คู่มือศูนย์เรียนรู้ชุมชน

Page 1

คู่มือ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ชุมชนในการจัดการ ความรู้เพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติและพัฒนาคุณภาพชีวิต

จัดทาโดย กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


บทที่ 1 บทนำ 1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ สถานการณ์ปัจจุบัน สังคมไทยเฉพาะสังคมชนบท ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง กระบวนการพัฒนาไปสู่สังคมยุคดิจิตอลหรือเทคโนโลยีเต็มรูปแบบ สภาพแวดล้อมเชิงภูมิสังคมเปลี่ยนแปลงไปทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นเสมอว่า การพัฒนาหรือการดาเนินการอะไรก็ตาม ต้องยึดหลักสาคัญคือให้ ความสอดคล้องกับภูมิสังคม ซึ่งนั่นก็คือ การพัฒนาโดยยึดหลักสภาพความเป็นจริงของ “ภูมิประเทศ” ทั้งในด้านพื้น ที่ดิน ด้านสังคมวิทยา ด้านลักษณะนิสัยประจาถิ่น และการพัฒนาโดยยึดหลักภูมิสังคมนี้ คือหลักสาคัญยิ่งของการ พัฒนาอย่างยั่งยืนนั่นเอง ดังพระราชกระแสว่า “...การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศ ทางภูมิศาสตร์และภูมิ ประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศตามสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนคิด อย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เราเข้าไปช่วย โดยที่จะคิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปช่วยดูว่า เขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง” กรมการพัฒนาชุมชน กาหนดเป้าหมายในการส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ คือ การขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้มีศักยภาพในการจัดการองค์ความรู้ในชุมชน เป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ ที่สามารถเป็น ศูนย์กลางในการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาในชุมชนโดยมีคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป็นกลไกในการขับเคลื่อน ซึ่งศูนย์ เรียนรู้ชุมชนได้ดาเนินการจัดตั้งขึ้นโดยชุมชน และได้รับการสนับสนุนจากกรมการพัฒนาชุมชนตั้งแต่ปี พ.ศ.2551ปัจจุบัน เพื่อเป็นสถานที่พบปะของประชาชนในชุมชน เป็นแหล่งพัฒนา องค์ความรู้ และนาความรู้ไปใช้ในการแก้ไข ปัญหาในครอบครัว ชุมชน และการประกอบอาชีพของชุมชน จากการติดตามประเมินผลการดาเนินงานของศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ผ่านมาพบว่า การทางานของ คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนยังต้องมีการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการองค์ความรู้ชุมชน รวมทั้งการนาองค์ความรู้ชุมชนเหล่านั้นมาเผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน โดยมีศูนย์เรียนรู้ ชุมชนเป็นกลไก และเป็นศูนย์กลางในการดาเนินกิจกรรมเพื่อเป้าหมายในการแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนในชุมชน ผนวกกับสถานการณ์ปัจจุบันหลายชุมชนได้รับความเสียหาย ดังนั้น เพื่อเป็นการฟื้นฟู ป้องกัน และหา มาตรการในการรับมือกับภัยธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต กรมการพัฒนาชุมชนจึงส่งเสริมให้ชุมชนบริหารจัดการ องค์ความรู้ผ่านศูนย์เรียนรู้ชุมชน โดยมีคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป็นกลไกขับเคลื่อน ในการจัดการความรู้เพื่อ รับมือกับภัยธรรมชาติไม่เฉพาะอุทกภัยเท่านั้นแต่หากหมายรวมถึงภัยธรรมชาติอื่นๆ ที่จะมีผลต่อคุณภาพชีวิตของพี่ น้องในอนาคต 2. วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสนับสนุนคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้สามารถดาเนินกิจกรรมการจัดการความรู้เพื่อรับมือกับ ภัยธรรมชาติและพัฒนาคุณภาพชีวิต 2) เพือ่ สร้างองค์ความรู้และจัดทาแผนในการรับมือกับภัยธรรมชาติและพัฒนาคุณภาพชีวิต 3) เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป็นศูนย์เรียนเรียนรู้สมบูรณ์แบบ 4) เพื่อฟื้นฟูศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ประสบอุทกภัยให้กลับสู่ภาวะปกติ 3. กำรพัฒนำศูนย์เรียนรู้ชุมชน แบ่งเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 3.1 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป้าหมายในการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ 1) คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนดาเนินการจัดเวทีประชาคม เพื่อจัดการความรู้ และกาหนด กรอบการดาเนินงานพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติ และพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีเจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอเป็นที่ปรึกษา


-22) กรณีศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป้าหมายในการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบเป็นศูนย์ฯ ที่ประสบอุทกภัยด้วย ให้ดาเนินการฟื้นฟูศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้กลับสู่ภาวะปกติ 3) ศูนย์เรียนรู้ชุมชนจัดทาคู่มือในการรับมือกับภัยธรรมชาติและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย  ความเป็นมาของชุมชน  สภาพทั่วไปทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ฯลฯ  วิเคราะห์/ทบทวนสถานการณ์ภัยธรรมชาติที่ผ่านมา และผลกระทบที่เกิดขึ้น – จุด แข็ง , จุดด้อย , โอกาส และอุปสรรค  แนวทางการฟื้นฟูและรับมือภัยธรรมชาติ  แผนในการรับมือกับภัยธรรมชาติในอนาคต 4) คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชน จัดทามุมความรู้เรื่องการรับมือกับภัยธรรมชาติ และพัฒนา คุณภาพชีวิต รูปแบบตามความเหมาะสมและสะดวกต่อการเรียนรู้ภายในศูนย์เรียนรู้ชุมชน 5) พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ โดยมีองค์ประกอบ 6 เรื่อง ดังนี้  มีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่น  มีการวางระเบียบการให้บริการบุคคลภายนอกชุมชน  มีกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันภายในชุมชน  มีการจัดทาปฏิทินกิจกรรมการเรียนรู้  มีการวางแผนเพิ่มค่าองค์ความรู้ของชุมชน  มีการจัดกิจกรรมสร้างองค์ความรู้ใหม่ของชุมชน 6) จังหวัดดาเนินการติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงาน ส่งกรมการพัฒนาชุมชน ภายในเดือนสิงหาคม 2555 3.2 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ประสบอุทกภัย 1) คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนดาเนินการจัดเวทีประชาคม เพื่อจัดการความรู้ และกาหนด กรอบการดาเนินงานฟื้นฟูศูนย์เรียนรู้ชุมชนหลังประสบอุทกภัยให้กลับคืนสู่ภาวะปกติ รวมทั้งพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชน เพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอเป็นที่ปรึกษา 2) ดาเนินการฟื้นฟูศูนย์เรียนรู้ชุมชนหลังประสบอุทกภัยให้กลับคืนสู่ภาวะปกติ รวมทั้งพัฒนาศูนย์ เรียนรู้ชุมชนตามกรอบการดาเนินงานที่วางไว้ 3) คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนจัดทามุมความรู้เรื่องการรับมือกับภัยธรรมชาติและพัฒนา คุณภาพชีวิต รูปแบบตามความเหมาะสมและสะดวกต่อการเรียนรู้ภายในศูนย์เรียนรู้ชุมชน 4) จังหวัดดาเนินการติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงาน ส่งกรมการพัฒนาชุมชน ชุมชน ภายในเดือน สิงหาคม 2555 3.3 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ไม่ประสบอุทกภัย 1) คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนดาเนินการจัดเวทีประชาคม เพื่อจัดการความรู้และกาหนดกรอบ การดาเนินงานพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติและพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยมีเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน จังหวัด/อาเภอเป็นที่ปรึกษา 2) คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนดาเนินการจัดทามุมความรู้เรื่องการรับมือกับภัยธรรมชาติและ พัฒนาคุณภาพชีวิต รูปแบบตามความเหมาะสมและสะดวกต่อการเรียนรู้ภายในศูนย์เรียนรู้ชุมชน 3) จังหวัดดาเนินการติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงาน ส่งกรมการพัฒนาชุมชน ภายในเดือนสิงหาคม 2555


-34. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 4.1 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป็นกลไกสาคัญในการจัดการความรู้เพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติ และพัฒนาคุณภาพ ชีวิต รวมทั้งคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนสามารถจัดทาแผนป้องกันและฟื้นฟูด้านภัยธรรมชาติได้ 4.2 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป้าหมาย จังหวัดละ 1 แห่ง ได้พัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้สมบูรณ์แบบ 4.3 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ประสบอุทกภัยได้รับการฟื้นฟูให้กลับสู่ภาวะปกติ 5. ตัวชี้วัดกิจกรรม 5.1 ร้อยละ 80 ของศูนย์เรียนรู้ชุมชนมีกิจกรรมการจัดการความรู้เกี่ยวกับการรับมือกับภัยธรรมชาติและ พัฒนาคุณภาพชีวิต 5.2 จังหวัดมีศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ อย่างน้อย 1 แห่ง 5.3 จานวนศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ประสบอุทกภัยได้รับการฟื้นฟูให้กลับสู่ภาวะปกติ


