โกรทฮอร์โมน growth hormone

Page 1

โกรทฮอร์ โมน growth hormone (GH) คืออะไร โกรทฮอร์ โมน growth hormone (GH) โกรทฮอร์ โมน growth hormone (GH) เป็ นฮอร์ โมนชนิดโปรตีน หรื อที่เรี ยกว่าเปปไทด์ฮอร์ โมน โครงสร้ างประกอบด้ วย กรดอะมิโน 190 ตัว เป็ นฮอร์ โมนที่ถกู ผลิตขึ ้นจากต่อมใต้ สมองส่วนหน้ า และมีผลต่อการเจริญเติบโต รวมทังเมตะบอลิ ้ ส ซึมของร่างกาย มีชื่อเรี ยกอีกอย่างหนึง่ ว่า somatotropin ยีนที่ควบคุมการสร้ างโกรทฮอร์ โมน อยู่บน q22-24 region ของโครโมโซมคูท่ ี่ 17 และมีลกั ษณะใกล้ เคียงกับยีนที่ ควบคุมการสร้ าง human chorionic somatomammotropin (hCS) หรื อที่เรี ยกว่า placental lactogen ฮอร์ โมนทัง้ 3 ชนิด คือ GH, human chorionic somatomammotropin (hCS), และ prolactin (PRL) จัดอยู่ในกลุม ่

เดียวกัน เกี่ยวข้ องกับการเจริญเติบโต และการสร้ างน้ำ านม โกรทฮอร์ โมนรูปแบบที่พบในร่างกายมนุษย์มากที่สดุ ประกอบด้ วยกรดอะมิโน 190 ตัว น้ำ าหนักโมเลกุลประมาณ 22,000 ดาลตัน โครงสร้ างเป็ นแบบเกลียวชนิดสี่เกลียว มีสว่ นที่ทำาหน้ าที่จบ ั กับตัวรับ โกรทฮอร์ โมนในสัตว์แต่ละชนิดไม่ เหมือนกัน ถ้ านำามาใช้ ในมนุษย์ต้องเป็ นของมนุษย์เองและสัตว์ประเภทลิงเท่านัน้ หรื อใช้ โกรทฮอร์ โมนชนิดสังเคราะห์

การสร้ างโกรทฮอร์ โมน growth hormone (GH) โกรทฮอร์ โมนสร้ าง และหลัง่ ออกมาจากเซลล์ที่มีชื่อเรี ยกว่า โซมาโตรโทรฟ (somatotrophs) ซึง่ อยู่ในต่อมใต้ สมอง ส่วนหน้ า การสร้ างโกรทฮอร์ โมนถูกควบคุมโดยปั จจัยต่างๆ หลายชนิด ได้ แก่ ภาวะความเครี ยด การออกกำาลังกาย ภาวะ โภชนาการ การนอน รวมทังตั ้ วโกรทฮอร์ โมนเองด้ วย ปั จจัยที่ควบคุมที่สำาคัญเป็ นฮอร์ โมน 3 ชนิด เป็ นฮอร์ โมนจากสมองส่วนฮัยโปธาลามัส 2 ชนิด และฮอร์ โมนจาก กระเพาะอาหารอีกหนึง่ ชนิด ได้ แก่ 1. growth hormone-releasing hormone (GHRH) เป็ นเปปไทด์ฮอร์ โมนเช่นเดียวกัน สร้ างมาจากสมองส่วนฮัย

โปธาลามัส ทำาหน้ าที่กระตุ้นการสร้ างโกรทฮอร์ โมน และควบคุมการหลัง่ ของโกรทฮอร์ โมนอีกด้ วย


2. somatostatin (SS) เป็ นเปปไทด์ฮอร์ โมน ที่ผลิตมาจากเนื ้อเยื่อหลายชนิดในร่ างกาย รวมทังสมอง ้ ส่วนฮัยโปธาลามั

ส จัดเป็ นฮอร์ โมยับยัง้ มีฤทธิ์ยบั ยังการหลั ้ ง่ โกรทฮอร์ โมน ในขณะที่ร่างกายกำาลังตอบสนองต่อผลของ GHRH นอกจากนี ้ ยังพบว่าระดับน้ำ าตาลในเลือดที่ลดต่าำ ลงจะกระตุ้นการทำางานของฮอร์ โมนนี ้ด้ วย 3. ghrelin เป็ นเปปไทด์ฮอร์ โมนที่หลัง่ มาจากเยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร ฮอร์ โมนนี ้มีความสามารถในการจับกับตัวรับซึง่

