แนวทางการดำเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน

Page 1

แนวทางการดาเนินงาน

“กองทุนแม่ของแผ่นดิน”

โดย กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุตธิ รรม ฉบับปรับปรุง ณ วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕



คำนำ นั บ เป็ น พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อย่ า งหาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ต่ อ ปวงชนชาวไทย สมเด็ จ พระนำงเจ้ ำ ฯ พระบรมรำชินีนำถ ทรงห่วงใยต่อปัญหายาเสพติดที่แพร่ระบาดในสังคมไทยที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ จึงได้พระรำชทำนพระรำชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้นำไปใช้ประโยชน์ในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำยำเสพ ติดอย่ำงยั่งยืน จึงเป็นจุดกาเนิดของโครงการ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” สานักงาน ป.ป.ส. จึงได้นาพระราช ทรัพย์ดังกล่าวสมทบกับงบประมาณของสานักงาน ป.ป.ส. จัดตั้งเป็น “กองทุนแม่ของแผ่นดิน ” เพื่อมอบ เงินกองทุนให้กับหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นเงินประเดิมเริ่มต้นกองทุนละ 8,000 บาท โดยมีพิธีพระราชทาน เงินกองทุนแม่ของแผ่นดินครั้งแรกในปี 2547 และมีการดาเนินงานต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันมี “กองทุนแม่ของ แผ่นดิน” จานวน 12,189 กองทุน กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ได้ รั บ ความไว้ ว างใจจากกระทรวงมหาดไทยและ ส านั ก งาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) ให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน จึงได้จัดทา แนวทางการดาเนินงาน “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” สาหรับ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนทุกระดับและผู้ที่เกี่ยวข้อง ใช้เป็นคู่มือในการดาเนินงาน เพื่อเป็นการสนองพระราช ปณิธานการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้พระบารมีของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อไป กรมการพัฒนาชุมชน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕


สำรบัญ  ทำควำมรู้จัก : กองทุนแม่ของแผ่นดิน  ความเป็นมา  ปรัชญาแนวคิดกองทุนแม่ของแผ่นดิน  แนวคิดความร่วมมือระหว่างภาคประชาชนกับราชการ  ลักษณะที่แตกต่างจากกองทุนอื่นๆ  การสร้างความเข้าใจต่อคุณค่าของกองทุนแม่ของแผ่นดิน

๑ ๑ ๓ ๓ ๔ ๕

 กรมกำรพัฒนำชุมชน เกี่ยวข้องอย่ำงไร กับกองทุนแม่ของแผ่นดิน  แล้วจะดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินอย่างไร  กลยุทธ์การสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน  แผนปฏิบัติการเสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน  กลไกการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดิน

๖ ๖ ๘ ๑๐

 กิจกรรมหลักที่ 1 กำรตรวจสุขภำพกองทุนแม่ของแผ่นดิน  วัตถุประสงค์  เป้าหมาย  กลไกดาเนินงาน  ขั้นตอน วิธีการ  เครื่องมือ  ข้อมูลแบบตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน  วิธีการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน  เอกสารที่ตรวจ

๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๒ ๑๒ ๑๔ ๑๔

 กิจกรรมหลักที่ 2 ต้นกล้ำกองทุนแม่ของแผ่นดิน  เป้าหมาย  กลไกการดาเนินงาน  วิธีการ/ขั้นตอน  เมื่อได้รับพระราชทานเงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน

๑๕ ๑๕ ๑๕ ๒๖


 กิจกรรมหลักที่ ๓ กำรดำเนินงำนศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอำเภอ ๑. แนวคิดเรื่องศูนย์เรียนรู้ชุมชน  ความหมายศูนย์เรียนรู้ชุมชน  หลักการของศูนย์เรียนรู้ชุมชน  ภารกิจของศูนย์เรียนรู้ชุมชน  องค์ประกอบของศูนย์เรียนรู้ชุมชน  ขั้นตอนการดาเนินงานของศูนย์เรียนรู้ชุมชน ๒. ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน  วัตถุประสงค์  เป้าหมายศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน  กลไกการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน  ลักษณะประสบการณ์/องค์ความรู้ของศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน  ขั้นตอน วิธีการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน บรรณำนุกรม ภำคผนวก ๑. แบบตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๒. ต้นแบบ “หมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน” บ้านทางยาว หมู่ที่ 8 ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ๓. (ตัวอย่าง) คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดินจังหวัด........... ๔. (ตัวอย่าง) ระเบียบคณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดินจังหวัด……. ว่าด้วยเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๕. ๑๐ ขั้นตอนกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๖. เพลงกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๗. แบบฟอร์มต่างๆ

๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๑ ๓๒

๓๓ ๓๓ ๓๔ ๓๔ ๓๔


สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชดารัส เนื่องในวโรกาสวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554 ถึงเรื่องยาเสพติดระบาด ในประเทศไทย ใจความว่า …. อยากขอความร่วมมืออย่างจริงจังจากรัฐบาล และคนไทยทั้งชาติ คือ การแก้ปัญหายาเสพติด บ่อนทาลายสังคมไทยมาหลายสิบปีแล้ว ที่นับวันรุนแรงขึ้น สมัยก่อนชาวไทยภูเขาปลูกฝิ่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงอุตส่าห์อาบเหงื่อต่างน้าตั้งโครงการหลวงขึ้นมาแก้ไข ให้หันปลูกพืชเมืองหนาวแทน จนตอนนี้พวกเขาก็เลิกปลูกฝิ่น ไปแล้ว ก็นึกว่า จะเบาใจ เรื่องยาเสพติดไป ที่ไหนได้กลับมีคนใช้ไทยเป็นทางผ่านของยาเสพติด และยังมีพวกลักลอบ ผลิตอีกด้วย โดยเฉพาะยาบ้าที่มีสารตั้งต้นหาได้ง่าย ผลก็คือ คนไทยตกเป็นทาสยาบ้าไป แล้วเป็นล้านๆ คน ทุกคนสุขภาพ ทรุดโทรม ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญาก็เสื่อมถอย ยาบ้าและยาเสพติดทั้งหลายทาลาย กาลังทาลายสังคมไทยอย่างน่ากลัว ข้าพเจ้าไม่สบายใจเลย ที่มีข่าวว่า ยาบ้ามีขายทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่งในโรงเรียนหรือ วัด ผู้ผลิตและผู้ขายกาลังท าตนเป็นฆาตรกรฆ่าลูกหลานไทยอย่างเลือดเย็นน่าเป็นห่วง เหลือเกิน เมื่อพ.ศ. 2546 ข้าพเจ้าเคยมอบเงินจานวนหนึ่ง ให้กับคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามยาเสพติดเพื่อสนับสนุนและแก้ปัญหา ซึ่งเอาไปสมทบจัดตั้ง กองทุนแม่ของ แผ่นดิน มอบให้หมู่บ้านที่เข้าร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในปี พ.ศ. 2547 จานวน 672 หมู่บ้าน จากนั้นรัฐบาลของคุณอภิสิทธิ์ ได้นาไปขยายผลจัดตั้งกองทุนแม่ ยาเสพติดทั่ว ประเทศ เวลานี้มีหมู่บ้านต่างๆ เข้าร่วมแล้วจานวน 12,189 หมู่บ้าน และรัฐบาลชุด ที่แล้ว ได้จัดงานหาเงินสมทบทุนโครงการนี้ประมาณ 300 ล้านบาท เมื่อเร็วๆ นี้ ข้าพเจ้า ได้มอบเงินแก่ผู้วา่ ฯ ทุกจังหวัดเพื่อนาไปเข้าโครงการแม่ของแผ่นดิน เชื่อว่ารัฐบาลต่อไปจะสานต่อโครงการนี้ แต่ถ้าสังคมไทยปล่อยให้รัฐบาลทางานฝ่าย เดียวก็คงไม่สาเร็จ คนไทยต้องผนึกกาลังช่วยกัน เริ่มจากในครอบครัว และคนในสังคม เป็น หูตาให้แก่กัน ควรต่อต้าน ประณามผู้ผลิตและค้ายาเสพติด รวมทั้งแจ้งให้เจ้าหน้าที่ ดาเนินการ ทาไมปล่อยให้ลูกหลานติดยาโดยไม่พาไปรักษา ท่านต้องให้เวลาและให้กาลังใจ ฟื้นฟูผตู้ ิดยา ให้กลับมาเป็นคนมีคุณภาพของสังคมและเป็นกาลังของครอบครัวต่อไป


ทาความรู้จัก : “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” ตามที่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ได้มีกระแสพระราชดารัสในโอกาสที่คณะบุ คคล ได้เข้าเฝ้าฯถวายพระพรเนื่องในวันเฉลิมพระชนม์พรรษา เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต นั้น พระองค์ได้แสดงความกังวลพระราชหฤทัยเป็นอย่างมากต่อปัญหาการแพร่ ระบาดของยาเสพติด และได้ทรงพระราชทานแนวทางการให้ภาคประชาชนได้ร่วมมื อกันช่วยเหลือรัฐบาลใน การแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด ซึ่ งแนวทางหนึ่ ง ที่ไ ด้ ท รงมีพ ระราชปรารภถึ ง ก็ คื อ “กองทุ นแม่ ข องแผ่ น ดิ น ” พระองค์ได้ทรงทบทวนว่าเคยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้สานักงาน ป.ป.ส. ตั้งแต่ปี ๒๕๔๖ ซึ่งนับเป็นการเริ่มต้นกองทุนแม่ของแผ่นดินตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ทรงมีความมุ่งหวังว่ากองทุนแม่ของแผ่นดิน จะสามารถช่วยเหลือการแก้ไขปัญหายาเสพติดของประเทศได้อย่างมาก เพื่อให้การดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินเป็นไปตามพระราชประสงค์ สามารถตอบโจทย์ การแก้ไขปัญหายาเสพติดของหมู่บ้าน/ชุมชนได้โดยตรง สานักงาน ป.ป.ส. จึงได้กาหนดแนวทางกระบวนการ ดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้นากองทุนแม่ของแผ่นดินและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปใช้ ดาเนินงานได้เอง ให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยให้มีการรายงานผลการดาเนินงานในแต่ละห้วงระยะเวลาได้ อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีผลการดาเนินงานในระดับศูนย์เรียนรู้ กองทุนดีเด่น หรือกองทุน ของหมู่บ้าน/ชุมชนที่อยู่ในระดับทั่วไป เพื่อร่วมกันสนองพระราชปณิธานการแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใต้ พระบารมีของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อไป

ควำมเป็นมำ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จแปรพระราชฐาน ไปเยี่ยมพสกนิกรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระองค์ได้เสด็จเยี่ยมราษฎรของหมู่บ้านที่เคยมีปัญหายา เสพติดและสามารถไขปัญหาได้ด้วยพลังของประชาชน ที่ อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี ตามกระบวนการชุมชน เข้มแข็ง ด้วยการใช้ แนวทางสั นติวิธี ให้ผู้เคยค้าเคยเสพในระดับหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากผู้ ที่เป็น “ภาระ”ให้กลับมาเป็น“พลัง”ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับหมู่บ้านของตนเอง โดยที่ภาครัฐเป็นผู้ให้การ สนับสนุน ทรงพอพระราชหฤทัยในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีนี้อย่างมาก ในการเสด็จฯครั้งนั้นพระองค์ ได้ประทับแรม ณ พระตาหนักภูพาน ราชนิ เ วศน์ และได้ เ สด็ จ ลงเยี่ ย ม ราษฎร ที่เป็นมวลชนกลุ่มต่าง ๆ ที่ไป เข้ า เฝ้ า ฯ ณ โครงการชลประทาน สกลนคร(ห้ ว ยเดี ย ก) อ.ภู พ าน จ. สกลนคร พล.ต.อ.ชิดชัย วรรณสถิตย์ เลขาธิการ ป.ป.ส. (ในขณะนั้น) จึงได้ ขอพระราชทานพระราชวโรกาสน า ตัวแทนกลุ่มราษฎรอาสาป้องกันภัยยา


เสพติด (รสปส.) เข้าเฝ้าฯด้วย มีการแสดงละครหน้าพระที่นั่งเพื่อสื่อให้ทอดพระเนตรถึงการแก้ไขปัญหายาเสพ ติดด้วยพลังของชุมชน และการให้อภัยผู้ค้าผู้เสพระดับหมู่บ้านตามแนวทางสันติ แล้วมีการปฏิญาณตนขอเลิก ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและขอเป็นกาลังในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชาติตลอดไป

ในวันนั้นพระองค์ท่านได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้กับเลขาธิการ ป.ป.ส. จานวนหนึ่งเพื่อนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับประชาชนต่อไป ตั้งแต่ที่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชิ นีนาถ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ผ่านเลขาธิการ ป.ป.ส. เพื่อให้เป็นประโยชน์ของหมู่บ้านและชุมชนต่าง ๆ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดนั้น หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งราษฎรอาสาสมัครทั้งหลาย จึงมีความเห็นร่วมกันว่า พระ ราชทรัพย์ที่ได้รับพระราชทานนั้นถือเป็นมงคลสูงสุด เป็นเสมือนพระราชปณิธานของพระองค์ ที่ทรงจะให้มี การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในหมู่บ้านและชุมชน หากได้นาพระราชทรัพย์พระราชทานนี้ ไปไว้ที่ หมู่บ้านและชุมชน ก็จะเป็นขวัญกาลังใจสูงสุดของปวงราษฎรทั้งหลายที่จะดาเนินการให้พระราชปณิธานของ พระองค์บรรลุผล ซึ่งย่อมหมายถึงความสงบสุข ร่มเย็น ปราศจากปัญหายาเสพติด จึงได้เรียกพระราชทรัพย์ พระราชทานนี้ว่า “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” และเรียกชื่อหมู่บ้านและชุมชนที่ได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดิน ว่า “หมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน” โดยมีการพระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดินครั้งแรก เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๗ ณ ศูน ย์ ป ฏิบั ติธ รรมสวนเวฬุวัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น โดยทูล กระหม่อมหญิงอุบ ลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้เสด็จแทนพระองค์สมเด็จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ มาเป็นประธานในพิธี พระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดินให้กับผู้แทนหมู่บ้าน/ชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นจานวน ๖๗๒ หมู่บ้าน/ชุมชน


ปรัชญำแนวคิดกองทุนแม่ของแผ่นดิน คาว่า กองทุนแม่ของแผ่นดิน มีองค์ประกอบ ๓ ส่วน ได้แก่ ส่ วนที่ ๑ เรี ยกว่ า เงิ นขวั ญถุ งพระรำชทำน เป็ นพระราชทรั พย์ ที่ สมเด็ จพระนางเจ้ าฯ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับหมู่บ้านและชุมชน โดยสานักงาน ป.ป.ส. ได้สมทบงบประมาณส่วนหนึ่งนามาจัดสรรให้กับหมู่บ้านและ ชุมชน แห่งละ ๘,๐๐๐ บาท เงินจานวนนี้ เปรียบเสมือนสิ่งที่ระลึกถึง แห่งพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เป็นเงิน พระราชทานอันเป็นสัญลักษณ์แห่งพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น จึง ถือเป็นเงินศักดิ์สิทธิ์อันหาที่เสมอเหมือนมิได้ จึงเก็บไว้เป็นเงินขวัญถุงในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยไม่มีการใช้จ่าย ส่วนที่ ๒ เรียกว่า ทุนศรัทธำ เป็นเงินที่ราษฎรในหมู่บ้านและชุม ชนที่ได้รับกองทุนแม่ของ แผ่นดิน จะร่วมกันบริจาคอย่างต่อเนื่องและรวบรวมขึ้นด้วยพลังความศรัทธา สมทบเข้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน ในแต่ล ะหมู่บ้ า น เป็ น การแสดงออกถึ งทุ น ทางสั งคมของหมู่ บ้า น/ชุม ชนที่ ต้องการไม่ให้มีปัญหายาเสพติดในหมู่บ้านอย่างเป็นรูปธรรม ส่วนที่ ๓ เรีย กว่ า ทุน ปัญญำ เป็นเงินที่ราษฎรในหมู่บ้าน และชุมชนดังกล่าว คิดค้นขึ้น ด้วยภูมิปัญญาของตนเองในการระดมทุนเพื่อ ขยายกองทุน ให้กองทุนมีการงอกเงยขึ้น จนสามารถนาไปใช้จ่ายเพื่อการแก้ไข ปัญหายาเสพติดของหมู่บ้านได้อย่างเพียงพอต่อไป กองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น ที่ เ ป็ น ผลจากการระดมทุ น จากทุ น ศรั ทธา และทุนปั ญญา ราษฎรในหมู่บ้านและชุมชนจะนาไปใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมทั้งปัญหาอื่น ๆ จนสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบนวิถีแห่งความพอเพียง ไม่ว่าจะเป็นการ สมทบทุนช่ว ยเหลือการบาบัดรักษาของผู้เสพยาเสพติด การ ส่งเสริมอาชีพ การสนับสนุนกิจกรรมกลุ่มเสี่ยงยาเสพติดและ กิจกรรมเยาวชน การเฝ้าระวังและรักษาพื้นที่ การสนับสนุน ทุนการศึกษาของเยาวชน การส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง การ ช่ ว ยเหลื อ ความเดื อ ดร้ อ นต่ า งๆในชุ ม ชน รวมถึ ง การฟื้ น ฟู ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน ฯลฯ จนแทบจะกล่าวได้ว่า กองทุน แม่ของแผ่นดิน คือ กองทุนที่รวมจิตใจของผู้คน เพื่อช่วยเหลือ ผู้คนที่ทุกข์ยาก นับเป็นทุนเริ่มต้นแห่งควำมดีงำม

แนวคิดควำมร่วมมือระหว่ำงภำคประชำชนกับรำชกำร มีข้อคิดสาคัญในการทางานร่วมกันระหว่างรัฐกับประชาชนว่าในการดาเนินงานโครงการต่างๆ ของรัฐที่ผ่านมา ไม่ว่าการแก้ไขปัญหาใด ๆ ก็ตาม โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาด้านสังคม หากให้รัฐดาเนินการ แต่เพียงฝ่ายเดียวจะได้ผลไม่ถึงเป้าหมายที่ต้องการ และหากให้ประชาชนดาเนินการเองทั้งหมดก็ไม่สามารถ บรรลุเป้าหมายที่สมบูรณ์ได้เช่นกัน ฉะนั้นหากเห็นแล้วว่าทั้ง ๒ ภาคส่วนมีเป้าหมายร่วมกันก็ควรให้มีการ บู ร ณาการการด าเนิ น งานร่ ว มกั น โดยมี บ ทบาทที่ ชั ด เจนของแต่ ล ะภาคส่ ว นอย่ า งเกื้ อ กู ล ซึ่ ง กั น และกั น ยกตัวอย่างเป็นภาพดังนี้


๑. ให้นาเสนอเรื่อง เรือ ๓ ลา เพื่อให้ประชาชนมีความเข้าใจความสาคัญของการมีส่วนร่วมใน การขับเคลื่อนโครงการดังนี้ 3

2

สันติ สุข

1

เดือดร้อน เรือล่มเพราะ

1. หมดงบ 2. หมดเวลา

อธิบาย เรือลาที่ ๑ : ในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนที่ผ่านมาจะมีลักษณะคล้ายกับ การช่วยเหลือประชาชนแบบเรือลาที่ ๑ คือ เมื่อประชาชนมีความเดือดร้อนในเรื่องใดก็จะมีหน่วยงานหรือคน ภายนอกชุมชนมาชวนให้ขึ้นเรือเพื่อนาไปสู่ฝั่งโน้นที่เรียกว่า “สันติสุข”หรือแก้ไขปัญหาได้ แต่เรือแล่นไปโดย ยังไม่ทันจะถึงฝั่ง หรือยังมอง ไม่เห็นฝั่งเลย ก็ต้องล่มเสีย อันเป็นสาเหตุมาจาก (๑)หมดงบ หรือ (๒)หมดเวลา (เจ้าหน้าที่ขับเคลื่อนโครงการหมดเวลาการปฏิบัติงานเสียก่อน) เรือลาที่ ๒ : คล้ายกับเรือลาที่ ๑ คือ เมื่อประชาชนเดือดร้อนอีก ทางราชการก็มีงบประมาณ มาอีก ก็มาชักชวนประชาชนให้ขึ้นเรือเพื่อจะได้นาไปสู่ฝั่ง “สันติสุข”โน้นอีก แต่เนื่องจากเหตุการณ์ที่เกิดกรณี เรือลาที่ ๑ เป็นเหตุทาให้ประชาชนไม่เชื่อมั่นในการชักชวนของรัฐว่าจะไปถึงฝั่งได้จริง ทาให้ราชการต้อง ทางานทางความคิดเพิ่มขึ้น เช่น ต้องมีค่าตอบแทนเป็นค่าเสียเวลาให้กับชาวบ้านจานวนที่มากพอ ชาวบ้านจึง จะยอมขึ้นเรือไปด้วย เพื่อให้ราชการสามารถดาเนินโครงการได้ แต่แล่นเรือไปได้ไม่นานเรือก็ต้องล่มอีกเช่นเคย ด้วยสาเหตุเดียวกัน คือ (๑) หมดงบ (๒) หมดเวลา และก็ได้ผลทานองเดียวกัน คือ ยังไม่ทันได้เห็นฝั่งโน้นเลยก็ ต้องว่ายน้ากลับฝั่งเดิมอีก เรือลาที่ ๓ : เป็นการชี้ให้เห็นว่า หากชาวบ้านเห็นได้ว่าความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นเป็นทุกข์ของ ชาวบ้านเอง หากไม่ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาย่อมเดือดร้อนเองอย่างไม่สิ้นสุด ยกตัวอย่าง เรือลาที่ ๑ และ ๒ เมื่อชาวบ้านยอมเห็นด้วยและขึ้นเรือมาแล้วแต่ก็ไม่มีส่วนร่วมอะไรเลยต่างก็นั่งกอดอกเฉย ๆ ปล่อยให้ทาง ราชการขับเรือด้วยกาลังงบประมาณของรัฐฝ่ายเดียว หากชาวบ้านยังต้องการแต่ที่จะให้ราชการทาฝ่ายเดียวก็ จะได้ผลเท่าที่ผ่านมาอีกอย่างแน่นอน ซึ่งย่อมเสียเวลาทั้ง ๒ ฝ่าย และต่างเห็นแล้วว่าไม่ได้ผล เพราะแล่นไปได้ ไม่นานเรือก็จะล่มอีก ฉะนั้นหากว่าชาวบ้านมีความทุกข์จริงเมื่อขึ้นมาบนเรือแล้วต้องสัญญากันว่าจะช่วยกัน พายเรือด้วยกาลังของตนที่มีอยู่ แน่นอนว่าเรือลาที่ ๓ นี้ เมื่อหมดงบราชการแล้วเรือลานี้จะแล่นไปได้ไกลมาก กว่าเดิม ซึ่งจะทาให้เรามองเห็นฝั่งข้างหน้าซึ่งเหลืออีกไม่ไกลแล้ว ระยะทางที่เหลือไม่ไกลแล้วนี่ชาวบ้านย่อมจะ พากันไปเองได้จนถึงฝั่งข้างหน้าอย่างแน่นอน ๒. หลังจากเข้าใจเรื่องเรือ ๓ ลาแล้ว ให้ผู้นากล่าวถึงการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามโครงการ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน ” จะเป็นโครงการที่ช่วยเหลือพี่น้องประชาชนได้จริง แต่ต้องดาเนินการในลักษณะ เดียวกับเรือลาที่ ๓ คือทุกคนต้องช่วยกัน ต้องถือว่าปัญหายาเสพติดเป็นทุกข์เป็นปัญหาของชุมชนที่รอการ แก้ไขมานาน เป็นความโชคดีอย่างมากเลยที่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และทางราชการมีน้าใจมา ช่วยเหลือด้วยอย่างไม่ทอดทิ้งให้เป็นปัญหาของประชาชนเพียงฝ่ายเดียว “พลังของประชาชนร่วมกับราชการ ช่วยก่อช่วยสานให้งานยั่งยืน”


ลักษณะที่แตกต่ำงจำกกองทุนอื่นๆ กองทุ น แม่ ของแผ่น ดิ น มีลั กษณะแตกต่ำ งจำกกองทุ น อื่น ๆ ที่มี อยู่ใ นหมู่บ้ ำ น/ ชุมชน ๔ ประกำร ดังนี้ ประกำรที่ ๑ เป็นกองทุนที่มีจุดเริ่มต้นจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จึงเป็น เสมือนกองทุนพระราชทาน ประกำรที่ ๒ เป็ น กองทุ น ที่ ก ระจายอยู่ ต ามหมู่ บ้ า น ชุ ม ชน เท่ า นั้น ไม่ มี ก องทุ น รวมใน ส่วนกลาง ประกำรที่ ๓ เป็นกองทุนที่มีขึ้นเพื่อประโยชน์สาธารณะในการแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมถึง ปัญหาอื่นๆ ในหมู่บ้าน ชุมชน เพื่อเป็นกองทุนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยไม่มีการให้กู้ยืมและไม่มีดอกเบี้ย ประกำรที่ ๔ เป็นกองทุนที่คนในหมู่บ้าน ชุมชน ร่วมกันระดมทุน โดยไม่ได้เกิดจากภายนอก เพียงช่องทางเดียว ซึ่งเป็นการทาให้ชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเอง เห็นพลังของตนเอง

วัตถุประสงค์ของกองทุน ๑. เพื่อขยายพลังแห่งความดีของคนในหมู่บ้าน ชุมชน ให้กว้างขวางขึ้น ๒. เพื่ อเสริ มสร้ า งกระบวนการในหมู่ บ้า น ชุมชน ด้า นความคิ ด ความรู้ การแลกเปลี่ ย น การรวมกลุ่มและความตื่นตัว เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาของหมู่บ้าน ชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหายาเสพติด เพื่อให้หมู่บ้าน ชุมชน ใช้กระบวนการดังกล่าวให้บรรลุถึงความเข้มแข็งได้อย่างแท้จริง ๓. เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายที่เป็นประโยชน์แก่สาธารณะ สนับสนุนให้คนทาดี และเสียสละเพื่อ หมู่บ้าน ชุมชน ๔. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง เพื่อการพึ่งพาตนเอง และพึ่งพา ซึ่งกันและกันอย่างยั่งยืน เป็นผลทาให้ปัญหาพื้นฐานของหมู่บ้าน ชุมชน ลดลง ๕. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน ชุมชน อย่างยั่งยืน และพัฒนา เป็นศูนย์เรีย นรู้หมู่บ้าน ชุมชน เพื่อก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนทั้งภายในและระหว่างหมู่บ้าน ชุมชน

กำรสร้ำงควำมเข้ำใจต่อคุณค่ำของกองทุนแม่ของแผ่นดิน กองทุ น แม่ ของแผ่ น ดิ น เป็ นการแสดงออกถึ ง พระราชปณิ ธ านของสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถที่พระราชทานเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สมควรที่พสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าจะ น้อมรับใส่เกล้าใส่กระหม่อมและถือปฏิบัติอย่างจริงจัง สาหรับหมู่บ้าน ชุมชน ที่ได้รับคัดเลือกให้ได้รับกองทุนแม่ ของแผ่นดินในครั้งนี้ ถือเป็นเกียรติสูงสุด จึงสมควรสร้างกระบวนการให้คนทั้งหมู่บ้าน ชุมชน เกิดจิตสานึกร่วมกัน สนองพระราชปณิธาน ซึ่งจะนาไปสู่การเป็นแบบอย่างที่ดีสาหรับพื้ นที่อื่นต่อไป ดังนั้นการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ คัดสรรขึ้นเพื่อรองรับกองทุนแม่ของแผ่นดินในจังหวัด และหมู่บ้าน ชุมชน จึงถือเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง


กรมการพัฒนาชุมชน เกี่ยวข้องอย่างไร กับกองทุนแม่ของแผ่นดิน

การด าเนิ น งานกองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น เป็ น การขยายพลั ง แห่ ง ความดี ข องคนใน หมู่บ้าน/ชุมชน เสริมสร้างกระบวนการการแลกเปลี่ยนความคิดความรู้ร่วมกันภายในหมู่บ้าน/ชุมชน สนับสนุน กิจกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง พึ่งพาตนเอง ทั้งนี้เพื่อร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน อย่างยั่งยืน และพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนทั้งภายใน และระหว่างหมู่บ้าน ชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับ ภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชน ดังนั้น กระทรวงมหาดไทยจึงมอบภารกิจให้กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบ ในการดาเนินการเรื่องกองทุนแม่ของแผ่นดิน

แล้วจะดำเนินงำนกองทุนแม่ของแผ่นดินอย่ำงไร?? กรมการพั ฒ นาชุ ม ชนได้ ก าหนดแนวทางการขั บ เคลื่ อ นการด าเนิ น งานกองทุ น แม่ ของแผ่นดิน ดังนี้ ๑. สร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน - ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด - ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ - ประชุมสร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินและ แนวทางการตรวจสุขภาพกองทุน ๒. สร้างเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ - จัดตั้งเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เพื่อสร้างเครือข่ายการเรียนรู้และกลไก การขับเคลื่อนกิจกรรมระดับอาเภอ

กลยุทธ์กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน กรมการพัฒนาชุมชนได้กาหนดกลยุทธ์การสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๓ กระบวนงาน ดังนี้ 1) การตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน 2) ส่งเสริมต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน 3) ส่งเสริมศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน


เน


แผนปฏิบัติกำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน กรมกำรพัฒนำชุมชน ประจำปี ๒๕๕๕ กิจกรรม

รำยละเอียดกิจกรรม

กิจกรรมหลักที่ 1 1. จัดทาแนวทางการดาเนินงาน/แบบประเมินการตรวจ การตรวจสุขภาพกองทุนแม่ สุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดินร่วมกับสานักงาน ป.ป.ส. ของแผ่นดิน 2. สร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางการดาเนินงานกองทุน แม่ฯ แก่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน 3. สร้างความรู้ความเข้าใจแนวทางการดาเนินงานกองทุน แม่ฯ ระดับจังหวัดแก่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ผู้นาองค์กร เครือข่าย 4. แต่งตั้งคณะทางานสนับสนุนการขับเคลื่อนกองทุนแม่ฯ ระดับจังหวัด/อาเภอ 5. ตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน (ระดับหมู่บ้าน) 6. สร้างเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ/ จังหวัด กิจกรรมหลักที่ 2 ส่งเสริม 1. สร้างความเข้าใจการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ต้นกล้ำกองทุนแม่ของ เป้าหมายใหม่ปี 2555 แผ่นดิน 2. คัดเลือก/เตรียมความพร้อมหมู่บ้านรับมอบเงิน พระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน 3. ส่งเสริมการจัดระบบบริหารจัดการกองทุนแม่ของ แผ่นดิน 4. ติดตามประเมินผล

เป้ำหมำย

ระยะเวลำดำเนินกำร

11,586 กองทุน

16-31 ม.ค. 55

๑,๕๒๐ กองทุน

งบประมำณ/แหล่ง ผู้รับผิดชอบ งบประมำณ ศพสจ./ป.ป.ส. ศพส.พช.

1-3 ก.พ. 55

ศพส.พช.

6 - 15 ก.พ. 55

สพจ.

6 - 15 ก.พ. 55

สพอ.

15 ก.พ. - 31 มี.ค.55 เม.ย. – พ.ค. 55

สพอ. สพอ./สพจ.

เม.ย. ๕๕

ศพสจ./ป.ป.ส.

สพจ./สพอ.

พ.ค. - มิ.ย. 55

สพจ./สพอ.

พ.ค. - มิ.ย. ๕๕

สพจ./สพอ.

ทุกเดือน

สพจ./สพอ.


กิจกรรม กิจกรรมหลักที่ 3 ส่งเสริม ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของ แผ่นดิน

รำยละเอียดกิจกรรม

เป้ำหมำย

ระยะเวลำดำเนินกำร

1. คัดเลือกหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินดีเด่น ระดับอาเภอเพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของ แผ่นดินระดับอาเภอ 2. ส่งเสริมการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ ของแผ่นดินระดับอาเภอ 3. ส่งเสริมการจัดการความรู้ด้านการแก้ไข ปัญหายาเสพติด/กองทุนแม่ของแผ่นดิน 4. ยกย่องเชิดชูเกียรติปราชญ์ชาวบ้านผู้นา ชุมชนด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติด 5. ขยายผลองค์ความรู้การแก้ไขปัญหายาเสพ ติด/กองทุนแม่ของแผ่นดินสู่หมู่บ้านอื่น

878 แห่ง

ก.พ. – มี.ค. 55

งบประมำณ/แหล่ง งบประมำณ ศพสจ./ป.ป.ส.

ผู้รับผิดชอบ สพอ.

เม.ย. – ส.ค. 55

สพอ.

เม.ย. – ส.ค. 55

สพอ.

ส.ค. 2555

สพอ.

ก.ย. 55

สพจ./สพอ.


กลไกกำรขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดิน

ให้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมกำรขั บ เคลื่ อ นกองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น ในแต่ ล ะระดั บ โดยอาจมีองค์ประกอบ ดังนี้ - คณะกรรมกำรขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นระดับจังหวัด ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด หรื อ รองผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย เป็ น ประธาน, ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด , เกษตรจั ง หวั ด , สาธารณสุขจังหวัด, ผอ.กศน., ผู้แทนเครือข่ายกองทุนแม่ ของแผ่นดิน หรือ องค์กรภาคประชาชน 3-5 คน ตามเหมาะสม, หัวหน้า ศพส.จ., ผู้แทน ป.ป.ส.ภาค เป็นคณะทางาน พัฒนาการจังหวัด เป็นเลขานุการ และ หัวหน้ากลุ่มงานที่รับผิดชอบงานยาเสพติด ของสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นผู้ช่วยเลขานุการ - คณะกรรมกำรขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นระดับอำเภอ ประกอบด้วย นายอาเภอ เป็น ประธาน, ท้องถิ่นอาเภอ, เกษตรอาเภอ, สาธารณสุขอาเภอ, ผอ.กศน., ผู้แทนเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดิน หรือ องค์กรภาคประชาชน 3-5 คน ตามเหมาะสม, ผู้แทนศพส.อ., เป็นคณะทางาน พัฒนาการอาเภอ เป็น เลขานุการ และเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนที่รับผิดชอบงานยาเสพติด เป็นผู้ช่วยเลขานุการ

๑๐


กิจกรรมหลักที่ ๑ การตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน (ระดับหมู่บ้าน) วัตถุประสงค์ 1) เพื่อจัดเก็บข้อมูลผลการดาเนินงานตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน หมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินในภาพรวม 2) เพื่อทราบสถานะของกองทุนแม่ของแผ่นดินว่าเข้มแข็งในระดับใด 3) เพื่อนาข้อมูลมาประกอบการวางแผนพัฒนากองทุน ให้สามารถขับเคลื่อน การดาเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

เป้ำหมำย - จานวน ๑๑,๕๘๖ กองทุน

กลไกกำรดำเนินงำน - กรมการพัฒนาชุมชน โดยคณะทางานวิชาการ ศพส.มท. จัดทาแนวทางการดาเนินงาน กองทุนแม่ของแผ่นดิน - จังหวัด โดยคณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด เป็นคณะอานวยการ กากับติดตาม และรายงานผล ระดับจังหวัด - อาเภอ โดย คณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เป็นคณะอานวยการ กากับติดตาม และรายงานผล ระดับอาเภอ และจัดชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ ของแผ่นดิน - อาเภอ โดย เครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เป็นคณะดาเนินการสนับสนุน และร่วมชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน - พื้นที่ โดย ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน จานวน ๗ – ๑๐ คน ตามความ เหมาะสมของแต่ ล ะพื้ น ที่ ป ระกอบด้ ว ย ผู้ แ ทน ศพส.อ าเภอ เป็ น หั ว หน้ า ชุ ด ปฏิ บั ติ ก าร ผู้ แ ทนวิ ท ยากร กระบวนการ ผู้แทนเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เป็นทีมปฏิบัติการ และเจ้าหน้ าที่พัฒนา ชุมชนเป็นเลขานุการชุดปฏิบัติการ

ขั้นตอน/ วิธีกำร ๑. กรมการพัฒนาชุมชนจัดทาแนวทางการแนวทางการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๒. จังหวัดและอาเภอ ศึกษาและดาเนินการตามคู่มือ ดังนี้ ๒.๑ ตั้งคณะทางานในระดับต่างๆ 1) จังหวัด ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด 2) อาเภอ ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ อาเภอ , สนับสนุนให้มีเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ , ตั้งชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ ของแผ่นดิน

๑๑


๒.๒ ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ดาเนินการ ๑) จัดเตรียมแบบตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดินให้เพียงพอ ๒) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินหมู่บ้าน เพื่อทบทวนแนวทางการ ดาเนินงาน และตรวจสุขภาพกองทุน แม่ของแผ่นดินตามเกณฑ์ที่กาหนดด้วยวิธีการสัมภาษณ์กลุ่ม และตรวจ เอกสาร ๓) นาข้อมูลจากแบบตรวจสุขภาพบันทึกลงในโปรแกรมตรวจสุขภาพผ่านเว็บ ไซต์ พร้อมทั้งตรวจสอบความสมบูรณ์และความครบถ้วนของข้อมูล ๔) ประมวลผลและรายงานผลการตรวจสุ ข ภาพกองทุ นแม่ข องแผ่ น ดิน เสนอต่ อ คณะทางานขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ ๒.๓ คณะกรรมการขั บ เคลื่ อ นการด าเนิ น งานกองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น ระดั บ อ าเภอ ดาเนินการ ๑) พิจารณาให้คารับรองผลการตรวจสุขภาพ ๒) ร่วมกับคณะกรรมการเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ วางแผนปฏิบัติการ เพื่อฟื้นฟูหรือส่งเสริมการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินให้สอดคล้องกับผลการตรวจสุขภาพ ๓) รายงานผลการตรวจสุขภาพและแผนปฏิบัติการเสนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน การดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด ๒.๔ คณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด รายงาน ผลเสนอต่อกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

เครื่องมือ 1) แบบตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน 2) โปรแกรมตรวจสุขภาพออนไลน์ (จักแจ้งประสานการใช้งานอีกครั้งหนึ่ง)

ข้อมูลแบบตรวจสุขภำพกองทุนแม่ของแผ่นดิน มี ๓ ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐำนของหมู่บ้ำนกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประกอบด้วยข้อคาถาม 9 ข้อ ส่วนที่ 2 แบบประเมินสถำนะเพื่อพัฒนำกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประกอบด้วยข้อคาถาม 19 ข้อ 4 ประเด็น ดังนี้ 1) การบริหารจัดการกองทุนแม่ของแผ่นดิน จานวน ๕ ข้อ 2 การบริหารเงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน จานวน 4 ข้อ 3) การดาเนินงานด้านยาเสพติด จานวน 6 ข้อ 4) การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกองทุนแม่ของแผ่นดิน จานวน ๔ ข้อ แต่ละข้อความคาถาม ประกอบด้วย 4 ตัวเลือก แต่ละตัวเลือก มีค่าคะแนน 3 , 2, 1 และ 0 ตามลาดับ

๑๒


ส่วนที่ ๓ ปัญหำอุปสรรค/ควำมคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ

กำรคิดค่ำคะแนน ๑) รวมคะแนนที่ได้แต่ละข้อ ดังนี้ ข้อที่ตอบตัวบ่งชี้ช่องแรก มีค่าคะแนน = ๓ ข้อที่ตอบตัวบ่งชี้ช่องถัดไป มีค่าคะแนน = ๒ , ๑ และ ๐ ตามลาดับ ๒) ปรับคะแนนที่ได้ เป็นร้อยละ

ค่าคะแนนรวมที่ได้ *100 ค่าคะแนนเต็ม

ตอบข้อคาถามทั้ง ๑๙ ข้อ ปรับคะแนนที่ได้ เป็นร้อยละ ดังนี้ ค่าคะแนนรวมที่ได้ *100 5๗ (1๙ ข้อ *3 คะแนน= ๕๗)

กำรจัดระดับสุขภำพของกองทุนแม่ของแผ่นดิน ระดับสุขภำพของ กองทุนแม่ฯ

ค่ำคะแนนที่ได้

A

มากกว่า หรือ เท่ากับ ร้อยละ ๘๐

B

C

หมำยถึง

กองทุนแม่ของแผ่นดินเข้มแข็ง หมู่บ้านชุมชนมีระบบเฝ้าระวังอย่างยั่งยืน สามารถ เป็นศูนย์เรียนรู้ มากกว่า หรือ เท่ากับ ร้อยละ 50 กองทุนแม่ของแผ่นดินเข้มแข็ง แต่ไม่ถึงร้อยละ 80 หมู่บ้านชุมชนมีการเฝ้าระวัง หากได้รับการพัฒนาศักยภาพในบางด้านจะสามารถ เป็นศูนย์เรียนรู้ได้ น้อยกว่าร้อยละ 50 กองทุนแม่ของแผ่นดินที่ต้องมีการปรับปรุง

๑๓


วิธีกำรตรวจสุขภำพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ใช้แบบตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดินเป็ น เครื่ อ งมือในการเก็บ รวบรวมข้อมู ล และวิเคราะห์ ข้อมูล เพื่อจั ดระดั บสุ ขภาพของกองทุนแม่ ของแผ่ นดิ น ตามแนวทางดังนี้ ๑. การเลือกกลุ่มบุคคลในการให้ข้อมูลการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ครอบคลุมผู้มีส่วนได้เสีย หรือผู้มีบทบาทในการดาเนินงานของกองทุนแม่ของแผ่นดินในหมู่บ้านนั้น ๆ เช่น ประธาน เลขานุการ เหรัญญิก กรรมการฝ่ายต่างๆ สมาชิกกองทุน ผู้เคยได้รับการช่วยเหลือจากกองทุน รวมถึงผู้ที่ยังไม่ได้เป็นสมาชิกกองทุน ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน เพื่อร่วมกันให้ข้อมูลตามประเด็นคาถามในแบบตรวจสุขภาพที่จัดทาไว้ โดยควรนัดหมาย กลุ่มเป้าหมาย พร้อมสถานที่นัดหมายเอาไว้ล่วงหน้า ๒. ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ชี้แจงความเป็นมา แนวคิดของการดาเนินงาน กองทุนแม่ของแผ่นดิน และวัตถุประสงค์ของการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๓. การดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ให้ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ใช้วิธีการ สั มภาษณ์ กลุ่ ม ตามประเด็ น ค าถามในแบบตรวจสุ ข ภาพที่ส ร้า งเอาไว้ ที ล ะข้ อ และให้ ขอตรวจเอกสารที่ เกี่ยวข้องร่วมด้วย ๔. เพือ่ ให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ให้ชุดปฏิบัติการตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน ตรวจสอบ ความรู้ความเข้าใจตามประเด็นคาถามจากผู้ให้ข้อมูล หลังการสัมภาษณ์กลุ่มรายข้อ เพื่อยืนยันความรู้ความ เข้าใจและผลการประเมินสุขภาพของกองทุนอีกครั้ง

เอกสำรที่ขอตรวจ ๑) ระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดินบ้าน........(ชื่อหมู่บ้าน/ชุมชน)... ๒) รายชื่อคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๓) บันทึกรายงานการประชุม ๔) บันทึกบัญชีกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๕) สมุดบัญชีธนาคาร ๖) ข้อมูลการดาเนินกิจกรรมต่างๆ (เช่น ภาพถ่าย เอกสารสรุปผลการดาเนินงาน)

๑๔


กิจกรรมหลักที่ ๒ ต้นกล้ำกองทุนแม่ของแผ่นดิน เป้ำหมำย - จานวน ๗๖ จังหวัด ๆ ละ ๒๐ หมู่บ้าน รวม ๑,๕๒๐ หมู่บ้าน

กลไกกำรดำเนินงำน - กรมการพัฒนาชุมชน โดยคณะทางานวิชาการ ศพส.มท. จัดทาแนวทางการดาเนินงานกองทุน แม่ของแผ่นดิน - จังหวัด โดย คณะกรรมการขับเคลื่อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด เป็นคณะอานวยการ กากับติดตาม และรายงานผล ระดับจังหวัด - อาเภอ โดย คณะกรรมการขับเคลื่ อนการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่ นดินระดับอาเภอ เป็นคณะดาเนินงานสนับสนุนการจัดตั้ง และรายงานผล ระดับอาเภอ - อาเภอ โดยเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ เป็นคณะดาเนินงานสนับสนุนการจัดตั้ง - พื้นที่ โดยทีมวิทยากรกระบวนการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนแม่ของแผ่นดิน

วิธีกำร/ขั้นตอน 1) คัดเลือกชุมชนเป้ำหมำย  พิจารณาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเป็นลาดับแรก  สารวจคุณสมบัติของหมู่บ้าน/ชุมชน ของกองทุนแม่ของแผ่นดิน ดังนี้ เนื่องจากกองทุนแม่ของแผ่นดิน ถือเป็นกองทุนที่มีความศักดิ์สิทธิ์ หมู่บ้าน/ชุมชนใด ที่จ ะได้ รั บ พระราชทานนั้ น จ าเป็ น จะต้อ งคัดเลื อกเฉพาะหมู่ บ้าน/ชุ มชนที่มี คุณภาพไม่ได้ เน้น ว่า จะต้อ ง มีจานวนมาก ซึ่งต่อไปนี้เป็นองค์ประกอบหลักที่ ใช้เป็นแนวทางในการคัดเลือกหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อเข้ารับ พระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ต่อไปนี้ (๑) มีการพัฒนาหรืออบรมผู้นาหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างต่อเนื่อง (๒) ผู้นาหมู่บ้าน/ชุมชน มีความเข้มแข้ง สามัคคีกัน และมีกิจกรรมที่ได้ดาเนินการ อย่างเป็นรูปธรรม (๓) มีกฎระเบียนหมู่บ้าน/ชุมชนในเรื่องยาเสพติดมีผลบังคับใช้อย่างจริงจัง (๔) มีการประชุมหารือในหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นนิตย์โดยเริ่มและเลิกประชุมอย่าง พร้อมเพียงกัน (๕) มีการรวมกลุ่มกิจกรรมในหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างหลากหลาย (๖) มีการเฝ้าระวังในหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างเป็นระบบ และมีการมอบหมายภารกิจที่ ชัดเจน เช่น การจัดเวรยามดูแลความไม่สงบเรียบร้อยในหมู่บ้าน/ชุมชน (๗) มีการสารวจปัญหายาเสพติดและยอมรับผลไม่ปิดบัง

๑๕ ๑๕ ๑๕


(๘) มีการจัดกลุ่มกิจกรรมเยาวชน มีเยาวชนเข้าร่วมมาก (๙) มีกิจกรรมป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดที่ตรงกับสถานการณ์และสาเหตุ ของปัญหา (๑๐) มีประชามติของคนในหมู่บ้าน/ชุมชน เห็นชอบต่อการเข้าร่วมกองทุนแม่ของ แผ่นดินอย่างกว้างขวาง (๑๑) มีกองทุนยาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชนหรือกองทุนอื่น ๆ ภายในหมู่บ้าน/ชุมชน ที่นามาใช้ในกิจกรรม ป้องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดภายในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยกองทุนที่มีอยู่เหล่านี้ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบริหารจัดการที่ดี (๑๒) คนในหมู่บ้าน/ชุมชนกระตือรือร้นที่จะไปศึกษาเรียนรู้หมู่บ้านกองทุนแม่แห่งอื่น (๑๓) มีกิจกรรมขยายทุนทางสังคมในหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม (1๔) ได้รับรางวัลต่าง ๆ ที่แสดงถึงความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชนหลายรางวัล (๑๕) มีการบูรณาการอย่างเข้มแข็งของกลุ่มองค์กรชุมชนต่าง ๆ ที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชน 2) ขยำยควำมคิด  ทำควำมเข้ำใจโครงกำรทุกครัวเรือน ให้ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการดาเนินงานและให้ทุกคนยอมรับว่าหมู่บ้าน/ ชุมชน ที่มีกองทุนแม่ของแผ่นดินอาจยังมีการแพร่ระบาดของยาเสพติด อยู่ กระตุ้นให้ชุมชนเกิดการตื่นตัวที่จะ แก้ไขปัญหายาเสพติด โดยน้อมนาเอากระแสพระราชดารัสของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ และ กาหนดให้มีการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาล มากาหนดเป็น ภารกิจของกองทุนแม่ของ แผ่นดิน ดังนั้นกองทุนแม่ของแผ่นดินจึงมีบทบาทหลัก 2 ประการ ดังนี้ (1) รับรองครัวเรือน กองทุนแม่ของแผ่นดินจะรับรองครัวเรือนที่ปลอดภัยแล้ว โดยการมอบธงสัญลักษณ์ครัวเรือนปลอดภัยกองทุนแม่ของแผ่นดินให้กับ ครัวเรือนสมาชิก เพื่อรณรงค์ให้มีครัวเรือนที่ปลอดภัยจากยาเสพติดให้ มากที่สุด (2) รับรองบุคคล กองทุนแม่ของแผ่นดินจะมี บทบาทดูแลผู้ที่เคยหลงผิดไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดในลักษณะของผู้ที่เคย ค้าหรือเคยเสพที่สมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกของโครงการให้เป็นที่ยอมรับ ของสังคมต่อไป เป้ำหมำย ในการดาเนินงานระดับหมู่บ้าน/ ชุมชน คือ ป้องกันส่วนดี และ แก้ไขส่วนเสีย ให้ทาความเข้าใจเพิ่มเติมว่า กองทุนแม่ของ แผ่ น ดิน จะต้องมี กลุ่มสมำชิก ที่ส มัค รใจเข้าโครงการและทากิจกรรม ร่วมกัน อย่ างชัดเจน และไม่ได้ห มายถึงการดาเนินงานทั้งหมู่บ้าน แต่ผลการดาเนินงานนั้นอาจส่งผลดีต่อ ประชาชนทั้งหมู่บ้านด้วย นอกจากนี้มีเป้าหมายในการขยายสมาชิกอย่างมีคุณภาพให้เกิดขึ้นทั้งหมู่บ้านด้วย ในการสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดร่วมกันนั้น

๑๖


จ าเป็ น ต้องมีก ฎกติกาในการอยู่ ร่ ว มกัน ในลั กษณะชุมชนเข้มแข็ ง ซึ่ ง จะต้องมีการร่ ว มบริ จ าคเพื่อจั ดตั้งเป็ น กองทุ นแก้ไขปัญหายาเสพติด และมีการจัดกิจกรรมร่วมกันเพื่อสร้างหลักประกันความปลอดภัยจากยา เสพติดให้ครัวเรือนสมาชิก โครงการนี้จะใช้แนวทางสันติวิธีในการลด ผู้ค้า ผู้เสพ คือ จะไม่มีเรื่องกับผู้ค้าและไม่มีปัญหากับผู้เสพ อย่างเด็ดขาด ในการทาความเข้าใจโครงการนี้จาเป็นต้อง ดาเนิ น การให้ กับ ประชาชนทุกครั ว เรื อนที่ อยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนที่ได้รับกองทุนแม่ของแผ่ นดิน โดยเมื่อได้ รับทราบจนเข้าใจแล้ว ครัวเรือนนั้นอาจสมัครหรือไม่สมัครเข้าร่วม โครงการก็ได้  จัดตั้งคณะกรรมกำรกองทุนแม่ของแผ่นดิน หลังจากทาความเข้าใจภารกิจของกองทุนแม่ของแผ่นดินและแนวทางการขับเคลื่อนแล้ว ให้มีการรับสมัครผู้นาทุกฝ่ายในหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน โดยยึดหลักความ สมัครใจและทุกคนที่เป็นกรรมการต้องมีบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนด้วย  บทบำทหน้ำที่ ของคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน มี 10 ประการ ได้แก่ (1) รักษาความศักดิ์สิทธิ์ของกองทุนแม่ของแผ่นดิน (2) เป็นตัวอย่างในการแสดงความจงรักภักดีอย่างสูงสุดในหมู่บ้าน/ชุมชน (3) ร่วมบริหารและดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินไม่ให้หยุดนิ่ง ให้มีความ ต่อเนื่องอยู่เสมอ (4) ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในหมู่บ้านและประชาชนทั่วไปมีความศรัทธา กองทุนแม่ของแผ่นดินด้วยการปฏิบัติและด้วยการเชิญชวน (5) ดูแลครัวเรือนสมาชิกของกองทุนแม่ของแผ่นดินตามที่ได้อาสาดูแลหรือ ได้รับมอบอย่างใกล้ชิด (6) ร่วมพิจารณาการใช้จ่ายเงินกองทุนแม่ของแผ่นดินให้เป็นไปตามปรัชญา ของโครงการ (7) ดาเนินการจัดเก็บเงินกองทุนแห่งศรัทธำจากสมาชิกสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หรือ ตามที่ที่ประชุมเห็นร่วมกัน (8) ร่วมพิจารณาการจัดกิจกรรมเพื่อขยายกองทุนแม่ของแผ่นดินตามแนวทาง แห่งปัญญำ (9) ร่วมขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดินให้นาไปสู่การแก้ไขปัญหายาเสพติด ของชุมชนอย่างยั่งยืน (10) ดาเนินการใดๆ ตามความคิดริเริ่มที่เป็นประโยชน์ต่อกองทุนแม่ของแผ่นดิน ในการจัดตั้งคณะกรรมการให้ ผู้นาธรรมชาติ (ผู้นาที่ไม่เป็นทางการ) มีบทบาทให้มาก ที่สุด คือ เป็นประธานกรรมการ และให้ ผู้นาทางการ ได้แก่ ผู้นาท้องที่ /ผู้นาท้องถิ่น เป็นที่ปรึกษา (หากผู้นา ทางการยังมีบทบาทในการเป็นประธานอย่างต่อเนื่องอยู่ให้ยังคงปฏิบัติหน้าที่นั้นต่อไปจนกว่าคณะกรรมการจะ พิจารณาเห็นสมควร)

