การปลูกข้าวโพดหลังนา ให้ได้กาไรสูงสุด
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 2 กรมวิชาการเกษตร จ.พิษณุโลก
ขั้นตอนสาคัญ 1. การกาหนดเวลา ที่จะปลูก
5. การเก็บเกี่ยว
4. การปลูก
2. การคัดเลือกพันธุ์
3. การเตรียมดิน
1. การกาหนดเวลาที่จะปลูก การกาหนดเวลาที่จะปลูก หรือเดือนปลูกทีเ่ หมาะสม คือ ในช่วงปลายเดือนตุลาคม - ต้นเดือนธันวาคม หรือปลูกทันทีหลังเก็บเกี่ยวข้าว เพื่อใช้ประโยชน์จากความชื้นที่เหลืออยู่ในดินหากปลูกล่าช้ากว่านี้ อาจจะประสบ กับปัญหาอากาศร้อน ในระยะที่ข้าวโพดโปรยละอองเกสร ในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม ทาให้ละออง เกสรตาย หรือผสมไม่ติด เป็นฝักข้าวโพดฟันหลอ หรือน้าอาจจะหมดก่อนที่ข้าวโพดจะสะสมน้าหนักได้เต็มที่ ทาให้ได้ผลผลิตต่า
ปลายเดือนตุลาคม - ต้นเดือนธันวาคม
2. การคัดเลือกพันธุ์ การคัดเลือกพันธุ์ ควรคัดเลือกพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงและเหมาะสมกับพื้นที่ โดยการสอบถามเพื่อนบ้านที่เคยปลูก ข้าวโพดหลังนามาก่อน หรือวิธีที่ดีที่สุดในแต่ละแหล่งปลูกควรมีแปลงปลูกทดสอบพันธุท์ ี่มีจาหน่ายในท้องตลาด โดยเลือกพันธุ์ ทีส่ นใจมา 3 - 4 พันธุ์ ปลูกเปรียบเทียบกันพันธุ์ละ 3 - 4 ร่อง แล้วเลือกพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงมาปลูก เพราะพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงใน พื้นที่หนึ่ง อาจจะไม่เหมาะสมและให้ผลผลิตต่าในอีกพื้นที่หนึ่ง ไม่ควรเลือกซื้อพันธุ์ข้าวโพดเพราะมีราคาต่ากว่าพันธุ์อื่น แต่ควรเลือกพันธุ์ข้าวโพดที่ให้ผลผลิตสูง ถึงแม้ค่าเมล็ด พันธุ์จะแพงกว่า แต่จะได้ผลตอบแทนที่สงู กว่า หรือมีรายได้มากกว่า ควรระวังเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเก่าที่ตกค้างมาจากต้นฤดูฝน ซึ่งอาจจะมีเปอร์เซ็นต์ ความงอกต่า มีความแข็งแรงต่า เจริญเติบโตได้ไม่ดี คลุกเมล็ดพันธุ์ป้องกันโรคราน้าค้าง โดยทั่วไปบริษัทจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ จะคลุกสารเมทาแล็กซิลมากับเมล็ด เพื่อป้องกันโรคราน้าค้าง แต่บางบริษัทไม่ได้คลุกมาให้ แต่จะแนบซองบรรจุสารเมทาแล็กซิลมากับถุงเมล็ดพันธุ์ในอัตรา 7 กรัมต่อเมล็ด 1 กิโลกรัม เพื่อให้เกษตรกรคลุกเอง และจะต้องคลุกจนกว่าตัวยาติดไปกับเมล็ดให้หมด ห้ามไม่ให้ตัวยาเหลืออยูท่ ี่ก้นภาชนะที่ใช้คลุก
