แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ 11–14 หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4 การประมวลผลข้อ มูล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 ข้อมูลและสารสนเทศ 2 ชม. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 การจัดการข้อมูลและรหัสแทนข้อมูล 2 ชม. ในคอมพิวเตอร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 หน่วยของข้อมูล 2 ชม. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 ลักษณะการประมวลผลข้อมูล 2 ชม. รวม 8 ชั่ว โมง
ผัง มโนทัศ น์ส าระการเรีย นรู้
ลักษณะการประมวลข้อมูล รหัสแทนข้อมูล ข้อมูล การจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์
การประมวลผล ข้อ มูล
หน่วยของ
แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ 11 ข้อ มูล และสารสนเทศ เวลา 2 ชั่ว โมง กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ การงานอาชีพ ฯ ชั้น มัธ ยมศึก ษา ปีท ี่ 1ภาคเรีย นที่ 1 หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4 การประมวลผลข้อ มูล 1 สาระสำา คัญ ข้อมูล (Data) เป็นข้อเท็จจริงต่าง ๆ ในรูปตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ หรือเสียง ซึ่งมีอยู่ในชีวิตประจำาวันและสามารถ เก็บบันทึกแล้วนำามาใช้ประโยชน์ในภายหลังได้ สารสนเทศ (Information) เป็นสิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล ด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งสามารถแสดงในรูปข้อความ ตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพ 2 มาตรฐานการเรีย นรู้ ง 4.1(4) 3 ผลการเรีย นรู้ 1. อธิบายความหมายของข้อมูลและสารสนเทศได้ (K) 2. จำาแนกประเภทของข้อมูลและบอกวิธีการแสดง สารสนเทศได้ (K) 3. มีทักษะในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ (P) 4. เห็นความสำาคัญของข้อมูลและแสดงออกเป็นสารสนเทศ ได้ด้วยความเต็มใจ (A) 4 สาระการเรีย นรู้ ข้อมูลและสารสนเทศ 5 กระบวนการจัด การเรีย นรู้ ขั้น ที่ 1 ขั้น นำา ผู้สอนจัดเตรียมตารางแสดงสารสนเทศ เช่น สถิติข้อมูล นักเรียน ให้นักเรียนสังเกตข้อมูลในตาราง ร่วมกันอภิปรายว่ามีวิธี การแสดงสารสนเทศรูปแบบอื่นอีกหรือไม่ ขั้น ที่ 2 ขั้น สอน
1. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การประมวลผลข้อมูล จำานวน 15 ข้อ เวลา 10 นาที 2. ผู้สอนและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า ข้อมูลมีหลายรูปแบบ และเมื่อนำามาประมวลผลแล้วจะได้สารสนเทศ ซึ่งสามารถเลือกวิธี ประมวลผลและแสดงเป็นสารสนเทศได้หลายรูปแบบ 3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3–4 คน ศึกษาเนื้อหาใน หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 และค้นคว้าเพิ่มเติมจากเว็บไซต์สำาหรับค้นข้อมูล แล้วบันทึกผล การศึกษาค้นคว้าลงในสมุด 4. แต่ละกลุ่มระดมสมองรวบรวมข้อมูลในรูปตัวเลข ตัว อักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ และเสียง โดยให้นักเรียนสังเกตข้อมูล ลักษณะการประมวลผลและสารสนเทศที่ได้สรุปเป็นแผนผังความ คิด 5. แต่ละกลุ่มเลือกข้อมูลที่สนใจ โดยจัดเก็บข้อมูลจากเพื่อน ๆ ในชั้นเรียนแล้วนำามาประมวลผลเป็นสารสนเทศด้วย คอมพิวเตอร์แสดงในรูปข้อความ ตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพ 6. ผู้สอนสุ่มกลุ่มนักเรียนนำาเสนอสารสนเทศของกลุ่ม ขั้น ที่ 3 ขั้น สรุป 1. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปสิ่งที่เรียน 2. นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้เป็นแผนที่ความคิดลงใน สมุด ขั้น ที่ 4 ขั้น ฝึก ฝนผู้เ รีย น 1. นักเรียนเก็บข้อมูลของเพื่อนในกลุ่ม แล้วช่วยกันประมวล ผลเป็นสารสนเทศลงในใบงานที่ 1 ตอนที่ 1 2. นักเรียนตอบคำาถามเกี่ยวกับทำากิจกรรมในข้อ 1 ลงใน ใบงานที่ 1 ตอนที่ 2 3. นักเรียนทำากิจกรรมที่ 1, 2 และ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ในหนังสือแบบฝึกหัดสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 ขั้น ที่ 5 ขั้น การนำา ไปใช้ นักเรียนเก็บข้อมูลแล้วนำามาประมวลผลเป็นสารสนเทศ โดย เลือกวิธีการประมวลผลได้เหมาะสม 6 สื่อ การเรีย นรู้ 1. ตัวอย่างข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง
2. ตัวอย่างสารสนเทศรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ กราฟ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตและ ตัวอย่างเว็บไซต์สำาหรับค้นข้อมูล 4. ใบงานที่ 1 เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ 5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานเทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 6. หนังสือแบบฝึกหัดสาระการเรียนรู้พื้นฐานเทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 7 การวัด ผลประเมิน ผลการเรีย นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม (A) 1. ตรวจแผนผัง 1. สังเกตความสนใจ ความคิดและผลงาน ความตั้งใจทำางาน จากการประมวลผล และความเต็มใจใน ข้อมูลเป็น การค้นคว้าข้อมูล สารสนเทศ จากแหล่งความรู้ต่าง 2. ตรวจผลงานจาก ๆ การทำากิจกรรมใบ 2. สังเกตพฤติกรรม งานและแบบฝึกหัด ด้านความรับผิดชอบ 3. ตรวจแบบทดสอบ ในการทำางานที่ได้ รับมอบหมาย ก่อนเรียน (Pre-test)
