คู่มือ การดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน
(Internal Performance Agreement : IPA) โครงการสร้างทีมจิตอาสา เพือ่ รับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล
การพัฒนาชุมชน ได้กาหนดกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
โดยมีเป้าหมาย คือ
สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร ๐๓๕-๓๓๖๕๔๑-๒
Internal Performance Agreement : IPA)
:
สารบัญ ๑. ความเป็นมาของโครงการ ๑-๕ ๒. การสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ความหมายของจิตอาสา/ทีมจิตอาสา ๖ คุณลักษณะของจิตอาสา ๖ กิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นจิตอาสา ๗ ความหมายของภัยพิบัติ ๗ ประเภทของภัยพิบัติ ๗ ชุมชนแห่งความเกื้อกูล ๘ ความหมายของคาว่าเกื้อกูล ๘ กิจกรรมที่สะท้อนความเกื้อกูล ๘ คุณลักษณะชุมชนแห่งความเกื้อกูล ๙ กิจกรรมส่งเสริมชุมชนแห่งความเกื้อกูล ๙ ความหมายของครัวชุมชน ๑๐ กิจกรรมของครัวชุมชน ๑๐ ๓. แนวทางขั้นตอนการดาเนินงานโครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือสถานการณ์ภัยพิบัติ บนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ขั้นตอนที่ 1 สร้างการเรียนรู้ ๑๑-๑๒ ขั้นตอนที่ 2 สร้างทีมจิตอาสา(แผนปฏิบัติการระดับอาเภอ) ๑๓ ขั้นตอนที่ ๓ จัดทาแผนปฏิบัติการทีมจิตอาสา ๑๓-๑๔ ขั้นตอนที่ 4 จัดตั้งครัวชุมชน ๑๔-๑๕ ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและการประกาศมาตรการจัดสรรสิ่งจูงใจ ๑๖ ๔. ภาคผนวก แบบสารวจ ๑ พก. ๑ ทีมจิตอาสา ๑ ครัวชุมชน แผน/ผลการสนับสนุนทีมสนับสนุน ทะเบียนรายชื่อทีมจิตอาสา แผน/ผล การปฏิบัติการการทีมจิตอาสา แบบสารวจรายจ่ายของครัวเรือน/และแบบสรุปของชุมชนฯ ทะเบียนรายชื่อกรรมการครัวชุมชน ทะเบียนวัสดุ-อุปกรณ์ครัวชุมชนชุมชน แผน/ผล การดาเนินงานของคณะกรรมการครัวชุมชน แบบประเมินระดับการพัฒนาครัวชุมชน
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน (IPA) ปี 2555 สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตัวชี้วัด น้าหนัก (ร้อยละ) ส่วนที่ 1 ผลสาเร็จ 1. ๑. ระดับความสาเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้าหนักในการบรรลุ 40 ตามแผนปฏิบัติ เป้าหมายตามคารับรองการปฏิบัติราชการ และนโยบายสาคัญ ราชการกรมการ ของกระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชน ๑.๑ ระดับความความสาเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้าหนักใน 30 การบรรลุเป้าหมายตามคารับรองปฏิบัติราชการของกรมการ พัฒนาชุมชน ประจาปี 2555 ๑.๒ ระดับความสาเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสาคัญของ กระทรวงมหาดไทยและกรมการพัฒนาชุมชน ๑.๒.๑ ระดับความสาเร็จของการดาเนินงาน OTOP 5 ๑.๒.๒ ระดับความสาเร็จของการป้องกันและแก้ไข 5 ปัญหายาเสพติด(กองทุนแม่) ส่วนที่ 2 ผลสาเร็จ ของข้อเสนอ โครงการริเริ่ม สร้างสรรค์เพื่อ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมการ พัฒนาชุมชน ส่วนที่ 3 ระบบการ ถ่ายทอดตัวชี้วัดและ เป้าหมายขององค์กร สู่ระดับบุคคล
๒. ระดับความสาเร็จของข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนโครงการ “สร้างทีม จิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติ บนพื้นฐานชุมชนแห่งความ เกื้อกูล ”
40
๓. ระดับความสาเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัด และเป้าหมาย ขององค์กรสู่ระดับบุคคล - มีกระบวนการทบทวนยุทธศาสตร์ - มีกระบวนการกาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดระดับ หน่วยงานและระดับบุคคล - มีแผนปฏิบัติการและดาเนินการตามแผน - มีการติดตามความก้าวหน้าและรายงายผล - มีการเชื่อมโยงระหว่างผลการปฏิบัติงานกับระบบ แรงจูงใจ รวม
20
100
หมายเหตุ : นวัตกรรมหมายถึง การคิดค้นและจัดทาสิ่งใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นเพื่อลดการสูญเสีย หรือพัฒนารูปแบบและวิธีการ ทางานเพื่อเพิ่มมูลค่างานให้สูงขึ้น และไม่ใช่งานประจาที่อยู่ในแผนปฏิบัติราชการประจาปีของกรมฯ
๑ ความเป็นมาของโครงการ โครงการ “สร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล” (๑ พัฒนากร ๑ ทีม จิตอาสา ๑ ครัวชุมชน) หลักการเหตุผล กรมการพัฒนาชุมชน ได้กาหนดกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน โดยจัดสรรงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพื่อดาเนินกิจกรรมตามประเด็นยุทธศาสตร์กรมการ พัฒนาชุมชน จานวน 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข 2. เสริมสร้างขีด ความสามารถการบริหารงานชุมชน 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 4. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคง ของทุนชุมชน 5. เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง โดยมีเป้าหมาย คือการสร้างชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจ ฐานรากมั่นคง ซึ่งการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ไปสู่เป้าหมายได้นั้น กรมการพัฒนาชุมชนได้กาหนดให้มีการ ดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ภายใน ระดับหน่วยงาน (Internal Performance Agreement : IPA) มอบหมายให้สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ซึง่ ถือเป็นหน่วยงานสาคัญในการผลักดันและนายุทธศาสตร์ ของกรมการพัฒนาชุมชนไปสู่การปฏิบัติด้วยวิถีของนักพัฒนาปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ จังหวัด จึงต้องมีระบบการบริหารจัดการ กระบวนการทางานที่สอดคล้องและตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของ กรมการพัฒนาชุมชน และของจังหวัด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีการขับเคลื่อนกิจกรรม ตามยุทธศาสตร์กรมการ พัฒนาชุมชน โดยได้ดาเนินการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จานวน ๘๗ หมู่บ้าน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ มีแกนนาอันประกอบผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน/ผู้นากลุ่มองค์กร/ ผู้เครือข่ายเป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้ประสบผลสาเร็จเป็นอย่างดี แต่ เนื่องจากในปี พ.ศ.๒๕๕๔ ที่ผ่านมาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติครั้งใหญ่ ชุมชน ประสบอุทกภัยอย่างร้ายแรงทาให้เกิดความเสียทั้งในด้านอาคารที่พักอาศัย และพื้นที่ดินทากิน และโดยเฉพาะ ในภาวะของการเกิดอุทกภัยประชาชนเกิดปัญหาการขาดแคลนอาหารไม่สามารถพึ่งพาตนเองในการจัดเตรียม รองรับปัญหาดังกล่าวได้ โดยบริบทของสภาพพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพื้นที่ราบลุ่มจึงต้องประสบ ปัญหาอุทกภัยเป็นประจาทุกปี ดังนั้น ในปี 2555 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงมีเป้าหมายในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน โดยการพัฒนา ผู้นาชุมชน ผู้นาเครือข่ายองค์กรชุมชนทุกระดับ ให้มีจิตอาสาในการที่ จะร่วมแรง ร่วมใจกันพัฒนาชุมชน เป็นทีมจิตอาสาโดยใช้แผนชุมชน เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนา และ น้อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการดาเนินงาน รวมทั้งนโยบายและหลักการทางานของชุมชน แห่งความเกื้อกูล สามารถใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนและแก้ไขปัญหาของชุมชนให้พ้นภาวะวิกฤตดังกล่าว ได้ จึงได้จัดทาโครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนชุมชนแห่งความเกื้อกูล” (๑ พัฒนากร : ๑ ทีมจิตอาสา ๑ ครัวชุมชน)
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 1
๑) วัตถุประสงค์ ๑.1 เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้นาในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบให้สามารถแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ๑.๒ เพื่อส่งเสริมชุมชนให้เป็นชุมชนแห่งความเกื้อกูล ๑.๓ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนในการพึ่งพาตนเอง ๒) กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ดาเนินการ ๒.1 หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จานวน ๑๐๐ หมู่บ้าน ๒.2 เครือข่ายองค์การชุมชน/ปราชญ์ชาวบ้าน/อช./ผู้นา อช./สตรี/ศอช. ในหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบ จานวน ๑๐๐ หมู่บ้าน ๓) ตัวชี้วัดความสาเร็จโครงการ (Out put ,Out come, Impact) ๓.1 ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ๓.1.1 มีการสร้างการเรียนรู้แก่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนในทุกระดับ จานวน ๑๐๐ คน ๓.๑.๒ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนระดับอาเภอมีแผนปฏิบัติการสร้างทีมจิตอาสา จานวน ๑๐๐ คน ๓.๑.๓ มีทีมจิตอาสาฯ จานวน ๑๐๐ ทีม ๓.๑.๔ ที ม จิ ต อาสามี แ ผนปฏิ บั ติ ก ารและสามารถจั ด ตั้ ง ครั ว ชุ ม ชน จ านวน ๑๐๐ หมู่บ้าน ๓.๑.๕ มีวัสดุ/อุปกรณ์ ในการสนับสนุนการจัดตั้งครัวชุมชน จานวน ๑๐๐ หมู่บ้าน ๓.2 ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ทีมจิตอาสามีความรู้ความสามารถในการรับมือและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติของหมู่บ้านฯ ได้อย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรม ๓.3 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ มีครัวชุมชนที่สามารถรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติของหมู่บ้านฯ และเกิดชุมชนแห่งความ เกื้อกูล ๔) ขั้นตอนการดาเนินงาน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้กาหนดการดาเนินงาน IPA ออกเป็น ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ สร้างการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ ๒ สร้างทีมจิตอาสา (แผนปฏิบัติการระดับอาเภอ) ขั้นตอนที่ ๓ จัดทาแผนปฏิบัติการทีมจิตอาสา ขั้นตอนที่ ๔ จัดตั้งครัวชุมชน ขั้นตอนที่ ๕ การประเมินผลและการประกาศเกียรติคุณ ๕) การสนับสนุนการขับเคลื่อนการดาเนินงาน ๕.1 สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรี อยุธยา จัดตั้งทีมนิเทศ สนับสนุน ติดตามผลการ ดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน จานวน 4 ทีม ๆ ละ 4 อาเภอ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของ สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีการประชุมทีมฯ เพื่อเรียนรู้เส้นทางจัดทาแผนปฏิบัติการ การ ส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมฯ ตามเส้นทางของภารกิจที่สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดฯ กาหนด