อยู่บนเซลล์ชนิด somatotrophs และกระตุ้นการหลัง่ โกรทฮอร์ โมนได้ ในปริมาณมากพอสมควร การหลัง่ โกรทฮอร์ โมน growth hormone (GH) การหลัง่ โกรทฮอร์ โมนเป็ นส่วนหนึง่ ของกระบวนการย้ อนกลับที่เกี่ยวข้ องกับ IGF-I ในขณะที่ระดับของ IGF-I เพิ่ม สูงขึ ้น จะทำาให้ ร่างกายหลัง่ โกรทฮอร์ โมนออกมาน้ อยลง สาเหตุที่เป็ นเช่นนี ้เกิดจากกลไกที่สำาคัญสองประการ ประการแรก เกิดจากการกดการทำางานของเซลล์ชนิด somatotroph และประการที่สองเกิดจากการกระตุ้นการหลัง่ ฮอร์ โมน somatostatin จากสมองส่วนฮัยโปธาลามัส 1. โกรทฮอร์ โมนยังสามารถย้ อนกลับไปยับยังการหลั ้ ง่ ฮอร์ โมน GHRH และมีผลต่อการหลัง่ ฮอร์ โมน somatotroph 2. การหลัง่ โกรทฮอร์ โมน เป็ นแบบไม่สม่ำาเสมอ มีบางช่วงที่มากและบางช่วงที่น้อย อันเป็ นผลเนื่องมาจากปั จจัยข้ างต้ น 3.สำาหรับระดับของโกรทฮอร์ โมนในเลือดที่พื ้นฐานถือว่าต่าำ มาก 4.ในเด็กและวัยรุ่น พบว่าการหลัง่ โกรทฮอร์ โมนจะเกิดขึ ้นมากที่สด ุ ภายหลังจากขณะที่นอนหลับหลับลึก

โกรทฮอร์ โมน growth hormone (GH) ทำาหน้ าที่อะไร โกรทฮอร์ โมนเกี่ยวข้ องกับการควบคุมขบวนการต่างๆ ในร่างกายการเจริญเติบโตของร่างกาย รวมทังกระบวนการเมตะบอ ้ ลิสซึมในร่างกาย เป็ นที่ทราบกันดีในขณะนี ้ว่าผลที่เกิดจากโกรทฮอร์ โมนในร่างกายมีสองชนิด ชนิดแรก เป็ นผลโดยตรง และชนิดที่สอง เป็ นผลทางอ้ อม ผลโดยตรง เกิดจากการที่โกรทฮอร์ โมนไปจับกับตัวรับบนเซลล์ เป้าหมาย ยกตังอย่างเช่น เซลล์เป้าหมายเป็ นเซลล์ ไขมัน เซลล์ไขมันจะมีตวั รับ โกรทฮอร์ โมนจะกระตุ้นให้ เกิดการสลายไขมันชนิด ไตรกลีเซอไรด์ และยับยังการสะสมไขมั ้ นที่ ล่องลอยอยู่ในกระแสเลือด ผลทางอ้ อม เกิดขึ ้นผ่านทางสารอีกชนิดหนึง่ เรี ยกว่า 'สารกระตุ้นเจริญเติบโตที่คล้ ายอินซูลิน' หรื อ insulin-like growth factor-I (IGF-I) ซึง่ เป็ นฮอร์ โมนที่สร้ างขึ ้นจากตับ และเนื ้อเยื่ออื่นๆ การสร้ าง IGF-I เป็ นผลจากโกรทฮอร์ โมน โดยตรง ส่วนใหญ่แล้ วผลของโกรทฮอร์ โมนเกิดจาก IGF-I ออกฤทธิ์ที่เซลล์เป้าหมาย