ด้านทักษะ/ กระบวนการ (P) 1. สังเกตการให้ ความร่วมมือในการ ทำากิจกรรมกลุ่ม 2. สังเกตการมีทักษะ ในการค้นหา รวบรวมข้อมูล การ ประมวลผลข้อมูล และเลือกวิธีแสดง สารสนเทศ
8 กิจ กรรมเสริม การเรีย นรู้ 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน เลือกข้อมูลที่น่าสนใจ ค้นหาแหล่งข้อมูล รวบรวมข้อมูลแล้วนำามาจัดแสดงบนป้ายนิเทศ 2. เชิญวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามตามสนใจ 3. นักเรียนค้นคว้าโปรแกรมที่ใช้ประมวลผลข้อมูล จัดทำา เป็นรายงาน 9 แหล่ง การเรีย นรู้เ พิ่ม เติม 1. หนังสือสารานุกรมไทยสำาหรับเยาวชน โดยพระราช ประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 11 2. เว็บไซต์ http://www.nectec.com, http://www.schoolnet.org และเว็บไซต์ ค้นหาข้อมูล เช่น http://www.google.com, http://www.yahoo.com
3. ช่างคอมพิวเตอร์ ผู้สอนคอมพิวเตอร์ พนักงานขาย อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ 10 บัน ทึก ผลการจัด การเรีย นรู้ 1. ผลการสอน 2. ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข 3. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สอน)
ลงชื่อ
(ผู้
ใบงานที่ 1 เรื่อ ง ข้อ มูล และสารสนเทศ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4 ข้อ มูล และสารสนเทศ เวลา 20 นาที ผลการเรีย นรู้ 1. อธิบายความหมายของข้อมูลและสารสนเทศได้ 2. จำาแนกประเภทของข้อมูลและบอกวิธีการแสดงสารสนเทศได้ 3. มีทักษะในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การปฏิบ ัต ิง าน
กิจ กรรมที่ 1 แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ของเพื่อนในกลุ่มบันทึก ลงในตารางแล้วคำานวณหาค่าเฉลี่ย รายชื่อ สมาชิก ข้อ มูล สมาชิก ในกลุ่ม อายุ (ปี) รายรับ / ราย วัน จ่า ย/วัน 1 2 3 4 5 6 ค่าเฉลี่ยของกลุ่ม กิจ กรรมที่ 2 เติมคำาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. ข้อมูล หมายถึง 2. สารสนเทศ หมายถึง 3. อธิบายความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศมาพอเข้าใจ 4. จากกิจกรรมที่ 1 ข้อมูล ได้แก่ สารสนเทศ ได้แก่ วิธีการประมวลผล คือ ปฏิบัติงาน
ลงชื่อ
แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ 12 การจัด การข้อ มูล และรหัส แทนข้อ มูล ในคอมพิว เตอร์ เวลา 2 ชั่ว โมง
ผู้
กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ ปีท ี่ 1ภาคเรีย นที่ 1 หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4
การงานอาชีพ ฯ ชั้น มัธ ยมศึก ษา การประมวลผลข้อ มูล
1 สาระสำา คัญ การจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เป็นการแปลงข้อมูลที่เป็น ตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่อง คอมพิวเตอร์เข้าใจ เรียกว่า การแทนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ โดย ใช้รหัสแทนข้อมูลซึ่งจะเป็นรหัสของเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 นำา มาประกอบกันเป็นชุด 2 มาตรฐานการเรีย นรู้ ง 4.1(4, 7, 8) 3 ผลการเรีย นรู้ 1. อธิบายวิธีการจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์ได้ (K) 2. อธิบายรูปแบบของรหัสแทนข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้ (K) 3. มีทักษะในการแทนข้อมูลด้วยรหัสแทนข้อมูล (P) 4. เห็นความสำาคัญและเลือกใช้รหัสแทนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ได้ถูกต้อง (A) 4 สาระการเรีย นรู้ 1. การจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 2. รหัสแทนข้อมูล 5 กระบวนการจัด การเรีย นรู้ ขั้น ที่ 1 ขั้น นำา 1. ผู้สอนสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ โดยเขียนเลขศูนย์ และเลขหนึ่งไว้บนกระดาน แล้วให้ข้อมูลกับนักเรียนว่า คอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ ในรูปของเลขฐานสองและ มีหน่วยเรียกว่า บิต (Bit) 2. ผู้สอนแสดงรหัสแทนข้อมูล ตัวอักษร A ตั้งคำาถามกระตุ้น ความสนใจของนักเรียนว่า ตัวอักษรแต่ละตัวมีรหัสต่างกัน ข้อมูล ชื่อของนักเรียนจะเขียนอย่างไร ขั้น ที่ 2 ขั้น สอน 1. นักเรียนศึกษาเนื้อหาเรื่อง การจัดการข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ และรหัสแทนข้อมูล ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้ พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 และค้นคว้าเพิ่มเติมจาก เว็บไซต์สำาหรับค้นข้อมูล
