baccazine issue 12

Page 1

B A N G K O K

A R T

A N D

C U L T U R E

C E N T R E -

ห อ ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ ง ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร

issue 12

T ECHN O L O G Y AN D AR T

Mol_G502_COVER.indd 37

22/10/2558 16:55


02

baccazine issue 12

Mol_G502_in cover.indd 2

22/10/2558 19:24


baccazine says ศิลปะกับเทคโนโลยีมีความเกี่ยวข้องกันมานานตั้งแต่อดีตกาล โดย มีความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้อย่างเด่นชัดในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 หรือยุคปฏิวัติเชิงเทคโนโลยี คือช่วงกลางศตวรรษที่ 19 จนถึงปลาย สงครามโลกครั้งที่ 1 พัฒนาการของเทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนแรงบันดาลใจ ส่งผลให้ ศิลปินมีเครื่องมือที่หลากหลายและสามารถหยิบยกมาสร้างสรรค์ผลงาน ได้มากขึ้น ซึ่งในช่วงเวลานี้เองที่ศิลปะสมัยใหม่หลายลัทธิได้นำ� พัฒนาการ ทางเทคโนโลยีมาเป็นแรงบันดาลใจในการผลิตงานศิลปะ เช่น คิวบิสม์ (Cubism) ฟิวเจอริสม์ (Futurism) ต่อมาไม่นานเทคโนโลยีก็มีบทบาท ชัดเจนมากขึ้นในงานศิลปะโดยผ่านขบวนการดาดาอิสม์ (Dadaism) ที่ ใช้ สือ่ สมัยใหม่จากเทคโนโลยีเพือ่ บอกเล่าความคิด จนกลายเป็นปรากฏการณ์ ส�ำคัญซึง่ ส่งผลต่อประวัตศิ าสตร์ศลิ ป์ในเวลาต่อมา ในขณะเดียวกันศิลปิน อื่นๆ ก็เริ่มหันมาใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพถ่าย ภาพยนตร์ มา เป็นสื่อในการสร้างผลงานศิลปะในรูปแบบต่างๆ ขึ้นมาตามล�ำดับ ปัจจุบันในยุคที่เทคโนโลยีก้าวไกลไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง ศิลปิน ดีไซเนอร์ เชฟ และผูค้ นจากหลากหลายแขนงอาชีพล้วนต่างเกีย่ วข้องเชือ่ มโยงกับศิลปะ เพราะศิลปะเป็นต้นก�ำเนิดของศาสตร์ทุกๆ แขนงนั้น ซึ่ง สามารถหยิบจับเทคโนโลยีมาต่อยอดกระบวนการคิด การสร้างสรรค์ จน ก่อให้เกิดเป็นงานศิลปะ และมีส่วนพัฒนาสังคมไปในทิศทางต่างๆ ตราบ ใดที่เราให้นิยามเทคโนโลยีว่าคือการพัฒนา การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ จึงไม่ได้ถูกจ�ำกัดเฉพาะทักษะทางการใช้มือหรือทักษะเครื่องกลอีกต่อไป แต่ศลิ ปะจ�ำเป็นต้องอาศัยทักษะการสือ่ สารในโลกดิจทิ ลั ทีข่ อ้ มูลข่าวสารส่ง ถึงกันได้อย่างรวดเร็วในพริบตา และแน่นอนว่าศิลปะก็ย่อมต้องเคลื่อนไป พร้อมๆ กับโลกปัจจุบันและอนาคตด้วยเช่นกัน

Art and technology have had a long relationship throughout human history, but it became more significant after the Industrial Revolution in mid-19th Century. The development of technology became the inspiration and also offered new tools for artists to use. Various modern art movements such as Cubism, Futurism, and Dadaism were inspired by new technology and the changing of contemporary society. They utilised new media and ready-made objects to express their art and political views, which also had a big influence on later art movements. More and more artists also applied the new media such as photography to create art pieces during that time. From that point until now, technology has rapidly developed and offers artists, designers, and those who are interested to use it to create and develop new art works or styles. Now art is not limited to specific kinds of tools or methods, it has broadened creativity and ways of working, but at the same time artists also have to improve their skills to catch up with the fast developing digital world.

วราภรณ์ พวงไทย บรรณาธิการ

โดยหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นิตยสารศิลปะเพื่อประชาชน, แจกฟรีรายสามเดือน ฉบับที่ 12 / 2558 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร อยู่ในความดูแลของมูลนิธิ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ด้วยการจัดตัง้ และสนับสนุนหลัก จากกรุงเทพมหานคร By Bangkok Art and Culture Centre (BACC) Magazine for people, three-month free copy Issue 12 / 2015 Bangkok Art and Culture Centre (BACC) is under the supervision of Bangkok Art and Culture Centre Foundation, set up and mainly funded by Bangkok Metropolitan Administration

Waraporn Puangthai Editor

COVER PHOTO ชื่อศิลปิน Mute Mute ชื่อผลงาน Past Perfect Discontinuous 2013

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ลักขณา คุณาวิชยานนท์

Managing Editor Luckana Kunavichayanont

บรรณาธิการ วราภรณ์ พวงไทย

Editor Waraporn Puangthai

อาร์ตไดเรคเตอร์ กฤษณะ โชคเชาว์วัฒน์

Art Director Krisana Chokchaowat

ด�ำเนินการจัดท�ำและจัดพิมพ์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 939 ถ.พระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ : 02 214 6630 - 8 โทรสาร : 02 214 6639 Website : www.bacc.or.th baccpage baccbangkok

Producer Bangkok Art and Culture Centre (BACC) 939 Rama I Rd., Wang Mai, Pathumwan, Bangkok 10330. Thailand Tel : 02 214 6630 - 8 Fax : 02 214 6639 Email : info@bacc.or.th baccchannel baccnews

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.01.indd 3

0 13

22/10/2558 16:59


ad.baccazinn.pdf

1

28/10/2558

15:04


contents

issue 12 flash light theme cover did you know? world of art world artist

04 06 14 16 20

in the mood of art my studio places for passion bacc exhibition art analyze

22 idea of life 30 bacc shop 34 network calendar 36 38

06

22

36

16

30

38

20

34

40 issue 12 baccazine

Mol_G502_P.03.indd 3

40 45 46

0 3

22/10/2558 17:40


flash light

1

2

bacc music 30 พฤษภาคม 2558

3 1

ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปกี่ปี พงษ์เทพ กระโดนช�ำนาญ ศิลปินเพลงระดับต�ำนานของไทยก็ยัง ครองใจแฟนเพลงได้อย่างเหนียวแน่น Bangkok Music Forum ครัง้ ที่ 9 จึงไม่พลาดเชิญ “น้าหมู” มาร่วมเสวนาทางดนตรี “62 ปี กวีศรีชาวไร่ พงษ์เทพ กระโดนช�ำนาญ” พร้อมพูดคุยถึงการ ท�ำงานด้านอนุรกั ษ์ธรรมชาติในบทบาทประธาน มูลนิธิเขาใหญ่ และรับชมการแสดงดนตรีสดๆ กับหลากหลายบทเพลงที่ถ่ายทอดแนวคิดเชิง ปรัชญาในรูปแบบเฉพาะตัวของน้าหมู ณ ห้อง ออดิทอเรียม ชัน้ 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 30th May 2015 BACC proudly presented the 9th Bangkok Music Forum: “62 Years of the Peasant Poet - Pongthep Gradoanchumnaan”. The artist and poet joined the forum, held at the Auditorium on the 5th floor of BACC, to share stories from his lifelong music career, his perspective on life, his role as an activist and the president of Khao Yai Foundation, as well as a live performance of his philosophical songs. --2 กรกฎาคม 2558

2

คุณลักขณา คุณาวิชยานนท์ ผู้อ�ำนวยการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (กลาง) พร้ อ มด้ ว ยคุ ณ ปิ ย ทั ต เหมทั ต ผู ้ อ� ำนวยการ เทศกาลโฟโต้บางกอก 2015 (ที่ 2 จากซ้าย) ร่วมแถลงข่าวการจัดเทศกาล Photo Bangkok Festival 2015 โดยมีคุณอรรฆย์ ฟองสมุทร์ ภัณฑารักษ์ (ที่ 4 จากซ้าย) และคุณมานิต ศรีวานิชภูมิ ที่ปรึกษาและภัณฑารักษ์ (ขวา) เข้าร่วม แถลงข่าวในครั้งนี้ ณ ห้องอเนกประสงค์ ชั้น 1 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ภายใน 04

4

เทศกาลจะมีนทิ รรศการย่อยมากมายกระจายอยู่ ตามแกลเลอรี่ต่างๆ โดยมีนิทรรศการ PAUSE ซึ่งเป็นนิทรรศการหลักของเทศกาลฯ จัดแสดง ที่ชั้น 9 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 2nd July 2015 BACC director Luckana Kunavichayanont (middle) and Piyatat Hemmatat (2nd from left), Director of PhotoBangkok 2015 together at the press conference of PhotoBangkok 2015 International Photography Festival held at the Multifunction Room, 1st floor of BACC. It was also joined by curator Ark Fongsmut (4th from left) and Manit Sriwanichpoom (right), advisor and curator. The festival’s exhibitions and installations are held at more than 20 galleries across Bangkok, while the main exhibition, PAUSE, will be held at the gallery on 9th floor of BACC. --bacc exhibition 3 กรกฎาคม 2558

3

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครร่วมกับ inSPIRACJE International Visual Art Festival ‘13 MUZ’ จัดนิทรรศการ “PROXIMITY” โดย ได้รบั เกียรติจากคุณเพชร โอสถานุเคราะห์ (ที่ 3 จากขวา) มาเป็นประธานเปิดงาน นิทรรศการ นี้เกิดขึ้นจากการท�ำงานร่วมกันระหว่างภัณฑารักษ์ไทยและโปแลนด์ในการพัฒนาความคิดผ่าน การโต้ตอบสนทนา เพือ่ น�ำเสนอผลงานทีเ่ ป็นจุด เชื่อมต่อของทั้งสองประเทศ โดยมีคุณลักขณา คุณาวิชยานนท์ ผู้อ�ำนวยการหอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร และคุณพิชญา ศุภวานิช ภัณฑารักษ์นิทรรศการให้การต้อนรับ 3rd July 2015 BACC in collaboration with inSPIRACJE International Visual Art Festival ‘13 MUZ’

together organized a joint exhibition ‘PROXIMITY’ presenting the contemporary art of Poland and Thailand. Mr. Petch Osathanugrah (3rd from right), BACC Executive Board, presided over the launch of the exhibition and was welcomed by BACC director Luckana Kunavichayanont and curator Pichaya Suphavanij. The project starts with a collaboration between Thai and Polish artists with a piece aimed at communicating to the general public both in Thailand and Poland. --bacc education 17 กรกฎาคม 2558

4

นิทรรศการแสดงผลงานจากกิจกรรมค่าย ส่งเสริมการเรียนรู้ศิลปะ 2558 โดยครูชลิต นาคพะวัน (ที่ 6 จากซ้าย) ประกอบด้วยผลงาน ศิลปะหลากหลายเทคนิคทั้งงานวาดเขียน งาน ปั้น งานภาพพิมพ์ งานประดิษฐ์สามมิติ และ งานออกแบบตัวอักษรจากศิลปินตัวน้อยทั้ง 23 คนที่เข้าร่วมกิจกรรมเมื่อวันที่ 21-25 เมษายน 2558 และน�ำผลงานมาจัดแสดงระหว่างวันที่ 14-26 กรกฎาคมที่บริเวณผนังโค้ง ชั้น 3 หอ ศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยมีคุณ ลักขณา คุณาวิชยานนท์ ผู้อ�ำนวยการหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (ที่ 5 จากซ้าย) ร่วมแสดงความยินดี 17th July 2015 Luckana Kunavichayanont (5th from left), Director of BACC, joined the opening of “BACC Art Camp 2015 Exhibition“ held at 3rd floor of BACC between July 14-26, 2015. It was a group exhibition by 23 young artists who joined the art camp, taught by Art Master Chalit Nakpawan (6th from left), from April 21-25, 2015; it showcased

baccazine issue 12 11

Mol_G502_P.04-05.indd 4

22/10/2558 17:39


5

8

6 5

6

various works from drawing and sculpture, ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก (ที่ 2 to handcrafts and typography. จากซ้าย) ที่น�ำผลงานศิลปะเกือบ 100 ชิ้นทั้ง --เก่า-ใหม่และที่ยังไม่เคยจัดแสดงมาก่อนจาก 5 ทุกช่วงเวลากว่า 50 ปีตลอดชีวิตการท�ำงานมา 14 สิงหาคม 2558 คุณลักขณา คุณาวิชยานนท์ ผู้อ�ำนวยการ จัดแสดงในครั้งนี้ โดยมีคุณลักขณา คุณาวิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ในนาม ชยานนท์ ผู้อ�ำนวยการหอศิลปวัฒนธรรมแห่ง มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร (ซ้าย) ร่วมแสดงความยินดี เข้ า มอบเงิ น รายได้ จ ากการจ� ำ หน่ า ยเสื้ อ ยื ด 21st August 2015 Pray for Nepal ให้กับสภากาชาดไทยจ�ำนวน Khunying Jada Wattanasiritham (3rd 60,000 บาท พร้อมเงินบริจาคผ่านกล่องบริจาค from left), a member of the Board of อีก 2,800 บาท เพื่อน�ำไปช่วยเหลือผู้ประสบ directors of SCB, presided over the opening ภัยแผ่นดินไหวในประเทศเนปาล โดยมีหม่อม- of A Retrospective Exhibition “Abstract: ราชวงศ์ปรียางค์ศรี วัฒนคุณ ผู้ช่วยเลขาธิการ The Truth of Art” Ithipol Thangchalok. The สภากาชาดไทย ฝ่ายการจัดหารายได้ รับมอบ solo exhibition by Professor Emeritus Ithipol Thangchalok (2nd from left) showcased ณ ส�ำนักงานจัดหารายได้ สภากาชาดไทย 14th August 2015 nearly 100 pieces including the former Luckana Kunavichayanont, Director works and previously unseen works from of BACC, contributed 60,000 THB to the each period of his 50-year career. BACC Thai Red Cross Society in the name of director Luckana Kunavichayanont (left) also the Bangkok Art and Culture Centre participated and welcomed honorary guests Foundation. The money was raised from and artists. Pray for Nepal T-shirt sales, as well as --7 a separate 2,800 THB donation, and 25 สิงหาคม 2558 intended to help the Nepalese overcome คุณลักขณา คุณาวิชยานนท์ ผูอ้ ำ� นวยการหอthe earthquake tragedy. The donation was ศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จาก received by M.R. Priyangsri Watanakun, ซ้าย) ร่วมกิจกรรม “MBK โบว์ลง่ิ สานสัมพันธ์” Assistant Secretary General for Fund Raising ณ SF Strike Bowl ชัน้ 7 ศูนย์การค้า MBK Center & Director of Fund Raising Bureau, at the โดยมีผู้บริหารองค์กรและหน่วยงานภาครัฐใน Thai Red Cross Society. เขตพื้นที่ปทุมวันเข้าร่วม ได้แก่ ส�ำนักงานเขต --ปทุมวัน, ส�ำนักงานจัดการทรัพย์สนิ จุฬาลงกรณ์ bacc exhibition มหาวิทยาลัย, สถานีต�ำรวจนครบาลปทุมวัน, 6 กองบังคับการต�ำรวจท่องเที่ยว, กรมพลศึกษา, 21 สิงหาคม 2558 คุ ณ หญิ ง ชฎา วั ฒ นศิ ริ ธ รรม (ที่ 3 จาก กรมการท่องเทีย่ ว และบริษทั เอ็ม บี เค จ�ำกัด ซ้าย) กรรมการธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความ (มหาชน) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดนิทรรศการ สัมพันธ์อันดีระหว่างองค์กรและหน่วยงานภาค “นามธรรม: สัจจะแห่งศิลปะ” อิทธิพล ตั้ง- รัฐต่างๆ โฉลก ซึ่งเป็น นิทรรศการการแสดงเดี่ยวของ

7

8 25th August 2015 BACC director Luckana Kunavichayanont (2nd from left) participated in the “MBK Bowling SanSamphan” activity at SF Strike Bowl, 7th floor, MBK Centre. The event was held to promote collaboration between government units in the Pathumwan area, and joined by management team and staff of the resident organizations and units such as Pathumwan District Office, Chulalongkorn University, Pathumwan Police Station, Tourist Police Division, and more. --bacc cinema 5 กันยายน 2558

8

บรรจง ปิสญ ั ธนะกูล ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ชอื่ ดัง (ซ้าย) พร้อมด้วยนา ฮอง-จิน ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ ชาวเกาหลี (กลาง) ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนมุมมองกันในเทศกาลภาพยนตร์คัดสรร Cinema Diverse: Director’s Choice 2015 โดยครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์วัฒนธรรมเกาหลี ประจ�ำประเทศไทยน�ำภาพยนตร์จากประเทศ เกาหลี ใต้เรื่อง The Chaser (2008) ซึ่งก�ำกับ โดยนา ฮอง-จินมาฉายให้ได้ชมกันอย่างจุใจ ณ ห้องออดิทอเรียม ชัน้ 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร 5th September 2015 Banjong Pisanthanakun (left), an acclaimed Thai director, and Korean director Na Hong-jin (middle) joined a discussion and exchanged their point of views in “Cinema Diverse: Director’s Choice 2015”. The fourth screening on Saturday 5th September 2015, which is supported by the Korean Cultural Center in Thailand, is The Chaser (Korea/ 2008) directed by Na Hong-jin.

issue 12 11 baccazine

Mol_G502_P.04-05.indd 5

0 5

22/10/2558 17:39


theme cover

60 6

baccazine issue 12 09

Mol_G502_P.06-13.indd 6

22/10/2558 17:38


NEW MEDIA ART: WHEN ART MEETS TECHNOLOGY Ed Atkins, Ribbons (still), 2014, collection Stedelijk Museum Amsterdam. Photo: Gert Jan van Rooji

COLUMNIST : วิภาช

ภูริชานนท์

ศิลปะนั้นมีความเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีมาตั้งแต่โบราณ อีกนัยหนึ่งคือพัฒนาการ ของเทคโนโลยีก็มีส่วนในการเปลี่ยนแปลงศิลปะด้วย เพียงแต่ความเปลี่ยนแปลงที่เห็น ได้ชัดเจนนั้นเกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคปฏิวัติ อุตสาหกรรมครัง้ ทีส่ อง หรือยุคปฏิวต ั เิ ชิงเทคโนโลยี คือช่วงกลางศตวรรษที่ 19 จนถึง ปลายสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สังคมตะวันตกในช่วงนั้นถูกขับเคลื่อนด้วยพัฒนาการ ของเครื่องจักรกลหนักที่เป็นผลพวงมาจากการค้นพบวิธีผลิตเหล็กกล้าราคาถูก การ ผลิตไฟฟ้า และอุตสาหกรรมน�ำ้ มัน ปัจจัยดังกล่าวส่งผลต่อการเติบโตของอุตสาหกรรม คมนาคมและโทรคมนาคม เช่น การผลิตรถยนต์สว่ นตัว เรือเดินสมุทรขนาดใหญ่ โทรเลข รวมไปถึงพัฒนาการของการผลิตซ�ำ้ เชิงกล ทีท ่ ำ� ให้ผลิตสินค้าอุปโภค-บริโภคได้ในจ�ำนวน ทีม ่ ากขึน ้ ด้วยต้นทุนและแรงงานคนทีน ่ อ ้ ยลง (ในขณะเดียวกันนีย ่ งั หมายถึงพัฒนาการ ของเทคโนโลยีทางการทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสื่อสารและอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึง่ น�ำไปสูส่ งครามโลกครัง้ ทีห ่ นึง่ ) ในช่วงเวลานีเ้ องทีค ่ ำ� ว่าเทคโนโลยีได้เปลีย ่ นความหมาย จาก “ศาสตร์ของทักษะการใช้มอ ื ” มาเป็น “ศาสตร์ทเี่ กีย ่ วข้องกับเครือ ่ งกล” โดยเฉพาะ ศิลปะสมัยใหม่หลายลัทธิได้น�ำพัฒนาการทางเทคโนโลยีมาเป็นแรงบันดาลใจในการผลิต งานศิลปะ ตัวอย่างเช่นฟิวเจอริสม์ (Futurism) ในประเทศอิตาลีทสี่ ร้างงานศิลปะผ่าน สือ ่ เดิมอย่างจิตรกรรมและประติมากรรม เพือ ่ เฉลิมฉลองพัฒนาการของเทคโนโลยีและ คุณลักษณะของมัน เช่น ความเยาว์วย ั ความรวดเร็ว และความรุนแรง หรือดาดาอิสม์ (Dadaism) ทีเ่ ริม ่ น�ำเอาวัตถุจากการผลิตซ�ำ้ เชิงกลมาสร้างเป็นผลงานศิลปะ ในขณะ เดียวกันศิลปินอืน ่ ๆ ก็เริม ่ หันมาใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ภาพถ่าย และภาพยนตร์ มาเป็น สือ่ ในการสร้างผลงานศิลปะ เทคโนโลยีกบ ั ศิลปะยังเป็นศาสตร์สองชนิดทีแ่ ตกต่างกัน แต่ มีความสัมพันธ์กน ั อย่างไม่ซบ ั ซ้อนนัก

หลังสงครามโลกครัง้ ทีห่ นึง่ จนถึงปลายสมัยใหม่ (Late-modernism) หรือช่วงหลัง สงครามเย็น ศิลปะไม่ได้ทำ� หน้าทีเ่ ฉลิมฉลองเทคโนโลยี และเทคโนโลยีเป็นเพียงสือ่ ใน การผลิตผลงานศิลปะเท่านัน้ แต่การผลิตผลงานศิลปะคือการผสมผสานเทคโนโลยีเข้า กับสุนทรียศาสตร์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากความเฟื่องฟูของสถาปัตยกรรมและงานออกแบบ เช่น งานของโรงเรียนศิลปะเบาเฮาส์ (Bauhaus) และงานสถาปัตยกรรมของลุดวิก มีส ฟาน เดอร์ โรห์ (Ludwig Mies van der Rohe) สถาปนิกชาวเยอรมันก็ขบั เคลือ่ นด้วย พัฒนาการทางวิศวกรรม ทีด่ งึ เอาวัสดุอย่างเหล็กกล้าและกระจกซึง่ เป็นผลพวงของการ ปฏิวตั เิ ชิงเทคโนโลยีมาเป็นแกนหลักทางสุนทรียศาสตร์ แต่ในขณะทีศ่ ลิ ปินส่วนใหญ่ให้ issue 12 baccazine

Mol_G502_P.06-13.indd 7

07 7

22/10/2558 17:38


ความส�ำคัญกับเทคโนโลยี ในฐานะของทักษะ หรืออุปกรณ์อำ� นวยความสะดวกในการช่วยผลิต วัตถุหรือผลงานศิลปะ เทคโนโลยีอีกแบบหนึ่ง ก็ได้ทวีความส�ำคัญในสังคมมนุษย์ขนึ้ เรือ่ ยๆ จน เข้ามาแทนที่ความส�ำคัญของเครื่องจักรกล สิ่ง นั้นก็คือเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology หรือ IT) แม้ว่าจะมีพัฒนาการ ต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่โบราณ แต่กเ็ ริม่ เข้ามามีความ ส�ำคัญจริงๆ ในช่วงสงครามเย็นที่กิจการข่าว สื่อสารมวลชน และโฆษณาชวนเชื่อกลายเป็น อาวุธทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ทางการทหาร ความต้องการทางเทคโนโลยีในยุคดังกล่าว เปลีย่ นแปลงค�ำจ�ำกัดความของเทคโนโลยีไปอีก ครัง้ หนึง่ เมือ่ เครือ่ งมืออ�ำนวยความสะดวกของ มนุษ ย์เปลี่ยนจากเครื่องจักรเฉพาะทางขนาด ใหญ่ที่พกพาไม่ได้มาสู่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สารพัดประโยชน์ขนาดพกพา เช่น คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล รวมไปถึงเครื่องมือสื่อสารส่วนตัว นั่นหมายความว่า ความส�ำคัญทางการผลิตได้ เขยิบจากโลกของวัตถุสู่การผลิตข้อมูลข่าวสาร ทีจ่ บั ต้องไม่ได้ หรือจากฮาร์ดแวร์มาสูซ่ อฟต์แวร์ และจากเทคโนโลยีเชิงกายภาพ (Physic) ไป สู่เทคโนโลยีเชิงสัญญะ (Semiotic) การเกิด ขึ้นของอินเทอร์เน็ตหรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่นอกจากเชื่อมต่อข้อมูลดิจิทัลจาก ทุกส่วนของโลกกายภาพเข้าด้วยกันแล้วยังสร้าง

โลกความจริงเสมือน (Virtual Reality) ที่มี พื้นที่ ไม่สิ้นสุดมาซ้อนทับโลกของความจริงอีก ชัน้ หนึง่ นับเป็นตัวอย่างทีด่ ขี องการเปลีย่ นแปลง ดังกล่าว เทคโนโลยีจงึ กลายเป็นศาสตร์ของการ สื่อสารซึ่งให้ความส�ำคัญกับการเชื่อมต่อและ การปฏิสมั พันธ์ภายในเครือข่าย โทรศัพท์มอื ถือ ระบบสัมผัสและแท็บเล็ตเป็นตัวอย่างที่ดีในการ แสดงให้เห็นถึงกรอบคิดดังกล่าว เพราะเป็น อุปกรณ์ทสี่ ร้างขึน้ มาตอบสนองการใช้งานหลาก หลายรูปแบบ ตั้งแต่สนับสนุนงานวิชาชีพจนถึง ความเพลิดเพลินใจ โดยใช้ฮาร์ดแวร์ชนิดเดียวกัน และระบบปฏิบัติการแบบเดียวกันท�ำหน้าที่เป็น แพลตฟอร์มรองรับโปรแกรมแอปพลิเคชัน่ ต่างๆ ที่ท�ำหน้าที่ส่งและแลกเปลี่ยนข้อมูลแบบต่างๆ ภายในเครือข่ายของโลกความจริงเสมือน ในทศวรรษที่ 1970 ทศวรรษเดียวกันกับ ที่อินเทอร์เน็ตก�ำลังเริ่มก่อร่างสร้างตัว ศิลปิน กลุ่มหนึ่งในเมืองนิวยอร์กเริ่มให้ความสนใจใน การท�ำงานร่วมกับเทคโนโลยีการสื่อสารมาก ขึ้น ผลงาน TV Buddha ของนัมจุนพัค (Nam June Paik) ศิลปินชาวเกาหลี-อเมริกัน ที่น�ำ เอาเทคโนโลยีการถ่ายทอดสดมาจัดวางคู่กับ พระพุทธรูป เพือ่ วิพากษ์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวตนของมนุษย์และสือ่ สารมวลชนในสมัยของเขา ผลงานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยีกลาย เป็นทัง้ สือ่ (Media) และเนือ้ หาในงานศิลปะใน