3. การเตรียมดิน การเตรียมดินให้ละเอียด หรือแตกเป็นก้อนเล็กๆ มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะช่วยให้ต้นข้าวโพดงอกได้ สม่าเสมอ และควรจะเริ่มเตรียมดินทันทีหลังเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ โดยทั่วเป็นไปการเตรียมดินในนาจะมีวิธีปฏิบัติคล้าย ๆ กัน ทั้งในนาดินเหนียวและดินร่วนแต่มีรายละเอียดที่แตกต่างกันบ้าง ตามการปฏิบัติของเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ ดังนี้ ➢ กระจายฟาง แล้วใช้โรตารีตีหมกฟางให้คลุกลงในดิน ➢ สูบน้าใส่ให้ท่วมฟาง แช่หมักไว้ 5-7 วัน จนฟางเน่าแล้วไขน้าออก ทิ้งไว้ประมาณ 15 วัน หมักฟาง จนดินหมาด ➢ ไถดะแล้วพรวนด้วยโรตารี 1-2 ครั้ง ให้ดินร่วนหรือแตกเป็นก้อนเล็กๆ ➢ ปลูกข้าวโพดตามทันที โดยใช้เครื่องปลูก ข้อดี ไม่มีเศษฟางไปกีดขวางกระทู้เครื่องปลูก ช่วยให้เมล็ดงอกได้สม่าเสมอ ซึ่งจะส่งผลต่อ จานวนต้นและผลผลิตข้าวโพดในที่สดุ ดินร่วน
ไม่หมักฟาง
➢ เผาฟาง ➢ ใช้ผาล 7 ไถดะ 1 ครั้ง พรวนอีก 1 ครั้ง แล้วใช้โรตารีตีดินให้ฟูอีก 1 ครั้ง หรือใช้ผาล 7 ไถดะ 1 ครั้ง แล้วใช้โรตารีตีดินให้ฟูอีก 1-2 ครั้ง ➢ ปลูกข้าวโพดทันที โดยใช้เครื่องปลูก เกษตรกรส่วนมากนิยมใช้วิธีการเผาฟางแทนการหมักฟาง วิธีการนี้ จะยังมีเศษฟางตกค้าง อยู่ในแปลงมาก เศษฟางจะไปกีดขวางกระทู้ของเครื่องปลูกทาให้เมล็ดงอกไม่สม่าเสมอ
3. การเตรียมดิน (ต่อ) ดินเหนี่ยว
มีวิธีเตรียมดินเช่นเดียวกับนาดินร่วน แต่จะไม่หมักฟาง และต้องเตรียมดินทันที เมื่อดินมีความชื้น เหมาะสม ดังนี้ ➢ เผาฟาง ➢ ใช้ผาล 7 ไถดะ เมื่อดินมีความชื้นเหมาะสม โดยสังเกตว่าดินหางไถต้องแตกเป็นก้อน ๆ ถ้าดินยังชื้นเกินไป ดินหางไถจะเป็นแผ่นหรือเป็นก้อนขนาดใหญ่ ซึ่งพรวนไม่แตก จากนั้น พรวนด้วยโรตารี 1-2 ครั้ง ทันทีที่ดินยังมีความชื้นอยู่ จนดินร่วนหรือแตกเป็นก้อนเล็ก ๆ ถ้าปล่อยให้ดินแห้งจะพรวนไม่แตก ➢ ปลูกข้าวโพดทันที โดยใช้เครื่องปลูก
ไถดะ โดยใช้ผาล 7
พรวนดินให้ละเอียดด้วยผาล 7 หรือโรตารี 1-2 ครั้ง
การเตรียมดินไม่หมักฟาง มีเศษฟางมาก
4. การปลูก ขณะปลูกดินต้องมีความชื้นพอเพียงต่อการงอกของเมล็ด ส่วนวิธีการปลูกมีทั้งแบบบนพื้นราบและแบบยกร่อง ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของดิน ความสามารถในการระบายน้า ความลาดเอียงของพื้นที่นา และความเรียบสม่าเสมอของแปลง ส่วนการใช้เครื่องปลูกควรเตรียมดินให้เรียบ สม่าเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องปลูกด้านใดด้านหนึง่ ลอย ดินจะไม่กลบเมล็ด
