระบบเศรษ กิจแบบเปิด ( pen Economy) คือ เปนประเทศที่ติดต่อทำาการซื้อขายสินค้าและบริการ กับประเทศเพื่อนบ้าน การค้าระหว่างประเทศจึงมีบทบาทสำาคัญในการพั นาและผลักดันให้เศรษ กิจของประเทศขยายตัว โดยตลาดส่ง ออกสำาคัญของไทย 5 อันดับแรกที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด สรุปได้ดังนี้ ลำาดับ
ประเทศ
มูลค่าการส่งออก หน่ ย ลานลานบาท 2556
2557
2558
2559
1
สหรั อเมริกา
0.69
0.77
0.81
0.86
2
จีน
0.82
0.86
0.80
0.83
3
ญี่ปุน
0.67
0.70
0.68
0.72
4
ฮ่องกง
0.40
0.40
0.40
0.40
5
ออสเตรเลีย
0.31
0.30
0.33
0.36
ทมา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
36
จากข้อมูลในตารางข้างต้นแสดงให้เห็นว่าในป 2559 ประเทศไทยมีมลู ค่าการส่งออกไปประเทศสหรั อเมริกา มากทีส่ ดุ คิดเปนประมาณ ร้อยละ 11.89 ของมูลค่าการส่งออกรวม รองลงมา คือ ประเทศจีน ประเทศญี่ปุน ประเทศฮ่องกง และออสเตรเลีย ซึ่งมีมูลค่าการส่งออกคิด เปนประมาณร้อยละ 11.48 ร้อยละ 9.96 ร้อยละ 5.53 และร้อยละ 4.98 ของมูลค่าการส่งออกรวม ตามลำาดับ โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย ประกอบด้วย สินค้าอุตสาหกรรม สินค้าเกษตรกรรม สินค้าอุตสาหกรรมเกษตร และสินค้าแร่และเชือ้ เพลิง โดยสินค้าส่งออกในป 2559 ที่มีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) ร ยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 2) เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ 3) อัญมณีและเครื่องประดับ 4) แผงวงจรไฟฟา 5) เม็ดพลาสติก ทั้งนี้ ตลาดนำาเข้าสำาคัญของไทย 5 อันดับแรก ประกอบด้วย ประเทศจีน ประเทศญี่ปุน ประเทศสหรั อเมริกา ประเทศมาเลเซีย และ ประเทศเกาหลีใต้ โดยในป 2559 ประเทศไทยมีมูลค่าการนำาเข้าจากประเทศดังกล่าวคิดเปนประมาณร้อยละ 21.60 ร้อยละ 15.80 ร้อยละ 6.20 ร้อยละ 5.60 และร้อยละ 3.70 ของมูลค่าการนำาเข้ารวม ตามลำาดับ สรุปได้ดังนี้ ลำาดับ
มูลค่าการนำาเ า หน่ ย ลานลานบาท
ประเทศ
2556
2557
2558
2559
1
จีน
1.16
1.25
1.40
1.49
2
ญี่ปุน
1.26
1.16
1.06
1.09
3
สหรั อเมริกา
0.45
0.47
0.47
0.47
4
มาเลเซีย
0.41
0.41
0.41
0.39
5
เกาหลีใต้
0.28
0.24
0.24
0.26
ทมา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
โครงสร้างสินค้านำาเข้าของไทย ประกอบด้วย สินค้าวัต ดุ บิ และกึง่ สำาเร็จรูป สินค้าทุน สินค้าเชือ้ เพลิง สินค้าอุปโ คบริโ ค และสินค้า ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง โดยสินค้านำาเข้าในป 2559 ที่มีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 2) เครื่องจักรไฟฟาและส่วนประกอบ 3) นำ้ามันดิบ 4) เคมี ัณฑ์ 5) ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ เมือ่ พิจารณา งึ รูปแบบในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยข้อมูลกรมศุลกากรพบว่าการขนส่งสินค้าทางเรือมีมลู ค่าสูงสุดประมาณ ร้อยละ 67.95 ของมูลค่านำาเข้าส่งออกรวม รองลงมาคือการขนส่งสินค้าทางเครือ่ งบินมีสดั ส่วนเ ลีย่ ประมาณร้อยละ 22.96 ของมูลค่านำาเข้า ส่งออกรวม ซึ่งมูลค่าการขนส่งมีรายละเอียดตามตารางดังนี้ มูลค่าการ นส่งสินคาร ม าเ าและ าออก รูปแบบการ นส่ง
2556
2557
2558
ลานบาท
รอยละ
ลานบาท
รอยละ
ลานบาท
รอยละ
ทางเรือ
10.21
70.19
10.38
70.71
9.56
67.95
ทางเครื่องบิน
3.26
22.41
3.14
21.39
3.23
22.96
ทางร ยนต์
1.07
7.34
1.15
7.83
1.27
9.03
ทางร ไฟ
0.00
0.03
0.00
0.00
0.00
0.04
ทางไปรษณีย ัณฑ์และอื่น
0.00
0.03
0.00
0.00
0.00
0.02
รม
14.54
00.00
14.68
00.00
14.07
00.00
ทมา กรมศุลกากร รวบรวมโดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม
37
แน นมธุรกิ ล ิสติกส์
ตลาด ล ิสติกส์ น ทยคาดการณ์ ต .5 ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน (Frost & Sullivan) คาดตลาดโลจิสติกส์ในประเทศไทยจะโตร้อยละ 7.5 (CA ) โดยมีมูลค่าสูง ึง 85.9 พันล้านเหรียญสหรั ายในป 2559 ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน องค์กรให้คำาปรึกษาโลก คาดการณ์เกี่ยวกับตลาดโลจิสติกส์ใน ูมิ าคเอเชียแปซิฟิกใน 12 ประเทศ (ฮ่องกง สิงคโปร์ ออสเตรเลีย ญี่ปุน ไต้หวัน เกาหลี อินเดีย มาเลเซีย ไทย จีน เวียดนาม และอินโดนีเซีย) ว่า ตลาดนี้จะมีการเติบโต (CA ) ที่ร้อยละ 7.6 ตั้งแต่ป 2554-2559 โดยมีมูลค่ากว่า 4.09 ล้านล้านเหรียญสหรั ายในป 2559 และสำาหรับประเทศไทย ตลาดโลจิสติกส์จะโตร้อยละ 7.5 (CA ) โดยมีมูลค่าสูง ึง 85.9 พันล้านเหรียญสหรั ายในป 2559 มร. โกปอล อาร์ ice President, Transportation & Logistics Practice Asia Pacific บริษัท ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน องค์กร ให้คำาปรึกษาและวิจัยระดับโลก เปิดเผยว่า การขนส่งทางทะเลเปนการขนส่งหลักสำาหรับการขนส่งสินค้าใน ูมิ าคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งคิดเปน สัดส่วนมากกว่าร้อยละ 60 ของการขนส่งทั้งหมดในประเทศที่ทำาการวิจัยทั้ง 12 ประเทศ นอกจากนี้ ปริมาณสินค้าของประเทศต่าง เหล่านี้ จะเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 และมีจำานวน ึง 19.67 พันล้านตันในปนี้
แน นมอุตสาหกรรมหลัก น ูมิ าคเอเ ยแป ิ ค
มร. โกปอล กล่าวว่า ปัจจุบัน ผู้ใช้บริการด้านโลจิสติกส์มีพั นาการที่ก้าวหน้าเปนอย่างมาก และมีความคาดหวังต่อผู้ให้บริการ สูงขึ้นเช่นกัน โดยลูกค้าเหล่านี้ต้องการความสามาร ที่จะมองเห็นได้ในกระบวนการห่วงโซ่อุปทานจากผู้ให้บริการเพื่อยกระดับการจัดการ สินค้าคงคลัง การพั นาเรื่องการคาดการณ์ความต้องการเพิ่มเติมด้านการสื่อสาร และทำาให้การจัดการโลจิสติกส์มีความราบรื่นมากยิ่งขึ้น เขากล่าวเสริมว่าปัจจุบนั ทัว่ โลกต่างก็ให้ความสำาคัญเรือ่ งสิง่ แวดล้อม ทำาให้ผนู้ าำ าคอุตสาหกรรมต่าง จำาเปนต้องยึดหลักป บิ ตั เิ กีย่ วกับ กรีนโลจิสติกส์ ( reen Logistics) ที่ยั่งยืน เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และในขณะเดียวกันก็ต้องรักษาต้นทุนไม่ให้สูงขึ้นอีกด้วย โดยกรีนโลจิสติกส์ดังกล่าวรวม ึง การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่สิ่งแวดล้อมให้น้อยลง การใช้พลังงานเชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิ าพ และลดการใช้พลังงานน้ำา กระดาษ และทรัพยากรอื่น เปนต้น
องค์กรทเกย องกับ ู หบริการ ัดการ นส่งระห ่างประเทศ
FIATA หรือ “International Federation of Freight Forwarders Associations” จัดตั้งขึ้นในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 13 พ ษ าคม 2469 เปนองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำาไร (Non- overnmental rgani ation: N ) เปนองค์กรระหว่างประเทศ ที่เปนศูนย์รวมบริษัทรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ (Freight Forwarder) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากองค์สหประชาชาติและรั บาลของ ประเทศสมาชิกเปนอย่างดี ปัจจุบันเปนตัวแทนของกลุ่มธุรกิจบริษัทขนส่งและโลจิสติกส์กว่า 40,000 บริษัททั่วโลก จุดประสงค์หลักของ องค์กรคือ การรวบรวมกิจการในอุตสาหกรรมการขนส่งทั่วโลกให้เปนหนึ่งเดียว และเปนตัวแทนในการส่งเสริมและปกปองผลประโยชน์ ของอุตสาหกรรมขนส่ง โดยมีส่วนร่วมในการเปนผู้ให้คำาแนะนำาและเปนผู้เชี่ยวชาญในการประชุมของหน่วยงานสากลต่าง ในเรื่องเกี่ยวกับ การขนส่ง รวม ึงการพั นาคุณ าพของการบริการการขนส่งของบริษัทในธุรกิจขนส่งโดยการพั นาและส่งเสริมเอกสารเกี่ยวกับการขนส่ง และมาตร านการขนส่งให้เปนระบบเดียวกันทั่วโลก ซึ่งสมาชิกจะต้องสนับสนุนจุดประสงค์ของ FIATA และอยู่ ายใต้ก ระเบียบต่าง ทัง้ นี ้ บริษทั และบริษทั ย่อยซึง่ เปนสมาชิกของสมาคมผูร้ บั จัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศของไทย หรือ TIFFA (Thai International Freight Forwarders Association) ซึง่ TIFFA เปนสมาชิกของ FIATA ด้วย สมาชิกของ TIFFA ต้องป บิ ตั ติ ามข้อกำาหนดสำาหรับจรรยาบรรณ วิชาชีพเพื่อรักษาชื่อเสียงที่ดีของวิชาชีพผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศโดยมีหลักการดังนี้
1. ดำาเนินธุรกิจอย่างมืออาชีพปกปองผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการ 2. แข่งขันอยู่บนราก านความยุติธรรมและเคารพในสิทธิและผลประโยชน์ของผู้อื่น 3. ไม่เปิดเผยความลับทางธุรกิจของตนเอง ของคู่แข่งหรือของผู้ใช้บริการ 4. เคารพต่อก หมาย ก ระเบียบของสมาคมของประเทศตนเอง และของประเทศอื่น ที่ติดต่อด้วย 5. เคารพต่อหลักสากลของการดำาเนินธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
นอกจากนี้ บริษัทมีความรับผิดชอบตามก หมายต่อความสูญหาย ความเสียหายของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ายใต้สัญญาประกัน ัยที่กำาหนดความคุ้มครองให้มีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามหลักเกณฑ์ความรับผิดของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่อง หลายรูปแบบตามพระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 และสามาร สร้างความมั่นใจให้กับผู้ใช้บริการว่าจะได้รับการ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหากเกิดความเสียหายจากการขนส่งได้
38
า ะการแ ่ง ัน
สำานักงานคณะกรรมการพั นาเศรษ กิจและสังคมแห่งชาติ ได้แบ่งโครงสร้างของบริการโลจิสติกส์ไทยไว้เปน 5 ประเ ท ได้แก่ การ ขนส่งสินค้า การจัดเก็บสินค้า บริการด้านพิธีการต่าง บริการงานโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการเสริม และบริการพัสดุและ ไปรษณีย ัณฑ์ ปัจจุบันพบว่าผู้ประกอบการธุรกิจโลจิสติกส์ในประเทศไทยมี 5 กลุ่มหลัก ได้แก่ ผู้ประกอบการขนส่งทางบก ขนส่งทางนำ้า ขนส่งทางอากาศ ตัวแทนออกของและตัวแทนขนส่ง และคลังสินค้า รวมกว่า 10,000 บริษัท และกว่าร้อยละ 80 เปนผู้ประกอบการขนาด ย่อมและขนาดกลางหรือ SMEs (ที่มา: www.thai-aec.com) จากส ิติ านข้อมูลของ B L (Business on Line) จำานวนนิติบุคคลจดทะเบียนใหม่ในประเทศประเ ทธุรกิจการขนส่งและส านที่ เก็บสินค้าในป 2555 - ป 2557 มีจำานวนเท่ากับ 2,582 ราย 2,596 รายและ 2,405 รายตามลำาดับ ซึ่งแสดงให้เห็น ึงการเติบโตของธุรกิจ ในแต่ละป คู่แข่งรายใหม่สามาร เข้ามาแข่งขันในอุตสาหกรรมได้ง่าย เนื่องจากสามาร เริ่มต้นธุรกิจได้ตั้งแต่ขนาดเล็กด้วยเงินลงทุนไม่สูง มาก อาศัยความความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและสายการเดินเรือ/สายการบิน โดยผู้ให้บริการโลจิสติกส์แบบครบวงจร ส่วนใหญ่จะเปนบริษัท ข้ามชาติ หรือผู้ประกอบการไทยรายใหญ่ เท่านั้น ผู้บริหารของบริษัทประมาณการมูลค่าธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศจากรายได้ของผู้ประกอบการที่เปนสมาชิก TIFFA ซึ่งมีมูลค่ารวมประมาณ 90,000 ล้านบาท ึงแม้ว่าตลาดโลจิสติกส์จะมีขนาดใหญ่แต่มีการแข่งขันกันสูง เนื่องจากผู้ประกอบในธุรกิจโลจิสติ กส์แต่ละกลุ่มจะมีความชำานาญเ พาะ การแข่งขันกันในธุรกิจจะเน้นที่ความชำานาญในเส้นทางและประเ ทของสินค้า ความเร็วในการขนส่ง ความรวดเร็วในการตอบสนองต่อลูกค้า รวม งึ เครือข่ายทีม่ คี ณ ุ าพและความยืดหยุน่ ของการให้บริการในราคาทีเ่ หมาะสมและตรงตามความ ต้องการของลูกค้า กลุ่มผู้ประกอบการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศแบ่งได้เปน 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มบริษัทข้ามชาติกับบริษัท ร่วมทุน ( oint enture) และกลุม่ ผูป้ ระกอบการท้อง นิ่ (Local Company) โดยผูป้ ระกอบการกลุม่ ที ่ 1 จะเปนผูค้ รอบครองตลาดเนือ่ งจาก มีข้อได้เปรียบทางด้านขนาดและเครือข่าย แต่กลุ่มผู้ประกอบการท้อง ิ่นมีความยืดหยุ่นของการให้บริการมากกว่า ซึ่งบริษัทจัดได้ว่าเปน หนึ่งในผู้นำาด้านให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในกลุ่มผู้ประกอบการท้อง ิ่นโดยปัจจุบันผู้ประกอบการที่ ือเปนคู่แข่งที่ สำาคัญโดยตรงของบริษัทและบริษัทย่อย ได้แก่ ผู้ประกอบการต่างประเทศจำานวนประมาณ 5-6 ราย ซึ่งมีขนาดธุรกิจใหญ่กว่าบริษัทและ บริษทั ย่อย อย่างไรก็ตาม บริษทั มองว่าความสามาร ในการยืดหยุน่ ของการให้บริการของบริษทั และบริษทั ย่อยทีม่ ากกว่า รวม งึ การให้บริการ ที่ครอบคลุมครบวงจร ทำาให้บริษัทและบริษัทย่อยมีความสามาร ในการแข่งขันกับบริษัทคู่แข่งดังกล่าวได้ ทั้งนี้ การให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศทางทะเล (Sea Freight) ผู้นำาเข้า-ส่งออกสามาร เลือกใช้บริการจากสายการ เดินเรือโดยตรง หรือ เลือกใช้บริการตัวแทนรับจัดการขนส่ง อย่างไรก็ตาม สายการเดินเรือส่วนใหญ่จะให้บริการประเ ทท่าเรือสู่ท่าเรือ (Port-to-Port) ด้วยปริมาณการขนส่งเยอะ ในขณะที่ตัวแทนรับจัดการขนส่งสามาร เสนอการให้บริการที่ยืดหยุ่นได้มากกว่า ซึ่งผู้นำาเข้า- ส่งออก มีแนวโน้มที่จะเลือกใช้ตัวแทนรับจัดการขนส่งเพิ่มขึ้น สำาหรับการให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศทางอากาศ (Air Freight) เนื่องจากผู้ประกอบการสายการบินจะไม่มีการให้บริการตรงกับลูกค้า ดังนั้น ผู้นำาเข้า-ส่งออกจะใช้บริการจากตัวแทนรับจัดการขนส่ง ค าม ดเปรยบ นการแ ่ง ัน จุดเด่นในการแข่งขันสำาหรับธุรกิจให้บริการขนส่งของบริษัทอยู่ที่ศักย าพในการให้บริการที่มีคุณ าพครอบคลุมความต้องการของ ลูกค้า ปลอด ัย และตรงเวลา รวม ึงความพร้อมของบุคลากรและยานพาหนะ ซึ่งด้วยความรู้ ทักษะความชำานาญ และประสบการณ์ที่ผ่าน มา ทำาให้บริษัทมีความพร้อมในด้านต่าง ในการแข่งขัน โดยผู้บริหารเชื่อว่าบริษัทมีจุดเด่นในการแข่งขัน ดังต่อไปนี้
1. มีประสบการณ์ในธุรกิจรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศมานาน มีความเชี่ยวชาญในธุรกิจ และได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า มาตลอดระยะเวลากว่า 20ป 2. มีการนำาเสนอบริการทีห่ ลากหลายและครบวงจร ( ne Stop Service) ให้กบั ลูกค้า โดยสามาร ให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่าง ประเทศ ทั้งการนำาเข้าและส่งออก โดยการขนส่งทั้งทางทะเล (แบบเต็มตู้และแบบไม่เต็มตู้) และทางอากาศ และการให้บริการ ด้านพิธีการศุลกากร เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของลูกค้า รวม ึงการให้บริการขนส่งสินค้าแบบประตูสู่ประตู (Door to Door) และ แบบ Ex-work ตลอดจนการให้คำาปรึกษาในการจัดการระบบโลจิสติกส์เพื่อให้สามาร ประหยัดต้นทุนให้ลูกค้า 3. บุคลากรมีความรู้ ความสามาร และมีความชำานาญในงานที่รับผิดชอบ เช่น มีผู้ชำานาญการศุลกากรให้คำาปรึกษาด้านพิธีการ ศุลกากรและสิทธิประโยชน์ในการนำาเข้าและส่งออกระหว่างประเทศ 4. มีเครือข่ายทีด่ กี บั บริษทั สายการเดินเรือ/สายการบิน และตัวแทนในต่างประเทศ ซึง่ อื เปนพันธมิตรทางธุรกิจทีส่ าำ คัญ รวมทัง้ บริษทั ยังเปน าคีสมาชิกของสมาคมจัดการขนส่งระหว่างประเทศทั้งในและต่างประเทศ ได้แก่ TIFFA, TAFA, C LN ายใต้ WCA Family Network 5. การเข้าควบรวมทางธุรกิจกับ บริษทั Sun Express Logistics (SEL) ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นประเทศสิงคโปร์ โดยเปนผูด้ าำ เนินธุรกิจรับจัดการ ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึง่ มุง่ เน้นให้บริการในกลุม่ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ให้กบั ผูผ้ ลิตรายใหญ่ระดับโลก และมีความเชีย่ วชาญ ทางด้านจัดการขนส่งทางอากาศ ทำาให้บริษัทเพิ่มขีดความสามาร ในการแข่งขันทางการขนส่งทางอากาศ 39
6. พั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในกระบวนการทำางาน เพื่อเพิ่มศักย าพและลดความซ้ำาซ้อนในการทำางาน 7. มีศักย าพในการบริหารต้นทุนเพื่อเพิ่มความสามาร ในการแข่งขัน โดยมีการจองระวางตู้คอนเทนเนอร์ในปริมาณมาก เพื่อให้ สามาร ต่อรองราคากับสายการเดินเรือและนำาเสนอลูกค้าในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนในการขนส่งสินค้าให้กับ ลูกค้าด้วย
การ ัดหาบริการ
การ ัดหาแหล่งทมา องบริการ ธุรกิ รับ ัดการ นส่งระห ่างประเทศ ธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งทางด้านโลจิสติกส์ระหว่างประเทศเปนธุรกิจทีต่ อ้ งอาศัยความรูแ้ ละประสบการณ์ในการบริหารจัดการ กระบวนการทำางาน เพื่อให้การบริการมีประสิทธิ าพ ปัจจัยสำาคัญของกระบวนการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ประกอบด้วย การ จัดหาระวางเรือ/เครื่องบิน ซึ่ง ือเปนต้นทุนหลักของการให้บริการขนส่งของบริษัท และการประสานงานกับตัวแทนในต่างประเทศเพื่อให้ บริการแก่ลูกค้า ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ การ ัดหาระ างเรอ เครองบิน เนื่องจากค่าระวางเรือ/เครื่องบิน เปนต้นทุนหลักในธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ บริษัทและบริษัทย่อย จึงมีการวางแผนการจองระวางเรือ/เครื่องบิน เพื่อให้สามาร บริหารต้นทุนได้อย่างดีที่สุด การจองระวางเรือเส้นทางไทย-สหรั อเมริกา จะมี การจัดทำาเปนสัญญากับสายการเดินเรือ (Service Contract) โดยจะมีการต่อสัญญาทุกป ในสัญญาจะระบุข้อตกลงเรื่องราคาค่าระวาง าย ใต้ปริมาณการซื้อระวางขั้นต่ำา (Minimum uality Commitment: M C) โดยบริษัทจะมีการประเมินปริมาณงานจากข้อมูลในอดีตและ ประเมินแนวโน้มงานที่คาดว่าจะได้รับก่อนที่จะลงนามในสัญญา เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามาร ขายระวางได้ตามที่ตกลงในสัญญา ซึ่งการจอง ระวางในปริมาณมากทำาให้สามาร ต่อรองค่าระวางและทำาให้ต้นทุนของบริษัทแข่งขันได้ ทั้งนี้ ราคาที่ระบุในสัญญาสามาร เปลี่ยนแปลงได้ โดยสายการเดินเรือจะต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน สำาหรับการจองระวางเรือในเส้นทางอื่นและการจองระวางเครื่องบินจะไม่มีการ จัดทำาเปนสัญญา โดยบริษัทจะนำาข้อมูลการใช้บริการของลูกค้าที่ผ่านมา แล้วทำาการจองระวางเรือล่วงหน้ากับสายการเดินเรือ ซึ่งเมื่อลูกค้า ติดต่อขอจองระวางเรือ บริษทั จะสามาร ยืนยันการจองกับลูกค้าได้ทนั ที โดยบริษทั จะเปนผูค้ ดั เลือกสายการเดินเรือ/สายการบินทีเ่ หมาะสม ให้กบั ลูกค้า ทัง้ นี ้ ในบางกรณีบริษทั และบริษทั ย่อยจะประสานงานกับตัวแทนในต่างประเทศเพือ่ ให้ชว่ ยบริษทั จัดหาระวางในกรณีทบี่ ริษทั ต้อง ให้บริการรับจัดการขนส่งในเขตประเทศต่าง ซึ่งในแต่ละปบริษัทและบริษัทย่อยมีการจัดหาระวางเรือ/เครื่องบินจากผู้ประกอบการขนส่ง จำานวน 15 ราย และ 10 ราย ตามลำาดับ น ยบายการคัดเลอกสายการเดินเรอ สายการบิน 1. มีการให้บริการในเส้นทางที่ลูกค้าต้องการและมีตารางการเดินทางที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า 2. เปนผู้ให้บริการที่มีความน่าเชื่อ ือ 3. เปนผู้ให้บริการทีมีต้นทุนที่แข่งขันได้ 4. เปนผู้ให้บริการที่มีระบบการติดตามงาน สามาร ตรวจติดตามการเดินทางของสินค้าได้ ตั แทนต่างประเทศ ในกรณีที่บริษัทมีการให้บริการรับจัดการขนส่งในเขตต่างประเทศ บริษัทจะประสานงานกับตัวแทนที่เปนพันธมิตรทางการค้า ในประเทศต่าง เพือ่ ช่วยดูแลการให้บริการเปนไปอย่างมีประสิทธิ าพ ตลอดจนเปนผูช้ ว่ ยบริษทั ในการจัดเก็บค่าบริการในกรณีทลี่ กู ค้าระบุ ให้เรียกเก็บค่าบริการทีป่ ลายทางในต่างประเทศ ดังนัน้ การคัดเลือกตัวแทนต่างประเทศจึงเปนสิง่ สำาคัญ โดยตัวแทนของบริษทั ในต่างประเทศ ได้แก่ ผู้ประกอบการในธุรกิจรับจัดการขนส่งในประเทศต่าง ซึ่งมีประสบการณ์ความชำานาญและความน่าเชื่อ ือในการให้บริการดังกล่าว ทั้งนี้ ตัวแทนดังกล่าว ือเปนพันธมิตรและคู่ค้าที่สำาคัญ เนื่องจากตัวแทนดังกล่าวสามาร เลือกให้บริษัทเปนตัวแทนของตนเพื่อประสานงาน และให้บริการในเขตประเทศไทยได้ด้วยเช่นกัน กลุ่มบริษัทมีนโยบายในการคัดเลือกตัวแทนต่างประเทศดังนี้ น ยบายการคัดเลอกตั แทนต่างประเทศ ( versea Agent) ตัวแทนในต่างประเทศแบ่งออกเปน 3 กลุ่มหลัก ดังนี้ 1. กลุ่มบริษัทพันธมิตร ( roup Company)ได้แก่ กลุ่มเครือข่าย Sun Express roup ซึ่งประกอบด้วยบริษัทใน 6 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง ประเทศสหรั อเมริกา ประเทศเวียดนาม และประเทศมาเลเซีย โดยมีเครือข่าย ทั่วโลกกว่า 100 แห่ง ือเปนกลุ่มตัวแทนต่างประเทศที่มีความสำาคัญ
40
2. กลุ่ม าคี (Conference) ที่บริษัทเข้าร่วมเปนสมาชิก อาทิเช่น, C LN ายใต้ WCA Family Network ซึ่งเปนสมาคมที่มี สมาชิกเปนผูป้ ระกอบการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในประเทศต่าง และจะมีการประชาสัมพันธ์บริษทั ทีเ่ ปนสมาชิก กับสมาชิกอื่น เพื่อให้เปนที่รู้จัก โดยบริษัทที่จะเข้าร่วมเปนสมาชิกได้ต้องมีความน่าเชื่อ ือ และผ่านการตรวจสอบต่าง จากสมาคมแล้ว 3. กลุ่มตัวแทนต่างประเทศอื่น ซึ่งเปนกลุ่มเครือข่ายที่บริษัททำางานด้วยมาเปนระยะเวลานานกว่า 10 ป โดยมีการจัดทำา ข้อตกลงทางธุรกิจ (Agency Agreement) ระหว่างกัน
บริษัทและบริษัทย่อยจะพิจารณาเลือกกลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2 เปนหลัก เนื่องจากทั้งสองกลุ่มนี้จะมีความน่าเชื่อ ือและความ รับผิดชอบโดยบริษัทจะพิจารณาจากความสามาร ในการทำางาน ความรวดเร็วในการตอบคำา ามและติดตามงาน และต้นทุนในการทำางาน ที่มีประสิทธิ าพ ธุรกิ หบริการ นส่ง นประเทศ ธุรกิจให้บริการขนส่งในประเทศของบริษัทและบริษัทย่อย เปนการให้บริการเพื่อสนับสนุนธุรกิจรับจัดการขนส่งระหว่างประทศ ซึง่ ต้องอาศัยความรูแ้ ละประสบการณ์ในการบริหารจัดการกระบวนการทำางาน เพือ่ ให้การบริการมีประสิทธิ าพและมีมาตร านความปลอด ยั สูง ปัจจัยสำาคัญของกระบวนการขนส่งที่มีคุณ าพ มีดังนี้ การ ัดหาและการ ่อมบำารุงยานพาหนะท นกระบ นการ นส่ง ยานพาหนะที่สำาคัญสำาหรับใช้ในการขนส่ง ประกอบด้วย ร หัวลาก และหางพ่วงบรรทุก โดยบริษัทจะสั่งซื้อจากผู้ผลิตหรือตัวแทน จำาหน่ายที่มีความน่าเชื่อ ือ พร้อมทั้งพิจารณา ึงคุณ าพของร ขนส่งให้เปนไปตามที่ก หมายกำาหนด ซึ่งในปัจจุบันบริษัทมีการสั่งซื้อร จากผู้ผลิตหรือตัวแทนจัดจำาหน่าย โดยร ขนส่งทุกคันได้มีการทำาประกัน ัยชั้น 1 และประกัน ัยสินค้าที่รับขนส่ง ซึ่งมีทุนประกัน ัยมูลค่า สูงกว่าความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น บริษัทและบริษัทย่อยได้จัดให้มีการตรวจเช็คส าพตามระยะการใช้งานของร หัวลาก และหางพ่วงบรรทุก โดยจะทำาการตรวจเช็ค ตามตารางเวลาที่ได้มีการวางแผนไว้แล้ว พร้อมทั้งทำาการซ่อมบำารุงและเปลี่ยนอะไหล่ที่เสื่อมส าพตามระยะการใช้งาน เพื่อให้ร สามาร ใช้งานได้อย่างสมบูรณ์และมีอายุการใช้งานยาวนานทั้งนี้ บริษัทได้จัดทำาสัญญาว่าจ้างการให้บริการซ่อมบำารุงร บรรทุกฮีโน่ กับ บริษัท ฮีโน่ มอเตอร์สเซลส์ (ประเทศไทย) จำากัด เพื่อการซ่อมแซมและบำารุงรักษา การ ัดหาและการ กอบรมพนักงาน ับรถ พนักงานขับร อื เปนบุคลากรทีม่ สี ว่ นสำาคัญสำาหรับงานบริการขนส่งทีป่ ลอด ยั ดังนัน้ บริษทั และบริษทั ย่อยจึงให้ความสำาคัญในการ คัดสรรพนักงานขับร ที่มีคุณ าพมาร่วมงาน โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกหลัก ดังต่อไปนี้
F พนักงานขับร
ต้องมีประสบการณ์ในการขับร บรรทุกอย่างน้อย 2 ป F ต้องมีใบอนุญาตขับร สำาหรับการขับขี่ร ขนส่งประเ ท 3 และ 4 สำาหรับขับร ประเ ทร หัวลาก F ต้องผ่านการทดสอบจากบริษัท
เมื่อได้รับการบรรจุเปนพนักงานขับร แล้ว พนักงานขับร ต้องผ่านการ กอบรมก่อนที่จะป ิบัติงานจริง 3 การ ัดหานำามันเ อเพลิง ปัจจุบันร ขนส่งของบริษัทใช้ก๊าช N และนำ้ามัน โดยบริษัทและบริษัทย่อยใช้บริการ PTT Fleet Card ของธนาคารกสิกรไทย ซึ่งเปรียบเสมือนบัตรเครดิตสำาหรับใช้จ่ายชำาระค่านำ้ามันเชื้อเพลิง ายในวงเงินที่จำากัดไว้ ซึ่งจะมีบัตรประจำาร ขนส่งแต่ละคัน โดยในบัตรจะ ระบุทะเบียนร และเมื่อใช้จ่ายชำาระจะต้องระบุรหัสผ่าน บริษัทและบริษัทย่อยจะมีการคำานวณอัตราการใช้เชื้อเพลิงเปรียบเทียบกับอัตรา การใช้จริง เพื่อให้สามาร ควบคุมการใช้เชื้อเพลิงในการขนส่งได้ การ ัดหา ูประกอบการรถบรรทุก นส่ง บริษทั เปนผูใ้ ห้บริการขนส่งด้วยร บรรทุกหัวลาก-หางพ่วงแก่ลกู ค้าด้วยตัวเอง ยกเว้นในบางช่วงเวลาทีจ่ าำ นวนร บรรทุกไม่เพียงพอที่ จะให้บริการแก่ลูกค้า โดยบริษัทจะติดต่อกับผู้ประกอบการร บรรทุกขนส่ง ( utsource) รายอื่นให้มารับงานต่อไป เพื่อให้สามาร รองรับ ความต้องการใช้บริการร บรรทุกขนส่งอย่างเพียงพอ โดยปัจจุบันบริษัทมีผู้ประกอบการขนส่งที่อยู่ใน Approved endor List ประมาณ 3 ราย โดยมีเกณฑ์ในการเลือกผู้ประกอบการ คือ เปนผู้ให้บริการในรูปแบบบริษัท โดยให้บริการขนส่งสินค้าเปนธุรกิจหลัก และต้องมี ประกัน ยั ร ยนต์และประกันสินค้าขัน้ ตำา่ 1,500,000 บาท มีความสามาร ในการให้บริการ มีปริมาณร และคุณ าพของร ตรงตามทีบ่ ริษทั ต้องการ 41
ั นตอนการดำ าเนินงาน หบริการ สรุป ันตอนการ หบริการ นส่งระห ่างประเทศ าออก ศึกษา อมูลและค ามตองการ องลูกคา นำาเสนอเสนทางการ นส่ง รูปแบบการ นส่ง และ ิธการ นส่งทเหมาะสม หกับลูกคาอย่างนอย 3 ทางเลอก เพอ หลูกคาพิ ารณาเลอกแ นการ ัดส่งทเหมาะสมทสุด กรณ และเครองบิน ะ องระ างเรอ เครองบิน เมอ ดรับการยนยัน ากลูกคา กรณ ะ องระ างเรอล่ งหนาและนำาพนทระ าง ปเสนอ ายแก่ลูกคา ส่งเอกสารยนยันรายละเอยดการ ัดส่ง หแก่ลูกคา เพอตร สอบค ามถูกตองและนัดหมายการส่งมอบสินคา
กรณการ นส่งแบบเตมตู คอนเทนเนอร์ สินคา ะถูกบรร ุ ส่ตูคอนเทนเนอร์ นสถานท องลูกคาแล ึงมาส่ง มอบ หบริษัททท่าเรอ
กรณการ นส่งแบบ ม่เตมตู คอนเทนเนอร์ ลูกคา ะส่งมอบสินคา หบริษัทท ท่าเรอ เพอบรร ุเ าตูคอนเทนเนอร์
กรณการ นส่งทางอากาศ ลูกคา ะส่งมอบสินคาท ท่าอากาศยาน
บตราส่ง หรอ บริษัท ัดส่ง ท ดรับ ากสายการเดินเรอ หรอ ท ดรับ ากสายการบิน เพอนำา ปรับสินคา
กรณลูกคาเปน ูรับ ิด อบ นการรับสินคาปลายทาง ัดส่งเอกสาร บตราส่ง หแก่ลูกคา พรอมออก เรยกเกบเงินลูกคา บริษัท ะประสานงาน กับตั แทนต่างประเทศ ่ ยติดตามสถานะ องสินคา นถึงเมองท่าปลายทาง
42
กรณลูกคา หบริษัทเปน ูดำาเนินการพิธการ ศุลกากรและส่งสินคาทปลายทาง . ดั เอกสาร บตราส่ง หแก่ลกู คา พรอมออก เรยกเกบเงินลูกคา . ัดเอกสาร บตราส่งและ หตั แทน นต่างประเทศ 3. ประสานงานกั บ ตั แทนต่ า งประเทศดำ า เนิ น การ พิธการศุลกากรตลอด นตร สอบส าพและส่ง มอบสินคา ห ูรับปลายทาง . ตั แทนยนยันการส่งมอบสินคา หบริษทั ทราบพรอม ทำา
สรุป ันตอนการ หบริการ นส่งระห ่างประเทศ าเ า ศึกษาค ามตองการ องลูกคา ูนำาเ า และนำาเสนอทางเลอก นการ หบริการนำาเ าสินคา ลูกคา ูนำาเ ายนยันการ บริการ นการนำาเ าสินคา กรณ ูส่งออกเปน ูดำาเนินพิธการศุลกากรและนำา สินคา ปส่งมอบ ณ ท่าเรอ สนามบิน ตนทาง
กรณตั แทน องบริษัท นต่างประเทศ เปน ูดำาเนินพิธการศุลกากรและรับสินคา ณ สถานท อง ูส่งออกทตนทาง
ตั แทน องบริษัท นต่างประเทศประสานงานกับสายเรอ สายการบิน นการแ งยนยันตารางเรอ หกับ ูส่งออกและลูกคา ูนำาเ า พรอมนัดหมาย ันททำาการบรร ุสินคา ึนเรอ เครองบิน ตั แทนบริษัท นต่างประเทศทำาการออกเอกสาร บตราส่งสินคา หกับ ูส่งออกทตนทาง หลัง ากสินคาออก าก เมองท่าตนทาง ประสานงานกับตั แทนบริษัท นต่างประเทศ นการติดตามสถานะ องสินคา และแ งลูกคา ูนำาเ าล่ งหนาก่อนทสินคา ะถึงปลายทาง เพอเตรยมเอกสาร นการนำาเ า กรณลูกคา ูนำาเ า เปน ูดำาเนินพิธการศุลกากรและรับสินคา ณ ท่าเรอ สนามบิน ทปลายทาง บริษัททำาการแ งสินคาถึงปลายทาง หแก่ลูกคา ูนำาเ า ประสานงานส่งมอบ บสังปล่อยสินคา หกับลูกคา ูนำาเ าพรอมเกบค่า ่าย นการ หบริการ
กรณบริษัทเปนตั แทนลูกคา ูนำาเ า นการดำาเนินพิธการศุลกากรและ นส่งสินคา นถึง สถานท องลูกคา ูนำาเ า บริษัททำาการแ งสินคาถึงปลายทาง หแก่ลูกคา ูนำาเ า ประสานงานเพอรับ บสังปล่อยสินคา ากสายเรอ สายการบิน เพอดำาเนินพิธการศุลกากร าเ า นัดหมายกับลูกคา ูนำาเ าเพอ ัดส่งสินค ณ สถานท องลูกคา ูนำาเ าพรอมเกบค่า ่าย นการ หบริการ
กรณลูกคาเปน ูรับ ิด อบ นการส่งสินคาทปลายทาง ัดส่งเอกสาร บสังปล่อยสินคา หแก่ลูกคา พรอมออก เรยกเกบเงินลูกคา
กรณลูกคา หบริษัท เปน ูดำาเนินการพิธการศุลกากรทปลายทาง . ดั เตรยมเอกสาร บสังปล่อยสินคาและ เพอดำาเนินการพิธการศุลกากร . ตร สอบส าพและส่งมอบสินคา ห รัู บปลายทาง พรอมออก เรยกเกบเงินลูกคา 43
เพื่อให้เกิดประสิทธิ าพในการจัดการด้านกระบวนการให้บริการ บริษัทได้พั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยเพิ่มศักย าพ และลดความซ้ำาซ้อนในการทำางาน มีระบบตรวจวัดที่มีประสิทธิ าพ เพื่อตรวจสอบระยะเวลาในการทำางานในแต่ละส่วนงานให้เปนไปตาม เปาหมายคุณ าพที่บริษัทกำาหนด
สรุปการเ าร่ มเปน าคสมา ิก
ทัง นและต่างประเทศ
เพื่อให้เกิดประสิทธิ าพในการจัดการด้านกระบวนการให้บริการ บริษัทได้พั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยเพิ่มศักย าพ และลดความซ้ำาซ้อนในการทำางาน มีระบบตรวจวัดที่มีประสิทธิ าพ เพื่อตรวจสอบระยะเวลาในการทำางานในแต่ละส่วนงานให้เปนไปตาม เปาหมายคุณ าพที่บริษัทกำาหนด อสมาคม
ตราสัญลักษณ์
สมาคม นประเทศ สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Thai International Freight Forwarders Association: TIFFA) สมาคมตัวแทนขนส่งสินค้าทางอากาศไทย (Thai Airfreight Forwarders Association: TAFA) สมาคมชิปปิงแห่งประเทศไทย (The Customs Broker and Transportation Association of Thailand: CTAT) หอการค้าไทย (The Thai Chamber of Commerce Member ship) สมาคมต่างประเทศ C LN ายใต้ WCA Family Network
บริษัททเปน ันทเปน สมา ิก สมา ิก
นั สินสุดการ เปนสมา ิก
WICE SUN
6 ก.พ. 45 10 พ.ย. 48
ไม่มีกำาหนด ไม่มีกำาหนด
WICE SUN
ป 2547 ป 2550
31 ม.ค. 61 31 ม.ค. 61
WICE
12 ก.พ. 57
11 ก.พ. 61
WICE SUN
17 ส.ค. 53 17 ส.ค. 53
ไม่มีกำาหนด ไม่มีกำาหนด
WICE SUN
26 ต.ค. 48 26 ต.ค. 48
25 ต.ค. 60 25 ต.ค. 60
หมายเหตุ:ในการเข้าร่วมเปนสมาชิกจะมีค่าสมาชิกรายป WCA Family Network เปนเครือข่ายกิจการบริการการขนส่งทีใ่ หญ่ มีสมาชิกกว่า 5,700 บริษทั ใน 189ประเทศ โดย WCA ประกอบ ด้วย เครือข่ายจำานวนมากและความชำานาญในการให้บริการ สิทธิประ ย น์ องสมา ิก 1. รายชื่อสมาชิกจะเข้าไปอยู่ใน list เพื่อง่ายต่อการหาและเลือกใช้งาน 2. Financial Protection Plan เปนการเสนอครอบคลุมวงเงินทีไ่ ม่ได้รบั ชำาระจากสมาชิกลูกหนี ้ ให้สมาชิกเจ้าหนีส้ งู สุด 50,000 USD
44
3. การประชุมเครือข่ายประจำาปเพื่อให้ประเทศสมาชิกมาพบปะและร่วมเจรจาธุรกิจในรูปแบบ Workshop เปนการส่งเสริมความ สัมพันธ์และแลกเปลีย่ นความร่วมมือระหว่างกัน โดยแต่ละประเทศสามาร นัดหมายเพือ่ พบปะเจรจากันในงานนี ้ ทำาให้ลดค่าใช้จา่ ย ในการเดินทางไปเจรจาในแต่ละประเทศ 4. ช่วยจัดการปัญหาข้อพิพาทระหว่างสมาชิก ลกระทบต่อสิงแ ดลอม บริษัทไม่มีข้อพิพาทใด เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และไม่มีประวัติกระทำาความผิดตามก ระเบียบเกี่ยวกับก หมายสิ่งแวดล้อมกับ หน่วยงาน าครั สำาหรับการให้บริการขนส่งด้วยร บรรทุกอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในเรื่องของมล าวะทางอากาศอันเกิดจากควัน จากท่อไอเสียของร ขนส่ง ทั้งนี้ บริษัทและบริษัทย่อยได้ตระหนัก ึงผลกระทบดังกล่าว จึงได้มีการให้ความรู้เจ้าหน้าที่พนักงานในการดูแล และตรวจสอบส าพร อย่างสม่ำาเสมอเพื่อให้เปนไปตามก เกณฑ์ของหน่วยราชการ สิทธิประ ย น์ ากบัตรส่งเสริมการลงทุน ากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน - ไม่มี - งานทยัง ม่ ดส่งมอบ - ไม่มี
45
ั
า ส
จากลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั การให้บริการประเ ทโลจิสติกส์ นัน้ ต้องคำานึง งึ ปัจจัยต่าง มากมายทีจ่ ะส่งเสริมให้บริษทั สามาร บรรลุวตั ปุ ระสงค์และเปาหมายของบริษทั ทีต่ งั้ ไว้ได้ ตลอดจนรักษาคุณ าพการให้บริการ เพือ่ ให้ลกู ค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุดทัง้ ใน ด้านของคุณ าพการบริการ การประเมินปัจจัยความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบให้บริษัทไม่สามาร บรรลุเปาประสงค์ได้ก็มีความสำาคัญเช่นกัน ดังนั้นบริษัท ได้วิเคราะห์ปัจจัยความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น และส่งผลกระทบต่อการดำาเนินงานในอนาคตไว้ ดังนี้
า ส
าร ร
บร
ค ามเสยง ากค าม ัน น องค่าระ าง ต้นทุนค่าระวางเรือ/เครือ่ งบิน อื เปนต้นทุนหลักในการดำาเนินธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ โดยในป 2555 - ป 2558 ต้นทุนดังกล่าวคิดเปนสัดส่วนประมาณร้อยละ 83.69 ร้อยละ 78.59 ร้อยละ 78.77. และร้อยละ 79.79. ของต้นทุนรวม ตามลำาดับ ดังนั้น ความผันผวนของค่าระวางซึง่ เปลีย่ นแปลงไปตามอุปสงค์และอุปทานในตลาด มีผลกระทบต่อต้นทุนการให้บริการและอัตรากำาไรสุทธิของกลุม่ บริษทั หากกรณีทบี่ ริษทั ไม่สามาร ปรับราคาค่าบริการเพิม่ ตามต้นทุนค่าระวางทีม่ กี ารปรับตัวขึน้ ได้ ทัง้ นีก้ ลุม่ บริษทั ได้ตระหนัก งึ ความเสีย่ ง ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากความผันผวนของค่าระวาง จึงให้ความสำาคัญตัง้ แต่การจัดหาระวาง โดยมีการคาดการณ์ปริมาณความต้องการของลูกค้าและ จองระวางในปริมาณมาก เพื่อเพิ่มอำานาจในการต่อรองค่าระวาง และมีการจัดทำาเปนสัญญา โดยในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงราคาตามที่ระบุ ในสัญญา สายการเดินเรือจะต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน นอกจากนี้บริษัท และบริษัทย่อยจะตรวจสอบราคาค่าระวางอย่างใกล้ชิด เพือ่ คาดการณ์ส านการณ์และแนวโน้มของค่าระวาง ทำาให้บริษทั และบริษทั ย่อยสามาร กำาหนดราคาค่าบริการให้มสี ว่ นต่างกำาไรในระดับ ที่จะสามาร รองรับการเปลี่ยนแปลงของราคาค่าระวางได้ในระดับหนึ่ง โดยปกติการจัดทำาสัญญากับสายเดินเรือ (เส้นทางไทย สหรั อเมริกา) จะมีการระบุปริมาณการซื้อระวางขั้นตำ่า ซึ่งจะไม่มีการระบุ ค่าปรับในสัญญา ทัง้ นี ้ สัญญาบริการกับสายการเดินเรือแห่งหนึง่ (เส้นทางไทย - สหรั อเมริกา) ระบุวา่ ในกรณีทบี่ ริษทั ไม่สามาร ขายระวางเรือ ตามปริมาณขั้นตำ่าที่ตกลงในสัญญา บริษัท จะโดนปรับ (Deficit Charges) ในอัตรา 250 เหรียญสหรั อเมริกาต่อ FEU (Forty Foot E uipment Unit หรือ ตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟุต) อย่างไรก็ตามบริษัท จะมีการประเมินปริมาณงานจากข้อมูลในอดีตและประเมิน แนวโน้มงานที่คาดว่าจะได้รับก่อนที่จะลงนามในสัญญา เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามาร ขายระวางได้ตามที่ตกลงในสัญญา ในกรณีที่เรือเต็ม สายการเดินเรือจะป ิเสธการจองระวางเรือ ซึ่งบริษัท จะสามาร ลดยอด M C (Minmum uantity Commitment) ได้ โดยที่ผ่านมา บริษัท ไม่เคยโดยค่าปรับดังกล่าว
ค ามเสยง ากค ามรับ ิด อบ นตั สินคา กรณเกิดค ามเสยหาย เนือ่ งจากบริษทั และบริษทั ย่อยประกอบธุรกิจเปนผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศแบบครบวงจร จึงอาจมีความเสีย่ งจากความ เสียหายของตัวสินค้าระหว่างขนส่งที่อาจเกิดขึ้นได้ กรณีที่เกิดความเสียหายกับสินค้าของลูกค้าและได้มีการพิสูจน์ได้ว่าเปนการขนส่งที่อยู่ ในความรับผิดชอบของบริษัท ในเบื้องต้นบริษัทประกัน ัยจะเปนผู้รับผิดชอบชดเชยความเสียหายให้กับลูกค้า โดยบริษัท จะช่วยสืบหา ข้อเท็จจริงและติดตามการชดเชยความเสียหายให้กับลูกค้า ดั้งนั้น บริษัท จึงให้ความสำาคัญในการคัดเลือกสายการเดินเรือ/สายการบิน รวม งึ ผูป้ ระกอบการร ขนส่ง ( utsource) เพือ่ ลดความเสีย่ งจากความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับสินค้า และให้ความสำาคัญในการคัดเลือก บริษทั ประกัน ยั ทีม่ มี าตร านและเปนทีย่ อมรับทัว่ ไป เพือ่ ให้เกิดความสะดวกในการขอชดเชยความเสียหาย ทัง้ นี ้ ในระยะเวลา 5 ปทีผ่ า่ นมา บริษัท และบริษัทย่อยยังไม่เคยชำาระค่าชดเชยให้กับลูกค้ากรณีเกิดความเสียหายในตัวสินค้าอันส่งผลกระทบต่อผลการดำาเนินงาน ของบริษัท และบริษัทย่อยอย่างมีนัยสำาคัญ
ค ามเสยง นการแ ่ง ัน ผูป้ ระกอบการธุรกิจโลจิสติกส์ในประเทศไทย มี 5 กลุม่ หลัก ได้แก่ ผูป้ ระกอบการขนส่งทางบก ขนส่งทางนำา้ ขนส่งทางอากาศ ตัวแทน ของและตัวแทนขนส่ง และคลังสินค้า รวมกว่า 10,000 บริษัท และกว่าร้อยละ 80 เปนผู้ประกอบการขนส่งขนาดย่อมและขนาดกลางหรือ 46
SMEs ซึ่งคู่แข่งรายใหม่สามาร เข้ามาแข่งขันในอุตสาหกรรมได้ง่าย เนื่องจากสามาร เริ่มต้นธุรกิจได้ตั้งแต่ขนาดเล็กด้วยเงินลงทุนไม่สูงมาก อาศัยความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและสายการเดินเรือ/สายการบิน อย่างไรก็ตาม การแข่งขันในธุรกิจจะเน้นที่ความชำานาญในเส้นทางและ ประเ ทของสินค้า ความยืดหยุน่ ในการจัดหาเส้นทางขนส่งตามงบประมาณของลูกค้า ความรวดเร็วในการตอบสนองต่อลูกค้า รวม งึ เครือข่าย ที่มีคุณ าพและความยืดหยุ่นของการให้บริการในราคาที่เหมาะสมและตรงตามความต้องการของลูกค้า โดยบริษัทมีประสบการณ์และมี ความเชี่ยวชาญในธุรกิจและมีความเชี่ยวชาญในธุรกิจ มีการนำาเสนอบริการที่ครบวงจร ตลอดจนให้คำาปรึกษาในการจัดการระบบโลจิสติกส์ เพื่อให้สามาร ประหยัดต้นทุนให้ลูกค้า ซึ่งบริษัทได้รับความไว้วางใจจากลูกค้ามาตลอดกว่า 20 ป