บทที่ 2 ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับธรรมชำติ ก. ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับภัยธรรมชำติ 1. ภัย (Hazard) หมายถึง เหตุการณ์ สภาวะทางกายภาพ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ การกระทาของมนุษย์ หรือสารใดๆ ก็ตามที่จะนามาซึ่งความสูญเสีย การบาดเจ็บ หรือความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการบริการทางสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ 2. ภัยพิบัติธรรมชาติ หมายถึง ผลกระทบที่เกิดจากปรากฏการณ์ธรรมชาติที่มีความรุนแรงมากกว่าปกติ ซึ่ง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งแวดล้อม ชีวิตมนุษย์ สังคมและเศรษฐกิจ ภัยพิบัติตามธรรมชาติ สามารถจาแนกได้ดังนี้ 2.1 ภัยธรรมชาติเชิงอุตุนิยมวิทยา (Meteorological Disaster) เป็นภัยตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นตาม ฤดูกาล ได้แก่ 1) วาตภัย (Storm) คือ ภัยที่เกิดจากแรงลมและพายุ แบ่งได้ 2 ชนิด คือ - พายุฟ้าคะนองหรือพายุฤดูร้อน เกิดขึ้นในฤดูร้อน มีบริเวณย่อมๆ มีอาณาเขต เพียง 20-30 ตารางกิโลเมตร เกิดจากกระแสอากาศร้อนลอยสูงขึ้นอย่างรุนแรงและรวดเร็ว - พายุหมุนเขตร้อน จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน เป็นพายุที่เกิดขึ้นในเขตร้อน เป็นพายุ ที่มีขนาดใหญ่ 2.2 ภัยธรรมชาติตามสภาพภูมิประเทศ (Topological Disaster) เป็นภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นตาม ลักษณะของภูมิประเทศ ได้แก่ 1) อุทกภัย (Flood) หมายถึง ภัยอันตรายจากน้าท่วม เกิดเนื่องจากระดับน้าในทะเล มหาสมุทรและแม่น้าสูงมากจนท่วมล้นฝั่งและตลิ่ง ไหลท่วมบ้านเรือนด้วยความรุนแรงของกระแสน้าและทาความ เสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน รูปแบบของอุทกภัย มีดังนี้ น้าล้นตลิ่ง , น้าท่วมฉับพลัน , คลื่นพายุซัดฝั่ง , น้าท่วมขัง , คลื่นสึนามิ , หิมะถล่ม 3. ภัยธรรมชาติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวโลก (Tectonic Disaster) เป็นการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก ที่ทาให้เกิดแผ่นดินเลื่อน แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น 3.1 แผ่นดินเลื่อนหรือแผ่นดินถล่ม (Landside) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติของการสึกกร่อนชนิด หนึ่ง มักเกิดบริเวณพื้นที่ที่เป็นเนินสูงหรือภูเขาที่มีความลาดชันสูงจนขาดความสมดุลในการทรงตัว 3.2 แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลก 4. ภัยธรรมชาติทางชีวภาพ (Biological Disaster) เป็นภัยธรรมชาติที่มีสาเหตุเนื่องมาจากสิ่งมีชีวิต เช่น เชื้อ โรคต่างๆ ที่ทาให้เกิดดรคระบาด เช่น อหิวาตกโรค กาฬโรค โปลิโอ ภัยจากฝูงสัตว์และแมลงที่ทาลายพืชไร่ ข. ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธรรมชำติ 1. ภัยธรรมชาติ กรมการส่งเสริมคุณภาพแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้คาจากัด ความไว้ว่า หมายถึง ภัยอันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและมีผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของมนุษย์ 1.1 ภัยธรรมชำติด้ำนน้ำ 1.1.1 อุทกภัย (Flood) หมายถึง อันตรายจากน้าท่วม อันเกิดจากระดับน้าในทะเล มหาสมุทร หรือแม่น้าสูงมาก จนท่วมท้นล้นฝั่งและตลิ่ง ไหลท่วมบ้านเรือน ด้วยความรุนแรงของกระแสน้าทาความเสียหายแก่ ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน รูปแบบของอุทกภัยจากธรรมชาติ (types of natural flood) สามารถสรุปรูปแบบ ของอุทกภัยจากธรรมชาติได้ 4 ชนิด คือ 1) น้าป่าไหลหลาก หรือน้าท่วมฉับพลัน (flash flood) มักจะเกิดขึ้นในระดับที่ราบต่าหรือที่ราบลุ่ม บริเวณใกล้ภูเขาต้นน้า เกิดขึ้นเนื่องจากฝนตกหนักเหนือภูเขาต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทาให้จานวนน้าสะสมมีปริมาณ มากจนพื้นดินและต้นไม้ดูดซับไม่ไหวไหลบ่าลงสู่ที่ราบต่าเบื้องล่างอย่างรวดเร็ว มีอานาจทาลายล้างรุนแรงระดับหนึ่ง ที่ทาให้บ้านเรือนพังทลายเสียหายและอาจทาให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้(กรมอุตุนิยมวิทยา)


-52) น้าท่วมขัง (drainage flood) เป็นลักษณะของอุทกภัยที่เกิดขึ้น จากปริมาณน้าสะสมจานวนมากที่ ไหลบ่าในแนวระนาบจากที่สูงไปยังที่ต่าเข้าท่วมอาคารบ้านเรือน เรือกสวน ไร่นา ทาให้ได้รับความเสียหายหรือเป็น สภาพน้าท่วมขัง ในเขตเมืองใหญ่ที่เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานานมีสาเหตุจากระบบการระบายน้าไม่ดีพอ มีสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางระบายน้า หรือสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางระบายน้า หรือเกิดน้าทะลุหนุนสูงกรณีพื้นที่อยู่ใกล้ ชายฝั่งทะเล (กรมอุตุนิยมวิทยา) 3) น้าล้นตลิ่ง (river flood) เกิดขึ้นจากปริมาณน้าจานวนมากที่เกิดขึ้นจากฝนตกหนักต่อเนื่องที่ไหลลง สู่ลาน้าหรือแม่น้ามีปริมาณมากจนระบายลงสู่ลุ่มน้าด้านล่างหรือออกสู่ปากน้าไม่ทันทาให้เกิดสภาวะน้าล้นตลิ่งเข้า ท่วมเรือกสวน ไร่นาและบ้านเรือนตามสองฝั่งน้าจนได้รับความเสียหา ถนนหรือสะพานอาจชารุดทางคมนาคมถูกตัด ขาดได้ (กรมอุตุนิยมวิทยา) 4) คลื่นสึนามิ (tsunami) คือ น้าท่วมที่เกิดจากคลื่นที่ซัดเข้าสู่ฝั่งมีลักษณะเป็นคลื่นในทะเลที่มีช่วงคลื่น ยามประมาณ 80-200 กิโลเมตร เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ 600-1,000 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คลื่นสึนามิ เกิดขึ้นได้เนื่องจากความสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิดที่พื้นท้องมหาสมุทร หรืออุกกาบาต พุ่งเข้าขนโลกก็ได้ ในขณะที่คลื่นสึนามิเคลื่อนเข้ามหาสมุทรจะดูเหมือนคลื่นปกติ เพราะมีความสูงของคลื่นประมาณ 30 เซนติเมตร แต่ถ้าคลื่นนี้ยังเข้าสู่ชายฝั่งหรือที่ตื้นเมื่อใดจะเพิ่มความสูงขึ้นอย่างรวดเร็วถึงประมาณ 15 เมตร หรือ มากกว่านี้ พลังงานอันมหาศาลของคลื่นสึนามิจาทาให้เกิดอันตรายแก่สิ่งมีชีวิตและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ในบริเวณ ชายหาดหรือหมู่เกาะที่คลื่นสึนามิซัดเข้าหา 1.2 ภัยแล้ง (Droughts) หมายถึง สภาวะที่มีฝนน้อยหรือไม่มีฝนเลยในช่วงเวลาหนึ่งซึ่งปกติจะต้องมีฝน โดยขึ้นอยู่กับสถานที่และฤดูกาล ณ ที่นั้นๆ หรือสภาวะที่ระดับน้าใต้ดินลดลงหรือน้าในแม่น้าลาคลองลดน้อยลง ทา ให้เกิดสภาวะขาดแคลนน้าของพืช ณ ช่วงเวลาต่างๆ โดยการเกิดความแห้งแล้ง มี 3 ลักษณะ คือ 1) สภาวะอากาศแห้งแล้ง (Meteorological drought) มีลักษณะสาคัญ คือ เป็นสภาวะที่มีการ ระเหยของน้าเกินจานวนที่ได้รับกล่าวคือมีการระเหยจากไอน้าของดินและพืชพรรณมากกว่าปริมาณน้าฝนรายปี 2) สภาวะการขาดน้า (Hydrologicl drought) มีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศที่เกิดจากการมีฝนตกน้อยเฉลี่ยต่ากว่าปกติเป็นเวลานานต่อเนื่องกัน 3) สภาวะความแห้งแล้งทางการเกษตร (Agricultural drought) เป็นสภาวะที่เกิดจากการขาดน้า สาหรับการเกษตรอันเนื่องมาจากการลดลงของปริมาณน้าฝน ระดับใต้ดิน ความชื้นในดินลดลงจนพืชไม่สามารถดึงน้า มาใช้ได้ 1.3 ภัยธรรมชำติด้ำนลม วาตภัย (Storms) หมายถึง ภัยที่เกิดขึ้นจากพายุลมแรงจนทาให้เกิดความเสียหายแก่อาคารบ้านเรือน ต้นไม้และสิ่งก่อสร้าง สาหรับในประเทศวาตภัยหรือพายุลมแรงมีสาเหตุมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ คือ 1) พายุหมุนเขตร้อน (Tropical cyclone) ได้แก่ ดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน พายุใต้ฝุ่น พายุไซโคลน 2) พายุฤดูร้อนส่วนมากจะเกิดระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือน เมษายนโดยจะเกิดถี่ในภาคเหนือและภาคะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคกลางและภาคตะวันออกมีการเกิดขึ้นน้อย ครั้งกว่า สาหรับภาคใต้ก็สามารถเกิดได้แต่ไม่บ่อยนัก โดยพายุฤดูร้อนจะเกิดในช่วงที่มีลักษณะอากาศร้อนอบอ้าว ติดต่อกันหลายวันแล้วมีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจีนพัดมาปะทะกัน ทาให้เกิดฝนฟ้าคะนอง มีพายุลมแรงและอาจมีลูกเห็บตกได้จะทาความเสียหายในบริเวณที่ไม่กว้างนัก ประมาณ 20-30 ตารางกิโลเมตร 3) ลมงวง (Tornado) เป็นพายุรุนแรงขนาดเล็กที่เกิดจากการ หมุนเวียนของลมภายใต้เมฆก่อตัวในทางตั้ง หรือเมฆพายุฝนฟ้าคะนอง (เมฆคิวมูโลนิมบัส) ที่มีฐานต่า กระแสมวนที่มี ความเร็วสูงนี้จะทาให้กระแสอากาศเป็นลาพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้าหรือย้อยลงมาจากฐานเมฆดูคล้ายกับงวงหรือปล่องยืนลงมา ถ้าถึงพื้นดินก็จะทาความเสียหายแก่บ้านเรือน ต้นไม้ และสิ่งปลูกสร้างได้ สาหรับในประเทศไทยมักจะเกิดกระแสลม วนใกล้ดินเป็นส่วนใหญ่ไม่ต่อเนื่องขึ้นไปจนถึงใต้พื้นฐานเมฆและจะเกิดขึ้นนานๆครั้ง โดยจะเกิดขึ้นในพื้นที่แคบๆ และ ช่วงระยะเวลาสั้นๆ จึงทาให้เกิดความเสียหายได้ในบางพื้นที่


