WICE: รายงานประจำปี 2561

Page 1



Annual Report 2018

รายงานประจำ�ปี 2561 1. การประกอบธุรกิจ

1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัฒนธรรมองค์กร 2 1.2 สารจากคณะกรรมการ 4 1.3 ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน 11 1.4 ผลประกอบการ 12 1.5 สรุปผลการดำ�เนินงาน 18 1.6 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ 45

2. การจัดการและการกำ�กับดูแล

2.1 ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น 48 2.2 โครงสร้างการจัดการ 50 2.3 การกำ�กับดูแลกิจการ 76 2.4 รายงานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 102 2.5 ความรับผิดชอบต่อสังคม 103 2.6 การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน 111 2.7 การบริหารความเสี่ยง 113 2.8 รายงานระหว่างกันและรายการที่เกี่ยวโยงกัน 115

3 ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน

3.1 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน 121 3.2 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 122 3.3 การวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานและฐานะการเงิน 125 3.4 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 137 3.5 งบการเงิน 142

4. ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น

4.1 บุคคลอ้างอิง 4.2 ข้อมูลพื้นฐานสำ�หรับนักลงทุน

-1-

Innovative Logistics Service and Solution Provider

195 196


WICE Logistics Public Cmpany Limited

วิสัยทัศน์ “เป็นผู้น�ำด้านการให้บริการโลจิสติกส์ที่ตอบโจทย์ ด้วยนวัตกรรมส�ำหรับลูกค้ากลุ่มอุตสาหกรรมเทคโลโลยี ในเอเชียแปซิฟิก”

พันธกิจ

“บริษทั มีความเชีย่ วชาญในการตอบโจทย์ลกู ค้า ด้วย บริการด้านโลจิสติกส์ โดยใช้นวัตกรรมอย่างชาญฉลาด และมีความน่าเชื่อถือ”

-2-

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

วัฒนธรรมองค์กร

มีจิตส�ำนึกของความรับผิดชอบ ท�ำในสิ่งที่ถูกต้อง มีจริยธรรมและโปร่งใส ท�ำงานด้วยเป้าหมายเดียวกัน สนับสนุนกัน ฟังและตอบสนองความต้องการของลูกค้า

-3-

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

สารจากคณะกรรมการบริษัท

นายเอกพล พงศ์สถาพร ประธานกรรมการบริษัท

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ในปี 2561 ทีผ่ า่ นมาภาพรวมเศรษฐกิจในทุกภูมภิ าค ทั่วโลกส่งสัญญาณสดใสอยู่ได้เพียงแค่ครึ่งปี เพราะใน ช่วงครึง่ ปีหลังของปี 2561 นอกจากเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ทีพ่ อไปได้แล้ว เศรษฐกิจหลายประเทศกลับชะลอตัวพร้อม กันกลายเป็น “synchronized slowdown” ทีส่ ร้างแรงกดดัน ให้กับเศรษฐกิจโลกในภาพรวม เมือ่ ย้อนกลับไปดูภาพรวมการส่งออกปี 2561 ของไทย พบว่า ในช่วงต้นปียงั ขยายตัวได้ในระดับสูง ก่อนจะชะลอตัว ลงในช่วงครึง่ ปีหลัง ตามภาวะการค้าในภูมภิ าคจากปัจจัย ทีม่ คี วามท้าทายสูง อาทิ การถูกซ�ำ้ เติมด้วยสงครามการค้า ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน ซึง่ เริม่ ต้นเมือ่ เดือนกรกฎาคม 2561 โดยผลของสงครามการค้าที่ไทยได้รับผลกระทบ โดยตรงในตลาดสหรัฐ และจากการทีส่ นิ ค้าไทยอยูใ่ นห่วงโซ่ การผลิตของสินค้าจีน, ความผันผวนทางเศรษฐกิจและ การเงินในกลุม่ ประเทศตลาดเกิดใหม่ จากการปรับเปลีย่ น นโยบายทางการเงินในหลายประเทศ และผลของฐาน การส่งออกสูงในบางกลุม่ สินค้า อย่างไรก็ตาม ตัวเลขสรุป ภาพรวมการส่งออกของไทยในปี 2561 ออกมาเติบโตอยู่ ทีร่ ะดับ 6.7% ถือว่ายังสามารถขยายตัวได้อย่างต่อเนือ่ ง ติดต่อกันเป็นปีที่ 3 โดยมีมลู ค่าการส่งออกอยูท่ ี่ 2.52 แสน ล้านเหรียญฯ ซึง่ ถือเป็นมูลค่าส่งออกสูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ แต่ก็ยังเป็นการเติบโตที่ต�่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 8% แม้ภาพรวมการส่งออกดังกล่าวจะเป็นปัจจัย สนับสนุนการเติบโตของภาคธุรกิจโลจิสติกส์โดยตรง และ บริษัทไม่ได้รับผลกระทบจากสงครามการค้าระหว่าง สหรัฐอเมริกาและจีน ท�ำให้บริษทั ยังคงด�ำเนินธุรกิจตาม

-4-

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

แนวทางวิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ โดยขยายเส้นทาง การค้า การลงทุน สร้างโครงข่ายพันธมิตรในจุดยุทธศาสตร์ ด้านการขนส่งที่ส�ำคัญในเอเชีย รองรับการขยายตัวของ การเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ อีกทั้งเป็นการสร้าง รากฐานเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต ในช่วงที่ผ่านมา WICE ได้เพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขัน ขยายเครือข่ายพันธมิตร โดยสามารถรวบรวม เครือข่ายและเปลี่ยนชื่อบริษัทที่ได้ไปลงทุนไว้เป็น WICE Logistics (Hong Kong) Ltd., WICE Logistics (Singapore) Ltd. และล่าสุดเมือ่ เดือนกันยายนปี 2561 ได้จดั ตัง้ บริษทั ร่วมทุน บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด (EUROASIA TOTAL LOGISTICS CO., LTD.) ด�ำเนินธุรกิจ ให้บริการ โลจิสติกส์ขนส่งข้ามพรมแดน (Cross-Border Transport Services) เพือ่ เป็นการเพิม่ โอกาสทางธุรกิจครัง้ ส�ำคัญของ WICE ในตลาดระดับนานาชาติ ด้วยการให้ บริการโลจิสติกส์ขนส่งข้ามพรมแดน (Cross-Border Transport Services) ระหว่างประเทศจีน ฮ่องกงและเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ในโมเดลเส้นทางการขนส่งข้ามชายแดน (Cross Border) ตามเส้นทาง One Belt One Road ของจีน ที่เป็น จุดเด่นและแรงขับเคลือ่ นการค้าส�ำคัญระหว่างประเทศของ จีนในอนาคต พร้อมรองรับการขยายตัวของ E-commerce ในส่วนที่เป็นบริการระหว่างประเทศในอนาคต อย่างไรก็ตามพันธกิจทีส่ ำ� คัญยิง่ ของบริษทั คือ การ ขับคลือ่ นบริษทั โลจิสติกส์ไทยให้กา้ วสูก่ ารเป็น International

Logistics Services and Solutions Provider แห่งเอเชีย ซึง่ ใน ปี 2562 บริษทั จะร่วมกับพันธมิตรในประเทศต่างๆ สร้าง แบรนด์ WICE ให้เป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ อีกทั้งจะ เดินหน้าขยายเครือข่ายออกไปในเมืองธุรกิจการค้าที่ ส�ำคัญอย่างต่อเนื่อง สุดท้ายนี้ ในนามของคณะกรรมการ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้นเป็น อย่างยิง่ ทีไ่ ด้ให้ความไว้วางใจในการด�ำเนินงานของบริษทั และขอขอบคุณท่านผู้มีอุปการะคุณทุกท่านที่ให้การ สนับสนุนบริษัทด้วยดีมาโดยตลอด ทั้งนี้ บริษัทหวังเป็น อย่างยิ่งว่าจะได้รับเกียรติและการสนับสนุนที่ดีจากท่าน เช่นนี้ตลอดไป บริษัทขอยึดมั่นการบริหารภายใต้หลักธรรมาภิบาล ให้ความส�ำคัญกับทุกองค์ประกอบ เพื่อสร้างสมดุลของ ประโยชน์แก่ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่ายไม่วา่ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ คู่ค้า พันธมิตร สังคม สิ่งแวดล้อมและพนักงานบริษัท ควบคูไ่ ปกับการสร้างผลประกอบการของบริษทั ให้เติบโต ไปพร้อมกัน และขอถือโอกาสนี้ขอบคุณผู้บริหารและพนักงาน ของบริษัททุกท่าน ที่ได้ร่วมมือร่วมใจปฏิบัตหิ น้าที่ด้วย ความขยันขันแข็ง และมีความรับผิดชอบในงานอันเป็น ส่วนส�ำคัญยิง่ ทีช่ ว่ ยสร้างความแข็งแกร่งให้กบั การด�ำเนิน งานของบริษทั ท�ำให้บริษทั มีความมัน่ คงและสามารถเติบโต อย่างยั่งยืนตามเป้าหมายขององค์กรต่อไป

-5-

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ดร.อารยา คงสุนทร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) (WICE) ก้าวสู่ การเป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทยเมือ่ เดือน ก.ค. 2558 ตลอดระยะเวลา 4 ปีกว่า บริษทั มีพฒ ั นาการทางธุรกิจทีส่ ำ� คัญ และส่งเสริมศักยภาพการ ด�ำเนินงานมาโดยตลอด สะท้อนได้จากความมุง่ มัน่ ความ ตั้งใจ ของคณะผู้บริหารและพนักงานทุกคน ส�ำหรับในปี 2561 ที่ผ่านมา นับเป็นช่วงเวลาส�ำคัญ ที่บริษัทได้ด�ำเนินการมาครบ 25 ปี และถือเป็นปีที่ดีของ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์มีความต้องการเพิ่มสูงขึ้น ตาม การขยายตัวของภาคส่งออกซึง่ อยูท่ ี่ 6.7% แต่ถอื เป็นการ ขยายตัวทีด่ ี ท่ามกลางเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และสงคราม การค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน ในขณะที่ปี 2562 บริษัทมั่นใจว่าจะยังเป็นปีที่ดี ต่อเนื่องของ WICE ที่จะสร้างการเติบโตอย่างแข็งแกร่ง ทัง้ แบบ Organic Growth และ In Organic Growth ปัจจุบนั บริษทั มีความพร้อมในการบริการลูกค้าได้อย่างครบวงจร มี การขยายงานในกลุม่ ลูกค้าเดิม อีกทัง้ ขยายฐานลูกค้าใหม่ ทัง้ ในและต่างประเทศ การขยายงานบริการน�ำเข้าส่งออก ทางทะเล (Sea Freight) ทางอากาศ (Air Freight) งาน บริการพิธีการศุลกากร งานขนส่ง

-6-

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ในประเทศ งานขนส่งระหว่างประเทศ งานบริหาร จัดการคลังสินค้า และงานให้บริการโลจิสติกส์ขนส่งข้าม พรมแดน (Cross-Border Transport Services) นอกจากนีบ้ ริษทั ยังมีการด�ำเนินงานร่วมกับพันธมิตร ทีแ่ ข็งแกร่งในเมืองท่าทีส่ ำ� คัญของเอเชีย ทัง้ WICE Logistics (Hong Kong) Ltd., WICE Logistics (Singapore) Ltd. และ ล่าสุดเมื่อเดือนกันยายนปี 2561 ได้จัดตั้งบริษัทร่วมทุน บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด (EUROASIA TOTAL LOGISTICS CO., LTD.) ด�ำเนินธุรกิจให้บริการ โลจิสติกส์ขนส่งข้ามพรมแดน (Cross-Border Transport Services) เพือ่ เป็นการเพิม่ โอกาสทางธุรกิจครัง้ ส�ำคัญของ WICE ในตลาดระดับนานาชาติ ด้วยการให้บริการโลจิสติกส์ ขนส่งข้ามพรมแดน (Cross-Border Transport Services) ระหว่างประเทศจีน ฮ่องกงและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อย่างไรก็ดี บริษทั ยังคงมุง่ มัน่ สร้างโครงข่ายพันธมิตร อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ต่อยอดธุรกิจทุกประเภทของบริษทั ให้ ครอบคลุมเส้นทางการขนส่งทีส่ ำ� คัญของโลก รองรับความ ต้องการของลูกค้าในทุกๆ ด้าน โดยมองหาพันธมิตรที่มี วิสยั ทัศน์ตรงกันเข้ามาเสริมศักยภาพธุรกิจให้เติบโตอย่าง ยั่งยืนร่วมกันในอนาคต เพื่อให้ WICE ก้าวสู่การเป็น

ternational Logistics Services and Solutions Provider แห่งเอเชีย ตามเป้าหมายที่วางไว้ ดิฉนั เชือ่ ว่าสิง่ ทีท่ า้ ทายความสามารถ และวิสยั ทัศน์ ในด้านต่างๆ จะเกิดขึน้ ตลอดปีนี้ ซึง่ ดิฉนั ขอให้ทา่ นผูถ้ อื หุน้ ทุกท่านช่วยเป็นก�ำลังใจให้กับคณะผู้บริหารและทีมงาน บริษทั ให้สามารถฝ่าฟัน ปัญหา อุปสรรคและน�ำพาธุรกิจ ให้เจริญก้าวหน้าและเติบโตขึ้นได้อย่างมั่นคง ซึ่งเป็น เป้าหมายทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของคณะผูบ้ ริหารและทีมงาน WICE ทุกคน โดยบริษทั จะยังคงรักษาค�ำมัน่ จะมุง่ มัน่ และตัง้ ใจ บริหารงานอย่างเต็มที่ ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้าง ผลก�ำไรตอบแทนกับผู้ถือหุ้นต่อไป สุดท้ายนี้ ดิฉันขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น พันธมิตร ทางธุรกิจ ลูกค้า และผู้มอี ุปการะคุณ ที่เชื่อมั่น ไว้วางใจ และสนับสนุนบริษทั ด้วยดีเสมอมา และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ ขอขอบคุณคณะผู้บริหารและทีมงานปฏิบัติงานทุกฝ่าย ที่ทุ่มเทแรงกาย แรงใจ พร้อมปรับเปลี่ยนและเผชิญกับ ทุกสถานการณ์ จนสิ่งนี้กลายมาเป็นวัฒนธรรมและจุด แข็งส�ำคัญขององค์กร ในการร่วมกันพาองค์กรก้าวเดินไป ข้างหน้าสู่เป้าหมายความแข็งแกร่งและยั่งยืนต่อไป

-7-

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

คณะกรรมการบริษัท

นายเอกพล พงศ์สถาพร ประธานกรรมการบริษัท กรรมการอิสระ

รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

นายวิชัย แซ่เซียว กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ

นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ -8-

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ดร. อารยา คงสุนทร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

นายชูเดช คงสุนทร กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายสนันสนุนองค์กร

นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชีและการเงิน – เทคโนโลยีสารสนเทศ -9-

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ฝ่ายบริหารของบริษัท

นางสาวสาวดี อัศวมานะ ผู้จัดการทั่วไป

นายนฤชิต เรืองชัยปราการ ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายปฏิบัติการ และพัฒนาธุรกิจ Air Freight

นายโชคชัย พฤฒิสาร ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายคลังสินค้า

- 10 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบการเงิน

2557

2558

2559

2560

2561

งบก�ำไรขาดทุนรวม (ล้านบาท) รายได้หลักจากการให้บริการ 670.20 681.53 1,022.48 1,396.37 1,832.11 ต้นทุนและค่าใช้จ่าย 596.12 615.44 936.21 1,271.34 1,705.28 ก�ำไรก่อนต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ 91.21 87.27 123.59 158.94 177.84 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย รวมเงินปันผลจากบริษัทย่อย (EBITDA) ก�ำไรส�ำหรับปี 62.44 60.59 77.18 89.70 96.19 งบแสดงฐานะการเงินรวม (ล้านบาท) สินทรัพย์ 358.52 695.60 1,067.16 1,103.82 1,419.80 หนี้สิน 80.30 94.82 204.88 204.06 462.61 ส่วนของผู้ถือหุ้น 278.22 600.78 862.28 899.77 957.20 ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 237.24 567.63 727.45 777.59 805.45 อัตราส่วนทางการเงิน จ�ำนวนหุ้นที่ออก (ล้านหุ้น) 20.80 600.00 651.90 651.90 651.90 มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) 11.41 0.95 1.12 1.19 1.24 ก�ำไรต่อหุ้น (บาท) 0.16 0.12 0.12 0.14 0.15 เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (บาท) 1.05 0.07 0.08 0.12 0.13 อัตราการจ่ายเงินปันผลก�ำไรส�ำหรับปี (%) 68.38% 62.69% 91.09% 76.56% 77.22% อัตราก�ำไรส�ำหรับปีต่อรายได้จากการบริการ (%) 9.23% 8.79% 7.45% 6.40% 5.20% อัตราการผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) 22.44% 13.79% 10.55% 10.18% 10.36% อัตราการผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) 17.42% 11.50% 8.76% 8.26% 7.62% อัตรากระแสเงินสดที่ได้จากการด�ำเนินงาน 25.46% 16.56% 14.02% 14.64% 12.57% (EBITDA) ต่อสินทรัพย์ (%) อัตราหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.29 0.16 0.24 0.23 0.48 อัตราส่วนราคาตลาดต่อหุ้นต่อก�ำไรต่อหุ้น (เท่า) N/A 23.50 30.00 36.79 24.27 อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อกระแสเงินสดที่ได้จาก 0.88 1.00 1.21 1.29 2.10 การด�ำเนินงาน (EBITDA) (เท่า) - 11 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ผลประกอบการ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

- 12 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ภาพรวมการประกอบธุรกิจ

บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ แบบครบวงจร (International Logistics Service and Solution Provider) ให้บริการทัง้ การน�ำ เข้าและส่งออก ทัง้ ทางทะเล และทางอากาศ ให้บริการด้าน พิธีการศุลกากร การขนส่งในประเทศ การขนส่งข้ามแดน (Cross Border) และคลังสินค้าเป็นหลัก พร้อมทัง้ ยังมีบริษทั ในเครือ ในหลายประเทศชัน้ น�ำ เพือ่ รองรับความต้องการของ ลูกค้าอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว เป้าหมายของบริษัท บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้กำ� หนดเป้าหมาย ในการด�ำเนินธุรกิจภายในระยะ 3 ปีข้างหน้า ดังนี้ 1. เป็นบริษทั ฯ ชั้นน�ำผู้ให้บริการโลจิสติกส์ระหว่าง

ประเทศแบบครบวงจร มีเครือข่ายและขยายสาขาให้ครอบ คลุมภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก และมีแผนในการขยายธุรกิจไป ยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อรักษาอัตราการเติบโตอย่างยั่งยืน และรองรับความต้องการของลูกค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอนาคตได้ 2. บริษทั ฯ เน้นการให้บริการด้าน Logistics Solutions เพื่อตอบโจทย์แก่ลูกค้าที่หลากหลาย และรักษาฐานลูกค้า ปัจจุบัน รองรับการขยายฐานลูกค้าใหม่ รองรับโครงการ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) แผน ยุทธศาสตร์ภายใต้ไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลไทย และเพื่อ ให้บริษัทสามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่องในอนาคต 3. บริษัทฯ มีแผนเน้นการให้บริการที่มีอัตราก�ำไร ขัน้ ต้นในเกณฑ์ดี รักษาความสามารถในการท�ำก�ำไรขัน้ ต้นให้ อยูใ่ นระดับทีแ่ ข่งขันได้ในอุตสาหกรรม และสร้างผลตอบแทน ให้แก่ผู้ถือหุ้นได้มากขึ้น

- 13 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ประวัติความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการที่ส�ำคัญ ประวัติความเป็นมา

บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “WICE”) ย่อมาจาก Worldwide Industrial Commercial Enterprise) (เดิมชือ่ บริษทั ไวส์เฟรทเซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด) เริม่ ด�ำเนินธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่าง ประเทศในปี 2536 ซึง่ เน้นการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้า ทางทะเล โดยมีเส้นทางหลัก คือ ไทย-สหรัฐ อเมริกา ด้วย ทุนจดทะเบียน 1.00 ล้านบาท โดยเป็นการร่วมทุนระหว่าง กลุม่ นักลงทุนชาวไทยรวม 70% และกลุม่ บริษทั Wice Group ซึง่ เป็นกลุม่ บริษทั ต่างชาติทมี่ ชี อื่ เสียง ด้านธุรกิจเฟรท (Freight) ตั้งอยู่ในประเทศสิงคโปร์และเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีนรวม 30% ต่อมาบริษทั ได้ขยายการ ให้บริการครอบคลุมการให้บริการด้านพิธีการทางศุลกากร โดยในปี 2545 และ ปี 2547 กลุ่มนางอารยา คงสุนทร ซึง่ เป็นกลุม่ ผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ได้มกี ารซือ้ หุน้ ของบริษทั จากกลุ่มหุ้นส่วนชาวฮ่องกงและชาวสิงคโปร์ ตามล�ำดับ ส่งผลให้บริษทั ถือหุน้ โดยคนไทย 100% และเพือ่ เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ บริษทั ได้มกี ารปรับโครงสร้าง กลุ่มบริษัทใหม่ ในเดือนพฤศจิกายน ปี 2556 โดยวิธีการ ควบบริษัท (Amalgamation) ระหว่าง บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์

วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด, บริษัท พร็อมทเฟรท แอนด์ โลจิสติคส์ จ�ำกัด, และ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด จัดตั้ง เป็นบริษทั ใหม่ แต่ยงั คงใช้ชอื่ เดิม คือ บริษทั ไวส์เฟรทเซอร์ วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยมีทนุ จดทะเบียนและทุนช�ำระ แล้วเป็น 15.00 ล้านบาท และมีส�ำนักงานให้บริการอยูท่ ี่ ท่าเรือแหลมฉบัง นอกจากนี้ ในเดือนธันวาคม ปี 2556 บริษทั ได้เพิม่ ทุนจดทะเบียนและทุนช�ำระแล้วเป็น 180.00 ล้านบาท และเข้าถือหุน้ ร้อยละ 99.99 ในบริษทั ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศ ไทย) จ�ำกัด ทั้งนี้ บริษัทได้ด�ำเนินการแปรสภาพเป็นบริษัท มหาชนจ�ำกัด และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อ วันที่ 3 เมษายน 2558 โดยมี ทุนจด ทะเบียน 300,000,000 บาท (ทุนช�ำระแล้ว 225 ล้านบาท) ต่อมาได้มีการการซื้อหุ้นสามัญของ Sun Express Logistics Pte. Ltd. (SEL) จ�ำนวน 700,000 หุ้น ประเทศสิงคโปร์ โดย วิธีการแลกหุ้นสามัญ (Share Swap) และช�ำระด้วยเงินสด และการเพิม่ ทุนด้วยการเสนอขายหุน้ ทีอ่ อกใหม่ ให้แก่บคุ คล ในวงจ�ำกัดแบบเฉพาะเจาะจง จ�ำนวน 51,899,500 หุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 0.50 บาท ท�ำให้บริษทั มีทนุ จดทะเบียน 325,949,750 บาท (ทุนช�ำระแล้ว 325,949,750.00 บาท)

- 14 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ข้อมูลบริษัทย่อย • บริษทั ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (“SUN”) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2545 ด้วยทุนจดทะเบียน 3.00 ล้านบาท โดยการร่วมทุนกันระหว่างกลุ่มนักลงทุน ชาวไทยรวม 60% และกลุ่มนักลงทุนชาวสิงคโปร์และชาว ฮ่องกงรวม 40% เพื่อด�ำเนินธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศ รวมทั้งให้บริการด้านพิธีการทาง ศุลกากร ซึ่งเน้นการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าทาง อากาศ โดยมีสาขาตัง้ อยูท่ ที่ า่ อากาศยานสุวรรณภูมิ ปัจจุบนั บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ร้อยละ 99.99 ของทุนช�ำระแล้ว ปัจจุบัน SUN มีทุนจดทะเบียนและช�ำระแล้วทั้งสิ้น 54.00 ล้านบาท • บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd. (เดิม Sun Express Logistics Pte. Ltd. (“SEL”)) ซึ่งก่อตั้ง ขึ้นเมื่อ วันที่ 5 มกราคม 2545 บริษัทที่จัดตั้ง อยู่ในประเทศสิงคโปร์ จากกลุ่มนายลิม เมง ปุย ผู้ถือหุ้นใหญ่ซึ่งประกอบด้วย นายลิม เมง ปุย นายเลียน ฮก ลุง และนางสาวซู ยิ โนจ จ�ำนวน 700,000 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 เหรียญ ดอลลาร์สิงคโปร์ คิดเป็นร้อยละ 100 ของหุ้นสามัญ และ ในวันที่ 15 สิงหาคม 2559 บริษัท ไวส์โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้เข้าซื้อหุ้นสามัญของ บริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. (“SEL”) เป็นจ�ำนวน 70 % ของหุน้ สามัญ ทัง้ หมด พร้อมทัง้ เข้าเป็นกรรมการของบริษทั โดยทีผ่ บู้ ริหาร เดิมของ SEL ยังคงด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ริหารของ SEL ต่อไป อีก 4 ปีนับจากวันที่มีการตกลง บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd เป็นบริษัทฯ รับจัดการขนส่งระหว่างประเทศชั้นน�ำในประเทศสิงคโปร์ ให้บริการครบวงจร มีเที่ยวบินที่หลากหลาย ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้ 24 ชั่วโมง มีที่ตั้งส�ำนักงาน

และคลังสินค้าอยูใ่ น สนามบินชางงี เขตการค้าเสรี (Changi Free Zone Airport) และยังได้รบั สิทธิในการขนส่งผ่านพาเลต ของสายการบินโดยตรง (ULD-Unit Load Device) ท�ำให้ได้ รับความสะดวกและรวดเร็วในการขนส่งสินค้า (www.sunexp. com.sg) • บริษทั WICE Logistics (Hong Kong) (เดิม Universal Worldwide Transportation Limited (“UWT”)) ซึ่งก่อตั้งขึ้นปี 2535 ให้บริการขนส่งทางอากาศและทาง ทะเลภายใต้การควบคุมของ Master Air Waybills และ Ocean Bill of Ladings ไปยังยุโรป เอเชียตะวันออกรวมถึงจีนแผ่นดิน ใหญ่จากฮ่องกง และมีสาขาย่อย Guangzhou และ Shanghai และเมือ่ วันที่ 4 มกราคม 2561 บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ท�ำสัญญาเข้าซื้อหุ้นสามัญของ Universal Worldwide Transportation Limited (“UWT”) จ�ำนวน 80,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 10 เหรียญดอลลาร์ฮอ่ งกง คิดเป็น ร้อยละ 80 ของหุ้นสามัญทั้งหมด มูลค่าลงทุนในการเข้า ซือ้ หุน้ สามัญคิดเป็นจ�ำนวนเงินรวมประมาณ 3,379,677 เหรียญ ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือเทียบเท่า 115,030,686.372 บาท (www.wice-china.com) • บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด (EUROASIA TOTAL LOGISTICS CO., LTD.) (Joint Venture) โดยเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2561 WICE ได้ร่วมลงทุนก่อตั้ง บริษทั ร่วมทุนแห่งใหม่ เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจให้บริการ โลจิสติกส์ ขนส่งข้ามพรมแดน (Cross – Border Transport Services) ระหว่างประเทศจีน ฮ่องกง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กับ Mr. Lee Yik Chieh (Malaysian) และ นางสาวกฤชวรรณ ซือ้ เจริญชัย โดย WICE ลงทุนในสัดส่วน 40% และมีอำ� นาจ ควบคุมดูแลทางการเงิน

- 15 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

การพัฒนาที่ส�ำคัญ “บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน)”

- 16 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีโครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทย่อย ดังนี้

บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ร้อยละ 99.9

ร้อยละ 70

ร้อยละ 80

บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd.

WICE Logistics (Hong Kong) Ltd.

ร้อยละ 40 Euroasia Total Logistics Co., Ltd. (Joint Venture)

Guangzhou WICE Logistics Ltd.

ETL MY

Guangzhou WICE Logistics Ltd. (Shanghai Branch)

ETL VN

ETL CN

- 17 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

1.5 สรุปผลการด�ำเนินงาน โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้แยกตามประเภทการบริการ บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้จากการประกอบธุรกิจหลัก ดังนี้

ประเภทของรายได้

2557

2558

2559

2560

2561

ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ

รายได้จากการให้บริการ

1. จัดการขนส่งสินค้า ทางทะเล (SEA FREIGHT) 2. จัดการขนส่งสินค้า ทางอากาศ (AIR FREIGHT) 3. คลังสินค้ำ, พิธกี ำรศุลกำกร และกำรขนส่งในประเทศ (WAREHOUSE, CUSTOMS AND TRANSPORT) รวมรำยได้จำกกำรให้บริกำร รายได้อื่น** รวมรายได้

377.29 55.75 396.17 57.46 503.93 48.66 635.03 45.28 610.64 33.00% 170.57 25.20 152.37 22.10 293.76 28.37 465.59 33.20 854.74 46.20% 122.34 18.08 132.99 19.29 224.79 21.70 295.75 21.09 366.73 19.82%

670.20 99.03 681.53 98.85 1022.48 98.73 1396.37 99.57 1832.11 99.02% 6.57 0.97 7.94 1.15 13.15 1.27 5.96 0.43 18.00 0.98% 676.77 100.00 689.47 100.00 1035.63 100.00 1402.33 100.00 1850.12 100%

หมายเหตุ : ** รายได้อื่นๆ เช่นก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ดอกเบี้ยรับ ก�ำไรขาดทุนจากการขายเงินลงทุน เป็นต้น

- 18 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

รายละเอียดของผลิตภัณฑ์และบริการ ลักษณะการให้บริการ บริษัทไวส์โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย เป็นผู้ให้บริการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศแบบครบวงจร (International Logistics Services and Solutions Provider) ทั้งการน�ำเข้าและส่งออก โดยการขนส่งทั้งทางทะเล (แบบ เต็มตู้และแบบไม่เต็มตู้) และทางอากาศ และการให้บริการ ด้านพิธกี ารศุลกากร และการขนส่งในประเทศ เพื่อรองรับ ความต้องการทีห่ ลากหลายของลูกค้า รวมถึงการให้บริการ ขนส่งสินค้าแบบประตูส่ปู ระตู (Door to Door) คือ การให้ บริการรับจัดการขนส่งตัง้ แต่หน้าประตูโรงงานลูกค้าต้นทาง เพือ่ ส่งมอบไปยังหน้าประตูโรงงานลูกค้าปลายทาง โดยผูส้ ง่

เป็นผูใ้ ห้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศประเภท ทีไ่ ม่มเี รือ/ เครือ่ งบินเป็นของตนเอง (Non- Vessel Operation Common Carrier หรือ N.V.O.C.C) ซึง่ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จะจัดหาระวางเรือหรือเครื่องบินจากผู้ประกอบการขนส่ง คือสายการเดินเรือ หรือสายการบินทีเ่ หมาะสมเพือ่ ให้บริการ แก่ลูกค้า ตลอดจนประสานงานกับตัวแทนต่างประเทศ (Oversea Agent) ซึง่ ถือเป็นคูค่ า้ ทางธุรกิจ (Business Partner) ของบริษัทฯ ในประเทศต่างๆ ในการด�ำเนินการจัดการเพื่อ ให้สินค้าถึงผู้รับอย่างปลอดภัยตามเวลาที่ก�ำหนด การให้ บริการรับจัดการขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศของบริษัทฯ และบริษัทย่อยสามารถแบ่งได้ดังนี้

แผนภาพการให้บริการโลจิสติกส์ (International Logistics Flow)

ออกเป็นผู้รับผิดชอบภาระค่าขนส่ง และแบบ Ex-work คือ การให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าที่ผู้น�ำเข้ารับผิดชอบ ภาระค่าขนส่งตั้งแต่หน้าประตูโรงงานผู้ส่งออกไปจนถึงมือ ผู้รับปลายทาง บริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นผู้ให้บริการรับจัดการขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศ (Freight Forwarder) ทั้งน�ำเข้าและ ส่งออก ด้วยการขนส่งทางทะเลและการขนส่งทางอากาศ ครอบคลุมกว่า 100 ประเทศ โดยทีมงานผู้มีประสบการณ์ และมีความเชี่ยวชาญด้านระบบโลจิสติกส์ที่พร้อมเป็นที่ ปรึกษาและให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการจัดการขนส่งระหว่าง ประเทศ ตลอดจนวางแผนและออกแบบเส้นทางการขนส่ง เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด โดยค�ำนึงถึงระยะเวลาในการขนส่งต้นทุน ในการขนส่ง ประเภท /ลักษณะของสินค้าทีข่ นส่ง ความสะดวก ต่อลูกค้าในการจัดการขนส่ง เป็นต้น บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

1. การรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทาง ทะเล (Sea Freight): บริษทั เป็นผูใ้ ห้บริการรับจัดการขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศ ซึง่ เน้นการให้บริการรับจัดการขนส่ง สินค้าทางทะเล โดยบริษทั ฯ จะเป็นผูจ้ ดั หาระวางเรือและตู้ คอนเทนเนอร์ จากสายการเดินเรือชัน้ น�ำทีม่ ชี อื่ เสียงทีเ่ ชือ่ ถือ ได้ ซึง่ บริษทั ฯ จะเป็นผูพ้ จิ ารณาติดต่อสายการเดินเรือด�ำเนิน การต่อรองและจองระวางเรือที่เหมาะสมกับความต้องการ ของลูกค้าแต่ละราย ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ขยายเครือข่ายโดย เข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกต่างๆ เช่น CGLN ภายใต้ WCA Family Network ท�ำให้ปจั จุบนั บริษทั ฯ สามารถให้บริการรับจัดการ ขนส่งทางทะเลครอบคลุมท่าเรือหลักในเขตการค้าส�ำคัญ ในประเทศต่างๆ โดยตลาดหลักยังคงเป็นตลาดสหรัฐอเมริกา เนือ่ งจากบริษทั มีประสบการณ์และความเชีย่ วชาญในเส้นทาง การขนส่งไทย-สหรัฐอเมริกาตัง้ แต่แรกเริม่ ส�ำหรับตลาดหลัก รองลงมา คือ ประเทศจีน ประเทศญีป่ นุ่ และประเทศฟิลปิ นิ ส์

- 19 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ปริมาณการขนส่งสินค้าทางทะเลของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ปี 2556 – 2561 ประเภทการให้บริการ สินค้าขาออก (Export) สินค้าขาเข้า (Import) รวม

2556 6,087 3,235 9,322

2557 6,315 3,529 9,844

หน่วย : TUE*

ปริมาณตู้คอนเทนเนอร์ต่อปี 2558 11,645 5,917 17,562

2559 15,268 6,150 21,418

2560 18,870 8,527 27,397

2561 18,590 8,777 27,367

หมายเหตุ: * Twenty Foot Equipment Unit หรือตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 20 ฟุต

การขนส่งสินค้าโดยเรือสามารถขนส่งสินค้าได้คราวละ มากๆ มีต้นทุนในการขนส่งที่ถูกกว่าการขนส่งสินค้าทาง เครื่องบิน เหมาะส�ำหรับการขนส่งที่ไม่เร่งด่วน โดยสินค้า หลักๆ ได้แก่ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ (สินค้าส�ำเร็จรูป) ชิน้ ส่วน ยานยนต์ โครงสร้างเหล็กและวัสดุก่อสร้าง อาหารกระป๋อง เป็นต้น การขนส่งทางเรือจะบรรจุสนิ ค้าลงในตูค้ อนเทนเนอร์ ซึ่งช่วยให้การเคลื่อนย้ายสินค้ารวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น โดยตูค้ อนเทนเนอร์จะแบ่งออกเป็น 2 ขนาดหลักๆ คือ ขนาด 20 ฟุต เหมาะกับการใช้งานบรรทุกสินค้าที่มีน�้ำหนักมาก แต่มีปริมาณน้อย และขนาด 40 ฟุต เหมาะกับการใช้งาน บรรทุกสินค้าที่มีน�้ำหนักน้อยแต่มีปริมาณมาก นอกจากนี้ ตู้คอนเทนเนอร์ยังมีรูปแบบต่างๆ เช่น ตู้คอนเทนเนอร์แบบ แห้ง (Dry) แบบควบคุมอุณหภูมิ (Reefer) แบบเปิดหลังคา (Open Top) เป็นต้น เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และให้เหมาะกับประเภทของสินค้าที่ขนส่ง การขนส่งทางทะเลสามารถแบ่งเป็น 2 แบบ ดังนี้ การขนส่งแบบเต็มตูค้ อนเทนเนอร์ (Full Container Load: FCL) หมายถึง การบรรจุสินค้าจนเต็มตู้คอนเทนเนอร์ โดยสินค้าในตู้จะเป็นของลูกค้าเพียงรายเดียว ไม่มีการ ร่วมใช้ตคู้ อนเทนเนอร์กบั ลูกค้ารายอืน่ ๆ เหมาะส�ำหรับลูกค้า

ที่มีการขนส่งสินค้าปริมาณมาก โดยหลังจากบรรจุสินค้า จนเต็มตูแ้ ล้วจะไม่มกี ารเปิดตูจ้ นกว่าจะถึงจุดหมายปลายทาง บริษทั ฯ จะเป็นผูด้ ำ� เนินการตัง้ แต่การติดต่อสายการเดินเรือ ต่อรองค่าระวางเรือ จองระวางเรือ จัดหาตู้คอนเทนเนอร์ ที่เหมาะกับสินค้า ออกแบบเส้นทางการขนส่ง ส่งมอบสินค้า ลงเรือ ติดตามสถานะของสินค้าจนถึงท่าเรือปลายทาง จัดการ ด้านเอกสาร พิธีการศุลกากร ตลอดจนประสานงานกับ ตัวแทนต่างประเทศในการส่งมอบสินค้าให้กับผู้รับ ทั้งนี้ ลูกค้าส่วนใหญ่จะเป็น กลุ่ม ผู้น�ำเข้า-ส่งออก การขนส่งแบบไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์ (Less than Container Load: LCL) หมายถึง การบรรจุสินค้าไม่เต็ม ตู้คอนเทนเนอร์ โดยสินค้าในตู้จะเป็นของลูกค้ามากกว่า หนึ่งราย ซึ่งต้องร่วมแบ่งใช้พื้นที่ตู้คอนเทนเนอร์เดียวกัน ส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้าที่มีปริมาณขนส่งไม่มากพอที่จะเช่า ตู ้ ค อนเทนเนอร์ ทั้ ง ตู ้ เ พื่ อ บรรจุ สิ น ค้ า เฉพาะของตนเอง บริษัทจะท�ำหน้าที่เป็นผู้รวบรวมสินค้าจากลูกค้าแล้วน�ำมา บรรจุในตู้คอนเทนเนอร์ โดยจะมีการค�ำนวณพื้นที่ในการ จัดวางและจัดท�ำเป็นแผนงาน (Consol Plan) ส่งให้กับผู้รับ บรรจุสนิ ค้าลงตูท้ ที่ า่ เรือ โดยจะมีสถานีสำ� หรับการบรรจุสนิ ค้า เข้าตู้หรือแยกออกจากตู้ เรียกว่า Container Freight Station

- 20 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

การจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางอากาศ ให้ ความส�ำคัญกับความรวดเร็วและความช�ำนาญในตัวสินค้า โดยเฉพาะสินค้าในกลุม่ อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ บริษทั ย่อยสามารถ ให้บริการจัดส่งสินค้าแบบเร่งด่วนภายใน 24 ชั่วโมง จาก สิงคโปร์มากรุงเทพฯ แบบประตูถึงประตู (Door-to-Door) ถือเป็นการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั บริการ โดยสินค้าส่วนใหญ่ จะเป็นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่น�ำเข้าจากประเทศสิงคโปร์ มาประกอบในประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทังมีการให้ บริการเสริมส�ำหรับลูกค้าที่ต้องการให้จัดการขนส่งสินค้า กรณีฉุกเฉิน เช่น การให้บริการรับหิ้วสินค้าแบบถึงมือผู้รับ (Hand Carrier) ภายใน 24 ชัว่ โมง เส้นทางเชียงใหม่-กรุงเทพฯเซีย่ งไฮ้ เป็นต้น นอกจากการให้บริการจัดการขนส่งดังกล่าว แล้ว บริษัทยังมีบริการให้ค�ำปรึกษาในการจัดการระบบ โลจิสติกส์ โดยร่วมกับลูกค้าในการคิดหาวิธกี ารจัดการระบบ โลจิสติกส์เพื่อประหยัดต้นทุนในการขนส่งให้กับลูกค้า ใน ลักษณะการรวมสินค้าจากหลายๆ Supplier ของลูกค้ารายใด รายหนึง่ (Combined Cargo) แล้วจัดส่งพร้อมกัน เพือ่ ประหยัด ต้นทุนในการขนส่ง

2. การจัดการขนส่งระหว่างประเทศทางอากาศ (Air Freight) : บริษทั ฯและบริษัทย่อยเป็นผู้ให้บริการรับ จัดการ ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งเน้นการให้บริการ รับจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ โดยการขนส่งสินค้าทาง อากาศเป็น การขนส่งที่มีศักยภาพสูง เหมาะกับการขนส่ง ระหว่างประเทศที่ต้องการความรวดเร็วในระยะเวลาจ�ำกัด และเป็ น การขนส่ ง ที่ ใ ห้ ค วามยื ด หยุ ่ น สู ง ตอบสนองการ เปลี่ยนแปลงและเวลาได้เป็นอย่างดีแต่มีต้นทุนที่สูงกว่า การขนส่งทางเรือสินค้าส่วนใหญ่ท่ีขนส่งทางอากาศจะมี ปริมาณค่อนข้างน้อยหรือมีมลู ค่าสูงและต้องใช้ความระมัด ระวังเป็นพิเศษ ซึง่ บริษทั จะเป็นผู้ตดิ ต่อและจองระวางสาย การบินตามตารางเวลาและข้อก�ำหนดที่ลูกค้าต้องการ โดยค�ำนึงถึงความรวดเร็ว ความตรงต่อเวลา และการประหยัด ต้นทุนให้ลกู ค้า โดยสามารถให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้า ทางอากาศได้ครอบคลุมเขตการค้าส�ำคัญในประเทศต่างๆ ซึง่ ตลาดหลักจะเป็นตลาดในแถบเอเชีย เช่น ประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง ประเทศจีน เป็นต้น สินค้าส่วนใหญ่จะเป็นชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์

ปริมาณการขนส่งสินค้าทางอากาศ ปี 2556– ปี 2561 หน่วย : ตัน ประเภทการให้บริการ สินค้าขาออก (Export) สินค้าขาเข้า (Import) รวม

ปริมาณขนส่งต่อปี 2556 1,583 4,474 6,057

2557 1,664 3,448 5,112

- 21 -

2558 1,182 3,049 4,231

Innovative Logistics Service and Solution Provider

2559 1,185 3,530 4,715

2560 2,634 4,290 6,924

2561 9,016 8,597 17,613


WICE Logistics Public Cmpany Limited

3. การให้บริการด้านพิธกี ารศุลกากรและการขนส่ง ในประเทศ (Customs Broker and Transport): บริษทั ฯ มีนโยบายการให้บริการด้านพิธีการศุลกากรควบคู่ไปกับ การให้บริการขนส่งในประเทศ การให้บริการด้านพิธกี ารศุลกากร (Customs Broker) การน�ำเข้าหรือส่งออกสินค้าระหว่างประเทศต้องผ่าน พิธีการศุลกากรก่อนน�ำสินค้าขึ้นหรือลงเรือ/เครื่องบิน โดย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีการให้บริการด้านพิธกี ารศุลกากร และเป็นตัวแทนในการออกสินค้า รวมถึงการจัดเตรียมเอกสาร และการให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีใน การน�ำเข้า-ส่งออกให้แก่ลูกค้า ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าว ต้องอาศัยผูช้ ำ� นาญการด้านพิธกี ารศุลกากร ซึง่ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจกฎระเบียบเกี่ยวกับการน�ำเข้า-ส่งออก บริษัทฯ ทีใ่ ห้บริการด้านพิธกี ารศุลกากรจะต้องมีผชู้ ำ� นาญการศุลกากร ประจ�ำส�ำนักงานอย่างน้อย 1 คน ซึ่งจะต้องไปสอบกับ กรมศุลกากร ปัจจุบันบริษัทฯ และบริษัทมีผู้ช�ำนาญการ ศุลกากรจ�ำนวน 5 คน และมีที่ปรึกษาอาวุโส ซึ่งเป็นอดีต ผูอ้ ำ� นวยการด้านพิธกี ารศุลกากร (ปัจจุบนั เกษียณอายุแล้ว)

AEO ได้แก่ การยกเว้นการตรวจสินค้า การยกเว้นการชัก ตัวอย่างสินค้าที่ส่งออก สามารถใช้หลักประกันการเป็น ตัวแทนออกของระดับมาตรฐาน AEO แทน การวางเงินหรือ หลักประกันของผู้ขนส่ง เป็นต้น ท�ำให้การด�ำเนินการด้าน พิธกี ารศุลกากรและการตรวจปล่อยสินค้ามีความรวดเร็วขึน้ และสร้างความน่าเชือ่ ถือให้กบั บริษทั และบริษทั ย่อยมากขึน้ การให้บริการขนส่งสินค้าในประเทศ (Transport) บริษทั ฯ ให้บริการขนส่งสินค้าภายในประเทศเพือ่ เป็น การสนับสนุนธุรกิจให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เป็นการให้บริการเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ลกู ค้า โดยบริษทั ให้บริการขนส่งสินค้าในประเทศด้วยรถบรรทุกหัวลากหางพ่วง รถบรรทุกแบบเทกอง (Dump Truck) รถบรรทุก 6 ล้อ รถบรรทุก 4 ล้อเป็นต้น โดยให้บริการขนส่งจากท่าเรือ/ ท่าอากาศยาน ไปส่งยังจุดหมายปลายทางที่ลูกค้าต้องการ เช่น โรงงาน หรือ คลังสินค้าของลูกค้า หรือ รับสินค้าจาก โรงงานหรือคลังสินค้าไปส่งยังที่ท่าเรือ/ท่าอากาศยาน ทั้งนี้ ลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งดังกล่าวจะเป็นลูกค้าที่ ใช้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศกับบริษัทฯ

ปริมาณงานพิธีการศุลกากร ปี 2557-2561 รายการ จ�ำนวน Shipment จ�ำนวน ตู้

ปริมาณงานต่อปี 2557 10,495 27,995

ทั้งนี้ การเป็นตัวแทนออกสินค้าจะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ผูป้ ระกอบการระดับมาตรฐานทัว่ ไป และผูป้ ระกอบการ ระดับมาตรฐานเออีโอ (Authorized Economic Operator หรือ AEO) ปัจจุบันบริษัทเป็นตัวแทนออกสินค้าระดับมาตรฐาน AEO ซึง่ จะเป็นทีย่ อมรับในระดับสากล การยกระดับมาตรฐาน เป็น AEO ต้องมีคุณสมบัติผ่านเกณฑ์ตามที่กรมศุลกากร ก�ำหนด และมีการทบทวนสถานภาพทุก 3 ปี ซึ่งบริษัทได้ ยกระดับเป็นตัวแทนออกของ AEO ในปี 2559 ตามแผน ด�ำเนินงานโดยสิทธิพเิ ศษของตัวแทนออกของระดับมาตรฐาน

2558 11,648 28,293

2559 15,164 30,689

2560 16,047 32,045

2561 16,641 32,886

หรือบริษัทย่อย เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อยเห็นว่า การให้บริการดังกล่าวเป็นการเพิม่ ความสะดวกให้กบั ลูกค้า ที่ต้องการเคลื่อนย้ายสินค้าจากท่าเรือหรือท่าอากาศยาน ไปยังจุดหมายปลายทาง โดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะเป็น ผู้จัดหารถขนส่งที่เหมาะสมเพื่อให้บริการขนส่งแก่ลูกค้า ปัจจุบันบริษัทมีหน่วยงานให้บริการอยู่ที่แหลมฉบัง และ บริษทั ย่อยมีสาขาอยูท่ ที่ า่ อากาศยานสุวรรณภูมิ โดยบริษทั มีรถบรรทุกขนส่งสรุปได้ดังนี้

- 22 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

จ�ำนวนรถบรรทุก ปี 2557 – 2561 หน่วย : คัน รายการ หัวลาก หางพ่วงบรรทุก รถบรรทุก 6 ล้อ รถบรรทุก 4 ล้อ รวมจ�ำนวนคัน

