1
ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
2
จดหมายข่าวเทวาลัย
ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
วาดภาพโดย น.ส.สุธรี า ศรีตระกูล (อักษรศาสตร์#80)
จดหมายข่าวเทวาลัย ที่ปรึกษา
รศ.ดร.กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา คณบดี รศ.ดร.สุรเดช โชติอุดมพันธ์ รองคณบดี ผศ.ดร.นิรดา จิตรกร ผู้ช่วยคณบดี ผศ.ดร.อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล ผู้ช่วยคณบดี อ.William Whorton
ผู้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ และสื่อสารองค์กร ผศ.ดร.ศิรประภา ชวะนะญาณ ผู้ช่วยคณบดี (Siraprapa.C@chula.ac.th)
ภาพปก น.ส. มนัสนันท์ ด่านมงคลทิพย์ (อักษรศาสตร์#82)
พิธีถวายสักการะพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันมหาธีรราชเจ้า
อ่านจดหมายข่าวเทวาลัยฉบับย้อนหลังได้ท่ี http://www.arts.chula.ac.th/~sandbox/dhevalai/ ส่งข่าวประชาสัมพันธ์ได้ท่ี http://artscu.net คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. (662) 218 - 4870 www.arts.chula.ac.th
3
ปาฐกถาพิเศษชุด อักษราภิวัตน์ หัวข้อ "รอดได้เพราะแม่ไม้เพลงไทย" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.เจตนา นาควัชระ
12 The 19th International Conference on Asia-Pacific Digital Libraries (ICADL)
5
ข่าวจาก BALAC
6
ข่าวจากภาควิชาภาษาศาสตร์
7
The 8th Asia-Pacific Conference on Library & Information Education and Practice (A-LIEP)
8
ข่าวจากฝ่ายพัฒนาความเป็น นานาชาติฯ และส่งเสริม ภาพลักษณ์องค์กร
ข่าวจากสาขาวิชาภาษาอิตาเลียน
14 ฝ่ายบริหารคณะอักษรศาสตร์ เข้าศึกษาดูงาน ทางด้านการเงิน การบัญชี การคลัง และพัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10
ข่าวจากภาควิชาภาษาไทย
18
ข่าวจากภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ
16
ฅนอักษรฯ
23
ข่าวบริการวิชาการ: ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน
24
ปฏิทินกิจกรรม เดือนพฤศจิกายน
คุณรำ�เพย ธนีสันติ์
20
4 ภาควิิชาภาษาไทย
พิธีถวายสักการะ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันมหาธีรราชเจ้า
5
BALAC Talks
BALAC
6
ภาควิิชาภาษาศาสตร์
การอบรมเพื่อฝึกทักษะการน�ำเสนอผลงานทางวิชาการ
"น�ำเสนออย่างไรให้ชนะใจผู้ฟัง"
ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอเชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมอบรมเพื่อฝึกทักษะการน�ำเสนอผลงานทางวิชาการ หัวข้อ: "น�ำเสนออย่างไรให้ชนะใจผู้ฟัง” วิทยากร: อาจารย์ ดร.ชนกพร พัวพัฒนกุล (คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) วันเวลา: วันศุกร์ที่ 24 พฤศจิกายน 2560 เวลา 13.30-15.30 น. สถานที่: ห้อง 401/5 อาคารมหาจักรีสิรินธร สมัครเข้าอบรมได้ที่ https://goo.gl/forms/Fiwk1SUCmFq0sh1V2
7
ฝ่ายพัฒนาความเป็นนานาชาติฯ และส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร
ข่าวส�ำหรับนิิสิต คณะอักษรศาสตร์ขอเชิญชวนนิสิตคณะอักษรศาสตร์สมัครเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนนิสิตนักศึกษากับมหาวิทยาลัยคู่สัญญาระดับ มหาวิทยาลัย (Outbound Exchange Students for Fall Semester 2018) โดยนิสิตสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการฯ เป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา หรือ 1 ปีการศึกษา เมื่อผ่านการพิจารณาคัดเลือกและเสนอชื่อจากส�ำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ (สบร.) และเมื่อได้รับการตอบรับ นิสิตสามารถเข้าร่วมโครงการฯ โดยได้รับยกเว้นค่าเล่าเรียน (Tuition Fee) ณ มหาวิทยาลัยคู่สัญญาฯ โดยมี ก�ำหนดรับการเสนอชื่อนิสิตจากคณะต้นสังกัด ตั้งแต่วันพุธที่ 1 พฤศจิกายน – วันศุกร์ที่15 ธันวาคม 2560 สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.arts.chula.ac.th/~sandbox/outbound2018/
ข่าวส�ำหรับคณาจารย์ ทุนแลกเปลี่ยนอาจารย์เพื่อการศึกษาวิจัยระหว่างจุฬาฯ กับ Indiana University (คณะอักษรศาสตร์ได้รับการจัดสรร 1-2 ทุน) ผลผลิต ส�ำหรับทุนนี้ อาจารย์ผู้รับทุนต้องส่งรายงานสรุปผลการด�ำเนินงานในหัวข้อโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุน ผลที่ได้รับ แผนการ ด�ำเนินการวิจัยในระยะต่อไป จัดส่งภายใน 30 วัน และ Working Paper ของงานวิจัยตามที่เสนอไว้ในข้อเสนอโครงการ ภายใน 60 วัน ระยะเวลาสนับสนุนและประเทศ 1-2 เดือน และไปยัง Indiana University โดยที่อาจารย์ควรติดต่อกับอาจารย์ของ Indiana University ที่ยินดีเป็น host ทุนสนับสนุน 1. ค่าตั๋วเครื่องบินไป-กลับชั้นประหยัด (ทุกสายการบิน) 2. ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ เหมาจ่าย ในวงเงินไม่เกิน 150,000 บาทส�ำหรับโครงการ 1 เดือน และ 200,000 บาทส�ำหรับโครงการ 2 เดือน ก�ำหนดการยื่นสมัคร ตั้งแต่บัดนี้ถึง 8 ธันวาคมนี้ ทั้งนี้ หากอาจารย์สนใจ กรุณาส่งโครงร่างข้อเสนอพร้อมบันทึกปะหน้า ผ่านหัวหน้าภาคหรือหน่วยงานของท่าน มายังคณบดี ใน โครงร่างควรบอกรายละเอียดโครงการ อาจารย์ชาวต่างประเทศที่ยินดีเป็น mentor ระยะเวลาที่ต้องการไป ผลผลิต และการ เผยแพร่ผลผลิต หากอาจารย์มีข้อสงสัย รบกวนเขียนถามได้ที่ suradech.c@chula.ac.th หรือ nirada.s@chula.ac.th
