2
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
3
4
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
5
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
6
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
“เราจะสื บสาน รักษา และตอยอด และครองแผนดิ ่ ่ นโดย ธรรมเพือ ่ ประโยชนสุ ่ ์ ขแหงอาณาราษฎรตลอดไป” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหั ่ ว พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการ ในการพระราชพิธบ ี รมราชาภิเษกปี 2562
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
7
1.หลักการและเหตุผล
8
2. วิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission)
10
3. นโยบายสินเชื่อของธนาคาร (Lending Policy)
12
4. แนวทางการให้สินเชื่อของธนาคาร (Credit Policy Guide)
14
4.1 สินเชื่อที่ธนาคารให้การสนับสนุน
14
4.2 สินเชื่อที่ธนาคารให้การสนับสนุนอย่างระมัดระวัง
18
4.3 สินเชื่อที่ธนาคารไม่ให้การสนับสนุน
21
5. กระบวนการให้สินเชื่อของธนาคาร
25
5.1 กระบวนการก่อนการอนุมัติสินเชื่อ
26
5.2 กระบวนการหลังการอนุมัติสินเชื่อ
30
5.3 กระบวนการเมื่อมีสินเชื่อค้างชาระ
31
6.ซักซ้อมการดาเนินงานตามนโยบายสินเชื่อ
32
สินเชื่อที่ธนาคารให้การสนับสนุน
32
สินเชื่อที่ธนาคารให้การสนับสนุนอย่างระมัดระวัง
34
สินเชื่อที่ธนาคารไม่ให้การสนับสนุน
38
กรณีลูกค้าเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
40
กรณีการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าเกษตรหรือบุคคล ที่ปัจจุบัน ดาเนินธุรกิจในลักษณะผู้ประกอบการ
41
กรณีการให้สินเชื่อที่ใช้ผลิตภัณฑ์เงินฝากหรือสลากออม ทรัพย์เป็นประกัน (ฉ.35)
42
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
8
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
ตามพระราชบัญญัตธิ นาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร พ.ศ.2509 มีเจตนารมณ์ให้ธนาคารเป็นสถาบันการเงินเพื่อพัฒนาชนบท โดยให้ ความช่วยเหลือทางการเงินหรือการบริหารจัดการแก่ เกษตรกร กลุ่ม เกษตรกร บุคคล กลุ่มบุคคล ผูป้ ระกอบการ สหกรณ์ กองทุนหมูบ่ า้ นหรือชุมชน รวมทัง้ องค์กรทีม่ วี ตั ถุประสงค์ในการสนับสนุนประกอบอาชีพของเกษตรกรหรือ ชุมชน และตามแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (ปีบญ ั ชี 2560 – 2564) ซึง่ กาหนดภารกิจให้ ธนาคาร มุง่ เน้นการสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนแบบองค์รวม การเพิม่ ขีด ความสามารถภาคเกษตร การพัฒนาทางการเงินอย่างครบวงจร การบริหารเงินทุนให้ สมดุลและเพียงพอ การเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์กร และความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม เพือ่ การยกระดับคุณภาพชีวติ ของเกษตรกร ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเพิม่ ประสิทธิภาพของการบริหาร และบริการ ประชาชน ธนาคารจึงได้กาหนดยุทธศาสตร์สนับสนุนสินเชือ่ เชิงรุกอย่างมีคณ ุ ภาพ ด้วยหลักธรรมาภิบาล เพือ่ ให้สดั ส่วนสินเชือ่ ภาคเกษตรต่อสินเชือ่ นอกภาคเกษตรมี หลักการพิจารณาทีช่ ดั เจน สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์เงินกูใ้ ห้สอดคล้องกับศักยภาพ ทีเ่ พิ่มขึ้นของลูกค้า
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
9
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
10
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
2.1 วิสัยทัศน์ของธนาคาร “เป็นธนาคารพัฒนาชนบททีม่ ั่นคง มีการจัดการที่ ทันสมัย ให้บริการทางการเงินครบวงจร เพือ่ ยกระดับคุณภาพ ชีวติ ของเกษตรกรอย่างยัง่ ยืน”
2.2 พันธกิจ เพื่อก้าวสู่การเป็นธนาคารพัฒนาชนบทเต็มรูปแบบ ธ.ก.ส. ได้กาหนด พันธกิจสาคัญไว้ 5 ประการ คือ 2.2.1 บริการทางการเงินครบวงจร เพื่อตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพของห่วงโซ่คุณค่าสินค้าเกษตร โดยความร่วมมือ กับเครือข่าย 2.2.2 พัฒนาการบริหารและการจัดการทรัพยากรร่วมกับเครือข่าย เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกร ชุมชน สถาบันเกษตรกร และองค์กร การเงินชุมชน อย่างเกื้อกูล แบ่งปัน เป็นธรรม 2.2.3 บริหารจัดการเงินทุนให้เพียงพอ และมีต้นทุนที่เหมาะสมต่อลูกค้า และการดาเนินงาน 2.2.4 ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหาร และการให้บริการรวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของลูกค้า 2.2.5 มุ่งมั่นหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีและยึดมั่นในการสร้างคุณค่า ร่วมที่สมดุลด้านเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมั่นคง ยั่งยืน
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
11
2.3 วิสัยทัศน์ด้านสินเชื่อ “มุ่งเน้นการให้สินเชื่ออย่างมีคุณภาพและครบวงจร ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของลูกค้า สร้างความเข้มแข็งของชุมชนอย่างมั่นคงและยั่งยืน”
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
12
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
3.1 สนับสนุนสินเชื่อแก่เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร บุคคล กลุม่ บุคคล ผู้ประกอบการ สหกรณ์ กองทุนหมูบ่ า้ นหรือชุมชน และองค์กร ให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนอย่างพอเพียง ควบคู่กับการส่งเสริม การออมเงิน ด้วยบริการที่ทันสมัย สะดวก รวดเร็ว การพัฒนาความรู้ ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของลูกค้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน
3.2 สนับสนุนสินเชื่อตลอดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain Financing) แบบครบ วงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Added) 3.3 พัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการสินเชื่อ เพื่ออานวยความสะดวก และลด ต้นทุนในการเข้าถึงบริการสินเชื่อของลูกค้า รวมทั้งสนับสนุนการให้ความรู้ ทางการเงินแก่เกษตรกร (Financial Literacy) 3.4 สนับสนุนสินเชื่ออย่างมีคุณภาพ ภายใต้กฎเกณฑ์ ข้อกาหนดของ หน่วยงานกากับดูแลสถาบันการเงิน โดยมุ่งเน้นกระบวนการให้สินเชื่อที่ดี ควบคู่ กับการพัฒนาคุณภาพบุคลากร นาไปสู่การสร้างวัฒนธรรมการให้สินเชื่อที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล 3.5 สนับสนุนกระบวนการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง พร้อมทั้งเสริมสร้างเครือข่ายลูกค้า รักษาลูกค้าเดิม และขยายฐาน ลูกค้าใหม่ให้ใช้บริการสินเชื่อเพิ่มขึ้น 3.6 สนับสนุนให้ลูกค้าเข้าถึงระบบการประกันความเสี่ยงความเสียหายในชีวิต ทรัพย์สิน และอาชีพ แบบครบวงจร มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันให้กับลูกค้า และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
13
