Asean prosecutor community issue2

Page 1

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

1


The Great Crown of Victory (Pra Maha Pichai Mongkut) placing over the Sacred Magnifying Glass (Pra Van Suriyakan) and the Balance of Justice having the Royal Sword at the core (Tra Chu Rup Pra kan) laying over the Wreath of Victory Leaves (Chor Chaiyapruk) means the authorities and functions of the Public Prosecutor in the thorough, fair and decisive application of laws to overcome the injustice.

พระมหาพิชัยมงกุฎ ประดิษฐานเหนือพระแว่นสุริยกานต์ และตราชูรูปพระขรรค์ รองรับด้วยช่อชัยพฤกษ์ มีความหมายถึง อำ�นาจหน้าที่ในการเป็นอัยการแผ่นดิน การใช้กฎหมายด้วยความ รอบคอบ เป็นธรรม และเด็ดขาด มีชัยชนะเหนืออธรรม 2

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


The Office of the Attorney General was formerly called the Public Prosecution Department. The history of “Ai-Ya-Karn”, which means “public prosecutor” or “state attorney” in the Thai language can be traced back to the 14th century when Ayutthaya was the capital of Thailand. This is evident from the Royal Family Law enacted in A.D. 1358 during the reign of King Boromtriloknat where the term “Bot Phra Ai-Ya-Karn”, which means law in a general sense, was used. The official who guarded “Phra AiYa-Karn”, or the Guardian of the Laws as then known, had wider authority than that of the public prosecutors in the present day. During the early Bangkok era, the power of public prosecutors included not only litigation, but also criminal investigation. In addition, the Public Prosecutor in those days was entrusted with the power to supervise the work of the Corrections Office, draft bills, translate foreign legal texts and provide legal advice. In the provinces, the officials who exercised the authority of “Ai-Ya-Karn” as described above were those who held the title of “Yok-Kra-Bat”, also originated in the Ayutthaya era. The king normally designated trustworthy officials as “Yok-Kra-Bat” to be His Majesty’s representatives. “Yok-Kra-Bat” also acted as a legal advisor in conjunction with the provincial governor. จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

3


Furthermore, “Yok-Kra-Bat” took part in the administration of war. This was evidenced in the “Royal Penalty” book published by Dr. Dan Beach Bradley, an American missionary who resided in Siam during A.D. 18421873. The book recorded that “Yok-Kra-Bat” must accompany the provincial governor in his missions to the battlefield. According to the writing of M. De Laluber, the French Ambassador to Thailand under the mission of King Louis XIV who came to Ayutthaya in the reign of King Narai the Great, the title of “Yok-Kra-Bat” was more or less equal to that of “procureur géenéeral” in France. According to Thai history, some prominent Thai kings served as “Yok-Kra-Bat” before coronation. For instance, King Taksin the Great, the founder of Thonburi, served as the “YokKra-Bat” of Tak Province, and King Rama I, the founder of Bangkok, served as “Yok-KraBat” of Ratchaburi province before coronation. On 1 April 1893, an office under the name “Public Prosecution Department” was established by the Royal Command of King Chulalongkorn. The first Attorney General or the “Director General of the Public Prosecution Department” under the existing organization was Khunluang Phraya Kraisi 4

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


(Pleng Vepara). Twenty-three years later, on 1 April 1916, the title of “Yok-Kra-Bat” was changed to “Ai-Ya-Karn” by the Royal Decree of King Wachirawut (Rama VI). The office was, in the early days, an agency within the Ministry of Justice. Later on, in 1922, it was transferred to be part of the Ministry of Interior and remained there for almost a hundred years. A few decades ago, the office underwent a major structural and organizational change. In 1991, on the eve of its centennial celebration, the office was separated from the Ministry of Interior and assumed an independent status as an autonomous agency under the direct supervision of the Prime Minister. In addition, its name was changed from the “Public Prosecution Department” to the “Office of the Attorney General”. In October 2002, the government reformed its organization by passing bureaucratic reform law. The Office was then again transferred to be under the supervision of the Minister of Justice. Later, the 2007 Constitution of Thailand came into effect on 24th August B.E. 2550. Section 255 of Chapter II on Constitution Organizations, Part 2 on other Organizations under the Constitution, defines the new status of the Office of the Attorney General as an “Other Organization” under the Constitution. Public prosecutors have powers and duties as provided in the จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

5


Constitution and the law on powers and duties of public prosecutors and other laws. Public prosecutors are independent in consideration and disposition of cases as well as in performing their duties fairly. The Office of the Attorney General has a secretariat with autonomy in personnel administration, budget and other activities, of which the superintendent is the Attorney General. Finally, the National Assembly gave its approval to the following 4 Acts: (1) the Act on Public Prosecution Organization and Public Prosecutors, B.E. 2553; (2) the Act on Public Prosecution Official Regulation, B.E. 2553; (3) the Act on State Administration Regulation (No.8), B.E. 2553; and (4) the Act on Amendment of Ministries, Sub-Ministries and Departments (No. 9), B.E. 2553, which were published in the Royal Gazette on 7th December B.E. 2553. Such Acts were drafted to implement the Constitution. They are of the utmost importance to the Office of the Attorney General and the public prosecution officials as being the laws to establish the Public Prosecution Organization. They define the powers and duties of public prosecutors and the Office of the Attorney General including the protection on the exercise of public prosecutor discretion in handling of cases as well as in performing duties honestly and fairly so as to guarantee their independence in the foregoing matters under the Constitution. -----------------------------------6

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


Khunluang Phraya Kraisi (Pleng Vepara) was born on 27 October 1862. When he was twenty years old, King Chulalongkorn (Rama V) granted him a scholarship to study law in England. In 1888, he received Barrister-at-Law from Middle Temple. He was the first Thai to obtain English Barrister-at-Law. After graduation, Khunluang Phraya Kraisi returned to Thailand and worked in the Ministry of Foreign Affairs. Later, he was transferred to the Ministry of Justice. In the Ministry of Justice, he was frequently appointed to represent the government in litigations with foreign citizens in the Consular Court. When the Public Prosecution Department was established in 1893, Khunluang Phraya Kraisi (Pleng Vepara) was appointed the first Director General. The title was changed to Attorney General when the name of the department was changed to be the Office of the Attorney General. During his tenure, he laid the foundations of the work of public prosecutors. A training course for newly recruited public prosecutors was introduced. He also served as a legal advisor for several departments and ministries. In 1901, Khunluang Phraya Kraisi (Pleng Vepara) passed away when he was thirty-nine years old, holding as his last position, Chief Justice of the Criminal Court. (Source: Wikipedia)

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

7


ขุนหลวงพระยาไกรสี (เปล่ง เวภาระ) เกิดเมื่อ วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2405 ที่บ้านตําบลบางลําภู ใกล้ วั ด บวรนิ เวศวิ ห าร เริ่ ม เรี ย นหนั ง สื อ ที่ วั ด บวร นิ เ วศวิ ห าร ต่ อ มาพระเจ้ า น้ อ งยาเธอกรมหลวง พิ ชิ ต ปรี ช ากร โปรดให้ ไปศึ ก ษาเล่ า เรี ย นที่ โรงเรี ย น พระราชวังนันทอุทยานเป็นโรงเรียนที่พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระตําหนัก ในพระราชวั ง ให้ เ ป็ น โรงเรี ย นสอนหนั ง สื อ เมื่ อ อายุได้ 20 ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ไปศึ ก ษาวิ ช ากฎหมายต่ อ ที่ ป ระเทศอั ง กฤษจนสํ า เร็ จ เป็ น เนติ บั ณฑิ ต อั ง กฤษของ สํานักมิดเดิลเทมเปิลในปี พ.ศ. 2431 และเป็นคนไทยคนแรกที่เป็นเนติบัณฑิตอังกฤษ เมื่ อ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาแล้ ว ได้ เดิ นทางกลั บ ประเทศไทยและเข้ า รั บ ราชการใน กระทรวงการต่างประเทศต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ ให้เป็นหลวงรัตนาญัป์ติ ในกรมท่ากลาง ท่านเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถทางกฎหมายไทยและกฎหมาย ต่างประเทศจึงได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนรัฐบาลไปนั่งชําระและตัดสินความในศาล กงสุลซึ่งเป็นคดีที่เกี่ยวข้องกับคนในบังคับต่างประเทศเป็นผู้แทนของรัฐบาลในคดีแพ่ง ชําระความในศาลกงสุล ในปี พ.ศ. 2436 ได้ตั้งกรมอัยการขึ้นในกระทรวงยุติธรรมท่านได้รับการแต่งตั้ง ให้เป็นอธิบดีกรมอัยการคนแรก ต่อมาได้ดาํ รงตําแหน่งอธิบดีผพู้ พิ ากษาศาลพระราชอาญา มาจนถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคมานกษัย เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2444 ระหว่าง รับราชการได้เป็นอาจารย์สอนวิชากฎหมายที่โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม เป็นกรรมการสอบไล่เนติบัณฑิตรุ่นแรกๆ ของประเทศไทย จัดทําสารบบความขึ้น เป็นครัง้ แรก จัดให้มกี ารอบรมฝึกหัดผูท้ จี่ ะเป็นพนักงานอัยการ และเป็นทีป่ รึกษากฎหมาย ในกระทรวงทบวงกรมต่างๆ 8

