Baccazine issue06 / 2013

Page 1



01

baccazine says อะไรทําใหเมืองหลวงอยาง ปารีส ลอนดอน เบอรลนิ โรม และอัมสเตอรดมั ไดชอ่ื วาเปนเมืองศิลปะ

What makes Paris, London, Berlin, Rome and Amsterdam art cities?

คงเปนเพราะการมีอยูจ าํ นวนมากของพิพธิ ภัณฑ หอศิลป และโรงละคร การ เปนทีส่ ะสมผลงานระดับมาสเตอรพซี ไปจนถึงความงามทีเ่ ปนมนตขลังของ มรดกทางสถาปตยกรรม รานรวงและยานเกาทีป่ รับเปลีย่ นใหเปนพืน้ ทีแ่ สดง ศิลปะอยางกลมกลืน ประติมากรรมชิน้ เลิศพบไดในสวนสาธารณะทุกแหงหน การดีไซนทางเทาใหเดินเลนชมเมืองอยางสบายอารมณ และการมีกจิ กรรม ศิลปวัฒนธรรมกลอมเกลาผูส ญ ั จรอยางตอเนือ่ งตลอดป

It may be due to the countless numbers of theaters, museums and galleries which hold the world’s art masterpiece collections. The cities’ architecture imprints unforgettable memories in one’s mind. Shops and old towns become public art spaces where amazing sculptures can be found in each and every public park. Footpaths have been designed to accommodate city sightseeing activities. Art events are organized regularly throughout the whole year.

“เมืองศิลปะ” ในอีกมุมมองหนึง่ ก็คอื เมืองทีอ่ บอวลดวยสภาพแวดลอมทีม่ ี เสนห รืน่ รมย ชวนคนหา สรรคสรางจินตนาการไดไมรเู บือ่ บางเมืองอาจไม ไดมแี กลเลอรีม่ ากมายอยางปารีสก็สามารถปลูกสุนทรียะใหเมืองได ดวยการ สงเสริมการสรางศิลปะในชุมชนและพืน้ ทีส่ าธารณะใหมชี วี ติ ชีวา เชน อาคาร รกราง ทางเดิน ปายรถเมล สะพานลอย หรือแมแตถงั ขยะ

It can be stated then that “art cities” are places with a pleasant environment that encourages endless creation and creativity. They promote aesthetics through the support of community arts and lively public spaces. Every corner of the cities is full of art, even in the abandoned buildings, footpaths, bus stops, bridges and trashcans.

อะไรจะทําใหเมืองหลวงอยาง “กรุงเทพมหานคร” ไดชื่อวาเปนเมืองศิลปะ คําตอบคือความเปนไปไดของทั้งหมดขางตน โดยเริ่มจากเรื่องราวในหนา ถัดไปนับจากนี้….

What can make the capital city like Bangkok become an art city? Read on to find out…

บรรณาธิการบริหาร

Editor-in-chief

baccazine

บรรณาธิการอํานวยการ ลักขณา คุณาวิชยานนท์

Managing Editor Luckana Kunavichayanont

โดยหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นิตยสารศิลปะเพื่อประชาชน, แจกฟรีรายสามเดือน ฉบับที่ 6 / 2556

บรรณาธิการบริหาร รัชนีภรณ์ เรืองดิษยรัตน์

Editor-in-chief Rachaneeporn Rueangditsayarat

บรรณาธิการ ชนม์นิภา บัณฑิตพุฒ

Editor Chonnipa Banditput

บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ อลิสา อนุกูลประเสริฐ

Art director Alisa Anugulprasert

กราฟิคดีไซน์ แอนดริว

Graphicdesigner Andrew

ดําเนินการจัดทําและจัดพิมพ์โดย บริษัท แจสมิน มีเดีย จํากัด โทรศัพท์ : 086 339 1181, 083 130 2744 โทรสาร : 02 254 6381

Producer Jazzmin Media Co.,Ltd. Tel : 086 339 1181, 083 130 2744 Fax : 02 254 6381

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : 0 2214 6630 - 8 โทรสาร : 0 2214 6639 Website : www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage

Bangkok Art and Culture Centre Tel : 0 2214 6630 - 8 Fax : 0 2214 6639 Email : pr@bacc.or.th

หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานครอยู่ ใ นความ ดูแลของมูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ด้วยการจัดตั้งและสนับสนุนหลักจากกรุงเทพมหานคร By Bangkok Art and Culture Centre (bacc) Art Magazine for people, three - month free copy Issue 6 / 2556 Bangkok Art and Culture Centre (bacc) is under the supervision of Bangkok Art and Culture Centre Foundation, set up and tremendously supported by Bangkok Metropolitan Administration

BANGKOK,CITY OF ART


02

CONTENTS

CONTENTS Flash Light Theme Cover Did You Know World of Art World Artist In The Mood of Art The Sketch Artist Timeline My Studio Artist Hangout Exhibition Network Calendar Bacc Review Art Analyze Art Word Art Question

3 6 14 16 18 20 26 28 30 34 36 40 42 44 46 48

6

16

36

30 46 34

BACCAZINE | ISSUE 06


FLASH LIGHT

03

16 ตุลาคม 2555

อภิรักษ โกษะโยธิน ประธานกรรมการ มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพ มหานคร (ที่ 3 จากซาย) ในงานเปด Dream Thailand นิ ท รรศการ จากผลงานและเสี ย งสะท อ นภาพฝ น

Apirak Kosayodhin (3rd person from left), Chairman of Bangkok Art and Culture Centre Foundation, in “Dream Thailand Exhibition” on 16 October 2012. 30 ตุลาคม 2555

อ.สุลักษณ ศิวรักษ เปนประธาน ในงานแถลงข า วการจั ด งาน แสดงของสถาบั น ละครใบ คนหนาขาว

30 ตุลาคม 2555

Sulak Sivaraksa as the press conference chairman for the performance of “Konnakhao Mime Academy” on 30 October 2012.

อ.จักรพันธุ โปษยกฤต ศิลปน แห ง ชาติ มาชมนิ ท รรศการ “ไทยเท…จากทองถิน่ สูอ นิ เตอร”

24 พฤศจิกายน 2555 bacc photo

Chakrabhand Posayakrit, a National Artist visited the exhibition “Thai Trends…from Localism to Internationalism” on 30 October 2012.

นิติกร กรัยวิเชียร อุปนายกสมาคม ถายภาพแหงประเทศไทยฯ เปน ประธานในงานเป ด นิ ท รรศการ สมบูรณแบบ : นิทรรศการภาพถาย ครั้งที่ 1 : 3 Women Nitikorn Kraivixien, the Vice President of the Royal Photographic Society of Thailand (RPST), as the chairman of the opening ceremony of “Picture Perfect: A Photography Series Exhibition Part I : 3” on 24 November 2012.

29 พฤศจิกายน 2555 bacc exhibition

ร.ศ.ปริญญา ตันติสุข คณบดีคณะ จิ ต ร ก ร รม ป ร ะ ติ ม า ก ร รม แ ล ะ ภาพพิมพ มหาวิ ท ยาลั ย ศิลปากร ประธานเปดนิทรรศการ“สยามแอพ” Siam Application / Appreciate / Apply Assoc. Prof. Parinya Tantisuk, Dean, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, as the chairman of the opening ceremony of the exhibition “Siam Application / Appreciate / Apply” on 29 November 2012.

8 ธันวาคม 2555 bacc exhibition

เพชร โอสถานุเคราะห กรรมการมูลนิธิหอศิลป วัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร เปนประธานใน งานเปดนิทรรศการ Hear Here เสียง เสียง

BANGKOK,CITY OF ART

Petch Osathanugrah, a committee of Bangkok Art and Culture Centre Foundation, as the chairman of the opening ceremony of the exhibition “Hear Here” on 8 December 2012.


04

FLASH LIGHT

19 มกราคม 2556 bacc exhibition

18 มีนาคม 2556

Atsuhiro Ito ศิลปนรับเชิญจากญี่ปุน ในการ แสดงสดทางแสงและเสียง ซึ่งเปนสวนหนึ่ง ของนิทรรศการ Hear Here เสียง เสียง

เจาหญิงมาทิลด แหง ราชอาณาจักรเบลเยียม เสด็จพระราชดําเนิน เป น ประธานในพิ ธี เ ป ด นิทรรศการศิลปะ “ไตรรงคแหงเบลเยียม”

Atsuhiro Ito, guest artist from Japan, in “Noise Performing”, which was a part of the “Hear Here Exhibition”, on 19 January 2013.

Princess Mathilde of Belgium presided over the opening ceremony of “Three Colours of Belgium” on 18 March 2013. 27 ตุลาคม 2555 bacc music

ครูมนัส ปติสานต ศิลปนเจาของ บทเพลงรักและเพลงผีอันโดงดังใน งาน Bangkok Music Forum ครั้งที่ 2 : เพลงรัก เพลงเด็ก เพลงผี เพลงดี ครูมนัส ปติสานต จินตนาการไมรูจบ Manus Pitisarn in “Bangkok Music Forum # 2: Love Songs, Nursery Rhymes, Ghost Songs and Other Great Songs by Manus Pitisarn: Never Ending Imagination”, 27 October 2012.

22 ธันวาคม 2555 bacc music

แหลม มอริ สั น (ที่ 3 จากซ า ย) ฉายา “กีตารคงิ ” และแขกรับเชิญดานดนตรีหลายทาน ในงาน Bangkok Music Forum ครั้งที่ 3 : ตํานานกีตารร็อค “แหลม มอริสัน”

Lam Morrison (3rd person from left) also known as “Guitar King” and other musician guests in “Bangkok Music Forum #3 : The Rock Legend Lam Morrison”, on 22 December 2012. 10 มกราคม 2556 bacc art network

ฮาน เนฟเกนส ผูกอตั้งมูลนิธิฮานเนฟเกนส ในงานแถลงขาว หอศิลปกรุงเทพฯ จับมือมูลนิธิฮานเนฟเกนส มอบรางวัล ศิลปะระดับนานาชาติแกศลิ ปนรุน ใหม ในเอเชีย Han Nefkens, founder of Han Nefkens Foundation, in the press conference on 10 January 2013 to announce its collaboration with BACC in Han Nefkens Foundation - BACC Award for Contemporary Art in Asia. BACCAZINE | ISSUE 06

15 ธันวาคม 2555 bacc cinema

สมบัติ เมทะนี (ซาย) อดีตพระเอกชื่อดัง และนักแสดงจาก ภาพยนตรเรือ่ งฟาทะลายโจร ในงานฉายภาพยนตรเรื่องสุดทาย ในเทศกาลภาพยนตรคัด สรร Cinema Diverse เรื่อง ฟาทะลายโจร Sombat Metanee (left) with other actors from the movie “Tear of the Black Tiger” in the movie event Cinema Diverse on 15 December 2012.


05

17 พฤศจิกายน 2555 bacc network

ง า น ห อ ศิ ล ป ก รุ ง เ ท พ ฯ The first BACC Artist Network Meeting พบเครือขายศิลปน ครั้งที่ 1 on 17 November 2012.

16-17 กุมภาพันธ์ 2556 bacc music

ศิลปนบนเวทีคอนเสิรตในงานเทศกาลดนตรี และศิลปะ ครั้งที่ 2 - MAB : Music & Art Fest at bacc #2

12 มกราคม 2556 bacc family

เด็ ก ๆ มาร ว มงานกั บ คั บ คั่ ง ในกิ จ กรรมวันเด็ ก ”เด็กศิลป @bacc 2556” Well received event for Children’s Day on 12 January 2013. BANGKOK,CITY OF ART

Artists on stage in the MAB: Music & Art Fest at bacc #2 on 16-17 February 2013.


06

THEME COVER

Bangkok, City of Art

จาก “รอยัล มิวเซียม” พิพิธภัณฑสวนพระองค ซึ่งเปนพิพิธภัณฑแหง แรกของประเทศไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 มาจนถึงการกอเกิดของพิพิธภัณฑที่เปดสําหรับประชาชน คือ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป อันเปนที่เก็บรักษาและจัดแสดงผลงานศิลปะที่สืบเนื่องมาตั้งแต งานชางโบราณ มาจนถึงศิลปะรัตนโกสินทร หากนับรวมศิลปะงดงาม เกาแกนอกพิพิธภัณฑ ทั้งในรูปแบบของสถาปตยกรรม งานชางชุมชน และนาฏศิลปไทยในยานเกา เหลานี้ลวนสะทอนความเปนเมืองที่มีศิลปะ มายาวนานของกรุงเทพมหานคร

The evidence of art development could be traced from “Royal Museum”, a private museum of King Rama IV which was the origin of museum, descending to the present public museums such as the Bangkok National Museum and the National Art Gallery where collections and exhibitions of art works from the ancient times to the Rattanakosin period are on display. There are countless exterior exquisite old time arts be it in the form of architecture, community artisans and Thai classical dances in old neighborhoods vividly reflect that Bangkok has long been a city of art.

จวบจนปจจบันของวาระศิลปะรวมสมัยในเมืองทีเ่ ติบโตอยางไรขดี จํากัด แมศิลปะจะเปดกวาง แตดูเหมือนจะยังหางเหินจากการรับรูของคนเมือง สวนใหญ นอกเหนือจากพิพิธภัณฑของรัฐขางตน และหอศิลปรวมสมัย ขนาดใหญ 2-3 แหง หลายคนอาจยังไมรูวา เมืองหลวงของเรามีหอศิลป ทั้งของรัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา รวมทั้งแกลเลอรี่ทางเลือก หลายแหง และกลุมศิลปนรุนใหมที่รวมตัวกันสรางสรรคงานศิลปะอยาง มุงมั่น ขณะที่การเกิดขึ้นของหอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร ก็นับเปนหมุดหมายที่นายินดีในการเริ่มตนดึงคนกลุมใหมๆ เขามาดูงาน ศิลปะมากกวาแตกอน เพราะดวยที่ตั้งกลางเมือง การเปดพื้นที่สําหรับ ศิลปะทุกแขนง และการจัดสรรพืน้ ทีส่ าํ หรับรานรวงดานศิลปะตางๆ ขณะที่ ศิลปนจํานวนหนึ่งก็รวมกันผลักดันใหงานศิลปะเปนที่ยอมรับของคน หมูมาก

Presently, it is the time for contemporary art in the city that grows without limits. Today, even art is widely open but it seems that it is still far from the awareness of city dwellers. Apart from the above mentioned state run museums and some 2-3 contemporary art galleries, general public may not realize that our capital has many public, private and educational institute art galleries including many alternative art galleries. New generation of artists gather with determination to create artworks. The establishment of Bangkok Art and Culture Centre is a remarkable pinpoint drawing new generation of art enthusiasts to art appreciation. The Bangkok Art and Culture Centre located in the heart of city center with space for all branches of art display and exhibition including allotment of space for various art shops. A number of artists are working together in pushing art towards acceptance of the majority.

ดูเหมือนวาคุณคาและหนทางการเติบโตของงานศิลปะกําลังเริ่มตน แตจะเพียงพอหรือไมกบั การผลักดันใหกรุงเทพฯ ไดรบั การยอมรับวาเปน “เมืองศิลปะ”

It seems that value and path of growth for art is about to start but we have to see whether it is sufficient in driving Bangkok to be recognized as “City of Art”.

BACCAZINE | ISSUE 06


07

แหล่งเรียนรูด ้ า้ นศิลปะอย่างทัว่ ถึง

ศิลปะไมใชเพียงเรื่องสวยๆ งามๆ เพียงอยางเดียว จริงๆ แลวเปนเรื่องของ วัฒนธรรม ความรู และเปนเรื่องของการสงเสริมจินตนาการและความคิด สรางสรรค เพราะฉะนัน้ การทีก่ รุงเทพฯ จะเปนเมืองศิลปะไดนน้ั ผ.ศ.สรรเสริญ มิลินทสูต ประธานกรรมการบริหารหอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร และคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ใหความเห็นวา “อยางแรกคือ สรางพืน้ ที่ใหคนไดมีโอกาสเรียนรูใ นเรือ่ งตางๆ ผานงานดาน ศิลปวัฒนธรรมใหมากยิ่งขึ้น ซึ่งเราจะเห็นไดวา ตอนนี้เราเริ่มดีกวาสมัยกอน เราเริ่มเห็นหอศิลป และมีหอศิลปขนาดที่ใหญมากขึ้น โดยการสนับสนุนของรัฐ เชน หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร และหอศิลปอีกหลายแหงของ เอกชน แตอาจจะยังไมพอที่จะสรางการเรียนรูใหทั่วถึง เพราะกรุงเทพฯ มีอาณาเขตที่คอนขางใหญ หากมีหอศิลปกระจายตัวออกไปยังพื้นที่ตางๆ ให ทั่วถึงจะเปนเรื่องที่ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันหอศิลปของภาคเอกชนเองก็เปนสิ่งที่ ควรใหเกิดขึ้น การมีหอศิลปเปนภารกิจของภาครัฐที่ตองสนับสนุน และผมเห็น วาเปนโครงสรางพื้นฐานอยางหนึ่งในการใหการศึกษาแกสังคมของเรา”

แนวความคิด “กรุงเทพฯ เมืองศิลปะ” ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

“กรุงเทพมหานคร” เปนเมืองทีม่ มี รดกแหงศิลปวัฒนธรรมอันหลากหลาย เนือ่ งจาก มีผูคนหลายเชื้อชาติอาศัยอยูรวมกันมายาวนาน ตลอดจนมีการถายทอดวิถีชีวิต ความเปนอยูของผูคนจากรุนสูรุน ที่สืบตอกันมาหลายยุคหลายสมัย กอใหเกิด การผสมผสานทางวัฒนธรรมของชาติตางๆ ที่เขามามีปฏิสัมพันธตอกัน ทําให กรุงเทพมหานครมีศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ตลอดจนโบราณสถานอั น ควรค า แก ก ารอนุ รั ก ษ แ ละสามารถผสมผสานกลมกลื น กั บ ศิ ล ป วัฒนธรรมรวมสมัยไดอยางลงตัว หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร นับเปนสถานทีเ่ กียรติยศอีกแหงหนึง่ ของ กรุงเทพมหานครที่ ไดจัดตั้งขึ้นเพื่อเสริมสรางศักยภาพในการเปนศูนยกลาง การแลกเปลีย่ นงานศิลปวัฒนธรรมในระดับอาเซียน อันแสดงถึงความพรอมทีจ่ ะ กาวสูค วามเปนมหานครแหงศิลปวัฒนธรรมระดับโลก จดเดนของหอศิลปวัฒนธรรม แหงกรุงเทพมหานคร คือการเปนสถานที่เรียนรูและเผยแพรผลงานดานศิลปวัฒนธรรมที่มิใชเพียงพื้นที่สําหรับศิลปน นักศึกษา หรือนักวิชาการเทานั้น แตยังเปนพื้นที่ที่พี่นองประชาชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกอาชีพ สามารถเขาถึง เพื่อเรียนรูและชื่นชมผลงานดานศิลปวัฒนธรรมไดอยางเปดกวาง โดยสวนตัว ผมมีความชื่นชอบและสนใจในผลงานดานศิลปะเปนอยางมาก เนื่องจากเชื่อมั่น วาศิลปะทุกแขนงสามารถเสริมสรางจินตนาการและพัฒนาความคิดสรางสรรค ใหเกิดองคความรูที่หลากหลาย ซึ่งถือเปนพื้นฐานสําคัญของการพัฒนาบุคคล เพื่อนําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเปนการสรางรากฐานที่มั่นคงใหแกเมือง มหานครทีจ่ ะตองใหความสําคัญกับการพัฒนาทุนมนุษยสคู วามเปนเลิศ ผมในฐานะ ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร จึงมีความมุงมั่นที่จะขยายเครือขายงานดานศิลปวัฒนธรรม โดยใหพี่นองประชาชนเขามามีสวนรวมใหมากยิ่งขึ้น เพื่อผลักดันให กรุงเทพฯ กาวสูความเปนเมืองมหานครแหงศิลปวัฒนธรรมอยางแทจริง

“Bangkok, City of Art” Concept A Thorough Art Learning Center

Art is not only the issue concerning beauty. In reality, it concerns cultures, knowledge and it is also the issue of creativity and imagination promotion. Assistant Professor Sansern Milindasuta, Chairman, Bangkok Art and Culture Centre’s Executive Commitee and Dean of School of Fine and Applied Arts, Bangkok University comments on the issue of Bangkok to become a “City of Art” as follows. “First, there should be space for people to learn more about various issues through works of art and culture. We can see that at present it is getting better. We start to see more art galleries and larger state supported art galleries such as the Bangkok Art and Culture Centre and many other private galleries. However, it may not be sufficient to create total awareness because Bangkok is quite extensive. It would be better if art galleries could spreadout. In the meantime, there should be more private galleries. It is the state duty and responsibility to support the set up of art galleries. In my opinion, I see it as a foundation for education of the society.”

BANGKOK,CITY OF ART

By BMA Governor MR Sukhumbhand Paribatra

Bangkok is the city with diverse art and culture heritage where people of different races have been living in for quite a long time. Their ways of life have been passed on from generation to generation which creates an interaction among diverse cultures. Henceforth, Bangkok has its own arts, cultures and traditions including valuable historic sites worth preservation that perfectly assimilated with the contemporary arts and cultures. Bangkok Art and Culture Centre is another place of honor in Bangkok that has been established to promote potentiality as an ASEAN Art and Culture Exchange Center. It is a move demonstrating our preparedness to become a world metropolis of art and culture. The distinction of Bangkok Art and Culture Centre is that it is not only the venue for students, artists and academic to learn and to propagate works of art and culture but it widely serves people from all walks of life to be able to access and to appreciate works of art and culture. Personally, I very much appreciate and am interested in arts because I believe that all branches of art can promote creative development to a wide range of knowledge. It is regarded as a vital foundation for personal development that could lead to a better quality of life which is essential in building strong foundation for the city that gives priority to human development capital for the excellence. In my capacity as the Governor of Bangkok, I determine to expand more art and culture networks with public participation in order to push forward Bangkok to become a genuine city of art.