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 2
และรายงานผลการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบถึงผลความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นต่อไป ๕.2 สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดฯ จัดประชุมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินโครงการ “สร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ” ให้กับทีมนิเทศ สนับสนุน ในระดับ จังหวัดและระดับอาเภอ ๕.3 พัฒนาการจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและหัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่าย ตรวจเยี่ยม สอนแนะให้แก่ พัฒ นาการอาเภอ และเจ้ าหน้ าที่พัฒนาชุมชนอาเภอ เพื่อสนับสนุน ผลั กดันการขับเคลื่ อนยุทธศาสตร์จังหวัด พระนครศรีอยุธยาและยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ๖) ระยะเวลาดาเนินการ ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2555 และสิ้นสุดเดือนกันยายน พ.ศ. 2555 ๗) งบประมาณ ทั้งสิ้น ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) แยกเป็นรายละเอียด ดังนี้ -ค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชน แห่งความเกื้อกูล ๘) เกณฑ์การให้คะแนน กาหนดเป็นระดับขั้นของความสาเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การประเมิน 5 ระดับ พิจารณาจาก ความก้าวหน้าของขั้นตอนการดาเนินงาน และ ความสาเร็จในขั้นตอนสุดท้ายของการดาเนินงาน ดังนี้ ระดับคะแนน 1 2 3 4 5
ขั้นตอนที่ 1
ระดับชั้นของความสาเร็จ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4
ขั้นตอนที่ 5
ระดับคะแนน ขั้นตอนการดาเนินงาน 1 - ประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ตามโครงการ “สร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือ กับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล” ทั้งในระดับจังหวัดและระดับอาเภอ 2 - สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอมีแผนปฏิบัติการดาเนินโครงการ “สร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล” 3 - สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอมีทีมจิตอาสาในการขับเคลื่อนโครงการฯ 4 - ทีมจิตอาสามีแผนการดาเนินโครงการฯและสามารถจัดตั้งครัวชุมชน 5 - ครัวชุมชนมีวัสดุ อุปกรณ์ การสนับสนุนการขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการฯ สามารถ บริหารจัดการด้านอาหาร และและรับมือกับภัยพิบัติต่างๆ ของหมู่บ้านฯได้
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 3
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ชื่อตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. มีการสร้างการเรียนรู้แก่เจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชนในทุกระดับ 2. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนระดับอาเภอ มีแผนปฏิบัติการสร้างทีมจิตอาสา ๓. มีทีมจิตอาสา ๔. ทีมจิตอาสามีแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน กิจกรรมการจัดตั้งครัวชุมชน ๒. ๕. มีวัสดุ/อุปกรณ์ ในการสนับสนุนการ ๓. ดาเนินงานครัวชุมชน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ทีมจิตอาสามีความรู้ความสามารถในการ รับมือและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติของ หมู่บ้านฯได้อย่างเป็นรูปธรรม ตัวชี้วัดผลลัพท์ มีครัวชุมชนที่สามารถบริหารจัดการด้าน อาหารของคนในชุมชน และรับมือกับภัย พิบัติต่างๆ ของหมู่บ้านฯได้ เกิดชุมชนแห่ง ความเกื้อกูล
เป้าหมาย
เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5
ค่าคะแนน ถ่วงน้าหนัก ๒๐ ๔
๑๐๐ คน
58 68 78 87 ๑๐๐
๑๐๐ คน
58 68 78 87 ๑๐๐
๔
๑๐๐ ทีม ๑๐๐ หมู่บ้าน
๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐
๔ ๔
๑๐๐ หมู่บ้าน
๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐
๔
๑๐๐ ทีม
๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐
10
๑๐๐ แห่ง
๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐
10
๙) การติดตามประเมินผล ๙.1 ติดตามจากเกณฑ์การประเมิน 5 ระดับ ซึ่งเป็นขั้นตอนของความสาเร็จตาม (Mlestones) พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดาเนินงาน ๙.2 ติดตามผลความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค จากการรายงาน การประเมินผลด้วยตนเอง SAR (Self assessment report) ๙.3 ติดตามผลการปฏิบั ติตามโครงการฯ ของเจ้าหน้าที่พัฒ นาชุมชนระดับอาเภอ (Port Folio) โดยการนาเสนอผลการดาเนินงานในรอบ ๖ เดือน ๙ เดือน และ ๑๒ เดือน
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 4
การถ่ายทอดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดจากองค์กรสู่ระดับบุคคล
ประชุมสร้าง ความเข้าใจ กับหัวหน้า กลุ่ม/ฝ่าย, พัฒนาการ อาเภอและ เจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชน
หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย จัดประชุมสร้าง ความรู้ความเข้าใจ ทีมงาน,จัดทาคาสั่ง มอบหมาย ผู้รับผิดชอบและทา พิธีลงนามกับ นักวิชาการจังหวัด
หัวหน้ ากลุม่ /ฝ่ าย และนักวิชาการ จัดทาแผนนิเทศ ติดตามและ สนับสนุนการ ดาเนินงาน
IPA จัดทาพิธีลง นามระหว่าง พัฒนาการ จังหวัดกับ หัวหน้ากลุ่ม/ ฝ่ายและ พัฒนาการ อาเภอ
พัฒนาการอาเภอจัด ประชุมสร้างความรู้ ความเข้าใจทีมงาน, จัดทาคาสั่ง มอบหมาย ผู้รับผิดชอบและทา พิธีลงนามกับ เจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชนในระดับ อาเภอ
พัฒนาการอาเภอ และเจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชน จัดทาแผน ขับเคลื่อนกิจกรรม ตามโครงการฯ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 5
๒ การสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ความหมายของจิตอาสา/ทีมจิตอาสา จิตอาสา (Volunteer Spirit)หมายถึง จิตแห่งการให้ความดีงามทั้งปวงแก่เพื่อนมนุษย์ โดยเต็มใจ สมัครใจ อิ่มใจ ซาบซึ้งใจ ปีติสุข ที่พร้อมจะเสียสละเวลา แรงกาย และสติปัญญา เพื่อสาธารณประโยชน์ ใน การทากิจกรรม หรือสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นโดยไม่หวังผลตอบแทน และมีความสุขที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่น เป็น จิตที่ไม่นิ่งดูดาย เมื่อพบเห็นปัญหา หรือความทุกข์ยากที่เกิดขึ้นกับผู้คน เป็นจิตที่มีความสุขเมื่อได้ทาความดี และเห็นน้าตาเปลี่ยนเป็นรอยยิ้ม เป็นจิตที่เปี่ยมด้วย "บุญ" คือความสงบเย็น และพลังแห่งความดี อีกทั้งยังช่วย ลด "อัตตา" หรือความเป็นตัวเป็นตนของตนเองลงได้บ้าง ทีมจิตอาสา หมายถึง กลุ่มบุคคลที่เสนอตัวเข้ารับทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยไม่หวังผลตอบแทน มีความเต็มใจ สมัครใจ อิ่มใจ ซาบซึ้งใจ ปีติสุข ที่พร้อมจะเสียสละเวลา แรงกาย และสติปัญญา เพื่อสาธารณประโยชน์
คุณลักษณะของจิตอาสามีดังนีค้ ือ ๑. มีหลักพรหมวิหาร 4 ประกอบด้วย เมตตา : ความรัก ความปรารถนาดีให้ผู้อื่นมีความสุข, กรุณา : ความสงสาร เห็นใจ ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์, มุทิตา : ยินดีเมื่อผู้อื่นมีสุข, อุเบกขา : วางเฉยไม่ลาเอียง ๒. สังควัตถุ 4 ประกอบด้วย ทาน : การให้ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่, ปิยวาจา : กล่าวด้วยวาจาที่ซาบซึ้ง สุภาพอ่อนหวาน, อัตถจริยา : ทาดี ประพฤติดี เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น, สมานัตตตา : ทาตัวเสมอต้น เสมอปลาย ๓. มีมโนกรรม คิดดี คิดทางบวก : Positive thinking ๔. มีวจีกรรม (ปิยวาจา)ฝึกขอบคุณ ฝึกแสดงความยินดี ฝึกให้กาลังใจ ฝึกชื่นชมผู้ที่มีจิตอาสา หรือจิต สาธารณะ ๕. มีจิตใจโอบอ้อมอารีชอบช่วยเหลือผู้อื่น ๖. ชอบใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๗. มีจิตใจในการให้บริการที่ดี(Service Mind) ๘. มีความสามารถดูแลผู้อื่นได้
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 6
กิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นจิตอาสา ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ปะสบภัยประเภทต่าง ๆเช่น อุบัติภัย/วาตภัย/อัคคีภัย/อุทกภัย/ธรณีพิบัติ กิจกรรมการดูแลคนป่วย/คนชรา/คนด้อยโอกาสที่ไม่สามารถดูแลตนเองได้ กิจกรรมการบริจาคสงเคราะห์สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์/แรงงานให้กับสถานที่สาธารณะในชุมชน กิจกรรมการอุทิศร่างกายเพื่อการศึกษาทางการแพทย์/การบริจาคโลหิต กิจกรรมการสนับสนุนช่วยเหลือทางด้านการศาสนพิธีต่าง ๆ
ความหมายของภัยพิบตั ิ ภัยพิบัติหมายถึงภัยอันเกิดแก่สาธารณชน ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติ หรือเกิดจากการกระทาของ มนุษย์ โดยก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตประชาชน เกิดความศูนย์เสียหรือความเสียหายและผลกระทบในทางลบ ต่อทรัพย์สิน สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม จนเกินขีดความสามารถของชุมชนที่จะใช้ทรัพยากรของตนใน การรับมือและจัดการกับภัยพิบัติและผลกระทบของภัยพิบัติได้ ประเภทของภัยพิบัติ แบ่งได้เป็น ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และภัยที่เกิดจากผลการกระทาของมนุษย์ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disasters) รูปแบบต่าง ๆ ที่ได้มีการศึกษารวบรวม และบันทึกรายละเอียดไว้ มี 10 ประเภท คือ 1). การระเบิดของภูเขาไฟ (Volcano Eruptions) 2). แผ่นดินไหว (Earthquakes) 3). คลื่นใต้น้า (Tsunamis) 4). วาตภัย หรือภัยจากพายุในรูปแบบต่าง ๆ (Various Kinds of storms) คือ ก. พายุแถบเส้น Tropics ที่มีแหล่งกาเนิดในมหาสมุทร (Tropical Cyclones) ข. พายุหมุนที่มีแหล่งกาเนิดบนบก (Tornadoes) ค. พายุฝนฟ้าคะนอง (Thunderstorms) 5). อุทกภัย (Floods) 6). ภัยแล้ง หรือทุพภิกขภัย (Droughts) 7). อัคคีภัย (Fires) 8). ดินถล่ม และโคลนถล่ม (Landslides and Mudslides) 9). พายุหิมะและหิมะถล่ม (Blizzard and Avalanches) 10). โรคระบาดในคนและสัตว์ (Human Epidemics and Animal Diseases) ภัยข้างต้นนั้นพิจารณาจากสภาพความรุนแรงของความเสียหายเกิดผลกระทบต่อผู้คนจานวนมาก หรือการไม่สามารถรู้ได้ล่วงหน้า ส่วนภัยที่รู้ล่วงหน้าเพราะเกิดขึ้นเป็นปกติตามธรรมชาติว่าจะเริ่มและสิ้นสุด เมื่อใด เช่น อากาศหนาว หรือภัยที่ไม่ส่งผลกระทบรุนแรงและสามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น คลื่นความร้อน ฟ้าผ่า กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 7