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


During 24-27 November 2015, a Thai public prosecutor delegation led by the Attorney General went to Nanning, capital of south China’s Guangxi Zhuang Autonomous Region, to attend the 9th China-ASEAN Prosecutors General Conference. The theme of the conference was “International Cooperation on Fugitive Repatriation and Asset Recovery”, which emphasized the need to have the necessary legal framework and the commitment to intensify international cooperation to effectively repatriate fugitives, and to remove ill-gotten gains from criminals. The significance of fugitive repatriation and asset recovery to prevent and suppress crime more effectively has been recorded in many international instruments including the United Nations Convention against Transnational Organized Crime (UNTOC) and the United Nations Convention against Corruption (UNCAC), said H.E. Mr. Pongniwat Yuthapanboriparn, the Attorney General of Thailand in his keynote speech during the session. In Thailand, the Act on Mutual Legal Assistance in Criminal Matters 1992 and the Extradition Act 2008 have been adopted as the key legislation to accommodate the repatriation of fugitives and asset recovery. The Attorney General is the Central Authority for both mutual legal assistance and extradition. Thailand could render assistance even without bilateral or multilateral treaties upon the assurance of reciprocity and double criminality, however, with treaties is preferable. So far Thailand has already concluded extradition treaties with ten countries, for instance: People’s Republic of China, Republic of Indonesia, Kingdom of Cambodia, Lao People’s Democratic Republic, Republic of Korea, United States of America, and United Kingdom. As for mutual legal assistance, Thailand has concluded bilateral treaties with fifteen countries, for instance : People’s Republic of China, India, France, United States of America, United Kingdom, and Australia. Thailand is also a member of the ASEAN Mutual Legal Assistance Treaty or ASEAN MLAT. จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

9


The China-ASEAN Prosecutors General Conference has been the significant event for public prosecutors in ASEAN and China to meet annually to discuss cooperation in fighting transnational crime and corruption. The First China-ASEAN Prosecutors General Conference was hosted in Kunming, China in 2004, the second conference in Bangkok, Thailand in 2005, and the following conferences were hosted in other member countries of ASEAN and China, namely: Indonesia in 2006, Macao in 2007, the Philippines in 2008, Vietnam in 2009, Singapore in 2011, and Malaysia in 2014.

The 9 th China-ASEAN Prosecutors General Conference was successfully held with a warm and friendly atmosphere. The significance of role played by the mechanism of the China-ASEAN Prosecutors General Conference in combating transnational crimes, protecting social welfare and upholding national stability was overwhelmingly recognized. At the conclusion of the conference, a joint declaration of the 9th China-ASEAN Prosecutors General Conference to confirm the spirit of the conference was unanimously adopted and signed by all eleven prosecutor leaders attending the meeting. In this regard, it is hoped that since the public prosecutors play an essential role in criminal justice and international cooperation against all forms of criminality, they will certainly have a great potential to contribute to the more effective and successful repatriation of fugitives and asset recovery. (by Sirisak Tiyapan, Senior Public Prosecutor) 10

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


ระหว่างวันที่ 24 - 27 พฤศจิกายน 2558 คณะผู้แทนอัยการไทยนำ�โดยอัยการ สูงสุด ได้เดินทางไปเมืองหนานหนิงซึ่งเป็นเมืองหลวงของเขตปกครองตนเองมณฑล กวางสีจ้วง ประเทศจีนตอนใต้ เพื่อเข้าร่วมการประชุมอัยการสูงสุดจีน – อาเซียน ครั้งที่ 9 ในหัวข้อเรื่อง “ความร่วมมือระหว่างประเทศในการส่งผู้ร้ายข้ามแดนและ การติดตามเอาทรัพย์สินคืน” ซึ่งเป็นการประชุมที่เน้นถึงความจำ�เป็นที่จะต้องมีกรอบ กฎหมายรวมทั้งความมุ่งมั่นที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อให้การส่ง ผู้ร้ายข้ามแดนและการติดตามเอาทรัพย์สินที่ได้มาโดยการกระทำ�ผิดคืนจากอาชญากร มีประสิทธิภาพ ค ว า ม สำ � คั ญ ข อ ง ก า ร ส่ ง ผู้ร้ายข้ า มแดนและการติ ด ตามเอา ทรัพย์สินคืนเพื่อให้การป้องกันและ ปราบปรามอาชญากรรมเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพมากขึ้นนั้น ได้บัญญัติ ไว้ในตราสารระหว่างประเทศหลาย ฉบับรวมทั้งอนุสัญญาสหประชาชาติ เพือ่ ต่อต้านองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ (UNTOC) และอนุสญ ั ญาสหประชาชาติตอ่ ต้าน การทุจริต (UNCAC) เป็นข้อสังเกตที่ท่านพงษ์นิวัฒน์ ยุทธภัณฑ์บริภาร อัยการสูงสุด ของไทยได้หยิบยกขึ้นในการกล่าวถ้อยแถลงระหว่างการประชุม ประเทศไทยได้ตรา พระราชบัญญัติ ความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา พ.ศ. 2535 และ พระราชบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดน พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นกฎหมายสำ�คัญที่จะรองรับ การส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนและการติดตามเอาทรัพย์สนิ คืนอัยการสูงสุดเป็นผูป้ ระสานงานกลาง ทั้งการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายและการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ประเทศไทยสามารถ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ได้ โดยไม่ ต้ อ งมี ส นธิ สั ญ ญาทวิ ภ าคี ห รื อ พหุ ภ าคี บ นพื้ นฐานของ หลั ก ถ้ อ ยที ถ้ อ ยปฏิ บั ติ แ ละการกระทำ� เป็ นความผิ ด ทั้ ง สองประเทศ อย่ า งไรก็ ต าม การมีสนธิสัญญาย่อมเป็นที่ปรารถนามากกว่า ขณะนี้ประเทศไทยได้จัดทำ�สนธิสัญญา ส่งผู้ร้ายข้ามแดนกับ 10 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน, สาธารณรัฐ อิ น โดนี เซี ย , ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า, สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว, จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

11


สาธารณรัฐเกาหลี,สหรัฐอเมริกา,และสหราชอาณาจักร สำ�หรับการให้ความช่วยเหลือ ซึง่ กันและกันทางกฎหมายประเทศไทยมีสนธิสญ ั ญาทวิภาคีกบั 15 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน, อินเดีย, ฝรั่งเศส, สหรัฐอเมริกา, สหราชอาณาจักรและออสเตรเลีย นอกจากนี้ประเทศไทยยังเป็นภาคีในสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องทางอาญาในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN MLAT) “การประชุมอัยการสูงสุดจีน – อาเซียน เป็นเวทีสำ �คัญสำ�หรับอัยการของ อาเซี ย นและสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ที่ จ ะมาพบกั น เป็ น ประจำ � ทุ ก ปี เ พื่ อ หารื อ เกี่ยวกับ ความร่ ว มมื อ ในการต่อสู้กับอาชญากรรมข้า มชาติ แ ละการประพฤติ ทุ จ ริ ต โดยประชุมครั้งแรกที่เมืองคุนหมิงประเทศจีนในปี 2004 ประชุมครั้งที่สองที่กรุงเทพฯ ประเทศไทยในปี 2005 การประชุมครั้งต่อๆมาได้จัดขึ้นในประเทศสมาชิกอื่น ๆ ของอาเซียนและในสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้แก่ อินโดนีเซียในปี 2006 มาเก๊า ในปี 2007 ฟิลิปปินส์ในปี 2008 เวียดนามในปี 2009 สิงคโปร์ในปี 2011และมาเลเซีย ในปี 2014