08

THEME COVER

“ขณะเดียวกัน เราอาจเห็นวาหลายๆ ประเทศ มีการจัดเทศกาลใน ลักษณะตางๆ ซึง่ กรุงเทพฯ เองก็เปนพืน้ ทีท่ นี่ า จะสนับสนุนใหเกิดเทศกาลที่ หลากหลาย โดยเฉพาะเทศกาลดานศิลปวัฒนธรรม เราอาจมีเทศกาล ดานศิลปวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นอยูบาง แตอาจเปนเทศกาลที่ยังไมไดมีการ บูรณาการดานศิลปวัฒนธรรมอันหลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการดึงให เกิดความเชื่อมโยงระหวางวัฒนธรรมของเราและวัฒนธรรมของชาติ ตางๆ โดยเฉพาะชาติเพื่อนบาน และเทศกาลนี้จะทําใหประสบความ สําเร็จได หรือไดประโยชนสูงสุดตอสาธารณชนนั้น จําเปนตองมีความตอ เนื่องและมีความชัดเจนในการดําเนินการ เชน เรารูวาทุกปมีงานมอเตอร โชว และมีคนเปนลานเขาไปดู แตเมื่อถามถึงเทศกาลดานศิลปวัฒนธรรม เราดูจะขาดแคลน โอเคเรามีงานสัปดาหหนังสือ ซึ่งเปนตัวอยางที่ดี แต การบูรณาการใหเห็นถึงความเชือ่ มโยงของศิลปวัฒนธรรมตางๆ โดยเฉพาะ ศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยนั้น เปนสิ่งที่นาจะสนับสนุนใหเกิดขึ้น” “อีกดานหนึ่ง กรุงเทพฯ จะเปนเมืองศิลปะไมได ถาเราไมสงเสริมให นักสรางสรรคหรือศิลปนที่ทําหนาที่อยู สามารถดําเนินชีวิตดวยการทํางาน ศิลปะเปนอาชีพได เรามีคนเกงอยูมากมายในการที่จะสรางงานในลักษณะ สรางสรรคขึ้นมา แตหลายคนมีอายุงานที่สั้นมาก เพราะเขาตองตอสูตาม ลําพังหรือโอกาสเฉพาะหนา เมื่อไมมีโครงสรางทางดานอาชีพที่ยั่งยืน ก็ทําใหนักสรางสรรคเหลานี้ตองสูญเสียโอกาสและเวลา ซึ่งในการทํางาน สรางสรรคเหลานี้คงไมใชภาระหนาที่ของกรุงเทพมหานครเพียงอยางเดียว แตเปนภาระหนาที่ในระดับของนโยบายของรัฐ ที่จะวางแผนหรือสนับสนุน ใหนักสรางสรรคของเราสามารถดํารงชีวิตไดอยางยั่งยืน”

“At the same time, we may see that many countries regularly organize variety of festivals while Bangkok is also suitable for such promotion of diverse festivals particularly art and culture festivals. We might have some art and culture festivals but there is no integration of diverse of arts and culture especially the endeavor to link our culture with others particularly our neighboring countries. In order to make such festivals a success or beneficial to the public, it requires continuity and clear implementation. For example, every year we have the Motor Show where millions of people visit but when we ask about art and culture festival it seems that we lack festivals in this field. We have Book Fair which is a good example. However, it is necessary to support and promote the integration of various branches of arts and culture particularly contemporary arts and culture.” “On the other hand, Bangkok cannot become a “City of Art” if creators or artists cannot live by working on arts as a career. We have many talented people who work on creative works. However, some of them have short working life span because they have to fight alone or as when opportunity arises. When there is not permanent career structure, these artists lose their opportunities and times. It is not the responsibility of Bangkok Metropolitan Administration to provide such opportunity but it is the obligation of state at policy making level to plan and to support our artists to live sustainably.”

BACCAZINE | ISSUE 06


09

ศิลปะเข้าถึงประชาชน

เพราะงานศิลปะเขาถึงคนไดชากวาสิ่งอื่นๆ และระบบการศึกษาของไทยไมได ปลูกฝงกระบวนการเรียนรูดานศิลปะอยางจริงจัง เชน มุงสอนใหวาดรูปมากกวา สอนใหดูผลงานศิลปะ คนจํานวนมากจึงไมเกิดความสนุก และไมเกิดพฤติกรรม การดูงานศิลปะ คนดูงานศิลปะจึงคงยังเปนกลุมเดิมๆ อาจารยอาํ มฤทธิ์ ชูสวุ รรณ คณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร แสดงทัศนะวา ศิลปะสะทอนสังคม สะทอนเมือง สะทอน วิถีชีวิต รวมทั้งอนาคตดวย ดังนั้น ศิลปะตองเขาไปมีสวนรวมกับประชาชนใหได ไมเชนนั้นจะกลายเปนวา “ทํากันเอง ดูกันเอง” ดังที่ผานๆ มา “ศิลปะสะทอนอนาคตมาหกสิบเจ็ดสิบป แตมนั ไมสอ งไมสะทอนอะไรสักที ศิลปน ตอนนี้กลายเปนชนกลุมนอยของประเทศ ทํากันเอง ดูกันเอง เวลาเราไปตาง ประเทศ เห็นประเทศที่กําลังพัฒนาเขาใชทุกชองทางในการสื่อ เชน รายการทีวี ชองฟรีทีวี อยางนอยที่สุดในครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมงตองมีเรื่องศิลปะไปเกี่ยวของ แตเราไมมีสื่อพวกนี้ มันกลายเปนสื่อที่ไดรับความนิยมและมีราคาสูง ไมมีใครให เราฟรีๆ ฉะนั้นเราจะทํายังไง ผมวาเน็ตเวิรก เคเบิ้ลตางๆ เริ่มงายขึ้น อาจจะเปน อีกหนึ่งชองทาง แตก็จะมีประชาชนอีกกลุมหนึ่งซึ่งเสพพวกนี้ไมได เพราะเขาตอง ทํามาหากิน หาเชากินคํา เราจึงตองหาวิธีเขาไปอยูตรงนั้นใหได หลายอยางตอง ประกอบกัน” “การผลักดันเรื่องศิลปะเปนสิ่งสําคัญ ผมตอบเรื่องนี้ไดชัดเพราะผมเห็นมา ตั้งแตเด็กๆ ผมอยูตางจังหวัด วิชาศิลปะเปนวิชาที่ผมชอบมากที่สดุ แตเปนวิชาที่ ผมผิดหวังทีส่ ดุ เพราะครูสอนพละเปนครูทเ่ี ขียนรูปมะมวงและสอนใหเราเขียนตาม หอศิลปกรุงเทพฯ เปนหอศิลปที่ดี อยูในทําเลที่ดี ไมเคยเก็บเงินเลย เปดใหเขา ชมฟรี แตการศึกษาที่จะใหคนดูกลับไปพรอมๆ กันมันอาจจะยังนอยอยู นี่เปน เพียงความคิดเห็นสวนตัวของผมนะ เพราะผมเขาใจวาหอศิลปใหญๆ ในระดับสากล ก็เปนอยางนี้ บานเราอาจจะเพิง่ เริม่ ตัง้ ไข ก็ตอ งอาศัยวิธที เ่ี ขาถึงผูด มู ากขึน้ คุยกับ เขาไดมากขึ้น มีงานบางอยางที่ทําใหเขาอยากเขามารวมไดงาย ในขณะที่งาน บางอยางไมตองอยูในหอศิลปไดมั้ย เขาไปในชุมชนไดมั้ย คือเราตองเคาะประตู บานเหมือนกัน ตองสรางศิลปะนิสัยใหกับเขา ทําความเขาใจในเรื่องศิลปะกอน วาคืออะไร”

Art Accessible to the Public

As art can approach people slower than other things and Thai educational system does not embed serious art learning. It emphasizes on drawing rather than art appreciation. Therefore, many people do not enjoy and do not have art appreciation habit. The circle of people who appreciate arts is still in the same group. Amrit Choosuwan, Dean of Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, vouched his opinion that art reflects the society, city and way of life including future. Therefore, art needs to involve people otherwise it will become “done by themselves and seen by themselves” as it has been in the past. “For the past sixty or seventy years, art has been intended to reflect the future, however, it has not reflected anything at all. At present, artists become a minority in the country. We work among ourselves and see the works among ourselves. Whenever we visit other foreign countries, we see that developing countries use all the media such as free TV at least half an hour to one hour airing the art related subjects. But, we do not have such a media because it is a popular media and becomes costly and nobody would give us free air time. Then, what should we do? I think that those networks and cables become more and more available and might be another channel but there is still another group of people who cannot access this channel of media because they have to live hand to mouth. Therefore, we must find a means to be there. There are many factors indeed.” “It is important to push forward the issue of art. I can clearly respond this issue because I witnessed it since I was a little boy living upcountry. Art was the subject that I liked the best but it was also the most disappointed because it was physical education teacher who drew a mango and taught us to imitate his drawing. Bangkok Art and Culture Centre is actually a good art gallery, located in the good location. There is no charge, it opens free for public. However, what visitors will be able to take back with them might not be much. This is only my personal opinion because I understand that international standard art galleries should be like this. In Thailand, it might be that we are just starting. Thus, we have to find the means to approach more visitors and to find opportunity to talk with them. There are certain kinds of work that easily induce them to participate while some other works should not be in the art gallery. Could it just be in the community directly? I mean, we should knock on the doors to create the habit of art and make the public understand what art is.

BANGKOK,CITY OF ART


10

THEME COVER

”การทํางานศิลปะกับชุมชนนัน้ เราตองเขาใจวาความรูค วามเขาใจศิลปะ ของชุมชนตางกับเรา เขาอาจจะคุนเคยกับความเขาใจวาศิลปะอาจจะเปน อีกอยางหนึ่ง ฉะนั้นเราจึงไมไดเขาไปใหเขาอยางเดียว แตเราตองเรียนรู และเขาใจเขาดวย เมื่อเขาใจก็จะเกิดการแลกเปลี่ยน เขาจะยอมรับเรา เชื่อใจ ไววางใจ ศิลปะที่เราตองการนําเสนอก็จะงายขึ้น ฉะนั้นการยอมรับ ซึง่ กันและกันจึงเปนเรือ่ งสําคัญ คิดดูในกรุงเทพฯ มีประชากรในทะเบียนบาน และนอกทะเบียนบานรวมสิบสองสิบสามลานคน จํานวนประชากรเทานี้ ทํายังไงใหเขาสนใจศิลปะไดก็ไมใชเรื่องงาย แตถาเขาสนใจขึ้นมาเมื่อไหร ก็เปนเรื่องใหญ เราก็จะมีอิทธิพลลนหลาม ภาคภูมิใจในศิลปะของตัวเอง”

To create the work of art with the community, first we must realize that their understanding on the issue of art differs from ours. Their familiarity with art might be in another way. Therefore, we do not approach them only to give but we have to learn to understand them as well. Once mutually understood, there will be an exchange. They will accept and trust us. Hence, it will be easier to present them with the issue of art. Therefore, mutual recognition is important. You can imagine, population in Bangkok, with house registration or without, is around 12-13 million persons. With such a large number of populations, it is not easy to make them interested in the issue of art. However, it will become a big issue when they get interested. We will be overwhelmingly powerful and proud of our “การจะใหกรุงเทพฯ เปนเมืองศิลปะ ความเปนไปไดก็มีสงู เพียงแตมี own arts.” 2-3 องคประกอบที่จําเปนคือ 1) นโยบายดานศิลปวัฒนธรรมของประเทศ It is highly possible to make Bangkok a “City of Art”. There are only 2-3 2) นโยบายของเมือง คือ ผูว า ฯ กทม. 3) คือประชากรในเมือง ถาหากนโยบาย ทั้งสามอยางไปในทิศทางเดียวกันได เชน หากรัฐบาลมีเปาหมายหรือ necessary components i.e. (1) national policy on art and culture; (2) city policy ยุทธศาสตรทางดานศิลปวัฒนธรรมชัดเจน ผมเชือ่ วาประชาชนจะหันมาสนใจ – that is Bangkok Governor and (3) inhabitants in the city. If these 3 components ทางดานนี้ คนทีส่ นใจทํากิจกรรมทางดานศิลปะก็รวู า ตัวเองมีเปาหมายชัดเจน are in the same direction for example, if the government has clear objective or ในการทํากิจกรรมทางดานศิลปะ จะไดไมมีปญหาวาทํากันเอง ดูกันเอง strategy on art and culture and I believe that city dwellers will be more interested in this field. Then art enthusiasts will realize that they have clear goals in working อีกอยางคือตองการงบประมาณ ตองการผูสนับสนุน” on arts. There will be no further problem of “done by themselves and seen by themselves”. One more important factor is the budget. Arts need supporters.”

ศิลปะไม่จาํ กัดพืน ้ ที่

ศิลปะไมไดจํากัดอยูเฉพาะในหอศิลป พิพิธภัณฑ แกลเลอรี่ หากแตเปน ความสุนทรียที่แตงแตมใหทุกพื้นที่ภายนอก ไมวาจะเปน อาคาร ตึกราม Arts No Limit บานชอง และสวนสาธารณะ ใหเกิดความรื่นรมย มีชีวิตชีวา แลวศิลปะใน Arts are not limited only in art galleries or museums. It is the aesthetics that พื้นที่สาธารณะของกรุงเทพฯ นั้นเปนอยางไร glorify external space be it buildings, establishments and parks that make everywhere pleasant and lively. But, how is the art in public areas of Bangkok?

BACCAZINE | ISSUE 06


11

อ.อภิสิทธิ์ ไลสัตรูไกล รองผูอํานวยการสํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู และ ผูอํานวยการศูนยสรางสรรคงานออกแบบ TCDC ไดแสดงความคิดเห็นวา “ผมอาจ จะจํากัดความคําวาศิลปะไมใชเปนแคออปเจ็กต ศิลปะที่เปนเพนติ้ง ประติมากรรม สถาปตยกรรม ที่กองไวเพื่อความสวยงามอยางเดียว แลวก็นั่งดู นั่งชื่นชม ผมวามัน คับแคบและนอยเกินไปสําหรับคนทัว่ ไป เพราะฉะนัน้ ศิลปะของผมจึงมองถึงผูค น เหตุการณ สิ่งรอบๆ ตัวทั้งหลายในชีวิตที่มันเดินผาน ที่เราเดินเจอ กรุงเทพฯ นาคนหา นาตื่นเตน คือโดยตัวมันเองมันมีปจจัย เพียงแตไมถูกจัดการใหสมบูรณและมีความนาสนใจ เชน คิวมอเตอรไซคซึ่งเปนสวนหนึ่งของชีวิตคนในกรุงเทพฯ ถาเราจัดการกับคิวมอเตอรไซค ดวยวิธีการที่ดี เชน วิธีการจอดรถใหดูนาสนใจ มีวิธีบอกราคาที่ดูสวยและนาสนใจดวย หรือจะมีวิธีจัดการกับถนนที่เลอะเทอะ ผมวาคนสวนใหญใชชีวิตกับริมฟุตบาธ ริมถนน เรายุงเกี่ยวสัมผัสกับมันบอย แตในขณะหนึ่งเราก็ตะขิดตะขวงใจวาจะสะอาดรึเปลา ลางจานแลวมาวางกับพื้น หนูจะวิ่งผานมั้ย แตถาเราสามารถจัดการกับสิ่งเหลานี้ใหมี ระเบียบ ใหขบวนการมันดูดี นาเชื่อถือ และตอบกับชีวิตคนได ปลอดภัย กินก็อรอย ราคา ไมแพง มีคุณภาพดวย นาจะเปนสิ่งที่ดี”

Apisit Laistroograi, Deputy Director of the Office of Knowledge Management & Development and Managing Director of Thailand Creative & Design Center (TCDC), expressed his opinion as follows. “My definition of arts is not limited to objects only. Arts in the form of paintings, sculptures and architecture amass only for beauty and appreciation. In my opinion, I think it is too limited for general public. Arts in my opinion involve people, happenings and everything around us that we come across in Bangkok. By itself, it is an exciting discovery. In reality, they have their own factors that have not yet been perfectly managed and it is interesting. For example, motorcycle taxi stand which is a part of Bangkok’s way of life, if we have a better way to organize these motorcycle taxi stands such as attractive parking and beautiful and interesting fare information or how to deal with dirty roads. I believe the majority of the people frequent footpaths and roadsides stalls. However, we sometime are reluctant about hygiene such as after washing the dishes whether there is any rat running over those dishes, etc. If we could discipline this mess and make a good and reliable move in response to “สิ่งหนึ่งที่ผมรูสึกมากในกรุงเทพฯ คือเรื่องปายที่มีอยูทุกที่บนถนน เวลาดูหนังสือ people life and safety with delicious and quality food at affordable price, it would เวลาทํางานเรามักจะรูสึกดีกับงานกราฟกที่ดูดี สบายตา ยิ่งสวยยิ่งนาสนใจ แตทําไมเรา be a good move.” ไมมีกราฟกบนถนนที่ดูสวย ดูสนุก และใหขอมูลดวย เรามีปายจนรูสึกวามันกระแทกเรา “What hits me most in Bangkok is signage on the roads. When we read a ไปหมดเลย ผมวามันตองการคนที่มีหนาที่มาจัดการ ผมมักมีคําถามอยูในใจตลอดเวลาวา บางปายมีสิทธิ์มาตั้งมาวางตรงนี้เหรอ เชน ปายโฆษณาบนเสาเหล็กที่อยูบนหนาทางดวน book or when we work, we always feel good with good graphics that are eye คนขับรถบนทางดวนมีสมาธิอยูบนความเร็ว แตปายมาปะทะสายตาทําใหขัดกับความรูสึก pleasing. The more beautiful, it becomes more interesting. But, why we don’t have ในขณะที่ปายโฆษณาบางอันก็มีไฟแรงมากเกิน มันกระทบสายตา หรือแมกระทั่งปายที่ graphics on the roads that is beautiful, enjoyable and informative. We have too ซอนๆๆๆ กันริมถนน หรือรานคาที่มีปายยื่นออกมาจนเกินงาม ตางจากเมืองนอกนะ เชน many signage that hit us. I think it needs responsible body to handle the issue. I เยอรมนี ผมไมเห็นมีปายอะไรที่มันเปนทิศขวางกับตัวอาคารเลย แตปายจะอยูดานติดกับ always have questions in my mind do these signs have any right to be where they อาคาร เพราะเขาจะไมอนุญาตใหติดปายขวางอาคาร อยางนอยสุดก็ทําใหรูสึกวาสภาพ are. For example, the advertisement boards on the iron scaffolds by the express แวดลอมที่รบกวนเรามันลดลง ผมวามันตองมีความพอเหมาะพอดีกับความตื่นเตนในแง way attract the vision of the drivers who need to concentrate on speed. It is contrast to our feeling. Some advertisement boards use too high voltage lighting ของศิลปะกับชีวิตจริง” that also glare the vision. Even those overlapped signage by the roadsides or “สวนพืน้ ทีท่ น่ี า สนใจในกรุงเทพฯ ก็มอี ยู ผมวาสกายวอลกทีเ่ ขาปรับปรุงใหมตรงเกษรพลาซา shop houses with unusual extended signage are eye soaring. Here, it differs from ดีขึ้น เดินผานตรงจากสถานีชิดลมไปจนถึงเซ็นทรัลเวิลด เปลี่ยนแปลงสีสัน ทําเสาใหม other countries such as in Germany where I do not see any signage in transverse ดูดีขึ้น สะอาด ทําใหบรรยากาศสภาพแวดลอมดี นาเดิน ทําใหผมรูสึกวามันไมจําเปนจะ direction with the buildings. All the signage is attached to the buildings because ตองรีบเดินมาก ฉะนั้นถาเรามีอยางนี้และขยับขยายออกไป ไมตองบนสกายวอลกก็ได แต they do not permit to put the signs in traverse direction with the buildings. At least ขยายไปบนฟุตบาธและในซอยใหเรียบรอยกวานี้ไดมั้ย หรือแมกระทั่งพื้นที่รกรางวางเปลา it makes us feel that disturbing environment is reducing. I think that there should ที่มีอยูพอสมควรไมวาจะเปนของเอกชน หรือรัฐบาลก็ตาม บางพื้นที่รกรางมาหลายป be a sense of proportion between excitement in arts and real life.” เราสามารถนําพื้นที่รกรางนี้มาทําใหเปนสวนหยอมเพื่อใชประโยชนไดมั้ย อยางพื้นที่ “For me, interesting space in Bangkok is still available. I think the renovated เอกชนที่ยังไมไดใชงาน เชน เขาบอกยังไมใช 2 ปนี้ เราก็ทําอะไรใหรูสึกวากรุงเทพฯ ดูดี ขึ้นได 2 ป เขาไมใช 5 ป เราก็ทํา 5 ป ผมวามันเลือกได ในหลายๆ สี่แยกถาเราลองขาม skywalk at Gaysorn Plaza is much better. It directly links BTS Chidlom Station to ถนนตอนกลางวันมันรอนมาก รอรถกวาจะไดขามแยกหนึ่งประมาณ 4-5 นาที ถามีตนไม Central World. With change in color and new pillars, it looks much better and มีสวนหยอมอยูในแยก มันก็จะทําใหกรุงเทพฯ ดูนาอยู สิ่งเหลานี้ในความรูสึกผมมันเปน cleaner. The ambience is good and pleasant to walk. It makes me feel that we do not have to walk quickly. Therefore, if we can have something like this, not ศิลปะอยางหนึ่ง ที่จะทําใหคนในชุมชนที่อยูในนั้นอยางกลมกลืน” necessary to be on the skywalk, it could be on the footpaths or side roads. Could ”และทายสุดเราก็จะใชศลิ ปะไดกบั คนทัว่ ไป ศิลปะจะไมถกู ไปเก็บไวในหอศิลป ในพิพธิ ภัณฑ we make them more pleasant? Could we even turn some vacant pieces of land ในบานใคร แตเปนสิ่งที่เรามาแชรรวมกัน พื้นที่ไหน มุมไหนในกรุงเทพฯ ที่พรอมกอนก็ around Bangkok, either state or private property, into small parks? For example, ทําไปกอน ไมตองรอทั้งหมดทั้งเมืองก็ได สวนเล็กที่มนั มีโอกาสทําไดควรจะรีบทํา สายไฟ there is a piece of private land that the owner does not have the plan to make ระโยงระยางที่หอยระหัวทําไมไมทํา หรือเรานาจะทําแคมเปญ เชน ผมเคยคิดอยากแจก within the next 2 or 5 years, we could turn it into something that would make ปายที่เขียนวา “ฉันไมชอบที่นี่” “ฉันไมชอบสิ่งนี้” ใหกับคนกรุงเทพฯ แลวขอ กทม. Bangkok more beautiful for 2 or 5 years. I think we can choose to do. If we try to วา ภายใน 1 เดือน อนุญาตใหคนกรุงเทพฯ ไดติดปายเหลานี้ กทม.จะรูเลยวาคนไมชอบ cross the street at many intersections during the day when it is very hot and we อะไรบาง หรือจะทํา 2 ฝงก็ไดคือ “ชอบ” กับ “ไมชอบ” เราจะไดเห็นขอเท็จจริงวาอะไรที่ have to wait a long time, around 4-5 minutes, for crossing, it would be better if มันแย และถาสิ่งเหลานี้มันดีขึ้นๆ ผมก็เชื่อวาความตื่นเตนของกรุงเทพฯ มันจะผสมผสาน we have a small garden at the intersection. If at the intersections, there are trees and small gardens, it would surely make Bangkok a pleasant place to live. In my กันกับความสะดวกกาย สบายใจเพิ่มมากขึ้น” opinion, this is a form of arts that keeps harmony in the community.