ค ามเสยง ากการพึงพิงการ หบริการรับ ัดการ นส่งเสนทาง ทย สหรั อเมริกา บริษัท มีความเชี่ยวชาญในเส้นทางการขนส่งสินค้าทางทะเล ไทย - สหรั อเมริกา มากว่า 20 ป สามาร รับและส่งมอบสินค้าได้ ทุกรั ของประเทศสหรั อเมริกาในรูปแบบประตูสู่ประตู (Door to Door) ทั้งประเ ทขนส่งแบบเต็มตู้ (FCL) และแบบไม่เต็มตู้ (LCL) ทำาให้ บริษทั มีรายได้จากการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางทะเล (Sea Freight) เส้นทางไทย - คิดเปนสัดส่วนเ ลีย่ (ป 2555 - ป 2559) ประมาณร้อยละ 14.20 ของรายได้จากการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางทะเล ดังนั้น แนวโน้มของรายได้ ดังกล่าวจะมีทิศทางเปนไปตาม าวะเศรษ กิจของประเทศสหรั อเมริกา อย่างไรก็ตาม การให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศของบริษัท จะให้บริการหลากหลายเส้นทาง ( outing Diversification) เพื่อเปนการกระจายความเสี่ยงจากปัจจัยลบทางเศรษ กิจของแต่ละ ูมิ าค โดยเส้นทางระยะไกลไปยังทวีปอเมริกา จะมียอดขายสูงกว่าเมือ่ เทียบกับเส้นทางระยะสัน้ ใน มู ิ าคเอเชียแปซิฟกิ แต่กจ็ ะมีอตั รากำาไรขัน้ ต้นทีต่ าำ่ กว่า โดยทีบ่ ริษทั เห็นว่าการรักษา การให้บริการในเส้นทางระยะไกลจะทำาให้บริษัทเกิดความได้เปรียบในเรื่องความสามาร ในการแข่งขัน ในขณะที่อัตราค่าระวางเรือในการ ขนส่งมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่การให้บริการในเส้นทางระยะสั้นจะมีอัตรากำาไรที่ดีกว่า แต่การแข่งขันที่สูงกว่าเช่นกัน ดังนั้น การทำาธุรกิจ ของบริษัท ก็จะพิจารณา ทั้งการเพิ่มขึ้นของยอดขายและการรักษาความสามาร ในการทำากำาไร ทั้งนี้ สัดส่วนรายได้ในเส้นทาง ประเทศ ญี่ปุน ประเทศจีน ประเทศสิงคโปร์ ประเทศออสเตรเลีย สัดส่วนรายได้เ ลี่ย ((ป 2555 - ป 2559) ของประเทศดังกล่าว รวมกันประมาณ ร้อยละ 43.14 ของรายได้จากการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางทะเล
ค ามเสยง ากการพึงพิงบุคลากร เนื่องจากธุรกิจของบริษัท ต้องใช้ความรู้ความชำานาญ รวม ึงประสบการณ์ของผู้บริหารและบุคลากรในการดำาเนินงาน จึงจำาเปน ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในก ระเบียบต่าง ทั้งในประเทศและต่างประเทศสำาหรับการส่งออกหรือนำาเข้า รวม ึงผู้ได้รับ ใบอนุญาตเปนผูช้ าำ นาญการศุลกากรประจำาบริษทั และบริษทั ย่อย เพือ่ ให้คาำ แนะนำาแก่พนักงานในส่วนงานต่าง ได้ซงึ่ จะทำาให้ลกู ค้าทีม่ าใช้ บริการเกิดความมัน่ ใจและเกิดความพึงพอใจต่อการให้บริการ ในกรณีทบี่ ริษทั เกิดการขาดแคลนบุคลกรดังกล่าว อาจส่งผลต่อการดำาเนินงาน บริษัท ได้ตระหนัก ึงความสำาคัญของทรัพยากรบุคคล ซึ่งเปนหัวใจสำาคัญของการดำาเนินธุรกิจ บริษัท จึงมีนโยบายส่งเสริม การพั นาบุคลากรเพือ่ เพิม่ พูนความรู ้ ทักษะ และประสิทธิ าพในการทำางาน โดยจัดให้มกี าร กอบรมพนักงานทัง้ พนักงานเก่าและพนักงานใหม่ อย่างสมำ่าเสมอ บริษัทมีการจัดทำาแผนการอบรมพนักงานประจำาป โดยพนักงานแต่ละคนต้องได้เข้าอบรมอย่างน้อย 5 หลักสูตรต่อป เพื่อให้ เกิดความรูค้ วามสามาร และทักษะให้แก่พนักงานในการป บิ ตั งิ าน นอกจากนี ้ บริษทั ยังจัดให้มกี ารทำางานแบบคูห่ ู (Buddy) เพือ่ ให้พนักงาน สามาร ทำางานทดแทนกันได้ ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงของบริษัทในการพึ่งบุคลากรคนใดคนหนึ่ง ตลอดจนจัดให้มีการประเมินผลการป ิบัติงาน เพื่อกำาหนดและพิจารณาผลตอบแทนที่เหมาะสม โดยพนักงานของบริษัทและบริษัทย่อยมีอายุการทำางานเ ลี่ย 5 ป และมีอายุการทำางาน เ ลี่ยของผู้บริหารไม่ตำ่ากว่า 20 ป ทั้งนี้ บริษัท มีนโยบายให้พนักงานมีส่วนร่วมในความเปนเจ้าของบริษัท (Sense of Belongings) โดยในการประชุมวิสามัญผู้ ือหุ้น ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2558 มีมติอนุมัติให้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ให้กับพนักงานและผู้บริหาร (ที่ไม่ใช่กรรมการ) ของบริษัท จำานวน 7.50 ล้านหุ้น พร้อมกับการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชนในครั้งนี้ เพื่อสร้างขวัญกำาลังใจและรักษาบุคลากร ที่มีความสามาร ให้อยู่กับองค์กร บริษัทจึงคาดว่านโยบายดังกล่าวข้างต้นจะสามาร รักษาบุคลากรของบริษัทไว้ได้
47
ค ามเสยง ากค าม ัน น องอัตราแลกเปลยนเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากบริษัท ประกอบธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ บริษัท อาจได้รับความเสี่ยงจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจากรายได้และต้นทุนในรูปสกุลเงินตราต่างประเทศ โดยบริษัท มีรายได้เปนสกุลเงินตราต่างประเทศ คิดเปนสัดส่วนเ ลี่ย (ป 2555 - ป 2559) ประมาณร้อยละ 81.02 ของรายได้จากการให้บริการ ซึ่งหากเงินบาทแข็งค่าขึ้นย่อมส่งผลต่อ รายได้ที่ได้รับลดลง และมีต้นทุนเปนสกุลเงินต่างประเทศ คิดเปนสัดส่วนเ ลี่ย (ป 2555 - ป 2559) ประมาณร้อยละ 79.79. ของต้นทุน บริการรวม ซึ่งในกรณีที่เงินบาทอ่อนค่าลง จะส่งผลต่อต้นทุนที่สูงขึ้น ดังนั้น ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศย่อมส่ง ผลกระทบต่อ านะทางการเงินและผลการดำาเนินงานของบริษัท ทั้งนี้ ต้นทุนในรูปสกุลเงินตราต่างประเทศดังกล่าวเกิดจากการที่บริษัท มีพันธมิตรทางการค้าที่เปนผู้ประกอบการในธุรกิจจัดการ ขนส่งในต่างประเทศเพื่อทำาหน้าที่เปนตัวแทนให้บริษัท ในการประสานงานเพื่อให้บริการลูกค้า ในทางกลับกันบริษัท ก็มีรายได้จากการ เปนพันธมิตรทางการค้าด้วยเช่นกัน การทีบ่ ริษทั มีรายได้และต้นทุนในรูปสกุลเงินตราต่างประเทศจึง อื เปนการปองกันความเสีย่ งจากอัตรา แลกเปลี่ยนตามธรรมชาติ (Natural Hedge) เปนบางส่วน โดยบริษัท จะมีการติดตามข่าวสารและความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน อย่างใกล้ชิดตลอดเวลา เพื่อจะประเมินส านการณ์และหาทางปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน โดยที่ผ่านมาผลกระทบจากอัตรา แลกเปลี่ยนไม่จัดว่ามีนัยสำาคัญต่อผลประกอบการโดยรวมของบริษัท
ค ามเสยงดานการบริหาร ัดการ ค ามเสยง ากการม ูถอหุนราย หญ่ทมอำานา กำาหนดน ยบายการบริหาร ณ วันที่ 11 มกราคม 2560 นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร ือหุ้นรวมกันในบริษัท คิดเปนร้อยละ 40.38 ของทุน ชำาระแล้ว ทำาให้คณ ุ อารยา คงสุนทร และ คุณชูเดช คงสุนทร ยังคงสามาร ควบคุมมติทปี่ ระชุมผู้ อื หุน้ ได้เกือบทัง้ หมด ไม่วา่ จะเปนการแต่งตัง้ กรรมการ หรือการขอมติในเรือ่ งอืน่ ทีต่ อ้ งใช้เสียงส่วนใหญ่ของทีป่ ระชุมผู้ อื หุน้ ยกเว้นเรือ่ งทีก่ หมายหรือข้อบังคับบริษทั กำาหนดให้ตอ้ งได้รบั คะแนนเสียง 3 ใน 4 ของทีป่ ระชุมผู้ อื หุน้ เช่น การเพิม่ ทุน การลดทุน การขายหรือโอนกิจการบางส่วนหรือทัง้ หมด เปนต้น ดังนัน้ ดังนัน้ ผู้ อื หุน้ รายอื่นของบริษัท จึงมีความเสี่ยงในการไม่สามาร รวบรวมคะแนนเสียงเพื่อ ่วงดุลเรื่องที่ผู้ ือหุ้นใหญ่เสนอให้ที่ประชุมผู้ ือหุ้นพิจารณา อย่างไรก็ตามเพือ่ ให้การดำาเนินธุรกิจของบริษทั เปนไปอย่างโปร่งใส และ ว่ งดุลอำานาจดังกล่าว บริษทั ได้พจิ ารณาปรับโครงสร้าง องค์กรใหม่เพื่อให้การบริหารจัดการมีประสิทธิ าพมากขึ้นสามาร ตรวจสอบได้ และมีการ ่วงดุลอำานาจจึงคณะกรรมการบริษัทได้มีการ แต่งตั้งกรรมการอิสระจำานวน 4 ท่าน โดยเปนกรรมการตรวจสอบ จำานวน 3 ท่าน และประธานกรรมการบริษัทจำานวน 1 ท่านโดยบริษัท มีกรรมการบริษัทรวมกรรมการตรวจสอบทั้งสิ้น 8 ท่าน ในจำานวนนี้มีกรรมการที่ไม่ใช่กลุ่มผู้ ือหุ้นรายใหญ่ 4 ท่าน นอกจากนี้บริษัท ยังจัด ให้มี ายตรวจสอบ ายในทีป่ บิ ตั งิ านเปนอิสระตามความเหมาะสมและขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีหน้าทีห่ ลักในการดูแลระบบ การควบคุม ายในเพื่อให้เปนไปตามระบบที่ได้กำาหนดไว้ และตรวจสอบการดำาเนินงานของ ายบริหารเพื่อให้เกิดความโปร่งใส นอกจากนี้ ในกรณีเข้าทำารายการที่เกี่ยวโยงกันกับกรรมการ ผู้ ือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำานาจควบคุมในกิจการที่เกี่ยวข้อง รวม ึงบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง บุคคลดังกล่าวจะไม่มีสิทธิออกเสียงในการอนุมัติรายการดังกล่าว และในการอนุมัติรายการจะต้องป ิบัติตามหลักเกณฑ์ของสำานักงาน กลต. และตลาดหลักทรัพย์
48
า า
า
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัท ไม่มีข้อพิพาททางก หมายซึ่งอาจมีผลกระทบต่อทรัพย์สินของบริษัท ที่มีจำานวนสูงกว่า ร้อยละ 5 ของส่วนของผู้ ือหุ้น และไม่มีข้อพิพาททางก หมายใดที่มีผลกระทบในเชิงลบต่อการดำาเนินธุรกิจของบริษัท อย่างมีนัยสำาคัญ ทั้งนี้ ในป 2559 บริษัทแห่งหนึ่งได้ฟองร้องบริษัทย่อยในคดีแพ่ง เพื่อเรียกร้องให้ชดใช้ค่าเสียหายจากการรับขนส่งสินค้าระหว่าง ประเทศ โดยบริษัทดังกล่าวได้ฟองต่อศาลให้บริษัทย่อยชดใช้ค่าเสียหายเปนจำานวน 3.1 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อป นับ ัดจาดวันฟองจนกว่าบริษัทย่อยจะชำาระเงินให้แก่บริษัทดังกล่าวเสร็จสิ้น ต่อมาในระหว่างไตรมาสที่ 3/2559 ศาลทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศกลางได้มีคำาพิพากษาให้บริษัทย่อยชดใช้ค่าเสียหายให้แก่บริษัทดังกล่าวเปนเงินจำานวน 0.4 ล้านบาท ตาม คำาพิพากษาที่ กค.159/2559 ลงวันที่ 18 สิงหาคม 2559 โดยบริษัทย่อยได้จ่ายเงินชำาระค่าเสียหายและบันทึกการจ่ายเงินชดเชยค่าเสียหาย ดังกล่าวเปนค่าใช้จ่ายในงบกำาไรขาดทุน
49
รั ส
าร ร
บร
รายละเอยดสินทรัพย์ท นการประกอบธุรกิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพย์ าวรที่บริษัทใช้ในการประกอบธุรกิจมีมูลค่าสุทธิหลังหักค่าเสื่อมราคาสะสมเท่ากับ 150.72 ล้านบาท รายละเอียดสินทรัพย์ าวร แสดงได้ดังนี้
ลักษณะกรรมสิทธิ
มูลค่าสุทธิ หลังหักค่าเสอมราคาสะสม (บาท)
1. ที่ดิน โ นดเลขที่ 69738 เนื้อที่ 6 ไร่ 0 งาน 70 ตารางวา ที่ตั้ง ตำาบลหน่องขาม อำาเ อศรีราชา จังหวัดชลบุรี
เปนเจ้าของ
23,800,000
ไม่มี
2. อาคารและส่วนปรับปรุง ส านที่จอดร และวางตู้สินค้า
เปนเจ้าของ เปนเจ้าของ
18,294,148 14,784,046
ไม่มี
3. เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้สำานักงาน
เปนเจ้าของ
8,059,338
ไม่มี
4. ยานพาหนะ
เปนเจ้าของ
44,411,721
ไม่มี
เปนผู้เช่า (เช่าการเงิน)
41,368,510
ไม่มี
ประเ ท องสินทรัพย์
าระผูกพัน
สินทรัพย์ถา ร
รม
50
150,717,763
ดังนี้
นอกจากทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจของบริษัทดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษัทได้เช่าพื้นที่สำานักงาน โดยมีรายละเอียดสัญญาเช่า สัญญาเ ่า
รายละเอยด องสัญญา
1. สัญญาเช่าที่ดินเพื่อปลูกสร้างอาคาร โ นดเลขที่ 53901 เลขที่ดิน 376 หน้าสำารวจ 11348 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร เนื้อที่ดิน 1 งาน 70 2/10 ตารางวา
ผู้เช่า : ผู้ให้เช่า : ระยะเวลา : ค่าเช่า : วัต ุประสงค์ :
WICE นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร (เปนกรรมการและผู้ ือหุ้นของบริษัท) 1 กรก าคม 2557 30 มิ ุนายน 2577 ปที่ 1 - 2 เดือนละ 92,674 บาท ปที่ 3 - 5 เดือนละ 101,941 บาท ปที่ 6 - 8 เดือนละ 112,135 บาท ปที่ 9 - 11 เดือนละ 123,349 บาท ปที่ 12 -14 เดือนละ 135,684 บาท ปที่ 15 -17 เดือนละ 149,252 บาท ปที่ 18 -20 เดือนละ 164,177 บาท รวมค่าเช่าทั้งสิ้นจำานวน 30,539,586 บาท เพื่อใช้เปนสำานักงานใหญ่ของบริษัท
2. สัญญาเช่าที่ดินและอาคาร - โ นดเลขที่ 164087 เลขที่ดิน 5612 หน้าสำารวจ 32222 ตำาบลสุรศักดิ อำาเ อศรีราชา จังหวัดชลบุรี เนื้อที่ดิน 42 ตารางวา - อาคารพาณิชย์บนที่ดินดังกล่าวจำานวน 3 ชั้น 2 คูหา
ผู้เช่า : ผู้ให้เช่า : ระยะเวลา : ค่าเช่า : วัต ุประสงค์ :
WICE นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร (เปนกรรมการและผู้ ือหุ้นของบริษัท) 1 สิงหาคม 2557 1 สิงหาคม 2560 31,000 บาทต่อเดือน เพื่อใช้เปนหน่วยบริการของบริษัทที่แหลม บัง
3. สัญญาเช่าอาคารของ SUN - พื้นที่ห้องของอาคารเลขที่ 88/8 ชั้นที่ 4 นนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร
ผู้เช่า : SUN (บริษัทย่อย) ผู้ให้เช่า : WICE ระยะเวลา : 1 มกราคม 2559 31 ธันวาคม 2559 พื้นที่เช่า : 308 ตารางเมตร ค่าเช่า : 55,400 บาทต่อเดือน ค่าบริการ : 55,400 บาทต่อเดือน วัต ุประสงค์ : เพื่อใช้เปนสำานักงานใหญ่ของบริษัทย่อย
4. สัญญาเช่าสำานักงาน สาขาสุวรรณ ูมิ - ห้อง ายในอาคารตัวแทนขนส่งสินค้าทางอากาศ ท่าอากาศยานสุวรรณ ูมิ - อาคาร A 3 หมายเลข 11 (ชั้น 4)
ผู้เช่า ผู้ให้เช่า ระยะเวลา พื้นที่เช่า ค่าเช่า วัต ุประสงค์
: : : : : :
SUN (บริษัทย่อย) บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำากัด (มหาชน) 1 กรก าคม 2557 - 30 มิ ุนายน 2560 51.25 ตารางเมตร 17,937.50 บาทต่อเดือน เพื่อใช้เปนสาขาของบริษัทย่อย
รายละเอยดสินทรัพย์ ม่มตั ตนท นการประกอบธุรกิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่บริษัทใช้ในการประกอบธุรกิจประกอบด้วย 1. ความสัมพันธ์ของกลุ่มลูกค้า มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ เท่ากับ 247.57 ล้านบาท 2. สิทธิในการซื้อหุ้นเพิ่ม มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ เท่ากับ 3.88 ล้านบาท 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ เท่ากับ 7.39 ล้านบาท 51
าร า ับ
าร
คณะกรรมการบริษทั มีเจตนารมณ์มงุ่ มัน่ ทีจ่ ะดำาเนินธุรกิจ ายใต้หลักการกำากับดูแลกิจการทีด่ ี ตามหลักเกณฑ์การกำากับดูแลกิจการทีด่ ี และระเบียบป ิบัติของคณะกรรมการกำากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพื่อนำามาเปน ปัจจัยหลักในการเสริมสร้างองค์กรให้มีระบบการบริหารงานที่มีประสิทธิ าพ ซึ่งสามาร สรุปสาระสำาคัญการดำาเนินการด้านการกำากับดูแล กิจการมีดังนี้
บา าร า ับ
าร
คณะกรรมการบริษัท ให้ความสำาคัญในการกำากับดูแลกิจการที่ดี โดยได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อย ขึ้น 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะมีหน้าที่ และความรับผิดชอบในการดำาเนินการเกีย่ วกับการกำากับดูแลกิจการด้วย ทัง้ นีเ้ พือ่ ช่วยกลัน่ กรองงานทีม่ คี วามสำาคัญอย่างรอบคอบ ายใต้หลัก การกำากับดูแลกิจการทีด่ ี มุง่ เน้นการสร้างประโยชน์สงู สุดให้แก่ผู้ อื หุน้ โดยคำานึง งึ ผูท้ มี่ สี ว่ นได้สว่ นเสียโดยรวมมีคณ ุ ธรรมในการดำาเนินธุรกิจ มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ คณะกรรมการเ พาะเรือ่ งทุกคณะประกอบด้วยกรรมการ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละหน้าทีร่ บั ผิดชอบตามข้อกำาหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีการกำาหนดบทบาท าระหน้าที่ความรับผิดชอบเปนลายลักษณ์อักษรไว้อย่างชัดเจน หลักการกำากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท มีเนื้อหาแบ่งเปน 5 หมวด ได้แก่ 1) สิทธิของผู้ ือหุ้น ( ights of shareholders) 2) การป ิบัติต่อผู้ ือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (E uitable treatment of shareholders) 3) บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ( ole of stakeholders) 4) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and transparency) 5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ( esponsibilities of Board)
. สิทธิ อง ูถอหุน บริษทั ได้ตระหนัก งึ สิทธิของผู้ อื หุน้ ทุกราย โดยคำานึง งึ สิทธิขนั้ พืน้ านทีผ่ ู้ อื หุน้ พึงได้รบั ตามทีก่ หมายและข้อบังคับกำาหนด และการป ิบัติต่อผู้ ือหุ้นอย่างเท่าเทียมและเปนธรรม เช่นการกำาหนดนโยบายและแนวป ิบัติต่าง ตามหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดี การ เปิดเผยข้อมูลที่ ูกต้อง โปร่งใส และทันเวลา เปนต้น ทั้งนี้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน
. การประ ุม ูถอหุน
ก่อน ันประ ุม
• บริษัท ให้สิทธิแก่ผู้ ือหุ้นเสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ ือหุ้น และเสนอชื่อบุคคลเพื่อดำารงตำาแหน่งกรรมการ เปนการล่วงหน้า ตั้งแต่วันที่ 31 ตุลาคม ึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 โดยแจ้งผ่านระบบสารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์ของบริษัท
•
บริษัท แจ้งกำาหนเการประชุมสามัญผู้ ือหุ้นประจำาป 2558 และระเบียบวาระการประชุมให้ผู้ ือหุ้นทราบผ่ายระบบ สารสนเทศตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์บริษัท ล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่น้อยกว่า 30 วัน
•
บริษัท จัดส่งหนังสือเชิญประชุมและรายละเอียดระเบียบวาระการประชุมซึ่งประกอบด้วย วัต ุประสงค์ เหตุผล และ ความเห็นของคณะกรรมการบริษัท พร้อมทั้งหนังสือมอบอำานาจ ันทะ บับ าษาไทยและ าษาอังก ษ และแจ้งการเผย แพร่เอกสารการประชุมยังผู้ อื หุน้ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 28 วัน เพือ่ ให้ผู้ อื หุน้ มีเวลาในการศึกษาข้อมูลและ พิจารณาการลงมติ
52
•
บริษัท ได้ลงประกาศหนังสือเชิญประชุมลงในหนังสือพิมพ์ติดต่อกัน 3 วัน และก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน และได้ นำาหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบเปิดเผยในเว็บไซต์ของบริษัท ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 30 วัน
•
กรณีที่ผู้ ือหุ้นไม่สามาร เข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง ผู้ ือหุ้นสามาร ใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนตามหนังสือมอบ ันทะ ทีก่ าำ หนดโดยกรมพั นาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ แบบ ก หรือ ข. หรือ ค. และบริษทั ได้กาำ หนดให้มกี รรมการอิสระ จำานวน 3 คน เปนผู้รับมอบ ันทะแทนผู้ ือหุ้นในการเข้าประชุมและใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนน
•
•
ในการประชุมสามัญผู้ ือหุ้นประจำาป 2558 วันพุธที่ 20 เมษายน 2559 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม สุรศักดิ 1 โรงแรม อีสติน แกรนด์ สาทร กรุงเทพมหานคร บริษทั ได้อาำ นวยความสะดวกให้แก่ผู้ อื หุน้ ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง โดยให้บริษัท ควิดแลบ จำากัด นำาโปรแกรมการลงทะเบียน (E- oting) ตรวจนับคะแนนเสียงด้วยระบบ Barcode มาใช้ ในการประชุม และเพือ่ ความโปร่งใส บริษทั จึงจัดให้มผี ตู้ รวจสอบการนับคะแนนเสียงในการประชุมผู้ อื หุน้ จำานวน 3 คน โดยเปนผู้แทนจากสำานักงานก หมายและผู้แทนจากผู้ ือหุ้นที่อยู่ในการประชุม
คณะกรรมการบริษัท เข้าร่วมประชุม จำานวน 8 คน (ร้อยละ 100 ของจำานวนกรรมการทั้งหมด) ซึ่งรวม ึงประธาน คณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
•
ผู้บริหารระดับสูง เลขานุการบริษัท ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษาทางการเงินและสำานักงานก หมายเข้าร่วมประชุมเพื่อ ตอบคำา าม และรับทราบความคิดเห็นของผู้ ือหุ้น
•
•
ก่อนเริม่ ประชุม ประธานในทีป่ ระชุมแจ้งวิธกี ารลงคะแนนเสียงและนับคะแนนเสียงในแต่ละระเบียบวาระทัง้ นีก้ อ่ นลงมติ ทุกระเบียบวาระ ประธานในที่ประชุมได้เปิดโอกาสให้ผู้ ือหุ้นทุกรายมีสิทธิในการตรวจสอบการดำาเนินงานของบริษัท เปิดโอกาสให้สอบ าม แสดงความคิดเห็น โดยได้แจ้งผู้ ือหุ้นอ ิปราย ายในระยะเวลาอย่างเหมาะสม รวมทั้งให้สิทธิ เสนอแนะอย่างเท่าเทียมกัน ทัง้ นีก้ รรมการและผูบ้ ริหารตอบข้อซัก ามอย่างชัดเจนทุกคำา ามแล้วจึงให้ทปี่ ระชุมออกเสียง ลงมติ สำาหรับระเบียบวาระการเลือกตั้งกรรมการ ประธานแจ้งให้ผู้ ือหุ้นลงคะแนนในบัตรลงคะแนนเปนรายบุคคล
ประธานในที่ประชุมได้แจ้งผลการลงคะแนนในแต่ละระเบียบวาระการประชุมให้ที่ประชุมผู้ ือหุ้นทราบทั้งก่อนเสนอ ระเบียบวาระใหม่และก่อนสิ้นสุดการประชุม โดยประธานดำาเนินการประชุมให้สอดคล้องกับข้อบังคับบริษัท โดยได้ ประชุมตามลำาดับระเบียบวาระที่กำาหนดไว่ในหนังสือเชิญประชุม
ันประ ุม
ายหลังการประ ุม
•
บริษทั เผยแพร่มติทปี่ ระชุมผู้ อื หุน้ ประจำาป 2558 ผ่านระบบสารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์ และเว็บไซต์บริษทั ทันที เมื่อการประชุมสิ้นสุดลง
•
บริษัท ได้จัดทำารายงานการประชุมสามัญผุ้ ือหุ้น และจัดส่งให้ตลาดหลักทรัพย์ และสำานักงานคณะกรรมการกำากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกระทรวงพาณิชย์ ายใน 14 วันนับจากวันประชุม โดยได้บันทึกประเด็นต่าง ใน รายงานการประชุม พร้อมทั้งบันทึกมติที่ประชุมที่ชัดเจน และระบุผลการลงคะแนน ทั้งประเ ทเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง
•
สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยได้จัดทำาโครงการประเมินคุณ าพการจัดประชุมสามัญผู้ ือหุ้นประจำาป 2559 ซึ่งผลการ ประเมินดังกล่าว บริษัท ได้รับคะแนน 96.25 จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน
นอกจากการประชุมสามัญผู้ อื หุน้ ประจำาป แล้ว บริษทั มีการเรียกประชุมวิสามัญผู้ อื หุน้ ครัง้ ที ่ 1/2559 จัดขึน้ เมือ่ วันพ หัสบดีที่ 28 กรก าคม 2559 โดยมีระเบียบวาระหลักคือ การพิจารณาอนุมัติการซื้อหุ้นสามัญของบริษัท Sun Express Logistics Pte.Ltd. (SEL) และการอนุมัติการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่ โดยการประชุมวิสามัญผู้ ือหุ้นดังกล่าว บริษัท ได้ให้สิทธิต่อผู้ ือหุ้น และมีการป ิบัติ ต่อผู้ ือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันเช่นเดียวกับการประชุมสามัญผู้ ือหุ้นประจำาป
53
. การป ิบัติต่อ ูถอหุนอย่างเท่าเทยมกัน บริษัท ตระหนักดีว่าการดำาเนินการที่รักษาสิทธิพื้น านที่ผู้ ือหุ้นพึงได้รับและความเท่าเทียมกันของผู้ ือหุ้นทุกรายทั้งผู้ ือหุ้น ที่เปนผู้บริหารและผู้ ือหุ้นที่ไม่เปนผู้บริหารรวมทั้งผู้ ือหุ้นต่างชาติและผู้ ือหุ้นส่วนน้อยให้เปนไปตามที่ก หมายกำาหนดรวม ึงการจัดการ ที่เหมาะสม มีประสิทธิ าพและเปนที่ยอมรับของผู้ ือหุ้นและผู้เกี่ยวข้องทุก ายเพื่อเปนการกำากับดูแลกิจการที่ดี จะเปนสิ่งที่ทำาให้ผู้ ือหุ้น ไว้วางใจและเชื่อมั่นในการที่เข้ามาร่วมลงทุนในธุรกิจของบริษัท โดยมีหลักการดังนี้
•
บริษัท ได้กำาหนดให้มีการจัดประชุมสามัญผู้ ือหุ้นประจำาป ายในเวลาไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปบัญชี และหาก มีความจำาเปนเร่งด่วนต้องเสนอวาระเปนกรณีพิเศษ ซึ่งเปนเรื่องที่กระทบหรือเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของผู้ ือหุ้น หรือ เกีย่ วข้องกับเงือ่ นไขหรือก เกณฑ์ ก หมาย ทีใ่ ช้บงั คับทีต่ อ้ งได้รบั การอนุมตั จิ ากผู้ อื หุน้ แล้ว บริษทั จะเรียกประชุมวิสามัญ ผู้ ือหุ้นเปนกรณีไป
•
บริษทั มีการเปิดโอกาสให้ผู้ อื หุน้ ส่วนน้อยสามาร เสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้าดำารงตำาแหน่งกรรมการล่วงหน้าในเวลาอันสมควร และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ ือหุ้นที่ไม่สามาร เข้าประชุมด้วยตนเอง สามาร ใช้สิทธิออกเสียงโดยมอบ ันทะให้ผู้อื่นมาประชุม และออกเสียงลงมติแทน และควรเสนอชื่อกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คนเปนทางเลือกในการมอบ ันทะของผู้ ือหุ้น
•
คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารกำาหนดมาตรการปองกันกรณีทกี่ รรมการและผูบ้ ริหารใช้ขอ้ มูล ายในเพือ่ หาผลประโยชน์ให้แก่ ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบ โดยกำาหนดไว้เปนลายลักษณ์อักษรและแจ้งแนวทางดังกล่าวให้ทุกคนในบริษัท ยึด ือป ิบัติ อย่างเคร่งครัด
•
คณะกรรมการควรกำาหนดให้กรรมการบริษัท และผู้บริหารเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียของตนและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้ คณะกรรมการสามาร พิจารณาธุรกรรมของบริษทั ทีอ่ าจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ และสามาร ตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์ ของบริษัท โดยรวม ทั้งนี้ กรรมการและผู้บริหารที่มีส่วนได้เสียกับธุรกรรมที่ทำากับบริษัท ไม่ควรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ทำาธุรกรรมดังกล่าว
3. การคำานึงถึงบทบาท อง ูมส่ น ดเสย 3. บทบาท อง ูมส่ น ดเสย บริษัท ได้ให้ความสำาคัญในการดูแลและคำานึง ึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มทั้ง ายในและ ายนอกบริษัท ได้แก่ลูกค้า ผู้ ือหุ้น และพนักงาน รวม ึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งคณะกรรมการตระหนักและให้ความมั่นใจว่า ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท จะได้รับการดูแลอย่างเต็มที่ โดยคณะกรรมการจะระบุว่าผู้ใดคือกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท ให้ครบ ้วนและกำาหนดลำาดับความสำาคัญให้ เปนข้อพิจารณาเพือ่ ไม่ให้เกิดความผิดพลาด หรือทำาให้การดำาเนินกิจการของบริษทั ต้องล้มเหลว หรือไม่สาำ เร็จ และคณะกรรมการจะรายงาน ข้อมูลนอกเหนือจากทางการเงินที่แสดงให้เห็นว่าผู้มีส่วนได้เสียได้รับการดูแล และคำานึง ึงเปนอย่างดีในการตัดสินใจดำาเนินงานของบริษัท อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการได้กำาหนดแนวทางการป ิบัติเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่มไว้อย่าง ชัดเจน เพื่อให้คณะกรรมการ ายบริหารและพนักงานบริษัท ยึด ือเปนหลักป ิบัติในการดำาเนินงาน โดยยึดเปน าระหน้าที่และเปนวินัย ที่ทุกคนพึงป ิบัติ สรุปได้ดังนี้
ค ามรับ ิด อบต่อ ูถอหุน บริษัท คำานึง ึงการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม โดยรักษาส าน าพ ทางการเงินให้มีส านะมั่นคงเพื่อประโยชน์ต่อความคงอยู่และเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
ค ามรับ ิด อบต่อลูกคา บริษัท มุ่งมั่นสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้าในการให้บริการที่รวดเร็ว ทันสมัย ต่อการ ใช้งานของลูกค้าทุกรายด้วยบริการอย่างใส่ใจและเท่าเทียมกัน ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บริการแก่ลูกค้าอย่างดี ที่สุดในเวลาที่เหมาะสม โดยมุ่งรักษาและพั นาระดับการบริการที่มีคุณ าพที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
3 ค ามรับ ดิ อบต่อเ าหน บริษทั เน้นการป บิ ตั ติ ามเงือ่ นไข ข้อกำาหนดในสัญญา และไม่ปกปิดส านะการเงินทีแ่ ท้จริง ของบริษัท และบริษัทในเครือ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการระดุมทุนไปในทางที่ขัดกับวัต ุประสงค์แผนการใช้เงิน
ค ามรับ ิด อบต่อพนักงาน บริษัท ให้ความเคารพต่อสสิทธิตามก หมายของพนักงานทุกคน จัดให้มีส าพแวดล้อม การทำางานที่ดี ปลอด ัย สวัสดิการที่ดี และส าพการจ้างที่ยุติธรรมเหมาะสมกับส าวะตลาดส่งเสริมให้พนักงานทุกคน ได้มีโอกาสเติบโตในสายอาชีพและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันและมีความผูกพันธ์กับองค์กรอย่างต่อเนื่อง 54
5 ค ามรับ ิด อบต่อ ูทมค ามสัมพันธ์ทางธุรกิ บริษัท มุ่งสร้างความสัมพันธ์อันก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดร่วมกัน ทั้งกับคู่ค้า และผู้ร่วมทุน ายใต้การกำากับดูแลกิจการที่ดี
ค ามรับ ิด อบต่อสังคมและสิงแ ดลอม บริษัท ดำาเนินธุรกิจโดยมีความรับผิดชอบต่อสังคม เคารพและป ิบัติตาม ก หมายตลอดจนข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกปองผลกระทบใด ที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือสูญเสียต่อชีวิตหรือ ทรัพย์สินของบุคลากร ชุมชน และสิ่งแวดล้อม
ค ามรับ ิด อบต่อคู่แ ่งทางการคา บริษัท ป ิบัติงาน ายใต้หลักการของการแข่งขันการค้าอย่างเที่ยงธรรมและ ูก ก หมาย ไม่แสวงหาข้อมูลที่เปนความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริต หรือไม่เหมาะสม 3. น ยบายและแน ทางป ิบัติเกย กับการต่อตานการทุ ริต
บริษัท มีความตระหนักยึดมั่นการดำาเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตามหลัก การกำากับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึ่งเปนการสนับสนุนการเติบโตอย่างยั่งยืนให้แก่บริษัท เมื่อวันที่ 13 กรก าคม 2559 บริษัท ได้ร่วมลงนามแสดงเจตนารมณ์เปนแนวร่วมป ิบัติของ าคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition : CAC ) : ซึ่งเปนโครงการที่รั บาลและสำานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับ 8 องค์กรได้แก่ หอการค้าไทย สมาคมส่งเสริมส าบันกรรมการบริษทั ไทย (Thai Institute of Directors : I D) หอการค้านานาชาติ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย ส าธุรกิจตลาดทุนไทย ส าอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และส าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผลักดันให้มมี าตรการต่อต้านการทุจริตใน าคเอกชน ทัง้ นี ้ ปัจจุบนั บริษทั อยูร่ ะหว่างการดำาเนินการยืน่ ขอรับรองเปนสมาชิกแนวร่วมป บิ ตั ิ ของ าคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต 3.3 น ยบายค่าตอบแทนพนักงานทสอดคลองกับ ลการดำาเนินงาน องบริษัททัง นระยะสันและระยะยา พนักงานซึ่งเปนผู้มีส่วนได้เสียที่สำาคัญโดยเปนผู้ป ิบัติงานเพื่อให้ผลประกอบการโตอย่างต่อเนื่อง ในการจ่ายผลตอบแทน บริษทั มุง่ เน้นการจ่ายผลตอบแทนตามผลงาน (Pay for Performance) โดยนำาดัชนีชวี้ ดั ความสำาเร็จของงาน (Key Performance Indicator : KPI) มาใช้ในการประเมินผลพนักงานทุกระดับ ทั้งนี้ KPIs จะมีความสอดคล้องตั้งแต่ระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล เพื่อให้ เปาหมายในการทำางานเปนไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจขององค์กร 3. น ยบายการแ งเบาะแสการกระทำา ิด เพื่ อ เปนการให้ สิ ท ธิ แ ก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ต่ า ง ในการติ ด ตามตรวจสอบการ ิ บั ติ ง านของบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ในเครื อ ให้ มี ประสิ ท ธิ ผ ลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษัท และบริ ษั ท ในเครื อ จึ ง จั ด ให้ มีช่ อ งทางการแจ้ ง เบาะแสรั บเรื่ อ งราวร้องทุกข์ ร้องเรียนเกี่ยวกับการดำาเนินงานของบริษัท หรือบริษัทในเครือที่ ือว่าเปนการกระทำาผิดก หมาย รวม ึงที่อาจเกิดขัดแย้งกับผู้เกี่ยวข้อง บริษทั กำาหนดให้มชี อ่ งทางแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รปั ชัน่ การกระทำาผิดก หมาย หรือจรรยาบรรณ รายงานทางการเงินที่ไม่ ูกต้อง การ ูกละเมิดสิทธิ การทุจริตคอร์รัปชั่น หรือระบบควบคุม ายในที่บกพร่องผ่านช่องทางดังต่อไปนี้ เ บ ต์บริษัท : www.wice.co.th ดหมายอิเลกทรอนิกส์ : คณะกรรมการตรวจสอบ banomyong.ruth gmail.com ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Araya wice.co.th เลขานุการบริษัท secretary2 wice.co.th ดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) 88/8 นนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 หมายเหตุ ผู้มีส่วนได้เสียที่แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนไม่ต้องเปิดเผยชื่อแต่อย่างใด และให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ดำาเนินการตรวจสอบข้อมูลหรือข้อเท็จจริงตามทีม่ ผี แู้ จ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนแล้วนำาเสนอให้คณะกรรมการบริษทั ได้รบั ทราบ ายใน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับแจ้ง 55
3.5 กระบ นการ นการ ัดการกับเรองทพนักงานรองเรยนเกย กับเรองทอา เปนการกระทำา ิด บริษัท กำาหนดหลักเกณฑ์การร้องทุกข์ให้พนักงาน กรณีพนักงานมีความคิดเห็นหรือความขัดแย้งที่เกี่ยวกับส าพการจ้าง การทำางาน สิทธิประโยชน์ หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงาน โดยมีหลักเกณฑ์การร้องทุกข์ ดังนี้ ค ามหมายและ อบเ ตการรองทุก ์ (1) ข้อร้องทุกข์ต้องเปนเรื่องเกี่ยวกับการทำางาน มิใช่เรื่องส่วนตัว เว้นแต่เรื่องนั้นจะเกี่ยวข้องกับการทำางาน (2) ข้อร้องทุกข์ของพนักงานต้องเปนเรือ่ งเกีย่ วกับความคิดเห็น หรือข้อขัดแย้ง ว่าด้วยระบบ หรือวิธกี ารทำางาน สิทธิประโยชน์ สัญญาหรือส าพการจ้าง ความประพ ติและคามเปนธรรมของพนักงาน
(3) ข้อร้องทุกข์ต้องมิใช่เรื่องร้องขอให้แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง ปลดออก ไล่ออก ซึ่งตัวบุคคล
ิธการและ ันตอนการรองทุก ์
(1) ก่อนทีจ่ ะเข้าดำาเนินการร้องทุกข์ตามขัน้ ตอน พนักงานควรปรึกษาหารือกับผูบ้ งั คับบัญชาโดยตรงก่อนและ ผูบ้ งั คับบัญชา ทุกคนควรให้ความสสำาคัญแก่ปัญหาพนักงาน ไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใด จะต้องไม่ทิ้งปัญหา และต้องพยายามแก้ไข ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว
(2) หากปัญหาของพนักงานไม่ได้รับการแก้ไขในเวลาอันสมควร หรือเปนปัญหาเกี่ยวกับผู้บังคับบัญชาโดยตรง พนักงานอาจ ร้องทุกข์ด้วยตนเองกับผู้บังคับบัญชาระดับเหนือขึ้นไป เปนหนังสือโดยชี้แจงสาเหตุและข้อมูลที่สมบรูณ์ ายใน 7 วัน นับแต่วันที่มีการขัดแย้ง และผู้บังคับบัญชาต้องรีบไต่สวนข้อร้องทุกข์วินิจ ัยและแจ้งผลให้แล้วเสร็จ ายใน 20 วัน นับแต่วันที่ได้รับข้อร้องทุกข์ให้ผู้ร้องทุกข์ทราบ ด้วยการชี้แจงด้วยวาจาน พร้อมบันทึกคำาชี้แจงเหตุผลไว้ในสำานวน โดย ผู้ร้องทุกข์ลงลายมือชื่อรับทราบผลพิจารณาหรือการวินิจ ัยเปนหนังสือชี้แจง แล้วแต่กรณี
ค ามคุมครอง ูรองทุก ์และ ูเกย อง
(1) ข้อร้องทุกข์จะได้รับการพิจารณาด้วยความเปนธรรม ไม่ ูกกลั้นแกล้ง โยกย้ายหน้าที่ หรือลงโทษแต่ประการใด เว้นแต่ เปนการร้องทุกข์ด้วยเจตนาที่ไม่สุจริต
(2) พนักงานที่ให้การเปนพยาน หรือร่วมในการสอบสวนจะได้รับการคุ้มครอง ไม่ ูกกลั่นแกล้ง โยกย้ายหน้าที่ หรือลงโทษ แต่ประการใด เว้นแต่พนักงานมีเจตนาให้การด้วยอคติ ปรักปรำา เปนเท็จ หรือไม่ให้ความร่วมมือในกระบวนการสอบสวน หาความจริง
(3) การพิจารณาลงโทษพนักงานตั้งแต่ขั้นพักงานขึ้นไป และการพิจารณาร้องทุกข์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะแต่งตั้ง คณะกรรมการพิจารณาเปนคราว ไป และจะสิ้นส าพลงทันทีที่การพิจารณาลงโทษหรือพิจารณาข้อร้องทุกข์นั้น สิ้นสุดลง บริษัท จัดให้มีการรับข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียนและความคิดเห็นของพนักงาน ดังนี้
• • •
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Araya wice.co.th จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : กรรมการตรวจสอบ banomyong.ruth gmail.com กล่องรับความคิดเห็น : ชั้น 2 ชั้น 3 และชั้น 5 อาคารสำานักงานใหญ่
หากพนักงานเห็นว่าตนเองไม่ได้รับความเปนธรรมหรือพบจุดเสี่ยง หรือการกระทำาใด ที่อาจส่งผลกระทบกับบริษัท ก็สามาร ดำาเนินการร้องทุกข์ได้ทางช่องทางดังกล่าว ทั้งนี้กระบวนการร้องทุกข์และการสอบสวนหาข้อเท็จจริงต่าง บริษัท ได้ระบุไว้อย่างชัดเจน ในคู่มือพนักงาน เพื่อให้พนักงานทุกคนรับทราบและป ิบัติตามโดยเคร่งครัด
56
3. น ยบายหรอแน ทาง นการปกปองพนักงานหรอ ูแ ง อมูล นการกระทำา ิด ในการร้องเรียนที่อาจเกี่ยวข้องกับการกระทำาผิดจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน บริษัท จะดำาเนินการตรวจสอบตามขั้น ตอนและบันทึกการสอบสวนไว้เปนลายลักษณ์อักษร โดยไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแส รวมทั้งดำาเนินการจัดเก็บข้อมูลการ้องเรียนเปนความ ลับ เพื่อคุ้มครองผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้งเบาะแสดังกล่าว
. การเปดเ ย อมูลและค าม ปร่ง ส คณะกรรมการบริษทั ดูแลให้ ายบริหารมีระบบการสือ่ สารทีเ่ หมาะสม เพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูลทีส่ าำ คัญและเปนประโยชน์ตอ่ ผู้ อื หุน้ เช่น รายงานทางการเงินที่เปนไปตามมาตร านการบัญชีและผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่เปนอิสระ โดยบริษัท ยินดีที่จะปรับปรุง ตามมาตร านการบัญชีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดจนตามคำาแนะนำาของผู้สอบบัญชี และข้อมูลทั่วไปเพื่อให้ข้อมูลต่าง มีความ ูกต้อง ครบ ว้ น โปร่งใส และสมเหตุสมผลตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสนับสนุนให้ ายบริหารเปิดเผยข้อมูลอืน่ โดยคำานึง ึงมาตรการที่ดีในการรักษาความลับของข้อมูลซึ่งยังไม่พึงเปิดเผยที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์ หรือการเปลี่ยนแปลง ราคาหลักทรัพย์ของบริษัท ข้อมูลต่าง จะเผยแพร่ผา่ นระบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จะเผยแพร่ผา่ นทางเว็บไซต์ของบริษทั www.wice.co.th ทั้ง าษาไทยและ าษาอังก ษ โดยจะนำาเสนอข้อมูลที่เปนปัจจุบัน บริษทั ให้ความสำาคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่ กู ต้อง ครบ ว้ น โปร่งใส และทันเวลา โดยจัดให้เลขานุการบริษทั เปนผูร้ บั ผิดชอบ ในการรวบรวม จัดเตรียม และเผยแพร่ขอ้ มูลและรายงานต่าง อาทิเช่น ผลการดำาเนินงานของบริษทั ข้อมูลทางการเงินทีส่ าำ คัญ และรายงาน และการวิเคราะห์ของ ายบริหาร (MD&A) ตลอดจนรับข้อมูล ตอบข้อซัก ามทางโทรศัพท์และทางอีเมล์ การชี้แจงผลการดำาเนินงานของ บริษัท ในงาน “บริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน” ( pportunity Day) ซึ่งจัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารต่าง ผ่านเว็ยไซต์ของบริษทั รายงานประจำาป และสือ่ อืน่ นอกจากนีน้ กั ลงทุนและนักวิเคราะห์ยงั สามาร ขอนัดหมายเพือ่ เข้าพบกับ ผู้บริหารของบริษัท เพื่อสอบ ามข้อมูลเพิ่มเติมได้ โดยในป 2559 บริษัท ได้จัดกิจกรรมด้านลงทุนสัมพันธ์ที่สำาคัญดังนี้ ประเ ทกิ กรรม
กิ กรรม นปี 55 ำาน นครัง
การจัดกิจกรรมพบผู้ลงทุนรายย่อยกับตลาดหลักทรัพย์ ( pportunity Day)
3
การเข้าพบผู้บริหารเพื่อสอบ าม ึงแนวทางบริหารจัดการและความคืบหน้าของโครงการต่าง (Company isit)
15
หากนักลงทุนหรือผู้เกี่ยวข้องต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามาร ติดต่อผ่านช่องทางดังต่อไปนี้ โทรศัพท์ : 02 - 6816181 ต่อ 516 โทรสาร : 02 - 6816123 E-mail : secretary2 wice.co.th
5. ค ามรับ ิด อบ องกรรมการ คณะกรรมการบริษทั เชือ่ มัน่ ว่ากระบวนการกำากับดูแลกิจการทีด่ เี ปนหัวใจสำาคัญในการนำาพาองค์กรให้บรรลุเปาหมายทีก่ าำ หนด ไว้ คณะกรรมการบริษทั มีความรับผิดชอบตามก หมายและต้องป บิ ตั ติ ามหลักการกำากับดูแลกิจการนี ้ รวมทัง้ มีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ น ได้เสีย (Stakeholders) โดยมีหน้าทีก่ ำากับดูแลการดำาเนินงานของ ายบริหารให้มปี ระสิทธิ าพ และประสิทธิผลเพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุด ต่อบริษัท ผู้ ือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้อง 57
5.