8
สาขาวิชา ภาษาอิตาเลียน
The 2nd Italian Cuisine Week in the world 2017
9
สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตอิตาลีประจำ� ประเทศไทยและพันธมิตรต่างๆ จัดกิจกรรม The 2nd Italian Cuisine Week in the world 2017 ภายใต้หัวข้อ "Lo Straordinario Gusto Italiano - The Extraordinary Italian Taste" ในวันพฤหัสบดี ที่ 23 พฤศจิกายน 2560 เวลา 9.00-12.00 น. ณ ห้องประชุม 304 อาคารมหาจักรีสิรินธร คณะอักษรศาสตร์ ในงานจะได้พบกับกิจกรรม วิชาการและวัฒนธรรมอาหารอิตาเลียน เริ่มด้วย: • นิสิตจุฬาฯเสนอผลงาน "อาหารและเครื่องดื่มในภาพยนตร์อิตาเลียน" • Meet & Talk กับเชฟอิตาเลียนคนดัง Chef Fabrizio Nonis ผู้ที่ มีชื่อเสียงและคร่ำ�หวอดในแวดวงอาหารและรายการทีวีของประเทศ
อิตาลี มาฟังกันว่าอะไรที่เรียกว่า กินแบบอิตาเลียนแท้ๆ เขาทำ� หรือไม่ ทำ�อะไร ยังไง ที่ไหน เมื่อไหร่ในวัฒนธรรมอาหารอิตาเลียน (บรรยาย เป็นภาษาอังกฤษ) • ออกเสียงภาษาอิตาเลียนอย่างถูกต้องในเมนูที่คุ้นปากเราคนไทยยังไง นะ??? • ขาดไม่ได้กับ PHOTO CONTEST ขอเชิญชวนเข้าร่วมกิจกรรมส่ง ภาพถ่าย "Italian Cuisine in Thailand" เข้าประกวด ชิงรางวัล ผลิตภัณฑ์อิตาเลียนหลากหลายรูปแบบ (ติดตามรายละเอียดได้ในเพจ Settimana Italiana Bkk) • ชิมอาหารว่างแบบอิตาเลียน สนับสนุนโดยบริษัทซีโน-แปซิฟิก จำ�กัด
PHOTO CONTEST
“Italian Cuisine in Thailand อาหารอิตาเลียนในเมืองไทย” ขอเชิ ญ ร่ ว มสนุ ก กั บ กิ จ กรรมประกวด ภาพถ่าย PHOTO CONTEST ในหัวข้อ “Italian Cuisine in Thailand อาหาร อิตาเลียนในเมืองไทย” โดยโพสต์ภาพลง Facebook พร้อมค�ำอธิบายเป็นภาษาไทย อังกฤษ หรืออิตาเลียน ไม่เกิน 30 ค�ำ ตาม ขั้นตอนดังนี้: - กด Like เพจ Settimana Italiana Bkk - ตั้งเป็นสาธารณะ (Public) และใส่ #ItalianWeekBKK2017 - กดแทค @SettimanaItalianaBkk ผู้เข้าแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. นักเรียน นิสิต นักศึกษา (อายุไม่เกิน 22 ปี) *โปรดระบุสถาบันการศึกษา 2. ประชาชนทั่วไป ภาพที่ ช นะการประกวดลุ ้ น รั บ ของรางวั ล มากมายจากบริษัทอิตาเลียนในประเทศไทย และจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมดเขตร่วมสนุกวันที่ 19 พฤศจิกายน 2017 ประกาศรายชื่อผู้ชนะการประกวดวันที่ 21 พฤศจิกายน 2017
10
ภาควิชาภาษาไทย
ขอเชิญนิสิตจุฬาฯ ส่งผลงานเข้าร่วมประกวดบทประพันธ์ชิงรางวัล
“วันกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส” ประจำ�ปี ๒๕๖๐
ขอเชิญนิสิตจุฬาฯ ส่งผลงานเข้าร่วมประกวดบทประพันธ์ชิงรางวัล “วันกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส” ประจ�ำปี ๒๕๖๐ แต่งค�ำประพันธ์ประเภท กลอนสุภาพ ความยาว ๑๒ บท หัวข้อ “คุณค่าของภาษาและวรรณคดีไทยในโลกปัจจุบัน” ___________________ ดาวน์โหลดประกาศ เรื่อง การประกวดบทประพันธ์ชิงรางวัลส�ำหรับนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย "วันกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส" ประจ�ำปี ๒๕๖๐ ทาง https://goo.gl/sJekzE ก�ำหนดส่งตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันพฤหัสบดีที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๒.๐๐ น. พร้อมทั้งแจ้งชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ให้ชัดเจน ส่งด้วยตนเองที่ภาควิชาภาษาไทย หรือส่งถึงหัวหน้าภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท กรุงเทพ ฯ ๑๐๓๓๐ (วงเล็บมุมซองว่า “ประกวดบทประพันธ์นิสิตจุฬาฯ”)
11
ขอเชิญโรงเรียนที่สนใจส่งนักเรียนเข้าร่วมการประกวดและการแข่งขันเนื่องในโอกาส
“วันกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส” ประจำ�ปี ๒๕๖๐
เนื่องในโอกาส "วันกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส" ประจ�ำปี ๒๕๖๐ ชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ขอเชิญโรงเรียนที่สนใจส่งนักเรียนเข้าร่วมการประกวดและการแข่งขันต่างๆ ดังนี้ ๑.การประกวดเล่านิทานประกอบการแสดง ๒.การประกวดอ่านออกเสียง ๓.การแข่งขันต่อค�ำประพันธ์ ๔.การแข่งขันตอบปัญหาวิชาการ -ดาวน์โหลดรายละเอียดและใบสมัครได้ที่ https://goo.gl/Ci11P8 -ส่งใบสมัครภายในวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๐ ทางอีเมล์ princeparama@hotmail.com หรือสมัครออนไลน์ https://goo.gl/TzQ1bC ___________________________ **หมายเหตุ** สามารถดาวน์โหลดบทอ่านส�ำหรับการแข่งขันต่อค�ำประพันธ์ได้ที่ www.arts.chula.ac.th เลือกหัวข้อ “กิจกรรมและข่าว ประชาสัมพันธ์” และเฟซบุ๊ก “งานวันกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส” ได้ตั้งแต่วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
12
ปาฐกถาพิเศษชุด อักษราภิวัตน์ หัวข้อ "รอดได้เพราะแม่ไม้เพลงไทย" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.เจตนา นาควัชระ
ฝ่ายวิจัยและภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2560 เวลา 13.00-16.00 น. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดปาฐกถาพิเศษชุด อักษราภิวัตน์ หัวข้อ "รอดได้เพราะแม่ไม้เพลงไทย" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.เจตนา นาควัชระ ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น 9 อาคารมหาจักรี สิรินธร คณะอักษรศาสตร์