BANGKOK,CITY OF ART


12

THEME COVER

“ผมมองวา เรายังขาดสะพานเชือ่ มตอระหวางสถาปนิกและอาชีพตางๆ อยางเชน นักออกแบบ กับศิลปน ก็เลยทําใหเราไมเห็นศิลปะบนถนน อาคาร ผนัง ฟุตบาธ แตในตางประเทศเนื่องจากขนบธรรมเนียมวิธีการ ตางๆ เขาถายทอดผานขบวนการทางสถาปตย และจึงนํานักออกแบบไป ทําใหหนาตาดูสวย มีเกาอี้นั่งหนาอาคาร แบงสเปซอยางดี แตเราไมได สืบทอดเรื่องแบบนี้ไว…ผมวาสถาปนิก นักออกแบบ และศิลปน สามารถ เจอกันไดนะ เพราะโดยอาชีพมันอยูบนพื้นฐานที่ใกลเคียงกัน เพียงแต การยอมรับระหวางคนสองคนมันตองมีซง่ึ กันและกัน ไมใชใครเปนพระเอก ผมคิดวาโลกวันนี้มันไมมีฮีโร ไมมีมาสเตอรพีซของคนนี้ ไมมีมาสเตอร ของศิลปนคนนี้ ไมตองมีศิลปนใหญ ไมตองมีนักออกแบบยิ่งใหญ แตทุก คนมีสวนรวมกับการออกแบบ โลกตองการคนหลายๆ คนรวมกันทํางาน ใหโอกาสซึ่งกันและกัน ใหโอกาสกับอาชีพเขา และคนในชุมชนตองมี สวนรวม เพราะคนในชุมชนเห็นผลประโยชนรวมกัน ถาเมื่อไหรมีผล ประโยชนรวมกันมันจะอยูในขนบที่ดี” “กรุงเทพฯ มีปจ จัยในการเปน (เมืองศิลปะ) แตมนั ไมเปน เพราะไมมกี าร จัดการใหเปนระบบระเบียบ ก็เลยทําใหเราไมเห็นคุณคาของศิลปะ ถาเรา จัดการใหมันอยูในแบบแผนที่ดี คือระเบียบไมไดหมายความวาเอาปายมา เรียงแถวนะ แตใหอยูในระบบของมัน ก็จะกลายเปนศิลปะที่อยูในชีวิตได กรุงเทพฯ เปนเมืองที่นาอยูได อะไรก็ตามที่ทําให 1) ประเทืองปญญา 2) ทําใหสุขภาพจิตดี ผมมองวามันเปนศิลปะ แตตองอาศัยเวลา คือเราตอง ยอมรับขอเท็จจริงวาลักษณะของกรุงเทพฯ โครงหลักใหญๆ เราเปลี่ยน อะไรไมไดเพราะเปนวัฒนธรรม แตทาํ ยังไงทีเ่ ราจะชวยทําใหนา อยู นาสนใจ อยูแบบเกื้อกูลกันได ผมวาไมตองจัดระเบียบถึงขนาดสิงคโปร นั่นมัน แหงแลง เราตองจัดความสมดุลเพื่อใหตอบโจทยคนไทย ชีวิตเรายังเปน อยางนี้ กินกวยเตี๋ยว 30 บาทขางถนน แตของขางถนนตองมีคุณภาพ มันตองรูสึกวาถาชีวิตผมไมไดกินกวยเตี๋ยวขางถนน ชีวิตผมตองไมถูก ลิดรอนสิทธิ์ในการที่จะเดินบนถนน มันตองอยูรวมกันได”

ทั้งหมดทั้งมวล นาจะเปนการฉาย ภาพสวนหนึ่งใหเห็นและขบคิดกัน ตอไดวา กรุงเทพฯ จะเปนมหานคร แหงศิลปะ...ไดจริง

ขอขอบคุณ อ.อภิสทิ ธิ์ ไลสตั รูไกล รองผูอ าํ นวยการสํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู ผูอ าํ นวยการ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ TCDC อ.อํามฤทธิ์ ชูสวุ รรณ คณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.สรรเสริญ มิลนิ ทสูต ประธานกรรมการบริหารหอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร และคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

Thanks to Apisit Laistroograi, Deputy Director, Office of Knowledge Management & Development and Managing Director of Thailand Creative & Design Center (TCDC) Amrit Choosuwan, Dean, Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts Assistant Professor Sansern Milindasuta, Chairman, Bangkok Art and Culture Centre’s Executive Committee and Dean of School of Fine and Applied Arts, Bangkok University

Finally we can use arts with general public. Arts will not be kept in the art galleries, museums or private collections. But it is something that we can share. Any area in Bangkok that is ready can go ahead with the plan. It is not necessary to wait for the whole city to be ready. Small area that is ready, should do it right away. Why not anyone do anything about overhead mess of electricity wiring? I used to think of making signage that reads ‘I don’t like here’ or ‘I don’t like this’ and ask BMA’s permission to distribute to people in Bangkok who will stick it around Bangkok so BMA will know what people don’t like. Or else, it can be done on 2 sides ‘like’ and ‘don’t like’. We will be able to learn the truth that what is bad or what is good. If this could make thing getting better, I believe that the excitement of Bangkok will integrate with convenience and increasing contentment.” “I see that we lack linkage between architects and other professions such as designers and artists. Thus, we will not see art on the roads, buildings, walls and footpaths. But in other countries, they relay their culture through architecture that leads designers to beautify the project with benches in front of the building and proper spacing. However, we never have such an inheritance. …. I think that architects, designers and artists could work together because by profession they all have similar basis but they need to be mutually acceptable. It is not the subject of who is the leading actor. I think that the world today has no more heroes. There is no longer the masterpiece belonging to certain artist, no more great artists, no more great designers but everyone has to participate in designing. The world needs people of all professions to work together, providing opportunity to each other, providing opportunity to their profession. People in the community have to get involved because they could see mutual benefits. Wherever there is a mutual benefit, it is a good practice.” “Bangkok possesses the factors for being a “City of Art” but it could not be so because there is no organized management that makes dwellers aware of the art values. If we could manage it in a good scheme, in its own scheme, it will become art in the life of Bangkok. Good scheme is not just lining up all signage. Bangkok can be a pleasant inhabitable city. I see that anything that (1) enriches our minds and (2) gives mental health is art. It takes time. We have to accept the truth that we cannot change the major structure of Bangkok because it is the culture. But, how we can make it pleasantly livable, interesting, complementary living with each other. I think we should not strictly discipline as in Singapore, it is very dry. We have to compromise the balance in response to Thai people that our way of life have to be like this; eating 30 Baht noodle on the roadsides but roadside foods need to be quality foods. It should make us feel that though we do not eat roadside noodle, we are not deprived of our right to walk on the road. We should live together.”

All in all, the above is projecting a part of the picture and leaving us to ponder further whether Bangkok can really become a “City of Art”

BACCAZINE | ISSUE 06


13

+ นานาทัศนะของคนหลากอาชีพกับ ประเด็น “เราจะช่วยให้กรุงเทพฯ เป็น เมืองศิลปะได้อย่างไร?” ธีรวุฒิ สถิตภัทรกุล / ผู้สื่อข่าวโทรทัศน์ ด้านศิลปวัฒนธรรม

“เริ่มจากตัวเองนี่แหละงายที่สุด ชวยดวยการสรางศิลปะในตัวเองและ สิ่งแวดลอมรอบตัวเรา ดึงความชอบในศิลปะตางๆ ออกมาใหมีศิลปะอยู รอบตัว แคนี้กรุงเทพฯ ก็เปนเมืองศิลปะไดแลว” นิคม จันทร์ของแก่น / วิศวกร

“กรุงเทพฯ เปนเมืองแหงศิลปะอยูแลว เอางายๆ ก็แคไปเดินรอบๆ เกาะ รัตนโกสินทร เดินดูสถาปตยกรรมตางๆ เชน วัดพระแกว ฯลฯ สิ่งกอสราง ยานนั้นสวยมาก มันชัดเจนอยูแลววาเราเปนเมืองแหงศิลปะมานาน” วนันยา ปาลกะวงศ์ / นักเขียนอิสระ

“งายๆ คือมีสวนรวมกับกิจกรรมศิลปะที่จัดขึ้น เปนการเปดโลกทัศนตัวเอง เปนการสนับสนุนใหเกิดการรับรูไ ปในวงกวาง และเปนการสนับสนุนศิลปน อีกดวย รวมถึงเห็นความสําคัญชวยกันดูแลอาคาร สถาปตยกรรมตางๆ ในเมือง” วิภาวี วุฒิวัย / ครีเอทีฟ อีเวนท์ อะเดย์

“อยางแรกตองคิดวาศิลปะของเราคืออะไร หากเราเปนคนชอบถายรูป เราก็ถายรูปสถานที่ที่เราผาน ถายใหมันสวยๆ ในแบบที่เราชอบ แลวก็ อัพโหลดลงอินสตาแกรม หรือเฟซบุก แลวแชรใหเพือ่ นๆ ในโซเชียลเน็ตเวิรก ของเราไดดูกันไปเยอะๆ มันเปนเปนการสรางงานศิลปะอยางหนึ่ง” ตวงพร รุ่งเรือง (MISS INK) / ศิลปิน (Artist)

“เราควรตองมีพิพิธภัณฑศิลปะ หรือเเกลเลอรี่ใหมากขึ้น อยากใหสงเสริม ในเรื่องพื้นที่ในการเเสดงงาน เพราะคิดวามันนามีผลดีตอทุกคน ไมใชเเค เฉพาะตัวศิลปน แตมันเหมือนกับเปนการเปดทัศนศิลปใหแกคนในสังคม เปนการปรับพื้นฐานจิตใจ ทําใหผูคนไดเสพงานศิลปะ

+ Varied viewpoints on the issue “How we can help make Bangkok become “City of Art” from various professions Theerawut Stitpatrakul/television reporter on art and culture

“It is easier to start from ourselves. We can help by creating art for ourselves and the environment around us. Pull out variety of arts and put them around us. Bangkok can become “City of Art.” Nikom Chankongkaen/Engineer

“Bangkok is already a City of Art. Just take a walk around the Rattanakosin Island admiring magnificent architecture such as Emerald Buddha Temple, etc. Buildings in this area are all very beautiful. It is vivid that Bangkok has long been a City of Art.” Wananya Palakawong/ Freelance Writer

“Simply participate in the art activities. It expands our horizons and supports the learning in wide circle. It is a support to the artists. The endeavor includes recognition the importance of the maintenance of architectures in the city.” Vipavee Vuthivai/Creative A-Day Event

“First, we should think what our field of art is. For example, if we like photography, we take photographs of the places we visit. Take it beautifully in the style that we like and then upload those photographs on Instagram or Facebook and share with friends on social networks. It’s a means to create network of art.” Tuangporn Rungruang (MISS INK)/Artist

“We should have more art museums or art galleries. I would like to see the promotion on exhibition space because I think that it might be beneficial to everybody, not only the artists. It is like opening visual arts to people in the society. It is a means to improve your mind and make people appreciate arts more and more.”

BANGKOK,CITY OF ART


14

DID YOU KNOW

COLUMNIST : KARAYANAMIT / PHOTOGRAPHER : JEAB

ย้อนรอยศิลปวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร

พิพธ ิ ภัณฑ์แห่งแรกของไทยคือ?

พิพธ ิ ภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ศิลปวัฒนธรรมที่เป็นรากเหง้าของกรุงเทพมหานครปัจจุบันยังคงดําเนินตาม ครรลองของมันเรื่อยมา เพียงแต่ว่าทุกวันนี้เราอาจไม่มีการกล่าวถึง คนรุ่นหลัง อาจไม่รู้กันว่าบุคคลที่เราได้ยิน สิ่งที่เดินผ่านหรือผ่านตากันอยู่ทุกวันในเมืองนี้มี ความเป็นมาที่สําคัญอย่างไร Many of us may take the historical background of Bangkok, the City of Angels, for granted. Let’s take a look at some of the interesting facts about this charming city.

ภาพอาจารยศลิ ป พีระศรี บนอาคารเรียน มหาวิทยาลัย ศิลปากร ทาชาง

บิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยคือ?

อาจารย์ศลิ ป์ พีระศรี ทุกวันที่ 15 กันยายน ของทุกป คนในแวดวงการศิลปะตางรูดีวาเปนวัน รําลึกถึงบิดาแหงศิลปะใหมของไทย “อาจารยศิลป” หรือศาสตราจารยศิลป พีระศรี (คอรราโด เฟโรชี) ผูกอตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ครูสอนศิลปะ และปู ช นี ย บุ ค คลสํ า คั ญ ในวงการศิ ล ปะเมื อ งไทยที่ ส ร า งสรรค ผ ลงาน อันโดดเดนหลายชิน้ ใหกบั ประเทศ โดยเฉพาะงานประติมากรรมสําคัญของ กรุงเทพฯ อาทิ พระบรมราชานุสาวรียปฐมกษัตริยแหงราชวงศจักรี ขนาด 3 เทาคนจริง ที่ประดิษฐาน ณ เชิงสะพานพระพุทธยอดฟาจฬาโลก พระบรมราชานุสาวรียของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวที่ สวนลุมพินี และพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ เปนตน Do you know the Father of Modern Arts in Thailand? Silpa Bhirasri Professor Silpa Bhirasri (Corrado Feroci) is the founder of Silpakorn University, renowned art teacher, and designer and sculptor of many master pieces in Thailand, including the Statue of King Rama I at the Memorial Bridge, the Statue of the King Rama VI in Lumphini Park, and King Taksin Monument at Wong Wien Yai. To commemorate his great contributions to Thailand’s modern arts, September 15th of every year is the day that Thai artists would especially remember and pay respect to this great artist and teacher. BACCAZINE | ISSUE 06

ตนกําเนิดพิพธิ ภัณฑแหงชาติในปจจบันมาจากในพระบรมมหาราชวัง ตัง้ แตสมัย รัชกาลที่ 4 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงจัดตั้งพิพิธภัณฑ สวนพระองคขน้ึ ทีพ่ ระทีน่ ง่ั ราชฤดีและพระทีน่ ง่ั ประพาสพิพธิ ภัณฑ จนถึงสมัย รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเกลาฯ ใหจดั ตัง้ พิพธิ ภัณฑสถานสําหรับพระนครขึน้ ที่ หอคองคอเดีย ศาลาสหทัยสมาคมในปจจบัน ที่เรียกวา “มิวเซียม” หรือ “พิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย” เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2417 ซึ่ง ถือเปนวันกําเนิดของพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติแหงแรกของประเทศไทย กอนที่ พิพธิ ภัณฑจะยายมาตัง้ ทีพ่ ระราชวังบวรสถานมงคลหรือวังหนา และเปลีย่ นมา เรียกวาพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร ในรัชกาลที่ 7 จนถึงปจจบัน Where is the first Thai National Museum? National Museum Bangkok The present National Museum had its origin in the royal Grand Palace when King Rama IV ordered to set up a private royal museum at Rajaruedee Palace and at Prapaspitpittapan Palace. Subsequently in the reign of King Rama V, he ordered to set up on September 19, 2417 B.E. (1874 A.D.) a museum for Bangkok called “Museum” or “Concordia Museum” at the Concordia Hall, presently is the Sahathai Samakom Pavilion. The date has since then been regarded as the foundation day of the first national museum in Thailand. Later on the museum was relocated to Bovorn Sathan Mongkol Palace, known by Thais as Wang Na or Front Palace. In the reign of King Rama VII, the name was changed to National Museum Bangkok which has been in use until nowadays.


15

โรงภาพยนตร์สําหรับฉายภาพยนตร์ เสียงแห่งแรกของพระนครคือ?

ศาลาเฉลิมกรุง ทีแ่ หงนีม้ ปี ระวัตคิ วามเปนมา เกีย่ วพันกับความรุง เรืองของกรุงเทพมหานคร รวมทัง้ ยังเปนตัวแทนความรุง เรืองของวงการภาพยนตรไทยในอดีต เนือ่ งจาก เมือ่ ป พ.ศ. 2475 ในรัชกาลที่ 7 มีการฉลองพระนครครบรอบ 150 ป พระองคทรงใหจัดสรางสะพานพระพุทธยอดฟา (สะพานพุทธ) เพื่อเชื่อม กรุงเทพมหานครกับกรุงธนบุรี และในโอกาสเดียวกันนัน้ ทรงเห็นวาสิง่ บันเทิงที่ เฟอ งฟูมากทีส่ ดุ ในยุคนัน้ คือ“ภาพยนตร”และในพระนครยังไมมีโรงภาพยนตร ทีม่ ลี กั ษณะสวยงามเปนหนาเปนตาแกเมือง จึงโปรดฯ ใหสรางโรงภาพยนตร สําหรับฉายภาพยนตรเสียงขึน้ เปนแหงแรก ออกแบบโดยหมอมเจาสมัยเฉลิม กฤดากร และไดพระราชทานนามโรงมหรสพเพือ่ เปนเกียรติแกผอู อกแบบ และเปนอนุสรณแหงงานฉลองพระนครครบ 150 ป วา “ศาลาเฉลิมกรุง”

ชุมชนนาฏศิลป์อน ั เก่าแก่ อยูท ่ ไ่ี หนของกรุงเทพฯ?

บ้านนราศิลป์

Do you know the first movie theater that showed motion pictures with synchronized sound in Thailand? Sala Chalermkrung Royal Theatre The theater was established in 1932 upon King Rama VII’s vision to celebrate the 150th year anniversary of Rattanakosin Era. In addition to the construction of Phra Phuttha Yodfa Bridge, also known as the Memorial Bridge, this theater was built to support the booming movie industry at that time. It was designed by Prince Samai Chalerm Kritdakorn.

ตั้งอยูที่ชุมชนวัดแคนางเลิ้ง (วัดสุนทรธรรมทาน) ซึ่งถือเปนแหลงรวม ศิลปะการแสดง โขน ละคร และนาฏศิลปไทยแขนงตางๆ ที่เกาแกที่สุด แหงหนึ่ง ทั้งยังเปนแหลงที่อยูอาศัยของบรรดานักแสดงโขน ลิเก ละคร และครูดนตรีไทย ตั้งแตยุคตนรัตนโกสินทรเรื่อยมา ถือเปนศูนยรวม วัฒนธรรมนาฏศิลปหลายเชื้อชาติ ทั้งไทย มอญ ทวาย ที่มาตั้ง รกรากกันสองฝงถนนหลานหลวง คณะนราศิลปโดงดังอยางมากในยุค รัชกาลที่ 6 และปจจบันบานนราศิลปยังคงดําเนินการในดานนาฏศิลป โดยเป น แหล ง เรี ย นรู ศิ ล ปะการฟ อ นรํ า ของลู ก หลานในชุ ม ชนเรื่ อ ยมา จนถึงปจจบันนับเปนเวลากวา 100 ปแลว Do you know where the traditional dancing arts community is in Bangkok? Ban Nara Silpa For more than 100 years, Ban Nara Silpa has been the center of various Rattanakosin dancing styles, including the dancing arts of Thai, Mon and Tibet-Burmese communities who had settled along the Lan Luang Road. Ban Nara Silpa reached its peak during the reign of King Rama VI and still performs as the learning center until today. It is located at Wat Khae Community, Nang Loeng (Wat Sunthorn Thammathan).

ใครออกแบบสถานีหวั ลําโพง? มาริโอ ตามาญโญ สถาปตยกรรมที่ถือเปนเอกลักษณอันโดดเดนแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานครอยาง “หัวลําโพง” นั้นไดรับกลาวขานวามีความคลายคลึงอยางนาประหลาดกับสถานี รถไฟแฟรงกเฟรต ในประเทศเยอรมนี โดยเฉพาะรูปลักษณของโครงสรางอาคาร ทรงโดมประดับนาฬกาเรือนใหญ ซึ่งคาดวาคงเปนไปตามแรงบันดาลใจของ “มาริโอ ตามาญโญ” สถาปนิกนักออกแบบชาวอิตาเลียน สวนชื่อหัวลําโพงนั้น สันนิษฐานกันวา ตั้งชื่อตามคลองและทุงที่มีฝูงวัววิ่งกันคึกคักสมัยกอนที่เรียกวา “ทุงวัวลําพอง” และไดเพี้ยนเสียงมาเปน “หัวลําโพง” บางก็สันนิษฐานวามาจากชื่อ ตนไมชนิดหนึ่งคือ “ตนลําโพง” ซึ่งเคยมีมากในบริเวณนี้

Do you know who designed the Hua Lamphong Railway Station? Mario Tamagno The appearance and layout of Hua Lamphong Railway Station is one of Bangkok’s most prominent architectural structures. It is famous for its half dome fac,ade and the giant clock on the front gable, which is very similar to the Frankfurt Train Station in Germany. The designer of this magnificent place is the Italian architect named Mario Tamagno.