โดยหลักสากลภัยจาพวกนี้ไม่ถือเป็นภัยพิบัติ ในประเทศไทยได้กาหนดการเกิดภัยพิบัติ เป็นสาธารณภัย ซึ่ง บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 4 ว่า “สาธารณภัย” หมายความว่า อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้ง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาด สัตว์ โรคระบาดสัตว์น้า การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจาก ธรรมชาติ มีผู้ทาให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใด ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน หรือ ความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชน หรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการก่อ วินาศกรรมด้วย
ชุมชนแห่งความเกื้อกูล ความหมายของคาว่า เกื้อกูลพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของ “เกื้อกูล” ว่า อุดหนุน เจือจาน เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่คาว่าอุดหนุน มีความหมายว่า ช่วยเหลือ เกื้อกูล คาว่า “ช่วย” มีความหมาย ว่า ส่งเสริมเพื่อให้สาเร็จ ประโยชน์ ช่วยเหลือ แปลว่า ช่วยเหลือกิจกรรมของเขาเพื่อให้พร้อมมูล ขึ้น หรือ หมายถึงการสละเงิน แรง ความสามารถ เวลา สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลายอย่างที่เป็นของเรา เพื่อทาให้กิจการของ ผู้อื่นสัมฤทธิ์ผล คาว่าเกื้อกูล ก็มีความหมายคล้ายกัน แต่เกื้อกูลมีความนัยว่า ช่วยให้ดีขึ้น ให้เจริญขึ้น ในขณะที่ ช่วยเหลือมักมีนัยความหมายว่า ช่วยให้พ้นทุกข์ด้วยในแง่ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ภาวะอ้างอิงอาศัยหรือ ภาวะเกื้อกูล หมายถึงการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์ ซึ่งต่างจากภาวะพึ่งพา ซึ่งหมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดโดยต่างก็ได้รับ ประโยชน์ซึ่งกันและกัน หากแยกกันอยู่จะไม่สามารถดารงชีวิตต่อไปได้หรือแบบเป็นกลางต่อกัน ซึ่งเป็นการอยู่ ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอิสระต่อกันจึงไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้หรือเสียประโยชน์
กิจกรรมสะท้อนความเกื้อกูล 1. การลงแขก หมายถึง การช่วยกันทางานเป็นทีม โดยวิธีผลัดเปลี่ยนกันช่วยกันสลับกันเป็นบ้านๆ ต่อๆ กันไป การลงแขกเป็นวัฒนธรรมประเพณีแห่งความเอื้อเฟื้อและเกื้อกูลกันของสังคมในอดีต “ลงแขก” มี ความหมายถึงน้าใจที่ผู้คนในชุมชนมอบให้กัน ในการช่วยเหลือกิจกรรมงานต่างๆ ให้สาเร็จลุล่วงโดยเร็ว 2. การสงเคราะห์ หมายถึง การช่วยเหลือในด้านต่างๆ แก่บุคคลต่างๆ ที่ประสบปัญหาทุกข์ยาก โดย ไม่เจาะจงว่าจะเป็นมิตรสหายหรือไม่ ถ้าไม่ได้รับการสงเคราะห์ก็อาจจะไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้หรืออยู่ได้แต่ เดือดร้อนอย่างมาก เป็นการดาเนินการช่วยเกื้อกูลเพื่อนมนุษย์ให้มีความสุขทั้งทางกายและจิตใจให้ได้มีปัจจัย อันจาเป็นแก่การครองชีพคืออาหารเครื่องนุ่งห่มที่อยู่อาศัยและการบาบัดโรคภัยไข้เจ็บได้รับการศึกษาอบรม ตามควร ตลอดจนมีความรู้ที่จะนามาเลี้ยงชีพโดยสุจริตเพื่อความเรียบร้อยและความเป็นปึกแผ่นของสังคม 3. เศรษฐกิจเกื้อกูล หมายถึง การทากิจกรรมทางเศรษฐกิจหลากหลายชนิดในพื้นที่เดียวกันให้อยู่ รวมกันในภาวะอิงอาศัยหรือเกื้อกูลกัน เช่น ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์หลากหลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน หรือปลูก พืช เลี้ยงสัตว์และทาหัตถกรรม โดยที่กิจกรรมการผลิตแต่ละชนิดเกื้อกูลประโยชน์ต่อกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 8
มีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุลต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และ เกิดการเพิ่มพูนความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติการเกื้อกูลกันระหว่างพืชและสัตว์ เศษซากและผลพลอย ได้จากการปลูกพืชจะเป็นประโยชน์ต่อกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ ผลที่ได้จากการเลี้ยงสัตว์ก็เป็นประโยชน์ต่อพืช ด้วยเช่นกัน 4. จิตสานึกสาธารณะ หมายถึง การตระหนักรู้และคานึงถึงส่วนร่วมกันหรือการคานึงถึงผู้อื่นที่ร่วม สัมพันธ์เป็นกลุ่มเดียวกันหรือการรู้จักเอาใจใส่เป็นธุระและเข้าร่วมถึงส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติมี ความสานึกยึดมั่นในระบบคุณธรรมและจริยธรรมที่ดีงามละอายต่อสิ่งผิดเน้นความเรียบร้อยประหยัดและมี ความสมดุลระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติจิตสานึกสาธารณะทาให้คนในสังคมเกิดความเอาใจใส่และความห่วงใย ต่อกัน มีการแบ่งปันข้อมูลความรู้ สังคมก็จะเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ในท้ายที่สุดเป็นจิตแห่งความเกื้อกูล
คุณลักษณะชุมชนแห่งความเกื้อกูล ชุมชนแห่งความเกื้อกูล จึงอาจใช้คาภาษาอังกฤษว่า Beneficent community หมายถึง ถิ่นฐานที่อยู่ อาศัยร่วมกันของกลุ่มคน ที่มีการอุดหนุนเจือจาน เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ระหว่างคนในชุมชน ระหว่างกิจกรรมการ ผลิต ระหว่างคนกันสาธารณสมบัติในชุมชน โดยมีจุดมุ่งเพื่อความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืนของชุมชน คุณลักษณะของชุมชนแห่งความเกื้อกูล ประกอบด้วย 1. องค์กรชุมชนเกื้อกูลโดยที่องค์กรชุมชนที่มีทรัพยากรมากกว่าเกื้อกูลที่มีทรัพยากรน้อยกว่า เพื่อ ประโยชน์สาธารณะของชุมชน 2. องค์กรชุมชนเกื้อกูลคนด้อยโอกาสในชุมชนโดยการให้มีการช่วยเหลือคนยากจน คนด้อยโอกาส คนชราที่ขาดคนดูแลให้มีสิ่งของจาเป็นในการดารงชีพ 3. คนเกื้อกูลกันในการผลิตและดารงชีวิตโดยใช้การลงแรงร่วมกันในการผลิต และการดาเนินกิจกรรม ของครัวเรือน 4. คนเกื้อกูลกันในการพัฒนาชุมชนโดยใช้การลงแรงร่วมกันในการพัฒนาหมู่บ้าน และสิ่ง สาธารณประโยชน์ของหมู่บ้าน 5. การผลิตเกื้อกูลธรรมชาติโดยการผลิตที่ไม่ทาร้ายธรรมชาติ 6. สิ่งที่ผลิตเกื้อกูลกันโดยการทากิจกรรมการผลิตหลายอย่างที่สนับสนุนซึ่งกันและกัน 7. คนเกื้อกุลชุมชนโดยรวมกลุ่มกันปกป้องดูแลรักษาชุมชนสมบัติของชุมชน รวมทั้งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
กิจกรรมส่งเสริมชุมชนแห่งความเกื้อกูล จากสถานการณ์ชุมชน สามารถจัดแบ่งประเด็นปัญหาได้เป็น 4 ด้าน คือ การบริหารจัดการชุมชน วิถี ชีวิตของคนในชุมชน การดาเนินกิจกรรมเศรษฐกิจของคนในชุมชน และการดาเนินกิจกรรมสังคมของคนใน ชุมชน ซึ่งประเด็นปัญหาดังกล่าวสามารถจัดการได้ด้วยแนวคิดส่งเริมความเกื้อกูลภายในชุมชน เพื่อให้เป็นถิ่น ฐานที่อยู่อาศัยร่วมกันของกลุ่มคน ที่มีการอุดหนุน เจือจาน เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ระหว่างคนในชุมชน ระหว่าง กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 9
กิจกรรมการผลิต ระหว่างคนกับสาธารณสมบัติในชุมชน ก่อให้เกิดความเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ของชุมชน ซึ่งงานที่ต้องดาเนินการจาแนกได้ 5 เรื่อง คือ 1. ส่งเสริมระบบการเกื้อกูลคนทุกข์ยากในชุมชน 2. รื้อฟื้นวัฒนธรรมลงแขก 3. ส่งเสริมการผลิตในระบบเศรษฐกิจเกื้อกูล 4. ส่งเสริมจิตสานึกสาธารณะสมบัติชุมชน 5. ส่งเสริมสานึกรักภักดีสถาบันชาติ/ศาสนา/พระมหากษัตริย์
ความหมายของครัวชุมชน ครัวชุมชนหมายถึง สถานที่ซึ่งเป็นแหล่งกลางในการผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงดูคนในชุมชนในสภาวการณ์ ปกติ โดยอาจใช้พื้นที่สาธารณะในหมู่บ้าน หรือสถานที่ในหมู่บ้านที่มีเจ้าของแต่ให้ใช้ประโยชน์เพื่อส่วนรวม เป็นสถานที่เพาะปลูก/เลี้ยงสัตว์/ทาการประมง เป็นแหล่งอาหารของคนในชุมชน และในสภาวการณ์ที่ประสบ ภัยพิบัตสิ ามารถใช้เป็นแหล่งประกอบอาหารอาหารเลี้ยงดูคนในชุมชนได้
องค์ประกอบของครัวชุมชน ครัวชุมชนที่เหมาะสมในการบริหารจัดการแก้ไขปัญหาของชุมชนในด้านอาหารควรประกอบด้วย ๑. คณะกรรมการบริหารครัวชุมชน จานวน ๙ – ๑๕ คน ๒. แผนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ๓. สถานที่ตั้งของครัวชุมชนที่เป็นเอกเทศ ๔. พื้นที่ที่เป็นแหล่งผลิตอาหาร/และเก็บผลผลิตของคนในชุมชน ๕. ทุนดาเนินการ/วัสดุ-อุปกรณ์ในการจัดตั้งครัวชุมชน
กิจกรรมของครัวชุมชน กิจกรรมของครัวชุมชน มีดังนี้คือ ๑. ผลิตอาหารให้กับชุมชน เช่นการทาการเกษตรปลูกข้าว/ปลูกผัก/เลี้ยงสัตว์/ทาการประมง ๒. แปรรูปอาหารเพื่อเก็บไว้ในภาวะวิกฤติ ๓. ครัวในการประกอบอาหารเมื่อเกิดกรณีภัยพิบัติ ๔. คลังชุมชนที่เก็บอาหารแห้ง/อาหารแปรรูป/เสื้อผ้า/ของใช้จาเป็นในภาวะวิกฤติ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 10
๓ แนวทางขั้นตอนการดาเนินงานโครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือสถานการณ์ภัยพิบัติ บนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล มีจานวน ๕ ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นตอนที่ 1 สร้างการเรียนรู้ ๑.๑ การสร้างกรอบแนวคิดโครงการ โดยการประชุมชี้แจงกรอบแนวทาง/รายละเอียดโครงการ ๑.๒ สร้างการเรียนรู้ให้กับ จนท.พช. ในการขับเคลื่อน IPA ทุกระดับ ๑.๓ เสริมสร้างการเรียนรู้การสร้างทีมจิตอาสา/ชุมชนแห่งความเกื้อกูล ๑.๔ จัดทาแผนปฏิบัติการในระดับจังหวัด/อาเภอ ขั้นตอนที่ 2 สร้างทีมจิตอาสา(แผนปฏิบัติการระดับอาเภอ) ๒.๑ จัดเวทีสร้างการเรียนรู้ระดับหมู่บ้าน/คัดเลือกทีมจิตอาสา ๒.๒ สรุปบทเรียนการจัดการปัญหาด้านภัยพิบัติ/ปัญหาทางด้านอาหารในภาวะประสบภัยพิบัติ(น้า ท่วม-ขาดแคลนอาหาร) ๒.๓ กาหนดแนวทางการบริหารจัดการด้านภัยพิบัติและอาหารของชุมชน ขั้นตอนที่ 3 จัดทาแผนปฏิบัติการทีมจิตอาสา ๓.๑ แผนการปฏิบัติในสภาวะปกติ(ก่อนเกิดภัย) - การเตรียมความพร้อมของชุมชน - การสารวจรายจ่ายของคนในชุมชน - การป้องกันรับมือกับภัยพิบัติ(อุทกภัย) - การประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน - การเฝ้าระวังเหตุภัยพิบัติ - การแจ้งเตือนล่วงหน้า ๓.๒ แผนปฏิบัติขณะเกิดภัย - การเตรียมการอพยพ - การอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย ๓.๓ แผนปฏิบัติภายหลังเกิดภัย - การจัดตั้งครัวชุมชน(ศูนย์บรรเทาทุกข์) - การฟื้นฟูบูรณะชุมชน ขั้นตอนที่ 4 จัดตั้งครัวชุมชน ๓.๑ แผนการบริหารบุคคล ๓.๒ แผนการจัดหาวัสดุ-อุปกรณ์ ๓.๓ แผนการลาเลียงแจกจ่ายอาหาร ๓.๔ แผนการประสานบูรณาการความร่วมมือและการช่วยเหลือ กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 11