การประชุมอัยการสูงสุดจีน – อาเซียน ครั้งที่ 9 ประสบความสำ�เร็จเป็นอย่างดี ในบรรยากาศที่อบอุ่นและเป็นกันเองความสำ�คัญของบทบาทซึ่งดำ�เนินการโดยกลไก ของการประชุ ม อั ย การจี น และอาเซี ย นในการต่ อ สู้ กั บ อาชญากรรมข้ า มชาติ เพื่อปกป้องความสงบสุขของสังคมและส่งเสริมความมั่นคงแห่งชาติได้รับการรับรอง อย่างท่วมท้น ท้ายสุดที่ประชุมได้ร่วมกันจัดทำ�แถลงการณ์ร่วมเพื่อยืนยันเจตนารมณ์ ของการประชุ ม ซึ่ ง ได้ รั บ การรั บ รองเป็ น เอกฉั น ท์ แ ละลงนามโดยผู้ นำ � อั ย การทั้ ง 11 ประเทศทีเ่ ข้าร่วมประชุม ในการนีเ้ นือ่ งจากอัยการเป็นผูม้ บี ทบาทสำ�คัญในการบริหาร ความยุติธรรมทางอาญาและความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อต่อต้านการกระทำ � ความผิดในทุกรูปแบบ จึงคาดหวังให้อัยการมีศักยภาพสูงในการมีส่วนร่วมดำ �เนิน การให้การส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนและการติดตามเอาทรัพย์สินคืนจากอาชญากรประสบ ความสำ�เร็จและมีประสิทธิภาพมากขึ้น (นายศิริศักดิ์ ติยะพรรณ อัยการอาวุโส) 12

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


ASEAN Community: Impacts on the Office of the Attorney General1 The ASEAN Community established on December 31, 2015, has had several effects. The community comprises three pillars or communities, not only the wellknown ASEAN Economic Community (AEC) but also the ASEAN Political and Security Community (APSC) and the ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC). The work of the Office of the Attorney General mostly involves the ASEAN Political and Security Community. The goals and objectives of the APSC are to establish a community with rules, norms and shared values, with a focus on rules and laws. The ASEAN Charter provides international legal personality to ASEAN, which has several important implications.For instance, ASEAN can make agreements with other organizations, such as the United Nations (UN) or other parties. Another implication is that ASEAN can be sued for breach of contract or international agreement. If ASEAN commits to a contract with any private parties, ASEAN can be a party in litigation. APSC also has other aspects, such as the non-traditional security threats of transnational crimes, cybercrime, terrorism, and drug trafficking. The tools to fix these threats are laws and international agreements, which might

1

Summary of presentation by Dr. Suriya Jindawong, Deputy Director-General of ASEAN Department, Ministry of Foreign Affairs of Thailand, 2 December 2558, at the Office of the Attorney General, Bangkok.

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

13


be in terms of an extradition treaty. There are efforts to bring the countries of ASEAN under common extradition rules. This is an example of the use of laws to promote security in ASEAN. Cooperation among prosecution services in ASEAN is under the scope of APSC because the new threats will come under the APSC’s capacity. Laws and legal cooperation are increasingly important to counter such threats. Certainly, the AEC and the ASCC are also important. But the mechanisms of dispute resolution and arbitration in private sectors under AEC are quite developed. The lesser part of development is cooperation between states in prosecution affairs, criminal law enforcement, mutual assistance to counter non-traditional security threats and transnational crimes. One important issue which may involve the work of the Office of the Attorney General is the Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms. The protocol sets out clear rules and mechanisms to resolve disputes. Thailand is a party to the protocol, but the protocol is not enforceable until all members of ASEAN are parties. During this period, if there is dispute between states, prosecutor may be involved as a state representative in dispute settlement. The ASEAN Community aims to develop to be a rule-based community which has to rely on rules and laws. Thus, the legal contexts are even more important.

14

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


Other impacts on the ASEAN Community are Connectivity strategies. Thailand has some advantages because of its geographic location. All countries of the region will be linked and have an increased flow of goods and production factors, which is good for the community. But it also has side effects. ASEAN’s problem is that we create a system called Border Facilitate. The facilitation along the borders to support the ASEAN Community is good. However, there is lack of protection system, known as border management, which ill-intended individuals or organizations can take advantages from as well. The part of the ASEAN vision for the next 10 years which involves the Office of the Attorney General is the implementation of laws and agreements among ASEAN members. They will be tools for ASEAN to drive policies and to provide solutions for different regional disputes. Each member has to accelerate the preparation of domestic legislation to support the ASEAN agreements. The newly created ASEAN Community will not immediately change rights and laws, but can do this gradually. One point of concern for Thai lawyers is that English is the official language of ASEAN, but most of the Thais are not keen in English. It is a challenge for us to know and understand all ASEAN agreements and instruments.

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

15


An understanding of all three 2025 ASEAN Community Blueprints is recommended. The Office of the Attorney General can develop collaborative projects to comply with the blueprints. They can be used as frameworks to request budgets and get support in missions relating to the community which will be a more ruled-based establishment.

16

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


ประชาคมอาเซียน : ผลกระทบต่อสำ�นักงานอัยการสูงสุด2 การก่ อ ตั้ ง ประชาคมอาเซี ย นในวั นที่ 31 ธั น วาคม 2558 ทำ � ให้ เ กิ ด ผลกระทบ หลายประการ ประชาคมอาเซียนไม่ใช่ AEC อย่างเดียว แต่ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย ทั้งหมด 3 เสาหรือ 3 ประชาคม คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (APSC) ประชาคม เศรษฐกิจ (AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASCC) สำ�หรับเสาที่เกี่ยวกับการทำ�งานของสำ�นักงานอัยการสูงสุด มากที่ สุ ด คื อ เสาประชาคมการเมื อ งและความมั่ นคง หรื อ เสา APSC เป้าหมายและพันธกรณีของในส่วนของเสาการเมือง และความมั่นคง คือ ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์ บรรทัดฐาน และ ค่ า นิ ย มร่ ว มกั น กฎเกณฑ์ คื อ การเป็ น ประชาคมที่ จ ะเน้ น ในเรื่ อ งกฎหมายมากขึ้ น และเมื่อมีกฎบัตรอาเซียนเกิดขึ้นมีการยอมรับ ว่าอาเซียนมีสภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่าง ประเทศ ซึง่ มีนยั ยะหลายอย่างสำ�คัญ เช่น อาเซียน สามารถทำ � ความตกลงได้ แ ล้ ว กั บ องค์ ก รอื่ น ได้ เช่น กับสหประชาชาติหรือกับหลายต่อหลายฝ่าย และอีกนัยยะที่เกิดขึ้นคือ อาเซียนสามารถโดน ฟ้องร้องได้ถ้าผิดสัญญาผิดความตกลง ทำ�สัญญา กั บ เอกชนผิ ด ความตกลงสามารถโดนฟ้ อ งได้ เสาการเมืองและความมัน่ คงก็มเี รือ่ งในมิตอิ นื่ เช่น ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ตงั้ แต่อาชญากรรมข้ามชาติ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การก่อการร้าย การค้ามนุษย์ ยาเสพติด ในการแก้ไขปัญหา ภัยคุกคามเหล่านี้ กลไกสำ�คัญหรือเครื่องมือสำ�คัญ คือเครื่องมือทางด้านกฎหมายไม่ว่าจะเป็น ในเรื่ อ งของสนธิ สั ญ ญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างกันมีความพยายามที่จะทำ�ให้ประเทศ ในอาเซียนมีสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนระหว่างกัน สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นตัวอย่างสำ�คัญของ การตกลงและเป็นเครื่องมือทางด้านกฎหมายในการส่งเสริมความมั่นคงในระดับอาเซียน 2สรุปเรียบเรียงจากคำ�บรรยายของ ดร. สุริยา จินดาวงษ์ รองอธิบดีกรมอาเซียน, 2 ธันวาคม 2558 ณ สำ�นักงาน อัยการสูงสุด ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