า ะ ูนำาและ ิสัยทัศน์
คณะกรรมการบริษัท มีบทบาทสำาคัญยิ่งในการกำาหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของบริษัท โดยกำาหนดให้พิจารณา ทบทวนเปนประจำาอย่างน้อยปละ 1 ครั้ง สำาหรับการดำาเนินการในแต่ละป ายบริหารของบริษัท ได้นำาเสนอกลยุทธ์และกิจกรรมต่าง การลงทุน ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาให้ความเห็น และอนุมัติแผนการป ิบัติการรวม ึงงบประมาณประจำาป นอกจากนี้ าย บริหารได้ดาำ เนินการรายงานความก้าวหน้าของแผนป บิ ตั กิ ารรวม งึ ปัญหาอุปสรรคทีส่ าำ คัญยังทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงาน คณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบทุกไตรมาส คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารติดตามผลการดำาเนินงานของ ายบริหาร โดยกำาหนดให้มกี ารรายงานผลการดำาเนินงานเปรียบเทียบ เปาหมาย และผลประกอบการของบริษทั โดยกำาหนดเปนระเบียบวาระการประชุมเพือ่ นำาเสนอคณะกรรมการบริษทั นอกจากนีค้ ณะกรรมการ บริษทั ได้ตระหนัก งึ การป บิ ตั ติ ามก หมายและข้อกำาหนดต่าง โดยเลขานุการบริษทั จะรายงายการเปลีย่ นแปลงหลักเกณฑ์ดา้ นก หมาย ก ระเบียบต่าง ของสำานักงานคณะกรรมการกำากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวม ึงก หมาย ใหม่ที่ประกาศ หรือจะประกาศใช้ในอนาคต และเกี่ยวข้องกับบริษัท ยังคณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบ 5. ค าม ัดแยง อง ลประ ย น์ คณะกรรมการบริษัท ได้กำาหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชนืไว้ในหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดี และคู่มือ คณะกรรมการบริษัท ดังนี้
•
•
กรณีทคี่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้บคุ ลากรของบริษทั ป บิ ตั กิ ารแทน จะต้องมอบหมายโดยทำาเปนลายลักษณ์ อักษร หรือบันทึกเปนมติคณะกรรมการบริษทั ไว้ในรายงานการประชุม โดยมีการกำาหนดขอบเขตอำานาจ หน้าทีไ่ ว้อย่าง ชัดเจน ซึ่งขอบเขตดังกล่าวต้องไม่รวม ึงการอนุมัติให้ทำารายการที่ผู้รับมอบอำานาจเปนบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสีย ทั้งนี้ การตัดสินใจในการดำาเนินกิจการของบริษัท เปนการตัดสินใจในรูปแบบองค์ คณะ (Collective Decision)
บุคลากรทุกระดับต้องหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้กลุ่มบริษัท เสียผลประโยชน์หรือ ก่อให้เกิดความขัดแย้งในการป ิบัติงาน
• •
พนักงานทุกคนมีหน้าที่เปิดเผยเรื่องที่อาจเปนความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
ไม่ใช้อำานาจหน้าที่ในตำาแหน่งกรรมการบริษัท หรือบริษัทในเครือเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ผู้ใกล้ชิดหรือญาติสนิท ทั้งทางตรงและทางอ้อม
คณะกรรมการบริษัท และผู้บริหารมีหน้าที่ในการรายงาน ดังนี้
• รายงานการมีส่วนได้เสรยของตน และของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้บริษัท ทราบ โดยเลขานุการบริษัท จะส่งสำาเนา รายงานให้ประธานคณะกรรมการบริษัท และประธานคณะกรรมการตรวจสอบทราบ
•
รายงานการ ือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
5.3 การถ่ งดุล องกรรมการ คณะกรรมการบริษัท มีจำานวน 8 คน โดยคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วย กรรมากรที่เปนผู้บริหาร
4 คน
กรรมการที่ไม่เปนผู้บริหาร 4 คน กรรมการอิสระ
58
4 คน
5. การร มหรอแยกตำาแหน่ง คณะกรรมการบริษัท มุ่งเน้นความโปร่งใสในการดำาเนินธุรกิจ กระจายอำานาจการตัดสินใจ แบ่งอำานาจการกลั่นกรองและการ พิจารณาอนุมัติอย่างชัดเจน โดยประธานคณะกรรมการบริษัท ไม่เปนบุคคลเดียวกับประธานเจ้าหน้าบริหาร รวมทั้งสมาชิกคณะกรรมการ ตรวจสอบเปนกรรมการอิสระที่ไม่มีอำานาจอนุมัติผูกพันบริษัท ไม่มีส่วนได้เสียในด้านการเงิน และการบริหารงานของบริษัท รวม ึงบริษัท ในเครือ 5.5 บทบาทหนาทค ามรับ ิด องคณะกรรมการบริษัท . หนาทต่อบริษัท และบริษัท นเครอ
1. อุทศิ เวลาให้บริษทั หรือบริษทั ในเครืออย่างเต็มความสามาร ในการป บิ ตั ิ ารกิจต่าง ใน านนะกรรมการบริษทั หรือบริษทั ในเครือและป บิ ตั ติ ามหลักการกำากับดูแลกิจการทีด่ แี ละจรรยาบรรณของบริษทั และบริษทั ในเครือ 2. ใช้ดุลยพินิจที่เปนอิสระในการกำากับดูแลกิจการของบริษัท และบริษัทในเครือ
3. ป บิ ตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบต่อผูท้ ี่ อื หุน้ ทัง้ ในด้านการป บิ ตั ติ ามจรรยาบรรณ และก หมายอย่างเต็มทีพ่ ร้อม กับคำานึก ึงสิทธิประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ของบริษัท และบริษัทในเครือ
4. ติดตามผลการดำาเนินงานของบริษัท และบริษัทในเครือในการป ิบัติตามก ระเบียบ ข้อบังคับและก หมายที่ เกีย่ วข้อง รวม งึ ข้อกำาหนดในสัญญาของบริษทั และบริษทั ในเครือกับคูค่ า้ ต่าง รวม งึ ไม่กระทำาการช่วยเหลือ สนับสนุนหรือยอมเปนเครื่องมือที่จะทำาให้เกิดการหลีกเลี่ยงการป ิบัติตามก หมายหรือก ระเบียบต่าง และ ดูแลให้ ายบริหารรายงานผลการดำาเนินงานเรือ่ งทีส่ ำาคัญของบริษทั และบริษทั ในเครือเพือ่ ให้การดำาเนินกิจการ บรรลุตามเปาหมายที่กำาหนดอย่างเต็มประสิทธิ าพและมีประสิทธิผล
5. เพือ่ เปนการแลกเปลีย่ นทักษะ ประสบการณ์ และมีการพั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง คณะกรรมการบริษทั ได้เข้าร่วม สัสสนา กอบรมกับองค์กรหรือหน่วยงานที่จัดการอบรมสัมมนาในเรื่องที่เกี่ยวกับการเพิ่มศักย าพในการป ิบัติ หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท เช่น หลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย (I D) ส าบัน พระปกเกล้า เปนต้น
6. จัดให้มกี ารประเมินผลการป บิ ตั งิ านคณะกรรมการบริษทั ทัง้ แบบรายคณะและรายบุคคลเปนประจำาอย่างน้อย ปละ 1 ครั้งเพื่อรับทราบปัญหาและอุปสรรคการป ิบัติงานและกำาหนดแนวทางปรับปรุงเพื่อเพิ่มศักย าพ อย่างต่อเนื่อง
7. กำาหนดจัดให้มกี ารประชุมกรรมการอิสระและการประชุมกรรมการทีไ่ ม่เปนผูบ้ ริหารโดยไม่มี ายบริหารร่วมด้วย อย่างน้อย1 ครั้ง และแจ้งผลการประชุมแก่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารทราบ . หนาทต่อ ูถอหุน
1. กำากับดูแลเพือ่ ให้เปนทีม่ นั่ ใจว่าบริษทั และบริษทั ในเครือสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้ อื หุน้ โดยพิจารณา งึ การ เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัท และบริษัทในเครือโดยแสดงผลอย่างชัดเจนจากส านะทางการเงิน ผลการ บริหาร และการจัดการที่ กู ต้องเหมาะสมโดยมีการปรับปรุงงานอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ปกปองและเพิม่ พูนผลประโยชน์ ต่อผู้ ือหุ้น
2. กำากับดูแลเพือ่ ให้เปนทีม่ นั่ ใจได้วา่ บริษทั และบริษทั ในเครือได้เปิดเผยข้อมูลทางการเงิน และการดำาเนินงานต่อ ผู้ลงทุนอย่าง ูกต้องตามความเปนจริง มีสาระสำาคัญครบ ้วนเท่าเทียมกัน ทันเวลา มีมาตร านและโปร่งใส ตามก เกณฑ์ที่กำาหนดไว้ในเรื่องการเปิดเผยข้อมูลจากหน่วยงานกำากับดูแลที่เกี่ยวข้อง 3. กำากับดูแลเพื่อให้เปนที่มั่นใจได้ว่าผู้ ือหุ้นทุกรายได้รับการป ิบัติอย่างเท่าเทียมกัน
59
3. หนาทต่อ ูมส่ น ดเสยอน
1. การกำากับดูแล ในการสรรหา คดั เลือกพนักงน และการทำาธุรกิจกับผูม้ สี ว่ นได้เสียต่าง บริษทั และบริษทั ในเครือไม่ได้ เลือกป ิบัติต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง เนื่องจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ ศาสนา เพศ ส าน าพสทรส หรือ ความไร้สมรร าพทางกาย โดยป ิบัติตามก หมายและก ระเบียบที่เกี่ยวข้องและมุ่งพิจารณาอย่างละเอียด รอบคอบในเรื่องผลกระทบที่จะเกิดต่อพนักงาน ผู้มีส่วนได้เสียอื่น ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
2. การรับเรือ่ งราวร้องทุกข์ / ร้องเรียน บริษทั ให้สทิ ธิแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียต่าง ในการติดตามตรวจสอบการป บัตงิ านของ บริษทั หรือบริษทั ในเครือให้มปี ระสิทธิ าพ ประสิทธิพล และความโปร่งใสตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ โดย เคร่งครัดและเปิดให้มีช่องทางในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียนเกี่ยวกับการดำาเนินงานของบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัท ให้ความเชื่อมั่นว่าจะรักษาความลับเกี่ยวกับผู้ร้องเรียนร้องทุกข์โดยการปกปองคุ้มครอง เพื่อให้ผู้ร้องเรียนได้รับการป ิบัติอย่างเปนธรรม ายใต้ก ระเบียบและก หมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งไม่มีการ เปลีย่ นแปลงตำาแหน่งงาน ลักษณะงานส านทีท่ ำางาน พักงาน ข่มขู ่ รบกวนการป บิ ตั งิ าน เลิกจ้าง หรือการอืน่ ใด ที่มีลักษณะเปนการป ิบัติอย่างไม่เปนธรรมต่อผู้นั้น
5. อำานา อนุมัติ องคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีอำานาจอนุมัติในเรื่องต่าง ตามก หมาย ข้อบังคับ และระเบียบบริษัท อาทิแผนงาน และงบประมาณ ประจำาป นโยบายการจ่ายเงินปันผล การกำาหนดและการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การปรับโครงสร้างการบริหาร เปนต้น 5. หนาทค ามรับ ิด อบ องประธานคณะกรรมการบริษัท และประธานเ าหนาทบริหาร ประธานคณะกรรมการบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหารต้องเปนผู้ที่มีความรู้ความสามาร มีประสบการณ์และคุณสมบัติ ที่เหมาะสม ไม่เปนบุคคลเดียวกันเพื่อให้มีการ ่วงดุลอำานาจโดยแยกหน้าที่การกำากับดูแลและการบริหารงานออกจากกัน ประธานคณะกรรมการบริษทั เปนกรรมการทีไ่ ม่เปนผูบ้ ริหาร เปนผูน้ ำาของกรรมการ และมีหน้าทีเ่ ปนผูเ้ รียกประชุมคณะกรรมการ บริษัท เปนประธานในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เปนผู้ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาด ้าคะแนนสียงเท่ากัน และเปน ประธานในที่ประชุมผู้ ือหุ้น ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเปนหัวหน้าและผู้นำาคณะผู้บริหารของบริษัท และเลขานุการบริษัท รับผิดชอบต่อคณะกรรมการ บริษัท ในการสนับสนุนการดำาเนินงานของคณะกรรมการเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ ือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียต่าง 5. เล านุการบริษัท เพื่อให้เปนไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2551 ในส่วนหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ และผู้บริหาร และตามหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน พ.ศ.2555 ในหมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท (ประชุมครั้งที่ 3/2558 - 11 พ ศจิกายน 2558) จึงได้อนุมัติแต่งตั้งนางสาวปรมา รณ์ จำานงสุข เปนเลขานุการบริษัท โดยมีประวัติพอสังเขปดังนี้ อายุ ปี การศึกษา
•
นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต
การอบรมหลักสูตรสำาคัญ
• หลักสูตรการบริหารความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อการพั นาอย่างยั่งยืน (CS for Corporate Sustainability) - รุ่น 6 กลุ่มบริการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
• หลักสูตรการบริหารความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงกลยุทธ์ (Strategic CS Management) - รุ่น 3 ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย
• 60
หลักสูตร การจัดประชุมผู้ ือหุ้นตามหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
•
หลักสูตรพื้น านเลขานุการบริษัท Fundamentals for Corporate Secretaries (หลักสูตร 3 วัน) รุ่นที่ 1/2559 สมาคม บริษัทจดทะเบียนไทย
•
หลักสูตรผู้ป ิบัติงานเลขานุการบริษัท Advances for Corporate Secretaries (หลักสูตร 4 วัน) รุ่นที่ 1/2559 สมาคม บริษัทจดทะเบียนไทย
ประสบการณ์ทำางาน
• •
พ ศจิกายน 2558 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) พ ษ าคม 2558 - ตุลาคม 2558 เลขานุการบริษัท ที เอสฟลาวมิลล์ จำากัด (มหาชน)
เลขานุการบริษัท มีหน้าที่สนับสนุนการกำากับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริษัท ในการป ิบัติตามก หมายก ระเบียบต่าง ที่เกี่ยวข้องกับการดำาเนินธุรกิจของบริษัท (Compliance) ตามหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดี จัดทำาและเก็บเอกสารสำาคัญของบริษัท ตามก หมาย รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลยังหน่วยงานกำากับดูแลที่เกี่ยวข้อง และรายงานโดยทันทีกรณีที่อาจมี หรือมีเหตุการณ์ท่ีอาจก่อให้ เกิดผลกระทบต่อบริษัท และตลาดทุนโดยรวมอย่างมีนัยสำาคัญ นอกจากนี้เลขานุการบริษัท ยังมีหน้าที่จัดประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผู้ อื หุน้ ตามข้อบังคับของบริษทั ตลอดจนการจัดให้มกี ารประเมินผลการป บิ ตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ทัง้ แบบองค์ คณะ และแบบรายบุคคล เพือ่ เพิม่ ประสิทธิ าพการดำาเนินงานของคณะกรรมการ ตลอดจนการจัดให้กรรมการ ผูบ้ ริหารได้รบั รูแ้ ละเข้าอบรม หลักสูตรต่าง ที่เกี่ยวข้องกับการป ิบัติหน้าที่ของกรรมการ และการป มนิเทศกรรมการ 5. ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท และผู้บริหารเปนไปตามหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทัง้ นี ้ คณะกรรมการกำาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดำาเนินงานของบริษทั และพิจารณาค่าตอบแทนจะเปนผูพ้ จิ ารณากลัน่ กรองในเบือ้ งต้น ก่อนนำาเสนอคณะกรรมการบริษัท ให้ความเห็นชอบ เพื่อนำาเสนอยังที่ประชุมสามัญผู้ ือหุ้นประจำาปพิจารณาอนุมัติ โดยอัตราค่าตอบแทน ให้เปนไปตามสัดส่วนระยะเวลาที่กรรมการดำารงตำาแหน่งซึ่งอ้างอิงจากกำาไรสุทธิ เงินปันผล และการดำาเนินงานของกรรมการบริษัท ซึ่งจะ พิจารณาทบทวนความเหมาะสมทุกป โดยในปงบประมาณ 2559 ที่ประชุมผู้ ือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ ือหุ้น ประจำาป 2558 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2559 ได้มีมติอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการบริษัท สำาหรับป 2559 แยกเปนดังนี้
. ค่าตอบแทน นรูปแบบเบยประ ุม องกรรมการบริษัท และกรรมการ ุดย่อย
1.1.1 คณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริษัท เบี้ยประชุม ครั้งละ 40,000 บาท ต่อครั้งที่เข้าประชุม กรรมการ
เบี้ยประชุม ครั้งละ 20,000 บาท/คนต่อครั้งที่เข้าประชุม
1.1.2 คณะกรรมการชุดย่อย ประธานกรรมการชุดย่อย เบี้ยประชุม ครั้งละ 25,000 บาท ต่อครั้งที่เข้าประชุม กรรมการชุดย่อย
เบี้ยประชุม ครั้งละ 20,000 บาท ต่อครั้งที่เข้าประชุม
61
ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ในปงบประมาณ 2559 ราย อคณะกรรมการ
เบยประ ุมคณะ กรรมการบริษัท 280,000
เบยประ ุมคณะ กรรมการ ุดย่อย -
รม
1. นายเอกพล พงศ์ส าพร ประธานกรรมการบริษัท 280,000 กรรมการอิสระ 2. รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ กรรมการตรวจสอบ 140,000 125,000 225,000 กรรมการอิสระ 3. นายวิชัย แซ่เซียว กรรมการตรวจสอบ 140,000 120,000 260,000 กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ 4. นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ กรรมการตรวจสอบ 140,000 150,00 290,000 ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร กรรมการอิสระ 5. นางอารยา คงสุนทร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน 6. นายชูเดช คงสุนทรท กรรมการผู้จัดการ ายพั นาธุรกิจ 7. นางสาว ิติมา ตันติกุลสุนทร กรรมการผู้จัดการ าย สนันสนุนและป ิบัติการ กรรมการบริหารความ เสี่ยงองค์กร 8. นางสาวพรไพเราะ ตันติกุลสุนทร กรรมการ 40,000 40,000 กรรมการบริหารความ เสี่ยงองค์กร หมายเหตุ 1. กรรมการลำาดับที ่ 5 - 7 แสดงความจำานงขอสละสิทธิทีจ่ ะได้รบั ค่าตอบแทนใน านะกรรมการ ข องบริษทั เนือ่ งจากกรรมการ ดังกล่าวได้รับค่าตอบแทนใน านะผู้บริหารอยู่แล้ว 2. จำานวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม มีรายงานสรุปในหัวข้อ 5.12 ค่าตอบแทน ูบริหาร กรรมการที่เปนผู้บริหาร, ผู้บริหารของบริษัท และบริษัทย่อย จำานวน 13 คน ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน สำาหรับผลการดำาเนิน งานในป 2559 ในรูปเงินเดือนและค่าตอบแทน เปนเงินรวมทั้งสิ้น 39.92 ล้านบาท จำานวนผู้บริหาร ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร (ล้านบาท) รูปแบบค่าตอบแทน 62
ปี 55 7 25.65 เงินเดือน / โบนัส
ปี 55 13 39.92 เงินเดือน / โบนัส
5. 0 น ยบายและหลักเกณ ์การ ่ายค่าตอบแทน อง ูบริหาร บริษัท ดำาเนินการวัดผลการดำาเนินงานของผู้บริหารทุกป โดยนำาดัชนีชี้วัดความสำาเร็จของงาน (KPI : Key Performance Indicator) มาใช้ในการประเมินผลผูบ้ ริหารรวมทัง้ พนักงานทุกระดับ โดยมีการเปรียบเทียบ KPI ทีก่ าำ หนดไว้เปนเปาหมายกับผลการดำาเนินงาน เพื่อพิจารณาการปรับค่าจ้างและการจ่ายค่าตอบแทน (โบนัส) ประจำาป 5. การถอครองหลักทรัพย์ การ ือครองหลักทรัพย์ของกรรมการบริษัท และผู้บริหาร ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ลำาดับ
1
ราย อ
นายเอกพล พงศ์ส าพร
ตำาแหน่ง
าำ น นหุน ทถอ ณ ันท 3 ธ.ค.5
าำ น นหุน ทถอ ณ ันท 3 ธ.ค.5
าำ น นหุนท เปลยนแปลง เพิม ึน ลดลง ระห ่างปี 55
ประธานคณะกรรมการ บริษัท
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะ 2
รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์
กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะ 3
นายวิชัย แซ่เซียว
กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะ 4
นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ
กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ สรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง องค์กร กรรมการอิสระ
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะ
ไม่มี
63
ลำาดับ
5
ราย อ
นางอารยา คงสุนทร
ตำาแหน่ง
ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร
าำ น นหุน ทถอ ณ ันท 3 ธ.ค.5
าำ น นหุน ทถอ ณ ันท 3 ธ.ค.5
าำ น นหุนท เปลยนแปลง เพิม ึน ลดลง ระห ่างปี 55
153,939,380
154,320,280
380,900
กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะ 6
นายชูเดช คงสุนทร
คุณชูเดช คงสุนทร กรรมการ สามี กรรมการผู้จัดการ าย พั นาธุรกิจ
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะ 7
นางสาว ิติมา ตันติกุลสุนทร
108,939,320
108,939,320
ไม่มี
คุณอารยา คงสุนทร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รรยา กรรมการผู้จัดการ ายสนันสนุนและ ป ิบัติการ
66,857,280
66,857,280
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
46,298,200
46,298,200
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กรรมการบริ ห ารความ เสี่ยงองค์กร คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะ 8
นางสาวพรไพเราะ ตันติกุลสุนทร
กรรมการ กรรมการบริ ห ารความ เสี่ยงองค์กร
คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะ 5. การประ ุมคณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการบริษัท จะกำาหนดวันประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งป เพื่อให้คณะกรรมการบริษัท สามาร จัดสรรเวลาการเข้าร่วม ประชุมได้ทุกครั้ง โดยประธานคณะกรรมการบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหารจะร่วมกันกำาหนดขอบเขต และเรื่องที่จะกำาหนดเปน ระเบียบวาระการประชุม แล้วมอบหมายเลขานุการบริษัท บรรจุเรื่องที่สำาคัญในระเบียบวาระเรื่องเพื่อพิจารณา เรื่องเพื่อทราบ และหรือ เรือ่ งอืน่ ตามลำาดับความสำาคัญ และเร่งด่วน โดยมีนโยบายให้นาำ ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารประกอบ ระเบียบวาระต่าง ก่อนประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วันทำาการ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัท ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนเข้าประชุมทุกครั้ง หากกรรมการบริษัท ท่านใดมีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียในแต่ละวาระการประชุม จะต้องงดออกเสียงลงมติหรือออกจากที่ประชุม เพื่อเปนการรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัท ในการประชุมทุกครั้งจะมีการกำาหนดระเบียบวาระการประชุมที่ชัดเจน โดยในการประชุมคณะกรรมการบริษัท กรรมการทุกคน สามาระอ ิปายและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย เปนอิสระ และมีการจดบันทึกการประชุม ทั้งนี้ มติที่ประชุมและข้อแนะนำาของ คณะกรรมการบริษัท จะต้องมีความชัดเจน เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการทำางานของ ายบริหารตามมติคณะกรรมการบริษัท ในป 2559 คณะกรรมการบริษัท มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยมีส ิตการเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษัท แต่ละคน สรุปได้ดังนี้ 64
ได้ดังนี้
ในป 2559 คณะกรรมการบริษัท มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยมีส ิตการเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษัท แต่ละคนสรุป
ราย อคณะกรรมการ
การเ าร่ มประ ุม การ ประ ุมทังหมด ครัง
1 นายเอกพล พงศ์ส าพร
ประธานกรรมการบริษัท กรรมการอิสระ
5/5
2 รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์
กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ
5/5
3 นายวิชัย แซ่เซียว
กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ
5/5
4 นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ
กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร กรรมการอิสระ
5/5
5 นางอารยา คงสุนทร
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
5/5
6 นายชูเดช คงสุนทรท
กรรมการผู้จัดการ ายพั นาธุรกิจ
5/5
7 นางสาว ิติมา ตันติกุลสุนทร
กรรมการผู้จัดการ ายสนันสนุนและป ิบัติการ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร
5/5
8 นางสาวพรไพเราะ ตันติกุลสุนทร
กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร
5/5
น ยบาย ำาน นองค์ประ ุม ันตำา นอกเหนือจากข้อบังคับบริษัท ที่ว่าด้วยองค์ประชุม และการประชุมคณะกรรมการบริษัท แล้วเพื่อให้เปนไปตามหลักการกำากับ ดูแลกิจการทีด่ ี และมีประสิทธิ บริษทั กำาหนดนโยบายเกีย่ วกับจำานวนองค์ประชุมขัน้ ต่าำ ณ ขณะทีค่ ณะกรรมการบริษทั ลงมติ ในทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัท ต้องมีกรรมการอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำานวนกรรมการทั้งหมด 5. 3 คณะกรรมการ ุดต่าง คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย 4 ชุด ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 3) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรและ 4) คณะกรรมการบริหาร เพื่อศึกษากลั่นกรองงานที่คณะกรรม การบริษัท มอบหมายให้มีความ ูกต้อง ชัดเจน สอดคล้องกับพันธกิจ และนโยบายของบริษัท ในเบื้องต้น ก่อนนำาเสนอคณะกรรมการบ ริษัท พิจารณาอนุมัติ หรือเห็นชอบ หรือให้ข้อแนะนำาเพิ่มเติมแล้วแต่กรณี
65
5. 3. คณะกรรมการตร สอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท มีโครงสร้างที่เปนอิสระจากผู้บริหารของบริษัท ซึ่งประกอบไปด้วย ผู้ทรง คุณวุ ซิ งึ่ เปนกรรมการทีเ่ ปนอิสระจากผูบ้ ริหาร และมีคณ ุ สมบัตคิ รบ ว้ นตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ/หรือ สำานักงานคณะกรรมการกำากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท มีจำานวนทั้งหมด 3 ท่านประกอบด้วย ลำาดับ
ราย อ
ตำาแหน่ง
ร่ มประ ุม การประ ุม ทังหมด ครัง
1
รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์
ประธานกรรมการตรวจสอบ
5/5
2
นายวิชัย แซ่เซียว
กรรมการตรวจสอบ
5/5
3
นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ กรรมการตรวจสอบ
5/5
หมายเหตุ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คือนางสาววรลักษณ์ ลิ้มสุขประเสริ ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 31 กรก าคม 2557 โดยมี น ายวิ ชัย แซ่เซียว เปนกรรมการตรวจสอบที่ มีค วามรู้ ห รื อ มี ประสบการณ์ ด้ า นบั ญชี และการเงิ น เพี ย งพอที่ จ ะสามาร ทำาหน้าที่สอบทานความน่าเชื่อ ือของงบการเงิน อบเ ต หนาท และค ามรับ ิด อบ องคณะกรรมการตร สอบ ที่ประชุมวิสามัญผู้ ือหุ้นบริษัทจำากัด ครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 31 กรก าคม 2557 และที่ประชุมวิสามัญผู้ ือหุ้นบริษัทมหาชนจำากัด ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2558 ได้มีมติกำาหนดขอบเขตและอำานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ ไว้ดังนี้ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่าง ูกต้องและเพียงพอ
2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุม ายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบ ายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสม และมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหน่วยงานตรวจสอบ ายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณา แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบ ายใน
3. สอบทานให้บริษัทป ิบัติตามก หมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำาหนดของตลาดหลักทรัพย์ และก หมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท
4. สอบทานและหารือกับ ายจัดการเกีย่ วกับความเสีย่ งทีส่ าำ คัญของบริษทั และมาตรการที่ ายจัดการได้ดาำ เนินการเพือ่ ติดตามและ ควบคุมความเสี่ยงดังกล่าว
5. พิจารณา คัดเลือก และเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความอิสระเพื่อทำาหน้าที่เปนผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของ บุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มี ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปละ 1 ครั้ง
6. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เปนไปตามก หมายและข้อกำาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวลมเหตุสมผลและเปนประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท
7. จัดทำารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำาปของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1) ความเห็นเกี่ยวกับความ ูกต้อง ครบ ้วน เปนที่เชื่อ ือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท 2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุม ายในของบริษัท
66
3) ความเห็นเกีย่ วกับการป บิ ตั ติ ามก หมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำาหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือ ก หมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6) จำานวนการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการป ิบัติหน้าที่ตาม ก บัตร (Charter)
8) รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว่าผู้ อื หุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 8. ป ิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ
9. ในการป ิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำ าใดดังต่อไปนี้ซึ่งอาจมีผล กระทบอย่างมีนัยสำาคัญต่อ านะการเงินและผลการดำาเนินงานของบริษัท ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อดำาเนินการปรับปรุงแก้ไข ายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 2) การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่สำาคัญในระบบการควบคุม ายใน
3) การ า นก หมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำาหนดของตลาดหลักทรัพย์หรือก หมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของบริษัท หากคณะกรรมการบริษัท หรือผู้บริหารไม่ดำาเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไข ายในเวลาตามวรรคหนึ่ง ต่อสำานักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์
10 ในการป ิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบอาจขอคำาปรึกษาจากที่ปรึกษาอิสระ ายนอก หรือ ผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพอื่น หากเห็นว่า มีความจำาเปนและเหมาะสม โดยบริษัทเปนผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
ในการป ิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบตามที่กล่าวข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบมีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ บริษัทโดยตรง และคณะกรรมการบริษัทยังคงมีความรับผิดชอบในการดำาเนินงานของบริษัทต่อบุคคล ายนอก 5. 3. คณะกรรมการสรรหาและพิ ารณาค่าตอบแทน
ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที ่ 1/2558 เมือ่ วันที ่ 24 กุม าพันธ์ 2558 มีมติให้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน จำานวน 3 ท่านประกอบด้วย ลำาดับ
ราย อ
ตำาแหน่ง
ร่ มประ ุม การประ ุมทังหมด ครัง
1
นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
1/1
2
นายวิชัย แซ่เซียว
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
1/1
3
นางอารยา คงสุนทร
กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
1/1
67
อบเ ต หนาท และค ามรับ ิด อบ องคณะกรรมการสรรหาและพิ ารณาค่าตอบแทน
1. เสนอความเห็นต่อคณะกรรรมการบริษัท เกี่ยวกับอัตราค่าตอบแทนของประธานกรรมการ กรรมการบริษัท ประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ และคณะอนุกรรมการต่าง ( ้ามี) (โดยขอรับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ ือหุ้นใน ายหลัง)
2. ดำาเนินการสรรหาและนำาเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสำาหรับการดำารงตำาแหน่งกรรมการเปนครั้งแรกและพิจารณา ผลงาน คุณสมบัต ิ และความเหมาะสมของกรรมการทีพ่ น้ ตำาแหน่งตามวาระและสมควรได้รบั เลือกตัง้ ใหม่ เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเสนอต่อที่ประชุมผู้ ือหุ้นเพื่อแต่งตั้งเปนกรรมการบริษัทต่อไป
3. พิจารณาและให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั และติดตามดูแลการดำาเนินการเกีย่ วกับวิสยั ทัศน์และกลยุทธ์ทางด้านทรัพยากร บุคคลของบริษัท รวมทั้งแผนงานพั นาผู้บริหารของบริษัท
4. ประเมินผลประกอบการของบริษัทเพื่อกำาหนดการให้โบนัสและการขึ้นเงินเดือนประจำาปของทั้งบริษัท โดยใช้เกณฑ์มาตร านใน อุตสาหกรรมที่เหมาะสมในการพิจารณาประกอเสนอแนะโครงสร้างเงินเดือนของบริษัท รวม ึงผลประโยชน์ตอบแทนอื่น 5. 3.3 คณะกรรมการบริหารค ามเสยงองค์กร ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที ่ 4/2559 เมือ่ วันที ่ 11 สิงหาคม 2559 มีมติให้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน จำานวน 3 ท่านประกอบด้วย
ลำาดับ
ราย อ
ตำาแหน่ง
ร่ มประ ุม การประ ุมทังหมด ครัง
1
นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ
ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร
1/1
2
นางสาว ิติมา ตันติกุลสุนทร
กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร
1/1
3
นางสาวพรไพเราะ ตันติกุลสุนทร
กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร
0/1
อบเ ต หนาท และค ามรับ ิด อบ องคณะกรรมการสรรหาและพิ ารณาค่าตอบแทน
1. กำาหนดและทบทวนกรอบการบริหารความเสี่ยง ก บัตรการบริหารความเสี่ยงองค์กร นโยบายและกระบวนการบริหาร รวมทั้ง เสนอแนะแนวทางการบริหารความเสี่ยงต่าง ที่เกี่ยวกับการดำาเนินธุรกิจบริษัท อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิ าพสอดคล้อง ต่อทิศทางกลยุทธ์การดำาเนิน แผนธุรกิจ และส าวการณ์ที่เปลี่ยนแปล
2. สนับสนุนและพั นาการบริหารความเสี่ยงในทุกระดับทั่วทั้งองค์กร รวมทั้งเครื่องมือต่าง อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิ าพ รวม ึงส่งเสริมการพั นาวั นธรรมการบริหารความเสี่ยงในองค์
3. กำากับดูแล ติดตาม และสอบทานแผนงานและรายงานการบริหารความเสี่ยงที่สำาคัญ พร้อมทั้งให้คำาแนะนำา เพื่อให้มั่นใจว่ามีการ บริหารจัดการความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิ าพและเหมาะสมอยู่ในระดับที่ยอมรับได้สอดอคล้องกับนโยบายบริหารความเสี่ยง
4. รายงานผลการบริหารความเสี่ยงองค์กรที่สำาคัญให้คณะกรรมการบริษัท รับทราบ ในกรณีที่มีปัจจัยหรือเหตุการณ์สำาคัญซึ่ง อาจจะมีผลกระทบต่อบริษัท อย่างมีนัยสำาคัญ ต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาโดยเร็ว 5. รับผิดชอบต่อการอื่นใดที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมาย
68
5. หลักเกณ ์ ันตอน ลการประเมินการป ิบัติงาน องคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการ ุดย่อย การประเมินการป ิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัท เห็นชอบให้มีการประเมินผลการป ิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทญ อย่างสม่ำาเสมอและต่อเนื่อง ทุกป เพือ่ ให้มกี ารทบหวนผลงาน ปัญหา และอุปสรรคต่าง ในระหว่างปทีผ่ า่ นมา และสามาร พิจารณาปรับปรุงประสิทธิ าพการดำาเนินงาน อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี ้ ก บัตรคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ ระบุให้คณะกรรมการชุดย่อยประเมินผลการป บิ ตั งิ านของตนเอง ทัง้ แบบราย บุคคลและรายบุคคล และรายงานปัญหาอุปสรรคที่เปนเหตุให้การป ิบัติงานไม่บรรลุตามขอบเขต อำานาจ หน้าที่ ( ้ามี) ยังคณะกรรมการบ ริษัท เพื่อทราบปละ 1 ครั้ง
การประเมินการป ิบัติงานแบบองค์คณะ
1. คณะกรรมการบริษัท ประเมินตนเองโดยครอบคลุมหัวข้อสำาคัญ ดังนี้ 1.1 โครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการ 1.2 บทบาท / หน้าที่ / ความรับผิดชอบของกรรมการ 1.3 การประชุมของคณะกรรมการ 1.4 การป ิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ 1.5 ความสัมพันธ์กับ ายบริหาร 1.6 การพั นาตนเองและผู้บริหาร 2. คณะกรรมการตรวจสอบ ประเมินตนเองโดยครอบคลุมหัวข้อสำาคัญ ดังนี้ 2.1 โครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการ 2.2 การประชุมของคณะกรรมการชุดย่อย 2.3 บทบาท / หน้าที่ / ความรับผิดชอบของกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการตรวตรวจสอบ
3. คณะกรรมการชุดย่อยอืน่ ได้แก่ 1) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3) คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งองค์กร ประเมินครอบคลุมหัวข้อสำาคัญ ดังนี้ 3.1 โครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการ 3.2 การประชุมของคณะกรรมการชุดย่อย 3.3 บทบาท / หน้าที่ / ความรับผิดชอบของกรรมการชุดย่อย
การประเมินการป ิบัติงานแบบรายบุคคล การประเมินการป ิบัติงานแบบรายบุคคลของคณะกรรมการบริษัท ทุกคณะ ครอบคลุมหัวข้อสำาคัญ เช่น การเข้าร่วมประชุม ทัศนคติ และการพั นาความรู้ความสามาร อย่างต่อเนื่องของคณะกรรมการ สัมพันธ าพกับ ายบริหารการประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนข องตนเอง เปนต้น
69
ันตอนการประเมินการป ิบัติงาน องคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการ ุดย่อย เลขานุการบริษัท และเลขานุการคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละชุด จะนำาส่งแบบประเมินคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการ ชุดย่อย พร้อมสรุปข้อมูลสนับสนุนเพื่อประกอบการพิจารณาประเมินทั้งแบบองค์คณะ และแบบรายบุคคลยังคณะกรรมการทุดชุด ายใน เดือนมกราคมของทุกป หลังจากนั้นเลขานุการบริษัท จะรวบรวมแบบประเมินผล เพื่อจัดทำารายงานสรุปผลการประเมิน นำาเสนอยังที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท รับทราบผลการประเมินการป ิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ในป 2559 ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท (ประชุมครั้งที่ 2/2560 23 กุม าพันธ์ 2560) ซึ่งส่วนใหญ่มีผลการประเมินอยู่ในระดับสูงกว่าร้อยละ 90 อย่างไรก็ดีได้กำาหนดแนวทางการปรับปรุงหัวข้อการประเมินที่ได้คะแนนต่ำาของคณะกรรมการบริษัท ได้กำาหนดแนวทางเพื่อสนับสนุน การป ิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยให้มีประสิทธิ าพมากยิ่งขึ้น โดยมีคะแนนการประเมินผลสรุปได้ดังนี้ คณะกรรมการ ุดย่อย
ลการประเมิน แบบองค์คณะ คิดเปนรอยละ
ลการประเมิน แบบรายบุคคล คิดเปนรอยละ
คณะกรรมการบริษัท
91.75
94.50
คณะกรรมการตรวจสอบ
85.25
-
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
88.75
-
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร
94.75
-
คะแนนเ ลี่ยรวมทุกคณะ
90.12
94.50
รายงาน องคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบและบริหารความเสีย่ งจะทำาหน้าทีส่ อบทานรายงานทางการเงิน โดยมี ายบัญชีและการเงิน และผูส้ อบบัญชี มาประชุมร่วมกัน และนำาเสนอรายงานทางการเงินต่อคณะกรรมการบริษทั ทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการบริษทั เปนผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงิน รวมของบริษทั รวมทัง้ สารสนเทศทางการเงิน (รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน) ทีป่ ราก ในรายงานประจำาป งบการเงินดังกล่าวจัดทำาขึ้นตามมาตร านการบัญชีรับรองและตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และเปนที่ยอมรับ และ ือป ิบัติอย่างสม่ำาเสมอ รวมทั้งได้ใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังในการจัดทำาและดูแลมีการเปิดเผยข้อมูลสำาคัญอย่าง เพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ค่าตอบแทน บริษัทมีนโยบายกำาหนดค่าตอบแทนของกรรมการและกรรมการตรวจสอบ ให้อยู่ในระดับที่สามาร จูงใจให้สามาร รักษากรรมการ ที่มีคุณ าพตามที่ต้องการได้ ค่าตอบแทนจะอยู่ในระดับที่เทียบเคียงได้กับกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน และเชื่อมโยงกับผลการดำาเนินงานของ บริษัท โดยขออนุมัติค่าตอบแทนของกรรมการในที่ประชุมผู้ ือหุ้น ค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้บริหารระดับสูง กำาหนดให้มีความเหมาะสมกับอำานาจหน้าที่ตามหลักเกณฑ์และ นโยบายที่คณะกรรมการบริษัทกำาหนดและเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท ระดับค่าตอบแทนเปนเงินเดือน โบนัส และผลตอบแทนจูงใจใน ระยะยาวสอดคล้องกับผลงานของบริษัทและการป ิบัติงานของผู้บริหารแต่ละราย
การพั นากรรมการและ ูบริหาร องบริษัท คณะกรรมการบริษทั ส่งเสริมและอำานวยความสะดวกให้มกี าร กอบรมและให้ความรูแ้ ก่ผเู้ กีย่ วข้องในระบบการกำากับดูแลกิจการของ บริษัท เช่น กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร เปนต้น เพื่อให้มีการปรับปรุงการป ิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการ กอบรมและ ให้ความรู้อาจกระทำาเปนการ ายในบริษัทหรือใช้บริการของส าบัน ายนอก 70
ทุกครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงกรรมการใหม่ เลขานุการบริษทั จะจัดให้มเี อกสารข้อมูลทีเ่ ปนประโยชน์ตอ่ การป บิ ตั หิ น้าทีข่ องกรรมการ ใหม่ รวม ึงจัดให้มีการแนะนำาลักษณะธุรกิจและแนวทางการดำาเนินธุรกิจให้แก่กรรมการใหม่ 5. 5 การสรรหากรรมการและ ูบริหาร บริษัท จัดให้มีคู่มือคณะกรรมการบริษัท ซึ่งระบุเรื่องการสรรหากรรมการว่า การพิจรณาสรรหาและแต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมเพื่อ มาดำารงตำาแหน่งคณะกรรมการบริษัท จะต้องดำาเนินการตามข้อบังคับของบริษัท และข้อกำาหนดของคณะกรรมการบริษัท โดยต้องเปน ผู้ที่มีคุณสมบัติตามก หมายกำาหนด ทั้งที่คณะกรรมการบริษัท ได้พิจารณาเห็นชอบการปรับปรุงหลักการสำาคัญประกอบกิจการพิจารณา สรรหากรรมการ เพื่อให้สอดคล้องกับการกำากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ที่ได้แก้ไขตามหลักเกณฑ์การกำากับดูแลกิจการที่ดีสำาหรับบริษัท จดทะเบียนในป 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ของสมาคมส่งเสริมส าบันกรรมการบริษัทไทย (Thai institute of directors Association: I D) โดยนำาเสนอยังคณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติ สรุปสาระสำาคัญได้ดังนี้
