Baccazine 07

Page 1


baccazine | ISSUE 07


01

baccazine says การมองไมอาจเผยความจริงทีป่ รากฏตรงหนาไดทง้ั หมด

What eyes can’t see

นับตัง้ แตมกี ารคนพบวา การปลอยใหแสงภายนอกผานเขารูเล็ก ๆ ใน หองมืดแลวตกกระทบกับผนังจะทําใหเกิดภาพหัวกลับ นํามาสูความ พยายามทีจ่ ะบันทึกสิง่ ทีต่ าเห็น โดยการใชศาสตรทางฟสกิ สและเคมีมา ตอยอดพัฒนาเรือ่ ยมาเปนกลองถายภาพทีส่ ามารถเก็บความทรงจําจาก การมองไดจริง จนมาถึงการนําเอาเทคโนโลยีและศิลปะมาสรางสีสัน แสงเงา มิติ และองคประกอบภาพ เพือ่ การสือ่ สารทีม่ ากกวาการมอง

From the discovery of an inverted and reversed image created by a light through a pinhole on the wall of a dark room to the invention of a camera via the application of physics and chemistry, photography has become more than just a tool to capture memories; its role as a communication medium with aesthetic value has become more and more significant.

ในโลกของศิลปะภาพถายแหงยุคสมัยปจจบัน การถายภาพไมใชเพียงการ บันทึกสิง่ ทีต่ าเห็น และการสือ่ สารของชางภาพไมไดจบสิน้ หลังกดชัตเตอร เมือ่ ชางภาพกวาดสายตาไปยังชองหรือจอมองภาพเพือ่ เลือกช็อตทีด่ ที ส่ี ดุ เขา ไมไดสนใจแคการถายภาพสิง่ ใหม ๆ แตตอ งการจะเห็นอะไรใหมจากการ ถายภาพ ศิลปนภาพถายปรารถนาจะแสดงออก สงผานความคิด และเปดมุม มองไปยังผูช ม ชีช้ วนใหมองเห็นความจริงทีซ่ อ นเรนจากสายตา หรืออาจพบ ความงามทีท่ าํ ใหหวั ใจเตนไหวไปพรอมกับธรรมชาติรอบตัวอยางกลมกลืน

In the contemporary world of photography, photographs reflect much more than just what eyes could behold. The photographers not only wish to record new things but also to reveal their thoughts, beliefs and perceptions of their surrounding through their work.

ดังนีแ้ ลว ภาพถายก็คอื ศิลปะที่ไดสอ่ื สารอยางอิสระดวยตัวเอง

In this sense, photography is an art which enables the photographers and viewers to express and experience freedom.

บรรณาธิการบริหาร

Editor-in-chief

baccazine โดยหอศิลปวัฒนธรรมแห งกรงเทพมหานคร นิตยสารศิลปะเพื่อประชาชน, แจกฟรีรายสามเดือน ฉบับที่ 7 / 2556 หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานครอยู ในความ ดูแลของมูลนิธหิ อศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร ดวยการจัดตัง้ และสนับสนุนหลักจากกรุงเทพมหานคร By Bangkok Art and Culture Centre (bacc) Magazine for people, three - month free copy Issue 7 / 2013 Bangkok Art and Culture Centre (bacc) is under the supervision of Bangkok Art and Culture Centre Foundation, set up and tremendously supported by Bangkok Metropolitan Administration

บรรณาธิการอํานวยการ ลักขณา คุณาวิชยานนท

Managing Editor Luckana Kunavichayanont

บรรณาธิการบริหาร รัชนีภรณ เรืองดิษยรัตน

Editor-in-chief Rachaneeporn Rueangditsayarat

บรรณาธิการ พิมพ ปวีณ

Editor Pim Pawee

ดําเนินการจัดทําและจัดพิมพ บริษัท แจสมิน มีเดีย จํากัด โทรศัพท : 086 339 1181, 083 130 2744 โทรสาร : 02 254 6381

Producer Jazzmin Media Co.,Ltd. Tel : 086 339 1181, 083 130 2744 Fax : 02 254 6381

หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร โทรศัพท : 02 214 6630 - 8 โทรสาร : 02 214 6639 Website : www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage

Bangkok Art and Culture Centre Tel : 02 214 6630 - 8 Fax : 02 214 6639 Email : pr@bacc.or.th

ภาพปกโดย วิริยะ โชติปญญาวิสุทธิ์ จากนิทรรศการ สมบูรณแบบ ตอนที่ 2 เหนือธรรมชาติ / Cover photo by Viriya Chotpanyavisut from Picture Perfect Part II: Supernatural PHOTO ART


ºŒÒ¹àÃÒ

´¥ ¥² © uª¶§ ¥¥£ n´  ¹¯ v ¥z~ ·Ê

MY HOMELAND

The 3rd White Elephant Art Award By Thai Beverage Public Company Limited

»ÃÐàÀ·¢Í§¼Å§Ò¹

ÛćèöÔööô îöăèćôąÔööô ĐøăóąññćôñŢ ēôŞÛąĜ ÔĄçďê×ìć×ĐøăúĄýçċ à§×è͹䢡ÒÃÊ‹§¼Å§Ò¹à¢ŒÒ»ÃСǴ

çąúìŢđþøçĒíýôĄ×öēçşÛąÔ XXX UIBJCFW DPN Đøă XXX CBDD PS UI ïČşýôĄ×öýąôąöéýŞÚïøÚąìďÕşąîöăÔúçēçşēôŞďÔćì×ìøă ÝćĘì ïøÚąìĐèŞøăÝćĘì öúôÔöĀíĐøăĐêŞìãąìĐøşú èşĀÚôĈÕìąçēôŞďÔćì Y ďôèö ÚąìýĀÚôćèć Đøă Y Y ďôèö Úąìýąôôćè ć þąÔďîŦìïøÚąìóąññćôñŢþöĊĀîöăèćôąÔööô èşĀÚöăíċ ÛĜąìúìñćôñŢ &EJUJPO đçõïøÚąììĄĘìÛăèşĀÚĀõČŞĒìýóąñďöĈõíöşĀõ ñöşĀôèćçèĄĘÚ ïČýş ôĄ×öèşĀÚýŞÚïøÚąìÛöćÚ đçõöăíċÝĀĊė ïøÚąì Õìąç ďê×ìć× îŖêýĈė öşąÚ ÛĜąìúì ñćôñŢ éşąôĈ ĐøăĐìú×úąô×ćçĒìÔąöýöşąÚýöö×ŢïøÚąì ýŞÚïøÚąì öăþúŞąÚúĄìêĈė į ÔċôóąñĄìëŢ ďúøą ì ďêŞąìĄìĘ ÔöæĈýÚŞ ïøÚąìêąÚ ēîöüæĈõ Ţ èşĀÚîöăêĄíèöąúĄìêĈýė ÚŞ óąõĒìúĄìêĈė ÔċôóąñĄìëŢ ĐøăýŞÚéĉÚ đ×öÚÔąöûćøîÔööôÝşąÚďïĊĀÔ ÝĄìĘ þĀûćøîúĄåìëööôĐþŞÚÔöċÚďêñôþąì×ö é ñöăöąôêĈė ĐÕúÚúĄÚĒþôŞ ďÕèîêċôúĄì Ôêô êąÚ×æăïČşÛĄçÚąìÛăēôŞôĈďÛşąþìşąêĈėēîöĄíêĈėēîöüæĈõŢþöĊĀíöćüĄêÕìýŞÚ ĐøăþąÔ ôĈ×úąôďýĈõþąõĒçĕ ďÔćçÕĉìĘ ďìĊĀė ÚÛąÔÔąöÕìýŞÚ êąÚ×æăïČÛş çĄ ÚąìĀõČìŞ ĀÔďþìĊĀ ×úąôöĄíïćçÝĀíĒì×úąôďýĈõþąõìĄĘì þşąôìĜąïøÚąìêĈėď×õýŞÚĐøşúôąýŞÚÞĜĘą ĐøăïøÚąììĄĘìèşĀÚēôŞď×õēçşöĄíöąÚúĄø þöĊĀÛĄçĐýçÚ æ êĈėĒçôąÔŞĀì ïøÚąìêĈėēçşöĄíöąÚúĄøêĄĘÚþôç éĊĀďîŦìÔööôýćêëćěÕĀÚíöćüĄê ēêõďíòďúĀďöÛ ÛĜąÔĄç ôþąÝì þąÔďîŦìïøÚąìîöăèćôąÔööôĐøăóąññćôñŢ ÛăéĊĀďîŦìÔööôýćêëćě ÕĀÚíöćüĄêĂ ďÜñąăïøÚąìÝćĘìêĈėýŞÚďÕşąîöăÔúç óąõþøĄÚÛąÔÔąöîöăÔąûïøöąÚúĄø ïČşýŞÚýôĄ×öêĈėēôŞēçşöĄíöąÚúĄøĒçĕ ĒþşìĜą íĄèöîöăÝąÝìôąÕĀöĄíïøÚąì×ĊìÛąÔþĀûćøîúĄåìëööôĐþŞÚÔöċÚďêñôþąì×ö óąõĒìúĄìêĈ ė ôĈìą×ô ÔŞĀìďúøą ì ýŞúìïČēş çşöíĄ ×ĄçďøĊĀÔöŞúô ĐýçÚÚąì Ēþşèçć èŞĀöĄíïøÚąì×Ċì óąõĒìúĄìêĈ ė ñ÷üóą×ô ôćéìċ ąõì

baccazine | ISSUE 07

ôćÜăìĄìĘ ×æăïČÛş çĄ ÚąìÛăéĊĀďîŦìýćêëćÕě ąçĒìÔąöçĜąďìćìÔąöÔĄíïøÚąìêĈēė ôŞēçş öĄíÔąöèćçèŞĀÕĀöĄ í ×Ċ ì èąôýô×úö ÔöæĈ ôĈ × ìöĄ í Đêì ĒÝş ýĜą ďìąíĄ è ö îöăÝąÝìñöşĀôøąõďÞĖìèŢïČşýŞÚïøÚąì ÃÒ§ÇÑÅ

öąÚúĄøÝşąÚďïĊĀÔ öąÚúĄøÝìăďøćû öąÚúĄøöĀÚÝìăďøćû öąÚúĄøÝôďÝõ

öąÚúĄø öąÚúĄø öąÚúĄø öąÚúĄø

öąÚúĄøøă öąÚúĄøøă öąÚúĄøøă öąÚúĄøøă

íąê íąê íąê íąê

ÃÇÁà§Ô¹ÃÒ§ÇÑÅ·Ñé§ÊÔé¹ 3,210,000 ºÒ· ¡ÒÃμÑ´ÊÔ¹ÃÒ§ÇÑÅ

ÔąöèĄçýćìöąÚúĄøÛăôĈÕĉĘìĒìúĄìêĈė ñ÷üóą×ô æ þĀûćøî úĄåìëööôĐþŞÚÔöċÚďêñôþąì×ö îöăÔąûïøöąÚúĄøêąÚďúĖíēÞèŢ XXX UIBJCFW DPN Đøă XXX CBDD PS UI ĒìúĄìêĈė ôĈìą×ô ïČêş ôĈė öĈ ąõÝĊĀė ēçşöíĄ öąÚúĄø ĐøăץçďøĊĀÔöŞúôĐýçÚÚąì èşĀÚđêöôąõĊìõĄìïøÔąöèĄçýćìĐøăÕşĀôČøÔąöèćçèŞĀďñĊĀė ÕĀöĄíÛçþôąõĐøă ďĀÔýąöÔąöõĊìõĄìêĈþė ôąõďøÕ ďúøą į ì óąõĒìúĄì êĈ ė ôĈìą×ô ïøÚąìêĄÚĘ þôçêĈēė çşöíĄ öąÚúĄøĐøăץçďøĊĀÔĒþşöúŞ ôĐýçÚ ÛăēçşöíĄ ÔąöÛĄçĐýçÚ ìćêööûÔąö æ þĀûćøîúĄåìëööôĐþŞÚÔöċÚďêñôþąì×ö öăþúŞąÚúĄìêĈ ė ôĈìą×ô ñ÷üóą×ô Êͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾ÔèÁàμÔÁ

ÔöċæąèćçèŞĀþĀûćøîŝöŞúôýôĄõĀąöŢďçø ïČşçĜąďìćìÚąì

þôąõďøÕ ĐòÔÞŢ ĀĄÚ׹ö ďýąöŢ ì ĀąêćèõŢ ì & NBJM BSEFMHBMMFSZ!HNBJM DPN


03

CONTENTS

CONTENTS issue 07

Flash Lights Theme Cover Did You Know World Artist In The Mood of Art The Sketch My Studio Places for Passion BACC Exhibition BACC Calendar Network Calendar Idea of Life Art of Life Art Analyze Art Question Your’s Gallery

16

6

4 6 14 16 20 26 28 32 34 37 39 40 42 44 47 48

40

18

34 42

PHOTO ART


04

FLASH LIGHT

9 มีนาคม 2556

28 มีนาคม 2556

ศ.ดร.เจตนา นาควัชระ ปาฐกถาเรือ่ งรูปแบบวิเคราะห และวิจารณผลงานนิทรรศการซึ่ ง เป น ส ว นหนึ่ ง ของนิทรรศการ “การตูนและศิลปะรวมสมัย โดย ราช เลอสรวง และเด็กชายสมบูรณ หอมเทียนทอง” Lecture by Prof. Jettana Nakwatchara, Ph.D. on the criticism and analysis of exhibition “Thai Cartoons and Abstract Illustration Exhibition by Raj Loesuang and The Boy Somboon Hormtientong” on 9 March 2013.

อาจารยสลุ กั ษณ ศิวรักษ เปนประธาน เปดนิทรรศการ “รําลึกจิตรกรรม คํากวี อังคาร กัลยาณพงศ” โดยพิพธิ ภัณฑบา น จิตรกร กวี อังคาร กัลยาณพงศ Sulak Sivaraksa presided at the exhibition “In Remembrance of Angkarn Kallaynapongse’s Paintings and Poetries” held by the Ankarn Kalyanapongse Artist and Poet Museum on 28 March 2013.

30 มีนาคม 2556

15 มิถุนายน 2556

bacc music

bacc music

ผศ.พั น เอก ชู ช าติ พิ ทั ก ษากร ศิ ล ป น แห ง ชาติ เสวนาชี วิ ต และ ผลงานบนเส น ทางสายดนตรี คลาสสิกในงาน Bangkok Music Forum ครั้งที่ 4 ซิมโฟนีแหงชีวิต Thai National Artist, Prof. Asst. Colonel Chuchart Phithaksakorn, discussed his life and work experiences in the world of classical music during the 4th Bangkok Music Forum, 30 March 2013.

เจินเจิน บุญสูงเนิน เสวนาเรือ่ งเพศสภาพ ในผลงานดนตรี ในงาน Bangkok Music Forum ครัง้ ที่ 5 “ฉันก็เปน … ผูห ญิงคนหนึง่ ” Jern Jern Boonsoong-Nern gave a talk on genders in music at the 5th Bangkok Music Forum, “I Am…Who I Am” on 15 June 2013.

2 เมษายน 2556

ตี แ ยรี วี โ ต เอกอั ค รราชทู ต ฝรั ่ ง เศสประจํ า ประเทศไทย (กลาง) เป็ น ประธานในงานเปิ ด นิ ท รรศการ “ศิ ล ปะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ลอม” โดย สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสฯ และกระทรวงพาณิชย Mr. Thierry Viteau, French Ambassador to Thailand (middle), presided at the “Pharmacide Arts & Counterfeit Goods Exhibition” held by the French Embassy and the Ministry of Commerce on 2 April 2013.

3 เมษายน 2556

พระอาจารย ติช นัท ฮันห พระมหาเถระในพุทธศาสนามหายาน นิกายเซน ในนิทรรศการ “ภาวนากับลายพูกัน ศิลปะแหงสติ” “Calligraphic Meditation The Mindful Art of Thich Nhat Hanh”, exhibition featuring calligraphies of Zen Buddhist Master, Thich Nhat Hanh on 3 April 2013.

baccazine | ISSUE 07


05

21 เมษายน 2556

ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร (ที่ 2 จากซาย) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนประธานเปดนิทรรศการ 35 ป รางวัลซีไรต โดยมีหมอมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (ที่ 3 จากซาย) มารวมเปนเกียรติในงานดวย Mom Rajawongse Sukhumbhand Paripatra (second from left), Bangkok Governor, presided at the “35th Anniversary: The South East Asian Writers Awards Exhibition” with Mom Dusdi Paribatra Na Ayudhya (third from left) as honorable guest on 21 April 2013.

19 มิถุนายน 2556

พฤษภาคม - มิถุนายน 2556

bacc exhibition

bacc literature

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงวาดภาพฝพระหัตถ ในระหวางเสด็จเปดนิทรรศการและพระราชทานรางวัล “นิทรรศการศิลปกรรม ชางเผือก ครั้งที่ 2” โดยบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn presided over the opening ceremony of the 2nd White Elephant Art Award Art Exhibition by Thai Beverage PCL, and graciously demonstrated her painting skills on 19 June 2013.

สุจิตต วงษเทศ ศิลปนแหงชาติ, ภาณุ มณีวัฒนกุล นักเขียนเรื่อง เดินทาง, เปนวิทยากรกิจกรรมคาย“งานเขียนสรางสรรคกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2” Sujit Wongthes-Thai National Artist, Panu Maneewatanakul -travel journalist, participated as resource persons in the Bangkok Creative Writing Workshop II, May-June 2013.

31 พฤษภาคม 2556

1 มิถุนายน 2556

bacc exhibition

bacc music

ศาสตราจารย ช ลู ด นิ่ ม เสมอ ศิลปน แหงชาติ (คนกลาง) พรอมดวยศิลปนที่มี ชือ่ เสียงหลายทาน ในงานเปดนิทรรศการ จิตรกรรมฝาผนังของอาจารยชลูด และ ผลงานยอนหลัง Prof. Chalood Nimsamer (middle), Thai National Artist, along with many renowned artists presided at the opening ceremony of the exhibition “Chalood’s Mural Painting – Retrospective” on 31 May 2013.

ปรัชญา ปนแกว (ที่ 2 จากซาย) นนทรีย นิมบิ ตุ ร (กลาง) ผูก าํ กับชือ่ ดัง พรอมดวย ศิลปนหลายทานในงานเสวนา “สิทธิหนัง ไทย : ฐานะสือ่ และการกํากับดูแล” โดย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตรวมกับสมาคม ผูกํากับภาพยนตรไทย Prachya Pinkaew (second from left) and Nonzee Nimibutr (middle), the famous

PHOTO ART

director along with many artists in the panel discussion “Freedom on Film Seminar” by Kasembundit University in collaboration with Thai Film Director Association on 1 June 2013.


Wolfgang Tillmans. Faltenwurf ( green ) 2000 Inkjet print 137 x 200 cm Installation view

06

THEME COVER

PHOTO ART ศิลปะบนภาพถาย สําหรับศิลปะร่วมสมัยแห่งศตวรรษที่ 21 ภาพถ่ายได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในสื่อซึ่งสามารถนําเสนอ ความคิ ด ความรู้ สึ ก ของศิ ล ปิ น ได้ อ ย่ า งทรงพลั ง ไม่ แ พ้ ง านจิ ต รกรรม,ประติ ม ากรรม หรื อ สื่ อ อื่ น ๆ ไม่ ว่ า จะด้ ว ยสาเหตุ แ ห่ ง พั ฒ นาการของภาพถ่ า ยเองในแง่ มุ ม ของเทคโนโลยี ตลอดจนคุ ณ สมบั ติ ข อ ง สื่ อ ที่ ส า ม า ร ถ ส่ ง ส า ร ไ ป สู่ ค น ดู ไ ด้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น แ ล ะ เ ข้ า ถึ ง ค น ห มู่ ม า ก ไ ด้ ง่ า ย น อ ก จ า ก นี้ สุนทรียศาสตร์ในงานศิลปะภาพถ่ายยังสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กับผู้ชม ถึงแม้ว่าสื่อชนิดนี้จะดํารงอยู่ อย่างแนบแน่นกับวิถีชีวิตของผู้คนมากกว่าสื่ออื่น ๆ ก็ตาม

baccazine | ISSUE 07


Wolfgang Tillmans . Untitle ( La Gomera ) 1997 Colour photograph

COLUMNIST : WUTTIGORN KONGKA

07

Wolfgang Tillmans. Windowbox 2000 Colour photograph

สุ น ทรี ย ศาสตร ใ นงานศิ ล ปะภาพถ า ยยุ ค นี้มีการใช ท้ัง พลั ง ของ ความงามที่มีคุณลักษณะเฉพาะของความเปนภาพถาย ตลอดจน การใชความคิดเพื่อเปดประเด็นใหม ๆ ทั้งในเชิงมุมมองที่มีตอ เรือ่ งราวรอบตัวทีท่ ง้ั เปนจริงและถูกจินตนาการขึน้ มา หรือประเด็นทีม่ ี ตอคุณลักษณะเฉพาะของตัวสือ่ ภาพถายเอง นัน้ หมายถึงวา ขอบเขต ของสุนทรียศาสตรไดขยับขยายออกไปมาก จนแมแตสนุ ทรียศาสตร ดัง้ เดิมแท ๆ ของความเปนภาพถายในอดีตก็ถกู แหกกฎออกไป ภาพถายที่เคยเปนเพียงเครื่องมือบันทึกความจริงอาจกลาย เปนสื่อที่สรางสุนทรียะเฉพาะตัว ซึ่งอาจทาทายสุนทรียะในงาน จิตรกรรม และแมแตการพุงประเด็นไปสูความคิดที่แหลมคม ภาพถายเองก็มีศักยภาพที่จะทิ่มแทงได เพื่อเปดมุมมองใหผูคนได ขบคิดในฐานะที่มันสามารถถูกปรุงแตงดวยอํานาจทางเทคโนโลยี ทางดานภาพ ซึง่ สามารถผลิตชุดความจริงขึน้ มาไดอยางนาเชือ่ ถือ ผลงานของ Nan Goldin ศิ ล ป น ภาพถ า ยชาวอเมริ กั น (เกิดป 1953) ที่ใชสุนทรียศาสตรของ Snapshot จับความรูสึก ของผู ค นคล า ยกั บ ภาพสารคดี ที่ เ ต็ ม ไปด ว ยอารมณ ซึ่ ง เสี้ ย ววิ น าที กั บ เฟรมภาพและ Composition ตลอดจน Message ในภาพ คือการบุกเขาไปถึงหวงแหงอารมณ ณ ขณะ นั้นที่ดูจริงอยางเหลือเชื่อ ภาพถายของ Nan Goldin ทําใหนึกถึง ความเปนสวนตัวที่ถูกเปดเผย หนาที่ของภาพถายไดถูกใชอยาง ไมประนีประนอมในการเขาถึงความเปนมนุษยที่แวดลอมตัวของ ศิลปนอยู รวมไปถึงชีวิตสวนตัวของศิลปนเองอีกดวย หรือผลงานของ Jeff Wall ศิลปน ภาพถายชาวแคนาดา (เกิดป 1946) ที่อาจถูกเรียกวา Photoconceptualism ก็มักจะ สรางโลกของเขาขึ้น มาภายใตการพยายามใชสุนทรียศาสตร ของภาพถายใหเกิดความงามและความคิดที่ทรงพลังจนสามารถ ทาทายงานจิตรกรรมไดเชนกัน Jeff Wall จะจัดฉาก, ไฟ, แสง และตําแหนงของกลอง รวมไปถึงการวางเฟรมเหมือนกับการ PHOTO ART

กํ า กั บ ภาพยนตร ซึ่ ง รวมไปถึ ง การสื่ อ สารถึ ง ประเด็ น ที่ เ ขา รูสึก, การกํากับนักแสดงที่จะตองถูกดี ไซนมาอยางดิบดี ทั้ง ความงามที่เกิดจากวัตถุสิ่งของ สถานที่ รวมไปถึงเรื่องราว ของผูค นทีอ่ าจสะทอนถึงวัฒนธรรม, การเหยียดผิว, สงคราม ฯลฯ ทัง้ หมดจะถูกเซ็ตอยางประณีตบรรจงดวยความละเอียดของภาพ ที่สูงยิ่ง และขยายขนาดใหญเปนเมตรหรือสองเมตรในกลองไฟ ทําใหผลงานของเขาคือการโฟกัสไปสูบางสิ่งบางอยางดวยความ คมชัด สุ น ทรี ย ศาสตร ใ นงาน Jeff Wall คื อ การสร า งอารมณ ความรูสึกที่เพิ่มเติมไปจากความเปนจริงที่ตาเห็น มันคือการ ใช คุ ณ ลั ก ษณะของภาพถ า ยสร า งอารมณ ค วามรู สึ ก ให กั บ สิ่งที่เห็น แนนอนที่สุดมันไมใชภาพแหงความจริง แตเปนภาพ ของความคิดที่ ใชการปรุงแตง เดินเขาไปสูแกนของความเปน ภาพถายที่มันสามารถสรางโลกของตัวเองไดสําเร็จ และมันคือ การพยายามสรางภาพถายดวย Format แบบงานจิตรกรรม โดย กระบวนการของภาพถายในแบบ Traditional ผลงานของ Andreas Gursky ศิลปนภาพถายชาวเยอรมัน

Nan Goldin. Nan and Brian in bed,NYC,1983 Cibachome print .30 x 40 inches


08

Nan Goldin. Rise and Monty kissing,NYC,1988 Cibachrome print 30 x 40 inches

Nan Goldin. Gotscho kissing Gilles ,Paris,1993. Cibachrome print. 30 x 40 inches

Nan Goldin. Misty and Jimmy Paulette in a taxi,NYC,1991 Cibachrome print 30 x 40 inches Nan Goldin. Gilles and Gotscho at home , Paris, 1992. Cibachrome print 30 x 40 inches