เวลาเดียวกัน วิธกี ารดังกล่าวเป็นรากฐานให้การ ท�ำงานของศิลปินแขนงหนึ่งในศิลปะร่วมสมัย ที่มักถูกจัดรวมกลุ่มอยู่ ในชื่อที่เรียกกว้างๆ ว่า ศิลปะสือ่ ใหม่ (New Media Art) หมายถึงศิลปะ ที่ ใช้เทคโนโลยีร่วมสมัยเป็นสื่อในการน�ำเสนอ งานศิลปะ โดยอาจรวมถึงการเข้าไปแทรกแซง จัดการ และพัฒนาแพลตฟอร์ม เครือข่าย หรือ โปรแกรมแอปพลิเคชั่นเหล่านั้นด้วย เนื่องจาก ศิลปะเหล่านี้ ได้แทรกซึมลงในเทคโนโลยีการ สือ่ สารทีเ่ ชือ่ มต่อและคาบเกีย่ วกันจนไม่สามารถ จัดหมวดหมู่ของการท�ำงานศิลปะผ่านสื่อ เช่น ภาพถ่าย และภาพยนตร์ ได้อีกต่อไป (แม้ว่า ภาพถ่ายและภาพยนตร์อาจเป็นส่วนประกอบหนึง่ ในศิลปะสือ่ ใหม่ได้) ศิลปะสือ่ ใหม่จงึ จ�ำเป็นทีจ่ ะ ต้องรวมไว้ซงึ่ ประเภทของการท�ำงานศิลปะก่อนๆ เช่น วิดโี ออาร์ต คอมพิวเตอร์อาร์ต ดิจทิ ลั อาร์ต เกมอาร์ต ซาวนด์อาร์ต หรือแม้แต่อนิ เทอร์เน็ต อาร์ต ศิลปะสื่อใหม่อาจไม่จ�ำเป็นต้องจัดแสดง อยู่ในพื้นที่ศิลปะในโลกกายภาพเสมอไป พื้นที่ จัดแสดงของศิลปะสือ่ ใหม่สามารถอยูบ่ นหน้าจอ คอมพิวเตอร์และด�ำรงอยู่ในโลกไซเบอร์ จึงอาจ สรุป ได้ว่าศิลปะสื่อใหม่คือศิลปะที่เกิดจากการ ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารโดยมีการปฏิสัมพันธ์ กับเครือข่าย อยู่ระหว่างโลกความจริงกับโลก เสมือนจริง และเกิดขึน้ แบบเรียลไทม์ (หรืออย่าง ใดอย่างหนึง่ )

Ed Atkins, Warm, Warm, Warm Spring Mouths (still), 2013, collection Stedelijk Museum Amsterdam. Photo: Gert Jan van Rooji

08 8

baccazine issue 12 09

Mol_G502_P.06-13.indd 8

22/10/2558 17:38


Theme Cover

Ed Atkins, Happy Birthday!! (still), 2014. Courtesy of the artist and Cabinet, London. Photo: Gert Jan van Rooji ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยี สงคราม และศิลปะยังคงมีให้เห็นในศิลปะสื่อใหม่ วาฟา บิลาล (Wafaa Bilal) ศิลปินชาวอิรักที่มีชีวิต และท�ำงานอยู่ในสหรัฐอเมริกาได้สร้างงานศิลปะ จัดวางแบบผูช้ มมีปฏิสมั พันธ์ในชือ่ ว่า Domestic Tension ขึ้นใน ค.ศ. 2007 ซึ่งเป็นช่วงเวลา เดียวกับทีส่ หรัฐอเมริกาก�ำลังท�ำสงครามกับอิรกั ในงานชิ้นดังกล่าวบิลาลได้สร้างเว็บไซต์ขึ้นใน อินเทอร์เน็ตโดยเชื่อมต่อแบบเรียลไทม์เข้ากับ แกลเลอรี่ที่เขาจัดแสดงด้วยเว็บแคม จากเว็บแคมผู้ชมจะเห็นศิลปินใช้ชีวิตอยู่ในแกลเลอรี่ที่ ตกแต่งเป็นห้องนอน โดยผูช้ มจากทัว่ ทุกมุมโลก สามารถบังคับปืนเพนต์บอลจากในเว็บไซต์ให้ ยิงไปทีเ่ ขาหรือสิง่ ของอืน่ ๆ ในห้องได้ตลอด 24 ชัว่ โมงเป็นเวลา 30 วัน บิลาลกล่าวว่าผลงานดัง กล่าวได้รับแรงบันดาลใจมาจากประสบการณ์ ครอบครัวของเขาในอิรักที่ได้รับผลกระทบจาก สงครามและมีคนในครอบครัวเสียชีวิตจากการ ทิง้ ระเบิดของเครือ่ งบินไร้คนขับ เมือ่ ครบก�ำหนด เวลาแล้ว Domestic Tension มีผู้ชมจาก 136

ประเทศเข้าชมผ่านทางอินเทอร์เน็ต และมีกระสุนเพนต์บอลถูกยิงไปทั้งหมดกว่า 65,000 นัด หลังจบนิทรรศการดังกล่าวบิลาลยังคงท�ำงาน เกีย่ วข้องกับสงครามอิรกั อย่างต่อเนือ่ ง ตัวอย่าง เช่นการทีเ่ ขาแฮ็กเกม Quest for Saddam ให้เป็น งานศิลปะ ใน ค.ศ. 2014 เหมา เจียซิน (Miao Jiaxin) ศิลปินชาวจีนในเมืองนิวยอร์กได้สร้างผลงาน ศิลปะจัดวางแบบผูช้ มมีปฏิสมั พันธ์ทชี่ อื่ ว่า Jail’s Seeking Prisoners โดยสร้างกรงขังนักโทษขึน้ ภายในอะพาร์ตเมนต์ของตนเอง แล้วเปิดให้เช่า พักรายวันในราคา 1 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 35 บาท) ต่อวัน โดยโฆษณาลงในเว็บไซต์จอง ทีพ่ กั Airbnb ซึง่ รวบรวมห้องเช่ารายวันตามเมือง ต่างๆ ทัว่ โลกเอาไว้ ต่อมาทางเว็บไซต์ได้ปฏิเสธ ที่จะลงโฆษณาให้กับศิลปินเนื่องจากปัญหาด้าน ความปลอดภัย เหมาจึงได้น�ำโฆษณาของเขา ไปไว้ในเฟซบุ๊ก (Facebook) เว็บไซต์เครือข่าย สังคมออนไลน์ชื่อดัง ซึ่งก็ได้รับการตอบรับเป็น อย่างดี โดยมีทั้งศิลปิน นักวิจารณ์ศิลปะ นัก issue 12 baccazine

Mol_G502_P.06-13.indd 9

09 9

22/10/2558 17:38


Wafaa Bilal, detail from Domestic Tension, performance, 2007. Copyright Wafaa Bilal. Courtesy of Driscoll Babcock Galleries and Lawrie Shabibi Gallery. เคลื่อนไหว และบุคคลทั่วไปเข้าพัก การเข้าอยู่ อาศัยนี้ผู้เช่าห้องจะต้องท�ำตามกฎที่ศิลปินวาง ไว้ กล่าวคือ ผูเ้ ช่าห้องสามารถไปไหนมาไหนได้ อย่างอิสระตัง้ แต่สามทุม่ จนถึงเก้าโมงเช้าของอีก วัน อย่างไรก็ตามระหว่างเก้าโมงเช้าถึงเทีย่ งวัน ผู้เช่าห้องจะต้องอยู่ในกรงขังที่มีเพียงเตียงนอน นาฬิกา อ่างล้างหน้า และชักโครก โดยไม่สามารถ ติดต่อกับโลกภายนอกหรือท�ำกิจกรรมอะไรได้ นอกจากนีผ้ ชู้ มยังสามารถติดตามความเคลือ่ นไหว ของผู้เข้าพักจากการถ่ายทอดสดผ่านอินเทอร์เน็ตและเฟซบุก๊ ได้ตลอด 24 ชัว่ โมง เหมาได้รบั แรงบันดาลใจดังกล่าวมาจากสภาพความเป็นจริง 10

ของการใช้ชวี ติ อยู่ในเมืองนิวยอร์กในปัจจุบนั ซึง่ เหมือนกับอยู่ในกรงขังทีส่ ามารถติดต่อผูค้ นผ่าน เครือ่ งมือสือ่ สารออนไลน์เท่านัน้ ผลงานดังกล่าว ยังเป็นการแสดงความเคารพต่อเตอห์ชิง เชห์ (Tehching Hsieh) ศิลปินชาวไต้หวันทีข่ งั ตัวเอง อยู่ในกรงลักษณะเดียวกันในอะพาร์ตเมนต์ของ เขาในกรุงนิวยอร์กเป็นเวลาหนึง่ ปีเต็ม ในผลงาน ทีม่ ชี อื่ ว่า One Year Performance 1978-1979 (Cage Piece) นอกจากศิลปินทีท่ ำ� งานโดยใช้ประโยชน์จาก การสร้างเว็บไซต์หรือใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ดึงดูดการมีส่วนร่วมของผู้ชมในโลกออนไลน์มา

สู่โลกของความเป็นจริงดังที่ ได้ยกตัวอย่างไป แล้ว ศิลปินอีกกลุ่มหนึ่งก็ผลิตผลงานจากความ สนใจของพวกเขาในโลกเสมือนจริงเป็นหลัก เชา เฟ่ย (Cao Fei) ศิลปินชาวจีนเริ่มท�ำงานศิลปะ ใน “เซเคินด์ไลฟ์” (Second Life) ซึ่งเป็นโลก เสมือนจริงในอินเทอร์เน็ตที่เปิดให้ผู้สนใจสร้าง อวตาร (avartar) หรือตัวละครของตนเองขึ้น เพือ่ อยูอ่ าศัยและมีปฏิสมั พันธ์กบั อวตารอืน่ ๆ ใน สังคมออนไลน์ เชาเริม่ เข้าไปสร้างผลงานศิลปะ เชิงทดลองผ่านอวตารของเธอที่ชื่อไชน่า เทรซี่ (China Tracy) ใน ค.ศ. 2007 โดยน�ำชีวติ ของ เทรซีม่ าจัดแสดงในพืน้ ทีศ่ ลิ ปะ ปีถดั มาเชากลาย

baccazine issue 12

Mol_G502_P.06-13.indd 10

22/10/2558 17:38


Theme Cover

เป็นหัวเรีย่ วหัวแรงในการสร้าง RMB City เมือง ในโลกเซเคินด์ไลฟ์ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก พัฒนาการทางวัตถุและเทคโนโลยีทรี่ วดเร็วของ ประเทศจีน เธอกล่าวว่า RMB City เป็นเหมือน กับยูโทเปียหรือดินแดนในอุดมคติของเทรซีท่ ผี่ สม ความเป็นตะวันตกเข้ากับความเป็นจีน เมืองดัง กล่าวเปิดให้ประชากรคนอืน่ ๆ ในเซเคินด์ไลฟ์เข้า ร่วมพัฒนาเมืองในปีถดั มา ปัจจุบนั RMB City มี พิพิธภัณฑ์ศิลปะเป็นของตัวเอง และมีการจัด กิจกรรม การแสดงดนตรีสด การแสดงละครอย่าง ต่อเนือ่ ง และเป็นพืน้ ที่ในการทดลองเทคโนโลยี ใหม่ๆ ในโลกเสมือนจริง

ศิ ล ปิ น อี ก คนหนึ่ ง ที่ ท� ำ งานเกี่ ย วข้ อ งกั บ เทคโนโลยีดิจิทัลและโลกเสมือนจริงคือศิลปิน ชาวอังกฤษเอ็ด แอตคินส์ (Ed Atkins) แทนทีจ่ ะ สนใจการท�ำงานศิลปะในโลกออนไลน์อย่างเชา เฟ่ย เขากลับใช้เทคโนโลยีการสร้างภาพดิจิทัล ความละเอียดสูงและระบบเสียงรอบทิศทางมา สร้างผลงานวิพากษ์การใช้ชวี ติ ของมนุษย์ในโลก ของความเป็นจริงอีกทีหนึง่ แอตคินส์สร้างสรรค์ ผลงานจัดวางโปรเจ็กเตอร์หลายจอหลายชิน้ เพือ่ เล่าปัญหาด้านความรัก ความรุนแรง และความ ตายที่มนุษย์ประสบอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน โดยการ สร้างภาพเคลื่อนไหวสามมิติความละเอียดสูงที่ ปราศจากร่องรอยของความเป็นวัตถุกายภาพ เช่น ภาพคนที่ไม่ได้มตี น้ แบบ ไม่มรี า่ งกาย และ มีชวี ติ เป็นของตัวเอง เขาเล่าเรือ่ งผ่านการสร้าง บทสนทนาแบบภาพยนตร์ การแต่งท�ำนองเพลง จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และการเขียนบทกวี แม้วา่ งานของแอตคินส์จะไม่ได้มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับ โลกเสมือนจริงออนไลน์อย่างเซเคินด์ไลฟ์ และ นักแสดงในผลงานของเขาก็ไม่ได้เป็นอวตารของ ใคร แต่กน็ ำ� เสนอแง่มมุ ต่างๆ ในชีวติ ประจ�ำวัน ของผูค้ นด้วยความจริงเสมือนซึง่ มีความละเอียด สูงกว่าความเป็นจริง ในขณะที่ศิลปินส่วนหนึ่งสนใจการท� ำงาน ด้วยการสร้างอวตารหรือเรือ่ งราวใหม่ขนึ้ ในโลก เสมือนจริง ศิลปินอีกกลุ่มหนึ่งพบว่าสามารถ สร้างผลงานศิลปะจากการปฏิสมั พันธ์ของมนุษย์ ในโลกออนไลน์เองได้โดยไม่ต้องเชื่อมต่อหรือ สัมพันธ์กบั ตัวตนในโลกของความเป็นจริงอีกต่อ ไป แอน เฮิรช์ (Ann Hirsch) ศิลปินชาวอเมริกนั เริม่ โครงการศิลปะของเธอทีช่ อื่ Scandalishious ในเว็บไซต์แบ่งปันวิดโี อยูทบู (Youtube) โดยสวม บทเป็นแคโรไลน์ (Caroline) นักศึกษาปริญญา ตรีมหาวิทยาลัยในรัฐนิวยอร์ก ตลอดปี 2008 ที่เธอแสดงเป็นแคโรไลน์ ศิลปินได้ส�ำรวจวิธี การสร้างตัวตนของผู้หญิงให้เป็นที่นิยมในโลก ออนไลน์ โดยพยายามน�ำภาพพจน์ของผู้หญิง สองแบบทีแ่ ตกต่างสุดขัว้ คือ ผูห้ ญิงทีแ่ สดงแต่ ความเซ็กซี่ ฉาบฉวย และผูห้ ญิงทีเ่ ป็นคนชาญฉลาด รูจ้ กั วิเคราะห์และวิจารณ์ความเป็นไปของ โลกมาผสมกัน เมื่อยอดการรับชมช่องของเธอ ทีช่ อื่ ว่า “Caroline’s fun fun channel” ขึน้ ถึง หนึ่งล้านครั้ง เธอก็น�ำวิดีโอของเธอ วิดีโอจาก แฟนคลับ และคอมเมนต์จากผู้ชมมารวมเข้า ด้วยกัน ตัดต่อ และจัดแสดงในแกลเลอรี่ ในแง่ หนึง่ Scandalishious เป็นผลงานทีพ่ ดู ถึงตัวตน ของคนในโลกปัจจุบันและโลกออนไลน์ที่อาจไม่

ตรงกันเสมอไป นอกจากนั้นผลงานนี้ยังได้ยก ระดับศิลปะการแสดงสดขึน้ สูโ่ ลกออนไลน์ และ แสวงหาช่องทางใหม่ๆ ให้กับศิลปะการแสดง สด เฮิร์ชยังใช้พื้นที่อย่างเรียลิตี้ทีวีเป็นที่แสดง ผลงานศิลปะด้วยการสวมบทบาทเป็นอีกคนหนึง่ ใน ค.ศ. 2013 เธอยังก�ำกับและเขียนบทละคร เวทีเรื่อง Playground ที่พูดเรื่องความสัมพันธ์ ออนไลน์ของวัยรุน่ ผ่านห้องสนทนาออนไลน์ โดยสรุปแล้วอาจกล่าวได้ว่าความสัมพันธ์ ระหว่างเทคโนโลยีกับศิลปะในโลกร่วมสมัยนั้น ผสมผสานเข้าด้วยกันจนบ่อยครั้งเราไม่จ�ำเป็น ต้องขีดเส้นแบ่งอีกต่อไปว่าอะไรคือศิลปะ อะไร คือเทคโนโลยี ศิลปินร่วมสมัยใช้เทคโนโลยีเพื่อ สื่อสาร ในขณะเดียวกันก็สร้างผลงานศิลปะ เพือ่ ท้าทายข้อจ�ำกัดของเทคโนโลยีเอง โดยเมือ่ เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนในชีวิตของมนุษ ย์มาก ขึ้นเรื่อยๆ นั่นย่อมเปิดโอกาสให้ศิลปินสื่อใหม่ที่ ท�ำงานโดยใช้เทคโนโลยีการสือ่ สารท�ำงานศิลปะ มากขึน้ เช่นกัน เทคโนโลยีการสือ่ สารไม่เพียงช่วย เผยแพร่ผลงานศิลปะของศิลปิน แต่ยงั เปิดโอกาส ให้ผชู้ มมีสว่ นร่วมกับศิลปะ และท�ำให้ผชู้ มมีความ ตระหนักรู้ถึงความเป็นไปของโลกมากขึ้น ใน ขณะเดียวกันศิลปินก็ทำ� ให้โลกเสมือนจริงกลาย เป็นพื้นที่ทดลองการมีชีวิตในรูปแบบอื่น และ เป็นพืน้ ทีส่ ำ� หรับวิพากษ์วจิ ารณ์สภาวะความเป็น มนุษย์ในโลกแห่งความเป็นจริง ส่วนการท�ำงาน ของศิลปินร่วมสมัยในสังคมออนไลน์กท็ ำ� ให้เห็น ภาพความเปลี่ยนแปลงทางการปฏิสัมพันธ์และ สภาวะของสังคมมนุษย์มากขึน้ ในขณะทีส่ อื่ ของ ศิลปะนั้นก็เปลี่ยนจากการใช้ทักษะไปหาการใช้ ความคิดมากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีได้เข้ามา อ�ำนวยความสะดวกในการสือ่ สารมากขึน้ ปัจจุบนั เราพบว่าความสัมพันธ์ของศิลปินร่วม สมัยในรุ่นที่เป็นดิจิทัลเนทีฟ (Digital Native) หรือโตขึ้นมาพร้อมเทคโนโลยีดิจิทัล กับการใช้ เทคโนโลยีในการท�ำงานศิลปะนัน้ มีความสัมพันธ์ กันอย่างเป็นธรรมชาติ กล่าวคือไม่มกี ารแบ่งแยก ว่าอะไรเป็นเทคโนโลยีและอะไรเป็นศิลปะด้วย การจัดประเภทผ่านสือ่ อีกต่อไป การเกิดขึน้ ของ ศิลปะสื่อใหม่จึงเป็นการชี้ ให้เห็นว่าการท�ำงาน ศิลปะนั้นไม่ได้ถูกจ�ำกัดไว้ด้วยทักษะทางการใช้ มือหรือทักษะเครื่องกลอีกต่อไป แต่ศิลปะคือ ทักษะในการสื่อสารในโลกดิจิทัลที่เทคโนโลยี บังคับให้เราแลกเปลีย่ นข้อมูลมากขึน้ เรือ่ ยๆ วิภาช ภูรชิ านนท์ สิงหาคม 2015 issue 12 baccazine

Mol_G502_P.06-13.indd 11

1 1

22/10/2558 17:38


Miao Jiaxin, detail from Jail’s Seeking Prisoners, social engagement project, 2014. Courtesy of Miao Jiaxin Studio. NEW MEDIA ART: WHEN ART MEETS TECHNOLOGY Art and technology have run along artists began to embrace technology as a key parallel lines throughout history, enduring a part of their works, for example, TV Buddha by constantly changing and evolving relationship. Nam June Paik, an American-Korean artist, During the Industrial Revolution of the 19th used an old Korean Buddha Statue and a and 20th centuries, western society was futuristic-looking television with the Buddha driven by the development of machines perpetually gazing at the TV screen, on which led to economic and social changes. which he saw an image of himself recorded This transition included the art society; by the closed-circuit camera. Paik’s work especially modern art movements which transformed both forms of popular media were inspired by technological advancement into art. His method became fundamental such as Futurism in Italy which emphasized for a new subgenre of contemporary art speed, technology, youth, violence and called “New Media Art”. This new art genre machines like cars and planes. Dadaism also showed a close interdependency with artistic utilised ready-made objects, some artists concepts and technology that can no longer also started using new forms of media such be classified by the medium through which as photographs and films to create art pieces. they were produced like photography or film, Nevertheless, art and technology were still but rather as a combination of art forms such not in an intimate, exclusive relationship as as digital art, computer graphics, computer most artists still exploited technology just as animation, virtual art, interactive art, or one of their various tools to create works. It Internet art. The new media art may not was the start of Information Technology and require space in the real world to display their the Internet era that connected the globe works, as they can be seen on the computer and offered new tools and concepts to the screen or in cyber space. art world. Many new media art projects also work At the start of that era, some modern with themes like politics, war and social 12

consciousness, allowing for social activism through the interactive nature of the media. In 2007, Wafaa Bilal, an Iraqi artist based in the United States, began a 30-day-long project called Domestic Tension in protest of the Iraq War. As an installation piece, Bilal confined himself to a small room, but he could be seen twenty-four hours a day through a camera that he had connected to the Internet. Bilal also set up a remote controlled paintball gun that viewers could use to shoot him at any time. The inspiration for this project stemmed from his experiences in refugee camps during the rule of Saddam Hussein and when he lost members of his family in the war. Overall, a total of 65,000 shots were fired over the course of 30 days by “shooters” from 136 different countries. In 2014, a New York based Chinese artist, Miao Jiaxin, rented out a private jail cage in a studio in New York for $1 a night. The metal-barred “dream cage” contained a simple bed, toilet, sink, and a clock. Those who rented it had to follow a set of rules: from 9 pm to 9 am, they were not required

baccazine issue 12

Mol_G502_P.06-13.indd 12

22/10/2558 17:38


Theme Cover

to stay in the cage, but from 9 am to noon, they had to stay in the cage, during which time they could not access the internet, nor talk to anybody, could not sleep or do other activities. There were cameras in the space that monitored their activities and people could watch it live online 24 hours a day. The artist was inspired by the lifestyle of New York people who were living jailed in their houses and could only connect with other people online. Besides artists who used websites or social media to attract an online audience to the real world, another group of artists created their works in the virtual reality world. Beijing artist Cao Fei created the online world of Second Life in 2007 and launched the RMB City, a virtual city, and opened it to the public 2 years later. RMB City is a platform for experimental creative activities, one in which Cao Fei and her collaborators use different mediums to test the boundaries between virtual and physical existence. As a model of avant-garde urban planning, it traverses the boundaries between past

and future, a real and virtual to link China and the cosmopolitan contemporary world. Another person who worked on virtual reality is London based artist Ed Atkins, working primarily with High Definition video and text, he exploits and subverts the conventions of moving images and literature. Many of his videos feature a computer generated avatar as an isolated protagonist, whose poetic soliloquies intimately address the viewer. This protagonist, often surrounded by generic stock images and cinematic special effects, has been noted as capable of procuring the uncanny valley effect. Despite his works being quite different from Cao Fei’s virtual reality world which the mass public could participate in, Atkins’ videos were able to reflect real life stories of love, violence, and death that everyone has to face. Some other artists found the way to create work in an online society without having true connectivity between their online and real life characters. In 2008, Ann Hirsch, an American contemporary

video and performance artist, began the Scandalishious project, made up of a series of videos posted to her YouTube account, “Caroline’s fun fun channel.” Using her computer to record herself, Hirsch performs as another girl called “Caroline”, a SUNY freshman. By using her computer to record videos of herself in private while seeming to directly address a wider audience, Hirsch makes an apparently intimate experience a very public one. The channel has reached over one million views. The project explores questions of femininity, extreme publicity, online communities, and the appropriation and dissection of bodies and personalities on the internet. Hirsch also went on to display and discuss segments of the project in galleries. Today, the creative application of computers and technology has shrunk the divide between art and technology much further still, to the point that it has all but disappeared, opening up an artistic horizon on which the two callings live, necessarily, side-by-side.

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.06-13.indd 13

1 3

22/10/2558 17:38


did you know?

เทคโนโลยี กับ ศิลปะ

01 โมเลคิวลาร์แกสโตรโนมี

MOLECULAR GASTRONOMY Molecular Gastronomy is a modern style of cooking that takes advantage of many different technical innovations from various scientific disciplines that have created new and innovative dining experiences. Its most famous technique is Spherification: a culinary process of shaping a liquid into spheres which visually and texturally resemble roe that allows you to create new dishes like caviar made of olive oil or spherification fruit juice. Other techniques such as using liquid nitrogen or transglutaminase have paved the way for exciting inventions, such as liquid nitrogen ice cream or pasta made of protein food. They are widely used in the fusion food industry which usually offers innovative taste and decorations – it is like creating artwork on a plate. The technique was brought to the modernist cuisine by the creative team at elBulli restaurant in Spain in 2003 and later spread all over the culinary world including Thailand. It was adapted for using with local Thai ingredients such as coconut milk caviar, which is used in many local sweet dishes like Mango with Sticky Rice, or Pumpkin in Coconut Syrup.