-61.4 ภัยธรรมชำติด้ำนไฟ ไฟป่า (Wildfire) หมายถึง ภัยธรรมชาติที่เกิดจากมนุษย์เป็นส่วนมาก ได้แก่ การเผาหาของ ป่า เผา ทาไร่เลื่อนลอย เผากากัดวัชพืช ส่วนน้อยที่เกิดจากการเสียดสีของต้นไม้แห้ง ผลกระทบจากไฟป่าทาให้เกิดมลพิษใน อากาศมากขึ้น ผงฝุ่น ควันไฟกระจายในอากาศทั่วไป ไม่สามารถลอยขึ้นเบื้องบนได้ มองเห็นไม่ชัดเจน สุขภาพเสื่อม พืชผลการเกษตรด้อยคุณภาพ แหล่งทรัพยากรลดลง (กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม) 1.5 ภัยธรรมชำติ ด้ำนดิน 1.5.1 ภูเขาไฟระเบิด (Volcano) เป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ร้ายแรงอย่างหนึ่ง การเกิดระเบิด ของภูเขาไฟนั้นแสดงให้เห็นว่าใต้ผิวโลกของเราลงไประดับหนึ่งมีความร้อนสะสมอยู่มาก โดยเฉพาะที่เรียกว่า “จุด ร้อน” ณ บริเวณนี้มีหินหลอมละลาย เรียกว่า แมกมา และเมื่อมันถูกพ่นขึ้นมาตามรอยแตกหรือปล่องภูเขาไฟเรา เรียกว่า ลาวา สาเหตุของการเกิดภูเขาไฟระเบิด นักธรณีวิทยาคาดว่ามีการสะสมของความร้อนอย่างมากบริเวณนั้น ทาให้แมกมา ไอน้า และแก๊ส สะสมตัวอยู่มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งก่อให้เกิดความดัน ความร้อนสูง เมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะ ระเบิดออกมา อันตรายความรุนแรงของการระเบิด ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระเบิดรวมทั้งขึ้นอยู่กับความดันของ ไอและความหนืดของลาวา ถ้าลาวาข้นมากๆ อัตราการรุนแรงของการระเบิดจะรุนแรงมากตามไปด้วย เวลาภูเขาไฟ ระเบิดมิใช่มีแต่เฉพาะลาวาที่ไหลออกมาเท่านั้น ยังมีแก๊ส ไอน้า ฝุ่นผงเถ้าถ่านต่างๆ ออกมาด้วย มองเป็นกลุ่มควัน ม้วนลงมา พวกไอน้าจะควบแน่นกลายเป็นน้า นาเอาฝุ่นละอองเถ้าต่างๆ ที่ตกลงมาด้วยกันไหลบ่ากลายเป็นโคลนท่วม ในบริเวณเชิงเขาต่าลงไป (กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม) 1.5.2 แผ่นดินไหว (Earthquakes) หมายถึง การสั่นสะเทือนของพื้นดินอันเกิดขึ้นได้ทั้งจากการ กระทาของธรรมชาติและมนุษย์ ส่วนที่เกิดจากธรรมชาติ ได้แก่ การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก โดยฉับพลันตามแนว ขอบของแผ่นเปลือกโลกหรือตามแนวรอยเลื่อน การระเบิดของภูเขาไฟ การยุบตัวของโพรงใต้ดิน แผ่นดินถล่ม อุกกาบาตขนาดใหญ่ตก เป็นต้น ส่วนที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การระเบิดต่างๆ การทาเหมือง สร้างอ่างเก็บน้าใกล้รอยเลื่อน การทางานของเครื่องจักรกล การจราจร เป็นต้น (กรมอุตินิยมวิทยา) 1.5.3 แผ่นดินถล่ม (Land slides) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติของการสึกกร่อนชนิดหนึ่งที่ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริเวณพื้นที่ที่เป็นเนินสูงหรือภูเขาที่มีความลาดชันมาก เนื่องจากขาดความสมดุลในการ ทรงตัวบริเวณดังกล่าว ทาให้เกิดการปรับตัวของพื้นดินต่อแรงดึงดูดของโลกและเกิดการเคลื่อนตัวขององค์ประกอบ ธรณีวิทยาบริเวณนั้นจากสูงลงสู่ที่ต่า แผ่นดินถล่มมักเกิดในกรณีที่มีฝนตกหนักมากบริเวณภูเขาและภูเขานั้นอุ้มน้าไว้ จนเกิดการอิ่มตัว จนทาให้เกิดการพังทลาย (กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม) สามารถแบ่งประเภทของดินถล่มตาม ลักษณะการเคลื่อนตัวได้ 3 ชนิด คือ 1) แผ่นดินถล่มที่เคลื่อนตัวอย่างช้าๆ เรียกว่า Creep เช่น Surficial Creep 2) แผ่นดินถล่มที่เคลื่อนตัวอย่างรวดเร็ว เรียกว่า Slide หรือ Flow เช่น Surficial Slide 3) แผ่นดินถล่มที่เคลื่อนตัวอย่างฉับพลัน เรียกว่า Fall Rock Fall แผ่นดินถล่มในประเทศส่วนใหญ่มักเกิดภายหลังฝนตกหนักมากบริเวณภูเขาซึ่งเป็นต้นน้าลาธาร บริเวณตอนบนของประเทศซึ่งมีปัจจัยที่ส่งเสริมความรุนแรงของแผ่นดิน ดังนี้ - ปริมาณฝนที่ตกบนภูเขา - ความลาดชันของภูเขา - ความสมบูรณ์ของป่าไม้ - ลักษณะทางธรณีวิทยาของภูเขา ลาดับเหตุการณ์ของการเกิดแผ่นดินถล่ม คือ เมื่อฝนตกหลักน้าซึมลงไปในดินอย่างรวดเร็วในขณะที่ดินอิ่มน้า แรงยึดเกาะระหว่างมวลดินจะลดลง ระดับน้าใต้ผิวดินสูงขึ้น จะทาให้แรงต้านทานการเลื่อนไหลของดินลดลง เมื่อน้า ใต้ผิวดินมีระดับสูงก็จะไหลภายในช่องว่างของดิน ลงตามความลาดชันของลาดเขาเมื่อมีการเปลี่ยนความชัน ก็จะเก อดเป็นน้าผุดเป็นจุดแรกที่มีการเลื่อนไหลของดิน เมื่อเกิดดินถล่มเลื่อนไหลแล้วก็จะเกิดต่อเนื่องขึ้นไปตามลาดเขา


บทที่ 3 ขั้นตอนในกำรจัดกำรภัยธรรมชำติ ก. ขั้นตอนกำรปฏิบัติในสภำวะปกติ 1. กำรเตรียมควำมพร้อมก่อนเกิดภัยในระดับชุมชน 1.1 ระบบเตือนภัยและระบบแจ้งภัย 1) ระบบเตือนภัย หมายถึง วิธีการและขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูลสภาวะอากาศ และสภาพภูมิประเทศ เพื่อนามาประเมินและวิเคราะห์โดยอาจมีการจาลองสถานการณ์ คาดการณ์และพยากรณ์ภัย พิบัติล่วงหน้า เพื่อทราบถึงประเภทของภัย ขนาด ความรุนแรง พื้นที่ที่คาดว่าจะเกิดและระยะเวลาของสถานการณ์ พร้อมทั้งหาแนวทางปฏิบัติที่จะลดผลกระทบจากความเสี่ยงและภัยพิบัติ การเตือนภัยอาจเป็นรูปแบบการเตือนภัยล่วงหน้าในระยะยาวเป็นรายปี รายฤดูกาล ราย เดือน เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เตรียมหา แนวทาง มาตรการและวิธีการในการป้องกันและลดผลกระทบตลอดจน การเตรียมแผนการฟื้นฟูได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม หรืออาจเป็นการเตือนภัยในช่วงสั้นๆ ก่อนเกิดหรือ ระหว่างเกิดภัยพิบัติ เพื่อทาการอพยพออกจากพื้นที่และเตรียมการกู้ภัยและช่วยชีวิตได้ทันการณ์ การเตือนภัยในช่วง สั้นๆ จะต้องมีความแม่นยา ชัดเจนและถูกต้อง 2) ระบบแจ้งภัย หมายถึง การแจ้งและการรับแจ้งข้อมูลซึ่งได้จากข้อมูลการคาดการณ์ สถานการณ์และการพยากรณ์ภัยพิบัติของระบบเตือนภัย รวมทั้งการให้คาแนะนาข่าวสาร การรายงานต่างๆ ที่ เกี่ยวกับภัยหรือภัยพิบัติซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ้นหรือกาลังจะสิ้นสุด การแจ้งภัยมีทั้งการแจ้งภัยล่วงหน้าในระยะยาวเป็น รายปี รายฤดูกาล รายเดือน หรืออาจเป็นการเตือนภัยในช่วงสั้นๆ ก่อนเกิด เป็นรายวัน รายชั่วโมงหรือนาที เพื่อทา การอพยพประชาชนออกจากพื้นที่เสี่ยง ได้ทันเวลาและหาวิธรการลดผลกระทบและช่วยชีวิตได้ทันการณ์ ระบบเตือนภัยและระบบแจ้งภัยที่มีประสิทธิภาพต้องทันต่อสถานการณ์ โดยประชาชนใน พื้นที่เสี่ยงภัยมีโอกาสและเวลาเพียงพอในการเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติหรือมีโอกาสเพียงพอที่จะ ดาเนินการใดๆ เพื่อลดความเสี่ยงและผลกระทบในทางลบที่จะเกิด ระบบเตือนภัยและระบบแจ้งควรดาเนินการผ่าน องค์การ องค์กร สถาบันหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น 1.2 การติดตั้ง ดูแล และรักษาเครื่องมือ อุปกรณ์ในการสื่อสารให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ ตลอดเวลา มีดังนี้ 1) หอเตือนภัยประจาชุมชน ควนมีรัศมีในการส่งสัญญาณได้ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน ควร กาหนดให้ฝ่ายเฝ้าระวังภัยและแจ้งเตือนภัยเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบให้อุปกรณ์อยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา กรณีที่เกิดการชารุดเสียหาย หรือสงสัยว่าจะมีการชารุดเสียหาย ให้ฝ่ายเฝ้าระวังภัยและแจ้งองค์การบริหารส่วนตาบล ทันที ชุมชนควรทาการทดสอบระบบเป็นประจาทุกเดือน 2) ระบบเสียงตามสายในชุมชน เป็นระบบสาหรับใช้ในการแจ้งเตือนให้สมาชิกในชุมชน ทราบว่าจะมีภัยพิบัติเกิดขึ้น ควรกาหนดให้ฝ่ายเฝ้าระวังภัยและแจ้งเตือนภัยเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบให้อุปกรณ์อยู่ใน สภาพดี พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา กรณีที่เกิดการชารุดเสียหาย หรือสงสัยว่าจะมีการชารุดเสียหาย ให้จัดการ ซ่อมแซมทันที และควรมีระบบไฟฟ้าสารองเพื่อให้ระบบใช้งานได้ในกรณีที่ไม่มีไฟฟ้า ควรทาการทดสอบระบบเป็น ประจาทุกเดือน 3) ไซเรนมือหมุนและโทรโข่ง ควรกาหนดให้ฝ่ายเฝ้าระวังภัยและแจ้งเตือนภัยเป็นผู้ดูแล รับผิดชอบใช้อุปกรณ์อยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา ควรทาการทดสอบสภาพแบตเตอรี่และสภาพใช้งานทุก เดือน ควรจัดหาแบตเตอรี่สารองไว้ให้พร้อม 4) นกหวีด คณะกรรมการจัดการภัยพิบัติของชุมชนทุกคนควรมีนกหวีดประจาตัวเพื่อ เป็นอุปกรณ์ใช้ในการแจ้งเตือนภัยพิบัติ ในกรณีที่ไม่สามารถใช้อุปกรณ์อื่นได้ในขณะนั้น 5) วิทยุสื่อสาร ฝ่ายอานวยการควรจัดหาให้มีวิทยุสื่อสารซึ่งชุมชนจาเป็นต้องใช้ในกรณีที่ ไม่มีกระแสไฟฟ้าและการสื่อสารในระบบปกติขัดข้อง และกาหนดตัวบุคคลที่จะใช้งานวิทยุสื่อสารของชุมชน โดยมี การจัดทาบัญชีรายชื่อบุคคลเหล่านั้นพร้อมรายละเอียดการติดต่อ ควรจัดให้มีการสอนหรือฝึกอบรมการใช้อุปกรณ์