การปลูกแบบพื้นราบ
เป็นทีน่ ิยมกันโดยทั่วไป โดยดิน ควรระบายน้าได้ดี พื้นที่แปลงควรได้ระดับ เรียบสม่าเสมอตลอดทั้ง แปลง หากพื้นที่ไม่เรียบสม่าเสมอ จะมีปัญหาในการให้น้า บริเวณที่เป็น แอ่งจะได้รับน้ามาก หรือมีน้าท่วมขัง ดินแฉะ ทาให้ต้นข้าวโพดแคระ แกร็น ในขณะที่ ที่ดอนอาจจะได้รับน้าไม่พอเพียง
การปลูกบนพื้นราบ ใช้เครื่องปลูกติดท้ายรถ
การปลูกแบบยกร่อง เหมาะกับ พื้นทีแ่ ปลงที่มีความลาดเอียง หรือเตรียมแปลงได้ไม่เรียบ สม่าเสมอหรือเป็นดินเหนียว ระบายน้ายาก วิธนี ี้จะสะดวกในการให้น้า น้าไม่ท่วมขัง ดินไม่แฉะ ต้นข้าวโพด เจริญเติบโตได้ดี สม่าเสมอ โดยเฉพาะในแปลงนาที่ระดับพื้นลาดเอียง การยกร่องจะช่วยให้สามารถทาคันกั้นร่อง แบ่งให้น้าเป็นแปลงเล็กๆ ตามระดับความสูงแปลงได้ง่าย ราบเรียบ สม่าเสมอ
การปลูกแบบยกร่อง โดยเครื่องปลูกพร้อมยกร่องและใส่ปุ๋ย
การปลูกแบบยกร่อง
4. การปลูก (ต่อ) ระยะปลูก หรืออัตราปลูกที่เหมาะสม ควรปลูกข้าวโพดประมาณ 10,000 - 11,000 ต้นต่อไร่ การปลูก บนพื้นราบ ใช้ระยะปลูก 75x20 เซนติเมตร หรือ 70x20 เซนติเมตร หรือใช้ เมล็ดพันธุ์ประมาณ 4 กิโลกรัมต่อไร่ เนื่องจากพันธุ์ข้าวโพดในปัจจุบันทนการ ปลูกถี่ได้ดีขึ้น ถ้าเมล็ดข้าวโพดไม่งอก หรือมีต้นตายในภายหลัง ก็ยังจะมีต้น เหลือให้เก็บเกี่ยวประมาณ 9,000-10,000 ต้นต่อไร่ ส่วนการปลูกแบบยกร่อง โดยใช้เครื่องปลูกพร้อมยกร่องและใส่ปุ๋ยรองพื้น จะปลูกแบบแถวคู่ โดยมีระยะห่างระหว่างแถวข้าวโพดบนสันร่องเดียวกัน 25 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างร่องจากต้นข้าวโพดถึงต้นข้าวโพด 75-80 เซนติเมตร ใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 4 กิโลกรัมต่อไร่ เครื่องปลูกสามารถปรับ ขนาดร่อง ระยะห่างระหว่างแถว และระยะห่างระหว่างต้นได้ตามความ เหมาะสม
การปลูกแบบพื้นราบ
การปลูกแบบยกร่อง
4. การปลูก (ต่อ) การกาจัดวัชพืช โดยทั่วไปเกษตรกรนิยมใช้วิธีการกาจัดหลังวัชพืชงอก โดยพ่นสารเคมี อาทราซีน 80% ดับเบิ้ลยูพี เมื่อวัชพืชพึ่ง งอกยอดอ่อน หรือ ใช้อาทราซีน 90% ดับเบิ้ลยูจี พ่นหลังวัชพืชงอกแล้วไม่เกิน 10-15 วัน โดยใช้อัตรา 450 กรัม ผสมน้า 60-80 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่
