จดหมายข่าวเทวาลัย ปีที่ 9 ฉบับที่ 15 วันที่ 5 สิงหาคม 2560

Page 1

1

ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑๕ วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๐


2

จดหมายข่าวเทวาลัย ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑๕ วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๐

วาดภาพโดย น.ส.สุธรี า ศรีตระกูล (อักษรศาสตร์#80)

จดหมายข่าวเทวาลัย ที่ปรึกษา

รศ.ดร.กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา คณบดี ผศ.ดร.สุรเดช โชติอุดมพันธ์ รองคณบดี ผศ.ดร.นิรดา จิตรกร ผู้ช่วยคณบดี ผศ.ดร.อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล ผู้ช่วยคณบดี อ.William Whorton

ผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ และสื่อสารองค์กร ผศ.ดร.ศิรประภา ชวะนะญาณ ผู้ช่วยคณบดี (Siraprapa.C@chula.ac.th) พระฉายาลักษณ์ นายก�ำพล พงษ์พพิ ัฒน์

เทวีวิษณุแก้ว วรนาฏปารวตี ศรีสรัสวดี ดวงทิพ สามเทพปานเปรียบได้ งามโฉมโลมโลกหล้า งามศักดิบ�ำรุงศิลป งามพระไมตรีริน งามเยี่ยมงามยศแม้น ตังวายภักดิน้อม สิริกิติ์บรมราชินี พรพระรัตนตรี ชยสิทธิ จุ่งพระสถิตคุ้มเผ้า

ลักษมี อ่อนไท้ พธูนอ พระแม่เจ้าจอมสยามฯ ลือระบิล สง่าแคว้น ชุบชีพ ชนแฮ ผ่องเพี้ยงเพ็ญฉายฯ อาศีร์ นาถเจ้า เสมอเฮย ยิ่งฟ้าพระคุณเฉลิมฯ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล ร้อยกรอง

อ่านจดหมายข่าวเทวาลัยฉบับย้อนหลังได้ท่ี http://www.arts.chula.ac.th/~sandbox/dhevalai/ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์ได้ท่ี http://artscu.net คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. (662) 218 - 4870 www.arts.chula.ac.th


3

ชุดปาฐกถาพิเศษ "อักษราภิวัตน์" เพื่อเฉลิมฉลองวาระ ๑๐๐ ปี คณะอักษรศาสตร์

6

4 การมอบรางวัล “หน่วยงานในดวงใจ" และ "เจ้าหน้าที่ในดวงใจ” ประจ�ำปี 2560

ข่าวอาจารย์คณะอักษรศาสตร์ ดำ�รงตำ�แหน่งศาสตราจารย์กิตติคุณ

7

ข่าวจากคณะวุฒยาจารย์

8

ข่าวนิสิตได้รับรางวัล

9

ข่าวจากสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น (นิสิตได้รับทุนการศึกษา)

10

ข่าวจากคณะอนุกรรมการ เงินทุนวรรณกรรม อำ�พรรณ โอตระกูล ซาลส์

20

ข่าวจากศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา

21

ข่าวบริการวิชาการ: ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน

22

ปฏิทินกิจกรรม เดือนสิงหาคม

11 ปาฐกถาพิเศษชุด อักษราภิวัตน์ หัวข้อ "ความสำ�คัญของพุทธศาสน์ศึกษา ในโลกวิชาการยุคปัจจุบัน" โดย ผศ.ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ

14

ฅนอักษรฯ พลรวี ประเสริฐสม (ต้นกล้า)

16


4

ชุดปาฐกถาพิเศษ "อักษราภิวัตน์"

เพื่อเฉลิมฉลองวาระ ๑๐๐ ปีคณะอักษรศาสตร์

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอเชิญชวนทุกท่านเข้าร่วมฟังชุดปาฐกถาพิเศษ "อักษราภิวัตน์" ซึ่งจัดขึ้นในวาระที่คณะอักษรศาสตร์ ครบรอบ 100 ปี หัวข้อ "ภูมิภาษลักษณ์ของภาษาตะวันออก" โดย ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ วันเสาร์ที่ 19 สิงหาคม 2560 เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้อง 303-304 อาคารมหาจักรีสิรินธร สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 0-2218-4899 ลงทะเบียนล่วงหน้าได้ที่ https://goo.gl/forms/ZjRUVCpCBlflA9tU2


5

ชุดปาฐกถาพิเศษ "อักษราภิวัตน์"

เพื่อเฉลิมฉลองวาระ ๑๐๐ ปีคณะอักษรศาสตร์

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขอเชิญชวนทุกท่านเข้าร่วมฟังชุดปาฐกถาพิเศษ "อักษราภิวัตน์" ซึ่งจัดขึ้นในวาระที่คณะอักษรศาสตร์ ครบรอบ 100 ปี หัวข้อ "อ�ำนาจของภาษา: ความรัก ความเกลียด ความรุนแรง ความปรองดอง ภาษาบัลดาลได้" โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ วันศุกร์ที่ 25 สิงหาคม 2560 เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้อง 303-304 อาคารมหาจักรีสิรินธร สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 0-2218-4899 ลงทะเบียนล่วงหน้าได้ที่ https://goo.gl/forms/4mAZv2vWXbj20q2k1


6

อาจารย์คณะอักษรศาสตร์ได้รับแต่งตั้งจากสภามหาวิทยาลัย ให้ดำ�รงตำ�แหน่งศาสตราจารย์กิตติคุณ

ภาพจาก https://www.facebook.com/LingChula/

คณะอักษรศาสตร์และภาควิชาภาษาศาสตร์ขอแสดงความยินดีในโอกาสที่ ศาสตราจารย์ ดร. ธีระพันธ์ เหลืองทองค�ำ ได้รับแต่งตั้งจากสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ศาสตราจารย์กิตติคุณ ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ธีระพันธ์ เหลืองทองค�ำ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านสัทศาสตร์ สัทวิทยา และภาษาศาสตร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งมีผลงานวิจัยด้านอื่นๆ จ�ำนวนมาก


7

ข่าวจากคณะวุฒยาจารย์ อาจารย์คณะอักษรศาสตร์ได้รับแต่งตั้งจากสภามหาวิทยาลัย ให้ดำ�รงตำ�แหน่งทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ขอแสดงความยินดีในโอกาสที่อาจารย์คณะอักษรศาสตร์ได้รับแต่งตั้งจากสภามหาวิทยาลัย ในการ ประชุมสภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 805 วันที่ 27 กรกฎาคม 2560 ให้ด�ำรงต�ำแหน่งทางวิชาการ ดังนี้ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริวิไล ธีระโรจนารัตน์ (ภาควิชาภูมิศาสตร์) ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรเดช โชติอุดมพันธ์ (ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ) ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์