BANGKOK,CITY OF ART


16

WORLD OF ART

COLUMNIST : YUNE & PED

NEW YORK, USA MoMA PS1’s VW Dome 2

Rijksmuseum

<<

Photo : CHARLES ROUSSEL / COURTESY MOMA PS1, ELK Studio

ชื่ออาจฟงดูยาวและจํายากไปนิดเหมือนจะเปนโคดลับของอะไรสัก อยาง แตจริงๆ แลว MoMa PS1 เปนโปรเจ็กตพื้นที่ศิลปะที่ Museum of Modern Art หรือ MoMa ในนิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดตั้ง ขึ้นโดยไมหวังผลกําไร คราวนี้ ไดรวมมือกับ Volkswagen บริษัทผลิต รถยนตสัญชาติเยอรมนี สราง MoMA PS1’s VW Dome ขึ้น โดยสวน หนึ่งเพื่อฟนฟูพื้นที่เสียหายจากพายุเฮอริเคน Sandy ที่พัดถลมทํา ความเสียหายจํานวนมากใหกับบริเวณรอบๆ Rockaway Peninsula ในนิวยอรก เมื่อป พ.ศ. 2555 โดมขาวเหมือนกับหลุดออกมาจากหนัง Sci-Fi นี้ สรางขึ้นเพื่อเปนศูนยรวมที่มีพื้นที่เพื่อการฟงบรรยาย แสดงงานศิลปะ ฉายหนัง และจัดงานสาธารณะอื่นๆ ถึ ง แม เ ราจะไม ส ามารถเก็ บ กวาดซากเสี ย หายออกไปทั้ ง หมดได ในเวลาอั น สั ้น แต่ เ ราก็ ส ามารถพูดได้ว ่าศิ ลปะมีส่วนช่วยฟื้ นฟูพื้ นที่ เสียหายก็ไดไมผิดนัก นอกจากนี้ MoMa PS1 ยังคาดหวังวาผูคนที่ มาใชพื้นที่บริเวณโดมนี้จะใชงานศิลปะเปนตัวชวยในการติดตอสื่อสารกับ คนอื่นและสรางเครือขายใหมๆ ไดอีกดวย

AMSTERDAM, NETHERLANDS

ภาพ The night watch ของ Rambrandt

หลังจากปดซอมไป 10 ป พิพิธภัณฑ Rijksmuseum แหงอัมสเตอรดัม เนเธอรแลนด ก็กลับมาเปดทําการอยางยิ่งใหญใหสมกับเปนพิพิธภัณฑ ศิลปะที่เก็บรวบรวมผลงานสําคัญของโลกไวหลายชิ้น หนึ่งในนั้นคือภาพ The night watch ของ Rambrandt ภาพนี้สําคัญขนาดที่วาเปนภาพ เดียวในพิพิธภัณฑที่มีทางเลื่อนหลบภัยเปนของตัวเอง สําหรับใชในยาม ฉุกเฉิน และเปนงานชิ้นเดียวใน 8,000 ชิ้นที่ยังคงปกหลักอยูที่เดิมไม ไดยายที่แสดงไปกับการจัดแผนผังใหมของพิพิธภัณฑ จากเดิมที่มี คนเขาชมปละลานคน ทางพิพิธภัณฑคาดวาคนจะเพิ่มเปนสองลานคน ตอป ในโอกาสนี้ก็มีโฆษณาที่กลายเปน Viral clip นั่นคือทางพิพิธภัณฑ ใหคนแตงตัวเปนบุคคลในภาพ The night watch บุกเขาไปในหางทองถิ่น แถวนั้น เรียกความสนใจจากคนรักศิลปะไดทั่วโลก


17

LENS, FRANCE Photo : Iwan Baan

Photo : Ped Yoon

Louvre Lens

วันนี้เมือง Lens เขตทําเหมืองทางเหนือของประเทศฝรัง่ เศสเรียกไดวา เปน ศูนยกลางของศิลปวัฒนธรรมใหมไปแลว จากเดิมทีเ่ มืองนี้ไมไดดงึ ดูดนักทองเทีย่ ว เทาไหร ทั้งที่มีประวัติศาสตรมาพอสมควร เมืองนี้เคยถูกถลมดวยระเบิดสมัย สงครามโลกครั้งที่ 2 ถูกยึดโดยนาซี และกลายมาเปนเมืองขุดเหมืองที่ปดตัวไป แตเเลวสภาพเมืองก็ไดกลับฟนคืนมามีชีวิตชีวา เมื่อมีการแบงงานศิลปะ สวนหนึ่งของพิพิธภัณฑ Louvre มาแสดงที่นี่ โดยมีเปาหมายคือการฟนคืนชีวิตให กับเมือง เชนเดียวกับที่พิพิธภัณฑ Guggenheim จัดใหกับเมือง Bilbao ประเทศ สเปน และการที่ Lens ไดรับเลือกในโครงการนี้ เปนเพราะทําเล ซึ่งใชเวลา ไมนานในการเดินทางไป Lille แหลงทองเที่ยวสําคัญของฝรั่งเศส อีกทั้งอยู ใกลอุโมงคขามไปอังกฤษ และสามารถเดินทางไปเบลเยียมไดภายใน 30 นาที งานนี้ไดบริษัท SANAA ของสถาปนิกคูชาวญี่ปุนผูไดรับรางวัล Pritzker Prize ที่ผานการออกแบบหอศิลปและพิพิธภัณฑมาแลวมากมาย มารวมทํางานกับ นักวางแผนภูมิทัศน เพื่อสรางพิพิธภัณฑ Louvre Lens ซึ่งพวกเขาออกแบบ เปนอาคารเตี้ยที่สามารถเขาถึงไดงาย ตัวอาคารมีโครงสรางเปนกลองแกว ทําใหสามารถกลมกลืนและมองเห็นภูมิทัศนของเมืองไดโดยรอบ และเปน ความตั้งใจของสถาปนิกที่เปดทางเขาไวหลายทางเพื่อดึงดูดคนและทําใหตั ว ตึกมีสภาพเปน Public Space โดยมีแกลเลอรี่หลักที่จัดแสดงงานกวา 200 ชิ้น ในพื้นที่ โลงไรซึ่งผนังกั้น ขนาดใหญกวา 3,000 ตารางเมตร ใชเงนลงทุ ใชเงินลงทุนไป 150 ลานยู ลานยูโร และใชเวลากอสราง 3 ป พิพิธภัณฑ Louvre Lens เปดตัวไปเมื่อปลายป 2555 โดยมีภาพเขียนดัง พพธภณฑ อยาง Liberty Leading the Peo People ของ Delacroix เปนตัวเรียกผูชม โดยคาดวา จะมีคนมาเยี่ยมชมที่นี่ประมาณ 5 แสนคนตอป

TOKYO, JAPAN Design Ah! Design Ah! เปนชื่อรายการเพื่อการศึกษาของสถานี โทรทัศน NHK ของประเทศญี่ปุน ซึ่งไดสรางสรรคเพื่อเด็กโดยเฉพาะ มีการ ศึกษาจิตวิทยาเด็กอยางละเอียด ใชงานออกแบบสิง่ ของในชีวติ ประจําวัน นําเสนอสิ่งเล็กๆ นอยๆ ที่เราสัมผัสอยางไมรูตัว เลาการทํางาน ของสิ่งที่เรามองไมเห็น จึงทําใหรายการนี้เปนรายการที่ไดรับความ นิยมอยางสูงและเปนรายการที่ทั้งเด็กๆ และผูใหญเฝาคอย จนถึงขนาด ไดกลายมาเปนนิทรรศการ นิทรรศการนี้เนนเรื่องของการออกแบบจากจิตใตสํานึก นั่นก็คือ การสังเกตอะไรเล็กๆ นอยๆ ในชีวิตประจําวันที่จะเชื่อมโยงไปสูการ เขาใจรายละเอียดที่สําคัญกวา นับวาเปนการสรางพื้นฐานทางศิลปะ และการออกแบบใหกับเด็กและคนทั่วไปไดอยางดี นอกจากนี้นิทรรศการนี้ยังเปดโอกาสใหคนที่มาชมไดสัมผัสลง ลึ ก กั บ งานออกแบบที่ ซ อ นอยู ใ นสิ่ ง ที่ เ ราจั บ ต อ งทุ ก วั น ทั้ ง ทางภาพ เสียง และสัมผัส ในงานนี้ไดวงดนตรีสุดล้ํา Cornelius และดีไซเนอร ชื่อดัง Yugo Nakamura มารวมมือกันสรางภาพและแสงสีเสียง ในงาน นับวาเปนงานที่รวมหัวกะทิของวงการออกแบบของญี่ปุนเอาไว อยางคับคั่งเลยทีเดียว


18

WORLD ARTIST

COLUMNIST : YUNE

JAPAN

Yamaguchi Akira (born 1969 in Tokyo, Japan) ยามางุ จ ิ อากิ ร ะ เป็ น ที ่ ร ู้ จั ก ไปทั ่วโลกจากการผสมผสานเทคนิ คของงาน จิตรกรรมแบบญี่ปุ่นดั้งเดิมเข้ากับเนื้อหาวัฒนธรรมและสังคมสมัยใหม่ ที่เห็น แล้วชวนให้นึกไปถึงงานของปรมาจารย์ศิลปินภาพพิมพ์สมัยก่อนของญี่ป่น ุ อย่าง Hokusai หรือ Hiroshige PHOTO : TSUSHI NAKAMICHI / NACASA & PARTNERS INC.

BACCAZINE | ISSUE 06


19

// มิตค ิ วามลึกของภาพทีเ่ กิดจากการ ใช้ เ ส้ น ซั บ ซ้ อ นหลากหลายปะปน อยูใ่ นงานชิน ้ เดียวกัน //

อารมณจิกกัดปนขําในเรื่องของวัฒนธรรมตะวันตกที่ครอบครองสังคมญี่ปุนมาตั้งแต สมัยเมจิ ในภาพของเขาก็ปรากฏใหเห็นไดอยางชัดเจน นอกจากนี้ เสนหสําคัญที่เรา สามารถสังเกตเห็นไดนั้นก็คือ มิติความลึกของภาพที่เกิดจากการใชเสนซับซอน หลากหลายปะปนอยูในงานชิ้นเดียวกัน อยางที่เห็นลายเสนพูกันคมกริบตวัดไปมา ผสมกับเทคนิคเสนที่มักจะปรากฏอยูในการตูนญี่ปุนไดอยางแนบเนียน รวมถึง เนื้อหาของงานที่ยอนแยงไปมาระหวางความเกาและใหม อยางเครื่องจักรหรือ เครื่องใชไฟฟา รวมถึงซาลารี่แมน (การตูนมนุษยเงินเดือน) ตางๆ เดินปะปนอยูในตึก หรืออาคารที่ดูโบราณหรือตึกสมัยใหม ที่ดูรายละเอียดแลวมีลักษณะของสิ่งกอสรางสมัยโบราณปะปนอยู รวมทั้งซามูไรที่ขี่หุนยนตหรือเครื่องจักร ในสมัย ที่เขาเรียนอยูที่ Tokyo University of Art and Music ยามางุจิเริ่มจาก การวาดเลียนแบบภาพวาดวิวทิวทัศนสมัยกอน กอนที่จะแตงเติมเครื่องจักรและ หุนยนตเขาไปในนั้น จวบจนพัฒนามาเปนผลงานในทุกวันนี้

BANGKOK,CITY OF ART


20

IN THE MOOD OF ART

COLUMNIST : SANSKY / PHOTOGRAPHER : JEAB

BACCAZINE | ISSUE 06


21

FROM HOF ART TO HOF COMMUNITY ชุมชนของคนรักศิลปะในฝนของ “จารุวัชร วงศคําจันทร” ย้อนกลั บไปเมื่ อ 10 ปี ก่อ น ในกรุง เทพมหานคร ยัง ไม่มีแ กลเลอรี่ ห รือ พื้น ที่ ใ ห้ ศิ ล ปิ น รุ ่น ใหม่ ๆ ได้มีโ อกาสแสดง ผลงานมากนั ก “จารุ วัช ร วงศ์ คําจันทร์ ” ได้ ยุติ บ ทบาทของตั วเอง จากที่ เคยใช้ ชีวิ ต แบบคนที่ วนเวีย นอยู่ ใ นกระแส ของธุรกิ จ หลัง จากที่ ทุ่ ม เทเวลา 10 กว่าปี ไปกั บ งานด้ า นครีเอที ฟ จนถึ ง จุ ด อิ่ มตั ว จึ ง อยากกลับ มาสานฝัน ของ สายเลื อด “ศิ ล ป์ พีร ะศรี” ที่เ ต็ม เปี่ ย มอยู่ ใ นตั วของเด็ ก จิ ต รกรรม ศิ ล ปากร รุ ่ น 38 จารุ วั ชร หรื อ ที่ ค นในวงการศิ ล ปะเรียกเขาว่ า “พี่ ตั๋ น HOF ART” มั ก จะบอกกั บ ตัวเองเสมอว่ า เมื่ อ ถึง จุ ด หนึ่ ง ของ ชี วิ ตการทํ างาน เขาจะเลือ กอาชีพ ที่เ ขาสามารถทํ า ได้ อ ย่ า งสบายๆ ไปตลอดชี วิ ต เมื่อ คิด ได้ แ บบนั้ น พี่ตั๋ น จึ ง ตั ด สิ น ใจ เปิ ดแกลเลอรี่ ทางเลื อ กใหม่ ซึ่ง เรียกเสียงฮือ ฮาและเป็ น ที่ น่ า จับ ตามากๆ ในช่ วงปี พ.ศ. 2548 ตึ ก แถว 4 ชั้ น ถู ก ดั ดแปลงเป็นแกลเลอรี่ทางเลื อ กใหม่ สไตล์ Loft เรี ย บง่ า ย ดิ บ ๆ เน้ น การตกแต่ ง ให้ น้ อ ยที่สุ ด เพื่ อ จะได้มี พื้ น ที่ สําหรับแสดงงานมากที่สุด นับว่า HOF ART เป็นแกลเลอรี่ทางเลือกที่สร้างความแปลกใหม่ให้กับวงการแกลเลอรี่ ของกรุง เทพฯ ในยุ ค นั้ น และเป็ นต้ นแบบของอิ น ดี้ แ กลเลอรี่ใ นทุ ก วั น นี้ เลยก็ ว่ า ได้

“ผมเปนเด็กจิตรกรรม ศิลปากร รุน 38 พอเรียนจบออกมา เราโชคดีที่มี ฝรั่งคนหนึ่งที่เรารูจักสมัยเรียน เคาชอบในงานของ “ศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี” ที่เปนเพื่อนในกลุมเดียวกัน ตอนนั้นเรามีกัน 4 คน เรียนจบ ฝรั่งก็ชวน เราไปทํางานเปน จูเนียร อารตไดเร็กเตอร ที่เอเจนซี่ของเขาเลย ในยุค เมื่อ 30 ปที่แลว คนที่ทํางานโฆษณานี่คือเจงมาก เราก็แบบภูมิใจนะ ทําได อยูไมนานก็ลาออก แลวเปลี่ยนงานเวียนวายอยูในวงการธุรกิจ จนวันหนึ่งเริ่ม รูสึกวา ถึงเวลาแลวมั้งที่เราตองมาทํางานที่เราอยากทําจริงๆ อยากเริ่มตน ชีวิตใหม ตอนนั้นเราคิดไปไกลถึงตอนเราแก วาเรายังทําตรงนี้อยูแลวมัน เหนื่อยแบบนี้ อายุ 50-60 ปเราจะยังทําไหวอยูเหรอ แนนอนมันไมไหว หรอก ก็กลับมาคิดแลวเราจะทําอะไรดีละ ที่มันจะทําแลวมันทําไดไปจนเรา แกก็ยังสามารถทําได แลวคําตอบที่ไดคอื “ศิลปะ” “ผมหางหายจากวงการศิลปะไปนานมาก ตอนนั้นบอกตัวเองวาถึงเวลา แลวที่เราจะทําในสิ่งที่เราอยากทํา ซึ่งกวาจะตั้งหลักไดก็ตอนอายุมากเกือบ จะ 40 ปแลว ในสมัยนั้นดวยความที่เราชอบไปเดินสวนจตุจักร ในยุคสมัยเมื่อ 10 กวาปที่แลว มี Section 7 เปนโซนศิลปะ เราไปเจอกลุมศิลปนที่เขารวมตัว กันอยู เราก็ตัดสินใจเขาไปทํารานขายงานศิลปะ ของตกแตงบานตางๆ ทํา อยูไดปกวาๆ เราไดสรางใหโซนนั้นเปนเหมือน Community Art เราก็โอเคนะ

แตมันมีความรูสึกวาการที่เรามาเปดราน แลวกลับบาน ทํางาน วาดรูป ชีวิต วนๆ อยูแบบนี้ มันคงไมโตไปไดมากกวานี้ ตอนนั้นเรามีเงินเก็บประมาณ 3-4 แสนได ประจวบกับเปนชวงขาลงของโซนศิลปะที่จตุจักรในยุคนั้นดวย เราเลยมานั่งคิดหาชองทางใหมๆ ตอนนั้นคิดเยอะเหมือนกันวาจะทําอะไรดี” “ดวยความที่เรารักศิลปะ มีความฝนอยากทําแกลเลอรี่มาตลอด เลย เปนจดเริ่มตนของ HOF ART ตอนนั้น พ.ศ. 2548 เริ่มแรกมันเกิดจาก ความคิดที่เราบอกก็คือ อยากสราง Community Art ขึ้นมา แลวเรามองวา ตองหาจดแตกตาง อะไรที่แกลเลอรี่ทั่วๆ ไปมีอยูแลว เราจะตองทําใหได มากกวา ในยุคนั้นแกลเลอรี่มันมีไมมาก โอกาสที่ศิลปนจะไดแสดงงานมันก็ ยาก เพราะพื้นที่มันนอย เราเลยมองวาในเมื่อมันเปนแบบนี้ ไหนๆ เวลาเปด งานคนก็มาแลว เราไมกลับไมไดเหรอ อยูกันยาวๆ ไปยันงานเลิกเลยไดไหม ใหคนมีโอกาสไดพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องศิลปะกัน นั่นหมายความวา เราตอง มีพื้นที่ที่ใหญมากพอสมควร ไมอยางนั้นคนจะมาชุมนุมแลวสนุกกันไดยังไง” “สองคือเราไมไดมีเงินทุนมากมาย เราจะสามารถทําแกลเลอรี่ไดไหม นั่นเปนคําถามที่เราตองหาคําตอบใหได กอนที่จะทําตรงนี้ขึ้นมา เรามองที่ จดเดนของเราคือ เรามีคอนเน็กชั่นเยอะ เปนคนมีเพื่อนเยอะ เพื่อนที่ศิลปากร เองจบออกมาก็ยัง ติด ต่ อ กันเยอะ HOF ART เลยเกิด ขึ้ น มาเพื่อเปน

BANGKOK,CITY OF ART


22

IN THE MOOD OF ART

แกลเลอรี่ทางเลือก เปนพื้นที่ที่เปดกวางใหคนเขามาแสดงงาน โดย ทีเ่ ราเปนคนทีค่ อยดูแลในเรือ่ งของการขายงานให โดยเปนการแชรกนั เราเลือกเคา เคาเลือกเรา ถอยทีถอยอาศัยกัน” “ความตั้งใจของเราคืออยากให HOF ART เปนสังคมใหคนไดมา พบปะพูดคุยเรื่องงานศิลปะ โดยที่ไมจํากัดแขนง ชวง 2 ปแรก เรา มีจัดแสดงงานทุกเดือนเลย เรียกวารุงมากๆ และที่สําคัญ ตอนนั้น เราเปนพื้นที่ ใหมที่ ใหโอกาสนักศึกษาที่จบใหมไดมีพื้นที่มาแสดงงาน เพราะเรามี 4 ชั้น เราเชาตึก 3 ชั้นที่มีชั้นดาดฟาดวย เราทําดาดฟาเปน โดมๆ มุงจากเพื่อใหเปนพื้นที่แสดงงานไดดวย สวนอื่นๆ ก็จะสรางให มันดูดิบๆ เรียบๆ งายๆ สามารถเดินเชื่อมตอกันไปไดเรื่อยๆ เปนรูป ตัว U คือดวยเงินทุนเราไมมาก ตอนที่ออกแบบเราก็ตองคิดเยอะ การ ที่เราเลือกที่จะเนนความดิบๆ เรียบๆ ก็เพื่อเวลาที่เราเอางานศิลปะ ไปแขวน ไปวาง มันจะชวยสงใหผลงานเหลานั้นโดดเดนขึ้นมาดวย เราดึงความเรียบงายดิบๆ ของสไตล Loft มาใช เพราะเราเอาตึก เกามาสราง อาศัยโครงสรางเดิม เรียบงาย เนนการใชพื้นที่ใหเกิด ประโยชนสูงสุด เวลาจัดงานทีเราสามารถรองรับศิลปนที่จะมาเจอกัน ไดเปนรอยๆ คน มันคือแหลงชุมนุมงายๆ ที่ไมสมบูรณแบบมากนัก

แตฟงกชั่นก็ได เนนดิบๆ สไตลนิวยอรกแกลเลอรี่ มันเปนทางเลือกใหมที่เกิดที่ทําให เราไดรับความสนใจ ตอนนั้นคิดแควาทําไมเราจะตองมีพื้นที่ที่สมบูรณแบบมากๆ ดวย ถาเราทําดิบๆ แตเอางานศิลปะดีๆ เขาไปวาง มันตองเดน เราใชความคอนทราสต ของพืน้ ทีม่ าสรางความโดดเดนใหงานศิลปะ สมัยนัน้ ยังไมมีใครทําแกลเลอรีแ่ ปลกใหม แบบนี้ เราจึงเกิดไดรวดเร็วมาก มาถึงสมัยนี้ แกลเลอรี่ทางเลือกแบบนี้ ก็มีเกิดตาม มาอีกเยอะเลย ซึ่งเราก็มองวา มันก็คงเกิดมาจากไอเดียเดียวกันคือ เด็กรุนใหมๆ อยากมีพื้นที่แสดงงานเปนของตัวเอง แตทุนไมไดมีมากนัก” “เรารุงสุดๆ อยู 4 ป ดวยความที่เราไมเนนขายงานมากนัก เพราะเราไมไดมี ความรูเรื่องการขายงานศิลปะมากเทาไหร รายไดมันก็ไมคอยเกิด จนกระทั่งหลังๆ เราเริ่มรูจดดอยแลว ก็เลยอาศัยคอนเน็กชั่นที่มีอยูไปของานของศิลปนที่ดังๆ มาแสดง คราวนี้ Collector พวกนักสะสมงานศิลปะเริ่มเขามาหาเรามากขึ้น พอชื่อเสียงของ HOF มันดังออกไป คนก็เขามาดูมาจัดงานกันเยอะ แตไมคอยมีคนซื้องานเราก็ เริ่มมีปญหาเรื่องของรายไดไมพอรายจายตามมาอีก” “แตปญหานี้นี่แหละ ที่ทําใหเราเกิดความคิดขึ้นมาวา เราตองหาอะไรเขามาชวย ใหเกิดรายไดมากขึ้น ก็เลยเกิดไอเดียการจัดกิจกรรมขึ้นมา เราก็พยายามคุยกับ Collector เยอะๆ วางานของใครเปนที่ตองการ เราไปติดตอศิลปนมาและจัดหาพื้นที่ ขางนอก เพื่อเอางานเหลานี้ไปแสดงตามพื้นที่นอกแกลเลอรี่ เชน ที่ Cicada Market

BACCAZINE | ISSUE 06


23

/ / เ มื่ อ คิ ด จ ะ พั ฒ น า แ ล้ ว พี่ ต๋ั น ก็ มุ่ ง จะพั ฒ นาให้ ถึ ง ทีส่ ด ุ ดังนัน ้ จึงเกิดไอเดียใหม่ ที่ได้เริ่มลงมือทําไปบ้างแล้ว กับ HOF Community ชุมชนของคนรักงานศิลปะ //

หัวหิน หรือตามหางสรรพสินคาตางๆ ฯลฯ คือการเอางานศิลปะไปแสดงควบคูกับการ จัดกิจกรรมทางศิลปะ ทําใหเรามีรายไดเขามาและอยูได พอเรามีพื้นที่ขางนอกเยอะ พื้นที่ขางในตึก HOF ART เองเราก็ตัดแบงใหศิลปนมาเชาทําสตูดิโอตางๆ พอเราไดคน มาแชรพื้นที่ เราก็ไมตองแบกภาระเรื่องคาเชามากนัก แลวยังเหลือพื้นที่ทําแกลเลอรี่ ไดอยูเหมือนเดิม เพียงแคมันเล็กลง แลวเนนออกไปจัดงานและกิจกรรมที่ดานนอก แตในอนาคตอันใกลนี้ เราจะเรียกพื้นที่คืนจากฝรั่งที่มาเชาพื้นที่ชั้นลางคืน เพื่อที่เรา จะไดมา Reborn HOF ART ใหกลับมามีพื้นที่แสดงงานเยอะๆ กันจริงจังอีกครั้ง” จากความทุมเทกับ HOF ART ทั้งชีวิตทําใหพี่ตั๋น มองเห็นจดออนของตัวเอง และแกลเลอรี่สวนใหญในเมืองไทย นั่นทําใหเขาเล็งเห็นแลววา ตองถึงคราวที่ HOF ART ตองปรับตัวตามยุคสมัยอีกครั้ง “พอเราอยูในวงการนี้นานๆ ก็เริ่มมองเห็นจดออนของแกลเลอรี่ที่เปนอยูในบาน เราทุกวันนี้ คือเราเนนแสดงงาน แตเราขายไมคอยได ตอนนี้เรามี Collector เกงๆ ที่ รูจักเยอะขึ้น เลยเกิดความคิดที่อยากสราง Community Art ที่ใหญๆ กลับมาอีกครั้ง เพราะโดยสวนตัวเอง พี่ยังมองวางานศิลปะ มันตองอาศัยการสงเสริมซึ่งกันและกัน หากเรามีสตูดิโอและพื้นที่แสดงงานของศิลปนที่เกงๆ เปนที่ตองการของนักสะสมงาน ศิลปมารวมตัวอยูในที่เดียวกัน มันเปนการเรียกใหคนที่อยากซื้อจริงๆ เดินเขามาหาเรา ณ วันนี้ที่เราอยูไดแลว ก็อยากจะถอยทัพกลับมารวมกลุมศิลปนใหมันใหญๆ เหมือนสมัย BANGKOK,CITY OF ART