2. ให้นักเรียนนับ 1 ถึง 9 คนต่อไปบอกตัวอักษร A ถึง Z นักเรียนที่เหลือจับคู่กับเพื่อนที่เป็นตัวอักษร 3. ผู้สอนเตรียมรหัสเอบซีดิก แทนคำาต่าง ๆ (มีตัวอักษรหรือ ตัวเลขไม่ซำ้ากัน) เช่น 11000010 11001001 11100011(แทนคำาว่า Bit), 11000010 11101000 11100011 11000101(แทนคำาว่า Byte), 11110010 11110101 11110100 11111000 (แทนคำาว่า 2548) นำา เสนอทีละชุด 4. นักเรียนที่ทำาหน้าที่แทนอักขระต่าง ๆ มายืนเรียงกันให้ถูก ต้อง พร้อมกับบอกชื่อรูปแบบรหัสของตนเอง นักเรียนในชั้นร่วม กันตรวจสอบความถูกต้อง 6. ให้นักเรียนสังเกตความแตกต่างของหน่วย บิต (Bit) และ หน่วยไบต์ (Byte) และทดลองสร้างคำาหรือจำานวนด้วยรหัสเอบซีดิก และรหัสแอสกี 3–5 ตัวอย่าง ขั้น ที่ 3 ขั้น สรุป 1. นักเรียนร่วมกันสรุป เรื่อง การจัดการข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ และรหัสแทนข้อมูล เป็นแผนที่ความคิด ดังนี้ การ จัดการ ข้อมูลใน คอมพิวเต อร์
รหัสแทน ข้อมูล
ขั้น ที่ 4 ฝึก ฝนผู้เ รีย น 1. นักเรียนตอบคำาถามเกี่ยวกับวิธีการจัดการข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ และฝึกฝนการแปลงข้อมูลรหัหสแอสกีและรหัสเอบซี ดิก โดยใช้คำาที่มีตัวอักษรหรือตัวเลขไม่เกิด 6 อักขระ ลงในใบ งานที่ 2 2. นักเรียนทำากิจกรรมที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ในหนังสือ แบบฝึกหัดสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 ขั้น ที่ 5 การนำา ไปใช้ นักเรียนจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยการแทนข้อมูล ด้วยรหัสแอสกีและรหัสเอบซีดิกจากข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ 6 สื่อ การเรีย นรู้ 1. ชุดรหัสแทนข้อมูลแบบเอบซีดิก แอสกี แทนคำาหรือ จำานวนต่าง ๆ 2. ใบงานที่ 2 เรื่อง การจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และ รหัสแทนข้อมูล
3. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตและ ตัวอย่างเว็บไซต์สำาหรับค้นข้อมูล 4. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และรหัสแทนข้อมูล 5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 6. หนังสือแบบฝึกหัดสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1
7 การวัด ผลประเมิน ผลการเรีย นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม ด้านทักษะ/ จริยธรรม (A) กระบวนการ (P) 1. สังเกตจากการ 1. สังเกตความสนใจ 1. สังเกตการให้ แทนรหัสข้อมูล การ และความ ความร่วมมือในการ บอกชื่อรหัสและชื่อ กระตือรือร้นในการ ทำากิจกรรมกลุ่ม หน่วย แทนรหัสข้อมูล 2. สังเกตการมีทักษะ 2. ตรวจแผนผัง 2. สังเกตพฤติกรรม ในการค้นหาความรู้ ความคิด ด้านความรอบคอบ และนำาเสนอข้อมูล 3. ตรวจผลงานจาก ความตั้งใจและการ การทำากิจกรรมใบ ให้ความร่วมมือ งานและแบบฝึกหัด 8 กิจ กรรมเสริม การเรีย นรู้ นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรื่องการจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เกี่ยวกับข้อมูลผลการเรียนวิชาภาษาไทยหรือวิชาอื่น ๆ ว่าจะต้อง ใช้ชุดรหัสแทนข้อมูลอะไรบ้าง มีหน่วยข้อมูลอย่างไรและจัดเรียง ข้อมูลอย่างไร 9 แหล่ง การเรีย นรู้เ พิ่ม เติม 1. หนังสือสารานุกรมไทยสำาหรับเยาวชน โดยพระราช ประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 11 2. เว็บไซต์ http://www.nectec.com, http://www.schoolnet.org และเว็บไซต์ ค้นหาข้อมูล เช่น http://www.google.com, http://www.yahoo.com 3. ช่างคอมพิวเตอร์ ผู้สอนคอมพิวเตอร์ พนักงานขาย อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ 10 บัน ทึก ผลการจัด การเรีย นรู้ 1. ผลการสอน 2. ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข 3. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สอน)
ลงชื่อ
(ผู้
ใบงานที่ 2 เรื่อ ง การจัด การข้อ มูล ในคอมพิว เตอร์ และ รหัส แทนข้อ มูล หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4 ข้อ มูล และสารสนเทศ เวลา 20 นาที ผลการเรีย นรู้ 1. อธิบายวิธีการจัดการข้อมูลในคอมพิวเตอร์ได้ 2. อธิบายรูปแบบของรหัสแทนข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้ 3. มีทักษะในการแทนข้อมูลด้วยรหัสแทนข้อมูล การปฏิบ ัต ิง าน กิจ กรรมที่ 1 เติมคำาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. อธิบายเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์
2. อธิบายความเหมือนและความแตกต่างของรหัสเอบซีดิกและ รหัสแอสกีมาพอเข้าใจ
3. รหัส Unicode เหมือนหรือต่างจากรหัสเอบซีดิกและรหัสแอสกี อย่างไร
กิจ กรรมที่ 2 แปลงข้อมูลรหัสแอสกีและเอบซีดิก โดยเขียนคำา จำานวนที่มีตัวอักษรหรือตัวเลขไม่เกิน 9 อักขระ ลงในช่องว่างทาง ซ้ายมือ และเขียนรหัสแทนข้อมูลลงในช่องขวามือ 1. รหัสคือ 2.
รหัสคือ
3.
รหัสคือ
4.
รหัสคือ
5.