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและการประกาศเกียรติคุณ ๕.๑ การคัดเลือกผลงาน IPA ดีเด่นระดับจังหวัด ๕.๒ ประกาศอาเภอที่มีผลการดาเนินงาน IPA ดีเด่น ๕.๓ มอบประกาศ/โล่ประกาศเกียรติคุณ ๕.๔ ถอดบทเรียน KM
ขั้นตอนที่ 1 สร้างการเรียนรู้ ๑.๑ การสร้างกรอบแนวคิดโครงการ โดยการประชุมชี้แจงกรอบแนวทาง/รายละเอียดโครงการ สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจัดประชุมเพื่อชี้แจงกรอบแนวคิดโครงการ อันได้แก่การ นายุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนด้านการเสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ยุทธศาสตร์จังหวัดใน ด้านการส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน และบริบทภาพรวมภายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่ประสบปัญหา อุทกภัย มาขับเคลื่อนให้เกิดกิจกรรมโครงการตามคารับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน(Internal Performance Agreement : IPA) ได้แก่ โครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่ง ความเกื้อกูล(๑ พัฒนากร : ๑ ทีมจิตอาสา ๑ ครัวชุมชน) โดยมีเป้าหมายให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนในพื้นที่ไป ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนจัดตั้งทีมจิตอาสา ๑๐๐ ทีม ขับเคลื่อนให้เกิดครัวชุมชน จานวน ๑๐๐ แห่ง ในพื้นที่ หมู่บ้านเป้าหมายเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบให้สามารถดาเนินการในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาหารในช่วงเกิด ภัยพิบัติ และสามารเป็นแหล่งผลิตอาหารของชุมชนในภาวะปกติ โดยมีแนวทางการกระบวนการดาเนินงาน ๕ ขั้นตอน ได้แก่ ๑. สร้างการเรียนรู้ ๒. สร้างทีมจิตอาสา (แผนปฏิบัติการระดับอาเภอ) ๓. การจัดทาแผนปฏิบัติการทีมจิตอาสา ๔. การจัดตั้งครัวชุมชน ๕. การประเมินผลและการประกาศมาตรการจัดสรรสิ่งจูงใจ เป็นทิศทางในการดาเนินงาน ๑.๒ สร้างการเรียนรู้ให้กับ จนท.พช. ในการขับเคลื่อน IPA ทุกระดับ สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดดาเนินการในการจัดการสร้างการเรียนรู้ให้กับเจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชนในทุกระดับ โดยการประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน และจัดทาบันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ ระหว่างพัฒนาการจังหวัด หัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่าย พัฒนาการอาเภอ จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานดาเนินงาน ตัวชี้วัดคารับรองการปฏิบัติราชการฯระดับจังหวัด และให้พัฒนาการอาเภอไปดาเนินการจัดทาบันทึกข้อตกลง การปฏิบัติราชการกับพัฒนากร และจัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานดาเนินงานตามคารับรองระดับอาเภอฯเป็น การกาหนดภารกิจที่จะต้องดาเนินการระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยมีคู่มือการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหน่วยงาน(Internal Performance Agreement : IPA)โครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล เป็น เครื่องมือในการดาเนินงานตามโครงการ ทีมนิเทศสนับสนุนฯเป็นหน่วยสนับสนุนการดาเนินงาน
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 12
๑.๓ เสริมสร้างการเรียนรู้การสร้างทีมจิตอาสา/ชุมชนแห่งความเกื้อกูล สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดฯ จัดประชุมทีมนิเทศสนับสนุนระดับจังหวัดฯในการกาหนด แนวทางในการการเสริมสร้างการเรียนรู้และการสร้างทีมจิตอาสา โดยแบ่งทีมนิเทศสนับสนุนออกเป็น ๔ ทีม เพื่อให้การสนับสนุนทีมส่งเสริมสนับสนุนฯระดับอาเภอในการขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการฯ และกาหนด แผนติดตามสนับสนุนเป็นประจาทุกเดือน รวมทั้งกาหนดแผนการให้ความรู้โดยกระบวนการถ่ายทอดจากทีม นิเทศและสนับสนุนจังหวัดฯ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ทีมส่งเสริมสนับสนุนระดับอาเภอ ให้มีความรู้ความ เข้าใจในแนวทางการดาเนินงานอย่างชัดเจน จากพัฒนาการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และทีมนิเทศของ จังหวัดฯ
ขั้นตอนที่ 2 สร้างทีมจิตอาสา(แผนปฏิบัติการระดับอาเภอ) ๒.๑ จัดเวทีสร้างการเรียนรู้ระดับหมู่บ้าน/คัดเลือกทีมจิตอาสา - คณะทางานสนับสนุนการปฏิบัติการฯร่วมกับผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนและผู้นาชุมชน จัดเวทีประชาคม สร้างการเรียนรู้ด้านปัญหาภัยพิบัติ(อุทกภัย)และดาเนินการคัดเลือกทีมจิตอาสา จานวน ๙ – ๑๕ คน (เวทีที่ ๑) - ทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชนดาเนินการสารวจข้อมูลรายจ่ายของครัวเรือนในชุมชนด้านอาหารและปัจจัย สาคัญในการดารงชีวิตช่วงที่เกิดสถานการณ์อุทกภัยตามแบบสารวจข้อมูลฯ(แบบ ๑) และสรุปวิเคราะห์ข้อมูลข้อมูล รายจ่าย ตามแบบสรุปข้อมูลรายจ่าย(แบบ ๒) เพื่อนาเสนอต่อเวทีประชาคม(เวทีที่ ๒) ๒.๒ สรุปบทเรียนการจัดการปัญหาด้านอาหารในภาวะประสบภัยพิบัติ(น้าท่วม-ขาดแคลนอาหาร) - คณะทางานสนับสนุนการปฏิบัติการฯ/ทีมจิตอาสาร่วมกับผู้นาชุมชน จัดเวทีประชาคมสรุปบทเรียนการ จัดการปัญหาด้านอุทกภัย(เวทีที่ ๒) โดยนาผลการสรุปวิเคราะห์ข้อมูลรายจ่าย นาเสนอต่อเวทีประชาคมเพื่อกาหนด แนวทางการบริหารจัดการด้านอาหารของชุมชนว่าชุมชนจะต้องเตรียมการในการจัดหาอาหารในช่วงเกิดภัยพิบัติ อย่างไร และจะต้องให้ใครเป็นผู้รับผิดชอบ วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้มีอะไรบ้าง สถานที่หรือพื้นที่ที่ต้องใช้ในการดาเนินจะ ใช้บริเวณใด วิธีการในการลาเลียงอาหารเพื่อแจกจ่ายคนในชุมชนใช้วิธีการอย่างไร และจะต้องประสานหน่วยงาน หรือองค์กรใดในการให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ๒.๓ กาหนดแนวทางการบริหารจัดการด้านอาหารของชุมชน - คณะทางานสนับสนุนการปฏิบัติการฯ/ทีมจิตอาสาร่วมกับผู้นาชุมชน กาหนดแนวทางการบริหารจัดการ ด้านอาหารของชุมชน โดยกาหนดให้มีผู้รับผิดชอบ/สถานที่ดาเนินการ/วัสดุอุปกรณ์/ทุนสนับสนุน/การประสาน หน่วยงานองค์กรเอกชนต่าง ๆ
ขั้นตอนที่ 3 จัดทาแผนปฏิบัติการทีมจิตอาสา ทีมจิตอาสาร่วมกับผู้นาชุมชนจัดเวทีประชาคม(เวทีที่ ๒) เพื่อกาหนดแผนปฏิบัติการในการป้องกันและ แก้ไขปัญหาภัยพิบัติ(น้าท่วม)ของชุมชนดังนี้คือ ๓.๑ แผนการปฏิบัติในสภาวะปกติ(ก่อนเกิดภัย) - การเตรียมความพร้อมของชุมชน - การสารวจรายจ่ายของคนในชุมชน - การป้องกันรับมือกับภัยพิบัติ(อุทกภัย) กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 13
- การประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน - การเฝ้าระวังเหตุภัยพิบัติ - การแจ้งเตือนล่วงหน้า ๓.๒ แผนปฏิบัติขณะเกิดภัย - การเตรียมการอพยพ - การอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย ๓.๓ แผนปฏิบัติภายหลังเกิดภัย - การจัดตั้งครัวชุมชน(ศูนย์บรรเทาทุกข์) - การฟื้นฟูบูรณะชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 จัดตัง้ ครัวชุมชน ทีมจิตอาสาร่วมกับผู้นาในชุมชน จัดเวทีประชาคม(เวทีที่ ๓) เพื่อดาเนินการคัดเลือกคณะกรรมการบริหาร ครัวชุมชน และนาเสนอผลการจัดเก็บรายจ่ายของคนในครัวเรือนและสรุปการจัดเก็บฯเสนอในที่ประชุมเวที ประชาคม และดาเนินการคัดเลือกคณะกรรมการครัวชุมชนจานวน ๙ – ๑๕ คน โดยคณะกรรมการครัวชุมชน ดาเนินการดังนี้คือ ๔.๑ แผนการบริหารบุคคล - คณะกรรมการครัวชุมชนร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชนจัดทาแผนการบริหารบุคคล กาหนดทีมงาน ผู้รับผิดชอบด้านการบริหารจัดการอาหารของชุมชน และให้คนในชุมชนคัดเลือกตัวแทน ทาหน้าที่บริหารจัดการ อาหารในรูปแบบคณะกรรมการฯ ๔.๒ แผนการจัดหาวัสดุ-อุปกรณ์ - คณะกรรมการครัวชุมชนร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชนจัดทาแผนการจัดหาวัสดุ-อุปกรณ์ โดยกาหนด แนวทางการจัดหาวัสดุ-อุปกรณ์ ของชุมชนในการจัดตั้งครัวชุมชน กาหนดพื้นที่ดาเนินการ/วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ดาเนินการ/ทุนสนับสนุนการดาเนินงาน/การประสานหน่วยงานความช่วยเหลือ ๔.๓ แผนการลาเลียงแจกจ่ายอาหาร - คณะกรรมการครัวชุมชนร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชนจัดทาแผนการลาเลียงแจกจ่ายอาหาร โดย กาหนดแนวทางการลาเลียงแจกจ่ายอาหาร กรณีเกิดภัยพิบัติขึ้นในชุมชนว่าจะใช้พาหนะประเภทใดในการลาเลียง บุคคลผู้รับผิดชอบในการลาเลียง เส้นทางการลาเลียง ช่วงระยะเวลาที่จะต้องลาเลียงแจกจ่ายอาหารแก่คนในชุมชน ๔.๔ แผนการประสานบูรณาการความร่วมมือและการช่วยเหลือ - คณะกรรมการครัวชุมชนร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชนจัดทาแผนการประสานบูรณาการความร่วมมือ และการช่วยเหลือ โดยกาหนดความต้องการตามสภาพปัญหาของคนในชุมชน ว่าชุมชนต้องการวัสดุ-อุปกรณ์ใดบ้าง กรณีที่ชุมชนไม่มีศักยภาพในการจัดหาหรือผลิตขึ้นเอง อาทิ เรือลาเลียงขนาดใหญ่/สุขาลอยน้า/อุปกรณ์การเตือน ภัย/เต็นท์
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 14