3.7 การบริหารจัดการสัดส่วนสินเชื่อ (Portfolio) เพื่อการบริหารสภาพคล่องให้เพียงพอ และสร้าง ผลตอบแทนที่เหมาะสม รวมถึงการสนับสนุนการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดทาบัญชีธุรกรรมนโยบายรัฐ (Public Service Account : PSA) แยกจากธุรกรรมปกติของธนาคาร อย่างชัดเจน
3.8 สนับสนุนสินเชื่อภาคเกษตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเงินที่ให้กู้ในแต่ละรอบปีบัญชี 3.9 กาหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล นางบการเงินที่แสดงต่อกรมสรรพากรในการยื่นรายการ ภาษีเงินได้มาใช้ประกอบการพิจารณาการทาธุรกรรมด้านสินเชื่อ และการทบทวนการทาธุรกรรมด้านสินเชื่อ
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
14
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
เพื่อสนับสนุนสินเชื่อให้สอดคล้องกับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการผลิตภาค เกษตร ที่มีการขยายตัวของผลผลิตพืชและปศุสัตว์ รวมถึงสนับสนุนการยกระดับมาตรฐานผลผลิตให้ มีคุณภาพสูง และรักษาส่วนแบ่งการตลาดสินเชื่อเกษตร ธนาคารจึงสนับสนุนสินเชื่อที่มีวัตถุประสงค์ เชื่อมโยงแบบครบวงจร และสินเชื่อที่ให้ความสาคัญต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม การสร้างงานในชนบท และ เศรษฐกิจชุมชน รวมทั้งการลงทุนเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยให้การสนับสนุน สินเชื่อเชิงรุกอย่างมีคุณภาพ ดังนี้
4.1.1 สินเชื่อเกษตร 4.1.1.1 สินเชื่อเพื่อการผลิตในกลุ่มผลิตผลที่เป็นที่ต้องการของตลาดและมีความ เหมาะสมกับพื้นที่ 4.1.1.2 สินเชื่ออาหารปลอดภัย เช่น ส่งเสริมการผลิตตามแนวคิดทฤษฎีใหม่ เกษตร ปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ และการผลิตตามมาตรฐาน GAP เป็นต้น เพื่อสร้างมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตให้ผู้บริโภคมั่นใจ 4.1.1.3 สินเชื่อเพื่อการสร้าง และพัฒนาแหล่งน้าหรือระบบน้าเพื่อการเกษตร เพื่อลด ความเสี่ยงการผลิตและเพิ่มผลผลิตของเกษตรกร 4.1.1.4 สินเชื่อเพื่อลงทุนซื้อหรือซ่อมแซมเครื่องจักรกลการเกษตร เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต หรือลดค่าใช้จ่ายการผลิตของเกษตรกร 4.1.1.5 สินเชื่อการผลิตทางการเกษตรรูปแบบใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของ เกษตรกร เช่น สนับสนุนการทาการเกษตรแปลงใหญ่ การผลิตในลักษณะนวัตกรรม (Smart Farmer) การปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของกิจการตามโครงการสินเชื่อ SME เกษตร เป็นต้น เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
15
4.1.1.6 สินเชื่อเพื่อลงทุนที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพเกษตรหรือเกี่ยวเนื่อง กับอาชีพเกษตร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตของเกษตรกร 4.1.2 สินเชื่อห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain Financing) 4.1.2.1 สินเชือ่ ห่วงโซ่มลู ค่าในกลุม่ ผลิตผลตามความต้องการของตลาด เพื่อเป็นทุน หมุนเวียน หรือค่าลงทุนในการดาเนินธุรกิจครบวงจรตลอดห่วงโซ่มลู ค่า เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Added) ให้กับผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร 4.1.2.2 สินเชื่อเพื่อให้สหกรณ์ขยายกิจการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างกัน พัฒนาด้าน การตลาด เพื่อก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มและเพิ่มรายได้ให้แก่สหกรณ์ รวมถึงสมาชิกสหกรณ์ 4.1.2.3 สินเชื่อเพื่อสนับสนุนการประกอบการที่มีลักษณะเชื่อมโยงธุรกิจครบวงจร ตลอดห่วงโซ่มลู ค่า (Value Chain) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรหรือผลิตภัณฑ์การเกษตร
4.1.3 สินเชื่อเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน 4.1.3.1 สินเชื่อเพื่อเป็นทุนหมุนเวียน หรือค่าลงทุนที่มีลักษณะอนุรักษ์ธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม เช่น การเกษตรเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การส่งเสริมการปลูกปุาเศรษฐกิจ การประหยัดพลังงาน การสร้างมูลค่าเพิ่มจากของเหลือใช้ เป็นต้น หรือการนาของเสียกลับมาใช้ใหม่ เช่น โรงงานกาจัดขยะ มูลฝอย โรงงานปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น 4.1.3.2 สินเชื่อเพื่อสร้างพลังงานทดแทน เช่น การผลิตไฟฟูาจากก๊าซชีวภาพ การ ผลิตไฟฟูาจากชีวมวลซึง่ ดาเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น เพื่อสร้างความมั่นคงทาง พลังงานของประเทศและลดการใช้พลังงานจากฟอสซิล
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
16
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
4.1.4 สินเชื่อเพื่อสร้างงานในชนบท 4.1.4.1 สินเชื่อเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนให้กับสถาบันเกษตรกร กองทุนหมู่บ้าน สถาบัน การเงินชุมชน เพื่อนาไปให้สมาชิกกู้ยืม เพื่อสร้างงานสร้างรายได้แก่ชุมชน และเป็นการพัฒนาศักยภาพ การประกอบการขององค์กรชุมชน 4.1.4.2 สินเชื่อเพื่อให้กองทุนหมู่บ้าน สถาบันการเงินชุมชน หรือองค์กรที่สมาชิก ประสงค์จะใช้บริการสินเชื่อของธนาคาร 4.1.4.3 สินเชื่อเพื่อการลงทุนที่เกิดประโยชน์โดยตรงต่อการประกอบอาชีพเกษตรหรือ เกี่ยวเนื่องกับอาชีพเกษตร 4.1.4.4 สินเชื่อเพื่อให้เกษตรกร และบุคคลในครอบครัวประกอบอาชีพเกี่ยวเนื่อง หรือ อาชีพนอกภาคเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ในครัวเรือน
4.1.5 สินเชื่อเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและที่อยู่อาศัย 4.1.5.1 สินเชื่อเพื่อการศึกษา ฝึกอบรม และศึกษาดูงานภายในประเทศของเกษตรกร และ บุคคลในครอบครัว เพื่อการพัฒนาศักยภาพการประกอบอาชีพของลูกค้า 4.1.5.2 สินเชื่อเพื่อลงทุนก่อสร้าง ต่อเติม ปรับปรุง และซ่อมแซมที่อยู่อาศัย หรือซื้อที่ อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับเกษตรกรและครอบครัวตามความจาเป็นพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี 4.1.5.3 สินเชื่อเพื่อจัดหาปัจจัยตามความจาเป็นพื้นฐานต่อการดาเนินชีวิต เพื่อส่งเสริม คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น รถจักรยานยนต์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
17
4.1.6 สินเชื่อเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน 4.1.6.1 สินเชื่อเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก ช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ และสร้าง โอกาสในการประกอบอาชีพของประชาชน เช่น การให้สินเชื่อแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นทุน หมุนเวียนในกิจการสถานธนานุบาล เป็นต้น 4.1.6.2 สินเชื่อเพื่อส่งเสริม หรือสนับสนุนการพัฒนาผลิตผล หรือผลิตภัณฑ์ของ เกษตรกรหรือชุมชน เช่น การสร้างโรงชาแหละเนื้อสัตว์ สร้างโรงสีข้าวชุมชน เป็นต้น 4.1.6.3 สินเชือ่ เพือ่ ส่งเสริม หรือสนับสนุนให้ชมุ ชนมีความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจ เช่น สร้าง ตลาดนัด ตลาดสด การส่งเสริมพัฒนากลุ่มอาชีพต่างๆ และการปรับปรุงระบบชลประทาน เป็นต้น 4.1.6.4 สินเชื่อเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของชุมชน เช่น การลงทุนสร้าง ศูนย์เรียนรู้ชุมชน การสร้างสถานพยาบาลในชุมชน เป็นต้น 4.1.6.5 สินเชื่อเพื่อให้เกษตรกร บุคคล กลุ่มบุคคล วิสาหกิจชุมชน ในการดาเนินธุรกิจ ท่องเที่ยวชุมชน ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน เช่น ศูนย์ จาหน่ายสินค้าชุมชน รีสอร์ท ที่พัก เป็นต้น