ุ สมบัตเิ หมาะสม ไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามข้อกำาหนดของคณะกรรมการบริษทั ตามทีต่ ลาดหลักทรัพย์ • จะต้องเปนผูท้ มี่ คี ณ แห่งประเทศไทยกำาหนด และหากจะมีส านะเปนกรรมกรอิสระจะต้องมีคณ ุ สมบัตสิ อดคล้องและครบ ว้ นตามคุณสมบัต ิ ที่กำาหนดไว้
• ต้องประกอบด้วยบุคคลทีม่ คี วามรูท้ งั้ ในด้านโลจิสติกส์ หรือวิชาชีพแขนงอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำาเนินธุรกิจและมีกรรมการ อย่างน้อย 1 คน เปนผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านบัญชีและการเงิน
• ในการสรรหาคณะกรรมการ บริษัท จะพิจารณาความหลากหลายของทักษะในด้านต่าง ได้แก่ ความรู้ด้านธุรกิจ
อุตสาหกรรม การเงินและบัญชี ทักษะการบริหารจัดการ และการตัดสินใจ ธุรกิตเทียบเคียงระดับสากล กลยุทธ์ทางธุรกิจ การบริหารวิก ติ การกำากับดูแลกิจการที่ดี และด้านก หมาย เพื่อสนับสนุนการดำาเนินงานทุกด้าน โดยสอดคล้องกับ กลยุทธ์ในการดำาเนินธุรกิจของบริษัท
• ประธานคณะกรรมการบริษทั ควรเปนกรรมการอิสระและไม่ควรเปนประธานหรือสมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อยต่าง • กรรมการอิสระไม่ อื หุน้ ของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง (นับรวมบุคคล ที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 258 ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551)
น ยบายกำาหนดองค์ประกอบ องคณะกรรมการทมค ามหลากหลาย ในการสรรหาคณะกรรมการบริษัท จะกำาหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ต้องการสรรหาให้สอดคล้องกับกลยุทธิในการดำาเนินธุรกิจ และพิจรณาความหลากหลายของทักษะในด้านต่าง ประกอบด้วย ความรู้ด้านธุรกิจ อุตสาหกรรม บัญชีและการเงิน ทักษะการบริหารจัด ดการและตัดสินใจ กลยุทธ์ทางธุรกิจ การบริหารวิก ตการกำากับดูแลกิจการที่ดี และ ด้านก หมาย
การแต่งตังและการพนตำาแหน่ง องกรรมการบริษัท
1. ายบริหารต้องประสานงานกับผู้ทรงคุณวุ ิเพื่อขอทราบประวัติ และตรวจสอบคุณสมบัติในเบื้องต้นหากมีคุณสมบัติผ่าน เกณฑ์ จึงนำาเสนอยังคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อพิจารณากลั่นกรองและเห็นชอบคุณสมบัติใน เบื้องต้น
2. ในการประชุมสามัญประจำาปทุกครั้ง กรรมการต้องออกจากตำาแหน่ง 1 ใน 3 หากจำานวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเปน สามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำานวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 ทั้งนี้ กรรมการที่จะต้องออกจากตำาแหน่งในปแรก และปที่สอง ายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น หากกรรมการมิได้ตกลงกันเองเปนวิธีอื่น ให้ใช้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปหลัง ต่อไป ให้ ก รรมการคนที่ อ ยู่ ใ นตำ า แหน่ ง นานที่ สุ ด เปนผู้ อ อกตำ า แหน่ ง กรรมการที่ อ อกตามวาระนั้ น อาจ ู ก เลื อ กเข้ า มาดำ า รง ตำาแหน่งใหม่ก็ได้
3. ให้ที่ประชุมผู้ ือหุ้นเลือกตั้งกรรมการโดยใช้เสียงข้างมาก โดยผู้ ือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียงและ สามาร เลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคล ทั้งนี้ บุลคลซึ่งได้รับคะแนนสูงสุดตามลำาดับลงมาเปนผู้ได้รับการเลือกตั้งกรรมการ เท่าจำานวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ลำาดับ ดั ลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจำานวนกรรมการทีพ่ งึ มีหรือพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ให้ผเู้ ปนประธานในทีป่ ระชุมออกเสียงเท่ากันเกินจำานวนกรรมการทีพ่ งึ มี 71
4. ในกรณีที่ตำาแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจาก ึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัท เลือกบุคคลที่ผ่าน การกลัง่ กรองจากคณะกรรมการสรรหาและพิจาณณาค่าตอบแทน ซึง่ มีคณ ุ สมบัต ิ และไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามก หมายว่าด้วย บริษัทมหาชนจำากัด และมีคุณสมบัติตามที่บริษัท กำาหนด เข้าเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราว ัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการเหลือน้อยกว่าสองเดือนบุคคลซึง่ เปนกรรมการแทนดังกล่าว จะอยูใ่ นตำาแหน่งกรรมการำาด้เพียงวาระ ที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการบริษัท ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของ จำานวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่
5. นอกจากการพ้นตำาแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการอาจพ้นตำาแหน่งเมื่อ - ตาย - ลาออก - ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามก หมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำากัด - ที่ประชุมผู้ ือหุ้นลงมติให้ออก - ศาลมีคำาสั่งให้ออก
การแต่งตัง ูบริหาร บริษทั ตระหนัก งึ ความสำาคัญของการบริหารจัดการองค์กรให้มปี ระสิทธิ าพ จึงได้มกี าำ หนดนโยบายการสืบทอดตำาแหน่งในระดับ บริหาร โดยมีวตั ปุ ระสงค์เพือ่ ให้เปนหลักการและแนวทางของบริษทั ในการจัดเตรียมบุคลากรให้พร้อมสำาหรับตำาแหน่งในระดับบริหารของ บริษัท โดยยึดหลักความโปร่งใส เปนธรรม และสามาร ตรวจสอบได้
(1) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่กำาหนดหลักเกณฑ์การสรรหา และพิจารณาอนุมัติแผนการสืบทอด ตำาแหน่ง รวม ึงคัดกรองพนักงานระดับบริหารหรือบุคคล ายนอก สำาหรับดำารงตำาแหน่งกรรมการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และนำาสนอยังคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป
(2) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ ายที่เกี่ยวข้อง มีหน้าที่กำาหนดหลักเกณฑ์การสรรหา และพั นาบุคลากรที่มีความรู้ความ สามาร รวม งึ คัดเลือกพนักงานหรือบุคคล ายนอก สำาหรับดำารงตำาแหน่งระดับผูจ้ ดั การทัว่ ไป เพือ่ นำามาเสนอคณะกรรมการ บริหารแต่งตั้ง ทั้งนี้ประธานเจ้าหน้าที่บริหารมีอำานาจแต่งตั้งผู้บริหารระดับ าย
การกำากับดูแลการดำาเนินงาน องบริษัทย่อยและบริษัทร่ ม บริษทั ได้กาำ หนดระเบียบป บิ ตั ใิ ห้การเสนอชือ่ และใช้สทิ ธิออกเสียงในการแต่งตัง้ บุคคลไปเปนกรรมการในบริษทั ย่อย ต้องได้รบั อนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริษัทด้วย โดยบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เปนกรรมการในบริษัทย่อย และ/หรือ บริษัทร่วม มีหน้าที่ดำาเนินการเพื่อประโยชน์ ที่ดีที่สุดของบริษัทย่อย และ/หรือ บริษัทร่วมนั้น โดยควบคุมการดำาเนินงานของบริษัทย่อย และ/หรือ บริษัทร่วม ให้เปนไปตามกลยุทธ์และ แผนงานธุรกิจ ายใต้นโยบายทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั รวม งึ การป บิ ตั งิ านด้วยหลักบรรษัท บิ าลทีด่ ี และบริษทั ได้กาำ หนดให้ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งนั้น ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทก่อนที่จะไปลงมติ หรือ ใช้สิทธิออกเสียงในเรื่องสำาคัญในระดับเดียวกับ ที่ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท หากเปนการดำาเนินการโดยบริษัทเอง ทั้งนี้ การส่งกรรมการเพื่อเปนตัวแทนในบริษัทย่อย และ/ หรือ บริษัทร่วมดังกล่าวเปนไปตามสัดส่วนการ ือหุ้นของบริษัท
72
การกำากับดูแลเรองการ
อมูล าย น
บริษทั ได้กาำ หนดนโยบายเกีย่ วกับการใช้ขอ้ มูล ายใน โดยระบุไว้ในหลักการกำากับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั เพือ่ ใช้เปนหลักป บิ ตั ิ สำาหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ดังนี้
1) นโยบายเกี่ยวกับการปองกันการใช้ข้อมูล ายใน ห้ามผูบ้ ริหาร พนักงานประจำาของบริษทั รวมทัง้ คูส่ มรสและบุตรไม่บรรลุนติ ิ าวะของบุคคลดังกล่าวนำาข้อมูล ายในของบริษทั ทีเ่ ปนสาระสำาคัญซึง่ ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้ประโยชน์ในการซือ้ ขายหลักทรัพย์เพือ่ เก็งกำาไร หรือสร้างความได้เปรียบให้ บุคคล หรือกลุ่มบุคคลใดกลุ่มหนึ่ง
2) นโยบายเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ผู้บริหารของบริษัท รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติ าวะของบุคคลดังกล่าว งดการซื้อ ขาย หรือโอนหุ้นบริษัท ในช่วง ระยะเวลา 15 วัน ก่อนการเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และในช่วงระยะเวลา 3 วันหลังการเปิดเผย ข้อมูลงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือ่ ให้ผู้ อื หุน้ และผูล้ งทุนได้มรี ะยะเวลาทีเ่ พียงพอในการเข้า งึ และทำาความ เข้าใจในสาระสำาคัญของข้อมูลข่าวสารของบริษัท หรืองบการเงินที่เปิดเผยได้ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเสร็จสิ้นแล้ว
กรรมการและผู้บริหารระดับสูงต้องแจ้งเลขานุการบริษัท เกี่ยวกับการซื้อขายหุ้นของบริษัท อย่างน้อย 1 วันล่วงหน้าก่อน การซื้อขาย โดยเลขานุการบริษัท จะรายงานการซื้อ - ขายหุ้นดังกล่าว ให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ทราบทุกครั้ง
3) นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลทางธุรกิจของบริษัท - กรรมการ ายบริหาร พนักงาน ผู้ป ิบัติงาน ในบางครั้งจะต้องทำางานกับข้อมูลและเอกสารที่ไม่สามาร เปิดเผยต่อบุคคล ายนอกได้ และหรือเปนความลับทางการค้า เช่น ข้อมูลในสัญญา ตัวเลข ลูกค้า กระบวนการดำาเนินงาน เปนต้น ซึ่ง ือเปน สิทธิของบริษทั การปกปองข้อมูลประเ ทนีม้ คี วามสำาคัญอย่างยิง่ ต่อความสำาเร็จของบริษทั ในอนาคต รวมทัง้ มีความสำาคัญ ต่อความมั่นคงในอาชีพการงานของทุกคนด้วย
ผูท้ ไี่ ด้ดาำ รงตำาแหน่งกรรมการ ายบริหาร พนักงาน ผูป้ บิ ตั งิ าน มีหน้าทีต่ อ้ งยอมรับพันธะผูกพันตามก หมายและจรรยาบรรณ ที่ต้องไม่เปิดเผยข้อมูลและเอกสารที่เปนความลับหรือความลับทางการค้านั้น
- ขั้นความลับของข้อมูล ข้อมูลลับทางการค้าซึ่งเปนข้อมูล ายในของบริษัท ต้องได้รับการดูแลปกปิดมิให้รั่วไหลออกไป ายนอกได้ ความลับของ ข้อมูลเหล่านั้นอาจแบ่งออกได้เปนหลายขั้นตามความสำาคัญจากน้อยไปหามาก เช่น กำาหนดข้อมูลให้เปน ข้อมูลที่เปิดเผย ข้อมูลปกปิด ข้อมูลลับ เปนต้น การให้ข้อมูล ายในร่วมกันต้องอยู่ในกรอบที่ ือเปนหน้าที่และความรับผิดชอบที่ตนได้รับมอบหมายเท่านั้น - การให้ข้อมูลข่าวสารแก่บุคคล ายนอก
ทุกข้อมูลทีอ่ อกไปสูส่ าธารณชนต้องได้รบั ความเห็นชอบจากประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ว่าจะเปนผูต้ อบเอง หรือมอบหมายให้ ผู้หนึ่งผู้ใดเปนผู้ให้หรือผู้ตอบข้อมูล
5. นิยามกรรมการอิสระ กรรมการอิสระเปนกลไกสำาคัญในการกำากับดูแลกิจการที่ดี มีหน้าที่ในการสนับสนุนนโยบายที่เปนประโยชน์ต่อผู้ ือหุ้น หรือ คัดค้านเมื่อเห็นว่าบริษัท อาจตัดสินใตไม่โปร่งใส ซึ่งอาจกระทบต่อผลประโยชน์ของผู้อ่ืน และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ดังนั้น กรรมการอิสระ จึงต้องมีความเปนอิสระจากการควบคุมของผู้บริหาร ผู้ ือหุ้นรายใหญ่ และต้องไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือมีส่วนได้เสียในทางการเงินและ การบริหารกิจการ บริษัท ได้กำาหนดนิยามของ “กรรมการอิสระ” ให้สอดคล้องตามหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดีและเข้มกว่าประกาศ คณะกรรมการกำากับตลาดทุน ดังนี้
73
1) กรรมการที่มิได้เปนกรรมการ (Non- Executive Director) และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารงานประจำา และไม่เปน ผู้ อื หุน้ ของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และไม่ได้เปนกรรมการทีเ่ ปนผูแ้ ทนของผู้ อื หุน้ รายใหญ่ โดยมีคณ ุ สมบัต ิ เปนไปตามที่ก หมายกำาหนด
2) ไม่เปนบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามก หมายในลักษณะที่เปน บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ ือหุ้นรายใหญ่ ผุ้มีอำานาจควบคุม หรือบุคคลที่ได้รับ การเสนอให้เปนผู้บริหาร หรือผู้มีอำานาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย
3) ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี าพอย่างเดียวกัน เปนการแข่งบันทีม่ นี ยั สำาคัญกับกิจการบริษทั หรือบริษทั ย่อย หรือไม่เปนหุน้ ส่วน ที่มีนัยสำาคัญในห้างหุ้นส่วนหรือเปนกรรมการที่มีส่วนร่วมการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่รับเงินเดือนประจำา หรือ อื หุน้ เกินร้อยละ 1 ของจำานวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี าพอย่างเดียวกันและ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย
4) ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งในลักษณะทีอ่ าจ เปนการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน
ก ลักษณะค ามสัมพันธ์
ความสัมพันธ์ในลักษณะของการให้บริการทางวิชาชีพ 1) ผูส้ อบบัญชี ผูใ้ ช้บริการทางวิชาชีพ เช่น ทีป่ รึกษาก หมาย ทีป่ รึกษาทางการเงิน ผูป้ ระเมิน ราคาทรัพย์สนิ เปนต้น 2) ระดับนัยสำาคัญที่ไม่เข้าข่ายอิสระ กรณีผู้สอบบัญชี : ห้ามทุกกรณี ความสัมพันธ์ทางการค้า/ธุรกิจ (ใช้แนวทางเดียวกับข้อกำาหนดรายการเกี่ยวโยงของตลาดหลักทรัพย์ )
- ลักษณะความสัมพันธ์ : กำาหนดครอบคลุมรายการธุรกิจทุกประเ ท ได้แก่รายการที่เปนธุรกรรม ปกติ รายการ เกี่ยวกับทรัพย์สิน/บริการ และรายการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน
กรณทมลักษณะค ามสัมพันธ์ตาม อ ก. กับนิตบิ คุ คล บุคคลทเ า า่ ย ม่อสิ ระ ดแก่ ถอหุ ู นราย หญ่ กรรมการ ยกเ นกรรมการอิสระ กรรมการตร สอบ
5) ไม่เปนกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้รเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ ือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ ือหุ้น ซึ่งเปนผู้เกี่ยวข้อง กับผู้ ือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 6) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำาให้ไม่สามาร ให้ความเห็นอย่างอิสระได้ 7) กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามข้อ 1-6 อาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ให้ตัดสินใจในการดำาเนินกิจการ ของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำาดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสิน ในรูปแบบองค์คณะ (Collective decision) ได้
74
าร ร า ร บบ าร บ
า
ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 23 กุม าพันธ์ 2560 คณะกรรมการบริษัท ได้ประเมินระบบการ ควบคุม ายในจากรายงานผลการประเมินของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งได้ประเมินระบบการควบคุม ายในของบริษัท ในด้านต่าง 5 องค์ประกอบ คือ การควบคุม ายในองค์กร การประเมินความเสี่ยง การควบคุมการป ิบัติงาน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และ ระบบการติดตาม โดยมีรายละเอียดดังนี้
าร บ
า
ร
คณะกรรมการและผูบ้ ริหารประกาศใช้ “หลักการกำากับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน)” ซึง่ อื เปนนโยบาย และวินัยอย่างหนึ่งที่บุคลากรของบริษัท ต้องรับทราบและทำาความเข้าใจและป ิบัติให้สอดคล้องกับนโยบายและจรรยาบรรณต่าง อย่าง สมำา่ เสมอ ทีค่ รอบคลุม งึ การป บิ ตั หิ น้าทีป่ ระจำาวัน และการตัดสินใจในเรือ่ งต่าง รวมทัง้ การป บิ ตั ติ อ่ คูค่ า้ ลูกค้า และบุคคล ายนอก ทัง้ นี้ พนักงานที่ า นหรือละเมิดจะได้รับการสอบสวนและลงโทษตามที่บริษัทกำาหนดไว้ในคู่มือพนักงาน บริษัท ได้กำาหนดให้คณะกรรมการบริษัท และ ายบริหารมีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจน คณะกรรมการ บริษทั จะไม่เข้าไปเกีย่ วข้องใน าระหน้าทีข่ อง ายบริหาร เพือ่ สร้างดุลย าพระหว่างการบริหารและการกำากับดูแลกิจการ รวมทัง้ มีการติดตาม การบริหารงานเพื่อให้มั่นใจว่า นโยบาย และกระบวนการที่เหมาะสมได้นำามาใช้ในทางป ิบัติอย่างมีประสิทธิผล โดยคณะกรรมการ บริษัท ได้พิจารณาสรรหาและแต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมเพื่อมาดำารงตำาแหน่งผู้บริหารระดับสูงและแต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่าง ซึ่งจะต้องดำาเนินการ ตามข้อบังคับของบริษัท และข้อกำาหนดของคณะกรรมการบริษัท ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำาหนดไว้ และมีบทบาทสำาคัญ ในการกำาหนดวิสัยทัศน์ และแผนงานประจำาป โดย ายบริหารจะร่วมจัดทำาแผนงานประจำาป ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ที่กำาหนดไว้ในแผน ระยะยาวเพื่อนำาไปสู่การป ิบัติโดยมีการกำาหนดเปาหมาย วัต ุประสงค์ งบประมาณ ปัจจัยความเสี่ยง กิจกรรมหลักที่จะดำาเนินการในแต่ละ ช่วงเวลา ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับที่สามาร วัดได้อย่างเปนรูปธรรมเพื่อให้บรรลุเปาหมายโดยรวม บริษัท มีโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจนเพื่อสนับสนุนการบรรลุวัต ุประสงค์ของบริษัท และให้การควบคุม ายในเปนไปอย่างมี ประสิทธิ าพ โดยมีการแบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทัง้ ในสายงานป บิ ตั งิ านหลักและสายงานสนับสนุน รวมทัง้ มุง่ เน้นให้มกี ลไกการ ว่ งดุล อำานาจระหว่าง คณะกรรมการบริษัท ายบริหาร และผู้ ือหุ้น ตลอดจนจัดให้มีการสื่อสารกับผู้ลงทุนเพื่อเผยแพร่ และสื่อสารข้อมูลต่าง ของบริษัทให้สาธารณชนได้ทราบอย่างสม่ำาเสมอ นอกจากนี้บริษัท ได้คำานึง ึงความมุ่งมั่นในการจูงใจ พั นาและรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามาร จึงได้จัดให้มีแผนพั นา พนักงานรายบุคคล (IDP) รวมทั้งมีการประเมินผลการป ิบัติงานพนักงานตามเปาหมายที่กำาหนดไว้เปนดัชนีชี้วัดผลการดำาเนินงาน เพื่อใช้ ในการพิจารณาความดีความชอบ
าร ร
า ส
บริษทั ใช้แนวคิดของการบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร (Enterprise isk Management) โดยให้ผบู้ ริหารและพนักงานทีเ่ กีย่ วข้อง ร่วมกันบ่งชี้ความเสี่ยง การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงทั้งโอกาสเกิดและผลกระทบเพื่อกำาหนดมาตรการควบคุม บริษัท จัดตั้งหน่วยงานบริหาร จัดการความเสีย่ งเพือ่ จัดทำาแผนบริหารความเสีย่ ง ติดตามผลการจัดการเพือ่ ลดระดับความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ และทบทวนปัจจัย ความเสีย่ งเพือ่ เสนอคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งพิจารณาก่อนนำาเสนอคณะกรรมการบริษทั ทุกไตรมาส เพือ่ พิจารณาและให้คาำ วินจิ ยั อันจะส่งผลให้กระบวนการบริหารความเสี่ยงของบริษัท มีความต่อเนื่อง ทั้งนี้ได้สื่อสารนโยบายและแนวป ิบัติในการบริหารความเสี่ยง ให้พนักงานทุกคนรับทราบและ ือป ิบัติเพื่อให้เปนส่วนหนึ่งของวั นธรรมองค์กรว่า ทุกคนมีส่วนร่วมดูแลองค์กรร่วมกันผ่านกระบวนการ บริหารความเสี่ยงที่เข้าใจตรงกัน นอกจากนั้นแล้วบริษัท ได้มีการจัดทำาแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuities Plan: BCP) อย่างต่อเนื่อง
75
าร บ
าร บั า
บริษทั ประกาศใช้ระเบียบและแนวป บิ ตั ติ า่ ง อาทิ ด้านการจัดซือ้ งบประมาณ การบัญชีและการเงิน เปนต้น และบริษทั กำาหนด ขอบเขตอำานาจหน้าที่ และวงเงินอำานาจอนุมัติของ ายบริหารให้สอดคล้องกับหลักการควบคุม ายในที่ดี รวมทั้งจัดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ งาน และการสอบทานงานระหว่างกัน โดยแยกงานในหน้าที่อนุมัติ การบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลสารสนเทศ และหน้าที่ในการดูแลจัดเก็บ ทรัพย์สนิ ออกจากกัน นอกจากนีบ้ ริษทั ยังได้รบั การรับรองระบบมาตร านคุณ าพ IS 9001:2015 ซึง่ กำาหนดให้บริษทั ต้องจัดทำาคูม่ อื และ ขัน้ ตอนการป บิ ตั ิ เพือ่ เปนมาตร านอ้างอิงในการป บิ ตั งิ าน รวม งึ การจัด กอบรมพนักงานให้เข้าใจและสามาร ป บิ ตั งิ านได้อย่าง กู ต้อง สอดคล้องตามขั้นตอน และวิธีการป ิบัติงานที่บริษัท กำาหนดไว้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษัท และบริษัทย่อย รวม ึงผู้มีส่วนได้เสียต่าง จะผ่านขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติอย่าง ูกต้อง ชัดเจน หากมีรายการระหว่างกันที่มีนัยสำาคัญ ายตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ายบริหาร และผู้สอบบัญชีจะดำาเนินการพิจารณา อย่างรอบคอบและดำาเนินการตามข้อกำาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายงานให้สาำ นักงาน ก.ล.ต. ทราบ อีกทั้งในการออกเสียงเพื่อลงมติเกี่ยวกับรายการเกี่ยวโยง กรรมการที่มีส่วนได้เสียจะงดออกเสียงในมติดังกล่าว
ร บบสารส
ารส สาร
บริษัท มีการประยุกต์ใช้และพั นาระบบสารสนเทศ และระบบ านข้อมูล ายในอย่างต่อเนื่อง โดยกำาหนดเปนนโยบายเกี่ยวกับ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไว้ในหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจสื่อ ายในต่าง ายใต้การควบคุม ายในที่ดี อาทิ การใช้ Internet, E-mail และสื่อโทรคมนาคมต่าง ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร เปนต้น รวมทั้งได้สื่อสาร ให้บุคลากรของบริษัท ได้เข้าใจ ึงการป ิบัติตามก หมายที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ ได้แก่ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร พ.ร.บ. อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อไม่ให้เกิดการ า นก หมาย บริษทั จัดให้มกี ล่องรับความคิดเห็น และอีเมล์เพือ่ รับเรือ่ งร้องเรียนจากบุคคล ายนอก และมีนกั ลงทุนสัมพันธ์ทาำ หน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สาร และจัดกิจกรรมร่วมกับผู้ อื หุน้ และนักลงทุนรวมทัง้ มีชอ่ งทางการสือ่ สารพิเศษเพือ่ ให้พนักงานและหน่วยงาน ายนอกสามาร แจ้งข้อมูลหรือ การร้องเรียนแก่บริษัท
ร บบ าร
า
บริษทั ให้ความสำาคัญต่อการตรวจสอบ ายในเพือ่ เพิม่ คุณค่าต่อองค์กรโดยการใช้ขอ้ มูลประเมินความเสีย่ ง ายในองค์กร ประกอบการ วางแผนการตรวจสอบ ( isk Based Audit) และมอบหมายให้ ายตรวจสอบสอบทานประสิทธิ าพประสิทธิผลของระบบการควบคุม ายใน ของทุกกระบวนการทำางานและรายงานผู้บริหารและคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส เพื่อให้คณะกรรมการบริษัท รวม ึง ายบริหาร สามาร เชื่อมั่นในประสิทธิ าพประสิทธิผลของระบบการควบคุม ายในของบริษัท รวม ึงความ ูกต้องน่าเชื่อ ือได้ของข้อมูลสารสนเทศ ต่าง ทัง้ สารสนเทศทางการเงินการบัญชี และสารสนเทศทีใ่ ช้ในการดำาเนินงาน ทัง้ นี้ ายตรวจสอบได้ตดิ ตามผลการปรับปรุงแก้ไขตามประเด็น ที่ตรวจพบและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ และนำาเสนอคณะกรรมการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีกระบวนการ ติดตามผลการดำาเนินงานผ่านระบบการตรวจติดตามระบบคุณ าพและสิ่งแวดล้อม ายในบริษัทตามมาตร านสากล IS 9001:2015 บริษัท มีการติดตามดูแลการดำาเนินงานของบริษัทย่อยอย่างต่อเนื่องและสม่ำาเสมอ โดยรายงานความก้าวหน้า ผลการดำาเนินงาน ของบริษัทย่อย แต่ละแห่งต่อคณะกรรมการบริษัท ทราบ และมอบหมายให้มีหน่วยงานเ พาะในการติดตามผลการดำาเนินงานตามมติที่ คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ขอ้ เสนอแนะไว้ รวมทัง้ การประสานนโยบายให้ทกุ บริษทั มีทศิ ทางการดำาเนินงานทีส่ อดคล้องเปนทิศทางเดียวกัน กับนโยบายของคณะกรรมการบริษัท นอกจากนั้นบริษัท มอบหมายให้เลขานุการบริษัท ดูแลงานด้านก หมาย รวม ึงงานด้าน Compliance เพื่อกำากับดูแลให้การดำาเนินงานของบริษัท สอดคล้องกับก หมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง จากการพิจารณาสาระสำาคัญของการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุม ายในข้างต้น คณะกรรมการบริษัท มีความเห็น สอดคล้องกับคณะกรรมการตรวจสอบและผูส้ อบบัญชีวา่ ระบบการควบคุม ายในของบริษทั มีความเพียงพอและเหมาะสมกับการดำ าเนินธุรกิจ ทั้งนี้เพื่อการประกอบกิจการที่ยั่งยืนในอนาคต บริษัท ยังได้วางแผนกลยุทธ์และแผนการพั นาองค์กร โดยจัดให้มีบุคลากรอย่างเพียงพอ ที่จะดำาเนินการตามระบบได้ รวมทั้งมีระบบการควบคุม ายในในเรื่องการติดตามดูแลการดำาเนินงานของบริษัท และบริษัทย่อย ได้อย่างมี ประสิทธิ าพ และส่งเสริมประสิทธิผลของบริษัท
76
า รับ
บ สั
บา า ร บริษัท มุ่งเน้นและให้ความสำาคัญกับความรับผิดชอบขององค์กรต่อสังคม หรือ Corporate Social esponsibilities: CS เปน อย่างมากและ ือเปนเปาหมายหลักอันดับต้น ของบริษัท โดยบริษัท ได้วางนโยบายและจัดทำาโครงการต่าง ที่เปนประโยชน์ต่อสังคม ไม่ว่าจะเปนการยกระดับส าพแวดล้อมที่น่าอยู่มากขึ้น การยกระดับมาตร านการครองชีพ และความมีสุข าพที่ดีของชุนชน ตลอดจนการ สืบสานวั นธรรมความเปนไทย โดยประเ ทของกิจกรรมนั้น จะมีการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคม การบริจาคเพื่อการกุศล และ การอาสาช่วยเหลือชุมชน ในแต่ละกิจกรรม บริษัทจะวางเปาหมายโดยผสมผสานการใช้ทรัพยากรทั้ง ายในและ ายนอกองค์กรร่วมกัน เพื่อ ให้แต่ละกิจกรรมเกิดประสิทธิผลมากที่สุด ทั้งนี้ความสำาเร็จของแต่ละกิจกรรม จะไม่เกิดขึ้นจากการบริจาคทรัพย์สินเท่านั้น แต่ยังเน้นความมี ส่วนร่วมของพนักงานในองค์กรและความร่วมมือของหน่วยงาน ายนอก ตลอดจนความร่วมมือชุมชนอีกด้วย แนวการดำาเนินงาน ายในองค์กรนั้น บริษัท จัดให้มีคณะกรรมการเพื่อวางแผนดำาเนินโครงการต่าง โดยประกอบไปด้วยบุคคลกร จากหลายหน่วยงาน เพื่อระดมความคิดในการอกแบบโครง ซึ่งจะเปนการรวบรวมความคิด การสื่อสาร และการดำาเนินงาน เพื่อกำาหนดรูป แบบในแต่ละกิจกรรม ดังนี้
1. การออกแบบเพื่อกำาหนดกิจกรรม เปนการกำาหนดแต่ละโครงการ รวม ึงวัต ุประสงค์และผลที่ได้รับจากการดำา เนิน โครงการนั้น
2. การดำาเนินกิจกรรม เปนการกำาหนดขั้นตอนการดำาเนินงาน งบประมาณ บุคลากรที่จะเข้ามามีส่วนร่วม และกำาหนดหน่วยงาน ายนอกที่จะมีบทบาทร่วม
3. การติดตามประเมินผล ายหลังจากการดำาเนินกิจกรรม จะมีการประเมินผลว่าเปนไปตามเปาหมายทีก่ าำ หนดไว้หรือไม่อย่างไร และสื่อสารให้ ายในองค์กรและสังคมทราบ รวมทั้งประสานให้กิจกรรมเปนส่วนหนึ่งและเปนที่ยอมรับของสังคม
โดยบริษัท ดำาเนินธุรกิจของบริษัท เปนไปด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ตามหลักการแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม 8 ข้อของตลากหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยบริษัท ได้กำาหนดนโยบายและแนวทางป ิบัติ เพื่อให้บริษัท และบริษัทย่อยนำาม่ให้เปนส่วนหนึ่งในการบริหารจัดการทางธุรกิจ (CS -in-Process) ดังนี้
การประกอบกิ การด ยค ามเปนธรรม การประกอบธุรกิจด้วยความเปนธรรมย่อมก่อให้เกิดความเชื่อมั่นกับผู้เกี่ยวข้อง บริษัทและบริษัทย่อยมุ่งมั่นที่จะดำาเนินธุรกิจด้วย จรรยาบรรณที่ดีต่อคู่แข่งขันเพื่อให้เกิดการแข่งขันที่เปนธรรม โดยมีแนวทางป ิบัติดังนี้
1. ประพ ติป ิบัติ ายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี ส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรี หลีกเลี่ยงพ ติกรรมการ เล่นพรรคเล่นพวก หรือร่วมสมคบคิด (ฮั้ว) กัน
2. ไม่แสวงหาข้อมูลทีเ่ ปนความลับของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยวิธกี ารทีไ่ ม่สจุ ริต หรือไม่เหมาะสม เช่น การจ่ายสินจ้างให้กบั พนักงาน ของคู่แข่ง 3. ไม่พยายามทำาลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางร้ายโดยไร้มูลความจริง 4. ไม่สนับสนุนการดำาเนินการใด ที่มีลักษณะเปนการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ใช้สินค้าและบริการที่มีลิขสิทธิ ูกต้อง
77
การต่อตานการทุ ริตคอร์รัป ัน บริษัท มีนโยบายในการดำาเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม โดยยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตาม หลักบรรษัท ิบาลที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ ตลอดจนนโยบายและแนวทางป ิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง และเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัท มีนโยบายการกำาหนดวามรับผิดชอบ แนวทางป ิบัติ พร้อมทั้งข้อกำาหนดในการดำาเนินการที่เหมาะสม เพื่อปองกันการทุจริตคอร์รัปชั่นกับ ทุกกิจกรรมทางธุรกิจ และเพื่อให้การตัดสินใจและการดำาเนินการทางธุรกิจที่อาจมีความเสี่ยงด้านการทุจริตคอร์รัปชั่นได้รับการพิจารณา และป ิบัติอย่างรอบคอบ เพื่อเปนแนวทางการป ิบัติที่ในการดำาเนินธุรกิจ และพั นาสู่องค์กรแห่งความยั่งยืน บริษัท ได้เข้าร่วมลงนาม แสดงเจตนารมณ์เปนแนวร่วมป ิบัติของ าคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition : CAC) ซึ่งเปนโครงการ ที่รั บาลและสำานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับ 8 องค์กรได้แก่ หอการค้าไทย สมาคม ส่งเสริมส าบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : I D ) หอการค้านานาชาติ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สมาคม ธนาคารไทย ส าธุรกิจตลาดทุนไทย ส าอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และส าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผลักดันให้ มีมาตรการต่อต้านการทุจริตใน าคเอกชน ทั้งนี้ ปัจจุบันบริษัท อยู่ระหว่างการดำาเนินการยื่นขอรับรองเปนสมาชิกแนวร่วมป ิบัติของ าคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต
3 การเคารพสิทธิมนุษย น การเคารพสิทธิมนุษยชน หมาย ึง การป ิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย ชุมชนและสังคมรอบข้างด้วยความเคารพในคุณค่าของมนุษย์ และ ไม่ละเมิดสิทธิขั้นพื้น านของพวกเขา บริษัทและบริษัทย่อยมีเจตนารมณ์ที่จะเคารพและไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยมีแนวทางป ิบัติดังนี้
1. สนับสนุนและเคารพในการปกปองสิทธิมนุษยชน โดยหมั่นตรวจตราดูแลมิให้ธุรกิจเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิด สิทธิมนุษยชน เช่น ไม่สนับสนุนการบังคับใช้แรงงาน ต่อต้านการใช้แรงงานเด็ก เปนต้น
2. ส่งเสริมการป ิบัติตามข้อกำาหนดด้านสิทธิมนุษยชน ายในกิจการของตน และกระตุ้นให้มีการป ิบัติตามหลักการสิทธิ มนุษยชนตามมาตร านสากล
การป ิบัติต่อแรงงานอย่างเปนธรรม บริษทั มนี โยบายป บิ ตั ติ อ่ พนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียมและเปนธรรม ดแู ลด้านความเปนอยู ่ความปลอด ยั และสุขอนามัยในส าน ที่ทำางาน ตลอดจนส่งเสริมการเรียนรู้ระดับองค์กรและการพั นาบุคลากรเพื่อยกระดับการทำางานของพนักงานอย่างมืออาชีพ พั นาระบบ การทำางานและสร้างนวัตกรรมในองค์กร โดยมีแนวทางป ิบัติ ดังนี้ 1. จัดให้มีเงื่อนไขในการจ้างงานที่เปนธรรม และให้พนักงานได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมตามศักย าพ
2. จัดให้มีการดูแลในเรื่องสวัสดิการแก่พนักงานตามสมควร เช่น จัดให้มีวันลาพักผ่อนประจำาป การทำางานล่วงเวลาที่สมเหต สมผล การรักษาพยาบาลตามความจำาเปนและสมควร เปนต้น
3. การแต่งตั้งโยกย้าย การให้รางวัลและการลงโทษพนักงานจะกระทำ าด้วยความสุจริตใจ เสมอ าคและตั้งอยู่บนพื้น าน ของความรู้ ความสามาร และความเหมาะสมของพนักงาน 4. จัดให้มีการดูแลรักษาส าพแวดล้อมในการทำางาน ให้มีความปลอด ัยต่อชีวิต และทรัพย์สินของพนักงาน 5. พั นาพนักงานเพื่อ ก นทักษะและเพิ่มพูนศักย าพ โดยเปิดโอกาสให้พนักงานมีการเรียนรู้อย่างทั่ว ึงและสม่ำาเสมอ 6. ป ิบัติตามก หมาย และข้อบังคับต่าง ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานอย่างเคร่งครัด 7. หลีกเลี่ยงการกระทำาใด ที่ไม่เปนธรรม ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงในหน้าที่การทำางานของพนักงาน ตลอดจนป ิบัติ ต่อพนักงานด้วยความสุ าพ
78
โดยในป 2559 บริษัท มีการจัดกิจกรรม ดังนี้
บริษัท ส์ ล ิสติกส์ ำากัด มหา น จัดกิจกรรม Mission Possible Toward 2017 ประจำาป 2559 โดยมีวัต ุประสงค์เพื่อให้บุคคลกรมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำา ดัชนีชี้ วัดผลงานหรือความสำาเร็จของงาน (Key Performance Indicator : KPI)
บริษัท ส์ ล ิสติกส์ ำากัด มหา น จัดกิจกรรม กอบรมดับเพลิงขั้นต้น การ กซ้อมทีมดับเพลิงขั้นรุนแรง การซ้อมแผนอพยพหนีไฟ ประจำาป 2559 79
บริษัท ส์ ล ิสติกส์ ำากัด มหา น จัดกิจกรรม สัมมนาท่องเที่ยว ( uting) ประจำาป 2559 เพื่อให้พนักงานได้มีส่วนรวมและทำากิจกรรมร่วมกัน เสริมสร้างความสามัคคี
คุณเอกพล พงศ์สถาพร ประธานกรรมการ คุณอารยา คงสุนทร ประธานเ าหนาทบริหาร ให้เกียรติเปน ประธานในการจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ประจำาป 2559 บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) โดยมีวัต ุประสงค์เพื่อเปนขวัญ กำาลังใจให้แก่พนักงาน และเพื่อเสริมเสร้างความสามัคคีในบริษัท 80
5 ค ามรับ ิด อบต่อ ูบริ ค บริษัท มุ่งมั่นที่จะให้บริการที่มีคุณ าพและมาตร าน ในราคาที่เหมาะสม รักษาความลับของลูกค้าอย่างจริงจังและสมำ่าเสมอ แสวงหาลู่ทางอย่างไม่หยุดยั้งที่จะเพิ่มประโยชน์ให้แก่ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง และป ิบัติตามเงื่อนไขต่าง ที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่งครัด โดยมี แนวทางป ิบัติดังนี้ 1. ให้บริการที่มีคุณ าพและมาตร านตรงตามความต้องการของลูกค้า ายใต้เงื่อนไขที่เปนธรรม 2. พั นาการให้บริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับธุรกิจและเพื่อเพิ่มประโยชน์ให้แก่ลูกค้า 3. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการที่ ูกต้อง เพียงพอ ไม่เกินความเปนจริง เพื่อให้ลูกค้ามีข้อมูลเพียงพอในการตัดสินใจ 4. รักษาความลับของลูกค้าไม่นำาไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ
การดูแลรักษาสิงแ ดลอม บริษัทตระหนัก ึงความสำาคัญของการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ก่อให้เกิดปัญหามล าวะต่าง รวม ึง าวะโลกร้อน ซึ่งมี ผลกระทบต่อคุณ าพชีวิตมนุษย์และระบบนิเวศน์ บริษัทจึงมีนโยบายไม่กระทำาการใด ที่จะส่งผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและส าพ แวดล้อม โดยมีแนวทางป ิบัติ ดังนี้ 1. ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิ าพ มีมาตรการประหยัดพลังงาน และพิจารณานำาทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ 2. พั นาสินค้าและบริการทีไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีความปลอด ัยในการใช้งาน 3. ให้การสนับสนุนกิจกรรมที่จะมีส่วนสร้างสรรค์สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างสม่ำาเสมอ
การมส่ นร่ มพั นา ุม นและสังคม บริษัท มีนโยบายส่งเสริมการใช้กระบวนการทางธุรกิจเพื่อประโยชน์ในการพั นาคุณ าพชีวิต ช่วยสร้างเศรษ กิจและความ เข้มแข็งให้กับชุมชนและสังคม โดยมีแนวทางป ิบัติ ดังนี้ 1) การสนับสนุนการจ้างงานในชุมชน
2) แสวงหาโอกาสสนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์สงั คมและชุมชน เช่น สนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่โรงเรียนในเขตทีต่ งั้ ของสำานักงาน, กิจกรรมบริจาคโลหิต เปนต้น 3) ปลูก ังจิตสำานึกในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับ 4) ควบคุมให้มีการป ิบัติอย่างเคร่งครัดตามเจตนารมณ์ของก หมายและก ระเบียบที่ออกโดยหน่วยงานกำากับดูแล 5) โดยในปที่ผ่านมาบริษัท ได้เข้าร่วมส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม ดังนี้
81
บริษัท ส์ ล ิสติกส์ ำากัด มหา น ร่วมสนับสนุนกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ 2559 โดยมีแนวคิดเพื่อให้ประชาชนได้ตระหนัก ึงความสำาคัญของเด็ก โดยมุ่งส่งเสริมให้เห็น ความเห็นความสำาคัญของเด็กเปนการปลูก ังให้เด็กมีส่วนร่วมในสังคมมีความรับผิดชอบต่อประเทศชาติ
82
การดำาเนินงานและการ ัดทำารายงาน
บริษัท จัดทำารายงาน บับเดียวรวมกับแบบเสดงข้อมูลประจำาป (56-1) และรายงานประจำาป (56-2)
การดำาเนินธุรกิ ทม ลกระทบต่อค ามรับ ิด อบต่อสังคม
- ไม่มี
0 กิ กรรมเพอประ ย น์ต่อสังคมและสิงแ ดลอม
บริษัท ส์ ล ิสติกส์ ำากัด มหา น จัดกิจกรรมโรงทาน โดยมีวัต ุประสงค์ เพื่อให้พนักงานได้มีส่วนร่วมในการแบ่งปัน เพื่อส่วนร่วม และส่งเสริมให้พนักงานรู้จักเปนผู้ให้
บริษัท ส์ ล ิสติกส์ ำากัด มหา น จัดกิจกรรมบริจาคโลหิตเพื่อช่วยเพื่อนมนุษย์ โดยมีวัต ุประสงค์ เพื่อให้พนักงานได้มีส่วนร่วม ในการบริจาคโลหิตเพื่อช่วยเหลือเพื่อมนุษย์โลก 83
รา า า รับ บ รร ารบร ั รา า า าร คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้มีการทำางบการเงิน เพื่อแสดง านะทางการเงิน และผลการดำาเนินงานของบริษัท สำาหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ายใต้พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำากัด พ.ศ. 2535 โดยคณะกรรมการบริษัท ได้ตระหนัก ึง าระหน้าที่และ ความรับผิดชอบใน านะกรรมการบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ในการเปนผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงิน และงบการเงินรวมของบริษทั รวม ึงสารสนเทศทางการเงินที่ปราก ในรายงานประจำาปสำาหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ในการนี้ คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการที่เปนอิสระและไม่เปนผู้บริหารของ บริษัท เปนผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณ าพการรายงานทางการเงิน และสอบทานความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุม ายในของบริษัท และบริษัทในเครือ เพื่อให้มั่นใจได้อย่างสมเหตุผลว่า การบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความ ูกต้องครบ ้วนและสามาร ดำารงรักษาทรัพย์สิน รวมทั้ง เปนแนวทางให้บริษัท และบริษัทในเครือรับทราบเพื่อปองกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือดำาเนินการที่ผิดปกติ อย่างมีสาระสำาคัญ ซึ่งมีความเห็นของคณะกรรมการบริษัท ตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปราก ในรายงานการกำากับดูแลกิจการของ คณะกรรมการตรวจสอบ ประจำาปงบประมาณ 2559 ของคณะกรรมการตรวจสอบตามที่แสดงไว้ในรายงานประจำาป บับนี้ ดังนัน้ คณะกรรมการบริษทั จึงมีความเห็นว่า บริษทั ได้ใช้ดลุ ยพินจิ อย่างรอบคอบระมัดระวัง เปนไปตามข้อเท็จจริงและมีความสม เหตุสมผล และใช้วธิ กี ารประมาณการทีด่ ที สี่ ดุ ในการจัดทำางบการเงินดังกล่าว ายใต้นโยบายการบัญชีทเี่ หมาะสมและ อื ป บิ ตั อิ ย่างสมำา่ เสมอ สอดคล้องตามมาตร านการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย รวมทั้งได้เปิดเผยข้อมูลสำาคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงินแล้ว
นายเอกพล พงศ์สถาพร ประธานกรรมการบริษัท
84
นางอารยา คงสุนทร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
า บา บร ั
ส
าร สา ัญ ร
าร รา
ส ส า ั
า
า ั าร ร า
า
่ งเ ลาสำาคัญ
เหตุการณ์สำาคัญ
ตรมาสท
รับ เมือ่ วันที ่ 30 มีนาคม 2559 ทีป่ ระชุมสามัญผู้ อื หุน้ ของบริษทั ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลจากผลการดำาเนินงานป 2558 ในอัตราหุน้ ละ 487.77 บาท รวมเปน จำานวนเงินทัง้ สิน้ 26.34 ล้านบาท ซึง่ บริษทั บันทึกเปนรายได้เงินปันผลในงบกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ตรมาสท
า เมือ่ วันที ่ 20 เมษายน 2559 ทีป่ ระชุมสามัญผู้ อื หุน้ ของบริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) ได้มมี ติ อนุมตั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลจากผลการดำาเนินงานป 2558 ในอัตราหุน้ ละ 0.07 บาท รวมเปนจำานวนเงิน ทั้งสิ้น 42 ล้านบาท
ตรมาสท 3
าร เมื่อวันที่ 28 กรก าคม 2559 ที่ประชุมวิสามัญผู้ ือหุ้นของบริษัท มีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจด ทะเบียนของบริษัท จากเดิม 300.00 ล้านบาท เปน 325.95 ล้านบาท โดยการออกหุ้นสามัญ เพิ่มทุน 51,899,500 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท เพื่อเปนการชำาระค่าตอบแทนในการ เข้าซื้อหุ้นสามัญของ Sun Express Logistics Pte. Ltd.