รหัสคือ
ปฏิบัติงาน
ลงชื่อ
แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ 13 หน่ว ยของข้อ มูล เวลา 2 ชั่ว โมง กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ การงานอาชีพ ฯ มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1 ภาคเรีย นที่ 1 หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4 การประมวลผลข้อ มูล
ผู้
ชั้น
1 สาระสำา คัญ หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์มีหลายขนาด สามารถจัดเรียง ลำาดับจากขนาดเล็กไปถึงขนาดใหญ่ได้โดยเริ่มจาก บิต (Bit) ตัว
อักษร (Byte) เขตข้อมูลหรือฟิลด์ (Field) ระเบียน(Record) แฟ้มข้อมูล (File) และฐานข้อมูล (Database) 2 มาตรฐานการเรีย นรู้ ง 4.1(4, 7, 8) 3 ผลการเรีย นรู้ 1. อธิบายความแตกต่างของหน่วยข้อมูลคอมพิวเตอร์ขนาด ต่าง ๆ ได้ (K) 2. จัดเรียงลำาดับชั้นหน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์จากขนาด เล็กไปขนาดใหญ่ได้ (P) 3. เห็นความสำาคัญของการจัดเรียงลำาดับชั้นหน่วยของ ข้อมูลและศึกษาค้นคว้าด้วยความเต็มใจ (A) 4 สาระการเรีย นรู้ หน่วยของข้อมูล ได้แก่ บิต (Bit) ตัวอักษร (Byte) เขตข้อมูล หรือฟิลด์ (Field) ระเบียน(Record) แฟ้มข้อมูล (File) และฐานข้อมูล (Database) 5 กระบวนการจัด การเรีย นรู้ ขั้น ที่ 1 ขั้น นำา 1. ผู้สอนทบทวนความรู้เกี่ยวกับหน่วยของข้อมูล จากเรื่อง การจัดการข้อมูลและรหัสแทนข้อมูล โดยสุ่มนักเรียนออกมาเขียน รหัสแทนข้อมูลแบบแอสกีแทนเลขที่ของตนเอง 2. ผู้สอนชี้ที่เลขตัวแรกของชุดรหัส ให้นักเรียนตอบว่ามี หน่วยอย่างไร และชี้รวมทั้ง 8 ตัว จะมีหน่วยว่าอย่างไร 3. ผู้สอนถามคำาถามเพื่อกระตุ้นความสนใจว่าถ้าให้ นักเรียนเขียนรหัสแทนข้อมูล ของนักเรียนทั้งชั้นจะมีหน่วยของ ข้อมูลอย่างไร ขั้น ที่ 2 ขั้น สอน 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ศึกษาเนื้อหาเรื่อง หน่วย ของข้อมูล ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 2. แต่ละกลุ่มค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ http://www.nectec.com และร่วมกันอภิปราย รูปที่ 4.6 ตัวอย่างการจัดเรียง ลำาดับขั้นของหน่วยข้อมูล โดยเปรียบเทียบขนาดและลักษณะของ ข้อมูลในแต่ละลำาดับขั้น สรุปผลการอภิปรายจดบันทึกในสมุด 3. ผู้สอนสุ่มกลุ่มนักเรียนนำาเสนอผลสรุปการอภิปรายหน้า ชั้นเรียน
4. นักเรียนศึกษารูปที่ 4.7 ตัวอย่างลักษณะของหน่วยข้อมูล แล้วจับคู่กับเพื่อนถามตอบเกี่ยวกับลำาดับชั้นของหน่วยของข้อมูล แต่ละขั้นมีข้อมูลลักษณะอย่างไร อะไรบ้าง ช่วยกันเรียงลำาดับชั้น ตามรูปที่ 4.6 ขั้น ที่ 3 ขั้น สรุป 1. ผู้สอนสุ่มนักเรียนทีละคู่ ถามตอบประเด็นปัญหาให้เพื่อน กลุ่มอื่นฟังและให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้จากเรื่องที่เรียน ขั้น ที่ 4 ขั้น ฝึก ฝนผู้เ รีย น 1. นักเรียนเรียงลำาดับหน่วยของข้อมูลให้ถูกต้อง พร้อม เขียนอธิบายลักษณะของหน่วยของข้อมูล และเลือกข้อความที่เป็น หน่วยของข้อมูลให้สัมพันธ์กัน ลงในใบงานที่ 3 2. นักเรียนทำากิจกรรมที่ 5 และ 7 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ใน หนังสือแบบฝึกหัดสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 ขั้น ที่ 5 การนำา ไปใช้ นักเรียนจำาแนกลักษณะหน่วยของข้อมูลและจัดเรียงลำาดับ ขั้นขนาดหน่วยของข้อมูล 6 สื่อ การเรีย นรู้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อเชื่อมระบบอินเทอร์เน็ตและ ตัวอย่างเว็บไซต์สำาหรับค้นข้อมูล 2. ใบงานที่ 3 เรื่อง หน่วยของข้อมูล 3. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 4. หนังสือแบบฝึกหัดสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 7 การวัด ผลประเมิน ผลการเรีย นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม ด้านทักษะ/ จริยธรรม (A) กระบวนการ (P) 1. สังเกตจากการ 1. สังเกตความตั้งใจ 1. สังเกตพฤติกรรม อภิปรายและการ และความ ขณะทำา กิจกรรมใบ ตอบคำาถาม กระตือรือร้นในการ งานและกิจกรรม 2. ตรวจผลงานจาก ค้นหาและนำาเสนอ กลุ่ม การเขียนเรียงลำาดับ ข้อมูล 2. สังเกตการมีทักษะ ขัน ้ หน่วยของข้อมูล 2. สังเกตพฤติกรรม ในการค้นหาข้อมูล 3. ตรวจผลงานจาก ด้านความรับผิดชอบ และนำาเสนอข้อมูล การทำากิจกรรมใบ ในการทำางานที่ได้