๑๗


 กำรแบ่งควำมรับผิดชอบ กรรมการแต่ละคนต้องมีความพร้อมในการดูแลคน ในชุมชนเองในสัดส่วนกรรมการ 1 คน ต่อครัวเรือนสมาชิกไม่เกิน 4 ครัวเรือน (1 : 4) ซึ่งครัวเรือนสมาชิกที่ จะอยู่ในการดูแลของกรรมการคนใดนั้น กรรมการคนนั้นอาจเป็นผู้นามาสมัครเข้าร่วมโครงการเอง หรืออาจ เป็นครัวเรือนที่ ที่ประชุมคณะกรรมการมอบหมายให้กรรมการดูแลก็ได้ สาหรับหน้าที่ต่างๆเพื่อให้การทางาน ของคณะกรรมการเป็นไปด้วยความเรียบร้อยนั้นให้ที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาตามความเหมาะสม เช่น รองประธานกรรมการ เลขานุ ก าร ฝ่ า ยประสานงานส่ ว นราชการ ฝ่ า ยบั ญ ชี ฝ่ า ยการเงิ น ฝ่ า ยวิ ช าการ ฝ่ายทะเบียนสมาชิกฯ เป็นต้น  ที่ปรึกษำ ให้คณะกรรมการจัดตั้งที่ปรึกษา 2 ประเภท ได้แก่ ที่ปรึกษาที่เป็น คนในหมู่บ้าน/ชุมชน และที่ปรึกษาจากส่วนราชการ เพื่อให้มีบทบาทในการให้คาแนะนาการดาเนินงานของ คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และเป็นการสร้างความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องด้วย - ที่ปรึกษาเป็นคนในหมู่บ้าน/ชุมชนนั้น อาจได้แก่ ผู้อาวุโส ผู้ทรงคุณวุฒิในหมู่บ้าน - ที่ปรึกษาจากส่วนราชการ อาจได้แก่ คณะกรรมการ ศพส.อาเภอ,คณะกรรมการ ขับเคลื่อนกองทุนแม่ระดับอาเภอ , ทีมวิทยากรกระบวนการ, เจ้าหน้าที่ ป.ป.ส. และพัฒนากรประจาตาบล  วำระของคณะกรรมกำร การจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินให้มี วาระการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ค ราวละ 1 ปี โดยให้ มี ก ารคั ด เลื อ กคณะกรรมการใหม่ ใ นเดื อ นตุ ล าคมของทุ ก ปี ซึ่งคณะกรรมการคนเดิมอาจได้รับการคัดเลือกใหม่อีกก็ได้ไม่จากัดจานวนครั้ง ในแต่ละเดือนอาจมีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพิ่มเติมได้ตามจานวนของสมาชิก ใหม่ที่เพิ่มขึ้นจากการมาสมัครเพิ่มเติม หมายถึงว่า หากมีสมาชิกเพิ่มขึ้นก็ให้มีกรรมการที่คอยดูแลเพิ่มขึ้นด้วย ตามสัดส่วน แต่เมื่อครบกาหนดแล้วก็ให้มีการคัดเลือกใหม่ตามวาระพร้อมกับกรรมการทั้งคณะ(เดือนตุลาคม)  เงื่อนไขของคณะกรรมกำร กรรมการทุกคนต้องยอมรับว่าจะไม่ขอรับเงินเดือน เบี้ยเลี้ยง หรือค่ำตอบแทนใดๆ จากการปฏิบัติงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน นอกจากความภาคภูมิใจที่ได้ร่วม สนองพระราชปณิธานในการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้กับหมู่บ้าน/ชุมชนของตน และเพื่อขอใช้ความเป็น กรรมการเป็นโอกาสในการทาความดีเพื่อแผ่นดินเท่านั้น  รับสมัครครัวเรือนสมำชิกเข้ำร่วมโครงกำร เป็นการจัดตั้งสมาชิกของโครงการด้วยความสมัครใจ โดยอาจเป็นสมาชิกที่สมัครขอ อยู่ ใ นความดู แ ลของผู้ ที่ ส มั ค รเป็ น กรรมการ หรื อ สมั ค รโดยตรงด้ ว ยตนเองต่ อ คณะกรรมการก็ ไ ด้ ซึ่งคณะกรรมการจะพิจารณาให้อยู่ในความดูแลของกรรมการคนใดคนหนึ่งต่อไป การกาหนดให้สมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินต้องมาจากการสมัครนั้นก็เพื่อที่จะให้การ ดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินไม่มีความขัดแย้ง หรือถูกขัดขวางจากผู้ที่ไม่ศรัทธา  ครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดินจะมี 2 ประเภท ได้แก่ - ครัวเรือนที่มีความปลอดภัยจากยาเสพติดมาก่อนแล้ว การสมัครของครัวเรือนประเภทนี้เพื่อต้องการให้คณะกรรมกองทุนแม่ของ แผ่นดินรับรองความปลอดภัยให้กับครัวเรือน และเพื่อร่วมแสดงศรัทธาว่าครัวเรือนของเขาต้องการสนับสนุน ให้เกอดหมู่บ้าน/ชุมชนปลอดภัยจากยาเสพติดตลอดไปภายใต้พระบารมีแม่ของแผ่นดิน - ครัวเรือนที่พบปัญหาหรือไม่มีความปลอดภัยจากยาเสพติด

๑๘


การสมัครของครัวเรือนประเภทที่สองนี้ก็เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนแม่ของ แผ่นดินให้การดูแลคนในครอบครัวของเขา เพื่อให้ได้รับการแก้ไขด้วยระบบชุมชนเข้มแข็งของกองทุนแม่ของ แผ่นดิน ซึ่งการสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกแสดงว่าคนในครอบครัวของเขาพร้อมให้กรรมการและสมาชิกใน ชุมชนดูแลเขาได้ ไม่เกิดความขัดแย้งขึ้นภายหลัง  เงื่อนไขในการรับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมเป็นสมาชิกของโครงการกองทุนแม่ของ แผ่นดินนั้น กาหนดไว้ 3 ประการ ได้แก่ - ครัวเรือนต้องยอมรับกฎชุมชนเข้มแข็ง 7 ประการ (กฎหลัก) - ทุกคนในครัวเรือนยินดีบริจาคเงินเป็นทุนศรัทธา 1 บาท/คน/สัปดาห์ หรือ ตามที่ที่ประชุมเห็นร่วมกัน - ต้องยอมรับการดูแลของกรรมการในการตักเตือนทุกคนในครอบครัวได้ การสมัครใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินของหัวหน้าครัวเรือนหมายถึง ทุกคนในครัวเรือนนั้นได้เป็นสมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินด้วย การให้ครัวเรือนสมาชิกสมัครด้วยความสมัครใจนั้น จะทาให้กองทุนแม่ของแผ่นดินมี ทุนทางสังคมที่ชัดเจน เป็นกลุ่มเป้าหมายในการดาเนินการของคณะกรรมการ ไม่ใช่ต้องดาเนินการทั้งหมู่บ้าน ซึ่งอาจจะทาให้มีปัญหากับผู้ไม่สมัครใจ แต่ก็เปิดโอกาสให้มีก ารับสมัครสมาชิกเพิ่มเติมได้ทุกเดือนเมื่อเขามี ศรัทธาขึ้นในภายหลัง เพื่ อให้ กองทุน แม่ข องแผ่ นดิ น มีค วามเข้ม แข้ง ในการขั บ เคลื่ อนงานแก้ไ ขปัญ หา ยาเสพติดในรู ป แบบของชุมชนเข้มแข็ งได้ จึงควรมีส มาชิกกองทุนแม่ของแผ่ นดินในแต่ล ะหมู่บ้าน/ชุมชน ไม่น้ อยกว่าร้อยละ 30 หากหมู่บ้ าน/ชุมชนใดมีขนาดใหญ่มากให้พิจารณาดาเนินการเฉพาะส่ ว นที่ทาได้ โดยแยกเป็นพื้นที่ๆไปก่อนได้ 3) พิชิตปัญหำยำเสพติด  จัดตั้งกฎชุมชนเข้มแข็ง การรวมตัวกันของคนที่ต้องการสร้างชุมชนใหม่ซ้อนชุมชนเดิมขึ้นมาให้เข้มแข็ง ตามที่ได้ดาเนินการในรับสมัครครัวเรือนสมำชิกเข้ำร่วมโครงกำร นั้น มีความจาเป็นที่เราต้องเสนอให้มีกฎ ในการอยู่ร่วมกัน ซึ่งเป็นข้อตกลงกันในกลุ่มว่าจะใช้ การดูแลกัน เป็นกฎพิเศษที่ใช้เฉพาะผู้ที่สมัครเข้ามาเป็น สมาชิกด้วยกันเท่านั้น ไม่ได้ใช้กับคนที่ไม่ใช่สมาชิก กฎชุมชนเข้มแข็ง ประกอบด้วยกฎหลักและกฎรอง โดยกฎหลัก เป็นกฎที่กาหนดให้ ทุกหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีกองทุนแม่ของแผ่นดิน นาไปใช้ปฏิบัติเป็นอันเดียวกันทั้งประเทศ และกฎรอง เป็นกฎ ที่ชุมชนร่วมกันจัดตั้งขึ้นตามความเหมาะสมของสถานการณ์

๑๙


กฏหลัก ของชุมชนเข้มแข็ง กำหนดให้ใช้เหมือนกันทุกกองทุน (ในทำงพุทธศำสนำ เรียกว่ำ หลักอปริหำนิยธรรม ) มี ๗ ประกำร ประกอบด้วย ๑) สมำชิกร่วมประชุมกันเป็นนิตย์ ๒) สมำชิกหมั่นเริ่มประชุมและเลิกประชุมพร้อมกัน ทำกิจที่พึงกระทำ โดยพร้อมเพรียงกัน ๓) สมำชิกยอมรับมติส่วนใหญ่ของที่ประชุมในกำรแก้ไขปัญหำ ๔) สมำชิกให้กำรยอมรับและเคำรพผู้อำวุโส ๕) สมำชิกให้กำรสงเครำะห์และช่วยเหลือผู้ด้อยโอกำสในสังคม เช่น เด็ก สตรี คนชรำ คนพิกำร และคนที่ยำกจนกว่ำ ๖) สมำชิกส่งเสริมและรักษำวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงำม ๗) สมำชิกช่วยกันทำนุบำรุงศำสนำ

คณะกรรมการอาจมีการใช้จ่ายเงินกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติด หรือกองทุนแม่ของแผ่นดิน หรือมีการดาเนินการทุกอย่างเพื่อที่จะดารงรักษากฎชุมชนเข้มแข็งนี้ไว้ เพราะหากชุมชนมีความเข้มแข็งแล้วจะ สามารถแก้ไขปัญหาทุกเรื่องได้เอง และจะสามารถป้องกันปัญหาในอนาคตที่จะเกิดขึ้นได้อีกด้วย กฎรอง เป็นกฎซึ่งเป็นที่ยอมรับของชุมชนในการแก้ไขปัญหาเฉพาะด้านยาเสพติด เป็นไป ตามความเหมาะสมของแต่ละชุมชน แต่การกาหนดกฎใดๆต้องไม่ขัดกับหลักการสันติวิธีอย่างเด็ดขาด เช่น กาหนดให้มีการลงโทษทางสังคมที่ทาให้เกิดความรู้สึกคับข้องใจของสมาชิก หรือให้มีการตัดสิทธิ์ในชุมชน ฯลฯ ควรกาหนดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้มีความรู้สึกในเชิงบวกต่อสมาชิกเท่านั้น  ให้ควำมรู้ควำมเข้ำใจเรื่องยำเสพติด ในการขับเคลื่อนของชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยพลังของชุมชนนั้น จาเป็นต้องให้มีการรวมตัวกันของคนในชุมชนที่เห็นทุกข์ร่วมกัน เห็นทุกข์ภัยในยาเสพติดในทิศทางเดียวกัน ก่อน โดยเฉพาะปัญหายาเสพติดในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ต้องให้ทุกคนมีมุมมองในปัญหายาเสพติดร่วมกัน หากต่างมุมมองกันการตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาร่วมกันอาจเกิดความขัดแย้งขึ้นได้ สมาชิกที่รวมตัวกันเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดนั้น จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่อง ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างแท้จริง โดยคณะกรรมการอาจเชิญวิทยากรจากภายนอกมา ให้ความรู้ในเรื่องต่อไปนี้ - โทษพิษภัยของยาเสพติด และลักษณะของคนใช้ยาเสพติด - คนเราติดยาเสพติดได้อย่างไร และหากเสพแล้วจะเลิกได้อย่างไร - ประเภทและชนิดของยาเสพติด - กฎหมายยาเสพติดที่ควรรู้

๒๐


- การแก้ไขปัญหายาเสพติดของภาครัฐ - ปัญหายาเสพติดไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยเงิน หรือด้วยการปราบปรามเพียงอย่างเดียว หรือ ด้วยการบาบัดรักษา(สายเกินไป) - ความเชื่อมั่นว่าชุมชนมีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาบาเสพติดของชุมชนได้ด้วยพลัง ของชุมชนเอง ตามแนวทางสันติวิธี มีการให้อภัยกันเองต่อทุกคนที่พร้อมจะเริ่มต้นใหม่ ในสังคมที่อบอุ่นของ ชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งเป็นความรู้ความเข้าใจที่สาคัญที่สุด ความรู้ความเข้าใจตามประเด็นต่างๆดังกล่าวจะทาให้สมาชิกมีทิศทางในการตัดสินใจ ในการแก้ไขปัญหาในแนวทางเดียวกัน คือ การใช้แนวทางให้อภัยทางสังคม แทนการลงโทษทางสังคม หรือ การใช้มาตรการเด็ดขาดโดยกฎหมาย สังคมที่จะใช้มาตรการให้อภัยทางสังคมได้นั้นก็ต้องเป็นสังคมของชุมชน เข้มแข็งเท่านั้น  จัดตั้งกองทุนแก้ไขปัญหำยำเสพติด กองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติด เป็น “กองทุนทางสังคม” จึงไม่เน้นการจัดตั้งกองทุน จากทุนทรัพย์เป็นหลัก แต่การจัดตั้งกองทุนนี้เป็นการทดสอบศักยภาพของทุนทางสังคมที่มีในชุมชน โดยแสดง ออกมาเป็นกองทุนแห่งความสามัคคี เพราะปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาทางสังคมซึ่งต้องแก้ไขหรือป้องกันด้วย พลั งทางสั ง คม เมื่อชุ มชนต้องการแก้ไขปั ญหายาเสพติดอย่างแท้จริ งแล้ ว การจัด ตั้งกองทุน แก้ไขปัญหา ยาเสพติดก็เพื่อเป็นอุบายในการดาเนินการเพื่อให้เกิดทุนทางสังคมขึ้นนั่นเอง  ทุนศรัทธำ เป็นทุนตั้งต้นของกองทุนแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยทุนนี้จะแสดงถึง ศรัทธาของสมาชิกว่า หากต้องการป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดให้ได้อย่างต่อเนื่องแล้ว จาเป็นที่ พวกเราจะต้องมีศรัทธำอย่ำงต่อเนื่องด้วย โดยการจัดตั้งกองทุนนี้มีลักษณะคล้ายกับการซื้อประกันภัยยาเสพ ติด ซึ่งมีราคาเพียง 1 บาท/คน/สัปดาห์ (หรือตามที่ที่ประชุมเห็นร่วมกัน ) เท่านั้น เช่น หากครัวเรือนใดมี สมาชิก 5 คน ก็ให้ บริ จ าค 5 บาท/สั ป ดาห์ (หรือตามที่ที่ประชุมเห็นร่ว มกัน ) ให้ กับคณะกรรมการ ทั้งนี้ วัตถุประสงค์สาคัญเพื่อให้ทุกคนมีการคิดห่วงใยกันเรื่องยาเสพติดในครอบครัวนั่นเอง  ทุนปัญญำ ให้คณะกรรมการพิจารณาร่วมกันเป็นระยะในการที่จะขยายกองทุน แม่ของแผ่นดินด้วยปัญญาของคณะกรรมการแต่ละกองทุนด้วยวิธีการต่างๆ สาหรับกิจกรรมใดๆบางกิจกรรมที่ ต้องใช้งบประมาณ  ทุนศักดิ์สิทธิ์ เป็นส่วนของเงินที่ได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยเมื่อนามาผสมรวมกับทุนศรัทธาและทุนปัญญาแล้วทาให้ทุนทั้งหมดมีความศักดิ์สิทธิ์ และทำให้กองทุนยำเสพติดเปลี่ยนชื่อเป็น “กองทุนแม่ของแผ่นดิน”  กำรใช้จ่ำยเงินกองทุน กาหนดกรอบการใช้จ่ายเงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน อย่างมีคุณภาพ โดยแบ่งออกเป็น 4 กรอบใหญ่ๆ ได้แก่ - การจัดหาธงสัญลักษณ์กองทุนแม่ของแผ่นดินเพื่อรับรองครัวเรือนปลอดภัย - การสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดต่อกลุ่มเป้าหมาย - การใช้จ่ายเพื่อรักษากฎชุมชนเข้มแข็ง - การจัดกิจกรรมเพื่อแสดงถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ อาจมีการใช้จ่ายเพื่อการบริห ารงานต่างๆของกองทุนแม่ของแผ่ นดินให้ เป็นไปด้วยความเรียบร้ อย เช่น การจัดทาเอกสาร การเดินทางไปร่วมกิจกรรมต่างๆของโครงการกองทุนแม่ ของแผ่นดิน หรือ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร

๒๑


ศรัทธา ปัญญา ขวัญถุง

ต่อเนื่อง ขยายกองทุน ศักดิ์สท ิ ธิ์

ในการรั บ เงิ น จากกองทุ น แม่ ข อง แผ่นดิน คณะกรรมการจะต้องจัดโต๊ะหมู่บูชาพระบรมฉายาลั กษณ์ พร้อมด้วยเครื่องสักการะ และพานวางเงินกองทุนที่ได้รับการอนุมัติ จากที่ประชุมคณะกรรมการแล้ว ให้ผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือหรือผู้ที่ จะนาเงินไปทาประโยชน์ตามที่ได้อนุมัตินั้น แสดงความเคารพพระ บรมฉายาลักษณ์ และเข้ารับเงินจากพานนั้น โดยมีคณะกรรมการ ร่วมเป็นพยานในพิธีด้วยเสมอ  ประชำคมคัดแยกด้วยสันติวิธี (การคัดแยก ผู้มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องฯ ในหมู่บ้าน/ชุมชน) ในขั้ น นี้ เ ป็ น ขั้ น ตอนที่ ส าคั ญ มาก โดย หลั ง จากที่ เ ราได้ ท ดสอบพลั ง ของทุ น ทางสั ง คมด้ ว ยการให้ มี ก าร บริจาคร่ว มทุนแห่งศรัทธามาระยะเวลาหนึ่งแล้ว (โดยประมาณ ๔ สัปดาห์ หรือ ๔ ครั้ง) ก็จะทาให้ชุมชนเกิดความรักความไว้วางใจกันไม่มีการหวาดระแวงกันในเรื่องการแก้ไข ปัญหายาเสพติดร่วมกันอีกต่อไป พร้อมที่จะทาประชาคมคัดแยกผู้ค้า -ผู้เสพ-ผู้อยู่ในข่ายต้องสงสัยโดยสันติวิธี แล้ว ในการทาประชาคมครั้งนี้ก็เพื่อให้ประชาคมเป็นผู้บอกว่าใครเป็นปัญหาของชุมชนบ้าง ที่ชุมชนจะต้องช่วยกันแก้ไข ทั้งผู้เสพ – ผู้ค้า หรือผู้อยู่ในข่ายต้องสงสัย เพื่อจะได้ดาเนินการด้วยวิธีการของ ชุมชนเข้มแข็งต่อไป ไม่ส่งต่อผู้ที่เป็นปัญหาให้กับคนนอกชุมชนหรือเจ้าหน้าที่รัฐดาเนินการ ในขั้นนี้จะทาให้เรา ได้ทราบจานวนผู้เสพ-ผู้ค้าในชุมชนที่ค้นพบโดยประชาคมหมู่บ้านว่าเพิ่มขึ้น/ลดลงอย่างไรเป็นรายเดือน ซึ่งจะ เป็นข้อมูลที่แท้จริง เป็นการทราบสถานการณ์ยาเสพติดในระดับหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะนาไปเป็นข้อมูลใน การประมาณสถานการณ์การแก้ไขปัญหายาเสพติดต่อไป การปฏิบัติ : ให้จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินขึ้นแล้วให้ดาเนินการ ตามลาดับดังนี้ ๑) ให้กรรมการทุกคนเขียนรายชื่อบุคคลที่อยู่ในครัวเรือนสมาชิกที่เกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด ทั้งในฐานะผู้ค้า -ผู้เสพ หรือผู้สงสัย ใส่กล่องกระดาษที่เตรียมไว้ โดยให้มีการชี้แจงว่าพวกเขาเป็น กลุ่มปัญหาที่เราต้องช่วยแก้ไขให้เขา ไม่มีเจตนาในด้านลบแต่อย่างใด ๒) เมื่อกรรมการส่งรายชื่อครบทุกคนแล้วให้คัดเลือกว่าจะให้ใครเป็นผู้เปิดรายชื่อ แล้วเขียนลงในกระดาษบัญชีรายชื่อผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด (มีแบบฟอร์มแนบท้ายคู่มือนี้) ให้เลือกคนที่ไว้ใจ ได้เพื่อให้การส่งรายชื่อของกรรมการเป็นความลับที่สุด เป็นการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในภายหลังจากการ

๒๒


ทราบว่าใครเขียนรายชื่อผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดจากลายมือที่เขียนในกระดาษแผ่นเล็กนั้น แม้กรรมการที่ เขียนรายชื่อส่งให้จะมีจิตใจบริสุทธิ์ต้องการช่วยเหลือกลุ่มปัญหาด้วยความจริงใจก็ตาม แต่อาจมีบางคนยังมี ความคิดในการแก้ไขปัญหาแบบเก่า ๆ อยู่ การทาเช่นนี้จึงเพื่อเป็นการป้องกันปัญหาให้กับกรรมการ ๓) เมื่อกรรมการที่ถูกเลือกคัดรายชื่อจากกระดาษแผ่นเล็กลงในบัญชีผู้เกี่ยวข้องกับ ยาเสพติดเรียบร้อยแล้วให้เก็บรักษาไว้เป็นความลับที่สุดที่ประธานกรรมการ จะไม่มีใครรู้ และห้ามส่งรายชื่อนี้ ให้กับเจ้าหน้าที่รัฐอย่างเด็ดขาด เพราะแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบนี้เป็นการให้ชุมชนดูแลชุมชนเอง ซึ่งหาก เจ้าหน้าที่รัฐรู้อาจนาไปดาเนินการด้วยมาตรการอื่นที่ขัดกับแนวทางสันติวิธีของกองทุนแม่ ฯได้แล้วจะทาให้ เกิดผลเสียอย่างยิ่งกับการดาเนินงานชุมชนเข้มแข็งกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๔) ให้นากระดาษแผ่นเล็กที่กรรมการแต่ละคนเขียนรายชื่อส่งนั้นไปเผาทาลายเสีย โดยให้คัดเลือกผู้ที่จะทาการเผาทาลายจากกรรมการอีกชุดหนึ่ง(๒-๓ คน)เพื่อให้ทาหน้าที่เผาทาลาย เพราะใน การเผาทาลายนั้นผู้ที่เผาจะต้องเป็นอีกคนหนึ่งที่จะได้เห็นชื่อผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่กรรมการส่งให้และเห็น ลายมือชื่อของกรรมการคนที่เขีย นชื่อส่ ง ซึ่งอาจเป็นอีกขั้นหนึ่งที่จะทาให้ เกิดปัญหาได้ห ากให้ บุคคลที่ไม่ ไว้วางใจดาเนินการ ๕) วิทยากร ที่ปรึกษา หรือผู้ช่วยเหลือจากภายนอก รวมทั้งเจ้าหน้าที่รัฐจะได้รับ ทราบเฉพาะจานวนผู้ค้า-ผู้เสพ-ผู้สงสัย จากการทาประชาคมเท่านั้น จะไม่ทราบรายชื่ออย่างเด็ดขาด จานวน กลุ่ ม ปั ญ หาที่ เ พิ่ม ขึ้ น -ลดลงเจ้ า หน้ า ที่ จ ะน าไปใช้ป ระโยชน์ ใ นการประมาณสถานการณ์ ย าเสพติ ด ในการ เตรียมการสนับสนุนช่วยเหลือตามสายงานของตนต่อไป ๖) รายชื่ อของผู้ ที่เ กี่ ย วข้อ งกั บ ยาเสพติด จะบั นทึ ก ในแบบฟอร์ม ที่ ก าหนดตาม เอกสารแนบท้ายคู่มือนี้ ผู้ มีร ายชื่อหากอยู่ในครัว เรื อนใดครัว เรือนนั้นจะไม่ไ ด้รับการนาไปสู่ การรับรอง ครัวเรือนปลอดภัย 4) รักษำชีวิตชุมชนเข้มแข็ง  จัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหำยำเสพติดร่วมกันของสมำชิก เมื่อได้กลุ่มปัญหาที่เป็นเป้าหมายในการแก้ไขของชุมชนแล้ว ชุมชนก็จะร่วมกันทา กิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของกองทุนแม่ของแผ่นดิน มีกลุ่มเป้าหมายหลักที่ชัดเจน โดย ให้บุคคลที่มีรายชื่อในการประชำคมคัดแยกด้วยสันติวิธี เป็นเป้าหมายในการให้การดูแลอันดับแรก เพราะ ครอบครัวที่สมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกกับกองทุนแม่ของแผ่นดินนั้น มีความต้องการให้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ดูแลช่วยเหลืออย่างเต็มใจอยู่แล้ว  แบ่งกลุ่มเป้ำหมำยที่จะทากิจกรรมออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ (1) ผู้ค้ายาเสพติด (แยกเป็นรายใหญ่ รายย่อย) (2) ผู้เสพ (แยกเป็น เสพติดหนัก เสพติด เสพยังไม่ติด) (3) ผู้ต้องสงสัย (กลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมต้องสงสัยว่าอาจไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด) (4) ครอบครัวของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 กลุ่มข้างต้น  กิจกรรมทีด่ าเนินการ ให้คณะกรรมการร่วมกันพิจารณา ตามความเหมาะสม ได้แก่ (1) การให้กาลังใจ ด้วยการที่คณะกรรมการปาร้างความเข้าใจว่าสมาชิก กองทุนแม่ของแผ่นดินทุกคนพร้อมให้กาลังใจในการเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่ดีของเขา (2) การช่วยเหลือด้วยการสงเคราะห์ให้กับผู้ที่เป็นกลุ่มปัญหาและครอบครัว

๒๓


ของเขา ซึ่งหากต้องใช้เงิน ก็ให้คณะกรรมการพิจารณาใช้เงินจากกองทุนแม่ของแผ่นดิน และให้มีการรับความ ช่วยเหลือจากหน้าพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ตามขั้นตอนที่คณะกรรมการ กาหนด (3) การพบปะเยี่ยมเยียนอย่างใกล้ชิดของคณะกรรมการอย่างต่อเนื่องเป็น ระยะๆเพื่อสร้างความไว้วางใจให้กับกลุ่มปัญหาว่ากองทุนแม่ของแผ่นดินมีความจริงใจที่จะช่วยเหลือเขา (4) สาหรับผู้เสพติดมากที่ต้องการเข้ารับการบาบัดรักษาก่อน ให้ คณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน แล้วให้กลับมาฟื้นฟูที่ชุมชนโดยเร็ว สาหรับการจัดกิจกรรมต่อกลุ่มเสี่ยงที่อาจเป็นกลุ่มปัญหาในอนาคตของชุมชน นั้น ให้คณะกรรมการพิจารณาดาเนินการจัดกิจกรรมให้กับเยาวชนที่เป็นสมาชิกของกองทุนแม่ของแผ่นดินเป็น ล าดับ ต่อจากการจั ดกิจ กรรมเพื่อแก้ไขปั ญหาให้ กับกลุ่ มปัญ หาโดยตรง ซึ่งอาจเป็ นการส่ งเสริมด้านกีฬ า การศึกษา และนันทนาการต่างๆ เป็นต้น  รับรองครัวเรือนปลอดภัย ให้คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินจัดประชุมเพื่อให้ความเห็นในการรับรอง ครัวเรือน ที่ปลอดภัยจากยาเสพติดเดือนละ 1 ครั้ง และจัดพิธีรับมอบธงสัญลักษณ์ครัวเรือนปลอดภัยต่อหน้า พระบรมฉายาลักษณ์ฯ โดยธงสัญลักษณ์ดังกล่าวต้องจัดหาโดยเงินจากกองทุนแม่ของแผ่นดินเท่านั้น ซึ่งจะทา ให้ธงมีความสาคัญอย่างมากต่อครัวเรือนที่ได้รับและมีความศักดิ์สิทธิ์สื่อถึงพระบารมีแม่ของแผ่นดิน ที่ทาให้ ครอบครัวของเขาได้รับการรับรองความปลอดภัย ไม่ต้องหวาดระแวงใครในชุมชนเร่องยาเสพติดอีกต่อไป เป็น พื้นฐานในการสนับสนุนการสร้างวัฒนธรรมความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ให้กับประชาชนด้วยงาน แก้ไขปัญหายาเสพติดด้วย  การปฏิบัติ แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนย่อย (1) การรับรองครัวเรือน (1.1) จัดการประชุมคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินแบบเต็มคณะ - จัดพิธีเปิดการประชุมอย่างเหมาะสม ให้มีการแสดงความเคารพ พระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกันก่อนเริ่มการประชุมด้วย - ประธานกรรมการกล่าวเปิดประชุมแสดงความรู้สึกถึงการทาหน้าที่ ที่ยิ่งใหญ่ของคณะกรรมการในการช่วยเหลือแก้ไขปัญหายาเสพติด ให้กับสมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดินสนอง พระราชปณิธาน - ให้คณะกรรมการทาการลงมติรับรองว่าเป็นครัวเรือนปลอดภัยจากยา เสพติดหรือไม่ ครัวเรือนที่จะผ่านการรับรองต้องได้รับมติรับรองเป็นเอกฉันท์ หากมีกรรมการไม่รับรองหรือไม่ ยกมือให้แม้เพียงคนเดียวก็จะจะถือว่าครัวเรือนนั้นยังไม่ผ่านการรับรอง - ลาดับการปฏิบัติ * ให้ เ ลขานุ ก ารอ่า นรายชื่ อครั ว เรื อนที่ ไ ม่ มี ชื่ อบุ ค คลเกี่ย วข้ อ งกั บ ยาเสพติดในการประชาคมคัดแยกด้วยสันติวิธี (ครัวเรือนที่มีรายชื่อเกี่ยวข้องจะไม่ถูกนามารับรองในขั้นตอนนี้ ) และถามคณะกรรมการเป็นลาดับ โดยดาเนินการเป็นเครือข่ายๆ (ข่ายครัวเรือนที่อยู่ในความดูแลของกรรมการ แต่ละคน สัดส่วน 1 : 4) * เรียกชื่อกรรมการ..................... “ขอถามว่าครัวเรือนที่คุณดูแลได้แก่ ................และ........................ปลอดภัยจากยาเสพติดหรือไม่”

๒๔


* กรรมการที่ถูกเรียกตอบ“ปลอดภัยทั้งหมด” หรือ “บางส่วนไม่ปลอดภัย” * ขอถามกรรมการทั้งหมดว่า ครัวเรือนของ..(กรรมการที่ถูกเรียกชื่อ).. ปลอดภัยจากยาเสพติดหรือไม่ ถ้าปลอดภัยกรุณายกมือด้วย * ถ้ า กรรมการยกมื อ ทุ ก คน ให้ ฝ่ า ยเลขา ขานว่ า “ผ่ า น” แต่ ถ้ า กรรมการยกมือไม่ครบทุกคน ให้ขานว่า “ไม่ผ่าน” แล้วบันทึกผลไว้ * ขอถามกรรมการทั้งหมดว่า ครัวเรือนของ..(สมาชิกแต่ละครัวเรือน).. ปลอดภัยจากยาเสพติดหรือไม่ ถ้าปลอดภัยกรุณายกมือด้วย * ถ้ า กรรมการยกมื อ ทุ ก คน ให้ ฝ่ า ยเลขา ขานว่ า “ผ่ า น” แต่ ถ้ า กรรมการยกมือไม่ครบทุกคน ให้ขานว่า “ไม่ผ่าน” แล้วบันทึกผลไว้ * ให้ดาเนินการรับรองครัวเรือนเช่นนี้ไปจนครบทุกข่ายครัวเรือน (1.2) ให้บันทึกผลการรับรองลงในแบบทะเบียนคุมสมาชิกกองทุนแม่ของแผ่นดิน (2) การมอบธงสัญลักษณ์ครัวเรือนปลอดภัย (2.1) ให้นาผลการรับรองครัวเรือนมาบันทึกลงในใบรับรองครัวเรือนปลอดภัย และลงนามโดยกรรมการที่ลงมติให้การรับรองเป็นหลักฐานประกอบการรับธงสัญลักษณ์ครัวเรือนปลอดภัย (2.2) จัดพิธีมอบธงสัญลักษณ์อย่างมีเกียรติในวันที่เหมาะสม - เชิญเจ้าหน้าที่รัฐทั้งฝ่ายปกครอง พลเรือน ตารวจ ทหาร (ถ้ามี) เข้าร่วมพิธีเพื่อเป็นสักขีพยานด้วย - การจัดสถานที่ให้มีโต๊ะหมู่บูชา พร้อมเครื่องสักการะพระบรมฉายา ลั ก ษณ์ ครั้ ง ใหญ่ ครั้ ง แรก เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเป็ น สิ ริ ม งคลแก่ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ธงสัญลักษณ์ สาหรับการมอบธงรายย่อยประจาเดือนให้ดาเนินการ ตามความเหมาะสม - ลาดับการปฏิบัติ * ให้เชิญผู้มีเกียรติเป็นประธานในพิธีจุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัยแล้ว เปิดกรวยถวายราชสักการะที่หน้าพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ * เชิญประธานและคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินยืนเรียงกันที่ ด้านซ้ายของโต๊ะหมู่บูชา และเชิญเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง พลเรือน ตารวจ ทหาร ยืนเรียงกัน เพื่อเป็นสักขี พยานที่ด้านขวาของโต๊ะหมู่บูชาด้วย * คณะกรรมการอ่ า นรายชื่ อ ครั ว เรื อ นที่ ผ่ า นการรั บ รองครั ว เรื อ น ปลอดภัย เข้ารับ ธงสัญลั กษณ์จากพานที่หน้ าพระบรมฉายาลักษณ์ฯ (ระหว่างนี้ให้ เปิดเพลงกองทุนแม่ของ แผ่นดินประกอบ) (2.3) การนาธงสัญลักษณ์ไปประดับที่ครัวเรือน - ให้คณะกรรมการและเพื่อนบ้านไปร่วมแสดงความยินดีด้วย - ให้ทุกคนในครัวเรือนนั้นออกมาต้อนรับธงที่หน้าบ้านด้วย  รักษำสถำนะของชุมชนเข้มแข็ง เพื่อเป็นการติดตั้งระบบการป้องกันปัญหายาเสพติดให้กับชุมชนเข้มแข็งกองทุนแม่ ของแผ่นดินให้ชุมชนสามารถควบคุม สถานการณ์ยาเสพติดของชุมชนได้ตลอดไปด้วยชุมชนเอง ในขั้นนี้จึงถือ เป็นขั้นตอนการเสริมสร้างความมั่นคงโดยเป็นการที่สมาชิกยอมให้คณะกรรมการพิจารณาลงความเห็นต่อ

๒๕


ครัวเรือนที่เคยผ่านการรับรองแล้วว่าหากปล่อยให้คนในครัวเรือนไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดหรืออยู่ในข่ายสงสัย อีก จะยอมให้ ย กเลิ ก การรั บ รองและปลดสั ญลั กษณ์คื นให้ กั บคณะกรรมการ ซึ่ งจะการพิ จารณาทุ กรอบ 1 เดื อ น โดยเป็ น การพิ จ ารณาในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการต่ อ จากวาระการพิ จ ารณารั บ รองครั ว เรื อ น ประจาเดือน เมื่อมีการติดตั้งระบบนี้ได้แล้ว จะทาให้ครัวเรือนช่วยกันดูแลครัวเรือนเองอย่างมั่นคง ซึ่งจะส่งผลให้ชุมชนดูแลชุมชนเอง ทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็งในการป้องกันยาเสพติดอย่างยั่งยืน

เมื่อได้รับกำรคัดเลือกให้รับพระรำชทำนเงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน กิจกรรมกำรดำเนินงำนในหมู่บ้ำน/ชุมชนเพื่อเตรียมรับกองทุนแม่ของแผ่นดิน เมื่อผู้แทนหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดินเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้แทนดังกล่าวอัญเชิญ กองทุนแม่ของแผ่นดินกลับสู่หมู่บ้าน/ชุมชน ของตนในวันเดียวกัน และให้มีการดาเนินการในหมู่บ้าน/ชุมชน ดังนี้ 1) หมู่บ้ าน/ชุมชน ที่ได้รั บพระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ จัดพิธีการต้อนรับการ อั ญ เชิ ญ กองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น เข้ า สู่ ห มู่ บ้ า น/ชุ ม ชน โดยจั ด ใน สถานที่ ที่ เ หมาะสมในหมู่ บ้ า น/ชุ ม ชน มี ป ระชาชนในหมู่ บ้ า น พอสมควรเข้าร่วม ทั้งนี้ ให้มี การเชิญผู้นาหมู่บ้าน ชุมชน ทั้งที่เป็น ผู้นาทางการ ผู้นาธรรมชาติ ผู้นากลุ่มจัดตั้งต่างๆ เข้าร่วมพิธีอย่าง พร้อมเพรียง 2) พิธีการสาคัญในหมู่บ้าน/ชุมชน มีดังนี้

๒๖


(๑) ให้หมู่บ้าน/ชุมชน ประกอบพิธีต้อนรับกองทุนแม่ของแผ่ นดิน โดยมีพระบรมฉายา ลักษณ์หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถตั้งอยู่ พร้อมจัดตั้งพานทองวาง หน้ าพระบรมฉายาลั กษณ์หรื อพระบรมสาทิส ลักษณ์ (ในพื้นที่ที่นับถือศาสนาพุทธ อาจนิมนต์พระสงฆ์ใน หมู่บ้าน/ชุมชน เข้าร่ว ม ส าหรับ หมู่บ้านที่นับถือศาสนาอื่ น เช่น ศาสนาอิส ลาม ขอให้ประยุกต์ตามความ เหมาะสมหรือตามหลักศาสนานั้นๆ) (๒) เมื่อผู้แทนหมู่บ้าน ชุมชน ที่อัญเชิญซองบรรจุกองทุนแม่ของแผ่นดินเดินทางมาถึง ให้ประชาชนที่เข้าร่วม ณ สถานที่นั้นลุกขึ้นยืนด้วยความเคารพ และอัญเชิญกองทุนแม่ของแผ่นดินวางไว้บนพาน (๓) พิธีกรเรียนเชิญผู้เป็นประธานในพิธีการ (ซึ่งขึ้นอยู่ กั บ หมู่ บ้ า น ชุ ม ชนนั้ น ๆ จะเป็ น ผู้ เ ลื อ กตามที่ เ ห็ น สมควร) กล่ า วให้ โอวาท หรือกล่าวมอบแนวทางกองทุนแม่ของแผ่นดิน (๔) หากเป็ น ความประสงค์ ข องประชาชน ณ ที่ นั้ น ที่ต้องการแสดงออกซึ่งความจงรักภักดี และพลังของชุมชนเอง จะจัดให้ มีการร่วมระดมทุนในชุมชนเพื่อสมทบกองทุนแม่ของแผ่นดินในหมู่บ้าน ชุมชนนั้นๆ ก็จะเป็นสิ่งที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ที่ควรปฏิบัติ ทั้งนี้ให้ เป็นไปตามความสมัครใจ และเห็นพ้องต้องกันของชุมชน 3) สถานที่เก็บรักษากองทุนแม่ของแผ่นดินของหมู่บ้าน ชุมชน ภายหลังเสร็จสิ้นพิธีการ ให้ เป็นข้อตกลงร่วมกันของชุมชนทั้งชุมชน กำรรับมอบกองทุนแม่ของแผ่นดินในจังหวัด ๑) เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้แทนได้รับพระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้ผู้ว่าราชการ จังหวัดประกอบพิธี และมอบให้แก่หมู่บ้าน ชุมชน โดยเร่งด่วนตามห้วงเวลาที่จังหวัดเห็นสมควร 2) ให้จังหวัดใช้ศาลากลางจังหวัดหรือสถานที่อื่นที่เหมาะสมเป็นสถานที่ประกอบพิธีมอบ เงินกองทุนแม่ของแผ่นดิ นให้แก่ หมูบ้าน ชุมชน โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ประธานในพิธี และผู้แทนของหมู่บ้าน ชุมชนที่ได้รับคัดเลือกมาเป็นผู้รับมอบกองทุนแม่ของแผ่นดิน 3) พิธีการรับมอบกองทุนแม่ของแผ่นดิน ให้แต่ละจังหวัด พิ จ ารณาจั ด ขึ้ น อย่างสมพระเกียรติ โดยมีสาระสาคัญ ประกอบด้วย (๑) ในวันจัดพิธีควรมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ มวลชนจานวนหนึ่งเข้าร่วมงาน (๒) ให้จัดตั้งพระบรมฉายาลักษณ์ หรือ พระ บรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ใน สถานที่ประกอบพิธีที่จุดด้านหน้าเวที หรือที่เหมาะสม และบริเวณ หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ให้จัดตั้งพาน ทองส าหรั บ วางซองสี ฟ้ า ซึ่ง จั งหวัดจะต้องจั ดเจ้า หน้าที่ รับผิ ดชอบดาเนิ นการจัดวางซอง ดังกล่าว ครั้งละ ๑ ซอง ต่อ ๑ หมู่บ้าน (๓) เมื่อผู้เข้าร่วมพิธีการพร้อม ณ บริเวณที่จัด พิธีกรเรียนเชิญผู้ว่าราชการจังหวัดหรือ รองผู้ว่าราชการจังหวัด เปิดกรวยและถวายความเคารพต่อพระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ (๔) พิธีกรเชิญผู้แทนหมู่บ้าน ชุมชน ที่ได้รับการคัดเลือกเข้ารับพระราชทานกองทุนแม่ ของแผ่นดินต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ และกลับเข้าประจาที่จนครบทุกคน

๒๗


ทั้งนี้เมื่อรับซองกองทุนแม่ของแผ่นดินแล้ว ให้ผู้แทนหมู่บ้าน ชุมชน นั้นๆ พึงระลึกว่า เป็น สิ่งของพระราชทานจึงควรระมัดระวัง และถือซองดังกล่าวไว้อย่างเหมาะสม (๕) ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทต่อผู้แทนหมู่บ้าน ชุมชน ที่ได้รับเลือก เพื่อเป็นแนวทาง สาหรับการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดินในหมู่บ้าน ชุมชน (๖) ทุกคนขับร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีพร้อม กัน ทั้ ง นี้ ห า ก จั ง ห วั ด ใ ด จ ะ เ พิ่ ม พิ ธี ก า ร อื่ น ใ ด นอกเหนือจากนี้ หรือปรับขั้นตอนการดาเนินงาน สามารถกระทาได้ ตามที่ เ ห็ น สมควร เช่ น การให้ วิ ท ยากรกระบวนการ หรื อ ผู้ แ ทน หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดินในปีก่อนๆ ที่มีผลการ ดาเนิ น งานดีเ ด่ น มาเล่ า ประสบการณ์ ใ ห้ รั บฟั ง เพื่ อ เป็ น แนวทางที่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ของตนต่อไป เป็นต้น กิจกรรมกำรจัดระบบกองทุนแม่ของแผ่นดินในหมู่บ้ำน/ชุมชน ๑) ในช่วงวันเวลาที่เหมาะสมภายหลังการรับมอบกองทุนแม่ของแผ่นดินแล้ว ให้ผู้นาหมู่บ้าน/ ชุมชน นั้นๆ จัดประชุมประชาคมหมู่บ้าน เพื่อให้คนในหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับทราบรายละเอียดของกองทุนแม่ ของแผ่นดิน โดยจะมีสื่อประกอบการชี้แจง ๒) ในช่วงเดียวกัน ให้มีการจัดระบบกองทุนแม่ของแผ่นดินหมู่บ้าน/ชุมชน แห่งนั้น มีสิ่งสาคัญที่ ต้องดาเนินการ ประกอบด้วย การวางกรอบแนวทางการดาเนินงาน การจัดทาร่างระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดิน การยอมรับระเบียบ การเลือกตั้งกรรมการดูแล ฯลฯ และให้ที่ประชุมประชาคมหมู่บ้านรับรองระเบียบ กองทุนแม่ของแผ่นดินเป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์พระราชทาน “รู้รักสามัคคี” ดังนั้น การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในวงกว้างจึงเป็นสิ่งสาคัญสูงสุด 3) แนวทำงกำรปฏิบัติของหมู่บ้ำนกองทุนแม่ของแผ่นดิน มีการกาหนดไว้อย่างชัดเจน ดังนี้ (๑) กิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติด เช่น สนับสนุนการเดินเวรยาม จุดตรวจหมู่บ้าน/ชุมชน (๒) กิจกรรมป้องกันกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพ และกลุ่มที่เคยค้ายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน มิให้ กลับไปมีพฤติกรรมเดิมอีก (๓) กิจกรรมเสริมสร้างความดีในหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อเป็นแบบอย่าง (๔) กิจกรรมเสริมสร้างความคิด ความรู้ การรวมกลุ่ม การสร้างความตื่นตัว การประชุม และการแลกเปลี่ ยนความรู้ในลักษณะของศูนย์เรียนรู้ เพื่อให้ เกิดกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งในหมู่บ้าน/ชุมชน (๕) กิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบพอเพียงในหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (๖) กิจกรรมการสงเคราะห์ผู้เดือดร้อนหรือ ผู้ตกทุกข์ได้ยากในหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อลดทอนหรือขจัดความ เดือดร้อนตามหลักเมตตาธรรม เช่น อาจเป็นการสงเคราะห์ ช่วยเหลือในรูปของตัวเงิน หรือวัตถุสิ่งของ ซึ่งผู้ได้รับการสงเคราะห์จะคืนกลับมาหรือไม่แล้วแต่กรณี หรือ ตามแต่จะตกลงกัน 4) เพื่อให้หมู่บ้าน ชุมชน ที่ได้รับพระราชทานเงินขวัญถุงมีแนวทางในการปฏิบัติ จึงจัดให้มี

๒๘


แนวทำงกำรจัดทำระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๖ หมวด ดังนี้ - หมวดที่ ๑ ข้อความทั่วไป - หมวดที่ ๒ วัตถุประสงค์ - หมวดที่ ๓ เงินสมทบกองทุนแม่ของแผ่นดิน - หมวดที่ ๔ แนวทางการใช้จ่ายเงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน - หมวดที่ ๕ แนวทางการบริหารกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๕.๑ ว่าด้วยสมาชิกกองทุน ๕.๒ ว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของสมาชิก ๕.๓ ว่าด้วยคณะกรรมการกองทุน ๕.๔ ว่าด้วยการประชุม ๕.๕ ว่าด้วยการดาเนินการด้านการเงินและบัญชี - หมวดที่ ๖ บทเฉพาะกาล โดยระเบี ยบกองทุนแม่ของแผ่นดินนี้ ได้มาจากการตกลงกันของสมาชิกในหมู่บ้ าน/ ชุมชน นั้ นเอง โดยสามารถนาตัว อย่ างของหมู่บ้านอื่นมาเป็นแนวทางการปฏิบัติตามความเหมาะสมของ สถานการณ์แต่ละหมู่บ้านได้ กำรแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์ระหว่ำงหมู่บ้ำน/ชุมชน เมื่อหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดินเรียบร้อยแล้ว เห็นสมควรให้ ศพส.จ ร่วมกับ วิทยากรกระบวนการ หรือผู้มีบทบาทขับเคลื่อนงานกองทุนแม่ของ แผ่นดินในจังหวัด ได้จัดประชุมสัมมนา แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ดาเนินงานให้กับทุกหมู่บ้าน/ชุมชน ที่ได้รับกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประมาณ ๑ – ๒ วัน เพื่อก่อให้เกิดพัฒนาการดาเนินงานในหมู่บ้าน/ ชุมชน ด้วยกัน ทั้ง นี้ เ พื่ อให้ ห มู่ บ้า น ชุ มชน เกิด การพึ่ง พาและพั ฒ นา ตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความสมานสามัคคี และ บรรลุวัตถุประสงค์การจัดตั้งกองทุนแม่ของแผ่นดินอย่างยั่งยืน

๒๙


กิจกรรมหลักที่ ๓ กำรดำเนินงำนศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอำเภอ ๑. แนวคิดเรื่องศูนย์เรียนรู้ชุมชน ควำมหมำยของศูนย์เรียนรู้ชุมชน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน เป็นศูนย์กลางรวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ของชุมชนที่จะนาไปสู่การ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สาหรับประชาชน ในชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ของชุมชน อีกทั้งเป็น แหล่งบริการชุมชนด้านต่าง ๆ เช่น การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการเรียนรู้ ของชุมชน โดยเน้นการ กระบวนการเรียนรู้เพื่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน เพื่ อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ก่อให้เกิดชุมชนแห่ง เรี ย นรู้ และมุ่งการพัฒ นาแบบพึ่งตนเอง เป็นศูนย์ฯ ของประชาชน ที่ดาเนินการโดยประชาชน และเพื่อ ประชาชน ที่จะก่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน จากความหมายข้างต้นจะเห็นได้ว่า ศูนย์ เรียนรู้ชุมชนในความคาดหวังของกรมการพัฒนา ชุมชน ไม่ใช่ศูน ย์ ฝึ กอบรมประจ าหมู่บ้ านที่รอรับการนัดหมายจากวิทยากรภายนอก แต่จะเป็นสถานที่ที่ จะสร้างความผูกพันระหว่างคนในชุมชนกับเรื่องราวของเขาเองเป็นสาคัญ

หลักกำรสำคัญของศูนย์เรียนรู้ชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ทุกด้าน ทุกรูปแบบไม่เน้นการเรียนการสอนในห้องเรียน เป็นศูนย์กลางที่ ประชาชนทุกคนสามารถเข้ามาเรียนรู้ ค้นคว้าหาความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งการ พบปะ สังสรรค์ เพื่อสร้างความเข้าใจ ความร่วมมือในการพัฒนาตนเองและชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของประชาชน โดยประชาชนและเพื่อประชาชน

ภำรกิจของศูนย์เรียนรู้ชุมชน จัดให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนการสืบทอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ของประชาชนในชุมชน เป็นศูนย์รวมของข้อมูล เช่น ข้อมูล จปฐ. กชช.2ค. แหล่งน้า กลุ่มอาชีพ ฯลฯ รวมทั้งข่าวสาร สาระความรู้ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เท่าทันสถานการณ์โลก รวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์ความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน องค์ความรู้ที่มีอยู่กระจัดกระจาย ในชุมชน และจัดการให้เป็นหมวดหมู่ มีความชัดเจนเป็นรูปธรรม ที่ประชาชนสามารถเข้าไปสืบค้นศึกษาและ เรียนรู้ได้ทุกเวลา เป็นศูนย์กลางในการจัดการความรู้ ที่ดาเนินการโดยประชาชนและเพื่อประชาชน เป็นศูนย์ ประสานและบูรณาการการทางานของทุกภาคส่วน ภาคประชาชน ได้แก่ ผู้นา กลุ่ม/องค์กร เครือข่าย ภาคเอกชน และภาคีการพัฒนาภาครัฐ

๓๐


เป็นสถานที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน เป็นสถานที่ที่มีโครงสร้างเป็นอาคาร หรือสถานที่ใด ๆ ก็ได้ ที่มีองค์ความรู้ สามารถให้การเรียนรู้แก่ประชาชนที่ต้องการความรู้ สามารถเข้าถึงได้

องค์ประกอบ 1) วิธีกำรก่อเกิด ศูนย์เรียนรู้ชุมชน จะเกิดขึ้นได้ต้องเป็นความต้องการของประชาชนในชุมชน เพราะจะเป็น สมบัติของชุมชน จึงควรนาแนวคิดเข้าเวที ประชุมประชาคมของ หมู่บ้าน เผยแพร่ความคิด โน้มน้าวสร้างการยอมรับ และชี้ให้เห็น ความส าคัญ ของการมี แหล่ งเรี ย นรู้ ของชุม ชน การจั ดเก็ บองค์ ความรู้ ประวัติชุมชน และภูมิปัญญาของชุมชนอย่างเป็นระบบ การแสดงข้ อมูล ข่ าวสารของชุมชนให้ ได้ เรี ยนรู้กันอย่าง ทั่ว ถึ ง รวมทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สม่าเสมอ โดยเริ่มจากการจัด ระเบี ยบแหล่งเรี ยนรู้ ที่มีอยู่ ในชุมชน และให้เป็นไปตามกาลั งที่ ชุมชนจะสามารถดาเนินการได้ อีกทั้งให้มีขอบเขต และลักษณะตามความเห็นของชุมชน 2) โครงสร้ำง ของศูนย์เรียนรู้ชุมชน ประกอบด้วย * คณะกรรมกำร ประกอบด้วยผู้แทนจากผู้นาชุมชน กลุ่ม/องค์กร เครือข่าย องค์กรชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน อาสาสมัคร ฯลฯ โดยมาจากการคัดเลือกของชาวบ้านเอง และชาวบ้านให้การ ยอมรับ ซึ่งคณะกรรมการจะร่วมมือกันวางแผน และดาเนินตามแผนยุทธศาสตร์ที่ได้ร่วมกันกาหนด เพื่อระดม พลังให้เกิดการเรียนรู้และบริหารจัดการในศูนย์เรียนรู้ให้สามารถดาเนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ * ที่ปรึกษำ เป็นภาคีการพัฒนาภาครัฐ เช่น พัฒนาชุมชน การศึกษานอกโรงเรียน เกษตร สาธารณสุข และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น * ระเบียบข้อบังคับ ซึ่งคณะกรรมการฯ ได้จัดทาขึ้นที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็น แนวทางในการบริหารศูนย์ฯ * สถำนที่ เล็กใหญ่ไม่สาคัญ อาจจะอยู่ในห้องของอาคาร อบต. บ้านผู้ใหญ่บ้าน บ้าน ผู้นา บ้านปราชญ์ชาวบ้าน ศาลาวัด ใต้ต้นไม้ ศาลากลางบ้าน ซึ่งเป็นสถานที่ให้พบปะ ประชุม ทางานกันได้ ตลอดเวลา ให้เป็นสถานที่ที่เป็นสัญลักษณ์ของการรวมตัวกัน เพื่อการเรียนรู้ ไม่จาเป็นต้องหางบประมาณมา ก่อสร้างศูนย์ใหม่ * กำรบริหำรจัดกำรศูนย์ฯ คณะกรรมการฯ ที่ได้รับการคัดเลือก มีการบริหารจัดการ เพื่อให้ศูนย์ฯ สามารถบริหารจัดการได้อย่างเป็นรูปธรรม * งบประมำณ เพื่อพัฒนาคณะกรรมการของศูนย์เรียนรู้ชุมชนให้สามารถทางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ที่จาเป็นในการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชน โครงสร้างทั้งหมดนี้ ไม่จาเป็นต้องเกิดขึ้นมาครบถ้วนในระยะเริ่มแรก ขอให้ศึกษาเพิ่มเติม ในแนวทางการดาเนินงาน ซึ่งอยู่ในบทต่อไป