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
18
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
เพื่อควบคุมปริมาณและคุณภาพสินเชื่อ ปูองกันความเสี่ยงที่จะให้ สินเชื่อในกิจกรรมบางประเภทที่มีความเสี่ยงสูง หรือการลงทุนที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้และไม่เพิ่มศักยภาพ การเกษตรหรือคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ตลอดจนเพื่อปูองกันความเสียหายอันเนื่องมาจากการแข่งขัน ทางการตลาดในพื้นที่ หรือมีความเสี่ยงจากการลงทุนสูงเกินความจาเป็น ไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การดาเนินงานของธนาคารในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการ บริหารจัดการที่ดี โดยกาหนดกรอบการพิจารณาให้สินเชื่อลักษณะเชิงรับไว้ ดังนี้ 4.2.1 สินเชื่อเพื่อการผลิตพืช และสัตว์ ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น การผลิตส้มเขียวหวาน การ เลี้ยงกุ้ง เป็นต้น ซึ่งต้องมีการบริหารจัดการที่ดี ทั้งด้านการผลิต และการตลาด การพิจารณาให้สนิ เชื่อ ต้องสามารถปิดความเสี่ยงอันจะเกิดความล้มเหลวของโครงการจากการผลิต และการตลาดของลูกค้าได้
4.2.2 สินเชื่อเพื่อดาเนินธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูง หรือมีคู่แข่งจานวนมาก เช่น ธุรกิจสถานี บริการน้ามันเชิงพาณิชย์ โดยจะให้การสนับสนุนเฉพาะกรณีเป็นธุรกิจครบวงจร ซึ่งเป็นการให้บริการ ช่วยเหลือสมาชิกและชุมชน เป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น 4.2.3 สินเชื่อเพื่อการลงทุนสร้างอาคารสานักงาน หรือสิ่งปลูกสร้าง โดยจะให้การสนับสนุน เฉพาะกรณีที่มีความจาเป็นเพื่อปรับปรุงการให้บริการสมาชิก หรือก่อประโยชน์ต่อชุมชน เป็นส่วนใหญ่
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
19
4.2.4 สินเชื่อเพื่อลงทุนซื้อที่ดินของสหกรณ์ที่มีความเหมาะสม เพื่อความมั่นคงของสหกรณ์ อ
โดยไม่กระทบผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของสหกรณ์ เช่น ซื้อที่ดินที่สหกรณ์เป็นผู้เช่าเพื่อความ มั่นคงของสหกรณ์ ซื้อที่ดินเพื่อสร้างลานรวบรวมผลิตผล ซื้อที่ดินเพื่อสร้างโกดังเก็บผลิตผลสินค้า เป็นต้น
4.2.5 สินเชื่อเพื่อชาระหนี้สถาบันการเงินอื่น (Refinance) ให้การสนับสนุนได้เฉพาะเกษตรกร บุคคล ผูป้ ระกอบการ (นิตบิ คุ คล) และสถาบันเกษตรกร ทีข่ อเปลีย่ นแปลงแหล่งเงินกูจ้ ากสถาบันการเงินอืน่ มา ใช้บริการสินเชื่อ ธ.ก.ส. โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ 4.2.5.1 กรณีเกษตรกร บุคคลและสถาบันเกษตรกร 1) เป็นลูกค้าที่ใช้บริการสินเชื่อทั้งจาก ธ.ก.ส. และสถาบันการเงินอื่น หรือ 2) เป็นลูกค้าเดิมที่เปลี่ยนการใช้บริการสินเชื่อจาก ธ.ก.ส. และไปใช้บริการสินเชื่อจาก สถาบันการเงินอื่นทั้งหมด หรือ 3) เป็นเกษตรกร บุคคล และสถาบันเกษตรกร ทีเ่ กี่ยวข้องในห่วงโซ่มูลค่าสินค้าเกษตรและ ต้องการทาธุรกิจเชื่อมโยงตามห่วงโซ่มูลค่า 4.2.5.2 กรณีผู้ขอกู้ที่เป็นผู้ประกอบการ (นิติบุคคล) ต้องเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง ในห่วงโซ่สินค้าเกษตรทาธุรกิจเชื่อมโยงตามห่วงโซ่มูลค่า และมีคุณสมบัติตามโครงการสินเชื่อ SME เกษตร
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
20
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
4.2.6 สินเชื่อเพื่อลงทุนในการจัดทา โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ของท้องถิ่นที่ อยู่ในแผนพัฒนาเพื่อของบประมาณในการลงทุน จากภาครัฐ เช่น โครงการซ่อมแซมถนนหรือสะพาน เพื่อการขนส่งผลิตผลการเกษตร หรือการลงทุนใน กรณีจาเป็นเร่งด่วน อาทิ โครงการปูองกันน้าท่วม เป็นต้น
4.2.7 สินเชื่อเพื่อชาระหนี้สินภายนอก ของเกษตรกร สมาชิกกองทุนหมู่บ้าน สถาบัน การเงินชุมชน หรือวิสาหกิจชุมชน เช่น การปลด เปลื้องหนี้สินนอกระบบตามมูลหนี้เดิมที่แท้จริงของ เกษตรกร เป็นต้น
4.2.8 สินเชื่อเพื่อลงทุนซื้อที่ดินของ เกษตรกร เช่น เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย เพื่อขยายการ ประกอบอาชีพให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น เพื่อการขนส่ง ผลิตผล เป็นต้น
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
อ
เพื่อปูองกันความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการเงินทุนให้มี ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงการรักษาภาพลักษณ์ ของธนาคาร การดูแลลูกค้าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ถกู ต้องตาม เจตนารมณ์ของกฎหมาย และไม่ให้สินเชื่อในกิจกรรมบางประเภทที่ไม่ ก่อให้เกิดรายได้ ทาลายสิง่ แวดล้อม หรือมีผลกระทบต่อชุมชน ธนาคารจึงกาหนดสินเชื่อที่ไม่ให้การสนับสนุนไว้ ดังนี้
21
4.3.1 สินเชื่อเพื่อการผลิต หรือการประกอบ กิจการที่ขัดต่อกฎหมาย ประเพณีศีลธรรมอันดีของ ประชาชน
4.3.2 สินเชื่อเพื่อการผลิต การลงทุน หรือการประกอบกิจการที่มีความเสี่ยงสูง มีลักษณะ การ เก็งกาไร ไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และไม่มีข้อมูลทางการตลาดอ้างอิงได้ หรือธุรกิจประเภท ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการเพิ่มผลผลิตของประเทศในระยะยาว และอาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ โดยรวม เช่น การลงทุนเลี้ยงโคสวยงาม นกเขาสวยงาม การให้สินเชื่อที่เข้าข่ายกักตุนสินค้าในช่วงที่ขาด แคลน การนาเข้าสินค้าฟุุมเฟือย เป็นต้น 4.3.3 สินเชื่อเพื่อชาระหนี้สถาบันการเงินอื่น (Refinance) หรือสินเชื่ออื่นที่ผู้ขอกู้มีหนี้ ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หนี้ผิดนัดชาระ หนี้ที่ถูกธนาคารหรือเจ้าหนี้อื่นดาเนินคดี หรืออยู่ระหว่างดาเนินคดี
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
22
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
4.3.4 สินเชื่อเพื่อซื้อที่ดิน ลักษณะเก็งกาไร หรือการซื้อที่ดินแปลงใหญ่ในลักษณะที่เป็นการ รวบรวมทีด่ ินแปลงย่อยจากเกษตรกร ซึง่ อาจเกิดผลกระทบกับสถานภาพการทากินของเกษตรกรรายย่อย และเกิดผลกระทบทางสังคม 4.3.5 สินเชื่อที่ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์การจัดตั้งของสหกรณ์ กองทุนหมู่บ้าน วิสาหกิจชุมชน นิติบุคคลและองค์กร เช่น ธุรกิจจัดสรรที่ดินของสหกรณ์ออมทรัพย์ การนาเงินทุนส่วนใหญ่ไปฝาก สถาบันการเงินอื่นหรือสหกรณ์ด้วยกัน โดยไม่ใช้เงินทุนเพื่อบริการสมาชิกตามวัตถุประสงค์ของ สหกรณ์ เป็นต้น 4.3.6 สินเชื่อเพื่อลงทุนในทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หรือทรัพย์สินประจาที่เอื้อประโยชน์ โดยตรงเฉพาะตัวบุคคลหรือในลักษณะเป็นการเก็งกาไร เช่น การซือ้ รถยนต์ประจาตาแหน่ง การซือ้ ห้องชุด หรือคอนโดมิเนียมสาหรับผู้บริหารองค์กร เป็นต้น