งาน
รับมอบหมาย
8 กิจ กรรมเสริม การเรีย นรู้ นักเรียนรวบรวมข้อมูลของตนเองและของเพื่อนในชั้นเรียน ตามหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ รหัสประจำาตัว ชื่อ นามสกุล คะแนนสอบ วิชาคณิตศาสตร์ เกรดวิชาต่าง ๆ แล้วนำาข้อมูลมาประมวลและ แสดงผลเป็นตารางโดยใช้คอมพิวเตอร์ แหล่ง การเรีย นรู้เ พิ่ม เติม 1. หนังสือสารานุกรมไทยสำาหรับเยาวชน โดยพระราช ประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 11 2. เว็บไซต์ http://www.nectec.com, http://www.schoolnet.org และเว็บไซต์ ค้นหาข้อมูล เช่น http://www.google.com, http://www.yahoo.com 3. ช่างคอมพิวเตอร์ ผู้สอนคอมพิวเตอร์ พนักงานขาย อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ 9 บัน ทึก ผลการจัด การเรีย นรู้ 1. ผลการสอน 2. ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข 3. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สอน)
ลงชื่อ
(ผู้
ใบงานที่ 3 เรื่อ ง หน่ว ยของข้อ มูล หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4 ข้อ มูล และสารสนเทศ เวลา 20 นาที ผลการเรีย นรู้ 1. อธิบายความแตกต่างของหน่วยข้อมูลคอมพิวเตอร์ขนาดต่าง ๆ ได้ 2. จัดเรียงลำาดับขั้นหน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์จากขนาดเล็กไป ขนาดใหญ่ได้ การปฏิบ ัต ิง าน กิจ กรรมที่ 1 เรียงลำา ดับขั้นหน่วยของข้อมูลจากขนาดเล็กไป หาขนาดใหญ่แล้วเขียนอธิบาย ลักษณะของหน่วยข้อมูล
กิจ กรรมที่ 2 นำาตัวอักษรหน้าข้อความที่เป็นข้อมูลมาใส่ใน ช่องว่างหน้าชื่อหน่วยของข้อมูลที่ สัมพันธ์กัน 1. เขตข้อมูล 2. ตัวอักษร นักเรียนชั้น ม.1 3. บิต 4. ฐานข้อมูล สงกรานต์ 5. ระเบียน 6. แฟ้มข้อมูล ปฏิบัติงาน
ก. 0 หรือ 1 ข. แฟ้มประวัติและคะแนนของ ค. 01000001 ง. สถิติการเกิดอุบัติเหตุช่วงเทศกาล จ. สมุดบันทึกผลการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ฉ. รหัสประจำาตัวคือ 4701159 ลงชื่อ
แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ 14 ลัก ษณะการประมวลผลข้อ มูล เวลา 2 ชั่ว โมง กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ การงานอาชีพ ฯ มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1 ภาคเรีย นที่ 1 หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4 การประมวลผลข้อ มูล
ผู้
ชั้น
1 สาระสำา คัญ ลักษณะการประมวลผลข้อมูล สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การประมวลแบบกลุ่ม (Batch Processing) ซึ่งจะมีลักษณะการสะสม ข้อมูลไว้เมื่อถึงเวลาจึงประมวลผลพร้อมกัน และการประมวลผล แบบทันที (Real -time Processing) จะประมวลผลพร้อมกับข้อมูลทันที 2 มาตรฐานการเรีย นรู้ ง 4.1(4, 7, 8) 3 ผลการเรีย นรู้
1. อธิบายความแตกต่างของการประมวลแบบกลุ่มและการ ประมวลผลแบบทันทีได้ (K) 2. ค้นหา รวบรวมข้อมูล และยกตัวอย่างเกี่ยวกับการ ประมวลผลแบบต่าง ๆ ได้ (P) 3. เห็นประโยชน์ของการประมวลผลข้อมูลและนำาไปใช้ใน ชีวิตประจำาวัน (A) 4 สาระการเรีย นรู้ 1. การประมวลผลแบบกลุ่ม 2. การประมวลผลแบบทันที 5 กระบวนการจัด การเรีย นรู้ ขั้น ที่ 1 ขั้น นำา 1. ให้นักเรียนสังเกตใบเสร็จรับเงิน 2 ประเภท แล้วเปรียบ เทียบ ดังนี้ 1) ใบเสร็จรับเงินค่าโทรศัพท์ (การประมวลผลแบบ กลุ่ม) 2) ใบเสร็จรับเงินจากร้านสะดวกซื้อ (การประมวลผล แบบทันที) 2. ผู้สอนสุ่มนักเรียนนำาเสนอผลสรุปการเปรียบเทียบและยก ตัวอย่างเพิ่มเติม ขั้น ที่ 2 ขั้น สอน 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ศึกษาเนื้อหาเรื่อง ลักษณะการประมวลข้อมูล ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 2. แต่ละกลุ่มสำารวจและรวบรวมข้อมูลที่มีลักษณะการ ประมวลผลแบบกลุ่มและการประมวลผลแบบทันที จดบันทึกลงใน สมุด 3. แต่ละกลุ่มค้นคว้าเพิ่มเติมจากใบความรู้ที่ 4 นำาข้อมูลมา อภิปรายในกลุ่มและร่วมสรุปผลการอภิปราย ระดมสมองจัดทำา แผนผังลักษณะการประมวลผลข้อมูลทั้ง 2 แบบ บนป้ายนิเทศ พร้อมยกตัวอย่างที่พบเห็นในชีวิตประจำาวัน 4. แต่ละกลุ่มนำาเสนอแผนผังพร้อมยกตัวอย่างหน้าชั้นเรียน ขั้น ที่ 3 ขั้น สรุป 1. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเนื้อหาที่เรียน 2. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การประมวลผลข้อมูล จำานวน 15 ข้อ เวลา 10 นาที ขั้น ที่ 4 ฝึก ฝนผู้เ รีย น
1. เชิญวิทยากรที่เป็นเจ้าหน้าที่การไฟฟ้าและเจ้าหน้าที่ ธนาคารมาให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะการประมวลผลข้อมูลการใช้ ไฟฟ้าและการฝากถอนเงินในธนาคาร นักเรียนสรุปเนื้อหาเรื่อง ลักษณะการประมวลผลข้อมูลเป็นแผนที่ความคิด 2. นักเรียนพิจารณาลักษณะของข้อมูลให้สัมพันธ์กับ ลักษณะการประมวลผลข้อมูลและอธิบายความแตกต่างของการ ประมวลผลแบบกลุ่มและการประมวลแบบทันทีลงในใบงานที่ 4 3. นักเรียนทำากิจกรรมที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ในหนังสือ แบบฝึกหัดสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 ขั้น ที่ 5 การนำา ไปใช้ นักเรียนจำาแนกลักษณะการประมวลผลข้อมูลแบบต่าง ๆ และ ยกตัวอย่างลักษณะข้อมูลที่ใช้การประมวลผลแบบกลุ่มและแบบ ทันทีที่พบเห็นในชีวิตประจำาวัน 6 สื่อ การเรีย นรู้ 1. ข้อมูลลักษณะต่าง ๆ ที่ใช้การประมวลผลแบบกลุ่ม เช่น ใบเสร็จค่านำ้า ใบเสร็จค่าไฟฟ้า ใบเสร็จค่าโทรศัพท์ และข้อมูลที่ ใช้การประมวลผลแบบทันที เช่น การถ่ายทอดสดฟุตบอล การ ถ่ายทอดรายการวิทยุ การถอนเงินจากเครื่องเอทีเอ็ม 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อเชื่อมระบบอินเทอร์เน็ต และ ตัวอย่างเว็บไซต์สำาหรับค้นข้อมูล 3. ใบงานที่ 4 เรื่อง ลักษณะการประมวลผลข้อมูล 4. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 5. หนังสือแบบฝึกหัดสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยี สารสนเทศ ม.1 7 การวัด ผลประเมิน ผลการเรีย นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม (A) 1. สังเกตจากการ 1. สังเกตความตั้งใจ อธิบาย และความ 2. ตรวจแผนผังและ กระตือรือร้นในการ แผนที่ความคิด ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ 3. ตรวจผลงานจาก ลักษณะการประมวล การทำากิจกรรมใบ ผลข้อมูล งาน 2. สังเกตพฤติกรรม
ด้านทักษะ/ กระบวนการ (P) 1. สังเกตการให้ ความร่วมมือในการ ทำากิจกรรมกลุ่ม 2. สังเกตการมีทักษะ ในการค้นหาข้อมูล จากแหล่งความรู้ 3. ประเมินพฤติกรรม
4. ตรวจแบบทดสอบ จากแบบประเมิน ของนักเรียนจาก ด้านคุณธรรม แบบประเมินด้าน หลัง เรียน (Post-test) จริยธรรมและค่า ทักษะ/กระบวนการ นิยม 8 กิจ กรรมเสริม การเรีย นรู้ จัดนิทรรศการเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล โดยเชิญ วิทยากรมาบรรยายให้ความรู้กับ นักเรียนและจัดกิจกรรมที่นักเรียนได้ทดลองประมวลผลข้อมูลใน ลักษณะต่าง ๆ 9 แหล่ง การเรีย นรู้เ พิ่ม เติม 1. หนังสือสารานุกรมไทยสำาหรับเยาวชน โดยพระราช ประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 11 2. เว็บไซต์ http://www.nectec.com, http://www.schoolnet.org และเว็บไซต์ ค้นหาข้อมูล เช่น http://www.google.com, http://www.yahoo.com 3. ช่างคอมพิวเตอร์ ผู้สอนคอมพิวเตอร์ พนักงานขาย อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ 10 บัน ทึก ผลการจัด การเรีย นรู้ 1. ผลการสอน 2. ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข 3. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สอน)
ลงชื่อ
(ผู้