Nan Goldin. Joana with Valerie and Reine in the mirror, L’ Hotel , Paris , 1999.Cibachrome print 48 x 72 inches baccazine | ISSUE 07

Nan Goldin. Jimmy Paulette and Ta


09

and Tabboo! undressing, New York 1991, Cibachrom

Nan Goldin. Self-portrait : Nan one month after being battered 1984 Cibachrome

(เกิ ด ป 1955) คื อ การใช ทั้ ง กระบวนการทางภาพถ า ยและการตั ด ต อ ด ว ยคอมพิ ว เตอร ส ร า งภาพสุ ด มหั ศ จรรย แ ละอลั ง การขึ้ น ทั้ ง ภาพถ า ย ในมุ ม สู ง ลิ บ เหมื อ นกั บ ภาพถ า ยจากเครื่ อ งบิ น หรื อ การเก็ บ รายละเอี ย ด ของผูคนจํานวนมากจากสถานที่ตาง ๆ เชน ชายหาด, ตลาดหุน, สนามกีฬา และสรางความคมชัดอยางถึงที่สุด ผลก็คือสิ่งที่ ไมอาจจะเห็นไดดวยตาเปลากับมุมมองที่ ไมนาเชื่อ สราง ภูมิทัศนที่แปลกตา และมีพลังอํานาจของสุนทรียศาสตรที่เปดเผยถึงสิ่งที่ เราไม มี วั น มองเห็ น ได ใ นความเป น จริ ง โลกของ Gursky คื อโลกของ มนุษยจํานวนมากที่ขับเคลื่อนอยูในวัฒนธรรมรวมสมัยอันหลากหลาย มัน สะทอนถึงความงดงามในเชิงอุดมคติของสิ่งที่มนุษยจํานวนมากเผชิญอยูใน โลกปจจบัน ความงดงามในเชิงอุดมคติคือโลกของการเห็นที่เปดตาของเรา ออกไปสูความตื่นตาตื่นใจในมายาคติของภาพที่ถูกสรางขึ้น นอกจากสาร หรือสาระในภาพซึ่งแตกตางกันออกไปแลว อํานาจของดิจิทัลไดแสดงตัวตน ของมันอยาง เดนชัดเทาที่ขอบเขตของมันจะสรางความจริงเสมือนไดเปน ผลสําเร็จ ผลงานของ Thomas Ruff ศิลปนภาพถายชาวเยอรมัน (เกิดป 1958) ในหลาย ๆ ชุด เขาใชกระบวนการหยิบยืมภาพมาจากอินเทอรเน็ต และขยาย มันออกจนเปนขนาดใหญ ผลก็คือภาพรายละเอียดต่ําๆ เหลานั้น กลายเปน Abstract ทีเ่ ต็มไปดวยพิกเซล และดูพราเลือนจนแทบจะจําไมไดวา ภาพตนแบบ เหลานั้นเปนอยางไร กระบวนการแปลงภาพโดยไมใชกลองถายรูปเลยของ Ruff คือการ พยายามมองหาสุนทรียศาสตรจากสิง่ ใหมของความเปนภาพทีถ่ กู อํานาจของ คอมพิวเตอรแสดงตัวตนของมันออกมาอยางเต็มที่ Conceptual จึงอยูในกระบวนการขยายสิ่งเล็กๆ ที่คมชัดใหใหญออก

ไปจนพราเลือน เราจะมองเห็นถึงตารางพิกเซลทีเ่ กิดจากกระบวนการวิทยาศาสตร ของเทคโนโลยีชนิดนี้ นั่นหมายความวา คุณสมบัติแทๆ ของความเปนวัตถุของ ภาพอินเทอรเน็ตไดถูกตอกย้ําโดยการขยายตัวมันออก การเลนแรแปรธาตุ ของ Ruff ทําใหยุคที่ถูกเรียกวา Post - Photographic อยางยุคนี้ไดถูกตอกย้ํา อีกครั้งวา ความเปนภาพถายจากสื่ออินเทอรเน็ตที่มีคุณสมบัติแบบหนึ่งไดถูก เปลี่ยนบริบทไปสูความเปนงานภาพถายที่มีปฏิกิริยาการรับรูแบบงานจิตรกรรม นามธรรม โดยศิลปนไมไดใชกลองถายรูปแมแตนอย ตั ว อย า งที่ ห ยิ บ ยกมาทั้ ง หมดคื อ ส ว นหนึ่ ง ของศิ ล ป น ช า งภาพที่ โ ด ง ดั ง ที่สุดของศตวรรษนี้ ในการใชภาพถายสื่อสารถึงความคิดที่ครอบคลุม ตั้งแต เนื้อหาในภาพ ตลอดจนแนวคิดในการใชกระบวนการสรางภาพ หรือการ วิเคราะหถึงคุณสมบัติของภาพถายที่ไมใชแคการใชกลองถายรูปเทานั้น แตเลย ออกไปถึงความเปนภาพในมิตติ า ง ๆ เชน ภาพทีถ่ กู สรางดวยคอมพิวเตอร เปนตน แน น อนที่ สุ ด คุ ณ สมบั ติ ข องความเป น ภาพถ า ยเหล า นี้ ถู ก ใช ใ นชี วิ ต ประจําวันของคนเราอยางคุนเคย ทั้งในแวดวงแฟชั่น, โฆษณา หรือแวดวงอื่น ๆ ซึง่ หมายความวาสือ่ ภาพถายในสายงานศิลปะรวมสมัยไดใชสงิ่ ทีม่ อี ยูใ นวัฒนธรรม แหงการเห็นขยายออกหรือโฟกัสไปสูก ารกระตุน ประสบการณในการรับรูข องคน เราใหเกิดประสบการณใหม ๆ ในการมองจากความเปนจริงทีถ่ กู เลือกเฟนขีน้ มา ใหความสําคัญ ซึ่งยอมสะทอนวาภาพถายแหงศตวรรษนี้ คือภาพของความคิด ไมใชความจริงรอยเปอรเซ็นตอยางที่ตาเห็น แตมันเจือปนไปดวยสุนทรียศาสตร ที่ ถูก สร า งอยา งเป นระบบ และจิ นตนาการจากกระบวนการอั นคุนเคยนั้ น เพื่อแสวงหาวาขอบเขตและความสามารถของภาพถายจะสามารถเดินทางไป ถึงจดไหน และทําใหผูคนไดตระหนักถึงอะไรไดบาง ตลอดจนความเปนไปได ในการใชสื่อชนิดนี้ ไดมีที่ยืนเปนตัวของตัวเองเทียบเทากับสื่ออื่นๆ ในงาน ทัศนศิลป ที่ลวนแลวแตมีอัตลักษณของตัวเองอยางชัดเจน PHOTO ART


10

Ruud Van Empel . Untitled # 1 2004, Venus # 1 , 2006 , Study in green # 2 , 2003 , World # 19 , 2006 , 118.9 x 84.1 cm , ILfochrome baccazine | ISSUE 07


Photo Art As a contemporary art of the 21st century, photography is acknowledged as one of the mediums that can powerfully convey thoughts and feelings of the artists, just like paintings, sculptures, or any other forms of fine arts. It is also significant in how it is tied to the fast evolution of technological advances, and how it can communicate messages to the wide audience. Moreover, photographs can provide them new aesthetical experiences through various interpretations and presentations of their everyday lives. They represent both the reality and imagination of the artists, expanding its scope of definition and purpose beyond the conventional boundaries of photography. Nan Goldin, an American art photographer (born 1953), uses snapshots to capture people’s emotions, resulting in documentary - style work. Split second happenstances recorded in the right composition can bring the audience to revisit that moment. It is almost as if they invade the emotional privacy of the subjects. He is able to capture truths so vividly that it may apear unreal. Nan Goldin uses photography to unveil human conditions he finds inside and around him. Ruud Van Empel. Untitled # 5 , 2004, ILfochrome 42 x 30 cm PHOTO ART


12

Another visal artist, Jeff Wall, a Canadian (born 1946), invented a technique called “photoconceptualism” to create a new world through aesthetic photographs. Jeff Wall would meticulously setup the scene, lighting, camera position, and framing like a film director. In every step of the process, everything has been carefully detailed to ensure that the beauty and stories of the objects, people, places and events are accurately conveyed. The value of Jell Wall’s works is derived from the intensification of emotions beyond what eyes may behold.Photography is his tool to reflect his exaggerated feelings and perception towards the external world. Andreas Gursky is a German artist born in 1955. He uses both photography and computer editing to create grand and mesmerizing

images. The results are the perception of the world that cannot be seen with eyes. Gursky’s world is a world which consists of human population moving around, navigating in the diversity of contemporary culture. It’s a world that represents an idealistic beauty, leading audience towards excitement through illusion. Digital photography clearly illustrates how powerful it is to successfully create a virtual reality. Thomas Ruff, German art photography (born 1958), creates a series of work by taking images from the Internet and enlarging them until they become pixilated with only small trace of the original image left, resulting in abstract art. This transformation from one image to another in the Post-Photographic Era reminds us that the artist does not even need a camera. baccazine | ISSUE 07

Thomas Ruff . Jpeg ib02, 2007, C-print , 243 x 188 cm

Jeff Wall . A woman with a covered tray,2003


13

Andreas Gursky. Cocoon , 2007 , 216 x 514 cm.

Jeff Wall . The Drain , 1989 , transparency in light-box , 229 x 289 cm

Jeff Wall . The Flooded Grave , 1998-2000 , transparency in light-box , 246 x 299 cm

All of the abovementioned are examples of some of the greatest art photographers of this century. These artists have masteredtheart of photography and are able to communicate their ideas through the way images are puttogether. Their properties sometimes even transcend beyond the use of camera into other dimensions.

Thomas Ruff. Jpeg icbm01 , 2007, C-print, 246 x 188 cm

Andreas Gursky. Kathedrale I ,2007, 295.1 x 222 cm

Columnist : Wuttigorn Kongka Artist and Chair of Fine Arts Program. Faculty of Architecture King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. นิทรรศการภาพถายของหอศิลปกรุงเทพฯ ประจําป 2556

bacc photo นิทรรศการ สมบูรณแบบ ตอนที่ 2 เหนือธรรมชาติ โดย ฝายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร 9 พฤศจิกายน 2556 – 3 มกราคม 2557 ชั้น 3-5 หอศิลปกรุงเทพฯ Picture Perfect Part II: Supernatural

By BACC Exhibition Department 9th November 2013 – 3rd January 2014 3rd - 5th floor, BACC

PHOTO ART


14

DID YOU KNOW

Photography หมายถึง ‘การเขียนด้วยแสง’

DID YOU KNOW?

Photography ที่แปลวาภาพถาย ในภาษาอังกฤษมาจากรากศัพท จากภาษากรีก 2 คําไดแก phos แปลวา แสงสวาง และ graphe in แปลวา การเขียน Photography จึ ง หมายถึ ง การเขี ย นด ว ยแสง หรื อ การใช แ สงสว า งทํ า ให เ กิ ด ภาพนั่นเอง

Photography means “drawing with light” Photography comes from two Greek words: phos which means light, and graphein means drawing. Therefore, photography means drawing with light or using light to create pictures.

ภาพถ่ายใบแรกของโลก ถ่ายจากหน้าต่างบ้าน โดยใช้เวลานาน 8 ชัว่ โมง

ภาพถายใบแรกทีเ่ กิดขึน้ บนดาวเคราะหสนี าํ้ เงินแหงนีเ้ ปนภาพทิวทัศนเมือง ชาลอง เซอร ซอง (Chalon - sur - Sao^ne) จากหนาตางบานของ โจเซฟ เนียฟฟอร เนียฟซ (Joseph Nicephore Niepce) ชาวฝรัง่ เศสผูป ระสบ ความสําเร็จในการบันทึกภาพดวยแสงเปนคนแรกของโลกเมือ่ พ.ศ. 2369 หรือ พ.ศ. 2370 โดยใชเวลาถายภาพดังกลาวนานถึง 8 ชัว่ โมงจึงจะติด The world’s first photograph took 8 hours. The world’s first photograph is a photo of the landscape of Chalon-sur-Saone. It was taken by the French man Joseph Nicephore Niepce from his house’s window in 1826 or 1827 and took 8 hours long! ‘ดาแกโรไทป์’ คือ จุดเริม ่ ต้นของการถ่าย ภาพสมัยใหม่

หลุยส ดาแกร (Louis Daguerre) เปนชื่อนักประดิษฐชาว ฝรั่ ง เศสที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ ด ว ยการใช ก ล อ งถ า ยภาพ และสารไวแสง ซึ่งเปนแผนเงินที่ขัดผิวหนาใหเรียบเปน มันวาว กระบวนการนี้เรียกตามชื่อผูคิดคนวา ดาแกโรไทป (Daguerrotype) ภาพที่ไดมีลักษณะเหมือนภาพกระจกเงา คือซายขวาสลับกับของจริง และนี่คือตนตํารับการถายภาพ แบบพอซิทิฟ จึงถือเปนจดเริ่มตนของการถายภาพสมัยใหม “Daguerrotype” – the new beginning of modern photography Louis Daguerre is the name of the French inventor who successfully created photographs by using light-sensitive silver plates, resulting in mirror-reversed images – or positive photographs. This technique was hence named after him “Daguerrotype” and considered as the origin of modern photography. baccazine | ISSUE 07


COLUMNIST : MODDUM

ภาพถ่ายในสยาม เกิดขึน ้ ครัง้ แรก สมัยรัชกาลที่ 3

จําชื่อ จอหน ทอมสัน ไวใหดี เพราะเขาคนนี้คือผูที่บันทึก ภาพถายครั้งแรกในประวัติศาสตรสยาม โดยเดินทางเขามา ณ แผนดินนี้เมื่อ พ.ศ. 2408 (สมัยรัชกาลที่ 3) แลวบันทึก ภาพชีวิตความเปนอยู ผูคน และบานเรือนไปเผยแพรใน อังกฤษ จากนั้นการถายภาพก็เปนที่นิยมมากขึ้นในสมัย รัชกาลที่ 4 ถึงรัชกาลที่ 5 ยุคแรก ๆ มักเปนการบันทึกเหตุการณ, ถายภาพบุคคล และสถานที่สําคัญ โดยมี ‘นายจิตร’ หรือ ฟรานซิส จิตร เปนชางภาพที่ฝากผลงานไวหลายรอยภาพ แตชางภาพคนแรกของสยามตาม หลักฐานใหม (เดิมเชื่อวา คือ สังฆราชปาเลอกัว) ไดแก บาทหลวงลารโนดี (Louis Larnaudie) ซึ่ ง นํ า กล อ งถ า ยรู ป ตั ว แรกเข า มาในสยาม และไดเห็นขั้นตอนการถายภาพจากปารีส แลวมาเลาให สังฆราชปาเลอกัวฟงอีกทอดหนึ่ง

15

First photographs in Siam happened during the reign of King Rama III John Thompson was the first man who took pictures of Siam when he first visited this country in 1865 during the reign of King Rama III. They revealed the Siamese ways of life and houses to the British public. Photography had then become increasingly popular during the reign of King Rama IV and V, mostly taken to reflect important events, people and places. One of the most prominent Thai photographers during that time was Francis Chit. It is believed that the French priest Louis Larnaudie was the first person who brought camera equipment belonging to Jean-Baptiste Pallegoix into Siam.

คน (ไทย) โบราณกลัวการถ่ายรูป ราชสํานักครัง้ เก่าก่อน ก็มี ‘ช่างภาพ’

ผูม หี นาทีถ่ า ยภาพในราชสํานักปรากฏ หลักฐานในเอกสารสมัยรัชกาลที่ 4 เรียกวา ‘ขุนสุนทรสาทิสลักษณ’ Royal photographer It was recorded in the history that the man responsible for taking pictures of the royal family during the reign of King Rama IV was “Khun Sunthorn Satitlak” or “Francis Chit”. PHOTO ART

สมัยโบราณคนไทยยังเชื่อเรื่องไสยศาสตรกันมาก จึงเกรงวาจะมีการ นําภาพถายไปใช ‘ทํารายดวยเวทมนตร’ นอกจากนีย้ งั วิตกวาอายุจะสัน้ ดังเชนทีห่ มอมเจาหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล ทรงบันทึกไววา เมือ่ ครัง้ การถาย รูปเขามาเมืองไทยใหม ๆ นั้น ‘คนไทยทั่ว ๆ ไปยังถือการปนรูปถอดรูป วาเปนการทอนอายุใหสั้นลง’ Superstition and photography In the olden time, Thai people were superstitious and feared that photography could be used to plant bad curses on them and that their lives would be shortened if someone took photos of them. Princess Phunphitsamai Disakun wrote that, “Thai people in general believed that photographs could shorten their lives”.


16

WORLD ARTIST

Nadav Kander (ภาพจาก twitter @NadavKander)

LONDON

Nadav Kander (Born 1961 in Tel Aviv, Israel)

ผลงานเลมลาสุด Bodies.6 Women. 1 Man หนา 136 หนา (ภาพจาก www.creativereview.co.uk)

นาดาฟ แคนเดอร ชางภาพระดับโลก ผูโดดเดนดวยงาน Portrait และ Landscape เขาเกิดที่อิสราเอลเมื่อ ค.ศ. 1961 แลวยายไปโจฮันเนสเบิรก ตัง้ แต 3 ขวบ เริม่ ถายภาพครัง้ แรกเมือ่ อายุ 13 ป ดวยกลอง Pentax ตอมาได ทํางานในหองมืดของกองทัพอากาศแอฟริกาใตราว 2 ป และชวงเวลานีเ้ องทีท่ าํ ให เขามัน่ ใจวาอยากเปนชางภาพ จึงตัดสินใจเดินทางไปลอนดอนเมือ่ ป ค.ศ. 1982 แคนเดอร ถายภาพใหหนังสือพิมพและนิตยสารชื่อดังหลายฉบับ เขาได กดชั ต เตอร์ บั น ทึ ก ภาพบุ ค คลที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากมาย ที่ สํ า คั ญ คื อ ภาพชุ ด Obama’s People ซึง่ ตีพมิ พใน The New York Times Magazine เมือ่ ป 2009 จํานวนถึง 52 หนา กลาวกันวา ภาพของเขาเห็นแลวลืมไมลง ซึ่งเขาเอง เคยใหสัมภาษณวา งานของตนเครงครัดเรื่องการจัดองคประกอบ ไมเชิงวา ถึ ง ขั้ น แข็ ง ทื่ อ ไม เ ป น ธรรมชาติ แต จ ะคํ า นึ ง เรื่ อ งองค ป ระกอบภาพ อยางถวนถีเ่ สมอ สวนภาพแนวแลนดสเคปของชางภาพระดับเทพคนนี้ก็รายมนตสะกดได

ตั้งแตหองพักของโรงแรมจนถึงธรรมชาติอันแหงแลง บางก็ ใหความรูสึก ที่ผสมปนเป ความหางเหิน ความเศรา และอื่น ๆ อีกมากมายที่ลวนดึงดูดใจ และมีเสนหอยางประหลาด ผลงานที่รูจักกันในวงกวางไดแก Yangtze - The Long River ที่แสดงถึงภูมิทัศนของแมน้ําแยงซี และการพัฒนาเมืองอยาง ไมปรานีปราศรัยในประเทศจีน ภาพชุดนี้ทําใหเขาไดรับรางวัล The Winner of the Prestigious Prix Pictet ‘Earth’ 2009 ทีป่ ารีส นอกจากบทบาทชางภาพแลว ลาสุดเขายังผันตัวเองมาเปนผูกํากับผลงาน ในนิตยสาร GQ เมือ่ ไมนานมานีท้ ่ไี มเพียงถายภาพนิง่ สําหรับบทสัมภาษณนกั แสดง ‘ตัวราย’ ในฮอลลีวดู แตยงั มีหนังสัน้ เพือ่ ใหทง้ั ภาพถายและวิดีโอไดสอ่ื สารกับ จินตนาการของผูช ม ปจจบันแคนเดอรใชชวี ติ และทํางานอยูใ นลอนดอนกับภรรยา และลูก 3 คน ชมผลงานและขอมูลของศิลปนระดับโลกทานนี้ไดเพิ่มเติมในเว็บไซตอยางเปน ทางการ www.nadavkender.net

baccazine | ISSUE 07


17

หองของโรงแรมแหงหนึ่งในแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา (ภาพจาก www.nadavkender.net)

ผลงาน - นิ ท รรศการ - รางวั ล

ผลงานสวนตัวเลมแรกชื่อวา Beauty’s Nothing ตีพิมพในป 2001 จากนั้นก็มีผลงานอยางตอเนื่อง เลมลาสุดคือ Bodies.6 Women.1 Man เมื่อตนป 2013 สําหรับนิทรรศการแสดงภาพถายนั้น มีนับครั้งไมถวน เชนเดียวกับรางวัลอันทรงเกียรติมากมาย อาทิ The Royal Photographic Society’s ‘Terence Donovan’ Awards ในป 2002 และ “London Awards for Art and Performance” London Awards for Art and Performance สาขาภาพถาย เมื่อป 2011 เปนตน

PHOTO ART

Valerie Jarret ที่ปรึกษาอาวุโส หนึ่งในภาพชุด Obama’s People (ภาพจาก www.nytimes.com)

Nadav Kander was born in Israel on December 1961, then moved to live in Johanesburg since the age of 3. He picked up his first camera, a Pentax, when he was 13. Later on he got drafted into the South African Air Force and worked in a darkroom printing aerial photographs for 2 years, when he realized that he wanted to become a professional photographer. He then moved to London in 1982. Kander has taken pictures for several famous newspapers and magazines such as The Sunday Times, Rolling Stone, Times, etc. He has also worked with many museums and galleries. In the past, he had taken portraits of various famous artists, celebrities, and political figures. Among the most significant was the series titled “Obama’s People” which featured the crews around the President Barack Obama. The series, consisting of 52 pages, was published in The New York Times Magazine in 2009. Another one of Kander’s widely recognizable portrait is that of the 2012 Times Magazine’s cover featuring president Obama as the Person of the Year. His works in landscape photography also possess magical qualities, whether it is an image of a hotel room, a river, a lake, or a dessert. Some of them convey paradox, isolation, and sadness in a strangely attractive manner. One of his most well known works is the series titled ‘Yangtze - The Long River’, which portray the Yangtze River with ships and boats, old rundown bridges, and the relentless urban development that is happening in China. This series has won him the Prestigious Prix Pictet ‘Earth’ 2009 in Paris. In addition to his role as a photographer, he has recently become a director. His work, short films and video footages, as well as portraits of Hollywood villains were featured in GQ Magazine. Curently, Kander resides and works in London, England, with his wife and 3 children. See more details of his profile at www.nadavkender.net.