๔.๕ จัดตั้งครัวชุมชน - คณะกรรมการบริหารครัวชุมชน ร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชน ดาเนินการจัดตั้งครัวชุมชน โดย กาหนดสถานที่จัดตั้งครัวชุมชน/พื้นที่ดาเนินการผลิตอาหารของชุมชน/สถานที่จัดเก็บวัสดุ-อุปกรณ์ในประกอบ อาหาร/สถานที่จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์จาเป็นในการดารงชีพ(คลังชุมชน)/สถานที่ประกอบอาหารกรณีเกิดภัยพิบัติ ๔.๖ จัดหาวัสดุ - อุปกรณ์ - คณะกรรมการบริหารครัวชุมชน ร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชน ดาเนินการจัดหาวัสดุ-อุปกรณ์ในการ ดาเนินโครงการครัวชุมชน โดยร่วมกับคนในชุมชนนาแผนการจัดหาวัสดุ – อุปกรณ์ มาเป็นแนวทางในการ ดาเนินการตามโครงการกิจกรรมฯ เช่น วัสดุอุปกรณ์ประกอบอาหาร/อุปกรณ์ในการลาเลียงอาหาร ฯลฯ ๔.๗ ทุนดาเนินการ - คณะกรรมการบริหารครัวชุมชน ร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชน ดาเนินการจัดหาทุนสนับสนุนในการ ดาเนินงานโครงการครัวชุมชน โดยร่วมกับคนในชุมชนนาแผนการจัดหาทุน เช่น ทุนที่จัดหาได้ในชุมชน อาทิ เช่น ข้าวสาร/อาหารแปรรูป/เครื่องปรุงต่าง ๆ/เงิน ฯลฯ ทุนจากภายนอก อาหารกระป๋อง/อาหารสาเร็จรูป/ เงิน ฯลฯ ๔.๘ วัสดุสนับสนุน - คณะกรรมการบริหารครัวชุมชน ร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชน ดาเนินการจัดหาวัสดุสนับสนุนในการ ดาเนินงานโครงการครัวชุมชน โดยร่วมกับคนในชุมชนนาแผนการจัดหาวัสดุสนับสนุน เช่น โต๊ะ/เก้าอี้/เตาแก๊ส/ หม้อหุงข้าว/เรือ/ ฯลฯ ๔.๙ การซ้อมแผนเตรียมการรับมือภัยพิบัติ - คณะกรรมการบริหารครัวชุมชน ร่วมกับทีมจิตอาสาและผู้นาชุมชน ดาเนินการซ้อมแผนเตรียมการรับมือ กับภัยพิบัติ โดยกาหนดผู้รับผิดชอบในการดาเนินการ อาทิ ก่อนเกิดภัย ชุมชนควรซักซ้อมเตรียมแผนการผลิตอาหาร/แปรรูปอาหาร/สะสมอาหาร/วัสดุประกอบ อาหาร/และจัดหาวัสดุจาเป็นในการยังชีพ/จัดทาแผนที่เส้นทางลาเลียงผู้คน กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน/แผนการจัดเตรียม สถานที่รองรับผู้คนในการอพยพ/แผนการจัดตั้งสถานที่ในการประกอบอาหาร โดยกาหนดบทบาทหน้าที่ความ รับผิดชอบให้ชัดเจนว่า ใครทาอะไร ในขั้นตอนใด และจะต้องทาอย่างไร รวมทั้งประเมินแผนว่ามีส่วนใดที่จะต้อง แก้ไข ระหว่างเกิดภัย ชุมชนควรซักซ้อมขั้นตอนในการในการลาเลียงผู้คนกรณีมีเหตุฉุกเฉิน/พาหนะในการ ลาเลียง/สถานที่ที่ปลอดภัย/สถานที่ในการจัดตั้งครัวประกอบอาหาร โดยกาหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบให้ ชัดเจนว่า ใครทาอะไร ในขั้นตอนใด และจะต้องทาอย่างไร รวมทั้งประเมินแผนว่ามีส่วนใดที่จะต้องแก้ไข หลังเกิดภัย ชุมชนควรซักซ้อมขั้นตอนการฟื้นฟูบูรณะว่าจะต้องทาการบูรณะฟื้นฟูพื้นที่ในส่วนใดเพื่อให้ ชุมชนได้มีแหล่งอาหารเลี้ยงดูคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง หรือมีแนวทางการผลิตอาหารอย่างยั่งยืนในอนาคต โดย กาหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจนว่า ใครทาอะไร ในขั้นตอนใด และจะต้องทาอย่างไร รวมทั้งประเมิน แผนว่ามีส่วนใดที่จะต้องแก้ไข
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 15
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและการประกาศเกียรติคุณ ๕.๑ คัดเลือกผลงาน IPA ดีเด่นระดับจังหวัด - สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดฯ คัดเลือกผลงาน IPA ดีเด่น โดยแบ่งโซนพื้นที่การคัดเลือกเป็นจานวน ๔ โซน ตามกลุ่มอาเภอ และให้ทีมสนับสนุนนิเทศการปฏิบัติงานฯระดับจังหวัดฯเป็นผู้ดาเนินการในการคัดเลือกครัว ชุมชนที่มีผลการปฏิบัติงานในการเตรียมความพร้อมดีเด่น เป็นตัวแทนของโซนกลุ่มอาเภอคัดเลือกครัวชุมชนดีเด่น ในระดับจังหวัดฯ ๕.๒ ประกาศอาเภอที่มีผลการดาเนินงาน IPA ดีเด่น - สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดฯ จัดทาประกาศอาเภอที่มีผลงานดีเด่นในระดับโซนอาเภอ และในระดับ จังหวัด โดยแบ่งรางวัลผลการประกวดเป็นประเภท ต่าง ๆดังนี้คือ ๑. ประเภทครัวชุมชนดีเด่นระดับโซนอาเภอ ๒. ประเภทครัวชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด ๓. ประเภททีมจิตอาสาดีเด่นระดับโซนอาเภอ ๔. ประเภททีมจิตอาสาดีเด่นระดับจังหวัด ๕.๓ มอบประกาศ/โล่ประกาศเกียรติคุณ - สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดฯ จัดทาพิธีมอบประกาศเกียรติคุณ โล่รางวัลผลการประกวดครัวชุมชน/ และทีมจิตอาสาดีเด่น และจัดสรรสิ่งจูงใจให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อน IPA ตามโครงการสร้างทีมจิต อาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ๕.๔ ถอดบทเรียน KM - สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ/จังหวัดฯ ถอดบทเรียนผลการดาเนินงานโครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อ รับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล โดยให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนผู้รับผิดชอบเป็นผู้ดาเนินการถอด บทเรียน และรวบรวมส่งจังหวัดฯ โดยสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดฯจะคัดเลือก KM ที่ดีเด่นเผยแพร่ผ่านเว็บไซด์ ของสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดฯ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 16
Road Map แนวทางการดาเนินงาน โครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล(IPA) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขั้นตอนที่ 1 สร้างการเรียนรู้ -สร้างกรอบแนวคิดโครงการ -สร้างการเรียนรู้ให้กับ จนท.พช. ในการขับเคลื่อน IPA ทุกระดับ -เสริมสร้างการเรียนรู้การสร้างทีมจิตอาสา/ชุมชนแห่งความเกื้อกูล -จัดทาแผนปฏิบัติการในระดับจังหวัด/อาเภอ ขั้นตอนที่ 2 สร้างทีมจิตอาสา(แผนปฏิบัติการระดับอาเภอ) -จัดเวทีสร้างการเรียนรู้ระดับหมู่บ้าน/คัดเลือกทีมจิตอาสา(เวทีที่ ๑) -จัดเวทีสรุปบทเรียนการจัดการปัญหาด้านอาหารในภาวะประสบภัยพิบัติ(น้าท่วม-ขาดแคลนอาหาร) -กาหนดแนวทางการบริหารจัดการด้านอาหารของชุมชน ขั้นตอนที่ 3 จัดทาแผนปฏิบัติการ(ทีมจิตอาสา) จัดเวทีประชาคมกาหนดแผนการปฏิบัติงานของทีมจิตอาสา(เวทีที่ ๒) ๓.๑ แผนการปฏิบัติในสภาวะปกติ(ก่อนเกิดภัย) - การเตรียมความพร้อมของชุมชน - การสารวจรายจ่ายของคนในชุมชน - การป้องกันรับมือกับภัยพิบัติ(อุทกภัย) - การประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน - การเฝ้าระวังเหตุภัยพิบัติ - การแจ้งเตือนล่วงหน้า ๓.๒ แผนปฏิบัติขณะเกิดภัย - การเตรียมการอพยพ - การอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย ๓.๓ แผนปฏิบัติภายหลังเกิดภัย - การจัดตั้งครัวชุมชน(ศูนย์บรรเทาทุกข์) - การฟื้นฟูบูรณะชุมชน ขั้นตอนที่ 4 จัดตั้งครัวชุมชน เวทีประชาคม(เวทีที่ ๓) -แผนการบริหารบุคคล (คัดเลือกกรรมการบริหารครัวชุมชน) -แผนการจัดหาวัสดุ-อุปกรณ์ -แผนการลาเลียงแจกจ่ายอาหาร -แผนการประสานบูรณาการความร่วมมือและการช่วยเหลือ -จัดหาวัสดุอุปกรณ์ -ทุนดาเนินการ -วัสดุสนับสนุน -การซ้อมแผนเตรียมการรับมือภัยพิบัติ กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 17
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลและการประกาศมาตรการจัดสรรสิ่งจูงใจ -ประกวดผลงาน IPA ดีเด่นระดับจังหวัด -ประกาศอาเภอที่มีผลการดาเนินงาน IPA ดีเด่น -มอบประกาศ/โล่ประกาศเกียรติคุณ -ถอดบทเรียน KM
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 18
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 19
คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา นางสายพิรุณ นางประนอม นายมานัส นายวิเชียร
น้อยศิริ ประทานชวโน สุขรุ่งรุ่งเรือง ตรีณาวงษ์
พัฒนาการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน
นายวิเชียร นายพัฒนา นายศุภชัย นายบุญสม นายชนะพล น.ส.ริตยา
ตรีณาวงษ์ มังคละสวัสดิ์ สุพรรณทอง ไตรยสุทธิ์ บุญเก่า รอดนิ่ม
หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ
ไตรยสุทธิ์
นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ
ไตรยสุทธิ์ สุพรรณทอง รอดนิ่ม
นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ
คณะทางาน
ผู้เขียนและเรียบเรียง นายบุญสม ปกและรูปเล่ม นายบุญสม นายศุภชัย น.ส.ริตยา
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หน้าที่ 20
ภาคผนวก
แนวทางการจัดเวทีประชาคมโครงการ
“สร้างทีมจิตอาสา เพือ่ รับมือกับภัยพิบตั ิบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล” (๑ พัฒนากร ๑ ทีมจิตอาสา ๑ ครัวชุมชน)
แนวทางการจัดเวทีประชาคมสร้างการเรียนรู้ระดับหมู่บ้าน(คัดเลือกทีมจิตอาสา) (เวทีที่ ๑) ประเด็นสาคัญ
วิธีการ
๑. วีดีทัศน์สภาพปัญหาการเกิด อุทกภัย คือ การเรียนรู้ผลกระทบที่เกิดขึ้น ๒. โน๊ตบุ๊ต จากอุทกภัยในปีที่ผา่ นมาว่าเกิดผล - คณะทางานสนับสนุนการปฏิบตั ิการระดับ กระทบต่อคน/สิง่ แวดล้อมในชุมชน อาเภอ สร้ างการเรี ยนรู้โดยการให้ ชมวีดีทศั น์ ๓. เครื่องโปรเจคเตอร์ อย่างไร/ความรับผิดชอบในการ ตัวอย่างเหตุการณ์อทุ กภัยทีเ่ กิดขึ ้น(๕ นาที) ๔. กระดาษฟลิปชาร์ท เตรียมการของคนในชุมชนต้องทา ๕. ปากกาเคมี - เวทีประชาคม นาเสนอผลกระทบ อย่างไร/บุคคลทีมงานที่รบั ผิดชอบมี ๖. กระดาษการ์ดขนาดเล็ก อุทกภัยที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมามีอย่างไร ใครบ้าง/การดาเนินการคัดเลือกทีม บ้าง โดยให้ระดมความคิดหรือใช้การเขียน ๗. ผัง Mind Map จิตอาสาฯในการขับเคลื่อนกิจกรรมฯ ใส่แผ่นกระดาษการ์ดติดลงในแผ่นฟลิป ชาร์ท(Card Technique) หรือการใช้ (Mind Map)แบ่งเป็น -ผลกระทบต่อบุคคลในด้านความเป็นอยู่/ อาชีพการงาน/การทามาหากิน/สุขภาพ ของคนในครอบครัว อื่น ๆ - ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในด้านที่อยู่ อาศัย/ที่ดินทากิน/สถานที่ประกอบการ ด้านอาชีพ/สิ่งสาธารณะต่าง ๆในชุมชน ( ๒๐ นาที) - สรุปผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเวทีประชาคม และเน้นปัญหาการจัดการด้านอาหารของ ชุมชน (๑๐ นาที) ๒. คัดเลือกทีมจิตอาสา - เวทีประชาคมระดมสมองในการแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยเน้นให้มีทีมงานในการ รับผิดชอบแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระดับ หมู่บ้าน (๑๐ นาที) - นาเสนอเพาเวอร์พอยท์ชุมชนแห่งความ เกื้อกูล และโครงการสร้างทีมงานจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชน แห่งความเกื้อกูล (๑๕ นาที) - ดาเนินคัดเลือกทีมจิตอาสา(๑๐ นาที) กาหนดโครงสร้างทีม/บทบาทภารกิจ หน้าที่สาคัญ
ขั้นตอนที่ 1
ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑. สร้างการเรียนรู้ในระดับหมู่บ้าน
สื่ออุปกรณ์/เทคนิค
กระบวนการจัดทาแผนปฏิบัติงานทีมจิตอาสา (เวทีที่ ๒) ประเด็นสาคัญ ขั้นตอนที่ ๒ การกาหนดแผนปฏิบัติการทีมจิต อาสา
วิธีการ ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑. จัดเวทีประชาคมกาหนดแผนการ ปฏิบัติงานของทีมจิตอาสา ๑.๑ แผนการปฏิบัติในสภาวะปกติ(ก่อน เกิดภัย) - การเตรียมความพร้อมของชุมชน - การสารวจรายจ่ายของคนในชุมชน - การป้องกันรับมือกับภัยพิบัติ(อุทกภัย) - การประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้ความ เข้าใจแก่ชุมชน - การเฝ้าระวังเหตุภัยพิบัติ - การแจ้งเตือนล่วงหน้า ๑.๒ แผนปฏิบัติขณะเกิดภัย - การเตรียมการอพยพ - การอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย ๑.๓ แผนปฏิบัติภายหลังเกิดภัย - การจัดตั้งครัวชุมชน(ศูนย์บรรเทาทุกข์) - การฟื้นฟูบูรณะชุมชน
มาวางแผนเตรี ยมชุมชนรับมือ ภัยพิบตั ิ(น ้าท่วม)กันนะคร๊ าบ.......