๓๑


3) กิจกรรมกำรเรียนรู้ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ 3.1 สถานที่จัดกิจกรรมเรียนรู้ อาจดาเนินการได้ทั้งในอาคารศูนย์ฯ และนอกอาคารศูนย์ฯ โดยมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน เช่น บ้านปราชญ์ชาวบ้าน ในไร่นา เพื่อสาธิตกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น การปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ 3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ การเรียน/การสอน การจัดการความรู้เกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาของชาติพันธุ์ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การรับความรู้จากปราชญ์ชาวบ้าน การจัดเวทีประชาคมเพื่อ การเรียนรู้และการตัดสินใจร่วมกัน การเรียนรู้ผ่าน E-Learning การสาธิต การจัดนิทรรศการ การจัดสัมมนา อภิปราย ฯลฯ 4) เนื้อหำสำระข่ำวสำรควำมรู้ ประกอบด้วย 4.1 ข้อมูล ได้แก่ ข้อมูล จปฐ. กชช.2ค ทะเบียนผู้นา กลุ่ม/องค์กร ข้อมูลผลิตภัณฑ์ชุมชน ท้องถิ่น อัตลักษณ์ของชุมชน แผนชุมชน โครงการกิจกรรม ฯลฯ 4.2 ข่าวสาร (สารสนเทศ) ได้แก่ * สารสนเทศชุมชน 13 องค์ประกอบ ได้แก่ ประวัติหมู่บ้าน แผนที่ตั้ง ลักษณะภูมิ ประเทศ (ภูมิอากาศ/ฤดูกาล) ลักษณะของประชากร (อัตราความหนาแน่น/โครงสร้างประชากร) ลักษณะการ ประกอบอาชีพของชุมชน (เกษตร/อุตสาหกรรม/รับจ้าง ฯลฯ) ผลิตภัณฑ์มวลรวมของหมู่บ้าน ผลิตภัณฑ์ที่ น่าสนใจของหมู่บ้านศิลปะ/วัฒนธรรม/ภูมิปัญญาของหมู่บ้าน สถานที่ท่องเที่ยว/สถานที่บริการ การคมนาคม (การเดินทางไปยังหมู่บ้าน) ประเพณี/เทศกาลประจาปี ทักษะ/ฝีมือ/แรงงานของหมู่บ้าน อื่น ๆ * ข่าวสารเพื่อชีวิต * ข่าวสารเพื่อการพัฒนาหมู่บ้าน 4.3 ความรู้ ได้แก่ ความรู้ด้านวัฒนธรรม การประกอบอาชีพ/ผลิตภัณฑ์ชุมชน องค์ความรู้ที่ ชุมชนต้องการ เพื่อค้นหาอัตลักษณ์ชุมชน ความรู้ที่มีอยู่ในหมู่บ้าน ความรู้ข่าวสารจากภายนอก

ขั้นตอนกำรดำเนินงำนศูนย์เรียนรู้ชุมชน จัดเวทีประชาคมเผยแพร่ความคิด ชี้แจงวัตถุประสงค์ และประโยชน์ของศูนย์เรียนรู้ชุมชน สรรหาแกนน า แต่งตั้ งคณะทางานของหมู่บ้ าน ส ารวจและจั ดทาจุดเรีย นรู้ แกนนาเก็บ ข้อมู ล คนเก่ ง ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน ในเรื่องต่าง ๆ แกนนาค้นหา ผู้รู้ที่จะบอกเล่าประวัติของหมู่บ้านได้ จัดทาแผนที่จุดเรียนรู้ ของหมู่บ้าน ขั้นตอนที่ 1 จัดเวทีประชาคม เพื่อรับรองความเที่ยงตรงขององค์ความรู้ ภูมิปัญญา ประวัติ หมู่บ้าน และข้อมูล และชี้ให้เห็นความสาคัญของการมีศูนย์เรีย นรู้ชุมชนเพื่อเก็บรักษาองค์ค วามรู้ ภูมิปัญญา ประวั ติ ห มู่ บ้ า น และข้ อ มู ล ให้ อ ยู่ ใ นสถานที่ ที่ ทุ ก คนในชุ ม ชนจะใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ พร้ อ มกั บ สรรหาคณะ กรรมการบริหารและดาเนินการศูนย์เรียนรู้ชุมชน ขั้นตอนที่ 2 จัดประชุมร่วม แกนนา อาสาสมัคร และคณะกรรมการบริหารศูนย์ ฯ เพื่อออกแบบการจัดตั้ งและ ดาเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน และวางแผนปฏิบัติการจัดตั้งและ ดาเนิ น งานศู น ย์ เรี ย นรู้ ชุ มชน ในขั้น ตอนนี้ ต้อ งให้ ท ราบได้ว่ า

๓๒


อาคารที่จะใช้เป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจะใช้อาคารที่มีอยู่ในชุมชน หรือจะก่อสร้างอาคารใหม่ ถ้าจะก่อสร้างใหม่ จะใช้ที่ใด มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ต้องใช้งบประมาณเท่าใด จะหาเงินจากที่ใด ถ้าใช้อาคารที่มีอยู่ แล้วจะต้องปรับปรุงเพื่อใช้งานเพียงใด ต้องใช้งบประมาณเท่าใด จะหาเงินจากที่ใด ขั้นตอนที่ 3 สารวจแหล่งงบประมาณ ศึกษาระเบียบการของแหล่งงบประมาณ เขียนโครงการ เสนอขอรับการสนับสนุน ขั้นตอนที่ 4 สร้าง/ปรับปรุงอาคาร แล้วบรรจุข้อมูลข่าวสารความรู้ไว้ในอาคาร ขั้นตอนที่ 5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายในชุมชน ขั้นตอนที่ 6 คณะกรรมการบริหารศูนย์กาหนดระเบียบการบริหารศูนย์เรียนรู้ชุมชน โดยให้มี ประเด็นสาคัญอย่างน้อย 2 เรื่อง คือ การดูแลบารุงรักษาอาคารศูนย์จะทาอย่างไร และการใช้อาคารจัด กิจกรรมจะต้องทาอย่างไร

๒. ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน วัตถุประสงค์ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน 1) เสริมสร้างให้เกิดศูนย์การเรียนรู้ด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ขึ้นเพื่อเป็นตัวอย่างใน การถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์แก่พื้นที่อื่นๆ 2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา แลกเปลี่ยน และเผยแพร่องค์ความรู้ในการแก้ไข ปัญหายาเสพติด

เป้ำหมำยศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็ น หมู่ บ้ า นกองทุ น แม่ข องแผ่ น ดิน ซึ่ง มีรู ปแบบประสบการณ์ก ารแก้ ไขปัญหายาเสพติด ที่ สามารถเป็นแบบอย่างให้พื้นที่อื่นได้เรียนรู้นาไปประยุกต์ใช้ได้ เกิดจากการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนนั้นๆและ มีความพร้อม ความสมัครใจในการที่จะเป็นศูนย์เรียนรู้ เพื่อการศึ กษาดูงานในอนาคตต่อไปได้ จานวน 878 ศูนย์ (อาเภอละ ๑ ศูนย์) หมู่บ้านทั้งหมด หมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน

๓๓


กลไกกำรดำเนินงำนศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน - คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผนดินและเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ อาเภอ เป็นผู้คัดเลือกกองทุนของแผ่นดินแม่ดีเด่นและสนับสนุนการดาเนินงาน - คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินหมู่บ้าน เป็นผู้ดาเนินการจัดตั้งและบริหารงานตามแนวทางที่ กาหนด

ลักษณะประสบกำรณ์/องค์ควำมรู้ของศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน 1) ข้อมูลสารสนเทศของชุมชน ๒) แผนผังแสดงโครงสร้างคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน และบทบาทหน้าที่ ๓) วิธีการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน/กิจกรรมและวิธีการดาเนินกิจกรรมกองทุนแม่ของ แผ่นดินที่ดาเนินการภายในชุมชน เช่น กระบวนการแก้ปัญหายาเสพติดที่ชุมชนดาเนินการ ทั้งด้านการ ป้องกัน ปราบปราม บาบัดรักษา และการเสริมสร้างความเข้มแข็งของกองทุน ๔) ผลงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๕) สื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับยาเสพติดรูปแบบต่างๆ ๖) ทาเนียบวิทยากรกระบวนการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๗) บุคคลต้นแบบด้านต่างๆ เช่น บุคคลต้นแบบในการต่อต้ายยาเสพติด ผู้ค้า ผู้เสพที่กลับตัว กลับใจเป็นพลังของแผ่นดิน ๘) จุดเรียนรู้ หรือสถานที่ในการเฝ้าระวัง ป้องกันกลุ่มเสี่ยง เช่น ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น ลานกีฬา ลานดนตรี ฯลฯ ๙) นิทรรศการแสดงผลงานด้านต่างๆ ของกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๑๐) อื่น ๆ

ขั้นตอน วิธีกำรดำเนินงำนศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ๑) คณะกรรมการสนั บ สนุ น การขั บเคลื่ อนกองทุ นแม่ข องแผ่ นดิ น ระดั บอ าเภอ จั ดให้ มี การ ประชาคมเผยแพร่ความคิด วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของศูนย์เรียนรู้ แก่คณะกรรมการกองทุนแม่ของ แผ่นดินทุกกองทุน ๒) คณะกรรมการสนับสนุนการขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดิน ระดับอาเภอร่วมกับเครือข่าย กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ คั ดเลือกหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ที่มีผลการดาเนินงานแก้ไขปัญหา ยาเสพติดและมีความพร้อมที่จะเป็นศูนย์ เรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้เป็นศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับ อาเภอ ทั้งนี้ให้พิจารณาหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดินที่มีศูนย์เรียนรู้ชุมชนอยู่แล้วเป็นลาดับแรก ๓) สร้างความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้กับคณะกรรมการกองทุนแม่ของ แผ่นดินที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอาเภอ ๔) คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินและสมาชิก ร่วมกันคัดเลื อกคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ ชุมชน จานวน ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ รวมทั้งการคัดเลื อกที่ปรึกษาศูนย์เรียนรู้ฯ ซึ่งอาจเป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือผู้นาชุมชนระดับตาบลก็ได้ ๕) วางแผนการดาเนินงาน จัดหางบประมาณ

๓๔


๖) จัดทาระเบียบศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ระเบียบการให้บริการบุคคลภายนอกชุมชน ๗) ปรับปรุงอาคารสถานที่ ๘) สรุปข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน/ชุมชน ๙) สรุปวิธีการและกิจกรรมดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ๑๐) สรุปผลงานในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ๑๑) จัดทาสื่อและวัสดุอุปกรณ์ ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ และพัฒนาสื่อและวั สดุอุปกรณ์ให้มี ประสิทธิภาพอยู่เสมอ ๑๒) บรรจุข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ สื่อต่างๆ ไว้ในอาคาร ๑๓) พัฒนาวิทยากรผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ๑๔) จัดให้มีบุคคลต้นแบบ/จุดเรียนรู้ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๑๕) จัดให้มีการเพิ่มทักษะการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ ๑๖) ประชาสัมพันธ์การดาเนินงานผ่านช่องทางต่างๆ

๓๕

๓๔


บรรณำนุกรม รัตนะ บัวสนธ์. (2552). ปรัชญำกำรวิจัย. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยำกำรวิจัยทำงพฤติกรรมศำสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศูนย์วิชาการสารเสพติดภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. นำนำสำระยำเสพติด. สืบค้นเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ์ ศูนย์อานวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ. แผนยุทธศำสตร์ปี 2555. สืบค้นเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕,http://nccde.oncb.go.th/index.php?option=com_wrapper&view=wrapper& Itemid=71 สานักงาน ป.ป.ส. (๒๕๕๕). แนวทำงพัฒนำ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” สู่ควำมยั่งยืน.เอกสารอัดสาเนา สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. ควำมรู้เกี่ยวกับยำและสำรเสพติด. สืบค้นเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕, http://www1.oncb.go.th/document/p1-know05.htm สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. แนวทำงกำรดำเนินกำร “กองทุนแม่ของ แผ่นดิน”. สืบค้นเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ http://hmf-oncb.com/% สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.ปฏิทินกองทุนแม่ของแผ่นดิน. สืบค้นเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕, http://www.kongtunmae-oncb.com/index.php สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสมุทรปราการ. คุณสมบัติของหมู่บ้ำน / ชุมชน. สืบค้นเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕, http://www3.cdd.go.th/samutprakan/Menumom7.html สานักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน.(๒๕๕๑). คู่มือ..ศูนย์เรียนรู้ชุมชน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สุภัชนิญค์ พริ้นติ้ง กรุ๊ป จากัด สุขบัญญัติแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข. ปัญหายาเสพติด. สืบค้นเมื่อ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕, http://www.nmt.ac.th/product/web/1/d5.html

๓๕


คณะผู้จัดทำ

๓๖

ที่ปรึกษำ นายประภาศ นางกอบแก้ว นายพิสันติ์ นายนิสิต นางสาวขนิฎฐา

บุญยินดี จันทร์ดี ประทานชวโน จันทร์สมวงศ์ กาญจนรังษีนนท์

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน นักวิชาการพัฒนาชุมชนเชี่ยวชาญ

จันทร์สมวงศ์ ถนอมทรัพย์ รอดบุญธรรม แย้มพุทธคุณ นาสรร พุ่มพวง เดชคงแก้ว

รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ผู้อานวยการกองแผนงาน หัวหน้ากลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ กองแผนงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ กองแผนงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ กองแผนงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ กองแผนงาน

คณะผู้จัดทำ นายนิสิต นายวสันต์ นางสาวชนมณัฐ นางรัชตา นายกิตติทัศน์ นางสาวสิริผกา นางสาวถิระรัตน์

สนับสนุนข้อมูล คณะทางานฝ่ายวิชาการ คณะทางานขับเคลื่อนพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด กรมการพัฒนาชุมชน สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสมุทรปราการ

จัดพิมพ์โดย กลุ่มงานนโยบายและยุทธศาสตร์ กองแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน โทร. 0-2141-6234 โทรสาร 0-2143-8917-8 http://www.plan.cdd.go.th/


คู่มือ วิทยากรกระบวนการ โครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ชัยชนะยาเสพติดที่ยั่งยืน สนองพระราชปณิธาน

จัดทาโดย

กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายใน ร่วมกับ สานักงาน ป.ป.ส.


กล่าวนา การต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดในอดีตที่ผ่านมา เราเริ่มต้นจากการที่ภาครัฐเป็นแกนหลักในการ แก้ไขปัญหาแต่ในการปฏิบัติก็ไม่สามารถเอาชนะได้เพียงภาครัฐเท่านั้น ในระยะต่อมาปัญหาบางอย่าง เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะให้ประชาชนเป็นผูร้ ่วมแก้ไขปัญหา และหากต้องการให้ปัญหานี้แก้ไขได้อย่างยั่งยืน ในอนาคตจาเป็นต้องให้ประชาชนเป็นกลไกหลัก เองโดยภาครัฐสนับสนุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการป้องกัน และการเฝ้าระวังในระดับชุมชน ซึ่งจะสาเร็จได้ต้องใช้พลังชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพจนบังเกิดเป็นพลัง แผ่นดินที่แท้ ซึ่งจะได้ผลที่มีความต่อเนื่องยาวนานมากกว่ากลไกใดๆ แต่หนทางที่จะนาแนวทางดังกล่าว ไปสู่เชิงนโยบายได้นั้น ก็ยังไม่บังเกิดขึ้นจนกระทั่งได้มีการริเริ่มโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ทาให้มี หมู่บ้าน/ชุมชนจานวนมากสามารถรักษาสภาพความเข้มแข็งในการเอาชนะยาเสพติดไว้ได้อย่างยั่งยืนใน ระดับชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม แต่หากไม่สามารถขยายชัยชนะเป็นพื้นที่โดยกว้างและเสริมความมั่นคง เป็นพื้นที่ได้ ฝ่ายยาเสพติดอาจหวนกลับมาได้รับชัยชนะ ความเดือดร้อนของชุมชนย่อมเกิดขึ้นอีกอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงจาเป็นต้องเร่งขยายหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืนกองทุนแม่ ของแผ่นดินให้บรรลุผลโดยเร็ว “โครงการกองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น ” เป็ น โครงการที่ น้ อ มน าเอาพระบารมี ข องสถาบั น พระมหากษัตริย์ลงมาสู่ชุมชนเพื่อเป็นศูนย์รวมใจให้เกิดพลังความรักสามัคคีอย่างสูงสุด ชุมชนที่เข้าร่วม โครงการจึงต้องมีความเข้าใจ ศรัทธาและจงรักภักดีอย่างแท้จริง ตลอดจนกระทั่งมีแนวทางการปฏิบัติใน การดาเนินโครงการที่มีเป้าหมายชัดเจนจนสามารถรัก ษาชัยชนะด้วยพลังของชุมชนไว้ได้เองอย่างยั่งยืน แม้ไม่มีภาครัฐหรือปัจจัยภายนอกเข้าไปสนับสนุนในอนาคต การถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ต่างๆ จึงจาเป็นต้องมีวิทยากรกระบวนการเข้าไปชี้แนะต่อผู้นา/แกนนาชุมชน คล้ายการจัดการฝึกอบรม หรือเข้าไปปฏิบัติต่อชุมชนโดยตรงในพื้นที่ บทบาทของวิทยากรกระบวนการจึงมีความสาคัญมากในการ เอาชนะยาเสพติดของชาติอย่างยั่งยืนดังกล่าวแล้ว ฉะนั้นผู้ที่อาสาเป็นวิทยากรกระบวนการกองทุนแม่ ของแผ่นดินฯ จึงต้องมีเทคนิควิธีการต่างๆ ในการถ่ายทอดแก่กลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดความคิดเองได้ ของชุมชน คู่มือวิทยากรกระบวนการ โครงการกองทุนแม่ของแผ่นดินเล่มนี้ เป็นการรวบรวมเทคนิควิธีการ ต่างๆ ที่วิทยากรในพื้นที่ต่าง ๆ ได้เคยใช้ได้ผลมาแล้ว เพื่อเป็นแนวทางขั้นต้นให้กับผู้อาสาเป็นวิทยากร ใหม่ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาอันสาคัญยิ่งของชาติให้บรรลุผล เป็นการสร้างบุญกุ ศลอันยิ่งใหญ่ให้กับตัว วิ ท ยากรเอง เป็ น การสนองคุ ณ ประเทศชาติ ที่ มี ค่ า ยิ่ ง และเป็ น การถวายงานท าความดี แ ก่ ส ถาบั น พระมหากษัตริย์ที่ดีที่สุดอีกทางหนึ่งด้วยการใช้ขีดความสามารถในการเป็นวิทยากรของเรา หากคู่มือวิทยากรเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ได้นาไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิได้บ้างไม่มาก ก็น้อยคณะผู้จดั ทาก็ภูมใิ จอย่างยิ่งแล้ว และขออุทิศบุญกุศลนี้ให้แด่บรรพชนไทยผู้กู้ชาติและรักษาชาติใน อดีตทุกพระองค์ ทุกคน ทุกท่าน พวกเราผู้อาสาเป็นวิทยากรทุกคนจะขออาสาทาความดีเพื่อแผ่นดินเยี่ยง บรรพชนไทยทุกโอกาสที่จะกระทาได้ คณะผูจ้ ัดทา กันยายน ๒๕๔๙


สารบัญ หน้า กล่าวนา ตอนที่ ๑ บทบาทของวิทยากรในการจัดการอบรมผู้นาแกนนาชุมชน  แนวความคิดในการปฏิบัติ  แนวทางในการจัดทาร่างกาหนดการอบรม  กาหนดการจัดการอบรมผู้นาแกนนาชุมชน  รายละเอียดการปฏิบัตต ิ ามกาหนดการ o การลงทะเบียน o การปฐมนิเทศ o การเสนอสื่อ “วีซีดีกองทุนแม่ของแผ่นดิน”(อย่างย่อ) o พิธีเปิด o การบรรยายพิเศษเพื่อจุดประกาย o การบรรยายเรื่อง “ใต้รม ่ พระบารมี” o พิธีเปิดแบบมีส่วนร่วม o อปริหานิยธรรม o การบรรยายเรื่อง “ความฝันอันสูงสุด” o กิจกรรมวนสถานี(Walk Rally) ความรู้เรื่องยาเสพติด o กิจกรรมแผนที่ความคิดเรื่อง “ทาไมการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนจึงไม่ยั่งยืน” o การบรรยายเรื่อง “เกิดมาทาไมและจะมีชีวิตอยูต ่ ่อไปเพื่ออะไร?”(๑) o การบรรยายเรื่อง “ผู้นา” o กิจกรรมกลุ่มเรื่อง “ผู้นา” o คาขวัญผู้นา o เพลง “ผู้นา” o การบรรยายเรื่อง “เกิดมาทาไมและจะมีชีวิตอยูต ่ ่อไปเพื่ออะไร?”(๒) o การบรรยายเรื่อง “หลักกรรม” o การบรรยายเรื่อง “ทาไมโหราศาสตร์จึงกล้าทานายชะตาชีวิตของคนเราได้?” o การฝึกสมาธิเบื้องต้น o การบรรยายเรื่อง “ประวัติศาสตร์ชาติไทย” o ทบทวนทุนทางสังคมของชุมชนในอดีต o ทบทวนการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดที่ไม่ได้ผลในอดีต o เรียนรูก ้ ระบวนการต่อสูเ้ อาชนะยาเสพติดของชุมชนที่ได้ผล o การจัดทาแผนปฏิบัติการเอาชนะยาเสพติดของชุมชน o การจัดทาแผนปฏิบัติการเสริมความมั่นคงชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด o การจัดทาแผนเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดของชุมชน


o o o o o o o o o

การบรรยายเรื่อง “กองทุนยาเสพติดชุมชน” การบรรยายเรื่อง “ปรัชญาแนวคิดโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน” การบรรยายเรื่อง “แนวทางการใช้เงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน” การบรรยายเรื่อง “พระผู้เป็นพลังของแผ่นดิน” การบรรยายเรื่อง “บทวิถีชีวิตหนึ่ง” แนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน แนวทางการจัดทาระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดิน กระบวนการเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืนกองทุนแม่ของแผ่นดิน พิธีถวายงานเพื่อร่วมสนองพระราชปณิธานฯ

ตอนที่ ๒ บทบาทของวิทยากรในการในการเข้าปฏิบัติการในชุมชน  แนวความคิดในการปฏิบัติ  ลาดับการปฏิบัติของวิทยากรต่อชุมชน ภาคผนวก  กรณีศก ึ ษาบ้านชะไว หมู่ที่ ๑ ตาบลชะไว อาเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง  กรณีศึกษาบ้านจรเข้น้อย หมู่ที่ ๒ ตาบลเกาะไร่ อาเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา  ตัวอย่างระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดิน  คุณสมบัติของผู้แสดงธรรม


แนวความคิดในการปฏิบัติ โครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นแนวทางในการสร้างพลังความรักความสามัคคีให้บังเกิดมี ขึ้นในชุมชนจากสิ่งที่เป็นนามธรรมให้มีผลออกมาเป็นรูปธรรมและเมื่อเกิดขึ้นแล้วจาเป็นต้องมีกิจกรรมที่ เป็นสิ่งชี้วัดความยั่งยืนได้ด้วย วิทยากรควรมีบทบาทในการปฏิบัติ ๒ แนวทางได้แก่ บทบาทในการเป็น วิทยากรกระบวนการฝึกอบรมผู้นาแกนนาชุมชน และบทบาทในการเข้าดาเนินการต่อชุมชนโดยตรง สาหรับบทบาทในการเป็นวิทยากรกระบวนการฝึกอบรมนั้นเป็นการปฏิบัติที่ผู้รับผิดชอบโครงการได้นา ผู้นาและราษฎรแกนนาของหมู่บ้านชุมชนเป้าหมายมาเข้ารับการอบรมในสภาพการณ์ที่วิทยากรสามารถ ควบคุมการปฏิบัติได้ทั้งหมด ในบทบาทนี้วิทยากรควรดาเนินการต่อกลุ่มเป้าหมายตามลาดับดังนี้ ลาดับแรก ปลุกเร้าให้กลุ่มเป้าหมายซาบซึ้งในพระบารมีของสถาบันพระมหากษัตริย์ และน้า พระราชหฤทัย ของล้นเกล้า ล้นกระหม่อมของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หั วและสมเด็จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ที่มีต่อพสกนิกรไทยตั้งแต่อดีต -ปัจจุบัน ซึ่งได้พระราชทานบทเพลง “ความฝันอัน สูงสุด” ให้แก่ทหาร ตารวจ พลเรือน และพสกนิกรที่อาสาป้องกันรักษาชาติเพื่อเป็นกาลังใจทุกคน โดย ยังไม่กล่าวถึงน้าพระหฤทัยเรื่องยาเสพติด ลาดับสอง ให้ความรู้เรื่องสงครามยาเสพติด ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของยาเสพติดทีผ่ ่าน มา เพื่อปลุกจิตสานึกให้ตระหนักถึงภัยคุกคามจากยาเสพติดที่มีผลต่อสังคม ชุมชน ครอบครัว และภาวะ ผู้นาของชุมชนทุกกลุ่ม รวมทั้งให้เห็นการต่อสู้ของภาครัฐและทุกภาคส่วนที่ผ่านมามักไม่บรรลุผลสาเร็จ อย่างยั่งยืนหากภาคประชาชนและชุมชนไม่ให้ความร่วมมือ ยกตัวอย่างชุมชนที่ได้ผลยั่งยืนในเวลาต่อมา เป็นเพราะผู้นาสร้างความร่วมมือในชุมชนขึ้นได้ แต่หากคณะผูน้ าที่เข้มแข็งสิ้นสุดลง เหตุการณ์จะเป็น เช่นไรต่อไป ลาดับสาม ปลุกจิตสานึกภาวะผูน้ าให้กล้าแสดงออกและมีความต้องการอย่างแรงกล้าที่จะอาสา แก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนให้บรรลุผลอย่างยั่งยืนในยุคสมัยของตน เพื่อเป็นคุณูปการแก่คนรุ่น หลังต่อไปภายหน้า โดยมีประเด็นหลักได้แก่การปลุกให้เห็นประโยชน์อย่างยิ่งที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ และ ยังมีโอกาสที่จะทาความดีสร้างบารมีได้มากกว่าคนอื่นซึ่งถือเป็นโชคดีและวาสนาที่ได้รับการยอมรับให้ เป็นผู้นาหรืออยู่ในทีมผูน้ าของคนในชุมชน กับให้สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นกับกลุ่มผู้นาให้ได้ หากมี อยู่แล้วให้วิทยากรเสริมความมั่นคงให้มากขึน้ ลาดับสี่ ชี้ให้เห็นถึงการแก้ไขหรือป้องกันปัญหายาเสพติดของชุมชนในอดีต ทาไมจึงแก้ไขไม่ได้ แม้ชุมชนที่เคยแก้ไขได้แต่ก็ไม่ยั่งยืน เป็นเหตุเพราะมักผลักภาระให้เป็นของภาครัฐฝ่ายเดียว ชุมชนมุ่ง แต่จะพึ่งพาปัจจัยภายนอกมากกว่าการระเบิดจากข้างในที่ผนู้ าอยากทาและปลุกกระแสให้คนในชุมชน อยากทาด้วย โดยมุ่งชี้ให้เห็นความจาเป็นที่ต้องมี “กองทุนยาเสพติดชุมชน” ลาดับห้า ให้ความรู้เรือ่ งกองทุนยาเสพติดชุมชน แนวทางการจัดการกองทุน ด้านการระดมทุน ทรัพย์ และ ทุนทางสังคม กับการใช้จ่ายกองทุนเพื่อการแก้ไขปัญหา ป้องกันและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด รวมทั้งการเฝ้าระวังอย่างยั่งยืนด้วยระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง ลาดับหก นาเสนอโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน และการปรับเปลี่ยนจากกองทุนยาเสพติด ชุมชนไปเป็นกองทุนแม่ของแผ่นดินชุมชน..... โดยเน้นความศักดิ์สิทธิ์ของเงินขวัญถุง ให้ซาบซึง้ ถึงพระ


บารมีของสถานบันพระมหากษัตริย์ที่มีต่อการแก้ไขวิกฤตปัญหายาเสพติด มีการเสนอตัวอย่างหมู่บ้าน/ ชุมชน กองทุนแม่ฯ ที่ประสบผลสาเร็จ หรือมีการบรรยายพิเศษของสมาชิกโครงการกองทุนแม่จากชุมชน อื่นๆ ที่อาสาเป็นวิทยากรเสริม เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดกาลังใจ และเห็นความเป็นไปได้ในการดาเนิน โครงการฯ กับให้มีการแนะนาการปฏิบัติการกองทุนแม่ฯ ในรายละเอียดรวมถึงการร่างระเบียบกองทุนฯ ลาดับเจ็ด แนะนากระบวนการเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็ง เอาชนะยาเสพติดย่างยั่งยืน ครั้งที่ ๑ (ขั้น ๑-๕) ชุมชนจะสามารถเอาชนะปัญหายาเสพติดขั้นต้นได้หากสามารถขจัดผู้ค้า-ผู้เสพเสียได้ (แผนปฏิบตั ิยาเสพติด) และทาให้เกิดการเสริมความมั่นคงในชัน้ แรก (แผนปฏิบัติเสริมความมัน่ คงฯ) ได้ด้วยการมีกองทุนยาเสพติดของชุมชนเอง ลาดับแปด แนะนากระบวนการเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน ครั้งที่ ๒ (ขั้น ๖-๗) และเมื่ อ ได้ พั ฒ นากองทุ น ยาเสพติ ด ชุ ม ชนเป็ น กองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น ขึ้ น แล้ ว ก็ จ ะเป็ น การ เสริมสร้างความมั่นคงต่อชัยชนะยาเสพติดเป็นชั้นที่สอง แล้วนาเสนอการนาไปสู่การจัดตั้งเครือข่าย ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดและการพัฒนาเครือข่ายเพื่อเป็นการเสริมความมั่นคงต่อการเอาชนะยา เสพติดชั้นที่สาม


แนวทางในการจัดทาร่างกาหนดการอบรม เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความเข้าใจเป็นลาดับถึงการดาเนินงานโครงการกองทุนแม่ ของแผ่น ดิน จึง ให้ทีมวิทยากรกระบวนการพิจ ารณาจั ดทาร่า งกาหนดการปฏิ บัติการอบรมอย่างเป็ น กระบวนการ โดยให้มีเรื่องต่าง ๆ อย่างครบถ้วนดังนี้ ๑. หัวข้อหลัก – ได้แก่เรื่องที่ผู้เข้ารับการอบรมจาเป็นต้องเรียนรู้อย่างเป็นลาดับ จะละเว้นไม่ได้ ทีมวิทยากรจะต้องปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดหัวข้อหลักที่จะให้ความรู้แก่ผู้เข้ารับการ อบรมอย่างเป็นกระบวนการ ๒. กิจกรรมเสริม – ได้แก่ กิจกรรมหรือเรื่องปลีกย่อยที่จะสนับสนุนให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความเข้าใจในหัวข้อหลักได้มากที่สุด ซึ่งอาจใช้ความสามารถของวิทยากรในการกาหนด กิจกรรมเสริมที่ถนัดของตนเองและเหมาะสมกับผู้เข้ารับการอบรม ๓. การปฏิบัติประจาวัน - ได้แก่การจัดกิจกรรมการปฏิบัติที่เป็นประจาของผู้เข้ารับการอบรม ในห้วงเวลาที่อยู่ในระหว่างรับการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับการรับการเรียนรู้จากวิทยากร ไม่ ขัดแย้งกับกระบวนการ เช่น ควรนอนเวลาใด ก่อนนอนจะทาอะไร ควรตื่นเวลาใด ตื่นแล้ว ควรทาอะไร ควรพักเวลาใด ช่วงพักควรมีกิจกรรมอะไร ๔. พิธีการ – พิธีกรรม – ได้แก่การจัดให้มีพิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเห็นว่าการ อบรมครั้งนี้มีความสาคัญ และพิ ธีกรรมต่าง ๆ ควรจัดให้มีเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเห็น ความศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะการเกี่ยวโยงถึงสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ควร ดาเนินการให้ศักดิ์สิทธิ์


กาหนดการ การอบรมผู้นาและแกนนาชุมชนโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ------------วันแรก ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐ ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ ๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐-๑๐.๑๕ ๑๐.๑๕-๑๒.๐๐

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐

๑๔.๐๐- ๑๔.๔๕ ๑๔.๔๕-๑๕.๐๐ ๑๕.๐๐-๑๗.๐๐

๑๗.๐๐-๑๘.๐๐

- ลงทะเบียน - ปฐมนิเทศ - เสนอสื่อวีซีดี “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” (อย่างย่อ) - พิธีเปิด - การบรรยายพิเศษเพื่อจุดประกาย - พัก รับประทานอาหารว่าง - การบรรยายเรื่อง “ใต้ร่มพระบารมี” - พิธีเปิดแบบมีส่วนร่วม (อปริหานิยธรรม) - การบรรยายเรื่อง“ความฝันอันสูงสุด” (The impossible dream) - รับประทานอาหารกลางวัน(เปิดเพลงบรรเลงความฝันอันสูงสุด) - กิจกรรมวนสถานี (Walk Rally) ๑) โทษพิษภัยของยาเสพติดชนิดต่างๆ (ให้กล่าวถึงตัวอย่างล่าสุด) ๒) สงครามฝิ่นในจีน ๓) สงครามยาเสพติดในประเทศไทยและการแก้ไขของภาครัฐ ๔) ทาไมต้องภาคประชาชน - แผนที่ความคิด “ทาไมการแก้ไขปัญหายาเสพติดของชุมชนจึงไม่ยั่งยืน” - พัก รับประทานอาหารว่าง - การบรรยายเรื่อง “เกิดมาทาไมและจะมีชีวติ อยู่ต่อไปเพื่ออะไร?”(๑) - การบรรยายเรื่อง “ผู้นา” - กิจกรรมกลุ่ม ๑) ท่านอาสาเป็นผูน้ าเพื่ออะไร? ๒) ความสาเร็จ (ในการนาของท่าน) ๓) ความล้มเหลว (ในการนาของท่าน) ๔) ความแตกต่างระหว่างผูน้ ากับข้าราชการ - คาขวัญผู้นา - เพลง “ผู้นา” (มอบการบ้าน : แนวทางการขจัดเงื่อนไขในการแก้ไขปัญหายาเสพติดที่ไม่ ยั่งยืนในชุมชนของตัวเอง) - พักผ่อนอิริยาบถ , ธุระส่วนตัว


๑๘.๐๐-๑๙.๐๐ ๑๙.๐๐-๒๐.๓๐

๒๐.๓๐-๒๑.๐๐ ๒๑.๐๐-๒๑.๓๐

วันที่สอง ๐๕.๐๐-๐๕.๓๐ ๐๕.๓๐-๐๖.๐๐ ๐๖.๐๐-๐๗.๓๐

๐๗.๓๐-๐๘.๐๐ ๐๘.๐๐-๐๘.๓๐

๐๘.๓๐-๐๙.๐๐

๐๙.๐๐-๑๐.๐๐

๑๐.๐๐-๑๐.๑๕

- เคารพธงชาติ - รับประทานอาหารเย็น - การบรรยายเรื่อง “เกิดมาทาไมและจะมีชีวติ อยู่ต่อไปเพื่ออะไร?”(๒)  กาเนิดชีวติ มนุษย์  การทาแท้ง - การบรรยายเรื่อง “หลักกรรม” - การบรรยายเรื่อง “ทาไมโหราศาสตร์จึงกล้าทานายชะตาชีวิตของคนเราได้” - การฝึกสมาธิเบื้องต้น - สรุปการประชุมประจาวัน - ปิดประชุมประจาวัน (อปริหานิยธรรม) - สวดมนต์ , แผ่เมตตา - เพลงสรรเสริญพระบารมี (การบ้าน : บัตรคา สิ่งที่ผู้นาไม่อยากได้รับ) - ตื่นนอน , ธุระส่วนตัว - บริหารกาย - การบริหารจิต ๑) ทบทวนการกาเนิดชีวิตมนุษย์ และสาระของการมีชีวิตอยู่ต่อไป ๒) นั่งสมาธิ (เน้นให้หยุดเพื่อคิดถึงความสาเร็จและความล้มเหลวในอดีต กับสิ่งที่ควรทาให้เป็นสาระกับชีวิตในอนาคต) - รับประทานอาหารเช้า - เคารพธงชาติ - การบรรยายเรื่อง “ประวัติศาสตร์ชาติไทย” (เพลงพระราชนิพนธ์ “เราสู”้ และเพลง“ต้นตระกูลไทย”) - เปิดการประชุมประจาวัน (อปริหานิยธรรม) - ทบทวนการปฏิบัติทผี่ ่านมาในวันก่อน - เพลง “ผู้นา” - ทบทวนทุนทางสังคมของชุมชนในอดีต/ทบทวนการต่อสู้ของชุมชนเพื่อ เอาชนะยาเสพติดของอดีต ๑) การต่อสู้ที่ได้ผล ๒) การต่อสู้ที่ไม่ได้ผล - พัก รับประทานอาหารว่าง


๑๐.๑๕-๑๒.๐๐

๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ ๑๔.๐๐–๑๕.๐๐ ๑๕.๐๐-๑๕.๑๕ ๑๕.๑๕-๑๖.๐๐

๑๖.๐๐-๑๗.๐๐

๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ ๑๘.๐๐-๑๙.๐๐ ๑๙.๐๐-๑๙.๓๐ ๑๙.๓๐-๒๐.๑๕ ๒๐.๑๕-๒๐.๓๐ ๒๐.๓๐-๒๑.๐๐ ๒๑.๐๐-๒๑.๓๐

วันที่สาม ๐๕.๐๐-๐๕.๓๐ ๐๕.๓๐-๐๖.๐๐ ๐๖.๐๐-๐๗.๓๐

- การจัดทาร่างแผนปฏิบัติการเอาชนะยาเสพติดของชุมชน - การจัดทาร่างแผนปฏิบัติการเสริมความมั่นคงชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด - การจัดทาร่างแผนเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดของชุมชน - รับประทานอาหารกลางวัน - การบรรยายเรื่อง“กองทุนยาเสพติดชุมชน” - การบรรยายเรื่อง “ปรัชญาแนวคิดโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน” - พัก รับประทานอาหารว่าง - การบรรยายเรื่อง “แนวทางการใช้เงินกองทุนแม่ของแผ่นดิน”  แนวทางการใช้เพื่อตอบสนองแผนต่างๆของชุมชนในการเอาชนะ ยาเสพติด  แนวทางการใช้กองทุนเพื่อรักษาหลักอปริหานิยธรรม - นาเสนอสื่อ VCD ตัวอย่างชุมชนกองทุนแม่ฯ (๑) - การบรรยายพิเศษโดยสมาชิกโครงการกองทุนแม่ฯจากหมู่บ้าน/ชุมชนที่ ประสบความสาเร็จ หรือศึกษากรณีตัวอย่าง (Shopping Idea) - พักผ่อนอิริยาบถ , ธุระส่วนตัว - เคารพธงชาติ - รับประทานอาหารเย็น - นาเสนอสื่อ VCD “ตัวอย่างชุมชนกองทุนแม่ฯ (๒) - การบรรยายเรื่อง “พระผู้เป็นพลังของแผ่นดิน”และ “พระคู่พระบารมี” - นั่งสมาธิ (หยุดเพื่อคิดถวายงานร่วมสนองพระราชปณิธานฯ) - พิธีเทียน - สรุปการประชุมประจาวัน - ปิดการประชุมประจาวัน (อปริหานิยธรรม) - มอบการบ้าน : ๑) เมื่อกลับไปถึงหมู่บา้ น/ชุมชนแล้วเราจะทาอะไรบ้าง ? ๒) จัดทาร่างแผนปฏิบตั ิการกองทุนแม่ของแผ่นดินชุมชน - สวดมนต์-แผ่เมตตา - เพลงสรรเสริญพระบารมี - ตื่นนอน , ธุระส่วนตัว - บริหารกาย - บริหารจิต ๑) บทวิถีชีวิตหนึ่ง ๒) คุณธรรมของผู้นา (ธรรมโลกบาล ๒)


๐๗.๓๐-๐๘.๐๐ ๐๘.๐๐-๐๙.๐๐

๐๙.๐๐-๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐-๑๐.๑๕ ๑๐.๑๕-๑๑.๐๐

๑๑.๐๐-๑๒.๐๐ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ ๑๔.๐๐-๑๕.๐๐

๓) นั่งสมาธิ - รับประทานอาหารเช้า - เคารพธงชาติ - เปิดประชุมประจาวัน (อปริหานิยธรรม) - ทบทวนการปฏิบัติในวันก่อน - นาเสนอสื่อ VCD ๑) รู้รักสามัคคี ๒) ปิดทองหลังพระ ๓) พระบรมราโชวาทเมื่อ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙ (เสด็จออก ณ สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมาคม) - การบรรยายเรื่อง “แนวทางการจัดตัง้ คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน” - การบรรยายเรื่อง “แนวทางการจัดทาระเบียบกองทุนแม่ของแผ่นดิน” - พัก รับประทานอาหารว่าง - การบรรยายเรื่อง “สรุปแนวทางการปฏิบตั ิที่ต้องดาเนินการเมื่อกลับไปยัง ชุมชนแล้ว - จัดทาร่างแผนปฏิบตั กิ ารโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน (เมื่อกลับไปถึงชุมชนแล้วจะทาอะไรบ้างทั้งชุมชนที่ยังไม่ได้รบั พระราชทาน และชุมชนที่ได้รับพระราชทานแล้วจะทาอย่างไรต่อไป) - การบรรยายเรื่อง “กระบวนการเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดอย่าง ยั่งยืนกองทุนแม่ของแผ่นดิน”(๑) - รับประทานอาหารกลางวัน - การบรรยายเรื่อง “กระบวนการเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดอย่าง ยั่งยืนกองทุนแม่ของแผ่นดิน”(๒) - พิธีถวายงานเพื่อร่วมสนองพระราชปณิธานฯ - พิธีปิด - เพลง “ความฝันอันสูงสุด” - เพลง “สรรเสริญพระบารมี”

หมายเหตุ : ๑) กาหนดการนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ๒) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนาให้วิทยากรมีการปฏิบัตอิ ย่างเหมาะสมกับศาสนาอืน่ ๆ ด้วย


การลงทะเบียน แนวคิดหลักการ การลงทะเบียนเป็นจุดแรกที่ผู้เข้ารับการอบรมมารายงานตัวกับกองอานวยการการอบรม จึง นับเป็นจุดสาคัญที่วิทยากรจะทาให้การรายงานตัวเพื่อลงทะเบียนของผูเ้ ข้ารับการอบรมเป็นการรับแบบ ข้อมูลขั้นแรก และปฏิบตั ิการจิตวิทยาให้เกิดความตื่นตัวในการเข้ารับการอบรมด้วย เทคนิควิธีการ ๑. ให้กองอานวยการอบรมจัดโต๊ะหมู่บูชาเตรียมตั้งพระบรมสาทิสลักษณ์หรือพระบรมฉายา ลั ก ษณ์ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯพระบรมราชิ นี น าถ ณ บริ เ วณที่ เหมาะสมของห้ อ งประชุ ม แล้ ว จั ด เจ้ า หน้ า ที่ ใ ห้ ก ารแนะน าในการถวายความเคารพก่ อ นไปยั ง โต๊ ะ ลงทะเบียน ๒. ให้เจ้าหน้าที่รบั ลงทะเบียนรับรายงานตัวตามแบบลงทะเบียนที่กาหนด โดยมีการซักถาม ข้อมูลเพื่อให้กาลังใจ และท้าทายให้พยามเรียนรู้แนวทางปฏิบตั ิที่เหมาะสมด้วยการจัดการกองทุนแม่ ต่อไป ๓. จัดวิทยากรประชาสัมพันธ์ต้อนรับด้วยความยิ้มแย้มแจ่มใส โดยให้เปิดเพลงเกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์เพื่อสร้างบรรยากาศ เช่น เพลงของขวัญจากก้อนดิน , ต้นไม้ของพ่อ ฯลฯ


แบบลงทะเบียน ผู้เข้ารับการอบรมโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ลาดับ

ชื่อ - สกุล

หมู่บ้าน/ชุมชน

ตาแหน่ง ในกองทุน

ตาแหน่ง ในชุมชน

ความรู้เรื่องกองทุนแม่ มาก ปานกลาง น้อย

กิจกรรมสมทบ กองทุนที่สาคัญ

กิจกรรมใช้จา่ ย กองทุนที่สาคัญ

ยอดเงิน คงเหลือ


การปฐมนิเทศ แนวคิดหลักการ การปฐมนิเทศ เป็นการรับฟังการชี้แจงจากกองอานวยการอบรมอย่างเป็นทางการครั้งแรกของ ผู้เข้ารับการอบรม จึงควรให้เป็นการสร้างความเข้าใจในการจัดอบรมไม่ให้เกิดความแคลงใจในเรื่อง ต่างๆ โดยเฉพาะทางด้านธุรการและการปฏิบัติประจาวันในระหว่างการอบรม รวมทั้งกาหนดข้อตกลง ต่างๆ เทคนิควิธีการ ๑. ขอความร่วมมือในการเข้ารับการอบรมให้เต็มหลักสูตรด้วยหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของ ผู้นา “ คนทั้งหมู่บ้านรอการกลับไปของท่านอยู่ ” ๒. ปฏิบัตดิ ้านจิตวิทยาให้พยายามรับหลักเกณฑ์ และให้การเข้ารับการอบรมตามโครงการนี้ ถือเป็นความสาคัญยิ่งครั้งหนึ่งในชีวิต ๓. ชี้แจงให้ทราบเฉพาะกาหนดพิธีเปิด – พิธีปิด และระเบียบการปฏิบัติประจาวัน ๔. ใช้ข้อมูลที่ได้รับจากแบบลงทะเบียนมาชี้แจงให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดความตื่นตัวในการรับ ความรู้ให้มากที่สุด โดยเฉพาะข้อมูลที่แจกแจงแล้วว่า ส่วนใหญ่ยังมีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับเรื่อง กองทุนแม่ของแผ่นดินน้อยมาก แสดงว่า ส่วนใหญ่อยากเรียนรู้จึงขอความร่วมมือจากผู้มีความรู้แล้วให้ ความร่วมมือ และให้เกิดการเรียนรู้เพิ่มเติม และเตรียมเป็นที่ปรึกษาให้กับผู้เข้ารับการอบรมอื่นด้วยซึ่ง จะเป็นประโยชน์อย่างมาก ๕. ให้ชี้แจงการเดินผ่านโต๊ะหมู่บูชาที่ตั้งพระบรมฉายาลักษณ์ ฯ หรือ พระบรมสาทิสลักษณ์ ฯ ก่อนเข้า-ออกห้องประชุมหรือห้องอบรมให้ทุกคนถวายความเคารพทุกครั้งด้วย ๖. ให้วิทยากรชี้แจงการจัดโต๊ะหมู่บูชาที่ถูกต้องในโอกาสต่าง ๆ และทาการฝึกซ้อมวิธีการถวาย ความเคารพที่ถูกต้องให้กับผู้เข้ารับการอบรมด้วย


การเสนอสื่อวีซีดีกองทุนแม่ ( อย่างย่อ ) แนวคิดหลักการ การนาเสนอสื่อวีซีดีกองทุนแม่ ( อย่างย่อ ) ซึ่งมีความยาวประมาณ ๗ นาที จะทาให้ผู้เข้ารับ การอบรมเกิดความสนใจอย่างมากและอยากเรียนรู้ในรายละเอียดมากยิ่งขึ้น วิทยากรต้องเร้าให้เกิด ความรู้สึกสนใจที่จะเรียนรู้ให้ได้มากที่สุด เทคนิควิธีการ ๑. ปจว. ให้เข้าใจว่าทาไมต้องกองทุนแม่ของแผ่นดิน ในการแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพ ติด กองทุนแม่ ของแผ่นดิ น เป็น อย่า งไร? และทาอย่า งไรหมู่บ้า นจึง จะสมควรได้ รับ กองทุน แม่ ของ แผ่นดิน และหากหมู่บ้าน/ชุมชนของท่านได้รับแล้วจะจัดการอย่างไรต่อไป ? ๒. ให้หยุดภาพ ( PAUSE ) เพื่ออธิบายประกอบสั้นๆเกีย่ วกับหัวข้อสาคัญที่กรรมการกองทุน แม่จะต้องศึกษาให้ละเอียดต่อไป เช่น ในจังหวะที่กล่าวถึงเงินขวัญถุง , แนวทางแห่งศรัทธา , แนวทาง แห่งปัญญา , ชัยชนะยาเสพติดที่ยั่งยืน , ร่วมสนองพระราชปณิธานฯ เป็นต้น


พิธีเปิด แนวคิดหลักการ การจัดให้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการนั้นนับเป็นเกียรติแก่ผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งมักเชิญผู้มี ความส าคั ญ ในสั ง คม หรื อ มี ต าแหน่ ง ส าคั ญ ทางราชการมาเป็ น ประธาน จึ ง ท าให้ ก ารอบรม ดู มี ความสาคัญมากขึ้น วิทยากรจึงควรเชื่อมโยงความสาคัญนี้ ให้เข้าถึงจิตใจของผู้เข้ารับการอบรมด้วยทุก ขั้นตอน เทคนิควิธีการ ๑. ให้วิทยากรเป็นพิธีกรกล่าวนาเข้าพิธีเปิด โดยลาดับข้อมูลจากการลงทะเบียน มาจนถึงการ ได้รบั โครงการกองทุนแม่ของแผ่นดินโดยสรุปจากการเสนอสื่อวีซีดี เป้าหมายผู้ฟัง ในการกล่าวทั้งหมด นั้นคือผู้เข้ารับ การอบรมเป็นหลัก ให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้สึกที่ดีและเข้าใจในวัตถุประสงค์ใน ขั้นต้น แล้วจึงเรียนเชิญประธานประกอบพิธี ๒. คากล่าวรายงาน และคากล่าวของประธาน วิทยากรควรเป็นผู้ร่างเองหรือมีส่วนร่วมในการ ร่างเพื่อให้สอดคล้องกันเป็นกระบวนการ เพื่อเป็นการปฏิบัติการจิตวิทยาต่อกลุ่มเป้าหมายไปด้วย โดยให้ทราบในสิ่งที่ควรทราบก่อนเท่านั้น ๓. ให้ตั้งโต๊ะหมู่บูชาพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชิ นีนาถ อีก ๑ ชุด วางต่อจากสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เพื่อให้ประธานเปิดกรวยดอกไม้ ถวายราชสักการะ อัญเชิญพระบารมีมาสู่พิธีก่อนกล่าวกล่าวเปิดเมื่อเปิดกรวยให้เปิดเพลงสรรเสริญพระบารมี แล้วเชิญ ผู้เข้าร่วมพิธีทั้งหมดร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีโดยพร้อมกัน ลาดับพิธีเปิด ประธานเดินทางมาถึง -ผู้อานวยการอบรมเรียนเชิญประธานนั่ง ณ ที่ซึ่งจัดไว้ -พิธีกรกล่าวนาและเรียนเชิญประธานประกอบพิธี -ประธานจุดธูป-เทียนบูชาพระรัตนตรัย แสดงการเคารพธงชาติ และถวายความเคารพพระ บรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว -ประธานถวายความเคารพพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และเปิดกรวยดอกไม้สดถวายเครื่องราชสักการะ แล้วถวายความเคารพอีกครั้งหนึ่ง -บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี (ผูร้ ่วมพิธีร้องเพลงพร้อมกัน) -ประธานให้โอวาทและกล่าวเปิดการอบรม -บรรเลงเพลงมหาฤกษ์ .....เสร็จพิธี....