13
14
The 19th International Conference on Asia-Pacific Digital Libraries (ICADL) The 8th Asia-Pacific Conference on Library & Information Education and Practice (A-LIEP) ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมวิชาการ นานาชาติ International Forum on Data, Information, and Knowledge for Digital Lives ในวันที่ 13 – 15 พฤศจิกายน 2560 ณ อาคารมหาจักรีสิรินธร การประชุมประกอบ ด้วยการประชุมนานาชาติของภูมิภาคเอเซีย แปซิฟิกที่มีชื่อเสียงทางสารสนเทศศาสตร์ 2 การประชุม คือ - The 19th International Conference on Asia-Pacific Digital Libraries (ICADL) - The 8th Asia-Pacific Conference on Library & Information Education and Practice (A-LIEP)
การประชุ ม ครั้ ง นี้ ป ระกอบด้ ว ยปาฐกถานำ� จาก รศ.ดร.ชโยดม สรรพศรี อดีตคณบดี คณะเศรษฐศาสตร์ Professor Dr. Makiko Mike จาก The Open University of Japan ประเทศญี่ปุ่น และ Professor Dr. Jane Greenberg จาก Drexel University ประเทศสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังมี นักวิชาการ นักวิชาชีพ และนิสิตนักศึกษา ในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ ศาสตร์ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ จำ�นวน 136 คน จาก 20 ประเทศ ได้นำ�เสนอผลการวิจัย แลกเปลี่ยน ความรู้และประสบการณ์ ตลอดจนสร้างเครือข่ายทางวิชาการ
15
16
ฝ่ายบริหารคณะอักษรศาสตร์เข้าศึกษาดูงาน ทางด้านการเงิน การบัญชี การคลังและพัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายบริหาร ฝ่ า ยบริ ห ารคณะอั ก ษรศาสตร์ เข้ า ศึ ก ษาดู ง านทาง ด้านการเงิน การบัญชี การคลังและพัสดุ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันพุธ ที่ 18 ตุลาคม 2560 เวลา 10.00–12.00 น.เพื่อนำ� มาพัฒนาระบบการดำ�เนินงานด้านงานคลังและพัสดุ ให้มีความคล่องตัว รวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้ได้แลก เปลี่ยนข้อมูลด้านต่างๆระหว่างคณะทั้งสอง ในการนี้ รองคณบดีฝ่ายบริหาร (รองศาสตราจารย์ ดร.เกษม ชูจารุกุล) ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารคณะวิศวกรรมศาสตร์ (คุณดวงพร พิสนุแสน) และเจ้าหน้าที่การเงิน การคลัง และพัสดุจำ�นวน 10 ท่านได้มาต้อนรับคณะอักษรศาสตร์และอธิบายงานให้อย่างละเอียด บุคลากรคณะ อักษรศาสตร์ที่เข้าร่วมศึกษางานมีจำ�นวน 6 ท่าน
17
18
เมื่อวันศุกร์ที่ 10 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์ ร่วมกับ ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ได้จัดการประชุมวิชาการ “นววิถี วิธีวิทยา: New Turns in the Humanities” ซึ่งเป็นการประชุมเผยแพร่ผลงานจากโครงการวิจัย วิธีวิทยาร่วมสมัยในการ ศึกษาวรรณกรรม โดยได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในการนี้ รองศาสตราจารย์ ดร. กิ่งกาญจน์ เทพกาญจนา คณบดีคณะอักษรศาสตร์ และรองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐมา พงศ์ไพโรจน์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ศิลปกรรมศาสตร์ สกว. ได้ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดและพิธีปิดตามล�ำดับ โดยมีคณาจารย์ นักวิจัย นิสิตนักศึกษา และผู้ที่สนใจเข้าร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก โครงการวิจัยนี้เป็นความพยายามที่จะแสวงหาความรู้และท�ำความเข้าใจการก่อตัวของกลุ่ม นักวิจารณ์ที่ได้สร้างสรรค์มุมมองและทฤษฎีใหม่ๆ ในการพิจารณาวรรณกรรมในช่วงสามสิบปีที่ ผ่านมา ผ่านการศึกษาแนวทางร่วมสมัยในการศึกษาวรรณกรรม 9 แนวด้วยกัน ได้แก่ มอง วรรณกรรมผ่านพื้นที่ นิเวศวิจารณ์ หลังมนุษยนิยม วรรณกรรมดิจิทัล การจ้องมองในภาพยนตร์ การแปลและวรรณกรรมวิจารณ์ ความทรงจ�ำวัฒนธรรม ผัสสศึกษาและผัสสวิจารณ์ และหัวเลี้ยว สู่ทฤษฎีผัสสารมณ์ การประชุมดังกล่าวได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมฟังเป็นจ�ำนวนมากและจะมี การรวมบทความที่น�ำเสนอในงานประชุมนี้ตีพิมพ์ในรูปแบบหนังสือรวมบทความโดยส�ำนักพิมพ์ เคล็ดไทยต้นปีหน้า
การประชุมวิชาการ
“นววิถี วิธีวิทยา: New Turns in the Humanities”
19
20
ฅนอักษรฯ เรียบเรียงโดย มีเกียรติ แซ่จิว
คุณนงเยาว์ จันทร์เขียน
คุณรำ�เพย ธนีสันติ์
“ปีนี้ก็เข้าปีที่ 37 แล้ว ปีหน้าเกษียณก็ 38 ปีพอดี” คุณร�ำเพย ธนีสันติ์ หรือที่เรารู้จักกัน ในชื่อเล่นว่า ‘พี่แตน’ ซึ่งถ้าเดินเข้า-ออกห้องสมุดตึกเทวาลัยอยู่เป็นประจ�ำ ก็จะเห็นพี่ แตนประจ�ำการอยู่หลังเคาน์เตอร์คอยให้บริการยืม-คืนหนังสือด้วยรอยยิ้มเปี่ยมความ สุข ทุกครั้งที่ผู้เขียนได้เจอพี่แตน นอกจากมาใช้บริการยืม-คืนหนังสือแล้ว ผู้เขียนมักคิด เสมอๆ ว่าบริเวณที่พี่แตนนั่งไม่มีแอร์ ไม่รู้สึกร้อนบ้างหรือ? แต่พอเห็นบ่อยครั้งเข้า ก็ ท�ำให้ผู้เขียนคิดถึง ‘เคล็ดลับในการมีความสุข’ ข้อหนึ่งของอาจารย์มิซูกิ ชิเกรุ ผู้วาด การ์ตูน“อสูรน้อยคิทาโร่” ที่ว่า ‘เชื่อมั่นในพลังของการรักในสิ่งที่ท�ำ’ ผู้เขียนจึงเชื่อว่าพี่ แตนต้องรักในสิ่งที่ท�ำมากถึงท�ำมาได้ยาวนานเกือบ 40 ปี ครั้งนี้พอได้มีโอกาสสัมภาษณ์ พี่แตนลงจดหมายข่าวเทวาลัย ผู้เขียนจึง ‘ได้คิด’ และเข้าใจว่า มากกว่าพลังของการรัก ในสิ่งที่ท�ำ ‘มีอะไร’ ที่ลึกซึ้งมากกว่านั้น...