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
23
4.3.7 สินเชื่อที่ดาเนินการในลักษณะแชร์ลกู โซ่ เช่น การลงทุนร่วมกับผูป้ ระกอบการทีด่ าเนินธุรกิจ สลากกินแบ่งรัฐบาลหรือธุรกิจอืน่ ทีม่ ลี กั ษณะทานองเดียวกัน เป็นต้น 4.3.8 สินเชื่อเพื่อการลงทุนสร้างอาคารให้เช่าพักแก่บุคคล และผู้ประกอบการ (นิติบุคคล) ใน ลักษณะโรงแรมหรืออพาร์ทเม้นท์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจชุมชน หรือชุมชนในชนบท ไม่สนับสนุนการสร้าง งานและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ของเกษตรกร 4.3.9 สินเชื่อเพื่อดาเนินธุรกิจที่มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย 4.3.10 สินเชื่อเพื่อการประกอบกิจการที่มีลักษณะเป็นการทาลายสิ่งแวดล้อม สร้างมลพิษ หรือการดาเนินการที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
24
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
25
หลักการให้สินเชื่อเป็นการนานโยบายสินเชื่อ และ แนวทางการให้สินเชื่อของธนาคารมาสู่การนาไปใช้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีกระบวนการที่ชัดเจน และ กาหนดกิจกรรมของการตรวจสอบ เพื่อให้สินเชื่อของ ธนาคารมีคุณภาพ และมีหลักในการตัดสินใจที่ชัดแจ้ง ลด ความเสี่ยงในการเกิดหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ มีการขยายตัว ของสินเชื่อที่สอดคล้องกับความต้องการเงินทุน การ กระจายความเสี่ยง และอยู่ในกฎเกณฑ์ของส่วนงานกากับดูแล ธนาคาร รวมถึงมีระบบการติดตามทบทวนสินเชื่อที่ดี ผู้บริหารทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับการให้สินเชื่อของ ธนาคาร จะต้องสื่อสารทาความเข้าใจกับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ ทราบ เพื่อให้เข้าใจในหลักการให้สินเชื่ออย่างถูกต้องโดยทั่ว กัน และมีการนาไปใช้ในการปฏิบัติงานสินเชื่ออย่างเคร่งครัด ซึ่งในการปฏิบัติงานมีการทบทวนความเข้าใจจากคู่มือวิธี ปฏิบัติงานด้านสินเชื่อที่เกี่ยวข้องอย่างสม่าเสมอ
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
26
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
ธนาคารกาหนดกรอบในการปฏิบัติงานด้านสินเชื่อตามข้อบังคับฉบับที่ 20 ข้อบังคับฉบับที่ 23 ข้อบังคับฉบับที่ 26 ข้อบังคับฉบับที่ 31 ข้อบังคับฉบับที่ 35 ข้อบังคับฉบับที่ 44 ข้อบังคับฉบับที่ 45 ข้อบังคับฉบับที่ 46 และข้อบังคับฉบับที่ 56 ให้ผู้จัดการมีอานาจจัดทาวิธีปฏิบัติงานด้านสินเชื่อที่ เกี่ยวข้องตามประเภทลูกค้า หรือตามผลิตภัณฑ์สินเชื่อ เพื่อให้พนักงานมีแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ลดความเสี่ยง มีมาตรฐานในการให้สินเชื่อ เพื่อเป็นการกากับการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างมีคุณภาพ ตามหลักธรรมาภิบาลของธนาคาร ซึ่งสรุปได้ ดังนี้
5.1.1 การรับลูกค้า กาหนดให้ลูกค้าทุก ประเภทต้องผ่านการสอบสวนข้อมูลก่อนรับขึ้น ทะเบียนเป็นลูกค้า เพื่อให้ทราบข้อมูลของลูกค้าทั้ง ข้อมูลประวัติส่วนตัวและครอบครัว ประสบการณ์ใน การประกอบอาชีพ ฐานะทางการเงินและสังคม เพื่อ สร้างความเชื่อมั่นให้ธนาคารในฐานะผู้ให้สินเชื่อ
5.1.2 การวิเคราะห์สินเชื่อ กาหนดให้มีโครงสร้างการ ปฏิบัติงานสินเชื่อที่มีการถ่วงดุล และการตรวจสอบข้อมูลซึ่งกันและกัน (Check & Balance) ตามมาตรฐานการให้สินเชื่อที่ดีของธนาคารแห่ง ประเทศไทย(ธปท.) กล่าวคือ การแบ่งแยกหน้าที่งานเก็บข้อมูล รวบรวม เอกสารที่เกี่ยวข้อง และวิเคราะห์สินเชื่อเบื้องต้น (Relationship Manager : RM) การวิเคราะห์กลั่นกรองคาขอสินเชื่อ (Credit Analysis : CA) และผู้อนุมัติ โดยวิเคราะห์ตวั ผู้กู้ โครงการ หรือกิจการที่ขอกู้ และหลักประกัน เพื่อลดความเสี่ยงในการให้สินเชื่อ ซึ่งการวิเคราะห์โครงการจะพิจารณา ข้อมูลรายได้รายจ่ายที่มีแหล่งที่มาของข้อมูลอ้างอิงเป็นมาตรฐาน งบการเงิน อัตราส่วนทางการเงิน เปรียบเทียบกับมาตรฐานอุตสาหกรรม และพิจารณาความสามารถในการชาระหนี้จากประมาณการกระแส เงินสดของธุรกิจที่ขอกู้ และประมาณการกระแสเงินสดทั้งครัวเรือน
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
27
โครงสร้างการปฏิบัติงานสินเชื่อ Relationship Manager
Credit Analyst (CA)
Credit Approval
พิธีการ
Risk Management
Audit and Report
โดยธนาคารได้กาหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องตามโครงสร้างการปฏิบัติงาน สินเชื่อไว้ ดังนี้ 5.1.2.1 กรณีลูกค้ารายย่อยที่มีวงเงินสินเชื่อรวมไม่เกินอานาจอนุมัติของสาขา ธนาคาร กาหนด ให้พนักงานพัฒนาธุรกิจประจาสาขารวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์สนิ เชื่อตามมาตรฐาน โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป (Computerize) ช่วยในการวิเคราะห์สินเชื่อ Credit Scoring และอนุมัติสินเชื่อโดยผู้มี อานาจอนุมัติ ตามคาสั่งมอบอานาจของธนาคาร 5.1.2.2 กรณีลูกค้ารายใหญ่ที่มีวงเงินสินเชื่อรวมเกินอานาจอนุมัติของสาขา ธนาคาร กาหนดหน้าที่ของหน่วยงานหลัก ดังนี้ 1) หน่วยงานที่ทาหน้าที่ติดต่อลูกค้า สอบทานข้อมูล และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ใน การให้สินเชื่อเบื้องต้นและเสนออนุมัติ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาธุรกิจสินเชื่อ (ศพธ.) ร่วมกับสาขา (Relationship Manager : RM) 2) หน่วยงานที่ทาหน้าที่วิเคราะห์ กลั่นกรองสินเชื่อ วิเคราะห์ IBF ซึ่งได้แก่ การ วิเคราะห์แนวโน้มอุตสาหกรรม (Industry : I) วิเคราะห์การดาเนินธุรกิจ (Business : B) และการวิเคราะห์ทาง การเงิน (Financial : F) วิเคราะห์ความเสี่ยง หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ พนักงานวิเคราะห์งานสินเชื่อ ประจาสานักวิเคราะห์และกลั่นกรองสินเชื่อ (สวก.) (Credit Analysis : CA) 3) ผู้อนุมัติ ทาหน้าที่พิจารณาอนุมัติเงินกู้ตามอานาจที่ได้รับคาสั่งมอบอานาจ ของธนาคาร
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
28
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
4) พิธีการสินเชื่อ การติดตามควบคุมกับการปฏิบัติตามเงื่อนไขการอนุมัติเงินกู้ ก่อนจ่ายและหลังจ่ายเงินกู้ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ สานักพิธีการสินเชื่อและหลักประกัน (สพป.) 5) การบริหารความเสี่ยง หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ ฝุายบริหารความเสี่ยง (ฝบส.) ฝุายกฎหมาย (ฝกม.) และสานักส่งเสริมธรรมาภิบาลและกากับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (สธป.) 6) หน่วยงานที่ทาหน้าที่สอบทานสินเชื่อและรายงานผล หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ สานักสอบทานสินเชื่อ (สสช.)