ภาพบารัค โอบามาที่ใชขึ้นปกนิตยสารไทม ฉบับวันที่ 31 ธันวาคม 2012 - 7 มกราคม 2013 (ภาพจาก www.nadavkender.net)

หนึ่งในผลงานชุด Yangtze - The Long River (ภาพจาก photographyofchina.com)

COLUMNIST : PENPRAPA


18

WORLD ARTIST

GERMANY

Wolfgang Tillmans กลาวสําหรับ Wolfgang Tillmans คือศิลปนภาพถายใน สาย Contemporary Art ที่โดงดังทีส่ ดุ คนหนึง่ ของโลก เขาเปนชางภาพคนแรกและชาวเยอรมันคนแรกทีเ่ คยได รางวัล Turner Prize ในป 2000 ซึง่ เปนรางวัลทีม่ กั จะมอบ ใหแกศลิ ปนบิก๊ เนมชาวอังกฤษ ภาพถายของเขาบุกเบิกไปสูเสนทางที่ไมมีใคร เคยทําไดมากอน และมันครอบคลุมทุกอยาง ตั้งแต วัตถุสง่ิ ของ คน สถานที่ และแมแตภาพในเชิงนามธรรม ซึ่งทั้งหมดเปนเหมือนบันทึกของไลฟสไตล Tillmans เริ่มสนใจภาพถายโดยไมเคยไดคิดวาจะเปนชางภาพ แต เ ขาต อ งการบั น ทึ ก บางสิ่ง บางอย า งเก็ บ ไว ดว ย การสะสมคลิปตางๆ ที่ตัดจากแม็กกาซีนและมีสมุด เก็บภาพเหลานั้น มาตั้งแตวัยรุน เขาเริ่มตนถายรูป จริงๆ ก็คอื การชวนเพือ่ นๆ มาบาน และแตงตัวเหมือน พวกนิวโรแมนติก ซึง่ แสดงทีค่ ลับในลอนดอน จากนัน้ อายุ 16 - 17 ป เขาก็เริม่ ยืมกลองของแมมาเพือ่ ถาย ประสบการณของตัวเอง งานของเขาจึงเริม่ จาก Snapshot บางเวลา บางสถานที่ หรือพอทเทรทของเพือ่ นๆ และ กลุม หนุม สาวอืน่ ๆ ทีม่ คี าแร็กเตอรโดดเดน เปนการบันทึก ภาพแบบสารคดีอยางฉับพลันทันใด หรืออาจจะจงใจ

Young Masai, 2012

ที่จะเลือกนายแบบ นางแบบ เลือกสถานที่ ฉาก เสื้อผา และการโพสตทา ตลอดจนการวางเฟรม นอกจากนี้เขายังถายวัตถุท่อี ยูในชีวิตประจําวัน ทั้ง ของกิน ของใช และอีกสารพัด ในขณะที่ภาพถาย สถานที่ของเขาจะเปน Snapshot ซะสวนใหญ ทุกชิน้ คือจังหวะของแสง Composition การวางเฟรม และการตัดสินใจ สิ่งที่โดดเดนอีกอยางก็คือ วิธีการติดตั้งผลงาน หลายครัง้ Tillmans จะใชภาพถายหลายขนาดติดวาง ระยะหางเต็มผนัง บางครั้งก็จัดวางคลายกับงาน Painting และบางทีกจ็ ดั วางปะปนกันระหวางภาพถาย กับคลิปทีต่ ดั มาจากแม็กกาซีน นอกจากนี้ในผลงาน บางชุด เขากลับใชกระบวนการทีแ่ ตกตางออกไป นัน่ ก็คอื เขาใชแสงทําปฏิกริ ยิ ากับกระดาษ ซึง่ ตองทําใน หองมืดโดยไมใชกลองถายรูป ผลของการเขียนภาพ ดวยแสงบนกระดาษอัดรูป ทําใหเกิดภาพนามธรรมที่ สวยงาม แปลกตา และมีบคุ ลิกที่โดดเดน Wolfgang Tillmans คือนักทดลองภาพถายที่ ใชทกุ กระบวนการทางเทคนิค ทัง้ อิงคเจ็ท ออฟเซ็ท ก็อปป คลิปจากแม็กกาซีน กระทัง่ แสงหองมืด และ กระดาษอัดรูป เขาจึงเดินไปสูก ารคนหาวา ภาพถาย มันทําอะไรไดบา ง จนไปถึงขอบเขตของภาพถายนัน้ อยูตรงไหนในสถานะของความเปนวัตถุท่ปี กคลุมไป ดวยสุนทรียศาสตรแบบ Tillmans ทีย่ งั คงความสวยงาม อยางโดดเดนดวยสไตลท่ไี มเหมือนใคร Wolfgang Tillmans Wolfgang Tillmans, considered as one of the world’s most renowned contemporary photographers, is the first German to receive the prestigious Turner Prize in 2000. His photographs cover a comprehensive range of subjects from objects to human, places and abstract subjects. They are snapshots baccazine | ISSUE 07

of people’s lifestyles. When he was young, he liked to make collages from magazines. At the age of 16, he took snapshots of his daily life experiences, his friends’ and other people’s portraits with his mother’s camera. One of his famous works is the picture of a food tray and a man’s genitals on flight. It has quickly captured people’s attention by its unconventional composition, conflict and humor. Another famous photo is a picture of black socks on a heater with an orange plate near a window, a plant pot and a soldier’s shirt. Through the selection of various paradoxical objects as subjects of the picture, it produces abstract emotions for audience to ponder upon. Tillmans’ portraits are unique as they capture people’s unique identities and body postures while his landscapes are mostly interesting snapshots of places. Even the way he exhibits his work is unconventional. Sometimes he likes to fill the whole wall with various sizes of photos or present them with a mixture of magazine image collages. In some of his collections, he created abstract images without using any camera by shining light on print papers in the dark lab. It can be stated that Wolfgang Tillmans is a photographer who is not afraid to experiment with new techniques and materials. He questions the existing scope of photography methods and steps beyond the limitations to create innovative artwork.


COLUMNIST : PROF. WUTTIGORN KONGKA

19

GERMANY

Andreas Gursky

Monaco , 2004, 307 x 224.5 cm

James Bond Island III , 2007 ,307 x 223.3 cm

Andreas Gursky เกิดป 1955 ใน Leipzig ตอนนี้ เขาใชชีวิตและทํางานอยูใน Dusseldorf, เยอรมัน เขาเปนชางภาพที่โดงดังในสาย Contemporary อีก คนหนึ่งดวยการเนน Visual ในภาพถายแบบ Large Format และความละเอียดสูงสุด กอนป 1990 เขา ยังไมใช Digital เปลีย่ นแปลง Image ในงานของเขา หลังจากนัน้ เขาก็เปดเผยวาการใชคอมพิวเตอรตดั ตอ และแตงภาพชวยสรางสรรคความใหญโตและความ คมชัดอยางถึงที่สุดใหกับภาพถายของเขา ซึ่งมัน สื่อสารถึงความใหญโตมโหฬารที่ดึงดูดความสนใจ ได อ ย า งสู ง อี ก ทั้ ง สร า งความเพลิ ด เพลิ น และ ความสมจริงไดอยางเหลือเชื่อ Gursky ไดแรงบันดาลใจมาจากการเห็นและเหมือน กับการรายงานปรากฏการณความกวางใหญของ โลกในสือ่ ประจําวัน สิง่ ทีบ่ งั เกิดผลในภาพของเขาคือ ความสอดคลองของรูปแบบทีก่ าํ เนิดมาจากบทสนทนา ของ “การเห็นอยางชัดเจนทีส่ ดุ ” และความคลุมเคลือ ของคุณสมบัตแิ ละสุนทรียศาสตรระหวางภาพถายกับ ภาพเขียน สําหรับ Gursky ภาพถายไมใชสอ่ื ของความ

Tour de France I , 2007 , 307 x 218.9 cm

เปนภาพแทนความจริงซึง่ ดูจะขัดแยงกับการมองเห็น ของคนทัว่ ไป ทวามันหมายถึงการสือ่ เพือ่ สรางความ จริงชุดใหมขน้ึ มา Gursky มักจะโฟกัสไปทีค่ วามเนืองแนนของผูค น และสถานทีต่ า งๆ ทีค่ นมารวมตัวกันเปนจํานวนมาก ซึ่งทําใหเห็นโครงสรางของวัฒนธรรมโลกาภิวัตน, การบริโภค และแมแตการใชเวลาวางของผูคนเพื่อ ความบันเทิง นอกจากนีเ้ ขายังมีมมุ มองตอโลกทีเ่ ชือ่ ม ตอดวยชีวติ และธรรมชาติ กระทัง่ ความเงียบสงบใน เชิงปรัชญา ผลงานของเขามีทั้งมุมมองที่สูงลิบ ในแบบภาพถายดาวเทียมหรือจากเครื่องบิน จนถึง ความละเอียดคมชัดอยางมาก มันมีทง้ั ภาพตลาดหุน ที่ แนนไปดวยผูค น, ภาพเกาะในทะเล, ภาพภูเขา และ กิจกรรมของคนในยามวาง ภาพแออัดยัดทะนานของ ผูค นในมุมมองสุดมหัศจรรย

Madonna I , 2001 , 307 x 220 cm

Germany. He is renowned for his high resolution large formats photographs. He revealed that using computer programs to edit photographs tremendously helped him to enhance their grandeur and clarity, making them highly realistic and appealing. Gursky often receives inspiration from his tentative observation of the world. Seeing it through utmost clarity, his photographs portray reality in an enigmatic manner – a fusion of attributes and aesthetics of those between photographs and paintings. Gursky likes to focus on crowds as subject of his work to reflect globalization and consumerism. Some of his works also reveal Andreas Gursky his contemplation upon the relationship Andreas Gursky was born in Leipzig in 1955 between earth, lives and nature as well as and now lives and works in Dusseldorf, silence in a philosophical perspective. PHOTO ART


20

IN THE MOOD OF ART

COLUMNIST : PIM PAWEE / PHOTOGRAPHER : SAYAN CHUENUDOMSAVAD

THE WORLD THROUGH LENS

Woranan Chatchawantipakorn โลกผ่านเลนส์ของช่างภาพระดับโลก baccazine | ISSUE 07


21

มี ค นกล่ า วเอาไว้ ว ่ า เส้ น ทางไม่ ไ ด้ โ รยด้ ว ยกลี บ กุ ห ลาบ เช่ น เดี ย วกั บ ผู ้ ช ายคนนี้ วรนั น ทน์ ชั ช วาลทิ พ ากร กว่ า จะมาเป็ น ที่ รู ้ จั ก ในฐานะช่ า งภาพมื อ หนึ่ ง ของโลก และในฐานะศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ ปี 2552 สาขาทั ศ นศิ ล ป์ (ภาพถ่ า ย) เขาผ่ า นเรื่ อ งราวการเดิ น ทางของชี วิ ต มามากมาย - การเดิ น ทางของชี วิ ต ที่ไ ม่ ไ ด้โรยด้วยกลีบกุหลาบ

จากเด็กที่เกิดในครอบครัวคนจีนฐานะปานกลาง วันหนึ่งตอนเขาอายุ 15 เกิดเหตุการณไฟไหมบาน ทําใหตองออกมาเรียนรูโลกกวางกวา หองเรียนสีเ่ หลีย่ ม อาชีพเซลสขายเสือ้ ผาทีต่ อ งวิง่ ไปทุกจังหวัด สิง่ ตาง ๆ ทีเ่ คลือ่ นไหวอยูร อบตัว ไมวา จะเปน ความสวยงามของวิวทิวทัศน วิถีชีวิตผูคน ทําใหเขาหลงรักการเดินทาง เด็กคนอื่น ๆ อาจเก็บเรื่องราวไวในความทรงจํา นานวันอาจเลือนหาย แตสําหรับวรนันทนเขา บันทึกความทรงจําไวในภาพถายทุกที่ ทุกเรื่องราว ที่เขาผานพบ ความเปนนักเดินทางทองเที่ยวตั้งแตวัยรุน คือตนทุนชั้นดีที่ทําใหมุมมอง ความคิด โลกทัศนของเขาเปดกวาง จนกลายมาเปนชางภาพ ระดับโลกในปจจบัน “ถ ารักการถ ายภาพ ทุกคนก็สามารถเป นนักถ ายภาพได สําคัญคือ ต องอดทน ขยัน เรียนรู อยู ตลอดเวลา” นี่คือสิ่งที่ชางภาพระดับโลกบอกเอาไว จดเริ่มต นที่ทําให อาจารย สนใจการ ถ ายภาพเป นอย างไรคะ “ตอนประถม 1 ถึ ง ประถม 4 อาจารยที่ โรงเรียนโกศลวิทยา ทาน เปนปรมาจารยภาพถายขาว - ดํา ทานก็มกั จะถายรูปสวย ๆ มาติดบอรด กลางโรงเรี ย น พอเราได้ เ ห็ น รู ป ขาว - ดํา เหลานั้น เปนรูปนักเรียน เดินแลวมีแสงลอดออกมา สวยงาม มาก ทําใหฝงหัวมาตั้งแตเด็กวา ทําไม รูปขาว - ดําที่อาจารยถายนั้นสวยงาม แต่ ก ็ ไ ม่ ไ ด้ ส นใจอะไรมาก เพราะ ผมก็ดูตามประสาเด็กประถม หลัง จากจบประถม 7 ไฟไหมบาน ดวย ความที่ ผ มเป น ลู ก คนโต ตอนแรก จะเรียนโรงเรียนวัดสุทธิวรารามจึง ไม มี โ อกาส เลยตองออกมาทํางาน ผานงานมาหลายอยางจนไดไปเปน เซลสวิ่งงานตามตางจังหวัด ไดไปทุก ตลาด ทุกอําเภอ ทุกจังหวัด ระหวาง การทํางานก็ไดมี โอกาสไปเที่ยวตาม ที่ตาง ๆ ทําใหไดเห็นภูมิทัศน การ เปลี่ยนแปลง รวมถึงชีวิตผูคน จึงเกิด ความสนใจภูมทิ ศั นตงั้ แตเด็ก หลังจาก เลิกเปนเซลสตางจังหวัด 4 ป ผมก็มา อยูโรงสีขาวที่ไทรนอย 4 ป และโรง สีบางบัวทองและที่ โรงสีบางบัวทอง นี่แหละที่เปนจดเริ่มตน ผมอานเจอ

ในไทยรัฐวา มีการอบรมประชาชน ภาคฤดู ร อ นเกี่ ย วกั บ การถ า ยภาพ ของเทคนิคกรุงเทพฯ ซึ่งมีชื่อเสียง โดงดังมาก ผมเปนลูกศิษยอาจารย พูน เกษจํารัส ซึ่งเปนศิลปนแหงชาติ ทานแรก ทานเปนผูอํานวยการสอน ภาคฤดู นั้ น ผมเขาเรียน 4 คอรส คือเบื้องตน ขั้นสูง ภาพสี และภาพ โฆษณา ผมจบ 4 คอรสเลย เพราะ เรียนแลวสนุก เผอิญทีน่ กี่ เ็ ปนทีต่ งั้ ของ สมาคมถายภาพแหงประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภดวย ทําใหเราได เขาสมาคมฯ ที่นี่แหงแรกเลย หมาย เลขสมาชิกสมาคมของผมคือ 1341 เมื่ อ ผมเริ่ ม เข า สมาคมฯ มากขึ้ น ก็ทาํ ใหรจู กั อาจารยและผูใ หญหลาย ๆ ทานที่ชวยใหคําแนะนํา เชน อาจารย จิตต จงมั่นคง ลุงไพบูลย มุสิกโปดก ก็เปนศิลปนแหงชาติ อาจารยยรรยง โอฬาระชิ น ทั้ ง 3 ท า นที่ ไ ด เ จอที่ สมาคมฯ ทํ า ให ผ มได ซึ ม ซั บ ทั้ ง ความรูและประสบการณ มี โอกาส พัฒนางาน”

ผมก็ เ ริ่ ม ส ง เก็ บ คะแนนเรื่ อ ย ๆ นอกจากสมาคมฯ ผมก็ ส ง รู ป ไป ประกวดที่ ส มาคมสยามคัลเลอไรท สมาคมถ า ยภาพกรุ ง เทพ ซึ่ ง ทั้ ง 3 สมาคมนี้ ผ มก็ ส ามารถไต ขึ้ น เป น แนวหน้ า หลั ง จากนั้ น อาจารย์ ท ั้ ง 3 ทานก็ชวยแนะนํา โดยเราจะทํา แฟมรูปที่ฝกอัดและขยายเอง ไปให อาจารยวิ จารณ บางที ก็ เ อารู ป ให ท า นช ว ยทําใหดู เราจะไดรู คือเรา ขยายได แตฝมือไมถึงขั้น ในสมัยนั้น ก็ใหอาจารยทานชวยชี้แนะ วิจารณ และเป น การพั ฒ นาฝ มื อ ในการส ง รูปเขาประกวดประจํ า เดื อ น จํ าได ว า ผมเคยส ง รู ป สั ญ จรเหนื อ วารี ใ ห อาจารยพูนวิจารณ ทานก็วิจารณวา ยังมือใหมใหคอย ๆ พัฒนาในการอัด ขยาย ซึ่งผมเองเปนเด็กใหมก็ยังไมมี หองมืดเปนของตัวเอง พอเรียนเสร็จ กลับไปบางบัวทองผมก็ตองใชหองน้ํา ในที่ทํางานของคุณลุงทําเปนหองมืด เพื่อฝกอัดขยายรูป”

อาจารย ว รนั น ทน บ อกว า ชอบเดิ น อาจารย ผู ใหญ ท านได ให คําแนะนํา ทางท องเที่ยว นี่เป นสาเหตุที่ทําให อะไรบ างคะ อาจารย ชอบถ ายรูปสถานทีท่ อ งเทีย่ ว “เมื่อเป็นสมาชิก ก็จะมีการส่ง เป นพิเศษรึเปล าคะ รูปประกวดประจําเดือนของสมาคมฯ “ใชครับ ตอนอยูบางบัวทองผม PHOTO ART

เปนหัวโจกนั่งรถกระบะไปเพชรบูรณ ไปเขาคอ ไปสถานทีต่ า ง ๆ พาเพือ่ น ๆ ไปเที่ยว ไปถายภาพ เนื่องจากเรา เที่ยวตั้งแตเด็กเราก็รูเยอะ ตอนนั้น ผมก็เริ่มถายสีกับสไลด ตอนเย็น ๆ ก็ นัดเพื ่ อ น ๆ มาแล้วเปิดเครื่ องฉาย สไลด ฉ ายภาพที่ ผ มถ า ยให เ พื่ อ นดู ซื้ อ โค ก ลิ ต รมา มี ข นมแกล ม คื อ ไมมี ใครดูก็ใหเพื่อนเราดูกอนวาการ ถายภาพเปนสิ่งที่สนุก ระหวางที่ดูก็ เฮฮาเปนการพบปะสังสรรคเพื่อนไป ดวยในตัว ตอนหลังผมไดมี โอกาส ไปเที่ ย วจี น ผมก็ ถ า ยภาพแล ว ฉาย สไลดใหพอแมดูเสมือนวาเขาไดไป เที่ ย วกั บ เราด ว ย เพราะพ อ แม ผ ม ไมมีโอกาสไดไปเที่ยวเมืองนอกแบบ ผม อีกอยางผมอยากใหพอแมเขาใจ วาการถายภาพเปนสิ่งดี เนื่องจาก สมัยกอนเขาไมเห็นดวยกับการถาย ภาพ เพราะเสียเงินเยอะ ไมวาฟลม กลอง และบานเราก็จน หลังจากที่ เอารูปทีถ่ า ยใหพอ แมดจู ากทีเ่ ขาบน ๆ ก็คอ ย ๆ ลดลง บางทีผมไดรางวัลจาก พระองคโสมฯบาง จากสมเด็จพระเทพฯ บาง ไดลงหนังสือ เมื่อพอแมเห็นชื่อ เราบอย ๆ ก็เริม่ ไมบน คือตัง้ แตเด็กจน โตผมไมเคยขอเงินพอแมสักบาทซื้อ กลองซื้อฟลมเลยนะ ผมหามาเองได


22

IN THE MOOD OF ART

ผลการประกวดหลังจากตัดสินไปแลว ไมเกิน 1 อาทิตย หนังสือแคตตาล็อก ตองสงภายในกี่วัน ถาเปนสีภายใน กี่วัน ภาพตองคืนภายในกี่วัน กติกา ทุกตองอยางตองเปะ ๆ ๆ ซึง่ ใน100 แหง ทั่ ว โลกต อ งเป ะ ตามเขา ถ า ทํ า ผิ ด ขอใดขอหนึ่งแลวมีคนรองเรียน เขา ก็จะยกเลิก ฉะนั้นคนที่ประกวดภาพ ถายท็อปเทนของโลกเลยชนะกันไม กี่แตม เพราะเขาถือตามมาตรฐาน เปนสําคัญ”

รางวัลก็เอาไปซื้อฟลมซื้อกลอง ซึ่งให พอแมดูไมไดเพราะแพงมาก ผมจึง อยากจะบอกเด็กรุน ใหมวา เด็กสมัยนี้ สบาย เพราะพอแมซพั พอรต ซือ้ กลอง 5 หมื่น แสนนึงให แตผมหามาไดดวย น้ําพักน้ําแรง ซึ่งทําใหมีกําลังใจและ สนุกกับการถายภาพ” กล องถ ายภาพตัวแรกของอาจารย คือกล องตัวไหน และภาพแรกที่ถ าย คือภาพอะไรคะ “จําไดวา เปนกลอง Agfa Kit ราคา 99 บาทแถมฟลม ขาว - ดํา 1 มวน คลาย ๆ กลอง Lomo ในยุคปจจบัน ซึง่ ในสมัยนัน้ ถือวามีราคาแพงมาก ผม ก็ไปทดลองถายภาพทีว่ ดั โพธิแ์ มนตรง สาธุประดิษฐ ผมถายภาพโดยมีไอเดีย วาเราอยากเปนยักษ คือวัดโพธิ์แมน จะมีเนินดินสูง ผมก็ถายภาพเปรียบ เสมือนคนยืนบนฝามือของอีกคนหนึ่ง โดยผมใหคนหนึ่งยืนอยูใกลกลอง อีก คนหนึ่งยืนหางจากคนแรก และจัดให ยืนในระดับสูงพอดีกับฝามือคนแรก

ซึง่ ภาพแบบนีจ้ ะเปนทีน่ ยิ มมากในสมัย นัน้ กลองตัวตอมาก็คอื Olympus OM1 ซึ่งซื้อตอจากเพื่อนและก็ ใชกลองตัว นี้เขาไปฝกอบรมเรียนการถายภาพที่ เทคนิคกรุงเทพฯ จากนั้นผมก็เก็บเงิน ซื้อ Nikon FM2 พรอมเลนสมาตรฐาน 50 ม.ม.ที่รานถายภาพทาน้ําจังหวัด นนทบุรี ตอนนั้นราคา 8,500 บาท แตผมมีเงินเก็บแค 2,000 บาท เลย ไปขอยืมเงินลุง 6,000 บาท ผอนคืน เดือนละ 1,000 บาท ผมผูกพันกับ Nikon FM2 ตัวนี้มากและใชถายภาพ มากมาย หลังจากนั้นผมก็มีโอกาสมา ทํางานดานขายกลองและอุปกรณที่ ราน เอ.วี.คาเมรา ถนนสีลม ขาง ๆ เซ็นทรัล สีลม 4 ป และเปนผูจัดการ รานโฟโต ฮอบบี้มา 21 ป” ประกวดภาพถ ายในประเทศได รางวัล มากมาย ไปสู การประกวดระดับโลก ได อย างไรคะ “พอได รางวั ลในระดั บ ประเทศ เสร็จ ผมก็อยากสรางใหเด็กใหม ๆ ได

เกิดบาง ผมจึงหันไปประกวดในระดับ ตางประเทศ ก็ไดปรึกษาผูใ หญหลาย ๆ ทาน เพราะเมื่อกอนมีนักถายภาพ 1 ดาวถึง 5 ดาว โอโห…ฟงแลวมัน เทมากเลย ผมเลยขอศึกษาจากแคต ตาล็อกของผูใหญที่เคยสงประกวด รวมถึงดูแนวทางจากแคตตาล็อกเมือง นอก หลังจากนั้นป 1987 ผมก็เริ่มลุย เต็มที่ ซึง่ ปนงึ สักประมาณ 100 ครัง้ ทัว่ โลก ครั้งหนึ่งตองสง 4 รูป สมัยนั้นคา สมัครก็อยูร าว ๆ 10 เหรียญถึงปจจบัน ก อ นจะเลิ ก ส ง ประกวดก็ ป ระมาณ 15 - 20 เหรียญ ซึ่งตองมีความอดทน ในการสงภาพ เพราะใน 100 ครั้ง เรา ไมมีโอกาสไปแกตัว ถาปนี้พลาดก็รอ สงใหมในปหนา สมาคมถายภาพแหง อเมริกาจะสะสมคะแนน พอครบ 3 เดือนก็จะประกาศในวารสารวาใคร ไดท็อปเทนของโลก คือทุกสมาคมที่ จัดประกวดตองสงผลงานรายงานไป ที่อเมริกา เพราะเปนจดศูนยรวมทุก อยาง ถาคุณทําทุกอยางไมถกู ตองตาม กติกาก็จะถูกตัดสิทธิ์ โดยเขาจะแจง

baccazine | ISSUE 07

มีหลักการในการคัดเลือกภาพที่จะ ส งเข าประกวดอย างไรคะ “เวลาออกสนามรบกับเขา เรา ตองรูว า คูต อ สูม อี าวุธอะไรบาง แตละ ประเทศตองการภาพแบบไหน เชน ยุโรป อเมริกา มีวิวทิวทัศนที่สวยงาม เราสู เ ขาไม ไ ด เราก็ ต อ งเอาสี สั น วัฒนธรรม ประเพณีของชาวเอเชีย พระพุทธศาสนา พระสงฆซึ่งเมืองเขา ไมมีไปสู อยางอินเดียนับถือสัตว วัว ควาย เราก็อยาสงภาพพวกนี้ไป ตอง จับทางใหถูก ซึ่งมันก็ไมยาก อยาง ภาพมาโคร ภาพสรางสรรคเมืองนอก เขามีเวลาเยอะกวาเรา เราก็หลบหลีก อยาเอารูปพวกนี้ไปชนกับเขา เพราะ ถาเลนแลวไมมีแนวอยาไปเลนมันเสีย เวลา เราตองเดาทางกรรมการใหออก และรูวา 1 ใน 10 ของโลกเขามีหมัด เด็ดภาพอะไร เราก็ตองหาวิธีแกหมัด เด็ดเขา” คิ ด ว า หมั ด เด็ ด ที่ สุ ด ในชี วิ ต ของ อาจารย คือภาพไหนคะ “ภาพที่มีแนวแสงธรรมชาติ และ ผมก็ถนัดสไลด โดยสไลดของผม หนึง่ เนนสีสันที่ ไมคอนทราสตมาก สอง สีนุมนวล เมื่อกอนผมใชพวกไลกา และสไลด เ วอร เ วี ย ร ข องฟู จิ ซึ่ ง ให สี สดมาก ผมก็จะเอาสีไปขมกรรมการ กอน เพราะเวลากรรมการตัดสินเขา จะดูรูปเราไมเกิน 5 วินาที ฉะนั้นรูป ของเราตองเด็ดขาด ตะลึงทั้งสีสัน


23

// เวลาออกสนามรบกั บ เขา เราต้องรู้ว่าคู่ต่อสู้มีอาวุธ อะไรบ้าง แต่ละประเทศต้องการ ภาพแบบไหน //