3. อาจารย์พันพัสสา ธูปเทียน (ภาควิชาศิลปการละคร) ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์


8

นิสิตอักษรศาสตร์ได้รับรางวัล นิสิตคณะอักษรศาสตร์ได้รับรางวัลเงินทุนภูมิพล ประจำ�ปีการศึกษา 2559 คณะอักษรศาสตร์ขอแสดงความยินดีในโอกาสที่นิสิตคณะอักษรศาสตร์ได้รับรางวัลจากการประกวดผลงาน ประเภทเรียงความและประเภทบทความวิชาการชิงรางวัลเงินทุนภูมิพล ประจ�ำปีการศึกษา 2559 รายชื่อของนิสิตคณะอักษรศาสตร์ที่ได้รับรางวัลมีดังนี้ ประเภทรางวัลเรียงความ 1. นายจุฑาคภัสติ์ รัตนพันธ์ ได้รับรางวัลที่ 2 จ�ำนวนเงิน 8,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร 2. นางสาวกนกรดา หวังกลุ่มกลาง ได้รับรางวัลชมเชย จ�ำนวนเงิน 3,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร 3. นางสาวภัทรธรณ์ แสนพินิจ ได้รับรางวัลชมเชย จ�ำนวนเงิน 3,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ประเภทรางวัลบทความวิชาการ 1. นายจุฑาคภัสติ์ รัตนพันธ์ ได้รับรางวัลที่ 1 จ�ำนวนเงิน 20,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร 2. นางสาวพิชญา เดชหามาตย์ ได้รับรางวัลที่ 2 จ�ำนวนเงิน 15,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร 3. นางสาวกนกรดา หวังกลุ่มกลาง ได้รับรางวัลที่ 3 จ�ำนวนเงิน 12,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร


9

ข่าวจากสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น รายชื่อนิสิตเอกภาษาญี่ปุ่นที่ได้รับทุนแลกเปลี่ยน ไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุ่น ประจ�ำปี 2560 ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น (ญี่ปุ่นศึกษา) (ระยะเวลา 1 ปี)

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

น.ส. กัณฐาภรณ์ น.ส. กานต์มณี น.ส. คณิณ น.ส. ณัฐธิดา น.ส. ธรรศภร นาย ชิติพัทธ์ นาย พริษฐ์ นาย ภาคิน

แอ่งสมบัติ พฤทธิพัฒนะพง พรพรรณนุกูล สมรักษ์ ตันวิทยา พุ่มดนตรี สังข์ศรี ฉัตรรุ่งชีวัน

นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 3 นิสิตชั้นปีที่ 3 นิสิตชั้นปีที่ 3

Waseda University Shizuoka University Nagoya University Osaka University Osaka University Tokyo University of Foreign Studies Hokkaido University Hitotsubashi University

ทุนแลกเปลี่ยนที่สมัครผ่านวิรัชกิจและคณะอักษรศาสตร์ (ระยะเวลา 1 ปี)

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.

น.ส. กันต์ฤทัย น.ส. ฉัตรียา น.ส. ชลกร น.ส. ชุติมณฑน์ น.ส. เตชินี นาย ธนพัทธ์ น.ส. ธนัตติยา น.ส. ปณิตตรา น.ส. ปันรวี น.ส. พิชชาพร น.ส. พิมพ์ธนิญา น.ส. พิมพ์พชร นาย ภูวิช น.ส. มนัสนันท์ น.ส. รัฐนันท์ น.ส. ศศิปภัสร์ น.ส. ศุภวรรณ น.ส. ศุภวรรณ น.ส. อติกานต์ น.ส. อภิรณี

จงรักษ์ ธนากิจเจริญสุข แพรัตนกุล หลีตระกูล นาคจ�ำรัสศรี ภักดี รุ่งธรรม อมรกิตติสาร ทรงวัฒนา ประดิษฐพฤกษ์ จินดาพล คุณโสภา กังสภัทรกุล ด่านมงคลทิพย์ ขุนทอง งามจรรยาภรณ์ ใหญ่เสมอ บวรเกียรติแก้ว สวนทวี บุญญฐิติพันธ์

นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4

ทุนแลกเปลี่ยนระยะสั้น (ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา)

1. 2. 3. 4.

น.ส. ธัญชนก น.ส. ธัญสินี น.ส. นพรดา น.ส. อภ้สรา

เอี่ยมภิรมย์ ฤกษ์ขวัญยังมี ศิริเสถียร เตรยาวรรณ

นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4 นิสิตชั้นปีที่ 4

Chiba University Saitama University Toyo Eiwa University Fukuoka Women's University Daitobunka University Saitama University Tohoku University Chiba University Toyo Eiwa University Hokkaido University Kanazawa University Saitama University Hiroshima University Kansai University Doshisha University Hokkaido University Kanazawa University Kyoto Notre Dame University Doshisha University Rikkyo University Hiroshima University Hiroshima University Hiroshima University Hiroshima University


10

คณะอนุกรรมเงินทุนวรรณกรรมอำ�พรรณ โอตระกูล ซาลส์ ขอเชิญร่วมการบรรยายพิเศษเงินทุนวรรณกรรมอ�ำพรรณ โอตระกูล ซาลส์ เรื่อง

แปลบันทึกความทรงจ�ำ… ยาก ง่าย อย่างไร ไขให้กระจ่าง โดย ดร.อดิเทพ เวณุจันทร์

คณะอนุกรรมเงินทุนวรรณกรรมอ�ำพรรณ โอตระกูล ซาลส์ ขอเชิญนิสิตและผู้สนใจร่วมการบรรยายพิเศษเงินทุนวรรณกรรมอ�ำพรรณ โอตระกูล ซาลส์ เรื่อง

แปลบันทึกความทรงจ�ำ… ยาก ง่าย อย่างไร ไขให้กระจ่าง โดย ดร.อดิเทพ เวณุจันทร์

(ผู้แปล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 และเจ้านายไทยในโลซานน์) วันอังคารที่ 22 สิงหาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้อง 707 อาคารบรมราชกุมารี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ


11

ฝ่ายบริหาร

การมอบรางวัล

“หน่วยงานในดวงใจ" และ "เจ้าหน้าที่ในดวงใจ” ประจำ�ปี 2560


12

“เจ้าหน้าที่ในดวงใจ”

ประเภท “ประสิทธิภาพยอดเยี่ยม” คุณสุรีพร เอมโอช

ประเภท “ใส่ใจดูแลยอดเยี่ยม” คุณทองสุข จิตวิมลประเสริฐ

ประเภท “ทัศนคติการท�ำงานยอดเยี่ยม” คุณเกตุธิดา ใจหวัง

“หน่วยงานในดวงใจ”