21
“อาชีพที่รัก” พี่จบประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เอก บรรณารักษศาสตร์ วิทยาลัยครู พระนครศรีอยุธยา (ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัย ราชภัฎพระนครศรีอยุธยา) ปริญญาตรีเอก เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมทางการศึ ก ษา มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา เริ่ม เข้าท�ำงานที่คณะอักษรฯ ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2523 ก่อนหน้านี้เคยท�ำงานที่ห้องสมุดของ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยาหลัง เรียนจบได้ 1 ปี หลังจากนั้นมาสอบบรรจุเจ้า หน้าที่ห้องสมุดได้ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ต�ำแหน่งแรกเป็นข้าราชการ แล้วมาเปลี่ยน เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยเมื่อตอนปี 2554 หน้าที่หลักของพี่คือ บริการให้ยืม-คืนหนังสือ เก็บหนังสือ บริการตอบค�ำถาม ค้นหาหนังสือ และงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับ บัญชาเป็นต้น ก็รู้สึกดีใจที่ได้มาท�ำงานทาง ด้านนี้ แล้วก็มีความสุขกับการท�ำงาน เพราะ เรียนจบมาเราได้ท�ำอาชีพที่รัก “เรารักงานก็เหมือนเรารักบ้าน” คิดว่าที่ท�ำงานเป็นบ้านหลังที่สองของเรา และ เพื่อนร่วมงานก็เป็นญาติมิตร ท�ำให้เราท�ำงาน อย่างมีความสุข ที่ส�ำคัญเราต้องรู้จักรับฟัง ความคิดเห็นของคนอื่นด้วย ไม่ใช่เชื่อมั่นแต่ ความคิดเห็นของตัวเอง เรารักงานก็เหมือนกับ เรารักบ้าน เป็นบ้านหลังที่สองที่มีครอบครัว เป็นเพื่อนร่วมงาน ท�ำให้เรารักงานที่ท�ำ รัก เพื่อนร่วมงาน ชีวิตการท�ำงานจึงมีความสุข เพราะเรารักกันเหมือนพี่น้อง ดูแลกัน ไม่ เฉพาะในเรื่องงานอย่างเดียว เราจะคุยกันเรื่อง ครอบครัว เรื่องลูก เราคุยกันได้ทุกเรื่อง มันก็ เลยไม่ค่อยมีปัญหาอะไร “บริการให้ผู้ใช้ตามจุดประสงค์ที่มุ่งหมาย” ปัญหางานห้องสมุด ส่วนใหญ่ผู้ใช้บริการหา หนังสือไม่เจอแล้วมาสอบถาม เราก็จะช่วยไป ค้นหา บริการให้ผู้ใช้ตามจุดประสงค์ที่มุ่ง หมาย ถ้าเรายังหาไม่เจอ เราก็จะแนะน�ำว่า
ห้องสมุดที่ไหนมีหนังสือเล่มนี้บ้าง นี่คือการแก้ปัญหาอย่างหนึ่ง ปัญหาในการท�ำงาน พี่จึงคิดว่า ทุกปัญหามีทางออก เราค่อยๆ คิด ค่อยๆ ใจเย็นๆ อย่าใช้อารมณ์วู่วามแล้วปัญหามันจะมี ทางออกของมันเอง ถ้าเราแก้ไม่ไหวจริงๆ เราก็ปรึกษาคนที่มีความรู้มากกว่าเรา หรือปรึกษา เพื่อนร่วมงานให้ช่วยกัน นี่คือการแก้ปัญหาอย่างหนึ่ง ปัญหาส่วนใหญ่จึงไม่ใช่เรื่องใหญ่ “นิสิตรุ่นเก่าจะมีความอ่อนน้อมมากว่านิสิตสมัยนี้” คือพี่เห็นนิสิตมาหลายรุ่น มุมมองที่มีต่อนิสิตอักษรฯ ส่วนตัวพี่คิดว่านิสิตรุ่นเก่าจะมีความ อ่อนน้อมมากว่านิสิตสมัยนี้ แต่สมัยนี้ด้วยสังคมมันเปลี่ยนไป เขาจะมีโลกส่วนตัวของเขาสูง มี ความเชื่อมั่นในตัวเองสูง ความอ่อนน้อมจะมีน้อยลงกว่านิสิตสมัยก่อน อย่างเช่นอาจารย์ศิร ประภา (ผศ.ดร.ศิรประภา ชวะนะญาณ-ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชาปรัชญา) เจอพี่ก็จะ ไหว้ตลอดเลย นิสิตที่พี่เห็นจนมาเป็นอาจารย์ในวันนี้ก็มีอยู่หลายคนนะ เช่นอาจารย์ดารินทร์
22
(ผศ.ดร.ดารินทร์ ประดิษฐ์ทัศนีย์-ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชา อังกฤษ) อาจารย์สถาพร (ศ.ดร.สถาพร ทิพยศักดิ์-ปัจจุบันเป็นอาจารย์ ประจ�ำภาควิชาภาษาตะวันตก) อาจารย์ธีรนุช (อ.ดร.ธีรนุช โชคสุวณิช) อาจารย์ศิริพร ภักดีผาสุข (ผศ.ดร.ศิริพร ภักดีผาสุข-ปัจจุบันทั้งสองเป็น อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาษาไทย) อาจารย์ศิริพร ศรีวรกานต์ (ผศ. ดร.ศิริพร ศรีวรกานต์-ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวรรณคดี เปรียบเทียบ) อาจารย์จินดารัตน์ (ผศ.จินดารัตน์ เบอร์พันธุ์) นี่ก็เห็นมา ตั้งแต่ตอนเป็นนิสิต อาจารย์สุรเดชนี่ก็ใช่ (รศ.ดร.สุรเดช โชติอุดมพันธ์ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควรรณคดีเปรียบเทียบ) ตอนนี้มาใช้ห้อง สมุดบ่อยๆ อาจารย์ที่เป็นนิสิตสมัยก่อนเกือบทุกท่านเลยใช้ห้องสมุด บ่อยมาก ปัจจุบันนิสิตใช้ห้องสมุดน้อยกว่าเมื่อก่อน ก็จะมีมายืมหนังสือ ตอนช่วงใกล้สอบ อาจารย์ให้รายงานนิสิตจะมาใช้ห้องสมุดมากช่วงนั้น อาจจะเพราะสมัยนี้มันมีสื่อโซเชียลฯ เข้ามาช่วย ความสะดวกนิสิตหา ข้อมูลจากบ้านได้ เมื่อก่อนต้องมาหาเอง เครื่องถ่ายเอกสารก็ไม่มี นิสิต ต้องจดเอง เดี๋ยวนี้มันมีทั้งซีร็อกซ์ ทั้งกล้องถ่ายรูปได้ สะดวกขึ้น อาจจะ เป็นเพราะสิ่งเหล่านี้ก็ได้นิสิตเลยเข้ามายืมหนังสือน้อยลง แต่ว่าคนที่เขา อ่านจริงๆ เขาก็เข้ามาใช้บริการอยู่เรื่อยๆ
ชาวคณะห้องสมุดอักษรศาสตร์และหอสมุดกลาง ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันใน ชื่อ ‘ส�ำนักงานวิทยทรัพยากร’ และตลอดหลายปีที่ผ่านมา พี่ชื่นชมคุณ สุปริญา ลุลิตานนท์ อดีต ผอ.ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์ ซึ่งเป็นเหมือน ครูด้านการท�ำงานและด้านการประหยัดอุปกรณ์ต่างๆ ในการท�ำงาน
“แรงจูงใจในการท�ำงานเหมือนน�้ำซึมบ่อทราย” ตอนเข้ามาท�ำงานใหม่ๆ เงินเดือนน้อยก็จริง แต่ว่ามันมี ‘แรงจูงใจ’ คือ เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ เบิกค่าเล่าเรียนบุตรได้ พอเกษียณก็มีเงิน บ�ำเหน็จ-บ�ำนาญ อันนี้คือแรงจูงใจหลัก แต่เด็กสมัยใหม่ที่เป็นพนักงาน มหาวิทยาลัยไม่มีตรงนี้แล้ว เพราะฉะนั้นพอเขาได้งานที่ดีกว่า เงินเดือน เท่ากันเขาก็ไป มันไม่มีแรงจูงใจ ไม่เหมือนคนสมัยก่อนที่เขาท�ำงานอยู่ กันมาได้ยาวนานเหมือนน�้ำซึมบ่อทราย อีกอย่างพนักงานที่อยู่มาแต่เดิม กับเด็กรุ่นใหม่ ความผูกพันก็จะไม่เหมือนกัน บางคนเขาก็ดี เขารู้จักเด็ก รู้จักผู้ใหญ่ เจอกันเขาก็ทักทาย ยกมือไหว้ พี่ว่าด้วยลักษณะงานสมัยนี้ กับสมัยก่อนมันแตกต่างกันด้วย เช่น การท�ำข้อสอบ ก็จะมีเวรไปช่วยกัน ท�ำข้อสอบ ไปช่วยเรียงสมุดที่เป็นแบบสอบถามช่วยกันเรียงเป็นมัดๆ สมัยก่อนตึก 1 จะอยู่ที่อาคารมหาจุฬาฯ ก็จะมีห้องหนึ่งเป็นห้องโรเนียว บางทีเรากินข้าวเสร็จไม่รู้ไปไหน เราก็มาช่วยป้าที่เขาเป็นนักการฯ มัน จึงกลายเป็นความผูกพัน แต่พี่คิดว่าไม่ว่าจะสมัยไหนมันก็แล้วแต่บุคคล การมีน�้ำใจช่วยเหลือกัน มันเป็นเรื่องที่ดีนะ เป็นประสบการณ์การ ท�ำงานของเราด้วย
“เนื่องในคณะอักษรครบ 100 ปี มีอะไรอยากฝากถึงคณะ” คณะอักษรศาสตร์ เป็นสถานที่อันทรงเกียรติมีภูมิหลังมากมาย ผลิต บุคลากรที่มีชื่อเสียงทางด้านอักษรศาสตร์ให้กับประเทศมาหลายรุ่น และสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยหลายด้าน ไม่เฉพาะทางด้านอักษร ศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์แค่นั้น ส่วนตัวพี่เองพี่เกษียณไปแล้ว พี่ก็จะ รักษาภาพลักษณ์ของคนอักษรศาสตร์ให้ติดตัวตลอดไป เป็นคนดีของ สังคมและประเทศต่อไปค่ะ
“ได้รับพระราชทานทุนไปศึกษาดูงานที่ประเทศสิงคโปร์จากสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” เรื่องที่เป็นความภาคภูมิใจและประทับใจคือ ได้รับพระราชทานทุนไป ศึ ก ษาดู ง านที่ ป ระเทศสิ ง คโปร์ จ ากสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด ากั บ
“รู้สึกอย่างไรบ้างที่จะเกษียณแล้ว (30 ก.ย.2561)” พี่ท�ำงานมา 37 ปี ก็รู้สึกเสียดายนะ เพราะที่นี่ให้สิ่งดีๆ เยอะ แต่ว่าด้วย สุขภาพ เพราะพี่มีโรคประจ�ำตัวเป็นโรคหอบ และตอนนี้มีหลานด้วย ก็ อยากใช้เวลาอยู่กับครอบครัว แต่ก็จะมาที่นี่บ้าง คิดถึงก็จะมาเดือนละ ครั้งสองครั้ง ส่วนงานอดิเรกตอนนี้พี่อ่านหนังสือหลายประเภท อยาก อ่านอะไรหยิบเรื่องไหนก็จะอ่าน อยู่กับหลานก็จะอ่านนิทานให้หลานฟัง ปลูกฝังให้เขารักการอ่านพี่จะซื้อหนังสือนิทานให้หลานตั้งแต่หลานยัง อ่านหนังสือไม่ได้ ให้เขาได้รักหนังสือ ได้จับหนังสือ ได้เห็นรูป ตอนนี้ เขากลายเป็นเด็กชอบอ่านหนังสือแล้ว พี่คิดว่าอันนี้คือสิ่งส�ำคัญของทุก ครอบครัว ควรจะปลูกฝังเด็กตั้งแต่เล็กๆ นอกเหนือจากอ่านหนังสือ พี่ก็ ชอบท่องเที่ยว รวมกลุ่มไปกับเพื่อนๆ ที่อักษรฯ มีพี่ๆ ที่เกษียณไปแล้ว บ้าง และน้องๆ ที่ท�ำงานในอักษรฯ ก็มี ปีหนึ่งเราก็จะไปกันครั้งสองครั้ง
23