การบรรยายพิเศษเพื่อจุดประกาย แนวคิดหลักการ การบรรยายพิเศษโดยประธานในพิธีเปิด หลังจากทาพิธีเปิดแล้ว เพื่อให้ประธานฯมีโอกาส ปราศรัยกับผู้เข้ารับการอบรมโดยอิสระเพื่อทาให้วิทยากรทราบท่าที และนโยบายของผู้ใหญ่ที่มาเป็น ประธาน ต่อโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน เทคนิควิธีการ ให้วิทยากรจับประเด็นสาคัญที่ประธานกล่าวกับผู้เข้ารับการอบรมเพื่อนาไปเชื่อมโยงกับหัวข้อที่ ทาการอบรมให้ความรูต้ ่อไป


การบรรยายเรื่อง “ใต้ร่มพระบารมี” แนวคิดหลักการ “บุคคลย่ อมต้อ งมีที่พึ่ง ที่ระลึ ก ” เป็ นดารัส ของพระพุทธองค์ช้ านานมาแล้ ว ซึ่งเป็นจริ งเสมอ คนที่มีที่พึ่งที่ระลึกจะมีพลังในการกระทาการสิ่งใดได้มากกว่า จากการที่โครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นโครงการที่ได้เชื่อมโยงความจงรักภักดีคือ สถาบันกษัตริย์ลงไปเป็นศูนย์รวมดวงใจ เพื่อก่อให้เกิด พลังแห่งความสามัคคีในชุมชน วิทยากรจึงจาเป็นต้องให้ความรู้เพื่อสร้างแนวคิด ให้ผู้เข้ารับการอบรม จนยืนยันได้ว่าเขามีความจงรักภักดีต่อสถาบันกษัตริย์เช่นเดียวกับเรา(วิทยากร)ให้ได้ เพื่อนาไปสู่การ รวมพลังทาความดีร่วมสนองพระราชปณิธาน ในชุมชนต่อไป เทคนิควิธีการ ๑. เสนอสื่อวีซีดีวนั เสียงปืนแตก และวันคืนสู่เหย้า โดยย่อเพื่อให้เห็นถึงพระบารมีที่แก้ปัญหา ความขัดแย้งด้านลัทธิอดุ มการณ์ตั้งแต่ในอดีต ๒. เสนอเรื่องพระธาตุพนมล้มกับประเทศไทยจะล้มตามทฤษฎีโดมิโน แต่ก็สามารถรอดพ้น ได้ด้วยพระบารมีในหลวง พระธาตุพนมได้ตระหง่านขึ้นอีกครั้ง พร้อมกับผู้ที่เคยต่อสู้กนั กลับมาเป็นผู้ ร่วมพัฒนาชาติไทย เป็นประเทศเดียวในโลกทีส่ ามารถแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านลัทธิอุดมการณ์ได้ โดยสันติวิธี ๓. เสนอสื่อในหลวงกับคนไทยศาสนาต่างๆ โดยชี้ให้เห็นพระราชหฤทัยในการทรงเป็นองค์ ศาสนูปถัมภกต่อทุกศาสนา พร้อมมีพระราชดารัสพระบรมราโชวาทจานวนมากเป็นที่พึ่งทางจิตใจ ให้ กั บประชาชน โดยทั้ง หมดส่วนใหญ่ที่สอนประชาชนเทีย บเคี ยงมาจากหลั ก ศาสนาได้ทั้ง สิ้น ให้ วิทยากรยกตัวอย่างเปรียบเทียบพระราชดารัสบางตอนกับหลักศาสนาต่าง ๆ โดยอาจใช้สื่อประกอบ ได้แก่ “ข้อคิดในการใช้ชีวิตของในหลวง” หรือ “แผนที่ชีวิตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ๔. เสนอสื่อในหลวงกับเหตุการณ์ร้ายๆในบ้านเมือง ได้แก่ เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ การกู้ วิกฤตเศรษฐกิจด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และการผ่าวิกฤตการเมืองปี ๔๙ ด้วยทรงพระราชทาน พระราชดารัสแก่คณะผู้พิพากษา ณ พระราชวังไกลกังวล ๕. เสนอสื่อวีซีดีในหลวงเสด็จออก ณ สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อ ๙ มิ.ย. ๔๙ ทรง ต้องการให้คนไทยรวมใจกันอย่างเหนี ยวแน่น “...เมื่อเห็นแล้วทาให้ข้าพเจ้ามีกาลังใจมากยิ่งขึ้น ...” ให้วิทยากรเร้าให้ผู้เข้ารับการอบรมต้องการทางานความดีเพื่อร่วมสนองพระราชปณิธานแด่ในหลวงของ เรา

“...สถาบันพระมหากษัตริย์ไทย ยามที่บ้านเมืองเข้าสู่สงครามก็ทรงเป็นจอมทัพ ยามบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะสงบก็ทรงเป็นศูนย์รวมใจในการพัฒนาประเทศ และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะวิกฤติคราใดก็ทรงลงมาเป็นศูนย์รวมใจในการแก้ไข วิกฤติปัญหา นั้น ๆ ทุกครั้งไป ไม่เคยทอดทิ้งประชาชนของพระองค์เลย ไม่ว่าในยุคใดสมัยใด...” เราจะขอเทิดทูนสถาบันนี้ไว้ยิ่งชีวิต


พิธีเปิดแบบมีส่วนร่วม แนวคิดหลักการ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเปลี่ยนความรู้สึกจากการเข้ารับการอบรมเป็นการประชุมแบบมีส่วน ร่วม ในรูปแบบการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารมากกว่า เพื่อให้พร้อมเสนอข้อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ต่อไป เทคนิควิธีการ ๑. ให้นาเสนอหลักอปริหานิยธรรม เป็นตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็งตามปรัชญาตะวันออก โดยชี้แจง ที่มาและความหมายแต่ละข้อโดยสังเขป และชี้ให้เกิดการยอมรับโดยทั่วกัน และขอความเห็นจากที่ ประชุมให้เป็นสัญลักษณ์ ในการเปิดและปิดประชุมประจาวัน ๒. วิทยากรนากล่าวอปริหานิยธรรม สวดมนต์ (พุทธ) และให้ทาสมาธิประมาณ ๑ นาที ใน ระหว่างทาสมาธิให้วิทยากรพูดให้ข้อคิดว่า “...เวทีนี้เป็นเวทีของชุมชนเข้มแข็ง หรือองค์กรชุมชน เข้มแข็ง การมาร่วมประชุมกันในวันนี้ก็เพื่อจะร่วมใจกันบาเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชนเท่านั้น ผู้ใดต้องการ เอาชนะผู้อื่นในที่ประชุมนี้ ขอได้โปรดลุกออกจากที่ประชุมไปได้ ณ โอกาสนี้ ในที่ประชุมนี้จะมีแต่ผู้ ชนะเท่านั้นไม่มีผู้แพ้เลย ขอให้ทุกคนได้เตรียมใจที่จะนาเสนอแต่สิ่งที่ดี สิ่งทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อชุมชนหรือ องค์กรของเราต่อไป.....” ๓. เชิญผู้อาวุโสที่สุดออกมากล่าวเปิดประชุม โดยก่อนออกมาให้วิทยากรกล่าวเร้ากับที่ประชุม ในทานองว่า “...ใครก็ตามที่อาศัยอยู่ที่นี่นานที่สุดเขาย่อมได้รับประโยชน์จากที่นี่มากที่สุด.. ผู้ที่ได้รับ ประโยชน์จากที่นี่มากที่สุด ย่อมรักแผ่นดินนี้หรือชุมชนนี้หรือองค์กรนี้มากที่สุด และผู้ที่รักแผ่นดินนี้ ชุมชนนี้หรือองค์กรนี้มากที่สุด คาพูดของเขาต่อแผ่นดินตรงนี้ต่อชุมชนนี้หรือต่อองค์กรนี้ ย่อมเป็น คาพูดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดด้วย...” ถามที่ประชุมว่าเห็นด้วยหรือไม่? หากเห็นด้วยตามลาดับแล้ว จึงขอเรียน เชิญผู้ที่มีอาวุโสในที่ประชุมนี้มากที่สุดมาเป็นผู้กล่าวเปิดการประชุมต่อไป ๔. หลังจากผู้อาวุโสกล่าวเปิดการประชุมแล้ว ให้ทุกคนเคารพประธานผู้อาวุโส ประธานรับการ เคารพแล้วจึงให้ทุกคนเคารพซึ่งกันและกันตามหลักอปริหานิยธรรม ข้อ ๔ ๕. เชิญชวนให้นาไปใช้เป็นวัฒนธรรมในการประชุมของแต่ละชุมชนทุกครั้งต่อจากนี้ไป เพราะ ได้อานิสงส์จากหลักอปริหานิยธรรม


อปริหานิยธรรม ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อม หากหมู่บา้ นใดชุมชนใดหรือองค์กรใดสามารถปฏิบัติได้ตามนี้ ย่อมเป็นประโยชน์ต่อหมู่บ้านนั้นชุมชนนั้นหรือองค์กรนั้น แต่เพียงฝ่ายเดียวไม่มีโทษเลย -----------------------

ข้อ ๑ สมาชิกร่วมประชุมกันเป็นนิตย์ ข้อ ๒ สมาชิกหมั่นเริ่มประชุมและเลิกประชุมพร้อมกัน ทากิจที่พึงกระทา โดยพร้อมเพรียงกัน ข้อ ๓ สมาชิกยอมรับมติส่วนใหญ่ของที่ประชุมในการแก้ไขปัญหา ข้อ ๔ สมาชิกให้การยอมรับและเคารพผู้อาวุโส ข้อ ๕ สมาชิกให้การสงเคราะห์และช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคม ( เช่นเด็ก สตรี คนชรา คนพิการ และคนที่ยากจนกว่า ) ข้อ ๖ สมาชิกส่งเสริมและรักษาวัฒนธรรมประเพณีทดี่ ีงาม ข้อ ๗ สมาชิกช่วยกันทานุบารุงพระศาสนา **** ให้วิทยากรบรรยายความเป็นมาของอปริหานิยธรรมแต่โดยสรุป เพื่อให้เกิดความศรัทธาต่อ หลักธรรมบทนี้ ว่าได้เคยคุ้มครองแคว้นวัชชีซึ่งกษัตริย์ลิจฉวีปกครองกันมาช้านาน ต่อเมื่อพวกเขาได้ ละทิ้งอปริหานิยธรรม โดยการส่อเสียดของวัสสการพราหมณ์ แคว้นวัชชีก็ถูกทาลายย่อยยับ ประเทศ ไทยก็ได้ใช้หลักธรรมนี้คุ้มครองประเทศมาช้านาน จนเมื่อรัชกาลที่ ๖ ได้ให้ประกาศว่าผู้ใดสามารถ ประพันธ์บทกวีที่จะทาให้เกิดความสามัคคีของคนในชาติได้จะพระราชทานรางวัลให้ ครั้งนั้นนายชิต บุรทัต จึงได้แต่งเรื่องสามัคคีเภทคาฉันท์ขึ้นรับพระราชทานรางวัล ซึ่งได้กล่าวถึงอปริหานิยธรรมว่าเป็น ธรรมคุ้มครองประเทศได้เสมอ ไม่ว่าจะเป็นประเทศชาติ ประเทศตาบล หรือประเทศหมู่บ้านก็ตาม *** ให้อธิบายคาแปลของบทให้พรของพระในส่วนของ “อภิวาทนสีลิจสนิจจัง วุฑฒา ปจายิโน จัตตาโร ธัมมา วัฑฒัณติ อายุ วัณโณ สุขัง พลัง ” ว่ายังมีความหมายสนับสนุนหลักอปริหานิยธรรมข้อ ๔ เลย ซึ่งแปลว่าพรทั้งสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ และ พละ ย่อมประสบแก่ผู้ที่มีปกติกราบไหว้และ เคารพต่อผู้ใหญ่อยู่เป็นนิจ.... แล้วจึงอธิบายอานิสงส์ของข้ออื่น ๆ อีกให้เกิดความยอมรับด้วยศรัทธา


การบรรยายเรื่อง”ความฝันอันสูงสุด” (The impossible dream)

แนวคิดหลักการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีความประทับพระราชหฤทัยอย่างยิ่งต่อบทประพันธ์ของ ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค ในเรื่องความฝันอันสูงสุดที่ประพันธ์ขึ้นจากการที่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระ บรมราชินาถ ได้ทรงพระสุบินถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ยังทรงห่วงประเทศชาติ และเมื่อตื่น บรรทมแล้ ว ทั้ ง สองพระองค์ ก็ ไ ด้ ท รงทอดพระเนตรเห็ น องค์ ส มเด็ จ พระนเรศวรที่ ข อฝากให้ ดู แ ล ประเทศชาติสืบไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานเพลงนี้ให้กับทหาร ตารวจ พลเรื อน และแก่พสกนิกรทุกคนผู้อาสาเป็นพลังในการแก้ไขวิกฤติปัญหาของชาติ การดาเนินการกองทุนแม่ของ แผ่นดินให้ประสบผลสาเร็จจึงเป็นเสมือนช่วยกันทาให้ Impossible dream เป็น Possible dream ได้ และเราก็สามารถมองเห็นความสาเร็จได้แล้ว มีหมู่บ้านชุมชนจานวนมากกาลังพัฒนาไปสู่ ความพอเพียง แล้ว หากทุกคนพยายามช่วยกัน ความฝันอันสูงสุดของล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์ก็จะเป็นจริงขึ้นมาได้ จึงควรใช้เพลงความฝันอันสูงสุด เป็นเพลงประจาโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดินต่อไป เทคนิควิธีการ ๑. เมื่อทาพิธีเปิดแบบมีส่วนร่วมตามหลักอปริหานิยธรรมแล้ว ให้วิทยากรชี้แจงความเป็นมา ของเพลงความฝั น อั น สู ง สุ ด ทั น ที และเร้ า ให้ เ กิ ด ความศรั ท ธาต่ อ พระราชปณิ ธ านอั น แน่ ว แน่ ข อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ซึ่งมีตัวอย่างที่ชี้ให้เห็นได้ มากมาย ทรงทางานตลอด ๖๐ ปีครองราชย์ เพื่อใครกันเล่า? พระองค์ทรงเป็นคนเหนือโลกโดยแท้ ๒. อธิบายความหมายของเนื้อเพลงแต่ละวรรค และเร้าให้พร้อมใจกันร่วมสนองพระราช ปณิธานอย่างสุดกาลังเท่าที่แต่ละคนจะทาได้ ๓. ร่วมกันร้องเพลงความฝันอันสูงสุด (ยืน) ๔. ท่านจะร่วมสนองพระราชปณิธาน ฯ ด้วยวิธีการใด เรื่องใดได้บา้ ง


ที่มาความฝันอันสูงสุด ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๑๕ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระ นางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จฯ ไปในงานพระราชพิธีสักการะดวงวิญญาณสมเด็จพระนเรศวร มหาราชที่ ตาบลแม่อาย อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ คืนนั้นพระองค์ท่านได้ประทับแรม ณ พระ ตาหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ ก่อนรุ่งสว่าง สมเด็จพระราชินี ได้ทรงสุบินนิมิตว่า สมเด็จพระนเรศวร มหาราชได้เสด็จฯ มาปรากฏพระองค์ขึ้นที่หน้าพระแท่นบรรทม ในฉลองพระองค์ทรงเครื่องออกศึกได้ มีกระแสพระดารัส กับสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า พระองค์ท่านปัจจุบันนี้ ดวงพระ วิญญาณยังอยู่ในประเทศไทยเพราะทรงเป็นห่วงบ้านเมืองยังไม่ได้ไปประสูติใหม่ ณ ที่ใดเลย และที่มา ปรากฏในสุบินนิมิตนี้ ก็เพื่อจะทรงเตือนว่า ในอนาคตต่อจากนี้ไปบ้านเมืองไทยจะประสบกับความ วุ่ น วายยุ่ ง ยาก ขอให้ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถทรงเป็ น ก าลั ง พระทั ย ถวาย แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวองค์ปัจจุบัน เพื่อที่จะได้ทรงนาประชาชนและชาติไทยฝ่าฟันอุปสรรคทั้ง ปวง ให้ผ่านพ้นไปได้ ในพระสุบินนิมิตนั้น สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า พระองค์ทรง สะดุ้งพระองค์ตื่นจากที่บรรทมก็ยังทรงทอดพระเนตรเห็น องค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชปรากฏอยู่ จึง ทรงปลุกพระบรรทมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนเรศวรมหาราชก็ทรงปรากฏให้ทั้งสอง พระองค์ทอดพระเนตรเห็นชั่วครู่ ก็เสด็จฯ ไป เมื่อทั้งสองพระองค์ได้ทรงถวายบังคมแล้ว โดยตามพระ ราชเสาวนีย์นั้นมีความประสงค์ที่จะแสดงความนิยม ส่งเสริมคนดีให้มีกาลังใจทางานเพื่ออุ ดมคติ เพื่อ ประเทศชาติ ในการนี้ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาคได้แต่งบทกลอนตามพระราชเสาวนีย์โดยอาศัยแรง บันดาลใจจากการสังเกตพระราชอัธยาศัย พระราชจริยาวัตร ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ประพฤติปฏิบัติ อยู่ทุกเมื่อเชื่อวันไม่เสื่อมคลาย ซึ่งเมื่อสมเด็จพระนางเจ้าฯได้ทอดพระเนตรแล้ว ก็ทรง พอพระราชหฤทัยและโปรดให้พิมพ์บทกลอนนี้ลงในกระดาษการ์ดแผ่นเล็กๆ พระราชทานข้าราชการ ทหาร ตารวจ พลเรือน และผู้ทางานเพื่อประเทศชาติ เตือนสติมิให้ท้อถอยในการทาความดี เพราะ บ้า นเมือ งขณะนั้ น ยุ่ ง อลเวง น่ า เป็ น ห่ ว งอนาคตของประเทศชาติ ต่ อ มา สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ ได้กราบบังคมทูลขอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ทานองเพื่อ พระราชทานประกอบบทกลอนดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชนิพนธ์ทานองขึ้น ตามคากราบบังคมทูล และกลายมาเป็นเพลงพระราชนิพนธ์"ความฝันอันสูงสุด" ดังที่เราได้ยินได้ฟังกัน ในทุกวันนี้ และได้พิมพ์เพลงพระราชนิพนธ์นี้ พระราชทานแก่ ข้าราชการทหาร ตารวจ พลเรือน ที่ออก ปฏิบัติหน้าที่ป้องกันอธิปไตยของชาติโดยทั่วหน้า และได้โปรดเกล้าฯ ให้คุณทนงศักดิ์ ภักดีเทวา และ คุณจินตนา สุขสถิตย์ร้องเพลงนี้ สอนให้แก่ข้าราชการทหาร ตารวจ และพลเรือน เป็นครั้งแรกที่ตาหนัก ภูพิงค์ราชนิเวศน์ก่อนที่จะแพร่หลายไปทั่วประเทศ เพลงนี้สะท้อนและให้กาลังใจแก่คนที่กาลังปฏิบัติ หน้าที่เพื่อชาติในลักษณะของการปิดทองหลังพระ ซึ่งคนเหล่านี้เองที่มีความจงรักภักดีและพร้อมจะพลี กายถวายชีวิตเพื่อชาติของเราโดยที่ไม่หวังผลตอบแทนแต่อย่างใด


ความฝันอันสูงสุด ทานอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช คาร้อง ท่านผู้หญิงมณีรตั น์ บุนนาค ขอฝันใฝ่ ในฝันอันเหลือเชื่อ To dream the impossible dream ขอสู้ศึกทุกเมื่อ ไม่หวั่นไหว To fight the unbeatable foe ขอทนทุกข์ รุกโรมโหมกายใจ To bear with unbearable sorrow ขอฝ่าฟัน ผองภัยด้วยใจทะนง To run where the brave dare not go จะแน่วแน่ แก้ไขในสิ่งผิด To right the unrightable wrong จะรักชาติ จนชีวิตเป็นผุยผง To love pure and chaste from afar จะยอมตาย หมายให้เกียรติดารง To try when your arms are too weary จะปิดทอง หลังองค์พระปฏิมา To reach the unreachable star ไม่ท้อถอย คอยสร้างสิง่ ที่ควร This is my quest ไม่เรรวน พะว้าพะวังคิดกังขา To follow that star ไม่เคืองแค้น น้อยใจ ในโชคชะตา No matter how hopeless ไม่เสียดาย ชีวา ถ้าสิ้นไป No matter how far นี่คือ ปณิธานที่หาญมุ่ง To fight for the right หมายผดุงยุติธรรม์ อันสดใส Without question or pause ถึงทนทุกข์ ทรมาน นานเท่าใด To be willing to march into Hell ยังมั่นใจรักชาติ องอาจครัน For a heavenly cause โลกมนุษย์ ย่อมจะดี กว่านี้แน่ And I know if I'll only be true เพราะมีผู้ไม่ยอมแพ้ แม้ถูกหยัน To this glorious quest คงยืนหยัด สูไ้ ป ใฝ่ประจัญ That my heart will lie peaceful and calm ยอมอาสัญ ก็เพราะปอง เทอดผองไทย


The Impossible Dream Theme From: Man of La Mancha (1972) Star: Peter O’Toole and Sophia Loren Music: Mitch Leigh Lyrics: Joe Darion When I'm laid to my rest And the world will be better for this That one man, scorned and covered with scars Still strove with his last ounce of courage To reach the unreachable star To fight the unbeatable foe To bear with unbearable sorrow To run where the brave dare not go To right the unrightable wrong To love pure and chaste from afar To try when your arms are too weary To reach the unreachable star This is my quest To follow that star No matter how hopeless No matter how far To fight for the right Without question or pause To be willing to march into Hell For a heavenly cause And I know if I'll only be true To this glorious quest That my heart will lie peaceful and calm When I'm laid to my rest And the world will be better for this That one man, scorned and covered with scars Still strove with his last ounce of courage To reach -the unreachable star.....


1

วิทยากรกระบวนการกับ 9 ขั้นตอนสู่ชุมชนเข้มแข็ง ประสบการณ์จากการแก้ไขปัญหายาเสพติดในภาคตะวันออก การแก้ไขปัญหายาเสพติดที่ผ่าน ๆ มา หน่วยงานราชการซึ่งมีหน้าที่มักมีข้อจํากัด ในการเข้าถึงข้อมูลอันจําเป็นไม่ว่าจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสพ ผู้ค้า และรูปแบบพฤติกรรมที่ เกี่ยวข้อง ส่งผลให้การดําเนินงานแก้ไขปัญหาทําได้ไม่เต็มที่ ขณะเดียวกันผลของการจับกุมผู้ค้า และผู้เสพจํานวนมากนอกจากจะทําให้นักโทษล้นเรือนจําแล้ว ยังมีผู้ค้ารายใหม่ ๆ เกิดขึ้นอยู่ เสมอ เช่น เมื่อผู้ค้ายาเสพติดถูกจับ คนในครอบครัวซึ่งต้องดิ้นรนหาเงินมาต่อสู้คดีและเลี้ยงดู ลูก ๆ หลายรายก็หันไปเป็นผู้ค้าต่อเพราะรู้จักเส้นสายในวงการอยู่แล้ว และยังมีผู้เสพหลายราย ซึ่งไม่สามารถซื้อยาจากผู้ค้ารายเดิมได้จึงต้องดิ้นรนนําเข้าจากแหล่งอื่นและที่สุดก็กลายเป็นผู้ค้า รายย่อยเสียเอง จากอุปสรรคต่าง ๆ ที่ผ่านมา ทําให้มีการทบทวนมาตรการจัดการกับปัญหาใหม่ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมีแนวคิดในการจําแนกผู้ค้าและผู้เสพตามพฤติกรรมและมูลเหตุจูง ใจสําหรับผู้ค้ารายใหญ่และผู้ผลิตรวมทั้งผู้สนับสนุนเบื้องหลังถือว่าเป็นต้นตอที่ร้ายกาจของ ปัญหาอันเนื่องมาจากความโลภเป็นเหตุจูงใจ คนกลุ่มนี้จึงต้องได้รับการปราบปรามอย่างเด็ดขาด แต่สําหรับผู้ค้ารายย่อยและผู้เสพมักเกิดจากความต้องการยา ความยากจน และสภาพแวดล้อมใน ชุมชนเป็นมูลเหตุจูงใจ จึงควรใช้แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่ซึ่งจะ ก่อให้เกิดผลสําเร็จที่ยงั่ ยืน การแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่อาศัยแนวคิดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนเป็นปัจจัยหลัก กล่าวคือคนในชุมชนต้องมีบทบาทสําคัญในการแก้ไขปัญหาของ ตนเอง โดยมีหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุน ทั้งนี้ หัวใจสาคัญของการแก้ไขปัญหา ยาเสพติดในชุมชนมี 4 ประการ ได้แก่


2

หัวใจสาคัญของการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน 1. ยึดหลักสันติวิธีในการแก้ไขปัญหา หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงระหว่าง คน ในชุมชน 2. ดาเนินการโดยประชาคมของคนในชุมชนอย่างแท้จริง ราชการเป็นเพียง ผู้สนับสนุน 3. คนในชุมชนร่วมกันคัดแยกผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ด้วยวิธีของชุมชนเองซึ่ง ต่างจากวิธีของราชการ 4. ชุมชนดูแลชุมชนเองโดยใช้มาตรการทางสังคมเป็นหลัก ไม่ใช่มาตรการ ทาง กฎหมายหัวใจสําคัญทั้ง 4 นี้จะเกิดขึ้นได้โดยผ่านกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชน และอาศัยความช่วยเหลือของ “วิทยากรกระบวนการ” ซึ่งเป็นผู้เข้าไปปลุกให้ชาวบ้าน ตระหนักถึงปัญหาและความจาเป็นที่ต้องรวมพลังกัน จากนั้นนาเสนอกระบวนการความคิด กระบวนการวิธีอันเป็นเป้าหมายไปสู่การเป็นชุมชนเข้มแข็งที่สามารถแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมทั้งปัญหา ต่าง ๆ ของตนเองได้ การสร้างชุมชนเข้มแข็งอาจมีหลายแนวทาง แต่ที่เป็นแบบอย่างความสําเร็จใน ภาคตะวันออกคือแนวทางของวิทยากรกระบวนการ ซึ่งมีหลักการสําคัญคือ “พลังของคนใน ชุมชนต้องเป็นหลักในการดําเนินการ เพื่อความยั่งยืนในการแก้ปัญหาของชุมชนโดยมี คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งเป็นแกนนําในการขับเคลื่อนพลังดังกล่าว และโดยไม่ถูกครอบงํา จากภาครัฐ” และประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ 9 ขั้นตอนสําคัญ ขั้นตอนที่ 1 – 4 เป็นหน้าที่ ของวิทยากรกระบวนการ และขั้นตอนที่ 5 – 9 เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง โดยมีวิทยากรกระบวนการคอยเป็นที่ปรึกษา

9 ขั้นตอนสร้างชุมชนเข้มแข็งเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด ขั้นตอนที่ 1 : คัดเลือกชุมชนเป้าหมาย เน้นพื้นที่ซึ่งประชาชนค่อนข้างพร้อมที่จะมีส่วนร่วมเพื่อจัดตั้งเป็นชุมชนเข้มแข็ง ตัวอย่างกรณีมีชุมชนตัวอย่างอยู่แล้ว ก็ใช้เป็นชุมชนต้นแบบให้กับชุมชนอื่น ๆ ต่อไป ใน รูปแบบของศูนย์การเรียนรู้ ดูงาน หรืออาจสนับสนุนให้แกนนําชุมชนเข้มแข็งดังกล่าวพัฒนา บทบาทเป็นวิทยากรกระบวนการเพื่อขยายแนวทางไปสู่ชุมชนอื่น ๆ


3

ชุมชนในที่นี้ ไม่จําเป็นต้องเป็นหมู่บ้าน แต่หมายถึง ขอบเขตของพื้นที่อยู่อาศัย ซึ่งประชาชนมีการติดต่อสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจจะเป็น หมู่บ้าน หรือ ชุมชนเมืองก็ได้ แต่ ชุมชนเป้าหมายไม่ควรจะมีขนาดใหญ่เกินไป เช่น ทั้งอําเภอ เพราะประชาชนไม่ได้มี ความสัมพันธ์ใกล้ชิดเพียงพอที่จะมีความรู้สึกร่วมและผลึกกําลังกันสร้างชุมชนเข้มแข็ง โดยทั่วไป การกําหนดให้หมู่บ้านเป็นชุมชนเป้าหมายนับว่าเหมาะสม เนื่องจากมีขนาดไม่ใหญ่ เกินไป และประชาชนในหมู่บ้านมีการรู้จักติดต่อสัมพันธ์กันพอสมควร บางกรณี ชุมชนเป้าหมาย 1 แห่ง อาจประกอบด้วยหมู่บ้าน 2 หมู่ก็ได้ เช่น จากเดิมหมู่บ้านเดียวถูกแบ่งออกเป็น 2 หมู่บ้านด้วยเหตุผลทางด้านการปกครองแต่เมือ่ แบ่งแล้ว ประชาชนของทั้งสองหมู่บ้านยังคงมีความใกล้ชิดกันทางวัฒนธรรม เครือญาติ ชีวิตความเป็นอยู่ และมีกิจกรรมร่วมกัน เช่น ร่วมทําบุญที่วัดเดียวกัน เนื่องจากเป็นวัดที่เป็นศูนย์รวมทางด้าน จิตใจของประชาชนทั้งสองหมู่บ้าน อีกทั้งจํานวนครัวเรือนและประชากรของหมู่บ้านทั้งสองเมือ่ รวมกันแล้วก็ไม่มากเกินไป หากประชาชนในหมู่บ้านสองหมู่นั้นยืนยันจะทํากิจกรรมสร้าง ชุมชนเข้มแข็งร่วมกันเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด วิทยากรกระบวนการก็สามารถพิจารณา ดําเนินงานในหมู่บ้านทั้งสองเสมือนหนึ่งเป็นชุมชนเดียวกันได้ บางกรณี ชุมชนเป้าหมาย 1 แห่ง อาจประกอบด้วยครัวเรือนเพียงบางส่วนของ หมู่บ้าน 1 หมู่ก็ได้ เช่น หมู่บ้านแห่งหนึ่งมีจํานวนครัวเรือนมาก มีพื้นที่กว้าง ประชาชนขาด ความใกล้ชิดสัมพันธ์กัน หากประชาชนส่วนหนึ่งของหมู่บ้านที่ระบุขอบเขตได้แน่นอน มีความ ประสงค์จะเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยไม่รอความพร้อมของ หมู่บ้าน วิทยากรกระบวนการก็สามารถพิจารณาดําเนินงานเฉพาะครัวเรือนจํานวนนั้นให้เป็น ชุมชนเป้าหมายก่อนได้ แล้วค่อย ๆ ขยายงานเพิ่มเติมไปยังส่วนที่เหลือของหมู่บ้านในภายหลัง ในกรณีเริ่มต้นงานในพื้นที่ซึ่งยังไม่มีชุมชนเข้มแข็งเป็นตัวอย่าง วิทยากร กระบวนการอาจประสบปัญหาในการสร้างศรัทธาความเชื่อมั่นจากประชาชน เนื่องจาก ประชาชนส่วนใหญ่ยังเชื่อว่าปัญหายาเสพติดต้องแก้ไขด้วยการปราบปรามเป็นหลัก การ คัดเลือกเป้าหมายจึงควรเน้นที่ที่ประชาชนค่อนข้างพร้อมที่จะมีส่วนร่วม เพื่อจัดตั้งชุมชน เข้มแข็งเป็นตัวอย่าง หรือ “หมู่บ้านครู” ให้สําเร็จเสียก่อน อันจะส่งผลให้การทํางานในชุมชน ต่อ ๆ ไปง่ายขึ้น ขนาดของชุมชนที่จะเริ่มต้นดําเนินงานไม่ควรจะใหญ่เกินไปหรือเล็กเกินไป มิฉะนั้นงานจะยากเกินไปจนทําไม่สําเร็จ หรือง่ายเกินไปจนไม่ให้ประสบการณ์ที่ดีสําหรับการ เรียนรู้


4

กรณีมีชุมชนตัวอย่างหรือมีชุมชนเข้มแข็งแล้ว ควรใช้ชุมชนซึ่งมีการดําเนินงาน แล้วเป็นฐานในการขยายงาน โดยให้ชุมชนอื่น ๆ ได้มาศึกษาดูงาน หรืออาจสนับสนุนให้ ประชาชนในชุมชนเข้มแข็งซึ่งเข้าใจกระบวนการอย่างลึกซึ้ง พัฒนาบทบาทเป็นวิทยากร กระบวนการ เพื่อไปทํางานในชุมชนอื่น ๆ ร่วมกับวิทยากรจากหน่วยราชการ เนื่องจาก ประชาชนด้วยกันสามารถสื่อสารกันได้เข้าใจและช่วยสนับสนุนการชี้แจงของทางราชการได้เป็น อย่างดี สถานศึกษาหรือสถานประกอบการก็อาจกําหนดให้เป็นชุมชนเป้าหมายได้โดยนํา กระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็งเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดไปประยุกต์ใช้ และปรับกิจกรรม ต่าง ๆ ตามความจําเป็น ในอันที่จะสร้างความมีส่วนร่วมของนักเรียนนักศึกษา หรือพนักงาน แล้วแต่กรณี ให้เกิดเป็นพลังในการแก้ไขปัญหายาเสพติดต่อไป ขั้นตอนที่ 2 : สืบสภาพชุมชน เป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลที่สําคัญของชุมชนอย่างไม่เป็นทางการ เพื่อทําความ เข้าใจสภาพแวดล้อม ผู้คน สังคม เศรษฐกิจ ขนบธรรมเนียมประเพณีและปัญหาต่าง ๆ ของ ชุมชนโดยสังเขป ซึ่งนอกจากการพบปะพูดคุยกับชาวบ้านตามครัวเรือนแล้ว วิทยากร กระบวนการอาจอาศัยโอกาสต่าง ๆ เพื่อเปิดเวทีย่อย ๆ เพื่อเผยแพร่แนวคิดแนวทางว่า “มาตรการปราบปรามเพียงลาพังไม่สามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนได้” จาเป็นต้อง อาศัยพลังสามัคคีจากการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพื่อดูแลชุมชนของคนเอง” การสืบสภาพชุมชน ไม่ใช่การสืบสวน แต่เป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลที่สําคัญ เกี่ยวกับชุมชนอย่างไม่เป็นทางการ วิทยากรกระบวนการควรเข้าพื้นที่เพื่อเรียนรู้สภาพความ เป็นไปของชุมชนด้วยตนเอง ไม่ควรศึกษาแต่เพียงเอกสาร เพราะจะทําให้ไม่เข้าใจสภาพชุมชน อย่างเพียงพอ ประเด็นที่วิทยากรควรสังเกตทําความเข้าใจ คือ ประเด็นในด้าน สภาพแวดล้อม ผู้คน เศรษฐกิจ สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี และปัญหาต่าง ๆ ของชุมชนโดยสังเขป การสืบสภาพชุมชนมีวัตถุประสงค์สําคัญ 4 ประการ คือ 1. เพื่อศึกษาข้อมูลชุมชนที่จะเป็นประโยชน์ต่อการทํางานในขั้นตอนต่อ ๆ ไป 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธ์กับประชาชนในชุมชน ให้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อวิทยากร กระบวนการ 3. เพื่อวิทยากรกระบวนการจะได้เข้าใจความรู้สึกนึกคิดของประชาชนในชุมชน


5

4. เพื่อทําความเข้าใจกับประชาชนในชุมชนถึงแนวทางการทํางานสร้างชุมชน เข้มแข็ง แผนที่ชุมชนหรือแผนผังครัวเรือนเป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์สําหรับวิทยากร กระบวนการ ในการศึกษาสภาพแวดล้อม เส้นทาง และขอบเขตของชุมชน แผนที่หรือแผนผัง ควรแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับเส้นทางและที่ตั้งของทุกครัวเรือน เพื่อช่วยให้เห็นภาพการกระจาย ของครัวเรือนว่ามีการเกาะกลุ่ม ใกล้ชิดหรือห่างกันเพียงใด การจําแนกสีหรือสัญลักษณ์ของ ครัวเรือนในแผนที่เป็นครัวเรือนของกรรมการชุมชนเข้มแข็ง ครัวเรือนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และครัวเรือนปลอดยาเสพติดช่วยแสดงให้เห็นวา ชุมชนนั้นมี “หูตา” ดูแลเฝ้าระวังได้ ครอบคลุมทั่วถึงเพียงใด และจุดใดบ้างที่ยังเป็นปัญหา วิธีการสืบสภาพนอกเหนือไปจากการพบปะพูดคุยกับประชาชนตามบ้านแล้ว วิทยากรกระบวนการอาจจะอาศัยการสอดแทรกเข้าไปบรรยายตามโอกาสต่าง ๆในลักษณะของ การเปิด “เวทีย่อย” เพื่อเผยแพร่แนวคิดในการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบมีส่วนร่วม และรับฟัง ทัศนคติท่าทีของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน ประเด็นสําคัญที่ต้องพยายามทําความเข้าใจกับประชาชน คือ มาตรการปราบปรามเพียงลําพังไม่สามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนได้ เนื่องจากการ จับกุมผู้ค้ารายย่อยและผู้เสพ จะทําให้เกิด “ตัวตายตัวแทน” และไม่ช่วยให้ผู้เสพปรับเปลี่ยน พฤติกรรม การแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่างยั่งยืนจําเป็นต้องอาศัยความมีส่วนร่วมของ ประชาชนในชุมชนเพื่อสร้างพลังจากความสามัคคีและช่วยกันดูแลชุมชนของตนเอง วิทยากร กระบวนการอาจจะยกตัวอย่างชุมชนอื่น ๆ ที่ประสบความสําเร็จในการดําเนินงานแล้ว เพื่อ ยืนยันว่าชุมชนเข้มแข็งสามารถทําให้เกิดขึ้นได้จริง หากวิทยากรกระบวนการยิ่งมีความเข้าใจในชุมชนมากเท่าใด ก็จะเป็นประโยชน์ ในการพูดจาทําความเข้าใจกับผู้นําชุมชนและประชาชนมากขึ้นเท่านั้น ทั้งยังจะทําให้การโน้ม น้าวสร้างความเชื่อมั่นในแนวทางการทํางานมีน้ําหนักมากยิง่ ขึ้น ข้อมูลจากการสืบสภาพมีประโยชน์ต่อการทํางานของวิทยาการกระบวนการหลาย ประการ อาทิ - เป็นการตรวจสอบว่า ชุมชนนั้นมีคุณสมบัติเหมาะสมในการกําหนดเป็นชุมชน เป้าหมายหรือไม่ เช่น กระแสความตระหนักหรือความพร้อมของประชาชนอาจไม่สูงเท่าที่ ประเมินไว้เบื้องต้นหรือแรงต่อต้านจากผู้ค้ายาเสพติดอาจจะรุนแรงกว่าที่คิด แนวทางแก้ไข อาจจะพิจารณาทบทวนการกําหนดชุมชนเป้าหมาย โดยสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนใกล้เคียง ก่อน แล้วใช้กระแสซึ่งเกิดในชุมชนอื่นมาช่วยกระตุ้นพลังประชาชนในชุมชนเป้าหมายเดิม


6

หรืออาจจะทํางานในชุมชนเป้าหมายเดิมต่อไป แต่ใช้เวลาในการทําความเข้าใจกับประชาชนให้ มากขึ้น - ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจ เป็นประโยชน์ในการพิจารณาวิธีการและเวลาในการ ดําเนินงาน เช่น ชุมชนที่ประชาชนส่วนใหญ่พึ่งพาการเกษตรย่อมมีระยะเวลาหรือฤดูที่ไม่ เอื้ออํานวยต่อการประชุมเวทีชาวบ้าน วิทยากรกระบวนการจําเป็นต้องรอให้ถึงช่วงเวลาที่ เหมาะสม และปรับแผนการทํางานให้ยืดหยุ่นเพื่อเน้นความมีส่วนร่วมของประชาชน มากกว่า จะเร่งรัดการทํางานให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว - ข้อมูลทางด้านสังคม เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนดําเนินการจัดตั้ง คณะกรรมการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนให้ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น บาง ชุมชน ประชาชนมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ๆ ตามการกระจายตัวของครัวเรือน หรือตาม ความสัมพันธ์สนิทสนมในเรื่องต่าง ๆ วิทยากรกระบวนการจําเป็นต้องเข้าถึงและทําความเข้าใจ กับประชาชนให้ทั่วถึงทุกกลุ่ม เพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือของทุกภาคส่วนในชุมชนอย่าง แท้จริง ไม่ให้การดําเนินงานของชุมชนเกิดจากการคิดการตัดสินใจของคนเพียงบางกลุ่ม แม้ว่า จะเป็นกลุ่มที่มีเสียงข้างมากในชุมชนก็ตาม - ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสําคัญที่ชุมชนนั้นเผชิญอยู่ เช่น ครัวเรือนจํานวนมาก กําลังถูกไล่ที่วิทยากรกระบวนการจะต้องไม่เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาหรือเกี่ยวข้องกับ ความขัดแย้งใด ๆ แต่สามารถอาศัย “ทุกข์ร่วมกัน” ของชาวบ้านเป็นจุดเริ่มต้นในการสร้าง จิตสํานึกและความสามัคคี วิทยากรกระบวนการต้องไม่ดําเนินงานในลักษณะของการ “ปลุก ม็อบ” แต่จะต้องยึดหลักสันติวิธใี นการสร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นในชุมชน และพิจารณาใช้ การแก้ปัญหายาเสพติดเป็นตัวนํา ให้ประชาชนเรียนรู้แนวทางการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้อง ซึ่งจะ ส่งผลต่อการร่วมใจกันทํางานเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาอื่น ๆ ของชุมชนในอนาคต ขั้นตอนที่ 3 : คัดเลือกชุมชนเป้าหมาย เน้นพื้นที่ซึ่งประชาชนค่อนข้างพร้อมที่จะมีส่วนร่วมเพื่อจัดตั้งเป็นชุมชนแนวทาง ให้กับผู้นําชุมชน โดยเฉพาะ “การเน้นบทบาทของผู้นาธรรมชาติ แต่ไม่ได้มองข้ามความสาคัญ ของผู้นาทางการ ซึ่งต้องประสานสอดคล้องกัน” เพราะในขณะ ที่ผู้นําทางการเหมาะสมที่ จะเป็นผู้ประสานที่ดีระหว่างชุมชนกับหน่วยราชการ ผู้นําธรรมชาติซึ่งมาจากศรัทธาของ ชาวบ้านจะสามารถสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างแท้จริงจึงเหมาะสมที่จะเป็นแกน หลักขับเคลื่อนชุมชนเข้มแข็ง


7

เมื่อทราบข้อมูลทั่วไปของชุมชนแล้ว ก่อนเริ่มดําเนินงาน วิทยากรกระบวนการ จําเป็นต้องพบผู้นําชุมชนก่อน เพื่อพัฒนาสัมพันธ์สร้างความไว้วางใจ และทําความเข้าใจใน แนวทางการสร้างชุมชนเข้มแข็ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทบาทของผู้นําทางการ และผู้นํา ธรรมชาติ แนวทางสร้างชุมชนเข้มแข็งเน้นบทบาทของผู้นําธรรมชาติ แต่ไม่ได้มองข้าม ความสําคัญของผู้นําทางการ เนื่องจากชุมชนจะเข้มแข็งได้ ปัจจัยสําคัญคือประชาชนในชุมชน จะต้องมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ไม่ใช่เพียงคอยให้ความร่วมมือกับทางราชการเท่านั้น ผู้นํา ธรรมชาติซึ่งมาจากศรัทธาของประชาชนจะเป็นตัวแทนของชุมชนในการแสดงความเป็นเจ้าของ การดําเนินงาน ในขณะที่ผู้นําทางการจะเป็นผู้ประสานงานที่ดีระหว่างชุมชนกับหน่วยราชการ และคอยสนับสนุนการดําเนินงานของผู้นําธรรมชาติ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้ว ผู้นําธรรมชาติ เปรียบเสมือนกําลังที่มาช่วยเหลือการทํางานของผูน้ ําทางการให้เข้มแข็งขึ้น มีหูตาสอดส่องดูแล ชุมชนได้ทั่วถึงขึ้น บทบาทและลักษณะของผู้นําธรรมชาติจึงไม่ใช่ผู้นําในเชิงบริหาร แต่เป็น กลุ่มคนที่ประชาชนในชุมชนนับถือ และเป็นแกนหลักของชุมชนในการที่จะนํามาตรการทาง สังคมมาใช้ต่อไป วิทยากรกระบวนการต้องทําความเข้าใจกับผู้นําทางการให้ดี ถึงแนวทางการ แก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับชุมชน ความจําเป็นที่ต้องมีผู้นําธรรมชาติ และบทบาทของผู้นํา ทางการ เมื่อผู้นําทางการเข้าใจและยินดีให้ความร่วมมือแล้ว จึงขอให้ผู้นําทางการเป็นผู้นัด ประชาชนเพื่อประชุมเวทีชาวบ้านในขั้นตอนต่อไป หากผู้นําทางการยังไม่ยอมรับและไม่เข้าใจ วิทยากรกระบวนการควรจะอดทนและหาโอกาสทําความเข้าใจกับผู้นําทางการให้มากขึ้น และ อาจพาผู้นําทางการและประชาชนไปศึกษาดูงานที่ศูนย์การเรียนรูห้ รือชุมชนเข้มแข็งอื่น ๆ ที่ ดําเนินงานแล้ว เพื่อกระตุ้นให้เกิดความเข้าใจและเชื่อมัน่ ในแนวทางการทํางานแบบมีส่วนร่วม ของประชาชน การพบปะพูดคุยกับผู้นําชุมชนในขั้นตอนนี้ อาจรวมถึงผู้นําทางศาสนา หรือผู้นํา กลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชนด้วยก็ได้ เพื่อเป็นการสร้างความตื่นตัวและขยายความคิดให้ ครอบคลุมประชาชนให้มากที่สุด ผู้นําทางการส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นผู้นําธรรมชาติที่ประชาชนนับถือศรัทธาอยู่ ในตัวด้วยอย่างไรก็ตาม ตราบใดที่บุคคลนั้นยังดํารงตําแหน่งผู้นําทางการอยู่ ก็จะมีบทบาทใน ฐานะผู้นําทางการไม่ถือว่าเป็นผู้นําธรรมชาติ เพราะต้องดําเนินงานภายใต้กรอบแนวทางและ นโยบายของทางราชการ


8

ขั้นตอนที่ 4 : เลือกผู้นาธรรมชาติ (เวทีประชาคมครั้งแรก) เป็นการจัดเวทีประชาคมครั้งแรก เพื่อให้ชาวบ้านคัดเลือก “คณะผู้นาธรรมชาติ” ของชุมชน โดยควรมีครัวเรือนไม่ต่ํากว่าร้อยละ 70 มาร่วมประชุมเพื่อเป็นเสียงส่วนใหญ่ของ ชุมชนอย่างแท้จริง วิทยากรกระบวนการจะต้องตอกย้ําความเข้าใจถึงแนวทางการสร้างชุมชน เข้มแข็งให้กับชาวบ้าน จากนั้นจึงเริ่มกระบวนการคัดเลือกโดยมีหลักการคือ “เป็นคนในชุมชน ที่ชาวบ้านนับถือศรัทธาหรือหวังพึ่งยามทุกข์ยาก ซึ่งต้องไม่ใช่ผู้นาทางการ ข้าราชการหรือ นักการเมืองท้องถิ่น” ด้วยวิธีการใช้แบบสอบถาม 10 ข้อ เพื่อครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ อย่าง ครบถ้วน สาระสําคัญคือหากชาวบ้านได้รับความเดือดร้อนหรือมีปัญหาต่าง ๆ จะไปปรึกษาใคร ผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุดจะเป็น “ประธานชุมชนเข้มแข็ง” ส่วนที่ได้คะแนนรอง ๆ ลงไปก็เป็น กรรมการใน “คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง” จํานวนกรรมการขึ้นอยู่กับขนาดของชุมชนและ ขนาดของปัญหายาเสพติด โดยใช้สัดส่วนของกรรมการต่อครัวเรือน 1 : 2 ถึง 1 : 5 เพื่อให้ สามารถดูแลชุมชนได้อย่างทั่วถึง คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งแบ่งฝ่ายงานตามการพัฒนาความเจริญให้กับชุมชน ด้านต่าง ๆ เช่น ฝ่ายประสานงานกับหน่วยราชการ , ฝ่ายสาธารณูปโภค , ฝ่ายรับเรื่องราวร้อง ทุกข์ , ฝ่ายมวลชนสัมพันธ์ , ฝ่ายประเพณี , ฝ่ายกีฬา และฝ่ายสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของกรรมการแต่ละคน แต่ตําแหน่งรองประธานฝ่ายประสานงานกับหน่วยราชการ ควรเป็นผู้นําทางการของชุมชน และไม่ควรตั้งฝ่ายเกี่ยวกับยาเสพติดเป็นการเฉพาะ เพราะงานยา เสพติดควรจะผสมผสานเข้ากับงานทุกฝ่ายที่กรรมการทุกคนควรร่วมกันรับผิดชอบ คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง จะเข้ามารับผิดชอบการดําเนินงานในขั้นตอนที่ 5 – 9 ต่อไป โดยวิทยากรกระบวนการจะปรับบทบาทของตนมาเป็นเพียงที่ปรึกษาคอยให้การ สนับสนุนเท่านั้น ขั้นตอนนี้มีความสําคัญมากและเป็นจุดหักเหที่ทําให้การดําเนินงานไม่ประสบ ความสําเร็จในชุมชนหลายแห่งมาแล้ว ปัญหาที่พบมากมี 2 กรณี คือ กรณีแรก การจัดเวที เลือกผู้นําธรรมชาติ โดยไม่ผ่าน 3 ขั้นตอนแรกมาก่อน กรณีหลัง การเลือกผู้นําธรรมชาติโดย ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ กรณีแรก เป็นการเร่งรัดจัดเวทีชาวบ้านเพื่อคัดเลือกผู้นําธรรมชาติ โดยไม่ได้ มีการสร้างความตระหนักและความเข้าใจในแนวทางการดําเนินงานให้กับผู้นําทางการและ


9

ประชาชนก่อน เมื่อชุมชนเลือกคณะกรรมการ คณะกรรมการก็จะไม่เข้าใจว่า แนวทางการ แก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนคืออะไร และไม่สามารถดําเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ กรณีหลัง เป็นการเลือกผู้นําธรรมชาติที่ผิดวัตถุประสงค์ เช่น มีการแทรกแซงใน การกําหนดตัวคนที่จะได้รับเลือก มีกระบวนการคัดเลือกที่ผิดหลักการขั้นตอน หรือมีการ กําหนดโครงสร้างคณะกรรมการที่ไม่เอื้อต่อการทํางานชุมชนเข้มแข็ง การสร้างชุมชนเข้มแข็งไม่ใช่เริ่มต้นด้วยการประชุมเวทีชาวบ้านในทันทีแต่ จะต้องผ่านขั้นตอนการคัดเลือกชุมชนเป้าหมาย การสืบสภาพชุมชน และการพบผู้นําชุมชนมา ก่อน เพื่อวิทยากรกระบวนการจะได้มีข้อมูลส่วนหนึ่งและวางแผนการทํางานได้ถูกต้อง เมื่อ ผู้นําทางการพร้อมและยอมรับแนวทางการสร้างชุมชนเข้มแข็งแล้ว จึงให้ผู้นําทางการนัดหมาย ให้ประชาชนมาประชุมกันเพื่อคัดเลือกผู้นําธรรมชาติ และควรจะมีจํานวนครัวเรือนส่วนใหญ่ หรืออย่างน้อยร้อยละ 70 มาร่วมประชุม เพื่อให้สามารถเลือกผู้นําธรรมชาติได้ตรงกับความเป็น จริงและครอบคลุมความเห็นของสมาชิกส่วนใหญ่ในชุมชน การเลือกผู้นําธรรมชาติมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตั้งคณะกรรมการเสริมสร้างความ เข้มแข็งให้กับชุมชน หรือเรียกอย่างกระชับว่า “คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง” ทั้งผู้นําทางการ ที่มีอยู่แล้วและผู้นําธรรมชาติที่ได้รับเลือกจะเข้ามาร่วมกันเป็นกรรมการเพื่อเป็นองค์กรแกนนํา ในการสร้างและใช้พลังชุมชนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมทั้งพัฒนาชุมชนในด้านต่าง ๆ ให้เจริญก้าวหน้าต่อไป การประชุมเวทีชาวบ้านเพื่อเลือกผู้นําธรรมชาติ เริ่มด้วยการให้วิทยากร กระบวนการอธิบายความจําเป็นของการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน ในลักษณะที่ชุมชนเป็น เจ้าของการดําเนินงานโดยมีราชการเป็นผู้ให้การสนับสนุน ประชาชนจะต้องตระหนักใน อันตรายของยาเสพติดและบทบาทที่ทุกคนจะต้องร่วมกันแก้ไขปัญหา ไม่ใช่ปล่อยให้เป็นหน้าที่ ของทางราชการฝ่ายเดียว เมื่อประเมินว่าประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจและพร้อมแล้ว จึงจะเริ่มการ คัดเลือกผู้นําธรรมชาติ แต่หากประชาชนยังไม่ตระหนักในบทบาทหน้าที่ ไม่กระตือรือร้นที่จะ ร่วมกันแก้ไขปัญหา วิทยากรกระบวนการจะต้องพยายามปลุกจิตสํานึกใหม่ โดยอาจจะนัด ประชุมเวทีชาวบ้านอีกในโอกาสที่เหมาะสม หลักการเลือกผู้นําธรรมชาติ จะต้องเป็นการเลือกผู้ที่ประชาชนนับถือศรัทธา อย่างแท้จริง ไม่ใช่เลือกเพราะชื่อเสียง ไม่ใช่เพราะฐานะ ไม่ใช่เพราะความรู้ ไม่ใช่เพราะ ความสามารถ แต่คัดเลือกจากประชาชนธรรมดาที่ประชาชนในชุมชนด้วยกันเองนับถือศรัทธา ผู้ที่ได้รับเลือกอาจไม่ใช่คนมีความรู้สูง อาจไม่ใช่คนมีความสามารถในการบริหาร ขอเพียงเป็น


10

คนในชุมชนที่คนอื่นนับถือศรัทธาหรือหวังพึ่งพยายามทุกข์ยาก ก็เป็นผู้นําธรรมชาติได้ ดังนั้น ในการคัดเลือกจึงไม่ให้มีการสมัครและหาเสียง แต่จะใช้แบบสอบถาม ซึ่งมีคําถามจํานวน ประมาณ 10 ข้อ เพื่อให้ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ตามแบบสอบถาม จะปรึกษาใครแต่ละข้อ ให้เสนอบุคคลได้ 5 ชื่อ ชื่อที่เสนอจะต้องไม่ใช่ผู้นําทางการ ไม่ใช่ข้าราชการท้องถิ่น ไม่ใช่ นักการเมืองท้องถิ่น แต่ให้มาจากประชาชนทั่วไปในชุมชน ผู้ที่ไม่มาร่วมประชุมก็ถูกเสนอชื่อ ได้ เมื่อผู้มาประชุมกรอกแบบสอบถามแล้ว ให้รวมคะแนน ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดจะเป็น ประธานกรรมการชุมชนเข้มแข็ง ผู้นําธรรมชาติที่ได้คะแนนรองลงไปและผู้นําทางการจะได้ร่วม เป็นรองประธานและกรรมการ จํานวนกรรมการขึ้นอยู่กับขนาดของชุมชนและขนาดของปัญหา ยาเสพติดที่ประเมินเบื้องต้นจากการสืบสภาพ โดยใช้อัตราส่วนกรรมการต่อครัวเรือนประมาณ 1 : 2 ถึง 1 : 5 เพื่อให้กรรมการแต่ละคนสามารถดูแลครัวเรือนได้อย่างทั่วถึง ตัวอย่างเช่น ถ้า หมู่บ้านมี 120 ครัวเรือน และจะใช้อัตราส่วนกรรมการ 1 : 3 จํานวนกรรมการที่ต้องการเท่ากับ 120  3 = 40 คน เมื่อได้กรรมการที่มาจากผู้นําธรรมชาติครบจํานวนตามที่ต้องการแล้วให้ประธาน กรรมการชุมชนเข้มแข็งมีสิทธิเลือกเลขานุการเอง เพื่อความคล่องตัวในการร่วมงาน สําหรับ ตําแหน่งรองประธานฝ่ายประสานงานกับหน่วยราชการควรเป็นผู้นําทางการของชุมชนนัน้ เนื่องจากเป็นผู้ที่เหมาะสมในการเป็นคนกลางระหว่างหน่วยราชการกับชุมชน ส่วนตําแหน่งอื่น ๆ ให้ประชาชนแต่งตั้งกันเองตามความเหมาะสม การที่ผู้นําทางการเข้ามาร่วมเป็นรองประธาน ก็เพื่อให้เกิดการทํางานร่วมกันอย่างเป็นเอกภาพ แต่ผู้นําทางการไม่ควรเป็นประธานเอง เนื่องจากจะทําให้ความมีส่วนร่วมของประชาชนลดน้อยลง มีลักษณะเสมือนคณะกรรมการซึ่งมี ผู้แทนภาครัฐควบคุมอยูห่ ากประธานแกนนํามาจากผู้นําธรรมชาติ จะช่วยให้การดําเนินงานของ คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งมีอิสระในการทํางานอย่างเต็มที่ในนามของประชาชน ตําแหน่งต่าง ๆ ในคณะกรรมการอาจแบ่งเป็นฝ่ายต่าง ๆ เช่น ฝ่ายประสานงานกับ หน่วยราชการฝ่ายสาธารณูปโภค ฝ่ายรับเรื่องราวร้องทุกข์ ฝ่ายมวลชนสัมพันธ์ ฝ่ายประเพณี ฝ่ายกีฬา และฝ่ายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น แต่ละฝ่ายจะมีหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาความเจริญให้กับ ชุมชน โดยทุกฝ่ายจะมีบทบาทในเชิงสร้างสรรค์ ไม่ควรตั้งฝ่ายเกี่ยวกับยาเสพติดเป็นการเฉพาะ เพราะงานยาเสพติดควรจะผสานเข้ากับงานทุกฝ่ายที่ทุกคนควรร่วมกันรับผิดชอบ แม้ คณะกรรมการจะถูกคัดเลือกขึ้นมาเพราะปัญหายาเสพติด แต่เมื่อคัดเลือกเรียบร้อยแล้ว ภาพของ คณะกรรมการควรเป็นเรื่องของการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ไม่ใช่ภาพของการต่อต้านยาเสพติดหรือ ต่อต้านฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง


11

เมื่อได้คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งเรียบร้อยแล้ว คณะกรรมการจะเข้ามา รับผิดชอบการดําเนินงานในขั้นตอนที่ 5 ถึง 9 ต่อไป โดยวิทยากรกระบวนการจะปรับบทบาท ของตนจากผู้ดําเนินการมาเป็นที่ปรึกษาคอยให้การแนะนําและสนับสนุน ขั้นตอนต่อจากนี้ไปจะ เป็นการพิสูจน์ว่า คณะกรรมการผู้นําธรรมชาติที่ได้รับคัดเลือกมานั้น ผ่านกระบวนการคัดเลือก ที่เหมาะสมหรือไม่ หากคณะกรรมการไม่สามารถดําเนินงานต่อไปเองได้ จะต้องพิจารณาว่าเกิด จากปัจจัยภายนอก หรือเกิดจากความไม่เหมาะสมของคณะกรรมการเองซึ่งจะต้องมีการแก้ไข ขั้นตอนที่ 5 : รณรงค์ประชาสัมพันธ์ การสร้างชุมชนเข้มแข็งนั้นจําเป็นต้องเกิดจากการมีส่วนร่วมของคนส่วนใหญ่ใน ชุมชนและด้วยวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มีความเกี่ยวดองเป็นเครือญาติกันทั้งผู้เสพ-ผู้ค้า-ชาวบ้าน ทั่วไป จึงต้องใช้ “สันติวิธีในการทางาน” เพื่อไม่ให้กระทบกระทั่งบาดหมางกัน ดังนั้นหลัก สําคัญของการรณรงค์ประชาสัมพันธ์คือให้ทุกครัวเรือเข้าใจแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติด และขยายความร่วมมือของชาวบ้านมาเป็นแนวร่วมดําเนินการให้มากที่สุด โดยสร้างความเข้าใจ ว่าคณะกรรมการไม่ได้มุ่งที่จะต่อต้านใคร แต่จะช่วยเหลือให้โอกาสทุกคนเพื่อสร้างความสุข ความเจริญให้กับชุมชน การสร้างชุมชนเข้มแข็งเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด จําเป็นต้องได้รับการ สนับสนุนและความมีส่วนร่วมจากประชาชนส่วนใหญ่ของชุมชน หัวใจสําคัญคือการใช้สันติวิธี ในการดําเนินงาน โดยพยายามผนึกกําลังทุกส่วนของชุมชนให้ได้มากที่สุดเพื่อร่วมกันแก้ไข ปัญหายาเสพติดของชุมชนแนวทางชุมชนเข้มแข็งเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด ไม่สนับสนุนให้ แบ่งประชาชนเป็นฝ่ายธรรมะ และฝ่ายอธรรม เพื่อต่อสู้กัน ดังนั้น การใช้ “กฎบ้าน” เพื่อ ลงโทษผู้ค้ายาเสพติดในชุมชนด้วยมาตรการทางสังคมอย่างรุนแรงเฉียบขาด จึงไม่เข้าหลักการ สร้างชุมชนเข้มแข็งอย่างสันติวิธใี นที่นี้ จุดประสงค์ของการรณรงค์โดยคณะกรรมการก็เพื่อให้ประชาชนทุกครัวเรือน เข้าใจแนวทางในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน โดยประชาชนเป็นหลักในการดําเนินงาน การรณรงค์ไม่ใช่เพื่อสร้างกระแสต่อต้านฝ่ายผู้ค้า เนื่องจากผู้ค้าในชุมชนมักจะมีความเกี่ยวดอง กับประชาชนในชุมชน และหากมีการต่อต้านผู้ค้าจากฝ่ายกรรมการก็จะนําไปสู่การต่อต้าน กรรมการจากฝ่ายผู้ค้า ทําให้กรรมการและประชาชนเกิดความกลัวที่จะดําเนินงาน สิ่งที่ คณะกรรมการต้องรณรงค์ก็คือขยายความร่วมมือของประชาชนให้มาสนับสนุนการทํางานของ


12

คณะกรรมการให้มากที่สุด และป้องกันการเข้าใจผิดจากผู้ค้าผู้เสพ โดยจะต้องประชาสัมพันธ์ว่า คณะกรรมการไม่ได้มีจุดประสงค์จะต่อต้านใคร แต่ต้องการจะช่วยเหลือให้โอกาสทุกคนเพื่อ สร้างความสุขความเจริญให้แก่ชุมชน ขั้นตอนที่ 6 : คัดแยกผู้มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ( เวทีประชาคมครั้งที่ 2 ) ด้วยแนวคิดที่ว่า “ปัญหายาเสพติดอยู่ที่ผู้เสพและผู้ค้า โดยผู้เสพเป็นฐานให้แก่ ผู้ค้าหากไม่มีผู้เสพ ผู้ค้าก็อยู่ไม่ได้” กรรมการแต่ละคนจึงสอดส่องดูแลเครือข่ายบ้านที่ตน รับผิดชอบว่าผู้ใดเป็นผู้เสพ-ผู้ค้า-ผู้ผลิต รวมทั้งที่มีพฤติกรรมน่าสงสัย แต่จะไม่ใช้วิธีกดดันหรือ กระทําการใด ๆ ต่อบุคคลดังกล่าว เช่น ตรวจปัสสาวะหรือการค้นบ้าน เพื่อไปสู่กระบวนการ “คัดแยกผู้มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติดทั้งหมดในชุมชน” ซึ่งอาศัยหลักการ “คัดแยก เพื่อให้การช่วยเหลือมิใช่เพื่อนามาลงโทษ” การใช้คณะกรรมการในสัดส่วนที่ดูแลทุกครัวเรือน ได้ทั่วถึง ทําให้มีความสามารถที่จะคัดแยกทั้งชุมชนได้อย่างถูกต้องแม่นยํา วิธีการคือ คณะกรรมการจัดประชุมและให้กรรมการ แต่ละคนกรอกชื่อที่ได้มาลงในแบบสอบถามแล้ว หย่อนลงกล่องกระดาษเพื่อไม่ให้รวู้ ่ากรรมการคนไหนกรอกชื่อใคร เมื่อครบแล้วจึงเปิดกล่องนํา ทั้งหมดมาพิจารณาร่วมกันเพื่อจัดทําเป็นบัญชีรายชื่อผู้มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติดใน ชุมชน บัญชีดังกล่าวคือเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของคณะกรรมการและชุมชนจะเป็น ความลับของชุมชน โดยส่งเพียงตัวเลขผู้มีพฤติการณ์ให้วิทยากรกระบวนการ และ คณะกรรมการจะรอประมาณ 20 – 30 วัน เผื่อมีการเพิ่ม-ลดรายชื่อและจํานวน เพื่อให้ได้ข้อมูล ที่น่าเชื่อถือมากขึ้น เป็นการประชุมคณะกรรมการเพื่อคัดแยกผู้มพี ฤติการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ทั้งหมดใน ชุมชน เนื่องจากแนวคิดว่า “ปัญหายาเสพติดอยู่ที่ผู้เสพและผู้ค้า โดยผู้เสพเป็นฐาน ให้แก่ผู้ค้า หากไม่มีผู้เสพ ผู้ค้าก็อยู่ไม่ได้” แต่การค้นหาผู้เสพโดยวิธีทั่วไป เช่น แบบสํารวจของ ทางราชการ หรือ การให้ข้อมูลของผู้นําทางการ ไม่สามารถระบุจํานวนผู้เสพผู้ค้าทั้งหมดของ ชุมชนได้ ทําให้การแก้ไขปัญหาไม่ประสบความสําเร็จ นอกจากนี้ การที่หน่วยราชการเข้าไป ดําเนินการสํารวจหรือค้นหาผู้เกี่ยวข้องเอง จะส่งผลให้ชุมชนไม่ตระหนักว่า การคัดแยกเป็น บทบาทของชุมชนที่ชุมชนต้องทํา เพื่อชุมชนจะได้ทราบปัญหาและแก้ไขด้วยตนเอง


13

การใช้คณะกรรมการที่มาจากผู้นําธรรมชาติ ในจํานวนที่เพียงพอจะดูแลทุก ครัวเรือนได้อย่างทั่วถึง ทําให้มีความสามารถที่จะคัดแยกผู้เสพผู้ค้าในชุมชนได้ละเอียดกว่า และ มีความถูกต้องมากกว่า วิธีการคัดแยกจะทําความเข้าใจกับคณะกรรมการให้ชัดเจนก่อนว่า การ คัดแยกก็เพื่อให้การช่วยเหลือผู้มีพฤติการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ไม่ใช่เพื่อนํามาลงโทษ ทั้งนี้ หากมีเจ้าหน้าที่ตํารวจช่วยยืนยันว่าทางทางราชการจะให้โอกาสแก่ผู้กระทําผิด ก็จะเป็นผลดีใน การสร้างความเชื่อมั่นให้กับคณะกรรมการ ทําให้กรรมการกล้าที่จะให้ข้อมูลตามความจริง จากนั้นให้กรรมการแต่ละคนกรอกชื่อผู้เสพ ผู้ค้า ผู้ผลิตหรือผู้ที่ น่าสงสัย ลงในแบบสอบถาม โดยกรรมการทุกคนต้องมีส่วนร่วมด้วยการกรองแบบทุกคน จะส่งกระดาษเปล่าไม่ได้ เพื่อ แสดงความรับผิดชอบร่วมกัน ในระหว่างการกรอกจะปรึกษาหารือกันก็ได้ เมื่อกรอกแล้ว ให้ นําแบบไปใส่รวมกันไว้ในกล่อง เพื่อไม่ให้ทราบว่า กรรมการคนไหนกรอกรายชือ่ ของผู้ใด เมื่อครบแล้วจึงจะเปิดกล่อง และนํารายชื่อที่ได้มาพิจารณาร่วมกันเพื่อจัดทําเป็นบัญชีรายชื่อผู้มี พฤติการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพติด วิทยากรกระบวนการควรจดบันทึกเฉพาะจํานวนผู้มีพฤติการณ์ไว้ว่ามีจํานวน เท่าใด ส่วนรายชื่อให้คณะกรรมการเป็นผู้เก็บรักษาเพื่อดําเนินงานต่อไป วิทยากรกระบวนการ ไม่ควรนํารายชื่อมาเก็บไว้เอง เพราะไม่ใช่หน้าที่ของวิทยากรกระบวนการหรือหน่วยราชการที่ เข้าไปแก้ปัญหาของชุมชนแทนชุมชน เพียงแต่มีหน้าที่สนับสนุนชุมชนเท่านั้น ยิ่งกว่านั้น หาก วิทยากรกระบวนการหรือหน่วยราชการนํารายชื่อมาเก็บไว้ อาจจะเกิดปัญหาในภายหลังได้ เช่น อาจมีผู้ค้า ผู้เสพในบัญชีรายชื่อถูกจับกุม โดยหน่วยงานส่วนกลาง คณะกรรมการจะเข้าใจผิดว่า หน่วยราชการในท้องถิ่นหรือวิทยากรกระบวนการไม่รักษาคําพูด หลอกให้คณะกรรมการ รวบรวมรายชื่อเพื่อหวังผลในการจับกุมทําให้คณะกรรมการถูกต่อต้านจากผู้เสพผู้ค้า ผลที่ ตามมาก็คือ วิทยากรกระบวนการจะไม่ได้รับความเชื่อถือไว้วางใจจากคณะกรรมการอีก และไม่ สามารถดําเนินกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็งต่อไปได้ เมื่อคณะกรรมการคัดแยกรายชื่อได้แล้ว ยังไม่ต้องดําเนินการใด ๆ แต่ให้เก็บ รักษาไว้ประมาณ 20 – 30 วัน เพราะในระหว่างนั้น กรรมการแต่ละคนอาจได้รับข้อมูลเพิ่มเติม จากประชาชนซึ่งหันมาให้ความร่วมมือกับกรรมการมากขึ้น ทําให้ยอดผู้เกี่ยวข้องมีการ ปรับเปลี่ยน เมื่อเวลาผ่านไปพอสมควรจํานวนผู้เกี่ยวข้องจึงจะค่อนข้างคงทีและเชื ่ ่อถือได้มาก ขึ้น อย่างไรก็ตาม แม้การคัดแยกจะต้องการรายชื่อผู้เกี่ยวข้องนี้ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ที่สุด แต่การได้มาซึ่งรายชื่อจะต้องไม่ใช้วิธีที่เข้าไปกดดันหรือกระทําการใด ๆ ต่อตัว ผู้เสพผู้ค้า


14

เช่น การตรวจปัสสาวะหรือการค้นบ้านผู้ต้องสงสัย การทําบัญชีรายชื่อผู้เกี่ยวข้องขอให้มาจาก ข้อมูลการรับรู้ของคณะกรรมการก็เพียงพอแล้ว คณะกรรมการจะต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกดดันผู้ เสพผู้ค้าโดยตรง เพราะยังไม่ถึงเวลา จะทําให้คณะกรรมการปะทะกับฝ่ายผู้มีพฤติการณ์โดยไม่มี พลังสนับสนุนจากแนวร่วมในชุมชน คณะกรรมการจะต้องดําเนินงานตามขั้นตอนที่ 7 เพื่อปลุก กระแสความร่วมมือจากฝ่ายที่ไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดก่อน แล้วจึงใช้กระแสสังคมมา ดําเนินการต่อฝ่ายที่มีพฤติการณ์ตามขั้นตอนที่ 8 ต่อไป ขั้นตอนที่ 7 : การรับรองครัวเรือน ( เวทีประชาคมครั้งที่ 3 ) เป็นการประชุมเพื่อรับรองครัวเรือนซึ่งแยกบัญชีไว้ว่าไม่มีสมาชอกอยู่ในรายชื่อผู้ มีพฤติการณ์ โดยคณะกรรมการอ่านรายชื่อของสมาชิกแต่ละครัวเรือน หากครัวเรือนใดไม่ได้ รับเสียงรับรองเป็นเอกฉันท์ ก็นํารายชื่อผู้เกี่ยวข้องหรือต้องสงสัยไปปรับเพิ่มในบัญชีผู้มี พฤติการณ์ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าครอบครัวนั้นไม่ดี แต่เป็นการรอตรวจสอบให้มั่นใจแล้วค่อย รับรองในโอกาสต่อไป ส่วนที่ได้รับการรับรองก็จะจัดพิธีมอบธงขาวและใบประกาศเกียรติคุณ เพื่อยก ย่องเป็นครัวเรือนปลอดยาเสพติด โดยเชิญบุคคลสําคัญและผู้มเี กียรติต่างๆ มาร่วมเป็นสักขี พยาน ถือเป็นกิจกรรมปลุกกระแสและสร้างขวัญกําลังใจให้ชุมชน แต่ทั้งนี้หากครัวเรือนใดเข้า ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดอีกก็จะถูกถอนสถานภาพครัวเรือนปลอดยาเสพติด เมื่อได้จํานวนและรายชื่อผู้มีพฤติกรรมที่ค่อนข้างจะถูกต้องเชื่อถือได้แล้ว คณะกรรมการจะจัดประชุมอีกครั้ง เพื่อรับรองครัวเรือนซึ่งแยกบัญชีไว้แล้วว่า ไม่มสี มาชิก ครัวเรือนอยู่ในรายชื่อผู้มีพฤติการณ์ การประชุมรับรองครัวเรือนปลอดยาเสพติดอีกครั้ง ก็ เพื่อให้แน่ใจว่า ครัวเรือนเหล่านี้ปลอดยาเสพติดจริง ๆ ไม่ได้เกิดจากความผิดพลาดตกหล่นโดย ไม่ตั้งใจ การพิจารณารับรองจะใช้เสียงเอกฉันท์ของคณะกรรมการ โดยจะมีการอ่านรายชื่อ สมาชิกของแต่ละครัวเรือน หากครัวเรือนใดไม่ได้รับเสียงรับรองเป็นเอกฉันท์ ให้นํารายชื่อ ผู้เกี่ยวข้องหรือต้องสงสัยในครัวเรือน ไปปรับเพิ่มในบัญชีผู้มีพฤติการณ์ คะแนนเสียงเอกฉันท์ ในที่นี้ไม่ได้จํากัดเฉพาะกรรมการที่มาร่วมประชุม แต่หมายถึงเสียงรับรองเป็นเอกฉันท์จาก กรรมการทุกคน หากมีกรรมการคนใดขาดประชุม ต้องขอให้กรรมการคนนั้นลงมติเพิ่มเติมหลัง การประชุม


15

การรับรองครัวเรือนเป็นการยกย่องครัวเรือนปลอดยาเสพติด ส่วนการไม่รับรอง ไม่ได้หมายความว่าครัวเรือนนั้นไม่ดี แต่เป็นการรอตรวจสอบให้มั่นใจเสียก่อนแล้วจึงค่อย รับรองในโอกาสต่อ ๆ ไป ครัวเรือนที่ไม่ได้รับการรับรอง ก็จะได้รับการติดตามดูแลจาก คณะกรรมการเพื่อตรวจสอบให้แน่ใจหรือเพื่อ ให้ความช่วยเหลือ หากคณะกรรมการรับรอง ครัวเรือนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จะทําให้ครัวเรือนนั้นสูญเสียโอกาสที่ จะได้รับการช่วยเหลือให้สมาชิกในครัวเรือนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนั้น ในกรณีที่คณะกรรมการไม่แน่ใจว่า ครัวเรือนนั้นปลอดยาเสพติด จริง หรือไม่ เช่น สมาชิกในครัวเรือนไปเรียนต่อที่อื่นเป็นเวลาหลายปี และไม่แน่ใจเรื่องความ ประพฤติ คณะกรรมการสามารถเลื่อนการรับรองครัวเรือนนั้นได้ จนกว่าจะมีการตรวจสอบ ข้อเท็จจริงในโอกาสต่อไป เพื่อเป็นการปลุกกระแสและสร้างขวัญกําลังใจแก่ครัวเรือนปลอดยาเสพติด คณะกรรมการควรจัดพิธีมอบสัญลักษณ์หรือเกียรติบัตร ให้แก่ครัวเรือนที่ได้รับการรับรองว่า ปลอดยาเสพติด โดยควรเชิญผู้มีเกียรติหรือบุคคลสําคัญต่าง ๆ มาร่วมงาน และเป็นผู้มอบ สัญลักษณ์หรือเกียรติบัตร สัญลักษณ์ที่มอบให้ครัวเรือนควรเป็นของที่ไม่แพงเกินไปเพราะต้องใช้จํานวน มาก และควรเป็นของที่สามารถนําไปประดับที่ครัวเรือนให้เห็นได้เด่นชัด ขณะเดียวกัน ก็เป็น สิ่งที่สามารถถอดถอนได้ง่าย เช่น ธงขนาดเล็ก เนื่องจากครัวเรือนปลอดยาเสพติดจะต้องได้รับ การเฝ้าดูโดยชุมชนและสามารถปรับเปลี่ยนสถานะได้เสมอ หากพบว่าสมาชิกครัวเรือนกลับไป มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติดนอกจากการ มอบสัญลักษณ์แล้ว การใช้เกียรติบัตรประกอบก็มีผลดี เพราะสามารถแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับครอบครัวนั้น ทําให้เกิดความภูมิใจและเป็นหลักฐานที่ดี ยิ่งขึ้น ขั้นตอนที่ 8 : ใช้มาตรการทางสังคม เป็นขั้นตอนการดําเนินการต่อผู้มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ซึ่งจะได้วิธี โน้มน้าวชักจูงทั้งผ่านสื่อรณรงค์และการพบปะของคณะกรรมการเพื่อให้บุคคลเหล่านั้นมาแสดง ตัวเพื่อประกาศว่าจะเลิกเสพเลิกค้า ด้านผูม้ ีพฤติกรรมเมื่อถูกกดดันจากสังคม ก็จะเริ่มทยอยมา แสดงตัวกลับใจ กรณีที่เป็นผู้เสพก็จะมีการบาบัดรักษาตามความจาเป็นและความเหมาะสมของแต่ ละรายไป สังคมชุมชนมีบทบาทในการสอดส่องดูแลช่วยเหลือให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม


16

จึงเป็นระบบ “ควบคุมพฤติกรรม แต่ไม่ควบคุมตัว” หัวใจสําคัญของการช่วยเหลือผู้เสพก็คือ บรรยากาศความร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในชุมชนและครอบครัว ผู้เสพจํานวนมากมีอาการดีขึ้น ด้วยการบําบัดทางการแพทย์ แต่สามารถเลิกยาได้เด็ดขาดด้วยการบําบัดของชุมชนดังกล่าว กรณีของผู้ค้ารายย่อยซึ่งมีเหตุจูงใจจากต้องการเงินมาซื้อยาเสพ จะได้รับการ ปฏิบัติเช่นเดียวกับผู้เสพทั่วไป ส่วนผู้ค้ารายย่อยอื่น ๆ จะถูกกระแสสังคมกดดันให้เลิกค้า เนื่องจากผู้เสพในชุมชนหมดไป ประกอบกับคณะกรรมการยึดหลัก “ให้อภัย” ให้โอกาสกลับใจ โดยจะมีการติดตามตรวจสอบพฤติกรรมว่ากลับตัวได้จริงหรือไม่ ซึ่งคณะกรรมการจะใช้ มาตรการทางกฎหมายเป็นทางเลือกสุดท้ายสําหรับผู้ที่ไม่ยอมเลิกค้ายาเสพติด เมื่อเกิดกระแสความร่วมมือที่ดีขึ้นในชุมชนแล้ว ก็ถึงเวลาที่คณะกรรมการและ ประชาชนจะดําเนินการต่อผู้มีพฤติการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพติด โดยคณะกรรมการจะรณรงค์ โน้มน้าวชักจูงทั้งผ่านสือ่ และการพบปะให้ผู้มีพฤติการณ์มาแสดงตัวต่อคณะกรรมการเพื่อ ประกาศตัวว่าเลิกเสพเลิกค้า ผู้มีพฤติการณ์เมื่อถูกกดดันจากกระแสสังคม จะเริ่มทยอยกันมาแจ้ง ต่อคณะกรรมการ หากเป็นผู้เสพ ก็จะให้มีการบําบัดรักษาตามความจําเป็นและเหมาะสม โดย ให้อยู่ในการติดตามดูแลของกรรมการ หากเป็นผู้ค้า ก็จะให้คณะกรรมการและประชาชน ช่วยกันตรวจสอบพฤติการณ์ การบําบัดรักษาผู้เสพต้องคํานึงถึงความเหมาะสม โดยพิจารณาจากอาการ ทาง กายและอาการทางใจของผู้เสพแต่ละราย ผู้เสพไม่จําเป็นต้องได้รับการบําบัดรักษาเหมือนทุกคน หากผู้เสพมีอาการทางกายและจําเป็นต้องพบแพทย์ เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง ที่จะพาผู้เสพไปพบแพทย์ หรือประสานงานกับหน่วยราชการเพื่อจัดให้มีการบําบัดรักษาโดยวิธี ใดวิธีหนึ่งตามสมควร คณะกรรมการ ควรมอบหมายให้มีกรรมการรับผิดชอบดูแลผู้เสพแต่ละ คนเป็นการเฉพาะ เพื่อให้สามารถติดตามดูแลได้อย่างใกล้ชิดและสร้างความอบอุ่นไว้วางใจ ระหว่างกรรมการกับผู้เสพ อันจะส่งผลดีในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เสพในระยะยาว เนื่องจากอาการติดยาที่เป็นปัญหามากที่สุด คือ “อาการติดทางใจ” อาการติดทางใจ ทําให้ผู้เสพหลายต่อหลายรายที่ผ่านการบําบัดรักษาแล้ว ต้อง หวนกลับไปเสพยาซ้ําแล้วซ้ําอีก ผู้เสพเหล่านี้ตกอยู่ในสภาวะ “เลิกได้ แต่ลืมไม่ได้” ดังนั้น สิ่ง สําคัญที่สุดในการช่วยเหลือผู้เสพ คือ จะต้องมีผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อติดตามความประพฤติ อย่างสม่ําเสมอ คอยให้คําแนะนําและให้กําลังใจ บทบาทนี้ไม่ใช่บทบาทของพ่อแม่ผู้เสพ เพราะ พ่อแม่มักจะเป็นคนสุดท้ายที่รู้ว่าลูกของตนเสพยา และความรักของพ่อแม่มักจะทําให้พ่อแม่ไม่ สามารถข่มกลั้นอารมณ์และใช้ความอดทนในการตักเตือนลูกโดยปราศจากโทสะได้


17

“สังคม” อันประกอบด้วยคณะกรรมการและประชาชนในชุมชน มีบทบาท สําคัญในการควบคุมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เสพ โดยทุกคนที่พบเห็นผู้เสพจะช่วยกัน สอดส่องดูแล ตัวผู้เสพเองเมื่อทราบว่าตนเองอยู่ในสายตาของคนทั้งชุมชน ได้รับการดูแลอย่าง ใกล้ชิดจากกรรมการ และกลุ่มเพื่อนที่เคยเสพยาด้วยกันก็เลิกเสพแล้ว ทําให้ผู้เสพไม่มีโอกาสจะ ไปซื้อยาหรือเสพยาอีก เป็นระบบ “ควบคุมพฤติกรรม แต่ไม่ควบคุมตัว” ทําให้ผู้เสพหยุดเสพ ยาโดยอัตโนมัตแิ ม้จะไม่ทราบว่าตนเอง “หายขาด” แล้วหรือไม่ก็ตาม จากประสบการณ์ของชุมชนเข้มแข็งหลายแห่งพบว่า หัวใจสําคัญของการ ช่วยเหลือผู้เสพไม่ใช่อยู่ที่การส่งตัวผู้เสพไปยังสถานบําบัด ไม่ใช่การจัดค่ายบําบัดรักษา และ ไม่ใช่โครงการฝึกอาชีพกิจกรรมเหล่านีเ้ ป็นส่วนเสริมตามความเหมาะสมเป็นราย ๆ ไป แต่หัวใจ สําคัญของการช่วยเหลือผู้เสพคือบรรยากาศความร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในชุมชนและครอบครัว ผู้เสพยาจํานวนมากมีอาการดีขึ้นด้วยวิธกี ารทางการแพทย์ แต่สามารถเลิกเสพได้เด็ดขาดด้วย วิธีการของชุมชน ดังคํากล่าวของผู้มีประสบการณ์ทางด้านบําบัดรักษาว่า “เตียงที่รักษาผู้ที่ติดยา ได้ดีที่สุด คือเตียงที่บ้านของผู้ติดยาเอง” สําหรับผู้ค้ารายย่อยในชุมชนนั้น ผู้ค้าที่ค้าเพราะต้องการเงินเพื่อซื้อยามาเสพ จะ ได้รับการปฏิบัติเช่นเดียวกับผู้เสพทัว่ ไป ส่วนผู้ค้ารายย่อยอื่น ๆ จะถูกกระแสสังคมกดดันให้เลิก ค้า เนื่องจากผู้เสพในชุมชนหมดไป ประกอบกับคณะกรรมการและประชาชนยึดหลัก “ให้ อภัย” คณะกรรมการจะส่งคนที่เหมาะสมไปพูดจากกับผู้ค้า แต่ละราย ด้วยท่าทีที่อ่อนน้อม ปราศจากอคติไม่ใช้ถ้อยคําที่รุนแรง เพื่อขอให้ผู้ค้าเหล่านั้นตระหนักถึงความสําคัญของตนเอง ในการเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่จะต้องช่วยกันพัฒนาสร้างความเจริญให้กับชุมชนและ ประเทศชาติ ชุมชนเข้มแข็งหลายแห่งประสบความสําเร็จในการสร้างกระแสและบรรยากาศที่ดี เป็นกันเองในแบบชาวบ้าน เป็นผลให้ผู้ค้ารายย่อยยุติบทบาทและให้ความร่วมมือกับ คณะกรรมการ อย่างไรก็ตาม การดําเนินการต่อผู้ค้ารายย่อยในชุมชนจําเป็นต้องใช้ความอดทน และใช้ระยะเวลา และขอให้การใช้มาตรการกฎหมายเป็นทางเลือกสุดท้ายจริง ๆ เมื่อถึงคราว จําเป็น ครัวเรือนที่ประกาศตัวว่าเลิกเกี่ยวข้องกับยาเสพติดแล้ว คณะกรรมการ จะ ติดตามเฝ้าดูไประยะหนึ่งแล้วจึงจะประชุมรับรองโดยต้องมีมติเป็นเอกฉันท์ เช่นเดียวกันกับ ครัวเรือนที่ได้รับการรับรองไปแล้วหากต่อมาพบว่าสมาชิกในครัวเรือนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด คณะกรรมการก็จะประชุมหารือเพื่อพิจารณาถอดถอนสถานะครัวเรือนปลอดยาเสพติดได้


18

ตลอดเวลา เพื่อให้จํานวนครัวเรือนปลอด ยาเสพติดและครัวเรือนที่มีปัญหายาเสพติดตรงกับ ความเป็นจริงที่สุด อันจะเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาให้ตรงจุดต่อไป ขั้นตอนที่ 9 : รักษาสถานะชุมชนเข้มแข็ง เป้าหมายสูงสุดของการสร้างชุมชนเข้มแข็งเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดไม่ได้ อยู่ที่ การทําให้ชุมชนปลอดยาเสพติดอย่างรวดเร็ว หากแต่เป็นการทําให้ชุมชน ปลอดยาเสพติดอย่าง ยั่งยืน ดังนั้น บทบาทของคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งจึงต้องเป็นแกนนาในการระดมความ ร่วมมือร่วมใจของทุกคนในชุมชนเพื่อช่วยกันสอดส่อง เฝ้าระวังป้องกันไม่ให้ยาเสพติดหวน กลับมาอีกโดยการประชุมประชาคมเพื่อรับรองครัวเรือนปลอดภัยยาเสพติดเป็นประจาทุกเดือน รวมทั้งต้องช่วยกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนในด้านต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นภูมิคุ้มกันยาเสพติด ระยะยาวและเป็นการรักษาสถานะชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ปัจจุบันแนวทางของวิทยากรกระบวนการ และกระบวนการประชาคมชุมชน ซึ่ง เริ่มต้นที่หมู่บ้านคลองจรเข้น้อย ตําบลเกาะไร่ อําเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ขยายไป ยังชุมชนต่าง ๆ ในจังหวัดฉะเชิงเทรา และเผยแพร่ไปสู่จังหวัดอื่น ๆ ทั่วภาคตะวันออกใน ปัจจุบัน จุดเด่นของแนวทางดังกล่าวคือ 1. ความสําเร็จในการสร้างพลังสามัคคีของชาวบ้านเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนา ความเจริญให้แก่ชุมชนของตน 2. สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งมีสภาพแตกต่างกันได้ 3. สามารถสร้างชุมชนตัวอย่างหลายชุมชน ซึ่งเป็น ศูนย์ การเรียนรู้ให้กับชุมชน อื่น ๆ เป้าหมายสูงสุดของการสร้างชุมชนเข้มแข็งเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด อยู่ที่การทํา ให้ชุมชนนั้นปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน ไม่ได้อยู่ที่การทําให้ชุมชนนั้นเป็นเพียงชุมชนปลอดยา เสพติด หรือเป็นชุมชนปลอดยาเสพติดโดยเร็วที่สุด เนื่องจากวิธีการ ที่จะทําให้ชุมชนปลอด ยาเสพติดโดยเร็วที่สุด คือ การใช้กําลังของทางราชการเข้า กวาดล้างกดดันผู้ค้าผู้เสพอย่าง เข้มงวด ซึ่งสามารถทําให้ชุมชนนั้นปลอดยาเสพติดได้อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม หากมีการ ถอนกําลังของทางราชการออกไปจากชุมชนเมื่อใด ปัญหายาเสพติดก็จะกลับมาสู่ชุมชนนั้นได้ อย่างรวดเร็วเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีบางชุมชนที่เป็นชุมชนปลอดยาเสพติดอยู่แล้วตามธรรมชาติ เช่น ชุมชนที่มีพื้นที่อยู่ห่างไกล ไม่ค่อยมีคนอยู่ สภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตทําให้ชุมชนเช่นนี้ไม่ มีปัญหายาเสพติดอยู่แล้ว โดยไม่เกี่ยวข้องกับมาตรการแก้ไขปัญหาใด ๆ ชุมชนปลอดยาเสพติด


19

โดยธรรมชาติ และชุมชนปลอดยาเสพติดโดยภาครัฐ ดังกล่าว ไม่ใช่ตัวอย่างที่ดีของการสร้าง ชุมชนปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน การเป็นชุมชนปลอดยาเสพติด ไม่ได้หมายความว่า ชุมชนนั้นจะปลอดภัยจากยา เสพติดอย่างเด็ดขาด เพราะสถานการณ์ปลอดยาเสพติดเป็นพลวัต สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตลอดเวลา ตราบใดที่ชุมชนยังมีการติดต่อระหว่างกัน ประชาชนมีการเคลื่อนย้ายไปมาหาสู่กัน ทุกชุมชนก็มีโอกาสที่จะเผชิญกับปัญหายาเสพติดได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาที่เกิดจากคนในชุมชน นั้นเอง หรือเกิดจากคนในชุมชนอื่นเข้าไปลักลอบ ค้าหรือเสพในอีกชุมชนหนึ่ง เมื่อคณะกรรมการชุมชนดําเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ผล จะทําให้จํานวน ผู้เสพผู้ค้าในชุมชนลดลงและหมดไปในที่สุด ถือได้ว่าชุมชนนั้นปลอดยาเสพติดแล้ว แต่ภารกิจ ของคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งยังไม่ยุติ มิฉะนั้นปัญหายาเสพติดอาจกลับคืนสู่ชุมชนได้ ดังนั้น คณะกรรมการยังจําเป็นต้องรวมตัวกันต่อไป และเป็นแกนหลักในการสร้างความร่วมมือ ร่วมใจของประชาชนในชุมชนให้ช่วยกันพัฒนาและแก้ไขปัญหาอื่น ๆ ในชุมชนนั้นอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งยังมีการสอดส่องดูแลครัวเรือนและ เฝ้าระวังป้องกันไม่ให้ยาเสพติดกลับมาแพร่ ระบาดในชุมชนได้อีก วิทยากรกระบวนการนับเป็นบุคคลสําคัญที่ช่วยเสริมชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อแก้ไข ปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน วิทยากรกระบวนการไม่ได้ทําหน้าที่ให้ความรู้แล้วจากไป แต่จะต้อง อยู่เคียงข้างชุมชนเพื่อคอยให้คําแนะนําและให้การสนับสนุน วิทยากรกระบวนการไม่ได้เป็นผู้ ถ่ายทอดความรูท้ ั้งหมดแก่ชุมชน แต่จะแนะนําแนวทาง ให้ชุมชนคิดเป็นทําเป็นเพื่อพัฒนาไปสู่ การพึ่งพาตนเอง การทํางานในชุมชนย่อมมีความแตกต่างกันไปตามสถานการณ์ในแต่ละพื้นที่ วิทยากรกระบวนการที่ดีจึงต้องเป็นทั้งผู้สอนและผู้เรียนในเวลาเดียวกัน เพื่อพัฒนาความรู้ ประสบการณ์ของตัววิทยากรกระบวนการเอง ให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลง และสามารถ ประยุกต์แนวทางการทํางานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม


20

บทบาทของตารวจในการสนับสนุนชุมชนเข้มแข็ง (พล.ต.ต.ณรงค์ ศิวาพานิช รองผู้บัญชาการตารวจภูธรภาค ๗) การที่จะเป็นชุมชนเข้มแข็งได้นั้น... 1. จะต้องเกิดจากความตั้งใจของชุมชนเอง เริ่มจากการรวมตัวกันโดยสมัครใจ ไม่ใช่เจ้าหน้าที่เข้าไปจัดตั้ง ถ้าชุมชนซึ่งรู้ปัญหาของตัวเองดีกว่าใครตั้งใจรวมตัวกันจริง ก็จะ ไปสู่ความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนได้ 2. จะต้องมีผู้นาทางธรรมชาติ ซึ่งมีความเสียสละ และมีความสามารถร่วมแรง ร่วมใจชาวบ้านได้ 3. ไม่ใช่เริ่มต้นจากราชการให้งบประมาณชาวบ้านลงไปทา ตรงกันข้ามหาก ชุมชนเริ่มจากการเรี่ยไรกันเองก็จะเกิดความรักความสามัคคีกันมากกว่า แล้วงบประมาณก็ค่อย ตามไปตามความจําเป็นเหมาะสมของชุมชน 4. การทาให้ชุมชนเข้มแข็งนั้นมันต้องใช้เวลาให้เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ใช่ไป เร่งรัดให้เกิด 5. หน่วยงานทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับความสงบสุขของชุมชนต้องช่วยกัน โดยถ้า ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของแต่ละฝ่ายมีแนวคิดตรงนี้ การจะสนับสนุนชุมชนเข้มแข็ง ก็ง่ายขึ้น บทบาทของตํารวจเราอาจจะมีจุดเด่นบางด้าน แต่เราก็มีจุดอ่อนบางด้าน เช่นในการระดม ชาวบ้านเราจะสู้ฝ่ายปกครองไม่ได้ ถ้าฝ่ายปกครองไม่ร่วมมือ การทํางาน ก็จะช้าลง ตํารวจทุกระดับตั้งแต่นายตํารวจถึงชั้นประทวน มีบทบาทอย่างสูงในการ ที่จะ เข้าไปช่วยเสริมสร้างให้ชุมชนเข้มแข็งได้ เพราะ... 1. การทํางานของข้าราชการตํารวจมีความยืดหยุ่นเรื่องของเวลาสูง คือสามารถ ทํางานได้ 24 ชั่วโมง จึงสามารถลงไปในพื้นที่ชุมชนอย่างสอดคล้องกับเวลาว่าง ของชาวบ้าน ไม่กระทบกับเวลาทํามาหากินของเขาได้ เช่น การเปิดเวทีพูดคุยหรือประชุมตอนค่ํา ๆ ของ ชุมชน 2. ตํารวจเป็นข้าราชการที่มีวินัยสูง ดังนั้นถ้าผู้บังคับบัญชามีแนวทางนโยบาย ที่ ดีในเรื่องการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง ตํารวจระดับต่าง ๆ ก็จะยึดถือปฏิบัติ อย่างเคร่งครัด 3. หน่วยงานของตํารวจ โดยเฉพาะตํารวจชั้นประทวนจะมีความคุ้นเคยกับพื้นที่ ซึ่งตนทํางานอยู่แล้ว ดังนั้นหากเป็นตํารวจที่ดกี ็จะมีความคุ้นเคยผูกพัน กับชาวบ้าน ทําให้เข้าใจ ปัญหาของชุมชน รู้จักคนต่าง ๆ ในชุมชนว่าใครเป็นอย่างไร มีความสามารถอะไร และรู้ปัญหา


21

ในการทํางานที่ผ่าน ๆ มา ประกอบกับที่มีทักษะ ในการชักจูงโน้มน้าวใจ จึงจะไปทํางานกับ ชุมชนได้คล่อง 4. บทบาทหลักของตํารวจคือเป็นผู้รักษากฎหมาย จึงสามารถให้ความคุ้มครอง ปกป้องชาวบ้านได้ เช่น ถ้าชาวบ้านเป็นกรรมการชุมชนเข้มแข็ง ก็สามารถให้ความมั่นใจกับ เขาได้ว่าไม่ต้องกลัวอิทธิพลของพวกผู้ค้ายา เพราะตํารวจจะช่วยคุ้มครองเขา 5. งานของตํารวจจะต้องประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดเวลาอยู่แล้ว ดังนั้น จึงสามารถชักชวนให้หน่วยงานต่าง ๆ มาร่วมกันทํางานเพื่อชุมชนได้ 6. การที่ตํารวจลงไปช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน สิ่งที่สะท้อน กลับมายังหน่วยงานของตํารวจเองก็คือชาวบ้านจะรักจะศรัทธาไว้วางใจตํารวจ และผลระยะยาว ก็คือการสร้างชุมชนเข้มแข็งจะป้องกันอาชญากรรมต่าง ๆ ได้ ไม่ใช่เฉพาะเรื่องยาเสพติดแต่ใน ทุก ๆ เรื่องงานปราบปรามของตํารวจก็จะน้อยลงไปด้วย “...หน้าที่ของตํารวจ ถูกกําหนดให้ทํางานด้านการปราบปราม การป้องกันไม่ใช่ หน้าที่หลักของเรา ผู้บังคับบัญชาระดับสูงบางคนจึงไม่สนใจเรื่องนี้ แต่ผมสนใจ ที่จะทํา ก็เลยขออนุญาตผู้บังคับบัญชา แล้วก็รวบรวมตํารวจที่สมัครใจจะมาทําตรงนี้ด้วยกัน เริ่มจากให้ เขาไปอบรมกับ ป.ป.ส. แล้วกลับมาทํางานเป็นวิทยากรกระบวนการในพื้นที่ เมื่อผมซึ่งเป็น ผู้บังคับบัญชาสูงสุดในระดับจังหวัดเริ่มทํา ระดับรอง ๆ ลงไปคือผู้บังคับบัญชาตามโรงพักต่าง ๆ ก็รับนโยบายและลงไปถึงตํารวจในระดับพื้นที่ และพอเริม่ ทําเห็นผลดีก็เกิดการยอมรับที่จะ ทําตามแนวทางนี้มากขึ้น... ผมคิดว่างานตรงนี้ของตํารวจมันใช้ใจมากกว่า ไม่ต้องใช้งบประมาณอะไร มากมาย คือผมให้นโยบายไปทํา ถ้าเขาเดือดร้อนตรงไหนก็กลับมาบอก ซึ่งส่วนมาก ก็ไม่ใช่ หนักหนาอะไรเป็นเรื่องรายวัน เช่น ลงไปทํางานแล้วอยากจะเลี้ยงข้าวต้มชาวบ้านสักมื้อ ผมก็ ควักกระเป๋าให้ 1,000 – 2,000 บาท ไม่ต้องให้ลูกน้องเดือดร้อน หรืองานบุญงานประเพณีของ ชุมชน ผมก็ไปถามว่ามีใครอยากจะสนับสนุนบ้าง เอามาช่วยตรงนี้ได้ คือมันไม่เยอะ แต่ก็ต้อง คิดด้วยจะทําอย่างไรให้ตํารวจระดับพื้นทีท่ ี่มีใจจะทํางานกับชุมชนเขาไม่ต้องควักกระเป๋าเอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะมีงบประมาณค่ารถ ค่าน้ํามันให้เขาบ้าง...”


22

ความเป็นมาของกระบวนการชุมชนเข้มแข็งและวิทยากรกระบวนการ “...ระบบงานของตํารวจไทยแต่ละเดือนคือ 10 วันแรกสืบหาข่าว จับอีก 1 วัน อีก 5 วันก็ส่งขึ้นศาล ที่สุดคดีก็หลุด แต่ก็ทําเหมือนเดิมอีก ทั้ง ๆ ที่ผลก็เป็นเหมือนเดิมเช่นกัน ไม่เคยคิดจะเปลี่ยน เพราะคิดแค่ว่าตัวเองมีหน้าที่แค่นั้นและผู้บังคับบัญชาก็สั่งแค่นั้น ชาวประมง เมื่อก่อนถักเชือกเป็นอวนหาปลา ต่อมาก็พัฒนาเครื่องมือเป็นลอบ เพราะเขาเรียนรู้ จากประสบการณ์ จากสิ่งแวดล้อม แล้วพัฒนาทักษะให้ตัวเอง แต่ตํารวจไทยไม่เคยคิดจะเปลี่ยน หมู่บ้านในประเทศไทย มีทั้งหมด 8 หมื่นกว่าแห่ง ตํารวจไทยมีทั้งหมด 1 แสนกว่าคน ถ้าเอา ตํารวจลงไปหมู่บ้านละ 2 คน ไปช่วยชาวบ้านเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง ก็ไม่ต้องมานั่งจับ ๆ ปล่อย ๆ เพราะปัญหาจะไม่ม.ี .. สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในช่วงปี 2535 – 2536 มีความรุนแรงอย่างมาก ทั้ง ชนิดยาที่มีอยู่หลายประเภทและปริมาณผู้เสพ-ผู้ค้าจํานวนมาก ด้วยความคิดที่ว่า หากทํางาน เฉพาะตามหน้าที่ในระบบราชการตํารวจซึ่งเน้นที่งานปราบปรามเท่านั้น จะไม่สามารถแก้ไข ปัญหาได้อย่างแท้จริง เพราะไม่มีทางจับกุมผู้กระทําผิดได้หมด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของแนวคิดแนวทาง-วิธีการใหม่ในการจัดการกับปัญหายาเสพติด โดยใช้พลังชุมชนเข้มแข็ง...” “...เริ่มแรกก็คิดถึงวิธีการมวลชนสัมพันธ์จากที่เคยเป็น ตชด. คือสร้างแนวร่วม ให้มาก ๆ แต่เรื่องยาเสพติดมันไม่เหมือนเรื่องอื่นไม่มีใครอยากเข้าไปยุ่งด้วยกลัวอันตรายก็ต้อง มาหาเหตุผลที่จะให้เขายอมร่วมมือ เริ่มด้วยพยายามอธิบาย ให้ชาวบ้านฟังว่าวิธีการของเราจะไม่ ใช้การเผชิญหน้ากับผู้เสพผู้ค้าผู้มีอิทธิพล ไม่ใช่วิธีรุนแรง ไม่จับกุม และตํารวจจะช่วยคุ้มครอง ชาวบ้าน...”

กระบวนการแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยพลังมวลชน ปัญหายาเสพติดไม่ใช่ปัญหาโดด ๆ ที่จะแก้ไขได้โดยไม่ต้องแก้ปัญหาอื่นด้วย การจับปราบเป็นมาตรการที่ต้องทํา และชุมชนที่เป็นพื้นที่ทมี่ ีปัญหาต้องลุกขึ้นมา จัดการร่วมกับภาคส่วนอื่น ๆ ของสังคม


23

สาเหตุของปัญหา ความจริงแล้วสาเหตุของคนที่เข้าไปค้ายาเสพติดนั้นมีมากมายและเกิดขึ้นได้ ใน แทบทุกโอกาส แต่สามารถสรุปให้เห็นปัจจัยหลัก ๆ ที่ทําให้ปัญหายาเสพติด แพร่ระบาดจนยาก ที่จะควบคุมอยู่ในปัจจุบันนี้ให้เห็นเป็นภาพง่าย ๆ ว่า เกิดมาจาก 2 ปัจจัยหลัก คือ 1. ปัจจัยพื้นฐาน อย่างเช่น สภาพครอบครัวและชุมชนบกพร่องที่ไม่สามารถ ทํา หน้าที่เป็นเกราะป้องกันปัญหายาเสพติดที่เข้ามาถึงตัวลูกหลานได้ 2. ปัจจัยปัญหาตัวยาเสพติด เพราะประเทศเรามีขบวนการค้าการผลิตที่ใหญ่โต และมีบุคคลที่มีอิทธิพลหรือเป็นคนมีสีเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยหลายระดับ ทําให้การแก้ปัญหา เป็นไปด้วยความยากลําบาก ดังนั้น ถ้าเราจะถามว่าเด็กคนหนึ่งติดยาเสพติดเพราะอะไร เราคงตอบไม่ได้ ง่าย นักว่าเป็นเพราะเด็กมันไม่รักดี แต่เราต้องมองปัญหาหลาย ๆ ด้านของครอบครัว ชุมชนและ สังคมประกอบกันไป นั่นก็หมายความว่า แค่การจับกุม หรือปราบปรามผู้เสพ ผู้ค้า ด้วยวิธี รุนแรง ก็ยังไม่สามารถแก้ปัญหาให้หมดไปได้ เพราะยังไม่ครบวงจรของการแก้ไขและในไม่ช้า ปัญหาก็จะกลับมาเกิดซ้ําอีก

บทเรียนบางส่วนของการจัดการปัญหายาเสพติด จากประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานระดับพื้นที่ พบว่า  ปัญหายาเสพติดไม่ใช่แค่ปัญหาอาชญากรรมที่มาตรการปราบปรามเพียงอย่าง เดียวจะแก้ไขได้  ปัญหายาเสพติดอยู่ที่ตัวผู้เสพและผู้ค้า ถ้าไม่รู้ว่าปัญหาอยู่ที่ไหนก็ไม่สามารถ แก้ไขได้ - ผู้ค้ารายใหญ่ เป็นเพราะความโลภ จึงต้องใช้มาตรการทางกฎหมายและกลไก ทางราชการที่มีประสิทธิภาพสูงเข้าไปจัดการอย่างเด็ดขาด รวดเร็ว - ผู้ค้ารายย่อยและผู้เสพ มูลเหตุจูงใจมาจากความยากจนสภาพแวดล้อมความ ต้องการยา จึงควรใช้มาตรการทางสังคม ของแต่ละชุมชนแก้ไขโดยยึดหลักสันติวิธี ยึดหลักการ ให้อภัยและให้โอกาสเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นคนดี


24

 ปัญหายาเสพติดไม่มีใครอยู่ปลายเหตุ ทุกหน่วยงานต้องมีบทบาทในการ แก้ไขปัญหา  ปัญหายาเสพติดไม่สามารถแก้ไขได้ ถ้าต่างคนต่างทํา ทั้งด้านปราบปราม ป้องกัน บําบัด / ฟื้นฟู และการพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาพื้นฐาน  การจัดการปัญหายาเสพติดจึงต้องการมีส่วนร่วมจากครอบครัวและชุมชน จึง จะสําเร็จและยั่งยืน

ชุมชนเข้มแข็งคืออะไร ชุมชนเข้มแข็ง คือ การที่ประชาชนจํานวนหนึ่งมีวัตถุประสงค์ มีอุดมการณ์หรือ มีความเชื่อถือในบางเรื่องร่วมกันมีความสัมพันธ์ที่ดีกันอย่างต่อเนื่องมีการติดต่อสื่อสาร หรือ การรวมกลุ่ม จะอยู่ห่างไกลกันก็ได้ มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีการเรียนรู้ในการกระทํากิจกรรม บางอย่างร่วมกัน และมีการจัดการ มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มจนกลายเป็นชุมชน ก่อให้เกิดพลัง ในการแก้ปัญหาและร่วมสร้างสรรค์ สิ่งที่ดีงาม ทั้งในด้านเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม การเมือง และสุขภาพในสังคมนั้น ๆ นอกจากการสร้างชุมชนที่เข้มแข็งเดี่ยว ๆ แล้ว ยังมีความจําเป็นที่จะต้องสร้าง “เครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง” ด้วย เพราะเราไม่อาจพูดได้ว่าถ้าชุมชนของเราเข้มแข็งแล้วเราจะ ปลอดภัยจากยาเสพติด ตราบใดที่รอบ ๆ บ้านเรายังมียาเสพติดแพร่ระบาดอยู่ เครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง หมายถึง โครงสร้างและกระบวนการที่เชื่อมโยงสมาชิก ในกลุ่มเข้าด้วยกัน เครือข่ายจะเป็นสิ่งที่ช่วยรวมพลังแห่งจิตสํานึกของสมาชิก ให้รวมกันเป็น พลังอํานาจ การที่ชุมชนเข้มแข็งและเครือข่ายเข้มแข็งไม่เพียงพอแต่จะแก้ไขปัญหายาเสพติด ในชุมชนได้เท่านั้น แต่จะนําไปสู่การพึ่งพาตนเองและพึ่งพากันเองได้ ทําให้ชาวบ้านไม่ต้องก้ม หน้าคอยรอการสงเคราะห์จากภายนอก และสามารถกําหนดตัวเองได้ ในทุก ๆ เรื่อง รวมถึง เคียงบ่าเคียงไหล่กับภาครัฐในการพัฒนาท้องถิ่นได้ดีอีกด้วย ความจริงชุมชนเข้มแข็งเป็นได้ทั้งเป้าหมายและวิธีการ เหตุเพราะว่าชุมชนไหน เข้มแข็ง แน่นอนว่ายาเสพติดก็อยู่ในชุมชนนั้นไม่ได้ในทางกลับกัน กระบวนการสร้างชุมชน เข้มแข็งก็เป็นกระบวนการที่จะทําให้ยาเสพติดหมดไปจากชุมชนได้เช่นกัน


25

*****ความหมายของชุมชนเข้มแข็งในที่นี้ เป็นทั้งกระบวนการที่จะต้องทํากิจกรรมต่าง ๆ ตามขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง เพื่อ นําไปสู่เป้าหมายที่ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนได้ *****ปัญหาอยู่ที่ไหน ต้องแก้ไขที่นั่น จากการที่ปัญหายาเสพติดมีความซับซ้อน ถ้าเช่นนั้นแล้วเราต้องมาดูกันว่าปัญหา นั้นเกิดจากอะไรกันแน่ และจะแก้ไขอย่างไรจึงจะเกิดผลอย่างแท้จริง *****ความยากจน จึงกดดันให้เข้าสู่กระบวนการค้ายา ใช่หรือไม่ ถ้าใช่ เราต้องแก้ที่ปัญหาความ ยากจน สร้างงาน สร้างอาชีพให้ *****ครอบครัว ไม่อบอุ่นหรือพ่อแม่เลี้ยงดูไม่เป็น ใช่หรือไม่ ถ้าใช่ เราก็ต้องแก้ที่ครอบครัว *****ความอยากรู้อยากลอง ของเยาวชนใช่หรือไม่ ถ้าใช่ เราก็ต้องสร้างเกาะป้องกันพวกเขาจากสื่อที่กระตุ้นความอยากลอง ต้องการสร้างค่านิยมที่ถูกต้องต่อการใช้ชีวิต และสร้างการท้าทายที่เหมาะสม จะเห็นได้ว่าปัญหายาเสพติดไม่ใช่ปัญหาโดด ๆ ที่จะแก้ไขได้โดยไม่ต้อง แก้ปัญหาอื่นด้วยจึงต้องย้ํากันอีกทีว่า แค่การจับปราบไม่เพียงพอและชุมชนที่เป็นพื้นที่ที่มีปัญหา ต้องลุกขึ้นมาจัดการร่วมกับภาคส่วนอื่น ๆ ของสังคม *****ความจาเป็นที่ชุมชนต้องลุกขึ้นสู้ ที่ผ่านมาเราหวังพึ่งพาภาครัฐในการแก้ไขปัญหายาเสพติดทางเดียว โดยภาค ประชาชน นิ่งเฉยทั้ง ๆ ที่รู้ว่าเป็นปัญหา และก็พบแล้วว่าภาครัฐไม่สามารถจัดการปัญหายาเสพ ติดได้จริง เพราะตํารวจมีกี่คน ทหารมีกี่คน อยู่กับเราในชุมชนนานแค่ไหน และจะรู้ดีเท่ากับ คนในชุมชนเราหรือไม่ เข้ามาแล้วแก้ปัญหาได้ตรงจุดหรือไม่ ทําให้เกิดความแตกแยกขึ้น หรือไม่ เราจะเห็นแล้วว่าผล ของการจับปราบก็ได้ แต่ลูกหลานของเราเข้าไปกินข้าวในคุกมาก ขึ้น แต่บางส่วนกลับเพิ่มปัญหาให้กับชุมชนและคนที่อยู่ข้างหลัง ดังนั้นชุมชนจึงต้องเป็นหลัก ในการดําเนินงานโดยประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ “พี่น้องประชาชนคนไทยที่เคารพครับ ถ้าท่านยังนิ่งเฉยโดยที่เห็นปัญหานี้ เป็น ปัญหาเล็กน้อย ปัญหายังไม่เข้าใกล้ตัว ครอบครัวเรายังไม่ติดหรอกนะ แต่ในชุมชนของท่าน อาจมีสิ่งเลวร้ายนี้แอบแฝงอยู่มากมาย การนิ่งเฉยของท่าน ท่านอาจจะบอกว่าความชั่วของท่าน