การใส่ปุ๋ยให้เพียงพอและทันเวลา ปุ๋ยเป็นอาหารของพืช ไม่มีสารอื่นใดมาทดแทนปุ๋ยได้ และธาตุอาหารแต่ละชนิดมีหน้าที่แตกต่างกัน พืชมีความ ต้องการไม่เท่ากัน และเวลาที่ต้องการก็แตกต่างกัน ดังนั้นการใส่ปุ๋ยให้ถูกสูตร ถูกเวลา ถูกวิธี และถูกปริมาณ จะทาให้ ต้นข้าวโพดแข็งแรง และผลผลิตสูง
4. การปลูก (ต่อ) การใส่ปุ๋ยให้เพียงพอและทันเวลา (ต่อ) ถูกสูตร
ถูกเวลา
ธาตุอาหารไนโตรเจน(เอ็น) สร้างต้น ใบ การเจริญเติบโตทางลาต้น และผลผลิต ธาตุอาหารฟอสฟอรัส(พี) กระตุ้นการสร้างราก การตั้งตัว การสร้างตาดอก เพิ่มขนาดฝัก เมล็ดติดเต็มฝัก และต้านทานโรค ธาตุอาหารโพแทสเซียม(เค) ช่วยขนส่งน้าและอาหาร พืชแข็งแรง ทนแล้ง ช่วยสร้างและสะสมแป้ง เพิ่มขนาดและน้าหนักเมล็ด ธาตุอาหารไนโตรเจน(เอ็น) สาคัญต่อการเจริญเติบโต แต่สูญเสียไปกับน้าได้ง่าย ควรแบ่งใส่ 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ใส่รองพื้น พร้อมปลูก ครั้งที่ 2 ใส่เมื่ออายุ 20-25 วัน ครั้งที่ 3 ใส่เมื่ออายุ 45-50 วัน หรือเมื่อใบบนตั้งแหลม ซึ่งเป็นระยะที่ข้าวโพดดูดใช้ธาตุอาหารสูงที่สุด ธาตุอาหารฟอสฟอรัส(พี) กระตุ้นการสร้างราก การตั้งตัวของพืช และการแบ่งตาดอก พืชดูดไปสะสมใน ลาต้นและใบก่อนนาไปใช้ ปุ๋ยพีเคลื่อนย้ายได้น้อยและสะสมในดิน จึงควรใส่ปุ๋ยพีให้เร็วที่สุด โดยใส่เป็น ปุ๋ยรองพื้นทั้งหมดครั้งเดียว ธาตุอาหารโพแทสเซียม(เค) พืชต้องการมาก สม่าเสมอ และต่อเนื่อง จึงควรใส่ปุ๋ยเคให้เร็วที่สุด โดยใส่ เป็นปุ๋ยรองพื้นทั้งหมดครั้งเดียว
4. การปลูก (ต่อ) การใส่ปุ๋ยให้เพียงพอและทันเวลา (ต่อ) ถูกวิธี
ถูกปริมาณ
ครั้งที่ 1 เป็นปุ๋ยรองพื้น โดยหว่านแล้วพรวนดินกลบหรือชักร่องแล้วโรยเป็นแถวพร้อมหยอดเมล็ด ครั้งที่ 2 หว่านแล้วชักร่องกลบ หรือโรยข้างแถวข้าวโพดแล้วชักร่องกลบ หรือหว่านบนร่อง แล้วให้น้า ตามหรือให้น้าก่อนใส่ปุ๋ย ครั้งที่ 3 โรยข้างแถวข้าวโพด หรือหว่านแล้วให้น้าตาม หรือให้น้าก่อนใส่ปุ๋ย ครั้งที่ 1 ปุ๋ยรองพื้น ใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ ผสมกับสูตร 18-46-0 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ และสูตร 0-0-60 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ครั้งที่ 2 ที่อายุ 20-25 วัน สูตร 46-0-0 อัตรา 20-25 กิโลกรัมต่อไร่ ครั้งที่ 3 อายุ 45-50 วัน สูตร 46-0-0 อัตรา 20-25 กิโลกรัมต่อไร