มุมกลอง โดยรูปผมจะอธิบายไปใน ตัว ไมตอ งไปคิดมาก โดยทัว่ โลกเขาดู 80 เปอรเซ็นตเขาเขาใจ ไมใชดวู า ครึง่ หนึ่งบอกสุดยอด อีกครึ่งบอกเลวสุด มันก็จะเปนรูปที่ไมประสบผลสําเร็จ” แรงบันดาลใจอะไรคะทีท่ าํ ให อาจารย มีชื่อเสียงมาจนถึงทุกวันนี้ “หนึ่ ง ต อ งมี ค วามขยั น สองมี ความอดทน สามมีความสม่ําเสมอ ผมจะละเอียดในการจดบันทึกผลการ ประกวดลงสมุดทุกสนาม ทุกภาพ ทุก รางวัล ทุกป เพื่อจะไดรูแนวทางการ ถายภาพและการสงภาพดวยสถิติการ จดบันทึกที่ละเอียด ขอใหคนรุนใหมมี ความอดทนในการถายภาพ อดทนใน การบันทึก และอดทนดูรปู ภาพจํานวน มากจากหนังสือ เว็บไซต ซึ่งจะทําให เราไดความรู แนวทาง และแนวโนม ของภาพที่จะถายตอไป” อยากให อาจารย เ ปรี ย บเที ย บการ ถ ายภาพของนักถ ายภาพร นใหม กับ สมัยก อนค ะ “ในยุคนี้ขอดีของดิจิทัลคือถาคน

จึงทําให ภาพสมบูรณ ในตัวเอง “ตองรูทั้งหลักองคประกอบของ ภาพ ทิศทางแสง การเลือกใชเลนส การใชสปด การใชหนากลอง และ เรื่องราวของภาพ เวลาจะถายภาพ เราก็สามารถปรับได ขยับได โดยไม ตองแตงในคอมพิวเตอร เชน ไปถาย พระพุทธรูป 700 กวาปที่อุตรดิตถ ผมต อ งคุ ย กั บ เจ า อาวาสว า ต อ ง เอาบางจดที่รกรุงรังออก การที่ ใส อะไรลงไปเยอะ ๆ จะบดบังความงาม ขององคพระ สวนแสงผมจะใชแสง ธรรมชาติ เราตองอธิบายใหเจาอาวาส เขาใจ เพราะเมือ่ เห็นภาพจริง มันก็จะ ออกมาสวยงาม เราตองละเอียด คือ มันตองสมบูรณตงั้ แตตอนทีเ่ ราเริม่ จะ ถายภาพเลย และภาพก็ตอ งสือ่ ใหคนดู เขาใจงายที่สุด”

เสน ห ของฟ ล มสไลด ฟ ล มขาว - ดํา อยู ตรงไหนคะ “ฟลมขาว - ดํา มันเปนการฝก ความอดทน สามารถลาง - อัด ขยาย ไดดวยตัวเอง ทําใหรูเรื่องแสง มัน ท า ทาย มั น ลุ น และไม ต อ งใช ง บ ประมาณมาก สามารถเก็บไดเปน รอยป อีกอยางหนึง่ คือรูป ระวัตศิ าสตร ถายที่ไหน อยางไร อาจจะเขียนไวดา น หลังดวยดินสอ ซึง่ จะเปนการเก็บความ ประทับใจใหคนทีอ่ ยูใ นภาพถายได ถา เราดูขาว - ดําเปนจะเห็นวาภาพถาย ขาว - ดํา นี่มันสุดยอดมาก คลาสสิก แสง มิติ ดีมาก ในขณะที่การถาย ภาพดวยฟลมสไลดมีความทาทาย คือ ผูถายภาพจะตองมีฝมือจริง ๆ ทั้งมุม กลอง เลนส การวัดแสง สปดชัดเตอร ตองแมนยํา คือเปนภาพถายที่มาจาก ความคิด ฝมือของคนถายลวน ๆ ไม เอกลั ก ษณ ใ นงานถ า ยภาพของ ตองพึ่งการอัด - ขยาย” อาจารย วรนันทน คืออะไรคะ “ใช แ สงธรรมชาติ ที่ เ รี ย บง า ย อาจารย ว รนั น ทน มี ค วามคิ ด เห็ น เรื่องราวที่ถายทอดเขาใจไดงาย คนดู เกีย่ วกับการถ ายภาพด วยกล องฟ ลม 100 คน มีคนชอบ เขาใจเรา 80 คน กั บ การถ า ยภาพด ว ยกล อ งดิ จิ ทั ล เราก็ ชื่นใจแลว” อย างไรคะ การถ ายภาพต องอาศัยอะไรบ างคะ

รุนใหมมีพื้นฐานที่ดี ความรูดี เขาก็จะ ไดเปรียบคนรุนเกา พื้นฐานการถาย ภาพที่ ดี จ ะบอกว า แสงที่ ถู ก ต อ งเข า มาทางไหนและใชทักษะคอมพิวเตอร ต อ งทํ าให การตกแต ง ภาพนั้ น เนี ย น ไดแคไหน แตขอเสียของกลองดิจิทัล คือจะถายภาพไมละเอียด ฉาบฉวย ขึ้น คือมองแคผาน ๆ เวลาถือกลอง ก็หางจากตัวทําใหภาพมีความสั่นไหว สู ง กว า ถื อ กล อ งแนบใบหน า พอดู ภาพจากจอหลังกลองแลวภาพไมดีก็ ลบทิ้งแลวถายใหม ทําใหไมละเอียด ประณี ต พิ ถี พิ ถั น กั บ การถ า ยภาพ ไม อ ดทน เน น ถ า ยไวไว ก อ น ถ า ย รัว ๆ ๆ ๆ ๆ แลวก็ไปแกในคอมพิวเตอร ซึ่งจริงๆ ในการถายภาพสามารถถาย ใหจบในตอนนั้นไดเลย คือถาใหฟลม เด็กที่เลนดิจิทัลไปเขาจะงงวาจะเริ่ม ตรงไหน วัดแสงยังไง เพราะเขาไม เคยใชฟลมและฟลมไมสามารถมอง เห็นไดเดี๋ยวนั้นเลย มันตองถายเสร็จ กอนแลวตองไปลาง ซึ่งตรงนี้เขาก็จะ เสียเปรียบคนรุนเกา”

PHOTO ART


24

IN THE MOOD OF ART

มาก ผมยกกล อ งพร อ มเลนส 17 - 35 mm. ถายภาพที่เห็นตรงหนา อยางรวดเร็ว ไดภาพไมกี่ภาพเพราะ ลมแรง พอเที ย นบางสว นดั บ จะไม อลังการ จากประสบการณคือตอง มือไว แสงตองแมน และตองคลองตัว ภาพนี้เปนภาพที่ประทับใจและภูมิใจ มาก” “ผมใชทุกอยางมาหมดทั้งฟลม ขาว - ดํา ฟลมสไลดซึ่งใชมามากมาย ฟลมสีก็ ใชบาง ปจจบันผมถายดวย กลองดิจทิ ลั มากกวากลองฟลม คือผม อยูระหวางชวงรอยตอของจดเปลี่ยน ระหวางฟลมกับดิจิทัล ทําใหมีโอกาส ไดใชเทคโนโลยีทั้ง 2 ประเภท จด เปลี่ยนที่สําคัญคือ การถายภาพดวย กลองดิจิทัลทําใหผมไดภาพถายใน แนวทีท่ าํ ไดยากในยุคฟลม แตสามารถ ทําไดดแี ละงายในยุคดิจทิ ลั สวนตัวผม คิดวาคนทีถ่ า ยภาพดวยกลองดิจทิ ลั จะ ตองมีความรูและทักษะเกี่ยวกับหอง มืดและคอมพิวเตอรมาก ๆ โดยเฉพาะ ผูที่ไมมีความรูและประสบการณเรื่อง ห อ งมื ด มาก อ น สํ า หรั บ ผมเคยใช กลองฟลมและมีความรูความเขาใจ ประสบการณตรงเกี่ยวกับหองมืดมา กอน ผมวามันไมยาก มันคือหลักการ เดียวกัน เพียงแตเปลีย่ นแปลงอุปกรณ ที่ ใ ช เ ท า นั้ น ผมสามารถจดจํ า หน า กลอง ความเร็วชัตเตอร คาการวัด แสง และที่สําคัญผมรูวาภาพลักษณะ ไหนควรจะถายโอเวอรหรืออันเดอร และควรแกไขอยางไร ณ จดที่ถาย ภาพนั้น ๆ เลย ดังนั้นภาพที่ถายดวย กลองดิจิทัลสําหรับผมจึงไมตองมา ตกแตงดวยคอมพิวเตอร ถาถายภาพ ด ว ยกล อ งดิ จิ ทั ล ให แ ม น ยํ า เหมื อ น การถายภาพดวยสไลดสีแลว เราจะ ใช ค อมพิ ว เตอร เ ป น เพี ย งเครื่ อ งมื อ

โดยส วนตัวแล วมีใครเป นไอดอลคะ “มี อ ยู ห ลายท า น ถ า เป น สาย ประกวดคือ หลุยส เลาตาร นักถาย ภาพชาวอารเจนตินา ซึ่งเสียชีวิตไป หลายปแลว ภาพถายของเขาจะเนน หนักภาพขาว - ดํา เปนแนวสรางสรรค ที่เขาใจงาย เชน ภาพถายทหารยืน เรียงแถวแลวมีเด็กผูห ญิงเดินไปตรวจ แถวทหารแลวก็ถือทรัมเปต พอคนทั้ง โลกดูแลวกึ่งขํากึ่งเขาใจแลวแสงเขา นุมมาก สวนรูปขาว - ดําที่เมืองไทย เกง ๆ ก็มีคุณไพบูลย ศิลปะงามเลิศ เปนปรมาจารยเลยคือจะซอนเทคนิค ในห อ งมื ด ซึ่ ง ต อ งใช ฝ มื อ มาก ๆ ผมเคยเข าไปดู ต อนทํ า รู ป สี คื อ เขา สามารถลางที 4 ใบ 8 ใบเลย ใช อยากให อาจารย เล าถึงประสบการณ มือจับโดยไมผานเครื่องออโต ระดับ ทีป่ ระทับใจทีส่ ดุ ในชีวติ การถ ายภาพ ปรมาจารยนี้การชั่งน้ํายาไมตองใช “มี ห ลายเหตุ การณ เช น วั น ที่ ตาชั่ง เอามือชอนแลวผสมไดเลย” 5 ธันวาคม 2539 พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวฯ ทรงครองราชย 50 ป คําว าศิลปะในการถ ายภาพในความ ปะรําพิธอี ยูก ลางสนามหลวง ทางกรม หมายของอาจารย วรนันทน คืออะไร ประชาสัมพันธบอกใหชวยขึ้นไปถาย ผมไมอยากใหคนคิดมาก ถาเจอ รูป โดยใชรถยกขึ้นกลางสนามหลวง อะไรสวยแล ว อยากถ า ยก็ ถ า ย คน ผมใชฟลมสไลด 400 ASA พรอมขา ถายภาพตองถายภาพทุกสถานการณ ตัง้ กลอง เวลาเรามองภาพจากมุมลาง เลนสที่ดีที่สุดในโลกคือเลนสตา ผม จะไมเห็นวามันตื่นเตนยังไง แตพอ ขายอุปกรณถายภาพมา 20 กวาป รถยกคอย ๆ ยกเราสูงขึน้ ฉากหลังเปน เลนสออโตโฟกัสเราโฟกัสตรงนี้ก็ชัด วั ด พระแก ว พระบรมมหาราชวั ง ตรงนี้ อีกอยางที่สําคัญคือตองฝก ศาลหลักเมือง แลวพสกนิกรจดเทียน สังเกต เชน ตองจําไววาแสงตอน เปนหมืน่ ๆ ดวงหนาปะรําพิธี มันตืน่ เตน ไหนดีที่สุดแลวจะตกกระทบตอนไหน ในการลางรูปเทานั้น ไมตองตกแตง อะไร แตผมก็ตองศึกษาพื้นฐานและ ฝกทักษะดานคอมพิวเตอรไวบา ง เพือ่ จะไดควบคุมการลางรูปใหไดภาพตาม ที่ตองการ ในทางกลับกันชางภาพยุค เก า ที่ ไ ม มี ค วามรู เ รื่ อ งคอมพิ ว เตอร ก็ ต อ งปรั บ ตั ว เองอย า งมาก การมี พืน้ ฐานการถายภาพทีด่ ี แตขาดพืน้ ฐาน และทั ก ษะด า นคอมพิ ว เตอร ก็ จ ะ ยากมาก ป จ จบั น นั ก ถ า ยภาพทั้ ง รุนเกาและรุนใหมตองพัฒนาตอไป เรื ่ อย ๆ ทั ้ง ความรู ้ ทั ก ษะด้ า นการ ถายภาพ และคอมพิวเตอร นักถายภาพ ยุคดิจทิ ลั ตองมีความคิดหลากหลาย มี ไอเดีย มีการพัฒนาที่ดีดวย”

baccazine | ISSUE 07

แลวก็ไปถายภาพ ณ ตอนนั้น พอฝก บอย ๆ ก็จะชํานาญ อยากฝากอะไรกับที่คนอยากถ าย ภาพและคนชอบถ ายภาพบ างคะ “หนึ่งตองมีใจรักและสนใจจริง ๆ ใจตองสู มีความอดทน ขยัน อยารีบ ถอดใจ ตองฝกซอมบอย ๆ ตองถาย ภาพทุกอยางถามี โอกาส หลายคน จะรังเกียจมากกับการประกวดรูปถาย บอกวาไรสาระ แตผมเห็นตรงขามคือ ถ า โดนตั ด สิ น ไม ถู ก ใจเราก็ ต อ ง ยอมรับเหมือนนักกีฬาที่เขาสนามก็ ตองยอมรับกรรมการในสนาม อีก อยางเราตองจับจดใหถูก และการสง รูปประกวดบอย ๆ ทําใหขยันหารูป เปนการพัฒนาฝมือ เพราะถาไมออก ไปถายภาพก็จะไมมีภาพสงประกวด ซึ่งจะทําใหไมรูขอผิดพลาดของการ ถายภาพวาเปนอยางไร จะแกไขตรง ไหน ถาคุณไมมี โอกาสผิดคุณก็จะ ไมมีโอกาสแกไขและมีความละเอียด อ อ นตั้ ง แต ต อนถ า ยภาพ สองต อ ง ศึกษาหาความรู คนรุนใหมมีโอกาสดี กวาคนรุนเกามากมาย มีสื่อใหศึกษา หลายชองทาง ทั้งอินเทอรเน็ต ทีวี หนังสือ ฯลฯ ขอสามสําคัญมากคือ ตองหาโอกาสและเวลา จะถายภาพ สักภาพตองมีการวางแผนเวลาใหดี ศึกษาขอมูลแตละสถานที่ ใหดี เพื่อ จะไดภาพถายที่ดี สี่คือกระบวนการ จัดเก็บภาพ เลือกหมวดหมู มีการจัด เก็บที่ดี หาคือเมื่อจัดเก็บแลวตองทํา แฟมผลงานใหผูใหญแนะนํา วิจารณ วาภาพถายที่ถายมานั้นเปนยังไง หาก ตองหาโอกาสเขารวมกิจกรรมออก ทริปถายภาพกับเพื่อน ๆ หรือสมาคม ตาง ๆ จะไดมีเพื่อนคอเดียวกัน ได แลกเปลีย่ นกัน มีโอกาสก็เสนอผลงาน เขารวมประกวดดวย”


25

The World Through Lens Woranan Chatchawantipakorn Woranan Chatchawantipakorn earned his title as the National Artist in Photography in year 2009. He was born in a middle class Chinese family. When he was 15 years old, his house was on fire so he had to travel to many provinces, selling clothes to make a living. Through this experience, he absorbed and took photographs of the fascinating people, landscapes and things in the places that he went to. Traveling to many places since young allowed this young man to later become a world-class

photographer. It all began when he applied for a photography workshop in Bangkok for all of the four courses: basic, advance, color and advertorial photography. He studied with Poon Kesjamras, who was Thailand’s first national artist. He was also a member of the Royal Photographic Society of Thailand where he got to meet many more masters, especially Jit Jongmankong, Phaiboon Musikpodok, and Yanyong Olarachin, who generously guided him through his path in photography. He has won several national

photography awards before stepping into the international arena, marking his name of one of the elites. His work signature lies in the simple, natural light. It conveys stories that people can get easily. Most of the work revolves around the subjects of culture, art, landscape, monks, Buddhism and archaeological sites. Woranan is inbetween the transition age from film to digital photography. These days, he is using digital cameras more often than film, which allows him to produce pictures that would have been much more difficult with films. He believes that it is important for photographers to be very knowledgeable in dark room and computer programs. He used to work with films before so he can calculate all the settings in his head when he takes pictures with a digital camera. A computer is only used to develop them, not for digital editing. It is still nevertheless significant that photographers possess some good knowledge about computer usage in addition to photography skills. Louis Laotar, an Argentinean photographer, is his idol. He was really good with black-andwhite photographs. His works were creative and easy to understand. For Thai blackand-white photographer, I like Paiboon Sillapa-Ngamlert whose

PHOTO ART

dark room technique is legendary. Woranan shared his tips that in order to be a good photographer, one must be knowledgeable in the composition, selection of lens, shutter speed, aperture and stories behind the photos. The photos must be able to convey their messages to the viewers. The best lens in the world is his or her eyes. It is also important to have passion and determination. Practice as often as possible. He believes that participation in photo contest is a good way to enhance one’s skills and learn about own strengths and weaknesses. Consistent learning is vital for photographers. People nowadays h a v e t h e a d v a n ta g e o f technological advancements where they can study from so many media. A thorough research shall be conducted before going into the field. Having an organized and systematic photograph collection and archive process will give a photographer an advantage. P re s e n t i n g p o r t fo l i o s to masters for suggestions and comments can tremendously help. And finally, joining photo trips with friends or photo associations could provide the benefits from knowledge and skill sharing. Photos taken during the trips may also be used in photo contest submission.


26

THE SKETCH

COLUMNIST : PENPRAPA PHOTOGRAPHER : SAYAN CHUENUDOMSAVAD

A MAN WITHOUT LIMITS

ธาดา วารีช

สันโดษ ลูกบา ศิลปะไรกรอบ

ธาดา วารีช ชางภาพแฟชัน่ อันดับตน ๆ ของเมืองไทยทีอ่ อกตัววาไมมภี าพ สเก็ตซใด ๆ กอนการทํางาน เพราะมันถูกออกแบบไวในสมอง สมุดจด โพลารอยดท่ใี ช Test กอนถายงานจริง งานทดลองแบบกลาได กลาเสีย ลูกบาทีส่ ะทอนออกมาในภาพถาย นีค่ อื สิง่ ทีส่ อ่ื ถึงภาพรางทางความคิด วิธกี ารทํางาน รวมถึงตัวตนของผูช ายคนนี้ไดดีไมแพผลงานภาพถายของ เขาในนิตยสารชัน้ นํา

01 เทสต์แสง ดูสี คิดให้ดีก่อนถ่าย

โพลารอยดของคุณธาดา มีอยู 2 แบบ คือ แบบเทสตกบั แบบใชงานจริง โพลารอยด ใบแรกของชี วิ ต ถู ก ถ า ยในวั ย ทํ า งานช ว ง อายุ 20 ตน ๆ ชวงแรกถายงานสัมภาษณ ดารา โดยเปนการถายเพื่อเทสตใหแสงสี ถูกตองกอน ทํางานจริงเขาบอกวายุคนั้น เทสต แ ล ว ทิ้ ง กั น เหมื อ นขยะเลยที เ ดี ย ว “เทสตโพลารอยดมันสสุดตอง Pentax 67 เฟรม มันใหญมาก”

03 ‘ล้ํา’

02 มุมมองที่ไม่คุ้น

“ชวงทีถ่ า ยโพลารอยดเยอะสุด คือตอนอยูเ มืองนอก สมัยวัยรุน ผมวาทุกคนพอเห็นภาพหรือมุมที่ไมคนุ ตา ก็ จะอดไมได ตองถายเก็บไว อาจจะเปนตนไมหรือช็อปเครื่องสําอางที่ไมมีในบานเรา รากฐานมาจากเรือ่ ง งาย ๆ แคนเ้ี อง โพลารอยดเปน case พิเศษมาทุกยุคสมัย เพราะมีเอกลักษณ โดยเฉพาะโพลารอยดปญ ญาออน ผมวามีเสนหท ส่ี ดุ ขอเสียซึง่ นิตยสารบางฉบับไมชอบ คือความไมคมชัด แตผมวามันสมบูรณในตัวมันเอง” baccazine | ISSUE 07

โพลารอยด ที่ พ ยายามใส ลู ก เล น ด ว ย วิ ธี ก ารซั บ ซ อ นอย า งการนํ า ไปต ม ในหม อ ใสน้ํายา แลวลอกเยื่อออกมาแปะบนกระดาษ ซึง่ ในอดีตถือวา ‘ลาํ้ ’ มาก มีการพัฒนาเปลีย่ นแปลง เทคนิ ค โดยถื อ เป น การนํ า ภาพถ า ยมา สรางงานศิลปะอีกทอดหนึ่ง นอกจากนี้ยังเคย ทดลองทําอะไรที่ ‘ไมปกติ’ ดวยการแกะ ลอก - บิด – เผา - ลนไฟ และเรงการหมด อายุของฟลมดวยการตากแดด จนกลองพังไป หลายตั ว “ผมว า ถ า อยากสร า งสรรค กั บ โพลารอยด ตองมีลูกบาเยอะ ตองกลาไดกลา เสีย และขออวดอางนิดหนึ่งวา ที่ผมประสบ ความสําเร็จทุกวันนี้ เพราะไมมีกฎกติกา ศิลปะ ไมมีกรอบตายตัว”


27

05 “นี่คือชีวิตผม”

คุ ณ ธาดาหมายถึ ง คิ ว งานที่ เ ขี ย นด ว ยลายมื อ เจาตัวบอกวาเปนคนความจําสัน้ จึงตองจดสิง่ ทีต่ อ งทําทุก วัน โดยไมพึ่งพาเทคโนโลยีใด ๆ เพราะรูสึกเสี่ยงกับการ สู ญ หายของข อ มู ล หากบั น ทึ กไว ใ นคอมพิ ว เตอร ห รื อ โทรศัพทมอื ถือ สวนแผนงานวาจะถายอยางไร เทคนิคอะไร ไมไดจดหรือสเกตชลงกระดาษ แต "มันอยูในหัวครับ" 04 สะบัดจนรู้ลีลา

โพลารอยดท่ีเกิดจากการสะบัดเพื่อใหนํ้ายาแตก ซึ่งตอง ทดลองสะบัดจนกวาจะรูลีลาของมัน เมื่อลองทําแลวตองจดจํา ไววาจับมุมไหนสะบัด สะบัดกี่ครั้ง แรงแคไหน แมจะซักซอม อยางดี แตก็กําหนดผลที่ไดไม 100 เปอรเซ็นต เขาบอกวา มี ภ าพที่ถา ยออกมาแล วไม ไ ด อ ย า งใจมากมาย ส ว นภาพที่ สวยเกินความคาดหมายก็มีจํานวนไมนอยเชนกัน โดยเฉพาะ โพลารอยด ซึ่ ง มี ป จ จั ย หลายอย า งที่ ทํ า ให ภ าพออกมา แตกตางไป สวนใหญเปนเรื่องของสี บางครั้งใชฟลมคนละ กลอง ถายทีเ่ ดียวกัน สีกไ็ มเทากัน หรือฟลม ชนิดเดียวกัน ถายคนละ ประเทศ สีกไ็ มเหมือนกัน เพราะอุณหภูมติ า งกันนัน่ เอง “ผมเปนคนชางสังเกตโดย สัญชาตญาณ เหมือนหมาแมวซึง่ ไวกับสิง่ ทีเ่ คลือ่ นไหว สนใจทุกอยาง ขีส้ งสัย และตัง้ คําถาม สังเกตขอดี ขอดอยของรางกายและใบหนาไดเร็ว บางทีเดินถนนมองคนแบบ หลงใหลเหมือนเปนโรคจิต คุยกับตัวเองวาหนวดพีค่ นนัน้ สวยจัง ถือวานากลัวนะ (หัวเราะ) แตเปนขอดีสาํ หรับงาน บางทีกแ็ อบ ดูนางแบบเห็นวาเขาหลับตาแลวสวยจัง ก็อาจขอถายแบบหลับตา สมัยกอนผมเปนคนแรงนะ ไมคอ ยแครนางแบบ แตประสบการณ จะทําใหเราเย็นลง เปนกลางมากขึน้ พอมาเปดรูปเกา ๆ ดูกร็ สู กึ วา…เราไปบังคับเขาทําอะไรบางเนีย่ (หัวเราะ)”

Tada Varich a man without limits One of Thailand’s top photographers, Tada Varich, never makes sketches to plan how his photographs will look like in advance. They are all designed inside his head. This is the man who’s well known for audacity in creating bold and unique photographs for countless leading fashion magazines. In the past, he used Polaroid to test the work before taking the real photographs. It was the age of experimentation and questioning with film photography. It was exciting and challenging to go through trials and errors. In his opinion, the film era was more fun than the digital one.