ประเภท “ให้ค�ำปรึกษายอดเยี่ยม” ฝ่ายทะเบียน

ประเภท “สนับสนุนยอดเยี่ยม” ฝ่ายการเงิน งานคลังและพัสดุ

ประเภท “บริการยอดเยี่ยม” ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์

ประเภท “ประสิทธิภาพยอดเยี่ยม” หลักสูตรภาษาและวัฒนธรรม

ประเภท “ทีมงานยอดเยี่ยม” ศูนย์บริการวิชาการ


13

“คู่มือปฏิบัติงาน” ยอดเยี่ยม ฝ่ายบริหาร

รางวัลดีเด่น คุณทิพนิภา ชื่นสกุล

รางวัลดีมาก คุณมนัสชยา ชนะประเสริฐ

รางวัลดีมาก คุณกมลวรรณ อักษร

รางวัลดี (ประเภทกลุ่ม) คุณสุธรรม โตฤกษ์ / คุณจรินทร์ ว่านเครือ / คุณจีราวัฒน์ มงคลวิทย์

ฝ่ายสนับสนุนวิชาการ

รางวัลดีเด่น คุณมาลี สังข์จุ้ย

รางวัลดีมาก คุณวิพาพร สอนสระคู

รางวัลดีมาก คุณวราพร พวงจันทร์หอม

รางวัลดี คุณวรรณภา จัดสนาม


14

ปาฐกถาพิเศษชุด อักษราภิวัตน์

หัวข้อ

"ความส�ำคัญของพุทธศาสน์ศึกษา ในโลกวิชาการยุคปัจจุบัน"

โดย ผศ.ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ

ผศ.ดร.อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล

วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 13.00-16.00 น. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัด ปาฐกถาพิเศษชุด อักษราภิวัตน์ หัวข้อ "ความส�ำคัญ ของพุทธศาสน์ศึกษาในโลกวิชาการยุคปัจจุบัน" โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ ณ ห้อง 303-304 ชั้น 3 อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะ อักษรศาสตร์

ฝ่ายวิจัย

ความหมายและที่มาของพุทธศาสน์ศึกษา การศึ ก ษาพุ ท ธศาสนาในลั ก ษณะที่ เ ป็ น ศาสตร์ เป็น object of study ไม่ใช่การ ศึกษาเพื่อการปฏิบัติหรือการบรรลุธรรม ลักษณะของการศึกษาแบบนี้มีมานานมาก แล้ว การเกิดขึ้นของนิกายต่างๆ ก็ดี การ ตีความหรืออธิบายค�ำสอนไปต่างๆ กัน จน แม้กระทั่งการเกิดขึ้นของพระสูตรต่างๆ รวม ทั้งพระไตรปิฎก ก็มีวิธีคิดแบบที่เป็นพุทธ ศาสน์ศึกษา คือเปิดกว้าง วิเคราะห์ ตีความ อธิบาย ถกเถียง ท�ำให้ "ค�ำสอน" ทางพุทธ ศาสนาเกิดความหลากหลาย เกิดตัวบท เกิด การปฏิบัติต่างๆ กันมากมาย แสดงความเป็น คน "ใจกว้าง" ของพุทธศาสนา วิ ช าการพุ ท ธศาสน์ ศึ ก ษาเจริ ญ มากใน ประเทศตะวันตก หนึ่งอาจเพราะด้วยมุม มองของความเป็นคนนอก และได้พบกับ พุทธศาสนาหลากหลายนิกาย หลากหลาย ประเพณี หลากหลายภาษา หลากหลาย วัฒนธรรม ท�ำให้เกิดค�ำถาม เกิดการเปรียบ เทียบเปรียบต่าง ที่ท�ำให้เกิดความรู้ที่กว้าง ขวาง เกิดค�ำถามใหม่ๆ ไม่สิ้นสุด พุทธศาสน์ศึกษา ศึกษาอะไรบ้าง มีแนวทางการศึกษาหลายอย่างมาก ตั้งแต่ การศึกษาตัวบทเปรียบเทียบกัน เช่น พระ สูตรเดียวกันแต่มีหลากหลายเวอร์ชั่น มีการ แปลในหลายยุคสมัย หลายภาษา คัมภีร์ เถรวาทบางเรื่องพบฉบับแปลในจีน ทิเบต เองก็แปลคัมภีร์ต่างๆ ไว้มากมาย ฉบับแปล หลายๆ ฉบับช่วยเก็บรักษาคัมภีร์นั้นไม่ให้ สูญหาย และสามารถแปลกลับเป็นภาษา ต้นทาง เช่น ภาษาสันสกฤตได้ในภายหลัง ในการศึกษาตัวบทก็ต้องมีความรู้ภาษาต่างๆ ที่จะช่วยในการอ่านและท�ำความเข้าใจข้อมูล ทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และข้อมูลอื่นๆ เช่น

ศึกษาคัมภีร์พุทธศาสนาจีน ก็ต้องรู้สันสกฤต รู้ภาษาจีนโบราณ เพราะคัมภีร์มีทั้งที่แปล เป็นจีนบ้าง ถอดเสียงบ้าง หรือบางค�ำประสม ทั้งทับศัพท์และแปล พุ ท ธศาสน์ ศึ ก ษามี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การ ศึกษาศาสตร์ด้านอื่นๆ หรือไม่ ส�ำคัญมาก เช่น จะศึกษาสังคมไทย ก็ต้องมี ความรู้พุทธศาสน์ศึกษา ไปพิพิธภัณฑ์ จะดู งานศิลปะ ก็ต้องมีความเข้าใจพุทธศาสน์ ศึกษา ไปศาสนสถาน เช่น บุโรพุทโธใน อินโดนีเซีย ก็ต้องมีความรู้ เข้าใจปรัชญาการ สร้าง และประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในดิน แดนแห่งนั้น ความรู ้ พุ ท ธศาสน์ ศึ ก ษาจะช่ ว ยในการ ปฏิบัติได้หรือไม่ - อันที่จริง การศึกษาแบบที่ เป็นศาสตร์ กับการศึกษาเพื่อปฏิบัติ เป็น คนละเรื่อง แต่บางกรณีก็เอื้อกันได้ เช่น ถ้ามี ความรู้เรื่องภาษา เราก็จะสังเกตว่า เวลาเรา ขอศีล - ปญฺจสีลานิ ยาจามะ แต่พระไม่เคย "ให้ศีล" พระให้ "สิกขาบท" - สิกขาปทํ สมาทิ ยามิ คือ ให้ข้อปฏิบัติมา "ศึกษา" ต่อเมื่อ ปฏิบัติจนเป็นปกติแล้วจึงจะเป็น "ศีล" ที่แปล ว่า ปกติ [ที่จริงขึ้นอยู่แก่ผู้จะศึกษาว่าประสงค์อะไร ถ้าจะศึกษาพระธรรมเพื่อปฏิบัติก็ให้รู้ว่าจะ ใช้ปฏิบัติ ถ้าจะศึกษาเปนวิชาการก็ให้รู้ว่า เป็นวิชาไม่ใช่เอาความเชื่อมาตัดสิน อาจารย์ประพจน์เพิ่มเติม] ในโลกปัจจุบัน พุทธศาสน์ศึกษาก็ยังไม่พ้น สมัย เพราะยังมีปรากฏการณ์ใหม่ๆ เกิดขึ้น เรื่อยๆ หรือแม้คัมภีร์เก่าๆ ก็ยังค้นพบใหม่ ช�ำระใหม่อยู่เรื่อยๆ ยังมีหลายประเด็นน่า ศึกษา เช่น การปฏิบัติสมาธิเพื่อการรักษาโรค ยังขาดคนที่มีความรู้ภาษาดีๆ มาศึกษาพุทธศาสน์ศึกษาอีกมาก