ข่าวบริการวิชาการ: ใคร ท�ำอะไร ที่ไหน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริตตา ศรีรัตนา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริตตา ศรีรัตนา ภาควิชาภาษาอังกฤษ ได้รับเชิญจาก Vietnam Academy of Social Sciences ให้น�ำเสนอผลงานทางวิชาการหัวข้อ “Re-Evaluating the Practice, Politics and Propaganda of Referenda: Lessons from Brexit and Beyond” ในงานสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ “Britain Exits the European Union (Brexit): Opportunities, Challenges and the Impacts on the World, Region and Vietnam” ซึ่งจัดโดย สถาบันยุโรปศึกษาแห่ง Vietnam Academy of Social Sciences ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2560
24
ปฏิทินกิจกรรมคณะอักษรศาสตร์ เดือนพฤศจิกายน 2560
23
23
24
25
สาขาวิชาภาษาอิตาเลียน
ภาควิชาภาษาไทย
ภาควิชาภาษาศาสตร์
BALAC
The 2nd Italian Cuisine Week in the world 2017 (เวลา 9.0012.00 น. ณ ห้อง 304 ชั้น 9 อาคาร มหาจักรีสิรินธร)
พิธีถวายสักการะพระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องใน วันมหาธีรราชเจ้า (เวลา 16.00 น. เป็นต้นไป ณ โถงชั้น 3 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์)
"น�ำเสนออย่างไรให้ชนะใจผู้ฟัง” Balac Talks โดยคุณก้อง ฤทธิ์ดี โดย อาจารย์ ดร.ชนกพร พัวพัฒน- (เวลา 13.00-15.00 ณ ห้อง 105 กุล (เวลา 13.30-15.30 น. ณ ห้อง อาคารมหาจุฬาลงกรณ์) 401/5 อาคารมหาจักรีสิรินธร)
25
Year 9, No. 22: 18 November 2017 News from the International Affairs Section Associate Dean in Internationalization and Organizational Image Enhancement, Associate Professor Suradech Chotiudompant, Ph.D., and five delegates from the French Section, Department of Western Languages, Faculty of Arts, visited high-ranking universities in the Kingdom of Morocco in an attempt to expand our academic network, explore further research collaboration, and persuade more universities in Francophone countries to accommodate an increasing number of exchanges, both for students and faculty staff. Together with the Associate Dean, the team comprised Suwanna Satapatpattana, Ph.D., Head of the French Section, and other French instructors including Sirivan Chulakorn, Ph.D., Nitiwadee Srihong, Ph.D., Assistant Professor Warunee Udomsilpa, Ph.D., and Assistant Professor Piriyadit Manit, Ph.D. The trip commenced on November 13, 2017, with the visit to the Faculty of Letters and Human Sciences of the Université Sidi Mohamed Ben Abdellah located in the city of Fès, towards the East of Morocco. The group from Chulalongkorn University was warmly welcomed by university representatives headed by Professor Ahmed Amrani, the Associate Dean in Scientific Research and Cooperation, and Professor Mohammed Moubtassime, Vice President of South-North Civilization Dialogue Center. The meeting began with the introduction of the Faculty
Visiting Moroccan Universities
Université Sidi Mohamed Ben Abdellah
26
the Royal Thai Embassy by Professor Amrani detailing how the Faculty was among the oldest established in the 17th century; and, it has over the years groomed a number of renowned Arab poets and thinkers. Among subjects available for registration are Arabic Studies, French Literature and Culture, English, German, and Human Sciences (which mean history, geography, etc.) While the BA is an open-access program boasting approximately 12,000 students, their MA and PhD programs are of limited access with entry exams required for interested applicants. After the introduction, the meeting went on with the discussion of the possibility of an agreement on academic cooperation. As the Université Sidi Mohamed Ben Abdellah enjoys the policy of openness in international collaboration with various universities across the globe, the faculty executives agreed to draft a convention for its collaboration with the Faculty of Arts, Chulalongkorn University, with a specific focus on student and staff mobility and research collaboration between scholars of the two universities. After a successful meeting with the Université Sidi Mohamed Ben Abdellah, the group of delegates from Chulalongkorn University went on to Rabat, the capital of Morocco, on November 14, 2017, to visit the Royal Thai Embassy, upon the invitation extended by His Excellency Suphorn Pholmani, the Ambassador of Thailand to the Kingdom of Morocco at the Residence of the Ambassador. The Ambassador discussed how the Moroccan government has been promoting the bipartite academic collaboration, especially through the annual granting of fifteen scholarships for Thai students to study at various Moroccan universities. The meeting ended with a formal luncheon graciously hosted by the Ambassador. Also present at the luncheon were First Secretary Jaya Patrachai and Second Secretary Konglarp Tinakorn na Ayudhya. After the visit at the Embassy, the group continued to the Faculty of Letters and Human Sciences, Université Mohammed V of Rabat, arguably one of the best universities in Morocco. The group was welcomed by Professor Jamal Eddine El Hani, Dean of the Faculty, Professor Yamina El Kirat El Allame, Vice Dean for Research and Cooperation, as well as other professors from the French Department. According to the Dean, the Faculty of Letters and Human Sciences of the Université Mohammed V would like to extend its academic network to Southeast Asia. However, he stressed that the academic collaboration should not only be focused on French culture, but more specifically on Moroccan culture. This Moroccan dimension means that the disciplines to be involved in this academic networking should not be restricted to the French Department, but also to Islamic Studies, geography, as well as such thematic research issues as tour-
Université Mohammed V of Rabat
ism studies and ethnic culture. The friendly meeting finished with the discussion on the possibility of credit transfer, as the Université Mohammed V is currently adopting a module system, which is different from the grade system at Chulalongkorn University. However, the team of administrative officials, according to Dean El Hani, are at work in developing a system of credit transfer and will notify Chulalongkorn University once the system is completed. On November 15, 2017, the delegates from the Faculty of Arts, Chulalongkorn University, went on to Casablanca, the largest city in Morocco located in the central-western part of the country. They visited the Faculty of Letters and Human Sciences Ben Msik of the Université Hassan II. Greeted by Professor Abdelkader Gonegai, Dean of the Faculty, and Professor Abdelmajid Bouziane, Associate Dean, the group were also warmly welcomed by other members of the Faculty, especially those from the Department of French Language and Literature. After the Dean’s informative introduction to the Faculty, the meeting entailed the introduction of each instructor and a detailed, active discussion of avenues of collab-
27
Université Hassan II
Université Cadi Ayyad