26

ไม่มี แต่ท่านครับความดีของท่านก็ไม่ปรากฏเหมือนกัน ดังนั้นในเมื่อชาตินี้มีภัย ท่านคิดช่วย ชาติหรือยังครับ” (แกนนําบ้านคลองจระเข้น้อย ได้กล่าวไว้)

ความคิดพื้นฐานที่ต้องปรับ  ต้องเลิกความคิดว่า “ธุระไม่ใช่”  ตัดความคิดว่า “ชาวบ้านทําเองไม่ได้” ออกไป และหันกลับมาเชื่อมั่นว่า เพื่อ ลูกหลานของเราแล้ว ทําไมจะทําไม่ได้  ให้เลิกความคิดที่จะ “พึ่งคนอื่น” ไม่ว่าจะพึ่งตํารวจ ผู้ว่าฯ หมอ นายอําเภอ ปลัด กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ส.ส. หรือรัฐบาลใดก็ตาม  มีความเชื่อและศรัทธาว่าเราสามารถ “พึ่งพากันเอง” ได้ แทนที่จะรอว่าใครจะ เข้ามาช่วยเรา โดยที่เราเองยังไม่คิดจะช่วยตัวเองเลย  มอง “คนเสพว่าเป็นคนป่วย” เพราะเขาเคยเป็นคนปกติแต่เมื่อเขาไปติดยา เหมือนเขากําลังป่วย ดังนั้นเราต้องช่วยกันดูแลคนติดยาเช่นกัน  บ้านคลองจรเข้น้อย บ้านน้ําซับ บ้านเจ็ดลูกเนิน บ้านเนินดินแดง ทําไมเขา แก้ไขได้ ทําทุกอย่างด้วย “ความเอื้ออาทร ให้โอกาส และให้อภัย” ต่อกัน เพราะ ชาวบ้านทุกคนต้องอยู่เห็นหน้ากันตลอดไป ไม่เหมือนกับคนนอกที่มาแล้วก็ไป ดังนั้น ความ เอื้ออาทรการให้โอกาส และการให้อภัย ปฏิบัติต่อกันด้วยวิธีการที่ละมุนละม่อมก็จะทําให้เกิด ความสามัคคี ไม่มีความแตกแยกกันในชุมชน

ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับ การช่วยคนติดยาให้เลิกได้รวมถึงคนค้าด้วยเช่นกัน ก็เหมือนการช่วยคนที่เคยดี ให้กลับมาเป็นคนดีเหมือนเดิมหรือดีกว่าเดิม ก็เหมือนรักษาคนป่วยให้หายป่วย ซึ่งจะเกิด ประโยชน์ในหลายด้าน เหมือนยิงกระสุนนัดเดียวได้นก 2 ตัว นกตัวที่ 1 คือ การที่คนเคยค้า หรือเคยติดยา กลับใจได้ นั่นแสดงว่าเขามีความตั้งใจทําดี และคนที่ตั้งใจทําดีนี่แหละที่จะเป็น พลังให้ครอบครัวและสังคมของเขา อาจจะมากกว่าคนดี คนปกติด้วยซ้ําเพราะเขามีแรงบันดาล ใจในการเอาชนะอุปสรรคเพื่อทําความดี ส่วนประโยชน์หรือนกอีกตัวก็คือ การช่วยลดปัญหา สังคม เพราะสามารถลดการกระจายของยาเสพติดที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมตามมาลงได้


27

“สิ่งที่สําคัญ คือ ต้องมีความจริงใจต่อกัน คือ ไม่ใช่ทําเอาหน้า ไม่ใช่เพื่อหวัง ประโยชน์สิ่งตอบแทน แต่เราทําเพื่อให้สังคมของเรา ให้หมู่บ้านของเรามีความผาสุกทุกคนมีอยู่ มีกินตามอัตภาพ” นี่เป็นบทสรุปของแกนนําชาวบ้านคนหนึ่งที่บ้านชากเล็ก ต.บางบุตร อ.บ้าน ค่าย จ.ระยอง ถึงความมุ่งหวังเมื่อภาคประชาชนต้องลุกมาจัดการปัญหายาเสพติดในชุมชน ดูอย่างไรว่าการดาเนินโครงการประสบความสาเร็จแล้ว คําว่าประสบความสําเร็จแล้วไม่ได้หมายความว่าในชุมชนของเราจะไม่มีคนค้า หรือคนติดยาเสพติดอยู่เลย แต่หมายถึง การที่ชุมชนสามารถควบคุมสถานการณ์ การแพร่ ระบาดหรือความรุนแรงของปัญหายาเสพติดในชุมชนของตนเองได้ ในเบื้องต้นสามารถวัดความสําเร็จในการดําเนินโครงการเครือข่าย ภาคประชาชน แก้ไขปัญหายาเสพติด ได้ดังนี้ ในภาพรวม - ประชาชนและแกนนําตระหนักในปัญหายาเสพติดและร่วมมือกันแก้ไข มากขึ้น - มีแนวทางแก้ไขเพื่อการแก้อย่างถูกวิธีสอดคล้องกับวิถีชีวิตแต่ละชุมชน - มีคณะกรรมการที่มีความรู้ความเข้าใจพร้อมที่จะดําเนินการในแต่ละมาตรการที่ ชุมชนต้องการ - มีแผนการแก้ไขปัญหาอื่น ๆ ที่เป็นรากฐานของปัญหาหรือปัจจัยส่งเสริมการ เกิดปัญหายาเสพติด โดยเป็นแผนที่เกิดจากการคิดค้น การมีส่วนร่วม และตัดสินใจของชุมชน - มีกิจกรรมที่ผสมผสานหลายมาตรการเข้าด้วยกัน ทั้งป้องปราบ การป้องกัน แก้ไข การบําบัดรักษา / ฟื้นฟู และกิจกรรมด้านการพัฒนา ตลอดจนกิจกรรมเสริม - เกิดกระบวนการประสานความร่วมมือ ระหว่างองค์กรชุมชน / ประชาชน ภาครัฐ และเอกชน ในระดับชุมชน - ไม่มีผู้เสพรายใหม่เพิ่ม - ไม่มีผู้ค้า ผู้ผลิต ในชุมชน / หมู่บ้าน - ผู้ที่ติดยาเสพติดได้รับการบําบัดรักษาดูแลอย่างถูกต้องเหมาะสม - สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อปัญหายาเสพติดได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้อง - เกิดการทํางานอย่างมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง - มีระบบการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดขึ้นอีกในชุมชน


28

- เครือข่ายขยายเพิ่มขึ้น - องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้

เชื่อมโยงเครือข่ายเพิ่มความเข้มแข็ง เพิ่มเพื่อน เพิ่มเครือข่าย ขยายพลังมวลชน เป้าหมายของการสร้างเครือข่ายก็เพื่อโยงใยกันระหว่างชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อทีจ่ ะปิดกั้นไม่ให้ยาเสพติดเข้าถึงตัวสมาชิกของชุมชนได้โดยง่าย ดังนั้นจึงต้อง มีการเชื่อมโยงกิจกรรมและการดําเนินงานในรูปเครือข่าย ภายในชุมชนและเครือข่ายระหว่าง ชุมชน ตลอดจนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างกําลังใจให้ซึ่งกันและกัน เพื่อขับไล่ ขบวนการค้ายาเสพติดให้ออกห่างจากชุมชนให้ไกลที่สุด ตัวอย่างวิธีการหรือกิจกรรม เป็นไปในลักษณะที่ให้แกนนําของชุมชนต่าง ๆ ได้ มีโอกาสมาพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทํางานร่วมกัน รวมทั้งจะได้เชื่อมร้อย กิจกรรมที่ ต่างคนต่างอยู่ให้เป็นกระบวนการเดียวกัน ก็จะช่วยเพิ่มพลังในการทํางานแก้ไขปัญหามากขึน้ ทั้งเครือข่ายที่จะเกิดขึ้น จะมีพื้นทีอ่ ยู่ติดกันหรือไม่ก็ได้ ถ้าประเด็นที่ร่วมกันได้ การมีพื้นที่ห่าง กันก็ไม่ใช่อุปสรรค กระบวนการทั้ง 9 ขั้นตอนนี้เป็นเพียงแนวทางกว้าง ๆ ที่ชุมชนสามารถนําไปปรับ ใช้ให้เหมาะสมกับชุมชนของตนเองได้แต่การปรับจะต้องไม่ทําให้เสียหลักการ ที่ประชาชนและ ชุมชน เป็นแกนหลักในการแก้ไขปัญหา และจําเป็นต้องเรียงลําดับ ตามขั้นตอนจึงจะประสบ ความสําเร็จ


29

องค์ประกอบ / ตัวชี้วัดความสาเร็จ ๘ ประการ การแก้ไขปัญหายาเสพติดต้องเริ่มจากตัวเราก่อน พวกเราทุกคนต้องร่วมมือร่วมใจ กันแก้ไขปัญหาจึงจะเกิดความยั่งยืน ซึ่งจะต้องมีองค์ประกอบที่สําคัญ 8 ประการ ดังนี้ 1. มีองค์กรเป็นของชุมชน มีคณะกรรมการที่มาจากการคัดเลือกของ คนในชุมชนอย่างแท้จริง ประชาชน เลือก ผู้ที่ประชาชนด้วยกันนับถือศรัทธา เรียกว่า “ผู้นําธรรมชาติ” เป็นแกนนําในการดําเนินงาน 2. ยึดแนวคิดพึ่งตนเอง ประชาชนในชุมชนเป็นหลักในการดําเนินงานในลักษณะของชุมชน “ชุมชนดูแล ชุมชน” ไม่มัวรอความช่วยเหลือจากภายนอก แต่ความพร้อมจะลงมือคิด ลงมือทํา และร่วมมือกับ ทุกฝ่าย 3. ประชาชนมีส่วนร่วม ความสําเร็จอย่างยั่งยืนย่อมไม่ฝากไว้ในมือของคนที่เป็นแกนนําเท่านั้น แต่ ประชาชน ทุกภาคส่วนจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการคิด การตัดสินใจและการดําเนินงาน 4. มีการค้นหาปัญหาโดยชุมชน ไม่มีใครรู้ปัญหาในชุมชนได้ดีไปกว่าคนในชุมชนเอง ประชาชนต้องช่วยกัน เป็น หู เป็นตา กล้าคิด กล้าเสนอปัญหา กล้าพูดความจริง เพื่อให้รู้ปัญหาที่แท้จริงจะได้แก้ไขตรงจุด 5. แก้ปัญหาด้วยสันติวิธี ใช้สติแก้ปัญหาด้วยหลัก “พลังแผ่นดิน” ซึ่งจะต้องเกิดจากความรัก ความสามัคคี ของคนในชุมชน รู้จักการให้อภัย ให้โอกาสแก่ผู้ผิดพลาด ให้ความเข้าใจช่วยเหลือ ดูแลซึ่งกัน และกัน 6. มีการสนับสนุนจากภาคราชการ ชุมชนเข้มแข็งไม่ได้หมายถึงชุมชนโดดเดี่ยว ภาคราชการนับเป็นปัจจัยสําคัญ ใน การคุ้มครองส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนพัฒนากําลังความสามารถในการช่วยเหลือดูแล ชุมชนของตนเอง 7. มุ่งแก้ไขปัญหาให้สาเร็จ เน้นการดาเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหามากกว่าการทางานเพียงให้เกิดกิจกรรมขึ้นมา หากมีผู้เสพ ผู้ค้า อยู่ในชุมชนต้องดาเนินงานลดจานวนผูเ้ สพผู้ค้าอย่างมีเป้าหมายชัดเจนสามารถ วัดผลได้


30

8. มีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง มีการประชุมประชาชนเป็นประจา เพื่อเป็นเวทีในการติดตามแก้ไขปัญหายาเสพ ติด และหยิบยกปัญหาเดือดร้อนอื่นๆ ของชุมชนมาร่วมกันพิจารณา เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป

การบูรณาการ การบูรณาการ เป็นทั้งความรับผิดชอบและอํานาจของจังหวัด การบูรณาการ ที่ สมบูรณ์ควรจะคํานึงถึงประเด็นต่างๆ ที่มากกว่า การรวมงบประมาณ และการวางแผน เนื่องจากสงครามยาเสพติด เป็นสงครามทางความคิด ควรก้าวไปให้ถึง จุดของการรวมศักยภาพ ของหน่วยงานต่างๆ เพื่อผลสัมฤทธิข์ องการทํางาน กลยุทธ์ที่ควรนํามาพิจารณาในการบูรณาการ ได้แก่ 1. “บูรณาการเพื่อก่อให้เกิดพลัง” เป้าหมายแรกของการร่วมกันทางาน คือ ต้องการเพิ่มพลังให้กับการทางาน หาก ต่างหน่วยต่างทาไม่สามารถรับมือกับปัญหาสาคัญของชาติได้ พลังย่อมเกิดจากความสามัคคีและ ความเข้าใจซึ่งกันและกัน การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างหน่วยงานจึงเป็นก้าวแรก ที่จะนาไปสู่ การร่วมแรงร่วมใจในการทางานการปฏิบัติภารกิจด้วยความเข้าใจน่าจะมีศักยภาพ กว่าการปฏิบัติภารกิจตามสั่งการ โดยไม่เข้าใจว่าแนวความคิดของผู้สั่งการคืออะไร 2. “บูรณาการเพื่อการสร้างสรรค์” การประสานงานในแต่ละหน่วยที่มีภารกิจแตกต่างกันให้สามารถดาเนินทางไปใน ทิศทางเดียวกันไม่ใช่เรื่องง่าย ปัญหาที่ประสบบ่อยครั้ง คือ การที่หน่วยงานหนึ่งไม่สามารถ ตอบสนองคาร้องขอของหน่วยงานอีกหน่วยงานหนึ่งได้ สาเหตุเกิดจากความจาเป็นและข้อจากัด ของหน่วยงานนั้นที่ไม่สามารถให้ความร่วมมือได้จริงๆ หรือเกิดจากการไม่ต้องการร่วมมือเพราะ ปัจจัยอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นสาเหตุใดก็ตาม การลดความขัดแย้งเหล่านี้ ควรใช้หลักการบูรณาการเพื่อ การสร้างสรรค์ จุดยืนของหน่วยงานต่างๆ มักจะ มาจากกรอบความคิดของหน่วยงานนั้น ซึ่ง เป็นผลมาจากโครงสร้างภารกิจ และทรัพยากรที่มี เมื่อจุดยืนของหน่วยงานต่างๆ มีความแตกต่าง กันอาจทาให้เกิดปัญหา ในการประสานงานตามมา ประเด็นนี้ระบบอานวยการน่าจะเป็น ประโยชน์ โดยรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งแนวดิ่งและแนวระดับ (เช่น จากหน่วยงาน ต่างๆ สู่จังหวัด จากอาเภอต่างๆ สู่จังหวัด) และนาข้อมูลมาวิเคราะห์จัดทาเป็นภาพรวม สาหรับ


31

เรียนรู้ร่วมกัน เพื่อปรับจุดยืนของหน่วยงาน ให้เข้าใกล้กันและสอดคล้องกันมากขึ้น ที่ผ่านมา การรวบรวมข้อมูลมักจะเน้นหนักในเรื่องข้อมูลเพื่อการรายงาน (ต่อส่วนกลาง) มากกว่าจะเป็น การรวบรวมข้อมูลเพื่อการใช้ประโยชน์ของจังหวัดเอง การบริหารระบบข้อมูล จึงเป็นก้าวสาคัญ ที่น่าจะนาไปสู่การ บูรณาการเพื่อการสร้างสรรค์ 3. “บูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหา” เป็นธรรมดาที่การทางานมักจะประสบปัญหา คนยิ่งทางานมากก็จะยิ่งพบปัญหา มากและมีโอกาสจะผิดพลาดได้มากกว่าคนที่ทางานน้อย ดังนั้นการ “พบปัญหา” จึงไม่ควรจะ ถือว่า “เป็นปัญหา” แต่ถือว่าเป็นโอกาสที่จะได้ข้อมูลเพื่อนามาปรับปรุง การทางานให้ดียิ่งขึ้น กว่านั้น การยอมรับปัญหาจะช่วยให้ทุกฝ่ายยินดีให้ข้อมูลตามความเป็นจริงและนาไปสู่การแก้ไข ปัญหาให้ตรงจุดการ บูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหา ควรเริ่มจากการเปิดให้ทุกฝ่ายนาเสนอปัญหา ข้อเสนอแนะและร่วมกันหาทางออกที่เหมาะสมที่สุดในสถานการณ์นั้น ทาไมชุมชนต้องเป็นแกนหลัก ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ความสงบสุขหายไปไหน นี่เป็นปัญหาที่ทําภาคประชาชนต้องลุกขึ้นมาเป็น แกนหลักในการแก้ไขปัญหายาเสพติดเสียที ซึ่งเราเห็นแล้วว่าถ้าปล่อยภาครัฐทํางาน อยู่ฝ่าย เดียวอาจจะไม่เพียงพอ และการที่ชุมชนเป็นหลักในการแก้ปัญหาเองจะช่วยให้แก้ไขได้ตรงจุด กว่า เพราะชุมชนย่อมรู้ดีที่สุดว่าใครค้า ใครเสพ และใครทําไปเพราะเหตุผลอะไรเราจึงแก้ไขได้ ตรงจุดด้วยวิธีที่ชาวบ้านเขายอมรับกันได้ และยังเป็นการแก้ไขปัญหาที่คงทนถาวรเพราะคน แก้ไขและคนถูกแก้ไขจะต้องอยู่ในชุมชนตลอดชีวิต เขาจึงเอื้ออาทรและให้อภัยกัน ไม่เหมือน ข้าราชการหรือหน่วยงานภายนอก ที่มีทั้งอํานาจ ความเชี่ยวชาญ กฎหมายและอาวุธ เมื่อหมด หน้าที่หมดโครงการก็ต้องจากไป ทาอย่างไรผลของการแก้ไขปัญหาจึงจะอยู่อย่างยั่งยืน แนวทางการสร้างความยั่งยืนของการแก้ไขปัญหายาเสพติดถือเป็นแนวทาง เดียวกับการเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง เพราะถ้าชุมชนเข้มแข็ง ยาเสพติดก็จะอยู่ ในชุมชนนั้น ได้ยาก ซึ่งจะต้องทําในหลายเรื่องพร้อมกัน ที่สําคัญ ได้แก่ 1) ต้องมีการกระตุ้นจิตรสํานึก ไม่ให้สมาชิกลืมว่าเราต้องช่วยกันแก้ไขปัญหายา เสพติดและพัฒนาชุมชนในด้านอื่น ๆ ตลอดไปไม่ใช่ปัญหายาเสพติดมันก็พร้อม จะกลับมาทุก เมื่อ


32

2) จะต้องมีการพัฒนาชุมชนและแกนนํา ให้มีความเข้มแข็งเพราะผู้นําที่ดี สามารถสร้างความศรัทธาจากสมาชิกได้และจะกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือและความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการทํากิจกรรมของชุมชนได้อย่างมีพลัง 3) ต้องมีกระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง โดยเฉพาะกระบวนการค้นหา ปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาโดยเชื่อมโยงกับปัญหาทั้งหมดที่เกิดขึ้นในชุมชนและแก้ไขโดยนําภูมิ ปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้ 4) ต้องมีแนวทางการแก้ไขปัญหาที่นําไปสู่ความยั่งยืน คือ แก้ไขปัญหาพื้นฐาน ของชุมชน เฝ้าระวังปัญหาไม่ให้เกิดซ้ํา และยังต้องรู้จักสรุปบทเรียนเพื่อพัฒนาวิธีการให้ทันกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปด้วย 5) ต้องมีการสร้างเครือข่ายชุมชน โดยเราต้องชักชวนชุมชนอื่นให้มาร่วม กระบวนการแก้ไขปัญหาด้วยกัน ไม่เช่นนั้นถ้าชุมชนเราทํา แต่ชุมชนข้าง ๆ ไม่ทํา ชุมชนนั้นก็ จะเป็นแหล่งระบาดของยาเสพติดแทนที่และก็กลับเข้ามาสู่ชุมชนเราทันทีเมื่อชุมชนเราอ่อนแอ อบต. ตารวจ หรือเจ้าหน้าที่รัฐไม่ร่วมด้วย (บางทีก็เป็นเสียเอง) ขณะนี้นโยบายรัฐบาลเอาจริงทําให้ปัญหาหน่วยงานรัฐไม่เอาด้วยน้อยลงไป แต่ถ้า ไม่สนใจจริง ๆ ต่อไปเราก็ไม่เลือกเข้ามาบริหารงานอีก และชุมชนเองก็ยังมี พี่เลี้ยง เช่น วิทยากรกระบวนการ ที่จะช่วยประสานงานให้ฝ่ายรัฐและประชาชนมาเจอกันและดูว่าจะร่วมมือ กันในจุดไหนได้บ้าง ส่วนเจ้าหน้าที่ที่พัวพันการค้ายาเสพติด ชุมชนอาจจะไม่กล้าปะทะด้วย ก็ ต้องใช้การเชื่อมพลังภาคประชาชนเข้ามาจัดการแทน เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกัน ระหว่างเครือข่ายและร่วมกันติดตามพฤติกรรม หรือแจ้งข่าวไปยังผู้บังคับบัญชาที่ใหญ่ขึ้น ซึ่ง การดําเนินการเหล่านี้ชุมชนสามารถทําได้อย่างปลอดภัยมากกว่าถ้าอาศัยพลังของเครือข่ายภาค ประชาชน พ่อแม่ไม่รับว่าลูกหลานติดยา มีตัวอย่างที่เกิดขึ้นแล้วที่พ่อแม่บางคนบอกว่าลูกของเขาคนอื่นไม่เกี่ยวแกนนําของ บ้านสัตตพงษ์ ต.บางไผ่ อ.เมืองฉะเชิงเทรา จึงต้องอธิบายให้เขาเห็นถึงความร้ายแรงของยาเสพ ติด และชี้ให้เห็นว่าถ้าลูกของเขาติดยาถอนตัวไม่ขึ้นก็จะหมดอนาคต บางทีถึงตีหรือฆ่าพ่อแม่ ตัวเองก็มี การอธิบายเช่นนี้ก็ช่วยให้พ่อแม่คิดขึ้นมาได้ และเปลี่ยนความคิดหันมาร่วมมือกับ ชุมชนในการแก้ไขปัญหา


33

ครอบครัวที่ไม่มีคนติดยาก็ไม่อยากมาร่วมแก้ปัญหา การที่คิดว่าครอบครัวเราไม่มีใครติดยาทําไมต้องไปร่วมแก้ไขปัญหาของบ้านอื่น ด้วย จึงเป็นหน้าที่ของแกนนําที่จะต้องชี้ให้เห็นว่าวันนี้ปัญหายาเสพติดมันแพร่ระบาดไปทุก หย่อมหญ้าและมาถึงตัวลูกหลานเราได้โดยง่ายในรูปแบบที่พ่อแม่ไม่มีทางตามทันดังนั้นถ้าเราไม่ ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้สถานการณ์ดีขึ้นซะตั้งแต่วันนี้ ถึงเวลานั้นลูกหลานเราติดยาเราก็อาจจะ แก้ไขปัญหาไม่ทันแล้ว ก็ได้ เมื่อนั้นความทุกข์ก็จะเข้ามาแทนที่ความสุขของครอบครัวและถ้า ลูกหลานเราเราจะทนได้หรือ ถ้าเขาต้องกลายเป็นอาชญากรเพราะการนิ่งเฉยของเราในวันนี้ ชาวบ้านอยากมาร่วมแต่ทาไม่ได้ ต้องแยกว่าทําไม่ได้หมายถึงอยากเข้ามาร่วมแต่ไม่มีเวลา ไม่มีเงิน ใช่หรือไม่ ถ้า ใช่ก็ไม่ได้เป็นปัญหาอะไร เพราะเราสามารถเข้าร่วมในกิจกรรมที่เราจะทําได้ เช่น ช่วยคิด ช่วย แรงงาน ช่วยสอดส่อง และแจ้งเบาะแส ช่วยเยี่ยมเยียนพูดคุยให้กําลังใจ ผู้ที่กลับใจ ตลอดจน เข้าร่วมกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย แต่ถ้าเป็นกรณีอยากเข้าร่วมแต่ไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไรอาจจะเป็นเพราะไม่เคย เข้า กลุ่มทํากิจกรรมอะไรมาก่อน หรือยังมีข้อสงสัยในความสามารถของชุมชนหรือเกรงกลัว อิทธิพล หรือปัญหาอื่นใดก็แล้วแต่ แกนนําหรือชุมชนสามารถขอความรู้ ความมั่นใจจาก หน่วยงานพี่เลี้ยงที่อยู่ในพื้นที่ หรือลองไปศึกษาดูงานกันเอง จากชุมชนอื่น ๆ ที่กําลังทํากิจกรรม แก้ไขปัญหายาเสพติดอยู่ก็ได้หรือแม้กระทั่งติดต่อมาทีว่ ิทยากรแม่ข่าย (โทร.0 – 1429 – 7886) วิทยากรกระบวนการ จ.ระยอง หรือวิทยากรกระบวนการ จ.ตราดก็ได้เช่นกัน ซึ่งทุกปัญหามี ทางแก้ไขได้ยกเว้นปัญหาเดียวคือ ชุมชนไม่มีจิตสํานึกในการแก้ไขปัญหาเท่านั้นเอง ไม่มีคนมาช่วยกันทางาน เป็นหน้าที่ของแกนนําที่มาจากความศรัทธาเชื่อถือของประชาชนต้องชี้ให้เห็นว่า ปล่อยให้ปัญหาเป็นแบบนี้ไปอีกสองสามวันจะเกิดอะไรขึ้น ซึ่งเป็นจิตสํานึกที่ต้องช่วยกันสร้าง ให้เกิดขึ้นก่อนที่จะสายเกินไปวิธีการทําได้โดยการให้ความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้อง ให้คนที่เจอ ปัญหา จริง ๆ มาเล่าให้ฟัง อย่างเช่น ใช้วิธีการหาภาพมาใช้ชาวบ้านเห็นว่าอย่างบ้านนั้นลูกฟันคอพ่อตาย อีกบ้านหนึ่งใช้ไม้ทุบหัวแม่ตาย ถ้าเป็นลูกเรา เราจะทํายังไง ก็ลองให้คนที่มาประชุมมาคิดมา เถียงกัน บางคนก็เห็นด้วย บางคนก็บอกว่าเป็นเรื่องคนอื่นเราไม่ควรจะเกี่ยวข้อง แต่คนกลุ่ม


34

หนึ่งที่ทนไม่ไหวเพราะส่วนใหญ่มักเกิดปัญหากับลูกหลานของเราเหมือนกัน จึงเกิดกลุม่ เล็ก ๆ ขึ้นมารวมตัวกันก่อน จนสามารถขยายออกมาเป็นเครือข่ายกันมากมาย ดังนั้นสํานึกที่ช่วยกันแก้ไขปัญหาอาจเริ่มต้นไม่พร้อมกันแต่สามารถพัฒนา ให้ เกิดขึ้นได้จากการมีส่วนร่วมหรือเห็นการทํางานและประโยชน์ที่เกิดขึ้นแล้วก็ได้ ชุมชนไม่มั่นใจว่าภาคประชาชนจะแก้ไขปัญหายาเสพติดได้จริง ความมั่นใจอาจจะเกิดขึ้นได้หลายทาง ทางหนึ่งที่จะช่วยสร้างความเชื่อมั่นได้ดี คือ รพาไปดูงานของจริง ไปให้ถึงชุมชนที่มีปัญหาและดูว่าเขาคิดอย่างไร ทําอย่างไร ถ้าไปหน เดียวแล้วยังไม่มั่นใจก็ไปดูหลาย ๆ หนหลาย ๆ ที่จนกว่าจะเกิดความมั่นใจ และนํามาปรับใช้กับ ชุมชนได้ นอกจากนี้ชุมชนที่ยังไม่มีความเข้มแข็งมากนักก็สามารถเริ่มต้นทํากิจกรรมง่าย ๆ ก่อน โดยเฉพาะกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ แต่สามารถสร้างความร่วมมือของคนในชุมชนให้เกิดขึ้น จากความสําเร็จของงานที่ทํา และค่อย ๆ พัฒนาจนชุมชนสามารถช่วยกัน แก้ไขปัญหาที่ยากยิ่ง ๆ ขึ้นไปได้ (ไปดูงานของจริง ได้เสียค่าอาหารเล็กน้อย) ไม่มีงบประมาณมาให้ก็ไม่รู้จะทาอย่างไร นี่คือปัญหาใหญ่ที่ฝังลึกมานานจากระบบราชการที่ชอบเอาเงินเป็นตัวตั้ง ให้ ชาวบ้านทําโครงการที่หน่วยงานต้องการ เสร็จแล้วก็เหลือทิ้งเป็นซากไว้ให้กับชุมชน แต่ โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืนนี้จะไม่คิดแทนชุมชน อาจจะ มาให้ความรู้ให้ประสบการณ์ของที่อื่น ๆ ที่ทํามาก่อนแต่ชุมชนที่จะ เข้าร่วมโครงการฯนี้จะต้อง ตระหนักถึงปัญหาพิษภัยยาเสพติดและเป็นแกนนําหลักในการลงมือทําเอง ส่วนพี่เลีย้ งทั้งหลายที่เป็นหน่วยงานราชการก็ดี อาจจะเข้าไปสนับสนุนในสิ่งที่ ชุมชนยังไม่มีแต่จะไม่ได้นําเงินมากําหนดให้ชุมชนต้องทําโครงการฯ แต่เอาความตระหนักถึง ปัญหาและการลงมือทําของชุมชนเป็นตัวตั้ง การสนับสนุนจําเป็นจึงต้องตามมาถือเป็นเรื่องที่ ต้องท้าทายชุมชนว่า ถ้าไม่มีงบประมาณมาให้ แล้วเราจะปล่อยให้หมู่บ้านเราเป็นหมู่บ้านยาเสพ ติดที่ใคร ๆ ก็รังเกียจเช่นนั้นเหรอ จิตสานึกสาธารณะคืออะไร ทาอย่างไรจึงจะเกิดขึ้นได้ จิตสํานึกสาธารณะคือเมื่อเห็นเรื่องใดเป็นปัญหาก็อยากจะมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหา โดยมิได้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวพวกพ้องตัว แต่เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม


35

จิตสํานึกสาธารณะเกิดขึ้นได้หลายทางเช่นการคิดหาเหตุผล การคิดจาก ประสบการณ์ที่ตัวเองได้เจอปัญหามา บางคนเห็นคนอื่นทําหรือบางคนได้รับการอบรมมาก็เกิด จิตสํานึกได้ แต่ระดับจิตสํานึกอาจจะไม่เท่ากันและจะหมดไปถ้าไม่มีการจัดการให้จติ สํานึกให้ เป็นการปฏิบัติ โดยคนที่มีจิตสํานึก หลาย ๆ คนอาจจะร่วมกันเป็นแกนนําชักชวนคนอื่น ๆ ให้ เขาสามารถสํานึกเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนให้ลุล่วง ไปก็ได้ การผสมผสานมาตรการต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหาหมายความว่าอะไร ปัญหายาเสพติดในขณะนี้ได้แพร่ระบาดไปยังทุกกลุ่มคนของสังคมแล้วจนยาก ที่ จะแก้โดยวิธีการวิธีใดวิธีหนึ่ง เราต้องแยกแยะกลุ่มที่เป็นปัญหาออกมาให้ชัดและดําเนินการ แก้ไขให้ตรงจุด ซึ่งในขณะนี้รัฐบาลได้แยกแยะออกมาชัดเจนแล้วว่าคนที่เกี่ยวข้องกับปัญหายา เสพติดประกอบด้วย 3 กลุ่มหลัก กลุ่มแรกนั้นการแก้ไขปัญหานั้นจะต้องดําเนินการแตกต่างกัน ออกไปให้เหมาะสมแต่ละกลุ่มอีก เช่น เยาวชน ก็จะต้องหากิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยให้เขาทํา หรือผู้ใช้แรงงานก็ต้องให้ค่าตอบแทนที่พอแก่การเลี้ยงชีพเพื่อที่เขาจะได้ไม่ต้องเสพยาเสพติด เพื่อทํางานให้มากขึ้นเป็นการเพิ่มรายได้ เป็นต้น การแก้ไขปัญหาในชุมชนก็เช่นเดียวกัน ดังนั้นชุมชนจะต้องมองปัญหาให้รอบ ด้านโดยต้องค้นหาสาเหตุของปัญหาที่แท้จริงและดําเนินการแก้ไขทีจ่ ุดนั้นโดยเลือกหรือใช้หลาย ๆ มาตรการผสมผสานกันไป เพื่อให้การแก้ไขบรรลุผลได้จริง ชุมชนจะแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างไร หลาย ๆ ชุมชนได้เริ่มต้นการแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยคนในชุมชนกันเอง หรืออาจจะเพียงแต่ได้รับบทเรียนหรือแรงกระตุ้นจากภายนอก ดังเช่น ที่บ้านคลองจรเข้น้อย แกนนําชุมชนเล่าให้ฟังว่า “ขอให้มีความตั้งใจจริงในการแก้ไขปัญหา ขอให้ตรวจตราหรือออกไปคลุกคลี กับชุมชน หรือแกนนําต่าง ๆ ออกไปพูดคุยกับกลุ่มต่าง ๆ ให้สม่ําเสมอโดยเฉพาะเครือข่ายเฝ้า ระวังที่แบ่งความรับผิดชอบกันไว้ให้เป็นทั้งเพื่อน เป็นทั้งพี่ เป็นทั้งตํารวจ เป็นทั้งหมอ เป็นทั้ง ที่ปรึกษา ว่าเค้ามีปัญหาอะไร ทําไมจึงเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ผมว่าตรงนี้เป็นส่วนหนึ่งที่จะ ช่วยชุมชนนัน้ ๆ ได้ โดยไม่ต้องไปรอคอยการแก้ไขปัญหาจากภาครัฐหรือภายนอกความ เสียสละของทุกคนในชุมชนนั้น ๆ และความร่วมมือ ร่วมใจของคนในชุมชนสําคัญที่สุด ที่จะ ก่อให้เกิดพลังมวลชน พลังแผ่นดิน”


36

บทบาทวิทยากรกระบวนการ บทบาทราชการ (วิทยากรกระบวนการ) - สร้างความตระหนักให้ชุมชน ตื่นตัว ต้องการแก้ไขปัญหา - ค้นหาแกนนํา และดึงให้คนในชุมชนเข้ามาเป็นส่วนร่วมกันแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมเวทีชาวบ้านให้แกนนําได้มาเจอกัน สนทนาวางแผนแก้ไขปัญหา - ชี้แนะประเด็น นําเสนอ / ชี้แนะสิ่งที่ต้องการให้ชุมชนพูดคุยกันเพื่อแก้ไข ปัญหา - กระตุ้นความมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นการแก้ไขปัญหา - สนับสนุนการดําเนินงานให้แก่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง บทบาทประชาชน / ชุมชน (ผู้นาธรรมชาติ) - วิเคราะห์ปัญหาในชุมชน แสดงความคิดเห็นกันเองในเวทีชาวบ้าน - คัดแยกผู้สงสัย / เสพ / ค้า เพื่อนํามาแก้ไขปัญหาไม่ใช่แบ่งฝ่ายคนดีคนเลว - ริเริ่มแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมดําเนินงานแบบมีส่วนร่วม - ดําเนินงานโดยยึดหลักให้อภัยทางสังคม ซึ่งสามารถเปลี่ยนจากภาระ ให้เป็น พลังได้ - ประสานงานกับภาครัฐเพื่อรับการสนับสนุน หรือเพื่อรับข้อมูลข้อเสนอแนะใน การดําเนินงานแก้ไขปัญหา - รักษาสถานภาพชุมชนเข้มแข็งทุกคนในชุมชนต้องช่วยกันดูแลเฝ้าระวังไม่ให้ เกิดปัญหาในชุมชนขึ้นอีก


37

บทเรียนจากการแก้ไขปัญหายาเสพติด หน่วยราชการต่าง ๆ ได้ดําเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติดมาเป็นเวลานานแล้ว แต่ ปัญหายาเสพติดยังคงมีความรุนแรงอยู่ในหลายพื้นที่ ทั้ง ๆ ที่หน่วยราชการเหล่านั้นต่างก็ได้ให้ ความสําคัญกับปัญหายาเสพติด และพยายามทํางานตามบทบาทหน้าที่ ของตนอย่างเต็มกําลัง ความสามารถ ไม่ว่าจะเป็นในด้านการปราบปราม การบําบัดรักษา และการป้องกันยาเสพติด แต่เมื่อปัญหายาเสพติดในหลายพื้นที่ ไม่คลี่คลายไปในทางที่ดขี ึ้น ยังคงมีผู้ค้าผู้เสพจํานวนมาก ส่งผลให้ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในหน่วยราชการ และเกิดความสงสัยว่าสาเหตุที่แก้ไข ปัญหายาเสพติดไม่ประสบความสําเร็จนั้น มาจากความไม่เอาจริงของภาครัฐหรือไม่ ภาครัฐได้พยายามตอบสนองความต้องการของประชาชนตลอดมา ด้วยการเพิ่ม การจัดทําโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ในพื้นที่ให้มากขึ้น ทางด้านการปราบปรามได้ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนแจ้งข่าวสารให้ทางราชการมากขึ้น จัดตั้งชุดปฏิบัติการปราบปราม เพิ่มขึ้น มียอดการจับกุมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง พัฒนากระบวนการยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ทางด้านการบําบัดรักษามีการเพิ่มบริการการบําบัดรักษา ผู้ติดยาเสพติดในรูปแบบต่าง ๆ ทางด้านการรักษาในสถานบําบัดเองและการรักษา ในลักษณะของการจัดค่ายบําบัดในสถานที่ ต่าง ๆ ทางด้านการป้องกันยาเสพติด ได้จัดการรณรงค์เชิงรุกมากขึ้น เน้นการเผยแพร่ความรู้ การปรับทัศนคติ และส่งเสริมให้ประชาชนแสดงพลังและร่วมมือกับทางราชการในการทํา กิจกรรมป้องกันยาเสพติด ในรูปแบบต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลของการดําเนินงานยังคงแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ บางพื้นที่ประสบ ความสําเร็จในการลดและควบคุมปัญหายาเสพติด บางพื้นที่สามารถยับยั้งปัญหาได้เพียงชั่ว ระยะเวลาหนึ่ง แต่บางพื้นที่ยังคงเผชิญกับปัญหายาเสพติดที่รุนแรงต่อไป ทั้ง ๆ ที่ได้มีการ ดําเนินกิจกรรมแก้ไขปัญหาต่าง ๆ อย่างมากในพื้นที่นั้น นอกจากนี้ กิจกรรมหลายกิจกรรมใน แต่ละพื้นที่ แม้จะมีชื่อโครงการและเนื้อหาเช่นเดียวกัน แต่ผลการทํางานกลับแตกต่างกัน ตาม ความเข้าใจและรายละเอียดในการปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากการทํางานในอดีต ควรนําประสบการณ์เหล่านั้นมาสรุปเป็นบทเรียน เพื่อพัฒนาแนว ทางแก้ไขปัญหายาเสพติดให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป มุมมอง จากอดีตสะท้อนให้เห็น บทเรียนสําคัญที่หน่วยงานต่าง ๆ ควรทําความเข้าใจ จํานวน 5 บทเรียน ได้แก่


38

บทเรียนที่ 1 “ปัญหายาเสพติดไม่ใช่แค่ปัญหาอาชญากรรมที่มาตรการปราบปรามเพียงลาพัง ก็แก้ไขได้” สิ่งแรกที่ประชาชนทั่วไปคิดเมื่อกล่าวถึงการแก้ไขปัญหายาเสพติด คือ ต้อง ปราบปรามผู้ค้ายาเสพติดอย่างจริงจังและลงโทษอย่างเฉียบขาด แต่แม้ว่าหน่วยงานด้าน ปราบปรามจะได้เพิ่มการสืบสวนจับกุมเท่าไร ก็ยังไม่เป็นที่พอใจของประชาชน เพราะปัญหายา เสพติดยังคงรุนแรงอยู่ในพื้นที่ที่มีผลการจับกุมสูง ไม่ได้หมายความว่าการแก้ไขปัญหายาเสพติด จะได้ผล แต่สภาพปัญหาอาจจะยังรุนแรงไม่แตกต่างจากก่อนการจับกุมก็เป็นไปได้ ทั้งนี้ เนื่องจากการมุ่งเน้นมาตรการปราบปรามเป็นหลักจะส่งผลกระทบต่อปัญหายาเสพติด ดังนี้ - รายชื่อผู้ค้าที่ประชาชนแจ้งข่าว มักจะเป็นผู้ค้ารายย่อยในชุมชน การกวดขัน จับกุมผู้ค้ารายย่อยจะก่อให้เกิดปัญหา “ตัวตายตัวแทน” ตามมา เมื่อผู้ค้ารายย่อย ในชุมชนคน หนึ่งถูกจับกุมบุคคลในครอบครัวของผู้ค้านั้น จะเข้ามารับช่วงดําเนินการค้ายาเสพติดแทน เพื่อ หาเงินมาเลี้ยงดูครอบครัวและต่อสู้คดี บางครอบครัวมีสมาชิก ในครอบครัวถูกจับกุมในคดียา เสพติดมากกว่า 10 คน นอกจากนี้ ในชุมชนบางแห่งปรากฏว่า ภายหลังจากผู้ค้ารายย่อยใน ชุมชนถูกจับกุมไปจนหมดสิ้น ผู้เสพในชุมชน ซึ่งยังคงต้องการยาเสพติดอยู่ ได้ไปหาซื้อยา เสพติดจากชุมชนอื่น และบางรายได้นํามาแบ่งขายให้แก่ผู้เสพอื่น ๆ ในชุมชนด้วย ผลก็คือ ผู้ เสพบางคนได้พัฒนาบทบาท จากผู้เสพมากเป็นผู้ค้ารายย่อย เนื่องจากความจําเป็นในการหายามา เสพ และ เห็นช่องทางในการขายเอากําไรมาเป็นค่าใช้จ่ายสําหรับซื้อยาเสพติดของ ตนเอง - ผู้ค้ารายย่อยและผู้เสพซึ่งถูกจับและถูกจําคุก มีโอกาสทําความรู้จักกับผู้ต้องขัง อื่น ๆ และเรียนรู้พฤติการณ์การกระทําความผิด เช่น แหล่งจําหน่าย วิธีการซื้อขาย วิธีการซุก ซ่อน เมื่อพ้นโทษออกมาจึงมีโอกาสจะพัฒนาบทบาทจากผู้ค้ารายย่อย เป็นรายกลางและราย ใหญ่ต่อไป แม้ทางเรือนจําจะมีกิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยพัฒนาจริยธรรมให้แก่นักโทษ แต่การ จับกุมผู้ค้ารายย่อยและผู้เสพจํานวนมากส่งผลให้นักโทษคดียาเสพติดมีจํานวนมากเกินขีด ความสามารถของเรือนจําที่จะดูแลได้อย่างทั่วถึงและขาดงบประมาณเพียงพอในการปรับปรุง สภาพแวดล้อมในเรือนจํา ให้เหมาะสมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ต้องขังได้


39

- การจับกุมผู้ค้ารายย่อยและผู้เสพในชุมชนหลายรายยังเป็นเยาวชน ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนแก่พอ่ แม่ผู้ปกครองในการหาทางช่วยเหลือลูกหลานของตน เยาวชนหลายคนเสีย ประวัติและเสียการเรียน เมื่อพ้นโทษออกมาไม่สามารถจะหาอาชีพที่ดีได้ เพราะสังคมไม่ ยอมรับ ทําให้หวนกลับไปค้ายาเสพติดอีก ชุมชนหลายแห่งประสบความสําเร็จในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เนื่องจาก ประชาชนในชุมชนเข้าใจกันดี ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสังคมที่สังคมต้องร่วมมือกันแก้ไข ไม่สามารถจะปล่อยให้ภาครัฐดําเนินการด้วยมาตรการปราบปรามเพียงลําพังได้ และในการ แก้ไขปัญหานั้นก็จําเป็นจะต้องใช้มาตรการหลายด้านผสมผสานกัน ทั้งด้านการป้องกัน การ บําบัด รวมทั้งมาตรการทางสังคม เพื่อพัฒนาชุมชนไปสู่สภาพการปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน

บทเรียนที่ 2 “ปัญหายาเสพติดอยู่ที่ตัวผู้เสพและผู้ค้า ถ้าไม่รู้ว่าปัญหาอยู่ที่ไหนก็ไม่สามารถแก้ไขได้” กิจกรรมการแก้ไขปัญหายาเสพติดในอดีตที่พบมากที่สุด คือ กิจกรรมทางด้าน การป้องกัน ได้แก่ การบรรยายให้ความรู้ การเดินรณรงค์ การประกวดภาพวาด คําขวัญ การ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ และการจัดกิจกรรมทางเลือก เช่น กีฬาและนันทนาการ เป็นต้น แม้จะ มีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้เป็นจํานวนมาก แต่กลุ่มคนที่เข้าร่วมมักไม่ใช่ผู้ที่มี พฤติการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพติด กิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้มีโอกาสเข้าถึงตัวผู้ค้าผู้เสพได้น้อย เนื่องจากผู้ค้าผู้เสพไม่ค่อยให้ความสนใจ ในกิจกรรมดังกล่าว ถึงแม้จะได้เห็นได้ยิน แต่ก็ไม่ เพียงพอต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เลิกค้าเลิกเสพยาเสพติดได้ เมื่อผู้ค้าผู้เสพยังคงอยู่ใน ชุมชนใด ปัญหายาเสพติดในชุมชนนั้นก็ยังมีต่อไป นอกจากปัญหาจะไม่ลดลงแล้ว ยังมีโอกาส จะขยายตัวขึ้นเพราะเป็นธรรมชาติของผู้เสพซึ่งจะชักชวนคนอื่นให้มาร่วมเสพด้วย เพื่อความ สนุกสนาน เพื่อต้องการขยายกลุ่มหรือหาคนอื่นที่มีเงินมาช่วยซื้อยาเสพติดเมื่อกิจกรรมแก้ไข ปัญหาไม่สามารถลดจํานวนผู้เสพผู้ค้าได้ ทําให้ปัญหายาเสพติดขยายตัว และปัญหา อาชญากรรมเพิ่มมากขึ้น


40

ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ถูกจุด จึงต้องเน้นการแก้ไขที่ตัวปัญหา คือ “ผู้ค้า และ ผู้เสพ” ในการดําเนินงานมีสงิ่ ที่ต้องคํานึงถึง 2 ประการคือ 1) ควรจําแนกผู้ค้าและผู้เสพตามพฤติการณ์และมูลเหตุจูงใจ ผู้ค้ารายใหญ่และ ผู้ผลิตมีมูลเหตุจูงใจคือความโลภ ทําให้เกิดการค้าและเพิม่ ปริมาณยาเสพติดจํานวนมากอันส่งผล ต่อการแพร่ระบาดยาเสพติดในประเทศ มาตรการที่จําเป็นต้องดําเนินการต่อคนกลุ่มนี้ คือการใช้ การปราบปรามอย่างเฉียบขาด และสืบสวนให้ถึงผู้เกี่ยวข้องสนับสนุนที่อยู่เบื้องหลัง เพื่อทําลาย ข่ายงานการค้าให้หมดสิ้น แต่สําหรับผู้ค้ารายย่อยและผู้เสพ ซึ่งมีมูลเหตุจูงใจจากความต้องการ ยา ความยากจน และสภาพแวดล้อม ควรใช้หลักการให้อภัยและมาตรการทางสังคมเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2) การแก้ไขปัญหาให้ได้ผล จําเป็นต้องทราบว่าใครบ้างที่เป็นผู้เสพและผู้ค้า ใน ชุมชน การดําเนินงานจึงควรให้ความสําคัญกับการค้นหาเพื่อให้รู้ว่าผู้เสพผู้ค้าทั้งหมดในชุมชน เป็นใครบ้าง หากดําเนินการบําบัดรักษาผู้เสพเพียงบางคน ผู้เสพที่ยังเหลืออยู่ก็ชัดชวนให้ผู้ผ่าน การบําบัดรักษาแล้วกลับไปเสพอีก ส่วนผู้ค้าที่ยังมีพฤติการณ์หลบซ่อนอยู่ ก็อาจเกิดความไม่ พอใจและขู่ให้ฝ่ายแก้ไขปัญหาเกิดความกลัวและยุติการดําเนินงาน ในการค้นหาผู้เสพผู้ค้านั้น จากประสบการณ์ในหลายชุมชนพบว่า ทางราชการ หรือผู้นําชุมชนไม่สามารถทราบว่า ผู้เสพผู้ค้าทั้งหมดในชุมชนเป็นใครบ้าง วิธีการที่ดีที่สุดคือ ให้ประชาชนในชุมชนเป็นผู้ร่วมการคัดแยก เนื่องจากประชาชนจะทราบ ดีที่สุดว่าใครมี พฤติการณ์อย่างไร และการคัดแยกนั้นจะต้องทําโดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้ความช่วยเหลือและให้ อภัยแก่ผู้เสพผู้ค้า จะทําให้ประชาชนกล้าที่จะให้ข้อมูล และไม่เกิดการต่อต้านจากผู้เสพผู้ค้าใน ชุมชน เมื่อชุมชนคัดแยกผู้เสพผู้ค้าได้แล้ว จะดําเนินการรณรงค์และใช้กระแสสังคม กดดันให้ผู้เสพผู้ค้าในชุมชนแสดงตัวว่าจะเลิกเกี่ยวข้องกับยาเสพติด และประชาชน ในชุมชน ช่วยกันดูแลให้บุคคลเหล่านั้นกลับคืนเป็นพลเมืองดีของสังคมต่อไป


41

บทเรียนที่ 3 “ปัญหายาเสพติดไม่มีใครอยู่ปลายเหตุ ทุกหน่วยงานต้องมีบทบาทในการแก้ไขปัญหา” ปัญหายาเสพติดมี 2 แกนคือ แกนอุปสงค์ และแกนอุปทาน หน่วยงาน ที่ รับผิดชอบในการแก้ไขด้านอุปสงค์ คือ ลดความต้องการยาเสพติด มักจะพบว่าขอบเขตบทบาท หน้าที่ของตนไม่ครอบคลุมการแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ทั้งวงจร และเกิดความรู้สึกว่า การ ป้องกันและการบําบัดรักษาจะประสบความสําเร็จได้อย่างไร ตราบเท่าที่ยังมีการผลิตและ จําหน่ายยาเสพติดอยู่ ผู้เสพหลายคนเสพยาทั้ง ๆ ที่รู้ว่ายาเสพติดเป็นอันตราย ผู้เสพจํานวนมาก หวนกลับไปเสพซ้ําอีกแม้จะผ่านการบําบัดรักษามาแล้ว ผู้ปฏิบัติงานด้านลดอุปสงค์ หรือด้าน ป้องกันบางคนถึงกับกล่าวว่า ”หน่วยงานด้านป้องกันอยู่ปลายเหตุ ต้นเหตุอยู่ที่การผลิตการค้า ถ้าตํารวจเอาจริง ก็จะแก้ไขปัญหายาเสพติดได้” ในทางตรงกันข้าม หน่วยงานด้านลดอุปทาน หรือด้านการปราบปราม โดยเฉพาะอย่างยิ่งตํารวจ ก็มักจะพบว่า ขอบเขตบทบาทหน้าที่ของตนไม่ครอบคลุมการแก้ไข ปัญหายาเสพติดได้ทั้งวงจร แม้จะสืบสวนจับกุมผู้จําหน่ายยาเสพติดไปมากแล้ว แต่ผู้เสพก็ยังมี ความสามารถในการไปหาซื้อยากเสพติดจากแหล่งอื่น ๆ หรือซื้อยาจากผู้จําหน่ายรายใหม่ได้ ไม่ว่าผู้ค้าจะย้ายสถานที่จําหน่ายอย่างไร ผู้เสพก็มีความสามารถหาแหล่งจําหน่ายใหม่จนพบได้ รวดเร็วกว่าตํารวจเสมอ ตํารวจบางคนถึงกับกล่าวว่า “ตํารวจอยู่ปลายเหตุ ต้นเหตุอยู่ที่ผู้เสพ ถ้า มีการเอาใจใส่ดูแลบุคคล กลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มผู้เสพให้ดี ก็จะแก้ไขปัญหายาเสพติดได้”

ครูอยู่ที่ปลายเหตุ ต้นเหตุอยู่ที่ผู้ค้า เป็นหน้าที่ของตํารวจ

ใครอยู่ต้นเหตุ ?