ผลของ growth hormone ที่มีตอ่ กระบวนการเจริญเติบโต กระบวนการเจริญเติบโตของร่างกายมีความสลับซับซ้ อนหลายประการ และอาศัยการทำางานประสานสอดคล้ อง กันของฮอร์ โมนหลายชนิด สำาหรับบทบาทสำาคัญของโกรทฮอร์ โมนในการเจริญเติบโตของร่างกาย เป็ นการกระตุ้นตับและ เนื ้อเยื่ออื่นๆ ให้ สร้ าง IGF-I บทบาทของ insulin-like growth factor-I (IGF-I) 1. IGF-I กระตุ้นการแบ่งตัวของเซลล์สร้ างกระดูกอ่อน ทำาให้ เกิดการเจริ ญเติบโตของกระดูก ส่วนโกรทฮอร์ โมนจะมีผล

โดยตรงกระตุ้นให้ เซลล์กระดูกอ่อนเกิดการพัฒนาจำาแนกชนิดต่อไป ทำาให้ เกิดการเจริญเติบโตของกระดูก 2. IGF-I กระตุ้นให้ มีการเจริ ญเติบโตของกล้ ามเนื ้อ โดยกระตุ้นเซลล์มยั โอบลาสท์ให้ แบ่งตัวเพื่อทำาหน้ าที่เฉพาะเจาะจง

และเพิ่มจำานวนเซลล์ นอกจากนี ้ยักระตุ้นการนำากรดอะมิโนมาใช้ และกระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนในกล้ ามเนื ้อและเนื ้อ เยื่ออื่นๆ อีกด้ วย

ผลของ growth hormone ที่มีตอ่ กระบวนการเมตาบอลิสซึม ผลของโกรทฮอร์ โมนที่สำาคัญอีกประการหนึง่ ซึง่ เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงของโปรตีน ไขมัน และคาร์ โบไฮเดรต ในร่างกาย ไม่วา่ จะเป็ นการออกฤทธิ์โดยตรงของโกรทฮอร์ โมนเอง หรื อเป็ นผลมาจาก IGF-I ก็ตาม ในบางกรณีอาจเป็ นผล มาจากทังสองอย่ ้ างก็ได้ 1. ผลต่อโปรตีน พบว่าโกรทฮอร์ โมนจะกระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีน ลดปฏิกิริยาเผาผลาญโปรตีน และสามารถนำากรด

อะมิโนมาใช้ เพิ่มมากขึ ้น โดยรวมถือเป็ นการเพิ่มเมตาบอลิสซึมของโปรตีนในร่างกาย 2. ผลต่อไขมัน พบว่าโกรทฮอร์ โมนมีฤทธิ์เพิ่มการใช้ ไขมัน กระตุ้นการสลายตัวของไตรกลีเซอไรด์ และช่วยเร่ งปฏิกิริยา

ภายในเซลล์ไขมันชนิดอะดิโปซัยท์


3. ผลต่อคาร์ โบไฮเดรต พบว่าโกรทฮอร์ โมนเป็ นฮอร์ โมนอีกชนิดหนึง่ ที่ทำาหน้ าที่ชว่ ยควบคุมระดับน้ำ าตาลในเลือดให้ อยู่

ในเกณฑ์ปกติ โดยออกฤทธิ์ตรงข้ ามกับฮอร์ โมนอินซูลิน ตัวของมันเองยับยังฤทธิ ้ ์ของอินซูลินที่เนื ้อเยื่อปลายทาง และยัง กระตุ้นให้ ตบั สร้ างกลูโคสออกมามากขึ ้นอีกด้ วย แต่อย่างไรก็ตาม พบว่าเมื่อฉีดโกรทฮอร์ โมนเข้ าไปในร่างกาย จะทำาให้ การหลัง่ ฮอร์ โมนอินซูลินเพิ่มมากขึ ้น และระดับอินซูลินจะเพิ่มมากขึ ้นด้ วย growth hormone เกี่ยวข้ องกับความสูง-ความเตี ้ยอย่างไร?