-8การใช้ภาษาและบารุงรักษาวิทยุสื่อสารที่ถูกต้องแก่ผู้ครอบครองวิทยุสื่อสารทุกคน กรณีที่เกิดการชารุดเสียหาย หรือ สูญหาย ให้แจ้งคณะอนุกรรมการฝ่ายอานวยการเพื่อดาเนินการซ่อมแซมหรือจัดหามาทดแทน 6) หมายเลขโทรศัพท์พื้นฐานและหมายเลขโทรศัพท์มือถือ คณะอนุกรรมการฝ่าย อานวยการจัดทาบัญชีรายชื่อคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติของชุมชน บุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการ ภัยพิบัติและทาการปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ 1.3 การจัดตั้งทีมค้นหาและช่วยชีวิตของชุมชน 1) ควรมีอย่างน้อย 1-2 ทีม เพื่อรับผิดชอบแต่ละพื้นที่ และควรทาการฝึกซ้อมเป็นประจาทุกปี 2) ผู้ปฏิบัติงานภาคสนามควรให้คาแนะนาแก่ฝ่ายกู้ภัยและช่วยชีวิตในการประสานงาน เพื่อทาการฝึกอบรมให้แก่ทีมค้นหาและช่วยชีวิตให้มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานจริง 3) การเตรียมการ  จัดทารายการ วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ โดยระบุผู้รับผิดชอบและสถานที่เก็บ รักษา พร้อมทั้งวิธีการนามาใช้เมื่อเกิดภัย  จัดทารายการยานพาหนะในชุมชนที่จะใช้ในการอพยพประชาชน  จัดทาบัญชีรายชื่อคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติของชุมชนพร้อมหมายเลข โทรศัพท์  จัดทาบัญชีรายชื่อผู้รับผิดชอบการควบคุมการอพยพ ณ จุดรวมพล  จัดทาบัญชีรายชื่อผู้อพยพโดยแบ่งประเภทของบุคคลตามความเร่งด่วน คือ ผู้ป่วย คนพิการ คนชรา เด็กและสตรี ตามลาดับ  จัดทาบัญชีรายชื่อหน่วยงานและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในชุมชน ในอาเภอและ จังหวัด พร้อมหมายเลขโทรศัพท์  กาหนดตารางในการฝึกอบรมและการซ้อมแผนอพยพหนีภัยรวมถึงความถี่ในการ ฝึกอบรมและซ้อมแผนเฉพาะภายในชุมชนและการซ้อมแผนร่วมกับหน่วยงาน องค์การหรือชุมชนภายนอก  กาหนดเวลาในการปรับปรุงแผน เช่น ทุกๆ ปี หรือทุกครั้งหลังจากการซ้อมแผน และพบว่าแผนไม่ชัดเจนเพียงพอ ไม่ครอบคลุม  กาหนดบทบาทหน้าที่หลักของสมาชิกแต่ละกลุ่มและแต่ละคนให้ชัดเจนและอย่า ให้ซ้าซ้อนกัน เช่น - ทีมงานกู้ภัยและช่วยชีวิตผู้ประสบภัย - ทีอพยพผู้ประสบภัย - ทีมดูแลผู้ประสบภัย - ทีมรักษาพยาบาล  กาหนดจุดรวมพล ที่ผู้เกี่ยวข้องต้องมารวมตัวกัน  กาหนดจุดที่แต่ละทีมต้องเข้าประจาการเพื่อเตรียมช่วยเหลือ  กาหนดจุดปลอดภัย  กาหนดลาดับชั้นการบังคับบัญชาใช้ชัดเจนระหว่างผู้มีหน้าที่ในชุมชน  ควรกาหนดตัวแทนแต่ละภาระหน้าที่ กรณีผู้มีหน้าที่ลาดับแรกไม่อยู่ 2. กำรป้องกันเพื่อลดผลกระทบ ฝ่ายอานวยการควรประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อเตรียมการป้องกัน โดยเฉพาะ ในด้านโครงสร้างพื้นฐาน


-92.1 การตัดกิ่งไม้ก่อนฤดูฝน ย้ายกองกิ่งไม้ ต้นไม้ที่หักระเกะระกะและถูกน้าพัดพามากองไว้ซึ่ง อาจขวางทางเดินของน้า 2.2 การทาความสะอาดขุดลอกคลอง หนองน้า ท่อระบายน้า บ่อบาดาล 2.3 การอพยพประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้า ขวางทางน้าหรือลาห้วยขึ้นไปอยู่บนเนินหรือที่สูง เป็นการชั่วคราว เมื่อมีการคาดการณ์ว่าอาจเกิดฝนตกหนักหรือพายุ 2.4 ประสานกับโครงการชลประทานจัดทาเขื่อนดินหรืออื่นๆ ตามความเหมาะสม 2.5 การร่วมกันปลูกป่าเพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากน้าท่วม 2.6 การก่อสร้างทางพิเศษเพื่อเป็นเส้นทางอพยพ 2.7 การก่อสร้างอาคารหรือสถานที่หลบภัยของชุมชน 2.8 การติดตั้งสายล่อฟ้าบนอาคารสูง 3. กำรให้ข้อมูลข่ำวสำรเพื่อให้ควำมรู้แก่ประชำชน ฝ่ายอานวยการควรประสานกับคณะอนุกรรมการฝ่ายอื่นๆ ในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ ชุมชน ตลอดจนมีการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับภัยประเภทต่างๆ การป้องกัน การลดความ เสี่ยงและการปฏิบัติที่ถูกต้อง เช่น 3.1 การแจ้งเตือนให้ปรุชาชนสารองอาหาร น้า เครื่องดื่มและอุปกรณ์ที่จาเป็นเพื่อเตรียมความพร้อม 3.2 ให้ความรู้แก่เด็ก นักเรียนในการปฏิบัติตน ให้ถูกต้อง โดยใช้เอกสารที่สื่อความหมายง่ายๆ เช่น รูปวาด การ์ตูน การฉายภาพยนตร์ การแสดงโดยให้เด็กคิดเรื่องขึ้นมาเองและให้คณะอนุกรรมการสอดแทรกข้อมูลที่ถูกต้อง ให้แก่เด็ก 3.3 การให้ความรู้แก่ชุมชนผ่านสื่อต่างๆ ในชุมชน เช่น ผ่านทางรายการวิทยุสลับกับรายการบันเทิง ผ่านหอ กระจายข่าว แผ่นพับ ใบปลิว 4. กำรเฝ้ำระวังภัยโดยชุมชนและเครือข่ำย 4.1 ฝ่ายเฝ้าระวังภัยและแจ้งเตือนภัย ควรทาหน้าที่เก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูลสภาวะอากาศและ สภาพภูมิประเทศในชุมชนโดยชุมชนเป็นประจา เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปผนวกกับข้อมูลที่ได้รับจากภาครัฐหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อคาดการณ์สถานการณ์และพยากรณ์ภัยพิบัติในชุมชนและชุมชนใกล้เคียงเป็นการล่วงหน้า การเฝ้าระวัง ภัยโดยชุมชนสามารถใช้วิธีที่ง่ายๆ ค่าใช้จ่ายไม่สูง ใช้ภูมิปัญญาและทรัพยากรในท้องถิ่น ชุมชนดาเนินการเองได้และ ให้ผลที่ไม่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงมากนัก ตัวอย่างเช่น 1) การตรวจวัดระดับน้าในลาคลองหรือแม่น้าโดยใช้ไม้วัดระดับ 2) เครื่องวัดปริมาณน้าฝนประจาหมู่บ้าน 3) ผู้ปฏิบัติงานภาคสนามควรแนะนาและส่งเสริมให้สมาชิกทุกคนในชุมชนช่วยกันเฝ้าระวังภัย โดย การสังเกตสัญญาณเตือนภัยธรรมชาติ ซึ่งเป็นระบบการพยากรณ์และคาดการณ์สถานการณ์ในระดับชุมชนอีกอย่าง หนึ่งที่เราอาจมองข้ามหรือนึกไม่ถึง และเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนรุ่นปู่ย่า ตายาย ที่เราไม่ควรดูถูกหรือมองข้าม ไม่ ว่าจะเป็นการสังเกตสีของท้องฟ้าเวลาจะเกิดพายุ การอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ก่อนเกิดพายุ เช่น มด นก สัตว์ป่าต่างๆ การสังเกตทิศทางและลักษณะของลมและใบไม้ การสังเกตเสียงร้องของสัตว์บางประเภท เช่น เสียงนกร้องเป็นเสียง แหลมก่อนเกิดพายุ การสังเกตสีของน้าทะเลหรือของแม่น้าที่ผิดปกติระดับน้าในทะเลที่ลดลงผิดปกติ การสังเกต พฤติกรรมของสัตว์หลายชนิดที่มีการรับรู้ถึงภัยก่อนเกิดแผ่นดินไหว เช่น สัตว์เลี้ยงต่างๆ จะเกิดการตานตกใจ วิ่งออก จากที่อยู่อาศัย แมลงสาบจะออกมาวิ่งเพ่นพ่าน หรือการที่ปลากระโดดขึ้นเหนือน้า การสังเกตการเปลี่ยนแปลงของน้า ในบ่อน้าก่อนเกิดแผ่นดินไหว ได้แก่ น้าขุ่นขึ้น มีการหมุนวนของน้า ระดับน้าเปลี่ยนแปลง มีฟองอากาศและรสขม เป็นต้น ภูมิปัญญาท้องถิ่นเหล่านี้อาจนามาผนวกใช้กับวิทยาการสมัยใหม่ได้โดยเฉพาะในระดับชุมชน หากมีสิ่งบอก เหตุต่างๆ เหล่านี้ให้สมาชิกรีบแจ้งไปยังคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติของชุมชนทันที 4.2 ข่าวสารข้อมูลต่างๆ เหล่านี้ ชุมชนควรนามาพิจารณาร่วมกับข้อมูลความเสี่ยง ข้อมูลข่าวสารการ พยากรณ์สถานการณ์จากข้อมูลของศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน เพื่อช่วยให้ชุมชน