17


ความร่วมมือของสำ�นักงานอัยการในอาเซียนน่าจะอยู่ในเสาประชาคมการเมืองและ ความมัน่ คง (APSC) เพราะว่าภัยคุกคามจะมาทางนัน้ และจะต้องใช้กฎหมายเป็นเครือ่ งมือสำ�คัญ จะต้องมีการให้ความร่วมมือทางด้านกฎหมายมากขึ้น แน่นอนว่าเสาประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) และเสาประชาคมสังคมและวัฒนธรรม(ASCC) ก็มีความสำ�คัญ แต่ว่ากลไกการระงับ ข้อพิพาทด้านอนุญาโตตุลาการของฝ่ายเอกชนหรือฝ่ายเศรษฐกิจก็มกี ารพัฒนาอยูร่ ะดับหนึง่ แล้ว สิ่งที่กำ�ลังขาดอยู่คือความร่วมมือทางด้านรัฐต่อรัฐในเรื่องของอัยการ ในเรื่องของการบังคับ ใช้กฎหมายบางอย่างทางอาญา ในเรื่องของการให้ความร่วมมือต่อสู้ประเด็นภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ อาชญากรรมข้ามชาติต่าง ๆ ที่กระทบความมั่นคง ประเด็นที่สำ�คัญมากและอาจจะเกี่ยวข้อง กับงานของสำ�นักงานอัยการ ก็คอื เรือ่ ง Protocol to the ASEAN Charter on Dispute Settlement Mechanisms มีกลไก ระเบียบ ชัดเจนแล้วที่จะ ต้ อ งใช้ ในกรณี ที่ จ ะต้ อ งแก้ ไขข้ อ พิ พ าท โดยใช้ กลไกทางด้ า นกฎหมาย กรอบวางไว้ แ ล้ ว อั น นี้ คื อ สิ่ ง ที่ ป ระเทศไทยเข้ า ไปเป็ น ภาคี แ ล้ ว แต่ ยังไม่มีผลบังคับใช้เพราะต้องรอให้ทุกประเทศ สมาชิกเป็นภาคี ช่วงที่กำ�ลังรอชาติสมาชิกเข้ามาเป็นภาคี เกิดเป็นกรณีที่มีการพิพาทระหว่าง รัฐต่อรัฐ ในเรื่องบางเรื่องอัยการอาจจะต้องเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นผู้แทนของรัฐในการเจรจา เรื่องนี้ ซึ่งในอนาคตจะพัฒนาไปเป็น RULE based community ทุกอย่างจะต้องอิงทางด้าน กฎหมาย เพราะฉะนั้นประเด็นทางด้านกฎหมายมีความสำ�คัญมากยิ่งขึ้น ผลกระทบเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ของความเชื่อมโยง Connectivity ซึ่งประเทศไทยค่อนข้างได้เปรียบเพราะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ยุทธศาสตร์ความเชื่อมโยงของ อาเซียนจะทำ�ให้ทุกประเทศมีการไหลเวียนของปัจจัยสำ�หรับการผลิตได้มากขึ้นซึ่งเป็นเรื่อง ที่ดีสำ�หรับประชาคม แต่ก็มีผลกระทบข้างเคียงแน่นอนเพราะว่า ปัญหาของอาเซียนคือเรา สร้างระบบ ที่เรียกว่า Border Facilitate การอำ�นวยความสะดวกตามชายแดนเพื่อสนับสนุน การเป็นประชาคมอาเซียนซึ่งเป็นเรื่องที่ดี แต่ในขณะเดียวกันกลับยังไม่มีระบบการคุ้มกันหรือ ที่เรียกว่า Border Management การบริหารจัดการชายแดนที่ควบคู่กันไป ทำ�ให้เกิดช่องว่าง ที่บุคคลหรือองค์กรที่ไม่หวังดีสามารถใช้ประโยชน์ได้ เช่น การค้ามนุษย์ 18

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


เรื่องของ Rule of Law เป็นสิ่งที่ blueprint เดิมได้วางไว้ให้ทำ� มีการให้ทำ� ความร่วมมือให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นในเรื่องของ Rule of Law ในเรื่องของระบบทาง ด้านกฎหมายของแต่ละประเทศ ระบบยุติธรรม และโครงสร้างทางด้านกฎหมาย จะต้อง ส่งเสริมให้มกี ารศึกษาของในแต่ละประเทศ และจะต้องให้มคี วามร่วมมือระหว่างกลไกทีเ่ กีย่ วข้อง ของอาเซียน และต้องมีความร่วมมือด้านความช่วยเหลือซึง่ กันและกันทางด้านกฎหมายมากขึน้ ส่งเสริมความยุตธิ รรมภาคสังคมในด้านกฎหมาย มีการให้การพัฒนาความร่วมมือทางการศึกษา ระหว่างกัน ในแง่ของ Rule of Law เป็นสิง่ ทีย่ งั คงต้องพัฒนาต่อไป ทางสำ�นักงานอัยการสูงสุด คงต้องดูว่าสามารถที่จะมีส่วนร่วมได้ในแนวทางการปฏิบัติพวกนี้อย่างไร ภาพของวิ สั ย ทั ศ น์ อ าเซี ย นอี ก 10 ปี ข้างหน้า สิ่งที่เกี่ยวข้องกับเราก็คือ กฎหมาย และ ความตกลง ระหว่างอาเซียนด้วยกันเอง จะเป็น เครื่องมือที่ประเทศอาเซียนจะใช้มากยิ่งขึ้น เพื่อ ผลักดันนโยบายและเพื่อให้การที่จะแก้ไขปัญหา ในระดับภูมิภาคต่าง ๆ มันไม่ใช่แค่เรื่องนโยบาย โดยลำ � พั ง มั นจะมี น โยบายกั บ กฎหมายจะไป ด้วยกันมากยิ่งขึ้น การที่แต่ละประเทศสมาชิกจะต้องเร่งการเตรียมความพร้อมทางด้าน กฎหมายภายในเพื่อรองรับความตกลงอาเซียนจะมีมากขึ้นเรื่อย ๆ สิ่งที่ตามมาก็คือ จะต้องมี กฎหมายรองรับ ประชาคมอาเซียนที่กำ�ลังจะก่อตั้งขึ้นนี้ สิทธิและกฎหมายจะยังไม่เปลี่ยนแปลงทันที แต่จะค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป แต่ภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาที่สำ�คัญ อย่างน้อยที่สุดบุคลากร ด้านกฎหมายต้องทราบความตกลงอาเซียนทุกฉบับ นี่คือความท้าทาย แนะนำ�ให้ไปอ่าน Blueprint ทั้ง 3 เสา สำ�นักงานอัยการสูงสุดสามารถใช้ประโยชน์ไปพัฒนาในโครงการ ความร่วมมือเพือ่ เป็นการปฏิบตั ติ าม Blueprint อาเซียน 2025 สำ�นักงานอัยการสูงสุดสามารถ ยึดเป็นหลักในการขอคน ของบประมาณ ขอการสนับสนุนในภารกิจงานทีเ่ กีย่ วข้องกับประชาคม อาเซียน ซึ่งจะมีลักษณะเป็น Rules Based มากยิ่งขึ้น

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

19


The Treaty on Mutual Legal Assistance in Criminal Matters Among Like-minded ASEAN Member Countries (ASEAN MLAT) In this globalization era, a state’s borders or its territory is seemingly diminishing. Crimes in this global phenomenon, cannot be counted as any single state’s domestic affair any more. In fact now, many cases of crime are transnational and exceed a mere single state’s capacity to deal with. To confront undesirable transnational crimes in the Southeast Asia region, the members of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) cooperated to develop the Treaty on Mutual Legal Assistance in Criminal Matters Among Like-minded ASEAN Member Countries as a solution. The treaty’s purpose, as stated in its preamble, is “to improve the effectiveness of the law enforcement authorities of the parties in the prevention, investigation and prosecution of offences through cooperation and mutual legal assistance in criminal matters.” Malaysia first proposed the idea of mutual legal assistance in criminal matters between ASEAN members at the 8th ASEAN Senior Law Officials Meeting (ASLOM) in June 2002. First and second meetings of ASEAN Attorneys General were held to further discuss and objectify the issue in June 2003 and May 2004 respectively. As a result, the Treaty on Mutual Legal Assistance in Criminal Matters Among Like-minded ASEAN Member Countries was primarily adopted and signed by eight ASEAN members in November 2004, followed by Thailand and Myanmar in January 2006. The Attorney General represented Thailand in signing the treaty. Since the Treaty states that it shall be subject to ratification in accordance with the constitutional procedure of the signatory states, each member state has on various dates ratified the Treaty. Thailand ratified the Treaty on 31st January 2013. The Attorney General is the Central Authority for Thailand. Regarding the scope of assistance, Article 1 of the Treaty commits the member states to “render to one another the widest possible measure of mutual legal assistance in criminal matters, namely investigations, prosecutions and resulting proceedings.” However, in order to comply with non-intervention and self-determination principles, which are core values of ASEAN, such commitment thus shall be, according to Article 1, “subject to their respective domestic laws.” 20

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


In detail, after a receiving party’s Central Authority designated under Article 4 receives requests made by the Central Authority of a requesting party, execution of the mutual assistance shall be rendered in accordance with the domestic laws of the receiving party with consideration for the requesting party’s procedural requirements. According to Article 1(2), mutual assistance under the Treaty may include; (a) taking of evidence or obtaining voluntary statements from persons; (b) making arrangements for persons to give evidence or to assist in criminal matters; (c) effecting service of judicial documents; (d) executing searches and seizures; (e) examining objects and sites; (f) providing original or certified copies of relevant documents, records and items of evidence; (g) identifying or tracing property derived from the commission of an offence and instrumentalities of crime; (h) the restraining of dealing in property or the freezing of property derived from the commission of an offence that may be recovered, forfeited or confiscated; (i) the recovery, forfeiture or confiscation of property derived from the commission of offence; (j) locating and identifying witnesses and suspects; and (k) the provision of such other assistance as may be agreed and which is consistent with the objects of this Treaty and the laws of the requested party. At the end of the day, although implementation of the Treaty between member states nowadays is still limited and its operating mechanisms are still in need of improvement, significant interests in dealing with this new era’s crimes amongst ASEAN members are considerable and, indeed, undeniably increasing. Hence, the question now is already beyond whether the Treaty is beneficial, but rather how each member state can maximize its benefits in present regional and domestic contexts. Putting sufficient effort into figuring out the right way to use the right tools as part of the Treaty is, definitely, the key to victory for ASEAN member states, and of course Thailand, in the new war declared against modern crimes, especially the transnational ones, in our era. (By Kiengchon Amnueysit, Assistant Public Prosecutor)