24

IN THE MOOD OF ART

//คิดว่าอะไรทีจ่ ะขายได้ตลอด คําตอบทีไ่ ด้คอื ของกิน เพราะคอนเซ็ปต์ทเ่ี รา คิดไว้กค ็ อื “ศิลปะ” ทีท ่ ง้ั รูจ้ ก ั และไม่รจู้ ก ั สามารถเสพได้ // HOF ART ยุคแรก ตอนนี้พื้นที่หลักๆ ของเรามีที่ Cicada หัวหิน และราน ที่ชั้น 2 หอศิลปกรุงเทพฯ ปหนาเราเลยวางแผนวา เราจะมารวมกลุมศิลปน ใหญๆ อีกครั้ง และหาคนเขามาชวยทําเรื่องการตลาดให ตั้งใจจะให งานแสดงศิลปะของเราเติบโตควบคูไปกับการตลาด ศิลปนจะไดอยูรอด เพราะทํางานออกมาแลวขายได เลยเกิดเปน HOF Eat & Art ก็คือ รานอาหารญี่ปุนที่ชั้น 2 หอศิลปกรุงเทพฯ ตอนนั้นพอไดพื้นที่นี้มา เราก็มาคิดวาแกลเลอรี่อยางเดียว ก็อาจจะเกิดปญหาเกาอีก ทีนี้ก็มานั่งคิด เลยวาอะไรที่จะขายไดตลอด คําตอบที่ ไดคือของกิน เพราะคอนเซ็ปต ที่เราคิดไวก็คือ “ศิลปะ” ที่ทั้งรูจักและไมรูจัก สามารถเสพได เลยมาลง ที่รานอาหาร เพราะอาหารยังไงคนก็ตองกิน แลวก็ไดเจอกับ “จั้ง” หนุมลูกครึ่งไทย-ญี่ปุน ซึ่งเคาเองเปนศิลปนใน กลุม “ยอนแยงสุนทรียะและสหาย” ที่ทํารานอาหารที่เชียงใหมอยูแลว จังหวะมันดีมาก ตอนนั้นเขาปดรานอาหารที่เชียงใหม เราคุยกันวา อยากใหเขาเขามาแชรไอเดียศิลปะที่ครบ รูป รส กลิ่น เสียง กับเรา แลวเขาก็ขนของมาจากเชียงใหม มาลงที่รานตรงนี้เลย ที่นี่เปนทั้งราน อาหารและแกลเลอรี่ เปน HOF Eat & Art เรียกวาเปน Aesthetic Business Art Project No.1 ของเราเลย ทุกๆ อยางในรานคืองานศิลปะ ลูกคาที่ เขามาในรานเราสามารถเสพรูป รส กลิ่น เสียง แลวกลับบาน ซึ่งทํามา ไดเกือบปแลว ถือวาประสบความสําเร็จดีทีเดียว” BACCAZINE | ISSUE 06

เมื่อคิดจะพัฒนาแลว พี่ตั๋นก็มุงจะพัฒนาใหถึงที่สุด ดังนั้นจึงเกิดไอเดีย ใหมที่ ไดเริ่มลงมือทําไปบางแลวกับ HOF Community ชุมชนของ คนรักงานศิลปะ “ตอนนี้เราเพิ่งไดพื้นที่ชั้น 2 ของหอศิลปกรุงเทพฯ ติดกับราน HOF Eat & Art เพิ่มมา เราจะเปดพื้นที่ใหมดวยคอนเซ็ปตเดิม คือการเสิรฟงาน ศิลปะเพื่อใหคนเสพสุนทรียะ แตรานใหมนี้เราจะขายขนม และจัด แสดงงาน ควบคูไปกับการจัดกิจกรรม พื้นที่ ใหมนี้ เราจะทําเปนเหมือน โตะใหญๆ ขึ้นมาเพื่อรองรับการจัดกิจกรรมทางศิลปะที่เราตั้งใจจะใหเกิดขึ้น คูไปกับรานใหมของเราเลย อาจจะใหศิลปนมาทําอาหารใหคนทานไป แลว นั่งพูดคุยกันเรื่องงานศิลปะ ก็กําลังมองหาศิลปนที่ทําอาหารไดไวเยอะๆ สวนวันปกติมีขายขนมกับน้ํา ซึ่งใครๆ สามารถมากินได เปนที่แฮงกเอาท ของคนอารต มานั่งพูดคุยเรื่องงานศิลปะกันไดอยางมีสุนทรียะ สบายใจ เพราะรอบๆ รานเราจะมีติดแสดงงานศิลปะ คุณมานั่งทานขนมก็สามารถ มองงานศิลปะและพูดคุยกันได นั่งนานแคไหนก็ได ไมมีใครวา เพราะเรา ตั้งใจทําขึ้นมาเพื่อใหคนมาเสพงานศิลปอยูแลว” “จากนั้นก็คิดวาเมื่อสานฝน Aesthetic Business Art Project จนอยูนิ่ง ได และกาวที่สองของ HOF ART ที่จะพัฒนาขึ้นไปเปน HOF Community ชุมชุมของคนรักศิลปะสําเร็จลงตัว พีจ่ ะไดกลับไปใชชวี ติ ศิลปนทีต่ งั้ ใจทํางาน ศิลปะของตัวเองอยางเดียวเลย เพราะเราหาคนมาบริหารแทนเราหมด


25

From HOF Art to HOF Community

แลวนี่ (หัวเราะ) ก็อยากกลับไปวาดรูปให เต็มที่ เพราะทุกวันนี้เราวาดตามออรเดอร ที่มีลูกคามาจอง แตเราก็อยากจะมุงสราง งานดีๆ เพื่อที่จะแสดงนิทรรศการของตัวเอง บาง ซึง่ มันตองทุม เทเวลาใหเต็มทีม่ ากๆ เลย” สายเลื อ ดศิ ล ป น ไม เ คยยอมแพ ข อง พี่ตั๋น กําลังเต็มเปยมไปดวยพลังแหงความ ฝน ที่จะชวยผลักดันใหวงการศิลปะในบาน เราสามารถเติบโตไดอยางมั่นคง เพราะ สําหรับพี่ตั๋นแลว เมื่อศิลปนสามารถขาย งานศิลปะได ศิลปนก็สามารถเลี้ยงตัวเอง ได เมื่อทองอิ่ม สมองและสองแขนมีพลัง แน น อนว า ศิ ล ป น ทั้ ง รุ น เก า และรุ น ใหม ใ น บานเรา จะมีพลังมาสรรคสรางงานศิลปทม่ี ี คุณคาออกมาใหประจักษแกสายตาชาวโลก… ถ า พี่ ตั๋ น ทํ า สํ า เร็ จ ดั ง ตั้ ง ใจในเร็ ว วั น วงการศิลปะคงครึกครื้นตื่นตัว และอาจ มี ง านศิ ล ปะแฝงซ อ นอยู ใ นทุ ก มุ ม เมื อ ง กรุงเทพฯ ศิลปะนคร !!!!

Ten years ago, there were hardly any places for young artists to exhibit their work in Bangkok. Jaruwat Wongkumchan ended his 10-year long career as a creative artist to open his dream art gallery that would forever change the way people look at art. In 2005, Jaruwat converted a 4-storey shophouse into a new style of gallery with minimal decoration to maximize areas for exhibition. It has set a new standard in the art industry and become a model for modern galleries. “After graduating from Silpakorn University, my friends and I were invited to work as junior art directors in one of the advertising agencies. Thirty years ago, working in an advertising agency was considered as a privilege. I was so proud of myself but then one day I started to wonder about my future. Would I be able to continue this job until old? I wanted to do something more stable and secure. Then I realized that art was the answer.” “I was 40 years old at that time. I opened a small art and home de,cor shop in Chatuchak Market and turned it into an art community. Then in 2005, I noticed that there weren’t many galleries in Bangkok, making it hard for new or young artists to exhibit their work. So I thought that there should be some kind of space for people to gather and freely share ideas and work of art. That gave rise to the HOF Art Gallery. In addition to being an art community where people gather to talk about art, HOF Art also BANGKOK,CITY OF ART

provided young artists and graduates opportunities to display their work. It became an instant success.” “Because I had only a limited budget, the interior of the building was very simple and basic, almost like a crude loft as I placed more focus on function rather than design. It turned out that its distinctive style caught a lot of attention from the public and placed its name on top of the list.” “After four years of success as an art community, I realized that we also needed to generate some income. So we arranged some exhibitions outside our galleries, such as department stores and Cicada Market in Hua Hin. With art activities, we are able to earn some income and sustain ourselves.” “One of the weaknesses of galleries in Thailand is that they emphasize too much on art exhibition and too little on revenue management. Therefore, we would like to create large art communities to attract art lovers and collectors. Our main sites are Cicada Hua Hin and Bangkok Art and Culture Centre. We also plan to establish art gallery and restaurants called HOF Eat & Art, and Yon Yang where people can enjoy food and art exhibition at the same time.” “After this restaurant project, which I called ‘Aesthetic Business Art Project’, is complete, I would like to further develop HOF Art into HOF Community. Then after that, I would return to focus on my job as a painter.”


26

THE SKETCH

<<

P7

COLUMNIST : KARAYANAMIT / PHOTOGRAPHER : JEAB

ดิบ มันส์ เซอร์

เมือ่ เอ่ยถึงศิลปินสตรีทอาร์ตอันดับต้นๆ ของเมืองไทย ต้องมีชอ่ื ของ P7 รวมอยูด ่ ว้ ย ที่เราคุ้นเคยกันดีกับงานสตรีทอาร์ตและประติมากรรม รู ป สั ต ว์ ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะในความโหดปนความน่ า รั ก สดใส ซึ่งผลงานที่ได้อวดโฉมต่อสาธารณะหลายชิ้นก็มีเรื่องราวมาจากสมุด สเก็ตซ์ของเขา

สมุดสเก็ตซที่มีความเปน มายาวนาน 3-4 ป แตงดวย สติกเกอรที่ชอบ จนไดที่ถึงเริ่มวาดงาน จะเห็นความเปนมา ตัง้ แตคาแรกเตอรยงั เปนลายเสนดินสอ จนคอยๆ ใชหมึกดํา ที่แสดงความเปนตัวตนของสไตล P7

Graffiti Sketch Book สมุดสเก็ตซ์เล่มล่าสุด

รายละเอียดของอารมณ์ความรู้สึกที่ได้สัมผัสกับสมุดสเก็ตซ์ของ P7 คือความดิบ มันส์ เซอร์...อิสระ หรือที่เจ้าตัวใช้คําอธิบายกับเราว่า “ปล่อยไหล” ทุกสิ่งที่รังสรรค์ออกมาไม่มีแรงบันดาลใจ หรือปัจจัย ภายนอกใดมากระตุ้น ทุกลายเส้นทุกจังหวะที่ประกอบร่างออกมาล้วน มาจาก “ข้างใน” ตัวเขาล้วนๆ บวกกับความต้องการให้ “แตกต่าง” เพราะเขาชอบสร้างคาแรกเตอร์ใหม่ๆ เทคนิคใหม่ๆ ที่ในความเซอร์กลับ พบความพิถีพิถัน...ในความโหดกับแฝงความน่ารัก สมุดสเก็ตซ์แต่ละเล่มของ P7 ล้วนมีเรื่องราวที่แตกต่างกันไป แม้กระทั่ง รายละเอียดของการดีไซน์หน้าปกแต่ละเล่ม

BACCAZINE | ISSUE 06

Concept: ตัง้ ใจใหสมุดสเก็ตซอารต เลมนี้เปนเหมือนแกลเลอรี่เคลือ่ นที่ โดย 1 หนา 1 คาแรกเตอร กับเทคนิค ทีแ่ ตกตางไมเหมือนกันเลย เปนงาน คาแรกเตอร ท ดลองที่ เ ข ม ข น มากกวาแคเปนแบบราง Tools : ฉาบฉวย งายๆ หาไดทั่วไป เชน ดินสอกด สีไมถูกๆ ปากกา ลูกลื่น ปากกาเมจิก หรือ ลิควิด เปนตน


27

“ผมจะเขียนไปเรือ่ ย วาดไมซาํ้ ไมยดึ ติด กับรูปแบบ และชอบความไมสมบูรณ ทุกผลงานในสเก็ตซบุก ผมตั้งใจทํา ใหมันเปนที่สุดของมัน และมีเสนหที่ แตกตางกันออกไป คาแรกเตอรตัวไหน อยากตัดไปใชงานก็ตดั ใชเสร็จก็เอา สก็อตเทปแปะกลับลงไป จะวาดจน เต็มถึงเปลี่ยนเลม” “I will continue making sketches, trying new ideas and formats. I like imperfection. I try to make each of my sketches its best and unique. I cut out characters that I want to use and paste them back when I’m done. Only when my sketchbook is full do I start a new one.” Tools : ปากกาเมจิก Posca มารกเกอร แลวขูด << สีออกเปนลวดลาย “ทําใหดเู หมือนทาสีไมสมบูรณ ตัง้ ใจใหมสี เี ลอะๆ รอบๆ กระดาษ ไดอารมณสเก็ตซบุก”

Tools : ปากกาหมึกดําธรรมดา “อยากทดลองเขียนหนาตาแบบนี้ แลวอยากไดเทคนิคขาวดําก็เลย หยิบปากกาหมึกแหง Posca มา เขียน”

สม ส สมด มด ุ ส สเเก ก็​็

ของ อง P7

Previous sketchbooks of P7

ทําเทคนิคสีไหล ถือกระปองสเปรย Concept : คาแรกเตอรเปดทั้งเลม ตองการ แนวนอน กดลง ให มี ค วามสร า งสรรค แ ละคาแรกเตอร ฉี ก ฉีดแลวสะบัด จากเดิมๆ ในสไตลภาพแอบสแตรก

Tools : ดินสอกด สีไมกลอง 20 บาท “ใชสีไมท่ใี หเสนที่ไมคมเกินไป ฝนรอย ตอระหวางชัน้ ใหซอ นกัน บางจดก็เกลีย่ ใหเรียบใหไดอารมณเนียนผสมกับ ความดิบ”

<<

BANGKOK,CITY OF ART

P7 is one of Thailand’s top street artist renowned for his paradoxical art style portraying wild yet playful characters. Many of his works on public display originated from his sketchbooks where he unleashed his imagination and creativity. His artworks are unique in the way that they are innovative, meticulously created with new experimental ideas and techniques. Each of P7’s sketchbooks tells different interesting stories. By just looking at their cover designs is already amusing!


28

ARTIST TIMELINE

COLUMNIST : DEAR

Lolay’s Route

การเดินทางของ โลเล - ทวีศก ั ดิ์ ศรีทองดี เส้นทางแห่งโลกศิลปะของ ทวีศก ั ดิ์ ศรีทองดี หรือ โลเล เริม ่ ต้น ด้วยความสนใจในเรือ่ งของมนุษยชาติ ศาสนา ความขัดแย้ง ความ เชือ่ และความสูญเสีย เรือ่ งราวทีเ่ ขาสร้างถูกถ่ายทอดออกมาผ่าน ทางภาพวาด ประติมากรรม งานดนตรี รวมถึงงานวิดโี อ และด้วย ความที่เป็นคนที่ไม่เคยหยุดที่จะสงสัย เขาจึงตั้งหน้าตั้งตาค้นหา ศึกษา ตีความความเป็นมนุษย์ตอ่ ไปในแง่มม ุ และรูปแบบต่างๆ จนได้ ผลึกความคิดในแต่ละวาระ แต่ละช่วงเวลา นําเสนอออกมาเป็นผลงาน อย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นที่รู้จักต่อสาธารณชนคนเสพศิลป์

2536 Bonnie and Clyde’ mixed 120x140 cm.

“ไดแรงบันดาลใจมาจากฆาตรกรหนุม สาว Bonnie Parker และ Clyde Barrow เปนคูท ต่ี อ ตานสังคม มีความอยาก เรียนรูเ หมือนกัน ทัง้ คูก ลายเปนโจรปลนธนาคารทีต่ าํ รวจ ตามลาทัว่ สหรัฐฯและไดถกู นํามาสรางเปนภาพยนตร ดูแลว รูส กึ ประทับใจ และเกิดความคิดวาคนวัยหนุม สาวมักทํา อะไรรุนแรง และเลือกเดินทางผิด แตในอีกมุมหนึง่ ทัง้ คูก ็ มีความเปนโรบินฮูด อยูด ว ย คือปลนแลวเอาเงินมาใหคนจน งานชิ้นนี้ก็เลยเปนการนําเอาเศษขยะ พวกเพชรปลอม มาทําในเทคนิคมิกซและทําใหมี ความลึก นูน ตาํ่ ” 1993: ‘Bonnie and Clyde’ mixed 120x140 cm. “This mixed media artwork was inspired by the real story of Bonnie Parker and Clyde Barrow – an anti-social couple who were wanted for murder and robbery in the States. After I saw the movie, I used some rubbish and fake gemstones to create this piece.”

โลเล มีผลงานแสดงเดีย่ วและกลุม ทัง้ ในและ นอกประเทศ แตทเ่ี ปนทอลก ออฟ เดอะ ทาวน คือ งานประติมากรรม ‘Dollar’ เด็กหญิง รูปรางคลายมนุษยตา งดาว ทีเ่ ปนตัวแทนของ มนุ ษ ย ท่ี ต อ งปรั บ ตั ว และเตรี ย มพร อ ม กับความเปนไปของโลก โดยเปดตัวครัง้ แรกที่ สยามพารากอน หลังจากนัน้ ก็เดินทางไปยัง สถานทีต่ า งๆ อาทิ หอศิลปกรุงเทพ ราชบุรีหัวหิน หรือแมแตบนชายหาดในปูซานประเทศเกาหลีใต เมือ่ ไมนานมานี้ เขาก็ไดพบกับจดเปลีย่ น ทีม่ อี ทิ ธิพลกับงานของเขาอยูไ มนอ ย นัน่ ก็คอื “ครอบครัว” ซึง่ กําลังมีตวั เล็กๆ เพิม่ เขามา เปนสาม สงผลใหเขาลุกขึน้ มาจริงจังมากขึน้

2539 ‘New life’ acrylic on canvas 175x185 cm.

“ในชวงเวลานั้นกําลังสนใจ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งของโลกที่ กํ า ลั ง ตกอยู ใ นสภาวะล ม ส ล า ย ท า ง วั ฒ น ธ ร ร ม อิ น ในเรื่ อ งของศาสนา ความเสื่อมที่ถูกเทคโนโลยี เขาครอบงํา เลยทํางาน ออกมาใหมีทอมีสายเชื่อม ตอเขากับตัวเรา แตเวลา ผานไป ความคิดก็เปลี่ยน แตก็ยังเคารพความคิดตัวเอง ณ ตอนนัน้ อยู” 1996: ‘New life’ acrylic on canvas 175x185 cm. “At that time, I was kind of obsessed with questions about the predominance of technology and modernization in our world. Cultures and religions were threatened by these advancements. As time passed by, my mind has changed, but I still respect my ideas and the person that I was.” BACCAZINE | ISSUE 06

มีความลึกซึ้งและเขาใจในความเปนมนุษย เพิม่ ขึน้ จากกาวแรกที่ลงมือเขียนภาพอยาง จริงจัง เมือ่ ป 2533 จวบจนวันนีผ้ า นมากวา 23 ป เขาเติบโตขึน้ ในฐานะศิลปนทีม่ ผี ลงาน สะท อ นประเด็ น ส ว นตั ว ออกมาอย า ง เปนเอกลักษณ เขาจึงเปรียบเสมือนตัวแทน จากฝงศิลปะที่สามารถเขาถึงชนชั้นกลาง ในวัฒนธรรมปอปของเมืองใหญ เสนทาง ในการค น หาคํ า ตอบให กั บ คํ า ถามที่ ต้ั ง ไวของ ‘โลเล’ จะเปนเชนไร ทีผ่ า นมา เขามองชีวิตในแตละชวงแตกตางกันมาก แคไหน อยากรู… ตองติดตาม

2547 ‘BABA’ acrylic on fabric 80x110 cm.

“ซีรีสนี้เปนเรื่องของความคิดคํานึงถึงชีวิต ความเศรา ในวัยที่เห็นเพื่อนๆ แตงงาน บางคนก็แยกกัน เดินตาม วิถีความเปนมนุษย เลยทําออกมาเปนงานเพนทิ้งภาพ ผูหญิง คลายๆ กับตุกตาที่นั่งคิดลองลอย คิดถึงอนาคต และหาทางออกใหกับชีวิต ผูหญิงคนนี้ก็เหมือนกับ ตัวผมในชวงนั้นที่นั่งตั้งคําถามวา เสนทางของชีวิตจะ ตองมีครอบครัวดวยหรือ? คือเราคิดวา ความรักก็เหมือน กับการที่เราชอบตุกตาอยูตัวหนึ่งซึ่งก็ไมรูวาจะชอบได นานแคไหน ไมเชื่อในเรื่องของความแนนอน” 2004: ‘BABA’ acrylic on fabric 80x110 cm. “This series portrays my past insecurity and questions about marriage and family. I asked myself, ‘Do we really need to have a family? What if love is short-living?’ So I painted a woman who contemplated about her future and relationship.”


29

Thaweesak Srithongdee’s observation of humanity, faith, religions, conflicts and losses is reflected through his drawings, sculptures, films and music. works have continued to receive high critical acclaim at both national and international levels. “Dollar” and her observant eyes and half-alien looks, for example, have attracted passersby in busy cities such as Bangkok, Ratchaburi, and Hua Hin in Thailand, and Pusan in South Korea, to stop and spend a moment watching her. Recently “family” has been added into Lolay’s list of inspiration sources. His perception towards humanity has deepened as he contemplates upon childhood stories. It’s been 23 years ago since he started making his first drawing. Today he is recognized as one of the most successful creators of pop art. Let’s take a look at some of his proudest works.

2548 ‘HERO’ project at Fukuoka, Japan

“เปนเรื่องราวเกี่ยวกับการมีตัวตนของ ฮีโร ในโลกในจินตนาการ และโลกแหง ความเปนจริง เปนงาน conceptual installation และมีการจัดเวิรก ช็อปใหเด็ก ตอบคําถามเกีย่ วกับฮีโร นอกจากนัน้ ก็จะมีรถยนต ซึง่ เปรียบ เสมือนพาหนะของฮีโร มีอนุสาวรียตั้งอยู เปนตัวแทน ของสัญลักษณแหงความทรงจําของโลก มีการฉายวิดโี อภาพ บุคคลสําคัญๆ ทั้งหมดตั้งอยูบนแบ็กกราวนดของแผนที่ โลก ทีม่ คี นเยอะมาก อาจจะมีคนขางเรา ทีเ่ ปนคนธรรมดา แต วัน หนึ่ง เขาอาจจะกลายเป น คนที่เ ปลี่ย นโลกก็ ไ ด ” 2005: ‘HERO’ project at Fukuoka, Japan “The theme of the project was heroes in both imagination and reality. It was a conceptual installation that combined all the things that I wanted to do. There was a workshop with children, installation arts and a slideshow video of famous people’s pictures, including Hitler. When he was young, he was singing in a choir and dreamed of becoming an artist. Who knew he would become something else.”