-10สามารถวิเคราะห์สถานการณ์และความเป็นไปได้ที่จะเกิดภัยพิบัติและทาการแจ้งเตือนได้ทันการณ์ ชุมชนสามารถ ติดต่อและเข้าถึงแหล่งข้อมูลสภาวะอากาศเหล่านี้ได้ 5. กำรแจ้งเตือนภัยและกำรกระจำยข่ำวสำร 5.1 การแจ้งเตือนภัยและกระจายข่าวสารทุกครั้งควรอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลเสี่ยงภัย การประเมินความ เสี่ยง และการพยากรณ์สถานการณ์ที่ได้จากระบบเตือนภัยในชุมชน ผนวกกับข้อมูลจากส่วนราชการ และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง โดยมีการประชุมปรึกษาหารือระหว่างคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติของชุมชน เพื่อตกลงและตัดสินใจทา การกระจายข่าวสารการแจ้งเตือนภัยและแนะนาการปฏิบัติตนที่ปลอดภัยแก่ชุมชนของตน 5.2 คณะอนุกรรมการฝ่ายเฝ้าระวังภัยและแจ้งเตือนภัยควรกาหนดและมอบหมายผู้ที่จะทาหน้าที่ประกาศ ข่าวฉุกเฉินและการแจ้งเตือนภัยไว้อย่างน้อย 2 คน เพื่อสามารถปฏิบัติงานได้ในภาวะแกแน และควรมีการกาหนดจุด ที่จะรวมพลของคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติของชุมชน ในกรณีที่มีการแจ้งเตือนภัยพิบัติ 5.3 ผู้ปฏิบัติงานภาคสนามควรให้คาแนะนาแก่กรรมการและสมาชิกในชุมชน 5.4 ในแต่ละชุมชนนั้นผู้ปฏิบัติการภาคสนามและชุมชนควรต้องศึกษา สารวจและประยุกต์ใช้เครื่องมือ ยานพาหนะและทรัพยากรที่มีในชุมชน 5.5 การแจ้งเตือนภัยในชุมชนสามารถทาได้หลายวิธี เช่น  การจัดตั้งเครือข่ายวิทยุชุมชน  การส่งสัญญาณเตือนภัยหอสังเกตการณ์ หรือหาเตือนภัยและหอกระจายข่าวในชุมชน  การกระจายข่าว โดยใช้เครื่องขยายสียงติดตั้งบนรถบรรทุก  การขอความร่วมมือกับสื่อมวลชนภาครัฐและเอกชน  การติดตั้งสัญญาณเตือนภัย  การใช้โรงเรียนและนักเรียนเป็นศูนย์กลางในการเก็บข้อมูล  การแจ้งข่าวโดยใช้โทรศัพท์  วิธีพื้นฐานที่ยังคงต้องใช้และเป็นวิธีที่ได้ผลดี คือการเคาะประตูแจ้งเตือนภัยทีละบ้าน 5.6 ขั้นตอนในการแจ้งเตือนภัยมีดังนี้ 1) เมื่อได้รับทราบการเกิดภัยพิบัติ ให้ตรวจเช็คข้อมูลให้แน่นอน 2) เฝ้าระวังภัยและแจ้งเตือนภัยเรียกประชุมผ่านเสียงตามสาย 3) ออกประกาศแจ้งเตือนผ่านสียงตามสาย 4) ทุกฝ่ายร่วมประเมินสถานการณ์ 5) หากแน่ชัดจากการตรวจสอบข้อมูล ให้ประกาศเตือนประชาชนผ่านเสียงตามสาย 6. กำรเตรียมควำมพร้อมในระดับครอบครัว 6.1 แผนอพยพหนีภัยประจาครอบครัว เตรียมความพร้อมเพื่อรับมือต่อสถานการณ์ฉุกเฉินในชุมชนจะมี ประสิทธิภาพ อันดับแรก หากครอบครัวแต่ละครอบครัวเข้าใจและร่วมมือเตรียมความพร้อมเพื่อช่วยเหลือตนเองให้ มากที่สุด ชุมชนก็จะได้รับผลกระทบจากความเสี่ยงน้อยที่สุด ดังนั้น อันดับแรกแต่ละครอบครัวควรนาแผนการจัดการ ในภาวะฉุกเฉินมาทาความเข้าใจร่วมกับ ในประเด็นต่อไปนี้  วางแปลนบ้าน และจุดสาคัญอย่างคราวๆ  สอบถามข้อมูลคณะกรรมการภัยพิบัติของชุมชนว่าที่ตั้งบ้านอยู่ในจุดเสี่ยงภัยหรือไม่  กาหนดการหนีภัยอย่างน้อย 2 จุด  สาเนา และติดไว้ที่ผนังในระดับสายตาเด็กทุกห้อง  กาหนดนัดและจุดทีส่ มาชิกในบ้านต้องมาร่วมตัวกัน  ต้องอพยพหนีภัย เมื่อได้ยินเสียงเตือนภัย


-11 มีแผนที่จุดปลอดภัย เส้นทางหนี้ภัยของชุมชน  เตรียมช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างสมาชิกในครัวเรือน  ศึกษาการปิดเครื่องมือ เครื่องใช่ไฟฟ้า แก๊ส ให้ถูกต้อง  เก็บรักษาเครื่องใช้ที่จาเป็น  ทารายการสิ่งของจาเป็นที่นาติดตัวไปด้วย  หาที่พักพิงชั่วคราว เช่น บ้านญาติ บ้านเพื่อน  ดูแลสัตว์เลี้ยง 6.2 การเตรียมกักเก็บน้าสะอาด  เก็บน้าสะอาดใส่ถัง หรือแท็งก์น้า ปิดให้มิดชิด พอใช้อย่างน้อย 1 – 2 สัปดาห์  ปิดวาล์วน้าในบ้าน เพื่อป้องกันการปนเปื้อน  เตรียมถุงยังชีพประจาครอบครัว และสถานที่เก็บถุงยังชีพ 6.3 การเตรียมกักตุนอาหารแห้ง  เตรียมอาหารแห้งที่จาเป็น  หากจาเป็นต้องอพยพ ควรเก็บอาหารโดยห่อหุ้มด้วยพลาสติก 6.4 การเตรียมถุงยังชีพประจาครอบครัว  อาหารกระป๋องหรืออหารแห้ง  น้าดื่ม สาหรับดื่ม 2-3 วัน  ไฟฉาย ไฟแช็ค ไม้ขีดไฟ เทียนไข วิทยุกระเป๋าหิ้ว  อุปกรณ์การปฐมพยาบาลเบื้อต้น  นกหวีด  เสื้อผ้า 1 -2 ชุด  รองเท้าใส่สบายๆ  ที่เปิดปลากระป๋อง  สาเนาบัตรประชาชน สาเนาทะเบียนบ้าน โฉนดที่ดิน และใบสาคัญต่างๆ  เงินสด  ยาประจาตัว แว่นตา  ของจาเป็นสาหรับทารก 6.5 ที่เก็บถุงยังชีพ  ที่บ้าน  ที่ทางาน  ในรถ 6.6 การเก็บรักษาถุงยังชีพ  เก็บรักษาในที่แห้ง  อาหารกระป๋อง ช้อน มีด ควรห่อหุ้มด้วยพลาสติก  ตรวจเช็คของที่บรรจุในถุงยังชีพเป็นประจาทุก 6 เดือน  วางของใหม่ไว้ด้านล่างสุด  ปรึกษาหารือกันในครอบครัวปีละครั้ง  นาสิ่งของบรรจุในถุงพลาสติก