oration that will yield mutual benefit to both universities. One possibility is the involvement in the artistic sphere, as the Université Hassan II is famous for its yearly art festival, in which international participants have been invited to showcase their artistic works to Moroccan residents. Another possibility is the student mobility and exchange, both in the undergraduate and graduate levels. Students may be encouraged to work on research that has a comparative focus, such as the comparison between Thai and Moroccan culture so that they can directly benefit from their time abroad. Those interested in Arab civilization may also visit the Université Hassan II to join workshops and language courses. The meeting ended amicably with the group from Thailand being invited for a traditional lunch with their Moroccan counterparts. The last meeting took place in Marrakech on November 16, 2017, with representatives from the Université Cadi Ayyad, one of the most respected and largest universities in Morocco. Greeted by Professor Abdellatif Souhel, Vice President for Scientific Research, Cooperation, and Innovation, the Thai delegates were briefly introduced to the administrative and academic structure of the Université Cadi Ayyad. Then, the meeting moved and continued in the Dean’s Office, the Faculty of Letters and Human Sciences, where they were greeted by Professor Abderrahim Benali, who is currently the Dean of the Faculty, along with other faculty members from the Department of French Language and Literature. Like the Université Sidi Mohamed Ben Abdellah, the Université Cadi Ayyad is also an open-access university. Their Faculty of Letters and Human Sciences annually recruits more than 600 students for their BA programs. Among their popular subjects are folklore, cultural heritage, tourism, and sustainable development, all of which are closely related to the unique geography of Marrakech and its surrounding region. The discussion then focused on the possible areas of cooperation, such as student and staff mobility, and research collaboration, especially in the field of tourism and folklore. A general agreement will be subsequently drafted in order to facilitate these activities. The meeting finished with lunch organized by the Dean at a local restaurant, in which all those present at the meeting joined and continued their discussion in a lively manner. Despite the brevity of the trip, the delegates managed to initiate the networking with four high-ranking universities in Morocco. With their warm hospitality and the vibrant academic atmosphere, students and faculty members from the Faculty of Arts, Chulalongkorn University, will soon embrace the unique Moroccan cultural and linguistic traits and consider Morocco as another option for their destination for academic exchange and collaboration.
28
Meeting with a visitor from Jagiellonian University Poland
On October 31, 2017, a delegate from
The proposed academic activities include student/staff exchange
Jagiellonian University (UJ), Krakow, Poland,
programs and visiting scholar/professor programs. He also indicated
Professor Adam Wacław Jelonek, Ph.D. visited
that the UJ especially would like to invite to the UJ experts in Buddhist
CU International Affairs Office. In addition to
and religious studies and a Thai language instructor. To express the
the staff from the International Affairs Office,
seriousness of their intention, the UJ is offering not only scholarships to
Professor
by
exchange students, but also accommodation and a generous allowance
representatives from the Faculty of Political
to the visiting scholars. The relationship between the UJ and CU is very
Science and the Faculty of Arts, Assistant
promising as collaborations between the researchers in the field of
Professor
medical science have been ongoing since 2012. The joint research
Jelonek
Nirada
was
received
Chitrakara,
Ph.D.
and
Assistant Professor Verita Sriratana, Ph.D.
projects are in the fields of medical science, nursing, biology, mathematics, neuroscience, pharmacology, and physics and astronomy.
As a former ambassador of the Republic of
Established since 1364 the UJ is the first university of Poland. It is also
Poland to Malaysia and a Malaysian citizen,
now ranked as number two in the country after the University of Warsaw.
Professor Jelonik is never a stranger to the
The UJ’s strength is in the fields of medical science and engineering.
Southeast Asian region. The purpose of his visit was to extend the UJ’s network to CU through the signing of a university level MoU.
29
PHOTO CREDIT: Ajarn Rosanaporn Viravan
Asian Universities Alliance Executive Meeting and Youth Forum During November 16-18, 2017, Chulalongkorn University hosted the Asian Universities Alliance (AUA) Executive Meeting and Youth Forum where students and administrative staff from affiliated Asian universities were invited to join a forum and a meeting respectively. The purpose of the Youth Forum was for students to discuss and share information on relevant issues and matters of interest, while the purpose of the Executive Meeting mainly concerned the several aspects of international collaboration. The welcoming reception on November 16 was attended by all participants and invited CU faculty staff which included the Dean of the Faculty of Arts, Associate Professor Kingkarn Thepkanjana, Ph.D., Associate Professor Pachee Yuvachita, Ph.D., and Rosanaporn Virawan. In the forum, students from different countries provided presentations on previously assigned topics and attended talks by renowned local experts and scholars. Also included in the activities were cultural workshops, field trips to Sampran Riverside Resort and the Royal Crematorium at Sanam Luang. The event was impressive and successful with the help of very capable CU students of all levels from various faculties. The newly established Asian Universities Alliance (AUA) was launched in Beijing on April 29, 2017 with the initiation of Tsinghua University, China. Attempting to move forward Asian perspectives globally, the association focuses on promoting student and faculty mobility within Asia, and supporting collaborative research among member institutions.
The founding members are: Chulalongkorn University (Thailand) Hong Kong University of Science and Technology Indian Institute of Technology Bombay King Saud University (Saudi Arabia) National University of Singapore Nazarbayev University (Kazakhstan) Peking University Seoul National University United Arab Emirates University Universitas Indonesia University of Colombo (Sri Lanka) University of Malaya (Malaysia) The University of Tokyo University of Yangon (Myanmar) http://monitor.icef.com/2017/05/top-asian-institutions-form-new-universities-alliance/
30
MA Colloquium On Friday, November 10, 2017, the Department of English organized the MA Informal Colloquium with the participation of MA students in English and the faculty staff from the English Department. The purpose of the gathering was for students to share their research progress and their opinions and concerns regarding their current graduate studies. The role of the faculty staff was to listen to the students, answer questions, and give advice. The colloquium is organized annually to provide not only academic but also emotional supports for the MA students who could be facing difficulties in their studies.