+ Lolay’s interests + ความสนใจของโลเล สนใจในเรือ่ งของมนุษย สงคราม อดีต ความขัดแยง Humanity, wars, history, conflict, religions and faith ศาสนา และความเชือ่ + ผลงานในปจจบัน เปนรูปแบบของเพนทิง้ มีอยู 3 ซีรสี  ซีรสี แ รกมี เนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องของการเสียดสีเชิงวัฒนธรรม ความเชือ่ ประวัตศิ าสตรทางการเมือง และบุคคล สําคัญ เปนเรือ่ งซีเรียส แตทาํ ใหมนั ดูเพีย้ นๆ หนอย สวนซีรสี ท ส่ี อง จะเกีย่ วกับเรือ่ งของความตาย และ ซีรสี ส ดุ ทาย เปนความโรแมนติกทีเ่ จ็บปวด ซึง่ ทัง้ หมด จะเปนเรือ่ ง dark เศรา สวย และโหด

2549

+ Present projects There are 3 series of painting projects. The first one is a mocking art to portray culture, belief, political history and important people in a sarcastic way. The second one is about death and the third painful romances. All are dark, melancholy yet beautiful.

2553

‘X’ acrylic on canvas 80x110 cm.

‘Dollar’ sculpture, Gwangalli Beach, Busan Biennale

“X พูดเรื่องคลายๆ กับ Hero Project แตนําเสนอ ในรูปแบบของเพนทิ้ง ภายในภาพจะมีบุคคลสําคัญ มากมาย ไมวาจะเปน มหาตมะ คานธี, จอรจ บุช, ชาลส ดารวิน, อัลเบิรต ไอนสไตน ซึ่ง X ก็มีหลาย ความหมาย แตสําหรับนิทรรศการครั้งนี้คือการมารค ทีห่ มายไว คนพวกนี้ไดบรรจเรือ่ งราวลงในความทรงจํา ของโลก ไดตอกหมุดลงในบันทึกของโลก สําหรับเรา เองคือผูส งั เกตการณ ซึง่ โลกมีหลายดาน อะไรเปนตัว กําหนดความดีหรือเลว เราตองมีความเขาใจ”

“Dollar คือคาเงินของสหรัฐอเมริกา ซึ่ ง เป น ประเทศที่ มี จํ า นวนไม ถึ ง 5% ของโลก แตกลับกุมเศรษฐกิจโลก เอาไวไดถงึ 25% คาเงินของดอลลาร สงผลตอเศรษฐกิจและการเมือง ตอ ประชากรมนุษยท่ัวโลก เราสราง ดอลลาร อ อกมาในรู ป หุ น ผู ห ญิ ง ขนาดใหญกวาคน ตั้งอยูทามกลางผูคนที่เดินผานไปมา ทํ าให เ ห็ น ความเคลื่อ นไหวกั บ ไม เ คลื่อ นไหวระหว า ง คนทีเ่ ดินกับคนทีน่ ง่ิ ในภาวะที่โลกเคลือ่ นไปตามกระแส”

2006: ‘X’ acrylic on canvas 80x110 cm. “X is very similar to the Hero Project but it’s presented in paintings. You can see many important persons such as Mahatma Gandhi George W. Bush, Charles Darwin and Albert Einstein in these paintings. As readers and observers of the world, we need to study and understand these influential people.” BANGKOK,CITY OF ART

2010: ‘Dollar’ sculpture, Gwangalli Beach, Busan Biennale “Dollar” is the currency of USA – a country with a population less than 5% of the world’s total population. Yet it is holding 25% of the global economy. Therefore, US Dollar has a great influence on the world’s economy and peoples. I created this giant white female sculpture to represent Dollar. She’s quietly sitting and observing passersby, relaying a message that mindfulness can help us see things more clearly in the fast-paced world.”


30

MY STUDIO

COLUMNIST : KARAYANAMIT / PHOTOGRAPHER : AMNAT KETCHUEN

BACCAZINE | ISSUE 06


31

MINIMAL CREATIVE SPACE

/ / ง า น ท ด ล อ ง ข อ ง ผ ม มี ค ว า ม เ ป็ น กบฏอยู่ในตัว แต่ถูกแสดงออกมาในมุมบวก //

โดยมากใครๆ มั ก มี มุ ม ทํ า งานมุ ม เด่ น มุ ม โปรดมุ ม หนึ่ง แต่สําหรับคุณเหนือ จักรกฤษณ์ อนันตกุล ศิลปิน นักออกแบบกราฟิก ที่เพิ่งฝากผลงานการออกแบบกราฟิก ให้กับนิทรรศการ Hear Here เสียง เสียง ซึ่งจัดโดย ฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เมื่ อ ช่ ว งสิ้ น ปี ที่ ผ ่ า นมา และกํ า ลั ง เตรี ย มโปรเจ็ ก ต์ ง าน นิทรรศการส่วนตัวในชื่อ “Welcome Home Project” ในปีหน้า บอกว่า “มุมทํางานของผมมีหลากหลายเหมือน สมุ ด สเก็ ต ช์ ห ลายหลากเล่ ม ” ที่ ช่ า งเหมื อ นกั บ บุ ค ลิ ก และ นิสัยการทํางาน ซึ่งชอบทดลองและไม่เคยหยุดสร้างสรรค์ สิ่งใหม่ที่แตกต่างอยู่เสมอ

ขึ้ น ชื่ อ ว า ศิ ล ป น …จะใช ชี วิ ต อยู  ใ นห อ งแบบไหนก็ มั ก สร า งความไม ธ รรมดาให เกิดขึ้น มุมทํางานของคุณเหนือผสมผสานกลมกลืนไปกับการใชชีวิตประจําวัน ภายในคอนโดมิเนียมขนาดกะทัดรัดที่เต็มไปดวยบรรยากาศของความสงบเรียบงาย กับของตกแตง ทั้งของสะสมและผลงานศิลปะสว นตัว ในสไตลความขัดแยง ที่มีทั้งอารมณดิบๆ เทๆ แต แฝงไปด ว ยความสดใสนารั ก อันเปนบุคลิกเฉพาะ สวนตัวเขาเปนคนไมชอบดูทีวี ภายในหองไมมีทีวีตั้งอยู ชอบแตใหเ สียงเพลง ขับกล่อ มบรรยากาศการทํางาน และมักใชเวลาอยูตามมุมตางๆ ตามแตอารมณ ความรูสึกและงานที่เหมาะสม ณ ขณะนั้น มุมทํางานห้องนั่งเล่น มุมโซฟานั่งเลนตกแตงใหเปนมุมแหงความคิดสรางสรรค การสํารวจตัวเองและ วิเคราะหงานที่ทําสําเร็จเพื่อชื่นชม หาขอผิดพลาดและไอเดียพัฒนาผลงานใหดี ยิ่งขึ้น ดานขางจะติดบอรดแปะผลงานเอาไววางเคียงกับกีตารคูใจที่เขามักนั่ง ผอนคลายความคิดหลังกลับจากทํางานประจําในแตละวัน “กลับจากงานผมมักจะนั่ง ผอนคลายที่มุมนี้พรอมกับดูงานที่แปะไววา เราพอใจหรือไมพอใจอะไรกับมัน เพราะขณะที่เราดีไซนงานเสร็จกับชวงเวลาที่เราออกไปขางนอก กลับมาเราจะมอง งานเปลี่ยนไป ก็จะเอาสิ่งที่เรายังไมพอใจไปทําเปนงานชิ้นใหมที่โตะคอมพิวเตอร BANGKOK,CITY OF ART


32

MY STUDIO

//ขณะที่ เ ราดี ไ ซน์ ง านเสร็ จ กั บ ช่ ว งเวลาที่ เ ราออกไปข้ า งนอก กลั บ มาเราจะมองงานเปลี่ ย นไป//

พอทํ า เสร็ จ ก็ เ อามาแปะใหม เ พิ่ ม ขึ้นเรื่อยๆ เหมือนเปนมุมสํารวจตัวเอง ในมุมมองเกาๆ แลวก็จะใชมุมนี้นั่งเลน กี ต า ร แ ล ะ อ า น ห นั ง สื อ ไ ป ด ว ย ” นิตยสารที่อยูในมุมนี้ โดยมากเปนแนว สตรีทแฟชั่นญี่ปุนที่ดูมีความขัดแยงกับ สิ่งที่ทํา แตพอถามถึงแรงบันดาลใจที่ได คุณเหนือบอกวา “ผมไมไดดูที่ภาพรวม แตดูเขาไป ในรายละเอี ย ดว า มี อ ะไรน า สนใจ เชนวา เราสนใจวาเขาทํารอยเปรอะบน เสื้อจากอะไร ก็ดูรายละเอียดตรงนั้น แลวเอามาขยายความคิดตอ นี่คือวิธี การคิดงานของผมซึ่งไอเดียดิบที่ ไดมัก มาจากอี ก รู ป แบบหนึ ่ ง ก่ อ นจะถู ก กลั่ น กรองพั ฒ นาจนกลายเป น ผลงาน

สมบูรณ ซึ่งถาคนมารูกระบวนการ ตั้งแตตนจะเห็นวามันกลายมาเปนอีก รู ป แบบเลย ผมชอบทํางานทดลอง ที่ มี ค วามเป น กบฏอยู ใ นตั ว แต ใ ห มั น แสดงออกมาในมุมบวก” มุมทํางานห้องนอน ถั ด จากมุ ม นั่ ง เล น ที่ เ อาไว คิ ด ไอเดี ย คุ ณ เหนื อ มั ก เข า มาทํ า งานต อ ที่ โต ะ ทํ า งานในห อ งนอนเพื่ อ สเก็ ต ช ไอเดียในหัวใหเปนรูปเปนราง เพราะ ที่ แ ห ง นี้ ทํ า ให เ ขารู สึ ก เหมื อ นเป น ถ้ํ า อั น แสนสงบที่ มี เ สี ย งดนตรี ค ลอ ไปดวย “มุมนี้ผมจะมานั่งสเก็ตชงานเวลา ทีต่ องการใชส มาธิเงียบๆ และรูสึกวา

อยากอยูในหองที่มีไฟสีเหลือง พออยูใน หองนี้จะรูสึกวาไดอยูกับตัวเองเต็มที่ ดวยสเปซที่คอนขางเล็ก ยิ่งชวยใหเรา รูสึกสงบ เหมือนพอเราคิดงานไดไอเดีย จากขางนอกก็กลับเขามาในถ้ําเพื่อเพง สมาธิรางแบบออกมา” บริเวณมุมนี้เต็มไปดวยของสะสม จําพวกงานศิลปะ โปสการด ตุกตา โมเดล รูปถายสมัยเด็ก และหนังสือ ความรู เ กี่ ย วกั บ การออกแบบกราฟ ก ที่ ดู จ ริ ง จั ง กว า หนั ง สื อ ในมุ ม นั่ ง เล น แ ต ก็ ยั ง ค ง แ ฝ ง ส ไ ต ล ก ร า ฟ ก หนักๆ และการ์ตูนสดใสโทนสีสั น พาสเทลปะปนกั น บ่งบอกถึง บุ คลิก ลั ก ษณะนิ สั ย ของเจ า ของที่ มี ส อง บุคลิกแฝง

BACCAZINE | ISSUE 06

มุมโต๊ะคอมพิวเตอร์ มุ ม โต ะ คอมพิ ว เตอร ตั้ ง อยู ติ ด กั บ ทางออกสูระเบียงที่ยามกลางวันจะรับ แสงธรรมชาติ ไ ด เ ต็ ม ที่ ด ว ยประตู บ าน เลื่อนกระจก เปนอีกอารมณบรรยากาศ ของการทํางานที่รอบๆ บริเวณก็ยังคง เต็มไปดวยผลงานศิลปะที่ออกสูสายตา สาธารณชนมาแล ว ผสมผสานกั บ ผลงานอดิเรก “ผมมักนั่งทํางานกับคอมพิวเตอร ในช ว งกลางวั น ซึ่ ง ได อี ก อารมณ หนึ่ง พอนั่งตรงนี้จะรูสึกปลอดโปรง และผ  อ น ค ล า ย ม า ก ก ว  า มุ ม อื่ น ๆ ทั้ ง เวลาที่ ก ลั่ น กรองไอเดี ย จากภาพ สเก็ ต ช หรื อ บางที ก็ ม านั่ ง เขี ย นรู ป เล น ตรงนี้ ผมชอบทํ า งานหลายๆ


33

มุ ม แล ว แต อ ารมณ รู  สึ ก มั นเป นเหมือนสมุดสเก็ต ชห ลายเลม” สตูดิ โอทํ า งาน ของศิลปนกราฟกคนนี้ ดูไปชางสัมพันธกับระบบการคิดและการถายทอดผลงานของ เขาที่มีหลากหลายบุคลิกอารมณ และความขัดแยงที่ลงตัวจริงๆ

My experimental artworks are rebellious, but they are portrayed in an optimistic way. Many people have their favorite working station at a specific place, but for the graphic designer Chakkrit Anantakul, who has worked for “ Hear Here Exhibition”, every corner of his condominium is his favorite

//พอเราคิ ด งานได้ ไ อเดี ย จากข้างนอกก็กลับเข้ามา ในถ้ํ า เพื่ อ เพ่ ง สมาธิ ร่ า ง แบบออกมา//

workplace. Decorated with personal art and object collections, his room is surely lively and colorful. He despises watching television; therefore his room is always filled up with music during work. Living room he often evaluates his work in the living room where he places them

on the board next to his guitar. “When I arrive home from work, I like to sit at this corner to look at my work and evaluate it with a fresh mind. I also like to read books and play guitar here. Most of the magazines I collect are Japanese street fashion magazines because their details are very interesting. For example, I look at the stains on their clothes and further expand that into my work’s concept. I like to experiment around with various styles and ideas. They are rebellious, yet positive.” Bedroom The bedroom is his perfect place to transform his ideas into sketches because of its serenity. “When I need to focus, the small space of this room and its warm BANGKOK,CITY OF ART

light help me to fully concentrate on my work.” Its interior is decorated with artworks, poscards, figures, childhood photos and graphic design books. The duo tone of vibrant and pastel colors reflects the personality of the owner. Computer table His working table is near to the balcony. During the daytime, this corner is lit with natural sunlight. “Working on my computer during the day produces a different kind of emotion. It’s more relaxing and peaceful than other corners. I like to work at different places depending on my mood.” This graphic designer’s studio style is indeed interesting and a reflection of his complex emotions and characters – just like his works.


34

ARTIST HANGOUT

COLUMNIST : DEAR

JOURNEY OF INSPIRATION Tawan Wattuya ไมวาจะเปนผลงานที่นําเครื่องแบบมาสรางงานศิลปะ เสียดสี เยยหยัน ประชันสังคม อยาง ‘Uniform/ Uniformity’ ที่ไดวิพากษวิจารณสัณฐาน ทางสังคมที่ผูคนตางนํามาหอหุมตัวเองไดอยางเผ็ดรอน หรือผลงานที่สราง ความฮื อ ฮาจนกลายเป น ประเด็ น ที่ ถู ก วิ พ ากษ กั น อย า งหนั ก ด ว ยการ เหน็บแนมความเจาระเบียบแบบลวงๆ ของสังคมในเรื่องเพศอยาง ‘Story of the Eye’ ซึ่งทํารวมกับชางภาพระดับแนวหนาของไทยอยาง ธาดา วาริช รวมถึงผลงานชุด Siamese Freaks ที่ไดหยิบยกเอาเรื่องราวของ ความเปนแฝดมานําเสนอไดอยางแสบสันต เลนลอกับความเจายศเจาอยาง ของสังคมไทย และอีกหลายๆ ผลงานที่กระตุกตอมสังคมไดเปนอยางดี จนทําใหชื่อของ ตะวัน วัตุยา ศิลปนผูสรางสรรคผลงานเหลานั้นกลายเปน ที่รูจักกันในโลกของศิลปะรวมสมัยไดไมยากนัก เบื้องหนาเขาเปนศิลปนผูยั่วยุและวิพากษสังคมไดอยางลึกถึงแกน แตเบื้องหลังเขากลับเปนชายหนุมนักทองโลก ที่ใชเวลาวางเสาะแสวงหา สิ่งใหมๆ ในตางแดน มาทําความรูจักกับเขาในอีกดานของชวงเวลายามวาง ที่หลายๆ คนมักจะไมคอยมีโอกาสไดสัมผัสกันสักเทาไหรนัก

+ Aces Riders จุดนัดพบ หากถามวา เวลาวางชอบไปไหนมากและบอยที่สุด ก็เห็นจะเปน ที่นี่แหละ ราน Aces Riders สยามสเเควร ซอย 1 ซึ่งเปนรานของ เพื่อนเราเอง ขายพวกอุปกรณสเก็ตช แลวก็มี โปรดักตอื่นๆ อยางเสื้อที่มีดี ไซนเปนลิมิเต็ดของศิลปน กระเปา แวน ฯลฯ แต ก อ นเราไม ค อ ยจะรู จั ก คนที่ อ ยู ใ นแวดวงสเก็ ต ช สั ก เท าไหร หลังจาก P7 มาชวนไปเพนทกําแพงที่ BACC รวมกับกลุม FOR ก็เริ่มรูจักกับ TRK, MMFK, Rukkit และอีกหลายๆ คน จนมา เจอกับพี่บอบ เจาของราน เราก็เริ่มแวะเวียนมาที่นี่บอยๆ เวลานัดกัน ก็มักจะนัดมาเจอกันที่รานนี้กอนแลวจะไปไหนตอ คอยวากัน ที่แหงนี้จึงกลายเปนพื้นที่สําหรับพบปะสังสรรคกัน ในกลุมเพื่อนๆ ไปโดยปริยาย

+ ปักกิ่ง ประเทศจีน ศูนย์รวมอุปกรณ์ วาดภาพ สําหรับพวกอุปกรณการวาดภาพ เราชอบไปซื้อที่เมืองจีน เพราะมี ของเยอะ และถูก เคยไปรานสมใจที่ดิโอลดสยามมั้ย ที่จีนมีราน แบบนั้นเกือบ 15 ราน และขายของเหมือนๆ กัน อยูตึกเดียวกัน และก็เปนแบบนี้อีกหลายๆ ตึก แสดงวา อารทิสตที่นี่มีเยอะมาก แต สีน้ําจะหาซื้อยากหนอยเพราะไมนิยมเขียน สวนใหญจะนิยมเขียน แบบสี Pigment ของจีนทีเ่ ขียนลงกระดาษสาดวยพูก นั และสีนาํ้ มัน BACCAZINE | ISSUE 06


35

Tawan Wattuya

+ ประเพณีแปลก ที่เดนมาร์ก

+ โอกินาว่า ประเทศญี่ปุ่น การเดินทาง สร้างแรงบันดาลใจ สวนใหญเราจะคิดงานออกตอนเดินทาง นั่งในรถ ในเรือ หรือนั่งรถไฟยาวๆ ตอนอยูในตางประเทศ การที่เรายายไป ไหนมาไหนบอยๆ มันทําใหเราไดเห็นอะไรที่แตกตางและ ใหมเสมอ เราจึงพยายามไปแบบไมมีอะไรในสมอง คอยๆ ปะติดปะตอ คอยๆ จับ แลวมันก็จะออกมาเปนผลงานได เอง อยางเชนตอนที่ไปอยูที่โอกินาวา ประเทศญี่ปุน ซึ่ง เปนที่ที่เราคิดงานออกไดหลายชุดเหมือนกัน ชวงนั้นไปอยู ประมาณเดือนหนึ่ง ก็จะสนิทกับกลุมเพื่อนที่เปนชาวประมง และชาวไร ไดเห็นวิถีชีวิตที่มันแตกตางออกไป พอกลับ มาเราก็คิดงานชุด Siamese Freaks ออกมา หลังจากนั้น ก็ไดมีโอกาสกลับไปอีก คราวนี้ไปอยูนานหนอยประมาณ 3 เดือน เพราะตองไปทํางานโซโลและดูโอรวมกับศิลปนชาว ญี่ปุน การที่เราไดไปอาศัยอยูนานๆ มันก็ทําใหเราเก็บเกี่ยว ประสบการณใหมๆ แลวนํามาสรางสรรคผลงานของตัวเอง

อีกหนึ่งสถานที่ที่ชอบไปก็คือ โคเปนเฮเกน เดนมารก ตอนนั้นไปเทศกาลดนตรี Roskilde เทศกาลดนตรีที่ใหญเปนอันดับ 2 ของโลก มีมา ตั้งแตยุค 70 ที่นี่เราไดแรงบันดาลใจในการ ทํางานเยอะมาก ซึ่งกอนที่จะเริ่มงาน จะมีผูชาย 10 คน ผูหญิง 10 คน แกผาวิ่งแขงกัน ใส เพียงรองเทาผาใบเทานั้น สวนเบอรก็เขียนไว บนตัว ซึ่งมันเปนประเพณีมาตั้งแตยุค 70 จาก เหตุการณตรงนี้ ทําใหเราคิดชุดผลงาน Naked Run ออก นอกจากนี้ เรายังไดไปแสดงงานที่ ยุโรปเรื่อยๆ ทั้งเบลเยียมและฝรั่งเศส โดย เฉพาะที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ที่นั่น นอกจากจะเป น ประเทศในฝ น ของเราแล ว คนที่โนนยังรักงานศิลปะมากดวย เห็นไดจาก นักสะสมที่ซื้องานเราเกือบ 50 เปอรเซ็นต เปนชาวฝรั่งเศส ป นี้ ตั้ ง ใจจะไปเที่ ย วประเทศเพื่ อ นบ า น ที่ยังไมเจริญมาก อยาง พมา ลาว และ กั ม พู ช าบ้ า ง เหมื อ นเวลาที ่ เ ราวาดรู ป จะมี จั ง หวะหนึ่ ง ที่ เ ราวางพู กั น หรื อ ดิ น สอแล ว ถอยออกมาดู การเดินทางก็เชนเดียวกัน มัน ทําใหเราไดถอยออกมาดูวา ประเทศเรานั้น แทจริงเปนอยางไร BANGKOK,CITY OF ART

Known for his provocative style, Tawan Wattuya’s artworks quickly become well-known in the world of contemporary art. His work “Uniform/Uniformity” attempt to make sarcastic comments on Thai society’s social rankings. “Story of the Eye” is the result of his collaboration with Thailand’s top photographer, Tara Varich, in portraying sexuality in the falsely conservativeperceptionofsomeThaipeople. “Siamese Freaks” is another work which he mocks the Thais’ obsession with social rankings and honor. Behind the scene, Tawan is a traveler who loves to explore new things in new lands. + Aces Riders – the meeting point When I’m free, I like to hang around with friends at this shop. It sells skate equipment in addition to artists’ limited products. I got introduced into the skating group by P7. We met one other at one of the wall painting soi 1 projects by BACC. This shop then has become our group meeting place. + China – center for drawing equipment I like to buy drawing equipment in China because they are cheap and there are so many choices and shops over there. However, watercolors may be a little hard to find because they’re not as popular as the traditional pigments used in Chinese drawings. + Okinawa, Japan – land of inspiration Most of my ideas would come during my trips to foreign countries. Travelling allows me to see new and different things. During my one-month stay with fishermen and farmers in Okinawa, their ways of life have inspired me to create “Siamese Freaks”. I went back and stayed there for another 3 months to work on solo and duo exhibitions with other Japanese artists. I have gained a lot of interesting experiences. + Unusual festival in Denmark Another favorite place is Copenhagen in Denmark. I attended the Roskilde Music Festival and got so inspired. Before the festival began, 20 naked men and women, wearing only their sneakers and writing their numbers on their bodies, would participate in a race. That event led to my idea for “Naken Run”. I also got to exhibit my work quite regularly in Europe, especially in Paris, where my work is highly supported. I’ve been to many foreign countries far away from Thailand, so this year I intend to travel to neighbour countries like Burma, Laos, and Cambodia. Visiting the countries, relatively to the above places, might give me a different perspective and inspiration for my work.