5.1.3 การบริหารความเสี่ยงด้านสินเชื่อ ธนาคารกาหนดให้มีหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการพิจารณา อนุมัติสินเชื่อ และข้อกาหนดเป็นแนวทางเดียวกันตามวิธีปฏิบัติงานสินเชื่อ ดังนี้ 5.1.3.1 การตรวจสอบหนี้เงินกู้ของผู้กู้ กาหนดให้มีการตรวจสอบหนี้เงินกู้ของผู้กู้ ใน การสอบข้อมูลเบื้องต้นทุกราย และตรวจสอบข้อมูลเครดิต เช่น กรณีภาคเกษตรตรวจสอบกรณีวงเงินกู้ เกินกว่า 1 ล้านบาทขึ้นไป กรณีกิจกรรมนอกภาคเกษตรตรวจสอบกรณีวงเงินกู้ตั้งแต่ 1 แสนบาทขึ้นไป เป็นต้น 5.1.3.2 ระยะเวลาให้สินเชื่อ กรณีสินเชื่อเพื่อการลงทุนกาหนดให้ระยะเวลาให้สินเชื่อไม่เกิน ระยะเวลาการใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์ที่ลงทุน หรือกรณีเป็นเงินกู้ค่าใช้จ่ายจะกาหนดไม่เกิน 12 เดือน สูงสุดไม่เกิน 18 เดือน แต่สินเชื่อทุกประเภทจะกาหนดระยะเวลาให้สินเชื่อได้ไม่เกินที่กาหนดไว้ในคู่มือวิธี ปฏิบัติงานสินเชื่อ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
29
5.1.3.3 กาหนดชาระคืนต้นเงินและดอกเบี้ย ธนาคารกาหนดให้ลูกค้าชาระคืนเงินกู้ตามที่มา แห่งรายได้ เช่น ลูกค้ามีแหล่งที่มาแห่งรายได้ทุกเดือน ให้กาหนดงวดการชาระหนี้เป็นรายเดือน เป็นต้น 5.1.3.4 อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ธนาคารกาหนดจากอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงบวกอัตราความ เสี่ยง เช่น กรณีลูกค้ารายคน ใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MRR หรือหากเป็นลูกค้าสถาบัน วิสาหกิจชุมชน หรือกองทุนหมู่บ้าน ใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MLR บวกอัตราความเสี่ยง โดยอัตราความเสี่ยงพิจารณา จากประวัติการชาระหนี้ของลูกค้า หรือผลการประเมินปัจจัยเสี่ยง แล้วแต่กรณี เป็นต้น 5.1.3.5 กาหนดวงเงินกู้ขั้นสูง ธนาคารกาหนดวงเงินกู้ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขต่างกันตาม ประเภทของลูกค้า หรือวัตถุประสงค์การกู้เงิน เช่น กรณีเกษตรกรกู้เงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่าย กาหนดวงเงินกู้ ได้ไม่เกิน 60% ของส่วนเหลือเพือ่ ขาย หรือกรณีเงินกูเ้ พือ่ การลงทุนกาหนดวงเงินกูไ้ ด้ไม่เกิน 80% ของค่า ลงทุน เป็นต้น 5.1.3.6 ประเภทสินเชื่อ ธนาคารกาหนดประเภทสินเชื่อไว้ 3 ประเภทคือ สินเชื่อเพื่อเป็น ค่าใช้จ่ายหรือเงินทุนหมุนเวียน สินเชื่อเพื่อเป็นค่าลงทุน และสินเชื่อเพื่อชาระหนี้ภายนอก 5.1.3.7 หลักประกัน ธนาคารกาหนดให้สินเชื่อทุกประเภทต้องมีหลักประกัน โดยกาหนด วงเงินที่จะใช้ประกันหนี้ได้ตามประเภทของหลักประกัน เช่น กรณีใช้ที่ดินจานองเป็นประกันจะกู้ได้ไม่เกิน 50% ของราคาประเมินและจดทะเบียนสิทธินิติกรรม และสามารถลดหย่อนหลักเกณฑ์ได้ไม่เกิน 80% ของราคา ประเมินและจดทะเบียนสิทธินิติกรรม โดยมอบอานาจให้คณะกรรมการระดับต่างๆ พิจารณาอนุมัติได้ตาม ระดับ กรณีใช้เครื่องจักรเป็นหลักประกัน กาหนดให้ตรวจสอบสภาพของเครื่องจักรทุกปี และหากจะขอกู้ เงินใหม่ หรือต่อสัญญากู้เงินเครดิตเงินสดต้องประเมินราคาและจดจานองใหม่ทุกครั้ง เป็นต้น สาหรับการ ประเมินราคาที่ดิน สาขาสามารถดาเนินการตรวจสอบประเมินราคาที่ดินตามเกณฑ์ที่ธนาคารกาหนด กรณี จ้างบริษัทประเมินที่ธนาคารรับขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประเมิน ต้องมีคณะกรรมการรับราคาประเมินในระดับ สานักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดพิจารณารับราคาประเมิน จึงจะใช้เป็นหลักประกันได้
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
30
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
5.1.3.8 อานาจอนุมัติสินเชื่อ ธนาคารกาหนดอานาจอนุมัติเป็นบุคคลตามตาแหน่ง และใน ลักษณะเป็นคณะกรรมการ ตัง้ แต่ผจู้ ดั การสาขา ผูอ้ านวยการสานักงานธ.ก.ส.จังหวัด คณะกรรมการ พิจารณาอนุมัติการให้สินเชื่อระดับจังหวัด คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติการให้สินเชื่อระดับฝุายกิจการ สาขาคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อระดับธนาคาร คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง จนถึง คณะกรรมการธนาคาร ทั้งนี้ การพิจารณา ปรับปรุง ทบทวน และเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการอนุมัติต่างๆ ให้ เป็นไปตามคาสั่งมอบอานาจของธนาคาร
5.2.1 พิธีการสินเชื่อ หลังจากอนุมัติสินเชื่อ กาหนดให้มีการแจ้งผลการอนุมัติพร้อมเงื่อนไข การอนุมัติสินเชื่อเพิ่มเติมให้ลูกค้าปฏิบัติตามเงื่อนไขอนุมัติสินเชื่อ และสาขาต้องดาเนินการตามเงื่อนไขที่ กาหนด ตามงานพิธีการสินเชื่อก่อนและหลังการจ่ายสินเชื่อ โดยมีผู้ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนจ่าย และหลัง จ่ายเงินกู้ทุกรายตามกฎเกณฑ์ของ ธปท. ที่กาหนด เช่น กรณีสินเชื่อในอานาจอนุมัติของผู้จัดการสาขา ให้ผู้ช่วยผู้จัดการสาขา หัวหน้าการเงิน หรือหัวหน้าหน่วยอาเภอ ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของ เอกสารการกู้เงิน เป็นต้น 5.2.2 การตรวจเยี่ยมลูกค้า กาหนดให้ตรวจสอบการใช้เงินกู้ของลูกค้าเป็นประจาทุกปี เช่น กรณีลูกค้ารายใหญ่ หรือสินเชื่อที่เกินอานาจอนุมัติของผู้จัดการสาขา ให้ส่วนงานที่เกี่ยวข้องตรวจเยี่ยม การใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การกู้ และตรวจเยี่ยมการดาเนินกิจการของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ ตามที่ธนาคารกาหนด 5.2.3 การชาระเงินกู้ กาหนดให้ลูกค้าส่งชาระหนี้ที่สาขา หรือนาเข้าบัญชีเงินฝากเพื่อหักชาระหนี้ อัตโนมัติ ห้ามมิให้พนักงานพัฒนาธุรกิจรับเงินชาระหนี้เงินกู้จากลูกค้าโดยเด็ดขาดเว้นแต่จะได้รับอนุญาต จากธนาคาร 5.2.4 การเร่งรัดติดตามหนี้ ก่อนถึงกาหนด ชาระหนี้ต้องให้มีการเร่งรัดติดตามหนี้ เพื่อให้ทราบลู่ทาง การชาระหนี้ หรือความสามารถในการชาระหนี้ของลูกค้า ซึ่งหากมีปัญหา อุปสรรคในการส่งชาระหนี้ของลูกค้า สามารถแก้ไขได้ทันท่วงที และเป็นการช่วยเหลือลูกค้าในการ แก้ไขปัญหา เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
31