เด็กที่ขาดโกรทฮอร์ โมน growth hormone (GH) จะมีหน้ าตาที่ดอู อ่ นกว่าอายุจริง รูปร่างเตี ้ยเล็กแต่สมส่วน อ้ วนกลม เนื่องจากมีไขมันสะสมบริเวณลำาตัวมาก ถ้ าเป็ นเด็กชายมักมีอวัยวะเพศเล็กไม่สมวัย อย่างไรก็ตามภาวะขาดโกรทฮอร์ โมน ไม่มีผลกระทบต่อระดับสติปัญญาของเด็ก นอกจากภาวะขาดโกรทฮอร์ โมนแล้ ว การขาดไทรอยด์ฮอร์ โมนและฮอร์ โมนเพศ ยังมีผลทำาให้ เด็กเตี ้ย เช่นเดียวกับการมีฮอร์ โมนจากต่อมหมวกไตมากเกินไป เด็กจะมีรูปร่างอ้ วนเตี ้ย สาเหตุที่ทำาให้ เด็กตัวเตี ้ย 1. สาเหตุที่ทำาให้ เด็กตัวเตี ้ยมีหลายประการ ขึ ้นกับปั จจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของเด็ก ดังนัน้ เด็กที่มีลกั ษณะ

เตี ้ยเล็ก ควรปรึกษา และรับการตรวจจากแพทย์ตงแต่ ั ้ อายุยงั น้ อย โดยทัว่ ไปเด็กสาวที่มีประจำาเดือนมาแล้ วนาน 3 ปี และ เด็กหนุ่มที่มีเสียงแตกมานาน 3 ปี มักจะหยุดโตแล้ ว และหมดโอกาสเพิ่มความสูงอีก 2. สาเหตุที่สำาคัญที่สด ุ ที่ทำาให้ เด็กเตี ้ย คือ ปั จจัยทางพันธุกรรม เรี ยกว่า 'เตี ้ยตามกรรมพันธุ์' เด็กกลุม่ นี ้จะมีพ่อและแม่

เตี ้ย อย่างไรก็ตามบางครัง้ พบว่าลูกไม่เตี ้ยเหมือนพ่อแม่ก็เป็ นได้ เช่นกัน 3. การที่จะทราบว่าเด็กตัวเตี ้ย ให้ นำาความสูงของเด็กมาจุดลงบนเส้ นกราฟมาตราฐานการเจริ ญเติบโต growth chart

ซึง่ แยกเป็ นกราฟสำาหรับเด็กหญิง และเด็กชาย ถ้ าความสูงอยู่ตา่ำ กว่าเส้ นสุดท้ ายแสดงว่าเด็กเตี ้ยกว่ามาตราฐานที่ควรจะ เป็ น เด็กแรกเกิดถึง 1 ปี ความสูงจะเพิ่มปี ละ 25 เซ็นติเมตร เมื่ออายุ 1-2 ปี ความสูงจะเพิ่มปี ละ 10-12 เซ็นติเมตร เมื่อ อายุ 2-4 ปี ความสูงจะเพิ่มปี ละ 6-7 เซ็นติเมตร และเมื่ออายุ 4-10 ปี ความสูงจะเพิ่มปี ละ 5 เซ็นติเมตร 4. ปั ญหาเตี ้ย เนื่องจากมีโรคที่เกิดความผิดปกติของกระดูกพบได้ ประปราย ทังเรื ้ ่ องของมวลกระดูกความแข็งแรงของ

เนื ้อกระดูก และภาวะที่มีการทำาลายเซลล์กระดูกบางส่วน อายุกระดูกได้ จากการถ่ายภาพรังสีที่มือ และข้ อศอกของเด็ก แล้ วนำามาเปรี ยบเทียบกับภาพรังสีมาตราฐานของเด็กปกติตามเพศ และวัยต่างๆ อ่านออกมาเป็ นปี และเดือน 5. เด็กบางคนตัวเตี ้ย เข้ าสูว่ ยั หนุ่มสาวช้ ากว่าเพื่อนๆ แต่เมื่อโตเต็มที่จะมีความสูงตามที่ควรจะเป็ นตามกรรมพันธุ์ เด็กที่

ตัวเตี ้ยและเข้ าสูว่ ยั รุ่นช้ ากลุม่ นี ้ เรี ยกว่า'ม้ าตีนปลาย' ตรงข้ ามกับเด็กที่อ้วนซึง่ มักจะเข้ าสูว่ ยั หนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ และหยุด โตเมื่อมีอายุน้อยกว่าเด็กปกติเปรี ยบได้ กบั ม้ าตีนต้ น และความสูงเมื่อหยุดโตน้ อยกว่าความสูงที่ควรจะเป็ น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.