-126.7

การเก็บรักษาข้าวของเครื่องใช้ ขณะที่จาเป็นต้องอพยพจากที่อยู่อาศัย  เก็บข้าวของไว้ที่สูง  ห่อหุ้มข้าวของเครื่องใช้บางประเภทที่อาจเสียหาย 6.8 การติดต่อสื่อสารระหว่างสมาชิกในครอบครัว  สมาชิกทาการตกลงว่าจะติดต่อกันอย่างไร  จัดทารายชื่อ รายละเอียดในการติดต่อ 6.9 การปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า  ขณะเกิดภัยควรปิดอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า แก๊ส ทั้งหมด  ปิดอุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าจดย่อยทีละจุด 6.10 การเตรียมการสาหรับผู้พิการ ผู้ป่วย และคนชรา  ทาทางลาดพิเศษ  มีวิธีแจ้งเตือนภัยสาหรับผู้พิการทางการได้ยิน ผู้พิการซ้าซ้อน  ทาที่พักหลบภัยชั่วคราว  การช่วยเหลือ ต้องทาในรูปแบบเครือข่ายภายในชุมชน  ทารายการยา และอาหาร 6.11 การช่วยเหลือสัตว์เลี้ยงในภาวะฉุกเฉิน  ฉีดวัคซีนป้องกันโรค  วางแผนเตรียมจัดหาสถานที่ปลอดภัย  เตรียมยานพาหนะ  เตรียมอาหารและอุปกรณ์ที่จาเป็น  กรณีไม่อพยพสัตว์เลี้ยง ชุมชนควรพิจารณาว่าจะขังสัตว์ไว้ที่ไหน 7. กำรฝึกซ้อมแผนกำรจัดกำรควำมเสี่ยงจำกภัยพิบัติ 7.1 ประชุมเตรียมความพร้อมคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้อง 7.2 จัดทาสถานการณ์สมมุติ 7.3 จัดทาขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติภาคสนาม 7.4 ประชุมพิจารณาแผนงานและงบประมาณ 7.5 ประชุมเตรียมความพร้อมผู้เกี่ยวข้อง 7.6 ฝึกซ้อมย่อย ตามขั้นตอน และวิธีฝึกปฏิบัติ 7.7 ฝึกซ้อมใหญ่ 7.8 ฝึกซ้อมจริง 7.9 หลังฝึกซ้อม มีการประชุมสรุป ประเมินผล ข. ขัน้ ตอนกำรปฏิบัติขณะเกิดภัยธรรมชำติ 1. กำรเตรียมกำรอพยพ 1.1 ฝ่ายอพยพหนีภัย พร้อมด้วยทีมงานกู้ภัยช่วยชีวิต ทีมอพยพ ทีมดูแล ทีมรักษารวมตัวกัน ณ จุดรวมพล 1.2 ผู้ที่ได้รับมอบหมายทาหน้าที่ประกาศข่าวฉุกเฉิน และแจ้งเตือน 1.3 ทีมกู้ภัย ทีมอพยพ ทีมดูแล และทีมรักษาพยาบาล เข้าประจาตามจุดที่กาหนด 2. กำรอพยพหนีภัย 2.1 ขั้นตอนการอพยพหนีภัยมีดังนี้


-132.1.1 เมื่อมีประกาศ หรือสัญญาณเตือนภัยให้เตรียมอพยพหนีภัย เตรียมถุงยังชีพ ของใช้จาเป็น ยารักษาโรค 2.1.2 ติดตามฟังประกาศทุกระยะ 2.1.3 ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าและเครื่องใช้ที่ต้องใช้แก๊ส 2.1.4 ผูกมัดของใหญ่ๆ ให้แน่นหนา เช่น ตู้ โต๊ะ 2.1.5 ควรเน้นย้าให้สมาชิกทุกคนระลึกเสมอว่า เมื่อมีประกาศ สิ่งแรกที่ทาคือ ตั้งสติ ไม่ตื่น ตระหนก ให้ปฏิบัติตามแผนและเส้นทางอพยพ โดย  จัดลาดับการอพยพตามความสาคัญเร่งด่วน  หากไม่สามารถอพยพได้ด้วยตนเองควรประสานไปยังศูนย์อพยพของหมู่บ้าน  เมื่ออพยพถึงจุดหมายปลายทาง ให้ตรวจสอบรายชื่อ และจานวนผู้อพยพว่าครบหรือไม่ 3. ช่องทำงติดต่อสื่อสำรในภำวะฉุกเฉิน 3.1 ขั้นตอน วิธีการ และรายละเอียด ช่องทางติดต่อสื่อสาร ได้แก่ ข้อมูลสาหรับติดต่อทีมกู้ภัย ข้อมูล ติดต่อสมาชิกชุมชน ข้อมูลติดต่อหน่วยงานภายนอก การจัดหาหรือจัดทาที่พักอาศัยชั่วคราว 3.2 เตรียมแหล่งพลังงานสารองกรณีไฟฟ้าถูกตัด เช่น ไฟฉาย ตะเกียง 4. คู่มือและขั้นตอนสำหรับปฏิบัติในภำวะฉุกเฉิน 4.1 จัดทาและแจกจ่ายสมาชิกให้ทั่ว 4.2 ในคู่มือระบุรายละเอียดสาหรับสมาชิกแต่ละคน 4.3 จัดทาแผนที่จุดปลอดภัย ค. ขั้นตอนกำรปฏิบัติหลังกำรเกิดภัย 1. กำรจัดตั้งศูนย์บรรเทำทุกข์ 1.1 จัดตั้งศูนย์บรรเทาทุกข์ชั่วคราว 1.2 ฝ่ายบรรเทาทุกข์จัดหาอาหาร น้าดื่ม เครื่องนุ่งห่ม และปัจจัยที่จาเป็น 1.3 ศูนย์บรรเทาทุกข์เป็นศูนย์กลางในการแจ้ง และประชาสัมพันธ์ 1.4 จัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูสุขภาพจิตผู้ประสบภัย 2. กำรค้นหำและช่วยเหลือ 2.1 ทีมกู้ภัย ดาเนินการค้นหา และช่วยเหลือผู้ประสบภัยร่วมกับสมาชิกในชุมชน 2.2 ทีมปฐมพยาบาลร่วมทีมกู้ภัย ทาการช่วยเหลือผู้ประสบภัยเบื้องต้นก่อนส่งไปสถานพยาบาล 3. กำรตรวจนับจำนวนผู้เสียหำยและจำนวนผู้เสียชีวิต 3.1 ตรวจนับจานวนผู้เสียหายและจานวนผู้เสียชีวิต รายงานให้นายอาเภอเพื่อดาเนินการต่อไป 3.2 ทาการซ่อมแซมเร่งด่วน โดยใช้วัสดุเท่าที่มีและทาได้ 3.3 ทาการสารวจรายชื่อผู้ประสบภัย ผู้เสียชีวิต และความเสียหาย 4. กำรอพยพกลับมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 4.1 หลังจากที่มีการประกาศว่าสถานการณ์ได้คลี่คลายหรือกลับสู่สภาพปกติ ให้แจ้งผู้ประสบภัยทราบ 4.2 ประเมินความปลอดภัยและตรวจสอบสถานการณ์ความเสียหายว่าสามารถอพยพกลับถิ่นฐานได้หรือไม่ 4.3 หากตรวจสอบแน่ชัดว่าปลอดภัย ให้นาผู้ประสบภัยกลับบ้านอย่างปลอดภัย


-14-

แผนรับมือกับภัยธรรมชำติ

แผนเฝ้าระวัง

แผนเตือนภัย

แผนเผชิญเหตุ

แผนอพยพเคลื่อนย้าย

กลับสู่สภาพ

แผนฟื้นฟู

แผนสารวจ

แผนบรรเทา

ปกติ

บูรณะเยียวยา

ความ

ทุกข์

เสียหาย แผนอพยพเคลื่อนย้าย

ครัวชุมชน


-15ง. ตัวอย่ำงกำรจัดทำเอกสำรต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 1) กำรทำบัญชีจัดเก็บ วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ ที่

รำยกำร

จำนวน

สถำนที่จัดเก็บ

1 2 3 4 5 6 7 8

เครื่องสูบน้า ขนาดท่อส่ง 8 นิ้ว เครื่องสูบน้า ขนาดท่อส่ง 12 นิ้ว รถเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาด 200 กิโลวัตต์ เรือท้องแบนพร้อมเครื่องยนต์ เรือยางพร้อมเครื่องยนต์ เครื่องขยายเสียง ขนาด 1,000 วัตต์ ลาโพงขยายเสียง ปากฮอร์น โทรโข่ง

1 1 1 3 1 10 1 2

ศาลาอเนกประสงค์ นาย….. ศาลาอเนกประสงค์ นาย..... ศาลาอเนกประสงค์ นาย.... ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์

9 10 11 12 13 14 15 16 17

สายโทรศัพท์ใช้งานเดินเสียงตามสาย วิทยุรับ-ส่ง (Walkie-Talkie) เรือพาย ไฟเบอร์กลาส ไม้พาย ไฟฉายฮาโลเจนชาร์ทแบตเตอรี่ ไฟฉายใช้ถ่านอัลคาไลน์ เสื้อชูชีพ เตียงภาคสนามสาหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วย เชือกนิรภัย

5 10 1 5 10 10 20 1 10

ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์ ศาลาอเนกประสงค์

2) ตัวอย่ำงแบบสำรวจยำนพำหนะเพื่อเตรียมกำรอพยพประชำชน ที่ ประเภทยำนพำหนะ ชื่อ-นำมสกุล รถบรรทุก รถปิกอัพ รถโดยสำร เจ้ำของ 1 กระบะ 2 ปิกอัพ 3 ปิกอัพ 4 รถเก๋ง 5 รถเก๋ง 6 ปิกอัพ

ผู้รับผิดชอบ

จำนวนที่บรรทุกได้ (คน) 10 10 10 10 5 5

หมำย เหตุ ระบุให้ ชัดเจน ว่า ติดต่อ ใคร กรณีที่ ติดต่อ นาย..... ไม่ได้ ระบุให้ ชัดเจน ว่า ติดต่อ ใคร กรณีที่ ติดต่อ นาย..... ไม่ได้

หมำยเหตุ


-163) ตัวอย่ำงกำรจัดเตรียมบัญชีรำยชื่อคณะกรรมกำร คณะกรรมกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยหมู่บ้ำน 1 นาย .................................................. ประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 2 นาย .................................................. รองประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 3 นาย .................................................. รองประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 4 นางสาว ........................................... เลขานุการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 5 นาง .................................................. รองเลขานุการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 6 นาง .................................................. เหรัญญิก เบอร์โทรศัพท์.......................... 7 นาง .................................................. ปฏิคม เบอร์โทรศัพท์.......................... คณะอนุกรรมกำรฝ่ำยประชำสัมพันธ์ 1 นาย .................................................. ประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 2 นาง .................................................. กรรมการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 3 กรรมการควรมีจานวน 5 - 10 คน เบอร์โทรศัพท์.......................... คณะอนุกรรมกำรฝ่ำยกู้ภัยและช่วยชีวิต 1 นางสาว ............................................. ประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 2 นาย .................................................. กรรมการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 3 กรรมการควรมีจานวน 5 - 7 คน เบอร์โทรศัพท์.......................... คณะอนุกรรมกำรฝ่ำยอำนวยกำร 1 นาย ................................................. ประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 2 นาย .................................................. กรรมการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 3 กรรมการควรมีจานวน 5 - 7 คน เบอร์โทรศัพท์.......................... คณะอนุกรรมกำรฝ่ำยเฝ้ำระวัง 1 นาย ................................................. ประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 2 นาย .................................................. กรรมการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 3 กรรมการควรมีจานวน 3 - 5 คน เบอร์โทรศัพท์.......................... คณะอนุกรรมกำรฝ่ำยสำธำรณสุข 1 นาย ................................................. ประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 2 นาง .................................................. กรรมการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 3 กรรมการควรมีจานวน 5 - 8 คน เบอร์โทรศัพท์.......................... คณะอนุกรรมกำรฝ่ำยอพยพและหนีภัย 1 นาย ................................................. ประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 2 นาย .................................................. กรรมการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 3 กรรมการควรมีจานวน 5 - 7 คน เบอร์โทรศัพท์.......................... คณะอนุกรรมกำรฝ่ำยรักษำควำมปลอดภัย 1 นาย ................................................. ประธาน เบอร์โทรศัพท์.......................... 2 นาย .................................................. กรรมการ เบอร์โทรศัพท์.......................... 3 กรรมการควรมีจานวน 5 - 6 คน เบอร์โทรศัพท์..........................