ใบงานที่ 4 เรื่อ ง ลัก ษณะการประมวลผลข้อ มูล หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 4 ข้อ มูล และสารสนเทศ เวลา 20 นาที ผลการเรีย นรู้ 1. อธิบายความแตกต่างของการประมวลแบบกลุ่มและการ ประมวลผลแบบทันทีได้ 2. ค้นหา รวบรวมข้อมูล และยกตัวอย่างเกี่ยวกับการประมวลผล แบบต่าง ๆ ได้ การปฏิบ ัต ิง าน กิจ กรรมที่ 1 พิ จ ารณาลั ก ษณะข้ อ มู ล ทางขวามื อ แล้ ว นำา ตั ว อักษรหน้าข้อความลักษณะการ ประมวลผลข้ อ มู ล ไปใส่ ล งในช่ อ งว่ างหน้ า ข้ อ ความที่ สัมพันธ์กัน ก. การประมวลผลแบบกลุ่ม ข. การประมวลผลแบบทันที 1. การคำานวณเงินค่าสินค้าของร้านสะดวกซื้อ 2. การถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอล 3. ใบเสร็จรับเงินค่าไฟฟ้า 4. ดอกเบี้ยเงินฝากในธนาคาร 5. เสียงเพลงจากรายการวิทยุ 6. ค่านำ้าประปาในรอบ 1 เดือน 7. ค่าบริการโทรศัพท์ 8. การถอนเงินโดยใช้บัตรเอทีเอ็ม 9. จองตั๋วเครื่องบินทางอินเทอร์เน็ต 10. การโอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร
กิจ กรรมที่ 2 อธิบายความแตกต่างของการประมวลผลแบบ กลุ่มและการประมวลผลแบบทันที มาพอสังเขป พร้อมยกตัวอย่างที่พบในชีวิตประจำาวัน แบบละ 2 ตัวอย่าง
ปฏิบัติงาน
ลงชื่อ
ผู้
แบบทดสอบก่อ นเรีย น –หลัง เรีย น คำา ชี้แ จง เขียนเครื่องหมาย ทับตัวอักษรหน้าคำาตอบที่ถูกต้อง ที่สุด 1. ข้อใดเป็นความหมายของ ง ข้อมูลที่กำาลังถูกวิเคราะห์ ข้อมูล โดยคอมพิวเตอร์ ก ข้อเท็จจริงในรูปแบบเสียง ข ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวอักษร 3. ข้อใดคือลักษณะของข้อมูล ค ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปภาพ/ ก ตัวอักษร สัญลักษณ์ ข ข้อความ ง ถูก ทุก ข้อ ค วีดิทัศน์ ง ถูก ทุก ข้อ 2. สารสนเทศหมายถึงข้อใด ก ข้อ มูล ที่ไ ด้จ ากการ 4. ข้อใดจัดเป็นข้อมูลทั้งหมด ประมวลผล ก รูปภาพดารา กระเป๋า เทป ข ข้อมูลที่เป็นตัวเลขและ เพลง รูปภาพ ข เกรดเฉลี่ย นามบัต ร ค ข้อมูลที่ทำาการจัดเก็บ แผ่น ซีด ีเ พลง รวบรวมไว้
ค กระดาษสี ป้ายโฆษณา ราย ชื่อนักเรียน ง หนังสือการ์ตูน เครื่อง คอมพิวเตอร์ รายชื่อนักเรียน 5. ข้อใดเกี่ยวข้องกับ สารสนเทศ ก การซื้อคอมพิวเตอร์ ข การผลิตคอมพิวเตอร์ ค การเปรีย บเทีย บราคา คอมพิว เตอร์ ง การเลือกทำาเลที่ตั้งร้าน คอมพิวเตอร์ 6. ข้อใดไม่จัดเป็น รูปแบบ ของสารสนเทศที่ได้จากการ ประมวลผล ก แผนภูมิ ข สรุปรายงาน ค ตารางสอบ ง บัน ทึก การประชุม 7. ข้อใดคือวิธีการได้มาซึ่ง ข้อมูลและสารสนเทศ ก การสำารวจและการสุ่ม ตัวอย่าง
ข การบัน ทึก และการ ประมวลผล ค การสังเกตและการประเมิน ผล ง การประมวลผลและการ สอบถาม 8. ข้อใดไม่ใช่โครงสร้างของ ข้อมูล ก เขตข้อมูล ข ฐานข้อมูล ค แฟ้มข้อมูล ง หน่ว ยข้อ มูล 9. จากตารางตัวอักษร A ใช้ รหัส Unicode แทนข้อมูลได้ อย่างไร Charactor EBCDIC code ASCII code A 11000001 10100001 B 11000010 10100010 ก 0000 0000 11000001 ข 1100 0001 00000000 ค 0000 0000 10100001 ง 0000 1010 00010000
10. รหัสแอสกีและเอบซีดิก เหมือนกันอย่างไร ก ใช้ได้กับรหัส Unicode ข ใช้เป็นรหัสแทนข้อมูลได้ 65,536 แบบ ค การแทนข้อมูลหนึ่งตัว เท่ากับ 16 บิตเรียงกัน ง ใช้เ ลขฐานสองจำา นวน 8 หลัก แทนข้อ มูล หนึ่ง ตัว
13. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยว กับการประมวลผลแบบกลุ่ม ก ข้อมูลจะถูกสะสมในช่วง เวลาหนึ่ง ข การประมวลผลเกิดขึ้น พร้อมกับข้อมูล ค ข้อมูลจะถูกประมวลผลรวม กันครั้งเดียว ง ข้อ ก และ ค ถูก
11. การแทนรหัสแอสกี 1 ไบต์ เท่ากับเท่าใด ก 2 บิต ข 4 บิต ค 8 บิต ง 16 บิต
14. ข้อใดจัดเป็นการประมวล ผลแบบกลุ่ม ก การจัดรายการวิทยุ ข การโอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม ค การถ่ายทอดสดแข่งขัน ฟุตบอล ง การสำา รวจข้อ มูล ผล การเลือ กตั้ง
12. ข้อใดคือลักษณะของฐาน ข้อมูล ก กลุ่มเขตข้อมูลทีอ ่ ยู่รวมกัน ข กลุ่ม แฟ้ม ข้อ มูล ที่อ ยู่ร วม กัน ค กลุ่มของตัวอักษรที่เก็บรวม กัน ง กลุ่มระเบียนข้อมูลที่เก็บรวม กัน
15. การถอนเงินจากตู้เอทีเอ็ม จัดเป็นการประมวลผลแบบ ทันทีอย่างไร ก ได้รับเงินสดทันที ข ธนาคารจะตัดยอดเงินใน บัญชีทุกครั้ง ค เงินคงเหลือในบัญชีจะ เปลี่ยนแปลงทันที ง ถูก ทุก ข้อ
การประเมิน ด้า นความรู้ ตอนที่ 1 นำาตัวอักษรหน้าข้อความทางขวามือ มาใส่ลงในช่อง ว่างหน้าข้อความที่สัมพันธ์กัน