“อาหาร” นับเป็นงานศิลปะแขนงหนึง่ ซึง่ ปัจจุบันมีการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ ใช้เพื่อสร้างสรรค์เ มนูแปลกใหม่ภายใต้หลักการ “โมเลคิวลาร์แกสโตรโนมี” (Molecular Gastronomy) อันเป็นการปรุงอาหารด้วยเทคนิค ทางวิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุลที่เรียกว่าการขึ้น รูปวงกลม หรือ Spherification โดยเริม่ จากการ สร้างรูปร่างของอาหารเหลว เช่น น�้ำมันมะกอก นม ซุป ซอส ฯลฯ ให้เป็นทรงกลม ด้วยการ ใช้โซเดียมอัลจิเนตละลายในอาหารเหลว แล้ว หยดส่วนผสมอาหารเหลวนั้นลงในสารละลาย เกลือแคลเซียม ก่อเกิดเป็นแคลเซียมอัลจิเนตซึง่ มีลกั ษณะเป็นเจลรูปร่างกลมคล้ายไข่ปลาคาเวียร์ ให้รสสัมผัสแปลกใหม่ และถูกน�ำมาใช้ครัง้ แรกที่ ร้านเอลบูยี ประเทศสเปน เมือ่ พ.ศ. 2546 จาก นั้นจึงเริ่มแพร่หลายในวงการอาหารทั่วโลกรวม ถึงเมืองไทย โดยนักศึกษาปริญญาโทจากสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้นำ� เทคโนโลยีดงั กล่าวมาต่อยอดดัดแปลงให้เข้า กับอาหารไทย กลายเป็น “คาเวียร์กะทิ” ส�ำหรับ ใช้ในเมนูตา่ งๆ เช่น ฟักทองแกงบวด ข้าวเหนียว มะม่วง และอีกมากมาย ในแนวฟิวชัน่ ฟูด้ ทีจ่ ดั วาง อย่างเก๋ไก๋ไม่ตา่ งจากงานศิลป์ ทัง้ อร่อยลงตัวและ สวยงามเป็นอาหารตาในวิถีชีวิตยุคใหม่ได้อย่าง สุดล�ำ้ ไม่เพียงเท่านัน้ นวัตกรรมดังกล่าวยังถูก 02 แปลงมลภาวะเป็ น ศิ ล ปะ น�ำไปสร้างสรรค์เมนูอื่นๆ อีกมากมาย ไม่ว่าจะ หลากสีสน ั เป็นไอศกรีมจากไนโตรเจนเหลว เจลเม็ดจากน�ำ้ ดมิทรี โมโรซอฟ (Dmitry Morozov) ศิลปิน ผลไม้ทแี่ ทบละลายในปาก และเมนูเส้นทีท่ ำ� จาก ชาวรัสเซียมีไอเดียทีค่ าดไม่ถงึ ด้วยการใช้เครือ่ งเนือ้ สัตว์แบบปราศจากแป้ง เป็นต้น มือแปลงค่ามลภาวะทางอากาศให้กลายเป็น 14

COLUMNIST : MODDUM

งานศิลปะแนวนามธรรมจากสีสัน ที่แตกต่าง กันระหว่างระดับมลพิษ ต่างๆ เริ่มจากการใช้ เครื่องยนต์ที่มี “จมูก” ซึ่งท�ำจากพลาสติกติด เซ็นเซอร์ อ่านข้อมูลวัดค่าฝุ่นละอองในอากาศ รวมถึงคาร์บอนมอนอกไซด์ ฟอร์มาลดีไฮด์ และ มีเทนบนท้องถนนในกรุงมอสโก จากนัน้ เซ็นเซอร์ จะแปลงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีล�้ำยุค แล้วแสดง ผลออกมาเป็น “รูปร่าง” และ “สีสัน” กลาย เป็นผลงานล�ำ้ ๆ ทีต่ อ้ งขยีต้ าดูซำ�้ ว่าสิง่ แวดล้อมที่ สกปรกเป็นผูร้ งั สรรค์ผลงานแสนสวยนีจ้ ริงหรือ TURNS POLLUTED AIR INTO GLITCH ART Russian artist, Dmitry Morozov, offered some fresh ideas to the art world by creating a device that sniffs out pollution in the air and turns it into visual art. He built a portable, Bluetooth-connected device that looks like a nose out of sensors that measure dust and various gases on the streets in Moscow like carbon monoxide, carbon dioxide, formaldehyde, and methane. The sensors translate air data and transform them into the shapes and colors as you can see. It is a little artistic irony that pollution can produce beautiful images.

03 กราฟฟิตดี้ ว้ ยเลเซอร์

งานกราฟฟิตสี้ มัยนี้ไม่ได้จำ� กัดพืน้ ทีเ่ ฉพาะ บนก�ำแพงและผนังอาคารตามท้องถนนโดยใช้ เพียงสีสเปรย์อกี ต่อไป เพราะมีการน�ำเทคโนโลยี ซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั กันมานานอย่างเลเซอร์มาใช้กบั ตึก สูง เกิดเป็นงานศิลปะระดับอลังการงานสร้างที่ นอกจากไม่เปลืองสีแล้วยังปรับเปลี่ยนลวดลาย ได้หลากหลาย แต่มขี อ้ จ�ำกัดอยูต่ รงทีท่ ำ� ได้เฉพาะ

baccazine issue 12

Mol_G502_P.14-15.indd 14

22/10/2558 17:37


ช่วงกลางคืนอันมืดมิดเท่านั้น อย่างไรก็ตามนั่น อาจเป็นเสน่หอ์ ย่างหนึง่ ซึง่ เป็นหนทางใหม่ๆ ใน การสร้างสรรค์ผลงานผ่านประสบการณ์ทแี่ ตกต่างไปจากเดิม สนใจชมภาพนิง่ และวิดโี อคลิกไป ที่ www.graffitiresearchlab.com LASER GRAFFITI Graffiti art is not limited to using spray paint on walls, technological advances have made it possible for artists to use a computer vision system to recreate a “sprayed” image on a wall using a projector. This also allows graffiti artists to work on a larger scale of art like on high buildings or large walls, but the limitation of digital graffiti is it only works at night. For more details and videos, check out www.graffitiresearchlab.com

04 นิ ท รรศการ

ของการแสวงหาไอเดียสร้างสรรค์ในความล�ำ้ สมัย ทีต่ อ้ งก้าวให้ทนั ในทุกวินาที “DIGITAL ARCHAEOLOGY” EXHIBITION Digital Archaeology, unveiled a few years ago in London, showcased the development of technology over the years and its connections with the arts. The exhibition let visitors experience the digital culture’s past as well as enjoy the future of technology, from early CGI animation, vintage music hardware and videogame cult classics to today’s state-of-the-art interactive special effects and contemporary artists’ high-tech creations – which help visitors realise how transformative the impact of technology has been on our lives and habits.

อ้างอิงภาพ: 01 จากวิกพิ เี ดีย ภาษาอังกฤษ 02 จาก www.smithsonianmag.com 03 จาก www.graffitiresearchlab.com 04 จาก www.theverge.com 05 จาก www.facebook.com/pages/ Omniview

“โบราณคดี

ดิจท ิ ล ั ” ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเคยมีการ จัดนิทรรศการน่าสนใจทีต่ งั้ แต่ชอื่ อันย้อนแย้งว่า “Digital Archaeology” หรือ “โบราณคดี (ของ) ดิจิทัล” ซึ่งจัดแสดงเรื่องราวประวัติศาสตร์แห่ง โลกยุคดิจทิ ลั มีไฮไลต์อยูท่ หี่ ว้ งเวลาแห่งการตืน่ รูท้ างเทคโนโลยีในอังกฤษ โดยจัดแสดงข้าวของ (เคย) ล�ำ้ ยุคแบบโบราณให้ชม เช่น แม็กนาวอกซ์ โอดีสซี (Magnavox Odyssey) เครือ่ งเล่นเกม เครือ่ งแรกของโลกซึง่ ออกสูส่ ายตามนุษยชาติเมือ่ พ.ศ. 2515, ของเล่นเก๋ในยุคเก่าอย่างสปีกแอนด์ สเปล (Speak & Spell), ระบบเกมนินเทนโด, คอมพิวเตอร์แอปเปิล้ 2 เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มี แกลเลอรีส่ วยๆ ที่ให้บรรยากาศราวกับได้เดินชม งานศิลปะแบบจัดวาง ซึง่ ช่วยให้เข้าใจความเป็นมา

ตั้งใจให้เป็นงานสถาปัตยกรรมเชิงทดลอง แต่ง เติมความน่าค้นหาด้วยลายริ้วที่ออกแบบด้วย คอมพิวเตอร์ขนั้ สูง แต่ใช้วสั ดุกอ่ สร้างแบบดัง้ เดิม เช่น ไม้ และหินอ่อน ซึง่ ผสมผสานอย่างลงตัวกับ กรรมวิธีก่อสร้างยุคใหม่ ไม่ว่าจะเป็นผนังด้าน หน้าทีด่ รู าวกับคลืน่ จากท้องทะเล ท�ำจากหินอ่อนที่ ตัดด้วยเครือ่ งตัดซีเอ็นซีจนได้ลอนคลืน่ งดงามราว งานศิลปะชิน้ เอก และตัวอาคารรูปทรงแบบแอโรไดนามิกที่ให้ความรูส้ กึ ถึงห้วงเวลาแห่งอนาคต EXPERIMENTAL ARCHITECTURE Advanced computer design technology is now widely used in the architecture and design industry. Not only for designing, but now they are also used in the construction process, for example: One Kleomenous Project in Greece designed by architect Dimitrios Tsigos. The building is 11 floors high and was created using cutting edge design and construction techniques and technology. The natural woods and marble were material choices in this avant-garde building, but the CNC cutting machine made it possible to craft those materials into a wave-like marble.

05 สถาปัตยกรรมเชิงทดลอง

ปัจจุบนั เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ระดับสูงถูก น�ำมาใช้ในวงการต่างๆ มากมาย รวมถึงแวดวง สถาปัตยกรรมที่ใช้ในการออกแบบอาคารล�ำ้ สมัย ซึง่ ไม่ได้ใช้เพียงขัน้ ตอนการออกแบบเท่านัน้ แต่ รวมถึงการก่อสร้างที่ ใช้เทคโนโลยีล�้ำยุค เช่น โครงการ One Kleomenous ในประเทศกรีซ โดย สถาปนิกชือ่ ดังคือดิมทิ ริออส ซีกอส (Dimitrios Tsigos) ซึง่ เป็นอาคารขนาดใหญ่สงู 11 ชัน้ กลาง กรุงเอเธนส์ที่มีผนังสวยแปลกตา ด้วยความ

PHOTO REFERENCES: 01 en.wikipedia.org 02 www.smithsonianmag.com 03 www.graffitiresearchlab.com 04 www.theverge.com 05 www.facebook.com/pages/Omniview

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.14-15.indd 15

1 5

22/10/2558 17:37


world of art

Picasso

Marcel Duchamp

Andy Warhol

ศิลปะกับเทคโนโลยี COLUMNIST : PROF. WUTIGORN KONGKA

ศิลปะกับเทคโนโลยีเกีย ่ วพันกันมานาน นับตัง้ แต่การทีเ่ ทคโนโลยีกล้องถ่ายรูปถูกปฏิเสธจากงานจิตรกรรมในช่วงทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 20 เมือ ่ ขบวนการคิวบิสม์ (Cubism) ทีม ่ ผ ี น ู้ �ำอย่างปีกสั โซ (Picasso) ได้สร้างวิธก ี ารใหม่ๆ ทางด้านจิตรกรรมขึน ้ เพือ่ หลีกหนีการเลียนแบบความจริงทีก ่ ล้อง ถ่ายรูปท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างภาพให้เกิดเหลีย ่ มมุมของขบวนการนีค ้ อื การท�ำลายโครงสร้างงานจิตรกรรมทีย ่ ด ึ ถือการลอกเลียนความ จริงไปสูก ่ ารรับรูใ้ หม่วา่ สุนทรียศาสตร์ใหม่ๆ ของจิตรกรรมสามารถถูกก�ำหนดขึน ้ จากความเป็นปัจเจกของศิลปิน และในช่วงเวลาต่อมาไม่นานการถือ ก�ำเนิดของขบวนการฟิวเจอริสต์ (Futurist) ในอิตาลีกลับกลายไปสูค ่ วามตรงกันข้าม เมือ่ ศิลปินกลุม ่ นีพ ้ ยายามท�ำลายล้างความเชือ่ ในสุนทรียศาสตร์ แบบคลาสสิกทีบ ่ ชู าเทิดทูนมนุษย์ผา่ นเรือ ่ งเล่าด้วยความงามทางศิลปะไปสูก ่ ารยอมรับนับถือเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และโลกอุตสาหกรรมสมัยใหม่ นัน ่ คือการสร้างงานศิลปะทีไ่ ด้แรงบันดาลใจมาจากเครือ่ งจักรกล ความเคลือ่ นไหวของวัตถุ และแม้แต่สอื่ ภาพถ่ายหรือภาพยนตร์ซงึ่ ถือได้วา่ เริม ่ เป็นทีแ่ พร่หลายในยุคนัน ้ ผ่านความเชือ ่ ทีว่ า่ เทคโนโลยีคอ ื การพัฒนา คือความเปลีย ่ นแปลงของโลกไปสูส่ ภาวะความเป็นสมัยใหม่อย่างเต็มรูปแบบ และศิลปะเองก็ ต้องเคลือ ่ นไปพร้อมๆ กันกับปัจจุบน ั และการคาดการณ์ถงึ อนาคต

อย่างไรก็ตาม ทั้งคิวบิสม์และฟิวเจอริสต์ ใช้เ ทคโนโลยีเ ป็นเพีย งแรงบั น ดาลใจในการ สร้างงาน ผลสัมฤทธิ์ของงานจึงพุ่งไปสู่ความ เป็นจิตรกรรมหรือประติมากรรมที่ท�ำขึ้นด้วย มือของศิลปินซึ่งยังคงใช้สื่อตามขนบแบบแผน ยกตัวอย่างเช่นการใช้สีน�้ำมัน บนผืนผ้าใบที่มี ประวัตศิ าสตร์มานับร้อยๆ ปี ถ้าจะกล่าวในมุมนี้ ก็เท่ากับว่าทัง้ สองขบวนการยังคงยึดมัน่ อยู่ในสือ่ จิตรกรรมดัง้ เดิมอย่างเหนียวแน่น และไม่ได้เชือ่ ม ความสัมพันธ์ใดๆ กับเทคโนโลยีอย่างชัดเจนใน 16

ทางกายภาพของผลงาน แต่ถึงกระนั้นผลงาน หลายชิ้นของปีกัสโซก็มีการใช้สิ่งพิมพ์ส�ำเร็จรูป หรือวัตถุขา้ วของเครือ่ งใช้ปะติดลงไปร่วมกับงาน จิตรกรรมของเขา ซึง่ หมายถึงการพยายามผสม ผสานสิง่ ทีว่ าดขึน้ มาจากมือของเขากับสิง่ ทีผ่ ลิต มาจากระบบอุตสาหกรรม เพือ่ น�ำไปสูค่ วามงาม แบบใหม่เท่าทีง่ านจิตรกรรมจะไปได้ถงึ เทคโนโลยี มี บ ทบาทชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น ในงาน ศิลปะผ่านขบวนการดาดา (Dada) ซึ่งเกิดตาม หลังทั้งสองขบวนการได้ไม่นาน ภายใต้แนวคิด

ที่ว่า เมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ท�ำให้ยุโรป ย่อยยับ มนุษย์ไม่ได้สงู ส่งสวยงามอีกต่อไป งาน ศิลปะก็ไม่ควรที่จะค�ำนึงถึงแต่ความงามเพียง อย่างเดียว โดยศิลปินกลุ่มนี้ได้ท้าทายและถอด รื้อความเชื่อเดิมๆ ของสื่อที่ศิลปินใช้ท�ำงานใน ขนบอย่างถอนรากถอนโคน มาร์เซล ดูชอง (Marcel Duchamp) ใช้โถปัสสาวะชายซึ่งเป็น วัตถุส�ำเร็จรูปจากโรงงานอุตสาหกรรมมาเป็น สื่องานศิลปะ เพื่อปฏิเสธความงามที่ถูกก�ำหนด จากสื่อจิตรกรรมประติมากรรมซึ่งสร้างด้วยมือ

baccazine issue 12

Mol_G502_P.16-19.indd 16

22/10/2558 17:37


Nam June Paik

แห่งความเป็นปัจเจกของศิลปิน ขณะทีก่ ลุม่ ดาดา ในเบอร์ลินใช้ภาพจากสิ่งพิมพ์ส�ำเร็จรูปอย่าง นิตยสาร โปสเตอร์ เพือ่ ประชดประชันเหตุการณ์ ทางการเมือง ความคิดที่จะใช้สื่อสมัยใหม่จาก เทคโนโลยีเพื่อบอกเล่าความคิดกลายมาเป็น ปรากฏการณ์ครัง้ ส�ำคัญของขบวนการดาดา ซึง่ ส่งผลในล�ำดับเวลาถัดมาของประวัตศิ าสตร์ศลิ ป์ ในช่วงรอยต่อของทศวรรษ 1950-1960 เทคโนโลยีได้สร้างคุณลักษณะส�ำคัญให้ขบวนการป๊อปอาร์ต (Pop Art) และนีโอดาดา (Neo Dada) ซึง่ สืบทอดความคิดในการใช้สอื่ ส�ำเร็จรูป จากโรงงานอุตสาหกรรมมาท�ำงานศิลปะมาจาก ขบวนการดาดา โดยศิลปินใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีอย่างเต็มที่ทั้งสื่อโฆษณา นิตยสาร

บิลบอร์ด ระบบการพิมพ์ วัตถุสงิ่ ของและเครือ่ ง ใช้ไม้สอยจากโรงงาน ร้านค้าริมถนน หรือซูเปอร์มาร์เก็ต นอกจากนีส้ อื่ ภาพถ่าย ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ ซึ่งพัฒนาสืบเนื่องมาตั้งแต่ยุค 1940 ก็ได้ลงหลักปักฐานในฐานะนวัตกรรมใหม่แห่ง สือ่ และน�ำพาผูค้ นไปสูโ่ ลกแห่งข้อมูลข่าวสารที่ เฉลิมฉลองระบบทุนนิยมอย่างเต็มพิกดั ผลงาน ของแอนดี วอร์ฮอล (Andy Warhol) คือการ ใช้ประโยชน์จากโลกแห่งการผลิตและความเป็น สังคมบริโภคนิยมของอเมริกาอย่างเห็นได้ชัด ถึงแม้ขบวนการป๊อปอาร์ตนีจ้ ะย้อนกลับมาสูก่ าร แสวงหาคุณค่าของความงามอีกครัง้ แต่กพ็ สิ จู น์ ได้ว่าศิลปะเดินคู่ไปกับปรากฏการณ์ทางสังคม และสิง่ ทีแ่ นบแน่นกับสังคมจนเป็นเนือ้ เดียวกันก็

คือเทคโนโลยีทที่ ำ� ให้ผคู้ นเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม และทัศนคติ ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นีเ้ องได้เกิดขบวนการ และความคิดทางศิลปะใหม่ๆ ขึน้ อีก ซึง่ เชือ่ มโยง เทคโนโลยีเข้าสู่งานศิลปะอย่างกลมกลืนกลาย เป็นเรือ่ งเดียวกัน นัมจุนพัค (Nam June Paik) ศิลปินชาวเกาหลีที่เคลื่อนไหวไปกับขบวนการ ฟลักซัส (Fluxus) คือคนแรกๆ ที่ใช้สอื่ วิดโี อและ โทรทัศน์มาสร้างเป็นงานศิลปะ เมื่อผ้าใบและ สี หรือรูปทรงทึบตันของวัสดุทางประติมากรรม กลายร่างสูร่ ะบบการแปลงสัญญาณภาพมาสูจ่ อ โทรทัศน์ ซึ่งก�ำลังเป็นเทคโนโลยีที่มีพลังดึงดูด อยู่ในวิถีชีวิตของผู้คนยุคนั้นเป็นอย่างสูง ท�ำให้ ทศวรรษนีส้ อื่ วิดโี อได้ลงหลักปักฐานในงานศิลปะ issue 12 baccazine

Mol_G502_P.16-19.indd 17

1 7

22/10/2558 19:04


อย่างถาวร และพัฒนาไปสู่สื่อภาพเคลื่อนไหว อืน่ ๆ จนถึงปัจจุบนั ยุค 1960 เป็นต้นมาขบวนการคอนเซ็ปชวล อาร์ต (Conceptual Art) คือแรงดันส�ำคัญที่ ท�ำให้ศลิ ปินออกไปแสวงหาสือ่ ใหม่ๆ ทีต่ อบสนอง ความคิด รวมไปถึงการสร้างสุนทรียะใหม่จากสือ่ ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครือ่ งมือ ระบบโรงงานและ วิธีการผลิตงานศิลปะที่ไม่จ�ำเป็นต้องใช้มือของ ศิลปินสร้างขึน้ เองกลายเป็นสิง่ ปกติ แดน เฟลวิน (Dan Flavin) ศิลปินกลุม่ มินมิ ลั อาร์ต (Minimal Art) ที่น�ำหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์จากโรงงาน มาสร้างเป็นงานศิลปะคือตัวอย่างที่เห็นได้ชัด และเมื่อเข้าสู่ยุค 1990 ทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อน อยู่ในสังคมก็สามารถกลายเป็นศิลปะได้ทงั้ สิน้ การถือก�ำเนิดของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อินเทอร์เน็ต และภาพระบบดิจิทัลท�ำให้เกิด ผลงานแนวใหม่ ศิลปินทั้งกลุ่มและเดี่ยวสร้าง เว็บไซต์ขึ้นเพื่อสื่อความคิด และแทรกแซงโลก ออนไลน์ ใ นสื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ ทั้ ง ประท้ ว ง

รัฐบาลและสร้างประสบการณ์ใหม่แก่ผู้ชม เกม คอมพิวเตอร์ถกู ออกแบบมาเพือ่ ให้คนเล่นมีสว่ น ร่วมกับประสบการณ์และจินตนาการส่วนตัวของ ศิลปิน การท�ำงานศิลปะที่ ใช้ฐานความรู้จาก วิศวกรรมของสื่อสารสนเทศกลายเป็นหมัดเด็ด ที่เปลี่ยนโลกยุคปลายศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ สื่อภาพถ่าย ภาพยนตร์ และภาพเคลื่อนไหวใน ลักษณะอื่นๆ ยังทั้งถูกสร้างขึ้นใหม่และถูกหยิบ ยืมมาจากสื่อต่างๆ ผ่านความคิดของศิลปิน รอยต่อของศตวรรษที่ 20-21 จึงเป็นสังคมแห่ง ข่าวสารที่เชื่อมโลกทั้งโลกเข้าด้วยกัน ศิลปินที่ ถนัดเทคโนโลยีชนิดนี้จึงกระโดดเข้าใส่ผลผลิต ที่จะก่อกวนและสร้างปฏิกิริยาการรับรู้ใหม่ๆ การก�ำเนิดกลุม่ Net.Art โดยศิลปินวุก โจสิช (Vuk Ćosić) ในช่วงกลางทศวรรษ 1990 คือ หมุดหมายทีส่ ำ� คัญของวงการศิลปะร่วมสมัย ซึง่ เคลื่อนไปสู่พื้นที่อีกรูปแบบหนึ่งที่ไม่ใช่มิวเซียม หรือแกลเลอรีอ่ กี แล้ว งานศิลปะสามารถเชือ่ มโยงไปสู่โลกของไซเบอร์สเปซ ศิลปินแฮกเข้าไป

ในฐานข้อมูลของตลาดหุ้น บริษัทขนาดใหญ่ หรือ หน่วยงานรัฐบาล ผู้คนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับ เกมออนไลน์ สืบค้นเข้าไปในพื้นที่ของเว็บไซต์ที่ ศิลปินสร้างไว้เพือ่ เล่น ดู หรือฟังภายใต้บริบทของ งานศิลปะร่วมสมัย ส่วนในแกลเลอรี่หรือมิวเซียม นั้นเล่า ภาพถ่ายจากกล้องฟิล์มหรือภาพถ่ายจาก กล้องดิจทิ ลั ทีพ่ มิ พ์ออกมาด้วยความละเอียดสูงสุด ภาพยนตร์ทฉี่ ายผ่านโปรเจ็กเตอร์ดว้ ยความคมชัด ซึ่งถูกผลิต ตัดต่อ ย้อมสีด้วยกรรมวิธีทางดิจิทัล ดนตรีแนวใหม่ ซาวนด์อาร์ต และแอนิเมชั่น ได้ กลายเป็นสื่อส�ำคัญของงานศิลปะจากยุคนี้ที่ก้าว มาสู่ยุคปัจจุบัน ถึงแม้สื่อจิตรกรรมประติมากรรมที่ ใช้มือของ จิตรกรและประติมากรเป็นผู้สร้างจะยังคงอยู่ใน ปัจจุบัน แต่อ�ำนาจของเทคโนโลยีก็ยังคงเคลื่อน ผสมปนเปไปกับงานศิลปะอย่างแยกไม่ออก ศิลปิน ในฐานะนั ก คิ ด ที่ ท� ำ งานเหมื อ นกั บ โปรดิ ว เซอร์ โปรแกรมเมอร์ แฮกเกอร์ ช่างภาพ ผู้กำ� กับ หรือ แม้แต่นักแสดงก็มีบทบาทส�ำคัญไม่แพ้กัน

Dan Flavin

18

baccazine issue 12

Mol_G502_P.16-19.indd 18

22/10/2558 19:05


world of art

Vuk Ćosić

ART AND TECHNOLOGY Art and technology have had a lovehate relationship throughout human history, but technology’s influence on the art world has become increasingly important, especially after the 20th century. Many modern art movements which flowered during that time, such as Cubism and Futurism, were inspired by new technology and the changing of contemporary society. But these styles mainly used technology as inspiration, classical techniques such as painting or sculpting were still the main tools used to produce art pieces. It was not until after World War I that the Dadaism movement developed new ideas about the arts and utilised new media and readymade objects to express their anti-art and political views, which also had a big

influence on later art movements. In the late 1950s, technology played a bigger part in Pop Art and Neo Dada movements which applied new technology and media from advertisements, magazines, and billboards to mass objects in their works. In the 1960s more modern artists embraced technology as a key part of their work, for example, an AmericanKorean artist Nam June Paik was one of the first to use video and television in his art installations, and the idea was later developed into other forms. During the 1960s, the emergence of Conceptual Art movement drove artists to seek new ways to reflect their ideas or create new aesthetic beauty from media and technology. The new concept that art pieces are not limited only to what artists have made by hand

broadened the ideas and ways of working for the artist and, after the 1990s, the division between art and technology was blurred to the point of almost disappearing and anything in society could become art. The invention of the personal computer and the internet also helped to initiate new kinds of art forms. Many artists created websites to reflect their ideas, showcase their works, or create a new experience for the audience. The IT technology changed the face of the world in the late 20th century and has linked and shrunk the world, creating a new space for artists. Galleries or museums are no longer the only places to display artists’ works, cyberspace allows the audience to search for a wide variety of art styles and even interact with them.• issue 12 baccazine