สื่ออุปกรณ์/เทคนิค - กระดาษฟลิปชาร์ท - ปากกาเคมี - ตารางแผนปฏิบัติงานฯ - แบบสารวจรายจ่าย(แบบ ๑) - แบบสรุปรายจ่าย(แบบ ๒)
กระบวนการจัดตั้งครัวชุมชน (เวทีที่ ๓) ประเด็นสาคัญ ขั้นตอนที่ ๓ การจัดตั้งครัวชุมชน
วิธีการ ขั้นตอนการดาเนินงาน ๑. จัดเวทีประชาคม นาเสนอผลการ สารวจรายจ่ายของคนในชุมชน ๑.๑ วิเคราะห์รายจ่ายของคนในชุมชน ตามแบบสรุปวิเคราะห์นาเสนอเข้าสู่เวที ประชาคม ๑.๒ เวทีประชาคมเสนอแนวทางการ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนด้านอาหารของ ชุมชน ๒. เวทีประชาคมคัดเลือกคณะกรรมการ ครัวชุมชน ๒.๑ คณะกรรมการกาหนดแผนการ ดาเนินงานครัวชุมชน/ดาเนินการตามแผน - แผนบริหารบุคคล - แผนการจัดหาวัสดุ-อุปกรณ์ - แผนการลาเลียงแจกจ่ายอาหาร - แผนการบูรณาการความร่วมมือการ ช่วยเหลือ
มาเตรี ยมอาหารพร้ อม รับมือภัยพิบตั ิ/จัดตังครั ้ ว ชุมชนกันนะคร๊ าบ
สื่ออุปกรณ์ - แบบสารวจรายจ่ายของ ครัวเรือน(แบบ ๑) - แบบสรุปรายจ่ายของชุมชน (แบบ ๒) - กระดาษฟลิปชาร์ท - ปากกาเคมี
(แบบ ว.๑) บันทึกรายงานการจัดเวทีประชาคม โครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ วันที่.......เดือน.................................พ.ศ.๒๕๕๕ ณ ............................................................... หมู่ที่......บ้าน.....................ตาบล........................อาเภอ.................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ที่
ชื่อ – สกุล
ที่อยู่
ลายมือชื่อ
หมายเหตุ
ประธานฯในเวทีประชาคมกล่าวเปิดเวที และเชิญทีมสนับสนุนการดาเนินงานโครงการสร้างทีมจิต อาสา เพื่อรับมือภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูลระดับอาเภอ ชี้แจงความเป็นมาของโครงการ วัตถุประสงค์เป้าหมาย และแนวทางการดาเนินงานโครงการต่อเวทีประชาคม ซึ่งทีมสนับสนุนฯได้ชี้แจงให้ที่ ประชุมได้เห็นถึงเหตุผลความจาเป็นที่จะต้องดาเนินโครงการฯ โดยนาเสนอวีดีทัศน์ภาพเหตุการณ์อุทกภัย และเพาเวอร์พอยท์โครงการครัวชุมชนฯ จากนั้นให้ที่ประชุมนาเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว และ สรุปกิจกรรมและแผนที่จะดาเนินการ(Mind Map) ซึง่ เน้นการพึ่งพาตนเองโดยให้คนในชุมชน รวมพลังสร้าง ทีมจิตอาสาแก้ปัญหาของชุมชน จัดตั้งครัวชุมชนขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาหาร/น้าดื่มในช่วงเกิด อุทกภัยรวมทั้งคัดเลือกตัวแทนในที่ประชุมเป็นทีมจิตอาสา จานวน ๙ – ๑๕ คน โดยมีผู้ที่ได้รับการคัดเลือก จากที่ประชุมดังนี้คือ ๑. ................................................................... ๒. ................................................................... ๓. ................................................................... ๔. ................................................................... ๕. ................................................................... ๖. ................................................................... ๗. ................................................................... ๘. ................................................................... ๙. ................................................................... ๑๐. .................................................................. ๑๑. .................................................................. ๑๒. .................................................................. ๑๓. .................................................................. ๑๔. .................................................................. ๑๕. .................................................................. ที่ประชุมฯกาหนดให้ทีมจิตอาสาที่ได้รับการคัดเลือก ดาเนินการคัดเลือกหัวหน้าทีมและ คณะกรรมการฝ่ายต่างๆในทีมจิตอาสา เพื่อกาหนดแผนงาน/บทบาทภารกิจหน้าที่ โดยในเบื้องต้นทีมจิต อาสาจะต้องดาเนินการสารวจรายจ่ายของคนในชุมชนรอบ ๑ เดือน ตามแบบสารวจรายจ่ายของครัวเรือน (แบบ ๑) และกาหนดผู้รับผิดชอบในการสารวจแบ่งตามจานวนครัวเรือนกับจานวนคนในทีมจิตอาสา ให้ สอดคล้องเหมาะสม เพื่อจะได้นาเอาผลจากการสารวจไปใช้ในการวางแผนบริหารจัดการด้านอาหารของคน ในชุมชน โดยใช้แบบสรุปผลรายจ่ายของคนในชุมชน(แบบ ๒)เป็นแบบสรุปวิเคราะห์ฯ และนาเสนอเข้าสู่เวที ประชาคมในการจัดทาแผนปฏิบัติงานของทีมจิตอาสา(เวทีที่ ๒)ต่อไป (หมายเหตุ ข้อความในการบันทึกเวทีประชาคมฯสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามข้อเท็จจริงของแต่ละเวที)
(แบบ ว.๒) บันทึกรายงานการจัดเวทีประชาคม โครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ครั้งที่ ๒/๒๕๕๕ วันที่.......เดือน.................................พ.ศ.๒๕๕๕ ณ ............................................................... หมู่ที่......บ้าน.....................ตาบล........................อาเภอ.................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ที่
ชื่อ – สกุล
ที่อยู่
ลายมือชื่อ
หมายเหตุ
ประธานฯในเวทีประชาคมกล่าวเปิดเวที และเชิญทีมจิตอาสานาเสนอผลการสารวจข้อมูลรายจ่าย ของครัวเรือน(แบบ ๑) และแบบสรุปรายจ่ายของชุมชน(แบบ ๒)ต่อเวทีประชาคม ในรอบ ๑ เดือนชุมชนมี รายจ่ายที่ต้องจ่ายเป็นค่าอาหารโดยแยกเป็นค่าใช้จ่ายต่าง ๆซึ่งสรุปได้ดังนี้คือ ๑ รายจ่ายด้านข้าวสาร จานวนการบริโภค ...................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บาท/เดือน ๒ รายจ่ายด้านอาหารแห้ง จานวนการบริโภค ..............กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บาท/เดือน ๓ รายจ่ายด้านอาหารสด จานวนการบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บาท/เดือน - เนื้อวัว จานวนการบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บาท/เดือน - เนื้อหมู จานวนการบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บาท/เดือน - เนื้อไก่ จานวนการบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บาท/เดือน - เนื้อปลา จานวนการบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บาท/เดือน ๔ รายจ่ายด้านเครื่องปรุงประกอบอาหาร(น้าปลา/น้าตาลทราย/เกลือ เป็นเงิน ..............บาท/เดือน ๕ รายจ่ายด้านพืช/ผัก/ผลไม้ จานวนการบริโภค ..........กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บาท/เดือน ๖ รายจ่ายด้านอาหารสาเร็จรูป(อาหารกระป๋อง/บะหมี่ ฯลฯ) เป็นเงิน ..............บาท/เดือน ๗ รายจ่ายด้านของใช้จาเป็น(สบู่/ยาสีฟัน/ยาสระผม/ยารักษาโรค) เป็นเงิน ..............บาท/เดือน *กรณีเกิดภัยพิบัติ(น้าท่วม/ไฟไหม้/ธรณีพิบัติ)ในชุมชน มีเด็ก/คนชรา/ผู้พิการ/ผู้ป่วย ที่ต้องรีบอพยพ ขนย้าย จานวนทั้งสิ้น.........คน แยกเป็น ๑ เด็ก จานวน ............คน ๒ คนชรา จานวน ............คน ๓ คนพิการ จานวน ............คน ๔ คนป่วย จานวน ............คน *ผลสรุปในชุมชนมีอุปกรณ์ในการลาเลียงผู้คนกรณีเกิดภัยพิบัติรวมทั้งสิ้นตามจานวนดังนี้คือ ๘.๑ รถยนต์ จานวน ............คัน ๘.๒ เรือยนต์ จานวน ............ลา ๘.๓ เรือพาย จานวน ............ลา *ผลสรุปกรณีเกิดภัยพิบัติ(น้าท่วม)คนในครัวเรือนของชุมชนในแต่ละครัวเรือนพร้อมที่จะเป็นเครือข่าย จิตอาสาในการสนับสนุนช่วยเหลือผู้ประสพภัยพิบัติ รวมทั้งสิ้นดังนี้คือ จานวนรวม ........ คน เป็น ชาย .......คน เป็นหญิง ....... คน โดยที่ประชุมพิจารณาข้อมูลดังกล่าวและร่วมกันรับรองข้อมูล รวมทั้งเสนอให้ทีมจิตอาสานาข้อมูล ดังกล่าวไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อเตรียมการณ์/เตรียมความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัย พร้อมทั้งได้ เสนอให้จัดทาแผนปฏิบัติงานของทีมจิตอาสาแบ่งออกเป็นแผนต่าง ๆดังนี้
๑. แผนการปฏิบัติในสภาวะปกติ(ก่อนเกิดภัย) - การเตรียมความพร้อมของชุมชน - การสารวจรายจ่ายของคนในชุมชน - การป้องกันรับมือกับภัยพิบัติ(อุทกภัย) - การประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน - การเฝ้าระวังเหตุภัยพิบัติ - การแจ้งเตือนล่วงหน้า ๒ แผนปฏิบัติขณะเกิดภัย - การเตรียมการอพยพ - การอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย ๓ แผนปฏิบัติภายหลังเกิดภัย - การจัดตั้งครัวชุมชน(ศูนย์บรรเทาทุกข์) - การฟื้นฟูบูรณะชุมชน จากนั้นที่ประชุมได้เสนอให้ทีมจิตอาสากาหนดแผนงานและดาเนินการตามแผนงาน โดยกาหนดให้มี คณะกรรมการในการบริหารจัดการด้านอาหารของคนในชุมชนโดยเฉพาะ และดาเนินการจัดตั้งครัวชุมชนขึ้น และกาหนดให้มีการประชุมเพื่อคัดเลือกคณะกรรมการฯและครัวชุมชน ในเวทีประชาคมครั้งต่อไป(เวทีที่ ๓) (หมายเหตุ ข้อความในการบันทึกเวทีประชาคมฯสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามข้อเท็จจริงของแต่ละเวที)
(แบบ ว.๓) บันทึกรายงานการจัดเวทีประชาคม โครงการสร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ครั้งที่ ๓/๒๕๕๕ วันที่.......เดือน.................................พ.ศ.๒๕๕๕ ณ ............................................................... หมู่ที่......บ้าน.....................ตาบล........................อาเภอ.................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ที่
ชื่อ – สกุล
ที่อยู่
ลายมือชื่อ
หมายเหตุ
ประธานฯในเวทีประชาคมกล่าวเปิดเวที และเชิญทีมจิตอาสานาเสนอแผนปฏิบัติการของทีมจิตอาสา ซึ่งหัวหน้าทีมจิตอาสาได้เสนอแผนปฏิบัติการต่อที่ประชุมดังนี้คือ ๑. แผนการปฏิบัติในสภาวะปกติ(ก่อนเกิดภัย) - การเตรียมความพร้อมของชุมชน - การสารวจรายจ่ายของคนในชุมชน(ดาเนินการแล้ว) - การป้องกันรับมือกับภัยพิบัติ(อุทกภัย) - การประชาสัมพันธ์เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชน - การเฝ้าระวังเหตุภัยพิบัติ - การแจ้งเตือนล่วงหน้า ๒ แผนปฏิบัติขณะเกิดภัย - การเตรียมการอพยพ - การอพยพไปยังพืน้ ที่ปลอดภัย ๓ แผนปฏิบัติภายหลังเกิดภัย - การจัดตั้งครัวชุมชน(ศูนย์บรรเทาทุกข์) - การฟื้นฟูบูรณะชุมชน รวมทั้งทีมจิตอาสาเสนอให้มีการจัดตั้งครัวชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลอนอาหารช่วงเกิด อุทกภัย และให้มีการคัดเลือกคณะกรรมการบริหารครัวชุมชนขึ้น จานวน ๙ – ๑๕ คน ดังนี้คือ ๑. ...................................................................... ๒. ...................................................................... ๓. ...................................................................... ๔. ...................................................................... ๕. ...................................................................... ๖. ...................................................................... ๗. ...................................................................... ๘. ...................................................................... ๙. ...................................................................... ๑๐. ..................................................................... ๑๑. ..................................................................... ๑๒. ..................................................................... ๑๓. ..................................................................... ๑๔. ..................................................................... ๑๕. .....................................................................