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

21


สนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาในภูมิภาคอาเซียน ในยุคโลกาภิวัตินี้ เส้นแบ่งเขตแดนหรืออาณาเขตดินแดนของรัฐ เสมือนจะค่อย ๆ เลือนหายไป ทุกวันนี้ เรื่องของอาชญากรรมหาใช่แต่เพียง เรื่องภายในของรัฐใดๆ รัฐหนึ่งอีกต่อไป อันที่จริง อาชญากรรมหลายกรณี โดยเฉพาะอาชญากรรมข้ามชาติหรือที่มีความคาบเกี่ยวระหว่างหลายรัฐนั้น ได้เกินขีดความสามารถของรัฐใดรัฐหนึ่งเพียงลำ�พังที่จะสามารถรับมือได้ เพื่ อ ที่ จ ะเผชิ ญ กั บ ปั ญ หาอาชญากรรมดั ง กล่ า วซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เหล่าสมาชิกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) จึงได้ร่วมมือกันพัฒนา สนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่อง ทางอาญาในภูมิภาคอาเซียนขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ของ สนธิสัญญาปรากฏตามที่ระบุไว้ในอารัมภบทคือ มุ่งหมาย ทีจ่ ะ “เพิม่ ประสิทธิภาพของหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายของ รัฐภาคีในการป้องกัน สืบสวนสอบสวน และดำ�เนินคดีกับ การกระทำ�ความผิดโดยอาศัยความร่วมมือและความช่วยเหลือ ทางกฎหมายซึ่งกันและกันในทางอาญา” มาเลเซีย เป็นชาติสมาชิกแรกที่ริเริ่มแนวความคิด เกี่ ย วกั บ การใช้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทางกฎหมายซึ่ ง กั น และ กันในทางอาญาระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในการ ประชุมระดับเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสด้านกฎหมายอาเซียนครัง้ ที่ 8 เมือ่ เดือนมิถนุ ายน ปี 2545 จากนัน้ การประชุมอัยการสูงสุด แห่งอาเซียนครั้งที่ 1 และ 2 ได้ถูกจัดขึ้นในเดือนมิถุนายน 2546 และเดือนพฤษภาคม 2547 ตามลำ�ดับเพื่อหารือ และทำ�ให้ประเด็นดังกล่าวเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ก็คือ แปดชาติสมาชิกได้มีมติยอมรับและ ลงนามสนธิสัญญาว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องทางอาญาในภูมิภาคอาเซียนเป็นครั้งแรก ในเดือนพฤศจิกายน 2547 ตามมาด้วยไทยและพม่าซึง่ ได้มมี ติยอมรับและลงนามสนธิสญ ั ญาดังกล่าวในเดือน มกราคม 2549 ซึ่งอัยการสูงสุดเป็นผู้แทนประเทศไทยในการลงนาม ทั้งนี้ เนื่องจากสนธิสัญญาได้กำ�หนด ว่าการให้สตั ยาบันให้เป็นไปตามกระบวนการตามรัฐธรรมนูญแห่งรัฐทีล่ งนาม รัฐสมาชิกจึงได้ให้สตั ยาบันสนธิสญ ั ญา ด้วยวิธีการและระยะเวลาที่แตกต่างกันไป โดยเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548 มาเลเซียเป็นรัฐสมาชิกแรกที่ได้ ให้สัตยาบันสนธิสัญญาฉบับดังกล่าว ส่วนประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2556 ในส่วนของกรอบการให้ความช่วยเหลือนั้น สนธิสัญญา ข้อ 1 ได้กำ�หนดให้รัฐสมาชิกมีพันธะจะต้อง “ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายซึ่งกันและกันในทางอาญาแก่รัฐภาคีอื่นโดยมาตรการที่กว้างขวางที่สุดที่จะ 22

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


เป็นไปได้ อาทิ ในส่วนของการสืบสวนสอบสวน การดำ�เนินคดี และการดำ�เนินการที่สืบเนื่อง” อย่างไรก็ดี เพือ่ ทีจ่ ะให้เป็นไปตามหลักการไม่แทรกแซงกันและหลักการกำ�หนดชะตากรรมตัวเอง ซึง่ เป็นหัวใจสำ�คัญของ อาเซียน ในช่วงท้ายของสนธิสัญญา ข้อ 1 จึงได้ระบุให้พันธะกรณีดังกล่าวข้างต้นนั้น “อยู่ภายใต้กฎหมาย ภายในที่เกี่ยวข้องของรัฐภาคี” ค่านิยมหลักของอาเซียนทั้งสองประการยังได้ถูกเน้นยํ้าอีกดังปรากฏในข้อ 2 (กรณีไม่บังคับใช้) และข้อ 3 (ข้อจำ�กัดในการให้ความช่วยเหลือ) ของสนธิสัญญา โดยรายละเอียดแล้ว เมื่อผู้ประสานงานกลาง (Central Authority) ซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามสนธิ สัญญาข้อ 4 ของรัฐภาคีที่รับการร้องขอ (Requested Party) ได้รับคำ�ร้องขอจากผู้ประสานงานกลางของ รัฐภาคที่ร้องขอ (Requesting Party) แล้ว รัฐที่ได้รับคำ�ร้องขอต้องให้ความช่วยเหลือเท่าที่กรอบกฎหมาย ภายในของรั ฐ ตนจะเอื้ อ อำ � นวย โดยคำ � นึ ง ถึ ง เงื่ อ นไข ด้ า นกระบวนการของรั ฐ ที่ ร้ อ งขอ ทั้ ง นี้ สนธิ สั ญ ญา ข้อ 1(2) ได้ระบุไว้ว่า ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ดั ง ระบุ ไ ว้ ใ นสนธิ สั ญ ญานั้ น ได้ แ ก่ (ก) การร้ อ งขอ หลั ก ฐานหรื อ คำ � ให้ ก ารโดยสมั ค รใจของบุ ค คล (ข) การจัดให้บุคคลส่งมอบหลักฐานหรือให้การสนับสนุน ในเรื่องทางอาญา (ค) การรับรองผลคำ�สั่งและหมายศาล (ง) การดำ�เนินการค้นและจับกุม (จ) การตรวจสอบวัตถุ และสถานที่ (ฉ) จัดให้ซึ่งต้นฉบับหรือสำ�เนาเอกสารที่เกี่ยวข้อง บันทึก และพยานวัตถุ (ช) การระบุ และติดตามทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้มาจากการกระทำ�ความผิดและเครือ่ งมือทีใ่ ช้กระทำ�ความผิด (ซ) การยึดหรืออายัด ชั่วคราวทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำ�ความผิดซึ่งอาจจะต้องถูกส่งคืน ริบ หรือยึด (ฌ) การคืน ริบ หรือ ยึดทรัพย์สินซึ่งได้มาจากการกระทำ�ความผิด (ญ) การระบุที่อยู่และตัวตนของพยานและผู้ต้องสงสัย และ (ฎ) ให้ความช่วยเหลืออื่นใดซึ่งได้ตกลงกันและไม่ขัดต่อวัตถุประสงค์ของสนธิสัญญาและกฎหมายของรัฐ ภาคีที่ได้รับการร้องขอ ท้ายที่สุดนี้ แม้ว่าการนำ�สนธิสัญญามาใช้ในทางปฏิบัติระหว่างรัฐสมาชิกอาเซียนทุกวันนี้จะยังคงมี ข้อจำ�กัด และกลไกการทำ�งานหลายอย่างยังคงต้องการการปรับปรุง ผลประโยชน์อย่างยิ่งยวดในการรับมือ กับอาชญากรรมในยุคสมัยใหม่ของสนธิสัญญาก็จัดได้ว่ามีมากมายนัก แถมยังค่อยๆเพิ่มขึ้นทุกวันอย่าง ปฏิเสธไม่ได้เสียด้วยซํ้า ดังนั้น คำ�ถามที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจึงได้ก้าวไปเกินกว่าคำ�ถามที่ว่า “สนธิสัญญาดัง กล่าวนีเ้ ป็นประโยชน์หรือไม่” หากแต่เป็น “รัฐสมาชิกแต่ละรัฐจะต้องทำ�อย่างไรจึงจะสามารถใช้สนธิสญ ั ญา ดังกล่าวให้เกิดประโยชน์สูงสุดภายใต้บริบทภายในรัฐตนและบริบทของภูมิภาคในปัจจุบัน” ต่างหาก การทุ่มเทความพยายามที่มากพอที่จะได้มาซึ่ง “วิถีทางที่ถูกต้อง” เพื่อจะใช้ “เครื่องมือที่เหมาะสม” ดังเช่น สนธิสัญญาฉบับนี้ จึงแน่นอนที่สุดว่า เป็นกุญแจสำ�คัญที่จะนำ�พาเหล่าประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งรวมถึง ประเทศไทย ไปสู่ชัยชนะในการทำ�สงครามรูปแบบใหม่กับอาชญากรรมยุคใหม่ โดยเฉพาะอาชญากรรม ข้ามชาติ ซึ่งเกิดขึ้นในยุคสมัยของพวกเรา