าร
ร
เมื่อวันที่ 28 กรก าคม 2559 ที่ประชุมวิสามัญผู้ ือหุ้นของบริษัท มีมติอนุมัติการเข้าซื้อหุ้น สามัญของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. ซึง่ เปนบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ในประเทศสิงคโปร์ จำานวน 700,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ โดยวิธีการแลกหุ้นสามัญ (Share Swap) และชำาระด้วยเงินสดคิดเปนจำานวนเงินรวมประมาณ 16.71 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ หรือ เทียบเท่า 424.97 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2559 บริษัท ได้จ่ายชำาระค่าตอบแทนการซื้อหุ้นสามัญของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. ในส่วนแรกซึ่งมีจำานวนทั้งสิ้น 490,000 หุ้น คิดเปนสัดส่วนร้อย ละ 70 ของจำานวนหุ้นสามัญทั้งหมดของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. โดยมีมูลค่ารายการ เปนจำานวน 11.43 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์หรือเทียบเท่า 290.64 ล้านบาท ด้วยเงินสดประมาณ ร้อยละ 50 และจ่ายชำาระส่วนที่เหลือด้วยวิธีการแลกเปลี่ยนหุ้นสามัญของบริษัท กับหุ้นสามัญ ของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. (Share Swap) ส่งผลให้บริษัท ือหุ้นใน Sun Express Logistics Pte. Ltd. จำานวน 490,000 หุ้นหรือคิดเปนร้อยละ 70 ของจำานวนทุนที่ชำาระแล้วของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. 85
การวิเคราะห์ผลการดำาเนินงานของบริษัทในป 2559 สามาร สรุปได้ดังนี้ งบกำา ร าดทุนเบดเสร หน่ ย บาท รายได้หลักจากการให้บริการ
2559
2558
เปลยนแปลง
รอยละ
1,022,483,684
681,533,867
340,949,817
50.03
ต้นทุนการให้บริการ
761,485,818
508,013,735
253,472,083
49.89
กำาไรขั้นต้น
260,997,866
173,520,132
87,477,734
50.41
รายได้อื่น
13,152,598
7,944,387
5,208,211
65.56
กำาไรก่อนค่าใช้จ่าย
274,150,464
181,464,519
92,685,945
51.08
ค่าใช้จ่ายในการขาย
41,246,071
33,666,332
7,579,739
22.51
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
133,477,634
73,761,390
59,716,244
80.96
ร มค่า
่าย
174,723,705
107,427,722
67,295,983
62.64
กำา ร ากการดำาเนินงาน
99,426,759
74,036,797
25,389,962
34.29
750,071
1,355,820
-605,749
-44.68
98,676,688
72,680,977
25,995,711
35.77
16,522,006
12,092,809
4,429,197
36.63
82,154,682
60,588,168
21,566,514
35.60
ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำา ร าดทุน ก่อน าษเงิน ดนิติบุคคล าษีเงินได้นิติบุคคล กำา รสำาหรับง ด การแบ่งปนกำา ร ส่วนที่เปนของผู้ ือหุ้นของบริษัท ส่วนที่เปนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำานาจควบคุมของ บริษัทย่อย
2559 77,182,501
2558 60,588,168
4,972,181 82,154,682
60,588,168
เปลยนแปลง
รอยละ
16,594,333
27.39
4,972,181
100.00
21,566,514
35.60
รายได้จากการให้บริการของบริษัทสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 1,022.48 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับงวด เดียวกันของปก่อนเท่ากับ 681.53 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 340.95 ล้านบาทคิดเปน ร้อยละ 50.03 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากผลประกอบการที่การเติบโตตาม แผนกลยุทธ์ทางการตลาดของบริษัท และจากการรับรู้รายได้ตามสัดส่วนการ ือครองหุ้น ของบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร์ เพือ่ เพิม่ ความได้เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจและรองรับการขยาย านลูกค้าในตลาดต่างประเทศ ในวันที ่ 15 สิงหาคม 2559 บริษทั ได้เข้าซื้อหุ้นสามัญของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. จำานวน 490,000 หุ้น คิดเปนร้อยละ 70 ของทุนจดทะเบียนบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. ดังนั้น ผลการดำาเนินการที่มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นในงบการเงินรวม ส่วนหนึ่งเกิดจากการรับรู้รายได้ตามสัดส่วนของ บริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. ประกอบกับผลประกอบการเพิ่มขึ้นจากการดำาเนินธุรกิจของบริษัท 86
จากงบการเงินรวม การดำาเนินธุรกิจสามาร แบ่งประเ ทธุรกิจ ดังนี้
600.00
สำาหรับปี 55 สำาหรับปี 55
503.93
500.00
396.17
400.00
293.76
300.00
224.79
200.00
152.36
133.00
100.00 0.00
ัดการ นส่งสินคาทางทะเล
หน่ ย ลานบาท
ัดการ นส่งสินคาทางอากาศ
ัดการ ล ิสติกส์
สำาหรับปี 55
สำาหรับปี 55
เพิม ึน ลดลง
รอยละ
จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล
503.93
396.17
107.76
27.20
จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ
293.76
152.36
141.40
92.81
จัดการโลจิสติกส์
224.79
133.00
91.79
69.02
รวม รายได้จากการบริการ
1,022.48
681.53
340.95
50.03
1. รายได้จากการจัดการขนส่งสินค้าทางทะเล สำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 503.93 ล้านบาทเมื่อเปรียบ เทียบกับงวดเดียวกันของปก่อนเท่ากับ 367.17 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 107.76 ล้านบาทคิดเปน ร้อยละ 27.20 จากงานโครงการ ของ ลูกค้ากลุม่ เปาหมายรายใหม่ ซึง่ ได้แก่ ลูกค้าอุตสกรรมชิน้ ส่วนร ยนต์ชนิ้ ส่วนอิเลคโทรนิกส์ และอุปกรณ์แปลงพลังงานแสงอาทิตย์ และการรับรู้รายได้ของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. 2. รายได้จากการจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ สำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 293.76 ล้านบาทเมื่อเปรียบ เทียบกับงวดเดียวกันของปก่อนเท่ากับ 152.36 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 141.40 ล้านบาทคิดเปน ร้อยละ 92.81 เกิดจากการเริ่มรับรู้ รายได้ ส่วนของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. ที่เพิ่ม และเกิดจากผลประกอบการของบริษัท ซึ่งในรอบปที่ผ่านมา มีลูกค้า รายใหม่ ซึ่งเปนลูกค้าในกลุ่มเปาหมายของบริษัทได้แก่ กลุ่มลูกค้า ชิ้นส่วนร ยนต์ และชิ้นส่วนอิเลคโทรนิกส์เพิ่มขึ้น
3. รายได้จากการบริการจัดการโลจิสติกส์ สำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 เท่ากับ 224.79 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับ งวดเดียวกันของปก่อนเท่ากับ 133 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 91.79 ล้านบาทคิดเปน ร้อยละ 69.02 ประกอบด้วย รายได้บริการจัดการ โลจิสติกส์ ที่เริ่มรับรู้ตามสัดส่วนการ ือครองของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. และจากผลประกอบการในส่วนของคลัง สินค้าที่เริ่มดำาเนินการ ซึ่งส่งผลทำาให้บริษัทเปนผู้ให้บริการโลจิสติกส์แบบครบวงจร อันเปนการสนับสนุนให้งานบริการพิธีการ ศุลกากร และการขนส่งในประเทศ เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน
87
ราย ดอน 14.00
13.15
12.00 10.00
7.94
8.00 6.00
หน่ ย สำาหรับปี สำาหรับปี ลานบาท 2559 2558
4.00
รายได้อื่น
2.00 0.00
สำาหรับปี 55
13.15
7.94
เพิม ึน ลดลง
รอยละ
5.21
65.56
รายได้อื่นของบริษัทสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 เท่ากับ 13.15 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของ ปก่อนเท่ากับ 7.94 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 5.21 ล้านบาทคิดเปน ร้อยละ 65.56 จากการรับรู้กำาไรจากการขายเงินลงทุนชั่วคราวในระหวางป
สำาหรับปี 55
สำาหรับปี 55 สำาหรับปี 55 400.00 350.00 300.00 250.00 200.00 150.00 100.00 50.00 0.00
355.92 302.18 204.81
200.75
110.46
95.37
ตนทุน ัดการ นส่งสินคาทางทะเล
หน่ ย ลานบาท
ตนทุน ัดการ นส่งสินคาทางอากาศ
ตนทุน ัดการ ล ิสติกส์
สำาหรับปี 55
สำาหรับปี 55
เพิม ึน ลดลง
รอยละ
ต้นทุนการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าทางทะเล
355.92
302.18
53.74
17.78
ต้นทุนการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ
200.75
95.37
105.38
110.50
ต้นทุนการให้บริการจัดการโลจิสติกส์
204.81
110.46
94.35
85.42
รวม ต้นทุนการให้บริการ
761.48
508.01
253.47
49.89
ต้นทุนการให้บริการทั้งหมดของบริษัทสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 เท่ากับ 761.48 ล้านบาท และ 508.01 ล้านบาทตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 253.47 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 49.89 สาเหตุจากการรับรู้ต้นทุนการให้บริการตามสัดส่วนของ บริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. และจากต้นทุนการให้บริการที่ก่อให้เกิดรายได้ที่เพิ่มขึ้น 88
ต้นทุนการให้บริการ สามาร จำาแนกตามประเ ทกิจกรรมที่ก่อให้เกิดรายได้ ดังต่อไปนี้ : • ต้นทุนการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าทางทะเล สำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 355.92 ล้านบาทและ 302.18 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 53.74 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.78
• ต้นทุนการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ สำาหรับงวดปสิน้ สุดวันที ่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน
200.75 ล้านบาท และ 95.37 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 105.38 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 110.50
• ต้นทุนการให้บริการจัดการโลจิสติกส์ สำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 204.81
ล้านบาท และ 110.46 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 94.35 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 85.42
สำาหรับปี 55 สำาหรับปี 55
300.00
261.00
250.00 200.00 150.00
3.5
148.01 93.99
100.00
93.01 56.99
50.00
22.54
19.98
0.00
นส่งสินคาทางทะเล
หน่ ย ลานบาท
นส่งสินคาทางอากาศ
ัดการ ล ิสติกส์
ร มกำา ร ันตน
สำาหรับปี 55
สำาหรับปี 55
เพิม ึน ลดลง
รอยละ
กำาไรขั้นต้น-จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล
148.01
93.99
54.02
57.47
กำาไรขั้นต้น-จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ
93.01
56.99
36.02
63.20
กำาไรขั้นต้น-จัดการโลจิสติกส์
19.98
22.54
-2.56
-11.36
รวม กำาไรขั้นต้น-จากการบริการ
261.00
173.52
87.48
50.41
อัตรากำา ร ันตน
สำาหรับปี 55
สำาหรับปี 55
เพิม ึน ลดลง
จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล
29.37
23.72
5.65
จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ
31.66
37.40
-5.74
จัดการโลจิสติกส์
8.89
16.95
-8.06
กำาไรขั้นต้นรวม
25.53
25.46
0.07
89
กำาไรขั้นต้นของบริษัทสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 261.00 ล้านบาท และ 173.52 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 87.48 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 50.41 สาเหตุจากการรับรู้รายได้และต้นทุนบริการตามสัดส่วนของบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. ในระหว่างป และสาเหตุจากผลประกอบการของบริษัทมียอดขายเพิ่มขึ้น ส่งผลให้กำาไรขั้นต้นก็เพิ่มขึ้น โดยสามาร จำาแนกตามประเ ทกิจกรรมรายได้ ดังต่อไปนี้ กำาไรขั้นต้นของการให้บริการขนส่งสินค้าทางทะเล สำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 148.01 ล้านบาท และ 93.99 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 54.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 57.47 โดย อัตรากำาไรขั้นต้นสำาหรับงวด ปสิน้ สุดวันที ่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 เท่ากับ 29.37 และ 23.72 ตามลำาดับ อัตรากำาไรขัน้ ต้นเพิม่ ขึน้ 5.65 เนือ่ งมาจาก บริษทั ชนะการประมูลการเสนอราคาได้งานโครงการหนึง่ ซึง่ เปนงานทีม่ มี ลู ค่าค่อนข้างสูง ส่งผลทำาให้บริษทั มีอตั รากำาไรขัน้ ต้นทีด่ ขี นึ้ กว่าปก่อน กำาไรขั้นต้นของการบริการขนส่งสินค้าทางอากาศ สำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 93.01 ล้านบาท และ 56.99 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 36.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 63.20 โดยมีอัตรากำาไรขั้นต้น สำาหรับงวดปสิ้นสุด วันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 เท่ากับ 31.66 และ 37.40 อัตรากำาไรขั้นต้นลดลง 5.74 สาเหตุเนื่องจากดำาเนินการตามกลยุทธ์ การแข่งขันด้านราคาของงานประเ ทโครงการ ซึ่งเปนไปตามกลยุทธ์ ที่บริษัทได้วางไว้ คือทำาให้บริษัทสามาร เพิ่มมูลค่ายอดขายและเพิ่มมูลค่ากำาไรจากการขาย และสิ่งสำาคัญอย่างยิ่ง คือส่งผลให้ลูกค้าใช้บริการต่อเนื่องในกิจกรรมบริการอื่นที่บริษัทมีให้บริการอย่างครบวงจร ซึ่งเปนกลยุทธ์ด้านราคา ที่บริษัท บริหารเพื่อ ก่อให้เกิดมูลค่ารายได้และมูลค่ากำาไรในกิจกรรมการก่อรายได้ประเ ทอื่น กำาไรขั้นต้นของการให้บริการโลจิสติกส์ สำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 19.58 ล้านบาท และ 22.54 ล้านบาท ตามลำาดับ ลดลง 2.56 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 11.36 โดยอัตรากำาไรขั้นต้นสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 เท่ากับ 8.89 และ 16.95 ตามลำาดับ อัตรากำาไรขั้นต้นลดลง 8.06 เกิดจาก าวะการณ์แข่งขันทางการตลาดในอุตสาหกรรม ด้านโลจิสติกส์
160.00 140.00 120.00 100.00 80.00 60.00 40.00 20.00 0.00
สำาหรับปี 55 สำาหรับปี 55
133.48
73.76 41.25
33.67
ค่า
่าย นการ าย
หน่ ย ลานบาท ค่าใช้จ่ายในการขาย
ค่า
่าย นการบริหาร
สำาหรับปี 55
ค่า
16.52
1.36
0.75
่าย นทางการเงิน
สำาหรับปี 55
12.09
าษเงิน ดนิติบุคคล
เพิม ึน ลดลง
รอยละ
41.25
33.67
7.58
22.51
133.48
73.76
59.72
80.96
ค่าใช้จ่ายทางการเงิน
0.75
1.36
-0.61
-44.68
าษีเงินได้นิติบุคคล
16.52
12.09
4.43
36.63
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
90
ค่าใช้จา่ ยในการขายของบริษทั สำาหรับงวดปสิน้ สุดวันที ่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน41.25 ล้านบาท และ 33.67 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 7.58 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.51 จากการขยายตัว ของกิจกรรมการขาย และยอดขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหารของบริษัทสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 133.48 ล้านบาท และ 73.76 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 59.72 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 80.97 จากการรับรู้ค่าใช้จ่ายในการบริหารตามสัดส่วนของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. และ จากค่าใช้จ่ายในการซื้อหุ้นบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. ได้แก่ ค่าที่ปรึกษาทาง การเงิน ค่าที่ปรึกษาทางด้านก หมาย ค่าธรรมเนียมอื่น รวมจำานวน 10.38 ล้านบาท และ ในการเข้าซื้อหุ้นบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. บริษัท ได้มีการวัดมูลค่ายุติธรรมและมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินที่ได้รับจากการเข้าซื้อกิจการ ทำาให้มีสินทรัพย์ไม่มี ตัวตน - ความสัมพันธ์ของกลุ่มลูกค้า ปราก เปนรายการเพิ่มขึ้นในงบการเงิน จำานวน 253.95 ล้านบาท ซึ่งมีการตัดจำาหน่ายระยะเวลา 15 ป ณ วันที่ 31ธันวาคม 2559 บริษัทมีการตัดจำาหน่ายเปนค่าใช้จ่าย จำานวน 6.87 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายทางการเงินของบริษัทสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 0.75 ล้านบาท และ 1.35 ล้านบาท ตามลำาดับ ลดลง 0.60 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 44.44 จากสัญญาเช่าทางการเงินที่ครบอายุ ค่าใช้จ่าย าษีเงินได้ของบริษัทสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 16.52 ล้านบาทและ 12.09 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 4.43 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 36 จากผลกำาไรที่เพิ่มขึ้น 90.00 80.00
77.18
กำา รสุทธิ
70.00 60.00 50.00
60.59
40.00 30.00 20.00 10.00 0.00
สำาหรับปี 55
หน่ ย ลานบาท กำาไรสุทธิ
สำาหรับปี 55
สำาหรับปี 55 77.18
สำาหรับปี 55 60.59
เพิม ึน ลดลง
รอยละ
16.59
27.39
กำาไรสุทธิสำาหรับงวดปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 77.18 ล้านบาทและ 60.59 ล้านบาท ตามลำ า ดั บ เพิ่ ม ขึ้ น 16.59 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 27.39 โดยกำ า ไรสุ ท ธิ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นั้ น เกิ ด จากกำ า ไรจากการลงทุ น ในบริ ษั ท Sun Express Logistics Pte. Ltd. คิดเปนร้อยละ 20.17 และกำาไรจากดำาเนินงาน ายใน ของบริษัท คิดเปนร้อยละ 79.83
91
าร รา
า
า าร
งบแสดง านะการเงิน หน่ ย บาท
3 ธ.ค. 55
3 ธ.ค. 55
เปลยนแปลง ำาน นเงิน
รอยละ
สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเ ยน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ร มสินทรัพย์หมุนเ ยน
173,517,882
94,438,396
79,079,486
83.74
89,922,941
297,414,063
-207,491,122
-69.77
277,901,546
133,874,601
144,026,945
107.58
4,123,581
2,525,970
1,597,611
63.25
545,465,950
528,253,030
17,212,920
3.26
10,811,379
1,080,862
9,730,517
900.26
150,717,763
159,798,354
-9,080,591
-5.68
99,400,479
100.00
สินทรัพย์ ม่หมุนเ ยน เงิน ากธนาคารที่ติด าระค้ำาประกัน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ าษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ร มสินทรัพย์ ม่หมุนเ ยน ร มสินทรัพย์
92
99,400,479 258,843,292
389,733
258,453,559
66,315.54
0
4,126,159
-4,126,159
-100.00
1,918,627
1,950,184
-31,557
-1.62
521,691,540
167,345,292
354,346,248
211.75
1,067,157,490
695,598,322
371,559,168
53.42
ส รั 0%
1,918,627
24%
258,843,292
16%
173,517,882
9%
89,922,941
9% 99,400,479
26%
277,901,546
14%
150,717,763
1% 10,811,379
1%
4,123,581
เงินสด และรายการเทยบเท่าเงินสด เงินลงทุน ั ครา ลูกหนการคา และลูกหนอน สินทรัพย์หมุนเ ยนอน เงิน ากธนาคารทติด าระคำาประกัน ทดินอาคาร และอุปกรณ์สุทธิ ค่าค ามนิยม
ส รั บริษัทมีทรัพย์สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 31ธันวาคม 2558 จำานวน 1,067.16 ล้านบาท และ 695.60 ล้านบาท ตาม ลำาดับ เพิ่มขึ้น 371.56 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 53.42 ในการเข้าซื้อหุ้นของบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. บริษัทมีการประเมิน มูลค่ายุติธรรมจากการรับรู้ และวัดมูลค่าของสินทรัพย์ (และหนี้สิน) ที่ได้มาเพิ่มขึ้น ซึ่งรวม ึงค่าความนิยม จำานวน 99.40 ล้านบาท และ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน-ความสัมพันธ์ของกลุ่มลูกค้า จำานวน 253.95 ล้านบาท ตลอดจนการรับรู้ทรัพย์สินมีตัวตนของบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd งบแสดง านะการเงิน หน่ ย บาท
3 ธ.ค. 55
3 ธ.ค. 55
เปลยนแปลง ำาน นเงิน
รอยละ
หนสิน หนสินหมุนเ ยน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
119,017,560
49,926,010
69,091,550
138.39
7,151,333
14,478,360
-7,327,027
-50.61
าษีเงินได้ค้างจ่าย
15,179,142
4,598,996
10,580,146
230.05
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
12,465,586
6,144,763
6,320,823
102.87
ร มหนสินหมุนเ ยน
153,813,621
75,148,129
78,665,492
104.68
772,246
7,936,821
-7,164,575
-90.27
13,673,256
11,112,685
2,560,571
23.04
หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ ึงกำาหนดชำาระ ายในหนึ่งป
หนสิน ม่หมุนเ ยน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิจากส่วนที่ ึงกำาหนดชำาระ ายในหนึ่งป สำารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน
93
งบแสดง านะการเงิน หน่ ย บาท
3 ธ.ค. 55
3 ธ.ค. 55
เปลยนแปลง ำาน นเงิน
รอยละ
หนสิน หนสินหมุนเ ยน หนี้สิน าษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ร มหนสิน ม่หมุนเ ยน ร มหนสิน
35,635,076
35,635,076
100.00
981,627
622,339
359,288
57.73
51,062,205
19,671,845
31,390,360
159.57
94,819,974 110,055,852
116.07
204,875,826
ส่ น อง ูถอหุน ทุนจดทะเบียน
325,949,750 300,000,000
25,949,750
8.65
ทุนที่ออกและชำาระเต็มมูลค่าแล้ว
325,949,750 300,000,000
25,949,750
8.65
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ
347,778,911 228,410,061 119,368,850
52.26
กำาไรสะสม - จัดสรรเพื่อทุนสำารองตามก หมาย
14,274,367
10,800,000
3,474,367
32.17
กำาไรสะสม - ยังไม่ได้จัดสรร
82,618,745
50,630,121
31,988,624
63.18
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ ือหุ้น
6,601,418
10,938,166
-4,336,748
-39.65
ส่วนได้ส่วนเสียที่ไม่มีอำานาจควบคุม
85,058,473
0
85,058,473
100.00
862,281,664 600,778,348 261,503,316
43.53
1,067,157,490 695,598,322 371,559,168
53.42
ร มส่ น อง ูถอหุน ร มหนสินและส่ น อง ูถอหุน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
119,017,560
49,926,010
69,091,550
138.39
7,151,333
14,478,360
-7,327,027
-50.61
าษีเงินได้ค้างจ่าย
15,179,142
4,598,996
10,580,146
230.05
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
12,465,586
6,144,763
6,320,823
102.87
ร มหนสินหมุนเ ยน
153,813,621
75,148,129
78,665,492
104.68
หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ ึงกำาหนดชำาระ ายในหนึ่งป
หนสิน ม่หมุนเ ยน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน สุทธิจากส่วนที่ ึงกำาหนดชำาระ ายในหนึ่งป
0 772,246
7,936,821
-7,164,575
-90.27
สำารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน
13,673,256
11,112,685
2,560,571
23.04
หนี้สิน าษีเงินได้รอการตัดบัญชี
35,635,076
35,635,076
100.00
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ร มหนสิน ม่หมุนเ ยน ร มหนสิน 94
981,627
622,339
359,288
57.73
51,062,205
19,671,845
31,390,360
159.57
94,819,974 110,055,852
116.07
204,875,826
ส 1%
981,627
17%
58%
35,635,076
119,017,560
7% 0% 772,246
เ าหนการคา และเ าหนอน หนสินตามสัญญาเ ่าการเงิน ทถึงกำาหนด ำาระ าย นหนึงปี าษเงิน ดคาง ่าย หนสินหมุนเ ยนอน 12,465,586 หนสินตามสัญญาเ ่าการเงินสุทธิ 15,179,142 ากส่ นทถึงกำาหนด าำ ระ าย นหนึงปี สำารอง ลประ ย น์ระยะยา 7,151,333 องพนักงาน บริษัทมีหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จำานวน 204.88 ล้านบาทและ 94.82 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 110.06 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 116.07 เนื่องจากบริษัทได้มีการปรับเพิ่มประสิทธิ าพ ในนโยบายการบริหารจัดการ เจ้าหนี้ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีเจ้าหนี้การค้า จำานวน 119.02 ล้านบาท และ 49.93 ล้านบาท ตามลำาดับ เพิ่มขึ้น 69.09 ล้านบาทเพิ่มขึ้น ร้อยละ 138.37
13,673,256
6%
7%
4%
ส 1% 7% 82,618,745
6,601,418
7%
85,058,473
28%
325,949,750
1%
14,274,367
29%
347,778,911
27%
325,949,750
ทุน ดทะเบยน ทุนทออกและ ำาระเตมมูลค่าแล ส่ นเกินมูลค่าหุนสามัญ กำา รสะสม ัดสรรเพอทุนสำารอง ตามก หมาย กำา รสะสม ยัง ม่ ด ัดสรร องค์ประกอบอน องส่ น อง ูถอหุน ส่ น ดส่ นเสยท ม่มอำานา ค บคุม
ส่วนของผู้ ือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 จำานวน 862.28 ล้านบาท และ 600.78 ล้านบาท ตาม ลำาดับ เพิ่มขึ้น 261.50 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยการเพิ่มทุนหุ้นสามัญ 51.89 ล้านหุ้น เปนมูลค่า 25.95 ล้านบาท, ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ เพิ่มขึ้น 119.36 ล้านบาท, สำารองตามก หมายเพิ่มขึ้น 3.47 ล้านบาท, กำาไรสะสมที่ยังไม่จัดสรร เพิ่มขึ้น 31.99 ล้านบาท,องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ ือหุ้นลดลง 4.33 และส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำานาจควบคุมของบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น 85.06 ล้านบาท 95
า
าส
ร สรา
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ ือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เท่ากับ 0.24 เท่า และ 0.16 เท่า โดยหนีส้ นิ ต่อส่วนของผู้ อื หุน้ เพิม่ ขึน้ เกิดจากบริษทั มีนโยบายการบริหารเจ้าหนีใ้ ห้มปี ระสิทธิ าพมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ให้อตั ราการหมุนของเงินสด มีความคล่องตัวมากขึน้ ซึง่ ปัจจุบนั อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผู้ อื หุน้ อยูใ่ ระดับทีค่ อ่ นข้างต่าำ เนือ่ งจากบริษทั มีนโยบายใช้เงินทุนในการดำาเนิน ธุรกิจส่วนใหญ่จากส่วนของผู้ ือหุ้น ทำาให้มีความเสี่ยงด้านการเงินต่ำา โดยไม่มีต้นทุนทางการเงินและมีความคล่องตัวในการดำาเนินธุรกิจ
ส า ร ส ส 80.00
70.85
67.76
60.00 40.00 20.00 0.00 -20.00
กระแสเงินสดกิ กรรม ัดหาเงิน กระแสเงินสดกิ กรรมดำาเนินงาน
กระแสเงินสดกิ กรรมลงทุน
-40.00 -60.00 -80.00
-57.31
ส าพคล่องกระแสเงินสด กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการดำาเนินงานสำาหรับป 2559 เปนบวก 70.85 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากกำาไรก่อน าษีเงินได้ จำานวน 98.67 ล้านบาท และมีเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้น 26.95 ล้านบาท และมีการจ่าย าษีเงินได้ 20.23 ล้านบาท กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุนสำาหรับป 2559 เปนบวก 67.76 ล้านบาท บริษทั มีเงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชัว่ คราวจำานวน 220.30 ล้านบาท และซื้อเงินลงทุนชั่วคราว 47.21 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัทมีการจ่ายชำาระเงินสดเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd จำานวน 132.46 ล้านบาท กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินสำาหรับป 2559 เปนลบ 57.31 ล้านบาท บริษัทมีการจ่ายเงินปันผลจำานวน 41.99 ล้านบาท และมีการจ่ายเพื่อชำาระหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินจำานวน 14.57 ล้านบาท
96
ั ราส
า าร
อัตราส่ นส าพคล่อง เท่า 8.00
อัตราส่ นส าพคล่องกระแสเงินสด เท่า 2.00
7.03
6.00 4.00
1.50 3.75
3.55
1.00
2.00
0.50
0.00
0.00
2557
2558
2559
อัตราส่ นหมุนเ ยนลูกหนการคา เท่า 8.00 6.00
6.13
5.75
60 40
2.00
20
0.00
0
2558
2559
อัตราส่ นหมุนเ ยนเ าหนการคา เท่า 20.00 15.00
14.72
14.90 9.01
10.00 5.00 0.00
2557
2558
2559
5. 3
5.
5.53
2557
2558
2559
0.00
2559
65
64
2558
2559
59
2557
50 40 30 20 10 0
14 25
24
2557
2558
อัตราส่ นกำา รสุทธิ
0.00
0.00
2558
ระยะเ ลา ำาระหน ัน
อัตรากำา ร ันตน 30.00
2557
80 5.63
1.13
0.80
ระยะเ ลาเกบหนเ ลย ัน
4.00
2557
1.68
0.00 .00 .00 .00 .00 0.00
.3
.
2557
2558
2559 .5
2559 97
98
1. นางอารยา คงสุนทร 2. นายชูเดช คงสุนทร
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
รา
เปนกรรมการและ ผู้ ือหุ้นของบริษัท
ความสัมพันธ์
ค่าเช่าที่ดิน (สำานักงานใหญ่)
ลักษณะรายการ
รา ารร
ไม่มียอดค้าง
ณ 30 ก.ย. 59
งวด 9 เดือนสิ้นสุด 30 ก.ย.59 1,145,234
ยอดคงค้าง (บาท)
ับบ
มูลค่ารายการ (บาท)
า ั
โดยอั ต ราค่ า เช่ า ดั ง กล่ า วประเมิ น โดยผู้ ป ระเมิ น อิ ส ระเพื่ อ วั ต ุ ป ระสงค์ ส าธารณะ และเปนบริ ษั ท ที่ อ ยู่ ใ นบั ญ ชี ร ายชื่ อ ที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น จาก ก.ล.ต. คื อ บริ ษั ท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำากัด
ปที่ 1-2 เดือนละ 92,674 บาท ปที่ 3-5 เดือนละ 101,941 บาท ปที่ 6-8 เดือนละ 112,135 บาท ปที่ 9-11 เดือนละ 123,349 บาท ปที่ 12-14 เดือนละ 135,684 บาท ปที่ 15-17 เดือนละ 149,252 บาท ปที่ 18-20 เดือนละ 164,177 บาท รวมค่าเช่าทั้งสิ้นจำานวน 30,539,586 บาท
ั ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
บริษทั เช่าทีด่ นิ จากคณะบุคคลวีเลนด์(มีกรรมการและผู้ อื หุน้ ร่วม กัน คือ นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร) เพื่อปลูก สร้างอาคารและใช้เปนที่ตั้งของสำานักงานใหญ่ โดยโ นดที่ดิน เลขที่ 53901 มีเนื้อที่ 1 งาน 70 2/10 ตารางวา ตั้งอยู่ที่แขวง ช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพ ได้มีการจัดทำาสัญญาเช่า ระยะเวลาเช่า 20 ป ตั้งแต่วันที 1 กรก าคม 2557 - 30 มิ ุนายน 2577 โดยคิดค่าเช่าต่อเดือน รายละเอียด ดังนี้
คำาชี้แจงของผู้บริหารในเรื่องความจำาเปน และความสมเหตุสมผล
บร ั
99
Sun Express Logistics Pte. Ltd.