ตํารวจอยู่ที่ปลายเหตุ ต้นเหตุอยูท่ ี่ผู้เสพ เป็นหน้าที่ของครู


42

ความจริงข้อนี้ จากบทเรียนที่ 1 และบทเรียนที่ 2 จะเห็นได้ว่า ลําพังการ ปราบปรามไม่สามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ เพราะปัญหายาเสพติดอยู่ที่ตัวผู้ค้าและผู้เสพ ไม่ได้อยู่ที่ฝ่ายใดฝ่ายเดียว อนึ่ง ปัญหายาเสพติดเป็นวงจรของการผลิต การค้าและการเสพ กล่าวคือ “การผลิตนาไปสู่การค้า การค้านาไปสู่การเสพ และการเสพ ก็จะนาไปสู่การผลิตใน ที่สุด” จะเห็นได้จากการที่แหล่งผลิตยาเสพติดในบริเวณสามเหลี่ยมทองคําเปลี่ยนจากเฮโรอีน อย่างเดียวมาผลิตยาบ้ามากขึ้นภายหลังความต้องการยาบ้าในประเทศไทยสูงขึ้นมากตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้น

การผลิต

การค้า

การค้า

ดังนั้น ทุกหน่วยงานไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานด้านอุสงค์ หรืออุปทาน ต่างก็มีบทบาทสําคัญในการ แก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยกันทั้งสิ้น ไม่มีหน่วยใดอยู่ต้นเหตุ และไม่มีหน่วยใดอยู่ทปี่ ลายเหตุ ของปัญหา


43

บทเรียนที่ 4 “ปัญหายาเสพติดไม่สามารถแก้ไขได้ หากต่างหน่วยต่างทา” การดําเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติด ต้องอาศัยการผสมผสานมาตรการป้องกัน มาตรการ บําบัดรักษา และมาตรการปราบปรามอย่างเหมาะสม แต่เนื่องจากมาตรการต่าง ๆ เหล่านี้ มีหน่วยราชการหลายหน่วยรับผิดชอบในแต่ละมาตรการแตกต่างกัน ไปตามภารกิจของ หน่วยงานนั้นๆ จึงปรากฏว่า แผนงานโครงการของหน่วยงานต่าง ๆ อาจจะไม่สอดคล้องกันบ้าง หรือเกิดความซ้ําซ้อนกันบ้าง เช่น หน่วยงานด้านการป้องกันเข้าไปรณรงค์ในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง เพื่อให้ประชาชนตระหนักในภัยของยาเสพติด เกิดความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา และมีผู้เสพ ต้องการรับการบําบัดรักษาจํานวนมาก แต่โครงการด้านการบําบัดรักษาอาจจะยังไม่พร้อมหรือ ไปดําเนินการ ในหมู่บ้านอื่น ทําให้การดําเนินงานของทางราชการเพื่อตอบสนองต่อกระแส ความต้องการของประชาชนเพื่อแก้ไขปัญหาในหมู่บ้านแห่งนั้น ไม่ประสบความสําเร็จเท่าที่ควร หรืออาจเกิดกรณีที่หน่วยราชการหลายหน่วยจัดอบรมการป้องกันยาเสพติดให้แก่ประชาชนใน หมู่บ้านเดียวกันหลายครั้ง โดยมีกลุ่มผู้รับการอบรมเป็นคนกลุ่มเดียว ทําให้เกิดความสิ้นเปลือง งบประมาณ และไม่ช่วยให้การแก้ไขปัญหายาเสพติด ดีขึ้น ดังนั้น การที่หน่วยราชการทุกหน่วยทํางานตามบทบาทของตนเองอย่างเต็มที่ ยัง ไม่เพียงพอต่อการแก้ไขปัญหายาเสพติด แต่ทุกหน่วยงานจะต้องทํางานในลักษณะของการบูร ณาการด้วย การบูรณาการไม่ได้หมายความว่านําเอาทุกมาตรการลงไปดําเนินงานในพื้นที่ เดียวกันเท่านั้น หากหมายถึงการบูรณาการทั้งแผน ทั้งงบประมาณ ทั้งกําลังคน เพื่อให้การ ดําเนินกิจกรรมในแต่ละมาตรการ เกิดความสอดคล้องและประสานกันเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น ในเรื่องของลําดับของกิจกรรม ช่วงเวลาการทํากิจกรรม เป้าหมายของกิจกรรม และการ ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานอย่างใกล้ชิดโดยยึดเอาปัญหาของพื้นที่เป็นตัวตั้ง และ พิจารณาว่าหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง สามารถให้การสนับสนุนร่วมมือตามบทบาทของแต่ละ หน่วยงานได้อย่างไรบ้าง เพื่อให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่นั้นประสบความสําเร็จ


44

บทเรียนที่ 5 “ปัญหายาเสพติดต้องการความมีส่วนร่วมของประชาชน เพื่อความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหา” การแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ได้ผลรวดเร็วที่สุด ในอันที่จะกดดันกวาดล้างผู้ค้ายา เสพติดให้หมดไปจากพื้นที่ คือการใช้อํานาจรัฐเข้าระดมตรวจค้นจับกุม และ เฝ้าตรวจในพื้นที่ นั้น ๆ อย่างเข้มงวด ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม การดําเนินงานในลักษณะนี้จําเป็นต้องใช้กําลังคน และทรัพยากรจํานวนมหาศาล ในทางปฏิบัติ ทางราชการจึงไม่สามารถทํางานได้ครอบคลุมทุก พื้นที่และตลอดเวลา ทางที่ดีที่สุดที่ภาครัฐจะทําได้คือ ดําเนินการระดมจับกุมและกดดันในพื้นที่ ที่มีปัญหารุนแรงในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เมื่อสภาพปัญหาคลี่คลายแล้ว จึงย้ายกําลังไปดําเนินการ ในพื้นที่อื่น ๆ ต่อไป แต่ผล ที่ตามมาคือ ในพื้นที่เดิมซึ่งภาครัฐถอนกําลังออกไป ปัญหายาเสพ ติดจะกลับมาแพร่ระบาดเช่นเดิม หน่วยราชการในบางพื้นที่ได้พยายามปรับปรุงวิธีการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อให้ได้ทั้งความสําเร็จและประหยัดทรัพยากร ด้วยการร่วมมือกับชุมชนในการค้นหาและนํา ตัวผู้เสพทั้งหมดมารับการบําบัดรักษา ขณะเดียวกันก็ได้รวบรวมรายชื่อผู้ค้ายาเสพติดทั้งหมด ตามข้อมูลที่ได้รับจากผู้เสพและดําเนินการรณรงค์กดดันให้ผู้ค้าแสดงตัวต่อทางราชการและยุติ การจําหน่ายยาเสพติด วิธีการนี้จะประสบผลสําเร็จ หากสามารถค้นพบและนําตัวผู้เสพมารับ การบําบัดรักษาได้ทั้งหมดหรือมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เมื่อผู้เสพทุกคนหรือส่วนใหญ่เข้าร่วม กิจกรรมกับทางราชการแล้ว ผู้ค้าก็ไม่สามารถจะจําหน่ายยาเสพติดต่อไปได้ เพราะไม่มีลูกค้า และกลัวว่าจะถูกทางราชการจับกุมเนื่องจากตระหนักดีว่าทางราชการมีรายชื่อผู้ค้าทุกคนอยูใ่ น บัญชีข้อมูล หรือผู้เสพที่มาซื้อยาเสพติดก็อาจจะเป็นสายลับให้ทางเจ้าหน้าที่ เมื่อผู้เสพและผู้ค้า ทั้งหมด ในพื้นที่แสดงตัวกับทางราชการเพื่อยุติการเสพการค้าแล้ว ทางราชการก็จะจัดให้มีการ ติดตามดูแลผู้เสพผู้ค้าทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง เพื่อควบคุมสอดส่องพฤติกรรมไม่ให้กลับไป เกี่ยวข้องกับยาเสพติดอีก วิธีการดังกล่าว แม้จะมีผลดีคือมีโอกาสที่จะแก้ไขปัญหายาเสพติดได้รวดเร็ว และไม่สิ้นเปลืองทรัพยากรมาก แต่มีสิ่งที่ควรพิจารณา 3 ประเด็น คือ


45

1) การระดมกดดันทุกวิถีทางเพื่อพยายามให้ได้รายชื่อผู้เสพทั้งหมดอย่างรวดเร็ว จะทําให้ผู้เสพจํานวนหนึ่งเกิดความหวาดกลัวและหลบซ่อนอําพรางพฤติกรรม เพราะไม่อยาก ถูกทางราชการบันทึกประวัติ ผู้เสพบางคนอาจได้รับการปิดบังจากครอบครัวหรือชุมชนเพราะ ความไม่เข้าใจในจุดมุ่งหมายของวิธีการนี้หรือไม่ไว้วางใจภาครัฐ ทําให้ยังคงมีปัญหาส่วนหนึ่ง เล็ดรอดจากการดําเนินการ กล่าวคือ ปัญหายาเสพติดจะไม่หมดไปในพื้นที่นนั้ อย่างแท้จริง และ สามารถขยายตัวได้ในอนาคต 2) ปัญหายาเสพติดในพื้นที่อื่น ๆ โดยรอบ ทําให้ผู้ค้าในพื้นที่ที่มกี ารดําเนินการ แก้ไขปัญหายังสามารถคงสภาพการเป็นผู้ค้าต่อไปได้ โดยซื้อขายยาเสพติดกับผู้ค้า ผู้เสพใน พื้นที่อื่น ๆ และก็มีโอกาสจะทําให้ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ขยายตัวได้ในอนาคตเช่นกัน 3) วิธีการนี้ต้องอาศัยการเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิดจากทางราชการ ดังนั้น ความ เข้มแข็งของหน่วยราชการในพื้นทีแ่ ละนโยบายของผู้บริหาร จึงเป็นปัจจัยสําคัญแห่งความสําเร็จ การแก้ไขปัญหาในพื้นที่จะมีความยั่งยืนหรือไม่ ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับความจริงจังต่อเนื่องของ หน่วยราชการซึ่งมีการโยกย้ายข้าราชการเป็นจํานวนทุกปีว่า ผู้บริหารและข้าราชการที่มารับหน้า ที่ใหม่ จะสามารถสานต่องานดังกล่าวได้มากน้อยเพียงใด จากข้อจํากัดของวิธีการแก้ไขปัญหาทั้งสองวิธีดังกล่าว ทําให้มีการพิจารณา ทบทวนบทเรียนการดําเนินงาน เพื่อพัฒนาวิธีการแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีกระบวนการคิด ดังนี้ 1) เป้าหมายของการแก้ไขปัญหาเสพติดคือ “ชุมชนปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน” 2) ชุมชนจะปลอดภัยยาเสพติดอย่างยั่งยืนได้ จะต้องมีกลไกดูแลชุมชนอย่าง ใกล้ชิดและต่อเนื่อง กลไกที่เหมาะสมที่สุด ย่อมไม่ใช่ภาครัฐ แต่เป็นประชาชนในชุมชนดูแล ชุมชนของตนเองหมายความว่า ประชาชนในชุมชนรู้จักวิเคราะห์ปัญหาของตนเอง รู้จักคิดหา หนทางแก้ไขปัญหาของตนเอง และรู้จักร่วมมือกันแก้ไขปัญหาของตนเอง ซึ่งเป็นหลักการ “ชุนชนดูแลเข้มแข็ง” 3) ชุมชนจะดูแลชุมชนได้ ประชาชนในชุมชนจะต้องเข้าใจแนวทางการแก้ไข ปัญหาและมีส่วนร่วมในการทํางาน จึงจะเกิดเป็นพลังประชาชนและทําให้เกิด “ชุมชนเข้มแข็ง” 4) ชุมชนจะเข้มแข็งได้ จะต้องมีแกนนําที่มาจากความเชื่อถือศรัทธาของ ประชาชนในชุมชนนั้น และเป็นแกนนําที่ดําเนินงานให้เกิดความมีส่วนร่วมของประชาชนได้ โดยไม่ถูกครอบงําจากภาครัฐ แกนนําดังกล่าวเรียกว่า “ผู้นําธรรมชาติ”


46

5) จะค้นหาผู้นําธรรมชาติได้ จะต้องมีกระบวนการกระตุ้นจิตสํานึกของประชาน ในชุมชนและก่อให้เกิดการประชุมเวทีชาวบ้านเพื่อคัดเลือกผู้นําธรรมชาติ ที่เหมาะสม ผู้ทํา หน้าที่ในการผลักดันกระบวนการดังกล่าวในชุมชน เรียกว่า “วิทยากรกระบวนการ” 6) วิทยากรกระบวนการจะปฏิบัติหน้าทีไ่ ด้ จะต้องได้รับการสนับสนุนร่วมมือ จากหน่วยราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในด้านการคัดเลือกชุมชน การเตรียมชุมชน และการ ตอบสนองความต้องการต่าง ๆ ของชุมชน ความร่วมมือระหว่างหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องจะต้อง มีความสัมพันธ์กันอย่างสอดคล้อง ในเรื่องของแผน งบประมาณ และกําลังคน ซึ่งเป็นเรื่องของ “การบูรณาการ” แนวคิดดังกล่าว สามารถแสดงโดยแผนภูมิได้ ดังนี้


47

ชุมชนปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน แนวคิด

แนวทาง

ต้องมีกลไกดูแลชุมชนใกล้ชิดต่อเนื่อง

=

ชุมชนดูแลชุมชน

ต้องมีพลังประชาชน

=

ชุมชนเข้มแข็ง

ต้องมีแกนนําเพื่อสร้างความมีส่วนร่วม

=

ผู้นําธรรมชาติ

ต้องมีผู้กระตุ้นชุมชน

=

วิทยากรกระบวนการ

ต้องมีความร่วมมือของหน่วยราชการ

=

การบูรณาการ

วิทยากรกระบวนการเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด การแก้ไขปัญหายาเสพติดให้ได้ผล จําเป็นต้องคํานึงถึงความยั่งยืนในการแก้ไข แก้ปัญหาด้วยเพื่อให้การดําเนินงานประสบความสําเร็จอย่างแท้จริง ไม่ใช่เป็นเพียงการแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้าซึ่งจะช่วยลดปัญหายาเสพติดได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น แนวทางการแก้ไขปัญหา ยาเสพติดอาจแบ่งได้เป็น 2 ระดับคือ การแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับกว้าง และการแก้ไข ปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่


48

การแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับกว้าง คือการใช้มาตรการหลัก ได้แก่ การปราบปราม การป้องกัน และการบําบัดรักษา ดําเนินการควบคู่กันไป การดําเนินงานตามมาตรการหลักจะได้ผลมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยูว่ ่าจะ สามารถทํางานให้สอดคล้องกับสถานการณ์และแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดหรือไม่ อย่างไรก็ตาม ข้อกําหนดในการทํางานที่สําคัญคือ การขาดข้อมูลที่ชัดเจนเพียงพอเกี่ยวกับสภาพปัญหายาเสพ ติด และผลกระทบจากการดําเนินงานในแต่ละมาตรการ ข้อมูลที่จําเป็นต้องทราบเพื่อให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดประสบผลสําเร็จ คือ ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสพ ผู้ค้า และรูปแบบพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้อง ในทางปฏิบัติแล้ว เป็นการยากที่ หน่วยราชการจะสามารถรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เหล่านีไ้ ด้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ ช่องทางต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล ไม่ว่าจะเป็น การแจ้งข่าว การสํารวจ หรือการสืบสวนสอบสวน ช่วยให้ ได้ข้อมูลเพียงบางส่วนเท่านั้น และส่งผลให้การดําเนินงานต้องจํากัดขอบเขตเพียงแค่ข้อมูลที่มี อยู่ เช่น การจับกุมนักค้ายาเสพติด ที่ถูกสืบทราบ หรือการบําบัดรักษาผู้ติดยาที่ถูกพบ ส่วนผู้ เสพและผู้ค้าอื่น ๆ ที่ยังไม่ถูกพบ ก็ยังมีพฤติการณ์ต่อไป และมีโอกาสทีจ่ ะชักจูงให้ผู้อื่น กลายเป็นผู้เสพหรือผู้ค้าเพิ่มขึ้น การดําเนินมาตรการแก้ไขปัญหาอาจส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ได้หลายทาง ผลของการจับกุมผู้ค้าหรือผู้เสพจํานวนมาก ทําให้นักโทษล้นเรือนจํา ทั้งไม่ช่วยให้สถานการณ์ นอกเรือนจําดีขึ้น เนื่องจากเกิดตัวตายตัวแทนอยู่เสมอ เช่น ผู้ค้ายาเสพติดถูกจับ ทําให้บุคคล อื่นในครอบครัวดําเนินการค้าต่อเพื่อหาเงินมาต่อสู้คดี และเลี้ยงดูครอบครัว นอกจากนี้ยังมี หลายกรณีที่ผู้เสพต้องหันมาเป็นผู้ค้ารายย่อยเอง หลังจากที่ผู้ค้าเดิมในชุมชนถูกจับกุม ทําให้ผู้ เสพซึ่งขาดยาไม่ได้ ต้องพยายามหาซื้อยาเสพติดจากแหล่งอื่นและนํามาจําหน่ายต่อให้ผู้เสพอื่น ๆ ในชุมชน จากปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ของการดําเนินงานดังกล่าว นําไปสู่การทบทวน มาตรการดําเนินงานโดยจําแนกผู้ค้ายาเสพติดและผู้เสพตามพฤติการณ์และมูลเหตุจูงใจ เพื่อผล ในการแก้ไขปัญหาสําหรับผู้ค้ารายใหญ่ และผู้ผลิต เป็นผู้ทําให้เกิดปริมาณยาเสพติดจํานวนมาก เนื่องจากความโลภบุคคลกลุ่มนี้จําเป็นต้องได้รับการปราบปรามอย่างเด็ดขาด รวมทั้ง ผู้สนับสนุนที่อยู่เบื้องหลัง แต่สําหรับผู้ค้ารายย่อยและผู้เสพ มักจะเกิดจากความต้องการยา ความยากจน และสภาพแวดล้อมในชุมชน ควรจะใช้แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับ พื้นที่ เพื่อผลในการทํางานอย่างยั่งยืน


49

พฤติการณ์ ผู้ผลิต ผู้ค้ารายใหญ่ ผู้ค้ารายย่อย ผู้เสพ

มูลเหตุจูงใจ

แนวทาง

ความโลภ

ปราบปราม

ต้องการยา / ความยากจน / สิ่งแวดล้อม

ให้โอกาส

การแก้ไขปัญหายาเสพติดในระดับพื้นที่ เป็นการผสมผสานมาตรการหลายด้านในการดําเนินการ โดยอาศัยความมีส่วน ร่วมของประชาชนในชุมชนเป็นปัจจัยสําคัญ แนวคิดนี้สืบเนื่องจากการมองว่า แม้ภาคราชการ จะมีศักยภาพในการดําเนินกิจกรรม ต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหา แต่ไม่สามารถจะดูแลรักษาการณ์ ในพื้นที่อย่างยั่งยืนได้ ดังนั้น ประชาชนในชุมชนเองจะต้องมีบทบาทสําคัญในการแก้ไขปัญหา ยาเสพติดของแต่ละชุมชน โดยการสนับสนุนของหน่วยราชการที่เกีย่ วข้อง  หัวใจสาคัญของการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน มีอยู่ 4 ประการ คือ 1. ยึดหลัก “สันติวิธ”ี ในการแก้ไขปัญหา หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงระหว่าง ประชาชนในชุมชน 2. ดําเนินงานโดย “ประชาคม” ของประชาชนในชุมชนอย่างแท้จริง โดยหน่วย ราชการเป็นเพียงผู้สนับสนุน 3. ประชาชนร่วมกัน “คัดแยก” ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดเพื่อให้ความช่วยเหลือ ไม่ได้ใช้วิธีการสํารวจของทางราชการ 4. ชุมชนดูแลชุมชนโดยใช้ “มาตรการทางสังคม” เป็นหลักไม่ใช่มาตรการทาง กฎหมายเป็นหลัก หัวใจสําคัญทั้งสี่ประการนี้สามารถก่อให้เกิดในชุมชนได้ โดยผ่านกระบวน การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ซึ่งจะต้องอาศัยบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจ ใน กระบวนการเป็นผู้ดําเนินงาน บุคคลที่ทําหน้าที่นี้เรียกว่า “วิทยากรกระบวนการ” วิทยากรกระบวนการ แตกต่างจากวิทยากรบรรยายซึ่งมีบทบาทหลักในการ ถ่ายทอดความรูใ้ ห้แก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ไม่ว่าจะด้วยการพูด การสาธิต หรือผ่านกิจกรรมการ เรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เพราะ “วิทยากรกระบวนการ เป็นผู้นากระบวนการปรับ


50

ทัศนคติไปสู่ชุมชน เพื่อช่วยเสริมสร้างชุมชนนั้นให้มีความเข้มแข็ง โดยทาความเข้าใจกับ ประชาชนในชุมชนให้เกิดความตระหนักถึงแนวทางแก้ไขปัญหายาเสพติดที่ถูกต้อง และแสดง บทบาทของชุมชนในฐานะผู้รับผิดชอบการดูแลแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนของตนเอง โดยมี วิทยากรกระบวนการเป็นพี่เลี้ยง และมีหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุน” ข้าพเจ้าเป็นกลไกของภาครัฐ ในการ ดําเนินกระบวนการเสริมสร้างความ เข้มแข็งให้กับ

การสร้างชุมชนเข้มแข็งเป็นประบวนการที่ต้องทํากิจกรรมต่าง ๆ ตามขั้นตอน เพื่อนําไปสู่เป้าหมายที่ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ การสร้าง ชุมชนเข้มแข็งจึงต้องใช้ระยะเวลา การจัดกิจกรรมเพียงกิจกรรมเดียว เช่น การจัดประชุม ประชาคม เพื่อทําให้ชุมชนนั้นกลายเป็นชุมชนเข้มแข็งทันที เป็นวิธีการที่รวบรัดและขัดกับ หลักการมีส่วนร่วม จึงไม่ใช่วิธีที่ถูกต้องในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง เป้าหมายของชุมชนเข้มแข็งในที่นี้ คือ เป็นทั้งชุมชนเข้มแข็งและเป็นชุมชน ที่ สามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ มีหลายชุมชนที่ประชาชนร่วมกันสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชนได้ด้วยตนเอง แต่เป็นชุมชนที่ไม่สามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ เนื่องจากขาดแนว ทางการดําเนินงานทีถ่ ูกต้อง และขาดการประสานสนับสนุนที่ดีจากทางราชการ ขั้นตอนในการสร้างชุมชนเข้มแข็งเพือ่ แก้ไขปัญหายาเสพติด อาจยึดถือแตกต่าง กันไปหลายแนวทาง แต่แนวทางหนึ่งที่ประสบความสําเร็จคือ แนวทางของคณะวิทยากร กระบวนการแม่ข่ายจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ 9 ขั้นตอนตามลําดับ จํานวนขั้นตอนไม่ใช่ประเด็นสําคัญ แต่ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน จําเป็นต้อง ดําเนินงานตามกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ให้ครบถ้วนตามลําดับ จึงจะประสบความสําเร็จ การ แบ่งเป็น 9 ขั้นตอนเป็นการจัดกลุ่มกิจกรรมให้ชัดเจนขึ้น เห็นกระบวนการทํางานเป็นลําดับ หากแบ่งจํานวนขั้นตอนมากเกินไปจะทําให้ยากต่อการทําความเข้าใจและจดจํา หากแบ่งจํานวน ขั้นตอนน้อยเกินไปจะทําให้แต่ละขั้นตอนรวมกิจกรรมต่าง ๆ มากเกินไป ซึ่งจะยากต่อการ ปฏิบัติและอาจเกิดข้อผิดพลาดในการทํางาน


51

จุดเด่นของแนวทาง 9 ขั้นตอนนี้ ได้แก่ ความง่ายในการเรียนรู้ทําความเข้าใจ ความง่ายในการนําไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งมีสภาพแตกต่างกัน ความสําเร็จ ในการสร้าง พลังสามัคคีในชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาความเจริญให้แก่ชุมชน และการมีชุมชน ตัวอย่างหลายชุมชนสําหรับศึกษาการทํางานจากประสบการณ์จริง อนึ่ง รายละเอียดกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนอาจประยุกต์ให้เหมาะสมกับสภาพ ของแต่ละชุมชนได้ อย่างไรก็ตาม การประยุกต์นั้นจะต้องไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงรูปแบบ จนกระทั่งขัดกับหลักการสําคัญ คือ “พลังประชาชนในชุมชนต้องเป็นหลัก ในการดาเนินงาน เพื่อความยั่งยืนในการแก้ไขปัญหาของชุมชน และมีคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งเป็นแกนนาใน การใช้พลังดังกล่าว โดยไม่ถูกครอบงาจากภาครัฐหรือผู้แทนของภาครัฐ” แนวทาง 9 ขั้นตอนดังกล่าวแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนตามผู้รับผิดชอบ ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 – ขั้นตอนที่ 4 เป็นหน้าทีข่ องวิทยากรกระบวนการ ขั้นตอนที่ 5 – ขั้นตอนที่ 9 เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง โดยมี วิทยากรกระบวนการคอยให้คําปรึกษา ขั้นที่ 1

ขั้นที่ 2

ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4

ขั้น 1 – 4 วิทยากรกระบวนการ ดําเนินงานสร้างความตระหนักให้แก่ ประชาชนในชุมชนและส่งเสริมการ จัดตั้งคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง เพื่อเป็นองค์กรในการดําเนินงาน

ขั้นที่ 5

ขั้นที่ 6 ขั้นที่ 7

ขั้น 5 – 7 คณะกรรมการ ชุมชนเข้มแข็งดําเนินงาน สร้างกระแสความร่วมมือ ร่วมใจของชุมชนเพื่อเป็น พลังในการแก้ไขปัญหา

ขั้นที่ 8

ขั้นที่ 9

ขั้น8– 9 คณะกรรมการ ชุมชนเข้มแข็งอาศัย พลังชุมชนแก้ไข ปัญหาและดูแลรักษา ให้ยั่งยืน


52

ประเด็นที่ควรให้ความสาคัญ 1. ชุมชน การแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบมุ่งยึดพื้นที่ในระดับหมู่บ้าน / ชุมชน จะต้องใช้ ความมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เป็นสําคัญ ชุมชนแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ หมู่บ้านชนบทและชุมชนเมือง ในหมู่บ้านชนบท ชาวบ้านมีพื้นฐานของความใกล้ชิดและการมี กิจกรรมทางสังคมร่วมกัน ทําให้การเสริมสร้างความแข็งแรง ในหมู่บ้านประสบความสําเร็จจน เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในหลาย ๆ พื้นที่ และอยู่ในระหว่างการดําเนินกระบวนการพัฒนาไปสู่ ความยั่งยืนในหลายหมู่บ้าน ในขณะที่ชุมชนเมือง มีความหลากหลายทางด้านพื้นฐานความ เป็นอยู่ ขาดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน ทําให้การเสริมสร้างความเข้มแข็งในชุมชนเมืองหลายต่อ หลายแห่ง ไม่ปรากฏให้เห็นผลสําเร็จหรือความคืบหน้าอย่างชัดเจน 2. สถานศึกษา จากการสํารวจติดตามผลการปฏิบัติงานในจังหวัดต่าง ๆ โดยคณะผู้ตรวจราชการ ศูนย์อํานวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดแห่งชาติ ชี้ให้เห็นว่า ในสถานศึกษายังมีปัญหาการ แพร่ระบาดซ่อนอยู่ เนื่องจากยังไม่มีรูปแบบและแนวทางการดําเนินงานในสถานศึกษาอย่างเป็น ระบบที่ชัดเจนมาตรการแก้ไขยังไม่สอดคล้องตรงกับสภาพปัญหาที่แท้จริง และขาดยุทธศาสตร์ ในการปฏิบัติเพื่อมุ่งไปสู่การแก้ไขปัญหา 3. การปราบปราม ภายหลังสงครามยาเสพติด การดําเนินงานปราบปรามมีความยากลําบากมากขึ้น เนื่องจากฝ่ายนักค้ามีความระมัดระวังตัวสูงขึ้น มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและกลไก ในการค้า นักค้าที่เหลืออยู่ไม่ใช่ระดับรายย่อยที่จับกุมได้ไม่ยากเหมือนในช่วงสงครามยาเสพติด กลไก การค้าทั้งในระดับค้าส่งและค้าปลีกยังคงเป็นปัญหาที่ต้องพิจารณาแนวทางดําเนินการต่อไป 4. การบูรณาการ แม้หน่วยราชการต่าง ๆ จะมีการผลึกกําลังกันในการทํางานมากขึ้น แต่ยังขาดการ อํานวยการที่เป็นระบบ มีความต่อเนื่อง และสามารถสนับสนุนการทํางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


53

แนวคิดในการพัฒนางาน ชุมชน การแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน ควรจะยึดหลักความมีส่วนร่วมของ ประชาชนในชุมชนนั้น เพื่อความสําเร็จในการทํางานระยะยาว ความมีส่วนร่วมจะเกิดขึ้นได้ จําเป็นต้องดําเนินการในลักษณะที่ประชาชนเป็นเจ้าของการดําเนินงาน ส่วนภาครัฐทําหน้าที่ เป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุน การทํางานเกี่ยวข้องกับชุมชน จําเป็นต้องคํานึงถึงสภาพและ ลักษณะเฉพาะของแต่ละชุมชนด้วย เพราะปัจจัยท้องถิน่ เป็นองค์ประกอบสําคัญของการสร้าง พลังความร่วมมือให้เกิดขึ้นในชุมชน ประเด็นสําคัญที่ควรหยิบยกมาพิจารณาเพื่อพัฒนาการดําเนินงานในชุมชน ได้แก่ 1. ชุมชนเมืองยังเป็นจุดอ่อนในการสร้างพลังแผ่นดิน และยังเป็นพื้นที่เสี่ยงต่อ การแพร่ระบาดยาเสพติด การสร้างความเข้มแข็งในพื้นที่ชุมชน ควรพิจารณากําหนดแนวทาง ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนเมือง ความเป็นอยู่ และสภาพแวดล้อมของคนเมืองเป็นสําคัญ การดําเนินงานในปี 2550 ควรให้น้ําหนักกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนเมืองมากขึ้น ควบคู่ไปกับการศึกษาพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการทํางาน 2. การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับหมู่บ้านชนบท ยังเป็นกระบวนการที่ต้อง ทําอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมสร้างความสามัคคีควรยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ให้ประชาชนมี โอกาสคิดและตัดสินใจมากขึ้น กิจกรรมดําเนินการควรมีลักษณะเป็นกระบวนการมากกว่าเป็น กิจกรรมโดด ๆ ขาดความเชื่อมโยงกัน กระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้ยั่งยืน จําเป็นต้อง คํานึงถึงระยะเวลา และการพัฒนาศักยภาพ ขององค์กรชุมชนแบบค่อยเป็นค่อยไป อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นชุมชนเมือง หรือหมู่บ้านชนบท มีหลักการแก้ไข ปัญหายาเสพติดในชุมชนที่เป็นกลาง ๆ ซึ่งอาจนําไปประยุกต์ให้เหมะสมได้ดังนี้ การแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน จะต้องแก้ไขให้ที่ตัวปัญหา นั่นคือ ผู้ค้า ผู้ เสพในชุมชนนั้น ๆ สิ่งสําคัญที่สุดคือจะต้องมีการค้นหาผู้ค้า ผู้เสพให้พบ และดําเนินการแก้ไข ปรับพฤติกรรมตามความเหมาะสม จากการทํางานที่ผ่านมาพบว่า การดําเนินมาตรการ


54

ปราบปรามและมาตรการบําบัดรักษาเพื่อแก้ไขปัญหาผู้ค้าผู้เสพ ได้ดําเนินมาอย่างต่อเนื่องอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม ปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติดก็ยังคงมีอยู่ การใช้มาตรการปราบปรามเป็นหลัก ในการกดดัน สามารถช่วยบรรเทาปัญหา ได้ในระยะยาว ดังนั้น เพื่อให้การแก้ไขปัญหายาเสพ ติดในชุมชนประสบผลสําเร็จ จึงควรทบทวนการดําเนินงานที่ผ่านมาว่า มีประเด็นใดที่เป็น ปัญหาซึ่งสมควรได้รับการปรับปรุงแก้ไข และกําหนดแนวทางการดําเนินงานใหม่ให้สอดคล้อง กับสภาพความเป็นจริงของปัญหายาเสพติด การดําเนินงานที่ผ่านมาพบว่า มาตรการปราบปราม และมาตรการบําบัดรักษา ต่างก็มีข้อจํากัดในการแก้ไขปัญหาแบบเสร็จเด็ดขาด ไม่ว่าจะดําเนินมาตรการแต่ละด้านอย่าง เข้มแข็ง หรือดําเนินงานแบบควบคู่กันก็ตาม ข้อจํากัดของมาตรการแต่ละด้านสามารถจําแนกได้ ดังนี้

ข้อจากัดของมาตรการปราบปราม - การดําเนินงานตามกระบวนการยุติธรรม ไม่สามารถรวบรวมพยานหลักฐาน เพียงพอที่จะดําเนินการต่อนายทุนนักค้ารายใหญ่ หรือผู้มีอิทธิพลที่อยู่เบื้องหลังขบวนการค้ายา เสพติดเนื่องจากมีผู้รับช่วงดําเนินงานในแต่ละขั้นตอน จนยากที่จะ สาวไปถึงตัวการใหญ่ - การจับกุมผู้ค้าจํานวนมากเข้าไปไว้ในเรือนจําและสถานพินิจ ทําให้ผู้ค้ายาเสพ ติดมีโอกาสรู้จักกันและเกิดการเรียนรู้ ขยายการค้า และยกระดับการค้าจาก รายย่อย มาเป็นราย กลาง และรายใหญ่ในที่สุด ผู้ค้าที่มีประสบการณ์เวียนเข้าเวียนออกเรือนจําหลายครั้ง แทนที่จะ กลัวเกรงการจับกุมมักจะพยายามปรับเปลี่ยนรูปแบบ การค้าให้ยากต่อการจับกุมยิ่งขึ้น และมี การค้ายาเสพติดในปริมาณมากขึ้น - การจับกุมผู้ค้าในชุมชน ทําให้แหล่งจําหน่ายยาเสพติดในชุมชนนั้นหมดไปได้ เพียงชั่วคราว เพราะผู้เสพยังคงมีอาการอยากยาอยู่ จะแสวงหายาเสพติดจากชุมชนอื่น ๆ และ นํามาจําหน่ายต่อให้กับผู้เสพอื่น ๆ ทําให้เกิดผู้ค้ารายใหม่เป็นตัวตายตัวแทนในชุมชน - ผู้ค้ายาเสพติดที่พ้นโทษและกลับไปอยูใ่ นชุมชน จะหวนกลับไปเป็นผู้ค้าอีก เนื่องจากกลุ่มผู้เสพซึ่งเป็นลูกค้ายังคงอยู่และมีความต้องการยาเสพติด ทําให้ผู้ค้า ไม่สามารถเลิก จําหน่ายยาเสพติดได้โดยง่าย - การใช้มาตรการปราบปรามในลักษณะเฉียบขาด เพื่อสร้างกระแสกดดัน ฝ่าย นักค้า ยาเสพติด ไม่สามารถใช้ได้กับนักค้ายาเสพติดที่ใหญ่เกินไป และเล็กเกินไป นักค้ายา เสพติดที่ใหญ่เกินไป เช่น เป็นนายทุน มีอิทธิพล ดําเนินการสั่งการแต่เพียงเบื้องหลัง มักจะไม่


55

ปรากฏชื่อในบัญชีนักค้ายาเสพติด การใช้มาตรการเฉียบขาด เช่น การจู่โจมตรวจค้น ก็ไม่ สามารถหาพยานหลักฐานหรือสร้างกระแสกดดันให้นักค้ายาเสพติดรายใหญ่เกิดความหวาดกลัว ได้ สําหรับนักค้ายาเสพติดที่เล็กเกินไป เช่น เด็กที่เป็นคนส่งยา สังคมก็ไม่ยอมรับการใช้ มาตรการปราบปรามอย่างเฉียบขาด แต่ต้องการให้โอกาสให้กลับตัว ทําให้เครือข่ายโยงใยของ ขบวนการค้ายาเสพติด ไม่สามารถถูกขจัดได้อย่างหมดสิ้นเพราะยังมีนายทุนอยูแ่ ละยังมีเด็กหรือ ผู้ค้าลําเลียง รายย่อยจํานวนมากที่พร้อมจะรับค่าตอบแทนเพื่อลักลอบค้าและลําเลียงยาเสพติด

ข้อจากัดของมาตรการบาบัดรักษา - การส่งผู้เสพเข้ารับการบําบัดรักษา ไม่ว่าจะเป็นการรักษาในค่ายบําบัด ใน คลินิก ในสถานฟื้นฟูสมรรถภาพ มักจะพบว่าระหว่างการรักษาผู้เสพมีอาการดี เป็นที่น่าพอใจ สามารถดํารงชีวิตได้โดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด แต่เมื่อผู้เสพพ้นจากการบําบัดรักษาและกลับคืนสู่ ชุมชน ก็มักจะหวนกลับไปเสพยาเสพติดอีก ประเด็นสําคัญของการบําบัดรักษายาเสพติดที่เป็น ปัญหาอยู่เสมอก็คือ การบําบัดรักษาช่วยให้ผู้เสพ เลิกเสพได้ แต่จะทําอย่างไรผู้เสพจึงจะหวน กลับไปเสพยาเสพติดอีก - การสํารวจผู้เสพเพื่อส่งเข้าบําบัดรักษา มักจะไม่ได้ตัวผู้เสพครบถ้วน ทั้ง หมู่บ้านหรือชุมชนนั้น แต่มักจะเป็นการส่งตัวเฉพาะผู้เสพที่แสดงตัวหรือค้นพบ ทําให้ยังคงมีผู้ เสพอีกจํานวนหนึ่งหลงเหลืออยู่ในชุมชน และจะชักชวนผู้เสพที่ผ่านการบําบัดรักษาแล้วให้หวน กลับไปเสพยาเสพติด โดยจัดหายาเสพติดให้เพื่อโน้มน้าวใจ ผู้ผ่านการบําบัดให้เสพยาอีก - การบําบัดรักษามักจะเน้นการ “ส่งต่อ” คือส่งตัวผู้เสพที่ค้นพบไปยัง ฝ่าย บําบัดรักษาหรือสาธารณสุข แต่ไม่ให้ความสําคัญกับการ “ส่งกลับ” คือการติดตามดูแลผู้ผ่าน การบําบัดรักษาเมื่อกลับคืนสู่ชุมชน ทําให้เกิดเป็นช่องว่างของกระบวนการบําบัดรักษาที่ไม่ครบ วงจร จากข้อจํากัดของมาตรการปราบปรามและมาตรการบําบัดรักษาจะเห็นว่า การ แก้ไขปัญหายาเสพติดที่ไม่ประสบผลสําเร็จ ไม่ได้เกิดจากความไม่จริงจังของการดําเนินงาน แต่ เกิดจากการขาดการพิจารณาแก้ไขข้อจํากัดต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ การพยายามแก้ปัญหาผู้ค้าโดย ไม่ให้ความสําคัญกับปัญหาผู้เสพ ทําให้ผู้ค้ายังคงมีตลาดที่จะดําเนินการค้าต่อ การพยายามแก้ไข ปัญหาผู้เสพ โดยให้ความสําคัญกับการบําบัดรักษาตามรูปแบบทางการแพทย์แต่เพียงอย่างเดียว ทําให้มองข้ามความสําคัญของการติดตามดูแลโดยชุมชน และขาดการปรับสภาพชุมชนให้ เอื้ออํานวยต่อการมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เสพในระยะยาว


56

ประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับประเด็นผู้ค้าผู้เสพในชุมชน คือ การแก้ไขปัญหายา เสพติดในชุมชน ควรให้น้ําหนักไปที่ผู้ค้าหรือผู้เสพมากกว่ากัน และทําอย่างไรจึงจะสามารถ ค้นพบผู้เสพผู้ค้าทั้งหมดในชุมชนได้ แนวคิดเกี่ยวกับการดําเนินการต่อผู้ค้าผู้เสพมี 2 แนวคิดหลัก ๆ คือ แนวคิดแรก เห็นว่าผู้ค้าเป็นต้นตอของปัญหา เพราะยาเสพติดต้องผ่านผู้ค้าก่อนมาถึงผู้เสพ ดังนั้น ถ้าไม่มี ผู้ค้า ก็ย่อมไม่มีผู้เสพ การแก้ไขปัญหาจึงควรเน้นไปที่ผู้ค้าเป็นสําคัญ อย่างไรก็ตาม แนวคิดนี้ ขัดแย้งกับความเป็นจริงอยูห่ ลายประการ คือ - ปัญหาตัวตายตัวแทนในขบวนการค้ายาเสพติด ทําให้ผู้เสพซึ่งไม่สามารถหาซื้อ ยาในชุมชนของตนได้ พยายามหาซื้อยาเสพติดจากภายนอกและนํามา แบ่งจําหน่ายในชุมชน จนเกิดเป็นผู้ค้ารายใหม่ รวมทั้งอาจมีผู้ค้าที่เกิดจากความต้องการเงินเข้ามาเป็นผู้ค้ารายใหม่ด้วย - การขจัดผู้ค้ายาเสพติดให้หมดสิ้นแบบถอนรากถอนโคน เพื่อไม่ให้มีผู้ค้าอีกจะ ประสบกับข้อจํากัดต่าง ๆ ดังกล่าวมาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การคงอยู่ของนายทุนนักค้าราย ใหญ่ และความพร้อมของคนจํานวนมากที่จะเข้ามาเสี่ยงในการเป็นผู้ค้า ผู้ลําเลียง เพื่อ แลกเปลี่ยนกับผลประโยชน์ตอบแทนจํานวนมาก - ประสบการณ์จากอดีตให้บทเรียนว่า เมื่อยาเสพติดชนิดใดชนิดหนึ่งหมดไป หายากหรือมีราคาแพง ผู้เสพจะหันไปยาเสพติดชนิดอื่น เช่น การห้ามซื้อขายและเสพฝิ่นอย่าง เด็ดขาดเมื่อปี 2502 ทําให้เฮโรอีนเข้ามาแพร่ระบาดแทนที่ การชะงักงันของการผลิตเฮโรอีน เมื่อปี 2539 ทําให้ยาบ้ามีการแพร่ระบาดสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว การปราบปรามยาบ้าอย่างเข้มงวด ในปี 2546 ทําให้ยาบ้าขาดแคลนและมีราคาแพง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ยาเสพติดจะหมด ไปจากประเทศไทย เพราะยาเสพติดตามกฎหมายมีจํานวนถึง 303 รายการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาเสพติดจําพวกสารระเหย เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทั่วไป ทั้งในวงการอุตสาหกรรม และใน ชีวิตประจําวัน เป็นยาเสพติดที่ไม่สามารถห้ามการจําหน่ายได้อย่างเด็ดขาด จึงทําได้เพียง ควบคุมไม่ให้ถูกนําไปใช้ในทางที่ผิดเท่านั้น เมื่อแนวคิดที่ว่าควรจัดการกับผู้ค้าให้หมดไป เพื่อจะได้ไม่มีผเู้ สพ เป็นสิ่งที่ เป็นไปไม่ได้ การแก้ไขปัญหาจึงต้องหันมาให้ความสําคัญกับการลดผู้เสพ เนื่องจากเป็นฐาน ให้แก่ผู้ค้า ผู้ค้าเป็นฐานให้แก่ผู้ผลิต ถ้าไม่มีผู้เสพ ผู้ค้าก็ไม่สามารถจําหน่ายยาเสพติดได้ อย่างไรก็ตามการแก้ไขปัญหาผู้เสพ ไม่ได้หมายความว่า จะละเลยการดําเนินการต่อผู้ค้า แต่การ แก้ไขปัญหาผู้เสพผู้ค้าให้ได้ผล จําเป็นต้องดําเนินการควบคู่กันไป โดยจําแนกวิธีการดําเนินงาน ตามมูลเหตุจงใจ ดังนี้


57

ผู้ค้ารายใหญ่ รวมถึงผู้ผลิตเพื่อจําหน่าย มีมูลเหตุจูงใจมาจากความโลภ มาตรการที่ต้องดําเนินการคือ การปราบปรามอย่างเด็ดขาด รวมทั้งใช้มาตรการ ยึดทรัพย์เพื่อ ตัดมูลเหตุจูงใจ ไม่ให้ผู้ค้าได้ประโยชน์จากทรัพย์สินที่ได้มาจากการค้ายาเสพติด ผู้เสพ รวมถึงผู้ค้ารายย่อยในชุมชน มีมูลเหตุจูงใจจากฤทธิ์ยา ความต้องการยา ความยากจน การใช้มาตรการปราบปรามอย่างเด็ดขาดไม่สามารถเอาชนะปัญหาการค้ารายย่อย และการเสพได้ทางออกของปัญหานี้คือ ให้กลไกในชุมชนดูแลชุมชนเอง โดยใช้มาตรการทาง สังคมแบบสันติวิธีเพื่อให้เกิดการดูแลติดตามเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่าง ยั่งยืน เมื่อผู้เสพเป็นประเด็นสําคัญในการแก้ไขปัญหายาเสพติด แต่การบําบัดรักษา ผู้ เสพก็ยังมีปัญหาสําคัญ 2 ประการคือ - การค้นหาผู้เสพรวมทั้งผู้ค้าทั้งหมดในชุมชนได้อย่างไร เพื่อจะได้สามารถ แก้ไขปัญหาได้สมบูรณ์ ไม่เหลือผู้เสพแฝงตัวอยู่ในชุมชนซึ่งจะทําให้ปัญหายาเสพติดคงอยู่และ ขยายตัว - จะทําอย่างไร ผู้เสพซึ่งผ่านการบําบัดแล้ว จะไม่หวนไม่เสพยาเสพติดอีก หากขจัดปัญหาทั้ง 2 ประการนี้ได้ การแก้ไขปัญหาผู้เสพในชุมชนก็จะประสบ ความสําเร็จ และนําไปสู่การเอาชนะยาเสพติดในที่สุด กระบวนการคิดในเรื่องนี้จําเป็นต้องหยิบ เอาปัญหาแรกมาพิจารณาก่อนคือ จะค้นหาผู้เสพทั้งหมดในชุมชนได้อย่างไร ผู้ที่ควรจะมีหน้าที่ค้นหาผู้เสพผู้ค้าในชุมชน ควรจะเป็นผู้ที่รู้ว่าใครบ้างเป็นผู้เสพ ผู้ค้าเนื่องจากการเสพการค้ายาเสพติดเป็นเรื่องผิดกฎหมาย การเสพการค้าจึงเป็นการกระทําที่ ปกปิดไม่ต้องการให้ผู้อื่นทราบ ดังนั้น แม้กระทั่งผู้นําชุมชน เช่น กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ก็ยากที่ จะทราบว่า ผู้เสพผู้ค้าในหมู่บ้านของตนมีใครบ้าง แม้จะทราบ แต่ก็ไม่ทราบทั้งหมด ผู้ที่จะรู้ว่า ใครเป็นผู้เสพผู้ค้าในชุมชน ก็ย่อมจะเป็นคนที่อยูใ่ นชุมชนนั้น ๆ เอง จึงเป็นเรื่องที่คนในชุมชน หรือประชาคมจะต้องช่วยกันค้นหารวบรวมรายชื่อผู้เสพผู้ค้าในชุมชนของตน อย่างไรก็ตาม การประชุมประชาคมเพื่อจัดทําบัญชีรายชื่อผู้เสพผู้ค้าในชุมชน จะ ไม่ได้รับความร่วมมือจากประชาชนในชุมชน เนื่องจากความกลัว 3 ประการ คือ 1. กลัวว่าจะได้รับอันตรายจากผู้เสพผู้ค้าซึ่งโกรธแค้นผู้ที่นําชื่อมาเปิดเผย 2. กลัวว่าเจ้าหน้าที่จะไม่ดําเนินการอย่างจริงจัง ไม่รักษาความลับ หรือรีดไถ ผู้ ที่มีรายชื่อทําให้ข้อมูลได้รับอันตราย


58

3. กลัวญาติพี่น้องลูกหลานของตนซึ่งเกี่ยวข้องกับยาเสพติด จะได้รับอันตราย หรือเสื่อมเสียชื่อเสียง เสียอนาคต ดังนั้น การค้นหาผู้เสพผู้ค้าโดยชุมชนด้วยวิธีการสํารวจแบบทั่วไปจึงอาจไม่ได้ ข้อมูลที่ถูกต้อง ทางราชการควรใช้จิตวิทยาในการดําเนินการเพื่อสามารถค้นหาผู้เสพผู้ค้าได้ อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ อันเป็นก้าวแรกที่จะนําไปสู่การแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนอย่าง เสร็จเด็ดขาด หลักในการดําเนินงานมนชุมชน คือเน้นความมีส่วนร่วมของประชาชน ดังนั้น องค์กรในการดําเนินงานควรจะมาจากการเลือกของประชาชนกันเอง เพื่อให้ประชาชนเกิด ความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรมและจะช่วยกันดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม การจัดตั้ง องค์กรชุมชนและวิธีการดําเนินงาน ควรปรับให้เหมาะสมกับชุมชนลักษณะต่าง ๆ เช่น ชุมชน เมือง หมู่บ้านชนบท หรือหมู่บ้านชายแดน เป็นต้น จากการประกาศทาสงครามต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด โดยใช้มาตรการ 3 ระยะ เข้ามาดาเนินการมาตรการระยะสั้น ห้วงระยะเวลา 1 ก.พ. 2546 – 30 เม.ย. 2546 คือ สร้าง กลไกในหมู่บ้านและชุมชน เพื่อค้นหาผู้เสพ ผู้ค้า ผู้มีอิทธิพล ผู้อยู่เบื้องหลังการค้า มาตรการ ระยะกลาง ห้วงระยะเวลา 1 พ.ค. 2546 – 31 ธ.ค. 2546 นาผู้มีพฤติกรรมที่ได้จากการค้นหาจาก มาตรการระยะสั้น สู่กระบวนการบาบัดฟื้นฟูและเข้าโครงการกระทาความดีเพื่อแผ่นดิน ในการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแล้วส่งกลับชุมชน มาตรการระยะยาว ห้วงระยะเวลา 1 ม.ค. 2547 – 30 ก.ย. 2547 การพัฒนาความเข้มแข็งและรักษาสภาพหมู่บ้านชนะยาเสพติดประเภท ก ด้วยการ จัดเดินเวรยาม และตั้งจุดตรวจหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง สภาพหมู่บ้านเอาชนะยาเสพติดประเภท ก ที่ได้ประกาศไว้ หากเปรียบเทียบกับ หมู่บ้านที่ดาเนินการด้วยกระบวนการ 9 ขั้นตอน โดยวิทยากรกระบวนการจะเท่ากับมี กระบวนการเพียง 8 ขั้นตอนเท่านั้น หากจะพัฒนางานเชิงคุณภาพไปสู่ความเข้มแข็งอย่าง ยั่งยืน ให้มีกระบวนการครบ 9 ขั้นตอน และมีองค์ประกอบตัวชี้วัดความสาเร็จสาคัญครบ 8 ประการ จะต้องดาเนินการดังนี้


59

เปิดเวทีหมู่บ้านระดมคนเพื่อทาความเข้าใจและมอบหมายภารกิจ การพัฒนาศักยภาพกลไกให้เหมาะสมต่อการพัฒนาหมู่บ้าน / ชุมชน กลไกในที่นี้หมายถึง… แกนนําชุมชนหรือคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งหรือผู้ประสานพลังแผ่นดิน ชุมชน เป็นบุคคลที่มาจากความเชื่อถือศรัทธาของประชาชนในชุมชนมีทั้งผู้นํา ทางการปกครอง ผู้นําทางการบริหารและผู้นําธรรมชาติ ชุมชนในที่นี้หมายถึง… ขอบเขตของพื้นที่อยู่อาศัยซึ่งประชาชนมีการติดต่อสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจจะเป็น หมู่บ้านหรือชุมชนเมืองก็ได้ 1. หมู่บ้านชายแดน 2. หมู่บ้านตอนใน 3. ชุมชนเมือง การกําหนดเขตพื้นที่สร้างชุมชนเข้มแข็งไม่จําเป็นต้องเป็นไปตามลักษณะ การ ปกครองท้องที่ก็ได้ กลไกทางานแทนชุมชนเพื่อการพัฒนา 1. จะต้องเป็นบุคคลในหมู่บ้าน / ชุมชนที่ประชาชนนับถือ ศรัทธาหรือหวัง พึ่งพายามทุกข์ยากอย่างแท้จริง 2. ไม่ใช่เพราะชื่อเสียง ไม่ใช่เพราะฐานะ ไม่ใช่เพราะความรู้ ไม่ใช่เพราะ ความสามารถ 3. ไม่ให้มีการสมัครและหาเสียงสําหรับกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. ที่ผ่าน การเลือกตั้งก็มีคุณสมบัติเป็นผู้นําธรรมชาติที่ประชาชนนับถือ ศรัทธาในตัวอยู่แล้ว 1. กาหนดสัดส่วนหรือจานวนกลไกให้มีความเหมาะสมกับสภาพชุมชน 1. ขึ้นอยู่กับขนาดของชุมชน 2. ขึ้นอยู่กับขนาดของปัญหาต่าง ๆ ในชุมชน 3. ใช้อัตราส่วนกรรมการ 1 คน ต่อครัวเรือนไม่เกิน 3 - 4 ครอบครัว 4. ต้องกระจายตัวให้ทั่วทั้งชุมชน ไม่ควรอยู่กระจุกตัว เพื่อความคล่องตัว ในการทํางาน


60

ตัวอย่าง หมู่บ้านมี 100 ครัวเรือน มีคณะกรรมการ 30 คน 2. กาหนดกาหนดบทบาทหน้าที่ให้มีความพร้อมในการพัฒนาชุมชนตนเอง ประชาชนแต่งตั้งกันเองตามความเหมาะสมต่อการทํางานแบบมีส่วนร่วมและ พึ่งพาตนเองภาพของคณะกรรมการควรเป็นเรื่องของการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ไม่ใช่ภาพของการ ต่อต้านยาเสพติดหรือต้านฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง แต่ละฝ่ายจะมี หน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาความเจริญ ให้กับชุมชน โดยทุกฝ่ายจะมีบทบาทในเชิงสร้างสรรค์ เช่น  ประธานชุมชนเข้มแข็ง  รองประธานชุมชนเข้มแข็ง  เลขานุการ  เหรัญญิก  นายทะเบียน  ประชาสัมพันธ์  ติดต่อภาคราชการ  งานประเพณีต่าง ๆ  รับเรื่องราวร้องทุกข์  สตรีและเด็ก  รักษาความสงบเรียบร้อย  ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  งานสาธารณูปโภค  กีฬาและเยาวชน  คนชราและผู้ป่วยเรื้อรัง  อื่น ๆ ที่ชุมชนเห็นว่าเหมาะสม


61

3. ปรับภาระให้เป็นพลัง ที่ผ่านมากลไกภาคราชการเป็นหลักในการดําเนินงาน โดยมีกลไกของชุมชน เข้าไปมีส่วนร่วมในการค้นปัญหาแล้วให้ข้อมูลต่อทางราชการนําไปแก้ไข มาตรการต่าง ๆ ที่ใช้บางกิจกรรมทําให้เกิด ภาระได้ เช่น - เสียเวลาในการประกอบอาชีพ - เสียค่าใช้จ่ายในการเดินทางออกนอกชุมชน - เสียความเป็นญาติและมิตรสนิทกัน การเสียต่าง ๆ เหล่านี้อาจทําให้เสียวัฒนธรรมประเพณีไปได้ 4. มอบหมายภารกิจให้ชุมชนกรรมการชุมชนทุกคนทุกฝ่ายเริ่มปฏิบัติการ 1. พบปะครัวเรือน พ่อ แม่ พี่ น้อง 2. พบปะครัวเรือน ญาติสนิทมิตรสหาย 3. พบปะครัวเรือนเพื่อนบ้านผู้พักพิงอยู่อาศัยชั่วคราว เพื่อแสวงหาความร่วมมือในการดาเนินงานแบบมีส่วนร่วม คื อ ร่วมริเริ่ม ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมวางแผน และร่วมกันทางาน ในลักษณะพึ่งพาตนเองและชักชวน ให้เข้ามา เป็นสมาชิกเครือข่าย “ช่วยเหลือดูแลกันและกัน” กรรมการของชุมชนได้รับความร่วมมือจากบุคคลที่เข้าไปพบปะโดยรอบแล้ว “สร้างเครือข่าย” อย่าลืม ! ครัวเรือนใดปลอดยาเสพติ บอกด้วยนะ...