06 สมุดรวบรวมเทคนิค

สมุ ด จดบั น ทึ ก วิ ธี การจั ด แสง การใช ฟ ล เตอร การล า งฟ ล ม โลเกชั่ น รวมถึ ง เทคนิ ค ต า ง ๆ อย า งละเอี ย ดที่ ร วบรวมไว แ ก ลื ม โดยตั้ ง ใจจะจดสะสมไว เ รื่ อ ย ๆ “เผื่ อ คิ ด อะไรไม อ อก จะลองมา เปดดูแลวใชเทคนิคซ้ํา” เขาออก ตัววา ปกติไมใชคนทีจ่ ะมาทําอะไร แบบนี้ เลยพยายามรวบรวมความ ตัง้ ใจเฮือกเดียว ทําจนเสร็จ 1 เลม หลังจาก จากนั้นก็ยังไมไดทําตออีกเลย 08 จากฟิล์มสู่ดิจิทัล

07 สันโดษ สมาธิ และความขี้สงสัย

ชางภาพแฟชั่นอันดับตน ๆ ของเมืองไทย เผยวาความสามารถในการมองหาจดเดนและ มุมมองทีแ่ ตกตาง นอกเหนือไปจากความสะสวย ของนางแบบมาจากการสังเกตอันสืบเนื่อง จากความที่เปนคนสันโดษและมีสมาธิทําให มองเห็น ‘อะไร’ ไดเร็วขึ้น และหาเวลาให สมองไดหยุดพัก

However, the drawbacks were that it took more time and resoures. One has to go through several trials and errors before they can come up with the right technique to develop the films as desired. Different rolls of film produce different results though they are taken at the same place. Polaroid films with complicated developing method were considered as “cool” in the past. They had to be boiled in a pot, soaked in a solution and peeled off onto a paper. He revealed that being very observant, curious and introverted by nature allowed him to have a unique perspective. Tada writes down his schedule and PHOTO ART

“ผมว า ดิ จิ ทั ล มี ผ ลมากต อ ช า งภาพทุ ก คนในวัยเดียวกับผม ซึ่งโตมาจากฟลมและ มาสูยุคดิจิทัล สวนตัวคิดวายุคฟลมสนุกกวา ขอเสียคือ สิ้นเปลืองและใชเวลานาน แต สมัยกอนยังไมมีดิจิทัลมาเปรียบเทียบ มัน คือชีวิตปกติ ทุกวันนี้คิดถึงการทํางานแบบ เกาเหมือนกัน เลยเอาใจชวยบริษัทฟลมที่จะ เอามาทําใหม (ยิ้ม)”

agenda in a notebook and refuses to rely on any technology whether it’s a computer or a smartphone because he is afraid that the data may be lost if something goes wrong. He managed to compile all his techniques related to lighting arrangement, filter usage, film development, location setting and other important procedures in a notebook. He emphasized that, “If you want to be creative with Polaroid, you have to be very brave to try new methods. It’s pretty risky but I’m very proud to say that I’ve been successful today because I have no rules and am constantly willing to try new things”


28

MY STUDIO

baccazine | ISSUE 07


COLUMNIST : CHADRAKARN / PHOTOGRAPHER : SAYAN CHUENUDOMSAVAD

29

BEHINDS

THE LENS OF Manit Sriwanichpoom เบื้องหลังศิลปะแห่งความท้าและทายของมานิต ศรีวานิชภูมิ หากพูดถึงศิลปินผู้ผลิตงานภาพถ่ายแนวร่วมสมัยของไทย ซึ่งมีผลงานเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง และเป็ น ที่ จ ดจํ า ในฐานะผู ้ ส ร้ า งปรากฏการณ์ ท างสั ง คมให้ ผู ้ ค นได้ ข บคิ ด กั น อยู ่ เ นื อ ง ๆ เชื่ อ ว่ า ชื่อของ คุณมานิต ศรีวานิชภูมิ ต้องอยู่ในอันดับต้น ๆ อย่างแน่นอน ซึ่งคงไม่ต้องอารัมภบทถึง ประวัติผลงานบนเส้นทางสายศิลปะของศิลปินผู้นี้กันมาก แต่เชื่อว่าหลาย ๆ คนคงอยากรู้จักใน อีกมุมหนึ่ง มุมเบื้องหลังการผลิตผลงานของเขา และ My Studio ฉบับนี้ก็ได้รับโอกาสอันดีที่เขา ได้เปิดสตูดิโอส่วนตัวต้อนรับและพูดคุยกับ baccazine

ทาวนเฮาส 3 ชั้น ซึ่งตั้งอยูกลางซอยออนนุช 52 ในบรรยากาศ เงียบสงบ บนชั้น 2 และ 3 ถูกใชทําเปนออฟฟศและสตูดิโอ ถ า ยภาพ ในขณะที่ ช้ั น ล า งถู ก ดั ด แปลงเป น ที่ เ ก็ บ ผลงาน เขาใช ที่ นี่ เ ป น ที่ ทํ า งานหลั ก แยกสั ด ส ว นชั ด เจนกั บ บ า นและ แกลเลอรี KATHMANDU ที่สีลม “ที่น่ผี มใชเปนสตูดิโอทํางาน สวนบานก็จะอยูอีกหลังหนึ่ง กับครอบครัว อยูตรงกลางระหวางทางไปสตูดิโอกับแกลเลอรี ผมจะแบ ง เวลาเข าไปที่ แกลเลอรีบางอาทิตยละ 2 - 3 วัน เพราะบางทีมีงานตองคุย และเขาใจวาเวลาคนมาดูงานก็คง อยากเจออยากคุยกับเราบาง แต ใ จจริ ง ผมอยากเข าไปที่ นู น ให น อ ยที่ สุ ด อยากใช เ วลาส่ ว นใหญ่ น ั ่ ง ทํ า งานมากกว่ า เพราะต้ อ งมี เ วลาค้ น คว้ า อานหนังสือและทดลองอะไรใหม ๆ สําหรับงานดวย ตอนนี้แคตอบอีเมลก็หมดเวลาแลว” บนชั้น 2 ของตัวอาคาร คุณมานิตจัดสรรไวเปนหองสมุด เขียนหนังสือ และทํางานดานเทคนิคภาพถายหลังเสร็จจาก สตูดิโอภายในหองกรุกระจกดานหนึ่งแทนฝาผนัง ปลอยให แสงสว่างได้ ทําหน้าที่อย่างเต็มที ่ร ับบรรยากาศสีเขียวของ ต้นไม้ที ่รายรอบตัวอาคาร ความเงียบสงบที ่เจือจางดวยเสียง เพลงคลาสสิกแผวเบาเปนแบ็กกราวด ใหความรูสึกผอนคลาย และเป น กั น เอง ห อ งทํ า งานแห ง นี้ เ ต็ ม ไปด ว ยตู ห นั ง สื อ กองหนั ง สื อ และนิ ต ยสารจํ า นวนมาก มี ห ลากหลายแนว ตั้งแตประวัติศาสตร ศิลปะ ไปจนถึงการเมืองที่ดูแลวอาจจะ

PHOTO ART

ไมคิดวาเปนหองทํางานของชางภาพ หากไมมีตูเก็บฟลมและ ภาพถายจํานวนมากวางตั้งอยูดวย “ผมค อ นข า งแบ ง เป น สั ด ส ว น ที่ ชั ด เจนระหว า งชี วิ ต สวนตัวกับการทํางาน ที่บานก็จะไมมี Wi - Fi ไมมีอินเทอรเน็ต ไมงั้นเราก็จะอยูกับการติดตอสื่อสารตลอดเวลา ปจจบันถาไม จําเปนจริงๆ ก็จะไมโทรศัพทเลย เพราะรูสึกวาตอนนี้ชองทาง การสือ่ สารมันเยอะมาก ไมวา จะโทรศัพท อีเมล เฟสบุก ผมรูสึก วาชีวิตคนเรามันไมไดมีวิถีชีวิตแบบเกา ในแงที่วาชีวิตสวนตัว กับการทํางานหรืออื่นๆ มันแบงแยกกันชัดเจนมากเทคโนโลยี มันทําใหทกุ อยางเปรอะและปนกันไปหมด การแบงชีวติ แบบเดิม แทบทําไมไดแลว ผมรูส กึ เสียดายกับชีวติ ทีม่ ันดูเปนสัดเปนสวน แบบนั้น ดังนั้นตัวผมเองก็เลยพยายามจัดสรรชีวิต เวลามาทํางาน ผมก็อยากจะอยูก บั งานจริง ๆ ผมเซ็ตทีน่ ี่ไวเปนทีท่ าํ งานอยางเดียว มันดีที่วาคอนขางเงียบมากและไมตองยุงกับใครมาก ผมคิด ว า เรื่ อ งเสี ย งเป น เรื่ อ งสํ า คั ญ มากนะ คนไทยไม ค อ ยคุ น กั บ ความเงียบ ตองมีเสียงตลอดเวลา เหมือนเขากลัวอะไรบางอยาง กับความเงียบ แตผมวากรุงเทพฯ เวลามันเงียบมันนาอยูมาก ผมใชเวลาในสตูดิโอและถายภาพไมนานนะ ใชเวลาที่หองเขียน หนังสือนี้มากกวา เพราะตองใชเวลาในการคนควา การคิด และทดลองตาง ๆ นานทีส่ ดุ งานทีเ่ รานําเสนอมันมีสว นเกีย่ วของ กับสังคมดวย ดังนั้นการจะใชสัญลักษณหรือความหมายตาง ๆ


30

MY STUDIO

ก็ตอ งมีความรอบคอบ เพราะมันไปมีสว นกระทบกับหลายคน หลายสวน ไมใชแค ความรูสึกของเราลวน ๆ ซึ่งถาไมอยางนั้น ผมก็ไมตองแคร” บนชั้น 3 เปนสตูดิโอถายแบบที่จัดไวแบบเรียบงาย มีเพียงพรอพและอุปกรณ ถ า ยภาพไม ก่ีช้ิน โดยมี ก ล อ งคูใ จของคุ ณ มานิ ต ตั้ ง โดดเด น อยู ต รงกลางห อ ง เขาบอกวาถึงแมเทคโนโลยีของภาพถายจะกาวไปไกลในโลกดิจิทัล แตสําหรับ ตัวเขาแลวการถายภาพดวยฟลม ยังคงเปนสิง่ ทีร่ กั มากกวา “ผมลองใชกลองดิจทิ ลั อยูเ หมือนกันแตร ู้สึกว่ามันไม่ค ่อยถนัด มันมีข้อดีหลายอย่างนะ เช่น ทําให้งาน ที่เคยทําไดยากงายลงมาก แตถึงมันจะดูคมชัดสวยงามจริง แตมันก็ดูสมบูรณ ไปจนขาดเสนหภาพ จากกลองฟลมอาจไมส มบูรณแบบ แตผมชอบที่มันให อารมณ และความนุมนวลของภาพที่ทดแทนกันไมได” เขาเปดตูเย็นที่ตั้งอยูกลางสตูดิโอ ใหเราดูจํานวนฟลมและกระดาษอัดภาพ มากมายอัดแนนกันอยูในนั้น “ตอนนี้เริ่มหาซื้อฟลมยากแลว เพราะหลายบริษัท เลิ ก ผลิ ต ไป ผมก็ จ ะไปเหมาตามร า นสั่ง ซื้อ จากต า งประเทศบ า ง หรื อ เวลา เดินทางไปตางประเทศก็ไปซื้อมาเก็บไวดวย ฟลมบางมวนหมดอายุไปนานแลว แตผมก็ยังใชอยู เพราะเขาเลิกผลิตและหาไมไดแลว เวลาเอามาใชสกี อ็ าจเพีย้ น ไปบ า ง แตเราก็อาศัยการปรั บ แต ง สี ด ว ยคอมพิ ว เตอร ใ นขั้ น ตอนสุ ด ท า ยเข า มาชวยได” ความสําคัญของฟลม อาจถูกลดทอนลงไปเรือ่ ย ๆ แตคณุ มานิตเชือ่ วายังไงมันก็จะ ยังไมตายไปงายๆ “แนนอนวามันมีผลในการทํางาน แตตอนนี้ในวงการภาพถาย ก็มีคนเริ่มกลับมาใชเทคนิคโบราณ หันกลับไปสูของเดิมมากขึ้น เพราะมันเปนงาน ที่มีเสนหเฉพาะตัว เราลองกลับไปมองวา กอนหนานี้มนุษยก็เคยผลิตฟลม ผลิต กระดาษใชเองกอนทีจ่ ะมีระบบอุตสาหกรรมดวยซ้ํา ดังนั้นผมเชื่อวาถาเราไมยอม จํานนกับเงือ่ นไขตาง ๆ เหลานีเ้ ราก็สามารถทําได ไปตอไดถงึ แมมนั จะมีอปุ สรรคบาง ไมไดสะดวกบางก็ตาม เพราะมันไมใชทางสายหลักที่คนใชกันประจํา แตทําแบบ นี้มันก็ทาทายดี”

baccazine | ISSUE 07

“ภาพจากกล้ อ งฟิ ล์ ม อาจไม่ ส มบู ร ณ์ แบบ แต่ผมชอบที่มันให้อารมณ์และความ นุ่มนวลของภาพที่ทดแทนกันไม่ได้”


31

Behinds the lens of Manit Sriwanichpoom The name “Manit Sriwanichpoom” has long been on the list of top Thai contemporary photographers whose works are internationally accepted and commemorated as intellectual and original. Visiting his place located in Onnut gives us more insight into this man’s world. “I use this place as my studio while my gallery, Kathmandu, is in Silom. In fact, I prefer to spend more time there, doing research, reading and experimenting new things.” There is a library on the second floor where he works on his photographs. A glass panel has replaced the concrete wall to allow more natural light into the room. Surrounded by the greenery outside and the classical music, the ambience of this room is very relaxing and cozy. “I also avoid using phone or being online when I’m at home. I feel that we have too many channels of communication which have changed our way of life. When I work, I fully

concentrate. It’s very quiet here so I hardly have to mingle with other people, which is good. I believe that silence is very important. Thai people are not very used to silence as if they’re afraid of it.” “I spend more time here in my library than in the studio as I need to research and experiment on a lot of ideas. My works reflect the society so I have to be extra careful when I use symbols or meanings because they can impact other people.” The studio on the 3rd floor is very organized and simple with few props and camera equipment. Manit’s favorite film camera stands in the middle of the room. He feels that digital cameras make perfect photos that they lack the charisma of films which provide irreplaceable emotions and tenderness. There is also a refrigerator, filled with countless film rolls and developed photos, sitting in the middle of the studio. The role of films is diminishing each day in the digital era. “Of course, it makes our working process much harder, but there are more and PHOTO ART

more people in the photography circles who return to the traditional techniques as they find them enchanting. Therefore, I refuse to give in to modern conditions. I believe that we can pursue our passion despite all the obstacles and inconvenience along the way because that makes our works even more meaningful with more challenges.”


32

PLACE FOR PASSION

COLUMNIST : MINIME / PHOTOGRAPHER : SAYAN CHUENUDOMSAVAD

Green Thai Product ความผสมผสานระหว่างดีไซน์และสิ่งแวดล้อม

Green Thai Product แตละครั้งที่เราเพลิดเพลินไปกับการ ช็อปปง นอกจากเปนวิธีมอบความสุข ใหตัวเองแลว จะดีแคไหนหากเราได มีสวนรวมในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ไปดวยในตัว กับการเลือกผลิตภัณฑ รีไซเคิล ที่ไมเพียงนําวัสดุเหลือใชหรือ ใชแลวกลับมาใชซ้ํา แตยังแฝงไวซึ่ง ดีไซนสุดเกไมเหมือนใคร หนึ่ ง ในร า นที่ มี จ ดยื น โดดเด น เน น เอกลั ก ษณ ใ นผลิ ต ภั ณ ฑ แ บบ กรีนดีไซนก็คือ Green Thai Product ของคุณพจน เขียวชะอุม บนชั้น 4 หอศิลปกรุงเทพฯ ที่แมจะเพิ่งเปดมา ไดปกวา แตผลตอบรับก็นาพึงพอใจ เสียดายแคตรงทีเ่ กือบ 90% ของลูกคา เปนชาวตางชาติ สะทอนใหเห็นวา คนไทยยังไมหลงใหลสินคารี ไซเคิล แบบแฮนดเมด เทากับสินคาแบรนด เนมขึ้ น ห า งเท า ใดนั ก โดยทางร า น ยังไดรับการทาบทามใหสงออกไปวาง ขายที่ Philadelphia Museum of Art ในประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า และประเทศสวิ ต เซอร แ ลนด ด ว ย สําหรับราคาสินคานั้น เริ่มตนตั้งแต

หลักสิบไปจนถึงหลักพัน ผลิตภัณฑ ที่ ข ายดี ร ะดั บ Best Seller มี ทั้ ง iPhone Case, iPad Case รวมถึง กระเป า ที่ ทํ า จากถุ ง กระสอบข า ว หรือถุงปุย ซึ่งสวนใหญเปนวัสดุที่มี จํากัดแตละล็อต ไมเหมือนกัน จึงเปน งานออกแบบชิน้ ตอชิน้ ไมสามารถผลิต ซ้ําเปนจํานวนมากได สวนผลิตภัณฑ จากฟอยลนั้นก็ไดรับความนิยมจาก กลุมลูกคาเอเชีย ดวยสีเงินอารมณ เมทัลลิก จึงดูทันสมัยรับกับดีไซนได อยางลงตัว ไม เ พี ย งเท า นั้ น ทางร า นยั ง เป ด โอกาสให ค นที่ มี ใ จรั ก ในการ สรางสรรคผลิตภัณฑจากวัสดุเหลือ ใช นํ า มาฝากวางขาย เพื่ อ เป น อี ก หนึ่ ง ช อ งทางในการช ว ยเป ด พื้ น ที่ ทางการตลาดใหกวางขึ้น ทั้งแบรนด ดี ไซนของ ผศ.ดร.สิงห อินทรชูโต งานเครื่องประดับแฮนดเมดฝมือกลุม แมบานดอนเมือง และอีกหลากหลาย เห็นถึงความตั้งใจจริงของผูผลิต แบบนี้ ผูบริโภคหัวใจสีเขียวอยางเรา คงตองหันมาสนับสนุนกันอยางจริงจัง มากขึ้นสักหนอยแลว

Solutions for design and environment How great it would be if each time we shop, we could also be a part of the environmental conservation? The solution is actually right in front of our face. We can support products made from recycled materials. They not only help save our planet but also come with cool designs! One of the remarkable shops in BACC is “Green Thai Product”, owned and founded by Mr. Poj Khieowcha-um. Situated on the 4th floor of this centre, the shop sells eco-friendly products and has received great support from customers since its opening day almost a year ago. Most of the customers are foreigners, indicating that there is a need to raise the awareness for eco products amongst the Thais. The owner has been offered to place his products in Philadelphia

Museum of Art in the United States as well as Switzerland. The prices are very reasonable. Best sellers include iPhone and iPad cases as well as bags made from rice or fertilizer sacks. Each product is handmade in limited quantity, hence giving it its unique qualities. Products made from foil are especially popular among the Asian customers who value the modern look of metallic designs. “Green Thai Product” also supports creative individuals who make use of recycled materials in the production of crafts and products by giving them shelf spaces. Examples include design products made by the renowned Prof. Dr. Singh Intrachooto and handicrafts by Don Muang Housewives Club. Consumers like us can make a smart choice. Let’s give our support to this group of people who dedicate themselves to help save our planet!

Green Thai Product : Room 404, 4th floor, Bangkok Art and Culture Centre, Rama 1 Road, Pathumwan, Bangkok 10330 www.greenthaiproduct.com Tel. 089 457 4359

baccazine | ISSUE 07


COLUMNIST : PENPRAPA / PHOTOGRAPHER : SAYAN CHUENUDOMSAVAD

33

Hibiki Music Studio : Music Library ตัวโน้ตมีสี ดนตรีมีชีวิต

ตัวโน ตมีสี ดนตรีมีชีวิต แมสายตามนุษยไมอาจมองเห็นเสียง ดนตรี แตศาสตรแขนงนี้ ไดรับการ ยอมรับวาเปนงานศิลปะอยางไมตอง สงสัย ตัวโนต เสนเสียง การเวนจังหวะ หรื อ แม แ ต ค วามเงี ย บชั่ ว ขณะ ล ว นเป น ส ว นประกอบสํ า คั ญ ของ บทเพลง เสียงดนตรีดังลอดประตูกระจก ของหองเล็ก ๆ ในพื้นที่ของหอศิลปวั ฒ นธรรมแห ง กรุ ง เทพมหานคร แมไมใชเพลงที่ไพเราะสมบูรณแบบ แต เ สี ย งดนตรี นั้ น ก็ ง ดงามด ว ย ความตั้ ง ใจของผู เ ล น เพราะที่ นี่ คื อ โรงเรี ย นสอนดนตรี คุ ณ ภาพ นามว า ‘ฮิ บิ กิ มิ ว สิ ค สตู ดิ โ อ : มิ ว สิ ค ไลบรารี่ ’ ซึ่ ง เป ด ประตู ต อ นรั บ นั ก (อยากเล น ) ดนตรี มาตั้งแตวันที่ 5 เดือน 5 ป 2555 ศรายุ ธ จั น ทรางกู ร หรื อ ครู ป น ผู ก อ ตั้ ง สตู ดิ โ อเล า ว า เดิ ม เคย เป น ครู ส อนประจํ า ตามสถาบั น สอนดนตรี ข นาดใหญ ม านานกว า 20 ป จึงอยากเปดสตูดิโอเล็ก ๆ แสนอบอุนเปนของ ตนเองภายใต

แนวคิ ด ของการเป น พื้ น ที่ ซึ่ ง ให ทั้ ง ความรู ท างวิ ช าการ ด ว ยหนั ง สื อ มากมายบนชั้นวาง พรอมดวยการ เรี ย นการสอนดนตรี ใ นภาคปฏิ บั ติ สมชือ่ มิวสิค ไลบรารี่ ทัง้ ยังเปนคอม มูนิตี้ของคนรักเสียงเพลง เพราะมัก มีผูแวะเวียนมาสอบถามขอมูลเกี่ยว กั บ ดนตรี แ ละคอนเสิ ร ต น า สนใจ ทั้งชาวไทยและตางชาติ แนวคิ ด น า สนใจอี ก อย า งหนึ่ ง ของที่ นี่ คื อ ความตั้ ง ใจในการ แปลงเสี ย งดนตรี ใ ห เ ป น ‘ภาพ’ เพื่ อ ให เ ข าใจง า ย ไม รู สึ ก ว า ต อ ง ปนบันไดฟงดนตรี เหมือนในทัศนคติ ของหลาย ๆ คน แตอยากใหผูเรียน ลองใชความรูสึกสัมผัสวา เสียงดัง เบา สูง ต่ํามีสีอะไรบาง ใหความ รู สึ ก อย า งไร หากความรู สึ ก ที่ มี ตอเสียงเปนสีตา ง ๆ ก็อาจมองเห็นมัน ราวกั บ งานศิ ล ปะที่ ถู ก ถ า ยทอด อ อ ก ม า เ ป น ภ า พ ใ น ค ว า ม คิ ด คํ า นึ ง จึ ง เป น ที่ ม าของชื่ อ ‘ฮิ บิ กิ มิวสิค สตูดิโอ’ ซึ่งมาจากภาษาญี่ปุน แปลวา ความรูสึกที่อยูในหัว ทีน่ สี่ อนดนตรีสากล โดยมีเครือ่ ง

ดนตรีหลัก 3 ประเภท ไดแก เปยโน กีตาร และไวโอลิน ซึ่งอยางหลัง ไดรับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ และ เปนจดเดนของสตูดิโอแหงนี้ เพราะ นอกจากตั ว ห อ งถู ก ออกแบบมา เพื่อสอนเครื่องสายแลวยังใชวิธีการ ส อ น แ บ บ ใ ห ม ซึ่ ง ค รู จ ะ เ ล น เปยโนสด ๆ เพื่อเปรียบเทียบจังหวะ ไปพรอม ๆ กัน ครูทกุ ทานไมใชเพียง สอนเก ง แต มี ค วามเชี่ ย วชาญ เฉพาะทางเพราะต อ งจบเมเจอร นั้น ๆ โดยตรง เชน สอนไวโอลิน ก็ตองจบเอกไวโอลิน เพราะเทคนิค และการตีความหมายเพลงเปนเรื่อง ลึกซึ้งเกินวาที่จะใชครูผูสอนปะปน กัน สวนแนวเพลงที่สอนมีทั้งปอป คลาสสิก และแจส อันเปนที่ยอมรับ ถึ ง ขนาดว า ชาวต า งชาติ เจ า ของ วัฒนธรรมยังมาเรียนกันหลายราย นักเรียนที่นี่มีทุกเพศทุกวัย ตั้งแต อายุ 3 ขวบครึ่งจนถึง 70 กวาป เพราะดนตรี ไมมีอายุเปนอุปสรรค สั ม ผั ส ตั ว โน ต ที่ มี สี เ รี ย นรู ทุ ก โน ต ดนตรีที่มีชีวิตไดที่นี่ ‘ฮิบิกิ มิวสิค สตูดิโอ : มิวสิค ไลบรารี่’

Music Notes Come to Life Hibiki Music Studio: Music Library Sarayuth Chantarangkul, used to teach at leading music institutes for more than 20 years before opening up his own cozy music studio. One of the interesting techniques that the studio uses to teach its students is encouraging them to visualize music as images, resulting in a deeper meaning and joyful sensory perception. This concept is the foundation of its name, “Hibiki Music Studio”, which means “resonance in the mind”. Three main musical instrument classes are taught here piano, guitar and violin by highly experienced teachers. The studio also teaches various music genres like pop, classical and jazz. Experience colorful music and make it come alive here at Hibiki Music Studio: Music Library.