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
1,739,145
เปนบริ ษั ท ย่ อ ย ( ื อ หุ้ น รายได้จากการบริการ/ โดย Wice ร้อยละ 70) ลูกหนี้การค้า ตั้ ง แต่ วั น ที่ 15 ส.ค. 2559เปนต้ น ไป ความ สัมพันธ์เปนบริษัทย่อย
คำาชี้แจงของผู้บริหารในเรื่องความจำาเปน และความสมเหตุสมผล
1,153,394
Sun Express Logistics Pt. Ltd. เปนหนึ่ ง ในตั ว แทน ต่างประเทศของบริษัท ทำาหน้าที่ในการติดต่อประสานเพื่อให้ บริการในเขตต่างประเทศที่ตนดูแล ซึ่งจะมีการคิดค่าบริการ ในอัตราตลาด
578,175 เนือ่ งจากบริษทั ย่อยและ Sun Express Logistics Pt. Ltd. เปน 666,341 พันธมิตรทางธุรกิจกันมานาน มีการทำาการค้ามาอย่างต่อเนื่อง (ณ วันที่ซื้อกิจการ) โดย Sun Express Logistics Pt. Ltd. เปนหนึ่งในตัวแทนต่าง ประเทศของบริษทั ทำาหน้าทีใ่ นการติดต่อประสานเพือ่ ให้บริการ ในเขตต่างประเทศที่ตนดูแล ซึ่งจะมีการคิดค่าบริการในอัตรา ตลาด และบริษัทก็เปนหนึ่งในตัวแทนต่างประเทศของ Sun Express Logistics Pt. Ltd. ทำาหน้าที่ในการติดต่อประสาน เพื่อให้บริการในเขตประเทศไทย ซึ่งจะมีการคิดค่าบริการ ระหว่างกัน และ ือเปนรายได้จากการบริการของบริษัท ทั้งนี้ บริษัท Sun Express Logistics Pt. Ltd. มีการจัดทำาสัญญา Agency Agreement
ณ 30 ก.ย. 59
งวด 9 เดือนสิ้นสุด 30 ก.ย.59 5,698,004 12,117,215
ลักษณะรายการ
มี ผู้ ื อ หุ้ น ร่ ว มกั น คื อ รายได้ จ ากการบริ ก าร 1. นายลิม เมง ปุย ต้นทุนจากการบริการ 2. นายเลียน ฮก ลง 3. นางสาวชู ยี โนจ อื หุน้ รวมกันในบริษทั คิด เปนร้อยละ 10.38 ของ ทุนชำาระแล้ว และ ือหุ้น รวมกันใน Sun Express Logistics Pte. Ltd. คิ ด เปนร้ อ ยละ 99.99 (วันที่ 1 ม.ค.2559 -15 ส.ค.2559 ความสัมพันธ์ เปนบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน)
ความสัมพันธ์
ยอดคงค้าง (บาท)
มูลค่ารายการ (บาท) ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
100
บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
เปนบริษัทย่อย ( ือหุ้นโดย Wice ร้อยละ 99.99)
ความสัมพันธ์
26,338,781
เงินปันผลรับ
2,382,939
รายได้ค่าเช่าและค่า บริการอื่น /ลูกหนี้อื่น
-
1,197,203
ต้นทุนการให้บริการ/เจ้า หนี้การค้า
เจ้าหนี้อื่น
4,334,443
ไม่มียอดค้าง
277,200
39,189
32,344
361,374
ณ 30 ก.ย. 59
งวด 9 เดือนสิ้นสุด 30 ก.ย.59
รายได้จากการบริการ/ ลูกหนี้การค้า
ลักษณะรายการ
ยอดคงค้าง (บาท)
มูลค่ารายการ (บาท)
เปนเงิ น ปั น ผลรั บ จากบริ ษั ท ย่ อ ย เนื่ อ งจากบริ ษั ท ย่ อ ยมี ก าร ประกาศจ่ายเงินปันผลเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559 และจ่าย เงินปันผลในวันที่ 30 มีนาคม 2559
เปนยอดเงินมัดจำาค่าเช่าพื้นที่สำานักงานใหญ่ของบริษัทย่อย
เปนรายได้ค่าเช่าสำานักงาน และค่าบริการด้านรวม ึงการบริหาร จัดการระบบการทำางานด้านการเงินและบัญชี เพื่อให้การป ิบัติ งานเปนไปอย่างมีประสิทธิ าพ โดยบริษัทย่อยเช่าพื้นที่ชั้น 4 ของอาคารสำานักงานใหญ่ของบริษัท เนื้อที่ประมาณ 308 ตาราง เมตร โดยคิดค่าเช่าในอัตรา 55,440 บาทต่อเดือน ซึ่งเปนอัตรา ค่าเช่าเดิมตั้งแต่ป 2549 และคิดค่าบริการด้านบริหารจัดการ ต่าง ในอัตรา 48,000 บาทต่อเดือน โดยใช้วิธีการ Allocation Cost ทั้งนี้ ระยะเวลาของทั้ง 2 สัญญา คือ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560
บริษัทใช้บริการจัดการขนส่งประเ ท Customs ของบริษัทย่อย เนื่องจากบริษัทย่อยมีสาขาอยู่ที่สุวรรณ ูมิทำาให้สะดวกในการ จัดการ โดยมีการคิดค่าบริการในอัตราตลาด
บริษัทให้บริการจัดการขนส่งประเ ท Customs และ Sea Freight แก่บริษัทย่อยเนื่องจากมีหน่วยบริการอยู่ที่แหลม บังจึง สะดวกในการจัดการโดยมีการคิดค่าบริการในอัตราตลาด
คำาชี้แจงของผู้บริหารในเรื่องความจำาเปน และความสมเหตุสมผล
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
101
1. นางอารยา คงสุนทร 2. นายชูเดช คงสุนทร
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
เปนกรรมการและ ผู้ ือหุ้นของบริษัท
ความสัมพันธ์
ค่าเช่าที่ดิน (สำานักงานใหญ่)
ลักษณะรายการ
ไม่มียอดค้าง
ณ 31 ธ.ค. 59
งวดปสิ้นสุด 31 ธ.ค.59 1,526,979
ยอดคงค้าง (บาท)
มูลค่ารายการ (บาท) ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
โดยอั ต ราค่ า เช่ า ดั ง กล่ า วประเมิ น โดยผู้ ป ระเมิ น อิ ส ระเพื่ อ วั ต ุ ป ระสงค์ ส าธารณะ และเปนบริ ษั ท ที่ อ ยู่ ใ นบั ญ ชี ร ายชื่ อ ที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น จาก ก.ล.ต. คื อ บริ ษั ท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำากัด
ได้มีการจัดทำาสัญญาเช่า ระยะเวลาเช่า 20 ป ตั้งแต่วันที 1 กรก าคม 2557 30 มิ ุนายน 2577 โดยคิดค่าเช่าต่อเดือน รายละเอียด ดังนี้ ปที่ 1-2 เดือนละ 92,674 บาท ปที่ 3-5 เดือนละ 101,941 บาท ปที่ 6-8 เดือนละ 112,135 บาท ปที่ 9-11 เดือนละ 123,349 บาท ปที่ 12-14 เดือนละ 135,684 บาท ปที่ 15-17 เดือนละ 149,252 บาท ปที่ 18-20 เดือนละ 164,177 บาท รวมค่าเช่าทั้งสิ้นจำานวน 30,539,586 บาท
บริษทั เช่าทีด่ นิ จากคณะบุคคลวีเลนด์(มีกรรมการและผู้ อื หุน้ ร่วม กัน คือ นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร) เพื่อปลูก สร้างอาคารและใช้เปนที่ตั้งของสำานักงานใหญ่ โดยโ นดที่ดิน เลขที่ 53901 มีเนื้อที่ 1 งาน 70 2/10 ตารางวา ตั้งอยู่ที่แขวง ช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพ
คำาชี้แจงของผู้บริหารในเรื่องความจำาเปน และความสมเหตุสมผล
102 ค่าเช่าที่ดินและอาคาร (แหลม บัง-ส่วนที่เปน สำานักงาน)
1. นางอารยา คงสุนทร เปนกรรมการและ 2. นายชูเดช คงสุนทร ผู้ ือหุ้นของบริษัท
Sun Express Logistics Pte. Ltd. มี ผู้ ื อ หุ้ น ร่ ว มกั น คื อ รายได้จากการบริการ 1. นายลิม เมง ปุย ต้นทุนจากการบริการ 2. นายเลียน ฮก ลง 3. นางสาวชู ยี โนจ อื หุน้ รวมกันในบริษทั คิด เปนร้อยละ 10.38 ของ ทุนชำาระแล้ว และ ือหุ้น รวมกันใน Sun Express Logistics Pte. Ltd. คิ ด เปนร้ อ ยละ 99.99 (วันที่ 1 ม.ค.2559 -15 ส.ค.2559 ความสัมพันธ์ เปนบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกัน)
ลักษณะรายการ
ความสัมพันธ์
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง ไม่มียอดค้าง
372,000
บริษัทได้เช่าที่ดินและอาคารพาณิชย์ 3 ชั้น2 เพื่อใช้เปนที่ตั้งของ หน่วยบริการแหลม บัง โดยโ นดที่ดินเลขที่ 164087 มีเนื้อที่ 42 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ต.สุรศักดิ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2557 1 สิงหาคม 2560 โดยคิดค่าเช่า 31,000 บาทต่อเดือน อัตราค่าเช่าดังกล่าวประเมินโดยผู้ประเมินอิสระ เพื่อวัต ุประสงค์สาธารณะ และเปนบริษัทที่อยู่ในบัญชีรายชื่อ ที่ได้รับความเห็นจ าก ก.ล.ต. คือ บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จำากัด
คำาชี้แจงของผู้บริหารในเรื่องความจำาเปน และความสมเหตุสมผล
ไม่มียอดค้าง เนื่องจากบริษัทย่อยและ Sun Express Logistics Pt. Ltd. เปนพันธมิตรทางธุรกิจกันมานาน มีการทำาการค้ามาอย่างต่อ เนื่อง โดย Sun Express Logistics Pt. Ltd. เปนหนึ่งในตัวแทน ต่างประเทศของบริษัท ทำาหน้าที่ในการติดต่อประสานเพื่อให้ บริการในเขตต่างประเทศที่ตนดูแล ซึ่งจะมีการคิดค่าบริการใน อัตราตลาด และบริษทั ก็เปนหนึง่ ในตัวแทนต่างประเทศของ Sun Express Logistics Pt. Ltd. ทำาหน้าที่ในการติดต่อประสานเพื่อ ให้บริการในเขตประเทศไทย ซึ่งจะมีการคิดค่าบริการระหว่าง กัน และ ือเปนรายได้จากการบริการของบริษัท ทั้งนี้ บริษัท Sun Express Logistics Pt. Ltd. มีการจัดทำาสัญญา Agency Agreement
ณ 31 ธ.ค. 59
งวดปสิ้นสุด 31 ธ.ค.59
5,698,004 12,117,215
ยอดคงค้าง (บาท)
มูลค่ารายการ (บาท) ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
103
Sun Express Logistics Pte. Ltd.
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง 1,234,023
4,466,597
8,849,547
100,000
เปนบริ ษั ท ย่ อ ย ( ื อ หุ้ น รายได้จากการบริการ/ โดย Wice ร้อยละ 70) ลูกหนี้การค้า ตั้งแต่วันที่ 15 ส.ค.2559 เปนต้นไป ความสัมพันธ์ เปนบริษัทย่อย ต้นทุนการให้บริการ/ เจ้าหนี้การค้า
รายได้ค่า Director Fee
ไม่มียอดค้าง
1,796,642
ณ 31 ธ.ค. 59
ลักษณะรายการ งวดปสิ้นสุด 31 ธ.ค.59
ความสัมพันธ์
ยอดคงค้าง (บาท)
มูลค่ารายการ (บาท)
เปนรายได้ค่า Director Fee ที่ทางบริษัทเรียกเก็บโดยมีอัตรา ค่าบริการต่อเดือน ละ 1,000 S D โดยเริ่มจ่ายตั้งแต่เดือน ก.ย. 2559 เปนต้นไปอัตราแลกเปลีย่ นเท่ากับ 1 S D 25.00 บาท เปนอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ต.ค.2559
และบริษัทก็เปนหนึ่งในตัวแทนต่างประเทศของ Sun Express Logistics Pt. Ltd. ทำาหน้าที่ในการติดต่อประสานเพื่อให้บริการ ในเขตประเทศไทย ซึ่งจะมีการคิดค่าบริการระหว่างกัน และ ือ เปนรายได้จากการบริการของบริษัท ทั้งนี้ บริษัท Sun Express Logistics Pt. Ltd. มีการจัดทำาสัญญา Agency Agreement
Sun Express Logistics Pt. Ltd. เปนหนึง่ ในตัวแทนต่างประเทศ ของบริษัท ทำาหน้าทีใ่ นการติดต่อประสานเพือ่ ให้บริการในเขตต่างประเทศที่ ตนดูแล ซึ่งจะมีการคิดค่าบริการในอัตราตลาด
คำาชี้แจงของผู้บริหารในเรื่องความจำาเปน และความสมเหตุสมผล
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
104
บริษัท ซัน เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จำากัด
บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง
เงินปันผลรับ
26,338,781
-
8,585,691
รายได้ค่าเช่าและ ค่าบริการอืน่ / ลูกหนีอ้ นื่
เจ้าหนี้อื่น
1,582,192
ต้นทุนการให้บริการ/ เจ้าหนี้การค้า
เปนยอดเงินมัดจำาค่าเช่าพื้นที่สำานักงานใหญ่ของบริษัทย่อย
เปนรายได้ ค่ า เช่ า สำ า นั ก งาน และค่ า บริ ก ารด้ า นการบริ ห าร จัดการระบบการทำางานด้านการเงินและบัญชี การบริหารงาน ด้านทรัพยากรบุคคล การบริหารจัดการการขึ้นระบบโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เพื่อให้การป ิบัติงานเปนไปอย่างมีประสิทธิ าพ โดยบริษทั ย่อยเช่าพืน้ ทีช่ นั้ 4 ของอาคารสำานักงานใหญ่ของบริษทั เนื้อที่ประมาณ 308 ตารางเมตร โดยคิดค่าเช่าในอัตรา 55,440 บาทต่อเดือน ซึ่งเปนอัตราค่าเช่าเดิมตั้งแต่ป 2549 และคิดค่า บริการด้านบริหารจัดการต่าง ในอัตรา 48,000 บาทต่อเดือน โดยใช้วธิ กี าร Allocation Cost ทัง้ นี ้ ระยะเวลาของทัง้ 2 สัญญา คือ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 31 ธันวาคม 2560
บริษัทใช้บริการจัดการขนส่งประเ ท Customs ของบริษัทย่อย เนื่องจากบริษัทย่อยมีสาขาอยู่ที่สุวรรณ ูมิทำาให้สะดวกในการ จัดการ โดยมีการคิดค่าบริการในอัตราตลาด
บริษัทให้บริการจัดการขนส่งประเ ท Customs และ Sea Freight แก่บริษัทย่อยเนื่องจากมีหน่วยบริการอยู่ที่แหลม บังจึง สะดวกในการจัดการโดยมีการคิดค่าบริการในอัตราตลาด
คำาชี้แจงของผู้บริหารในเรื่องความจำาเปน และความสมเหตุสมผล
ไม่มียอดค้าง เปนเงิ น ปั น ผลรั บ จากบริ ษั ท ย่ อ ย เนื่ อ งจากบริ ษั ท ย่ อ ยมี ก าร ประกาศจ่ายเงินปันผลเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2559 และจ่าย เงินปันผลในวันที่ 30 มีนาคม 2559
277,200
5,979,106
48,698
4,279,037
ณ 31 ธ.ค. 59
งวดปสิ้นสุด 31 ธ.ค.59 9,688,904
ลักษณะรายการ
เปนบริ ษั ท ย่ อ ย ( ื อ หุ้ น รายได้จากการบริการ/ โดย Wice ร้อยละ 99.99) ลูกหนี้การค้า
ความสัมพันธ์
ยอดคงค้าง (บาท)
มูลค่ารายการ (บาท) ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รา า
ส บบัญ รับ ญา
ส
บร ั
ส
ส ส า ั
า
า ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) ซึ่งประกอบด้วย งบแสดง านะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบกำาไรขาดทุนรวม งบกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วน ของผู้ อื หุน้ รวมและงบกระแสเงินสดรวม สำาหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม รวม ึงหมายเหตุสรุปนโยบาย การบัญชีที่สำาคัญ และได้ตรวจสอบ งบการเงินเ พาะกิจการของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนีแ้ สดง านะการเงิน ณ วันที ่ 31 ธันวาคม 2559 ผลการดำาเนินงานและกระแส เงินสด สำาหรับปสิ้นสุด วันเดียวกันของบริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และเ พาะของบริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำากัด (มหาชน) โดย ูกต้อง ตามที่ควรในสาระสำาคัญตามมาตร านการรายงานทางการเงิน
าร ส
า
ข้าพเจ้าได้ป ิบัติงานตรวจสอบตามมาตร านการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่วนของความรับผิดชอบของ ผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเปนอิสระจากกลุ่มบริษัทตามข้อกำาหนดจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่กำาหนดโดยส าวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูป ัม ์ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ ป บิ ตั ติ ามข้อกำาหนดด้านจรรยาบรรณอืน่ ตามทีร่ ะบุในข้อกำาหนดนัน้ ด้วย ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าหลัก านการสอบบัญชีทขี่ า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและ เหมาะสมเพื่อใช้เปนเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า
ร สา ัญ
าร ร ส บ
เรือ่ งสำาคัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งต่าง ทีม่ นี ยั สำาคัญทีส่ ดุ ตามดุลยพินจิ เยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการเงิน สำาหรับงวดปัจจุบนั ข้าพเจ้าได้นาำ เรือ่ งเหล่านีม้ าพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบ งบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสำาหรับเรื่องเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้ป บิ ตั งิ านตามความรับผิดชอบทีไ่ ด้กล่าวไว้ในส่วนของความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชีตอ่ การตรวจสอบงบการเงินในรายงาน ของข้าพเจ้า ซึง่ ได้รวมความรับผิดชอบทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งเหล่านีด้ ว้ ย การป บิ ตั งิ านของข้าพเจ้าได้รวมวิธกี ารตรวจสอบทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ตอบสนอง ต่อการประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเปนสาระสำาคัญในงบการเงิน ผลของวิธกี ารตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึง่ ได้รวม วิธกี ารตรวจสอบสำาหรับเรือ่ งเหล่านีด้ ว้ ย ได้ใช้เปนเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม เรือ่ งสำาคัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธกี ารตรวจสอบสำาหรับแต่ละเรือ่ งมีดงั ต่อไปนี้
ารรับรรา เนือ่ งจากกลุม่ บริษทั ให้บริการกับลูกค้าเปนจำานวนมากรายและเงือ่ นไขทีร่ ะบุให้กบั ลูกค้ามีความหลากหลาย ทำาให้รายการรายได้จากการ ให้บริการของกลุม่ บริษทั มีเงือ่ นไขในการรับรูร้ ายได้ทซ่ี บั ซ้อน นอกจากนี ้ เนือ่ งจากแนวโน้มของการนำาเข้า - ส่งออกในกลุม่ อุตสาหกรรมชิน้ ส่วน ยานยนต์ เครือ่ งใช้ไฟฟา คอมพิวเตอร์ และวัสดุกอ่ สร้างทีส่ ง่ ผลกระทบโดยตรงต่อส านการณ์การแข่งขันในอุตสาหกรรมการให้บริการนำาเข้า - ส่ง ออกทีเ่ พิม่ มากขึน้ ดังนัน้ ข้าพเจ้าจึงให้ความสำาคัญกับการตรวจสอบการเกิดขึน้ จริงของรายได้และระยะเวลาในการรับรูร้ ายได้จากการให้บริการ
105
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบการรับรูร้ ายได้จากการให้บริการของกลุม่ บริษทั โดยการ
• ประเมินและทดสอบระบบสารสนเทศและระบบการควบคุม ายในของกลุม่ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับวงจรรายได้ โดยการสอบ าม
ผูร้ บั ผิดชอบ ทำาความเข้าใจและเลือกตัวอย่างมาสุม่ ทดสอบการป บิ ตั ติ าม การควบคุมทีก่ ลุม่ บริษทั ออกแบบไว้
• สุม่ ตัวอย่างรายการรายได้จากการให้บริการในระหว่างปเพือ่ ตรวจสอบการรับรูร้ ายได้วา่ เปนไปตามเงือ่ นไขการให้บริการ และ
สอดคล้องกับนโยบายการรับรูร้ ายได้ของกลุม่ บริษทั
• สุม่ ตรวจสอบเอกสารประกอบรายการรายได้จากการให้บริการทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างปและช่วงใกล้สน้ิ รอบระยะเวลาบัญชีสอบทาน
ใบลดหนีท้ อ่ี อก ายหลังวันสิน้ รอบระยะเวลาบัญชี
• วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลบัญชีรายได้แบบแยกย่อยเพือ่ ตรวจสอบความผิดปกติทอ่ี าจเกิดขึน้ ของรายได้ จากการให้บริการตลอดรอบ
ระยะเวลาบัญชี โดยเ พาะรายการบัญชีทท่ี าำ ผ่านใบสำาคัญทัว่ ไป
ารร
ร
ตามทีก่ ล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 11 ในเดือนสิงหาคม 2559 บริษทั ได้ลงทุนใน SUN Express Logistics Pte. Ltd. ซึง่ เปนบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ในประเทศสิงคโปร์ ณ วันทีซ่ อ้ื กิจการ บริษทั ได้รบั รูแ้ ละวัดมูลค่าสินทรัพย์ทร่ี ะบุได้ทไ่ี ด้มาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มา ด้วยมูลค่ายุตธิ รรม ตลอดจนรับรูค้ า่ ความนิยมทีเ่ กิดขึน้ จากการรวมธุรกิจ จากการวัดมูลค่าด้วยวิธซี อ้ื ทัง้ นี ้ ข้าพเจ้าได้ให้ความสำาคัญเปนพิเศษ กับรายการซือ้ ธุรกิจนี ้ เนือ่ งจากเปนรายการทีม่ สี าระสำาคัญต่องบการเงินโดยรวมและ ายบริหารจำาเปนต้องใช้ดลุ ยพินจิ อย่างมากในการประเมิน มูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทไ่ี ด้มาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มาดังกล่าว ทำาให้เกิดความเสีย่ งในการรับรูแ้ ละวัดมูลค่าของสินทรัพย์ทร่ี ะบุได้ทไ่ี ด้มาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มารวม งึ ค่าความนิยม ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบข้อตกลงและเงือ่ นไขในสัญญาซือ้ ขายธุรกิจ รวม งึ สอบ ามกับ ายบริหาร งึ ลักษณะและวัต ปุ ระสงค์ในการเข้าทำา รายการซือ้ ดังกล่าวเพือ่ ประเมินว่ารายการซือ้ ธุรกิจดังกล่าวเปนไปตามคำานิยามของ การรวมธุรกิจ ายใต้มาตร านการรายงานทางการเงิน บับที่ 3 (ปรับปรุง 2558) เรือ่ ง การรวมธุรกิจหรือไม่ นอกจากนี ้ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบมูลค่าการซือ้ ธุรกิจกับเอกสารประกอบการซือ้ ธุรกิจและการจ่ายเงิน เพือ่ ประเมินว่ามูลค่าดังกล่าวสะท้อนมูลค่ายุตธิ รรมของสิง่ ตอบแทนทีโ่ อนให้และไม่รวม งึ ต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับการซือ้ ธุรกิจ ประเมินมูลค่ายุตธิ รรม ของสินทรัพย์ทร่ี ะบุได้ทไ่ี ด้มาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มาทีร่ ะบุในเอกสารการวัดมูลค่าตามวิธซี อ้ื โดยพิจารณาวิธกี ารและข้อสมมติตา่ ง ทีส่ าำ คัญทีใ่ ช้ในการ คำานวณหามูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ สอบทานองค์ประกอบของข้อมูลในแบบจำาลอง ทดสอบข้อสมมติทส่ี าำ คัญกับข้อมูลในอดีตของบ ริษทั และข้อมูลเกีย่ วกับอุตสาหกรรมและเศรษ กิจ เปรียบเทียบอัตราคิดลดกับต้นทุนทางการเงินของบริษทั และของอุตสาหกรรม และทดสอบ การคำานวณมูลค่ายุตธิ รรมดังกล่าว และพิจารณาเหตุผลสนับสนุนค่าความนิยมทีบ่ ริษทั บันทึกไว้โดย ทำาการวิเคราะห์รปู แบบในการกำาหนดราคา ซือ้ ขาย (Pricing Model) ตลอดจนสอบทานการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับรายการซือ้ ธุรกิจดังกล่าวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผูบ้ ริหารเปนผูร้ บั ผิดชอบต่อข้อมูลอืน่ ซึง่ รวม งึ ข้อมูลทีร่ วมอยูใ่ นรายงานประจำาปของกลุม่ บริษทั (แต่ไม่รวม งึ งบการเงินและรายงาน ของผู้สอบบัญชีที่แสดงอยู่ในรายงานนั้น) ซึ่งคาดว่าจะ ูกจัดเตรียมให้กับข้าพเจ้า ายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุม งึ ข้อมูลอืน่ และข้าพเจ้าไม่ได้ให้ขอ้ สรุปในลักษณะการให้ความเชือ่ มัน่ ในรูปแบบใด ต่อข้อมูลอื่นนั้น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอืน่ นัน้ มีความขัดแย้งทีม่ สี าระ สำาคัญกับงบการเงินหรือกับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้าหรือไม่ หรือปราก ว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเปนสาระ สำาคัญหรือไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจำาปของกลุ่มบริษัทตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริง อันเปนสาระสำาคัญ ข้าพเจ้าจะสื่อสารเรื่องดังกล่าวให้ผู้มีหน้าที่ในการกำากับดูแลทราบเพื่อให้มีการดำาเนินการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป
106
า รับ
บ
บร าร
า
าร า ับ
บ าร
ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำาและนำาเสนองบการเงินเหล่านี้โดย ูกต้องตามที่ควรตามมาตร าน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุม ายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำาเปนเพื่อให้สามาร จัดทำางบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเปนสาระสำาคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการจัดทำางบการเงิน ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามาร ของกลุ่มบริษัทในการดำาเนินงานต่อเนื่อง การเปิดเผยเรื่อง ทีเ่ กีย่ วกับการดำาเนินงานต่อเนือ่ งในกรณีทมี่ เี รือ่ งดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชีสาำ หรับกิจการทีด่ าำ เนินงานต่อเนือ่ งเว้นแต่ผบู้ ริหารมีความ ตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทหรือหยุดดำาเนินงานหรือไม่สามาร ดำาเนินงานต่อเนื่องอีกต่อไปได้ ผู้มีหน้าที่ในการกำากับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทำารายงานทางการเงินของกลุ่มบริษัท
า รับ
บ
ส บบัญ
าร ร ส บ บ าร
การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัต ุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเปนสาระสำาคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็น ของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เปนการรับประกันว่าการป ิบัติงานตรวจสอบตาม มาตร านการสอบบัญชีจะสามาร ตรวจพบข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเปนสาระสำาคัญทีม่ อี ยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจาก การทุจริตหรือข้อผิดพลาดและ ือว่ามีสาระสำาคัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือ ทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษ กิจของผู้ใช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตร านการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอด การตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ป ิบัติงานดังต่อไปนี้ด้วย
• ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเปนสาระสำาคัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการ
ทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและป ิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และได้หลัก าน การสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเปนเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเปนสาระสำาคัญซึ่งเปนผลมาจาก การทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริตอาจ เกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลัก าน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตาม ข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุม ายใน
• ทำาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุม ายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธี การตรวจสอบให้เหมาะสมกับ ส านการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัต ุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อ ความมีประสิทธิผลของการควบคุม ายในของกลุ่มบริษัท
• ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ ทางบัญชีและการเปิดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดทำา
• สรุปเกีย่ วกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสาำ หรับกิจการทีด่ าำ เนินงานต่อเนือ่ งของผูบ้ ริหาร และสรุปจากหลัก าน
การสอบบัญชีที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำาคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือส านการณ์ที่อาจเปนเหตุให้เกิดข้อสงสัย อย่างมีนยั สำาคัญต่อความสามาร ของกลุม่ บริษทั ในการดำาเนินงานต่อเนือ่ งหรือไม่ หากข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุปว่ามีความไม่แน่นอน ทีม่ สี าระสำาคัญ ข้าพเจ้าจะต้องให้ขอ้ สังเกตไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า งึ การเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องในงบการเงิน หรือหากเห็นว่าการเปิดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึน้ อยูก่ บั หลัก าน การสอบบัญชีที่ได้รับจน ึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือส านการณ์ในอนาคต อาจเปนเหตุให้กลุ่มบริษัทต้องหยุดการดำาเนินงานต่อเนื่องได้
• ประเมินการนำาเสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินโดยรวม รวม ึงการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่า งบการเงินแสดงรายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดย ูกต้องตามที่ควรหรือไม่
• รวบรวมเอกสารหลัก านการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรือของกิจกรรมทาง ธุรกิจ ายในกลุม่ บริษทั เพือ่ แสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการกำาหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และ การป ิบัติงานตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเปนผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า 107
ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำากับดูแลเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัย สำาคัญทีพ่ บจากการตรวจสอบรวม งึ ข้อบกพร่องทีม่ นี ยั สำาคัญในระบบการควบคุม ายในซึง่ ข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คาำ รับรองแก่ผมู้ หี น้าทีใ่ นการกำากับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ป บิ ตั ติ ามข้อกำาหนดจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วข้องกับความเปนอิสระและ ได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการกำากับดูแลเกีย่ วกับความสัมพันธ์ทงั้ หมดตลอดจนเรือ่ งอืน่ ซึง่ ข้าพเจ้าเชือ่ ว่ามีเหตุผลทีบ่ คุ คล ายนอกอาจพิจารณา ว่ากระทบต่อความเปนอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อปองกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาดความเปนอิสระ จากเรือ่ งทัง้ หลายทีส่ อ่ื สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการกำากับดูแล ข้าพเจ้าได้พจิ ารณาเรือ่ งต่าง ทีม่ นี ยั สำาคัญทีส่ ดุ ในการตรวจสอบงบการเงินใน งวดปัจจุบนั และกำาหนดเปนเรือ่ งสำาคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรือ่ งเหล่านีไ้ ว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่ก หมายหรือข้อบังคับ ห้ามไม่ให้เปิดเผยเรือ่ งดังกล่าวต่อสาธารณะ หรือในส านการณ์ทย่ี ากทีจ่ ะเกิดขึน้ ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสือ่ สารเรือ่ งดังกล่าวในรายงานของ ข้าพเจ้าเพราะการกระทำาดังกล่าวสามาร คาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ทผ่ี มู้ สี ว่ นได้เสียสาธารณะ จะได้จากการสือ่ สารดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีทร่ี บั ผิดชอบงานสอบบัญชีและการนำาเสนอรายงาน บับนีค้ อื นางสาวพิมพ์ใจ มานิตขจรกิจ
พิมพ์ มานิต รกิ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 4521 บริษทั าำ นักงาน ี าย จำากัด กรงเทพ :
108
กม าพัน ์
บ าร ั
บร ั
ั า
ส
ส ส า ั
า
บ าร บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559
สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิ ยม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์
หมายเหตุ
2559
งบกำรเงินรวม
2558
7 8 6, 9
173,517,882 89,922,941 277,901,546 4,123,581 545,465,950
94,438,396 297,414,063 133,874,601 2,525,970 528,253,030
101,377,389 40,684,533 153,098,303 2,565,654 297,725,879
63,304,061 260,567,268 95,718,022 2,309,034 421,898,385
10 11 12 11 11, 13 20
10,811,379 150,717,763 99,400,479 258,843,292 1,918,627 521,691,540 1,067,157,490
1,080,862 159,798,354 389,733 4,126,159 1,950,184 167,345,292 695,598,322
171,750 344,635,200 148,296,819 4,620,145 5,405,690 1,636,055 504,765,659 802,491,538
1,080,862 53,998,000 155,530,051 319,929 3,357,725 1,610,034 215,896,601 637,794,986
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
110
(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558
ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559
หนีสิ นและส่ วน อง อหุน หนีสิ นหมุนเวียน เ า้ หนี้ การค้าและเ า้ หนี้ อื่น หนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ ึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี ภาษีเงินได้คา้ ง ่าย หนี้ สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีสิ นหมุนเวียน หนีสิ นไม่ หมุนเวียน หนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุ ทธิ ากส่ วนที่ ึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี สารอง ลประ ยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้ สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้ สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีสิ นไม่ หมุนเวียน รวมหนีสิ น ส่ วน อง อหุน ทุนเรื อนหุ ้น ทุน ดทะเบียน หุ ้นสามัญ 651,899,500 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 0.50 บาท (2558: หุ ้นสามัญ 600,000,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 0.50 บาท) ทุนที่ออกและชาระแล้ว หุ ้นสามัญ 651,899,500 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 0.50 บาท (2558: หุ ้นสามัญ 600,000,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 0.50 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ ้นสามัญ กาไรสะสม ดั สรรแล้ว - สารองตามก หมาย ยังไม่ได้ ดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่ วนของ ู ้ ือหุ ้น ส่ วนของ ู ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ส่ วนของ มู ้ ีส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานา ควบคุมของบริ ษทั ย่อย รวมส่ วน อง อหุน รวมหนีสิ นและส่ วน อง อหุน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
หมายเหตุ
2559
งบกำรเงินรวม
2558
(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558
6, 1 1
119,017,560 7,151,333 15,179,142 12,465,586 153,813,621
49,926,010 14,478,360 4,598,996 6,144,763 75,148,129
46,779,810 7,151,333 7,641 10,804,850 64,743,634
34,830,047 14,451,360 781,424 5,281,524 55,344,355
1 16 20
772,246 13,673,256 35,635,076 981,627 51,062,205 204,875,826
7,936,821 11,112,685 622,339 19,671,845 94,819,974
772,246 8,542,605 981,627 10,296,478 75,040,112
7,936,821 6,262,044 622,339 14,821,204 70,165,559
325,949,750
300,000,000
325,949,750
300,000,000
325,949,750 347,778,911
300,000,000 228,410,061
325,949,750 347,778,911
300,000,000 228,410,061
14,274,367 82,618,745 6,601,418 777,223,191 85,058,473 862,281,664 1,067,157,490 -
10,800,000 50,630,121 10,938,166 600,778,348 600,778,348 695,598,322 -
14,274,367 39,448,187 211 727,451,426 727,451,426 802,491,538 -
10,800,000 27,813,562 605,804 567,629,427 567,629,427 637,794,986 -
17
17 18
ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
111
บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบกำไรขำดทุน สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559
กำไรขำดทุน: รำยได้ รายได้จากการให้บริ การ รายได้เงินปั นผล รายได้อื่น รวมรำยได้ ค่ ำใช้ จ่ำย ต้นทุนการให้บริ การ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร รวมค่ ำใช้ จ่ำย กำไรก่ อนค่ ำใช้ จ่ำยทำงกำรเงินและค่ ำใช้ จ่ำยภำษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไรก่ อนค่ ำใช้ จ่ำยภำษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำไรสำหรับปี
2559
6 6, 11 6
1,022,483,684 13,152,598 1,035,636,282
681,533,867 7,944,387 689,478,254
565,430,023 26,338,781 14,164,100 605,932,904
479,121,756 34,861,387 8,052,085 522,035,228
761,485,818 41,246,071 133,477,634 936,209,523 99,426,759 (750,071) 98,676,688 (16,522,006) 82,154,682
508,013,735 33,666,332 73,761,390 615,441,457 74,036,797 (1,355,820) 72,680,977 (12,092,809) 60,588,168
446,299,761 26,371,282 69,622,940 542,293,983 63,638,921 (750,071) 62,888,850 (5,635,562) 57,253,288
373,872,879 23,637,151 51,401,764 448,911,794 73,123,434 (1,355,820) 71,767,614 (4,768,835) 66,998,779
77,182,501 4,972,181 82,154,682
60,588,168 60,588,168
57,253,288
66,998,779
0.12 619,710,466
0.12 509,961,644
0.09 619,710,466
0.13 509,961,644
6 6
20
21
2558
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
112
(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558
หมายเหตุ
กำรแบ่ งปันกำไร ส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ส่ วนที่เป็ นของผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมของบริ ษทั ย่อย กำไรต่ อหุ้น กาไรต่อหุ ้นขั้นพื้นฐาน กาไรส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ จานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ ยถ่วงน้ าหนัก (หุ ้น)
งบกำรเงินรวม
ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบกำไรขำดทุนเบดเสรจ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559
หมายเหตุ กำไรสำหรับปี กำไรขำดทุนเบดเสรจอ่น: รายการที่จะถูกบันทึ กในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตรา ลกเปลี่ ยนจากการ ปลงค่างบการเงิน ที่เป็ นเงินตราต่างประเท กาไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย หัก: ผลกระทบของภาษีเงินได้ รายการที่ถูกบันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง - สุ ท ิ จากภาษีเงินได้ รายการที่จะไม่ ถกู บันทึ กในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ผลกาไร (ขาดทุน) จากการประมา การตามหลักค ิ ต าสตร ประกันภัย หัก: ผลกระทบของภาษีเงินได้ รายการที่จะไม่ถูกบันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง - สุ ท ิ จากภาษีเงินได้ กำไรขำดทุนเบดเสรจอ่นสำหรับปี กำไรขำดทุนเบดเสรจรวมสำหรับปี กำรแบ่ งปันกำไรขำดทุนเบดเสรจรวม ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ส่วนที่เป็ นของผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมของบริ ษทั ย่อย
8 20
16 20
2559
งบกำรเงินรวม
2558
(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558
82,154,682
60,588,168
57,253,288
66,998,779
(2,664,443) (2,090,381) 418,076
578,075 (115,615)
(756,991) 151,398
757,255 (151,451)
(4,336,748)
462,460
(605,593)
605,804
345,853 (69,171)
(2,656,209) 531,242
(185,130) 37,026
(1,063,079) 212,616
276,682 (4,060,066)
(2,124,967) (1,662,507)
(148,104) (753,697)
(850,463) (244,659)
78,094,616
58,925,661
56,499,591
66,754,120
73,122,435 4,972,181 78,094,616
58,925,661 58,925,661
56,499,591
66,754,120
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
113
114
325,949,750
24
เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559
อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
-
18
17
โอนกาไรสะสมที่ยงั ไม่ได้จดั สรรเป็ นสารองตามกฎหมาย
เพิ่มขึ้นจากการซื้อเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย
ผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมของบริ ษทั ย่อย
-
25,949,750
ออกหุน้ สามัญเพิ่มทุน
347,778,911
-
-
119,368,850
228,410,061 -
17 18 24
300,000,000 -
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี ออกหุน้ สามัญเพิ่มทุน โอนกาไรสะสมที่ยงั ไม่ได้จดั สรรเป็ นสารองตามกฎหมาย เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2559 กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี
ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ 228,410,061 228,410,061
หมายเหตุ
ทุนเรื อนหุน้ ที่ออก และชาระแล้ว 208,000,000 92,000,000 300,000,000
บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559
3,474,367 14,274,367
-
-
10,800,000 -
(3,474,367) (41,996,192) 82,618,745
-
-
50,630,121 77,182,501 276,682 77,459,183
กาไรสะสม จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร 6,173,088 53,572,564 60,588,168 (2,124,967) 58,463,201 4,626,912 (4,626,912) (56,778,732) 10,800,000 50,630,121
(2,664,443)
-
-
-
(2,664,443) (2,664,443)
(64,043)
-
-
-
1,608,262 (1,672,305) (1,672,305)
ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
5,597,942
-
-
-
5,597,942 -
3,731,962
-
-
-
3,731,962 -
องค์ประกอบอื่นของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ส่ วนเกินทุน ส่ วนเกินทุน ส่ วนเกินทุน ผลต่างจากการ จากการวัดมูลค่า จากการรวมธุรกิจ จากการเปลี่ยนแปลง แปลงค่างบการเงิน เงินลงทุน ภายใต้ สัดส่วนการถือหุน้ ที่เป็ น ในบริ ษทั ย่อย เงินตราต่างประเทศ ในหลักทรัพย์เผื่อขาย การควบคุมเดียวกัน 1,145,802 5,597,942 3,731,962 462,460 462,460 1,608,262 5,597,942 3,731,962 -
ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ
งบกำรเงินรวม
6,601,418
-
-
-
10,938,166 (4,336,748) (4,336,748)
รวม องค์ประกอบอื่น ของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ 10,475,706 462,460 462,460 10,938,166
(41,996,192) 777,223,191
-
-
145,318,600
600,778,348 77,182,501 (4,060,066) 73,122,435
รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้ ของ บริ ษทั ฯ 278,221,358 60,588,168 (1,662,507) 58,925,661 320,410,061 (56,778,732) 600,778,348
85,058,473
-
80,086,292
-
4,972,181 4,972,181
ส่วนของผูม้ ีส่วนได้เสี ย ที่ไม่มีอานาจ ควบคุม ของบริ ษทั ย่อย -
(41,996,192) 862,281,664
-
80,086,292
145,318,600
600,778,348 82,154,682 (4,060,066) 78,094,616
รวม ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ 278,221,358 60,588,168 (1,662,507) 58,925,661 320,410,061 (56,778,732) 600,778,348
(หน่วย: บาท)
115
อารยา คงสุนทร (กรรมการ)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2559 กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน โอนกาไรสะสมที่ยงั ไม่ได้จดั สรรเป็ นสารองตามกฎหมาย เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม 2558 กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน โอนกาไรสะสมที่ยงั ไม่ได้จดั สรรเป็ นสารองตามกฎหมาย เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2558
บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย งบแสดงกำรเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น (ต่ อ) สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559
17 18 24
17 18 24
หมายเหตุ
300,000,000 25,949,750 325,949,750
ทุนเรื อนหุ้นที่ออก และชาระแล้ว 208,000,000 92,000,000 300,000,000 228,410,061 119,368,850 347,778,911
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 228,410,061 228,410,061 10,800,000 3,474,367 14,274,367
27,813,562 57,253,288 (148,104) 57,105,184 (3,474,367) (41,996,192) 39,448,187
กาไรสะสม จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร 6,173,088 23,070,890 66,998,779 (850,463) 66,148,316 4,626,912 (4,626,912) (56,778,732) 10,800,000 27,813,562
ชูเดช คงสุนทร (กรรมการ)
605,804 (605,593) (605,593) 211
605,804 (605,593) (605,593) 211
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผูถ้ ือหุ้น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ส่วนเกินทุน จากการวัด รวม มูลค่าเงินลงทุนใน องค์ประกอบอื่น หลักทรัพย์เผื่อขาย ของส่ วนของผูถ้ ือหุ้น 605,804 605,804 605,804 605,804 605,804 605,804
งบกำรเงินเ ำะกิจกำร
567,629,427 57,253,288 (753,697) 56,499,591 145,318,600 (41,996,192) 727,451,426
รวม ส่ วนของ ผูถ้ ือหุ้น 237,243,978 66,998,779 (244,659) 66,754,120 320,410,061 (56,778,732) 567,629,427
(หน่วย: บาท)
บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบกระแสเงินสด สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559
กระแสเงินสดจำกกิจกรรมดำเนินงำน กาไรก่อนภาษี รายการปรับกระทบยอดกาไรก่อนภาษีเป็ นเงินสดรับ ( ่าย) ากกิ กรรมดาเนิ นงาน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัด าหน่าย ค่าเ ื่อหนี้ สงสัย ะสู ญ ( อนกลับรายการ) อนกลับรายการขาดทุน ากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ กาไร ากการ าหน่ายอุปกรณ์ กาไร ากการขายเงินลงทุนชัว่ คราว ค่าใช้ ่าย ลประ ยชน์ระยะยาวของพนักงาน กาไร ากอัตราแลกเปลี่ ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้น ดอกเบี้ยรับ เงินปั น ลรับ ค่าใช้ ่ายดอกเบี้ย กาไร ากการดาเนิ นงานก่อนการเปลี่ ยนแปลง ในสิ นทรัพย์และหนี้ สินดาเนิ นงาน สิ นทรัพย์ดาเนิ นงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้ สินดาเนิ นงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เ า้ หนี้ การค้าและเ า้ หนี้ อื่น หนี้ สินหมุนเวียนอื่น สารอง ลประ ยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้ สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสด ากกิ กรรมดาเนิ นงาน ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิจำกกิจกรรมดำเนินงำน
2559
งบกำรเงินรวม
2558
98,676,688
72,680,977
62,888,850
71,767,614
24,164,334 (197,184) (42,621) (43,625) (4,495,311) 3,378,374 (802,404) (1,209,742) 750,071
13,253,960 185,043 (22,246) (1,191,182) (1,798,150) 2,713,575 (309,309) (375,578) 1,355,820
14,641,980 (12,141) (2,827,818) 2,488,381 (438,966) (1,181,402) (26,338,781) 750,071
11,531,066 (1,399,743) (876,140) 1,706,121 (81,032) (291,123) (34,861,387) 1,355,820
120,178,580
86,492,910
49,970,174
48,851,196
(63,427,938) 262,436 913,790
(25,180,256) (179,570) (1,474,734)
(57,197,257) (256,620) (26,021)
(15,212,124) (220,646) (1,434,034)
26,949,743 6,320,822 (471,950) 359,288 91,084,771 (20,234,758) 70,850,013
12,207,980 (2,277,447) 414,893 70,003,776 (15,297,163) 54,706,613
12,130,299 5,523,326 (392,950) 359,288 10,110,239 (8,268,886) 1,841,353
6,555,255 (1,156,947) 414,893 37,797,593 (6,923,981) 30,873,612
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
116
(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558
ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม 2559
กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชัว่ คราว (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินฝากประ าที่มีภาระค้ าประกันลดลง ้ื ออาคารและอุปกรณ์ ้ื อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดรับ ากการ าหน่ายอุปกรณ์และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ดอกเบี้ยรับ เงินปั น ลรับ เงินสดรับ ากการขายเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสด ่ายเพื่อ ้ื อเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสด ่ายเพื่อ ้ื อเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย (หมายเหตุ 11) เงินสดสุ ทธิจำก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินสด ่ายเพื่อชาระหนี้ สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับ ากการเพิ่มทุน ดอกเบี้ย ่าย เงินปั น ล ่าย เงินสดสุ ทธิจำก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหำเงิน ลต่าง ากการแปลงค่างบการเงินลดลง เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดเพิ่มข้นสุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดปลำยปี (หมำยเหตุ 7) ข้ อมลกระแสเงินสดเปิ ดเ ยเพิ่มเติม รายการที่ไม่ใช่เงินสดประกอบด้วย ั ญาเช่าการเงิน ้ื อยานพาหนะและอุปกรณ์ภายใต้สญ ้ื อบริ ษทั ย่อย ดยวิธีการแลกเปลี่ ยนหุ ้นสามัญ (หมายเหตุ 11)
2559
งบกำรเงินรวม
2558
(หน่วย: บาท) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 2559 2558
39,474,009 909,112 (9,469,905) (7,796,167) 2,717,290 1,297,289 220,302,099 (47,208,762) (132,457,267) 67,767,698
(80,011,152) (35,544,469) (337,676) 1,242,992 263,423 75,348,592 (249,235,340) (288,273,630)
39,392,857 909,112 (9,227,171) (5,055,513) 2,650,000 1,268,949 26,338,781 182,590,705 (30,000) (145,318,600) 93,519,120
(80,011,152) (34,540,463) (295,890) 5,077,507 178,968 34,861,387 50,082,442 (228,969,189) (253,616,390)
(14,567,882) (750,071) (41,996,192) (57,314,145) (2,224,080) 79,079,486 94,438,396 173,517,882 -
(15,111,314) 320,410,061 (1,355,820) (56,778,732) 247,164,195 13,597,178 80,841,218 94,438,396 -
(14,540,882) (750,071) (41,996,192) (57,287,145) 38,073,328 63,304,061 101,377,389 -
(15,046,514) 320,410,061 (1,355,820) (56,778,732) 247,228,995 24,486,217 38,817,844 63,304,061 -
76,280 (145,318,600)
13,832,000 -
76,280 (145,318,600)
13,832,000 -
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
117
า
ร
บ บ าร
บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด มหำชน และบริษัทย่อย หมำยเหตุ ระกอบงบกำรเงินรวม สำหรับ ี สิ นสุ ดวันที่ 3 ธันวำคม 2 9 .