สมาชิก 1 นาย/นาง ดา กรรมการ 1 นาย/นาง ขาว

สมาชิก 2 นาย/นาง แดง สมาชิก 3 นาย/นาง เหลือง

ประธานฯ + เลขาฯ เดินทางเข้าหากลไกใกล้ชิด


62

ในขณะที่กลไกชุมชนค้นหา “พลังแผ่นดิน ” แกนนําสําคัญออกพบปะกรรมการ รายบุคคลเพื่อรวบรวมเครือข่ายจัดทําเป็นบัญชี รายใดมีปัญหาไม่สามารถทําความเข้าใจได้ก็ ช่วยกันพูดจาให้สามารถร่วมกันได้ รูปแบบของเครือข่ายจะครอบคลุมทุกกลุ่ม ทั่วทั้งชุมชน การ พัฒนาเชิงบูรณาการใกล้เวลาเริ่มต้นขึ้นแล้ว - จัดทาให้ง่ายต่อการแจกจ่าย - ให้กรรมการมีไว้ทั้งคณะ โฆษณาประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบและทุก ๆ ฝ่ายต้องช่วยกัน สื่อสัมพันธ์แบบเป็นกันเอง ใน แนวสร้างสรรค์ เช่น  ปากต่อปาก  เอกสาร แผ่นพับ  หอกระจายข่าว เสียงตามสาย  สื่ออื่น ๆ เพื่อเป็นการย้ําให้ชุมชนตื่นตัวพร้อมที่จะร่วมมือกันทํางาน

เปิดเวทีประชาคมหมู่บ้านในการใช้พลังมวลชน “พลังแผ่นดิน” กลไกชุมชนหรือคณะกรรมการชุมชนเข้มแข็งเป็นผู้ใช้พลังดังกล่าวเฝ้าระวัง ยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง และใช้กระบวนการประชาคมเชื่อมโยง เพื่อแก้ไขปัญหา อื่น ๆ เป็นการพัฒนาทุนทางสังคม ฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม มุ่งพัฒนาหมู่บ้าน / ชุมชน ของตนเอง พลังแผ่นดิน ใช้อย่างไร : ใครเป็นผู้ใช้ - เวทีประชาคม คือ สภาแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาหมู่บ้าน / ชุมชน - กลไกชุมชนเข้าสู่สภาหันหน้าเข้าหากัน “เราคือพี่น้องกัน” - ข้อมูล เหตุผล ปนหลักการปฏิบัติการแบบเป็นกันเอง


63

- ประสานภาครัฐคุ้มครองและส่งเสริมสนับสนุน - องค์กรท้องถิ่นมีสินทรัพย์ทาจริงจ่ายตามความเป็นจริง เวทีประชาคมใช้ “พลังแผ่นดิน” เฝ้าระวังยาเสพติด  เลขานุการ ขานชื่อกรรมการเรียงตามลาดับ หากกรรมการไม่มา ก็ใช้ผู้มาแทนกันแต่ต้องอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน  เลขานุการ ขานชื่อกรรมการเครือข่ายที่ 1...นาย / นาง ขาว  กรรมการเครือข่ายที่ 1 หรือผู้แทนตอบว่า... อยู่ / มา  เลขานุการ ถามกรรมการเครือข่ายที่ 1 นาย / นางขาว ว่า... ท่านมีสมาชิกกี่ ครัวเรือน...  กรรมการเครือข่ายที่ 1 นาย / นางขาว ตอบว่า... มีสมาชิกดูแลช่วยเหลือและ เฝ้าระวังอยู่ 3 ครอบครัว  เลขานุการ ถามกรรมการเครือข่ายที่ 1 นาย / นางขาว ว่า... ครัวเรือนของ ท่านและสมาชิกรวม 4 ครอบครัว ปลอดภัยจากยาเสพติดหรือไม่...  กรรมการเครือข่ายที่ 1 นาย / นางขาว ตอบว่า... ปลอดภัยยาเสพติดทั้ง 4 ครอบครัว  เลขานุการ ถามคณะกรรมการทั้งคณะ ว่า...ครอบครัว นาย/นาง ขาว กรรมการคนที่ 1 ปลอดภัยยาเสพติดหรือไม่... หากปลอดภัยยกมือขึ้น  คณะกรรมการทั้งหมดแสดงพลังแผ่นดิน” ด้วยการยกมือรับรองพฤติกรรม บุคคลทุกคนทั้งครอบครัวในบ้านกรรมการเครือข่ายที่ 1 นาย / นางขาว (กรรมการยกมือคือการใช้พลังแผ่นดิน)  เลขานุการ ถามคณะกรรมการทั้งคณะ ว่า... ครอบครัว นาย/นาง ดา สมาชิก เครือข่ายที่ 1 ปลอดภัยจากยาเสพติดหรือไม่... (กรรมการยกมือคือการใช้พลังแผ่นดิน)  เลขานุการ ถามคณะกรรมการทั้งคณะ ว่า...ครอบครัว นาย/นาง แดง สมาชิก เครือข่ายที่ 1 ปลอดภัยจากยาเสพติดหรือไม่... (กรรมการยกมือคือการใช้พลังแผ่นดิน)  เลขานุการ ถามคณะกรรมการทั้งคณะ ว่า...ครอบครัว นาย/นาง เหลือง สมาชิกเครือข่ายที่ 1 ปลอดภัยจากยาเสพติดหรือไม่... (กรรมการยกมือคือการใช้พลังแผ่นดิน) รับรองเช่นนี้จนครบทุกเครือข่าย


64

ขณะเดียวกันก็... หยิบยกปัญหาอื่น ๆ สู่เวทีประชาคม มีการใช้ “พลังแผ่นดิน” เฝ้าระวังยาเสพติดครบทุกเครือข่าย หากพบผู้มี พฤติกรรมด้านยาเสพติด ให้เก็บข้อมูลครัวเรือนและชื่อไว้เป็นข้อมูลของชุมชน (ภาคราชการ นําเอาไปแต่เพียงตัวเลข) ขณะเดียวกัน ก็ใช้เวทีประชาคมต่อไป เพื่อติดตามและแก้ปัญหาอื่น ๆ เช่น  กองทุนเงินล้าน  ธนาคารชุมชน  กองทุนสัจจะ  ยุติธรรมชุมชน  เศรษฐกิจพอเพียง  ถนนชํารุดเสียหาย  น้ําไม่ไหล  ไฟไม่สว่าง  คลองตื้นเขิน  อื่น ๆ ผู้มีพฤติกรรมหรือสงสัยใช้สังคมช่วยเหลือดูแล ครัวเรือนที่คณะกรรมการสงสัยไม่ยกมือให้ควรมีการสรุป วิเคราะห์ร่วมกันจน แน่ใจ แล้วจัดกรรมการใกล้ชิด 4 - 5 คน เดินทางพบปะเยี่ยมเยือนอย่างเป็นกันเองดังตัวอย่าง...  สอบถามเรื่องการประกอบอาชีพ  สอบถามเรื่องสุขภาพร่างกาย  คณะกรรมการสงสัยบุคคลในครัวเรือนท่านเรื่องพฤติกรรมยาเสพติด คือ นาย/นาง... ท่านมีความเห็นเป็นอย่างไร... เชื่อหรือไม่...  ไม่เป็นไรนะ... เราคนบ้าน เดียวกัน พี่น้องกันเดือนหน้าจะมีการรับรอง กันใหม่อาจจะ... ผ่านการรับรองด้วยเสียงเอกฉันท์หรือไม่ผ่านการรับรอง...ก็ได้ รักษา “พลังแผ่นดิน” ต่อเนื่อง  ใช้เวทีประชาคมเป็นประจาทุก 30 วันมีภาคราชการเข้ามาสนับสนุน ด้านการพัฒนาชุมชนอย่างใกล้ชิด  จะเกิด “พลังชุมชน” จากกระบวนการธรรมชาติสร้างชุมชนเข้มแข็ง


65

อย่างยั่งยืน  กลไกดูแลชุมชนใกล้ชิดต่อเนื่องก่อให้เกิดชุมชนเข้มแข็งชุมชนดูแลชุมชน  เป้าหมายสูงสุดในชุมชน คือ การพึ่งพาตนเองและแก้ปัญหายาเสพติด อย่างยั่งยืนได้  ทุกปัญหาจะค่อย ๆ ลดลงและหมดไปในที่สุด  ประชาชนมีแต่ความสามัคคีนําไปสู่ความสันติสุข **********************************


66

ภาคผนวก


67

กองทุนแม่ของแผ่นดินเพื่อพัฒนาสู่ความยั่งยืน ความเป็นมาของกองทุนแม่ของแผ่นดิน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อให้ ราษฎรอาสาป้องกันยาเสพติดใช้ทางานแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน ป.ป.ส. ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขยายผลต่อยอดทรัพย์พระราชทานนี้ด้วยการ กาหนดหมู่บ้าน / ชุมชน นาร่องขึ้นมาจานวน 672 แห่ง โดยตั้งชื่อว่า “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” แนวคิดการจัดตั้ง “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” จุดสูงสุดที่คาดหวังจากการดาเนินงานกองทุนนี้ คือ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” สามารถ เป็นจุดเริ่มต้นของการแก้ไขปัญหาพื้นฐานของหมู่บ้าน / ชุมชนได้ สาระสาคัญของ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” กองทุนแม่ของแผ่นดินแตกต่างจากกองทุนอื่น ๆ เพราะเงิน “กองทุนแม่ ของแผ่นดิน” ถือ เป็นเงินขวัญถุง เป็นกองทุนแห่งน้าใจและเสียสละของคนในชุมชน แต่เพื่อการแก้ไขปัญหาและ สานต่อการพัฒนาจะต้องอาศัยปัจจัย 2 ประการ คือ 1. ปัจจัยภายนอก เช่น เงินทุนหรือการสนับสนุนความรู้ 2. ปัจจัยภายใน เช่น ทุนทางสังคมของชุมชนนั้น ๆ เอง แนวทางปฏิบัติ...เมื่อได้รับเงินพระราชทานแล้ว 1. ผู้นาร่วมกับประชาชนร่วมกันจัดตั้งเป็นกองทุนในหมู่บ้าน / ชุมชน เรียกว่า “กองทุนแม่ของแผ่นดิน หมู่บ้าน / ชุมชน..............” 2. นาเงินที่ได้จากการระดมทุนไว้ก่อนหน้าเข้าสมทบเงินขวัญถุงพระราชทาน 3. การจัดพิธีการเพื่อร่วมถวายความจงรักภักดีอย่างสมพระเกียรติ 4. ร่วมกันจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” และจัดทาระเบียบการบริหารจัดการ “กองทุนแม่ของแผ่นดิน” สมุดบัญชีต่าง ๆ สร้างศรัทธา เพิ่มทุนให้ชุมชน - สมุดบัญชีคุมรายรับ - รายจ่าย (ส.1) - สมุดบัญชีคุมรายรับ (ส.2) - สมุดบัญชีคุมรายจ่าย (ส.3) - สมุดบัญชีคุมฝาก - ถอนเงิน (ส.4)


68

- สมุดบัญชีคุมการฝากเงิน (ส.5) - สมุดบัญชีคุมการถอนเงิน (ส.6) - สมุดสมาชิกสมทบรายครัวเรือน รายเดือน (ส.7) - สมุดบันทึกการตรวจสอบการบริหารกองทุน (ส.8)


69

สถานศึกษา สถานศึกษาเป็นพื้นที่เป้าหมายประเภทหนึ่งของการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดยาเสพติด แม้สถานศึกษาจะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนซึ่งสถานศึกษานั้นตั้งอยู่ แต่ในทางปฏิบัติสถานศึกษา มีสถานะเป็นองค์กรด้วย จึงมีขอบเขตของความรับผิดชอบและอํานาจหน้าที่ในการดูแลพื้นที่ ของสถานศึกษาเป็นการภายใน การแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ควรดําเนินการควบคู่ กันไปกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน และในลักษณะของการดําเนินงานที่สอดคล้อง สัมพันธ์กับการแก้ปัญหายาเสพติด ในชุมชนด้วย หลักการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษามีความคล้ายคลึงกับการแก้ไขปัญหายาเสพ ติดในชุมชน กล่าวคือ ใช้หลักการดําเนินงานโดยอาศัยความมีส่วนร่วม มีการค้นหาผู้เกีย่ วข้อง กับยาเสพติด และการให้โอกาสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พร้อมด้วยการติดตามดูแลอย่าง ต่อเนื่องอย่างไรก็ตาม ความแตกต่างระหว่างสถานศึกษาและชุมชนที่ควรคํานึงถึงในการ ดําเนินงาน ได้แก่ 1. ประชากรในสถานศึกษา คือ นักเรียนนักศึกษา มีความเปลี่ยนแปลงทุกปี นักเรียน นักศึกษาส่วนหนึ่งจบการศึกษาออกไป นักเรียนนักศึกษาใหม่ก็จะเข้ามาแทนที่ แตกต่างจาก ชุมชนซึ่งมีประชากรค่อนข้างจะคงที่ และมีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป 2. สถานศึกษามีกฎระเบียบที่มีผลบังคับให้ทกุ คนต้องถือปฏิบัติ มีการควบคุมดูแลโดย ผู้บริหาร ซึ่งมีสิทธิในการพิจารณาให้คุณให้โทษทั้งนักเรียน รวมทั้งบุคลากรในสถานศึกษาได้ ต่างจากชุมชนซึ่งผู้นําชุมชนไม่มีสิทธิในการพิจารณา ให้คุณให้โทษแก่ประชากรในชุมชนได้ 3. กลุ่มบุคคลซึ่งเป็นเป้าหมายสําคัญในสถานศึกษาคือ นักเรียนนักศึกษานั้น ยังเป็น เยาวชนอยู่ ดังนั้น การดําเนินการใด ๆ จึงต้องพิจารณาถึงอนาคตของกลุ่มบุคคลเป้าหมายด้วย ความรอบคอบ 4. นักเรียนนักศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่ง อาจมีความสัมพันธ์กับชุมชนมากกว่า หนึ่งชุมชน เพราะนักเรียนนักศึกษาอาจมาจากชุมชนอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกลจากชุมชนที่ตั้งของ สถานศึกษา ทําให้การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสถานศึกษากับชุมชนมีความซับซ้อนในทาง ปฏิบัติ วัตถุประสงค์สําคัญของการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา คือการดูแลนักเรียน นักศึกษาให้ปลอดภัยจากยาเสพติด ซึ่งหมายความว่าเป้าหมายสําคัญของการดูแลคือ “นักเรียน นักศึกษา” ไม่ใช่เน้นการดูแล “สถานศึกษา” ให้ปลอดยาเสพติดด้วยการไม่รับนักเรียนนักศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด หรือมุ่งขจัดนักเรียนนักศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดออกจาก


70

สถานศึกษา ในทางปฏิบัติแล้ว แม้สถานศึกษา หลายแห่งจะพยายามตรวจสอบนักเรียนนักศึกษา ในขั้นตอนการรับสมัคร แต่การตรวจสอบพฤติกรรมการเสพยาเสพติดไม่ใช่เรื่องที่จะพิสูจน์ ทราบชัดเจนได้เสมอไป นักเรียนนักศึกษาใหม่ที่สถานศึกษารับเข้ามา อาจจะมาจาก สภาพแวดล้อมต่าง ๆ และมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันไป บางคนอาจเป็นผู้เสพยาเสพติดก่อนที่ สถานศึกษาจะรับเข้ามาเรียน หรืออาจเสพยาเสพติดระหว่างที่ศิษย์ของสถานศึกษานั้นแล้ว ดังนั้น เป้าหมายของสถานศึกษาจึงไม่ใช่การปลอดยาเสพติดอย่างถาวร แต่สถานศึกษาควรจะมี บทบาทในการหล่อหลอมและพัฒนานักเรียนนักศึกษาเหล่านั้น ให้เป็นคนมีความรู้และเป็น คนดีของสังคมต่อไป เพื่อให้การดําเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ประสบความสําเร็จ สถานศึกษาจึงควรกําหนดเป้าหมายการทํางานให้ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ 1. สถานศึกษาจะต้องค้นหานักเรียนที่เป็นผู้เสพผู้ค้าให้ได้ทั้งหมด เพื่อให้การช่วยเหลือ และติดตามปรับพฤติกรรมให้ดีขึ้น การค้นหาผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดไม่ใช่เพื่อมุ่งไล่ออกจาก สถานศึกษา ซึ่งเท่ากับเป็นการผลักภาระให้สังคม และไม่ใช่วิธีการแก้ไขปัญหาที่สัมฤทธิ์ผล เพราะนักเรียนนักศึกษาที่ถูกไล่ออก ยังสามารถมีพฤติการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพติดนอก สถานศึกษา และยังสามารถติดต่อเกี่ยวข้องกับนักเรียนนักศึกษาอื่น ๆ ในสถานศึกษาได้ต่อไป การค้นหานักเรียนนักศึกษาเพื่อนํามาแก้ไขปรับพฤติกรรม จะเป็นทางแก้ไขปัญหาที่ดีกว่า และ จะช่วยหยุดการขยายตัวของปัญหายาเสพติดที่ต้นเหตุอย่างแท้จริง คือหยุดยั้งผู้เสพที่มีอยู่ ไม่ให้ มีโอกาสไปชักจูงให้เกิด ผู้เสพรายใหม่ 2. สถานศึกษาจะต้องดูแลบุคลากรในสถานศึกษา เช่น อาจารย์ ผู้จําหน่ายสินค้า ผู้ จําหน่ายอาหาร ยาม ภารโรง และลูกจ้าง ให้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของทุกคนที่เป็นส่วน หนึ่งของสถานศึกษา ซึ่งเป็นสถานทีผ่ ลิตเยาวชนที่มีคุณภาพออกไปเป็นกําลังของประเทศ ดังนั้น ทุกคนจึงต้องมีพฤติกรรมที่เป็นแบบอย่างอันดี และ ไม่ข้องแวะกับยาเสพติดและ อบายมุขต่าง ๆ 3. สถานศึกษาจะต้องตรวจตราเฝ้าระวังบริเวณสถานศึกษาไม่ให้เป็นที่มั่วสุมและ เอื้ออํานวยต่อการค้าการเสพยาเสพติด ไม่ว่าจะเป็นเวลาเรียนหรือนอกเวลาเรียน รวมทั้งต้อง ระวังไม่ให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้บริเวณสถานศึกษาเป็นสถานที่เสพหรือค้ายาเสพติดด้วย 4. สถานศึกษาจะต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนรอบสถานศึกษา ให้มี สภาพแวดล้อมที่ดี ไม่เป็นแหล่งของอบายมุขและยาเสพติด กิจกรรมแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา แบ่งได้เป็น 4 ช่วง ได้แก่


71

1. ช่วงรับนักเรียนใหม่ 2. ช่วงเวลาในสถานศึกษา 3. ช่วงเวลาในชุมชน 4. ช่วงจบการศึกษา กิจกรรมช่วงรับนักเรียนใหม่ เป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาควรจะดําเนินการ เมื่อรับ นักเรียนเข้ามาใหม่ เพื่อรับรู้ข้อมูลที่จําเป็นเกี่ยวกับนักศึกษาซึง่ สถานศึกษา ยังไม่รู้จัก และ เพื่อให้พร้อมต่อการรับมือกับปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะพบกิจกรรม ช่วงรับนักเรียนใหม่ ประกอบด้วย 1. การปฐมนิเทศ เป็นการทําความเข้าใจกับนักเรียนในเบื้องต้นว่า สถานศึกษาพร้อมจะ ช่วยเหลือนักเรียนให้สําเร็จการศึกษาและพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นพลเมืองดีต่อไป นักเรียนมี ช่องทางที่จะปรึกษาหารือกับอาจารย์เพื่อขอคําแนะนําในเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างไรบ้าง และมีเรื่อง ใดสถานที่ใดที่นักเรียนสมควรทํา เรื่องใดสถานที่ใดทีส่ มควรหลีกเลี่ยง การปฐมนิเทศควร ปลูกฝังความรักความภาคภูมิใจในสถาบันด้วย เพื่อเป็นบ่อเกิดของความผูกพันและจูงใจให้ นักเรียนประพฤติตัวดีต่อไป 2. การศึกษาข้อมูลของนักเรียนเป็นรายบุคคล วิธีการที่ดีที่สุดในการพัฒนาพฤติกรรม ของนักเรียน คือการศึกษารายละเอียดของนักเรียนแต่ละคนว่ามีลักษณะนิสัย พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม ครอบครัว ภูมิหลัง เป็นอย่างไร การศึกษาข้อมูลรายบุคคลควรใช้วิธีการสัมภาษณ์ นักเรียนทีละคนเพื่อให้อาจารย์ได้มีโอกาสสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียน และมี โอกาสได้ทราบถึงปัจจัยเสี่ยงของนักเรียนแต่ละคนด้วย 3. การจําแนกกลุ่มเสี่ยง เมื่ออาจารย์ได้รับข้อมูลของนักเรียนแต่ละคนแล้ว ควรจะ ประเมินคุณสมบัติของนักเรียนว่ามีเรื่องใดที่ควรแก้ไขปรับปรุงแก้ไข และจําแนกเป็นกลุ่มที่ต้อง ให้ความสนใจเป็นพิเศษ กิจกรรมช่วงเวลาในสถานศึกษา เป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาสามารถดําเนินการได้ใน ระหว่างที่นักเรียนอยู่ในสถานศึกษา ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักในการแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานศึกษา ได้แก่ 1. การค้นหานักรเยนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักเรียนที่เป็นผู้เสพยา เสพติด นับว่าเป็นกลุ่มที่เป็นปัญหาสําคัญที่สุด เนื่องจากผู้เสพเป็นฐานให้แก่ผู้ค้า ถ้าไม่มีผู้เสพ ผู้ค้ายาเสพติดก็ไม่สามารถดําเนินการค้าต่อไปได้ แต่ถ้าไม่มีผู้ค้า ผู้เสพก็จะไปแสวงหายาเสพติด


72

จากแหล่งอื่น ๆ และนํามาจําหน่ายต่อ ทําให้ผู้เสพกลายเป็นผู้ค้ารายใหม่ นอกจากนี้ นักเรียนที่ เป็นผู้เสพมีโอกาสที่จะชักชวนผู้อื่นให้มาเสพยาเสพติดด้วย และเป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้ปัญหา ยาเสพติดขยายตัว ดังนั้น การค้นหาผู้เสพผู้ค้าให้พบทั้งหมดเพื่อนํามาแก้ไข จึงเป็นสิ่งสําคัญ ที่สุดในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา วิธีการค้นหาผู้เสพที่นิยมทํากัน คือ การตรวจ ปัสสาวะ การสังเกตโดยครู และการค้นหาโดยนักเรียนด้วยกันเอง 1.1 การตรวจปัสสาวะ แบ่งเป็นการตรวจเบื้องต้น (Screening Test) และการตรวจ ยืนยัน (Confirmation Test) สําหรับการตรวจปัสสาวะในสถานศึกษาและสถานที่ทั่วไปนั้น จะ เป็นการตรวจแบบเบื้องต้น เนื่องจากมีอุปกรณ์การตรวจที่ใช้ง่าย ไม่ต้องใช้ผู้ชํานาญ อย่างไรก็ ตาม การตรวจปัสสาวะเพื่อค้นหาผู้เสพ จะประสบปัญหา ที่สําคัญคือ ปัญหาในการตรวจ การตรวจปัสสาวะเพื่อหาสารเสพติด เป็นกิจกรรมที่เปลืองเวลา เปลืองกําลังคนและค่าใช้จ่าย แม้จะเป็นเพียงการตรวจเบื้องต้น แต่หากตรวจนักเรียนจํานวนมาก ก็เป็นค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งการรับภาระมักจะตกเป็นของผู้ปกครอง ซึ่งไม่พอใจที่ต้องจ่ายค่าตรวจ ปัสสาวะ และไม่เชื่อผลการตรวจของโรงเรียน ทางฝ่ายอาจารย์ก็ต้องคอยควบคุมอย่างเข้มงวด ไม่ให้นักเรียนเปลี่ยนปัสสาวะของตนเองกับผู้อื่น และต้องเสียเวลาในการดําเนินกรรมวิธีการ ตรวจ ปัญหาในการแปลผล เนื่องจากเป็นการตรวจเบื้องต้น ผลที่ปรากฏออกมา จึงยังไม่ สามารถบอกได้ว่า ปัสสาวะนั้นมีสารเสพติดแต่ผลการตรวจออกมาว่ามี สาเหตุอาจเกิดจากมีสาร อื่นที่มีลักษณะใกล้เคียงอยู่ในปัสสาวะ เช่น ยาแก้หวัด ซึ่งการตรวจเบื้องต้นเป็นการตรวจแบบ กว้าง ๆ ทําให้ไม่สามารถจําแนกความแตกต่างได้ ส่วนกรณีผลลบลวง คือ ความจริงมีการเสพ ยาเสพติด แต่ผลการตรวจออกมาว่าไม่มี สาเหตุอาจเกิดจาก ระยะเวลาในการตรวจห่างจากเวลา การเสพมากเกินไป หรือมีการขับสารเสพติดออกไปจากร่างกายก่อนหน้านั้น หรืออุปกรณ์การ ตรวจเสื่อมสภาพ หรืออุปกรณ์การตรวจไม่ละเอียดพอที่จะพบร่องรอยของสารเสพติดใน ปัสสาวะ ดังนั้น การตรวจหาสารเสพติดในปัสสาวะ จะระบุผลลัพธ์ที่แน่นอนได้ จําเป็นต้องมี การส่งไปตรวจยืนยัน โดยใช้อุปกรณ์ที่มีความละเอียดสูง มีวิธีการตรวจที่ซับซ้อนโดย ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้โดยเฉพาะ ปัญหาในการวินิจฉัย แม้จะทราบว่ามีสารเสพติดในปัสสาวะหรือไม่ ข้อมูล ที่ได้ก็ยงั ไม่เพียงพอที่จะตอบว่านักเรียนคนนั้นติดยาเสพติดหรือไม่ เนื่องจากการติดยาเสพติดเป็นอาการ ทางด้านจิตใจ เป็นอาการอยากยาที่ทําให้ผู้ติดยาต้องการเสพ เพื่อบําบัดความต้องการ เพื่อให้ เกิดอาการเมาเคลิบเคลิ้ม ผู้ติดยามีพฤติกรรมการเสพยาที่แตกต่างกัน บางคนเสพทุกวัน บางคน


73

เสพบ่อยแต่ไม่ทุกวันอาจจะเสพวันเว้นไป 2 – 3 วัน ระหว่างที่เว้นการเสพนั้น หากนําตัวผู้ติด ยาดังกล่าวมาตรวจปัสสาวะ ก็จะตรวจไม่พบ ทั้ง ๆ ที่บุคคลนั้นแท้จริงแล้วเป็นผู้ติดยาเสพติด ปัญหาของการตรวจปัสสาวะดังกล่าว ทําให้การค้นหาผู้เสพทั้งหมดในโรงเรียน โดยการ ตรวจปัสสาวะมีข้อจํากัด การตรวจปัสสาวะจึงไม่ใช่วิธีที่ดีในการค้นหาผู้เสพ แต่มีประโยชน์ใน การใช้มาตรการในการป้องปราบ ในทางปฏิบัติไม่จําเป็นต้องตรวจปัสสาวะนักเรียนทุกคน แต่ ควรตรวจเฉพาะนักเรียนที่อยู่ในกลุ่มพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่งจะเป็นวิธีการที่ช่วยควบคุมนักเรียน เหล่านั้นไม่ให้ใช้ยาเสพติด โดยการตรวจควรจะทําเป็นระยะ ๆ ไม่บอกให้รู้ล่วงหน้า และควร ทําควบคู่ไปกับวิธีการอื่น ๆ ด้วย เช่น การให้คําปรึกษา 1.2 การสังเกตโดยครู เป็นวิธีการปกติของสถานศึกษาอยู่แล้ว ที่ครูจะต้องคอยสังเกต ความผิดปกติในพฤติกรรมและบุคลิกภาพของนักเรียน อันอาจส่งผลเสียต่อการเรียนได้ ข้อมูลที่ ได้จากการศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล และการสังเกตนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จะเป็นประโยชน์ ต่อการติดตามความเปลี่ยนแปลงของนักเรียนทั้งทางบวกและทางลบ ทําให้การแก้ไขเป็นไปได้ อย่างทันท่วงที อย่างไรก็ตามการที่ครูแต่ละคนจะต้องสังเกตนักเรียนเป็นจํานวนมาก จึงเป็นการ ยากที่จะสังเกตได้ทั่วถึง ทําให้นักเรียนบางคนหลุดรอดจากการสังเกต ไม่ได้รับการแก้ไข และ กลายเป็นผู้ทที่ ําให้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาขยายตัวต่อไป 1.3 การค้นหาโดยนักเรียน คือการให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานศึกษาตั้งแต่กระบวนการค้นหาผู้เสพผู้ค้า ในหมู่นักเรียนด้วยกันเอง มีโอกาสที่จะทราบว่า ใครบ้างที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด การสร้างจิตสํานึกให้นักเรียนเข้าใจว่าช่วยกันคัดแยกผู้เสพผู้ค้า เป็นการช่วยเหลือเพื่อนในทางที่ถูกต้อง ไม่ใช่การจับผิด จะช่วยให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ อย่างมากในการเข้าถึงตัวนักเรียนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และหาวิธีดูแลแก้ไขอย่างเหมาะสม 2. การดูแลปรับพฤติกรรมนักเรียน เมื่อสถานศึกษาสามารถค้นพบนักเรียน ที่เกี่ยวข้อง กับยาเสพติดแล้ว จะต้องให้การเอาใจใส่ดูแลอย่างต่อเนื่องเพื่อ ปรับพฤติกรรม กิจกรรมที่เป็น ประโยชน์ในการปรับพฤติกรรม ได้แก่ การให้คําปรึกษา (Counseling) ซึ่งอาจทําในรูปแบบ เดี่ยว (Individual Counseling) รูปแบบกลุ่ม (Group Counseling) หรือรูปแบบครอบครัว (Family Counseling) การให้คําปรึกษาจะประสบผลสําเร็จดี จําเป็นต้องทําอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ ไปกับกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การเสริมทักษะการคิด การฝึกฝนเรียนรู้กิจกรรมนอกห้องเรียน การ ส่งเสริมงานอดิเรก การอบรมฟื้นฟูจิตใจ และการแนะแนวการศึกษา 3. การจัดกิจกรรมป้องกันยาเสพติด สําหรับนักเรียนทุกคนไม่ว่าจะเกีย่ วข้องกับยาเสพ ติดหรือไม่ ทางสถานศึกษาควรจะจัดกิจกรรมป้องกันยาเสพติด เพื่อเสริมสร้างความรูค้ วาม


74

เข้าใจที่ถูกต้องในการป้องกันตัวเองจากยาเสพติด และการพัฒนาความประพฤติกรรมการ ดํารงชีวิตให้สมกับเป็นนักเรียนที่ดีและพลเมืองดีของประเทศ กิจกรรมต่าง ๆ ที่ควรจัด ได้แก่ การสร้างความรู้ความตระหนักในอันตรายของยาเสพติด ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดจากการ ใช้ยาเสพติดที่มีผลต่อสมอง ต่อการดําเนินชีวิตความทรมานที่จะได้รับในระยะยาว และความรู้ ในการพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมที่ใช้ในการสร้างความรูส้ ามารถทําได้หลายรูปแบบ รวมถึง การอบรม ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สามารถทําได้ แต่ควรทําอย่างหวังผล ไม่ควรจัดอบรมเพียงเพราะ เห็นว่าเป็นกิจกรรมที่จัดง่าย จุดอ่อนของการอบรมที่ผ่านมาคือ การจัดนักเรียนมาฟังการบรรยาย จํานวนมากเกินกว่าสถานที่จะรองรับได้ ทําให้นักเรียนขาดสมาธิในการฟัง การจัดอบรม บ่อยครั้งจนนักเรียนขาดความสนใจฟังบรรยาย เนื้อหาที่อบรมอาจไม่เหมาะสมกับนักเรียนบาง กลุ่ม เช่น นักเรียนที่มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับยาเสพติดเพียงพอแล้ว ทําให้ไม่ได้รับประโยชน์ จากการอบรม และการบรรยายเพียงอย่างเดียวอาจขาดสื่อหรือกิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อสร้าง ความตระหนักแก่นักเรียน อย่างไรก็ตาม การจัดดนตรีหรือการบันเทิงร่วมกับการบรรยาย มัก พบว่าดนตรีหรือการบันเทิงเป็นตัวทําให้นักเรียนเสียสมาธิ มากกว่าจะช่วยเพิ่มความสนใจใน การฟังบรรยาย 4. การส่งเสริมความมีส่วนร่วมของนักเรียน สถานศึกษาควรสนับสนุนให้นักเรียนมี ส่วนร่วมในการคิดการตัดสินใจทํากิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา และต่อเพื่อน นักเรียนด้วยกัน เพื่อเสริมสร้างความรักความเข้าใจรวมทั้งความไว้วางใจในหมู่นักเรียน อันจะ ช่วยการปรับพฤติกรรมของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงเป็นไปได้ง่ายขึ้น โดยอาศัยอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อน 5. การตรวจบริเวณสถานศึกษา ภายในสถานศึกษาแต่ละแห่งอาจมีสถานที่ที่เป็นแหล่ง ลับลอบเสพยาเสพติด เช่น ห้องน้ํา และมุมลับตา สถานที่เหล่านี้ควรได้รับการตรวจตราว่าถูก ใช้ในพฤติการณ์ที่น่าสนใจหรือไม่ รวมทั้งตรวจสอบเบาะแสต่าง ๆ ซึ่งอาจตกหล่นอยู่ เช่น เศษ กระดาษตะกั่ว ไม้ขีดไฟ ขวดภาชนะดัดแปลงเป็นอุปกรณ์การเสพ เป็นต้น 6. การจัดช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่างนักเรียนกับครู ปัญหาของนักเรียน ไม่ว่าจะเกิด จากการเรียน การคบเพื่อน ปัญหาทางบ้าน หรือปัญหาส่วนตัว เป็นสิ่ง ที่เกิดขึ้นได้เสมอ หาก นักเรียนแก้ไขปัญหาเหล่านีไ้ ม่ได้ด้วยตนเอง อาจส่งผลต่อความประพฤติกรรม อารมณ์ ความรู้สึกและนําไปสู่การมีพฤติกรรมเสี่ยงได้ ดังนั้น สถานศึกษาจึงควรจัดช่องทางที่สะดวก สําหรับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสามารถบรรยายความรู้สึก ความอึดอัดใจ และปรึกษาหารือกับ ครูได้โดยง่าย ช่องทางการติดต่อต้องคํานึงถึงความเป็นส่วนตัวของนักเรียน ให้โอกาสนักเรียนที่ จะหารือกับครูได้โดย ไม่จําเป็นต้องเปิดเผยตัว เช่น การใช้สมุดวางไว้ให้นักเรียนได้เขียนปัญหา


75

และให้ครูเป็นผู้เขียนตอบปัญหา หรืออาจใช้ระบบคอมพิวเตอร์ทําเป็นกระดานข่าวหรือจดหมาย อิเล็กทรอนิค ทั้งนี้ เพื่อให้นักเรียนเห็นว่าสถานศึกษาและครูเป็นที่พึ่งได้เสมอ โดยไม่ต้องกังวลว่าตนเองจะได้รับผลสะท้อนในทางลบจากการแสดงความรู้สึกออกไป กิจกรรมช่วงเวลาในชุมชน เมื่อนักเรียนเลิกเรียนในแต่ละวัน ก็จะต้องกลับคืนสู่ชุมชน อันเป็นที่พักอาศัย ช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาสําคัญ เพราะนักเรียนจะมีเวลาว่าง ไม่อยู่ในสายตา ของครูและมีโอกาสจะซื้อหรือเสพยาเสพติดในชุมชน สถานศึกษา จึงจําเป็นต้องร่วมมือกับ ชุมชนในการติดตามสอดส่องดูแลความประพฤติของนักเรียนในระหว่างที่อยู่นอกสถานศึกษา กิจกรรมที่ดําเนินการขึ้นอยูก่ ับสภาพแวดล้อมของ แต่ละสถานศึกษา เช่น การตรวจสอบหอพัก หรือแหล่งมั่วสุม การให้ชุมชนประเมินผลนักเรียน การตรวจสอบหอพักหรือแหล่งมั่วสุม สถานศึกษาควรหาข้อมูลว่า มีสถานที่ใดบ้างที่ นักเรียนมักจะไปอยู่รวมกันและก่อพฤติกรรมเสี่ยงได้ เช่น สถานบันเทิง สวนสาธารณะ หอพัก ศูนย์การค้า เมื่อได้ข้อมูลสถานศึกษาควรประสานงานกับ ทางราชการเพื่อส่งเจ้าหน้าที่พร้อมครู ไปตรวจสอบสถานทีเ่ หล่านั้นเป็นครั้งคราว หากเป็นไปได้ ควรทําความเข้าใจกับเจ้าของสถานที่ เหล่านั้นเพื่อให้ช่วยระมัดระวังและเป็นหูเป็นตาให้กับทางโรงเรียนด้วย การใช้ชุมชนประเมินผลนักเรียน เป็นการขอให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการ เฝ้าระวังและ พัฒนาพฤติกรรมของนักเรียน โดยให้ผู้แทนชุมชนเป็นผู้ประเมินและ ให้คะแนนความประพฤติ ของนักเรียนนอกเหนือไปจากความเห็นของผู้ปกครอง เพื่อดึงให้ชุมชนมีบทบาทมากขึ้น และ นักเรียนจะได้ตระหนักว่าความประพฤติของตน อยู่ในสายตาและความสนใจของชุมชน และ ระวังการปฏิบัติตัวมากขึ้น เพราะในยามที่ลับหลังครูจะมีชุมชนคอยสอดส่องดูแล กิจกรรมช่วงจบการศึกษา สถานศึกษาควรใช้การปัจฉิมเทศ แนะนําแนวทางให้แก่ นักเรียนที่จบการศึกษา เพื่อย้ําให้เห็นความสําคัญของคุณธรรมที่จะต้องรักษาไว้ควบคูไ่ ปกับ ความรู้ที่ได้รับจากสถานศึกษา และกระตุ้นให้นักเรียนเข้าใจบทบาทของตนเองในการมีส่วนช่วย ให้สังคมปลอดภัยจากยาเสพติดในอนาคต วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแนวทางที่กล่าวมาแล้ว จะมีผลในทางปฏิบัตเิ พียงใดขึ้นอยู่ กับการบริหารงานของสถานศึกษาแต่ละแห่ง ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องกําหนด นโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาของตนอย่างชัดเจน เพื่อให้ทุกคน ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบและปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี้ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้อง ให้ความสําคัญกับการพัฒนาและสนับสนุนทีมงานแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา และ


76

ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้ระบบการทํางานที่วางไว้ดําเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ

โรงเรียนวัดคลอง 18 ประชาคม ห้องเรียนเข้มแข็ง ที่อาคารเอนกประสงค์ของโรงเรียนชุมชนวัดคลอง 18 ตําบลหมอนทอง อําเภอบางน้ํา เปรี้ยว เต็มไปด้วยคํากลอนสอนใจให้เด็กนักเรียนใฝ่ศึกษาพัฒนาคุณธรรมที่น่าสนใจกว่านั้น คือ โรงเรียนแห่งนี้ได้ทํา “โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดและเสริมสร้างความเข้มแข็ง” หรือ “ห้องเรียนประชาคมเข้มแข็ง” โดยนําแบบอย่างชุมชนมุสลิมเข้มแข็งบ้านบึงตาป๊อมาประยุกต์ใช้ อย่างสอดคล้องกับวัยยุวชน และเหมาะสมกับสถานศึกษาที่สําคัญ คือ กระบวนการทั้งหมด ดําเนินการโดยนักเรียน ส่วนครูอาจารย์คอยสนับสนุน ก่อนหน้านี้มีทั้งเด็กที่ติดยาและค้ายาเสพติด ทั้งในและรอบ ๆ โรงเรียน เด็กบางคนรับยา จากข้างนอกมาขายให้เพื่อน หนําซ้ําหน้าประตูโรงเรียนยังเป็นแหล่งซื้อ – ขายยาบ้า สิ่งแวดล้อม รอบ ๆ ก็เป็นตัวอย่างที่ไม่ดี คนขับเรือไปมาในคลองผ่านโรงเรียนก็มีรอยเข็มฉีดยาให้เด็ก ๆ เห็น “เดิมทีเดียวโรงเรียนทําโครงการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาตาม นโยบาย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมให้เด็กปฏิบัติ เช่น ดนตรี กีฬา เดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพ ติด เข้าค่ายจริยธรรม รวมทั้งยังร่วมมือกับหน่วยงานตรวจปัสสาวะนักเรียน ซึ่งสิ่งเหล่านี้ มีทั้ง ผลดีและผลเสีย บางกิจกรรมก็ทําเพียงผ่านไปไม่ได้สร้างจิตสํานึกอะไรเท่าไร การตรวจ ปัสสาวะก็มีผลทางลบหลายอย่าง เช่น เด็กที่ถูกตรวจเจอว่าติดยาก็จะอายเพื่อนและการที่ สถานพยาบาลเอาเด็กไปบําบัดในลักษณะของผู้ป่วย ก็ทําให้ผู้ปกครองมองโรงเรียนทางลบ ผมได้พบกับ ด.ต.วิทยา และ ร.ต.ต.ธวัช ซึ่งชวนไปดูชุมชนตัวอย่างที่บึงตาป๊อ แล้วก็ เห็นว่าน่าจะเอามาประยุกต์ใช้ เช่น การปฏิบัติต่อเด็กยาให้เขาละ เลิกได้เอง โดยมีเพื่อนและครู เป็นกําลังใจคอยช่วย แล้วก็มาคิดต่อว่าถ้าเด็กได้ทํางานอย่างเป็นกระบวนการ ก็จะฝึกให้ขา แก้ปัญหาได้เองไม่ต้องพึ่งพาคนอื่นในอนาคต” (อนันต์ อนันตปัญญา ผู้อํานวยการโรงเรียนวัดคลอง 18) เริ่มจากการสร้าง “ห้องเรียนเข้มแข็ง” ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 2547 ก่อนที่จะขยาย เป็นห้องเรียนชั้น ม.2 และ ม.1 ในปัจจุบัน และเริ่มจากการเลือกตั้ง “คณะกรรมการห้องเรียน เข้มแข็ง” 12 คน และสร้าง “เครือข่ายเฝ้าระวังปัญหานักเรียน” กรรมการ 1 คน ดูแลเพื่อน 2 คน


77

“พวกหนูก็ช่วยกันคิดปัญหาที่ห้องเรียนต้องการแก้ก่อน ได้มา 7 อย่าง คือ ยาเสพติด และอบายมุข เหล้า บุหรี่ ยาบ้า การพนัน ชู้สาว ทะเลาะวิวาท ขาดเรียน มาสาย แต่งกายไม่ เรียบร้อย แล้วก็ช่วยกันเฝ้าระวังว่าเพื่อนคนไหนมีปัญหาเรื่องอะไร โดยให้กรรมการหย่อนชื่อ ลงกระดาษทําเป็นบัญชีคนที่มีปัญหาแล้วทุกเดือนก็จะมาประชุมรับรองคนที่มีปัญหา – ไม่มี ปัญหา คนไหนมีปัญหา เราก็ช่วยกันตักเตือน ถ้าเกินกําลังก็จะไปปรึกษาครูว่าทํายังไงดี แล้ว เอาคะแนะนํามาช่วยเพื่อนต่อ ส่วนใหญ่ก็จะได้ผลเพราะเพื่อนที่ทําผิดเขาก็จะละอายแก่ใจที่ กลายเป็นคนกลุ่มน้อยและค่อย ๆ ปรับตัวดีขึ้น” (คณะกรรมการห้องเรียนเข้มแข็ง) รูปธรรมจัดการปัญหาของห้องเรียนเข้มแข็ง เช่น จากเดิมที่โรงเรียนให้ครูประจําชั้นออก เยี่ยมเยียนครอบครัวปีละครั้ง หรือเรียกเด็กที่มีปัญหามาสอบถามเพื่อช่วยเหลือ ซึ่งก็มักจะ แก้ปัญหาได้เพียงชั่วขณะ ปัจจุบันเปลี่ยนมาใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อนนักเรียนด้วยกันเข้าไป ค้นหาปัญหาซึ่งเด็กด้วยกันจะคุยได้เปิดอกกว่าผู้ใหญ่ แล้วเพื่อน ๆ ก็พากันไปเยี่ยมบ้านคนที่มี ปัญหาช่วยหาทางออก “อย่างปัญหาแต่งกายไม่เรียบร้อย เพราะบางคนยากจนมีเสื้อผ้าน้อยเรารู้มาแล้วก็จะเอาไป ปรึกษาครู ทางโรงเรียนก็จะช่วยเหลือเรื่องชุดนักเรียนหรืออุปกรณ์การเรียน อาหารกลางวัน มี เพื่อนคนหนึ่งที่เขาขาดเรียนบ่อย ๆ เราก็ไปพบว่าเขายากจนและต้องเดินมาเรียนไกล พวกหนูก็ เล่าให้ครูฟัง โรงเรียนก็จะให้ยืมจักรยานขี่ อย่างหนูมาสายประจําทั้ง ๆ ที่บ้านอยู่ใกล้โรงเรียน พอเพื่อน ๆ บอกบ่อย ๆ ว่ามาเร็วหน่อย หรือการที่เพื่อน ๆ ในกลุ่มเขาก็จะพากันมานั่งรอเป็น ประจํา จนหนูละอายใจ เดี๋ยวนี้ตื่นแต่เช้าจนเป็นนิสัย และไม่เคยมาสายเลย” (คณะกรรมการ ห้องเรียนเข้มแข็ง) จากการทําประชาคมรับรองเด็กรายคนในหนึ่งห้องเรียน ก็ขยายเป็นประชาคมห้องเรียน ปลอดปัญหาทั้ง 3 ห้อง กิจกรรมโครงการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก สํานักงาน ป.ป.ส. และได้รับความช่วยเหลือจาก องค์การบริหารส่วนตําบลหมอนทอง , สถานี ตํารวจภูธรอําเภอบางน้ําเปรี้ยว และที่สําคัญคือความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนอย่าง ใกล้ชิด ในฐานะที่โรงเรียนเป็นสถานที่บ่อเพาะการศึกษา และชุมชนเป็นพ่อแม่ผู้ปกครองของ นักเรียน “ก็มองว่าจะแก้ปัญหาแต่ที่โรงเรียนไม่ได้ เพราะเด็กไม่ได้อยู่กับเราทั้งวัน เวลาส่วนใหญ่ เขาอยู่ที่บ้าน อยู่ในชุมชน ก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน โดยเอารายชื่อที่ เด็กทําการรับรองในห้องเรียนไปให้ผู้นําชุมชนรับรองด้วย เพราะชุมชนก็จะรู้จักเด็กดี เป็นการ รับรอง 2 ทาง ช่วยกันเฝ้าระวัง 2 ทาง และร่วมกันดูแล 2 ทาง” (ผอ.อนันต์ อนันตปัญญา)


78

ไม่เฉพาะยาเสพติดที่รุนแรงอย่างยาบ้า แต่การสูบบุหรีท่ ี่มีจํานวนมากก็หายไป และไม่ เพียงประกาศเป็นโรงเรียนปลอดยาเสพติดได้อย่างภาคภูมิใจ ปัญหาหลากหลายในโรงเรียนก็ บรรเทาเบาบางลง และยังมีความคิดจะขยายไปเป็นประชาคมห้องเรียนเข้มแข็งชั้นประถมด้วย โดยเริ่มจากการแก้ปัญหาง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน เช่น การรักษาความสะอาด การแต่งกาย การสร้าง นิสัยที่ดี “หลังจากที่เราทําเรื่องห้องเรียนเข้มแข็งแล้ว นอกจากการแก้ปัญหาต่าง ๆ ในโรงเรียน ได้ มันก็สร้างพื้นฐานประชาธิปไตยที่ดีให้กับเด็ก ๆ ฝึกให้เขาทํางานเป็นทีม มีกระบวนการ มี เหตุผล กล้าพูดกล้าแสดงออกและการที่เด็กได้ช่วยเหลือกันเองก็เป็นผลดีด้านจริยธรรม คือ เขา มีจิตใจที่ดีรู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้คนอื่น” (ผอ.อนันต์ อนันตปัญญา) ในวันนีว้ ิถีของชุมชนมุสลิมบ้านบึงตาป๊อ ดําเนินต่อไปอย่างเรียบง่าย สมถะ มีข้าวใน นามีปลาในน้ํา ให้ประกอบสัมมาอาชีพแบบเพียงพอ หนี้สินดอกเบี้ยถือเป็นเรื่องผิดบาป ยาเสพ ติดเป็นมารร้ายที่ไม่มีใครคิดที่จะเข้าไปมั่วสุมอีกแล้ว พวกเขาได้รับรางวัลผลงานดีเด่นในการ ป้องกันยาเสพติดปี 2546 และกลายเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็งของสํานักงาน ป.ป.ส. ภาค ตะวันออก ในวันนี้ ไม่เพียงได้รับรางวัลโรงเรียนเสริมสร้างความเข้มแข็งเพื่อเอาชนะยาเสพติด หน้าประตูโรงเรียนวัดคลอง 18 ยังไม่ได้เป็นทางผ่านของผู้ค้า - ผู้เสพยาอีกต่อไปแต่กลายเป็น กําแพงป้องกันยาเสพติดที่จะเข้ามาคุกคามเยาวชน ที่สําคัญคือห้องเรียนประชาคมเข้มแข็งยังเป็น เบ้าหลอมอนาคตที่มีคุณภาพของสังคมประเทศชาติต่อไป ถอดรหัสความคิดชุมชนและโรงเรียนเข้มแข็ง บางน้าเปรี้ยว ยิ่งรู้ว่าเสี่ยงต่อการติดยา ยิ่งเปิดโอกาสให้เข้าใกล้ศาสนา ยิ่งรู้ว่าเคยพลาดพลั้งยิ่งต้อง เอาชีวิตไปพัวพันมากกว่าตั้งข้อรังเกียจ ด้วยความคิดที่ว่าล้วนต่างเป็นชีวิตที่พระเจ้าประทานมา ให้สร้างสรรค์ความดีงามในโลกนี้เสมอกัน อย่างเมื่อก่อนในสังคมชาวบ้านจะสั่งสอนลูกหลานว่าเจอคนติดยาอย่าไปคบ กับมัน หรือ เวลามีงานบุญ งานประเพณีอะไรอิสลามเราก็จะกินข้าวในถาดร่วมกันเรียกว่า “ตั๊บซี” คนไม่ดีก็ จะไม่ให้มากินร่วม แต่พอเราทําชุมชนเข้มแข็งแล้วก็จะชวนมาร่วมกันหมด ชวนวัยรุ่นชวนเด็ก ติดยามาเข้าสังคมด้วย แล้วเขาก็จะสํานึกได้เพราะชุมชนให้โอกาส


79

ใช้กระบวนการกลุ่มเพื่อนนักเรียนด้วยกันเข้าไปค้นหาปัญหาซึ่งเด็กด้วยกัน จะคุยได้ เปิดอกกว่าผู้ใหญ่แล้วเพื่อน ๆ ก็พากันไปเยี่ยมบ้านคนที่มีปัญหา เพื่อช่วยหาทางออก... หลังจาก ที่เราทําเรื่องห้องเรียนเข้มแข็งแล้วนอกจากแก้ปัญหาต่าง ๆ ในโรงเรียนได้ มันก็สร้างพื้นฐาน ประชาธิปไตยที่ดีให้กับเด็ก ๆ ฝึกให้เขาทํางานเป็นทีมมีกระบวนการ มีเหตุมีผล กล้าพูดกล้า แสดงออก และการที่เด็กได้ช่วยเหลือกันเองก็เป็นผลดีด้านจริยธรรมคือเขามีจิตใจที่ดรี ู้จัก เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้คนอื่น...

วิธีดาเนินการ 1. จัดทําโครงการเพื่อขออนุมัติ 2. แต่งตั้งคณะวิทยากรกระบวนการฯ 3. คณะวิทยากรทําหน้าที่สนับสนุน ให้คําปรึกษา แนะนําแก่องค์กรชุมชน และผู้ ประสานพลังแผ่นดิน 4. ดําเนินการรวบรวมข้อมูล ปัญหา อุปสรรค ข้อขัดจ้องต่าง ๆ ในการทํางานระดับพื้น ที่มาปรับปรุงและพัฒนากระบวนการทํางาน ให้มีประสิทธิภาพ 5. เสริมสร้างและพัฒนาอาสาสมัครทีมวิทยากรกระบวนการภาคประชาชน เพิ่มจํานวน ขึ้น โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพในการสร้างกระแสกระตุ้นชุมชน ปลุกจิตสํานึกให้ชุมเกิดความ เข้าใจและร่วมมือกันสานงานต่อไปสู่ความยั่งยืน 6. พัฒนากระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน แนวทางชุมชนดูแลชุมชนให้ เหมาะสมพื้นที่ 7. ส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชน ยึดหลักความมีส่วนร่วม ดําเนินงานใน ลักษณะที่ประชาชนเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทํา ร่วมแก้ไขปัญหา อย่างต่อเนื่อง และเชื่อมโยง 8. ติดตาม / นิเทศผล คณะกรรมการชุมชนเป้าหมาย


80

***************************


81


เป้าหมายการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี ๒๕๕๕ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ที่

อาเภอ

การเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง กองทุนแม่ของ แผ่นดินที่ได้รับ เดิม (กองทุน)

พระนครศรีอยุธยา

๑๑

๑๑

ท่าเรือ

นครหลวง

๑๔

๑๔

บางไทร

บางบาล

บางปะอิน

บางปะหัน

๑๐

๑๐

ผักไห่

ภาชี

๑๐

๑๐

๑๐

ลาดบัวหลวง

๑๑

วังน้อย

๑๒

เสนา

๑๐

๑๐

๑๓

บางซ้าย

๑๔

อุทัย

๑๕

มหาราช

๑๓

๑๓

๑๖

บ้านแพรก

๑๔๖

๑๔๖

๒๐

๑๖

รวม

ส่งเสริมต้นกล้า การตรวจสุข กองทุนแม่ของ สุขภาพกองทุน แผ่นดิน (จัดตั้ง แม่ของแผ่นดิน กองทุนแม่ฯใหม่ ปี (กองทุน) ๒๕๕๕)

ส่งเสริมศูนย์เรียนรู้ กองทุนแม่ของแผ่นดิน (๑ อาเภอ : ๑ ศูนย์ เรียนรู้กองทุนแม่ฯ)

หมายเหตุ

๑. การตรวจสุขภาพกองทุนแม่ฯ ให้เสร็จ ภายในวันที่ ๓๑ มี.ค.๒๕๕๕ ๒. การส่งเสริมศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ฯ ให้เสร็จภายในวันที่ ๓๑ มี.ค.๒๕๕๕ ๓. การส่งเสริต้นกล้ากองทุนแม่ฯให้เสร็จ ภายในวันที่ ๒๖ มิ.ย.๒๕๕๕ ๔. การเสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ฯ (เดิม)ให้เสร็จภายใน วันที่ ๒๖ มิ.ย.๒๕๕๕


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.