Mol_G502_P.16-19.indd 19

1 9

22/10/2558 17:37


world artist GERMANY

ANSELM REYLE COLUMNIST : PROF. WUTIGORN KONGKA

ศิลปะในศตวรรษที่ 21 ท่ามกลางเทคโนโลยีทย ี่ งั คงก้าวหน้าไม่หยุด นวัตกรรม วัตถุ อุปกรณ์ ใหม่ๆ เกิดขึน ้ เพือ่ พัฒนาชีวต ิ มนุษย์ รวมถึงโลกแห่งการสือ่ สารซึง่ แต่ละบุคคลสามารถเชือ่ มโยงข้อมูลระหว่างกันและกันได้งา่ ยดายด้วยสิง่ ประดิษฐ์ทถ ี่ ก ู คิดขึน ้ เพือ่ ตอบรับกับฟังก์ชน ั่ ทาง กายภาพ สิง่ เหล่านีก ้ ลายเป็นแรงผลักดันส�ำคัญให้ศลิ ปินร่วมสมัยได้ใช้ประโยชน์จากผลกระทบ ดังกล่าว และเมือ ่ เดินมาถึงจุดทีศ ่ ลิ ปินจะท�ำอะไรก็ได้ไม่วา่ ด้วยสือ ่ ชนิดใดก็ตาม ทัง้ จิตรกรรม สีนำ�้ มันแบบโบราณทีถ ่ ก ู น�ำมาเชือ่ มโยงกับบริบทใหม่ในปัจจุบน ั หรือประติมากรรมทีม ่ ก ี ารใช้ วัตถุใหม่ๆ ทัง้ สิง่ ประดิษฐ์สำ� เร็จรูปจากโรงงานหรือทีถ ่ ก ู สร้างขึน ้ ใหม่ดว้ ยระบบอุตสาหกรรม รวมไปถึงงานศิลปะทีใ่ ช้สอ ื่ ภาพถ่าย ภาพยนตร์ แอนิเมชัน ่ คอมพิวเตอร์อาร์ต วิดโี ออาร์ต มูฟวิ่งอิมเมจ ต่างพุ่งไปสู่ระบบดิจิทัลที่สมบูรณ์แบบแห่งยุค เพื่อสื่อสารกับคนยุคนี้ที่มี พฤติกรรมผูกพันกับสิ่งประดิษฐ์ที่พวกเขาเคยคุ้น แม้กระทั่งการรุกคืบไปถึงโลกของไซเบอร์สเปซ อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ เกมออนไลน์ ก็ยังกลายเป็นช่องทางที่ศิลปินเข้าไปสร้าง แรงกระเพือ ่ ม กระตุน ้ ปฏิกริ ย ิ า ก่อกวน แทรกแซง หรือกระทัง่ การดึงคนดูเข้าไปมีสว่ นร่วม ในปฏิบัติการดังกล่าว นั่นแปลว่าศิลปะร่วมสมัยหลายต่อหลายชิ้นแนบแน่นไปกับโลกแห่ง นวัตกรรมจากเทคโนโลยี และซึมซาบอยูใ่ นสือ ่ ต่างๆ อย่างน่าตืน ่ ตาตืน ่ ใจ

อันเซล์ม ไรย์เลอ (Anselm Reyle) คือศิลปิน รุน่ ใหม่ เขาเกิดเมือ่ ปี 1970 ในเยอรมนี ปัจจุบนั ท�ำงานและใช้ชีวิตอยู่ ในกรุงเบอร์ลิน ไรย์เลอ ท�ำงานด้วยสือ่ จิตรกรรมและประติมากรรม และ ถึงแม้จะยังคงยึดมั่นในการท�ำงานศิลปะผ่าน รูปแบบที่เน้นความเป็นตัววัตถุในผลงานเพื่อให้ คนดูจ้องมอง ซึ่งปรากฏอยู่ ในขนบศิลปะสมัย ใหม่ (Modern Art) ทีถ่ กู สร้างแนวทางมาตัง้ แต่ ปลายศตวรรษที่ 19 เข้าสูค่ รึง่ แรกของศตวรรษ ที่ 20 ทว่าความเก่าแก่ในระเบียบแบบแผนของ สุนทรียศาสตร์แนวศิลปะสมัยใหม่ในงานของเขา กลับถูกแทนทีด่ ว้ ยวัสดุอปุ กรณ์แห่งศตวรรษที่ 21 วัสดุนานาชนิดในผลงานของไรย์เลอคือสารพัด ของใกล้ตัว ตั้งแต่แผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์วาววับ ซึง่ ถูกใช้ประโยชน์หลายรูปแบบในชีวติ ประจ�ำวัน เช่น เป็นกระดาษห่อของขวัญ ไปจนถึงหลอดไฟ สีแสบสันตามเทศกาลต่างๆ ทีถ่ กู ดัดให้เป็นรูปร่างที่เขาต้องการ วัตถุส�ำเร็จรูปสารพัดชนิดถูก น�ำมาจัดวางใหม่ เปลีย่ นแปลงรูปลักษณ์ทงั้ ด้วย การหักให้ยับ เคลือบสี หรือผสมผสานหลาก หลายวิธลี งไป เช่น การวาด สะบัดสี หรือปล่อย สีให้ไหล หลายครั้งเขาท�ำงานประติมากรรมใน 20

รูปแบบ Formalist ทีโ่ ชว์ความโค้งมนกลมกลืนใน แบบงานศิลปะสมัยใหม่ ทว่าย้อมสีอย่างแสบร้อน วาววับเหมือนกับออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรม ไรย์เลอใช้รูปแบบนามธรรม (Abstract) และ ดาดา (Dada) ซึ่ ง เป็ น ขบวนการส� ำ คั ญ ของ ประวัติศาสตร์ศิลป์มาตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 20 และใช้สไตล์นามธรรมจากยุค 1940-1950 อย่าง Abstract Expressionism และ Minimal แห่ง ยุค 1960 น�ำมาสร้างใหม่อีกครั้ง เราจึงเห็น วิญญาณแห่งประวัติศาสตร์ศิลป์ที่ขรึมขลังก่อ ตัวใหม่ในรูปลักษณ์ทสี่ ดแสบ ทัง้ ศิลปินอย่างฮันส์ อาร์ป (Hans Arp) และมาร์เซล ดูชอง (Marcel Duchamp) แห่งขบวนการดาดา และแจ็กสัน พอลล็อก (Jackson Pollock) จากส�ำนักนิวยอร์ก เจ้าแห่งศิลปะนามธรรมยุค 1950 ล้วนถูกไรย์เลอ อ้างอิงถึงผ่านผลงานของเขา อย่างไรก็ตามการแสดงความหลงใหลของ ไรย์เลอในงานแห่งอดีตที่ปลุกเร้าให้คนดูไปสู่ ประสบการณ์ใหม่ผ่านวัสดุสารพัดกลับท�ำให้ ก่อเกิดสุนทรียะแบบใหม่ ในรูปรอยของงานใน แนวทางหลังสมัยใหม่ (Post Modern) และใคร เลยจะคิดว่าวัสดุทปี่ รากฏคาแรกเตอร์หลากหลาย

ประโยชน์ใช้สอยในชีวติ ประจ�ำวันจนมีอตั ลักษณ์ อย่างชัดเจนในวินโดว์ดิสเพลย์ตามห้างสรรพสินค้า หรือวัสดุตามเทศกาลงานรืน่ เริงต่างๆ อัน เป็นสิ่งที่ด้อยค่าราคาถูกเมื่อเทียบกับความเป็น งานศิลปะที่สูงส่งอยู่ในมิวเซียม จะสามารถน�ำ มาผสมผสานกับรูปทรงแห่งนามธรรมทางศิลปะ ได้อย่างน่าตืน่ เต้น วิถีทางการสร้างกลยุทธ์ของขบวนการคิด แบบหลังสมัยใหม่ได้เปิดช่องให้ไรย์เลอเข้าไป จัดการปรับรือ้ ผลงานซึง่ มีสนุ ทรียศาสตร์ทชี่ ดั เจน อยู่ ในระบบระเบียบกฎเกณฑ์ และเด่นชัดใน ประวัติศาสตร์ศิลป์ ด้วยกระบวนการถอดรื้อ เทคนิควิธกี ารดัง้ เดิม เช่น การใช้สอื่ สีนำ�้ มันบน ผ้าใบในงานจิตรกรรม หรือสื่อบรอนซ์ในงาน ประติมากรรมที่มีสีสันเคร่งขรึมมืดขลัง แล้ว แทนที่และสวมรอยเข้าไปด้วยฟอยล์ หลอดไฟ หรือสีสะท้อนแสงแสบเปรีย้ งสว่างสดเจิดจ้า ผล คือความเก่ากับความใหม่รวมกันได้อย่างน่า ตื่นตา และน�ำพาผู้ชมไปสู่อีกฟากฝั่งหนึ่งของ สุนทรียศาสตร์แบบ Formalist ซึง่ ถือว่าแทบจะ เป็นขนบโบราณของศิลปะไปแล้ว คงไม่แปลกนักถ้าจะบอกว่าโลกใหม่ก�ำลัง

baccazine issue 12

Mol_G502_P.20-21.indd 20

22/10/2558 19:06


กลืนกินโลกเก่า แต่ ไ รย์ เ ลอก็ ใ ห้ เ กี ย รติ แ ละ ยกย่องคุณค่าของประวัติศาสตร์ศิลป์ หรือไม่ ก็หยิบยืมความเก่ามาสร้างความรู้สึกใหม่อย่าง สนุกสนาน เพราะประวัติศาสตร์ไม่ได้มี ไว้อยู่ บนหิ้งเพื่อรอการวิจัยค้นหารากเหง้าต้นตอของ สรรพสิ่ง แต่ประวัติศาสตร์สามารถลงมาสร้าง บริบทอีกลักษณะหนึ่งให้กับสังคมปัจจุบันด้วย การตีความใหม่ได้ตลอดเวลา ตราบใดที่มนุษย์ ยังมีจนิ ตนาการ มีเทคโนโลยี นวัตกรรม อุปกรณ์ สิง่ ประดิษฐ์ การสือ่ สารแบบใหม่ โดยทีอ่ กี ฟากฝัง่ ของงานศิลปะจะยังคงกว้างไกล ปลายเปิด และ ห่างออกไปให้สบื ค้นถึงความเป็นไปได้ทจี่ ะพาคน ดูไปสูโ่ ลกแห่งอุดมคติอกี รูปแบบหนึง่ และไรย์เลอก็ทำ� ส�ำเร็จ เขาเป็นศิลปินที่ได้รบั การยอมรับ ในระดับโลก ทีน่ ำ� อุดมคติแห่งสุนทรียศาสตร์มา ผนวกกับโลกของวัตถุได้อย่างสั่นสะเทือนโลก ของศิลปะร่วมสมัย นั่นพิสูจน์ได้ว่า กฎเกณฑ์ ทางความงามสามารถถูกปรับเปลี่ยนได้อย่าง แนบเนียนและก่อเกิดจินตนาการเผ่าพันธุ์ใหม่ ได้อย่างน่าติดตาม และทรงเสน่ห์เพียงพอที่จะ สร้างคุณค่าคูค่ วรกับประวัตศิ าสตร์ศลิ ป์หน้าใหม่ ทีจ่ ะปูทางให้แก่องค์ความรูใ้ นอนาคต

ANSELM REYLE Anselm Reyle is a German artist, born in 1970, and now based in Berlin. In many circles he is considered one of the most important young artists dealing with abstraction and formalism. Reyle uses various types of media, utilising painting, sculpture and installation. Characteristics of his works are various found objects that have been removed from their original context, altered visually and then placed in a divergent setting. He uses a vast and diverse group of materials taken from both traditional art and commercial milieus including wrapping papers, coloured foils, neon lights, or everyday objects taken from urban areas. While he is well known for his use of unusual materials and physical alterations, Reyle’s work is grounded in the historical school of abstraction dating from the early 20th century, including Abstract

Expressionism, Dada, and Minimalism. While Reyle often works within the tradition of found objects he does not rely on appropriation, but uses his highly refined aesthetic vocabulary to question the role excess plays in the postmodern market by collapsing and mixing these various traditions in unexpected ways. Indeed, by exploiting both historic languages and alongside enhancing his understanding of new industrial practices and mass production methods he is able to channel the countless dead ends of modernity.

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.20-21.indd 21

2 1

22/10/2558 17:36


in the mood of art

นามธรรม: สัจจะแห่งศิลปะ COLUMNIST : WARAPORN PHOTO : ANUCHIT

แม้จะเป็นผู้มีทักษะฝีมือทางเชิงช่างสูงมากคนหนึ่ง แต่ศาสตราจารย์เกียรติคุณ อิทธิพล ตั้งโฉลก กลับหลีกหนีแนวทางอันเชี่ยวช�ำนาญนั้น ไม่ใช่เพราะต้องการให้ ได้ชื่อว่าท�ำตามกระแสนิยมในยุคนั้นหรือมีอิสระในการสร้างสรรค์ หากแต่อาจารย์ อิทธิพลมีความเชือ่ มัน ่ ศรัทธาต่อศิลปะแนวนามธรรมทีท ่ ำ� อยูว่ า่ งานนามธรรมเป็นวิถี ทีจ่ ะน�ำไปสูก ่ ารแสดงออกถึง “ประสบการณ์ทางสุนทรียภาพแห่งสัจจะของจักรวาล” ในวันที่มีโอกาสได้นั่งสนทนากัน อาจารย์ยังคงตอบอย่างมุ่งมั่นและชัดเจนว่า “ศิลปะนามธรรมได้ผลส�ำหรับผม” ผลงานศิลปะเกือบ 100 ชิน ้ ตัง้ แต่สมัยเรียนมาจนถึงปัจจุบน ั อีกทัง้ ชิน ้ ทีย ่ งั ไม่เคย จัดแสดงมาก่อน ถูกน�ำมาจัดแสดงในนิทรรศการ “นามธรรม: สัจจะแห่งศิลปะ” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ให้ได้ชมกันอย่างอิม ่ ใจ และเป็นแหล่งศึกษา ผลงาน แนวคิด ตลอดจนเทคนิคต่างๆ ที่อาจารย์นำ� มาใช้อย่างมีนัยส�ำคัญ “ความส�ำเร็จเกิดจากการท�ำงานโดยไม่ยอมเลิก ในขณะที่คนอื่นเลิกไปแล้ว ผม อยากให้ศิลปินรุ่นใหม่คิดได้อย่างนี้ แล้วคุณจะไม่มีวันแพ้แน่นอน” คือบางบทตอนที่ ติดอยู่บนผนังในนิทรรศการครั้งนี้ นี่อาจเป็นสิ่งที่ทำ� ให้ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลกชัดเจน มุ่งมั่น และ หยัดยืนบนเส้นทางสร้างสรรค์ผลงานแนวนามธรรมมาตลอดระยะเวลา 50 ปี สร้างสรรค์ผลงาน: นามธรรม

“ผมมีโอกาสได้ทดลองทัง้ เรือ่ งราว รูปแบบ เทคนิคสารพัดชนิดในวิชาองค์ประกอบ ศิลป์ ซึง่ สืบทอดมาตัง้ แต่สมัยอาจารย์ศลิ ป์ พีระศรี ท่านจะให้โจทย์มาสามครัง้ ครัง้ ที่ สีป่ ล่อยให้ทำ� งานตามอิสระ ซึง่ นักศึกษาทุกคนชอบมาก คือได้ทำ� อะไรทีต่ วั เองอยากท�ำ อยากจะสมัยใหม่ อยากท�ำคิวบิสม์ เซอเรียลิสต์ หรือนามธรรมก็ทำ� ได้ วิชานี้ได้ทดลอง เยอะ สุดท้ายผมพบว่านามธรรมน่าจะเหมาะกับตัวเอง บ้านเราศิลปะแนวนามธรรม เป็นกระแสใหม่ที่เพิ่งเริ่มไม่กี่ปี มาถึงรุ่นผมอยู่ในกระแสที่ก�ำลังแรง ซึ่งตรงนี้ไม่ใช่ เรือ่ งส�ำคัญ อาจารย์หลายท่านบอกว่าถ้าผมไปวาดรูปธรรมแบบเหมือนจริงจะดังกว่านี้ เพราะฝีมอื ของผมเขียนแบบเหมือนจริงได้ดี ซึง่ ในนิทรรศการนามธรรม: สัจจะศิลปะ ผมน�ำงานวาดเส้นสมัยเรียนปี 1 ถึงปี 3 มาแสดงด้วย เพือ่ ให้เห็นพืน้ ฐานว่าไม่ใช่เพราะ ผมหนีหรือท�ำไม่เป็น แต่ผมท�ำงานนามธรรมเพราะอยากท�ำ เนือ่ งจากมีอสิ ระ มีความ เป็นสากลมากกว่า และสามารถแสดงในสิง่ ทีล่ กึ กว่าสิง่ ทีต่ าเห็น ซึง่ ผมคิดว่าเหมาะกับ ตัวเองมาก เลยท�ำงานแนวนามธรรมตัง้ แต่ยคุ แรกจนถึงปัจจุบนั

22

baccazine issue 12

Mol_G502_P.22-29.indd 22

22/10/2558 17:35


issue 12 baccazine

Mol_G502_P.22-29.indd 23

2 3

22/10/2558 17:35


24

baccazine issue 12

Mol_G502_P.22-29.indd 24

22/10/2558 17:35


in the mood of art

“นามธรรมของผมมีหลายลักษณะ คือไม่ใช่ แบบสาดสี เทสี ราดสีอะไรแบบนั้น แต่จะมี เทคนิคและแนวคิดเฉพาะที่แตกต่างกันไป ทุก ครั้ ง ที่ ผ มแสดงงานจะมี ชื่ อ นิ ท รรศการที่ เ ป็ น แนวคิดเฉพาะในแต่ละครัง้ ผมมีแนวคิดหลักคือ คูต่ รงกันข้ามครอบคลุมทุกครัง้ ตลอดชีวติ ซึง่ ผม พบโดยบังเอิญสมัยเรียนปี 4 ปี 5 ตอนเรียนภาพพิมพ์อาจารย์ปล่อยให้ทำ� งานอย่างอิสระ ก็ได้ลอง ท�ำ สังเกตดูผมจะท�ำแบบอิสระ จิตรกรรมจะใช้ ฝีแปรงแบบอิสระมาก เสร็จแล้วก็เริม่ เอาเส้นตรง ความเป็นระเบียบ ความเรียบแบนผสานเข้าไป เส้นตรงและเรขาคณิตจะเพิ่มขึ้นทุกครั้ง อย่าง ท�ำภาพพิมพ์หิน (Lithography) ท�ำภาพพิมพ์ แกะไม้ (Woodcut) หรือท�ำอะไรก็ตามจะเริ่ม จากความอิสระ เมื่อมีความวุ่นวายสับสนก็จัด ระเบียบขึ้นมาจนกระทั่งมันนิ่ง ก็ต้องถอยกลับ ซึง่ จะแกว่งไปแกว่งมาเป็นสองขัว้ จนถึงปัจจุบนั นี้ อย่างชุดทีแ่ กว่งแรงก็คอื ชุด ‘สีสนั แห่งแสง’ เป็น เรื่องความเคลื่อนไหว ความวุ่นวาย ส่วนใหญ่ จะเป็นเรขาคณิต เพราะเรขาคณิตเป็นระเบียบ นิง่ ไม่เคลือ่ นไหว อย่างชุดสุดท้าย ‘การเดินทาง ของเส้นพาร์กนิ สัน’ ก็เป็นเรือ่ งของความวุน่ วาย ยุง่ เหยิง ส่วนตัวผมก็มนี สิ ยั แบบนี้ คือบางทีชอบ อิสระ สบายๆ แต่ถา้ อิสระมากก็ทนไม่ไหว ต้อง จัดระเบียบ เวลาท�ำงานก็ออกมาเป็นอย่างนี้ “ในงานทัศนศิลป์ไม่วา่ ของใครจะมีเรือ่ งราว นิดเดียว อย่างงานของวินเซนต์ แวน โก๊ะทีป่ ระมูล ได้ราคาเป็นพันล้านคือดอกทานตะวันอยู่ในแจกัน เรือ่ งมีแค่นนั้ แล้วเรือ่ งนีด้ กี ว่าเรือ่ งอืน่ ยังไง รูแ้ ล้ว ได้อะไรขึน้ มา จริงๆ มันเป็นเรือ่ งของความรูส้ กึ โดยเฉพาะนามธรรมนัน้ เป็นภาษาภาพ เช่นเดียว กับภาษาเสียงคือเพลงคีตศิลป์ ซึ่งคีตศิลป์เป็น นามธรรมอย่างทีส่ ดุ ยิง่ กว่าภาพเสียอีก เพราะว่า ไม่เห็นเลย เป็นเสียงสูงๆ ต�ำ่ ๆ เสียงอะไรก็ไม่รู้ ไม่มเี สียงธรรมชาติหรือเสียงของจริงเลยนะ บาง เพลงพยายามเอาเสียงนกร้อง เสียงน�ำ้ ตกเข้าไป ผสมนิดหน่อย เรียกว่าไม่มีเรื่องราวอย่างที่สุด เลย จะรูเ้ รือ่ งจากเพลงบรรเลงได้กร็ จู้ ากชือ่ ของ เพลงนิดเดียว เหมือนกับภาพเขียน บางทีไปดูชอื่ ถึงพอจะสือ่ ให้เห็นเค้าโครงอะไรได้บา้ ง แต่จริงๆ เวลาดูก็เหมือนฟังเพลง คือต้องดูเอาความรู้สึก มากกว่าเอาเรือ่ ง เพราะเรือ่ งมีนดิ เดียว ถ้าเทียบ กับวรรณกรรม ภาพยนตร์ หรือละครทีเ่ ล่าได้ยาว มาก แต่ภาพเขียน ภาพนิง่ ภาพเดียวเล่าอะไรไม่ ได้เท่าไหร่ ฉะนัน้ สิง่ ส�ำคัญคือความงาม อารมณ์ ความรูส้ กึ เรือ่ งราว ความหมาย ความเป็นจริง ในศิลปะนั้นไม่ใช่ความเป็นจริงแบบจ�ำลองโลก

เหมือนจริง แต่คือความเป็นจริงที่ผ่านตัวศิลปิน เรื่องศาสนาพุทธละเอียดลึกซึ้งขึ้น จึงน�ำมาคิด เป็นปรมัตถสัจจะทีศ่ ลิ ปินเข้าถึง” เปรียบเปรยกับการท�ำงานศิลปะ ในทางศิลปะผม พยายามจะลดให้งา่ ยอยูแ่ ล้ว เหมือนทางศาสนา แนวคิดหลัก: คูต ่ รงกันข้าม ทีต่ อ้ งการให้ลดกิเลส ถ้าเราลดกิเลสเราก็จะพ้น “แนวคิดหลักของผมที่ครอบคลุมอยู่ตลอด ทุกข์ จริงๆ ศิลปินท�ำงานศิลปะเพราะมีกิเลส คือคูต่ รงกันข้าม โดยแต่ละชุดจะมีคตู่ รงกันข้าม แปลว่ายังมีความอยากอยู่ ส�ำหรับผมพยายาม ทีแ่ ตกต่างกันไป เช่น ระเบียบกฎเกณฑ์กบั อิสระ ลดตัง้ แต่เรือ่ งราว ความหมาย รูปแบบทีย่ งุ่ ยาก ความนิง่ กับความเคลือ่ นไหว แสงกับเงา เป็นต้น ซับซ้อน วิธกี ารจัดองค์ประกอบ อย่างทัศนธาตุ อย่างชุด ‘สีสันแห่งแสง’ ที่สร้างขึ้นระหว่างปี ก็ลดให้เหลือจริงน้อยทีส่ ดุ สุดท้ายเหลือเพียงจุด 2541-2543 ได้รับแรงบันดาลใจจากการนั่งอยู่ ลดจุดเลยก็ไม่มอี ะไรแล้ว หรือในบางครัง้ ผมก็มี ใต้ต้นไม้ มองเห็นเงาย้อนแสงสวยดีก็เกิดความ แนวคิดซ้อนสัจจะของจิตรกรรม คือเอาเรือ่ งข้าง คิดขึน้ มา คูต่ รงกันข้ามคือแสงกับเงา ปกติเวลา ในที่ไม่มอี ะไรเลย หรือกรอบรูปของจิตรกรรมมา เขียนต้นไม้ ใบไม้ ทิวทัศน์ เราต้องให้ความส�ำคัญ เป็นตัวสัญญะ เป็นเครื่องหมายสัญลักษณ์ของ กับรายละเอียดของใบไม้ให้มีความสวยงาม มี จิตรกรรม ถ้าเราดูกรอบรูปโบราณของยุโรปหรือ ชีวติ แต่ผมใช้วธิ อี นั หลากหลายในการเลือกสรร ของตะวันตกนี่ โอ้โห กรอบเขางดงามอลังการ ดัดแปลง ตัด และลดทอนสิง่ ที่ไม่ใช่สาระส�ำคัญ ใหญ่โตสวยงาม ด้วยเจตนาต้องการแบ่งแยก ออก คือเลือกสรรเฉพาะรูปทรงของต้นไม้ ใบไม้ ระหว่างโลกศิลปะกับโลกภายนอกออกจากกัน ดอกไม้เพียงบางชนิด และเน้นขยายเพียงบาง เหมือนกับบอกคนดูเป็นนัยว่าอันนีม้ มี ลู ค่าสูง มือ ส่วนให้มีขนาดใหญ่กว่าจริงหลายเท่า การตัด อย่าแตะ ทัง้ นีผ้ มเห็นว่ากรอบเป็นตัวสัญลักษณ์ และลดทอนรายละเอียดต่างๆ ภายในรูปทรงให้ ส�ำคัญ แทนทีจ่ ะใส่กรอบแบบธรรมดาทัว่ ไปผมก็ เหลือเพียงความแบนราบและเรียบง่าย คนดูจะ ไม่ใส่กรอบ ผมเอากรอบมาเป็นเรือ่ ง เป็นกรอบ เห็นเพียงเงาด�ำของรูปร่างภายนอกในลักษณะ ทีส่ ร้างขึน้ เอง บางทีกซ็ อ้ นกันสามกรอบ กรอบ ‘การมองย้อนแสง’ เท่านัน้ ทัง้ นีเ้ พือ่ บอกความ- เดียวแต่ไว้ตรงกลาง แล้วแทนทีจ่ ะมีภาพส�ำคัญก็ หมายอย่างง่าย ตรง และชัดแจ้งที่สุดถึงสาระ เหลือเพียงจุดด�ำๆ อยูข่ า้ งใน คือเหลือให้นอ้ ยทีส่ ดุ ส�ำคัญในผลงานนั่นคือเรื่องของ ‘แสง’ แต่การ วิธลี ดให้นอ้ ยนีจ้ ะคล้ายกับมินมิ ลั อาร์ตของตะวันแสดงให้เห็นประจักษ์ถงึ เรือ่ งของแสงได้กต็ อ้ งมีคู่ ตก แต่ตรงกันข้ามตรงทีผ่ มเน้นเรือ่ งจิต แต่ทาง ตรงกันข้าม คือรูปทรงทีม่ ลี กั ษณะเป็นเงาด�ำเป็น ตะวันตกเขาเน้นเรือ่ งวัตถุ แฟรงก์ สเตลลาบอก ตัวเปรียบเทียบ เช่นเดียวกับรูปทรงทีต่ อ้ งปรากฏ ไว้วา่ สิง่ ทีค่ ณ ุ เห็นคือสิง่ ทีค่ ณ ุ ได้รบั หมายความ คูอ่ ยูก่ บั พืน้ ทีว่ า่ งเสมอ ว่าคุณเห็นอะไร คุณได้รบั สิง่ นัน้ ไป ไม่ตอ้ งคิดถึง “ส่วนนิทรรศการชุด ‘วัตถุแห่งจิต’ วัตถุก็ เรือ่ งปรัชญา แนวคิด ความหมายอะไรทัง้ สิน้ มี คือจิตรกรรม เวลาท�ำผมก็เอาใจใส่ลงไปในงาน อยูแ่ ค่นนั้ อันนัน้ ก็เรียกน้อยทีส่ ดุ เหมือนกัน” คนมาดูงานก็จะได้รับสิ่งที่ผมสื่อลงไป ฉะนั้นจึง มีวัตถุกับจิตของผู้สร้างและจิตของผู้ดูเชื่อมโยง เทคนิคคือสิง่ ส�ำคัญในการสร้างสรรค์ผลงาน กัน แนวคิดวัตถุแห่งจิตมาจากการอ่านหนังสือเต๋า “ผมอยากท�ำงานให้เป็นวัตถุ ซึ่งจิตรกรรม แห่งฟิสกิ ส์ ทีฟ่ ริตจอฟ คาปราพูดถึงฟิสกิ ส์สมัย ธรรมดาจะมีการลวงตาคือใช้สี น�้ำหนัก เส้น ใหม่ว่าค้นพบความจริงที่ศาสดาตะวันออกค้น พืน้ ผิว เพือ่ ให้ดลู กึ เข้าไปเหมือนดูหน้าต่าง ดูรปู พบเมือ่ สองพันกว่าปีดว้ ยความจริงอย่างเดียวกัน ทิวทัศน์บนผนัง ดูให้ลกึ ถึงผนังเข้าไปเลย แต่ของ คือทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีอะไรคงที่ ไม่มีอะไรจีรัง ผมจะท�ำให้แบน มีสองมิติ เพราะต้องการให้เห็น ยัง่ ยืน ต้องเปลีย่ นแปลง อย่างก้อนหินทีเ่ ราเห็น เป็นวัตถุ คือเป็นแผ่นแบนๆ ผมใช้กระเบือ้ งยาง ถ้าสามารถขยายรายละเอียดข้างในได้ก็จะเห็น ใช้แผ่นฟอร์ไมกาบ้างเพื่อแสดงความเป็นวัตถุ ความเคลือ่ นไหว ไม่ใช่วตั ถุทอี่ ยูค่ งที่ มันคงสภาพ อย่างจุดหรือเส้นก็ไม่ใช้สี แต่ใช้วิธีเจาะ ขูดให้ เดิมอยูช่ วั่ คราวเท่านัน้ ทุกสิง่ ทุกอย่างต้องเปลีย่ น ลึกลงไป ใช้วธิ ปี าดสีลงไปในร่องเพือ่ ให้เห็นความ เหมือนทีท่ า่ นพุทธทาสกล่าวไว้วา่ ไม่มอี ะไรจีรงั เปลีย่ นแปลงของวัตถุ ทุกอย่างเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา “เทคนิคเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับผม เพราะผม “ในชุดวัตถุแห่งจิตนี้เรื่องจุดเรื่องเส้นของ เรียนภาพพิมพ์ และรู้ว่าเทคนิคและเครื่องมือ ผมมาจากความคิดแบบพุทธ ผมไปฝึกวิปัสสนา แต่ละอย่างเป็นสิง่ ส�ำคัญ เช่น ถ้าต้องการให้เป็น มาสองครั้ง ครั้งละแปดวัน ท�ำให้เกิดความรู้ใน วัตถุผมจะใช้ทงั้ เครือ่ งเจียร ใช้สว่านเจาะ ใช้คตั issue 12 baccazine