15


16

ฅนอักษรฯ เรียบเรียงโดย มีเกียรติ แซ่จิว

คุณนงเยาว์ จันทร์เขียน

พลรวี ประเสริฐสม (ต้นกล้า)

“จริง ๆ แล้วลังเลอยู่พอสมควรกับการสมัครเป็นประธานฝ่าย วิชาการ เพราะไม่เคยท�ำต�ำแหน่งที่น�ำคนอื่นมาก่อนเลยในก. อศ. ไม่ค่อยมั่นใจในความสามารถการสื่อสารของตัวเอง ประกอบกับอยากจะเน้นการท�ำงานวิชาการด้วย แต่สุดท้ายก็ ตัดสินใจลงสมัคร เพราะรู้สึกอยากก้าวออกจาก Comfort zone ของตัวเองบ้าง อยากพัฒนาทักษะที่เราไม่ถนัดเหมือน งานวิชาการบ้าง”

พลรวี ประเสริฐสม หรือ ‘ต้นกล้า’ นิสิตชั้นปีที่ 4 เอกภาษา อังกฤษ โทภาษาศาสตร์ หลักสูตรเกียรตินิยม กล่าวถึงความ ท้าทายใหม่ในฐานะประธานฝ่ายวิชาการในคณะกรรมการนิสิต อักษรศาสตร์ประจ�ำปีนี้ ฅนอักษรฯ จึงอยากเชิญชวนมา ท�ำความรู้จักกับต้นกล้าต้นใหม่คนนี้ ทั้งในฐานะผู้หลงใหลใน ภาษาศาสตร์และประธานฝ่ายวิชาการคนใหม่ว่าเขามีแนวคิด และโครงการใดที่น่าสนใจบ้างในปีนี้ ลองมาฟังความคิดอ่าน และเริ่มต้นที่จะกล้า ‘ปักต้นกล้า’ ไปพร้อมกันกับเขาคนนี้


17

ประธานฝ่ายวิชาการ เป็นคนชอบงานวิชาการอยู่แล้ว คิดว่าเป็นเรื่อง ที่รู้มากพอ บวกกับเคยท�ำฝ่ายวิชาการมาก่อน หน้าแล้ว 2 ปี ได้เห็นงานมาพอสมควรและชอบ งานท่ี่ฝ่ายวิชาการจัดหลายงาน โดยเฉพาะงาน นกยูง (งานประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์ ระดับปริญญาตรี) ที่เคยเข้ามาสองครั้ง คือตอน ปี 1 กับปี 3 ปีนี้เกิดมีความคิดที่จะลงสมัครเข้า มาท�ำงานในก.อศ. ก็เลยคิดว่าลงต�ำแหน่งฝ่าย วิชาการก็น่าจะเหมาะ กิจกรรมที่เคยท�ำในคณะอักษรศาสตร์ จริงๆ ถ้าให้เทียบกับเพื่อนๆ ที่ท�ำงานในก.อศ. ด้วยกันคงเรียกว่าเคยท�ำมาน้อยมากๆ ช่วงปี 1 ก็ท�ำกิจกรรมในฐานะเฟรชชี แต่พวกนี้ส่วนมาก จะเป็นงานที่อักษรฯ เข้าร่วมมากกว่า เช่น เฟรชชีเกมส์ หรือกิจกรรมสันทนาการระหว่าง คณะอักษรฯ-สถาป้ัตยฯ พอขึ้นปี 2 ก็ได้เข้ามา

ในฝ่ายวิชาการ มีโอกาสท�ำงานใหญ่ครั้งแรก คือ งานเปิดบ้านอักษรฯ เป็นเหรัญญิกของงาน รวม ถึงพูดบรรยายในห้องชมรมภาษาศาสตร์ด้วย ครั้งนั้นจริงๆ ท�ำงานผิดพลาดมากกว่าที่ควร แต่ ถือว่าเป็นประสบการณ์ที่สอนให้รอบคอบขึ้น เป็นงานที่สอนให้รู้ระบบคณะ รู้จักเจ้าหน้าที่ ของคณะมากขึ้นด้วย พอปิดเทอมใหญ่ก็ได้มา พูดอธิบายหลักสูตรคณะให้น้องที่ก�ำลังจะเข้า ฟัง และได้ช่วยท�ำงานรับน้องอักษรฯ เป็นคน คุมเวลาในแต่ละกิจกรรม ปี 3 ก็เริ่มคุ้นเคยกับ งานก.อศ. มากขึ้น ในฐานะรองประธานฝ่าย วิชาการ กิจกรรมที่ท�ำหลักๆ ในปีนี้คือเป็น ประธานจัดประกวดเปเปอร์วิชาการของงาน นกยูง ติดต่อประสานงานกับอาจารย์หลายๆ ท่านเพื่อให้มาเป็นกรรมการคัดเลือกผลงาน ผม โชคดีมากที่นอกจากจะได้จัดแล้ว ยังได้มีโอกาส น�ำเสนอผลงานของตัวเองด้วย เป็นงานที่ทีม งานประทับใจมากเพราะประสบความส�ำเร็จ