ทั้งนี้ การผสมปุ๋ยใช้เองโดยใช้แม่ปุ๋ยมาผสมกันให้ได้ปริมาณธาตุ อาหารตามที่ต้องการ จะช่วยลดต้นทุนค่าปุ๋ยลงได้ถึง 20-30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับการใช้ปุ๋ยสูตรแบบเดิม และช่วยลดค่าขนส่งและปริมาณปุ๋ย ทีจ่ ะขนลงแปลงได้อีกด้วย
4. การปลูก (ต่อ) การให้น้า หลังจากข้าวโพดงอก ให้น้า 4-5 ครั้ง หรือมากกว่า ขึ้นอยู่กับลักษณะดินของแต่ละพื้นที่โดยให้สังเกตความชื้นของ ดิน ข้าวโพดต้องการปริมาณน้าตลอดอายุการเจริญเติบโต แต่ ต้องการมากที่สุดในช่วงออกดอกและระยะต้นของการสร้างเมล็ด ในช่วงดังกล่าวต้องระวังอย่าให้ขาดน้า
การให้น้าแบบตามร่องข้าวโพด
การทาคันกั้นร่องน้าเป็นระยะ เพื่อแบ่งหารให้น้าตามระดับพื้นนา
ระยะที่เหมาะสมในการให้น้าครั้งแรก
ปัจจุบันเริ่มมีการให้น้าด้วยระบบน้าหยดและน้าพุ่ง
5. การเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวเมื่อข้าวโพดแก่จัด และแห้งสนิท อายุประมาณ 120 วันหลังปลูก หรือเมื่อต้นข้าวโพดมีใบแห้ง หรือเปลี่ยนเป็นสีฟางข้าวหมดทั้งแปลงแล้ว เมล็ดข้าวโพดจะมีความชื้นต่ากว่า 25 เปอร์เซ็นต์ การเก็บเกี่ยวข้าวโพด ทีม่ ีความชื้นสูงจะทาให้โดนตัดราคาหรือโดนตัดน้าหนักแต่ถ้าเก็บเกี่ยวช้าเกินไปจะมีความเสียหาในแปลงเนื่องจาก ต้นล้ม
แปลงข้าวโพดที่เปลี่ยนเป็นสีฟางข้าวทั้งแปลงความชื้นในเมล็ดต่ากว่า 25 เปอร์เซ็นต์
แมลงศัตรูข้าวโพดที่สาคัญและการป้องกันกาจัด หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ลักษณะการเข้าทาลาย หนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุด เป็นแมลงศัตรู ประเภทปากกัด ทาลายข้าวโพดโดย การกัดกินใบ ยอด ช่อดอก เส้นไหม และเมล็ด ตัวเต็มวัยจะเริ่มวางไข่บน ใบและใต้ใบข้าวโพด และอีก 2-3 วัน หนอนจะฟักเป็นตัวและเริ่มกัดกินใบข้าวโพด ทาให้ใบมีรอยแผล สีขาว จากนั้นหนอนจะเข้าไปอาศัยกัดกินอยู่บริเวณยอดและภายใน ลาต้น ใบหรือลาต้นหักพับ ทาให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เมื่อ ข้าวโพด อายุมากขึ้น หนอนจะคลานเข้าไปกัดกินในช่อดอกและ ฝักตัวเต็มวัยสามารถวางไข่ได้ต่อเนื่องและหลายรุ่น ในช่วงอายุ ข้าวโพด 30-40 วันหลังงอก เป็นระยะวิกฤต เนื่องจากต้นข้าวโพด ยังมีขนาดเล็ก ถ้าสามารถควบคุมการทาลายของหนอนในระยะนี้ได้ ในช่วงหลังจากนี้ข้าวโพดมีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว ผลกระทบจาก หนอนจะมีน้อย ดังนั้นในระยะ 7-8 วัน หลังข้าวโพดงอก ให้เริ่มตรวจ แปลงอย่างสม่าเสมอ