-185) ตัวอย่ำงกำรจัดทำบัญชีรำยชื่อผู้รับผิดชอบควบคุมกำรอพยพ จุดเตรียมอพยพ 1. แพไต้

ผู้ควบคุม 1.นาย..................... 2.นาง.....................

2. ศาลาอเนกประสงค์

1.นาย..................... 2.นาง.....................

3. วัด

1.นาย..................... 2.นาง.....................

4. มัสยิด

1.นาย..................... 2.นาง.....................

5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน

1.นาย..................... 2.นาง.....................

6. ศูนย์เรียนรู้

1.นาย..................... 2.นาง.....................

7. โรงเรียน

1.นาย..................... 2.นาง.....................


คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษำ นางสายพิรุณ นางประนอม นายมานัส นายวิเชียร

น้อยศิริ ประทานชวโน สุขรุ่งรุ่งเรือง ตรีณาวงษ์

พัฒนาการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน

นางประนอม ประทานชวโน นางสาววรรณพร ลาภเกิน จ.ส.อ.ฬัฐฤกษ ยนต์ภักดี นางนิรดา สงวนคัมธรณ์

หัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ

คณะทำงำน

ผู้เขียนและเรียบเรียง นางนิรดา

สงวนคัมธรณ์

นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ

สงวนคัมธรณ์

นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ

ปกและรูปเล่ม นางนิรดา


-1๗4) การจัดทาแผนผังระบบเตือนภัยหมู่บ้าน ประชาชน (พื้นที่เสี่ยงภัย)

ไซเรนประจาหมู่บ้าน

หอกระจายข่าว

กานัน/อบต.

โทรฯ/วิ่ง

สั่งการ

ผู้สังเกตการณ์ เกิดสิ่งบอกเหตุ

ผู้ใหญ่บ้าน

ผู้ใหญ่บ้าน

ผู้ใหญ่บ้าน โทรฯ/วิ่ง

ผู้ช่วย

สารวัตร

เตรียมสรรพกาลัง

แพทย์ประจาตาบล

เจ้าหน้าที่ อบต.


-19-

การจัดทาผังระบบเตือนภัยหมู่บ้าน


ภาคผนวก


ตารางการประชุมส่งเสริมและสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ชมุ ชนในการจัดการความรู้เพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติ และพัฒนาคุณภาพชีวิต วันที่ เวลา 08.00 - 09.00 น.

09.00 - 10.30 น.

10.45 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 น.

13.00 - 14.30 น.

- ลงทะเบียน/รับเอกสาร แนวทางการดาเนินงาน สถานการณ์ภัยธรรมชาติ รับประทานอาหาร แนวทางการรับมือกับ - พิธีเปิด ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพือ่ รับมือ และผลกระทบต่อ กลางวัน ภัยธรรมชาติ กับภัยธรรมชาติ ประชาชนและชุมชน

หมายเหตุ อาหารว่างเช้า เวลา 10.30 - 10.45 น. อาหารว่างบ่าย เวลา 14.30 - 14.45 น.

14.45 - 16.00

16.00 - 16.30 น.

แผนรับมือกับภัยธรรมชาติ

- มอบหมายภารกิจ - สรุปการประชุม


แผนการสอนโครงการส่งเสริมและสนับสนุนศูนย์เรียนรูช้ ุมชนในการจัดการความรูเ้ พื่อรับมือกับภัยธรรมชาติ และพัฒนาคุณภาพชีวิต หัวข้อวิชา 1. แนวทางการดาเนินงานศูนย์ เรียนรูช้ มุ ชนเพื่อรับมือกับ ภัยธรรมชาติ เวลา 09.00-10.30 น. 1.30 ชั่วโมง

ระยะเวลา วิธีการ 15 นาที 1. นาเข้าสู่บทเรียน โดยการซักถามเกี่ยวกับ ที่ผ่านมางศูนย์เรียนรูช้ มุ ชนมีการดาเนินกิจกรรม อะไรบ้าง คณะกรรมการมีกี่คน มีการแบ่งหน้าที่ กันอย่างไร ฯลฯ 45 นาที 2. บรรยายประกอบสื่อ มีประเด็น เนื้อหา ดังนี้ - ทบทวนเรือ่ งการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้ ชุมชน ได้แก่ ความเป็นมาของศูนย์เรียนรูช้ มุ ชน , หลักการสาคัญของศูนย์, ภารกิจของศูนย์, องค์ประกอบของศูนย์ - วัตถุประสงค์ของศูนย์เรียนรูช้ มุ ชนในการจัด การความรูเ้ พื่อรับมือกับภัยธรรมชาติ และ พัฒนาคุณภาพชีวิต - แนวทางการดาเนินงานศูนย์เรียนรูช้ มุ ชน เพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติ (แยกตามประเภท งบประมาณที่ได้รับ ได้แก่ ศูนย์เรียนรูช้ มุ ชน สมบูรณ์แบบ,ศูนย์เรียนรูช้ มุ ชนที่ประสบอุทก ภัย และศูนย์เรียนรูช้ มุ ชนที่ไม่ประสบอุทกภัย 15 นาที 3. ผู้ดาเนินการสรุปบทเรียนจากเนื้อหา ที่ได้ ว่ามีขั้นตอน กระบวนการที่จะต้องไปดาเนินการ ศูนย์เรียนรูว้ ่ามีอะไรบ้าง

เป้าหมาย - เพื่อซักซ้อมแนวทางการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้ ดาเนินงานศูนย์เรียนรูช้ มุ ชน - เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการดาเนิน งานศูนย์เรียนรูช้ มุ ชนในการจัดการความรูเ้ พื่อ รับมือกับภัยพิบัติ

สื่ออุปกรณ์ - Power Point 1


หัวข้อวิชา 2.สถานการณ์ภัยธรรมชาติและผล กระทบต่อประชาชน และชุมชน เวลา 10.45-12.00 นง 1.15 ชั่วโมง

ระยะเวลา วิธีการ เป้าหมาย 20 นาที 1. นาเข้าสู่บทเรียนโดยการฉายภาพเหตุการณ์ - เพื่อให้นึกถึงสถานการณ์ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น ภัยธรรมชาติ สรุปภาพรวมภัยธรรมชาติเชื่อมโยงมา กับชุมชน ว่าส่งผลกระทบอย่างไรบ้างต่อชีวิต ถึงสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา ความเป็นอยู่ของคนในชุมชน 10 นาที 2. ผู้ดาเนินการอธิบายรายละเอียดของการแบ่งกลุ่ม - แบ่งผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม - ให้เลือก ประธาน เลขานุการ และผู้นาเสนอ - เวลาการแบ่งกลุ่ม ระดมสมอง 30 นาที - เวลานาเสนอกลุ่มละ 5 นาที - มอบคาถามพร้อมอธิบายคาถามให้ผู้เข้าประชุม ได้เข้าใจคาถาม ดังนี้ - ในช่วงที่เกิดอุทกภัยสถานการณ์เป็นอย่างไร บ้าง พวกเรามีความลาบากในเรือ่ งใดบ้าง ใครได้รับ ผลกระทบอย่างไร 30 นาที 3. ให้ผู้เข้าประชุมระดมสมองตามประเด็นคาถาม 15 นาที 4. ผู้เข้าประชุมนาเสนอผลจากการระดมสมอง 15 นาที 5. ผู้ดาเนินการสรุปผลการนาเสนอสถานการณ์ ของแต่ละกลุ่มเป็นภาพรวม

สื่ออุปกรณ์ - Power Point 2 - ใบมอบงานที่ 1 - กระดาษฟลิปชาร์ท - ปากกาตราม้า


หัวข้อวิชา 3. แนวทางการรับมือกับภัย ธรรมชาติ เวลา 13.00-14.30 น. 1.30 ชั่วโมง

ระยะเวลา วิธีการ เป้าหมาย 20 นาที 1. ผู้ดาเนินการนาเขาสู่บทเรียน โดยกล่าวถึงผล - เพื่อค้นหาแนวทาง วิธีการ ในการรับมือกับ จากการแบ่งกลุ่มระดมสมองไปเมื่อชั่วโมงที่ผ่านมา ภัยธรรมชาติของชุมชน ว่าเกิดเหตุการณ์อะไรบ้านในชุมชนเมื่อเกิดภัย ธรรมชาติในปีที่ผ่านมา 10 นาที 2. ผู้ดาเนินการอธิบายรายละเอียดของการแบ่งกลุ่ม - แบ่งผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม - ให้เลือก ประธาน เลขานุการ และผู้นาเสนอ - เวลาการแบ่งกลุ่ม ระดมสมอง 30 นาที - ให้ทุกกลุ่มสรุปผลจากการระดมสมองร่วมกัน ใช้เวลา 15 นาที - มอบคาถามพร้อมอธิบายคาถามให้ผู้เข้าประชุม ได้เข้าใจคาถาม ดังนี้ - ถ้าเกิดอุทกภัยขึ้นในปีนี้ ท่านจะมีแนวทาง ในการรับมือกับอุทกภัยอย่างไร 30 นาที 3. ให้ผู้เข้าประชุมระดมสมองตามประเด็นคาถาม 15 นาที 4. ผู้เข้าประชุมนาเสนอผลจากการระดมสมอง มาสรุปร่วมในเวทีใหญ่ โดยส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน จะได้ภาพรวมแนวทางในการรับมือกับภัย ธรรมชาติของชุมชนนั้น 15 นาที 5. ผู้ดาเนินการสรุปผลแนวทางการรับมือกับภัย ธรรมชาติของชุมชนนั้น