31
SOUTH ASIAN DIASPORA AND POPULAR CULTURE IN ASIA The 1st Asian Consortium for South Asian Studies
REPORTED BY PATARIN THUMMAPORN, THIRD YEAR, ENGLISH MAJOR AND WISAMON MALEERATANA, FORTH YEAR, ENGLISH MAJOR FACULTY OF ARTS, CHULALONGKORN UNIVERSITY
On Saturday 4 – Sunday 5 November 2017, the 1st Asian Con-
The consortium was divided into three sessions. On the first day
sortium for South Asian Studies on South Asian Diaspora and
before the first session, Professor Koichi Fujita, the convener
Popular Culture in Asia was jointly organised by INDAS-South
of INDAS- South Asia project, Kyoto University, gave a brief
Asia Kyoto University, Hankuk University of Foreign Studies,
report on the Asian Consortium for South Asian Studies. Then,
National University of Singapore, Vietnam Academy of Social
Dr. Pirongrong Ramasoota, the Vice President of Chulalong-
Sciences and Indian Studies Centre of Chulalongkorn University.
korn University kindly gave a welcome and opening remarks
The historic event was held here at the Mahachulalongkorn build-
which mentioned the significance of this consortiumand and
ing. Chulalongkorn University had a chance to receive a number
expressed her hope for younger generations’ participation. At
of brilliant scholars who presented their papers and exchanged
the end, Professor Ajay Dubey from Jawaharlal Nehru, India,
valuable opinions.
delivered the Keynote address on ‘India’s Engagement with its Diaspora: Evolution, Issues and Challenges’ that raised
32
questions and awareness and set the overall atmosphere of the
Sunday 5th, the second day of the consortium was launched with
following sessions.
an interesting paper by Professor Mineo Takada,the researcher
After a delicious Indian lunch, the afternoon session was honored
from Hiroshima Shudo University, Japan. He addressed his pa-
by Professor Riho Isaka from University of Tokyo, Japan, who was the moderator. The first paper presentation of the day was by Ven. Anil Sakya from Mahamakut Buddhist University. His paper on the Nepalese Diaspora in Bangkok sheds light to the often overlooked Nepalese population in Thailand. We learned the reasons behind their migration to the Pilok mines in Kanchanaburi province and their relocation to large cities after the mines closed down. The next paper was “Indian Migrants and Their Experiences in Malaysian Multiethnic Society” by Professor Ji-Eun Lee from Hankuk University of Foreign Studies, South Korea. His paper addressed the different experiences that each ethnic groups went through during World War II. The third presentation was delivered by Professor Masako Kudo from Kyoto Women’s University in Japan. She presented the topic of “Negotiating Identities, Constructing Cultural Forms : A Case of Muslim Youth Born to Japanese Mothers and Pakistani Fathers.” Her paper was focused on the younger generations, who have to negotiate their religious and cultural identity between the secular Japanese and the Islamic Pakistani. The study was based on interviews from children of Japanese and Pakistani parents, showing the diversity of their experiences and the different ways they build their identity. The final speaker of the day was Professor Ronojoy Sen from National University of Singapore. He illustrated his paper, “A Corner of A Foreign Field : The South Asian Diaspora and Cricket in Singapore.” Although the paper was still in a drafting stage, the focus on cricket as an outlet for cultural representation among south asians in Singapore is very illuminating. We learn the origins of cricket in South Asia and how, later on, the cricket leagues were divided along racial lines and the present day shift to division between class lines. Many of the attendees expressed interest in reading the completed paper.
per on “A South Asian Muslim Descendants’ Community in Northern Thailand : The process of its formation.” He focused on the Bangladeshi diaspora in northern Thailand, examining the causes that brought them to Thailand and the route they taken to get here. One of the interesting causes Professor Takada suggested was the “Burmanization” of Burma, presently Myanmar, forced non-Burmeses to leave the country. This shows the effect politics has on the migration and identity of people. The next speaker was Professor Rajesh Rai from National University of Singapore on the topic of “India cannot forget her sons and daughters overseas’: India’s Engagement with its Diaspora : Prospects and Challenges.” Professor Rajesh Rai gives an comprehensive overview of the Indian diaspora and Indian government’s changing policies toward the diaspora through the years. The speaker also explained the diverse situations for South Asian diaspora across the globe. In Malaysia, the diaspora is the poorest ethnic minority, while Singaporean South Asians have the highest average household income. And at the end of the morning sessions, Professor Chan-Wahn Kim from Hankuk University of Foreign Studies, South Korea gave a presentation on India-Korea Relations (Tentative). His paper focuses on the economic start of the Korean-Indian relationship, where Korea was one of the first foreign companies to invest in India. Then, he talked about the better-known cultural wave that swept across North Eastern India. People started consuming Korean entertainment after the separatist banned Bollywood. Nowadays, Korean culture is very popular in North Eastern India, where Korean conventions draw large crowds of attendees. After a delicious Indian lunch, the lecturers and the attendees began the afternoon session. The first speaker was Professor Surat Horachaikul from Chulalongkorn University, whose presentation was on the topic of “Gurmokh Singh Sachdev : From a Victim of the 1947 Partition to a Philanthropist in Thailand.” We are intro-
33
duced to the amazing story of Sachdev’s life, from his days sell-
The final presentation by Professor Jirayudh Sinthuphanwas
ing toffee on crowded trains in Lahore to his successful business
from Chulalongkorn University was titled “Disappearing Acts:
in Thailand. Professor Horachaikul elaborated on Sachdev’s life
South Asian Thais and the Contemporary Thai Cultural Public
philosophy and his philanthropic efforts in Thailand and India.
Sphere,” and addressed the role of South Asians in Thailand’s
We also had the honor of having Sachdev’s granddaughter in the
public sphere, and their lack of representation in Thai media. Al-
audience. The next speaker was Professor Yoshiaki Takemura
though, they had greatly contributed to the Thai entertainment in-
of Japan’s National Museum of Ethnology, who presented an in-
dustry, their contributions are often overlooked and downplayed.
teresting paper, “Rediscovering ‘Indianness’ or ‘Belonging’: Sin-
This was one of the most interesting topics for us, as Faculty
gaporean Indian Dancers and Their Encounter with Southeast
of Arts students, because the accessibility of the topic and the
Asia at Ramayana Festivals.” His paper talks about the cultural
beautiful visual aids. After the last presentation, the moderator,
significance of Ramayana in Singaporean society and the Indian
Professor Minoru Mio, quickly concluded the consortium and the
dancer’s minimal engagement with the source material.
lecturers left to organize the next consortium.
After a short break, when the guests and students went outside to
As students who had an exceptional opportunity to attend the
enjoy the refreshing breeze and the scenic picture of the Devalai
presentation, we are very impressed by the academic atmos-
Buildings. We returned to the final session of the Consortium for
phere. The well researched papers and each lecturers’ passion
Southeast Asian Studies. First, Le Thi Hang Nga from Vietnam
on their topic captivated us. After each paper, we also saw the
Academy of Social Sciences presented her paper, “Indo-Vietnam
academic’s enquiring minds when they asked the speaker ques-
Religious Interactions through a Study of Hindu Temples in Ho
tions. It is a rare opportunity to be a part of such an lively academ-
Chi Minh City.” The paper analysed Indian architectural elements
ic setting. We also learned more about the South Asian diaspora
in three Hindu temples. She also raised an interesting observa-
across Asia, how they live, how they came to their new countries,
tion on the numbers of Indian diaspora in Ho Chi Minh City; the
and how they keep their connections with the motherland they
three temples are located close to each other, suggesting a siz-
left behind. We might not realize it, but the South Asian diaspora
able South Asian population, but the present-day South Asian
is extremely diverse and their experiences reflect their diversity.
population in Ho Chi Minh City is quite small. This discrepancy prompted a lively debate.