จ�ำนวนรถขนส่ง 2557 17 23 4 6 50

2558 27 37 4 6 74

2559 27 37 4 6 74

2560 27 37 4 6 74

ปริมาณการขนส่งสินค้าภายในประเทศ ปี 2557 – 2561 รายการ จ�ำนวนตู้ที่ให้บริการ

2561 31 45 2 4 82

หน่วย : ตู้

ปริมาณการขนส่งต่อปี

2557 15,016

มาตรฐานความปลอดภัยในการให้บริการขนส่ง โดยรถบรรทุก บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ค�ำนึงถึงมาตรฐานความ ปลอดภัยในการให้บริการขนส่งเป็นอันดับแรกควบคู่ไปกับ ความตรงต่อ เวลาซึ่งบริษัทฯ และบริษัทย่อยตระหนักว่า การเลื อ กใช้ ร ถที่ มี ส มรรถนะสู ง ประกอบกั บ การคั ด สรร บุคลากรที่มีคุณภาพเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้การปฏิบัติงาน เป็นไปตามเป้าหมาย สามารถส่งสินค้าให้ถงึ จุดหมายตาม ก�ำหนดอย่างปลอดภัย โดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ทรัพย์สินของลูกค้าและบริษทั ฯ รถขนส่งทุกคันของบริษัทฯ

2558 19,560

2559 26,552

2560 32,045

2561 32,886

และบริษัทย่อยได้มาตรฐานตามที่กฎหมายก�ำหนด และ จะต้องผ่านการตรวจเช็คสภาพก่อนการใช้งาน และมีการ ตรวจสอบสภาพความพร้อมของพนักงานขับรถก่อนปฏิบัติ หน้าที่ บริษัทได้ผ่านการรับรองมาตราฐานคุณภาพบริการ รถบรรทุก จาก กรมการขนส่งทางบก กระทราวงคมนาคม (Q MARK) ตลอดจนได้นำ� ระบบ GPS มาใช้เพือ่ ให้การด�ำเนิน งานและการบริหารงานยานพาหนะมี ประสิทธิภาพ โดยติด ตั้งกับตัวรถเพื่อติดตามต�ำแหน่งของรถในขณะปฏิบัติงาน บันทึกและควบคุมความเร็วในการขับขีใ่ ห้เหมาะสม เป็นต้น

- 23 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

4. การให้บริการคลังสินค้า (Warehouse) : เพือ่ ขยาย การให้บริการครบวงจรในด้านโลจิสติกส์ บริษทั จึงได้ขยายการ ให้บริการคลังสินค้า เพือ่ ครอบคลุมความต้องการของลูกค้า โดยปัจจุบัน บริษัทให้บริการคลังสินค้าใน 3 รูปแบบ คือ 4.1 คลังสินค้าทั่วไป (Multiusers Warehouse) โดย เป็นคลังสินค้าส�ำหรับเก็บรักษาสินค้า ทีอ่ ยูใ่ นรูปของวัตถุดบิ หรือสินค้าส�ำเร็จรูปเพื่อจัดเก็บและส่งสินค้าเข้ายังโรงงาน ผลิตสินค้า จัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าของลูกค้า หรือ ใช้ในการ เก็บสินค้าส�ำเร็จรูปของลูกค้า เพือ่ รอการจัดส่งไปยังลูกค้าใน ประเทศ หรือ จัดส่งไปยังต่างประเทศ 4.2 คลังสินค้าทีไ่ ด้ออกแบบมาเพือ่ ลูกค้าเฉพาะราย (Dedicated Warehouse) เป็นคลังสินค้าทีอ่ อกแบบเพือ่ ลูกค้า

เฉพาะราย เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้ารายนัน้ ๆ เช่น เป็นคลังสินค้าทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีท่ ลี่ กู ค้าต้องการ โดยอาจจะ อยูใ่ กล้กบั โรงงานของลูกค้า หรือ อยูใ่ กล้กบั ลูกค้าของลูกค้า หรือออกแบบเพือ่ ตอบสนองความต้องการด้านอืน่ ๆ ของลูกค้า โดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและข้อตกลงของบริษัทกับลูกค้า 4.3 บริหารคลังสินค้าให้ลูกค้า (Onsite Warehouse Management) โดยบริษัทให้บริการบริหารคลังสินค้าให้กับ คลังสินค้าของลูกค้าเอง ด้วยการออกแบบขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ งานในคลังสินค้า การวางแผนก�ำลังคนในคลังสินค้า การจัดหา ก�ำลังคนในการปฏิบตั กิ าร และการควบคุมการท�ำงานภายใน คลังสินค้าของลูกค้าให้เป็นไปตาม ดัชนีชี้วัด ผลงาน (KPI) ที่ตกลงกับลูกค้า

- 24 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

5. การให้บริการด้านการขนส่งสินค้าผ่านแดน (Cross Border Service : CBS) จากการที่ ป ระเทศไทยมี พ รมแดนติ ด ต่ อ กั บ ประเทศ เพื่อนบ้านต่างๆ ทั้งมาเลเซีย กัมพูชา ลาว พม่า ซึ่งได้มี การติดต่อค้าขายและขนส่งสินค้าตามชายแดนกันเป็นปรกติ อยู่แล้ว ต่อมาได้มีการพัฒนาการขนส่งเข้าสู่ประเทศที่มี พรมแดนติดต่อกับประเทศดังกล่าวเพิ่มเติม เช่นการขนส่ง ผ่านแดนไปยังสิงคโปร์ผา่ นทางมาเลเซีย การขนส่งผ่านแดน

ไปยังเวียดนาม ผ่านทางลาว ในปัจจุบนั นี้ ได้มกี ารพัฒนา การขนส่งต่อเนือ่ งเข้าสู่ประเทศทีม่ พี รมแดนเชือ่ มโยงติดต่อ กันเพิม่ เติม เช่นการขนส่งผ่านแดนไปยังจีน ผ่านทางเวียดนาม และลาว ในปัจจุบนั นีบ้ ริษทั ฯ สามารถให้บริการขนส่งสินค้า ผ่านแดนจาก สิงคโปร์ ไปยังจีนได้ โดยการรับสินค้าจาก สิงคโปร์ และด�ำเนินการขนส่งผ่านมาเลเซีย ไทย ลาว และ เวียดนาม ก่อนเข้าสู่ประเทศจีน

เส้นทางที่บริษัทฯ ให้บริการเป็นประจ�ำในปัจจุบัน

- 25 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

สาเหตุทบี่ ริษทั ฯ เน้นการให้บริการในเส้นทางนีเ้ นือ่ งจาก เป็นพืน้ ทีต่ ลาดหลักของลูกค้าอยูแ่ ล้ว อีกทัง้ ทีผ่ า่ นมาการขนส่ง สินค้าทางทะเลประสบปัญหาด้านต่างๆ ทัง้ สภาพภูมอิ ากาศ ความคับคั่งของปริมาณตู้สินค้า ท�ำให้การขนส่งเกิดความ ล่าช้า การให้บริการ Cross Border Service (CBS) จึงเป็น อีกหนึ่งทางเลือกให้กับลูกค้าของบริษัทฯ

อีกทั้งเส้นทางนี้เป็นเส้นทางหลักที่เชื่อมโยงการขนส่ง ระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน-จีน และการขนส่งโดยเส้น ทางนีส้ ามารถทีจ่ ะเชือ่ มต่อการขนส่งโดยรถไฟบรรทุกสินค้า จากจีน (China Railways Express) ไปยังประเทศต่างๆ ในทวีป ยุโรป ภายใต้โครงการ One Belt, One Road (OBOR) ของ ประเทศจีน

- 26 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

รูปแบบการให้บริการขนส่งผ่านแดน FTL ไทย-จีน ในปัจจุบนั บริษัทฯ เน้นให้บริการ Cross Border Service (CBS) ทั้งในรูปแบบของ Full Truck Load (FTL) และ Less than Truck Load (LTL) ผ่านสองเส้นทางหลัก ได้แก่ 1. ไทย-จีน 2. ไทย-พม่า

การให้บริการ Cross Border Service (CBS) ในรูปแบบ ของ Full Truck Load (FTL) ของบริษัทฯ มีความแตกต่าง จากผู้ให้บริการอื่นๆ ในตลาด ดังนี้ 1. ตู้สินค้าที่ลูกค้าผู้ส่งสินค้าท�ำการบรรจุสินค้าที่ โรงงาน (ต้นทาง) จะเป็นตูส้ นิ ค้าตูเ้ ดียวกับทีล่ กู ค้า ผู้รับสินค้าได้รับที่ปลายทาง

- 27 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

รูปแบบการให้บริการขนส่งผ่านแดน FTL ไทย-พม่า 2. บริษัทฯ ใช้ระบบ LoLo ในแต่ละด่านชายแดน ในการการยกตู้สินค้าทั้งตู้จากรถคันหนึ่งไปยังรถ อีกคันหนึง่ โดยวิธนี ี้ สินค้าจะไม่มกี าร Transload หรือการ Unload สินค้าออกจากตู้หนึ่ง ไป Load ใส่อกี ตูห้ นึง่ ตามด่านชายแดนต่างๆ ท�ำให้ลดความ เสียหายของสินค้า 3. รถของบริษทั ฯ ติดตั้งระบบ Air Suspension เพื่อ ลดการสัน่ สะเทือน ตลอดเส้นทางการขนส่ง ซึง่ เป็น ระบบทีช่ ว่ ยลดความเสียหายทีจ่ ะเกิดกับตัวสินค้า 4. บริษทั ฯ เน้นเรือ่ งความปลอดภัยของสินค้า โดยใช้ ระบบ Smart Log ให้ตู้คอนเทนเนอร์ของบริษัทฯ ไม่สามารถเปิดโดยบุคคลอื่นๆ จากภายนอกตู้ได้ 5. บริษัทฯ มีระบบการตรวจสอบและดูแลจัดการ เส้นทางการเดินทางของรถบรรทุก โดยศูนย์ควบคุม เส้นทาง (Command Center) ตลอด 24 ชั่วโมง จะเห็นได้ว่าบริการ Cross Border Service (CBS) ของ บริษัทฯ ถือเป็นอีกบริการหนึ่ง ที่สร้างความอุ่นใจให้กับ ลูกค้าได้เป็นอย่างดี การตลาดและการแข่งขัน กลยุทธ์ทางการตลาด จากการที่ผู้บริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นผู้ ที่มีประสบการณ์ ความรู้ และความช�ำนาญในธุรกิจให้

บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทั้งทางทะเล และทางอากาศ รวมถึงการให้บริการขนส่งสินค้าภายใน ประเทศด้วยรถบรรทุกหัวลาก-หางพ่วง จึงสามารถพัฒนา บริษัทฯ ให้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เป็นหนึ่งในผู้ให้ บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และมีบริการที่ครบวงจร ทั้งในด้านความหลาก หลายของประเภทการให้บริการและความครอบคลุมใน เส้นทางขนส่งในหลายประเทศ รวมทัง้ ระบบบริหารจัดการ ส�ำหรับการให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ได้รับการรับรองโดยมาตรฐาน ISO9001: 2015 จาก TUV NORD โดยบริษัทมีนโยบายที่จะรักษาความสัมพันธ์ที่ดี กับลูกค้าและพันธมิตรทางธุรกิจอย่างสม�ำ่ เสมอ ทัง้ นี้ บริษทั มีกลยุทธ์ในการแข่งขัน เพื่อรักษาฐานลูกค้าที่มีอยู่เดิมรวม ทั้งเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดของบริษัทฯ ดังต่อไปนี้ (1) การให้บริการในหลายรูปแบบ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีการให้บริการในหลายรูปแบบ โดยให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ทัง้ ตลาดสินค้า น�ำเข้าและส่งออก โดยการขนส่งทั้งทางทะเล (แบบเต็มตู้ และแบบไม่เต็มตู)้ และทางอากาศ เพือ่ รองรับความต้องการ ที่หลากหลายของลูกค้าซึ่งเป็นการให้บริการที่ครอบคลุม การจองระวางภายใต้ตน้ ทุนทีด่ ที สี่ ดุ ด�ำเนินการ ด้านพิธกี าร ศุลกากรทัง้ ต้นทางและปลายทาง จัดหาคลังสินค้าและกระจาย สินค้า จัดท�ำเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับการขนส่งทัง้ หมด การจัดหา

- 28 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

รถบรรทุกเพื่อรับ-ส่งสินค้า บริการ อื่นๆ เช่น จัดท�ำหีบห่อ (กรณีลูกค้าร้องขอ) จัดท�ำประกันภัยสินค้า เป็นต้น ให้ค�ำ ปรึกษาเกีย่ วกับการน�ำเข้า-ส่งออก ดูแลและติดตามสถานะ สินค้าจนถึงเมืองท่าปลายทาง ตลอดจนประสานงานกับ ตัวแทนต่างประเทศ ในการด�ำเนินการจัดการเพื่อให้สินค้า ถึงผูร้ บั อย่างปลอดภัยตามเวลาทีก่ ำ� หนด ซึง่ การให้บริการที่ ครบวงจรดังกล่าวเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับบริการ และเป็น การอ�ำนวยความสะดวกให้กบั ลูกค้า ช่วยลดต้นทุนและลด ขั้นตอนในการติดต่อสื่อสารกับหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยบริษทั เน้นการให้บริการแบบประตูสปู่ ระตู (Door to Door) คือ การให้บริการรับจัดการขนส่งตัง้ แต่หน้าประตูโรงงานลูกค้า ต้นทางเพือ่ ส่งมอบ ไปยังหน้าประตูโรงงานลูกค้าปลายทาง และ แบบ Ex-work คือ การให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้า ที่ผู้น�ำเข้ารับผิดชอบ ภาระค่าขนส่งตั้งแต่หน้าประตูโรงงาน ผู้ส่งออกไปจนถึงมือผู้รับปลายทาง (2) การให้บริการอย่างมีคุณภาพ บริษัทฯ และบริษัทย่อยให้ความส�ำคัญกับคุณภาพ ของงานบริการทีน่ ำ� เสนอต่อลูกค้าให้ตรงตามความต้องการ ของลูกค้า ซึง่ ต้องรวดเร็ว ถูกต้อง และน่าเชือ่ ถือ โดยเริม่ จาก การศึกษาความต้องการของลูกค้า จัดรูปแบบและเส้นทาง การขนส่งที่เหมาะสม โดยจะเสนอรูปแบบการขนส่งอย่าง น้อย 3 รูปแบบเพือ่ เป็นทางเลือกให้กบั ลูกค้า และเมือ่ ลูกค้า ตัดสินใจเลือกแล้ว บริษัทจะติดต่อสายการเดินเรือ/สาย การบินเพือ่ จอง/ต่อรองค่าระวาง ประสานงานกับตัวแทนใน ต่างประเทศ รับผิดชอบงานด้านเอกสารทีเ่ กีย่ วกับการจัดการ ขนส่งสินค้าทั้งหมดอย่างถูกต้องและรวดเร็ว ตลอดจนให้ ค�ำปรึกษาและแก้ปญ ั หาให้กบั ลูกค้า ท�ำให้ได้รบั ความไว้วางใจ จากลูกค้าทัง้ ในและต่างประเทศเรือ่ ยมา เพือ่ เป็นการควบคุม คุณภาพของการให้บริการแก่ลูกค้า ความถูกต้อง แม่นย�ำ ด้านเอกสารเป็นสิ่งส�ำคัญ และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพใน การจัดการด้านกระบวนการให้บริการ บริษทั ได้พฒ ั นาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศทีช่ ว่ ยเพิม่ ศักยภาพและลดความซ�ำ้ ซ้อน ในการท�ำงาน โดยบริษทั ได้รบั ใบรับรองการยกระดับคุณภาพ

การบริหารจัดการธุรกิจตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพ โลจิสติกส์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ในปี 2556 และใบรับรองการตรวจประเมินตามเกณฑ์คุณภาพ โลจิสติกส์ใน “ระดับดี” กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวง พาณิชย์ในปี 2555 นอกจากนี้ บริษัทยังได้รับรางวัลสุด ยอด SMEs แห่งชาติ กลุ่มธุรกิจโลจิสติกส์ จาก สสว. ในปี 2553 ปี 2554 และปี 2555 (3) การขยายสาขาไปยังต่างประเทศ ธุรกิจของบริษทั ฯ ครอบคลุมการให้บริการทัง้ ในและ ต่างประเทศ ดังนัน้ การมีสาขาในต่างประเทศจะท�ำให้บริษทั มีความสามารถในการแข่งขันและการให้บริการแก่ลกู ค้าได้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งเป็น ตลาดที่มีศักยภาพ และมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง (4) ความช�ำนาญด้านภูมิศาสตร์ บริษัทฯ มีความช�ำนาญด้านภูมิศาสตร์ โดยมีความ เชี่ยวชาญในเส้นทางการขนส่งสินค้าทางทะเล ไทย-สหรัฐ อเมริกา มากว่า 20 ปี สามารถรับและส่งมอบสินค้าได้ทกุ รัฐ ของประเทศสหรัฐอเมริกาในรูปแบบประตูสู่ประตู (Door to Door) ทั้งประเภทขนส่งแบบเต็มตู้ (FCL) และแบบไม่เต็มตู้ (LCL) ด้วยรัฐบาลสหรัฐอเมริกันมีกฎหมายเข้ามาควบคุม ธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้า คือ จะต้องมีการวางทัณฑ์บน (Bonded) กับทาง FMC Regulation (Federal Maritime Commission) เป็นเงิน 150,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา เพือ่ เป็น การคุ้มครองผู้บริโภคที่อาจจะได้รับความเสียหายจากการ ขนส่ง ซึ่งต่างจากตลาดอื่นที่ไม่มีกฎหมายดังกล่าวรองรับ โดยบริษัทได้มีการด�ำเนินการ ดังกล่าวกับทาง FMC แล้ว ดังนั้น จึงเป็นการลดคู่แข่งให้น้อยลง ถือเป็นข้อได้เปรียบ ของบริษทั นอกจากนี้ การใช้บริการกับสายการเดินเรือทีว่ งิ่ อยูใ่ นเส้นทาง ไทย-สหรัฐอเมริกา ไม่วา่ จะเป็นผูส้ ง่ ออกหรือ บริษัทรับจัดการขนส่งสินค้าจะต้องมีการท�ำสัญญาบริการ (Services Contract) กับสายการเดินเรือจึงจะสามารถใช้บริการ ได้ โดยปัจจุบันบริษัทมีสัญญาบริการกับสายการเดินเรือที่

- 29 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

วิง่ อยูใ่ นเส้นทางไทย-สหรัฐอเมริกาประมาณ 7 บริษทั และมี ตัวแทนในประเทศสหรัฐอเมริกา เพือ่ ท�ำหน้าทีป่ ระสานงาน จัดการ ด้านพิธกี ารศุลกากรเมือ่ สินค้าไปถึงท่าเรือ ตลอดจน จัดส่งสินค้าให้กับผู้รับปลายทาง ซึ่งตัวแทนต่างประเทศ ดังกล่าวเป็นตัวแทนที่ท�ำงานร่วมกันมานานกว่า 20 ปี นอกจากนี้ บริษัทย่อยมีประสบการณ์และความช�ำนาญใน การให้บริการขนส่งทางอากาศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้และประเทศจีน (5) ความพร้อมของบุคลากรที่มีความรู้ความ ช�ำนาญ เนื่องจากธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้าเป็นธุรกิจให้ บริการ บุคลากรนับว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะต้องเป็นผู้มี ความรู้มีประสบการณ์และความช�ำนาญ ท�ำงานด้วยความ ถูกต้อง แม่นย�ำ มีความยืดหยุ่นในการให้บริการ และมี จิตใจรักการบริการ (Service Mind) ซึง่ จะท�ำให้ลกู ค้าทีม่ าใช้ บริการเกิดความมัน่ ใจและเกิดความพึงพอใจต่อการให้บริการ โดยบริษัทมีการวางแผนด้านบุคลากรและพัฒนาความรู้ ความสามารถเพื่อให้สอดคล้องกับการขยายตัวของธุรกิจ โดยมุ่งเน้นการสรรหาบุคลากรที่มีคุณสมบัติตรงตามความ ต้องการของ บริษัทฯ และให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา บุคลากร โดยจัดให้มีการฝึกอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งบริษัทฯ มีการจัดท�ำแผนการอบรมพนักงานประจ�ำปี โดยพนักงานแต่ละคนต้องได้เข้าอบรมอย่างน้อย 5 หลักสูตร ต่อปีและหรือ 48 ชั่วโมงต่อปี เพื่อให้เกิดความรู้ความ สามารถ และทักษะให้แก่พนักงานในการปฏิบตั งิ าน จัดให้มี การประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อก�ำหนดและพิจารณาผล ตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อจูงใจให้บุคลากรเกิดขวัญและ ก�ำลังใจในการท�ำงาน โดยพนักงานของบริษัทฯ และบริษัท ย่อยมีอายุการท�ำงานเฉลีย่ ประมาณ 5 ปี นอกจากนี้ การให้ บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศต้องอาศัย ความรู้ความเข้าใจในกฎระเบียบต่างๆที่บังคับใช้ในการส่ง ออกหรือน�ำเข้า โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้จัดเตรียม บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามช�ำนาญเพือ่ ให้บริการแก่ลกู ค้า โดยมี

พนักงานทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตเป็นผูช้ ำ� นาญการศุลกากรประจ�ำ บริษัทฯ และบริษัทย่อยรวม 5 คน เพื่อให้ค�ำแนะน�ำแก่ พนักงานในส่วนงานต่างๆได้ (6) การสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ ธุรกิจของบริษทั ฯ เติบโตมาจากการให้บริการรับจัดการ ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทางทะเลเป็นหลัก โดยมีความ ช�ำนาญในเส้นทางไทย-สหรัฐอเมริกามากว่า 20 ปี จึงท�ำให้ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับสายการเดินเรือที่ว่ิงอยู่ในเส้นทาง ดังกล่าว ต่อมาบริษทั มีการขยายเส้นทางการบริการในเส้นทาง อืน่ มากขึน้ จึงท�ำให้มคี วามสัมพันธ์อนั ดีกบั สายการเดินเรือ เพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจุบันบริษัทฯ มีการจัดหาระวางเรือจากสาย การเดินเรือรวมกว่า 15 ราย และธุรกิจของบริษัทย่อยซึ่ง เติบโตมาจากการให้บริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศทาง อากาศเป็นหลัก จึงท�ำให้มคี วามสัมพันธ์อนั ดีกบั สายการบิน กว่า 10 ราย นอกจากนี้ ตัวแทนต่างประเทศ (Oversea Agent) ถือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจหรือคูค่ า้ ทีส่ ำ� คัญ ท�ำหน้าที่ เป็นตัวแทนของบริษทั และบริษทั ย่อย ในการติดต่อประสาน งานเพื่อให้บริการจัดการการขนส่งในเขตประเทศที่ตัวแทน แต่ละรายดูแล ปัจจุบันบริษัทมีตัวแทนในประเทศต่างๆ ครอบคลุมกว่า 100 ประเทศทั่วโลก นอกจากนี้ บริษัทและ บริษัทย่อยยังเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิก ต่างๆ ทั้งในและต่าง ประเทศ ได้แก่ TIFFA, TAFA, CGLN ภายใต้ WCA Family Network. (7) ความสามารถในการบริหารต้นทุน ด้วยบริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นผู้ประกอบการใน ธุรกิจจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน โดยธุรกิจมีการเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้มปี ริมาณการขนส่ง อย่างสม�ำ่ เสมอ โดยบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยจะมีการวางแผน และจองระวางเรือ/เครือ่ งบินในปริมาณมาก ส่งผลให้บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยสามารถเจรจาต่อรองราคากับสายการเดินเรือ/ สายการบิน เพื่อบริหารต้นทุนค่าระวางซึ่งเป็นต้นทุนหลัก โดยการบริหารต้นทุนดังกล่าวเพิม่ ความสามารถในการแข่งขัน

- 30 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ให้กับบริษัทและบริษัทย่อย ในการน�ำเสนอราคาแก่ลูกค้า ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนในการขนส่งสินค้าให้กับลูกค้าด้วย (8) รักษาฐานลูกค้าปัจจุบัน ลูกค้าปัจจุบันเป็นฐานลูกค้าที่สร้างรายได้หลักให้ กับบริษัท ดังนั้น บริษัทและบริษัทย่อยจึงให้ความส�ำคัญ กับการรักษาฐานลูกค้าดังกล่าวให้มากทีส่ ดุ ซึง่ จะเน้นการ สร้างสายสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับฐานลูกค้ากลุ่มดังกล่าว โดยพนักงานจะติดต่อกับลูกค้าปัจจุบันอย่างสม�่ำเสมอ ทั้ง การเข้าเยี่ยมเยียนด้วยตัวเอง หรือ ติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ เพือ่ สอบถามถึงความต้องการใช้บริการและเสนอการบริการ ได้ทนั กับความต้องการ เนือ่ งจากลูกค้าส่วนใหญ่เป็นผูน้ ำ� เข้าส่งออก ซึง่ มีความต้องการใช้บริการอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งสม�ำ่ เสมอ โดยจะพยายามให้กลุ่มลูกค้าปัจจุบันเพิ่มปริมาณ การใช้ บริการมากยิ่งขึ้นให้ครอบคลุมทุกด้าน ทั้งนี้ กลยุทธ์ในการ รักษาฐานลูกค้ากลุ่มนี้ยังประกอบด้วย การรักษาคุณภาพ การบริการ ความสะดวกในการติดต่อสือ่ สารการส่งมอบสินค้า ให้ตรงเวลาที่ก�ำหนด ซึ่งบริษัทมีการจัดท�ำแบบสอบถาม ความพึงพอใจของลูกค้า เพื่อน�ำมาปรับปรุงการให้บริการ ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

ทางอากาศ รวมทัง้ การให้บริการพิธกี ารศุลกากรและการขนส่ง หรือแม้กระทั่งการขยายขอบเขตเมืองท่า (Port) นอกจากนี้ ยังขยายไปยังธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง เช่น การให้บริการคลังสินค้า โดยบริษัทฯ มองว่าเป็นโอกาสทางธุรกิจและเป็นการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับการบริการ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังขยาย สาขาไปยังต่างประเทศ เมื่อมีโอกาสทางธุรกิจที่เหมาะสม ตลอดจนขยายฐานลูกค้าไปยังตลาดใหม่ๆเพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าในแต่ละอุตสาหกรรมที่มีความ แตกต่าง โดยมีการจัดท�ำเว็บไซต์(Website) ของบริษัทและ บริษทั ย่อย ได้แก่ www.wice.co.th เพือ่ ให้บริการของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยเป็นทีร่ จู้ กั แก่คนทัว่ ไป และให้ลกู ค้าสามารถ เข้าถึงได้สะดวกขึ้น กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย กลุม่ ลูกค้าเป้าหมายของบริษทั และบริษทั ย่อยเป็น กลุม่ ลูกค้าขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ โดยพิจารณาถึงปริมาณ การใช้บริการและทุนจดทะเบียน รวมถึงความสามารถใน การท�ำก�ำไร ลูกค้าของบริษัทและบริษัทย่อยจะกระจายอยู่ ในอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งสินค้าหลักที่บริษัทและบริษัทย่อย ให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ได้แก่ สินค้า

ประเภทการบริการ

ประเภทสินค้าหลัก

ประเทศน�ำเข้า-ส่งออกหลัก

บริการ Sea Freight บริการ Air Freight

เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ส�ำนักงาน/ คอมพิวเตอร์, ชิ้นส่วนยานยนต์, อาหารกระป๋อง,เหล็กและวัสดุก่อสร้าง ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์, ชิ้นส่วนยานยนต์

สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น, จีน, และประเทศ ในกลุ่มอาเซียน

(9) การขยายการให้บริการ บริษทั ฯ มีแผนเพิม่ การให้บริการในลักษณะการต่อ ยอดการให้บริการกับลูกค้ารายใดรายหนึ่ง เช่น การให้ บริการทั้งด้านน�ำเข้าและส่งออก หรือทางเรือควบคู่ไปกับ

จีน, ฮ่องกง, สิงคโปร์

อิเล็กทรอนิกส์ สินค้าประเภทชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งสามารถ แบ่งตามประเภทการใช้บริการของลูกค้าได้ดังนี้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยสามารถให้บริการรับ จัดการขนส่งระหว่างประเทศให้แก่กลุม่ ลูกค้าในอุตสาหกรรม

- 31 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

อื่นๆ เช่น เคมีภัณฑ์ เสื้อผ้า พลาสติก เป็นต้น โดยสามารถ แบ่งกลุ่มลูกค้าหลักๆ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ดังนี้ (1) กลุ่มผู้ประกอบการเพื่อการน�ำเข้าและส่งออก (Importer & Exporter) เป็นกลุ่มลูกค้าหลักของบริษัทฯ และ บริษัทย่อย โดยปี 2561 มีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 87% ของ รายได้จากการบริการ (2) กลุม่ ผูใ้ ห้บริการรับจัดขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (Co-Loader) เป็นกลุม่ ลูกค้าทีป่ ระกอบธุรกิจประเภทเดียวกับ บริษทั ฯ คือ ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ทางทะเล ซึง่ ไม่มสี ญ ั ญาบริการ (Service Contract) กับสายเรือ หรือเป็นบริษัทฯ ที่มีปริมาณสินค้าไม่มากพอที่จะใช้บริการ แบบเต็มตูค้ อนเทนเนอร์ ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นต้องใช้บริการของ บริษัทฯ ทั้งแบบเต็มตู้และแบบไม่เต็มตู้ทั้งนี้ ลูกค้ากลุ่มนี้ ถือเป็นพันธมิตรทางการค้ากับบริษทั ฯ โดยปี 2561 มีสดั ส่วน คิดเป็นร้อยละ 13% ของรายได้จากการบริการ บริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นผู้ให้บริการขนส่งสินค้าใน ประเทศด้วยรถบรรทุกหัวลากและหางพ่วง โดยการให้บริการ

กลุ่มลูกค้า

2557

ดังกล่าวเป็นการสนับสนุนการให้บริการขนส่งสินค้าระหว่าง ประเทศเท่านั้น ดังนั้น ลูกค้าของบริษัทฯ และบริษัทย่อย จะเป็นลูกค้าต่อเนื่อง ซึ่งใช้บริการรับจัดการขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะให้บริการจัดหารถบรรทุกที่เหมาะสมกับ สินค้าเพื่อไปรับสินค้าที่โรงงานของลูกค้ามาที่ท่าเรือเพื่อ ด�ำเนินการส่งออก หรือรับสินค้าจากท่าเรือไปส่งมอบทีโ่ รงงาน ของลูกค้าในกรณีนำ� เข้า เป็นต้น ซึง่ เป็นการเพิม่ มูลค่าให้กบั บริการและอ�ำนวยความสะดวกต่อลูกค้า ซึ่งท�ำให้บริษัท และบริษทั ย่อยสามารถให้บริการลูกค้าได้ครบวงจรมากยิง่ ขึน้ โดยบริษัทฯ มีสัดส่วนรายได้จากการบริการแบบครบวงจร ดังนี้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีลกู ค้ากระจายอยูใ่ นอุตสาหกรรม ต่างๆ ไม่มีการพึ่งพิงลูกค้ารายใดรายหนึ่ง โดยลูกค้า 10 อันดับแรกในปี 2561 มีสดั ส่วนรายได้ประมาณร้อยละ 41% ของรายได้จากการบริการ โดยไม่มีลูกค้ารายใดมีสัดส่วน รายได้เกินร้อยละ 10 ของรายได้จากการบริการ

2558

2559

2560

2561

ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ

กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการครบวงจร 481.30 71.81 503.93 73.94 814.08 79.62 1,097.12 78.57 1,514.38 กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการอื่นๆ 1. กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการ 146.62 21.88 153.60 22.53 154.55 15.12 209.40 14.97 288.85 Freight อย่างเดียว 2. กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการ 42.28 6.31 24.00 3.53 53.85 5.26 89.85 6.46 156.38 เฉพาะ Warehouse, Custom & Transport รวมรายได้จากการบริการ 670.20 100 681.53 100 1,022.48 100 1,396.37 100 1,959.6

77.28 14.74 7.98 100

หมายเหตุ : *กลุม่ ลูกค้าทีใ่ ช้บริการครบวงจร คือ ลูกค้าทีใ่ ช้บริการ Freight และบริการอืน่ ๆ เช่น การให้บริการ แบบ Door-To-Door /Door-To-Port/ Port-To-Door) **กลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการอื่นๆ คือลูกค้าที่ใช้บริการเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง เช่น Freight, Warehouse, Custom &Transport

- 32 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

นโยบายการก�ำหนดราคา บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีนโยบายเสนอราคาทีเ่ หมาะสม แก่ลกู ค้า ซึง่ พิจารณาจากรูปแบบการให้บริการและเงือ่ นไข ของการบริการโดยกระบวนการให้บริการรับจัดการขนส่งทัง้ ใน และระหว่างประเทศจะปรับให้สอดคล้องกับความต้องการ ของลูกค้าแต่ละราย ทั้งนี้ ปัจจัยส�ำคัญที่น�ำมาพิจารณาใน การคิดค่าบริการ ได้แก่ รูปแบบการขนส่งเส้นทางการขนส่ง ระยะเวลาในการขนส่ง ปริมาณสินค้า ประเภทสินค้า เป็นต้น โดยบริษัทฯ และบริษัทย่อยจะคิดค่าบริการตามประเภท/ ลักษณะการให้บริการ ดังนี้

ทั้งนี้ บริษัทจะพิจารณาการก�ำหนดราคาจากภาวะการ แข่งขันของตลาดในขณะนั้นและความต้องการของลูกค้า แต่ละรายควบคู่กันไป การจ�ำหน่ายและช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ช่องทางการจ�ำหน่ายของบริษัทฯ และบริษัทย่อยแบ่ง เป็น 2 ช่องทาง ดังนี้ 1. การติดต่อลูกค้าโดยตรง เป็นการติดต่อกับลูกค้า โดยตรงผ่านทางทีมขายของบริษัทฯ และบริษัทย่อย หรือ ติดต่อผ่านทางเว็บไซด์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้แก่

ชนิดของการให้บริการ

การคิดค่าบริการ

SEA FREIGHT(EXPORT/IMPORT) AIR FREIGHT(EXPORT/IMPORT) CUSTOMS TRANSPORT WAREHOUSE

FCL : คิดตามจ�ำนวนตู้สินค้า และขนาดของตู้สินค้า และเส้นทาง LCL : คิดตามปริมาตร (ลูกบาศ์กเมตร)หรือ คิดตามน�้ำหนัก (ตัน) แล้วแต่ว่าจ�ำนวนใดมากกว่า คิดตามน�้ำหนัก (กิโลกรัม) หรือ คิดตามปริมาตร (ลูกบาศ์กเมตร) แล้วแต่ว่าจ�ำนวนใดมากกว่า คิดตามจ�ำนวนใบขนสินค้า และจ�ำนวนตู้ และประเภทของสินค้า คิดตามชนิดของรถ และระยะทาง คิดตามพื้นที่การใช้งาน และค่าจัดการ (Handling) และระยะเวลา

โดยมีนโยบายการก�ำหนดราคาดังนี้ 1. ก�ำหนดราคาตามงบประมาณของลูกค้า โดยน�ำ เสนอบริการต่างๆ ให้สอดคล้องกับทีล่ กู ค้าต้องการ ภายใต้งบประมาณที่ลูกค้าก�ำหนด 2. ก�ำหนดราคาตามราคาต้นทุนบริการบวกอัตรา ก�ำไรขั้นต้นที่เหมาะสม และเป็นไปตามภาวะของ อุปสงค์และอุปทานในตลาด โดยจะก�ำหนดราคา ให้สามารถแข่งขันในตลาดได้ 3. ก�ำหนดราคาเทียบกับคูแ่ ข่ง แต่เสนอการให้บริการ ที่มากกว่า โดยค�ำนึงถึงต้นทุนที่แท้จริงแลโอกาส ทางธุรกิจที่จะได้ฐานลูกค้าใหม่ๆ เป็นปัจจัยใน การตัดสินใจ

www.wice.co.th การเสนอบริการโดยการติดต่อลูกค้าโดยตรง คิดเป็นสัดส่วนเฉลี่ยประมาณร้อยละ 80 ของรายได้จาก การบริการ โดยบริษทั จะมีทมี ขายท�ำหน้าทีต่ ดิ ต่อและเข้าพบ ลูกค้า เพื่อน�ำเสนอบริการที่เหมาะสมให้กับลูกค้า ซึ่งเมื่อ บริษทั ได้รบั โอกาสในการให้บริการแล้ว ลูกค้ามักจะใช้บริการ อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันบริษัทมีทีมขายซึ่งมีหน้าที่ความรับ ผิดชอบหลัก คือ ดูแลลูกค้าปัจจุบัน (Active Clients) ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า รวมถึงการสร้างความ สัมพันธ์อันดีและพยายามเสนอบริการให้ลูกค้า ใช้บริการเพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งตลาดในฐาน ลูกค้าเก่า

- 33 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

มุ่งเน้นขยายฐานลูกค้าใหม่ในตลาดเป้าหมายที่ ก�ำหนดไว้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ในแต่ละอุตสาหกรรมที่มีความแตกต่างกัน 2. การติดต่อลูกค้าโดยผ่านตัวแทนในต่างประเทศ (Oversea Agent) คิดเป็นสัดส่วนเฉลี่ยประมาณร้อยละ 20 ของรายได้จากการบริการ ซึง่ ตัวแทนในต่างประเทศท�ำหน้าที่ เป็นผูต้ ดิ ต่อประสานงานในการบริการจัดการขนส่งในประเทศ ที่ตนเองเป็นผู้ดูแลให้แก่บริษัทฯ และบริษัทย่อย ซึง่ ถือเป็น คู่ค้าทางธุรกิจ โดยตัวแทนในต่างประเทศก็จะแนะน�ำ หรือ มอบหมายให้บริษัทเป็นผู้ดูแลลูกค้าของตัวแทน ดังกล่าว ในการบริการจัดการขนส่งในเขตประเทศไทยเช่นกัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้เข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกต่างๆ ทั้งใน และต่างประเทศ ซึ่งได้แก่ TIFFA, TAFA, CGLN ภายใต้ WCA Family Network ซึ่งถือเป็นการประชาสัมพันธ์ให้คู่ค้า และลูกค้ารู้จักบริษัทอีกช่องทางหนึ่ง   ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรม “การบริหารจัดการโลจิสติกส์ หมายถึง กระบวนการ ท�ำงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการวางแผน การด�ำเนินงาน และ การควบคุมการท�ำงานขององค์กร รวมทัง้ การบริหารจัดการ ข้อมูลและธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวข้องให้เกิดการเคลื่อน

ย้าย การจัดเก็บ การรวบรวม การกระจายสินค้า วัตถุดิบ ชิ้นส่วนประกอบ และการบริการให้มีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลสูงสุด โดยค�ำนึงถึงความต้องการและความ พึงพอใจของลูกค้าเป็นส�ำคัญ” (ที่มา: นิยามของ Council of Logistics Management) รายงานโลจิสติกส์ของประเทศไทยประจ�ำปี 2558 รายงาน ว่าต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศไทยในปี 2557 มีมูลค่ารวม 1.91 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 จากปี 2557 หรือคิด เป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 14.00 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ โดยมีสดั ส่วนลดลงจากร้อยละ 14.20 ในปี 2557 โครงสร้างต้นทุนโลจิสติกส์ ประกอบด้วย ต้นทุนค่าขนส่ง สินค้า ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุนการ บริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ โดยต้นทุนค่าขนส่งสินค้าเป็น องค์ประกอบหลักของต้นทุนโลจิสติกส์รวมของไทย คิดเป็น สัดส่วนประมาณร้อยละ 53.50 ของต้นทุนโลจิสติกส์รวม รองลงมา คือ ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุน การบริหารจัดการ คิดเป็นร้อยละ 37.40 และร้อยละ 9.10 ของต้นทุนโลจิสติกส์รวม ตามล�ำดับ โดยองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนคิดเป็นร้อยละ 7.5 ร้อยละ 5.2 และร้อยละ 1.3 ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศตามล�ำดับ ทั้งนี้ ประเทศไทย มีมลู ค่าการค้าทัง้ มูลค่าการน�ำเข้าและการส่งออก ดังแสดง ตามตารางด้านล่าง (หน่วย : ล้านล้านบาท)

ปี

2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561

มูลค่าการค้า

มูลค่าการส่งออก

11.97 13.69 14.89 14.57 14.72 14.13 14.45 15.64 16.19

6.11 6.71 7.08 6.91 7.31 7.23 7.53 8.01 8.09

มูลค่าการน�ำเข้า 5.86 6.98 7.81 7.66 7.41 6.90 6.90 7.63 8.10

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร - 34 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (Open Economy) คือ เป็นประเทศทีต่ ดิ ต่อท�ำการซือ้ ขายสินค้า และบริการกับประเทศเพื่อนบ้าน การค้าระหว่างประเทศ จึงมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาและผลักดันให้เศรษฐกิจ ของประเทศขยายตัว โดยตลาดส่งออกส�ำคัญของไทย 5 อันดับแรกที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด สรุปได้ดังนี้

โครงสร้างสินค้าส่งออกของไทย ประกอบด้วย สินค้า อุตสาหกรรม สินค้าเกษตรกรรม สินค้าอุตสาหกรรมเกษตร และสินค้าแร่และเชื้อเพลิง โดยสินค้าส่งออกในปี 2561 ที่มี มูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) รถยนต์ อุปกรณ์และส่วน ประกอบ 2) เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 3) อัญมณีและเครื่องประดับ 4) ผลิตภัณฑ์ยาง 5) เม็ด พลาสติก หน่วย : ล้านล้านบาท

ล�ำดับ

1 2 3 4 5

ประเทศ

จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เวียดนาม ฮ่องกง

มูลค่าการส่งออก 2556 0.82 0.69 0.67 0.22 0.40

2557 0.86 0.77 0.70 0.25 0.40

2558 0.80 0.81 0.68 0.30 0.40

2559 0.83 0.86 0.72 0.33 0.40

2560 0.96 0.90 0.75 0.39 0.42

2561 0.97 0.89 0.79 0.41 0.40

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

จากข้อมูลในตารางข้างต้นแสดงให้เห็นว่าในปี 2561 ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออกไปประเทศจีนมากที่สุด แซงหน้าประเทศสหรัฐอเมริกาทีเ่ ป็นล�ำดับ 1 ในปี 2558 และ 2559 ล�ำดับถัดมาคือ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเวียดนาม ตามล�ำดับ

ทัง้ นี้ ตลาดน�ำเข้าส�ำคัญของไทย 5 อันดับแรก ประกอบ ด้วย ประเทศจีน ประเทศญีป่ นุ่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศ มาเลเซีย และประเทศไต้หวัน โดยมีมูลค่าการน�ำเข้า ตาม ล�ำดับ ดังนี้ หน่วย : ล้านล้านบาท

ล�ำดับ

1 2 3 4 5

ประเทศ

จีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์

มูลค่าการส่งออก 2556 1.16 1.26 0.45 0.41 -

2557 1.25 1.16 0.47 0.41 -

2558 1.40 1.06 0.47 0.41 0.21

2559 1.49 1.09 0.47 0.39 0.25

2560 1.51 1.10 0.51 0.40 0.25

2561 1.62 1.14 0.49 0.43 0.34

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

- 35 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

โครงสร้างสินค้าน�ำเข้าของไทย ประกอบด้วย สินค้า วัตถุดิบและกึ่งส�ำเร็จรูป สินค้าทุน สินค้าเชื้อเพลิง สินค้า อุปโภคบริโภค และสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง โดยสินค้าน�ำเข้าในปี 2561 ที่มีมูลค่าสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ 1) น�้ำมันดิบ 2) เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 3) เครือ่ งจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 4) เคมีภณ ั ฑ์ 5) เครือ่ ง เพชรพลอย อัญมณี เงินแท่ง และทองค�ำ แนวโน้มธุรกิจโลจิสติกส์ ส�ำหรับปี 2561 นีค้ าดว่า สถานการณ์โลจิสติกส์ของไทย จะเติบโตอย่างต่อเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัวเร่ง ขึน้ เล็กน้อยจากการลงทุนภาครัฐและการส่งออกมีแนวโน้ม ขยายตัวต่อเนื่อง การลงทุนภาครัฐปี 2561 ที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อ เนื่อง และการเบิกจ่ายงบประมาณที่ภาครัฐบาลเร่งอนุมัติ โครงการในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2560 ประกอบกับภาคการ ส่งออกของไทยในปีหน้าที่ยังคงขยายตัวแม้จะเป็นการ ขยายตัวอย่างชะลอลง แต่ก็ยังมีบทบาทหนุนเศรษฐกิจให้ เศรษฐกิจยังคงโตต่อเนือ่ ง ซึง่ จะส่งผลให้ภาคโลจิสติกส์ไทย ขยายตัวไปในทิศทางเดียวกัน ธุรกิจโลจิสติกส์ ในปี 2561 น่าจะเติบโดได้เป็นอย่างดี ท่ามกลางการแข่งขันอย่างเข้มขนของผู้ประกอบการ

แนวโน้มการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้บริการด้าน โลจิสติกส์นา่ จะเพิม่ ขึน้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการจัดการ ต้นทุนโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อให้สอดรับกับ กระแสปรับเปลี่ยนสู่สังคมเศรษฐกิจแบบดิจิทัล ดังนั้นใน ปีหน้าจะได้เห็นภาพการแข่งขันของผู้ให้บริการโลจิสติกส์ อย่างเข้มข้น องค์ ก รที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารจั ด การขนส่ ง ระหว่างประเทศ FIATA หรือ “International Federation of Freight Forwarders Associations” จัดตั้งขึ้นในกรุงเวียนนา ประเทศ ออสเตรีย เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2469 เป็นองค์กรที่ไม่ แสวงหาผลก�ำไร (Non-Governmental Organization: NGO) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่เป็นศูนย์รวมบริษัทรับจัดการ ขนส่งระหว่างประเทศ (Freight Forwarder) ซึง่ ได้รบั การสนับ สนุนจากองค์สหประชาชาติและรัฐบาลของประเทศสมาชิก เป็นอย่างดี ปัจจุบันเป็นตัวแทนของกลุ่มธุรกิจบริษัทขนส่ง และโลจิสติกส์กว่า 40,000 บริษัททั่วโลก จุดประสงค์หลัก ขององค์กรคือ การรวบรวมกิจการในอุตสาหกรรมการขนส่ง ทัว่ โลกให้เป็นหนึง่ เดียว และเป็นตัวแทนในการส่งเสริมและ ปกป้องผลประโยชน์ของอุตสาหกรรมขนส่ง โดยมีส่วนร่วม ในการเป็นผูใ้ ห้คำ� แนะน�ำและเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในการประชุม

โดยมีการประเมินมูลค่าไว้ดังนี้

ธุรกิจโลจิสติกส์

ธุรกิจขนส่งทางบก ธุรกิจคลังสินค้า ธุรกิจรับจัดส่งสินค้าระหว่าง ประเทศ (Freight Forwarder) ธุรกิจไปรษณียภัณฑ์ และรับส่งสินค้า

2560 2561 มูลค่า (ล้านบาท) อัตราขยายตัว (%) มูลค่า (ล้านบาท) อัตราขยายตัว (%) 137,700.00 71,700.00 57,700.00

6.20 6.20 1.60

145,100 - 147,300 75,500 - 76,700 58,000 - 58900

5.30 - 7.00 5.30 - 7.00 0.50 - 2.10

28,100.00

8.70

30,800 - 31,300

9.60 - 11.30

หมายเหตุ: มูลค่าธุรกิจโลจิสติกส์คำ� นวณภายใต้กรอบแนวความคิดรายได้ประชาชาติของประเทศไทย ที่มา: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

- 36 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ของหน่วยงานสากลต่าง ๆ ในเรือ่ งเกีย่ วกับการขนส่ง รวมถึง การพัฒนาคุณภาพของการบริการการขนส่งของบริษัทใน ธุรกิจขนส่งโดยการพัฒนา และส่งเสริมเอกสารเกีย่ วกับการ ขนส่งและมาตรฐานการขนส่งให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก ซึ่งสมาชิกจะต้องสนับสนุน จุดประสงค์ของ FIATA และอยู่ ภายใต้กฎระเบียบต่างๆ ทั้งนี้ บริษัทและบริษัทย่อยซึ่งเป็นสมาชิกของสมาคม ผูร้ บั จัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศของไทย หรือ TIFFA (Thai International Freight Forwarders Association) ซึง่ TIFFA เป็นสมาชิกของ FIATA ด้วย สมาชิกของ TIFFA ต้องปฏิบัติ ตามข้อก�ำหนดส�ำหรับจรรยาบรรณวิชาชีพเพือ่ รักษาชือ่ เสียง ทีด่ ขี องวิชาชีพผูร้ บั จัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศโดยมี หลักการดังนี้ 1. ด�ำเนินธุรกิจอย่างมืออาชีพปกป้องผลประโยชน์ ของผู้ใช้บริการ 2. แข่งขันอยู่บนรากฐานความยุติธรรมและเคารพ ในสิทธิและผลประโยชน์ของผู้อื่น 3. ไม่เปิดเผยความลับทางธุรกิจของตนเอง ของคูแ่ ข่ง หรือของผู้ใช้บริการ 4. เคารพต่อกฎหมาย กฎระเบียบของสมาคมของ ประเทศตนเอง และของประเทศอืน่ ๆ ทีต่ ดิ ต่อด้วย 5. เคารพต่อหลักสากลของการด�ำเนินธุรกิจรับจัดการ ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ นอกจากนี้ บริษัทมีความรับผิดชอบตามกฎหมาย ต่อความสูญหาย ความเสียหายของผู้ประกอบการขนส่ง ต่อเนื่องหลายรูปแบบ ภายใต้สัญญาประกันภัยที่ก�ำหนด ความคุ้มครองให้มีการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามหลัก เกณฑ์ความรับผิดของผู้ประกอบการขนส่งต่อเนื่องหลาย รูปแบบตามพระราชบัญญัตกิ ารขนส่งต่อเนือ่ งหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 และสามารถสร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูใ้ ช้บริการว่า จะได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหากเกิดความเสียหาย จากการขนส่งได้ ภาวะการแข่งขัน ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ได้แบ่งโครงสร้างของบริการโลจิสติกส์ไทยไว้เป็น 5 ประเภท ได้แก่ การขนส่งสินค้า การจัดเก็บสินค้า บริการ