กว่าที่คาดไว้ มีคนส่งผลงานเข้ามาไม่ใช่แค่จาก มหาวิทยาลัยในเมืองอย่างจุฬาฯ หรือ ธรรมศาสตร์ แต่มีงานเข้ามาจากมหาวิทยาลัย ต่างจังหวัดอย่างมหาวิทยาลัยขอนแก่น น่า เสียดายที่บางคนที่ได้รับการคัดเลือกติดขัด ไม่ สามารถเข้ามาน�ำเสนอได้ แผนงานในฐานะประธานฝ่ายวิชาการ ตอนหาเสียงกับน้องๆ เพื่อนๆ ในคณะ ผมก็ใช้ การพู ด ถึ ง นโยบายที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ทุ ก ปี ข องฝ่ า ย วิชาการ ได้แก่ Career Roundtable เป็นการ เชิญพี่ศิษย์เก่าเข้ามาพูดถึงการท�ำงานหลังจาก จบจากคณะอักษรฯ แล้ว, จัดสอบ TOEIC ที่ คณะเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการท�ำงาน และ งานนกยูงที่ตั้งใจว่าจะจัดให้ยิ่งใหญ่กว่าเดิมและ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่นให้มากขึ้น ประกอบ กับอีกอย่างหนึ่งเพิ่มเติมคือเว็บไซต์รีวิวรายวิชา ในคณะซึ่งตั้งใจไว้ว่าฝ่ายฯ จะท�ำระบบที่ดีกว่า


18

แค่ใช้บล็อกทั่วๆ ไป ที่ใช้งานยากทั้งคนดูแลระบบและคนส่งรีวิวเข้ามา หลังจากเข้ามาแล้วก็มีน้องในฝ่ายท่ี่เสนองานใหม่ๆ ที่น่าสนใจเข้ามา เช่น ห้องเรียนจ�ำลอง ที่จะให้เด็กมัธยมปลายได้มาสัมผัสบรรยากาศการ เรียนในอักษรฯ และเข้าใจคณะอักษรฯ มากขึ้น ซึ่งก็ตั้งใจว่าถ้าไม่มี อุปสรรคมากมายก็จะจัดเพิ่มจากแผนที่มีอยู่เดิม ท�ำไมถึงชอบภาษาศาสตร์ ผมรู้จักภาษาศาสตร์จริงๆ จังๆ ก็ตอนจะขึ้นม. 6 นี่เอง สิ่งที่พามาให้รู้จัก ภาษาศาสตร์ก็คือเรื่องของไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ช่วงม. 3 ผมจะ ชอบท�ำแบบฝึกหัดไวยากรณ์มาก พอค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับ ไวยากรณ์ไปเรื่อยๆ ก็พาตัวเองมาอยู่ที่ภาษาศาสตร์พอดี ประกอบกับที่ อาจารย์ชาวต่างชาติที่สอนผมอยู่ในขณะนั้นก็เรียนจบภาษาศาสตร์ ประยุกต์ ได้มีโอกาสปรึกษา พูดคุย และลองอ่านหนังสือเกี่ยวกับ ภาษาศาสตร์สองเล่มแรกในชีวิตจากอาจารย์ท่านนี้ พออ่านแล้วก็เกิด ชอบขึ้นมาทันที เพราะไม่เคยคิดมาก่อนว่าเราจะสามารถศึกษาภาษา จากมุมนี้ได้ และศึกษาได้อย่างลึกซึ้งมากด้วย เหตุผลที่ชอบส่วนหนึ่งคง เป็นเพราะว่าภาษาศาสตร์เป็นวิชาที่มีความเป็นสหศาสตร์อยู่ และผม เป็นคนที่ชอบรู้เรื่องทางทฤษฎีหลายๆ สาขาพอดี หนังสือเรียน ภาษาศาสตร์เบื้องต้นมักจะแนะน�ำว่าภาษาศาสตร์เป็นการศึกษาภาษา แบบวิทยาศาสตร์ แต่พอได้เข้ามาเรียนจริงๆ แล้วจะพบว่าวิธีคิดแบบ วิทยาศาสตร์ในภาษาศาสตร์เป็นแค่พื้นฐาน และภาษาศาสตร์เป็น

ศาสตร์ที่คาบเกี่ยว ควบรวม ส่งและรับอิทธิพลจากศาสตร์หลายแขนง มาก เช่น มานุษยวิทยา, สังคมวิทยา, สัญศาสตร์, ปรัชญา โดยเฉพาะ ตรรกวิทยา, จิตวิทยา, วิทยาการคอมพิวเตอร์, ชีววิทยา, ประสาทวิทยา หรือกระทั่งเศรษฐศาสตร์ อีกเหตุผลหนึ่งที่ชอบน่าจะเป็นเพราะว่า ภาษาศาสตร์เป็นวิชาที่ให้ผมได้ท�ำงานกับมโนทัศน์ที่เป็นนามธรรม ได้ สรุปและเชื่อมโยงมโนทัศน์พวกนี้เข้าด้วยกันจากภาษาที่คนใช้กันจริงๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่ชอบท�ำเป็นปกติอยู่แล้ว วิชาที่ชอบในคณะ ชอบวิชาเอกัตศึกษาของภาควิชาภาษาศาสตร์ ที่เปิดโอกาสให้ผมเข้า เรียนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาในทุกๆ เทอม ท�ำให้ได้เนื้อหาด้าน ภาษาศาสตร์ที่ลึกซึ้งมากขึ้นทุกๆ เทอม อย่างตอนปี 2 ผมได้เรียนวิชา ภาษาศาสตร์ปริชาน ส่วนเทอมที่แล้วได้เรียนเกี่ยวกับการกลายเป็นค�ำ ไวยากรณ์ ก๋็รู้สึกสนุกกับทั้งสองวิชามากๆ นอกจากวิชาของภาคภาษาศาสตร์ วิชาที่ชอบวิชาอื่นๆ น่าจะเป็นวิชา ของภาควิชาปรัชญา เพราะเป็นวิชาที่กระตุ้นให้คิด ตั้งแต่ตอนปี 1 ผมก็ ชอบวิชาการใช้เหตุผล กับวิชามนุษย์และศาสนา วิชาแรกชอบที่ได้แสดง ล�ำดับการคิด วิเคราะห์วิธีคิดเบื้องหลังการใช้เหตุผลของคนอื่นๆ ได้ เข้าใจถึงจุดบกพร่องในการใช้เหตุผล ได้เรียนกับอาจารย์ศิรประภา (ผศ. ดร.ศิรประภา ชวะนะญาณ) ที่มักจะยกตัวอย่างที่ร่วมสมัยและน่าสนใจ จากอินเทอร์เน็ตอยู่เสมอ ส่วนวิชาหลังโชคดีที่ได้เรียนกับอาจารย์