กาหนดให้มีการติดตามหาสาเหตุของการค้างชาระของลูกค้า เพื่อหาทางช่วยเหลือตามกรอบวิธี ปฏิบัติของธนาคาร หากเกิดจากสาเหตุสุจริตจาเป็น ภัยพิบัติ หรือภัยธรรมชาติ ให้พิจารณาผัดผ่อน หรือปรับปรุงโครงสร้างหนี้ให้กับลูกค้า ตามความสามารถในการชาระหนี้ที่แท้จริงของลูกค้าต่อไป 5.3.1 การผัดผ่อน เป็นมาตรการให้ความช่วยเหลือของธนาคาร เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ในเบื้องต้น เมื่อลูกค้าประสบความเสียหายจากการผลิต ภัยธรรมชาติ หรือภัยพิบัติอื่นๆ ที่ลูกค้าไม่ได้ ก่อให้เกิดขึ้นเองด้วยความประมาทเลินเล่อ สามารถเสนอขอผัดผ่อนระยะเวลาการชาระหนี้กับธนาคารได้ โดยพิจารณาใช้เครื่องมือให้เหมาะสม ตามวิธีปฏิบัติของธนาคาร 5.3.2 การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ เป็นมาตรการช่วยเหลือของธนาคาร เพื่อบรรเทาภาระหนี้ ให้ ลูกหนี้สามารถฟื้นฟูการประกอบอาชีพขึ้นใหม่ และเพิ่มขีดความสามารถในการชาระหนี้ การดาเนินการ ปรับปรุงโครงสร้างหนี้นั้น ต้องเป็นไปด้วยความละเอียดรอบคอบ โดยคานึงถึงศักยภาพ ความเป็นไปได้ใน การประกอบอาชีพ ความเป็นไปได้ทางการเงิน และแนวโน้มในการดาเนินธุรกิจของลูกหนี้เป็นสาคัญ ทั้งนี้ ต้องมีความระมัดระวังในการจัดทารายงานการวิเคราะห์ ความครบถ้วน และเป็นจริงของเอกสารสาคัญที่ เกี่ยวข้อง ความสมเหตุสมผล เพื่อให้การพิจารณาเป็นไปด้วยความความถูกต้อง และชัดเจน 5.3.3 การเรียกคืนเงินกู้ และการดาเนินคดี เมื่อเกิดปัญหาหนี้ค้างชาระ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก การนาเงินกู้ไปใช้ไม่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์อันเป็นสาระสาคัญ ไม่ก่อให้เกิดรายได้แก่ครัวเรือน มีเจตนาไม่ ชาระหนี้เงินกู้ โดยไม่มีเหตุจาเป็น มีพฤติกรรมที่อาจทาให้ธนาคารไม่ได้รับชาระหนี้ตามกาหนด หรือสาเหตุ อื่นๆ ให้ใช้มาตรการเรียกคืนเงินกู้ตามคู่มือวิธีปฏิบัติของธนาคาร ซึ่งหากยังไม่ได้รับความร่วมมือจาก ลูกหนี้ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ให้ดาเนินการตามกฎหมายต่อไป ทั้งนี้ การดาเนินการเมื่อมีสินเชื่อค้างชาระตามที่กล่าวข้างต้น ให้ปฏิบัติตามคู่มือวิธีปฏิบัติงานที่ เกี่ยวข้อง โดยต้องคานึงถึงความจาเป็นของลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสียกับหนี้เงินกู้ดังกล่าว และผลประโยชน์ ของธนาคาร เพื่อให้การแก้ไขปัญหาหนี้เงินกู้เกิดผลในทางปฏิบัติ และบรรลุผลสาเร็จร่วมกันทุกฝุายอย่าง แท้จริง
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
32
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
เพื่อให้การดาเนินงานตามนโยบายสินเชื่อมี ความชัดเจนยิ่งขึ้น ขอซักซ้อมเพิ่มเติมตามบันทึก ที่ สพป/24600 ลงวันที่ 22 มีนาคม 2562 ดังนี้ สินเชื่อที่ธนาคารให้การสนับสนุน 1.1 สินเชื่อเพื่อการท่องเที่ยวชุมชน ข้อ 4.1.6.5 เป็นสินเชื่อที่สนับสนุนการดาเนิน ธุรกิจท่องเที่ยวแก่เกษตรกร บุคคล กลุ่มบุคคล และวิสาหกิจชุมชน ที่ดาเนินธุรกิจท่องเที่ยวที่ เกี่ยวข้องกับวิถีของชุมชน การเรียนรู้วีถี เกษตรกรรมชุมชน ก่อให้เกิดรายได้กับชุมชน เพื่อส่งเสริมธุรกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็ง มากขึ้น
การให้สินเชื่อมุ่งเน้นให้สินเชื่อแก่กลุ่มบุคคล และวิสาหกิจชุมชน เป็นลาดับแรก โดยการให้สินเชื่อใหม่ ต้องไม่ส่งผลกระทบกับลูกค้าเดิมที่ธนาคารให้สินเชื่อไว้ก่อนแล้ว เพื่อปูองกันการแข่งขันกันเองระหว่าง ลูกค้า ที่ดาเนินธุรกิจในพื้นที่เดียวกัน
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
33
กรณีเป็นสินเชื่อเพื่อสร้างรีสอร์ท ที่พัก จะให้สินเชื่อได้ในกรณีที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวชุมชน ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ 1. ลูกค้าที่มีวงเงินเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนเดิมอยู่แล้ว ให้สามารถเบิกรับเงินกู้ได้ต่อไปจนสิ้นสุด สัญญาและสามารถพิจารณาอนุมัติวงเงินใหม่ได้ โดยต้องเป็นลูกค้าที่มีประวัติการชาระหนี้ดี 2. กรณีการขอสินเชื่อใหม่ ให้จ่ายสินเชื่อได้เฉพาะสินเชื่อเพื่อเป็นค่าลงทุนเท่านั้น ทั้ง วัตถุประสงค์ในการก่อสร้างใหม่ หรือปรับปรุง ซ่อมแซม หรือขยายกิจการเดิม โดยต้องเป็นลูกค้าที่มี ประวัติการชาระหนี้ดี และให้นาเสนอผู้อนุมัติการให้สินเชื่อแต่ละระดับ เพื่อพิจารณาเป็นราย ๆ ไป 3. การให้สินเชื่อเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน เป็นการสนับสนุนในการเพิ่มศักยภาพ และยกระดับในการดาเนินธุรกิจท่องเที่ยวและสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ชุมชน การให้สินเชื่อต้องพิจารณาถึงความ เป็นไปได้ของโครงการ ความสามารถในการชาระหนี้ และศักยภาพที่แท้จริงของลูกค้า ตามหลักเกณฑ์การให้ สินเชื่อของธนาคาร ทั้งนี้ วงเงินสินเชื่อเพื่อสร้างรีสอร์ท ที่พัก ของผู้กู้แต่ละราย สูงสุดต้องไม่เกิน 50 ล้านบาท โดยธนาคารจะควบคุมสัดส่วนสินเชื่อรวมของพอร์ตนี้ให้ไม่เกินร้อยละ 1 ของพอร์ตสินเชื่อรวมทั้งหมด และ ธนาคารไม่มีนโยบายสนับสนุนการประกอบธุรกิจที่มีการรุกล้าที่ดินในเขตปุาสงวน ที่สาธารณะ ตลอดจน ที่ดินหวงห้ามที่ขัดต่อหลักกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ยกเว้นได้รับอนุญาตจากส่วนราชการที่ เกี่ยวข้อง
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
34
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
สินเชื่อที่ธนาคารให้การสนับสนุนอย่างระมัดระวัง กรณีผู้ประกอบการ (นิติบุคคล) ขอสินเชื่อเพื่อลงทุนซื้อที่ดิน ธนาคารจะพิจารณาสินเชื่อในกรณี ผู้ประกอบการ (นิติบุคคล) ขอสินเชื่อในลักษณะโครงการและมีความจาเป็นต้องซื้อที่ดิน เพื่อเป็นที่ตั้งของ โครงการ และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งนิติบุคคล โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ 1. ต้องดาเนินกิจการในลักษณะเชื่อมโยงธุรกิจแบบครบวงจรตลอดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตรหรือผลิตภัณฑ์การเกษตร ก่อให้เกิดประโยชน์กับเกษตรกรและ ชุมชนเป็นส่วนใหญ่ 2. การลงทุนในโครงการที่ขอสินเชื่อมีความจาเป็นต้องซื้อที่ดินเพื่อเป็นที่ตั้งของโครงการ โดย โครงการที่ขอสินเชื่อต้องมีแผนการดาเนินงานที่ชัดเจน และการดาเนินงานตามโครงการต้องก่อให้เกิด รายได้กับกิจการในขณะที่ขอกู้ หรือเมื่อโครงการที่ขอกู้ดาเนินการแล้วเสร็จ เช่น การลงทุนเพื่อสร้างโกดัง เก็บผลผลิต/สินค้า เป็นต้น 3. ไม่เป็นการซื้อที่ดินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ในกิจการและไม่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับกิจการของผู้กู้ หรือการซื้อที่ดินเพื่อเก็งกาไร
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
35
กรณีสินเชื่อเพื่อลงทุนซื้อที่ดินของสหกรณ์ ข้อ 4.2.4 ธนาคารจะสนับสนุนสินเชื่อเพื่อลงทุนซื้อ ที่ดินของสหกรณ์ โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ สาระสาคัญ
1. เป็นสหกรณ์ที่มีผลการดาเนินงานดี ไม่มีหนี้เงินกู้ค้างชาระ และไม่มีข้อบกพร่องที่เป็น 2. เป็นการลงทุนซื้อที่ดินในการประกอบธุรกิจที่อยู่ในห่วงโซ่มูลค่าเพิ่ม (Value Chain)