1. ประกาศรับสมัครนักเรียนเข้าร่วม ก เด็กชาย โครงการ สิงหราช ปราย “ยิ้มสวย รวยเสน่ห์” พล อายุ 13 ปี 2. สถิติการบินของสายการบินสวัสดี ข ASCII แอร์ไลน์ ค EBCDIC 3. ตัวเลข 0, 1 ที่เขียนเป็นชุดแทนตัว ง Unicode อักษรและตัวเลข จ ฐานข้อมูล 4. สัญญาณในการจัดเก็บข้อมูลของ ฉ ข้อมูล คอมพิวเตอร์ ช สารสนเทศ 5. รหัสแทนข้อมูลที่ใช้เลขฐานสอง 8 ซ ดิจิตอล บิต ฌ Binary Digit 6. รหัสแทนข้อมูลที่ใช้กับเครื่อง ญ เขตข้อมูล คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 7. รหัสแทนข้อมูลที่ใช้เลขฐานสอง 16 บิต 8. ปลา กุ้ง หอย ปู สาหร่าย ปะการัง 9. โครงสร้างข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูลมา รวมกัน 10. กลุ่มแฟ้มข้อมูลที่นำามาเก็บรวมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียน ตอนที่ 2 เขียนเครื่องหมาย ทับตัวอักษรหน้าคำาตอบที่ถูกต้อง 11. ข้อมูลเหมือนหรือต่างจาก สารสนเทศอย่างไร ก เหมือนกัน เพราะสารสนเทศก็ คือข้อมูลทั่วไป ข เหมือนกัน เพราะข้อมูลและ สารสนเทศเป็นคำาที่ใช้แทนกัน ค ต่า งกัน เพราะสารสนเทศ ต้อ งได้จ ากการประมวลผล ข้อ มูล ง ต่างกัน เพราะข้อมูลต้องได้ จากการประมวลผลสารสนเทศ
12. ข้อใดจัดเป็นเขตข้อมูล ก แฟ้มคนไข้ ข เบอร์โ ทรศัพ ท์ ค ข้อมูลท่องเที่ยว ง ประวัตินักเรียน
13. ตัวเลข 0 และ 1 ในระบบ เลขฐานสองมีหน่วยเรียกว่า อะไร ก บิต
ข ไบต์ ค กิโลไบต์ ง กิกะไบต์
ค การบันทึกข้อมูลนักเรียน ง การจดบันทึกรายรับราย จ่าย
14. ข้อใดคือลักษณะการ ประมวลผลแบบทันที ก การจองตั๋ว เครื่อ งบิน ข การเล่นเกมคอมพิวเตอร์ 15. การซื้อสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ตเป็นการประมวลผล แบบกลุ่มหรือไม่อย่างไร ก เป็น เพราะไม่ไ ด้ส ิน ค้า ทัน ที ข ไม่เป็น เพราะไม่มีใบเสร็จรับเงิน ค เป็น เพราะได้สินค้าภายใน 1 ชั่วโมง ง ไม่เป็น เพราะต้องชำาระค่าสินค้าเป็นเงินสด
การประเมิน ด้า นทัก ษะ / กระบวนการ
คำาชี้แจง สังเกตพฤติกรรม/ผลการทำางานตามใบงาน ประกอบการพิจารณา รายการ ประเมิน
1. ทัก ษะในการ ทำา งานการ ประมวลผล ข้อ มูล
ความสามารถของผู้เ รีย น
1. รวบรวม ตรวจสอบความถูกต้องและจัดเก็บ ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ 2. มีการจัดการข้อมูลและประมวลผลข้อมูลด้วย คอมพิวเตอร์ 3. มีการเก็บรักษาข้อมูลอย่างปลอดภัย 4. มีการเผยแพร่สารสนเทศโดยใช้อุปกรณ์
ระดับ คุณ ภาพ 3 2 1
2. ทัก ษะในการ จัด การ
3. ทัก ษะ กระบวนการ ทำา งานกลุ่ม
คอมพิวเตอร์ 1. การวางแผนการทำางาน 2. ทำางานตามกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. มีทักษะในการทำางานแบบประหยัด 4. ทำางานโดยรู้จักอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 1. ทำางานตามบทบาทหน้าที่ในกลุ่ม 2. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานที่ทำา 3. ทำางานร่วมกับผู้อื่นและให้ความร่วมมือกับกลุ่ม 4. นำาเสนองาน ประเมินผลและปรับปรุงงานของ กลุ่ม
สรุป ผลการประเมิน
ดี
ลงชื่อ
ปานกลาง ปรับ ปรุง ผู้ ประเมิน
การประเมิน ด้า นคุณ ธรรม จริย ธรรมและค่า นิย ม คำาชี้แจง สังเกตพฤติกรรม/ผลการทำางานตามใบงาน ประกอบการพิจารณา รายการ ประเมิน
ความสามารถของผู้เ รีย น
1. มีค วามรับ ผิด ชอบ
1. ทำางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2. ทำางานสำาเร็จ ส่งงานตรงเวลา 3. ดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ ทำางาน
2. มีค วามขยัน และซื่อ สัต ย์
1. ทำางานด้วยตนเอง 2. พยายามทำางานให้เสร็จก่อนกำาหนด 3. แสวงหาความรู้เกี่ยวกับงานที่ทำาอยู่เสมอ
3. มีเ จตคติท ี่ด ี ต่อ การทำา งาน ด้า น เทคโนโลยี สารสนเทศ
1. มีความสนใจ เอาใจใส่และเต็มใจทำางาน 2. ทำางานอย่างมีความสุข 3. เห็นประโยชน์ของการทำางาน 4. มีกิจนิสัยที่ดีในการทำางาน รอบคอบ
ระดับ คุณ ภาพ เกณฑ์การให้ คะแนน
สรุป ผลการประเมิน ดี ลงชื่อ ดี 3
ปาน กลาง 2
ปรับ ป รุง 1
ปานกลาง
ระดับ คุณ ภาพ 3 2 1
ปรับ ปรุง ผู้ ประเมิน