19

สุวรรณา (ศ.ดร.สุวรรณา สถาอานันท์) กระตุ้นความคิดให้ผมมองศาสนา ในมุมใหม่ๆ แบบที่ไม่เคยเรียนในโรงเรียนมาก่อน นอกจากนี้ เทอมที่แล้ว ก็ได้โอกาสไปเข้าเรียนวิชาญาณวิทยาและอภิปรัชญาอยู่หลายคาบ ตัว เนื้อหาก็มีค�ำถามชวนให้คิดและถกเถียงอยู่มาก ในฐานะคนเรียนภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ให้อะไรกับเราบ้าง ด้วยความที่ภาษาศาสตร์เกี่ยวข้องกับศาสตร์หลายแขนงมากๆ คิดว่า อย่างหนึ่งที่ภาษาศาสตร์ให้ผมเลยคือ ภาษาศาสตร์สอนให้มองความ สัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่างๆ ในภาพกว้าง และหาความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ ได้ดีขึ้น เช่น ตอนผมเรียนญาณวิทยา มีความคิดเรื่องของ Web of Beliefs ของ ดับบลิว. วี. ไควน์ (W. V. Quine) ซึ่งพอได้เรียนแล้วก็เห็นว่า คล้ายกับ Cognitive Model ในภาษาศาสตร์ปริชานมาก งานวิชาการ สายภาษาศาสตร์จ�ำนวนมากจะเน้นการโต้แย้งกันด้วยเหตุผลและใช้หลัก ฐานสนับสนุนเป็นหลัก การท�ำงานในสายภาษาศาสตร์เลยท�ำให้ตรวจ สอบความบกพร่องของการใช้เหตุผลได้่ดีขึ้น งานภาษาศาสตร์หลายสาย จะเกี่ ย วข้ อ งกั บ การจ� ำ แนกประเภทและการพยายามสร้ า งกฎทั่ ว ไป (generalization) จากข้อมูลที่เห็น ตรงนี้ฝึกให้เราคิดในเชิงนามธรรมได้ ดีขึ้น แต่ขณะเดียวกันก็เชื่อมระหว่างระบบนามธรรมกับข้อมูลที่มีอยู่จริง ไปมาได้ เวลาเรียนเนื้อหาใหม่ๆ ที่บรรยายเชิงนามธรรมเราก็จะเข้าใจได้ เร็วขึ้นมาก แต่ที่ส�ำคัญที่สุดที่ภาษาศาสตร์ให้กับผมน่าจะเป็นความสนุก และความตื่นเต้นมากกว่า จนถึงทุกวันนี้เนื้อหาในภาษาศาสตร์ก็ยังเป็น สิ่งที่ดึงให้ผมสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ อยู่เสมอ

"งานภาษาศาสตร์ ห ลายสายจะ เกี่ยวข้องกับการจ�ำแนกประเภทและ การพยายามสร้างกฎทั่วไป (generalization) จากข้อมูลที่เห็น ตรงนี้ฝึกให้ เราคิดในเชิงนามธรรมได้ดีขึ้น แต่ขณะ เ ดี ย ว กั น ก็ เ ชื่ อ ม ร ะ ห ว ่ า ง ร ะ บ บ นามธรรมกับข้อมูลที่มีอยู่จริงไปมาได้ เวลาเรียนเนื้อหาใหม่ๆ ที่บรรยายเชิง นามธรรมเราก็จะเข้าใจได้เร็วขึ้นมาก แต่ที่ส�ำคัญที่สุดที่ภาษาศาสตร์ให้กับ ผมน่าจะเป็นความสนุกและความตื่น เต้นมากกว่า จนถึงทุกวันนี้เนื้อหาใน ภาษาศาสตร์ ก็ ยั ง เป็ น สิ่ ง ที่ ดึ ง ให้ ผ ม สนใจมากขึ้นเรื่อยๆ อยู่เสมอ"


20

ข่าวจากหอพระไตรปิฎกนานาชาติ

กิจกรรมสนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ครั้งที่ 20 "ประสบการณ์พุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา" รศ.ดร.วรรณา ประยุกต์วงศ์ หลักสูตรการประกอบการเชิงนิเวศวัฒนธรรม วันพุธที่ 23 สิงหาคม 2560 เวลา 12.15 - 13.15 น. (ลงทะเบียน 11.30 น. เริ่มบรรยายตรงเวลา) ณ หอพระไตรปิฎกนานาชาติ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯชั้น 2 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ ผู้สนใจเข้าร่วมแจ้งชื่อได้ที่ โทร. 02-218-4916 หรือ e-mail: tipitaka.chula@gmail.com


21

ข่าวบริการวิชาการ: ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน ผศ.ดร.พิมพ์ร�ำไพ เปรมสมิทธ์

ผศ.ดร.พิมพ์ร�ำไพ เปรมสมิทธ์ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ ได้ รับเชิญเป็น facilitator เข้าร่วมการสนทนากลุ่มในการระดม สมองเรื่อง "การรวมตัวของห้องสมุด เพื่อพร้อมเผชิญกับความ ท้าทายในอนาคต (How a United Library Field Can Tackle the Challenges of the Future)" เพื่อน�ำไปจัดท�ำเป็น Global Library Vision ตามแผนงานงานสหพันธ์นานาชาติว่าด้วย สมาคมห้องสมุดและสถาบัน (IFLA) ณ ห้อง 1608-1608/1 อาคารบริหาร ชั้น 6 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 4 สิงหาคม 2560 เวลา 09.00-16.00 น. อ.ดร.ปาจรีย์ ทาชาติ

อ.ดร.ปาจรีย์ ทาชาติ ภาควิชาภาษาตะวันตก ได้รับอนุมัติให้ไป เสนอผลงานทางวิชาการ เรื่อง “The Achievements of the Fascist Cinema in Thailand during the Tenure of Phibunsongkhram Government (1938-1944)” ในการ ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The European Conference on Media, Communication & Film (EuroMedia2017) ซึ่ง จัดประชุมขึ้นในระหว่างวันที่ 11 - 12 กรกฎาคม 2560 ณ Jurys Inn Brighton Waterfront เมืองไบรตัน ประเทศสหราช อาณาจักร