วิธีการป้องกันกาจัดตามคาแนะนาของกรมวิชาการเกษตร ➢ วิธคี ลุกเมล็ด ด้วยสารไซแอนทรานิลิโพรล พ่นสาร ทางใบต่อเมื่อพบการระบาด ➢ พ่นด้วยสารชีวภัณฑ์ ได้แก่ เชื้อบีที สายพันธุ์ไอซาไว หรือ สายพันธุเ์ คอร์สตาร์กี้ พ่นทุก 4-7 วัน ได้ผลดีใน การกาจัดหนอนขนาดเล็กที่เพิ่งฟักออกจากไข่ ➢ ใช้สารป้องกันกาจัดแมลงพ่นทางใบ การพ่นสารให้พ่นตอนเช้าหรือตอนเย็น และให้จี้ หัวพ่นไปที่ยอดของต้นข้าวโพด และต้องเปลี่ยนกลุ่ม สารกาจัดแมลงทุก 30 วัน เพื่อป้องกันหนอนดื้อยา ➢ ในแปลงที่ไม่ใช้สารเคมี หรือหลังจากหยุดใช้สารเคมี ใช้แมลงตัวห้า เช่น แมลงหางหนีบ หรือ มวน เพชฌฆาต หรือ มวนพิฆาตปล่อยในแปลงเพื่อใช้ ควบคุมหนอน
แมลงศัตรูข้าวโพดที่สาคัญและการป้องกันกาจัด หนอนด้วงดีด
หนอนด้วงดีด
ตัวเต็มวัยด้วงดีด
ลักษณะการเข้าทาลาย ระยะทาลายข้าวโพดคือระยะ ต้นอ่อน หนอนที่พึ่งออกจากไข่ จะกัดกินเมล็ดข้าวโพดที่ปลูก อยูใ่ นดิน กัดราก โคนต้นอ่อน ทาให้ใบเหี่ยว และแห้งตาย การ ทาลายในระยะต้นโต หนอนกัดกินราก กัดกินส่วนโคนต้น และ เจาะเข้าไปในลาต้นทาให้ตน้ ข้าวโพดหักล้ม ปัจจุบันพบการ เข้าทาลายในพื้นที่ปลูกข้าวโพดมากขึ้น ในแปลงที่ปลูกพืช ติดต่อกัน จะมีประวัติการเข้าทาลายของหนอนด้วงดีดสูงกว่า แปลงที่มีการพักแปลง
ต้นอ่อนข้าวโพดที่ถูกทาลายโดยหนอนด้วงดีด
วิธีการป้องกันกาจัดตามคาแนะนาของกรมวิชาการเกษตร ในพื้นที่ที่มีการระบาด ก่อนปลูกข้าวโพด หลัง เตรียมดินต้องรองพื้นด้วยสารฟริโปรนิล 6 % ดับเบิ้ลยูจี อัตรา 6 กิโลกรัมต่อไร่
โรคข้าวโพดที่สาคัญและการป้องกันกาจัด โรคราน้าค้าง
วิธีการป้องกันกาจัดตามคาแนะนาของกรมวิชาการเกษตร ลักษณะอาการ เกิดโรคได้ตั้งแต่ข้าวโพดเริ่มงอก ➢ ใช้พันธุ์ต้านทาน เช่น พันธุ์นครสวรรค์ 3 โดยพบจุดเล็ก ๆ สีเขียวฉ่าน้าบนใบอ่อน ต่อมา ➢ คลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูก ใบมีสีเหลืองซีดโดยเฉพาะใบยอด หรือ ใบลาย ➢ ในพื้นที่ที่เคยพบการระบาด หรือมีสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะช่วงหลังปลูกจนถึง เป็นทางสีเขียวอ่อนสลับสีเขียวแก่ ช่วงเช้ามัก ข้าวโพดอายุ 3 สัปดาห์ เมื่อข้าวโพดอายุ 5-7 วัน ควร พบเชื้อราลักษณะเป็นผงสีขาวจานวนมากบนใบ พ่นสารป้องกันกาจัดโรคพืชไดเมโทมอร์ฟ 50% บางครั้งพบยอดข้าวโพดแตกเป็นพุ่ม ต้นแคระ ดับเบิ้ลยูพี หรือเมทาแลกซิล 25% ดับเบิ้ลยูพี ทุก 7 แกร็น เตี้ย ข้อถี่ ไม่มีฝัก หรือมีฝักที่ติดเมล็ดน้อยหรือไม่ตดิ เมล็ดเลย วัน 3-4 ครั้ง หรือมีจานวนฝักมากกว่าปกติ ข้าวโพดอายุ 1-3 สัปดาห์ จะอ่อนแอ ➢ หมั่นสารวจแปลง ถ้าพบอาการใบลายในต้นข้าวโพด ต่อโรคมาก ให้รีบถอนออกแล้วนาไปทาลายนอกแปลง ➢ ปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียน เพื่อตัดวงจรการระบาด การแพร่ระบาด เชื้อราสาเหตุจะเจริญเติบโตได้ดเี มื่อ ของโรค อุณหภูมิต่า ประมาณ 20-26 องศาเซลเซียส และความชื้นสูง ในเวลา ➢ การพ่นสารป้องกันกาจัดโรคพืชหลังจากข้าวโพดอายุ เช้ามืดพบเชื้อโรคสร้างสปอร์ เป็นผงสีขาวๆ บนผิวใบของข้าวโพด 20 วันขึ้นไป จะไม่สามารถป้องกันกาจัดโรคนี้ได้ เมื่อสปอร์แก่จะแพร่ระบาดไปโดยลมเข้าทาลายต้นอื่นๆ ต่อไป สาหรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แนะนาให้ป้องกันกาจัดโดยวิธี คลุกเมล็ด
โรคข้าวโพดที่สาคัญและการป้องกันกาจัด โรคใบไหม้แผลใหญ่ ลักษณะอาการของโรค เกิดได้กับทุกส่วน ของลาต้นข้าวโพด โดยเฉพาะบนใบ นอกจากนั้นยังพบที่กาบใบ ลาต้นและฝัก เมื่อข้าวโพดเป็นโรคใบจะเกิดแผลขนาด ใหญ่สีเทา หรือสีน้าตาล แผลจะเกิดที่ใบ ล่างก่อนแล้วลามขึ้นสู่ใบบน ถ้าอาการ รุนแรงแผลจะขยายรวมกันมีขนาดใหญ่ ทาให้ใบไหม้และแห้ง ตายในที่สุด ข้าวโพดพันธุ์อ่อนแอจะแสดงอาการของโรคอย่าง รุนแรง โดยจะทาให้การติดเมล็ดไม่สมบูรณ์ ฝักมีขนาดเล็ก บิดเบี้ยว มักพบการระบาดของโรคโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีการปลูก ข้าวโพดติดต่อกันหลายฤดู โดยเชื้อราจะสร้างสปอร์บนแผลเก่าๆ และสปอร์ก็จะแพร่ระบาดไปโดยลม ฝน เมื่อมีความชื้น สปอร์จะ งอกเข้าทาลายใบข้าวโพด เชื้อราสาเหตุของโรคสามารถอยู่ข้าม ฤดูในเศษซากพืชได้
วิธีการป้องกันกาจัดตามคาแนะนาของกรมวิชาการเกษตร ➢ ปลูกพืชหมุนเวียน เผาทาลายเศษซากพืช ➢ ไม่ปลูกข้าวโพดหนาแน่นเกินไป และไม่ใส่ปุ๋ย ไนโตรเจนสูงเกินไป ➢ ควรหมั่นตรวจแปลงอยู่เสมอตั้งแต่ระยะทีข่ ้าวโพด ยังเล็ก ในพื้นที่ที่มีการระบาดรุนแรงเมื่อพบข้าวโพด เริ่มแสดงอาการให้พ่นด้วยสารป้องกันกาจัดโรคพืช
การปลูกข้าวโพดหลังนา ให้ได้กาไรสูงสุด
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขต 2 กรมวิชาการเกษตร จ.พิษณุโลก