ด้านพิธกี ารต่างๆ บริการงานโลจิสติกส์ทเี่ กีย่ วข้องกับการให้ บริการเสริม และบริการพัสดุและไปรษณียภัณฑ์ ปัจจุบัน พบว่าผูป้ ระกอบการธุรกิจโลจิสติกส์ในประเทศไทยมี 5 กลุม่ หลัก ได้แก่ ผูป้ ระกอบการขนส่งทางบก ขนส่งทางน�ำ้ ขนส่ง ทางอากาศ ตัวแทนออกของและตัวแทนขนส่ง และคลังสินค้า รวมกว่า 10,000 บริษทั และกว่าร้อยละ 80 เป็นผูป้ ระกอบการ ขนาดย่อมและขนาดกลางหรือ SMEs (ทีม่ า: www.thai-aec.com) จากสถิตฐิ านข้อมูลของ BOL (Business on Line) จ�ำนวน นิตบิ คุ คลจดทะเบียนใหม่ในประเทศประเภทธุรกิจการขนส่ง และสถานทีเ่ ก็บสินค้าในปี 2555 – ปี 2557 มีจำ� นวนเท่ากับ 2,582 ราย 2,596 รายและ 2,405 รายตาม ล�ำดับ ซึง่ แสดงให้ เห็นถึงการเติบโตของธุรกิจในแต่ละปีคแู่ ข่งรายใหม่สามารถ เข้ามาแข่งขันในอุตสาหกรรมได้งา่ ย เนือ่ งจากสามารถเริม่ ต้น ธุรกิจได้ตงั้ แต่ขนาดเล็กด้วยเงินลงทุนไม่สงู มาก อาศัยความ ความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและสายการเดินเรือ/สายการบิน โดยผู้ให้บริการโลจิสติกส์แบบครบวงจร ส่วนใหญ่จะเป็น บริษัทข้ามชาติ หรือผู้ประกอบการไทยรายใหญ่ๆ เท่านั้น ผู้บริหารของบริษัทประมาณการมูลค่าธุรกิจรับจัดการ ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศจากรายได้ของผู้ประกอบการ ที่เป็นสมาชิก TIFFA ซึ่งมีมูลค่ารวมประมาณ 100,000 ล้าน บาท ถึงแม้วา่ ตลาดโลจิสติกส์จะมีขนาดใหญ่แต่มกี ารแข่งขัน กันสูง เนือ่ งจากผูป้ ระกอบในธุรกิจโลจิสติกส์แต่ละกลุม่ จะมี ความช�ำนาญเฉพาะ การแข่งขันกันในธุรกิจจะเน้น ทีค่ วาม ช�ำนาญในเส้นทางและประเภทของสินค้า ความเร็วใการขนส่ง ความรวดเร็วในการตอบสนองต่อลูกค้า รวมถึงเครือข่าย ที่มีคุณภาพและความยืดหยุ่นของการให้บริการในราคา ที่เหมาะสมและตรงตามความต้องการของลูกค้า ซึ่งกลุ่ม ผู้ประกอบการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศแบ่ง ได้เป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มบริษัทข้ามชาติกับบริษัท ร่วมทุน (Joint Venture) และกลุม่ ผูป้ ระกอบการท้องถิน่ (Local Company) โดยผู้ประกอบการกลุ่มที่ 1 จะเป็นผู้ครอบครอง ตลาดเนื่องจากมีข้อได้เปรียบทางด้านขนาดและเครือข่าย แต่กลุม่ ผูป้ ระกอบการท้องถิน่ มีความยืดหยุน่ ของการให้บริการ มากกว่า ซึง่ บริษทั จัดได้วา่ เป็นหนึง่ ในผูน้ ำ� ด้านให้บริการรับ จัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในกลุ่มผู้ประกอบการ ท้องถิ่นโดยปัจจุบันผู้ประกอบการที่ถือเป็นคู่แข่งที่ส�ำคัญ

- 37 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

โดยตรงของบริษทั และบริษทั ย่อย ได้แก่ ผูป้ ระกอบการต่าง ประเทศจ�ำนวนประมาณ 5-6 ราย ซึง่ มีขนาดธุรกิจใหญ่กว่า บริษัทและบริษัทย่อย อย่างไรก็ตาม บริษัทมองว่าความ สามารถในการยืดหยุน่ ของการให้บริการของบริษทั และบริษทั ย่อยที่มากกว่า รวมถึงการให้บริการที่ครอบคลุมครบวงจร ท�ำให้บริษัทและบริษัทย่อยมีความสามารถในการแข่งขัน กับบริษัทคู่แข่งดังกล่าวได้ ทั้งนี้ การให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศทาง ทะเล (Sea Freight) ผู้น�ำเข้า-ส่งออกสามารถเลือกใช้บริการ จากสายการเดินเรือโดยตรง หรือเลือกใช้บริการตัวแทนรับ จัดการขนส่ง อย่างไรก็ตาม สายการเดินเรือส่วนใหญ่จะให้ บริการประเภทท่าเรือสู่ท่าเรือ (Port-to-Port) ด้วยปริมาณ การขนส่งเยอะ ในขณะทีต่ วั แทนรับจัดการขนส่งสามารถเสนอ การให้บริการทีย่ ดื หยุน่ ได้มากกว่า ซึง่ ผูน้ ำ� เข้า-ส่งออก มีแนว โน้มทีจ่ ะเลือกใช้ตวั แทนรับจัดการขนส่งเพิม่ ขึน้ ส�ำหรับการ ให้บริการรับจัดการขนส่งระหว่าง ประเทศทางอากาศ (Air Freight) เนื่องจากผู้ประกอบการสายการบินจะไม่มีการให้ บริการตรงกับลูกค้า ดังนัน้ ผูน้ ำ� เข้า-ส่งออกจะใช้บริการจาก ตัวแทนรับจัดการขนส่ง ความได้เปรียบในการแข่งขัน จุดเด่นในการแข่งขันส�ำหรับธุรกิจให้บริการขนส่งของ บริษทั อยูท่ ศี่ กั ยภาพในการให้บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพครอบคลุม ความต้องการของลูกค้า ปลอดภัย และตรงเวลา รวมถึง ความพร้อมของบุคลากรและยานพาหนะ ซึ่งด้วยความรู้ ทักษะความช�ำนาญ และประสบการณ์ทผี่ า่ นมา ท�ำให้บริษทั มีความพร้อมในด้านต่างๆ ในการแข่งขัน โดยผูบ้ ริหารเชือ่ ว่า บริษัทมีจุดเด่นในการแข่งขัน ดังต่อไปนี้ 1. มี ป ระสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ รั บ จั ด การขนส่ ง ระหว่ า ง ประเทศมานาน มีความเชีย่ วชาญในธุรกิจ และได้รบั ความไว้วางใจจากลูกค้ามาตลอดระยะเวลากว่า 20 ปี 2. มีการน�ำเสนอบริการที่หลากหลายและครบวงจร (One Stop Service) ให้กับลูกค้า โดยสามารถให้ บริการรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ทัง้ การน�ำเข้า และส่งออก โดยการขนส่งทั้งทางทะเล (แบบเต็มตู้ และแบบไม่เต็มตู)้ และทางอากาศ และการให้บริการ

ด้านพิธกี ารศุลกากร เพือ่ รองรับความต้องการทีห่ ลาก หลายของลูกค้า รวมถึงการให้บริการขนส่งสินค้าแบบ ประตูสปู่ ระตู (Door to Door) และ แบบ Ex-work ตลอด จนการให้ค�ำปรึกษาในการจัดการระบบโลจิสติกส์ เพื่อให้สามารถประหยัดต้นทุนให้ลูกค้า 3. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และมีความช�ำนาญ ในงานที่รับผิดชอบ เช่น มีผู้ช�ำนาญการศุลกากรให้ ค�ำปรึกษา ด้านพิธกี ารศุลกากรและสิทธิประโยชน์ใน การน�ำเข้าและส่งออกระหว่างประเทศ 4. มีเครือข่ายที่ดีกับบริษัทสายการเดินเรือ/สายการบิน และตัวแทนในต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นพันธมิตรทาง ธุรกิจที่ส�ำคัญ รวมทั้งบริษัทยังเป็นภาคีสมาชิกของ สมาคมจัดการ ขนส่งระหว่างประเทศทั้งในและต่าง ประเทศ ได้แก่ TIFFA, TAFA, CGLN ภายใต้ WCA Family Network 5. การเข้าควบรวมทางธุรกิจกับ บริษัท Sun Express Logistics (SEL) ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศสิงคโปร์ โดยเป็น ผู้ด�ำเนินธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งมุ่งเน้นให้บริการในกลุ่มสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ให้ กับผู้ผลิตรายใหญ่ระดับโลก และมีความเชี่ยวชาญ ทางด้านจัดการขนส่งทางอากาศ ท�ำให้บริษทั เพิม่ ขีด ความสามารถในการแข่งขันทางการขนส่งทางอากาศ 6. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยใน กระบวนการท�ำงาน เพื่อเพิ่มศักยภาพและลดความ ซ�้ำซ้อน ในการท�ำงาน 7. มีศกั ยภาพในการบริหารต้นทุนเพือ่ เพิม่ ความสามารถ ในการแข่งขัน โดยมีการจองระวางตูค้ อนเทนเนอร์ใน ปริมาณมาก เพือ่ ให้สามารถต่อรองราคากับสายการ เดินเรือและน�ำเสนอลูกค้าในราคาที่แข่งขันได้ ซึ่งจะ ช่วยลดต้นทุนในการขนส่งสินค้าให้กับลูกค้าด้วย

การจัดหาบริการ การจัดหาแหล่งที่มาของบริการ ธุรกิจรับจัดการขนส่งระหว่างประเทศ ธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งทางด้านโลจิสติกส์ระหว่าง ประเทศเป็นธุรกิจที่ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ใน

- 38 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

การบริหารจัดการกระบวนการท�ำงาน เพื่อให้การบริการมี ประสิทธิภาพ ปัจจัยส�ำคัญของกระบวนการจัดการขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศ ประกอบด้วย การจัดหาระวางเรือ/ เครื่องบิน ซึ่งถือเป็นต้นทุนหลักของการให้บริการขนส่งของ บริษัท และการประสานงานกับตัวแทนในต่างประเทศเพื่อ ให้บริการแก่ลูกค้า ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (1) การจัดหาระวางเรือ/เครื่องบิน เนือ่ งจากค่าระวางเรือ/เครือ่ งบิน เป็นต้นทุนหลักในธุรกิจ ให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ บริษทั และ บริษทั ย่อยจึงมีการวางแผนการจองระวางเรือ/เครือ่ งบิน เพือ่ ให้สามารถบริหารต้นทุนได้อย่างดีที่สุด การจองระวางเรือ เส้นทางไทย-สหรัฐอเมริกา จะมีการจัดท�ำเป็นสัญญากับ สายการเดินเรือ (Service Contract) โดยจะมีการต่อสัญญา ทุกปี ในสัญญาจะระบุข้อตกลงเรื่องราคาค่าระวางภายใต้ ปริมาณการซือ้ ระวางขัน้ ต�ำ่ (Minimum Quality Commitment: MQC) โดยบริษัทจะมีการประเมินปริมาณ งานจากข้อมูล ในอดีตและประเมินแนวโน้มงานที่คาดว่าจะได้รับก่อนที่จะ ลงนามในสัญญา เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถขายระวางได้ ตามทีต่ กลงในสัญญา ซึง่ การจองระวางในปริมาณมากท�ำให้ สามารถต่อรองค่าระวางและท�ำให้ตน้ ทุ ของบริษทั แข่งขันได้ ทั้งนี้ ราคาที่ระบุในสัญญาสามารถเปลี่ยนแปลงได้ โดย สายการเดินเรือจะต้องแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ส�ำหรับ การจองระวางเรือในเส้นทางอืน่ และการจองระวางเครือ่ งบิน จะไม่มีการจัดท�ำเป็นสัญญา โดยบริษัทจะน�ำข้อมูลการใช้ บริการของลูกค้าทีผ่ า่ นมา แล้วท�ำการจองระวางเรือล่วงหน้า กับสายการเดินเรือ ซึ่งเมื่อลูกค้าติดต่อขอจองระวางเรือ บริษทั จะสามารถยืนยันการจองกับลูกค้าได้ทนั ที โดยบริษทั จะเป็นผู้คัดเลือกสายการเดินเรือ/สายการบินที่เหมาะสม ให้กับลูกค้า ทั้งนี้ ในบางกรณีบริษัทและบริษัทย่อยจะ ประสานงานกับตัวแทนในต่างประเทศเพื่อให้ช่วยบริษัท จัดหาระวางในกรณีที่บริษัทต้องให้บริการรับจัดการขนส่ง ในเขตประเทศต่างๆ ซึ่งในแต่ละปีบริษัทและบริษัทย่อยมี การจัดหาระวางเรือ/เครื่องบินจากผู้ประกอบการขนส่ง จ�ำนวน 15 ราย และ 10 ราย ตามล�ำดับ

นโยบายการคัดเลือกสายการเดินเรือ/สายการบิน/ Co-Loader 1. มีการให้บริการในเส้นทางที่ลูกค้าต้องการและมี ตารางการเดินทางที่ตรงกับความต้องการของลูกค้า 2. เป็นผู้ให้บริการที่มีความน่าเชื่อถือ 3. เป็นผู้ให้บริการทีมีต้นทุนที่แข่งขันได้ 4. เป็นผูใ้ ห้บริการทีม่ รี ะบบการติดตามงาน สามารถตรวจ ติดตามการเดินทางของสินค้าได้ (2) ตัวแทนต่างประเทศ (Oversea Agent) ในกรณีที่บริษัทมีการให้บริการรับจัดการขนส่งในเขต ต่างประเทศ บริษทั จะประสานงานกับตัวแทนทีเ่ ป็นพันธมิตร ทางการค้าในประเทศต่างๆ เพื่อช่วยดูแลการให้บริการเป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเป็นผู้ช่วยบริษัทในการ จัดเก็บค่าบริการในกรณีที่ลูกค้าระบุให้เรียกเก็บค่าบริการ ที่ปลายทางในต่างประเทศ ดังนั้น การคัดเลือกตัวแทนต่าง ประเทศจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ โดยตัวแทนของบริษทั ในต่างประเทศ ได้แก่ ผูป้ ระกอบการในธุรกิจรับจัดการขนส่งในประเทศต่างๆ ซึ่งมีประสบการณ์ความช�ำนาญและความน่าเชื่อถือในการ ให้บริการดังกล่าว ทั้งนี้ ตัวแทนดังกล่าวถือเป็นพันธมิตร และคูค่ า้ ทีส่ ำ� คัญ เนือ่ งจากตัวแทนดังกล่าวสามารถเลือกให้ บริษัทเป็นตัวแทนของตนเพื่อประสานงานและให้บริการใน เขตประเทศไทยได้ดว้ ยเช่นกัน กลุม่ บริษทั มีนโยบายในการ คัดเลือกตัวแทนต่างประเทศดังนี้ นโยบายการคัดเลือกตัวแทนต่างประเทศ (Oversea Agent) ตัวแทนในต่างประเทศแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลักๆ ดังนี้ 1. กลุ่มบริษัทพันธมิตร (Group Company)ได้แก่ กลุ่มเครือข่าย Sun Express Group ซึ่งประกอบ ด้วยบริษัทใน 6 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศเวียดนาม และประเทศมาเลเซีย โดยมี เครือข่ายทั่วโลกกว่า 100 แห่ง ถือเป็นกลุ่ม ตัวแทนต่างประเทศที่มีความส�ำคัญ 2. กลุม่ ภาคี (Conference) ทีบ่ ริษทั เข้าร่วมเป็นสมาชิก อาทิเช่น, CGLN ภายใต้ WCA Family Network เป็นสมาคมทีม่ สี มาชิกเป็นผูป้ ระกอบการจัดการ

- 39 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

3.

ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในประเทศต่างๆ และจะมีการประชาสัมพันธ์บริษัทที่เป็นสมาชิก กับสมาชิกอืน่ ๆ เพือ่ ให้เป็นทีร่ จู้ กั โดยบริษทั ทีจ่ ะ เข้าร่วมเป็นสมาชิกได้ตอ้ งมีความน่าเชือ่ ถือ และ ผ่านการตรวจสอบต่างๆ จากสมาคมแล้ว กลุ่มตัวแทนต่างประเทศอื่นๆ ซึ่งเป็นกลุ่มเครือ ข่ายที่บริษัทท�ำงานด้วยมาเป็นระยะเวลานาน กว่า 10 ปี โดยมีการจัดท�ำข้อตกลงทางธุรกิจ (Agency Agreement) ระหว่างกัน

บริษัทและบริษัทย่อยจะพิจารณาเลือกกลุ่มที่ 1 และ กลุ่มที่ 2 เป็นหลัก เนื่องจากทั้งสองกลุ่มนี้จะมีความน่าเชื่อ ถือและความรับผิดชอบโดยบริษัทจะพิจารณาจากความ สามารถในการท�ำงาน ความรวดเร็วในการตอบค�ำถาม และ ติดตามงาน และต้นทุนในการท�ำงานที่มีประสิทธิภาพ ธุรกิจให้บริการขนส่งในประเทศ ธุรกิจให้บริการขนส่งในประเทศของบริษัทและบริษัท ย่อย เป็นการให้บริการเพื่อสนับสนุนธุรกิจรับจัดการขนส่ง ระหว่างประทศ ซึ่งต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ใน การบริหารจัดการกระบวนการท�ำงาน เพื่อให้การบริการมี ประสิทธิภาพและมีมาตรฐานความปลอดภัยสูง ปัจจัยส�ำคัญ ของกระบวนการขนส่งที่มีคุณภาพ มีดังนี้ (1) การจัดหาและการซ่อมบ�ำรุงยานพาหนะทีใ่ ช้ ในกระบวนการขนส่ง ยานพาหนะทีส่ ำ� คัญส�ำหรับใช้ในการขนส่ง ประกอบด้วย รถหัวลาก และหางพ่วงบรรทุก โดยบริษทั จะสัง่ ซือ้ จากผูผ้ ลิต หรือตัวแทนจ�ำหน่ายที่มีความน่าเชื่อถือ พร้อมทั้งพิจารณา ถึงคุณภาพของรถขนส่งให้เป็นไปตามที่กฎหมายก�ำหนด ซึ่งในปัจจุบันบริษัทมีการสั่งซื้อรถจากผู้ผลิตหรือตัวแทน จัดจ�ำหน่าย โดยรถขนส่งทุกคันได้มีการท�ำประกันภัยชั้น 1 และประกันภัยสินค้าที่รับขนส่ง ซึ่งมีทุนประกันภัยมูลค่า สูงกว่าความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น บริษทั และบริษทั ย่อยได้จดั ให้มกี ารตรวจเช็คสภาพตาม ระยะการใช้งานของรถหัวลาก และหางพ่วงบรรทุก โดยจะ

ท�ำการตรวจเช็คตามตารางเวลาที่ได้มีการวางแผนไว้แล้ว พร้อมทั้งท�ำการซ่อมบ�ำรุงและเปลี่ยนอะไหล่ที่เสื่อม สภาพ ตามระยะการใช้งาน เพือ่ ให้รถสามารถใช้งานได้อย่าง สมบูรณ์ และมีอายุการใช้งานยาวนานทั้งนี้ บริษัทได้จัดท�ำสัญญา ว่าจ้างการให้บริการซ่อมบ�ำรุงรถบรรทุกฮีโน่ กับบริษทั ฮีโน่ มอเตอร์สเซลส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เพื่อการซ่อมแซมและ บ�ำรุงรักษา (2) การจัดหาและการฝึกอบรมพนักงานขับรถ พนักงานขับรถถือเป็นบุคลากรที่มีส่วนส�ำคัญส�ำหรับ งานบริการขนส่งที่ปลอดภัย ดังนั้น บริษัทและบริษัทย่อย จึงให้ความส�ำคัญในการคัดสรรพนักงานขับรถที่มีคุณภาพ มาร่วมงาน โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกหลักๆ ดังต่อไปนี้ • พนักงานขับรถต้องมีประสบการณ์ในการขับรถ บรรทุกอย่างน้อย 2 ปี • ต้องมีใบอนุญาตขับรถส�ำหรับการขับขี่รถขนส่ง ประเภท 3 และ 4 ส�ำหรับขับรถประเภทรถหัวลาก • ต้องผ่านการทดสอบจากบริษัท เมื่อได้รับการบรรจุเป็นพนักงานขับรถแล้ว พนักงานขับ รถต้องผ่านการฝึกอบรมก่อนที่จะปฏิบัติงานจริง (3) การจัดหาน�้ำมันเชื้อเพลิง ปัจจุบันรถขนส่งของบริษัทใช้ก๊าช NGV และน�้ำมัน โดย บริษทั และบริษทั ย่อยใช้บริการ PTT Fleet Card ของธนาคาร กสิกรไทย ซึ่งเปรียบเสมือนบัตรเครดิตส�ำหรับใช้จ่ายช�ำระ ค่าน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงภายในวงเงินทีจ่ ำ� กัดไว้ ซึง่ จะมีบตั รประจ�ำ รถขนส่งแต่ละคัน โดยในบัตรจะระบุทะเบียนรถและเมื่อใช้ จ่ายช�ำระจะต้องระบุรหัสผ่าน บริษทั และบริษทั ย่อยจะมีการ ค�ำนวณอัตราการใช้เชือ้ เพลิงเปรียบเทียบกับอัตราการใช้จริง เพื่อให้สามารถควบคุมการใช้เชื้อเพลิงในการขนส่งได้ (4) การจัดหาผู้ประกอบการรถบรรทุกขนส่ง (Outsource) บริษัทเป็นผู้ให้บริการขนส่งด้วยรถบรรทุกหัวลาก-หาง พ่วงแก่ลกู ค้าด้วยตัวเอง ยกเว้นในบางช่วงเวลาทีจ่ ำ� นวนรถ บรรทุกไม่เพียงพอทีจ่ ะให้บริการแก่ลกู ค้า โดยบริษทั จะติดต่อ

- 40 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

กับผูป้ ระกอบการรถบรรทุกขนส่ง (Outsource) รายอืน่ ให้มา รับงานต่อไปเพือ่ ให้สามารถรองรับความต้อง การใช้บริการรถ บรรทุกขนส่งอย่างเพียงพอ โดยปัจจุบนั บริษทั มีผปู้ ระกอบการ ขนส่งที่อยู่ใน Approved Vendor List ประมาณ 3 ราย โดยมี เกณฑ์ในการเลือกผูป้ ระกอบการ คือ เป็นผูใ้ ห้บริการในรูปแบบ

บริษัท โดยให้บริการขนส่งสินค้าเป็นธุรกิจหลัก และต้องมี ประกันภัยรถยนต์และประกันสินค้าขั้นต�่ำ 1,500,000 บาท มี ความสามารถในการให้บริการมีปริมาณรถ และคุณภาพ ของรถตรงตามที่บริษัทต้องการ

ขั้นตอนการด�ำเนินงานให้บริการ สรุปขั้นตอนการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ - ขาออก ศึกษาข้อมูลและความต้องการของลูกค้า น�ำเสนอเส้นทางการขนส่ง รูปแบบการขนส่ง และวิธีการขนส่งที่เหมาะสมให้กับลูกค้าอย่างน้อย 3 ทางเลือก เพื่อ ให้ลูกค้าพิจารณาเลือกแผนการจัดส่งที่เหมาะสมที่สุด กรณี FCL และเครื่องบิน: จะจองระวางเรือ/เครื่องบิน เมื่อได้รับการยืนยันจากลูกค้า กรณี LCL: จะจองระวางเรือล่วงหน้าและน�ำพื้นที่ระวางไปเสนอขายแก่ลูกค้า ส่งเอกสารยืนยันรายละเอียดการจัดส่งให้แก่ลูกค้าเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และนัดหมายการส่งมอบสินค้า

กรณีการขนส่งแบบเต็มตู้ คอนเทนเนอร์ สินค้าจะถูกบรรจุใส่ตู้คอนเทนเนอร์ใน สถานที่ของลูกค้าแล้วจึงมาส่งมอบให้ บริษัทที่ท่าเรือ

กรณีการขนส่งแบบไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์ ลูกค้าจะส่งมอบสินค้าให้บริษัทที่ท่าเรือ เพื่อบรรจุเข้าตู้คอนเทนเนอร์

กรณีการขนส่งทางอากาศ ลูกค้าจะส่งมอบสินค้าทีท่ า่ อากาศยาน

ใบตราส่ง (Bill of Lading: B/L หรือ Airway Bill: AWB) บริษัทจัดส่ง B/L ที่ได้รับจากสายการเดินเรือ หรือ AWB ที่ได้รับจาก สายการบิน เพื่อน�ำไปรับสินค้า กรณีลูกค้าเป็นผู้รับผิดชอบในการรับสินค้าปลายทาง จัดส่งเอกสารใบตราส่งให้แก่ลูกค้าพร้อมออก Invoice เรียก เก็บเงินลูกค้า

กรณีลูกค้าให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินการพิธีการศุลกากรและส่งสินค้าที่ปลายทาง 1. จัดเอกสารใบตราส่งให้แก่ลูกค้า พร้อมออก Invoice เรียกเก็บเงินลูกค้า 2. จัดเอกสารใบตราส่งและ Invoice & Packing List ให้ตัวแทนใน ต่างประเทศ 3. ประสานงานกับตัวแทนต่างประเทศด�ำเนินการพิธีการศุลกากรตลอดจน ตรวจสอบสภาพและส่งมอบสินค้าให้ผู้รับปลายทาง 4. ตัวแทนยืนยันการส่งมอบสินค้าให้บริษัททราบพร้อมท�ำ Settlement

บริษัทจะประสานงานกับตัวแทนต่างประเทศช่วยติดตาม สถานะของสินค้าจนถึงเมืองท่าปลายทาง - 41 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

สรุปขั้นตอนการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ - ขาเข้า ศึกษาความต้องการของลูกค้าผู้น�ำเข้า และน�ำเสนอทางเลือกในการให้บริการน�ำเข้าสินค้า ลูกค้าผู้น�ำเข้ายืนยันการใช้บริการในการน�ำเข้าสินค้า กรณีผู้ส่งออกเป็นผู้ด�ำเนินพิธีการศุลกากรและน�ำสินค้า ไปส่งมอบ ณ ท่าเรือ/ สนามบิน ต้นทาง (Port to Port)

กรณีตัวแทนของบริษัทในต่างประเทศเป็นผู้ด�ำเนิน พิธีการศุลกากรและรับสินค้า ณ สถานที่ของผู้ส่งออก ที่ต้นทาง (Ex-Work)

ตัวแทนของบริษัทในต่างประเทศประสานงานกับสายเรือ / สายการบิน ในการแจ้งยืนยันตารางเรือให้กับผู้ส่งออก และลูกค้าผู้น�ำเข้าพร้อมนัดหมายวันที่ท�ำการบรรจุสินค้าขึ้นเรือ / เครื่องบิน (Loading) ตัวแทนบริษัทในต่างประเทศท�ำการออกเอกสารใบตราส่งสินค้าให้กับผู้ส่งออกที่ต้นทาง หลังจากสินค้าออกจากเมืองท่าต้นทาง ประสานงานกับตัวแทนบริษัทในต่างประเทศในการติดตามสถานะของสินค้าและแจ้งลูกค้าผู้น�ำเข้าล่วงหน้าก่อน ที่สินค้าจะถึงปลายทาง (ETA) เพื่อเตรียมเอกสารในการน�ำเข้า

กรณีลกู ค้าผูน้ ำ� เข้าเป็นผูด้ ำ� เนินพิธกี ารศุลกากรและรับ สินค้า ณ ท่าเรือ / สนามบิน ทีป่ ลายทาง (Port to Port)

กรณีบริษัทเป็นตัวแทนลูกค้าผู้น�ำเข้าในการด�ำเนิน พิธีการศุลกากรและขนส่งสินค้าจนถึงสถานที่ของลูกค้า ผู้น�ำเข้า (Door)

บริษัทท�ำการแจ้งสินค้าถึงปลายทางให้แก่ลูกค้าผู้น�ำเข้า ประสานงานส่งมอบใบสั่งปล่อยสินค้า (Delivery Order: D/O) ให้กับลูกค้าผู้น�ำเข้าพร้อมเก็บค่าใช้จ่าย ในการให้บริการ

บริษัทท�ำการแจ้งสินค้าถึงปลายทางให้แก่ลูกค้า ผู้น�ำเข้าประสานงานเพื่อรับใบสั่งปล่อยสินค้า (Delivery Order: D/O) จากสายเรือ / สายการบิน เพื่อด�ำเนินพิธีการศุลกากรขาเข้า

นัดหมายกับลูกค้าผู้น�ำเข้าเพื่อจัดส่งสินค้า ณ สถานที่ ของลูกค้าผู้น�ำเข้าพร้อมเก็บค่าใช้จ่ายในการให้บริการ

- 42 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการด้านกระบวนการ ให้บริการ บริษัทได้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ช่วยเพิม่ ศักยภาพและลดความซ�ำ้ ซ้อนในการท�ำงาน มีระบบ

ตรวจวัดที่มีประสิทธิภาพ เพือ่ ตรวจสอบระยะเวลาในการ ท�ำงานในแต่ละส่วนงานให้เป็นไปตามเป้าหมายคุณภาพที่ บริษัทก�ำหนด

สรุปการเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิก (Conference) ทั้งในและต่างประเทศ

ชื่อสมาคม

ตรา สัญลักษณ์

บริษัทที่ เป็นสมาชิก

สมาคมในประเทศ สมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ WICE (Thai International Freight Forwarders Association: TIFFA)

วันที่ วันสิ้นสุด เป็นสมาชิก การเป็นสมาชิก 6 ก.พ. 45

ไม่มีก�ำหนด

สมาคมตัวแทนขนส่งสินค้าทางอากาศไทย (Thai Airfreight Forwarders Association: TAFA)

WICE

ปี 2547

31 ม.ค. 63

สมาคมชิปปิ้งแห่งประเทศไทย (The Customs Broker and Transportation Association of Thailand: CTAT)

WICE

12 ก.พ. 57

11 ก.พ. 65

หอการค้าไทย (The Thai Chamber of Commerce Member ship)

WICE

17 ส.ค. 53

ไม่มีก�ำหนด

สมาคมต่างประเทศ Leading the World in Logistics Partnering

WICE

26 ต.ค. 48

25 ต.ค. 62

หมายเหตุ: ในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกจะมีค่าสมาชิกรายปี

- 43 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

WCA เป็นเครือข่ายกิจการบริการการขนส่งที่ใหญ่ มี สมาชิกกว่า 5,700 บริษัทใน 189 ประเทศ โดย WCA ประกอบด้วย เครือข่ายจ�ำนวนมากและความช�ำนาญใน การให้บริการ สิทธิประโยชน์ของสมาชิก 1. รายชื่อสมาชิกจะเข้าไปอยู่ใน list เพื่อง่ายต่อการ หาและเลือกใช้งาน 2. Financial Protection Plan เป็นการเสนอครอบคลุม วงเงินทีไ่ ม่ได้รบั ช�ำระจากสมาชิกลูกหนี้ ให้สมาชิก เจ้าหนี้สูงสุด 50,000 USD 3. การประชุมเครือข่ายประจ�ำปีเพือ่ ให้ประเทศสมาชิก มาพบปะและร่วมเจรจาธุรกิจในรูปแบบ Workshop เป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์และแลกเปลี่ยน ความร่วมมือระหว่างกัน โดยแต่ละประเทศสามาร ถนัดหมายเพื่อพบปะเจรจากันในงานนี้ ท�ำให้ลด ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปเจรจา ในแต่ละประเทศ 4. ช่วยจัดการปัญหาข้อพิพาทระหว่างสมาชิก

5. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทไม่มีข้อพิพาทใดๆ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และไม่มี ประวัติกระท�ำความผิดตามกฎระเบียบเกี่ยวกับกฎหมาย สิง่ แวดล้อมกับหน่วยงานภาครัฐ ส�ำหรับการให้บริการขนส่ง ด้วยรถบรรทุกอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในเรื่องของ มลภาวะทางอากาศอันเกิดจากควันจากท่อไอเสียของรถ ขนส่ง ทั้งนี้ บริษัทและบริษัทย่อยได้ตระหนักถึงผลกระทบ ดังกล่าว จึงได้มกี ารให้ความรูเ้ จ้าหน้าทีพ่ นักงานในการ ดูแล และตรวจสอบสภาพรถอย่างสม�่ำเสมอเพื่อให้เป็นไปตาม กฎเกณฑ์ของหน่วยราชการ 6. สิทธิประโยชน์จากบัตรส่งเสริมการลงทุนจาก คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน - ไม่มี -

- 44 -

7. งานที่ยังไม่ได้ส่งมอบ - ไม่มี –

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

1.6 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ถาวรที่บริษัทใช้ในการประกอบธุรกิจมีมูลค่าสุทธิหลังหักค่าเสื่อมราคาสะสมเท่ากับ 223,528,841 ล้านบาท รายละเอียดสินทรัพย์ถาวร ได้ดังนี้

ประเภทของสินทรัพย์

มูลค่าสุทธิ ลักษณะกรรมสิทธิ์ หลังหักค่าเสื่อมราคาสะสม (บาท)

ภาระผูกพัน

สินทรัพย์ถาวร 1 ที่ดิน โฉนดเลขที่ 69738 เนื้อที่ 6 ไร่ 0 งาน 70 ตารางวา ที่ตั้ง ต�ำบลหน่องขาม อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

เป็นเจ้าของ

2 อาคารและส่วนปรับปรุง เป็นเจ้าของ สถานที่จอดรถและ เป็นเจ้าของ วางตู้สินค้า 3 เครื่องตกแต่งและ เป็นเจ้าของ เครื่องใช้ส�ำนักงาน 4 ยานพาหนะ เป็นเจ้าของ เป็นผู้เช่า (เช่าการเงิน) รวม

24,220,000

ไม่มี

22,059,899 13,086,578

ไม่มี ไม่มี

76,833,000

ไม่มี

73,395,066 16,934,298

ไม่มี ไม่มี

223,528,841

หมายเหตุ: ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

- 45 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

นอกจากทรัพย์สนิ ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจของบริษทั ดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริษทั ได้เช่าพืน้ ทีส่ ำ� นักงาน โดยมีรายละเอียด สัญญาเช่าดังนี้

สัญญาเช่า

รายละเอียดของสัญญา

1. สัญญาเช่าที่ดินเพื่อปลูกสร้างอาคาร โฉนดเลขที่ 53901 เลขที่ดิน 376 หน้าส�ำรวจ 11348 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร เนื้อที่ดนิ 1 งาน 70 2/10 ตารางวา

ผู้เช่า : WICE ผู้ให้เช่า : นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร (เป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นของบริษัท) ระยะเวลา : 1 กรกฎาคม 2557 – 30 มิถนุ ายน 2577 ค่าเช่า : ปีที่ 1 - 2 เดือนละ 92,674 บาท ปีที่ 3 - 5 เดือนละ 101,941 บาท ปีที่ 6 - 8 เดือนละ 112,135 บาท ปีที่ 9 - 11 เดือนละ 123,349 บาท ปีที่ 12 -14 เดือนละ 135,684 บาท ปีที่ 15 -17 เดือนละ 149,252 บาท ปีที่ 18 -20 เดือนละ 164,177 บาท รวมค่าเช่าทั้งสิ้นจ�ำนวน 30,539,586 บาท วัตถุประสงค์ : เพื่อใช้เป็นส�ำนักงานใหญ่ของบริษัท

2. สัญญาเช่าที่ดินและอาคาร ** - โฉนดเลขที่ 164087 เลขที่ดิน 5612 หน้าส�ำรวจ 32222 ต�ำบลสุรศักดิ์ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เนื้อที่ดิน 42 ตารางวา - อาคารพาณิชย์บนที่ดนิ ดังกล่าวจ�ำนวน 3 ชั้น 2 คูหา **บริษัทมีการซื้อที่ดินและอาคารดังกล่าว จากบุคคลเกีย่ วโยงเมือ่ วันที่ 10 กรกฎาคม 2561

ผู้เช่า : WICE ผู้ให้เช่า : นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร (เป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นของบริษัท) ระยะเวลา : 1 มกราคม 2561 – 30 มิถนุ ายน 2561 ค่าเช่า : 35,000 บาทต่อเดือน วัตถุประสงค์ : เพื่อใช้เป็นหน่วยบริการของบริษัท ที่แหลมฉบัง

- 46 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

สัญญาเช่า

รายละเอียดของสัญญา

3. สัญญาเช่าที่ดิน - โฉนดที่ดินเลขที่ 53902 เล่ม 540 หน้า 2 เลขที่ดิน 977 หน้าส�ำรวจ 9146 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร เนื้อที่ดิน 1 งาน 70 2/10 ตารางวา

ผู้เช่า : WICE ผู้ให้เช่า : นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร (เป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นของบริษัท) ระยะเวลา : 30 มิถุนายน 2561-30 มิถุนายน 2562 ค่าเช่า : 35,000 บาทต่อเดือน วัตถุประสงค์ : เพื่อใช้เป็นที่จอดรถส�ำหรับพนักงาน ผู้เช่า : WICE ผู้ให้เช่า : บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) ระยะเวลา : 1 กรกฎาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2562 พื้นที่เช่า : 51.25 ตารางเมตร ค่าเช่า : 17,937.50 บาทต่อเดือน วัตถุประสงค์ : เพื่อใช้เป็นสาขาของบริษัทย่อย

4. สัญญาเช่าส�ำนักงาน สาขาสุวรรณภูมิ - ห้องภายในอาคารตัวแทนขนส่งสินค้า ทางอากาศ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ - อาคาร AO3 หมายเลข 11 (ชั้น 4)

สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีบ่ ริษทั ใช้ในการประกอบธุรกิจประกอบด้วย 1. ความสัมพันธ์ของกลุ่มลูกค้า มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ เท่ากับ 244,591,230 ล้านบาท 2. สิทธิในการซือ้ หุน้ เพิม่ มีมลู ค่าตามบัญชีสทุ ธิ เท่ากับ 1,764,141 ล้านบาท 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ มีมูลค่าตามบัญชีสุทธิ เท่ากับ 9,819,046 ล้านบาท

- 47 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

2

การจัดการและการกำ�กับดูแล

2.1 ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น หลักทรัพย์ของบริษัท ทุนจดทะเบียน 325,949,750 บาท ทุนทีอ่ อกและช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว 325,949,750 บาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญ 651,899,500 หุน้ หุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นละ 0.50 หุ้น บริษัทไม่มีการออกหุ้นประเภทอื่นนอกเหนือจาก หุ้นสามัญ

แปลงได้ โดยจะขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน สภาพคล่อง ความจ�ำเป็น และความเหมาะสม อื่นๆ ในอนาคต ตามที่ คณะกรรมการ บริษัทฯ และ/หรือ ผู้ถือหุ้นของบริษัท ทั้งนี้ ในปี 2560 บริษัท มีก�ำไร ส�ำหรับปีจ�ำนวน 102,182,602 บาท ซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีมติให้เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือ หุน้ ในวันที่ 25 เมษายน 2561 เพือ่ อนุมตั จิ า่ ยปันผลในอัตรา หุ้นละ 0.12 บาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 76 ของก�ำไร ส�ำหรับปีตามงบการเงินรวม

ผู้ถือหุ้น ผ ู้ถือหุ้น 10 รายแรก (ณ วันที่ 30 มกราคม 2562) ผู้ถือหุ้น ล�ำดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ดร. อารยา คงสุนทร นายชูเดช คงสุนทร นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร นางสาวพรไพเราะ ตันติกุลสุนทร นายพัทธดน คงสุนทร กองทุนเปิด ทิสโก้ Mid/Small Cap อิควิต ี้ MR. LIM MENG PUI MR. HOCK LOONG LIEN นางสาวศศิธร ตันติกุลสุนทร MR.TAI WAI FUNG ผู้ถือหุ้นอื่น รวม

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทและ บริษัทย่อย

บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตรา ไม่น้อยว่าร้อยละ 50 ของก�ำไรสุทธิหักภาษีเงินได้นิติบุคคล และส�ำรองตามกฎหมายส�ำหรับงบการเงินเฉพาะของบริษทั ฯ อย่างไรก็ตามการจ่ายเงินปันผล ดังกล่าวอาจมีการเปลีย่ น

จ�ำนวนหุ้น 144,728,780 99,739,320 66,857,280 46,698,200 21,157,000 19,890,000

สัดส่วน (ร้อยละ) 22.201 15.300 10.256 7.163 3.245 3.051

19,202,800 19,202,800 16,845,300 15,577,060 182,000,960 651,899,500

2.946 2.946 2.584 2.389 27.919 100

ส�ำหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อย ซึง่ บริษทั ถือหุ้นร้อยละ 99.99 บริษัทพิจารณาถึงผลการด�ำเนินงาน และค�ำนึงโครงสร้างและสถานะทาง การเงิน และไม่มนี โยบาย ที่ก่อให้เกิดการยักย้ายถ่ายเทผลประโยชน์

- 48 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

อัตราการจ่ายเงินปันผลจากการด�ำเนินงานแต่ละปี ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา

ปี 2558 2559 2560

เงินปันผล ระหว่างกาล (บาท/หุ้น) ไม่มี ไม่มี ไม่มี

เงินปันผลประจ�ำปี (บาท/หุ้น) 0.07 0.08 0.12

รวม (บาท/หุ้น) 0.07 0.08 0.12

อัตราการจ่ายเงินปัน ผลต่อก�ำไรสุทธิ* (ร้อยละ) 69 91 76

หมายเหตุ : *ก�ำไรสุทธิ หมายถึง ก�ำไรส�ำหรับปีส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ **คณะกรรมการบริษัทมีมติให้เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ในวันที่ 25 เมษายน 2561 เพื่ออนุมัติจ่ายเงิน ปันผล ประจ�ำปี 2560 ในอัตราหุ้นละ 0.12 บาท

- 49 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

2.2 โครงสร้างการจัดการ (ณ วันที่ 1 มกราคม 2562)

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ผู้ตรวจสอบภายใน

เลขานุการบริษัท

กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายปฏิบัติการและสนับสนุน องค์กร ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

SBU 1 Sea Freight

ฝ่ายปฏิบัติการ

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชีและการเงิน และ เทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ฝ่ายธุรการ

SBU 2 Air Freight

ฝ่ายการตลาด

SBU 3 Logistics Service & Solution Provider SBU 4 Distribution Center - 50 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

โครงสร้างการจัดการของบริษัท

7

6

2

1

3

5

คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 8 คนดังนี้ 1. นายเอกพล พงศ์สถาพร ประธานกรรมการ 2. รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์ กรรมการอิสระ 3. นายวิชัย แซ่เซียว กรรมการอิสระ 4. นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ กรรมการอิสระ 5. ดร. อารยา คงสุนทร กรรมการ 6. นายชูเดช คงสุนทร กรรมการ 7. นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร กรรมการ 8. นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม กรรมการ คณะกรรมการบริษัททั้ง 8 คน ไม่มีคุณสมบัติต้องห้าม ดังนี้ 1. ไม่มีประวัติการกระท�ำความผิดอาญาในความผิดที่ เกี่ยวกับทรัพย์ ซึ่งได้กระท�ำโดยทุจริต 2. ไม่มีประวัติการท�ำรายการที่อาจเกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กับ WICE ในรอบปีที่ผ่านมา องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีความรู้ ความสามารถเป็นผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบาย

4

8

ของบริษทั โดยร่วมกับผูบ้ ริหารระดับสูงวางแผนการด�ำเนิน งานทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว ตลอดจนก�ำหนดนโยบายทาง การเงิน การบริหารความเสี่ยง และภาพรวมขององค์กรมี บทบาทส�ำคัญในการก�ำกับดูแลตรวจสอบ ให้เป็นไปตาม แผนที่วางไว้อย่างเป็นอิสระ กรรมการที่มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท คือ กรรมการ บริษัท 2 คนในจ�ำนวน 4 คน คือ ดร. อารยา คงสุนทร หรือนายชูเดช คงสุนทร หรือนางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร หรือ นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม ลงลายมือชื่อร่วมกัน กรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหารจ�ำนวน 4 คน กรรมการบริษัทที่มาจากฝ่ายบริหารจ�ำนวน 4 คน กรรมการบริษัทที่เป็นกรรมการของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จ�ำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.อารยา คงสุนทร นายชูเดช คงสุนทร และนางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร กรรมการอิสระ จ�ำนวน 4 คน ได้แก่ นายเอกพล พงศ์สถาพร รศ.ดร. รุธริ ์ พนมยงค์ นายวิชยั แซ่เซียว และ นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ ซึง่ มีจำ� นวนกึง่ หนึง่ ของจ�ำนวน กรรมการทั้งหมด โดยกรรมการอิสระทั้ง 4 คน มีคุณสมบัติ เป็นไปตามข้อก�ำหนดคุณสมบัติกรรมการอิสระของบริษัท และตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน

- 51 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ตารางการด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อย ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8

คณะกรรมการ

คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ ตรวจสอบ (3 คน) และพิจารณาค่าตอบแทน บริหารความเสี่ยง (3 คน) องค์กร ( 3 คน)

นายเอกพล พงศ์สถาพร รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์ นายวิชัย แซ่เซียว นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ ดร. อารยา คงสุนทร นายชูเดช คงสุนทร นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม

- ประธาน กรรมการ กรรมการ - - - -

- - - ประธาน กรรมการ - - -

ประธาน กรรมการ

หมายเหตุ กรรมการล�ำดับที่ 1-4 เป็นกรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระตามข้อก�ำหนดคุณสมบัติกรรมการอิสระของบริษัท นางสาวสมใจ ปุราชะโก เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

การประชุมของคณะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัทต้องเข้าร่วมประขุมคณะกรรมการ บริษัทอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อรับทราบและร่วมตัดสินใจใน การด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยมีการจัดประชุมอย่างน้อย ปีละ 6 ครัง้ ซึง่ ก�ำหนดตารางการประชุมล่วงหน้าเป็นประจ�ำ ทุกปี และแจ้งกรรมการแต่ละคนให้ทราบตั้งแต่ต้นปีเพื่อ จัดสรรเวลาในการเข้าร่วมประชุม และอาจมีการประชุม ครั้งพิเศษเพื่อพิจารณาเรื่องที่มีความส�ำคัญเร่งด่วน ในการประชุม ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร เป็นผู้ร่วมกันก�ำหนดวาระการประชุมและพิจารณา เรือ่ งเข้าวาระการประชุมคณะกรรมการบริษทั โดยเปิดโอกาส ให้กรรมการแต่ละคนสามารถเสนอเรื่องต่างๆ เพื่อเข้ารับ การพิจารณาเป็นวาระการประชุมได้ ในปี 2561 ได้มีการประชุมคณะกรรมการจ�ำนวน 6 ครั้ง เป็นการประชุมที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าทั้งปี 6 ครั้ง โดยกรรมการบริษัททั้งคณะเข้าประชุมร้อยละ 100 และ กรรมการบริษัทแต่ละคน เข้าประชุมมากกว่าร้อยละ 95