(โดย เคียงชน อำ�นวยสิทธิ์ อัยการผู้ช่วย สำ�นักงานคดียาเสพติด) จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

23


On February 15-16, 2016, the U.S. President Barack Obama hosted ASEAN leaders for a special summit at Sunnylands Center in Rancho Mirage, California. This U.S. - ASEAN summit in Sunnylands was historic as it marked the first time that the U.S. hosted Southeast Asian leaders for a standalone summit in the United States. Sunnylands was selected because, to some extent, it has been regarded as the “Camp David of the West�, the place for national and foreign dignitaries to gather for summit meetings and retreats in a relaxed setting.

Several international solutions have been achieved from informal gatherings at Sunnylands. This time, the Spirit of Sunnylands was announced through the Sunnylands Declaration. The U.S. and ASEAN leaders made a declaration to support the advancement of a strong, stable, politically cohesive, economically integrated, socially responsible, people-oriented, people-centered and rules-based ASEAN Community. A factor for the success of this first meeting on U.S. soil was the relaxed atmosphere of Sunnylands. It seems that the Sunnylands gathering was designed to follow the Spirit of Bangsaen when the five founding members of ASEAN retreated to Laem Thaen House in Bangsaen, Thailand, forty-nine years ago before signing the Bangkok Declaration to establish ASEAN. (By Jumpon Phansumrit, Executive Director)

24

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


เมื่ อ วั นที่ 15−16 กุ ม ภาพั นธ์ 2559 ประธานาธิบดีบารัค โอบามา แห่งสหรัฐอเมริกา ได้ เ ป็ น เจ้ า ภาพจั ด ประชุ ม สุ ด ยอดสหรั ฐ − อาเซี ย นโดยมี ผู้ นำ � จากชาติ ส มาชิ ก อาเซี ย น รวมทั้ง พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รั ฐ มนตรี ข องไทยเข้ า ร่ ว มด้ ว ยที่ ซั น นี่ แ ลนด์ มลรั ฐ แคลิ ฟ อร์ เนี ย ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ป ระชุ ม ที่ พั ก ตากอากาศ ถื อ เป็ นการประชุ ม ครั้ ง ประวั ติ ศ าสตร์ เพราะเป็ นการประชุ ม สุ ด ยอด สหรั ฐ −อาเซี ย นโดยเฉพาะเป็ น ครั้ ง แรก บนแผ่นดินสหรัฐอเมริกา ผูน้ �ำ ร่วมได้ประกาศ ปฏิ ญ ญาซั นนี่ แ ลนด์ ซึ่ ง มี ส าระสำ � คั ญ หนึ่ ง ในการสนั บ สนุ น ประชาคมอาเซี ย นที่ มี ความเข้มแข็ง มั่นคง มีเอกภาพทางการเมือง รวมตัวทางเศรษฐกิจ รับผิดชอบต่อสังคม คำ�นึงถึงประชาชน มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และยึ ด มั่ น ในกฎกติ ก า ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ ส่ ง ผล ค ว า ม สำ � เร็ จ ต่ อ ก า ร ป ร ะ ชุ ม สุ ด ย อ ด ที่ ซั นนี่ แ ลนด์ คื อ สถานที่ แ ละบรรยากาศของ การประชุมที่เป็นแบบกันเองไม่เป็นทางการ ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ผู้ ก่ อ ตั้ ง อาเซี ย นได้ ทำ � มาแล้ ว ที่ บ้านแหลมแท่น บางแสน ก่อนการลงนาม ปฏิญญากรุงเทพฯ เพื่อก่อตั้งอาเซียนเมื่อ 49 ปีที่แล้ว (โดย จุมพล พันธุ์สัมฤทธิ์ ผู้อำ�นวยการ ศูนย์พันธกิจประชาคมอาเซียน)

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

25


The history of the Philippines National Prosecution Service can be traced back during the Spanish regime through the Provisional Law on Criminal Procedure. During the 18th century in Spain, the sumario, a fact-fifinding inquiry carried out by the magistrate and his assistants to clarify the facts surrounding the commission of a crime. The proceedings took on an accusatorial nature with the rise of the practice of magistrates collecting evidence that incriminated the suspect and formed the basis of the prosecution’s arguments. In 1900, under the United States, in criminal cases, the justice of the peace exercised original jurisdiction for the trial of all misdemeanors and offenses committed within the municipality. Also empowered are the municipal presidents (now municipal mayors) to conduct preliminary investigations in the absence or inability of judges of the peace or their auxiliaries. The first Rules of Court in the Philippines can be traced back to 1918 with the Supreme Court’s issuance of the Rules of Court of the Supreme Court of the Philippine Islands, the Courts of First Instance, and Rules for the Examination of Candidates for Admission to the Practice of Law. It was not until the promulgation of the Rules of Court in 1940 that the Rules on Criminal Procedure were included. In the 1940 Rules, the authority to conduct preliminary investigations was extended to city fiscals, aside from the justices of the peace, municipal judges, judges of the Courts of First Instance, and in their absence, the municipal mayor. 26

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


Presidential Decree No. 1275 reorganized the prosecution staff of the Department of Justice and the officers of the provincial and city fiscals, regionalized the prosecution service and created the National Prosecution Service on April 11, 1978. A national office solely dedicated for prosecution was established, Called the National Prosecution Service (NPS) or NAPROSS, it was manned by more than 1500 state prosecutors, fiscals and special counsels with a support staff of approximately 6,000 personnel under the supervision and control of the Secretary of Justice, the Regional State Prosecution Offices and the Provincial and City Fiscal’s office. It was primarily responsible for the investigation and prosecution of all cases involving violations of penal laws. The Secretary had the authority to act directly, modify or revoke any decision or action of the chief of staff. P.D. No. 1439 enacted on June 10, 1978 and P.D. No. 1513 on June 11, 1978 subsequently re-allocated the positions for provincial, regional and city fiscals. The Administrative Code of 1987, also known as Executive Order No. 292, named the Department of Justice (DOJ) as the principal law agency of the government of the Republic of the Philippines. Title II, Chapter I of the Administrative Code of 1987 mandated the Department of Justice as legal counsel and prosecution arm of the government to administer the criminal justice system. It provided for the Office of the Chief State Prosecutor to assist the Secretary in the performance of the powers and functions of the Department relative to its role as the prosecution arm of the government. Presently mandated by Republic Act No. 10071 AN ACT STRENGTHENING AND RATIONALIZED THE NATIONAL PROSECUTION SERVICE, The Prosecution Staff, which shall be under the control and supervision of the Secretary of Justice, have the following functions: จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

27


(1.) Assist the secretary of Justice in the exercise of his/her appellate jurisdiction; (2.) Conduct the preliminary investigation and prosecution of criminal cases involving national security, those for which task forces have been created and criminal cases whose venues are transferred to avoid miscarriage of justice, all when so directed by the Secretary of Justice as public interest may require; (3.) Act as counsel for the People of the Philippines in any case involving or arising from a criminal complaint investigated by any of its prosecutors and pending before any trial court; (4.) Investigate administrative charges against prosecutors, other prosecution officers and members of their support staff; (5.) Prepare legal opinions on queries involving violations of the Revised Penal Code and special penal laws; and (6.) Monitor all criminal cases filed with the Office of the Prosecutor General; maintain an updated record of the status of each case, and adopt such systems and procedures as will expedite the monitoring and disposition of cases. The Prosecutor General and Senior Deputy State Prosecutors shall act as a Selection and Promotion Board to screen for appointment or promotion to any prosecutorial position in the Office of the Prosecutor General. The regional prosecutor, provincial prosecutor or city prosecutor shall sit as a member of the Board whenever it considers applicants for positions in his/her office. The Prosecutor General shall be the chairperson of the Board. (by Alfredo Masangkay, Philippines National Prosecution Service) 28