36

EXHIBITION@BACC

COLUMNIST : DEAR / PHOTOGRAPHER : JEAB

ปัดฝุ่นอดีต ค้นหาคําตอบ สร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัย กับสองศิลปินต่างวัย

นิ ท รรศการการ์ ตู น และ ศิลปะร่วมสมัย ราช เลอ สรวง และเด็กชายสมบูรณ์ หอมเทียนทอง ‘ความฝัน’ นับเป็นสิ่งสําคัญสําหรับมนุษย์ หากแม้เราไร้ซึ่งความฝันแล้ว ก็เปรียบเสมือน walking dead ที่มีแต่ร่างกาย แต่ไร้ซึ่ง จิตวิญญาณในการใช้ชีวิต... BACCAZINE | ISSUE 06


37

เฉกเชนเดียวกับ เด็กชายสมบูรณ หอมเทียนทอง ที่คนพบความฝนในวัยเด็ก จากการอานหนังสือการตูนเลมละบาท ของ ราช เลอสรวง เรื่อง สิงหดํา จนเกิด ความประทับใจในลายเสนวาดหนักเบา ของรูปภาพ รอยเรียงสูเรื่องราวใหได ติดตามอยางไมอาจหยุด จดประกาย ใหเด็กชายสมบูรณลงมือวาดรูป และ สรางสรรคผลงานกลายเปนศิลปนภาพ เขียนชาวไทยที่มีชื่อเสียงโดงดังในระดับ ประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งที่เยอรมนี หากใครที่กําลังมีความฝน และอยากจะ ป น ความฝ น นั้ น ให เ ป น จริ ง ขึ้ น มา ไดอยางเด็กชายสมบูรณ หอมเทียนทอง ลองมาสั ม ผั ส กั บ ความฝ น และเจ า ของ แรงบั น ดาลใจในวั ย เด็ ก ของเขาผ า น ผลงานนิ ท รรศการการ ตู น และศิ ล ปะ รวมสมัย ราช เลอสรวง และเด็กชาย

สมบูรณ หอมเทียนทอง ซึ่งเปนการ ทํ า งานร ว มกั น ของสองศิ ล ป น ที่ ต า งวั ย ตางวาระ ณ ชั้น 9 หอศิลปวัฒนธรรม แหงกรุงเทพมหานคร นิทรรศการนี้เปนการพูดถึงแนวทางการ สร า งสรรค ข องคนยุ ค ป จ จบั น ที่ เ ล า ล อ กันไปมาตั้งแตอดีต โดยผูจัดงาน สมบูรณ หอมเที ย นทอง และอภิ ศ ั ก ดิ ์ สนจด มองเห็นวา ปจจบันลายเสนการตูนไทย แทๆ หาดูไดยากมาก หากไมลุกขึ้นมาทํา อะไร ลายเสนที่คงความเปนเอกลักษณ แบบไทยๆ นี้ อาจสูญหายไปตามกาลเวลา สองศิลปินต่างวัยอย่าง สมบูรณ์ หอมเทียนทองและ ราช เลอสรวง จึงตัดสินใจ นํ า ลายเส น การ ตู น ไทยกลั บ มามี ชี วิ ต ขึ้นอีกครั้ง ดวยฝมืเจาของผลงานการตูน สิ ง ห ดํ า คนเดิ ม ที่ ล งมื อ เขี ย นภาพขึ้ น มา

BANGKOK,CITY OF ART

ใหม อี ก ชุ ด หนึ่ ง โดยเริ่ ม เขี ย นเมื่ อ ตอน ป 2551 พรอมทั้งผลงานการตูนแบบ นามธรรมของสมบูรณ รวมกับภาพเขียน สีนํ้ามัน วาดเสน ประติมากรรม และ การจัดวาง กวา 400 ชิ้น และสนุกไป กั บ การตี ค วามแบบไร ก รอบจากภาพ วาดแบบนามธรรมที่ติดเรียงรายอยูบน ผนังของหองจัดนิทรรศการ อันเปนจุด ดึงดูดสายตาแห ง แรกทั น ที ที่ เ ข า ไปถึ ง ซึ่ ง จุ ด เด น ของภาพเหล า นั้ น อยู  ที่ การตี ค วามอย า งมี อิ ส ระเพราะไม มี ชื่องาน หรื อ แนวคิด ของภาพมาเปนตัว สกัดกั้นความคิด นับเปนการทดสอบสติ ปญญาและสมาธิ วามีความเขาใจงาน ในแบบไหน ซึ่งแตละงานมีทั้งการใส อารมณ ความรูสึก และความคิดใหมๆ เขาไปอยูเสมอ บางทีมาดวยกัน อาจมอง เห็นตางกันก็เปนได


38

EXHIBITION@BACC

Raj Loesuang and The Boy Somboon Hormtientong Dreams are what make us human. The Boy Somboon Hormtientong discovered his dream when he was reading a one-baht cartoon book named “the Black Tiger” by Raj Loesuang. He was impressed with the drawing lines and addictive plots that he started drawing himself. Nowadays he is a famous painter in Thailand and Germany. Recalling his childhood memories, Somboon Hormtientong is collaborating with his childhood hero, Raj Loesuang, in their exhibition at the 9th Fl., BACC to revive Thai cartoons once again. This exhibition houses Raj Loesuang’s new cartoons which he started drawing in 2008 and Somboon Hormtientong’s abstract cartoons, oil paintings, sketches, sculptures and installation arts. Another highlight is the teddy bear set which has reflected the soft and gentle side of Somboon Hormtientong. Visitors can also enjoy the Thai cartoons by the old man, Raj Loesuang. Though today he can no longer draw because of his age, he still wants to pass on the Thai art legacy to the younger generations as well as to create a nostalgic memory for the previous ones. นิทรรศการนี้จัดโดย สมบูรณ หอมเทียทอง และอภิศักดิ์ สนจด รวมกับ ฝายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร This exhibition is arranged by Somboon Hormtientong and Apisak Sonjod in cooperation with Exhibition Department, BACC tell stories about the two men of different ages.

BACCAZINE | ISSUE 06

สรางบรรยากาศในการชมงานศิลปะใหครึกครื้น ไปกับมุมมองอัน หลากหลายที่เกิดขึ้นไดดวยตัวคุณเอง หนึ่งในบรรดาภาพวาดที่นา สนใจ คือเซตตุกตาหมี เพราะเปนงานที่ถือเปนจดเปลี่ยนหรือจดที่ แสดงออกถึงความเปนตัวตนของ “สมบูรณ หอมเทียนทอง” มาก ที่สุดก็วาได เปนการแสดงออกถึงความซื่อตรงของตัวเขาเอง ซึ่ง คนที่ทํางานแบบ abstract ที่เรียบและเนี้ยบนั้น ลึกๆ แลวกลับมีมุมที่ดู นารักซอนอยู สื่อใหเห็นวาไมจําเปนที่คนเราจะตองแข็งกระดาง หรือวาเนี้ยบอยูเพียงดานเดียว ลึกๆ แลว ในตัวเรายังมีอีกดานหนึ่ง ที่รอใหเขาไปสัมผัสเสมอ งานชิ้นนี้จึงเปรียบเสมือนตัวตนของเขา เลยทีเดียว นอกจากภาพวาดและงานศิลปะแบบนามธรรมแลว ภายในหอง นิทรรศการยังมีการตูนลายเสนไทยใหไดอานกันเพลินๆ อีกดวย ซึ่งเกิดจากการรื้อฟนความฝนที่เก็บซุกซอนเอาไวในหีบเกาของชาย วัยเกษียณ ราช เลอสรวง ที่มิอาจจะจับปากกาเขียนการตูนไดอีก แตดวยความทาทายจึงปลุกเราความรูสึกของนักเขียนการตูนรุน ใหญใหกลับมารวมสรางสรรค คนหาความหมาย และสรางความ ประทับใจใหกับเด็กและเยาวชนใหมองเห็นคุณคา และความหมาย ของการตูนกันอีกครั้ง ผานงานศิลปะลายเสนแบบไทยๆ ที่ดูมี เสนหและเปนเอกลักษณที่คนไทยทุกคนควรจะอนุรักษไว


BACC CALENDAR

COLUMNIST : DEAR

39

นิทรรศการศิลปกรรมช้างเผือก ครั้งที่ 2 13 มิถุนายน - 11 สิงหาคม 2556 ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) รวมกับหอศิลป วัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร เชิญชมนิทรรศการ ศิลปกรรมชางเผือก ครั้งที่ 2 หัวขอ “นําแหงชีวิต” โดย มีผลงานแนว Realistic และ Figurative รวมแสดงรวม 60 ผลงาน bacc exhibition นิทรรศการ Cross_Stitch : ข้าม_ตะเข็บ ส่วนหนึ่งของโครงการนําร่อง Y.A.N. (Young Artist Network) by BACC ริเริ่มและดําเนิน การโดย ฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร

2 สิงหาคม - 1 กันยายน 2556 ชั้น 7 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (พิธีเปิด 1 สิงหาคม 2556 เวลา 18.30 น.)

นําเสนอผลงานของศิลปนรุน ใหม ผานมุมมองของศิลปน รุนใหญและรุนกลางที่ผานประสบการณของความเปน ศิลปน และผลงานที่ไดรับการยอมรับในระดับสากล จดประสงคของนิทรรศการ คือการนําเสนอมุมมองของ ศิลปนที่มีตอศิลปน เพื่อขยายพื้นที่และมุมมองในการ ประเมินคุณคาศิลปน และรองรับการสนับสนุนที่มี ความหลากหลาย ทั้งตอรุนปจจบันและอนาคต และ เพื่ อ สร า งเครื อ ข า ยความสั ม พั น ธ ใ นการทํ า งานที่ สามารถขามและเกื้อหนุนจากมุมมองตางๆ ทางศิลปะ Cross_Stitch Exhibition As part of the pilot project, Y.A.N (young artist network), this exhibition is initiated and operated by Bangkok Art and Culture Centre (BACC). 2 August – 1 September 2013 7th Floor, BACC (Opening ceremony at 18:30 on 1 August 2013) Cross_Stitch presents works of young artists through the perception of experienced and internationally-acclaimed artists. The objective of the exhibition is to share the perception of artists toward their fellow artists’ work as well as to promote intergenerational diversity in art and support artist network.

The White Elephant Art Award Art Exhibition Date : 13 June - 11 August 2013 Location : Main Gallery, 8th floor By : Thai Beverage Public Company Limited Thai Beverage Public Company Limited and Bangkok Art and Culture Centre proudly present the 2nd White Elephant Art Award Art Exhibition “Water of Life” with more than 60 pieces of realistic and figurative art works on display.

bacc music Bangkok Music Forum ครั้งที่ 5 “ฉันก็เป็น...ผู้หญิงคนหนึ่ง” 15 มิถุนายน 2556 เวลา 14.00-16.30 น. ห้องอเนกประสงค์ ชั้น 1 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

รวมเสวนาเรื่องบทบาทของดนตรีที่สะทอนเรื่องเพศ (gender) ในสังคมไทย โดยนักวิชาการดานดนตรี คุณศรุพงษ สุดประเสริฐ, ศิลปน “เจินเจิน บุญสูงเนิน” และนักปนแดนเซอรมือทอง ครูเทียม ชุติเดช ทองอยู The 5th Bangkok Music Forum “I Am…Who I Am” Saturday 15 June 2013 at 14.00-16.30 hrs. Multifunction Room, 1st Floor, Bangkok Art and Culture Centre Bangkok Art and Culture Centre presents a special talk on “Music as the Reflection of the Third Gender in Thai Society” by Mr. Sarupong Sutprasert, a music and gender scholar with “Jern Jern Boonsoongnern”, the veteran folk music choreographer, Ajarn Thiam Chutidej Thongyu and a solo performance by Wannasak Sirilar BANGKOK,CITY OF ART

bacc exhibition นิทรรศการ “จิตรกรรมฝาผนังของ อาจารย์ชลูด และผลงานย้อนหลัง” “Chalood’s mural painting and retrospective” ดําเนินงานโดย ฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 31 พฤษภาคม - 18 สิงหาคม 2556 ณ ห้องนิทรรศการ ชั้น 9 หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร

นิทรรศการรวบรวมผลงานของศาสตราจารยชลูด นิม่ เสมอ ศิลปนแหงชาติ สาขาประติมากรรม ซึ่งนิทรรศการ ครั้งนี้มิไดจัดขึ้นเพื่อยกยองหรือเชิดชูเกียรติทานเนื่อง ในวาระพิเศษใด หากทวาตองการนําเสนอและเผยแพร ผลงานศิลปะอันทรงคุณคาตลอดเสนทางการสรางสรรค ที่ยาวนานกวา 60 ป เพื่อใหผูชมไดซึมซับสุนทรียภาพ และเรี ย นรู ผ ลงานศิ ล ปะของศิ ล ป น คนสํ า คั ญ ที่ สุ ด คนหนึ่งในประวัติศาสตรศิลปะรวมสมัยไทย “Chalood’s Mural Paintings and Retrospective” By Exhibition Department, Bangkok Art and Culture Centre 31 May – 18 August 2013 Main Gallery, 9th Floor, Bangkok Art and Culture Centre The exhibition presents masterpieces of Chalood Nimsamer, the National Artist in Visual Arts (Sculpture). Through the master’s display of valuable works created during the past six decades, visitors may learn more about one of the most significant artists in the Thai contemporary art history.


40

NETWORK CALENDAR

COLUMNIST : DEAR

รฦก - Remembrance 21 พ.ค. – 30 มิ.ย. 2556

<< 21 May – 30 June 2013 Ardel’s Third Place Gallery

Ardel’s Third Place Gallery

หากหัวใจคุณ ยังมีความรักผืนแผนดินผูใหกําเนิดอยางเต็มเปยม นิทรรศการ “รฦก” นาจะถูกใจไมนอย ดวยการนําเสนอผลงานภาพถายของ ชฤต ภูศิริ ที่ไดจําลองสถานการณและเหตุการณสําคัญในประวัติศาสตร การกอรางสราง ชาติไทย ภายใตแนวความคิดเกี่ยวกับอุดมการณ ความกลาหาญ และความ เสียสละของเหลาบรรพชนชาวไทยที่ยอมสูญสิ้นเลือดเนื้อและชีวิต อุทิศใหกับ การปกปองคุมครองแผนดินเกิด ซึ่งภาพใบหนาและวีรกรรมของผูคนเหลานั้น ตางกําลังตัง้ คําถามใหกบั เยาวชนคนรุน หลังไววา เราไดทาํ สิง่ ทีด่ งี ามเพือ่ ประเทศ ชาติ เฉกเชนบรรพบุรุษของเราหรือไม

Charit Pusiri, though his photographs of simulated events, reflect significant historical events and situations in Thailand under the patriotic theme of ideology, bravery and sacrifices for the motherland. The purpose of his works is to raise the awareness among the younger generations to fulfill their duty for their nation as well as to honor their ancestors’ heroism. For more information, please visit www.ardelgallery.com.

ขอมูลเพิ่มเติมคลิก www.ardelgallery.com รักออกไป - Being in Love 21 พ.ค. – 30 มิ.ย. 2556 Galerie N

อัลเบิรต ไอนสไตน กลาวไววา “ประสบการณ คือ แหลงขอมูลของการ เรียนรู” ในความรักก็เชนเดียวกัน เพื่อคนหาคําตอบประสบการณรักแหง การเรียนรู ในใจเรา เราจําเปนตองไดลองเอง ไดเรียนรูเอง คําตอบของ คําถามในสิ่งตางๆ เหลานั้นจะเกิดขึ้นภายในใจก็ตอเมื่อได “รักออกไป” ผลงานการแสดงเดี่ยวครั้งแรกดวยคําถามเรื่อง “ความรัก” โดย ขวัญชัย สินปรุ งานจิตรกรรมแนวพืน้ บานอีสานรวมสมัย โดดเดนของรูปทรงตัวละคร ที่เรียบงาย ตรงไปตรงมา ดวยทีแปรงแบบฉับพลัน ทิ้งรองรอยของการ กระทําบนผืนผาใบ และสีนํ้ามันแบบดิบๆ อันเปนเอกลักษณของเขา ขอมูลเพิ่มเติมคลิก www.galerienbangkok.com นิทรรศการ “Keisei Kobayashi: Wood engraving 1978 - 2009”

<< Being in Love

21 May – 30 June 2013 Galerie N

TAlbert Einstein once said, “The only source of knowledge is experience.” Just like love, we need to experience love in order to fully understand it. To be able to answer questions in our hearts, we have to be in love. Therefore this exhibition, which is the first solo exhibition of Kwanchai Sinpru, attempts to explore the questions about love through contemporary-folk paintings. His signature lies in the simple shapes of characters and swift brushstrokes on canvases. For more information, please visit www.galerienbangkok.com.

<< “Keisei Kobayashi: Wood 30 พ.ค. – 7 ก.ค. 2556 หอศิลปรวมสมัยอารเดล (ถนนบรมราชชนนี)

ผลงานของศิลปนชั้นครูชาวญี่ปุน เคเซ โคบายาชิ กับการเสนองานภาพพิมพ แกะไม (wood engraving) ในนิทรรศการ “Keisei Kobayashi : Wood engraving 1978 - 2009” ซึ่งไดแรงบันดาลใจมาจากความเจริญกาวหนา ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในยุคปจจบัน ที่ทําใหผูคนหยิ่งผยองอยูใน มายาคติอันมืดหมน หลงลืมความออนโยนและความรูสึกทางผัสสะที่ดีงาม ตอธรรมชาติแวดลอม โดยใชภาพเมืองใหญและสรรพสัตวกับพืชพรรณใน ธรรมชาติ เปนสัญลักษณสื่อถึงความยิ่งใหญอันจริงแทของโลก ขอมูลเพิ่มเติมคลิก www.ardelgallery.com

BACCAZINE | ISSUE 06

engraving 1978 - 2009” 30 May – 7 July 2013 Ardell Gallery (Borommaratchachonnani Road)

Wood engravings by the Japanese master, Keisei Kobayashi in the exhibition “Keisei Kobayashi: Wood engraving 1978 - 2009” were inspired by the humanity degradation due to the technological and scientific advancements in the present era. They may neglect the beautiful and tender connection with the natural environment. His works used cityscapes, animals and plants to symbolize the earth’s greatness. For more information, please visit www. ardelgallery.com.


41

Anthropos – Bangkok

R.C.A. (Ratchaburi Construction Worker Open AIR Portraits)

นิทรรศการศิลปะ BIG - BACK

2 - 30 มิ.ย. 2556

วันนี้ – 30 ก.ค. 2556

15 - 30 มิ.ย. 2556

วันนี้ – 30 มิ.ย. 2556

นําทอง แกลเลอรี่ ซอยอารีย

เถาฮงไถ หอศิลปดีคุนสท จ. ราชบุรี

หองนิทรรศการหมุนเวียน 6 - 8 พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศิลป ถนนเจาฟา

ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (TCDC) เชียงใหม

ไมวาจะเปนภาพถาย จิตรกรรม วาดเสน กราฟฟตี้ และผลงานสื่อประสมจัดวาง นิทรรศการ Anthropos ไดนําผูชมเขาสู การสํารวจถึงความสนใจที่เรามีรวมกัน : หลื บ ของความลึ ก ในนิ ย ามความเป น มนุษย ที่ซึ่งอาณาจักรอภิปรัชญาแหง จิตใจ ไดเผชิญหนากับพื้นที่ทางกายภาพ ของรางกาย ดวยการรอยเรียงเรื่องราว ทางโลก พลังงานที่จับตองไมได หรือ การกล า วอ า งที่ มี พ ลวั ต ด ว ยผลงานที่ โดดเดนในนิทรรศการ Anthropos ได นํ าไปสู รู ป แบบเฉพาะทางวั ฒ นธรรม พิธีกรรมทางสังคมและรางกายในฐานะ แมแบบของความสมบูรณทางสุนทรียะ ขอมูลเพิ่มเติม โทร. 0 2617 2794

นิทรรศการ R.C.A. นิทรรศการกลางแจง ศิ ล ปกรรมภาพถ า ยอั ด บนไวนิ ล และ กระดาษโดยนักถายภาพ ราลฟ โทเทน ผลงานตอเนื่องของภาพถายพอรเทรท ชุด A.W.C. ระหวางป 2550-2553 โดยครั้งนี้ ราลฟ โทเทน ไดจับมือกับ ภัณฑารักษ วศินบุรี สุพานิชวรภาชน พร อ มด ว ยความร ว มมื อ จากจั ง หวั ด ราชบุรี นําเสนอผลงานศิลปะภาพถาย พอรเทรทกรรมกรผูใชแรงงานนับรอย คนในราชบุรี กอใหเกิดการรับรูที่สดใหม และเต็มไปดวยชีวิตชีวา โดยนําเสนอ ผลงานภาพถ า ยพอร เ ทรทในหลายๆ พื้ น ที่ ส าธารณะหลายแห ง เพื่ อ ให ผู ค นสามารถสั ม ผั ส ถึ ง ความงดงาม เหลานี้ ไดโดยทั่วถึงกัน ขอมูลเพิ่มเติม โทร.0 2287 0942-4

นิทรรศการศิลปะ BIG - BACK ตองการ แสดงถึงนัยแหงการสรางศิลปะที่เกิด การรับรูของผูสรางผลงานที่ ใชชีวิตอยู กับสังคมในปจจบัน ซึ่งบางครั้งอาจจะ หาความแนนอนไมไดในสถานการณ ตางๆ เหตุการณตางๆอันไมคาดคิดวา จะเกิดขึ้นนั้นเปนไปไดแลวในปจจบัน นี้ เสนทางของมนุษยจึงเหมือนกําลัง เดินวนไปสูจดจบเดิม บางสิ่งบางอยาง ที่เราไมคาดคิดกําลังจะกลับมา ขอมูล เพิ่มเติมโทร 0 2282 2640

เป ด อี ก หนึ่ ง โลกทั ศ น ข องเมื อ งแห ง ป า ใหญ แ ละทิ ว เขาสู ง ใหญ ใ นม า นหมอก อันหนาวเย็น วัดวาอาราม และวิถีชีวิต อันเนิบนาบ “เชียงใหม” ในกรอบความ คิ ด ของเมื อ งที่ ถู ก ขั บ เคลื่ อ นจากพื้ น ที่ ภายใน โดยมีงานออกแบบและการ จั ด วางเป น สื่ อในการถ า ยทอดเพื่ อ นํ า เสนอผลการสํารวจ การเสาะหาโอกาส และอุปสรรคในการพัฒนาเมืองที่ซอน อยูในยานสําคัญตางๆ มารวมสํารวจ เมืองเชียงใหมในฐานะบานหลังที่สอง ของ TCDC ผานการศึกษาพลวัต ของเมื อ งอั น ซั บ ซ อ นและกลุ ม คนอั น หลากหลาย ในขณะที่คนทองถิ่นเอง ก็จะไดทาํ ความรูจ กั กับตัวเองผานมุมมอง ใหมๆ ขอมูลเพิ่มเติมคลิก www.tcdc.or.th

<<

<<

<<

<<

Anthropos – Bangkok 2-30 June 2013 Numthong Gallery at Aree

R.C.A. (Ratchaburi Construction Worker Open AIR Portraits) Today – 30 July 2013 Tao Hong Tai: d Kunst Gallery, Ratchaburi province.