Mol_G502_P.22-29.indd 25

2 5

22/10/2558 17:35


เตอร์กรีด ใช้กระดาษทรายขัด เพือ่ ท�ำร่องรอย ท�ำพื้นผิวให้เป็นพื้นผิวจริง ไม่ใช่พื้นผิวลวงตา เพื่อแสดงความเป็นวัตถุ เวลาเลือกใช้เทคนิค ต้องอาศัยความช�ำนาญ อย่างชุด ‘น�้ำกับไฟ’ ถ้าให้ย้อนกลับไปผมก็ท�ำไม่ได้แล้ว เพราะเป็น เทคนิคเฉพาะ ทัง้ ใจทัง้ ความรูส้ กึ ก็ทำ� ไม่ได้ และ ต้องอาศัยท�ำต่อเนือ่ ง หมกมุน่ กับมัน พัฒนาไป เรื่อยๆ ฉะนั้นงานของผมถึงได้เปลี่ยนไปตลอด อย่างสีกม็ หี ลายประเภททัง้ ขรึมๆ ด�ำ ขาว หรือ อย่างภาพพิมพ์โดยธรรมชาติสจี ะน้อย เพราะท�ำ สียาก ถ้าท�ำสีแม่พมิ พ์ตอ้ งสีละเพลต ต้องแยก ออกมา ซึ่งซับซ้อนและยุ่งยากมาก ส่วนใหญ่ จึงท�ำสีนอ้ ยๆ กัน แต่เวลาท�ำจิตรกรรมบางทีใช้ สีค่อนข้างสด ฉะนั้นงานของผมจึงหลากหลาย ต้องดูเป็นชุด เป็นช่วง “ในเรือ่ งสีผมใช้สเี งินสีทองเป็นหลักมานาน พอสมควร เพราะมีความเป็นตะวันออก เวลาเรา ไปดูวดั วาอาราม ดูโบราณสถาน โบราณวัตถุ จะ เห็นสีเงินสีทองเยอะมาก งานผมเป็นสากล แต่ อาศัยสีทนี่ า่ จะสือ่ ถึงความเป็นตะวันออกได้ และ อาศัยลวดลาย แต่เป็นลวดลายทีค่ ดิ ขึน้ เอง ถ้า ไปดูจติ รกรรมประเพณีของเราจะไม่มที วี่ า่ งเลย นะ มีแต่ลายเต็มไปหมด ผมก็เริ่มท�ำลวดลาย เยอะๆ เส้นเยอะๆ และใช้สีเงินสีทองเป็นหลัก แต่พอท�ำได้พักหนึ่งก็เริ่มเบื่อ จึงเพิ่มจาก 2 สี เป็น 3-5 สี ตอนหลังสีเยอะมาก ไม่อย่างนัน้ มัน จะซ�ำ้ ตัวเอง “ถ้ า ดู ใ นเชิ ง รู ป แบบจะเห็ น ได้ ว ่ า ผมไม่ มี เอกลักษณ์ทเี่ ป็นสไตล์เฉพาะ จะเปลีย่ นไปเรือ่ ยๆ แต่ถ้ามองในเรื่องตัวตน บุคลิก นิสัย มองลึก กว่ารูปแบบ ก็จะเห็นได้ตงั้ แต่แนวคิดเรือ่ งคูต่ รง กันข้าม ซึง่ เห็นได้ตลอดในงานของผม เพียงแต่ มันต่างกัน อย่างนิง่ และเคลือ่ นไหว ทัศนธาตุที่ ส�ำคัญของผมคือเรื่องพื้นผิว ตั้งแต่ชุดก�ำแพง ประตู หน้าต่าง สิ่งเหล่านี้ก็มาจากสิ่งแวดล้อม รอบตัว พูดง่ายๆ คือผมเป็นคนเมือง เกิดและ เติบโตในกรุงเทพฯ สิ่งแวดล้อมที่ ใกล้ที่สุดคือ ตึกรามบ้านช่อง โดยเฉพาะตึกเก่าๆ ผมเดิน เขียนอยูแ่ ถวๆ นี้ ดรอว์อง้ิ ทีน่ ำ� มาจัดแสดงก็เพือ่ ให้คนรุ่นหลังเห็นว่าสิ่งส�ำคัญที่ขาดหายไปคือ อารมณ์ ความรู้สึก การวาดเส้นกลายเป็นการ ฝึกทักษะอย่างเดียว แต่จริงๆ มันเป็นการฝึก การแสดงออกด้วย เช่น เวลาแดดร้อนจัด เมือ่ ไปเขียนของจริงจะไม่ใช่เขียนตามทีต่ าเห็น แต่ ผิวหนังรู้สึกถึงความร้อน หูเราได้ยินเสียง เรา ต้องใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ห้าด้วย ผมจ�ำได้วา่ ครัง้ หนึง่ เคยไปนัง่ เขียนรูปทีเ่ จริญกรุง เสียงแตรรถ 26

เสียงคนด่ากัน กลิน่ ควันท่อไอเสีย แม้แต่แดดที่ ร้อน ฝุน่ ละออง ทุกอย่างผมบันทึกลงไปหมด เมือ่ ย้อนไปดูผมยังจ�ำได้วา่ ตอนนัน้ รูส้ กึ ยังไง แดดร้อน เปรีย้ งทีค่ ลองมหานาคซึง่ เดีย๋ วนี้ไม่มแี ล้ว อันนีค้ อื สิง่ ส�ำคัญของการวาดเส้นด้วย คือไม่ใช่ฝกึ ทักษะ เท่านัน้ เพราะทักษะเป็นเพียงส่วนหนึง่ แต่จริงๆ คือการแสดงออกของใจ ของความรู้สึก นี่คือ นามธรรม” ความส�ำเร็จเกิดจากการท�ำงานโดยไม่ยอมเลิก

“ผมท�ำงานแทบทุกวันจนถึงปัจจุบนั ว่างก็เข้า ห้องสตูดิโอเขียนรูปตลอด ถ้าอยู่บ้านเต็มวันก็ เขียนทัง้ วัน บางทีทำ� ถึงหนึง่ ทุม่ วันเสาร์-อาทิตย์ ก็เขียน ชีวิตผมแบ่งเป็นสามส่วน ส่วนหนึ่งคือ สอน ส่วนหนึง่ คือท�ำงานสร้างสรรค์ ส่วนหนึง่ คือ ครอบครัว สามส่วนนี้ต้องท�ำให้สมดุล ไม่อย่าง นั้นมันจะพัง ถ้าครอบครัวไม่มีความสุขเราก็อยู่ ไม่ได้ ผมโชคดีที่ภรรยาสนับสนุน ไม่เรียกร้อง จากผมมาก สมัยหนุ่มสาวเป็นอาจารย์ทั้งคู่ อยู่ ได้ดว้ ยเงินเดือนราชการซึง่ น้อยมาก ผมมีลกู สอง คน พอกินพออยู่ อาศัยบ้านพ่อตาอยูร่ ว่ มสิบปีจงึ อยูไ่ ด้ ถ้าบางคนเรียกร้องมาก อยากได้โน่นอยาก ได้นี่ เราก็คงต้องไปหาเงิน คงได้ท�ำศิลปะน้อย ลง แต่ทงั้ ลูกและภรรยาเข้าใจ จึงท�ำให้จติ ใจผม ไม่กงั วล ไม่วอกแวก มีสมาธิมงุ่ กับงานได้ จริงๆ ทีผ่ มพบความส�ำเร็จไม่ใช่เพราะว่าเป็นคนเก่งนะ แต่ผมเป็นคนขยัน “ถ้าพูดโดยส่วนรวมศิลปินไทยทีท่ ำ� งานตลอด ชีวติ มีนอ้ ยมาก อายุ 60-70 ปีมีไม่กคี่ น ส่วนใหญ่ เลิกท�ำงานศิลปะตัง้ แต่อายุ 30 ปีแล้ว หลายคน เก่งมากด้วย ผมสอนมาเกือบ 50 ปี ลูกศิษย์ หัวกะทิในแต่ละรุน่ ก็มมี ากมาย แต่เหลืออยูไ่ ม่กี่ คน มันน่าเสียดายตรงนี้ คือเลิกไปซะก่อนเพราะ ศิลปะขายไม่ได้ บ้านเรายังเข้าไม่ถงึ เท่าไหร่ ยัง คิดว่าปากท้องส�ำคัญกว่า หมายความว่าพัฒนา แต่ทางวัตถุ ทางจิตใจไม่ได้พัฒนา ซึ่งบางทีก็ จะสายเกินไป ถ้าเรามีหอศิลป์ที่เป็นพิพิธภัณฑ์ ขึ้นมาจริงๆ จะหางานเก่าๆ ไม่ได้เลย เพราะ กระจัดกระจายไปไหนแล้วไม่รู้ ทั้งๆ ที่เรามีคน เก่งเยอะมาก ผมเองอยากเป็นตัวอย่างว่าเรา อยากท�ำงานตลอดชีวิต และท�ำแบบเจาะลึก เข้าไปในสิง่ ทีจ่ ะท�ำให้ดที สี่ ดุ ไม่วอกแวก ไม่ออก ไปท�ำโน่นท�ำนี่หลายอย่าง อีกอย่างผมก็เป็นคน เก่งอยูอ่ ย่างเดียว ฉะนัน้ จึงไม่สามารถไปท�ำอย่าง อืน่ ได้ เลยมุง่ มาทางนีต้ งั้ แต่เด็ก ไม่ตอ้ งสงสัยว่า จะเรียนอะไร อยากเป็นอะไร รูแ้ ต่วา่ ชอบวาดรูป ว่างเมือ่ ไหร่กว็ าด

baccazine issue 12

Mol_G502_P.22-29.indd 26

22/10/2558 17:35


in the mood of art

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.22-29.indd 27

2 7

22/10/2558 17:35


“จริงๆ เปรียบเทียบกับคนทัว่ ไปผมก็ทำ� งาน หนัก เพราะเหมือนท�ำสองงานไปพร้อมกัน สอน หนังสือก็เต็มที่ แต่ไม่รู้สึกเหนื่อย เพราะเป็น สิ่งที่รัก อย่างปัจจุบันผมไม่ค่อยสบาย เข้าห้อง เขียนรูป ภรรยาก็บอกว่าต้องพักบ้าง แต่ผม บอกว่าเวลาเขียนรูปก็เท่ากับผมได้พัก สบายใจ เลยไม่เหนื่อย ถ้าทุกคนท�ำงานที่ตัวเองรักหรือ พยายามรักงานทีต่ วั เองท�ำก็จะท�ำงานได้ดี ค้นหา ความรักได้กจ็ ะก้าวหน้า ไม่ใช่เฉพาะศิลปะ ผม สังเกตเวลาไปญี่ปุ่น เท่าที่รู้จักคนญี่ปุ่น ที่เขา เจริญมากเพราะเขารักในงานกันทุกคน เป็นคน ท�ำก๋วยเตี๋ยวก็มุ่งมั่นท�ำอย่างดีที่สุดและแข่งกัน ฉะนั้นเขาจึงเจริญ เพราะไม่มีใครเกี่ยงกัน ทุก งานส�ำคัญหมด” การเดินทางของเส้นพาร์กน ิ สัน

“งานชุดล่าสุดเริม่ ขึน้ ในปี 2556 โดยเกิดจาก ความเจ็บป่วยของผมเอง ถ้าเทียบกับงานก่อน หน้านีจ้ ะเห็นว่าต่างกันตรงทีง่ านเก่าส่วนใหญ่มกั เป็นเรขาคณิต เป็นระเบียบ นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว เรียบร้อย แต่ชุดใหม่นี้ตรงกันข้าม คือยุ่งเหยิง เยอะ วุน่ วาย สับสน ไม่มรี ะเบียบเลย เป็นเพราะ สภาวะจิตใจมีความทุกข์และต้องการระบายออก เวลาไม่สบายบางครัง้ จะเห็นออกมาเป็นรูปธรรม เลยนะ อย่างผมป่วยเป็นเบาหวานด้วย ตอน เริม่ เป็นจะเกิดดวงๆ สีนำ�้ ตาลขึน้ บนผิวหนังจาก ปลายขามาถึงต้นขา พอดวงสีน�้ำตาลหายปั๊บก็ จะกลายเป็นดวงสีขาวขึน้ มา เป็นด่างขาวเหมือน โรคผิวหนัง แต่หมอบอกไม่มอี นั ตราย เป็นเพราะ เม็ดสีไม่ทำ� งานตามปกติ ผมเห็นลายด่างๆ พวก นีเ้ ป็นเรือ่ งสวย ก็เอามาท�ำงานเสียเลย “หรือตอนเจ็บป่วยผมร่างภาพสเกตช์ไม่ได้ 28

ปกติผมจะสเกตช์ไว้เยอะ เพราะสเกตช์คอื ความ คิดทีเ่ ราต้องคิดเป็นภาพก่อน แต่ภาพชุดนีค้ ดิ ไม่ ได้ สเกตช์ไม่ได้ ต้องลงมือเขียนเลย จึงค่อนข้าง วุน่ วายสับสนมาก ท�ำไปได้ชว่ งหนึง่ ก็เอาความคิด เข้าไปช่วย โดยเจอเทคนิคเพิม่ ด้วยคือการเขียน ลงบนพีวซี ี ซึง่ ท�ำให้สดี ำ � สีเงิน สีทองขึน้ เป็นมัน วาว และเนือ่ งจากมันมีนำ�้ มัน บางช่วงทีน่ ำ�้ มันค้าง ในสีเยอะกว่าก็มคี วามโปร่งใส กึง่ โปร่งใส ท�ำให้ คิดวิธีการซ้อนเลเยอร์ เป็นชั้นสีซ้อนกันหลายๆ ชัน้ โดยสามารถเห็นได้ชดั งานก็เริม่ เปลีย่ นไปอีก เยอะ อย่างน้อยมีสามมิติ สีม่ ติ ิ อันนีเ้ ริม่ มีความ ลึกจากน�้ำหนักของสี อย่างสีเงินที่ ใช้ลงทับหลัง สุดจะสว่างกว่า ดูบางมุมเหมือนเป็นสามมิติ การ ไม่มภี าพร่างมาก่อนก็สนุกไปอีกแบบ เหมือนกับ เราไม่เห็น ภาพชัดเจนในหัว เวลาท�ำเราก็จะ ตืน่ เต้น อยากดูวา่ จะเกิดอะไรขึน้ บางทีอยากท�ำ ต่อเนือ่ งไปเรือ่ ยๆ ไม่อยากหยุด อยากดูวา่ จะเป็น อะไร จะเกิดอะไรขึน้ จนกระทัง่ เสร็จ แต่บางทีก็ ต้องเก็บไว้หลายวัน พอมาดูยอ้ นอีกทีถงึ พบว่ายัง ไม่เสร็จ แล้วเอามาท�ำต่อก็ม”ี ศิลปะแนวนามธรรมในความคิดของอิทธิพล ตัง้ โฉลก

“กระแสบ้านเราต่างจากเมืองนอก หมายถึง เวลาต่างกัน อย่างตอนเราเริ่มนามธรรม ต่างประเทศเขาเลิกไปแล้ว เหมือนเราเริม่ ศิลปะสมัย ใหม่ เราย้อนไปหาเรียลิสติก ซึง่ จริงๆ เขาไปไกล แล้ว ไม่ได้เรียลิสติกแล้ว แต่ถือเป็นศิลปะสมัย ใหม่ในบ้านเรา เพราะเราเป็นแบบประเพณี เรา เอาแบบเหมือนจริงเข้าไปก็คอื ใหม่ของเรา ซึง่ ไม่ สอดคล้องกับเขาเท่าไหร่ แต่เราก็ก้าวไปเร็วจน กระทัง่ ทัน ปัจจุบนั ก็เดินไปด้วยกัน”

สิง่ ทีอ ่ ยากฝาก

“ประการแรกต้องมีอดุ มการณ์ มีความเชือ่ มี ความศรัทธาก่อน ถ้าไม่มตี รงนีต้ อ่ ให้มพี รสวรรค์ ทางทักษะฝีมอื สูงแค่ไหนก็ไปต่อไม่ได้ เพราะถ้า ไม่มีความรักความศรัทธานี่เลิกท�ำแน่ อย่างรุ่น เดียวกันก็เลิกไปหมด ความส�ำเร็จทางศิลปะขัน้ สูงสุดมาจากเราท�ำไม่เลิก ในขณะที่คนอื่นเขา เลิกกันไปแล้ว ตรงนี้ในบ้านเราเห็นชัดมาก เลิก ท�ำงานศิลปะกันไปเยอะมาก โดยเฉพาะลูกศิษย์ ที่เก่งๆ น่าเสียดาย บางคนได้รางวัลระดับชาติ ระดับนานาชาติยงั เลิกเลย เพราะเขาอยูไ่ ม่ได้ ซึง่ ไม่ยตุ ธิ รรม ในบ้านเราศิลปะไม่ได้เป็นสิง่ จ�ำเป็น ทีจ่ ะต้องซือ้ แม้กระทัง่ ไปดูฟรียงั ไม่ดู อย่างญีป่ นุ่ เขาต้องเสียเงินตั้งเยอะคนยังไปดูงานศิลปะกัน แน่นทุกวัน ไม่รวู้ า่ เขาสร้างคนให้มวี ฒ ั นธรรมตรง นี้ได้อย่างไร ทัง้ ๆ ทีป่ ระเพณีดงั้ เดิมก็เหมือนกัน อย่างอเมริกาครัง้ หลังผมไปดูงานของแวน โก๊ะที่ กลับมาแสดงอีกครัง้ ขายตัว๋ เป็นรอบๆ ก็ยงั ต้อง จองกันล่วงหน้าเลยว่าจะดูวนั ไหน เวลาไหน รอบ ละประมาณหนึ่งชั่วโมง ไม่ถึงขนาดจ�ำกัดเวลา ตายตัวนะ เข้าไปดูถงึ เวลาก็ออก คนเยอะมาก “ปัญหาของบ้านเราคือไม่มีพิพิธภัณฑ์ให้ดู งานนามธรรมนั้นใช้ภาษาภาพแท้ๆ ถ้าไม่ได้ดู งานทีด่ จี ริงๆ ก็จะไม่เข้าใจว่าภาษาภาพแท้ๆ คือ อะไร สีทดี่ คี อื อะไร บางทีเราดูจากหนังสือไม่ได้ หรอก เพราะมันเพีย้ นไปเยอะ ทัง้ ขนาด เทคนิค สี ความหนาบาง ซ้อนกีช่ นั้ ถ้าไม่ได้ดขู องจริงจะ ดูไม่ออก ไม่สามารถรูส้ กึ ได้ แต่ถา้ มีพพิ ธิ ภัณฑ์ดๆี ให้ดจู ะสอนกันง่าย โดยเฉพาะนามธรรมนัน้ ต้อง เห็น เพราะเป็นภาษาภาพ ซึง่ เป็นภาษาอย่างหนึง่ เลย แต่เราไม่ได้ฝกึ อ่านภาษาอย่างนีก้ นั ให้เข้าใจ ฉะนัน้ จึงยากตรงนี”้

baccazine issue 12

Mol_G502_P.22-29.indd 28

22/10/2558 17:35


in the mood of art

ITHIPOL THANGCHALOK A large bush became a group of lines that freely ran. The human figure was turned ABSTRACT: THE TRUTH OF ART Nearly 100 pieces of artworks will be into slices of geometric forms. These basic showcased at A Retrospective Exhibition printing techniques later led him to discover “Abstract: The Truth of Art” at BACC this month. particular techniques that would stay with They are former works and never before him for his entire career. seen pieces from every period of Ithipol After he received his bachelor’s degree, Thangchalok’s 50-year career, who is one of Ithipol pursued a master’s degree in the just a handful of Thai Contemporary artists United States at Washington University, to persistently follow the path of abstract art. where he became officially acquainted The path of his creation began with with abstract art. He realized that his printing techniques that he practiced in practices would work harmoniously with his early years at Silpakorn University. the philosophy of abstract art. His studies In those days, Ithipol did not yet have and visits to art galleries and museums, a deep understanding of abstract art, including travels in America, broadened the four major techniques he studied his experience and influenced his creativity consisted of silkscreen, etching, woodcut, when he returned to his homeland. and lithograph. All these techniques were Ithipol developed his abstract art incorporated into different themes that practice to be more oriental until his work include organic form of seeds, trees in a received universal acclaim in art circles. city, walls, and human figures. He gradually He received awards from both national and transformed these representational forms international art competitions, and in 1979 into abstract ones. The seed that was once he received an Artist of Distinction Award. recognizable became a geometric figure. By the end of the 1970s, abstract art in

Thailand was losing its popularity. His fellow artists began to change their style. However, after being advised to shift his praxis, Ithipol firmly insisted that “Abstract art always works for me.” His constant, gradual, and steadfast faith in the path allowed him to discover the “truth” of art in many aspects: the truth of an object, the truth of visual language, the truth of the relationship between artist and object, the truth of the universe where the dichotomy dwells in both old and new, light and shadow, form and space, emotion and reason, and intellect and intuition. Finally, the unchanging and serene path of creativity and artistic expression in which Ithipol holds fast to make the public realize the artist’s consistence and faith in abstract art is acknowledged. The simplicity of abstract art is as priceless as a key to a door as the artist once said “Abstract quality deals with mind, and ‘mind‘ is a medium that allows me to truly discover the ‘truth‘ of art.”