จากนั้นที่ประชุมเสนอให้คณะกรรมการบริหารครัวชุมชน ไปดาเนินการจัดทาแผนการจัดตั้งครัว ชุมชน รวมทั้งกาหนดพื้นที่ในการจัดตั้งครัวชุมชน/พื้นที่การเตรียมความพร้อมในการผลิตอาหาร การกาหนด วัสดุ-อุปกรณ์ในการดาเนินโครงการฯเสนอที่ประชุม และแจ้งประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนทราบ เพื่อร่วมกัน ดาเนินการในการเตรียมความพร้อมในการรับมือภัยพิบัติ(น้าท่วม)ที่อาจเกิดขึ้นต่อไป
(หมายเหตุ ข้อความในการบันทึกเวทีประชาคมฯสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามข้อเท็จจริงของแต่ละเวที)
แบบ ๑ แบบสำรวจรำยจ่ำยของคนในครัวเรือนตำมโครงกำร สร้ำงทีมจิตอำสำ เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐำนชุมชนแห่งควำมเกื้อกูล อำเภอ...................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ๑. รำยชื่อหัวหน้ำครัวเรือน(นำย/นำงสำว/..............................................อยู่ปัจจุบัน บ้ำนเลขที่ ...........หมู่ที่....... บ้ำน ............................ตำบล ......................................... ๒. จำนวนสมำชิกในครัวเรือนทั้งสิ้น จำนวน ..........คน แยกเป็นชำย .......คน หญิง ............คน ๓. อำชีพหลักของคนในครัวเรือน ..............................รำยได้รวมของคนในครัวเรือน ........................บำท/เดือน ๔. รำยจ่ำยของคนในครัวเรือน ............................บำท/เดือน ๕. รำยจ่ำยเพื่อกำรอุปโภค-กำรบริโภค(เน้นรำยจ่ำยด้ำนอำหำร) จำนวน .........................บำท/เดือน แยกเป็น ๕.๑ รำยจ่ำยด้ำนข้ำวสำร จำนวนกำรบริโภค ...................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๕.๒ รำยจ่ำยด้ำนอำหำรแห้ง จำนวนกำรบริโภค ..............กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๕.๓ รำยจ่ำยด้ำนอำหำรสด จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน - เนื้อวัว จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน - เนื้อหมู จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน - เนื้อไก่ จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน - เนื้อปลำ จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๕.๔ รำยจ่ำยด้ำนเครื่องปรุงประกอบอำหำร(น้ำปลำ/น้ำตำลทรำย/เกลือ เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๕.๕ รำยจ่ำยด้ำนพืช/ผัก/ผลไม้ จำนวนกำรบริโภค ..........กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๕.๖ รำยจ่ำยด้ำนอำหำรสำเร็จรูป(อำหำรกระป๋อง/บะหมี่ ฯลฯ) เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๕.๗ รำยจ่ำยด้ำนของใช้จำเป็น(สบู่/ยำสีฟัน/ยำสระผม/ยำรักษำโรค) เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๕.๘ รำยจ่ำยด้ำนน้ำดื่มเพื่อกำรบริโภค เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๖. *กรณีเกิดภัยพิบัติ(น้ำท่วม/ไฟไหม้/ธรณีพิบัติ)ในชุมชน มีเด็ก/คนชรำ/ผู้พิกำร/ผู้ป่วย ที่ต้องรีบอพยพขนย้ำย จำนวน ทั้งสิ้น.........คน แยกเป็น ๖.๑ เด็ก จำนวน ............คน ๖.๒ คนชรำ จำนวน ............คน ๖.๓ คนพิกำร จำนวน ............คน ๖.๔ คนป่วย จำนวน ............คน ๗. ในครัวเรือนของท่ำนมีพำหนะในกำรลำเลียงผู้คนกรณีเกิดภัยพิบัติรวมทั้งสิ้นตำมจำนวนดังนี้คือ ๗.๑ รถยนต์ จำนวน ............คัน ๗.๒ เรือยนต์ จำนวน ............ลำ ๗.๓ เรือพำย จำนวน ............ลำ
*กรณีเกิดภัยพิบัติ(น้ำท่วม)คนในครัวเรือนของท่ำนพร้อมที่จะเป็นเครือข่ำยจิตอำสำในกำรสนับสนุนช่วยเหลือผู้ประสพ ภัยพิบัติ รวมทั้งสิ้นดังนี้คือ จำนวนรวม ........ คน เป็น ชำย .......คน เป็นหญิง ....... คน (ขอขอบคุณในข้อมูลที่ท่ำนได้กรุณำให้รำยละเอียดหรือกรอกส่งให้ทีมงำนจิตอำสำ เพื่อเป็นกำรเตรียมควำมพร้อม รับมือกับภัยพิบัติที่อำจเกิดขึ้นชุมชนในอนำคต........หำกมีกำรจัดเวทีประชำคมขอควำมร่วมมือท่ำนเข้ำร่วมเวทีประชำคม เพื่อ สรุปบทเรียนร่วมกันอีกครั้งจักขอบพระคุณเป็นอย่ำงยิ่ง...จำก......ทีมงำนจิตอำสำ)
แบบ ๒ แบบสรุปรำยจ่ำยของคนในชุมชนตำมโครงกำร สร้ำงทีมจิตอำสำ เพื่อรับมือกับภัยพิบัติบนพื้นฐำนชุมชนแห่งควำมเกื้อกูล หมู่ที่......บ้ำน......................ตำบล...........................อำเภอ...................................จังหวัดพระนครศรีอยุยยำ ๑. สรุปจำนวนสมำชิกในชุมชน รวมจำนวน ..........ครัวเรือน ..........คน แยกเป็นชำย .........คน หญิง ............คน ๒. อำชีพหลักของคนในชุมชน ได้แก่ ............................ รำยได้รวมของคนในชุมชน ........................บำท/เดือน ๓. รำยจ่ำยของคนในชุมชน รวมจำนวน ............................บำท/เดือน ๔. รำยจ่ำยเพื่อกำรอุปโภค-กำรบริโภค(เน้นรำยจ่ำยด้ำนอำหำร) จำนวน .........................บำท/เดือน แยกเป็น ๔.๑ รำยจ่ำยด้ำนข้ำวสำร จำนวนกำรบริโภค ...................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๔.๒ รำยจ่ำยด้ำนอำหำรแห้ง จำนวนกำรบริโภค ..............กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๔.๓ รำยจ่ำยด้ำนอำหำรสด จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน - เนื้อวัว จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน - เนื้อหมู จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน - เนื้อไก่ จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน - เนื้อปลำ จำนวนกำรบริโภค ................กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๔.๔ รำยจ่ำยด้ำนเครื่องปรุงประกอบอำหำร(น้ำปลำ/น้ำตำลทรำย/เกลือ เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๔.๕ รำยจ่ำยด้ำนพืช/ผัก/ผลไม้ จำนวนกำรบริโภค ..........กิโลกรัม/เดือน เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๔.๖ รำยจ่ำยด้ำนอำหำรสำเร็จรูป(อำหำรกระป๋อง/บะหมี่ ฯลฯ) เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๔.๗ รำยจ่ำยด้ำนของใช้จำเป็น(สบู่/ยำสีฟัน/ยำสระผม/ยำรักษำโรค) เป็นเงิน ..............บำท/เดือน ๔.๘ รำยจ่ำยด้ำนน้ำดื่มเพื่อกำรบริโภค เป็นเงิน ..............บำท/เดือน *กรณีเกิดภัยพิบัติ(น้ำท่วม/ไฟไหม้/ธรณีพิบัติ)ในชุมชน มีเด็ก/คนชรำ/ผู้พิกำร/ผู้ป่วย ที่ต้องรีบอพยพขนย้ำย จำนวน ทั้งสิ้น.........คน แยกเป็น ๑ เด็ก จำนวน ............คน ๒ คนชรำ จำนวน ............คน ๓ คนพิกำร จำนวน ............คน ๔ คนป่วย จำนวน ............คน ในชุมชนของท่ำนมีพำหนะในกำรลำเลียงผู้คนกรณีเกิดภัยพิบัติรวมทั้งสิ้นตำมจำนวนดังนี้คือ ๘.๑ รถยนต์ จำนวน ............คัน ๘.๒ เรือยนต์ จำนวน ............ลำ ๘.๓ เรือพำย จำนวน ............ลำ *กรณีเกิดภัยพิบัติ(น้ำท่วม)คนในชุมชนของท่ำนพร้อมที่จะเป็นเครือข่ำยจิตอำสำในกำรสนับสนุนช่วยเหลือผู้ประสพภัย พิบัติ รวมทั้งสิ้นดังนี้คือ จำนวนรวม ........ คน เป็น ชำย .......คน เป็นหญิง ....... คน
แบบสารวจข้อมูลการดาเนินงานโครงการ"สร้างทีมจิตอาสา เพื่อรับมือกับภัยพิบัตบิ นพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ปี ๒๕๕๕ ( ๑ พัฒนากร ๑ ทีมจิตอาสา ๑ ครัวชุมชน) อาเภอ................................................ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พืน้ ที่ดาเนินการครัวชุมชน ที่
ชื่อ - สกุล พัฒนากร
หมายเหตุ ส่งจังหวัดภายในวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕
ตาแหน่ง
หมู่ที่
ชื่อบ้าน
ตาบล
จานวน ครัวเรือน
หมู่บา้ นต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ปี ๒๕๕๒ - ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ ๒๕๕๓
(ลงชื่อ) ...................................................................... ผู้รายงาน (....................................................) ตาแหน่ง พัฒนาการอาเภอ............................. ..................../................./....๕๕........