22

ปฏิทินกิจกรรมคณะอักษรศาสตร์ เดือนสิงหาคม 2560

25

19

22

ฝ่ายวิจัย

คณะอนุกรรมการเงินทุนวรรณกรรม ฝ่ายวิจัย อ�ำพรรณ โอตระกูล ซาลส์ การบรรยายหัวข้อ "แปลบันทึก ชุดปาฐกถาพิเศษ "อักษราภิวัตน์" หัวข้อ "อ�ำนาจของภาษา: ความความทรงจ�ำ… ยาก ง่าย อย่างไร รัก ความเกลียด ความรุนแรง ไขให้กระจ่าง" โดย ดร.อดิเทพ ความปรองดอง ภาษาบัลดาลได้" เวณุจันทร์ (เวลา 13.00-16.00 โดย ศ.กิตติคุณ ดร.อมรา น. ณ ห้อง 707 อาคารบรมราช- ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (เวลา 13.00 น. กุมารี) เป็นต้นไป ณ ห้อง 303 - 304 ชั้น 3 อาคารมหาจักรีสิรินธร)

ชุดปาฐกถาพิเศษ "อักษราภิวัตน์" หัวข้อ "ภูมิภาษลักษณ์ของภาษา ตะวันออก" โดย ศ.พิเศษ ดร.ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ (เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป ณ ห้อง 303 - 304 ชั้น 3 อาคารมหาจักรีสิรินธร)


23

Year 9, No. 15: 5 August 2017 News from the International Affairs Section

Visit to Japan During July 27-28, 2017, the Dean, Associate Professor Kingkarn Thepkanjana, Ph.D., and the Associate Dean, Associate Professor Suradech Chotiudompant, Ph.D., paid a visit to leading Japanese universities in Tokyo, Japan. The purposes of the trip were to reinforce academic ties with various counterparts in Japan and to seek new partners for future collaborations. The first institution visited was the University of Tokyo with a warm welcome by Professor Masashi Haneda, Executive Vice President for International Affairs, and Tsugihiro Shimura, Project Specialist in the International Affairs Department. The discussion entailed the further development of student mobility between the University of Tokyo and the Faculty of Arts, now that the universitylevel Memorandum of Understanding has been signed. Professor Haneda also encouraged the Faculty of Arts to explore the possibility of organizing summer courses for exchange students. This would provide opportunities for their students to learn more about Thailand and its rich culture in a more practical period of time. In terms of research collaboration, their Institute for Advanced Research on Asia is a dynamic platform which enables scholars from both institutions to work together. Further collaboration could also be facilitated with the summer workshop in world literature to be organized at the University of Tokyo. After the visit to the University of Tokyo, the Dean and the Associate Dean met with Professor Makoto Minegishi from the Research Institute for Languages and Cultures of Asia and Africa (ILCAA) at Tokyo University of Foreign Studies (TUFS). The meeting was to survey the needs and interests of Japanese students’ in learning foreign languages as well as to assess the possibility of further collaboration between TUFS and the Faculty of Arts, especially now that TUFS also focuses on the Thai language as part of their research avenues.


24

Double Degree with Waseda to Go Ahead The trip culminated with the meeting with high-ranking officials of Waseda University, which has maintained a long-standing relationship with the Faculty of Arts, especially the BALAC program. Hosted by Professor Norimasa Morita, Vice President for International Affairs, and Professor Adrian Pinnington, Dean of the School of International Liberal Studies, the discussion aims to explore potential increases in the levels of cooperation between the two institutions. Waseda University was pleased to move forward and work closely with the BALAC program to develop a double degree program. To complete the program, the students are expected to spend their university years both in Bangkok and in Tokyo. They will graduate with two diplomas, one from Chulalongkorn University and the other from Waseda. This move enhances the popularity of the BALAC program and significantly increases the internationalization of the Faculty as a whole.


25

The 196th Anniversary of the Independence of Peru On July 27, 2017, the Embassy of the Republic of Peru in Thailand invited Assistant Professor Nirada Chitrakara, Ph.D., Assistant Dean, and Assistant Professor Pasuree Luesakul, Ph.D., Department of Western Languages, to attend a reception on the occasion of the 196th Anniversary of the Independence of Peru at the Mandarin Oriental Hotel. The event opened with the address from the Ambassador of the Republic of Peru, Mr. Fernando Quirós, followed by a moment of silence to commemorate the late King Rama IX and a presentation on King Rama X’s visit to Peru in 1993. Among those invited were Faculty staff from Thammasat University who are also alumni of the Faculty of Arts and the Faculty of Arts’ students who are finishing their internship at the Ministry of Foreign Affairs, Bangkok. The Republic of Peru proclaimed their independence on July 28, 1821 after being a Spanish colony since 1532. The relationship between Thailand and Peru was officially established in 1965.


26

MEETING WITH A DELEGATE FROM LEIDEN UNIVERSITY On July 17, 2017, the Faculty of Arts welcomed Professor David Henley from Leiden University, the Netherlands. Professor Henley’s mission is to explore possible collaborations at various universities in Thailand in implementing the Thai subprogram at Leiden University. This is in response to the interest in Thai language studies of Dutch students, as well as international students at Leiden University. The Thai subprogram, if successful, will complement the growth of such programs as the BA in South and Southeast Asian Studies at Leiden. The oldest university in the Netherlands, Leiden University was established in 1575 and has since then been developed into one of the leading tertiary educational institutions in Europe.


27

Visit by Humboldt University Delegates On July 24, 2017, two delegates from Humboldt University, Berlin, Germany--Benjamin Baumann and Martin Schalbruch paid a courtesy visit to the Faculty of Arts. Mr. Schalbruch is currently a teacher of Thai at Humboldt, while Mr. Baumann is a lecturer and a researcher in Southeast Asian studies with a dissertation on ‘The Ritual Reproduction on Khmerness in Thailand’. Both were welcomed by Associate Dean Associate Professor Suradech Chotiudompant, Ph.D. and Kanya Wattanagun, Ph.D., a lecturer affiliated with the Faculty’s Center for Thai Studies. The purpose of the visit was to strengthen the international ties between the Faculty and Humboldt University. The discussion focused on the invitation of Faculty staff specializing in Thai studies to guest lecture at Humboldt University for a semester. The visiting scholar is supported by Humboldt University and the Royal Thai Embassy in Berlin.


28

MoU with Taipei National University of the Arts (TNUA)

On July 25, representatives from Taipei National University of the Arts (TNUA) met with Asst. Prof. Kriengkrai Boonlert-U-Thai, Ph.D., Assistant to the Chulalongkorn University President for International Affairs, together with representatives from Faculties of Architecture, Arts, Communication Arts, and Fine and Applied Arts, and the Master of Arts program in Cultural Management. The Taiwanese delegates were led by Assoc. Prof. Chang Wan-Chen, Ph.D., Dean of School of Culture Resources and Assoc. Prof. Lin Yatin, Ph.D., Chairperson of the Master of Arts Program in Culture and Creative Industries. It was agreed that the two institutions will soon sign a university-level MoU which will benefit the partnership between relevant programs and departments. Later, the Department of Dramatic Arts hosted a lunch for the Taiwanese guests who visited the Faculty of Fine and Applied Arts and the Faculty of Arts. At the Faculty of Arts, they were welcomed by Assoc. Prof. Kingkarn Thepkanchana, Ph.D., Dean of the Faculty of Arts, and Asst. Prof. Nirada Chitrakara, Ph.D., Assistant to the Dean, and Asst. Prof. Pawit Mahasarinand, Head of the Department of Dramatic Arts. It was agreed that, in addition to the university-level MoU, the Faculty of Arts and TNUA's School of Theater should also sign a faculty-level MoU to facilitate the collaboration.