สื่ออุปกรณ์ - ใบมอบงานที่ 2 - กระดาษฟลิปชาร์ท - ปากกาตราม้า


หัวข้อวิชา 4. แผนรับมือกับภัยธรรมชาติ เวลา 14.45-16.00 น. 1.15 ชั่วโมง

ระยะเวลา วิธีการ เป้าหมาย 10 นาที 1. ผู้ดาเนินการนาเข้าสู่บทเรียนโดยฉายภาพ - เพื่อจัดทาแผนรับมือกับภัยธรรมชาติของชุมชน กิจกรรมก่อนเกิดภัยธรรมชาติ และกิจกรรมหลังเกิด ภัยธรรมชาติให้ผู้เข้าประชุมได้เห็นกระบวนการ ขั้นตอนทั้งก่อน และหลังเกิดภัยธรรมชาติ 5 นาที 2. ผู้ดาเนินการอธิบายรายละเอียดของการแบ่งกลุ่ม - แบ่งผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม - ให้เลือก ประธาน เลขานุการ และผู้นาเสนอ - เวลาการแบ่งกลุ่ม ระดมสมอง 30 นาที - ให้ทุกกลุ่มสรุปผลจากการระดมสมองร่วมกัน ใช้เวลา 20 นาที - อธิบายโมเดลแผนการรับมือกับธรรมชาติต่างๆ แล้วมอบคาถามให้กลุ่มละ 1-2 แผนใช้คาถาม ดังนี้ - แผน......ที่ได้รับมอบหมายมี แนวทาง วิธีการ ขั้นตอนการดาเนินงานอย่างไร มีองค์ ประกอบอะไร และมีบุคคลใดเกี่ยวข้อง 30 นาที 3. ให้ผู้เข้าประชุมระดมสมองตามประเด็นคาถาม 15-20 นาที 4. ผู้เข้าประชุมนาเสนอผลจากการระดมสมอง มาสรุปร่วมในเวทีใหญ่ โดยส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน จะได้ภาพรวมแนวทางในการรับมือกับภัย ธรรมชาติของชุมชนนั้น 10 นาที 5. ผู้ดาเนินการสรุปผลแนวทางการรับมือกับภัย ธรรมชาติของชุมชนนั้น

สื่ออุปกรณ์ - Power Point 3 - ใบมอบงานที่ 3 - กระดาษฟลิปชาร์ท - ปากกาตราม้า


ใบมอบงานที่ 1  ระยะเวลา 1.15 ชั่วโมง  เทคนิควิธีการที่ใช้ 1. สื่อวีดีทัศน์ 2. แบ่งกลุ่ม ระดมสมอง (Brain Stroming) 3. แผนที่ความคิด (Mind Map)  สื่ออุปกรณ์ Power Point ภาพธรรมชาติที่เกิดขึ้น กระดาษฟลิปชาร์ท ปากกาตราม้า ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. แบ่งผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสม 2. ให้เลือก ประธาน เลขานุการ และผู้นาเสนอ 3. มอบคาถามพร้อมอธิบายคาถามให้ผู้เข้าประชุมได้เข้าใจคาถาม ดังนี้ - ในช่วงที่เกิดอุทกภัยสถานการณ์เป็นอย่างไรบ้าง พวกเรามีความลาบากในเรื่องใดบ้าง ใครได้รับผลกระทบอย่างไร 4. ให้ผู้เข้าประชุมระดมสมองตามประเด็นคาถาม 30 นาที 5. ผู้เข้าประชุมนาเสนอผลจากการระดมสมอง กลุ่มละ 5 นาที 6. ผู้ดาเนินการสรุปผลการนาเสนอสถานการณ์ 15 นาที ในรูป Mind Map


บ้านเรือนที่อยู่ ระหว่างเกิดอุกภัย

หลัง สถานการณ์อุทกภัย

อื่นๆ คน พื้นที่ทากิน

ในพื้นที่

อุทกภัย สงบลง ลง

คน

พื้นที่ทากิน


ใบมอบงานที่ 2  ระยะเวลา 1.30 ชั่วโมง  เทคนิควิธีการที่ใช้ 1. แบ่งกลุ่ม ระดมสมอง (Brain Stroming) 2. แผนที่ความคิด (Mind Map)  สื่ออุปกรณ์ กระดาษฟลิปชาร์ท ปากกาตราม้า ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. แบ่งผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสม 2. ให้เลือก ประธาน เลขานุการ และผู้นาเสนอ 3. มอบคาถามพร้อมอธิบายคาถามให้ผู้เข้าประชุมได้เข้าใจคาถาม ดังนี้ - ถ้าเกิดอุทกภัยขึ้นในปีนี้ ท่านจะมีแนวทางในการรับมือกับอุทกภัยอย่างไร 4. ให้ผู้เข้าประชุมระดมสมองตามประเด็นคาถาม 30 นาที 5. ผู้เข้าประชุมนาเสนอผลจากการระดมสมอง สรุปรวมในเวทีใหญ่ โดยส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน ใช้เวลา 15 นาที 6. ผู้ดาเนินการสรุปผลการนาเสนอสถานการณ์ 15 นาที


ใบมอบงานที่ 3  ระยะเวลา 1.15 ชั่วโมง  เทคนิควิธีการที่ใช้ 1. แบ่งกลุ่มระดมสมอง (Brain Stroming) 2. แผนที่ความคิด (Mind Map)  สื่ออุปกรณ์ Power Point กิจกรรมก่อนเกิดภัยธรรมชาติ และกิจกรรมหลังเกิดภัยธรรมชาติ / โมเดลแผนการ รับมือกับภัยธรรมชาติ กระดาษฟลิปชาร์ท ปากกาตราม้า ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. แบ่งผู้เข้าอบรมเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสม 2. ให้เลือก ประธาน เลขานุการ และผู้นาเสนอ 3. มอบคาถามพร้อมอธิบายโมเดลแผนการรับมือกับภัยธรรมชาติ แล้วมอบคาถามให้ 1 กลุ่ม/แผน ใช้คาถาม ดังนี้ - แผน..............ที่ได้รับมอบหมาย มีแนวทาง วิธีการ ขั้นตอนการดาเนินงานอย่างไร มี องค์ประกอบอะไร มีบุคคลใดเกี่ยวข้อง และใครเป็นผู้รับผิดชอบ 4. ให้ผู้เข้าประชุมระดมสมองตามประเด็นคาถาม 30 นาที 5. ผู้เข้าประชุมนาเสนอผลจากการระดมสมอง สรุปรวมในเวทีใหญ่ โดยส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน ใช้เวลา 15-20 นาที 6. ผู้ดาเนินการสรุปผลการนาเสนอสถานการณ์ 10 นาที


ศูนย์เรียนรู้ชุมชน หมายถึง ศูนย์กลางรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ของ ชุมชน ที่จะนาไปสู่การส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้สาหรับประชาชนในชุมชน


หลักการสาคัญของศูนย์เรียนรู้ชุมชน  เป็นแหล่งเรียนรู้ทุกด้าน ทุกรูปแบบ  เป็นศูนย์กลางที่ประชาชนทุกคนสามารถเข้ามา

เรียนรู้ ค้นคว้าหาความรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์  เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน


ภารกิจของศูนย์เรียนรู้ชุมชน 1.

2. 3.

4. 5.

มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ถ่ายทอด แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ เป็นศูนย์รวมของข้อมูล จปฐ. กชช. 2ค แหล่งนา อื่นๆ เป็นที่รวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์ความรู้ของปราชญ์ ชาวบ้าน เป็นศูนย์กลางในการจัดการความรู้ เป็นศูนย์ประสานและบูรณาการการทางานทุกภาคส่วน


องค์ประกอบของศูนย์เรียนรู้ชุมชน 1. 2.

วิธีการก่อเกิด เกิดจากความต้องการของประชาชน โครงสร้าง ประกอบด้วย - คณะกรรมการ ▶ ผู้นาส่วนต่างๆ ในชุมชน - ที่ปรึกษา ▶ภาครัฐ - ระเบียบข้อบังคับ ▶ เป็นลายลักษณ์อักษร - สถานที่ ▶ ขึนอยู่กับชุมชน - การบริหารจัดการศูนย์ฯ ▶ คณะกรรมการบริหาร - งบประมาณ ▶ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาคเอกชน อื่นๆ


3. กิจกรรมการเรียนรู้  สถานที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้  กิจกรรมเรียนรู้

การเรียน การสอน / การจัดการ ความรู้ / เวทีประชาคม / สาธิต /นิทรรศการ


4. เนือหาสาระข่าวสารความรู้  ข้อมูล

ได้แก่ จปฐ. กชช. 2ค / ทะเบียนผู้นา / ทะเบียน ปราชญ์  ข่าวสาร ได้แก่ ข่าวสารของหมู่บ้าน / ข่าวสารเพื่อการ พัฒนาคุณภาพชีวิต , อาชีพ /ข่าวสารการพัฒนาหมู่บ้าน  ความรู้ ได้แก่ ความรู้จากปราชญ์ / ความรู้การประกอบ อาชีพ / ความรู้จากผู้นา / ความรู้จากภาคราชการ อื่นๆ





ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเป้าหมายในการพัฒนาเป็น ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ






ศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ไม่ประสบอุทกภัย















จบแล้วจ๊ะ


ภัยธรรมชาติ คืออะไร คือ ภัยอันตรายต่างๆ ที่เกิดจากธรรมชาติ และมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ ของมนุษย์


ภาพเหตุการณ์น้าท่วม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา





แผ่นดินถล่ม


สึนามิ


แผ่นดินยุบตัว


แผ่นดินไหว


กิจกรรมก่อน/หลังเกิดภัยธรรมชาติ


9.การลดภัยและลดความเสี่ยง 8.การฟื้นฟูและบูรณะ

7.การประเมินความเสียหาย และความต้องการ

1.การประเมินความ ล่อแหลม/การเกิดภัย 2.การป้องกันและลดผลกระทบ

3.การเตรียมความพร้อม 4.การเตือนภัย

6.การช่วยเหลือและบรรเทาภัย

5.การจัดการในภาวะฉุกเฉิน

กิจกรรมหลังเกิดภัยธรรมชาติ

กิจกรรมก่อนเกิดภัยธรรมชาติ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.