3. ไม่เป็นการลงทุนซื้อที่ดินโดยที่ยังไม่มีแผนการดาเนินธุรกิจในการใช้ประโยชน์จากที่ดินแปลงที่ ซื้อ หรือซื้อให้ผู้อื่นเช่า หรือซื้อเพื่อเก็งกาไร
ดังนี้
กรณีสินเชื่อเพื่อชาระหนี้สถาบันการเงินอื่น (Refinance) ธนาคารจะพิจารณาให้สินเชื่อได้ตามเงื่อนไข 1. ให้สินเชื่อได้เฉพาะเกษตรกร บุคคล ผู้ประกอบการ (นิติบุคคล) และสถาบันเกษตรกรเท่านั้น 2. การให้สินเชื่อต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดในข้อ 4.2.5
3. ผู้ขอกู้ต้องไม่มีหนี้ผิดนัดชาระ หนี้ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หนี้ที่ถูกธนาคารหรือสถาบัน การเงินอื่น หรือเจ้าหนี้อื่นดาเนินคดี หรืออยู่ระหว่างดาเนินคดี
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
36
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
กรณีผู้ขอกู้มีหนี้ผิดนัดชาระ หรือหนี้ปรับปรุงโครงสร้างหนี้กับสถาบันการเงินอื่น การพิจารณาสินเชื่อให้นารายงานข้อมูลเครดิตของบริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ (NCB) มาวิเคราะห์ ความสามารถในการชาระหนี้ทุกครั้ง โดยผู้พิจารณาเงินกู้ต้องนาข้อมูลจากรายงานดังกล่าวมาพิจารณา ประกอบการขอกู้ ดังนี้ 1. กรณีรายงานข้อมูลเครดิตในปัจจุบันมีสถานะบัญชีเป็นหนี้ค้างชาระกับสถาบันการเงินอื่น เกิน 30 วัน ไม่ควรพิจารณาอนุมัติเงินกู้ 2. กรณีมีสถานะหนี้เงินกู้กับสถาบันการเงิน อื่นเป็นหนี้ค้างชาระไม่เกิน 30 วัน หรือเคยเป็นหนี้ค้างชาระ แต่ปัจจุบันไม่เป็นหนี้ค้างชาระ หรือกรณีลูกค้าตามข้อ 1) เป็นลูกค้าที่มีหนี้ปกติและมีประวัติการชาระหนี้ดีกับธนาคาร ให้สอบสวนข้อมูลถึงมูลเหตุหนี้ค้างชาระที่มีกับสถาบัน การเงินอื่นและแนวทางปูองกันไม่ให้เกิดหนี้ค้างชาระ หากมี เหตุผลความจาเป็นให้อยู่ในดุลพินิจของผู้อนุมัติโดยบันทึก เหตุผลไว้ให้ชัดเจนและนาภาระหนี้ตามรายงานข้อมูลเครดิต มาประกอบการพิจารณาภาระการชาระหนี้ของผู้ขอสินเชื่อ ในภาพรวมกรณีพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความสามารถในการ ชาระหนี้ก็สามารถพิจารณาอนุมัติสินเชื่อได้ 3. กรณีผู้ขอกู้มีหนี้ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ต้องผ่านการปรับปรุงโครงสร้างหนี้มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี และสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขการชาระหนี้ปรับปรุง โครงสร้างหนี้ของสถาบันการเงินได้ (NPL Exit) โดย พิจารณาจากวันที่ลูกค้าปรับปรุงโครงสร้างหนี้ในรายงาน ข้อมูลเครดิตของบริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ (NCB) มี ประวัติการชาระหนี้ดี และสถานะหนี้เป็นปกติ
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
37
กรณีสินเชื่อการเกษตรภายใต้ระบบเกษตรพันธสัญญา (Contract Farming) เป็นสินเชื่อที่ธนาคารให้ การสนับสนุนอย่างระมัดระวัง ซึ่งต้องใช้ความละเอียดรอบคอบในการพิจารณาข้อตกลงระหว่างลูกค้ากับ บริษัท เนื่องจากเกษตรกรลูกค้าอาจจะเสียเปรียบเรื่องนิติกรรมสัญญาต่างๆได้ และควรเป็นไปตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. 2560 และธุรกรรมการเงินควรกาหนดให้ผ่านบริการ ทางการเงินของธนาคารในการโอนค่าใช้จ่ายและรายได้ผ่านระบบของ ธ.ก.ส.
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
38
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
สินเชื่อที่ธนาคารไม่ให้การสนับสนุน 1. สินเชื่อเพื่อชาระหนี้สถาบันการเงินอื่น (Refinance) ที่ไม่เป็นไปตามข้อ 4.2.5 หรือสินเชื่ออื่น ที่ผู้ขอกู้มีหนี้ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หนี้ผิดนัดชาระ ทั้งของ ธ.ก.ส.และสถาบันการเงิน อื่น หนี้ที่ถูกธนาคารหรือเจ้าหนี้อื่นดาเนินคดี หรืออยู่ระหว่างดาเนินคดี ตามข้อ 4.3.3 2. สินเชื่อเพื่อการผลิต หรือการประกอบกิจการที่ขัดต่อหลักกฎหมายศีลธรรม ประเพณีหรือเจตนารมณ์ของพ.ร.บ. ธ.ก.ส. ตามข้อ 4.3.1 ตัวอย่างเช่น กรณีสินเชื่อเพื่อการทาประมง ทะเลชายฝั่ง หรือประมงทะเลนอกชายฝั่ง ต้องมีการตรวจสอบคุณสมบัติของลูกค้าก่อนการให้สินเชื่อ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด เช่น เรือต้องมีการจดทะเบียน เครื่องมือและวิธีการทา ประมงต้องมีความถูกต้องตามกฎหมายที่กาหนด เป็นต้น 3. สินเชื่อเพื่อการประกอบกิจการที่มีลักษณะเป็นการทาลายสิ่งแวดล้อมสร้าง มลพิษ หรือการดาเนินการที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ ตามข้อ 4.3.10 ตัวอย่างเช่น การทานากุ้ง หรือเลี้ยงปลาที่เป็นการบุกรุกพื้นที่ปุาชายเลน การขุดบ่อทราย หรือการขุด หน้าดินขายซึ่งส่งผลกระทบต่อพื้นที่รอบข้าง หรือการประกอบการใดที่มีการปล่อยสารพิษ สารเคมีต่างๆ สู่สิ่งแวดล้อม เป็นต้น 4. สินเชื่อเพื่อการดาเนินธุรกิจจัดสรรที่ดิน บ้านอยู่อาศัย หรืออาคารพาณิชย์ ธุรกิจประเภทนี้อยู่ในกลุ่มของธุรกิจที่ไม่ตรงกับเจตนารมณ์ตาม พ.ร.บ. ธ.ก.ส. และกรอบภารกิจหลักของ ธนาคาร อีกทั้งเป็นธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูง และต้องอาศัยความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการวิเคราะห์ ความเป็นไปได้ของโครงการ รวมถึงมีกฎหมายธุรกิจจัดสรรกากับเป็นการเฉพาะธนาคารจึงไม่สนับสนุน สินเชื่อประเภทดังกล่าว 5. การให้สินเชื่อในลักษณะ Equity Finance เป็นการให้สินเชื่อเพื่อนาเงินไปลงทุนในหุ้นของกิจการ ทั้งการซื้อหุ้นเดิม เพิ่มส่วนทุนใหม่ รวมถึงการซื้อหุ้นเพื่อลงทุนในกิจการ หรือการซื้อหุ้นในตลาด หลักทรัพย์ฯ การให้สินเชื่อเพื่อการจ่ายเงินปันผล และการให้สินเชื่อในลักษณะที่เป็นการเก็งกาไรจากตรา สารทางการเงิน ทั้งตลาดเงิน ตลาดทุน หรือไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
39
6. การให้สินเชื่อในลักษณะ Bridge Financing / Bridging Loan เป็นการให้สินเชื่อทั้งระยะสั้น/ระยะ ยาว แก่ลูกค้าระหว่างเพื่อรอแหล่งเงินที่มีความชัดเจนมาชาระคืน ซึ่งแหล่งเงินนั้นอาจมาจากการขอสินเชื่อ ระยะยาวจากสถาบันการเงิน การรอเงินจากการออกหุ้นกู้ หรือเงินเพิ่มทุนที่จะเข้ามา เงินจากการรอขาย สินทรัพย์ เป็นต้น โดยการชาระเงินจะเป็น Bullet Payment (การชาระคืนเงินต้นทั้งจานวนเมื่อครบอายุ เงินกู้) ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่สูงหากแหล่งเงินที่คาดว่าจะมาชาระหนี้ไม่เป็นไปตามที่คาด รวมถึงสินเชื่อที่นาไป ลงทุนในทรัพย์สินเพื่อรอการจัดทาโครงการทางธุรกิจในอนาคตที่ขาดความชัดเจนเป็นรูปธรรมรองรับ เช่น นาเงินไปลงทุนซื้อที่ดินเปล่าเพื่อรอการก่อสร้างในอนาคต เป็นต้น