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.22-29.indd 29

2 9

22/10/2558 17:35


my studio

ศิลปะการปรุงอาหาร แบบโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมี COLUMNIST : BARRY PHOTO : ANUCHIT

“อาหาร” หนึง่ ในปัจจัยสีท ่ ไี่ ม่เพียงช่วยเสริมสร้างพลังงานให้รา่ งกาย แต่ยงั แสดงให้เห็นถึงศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ความเชือ่ รวมไปถึง การสร้างสรรค์ในแต่ละจาน ยิง่ ปัจจุบน ั เมือ ่ เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อชีวต ิ ผูค ้ นมากขึน ้ และส่งผลต่ออาหารด้วยเช่นกัน อาหารรูปแบบ เดิมๆ ที่เสิร์ฟมาในจานจึงถูกแปรรูปให้มีสถานะที่แตกต่างทั้งรูป กลิ่น รสสัมผัส ท�ำให้ผู้รับประทานได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ ในการเสพ ภายใต้หลักการที่เรียกว่า “โมเลคิวลาร์แกสโตรโนมี” (Molecular Gastronomy) ซึ่งเป็นการปรุงอาหารขึ้นจากเทคนิคทางด้าน วิทยาศาสตร์ในระดับโมเลกุลที่เริ่มแพร่หลายไปในวงการอาหารทั่วโลก

30

baccazine issue 12

Mol_G502_P.30-33.indd 30

22/10/2558 17:45


ส� ำ หรั บ ในบ้ า นเรา “เชฟหนุ ่ ม -ธนิ น ธร จันทรวรรณ” เชฟฝีมือระดับดาวมิชลินผู้เคย ร่วมงานกับเชฟระดับโลกอย่างกอร์ดอน แรมซีย์ และเฮสตัน บลูเมนทัล แถมยังเป็นหนึ่งในเชฟ กระทะเหล็กประเทศไทย ซึง่ เรียกได้วา่ เป็นเชฟ ไฟแรงมากความสามารถ คือหนึ่งในผู้ที่สนใจ ศึกษาเทคโนโลยีดังกล่าว และน�ำมาดัดแปลง

ต่อยอดเข้ากับอาหารไทยหลากหลายเมนูในแนว โทด้านบริหารธุรกิจ แต่กลับหลงรักการท�ำอาหาร ฟิวชั่นฟู้ดสุดชิกที่มีการจัดวางอย่างพิถีพิถันและ ซึง่ เป็นอาชีพเสริมระหว่างเรียนขึน้ มา หลังเรียน สร้างสรรค์ไม่ตา่ งจากงานศิลปะชิน้ หนึง่ จบเชฟหนุม่ จึงแสวงหาการท�ำอาหารรูปแบบต่างๆ จากครัวชัน้ น�ำระดับโลกหลายแห่ง ก้าวเดินของเชฟ กว่า 14 ปีในมหานครใหญ่ เชฟหนุม่ เริม่ ต้น จากเด็กจังหวัดนครปฐมทีอ่ อกเดินทางไปกรุง ก้าวเดินเข้าสู่เส้นทางวงการอาหารด้วยการเป็น ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เพือ่ เรียนต่อปริญญา พนักงานล้างจาน พนักงานเสิร์ฟ พ่อครัว ก่อน ก้าวขึน้ สูค่ วามเป็นเชฟ พร้อมเดินทางสูห่ อ้ งครัว ระดับโลก ไม่วา่ จะเป็นเชฟอาวุโสทีร่ า้ น Momo Restaurant & Sketch Restaurant สหราชอาณาจักร, หัวหน้าเชฟที่รา้ นอาหารไทยในสหราชอาณาจักร, เชฟเดอปาร์ตที รี่ า้ น Patterson’s, ซีเนียร์เชฟเดอปาร์ตที รี่ า้ น Sumosan ในย่านเมย์ แฟร์ ฯลฯ ทัง้ ได้รว่ มงานกับมิสเตอร์เดวิด โจนส์ หัวหน้าเชฟของ Momo ร้านอาหารชือ่ ดังในแถบ ยุโรป ท�ำให้เชฟหนุ่มได้สั่งสมประสบการณ์การ ท�ำอาหารไว้มากมาย โมเลคิวลาร์แกสโตรโนมี

อาหารทีน่ ำ� วิทยาศาสตร์เข้ามาเกีย่ วข้องอย่าง โมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีกระตุ้นความสนใจของ เชฟหนุม่ เข้าอย่างจัง เขาเริม่ ต้นขวนขวายศึกษา หาความรู้ด้วยตัวเอง จนเป็นเชฟมือหนึ่งในด้าน นีท้ ี่ไม่แพ้ชาติใดในโลก “ร้านอาหารทีผ่ มท�ำงานมีทงั้ ญีป่ นุ่ อิตาเลียน สเปน อเมริกนั และได้เห็นอาหารแบบโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมี ท�ำให้อยากเรียนรูจ้ ริงจังว่าสิง่ ที่ เขาท�ำ ทีเ่ ขาปรุงแต่งนัน้ กินได้จริงหรือไม่ ท�ำไม บางอย่างเราไม่เคยเห็น การเปลีย่ นแปลงสถานะ รูปร่าง เท็กซ์เจอร์ทำ� ให้ตนื่ ตาตืน่ ใจ ทีล่ อนดอน ก็มโี รงเรียนสอน แต่ไม่ได้ไปเรียนเพราะราคาสูง จึงเรียนรูด้ ว้ ยตัวเองโดยไปท�ำงานในร้านทีม่ กี าร ท�ำอาหารแบบนี้ ร้าน ROKA เป็นทีน่ ยิ มของลูกค้า มากและเป็นทีย่ อมรับของเชฟชือ่ ดังมากมาย จึง มีเชฟดังๆ แวะเวียนมารับประทานอาหาร แลก เปลีย่ นความคิดเห็น ผมมีโอกาสได้เจอ ได้คยุ ก็ เริม่ ศึกษา เริม่ ซือ้ หนังสือมาอ่าน และเริม่ ถามเชฟ ถามคนในวงการ มีรา้ นไหนท�ำอาหารแนวนีผ้ มก็ จะอาสาตัวเองเข้าไปท�ำงานและไปแลกเปลีย่ น “ตอนนัน้ ผมท�ำจินเจอร์โบวล์เหมือนจินเจอร์ issue 12 baccazine

Mol_G502_P.30-33.indd 31

3 1

22/10/2558 17:45


คาเวียร์ ซึง่ เป็นปีแรกๆ ทีโ่ มเลคิวลาร์แกสโตรโนมีเริม่ เข้ามา ผมจึงน�ำน�ำ้ ขิงมาท�ำคาเวียร์ ก็ได้รบั ความนิยมและความสนใจมาก ถ้าพูดถึงโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีคอ่ นข้างกว้างมาก คือมันเปลีย่ น สถานะ รูปร่าง รูปแบบในการน�ำเสนอ ท�ำให้ได้ รสสัมผัสและเท็กซ์เจอร์ทนี่ า่ สนใจ สมมติเราจะ กินสตรอว์เบอร์รี่ สมัยก่อนจะเห็นแค่ในรูปแบบ การกินสด แยม ไอศกรีม สตรอว์เบอร์รเี่ ชอร์เบต แต่โมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีสามารถเปลีย่ นแปลง รูปแบบของสตรอว์เบอร์รี่ให้เป็นรูปร่างสปาเกตตี คาเวียร์ ฟลูอดิ เจล ซึง่ ให้รสสัมผัสทีน่ า่ ตืน่ ตาตืน่ ใจ “หรือถ้าหากจะเปลี่ยนสถานะรูปร่างของ แอลกอฮอล์ สมมติเราต้องการกินโมฮีโต้หรือ ค็อกเทล แต่ด้วยสถานะของแอลกอฮอล์ที่ ไม่ สามารถแช่แข็งได้ นอกจากจะใช้อุณหภูมิ -80 หรือ -90 องศาจึงสามารถฟรีซแอลกอฮอล์ได้ เพราะส่วนผสมของน�ำ้ น้อยทีส่ ดุ เราก็จะใช้ลคิ วิด ไนโตรเจนไปเปลี่ยนสถานะให้มีความเย็นมาก ขึน้ เปลีย่ นรูปร่าง เปลีย่ นรูปแบบในการน�ำเสนอ เวลากินอาหารแทนที่จะได้แค่รสชาติ รสสัมผัส แต่เราต้องการกลิน่ ด้วย ฉะนัน้ จึงต้องแยกสถานะ ของวัตถุดบิ สมัยก่อนเราจะได้นำ�้ มันหอมระเหย ทีม่ าจากการบูนหรือซินนามอน แต่เดีย๋ วนีม้ กี าร กลัน่ น�ำ้ มันหอมระเหยทีม่ าจากตัววัตถุดบิ เลย เช่น ต้องการกลิ่นทรัฟเฟิล ก็ดูว่าจะเอาทรัฟเฟิลมา สกัดเป็นกลิน่ ได้อย่างไร เป็นต้น”

เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อย่างแกงกะทิ ก็คือการท�ำโมเลคิวลาร์อย่างหนึ่ง แต่ไม่เคยมี ใครย้อนกลับไปหาต้นก�ำเนิดหรือวางเป็นวิชาการ หรือการท�ำแกงจืดต�ำลึงหมูบะช่อ สมัยก่อนคุณ แม่ผมสอนว่า การจะท�ำแกงจืดให้มีรสชาติดีคือ ตัง้ น�ำ้ แล้วใส่หมูบะช่อตอนทีน่ ำ�้ อุน่ เพือ่ ให้รสชาติ ความหอม ความหวานของหมูเข้าไปอยู่ในน�ำ้ ซุป หรือแคบหมู หนังไก่ทอด ไก่อบฟาง วุน้ กะทิ การ ผัดพริกแกงกับกะทิสดเพือ่ ให้เกิดการแตกมัน มี ความหอม นีล่ ะ่ คือโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีทถี่ กู ซ่อนอยู”่ ห้องอาหารไม่ได้ต่างไปจากห้องทดลอง ทางวิทยาศาสตร์

“สมัยก่อนเรามองว่าอาหารยุโรป ฝรั่งเศส สเปน อิตาเลียนเป็นโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมี แต่เดีย๋ วนีส้ ามารถน�ำอาหารอินเดียและญีป่ นุ่ มา เป็นโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีได้เช่นกัน คือต้อง เข้าใจวัตถุดบิ ประจ�ำชาติของเรา เข้าใจตัวตนของ อาหารประจ�ำชาติแต่ละประเทศ แล้วจึงดูว่าจะ น�ำเสนออย่างไร “ทักษะในการท�ำอาหารของคนไทยนัน้ มีทมี่ า ที่ไปน่าทึ่งไม่น้อย ผมจึงคิดว่าควรประยุกต์การ ท�ำอาหารในรูปแบบใหม่ที่สร้างสรรค์ออกมาให้ ดีทสี่ ดุ ผมใช้หลักของเฮสตัน บลูเมนทัล คือใช้ หลักการของเหตุและผลทางวิทยาศาสตร์ อย่าง เวลาท�ำกุ้งแช่น�้ำปลาก็น�ำกุ้งมาท�ำความสะอาด อาหารไทยคือโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีมา ลวกในลิควิดไนโตรเจนที่มีอุณหภูมิต�่ำสุด -190 องศา ซึง่ ความเชือ่ เดิมถ้าจะฆ่าเชือ้ โรคต้องลวก ตัง้ แต่อดีตกาล “เมือ่ ลงไปศึกษาแล้วจึงพบว่าเป็นสิง่ ทีอ่ ยู่ใกล้ ในอุณหภูมิเกินร้อยองศา เอาน�้ำร้อนราด แต่ ตัวเรามาก เราเห็นมาตัง้ แต่เด็กแล้ว แต่ไม่ได้ถกู จริงๆ เราสามารถลวกเย็นในลิควิดไนโตรเจนได้ ยกย่องมาตั้งแต่แรก ไม่เคยมีการเรียนรู้จัดท�ำ และในอุณหภูมิ -190 องศายังช่วยคงคุณค่าทาง 32

โภชนาการ คุณสมบัตทิ กุ อย่างอยูค่ รบ จากนัน้ น�ำ มาหมักในน�้ำปลาอย่างดี ตอนเสิร์ฟก็น�ำน�้ำที่ปรุง ส�ำหรับเสิรฟ์ กับกุง้ แช่นำ�้ ปลามาเปลีย่ นเป็นเชอร์เบต พริกขีห้ นูกบั ผักชี ก็ได้รปู แบบทีเ่ ปลีย่ นไป “ส�ำหรับปุ่มรับรสของคนเรามีแค่สี่อย่างคือ เปรี้ยว หวาน เค็ม ขม วิทยาศาสตร์พิสูจน์มาว่า ความเผ็ดคืออาการ ฉะนั้นเวลากินพริกขี้หนูคือ อาการเผ็ด ไม่ ใช่รส ผมก็เลยน�ำพริกมาเปลี่ยน สถานะให้เป็นไอศกรีม อาการเผ็ดก็จะลดลง หรือ แกงมัสมัน่ ผมก็ใช้โมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีทกุ อย่าง แม้กระทั่งตอนเสิร์ฟก็จุดซินนามอนเพื่อให้ได้กลิ่น หอม เมือ่ ซินนามอนเผาไหม้เป็นขีเ้ ถ้าแล้วจะกลาย เป็นผงคาร์บอนหล่นลงไปในอาหาร เราก็ต้อง อธิบายว่าสิง่ นีค้ อื สิง่ ทีเ่ ชฟต้องการ เพราะเวลากิน ผงคาร์บอนเข้าไปจะช่วยดูดซึมไขมันส่วนเกินหรือ สิ่งที่ไม่ดีกับล�ำไส้ออกจากผนังล�ำไส้ นี่คือวิธีการ คิดของเชฟ ซึง่ แต่ละคนก็แตกต่างกันไป ขึน้ อยูก่ บั ว่าจะน�ำเสนอในรูปแบบไหน” วงการอาหารไทยก้าวไปสูร่ ะดับโลก

“วันนีผ้ มยังคงเชือ่ ว่าโลกนีเ้ ชือ่ มต่อกันหมด เชฟ ทุกคนสามารถน�ำอาหารแต่ละชาติมาน�ำเสนอในรูปแบบโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีได้ทกุ ประเทศ อยูท่ วี่ า่ เชฟแต่ละคนมีความเชีย่ วชาญขนาดไหน และเข้าใจ อาหารประจ�ำชาติของตัวเองมากน้อยแค่ไหน การ จะไปให้ถงึ ระดับโลกนัน้ ต้องพัฒนา ผมอยากเรียนรู้ ศาสตร์อาหารไทยผสมผสานกับโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมีให้ลงตัว และน�ำความรู้มาถ่ายทอด เพื่อ จะได้มีเมนูใหม่ออกมาอีกมากมาย รวมถึงอยาก พัฒนาอาหารไทยร่วมกับนักวิชาการ เรามีอาจารย์ นักวิชาการเก่งๆ หลายท่านทีม่ คี วามรูด้ า้ นโมเลคิวลาร์แกสโตรโนมี จะได้ชว่ ยกันต่อยอดต่อไป”

baccazine issue 12

Mol_G502_P.30-33.indd 32

22/10/2558 17:45


my studio

THE ART OF MOLECULAR GASTRONOMY

Thaninthorn Chantrawan, or Chef Noom of Iron Chef Thailand, has over 14 years of experience as a chef, and has worked in various leading kitchens in London, especially at Michelin Star restaurants. He also worked with many renowned chefs including Gordon Ramsay and Heston Blumenthal. He is known for western and Thai cuisine with a twist using Molecular Gastronomy - a subdiscipline of food science that seeks to investigate the physical and chemical transformations of ingredients that occur in cooking - to create interesting dishes that are fun to eat. His interest in Molecular Gastronomy had developed during those years working

in various restaurants in London from Japanese, Italian, and Spanish to American places. He saw different chefs cook amazing creations from Molecular Gastronomy and he wondered how they worked and if those dishes were really edible. He started selflearning by reading and joining the kitchen team of ROKA restaurant, which is famous for the Molecular Gastronomy cuisine and many others after that. What amazed him about Molecular Gastronomy was how it can transform the tastes, textures and shapes of food and offer new and innovative dining experiences. He gave the example of eating strawberries – in the old days we knew only a few ways to eat it like eating fresh or as a jam or an ice cream, but with Molecular Gastronomy, you

can transform strawberries into spaghetti, caviar, fluid gel, and more. He says that every kind of cuisine such as Japanese, Indian, or Thai cuisine can use Molecular Gastronomy techinque, if we know the ingredients and truly understand these local dishes and the ways to cook them. Thai people have actually utilised this technique for a long time, such as cooking curry, crispy puffed pork rinds or coconut jelly, but without realising it. Chef Noom says he still has a lot to learn about Thai food and wants to apply Molecular Gastronomy to develop new styles of Thai cuisine, and maybe pass on his knowledge to the next generation.

•

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.30-33.indd 33

3 3

22/10/2558 17:45


place for passion ข้าวผัดน�ำ้ พริกลงเรือ ข้าวขาหมูสตู รโบราณ ข้าว หมูกะปิ ข้าวคลุกเต้าหูย้ ี้ไก่สบั สปาเกตตีกะเพรา ไก่ แซนด์วชิ ลาเตอลิเยร์ เดอ มารศี เครือ่ งดืม่ แนะน�ำ “กระเจีย๊ บโรส” กับ “เลมอนลาเวนเดอร์” ให้กลิ่นอายฝรั่งเศสสุดๆ ปิดท้ายด้วยของหวาน อย่าง “เชอร์เบทมะพร้าวอ่อน” เป็นอันครบสูตร ก่อนกลับอย่าลืมแวะชมของทีร่ ะลึกลวดลาย ผลงานภาพเขียนฝีพระหัตถ์ของท่านหญิงมารศีฯ ต่างๆ ทัง้ ผ้าพันคอผืนงามทีส่ ามารถดัดแปลงเป็น เสือ้ คลุมสุดหรู กระดาษ สมุดโน้ต ฯลฯ สวยงาม ถูกใจให้ซอื้ หาติดไม้ตดิ มือกลับอีกด้วย เรียกว่ามาที่ L’atelier de Marsi แล้วได้ครบ รสทัง้ อาหารอร่อยถูกปากหลากเมนู พร้อมอิม่ ใจ กับผลงานศิลปะอันยอดเยีย่ ม มูลนิธหิ ม่อมเจ้าหญิงมารศีสขุ มุ พันธุ์ บริพตั ร จัดตั้งขึ้นตามพระประสงค์ของท่านหญิงมารศีฯ เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2552 โดยพระญาติ และพระสหายผู้ใกล้ชิด เพื่อส่งเสริมการศึกษา ด้านศิลปะในประเทศไทย โดยจัดโครงการทุน การศึกษาให้แก่นสิ ติ นักศึกษาด้านศิลปะในระดับ ปริญญาตรี ซึง่ ด�ำเนินการต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ พ.ศ. ลาเตอลิเยร์ เดอ มารศี COLUMNIST : BARRY PHOTO : CHALERMPON PANNANAWASAKUL 2554 และสนับสนุนนิทรรศการแสดงผลงาน ศิลปะของนักศึกษาและศิลปินรุน่ ใหม่ ดูขอ้ มูลที่ กลิ่ น อายของห้ อ งและบรรยากาศสภาพ สวัสดิวตั น์ และม.ล.จันทราภา สวัสดิวตั น์ พระ www.marsifoundation.org, www.facebook. แวดล้อมการทรงงานของหม่อมเจ้ามารศีสุขุม- ญาติและเจ้าของร้านเล่าให้ฟังว่า ด้วยความที่ com/Marsi.Foundation และอีเมล info@ พันธุ์ บริพตั รอันแสนเรียบง่าย ณ เมือง Annot ท่านหญิงมารศีฯ ทรงใช้ชวี ติ เรียบง่าย ทรงโปรด marsifoundation.org เมืองเล็กๆ ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสถูก อาหารทีท่ ำ� ไม่ยากแต่อร่อย จึงน�ำเมนูโปรดของ ยกมาจ�ำลองเอาไว้ที่ร้าน L’atelier de Marsi ท่านหญิงมารศีฯ มาให้ลกู ค้าได้ลองชิมกัน เรียก (ลาเตอลิเยร์ เดอ มารศี) ด้วยสไตล์การตกแต่ง น�ำ้ ย่อยกันด้วยอาหารกินเล่นอย่าง “เมีย่ งตะไคร้ L’ATELIER DE MARSI ที่ผสมผสานระหว่างไม้กับวัสดุธรรมชาติซึ่งให้ สมุนไพรทรงเครือ่ ง” ทีน่ ำ� ตะไคร้มาซอยละเอียด L’atelier de Marsi, a lovely French-style บรรยากาศทีแ่ สนอบอุน่ ฝาผนังส่วนใหญ่ให้โทน พิถพี ถิ นั ปรุงรสด้วยเครือ่ งครบครัน รับประทาน coffee art gallery, is situated on the 2nd floor สีมว่ งอันเป็นสีประจ�ำมูลนิธหิ ม่อมเจ้าหญิงมารศี กับใบชะพลู แตงกวา ถัว่ ฝักยาว เป็นเมนูสขุ ภาพ of BACC. The gallery atmosphere imitates สุขมุ พันธุ์ บริพตั ร อีกทัง้ มีดอกลาเวนเดอร์ตกแต่ง ทีร่ สชาติอร่อยถึงใจ นอกจากนีย้ งั มีถงุ ทอง ปีกไก่ Princess Marsi’s studio in Southern France แซมแทรกในมุมต่างๆ ของร้าน พร้อมด้วยผลงาน ทอด ลาบข้าวตัง บรูสเกตต้าเห็ดทีอ่ ร่อยเด็ดทุกค�ำ where she lived and worked most of her ภาพเขียนฝีพระหัตถ์ในแนวเซอร์เรียลลิสต์/แฟน- ส�ำหรับอาหารจานเดียวแนะน�ำ “ข้าวน�ำ้ พริก life. It aims to promote paintings of Princess ตาสติกอันงดงาม ทรงคุณค่า และมีเอกลักษณ์ ท่านหญิง” น�ำ้ พริกมะขามเสิรฟ์ พร้อมผักสดและ Marsi in Thailand and selected artworks by เฉพาะของท่านหญิงมารศีฯ บางส่วนก็ได้รบั การ ไข่เจียว รสชาติเปรีย้ วก�ำลังดีถกู ใจคนชอบน�ำ้ พริก Thai artists to both Thai and foreign visitors, จัดแสดงไว้บนผนัง เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจให้คน “ข้าวผัดอันนอท” ข้าวผัดใส่ซอี วิ๊ กระเทียม และไข่ and is also a meeting place for art lovers. รักศิลปะได้ศกึ ษา ชืน่ ชมอย่างใกล้ชดิ ทีแ่ สนเรียบง่ายในสไตล์ทา่ นหญิงมารศีฯ หรือจะ L’atelier de Marsi displays oil reproductions อิ่มเอมกับการเสพงานศิลป์กันแล้ว ร้าน ลิม้ ลองอีกจานทีท่ า่ นโปรดปรานคือ “สปาเกตตีวา- of the paintings of Princess Marsi, and offers L’atelier de Marsi ยังมีเมนูโปรดของท่านหญิง เลอร่า” เมนูไม่หวือหวาแต่รสชาติยอดเยีย่ ม ใคร the Princess’ favourite easy-to-eat one dish มารศีฯ ทัง้ อาหารจานเดียว อาหารว่าง รวมถึง ชอบรับประทานไข่แนะน�ำ “ไข่โซฟู” ไข่ขน้ ผสม meals, snacks, and soft drinks. Selections of เครือ่ งดืม่ ให้ได้ลมิ้ ลองกันด้วย ม.ร.ว.พร้อมฉัตร แฮมและเบคอนรสชาติกลมกล่อม นอกจากนีย้ งั มี art souvenirs are also available for purchase.

L’ATELIER DE MARSI

L’ATELIER DE MARSI 2nd floor, BACC Open: Tuesday-Sunday, 11.00 am-09.00 pm

Tel. 0-2258-9461 • www.marsifoundation.org • www.facebook.com/Marsi.Foundation

34

baccazine issue 12

Mol_G502_P.34-35.indd 34

22/10/2558 17:48


RICHE MULLER เก้าอีเ้ พือ ่ สรีรศาสตร์

COLUMNIST : BARRY PHOTO : CHALERMPON PANNANAWASAKUL

ไม่ว่าจะท�ำงาน อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ คนเราใช้เวลานั่งอยู่บนเก้าอี้วันละหลายชั่วโมง หากนัง่ บนเก้าอีท้ ี่ไม่สามารถรองรับสรีระได้อย่าง ถูกต้อง นานวันเข้าก็อาจท�ำให้กระดูกสันหลังมี ปัญหาได้ ด้วยเหตุนี้คุณนพชัย อร่ามเอกชัยจึง น�ำเข้าเก้าอี้สุขภาพแบรนด์ดังจากเยอรมนีอย่าง RicheMuller Ergonomic Chair ที่ออกแบบ พิเศษให้รองรับการท�ำงานได้ถูกต้องตามระบบ สรีรศาสตร์ของร่างกาย สามารถปรับเปลี่ยน ให้เข้ากับรูปร่างและน�้ำหนักของผู้นั่ง เพื่อลด ปัญหาการปวดหลัง ปวดบ่า ปวดศีรษะ ตลอดจน อันตรายที่เกิดจากการนั่งนานๆ ได้ เก้าอีค้ ณ ุ ภาพดีไซน์เท่และฟังก์ชนั่ การใช้งานดี เกือบ 20 รุน่ ทีน่ ำ� เข้ามานัน้ แบ่งเป็นสองคอนเซ็ปต์ คือ แบบพนักพิงหลังเต็ม ที่สามารถปรับ ขยับได้

ทั้งส่วนแผ่นหลังและช่วงล่าง กับแบบพนักพิง หลังสองส่วน ทีแ่ บ่งเป็นสองชิน้ เพือ่ กระจายการ รับน�้ำหนักไม่ให้กดทับกระดูกสันหลัง เก้าอี้ตัว ท็อปของ RicheMuller Ergonomic Chair ผลิต จากหนังแท้และไม้คณ ุ ภาพเยีย่ มจากเยอรมนีทมี่ ี ลวดลายไม่ซ�้ำกัน กระบวนการทั้งหมดผลิตด้วย มือ จึงเรียกได้ว่าเป็นโฮมเมดขนานแท้พร้อม คุณภาพคับเก้าอี้ ราคาเริ่มต้นของเก้าอี้น�ำเข้า อยู่ที่ 10,000 บาทขึ้นไป นอกจากนี้คุณนพชัย ยังรับสั่งท�ำเก้าอี้ตามออร์เดอร์ของลูกค้า ซึ่ง สามารถเลือกสี แบบ และผ้าบุได้ตามต้องการ โดยผลิตในไทยแต่มีดีไซน์ใกล้เคียงกับเยอรมนี เพราะถอดแบบกันออกมา ในราคาประหยัด กระเป๋าเริ่มต้นที่ตัวละ 4,000 บาท พร้อมรับ ประกันเก้าอี้และโต๊ะทุกตัวถึง 5 ปีเลยทีเดียว นอกจากเก้าอี้แล้วยังมีโต๊ะที่สามารถปรับ เปลี่ยนความสูง-ต�่ำได้ตามสรีระและเข้าชุดกับ เก้าอี้ เพื่อให้การนั่งท�ำงานเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด อีกทั้งผ่อนคลายและถูกหลักสรีรศาสตร์ มากที่สุดด้วย

RICHE MULLER ERGONOMIC CHAIR The RicheMuller Ergonomic Chair products were designed to capture the ideal of furniture within an office concept. Produced using the finest raw materials, the avant-garde furniture, imported from Germany, offers a variety of designer chairs, executive office chairs, corporate lounge and office furniture. All of their chairs can be customized with a wide selection of functions to suit the user’s needs. Each function is ergonomically perfected for superior comfort and convenience to meet the demands of any office environment. They are aesthetically refreshing with a wide choice of colors and finishes that complement almost any interior.