Hibiki Music Studio : Music Library Room 209, 2nd floor, Bangkok Art and Culture Centre Quality secondhand musical instruments are also available here. Tel. 090 961 0870, 089 166 1261

PHOTO ART


34

ARTISTEXHIBITION BACC HANGOUT

CROSS_STITCH นิทรรศการ ข้าม_ตะเข็บ ก้าวย่างเพือ่ การเติบใหญ่ พวกเขามารวมตัวกันเฉพาะกิจ (ณ วันนี้) เพื่อจะก้าวข้ามไปสู่ความยิ่งใหญ่ (ในอนาคต) 10 ศิลปินรุ่นพี่ คามิน เลิศชัยประเสริฐ, โฆษิต จันทรทิพย์, ทวีศักดิ์ ศรีทองดี, นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์, มานิต ศรีวานิชภูมิ, วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์, สมบูรณ์ หอมเทียนทอง, สาครินทร์ เครืออ่อน, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และอารยา ราษฎร์จําเริญสุข โคจรมาเจอ 18 ศิลปินรุ่นใหม่ คธา พรหมสุภา, จุฬญาณนนท์ ศิริผล, ณัฐพล สวัสดี, ธนธัส ชัยเลื่อน, ปรกพันธ์ พงษ์งาม, พิชญา งามเจริญ, พีรพัฒน์ กิตติสุวัฒน์, พีระพัฒน์ อัครพัฒน์, ฟ้าวลัย ศิริสมพล, มนรัตน์ ฉ่าสูงเนิน, ศุภพงศ์ เหล่าธีรศิริ, หฤษฎ์ ศรีขาว, หิรัญพฤกษ์ ไตรจักรภพ, อธิคม มุกดาประกร, อนุพงศ์ เจริญมิตร, อุกฤษณ์ สงวนให้, อุบัติสัตย์ และเอกลักษณ์ สาธิตธวัช ในนิทรรศการ ข้าม_ตะเข็บ

หลากมุมมอง หลายแนวคิดถูกหลอม รวมมาไว ณ พื้นที่อันเต็มไปดวยการ ทดลองผ า นผลงานชิ้ น เอกที่ ศิ ล ป น แตละคนสรางสรรคขน้ึ ศิลปนรุน พีก่ ลายเปนแรงบันดาลใจ สําคัญนํามาสูการตอยอดผลงานของ ศิ ล ป น รุ น น อ งที่ กํ า ลั ง จะเจริ ญ รอย ตามความสําเร็จ เฉกเชนศิลปนรุนพี่ หรือศิลปินต้นน้ําเคยสร้างชื่อเสียง และบารมี เ อาไว ในฐานะศิ ล ป น รุนนองหรือศิ ล ป น ปลายน้ํ า ผู เ ฝ า ฝ น ความสํ า เร็ จ นี่จึงเปนโอกาสที่จะได

อวดฝมอื ของตัวเองใหเปนทีป่ ระจักษ นิ ท รรศการท า ทายด ว ยแบบ ทดสอบที่ ช วนให ข บคิ ด นํ า ผู ช ม ข า มพรมแดนแห ง สุ น ทรี ย ศิ ล ป ภายใต บ รรยากาศตื่น ตา ตื่น เต น และตืน่ ใจ ทัง้ แนวคิด การนําเสนอ รวมถึงสัญญะ ซึ่งเรนแฝงในทุกชิ้น งาน อัน มีกรอบการนํ า เสนอเพื่ อ มุ ง เป ด พื้ น ที่ ท างความคิ ด ในการ ประเมินคุณคาและมุมมองระหวาง ศิลปน 2 รุน ขณะเดียวกันผลงานที่ปรากฏ

ต อ สายตายั ง มี ค วามชั ด เจนในการ ทํ า หน า ที่ สํ า รวจถึ ง ความพร อ มของ ศิ ล ป น รุ น ใหม ผา นภาวะความเป น ไป ทางสังคม เคลือ่ นไหวอยางหวือหวาดวย แนวคิ ด ที่ เ หมื อ นกํ า ลั ง พาตั ว ศิ ล ป น เองออกจากอาณาเขตเดิม ๆ เพื่อกาว เข า สู พื้ น ที่ ใ หม และมี ข นาดใหญ มากกวาเกา ผลงานของจฬญาณนนท ศิริผล Monk and Motorcycle Taxi Rider ภาพยนตรสั้นความยาว 7 นาที เลา เรื่ อ งหนุ ม หล อ อารมณ ดี กั บ อาชี พ

baccazine | ISSUE 07


COLUMNIST : MR.OH / PHOTOGRAPHER : SAYAN CHUENUDOMSAVAD

มอเตอร ไ ซค รั บ จ า ง ถื อ เป น นั ก ทํ า ภาพยนตร ที่ กํ า ลั ง จะก า วข า มตะเข็ บ ความสํ า เร็ จ เฉกเช น ผู กํ า กั บ รุ น พี่ อภิชาติพงศ วีระเศรษฐกุล ที่ เ คยทํ า ได ไม ใ ช การวั ด ร อ ยเท า ของกั น และกั น หากแต เ ป น การสืบหาหนทาง การเติบโตของศิลปนที่ ต อ งก า วไปข า งหน า อย า งมุ ง มั่ น หรือผลงานความตายรวมสมัย (Contemporary death) โดย หฤษฎ ศรีขาว ที่ยั่วลอโสตประสาทดวยประเด็น ความตาย ใชเด็กนอยเปนตัวกลางคอยทําหนาที่เชื่อมตอ กั บ สั ง คม ฉุ ก ให นึ ก ถึ ง ผลงานว า ด ว ยความตายของ อารยา ราษฎรจําเริญ ที่สรางแรงกระเพื่อมไหวในวงกวาง ขณะนั้ น ไม ใ ช ก ารลอกเลี ย นหรื อ ทํ า ซ้ํ า หากแต เ ป น การเจริญรอยตามแรงบันดาลใจสําคัญของศิลปนที่ตองหา แบบอยางที่นาชื่นชม สาครินทร เครือออน บอกวาการเปนศิลปนรุน ใหมมกั ได เปรียบตรงความสดที่จะแสดงความคิดออกมา แตอยาง หนึ่งที่ยังขาดคือ ความแหลมคมที่อาจตองจับมาเหลาให แหลมและคมยิ่งขึ้น ศิลปนรุนพี่ที่มีประสบการณมีสวนชวย ชี้ทางไดมาก PHOTO ART

35

“ไมจาํ เปนหรอกครับวาศิลปนรุนนองจะตองเดินตาม รอยศิลป นรุนพี่ อาจจะเป น แรงบันดาลใจได แตสุดทาย ศิลปนทุกคนย อ มมี แ นวทางที่ เ ป น ตั ว เองมี ที่ ยื น สํ า หรั บ ตัวเอง ฉะนั้นการที่จับศิลปน 2 รุน มาเจอกัน ก็เปนการ แบ ง ป น ประสบการณระหวางศิลปน ซึ่งมันก็คือการให โอกาสที่ ศิ ล ป น รุ  น พี่ จ ะผลั ก และดั น ศิ ล ป น รุ  น น อ งให เติบใหญตอไป” คําวา ขาม_ตะเข็บ CROSS_STITCH จึงเปนเสมือน พรมแดนทางความคิดของศิลปนตางรุน ที่ทั้งคูจะตองรวม พลังจับมือจูงแขนกัน เพื่อเย็บตะเข็บความคิดเชื่อมรอยตอ หรื อ ค น หาอั ต ลั ก ษณ ก ารเป น ศิ ล ป น บนเส น ทางศิ ล ปะ ที่แตละคนเลือก นิ ท รรศการ ข าม_ตะเข็บ โดย ภัณ ฑารั ก ษ พิ ช ญา ศุภ วานิ ช ดําเนิ น งานโดยฝ ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห ง กรุงเทพมหานคร ภายใต โครงการ Young Artist Network


36

BACC EXHIBITION

This exhibition is the collaboration between ten senior artists, namely Kamin Lertchaiprasert, Kosit Juntaratip, Taweesak Srithongdee, Nipan Oranniwesna, Manit Sriwanichpoom, Wit Pimkanchanapong, Somboon Hormtienthong, Sakarin Krue-on, Apichatpong Weerasethakul, and Araya Rasdjarmrearnsook and 18 young rising stars (Kata Promsupa, Chulayarnnon Siriphol, Nuttapon Sawasdee, Tanatus Chailurn, Prokphan Pon-ngam, Pitchaya Ngamcharoen, Peeraphat Kittisuwat, Peeraphat Aukraphat, Fawalai Sirisomphol, Monrat Chasungnern, Supapong Laodheerasiri, Harit Srikhao, Hiranpruek Trichakraphop, Atikom Mukdaprakorn, Anupong Ch roenmitr, Ukrit Sa-nguanhai, ubatsat and Ekkalak Satidtawat These senior artists have inspired the juniors in their working process. Each of the artwork has been created through thought experimentation, resulting in interesting and unconventional work. They survey and reflect the social movements. There is a linkage in the creation and presentation

styles between the two generations of artists. For an example, Chulayarnnon Siriphol’s short film “Monk and Motorcycle Taxi Rider” which is about a young handsome motorcycle taxi rider is receiving a lot of attention from the audience just like the renowned Apichatpong Weerasethakul. “Contemporary Death” by Harit Srikhao is teasing the viewers’ mind about death, which reminds them of similar popular works by Araya Rasdjarmrearnsook. Sakarin Krue-on says that young artists’ advantage is their fresh minds yet they may need to improve on sharpening their techniques and perspectives. Senior artists may be able to guide them on this aspect. “It doesn’t necessarily mean that junior artists are following the footsteps of the senior artists because in the end all artists find their own signature. Therefore, getting these two generations together enables a lot of meaningful exchanges of experiences between them, which helps support the young ones to further pursue their path”. baccazine | ISSUE 07

Building Net works for People

Cross Stitch is curated by Pichaya Suphavanij and operated by Exhibition Department, Bangkok Art and Culture Centre under the Young Artist Network Project by BACC.


BACC CALENDAR

COLUMNIST : bacc TEAM

37

เทศกาลภาพยนตร์คัดสรร “Cinema Diverse: Director's Choice” เริ่ม 9 พฤศจิกายน 2556 เวลา 16.30 - 21.00 น. ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปกรุงเทพฯ โดย ฝ่ายกิจกรรม หอศิลปกรุงเทพฯ เทศกาลภาพยนตร์คัดสรร “Cinema Diverse: Director's Choice” โดย ฝ่ายกิจกรรม หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร เริ่ม 9 พฤศจิกายน 2556 เวลา 16.30 – 21.00 น. ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5

ชีวิตสายน้ํา โดย วรสันต์ สุภาพ 17 ตุลาคม - 19 พฤศจิกายน 2556 พีเพิลส์แกลเลอรี่ ชั้น 2 หอศิลปกรุงเทพฯ

นับแตอดีตจนถึงปจจบัน ชีวติ ของคนไทยสวนใหญ จะผูกพันอยูก บั สายนาํ ผูค นที่ใชชวี ติ ในสายนาํ เปน ชีวติ ทีน่ า ประทับใจ อบอุน อิสระไมมขี อบเขต เปน ชีวติ ทีล่ อ งลอยไปตามสายนาํ ซึง่ เปนจดเกิดในการ เขียนภาพแนวนี้ขึ้นมา โดยนําชีวิตของคนในเรือที่ มีทั้งพอ แม ลูกและสัตวเลี้ยงอาศัยรวมอยูดวยกัน มาสือ่ อยางเวลาทานขาวก็จะทานดวยกัน นอนใน เรือลําเดียวกัน ทําใหพอแมไดมีเวลาอยูกับลูก ได อบรมสัง่ สอนลูก ภาพเขียนนีส้ ามารถบอกอะไรได หลายสิ่งหลายอยางของผูใชชีวิตในสายนํา Water of life by Vorasan Supap 17 October - 19 November 2013 People's Gallery, 2nd floor, BACC When compared to other rivers, the Chao Phraya River has been and still is the most important and the principal blood vessel for Thai people. Even today, life along this river seems to be going on with simplicity, tranquility and warm sympathy. These views including the values of Thai Culture are the resources and inspirations for this exhibition

เทศกาลภาพยนตรคัดสรรกลับมาอีกครั้งกับ 5 ภาพยนตรนานาชาติท่ีคัดเลือกโดย 5 ผูกํากับ ภาพยนตรไทยชื่อดัง รวมรับชมภาพยนตรจาก หลายประเทศพรอมพูดคุยกับผูกํากับทั้ง 5 ทาน กิจกรรมนี้จัดขึ้นทุกสองเดือน ตั้งแตพฤศจิกายน 2556-กรกฎาคม 2557 สํ า หรั บ วั น เสาร ท่ี 9 พฤศจิกายนนี้ พบกับภาพยนตรจากประเทศสหรัฐฯ เรือ่ ง Synecdoche, New York (2008) ทีค่ ดั สรร โดยคงเดช จาตุรนั ตรศั มี ผูก าํ กับและนักเขียนบท ภาพยนตรชอ่ื ดัง เจาของผลงานอยาง ตัง้ วง แตเพียง ผูเ ดียว กอด และเฉิม่ (ชมฟรี) *ภาพยนตรเรือ่ งนี้ เหมาะสมกับผูม อี ายุตง้ั แต 18 ปขน้ึ ไป สอบถามราย ละเอียดเพิม่ เติม โทร 02 214 6630-8 ตอ 528 หรือ อีเมล activity@bacc.or.th Cinema Diverse: Director's Choice Saturday 9 November 2013, 16.30 - 21.00 hrs Auditorium, 5th floor, BACC Bangkok Art and Culture Centre proudly presents “Cinema Diverse: Director's Choice”. For the 2nd Cinema Diverse, five international films, selected by five acclaimed Thai directors, will be shown bi-monthly from November 2013 – July 2014, followed by a talk with the director after each screening. The first screening on Saturday 9 November 2013 is a US film, Synecdoche, New York (2008) selected by Mr. Kongdej Jaturanrasmee, a renowned Thai screenwriter and director of Tang Wong, P-047, Handle Me with Care and Midnight My Love. (Free admission) *Screening in English with Thai subtitles. *The talk after the screening will be in Thai with English translation. *The film is suitable for adults 18 years and over. For more information please call 02 214 6630-8 ext. 528 and email activity@bacc.or.th PHOTO ART

นิทรรศการ Re-ทิ้ง (Re-Think): นิทรรศการ ศิลปะเพื่อลดการ"ทิ้ง"เพิ่มการ"Think" 14 กันยายน - 17 พฤศจิกายน 2556 ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 7, หอศิลปกรุงเทพฯ โดย หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ร่วมกับ ภัณฑารักษ์ พศุตม์ กรรณรัตนสูตร และกลุ่มศิลปิน Re-ทิ้ง

จากสิ่งไรคาในกองวัสดุ แตเปยมความหมายทาง ดานจิตใจ ถูกศิลปน 6 ทานนํามาชุบชีวิตใหฟนคืน คุณคาดวยวิธที ตี่ า งกัน ผลงานศิลปะบางชิน้ ไมไดถกู ชุบชีวิต หากแตทําหนาที่ชุบชีวิต บรรเทา เยียวยา และฟนฟูความรูสึก ความเจ็บปวด หรือบาดแผล บางประการในอดีต นอกจากนี้มีเสวนา Artist Talk ในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2556 เวลา 14.00 -16.00 Re - Think : Art Exhibition for Reduce “Waste” Renew “Think” 14 September - 17 November 2013 Main Gallery, 7th floor, BACC By Bangkok Art and Culture Centre, Pasutt Kanrattanasutra and the artists Re-Think From worthless objects in piles of trash, six artists have revived these mental-value objects by creating their unique style of art which represents as another our history of recycling. Some artworks are not revived but the artworks themselves revive, improve, treat and restore the artist’s feelings, sufferings and even some old mental scars.


38

COLUMNIST : MODDUM

สถานพักตากอากาศ : นิทรรศการศิลปะเพื่อภูมิทัศน์ของการพัก 4 ตุลาคม - 24 พฤศจิกายน 2556 ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8, หอศิลปกรุงเทพฯ โดย ฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปกรุงเทพฯ

บอกเลาถึงความละเอียดของชีวิต ดวยเวลาที่ยืดขยาย สภาวะแปลกใหมที่อยูในความคุนชิน ความ สัมพันธฉันเพื่อนระหวางมนุษยและธรรมชาติ ความเปนไปได พื้นที่เล็ก ๆ ที่แบงปนในอาณาจักร อันยิ่งใหญแหงความวางเปลา การกลับถึงบานที่มีที่ตั้งอยูในตัวเรา และความเขาใจในที่พักอาศัยที่ ไมใชแคกอนสถาปตยกรรม แตเปนสถานที่ที่ถูกคนพบคุณคาอันแทจริงของการใชชีวิตอยู เหลานี้ เปนสวนหนึ่งของการสงสารผานผลงานศิลปะตางรูปแบบ ขยายความหมายของการพักพนสภาวะ ทางกายภาพ Resort: An exhibition for landscape of rest 4 October - 24 November 2013 Main Gallery, 8th floor, BACC By BACC Exhibition Department, Bangkok Art and Culture Centre It is the place where the narrations of life elaborated by the expansion of time; the foreignness discovered in the familiarity, the cordial relation between human and nature; the sharing of small realm in the great kingdom of void; the returning to home situating in ourselves; and the dwelling that is not an architecture of a house museum but the place where true living is to be found; all of these are parts of the stories depicting through artworks to broaden the definition of rest beyond physicality.

นิทรรศการเกี่ยวกับภาพถ่ายในหอศิลปกรุงเทพฯ

นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ในสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

bacc photo นิทรรศการเหนือธรรมชาติ

นิทรรศการหนังสือภาพถ่ายเยอรมัน ยอดเยี่ยม 2013

10 ธันวาคม 2556 – 16 กุมภาพันธ์ 2557 ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 9 หอศิลปกรุงเทพฯ โดย สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และหอศิลปกรุงเทพฯ

8 พฤศจิกายน 2556 - 3 มกราคม 2557 ชั้น 3 – 5 หอศิลปกรุงเทพฯ โดย ฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปกรุงเทพฯ

22 ตุลาคม - 24 พฤศจิกายน 2556 ณ ชั้น L และห้องสมุดศิลปะ หอศิลปกรุงเทพฯ โดย สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย ร่วมกับ หอศิลปกรุงเทพฯ และ HARDCOVER: The Art Book Shop

Photographs Exhibition by H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn Date : 10 December 2013 - 16 February 2014 Main Gallery, 9th floor, BACC By The Royal Photographic Society of Thailand and Bangkok Art And Culture

Supernatural 8 November 2013 – 3 January 2014 3rd - 5th floor, BACC By bacc Exhibition Department, Bangkok Art and Culture Centre

Exhibition: German Photo Books Awards 2013 By The Goethe-Institut Thailand, Bangkok Art and Culture Centre and the HARDCOVER Art Bookshop 22 October - 24 November 2013 at L floor and Art Library, BACC

baccazine | ISSUE 07


NETWORK CALENDAR

Karma Police: ดวงตาเห็นทํา

Destination Chaing-Rai

In Amsterdam with Chavalit Soemprungsuk

วันนี้ – 3 พฤศจิกายน 56

2 พฤศจิกายน – 16 ธันวาคม 2556

วันนี้-17 พฤศจิกายน 2556

100 ตนสนแกลเลอรี่ กรุงเทพ ฯ

ขัวศิลปะ จ.เชียงราย

หอศิลปรวมสมัยราชดําเนิน กรุงเทพฯ

ใครๆก็เคยผานเรือ่ งรายๆในชีวติ กันทัง้ นัน้ เชนเดียวกับ ยุรี เกนสาคู ซึง่ ใชประสบการณเหลานัน้ มาเปนแรง บันดาลใจในงานศิลปะชุดใหม ผานความเชือ่ เรือ่ ง ‘กฎแหงการกระทํา’ หลังถูกผูรับเหมากอสราง คดโกงจนบานและสตูดโิ อตองถูกทิง้ ราง เธอเลือก ทีจ่ ะแสดงออกผานชิน้ งานทีค่ งความเปนเอกลักษณใน เรือ่ งการใชฟอรม และสีสนั ทีส่ ดใส นอกจากการวาดรูป บนผืนผาใบ ยังนําวัสดุไฟเบอรกลาสมาใชเปน สวนประกอบในการสรางเรื่องราวผานจินตนาการ สวนตัว นับเปนการลบเลือนเสนแบงระหวางงาน จิตรกรรมและประติมากรรมใหเบาบาง ทั้ ง ยั ง กลาวกันวานีถ่ อื เปนกาวเขาสูป ท ี่ 11 อยางสมเกียรติ กับการเปนศิลปนหญิงรุนใหม นี่คือการกลาวอาง เกินจริงหรือไม พิสูจนไดในงานนี้ ขอมูลเพิม่ เติม

นิทรรศการศิลปะสุดหลากหลายจากศิลปน 11 ทาน 4 สัญชาติ ไดแก ไทย, เยอรมัน , อิตาลี และ บัลกาเรีย ทีม่ จี ดรวมสําคัญคือการนําผลงานมาจัดแสดงรวมกันที่ เชียงราย จึงเปนทีม่ าของชือ่ Destination Chaing-Rai นําโดยศิลปนไทยผูป ระสบความสําเร็จในเยอรมันอี ยาง สมยศ หาญอนันทสุข ซึง่ นําภาพเขียนแนวนามธรรม มานําเสนอรวมกับงานศิลปหลากแขนงของอารตสิ ท ทานอืน่ ๆ อาทิ ภาพถายชุด The Atlantic Wall บังเกอร บนหาดนอรมังดีส มัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย Eberhard Fichter, จิตรกรรมบนผืนผาใบของ ไทวิจติ ร พึง่ เกษมสมบูรณ, งานดีไซนเฟอรนเิ จอร จาก อุดม อุดมศรีอนันต ผูก อ ตัง้ บริษทั Planet2001, ภาพเขียนบน กระดาษสาฝมอื Sybille Rath, วีดีโอและภาพเขียน สีนาํ้ มันโดย Valio Tchenkov เปนตน ขอมูลเพิม่ เติม โทร. 08-8418-5431, artbridge.cr@gmail.com

นิทรรศการทีย่ กหองทํางานของชวลิต เสริมปรุงสุข ศิลปนอาวุโสทีป่ ระสบความสําเร็จในเนเธอรแลนด มาใหชมกันทุกกระเบียดนิ้ว ไมวาจะเปนสตูดิโอ, ครัว, โซฟาที่มีคนฆาตัวตาย, ขาวของกระจก กระจิก แมแตรอยเทาสุนัขที่เคยเลี้ยง เพื่อสราง แรงบันดาลใจใหคนในแวดวงศิลปะในการทุมเท ทํางานอยางจริงจังดังเชนศิลปนทานนี้ท่สี รางงาน ศิลปะมาชัว่ ชีวติ โดยอาศัยอยูใ นอัมสเตอรดมั นาน กวา 50 ป มีผลงานศิลปะติดตั้งอยูในหนวยงาน ของรัฐหลายแหงทั่วเนเธอรแลนด และอีกหนึ่ง ความพิเศษของนิทรรศการนี้คือผลงานทั้งหมด รวมถึ ง สตู ดิ โ อจะถู ก ยกให เ ป น สมบั ติ ข องชาติ (ไทย) อีกดวย เดินทางเขาสูโลกและชีวิตของ อารติสทผูจริงแทไดแลววันนี้ สอบถามเพิ่มเติม โทร. 02-4228827

www.facebook.com/100TonsonGallery โทร. 02 684 1527 <<

<<

<<

Karma Police Today – 3 November 2013 100 Tonson Gallery

Destination Chiang Rai 2 November – 16 December 2013 Art Bridge Chiang Rai

Everybody has been through hardship in their lifetime. Yuree Kensaku is a female artist who portrayed her bad time as an inspiration to create artwork. She had been cheated by her contractor who did not finish the construction of her house and studio. Through this experience, she used vivid colors to create paintings on canvases with the integration of fiber glasses to convey her story. She has been recognized as one of the young blood artists who’s been successful for 11 years. For more information: www.facebook.com /100TonsonGallery Tel. 02 684 1527

In this exhibition, eleven artists from four countries, namely Thailand, Germany, Italy and Bulgaria, proudly present their diverse art and creative works, ranging from abstract paintings by the internationally acclaimed Thai artist Somyot Hananuntasuk, “The Atlantic Wall” – photographs taken during the World War II by Eberhard Fichter, paintings on canvas by Thaiwijit Poengkasemsomboon, furniture designs by Udom Udomsrianan, paintings on mulberry paper by Sybille Rath, to video footages and oil paintings by Valio Tchenkov. For more information, call 08-8418-5431, artbridge.cr@gmail.com

In Amsterdam with Chavalit Soemprungsuk Today -17 November 2013 Ratchadamnoen Contemporary Art Center, Bangkok

PHOTO ART

This exhibition presents the studio of Chavalit Seampruksook, Thai senior artist who is highly successful in the Netherlands. It displays his kitchen, the sofa where there had been a suicide, his belongings, and even his dog’s paw prints. He lived in Amsterdam for more than 50 years and his artworks were shown in various parts of the Netherlands. All of his works including this studio will be endowed as Thailand’s national property. For more information, call 02-4228827.