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


ตามพระราชกฤษฎีกาของประธานาธิบดี ที่ 1275 ได้มกี ารปรับรูปแบบองค์กรอัยการใหม่ โดยรวมเอาพนักงานอัยการทีส่ งั กัดกระทรวงยุตธิ รรมและเจ้าหน้าทีด่ า้ นกฎหมายระดับจังหวัด และระดับเมือง เพื่อก่อตั้งเป็น สำ�นักงานอัยการแห่งชาติ (National Prosecution Service หรือ NPS หรือ NAPROSS) ขึ้น ซึ่งขณะนั้น NPS ประกอบไปด้วยพนักงานอัยการของรัฐ มากกว่า 1,500 คน นักกฎหมาย ทีป่ รึกษาพิเศษด้านกฎหมาย และเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยสนับสนุนงาน อีกประมาณ 6,000 อัตรา โดยให้อยู่ภายใต้การควบคุมและบังคับบัญชาของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรม สำ�นักงานอัยการรัฐระดับภาค และสำ�นักงานกฎหมายระดับจังหวัดและ ระดับเมือง โดยอำ�นาจหน้าที่ในระยะแรกคือ มีอำ�นาจดำ�เนินการสอบสวนและดำ�เนินการ ฟ้องคดีทุกประเภทที่ฝ่าฝืนกฎหมายอาญา ในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติสาธารณรัฐที่ 10071 ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติเกี่ยวกับ องค์กรอัยการ กำ�หนดให้พนักงานอัยการอยู่ภายใต้การควบคุมและบังคับบัญชาของรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม โดยให้พนักงานอัยการมีอำ�นาจหน้าที่ ดังนี้ (1.) เป็นผู้ช่วยเหลือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการยุติธรรมในการใช้อำ�นาจเกี่ยวกับ การอุทธรณ์ คำ�พิพากษา (2.) ดำ�เนินการสอบสวนเบื้องต้น และดำ�เนินการฟ้องคดีอาญาที่เกี่ยวกับความมั่นคง ของชาติ โดยจะมีการมอบผู้รับผิดชอบเพื่อพิจารณาคดีที่มีการโอนมาเนื่องจาก เหตุผลเกรงว่าจะไม่ได้รับความเป็นธรรม ทั้งนี้ ตามคำ�สั่งของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุตธิ รรม ซึง่ กรณีนจี้ ะมีค�ำ สัง่ เมือ่ ปรากฏว่าคดีนนั้ มีผลกระทบต่อประโยชน์ สาธารณะ (3.) เป็นที่ปรึกษากฎหมายของประชาชนชาวฟิลิปปินส์ในคดีอาญาทุกประเภทที่มีการ ร้องทุกข์และมีการสอบสวนโดยพนักงานอัยการ ทั้งนี้ก่อนที่คดีจะมีการพิจารณา ในชั้นศาล (4.) ดำ�เนินการสอบสวนในคดีที่พนักงานอัยการ หน่วยงานดำ�เนินคดีอื่น รวมถึง เจ้าหน้าที่ฝ่ายสนับสนุนของพนักงานอัยการหรือหน่วยงานดังกล่าวถูกกล่าวหา เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

29


(5.) จัดเตรียมความเห็นทางด้านกฎหมาย เมื่อมีข้อซักถามเกี่ยวกับการฝ่าฝืนประมวล กฎหมายอาญาฉบับปรับปรุงใหม่ รวมถึงกฎหมายพิเศษอื่นทางด้านอาญา (6.) ติดตามตรวจสอบคดีอาญาทุกประเภทที่ยื่นต่อสำ �นักงานอัยการสูงสุดรวมถึง เก็ บ ข้ อ มู ล ที่ เป็ น ปั จ จุ บั น เกี่ ย วกั บ สถานะของคดี แ ละนำ � ระบบดั ง กล่ า วรวมถึ ง ข้อปฏิบัติต่างๆ มาช่วยในการเร่งรัดการตรวจสอบและการจำ�หน่ายคดีมาปรับใช้ อัยการสูงสุดและรองอัยการสูงสุดต้องปฏิบัติ หน้าที่ในคณะกรรมการคัดเลือกและเลื่อนตำ �แหน่ง เพื่อตรวจสอบการแต่งตั้งหรือการเลื่อนตำ�แหน่งของ พนักงานอัยการในการดำ�รงตำ�แหน่งต่างๆ ในสำ�นักงาน อัยการสูงสุด นอกจากนั้น ในกรณีที่มีการพิจารณา ตำ�แหน่งพนักงานอัยการในระดับภาค ระดับจังหวัด หรื อ ระดั บ เมื อ ง อั ย การภาค อั ย การจั ง หวั ด และ อัยการเมืองจะต้องเป็นกรรมการในคณะกรรมการ คัดเลือกและเลือ่ นตำ�แหน่งดังกล่าวด้วย โดยอัยการสูงสุด จะเป็นประธานในคณะกรรมการดังกล่าว. (แปลและเรียบเรียงโดย เยาวลักษณ์ ทองห่อ รอง อจ.คช.จ. สงขลา)

30

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


ภาษาอินโดนีเซียง่ายนิดเดียว ภาษาอิ น โดนี เซี ย มี รู ป แบบประโยคเหมื อ น ภาษาไทยมาก หากเราได้ศัพท์ก็สามารถเรียบเรียง ประโยคภาษาอินโดนีเซียได้แล้ว จะมีแตกต่างบ้าง ก็ตรงทีม่ ี active และ passive voice ลองผูกประโยค จากศัพท์งา่ ยๆ ให้พอขอข้าวทานฟรีสกั มือ้ หรือจีบสาว ได้สักคน ศัพท์ง่ายๆ วันนี้ขอเป็นเรื่องทักทายกันง่ายๆนะคะ Selamatsiang เซอ−ลา−มัต−เซียง สวัสดีกลางวัน Serlamat = สวัสดิ์ Siang = กลางวัน (malam มาลำ� = กลางคืน Pagi ปากี= ตอนเช้า) Apa Khabar อา−ปา กา−บาร (ออกเสียง ร ควบ) เป็นอย่างไรบ้าง apa = อะไร Khabar = ข่าว Mau kemana เมา เกอ มานา จะไปไหน Mau = จะ ke = ไปสู่ หรือ to ในภาษาอังกฤษ mana = ที่ไหน (pergi = ไป เปอรกี แต่เวลาพูดเราจะตัด Pergi ออก) Ke Kantin, sudah lapar เกอแคนทีนซูดะห์ ลาปาร จะไปโรงอาหาร หิวแล้ว ke = ไป Kantin โรงอาหาร sudah = แล้ว lapar = หิว Saya juga lapar tapi tak bawa uang ซายา จูกะ ลาปาร ตาปี ตะ บาวะ อูวัง ฉันก็หิวแต่ไม่ได้เอาเงินมา Saya = ฉัน Juga = ด้วยเหมือนกัน Lapar = หิว tapi = แต่ (tetapi), tak (tidak) = ไม่ bawla = นำ�มา/นำ�ไป Uang = เงิน Ayo sama saya อาโย ซามา ซายา ไปกับผมก็ได้ครับ Ayo ไม่มีความหมายอะไรเป็นการชักชวน sama = ด้วยกัน เหมือนกัน Saya = ฉัน (โดย มีนา ซาฟี สถานเอกอัครราชทูตอินโดนีเซียประจำ�ประเทศไทย) จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

31


ASEAN Prosecutor Family Member SEVERINO HUNT GAÑNA, JR., is currently a Senior Deputy State Prosecutor of the National Prosecution Service, Department of Justice. He obtained his degree in Bachelor of Laws from the University of Santo Tomas (UST) in 1979 and passed the Bar Examinations held in the same year. In 1996, he earned his Master’s Degree in Government Management at Pamantasanng Maynila (PLM). Since his appointment on February 1, 1983, as Special Counsel of the Office of the Provincial Prosecutor of Cavite, his tenure was characterized as an aggressive and confident trial prosecutor. From then on, he humbly rose from the ranks and is now the most Senior Deputy State Prosecutor of the Department of Justice where he has been working for the past thirty three years (33) years. His dedication to the service was acknowledged by both public and private organizations and was given various citations and commendations. Presently he chairs the Task Force on Intellectual Property Piracy and Task Force on “Titulong Malinis”. Inspite of his educational achievements, he continually pursues legal knowledge by attending local and international trainings and studies. A principled and visionary leader by example, he committed himself to perform his mandate and provide adequate, prompt and efficient delivery of justice. Severino H. Gañna, Jr., was born on May 20, 1953 to Mr. Severino S. Gañna, Sr. and Mrs. Zenaida Hunt Gañna. Married to the late Dra. Elenita Galang Ganña, they have three children, Severino G. Gañna, III, a registered nurse in California, Dra. Mary