อมลทัว่ ไ บริ ษ ัท ไวส์ ลจิ ส ติ ก ส์ จ ากัด (มหาชน) ( บริ ษ ัท ฯ เป็ นบริ ษ ัท มหาชน ่ ึ งจัด ตั้ง และมี ภู มิ ล าเนาใน ประเทศไทย ธุ รกิ จหลักของบริ ษทั ฯคือการรับจัดการขนส่ งสิ นค้าระหว่างประเทศและในประเทศทั้งทาง ทะเล ทางอากาศ ทางบก และการขนส่ งต่อเนื่ องหลายรู ปแบบ รวมถึ งเป็ นตัวแทนออกของด้านพิธีการ ศุลกากรให้กบั นู ้ าเข้า สู ้ ่ งออก ที่อยูต่ ามที่จดทะเบียนของบริ ษทั ฯอยูท่ ี่ 88 8 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุ งเทพมหานคร ตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทยได้รับ หุ ้ น สามัญ ของบริ ษ ัท ฯเป็ นหลัก ทรั พ ย์จ ดทะเบี ย นในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเริ่ ม ้ือขายในวันที่ 28 กรก าคม 2558
2.
เกณ ์ นกำรจัดทำงบกำรเงิน
2.1 งบการเงิ น นี้ จัดท าขึ้ น ตามมาตร านการรายงานทางการเงิ น ที่ ก าหนดในพระราชบัญ ญัติ วิชาชี พ บัญ ชี พ.ศ. 2547 ดยแสดงรายการในงบการเงิ น ตามข้อ ก าหนดในประกาศกรมพั นาธุ รกิ จ การค้าลงวัน ที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงิ น ฉบับ ภาษาไทยเป็ นงบการเงิ น ฉบับ ที่ บ ริ ษ ัท ฯใช้เป็ นทางการตามก หมาย งบการเงิ น ฉบับ ภาษาอังก ษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ได้จดั ทาขึ้น ดยใช้เกณ ร์ าคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิ ดเ ยเป็ นอย่างอื่นในน ยบายการบัญชี 2.2 เกณ ใ์ นการจัดทางบการเงินรวม ก)
งบการเงิ น รวมนี้ ได้จ ัด ท าขึ้ น ดยรวมงบการเงิ น ของบริ ษ ัท ไวส์ ลจิ ส ติ ก ส์ จ ากัด (มหาชน ( ่ ึ งต่อไปนี้เรี ยกว่า “บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ( ่ ึ งต่อไปนี้เรี ยกว่า “บริ ษทั ย่อย ดังต่อไปนี้ ชื่อบริ ษทั
118
ลักษณะธุรกิจ
บริ ษทั นั เอ็ก ์เพรส (ประเทศไทย) จากัด นายหน้าขนส่งและจัดหา ระวางการขนส่งทุกชนิด ทั้งภายในประเทศและ ระหว่างประเทศ
จัดตั้งขึ้น ในประเทศ
ไทย
อัตราร้อยละ ของการถือหุน้ 2559 2558 ร้อยละ ร้อยละ 99.99 99.99
จัดตั้งขึ้น ในประเทศ
ลักษณะธุรกิจ
ชื่อบริ ษทั
.
.
นายหน้าขนส่งและจัดหา ระวางการขนส่งทุกชนิด ทั้งภายในประเทศและ ระหว่างประเทศ
สิ งค ปร์
อัตราร้อยละ ของการถือหุน้ 2558 2559 ร้อยละ ร้อยละ 70.00 -
ข
บริ ษทั ฯจะถือว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรื อบริ ษทั ย่อยได้ หากบริ ษทั ฯมีสิทธิ ได้รับหรื อมี ส่ วนได้เสี ยใน ลตอบแทนของกิ จการที่เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อานาจในการสั่งการกิจกรรม ที่ส่ง ลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อจานวนเงิน ลตอบแทนนั้นได้
ค
บริ ษทั ฯนางบการเงินของบริ ษทั ย่อยมารวมในการจัดทางบการเงินรวมตั้งแต่วนั ที่บริ ษทั ฯมีอานาจ ในการควบคุมบริ ษทั ย่อยจนถึงวันที่บริ ษทั ฯสิ้ นสุ ดการควบคุมบริ ษทั ย่อยนั้น
ง
งบการเงิ น ของบริ ษ ัท ย่อยได้จดั ท าขึ้ น ดยใช้น ยบายการบัญ ชี ที่ ส าคัญ เช่ นเดี ย วกัน กับ น ยบาย การบัญชีที่สาคัญของบริ ษทั ฯ
จ
สิ นทรัพย์และหนี้ สินตามงบการเงินของบริ ษทั ย่อย ่ ึ งจัดตั้งในต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาท ดย ใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วัน สิ้ นรอบระยะเวลารายงาน ส่ วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็ นเงินบาท ดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ ยรายเดือน ลต่าง ่ ึ งเกิดขึ้นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็ น รายการ “ ลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่ วนของ ถู ้ ือหุ น้
ฉ
ยอดคงค้างระหว่างบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสาคัญได้ถูกตัดออกจาก งบการเงินรวมนี้แล้ว
ช
ส่ วนของ ูม้ ีส่วนได้เสี ยที่ ไม่มีอานาจควบคุม คือ จานวนกาไรหรื อขาดทุนและสิ นทรัพย์สุทธิ ของ บริ ษทั ย่อยส่ วนที่ ไม่ได้เป็ นของบริ ษทั ฯ และแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในส่ วนของกาไรหรื อ ขาดทุนรวมและส่ วนของ ถู ้ ือหุ น้ ในงบแสดง านะการเงินรวม
2.3 บริ ษทั ฯจัดทางบการเงินเฉพาะกิจการ ดยแสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยตามวิธีราคาทุน
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
2 119
3.
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน หม่ ก มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินทีเ่ ริ่มมี ลบังคับ ช น ี ัจจุบัน ในระหว่างปี บริ ษ ทั ฯและบริ ษ ทั ย่อยได้นามาตร านการรายงานทางการเงิ นฉบับปรับปรุ ง ปรับปรุ ง 255 และฉบับใหม่รวมถึงแนวป ิบตั ิทางบัญชี ที่ออก ดยสภาวิชาชีพบัญชี ่ ึ งมี ลบังคับใช้สาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี ที่ เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 มาถื อป ิ บตั ิ มาตร านการรายงานทางการเงิ น ดังกล่าวได้รับการปรับปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึนเพื่อให้มีเนื้ อหาเท่าเทียมกับมาตร านการรายงานทางการเงิน ระหว่างประเทศ ดยส่ วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคาและคาศัพท์ การตีความและการให้แนวป ิ บ ตั ิ ทางการบัญชี ก ับ ู ใ้ ช้มาตร าน การน ามาตร านการรายงานทางการเงิ นดังกล่ าวมาถื อป ิ บ ัติ น้ ี ไม่ มี ลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญต่องบการเงินของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินทีจ่ ะมี ลบังคับ นอนำคต ในระหว่างปี ปั จจุบ นั สภาวิชาชี พบัญชี ได้ประกาศใช้มาตร านการรายงานทางการเงิน และการตีความ มาตร านการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง ปรับปรุ ง 2559 รวมถึ งแนวป ิ บตั ิทางบัญชี ฉบับใหม่ จานวนหลายฉบับ ่ ึ งมี ลบังคับใช้ส าหรั บงบการเงิ นที่ มี รอบระยะเวลาบัญชี ที่ เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาตร านการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึ นเพื่อให้มี เนื้ อหาเท่ าเที ยมกับมาตร านการรายงานทางการเงิ นระหว่างประเทศ ดยส่ วนใหญ่ เป็ นการปรับปรุ ง ถ้อยคาและคาศัพท์ การตีความและการให้แนวป ิบตั ิทางการบัญชีกบั ใู ้ ช้มาตร าน ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยเชื่ อว่ามาตร านการรายงานทางการเงินและการตีความมาตร าน การรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ งและแนวป ิ บ ตั ิทางบัญชี ฉบับใหม่ จะไม่มี ลกระทบอย่างเป็ น สาระส าคัญต่ องบการเงิ นเมื่ อนามาถื อป ิ บ ัติ อย่างไรก็ ตาม มาตร านการรายงานทางการเงิ นที่ มี การ เปลี่ยนแปลงหลักการสาคัญ สรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรบั ชี ฉบับที่ ( รับ รุง
) เร่ อง งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
มาตรฐานฉบับปรับปรุ งนี้ กาหนดทางเลือกเพิ่มเติมสาหรับการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงิน ลงทุนในการร่ วมค้า และเงินลงทุ นในบริ ษทั ร่ วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยเลื อกบันทึกตามวิธี ส่ วนได้เสี ยได้ ตามที่อธิ บายไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อง เงินลงทุนใน บริ ษ ทั ร่ วมและการร่ วมค้า ทั้ง นี้ กิ จการต้องใช้วิธี ก ารบัน ทึ ก บัญ ชี เดี ย วกัน ส าหรับ เงิ น ลงทุ นแต่ล ะ ประเภทและหากกิ จการเลื อกบันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสี ยในงบการเงินเฉพาะกิจการ กิจการต้องปรับปรุ งรายการดังกล่าวโดยวิธีปรับย้อนหลัง ปั จจุบนั ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯอยู่ระหว่างการประเมิน ลกระทบที่อาจมีต่องบการเงินในปี ที่เริ่ มนา มาตร านดังกล่าวมาถือป ิบตั ิ . 120
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
3
.
นโยบำยกำรบั ชี ทสี่ ำคั
.
กำรรับรรำยได รายได้ จากการให้ บริ การ รายได้จากการให้บริ การรับรู ้เมื่อบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยได้ให้บริ การแก่ลูกค้าแล้ว ดอกเบีย้ รั บ ดอกเบี้ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณ ค์ งค้าง ดยคานึงถึงอัตรา ลตอบแทนที่แท้จริ ง เงินปั นผลรั บ เงินปัน ลรับถือเป็ นรายได้เมื่อบริ ษทั ฯมีสิทธิในการรับเงินปัน ล
.2 เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด เงิ น สดและรายการเที ย บเท่ าเงิ น สด หมายถึ ง เงิ น สดและเงิ น ฝากธนาคาร และเงิ น ลงทุ น ระยะสั้ นที่ มี สภาพคล่องสู ง ่ ึ งถึ งกาหนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีขอ้ จากัด ในการเบิกใช้ .3 ลกหนีกำรคำและลกหนีอ่น ลู กหนี้ การค้าและลู กหนี้ อื่นแสดงมู ลค่าตามจานวนมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยบันทึ ก ค่ าเ ื่ อ หนี้ สงสั ย จะสู ญ ส าหรั บ ลขาดทุ น ดยประมาณที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากการเก็ บ เงิ น จากลู ก หนี้ ไม่ ไ ด้ ่ ึง ดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ .
เงินลงทุน ก) เงิ น ลงทุ น ในหลัก ทรั พ ย์เ ื่ อ ขายแสดงตามมู ล ค่ า ยุติ ธ รรม การเปลี่ ย นแปลงในมู ล ค่ ายุติ ธ รรมของ หลักทรัพย์ดงั กล่าวบันทึกในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น และจะบันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนเมื่อ ได้จาหน่ายหลักทรัพย์น้ นั ออกไป ข) เงิ นลงทุ นในบริ ษ ทั ย่อยที่ แสดงอยู่ในงบการเงิ นเฉพาะกิ จการแสดงมู ล ค่าตามวิธี ราคาทุ น สุ ท ธิ จาก ค่าเ อื่ การด้อยค่าของเงินลงทุน (ถ้ามี) มูลค่ายุติธรรมของหน่ วยลงทุนคานวณจากมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ของหน่ วยลงทุน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลา รายงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยใช้วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนักในการคานวณต้นทุนของเงินลงทุน เมื่อมีการจาหน่ายเงิน ลงทุน ลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับกับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนจะถูกบันทึกในส่ วนของกาไร หรื อขาดทุน .
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
4 121
.
ทีด่ ิน อำคำรและอุ กรณ์ และค่ ำเส่ อมรำคำ ที่ ดิน แสดงมู ล ค่าตามราคาทุ น อาคารและอุ ป กรณ์ แสดงมู ล ค่าตามราคาทุ นหัก ค่ าเสื่ อมราคาสะสมและ ค่า เ ื่อ การด้อยค่ าของสิ น ทรั พ ย์ (ถ้ามี ) ค่ าเสื่ อ มราคาของอาคารและอุ ป กรณ์ ค านวณจากราคาทุ น ของ สิ นทรัพย์ ดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประ ยชน์ ดยประมาณดังนี้ อาคารและสถานที่จอดรถบรรทุกและวางตูส้ ิ นค้า เครื่ องตกแต่งและเครื่ องใช้สานักงาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ยานพาหนะ
20 5 3-5 5 - 10
ปี ปี ปี ปี
บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยบัน ทึ ก ค่ าเสื่ อ มราคารวมอยู่ในการค านวณ ลการด าเนิ น งาน ดยไม่ มี ก ารคิ ด ค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและติดตั้ง บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจาหน่ ายสิ นทรัพย์หรื อคาดว่า จะไม่ได้รับประ ยชน์ เชิ งเศรษ กิ จในอนาคตจากการใช้หรื อการจาหน่ ายสิ นทรั พย์ รายการ ลก าไรหรื อ ขาดทุนจากการจาหน่ ายสิ นทรัพย์จะรับรู ้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนเมื่อบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยตัดรายการ สิ นทรัพย์น้ นั ออกจากบัญชี .
สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน บริ ษ ทั ฯบันทึ กต้นทุ นเริ่ มแรกของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่ ได้มาจากการรวมธุ รกิ จตามมูลค่ายุติธรรมของ สิ นทรัพย์น้ นั ณ วันที่ ้ื อธุ รกิจ ส่ วนสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่ได้มาจากการอื่น บริ ษทั ฯจะบันทึกต้นทุนเริ่ มแรก ของสิ นทรัพย์น้ นั ตามราคาทุน ภายหลังการรับรู ้รายการเริ่ มแรก สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนแสดงมูลค่าตามราคา ทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสมและค่าเ อื่ การด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสิ นทรัพย์น้ นั บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยตัด จ าหน่ า ยสิ น ทรั พ ย์ไ ม่ มี ต ัว ตนที่ มี อ ายุก ารให้ ป ระ ยชน์ จ ากัด อย่า งมี ระบบ ตลอดอายุการให้ประ ยชน์เชิงเศรษ กิจของสิ นทรัพย์น้ นั และจะประเมินการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ดงั กล่าว เมื่ อมี ขอ้ บ่งชี้ ว่าสิ นทรัพย์น้ นั เกิดการด้อยค่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจาหน่ าย และวิธี ก ารตัดจาหน่ ายของสิ นทรั พ ย์ไม่ มี ตวั ตนดังกล่ าวทุ ก สิ้ นปี เป็ นอย่างน้อยค่ าตัดจาหน่ ายรั บ รู ้ เป็ น ค่าใช้จ่ายในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุการให้ประ ยชน์ดงั นี้ อายุการให้ประ ยชน์ ความสัมพันธ์ของกลุ่มลูกค้า สิ ทธิในการ ้ื อหุ น้ เพิ่ม คอมพิวเตอร์ อ ต์แวร์
. 122
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
15 ปี 4 ปี 3 - 5 ปี
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
5
.7 ค่ ำควำมนิยม บริ ษทั ฯบันทึกมูลค่าเริ่ มแรกของค่าความนิยมในราคาทุน ่ ึ งเท่ากับต้นทุนการรวมธุ รกิจส่ วนที่สูงกว่ามูลค่า ยุติธรรมของสิ นทรั พย์สุทธิ ที่ ได้ม า หากมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพ ย์สุ ทธิ ที่ ได้มาสู งกว่าต้นทุนการรวม ธุ รกิจ บริ ษทั ฯจะรับรู ้ส่วนที่สูงกว่านี้เป็ นกาไรในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนทันที บริ ษ ัท ฯแสดงค่ า ความนิ ย มตามราคาทุ น หัก ค่ า เ ื่อ การด้อ ยค่ า สะสม และจะทดสอบการด้อ ยค่ า ของ ค่าความนิยมทุกปี หรื อเมื่อใดก็ตามที่มีขอ้ บ่งชี้ของการด้อยค่าเกิดขึ้น เพื่อวัตถุ ประสงค์ในการทดสอบการด้อยค่า บริ ษทั ฯจะปั นส่ วนค่าความนิ ยมที่เกิดขึ้นจากการรวมกิ จการ ให้กบั หน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด (หรื อกลุ่มของหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด)ที่คาดว่าจะได้รับ ประ ยชน์เพิ่มขึ้นจากการรวมกิ จการ และบริ ษทั ฯจะทาการประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วย ของสิ น ทรั พ ย์ที่ ก่ อให้เกิ ดเงิ น สดแต่ ล ะรายการ (หรื อ กลุ่ ม ของหน่ วยของสิ น ทรัพ ย์ที่ ก่ อให้เกิ ดเงิ น สด) หากมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยของสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดต่ากว่ามูลค่าตามบัญชี บริ ษทั ฯ จะรั บ รู ้ ขาดทุ นจากการด้อยค่าในส่ วนของก าไรหรื อขาดทุ น และบริ ษ ทั ฯไม่ส ามารถกลับ บัญ ชี ข าดทุ น จากการด้อยค่าได้ในอนาคต .8 รำยกำรธุรกิจกับบุคคลหรอกิจกำรทีเ่ กีย่ ว องกัน บุ ค คลหรื อกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันกับ บริ ษ ทั ฯ หมายถึ ง บุ ค คลหรื อกิ จการที่ มี อานาจควบคุ ม บริ ษ ทั ฯหรื อ ถูกบริ ษทั ฯควบคุมไม่วา่ จะเป็ น ดยทางตรงหรื อทางอ้อม หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ บุคคลหรื อกิ จการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริ ษทั ร่ วมและบุคคลหรื อกิ จการที่มีสิทธิ ออก เสี ยง ดยทางตรงหรื อทางอ้อม ่ ึงทาให้มีอิทธิพลอย่างเป็ นสาระสาคัญต่อบริ ษทั ฯ บู ้ ริ หารสาคัญ กรรมการ หรื อพนักงานของบริ ษทั ฯที่มีอานาจในการวางแ นและควบคุมการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ .9 สั
ำเช่ ำระยะยำว
สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและ ลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ได้ อนไป ให้กบั เู ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของ สิ นทรั พย์ที่เช่ าหรื อมู ลค่าปั จจุ บนั สุ ทธิ ของจานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่ าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ ากว่า ภาระ ูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็ นหนี้สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึก ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สิ นทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่ อม ราคาตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ที่เช่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและ ลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ไม่ได้ อน ไปให้กบั ูเ้ ช่ าถื อเป็ นสั ญญาเช่ าดาเนิ นงาน จานวนเงิ นที่จ่ายตามสัญญาเช่ าดาเนิ นงานรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่าย ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า .
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
6 123
. 0 เงินตรำต่ ำง ระเท บริ ษ ทั ฯแสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเป็ นสกุ ลเงินบาท ่ ึ งเป็ นสกุลเงิ นที่ ใช้ในการ ดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ รายการต่าง ของแต่ละกิจการที่รวมอยูใ่ นงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ใช้ ในการดาเนินงานของแต่ละกิจการนั้น รายการที่ เป็ นเงิ น ตราต่ า งประเทศแปลงค่ า เป็ นเงิ น บาท ดยใช้อ ัต ราแลกเปลี่ ย น ณ วัน ที่ เกิ ด รายการ สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ เป็ นตัวเงิ น ่ ึ งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็ นเงิ นบาท ดยใช้อตั รา แลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กาไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยูใ่ นการคานวณ ลการดาเนินงาน .
กำรดอยค่ ำ องสิ นทรัพย์ ทุก วัน สิ้ นรอบระยะเวลารายงาน บริ ษ ทั ฯและบริ ษ ทั ย่อยจะทาการประเมิ น การด้อยค่าของที่ ดิน อาคาร อุ ป กรณ์ หรื อสิ นทรั พ ย์ที่ ไม่ มี ตวั ตนของบริ ษ ทั ฯและบริ ษ ทั ย่อย หากมี ข ้อบ่งชี้ ว่าสิ นทรั พ ย์ดังกล่ าวอาจ ด้อยค่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยรับรู ้ ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์มี มูลค่าต่ ากว่ามูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์น้ ัน ทั้งนี้ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึ งมูลค่ายุติธรรมหัก ต้นทุนในการขายของสิ นทรัพย์หรื อมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสู งกว่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะรับรู ้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน
. 2 ล ระโยชน์ องพนักงำน ผลประโยชน์ ระยะสั้นของพนักงาน บริ ษ ทั ฯและบริ ษ ัท ย่อยรับ รู ้ เงิ น เดื อน ค่าจ้าง บนัส และเงิ นสมทบกองทุ นประกันสังคมเป็ นค่ าใช้จ่าย เมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานและผลประโยชน์ ระยะยาวอื่นของพนักงาน รงการ
บเงิน
บริ ษัท ฯและบริ ษัท ย่ อ ยในประเทศไทยและพนั ก งานได้ร่ ว มกัน จัด ตั้ง กองทุ น ส ารองเลี้ ยงชี พ ่ ึ ง ประกอบด้วยเงิ น ที่ พ นั ก งานจ่ า ยสะสมและเงิ น ที่ บ ริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยจ่ า ยสมทบให้ เป็ นรายเดื อ น สิ นทรัพย์ของกองทุนสารองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย เงินที่บริ ษทั ฯและ บริ ษทั ย่อยจ่ายสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในปี ที่เกิดรายการ
. 124
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
7
รงการผลปร ย นหลังออกจากงาน ล ผลปร ย นร ย ยา อน อง นักงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมี ภาระส าหรับ เงินชดเชยที่ตอ้ งจ่ายให้แก่ พนักงานเมื่อออกจากงานตามก หมาย แรงงานและตาม ครงการ ลตอบแทนพนักงานอื่น ่ ึงบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็ น ครงการ ลประ ยชน์ หลังออกจากงานส าหรั บ พนักงาน นอกจากนั้น บริ ษ ทั ฯและบริ ษ ทั ย่อยจัดให้มี ครงการ ลประ ยชน์ ระยะยาวอื่ นของพนักงาน ได้แก่ ครงการเงินรางวัลการป ิ บ ตั ิงานครบกาหนด ระยะเวลา บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อยค านวณหนี้ สิ น ตาม ครงการ ลประ ยชน์ ห ลัง ออกจากงานของพนัก งานและ ครงการ ลประ ยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน ดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ( ) ดย ูเ้ ชี่ ยวชาญอิ ส ระได้ท าการประเมิ นภาระ ูก พันดังกล่ าวตามหลัก คณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ลกาไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย สาหรับ ครงการ ลประ ยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู ้ ทนั ทีในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ส่ วน ลกาไรหรื อขาดทุนจากการ ประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ ป ระกันภัยส าหรับ ครงการ ลประ ยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน จะรับรู ้ทนั ทีในกาไรหรื อขาดทุน . 3 ระมำณกำรหนีสิ น บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระ ูกพัน ่ ึ งเป็ น ลมาจากเหตุการณ์ ในอดี ตได้เกิ ดขึ้นแล้ว และมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ นอนว่าบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะเสี ยทรัพยากร เชิ ง เศรษ กิ จ ไปเพื่ อ ปลดเปลื้ อ งภาระ ูก พัน นั้น และบริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยสามารถประมาณมู ล ค่ า ภาระ กู พันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ .
ำษีเงินได ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ำษีเงินได ัจจุบัน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยบันทึ กภาษี เงิ นได้ปัจจุบนั ตามจานวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กบั หน่ วยงานจัดเก็บภาษี ของรั ดยคานวณจากกาไรทางภาษีตามหลักเกณ ท์ ี่กาหนดในก หมายภาษีอากร ำษีเงินไดรอกำรตัดบั ชี บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของ ลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชีของ สิ นทรัพย์และหนี้ สิน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานกับ านภาษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เกี่ยวข้องนั้น ดยใช้อตั ราภาษีที่มี ลบังคับใช้ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน .
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
8 125
บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยรั บ รู ้ ห นี้ สิ น ภาษี เงิ น ได้รอการตัด บัญ ชี ข อง ลแตกต่ า งชั่ว คราวที่ ต้อ งเสี ย ภาษี ทุ กรายการ แต่รับ รู ้ สินทรัพ ย์ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี สาหรับ ลแตกต่างชั่วคราวที่ ใช้หัก ภาษี รวมทั้ง ลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ในจานวนเท่าที่มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะมี กาไรทางภาษี ในอนาคตเพี ย งพอที่ จะใช้ป ระ ยชน์ จาก ลแตกต่างชั่วคราวที่ ใช้หักภาษี และ ลขาดทุ น ทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้น้ นั บริ ษ ัทฯและบริ ษ ทั ย่อยจะทบทวนมู ลค่าตามบัญ ชี ของสิ นทรัพ ย์ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญ ชี ทุ กสิ้ นรอบ ระยะเวลารายงานและจะท าการปรั บ ลดมู ล ค่ าตามบัญ ชี ดังกล่ าว หากมี ค วามเป็ นไปได้ค่ อนข้างแน่ ว่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะไม่มีกาไรทางภาษีเพียงพอต่อการนาสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีท้ งั หมด หรื อบางส่ วนมาใช้ประ ยชน์ บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยจะบัน ทึ ก ภาษี เงิ น ได้ร อการตัด บัญ ชี ดยตรงไปยัง ส่ วนของ ูถ้ ื อ หุ ้ น หากภาษี ที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้บนั ทึก ดยตรงไปยังส่ วนของ ถู ้ ือหุน้ .
กำรวัดมลค่ ำยุติธรรม มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะได้รับจากจากการขายสิ นทรัพย์หรื อเป็ นราคาที่จะต้องจ่ายเพื่อ อน หนี้ สินให้ ูอ้ ื่ น ดยรายการดังกล่ าวเป็ นรายการที่ เกิ ดขึ้ นในสภาพปกติระหว่าง ู ้ ้ื อและ ูข้ าย ( ูร้ ่ วมใน ตลาด) ณ วันที่วดั มูลค่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยใช้ราคาเสนอ ้ือขายในตลาดที่มีสภาพคล่องในการวัดมูลค่า ยุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้ สิน ่ ึ งมาตร านการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกาหนดให้ตอ้ งวัดมูลค่า ด้วยมู ล ค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณี ที่ ไม่มี ตลาดที่ มี ส ภาพคล่ องส าหรับ สิ น ทรัพ ย์หรื อหนี้ สิ นที่ มีล ัก ษณะ เดียวกันหรื อไม่สามารถหาราคาเสนอ ้ื อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องได้ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะประมาณ มูลค่ายุติธรรม ดยใช้เทคนิ คการประเมิ นมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ขอ้ มูลที่ สามารถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมที่ใช้วดั มูลค่าและเปิ ดเ ยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินในงบการเงิน แบ่งออกเป็ นสามระดับตามประเภทของข้อมูลที่นามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1
ใช้ขอ้ มูลราคาเสนอ ้ื อขายของสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง
ระดับ 2
ใช้ข้อมู ล อื่ น ที่ ส ามารถสั งเกตได้ข องสิ น ทรัพ ย์หรื อหนี้ สิ น ไม่ว่าจะเป็ นข้อมู ลทางตรงหรื อ ทางอ้อม
ระดับ 3
ใช้ขอ้ มูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น
ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะประเมินความจาเป็ นในการ อนรายการระหว่าง ลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมสาหรับสิ นทรัพย์และหนี้สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัด มูลค่ายุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจา . 126
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
9
.
กำร ชดุลยพินิจและ ระมำณกำรทำงบั ชีทสี่ ำคั ในการจัด ท างบการเงิ น ตามมาตร านการรายงานทางการเงิ น ฝ่ ายบริ ห ารจาเป็ นต้อ งใช้ดุล ยพิ นิ จและ การประมาณการในเรื่ อ งที่ มี ค วามไม่ แ น่ น อนเสมอ การใช้ดุ ล ยพิ นิ จ และการประมาณการดัง กล่ า วนี้ ส่ ง ลกระทบต่อจานวนเงิ นที่ แสดงในงบการเงินและต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิ น ลที่เกิดขึ้นจริ งอาจแตกต่างไปจากจานวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่สาคัญ มีดงั นี้ สั
ำเช่ ำ
ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่ าว่าเป็ นสัญญาเช่ าดาเนิ นงานหรื อสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ ายบริ หาร ได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินเงื่ อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย ได้ อนหรื อรับ อนความเสี่ ยงและ ลประ ยชน์ในสิ นทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรื อไม่ ค่ ำเ ่อหนีสงสั ยจะส องลกหนี ในการประมาณค่าเ ื่อหนี้ สงสัยจะสู ญของลูกหนี้ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการ ลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย ดยคานึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ ที่คงค้างและสภาวะเศรษ กิจที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น มลค่ ำยุติธรรม องเคร่ องมอทำงกำรเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมือทางการเงินที่บนั ทึกในงบแสดง านะการเงิน ที่ไม่มีการ ้ื อขาย ในตลาดและไม่ ส ามารถหาราคาได้ใ นตลาด ้ื อขายคล่ อ ง ฝ่ ายบริ ห ารต้องใช้ดุล ยพิ นิ จในการประเมิ น มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ดัง กล่ า ว ดยใช้เทคนิ ค และแบบจ าลองการประเมิ น มู ล ค่ า ่ ึ งตัวแปรที่ ใช้ในแบบจาลองได้ม าจากการเที ยบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด ดยคานึ งถึ งความเสี่ ยง ทางด้านเครดิต (ทั้งของธนาคารฯ และคู่สัญญา) สภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของ มูลค่าของเครื่ องมือทางการเงินในระยะยาว การเปลี่ยนแปลงของสมมติ านที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ใช้ใน การคานวณ อาจมี ลกระทบต่อมูลค่ายุติธรรมที่แสดงอยูใ่ นงบแสดง านะการเงิน และการเปิ ดเ ยลาดับชั้น ของมูลค่ายุติธรรม
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
10 127
ทีด่ ิน อำคำรและอุ กรณ์ และค่ ำเส่ อมรำคำ ในการค านวณค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุ ปกรณ์ ฝ่ ายบริ ห ารจาเป็ นต้องทาการประมาณอายุก ารให้ ประ ยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประ ยชน์ และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและ บันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ากว่ามูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์น้ นั ในการนี้ ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคต ่ ึ ง เกี่ยวเนื่องกับสิ นทรัพย์น้ นั ค่ ำควำมนิยมและสิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของค่าความนิ ยมและสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ได้มา ตลอดจนการทดสอบ การด้อยค่าในภายหลัง ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจาก สิ น ทรั พ ย์ หรื อ หน่ วยของสิ น ทรั พ ย์ที่ ก่ อให้เกิ ดเงิ นสด รวมทั้งการเลื อกอัตราคิ ดลดที่ เหมาะสมในการ คานวณหามูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดนั้น สิ นทรัพย์ ำษีเงินไดรอกำรตัดบั ชี บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะรับรู ้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สาหรับ ลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หักภาษี และขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะมีกาไรทางภาษี ในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประ ยชน์จาก ลแตกต่างชัว่ คราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้อง ประมาณการว่าบริ ษ ทั ฯและบริ ษ ทั ย่อยควรรับรู ้ จานวนสิ นทรัพ ย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เป็ นจานวน เท่าใด ดยพิจารณาถึงจานวนกาไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ล ระโยชน์ หลังออกจำกงำน องพนักงำนตำมโครงกำร ล ระโยชน์ และ ล ระโยชน์ ระยะยำวอ่น อง พนักงำน หนี้ สินตาม ครงการ ลประ ยชน์หลังออกจากงานของพนักงานและตาม ครงการ ลประ ยชน์ระยะยาว อื่น ของพนัก งานประมาณขึ้ น ตามหลักคณิ ตศาสตร์ ป ระกัน ภัย ่ ึ งต้องอาศัยข้อสมมติ านต่าง ในการ ประมาณการนั้น เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลง ในจานวนพนักงาน เป็ นต้น
. 128
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
11
.
รำยกำรธุรกิจกับกิจกำรทีเ่ กีย่ ว องกัน ในระหว่างปี บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีรายการธุรกิจที่สาคัญ กับ บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เกี่ ย วข้อ งกัน รายการ ธุ รกิจดังกล่าวเป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณ ต์ ามที่ตกลงกันระหว่างบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและบุคคล หรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างบริ ษทั ฯกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันสามารถสรุ ปได้ดงั นี้ รายชื่อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั นั เอ็ก ์เพรส (ประเทศไทย) จากัด . .
ความสัมพันธ์กบั บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย
รายการธุ รกิจที่สาคัญสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สามารถสรุ ปได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2559 2558 รายการธุรกิจกับบริ ษทั ย่อย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้จากการให้บริ การ รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การอื่น เงินปัน ลรับ ต้นทุนการให้บริ การ ขายสิ นทรัพย์ถาวร รายการธุรกิจกับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน รายได้จากการให้บริ การ ต้นทุนการให้บริ การ รายการธุรกิจกับ บู ้ ริ หารและกรรมการ ค่าเช่าที่ดินและอาคาร
.
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558
-
-
9.7 8.7 26.3 1.7 -
4.6 3.9 34.9 2.3 4.5
ราคาใกล้เคียงกับราคาตลาด ราคาตามที่ระบุในสัญญา ตามที่ประกาศจ่าย ราคาใกล้เคียงกับราคาตลาด ราคาใกล้เคียงกับราคาตลาด
5.7 12.1
10.6 16.8
-
-
ราคาใกล้เคียงกับราคาตลาด ราคาใกล้เคียงกับราคาตลาด
1.9
1.9
1.9
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
(หน่วย: ล้านบาท) น ยบายการกาหนดราคา
.
1.9 ราคาตามที่ระบุในสัญญา
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
12 129
ยอดคงค้างระหว่างบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีรายละเอียดดังนี้
ลกหนีกำรคำและลกหนีอ่น กิจกำรทีเ่ กีย่ ว องกัน (หมำยเหตุ 9 บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจำหนีกำรคำและเจำหนีอ่น กิจกำรทีเ่ กีย่ ว องกัน (หมำยเหตุ ) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บู ้ ริ หารและกรรมการ รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนีสินหมุนเวียนอ่น กิจกำรทีเ่ กีย่ ว องกัน บริ ษทั ย่อย รวมหนี้สินหมุนเวียนอื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิน เฉพาะกิจการ 2559 2558
งบการเงินรวม 2558 2559 -
1 588 1 588
12 914 12 914
127 127
21 21
1 689 1 689
326 21 347
282 282
-
-
-
6 6
ค่าตอบแทนกรรมการและ บ้ ริ หาร สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีค่าใช้จ่าย ลประโยชนพนักงาน ที่ให้แก่กรรมการและ บ้ ริ หาร ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม 2559 2558 38 379 24 045
ลประ ยชน์ระยะสั้น ลประ ยชน์หลังออกจากงาน และ ลประ ยชน์ระยะยาวอื่น รวม
. 130
1 540 39 919
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
1 609 25 654
.
(หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 13 295 10 844 1 183 14 478
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
892 11 736
13
7.
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด งบการเงินรวม 2559 2558 99 48 173 419 94 390 173 518 94 438
เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม
(หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 48 101 377 63 256 101 377 63 304
ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2559 เงิ น ฝากออมทรั พ ย์มี อ ัต ราดอกเบี้ ยระหว่ า งร้ อ ยละ 0.15 ถึ ง 0.38 ต่ อ ปี (2558: ร้อยละ 0.25 ถึง 0.37 ต่อปี ) 8.
เงินลงทุนชั่ วครำว
เงินลงทุนในกองทุนเปิ ด - ราคาทุน บวก: กาไร ขาดทุน ที่ยงั ไม่เกิดขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน เงินลงทุนในกองทุนเปิ ด - มูลค่ายุติธรรม เงินฝากประจาธนาคาร รวมเงินลงทุนชัว่ คราว
งบการเงินรวม 2559 2558 46 758 215 357 (80) 46 678 43 245 89 923
2 010 217 367 80 047 297 414
(หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 30 179 763 30 40 655 40 685
757 180 520 80 047 260 567
ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษ ทั ฯและบริ ษ ทั ย่อยขายเงิ นลงทุ นในหลักทรัพ ย์เ ื่อขาย มู ล ค่ าตามบัญ ชี 215.8 ล้า นบาท (2558: 73.5 ล้านบาท) และรั บ รู ้ ก าไรจากการขายจานวน 4.5 ล้านบาท (2558: 1.8 ล้านบาท) ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน ทั้งนี้ จานวนดังกล่าวได้รวมกาไรที่ อนมาจากรายการ กาไรจากการวัดมู ล ค่ าเงิ นลงทุ น ในหลัก ทรัพ ย์เ ื่อขายในกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่ นในระหว่างปี จานวน 1.9 ล้านบาท (2558: 0.9 ล้านบาท)
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
14 131
9.
ลกหนีกำรคำและลกหนีอ่น งบการเงินรวม 2558 2559 ลกหนีกำรคำ กิจกำรทีเ่ กีย่ ว องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 3 เดือน รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
-
1 588
4 279
33
-
1 588
4 279
3 36
155 440
57 477
69 335
35 456
81 409 8 959 2 205 568
43 141 3 849 1 915 1 798
36 052 7 975 2 106 573
31 848 3 792 1 915 1 613
รวม หัก: ค่าเ ื่อหนี้สงสัยจะสูญ
248 581 (1 091)
108 180 (1 366)
116 041 (1 091)
74 624 (1 181)
รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน สุทธิ
247 490
106 814
114 950
73 443
รวมลูกหนี้การค้า - สุทธิ
247 490
108 402
119 229
73 479
ลกหนีอ่น ลูกหนี้เงินทดรองจ่าย - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้เงินทดรองจ่าย - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน
28 354 2 058
25 327 146
6 24 709 8 629 525
69 22 025 22 123
รวมลูกหนี้อื่น
30 412
25 473
33 869
22 239
277 902
133 875
153 098
95 718
ลกหนีกำรคำ กิจกำรทีไ่ ม่ เกีย่ ว องกัน อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ค้างชาระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน
รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ
. 132
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
15
0. เงิน ำกธนำคำรทีม่ ี ำระคำ ระกัน ยอดคงเหลือนี้ คือเงินฝากประจา ่ ึ งบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยได้นาไปค้ าประกันวงเงินบัตรเครดิตสาหรับ เติม น้ ามัน และหนังสื อค้ าประกัน ่ ึ ง ออก ดยธนาคารในนามบริ ษ ทั ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยเพื่ อ ค้ าประกัน การใช้ คลังสิ นค้าตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ 25.3 . เงินลงทุน นบริษัทย่อย เงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ัท ย่อ ยตามที่ แ สดงในงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2559 และ 2558 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ชื่อบริ ษทั
ทุนเรี ยกชาระแล้ว 2559 2558
บริ ษทั นั เอ็ก ์เพรส (ประเทศไทย จากัด .
.
54 ล้านบาท 0.7 ล้านเหรี ยญ สิ งค ปร์
สัดส่ วนเงินลงทุน 2559 2558 ร้อยละ ร้อยละ
ราคาทุน 2559 พันบาท
2558 พันบาท
เงินปัน ลที่บริ ษทั ฯ รับในระหว่างปี 2559 2558 พันบาท พันบาท
54 ล้านบาท
99.99
99.99
53 998
53 998
26 339
34 861
-
70.00
-
290 637 344 635
53 998
26 339
34 861
รวม
เมื่อวันที่ 2 กรก าคม 2559 ที่ประชุ มวิสามัญ ูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ มีมติอนุ มตั ิการเข้า ้ื อหุ ้นสามัญของ . . ่ ึ งเป็ นบริ ษทั ที่จดทะเบียนจัดตั้งในประเทศสิ งค ปร์ จานวน หุ ้น มู ลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 ดอลลาร์ สิงค ปร์ ดยวิธีการแลกหุ ้นสามัญ ) และชาระด้วยเงินสด คิดเป็ นจานวนเงินรวมประมาณ 1 . 1 ล้านดอลลาร์สิงค ปร์ หรื อเทียบเท่า 2 .9 ล้านบาท ต่อ มาเมื่ อวัน ที่ 15 สิ ง หาคม 2559 บริ ษ ัท ฯได้จ่ ายช าระค่ าตอบแทนการ ้ื อ หุ ้ น สามัญ ของ . . ในส่ วนแรก ่ ึ งมีจานวนทั้งสิ้ น 490 000 หุ ้น คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 70 ของจานวนหุ ้น สามัญ ทั้ง หมดของ . . ดยมี มู ล ค่ ารายการเป็ นจานวน 11.43 ล้านดอลลาร์ สิ งค ปร์ ห รื อเที ย บเท่า 290.64 ล้านบาท ด้วยเงิ น สดประมาณร้ อ ยละ 50 และจ่ายช าระส่ วนที่ เหลื อด้วย วิธีการแลกเปลี่ ยนหุ ้นสามัญของบริ ษทั ฯกับ หุ ้นสามัญของ . .( ) ส่ ง ลให้บริ ษทั ฯถือหุ ้นใน . . จานวน 490 000 หุน้ หรื อคิดเป็ นร้อยละ 70 ของ จานวนทุนที่ชาระแล้วของ . .