40

IDEA OF LIFE

FILM MUSIC BOOK ของ

อนันดา เอเวอริง่ แฮม

ไม่ ต้ อ งบรรยายสรรพคุ ณ ให้ ม ากความ เพราะใคร ๆ ก็ รู้ จั ก ผู้ ช ายคนนี้ อนั น ดา เอเวอริ่ ง แฮม ทั้ ง ในฐานะศิ ล ปิ น นั ก แสดงมากความสามารถ และผู้ อ ยู่ เ บื้ อ งหลั ง ในฐานะโปรดิ ว เซอร์ ในขณะที่ ห ลายคนก็ รู้ ว่ า ผู้ ช ายคนนี้ รั ก การถ่ า ยภาพ เมื่ อ มี เ วลาเขาจะสะพายกล้ อ งตั ว โปรดแล้ ว ออกตระเวนเก็ บ ภาพที่ พ บเห็ น ผ่ า นเลนส์ ก ล้ อ งและ มุมมองเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวที่น่าสนใจอันหลากหลาย ถามถึงเรื่องหนัง เพลง หนังสือ เจ้าตัวยิ้มกว้างและบอกว่า เหล่านี้คือแรงขับส่วนหนึ่งที่ทําให้อารมณ์สุข ทุกข์ เหงา เศร้า รัก ตลอดจนพลังความคิดสร้างสรรค์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน ตัวเขาออกมาแสดงตัวอย่างครบรส

Music - Soundtrack "ผมเปนคนชอบซาวดแทร็ก เพราะมันเปนการ รวบรวมเพลงที่ชอบมาอยูในอัลบั้ม บางทีผมจะ จํ า ซาวด แ ทร็ กได ม ากกว า ศิ ล ป น หรื อ อั ล บั้ ม นั้ น ดวยซ้ําไป ซาวดแทร็กที่มักจะหยิบมาฟงเพราะ ชอบมากและอินกับมันไดทุกครั้งก็คือ Pulp fiction ลาสุดซาวดแทร็กเรื่อง “Great Gatsby” นี่ก็เท มาก ถายุค Rock n’ Roll 80’s แนว ๆ หนอย ก็ จะมีเพลงแบบ Life Kevin แตอัลบั้มที่ฟงยังไงก็ ชอบมากทุกครั้งคือ The Velvet Underground สมัย Lou Reed เปนวงที่แอนดี้ วอรฮอลปน แลว ก็แตกออกมาเปน Lou Reed ในตอนหลัง ถาเปน เพลงสมัยนี้ก็ชอบเยอะ แตมีเพลงนึงที่คางเติ่งอยู ในสมองตอนนี้และจะฟงตลอดก็คือ วง Bon iver จริง ๆ ผมฟงเพลงไมจํากัดแนว แตเปนความ ชอบสวนตัวมากกวา เพลงแนวคันทรี่ก็ชอบ วงที่

ชอบมากคือ Cowboy Junkies ในเวลาเดียวกัน ผมก็ชอบฟง The cure เปน Rock 'n Roll ยุค 80’s แตผมโตมาแบบ Nirvana ซึ่งผมชอบมาก ถาจะหาแรงบันดาลใจใหลุกขึ้นไปทําอะไรบาง อยาง ผมจะฟงเพลง Shine ของ David Gray ถาเมาและเหงาจะฟง Skinny Love ของ Bon Iver ถานึกถึงผูหญิงจะฟง Baby it’s you ของ วง Smith เปนซาวดแทร็กของหนังเรื่อง Death Proof ตอนเลนหนังแอ็กชั่นผมก็ตองบิวตตัว เองดวยการฟงเพลง Cochise ของวง Audio Slave ตอนอยากทําตัวแนวฮิป ๆ เท ๆ หนอย จะฟงวง The cure เพลง Just like Heaven ถา อยากรักแบบน้ําเนาก็เพลง Kissing you ของ Des’ree เปนซาวดแทร็คของ Romeo and Juliet ตอนซิ่งมอเตอรไซคตองฟง Jay-Z และ 99 problems สวนตอนอยากจะดูฉลาด ฟงอะไร baccazine | ISSUE 07

ก็ไดที่รองโดย Bob Dylan (หัวเราะ) คือเขานับวา เปนนักกวีของวงการดนตรี คําเขียนฉลาด มีความ เปนกวีสูง เลาเรื่องไดดี เพลงเขาดีจริง แตผมไม สามารถฟงไดทั้งวันทั้งคืน ถาอกหักตองฟงเพลง ของ Jeff Buckley เศราหมดทุกเพลง แตถาจะให เลือก ขอเลือก Lover, you should`ve Come over"


COLUMNIST : WIWATTA PHOTOGRAPHER : SAYAN CHUENUDOMSAVAD

41

My Favorite Movies

"ผมอยูว งการหนัง มันยากมากทีจ่ ะบอกวาชอบเรือ่ งไหนมากทีส่ ดุ ผมไมไดมกี ฎเกณฑ คือจะชอบมันทีส่ ดุ เมือ่ ตอนที่ เราเขาใจมัน และอยูในชวงยุคสมัยดวย แตผมจะมีหนังที่ผมรักอยาง Casablanca และ Lawrence of Arabia เปนหนัง ทีด่ มี าก หรือหนังของผูก าํ กับ Jean Luc Godard ผมก็ชอบมาก หนังของอัลเฟรด ฮิตชคอ็ ก ทีช่ อบทีส่ ดุ คือ Vertigo หนัง ของมารติน สกอรเซซี ผมก็ชอบ Raging Bull ถาเปนหนังสเปนผมจะชอบของ Pedro Almodovar เรื่อง Talk to her หนังเม็กซิโกชอบเรื่อง Amores perros หนังที่รูสึกวาเปนหนังตรงกลางมาก ๆ คือเรื่อง Silver Linings Playbook ถาในรอบ 10 ปทผี่ า นมา ชอบเรือ่ ง There will be blood ของ Paul Thomas Anderson หนังเกาหลีก็เรื่อง Oasis ของ Lee Chang Dong สวนหนังเมนสตรีมชอบเรื่อง Hugo เปนหนังที่เหมือน Cinema Paradiso สวนอีกเรื่องคือ Life is beautiful ดูแลวไดแรง บันดาลใจมาก สวนหนังที่ดูเพื่อรองไหอยางเดียวตองเรื่อง Love Story เปนหนังยุค 80’s สวนอารมณที่ดูแลวตลก ฮา ก็ตอง Bridesmaids ผูหญิงเลนมุขแบบผูชาย มัน เหมือน The Hangover แตเปนผูหญิง เปนมุขที่ดูแลวแบบ โอโห กูปลื้ม (หัวเราะ)"

Book Must Read

"หนังสือโปรดคือ Lolita ของ วลาดิเมียร นาโบ คอฟ ดีมากเลย สวน Outsider หรือคนนอก ของ อั ล แบร กามู ผมอ า นมาตั้ ง แต เ ด็ ก อ า นมาหลาย ป แ ล ว รู สึ ก อยากเข าใจมั น จริ ง ๆ หยิ บ มาอ า นอี ก ที ตอนโตก็รูสึกเปลี่ยน เพราะตอนเด็กเราทํางานดวย อี โก เราก็ชอบคิดวาโลกหมุนรอบตัวเรานะ แตพอ มาอานตอนโตอีกครั้งรูสึกเลยวามันลึกกวาที่คิด มัน พูดถึงกฎหมาย สังคม และอีกหลายอยาง ออ!! The Great Gatsby ของ F Scott Fitzgerald ก็สุดยอด เป น หนั ง สื อ ที่ ส วยที่ สุ ด ในการใช ภ าษา คลาสสิ ก มาก คื อ หลายคนคิ ด ว า เป น หนั ง สื อ ดี ที่ สุ ด ใน ประวั ติ ศ าสตร อ เมริ ก า ถ า เป น ปรั ช ญาชี วิ ต ที่ ค น เขาหาไดงายๆ หนอยก็คือ สิทธารถะ ของ เฮอรมานน เฮสเส แตจริง ๆ ผมชอบสเตปเปนวูลฟ ของเขา มากกว า แต เ รื่ อ งสิ ท ธารถะเป น หนั ง สื อ ควรอ า น สวนหนังสือที่เกลียดที่สุดก็มีนะ มูราคามิ (หัวเราะ) ผมว า มั น ก็ ดี บ างเล ม แต มั น มี ค วามดั ด จริ ต "

Ananda Everingham’s favorite movies, music and books Movies, music and books are great inspirations behind Ananda Everingham’s happiness, sadness, loneliness, love as well as creativity. The famous actor, artist, producer and photographer shared his most favorites with us. Music - Soundtrack My favorite songs are mostly soundtracks. My all-time favorite soundtrack album is “Pulp Fiction”. The latest one “Great Gatsby” is also very cool though I didn’t really like the movie itself. Nothing beats “The Velvet Underground” which was managed by Andy Warhol before its lead member Lou Reed went on to find success as a solo artist. Right now I can’t get “Bon Iver” out of my head. In fact, I can listen to all genres, including country music. The bands that I like very much are “Cowboy Junkies” and “The Cure”. I grew up with “Nirvana”. For super romantic moment, Des’ree’s “Kissing You” from the movie “Romeo and Juliet” is the one Book Must Read “Lolita” by Vladimir Nabokov is a very good book. Albert Camus’s Outsider is very deep. I’ve read it many times since I was young because I really PHOTO ART

wanted to understand it. Oh, I also think that “The Great Gatsby” by F Scott Fitzgerald is awesome. These are the two most beautiful books in terms of literature and are forever classics. For philosophical book, I recommend Siddhartha by Hermann Hesse. However, I like his Steppenwolf better. My Favorite Movies It’s really hard to say which movie is my most favorite. I love “Casablanca” and “Lawrence of Arabia”. I also like movies by the director “Jean Luc Godard” and “Alfred Hitchcock”. “Vertigo” by Martin Scorsese is also one of my most favorites. “Raging Bull” is also great. For foreign films, I like “Talk to Her” by Pedro Almodovar and “Amores Perros”. One of the recent feel-goods is “Silver Linings Playbook”. I also like “There Will Be Blood” by Paul Thomas Anderson. The Korean “Oasis” by Lee Chang Dong is also very good. “Hugo” is very inspiring. It’s like “Cinema Paradiso”. “Life is Beautiful” gave me a lot of inspirations. One of the saddest movies ever is “Love Story” in the 80s. The best comedy is “Bridesmaids”. I was amazed at how women could act as funny as men. It’s like a female version of “The Hangover”. It’s just brilliant!


42

ART OF LIFE

MORE THAN WORDS ความสุ ข ของผู้ ค นมี ห ลากหลายรู ป แบบ แต่ สํ า หรั บ ดร.ดิ ส พล จั น ศิ ริ หั ว หน้ า ภาควิ ช ากฎหมายภาษี ใ นระดั บ ชั้ น นิ ติ ศ าสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ ผู้ บ ริ ห ารธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ บริ ษั ท จั น ศิ ริ เรี ย ลเอสเตจ และผู้ก่อตั้งบริษัท DCA Art Consultant ซึ่งเป็นบริษัทให้คําปรึกษาทางด้านงานศิลปะ บอกว่าความสุขคือ “การสะสม งานศิลป์” โดยเฉพาะภาพถ่าย ด้วยภาพถ่ายคือ ศิลปะแขนงหนึ่งที่ไม่ต่างจากศิลปะแขนงอื่น ๆ ซึ่งการสะสมภาพถ่าย ไม่เพียงแต่เก็บไว้ชื่นชมเพื่อความสุขและสุนทรียศาสตร์เท่านั้น หากแต่ภาพถ่ายยังช่วยขยายขอบเขตทางความคิด ของเขาให้กว้างไกลด้วย

“เมือ่ ประมาณ 15 ปทแ่ี ลว เพือ่ นชาว อิตาเลียนเปนคนแรกที่ชักชวนใหผม สนใจในภาพถ า ย ตอนแรกที่เ ห็ น ภาพถายผมก็คอนขางสนใจ แตยัง ไมคอยเขาใจวาคืออะไร และตองดู อยางไร แตเมื่อเริ่มศึกษาภาพถาย อยางจริงจัง จึงทําใหรูวานาติดตาม ไม ว า จะเป น เรื่ อ งของการจั ด องค ประกอบ สี ความรูส กึ รวมไปกับภาพ ในขณะทีห่ ลาย ๆ คนบอกวา ดูไมรเู รือ่ ง ดูไมเปน แตผมคิดวาการดูภาพถาย หรืองานศิลปะตาง ๆ นัน้ ไมยากเลย เราไม ใชนักเรียนศิลปะจึงไมจําเปน ตองเขาใจทุกเรื่อง อยางผมเองก็ไม ไดเขาใจทุกรูป บางครัง้ เราอาจจะไมได รูถ งึ คอนเซปตลกึ ๆ วาศิลปนตองการสือ่ อะไร เชน ภาพทีเ่ ปน Abstract มาก ๆ แตส่ิงที่สําคัญที่สุดคือเมื่อคุณดูภาพ นัน้ ๆ แลว คุณชอบหรือไม ชอบอยางไร เหมือนภาพถาย บางภาพดูแลวชอบ

รึเปลา ชอบอะไรในภาพ รูสึกมีพลัง อะไรในภาพทีส่ อ่ื กับคุณหรือไม ชอบก็ คือชอบ ไมชอบก็คอื ไมชอบ ขึน้ อยูก บั การตีความของคุณเอง ไมตอ งคิดมาก ครับ เพราะแทนทีจ่ ะสนุก กลับกลาย เปนยิง่ ปวดหัว" "คนสวนมากจะคิดวาภาพถายก็คอื ภาพถาย ถายเองก็ได ซึง่ ผมก็เห็นดวย แตจริง ๆ แลวภาพถายทีเ่ ปนงานศิลปะ มีวิธีการนําเสนอที่ซับซอนยากกวานั้น การนําเสนอภาพถายมีหลายวิธี เชน วิธี การทีเ่ ลือกใชในการอัดขยายภาพ วิธี การสรางเนื้อเรื่องหรือคอนเซปตของ ภาพ การบันทึกภาพจากการแสดง ของศิลปน หรือแมกระทั่งการเพนต การป ก ลงไปในภาพถ า ย ก็ ทํ าให ภาพถายมีความนาสนใจมากยิ่งขึ้น ศิลปนที่ผมชื่นชอบก็มีท้งั ชาวไทยและ ชาวตางชาติ ภาพถายของศิลปนไทย ทานแรกทีผ่ มมีกค็ อื ภาพถายของคุณ

มานิต ศรีวานิชภูมิ ซึง่ เปนศิลปนไทย ทีผ่ มชืน่ ชอบมาก เนือ่ งจากมีคอนเซปต ชัดเจน เขาใจงาย ซึง่ บางภาพอาจจะ ซอนนัยยะบางอยางไว ทําใหผมไดเกิด การเรียนรูด ว ย ผมชอบภาพถายตัง้ แต ชุด Pink Man, ชุด This Bloodless War ในขณะทีภ่ าพถายของศิลปนคนไทยรุน ใหม ๆ ผมก็มเี ก็บสะสมไวเรือ่ ย ๆ ครับ ในสวนของศิลปนตางชาติผมก็ชอบทัง้ จีน อเมริกนั เยอรมัน ครัง้ หนึง่ ผมไป งานเปดพิพธิ ภัณฑแหงหนึง่ ในเบอรลนิ ซึง่ มีการแสดงภาพถายของ Andreas Gursky ทําใหผมมีโอกาสไดเจอเขา เพื่อนผมก็แนะนําใหรูจัก ผมก็รูสึก ดีใจที่ไดพบกับศิลปนทางภาพถายทีย่ ง่ิ ใหญและเปนศิลปนที่ผมชื่นชอบครับ" ในสวนของศิลปนชาวอเมริกนั "ผม มีโอกาสไดเห็นและอานงานของศิลปน ตางๆ อยูเสมอขณะผมเปนนักศึกษา เพราะวาเมืองบอสตันที่ผมอยูเปนที่

baccazine | ISSUE 07

ผลิตศิลปนทางภาพถายที่มีช่ือเสียง หลายๆ ทาน ผมก็จะชอบกลุม ศิลปน อเมริกนั ทีเ่ รียกกันวา Boston School of Photography ซึง่ เขามีโรงเรียนที่ เชีย่ วชาญดานภาพถายโดยเฉพาะ ทีน่ ่ี ผลิตศิลปนภาพถายทีม่ ชี อ่ื เสียงโดงดัง หลายคน ดวยความที่ผมอยูตรงนั้น ทําใหไดเห็นและสัมผัสจึงทําใหเขาใจ วิธกี ารคิด วิธกี ารทํางานภาพถายมาก ยิง่ ขึน้ เชน งานของ Nan Goldin เขามี การนําเสนอภาพถายโดยวิธที เ่ี รียกวา Snapshot ซึ่งเปนเรื่องราวเกี่ยวกับ ชีวติ ของเขา ชีวติ ของเพือ่ นเขา เกีย่ วกับ สังคมอยางตรงไปตรงมา ตั้งแตอยู บอสตันจนยายไปอยูน วิ ยอรก ซึง่ ถือ ไดวา เปนงานเชิงบันทึกประวัตศิ าสตร ในชวงหนึง่ ดวย ซึง่ Nan Goldin มีวธิ ี นําเสนอไดอยางนาสนใจมาก ในการ เดินทางก็ทําใหผมไดมีโอกาสเห็นรูป ถายจากศิลปนชาติอน่ื ๆ เชน ภาพถาย


COLUMNIST : WARA PHOTOGRAPHER : SAYAN CHUENUDOMSAVAD

ผูห ญิ ง อิ ห ร า นของ Shirin Neshat ทีแ่ สดงใหเห็นถึงเรือ่ งสิทธิสตรี แมจะเปน ภาพเล็กแตก็ทรงพลัง ซึ่งผมมีโอกาส ไดเห็นงานแสดงของ Neshat ทีป่ ก กิง่ เมือ่ เร็วๆ นี้ เปนงานแสดงทีม่ พี ลังมาก โดยวิ ธี ก ารนํ า เสนอของ Neshat นั้น มี ท้ ัง ความสวยงามของรู ป ภาพ รวมทัง้ การชี้ใหเห็นถึงปญหาของสังคม และความรูสึก ของศิ ล ป น อยูดว ยกั น "งาน Performance Art ที่ไดมี การบันทึกไวเปนภาพถาย ผมก็ชอบ เป น การบั น ทึ ก ถึ ง งานของศิ ล ป น ทํ า ให เ รารู เ ห็ น ถึ ง งานว า ศิ ล ป น ทํ า อะไรบ า ง ในขณะที่ ผ ลงานซึ่ ง ถายเปนแฟชัน่ มาก ๆ อยางภาพถายของ Steven Miesel, David Lachapelle งานของเขาก็ เ ป น ที่ตอ งการในท อ ง ตลาดมาก เวลามีการประมูลหรือซื้อ ขายกันก็จะมีราคาทีส่ งู ทําใหเห็นวาแม แตงานภาพถายทีเ่ ปนแฟชัน่ มาก ๆ ก็ได รับความสนใจ และเปนทีต่ อ งการของ ตลาด ฉะนั้นจะเห็นไดวา ภาพถาย แตละภาพกวาที่จะผานกระบวนการ สรางสรรคข้นึ มาไดตองผานวิธีการคิด การกลัน่ กรอง การตกผลึกทางความคิด ซึ่งผมเห็นวาศิลปน ทํางานหนักมาก” ผลงานหลากหลายของศิ ล ป น ภาพถายทัง้ ไทยและตางประเทศ ไมวา จะ เปนมานิต ศรีวานิชภูม,ิ Richard Avedon, Shirin Neshat, Robert Birnbaum, Mariko Mori, Cindy Sherman, Nan Goldin, Vyacheslav Mizin, Alexander Shaburov, Max Becher, Andrea Robbins, Martin Scholler, Christian Boltanski ฯลฯ เก็บสะสมมากวา 15 ป ยิ่งสะสมยิ่งรูสึกอยากติดตาม อยาก เห็นเทคนิคการนําเสนอใหมๆ สนุกกับ การตีความ เพลิดเพลินกับการคนควา เรียนรูส ง่ิ ทีซ่ กุ ซอนไวจากภาพถาย ดร. ดิสพล เปดหอง (ที่เราเรียก วานาจะเปนแกลเลอรีมากกวา) ใหทมี งาน baccazine ไดชมภาพที่เห็นอยู เบื้องหนาคือผลงานศิลปะทุกแขนงถูก จัดวางอยางไดจังหวะ ลงตัว แนนอน ภาพถายสวนหนึ่งของศิลปนไทยและ

ตางประเทศโชวตัวอยูบนผนังอยาง นาสนใจ เมือ่ ถามถึงภาพทีป่ ระทับใจ ทีส่ ดุ ดร.ดิสพล ยิม้ แลวหันมาบอกวา “ผมประทับใจทุกภาพ โดยมีเหตุผลขึน้ อยูก บั ชวงเวลา จังหวะที่ไดมาของงาน เหลานัน้ โดยสวนตัวผมคิดวาภาพถาย มีคณุ คา นาสนใจ และจับตองได แตอาจ จะไดรบั ความสนใจนอยกวาภาพเขียน ผมชอบทีจ่ ะสะสมภาพถาย และผมชอบ ความหลากหลายของวิธีการนําเสนอ ไมจํากัดวาจะตองเปนสไตลใดสไตล หนึง่ ผมจะเนนที่คอนเซปตของงาน มากกวา” อิ่มเอมกับผลงานศิลปะภาพถาย ที่เห็นอยูตรงหนา พรอมมุมมองและ แนวคิดดีๆ ของดร. ดิสพล กอนกลับ ดร.ดิสพล ทิ้งทายถึงวงการศิลปะ และนั ก สะสมงานศิ ล ปะ ภาพถ า ย ไวอยางนาสนใจวา “ผมว า วงการศิ ล ปะ วงการ ภาพถายในบานเราเปดกวางมากขึ้น ทําใหคนเขาถึงไดงายขึ้น ซึ่งนับวา เป น นิ มิ ต รหมายที่ ดี และมี ค น สนใจมากขึ้น สิ่งที่ผมเริ่มไดเห็นใน ประเทศไทยคือ เด็กๆ ไดมีโอกาสดู งานศิลปะ และไดแลกเปลีย่ นความคิด เห็นกับเพื่อน ครอบครัว หรือศิลปน การมี ส ถานที่ ดี ๆ ที่ เ ป ดโอกาสให ประชาชนได ไ ปสั ม ผั ส คื อ สิ่ ง ที่ ดี ทุกอยางเปนประโยชนกับประชาชน และสวนรวม โดยสวนตัวผมเปนครู ดังนัน้ ผมจึงใหความสําคัญกับเรือ่ งการ ศึกษา สิ่งเหลานี้เปนเรื่องการพัฒนา ความคิด การศึกษาแบบหนึง่ ซึง่ เปน ประโยชนตอสังคมจริงๆ ผมมองวา ศิลปะนัน้ เชือ่ มโยงอยูก บั วิถกี ารดําเนิน ชี วิต ของผูค น ทุ ก สิ่ง ทุ ก อย า งรอบ ตั ว ล ว นแต เ ป น ศิ ล ปะทั้ง สิ้น ในแง ของผูช่นื ชมในภาพถาย โดยสวนตัว ผมมองวาคนใหความสนใจกันมากขึน้ ซึ่งผมวาเปนสิ่งที่ดี เพราะภาพถายก็ เปนศิลปะแขนงหนึ่ง สามารถทําให เกิดการเรียนรูไดในอีกรูปแบบหนึ่ง และประเทศไทยมี ศิล ป น ภาพถ า ย ที่มีฝมือและนาสนใจมากมายครับ”

Dr. Disapol Chansiri, Head of Law Department, Assumption University, the founder of DCA Art Consultant and executive management of Chansiri Real Estate, loves collecting arts, especially photographs. He started his collection by Manit Sriwanichpoom, Richard Avedon, Shirin Neshat, Robert Birnbaum, Mariko Mori, Cindy Sherman, Nan Goldin, Vyacheslav Mizin, Alexander Shaburov, Max Becher, Andrea Robbins, Martin Scholler, Christian Boltanski,and others 15 years ago. At first, art appreciation beyond casual level seemed a bit overwhelming, but he quickly learnt that in fact it is not difficult at all. Its essence is not to understand every meaning behind every abstract picture, but to express sincerely whether one likes the piece or not. “Most people think photography is just taking photos. In fact, it’s all about presentation. From printing techniques, to storytelling techniques, how the concept is conveyed from the artist’s mind to the work, or even techniques like painting and adding stitching over the photo. For Thai artists, one of my favorites is Mr. Manit Sriwanichpoom. His work has

PHOTO ART

43

clear and very easy to understand concepts, yet full of layered meanings. I really like the series ‘Pink Man’ and ‘This Bloodless War’. I also follow many international artists, and very proud to have met Andreas Gursky, whom I re a lly a d mi re.” Dr. Disapol Chansiri likes the works of the American group Boston School of Photography. He had a chance to closely follow the works of many famous artists from. For example, Nan Goldin used ‘snapshot’ as a way to tell his life’s story from the time he lived in Boston until he moved to New York. His work provides social commentary and captures a page of history. Another kind of work I like are photographs that in turn capture moments from performing art. I’m also drawn to works that are fashion oriented like those of Steven Miesel and David Lachapelle. These are much sought after works, and sold for very high prices during auctions. When asked about his favorite one, he smiled and said, “All of them are my favorites. Each has style or story that hooked me at the time. I really like the diversity. My collection does not have to follow particular styles. It’s more about the concepts that touch me”


ART ANALYZE

COLUMNIST : VIPASH PURICHANONT

Pisitakun Kuntalang, The Unfinished History, pencil on paper, 20x29 Cm, 2013.