32

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


Ellen G. Gañna, Resident Physician of Lifeline Ambulance Rescue Inc. and Brian G. Gañna, an officer in the United States Navy. An heir to hardworking businessoriented parents, he was taught to deal with people with honesty and loyalty. He committed himself to return his blessings to God and to his countrymen by honest and dedicated public service. เซเวริโน ฮันท์ กายา จูเนียร์ ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งรองอัยการสูงสุดอาวุโส สำ�นักงาน อั ย การแห่ ง ชาติ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ สำ� เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี จากมหาวิ ท ยาลั ย ซานโต โทมัส ในปี พ.ศ.2522 และสอบเนติบัณฑิตได้ในปีเดียวกัน ต่อมาในปี พ.ศ.2539 ท่านกายา สำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้านการบริหารจัดการภาครัฐจากมหาวิทยาลัยกรุงมนิลา (Pamantasanng Maynila- PLM) ท่านกายา เข้ารับตำ�แหน่งที่ปรึกษาพิเศษ ของสำ � นั ก งานอั ย การจั ง หวั ด เซวิ ท (Cavite) ในวั นที่ 1 กุ ม ภาพั นธ์ พ.ศ. 2526 ปั จ จุ บั น ดำ�รงตำ�แหน่งรองอัยการสูงสุด (อาวุโสสูงสุด) แห่งกระทรวงยุติธรรม ความมุ่งมั่นและทุ่มเท ในการทำ�งานของท่านกายา เป็นที่ยอมรับและ ยกย่องทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน ปัจจุบัน ท่านดำ�รงตำ�แหน่งประธานคณะทำ�งานด้านการ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาและประธานคณะทำ�งาน “Titulong Malinis” ท่ า นกายาอุ ทิ ศ ตนเพื่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ผดุงความยุติธรรมอย่างเท่าเทียม รวดเร็ว และ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ท่ า นเคยเดิ นทางมาประชุ ม และร่ ว มกิ จ กรรมกั บ สำ � นั ก งานอั ย การสู ง สุ ด หลายครั้ ง เป็ นที่ รู้ จั ก และคุ้ น เคยกั บ พนั ก งาน อัยการไทยหลายท่าน (แปลและเรียบเรียงโดย ศรินรัตน์ จิรัสย์ชำ�นะ) นิติกรปฏิบัติการ สำ�นักงานต่างประเทศ จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

33


Mr. Pongniwat Yuthapanboriparn, Attorney General, received a courtesy call from Mr. Glyn T. Davies, Ambassador of the United States of America. 1 March 2016. อัยการสูงสุดให้การต้อนรับนายกลิน ที. เดวี ส เอกอั ค รราชทู ต สหรั ฐ อเมริ ก าประจำ � ประเทศไทย และคณะในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะ

Mr. Haà Huùng Cu’o’ng, Minister of Justice of the Republic of Vietnam, led the Vietnamese delegation for a study visit at the Office of the Attorney General. 26 February 2016. นายเข็ ม ชั ย ชุ ติ ว งศ์ รองอั ย การสู ง สุ ด ให้ ก ารต้ อ นรั บ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรมสาธารณรั ฐ สังคมนิยมเวียดนามและคณะ ในโอกาสมาศึกษาดูงานสานักงานอัยการสูงสุดและกระบวนการยุติธรรมไทย

34

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


Mrs. Michele Thoren Bond, the US Secretary of State for Consular Affairs, discussed with Mr. Khemchai Chutiwongse, Deputy Attorney General, the cooperation on the Hague Convention on the Civil Aspects of International Child Abduction 1980. 26 January 2016

นางมิเชล ทอเรน บอนด์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาฝ่ายกิจการกงสุล พบปะหารือข้อราชการกับนายเข็มชัย ชุติวงศ์ รองอัยการสูงสุด

Mr. Khemchai Chutiwongse, Deputy Attorney General, received Mr. Ly Bounkham, Ambassador of the Lao PDR, for a visit at the Office of the Attorney General. 3 February 2016. นายเข็มชัย ชุติวงศ์ รองอัยการสูงสุด ให้การต้อนรับเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

35


ASEAN Prosecutor Community News

The Acting Attorney General of Brunei, Dyg Naimah binti Mohd Ali, received a courtesy call from the delegation of the Ministry of Justice of the Lao PDR. Bandar Seri Begawan.

Ms. CHEA LEANG, Prosecutor General of the Kingdom of Cambodia co-chaired over the General Assembly of judges and prosecutors of all court levels on 25-26 January 2016. Phanom Penh.

Mr. Muhammad Prasetyo, Attorney General of Indonesia signed MOU on the Protection of Witnesses in Corruption Cases with the Witness and Victim Protection Agency. Jakarta. 36

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


Mr. Khamsane Souvong, Prosecutor General, presented Outstanding Performance Award to offices which had high quality performance in year 2015, Vientiane, 5 February 2016.

Dr. Tun Shin, Attorney General of the Union of Myanmar, received the delegation led by Mr. BJ Nambiar, Special Adviser of United Nations Secretary General. Nay Pyi Taw.

Dr. Nguyen Hoa Binh Prosecutor General of Vietnam, presided over appointment ceremony of Directors General of several departments of the Supreme People’s Procuracy. Hanoi.

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

37


Welcome to the 2nd issue of the ASEAN Prosecutor Community Newsletter. This issue is distributed in April and coincided to celebrate the 123rd anniversary of the Office of the Attorney General (OAG) of Thailand on the 1st of April. The main articles are, therefore, the history of the OAG and a brief biography of Khunluang Praya Kraisri (Pleng Vepara), the first Attorney General of Thailand. The article on the 9th China-ASEAN Prosecutors General Conference, which is the only occasion on which the leaders of all ASEAN prosecution services can annually meet, was contributed by Mr. Sirisak Tiyapan, Senior Public Prosecutor of the Thai OAG. The U.S.-ASEAN summit in Sunnylands, USA was the biggest activity of the ASEAN Community after the inauguration on the 31st of last December. The APC Newsletter briefly presents the Spirit of Sunnylands. The Philippines National Prosecution Service is introduced by Alfredo Masangkay. The APC Newsletter is very honored and grateful that Mr. Severino H. Gana, Senior Deputy State Prosecutor of the Philippines National Prosecution Service, and Mr. Sila Pulungun, Attorney Attache from the Attorney General’s Office of Indonesia have agreed to join our board. We hope that the involvement of our two new distinguished members will make the APC Newsletter more informative and varied. The APC Newsletter also invites any contributions in terms of articles and stories from other ASEAN prosecutors. Lastly, we would like to thank Wiwat Pinmuangngam of the Nan Appellate Prosecutor Office for supporting our work.

ASEAN Prosecutor Community Newsletter. Editorial Advisors : Amnat Chotchai, Intranee Sumawong, Chatchom Akapin, Severino H. Gana. Editor : Jumpon Phansumrit Editorial Board : Sila Pulungun, Pinthip Leelakriangsak Srisanit, Kulachai Thonglongya, Setha Tienpiragul, Sarinrat Jiruschamna, Kosin Dokbua, Pranee Thongkaew Tel: 0 2142 1630, Fax: 0 2143 7823, Email: asean.ago@gmail.com สำ�หรับท่านที่ต้องการรับจุลสารเป็นประจำ�สมัครเป็นสมาชิกประชาคมอัยการอาเซียน ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่ www.asean.ago.go.th ศูนย์พันธกิจประชาคมอาเซียน สำ�นักงานต่างประเทศ 38

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


The preparation meeting with the Embassy of Indonesia to co-organize the 1st exhibition, “Wonderful Indonesia” under the exhibition series of the Road to ASEAN Community. ศูนย์พันธกิจประชาคมอาเซียน และสำ�นักงานวิชาการ ประชุมเตรียมการจัดนิทรรศการ ครั้งที่ 1 “มหัศจรรย์อินโดนีเซีย” ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูต อินโดนีเซียประจำ�ประเทศไทย ภายใต้โครงการ นิทรรศการชุด “ถนนสู่ประชาคมอาเซียน”

จุลสารประชาคมอัยการอาเซียน

39


(Head of Thai delegation: Ms. Nipaporn Rujjanarong, Deputy Attorney General. Head of Lao delegation: Mr. Xayxana Khotphothone, Deputy Prosecutor General) 10 March 2016

ASEAN Community Missions Centre, International Affairs Department, Office of the Attorney General, Government Complex, Building A, Chaengwattana Road, Lak Si, Bangkok 10210. Thailand E-mail: asean.ago@gmail.com

40

ASEAN PROSECUTOR COMMUNITY


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.