In relation to the above meeting, on August 3, Asst. Prof. Chang ChiFeng, Ph.D., Chairperson of Department of Theater Arts, School of Theater TNUA, continued the discussion regarding the faculty-level MoU with Asst. Prof. Chitrakara, Asst. Prof. Mahasarinand and Ajarn Piyawat Thamkulangkul, Department of Dramatic Arts. As both departments conduct some classes in English, student exchange programs and credit transfers are possible. Both also share common research interest in how the traditional theater of the two countries are being adapted in the contemporary theater. Asst. Prof. Chang’s visit to the Faculty of Arts ended with a tour of the Sodsai Pantoomkomol Center for Dramatic Arts. Asst. Prof. Mahasarinand will follow up on the details of the faculty-level MoU during his visit to the TNUA on August 23. He has been invited by Taipei Performing Arts Center (TPAC) to represent Sodsai Pantoomkomol Center for Dramatic Arts at the Asia Discovers Asia Meeting (ADAM) during August 24-27. After the meeting at the Faculty of Arts, Asst. Prof. Chang and Asst. Prof. Mahasarinand had a lunch meeting with Ms. Lin Chien-Chi, cultural officer of the Taipei Economic and Cultural Office in Thailand to report the progress and explore financial support possibilities from Taiwan's Ministries of Culture and Education.


29

The relationship between the two departments started almost a decade ago when the Department of Dramatic Arts' application to Asia Pacific Bond (APB) of Theatre Schools, of which TNUA is a founding member, was accepted. In 2012, when TNUA hosted the APB Festival and Conference, representatives from the Faculty of Arts, Asst. Prof. Mahasarinand presented his academic paper and Prof. Pornrat Damrhung conducted a workshop and showcased her production, Lanka Sip Ho. Both departments were also present at the APB Festival and Conference in Shanghai in June this year with students' productions and faculty members' workshops. The two parties are now exploring possibilities to restage their previous plays in a double-bill program in Bangkok. Another possibility is, to hold, next year, a two-week summer workshop to develop a new project together. Such collaboration will be in the same fashion as last year’s Dream Response Project, which the Department of Dramatic Arts joined with Hong Kong Academy for Performing Arts and LaSalle College of the Arts. The project was debuted in Bangkok, then continued to perform in Taipei, and Yogyakarta where the next APB Festival and Conference will be held.


30

News from BALAC

BALAC Trip at Kanchanaburi The BALAC Team

Hatsaya Teerananon Yeewah Kitsomsub Thornthan Udomsakpaibool

From 24 to 26 July 2017, the BALAC student representatives organised the annual BALAC trip to welcome the new students, as well as to strengthen the bond between juniors and seniors in a unique setting. This three-day activity took place by the serene River Kwai, overlooking the majestic mountains of Kanchanaburi. Students were accompanied by BALAC staff and lecturers, who—it was reported—felt privileged to be part of this remarkable (ad)venture.


31

On 24 July 2017, after returning from a fascinating outing to Mallika R.E.124: The Siamese Living Heritage Town, Ajarn Lowell Skar and Ajarn Kyja Noack-Lundberg gave talks about one of the most pressing topic in the field of cultural studies today—namely, Life in a “Digital & Screen-centred World”. They introduced and showed to students the first 16 minutes of a TV show called Nosedive, of which setting is a city where people obsessively use a phone app to rate interactions (both online and in real life) with other people, and where the phone app and ratings shape how people behave in real life. Students were invited to examine the impact of digital behaviour in their lives and society. This educational activity was followed by fun and games in the compound of the beautiful River Kwai Village Resort which had been carefully crafted and set up by seniors to “break the ice” and encourage new students to get to know each other better. The productively planned activities gained significant concentration from the freshmen especially during the second night which is renowned by the host as the highlight of the trip. The hit fashion show organized by the dedicated Balac team allowed juniors to display their talents and inventive ideas through this year’s theme “Tribal”. Students were separated into groups and asked to cooperate as a team to present the show of each tribe.


32

The night was followed by traditional welcoming or the so called “Baisri� ceremony which was impressive for it exalted the stress of the institution not only as a place of wisdom but also as a home for the next 3 years.

On behalf of the BALAC programme, the BALAC team would like to thank the BALAC seniors for planning such a memorable experience for the new students. We would like to express our appreciation to Associate Professor Kingkarn Thepkanchana, PhD (Dean of the Faculty of Arts & Director of BALAC), for honouring us with her presence at the opening ceremony. We would also like to extend our appreciation to Ajarn Lowell and Ajarn Kyja for their wonderful contribution. To the new BALAC students, once again, Welcome aboard!


33

CALENDAR OF EVENTS 19

22

25

Research Affairs Division

Amphan Otrakul-Sales Literary Funds Sub-Committee

Research Affairs Division

Aksarapiwat

Talk on "How to Translate a

Aksarapiwat

Talk

Series

"Area Features of Languages in the Department of Eastern Languages"

by

Professor

Prapin Manomaivibool, PhD (13:00-16:30

hrs,

303-304,

Memoir" Venuchandra,

by PhD

Adithep (13:00-

16:00 hrs, 707, Boromrajkumari Building)

Talk

Series

"Power of Language: Love, Hatred, Violence, and Reconciliation, All Begotten by Language" by Professor Emeritus

Amara

Prasithrathsint

Maha Chakri Sirindhorn Build-

(13:00-16:30

hrs,

ing)

Maha Chakri Sirindhorn Building)

The Faculty of Arts Public Relations and Internal Communications Assistant Professor Dr Siraprapa Chavanayarn –PR Coordinator

Please send any announcements or information on your current as well as past events to Ms Kankanok Chimsang at artspr08@hotmail.com, pr.arts.chulalongkorn@gmail.com Tel. 662 218 4885

303-304,


The Faculty of Arts Public Relations and Internal Communications Assistant Professor Dr Siraprapa Chavanayarn –PR Coordinator

Please send any announcements or information on your current as well as past events at artscu.net Tel. 662 218 4885


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.