ของจ�ำนวนครั้งทั้งหมด ทั้งนี้ ในการประชุมแต่ละครั้งได้มี การจัดส่งเอกสารประกอบวาระการประชุมในแต่ละวาระ ส่งให้กับกรรมการบริษัทแต่ละคนล่วงหน้าก่อนวันประชุม 7 วัน เพื่อให้กรรมการบริษัทมีเวลาที่จะศึกษาข้อมูลใน เรื่องต่างๆ อย่างเพียงพอ ในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ประธานกรรมการ ซึ่งท�ำ หน้าที่ประธานในที่ประชุมได้จัดสรรเวลาในการประชุม อย่างเพียงพอ และเปิดโอกาสให้กรรมการแสดงความคิด เห็นได้อย่างอิสระ ทัง้ นี้ การลงมติในทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทให้ถือมติของเสียงข้างมาก โดยให้กรรมการคนหนึ่ง มีเสียงหนึ่งเสียง และกรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วม ประชุม และ/หรือไม่ใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น หากคะแนนเสียงเท่ากันประธานในที่ประชุมจะออกเสียง เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฝ่ายจัดการได้เข้าร่วม ประชุมด้วย เพือ่ ให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์และรับทราบนโยบาย โดยตรง เพื่อให้สามารถน�ำไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ

- 52 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

เว้นแต่ในบางวาระทีป่ ระชุมเฉพาะกรรมการบริษทั หรือเฉพาะ กรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหาร ทั้งนี้ เพื่อความเป็นอิสระ ในการพิจารณาเรื่องต่างๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญเรื่อง การจั ด การเกี่ ย วกั บ ความขั ด แย้ ง ด้ า นผลประโยชน์ ข อง ผู้เกี่ยวข้อง อย่างรอบคอบเป็นธรรม และโปร่งใส รวมทั้งมี การเปิดเผยข้อมูลในเรื่องดังกล่าวอย่างครบถ้วน ในกรณีที่ กรรมการบริษัทคนหนึ่งคนใดมีส่วนได้เสียกับผลประโยชน์ เกี่ยวกับเรื่องที่มีการพิจารณา กรรมการที่มสี ่วนได้เสียต้อง ไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องนั้น เมื่อสิ้นสุดการประชุม เลขานุการบริษัทเป็นผู้มีหน้าที่ จัดท�ำรายงานการประชุมเสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมการ

บริษัทรับรองในวาระแรกของการประชุมครั้งถัดไป และให้ ประธานกรรมการบริษัทลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง ทัง้ นี้ กรรมการบริษทั สามารถแสดงความคิดเห็น ขอแก้ไขเพิม่ เติมรายงานการประชุมให้มคี วามละเอียดถูกต้องมากทีส่ ดุ ได้ รายงานการประชุมที่ที่ประชุมรับรองแล้วจะถูกจัดเก็บอย่าง เป็ น ระบบในรู ป แบบของเอกสารและจั ด เก็ บ ในรู ป แบบ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์พร้อมกับเอกสารประกอบวาระการ ประชุมต่างๆ เพื่อละดวกในการสืบค้น นอกจากนี้ บริษทั ได้จดั ให้มกี ารประชุมระหว่างกรรมการ ที่ไม่เป็นผู้บริหารโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม และ เปิดโอกาสให้กรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหารสามารถ แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ

ตารางการเข้าประชุมของคณะกรรมการบริษัท ปี 2561 (1 มกราคม 2561 – 31 ธันวาคม 2561)

รายชื่อกรรมการ

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ สรรหาและ พิจารณาค่า ตอบแทน จ�ำนวน 8 คน จ�ำนวน 3 คน จ�ำนวน 3 คน จ�ำนวนการ จ�ำนวน จ�ำนวน ประชุม การประชุม การประชุม ทั้งปี 6 ครั้ง ทั้งปี 5 ครั้ง ทั้งปี 1ครั้ง

คณะกรรมการ บริหารความ เสี่ยงองค์กร จ�ำนวน 3 คน จ�ำนวน การประชุม ทั้งปี 4 ครั้ง

คณะกรรมการ ประชุมผู้ถือหุ้น ตรวจสอบ ร่วมกับ ปี 2561 คณะกรรมการ บริหารความ เสี่ยงองค์กร จ�ำนวน 6 คน จ�ำนวน 8 คน จ�ำนวน จ�ำนวนการ การประชุม ประชุมทัง้ ปี 1ครัง้ ทั้งปี 1ครั้ง

1. นายเอกพล พงศ์สถาพร 6/6 2. รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์ 5/6 5/5 1/1 3. นายวิชัย แซ่เซียว 6/6 5/5 1/1 1/1 4. นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ 6/6 5/5 1/1 1/1 5. ดร. อารยา คงสุนทร 6/6 1/1 6. นายชูเดช คงสุนทร 6/6 7. นางสาวฐิติมา ตันติกลุ สุนทร 6/6 3/3 1/1 8. นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม 6/6 3/3 1/1 หมายเหตุ : 1. กรรมการอิสระ จ�ำนวน 4 คน ได้แก่ ล�ำดับที่ 1 – 4 2. กรรมการตรวจสอบ จ�ำนวน 3 คน ได้แก่ ล�ำดับที่ 2 – 4 3. กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน จ�ำนวน 3 คน ได้แก่ ล�ำดับที่ 3 – 5 4. กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร จ�ำนวน 3 คน ได้แก่ ล�ำดับที่ 7 – 8 และนางสาวสมใจ ปุราชะโก ฝ่ายบริหาร ลาออกจากบริษัท เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2561

- 53 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider

1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ประวัติคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

นายเอกพล พงศ์สถาพร อายุ 55 ปี (เป็นกรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ (ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2557) ต�ำแหน่ง : ประธานกรรมการ

วันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 31 กรกฎาคม 2557

ประสบการณ์ท�ำงาน ปี 2559 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษทั WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ ปี 2557 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2555 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษทั ทิปโก้ ฟูดส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2552 – ปี 2555 กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทยฟิลม์ อินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2549 – ปี 2555 รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทยคอปเปอร์อินดัสตรี จ�ำกัด (มหาชน)

คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาโท MBA (Finance & Marketing), North western University , USA ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัมมนางาน Chairman Forum (R-CF 1/2018) หัวข้อ “Digital Transformation – A Must for all Companies” Role of the Chairman Program (RCP) รุน่ ที่ 40/2017 Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) รุ่นที่ 12/2014 Company Secretary Program (CSP) รุ่นที่ 41/2011 Directors Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 141/2011 การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (1) กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทิปโก้ฟดู ส์ จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ/ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (5) ประธานกรรมการ บริษทั WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์

กรรมการ บริษัท ทิปโก้ ไพน์แอปเปิ้ล จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ทิปโก้ เอฟแอนด์บี จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ทิปโก้ รีเทล จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ทิปโก้ ไบโอเท็ค จ�ำกัด

จ�ำนวนการถือหุ้นสามัญของบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) ของตนเอง : ไม่มี คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้กรรมการ และผู้บริหาร : ไม่มี

- 54 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

รองศาสตราจารย์ ดร.รุธิร์ พนมยงค์ อายุ 52 ปี (เป็นกรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ (ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2557) ต�ำแหน่ง : ประธานกรรมการตรวจสอบ วันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 31 กรกฎาคม 2557 คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Ph.D.) International Logistics, Cardiff Business School, Cardiff University, Wales, United Kingdom ปริญญาโท Maitrise en Droit des Affaires Internationales (L.L.M International Business Law), Universite de Paris I ,Pantheon-Sorbonne, France ปริญญาตรี Licence en Droit International (L.L.B International Law), Universite de Paris I, Pantheon – Sorbonne,France การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 44/2004 Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 13/2006 Director Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 103/2007

ประสบการณ์ท�ำงาน ปี 2557 – ปัจจุบนั ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2557 – ปี 2561 ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั ซี.พี.แอล.กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2544 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ซีออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2539 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โกลบอล อินไซท์ จ�ำกัด กรรมการ บริษทั ลีฟวิง่ เฮด ควอเตอร์ จ�ำกัด ปี 2538 – ปัจจุบนั ทีป่ รึกษา United Nations Economics and Social Commission for Asia and the Pacific (UN-ESCAP) : transport division in Bangkok ปี 2536 – ปัจจุบัน อาจารย์ คณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชี สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ ระหว่างประเทศโลจิสติกส์และการ ขนส่ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ) จ�ำนวนการถือหุ้นสามัญของบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) ของตนเอง : ไม่มี คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ไม่มี

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (1) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั ซีออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท อื่นในปัจจุบัน (2) กรรมการ บริษัท โกลบอล อินไซท์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ลีฟวิ่ง เฮดควอเตอร์ จ�ำกัด

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้กรรมการ และผู้บริหาร : ไม่มี

- 55 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

นายวิชัย แซ่เซียว อายุ 52 ปี (เป็นกรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ (ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2557) ต�ำแหน่ง : กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน วันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 31 กรกฎาคม 2557 คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการ บัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 111/2014 ประกาศนียบัตรบัณฑิต (การภาษีอากร) (Graduate Diploma, Taxation) รุ่นที่ 2 Training in Accounting Course of Continuing Professional Development Program การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (4) ผู้อ�ำนวยการสายการเงิน (CFO) / กรรมการ บริษัท ไทรทัน จ�ำกัด ผู้อ�ำนวยการสายการเงิน (CFO) / กรรมการ บริษัท ไทรทัน - เอ็กซ์ จ�ำกัด ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการเงินและบัญชี บริษทั ไทรทัน ฟิล์ม จ�ำกัด ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการเงินและบัญชี บริษทั ไทรทัน - อิส จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงาน ปี 2557 – ปัจจุบนั ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2558 – ปัจจุบนั ผู้อำ� นวยการฝ่ายการเงินและบัญชี บริษัท ไทรทัน - อิส จ�ำกัด ปี 2558 – ปี 2560 ผู้อำ� นวยการฝ่ายการเงินและบัญชี บริษัท เพอร์ซุท อาร์ม (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ปี 2556 - ปัจจุบนั ผู้อำ� นวยการฝ่ายการเงินและบัญชี บริษัท ไทรทัน ฟิล์ม จ�ำกัด ผู้อ�ำนวยการสายการเงิน (CFO) / กรรมการ บริษัท ไทรทัน - เอ็กซ์ จ�ำกัด ปี 2543 – ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการสายการเงิน (CFO) / กรรมการ บริษัท ไทรทัน จ�ำกัด ปี 2556 – ปี 2558 ที่ปรึกษา กลุ่มบริษัท ศรีไทยใหม่ ปี 2548 – ปี 2557 หุ้นส่วน Trinity Auditor Office จ�ำนวนการถือหุ้นสามัญของบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) ของตนเอง : ไม่มี คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้กรรมการ และผู้บริหาร : ไม่มี

- 56 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ อายุ 69 ปี (เป็นกรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ (ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2557) ต�ำแหน่ง : กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (ไม่มี) ประสบการณ์ท�ำงาน ปี 2557 – ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2545 – ปี 2555 รองประธาน ฝ่ายโลจิสติกส์ บริษัท ยูแทคไทย จ�ำกัด

วันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 31 กรกฎาคม 2557 คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยี พระเจ้าเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การบริหารความเสี่ยงองค์กร รุ่นที่ 11 Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 111/2014 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ/ผู้บริหาร ในบริษัทจด ทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี)

จ�ำนวนการถือหุ้นสามัญของบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561) ของตนเอง : 15,000 หุ้น คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้กรรมการ และผู้บริหาร : ไม่มี

- 57 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ดร. อารยา คงสุนทร อายุ 54 ปี ต�ำแหน่ง : ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน วันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 31 กรกฎาคม 2557 คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาเอก บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขา วิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากร มนุษย คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ปริญญาโท การจัดการมหาบัณฑิต สาขาการจัดการ ทั่วไป วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

กรรมการ บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท WICE Logistics ((Hong Kong) Ltd. ประเทศฮ่องกง กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Research Alliance 2018 (R-RA 1/2018) Collective Action Against Corruption Conference (C-Conference 1/2018) เสวนารวมพลคนโลจิสติกส์ ปีที่ 15 Family Business Event (M-FBE 3/2017) Directors Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 181/2013 การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (4) - 58 -

ประสบการณ์ท�ำงาน ปี 2561– ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด ปี 2561 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั WICE Logistics ((Hong Kong) Ltd. ประเทศฮ่องกง ปี 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ ปี 2557 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัทซันเอ็กเพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2536 - ปี 2557 กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไวส์เฟรท เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2549 – ปี 2556 กรรมการผู้จัดการ บริษัท พร็อมทเฟรท แอนด์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

นายชูเดช คงสุนทร อายุ 55 ปี ต�ำแหน่ง : กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

วันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 31 กรกฎาคม 2557 คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์บัณฑิต สาขาพาณิชนาวี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ผู้บริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการตลาดทุน ( วตท) รุ่นที่ 24 /2017 Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ SEC/2014 การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (4) กรรมการ บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด กรรมการ บริษทั WICE Logistics ((Hong Kong) Ltd. ประเทศฮ่องกง

- 59 -

กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ประสบการณ์ท�ำงาน ปี 2561– ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด ปี 2561 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Ltd. ประเทศฮ่องกง ปี 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธรุกิจ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัทซันเอ็กเพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2549 - ปี 2557 กรรมการ บริษัท ไวส์เฟรท เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร อายุ 53 ปี ต�ำแหน่ง : กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายสนับสนุนองค์กร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี)

วันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 31 กรกฎาคม 2557

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (1) กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ สาขาประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย เสวนางานรวมพลคนโลจิสติกส์ ปีที่ 15 HCM Forum “People strategy is business strategy” สัมมนา Next Step Thailand : EEC ยุทธศาสตร์ไทย เชื่อมโลก Ethical Leadership Program (ELP) รุ่นที่ 10/2017 Anti-Corruption the Practical Guide (ACPG) รุ่นที่ 42/2017 Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ SEC/2014

- 60 -

ประสบการณ์ท�ำงาน ปี 2559– ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2557 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายสนับสนุน องค์กร บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2537 - ปี 2557 กรรมการ/ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม อายุ 44 ปี ต�ำแหน่ง : กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชีการเงิน และ ฝ่ายเทคโนโลยีสารเทศ

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (ไม่มี)

วันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ 22 กุมภาพันธ์ 2561 คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน (MBA) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 148/2018 การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี)

- 61 -

ประสบการณ์ท�ำงาน ปี 2561– ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชีการเงิน และ ฝ่ายเทคโนโลยีสารเทศ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2558 – ปี 2560 ผู้จัดการทั่วไปฝ่ายบัญชี และการเงิน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2545 - ปี 2557 รองผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ฝ่ายบริหารระดับสูงของ WICE ณ วันที่ 1 มกราคม 2562

7

6

3

1. ดร. อารยา คงสุนทร 2. นายชูเดช คงสุนทร 3. นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร 4. นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม 5. นายนฤชิต เรืองชัยปราการ 6. นางสาวสาวดี อัศวมานะ 7. นายโชคชัย พฤฒิสาร

1

2

4

5

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายสนับสนุนองค์กร ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชีการเงิน และ ฝ่ายเทคโนโลยีสารเทศ ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายปฏิบัตกิ ารและพัฒนาธุรกิจ Air Freight ผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายคลังสินค้า

ทั้งนี้ รายชื่อผู้บริหารระดับสูงของ WICE ข้างต้นเป็นไป ตามนิยาม “ผู้บริหาร” ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุน ที่ ทจ. 23/2551 ผูบ้ ริหารระดับสูง ทัง้ 7 คน ไม่มคี ณ ุ สมบัตติ อ้ งห้าม ดังนี้ 1. ไม่ มี ป ระวั ติ ก ารกระท� ำ ผิ ด อาญาในความผิ ด ที่ เกี่ยวกับทรัพย์ซึ่งได้กระท�ำโดยทุจริต 2. ไม่มีประวัติการท�ำรายการที่อาจเกิดจากความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา ผูบ้ ริหารระดับสูงของ WICE ได้รบั มอบหมายอ�ำนาจหน้าที่

ให้ด�ำเนินงานภายใต้นโยบาย กลยุทธ์ และเป้าหมายที่ คณะกรรมการบริษัทก�ำหนดไว้ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้ อนุมัติการจัดท�ำอ�ำนาจด�ำเนินการในการก�ำหนดขอบเขต หน้าที่ที่ชัดเจน เพื่อความโปร่งใส และมีความคล่องตัวใน การปฏิบตั งิ านอย่างเหมาะสม นอกจากนีย้ งั มีหน้าทีค่ วบคุม ค่าใช้จ่ายและงบลงทุนตามขอบเขตที่คณะกรรมการอนุมัติ ในแผนงานประจ�ำปี ด�ำเนินการตามนโยบายด้านบุคคล แก้ไขปัญหาหรือความขัดแย้งที่มีผลกระทบต่อองค์กร และ ด�ำรงไว้ซึ่งการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

- 62 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ประวัติผู้บริหาร ระดับสูงของ WICE ดร. อารยา คงสุนทร อายุ 54 ปี ต�ำแหน่ง : ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาเอก บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม และทรัพยากรมนุษย คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ปริญญาโท การจัดการมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Research Alliance 2018 (R-RA 1/2018) Collective Action Against Corruption Conference (C-Conference 1/2018) เสวนารวมพลคนโลจิสติกส์ ปีที่ 15 Family Business Event (M-FBE 3/2017) Directors Certification Program (DCP) รุ่นที่ 181/2013 การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (4) กรรมการ - 63 -

บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Ltd. ประเทศฮ่องกง กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปีย้อนหลัง และ/หรือต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ปี 2561– ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด ปี 2561 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Ltd. ประเทศฮ่องกง ปี 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ ปี 2557 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัทซันเอ็กเพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

นายชูเดช คงสุนทร อายุ 55 ปี ต�ำแหน่ง : กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์บัณฑิต สาขาพาณิชนาวี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ผู้บริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท) รุ่นที่ 24 /2017 Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ SEC/2014 การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัทอื่นในปัจจุบัน (4) กรรมการ บริษทั ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Ltd. ประเทศฮ่องกง

ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปีย้อนหลัง และ/หรือต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ปี 2561– ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด ปี 2561 – ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Ltd. ประเทศฮ่องกง ปี 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd ประเทศสิงคโปร์ ปี 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธรุกิจ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2549 – ปี 2557 กรรมการ บริษัท ไวส์ เฟรท เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

- 64 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร อายุ 53 ปี ต�ำแหน่ง : กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายสนับสนุนองค์กร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี)

คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาโท คณะวารสารศาสตร์ สาขาประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (1) กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย เสวนางานรวมพลคนโลจิสติกส์ ปีที่ 15 HCM Forum “People strategy is business strategy” สัมมนา Next Step Thailand : EEC ยุทธศาสตร์ไทย เชื่อมโลก Ethical Leadership Program (ELP) รุ่นที่ 10/2017 Anti-Corruption the Practical Guide (ACPG) รุ่นที่ 42/2017 Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ SEC/2014

- 65 -

ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปีย้อนหลัง และ/หรือต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ปี 2559– ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2557 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายสนับสนุน องค์กร บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2537 - ปี 2557 กรรมการ/ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม อายุ 44 ปี ต�ำแหน่ง : กรรมการ กรรมการบริหารความเสีย่ งองค์กร ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชีการเงิน และฝ่ายเทคโนโลยีสารเทศ

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (ไม่มี)

คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงิน (MBA) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 148/2018 การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี)

- 66 -

ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปีย้อนหลัง และ/หรือต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ปี 2561– ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบัญชีการเงิน และฝ่ายเทคโนโลยีสารเทศ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2558 – ปี 2560 ผู้จัดการทั่วไปฝ่ายบัญชี และการเงิน บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2545 - ปี 2557 รองผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษัท ไวส์เฟรทเซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

นายนฤชิต เรืองชัยปราการ อายุ 46 ปี ต�ำแหน่ง : ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายปฏิบัติการ และพัฒนาธุรกิจ Air Freight

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (ไม่มี)

คุณวุฒิการศึกษา MBA Logistics Management วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก BBA Accounting วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก

ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปีย้อนหลัง และ/หรือต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ปี 2561– ปัจจุบัน ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายปฏิบัติการและพัฒนาธุรกิจ Air Freight บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2560 รองผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายปฏิบัติการ และพัฒนาธุรกิจ Air Freight บริษัท ซัน เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2558 รองผู้จัดการทั่วไป Air Freight & Sea Freight บริษัท ซัน เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2557 ผู้จัดการอาวุโส แผนก Air Freight บริษัท ซัน เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2553 ผู้จัดการ แผนก แผนก Air Freight บริษัท ซัน เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

การอบรมสัมมนา Basic Cargo Tariff, organized by TAFA & Cathay Pacific Airways / Thai Airways Dangerous Goods Regulation Course, organized by TAFA & Japan Airlines Desktop Applications Programming, College of Innovative Education, Thammasat University Air Cargo Course, NICS Institute of Languages and Airline Business Shipping & Import-Export Course, NICS Institute of Languages and Airline Business การอบรมหลักสูตรกรรมการ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (ไม่มี) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี)

- 67 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

นางสาวสาวดี อัศวมานะ อายุ 48 ปี ต�ำแหน่ง : ผู้จัดการทั่วไป คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาโท คณะการจัดการภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (ไม่มี)

การอบรมสัมมนา Creasitive Thinking from Creativity Center โดย อ. รัศมี ธันยธร Strategic Thinking from SBDC โดย รศ ดร สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ THE BOSS from Management & Psychology Institute Internal Quality Audit for ISO9001:2015 from BIG-Q Training โดย อ. อุดมศักดิ์ จิตสงบ Professional Management Model from TLAPS โดย อ. มนูญ พรรณพลีวรรณ

ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปีย้อนหลัง และ/หรือต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ปี 2561 – ปัจจุบนั ผู้จัดการทั่วไป บริษัทไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2558 - ปี 2560 ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซัน เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ปี 2553 - ปี 2556 ผู้อ�ำนวยการบริหาร บริษัท มารีนไทม์ อะไลแอนซ์ จ�ำกัด ปี 2547 - ปี 2552 ผู้จัดการทั่วไป บริษทั มารีนไทม์ อะไลแอนซ์ จ�ำกัด

การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (ไม่มี)

- 68 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

นายโชคชัย พฤฒิสาร อายุ 46 ปี ต�ำแหน่ง : ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายคลังสินค้า

การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผูบ้ ริหาร ในบริษทั อืน่ ในปัจจุบัน (ไม่มี)

คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การอบรมสัมมนา TS16949, OHSAS 18001, ISO 9001 ,ISO 14001 การอบรมหลักสูตรกรรมการ และสัมมนา/สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (ไม่มี) การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ /ผู้บริหาร ในบริษัท จดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน (ไม่มี)

ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปีย้อนหลัง และ/หรือต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ปี 2558– ปัจจุบนั ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2548 - ปี 2557 ผู้จัดการคลังสินค้า บริษัท เอคโค ออโต้พาร์ท (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ปี 2547 - ปี 2548 ผู้จัดการส่วนวางแผนและควบคุม การผลิต บริษัท มอลเท็นเอเซีย โพลิเมอร์ โปรดักส์ จ�ำกัด

- 69 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหาร

ล�ำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ชื่อ - สกุล

หุ้นสามัญบริษัท (จ�ำนวนหุ้น) ณ วันที่ 1 ณ วันที่ 31 เพิ่ม / (ลด) มกราคม 2561 ธันวาคม 2561 ระหว่างรอบปีบัญชี

นายเอกพล พงศ์สถาพร ไม่มี ไม่มี ไม่มี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี รศ. ดร. รุธิร์ พนมยงค์ ไม่มี ไม่มี ไม่มี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี นายวิชัย แซ่เตียว ไม่มี ไม่มี ไม่มี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี นายเจริญเกียรติ หุตะนานัน 12,000 15,000 3,000 คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี ดร. อารยา คงสุนทร 154,320,280 144,728,780 (9,591,500) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ คู่สมรส : นายชูเดช คงสุนทร นายชูเดช คงสุนทร 108,939,320 99,739,320 (9,200,000) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ คู่สมรส : ดร. อารยา คงสุนทร นางสาวฐิติมา ตันติกลุ สุนทร 66,857,280 66,857,280 ไม่มี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม 200,000 200,000 ไม่มี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี นายนฤชิต เรืองชัยปราการ 250,000 250,000 ไม่มี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี นางสาวสาวดี อัศวมานะ 130,000 255,000 ไม่มี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี นายโชคชัย พฤฒิสาร ไม่มี ไม่มี ไม่มี คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ไม่มี ไม่มี ไม่มี

หมายเหตุ : 1. ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ ทจ. 23/2551 ค�ำว่า “ผู้บริหาร” หมายความว่า ผู้จัดการ หรือผู้ดำ� รงต�ำแหน่ง ระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเทียบเท่ากับผู้ด�ำรงต�ำแห น่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และ ให้หมายความรวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินทีเป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า 2. ตามโครงสร้างของบริษัท WICE ผู้บริหารตามประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. มีทั้งสิ้น 11 คนข้างต้น 3. หลักเกณฑ์ของ ก.ล.ต. หุ้นสามัญของบริษัท ที่ถือโดยกรรมการและผู้บริหารให้รวมถึงหุ้นสามัญที่ถือโดยคู่สมรส และบุตรที่ ยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วย - 70 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ประวัติเลขานุการบริษัท นางสาวปรมาภรณ์ จ�ำนงสุข อายุ 30 ปี ต�ำแหน่ง : เลขานุการบริษทั คุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต การอบรมบมบาทหน้าที่เกี่ยวกับเลขานุการบริษัท Effective Minutes Taking (EMT) รุ่นที่ 42/2018 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Board Reporting Program (BRP) รุ่นที่ 26/2018 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Company Secretary Program (CSP) รุ่นที่ 84/2017 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Company Reporting Program (CRP) รุ่นที่ 19/2017 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Thai Intelligent Investors Program (TIIP-17) สมาคมส่งเสริมผู้ลงทนไทย หลักสูตรผูป้ ฏิบตั งิ านเลขานุการบริษทั (Advances for Corporate Secretaries 1/2016) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย หลักสูตรพื้นฐานเลขานุการบริษัท (Fundamentals for Corporate Secretaries 1/2016) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

หลักสูตรการบริหารความรับผิดชอบต่อสังคม เชิงกลยุทธ์ (Strategic CSR Management รุ่นที่ 3) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หลักสูตรการบริหารความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (CSR for Corporate Sustainability รุ่นที่ 6) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

- 71 -

ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปีย้อนหลัง และ/หรือต�ำแหน่งที่ส�ำคัญ ปี 2558 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี2558 เลขานุการบริษัท บริษัท ที เอสฟลาวมิลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2556 - ปี 2558 เลขานุการ /ผู้ช่วยทนายความ บริษทั ปริญญา อาร์เอ็มแอล จ�ำกัด ปี 2555 - ปี 2556 พนักงานประสานงานกฎหมาย บริษัท จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการได้มมี ติแต่งตัง้ นางสาวปรมาภรณ์ จ�ำนงสุข เป็นเลขานุการบริษัท เพื่อท�ำหน้าที่จัดการประชุมคณะ กรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และการประชุม ผู้ถือหุ้น รวมทั้งจัดท�ำรายงานการประชุมคณะกรรมการ บริษทั รายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ รายงานประจ�ำปี ตลอดจน จัดเก็บเอกสารตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด โดยเลขานุการบริษทั ที่คณะกรรมการแต่งตั้งขึ้นเป็นผู้ที่คณะกรรมการเห็นว่ามี ความเหมาะสม มีความรู้ ความสามารถในการบริหารงาน เลขานุการบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ ตลอดจนรับผิดชอบดูแลงานด้านบรรษัทภิบาล ความ รับผิดชอบต่อสังคม (CSR) นอกจากนี้ บริษัทได้ส่งเสริมให้เลขานุการบริษัท ได้รับ การฝึกอบรมและพัฒนาความรู้อย่างต่อเนือ่ งด้านกฎหมาย หรือการปฏิบัติหน้าที่เลขานุการบริษัท และมีการเปิดเผย ประวัติ คุณสมบัติและประสบการณ์ของเลขานุการบริษัท ไว้ในรายงานประจ�ำปี

ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท

นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการและกรรมการ ชุดย่อย บริษทั ฯ ก�ำหนดค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมแก่คณะกรรมการ บริษัท โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับการจ่ายค่าตอบแทน กรรมการของบริษทั ชัน้ น�ำในตลาดหลักทรัพย์ฯ และในกลุม่

อุตสาหกรรมการเดียวกัน ตลอดจนผลการด�ำเนินงานของ บริษทั และมีการเสนอขออนุมตั ทิ ปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เพือ่ จ่ายค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการบริษัท ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี2561 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2561 มีมติอนุมตั ิค่าตอบแทนและโบนัสกรรมการ โดยให้จ่ายค่าตอบแทนต่อครั้งการเข้าร่วมประชุม ส�ำหรับ โบนัสรรมการนั้นมีมติอนุมัติให้พิจารณาจากผลการด�ำเนิน งาน และไม่เกิน 1% ของก�ำไรสุทธิ โดยในปี 2561 มีการ จ่ายโบนัสในแก่กรรมการ จ�ำนวน 897,000 บาท ทั้งนี้ต้อง ไม่เกินวงเงิน 3,000,000 บาท โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ได้รับ อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เป็นต้นไป จนกว่าทีป่ ระชุม ผู้ถือหุ้นจะมีมติเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น ทัง้ นี้ นอกเหนอจากค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงินแล้ว บริษทั ไม่มกี ารให้สทิ ธิประโยชน์อนื่ ๆ แก่กรรมการชุดย่อยนัน้ ตาม ข้อบังคับของบริษัท ข้อ 32 คณะกรรมการมีสทิ ธิได้รับค่า ตอบแทน อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติให้นำ� เสนอ ค่าตอบแทนกรรมการทุกรูปแบบในทีป่ ระชุมสามัญผู้ถอื หุ้น และก�ำหนดให้วาระค่าตอบแทนคณะกรรมการ เป็นวาระเพือ่ อนุมัติเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 มีมติอนุมัติค่าตอบแทนและโบนัสกรรมการรวมทั้งค่า ตอบแทนคณะกรรมการชุดย่อยในอัตราเดิม

- 72 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท และค่าตอบแทนกรรมการชุดย่อย

ประเภทค่าตอบแทน

จ�ำนวน

1. ค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริษทั (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการ - กรรมการ

40,000 20,000

2. ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการ - กรรมการ

25,000 20,000

3. ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน - ประธานกรรมการ - กรรมการ

25,000 20,000

4. ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร - ประธานกรรมการ - กรรมการ

25,000 20,000

- 73 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ค่าตอบแทนของคณธกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ปี 2561 (1 มกราคม -31 ธันวาคม 2561)

รายชื่อกรรมการ

ค่าตอบแทน (บาท) โบนัส คณะ คณะ คณะ คณะ คณะ การประชุม กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ สามัญ ผลการ บริษัท ตรวจสอบ สรรหาและ บริหาร ตรวจสอบ ผู้ถือหุ้น ด�ำเนิน พิจารณา ความเสี่ยง ร่วมกับ ประจ�ำปี 61 งาน ปี 60 รวม (บาท) ค่าตอบแทน องค์กร คณะกรรมการ บริหาร ความเสี่ยง องค์กร

นายเอกพล พงศ์สถาพร 240,000 รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ 100,000 นายวิชัย แซ่เซียว 120,000 นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ 120,000 นางอารยา คงสุนทร 120,000 นายชูเดช คงสุนทร 120,000 นางสาวฐิติมา ตันติกลุ สุนทร 120,000 นางสาวพรไพเราะ 20,000 ตันติกุลสุนทร (ลาออก 21 กุมภาพันธ์ 2561) นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม 100,000 รวมค่าตอบแทนทั้งสิ้น 1,060,000

- 125,000 100,000 100,000 - - - -

- - - - - 25,000 20,000 - 20,000 25,000 20,000 20,000 - - - - 75,000 25,000 - - -

- 325,000

- 65,000

60,000 135,000

20,000 110,000

40,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 -

20,000 180,000

หมายเหตุ : นางสาวสมใจ ปุราชะโก เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้รับค่าตอบแทน 80,000 บาท ในปี 2561 (ลาออกจากบริษัท 31 ธันวาคม 2561)

- 74 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider

112,125 112,125 112,125 112,125 112,125 112,125 112,125 112,125

392,125 382,125 392,125 397,125 272,125 252,125 352,125 132,125

- 200,000 897,000 2,772,000


Annual Report 2018

ค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูงของ WICE นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของ ผู้บริหาร บริษทั ฯ ด�ำเนินการวัดผลการด�ำเนินงานของผูบ้ ริหารทุกปี โดยน�ำดัชนีชวี้ ดั ความส�ำเร็จของงาน (KPI : Key Performance Indicator) มาใช้ในการประเมินผลผู้บริหารรวมทั้งพนักงาน ทุกระดับ โดยมีการเปรียบเทียบ KPI ทีก่ ำ� หนดไว้เป็นเป้าหมาย

กับผลการด�ำเนินงานเพื่อพิจารณาการปรับค่าจ้างและการ จ่ายค่าตอบแทน (โบนัส) ประจ�ำปี ทั้งนี้ ไม่มีค่าตอบแทนอื่นๆ กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร, ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยฯ จ�ำนวน 14 คน ได้รบั ผลประโยชน์ตอบแทน ส�ำหรับ ผลการด�ำเนินงานในปี 2561 ในรูปเงินเดือนและค่าตอบแทน เป็นเงินรวมทั้งสิ้น ล้านบาท

รายละเอียด

ปี 2559

ปี 2560

ปี 2561

จ�ำนวนผู้บริหาร ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร (ล้านบาท) รูปแบบค่าตอบแทน

13 คน 39.92 ล้านบาท เงินเดือน / โบนัส

13 คน 47.32 ล้านบาท เงินเดือน / โบนัส

14 คน 55.80 ล้านบาท เงินเดือน / โบนัส

- 75 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

2.3 การก�ำกับดูแลกิจการ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ

บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินธุรกิจ ด้วยความรับผิดชอบ โปร่งใส และเป็นธรรม โดยยึดมั่นใน อุดมการณ์ซึ่งได้ถือปฏิบัติสื่บเนื่องกันมาภายใต้กรอบของ จรรยาบรรณ โดยยึดหลักบรรษัทภิบาลที่ดีและตระหนักถึง ความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ จะช่วยส่งเสริม ให้องค์กรมีศกั ยภาพในการแข่งขันทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว นอกจากนี้การก�ำกับดูแลกิจที่ดียังช่วยสร้างความเชื่อมั่น ให้แก่นักลงทุน สถาบันการเงิน พันธมิตรทางธุรกิจ และผู้มี ส่วนได้เสียทุกฝ่าย ในการด�ำเนินธุรกิจอันจะน�ำไปสู่การเพิ่มมูลค่าของ ผู้ถือหุ้นและประโยชน์ที่สมดุลร่วมกันของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง กับบริษัท คณะกรรมการ จึงได้ก�ำหนดนโยบายกลไกการ บริหาร การด�ำเนินงาน และระบบการก�ำกับดูแลบนหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งยึดมั่นในความโปร่งใส รับผิดชอบ ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้งยึดมั่นในความรับผิดชอบ ต่อสังคม เพือ่ เป็นแนวทางในการในการด�ำเนินธุรกิจส�ำหรับ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ทั้งนี้ คณะ กรรมการได้มีการทบทวนและปรับปรุงหลักการก�ำกับดูแล กิจการให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ บริษทั ฯ ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ทีเ่ ป็นหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแล กิจการภายในประเทศ เช่น หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ส�ำหรับบริษทั จดทะเบียนของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงหลักเกณฑ์ตามโครงการส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการ ของบริษัทจดทะเบียน (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies – CGR) ของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ในปี 2561 บริษทั ได้ผลประเมินในเรือ่ งการก�ำกับดูแล กิจการ ดังนี้ ได้รบั ผลการส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั จดทะเบียน (Corporate Governance Report of

Thai Listed Companies – CGR) ประจ�ำปี 2561 ในระดับดีมาก (Very Good) โดยสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ได้รับคะแนนประเมิน 100 คะแนน จากผลการ ประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 (AGM Checklist) โดยสมาคม ส่งเสริมผู้ลงทุนไทย 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทมีนโยบายในการสนับสนุน ส่งเสริม และอ�ำนวย ความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ทุกราย ทุกกลุม่ รวมถึงผูถ้ อื หุน้ ประเภท สถาบันได้ใช้สิทธิต่างๆ ทั้งในฐานะนักลงทุนในหลักทรัพย์ และในฐานะเจ้าของบริษทั ด้วยวิธกี ารและมาตรฐานทีเ่ ป็นที่ ยอมรับและเชื่อถือได้ โดยให้สิทธิในการซื้อ ขาย โอน หลัก ทรัพย์ทตี่ นถืออยูอ่ ย่างเป็นอิสระ การได้รบั ส่วนแบ่งผลก�ำไร จากบริษัท การเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น การเสนอวาระการ ประชุมล่วงหน้า การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตั้ง เป็นกรรมการบริษทั การแสดงความคิดเห็นในทีป่ ระชุมอย่าง เป็นอิสระ และการร่วมตัดสินใจในเรือ่ งส�ำคัญของบริษทั เช่น การเลือกตัง้ กรรมการ การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและก�ำหนด ค่าสอบบัญชี การแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคับ ของบริษัท และการอนุมัติธุรกรรมที่ส�ำคัญและมีผลต่อ ทิศทางใจการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท นอกเหนือจากสิทธิพื้นฐานต่างๆ ข้างต้นแล้ว บริษัทยัง ได้ดำ� เนินการในเรือ่ งอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นการส่งเสริมและอ�ำนวยความ สะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้นเพิ่มเติม ดังนี้ 1.1 ให้ข้อมูลที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับผู้ถือหุ้น เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจอย่างชัดเจนและทันต่อเหตุการณ์ โดยเปิดเผยข้อมูลนั้นผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท และผ่าน ทางตลาดหลักทรัพย์ฯ 1.2 เพื่ อ ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก รายได้ รั บ ข้ อ มู ล ที่ ชั ด เจน เพียงพอและมีเวลาศึกษาข้อมูลล่วงหน้าก่อนประชุมผู้ถือ หุ้น บริษัทได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ วัน เวลา สถานที่ และ

- 76 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ก�ำหนดวาระการประชุมผู้ถือหุ้นไว้เป็นเรื่องๆ อย่างชัดเจน โดยเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ล่วงหน้าประมาณ 30 วัน ก่อนวันประชุม ส�ำหรับหนังสือนัดประชุมผู้ถอื หุ้น บริษัทได้จัดให้มีราย ละเอียดข้อมูลของแต่ละวาระ พร้อมค�ำชีแ้ จงเหตุผลประกอบ และความเห็นของคณะกรรมการโดยบริษทั ได้เผยแพร่หนังสือ นัดประชุมพร้อมเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น แบบการลงทะเบียน เอกสารและหลักฐานทีผ่ เู้ ข้าประชุมต้องแสดงก่อนเข้าประชุม วิธีการมอบฉันทะ การลงทะเบียน และหนังสือมอบฉันทะ ในเว็บไซต์ของบริษทั ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเป็นการ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นประมาณ 30 วัน และจัดส่ง เอกสารดังกล่าวข้างต้นให้กับผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าก่อน วันประชุมอย่างน้อย 7 วัน 1.3 บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบ ฉันทะให้กรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุมแทน ตนได้โดยใช้หนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่งแบบใดที่บริษัทได้ จัดไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม ซึ่งเป็นรูปแบบที่ผู้ถือหุ้น สามารถก�ำหนดทิศทางการออกเสียงลงคะแนนได้ตาม แบบที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด พร้อมข้อมูลของกรรมการอิสระที่บริษัทก�ำหนดให้เป็นผู้รับ มอบฉันทะจากผู้ถือหุ้น ส�ำหรับผู้ถือหุ้นที่เป็นนักลงทุนสถาบันหรือผู้ถือหุ้นที่ เป็นนักลงทุนต่างประเทศและแต่งตัง้ ให้คสั โตเดียน (Custodian) ในประเทศไทยเป็นผู้รับฝากปละดูแลหุ้น บริษัทได้ประสาน งานเรื่องเอกสารและหลักฐานที่จะต้องแสดงก่อนวันเข้า ร่วมประชุมเป็นการล่วงหน้า เพื่อให้การลงทะเบียนในวัน ประชุมเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น 1.4 ในปี 2561 กรรมการบริษัททุกคนเข้าร่วมการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น 1.5 บริษทั ได้จดั การประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 ณ ห้อง Sathorn 1 ชัน้ M โรงแรมอนันตรา กรุงเทพฯ สาทร ซึ่งสามารถเดินทางได้สะดวก เนื่องจากติดถนนนราธิวาส ราชนครินทร์ และตัง้ อยูไ่ ม่ไกลจากสถานีรถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit) หรือ BRT อาคารสงเคราะห์ 1.6 บริษัทได้จัดให้มีการลงทะเบียนโดยใช้ระบบ บาร์โค้ด (Barcode) ทีแ่ สดงถึงเลขทะเบียนของผูถ้ อื หุน้ แต่ละ

รายทีไ่ ด้จดั พิมพ์ไว้บนแบบลงทะเบียนและหนังสือมอบฉันทะ เพือ่ ให้ขนั้ ตอนการลงทะเบียนเป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ บริษัทได้จัดให้มีจุดตรวจเอกสาร กรณีรับมอบฉันทะให้ บุคคลอื่นเข้าร่วมประชุมแทน และจัดเตรียมอากรแสตมป์ ส�ำหรับปิดหนังสือมอบฉันทะไว้บริการให้แก่ผรู้ บั มอบฉันทะ ทีม่ าลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม พร้อมเจ้าหน้าทีอ่ ำ� นวยความ สะดวกตลอดการลงทะเบียน โดยบริษทั จะเปิดรับลงทะเบียน ก่อนเริ่มการประชุมไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง 1.7 บริษทั ได้จดั ให้มกี ารใช้บตั รยืนยันการลงคะแนน ในทุกวาระที่จะต้องมีการลงมติ เพื่อความโปร่งใส และ สามารถตรวจสอบได้ โดยวิธีการลงคะแนนเสียงในแต่ละ วาระ ประธานในที่ประชุมจะสอบถามที่ประชุมว่าผู้ถือหุ้น หรือผู้รับมอบฉันทะที่ไม่เห็นด้วยหรืองดออกเสียงชูมือ และ ลงคะแนนในบัตรยืนยันการลงคะแนนพร้อมทัง้ ลงลายมือชือ่ และเจ้าหน้าที่จะบันทึกคะแนนโดยการสแกนบาร์โค้ดที่ บัตรยืนยันการลงคะแนน พร้อมทั้งเก็บบัตรดังกล่าว ส่วนผู้ ถือ หุ้ น ที่เ ห็น ด้ ว ยให้ ล งคะแนนและลงลายมือ ชื่อ ในบัต ร ยืนยันการลงคะแนนโดยไม่ตอ้ งชูมอื และจะเก็บบัตรยืนยัน การลงคะแนนทีเ่ ห็นด้วยทุกใบพร้อมกันทัง้ หมดภายหลังเสร็จ สิ้นการประชุม ส�ำหรับผู้ถือหุ้นที่มอบฉันทะให้แก่กรรมการ อิสระ บริษทั จะด�ำเนินการลงคะแนนเสียงเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียงตามความประสงค์ของผู้ถือหุ้น 1.8 ส� ำ หรั บ รายละเอี ย ดผลการนั บ คะแนนของ แต่ละวาระนั้นจะรวบรวมผลและแจ้งในที่ประชุมทราบได้ ภายหลังจากเสร็จสิ้นการลงคะแนนในแต่ละวาระ 1.9 บริษัทได้จัดให้มีนักกฏหมายที่เป็นอิสระท�ำ หน้าทีเ่ ป็นผูต้ รวจสอบการนับคะแนนเสียงตลอดการประชุม และมีตัวแทนอาสาพิพักษ์สิทธิผู้ถือหุ้นจากสมาคมส่งเสริม ผู้ลงทุนไทยเข้าร่วมสังเกตการณ์อีกด้วย 1.10 บริษัทได้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมภายหลัง จากประธานในที่ประชุมเปิดการประชุมแล้ว สามารถออก เสียงลงคะแนนได้ในวาระที่อยู่ระหว่างการพิจารณาและยัง ไม่ได้มีการลงมติ และนับเป็นองค์ประชุมตั้งแต่วาระที่ได้ เข้าประชุมเป็นต้นไป จึงอาจท�ำให้มีผู้ออกเสียงลงคะแนน ในแต่ละวาระไม่เท่ากันได้ 1.11 ในระหว่างการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธานทีป่ ระชุม

- 77 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรือ ซักถามในวาระต่างๆ อย่างอิสระก่อนการลงมติในวาระใดๆ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบข้อมูล และรายละเอียดในเรื่อง ดังกล่าวอย่างเพียงพอ ทั้งนี้ในวาระที่ผู้ถือหุ้นมีข้อสงสัย หรือข้อซักถาม บริษทั ได้จดั เตรียมบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องเป็นผูใ้ ห้ ค�ำตอบภายใต้ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1.12 ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ในปี 2561 ทีป่ ระชุม ได้พจิ ารณาเรือ่ งต่างๆ ตามล�ำดับในระเบียบวาระทีไ่ ด้กำ� หนด ไว้ในหนังสือนัดประชุมที่ได้ส่งให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าโดยไม่มี การเปลี่ยนแปลงล�ำดับวาระดังกล่าว และไม่มกี ารขอให้ที่ ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นที่นอกเหนือไปจากที่ก�ำหนดไว้ใน หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ นอกจากนีภ้ ายหลังจากทีป่ ระชุม ได้พจิ ารณาเรือ่ งต่างๆ ตามระเบียบวาระครบถ้วนแล้ว ประธาน จะเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ซักถามเพิม่ เติมในเรือ่ งทีม่ คี วามสนใจ ก่อนปิดประชุม 1.13 บริษัทได้เปิดเผยมติการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 ในสาธารณชนทราบถึงผลการลงคะแนนใน แต่ละวาระผ่านระบบ SET Portal ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั ในวันประชุม ภายหลังเสร็จสิ้นการประชุม 1.14 บริษัทมีการบันทึกรายงานการประชุมอย่าง ครบถ้วน ประกอบด้วยข้อมูลที่ส�ำคัญต่างๆ ได้แก่ รายชื่อ กรรมการบริษทั และฝ่ายจัดการทีเ่ ข้าร่วมประชุม ขัน้ ตอนและ วิธีการลงคะแนนเสียง มติที่ประชุม ผลการลงคะแนนเสียง ในแต่ละวาระ รวมถึงค�ำถาม ค�ำชีแ้ จงและความคิดเห็นของ ผู้ถือหุ้นที่เสนอในที่ประชุม และจัดท�ำรายงานการประชุม สามัญประจ�ำปี 2561 แล้วเสร็จภายใน 14 วันนับแต่วัน ประชุม และได้ส่งให้ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ กระทรวงพาณิชย์ภายในระยะเวลาทีก่ ฏหมายก�ำหนด พร้อม ทั้งได้เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัท 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทตระหนักถึงหน้าที่ในการดูแลผลประโยชน์ของ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายทุกกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นผูถ้ อื หุน้ รายย่อย ผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นบุคคลธรรมดา นักลงทุนสถาบัน ผูถ้ อื หุน้ สัญชาติไทย หรือผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติให้ได้รบั สิทธิและการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นธรรม

และเท่าเทียมกันอย่างแท้จริง เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ ดังนี้ การเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยเสนอวาระการประชุม และเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนในการให้สิทธิ ผู้ถือหุ้นที่จะเสนอวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และ เสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เข้ารับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการ แทนกรรมการที่ครบก�ำหนดออกตามวาระล่วงในช่วงเวลา 3 เดือนจนถึงวันสิน้ รอบบัญชีประจ�ำปีของบริษทั โดยบริษทั ได้เผยแพร่หลักเกณฑ์ดงั กล่าวผ่านทางระบบ SET Portal ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทัง้ เว็บไซต์ของบริษทั ส�ำหรับการประชุมสามัญผู้ถอื หุ้นประจ�ำปี 2561 บริษัท เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอวาระการประชุมและ เสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาคัดเลือกเป็นกรรมการ บริษัทได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 – วันที่ 31 ธันวาคม 2561 โดยสามารถส่งแบบเสนอวาระการประชุม และ/หรือ แบบเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาคัดเลือกเป็นกรรมการ พร้อมเอกสารหลักฐานที่กำ� หนด ผ่านทางเลขานุการบริษัท โดยมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ การเสนอวาระการประชุม บริษทั ให้สทิ ธิผถู้ อื หุน้ รายเดียว หรือหลายรายที่ถือหุ้น ณ วันที่เสนอวาระการประชุม นับ รวมกันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของจ�ำนวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิอกเสียง ทัง้ หมดของบริษทั เสนอวาระการประชุมล่วงหน้า โดยคณะ กรรมการสรรหาฯ จะกลัน่ กรองก่อนเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัท เพื่อพิจารณาบรรจุเป็นวาระการประชุม และบริษัท จะแจ้งในหนังสือนัดประชุมว่าเป็นวาระทีก่ ำ� หนดโดยผูถ้ อื หุน้ แต่หากคณะกรรมการบริษัทปฏิเสธไม่รับเรื่องที่ผู้ถือหุ้น เสนอเพือ่ ให้บรรจุเป็นวาระ บริษทั จะชีแ้ จงเหตุผลให้ทปี่ ระชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีทราบ นอกจากนี้ บริษทั ให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ ทุกรายเสนอชือ่ บุคคล เพือ่ พิจารณาเข้ารับการเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ล่วงหน้า โดยคณะกรรมการสรรหาฯ เป็นผูพ้ จิ ารณาเพือ่ สรรหารวมกับ บุคคลอืน่ ตามหลักเกณฑ์การสรรหาบุคคลเข้าเป็นกรรมการ บริษัท จากนั้นจะเสนอรายชื่อบุคคลที่เห็นว่าเหมาะสมให้ คณะกกรรมการบริษทั พิจารณา ก่อนเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป

- 78 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ทัง้ นี้ ในปีทผี่ า่ นมาไม่มผี ถู้ อื หุน้ เสนอวาระการประชุมหรือ เสนอชื่อบุคคลเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้า ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการดังกล่าว การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทให้ความส�ำคัญในเรื่องการใช้ข้อมูลภายในของ บริษทั ทีย่ งั ไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน หรือข้อมูลทีอ่ าจมีผล กระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษทั เพือ่ แสวงหาประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบ ซึ่งในการด�ำเนินธุรกิจ กรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และผูท้ เี่ กีย่ วข้องจะต้องพิจารณา และรับทราบข้อมูลต่างๆ ทีอ่ าจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ และยังไม่สามารถเปิดเผยต่อผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุน หรือสาธารณชน ทัว่ ไปได้ ดังนัน้ การใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั จึงเป็นเรือ่ งส�ำคัญ ที่ต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสมเพื่อไม่ให้ข้อมูลรั่วไหล อาจถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ในทางไม่ถูกต้อง และเป็นการเอา เปรียบบุคคลอื่น ซึ่งนอกจากจะเป็นความผิดตามกฎหมาย แล้วยังกระทบต่อชื่อเสียงของบริษัทอีกด้วย นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทยังได้ทบทวนมาตรการ ห้ามซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับข้อมูลภายใน (Blackout Period) เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2559 และยกระดับการปฏิบตั ขิ องบริษทั ให้เป็นไปตามแนวปฏิบตั ิ ที่ดีที่ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ แนะน�ำ ดังนี้ กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงานทุกคนในบริษทั (รวม ทั้งคู่สมรสหรือผู้ที่อยู่กินด้วยกันฉันสามีภรรยา และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะของบุคคลดังกล่าว) ต้องไม่ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ภายในเวลา 7 วัน ก่อนมีการเปิดเผยงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี และภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปิดเผยงบการเงินดังกล่าว ทั้งนี้ เลขานุการบริษัทจะแจ้งเป็นจดหมายไปยังบุคคล ทีเ่ กีย่ วข้องให้ทราบช่วงระยะเวลา Blackout Period ล่วงหน้า บริษทั ได้กำ� หนดให้มกี ารสอบทานการซือ้ ขายหลักทรัพย์ ของบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องอย่างสม�ำ่ เสมอ และห้ามมิให้พนักงาน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำงบการเงินเปิดเผยงบการเงินให้

บุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำงบการเงินทราบใน ช่วงตั้งแต่วันปิดงวดของงบการเงินจนถึงวันเปิดเผยงบการ เงินดังกล่าว นอกจากนี้ในกรณีที่ทราบข้อมูลใดๆ ที่ยังไม่ เปิดเผยซึ่งอาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัท ต้องไม่ซอื้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั จนกว่าจะพ้นระยะเวลา 24 ชั่วโมงนับแต่ที่ได้มีการเปิดเผยข้อมูลนั้นสู่สาธารณะ ทั้งหมดแล้ว กรรมการและผู้บริหารตามนิยามของ ก.ล.ต. (“ผู้บริหารระดับสูง”) จะต้องรายงานการถือครอง หลัทรัพย์ของบริษทั เมือ่ ได้แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง กรรมการหรือ ผู ้ บ ริห ารระดับ สู ง ของบริษัท เป็ น ครั้งแรก (แบบ 59-1) โดยยื่นต่อ ก.ล.ต. ภายใน 30 วันท�ำการนับจากวันที่ด�ำรงต�ำแหน่ง และ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ ของบริษัทเมื่อมีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน หลักทรัพย์ของบริษัท (แบบ 59-2) ภายใน 3 วัน ท�ำการนับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ คณะกรรมการได้ติดตามผลการปฏิบัติตาม มาตรการดังกล่าว โดยก�ำหนดให้มกี ารรายงานการเปลีย่ น แปลงการถือหลักทรัพย์ดังกล่าวในที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัททราบทุกครั้ง และเปิดเผยข้อมูลจ�ำนวนหุ้นที่ถือ ณ ต้นปี สิ้นปี และที่มีการซื้อขายระหว่างปีของกรรมการและ ผู้บริหารระดับสูง ทั้งทางตรงและทางอ้อมไว้ในรายงาน ประจ�ำปี ทั้งนี้ในปี 2561 ที่ผ่านมา ไม่ปรากฎการกระท�ำ ความผิดของกรรมการ ผู้บริหารระดับสูง และพนักงานที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูลภายในแต่อย่างใด การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในเรื่องการจัดการ เกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้อง ซึ่ง หมายถึงคณะกรรมการบริษัท และพนักงาน จึงได้มีนโย บายในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เปิดกว้าง โปร่งใสและเป็นธรรม โดยก�ำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ปฏิบัตดิ ังนี้ ห้ามประกอบหรือมีส่วนร่วมในธุรกิจที่แข่งขันกับ บริษทั หลีกเลีย่ งการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกับตนเอง

- 79 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

หรือบุคคล/นิติบุคคลที่เกียวข้อง ที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ดูแลให้บริษัทมีการ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและการเปิดเผย ข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามที่กฏหมายหรือ หน่วยงานก�ำกับดูแลก�ำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ในกรณีที่มีความจ�ำเป็นต้องท�ำรายการที่เกี่ยว โยงกัน รายการนัน้ จะต้องเป็นไปตามเงือ่ นไขการค้า ทั่วไปตามหลักการคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ ด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรม เปรียบเสมือนการ ท�ำรายการกับบุคคลภายนอก และค�ำนึงถึงประโยชน์ สูงสุดของบริษัท กรรมการที่มีส่วนได้เสียจะต้องไม่มีส่วนในการ พิ จ ารณารายการที่ ต นมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผล ประโยชน์ ในกรณีที่เป็นรายการที่เกี่ยวโยงกันที่ไม่เป็นไป ตามเงื่ อ นไขการค้ า ทั่ ว ไปตามหลั ก การที่ ค ณะ กรรมการบริษัทอนุมัติ ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ต้องผ่านการสอบทาน และให้ความเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบ ก่อนน�ำเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท หรือผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) 3. บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทมีอุดมการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม และถือมัน่ ในความรับผิดชอบต่อสังคม ด�ำเนินธุรกิจโดยยึด หลักการสร้างคุณค่าร่วมกันระหว่างองค์กรและผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกฝ่ายเพือ่ ประโยชน์รว่ มกันอย่างยัง่ ยืน โดยคณะกรรมการ เป็นผู้ก�ำกับดูแลให้มีการด�ำเนินการตามที่กฎหมายก�ำหนด และนโยบายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องรวมถึงดูแลให้มนั่ ใจได้วา่ สิทธิ ดังกล่าวได้รบั ความคุม้ ครองและได้รบั การปฏิบตั ดิ ว้ ยความ เสมอภาคอย่างเคร่งครัด ในปี 2561 คณะกรรมการบริษัทจึงได้อนุมัติให้ทบทวน และปรับ ปรุง นโยบายและแนวปฏิบัติต ่ อ ผู ้ มีส ่ ว นได้ เ สีย กลุ่มต่างๆ เพื่อให้มีนโยบาย กลยุทธ์ แนวทางปฏิบัติ และ กระบวนการบริหารจัดการที่ครอบคลุม ซึ่งจะช่วยลดความ

เสีย่ งด้านชือ่ เสียงและภาพลักษณ์องค์กร ทัง้ นี้ สามารถสรุป แนวทางการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียได้ดังนี้ 3.1 ผู้ถือหุ้น บริษัทให้ความส�ำคัญกับผู้ถือหุ้นในฐานะเจ้าของ บริษัทจึงก�ำหนดให้คณะกรรมการในฐานตัวแทนของผู้ถือ หุ้นรวมทั้งผู้บริหารและพนักงานของบริษัท มีหน้าที่ต้อง ด�ำเนินธุรกิจเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดและเพิม่ มูลค่าให้กบั ผู้ถือหุ้นในระยะยาว บริษัทเคารพสิทธิของผู้ถือหุ้นและตระหนักถึงหน้าที่ใน การดูแลผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียม ทัง้ สิทธิขนั้ พืน้ ฐานทีก่ ำ� หนด ไว้ตามกฎหมาย และข้อบังคับบริษทั เช่นสิทธิในการเข้าร่วม ประชุมผูถ้ อื หุน้ การเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า การเลือก ตัง้ กรรมการ สิทธิทจี่ ะได้รบั ผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม รวมถึง ยังให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ ในการเสนอแนะข้อคิดเห็นต่างๆ เกีย่ วกับ การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ผ่านกรรมการอิสระ 3.2 พนักงานงาน ด้านแรงงานและสิทธิมนุษยชน บริษัทด�ำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม โดยยึดมั่นใน ความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตาม จรรยาบรรณบริษัท คุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามกฎหมาย และปราศจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน ด้านการดูแลพนักงาน การบริหารค่าตอบแทน บริษัทมีการก�ำหนดนโยบายการบริหารค่าตอบแทน พนักงานและวิธีปฏิบัติในการบริหารค่าตอบแทนพนักงาน อย่างชัดเจน โดยมีการเปิดเผยไว้ในข้อบังคับการบริหาร งานบุคคล มีการก�ำหนดโครงสร้างค่าตอบแทนของแต่ละ ระดับต�ำแหน่งงานอย่างเหมาะสม โดยบริษัทก�ำหนดงบ ประมาณการบริหารค่าตอบแทนที่สอดคล้องกับผลการ ด�ำเนินงานของบริษทั ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยการจ่าย ค่าตอบแทนในระยะสั้นนั้นพิจารณาจากผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทในแต่ละปี เช่น การสร้างยอดขาย ก�ำไรสุทธิ และ EBITDA ส่วนในระยะยาวจะพิจารณาผลการด�ำเนินงาน ตามแผนธุรกิจในระยะยาว เช่น การขยายธุรกิจ อัตราการ

- 80 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

เติบโตของก�ำไร ส่วนแบ่งการตลาด และปรับปรุงประสิทธ ภาพในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง การบริหารสวัสดิการ บริษัทมีการก�ำหนดนโยบายการบริหารค่าตอบแทน พนักงานและวิธีปฏิบัติในการบริหารค่าตอบแทนพนักงาน อย่างชัดเจน มุ่งเน้นการจัดสวัสดิการต่างๆ ให้แก่พนักงาน ทุกกลุม่ อย่างเหมาะสมและเป็นธรรม โดยมีการทบทวนการจัด สวัสดิการต่างๆ อย่างสม�ำ่ เสมอเพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาวะ เศรษฐกิจและสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป การจัดสวัสดิการให้แก่ พนักงานครอบคลุมในทุกช่วงระยะเวลาตัง้ แต่เข้างานจนหลัง เกษียณอายุ และครอลคลุมในทุกด้านตัง้ แต่สวัสดิการเกีย่ วกับ การปฏิบตั งิ าน (เช่น เบีย้ เลีย้ ง ค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง เครือ่ ง แบบพนักงานงาน) สวัสดิการด้านสุขภาพ (เช่น การตรวจ สุขภาพประจ�ำปี) และสวัสดิการเพื่อความเป็นอยูห่ รือการ ช่วยเหลือพนักงานในกรณีตา่ งๆ (เช่น กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ การประกันสุขภาพและอุบตั เิ หตุ เงินช่วยเหลือตามโอกาส) การดูแลพนักงานในระยะยาว บริษัท มีนโยบายในการดูแลพนักงานในระยะยาว อย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มีกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ (พนักงาน ที่เป็นสมาชิกจะจ่ายเงินสะสมเป็นรายเดือนเข้ากองทุนใน อัตราร้อยละ 2 – 15 ของค่าจ้างพนักงาน และบริษัทจะ จ่ายสมทบเป็นรายเดือนเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 2 ของ ค่าจ้างพนักงานตามอายุงานของพนักงาน ด้านการพัฒนาพนักงานงาน และชั่วโมงการฝึก อบรม บริษัทได้ก�ำหนดกลยุทธ์ในการเรียนรู้และพัฒนา พนักงานโดยก�ำหนดให้พนักงานเข้ารับการอบรมทั้งภายใน และภายนอกเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 48 ชั่วโมงต่อปี เพื่อ การฝึกฝนและพัฒนาตนเองต่อการปฎิบตั งิ าน ทัง้ นีบ้ ริษทั ยัง ได้จดั ให้การอบรม โดยเชิญวิทยากรผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถ เฉพาะด้าน จากภายนอกมาให้ความรูแ้ ก่พนักงานอย่างสม�ำ่ เสมอ และได้มกี ารทดสอบความรูพ้ นักงาน อาทิเช่น การท�ำ แบบทดสอบ TOEIC วัดความรูค้ วามสามารถทางด้านภาษา ทัง้ นี้ ในปี 2562 บริษทั มีแผนจัดท�ำนโยบายสิง่ แวดล้อม และส่งเสริมให้มกี ารให้ความรูแ้ ละฝึกอบรมพนักงานในเรื่อง สิ่งแวดล้อม ต่อไป

3.3 ลูกค้า บริษัทมุ่งเน้นในการสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ ลูกค้า โดยเอาใจใส่ดูแลและรับผิดชอบต่อลูกค้า ให้บริการ แก่ลูกค้า ตามมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ รักษาความลับลูกค้า ไม่ท�ำการเปิดเผยข้อมูลของลูกค้า หากมิได้รับอนุญาตจาก ลูกค้าบริษทั มีระบบและหน่วยงานทีท่ ำ� หน้าทีร่ บั ข้อร้องเรียน ของลูกค้า มีแนวทางในการพิจารณา เพือ่ เร่งด�ำเนินการหา ข้อยุติด้วยความเป็นธรรมและแก้ไขข้อร้องเรียนดังกล่าว โดยเร็วที่สุด 3.4 คู่ค้า บริษทั ปฏิบตั ติ ามกรอบการแข่งขันทางการค้าทีส่ จุ ริจ โปร่งใส โดยยึกถือหารปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการค้า และ สัญญาที่ก�ำหนดกัลคู่ค้าอย่างเคร่งครัด โดยมีการพิจารณา ราคาและยุตธิ รรม โดยค�ำนึงถึงคามสมเหตุสมผลด้านราคา คุณภาพ และบริการทีไ่ ด้รบั มีการก�ำหนดระเบียบในการจัดหา และด�ำเนินการต่างๆ ทีช่ ดั เจนไม่เรียกหรือรับทรัพย์สนิ หรือ ผลประโยชน์ใดๆ จากคูค่ า้ สนับสนุนการจัดหาทีเ่ ป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม และไม่ท�ำธุรกิจกับคู่ค่าที่มีพฤติกรรมที่ไม่ชอบ ด้วยกฎหมาย บริษทั ได้กำ� หนดแนวทางในการจัดกาและคักเลือกคูค่ า้ โดยก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนถึงนโยบายการจัดหาและคัดเลือก คุณสมบัติ ขั้นตอนการท�ำธุรกิจอย่างมีระบบ เป็นธรรม โปร่งใส และสนับสนุนคู่ค้าที่ด�ำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคมมและสิ่งแวดล้อม และบริษัท ไม่ท�ำธุรกรรมกับบุคคลหรือนิติบุคคลที่กระท�ำผิดกฎหมาย หรือมีพฤติกรรมที่ส่อไปในทางทุจริต 3.5 ผู้ร่วมลงทุน บริ ษั ท เคารพซึ่ ง สิ ท ธิ ข องผู ้ ร ่ ว มทุ น และปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู้ร่วมทุนอย่างเป็นธรรม ไม่เอาเปรียบผู้ร่วมทุน ตลอดจน ให้ความร่วมมืออย่างดีกับผู้ร่วมลงทุนเพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนการด�ำเนินงานของกิจการร่วมทุนให้มคี วามแข็งแกร่ง สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และร่วมกันพิจารณาก�ำหนดแผนธุรกิจ ร่วมกันจัดสรรผล ประโยชน์อย่างเหมาะสม โปร่งใส รวมทั้งติดตามและผลัก

- 81 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ดันให้การด�ำเนินงานของกิจการร่วมทุนเป็นไปตามกรอบ ของกฎหมายและแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ เพื่อ ให้การด�ำเนินงานของกิจการร่วมทุนประสบผลส�ำเร็จตาม วัตถุประสงค์ของกิจการร่วมทุน 3.6 เจ้าหนี้ คณะกรรมการบริษัท ค�ำนึงถึงความเสมอภาคของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ความซื่อสัตย์ในการด�ำเนินธุรกิจ และ ยึดมั่นในการสร้างความเชื่อถือและการปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ อย่างเป็นธรรม โดยมีนโยบายและแนวทางปฏิบตั ติ อ่ เจ้าหนี้ ดังนี้ จัดท�ำสัญญากับเจ้าหนี้ทุกประเภทอย่างถูกต้อง ตามกฎหมาย เสมอภาคเป็นธรรม และโปร่งใส โดยไม่เอาเปรียบคู่สัญญา ไม่ใช้วิธีการทุจริต หรือปกปิดข้อมูลหรือข้อเท็จ จริงส�ำคัญใดๆ ทีอ่ าจท�ำให้เจ้าหนีไ้ ด้รบั ความเสียหาย ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขข้อตกลงของสัญญาต่างๆ ทีไ่ ด้ ท�ำไว้กบั เจ้าหนีท้ กุ ประเภทอย่างเคร่งครัด ถูกต้อง ตรงไปตรงมา นอกจากนี้ เพื่อรักษาความเชื่อมั่นต่อเจ้าหนี้ บริษัท ยังให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการเงินทุนให้มโี ครงสร้าง ทางการเงินที่เหมาะสม มีการสื่อสารกับเจ้าหนี้ถึงสถานะ ของธุรกิจอย่างสม�ำ่ เสมอและมุง่ มัน่ ในการรักษาสัมพันธภาพ ที่ยั่งยืนกับเจ้าหนี้ 3.7 สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม บริษทั ยึดมัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรม และปฏิบัติตามกฎหมาย และ/หรือ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ดูแลป้องกันให้มีการด�ำเนินงานของบริษัทก่อให้เกิดความ เสียหายต่อคุณภาพชีวติ ของสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม สร้างปฏิสัมพันธ์อันดีกับชุมชนที่สถานประกอบการของ บริษทั ตัง้ อยู่ สนับสนุนโครงการและกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อชุมชนและสังคมอย่างสม�่ำเสมอ 3.8 คู่แข่ง บริษทั ปฏิบัติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ดี รักษา

บรรทัดฐานข้อพึงปฏิบัติในการแข่งขัน และจะไม่แสวงหา ข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางธุรกิจด้วยวิธีการที่ไม่ สุจริตหรือไม่ชอบธรรม ตลอดจนไม่ทำ� ลายชือ่ เสียงทางธุรกิจ ของคู่แข่งโดยการกล่าวหาในทางร้าย 3.9 ภาครัฐ บริษทั ให้ความร่วมมือและสนับสนุนนโยบายภาครัฐเพือ่ ผลประโยชน์ของประเทศชาติภายใต้กฎหมายและหลักเกณฑ์ ทีเ่ กีย่ วข้อง และเข้าโครงการหรือแนวทางในการต่อต้านการ ทุจริตการคอรัปชั่น รวมถึงการสนับสนุนกิจกรรมที่ส่งเสริม และปลูกฝังให้พนักงานทุกคนปฏิบัติตามกฏหมาย และ ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง 3.10 สื่อมวลชน บริษัทให้ความส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแก่ สื่อมวลชนอย่างรวดเร็ว ถูกต้อว โปร่งใส เพื่อให้สื่อมวลชน สามารถสื่อสารต่อไปยังสาธารณชนได้อย่างถูกต้อวและ ทันเหตุการณ์ นอกจากนี้ ยังสร้างการมีสว่ นรวมกับสือ่ มวลชน อย่างจริงจังและต่อเนือ่ งผ่านกิจกรรมต่างๆ ตามความสนใจ ของสือ่ มวลชน อาทิ การเรียนเชิญเข้ารวมงานแถลงข่าว หรือ กิจกรรมต่างๆทีบ่ ริษทั จัดขึน้ รวมถึงสร้างความสัมพันธ์อนั ดี กับสื่อมวลชน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อให้ เกิดการพัฒนา หรือการสนับสนุนกิจกรรมวิชาการของ สื่อมวลชน นโยบายและแนวทางปฎิบัติเกี่ยวกับการต่อต้าน การทุจริต บริษทั ฯ มีความตระหนักยึดมัน่ การด�ำเนินธุรกิจอย่าง มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุม่ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจ ซึ่งเป็นการสนับสนุนการเติบโตอย่างยั่งยืนให้แก่ บริษัทฯ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2559 บริษทั ฯ ได้ร่วมลง นามแสดงเจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชน ไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition : CAC) : ซึง่ เป็นโครงการทีร่ ฐั บาลและส�ำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับ 8 องค์กรได้แก่ หอการค้าไทย สมาคมส่งเสริมสถาบัน

- 82 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

กรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) หอการค้านานาชาติ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย สมาคม ธนาคารไทย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ผลักดันให้มีมาตรการต่อต้านการทุจริตใน ภาคเอกชน ทั้งนี้ บริษัทได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนว ร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 นโยบายการแจ้งเบาะแสการกระท�ำผิด เพือ่ เป็นการให้สทิ ธิแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ในการติดตาม ตรวจสอบการฏิบัติงานของบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือให้มี ประสิทธิประสิทธิผลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษทั ฯ และบริษัทในเครือ จึงจัดให้มีช่องทางการแจ้งเบาะแสรับ เรือ่ งราวร้องทุกข์ ร้องเรียนเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ หรือบริษทั ในเครือทีถ่ อื ว่าเป็นการกระท�ำผิดกฎหมาย รวมถึง ที่อาจเกิดขัดแย้งกับผู้เกี่ยวข้อง บริษทั ฯ ก�ำหนดให้มชี อ่ งทางแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน การทุจริตคอร์รปั ชัน่ การกระท�ำผิดกฎหมาย หรือจรรยาบรรณ รายงานทางการเงินทีไ่ ม่ถกู ต้อง การถูกละเมิดสิทธิ การทุจริต คอร์รปั ชัน่ หรือระบบควบคุมภายในทีบ่ กพร่องผ่านช่องทาง ดังต่อไปนี้ เว็บไซต์บริษัท : www.wice.co.th จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : คณะกรรมการตรวจสอบ banomyong.ruth@gmail.com ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร araya@wice.co.th เลขานุการบริษัท secretary2@wice.co.th จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) 88/8 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 หมายเหตุ ผู้มีส่วนได้เสียที่แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนไม่

ต้องเปิดเผยชือ่ แต่อย่างใด และให้คณะกรรมการตรวจสอบของ บริษทั ฯ ด�ำเนินการตรวจสอบข้อมูลหรือข้อเท็จจริงตามทีม่ ผี แู้ จ้ง เบาะแสหรือข้อร้องเรียนแล้วน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัท ได้รับทราบภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้รับแจ้ง

กระบวนการในการจัดการกับเรื่องที่พนักงานร้องเรียน เกี่ยวกับเรื่องที่อาจเป็นการกระท�ำผิด บริษัทฯ ก�ำหนดหลักเกณฑ์การร้องทุกข์ให้พนักงาน กรณีพนักงานมีความคิดเห็นหรือความขัดแย้งที่เกี่ยวกับ สภาพการจ้าง การท�ำงาน สิทธิประโยชน์ หน้าที่และความ รับผิดชอบของพนักงาน โดยมีหลักเกณฑ์การร้องทุกข์ ดังนี้ ความหมายและขอบเขตการร้องทุกข์ (1) ข้อร้องทุกข์ต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับการท�ำงาน มิใช่ เรื่องส่วนตัว เว้นแต่เรื่องนั้นจะเกี่ยวข้องกับการ ท�ำงาน (2) ข้อร้องทุกข์ของพนักงานต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ความคิดเห็น หรือข้อขัดแย้ง ว่าด้วยระบบ หรือ วิธีการท�ำงานสิทธิประโยชน์ สัญญาหรือสภาพ การจ้าง ความประพฤติและความเป็นธรรมของ พนักงาน (3) ข้อร้องทุกข์ตอ้ งมิใช่เรือ่ งร้องขอให้แต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้าง ปลดออก ไล่ออก ซึ่งตัวบุคคล วิธีการและขั้นตอนการร้องทุกข์ (1) ก่ อ นที่ จ ะเข้ า ด� ำ เนิ น การร้ อ งทุ ก ข์ ต ามขั้ น ตอน พนักงานควรปรึกษาหารือกับผูบ้ งั คับบัญชาโดยตรง ก่อนและผู้บงั คับบัญชาทุกคนควรให้ความส�ำคัญ แก่ปัญหาพนักงาน ไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใด จะ ต้องไม่ทิ้งปัญหาและต้องพยายามแก้ไขให้แล้ว เสร็จโดยเร็ว (2) หากปั ญ หาของพนั ก งานไม่ ไ ด้ รั บ การแก้ ไ ขใน เวลาอันสมควร หรือเป็นปัญหาเกี่ยวกับผู้บังคับ บัญชาโดยตรงพนักงานอาจร้องทุกข์ด้วยตนเอง กับผู้บังคับบัญชาระดับเหนือขึ้นไป เป็นหนังสือ โดยชีแ้ จงสาเหตุและข้อมูลทีส่ มบรูณภ์ ายใน 7 วัน นับแต่วันที่มีการขัดแย้ง และผู้บงั คับบัญชาต้อง รีบไต่สวนข้อร้องทุกข์วินิจฉัยและแจ้งผลให้แล้ว

- 83 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

เสร็จภายใน 20 วันนับแต่วันที่ได้รับข้อร้องทุกข์ ให้ผรู้ อ้ งทุกข์ทราบ ด้วยการชีแ้ จงด้วยวาจานพร้อม บันทึกค�ำชีแ้ จงเหตุผลไว้ในส�ำนวน โดยผูร้ อ้ งทุกข์ ลงลายมือชือ่ รับทราบผลพิจารณาหรือการวินจิ ฉัย เป็นหนังสือชี้แจง แล้วแต่กรณี ความคุ้มครองผู้ร้องทุกข์และผู้เกี่ยวข้อง (1) ข้อร้องทุกข์จะได้รับการพิจารณาด้วยความ เป็นธรรม ไม่ถกู กลัน้ แกล้ง โยกย้ายหน้าที่ หรือ ลงโทษแต่ประการใด เว้นแต่เป็นการร้องทุกข์ ด้วยเจตนาที่ไม่สุจริต (2) พนักงานที่ให้การเป็นพยาน หรือร่วมในการ สอบสวนจะได้รบั การคุม้ ครอง ไม่ถกู กลัน่ แกล้ง โยกย้ายหน้าทีหรือลงโทษแต่ประการใด เว้นแต่ พนักงานมีเจตนาให้การด้วยอคติ ปรักปร�ำ เป็นเท็จ หรือไม่ให้ความร่วมมือในกระบวนการ สอบสวนหาความจริง (3) การพิจารณาลงโทษพนักงานตั้งแต่ขั้นพักงาน ขึ้นไป และการพิจารณาร้องทุกข์ ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารจะแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ พิจารณาเป็นคราวๆ ไป และจะสิ้นสภาพลง ทันทีที่การพิจารณาลงโทษหรือพิจารณาข้อ ร้องทุกข์นั้นๆ สิ้นสุดลง หากพนักงานเห็นว่าตนเองไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือ พบจุดเสี่ยง หรือการกระท�ำใดๆ ที่อาจส่งผลกระทบกับ บริษทั ฯ ก็สามารถด�ำเนินการร้องทุกข์ได้ทางช่องทางดังกล่าว ทั้งนี้กระบวนการร้องทุกข์และการสอบสวนหาข้อเท็จจริง ต่างๆ บริษัทฯฯได้ระบุไว้อย่างชัดเจนในคู่มือพนักงาน เพื่อ ให้พนักงานทุกคนรับทราบและปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด นโยบายหรือแนวทางในการปกป้องพนักงานหรือ ผู้แจ้งข้อมูลในการกระท�ำผิด ในการร้องเรียนที่อาจเกี่ยวข้องกับการกระท�ำผิดจรรยา บรรณทางธุรกิจของพนักงาน บริษทั ฯ จะด�ำเนินการตรวจสอบ ตามขัน้ ตอนและบันทึกการสอบสวนไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยไม่เปิดเผยชื่อผู้แจ้งเบาะแส รวมทั้งด�ำเนินการจัดเก็บ ข้อมูลการ้องเรียนเป็นความลับ เพื่อคุ้มครองผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้งเบาะแสดังกล่าว

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษทั ให้ความส�ำคัญเรือ่ งการเปิดเผยสารสนเทศ เนือ่ งจาก เรื่องที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน และผูม้ สี ว่ น ได้เสียจึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องมีการควบคุมและก�ำหนด มาตรในการเปิดเผยสารสนเทศทั้งที่เป็นสารสนเทศทาง การเงินและที่ไม่ใช่ทางการเงินให้ถูกต้องตามที่กฎหมาย ก�ำหนด มีสาระส�ำคัญครบถ้วนเพียงพอ โปร่งใส เชื่อถือได้ และทันเวลา บริษัทยึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ต่างๆ ทีก่ ำ� หนดโดยคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ติดตามการแก้ไขเปลีย่ นแปลงอยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้มน่ั ใจ ได้ว่าเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง และเป็นหลักประกันให้ ผู้ถือหุ้นเชื่อมั่นในการด�ำเนินธุรกิจที่โปร่งใส อาทิ 4.1 จัดท�ำแบบรายงานต่างๆ ตามกฎหมายที่ เกีย่ วข้องกับผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งกรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูง และรายงานต่อ ก.ล.ต. 4.2 ก�ำหนดนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริหารระดับ สูงต้องรายงานการมีส่วนได้เสียของตนเองและบุคคลที่มี ความเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย ตามหลักเกณฑ์ รูปแบบ และวิธีการที่บริษัทก�ำหนด 4.3 ก�ำหนดนโยบายให้กรรมการต้องเปิดเผย รายงานการซือ้ ขาย ถือครองหุน้ สามัญของบริษทั ให้ทปี่ ระชุม คณะกรรมการรับทราบทุดครัง้ ทีม่ กี ารประชุม รวมถึงการถือ หุ้นสามัญของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของ บุคคลดังกล่าวให้คณะกรรมการบริษัททราบทุกไตรมาส และเปิดเผยจ�ำนวนหุน้ ทีถ่ อื ณ ต้นปี สิน้ ปี และทีม่ กี ารซือ้ ขาย ระหว่างปีไว้ในรายงานประจ�ำปี 4.4 จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน และแสดงไว้คู่กับรายงานผู้สอบ บัญชีในรายงานประจ�ำปี 4.5 เผยแพร่หนังสือนัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ และ รายงานประจ�ำปี ภายใน 120 วันนับแต่วนั สิน้ สุดรอบปีบญ ั ชี 4.6 เผยแพร่รายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ล่าสุดไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท

- 84 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

4.7 เปิดเผยบทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการและ คระกรรมการชุดย่อย จ�ำนวนครัง้ ของการประชุมและจ�ำนวน ครั้งที่กรรมการแต่ละคนเข้าประชุมเป็นรายบุคคล 4.8 เปิดเผยวันเดือนปี ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทในรายงานประจ�ำปี 4.9 เปิดเผยวิธีการสรรหากรรมการ และวิธีการ ประเมินผลการปฏิบัตืงานของคณะกรรมการ 4.10 เปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนแก่ กรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง รวมทัง้ รูปแบบ ลักษณะ และ จ� ำ นวนค่ า ตอบแทนที่ ก รรมการแต่ ล ะคนได้ รั บ การเป็ น กรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย เป็นรายบุคคล 4.11 เปิดเผยข้อมูลการเข้าร่วมอบรมหลักสูตรของ กรรมการที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย (IOD) เป็นรายบุคคล 4.12 เปิดเผยโครงสร้างการด�ำเนินงานและการ ลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และบริษัทอื่นๆ อย่างชัดเจน 4.13 เปิดเผยค่าสอบบัญชี และค่าบริการอื่นนอก เหนือจากค่าสอบบัญชีในรายงานประจ�ำปี 4.14 เปิดเผยหนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับของ บริษัทบนเว็บไซต์ของบริษัท 4.15 เปิดเผยโครงการลงทุนที่ส�ำคัญต่างๆ และ ผลกระทบทีม่ ตี อ่ โครงการลงทุน โดยเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ ผ่านระบบ SET Portal ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ ของบริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน สื่อมวลชน และ ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้องทั่วถึง และโปร่งใส ช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศของบริษัท บริษัทให้ความส�ำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีความ ถูกต้องครบถ้วนโปร่งใส ทั้งข้อมูลทางการเงิน ผลการ ด�ำเนินงาน และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากการเปิด เผยข้อมูลตามหน้าที่ภายใต้ข้อบังคับของกฎหมายแล้ว บริษทั ยังได้พฒ ั นาช่องทางในการสือ่ สารข้อมูลและข่าวสาร ผ่านสือ่ ทีห่ ลากหลายเพือ่ เป็นประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง อาทิ จัดให้มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็นช่อง ทางติดต่อโดยตรงกับนักลงทุน

แถลงข่าวผลการด�ำเนินงานประจ�ำไตรมาส รวมทัง้ ข่าวโครงการลงทุนและกิจกรรมทีส่ ำ� คัญของบริษทั เป็นประจ�ำ แถลงผลการด�ำเนินงานประจ�ำไตรมาส แก่นกั ลงทุน และนักวิเคราะห์ จัดกิจกรรมพบนักลงทุนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ เผยแพร่ข่าวผ่านสื่อมวลชนในรูปแบบต่างๆ อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ภาพข่าว บทความ สือ่ โฆษณา และโซเซียลมีเดียต่างๆ เผยแหล่ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารถึ ง พนั ก งานผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ อาทิ อินทราเน็ต อีเมล และ โซเซียลมีเดีย เปิดเผยข้อมูลผ่านเว็บไซต์ www.wice.co.th และ www.facebook.com/wice logistics public company limited หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์

สัมภาษณ์รายการ “มองโลกมองเรา”ทางช่อง 3SD หมายเลข 28 ออก อากาศเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2561

คณะกรรมการตระหนักดีวา่ ข้อมูลของบริษทั ทัง้ ทีเ่ กีย่ วกับ การเงินและที่ไม่ใช่การเงินล้วนมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ ของผูล้ งทุนและผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั จึงได้กำ� ชับให้ฝา่ ย บริหารด�ำเนินการในเรื่องที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลที่ ครบถ้วน เชื่อถือได้ สม�่ำเสมอ และทันเวลา ซึ่งฝ่ายบริหาร ของบริษัทได้ให้ความส�ำคัญและยึดถือปฏิบัติมาโดยตลอด ในส่วนของงานด้านผู้ลงทุนสัมพันธ์นั้น บริษัทจัดให้มี หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์โดยเฉพาะโดยมอบหมายให้ กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ และเลขานุการบริษัท ท�ำหน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สารกับผูล้ งทุนสถาบัน ผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะ

- 85 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้ลงทุนสามารถติดต่อขอทราบ ข้อมูลบริษัทได้ที่โทรศัพท์ 02-681-6181 ต่อ 3501 หรือ E-mail : Secretary2@wice.co.th กิจกรรมการในปี 2561 กรรมการผู้จัดการ และฝ่าย บริหาร รวมถึงนักลงทุนสัมพันธ์ เลขานุการบริษัท ได้ ด�ำเนินกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ แยกเป็น ประเภทต่างๆ ได้ดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมการบริษทั จดทะเบียนพบนักลงทุน ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Opportunity day) ไตรมาสละครั้ง เพื่อแถลงผลการด�ำเนินงานรายไตรมาส

2. การเข้าพบผผูบ้ ริหารโดยการนัดหมายจากนักลงทุน และนั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ เ พื่ อ สอบถามข้ อ มู ล บริ ษั ท (Company Visit) จ�ำนวน 12 ครั้ง 3. การจัดพบนักวิเคราะห์หลักทรัพย์กลุม่ ย่อยจ�ำนวน 2 ครั้ง

4. การสัมภาษณ์ทางรายการ และทางโทรศัพท์ จ�ำนวน 10 ครั้ง   5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 5.1 โครงสร้างของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ยบุ ค คลซึ่ ง มี ความรูค้ วามสามารถเป็นทีย่ อมรับ เป็นผูม้ บี ทบาทส�ำคัญใน การก�ำหนดนโยบายของบริษทั โดยร่วมกับผูบ้ ริหารระดับสูง วางแผนการด�ำเนินงานทั้งระยะสั้น ระยะยาว ตลอดจน ก�ำหนดนโยบายการเงิน การบริหารความเสีย่ ง และภาพรวม ขององค์กร มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำกับดูแลตรวจสอบ และ ประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษทั และผลการปฏิบตั งิ าน ของผู้บริหารระดับสูงให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้อย่างอิสระ คณะกรรมการบริษัท ประกอบไปด้วยกรรมการที่ เป็นผู้บริหาร 4 คน คือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการ ผูจ้ ดั การ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ กรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ายสนับสนุน องค์กร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน และกรรมการ ที่ไม่เป็นผู้บริหาร 4 คน ซึ่งกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมี ประสบการณ์ ท� ำ งานเกี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ หลั ก ของบริ ษั ท รายละเอียดปรากฎตามประวัติกรรมการบริษัทในรายงาน ประจ�ำปี บริษัทมีกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 คน ซึ่งเป็นครึ่ง หนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด โดยกรรมการอิสระจะท�ำ หน้าทีใ่ นการตรวจสอบการท�ำงานของฝ่ายจัดการ เสนอแนะ และแสดงความคิดเห็น สนับสนุนนโยบายที่เป็นประโยชน์

- 86 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ต่อผูถ้ อื หุน้ หรือคัดค้านแนวทางทีอ่ าจก่อให้เกิดความไม่เป็น ธรรม หรือไม่โปร่งใสซึง่ อาจกระทบต่อผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ ดูแลให้บริษทั ก�ำหนดและเปิดเผย นโยบายด้านการดูแลการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน เพื่อให้ มัน่ ใจได้วา่ เป็นไปเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ 5.2 ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท ให้คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. บริหารกิจการให้เป็นไปเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุด แก่ผถู้ อื หุน้ (Fiduciary Duty) โดยยึดถือแนวทางปฏิบตั สิ ำ� คัญ 4 ประการ คือ 1.1 การปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบ ระมัด ระวัง และรอบคอบ (Duty of Care) 1.2 การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) 1.3 การปฏิบัติตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั มติคณะกรรมการบริษทั และมติทปี่ ระชุม ผู้ถือหุ้น (Duty of Obedience) 1.4 การเปิดเผยข้อมูลต่อผูถ้ อื หุน้ อย่างถูกต้อง ครบถ้วนโปร่งใส ตรวจสอบได้ และทันเวลา (Duty of Disclosure) 2. ก�ำหนดและทบทวนโครงสร้างคณะกรรมการ ในเรื่องจ�ำนวนกรรมการ สัดส่วนกรรมการอิสระ รวมทั้ง คุณสมบัตทิ หี่ ลากหลายเพือ่ ให้เหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัท 3. ก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ในการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยมีการทบทวนและอนุมัติเป็น ประจ�ำทุกปี 4. พิจารณาแผนหลักในการด�ำเนินงาน งบประมาณ เป้าหมาย และนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจ ตลอดจนพัฒนา ขีดความสามารถของบริษทั ให้แข่งขันได้ในระดับสากล 5. ติดตามดูแลให้มีการน�ำกลยุทธ์ของบริษัทไป ปฏิบัติ และติดตามการวัดผลการด�ำเนินงาน โดยมีการ รายงานผลการด�ำเนินงานอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งนโยบาย เพื่ อ การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การด� ำ เนิ น งานของธุ ร กิ จ โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยและความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรของบริษัท

6. จัดการบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติคณะกรรมการบริษัท และมติของ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวังและรอบคอบ และความซือ่ สัตย์สจุ ริตเพือ่ ประโยชน์สงู สสุดของบริษทั และ เป็นธรรมต่อผู้เกี่ยวข้อง 7. ก�ำกับดูแลและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่ ก่อให้เกิดมูลค่าแก่บริษัทควบคู่กับการสร้างคุณประโยชน์ ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุดฝ่าย 8. ก�ำกับดูแลให้มีการบริหารจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศและมาตราการรักษาความมั่งคงปลอดภัยของ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 9. ก�ำหนดนโยบายบริหารความเสี่ยง และก�ำกับ ดูแลให้มีการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่มี ประสิทธิผล รวมทั้งมีหารทบทวนและประเมินระบบการ จัดการความเสี่ยงอย่างสม�่ำเสมอและเมื่อระดับความเสี่ยง มีการเปลี่ยนแปลง 10. ก�ำกับดูแลและพัฒนาบรรษัทภิบาลของบริษทั ให้อยู่ในระดับสากล เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจ ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ิ และเป็นแบบอย่างในการปฏิบตั ติ าม หลักบรรษัทภิบาลและจรรยาบรรณบริษัท 11. ส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับมีจิตส�ำนักใน จริยธรรมและคุณธรรม และปฏิบัติตามหลักบรรษัทภิบาล จรรยาบรรณ และนโยบายต่อต้านคอร์รัปชันของบริษัท พร้อมทั้งก�ำกับดูแลให้มีระบบการควบคุมภายใน และการ ตรวจสอบภายในที่เหมาะสม รวมทั้งป้องกันการกระท�ำผิด กฎหมาย 12. ติดตามดูแลสภาพคล่องงทางการเงินและความ สามารถในการช�ำระหนี้ รวมทั้งแผนหรือกลไกในการแก้ไข หากเกิดปัญหา 13. ก�ำกับดูแลในระบบการจัดท�ำรายงานทางการเงิน และการเปิดเผยข้อส�ำคัญต่างๆ ถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา เป็นไปตามกฎเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 14. ดูแลให้มนั่ ใจว่าผูถ้ อื หุน้ มีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ ในเรื่องส�ำคัญของบริษัท เคารพสิทธิและปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอื่น อย่างเป็นธรรมและโปร่งใส ก�ำกับ ดูแลให้มีกระบวนการและช่องทางในการรับและจัดการกับ

- 87 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ข้อร้องเรียนของผู้ที่ประสงค์จะแจ้งเบาะแสหรือผู้มีส่วนได้ เสียทุกฝ่ายอย่างมีประสิทธิผล และเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่ายสามารถติดต่อ ร้องเรียนในเรื่องที่อาจเป็น ปัญหากับคณะกรรมการได้โดยตรง 15. พิจารณาแผนพัฒนาผู้บริหารระดับสูง และแผน สืบทอดประธานเจ้าหน้าที่บริหารหรือกรรมการผู้จัดการ และก� ำ กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ ผู้บริหารระดับสูงที่มีประสิทธิผลเป็นประจ�ำปี และมีระบบ การพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนแก่ผู้บริหารระดับสูงที่ รอบคอบโปร่งใส สอดคล้องกับความรับผิดชอบและผลการ ด�ำเนินงานเพือ่ ก่อให้เกิดแรงจูงใจทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว 16. ประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัทเป็นประจ�ำปี โดยให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็น 2 แบบ คือ ประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษัทโดยรวม และประเมินตนเองเป็นรายบุคคล รวมทั้ง ติดตามผลการประเมินของคณะกรรมการบริษัทและคณะ กรรมการชุดย่อยเพื่อพิจารณาร่วมกันในคณะกรรมการ บริษัท และทบทวนแบบประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของ กรรมการบริษัทเป็นประจ�ำสม�่ำเสมอ 17. ก�ำกับดูแลให้มีกระบวนการสรรหาและเลือกตั้ง บุคคลเป็นกรรมการบริษัทอย่างโปร่งใส และมีการก�ำหนด ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทและกรรมการชุดย่อยอย่าง เหมาะสม 18. อุทิศเวลาในการปฏิบัตหิ น้าที่อย่างเพียงพอ เข้า ร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทและการประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่ในกรณีทมี่ เี หตุสดุ วิสยั โดยกรรมการบริษทั ทีไ่ ม่สามารถ เข้าร่วมประชุมจะต้องแจ้งให้ประธานกรรมการหรือเลขาฯ ที่ประชุมทราบล่วงหน้าก่อนการประชุม 19. ติดตามดูแลและจัดการความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างบริษัทกับฝ่ายจัดการ หรือ ผู้ถือหุ้นก�ำกับดูแลให้มีการป้องกันการใช้ประโยชน์อันมิ ควรให้ทรัพย์สนิ ของบริษทั และการท�ำธุรกรรมกับผูท้ มี่ คี วาม สัมพันธ์เกี่ยวโยงกับบริษัทในลักษณะที่ไม่สมควร 20. พัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน ต่อเนื่องเข้าอบรมหรือเข้าร่วมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติหน้าที่กรรมการหรือกิจกรรมสัมมนาที่เป็นการ

เพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการบริษัทอาจขอ ค�ำปรึกษาจากที่ปรึกษาอิสระภายนอกหรือผู้เชี่ยวชาญใน วิชาชีพอื่นๆ หากเห็นว่ามีความจ�ำเป็นและเหมาะสม 5.3 บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ ให้ประธานกรรมการมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาก�ำหนดวาระการประชุมคณะกรรมการ บริษทั ร่วมกับประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และดูแลให้กรรมการ บริษทั ได้รบั ข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน และทันเวลา ก่อนการประชุม เพื่อให้กรรมการบริษัทสามารถตัดสินใจ ได้อย่างเหมาะสม 2. เป็นผูน้ ำ� ของคณะกรรมการบริษทั และเป็นประธาน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท 2.1 ด�ำเนินการประชุมคณะกรรมการบริษัทตาม ระเบียบวาระ ข้อบังคับของบริษัท และกฎหมาย 2.2 จัดสรรเวลาอย่างเพียงพอ และส่งเสริมให้ กรรมการบริษัททุกคนอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ได้อย่างเต็มที่ เป็นอิสระและใช้ดุลยพินิจอย่างรอบคอบ โดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างครบถ้วน 2.3 สรุปมติที่ประชุมและสิ่งที่ต้องด�ำเนินการต่อ อย่างชัดเจน 2.4 ก�ำหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยไม่มีกรรมการบริษัทที่มาจากฝ่ายจัดการ 3. เป็นผูน้ ำ� ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้เป็นไปตามระเบียบ วาระ ข้อบังคับของบริษัท และกฎหมาย โดยจัดสรรเวลา ให้เหมาะสม รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิด เห็นอย่างเท่าเทียมกัน และดูแลให้มีการตอบข้อซักถาม ของผู้ถือหุ้นอย่างเหมาะสมและโปร่งใส 4. สนั บ สนุ น และเป็ น แบบอย่า งที่ ดี ใ นการปฎิ บั ติ ตามหลักบรรษัทภิบาลและจรรยาบรรณของบริษัท 5. เสริมสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างคณะกรรมการ บริษัทกับฝ่ายจัดการ และสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และฝ่ายจัดการตามนโยบาย ของบริษัท