7. สินเชื่อที่เข้าข่ายความขัดแย้งทางผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest) หรือมีผลประโยชน์ส่วนตัวหรือมีส่วนได้เสีย (Self-dealing) ไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อม ในเรื่องที่ต้องตัดสินใจหรือลงมติ หากมีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง ซึ่งในเบื้องต้นถือว่าเป็นการกระทา ที่ขาดความสุจริต เช่น การขอสินเชื่อในนามบุคคลซึ่งเป็นกรรมการผู้มีอานาจลงนามในนิติบุคคลแล้วนา เงินกู้ไปให้นิติบุคคลใช้ในกิจการ โดยให้นิติบุคคลทาการกู้ยืมจากกรรมการและผู้เกี่ยวข้อง การนาสินทรัพย์ ของนิติบุคคล มาทาธุรกรรมผูกพันให้กับตนซึ่งเป็นผู้กู้และเป็นกรรมการผู้มีอานาจลงนามในนิติบุคคล นั้น การขอสินเชื่อในนามบุคคลเพื่อไปจัดซื้อ จัดหา ก่อสร้าง แล้วนาไปให้นติ ิบุคคลใช้ประโยชน์ โดยการเช่า จากตนซึ่งเป็นผู้กู้และเป็นกรรมการผู้มีอานาจลงนามในนิติบุคคลนั้น เป็นต้น 8. การทาธุรกรรมด้านสินเชื่อในลักษณะที่เอื้อประโยชน์ให้กับกรรมการ ผู้บริหารระดับสูง ผู้มีอานาจ ในการจัดการของธนาคาร หรือกิจการที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
40
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
กรณีลูกค้าเป็นบริษัทหรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคล ให้นางบการเงินที่แสดงต่อกรมสรรพากรใน การยื่นรายการภาษีเงินได้มาประกอบการพิจารณาจัดทาธุรกรรมด้านสินเชื่อ และทบทวนธุรกรรม ด้านสินเชื่อ ธนาคารกาหนดให้ลูกค้าที่เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล นางบการเงินที่ลูกค้าแสดงต่อ กรมสรรพากรในการยื่นรายการภาษีเงินได้ มาใช้ในการประเมินฐานะทางการเงินและผลการดาเนินงาน เพื่อ ประกอบการพิจารณาการทาธุรกรรมด้านสินเชื่อ และทบทวนการทาธุรกรรมด้านสินเชื่อ โดยสามารถนา ปัจจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพอื่นที่มีเอกสารหลักฐานที่ชัดเจน มีความน่าเชื่อถือ ร่วมประกอบการ พิจารณาเพื่อทราบถึงความสามารถในการชาระหนี้ และสะท้อนศักยภาพที่แท้จริงในการดาเนินกิจการของ ลูกค้า รวมทั้งสนับสนุน ให้ลูกค้าประเภทบุคคลเข้าสู่การดาเนินธุรกิจในรูปแบบนิติบุคคล และจัดทาระบบบัญชี เดียว
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
41
กรณีการให้สินเชื่อแก่ลูกค้าเกษตรหรือบุคคล ที่ปัจจุบันดาเนินธุรกิจในลักษณะ ผู้ประกอบการ และมีการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลภายหลังการเป็นลูกค้า หรือมีหนี้เงินกู้ทั้ง บุคคลและผู้ประกอบการ(นิติบุคคล) ให้โอนหนี้เงินกู้ของเกษตรกรหรือบุคคลไปเป็นหนี้เงินกู้ของ ผู้ประกอบการ (นิติบุคคล) เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรหรือบุคคล ยกระดับเป็นผู้ประกอบการ (นิติบุคคล) ตาม นโยบายของรัฐบาล มีการใช้เงินกู้ตรงตาม วัตถุประสงค์ ลดความเสีย่ งด้านการให้สินเชื่อ และเป็นไปตามมาตรฐานการให้สินเชื่อที่ของ ธปท. ให้พิจารณาสนับสนุนสินเชื่อได้ โดยมี เงื่อนไข ดังนี้ 1. เป็นเกษตรกรหรือบุคคล ที่ปัจจุบันเป็นลูกค้าของธนาคาร 2. การโอนหนี้และการรับโอนหนี้ ต้องเป็นหนี้ของกิจการเดียวกัน หรือหนี้ที่เกิดจากกิจการเดียวกัน หรือหนี้ที่มีรายได้จากแหล่งเดียวกัน 3. เกษตรกรหรือบุคคลต้องเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และมีอานาจลงนามในกิจการของนิติบุคคล 4. สถานะหนี้ ต้องไม่มีสถานะเป็นหนี้ค้างชาระ หรือหนี้ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ หรือหนี้ผิดนัดชาระ หรือหนี้ที่อยู่ระหว่างดาเนินคดี หรือหนี้ที่ถูกธนาคารดาเนินคดี 5. การโอนหนี้ ต้องไม่เกินมูลหนี้เดิมของเกษตรกรหรือบุคคลที่จะโอนหนี้ 6. ต้องมีการพิสูจน์ตัวตนผู้ที่เกี่ยวข้องตามหลักเกณฑ์การกากับลูกหนี้รายใหญ่ตามบันทึก สพป/10493 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่อง ซักซ้อมการดาเนินการตามแนวนโยบายการทาธุรกรรม ด้านสินเชื่อของธนาคารแห่งประเทศไทย 7. หนี้ที่โอนไปเป็นของนิติบุคคล ต้องไม่เป็นหนี้ที่ใช้ บสย.ค้าประกัน เว้นแต่ ผู้กู้สามารถจัดหา หลักประกันอื่นทดแทนหลักประกัน บสย. ได้ เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
42
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
กรณีการให้สินเชื่อที่ใช้ผลิตภัณฑ์เงินฝากหรือสลากออมทรัพย์เป็นประกัน (ฉ.35) มาตรฐานการให้สินเชื่อของธนาคาร กาหนดให้มีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีการใช้เครื่องมือ ของธนาคารตามประเภทลูกค้าและผลิตภัณฑ์สินเชื่อตลอดจนการดาเนินงานด้านสินเชื่อให้เป็นไปตาม แนวทางที่ ธปท.กาหนด โดยธนาคารได้เพิ่มเติมเอกสารและขั้นตอนการพิจารณาการให้กู้เงินที่ใช้ผลิตภัณฑ์ เงินฝากหรือสลากออมทรัพย์เป็นประกัน (ฉ.35) เพื่อลดความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ตามบันทึกที่ ฝสช/99734 ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2561 ดังนี้ 1. ให้ลูกค้าแสดงความประสงค์ตามแบบคาขอกู้เงิน 2. พนักงานผู้ได้รับมอบหมายตรวจทานการบรรลุนิติภาวะของลูกค้าบุคคลธรรมดา หรือตรวจทาน วัตถุประสงค์ กฎ หรือ ระเบียบของนิติบุคคลต้องระบุให้สามารถกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ 3. ต้องตรวจสอบสถานะบุคคลว่าศาลได้มีคาสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดหรือเป็นบุคคลที่ศาลมีคา พิพากษาล้มละลายหรือไม่ 4. ค่า LTV (Loan to Value) ต้องน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 (คานวณโดยการนาจานวนเงินที่ ขอกู้ หารด้วย จานวนหลักทรัพย์ที่เป็นประกัน) 5. วัตถุประสงค์การใช้เงินกู้ กรณีเป็นนิติบุคคลให้เลือกเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุรกิจ ให้ระบุประเภท ธุรกิจ เช่น ธุรกิจขนส่ง ธุรกิจสถานีบริการน้ามัน ฯลฯ กรณีเป็นบุคคลธรรมดา ให้เลือกเป็นค่าใช้จ่ายใน การประกอบอาชีพ ให้ระบุอาชีพ เช่น รับราชการ ประกอบธุรกิจส่วนตัว ฯลฯ หรือเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ให้ระบุ ค่าใช้จ่ายในการศึกษา ปรับปรุงที่อยู่อาศัย ฯลฯ โดยพนักงานผู้ได้รับมอบหมายตรวจสอบ วัตถุประสงค์ที่ขอกู้สอดคล้องตามนโยบายสินเชื่อของธนาคาร
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
นโยบายสินเชื่อ Lending Policy
เศรษฐกิจพอเพียงดังคาพ่อ
ให้สานต่อความคิดที่มีอยู่
แนวทางท่านได้สอนและค้าชู
ให้ไทยอยู่กันอย่างรู้ตัวตน
อย่าได้ทาอะไรที่เกินตัว
อย่าเมามัวสิ่งจูงใจไร้เหตุผล
อยู่อย่างพอเพียงหาเลี้ยงด้วยตัวตน
เป็นสุขล้นทั้งใจและกายเอย.
43
เอกสารใช้เฉพาะภายใน ธ.ก.ส. เท่านั้น
จัดทาโดย สานักพิธก ี ารสิ นเชือ ่ และหลักประกัน (กลุมงานนโยบายและคุ ณภาพมาตรฐานสิ นเชือ ่ ) ่