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
16 133
มูลค่ายุติธรรมและมู ลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์สุทธิ ของ มีดงั นี้
.
สิ นทรัพย์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินฝากประจาที่มีภาระค้ าประกัน ส่ วนปรับปรุ งอาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ความสัมพันธ์ของกลุ่มลูกค้า สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ หนีสิ น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี รวมหนี้สิน รวมสิ นทรัพย์สุทธิ สัดส่ วนการลงทุน (ร้อยละ สิ นทรัพย์สุทธิ จากการ ้ื อบริ ษทั ย่อย สิ ทธิในการ ้ือหุ น้ เพิ่ม ส่ วนของราคา ้ื อที่สูงกว่าสิ นทรัพย์สุทธิและสิ ทธิ ในการ ้ือหุน้ เพิ่ม ราคา ้ือ หัก: เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วัน ้ือบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ายสุ ทธิ เพื่อ ้ื อบริ ษทั ย่อย รายละเอียดของราคา ้ือ
.
(หน่วย: พันบาท มูลค่ายุติธรรม มูลค่าตามบัญชี 12 861 2 671 79 850 1 860 11 083 548 253 950 840 363 663
12 861 2 671 79 850 1 860 11 083 548 840 109 713
42 304 11 232 43 172 96 708 266 955 70 186 869 4 368 99 400 290 637 (12 861) 277 776
42 304 11 232 53 536 56 177
. มีดงั ต่อไปนี้
เงินสดจ่ายเพื่อ ้ื อบริ ษทั ย่อยของกลุ่มบริ ษทั มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ได้รับและสิ ทธิในการ ้ือหุน้ เพิ่ม ค่าความนิยม
. 134
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. ณ วันที่ลงทุน
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
(หน่วย: พันบาท 277 776 (178 376) 99 400
17
ค่าความนิ ยมจานวน 99.4 ล้านบาท เป็ นมูลค่าทางธุ รกิ จที่ เกี่ ยวข้องกับความสัมพันธ์จากกลุ่มลู กค้าของ . . ่ ึ งจะช่ ว ย ลั ก ดั น ให้ ธุ ร กิ จ เติ บ ตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและเพิ่ ม ศัก ยภาพ การทากาไรให้กบั ถู ้ ือหุน้ ได้ ลการดาเนิ น งานของบริ ษ ัท ย่อ ยข้างต้น ตั้งแต่วนั ที่ ้ื อ กิ จการจนถึ งวัน ที่ 31 ธัน วาคม 2559 มี ลก าไร จานวน 22.4 ล้านบาท ได้รวมอยูใ่ นงบการเงินรวมแล้ว 2. ทีด่ ิน อำคำรและอุ กรณ์
รำคำทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ้ือเพิ่ม จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เพิ่มขึ้นจากการ ้ือบริ ษทั ย่อย หมายเหตุ 11) ้ือเพิ่ม จาหน่าย อนจัดประเภท ลต่างจากการแปลงค่า งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่ำเส่ อมรำคำสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาส่ วนที่ ตัดจาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เพิ่มขึ้นจากการ ้ือบริ ษทั ย่อย หมายเหตุ 11) ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาส่ วนที่ ตัดจาหน่าย อนจัดประเภท ลต่างจากการแปลงค่า งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
(หน่วย: พันบาท
งบการเงินรวม
อาคารและ สถานที่จอด รถบรรทุกและ เครื่ องตกแต่ง วางตูส้ ิ นค้า และติดตั้ง
เครื่ องใช้ สานักงาน
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
ยานพาหนะ
สิ นทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง
23 800 23 800
50 154 3 619 53 773
7 079 313 7 392
7 091 657 (2 579) 5 169
6 847 2 432 (1 390) 7 889
80 311 40 779 (4 430) 116 660
580 1 576 2 156
175 862 49 376 (8 399) 216 839
-
-
6 809 198 -
2 063 836 (65) -
7 478 1 966 -
6 546 (33) -
(2 156)
16 350 9 546 (98) (2 156)
23 800
53 773
(272) 14 127
(57) 7 946
(298) 17 035
123 173
-
(628) 239 853
-
15 495 2 511
6 899 144
5 701 565
4 373 956
19 692 9 052
-
52 160 13 228
-
18 006
7 043
(2 540) 3 726
(1 377) 3 952
(4 430) 24 314
-
(8 347) 57 041
-
2 689
6 757 148
1 639 666
7 407 1 389
12 118
-
15 803 17 010
-
-
-
(41) 1
(14)
(33) -
-
(74) (13)
-
20 695
(65) 5 926
(297) 12 437
36 399
-
(632) 89 135
ที่ดิน
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
13 678
(270)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
รวม
18 135
ที่ดิน
อาคารและ สถานที่จอด รถบรรทุกและ เครื่ องตกแต่ง วางตูส้ ิ นค้า และติดตั้ง
(หน่วย: พันบาท
งบการเงินรวม เครื่ องใช้ สานักงาน
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
มลค่ำสุ ทธิตำมบั ชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 23 800 35 767 349 1 443 3 937 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 23 800 33 078 449 2 020 4 597 ค่ำเส่ อมรำคำสำหรับ ี 2558 (6.8 ล้านบาทรวมอยูใ่ นต้นทุนการให้บริ การ ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร 2559 (10.4 ล้านบาทรวมอยูใ่ นต้นทุนการให้บริ การ ส่ วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร
ยานพาหนะ
สิ นทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง
92 346 86 774
2 156 -
ที่ดิน
(หน่วย: พันบาท
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์
ยานพาหนะ
5 016 2 164 (593) 6 587 1 763 8 350
79 793 40 467 (11 551) 108 709 6 546 115 255
2 830 796
รำคำทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 23 800 5 971 4 783 50 154 313 234 ้ือเพิ่ม 3 619 - (1 334) จาหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 23 800 6 284 3 683 53 773 198 796 ้ือเพิ่ม อนจัดประเภท - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 23 800 6 482 4 479 53 773 ค่ำเส่ อมรำคำสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 5 798 3 946 15 495 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี 138 342 2 511 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับ ส่วนที่จาหน่าย - (1 317) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 5 936 2 971 18 006 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี 127 380 2 689 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 6 063 3 351 20 695 มลค่ำสุ ทธิตำมบั ชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 23 800 348 712 35 767 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 23 800 419 1 128 33 078 ค่ำเส่ อมรำคำสำหรับ ี 2558 (6.0 ล้านบาทรวมอยูใ่ นต้นทุนการให้บริ การ ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร 2559 (8.3 ล้านบาทรวมอยูใ่ นต้นทุนการให้บริ การ ส่วนที่เหลือรวมอยูใ่ นค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร
. 136
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
159 798 150 718 13 228 17 010
งบการเงินเฉพาะกิจการ
อาคารและ สถานที่ จอดรถบรรทุก เครื่ องตกแต่ง เครื่ องใช้ และวางตูส้ ิ นค้า และติดตั้ง สานักงาน
รวม
สิ นทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้าง
รวม
580 1 576 2 156 (2 156) -
170 097 48 373 (13 478) 204 992 9 303 (2 156) 212 139
19 683 7 723
-
47 752 11 510
(581) 3 045 1 213 4 258
(7 902) 19 504 9 971 29 475
-
(9 800) 49 462 14 380 63 842
3 542 4 092
89 205 85 780
2 156 -
155 530 148 297
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
11 510 14 380
19
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ทั ย่อยมี ยอดคงเหลื อของยานพาหนะและอุ ปกรณ์ ่ ึ งได้ม า ภายใต้สั ญญาเช่ าทางการเงิ น ดยมี มูล ค่าสุ ท ธิ ตามบัญชี เป็ นจานวนเงิน 45.2 ล้านบาท (2558: 59.4 ล้าน บาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 45.2 ล้านบาท 2558: 59.3 ล้านบาท) ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2559 บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยมี อุป กรณ์ จานวนหนึ่ ง ่ ึ งตัด ค่า เสื่ อมราคาหมดแล้ว แต่ยงั ใช้งานอยู่ มู ลค่าตามบัญชี ก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีจานวนเงินประมาณ 27.8 ล้านบาท (2558: 22.7 ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ: 11.9 ล้านบาท (2558: 13.8 ล้านบาท) 3. สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แสดงได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท ความสัมพันธ์ ของกลุ่มลูกค้า
งบการเงินรวม สิ ทธิในการ คอมพิวเตอร์ อ ต์แวร์ ้ือหุน้ เพิม่
รวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559: ราคาทุน หัก: ค่าตัดจาหน่ายสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ
253 950 (6 383) 247 567
4 367 (489) 3 878
7 865 (467) 7 398
266 182 (7 339) 258 843
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558: ราคาทุน หัก: ค่าตัดจาหน่ายสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ
-
-
563 (173) 390
563 (173) 390
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
20 137
(หน่วย: พันบาท ความสัมพันธ์ ของกลุ่มลูกค้า
งบการเงินเฉพาะกิจการ สิ ทธิในการ คอมพิวเตอร์ อ ต์แวร์ ้ือหุน้ เพิ่ม
รวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559: ราคาทุน หัก: ค่าตัดจาหน่ายสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ
-
-
5 031 (411) 4 620
5 031 (411) 4 620
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558: ราคาทุน หัก: ค่าตัดจาหน่ายสะสม มูลค่าตามบัญชี - สุ ทธิ
-
-
469 (149) 320
469 (149) 320
การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนสาหรับปี 2559 และ 2558 แสดงได้ดงั นี้
มูลค่าตามบัญชีตน้ ปี ้ือ อ ต์แวร์คอมพิวเตอร์ เพิ่มขึ้นจากการ ้ือบริ ษทั ย่อย หมายเหตุ 11) จาหน่าย อ ต์แวร์ คอมพิวเตอร์ ค่าตัดจาหน่าย อนจัดประเภทสิ นทรัพย์ มูลค่าตามบัญชีปลายปี
. เจำหนีกำรคำและเจำหนี อ่น . .... อารยา คงสุ นทร 138 (กรรมการ)
งบการเงินรวม 2559 2558 390 78 7 796 338 258 317 (2 650) (7 154) (26) 2 144 258 843 390
.
(หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 320 45 5 056 296 (2 650) (262) (21) 2 156 4 620 320
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
21
. เจำหนีกำรคำและเจำหนี อ่น . .... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ) เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น . หนีสิ นตำมสั
.
. ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ) งบการเงินรวม 2559 2558 1 689 83 041 33 752 21 35 956 14 485 119 018 49 926
....
(หน่วย: พันบาท) 21 งบการเงิน เฉพาะกิจการ 2559 2558 49 5 33 277 24 069 298 277 13 156 10 479 46 780 34 830
ำเช่ ำกำรเงิน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2559 2558 8 116 23 341 (193) (926) 7 923 22 415 (7 151) (14 478)
หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจาหน่าย รวม หัก: ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน-สุ ทธิ จากส่ วนที่ ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี
772
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 8 116 23 312 (193) (924) 7 923 22 388 (7 151) (14 451)
หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจาหน่าย รวม หัก: ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน-สุ ทธิ จากส่ วนที่ ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี
.
.... อารยา คงสุ นทร
7 937
772
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร
7 937
139 22
บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยได้ท าสั ญ ญาเช่ าการเงิ น กับ บริ ษ ทั ลี ส ิ่ งเพื่ อเช่ ายานพาหนะและอุ ป กรณ์ ใ ช้ใ น การดาเนิ นงานของกิจการ ดยมีกาหนดการชาระค่าเช่าเป็ นรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลา ดยเฉลี่ย ประมาณ 1 ถึง 4 ปี บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีภาระ กู พันที่จะต้องจ่ายค่าเช่าขั้นต่าตามสัญญาเช่าการเงินดังนี้
ลรวมของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า
(หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 1 - 4 ปี รวม ไม่เกิน 1 ปี 7 332 784 8 116 (181) (12) (193) 7 151 772 7 923
ลรวมของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า
(หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ไม่เกิน 1 ปี 1 - 4 ปี รวม 15 222 8 119 23 341 (744) (182) (926) 14 478 7 937 22 415
ลรวมของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า ดอกเบี้ยตามสัญญาเช่าการเงินรอการตัดบัญชี มูลค่าปั จจุบนั ของจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายทั้งสิ้นตามสัญญาเช่า
(หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 ไม่เกิน 1 ปี 1 - 4 ปี รวม 15 193 8 119 23 312 (742) (182) (924) 14 451 7 937 22 388
. 140
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
23
. สำรอง ล ระโยชน์ ระยะยำว องพนักงำน จานวนเงิ นส ารอง ลประ ยชน์ระยะยาวของพนัก งาน ่ ึ งเป็ นเงิ นชดเชยพนัก งานเมื่ อออกจากงาน และ ลประ ยชน์ระยะยาวอื่นแสดงได้ดงั นี้ (หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 สำรอง ล ระโยชน์ ระยะยำว องพนักงำนตน ี 11 113 5 743 6 262 3 493 ส่ วนที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน: ต้นทุนบริ การในปั จจุบนั 3 125 2 517 2 334 1 581 ต้นทุนดอกเบี้ย 253 235 154 125 ต้นทุนบริ การในอดีตและ ลกาไรหรื อขาดทุน ที่เกิดขึ้นจากการจ่ายชาระ ลประ ยชน์ (38) ส่ วนที่รับรู ้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น: ส่ วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติ ด้านประชากรศาสตร์ (249) 329 (142) 329 ส่ วนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติ ทางการเงิน 284 578 129 278 ส่ วนที่เกิดจากการปรับปรุ ง จากประสบการณ์ (381) 1 749 198 456 ลประ ยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี (472) (393) สำรอง ล ระโยชน์ ระยะยำว องพนักงำน ลำย ี 11 113 8 542 6 262 13 673 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ลประ ยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรู ้ในรายการต่อไปนี้ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน
ต้นทุนการให้บริ การ ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หาร รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู ้ในกาไรหรื อขาดทุน
งบการเงินรวม 2559 2558 1 080 743 2 298 1 971 2 714 3 378
(หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 850 537 1 638 1 169 2 488 1 706
บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยคาดว่าจะจ่ายชาระ ลประ ยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปี ข้างหน้า เป็ น จานวนประมาณ 0.16 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: จานวน 0.12 ล้านบาท 255 : จานวน 0.53 ล้าน บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ: จานวน 0.45 ล้านบาท .
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
24 141
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ระยะเวลาเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักในการจ่ายชาระ ลประ ยชน์ระยะยาวของพนักงาน ของบริ ษ ทั ฯและบริ ษ ทั ย่อยประมาณ 6 ปี (งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ: 6 ปี 255 : 8 ปี งบการเงิ นเฉพาะ กิจการ: 7 ปี สมมติ านที่สาคัญในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย สรุ ปได้ดงั นี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2559 2558 2559 2558 (ร้อยละต่อปี ) (ร้อยละต่อปี ) (ร้อยละต่อปี ) (ร้อยละต่อปี ) 2.30 - 2.40 2.74 - 2.87 2.40 2.74 5 5 5 5
อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลี่ยนแปลงในจานวน พนักงาน (ขึ้นกับช่วงอายุ
0 - 34
0 - 44
0 - 34
0 - 44
ลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติ านที่สาคัญต่อมูลค่าปัจจุบนั ของภาระ ูกพัน ลประ ยชน์ระยะยาว ของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สรุ ปได้ดงั นี้
อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือน อัตราการเปลี่ยนแปลงใน จานวนพนักงาน
งบการเงินรวม เพิ่มขึ้น 1 ลดลง 1 (0.70) 0.76 0.65 (0.60)
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้น 1 ลดลง 1 (0.43) 0.46 0.40 (0.37)
(0.76)
(0.47)
0.32
0.17
7. ทุนเรอนหุน เมื่ อ วัน ที่ 13 มี น าคม 2558 ที่ ป ระชุ ม สามัญ ู ้ถื อ หุ ้ น ของบริ ษัท ฯมี ม ติ อ นุ ม ัติ ใ ห้ เพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย น ของบริ ษ ัท ฯจากเดิ ม 208.0 ล้า นบาท หุ ้ น สามัญ 20 800 000 หุ ้ น มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้หุ้ น ละ 10 บาท) เป็ น 225.0 ล้านบาท หุ ้นสามัญ 22 500 000 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ดยการออกหุ ้นสามัญเพิ่มทุน 1 700 000 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาทให้แก่ ถู ้ ือหุ ้นเดิมของบริ ษทั ฯ เพื่อเป็ นเงินทุนหมุนเวียนไว้ใช้ ในการดาเนิ นกิจการของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯได้รับชาระเงินค่าหุ ้นเพิ่มทุนและได้จดทะเบียนการเพิ่มทุน กับกระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2558
. 142
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
25
เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2558 ที่ประชุมวิสามัญ ถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯได้มีมติอนุมตั ิให้ดาเนินการดังนี้ ก เปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ข องหุ ้ น สามัญ ของบริ ษ ัท ฯจากเดิ ม มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 1 บาท เป็ นมู ล ค่ า หุ ้น ละ 0.50 บาท บริ ษ ัท ฯได้จดทะเบี ย นเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ าที่ ตราไว้ข องหุ ้น สามัญ ของบริ ษ ัท ฯกับ กระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 ข เพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นของบริ ษ ัท ฯอี ก จ านวน 75 000 000 บาท ดยการออกหุ ้ น สามัญ ใหม่ จ านวน 150 000 000 หุ ้น มู ล ค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ทั้งนี้ บริ ษ ทั ฯได้ดาเนิ นการจดทะเบี ย นเพิ่ม ทุ น กับ กระทรวงพาณิ ชย์เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 23 กรก าคม 2558 ค) จัดสรรหุน้ สามัญที่ออกใหม่จานวน 15 000 000 หุน้ ดังนี้ (1) หุ ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น จ านวน 142 500 000 หุ ้ น ให้ เสนอขายแก่ ป ระชาชนทั่ว ไป ( ) (2) หุ ้นสามัญเพิ่มทุนจานวน 7 500 000 หุ ้นให้สารองไว้ให้แก่กรรมการ ูบ้ ริ หารและพนักงานของ บริ ษทั ฯ จากการใช้สิทธิ ตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิเพื่อ ้ื อหุน้ สามัญของบริ ษทั ฯที่จะออกเป็ นจานวน 7 500 000 หน่วย บริ ษ ทั ฯได้รับ เงิ นจากการออกหุ ้นสามัญเพิ่ มทุนเพื่อเสนอขายแก่ป ระชาชนทัว่ ไปและหุ ้นส ารองไว้ ให้แก่ พ นักงานของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจานวน 150 000 000 หุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ตามที่กล่าวไว้ในข้อ 1 และ 2) แล้ว เมื่อวันที่ 23 กรก าคม 2558 ดยมีส่วนเกิ นมูลค่าหุ ้นเป็ นจานวน 228.41 ล้านบาท บริ ษทั ฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนและทุนที่ชาระแล้วกับกระทรวงพาณิ ชย์เป็ น จานวน 300.00 ล้านบาท เมื่อวันที่ 23 กรก าคม 2558 เมื่อวันที่ 2 กรก าคม 2559 ที่ประชุมวิสามัญ ถู ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ มีมติอนุ มตั ิให้เพิ่มทุนจดทะเบียนของ บริ ษ ัท ฯ จากเดิ ม 300.00 ล้า นบาท (หุ ้ น สามัญ 600 000 000 หุ ้ น มู ล ค่ าที่ ต ราไว้ หุ ้ น ละ 0.50 บาท เป็ น 325.95 ล้านบาท หุ ้ น สามัญ 651 899 500 หุ ้ น มู ล ค่า ที่ ต ราไว้หุ้ น ละ 0.50 บาท ดยการออกหุ ้ น สามัญ เพิ่ ม ทุ น 51 899 500 หุ ้ น มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้หุ้ น ละ 0.50 บาท เพื่ อ เป็ นการช าระค่ า ตอบแทนในการเข้า ้ื อ หุ ้ น สามัญ ของ . . ในราคาหุ ้ น ละ 2.80 บาท ทั้ง นี้ บริ ษ ัท ฯได้จ ดทะเบี ย น เพิ่มทุนที่ชาระแล้วกับกระทรวงพาณิ ชย์เป็ น 325.95 ล้านบาท เมื่อวันที่ 29 กรก าคม 2559 และบริ ษทั ฯจ่าย ชาระค่าตอบแทนในการเข้า ้ื อหุ น้ สามัญดังกล่าวเรี ยบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2559 8.
สำรองตำมก หมำย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ฯต้องจัดสรร ก าไรสุ ท ธิ ป ระจ าปี ส่ ว นหนึ่ งไว้เป็ นทุ น ส ารองไม่ น้อ ยกว่า ร้ อ ยละ 5 ของก าไรสุ ท ธิ ป ระจ าปี หัก ด้ว ย ยอดขาดทุ นสะสมยกมา (ถ้ามี จนกว่าทุนสารองนี้ จะมีจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สารองตามก หมายดังกล่าวไม่สามารถนาไปจ่ายเงินปัน ลได้ .
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
26 143
9. ค่ ำ ชจ่ ำยตำมลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ประกอบด้วยรายการ ค่าใช้จ่ายที่สาคัญดังต่อไปนี้
เงินเดือนและค่าแรงและ ลประ ยชน์อื่น ของพนักงาน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าเช่าจ่ายตามสัญญาเช่าดาเนินงาน 20.
งบการเงินรวม 2559 2558
(หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558
158 469 24 164 23 948
102 053 14 642 18 951
115 290 13 254 6 533
76 240 11 531 3 663
ำษีเงินได ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุ ปได้ดงั นี้
งบการเงินรวม 2558 2559 ำษีเงินได ัจจุบัน ภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับปี ำษีเงินไดรอกำรตัดบั ชี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิด ลแตกต่าง ชัว่ คราวและการกลับรายการ ลแตกต่างชัว่ คราว ค่ ำ ชจ่ ำย ำษีเงินไดที่แสดงอย่ น งบกำไร ำดทุนเบดเสรจ
. 144
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิน เฉพาะกิจการ 2559 2558
19 584
15 263
7 495
7 705
(3 062)
(3 170)
(1 859)
(2 936)
16 522
12 093
5 636
4 769
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
27
จ านวนภาษี เงิ น ได้ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกับ ส่ วนประกอบแต่ ล ะส่ วนของก าไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื่ น ส าหรั บ ปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุ ปได้ดงั นี้
งบการเงินรวม 2559 2558 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับกาไร จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เ อื่ ขาย ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เกี่ยวข้องกับกาไรขาดทุนจาก การประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิน เฉพาะกิจการ 2559 2558
418
(116)
151
(151)
(69) 349
531 415
37 188
213 62
รายการกระทบยอดระหว่างกาไรทางบัญชี กบั ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 แสดงได้ดงั นี้
กาไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล กาไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลคูณอัตราภาษี รายการปรับปรุ งค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปี ก่อน ลกระทบทางภาษีสาหรับ: ค่าใช้จ่ายต้องห้าม ค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหกั ได้เพิ่มขึ้น รายได้ที่ได้รับการยกเว้น อื่น รวม ค่ ำ ชจ่ ำย ำษีเงินไดทีแ่ สดงอย่ นงบกำไร ำดทุนเบดเสรจ
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
งบการเงินรวม 2558 2559 98 677 72 681
(หน่วย: พันบาท) งบการเงิน เฉพาะกิจการ 2559 2558 62 889 71 768
ร้อยละ 17 20 ร้อยละ 20 20 679 14 536 239 -
ร้อยละ 20 ร้อยละ 20 12 578 14 354 -
550 (1 884) (3 062) (4 396) 16 522
.
839 (112) (3 170) (2 443) 12 093
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
212 (27) (5 268) (1 859) (6 942) 5 636
424 (101) (6 972) (2 936) (9 585) 4 769
28 145
ส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ประกอบด้วย รายการดังต่อไปนี้ (หน่วย: พันบาท) งบแสดง านะการเงิน งบการเงิน งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 สิ นทรัพย์ ำษีเงินไดรอกำรตัดบั ชี ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน ค่าเ ื่อหนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเ ื่อการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ สารอง ลประ ยชน์ระยะยาวของพนักงาน ค่าเช่ารอตัดจ่าย ค่าเสื่ อมราคาสะสม - ยานพาหนะ รวมสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนีสิ น ำษีเงินไดรอกำรตัดบั ชี กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ความสัมพันธ์ของกลุ่มลูกค้า รวมหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ
. 146
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
16 219 4 2 735 196 3 281 6 451
273 13 2 222 125 1 895 4 528
219 1 1 709 196 3 281 5 406
236 1 1 252 125 1 895 3 509
42 086 42 086 (35 635)
402 402 4 126
5 406
151 151 3 358
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
29
2 . กำไรต่ อหุน กาไรต่อหุ ้นขั้นพื้น านคานวณ ดยหารกาไรสาหรับปี ที่เป็ นของ ถู ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ (ไม่รวมกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุน้ สามัญที่ออกอยูใ่ นระหว่างปี กาไรต่อหุ น้ ขั้นพื้น านแสดงการคานวณได้ดงั นี้
กำไรต่ อหุน นพนฐำน ั กาไรส่วนที่เป็ นของ ถู ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ
กำไรต่ อหุน ันพนฐำน กาไรส่วนที่เป็ นของ ถู ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ
22.
กาไรสาหรับปี 2559 2558 (พันบาท) (พันบาท) 77 182
60 588
กาไรสาหรับปี 2559 2558 (พันบาท) (พันบาท) 57 253
66 999
งบการเงินรวม สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม จานวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก กาไรต่อหุ ้น 2559 2558 2559 2558 (พันหุ้น) (พันหุ้น) (บาท) (บาท) 619 710
509 962
งบการเงินเฉพาะกิจการ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม จานวนหุ้นสามัญ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก 2559 2558 (พันหุ้น) (พันหุ้น) 619 710
509 962
0.12
0.12
กาไรต่อหุ ้น 2559 (บาท) 0.09
2558 (บาท) 0.13
อมลทำงกำรเงินจำแนกตำมส่ วนงำน ข้อมูลส่ วนงานดาเนิ นงานที่นาเสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของบริ ษทั ฯที่ มู ้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ด ด้านการดาเนิ นงานได้รับและสอบทานอย่างสม่าเสมอเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กบั ส่ วนงานและประเมิน ลการดาเนินงานของส่ วนงาน เพื่ อวัตถุ ป ระสงค์ในการบริ ห ารงาน บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยจัด ครงสร้ า งองค์ก รเป็ นหน่ วยธุ รกิ จตาม ประเภทการให้บริ การ ่ ึ งบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีส่วนงานที่รายงานทั้งสิ้ น 3 ส่ วนงานคือส่ วนงานจัดหา ระวางการขนส่ งทางเรื อ ส่ วนงานจัดหาระวางการขนส่ งทางอากาศและส่ วนงาน ลจิสติกส์
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
30 147
ูม้ ี อานาจตัดสิ นใจสู งสุ ดสอบทาน ลการดาเนิ นงานของแต่ละหน่ วยธุ รกิ จแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงค์ ในการตัดสิ นใจเกี่ ยวกับการจัดสรรทรั พยากรและการประเมิน ลการป ิ บตั ิงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย ประเมิน ลการป ิบตั ิงานของส่ วนงาน ดยพิจารณาจากกาไรหรื อขาดทุนจากการดาเนินงานและสิ นทรัพย์ รวม ่ ึ งวัดมูลค่า ดยใช้เกณ ์เดียวกับที่ใช้ในการวัดกาไรหรื อขาดทุนจากการดาเนินงานและสิ นทรัพย์รวม ในงบการเงิน การบันทึกบัญชีสาหรับรายการระหว่างส่ วนงานที่รายงานเป็ นไปในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีสาหรับ รายการธุ รกิจกับบุคคลภายนอก ข้อมูลรายได้ กาไร และสิ นทรัพย์รวมของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีดงั ต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท สำหรับ ี สิ นสุ ดวันที่ ธันวำคม จัดหำระวำง กำร นส่ ง ทำงเรอ รำยไดจำกกำร หบริกำร รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน รวมรำยได
จัดหำระวำง กำร นส่ ง ทำงอำกำ
รวมส่ วนงำน รำยกำร รับ รุ งและ ที่รำยงำน ตัดรำยกำรระหว่ำงกัน งบกำรเงินรวม
โลจิสติกส์
503 4 07
294 10 30
225 11 23
1 022 25 07
8
93
3
272
ลกำรดำเนินงำน กำไร องส่ วนงำน รายได้อื่น ค่าเสื่ อมราคาและตัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไรก่อนค่ำ ชจ่ ำย ำษีเงินได ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำไรสำหรับ ี สินทรัพย์รวม องส่ วนงำน สิ นทรัพย์ส่วนกลาง
148
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
1 022 022 272 13 (24) (161) (1) 99 (17) 82
1 067 07
รวมสินทรัพย์
.
(25) 2
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
31
(หน่วย: ล้านบาท สำหรับ ี สิ นสุ ดวันที่ จัดหำระวำง กำร นส่ ง ทำงเรอ รำยไดจำกกำร หบริกำร รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่วนงาน รวมรำยได
396 1 397
ลกำรดำเนินงำน กำไร องส่ วนงำน รายได้อื่น ค่าเสื่ อมราคาและตัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไรก่อนค่ำ ชจ่ ำย ำษีเงินได ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
9
จัดหำระวำง กำร นส่ ง ทำงอำกำ
ธันวำคม
8
รวมส่ วนงำน รำยกำร รับ รุ งและ ที่รำยงำน ตัดรำยกำรระหว่ำงกัน งบกำรเงินรวม
โลจิสติกส์
153 3
133 6 39
682 7 89
7
29
80
(7) 7
682 82 80 8 (13) (101) (1) 73 (12)
กำไรสำหรับ ี สินทรัพย์รวม องส่ วนงำน สิ นทรัพย์ส่วนกลาง
695 9
รวมสินทรัพย์
ข้อมูลเกี่ยวกับเขตภูมิศาสตร์ ข้อมูลรายได้จากลูกค้าภายนอก ่ ึ งกาหนดขึ้นตามสถานที่ต้ งั ของลูกค้าสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุ ปได้ดงั นี้ 2559
รายได้จากลูกค้าภายนอก ประเทศไทย ประเทศสิ งค ปร์ ประเทศจีน ประเทศสหรั อเมริ กา ประเทศอื่น รวม
.
215 028 145 895 197 440 145 265 318 856 1 022 484
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
(หน่วย: พันบาท) 2558 125 948 50 966 107 807 185 985 210 828 681 534
32
149
(หน่วย: พันบาท) 2558
2559 สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ไม่รวมเครื่ องมือทางการเงิน สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ ลประ ยชน์หลังออกจากงาน และสิ ทธิ ตามสัญญาประกันภัย) ประเทศไทย ประเทศสิ งค ปร์ รวม
510 606 11 086 521 692
163 219 163 219
ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้ารายใหญ่ ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยไม่มีรายได้จากลูกค้ารายใด ที่มีมูลค่าเท่ากับหรื อมากกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ของกิจการ 23. กองทุนสำรองเลียงชี พ บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยในประเทศไทยและพนัก งานได้ร่ว มกัน จัด ตั้ง กองทุ น ส ารองเลี้ ย งชี พ ขึ้ น ตาม พระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ดยบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยและพนักงานจะจ่ายสมทบเข้า กองทุนเป็ นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสารองเลี้ยงชีพนี้บริ หาร ดยบริ ษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุ น ทิ ส ก้ จากัด และจะจ่ายให้แก่ พ นักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบว่าด้วย กองทุนของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย ในระหว่างปี 2559 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยรับรู ้เงินสมทบดังกล่าวเป็ น ค่าใช้จ่ายจานวน 2.9 ล้านบาท งบการเงิ น เฉพาะกิ จการ: 1.2 ล้านบาท) (2558: 2.6 ล้านบาท งบการเงิ น เฉพาะกิจการ: 1.7 ล้านบาท) 2 . เงิน ัน ล เงินปั น ลที่ประกาศจ่ายในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีรายละเอียดดังนี้ เงินปัน ล
อนุมตั ิ ดย
เงินปัน ลประจาปี 2557
ที่ประชุมสามัญ ถู ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2558 เงินปัน ลระหว่างกาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ สาหรับปี 2558 เมื่อวันที่ 12 พ ษภาคม 2558 รวมเงินปัน ลจ่ายสาหรับปี 2558
. 150
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
เงินปัน ลจ่าย (ล้านบาท
เงินปัน ลจ่าย ต่อหุน้ วันที่จ่ายเงินปัน ล บาท
21.9
1.05 13 มีนาคม 2558
34.9 56.8
0.08 22 พ ษภาคม 2558 1.13
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
33
เงินปัน ล
อนุมตั ิ ดย
เงินปัน ลประจาปี 2558
ที่ประชุมสามัญ ถู ้ ือหุน้ เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2559 รวมเงินปัน ลจ่ายสาหรับปี 2559
2.
ำระ กพันและหนีสิ นทีอ่ ำจเกิด น
2.
ำระ กพันเกีย่ วกับรำยจ่ ำย ่ ำยทุน
เงินปัน ลจ่าย (ล้านบาท 42.0 42.0
เงินปัน ลจ่าย ต่อหุน้ วันที่จ่ายเงินปัน ล บาท 0.07 10 พ ษภาคม 2559 0.07
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯมี ภาระ ูกพันรายจ่ายฝ่ ายทุนจานวนเงิน 1.82 ล้านบาทที่เกี่ ยวข้องกับ การ ้ือ อ ต์แวร์ เพื่อใช้ในการดาเนินธุรกิจ (255 : 1.67 ล้านบาท 2 .2 ำระ กพันเกีย่ วกับสั
ำเช่ ำดำเนินงำนและสั
ำบริกำรระยะยำว
บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยได้เข้า ท าสั ญ ญาเช่ า ด าเนิ น งานที่ เกี่ ย วข้อ งกับ การเช่ า ที่ ดิ น พื้ น ที่ ใ นอาคารและ สัญญาบริ การระยะยาว อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 20 ปี บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยมี จานวนเงิ น ขั้น ต่ าที่ ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้ น ภายใต้สั ญ ญาเช่ าดาเนิ น งานและ สัญญาบริ การระยะยาวที่บอกเลิกไม่ได้ ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 จ่ายชาระ ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี
22.3 21.7 21.3
17.2 6.0 22.6
2 .3 กำรคำ ระกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 255 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีหนังสื อค้ าประกัน ่ ึ งออก ดยธนาคารในนาม บริ ษทั ฯเหลื ออยู่เป็ นจานวน 0.2 ล้านบาทและ 0.7 ล้านเหรี ยญสิ งค ปร์ ่ ึ งเกี่ ยวเนื่ องกับภาระ ูกพันทาง ป ิบตั ิบางประการตามปกติธุรกิจของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
34 151
2 . ลำดับชัน องมลค่ ำยุติธรรม ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่ อ ยมี สิ น ทรั พ ย์แ ละหนี้ สิ นที่ ว ดั มู ล ค่ า ด้ว ย มูลค่ายุติธรรมหรื อเปิ ดเ ยมูลค่ายุติธรรมแยกแสดงตามลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ระดับ 2 ระดับ 3
ระดับ 1 สินทรัพย์ ทวี่ ดั มลค่ ำดวยมลค่ ำยุตธิ รรม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เ ื่อขาย หน่วยลงทุน
-
46.68
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ระดับ 2 ระดับ 3
ระดับ 1 สินทรัพย์ ทวี่ ดั มลค่ ำดวยมลค่ ำยุตธิ รรม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เ ื่อขาย หน่วยลงทุน
-
-
217.37
-
(หน่วย: ล้านบาท)
รวม
.8 (หน่วย: ล้านบาท)
รวม
2 7.37 (หน่วย: ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ระดับ 2 ระดับ 3
ระดับ 1 สินทรัพย์ ทวี่ ดั มลค่ ำดวยมลค่ ำยุตธิ รรม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เ ื่อขาย หน่วยลงทุน
-
0.03
-
รวม
0.03 (หน่วย: ล้านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ระดับ 2 ระดับ 3
ระดับ 1 สินทรัพย์ ทวี่ ดั มลค่ ำดวยมลค่ ำยุตธิ รรม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เ ื่อขาย หน่วยลงทุน
. 152
-
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
180.52
.
-
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
รวม
80. 2
35
27. เคร่ องมอทำงกำรเงิน 27. นโยบำยกำรบริหำรควำมเสี่ ยง เครื่ องมือทางการเงินที่สาคัญของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยตามที่นิยามอยู่ในมาตร านการบัญชี ฉบับที่ 107 การแสดงรายการและการเปิ ดเ ยข้อมูลสาหรับเครื่ องมือทางการเงิน ประกอบด้วย เงินสดและรายการ เที ย บเท่ า เงิ น สด เงิ น ลงทุ น ชั่วคราว ลู ก หนี้ การค้า และลู ก หนี้ อื่ น เงิ น ฝากธนาคารที่ มี ภ าระค้ า ประกัน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นและหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้อง กับเครื่ องมือทางการเงินดังกล่าว และมีน ยบายการบริ หารความเสี่ ยงดังนี้ วา ส่ยง านการ หสน ชื่อ บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่ อ ยมี ค วามเสี่ ยงด้า นการให้ สิ นเชื่ อ ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกับ ลู ก หนี้ การค้าและลู ก หนี้ อื่ น และเงิ น ให้ กู้ยืม ระยะสั้ น ฝ่ ายบริ ห ารควบคุ ม ความเสี่ ย งนี้ ดยการก าหนดให้ มี น ยบายและวิธี ก ารใน การควบคุ ม สิ นเชื่ อที่ เหมาะสม ดัง นั้นบริ ษ ัท ฯและบริ ษ ทั ย่อยจึงไม่ ค าดว่าจะได้รับ ความเสี ยหายที่ เป็ น สาระสาคัญจากการให้สินเชื่ อ นอกจากนี้ การให้สิ นเชื่ อของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยไม่มีการกระจุกตัว เนื่ องจากบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมี านของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จานวนมากราย จานวนเงินสู งสุ ด ที่ บ ริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่อ ยอาจต้อ งสู ญ เสี ย จากการให้ สิ น เชื่ อ คื อ มู ล ค่ า ตามบัญ ชี ข องลู ก หนี้ การค้า และ ลูกหนี้อื่น และเงินให้กูย้ มื ระยะสั้นที่แสดงอยูใ่ นงบแสดง านะการเงิน วา ส่ยงจากอั รา อก ้ย บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สาคัญอันเกี่ ยวเนื่ องกับเงินฝากสถาบันการเงินและ เงินให้กูย้ มื ระยะสั้นที่มีดอกเบี้ย สิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่ วนใหญ่มีอตั ราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตาม อัตราตลาดหรื อมีอตั ราดอกเบี้ยคงที่ ่ ึ งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั สิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการเงินที่สาคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสาหรับสิ นทรัพย์และ หนี้ สินทางการเงิ นที่ มีอตั ราดอกเบี้ ยคงที่ สามารถแยกตามวันที่ครบกาหนด หรื อวันที่มีการกาหนดอัตรา ดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกาหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดงั นี้
.
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
36 153
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ไม่มี ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว่า 1 ปี 1 ถึง 5 ปี สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกัน หนีสินทำงกำรเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน
หนีสินทำงกำรเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน
. 154
รวม
-
174 174
47 278 325
174 90 278 11 553
0.15 - 0.38 0.35 - 1.00 0.35 - 1.00
7 7
1 1
-
119 119
119 8 127
4.29 - 11.07
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 255 อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ไม่มี ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย
(หน่วย: ล้านบาท)
อัตรา ดอกเบี้ย เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี )
รวม
80 1 81
-
94 94
217 134 351
94 297 134 1 526
- 0.37 - 2.00 1.30
14 14
8 8
-
50 50
50 22 72
4.85 - 5.40
.... อารยา คงสุ นทร (กรรมการ)
อัตรา ดอกเบี้ย เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี )
43 11 54
อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว่า 1 ปี 1 ถึง 5 ปี สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกัน
(หน่วย: ล้านบาท)
.
. .... ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ)
37
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ไม่มี ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว่า 1 ปี 1 ถึง 5 ปี สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น หนีสินทำงกำรเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน
หนีสินทำงกำรเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน
อัตรา ดอกเบี้ย เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี )
รวม
41 41
-
101 101
153 153
101 41 153 295
0.25 - 0.38 0.90 - 1.00 -
7 7
1 1
-
47 47
47 8 55
4.29 - 11.07
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ไม่มี ตามราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน มากกว่า 1 ปี 1 ถึง 5 ปี สินทรัพย์ทำงกำรเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกัน
(หน่วย: ล้านบาท)
(หน่วย: ล้านบาท)
อัตรา ดอกเบี้ย เฉลี่ย (ร้อยละต่อปี )
รวม
80 1 81
-
63 63
181 96 277
63 261 96 1 421
0.25 - 0.37 1.80 - 2.00 1.30
14 14
8 8
34 34
-
34 22 56
4.85 - 5.40
วา ส่ยงจากอั ราแลก ปล่ยน บริ ษทั ฯมีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สาคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการให้บริ การหรื อรับบริ การเป็ นเงินตรา ต่างประเทศ
บริ ษทั ฯมียอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ ดังนี้ . .... . . .... อารยา คงสุ นทร ชูเดช คงสุ นทร (กรรมการ) (กรรมการ)
38
155
บริ ษทั ฯมียอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ ดังนี้ . .... . . .... อารยา คงสุ ชูเดช สิ นนทรัทรพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิ น คงสุ นทร อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย 38 (กรรมการ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม สกุลเงิน (กรรมการ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
เหรี ยญสหรั อเมริ กา
2558 ล้าน 0.7
2559 ล้าน 1.8
2559 ล้าน 0.4
2558 ล้าน 0.4
2559 2558 (บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ 35.83 36.09
27.2 มลค่ ำยุติธรรม องเคร่ องมอทำงกำรเงิน เนื่ องจากเครื่ องมือทางการเงินส่ วนใหญ่ของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจัดอยูใ่ นประเภทระยะสั้นหรื อมีอตั รา ดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมือ ทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดง านะการเงิน 28. กำรบริหำรจัดกำรทุน วัตถุประสงค์ในการบริ หารจัดการทุนที่สาคัญของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย คือการจัดให้มี ่ ึง ครงสร้างทุนที่ เหมาะสมเพื่อสนับสนุ นการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยและเสริ มสร้างมูลค่าการถือหุ ้นให้กบั ถู ้ ือหุ ้น ดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 กลุ่มบริ ษทั มีอตั ราส่ วนหนี้ สินต่อทุนเท่ากับ 0.2:1 และ เฉพาะบริ ษทั ฯมีอตั ราส่ วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.1:1 29. เหตุกำรณ์ ำยหลังรอบระยะเวลำรำยงำน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ฯได้มีมติ ให้เสนอต่อที่ประชุมสามัญประจาปี ูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั ฯเพื่ อขออนุ มตั ิการจ่ายปั น ลส าหรับ ลการดาเนิ นงานประจาปี 2559 เป็ นเงิ นสดใน อัตราหุ ้นละ 0.08 บาท หรื อคิดเป็ นจานวนเงินไม่เกิน 52.15 ล้านบาท เงินปั น ลนี้ จะจ่ายและบันทึกบัญชี ภายหลังจากได้รับการอนุมตั ิจากที่ประชุมสามัญประจาปี ถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ 30. กำรอนุมัติงบกำรเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออก ดยคณะกรรมการบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560
156
.
....
.
.
....
Total Logistics Service and Solution Provider HEADQUARTER 88/8 Nonsee Road, Chong-Nonsee, Yannawa, Bangkok 10120
LAEM CHABANG OFFICE 999/30-31 Moo 9, Tumbon Surasak, Amphur Sriracha, Chonburi 20110
Tel. (662) 681-6181 Fax. (662) 681-6173-75, (662) 681-6123 Email: info@wice.co.th
Tel. (66) 3848-0393 Fax. (66) 3848-0383 Email: lcbsales1@wice.co.th
LAEM CHABANG YARD 35/6-7 Moo1, Tumbon Nongkham, Sriracha, Chonburi, 20230
SUVARNABHUMI AIRPORT OFFICE 303 Building, Room 412, Free-Zone-Suvarnabhumi Airport, 999 Moo 7 Rachathewa, Bangphli, Samutprakan, Thailand Samut Prakan 10540
Tel. (66)38-481-165 Fax. (66)38-481-164 Email: lcbtransport1@wice.co.th
Tel. Fax.
(662)134-2275-6 (662)134-6446