- 88 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

6. ก�ำกับดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและการจัดการ อย่างโปร่งใสในกรณีที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 7. ก�ำกับดูแลให้คณะกรรมการบริษัทมีโครงสร้าง และองค์ประกอบที่เหมาะสม 8. ก�ำกับดูแลให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัทโดยรวม คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ และกรรมการ บริษทั แต่ละคนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 5.4 อ�ำนาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทํ มีอ�ำนาจอนุมัติเรื่องต่างๆ ของ บริษัทตามขอบเขตหน้าที่ที่ก�ำหนดโดยกฎหมาย ข้อบังคับ ของบริษัท กฎบัตรคณะกรรมการบริษัท และมติที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ ซึง่ รวมถึงการก�ำหนดและทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ในการด�ำเนินงาน แผนหลักในการด�ำเนนิงาน นโยบาย ในการบริหารความเสี่ยง แผนงบประมาณ และแผนการ ด�ำเนินงานธุรกิจประจ�ำปี ก�ำหนดเป้าหมายที่ต้องการของ ผลการด�ำเนินงาน การติดตามและประเมินผลการด�ำเนิน งานให้เป็นไปตามแผนทีก่ ำ� หนดไว้ รายการระหว่างกันทีส่ ำ� คัญ การเข้าควบรวมกิจการ การแบ่งแยกกิจการ และการเข้าร่วมทุน 5.5 การแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ระหว่างคณะ กรรมการบริษัทกับฝ่ายจัดการ บริษัทได้แบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ระหว่างคณะกรรมการบริษัทกับฝ่ายจัดการอย่างชัดเจน โดยกรรมการบริษัทท�ำหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายและ ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของฝ่ายจัดการให้เป็นไปตาม นโยบายที่ก�ำหนด ดังนั้น ประธานกรรมการ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร จึงเป็นบุคคลคนละคนกัน โดยทั้งสอง ต�ำแหน่งต้องผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ได้บุคคลที่มีความเหมาะสมที่สุด นอกจากนี้ คณะ กรรมการบริษัทยังเป็นผู้ก�ำหนดแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง ของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และมีการทบทวนแผนดังกล่าว เป็นประจ�ำทุกปี โดยมีการประชุมร่วมกันระหว่างกรรมการที่ ไม่เป็นผูบ้ ริหารโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าประชุมในวาระดังกล่าว ประธานกรรมการไม่ได้เป็นกรรมการที่เป็นผู้บริหาร และไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของบริษัท ตลอดจน

ไม่ มี อ� ำ นาจลงนามผู ก พั น บริ ษั ท เพื่ อ ให้ แ บ่ ง แยกหน้ า ที่ ระหว่างการก�ำกับดูแลเชิงนโยบายในภาพรวมของบริษัท กับการบริหารงานได้อย่างชัดเจน ส�ำหรับฝ่ายจัดการได้รับมอบหมายอ�ำนาจหน้าที่ให้ ด�ำเนินงานภายใต้นโยบายต่างๆ ที่ก�ำหนดไว้ รับผิดชอบ ผลการด�ำเนินงานโดยรวม ควบคุมค่าใช้จ่ายและงบลงทุน ตามขอบเขตที่คณะกรรมการอนุมัติในแผนงานประจ�ำปี ด�ำเนินการตามนโยบายด้านบุคคล แก้ไขปัญหาหรือความ ขัดแย้งที่มีผลกระทบต่อองค์กร และด�ำรงไว้ซึ่งการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 5.6 วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษทั จ�ำนวนปีที่ด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการบริษัท ข้อบังคับของบริษทั ได้กำ� หนดจ�ำนวนปีทดี่ ำ� รงต�ำแหน่ง ในแต่ละวาระของกรรมการบริษทั เป็นไปตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ.2535 โดยในที่ประชุมสามัญผู้ถือ หุ้นประจ�ำปี กรรมการบริษัทต้องออกจากต�ำแหน่งจ�ำนวน 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไมได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 ทั้งนี้ กรรมการ บริษทั ทีจ่ ะต้องออกจากต�ำแหน่งนัน้ ให้พจิ ารณาจากกรรมการ บริษัทที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง ก่อน ซึ่งปัจจุบันบริษัทมีกรรมการทั้งสิ้น 8 คน แต่ละคนจะ ด�ำรงต�ำแหน่งวาระละ 3 ปี อย่างไรก็ตาม กรรมการบริษัท ที่ออกไปนั้นอาจได้รับเลือกตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งอีกก็ได้ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่กันของกรรมการ อิสระ กรรมการอิสระมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการไม่ เกิน 3 วาระติดต่อกัน (9 ปี) หรือตามความเหมาะสม โดย เริ่มนับวาระแรกตั้งแต่วันที่คณะกรรมบริษัทมีมติอนุมัติใน วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และครบก�ำหนดการด�ำรงต�ำแหน่ง ในแต่ละวาระในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีที่ตน ครบก�ำหนดออกตามวาระ ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจเสนอ ชื่อกรรมการดังกว่าให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณา เลือกตัง้ กลับเข้าเป็นกรรมการต่อไปได้ตามทีค่ ณะกรรมการ เห็นสมควร แต่ให้คุณสมบัติความเป็นอิสระของกรรมการ นั้นสิ้นสุดลง

- 89 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

5.7 นโยบายการจ�ำกัดจ�ำนวนบริษทั จดทะเบียน ของกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูง การก�ำหนดจ�ำนวนบริษทั จดทะเบียนทีก่ รรมการ บริษัทจะไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดนโยบายก� ำ หนด จ� ำ นวนบริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ ก รรมการบริ ษั ท จะไปด� ำ รง ต�ำแหน่งกรรมการเพื่อให้บริษัทได้รับประโยชน์สูงสุดใน การที่กรรมการบริษัทสามารถอุทิศเวลาส�ำหรับการปฏิบัติ หน้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษทั จึงก�ำหนด นโยบายให้กรรมการบริษทั ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียน อื่นรวมไม่เกิน 5 แห่ง นอกจากนีบ้ ริษทั มีแนวปฏิบตั ใิ นกรณี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือกรรมการผู้จัดการจะเข้า ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั อืน่ (บริษทั จดทะเบียนและ บริษทั จ�ำกัด) รวมไม่เกิน 5 แห่ง โดยผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริษัท 5.8 การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านและการ พั ฒ นาความรู ้ ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ กรรมการ การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการ บริษัท จัด ให้ มีก ารประเมิน ผลการปฏิบัติง านและ ทบทวนผลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดย่อยเป็นประจ�ำทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้

คณะกรรมการ / คณะกรรมการชุดย่อย

โดยแบ่งการประเมินออกเป็น 2 แบบ คือการประเมินผล การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการทัง้ คณะ แบะการประเมิน ผลการปฏิบัติงานของตนเอง ซึ่งผลการประเมินนั้น คณะ กรรมการบริ ษั ท ได้ วิ เ คราะห์ แ ละหาข้ อ สรุ ป เพื่ อ ก� ำ หนด มาตรการในการปรับปรุงประสิทธิภาพของการท�ำงานคณะ กรรมการบริษัทต่อไป ส�ำหรับกระบวนการในการประเมินผลการปฎิบตั งิ าน ของคณะกรรมการทั้งคณะ และการประเมินผลการปฏิบัติ งานของตนเองนั้น คณะกรรมการสรรหาฯ จะพิจารณาทั้ง แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านจองคณะกรรมการและคณะ กรรมการชุดย่อย รวมถึงแบบสอบถามความต้องการทราบ ข้อมูลเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ของกรรมการ ก่อนที่จะเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณา เลขานุ ก ารบริ ษั ท ได้ จั ด ส่ ง แบบประเมิ น ผลให้ กรรมการบริษัททุกคนเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยที่ตนด�ำรง ต�ำแหน่ง หลังจากนั้นเลขานุการบริษัทจะสรุปผล และ น�ำเสนอผลประเมินต่อคณะกรรมการสรรหาฯ และคณะ กรรมการบริษัทเพื่อทราบก่อนจะน�ำส่งผลการประเมินให้ ประธานกรรมการและประธานกรรมการชุดย่อยต่อไป ทั้งนี้ ในปี 2561 ผลประเมินการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อยนั้น สรุปได้ดังนี้

ผลประเมินการปฏิบัติงานของ ผลประเมินการปฏิบัติงาน คณะกรรมการทั้งคณะ (ร้อยละ) ของตนเอง (ร้อยละ)

1. คณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

94% 88% 94% 87.5%

- 90 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider

93% - -


Annual Report 2018

การพัฒนากรรมการ และผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษัทเห็นควรให้มีการจัดกิจกรรมที่จะช่วยเพิ่มพูนความรู้ที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

รายชื่อกรรมการ

รายละเอียด

1. นายเอกพล พงศ์สถาพร - เข้าร่วมงาน Chairman Forum หัวข้อ Digital Transformation – A Must for all Companies 2. รศ.ดร. รุธิร์ พนมยงค์ - ไม่มี 3. นายวิชัย แซ่เซียว - ไม่มี 4. นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ - ไม่มี 5. ดร. อารยา คงสุนทร - เข้าร่วมงานรวมพลโลจิสติกส์ ปีที่ 15 จัดโดย Logistics Thailand magazine - เข้าร่วมงาน CEO CLUB 2018 ในหัวข้อ “The Game is on!” - เข้าร่วมงานเสวนาหัวข้อ “Research Alliance Dialogue on Corporate Governance 2018” จัดโดย IOD 6. นายชูเดช คงสุนทร - ไม่มี 7. นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร - เข้าร่วมงานรวมพลโลจิสติกส์ ปีที่ 15 จัดโดย Logistics Thailand magazine - เข้าร่วมเสวนา หัวข้อ “People strategy is business strategy” จัดโดย Human Capital Management Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - เข้าร่วมงานสัมมนา “Next Step Thailand : EEC ยุทธศาสตร์ไทย เชื่อมโลก” จัดโดยกรุงเทพธุรกิจ 8.นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม - อบรมสัมมานาหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 148/2018 จัดโดย IOD - เข้าร่วมสัมมนาในหัวข้อ “CFO Getting Together 2018” จัดโดย SET การเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการ แต่ละคนในปี 2561 นอกจากนี้ บริษัทยังสนับสนุนให้กรรมการบริษัท และ ผู้บริหารระดับสูง เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ ต่อการปฎิบัติหน้าที่รวมทั้งพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ของคณะกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูงขององค์กร

ต่างๆ อยู่เสมอ ทั้งหลักสูตรที่จัดโดยหน่วยงานองค์กรอิสระ หรือหน่วยงานก�ำกับดูแลของรัฐ อาทิ หลักสูตรกรรมการ บริษัทของสถาบันกรรมการบริษัทไทย ที่ ก.ล.ต. ก�ำหนด ให้กรรมการชองบริษัทจดทะเบียนต้องผ่านการอบรมอย่าง น้อยหนึ่งหลักสูตร ซึ่งได้แก่ Director Certification Program (DCP) Director Accreditation Program (DAP) และ Audit

- 91 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

Committee Program (ACP) ทั้งนี้ เพื่อน�ำความรู้และประสบการณ์มาพัฒนาองค์กรต่อไป หลักสูตรการอบรม

Director

Director

Certification Accreditation

Role Of The

Audit

Anti

Committee Corruption

Ethical

Company

Anti-

Leadership

Secretary

Corruption

Program

Program

Chairman

Program

The

Program

Program

for

(DCP)

(DAP)

Program

(ACP)

Practical

(ELP)

(CSP)

Executive

Guide

Program

(ACPG)

(ACEP)

(RCP) รายชื่อ กรรมการบริษัท 1. นายเอกพล พงศ์สถาพร

DCP

RCP

CSP

ACEP

141/2011

40/2017

41/2011

4/2012

ACEP

12/2014

2. รศ.ดร. รุธริ ์ พนมยงค์

DCP

DAP

103/2008

44/2004

ACP 13/2006

3. นายวิชยั แซ่เซียว

DAP111/2014

4. นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ

DAP111/2014

5. ดร. อารยา คงสุนทร

DCP 181/2013

6. นายชูเดช คงสุนทร

DAP SEC/2014

7. นางสาวฐิติมา ตันติกลุ สุนทร

DAP

ACPG

SEC/2014

42/2017

ELP 10/2017

8. นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม

DAP

148/2018

การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรของกรรมการที่จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ส�ำหรับด้านการสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะ กรรมการบริษทั นัน้ มีเลขานุการบริษทั ท�ำหน้าทีป่ ระสานงาน ระหว่างกรรมการบริษทั และฝ่ายจัดการ และยังประสานงาน ด้านกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งดูแล กิจกรรมของคณะกรรมการบริษัท การด�ำเนินการประสาน ให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษัท

CSP 65/2015

คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ คณะกรรมตรวจสอบ คระกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร เพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเพือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ฉพาะเรือ่ ง และ เสนอเรื่องให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาหรือรับทราบ โดยได้จัดให้มีกฎบัตร ส�ำหรับคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อ ก�ำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ และได้เปิดเผยกฎบัตร ดังกล่าวในเว็บไซต์ของบริษทั ด้วย นอกจากนี้ คณะกรรมการ บริษัทอาจแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยเฉพาะเรื่องชุดอื่นๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้

- 92 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

1. คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการบริษัทที่เป็นกรรมการอิสระ จ�ำนวน 3 คน โดยกรรมการตรวจสอบทุกคนมีความรู้ความ เข้าใจ และมีประสบการณ์การท�ำงานด้านบัญชี หรือการ เงินเป็นที่ยอมรับ โดยนายวิชัย แซ่เซียว เป็นกรรมการ ตรวจสอบทีเ่ ป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ เพียงพอที่จะท�ำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของ งบการเงินได้ โดยท�ำหน้าที่ในการสอบทานการด�ำเนินงาน ให้ถูกต้องตามนโยบายและระเบียบข้อบังคับ ตลอดจน กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ และข้อก�ำหนดของหน่วยงาน ก�ำกับดูแลส่งเสริมให้พัฒนาระบบรายงานทางการเงินและ บัญชีให้เป็นนไปตามมาตรฐานสากล รวมทั้งสอบทานให้มี ระบบการควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และระบบ การบริหารความเสี่ยงอย่างรัดกุม เหมาะสมและทันสมัย และมีประสิทธิภาพโดยคณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติ หน้าที่และแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ทัง้ นี้ คณะกรรมการจะประมีการประชุมร่วมกับผูส้ อบ บัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อขอความเห็นจากผู้สอบบัญชีในเรื่องต่างๆ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย 1. รศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ 2. นายวิชัย แซ่เซียว กรรมการ ตรวจสอบ 3. นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ กรรมการ ตรวจสอบ วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบมีวาระอยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดบครบรอบออกตามวาระในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี ทั้งนี้ เมื่อครบก�ำหนดออกตามวาระก็อาจได้รับ การพิจารณาแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปอีกได้ ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ ให้คณะกรรมกรรตรวจสอบมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. สอบทานให้มีระบบรายงานทางการเงินและการ

เปิดเผยข้อมูลในงบการเงินตามมาตรฐานรายงานทางการ เงิน และส่งเสริให้มีการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินให้ ทั ด เที ย มกั บ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ระหว่ า ง ประเทศ 2. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน การได้มาหรือ จ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อก�ำหนดของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด หลัก ทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3. สอบทานให้ บ ริษัท มีก ระบวนการบริห ารความ เสี่ยง กระบวนการท�ำงาน การควบคุม การก�ำกับดูแลด้าน การปฏิ บั ติ ง านและด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการ รักษาความมั่งคงปลอดภัยของข้อมูลและระบบเครือข่าย สื่อสารที่มปี ระสิทธิผล สอดคล้องตามมาตรฐานสากล 4. สอบทานให้บริษัทมีกระบวนการในการต่อต้าน คอร์รัปชันสอดคล้องตามแนวทางของหน่วยงานก�ำกับดูแล ต่างๆ อย่างมีประสิทธิผล ได้แก่ แนวร่วปฏิบัติของภาค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) และคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริจแห่งชาติ เริ่มตั้งแต่การส่งเสริม และสร้างความตระหนักรู้ การประเมินความเสีย่ ง การควบคุม ภายใน การสร้างระบบงานเชิงป้องกัน การรายงานการกระท�ำ ความผิด การตรวจสอบ จนถึงการสอบทานแบบประเมิน ตนเองเกี่ยวกับมาตรการต่อต้านคอร์รัปชันตามที่ได้มีการ ตรวจสอบและประเมินแล้ว 5. สอบทานให่บริษัทมีกระบวนการควบคุมและติด ตามการปฏิบัติงานตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 6. สอบทานให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายในและ การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผลตามวิธีการและมาตรฐานสากลที่ยอมรับโดย ทัว่ ไป และพิจารณา “แบบประเมินความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายใน” ซึง่ ได้มกี ารตรวจสอบและประเมินแล้ว เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณา

- 93 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

7. สอบทานสรุ ป ผลตรวจสอบทุ จ ริ ต และก� ำ หนด มาตรการป้องกันภายในองค์กร รวมทัง้ สอบทานกระบวนการ ภายในของบริ ษั ท เกี่ ย วกั บ การแจ้ ง เบาะแสและการรั บ ข้อร้องเรียน 8. สอบทานให้ มี ร ะบบงานเชิ ง ป้ อ งกั น และเป็ น ประโยชน์ ใ ห้ กั บ หน่ ว ยงานเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น 9. พิจารณาคัดเลือกเสนอแต่งตั้งหรือเลิกจ้างบุคคล ซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อท�ำหน้าที่ผู้สอบบัญชีของบริษัท รวมทั้งเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีของบริษัท และ ประเมินประสิทธิภาพการท�ำงานของผู้สอบบัญชี 10. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดย เปิดเผยไว่ในรยงานประจ�ำปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และมีความเห็น ในเรื่องต่างๆ ตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ 11. สอบทานและให้ความเห็นในการปฏิบัติงานของ ส�ำนักงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผูส้ อบบัญชี และจัดให้มีการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่าย จัดการเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 12. พิจารณาอนุมัติแผนงานตรวจสอบภายใน งบ ประมาณ รวมทั้งให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย หรือเลิกจ้างเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 13. พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน โดยพิจารณาจากการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละรายงานต่างๆ รวมทัง้ สายการบังคับบัญชา และสอบทานให้มกี ารประเมิน ผลการปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นไปตามมาตรฐานสากล 14. สอบทานให้กรรมการตรวจสอบมีการประเมินผล การปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยรวม และ การประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเป็นประจ�ำทุกปี 15. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดหรือคณะ กรรมการบริษัทจะมอบหมาย ในการปฏิบตั งิ านตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ ให้คณะ กรรมการตรวจสอบมีอำ� นาจเรียก สัง่ การให้ฝา่ ยจัดการ หัวหน้า หน่วยงานหรือพนักงานของบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุมหรือส่งเอกสารที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น คณะ

กรรมการตรวจสอบปฏิบัติงานภายในขอบเขตหน้าที่และ ความรับผิดชอบตามค�ำสั่งของคณะกรรมการบริษัท คณะ กรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบการด�ำเนินงานของบริษัท โดยตรงต่อผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย และบุคคลทั่วไป ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. หลังจากคณะกรรมการตรวจสอบได่รบั ทราบกรณี ทีผ่ สู้ อบบัญชีพบพฤติการณ์อนั ควรสงสัยว่ากรรมการ ผูจ้ ดั การ หรือบุคคลซึง่ รับผิดชอบในการด�ำเนินงานของบริษทั กระท�ำ ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลัก ทรัพย์ มาตรา 281/2 วรรคสอง มาตรา 305 มาตรา 306 มาตรา 308 มาตรา 309 มาตรา 310 มาตรา 311 มาตรา 312 หรือมาตรา 313 ให้คณะกรรมการตรวจสอบด�ำเนินการ ตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบเบือ้ งต้น ให้สำ� นักงาน ก.ล.ต.และผู้สอบบัญชีทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้ รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี 2. ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการรือการกระท�ำดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทให้คณะกรรมการตรวจ สอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัทให้คณะกรรมการ ตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัทเพื่อด�ำเนิน การปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร (1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (2) การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่ ส�ำคัญในระบบควบคุมภายใน (3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท หากคณะกรรมการบริษัทหรือฝ่ายจัดการไม่ด�ำเนินการ ให้มีการแก้ไขปรับปรุงภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจ สอบก�ำหนด กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึง่ อาจรายงาน ว่ารายการหรือการกระท�ำดังกล่าวต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

- 94 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

2. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วยคณะกรรมการบริษทั จ�ำนวน 3 คน โดย กรรมการ 2 ใน 3 เป็นกรรมการอิสระ และไม่เป็นกรรมการ ที่เป็นผู้บริหาร และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระ ท�ำหน้าทีเ่ สนอ ทบทวน ก�ำกับ ดูแลงานด้านการพิจารณาสรรหาผู้ที่สมควรได้รับแต่งตั้ง เป็นกรรมการบริษัททดแทนกรรมการที่ครบรอบออกตาม วาระ หรือกรณีอนื่ ๆ ทบทวนระบบการประเมิน ผลการปฏิบตั ิ งานของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย และ ท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งกรรมการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร หรือกรรมการผูจ้ ดั การ ทัง้ ศึกษาพิจารณาติดตามความเปลีย่ น แปลงและแนวโน้มในเรื่องผลตอบแทนของคณะกรรมการ บริษัท เพื่อเสนอเป็นนโยบายค่าตอบแทน ที่สามารถจูงใจ ตลอดจนสามารถรักษาคนเก่งและดีให้คงอยู่กับองค์กร คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ประกอบด้วย 1. นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทน 2. นายวิชัย แซ่เซียว คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3. ดร. อารยา คงสุนทร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีวาระ อยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดบครบรอบออกตามวาระใน วันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ทั้งนี้ เมื่อครบก�ำหนด ออกตามวาระก็ อ าจได้ รั บ การพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ให้ ด� ำ รง ต�ำแหน่งต่อไปอีกได้ ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน ให้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มี หน้าที่ดังต่อไปนี้

1. ก� ำ หนดขอบเขตและนโยบายด้ า นการสรรหา กรรมการเพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 2. พิ จ ารณาทบทวนความเหมาะสมในการด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท ในกรณี ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของกรรมการบริษัท 3. เสนอแนะวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของ คระกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ และ ประธานกรรมการโดยพิจารณาทบทวนเป็นประจ�ำทุกปี รวมทั้งติดตามและสรุปผลการประเมินให้คณะกรรมการ บริษัททราบ เพื่อน�ำไปปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ งานและเสริ ม สร้ า งความรู ้ ค วามสามารถของกรรมการ บริษัท 4. ก�ำหนดคุณสมบัติของบุคคลที่จะด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการบริษัทให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัท และก�ำหนดกระบวนการสรรหากรรมการบริษัท เพื่อแทนกรรมการบริษัทที่ครบวาระ โดยพิจารณาสรรหา กรรมการบริษัทที่มีคุณสมบัติหลากหลายทั้งในด้านทักษะ ประสบการณ์ เพศ และความสามารถเฉพาะด้านที่เป็น ประโยชน์กับบริษัท 5. พิจารณาสรรหาบุคคลผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมมา ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัททดแทนกรรมการบริษัทที่ ครบวาระหรือกรณีอื่นๆ โดยค�ำนึงถึงความหลากหลายใน โครงสร้างคณะกรรมการเพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัท และหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ 6. จัดท�ำแผนสืบทอดต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร หรือกรรมการผู้จัดการ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณา 7. เสนอแนวทางและวิธีการการจ่ายค่าตอบแทนให แก่คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ที่ คณะกรรมการบริษัทแต่งตั้ง ซึ่งรวมถึงโบนัสประจ�ำปี และ เบี้ยประชุม 8. พิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนของคณะกรรมการ บริษัท เปรียบเทียบกับบริษัทจดทะเบียนชั้นน�ำอื่นๆ ที่มี การประกอบธุรกิจอย่างเดียวกัน เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการ บริษัทรับทราบ

- 95 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

9. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการเปลี่ยน แปลงใดๆ เกีย่ วกับกฎบัตร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติปรับปรุง ให้เหมาะสมและมีความทันสมัยอยู่เสมอ 10. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมาย ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ ให้คณะ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีอ�ำนาจเรียก สั่งการให้ฝ่ายจัดการ หัวหน้าหน่วยงานหรือพนักงานของ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุมหรือส่งเอกสาร ที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจ�ำเป็น 3. คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งองค์กร ประกอบด้วยกรรมการบริษัทจ�ำนวน 2 คน และฝ่าย จัดการ 1 คน ท�ำหน้าที่ก�ำหนดนโยบายการบริหารความ เสีย่ งองค์กร และแนวทางการด�ำเนินงาน แนวทางการป้องกัน ความเสี่ยง เพื่อให้ธุรกิจของบริษัทด�ำเนินได้อย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ประกอบด้วย 1. นางสาวฐิติมา ตันติกุลสุนทร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร 2. นางสาวบุศรินทร์ ต่วนชะเอม กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร 3. นางสาวสมใจ ปุราชะโก กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงองค์กร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร มีวาระอยู่ใน ต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดบครบรอบออกตามวาระในวัน ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี ทั้งนี้ เมื่อครบก�ำหนดออก ตามวาระก็อาจได้รับการพิจารณาแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ต่อไปอีกได้ ขอบเขตหน้ าที่ ข องคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ย ง องค์กร 1. มีหน้าที่พิจารณานโยบาย กลยุทธ์ โครงสร้างการ

บริหารความเสี่ยงและด�ำเนินการเพื่อให้มั่นใจได้ว่าแผน กลยุทธ์ที่น�ำเสนอมีความสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่ บริษัทยอมรับได้ และเป็นไปตามความต้องการของผู้มีส่วน ได้เสีย 2. ให้การสนับสนุนการบริหารงานของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงระดับปฏิบัตกิ าร 3. มี ก ารติ ด ตามและประเมิ น ผลถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ และประสิทธิผลของการบริหารจัดการความเสี่ยงโดยรวม 4. เข้าใจและสามารถประเมินความเสี่ยงที่อาจจะ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ต ่ อ องค์ ก รและ สามารถท�ำให้มั่นใจได้ว่าความเสี่ยงเหล่านั้นได้รับการ จัดการกับความเสี่ยงนั้นๆ จนถึงระดับที่บริษทั ยอมรับได้ 5. ให้ค�ำแนะน�ำและให้ความเห็นชอบในการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูง กรรมการอิสระ บริษัทก�ำหนดสัดส่วนของกรรมการที่มีคุณสมบัติ เป็นกรรมการอิสระให้มีไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจ�ำนวน กรรมการบริษทั ทัง้ หมด ปัจจุบนั บริษทั มีกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 คน ได้แก่ นายเอกพล พงศ์สถาพร, รศ.ดร. รุธริ ์ พนมยงค์, นายวิชยั แซ่เซียว และนายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ ข้อก�ำหนดคุณสมบัติกรรมการอิสระของบริษัท กรรมการอิสระ (Independent Director) ของบริษัท ต้องเป็นกรรมการที่มีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงในบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ ให้ นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการ อิสระรายนั้นๆ ด้วย ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหาร งาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือน ประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมบริษัท บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คล ทีอ่ าจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะพ้นจากการมีลกั ษณะ

- 96 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนได้รับการ แต่งตั้ง ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่ บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่ สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอ ให้เป็นผูบ้ ริหารหรือผผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั หรือบริษัทย่อย ไม่มีหรือเคยมีสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทและ บริษัทย่อย บริษัทใหญ่ หรือนิติบุคคลที่อาจจะมี ความขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็น หรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่ กรรมการอิสระ หรือผู้บริหาร ของผู้ที่มีความ สั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ย บริษัทใหญ่ หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัท ใหญ่ บริษัทย่อย หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัด แย้ง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่ กรรมการอิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการ ของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย หรือนิติบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะพ้นจาก การมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปีกอ่ น ได้รับการแต่งตั้ง ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่ง รวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ในกรณีท่ี ผู้ให้บริการทางวิชาชีพเป็นนิติบุคคลให้รวมถึง การเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการ อิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การของผูใ้ ห้บริการ

ทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะพ้นจากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการ แต่งตั้ง ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป้นตัวแทน ของกรรมการบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือผูถ้ อื หุน้ ซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ เป็นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริษัท หรือ บริษทั ย่อย หรือไม่เป็นหุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รบั เงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการ ที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มี กับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความ เห็ น อย่ า งเป็ น อิ ส ระเกี่ ย วกั บ การด� ำ เนิ น งาน ของบริษัท สามรถเข้ า ร่ ว มการประชุ ม คณะกรรมการของ บริษัทเพื่อตัดสินใจเรื่องต่างๆ ได้โดยอิสระ สามารถดู แ ลผลประโยชน์ ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก ราย อย่างเท่าเทียมกัน สามารถดู แ ลไม่ ใ ห้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผล ประโยชน์ กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้งโดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะได้ การสรรหากรรมการและผู้บริหาระดับสูง แนวทางการสรรหากรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมี หน้าทีส่ รรหาบุคคลผูม้ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมมาด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการบริ ษั ท แทนกรรมการบริ ษั ท ที่ ค รบก� ำ หนดออก ตามวาระ หรือในกรณีอนื่ ๆ และเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพื่อพิจารณาบุคคลที่จะได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการเลือก

- 97 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ตั้งจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป โดยมีแนวทางในการสรรหา กรรมการ โดยค�ำนึงถึง คุณสมบัติ สามารถอุทิศเวลาและท�ำประโยชน์ให้กับบริษัท มีประวัติการท�ำงานที่ซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส และ มีคุณสมบัติการเป็นกรรมการครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ของ ก.ล.ต. มีประสบการณ์บริหารองค์กร มีแนวความคิดและติดตามการเปลี่ยนแปลงของ โลกยุคใหม่อยู่ตลอดเวลา มีประสบการณ์ ความรู้เชี่ยวชาญ ทักษะเฉพาะ ด้านที่สามารถเสริมประสิทธิภาพ ความรู้ และ ประสบการณ์ของคณะกรรมการในส่วนทีย่ งั ขาดอยู่ ไม่ประกอบธุรกิจ หรือเป็นกรรมการ หรือผู้บริหาร ในองค์กรที่ประกอบธุรกิจแข่งขันกับบริษัท กล้าพูด และกล้าแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มีอุดมการณ์ สามารถท�ำงานเป็นทีม และมี วัฒนธรรมเข้ากับกรรมการได้ การคัดเลือกคณะกรรมการบริษัทตามแนวทาง การสรรหา โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คัดเลือกจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีพื้นฐานและความเชี่ยวชาญ จากหลากหลายอาชีพ มีภาวะผู้น�ำ วิสัยทัศน์กว้างไกล เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม มีประวัติการท�ำงานที่โปร่ง ใส่ไม่ด่างพร้อย รวมทั้งมีความสามารถในการแสดงความ คิดเห็นอย่างเป็นอิสระ แนวทางการพิจารณากลั่นกรองผู้ได้รับเสนอชื่อ เป็นกรรมการ ในการพิจารณากลั่นกรองรายชื่อผู้ที่ถูกเสนอชื่อเป็น กรรมการคระกรรมการสรรรหาควรก�ำหนดแนวทางที่จะใช้ ในการพิจารณาโดยควรค�ำถึงถึงองค์ประกอบ ดังต่อไปนี้ 1. คุณลักษณะที่ต้องการในกรรมการแต่ละคน คณะกรรมการสรรหาฯ ควรพิจารณาและก�ำหนด คุณลักษณะเฉพาะบุคคลของผู้ที่จะคัดเลือกเพื่อเสนอชื่อ เป็นกรรมการในด้านต่างๆ เช่น

ความมีคุณธรรมและความรับผิดชอบ การตัดสินใจด้วยข้อมูลและเหตุผล ความมีวุฒิภาวะและความมั่นคง เป็นผู้รับฟังที่ดี และกล้าแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างและเป็น อิสระ ยึดมัน่ ในการท�ำงานอย่างมีหลักการและมาตรฐาน เยี่ยงมืออาชีพ คุณลักษณะอื่นๆ ที่คณะกรรมการสรรหาเห็นว่า มีความส�ำคัญ 2. ความรูค้ วามช�ำนาญทีต่ อ้ งการให้มใี นคณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหาควรพิจารณาก�ำหนดองค์ประกอบ ของความรู้ความช�ำนาญเฉพาะด้านที่จ�ำเป็นต้องมีในคณะ กรรมการ เพือ่ ให้คณะกรรมการก�ำหนดกลยุทธ์และนโยบาย รวมทั้งก�ำกับดูแลให้มีการปฏิบัติตามกลยุทธ์ได้อย่างมี ประสิทธิผล 3. ความหลากหลายของกรรมการ นอกเหนือจากการก�ำหนดองค์ประกอบสองประการดัง กล่าวข้างต้นแล้ว คณะกรรมการสรรหาฯ ยังอาจพิจารณา ก�ำหนดแนวทางเกี่ยวกับความหลากหลายของคุณสมบัติ อื่นๆ ของกรรมการทั้งคณะ เช่นการมาจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ เสียต่างๆ และพื้นฐานการศึกษา อายุ เพศ ฯลฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้สรรหากรรมการ โดยค�ำนึงถึงความรู้ความช�ำนาญที่จ�ำเป็นที่ยังขาดอยู่ใน กรรมการ ทั้งด้านความรู้ ความช�ำนาญ หรือประสบการณ์ในการ บริหาร ความช�ำนาญเฉพาะด้าน (กฎหมาย ด้านการตลาด ด้านบัญชี/Financial Literacy โดยต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในงบการเงิน มาตรฐานบัญชี หรือเป็น/เคยเป็นกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทจดทะเบียนด้านการเงิน และด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลที่แต่งตั้งเป็น กรรมการ 1. การเสนอชื่อบุคคลให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งเป็น กรรมการแทนกรรมการที่ครบก�ำหนดออกตามวาระ คณะ กรรมการสรรหาฯ จะเป็นผูส้ รรหาเพือ่ เสนอให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณาก่อนเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้น และเป็นสิทธิ

- 98 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกันทีจ่ ะเสนอชือ่ บุคคลอืน่ ส่วนอ�ำนาจในการพิจารณาเลือกผู้ใดเป็นกรรมการเป็น อ�ำนาจของผู้ถือหุ้น 2. ผู้ถือหุ้นมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 3. ในการเลือกตัง้ กรรมการ ให้ใช้วธิ อี อกเสียงลงคะแนน เลือกกรรมการเป็นรายบุคคล และผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิเลือกตัง้ บุคคล ทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ เป็นกรรมการได้ไม่เกินจ�ำนวนกรรมการ ที่จะเลือกตั้งในครั้งนั้น โดยจะแบ่งคะแนนเสียงไม่ได้ 4. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา เป็นผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจ�ำนวนกรรมการที่จะ เลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั เลือกตัง้ ในล�ำดับ ถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันอันท�ำให้เกินจ�ำนวนกรรมการ ที่เลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ประธานในที่ประชุมลงคะแนนสียง อีกเสียงเป็นเสียงชีข้ าดเพือ่ ให้ได้จำ� นวนกรรมการทีจ่ ะเลือก ตั้งในครั้งนั้น คณะกรรมการบริษทั โดยการเสนอแนะของคณะกรรมการ สรรหาฯ ได้กำ� หนดแนวทางในการเสนอชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสม เป็นกรรมการบริษัทแทนกรรมการที่ครบก�ำหนดออกตาม วาระไว้ดังนี้ 1. ให้กรรมการบริษทั แต่ละคนเสนอชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสม เป็นกรรมการบริษัทแทนกรรมการที่ครบก�ำหนดออกตาม วาระได้ โดยกรรมการผู้ที่ครบก�ำหนดออกตามวาระไม่ควร เสนอชื่อตนเองกลับเข้ามาเป็นกรรมการ 2. ให้กรรมการทุกคนประเมินความรู้ความช�ำนาญของ ตนเองเพือ่ ให้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาสรรหากรรมการ ที่จะครบก�ำหนดออกจากต�ำแหน่งตามวาระ 3. คณะกรรมการสรรหาฯ ไม่รวมกรรมการที่มีส่วนได้ เสียซึง่ ไม่ได้อยูใ่ นทีป่ ระชุม จะพิจารณากลัน่ กรองรายชือ่ ได้ รับการเสนอจากกรรมการบริษทั และจากผูถ้ อื หุน้ เพือ่ เสนอ ชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสม ต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา เสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้น 4. คณะกรรมการบริษัทซึ่งไม่รวมกรรมการผู้มีส่วนได้ เสียพิจารณาคุณสมบัติของผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นราย บุคคลอย่างละเอียดรอบคอบ และเสนอชือ่ บุคคลทีเ่ หมาะสม เป็นกรรมการบริษัทแทนกรรมการที่ครบก�ำหนดออกตาม วาระเข้ารับการเลือกตั้งในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นต่อไป

การสรรหาประธานเจ้าหน้าที่บริหารหรือกรรมการผู้ จัดการ และแผนสืบทอดต�ำแหน่ง บริษทั มีแผนการคัดเลือกบุคลากรทีจ่ ะเข้ามารับผิดชอบ ในต�ำแหน่งงานบริหารที่ส�ำคัญทุกระดับให้เป็นไปอย่าง เหมาะสมและโปร่งใส เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทได้ผู้บริหารที่มี ความเป็นมืออาชีพ โดยกรรมการสรรหาฯ เป็นผู้จัดท�ำแผน สือทอดต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือกรรมการ ผู้จัดการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้พิจารณา ทมการบริษทั เป็นผูพ้ จิ ารณา ทมการบริษทั เป็นผูพ้ จิ ารณา ทั้งนี้ กระบวนการสรรหาเริ่มจากการคัดเลืกผู้ที่เป็นคนเก่ง และดีเข้ามาร่วมงาน และมุ่งเน้นรับคนรุ่นใหม่ที่มีความรู้ ความสามารถ และพัฒนาสร้างความพร้อมให้ทกุ คนมีโอกาส เติบโตก้าวหน้าขึน้ สูร่ ะดับผูบ้ ริหารในอนาคต โดยผ่านขัน้ ตอน การประเมินพนักงานที่มีศักยภาพสูง ซึ่งทุกคนจะได้รับการ พัฒนาตามแผนที่วางไว้เป็นรายบุคคล มีการมอบหมาย งานทีท่ า้ ทาย รวมทัง้ หมุนเวียนงานเพือ่ พัฒนาทักษะการเป็น ผู้น�ำและความรอบรู้ในงานทุกด้าน ซึ่งการเตรียมบุคลากร ดังกล่าวได้ด�ำเนินกับพนักงานทุกระดับให้มีความพร้อมใน การทดแทนกรณีที่มีต�ำแหน่งงานว่างลง การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดกลไกในการก�ำกับดูแล รวมถึงการควบคุมการบริหารจัดการของบริษัทย่อยและ บริษทั ร่วม ด้วยการกระจายอ�ำนาจให้หนุ้ ส่วนเป็นผูค้ วบคุม ดูแลแทน และรายงานผลให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบ นอกจากนี้ ยังมีการก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีแ่ ละ ความรับผิดชอบของกรรมการในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ที่เข้าไปลงทุน ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ก�ำกับ ดูแลเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลฐานะการเงินและผลการ ด�ำเนินงาน การท�ำรายการระหว่างบริษัทย่อย และ/หรือ บริษทั ร่วมกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ หรือการท�ำรายการที่ส�ำคัญให้ครบถ้วนถูกต้อง นั้น ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามประกาศ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ก�ำหนดและใช้บังคับ

- 99 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี บริษัทและบริษัทย่อย จ่ายค่าสอบบัญชีให้กับ บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ซึ่งเป็นส�ำนักงานสอบบัญชีที่เป็น ผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2561 ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมาจ�ำนวนเงิน 1,940,000 บาท ซึ่งไม่รวมค่าสอบบัญชีที่จ่ายโดยบริษัทร่วม ทัง้ นี้ บริษทั ทีเ่ ป็นส�ำนักงานสอบบัญชี และผูส้ อบบัญชีไม่มคี วามสัมพันธ์ หรือส่วนได้เสียใดๆ กับบริษทั /ผูบ้ ริหาร/ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ค่าสอบบัญชีประจ�ำปี 2561 1. ค่าสอบบัญชีงบการเงินประจ�ำปี และค่าสอบทานงบการเงินรายไตรมาสของบริษัทและงบการเงินรวม เป็นจ�ำนวน 1,860,000 บาท

ค่าสอบบัญชีของบริษัท 1. ค่าสอบบัญชีงบการเงินประจ�ำปี ของบริษัท 2. ค่าการสอบทานรายไตรมาส (รวมสามไตรมาส) รวมค่าสอบบัญชีของบริษัท

1,110,000 บาท 750,000 บาท 1,860,000 บาท

2. ค่าสอบบัญชีประจ�ำปีของบริษัทย่อย และค่าสอบทานงบการเงินรายไตรมาสของบริษัทย่อย

ค่าสอบบัญชีของบริษัทย่อย (1 บริษัท)

1. ค่าสอบบัญชีงบการเงินประจ�ำปี ของบริษัท 2. ค่าการสอบทานรายไตรมาส (รวมสามไตรมาส) รวมค่าสอบบัญชีของบริษัท

80,000 บาท 80,000 บาท

การน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2560 ไปปรับใช้ ในปี 2561 คณะกรรมการบริษัท ได้พิจารณาการน�ำหลักปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัท จดทะเบียนปี 2560 หรือ Corporate Governance Code (CG Code) ที่ออกโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ มาปรับใช้โดยได้พิจารณาและตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้น�ำขององค์กร โดยกรรมการทั้งหมด ได้พิจารณาหลักปฏิบัติดังกล่าวโดยละเอียดรอบคอบและเข้าใจถึงประโยชน์และความส�ำคัญของการน�ำหลักปฏิบัติตาม CG Code) ในแต่ละข้อเพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับหลักปฏิบัติดังกล่าวตามความเหมาะสมของธุรกิจ ของบริษัท และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท อาทิเช่น ประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระ ซึ่งปัจจุบัน ประธานกรรมการ ของบริษัท เป็นกรรมการอิสระ และการก�ำหนดจ�ำนวนวาระที่จะด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันได้นานที่สุดของกรรมการ เช่น ไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน และก�ำหนดจ�ำนวนวาระที่จะด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันได้นานสุดของกรรมการชุดย่อย รวมทั้ง ก�ำหนดให้กรรมการอิสระมีวาระต่อเนือ่ งกันไม่เกิน 9 ปี นับจากวันด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระครัง้ แรก ปัจจุบนั บริษทั เริม่ มี แผนด�ำเนินการเกี่ยวกับกรรมการอิสระซึ่งต้องมีวาระต่อต่อกันไม่เกิน 9 ปี ทั้งนี้หากจะให้ด�ำรงต�ำแหน่งต่อไปต้องพิจารณา ถึงความจ�ำเป็นดังกล่าว - 100 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษทั ฯ มีนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีคณ ุ ธรรม โดยยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่มตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ ตลอดจนนโยบายและแนวทางปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย กลุม่ ต่างๆ และเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ฯ มีนโยบายการก�ำหนด ความรับผิดชอบ แนวทางปฎิบัติ พร้อมทั้งข้อก�ำหนดใน การด�ำเนินการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น กับทุกกิจกรรมทางธุรกิจ และเพื่อให้การตัดสินใจและการ ด� ำ เนิ น การทางธุ ร กิ จ ที่ อ าจมี ค วามเสี่ ย งด้ า นการทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่นได้รับการพิจารณาและปฎิบัติอย่างรอบคอบ เพือ่ เป็นแนวทางการปฏิบตั ทิ ใี่ นการด�ำเนินธุรกิจ และพัฒนา สู่องค์กรแห่งความยั่งยืน บริษัทฯ ได้เข้าร่วมลงนามแสดง

เจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition : CAC) ซึง่ เป็น โครงการที่รัฐบาลและส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับ 8 องค์กร ได้แก่ หอการค้าไทย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (Thai Institute of Directors : IOD ) หอการค้านานาชาติ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาธุรกิจ ตลาดทุนไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผลักดันให้มี มาตรการต่อต้านการทุจริตในภาคเอกชน ทั้งนี้ บริษัทที่ได้ รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560

- 101 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

2.4 รายงานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนได้ ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ภายใต้หน้าที่และความรับผิดชอบที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตร อย่างรอบคอบ เป็นธรรมและสมเหตุสมผล การสรรหา บุคคลเข้าเป็นกรรมการที่ว่างลงในปี 2561 และที่ครบ ก�ำหนดออกตามวาระในปี 2561 โดยคระกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ได้จัดการประชุมครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561 เพื่อพิจารณาและเสนอชื่อ บุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนต�ำแหน่งกรรมการที่ว่างลงเพื่อ เสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา นอกจากนี้ ใน ระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษทั ได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายสามารถชือ่ บุคคลเพือ่ เข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการแทนกรรมการที่

ครบก�ำหนดออกตามวาระก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 และคณะกรรมการทีไ่ ด้มกี ารทบทวนอยูเ่ ป็น ประจ�ำทุกปีเพื่อให้ได้กรรมการที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมา ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทแทนกรรมการที่ครบก�ำหนด ออกตามวาระ และคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทนยังได้พิจารณาค่าตอบแทนเปรียบเทียบกัยบริษัท จดทะเบียนและบริษัทชั้นน�ำอื่นๆ ที่อยู่ในอุตสาหกรรม เดียวกันหรือทีม่ ขี นาดใกล้เคียงกัน ในปี 2561 คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้ประชุมจ�ำนวน 1 ครั้ง เพื่อพิจารณาค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท และ กรรมการชุดย่อยต่างๆ ก่อนเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ ต่อไป ในนามคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

นายเจริญเกียรติ หุตะนานันทะ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

- 102 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

2.5 ความรับผิดชอบต่อสังคม นโยบายภาพรวม

บริษทั ฯ มุง่ เน้นและให้ความส�ำคัญกับความรับผิดชอบ ขององค์กรต่อสังคม หรือ Corporate Social Responsibilities: CSR เป็นอย่างมากและถือเป็นเป้าหมายหลักอันดับต้นๆ ของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ ได้วางนโยบายและจัดท�ำโครงการ ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ไม่ว่าจะเป็นการยกระดับ สภาพแวดล้อมที่น่าอยู่มากขึ้น การยกระดับมาตรฐานการ ครองชีพ และความมีสุขภาพที่ดีของชุนชน ตลอดจนการ สืบสานวัฒนธรรมความเป็นไทย โดยประเภทของกิจกรรมนัน้ จะมีการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพือ่ สังคม การบริจาค เพือ่ การกุศล และการอาสาช่วยเหลือชุมชน ในแต่ละกิจกรรม บริษัทจะวางเป้าหมายโดยผสมผสานการใช้ทรัพยากรทั้ง ภายในและภายนอกองค์กรร่วมกัน เพื่อให้แต่ละกิจกรรม เกิดประสิทธิผลมากทีส่ ดุ ทัง้ นีค้ วามส�ำเร็จของแต่ละกิจกรรม จะไม่เกิดขึ้นจากการบริจาคทรัพย์สินเท่านั้น แต่ยังเน้น ความมีสว่ นร่วมของพนักงานในองค์กรและความร่วมมือของ หน่วยงานภายนอก ตลอดจนความร่วมมือชุมชนอีกด้วย แนวการด�ำเนินงานภายในองค์กรนั้น บริษัทฯ จัดให้มี คณะกรรมการเพือ่ วางแผนด�ำเนินโครงการต่างๆ โดยประกอบ ไปด้วยบุคคลกรจากหลายหน่วยงาน เพือ่ ระดมความคิดใน การอกแบบโครง ซึง่ จะเป็นการรวบรวมความคิด การสือ่ สาร และการด�ำเนินงาน เพือ่ ก�ำหนดรูปแบบในแต่ละกิจกรรม ดังนี้ 1. การออกแบบเพือ่ ก�ำหนดกิจกรรม เป็นการก�ำหนด แต่ละโครงการ รวมถึงวัตถุประสงค์และผลที่ได้รับจากการ ด�ำเนินโครงการนั้นๆ 2. การด�ำเนินกิจกรรม เป็นการก�ำหนดขั้นตอนการ ด�ำเนินงาน งบประมาณ บุคลากรทีจ่ ะเข้ามามีสว่ นร่วม และ ก�ำหนดหน่วยงานภายนอกที่จะมีบทบาทร่วม 3. การติดตามประเมินผล ภายหลังจากการด�ำเนิน กิจกรรม จะมีการประเมินผลว่าเป็นไปตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนด ไว้หรือไม่อย่างไรและสือ่ สารให้ภายในองค์กรและสังคมทราบ รวมทั้งประสานให้กิจกรรมเป็นส่วนหนึ่งและเป็นที่ยอมรับ ของสังคม

โดยบริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เป็นไปด้วยความ รับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ตามหลักการแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคม 8 ข้อของตลากหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยบริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายและแนวทางปฎิบัติเพื่อให้บริษัทฯ และ บริษทั ย่อยน�ำม่ให้เป็นส่วนหนึง่ ในการบริหารจัดการทางธุรกิจ (CSR-in-Process) ดังนี้ 1. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรมย่อมก่อให้เกิด ความเชือ่ มัน่ กับผูเ้ กีย่ วข้อง บริษทั และบริษทั ย่อยมุง่ มัน่ ทีจ่ ะ ด�ำเนินธุรกิจด้วยจรรยาบรรณที่ดีต่อคู่แข่งขันเพื่อให้เกิด การแข่งขันที่เป็นธรรม โดยมีแนวทางปฏิบัติดังนี้ 1. ประพฤติปฏิบตั ภิ ายใต้กรอบกติกาของการแข่งขัน ที่ดี ส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรี หลีกเลี่ยง พฤติกรรมการเล่นพรรคเล่นพวก หรือร่วมสมคบคิด (ฮัว้ ) กัน 2. ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทาง การค้าด้วยวิธกี ารทีไ่ ม่สจุ ริต หรือไม่เหมาะสม เช่น การจ่าย สินจ้างให้กับพนักงานของคู่แข่ง 3. ไม่พยายามท�ำลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้า ด้วยการกล่าวหาในทางร้ายโดยไร้มูลความจริง 4. ไม่สนับสนุนการด�ำเนินการใดๆ ที่มีลักษณะเป็น การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ใช้สินค้าและบริการที่มี ลิขสิทธิ์ถูกต้อง 2. การเคารพสิทธิมนุษยชน การเคารพสิทธิมนุษยชน หมายถึง การปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ น ได้เสีย ชุมชนและสังคมรอบข้างด้วยความเคารพในคุณค่า ของมนุษย์ และไม่ละเมิดสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของพวกเขา บริษทั และบริษัทย่อยมีเจตนารมณ์ที่จะเคารพและไม่ละเมิดสิทธิ มนุษยชน โดยมีแนวทางปฏิบัติดังนี้ 1. สนับสนุนและเคารพในการปกป้องสิทธิมนุษยชน โดยหมั่นตรวจตราดูแลมิให้ธุรกิจเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับ

- 103 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

การล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน เช่น ไม่สนับสนุนการบังคับ ใช้แรงงาน ต่อต้านการใช้แรงงานเด็ก เป็นต้น 2. ส่ ง เสริ ม การปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก� ำ หนดด้ า นสิ ท ธิ มนุษยชนภายในกิจการของตน และกระตุ้นให้มีการปฏิบัติ ตามหลักการสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานสากล 3. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทฯ มีนโยบายปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนอย่างเท่า เทียมและเป็นธรรม ดูแลด้านความเป็นอยู่ ความปลอดภัย และสุขอนามัยในสถานทีท่ ำ� งาน ตลอดจนส่งเสริมการเรียนรู้ ระดับองค์กรและการพัฒนาบุคลากรเพือ่ ยกระดับการท�ำงาน ของพนักงานอย่างมืออาชีพ พัฒนาระบบการท�ำงานและ สร้างนวัตกรรมในองค์กร โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. จัดให้มีเงื่อนไขในการจ้างงานที่เป็นธรรม และให้ พนักงานได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมตามศักยภาพ 2. จัดให้มกี ารดูแลในเรือ่ งสวัสดิการแก่พนักงานตาม สมควร เช่น จัดให้มวี นั ลาพักผ่อนประจ�ำปี การท�ำงานล่วง เวลาที่สมเหตุสมผล การรักษาพยาบาลตามความจ�ำเป็น และสมควร เป็นต้น

3. การแต่งตั้งโยกย้าย การให้รางวัลและการลงโทษ พนักงานจะกระท�ำด้วยความสุจริตใจ เสมอภาคและตั้งอยู่ บนพื้นฐานของความรู้ ความสามารถและความเหมาะสม ของพนักงาน 4. จัดให้มกี ารดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต และทรัพย์สินของพนักงาน 5. พั ฒ นาพนั ก งานเพื่ อ ฝึ ก ฝนทั ก ษะและเพิ่ ม พู น ศักยภาพ โดยเปิดโอกาสให้พนักงานมีการเรียนรูอ้ ย่างทัว่ ถึง และสม�่ำเสมอ 6. ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับพนักงานอย่างเคร่งครัด 7. หลีกเลี่ยงการกระท�ำใดๆ ที่ไม่เป็นธรรม ซึ่งอาจมี ผลกระทบต่อความมั่นคงในหน้าที่การท�ำงานของพนักงาน ตลอดจน ปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความสุภาพ โดยในปี 2561 บริษัทฯ มีการจัดกิจกรรม ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมดับเพลิงขัน้ ต้น การฝึกซ้อม ทีมดับเพลิงขั้นรุนแรง การซ้อมแผนอพยพหนีไฟ ประจ�ำปี 2561

- 104 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

2. จัดกิจกรรมกีฬาสี ประจ�ำปี เพือ่ ให้พนักงานมีความสามัคคี มีนำ�้ ใจเป็นนักกีฬา กระชับความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างพนักงาน เพื่อนร่วมงาน

- 105 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 106 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

3. จัดกิจกรรมสงกรานต์ ประจ�ำปี

- 107 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

4. นายเอกพล พงศ์สถาพร ประธานกรรมการ, ดร. อารยา คงสุนทร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ให้เกียรติเป็น เป็นประธานในการจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ประจ�ำปี 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นขวัญก�ำลังใจให้แก่พนักงาน และเพื่อเสริมเสร้างความสามัคคีในบริษัทฯ

- 108 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

4. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะให้บริการที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ในราคาที่เหมาะสม รักษาความลับของลูกค้าอย่างจริงจัง และสม�ำ่ เสมอ แสวงหาลูท่ างอย่างไม่หยุดยัง้ ทีจ่ ะเพิม่ ประโยชน์ ให้แก่ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง และปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มี ต่อลูกค้าอย่างเคร่งครัด โดยมีแนวทางปฏิบัติดังนี้ 1. ให้ บ ริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพและมาตรฐานตรงตาม ความต้องการของลูกค้า ภายใต้เงื่อนไขที่เป็นธรรม 2. พัฒนาการให้บริการอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เพิม่ มูลค่า ให้กับธุรกิจและเพื่อเพิ่มประโยชน์ให้แก่ลูกค้า 3. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการที่ถูกต้อง เพียงพอ ไม่เกินความเป็นจริง เพื่อให้ลูกค้ามีข้อมูลเพียงพอในการ ตัดสินใจ 4. รักษาความลับของลูกค้าไม่นำ� ไปใช้เพือ่ ประโยชน์ ของตนเอง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ 5 การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัทตระหนักถึงความส�ำคัญของการดูแลรักษาสิ่ง แวดล้อม เพื่อไม่ก่อให้เกิดปัญหามลภาวะต่างๆ รวมถึง ภาวะโลกร้อน ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์และ ระบบนิเวศน์ บริษัทจึงมีนโยบายไม่กระท�ำการใดๆ ที่จะส่ง ผลเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม โดย มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้

1. ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรการ ประหยัดพลังงาน และพิจารณาน�ำทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ อาทิ บริษัทมีนโยบายการใช้กระดาษอย่างคุ้มค่า หรือการ REUSE เพื่อลดโลกร้อน ทั้งยังรณรงณ์ให้มีการเปิดปิด ไฟ และแอร์ตามเวลาเริม่ งานและเลิกงานเพือ่ ประหยัดพลังงาน 2. พัฒนาสินค้าและบริการทีไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อม มีความปลอดภัยในการใช้งาน 3. ให้การสนับสนุนกิจกรรมที่จะมีส่วนสร้างสรรค์ สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างสม�่ำเสมอ 6. การมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริษัทฯ มีนโยบายส่งเสริมการใช้กระบวนการทางธุรกิจ เพือ่ ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ช่วยสร้างเศรษฐกิจ และความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนและสังคม โดยมีแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี้ 1. การสนับสนุนการจ้างงานในชุมชน 2. แสวงหาโอกาสสนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์สงั คม และชุมชน เช่น สนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่โรงเรียนใน เขตที่ตั้งของส�ำนักงาน, กิจกรรมบริจาคโลหิต เป็นต้น 3. ปลูกฝังจิตส�ำนึกในเรือ่ งความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับ 4. ควบคุ ม ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด ตาม เจตนารมณ์ของกฎหมายและกฎระเบียบที่ออกโดยหน่วย งานก�ำกับดูแล

- 109 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

โดยในปี 2561 ที่ผ่านมาบริษทั ฯ ได้เข้าร่วมส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม ดังนี้ 1. บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมสนับสนุนกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ 2561 โดยมีแนวคิดเพื่อให้ประชาชน ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของเด็ก โดยมุ่งส่งเสริมให้เห็นความเห็นความส�ำคัญของเด็กเป็นการปลูกฝังให้เด็กมีส่วนร่วม ในสังคมมีความรับผิดชอบต่อประเทศชาติ

7. การด�ำเนินงานและการจัดท�ำรายงาน บริษัทฯ จัดท�ำรายงานฉบับเดียวรวมกับแบบเสดงข้อมูลประจ�ำปี (56-1) และรายงานประจ�ำปี (56-2) 8. การด�ำเนินธุรกิจที่มีผลกระทบต่อความรับผิดชอบต่อสังคม -ไม่มี 9. กิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (After process) ในปี 2561 บริษัทได้ปรับแผนการท�ำกิจกรรมการเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อม โดยอยู่ระหว่างการจัดท�ำแผนเพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป และบริษัทยังคงตระหนักถึงการแบ่งปันต่อสังคม และการรักษาสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ - 110 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

2.6 การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งองค์กร ก�ำหนดให้การควบคุม ภายในของบริษัทเป็นไปตามกรอบการควบคุมภายในของ COSO 2017 (The Committee of Sponsoring Organization of Treadway Commission) โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มีหน้าทีป่ ระเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ของระบบการควบคุมภายในของบริษัทตามแบบประเมิน ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักรัพย์ (ก.ล.ต.) และรายงานต่อคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งองค์กร จากนัน้ น�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการตรวจ สอบเพื่ อ พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบก่ อ นรายงานคณะ กรรมการบริษัทในการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมีกรรมการอิสระ 4 ท่าน ซึ่งเป็นกรรมการตรวจสอบ 3 ท่านเข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษัท พิจารณาแบบประเมินทุกข้อโดย การซักถามข้อมูลจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหารความเสีย่ งองค์กรแล้วมีความเห็นว่าระบบ การควบคุม ภายในของบริษทั มีความเหมาะสมเพียงพอ และมีประสิทธิผล ต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั เป็นไปตามกฎหมายระเบียบ ต่างๆ ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและใช้ทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ไม่พบข้อบกพร่องที่มีสาระส�ำคัญ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน บริษัทปลูกฝังให้ฝ่ายบริหาร หัวหน้างาน และพนักงาน ตระหนักเรือ่ งการก�ำกับดูแล การบริหารความเสีย่ ง การก�ำกับ ดูแลการปฏิบตั งิ านและการควบคุมภายใน โดยคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาแล้วเห็นว่าบริษัทมีจ�ำนวนบุคลากรอย่าง เพียงพอในการด�ำเนินการตามระบบดังกล่าว รวมทัง้ มีระบบ การควบคุมภายในส�ำหรับติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนินงาน ของบริษทั ย่อยเพือ่ ป้องกันทรัพย์สนิ ของบริษทั และบริษทั ย่อย จากการทีก่ รรมการ หรือฝ่ายบริหาร ฝ่ายจัดการ น�ำไปใช้โดย มิชอบหรือไม่มอี ำ� นาจ รวมถึงการท�ำธุรกรรมกับบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้งและบุคคลที่เกี่ยวโยงกันอย่างเพียงพอแล้ว

การตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบก�ำกับดูแลให้การปฎิบัติงาน ของหน่วยงานตรวจสอบมีความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม มี จรรยาบรรณ และมีความเชี่ยวชาญเยี่ยงมืออาชีพตาม มาตรฐานวิชาชีพการตรวจสอบ โดยมีกฎบัตรของคณะ กรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้ก�ำหนดขอบเขตการปฏิบัติงาน อ�ำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ ตลอดจนแนวทางการ ด�ำเนินงานการปฏิบัติงานตรวจสอบไว้อย่างชัดเจนและมี การทบทวนเป็นประจ�ำปีทุกปีให้เหมาะสมอยู่เสมอ

การประเมินความเสี่ยง

บริษทั ฯ ใช้แนวคิดของการบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร (Enterprise Risk Management) โดยให้ผบู้ ริหารและพนักงาน ทีเ่ กีย่ วข้องร่วมกันบ่งชีค้ วามเสีย่ ง การวิเคราะห์ ปัจจัยเสีย่ ง ทั้งโอกาสเกิดและผลกระทบเพื่อก�ำหนดมาตรการ ควบคุม บริษทั ฯ จัดตัง้ หน่วยงานบริหารจัดการความเสีย่ งเพือ่ จัดท�ำ แผนบริหารความเสี่ยง ติดตามผลการจัดการเพื่อ ลดระดับ ความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และทบทวน ปัจจัย ความเสีย่ งเพือ่ เสนอคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง พิจารณา ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกไตรมาส เพือ่ พิจารณา และให้คำ� วินจิ ฉัยอันจะส่งผลให้กระบวนการบริหารความเสีย่ ง ของบริษัทฯ มีความต่อเนื่อง ทั้งนี้ได้สื่อสารนโยบายและ แนวปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงให้พนักงานทุกคนรับ ทราบและถือปฏิบตั เิ พือ่ ให้เป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมองค์กร ว่าทุกคนมีส่วนร่วมดูแลองค์กรร่วมกันผ่านกระบวนการ บริหารความเสี่ยงที่เข้าใจตรงกัน นอกจากนั้นแล้วบริษัทฯ ได้มกี ารจัดท�ำแผนบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuities Plan: BCP) อย่างต่อเนื่อง

การควบคุมการปฏิบัติงาน

บริษัทฯ ประกาศใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติต่างๆ อาทิ ด้านการจัดซื้อ งบประมาณ การบัญชีและการเงิน เป็นต้น และบริษัทฯ ก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และวงเงิน

- 111 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

อ� ำ นาจอนุ มั ติ ข องฝ่ า ยบริ ห ารให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การ ควบคุมภายในที่ดี รวมทั้งจัดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่งาน และการสอบทานงานระหว่างกัน โดยแยกงานในหน้าที่ อนุมัติ การบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลสารสนเทศ และ หน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สินออกจากกัน นอกจากนี้ บริษทั ยังได้รบั การรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001: 2015 ซึ่งก�ำหนดให้บริษัทฯ ต้องจัดท�ำคู่มือและขั้นตอนการ ปฏิบัติ เพื่อเป็นมาตรฐานอ้างอิงในการปฏิบัติงาน รวมถึง การจัดฝึกอบรมพนักงานให้เข้าใจและสามารถปฏิบตั งิ านได้ อย่างถูกต้อง สอดคล้องตามขัน้ ตอน และวิธกี ารปฏิบตั งิ าน ที่บริษัทฯ ก�ำหนดไว้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รวมถึงผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ จะผ่านขั้นตอนการพิจารณา อนุมัติอย่างถูกต้องชัดเจน หากมีรายการระหว่างกันที่มี นัยส�ำคัญฝ่ายตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่าย บริหาร และผู้สอบบัญชีจะด�ำเนินการพิจารณาอย่างรอบ คอบและด�ำเนินการตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลอดจน เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และ รายงานให้ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ทราบ อีกทั้งในการออกเสียง เพือ่ ลงมติเกีย่ วกับรายการเกีย่ วโยง กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสีย จะงดออกเสียงในมติดังกล่าว

ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล

บริษัทฯ มีการประยุกต์ใช้และพัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลภายในอย่างต่อเนื่อง โดยก�ำหนดเป็น นโยบายเกีย่ วกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ไว้ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ เพือ่ พนักงาน มีความเข้าใจสือ่ ภายในต่างๆ ภายใต้การควบคุม ภายในทีด่ ี อาทิ การใช้ Internet, E-mail และสื่อโทรคมนาคมต่างๆ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร เป็นต้น รวมทั้งได้สื่อสารให้ บุคลากรของบริษัทฯ ได้เข้าใจถึงการปฏิบัติตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ ได้แก่ พ.ร.บ. ข้อมูล ข่าวสารฯ พ.ร.บ. อิเล็กทรอนิกส์ฯ เพื่อไม่ให้เกิดการฝ่าฝืนกฎหมาย บริษัทจัดให้มีกล่องรับความคิดเห็น และอีเมล์เพื่อรับ เรื่องร้องเรียนจากบุคคลภายนอก และมีนักลงทุนสัมพันธ์ ท�ำหน้าที่ติดต่อสื่อสารและจัดกิจกรรมร่วมกับผู้ถือหุ้นและ

นักลงทุนรวมทั้งมีช่องทางการสื่อสารพิเศษเพื่อให้พนักงาน และหน่วยงานภายนอกสามารถแจ้งข้อมูลหรือการร้อง เรียน แก่บริษัท

ระบบการติดตาม

บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อการตรวจสอบภายในเพื่อ เพิ่มคุณค่าต่อองค์กรโดยการใช้ข้อมูลประเมินความเสี่ยง ภายในองค์กร ประกอบการวางแผนการตรวจสอบ (Risk Based Audit) และมอบหมายให้ฝ่ายตรวจสอบสอบทาน ประสิทธิภาพประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของ กระบวนการท�ำงานและรายงานผูบ้ ริหารและคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกไตรมาส เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รวมถึง ฝ่ายบริหารสามารถเชือ่ มัน่ ในประสิทธิภาพประสิทธิผลของ ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ รวมถึงความถูกต้อง น่าเชื่อถือได้ของข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ทั้งสารสนเทศทาง การเงินการบัญชี และสารสนเทศทีใ่ ช้ในการด�ำเนินงาน ทัง้ นี้ ฝ่ายตรวจสอบได้ติดตามผลการปรับปรุงแก้ไขตามประเด็น ที่ตรวจพบและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ และน� ำ เสนอคณะกรรมการตรวจสอบอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ยังมีกระบวนการติดตามผลการด�ำเนินงานผ่าน ระบบการตรวจติ ด ตามระบบคุ ณ ภาพและสิ่ ง แวดล้ อ ม ภายในบริษัทตามมาตรฐานสากล ISO 9001:2015 บริษทั ฯ ได้มกี ารติดตามดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยอย่างต่อเนือ่ งและสม�ำ่ เสมอ โดยรายงานความก้าวหน้า ผลการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อย แต่ละแห่งต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ทราบ และมอบหมายให้มีหน่วยงานเฉพาะในการ ติดตามผลการด�ำเนินงานตามมติที่คณะกรรมการ บริษัทฯ ได้ให้ขอ้ เสนอแนะไว้ รวมทัง้ การประสานนโยบายให้ทกุ บริษทั มีทศิ ทางการด�ำเนินงานทีส่ อดคล้องเป็นทิศทางเดียวกันกับ นโยบายของคณะกรรมการ บริษัทฯ นอกจากนั้นบริษัทฯ มอบหมายให้เลขานุการบริษัทฯ ดูแลงานด้านกฎหมาย รวมถึงงานด้าน Compliance เพือ่ ก�ำกับดูแลให้การด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่ เกี่ยวข้อง

- 112 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

2.7 การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าการบริหารจัดการความเสี่ยงองค์กรเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจ ช่วยส่งเสริมให้องค์กรมีความพร้อมในการปรับตัวได้อย่างรวดเร็วเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ ทีม่ คี วามซับซ้อนและรุนแรงมากขึน้ นอกจากนี้ บริษทั ยังให้ความส�ำคัญในการสร้งความตระหนักรูใ้ นเรือ่ งการบริหารจัดการ ความเสี่ยงให้ทุกคนในบริษัทอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมุ่งมั่นให้มีการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ตั้งแต่ระดับการวาง กลยุทธ์ การปฏิบัติงาน และการตัดสินใจในการลงทุนด�ำเนินธุรกิจใหม่ๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กร ผู้ถือหุ้น สังคม ชุมชน และผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้บริษัทเติบโตได้อย่างยั่งยืน

กรอบการบริหารความเสี่ยง

บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงองค์กร โดยกรอบการบริหารความเสี่ยงฯ ประกอบด้วย 1. การก�ำหนดกลยุทธ์ บริษทั ได้กำ� หนดวัตถุประสงค์และระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ (Risk Appetite) ในการบริหารความเสีย่ งอย่างชัดเจน เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งองค์กร 2. โครงสร้างและความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงองค์กรของบริษัท ผังโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงองค์กร ดังนี้

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร

คณะกรรมการตรวจสอบ

ตรวจสอบภายใน

คณะท�ำงานบริหาร ความเสี่ยงองค์กร

- 113 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ตั ว แทนคณะ กรรมการบริษัทในการก�ำหนดนโยบายและก�ำกับดูแลการ บริหารความเสีย่ งของบริษทั และท�ำหน้าทีป่ ระเมินประสิทธิ ภาพการบริหารความเสีย่ งเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการบริหารความเสีย่ ง ด�ำเนินไปอย่างประสิทธิภาพและประสิทธิผล และสอดคล้อง กับแนวทางที่ก�ำหนด

ตรวจสอบภายใน

ท�ำหน้าทีต่ รวจสอบ หน่วยงานปฏิบตั งิ าน และสนับสนุน อืน่ ๆ เพือ่ ให้ความเชือ่ มัน่ ว่ามีการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม และรายงานผลต่อคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี้ ยังให้คำ� ปรึกษาแก่ทมี ท�ำงานฯ และหรือผูร้ บั การตรวจ และ มีการสื่อสารความคิดเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบ กลับมายังทีมท�ำงาน ผู้ปฏิบัติงานเพื่อน�ำไปปรับปรุงต่อไป

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร และทีมท�ำงานบริหารความเสี่ยงองค์กร

ประกอบด้วยกรรมการผู้จัดการฝ่ายสนับสนุนองค์กร และผู้อ�ำนวยการบัญชีและการเงินและผู้จัดการ ในแต่ละ แผนก โดยมีผู้จัดการฝ่ายสนับสนุนองค์กรเป็นประธาน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร มีหน้าที่ความรับ ผิดชอบหลักดังนี้

1. ก�ำหนดโครงสร้างและผู้รับผิดชอบในการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร 2. พิจารณาและอนุมัตินโยบาย กลยุทธ์ กรอบการ บริหารความเสีย่ งและแผนการจัดการความเสีย่ ง 3. ทบทวนความเสี่ยงและติตตามการบริหารความ เสี่ยงองค์กร

กระบวนการบริหารความเสี่ยง

บริษทั น�ำกรอบการบริหารความเสีย่ งมาใช้ในการด�ำเนิน งาน 4 ด้าน ได้แก่ การบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ การ บริหารความเสีย่ งทางด้านการเงินการบริหารความเสีย่ งทาง ด้านการปฏิบตั งิ านและการบริหารความเสีย่ งทางด้านกฎหมาย และข้อก�ำหนดผูกพันองค์กรโดยแบ่งตามกระบวนการหลัก 4 ขัน้ ตอน คือ 1) ระบุความเสีย่ ง/โอกาสทีจ่ ะเกิดความเสีย่ ง 2) ประเมินความเสีย่ ง 3) ก�ำหนดมาตรการจัดการ และก�ำหนด ดัชนีชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicators) และดัชนีชี้วัดผล การด�ำเนินงาน (Key Performance Indicators) ซึ่งเป็นทั้ง Leading และ Lagging Indicators เพื่อคาดการณ์เหตุการณ์ ความเสีย่ งและเพือ่ ควบคุมกิจกรรมลดความเสีย่ งให้เป็นไป ตามเป้าหมาย และ 4) รายงานความเสีย่ งต่อคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะ กรรมการบริษัท ตามล�ำดับ

- 114 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

2.8 รายงานระหว่างกันและรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัยต่อการพิจารณา อนุมตั กิ ารท�ำรายการระหว่างกัน หรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จึงได้ ก�ำหนดนโยบายการท�ำธุรกรรม ดังนี้

การท�ำธุรกรรมระหว่างกันของบริษัทและบริษัท ย่อย

การที่บริษัท ไวส์ โลจิสติกส จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบ ด้วยบริษัทย่อยหลายแห่ง และบริษทั เหล่านัน้ ด�ำเนินธุรกิจที่ ต้องท�ำธุรกรรม ระหว่างกัน การใช้บริการ การให้ความ ช่วยเหลือทางการเงิน การสนับสนุนทางด้านเทคนิคหรือ บุคคกรฯลฯ ดังนัน้ ในการด�ำเนินธุรกิจหรือปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็น การท�ำธุรกรรมระหว่างกันของบริษัท ดังกล่าวต้องค�ำนึงถึง กฎหมาย ระเบียบ และอ�ำนาจด�ำเนินการของบริษทั ตลอดจน หลักเกณฑ์และเงือ่ นไขต่างๆ ที่ก�ำหนดไว้

การท�ำธุรกรรมกับบุคคลภายนอก

การท�ำธุรกรรมกับบุคคลภายนอกนั้น จะต้องปฏิบัติให้ ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ และกระบวนการที่ก�ำหนดไว้ตาม กฎหมาย กฎระเบียบของบริษัท และนโยบายของบริษัท รวมถึงได้รับการอนุมัติตามอ�ำนาจด�ำเนินการของบริษัท อย่างเคร่งครัด นอกจากนี้จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ ตกลง ไว้อย่างตรงไปตรงมา โปร่งใส และสามารถตรวจ สอบได้ โดยหลีกเลี่ยงการท�ำธุรกรรมที่อาจก่อให้เกิดความ เดือดร้อนเสียหายไม่ว่าต่อบริษัทหรือบุคคลภายนอก บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Engagement Policy) และแนวปฏิบัติต่อผู้มี ส่วนได้เสียกลุม่ ต่างๆ โดยก�ำหนดให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกรอบ การแข่งขันทางการค้าทีส่ จุ ริต พิจารณาราคาขายทีเ่ หมาะสม และยุติธรรม โดยค�ำนึงถึงความสมเหตุสมผลด้านราคา

คุณภาพ และบริการที่ได้รับรวมถึงสามารถให้เหตุผลที่ เหมาะสมได้เมื่อมีการตรวจสอบ นอกจากนี้ บริษทั ได้กำ� หนดแนวปฏิบตั แิ ละกระบวนการ ในการพิจารณาอนุมตั กิ ารท�ำรายการระหว่างกัน รายการที่ เกีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ตามหลักเกณฑ์ทกี่ ฎหมาย ก�ำหนด โดยกรรมการและผูบ้ ริหารจะแจ้งให้บริษทั ทราบถึง การมีส่วนได้เสียก่อน และบริษัทพิจารณารายการต่างๆ ซึ่งหากเป็นรายการที่จะต้องขออนุมัติตามหลักเกณฑ์ และ ขั้นตอนของกฎหมาย ฝ่ายจัดการจะน�ำเรื่องดังกล่าวเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือ รวมทั้งเปิดเผย ข้อมูลให้นักลงทุนทราบอย่างโปร่งใส โดยกรรมการ หรือ ผู้บริหารที่มีส่วนได้เสียจะไม่มีส่วนร่วมในการพิจารณา อนุมัติรายการอย่างแต่อย่างใด

นโยบายหรือแนวโน้นการท�ำรายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกันของบริษัทในอนาคตจะเป็นรายการ ที่ด�ำเนินการตามปกติ โดยใช้นโยบายต่อรองกันตามกลไก ราคาตลาดของธุรกิจโลจิสติกส์ ไม่มกี ารถ่ายเทผลประโยชน์ ระหว่างบริษัทกับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง

รายการที่เกี่ยวโยงกัน

บริษัทมีนโยบายในการด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์ของ ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ ในการท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และประกาศคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การเปิดเผยข้อมูล และการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยว โยงกัน ตลอดจนกฎหมาย ข้อบังคับ ประกาศ หรือค�ำสั่ง ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด

- 115 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

รายละเอียดรายการระหว่างกันกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน บุคคล/นิติบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง

ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ มูลค่ารายการ ยอดคงค้าง ค�ำชี้แจงของผู้บริหารในเรื่อง (บาท) (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล งวดปีสิ้นสุด ณ 31 ธ.ค.61 ณ 31 ธ.ค.61

1,526,979 1. ดร. อารยา คงสุนทร เป็นกรรมการ ค่าเช่าที่ดิน 2. นายชูเดช คงสุนทร และผู้ถือหุ้น (ส�ำนักงานใหญ่) ของบริษัท

- 116 -

ไม่มียอดค้าง

Innovative Logistics Service and Solution Provider

บริษทั เช่าทีด่ นิ จากคณะบุคคลวีเลนด์ (มีกรรมการและผู้ถือหุ้นร่วมกัน คือ นางอารยา คงสุนทร และ นายชูเดช คงสุนทร) เพื่อปลูกสร้างอาคารและ ใช้เป็นที่ตั้งของส�ำนักงานใหญ่ โดย โฉนดที่ดินเลขที่ 53901 มีเนื้อที่ 1 งาน 70 2/10 ตารางวา ตั้งอยู่ที่แขวง ช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ได้มีการจัดท�ำสัญญาเช่า ระยะเวลา เช่า 20 ปี ตั้งแต่วันที 1 กรกฎาคม 2557 – 30 มิถุนายน 2577 โดยคิด ค่าเช่าต่อเดือนรายละเอียด ดังนี้ ปีที่ 1-2 เดือนละ 92,674 บาท ปีที่ 3-5 เดือนละ 101,941 บาท ปีที่ 6-8 เดือนละ 112,135 บาท ปีที่ 9-11 เดือนละ 123,349 บาท ปีที่ 12-14 เดือนละ 135,684 บาท ปีที่ 15-17 เดือนละ 149,252 บาท ปีที่ 18-20 เดือนละ 164,177 บาท รวมค่าเช่าทั้งสิ้นจ�ำนวน 30,539,586 บาท โดยอั ต ราค่ า เช่ า ดั ง กล่ า วประเมิ น โดยผู้ประเมินอิสระเพื่อวัตถุประสงค์ สาธารณะ และเป็นบริษทั ทีอ่ ยูใ่ นบัญชี รายชื่อที่ได้รับความเห็นจาก ก.ล.ต. คือ บริษทั เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จ�ำกัด การบันทึกบัญชีค่า เช่าบันทึกรับรู้ตามวิธีเส้นตรงเท่าๆ กันทุกเดือน โดยบริษัทมีการบันทึก บัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17


Annual Report 2018

บุคคล/นิติบุคคลที่

อาจมีความขัดแย้ง

ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ มูลค่ารายการ ยอดคงค้าง ค�ำชี้แจงของผู้บริหารในเรื่อง (บาท) (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล งวดปีสิ้นสุด ณ 31 ธ.ค.61 ณ 31 ธ.ค.61

1. ดร. อารยา คงสุนทร เป็นกรรมการ ค่าเช่าที่ดิน 2. นายชูเดช คงสุนทร และผู้ถือหุ้น และอาคาร (แหลมฉบัง ของบริษัท ส่วนที่เป็น ส�ำนักงาน)

210,000

ไม่มียอดค้าง

บริษัทได้เช่าที่ดินและอาคารพาณิชย์ 3 ชั้น 2 เพื่อใช้เป็นที่ตั้งของหน่วยบริการ แหลมฉบัง โดยโฉนดที่ดินเลขที่ 164087 มีเนื้อที่ 42 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ต.สุรศักดิ์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม 2560 – 1 สิงหาคม 2563 คิดค่าเช่า 35,000 บาทต่อเดือน อัตราค่าเช่าดังกล่าว ประเมิ น โดยผู ้ ป ระเมิ น อิ ส ระเพื่ อ วั ต ถุ ประสงค์สาธารณะและเป็นบริษัทที่อยู่ใน บัญชีรายชื่อที่ได้รับความเห็นจาก ก.ล.ต. คือ บริษัท เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จ�ำกัดและ (สิ้นสุดการเช่าใน เดือน กรกฎาคม 2561)

ค่าเช่าที่ดิน

210,000

ไม่มียอดค้าง

บริษัทได้เช่าที่ดิน เพื่อใช้เป็นที่จอดรถ ส�ำหรับพนักงาน โดยโฉนดที่ดินเลขที่ 53902 เล่ม 540 หน้า 2 เลขที่ดิน 977 หน้าส�ำรวจ 9146 ตัง้ อยูท่ ี่ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2561 – 30 มิถุนายน 2562 คิดค่าเช่า 35,000 บาทต่อเดือน โดยอัตราค่าเช่าคิด อ้างอิงจากราคาประเมินค่าเช่าที่ดินของ อาคารส�ำนักงานของบริษัท ซึ่งเป็นพื้นที่ ดินซึ่งอยู่ติดกัน

ซื้อที่ดินและ อาคาร (แหลฉบังส่วนที่เป็น ส�ำนักงาน)

8,050,000

ไม่มียอดค้าง

บริษัทได้ซื้อที่ดินและอาคารพาณิชย์ 3 ชั้น 2 เพื่อใช้เป็นที่ตั้งของหน่วยบริการ แหลมฉบัง โดยโฉนดที่ดินเลขที่ 164087 มีเนื้อที่ 42 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ต.สุรศักดิ์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ในราคา8,050,000 บาท โดยราคา ซื้อดังกล่าวประเมินโดยผู้ประเมินอิสระ เป็ น บริ ษั ท ที่ อ ยู ่ ใ นบั ญ ชี ร ายชื่ อ ที่ ไ ด้ รั บ ความเห็นจาก ก.ล.ต. คือ บริษทั เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส จ�ำกัด

- 117 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

บุคคล/นิติบุคคลที่

อาจมีความขัดแย้ง WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd.

ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ มูลค่ารายการ ยอดคงค้าง ค�ำชี้แจงของผู้บริหารในเรื่อง (บาท) (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล งวดปีสิ้นสุด ณ 31 ธ.ค.61 ณ 31 ธ.ค.61 เป็นบริษัทย่อย รายได้จาก การบริการ/ (ถือหุ้นโดย ลูกหนี้การค้า WICE ร้อยละ 70)

7,332,964

926,553

ต้นทุนการให้ บริการ/เจ้าหนี้ การค้า

17,990,931

2,816,396

5,330

95,330

เป็นค่ารับรอง Agent

รายได้ค่า Director Fee

282,096

70,250

เป็นรายได้คา่ Director Fee ทีท่ างบริษทั เรียกเก็บโดยมีอตั ราค่าบริการต่อเดือนๆ ละ 1,000 SGD โดยเริ่มจ่ายตั้งแต่เดือน ก.ย. 2559 เป็นต้นไป

เงินปันผลรับ

44,387,314

-

เป็นเงินปันผลรับจากบริษัทย่อย เนื่อง จากบริษทั ย่อยมีการประกาศจ่ายเงินปัน ผลเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2561 จ�ำนวน 2,660,431 เหรียญสิงค์โปร์ เป็นเงินปันผล รับของบริษัท 70% เท่ากับ 1,866,502 เหรียญสิงค์โปร์ และก�ำหนดจ่ายเงินปัน ในวันที่ มี.ค./ ก.ค. และ พ.ย. 2561

ค่ารับรอง/ เจ้าหนี้อื่น

- 118 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider

WICE Logistics(Singapore) Pte. Ltd.. เป็น หนึ่งในตัวแทนต่างประเทศของบริษัท ท�ำหน้าที่ในการติดต่อประสานเพื่อให้ บริการในเขตต่างประเทศที่ตนดูแลซึ่ง จะมีการคิดค่าบริการในอัตราตลาด และ บริษัทก็เป็นหนึ่งในตัวแทนต่างประเทศ ของ WICE Logistics (Singapore) Pte. Ltd. ท�ำหน้าทีใ่ นการติดต่อประสานเพือ่ ให้บริการในเขตประเทศไทย ซึง่ จะมีการ คิดค่าบริการระหว่างกัน และถือเป็น รายได้จากการบริการของบริษัท ทั้งนี้ บริษัท WICE Logistics(Singapore) Pte. Ltd.. มีการจัดท�ำสัญญา Agency Agreement


Annual Report 2018

บุคคล/นิติบุคคลที่

อาจมีความขัดแย้ง

ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ มูลค่ารายการ ยอดคงค้าง ค�ำชี้แจงของผู้บริหารในเรื่อง (บาท) (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล งวดปีสิ้นสุด ณ 31 ธ.ค.61 ณ 31 ธ.ค.61 180,295

ไม่มียอดค้าง

เป็นค่าวัสดุสนิ้ เปลือ้ ง 123,437 บาท และ เป็นค่าน�ำ้ มันรถบรรทุก 6 ล้อ 56,858 บาท

10,000

10,000

เป็นรายได้คา่ บริการด้านการบริหารจัดท�ำ บัญชี เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยคิดค่าบริการด้าน บริหารจัดท�ำบัญชี ในอัตรา 10,000 บาท ต่อปี โดยใช้วิธีการ Allocation Cost

เงินกู้ยืม ดอกเบี้ยจ่าย

60,000,000 1,521,666

ไม่มียอดค้าง

บริษทั ไวส์โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) กูย้ มื เงินจากบริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศ ไทย) จ�ำกัด เพื่อใช้ในการลงทุนในเงิน ลงทุน ในบริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิ่ล โลจิสติกส์ จ�ำกัด ระยะเวลาในการกู้ยืม เริ่มวันที่ 21 สิงหาคม 2561 ถึงวันที่ 21 สิงหาคม 2562 เป็นระยะเวลา 1 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.12 อ้างอิงอัตรา ดอกเบี้ยจากธนาคารกสิกรไทย MRR ณ วันที่ 31 ธ.ค.2561 มีการจ่ายคืนเงินกู้ยืม ทั้งหมดแล้ว

เงินปันผลรับ

23,426,659

ไม่มียอดค้าง

เป็นเงินปันผลรับจากบริษทั ย่อย เนือ่ งจาก บริษัทย่อยมีการประกาศจ่ายเงินปันผล เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2561 และจ่าย เงินปันผลในวันที่ 30 มีนาคม 2561

บริษัท ซันเอ็กซ์เพรส เป็นบริษัทย่อย ค่าวัสดุ อุปกรณ์-ค่าน�้ำ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (ถือหุ้นโดย มัน/ลูกหนีอ้ ื่น WICE ร้อยละ 99.99) ค่าบริการจัดท�ำ บัญชี/ลูกหนี้อื่น

- 119 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

บุคคล/นิติบุคคลที่

อาจมีความขัดแย้ง WICE Logistics (Hong Kong)

บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด

ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ มูลค่ารายการ ยอดคงค้าง ค�ำชี้แจงของผู้บริหารในเรื่อง (บาท) (บาท) ความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผล งวดปีสิ้นสุด ณ 31 ธ.ค.61 ณ 31 ธ.ค.61 เป็นบริษัทย่อย (ถือหุ้นโดย WICE ร้อยละ 80) ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2561 เป็นต้นไป ความสัมพันธ์ เป็นบริษัทย่อย

รายได้จากการ บริการ/ลูกหนี้ การค้า

768,618

66,857

WICE Logistics (Hong Kong) เป็นหนึ่ง ในตัวแทนต่างประเทศของบริษัท ท�ำ หน้ า ที่ ใ นการติ ด ต่ อ ประสานเพื่ อ ให้ บริการในเขตต่างประเทศที่ตนดูแล ซึ่ง จะมีการคิด

ต้นทุนการให้ บริการ/เจ้าหนี้ การค้า

12,582,659

1,417,602

ค่าบริการในอัตราตลาด และบริษัทก็ เป็ น หนึ่ ง ในตั ว แทนต่ า งประเทศของ WICE Logistics (Hong Kong). ท�ำหน้าที่ ในการติดต่อประสานเพื่อให้บริการใน เขตประเทศไทย ซึง่ จะมีการคิดค่าบริการ ระหว่างกัน และถือเป็นรายได้จากการ บริการของบริษัท ทั้งนี้ บริษัท WICE Logistics (Hong Kong) มีการจัดท�ำสัญญา Agency Agreement

เป็นบริษัทย่อย (ถือหุ้นโดย WICE ร้อยละ 40) ตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน 2561 เป็นต้นไป ความสัมพันธ์ เป็นบริษัทย่อย

รายได้จาก การบริการ/ ลูกหนี้การค้า

-

-

ต้นทุนการให้ บริการ/เจ้าหนี้ การค้า

120,487

119,044

บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด เป็นหนึ่งในตัวแทนของบริษัท ท�ำหน้าที่ในการติดต่อประสานเพื่อให้ บริการ ซึง่ จะมีการคิดค่าบริการในอัตรา ตลาด ทั้งนี้บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด มีการจัดท�ำสัญญา Agency Agreement

รายได้ค่า บริหารจัดการ ด้านบัญชีการ เงิน/ลูกหนี้อื่น

180,000

180,000

เป็นรายได้ค่าบริการด้านการบริหาร จัดการระบบการท�ำงานด้านการเงิน และบัญชี เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคิดค่าบริการ ด้านบริหารจัดการด้านการเงินและบัญชี ในอัตรา 60,000 บาท ต่อเดือน โดยใช้ วิธกี าร Allocation Cost ระยะเวลา ตัง้ แต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 – 1 ตุลาคม 2562

รายได้อ่นื

106,400

106,400

เป็นค่าใช้จา่ ยเดินทาง 19,400 บาท และ เป็ น ค่ า ธรรมเนี ย มการค�้ ำ ประกั น ตู ้ 87,000 บาท

- 120 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

3

ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน

3.1 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของ บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ซึ่ง จัดขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ภายใต้พระ ราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และตามข้อก�ำหนดของ คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่า ด้วยการจัดท�ำและน�ำเสนอรายงานทางการเงิน ภายใต้ พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยได้มกี ารพิจารณาเลือกใช้นโยบายการบัญชีทเี่ หมาะสม และถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยส�ำคัญ อย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน โดยผู้สอบ บัญชีได้สอบทานและตรวจสอบงบการเงินและแสดงความ เห็นในรายงานของผู้สอบบัญชีอย่างไม่มีเงื่อนไข คณะกรรมการบริษัทท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลและพัฒนา บรรษัทภิบาล จรรยาบรรณ การต่อต้านคอร์รัปชัน รวมทั้ง จัดให้มแี ละด�ำรงไว้ ซึง่ ระบบการบริหารความเสีย่ งและการ ควบคุมภายใน เพือ่ ให้ความมัน่ ใจได้วา่ มีการบันทึกข้อมูลทาง

บัญชีถกู ต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและพียงพอทีจ่ ะด�ำรงรักษา ไว้ซงึ่ ทรัพย์สนิ ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือการ ด�ำเนินการทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ โดยคณะกรรมการ บริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการบริษัทที่เป็นอิสระท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแล งบการเงิน ประเมินระบบการควบคุมภายในและการตรวจ สอบภายใน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิพล โดยความเห็นของคณะ กรรมการตรวจสอบปรากฎในรายงานคณะกรรมการ ตรวจ สอบซึ่งได้แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีนี้แล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุม ภายในและการตรวจสอบภายในของบริษัทสามารถสร้าง ความเชือ่ มัน่ ได้วา่ งบการเงินของบริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย แสดงฐานการเงิน ผลการด�ำเนิน งาน และกระแสเงินสดถูกต้องตามสมควรในสาระส�ำคัญ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

นายเอกพล พงศ์สถาพร ประธานกรรมการบริษัท

ดร.อารยา คงสุนทร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

- 121 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

3.2 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระ ตามขอบเขตที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งมีการทบทวนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและ อนุมตั โิ ดยคณะกรรมการบริษทั เป็นประจ�ำทุกปี ในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบเน้นบทบาทในการเป็น Strategic and Monitoring Audit Committee เพื่อสอบทานการก�ำกับ ดูแล การก�ำหนดกลยุทธ์ การปฏิบตั งิ าน และการติดตามผล เพื่อให้บริษทั บรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดและด�ำเนิน ธุรกิจได้ อย่างยัง่ ยืน การจะด�ำเนินการดังกล่าวได้นนั้ ฝ่ายจัดการและ พนักงานต้องมีคณ ุ ธรรม จรรยาบรรณ เข้าใจบทบาท อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของตนเอง และปฏิบตั งิ านภายใต้ การบูรณาการทัง้ การก�ำกับดูแล การบริหารความเสีย่ ง การ ก�ำกับการปฏิบัติงานและการควบคุมภายใน ปี 2561 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 5 ครั้ง โดยมีกรรมการตรวจสอบเข้าประชุมครบองค์ประชุมทุกครัง้ ทั้งนี้ ทุกสิ้นปี คณะกรรมการมีการประเมินผลการปฏิบัติ หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบโดยรวมและประเมิน ตนเอง ซึง่ ผลประเมินอยูใ่ นเกณฑ์เป็นทีพ่ อใจมากใกล้เคียง กับปีก่อน หัวข้อที่ประเมินได้แก่ ความพร้อมของกรรมการ ตรวจสอบ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ การประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ สรุปความเห็นโดยรวม การปฏิบัติ งานของเลขานุการคณะกรรมการตรววจสอบ และการปฏิบตั ิ งานของส�ำนักงานตรวจสอบ สรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นรอบปี 2561 ดังนี้ 1. การสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานข้อมูลทีส่ ำ� คัญของ งบการเงินรายไตรมาสและประจ�ำปี 2561 ของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) งบการเงินรวมของบริษัท และ บริษทั ย่อยซึง่ ได้จดั ท�ำตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ของไทย ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานทางการรายงาน ทาง การเงินระหว่างประเทศ โดยได้สอบทานประเด็นทีเ่ ป็นสาระ ส�ำคัญ รายการพิเศษ และได้รับค�ำชี้แจงจากผู้สอบบัญชี

ฝ่ายจัดการ จนเป็นที่พอใจว่าการจัดท�ำงบการเงิน รวมทัง้ การเปิดเผยหมายเหตุประกอบในงบการเงิน เป็นไปตามข้อ ก�ำหนดของกฎหมายและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน จึงได้ให้ความเห็นชอบงบการเงินดังกล่าว ที่ผู้สอบบัญชีได้ สอบทาน และตรวจสอบแล้วซึง่ เป็นรายงาน ความเห็นอย่าง ไม่มเี งือ่ นไข นอกจากนีค้ ณะกรรมการตรวจ สอบได้ประชุม ร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเพื่อปรึกษาหารือกัน อย่างอิสระถึงการได้รบั ข้อมูล การตรวจสอบ ข้อมูลทีม่ สี าระ ส�ำคัญในการจัดท�ำงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นไป ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและเป็นประโยชน์ กับผูใ้ ช้งบการเงิน เรือ่ งส�ำคัญจากการตรวจสอบ (Key Audit Matters) รวมทัง้ พฤติการณ์อนั ควรสงสัย ตามมาตรา 89/25 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาด ทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึง่ ในปี 2561 ผูส้ อบบัญชีไม่ได้ มีขอ้ สังเกตุทเี่ ป็นสาระส�ำคัญ และไม่พบพฤติการณ์อันควร สงสัย นอกจากนี้ เพือ่ ความมัน่ ใจในเรือ่ งการไม่พบพฤติการณ์ อันควรสงสัยดังกล่าว ให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบด้วย และงบการเงินรวมของบริษทั เชือ่ ถือได้ โปร่งใส สอดคล้อง ตามมาตรฐานผู้สอบบัญชีมีความเป็นอิสระและสามารถ ตรวจสอบได้ 2. การสอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการได้ มาจ�ำหน่ายไปหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายงาน ของกรรมการทีเ่ กีย่ วข้อง พร้อมทัง้ เปิดเผยให้ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยทราบอย่างถูกต้องตามเวลาที่ก�ำหนด 3. การสอบทานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) มุง่ มัน่ ด�ำเนินธุรกิจ ตามหลักของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและส�ำนัก

- 122 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

งานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี พบว่า กรรมการ บริษัท ฝ่ายจัดการ และพนักงาน ปฎิบัติตามนโยบายที่ ก�ำหนดไว้อย่างเคร่งครัด และบริษัทมีการน�ำนโยบายต่อ ต้านคอร์รัปชันไปปฎิบัติใช้อย่างจริงจัง และขยายผลไปสู่ คู่ธุรกิจ ร่วมกันปฏิบัติควบคู่ไปกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ ค�ำนึงถึงสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรมนอกเหนือ จากที่กฎหมายก�ำหนด 4. การสอบทานระบบการประเมิ น การบริ ห าร ความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง โดยมี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรเป็นผู้รับผิดชอบ ท�ำหน้าที่พิจารณาโครงสร้าง นโยบาย กรอบการบริหาร ความเสี่ยง แผนการจัดการความเสี่ยง การทบทวนความ เสีย่ งและติกตามการบริหารความเสีย่ งของบริษทั รายเดือน และรายไตรมาส โดยมีคณะท�ำงานบริหารความเสีย่ งองค์กร ท�ำหน้าที่จัดท�ำรายงานความเสี่ยงและร่วมกันพิจารณา ความเสี่ยงที่มีนัยส�ำคัญและโอกาสที่จะเกิดขึ้นในอนาคต คณะท�ำงานฯ ได้เตรียมมาตรการรองรับโดยก�ำหนดแผนงาน ระยะวลา แผนงานประจ�ำปี และการพิจารณาความเสี่ยง ส�ำหรับโครงการลงทุนต่างๆ ด้วย 5. การสอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลการประเมิน ระบบการควบคุมภายในทั้งระบบการปฎิบัติงานและระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทัง้ การประเมินตามแบบประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (ก.ล.ต.) พบว่ามีความเพียงพอ เหมาะสมกับ การด�ำเนินธุรกิจของบริษทํ และสอดคล้องกับความเห็นของ ผูส้ อบบัญชีทรี่ ายงานว่าจากการสอบทานไม่พบข้อบกพร่อง ที่เป็นสาระส�ำคัญซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงินของบริษัท

6. การตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาทบทวนกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นประจ�ำทุกปีให้สอดคล้องกับ ความเสี่ยงและสถานการณ์ปัจจุบันของบริษัท ในปี 2561 ได้พจิ ารณาและอนุมตั ิ แผนปฏิบตั กิ าร งบประมาณประจ�ำปี ตลอดจนสนับสนุนและส่งเสริมให้ฝ่ายตรวจสอบสามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างเป็นอิสระและเพื่อให้การปฏิบัติงานมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นจึงก�ำหนดให้ฝ่ายตรวจสอบมีสาย บังคับบัญชาขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และการ บริหารความเสีย่ งองค์กรปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบต่างๆ และการควบคุมภายในบริษทั และบริษทั ย่อยในต่างประเทศ 7. การพิจารณาเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีและค่าสอบ บัญชี ประจ�ำปี 2561 ในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาข้อเสนอ การให้บริการสอบบัญชีให้แก่บริษัท และบริษย่อยทั้งใน ประเทศและต่างประเทศจากส�ำนักงานสอบบัญชีของบริษทั ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เพือ่ เป็นส�ำนักงานสอบบัญชี ของ บริษัทและบริษัทย่อย ประจ�ำปี 2561 คณะกรรมการตรวจ สอบเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเสนอขออนุมัติ ตากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นแต่งตั้ง 1. นายโสภณ เพิ่มศิริวัลลภ ผู้สอบบัญชีรับ อนุญาตเลขที่ 3182 หรือ 2. นางสาวรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล ผู้สอบบัญชีรับ อนุญาตเลขที่ 3516 หรือ 3. นางสาวรสพร เดชอาคม ผู้สอบบัญชีรับ อนุญาตเลขที่ 5659 หรือ 4. นางสาวสุมนา พันธ์พงษ์สานนท์ ผู้สอบบัญชีรับ อนุญาตเลขที่ 5872 หรือ 5. นางสาวอรวรรณ เตชวัฒนสิริกุล ผู้สอบบัญชีรับ อนุญาตเลขที่ 4807

- 123 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

แห่งบริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของ บริษัทประจ�ำปี 2561 และอนุมัติค่าสอบบัญชี งบการเงิน ประจ�ำปี 2561 และค่าสอบทานงบการเงินรายไตรมาสของ

บริษัท และงบการเงินรวม เป็นเงินทั้งหมด 1.9 ล้านบาท รวมทัง้ รับทราบค่าสอบบัญชีงบการเงินประจ�ำปี 2561 ของ บริษัทย่อย

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

รศ. ดร.รุธิร์ พนมยงค์ ประธานกรรมการตรวจสอบ

- 124 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

3.3 การวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน ประจ�ำปี 2561 เหตุการณ์ส�ำคัญในระหว่างปี

ช่วงเวลา

เหตุการณ์ส�ำคัญ

ไตรมาสที่ 1 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั Universal Worldwide Transportation Limited จ�ำนวน 80,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 เหรียญดอลลาร์ฮ่องกง คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 80 ของจ�ำนวนหุ้นสามัญทั้งหมด เงินปันผลรับ จากบริษัท ซันเอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ำกัดในอัตราหุ้นละ 433.83 บาท รวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 23.43 ล้านบาท จากบริษทั Sun Express Logistics Pte Ltd. ในอัตราหุน้ ละ 5.47 ดอลล่าร์สงิ คโปร์ รวมเป็น จ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 1.88 ล้านดอลล่าร์สิงคโปร์ หรือคิดเป็น 44.39 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ ได้รับเงินปันผลบางส่วนเป็นจ�ำนวนเงิน 14.79 ล้านบาท ไตรมาสที่ 2 เงินปันผลจ่าย บริษัทฯ จ่ายเงินปันผลจากผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2560 ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัคราหุ้นละ 0.12 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 78.23 ล้านบาท ไตรมาสที่ 3 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทฯ ได้ด�ำเนินการลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิล โลจิสติกส์ จ�ำกัด จ�ำนวน 2,800,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 40 ของ จ�ำนวนหุ้นสามัญทั้งหมด เงินปันผลรับ บริษัทฯ ได้รับเงินปันผลจาก Sun Express Logistics Pte.Ltd.จ�ำนวน 0.63 ล้านดอลล่าร์ สิงคโปร์ หรือคิดเป็นจ�ำนวนเงิน 14.79 ล้านบาท ไตรมาสที่ 4 เงินปันผลรับ บริษัทฯ ได้รับเงินปันผลจาก Sun Express Logistics Pte.Ltd.จ�ำนวน 0.62 ล้านดอลล่าร์ สิงคโปร์ หรือคิดเป็นจ�ำนวนเงิน 14.81 ล้านบาท

- 125 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

การวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานของบริษัทในปี บริษทั ได้ดำ� เนินการซือ้ หุน้ สามัญของ WICE Logistics (Hong Kong) Limited ในสัดส่วน ร้อยละ 80 ของจ�ำนวนหุ้นสามัญ 2561 สามารถสรุปได้ดังนี้ รายได้จากการให้บริการของบริษัทส�ำหรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 1,832.11 ล้านบาท และ 1,396.37 ล้านบาท ตามล�ำดับ ปรับ เพิ่มขึ้น 435.74 ล้านบาทคิดเป็น ร้อยละ 31.21 สาเหตุเกิด จากรายได้จากการบริการของบริษัทที่เพิ่มขึ้นตามกลยุทธ์ ของบริษทั ทีว่ างแผนไว้ และ เมือ่ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2561

ทั้งหมด และในวันที่ 14 กันยายน 2561 บริษัทได้ด�ำเนิน การซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิลโลจิสติกส์ จ�ำกัด ในสัดส่วน ร้อยละ 40 ของจ�ำนวนหุ้นสามัญทั้งหมด บริษัทจึงต้องมีการรับรู้รายได้ เข้ามาในงบการเงิน ท�ำให้ รายได้จากการบริการเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถจ�ำแนกประเภท รายได้ดงั นี้

จากงบการเงินรวม การด�ำเนินธุรกิจสามารถแบ่งประเภทธุรกิจ ดังนี้ รายได้จากให้บริการ หน่วย : ล้านบาท

1. จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล (SEA FREIGHT)

2. จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ (SAIR FREIGHT)

295.75

366.73

465.59

635.03

610.64

854.74

2561 2560

3. บริการโลจิสติกส์ (LOGISTICS)

หน่วย : ล้านบาท

รายได้จากบริการ จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ จัดการโลจิสติกส์ รวม รายได้จากการบริการ

ส�ำหรับสามเดือน สิ้นสุด ส�ำหรับสามเดือน สิ้นสุด เพิ่มขึ้น 31 ธันวาคม 2561 31 ธันวาคม 2560 (ลดลง) 610.64 854.74 366.73 1,832.11

- 126 -

635.03 465.59 295.75 1,396.37

Innovative Logistics Service and Solution Provider

-24.39 389.15 70.98 435.74

ร้อยละ -3.84 83.58 24.00 31.21


Annual Report 2018

1. รายได้จากการจัดการขนส่งสินค้าทางทะเล ส�ำหรับ ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 610.64 ล้านบาท และ 635.03 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ ปรับลดลง 24.39 ล้านบาทคิดเป็น ร้อยละ 3.84 ตามล�ำดับ สาเหตุเกิดจากมีลูกค้ารายใหญ่เปลี่ยนการใช้ บริ ก ารจากขนส่ ง สิ น ค้ า ทางทะเลเป็ น ขนส่ ง สิ น ค้ า ทาง อากาศและทางบก เพื่อให้สินค้าถึงปลายทางได้เร็วขึ้น จึง ท�ำให้รายได้จากการจัดการขนส่งสินค้าทางทะเลลดลง 2. รายได้ จ ากการจั ด การขนส่ ง สิ น ค้ า ทางอากาศ ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 854.74 ล้านบาท และ 465.59 ล้าน บาท ปรับเพิ่มขึ้น 389.15 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 83.58 ตามล�ำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน เป็นผลมาจากการ รับรู้รายได้ของบริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Limited ส�ำหรับงวดปีนี้ และบริษัทได้งานโครงการ จากลูกค้าใน กลุ่มเป้าหมายรายใหม่ ซึ่งได้แก่ลูกค้าในกลุ่ม อุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า

3. รายได้จากการบริการจัดการโลจิสติกส์ ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 366.73 ล้านบาท และ 295.75 ล้านบาท ปรับเพิ่ม ขึ้น 70.98 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 24 ตามล�ำดับ เมื่อ เปรียบเทียบกับปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการรับรู้ราย ได้ของบริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Limited และ บริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิลโลจิสติกส์ จ�ำกัด ส�ำหรับงวดปีนี้ และเกิดจากรายได้ที่ให้บริการทางด้านคลังสินค้าที่เพิ่มขึ้น อาทิ ลูกค้าในกลุ่มชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งลูกค้าเหล่านี้ก็จะใช้ บริการแบบครบวงจรรวมไปถึงงานบริการพิธกี ารกรมศุลกากร และงานบริการขนส่งทางบก ประกอบกับลูกค้ารายใหญ่ เปลี่ยนการใช้บริการจากใช้บริการขนส่งสินค้าทางทะเล เปลีย่ นมาเป็นบริการขนส่งสินค้าทางบกจึงมีผลท�ำให้ รายได้ จากการบริการจัดการโลจิสติกส์เพิ่มขึ้นจากเดิม เปรี ย บเที ย บสั ด ส่ ว นรายได้ จ ากการบริ ก ารหลั ง จาก ที่บริษัทเริ่มท�ำการรับรู้รายได้จากบริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Limited สัดส่วนรายได้เปลีย่ นไปโดยจะมีสดั ส่วน รายได้จากการจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Air Freight) เพิ่มเข้ามาอย่างมีนัยส�ำคัญ สรุปการเปลี่ยนแปลงสัดส่วน ดังนี้

2018 Logistics, 366.73, 20%

2017 Sea Freight, 610.64, 33%

Air Freight, 854.74, 47%

Logistics 21%

Air Freight 33%

- 127 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider

Sea Freight 46%


WICE Logistics Public Cmpany Limited

รายได้อื่น 20.00 18.00 16.00 14.00 12.00 10.00 8.00 6.00 4.00 2.00 0.00

(หน่วย : ล้านบาท)

18.00

5.96

2560

2561

รายได้อนื่ ของบริษทั ส�ำหรับงวดปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 เท่ากับ 18.00 ล้านบาทเมื่อเปรียบเทียบกับงวด เดียวกันของปีก่อนเท่ากับ 5.96 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 12.04

ต้นทุนจากให้บริการ (หน่วย : ล้านบาท)

800.00 700.00 600.00 500.00

ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 202.01 ในปีนี้มีการรับรู้ก�ำไร จากการขายเงินลงทุนชัว่ คราวมากกว่าปีกอ่ น ซึง่ มีการขาย เงินลงทุนน้อยกว่าปีนี้

2561 2560

681.21 477.06

463.72

400.00

330.47

300.00

296.44

260.09

200.00 100.00 0.00 1. จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล (Sea Freight)

2. จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Air Freight)

- 128 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider

3. บริการโลจิสติกส์ (LOGISTICS)


Annual Report 2018

ต้นทุนการให้บริการทั้งหมดของบริษัทส�ำหรับงวดปีสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 1,454.71 ล้านบาท และ 1,054.28 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 400.42 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 37.98 สาเหตุจาก การรับรู้ต้นทุนการให้บริการตามสัดส่วนของบริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Limited และจากต้นทุนการให้บริการ ทีก่ อ่ ให้เกิดรายได้ทเี่ พิม่ ขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ น จึงท�ำให้ ต้นทุนจากการบริการเพิ่มขึ้นตามสัดส่วน ซึ่งเป็นไปตาม แผนงานที่ก�ำหนดไว้ ต้นทุนการให้บริการ สามารถจ�ำแนกตามประเภทกิจกรรม ที่ก่อให้เกิดรายได้ ดังต่อไปนี้ : 1. ต้นทุนการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าทางทะเล ส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ

วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 477.06 ล้านบาท และ 463.72 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 13.34 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.88 2. ต้นทุนการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ ส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 681.21 ล้านบาท และ 330.47 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 350.74 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 106.13 3. ต้นทุนการให้บริการจัดการโลจิสติกส์ ส�ำหรับ งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 296.44 ล้านบาท และ 260.09 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 36.35 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.98

ก�ำไรขั้นต้น (หน่วย : ล้านบาท)

400.00

377.40

350.00

342.09

300.00 250.00 200.00 150.00

171.31 133.58

173.53 135.12

100.00

70.29

50.00

35.66

0.00 1. จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล (Sea Freight)

1. จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล (Sea Freight)

- 129 -

3. บริการโลจิสติกส์ (Logistics)

Innovative Logistics Service and Solution Provider

รวมก�ำไรขั้นต้น

2561 2560


WICE Logistics Public Cmpany Limited

อัตราส่วนก�ำไรขั้นต้น 1. จัดการขนส่งสินค้าทางทะเล (Sea Freight) 2. จัดการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Air Freight) 3. บริการโลจิสติกส์ (Logistics) รวม อัตราส่วนก�ำไรขั้นต้น

ก�ำไรขัน้ ต้นของบริษทั ส�ำหรับงวดปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 377.40 ล้านบาท และ 342.09 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 35.31 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.32 สาเหตุจากการรับรู้รายได้และต้นทุน บริการตามสัดส่วนของบริษทั WICE Logistics (Hong Kong) Limited ในปีนี้ บริษทั รับรูร้ ายได้ เริม่ ตัง้ แต่ 4 มกราคม 2561 จึงมีผลท�ำให้สัดส่วนรายได้ ต้นทุนเพิ่มขึ้น และสาเหตุจาก ผลประกอบการของบริษัทมียอดขายเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ก�ำไร ขั้นต้นก็เพิ่มขึ้น โดยสามารถจ�ำแนกตามประเภทกิจกรรม รายได้ ดังต่อไปนี้ ก�ำไรขัน้ ต้นของการให้บริการขนส่งสินค้าทางทะเล ส�ำหรับ งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 133.58 ล้านบาท และ 171.31 ล้านบาท ตาม ล�ำดับ ลดลง 37.73 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 22.02 โดย อัตราก�ำไรขัน้ ต้นส�ำหรับงวดปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 21.88% และ 26.98% ตามล�ำดับ อัตราก�ำไรขั้นต้นลดลง 5.10% ลดลง เนื่องจาก ภาวะค่าระวางเรือที่ปรับราคาสูงขึ้นท�ำให้อัตราการท�ำก�ำไร ลดลง ซึง่ ในปีถดั ไปภาวะดังกล่าวน่าจะปรับตัวเข้าสูภ่ าวะปกติ ก�ำไรขัน้ ต้นของการบริการขนส่งสินค้าทางอากาศ ส�ำหรับ งวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม

2561

2560

เพิ่มขึ้น(ลดลง) %

21.88% 20.30% 19.17% 20.60%

26.98% 29.02% 12.06% 24.50%

-5.10% -8.72% 7.11% -3.90%

2560 จ�ำนวน 173.53 ล้านบาท และ 135.12 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้น 38.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.43 โดยมีอัตราก�ำไร ขั้นต้น ส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 20.30% และ 29.02 % อัตรา ก�ำไรขัน้ ต้นลดลง 8.72 % ลดลง เนือ่ งจากการรับรูก้ ำ� ไรจาก บริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Limited โดยรายได้ ส่วนมากจะเป็นรายได้จากการบริการขนส่งสินค้าทางอากาศ ซึง่ ในประเทศฮ่องกงการแข่งขันค่อนข้างสูงอัตราการท�ำก�ำไร Gross Profit Margin อยู่ที่ประมาณ 12-15% จึงท�ำให้อัตรา ก�ำไรขั้นต้นของบริการขนส่งสินค้าทางอากาศ ในปีนี้ลดลง ก�ำไรขั้นต้นของการให้บริการโลจิสติกส์ ส�ำหรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 70.29 ล้านบาท และ 35.66 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิม่ ขึน้ 34.63 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 97.11 โดยอัตราก�ำไร ขั้นต้นส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 19.17 % และ 12.06% ตามล�ำดับ อัตราก�ำไรขัน้ ต้นเพิม่ ขึน้ 7.11 % สาเหตุเกิดจากการบริหาร จัดการด้านต้นทุนของส่วนงานปฏิบตั กิ ารในการบริหารต้นทุน ส่วนเกิน ที่จัดการโดยใช้ความรวดเร็วในการบริหารจัดการ ท�ำให้ไม่ต้องจ่ายต้นทุนส่วนเพิ่มมีผลท�ำให้ต้นทุนลดลง

- 130 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

250.00

2561 2560

208.62

200.00

170.92

150.00 100.00 50.00

41.96

46.13 4.88

0.00 ค่าใช้จ่ายในการขาย

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

ค่าใช้จ่ายในการขายของบริษัท ส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 41.96 ล้านบาท และ 46.13 ล้านบาท ตามล�ำดับ ลดลง 4.18 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 9.06 เกิดจากการที่บริษัทมี ก�ำไรขั้นต้นลดลงท�ำให้การจ่ายค่าคอมมิชั่นลดลงแปรผัน ตามก�ำไรที่ลดลง ค่าใช้จ่ายในการบริหารของบริษัทส�ำหรับงวดปีส้ินสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 208.62 ล้านบาทและ 170.92 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 37.70 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.05 เป็นผลมาจากการ รับรู้ค่าใช้จ่ายในการบริหารของบริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Limited ส�ำหรับงวดปีนี้ ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็นไปตาม สัดส่วนของรายได้ตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ ประกอบกับ บริษัทมีการวัดมูลค่ายุตธิ รรม PPA ( Perchase Price Allocation ) ของบริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Limited มี สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่ต้องตัดจ�ำหน่าย จ�ำนวน 1.87 ล้าน บาท ท�ำให้ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานเพิ่มขึ้นในปีนี้ ค่าใช้จ่ายในทางการเงินของบริษัทส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 4.88

26.23 23.25 0.18

ค่าใช้จ่ายทางการเงิน

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ล้านบาท และ 0.18 ล้านบาท ตามล�ำดับ ปรับเพิ่มขึ้น 4.69 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 2,550.49 เกิดจากดอกเบี้ยจ่ายที่ ตั้งส�ำรองจากเงินลงทุนค้างจ่ายซึ่งเกิดจากการวัดมูลค่า ยุติธรรม PPA ( Perchase Price Allocation ) ของบริษัท WICE Logistics (Hong Kong) Limited และบริษัทมีดอกเบี้ย จ่ายจากสัญญาเช่าทางการเงินในการซื้อหัวลากเพื่อการ ลงทุนในบริษัท ยูโรเอเชีย โทเทิลโลจิสติกส์ จ�ำกัด ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ของบริษัทส�ำหรับงวดปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560จ�ำนวน 26.23 ล้านบาทและ 23.25 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 2.98 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.81 จากผลก�ำไรที่เพิ่มขึ้น ก�ำไรสุทธิสำ� หรับงวดปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวน 96.19 ล้านบาทและ 89.70 ล้านบาท ตามล�ำดับ เพิ่มขึ้น 6.49 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.24 โดยก�ำไรสุทธิท่เี พิ่มขึ้นนั้น เกิดจากการรับรู้ก�ำไรจาก WICE Logistics (Hong Kong) Limited ทีร่ บั รูเ้ พิม่ เข้ามาในปีนี้ ประกอบกับการลงทุนในบริษัท Sun Express Logistics Pte. Ltd. มีก�ำไรรับรู้เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 17.67%

- 131 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ก�ำไรสุทธิ (หน่วย : ล้านบาท)

120.00 100.00

96.19

89.70

80.00 60.00 40.00 20.00 0.00

2561

2560

การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินในปี 2561

งบแสดงฐานะการเงิน

งบการเงินรวม 31 ธ.ค.2561 จ�ำนวนเงิน

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินให้กู้ยืมระยะสั้น สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่ติดภาระค�้ำประกัน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

208.23 101.01 442.46 9.39 34.72 795.81 2.10 223.53 139.84 256.17 0.00 2.35 623.99 1,419.80 - 132 -

งบการเงินรวม เปลี่ยนแปลง 31 ธ.ค.2560 จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงิน ร้อยละ 203.67 97.73 300.00 0.00 6.52 607.93 2.10 143.33 99.40 248.66 0.00 2.40 495.89 1,103.82

Innovative Logistics Service and Solution Provider

4.55 3.28 142.46 9.39 28.20 187.88 0.00 80.20 40.44 7.51 0.00 -0.05 128.10 315.98

2.23 3.36 47.49 100.00 432.18 30.91 0.00 55.96 40.69 3.02 0.00 -2.29 25.83 28.63


Annual Report 2018

สินทรัพย์ บริษัทมีทรัพย์สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 1,419.80 ล้านบาท และ 1,103.82 ล้านบาท ตามล�ำดับ ปรับเพิม่ ขึน้ 315.98 ล้านบาท หรือร้อยละ 28.63 ซึ่งมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น โดยมีข้อสังเกตุ ดังนี้ 1.1 ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561และ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 442.46 ล้านบาท และ 300.00 ล้านบาท ตามล�ำดับ ปรับเพิม่ ขึน้ 142.46 ล้านบาทหรือร้อยละ 47.49 จากรายได้เพิม่ ขึน้ จึงส่งผลให้ ลูกหนีเ้ พิม่ ขึน้ อย่างไรก็ตามลูกหนี้ดังกล่าวเป็นลูกหนี้ที่มี ความสามารถช�ำระหนี้ปกติ 1.2 ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 223.53 ล้านบาท และ 143.33 ล้านบาท ตามล�ำดับ ปรับเพิม่ ขึน้ 80.20 ล้านบาทหรือ ร้อยละ 55.96 เกิดจากบริษัทมีการซื้อยาน

1.3

- 133 -

พาหนะประเภทหัวลากหางพ่วงเพื่อใช้ใน ส่วนงานขนส่งทางบกทีม่ กี ารขยายงานเพิม่ ขึน้ ประกอบกับในปีที่ผ่านมาบริษัทมีการลงทุน ซือ้ หุน้ ของบริษทั ยูโรเอเชีย โทเทิลโลจิสติกส์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษทั ที่มีบริการหลักด้านการ ขนส่งทางบกข้ามพรมแดนจึงต้องมีการซื้อ ทรัพย์สินประเภทหัวลากห่างพวงเพื่อใช้ใน การด�ำเนินธุรกิจจึงท�ำให้ทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ในปีนี้ ค่าความนิยม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 และ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 เท่ากับ 139.84 ล้านบาท และ 99.40 ล้านบาท ตามล�ำดับ ปรับเพิม่ ขึน้ 40.44 ล้านบาทหรือร้อยละ 40.69 เกิดจากบริษัทมีการวัดมูลค่ายุติธรรม PPA (Perchase Price Allocation) ของบริษทั WICE Logistics (Hong Kong) ซึ่งมีค่าความนิยม เกิดขึ้น

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินในปี 2561

งบแสดงฐานะการเงิน

งบการเงินรวม 31 ธ.ค.2561 จ�ำนวนเงิน

หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้ค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

326.62 0.02

129.58 0.00

197.05 0.02

152.07 100.00

4.00

0.77

3.24

421.75

15.55 9.58 355.78

10.93 11.22 152.49

4.62 -1.64 203.29

42.29 -14.61 133.31

0.23

0.00

0.23

7.21

0.01

7.20 52,555.68

40.56

0.00

40.56

100.00

2.51

0.00

2.51

100.00

18.15 36.58 1.59 106.83 462.61

16.83 33.43 1.29 51.56 204.06

1.32 3.15 0.30 55.27 258.55

7.84 9.41 23.63 107.18 126.71

หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน – สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน – สุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี หนี้สินรอช�ำระจากการซื้อเงินลงทุน ในบริษัทย่อย ดอกเบี้ยค้างจ่ายจากการซื้อเงินลงทุน ในบริษัทย่อย ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

- 134 -

งบการเงินรวม เปลี่ยนแปลง 31 ธ.ค.2560 จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงิน ร้อยละ

Innovative Logistics Service and Solution Provider

100.00


Annual Report 2018

บริษัทมีหนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 462.61 ล้านบาท และ 204.06 ล้านบาท ตามล�ำดับ ปรับเพิ่มขึ้น 258.55 ล้านบาทหรือ

ร้อยละ 126.71 เป็นผลมาจากการที่บริษัทมีรายได้เพิ่มขึ้น ต้นทุนก็เพิ่มขึ้นตามสัดส่วน เมื่อต้นทุนเพิ่มขึ้นจึงท�ำให้ เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้นในงบการเงิน

บริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และวันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 957.19 ล้านบาท และ

899.77 ล้านบาท ปรับเพิ่มขึ้น 57.43 ล้านบาทหรือ ร้อยละ 6.38 เกิดจากผลก�ำไรจากการด�ำเนินงาน

- 135 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

Cash Flow Statement 2018 Unit : MB 200 167.56 150 100 50 0 -50

Cash Flows from Investing Activities

Cash Flows from Financing Activities

Cash Flows from Operating Activities -64.77

-100

-95.8

-150

ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เท่ากับ 0.48 เท่า และ 0.23 เท่า หนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นโดย หนี้สินที่เพิ่มขึ้นเป็นหนี้สินหมุนเวียนคือเจ้าหนี้การค้าที่เพิ่ม ขึ้นในงบการเงิน ซึ่งปัจจุบันอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ ถือหุ้นก็ยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างต�่ำเนื่องจากบริษัทมีนโย บายใช้เงินทุนในการด�ำเนินธุรกิจส่วนใหญ่จากส่วนของผู้ ถือหุ้น ท�ำให้มีความเสี่ยงด้านการเงินต�่ำ โดยไม่มีต้นทุน ทางการเงินและมีความคล่องตัวในการด�ำเนินธุรกิจ สภาพคล่อง สภาพคล่องกระแสเงินสด กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ จ ากกิ จ กรรมการด� ำ เนิ น งาน

ส�ำหรับปี 2561 เป็นบวก 167.56 ล้านบาท โดยมีสาเหตุ หลักจากก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ จ�ำนวน 139.96 ล้านบาท และมีเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้น 104.94 ล้านบาท และมีการให้เครดิตลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 57.90 ล้านบาท กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุนส�ำหรับปี 2561 เป็นลบ 95.80 ล้านบาท โดยมีสาเหตุจาก บริษัทมีเงินสด จ่ายเพื่อซื้อทรัพย์สินถาวร โดยส่วนใหญ่ได้แก่การซื้อยาน พาหนะประเภทหัวลากหางพ่วง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ จ�ำนวน 82.36 ล้านบาท กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงินส�ำหรับปี พ.ศ. 2561 เป็นลบ 64.77 ล้านบาท บริษัทมีการจ่ายเงินปันผล จ�ำนวน 97.89 ล้านบาท และมีการจ่ายเพื่อช�ำระหนี้สิน ตามสัญญาเช่าทางการเงินจ�ำนวน 6.79 ล้านบาท และมี เงินสดรับจากการเพิ่มทุน 42.00 ล้านบาท

- 136 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

3.4 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) เสนอ ต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน)

ความเห็น

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบก�ำไรขาดทุนรวม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รวมงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและ งบกระแสเงินสดรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และ หมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุ สรุป นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ และได้ตรวจสอบงบการเงิน เฉพาะกิจการของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผลการด�ำเนินงานและกระแส เงินสด ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษทั ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามทีค่ วรใน สาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการ สอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรค ความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชีตอ่ การตรวจสอบงบการเงิน ในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุม่ บริษทั ตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพ บัญชีทกี่ ำ� หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับ การตรวจ สอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อ ก�ำหนดด้านจรรยาบรรณอืน่ ๆตามทีร่ ะบุในข้อก�ำหนดนัน้ ด้วย ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้

รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า

ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น

ข้าพเจ้าขอให้สงั เกตหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม ข้อ 11 เกีย่ วกับการซือ้ ธุรกิจของบริษทั ฯ ในเดือนมกราคม 2561 บริษัทฯได้ซื้อหุ้นสามัญของ Universal Worldwide Transportation Limited ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียนจัดตั้ง ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จ�ำนวน 80,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 เหรียญ ฮ่องกง คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 80 ของจ�ำนวนหุ้นสามัญ ทั้งหมด ซึ่ง บริษัทฯได้รับรู้และวัดมูลค่าสินทรัพย์ที่ระบุ ได้ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา ณ วันซื้อกิจการ ด้วยมูลค่า ยุติธรรม โดยใช้ วิธีการจัดสรรราคาซื้อ (Purchase Price Allocation) ตลอดจนรับรูค้ า่ ความนิยมทีเ่ กิดขึน้ จากการรวม ธุรกิจจากการวัดมูลค่า ตามวิธซี อื้ และหนีส้ นิ ทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อยรวมอยูใ่ นงบแสดงฐานะ การเงินรวมแล้ว ทัง้ นี้ ข้าพเจ้ามิได้แสดงความเห็นอย่างมี เงื่อนไข ต่อกรณีนี้แต่อย่างใด

เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ

เรือ่ งส�ำคัญในการตรวจสอบคือเรือ่ งต่างๆ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญ ทีส่ ดุ ตามดุลยพินจิ เยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าใน การตรวจสอบงบการเงินส�ำหรับงวดปัจจุบนั ข้าพเจ้าได้นำ� เรื่องเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบ การเงิน โดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากส�ำหรับ เรื่องเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตามความรับผิดชอบทีไ่ ด้กล่าวไว้ ในวรรคความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชีตอ่ การตรวจสอบ งบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ซึง่ ได้รวมความรับผิดชอบ ทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งเหล่านีด้ ว้ ย การปฏิบตั งิ านของข้าพเจ้าได้ รวมวิธกี ารตรวจสอบทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ตอบสนองต่อการ

- 137 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริง อันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงิน ผลของวิธกี ารตรวจสอบ ของข้าพเจ้า ซึง่ ได้รวมวิธกี ารตรวจสอบส�ำหรับเรือ่ งเหล่านี้ ด้วย ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ต่องบการเงินโดยรวม เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบพร้อมวิธีการตรวจสอบ ส�ำหรับแต่ละเรื่องมีดังต่อไปนี้

การรับรู้รายได้

เนื่องจากรายได้จากการบริการเป็นตัวเลขที่มีสาระ ส�ำคัญ ทีส่ ดุ ในงบก�ำไรขาดทุนและเป็นตัวชีว้ ดั หลักในแง่ ผลการด�ำเนินธุรกิจ ประกอบกับกลุม่ บริษทั ให้บริการกับ ลูกค้าจ�ำนวน มากรายซึ่งมีเงื่อนไขทางการค้าที่แตกต่าง กันออกไปนอกจากนี้ แนวโน้มของการน�ำเข้า - ส่งออก ในกลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วน ยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ และวัสดุก่อสร้างที่ส่ง ผลกระทบโดยตรง ต่อสถานการณ์การแข่งขันในอุตสาหกรรม การให้บริการ น�ำเข้า - ส่งออกทีเ่ พิม่ มากขึน้ ดังนัน้ ข้าพเจ้าจึงให้ความ ส�ำคัญกับการตรวจสอบการเกิดขึ้นจริงของรายได้และ ระยะเวลาในการรับรู้รายได้จากการให้บริการ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบให้มนั่ ใจว่ากลุม่ บริษทั รับรูร้ ายได้ ด้วยมูลค่าและในเวลาที่เหมาะสมโดยการ ประเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายใน ของกลุม่ บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับวงจรรายได้ โดยการ สอบถามผู้รับผิดชอบ ท�ำความเข้าใจและเลือก ตัวอย่างมาสุม่ ทดสอบการปฏิบตั ติ ามการควบคุม ที่กลุ่มบริษัทออกแบบไว้ สุ่มตัวอย่างรายการรายได้จากการให้บริการใน ระหว่างปีเพือ่ ตรวจสอบการรับรูร้ ายได้วา่ เป็นไป ตามเงื่อนไขการให้บริการ และสอดคล้องกับ นโยบายการรับรู้รายได้ของกลุ่มบริษัท สุม่ ตรวจสอบเอกสารประกอบรายการรายได้จาก การให้บริการทีเ่ กิดขึน้ ช่วงใกล้สน้ิ ระยะเวลาบัญชี สอบทานใบลดหนีท้ อี่ อกภายหลังวันสิน้ รอบระยะ เวลาบัญชี

วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลบัญชีรายได้แบบแยก ย่อยเพื่อตรวจสอบความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น ของรายได้ จากการให้บริการตลอดรอบระยะเวลา บัญชี โดยเฉพาะรายการบัญชีทที่ ำ� ผ่านใบส�ำคัญ ทั่วไป

การรวมธุรกิจและค่าความนิยม การรวมธุรกิจ ข้าพเจ้าให้ความส�ำคัญกับรายการซื้อธุรกิจเนื่องจาก เป็นรายการที่มีสาระส�ำคัญต่องบการเงินโดยรวมและ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดลุ ยพินจิ อย่างมากในการประเมิน มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา ดังกล่าว ท�ำให้เกิดความเสีย่ งในการรับรูแ้ ละวัดมูลค่าของ สินทรัพย์ทรี่ ะบุได้ทไี่ ด้รบั มาและหนีส้ นิ ทีร่ บั มา รวมถึงค่า ความนิยมด้วย ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบข้อตกลงและเงื่อนไขในสัญญา ซื้อขายธุรกิจ รวมถึงสอบถามกับฝ่ายบริหารถึงลักษณะ และวัตถุประสงค์ในการเข้าท�ำรายการซื้อดังกล่าวเพื่อ ประเมินว่า รายการซือ้ ธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามค�ำนิยาม ของการรวมธุรกิจภายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับ ปรุง 2558) เรื่องการรวมธุรกิจหรือไม่ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบมูลค่าการซื้อธุรกิจกับ เอกสารประกอบการซือ้ ธุรกิจและการจ่ายเงินเพือ่ ประเมิน ว่ามูลค่าดังกล่าวสะท้อนมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทน ที่โอนให้ ประเมินมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ระบุได้ที่ ได้มาและหนี้สินที่รับมาที่ระบุในเอกสารการวัดมูลค่า ตามวิธซี อื้ โดยพิจารณาวิธกี ารและข้อสมมติตา่ งๆทีส่ ำ� คัญ ที่ใช้ในการค�ำนวณหามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และ หนี้สิน สอบทานองค์ประกอบของข้อมูลในแบบจ�ำลอง ทดสอบข้อสมมติที่ส�ำคัญกับข้อมูลในอดีตของบริษัทฯ และข้อมูลเกีย่ วกับอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจ เปรียบเทียบ อัตราคิดลดกับต้นทุนทางการเงินของบริษัทฯและของ อุตสาหกรรม และทดสอบการค�ำนวณมูลค่ายุติธรรม ดังกล่าว ตลอดจนสอบทานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ รายการซื้อธุรกิจดังกล่าวในหมายเหตุประกอบงบการ เงินรวม

- 138 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ค่าความนิยม

ข้าพเจ้าให้ความส�ำคัญเรือ่ งการพิจารณาการด้อยค่า ของค่าความนิยมจากการรวมกิจการตามที่กล่าวไว้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมข้อ 4.7 เนื่องจากการ ประเมินการด้อยค่าของค่าความนิยมถือเป็นประมาณ การทางบั ญ ชี ที่ ส� ำ คั ญ ที่ ฝ ่ า ยบริ ห ารต้ อ งใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ อย่างสูงในการระบุหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด และการประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการ คาดว่าจะได้รบั จากกลุม่ สินทรัพย์นนั้ รวมถึงการก�ำหนด อัตราคิดลดและอัตราการเติบโตในระยะยาวทีเ่ หมาะสม ซึ่งท�ำให้เกิดความเสี่ยงเกี่ยวกับมูลค่าค่าความนิยมและ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ข้าพเจ้าได้ประเมินการก�ำหนดหน่วยสินทรัพย์ทกี่ อ่ ให้ เกิดเงินสดและแบบจ�ำลองทางการเงินที่ฝ่ายบริหารของ บริ ษั ท ฯเลื อ กใช้ โ ดยการท� ำ ความเข้ า ใจกระบวนการ พิจารณาของฝ่ายบริหารว่าสอดคล้องตามลักษณะการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์หรือไม่ นอกจากนี้ ข้าพเจ้าได้ทำ� การทดสอบข้อสมมติที่ส�ำคัญที่ใช้ในการประมาณการก ระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ท่ี จัดท�ำโดยฝ่ายบริหารของบริษัทฯโดยการเปรียบเทียบ ข้อสมมติดังกล่าวกับแหล่งข้อมูลภายในและภายนอก ของบริษัทฯ รวมถึงเปรียบเทียบประมาณการกระแส เงิน สดในอดีต กับ ผลการด�ำ เนิน งานที่เ กิด ขึ้น จริง เพื่อ ประเมินการใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหารในการประมาณ การกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตดังกล่าว และพิจารณาอัตราคิดลดที่ฝ่ายบริหารของบริษัทฯเลือก ใช้ โ ดยการวิ เ คราะห์ ต ้ น ทุ น ทางการเงิ น ถั ว เฉลี่ ย ถ่ ว ง น�ำ้ หนักของบริษทั ฯและของอุตสาหกรรม รวมถึงปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญภายในส�ำนักงานฯเพื่อช่วยประเมินข้อมูล ดังกล่าว ตลอดจนทดสอบการค�ำนวณมูลค่าที่คาดว่า จะได้รับคืนของสินทรัพย์ดังกล่าวตามแบบจ�ำลองทาง การเงิน และพิจารณาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ข้อสมมติทสี่ ำ� คัญต่อมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนโดยเฉพาะ อัตราคิดลดและอัตราการเติบโตของรายได้ในระยะยาว

ข้อมูลอื่น

ผูบ้ ริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อข้อมูลอืน่ ซึง่ รวมถึงข้อมูล ทีร่ วมอยูใ่ นรายงานประจ�ำปีของกลุม่ บริษทั (แต่ไม่รวมถึง งบการเงินและรายงานของผู้สอบบัญชีที่แสดงอยู่ใน รายงานนั้น) ซึ่งคาดว่าจะถูกจัดเตรียมให้กับข้าพเจ้า ภายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึง ข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ข้อสรุปในลักษณะการให้ ความเชื่อมั่นในรูปแบบใดๆต่อข้อมูลอื่นนั้น ความรั บ ผิ ด ชอบของข้ า พเจ้ า ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การ ตรวจสอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูล อื่นนั้นมีความขัดแย้งที่มีสาระส�ำคัญกับงบการเงินหรือ กับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้าหรือไม่ หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระส�ำคัญหรือไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจ�ำปีของกลุ่มบริษัท ตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการแสดง ข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าจะ สื่อสารเรื่องดังกล่าวให้ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลทราบ เพื่อให้มีการด�ำเนินการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป

ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการ ก�ำกับดูแลต่องบการเงิน

ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดท�ำและน�ำเสนอ งบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกีย่ วกับการควบคุม ภายในทีผ่ บู้ ริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพือ่ ให้สามารถจัดท�ำ งบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จ จริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาด ในการจัดท�ำงบการเงิน ผู้บริหารรับผิดชอบในการ ประเมินความสามารถของกลุ่มบริษัทในการด�ำเนินงาน ต่อเนือ่ ง การเปิดเผยเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการด�ำเนินงานต่อเนือ่ ง ในกรณี ที่ มี เ รื่ อ งดั ง กล่ า วและการใช้ เ กณฑ์ ก ารบั ญ ชี

- 139 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

ส�ำหรับกิจการที่ด�ำเนินงานต่อเนื่องเว้นแต่ผู้บริหารมี ความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มบริษัทหรือหยุดด�ำเนินงานหรือ ไม่สามารถด�ำเนินงานต่อเนื่องอีกต่อไปได้ ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่อง ดูแลกระบวนการในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของ กลุ่มบริษัท

ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ส อบบั ญ ชี ต ่ อ การตรวจ สอบงบการเงิน

การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวม ปราศจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระ ส�ำคัญหรือไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของ ข้าพเจ้าอยูด่ ว้ ย ความเชือ่ มัน่ อย่างสมเหตุสมผลคือความ เชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการ ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะ สามารถตรวจพบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระ ส�ำคัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจ เกิ ด จากการทุ จ ริ ต หรื อ ข้ อ ผิ ด พลาดและถื อ ว่ า มี ส าระ ส�ำคัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกัน จะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงิน จากการใช้งบการเงินเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบ บัญชี ข้าพเจ้าใช้ดลุ ยพินจิ และการสังเกตและสงสัยเยีย่ ง ผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ด้วย ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญใน งบการเงิ น ไม่ ว ่ า จะเกิ ด จากการทุ จ ริ ต หรื อ ข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั งิ านตามวิธกี าร ตรวจสอบเพือ่ ตอบสนองต่อความเสีย่ งเหล่านัน้ และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและ

เหมาะสมเพือ่ เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น ของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญซึง่ เป็นผลมาจาก การทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิด พลาด เนือ่ งจากการทุจริตอาจเกีย่ วกับการสมรู้ ร่วมคิดการปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตัง้ ใจ ละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลทีไ่ ม่ตรง ตามข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุม ภายใน ท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายใน ทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบ เพือ่ ออกแบบวิธกี าร ตรวจสอบให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่ เพือ่ วัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความ มีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่ม บริษัท ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชี ทีผ่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณ การทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง ที่ผู้บริหารจัดท�ำ สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์ การบัญชีส�ำหรับกิจการที่ด�ำเนินงานต่อเนื่อง ของผูบ้ ริหาร และสรุปจากหลักฐานการสอบบัญชี ที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญที่ เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่อาจเป็น เหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยส�ำคัญต่อความ สามารถของกลุ่มบริษัทในการด�ำเนินงานต่อ เนื่องหรือไม่ หากข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความ ไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าจะต้องให้ ข้ อ สั ง เกตไว้ ใ นรายงานของผู ้ ส อบบั ญ ชี ข อง ข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบ การเงิน หรือหากเห็นว่าการเปิดเผยดังกล่าวไม่ เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นที่เปลี่ยน แปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึน้ อยูก่ บั หลักฐาน การสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของ

- 140 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

ผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่ม บริษัทต้องหยุดการด�ำเนินงานต่อเนื่องได้ ประเมินการน�ำเสนอ โครงสร้างและเนือ้ หาของ งบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่างบการเงินแสดง รายการและเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ โดยถูกต้องตาม ที่ควรหรือไม่ รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสม อย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของ กิจการหรือของกิจกรรมทางธุรกิจภายในกลุ่ม บริษัทเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการก�ำหนดแนวทาง การ ควบคุมดูแล และการปฏิบตั งิ านตรวจสอบกลุม่ บริษัท ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว ต่อความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ส่ือสารกับผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลใน เรื่องต่างๆซึ่งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจ สอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มนี ัยส�ำคัญที่พบจาก การตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยส�ำคัญในระบบ การควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการ ตรวจสอบของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าได้ให้คำ� รับรองแก่ผมู้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณทีเ่ กีย่ วข้อง กับความเป็นอิสระและได้สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการ ก�ำกับดูแลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมดตลอดจนเรื่อง อื่ น ซึ่ ง ข้ า พเจ้ า เชื่ อ ว่ า มี เ หตุ ผ ลที่ บุ ค คลภายนอกอาจ พิจารณาว่ากระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและ มาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาด ความเป็นอิสระ  จากเรื่องทั้งหลายที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับ ดูแล ข้าพเจ้าได้พจิ ารณาเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุด ในการตรวจสอบงบการเงินในงวดปัจจุบันและก�ำหนด เป็นเรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่อง เหล่านีไ้ ว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือ ข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อสาธารณะ หรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณา ว่าไม่ควรสือ่ สารเรือ่ งดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะ การกระท�ำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุ สมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ ที่ผู้มีส่วนได้เสียสาธารณะจะได้จากการสื่อสารดังกล่าว ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบงานสอบบัญชีและการน�ำ เสนอรายงานฉบับนี้

อรวรรณ เตชวัฒนสิริกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4807 บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2562

- 141 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน)

- 142 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 143 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 144 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 145 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 146 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 147 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 148 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 149 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 150 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 151 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 152 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 153 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 154 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 155 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 156 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 157 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 158 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 159 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 160 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 161 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 162 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 163 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 164 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 165 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 166 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 167 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 168 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 169 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 170 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 171 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 172 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 173 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 174 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 175 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 176 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 177 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 178 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 179 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 180 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 181 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 182 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 183 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 184 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 185 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 186 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 187 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 188 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 189 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 190 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 191 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 192 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

- 193 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

- 194 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


Annual Report 2018

4

ข้อมูลทั่วไป และข้อมูลสำ�คัญอื่น

4.1 บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหุ้น ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล เว็บไซต์

บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 0 2009-9000 0 2009-9991 SETContactCenter@set.or.th www.set.or.th/tsd

ผู้สอบบัญชี ที่ตั้ง โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล

บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด โดย นางสาวอรวรรณ เตชวัฒนสิริกุล (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 4807) หรือ นาย โสภณ เพิ่มศิริวัลลภ (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3182) หรือ นางสาวรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3516) หรือ นางสาวรสพร เดชอาคม (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 5659) หรือ นางสาวสุมนา พันธ์พงษ์สานนท์ (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 4872) อาคารเลครัชดา ออฟฟิช คอมเพล็กซ์ เลขที่ 193/136-137 ชั้น 33 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 0-2264-0777 , 0-2661-9190 0-2264-0789-90 ernstyoung.thailand@th.ey.com

ผู้ตรวจสอบภายใน ที่ตั้ง โทรศัพท์ อีเมล

บริษัท เวล แพลนนิ่ง โซลูชั่น จ�ำกัด โดย นางสาววรลักษณ์ ลิ้มสุขประเสริฐ และ นางสาวหัสยา ใจบูชาศักดิ์ 11 ซอย 6 ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบ�ำหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 0-2434-3746 wpsthai@gmail.com

ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ไม่มี ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัทหลักทรัพย์ ฟิลลิป (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ที่ปรึกษาหรือผู้จัดการภายใต้สัญญาการจัดการ ไม่มี - 195 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider


WICE Logistics Public Cmpany Limited

4.2 ข้อมูลพื้นฐานส�ำหรับนักลงทุน ชื่อย่อ เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ ปีที่ก่อตั้ง วันแรกที่ซื้อขายหุ้น ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ หุ้นบุริมสิทธิ รอบระยะเวลาบัญชี

WICE (จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) 0107558000156 ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศแบบครบวงจร (International Logistics Service and Solution Provider) www.wice.co.th 2536 28 กรกฎาคม 2558 อาคาร WICE PLACE เลขที่ 88/8 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 325,949,750 บาท 325,949,750 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 651,899,500 หุ้น หุ้นสามัญ หุ้นละ 0.50 บาท ไม่มี 1 มกราคม – 31 ธันวาคม

ติดต่อ ส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-681-6181 โทรสาร 02-681-6123 อีเมล info@wice.co.th

ส�ำนักงาน สาขาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 303 Building, Room 412, Free-Zone-Suvarnabhumi Airport, 999 หมู่ 7 ต�ำบลราชาเทวะ อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ 02-134-2275-6 โทรสาร 02-134-6446

ส�ำนักงาน สาขาแหลมฉบัง 999/30-31 หมู่ 9 ตําบลสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20110 โทรศัพท์ 038-480-393 โทรสาร 038-480-383 อีเมล lcbsales1@wice.co.th

เลขานุการบริษัท /นักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 02-681-6181 ต่อ 3501 โทรสาร 02-681-6123 อีเมล secretary2@wice.co.th

ลานพักตู้สินค้าแหลมฉบัง 35/6-7 หมู่ 1 ต�ำบลหนองขาม อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230 โทรศัพท์ 038-481-165 โทรสาร 038-481-164 อีเมล lcbtransport1@wice.co.th - 196 -

Innovative Logistics Service and Solution Provider




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.