44

Photo’s philosophy and life in ‘A’ mode การประท้วงอย่างรุนแรงของมวลชนในประเทศตุรกี เกิดขึน ้ ทีก ่ รุงอิสตันบูลเมือ่ สองอาทิตย์ทแ่ี ล้ว ข่าวสารทีผ ่ มได้รบ ั ผ่านทาง โซเชียลมีเดียเป็นของเพือ่ นศิลปินชาวตุรกีคนหนึง่ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นภาพของการชุมนุม และความรุนแรงทีผ ่ ชู้ ม ุ นุมได้รบ ั จาก ตํารวจผูค ้ วบคุมฝูงชนซึง่ แน่นอนว่าไม่ปรากฏเป็นข่าวตามสือ่ นานาชาติตา่ งๆเมือ่ เหตุการณ์ทวีความรุนแรงมากขึน ้ ถึงจุดหนึง่ ผมจึงตัดสินใจเขียนอีเมลไปให้กําลังใจเธอ กล่าวว่าเราได้เห็นสภาพเช่นเดียวกันเกิดขึ้นที่กรุงเทพมหานครเมื่อ 3 ปีก่อน เมือ่ ย้อนคิดกลับไป รูปแบบการร่วมประท้วงแบบหนึง่ ทีเ่ ป็นไปได้ในสถานการณ์ของเธอคือ การไปประท้วงหน้าสถานทูตตุรกี ประจําสหราชอาณาจักร แต่คาํ ถามคือ ทําไมปัจจุบน ั คนถึงตัดสินใจทีจ่ ะ “ประท้วง” ผ่านโซเชียลมีเดียมากกว่าทีจ่ ะชุมนุมบน ้ อย่างที่ ถนน หรือว่าวิธก ี ารในการขัดขืนนัน ้ เปลีย ่ นแปลงไปแล้ว? หรือว่าชีวต ิ ร่วมสมัยของเราถูก “โปรแกรม” ให้ทาํ เช่นนัน เราไม่สามารถเลือกได้? ผมสงสัยว่า จากกระบวนการโพสต์รป ู ผ่านทางโซเชียลมีเดียทีค ่ นมักคิดว่าเป็นการช่วยการประท้วง บนถนนรูปแบบหนึง่ เช่นนีเ้ ราจะสามารถใช้มน ั อธิบายความเป็นไปของโลกร่วมสมัยได้อย่างไร? baccazine | ISSUE 07


45

Vilem Flusser นักปรัชญาและนักเขียนเชื้อสาย เชคที่เขียนหนังสือเกี่ยวกับปรัชญาของศาสตรการ ถายภาพ (Philosophy of Photography) ในป 1980 ขอเสนอหนึ่งของเขาคือ มนุษยในศตวรรษ ที่ 20 ตกอยูในโลกหลังประวัติศาสตรที่ภาพไม ไดเปนเพียงสิ่งที่ ใชขยายความภาษาเขียนอีกตอ ไป แตกลับเปนภาษาเขียนตางหากที่มักจะขยาย ความภาพ (สิ่งที่เห็นไดชัดอาจเปนการเกิดขึ้นของ หนังสือภาพที่กลายมาเปนนิตยสารและเว็บไซตใน ปจจบัน ซึ่งขายภาพมากกวาขอเขียนเขาไปทุกที) และเวทมนตรของภาพชนิดใหมที่เรียกวาภาพถาย นี้ก็ถูกตั้งคาขึ้นภายใตอํานาจของเทคโนโลยีที่ถูก “โปรแกรม” เอาไวแลวดวย องคาพยพ (Apparatus) ที่ชื่อวากลองถายภาพ ถาโลกประวัติศาสตรคือ โลกที่มนุษยสื่อสารกันดวยภาษาเขียนและตัวอักษร โลกหลังประวัติศาสตรของ Flusser นั้นเปนโลกของ สัญญะที่ถูกสื่อสารดวยรหัสภาพและตัวเลข เชน f/ 2, 2.8, 4, 5.6… และ 1/4, 1/8, 1/15, 1/30, 1/60… (ชางภาพที่ฝกถายภาพในยุคอนาล็อกคง จํ า รหั ส เหล า นี้ ไ ด เ ป น อย า งดี ) ดั ง นั้ น เมื่ อ นึ ก ถึ ง พัฒนาการของกลองถายภาพในปจจบัน เรานาจะ กลาวไดวา สังคมปจจบันคงจะสื่อสารดวยรูปแบบ สําเร็จรูป ตัวอยางเชน A, S, P, Portrait, Sport, Landscape หรือแมกระทั่ง Nightlife ในแงนี้อาจ จะกลาวไดวา แมวาเทคโนโลยีการถายภาพปจจบัน นั้นอาจจะทําใหเราไดภาพที่สมบูรณแบบ แตมันก็ เปนความสมบูรณแบบอัตโนมัติไปเสียหมดเชนกัน เหมือนกับที่เมื่อเปลี่ยนจากการบันทึกภาพระบบ ฟลมเปนระบบดิจิทัลความสามารถในการถายภาพ ไดเพิ่มจํานวนขึ้นจาก 36 ภาพตอ 1 หนวยบันทึก เปนเกือบหมื่นภาพตอ 1 หนวยบันทึก แตนั่นไมได หมายความวา เราจะไดภาพถายที่กาวขามผาน ขอจํากัดของการถายภาพ เรายังถายภาพภายใต ข อ จํ า กั ด ของความสมบู ร ณ ใ นจํ า นวนที่ ม ากขึ้ น เรื่อยๆ ดังนั้น ชางภาพที่ตกอยูในการควบคุมของ อุปกรณการถายภาพก็คงไมตางอะไรกับพนักงาน โรงงานที่ผลิตสินคาไดมากขึ้น แตคาแรงเทาเดิม แลวเมื่อเอาความเปนชางภาพมาเปนตัวอยางของ การมองสังคมหลังประวัติศาสตร เราอาจจะพอ สรุป ไดวา กิจกรรมใดๆ ก็ตามในสังคมปจจบัน เปนการปฏิบัติที่ถูก “โปรแกรม” ไวแลวเชนกัน

โดยองคภาพที่ชื่อวา โครงสรางรัฐและการรัฐบาล (Governmentality)1 มันทําใหผมเห็นวา เราจําเปน อยางยิ่งที่จะตองมาทําความเขาใจการเคลื่อนไหว ทางการเมืองและกระบวนการการสื่อสารทั้งหมด ใหมอีกครั้งวามันเปนไปในแบบอัตโนมัติ และซํ้า เดิ ม เป น พั น ครั้ ง เหมื อ นกั บ ในขณะที่ เ ราเป น ช า ง ภาพที่ตกอยูใตอํานาจจากกลไกของกลองถายภาพ หรือไม? และคําถามคือ เราจะขามขอจํากัดของ การผลิตซํ้า เหมือนกับที่ชางภาพขามขอจํากัดของ “โปรแกรม” ในกลองถายภาพนี้ ไปไดอยางไร? พั ฒ นาการสายหนึ่ ง ของการถ า ยภาพที่ เ รา อาจจะใชกรอบความคิดของปรัชญาการถายภาพ เข า มาขยายคื อ ป จ จบั น มี การถ า ยภาพรู ป แบบ หนึ่งที่ ไมถือกลองถายภาพในฐานะของอุปกรณที่ เปนเอกเทศอีกตอไป แตถือเปนเพียง “ฟงกชั่น” หนึ่งของความสามารถในการสื่อสาร ดังนั้น เมื่อ วั น ที่ อุ ป กรณ สื่ อ สารสามารถถ า ยภาพได ด ว ย มาตรฐานเดียวกับกลองภาพถาย ภาพถายก็คง ถู ก กลื น กิ น โดยการสื่ อ สารไปโดยสมบู ร ณ แ บบ อยางไรก็ตาม หนึ่งในคําที่ผมคิดวามีประโยชน ในการชวยวิเคราะหการสื่อสารดวยภาพถายในโลก ดิจทิ ลั คือคําวา “ชองทาง” (Channel) ในอดีต แมวา ภาพถายจะเปนประดิษฐกรรมสมัยใหมทที่ าํ ใหนยิ าม ของศิลปะ การเมือง และสังคม เบลอเขาหากัน แต ระบบบรรณาธิการภาพถายก็มสี ว นชวยในการจํากัด ชองทางของภาพถายไปตามรูปแบบของมัน ไมวา จะเปน ภาพขาวอาชญากรรม หรือ ภาพแฟชั่น ซึ่ง ก็มีกลุมผูชมแตกตางกันออกไป ดังนั้น ในโลกสมัย ใหม นิตยสารเฉพาะทางตามความสนใจ ตัวอยาง เชน งานอดิเรก ดนตรี และกีฬา จึงเปนที่นิยมอยาง แพรหลาย แตเปนทีส่ งั เกตวา ในปจจบันคนกลับนิยม ทีจ่ ะบริโภคนิตยสารประเภทไลฟสไตลทมี่ เี นือ้ หารวม เอาความสนใจลักษณะตาง ๆ ของคนรูปแบบหนึ่ง เอาไวอยางครบถวน แตกลับขาดความหลากหลาย ทางการเลือก เมื่อ “แนว” ของชีวิตถูกเลือกมาให แลว นั่นยอมแสดงใหเห็นวา ชองทางในการสื่อสาร ภาพถายไดเปลี่ยนลักษณะไป เราจึงจําเปนที่จะ ตองเขาใจระบบการคัดกรองภาพ และการสื่อสาร เสียใหม เมื่อการสื่อสารของขาวสารปจจบันไดถูก สื่อสารผานแนวชีวิตแบบอัตโนมัติที่ โปรแกรมรูป แบบมาใหอยางเสร็จสรรพตัง้ แตแรก ซึง่ แทจริงแลว

ขอจํากัดอีกรูปแบบหนึ่งของชองทางแบบนิตยสาร ไลฟสไตล อาจจะเปนตัวอยางที่ดีของการอธิบาย เครือขายโซเชียลมีเดียดวย คือกลาวไดวา การ สื่ อ สารในป จ จบั น เป น ช อ งทางการสื่ อ สารแบบ ใหม ที่ อาศั ย การจั ด ตั้ ง เครื อ ข า ยของคนที่ มี แ นว หรื อ อุ ด มการณ ชี วิ ต คล า ย ๆ กั น ผมพบว าใน สถานการณปจจบันเรามักตกอยูในชองทางการ รับขาวสารเหมือนกันเชนนี้ จนหลายครั้งแมแต คนที่ ข วางโลกที่ สุ ด ก็ ค งมี ค วามสุ ข กั บ ความซ้ํ า ซอนที่เกิดขึ้นอยางอัตโนมัติภายในเครือขายการ ขวางโลกของตน เปนการผลิตซํ้าโดยอัตโนมัติ ของรูปแบบชีวิตตน ซึ่งถาหากมองชีวิตรวมสมัย ด ว ยปรั ช ญาของภาพถ า ย เราอาจจะสามารถ นิยามชีวิตในโลกดิจิทัลวา ชีวิตโหมดอัตโนมัติ ที่มีหนวยความจําไมมีวันหมด เปนชีวิตสมบูรณ แบบที่ ไมมีแมแตประวัติศาสตรและความทรงจํา หลั ง จากกรุ ง อิ ส ตั น บู ล สองสามวั น ต อ มา ผมไดรับขาวการประทวงรัฐบาลและการจัดเทศกาล ฟุตบอลโลกจากเพื่อนชาวบราซิล ในกระแสของ ขาวสารบน “กําแพง” ของผมที่ไหลไปอยางรวดเร็ว ภาพการประทวงที่ถายโดยเหลาศิลปนที่ทําการ เคลือ่ นไหวเริม่ มีใหเห็นเปนระยะ ในขณะทีภ่ าพจาก ประเทศตุรกียงั ไมหมดไป มีคนกลาววา อาหรับสปริงค คือการปฏิวัติดวยการใชโซเชียลมีเดีย ทําใหผมนึก ยอนกลับไปถึง เพลง / บทกวี ของ Gil Scott - Heron ทีช่ อ่ื วา The Revolution Will Not Be Televised แลวคิดขึ้นมาวา ถาหากสามารถแตงกวีบทหนึ่งให กับยุคปจจบัน เราควรจะตัง้ ชือ่ มันวา No Revolution Will Be on Social Media ในอนาคตอันใกลบน กระแสพัฒนาการของเทคโนโลยีการถายภาพและ การสื่อสาร ภาพคนเสียชีวิตจากการประทวงอาจ กลายเปนแคภาพอันเชยชิน อยางเชนภาพอุบตั เิ หตุ บนหนาหนังสือพิมพในปจจบัน หรืออาจจะไมเปน ที่รับรู เพราะไมไดอยูใน “กระแส” ชีวิตของใคร หลาย ๆ คน ผมคิดวาทุกอยางบนโซเชียลมีเดียไม อาจนําไปสูก ารปฏิวตั ิ เนือ่ งเพราะการเปลีย่ นแปลง ไมสามารถเปนไปโดยอัตโนมัติ การเปลี่ยนแปลง ไมสามารถถูก “โปรแกรม” ขึน้ มากอน วิภาช ภูริชานนท ลอนดอน, กรกฎาคม 2013

Govermentality เปนศัพทที่เริ่มถูกแปลเปนครั้งแรกจากความคิดของนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสชื่อ มิเชล ฟูโกต (Michel Foucault) โดยนิยมแปลวา “การปกครอง” แตผมแปลจากบทความที่ชื่อวา What is Aparatus? จาก จิออรจิโอ อากัมเบ็น (Giorgio Agamben) นักปรัชญาชาวอิตาเลียน โดยแปลวา “การรัฐบาล” เพื่อเนนใหเห็นความสําคัญของการดํารงอยูของระบบรัฐบาลมากขึ้น โดยใหความสําคัญกับโครงสรางของโลกที่ดํารงอยูดวยโดยการแกะกุม เชิงความสัมพันธระหวางรัฐบาลตอรัฐบาลของแตละประเทศ นั่นหมายความวา แมวารัฐบาลของประเทศหนึ่งจะถูกลมลาง แตถาหากการรัฐบาลเชนนี้ยังดํารงอยู โครงสรางของความสัมพันธดังกลาวก็จะตองบังคับรัฐหนึ่งให สรางรัฐบาลขึ้นใหมเพื่อใหโครงสรางอํานาจระหวางประเทศนั้นสมดุล

เกี่ยวกับผู เขียน : วิภาช ภูริชานนท เป นคิวเรเตอร อิสระ กําลังศึกษาปริญญาเอกด าน Curatorial Knowledge อยู ที่ Department of Visual Cultures สถาบัน Goldsmiths, University of London PHOTO ART


46

ART WORD

Photo’s philosophy and life in ‘A’ mode Two weeks ago, I received news about the protest in Turkey via my personal friend, a Turkish artist living in the UK. She posted many pictures on social media, reflecting all the horrible violence that one would not see in the news. I decided to write to her and offer my condolences, stating that our country also went through similar things not many years ago. Then a thought occurred to me. Why did she choose to protest by posting pictures on social media instead of going out on the street? Has this become the method of resistance that is tied to the age we are living in? What does this say about modern society? Vilem Flusser said that since the 20th century, a photo is no longer an illustration accompanying a written passage. Conversely, it’s the written text that has become an extension to the photographs themselves. In this ‘post-historic’ world, the language we use to communicate has been defined by camera settings like f/ 2, 2.8, 4, or even A, S, P, portrait, sport, landscape, etc. So even though technology has enabled us to take more perfect photos, it is a kind of perfection quite limited by pre-programmed

settings. With the digital switch, we can now take thousands of pictures instead of just 36 at a time, yet it does not mean that we have transcended any meaningful boundary. If we apply the same view to modern society, we can see that many activities are also just ‘presets’, under the umbrella of government structures and governmentality. Are political movements nowadays comparable to automatically copying something a thousand times, just like the way we use a digital camera? If so, how do we free ourselves from this limitation? One new school of photography comes with the technological advance that makes the camera no longer a single thing, but rather just one functional part of other communication tool. Therefore, in the future if such a camera becomes as good as a single camera, then photography will become just communication. Another factor to look at is “channel”. People are catered to view only certain styles or certain subjects of photos, based on their interest groups. And once you belong to a group, the social media feed, magazines that you subscribe to, you will only get to see the

familiar type of image over and over again. This is another kind of automatic repetition, governed by pre-programmed settings. After Istanbul, my social media “wall” is flooded with news about another protest from my friend in Brazil. Many more photos were posted by artists who supported the movement. People say that this is the age of revolutions by social media. This reminds me of a poem Gil Scott-Heron, titled “the Revolution will not be Televised”. For the current situation, this should be “No revolution will be on social media”. Pictures of casualties from war and protests will become just some mundane thing you see everyday. Those who see them will become desensitized, while those who are not interested will not see them at all, because they do not “follow” the feed. I believe activities on social media alone cannot lead to revolution because change cannot come about automatically. Change cannot be “pre-programmed” Vipash Purichanont London, July 2013

About the author : Vipash Purichanont is a freelance curator and a PhD student in Curatorial Knowledge at the Department of Visual Cultures, Goldsmiths, University Of London. baccazine | ISSUE 07


ART QUESTION

Q

การถ า ยภาพที่ ง า ยขึ้ น มากในยุ ค ดิจทิ ลั ทําใหคณ ุ คาทางศิลปะในงาน ถายภาพลดลงหรือไม

A

47

คุณคาทางศิลปะในงานถายภาพไมไดใหความสําคัญกับเทคนิคหรืออุปกรณเปนสําคัญ แตใหคุณคา ทางความงาม ความคิดที่อยูในงานนั้น ๆ เปนหลักการใชระบบดิจิทัลมาทํางานดานถายภาพ ก็เปรียบ เหมือนไดพูกันคุณภาพดี สีที่ดี หรือแตกตางจากที่เคยใชมาใชงาน แตงานชิ้นนั้นจะมีคุณคาแคไหนก็ อยูท ศี่ ลิ ปนจะใสไอเดียสรางสรรคมนั ออกมา ถางานออกมาแลวมีแคการโชวเทคนิคสวยงามสรางสรรค ได เพราะมีเครื่องมือมีซอฟตแวรชว ย ขาดไอเดียไมมีความคิดสรางสรรค งานนั้นก็อาจจะดูธรรมดาไป คุณคาทางศิลปะนาจะพิจารณาจากตรงนี้

It’s become much easier to take photographs in this digital era. Does this fact reduce the artistic value of photography?

The true artistic value of photography is derived more from conceptual and aesthetic elements of the work rather than on technicality or equipment. Just like a painter with high quality brushes and paints, the merit of the final works comes from the originality and creativity of the artist. The value of the art should be considered from these factors.

Q

งานศิลปะไมนาจะถูกจํากัดอยูที่วาตองทําไดยากหรืองาย แตตองมีองคประกอบทางความงาม มีความ คิดสรางสรรค ตองพิจารณาเรื่องแสงเงา องคประกอบภาพ อารมณที่สื่อสารออกมา ในการถายภาพ ความงามไมไดอยูที่การมีหรือไมมีแอปพลิเคชันมาใช แตอยูที่การเลือกแอปพลิเคชันมาใชตอบสนอง ไอเดียของภาพนั้น ๆ ไดอยางไรมากกวา หากใชสรางสรรคใหเกิดความงาม ความประทับใจไดก็ นาจะนับเปนงานศิลปะได

การใชแอปพลิเคชันตาง ๆ ในการ ถายภาพบนสมารทโฟนถือเปนงาน ศิลปะไดมั้ย

A

A piece of art should not be judged based on how difficult or easy it is to create, but on its elements of beauty and creativity. We need to look at the light, the composition, and the emotions that it is able to convey. Taking good photos is not about using or not using an app. It’s more about how you use those apps to convey your ideas effectively. If you can create an impression of beauty on the eyes of the viewer then your photo can be considered as an art.

Can an image taken and edited with a smartphone application be considered as an art?

Q

อะไรทําใหรูสึกวาการใชฟลมใน การถายภาพมีเสนหและมีคุณคา ทางศิ ล ปะมากกว า การใช ก ล อ ง ดิจิทัล

A

Why is film photography considered more charming and more artistic than digital photography in general?

การใชฟล ม ถายภาพมีเสนหม ากกวาการใชกลองดิจทิ ลั ถายภาพก็ตรงทีไ่ ดสมั ผัสกับการใชกระบวนการ แบบเกา ๆ ทํางานใหความรูส กึ วาคลาสสิกกวา เพราะตองลุน ตองรอคอยวาภาพทีจ่ ะออกมาเปนอยางไร เสนหคงอยูตรงนี้ หากมองในมุมของการทํางานก็คือ ยากกวาการใชระบบดิจิทัล ควบคุมอะไรไดนอย กวา ถาไมไดลางฟลมเอง ปรินทเอง ในทางกลับกันการใชระบบดิจิทัลควบคุมไดงายกวา งานถาย ออกมาก็เห็นไดทันทีวาดีไมดี ไดอยางที่ตองการหรือไมอยางไร แกไขไดงาย ซึ่งตรงนี้งานฟลมไดรับ การใหคุณคามากกวา อาจจะอยูที่ความเชี่ยวชาญและทําเรื่องยาก ๆ ใหออกมาไดสวยงามนาประทับ ใจมากกวาการใชเทคโนโลยีเขามาชวยและทําไดออกมางาย ๆ แตไมไดหมายความวาจะมีคุณคาทาง ศิลปะมากกวาเสมอไป ตองพิจารณาในเรื่องความคิดสรางสรรคและการสรางความประทับใจใหกับ ผูช มดวยหากเทา ๆ กันแนนอนวาเราจะใหคณ ุ คากับการทํางานจากความเชีย่ วชาญของศิลปนมากกวา Film photography feels more classic because you get to work in the old school style. You feel excited because you don’t know in advance how the photo is going to look like before being developed. This is probably where its charm comes from. In terms of working medium, film is more difficult than digital. You have less control especially if you don’t develop the prints yourself. Digital photography offers more control in every step. You can see right away how the picture is going to look like. Making changes to improve things can be done right away on the spot. So perhaps, working with film offers more pride because it is more difficult and challenging. You need to acquire great skills in order to master it, while it is relatively easier to work in digital. However, this does not mean that film must always have higher artistic value. Again, you have to consider the ideas and the impression they leave on the viewers first. Then, only after that, the level of expertise or skill of the artist comes into consideration.

Answer by Yindee Phuthasiriyakorn, Photographer PHOTO ART


48

YOUR’S GALLERY

อย่าเก็บภาพถ่ายที่คุณถ่ายเอง และคิดว่าชอบสุด ๆ ไว้ชื่นชมคนเดียว มาร่วมโพสต์ลง baccazine แบ่งปันให้คนอื่น ๆ ได้กดไลค์กันบ้าง 5 ภาพที่โดนใจคณะกรรมการ รับของรางวัลจาก baccazine ไปเลย

กติการ่วมสนุก ส่งภาพถ่ายทีค ่ ณ ุ ถ่ายเองและชอบทีส่ ด ุ ไม่วา่ จะถ่ายจากกล้อง มือถือ พร้อมเหตุผล ระบุชอ่ื นามสกุล ทีแ่ ท้จริงของคุณ เบอร์โทรศัพท์ และทีอ่ ยูท ่ ส่ี ามารถติดต่อได้ ส่งมายังอีเมล baccthai@hotmail.com หมดเขตส่งผลงานภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 ประกาศผลผูโ้ ชคดีพร้อมภาพถ่ายคอลัมน์ Your’s Gallery ใน baccazine ฉบับ 08 ของรางวัลเก๋ ๆ จาก baccazine รอคุณอยู่ รีบ ๆ หน่อยนะจ๊ะ Share your favorite photographs with baccazine! The best five photographs selected by our judges will receive prizes from baccazine. Submit photographs that you took with either a camera or a smartphone along with a description, your full name and contact information to baccthai@hotmail.com Last day for submission: 30 November 2013 Winners will be announced with their work in Your Gallery section in baccazine issue 08. Cool prizes are waiting for winners. So hurry!

หมายเหตุ • การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นการสิน ้ สุด • baccazine สามารถนําภาพถ่ายทีส่ ง่ ประกวดเข้ามาไปใช้ใน baccazine ได้โดยไม่ตอ้ งแจ้งให้ทราบล่วงหน้า Note • All judges’ decisions are final. • baccazine reserves the rights to publish the contestants’ photographs in baccazine without prior notice.

baccazine | ISSUE 07


bacc map

ที่ตั้งและการเดินทาง

bacc ตั้งอยู หัวมุมสี่แยกปทุมวัน ตรงข ามห างมาบุญครอง และสยามดิสคัฟเวอรี่ ชั้น 3 ของหอศิลปกรุงเทพฯ มีทางเดินเชื่อมต อกับทางยกระดับรถไฟฟ า บีทีเอส สถานีสนามกีฬาแห งชาติ และมีบริการที่จอดรถบริเวณชั้นใต ดินของอาคาร รถประจําทางสาย : สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73, 73 ก, 79,93, 141, 159, 204, ปอ.508 และ ปอ.529 เรือโดยสาร : เรือสายคลองแสนแสบ เส นทางสะพานผ านฟ า - ประตูน้ำ ขึ้นที่ท าเรือสะพานหัวช าง เดิน 300 เมตร ถึงหอศิลปกรุงเทพฯ สี่แยกปทุมวัน เวลาเป ดบริการ : วังอังคาร - วันอาทิตย เวลา 10.00-21.00 น. (หยุดวันจันทร ) ค าเข าชม : ไม เสียค าเข าชม ยกเว นการจัดกิจกรรมและการแสดงที่เป นกรณีพิเศษ How to go to bacc

bacc is located at the Pathumwan Itersection, facing the MBK and Siam Discovery Center. The 3rd floor entrance is connected to the BTS, the National Stadium Station. Limited parking is available at level B1 and B2. Buses : 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73, 73 ก, 79, 93, 141, 159, 204, air-con 508 and air-con 529 Boats : Saen-saeb canel route (Panfa Bridge-Pratunam), use the Sapan Hua-Chang landing, 300 m. to the Art Centre Opening hours : 10 a.m. - 9 p.m. (closed Monday) Addmission : Free entry to exhibitions, except for special events. Charges to concerts and play will vary

PHOTO ART


50

baccazine | ISSUE 07


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.