3rd floor, BACC Open: Tuesday-Sunday, 10.30 am-8.30 pm Tel. 0-2625-3158, 08-6509-4448, 08-9233-9085 • www.thehonest.co.th • www.facebook.com/RicheMuller RICHE MULLER

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.34-35.indd 35

3 5

22/10/2558 17:49


bacc exhibition

PAUSE COLUMNIST : MODDUM

ชัน้ ของอิฐทีถ่ กู ก่อเรียงเผยตัวเองหลังการผุผงั ของเปลือกปูนทีฉ่ าบอยูภ่ ายนอก ภาพถ่ายติดบัตร ฉากหลังสีฟา้ ระยะใกล้-ไกล พาโนรามาของเมืองทีเ่ ต็มไปด้วยสิง่ ปลูกสร้าง รูปแบบต่างๆ บรรยากาศในบ้านคนบ่งบอกชีวิตธรรมดา ทว่าอาจสื่อสารบางสิ่งที่ลึกซึ้งเกินกว่าสายตาจะ มองเห็น หญิงสาวผมสัน้ มองมาทีก่ ล้อง มีบางอย่างปิด หู ปิดตา ปิดปากของเธอไว้ วงโค้งสถาปัตยกรรมดูรา้ ง โรยรา ทว่าเปีย่ ม เสน่ห์ และเก็บความทรงจ�ำไว้มากมายในแต่ละ ห้วงเวลาทีผ่ า่ นพ้น อักษรยึกยือทีถ่ กู ขีดเขียน จ�ำหลักบนผนังเก่า คร�่ำคร่าที่อาจเป็นเพียงค�ำพร�่ำบ่นไร้สาระ ถ้อย ความผรุสวาท บอกรัก หยอกเย้า หรืออาจมีความหมายมากไปกว่านัน้ นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของภาพถ่ายที่เรียงราย บนผนังสีขาวบริสุทธิ์อันบอกเล่าเรื่องราวหลาก หลายภายใต้บริบทสังคม ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรมของผูค้ นในดินแดนอุษาคเนย์ ซึง่ มีทงั้ ความเหมือนและต่าง ทว่าในความเหมือนก็มคี วาม ต่าง และในความต่างก็กลับมีความคล้ายคลึง อย่างมีนยั ส�ำคัญ ปรากฏการณ์ตา่ งๆ เหล่านัน้ เกิดขึน้ ภายใต้การ พัฒนาอย่างรวดเร็ว การแข่งขันทางเศรษฐกิจและ สังคมอาจท�ำให้หลงลืมและมองข้ามบางสิง่ หาก ลองหยุดนิง่ เพียงชัว่ ขณะเพือ่ ทบทวนปรากฏการณ์ 36

รอบตัว คงท�ำให้การขับเคลือ่ นต่อไปในอนาคตมี ความสมบูรณ์แบบมากขึน้ “Pause” นิทรรศการชื่อสั้นๆ อันหมายถึง การหยุด (ชัว่ คราว) จึงเกิดขึน้ ด้วยความร่วมมือ ระหว่าง “โฟโต้บางกอก” และหอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร โดยเป็น ส่วนหนึ่งของ “เทศกาลโฟโต้บางกอก 2015” น�ำเสนอภาพถ่าย ของศิลปินกลุม่ ประเทศอาเซียนในประเด็นทีแ่ ตกต่าง ด้วยเงือ่ นไขด้านปูมหลังทางประวัตศิ าสตร์ ทัง้ ประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะและประวัตศิ าสตร์สงั คม ไม่เพียงเท่านั้นยังเป็น ที่ทราบกันดีว่าภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายทาง วัฒนธรรมสูงยิง่ ส่งผลให้ผลงานภาพถ่ายมีราย ละเอียดน่าสนใจ โดยได้ภณ ั ฑารักษ์รบั เชิญอย่าง อรรฆย์ ฟองสมุทร ผูค้ ลุกคลีในแวดวงภาพถ่าย และศิลปะร่วมสมัยของไทยมาเป็นเวลานาน ทัง้ ยังเป็นผูบ้ รรยายและอาจารย์พเิ ศษให้กบั องค์การ ศิลปะและสถาบันการศึกษาชัน้ น�ำทัง้ ในและต่าง ประเทศ ภาพจากศิลปินกว่า 10 ท่านไม่วา่ จะเป็นคิม ฮัก และโสภาล เนียก จาก “กัมพูชา” ศิลปินกลุม่ Mes 56 จาก “อินโดนีเซีย” สุลยิ า ภูมวี ง จาก “ลาว” มินสเทรล ก๊วก ชิง เจีย้ และนาซารุดดิน อับดุล ฮาเหม็ด จาก “มาเลเซีย” เมย์ โกะ นาย จาก “เมียนมาร์” เจด เอสกุเอตา และยาซอน บานาล จาก “ฟิลปิ ปินส์” อัง ซง เหนียน และโรเบิรต์ จ้าว เหรินฮุย้ จาก “สิงคโปร์” บุย ฮิว เฟือก และฟาน กวง จาก “เวียดนาม” รวมถึงนฤเบศ

วาดวารี และประทีป สุธาทองไทย สองศิลปิน “ไทย” ชวนให้เราร่วมฟังบทสนทนาที่ด�ำเนินไป บนเรื่องราวและประเด็นในภูมิภาคผ่านมุมมอง ความคิดของศิลปินร่วมสมัยโดยปราศจากบท สรุป หากแต่สะท้อนภาพและมุมมองความคิดผ่าน ภาพถ่ายทีถ่ กู ทบทวนซ�ำ ้ เพราะเป็นผลงานทีศ่ ลิ ปิน สร้างสรรค์ไว้ในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ ก่อนหน้านี้ และในครัง้ นี้ได้นำ� มาจัดแสดงอีกครัง้ ในบริบทของ ช่วงเวลาและสถานทีท่ แี่ ตกต่างจากเดิม ซึง่ ชีช้ วน ให้เปิดรับข้อมูลใหม่จากเพือ่ นบ้านได้อย่างเต็มที่ มากดปุ่ม Pause หยุดทุกสิ่งไว้ชั่วขณะ ใช้ เวลาเพ่งมองภาพถ่ายเหล่านี้เพื่อตีความใหม่อีก ครัง้ อย่างไร้กรอบ นิยาม หรือค�ำตอบส�ำเร็จรูป ทีจ่ ดื ชืด แล้วหาค�ำตอบของตัวเองอย่างไม่จำ� เป็น ต้องซ�ำ้ ใคร Pause จัดแสดง ณ ห้องนิทรรศการหลัก ชัน้ 9 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 939 ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 0-2214-6630-8 อีเมล exhibition@bacc.or.th www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage

baccazine issue 12

Mol_G502_P.36-37.indd 36

28/10/2558 15:08


PAUSE PAUSE is a contemporary photography exhibition by artists from around South East Asia and a part of the Photo Bangkok Festival 2015 with the support of Bangkok Art & Culture Centre. All works were created under different themes but selected for this exhibition under the idea of “pausing” to adjust to the pace of the new economic, social and cultural climate. It introduces a sketch or a collage of stories and issues facing South East Asia through the artists’ critical point of views, but does so whilst avoiding any conclusion. All exhibited artworks do not come from a single discipline. They reflect visions and opinions that are re-

contextualized through photography in various media in order to open our mind to new realities from our neighbourhood. The artists in the exhibition are Robert Zhao Renhui and Ang Song Nian (Singapore), Phan Quang and Bui Huu Phuoc (Vietnam), Jed Escueta and Yason Banal (Philippines), Sophal Neak and Kim Hak (Cambodia), May Co Naing (Myanmar), MES 56 (Indonesia), Nazaruddin Abdul Hamed and Minstrel Kuik Ching Chieh (Malaysia), Souliya Phoumivong (Laos), Prateep Suthathongthai and Naruebes Vadvaree (Thailand); including Ark Fongsmut as a guest curator.

Location: Main Gallery, 9th floor, BACC For more information: BACC Exhibition Department 939 Rama I Rd., Wangmai, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel. 0-2214-6630-8 Email: exhibition@bacc.or.th www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.36-37.indd 37

3 7

28/10/2558 15:07


art analyze

SMALL TALK GENERATOR ศิลปะ เครือข่าย และอัลกอริทึม

• กนิฏฐา ไม้เรียง และนิธิภัค สามเสน, Small Talk Generator, 2015. เครื่องหยอดเหรียญ, 50x50x170 ซม.

COLUMNIST : VIPASH PURICHANONT

ฤดูรอ ้ นทีผ ่ า่ นมานีผ ้ มได้มโี อกาสร่วมงานกับคนไทยในประเทศอังกฤษจัดเทศกาล Bournemouth Thai Arts Festival ใกล้ชายหาด ที่เมืองบอร์นมัธ เมืองท่องเที่ยวชายทะเลระดับต้นๆ ของประเทศอังกฤษ โดยผมท�ำหน้าที่เป็นหนึ่งในภัณฑารักษ์คัดเลือกผลงานศิลปะมา จัดแสดงในนิทรรศการ “Across The Ocean” หรือ “ข้ามสมุทร” ซึ่งจัดแสดงงานศิลปะของศิลปินไทยและศิลปินนานาชาติที่ท�ำงาน เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมไทยจ�ำนวน 17 คน ส่วนหนึ่งของนิทรรศการให้ความส�ำคัญกับการแสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนของการแลก เปลี่ยนทางวัฒนธรรมในยุคข้อมูลข่าวสาร โดยมุ่งเน้นที่จะน�ำเสนอศิลปะสื่อใหม่ (New Media Art) หรือศิลปะที่ให้ความสนใจกับการ ใช้เทคโนโลยีรว่ มสมัยต่างๆ ในกระบวนการสร้างสรรค์ ตัวอย่างเช่นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสัญญาณจีพเี อส เป็นต้น ในที่นี้ผลงานศิลปะที่ชื่อว่า Small Talk Generator ซึ่งเป็นผลงานของกนิฏฐา ไม้เรียง และนิธิภัค สามเสน สองศิลปินนัก ออกแบบชาวไทยทีท ่ ำ� งานอยูใ่ นกรุงลอนดอนได้รบ ั คัดเลือกร่วมแสดงด้วย และผมคิดว่าผลงานดังกล่าวเป็นตัวอย่างทีด ่ ท ี สี่ ด ุ ในการท�ำความ เข้าใจศิลปะสื่อใหม่ซึ่งอาจจะไม่เป็นที่แพร่หลายมากนักในวงการศิลปะบ้านเรา ผมจึงขอถือโอกาสนี้ใช้ผลงานดังกล่าวเป็นตัวอย่างในการ พูดถึงการท�ำงานของศิลปินสื่อใหม่และสุนทรียศาสตร์ใหม่ (New Aesthetic) ซึ่งเป็นค�ำที่ถูกตั้งขึ้นมาเพื่ออธิบายความเปลี่ยนแปลง ทางสุนทรียศาสตร์ที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีดิจิทัล โดยหวังว่าตัวอย่างนี้จะช่วยให้เราเข้าใจและชื่นชมผลงานเหล่านี้ได้ดีมากขึ้น

38

baccazine issue 12

Mol_G502_P.38-39.indd 38

22/10/2558 17:53


Small Talk Generator เป็นผลงานศิลปะที่ ผูช้ มมีปฏิสมั พันธ์ ซึง่ มีหน้าตาเหมือนกับลูกผสม ของเครือ่ งหยอดเหรียญและเครือ่ งพิมพ์ใบเสร็จ เมื่อผู้ชมหยอดเหรียญ 20 เพนนี (ประมาณ 5 บาท) เข้าไปในเคริื่อง มันจะประมวลผลจาก ฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์ กล่าวคือ ระบบปฏิบตั กิ ารภายในตัวเครือ่ งจะรวบรวมและ วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารและข้อมูลที่จ�ำเป็นอื่นๆ จากฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมต่อด้วย ระบบไร้ ส ายอั ล กอริ ทึ ม (Algorithm) หรื อ วิธีการแก้ปัญหาที่เป็นขั้นตอน และใช้ตรรกะซึ่ง ศิลปินเป็นผูก้ ำ� หนดขึน้ ให้กบั ตัวเครือ่ ง เสร็จแล้ว เครื่องจะพิมพ์ “ใบเสร็จ” ที่มีข้อมูลของข่าวสาร ในประเทศไทยและอังกฤษ เช่น หัวข้อข่าวยอด นิยม และพยากรณ์สภาพอากาศประจ�ำวันให้กบั ผูช้ ม ภายใต้ความเรียบง่ายทัง้ หน้าตาและแนวคิด Small Talk Generator จึงบรรจุไปด้วยความ ซับซ้อนทางกระบวนการและเทคนิค ผลงานเป็น เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ชิ้นเล็กๆ ที่ท�ำงานด้วยการ เชื่อมต่อกับข้อมูลขนาดใหญ่ ในแพลตฟอร์ม ดิจิทัลที่น�ำเสนอภาพแสดงแทนของความเป็น ไปได้ของการจัดเรียงข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของ สองประเทศ ให้เห็นว่ามีความหลากหลายและ ซับซ้อนเพียงใด แต่ค�ำถามส่วนใหญ่ของผู้ชม ก็คือ เมื่อสิ่งที่เขาได้รับเป็นเพียงข้อมูลที่ ไม่มี ความสวยงาม เครื่องหยอดเหรียญดังกล่าวจะ สามารถเรียกว่าผลงานศิลปะได้หรือไม่ ผมเห็นว่า Small Talk Generator จึงเป็น ตัวอย่างที่ดีของผลงานศิลปะรูปแบบหนึ่งที่ยืน อยูร่ ะหว่างศิลปะและเทคโนโลยีในโลกร่วมสมัย ซึ่ ง ค� ำ จ� ำ กั ด ความของสุ น ทรี ย ศาสตร์ ก� ำ ลั ง เปลีย่ นแปลงไป เจมส์ ไบรเดิล (James Braidle) ศิลปินและนักเขียนจากลอนดอนเรียกจุดยืน ดังกล่าวว่า สุนทรียศาสตร์ใหม่ (New Aesthetic) ซึ่งไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับความสวยงามที่ ได้

from New Media artists, or artists that use new technology as their medium. Small Talk Generator by (Koong and Dott) two Thai artists and designers based in London was the outstanding work that can be an example of this movement that might not very familiar to Thai audiences. The artwork is, in short, a vendor machine that creates a receipt that consists of data from news headlines to fun facts from/about Thailand and England. Simple as its concept and appearance might look, it generates each receipt using a complex algorithm that swamp through a massive collection of data to analyze, categorize, select and present in real-time. It shows the process of culture exchange in the most contemporary form. The work cannot be appreciated by the beauty of its surface but the understanding of the artists’ effort to work with networked วิภาช ภูริชานนท์ technology creatively, which is the way of กรกฎาคม 2015 admiring new media art. The challenge is how would the audiences comprehend “Thainess” in this most contested form?

รับโดยตรงจากผัสสะอีกต่อไป แต่เป็นความ ชื่นชมที่ต้องใช้ความเข้าใจความพยายามของ ศิ ล ปิ น ในการจั ด การกั บ เทคโนโลยี เ ครื อข่ าย (Networked Technology) อย่างสร้างสรรค์ แต่อปุ สรรคของสุนทรียศาสตร์ใหม่กค็ อื มันเรียกร้องความเข้าใจเบื้องต้นของผู้ชมต่อพัฒนาการ ของเทคโนโลยีและศิลปะ เพื่อท�ำความเข้าใจ ความสวยงามดังกล่าว และนั่นดูจะเป็นปัญหา ของการจัดแสดงผลงานนี้ ในเมื่อผู้ชมส่วนใหญ่ ยังไม่ได้มีข้อมูลและประสบการณ์เพียงพอที่จะ ชืน่ ชมศิลปะในรูปแบบดังกล่าว แม้วา่ พวกเขาใช้ เทคโนโลยีลักษณะเดียวกันอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน ก็ตามที ดังนั้นแม้ว่า Small Talk Generator จะ น�ำเสนอความเป็นไทยจากสือ่ ใหม่ในรูปแบบของ ข้อมูล แต่สุนทรียศาสตร์ของความเป็นไทยก็ยัง คงปฏิเสธที่จะชื่นชมตัวมันเองในสื่อใหม่ที่ร่วม สมัยกว่า ความท้าทายนี้ ไม่ได้เป็นของศิลปิน เพียงอย่างเดียวเสมอไป แต่รวมถึงภัณฑารักษ์ นักวิจารณ์ และศิลปะร่วมสมัยเองด้วย

SMALL TALK GENERATOR: ART, NETWORK AND ALGORITHM I recently curated an exhibition titled “Across the Ocean” which is a main component in Bournemouth Thai Arts Festival in England. One of the sections addressed the cultural exchanges between two countries in the stream of the information age. It consists of artworks

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.38-39.indd 39

3 9

22/10/2558 17:53


idea of Life

“ ผมพูดน้อย แต่ชอบฟัง” เบื้องหลัง ศิลปิน Sound Art ที่น่าจับตา

อานนท์ นงค์เยาว์ COLUMNIST : MODDUM

40

baccazine issue 12

Mol_G502_P.40-45.indd 40

22/10/2558 19:08


ถ้าถามถึงงานศิลปะที่เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์ กับเทคโนโลยี ต้องมีซาวนด์อาร์ต (Sound Art) หรือศิลปะทางด้านเสียงเป็นหนึง่ ในนัน ้ และศิลปินดาวรุ่งที่น่าจับตามองอย่างยิ่งใน วันนี้ย่อมมีชื่อของ “อานนท์ นงค์เยาว์” ติด อยูใ่ นอันดับต้นๆ เขามีผลงานอย่างต่อเนือ่ ง ทั้งโปรเจ็กต์ในเมืองไทยและระดับนานาชาติ เช่น TRANCE นิทรรศการจัดวางเสียง และวี ดิ ทั ศ น์ ที่ น� ำ เสนอและตั้ ง ค� ำ ถามต่ อ สังคมปัจจุบันด้วยการน�ำบทเพลงที่ถูกใช้ โฆษณาชวนเชื่ อ มาสร้ า งพื้ น ที่ แ ละความหมายใหม่ ใ ห้ กั บ บทเพลง รวมไปถึ ง ซี รี ส ์ กิจกรรมทดลองทางด้านเสียงของหอศิลปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานครภายใต้ แนวคิด “Drift”

ปัจจุบนั อานนท์พำ� นักอยูท่ ปี่ ระเทศญีป่ นุ่ เพือ่ ร่วมโครงการ Koganecho Bazaar Artist-inResidence Program, Yokohama โดยก�ำลัง คร�่ำเคร่งกับโปรเจ็กต์ศิลปะด้านเสียงทดลองที่ มีชื่อเก๋ไก๋ว่าว่า Shepherd Boy’s Channel (a mobile of live film & sound experimental) หรือ “ช่องสัญญาณของเด็กเลี้ยงแกะ” มาพูดคุยกับศิลปินหนุม่ คนนีพ้ ร้อมทัง้ ล้วงลึก เรื่องราวของซาวนด์อาร์ตที่อาจยังไม่เป็นที่รู้จัก อย่างแพร่หลาย หากแต่มีแง่มุมน่าสนใจไม่แพ้ ศิลปะแขนงอื่นเลยจริงๆ อยากให้พด ู ถึงโครงการทีท ่ ำ� อยูต ่ อนนี้

“Shepherd Boy’s Channel เป็นโปรเจ็กต์ ที่ค่อนข้างออกไปในแนวทดลองเกี่ยวกับเสียง และภาพ ผมได้แรงบันดาลใจมาจากการฉาย หนังกลางแปลงในเมืองไทย ซึง่ สมัยเด็กผมชอบ ไปดูมาก ถ้ามีหนังกลางแปลงแถวบ้านหรือผ่าน ไปเจอมักจะไม่พลาด บางครั้งก็ดูเรื่องเดียวกัน แต่ต่างสถานที่ออกไป อย่างเรื่องวิ่งสู้ฟัด ที่ เฉินหลงแสดง ดูไม่ต�่ำกว่าห้ารอบแต่ความรู้สึก ไม่ซ�้ำกันเลย เพราะใช้คนพากย์เสียงสด ตรง นี้ แ หละที่ ท� ำให้ ค วามรู ้ สึ ก เปลี่ ย นไปในแต่ ล ะ สถานที่ คนพากย์มักใส่มุกตลกและเชื่อมโยง เข้ากับเรื่องราวที่เกิดขึ้นในบ้านเรา บางครั้งเอา เรื่องสถานการณ์ที่ตึงเครียดในสังคมมาล้อเล่น เปลี่ยนชื่อตัวละครให้เป็นชื่อนักการเมืองที่เรา

คุน้ เคย ให้เป็นผูร้ า้ ยบ้าง เป็นกะเทยบ้าง วิจารณ์ แบบตลกๆ แต่งเติมความรู้สึกสดๆ เข้าไป อีก อย่างหนึ่งคือ ผมชอบการเคลื่อนที่ไปฉายตาม สถานที่ต่างๆ เพราะเป็นการเคลื่อนไหวแบบ place by place ไม่ต้องยึดติดอยู่กับศูนย์กลาง ที่คอยควบคุมภาพและเสียงเหมือนรายการทีวี ที่ต้องใช้ห้องส่งสัญญาณในการออกอากาศ จุดนี้เองท�ำให้ผมสนใจที่จะท�ำโปรเจ็กต์นี้ เลย สร้างเครื่องฉายหนังและติดเครื่องมือท�ำเสียง ต่างๆ บนจักรยาน ปั่นไปรอบเมืองโยโกฮามา เพื่อเชิญให้คนมาท�ำภาพและเสียงทดลองร่วม กัน เราก็จะได้เห็นวิชวลและซาวนด์ที่ไม่ซ�้ำกัน ในแต่ละสถานที่ที่จอดจักรยาน ตรงจุดนี้สำ� คัญ ส�ำหรับผมมาก เพื่อเปิดโอกาสให้คนทั่วไปได้ใช้ เสียงร่วมกัน และมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง ร่วมกัน แม้ว่าเสียงและภาพที่ออกมาจะเป็น นามธรรม ดูรู้เรื่องบ้างไม่รู้เรื่องบ้าง และไม่ได้ เป็นเสียงดนตรีที่ไพเราะ แต่เป็นการเปิดโอกาส ให้ทกุ คนมีสว่ นร่วมใช้เสียง และเป็นอีกช่องทาง หนึ่งในการแสดงออกโดยไม่ผ่านการควบคุม” อะไรคือ “หัวใจ” ของซาวนด์อาร์ต

ค่าของความรู้สึกออกมาเป็นเสียงโดยไม่ไปยึด ติดอยู่กับโครงสร้างของแนวดนตรีต่างๆ แต่ใช้ กระบวนการเดียวกับคนที่ได้ยนิ ปกติ ศิลปินกลุม่ นีอ้ ยากให้ผฟู้ งั รับรูภ้ าษาทีอ่ ยูอ่ กี โลกหนึง่ ของคน หูหนวก ซึ่งไม่ใช่ภาษาที่เราใช้ และอยากให้คน ทั่วไปรับรู้ในความแตกต่างนั้น” Sound Art Installation ถือก�ำเนิดขึน ้ ในโลกนีเ้ มือ ่ ไหร่

“เป็น ค�ำถามที่ต อบยากมาก ในช่วงแรก ศิลปินที่ท�ำงานประเภทนี้จะน�ำซาวนด์ (Sound) มาเป็นส่วนประกอบกับงานอาร์ตอินสตอลเลชัน่ (Art Installation) เช่น ประติมากรรม รูป เขียน หรือภาพถ่าย ซึ่งยังไม่มีความชัดเจนว่า ถือก�ำเนิดมาตั้งแต่เมื่อไหร่ แต่ช่วงที่มีบทบาท เกี่ยวกับซาวนด์อาร์ต และท�ำให้เกิดซาวนด์อาร์ตอินสตอลเลชั่น (Sound Art Installation) อย่างจริงจังคงเป็นช่วง 1960 โดยกลุ่มฟลักซัส (Fluxus) ที่มีสมาชิกเป็นศิลปินหลายแขนงมา รวมตัวกันทั้งนักแต่งเพลง นักดนตรี กวี นัก เขียน นักปรัชญา นักออกแบบ นักแสดง และ มีการท�ำงานร่วมกันโดยใช้เสียงเข้ามาทดลอง กับกิจกรรมต่างๆ ที่กลุ่มฟลักซัสจัดขึ้นเพื่อหา ทางออกใหม่ส�ำหรับศิลปะ ‘Anti-Art’ ซึ่งเน้น การท�ำงานแบบสหศาสตร์ ศิลปินทีม่ บี ทบาทช่วง ต้นคือจอห์น เคจ, ฟิลิป คอร์เนอร์, โจ โจนส์ “ส่วนอัน นี้ผมขอตอบแบบตัดค�ำว่าอาร์ต (Art) ออกไป ซาวนด์อินสตอลเลชั่น (Sound Installation) ถือก�ำเนิดเมื่อไหร่ ในโลกน่าจะ เป็นค�ำถามที่ใกล้ตัวมาก ลองสังเกตสถานที่ที่มี ซาวนด์อินสตอลเลชั่นในบ้านเราดู อย่างภายใน วัดจะมีการติดตั้งอุปกรณ์ก�ำเนิดเสียงเยอะมาก ทั้งกลอง ระฆัง กระดิ่ง ฆ้อง หลายอย่าง อันนี้ คือซาวนด์อินสตอลเลชั่น เป็นอาร์ตไหมไม่รู้นะ รูแ้ ต่วา่ เห็นมาตัง้ แต่เกิด ซึง่ ซาวนด์อนิ สตอลเลชัน่ มักจะอยู่กับสถานที่ที่ ใช้ในเชิงความเชื่อหรือ ศาสนาเสมอ และยุคแรกก็อยู่ในโบสถ์ ส่วนนีผ้ ม ขอเว้นไว้เป็นค�ำถามชวนให้ผทู้ อี่ า่ นบทสัมภาษณ์ นี้ลองคิดดูว่าท�ำไม”

“ขอตอบแบบรวมๆ นะครับ ซาวนด์อาร์ต คือศิลปะแขนงหนึ่งที่ ใช้เสียงเป็นตัวกลางใน การสื่อสารแนวคิดของศิลปิน ที่ท�ำงานด้านนี้ ออกมา ดังนั้นหัวใจของซาวนด์อาร์ตคือเสียงที่ น�ำมาใช้นั้นมีผลและบทบาทอย่างไรกับผู้ที่เข้า มารับฟังหรือชมผลงาน ความรู้สึกจะเกิดจาก เสียงเป็นหลักมากกว่าส่วนประกอบอื่นๆ แต่ก็ มีค�ำถามที่ว่า แล้วศิลปินที่ท�ำงานเพลงถือเป็น ซาวนด์อาร์ตไหม ส�ำหรับผมเป็นไปได้หมด อยูท่ ี่ บริบทของสังคมนัน้ ๆ และการหยิบเพลงใดเพลง หนึ่งมาใช้เพื่อให้เกิดความหมายต่อ หรือผล กระทบต่อคนในพื้นที่นั้น เหมือนงานของศิลปิน รุ่นใหม่กลุ่มหนึ่งที่เชียงใหม่ชื่อกลุ่ม ‘ตั้งใจจะ ท�ำ sound จนหูฉีก’ โดยใช้กระบวนการท�ำงาน ด้วยการเขียนโน้ตเพลงแบบนักดนตรีทั่วไป แต่ เปลี่ยนให้คนหูหนวกมาเขียนโน้ตเพลง ซึ่งคนหู หนวกไม่รู้ว่าเสียงของโน้ตแต่ละตัวเป็นอย่างไร เพียงแต่เขียนลงไปตามความรู้สึกเหมือนการ วาดรูป แล้วน�ำโน้ตเพลงนั้นมาเล่น เสียงที่ ได้ ท�ำไมสนใจศิลปะแขนงนีเ้ ป็นพิเศษ ออกมาน่าสนใจมากทีเดียว เหมือนกับการแปล “จริงๆ แล้วในตอนเริ่มต้นผมไม่รู้ว่าตัวเอง

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.40-45.indd 41

4 1

22/10/2558 19:12


สนใจเรือ่ งซาวนด์อาร์ต รูแ้ ต่วา่ ชอบใช้เสียงเข้ามา เป็นส่วนประกอบในงานศิลปะ พอได้รจู้ กั อาจารย์ ชัชวาล นิลลสกุล ซึง่ เป็นอาจารย์ทปี่ รึกษาของผม สมัยเรียนปริญญาตรี เขาแนะน�ำให้รจู้ กั ซาวนด์อาร์ตและศิลปินต่างๆ เพราะเห็นว่าผมท�ำงาน เกีย่ วกับด้านนี้ ตอนหลังผมเริม่ มานัง่ วิเคราะห์งาน ตัวเองและตั้งค�ำถามว่าท�ำไมถึงท�ำงานเกี่ยวกับ ด้านนี้ ก็พบว่าสมัยเด็กผมโตในค่ายทหาร พ่อเป็น ทหารช่าง และทีพ่ กั ก็อยู่ใกล้กบั สถานีวทิ ยุทหาร จะได้ยนิ เสียงอะไรแปลกๆ เยอะมากออกมาจาก เครือ่ งส่งสัญญาณกระจายเสียง ถ้าเป็นวันหยุด อยูบ่ า้ นจะได้ยนิ ประกาศของราชการผสมกับเสียง แปลกๆ ทัง้ วัน ผมเลยเป็นคนพูดน้อยและชอบฟัง มากกว่า พอเรียนศิลปะจึงน�ำเสียงต่างๆ เหล่านี้ สะท้อนออกมาในงานอย่างไม่รตู้ วั ในช่วงแรก แต่ ตอนหลังผมศึกษาเพิ่มเติมและรู้สึกว่าเสน่ห์ของ ซาวนด์อาร์ตคือพืน้ ทีเ่ ปิดอย่างไม่จำ� กัดทุกรูปแบบ ซาวนด์เป็นเหมือนสือ่ ทีท่ ำ� ให้เราทุกคนสัมผัสด้วย การได้ยนิ เชือ่ มโยงสิง่ ต่างๆ เข้าหากันอย่างไม่รู้ ตัว และงานประเภทนี้จะดึงประสบการณ์ของผู้ ชมออกมาตีความล้วนๆ” ศิลปินต้นแบบ

“คนแรกคือเดวิด ลินช์ เป็นทั้ง Director, Painter, Experimental Music Artist ผมรูส้ กึ ว่า ความเป็น Mutilple Artist ที่สามารถแสดงออก ได้อย่างชัดเจนถึงอิสระของความคิดและน�ำสิ่ง ต่างๆ มาผสมกันมีอิทธิพลต่อการท�ำงานของ ผมมาก เพราะผมก็ไม่ได้ทำ� แต่งานซาวนด์อาร์ต อย่างเดียว ยังมีหนังทดลองและสิง่ อืน่ ทีเ่ ราสนใจ และทดลองท�ำอยู่ คนทีส่ องคือคาร์สเทน นิโคไล เป็นศิลปินซาวนด์อาร์ตอินสตอลเลชัน่ ที่ไม่จำ� กัด ตัวเอง เราจะเห็นการทดลองใหม่ๆ เกิดขึ้นใน งานของเขาเสมอ และการทดลองเกี่ยวกับเสียง ก็มปี ฏิสมั พันธ์กบั คนและสถาปัตยกรรมด้วยเช่น เดียวกัน” ช่วยอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเสียง ศิลปะ และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

“ถ้าเรามองภาพของเสียงว่าเป็นผลมาจาก แรงสั่น สะเทือน (Vibration) จะเห็น ภาพได้ ชัดเจน ในทุกสรรพสิ่งมีหน่วยอะตอมแฝงอยู่ และอะตอมมีการเคลือ่ นไหวตลอดเวลาแม้วา่ สิง่ ต่างๆ ทีเ่ ราเห็นจะอยูน่ งิ่ ๆ ก็ตาม การเคลือ่ นไหว ภายในท�ำให้เกิดแรงสั่นสะเทือน ผลของแรง สั่นสะเทือนท�ำให้เกิดเสียง ดังนั้นเสียงจึงมีส่วน สัมพันธ์กับความรู้เชิงวิทยาศาสตร์ และสร้าง 42

ปัจจุบัน ลองสังเกตประเทศที่มีการศึกษาเรื่อง นี้มักเป็นกลุ่มประเทศที่มีความเจริญทางด้าน วั ต ถุ ส มบู ร ณ์ แ ล้ ว สิ่ ง ที่ ป ระเทศเหล่ า นั้ น จะ สนใจและศึกษาต่อไปคือเรื่องของนามธรรมที่ อยู่เบื้องหลังวัตถุต่างๆ ซึ่งซาวนด์อาร์ตก็เป็น หนึ่งในนั้น แนวทางการส่งเสริมในตอนนี้ผม ท�ำโครงการ CMC (Chiang Mai Collective) ร่วมกับอาจารย์ธชั ธรรม ศิลป์สพุ รรณจากสาขา วิชาศิลปะการดนตรีและการแสดง คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ธัชธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์โดยตรงเกี่ยว กับเรื่องการประพันธ์ดนตรีและซาวนด์อาร์ต โดยรูปแบบโครงการจะเป็นการรวมตัวของกลุม่ ศิลปินทีส่ นใจในซาวนด์อาร์ตและเชิญเข้ามาร่วม แสดงงาน ที่ผ่านมาก็เชิญศิลปินนักประพันธ์ เพลงทดลองรุ่นใหม่คือคุณปิยวัฒน์ หลุยลาภประเสริฐมาบรรยายและแสดงผลงานร่วมกับ ศิลปินที่เชียงใหม่ และยังได้น�ำงานของเฟลิซ แอนน์ แมคาฮิส ศิลปินชาวฟิลปิ ปินส์มาแสดงร่วม ช่วงนี้สนใจประเด็นอะไรเป็นพิเศษที่คาด ด้วย ส่วนหนึง่ คือการเน้นเรือ่ งของ Community of Sound เป็นการเข้ามาแชร์กนั เกีย่ วกับความรู้ ว่าจะน�ำมาสร้างงานในอนาคตอันใกล้ “สนใจเรื่องของเสียงที่ท�ำให้คนเป็นอิสระ เรือ่ งซาวนด์ทแี่ ต่ละคนมีอยู่ รวมถึงจัดเวิรก์ ช็อป และมีเสรีภาพ ก�ำลังบันทึกเสียงของเครื่องจักร เกีย่ วกับซาวนด์อาร์ตในรูปแบบต่างๆ” ต่างๆ ที่ก�ำลังจะสิ้น สุดการท�ำงานในโรงงาน เสียงเครือ่ งยนต์ทกี่ ำ� ลังจะดับ เสียงของสิง่ มีชวี ติ แนวโน้มของศิลปะแขนงนี้ในเมืองไทย ที่ก�ำลังสิ้นลมหายใจ คือก�ำลังอยู่ในช่วงทดลอง และระดับสากล ครับ รู้สึกสนใจช่วงเวลาที่อยู่ระหว่างการสิ้นสุด “ในเมืองไทยยังมีช่องทางที่จะท�ำให้ศิลปิน ของสิง่ ต่างๆ เหล่านัน้ ซึง่ อาจเป็นการปลดแอก และผู้ที่สนใจพัฒนาต่อไปได้อีกเยอะมาก และ จากระบบที่ท�ำให้เราติดอยู่ในเงื่อนไขบางอย่าง จะมีบุคลิกของเสียงที่เป็นแบบเฉพาะในภูมิภาค ช่วงแรกผมจะใช้เสียงที่ ได้มาประกอบในหนัง นี้ เพราะองค์ความรู้ต่างๆ ที่เรามีอยู่ยังไม่ค่อย ทดลองความยาวประมาณชัว่ โมงกว่าๆ หนังเรือ่ ง ถูกตีความเพือ่ น�ำมาใช้ในงานแขนงนี้ ผมตืน่ เต้น นี้จะเกี่ยวกับเสียงทดลองที่มีความสัมพันธ์กับ ที่ได้เห็นศิลปินรุ่นใหม่ท�ำงานเกี่ยวกับด้านเสียง โดยน�ำวัฒนธรรมมาตีความเข้าไปด้วย อย่าง มนุษย์” เช่นงานใหม่ปีล่าสุด 2015 ของอานนท์ ไชยสถานการณ์ของซาวนด์อาร์ตในต่าง- แสนสุข ‘Appearing Series’ หรืองาน ‘Sound of Hand Gestures’ ของอนุสรณ์ ธัญญะปาลิต ประเทศเป็นอย่างไร “ในเยอรมนีทเี่ มืองเบอร์ลนิ คนทีน่ นั่ ให้ความ ศิลปินเชียงใหม่ ส่วนในระดับสากลนั้นผมคิดว่า ส�ำคัญกับงานประเภทนีค้ อ่ นข้างเยอะพอสมควร ในแต่ละพื้นที่จะพัฒนางานซาวนด์อาร์ตที่เป็น ซึง่ เป็นเรื่องที่กว้างมากและมีคนจากหลายสาขา ลักษณะของตัวเองมากขึ้น ที่เห็นชัดเจนตอน เข้ามาท�ำเกี่ยวกับเรื่องนี้ มีการประชุมสัมมนา นี้คืออินโดนีเซีย ซึ่งมีศิลปิน ที่ท�ำงานเกี่ยวกับ สอนบทความวิจยั เกีย่ วกับเรือ่ งเสียงกันตลอด” เสียงเยอะมาก เพราะมาจากประสบการณ์ของ เสียงในเมืองนั้นๆ สุดท้ายแนวโน้มที่คาดว่าจะ ท�ำไมในเมืองไทยซาวนด์อาร์ตจึงยังไม่ พัฒนาต่อไปในงานประเภทนี้คือ Sound Art เป็นที่รู้จักในวงกว้าง และควรมีแนวทาง Community โดยใช้สื่อเสียงเป็นตัวกลางใน การแลกเปลี่ยน เชื่อมผู้คนเข้าหากัน ท�ำให้เกิด ส่งเสริมอย่างไร “ผมมองเป็นเรื่องธรรมดาครับ เพราะมัน การเรียนรู้ร่วมกันแบบเครือข่ายโดยไม่จ�ำกัด ยังไม่เชื่อมโยงกับสภาพของสังคมที่เป็นอยู่ ใน สาขาวิชา” ให้เกิดเทคโนโลยีและศิลปะขึ้น เราจะเห็นได้ บ่อยๆ ว่าศิลปิน นักดนตรี และนักวิทยาศาสตร์ สมัยนี้ท�ำงานร่วมกัน ข้ามศาสตร์กันไปมา ยก ตัวอย่างง่ายๆ ที่ท�ำให้เกิดภาพการท�ำงานร่วม กันทีช่ ดั เจนคือ มีรา้ นค้าในห้างญีป่ นุ่ แห่งหนึง่ ขาย ของทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ผูส้ งู อายุ แต่เวลาผูส้ งู อายุ มาซื้อของมักพาเด็กมาด้วยเสมอ และเด็กก็มัก หยิบสินค้าในส่วนที่จัดโชว์ไว้มาเล่น ท�ำให้ต้อง จัดใหม่อยู่ตลอดเวลา เจ้าของร้านจึงทดลองใช้ ล�ำโพงทีอ่ อกแบบมาพิเศษส�ำหรับเปิดคลืน่ ความถี่ ต�ำ่ ใกล้บริเวณทีจ่ ดั โชว์สนิ ค้า เพือ่ ไม่ให้เด็กๆ เข้า มากวน หลังจากเปิดคลื่นความถี่ต�่ำนี้ก็ไม่มีเด็ก มายุง่ บริเวณนัน้ อีกเลย เพราะวัยเด็กจะรับคลืน่ ความถี่ต�่ำได้มากกว่าวัยผู้ใหญ่ คลื่นเหล่านี้จึง ท�ำให้เกิดความร�ำคาญแก่เด็ก แต่ไม่สร้างความ ร�ำคาญให้กับผู้สูงอายุ เพราะอายุมากขึ้นจะรับ ความถี่ต�่ำได้น้อยลง สังเกตว่าคนสูงวัยจะหูตึง ฉะนัน้ เสียงความถีต่ ำ�่ ทีเ่ ปิดจึงไม่มผี ลต่อผูส้ งู อายุ”

baccazine issue 12

Mol_G502_P.40-45.indd 42

22/10/2558 18:32


idea of Life

issue 12 baccazine

Mol_G502_P.40-45.indd 43

4 3

22/10/2558 18:32


idea of Life

ARNONT NONGYAO : SOUND ARTIST Arnont Nongyao is a multidisciplinary artist with a focus on experimental film and sound art. He works with various media including sound, video, installation, site specific, public art, etc. Arnont’s work is engaged with his interest in vibration; he works on diverse art experimental projects that vibration-related. He is interested in sound with a concentration on vibration, so most of his works are experimental and relative to vibration in order to search for the value of vibration derived from connected things, such as human beings, objects, and society. His works are involved in a specific space and audience’s participation. They are also connected with the mode of listening/

44

hearing in a social situation, and with how people interact with and participate in sound. Moreover, he collaborates with Delicate, a group of new artists working on and organizing the activities of experimental music in Chiang Mai. He is currently in Japan and participating in “Koganecho Bazaar Artist-in-Residence Program, Yokohama” and working on his latest project titled “Shepherd Boy’s Channel (a mobile of live film & experimental sound).” The project is inspired by his childhood experience with the outdoor cinema (in Thailand) that used live dubbing which would never be the same twice. Also these outdoor cinemas never stayed in the same place for a long

time, they’d move from place to place freely, and never had to use the central station to broadcast like television. So in this project Arnont bikes around Yokohama city with a projector and sound makers, and invites people to create pictures and sound together. This way he can collect many pictures and sound that are unique to each area he visits. He explains that it is an opportunity to create and amplify the public sound spirit that develops throughout society, even though the pictures and sound would be quite abstract, every sound is more than mere language. It is also another channel that lets you participate and share freely without any control.

baccazine issue 12

Mol_G502_P.40-45.indd 44

22/10/2558 18:32


bacc shop

BACC SHOP ร้านจ�ำหน่ายสินค้าของมูลนิธหิ อศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC Shop) เปิดให้บริการแล้วบริเวณโถงต้อนรับชัน้ 5 และบริเวณทางเข้าชัน้ 3 อาคาร หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยสินค้าต่างๆ ทีจ่ ำ� หน่ายในร้านมีทงั้ สินค้า ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ สืบเนือ่ งจากนิทรรศการต่างๆ ของหอศิลปฯ นอกจากนีย้ งั มีสนิ ค้าอืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจจากศิลปิน บุคคล และองค์กรภายนอกด้วย ทัง้ นีร้ ายได้จากการจ�ำหน่าย สินค้าจะน�ำเข้ามูลนิธหิ อศิลปกรุงเทพฯ เพือ่ สนับสนุนกิจกรรมอันมีประโยชน์ตา่ งๆ ของหอศิลปกรุงเทพฯ ต่อไป

Visit the BACC Shop on the 5th floor and the BACC Kiosk on the 3rd floor of BACC for souvenirs inspired by various exhibitions that have been held here. Other products made by artists and other organizations can also be found. Profits from the sales will be contributed to the BACC Foundation. • issue 12 baccazine

Mol_G502_P.40-45.indd 45

4 5

22/10/2558 18:33


network calendar นิทรรศการจิตรกรรม “Present Tense” 24 กันยายน - 20 พฤศจิกายน 2558 ณ Schemata Gallery ทองหล่อ

Schemata Gallery น�ำ เสนอนิทรรศการจิตรกรรม “Present Tense” โดย อั ง กฤษ อั จ ฉริ ย โสภณ ศิ ล ปิ น ชาวเชี ย งราย ซึ่ ง ตัง้ แต่ปี 2556 อังกฤษได้สร้างสรรค์ผลงานในชุด “Constant Uncertainty” ทีม่ เี นือ้ หาเกีย่ วข้อง กับ “เวลา” และ “ความเปลีย่ นแปลง” ด้วยการ กลับด้านงานจิตรกรรม แสดงให้เห็น “ร่องรอย ทีเ่ กิดขึน้ เอง” ในฐานะงานศิลปะภายใต้แนวคิด หลักนิรกรรมอูเ๋ หวย (Wu Wei) ในนิทรรศการ ครัง้ นีศ้ ลิ ปินต้องการน�ำเสนอจุดเริม่ ต้นของการ ย้อนกลับไปทบทวนตนเองผ่านการท�ำงานศิลปะ โดยเริม่ ต้นระบายสีแดงในแบบโมโนโครมเพือ่ สร้างพื้นที่ว่างใหม่ต่อการตีความในงานของ ตนเอง เพือ่ บันทึกเหตุการณ์และสะท้อนทัศนคติ ต่อการปิดกั้นเสรีภาพ โดยตั้งชื่องานชุดนี้ว่า Present Tense ซึง่ ยังคงมีความหมายสัมพันธ์ กับ “เวลา” และความเป็น “ปัจจุบนั กาล” รวม ถึงสภาวะทีม่ ี “ความตึงเครียด” (Tense) อีกด้วย Present Tense Date: Until November 20, 2015 Location: Schemata Gallery, Thonglor

Schemata Gallery presents a solo exhibition of Chiangrai-based artist Angkrit Ajchariyasophon called “Present Tense”. In 2013, Angkrit debuted his “Constant Uncertainty” exhibition which is all about “time” and “changing” by turning the art itself and explores “naturally trace”, inspired by Wu Wei important concept in Taoism. In “Present Tense” exhibition, the artist presents the beginning of learning and observing himself through art. He painted monochrome red to create a new empty space in his own way, and this new space would be filled with his stories which reflected the attitude under limited liberty. The exhibition titled Present Tense is not only concerned with “time” and “the present time”, but also “tense”. 46

นิทรรศการ “ป่าอารมณ์” 3-31 ตุลาคม 2558 ณ People’s Gallery P3, ชั้น 2

นิทรรศการ “ป่าอารมณ์” โดยกรรณิการ์ จันทร์สวุ รรณ คือการมอง ย้อนกลับไปของศิลปิน ซึง่ เผยให้เห็นเรือ่ งราวเสมือนจริงทางอารมณ์ทเี่ คย ผ่านเข้ามาและศิลปินเลือกหันหลังให้กับมัน ปฏิเสธละทิ้งทั้งหมด เลือก แสดงออกภาวะนัน้ ลงบนผลงานสีนำ�้ มันจ�ำนวน 10 ชิน้ ทีว่ าดด้วยมือซ้าย ซึง่ เป็นมือข้างที่ไม่ถนัด เพือ่ ปฏิวตั คิ วามเคยชินผ่านการควบคุมให้นอ้ ยลง แสดงออกได้อสิ ระมากขึน้ พร้อมการเรียนรูต้ วั ตนอีกด้าน Lost in Mind Forest Date: October 3-31, 2015 Location: People’s Gallery P3, 2nd floor

The “Lost in Mind Forest” exhibition, by Kannika Jansuwan, reveals the surreal stories from the artist’s past. Through the use of her unskilled left hand, the 10 oil paintings in this series display less control, express more freedom, and depict the consciousness from the other side of her mind. นิทรรศการ “Messages from Nowhere to Nowhere” 3 ตุลาคม - 28 พฤศจิกายน 2558 ณ ไลลาแกลเลอรี เชียงใหม่

นิทรรศการโดยปิยะรัศมิ์ ปิยะพงศ์ววิ ฒ ั น์ ซึง่ เกิด จากการท�ำงานในการเข้าร่วมโครงการศิลปินในพ�ำนัก ที่ไทลิวดู อาร์ทสิ ต์เรสซิเดนซี อ�ำเภอบางละมุง จังหวัด ชลบุรีเป็นเวลาสามเดือน ปิยะรัศมิ์มักท�ำงานเกี่ยว เนือ่ งกับประเด็นร่วมสมัย โดยเฉพาะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ โดยน�ำแนวคิดของนักปรัชญา นัก คิด นักเขียนในศาสตร์ดงั กล่าวมาเป็นกรอบความคิดในการท�ำงานศิลปะ ในนิทรรศการครัง้ นีป้ ยิ ะรัศมิ์ ได้นำ� แนวความคิดเรือ่ งมโนทัศน์ทอ้ งถิน่ ข้ามท้องถิน่ (Translocality) มาใช้เป็นกรอบความคิดในการ ท�ำงานกับผูค้ นในชุมชนอย่างเขตการปกครองพิเศษพัทยาและพืน้ ทีโ่ ดยรอบ ซึง่ ประกอบไปด้วยผูค้ น จากหลากหลายชาติพนั ธุ์ และเป็นเมืองทีม่ อี ตั ราการย้ายถิน่ ฐานสูงเมืองหนึง่ นิทรรศการดังกล่าวเป็น เสมือนการน�ำเสียงสะท้อนจากผูค้ นในพืน้ ทีห่ นึง่ มาร้อยเรียงขึน้ ใหม่ และบอกเล่าเสียงทีด่ เู หมือนไม่มี ความหมาย รวมถึงเสียงที่ไม่เคยถูกรับฟังเหล่านัน้ ผ่านชุดผลงานทีป่ ระกอบด้วยผลงานวิดโี อ ผลงาน ทีท่ ำ� จากไฟนีออน และผลงานภาพถ่ายสารคดี Messages from Nowhere to Nowhere Date: Until November 28, 2015 Place: Lyla Gallery, Chiang Mai

Messages from Nowhere to Nowhere is a solo exhibition by emerging Thai artist, Piyarat Piyapongwiwat. The project was initiated and executed in Pattaya city and the surrounding area near Banglamung district, Chonburi Province, where Piyarat spent 3 months in the residency program at Thaillywood Artist Residency. Piyarat’s work often engaged with contemporary issues, especially sociology and anthropology by utilising the ideas, theories or concepts as a framework in her art practice. In this exhibition, Piyarat chooses to work on the subject of translocality in Pattaya area which is a special administrative area, the city comprises people from various ethnic and socioeconomic backgrounds. Piyarat collects phrases and sentences from people residing in the area to form a lexical tapestry. The exhibition includes video, neon, and documentary photograph.

baccazine issue 12

Mol_G502_P.46.indd 46

22/10/2558 18:34


Mol_P.47_ad HUB.pdf

1

22/10/2558

18:37


Mol_P.48_AD ithipol.pdf

1

22/10/2558

18:39


บ้ า นจิ ม ทอมป์ สั น สถานี ร ถไฟฟ้ า สยาม สถานี ร ถไฟฟ้ า สนามกี ฬ าแห่ ง ชาติ

BTS Siam Station

BTS National Stadium Station

ที่ตั้งและการเดินทาง

bacc ตั้งอยู่หัวมุมสี่แยกปทุมวัน ตรงข้ามห้างมาบุญครองและสยามดิสคัฟเวอรี่ ชั้น 3 ของหอศิลปกรุงเทพฯ มีทางเดินเชื่อมต่อกับทางยกระดับ BTS รถไฟฟ้าบีทีเอส : ลงได้ที่สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ และออกทางประตูที่ 3 จอดรถ : สามารถจอดรถที่ชั้นใต้ดินของอาคารหอศิลปกรุงเทพฯ เข้าทางด้านถนนพญาไท (ที่จอดรถมีจ�ำนวนจ�ำกัดและมีค่าบริการ) รถประจ�ำทาง : สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73ก, 79, 93, 141, 159, 204, ปอ.508 และ ปอ.529 เรือโดยสาร : เรือสายคลองแสนแสบ เส้นทางสะพานผ่านฟ้า-ประตูน�้ำ ขึ้นที่ท่าเรือสะพานหัวช้าง เดิน 300 เมตรถึงหอศิลปกรุงเทพฯ สี่แยกปทุมวัน เวลาเปิดบริการ : วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 10.00-21.00 น. (หยุดวันจันทร์) ค่าเข้าชม : ไม่เสียค่าเข้าชม ยกเว้นการจัดกิจกรรมและการแสดงที่เป็นกรณีพิเศษ How to go to bacc

bacc is located at the Pathumwan Intersection, facing the MBK and Siam Discovery Center. The 3rd floor entrance is connected to the BTS skywalk BTS : National Stadium Station Cars : Limited parking is available at level B1 and B2 Buses : 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73ก, 79, 93, 141, 159, 204, air-con 508 and air-con 529 Boat : Saen-saeb canel route (Panfa Bridge-Pratumnam), use the Sapan Hua-Chang landing, 300 m. to the art Centre Opening hours : 10 a.m.-9 p.m. (closed on Monday) Addmission : Free entry to exhibitions, except for special events. Charges to concerts and play will vary.

issue 10 baccazine

Mol_G502_in back.indd 49

4 9

22/10/2558 19:28


Back.pdf

1

22/10/2558

19:27


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.