หมายเหตุ
แผน/ผล การปฏิบตั ิการส่งเสริม/สนับสนุนกระบวนการขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการ "สร้างทีมจิตอาสา เพื่อรองรับภัยพิบตั ิบนพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล" ระดับทีม อาเภอ.......................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่
โครงการ/กิจกรรม
สถานที่
ระยะเวลา
ผู้รับผิดชอบ
หมายเหตุ
แผนปฏิบัตกิ ารทีมจิตอาสาเพื่อรองรับภัยพิบัตบิ นพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ตาบล.......................................อาเภอ...................................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่
โครงการ/กิจกรรม
สถานทีด่ าเนินการ
ระยะเวลา ดาเนินการ
ผู้รับผิดชอบ
หมายเหตุ
ทะเบียนรายชื่อกรรมการครัวชุมชนชุมชน หมู่ท.ี่ .....ตาบล..................................อาเภอ.........................................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่
ชื่อ - สกุล
ตาแหน่ง
หมายเหตุ
ทะเบียนวัสดุ-อุปกรณ์ครัวชุมชนชุมชน หมู่ท.ี่ .....ตำบล..................................อำเภอ..................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ที่
รำยกำร
จำนวน รำคำ รวม หน่วย ต่อหนวย เป็นเงิน
หมำยเหตุ
แบบประเมินระดับการพัฒนาครัวชุมชน ที่
๑
หมูท่ ี่......บ้าน...............ตาบล.......................อาเภอ.......................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตัวชีว้ ัดการประเมิน
หมวดโครงสร้าง/บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการครัวชุมชน ๑.๑ มีคณะกรรมการบริหารครัวชุมชนที่มาจากคัดเลือกในเวทีประชาคม ๑.๒ มีการโครงสร้างการบริหารงานของคณะกรรมการมีการแบ่งหน้าที่ชัดเจน ๑.๓ มีคณะกรรมการบริหารครัวชุมชนที่มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง ๑.๔ มีการประชุมคณะกรรมการฯเป็นประจาทุกเดือน ๒ หมวดการบริหารบริหารจัดการ ๒.๑ มีทะเบียนคณะกรรมการฯ/มีบันทึกการประชุม/มีทะเบียนวัสดุ-อุปกรณ์ ๒.๒ มีแผนการบริหารจัดการของคณะกรรมการครัวชุมชน ๒.๓ มีโครงการ/กิจกรรมที่เกิดจากแผนฯอย่างเป็นรูปธรรม ๒.๔ มีการประชาสัมพันธ์การดาเนินงานของครัวชุมชนต่อบุคคลภายนอก ๓ หมวดสถานที่ตงั้ /วัสดุ/อุปกรณ์ในการดาเนินงานครัวชุมชน ๓.๑ มีสถานที่ผลิตอาหารของคนในชุมชน เช่นพื้นที่เพาะปลูกข้าว/พืชผักสวนครัว/สถานที่เลี้ยงสัตว์/ สถานที่ทาการประมง ๓.๒ มีสถานที่ตั้งครัวชุมชน/มีป้ายที่ทาการ/ป้ายโครงสร้างคณะกรรมการฯ/ป้ายแผนการบริหาร จัดการ/ ๓.๓ มีอุปกรณ์ในการประกอบอาหารเลี้ยงคนในชุมชนกรณีเกิดภัยพิบัติ เช่นกระทะ/หม้อหุงข้าว/เตา/ ๓.๔ มีพาหนะนการลาเลียงอาหารเพื่อแจกจ่ายคนในชุมชน เช่น เรือลาเลียง/เรือพาย/ ๓.๕ มีการคลังชุมชนในการจัดเก็บข้าวสาร/อาหารแห้ง/อาหารกระป๋อง/วัสดุประกอบอาหารอุปกรณ์ จาเป็นในการยังชีพ(สบู่/ยาสีฟัน/ยาสระผม/ยาสามัญประจาบ้าน ฯลฯ) ๔ หมวดงบประมาณในการขับเคลือ่ นครัวชุมชน ๔.๑ มีโครงการ/กิจกรรมที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากภายนอกชุมชน ๔.๒ มีกิจกรรมการแสวงหาทุนจากคนในชุมชน อาทิ การบริจาค/การลงหุ้น/การลงแขก/การจาหน่าย ผลผลิตของชุมชน รวมคะแนน เกณฑ์การประเมินระดับการพัฒนาครัวชุมชน แบ่งออกเป็น ๕ ระดับ ครัวชุมชนที่มีคะแนน ๑๗ – ๑๙ คะแนน เป็นครัวชุมชนระดับดีเด่น ครัวชุมชนที่มีคะแนน ๑๕ – ๑๖ คะแนน เป็นครัวชุมชนระดับดีมาก ครัวชุมชนที่มีคะแนน ๑๓ - ๑๔ คะแนน เป็นครัวชุมชนระดับดี ครัวชุมชนที่มีคะแนน ๑๐ - ๑๒ คะแนน เป็นครัวชุมชนระดับพอใช้ ครัวชุมชนที่มีคะแนน ๑ – ๙ คะแนน เป็นครัวชุมชนระดับต้องปรับปรุง
มี
ไม่มี
ทะเบียนรายชือ่ ทีมจิตอาสาตามโครงการ สร้างทีมจิตอาสา เพื่อรองรับสถานการณ์ภัยพิบัตบิ นพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล อาเภอ.........................................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่
ชือ่ - สกุล
ตาแหน่ง
ที่อยู่ หมูท่ ี่
ชือ่ บ้าน
ตาบล
หมายเหตุ
รายงานผลการปฏิบัตกิ ารทีมจิตอาสาเพื่อรองรับภัยพิบัตบิ นพื้นฐานชุมชนแห่งความเกื้อกูล ตาบล.......................................อาเภอ...................................................จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่
โครงการ/กิจกรรม
สถานทีด่ าเนินการ
ผู้ร่วมกิจกรรม (คน)
งบประมาณ (บาท)
ปัญหา/อุปสรรค
เรียนรู้ ชุมชน แห่งความ เกื้อกูล จาก...
คู่มือพัฒนากร ในการส่งเสริมชุมชนแห่งความเกือ้ กูล
เกื้อกูล สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา
ขาดสานึกสาธารณะ
ไม่พึ่งตนเอง ไม่เต็มศักยภาพ
ขาดพลังชุมชน
องค์กรบริหาร หมู่บ้านอ่อนแอ
สถานการณ์ ชุมชน ชนบทไทย
ขาดความร่วมมือ ในการพัฒนา
ต่างคนต่างอยู่
แตกแยกขัดแย้ง
เศรษฐกิจเชิงเดี่ยว
ไม่ใช้ปัญญา
จึงเป็น สุดท้าย คาตอบที่ แล้วเราจะ
ได้
ร่วมกันแก้ไข สถานการณ์นไี้ ด้ อย่างไร?
ทีม ่ าของ คาว่า...
“ชุมชนแห่ง ความเกื้อกูล” (Beneficent community)
เกื้อกูลคนด้อย โอกาส
คุณลักษณะ ชุมชนแห่งความ เกื้อกูล
เกื้อกูล หมายถึง อุดหนุน เอื้อเฟื้ อ เจือจุน ...ในแง่ของความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิต หมายถึง การอยูร่ ่วมกันของสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิด โดยฝ่ ายหนึ่งได้ ประโยชน์อีกฝ่ ายไม่ได้และ ไม่เสียประโยชน์
ถ้าจะเปรียบ ก็เหมือนความ รัก..ที่มีแต่ให้ ไม่มีที่ส้ ินสุด
สรุปแล้วมีงานที่ต้อง ดาเนินการ ๕ เรื่อง ดังนี้ แล้วมีกิจกรรม อะไรบ้าง? ...ที่ส่งเสริมชุมชน แห่งความเกื้อกูล
๑.ส่งเสริมระบบการเกื้อกูล คนทุกข์ยากในชุมชน
๒.รื้อฟื้นวัฒนธรรมลงแขก ๓.ส่งเสริมการผลิตใน ระบบเศรษฐกิจเกื้อกูล ๔.ส่งเสริมจิตสานึกสาธารณะ รักษาสมบัติชุมชน ๕.ส่งเสริมสานึกรัก ภักดีสถาบัน
มาขยายความกันต่อนะ...
๑.ส่งเสริมระบบการเกือ้ กูล คนทุกข์ยากในชุมชน ธนาคารข้าว
กิจกรรมเพื่อ สังคม
ครัวชุมชน
คลังชุมชน
รับอุปการะ
ลงแขกทาความ สะอาดที่ สาธารณะ
ช่วยงาน ประเพณีของแต่ ละครัวเรือน
“ลงแขก” หมายถึง... การบอกแขกหลายคน ช่วยกันทางาน การช่วยกันทางาน ลงแรงขุดลอก ผลัดเปลี่ยน ช่วยสลับกัน ร่องสวน ช่วยกันทางานให้แก่ เพื่อนบ้านโดยไม่คิดเงิน การ่วมแรงร่วมใจ หรือ เอาแรงมารวมกันเพื่อช่วยให้ การทางานในไร่นาเสร็จสิ้น ระดม โดยเจ้าของนาจะเป็นคนมา ผลัดเปลี่ยนเวร ดูแลอาหารการกิน ยามในหมู่บ้าน
๒.รื้อฟื้น วัฒนธรรมลงแขก
ขุดแหล่งน้าไว้ใช้ ในยามฤดูแล้ง
ผลิตสิ่งที่เกื้อกูลกับ ธรรมชาติ เช่น การ หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี เป็นต้น
ผลิตสิ่งที่เกื้อกูลกัน เช่น การปลูกพืช ตระกูลถั่วในแถว ข้าวโพด เป็นต้น จัดกิจกรรมแนะนา อาชีพ
นาสิ่งเหลือทิ้งไปแปรรูป เป็นสินค้า OTOP เช่น ดอกไม้ประดิษฐ์จากใบ ยางพารา เป็นต้น
ขยายแนวคิดทฤษฎี ใหม่ “ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” (ภาคผนวกคู่มือ)
๓.ส่งเสริมการผลิตใน ระบบเศรษฐกิจเกื้อกูล
อช. ปฏิบัติงาน ตามภารกิจ ด้วยใจ
องค์กรสตรี เป็นต้นแบบ ของสังคม
เยาวชน เช่น ค่ายเยาวชน เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม
ร่วมกับแกนนาชุมชน
๔.ส่งเสริมจิตสานึก สาธารณะรักษา สมบัติชุมชน -ร่วมกับแกนนาชุมชนวิเคราะห์ ปัญหา -เผยแพร่ความคิดกับ กลุ่มเป้าหมาย -วางแผน ออกแบบการทางาน สร้างกิจกรรมเรียนรู้ -ติดตามให้การสนับสนุน -ทาอย่างต่อเนือ่ ง
๕.ส่งเสริมสานึกรัก ภักดีสถาบัน ตัวอย่างกิจกรรม -ชุมชนแสดงตนเป็นคนไทย
-ชุมชนฝักใฝ่ศาสนา
-ชุมชนเทิดทูนพระมหากษัตริย์
-สืบสาน “คาสอนพ่อ”
-กิจกรรมเรียนรู้เรื่องชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ -น้อมนาแนวพระราชดาริ
-การแก้ปัญหาคุณภาพนา
-แก้ปัญหานาท่วม
“สังคมใดก็ตาม ถ้ามีความเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน ด้วยความมุ่ง ดี มุ่งเจริญต่อกัน สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วยไมตรีจิต มิตรภาพ มีความร่มเย็นเป็นสุข น่าอยู"่
(พระราชดารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพือ่ อัญเชิญลงพิมพ์ใน นิตยสาร ทีร่ ะลึกครบ ๓๖ ปี ของสโมสรไลออนส์กรุงเทพฯ ๓๑ มี.ค. ๓๘)
ต้องบูรณาการกับ งานที่ทาอยูเ่ ดิม ศูนย์เรียนรู้ ชุมชน งานบริหาร จัดการชุมชน งานป้องกัน ยาเสพติด
งานข้อมูลชุมชน งานกลุ่มออม ทรัพย์/กองทุน งานองค์กร สตรี/เยาวชน งานส่งเสริมและ พัฒนาทุนชุมชน
จงมีความสุขกับเส้นทางที่เราเลือกเอง..
... ขอบคุณสาหรับโอกาสดีๆ ที่ทาให้เรามีวันนี้ ๕๐ ปี กรมการพัฒนาชุมชน