34
News from the Centre for European Studies
REFLEXIONS ON THE VOYAGES TO EUROPE OF KING CHULALONGKORN2017 On Tuesday 14 November 2017, the Centre for European Studies at Chulalongkorn University, in collaboration with the GermanSoutheast Asian Center of Excellence for Public Policy and Good Governance (CPG), Thai-Deutsche Gesellschaft and Konrad Adenauer Stiftung, organised a one-day colloquium on the topic of “Reflexions on the Voyages to Europe of King Chulalongkorn”. This academic event was held on the occasion of the 120th Anniversary and the 110th Anniversary of the Visits to Europe of King Chulalongkorn in 1897 and 1907. The colloquium was also held to commemorate the 100th Anniversary of Chulalongkorn University. This event would not have
35
been possible without the special support from the Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University. Assistant Professor Verita Sriratana, PhD, Deputy Director for Academic Affairs of the Centre for European Studies, who is Lecturer at the Department of English, Faculty of Arts, Chulalongkorn University, acted as moderator for all sessions. Opening remarks were delivered by Assistant Professor Pirongrong Ramasoota, PhD, Vice President for Social Outreach and Global Engagement of Chulalongkorn University, Professor Pornsan Watanangura, PhD, President of ThaiGerman Society, Assistant Professor Natthanan Kunnamas, PhD, Director of the Centre for European Studies at Chulalongkorn University, and Mr Henning Glaser, Director of CPG, Faculty of Law, Thammasat University. The colloquium comprised presentations of 7 academic papers as follows, 1. “The Royal Visits to Europe and the Sovereignty of Siam: The Visits to Europe of HM. King Chulalongkorn, HM King Prajatipok and HM King Bhumibol” by Professor Pornsan Watanangura, PhD, Associate Fellow, Academy of Arts, Royal Society of Thailand 2. “The Visits to Europe and the Judicial Sovereignty of Siam” by Mr Krit Kraichitti, Former Thai Ambassador of Hungary and Malaysia 3. “The Reception of Western Political Thought on the Forms of Government in Siam presented by Professor Chaiyan Chaiyaporn, PhD, Department of Government, and Mr Ekekalak Chaiyapumee, Doctoral Candidate in Political Theory, Department of Government, Faculty of Political Science, Chulalongkorn University 4. “King Chulalongkorn’s Visits to Europe and the Thai Economic Development” by Associate Professor Porphant Ouyyanont, PhD, School of Economics Sukhothai Thammathirat Open University
5. “King Chulalongkorn and the Foundation of Thai Telecommunication: The Study, Analysis and Interpretation of the Thai, English, French and German Documents” by Professor Piyanart Bunnag, PhD, Fellow, Academy of Politics, of the Royal Society of Thailand 6. “Governing the Muslims during King Chulalongkorn’s Reign” by Assistant Professor. Julispong Chularatana, PhD, Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University 7. “The Chakri-Kings of Siam and the Exchange of Royal Orders with the European Courts” written by Assistant Professor Dinar Boontharm, PhD, and delivered by Assistant Professor Bhawan Ruangsilp, PhD, Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University Scholars, representatives from the government and private sector, as well as representatives of several embassies, namely, the Embassy of Austria, the Embassy of Germany and the Embassy of Poland, attended the colloquium. In the afternoon session, the organisers were honoured by the presence of HE Mr Kirill Barsky, Ambassador of the Russian Federation to the Kingdom of Thailand. The Centre for European Studies at Chulalongkorn University would like to thank our partner organisations, namely, the German-Southeast Asian Center of Excellence for Public Policy and Good Governance (CPG), Thai-Deutsche Gesellschaft and Konrad Adenauer Stiftung, as well as all the speakers and staff who had contributed to make this event a success. The Centre would also like to extend its appreciation to the Department of History, Faculty of Arts, Chulalongkorn University.
36
The Metropolis:
BALAC Open House 2017 BALAC Nina Simpson
The Bachelor of Arts in Language and
language. The event was hosted by the
Arts and BALAC Director. This was
Culture (BALAC) on 8th October 2017
students of the BALAC programme and
followed by 4 lectures on various cultural
from 10.00 - 16.00 held the BALAC Open
was open to the public, targetting mainly
study topics by BALAC’s own faculty
House in the theme of the metropolis,
secondary school students and parents.
members: starting with “Are You What
with the purpose of publicizing the
The event was held in 4 different rooms
You Eat?” by Dr. Lowell Skar, then, “Two
BALAC programme to the general
which served different purposes: the
Concepts of Education: Humanising
public, as well as promoting the new
Main Room, the Game Room, the
Students, Teachers and Education”
curriculum which will be implemented in
Discussion Room and the Exhibition
by Dr. Sueng Soo Kim. The afternoon
the upcoming academic year of 2018.
Room.
sessions
The main changes in the programme are
included
“Thai-Japanese
Cultural Exchanges in Everyday Life”
the new concentrations offered which
The Main Room held the opening
by Dr. David Malitz and “Introduction
are Media Cultures and Global Cultures
ceremony with opening remarks by
to Gender Studies” by Dr. Kyja Noack-
alongside the original concentrations
Associate
Kingkarn
Lundberg. The next session was an
offered of studies in a chosen foreign
Thepkanjana, Dean of the Faculty of
alumni and senior student talk in which
Professor
Dr.
37
the guests could learn about the academic, student life and future prospects to get an idea of what to expect while studying in the BALAC programme. For a less academic approach and more of an interactive experience, the Game Room was designed to test out the participants’ critical thinking skills by solving the riddle, “What is Missing from BALAC?”. The game was a simulation of a museum setting where guests entered in small groups and solved the riddle together. Apart from this room, the Discussion Room was very popular amongst guests as it served the purpose of simulating classroom-styled discussion with various media analysis topics led by BALAC students. This gave the guests an opportunity to utilise their analytical skills, get a taste of the learning environment and exchange their ideas. Finally, the Exhibition Room exhibited all the details about the new and improved curriculum alongside student activities with guided explanations by BALAC students. Overall, as the programme's first official Open House, the event was deemed successful as it welcomed over 150 guests and received positive feedback. In the future BALAC hopes to host more Open Houses and academic activities for the general public to spark an interest and enhance the understanding of the range of cultural studies offered by their programme.
38
CALENDAR OF EVENTS 23
23
24
25
Italian Section
Department of Thai
Department of Linguistics
BALAC
The 2nd Italian Cuisine Week Paying Homage to King Rama in the world 2017 (9:00-12:00 VI on Maha Dhiraraja Day hrs, Room 304, Maha Chakri (16:00-18:00 hrs, 2nd floor, Sirindhorn Building)
Maha Chulalongkorn Building)
Department of Linguistics | BALAC Talk Series "Read, "How to Create a Presenta- Write, Watch: The Misfortune tion to Win Hearts and Minds" of an Autodidact" by Kong by
Chanokporn
tanakun,
PhD
Puapat- Rithdee (conducted in English) (13:30-15:30 (13:00-15:00 hrs, Room 105,
hrs, Room 401/5, Maha Chakri Maha Chulalongkorn Building) Sirindhorn Building)
The Faculty of Arts Public Relations and Internal Communications Assistant Professor Dr Siraprapa Chavanayarn –PR Coordinator
Please send any announcements or information on your current as well as past events to Ms Kankanok Chimsang at artspr08@hotmail.com, pr.arts.chulalongkorn@gmail.com Tel. 662 218 4885