From photography to painting, drawings, graffiti and mixed-media installations, Anthropos investigates a subject of collective concern: the recesses of human depth where the metaphysical realm of the mind encounters the physical space of the body. Combining sensual, ghostly or otherwise dynamic allusions, the works featured in Anthropos-Bangkok tackle themes of cultural belonging, social rituals and the body as archetype of aesthetic perfection.

The photographer, Ralf Tooten, in collaborating with the artist and curator, Wasinburee Supanishvorapach presents his photo series A.W.C., comprising of portraits of a hundred labor workers in Ratchaburi.

Exhibition of Art BIG – BACK 15-30 June 2012 Exhibition Room 6-8, The National Art Gallery, Chao Fah Road

Exhibition of Art BIG - BACK is to portray the meaning of art creation through the recognition by artists who live in the contemporary society where sometimes there are uncertainties. Presently, unexpected situations or circumstances are becoming possible. The path of humanity seems to be going in a circle and back to the starting point. Something beyond our expectation will be coming back. For more information call 0 2282 2640

BANGKOK,CITY OF ART

เล่าเรือ ่ ง เมืองใหม่

Chiang Mai Revisited Today – 30 June 2013 TCDC, Chiang Mai

“Chiang Mai Revisited” opens up a new perspective of Chiang Mai through its installation arts and designs to reflect the uncommon scenes and activities that very much define the city’s complex dynamics. The diverse ways of life of the local communities are explored in this exhibition.


42

BACC REVIEW

Music reviews Artist : Daft Punk Single : Get Lucky แนวเพลง : Electronic/Funk

ลือลั่นสนั่นวงการ สําหรับ Electronic Duo รุนใหญชาวฝรั่งเศส อยาง Daft Punk ที่ปลอย Single ใหม อยาง Get Lucky ออกมา โดยมี Pharrell Williams โปรดิวเซอร - นักรอง ชาวอเมริกันเขา มาช่ ว ย Featuring ด้ วยน้ ําเสีย งที่ เ ป็น เอกลัก ษณ์ผ สมผสาน จังหวะดนตรีกลิ่น Funk ที่เปนรากของ Daft Punk รวมอยู ยิ่งเปนเสนหใหชวนขยับตามจนถึงบีทสุดทาย พูดถึง Daft Punk แลว แฟนเพลงดนตรีแนว Electronic House นอยคนนักที่จะไมรูจักสองศิลปนชาวฝรั่งเศสประกอบดวย Thomas Bangalter และ Guy-Manuel de Homem-Christo ที่พบกันในชวงเรียนอยูที่ปารีส ซึ่งกอนจะมาเปน Daft Punk ทั้งสองเริ่มเลนดนตรีดวยเครื่องดนตรีพื้นฐานอยางกีตาร โดยมี เพื่อนรวมวงเหมือนวงดนตรีทั่วไป แตทั้งสองเริ่มมีความคิดที่ แตกตาง โดยเริ่มเอาเครื่องเลนเสียงสังเคราะหมาประกอบ ในการทําเพลง และก็เริ่มอัดเดโมและออกอัลบั้มตั้งแตนั้นมา Daft Punk เปนศิลปนที่มีชื่อเสียงที่สุดในชวงปลายป 2553 มีเพลงฮิตที่เราไดฟงกันอยางคุนหู เชน Around the world, One more time และ Da funk…จนถึงวันนี้พวกเขาทําเพลงออก มาแลว 5 อัลบั​ั้ม โดยอัลบั้มลาสุด “Random Access Memories” พวกเขาไดเริ่มทํามาตั้งแตป 2553 ไดศิลปนชื่อดังอยาง Giorgio Moroder, Nile Rogers, Todd Edwards, Pharrell Williams มารวมงาน ซึ่งอัลบั้มนี้มีกําหนดออกวางจําหนายในวัน ที่ 21 พฤษภาคม นี้ หรือในชวงฤดูใบไมผลิของทางยุโรป

Sound Cloud Artist Sound Cloud พืน้ ทีส่ รางสรรคในโลกไซเบอร สําหรับใหศลิ ปนอิสระ มาโชวฝม อื ฝากผลงานดนตรีใหคนทัว่ โลกไดรบั ฟง Artist : Distantstarr แนวเพลง : Electro/Hiphop/Funk

Distantstarr คือกลุมศิลปนและโปรดิวเซอรที่มา รวมตัวกันในนิวยอรก แตมีชื่อเสียงโดงดังมาจาก ฟลาเดลเฟย ตัง้ แตชว งป 2526 พวกเคาออกมาทํา เพลงในสไตลของตัวเอง ในฐานะศิลปน Underground Hiphop และไดรบั การยอมรับในวงกวาง ตัง้ แตป 2545 เปนตนมา BACCAZINE | ISSUE 06

Artist : Dj Crosswalk แนวเพลง : Instrumental/Turntablism /Hiphop/

สมัยนี้มีทางเลือกใหแฟนเพลงที่นิยมฟงเพลงในแนวทางที่ แตกตางใหไดฟงกันมากมายหลายชองทาง ศิลปนอิสระ อยาง Dj Crosswalk เลือกที่จะสงเพลงของพวกเขาผาน Sound Cloud มาถึงหูแฟนเพลงรุนใหมในยุคศตวรรษ ที่ 21 ยอนกลับไปในป 2548 Dj Crosswalk เริ่มมิกซ เพลงดวยความชอบ หลังจากนั้นเขาเริ่มรูวาสิ่งที่ทําอยูมัน สนุกสนาน และพุงทยานไปไกล เกินกวาที่จะควบคุมได


43

Movie reviews

Book reviews

KATHMANDU/A mirror in the skya ผูกํากับ : Icíar Bollaín

เรื่องราวของหญิงสาวชาวสเปน ที่ อ าสามาเป น ครู ส อนศิ ล ปะ ในกรุ ง กาฐมาณฑุ ประเทศ เนปาล ไดตกอยูในสถานการณ ลําบาก เมื่อเธอตองการทํางาน ที่รักเพื่อชวยเหลือเด็กๆ ที่ขาด โอกาส แตติดที่วีซาของเธอไม สามารถอยูตอไปได เธอจึงตัด สินใจแตงงานกับคนพื้นถิ่น แม

ชีวติ คูจ ะไม ไดเริม่ ตน ดวยความรัก แตสถานการณเฉพาะหนาตางๆ ที่เกิดขึ้น ก็ ไดนําพามาซึ่งเรื่อง ราวของความรัก ความสําเร็จ และแฝงไปดวยความละเอียดออน ทางวั ฒ นธรรมที่ ค นสองทวี ป ไดถายทอดรวมกัน เปนเรื่องราว อันงดงาม รอยเรียงเรื่องดวยภาพ ในมุ ม มองของบุ ค คลภายนอก

ที่ ม อ ง เ ห็ น ค ว า ม ง ด ง า ม ใ น ธรรมชาติ ข องประเทศเนปาลที่ ผูกํากับตองการถายทอดความงาม ผสมเรื่องราวไวไดอยางกลมกลืน การันตีไดจากชือ่ Icíar Bollaín ผูกํากับชาวสเปนที่มีฝมือกํากับหนัง นอกกระแสอันโดงดัง มีผลงานการ เขาชิงรางวัล Academy Award ใน ประเทศสเปน

Osho Intelligence การตอบสนองอยางสรางสรรค กับปจจุบันขณะ เขียน : OSHO แปล : ดร.ประพนธ ผาสุขยืน

Persepolis เขียนบทและกํากับ : Vincent Paronnaud

แอนิเมชั่นขาว-ดําที่โดงดังไปทั่วโลก และมีการแปลเสียง ในหลายภาษา Persepolis เปนเรื่องของเด็กสาวชาวอิหราน ที่ เ ติ บ โตในช ว งการปฏิ วั ติ ภ ายในประเทศอิ ห ร า น ในกลุมชนชั้นกลาง ซึ่งหนึ่งในวิธีการปกปองครอบครัว ก็คือ การสงลูกไปเรียนตอตางประเทศ เพื่อใหพนจาก อันตรายตางๆ ที่เกิดขึ้นในภาวะสงคราม รวมทั้งสะทอน เรื่องราว ปญหาภายในประเทศ และการกดขี่ทางเพศใน กลุมสตรีชาวอาหรับ เรื่องเลาของ ‘Marji’ ทําใหเราเขาใจ ชีวิตของครอบครัวชาวมุสลิม และการปฏิวัติในสังคม มุสลิมดวยกันเอง BANGKOK,CITY OF ART

สํ า หรั บ ผู ท่ี ช่ื น ชอบหนั ง สื อ ปรั ช ญาที่ มี เนือ้ หากระชับ ตีแผแกนแทในการดําเนินชีวติ ที่ เ รี ย บ ง า ย แ ล ะ เ น น พ ลั ง ส ร า ง ส ร ร ค ภายในจิตใจผานการปฏิบัติสมาธิดวยตัวเอง Osho คือผูนําทางความคิดที่กาวขาม คําวา “ศาสนา” เพื่อนําพลังการหยั่งรู ทั้ ง หมดกลับมาสูการใชชีวิตอยางมีความสุข Osho เปนนักปรัชญาชาวอินเดียทีส่ รางความ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ ใหกับประเทศอินเดีย หลักการใชชวี ติ งายๆ ของ Osho นัน้ คือการ พยายามก อ กวนความเป น มนุ ษ ย ข องผูอ่ืน โดยถายทอดความคิดผานเรื่องเลาที่แสดง ความขัดแยงตอกรอบสังคมและศาสนา โดย ไมมีอคติที่เลวราย แตเนนมุมมองที่ชัดเจน จากความเปนปจเจกของแตละบุคคล Osho เสียชีวิตในวัย 59 ป แตสิ่งที่ Osho ฝากไวเปนประวัติศาสตร คือหนังสือมาก กวา 600 เล่ม นอกจากนี้ ยั งมีบทความ บทสัมภาษณ ที่ไมมีวันเสื่อมสลาย มีคําพูดที่วา Osho เปลี่ยนอินเดีย ใหเปน อินเดีย โดยสิ่งที่ Osho ไดสรางไวคือการ สร า งพลั ง ทางความคิ ด ที่ เ กิ ด จากแก น ของ สมาธิในแตละบุคคลนั่นเอง ฉบับแปลเปนภาษาไทยโดย ดร.ประพนธ ผาสุขยืน ทําใหเราเขาใจถึงการสื่อสารของ Osho ไดลึกซึ้ง แตถาคุณเปนนักอานภาษา อังกฤษ Osho ในภาคตนฉบับใชภาษาที่ เรียบงาย และสือ่ สารไดอยางชัดเจนโดยทีค่ ณ ุ สามารถทําความเขาใจ และมีอารมณรวมไป ดวยอยางไมขดั เขิน


44

ART ANALYZE

COLUMNIST : NARISSARA

IN BETWEEN REALITY AND DREAM Spring Sakura Collection

Ob

for Shu Uemura //การเปลี่ยนสินค้าเชิงพาณิชย์ให้มีคุณค่าทาง ศิลปะ ได้อย่างมีศิลปะ ทําให้เรามีโอกาสได้เห็น และครอบครองงานศิ ล ปะที่ ท อดกายอยู่ บ น ผลิตภัณฑ์ชน ้ั เลิศ // BACCAZINE | ISSUE 06

ขอบคุณกระป๋องซุปและลังใส่สบู่ของแอนดี้ วอร์โฮล (1) แนวคิดเชิง ประชดประชันและอารมณ์ขันของศิลปะ POP ART รวมถึงพลัง อันไม่อาจต้านทานของวัฒนธรรมสมัยนิยม (Pop Culture) ที่ ร่วมกันทําลายขนบบางอย่างของศิลปกรรมชั้นสูง (High Art) ด้วยการเปลี่ยนสินค้าเชิงพาณิชย์ให้มีคุณค่าทางศิลปะได้อย่าง มีศิลปะ ทําให้ทุกวันนี้เรามีโอกาสได้เห็นและครอบครองงานศิลปะ ที่ทอดกายอยู่บนผลิตภัณฑ์ชั้นเลิศจํานวนมาก ตั้งแต่แก้วกาแฟ เสื้อผ้า กระเป๋าหรู รวมไปถึงเครื่องสําอางยี่ห้อดัง

หนึ่ ง ในนั้ น คื อ บริ ษั ท ผลิ ต เครื่ อ งสํ า อางและครี ม บํ า รุ ง ผิ ว จากประเทศ ญี่ปุน ซึ่งดําเนินงานตามปรัชญาของ Mr. Shu Uemura ผูก อ ตัง้ แบรนด วาดวยการรวมตัวกันของ ธรรมชาติ วิทยาการ และศิลปะ พวกเขา เริ่มสรางความเชื่อมโยงระหวางหลักปรัชญาดังกลาว ดวยการเชิญศิลปน มารวมออกแบบแนวคิดหลัก (concept) และออกแบบลวดลายใหกับ ผลิตภัณฑที่เปนคอลเล็กชั่นพิเศษประจํ าป นับตั้ง แตป 2549 เปนตนมา พวกเขารวมงานกับศิลปนรวมสมัยชื่อดังมาแลวนับสิบคน รวมทั้งแฟชั่น ดีไซเนอร นักวาดการตูน และผูกํากับภาพยนตรลาสุดในป 2556 Spring Sakura Collection นี้ ศิลปนที่มารวมออกแบบคือ OB (โอ-บี)


45

// เป็นการผสมการ์ตน ู ตาโตแบบญีป ่ น ุ่ เข้ากับเทคนิค การวาดภาพแบบตะวันตก โดยเกลี่ยทุกอย่างใน ภาพให้กลมกลืนจนแทบละลายเป็นเนือ้ เดียวกัน // สาวนอยชาวญีป่ นุ จากกลุม Kaikai Kiki (2) ที่กอตั้งโดย Takashi Murakami ศิลปน POP ART ผูเปรียบเสมือนแอนดี้ วอรโฮล ของแดนอาทิ ต ย์ อ ุท ั ย เขาชื ่ นชมผลงาน ของศิลปนวัยเพียง21 ป ผูน ว้ี า เปนมุมมองใหม ที่แ ตกต า งโดยสิ้น เชิ ง จากงานศิ ล ปกรรม รวมสมัยอื่นๆ ในเวลานี้เลยทีเดียว ความแตกต า งที่ ว  า นี้ คื อ การผสมการ ตู น ตาโตแบบญี่ปุน เขากับเทคนิคการวาดภาพ แบบตะวันตก โดยเกลี่ยทุกอยางในภาพ ให ก ลมกลื น จนแทบละลายเป น เนื้ อ เดียวกัน บวกกับแรงบันดาลใจจากผลงาน ข อง K limt, De gas, R e do n แล ะ Henry Darger ผลที่ ไ ด คื อ บรรยากาศ ชวนฝนอันคลุมเครือ ลองลอยและไรกาลเวลา แม บ างครั้ง เธอจะแอบใสเนื้อหาที่ มืดหมนลงไปบาง แตนั่นไมใชสําหรับ Sakura Collection เพราะมั น เป็ น งานที่เต็มไปดวยจินตนาการและความสุข “สํ า หรั บ ฉั น ความเป น จริ ง อยู  ใ นโลก ของความคลุ ม เครื อ ระหว า งโลกแหง ความฝ น อั น ไร เ ดี ย งสากั บ โลกแห ง ความจริง นี่คือสิ่งที่ฉันอยากจะถายทอดใน คอลเล็กชั่นนี้” OB ยั ง กระตุ  น จิ น ตนาการของเราด ว ย

เรือ่ งราว ทีม่ เี จาหญิงทั้ง 4 เปนตัวแทน ผู  ห ญิ ง ในแบบต า งๆ เริ่ ม จากเจ า หญิง ซากุ ระผู เต็ มไปด วยพลังชีวิต เมื่ อ เธอ เต น รํ า ดอกซากุ ร ะจะพากั น บานสะพรั่ ง เ จ  า ห ญิ ง ด ว ง จั น ท ร  ผู  ท  อ ง ไ ป ทั่ ว จั ก รวาล เพื ่ อ เก็ บ เศษของดวงจันทรที่ แตกสลาย จากจรวดมิสไซสของมนุษย เจ าหญิงปาไม ผู งดงามตามธรรมชาติ เธอจะคอยชวยเหลือคนหลงทางในปาให กลับบ านอย างปลอดภั ย โดยไม ลืม ลบ ความทรงจํ า เกี่ ย วกั บ ตั ว เธอเสี ย ก อ น และเพื่ อ นสนิ ท คื อ เจ า หญิ ง มหาสมุ ท ร ผูอุทิศตัวใหกับการปกปองทุกชีวิตใตทอง ทะเล แตขณะนี้ตอ งเผชิญกับสถานการณ เลวรายจากพายุที่กอตัวมากผิดปกติในชวง สองสามปที่ผานมา “ไม ว า จะเป น การเต น รํ า ท า มกลางกลี บ ดอกไม หรือตอสูกับพายุ เจาหญิงทุกคน อธิษฐานถึงความสุขสงบของโลกที่งดงาม ใบนี้ ขณะเดียวกันพวกเธอก็เปนเด็กสาว ที่ ใ ช เ ครื่ อ งสํ า อางได เ หมาะสม และ อิ น ไปกั บ จิ น ตนาการอั น ล้ํ า เลิ ศ ของ ตั ว เองฉั น หวั ง ว า ผู ค นจะได พ บกั บ สิ่ ง ที่ เข า ถึ ง ประสบการณ ข องพวกเขาเอง” …คําถามคือ นานแคไหนแลว ที่เรามัว แต ใ ช  ชี วิ ต ใ น โ ล ก ข อ ง ค ว า ม เ ป  น จ ริ ง จนลืมจินตนาการวัยเด็กเหลานี้ไปหมดสิ้น?

Thanks to Andy Warhol’s Campbell’s Soup Cans and Brillo Soap Pads Box, pop art and culture has taken a step closer to consumers. Commercial products are now vehicles for art. Shu Uemura is one of the Japanese cosmetics brands that illustrate this philosophy of combining nature, technology and art to create great products with both functional and aesthetic values. Since 2004, it has been collaborating with various contemporary artists, fashion designers and movie directors for their limited collection design. The most recent collection is the 2013 Spring Sakura Collection, designed by OB – a 21-year-old Japanese artist from Kaikai Kiki which is an art agency established by the pop artist, Takashi Murakami. Her work is compared to Andy Warhol’s by some people. Her signature lies in her technique of diffusing edges in her paintings. They are inspired by works of Klimt, Degas, Redon and Henry Darger – depicting dreamy and timeless themese. Her Sakura Collection for Shu Uemura is filled with fantasy and delight. The four princesses in this collection Sakura Hime, the cherry blossom princess; Umi Hime, the ocean princess; Midori Hime, the forest princess; and Tsuki Hime, the moon princess. All of them pray for peace and happiness for this world. These dream like designs remind us of our childhood memories and imagination.

(1) 32 Campbell’s Soup Cans (1962) ภาพพิมพรูปกระปองซุปเรียงกัน 32 กระปอง และ Brillo Soap Pads Box (1968) ประติ ม ากรรมทรงสี ่ เ หลี ่ ย ม ที่ เ ลี ย นแบบลัง ใสสบู เปนหนึ่งในผลงานที่สรางชื่อเสียงใหกับ แอนดี้ วอรโ ฮล เจ าพ อ POP ART (2) Kaikai Kiki Co., Ltd ตั้งขึ้นในป 2544 เปนองคกรบริหารจัดการ ทุกอยางเกี่ยวกับศิลปะ ตั้งแตการผลิต การประชาสัมพันธนิทรรศการ และการจัด จําหน าย รวมถึ ง การสนับ สนุ น ศิ ล ป น หน า ใหม ที่ ถู ก คั ด เลื อ กเข า มาด ว ย BANGKOK,CITY OF ART


46

ART WORD

COLUMNIST : DEAR

ALL ABOUT STREET ART

01 Graffiti

02 Tag

04 03 Throw-ups Fill-in

คือ การเซ็นลายเซ็นหรือนามแฝง ของแต ล ะคนโดยสเปรย ก ระป อ ง หรือปากกา สวนมากใชสีเดียว คือ ภาพวาดที่เกิดจากการขีดเขียน บางคนอาจพนเปนตัวอักษรธรรมดา หรือการขูดขีดไปบนผนัง เปนศัพทที่ ขณะที่บางคนดีไซนใหเปนตัวอักษร มาจากภาษากรีก คือคําวา graphein ที่เกาะเกี่ยวกันจนอานไมออก เนน ใหดูแปลกและสะดุดตา ที่แปลวาการเขียน

พั ฒ นาการอี ก ขั ้ น หนึ ่ ง ของ Tag คือการเขียนเร็วๆ ดวยสีพื้นฐาน จํ า นวนน อ ยสี นิ ย มใช ส ี ข าวดํา แสดงให เ ห็ น เส น สายที่ ร วดเร็ ว เป น การเขี ย นตั ว อั ก ษรน อ ยตั ว มีเสนตัดขอบเพื่อใหดูมีมิติ ไมเนน ความสวยงามเพราะตองแขงกับเวลา

BACCAZINE | ISSUE 06

หรือ Piece มีการใชตัวอักษรและ ประดิดประดอยมากกวา Throw-ups อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารนํ า เอาเทคโนโลยี ที่ เรียกวา Fat Cap มาชวยสรางความ งดงาม ซึ่งสามารถครอบคลุมพื้นที่การ ทํางานไดอยางรวดเร็ว ขนาดใหญ และ ประณีต


47

05 06 Blockbuster Wildstyle

07 Character

08 Production

คือ Fill-in ที่ตั้งใจเขียนทั้งผนัง

คื อ การพ น เป น รู ป คน หรื อ คาแร็กเตอรตางๆ ไมวาจะเปน ตัวการตูน หรือเปนภาพเสมือน จริงของดารา-นักรองในดวงใจ หรืออาจเปนตัวการตูนที่ไรเตอร ออกแบบเองเพื่อเปนสัญลักษณ ประจําตัวของไรเตอรคนนั้นๆ

คือ การรวมรอยขูดขีดเขียนทุกรูปแบบ ไวดวยกัน เกิดจากการรวมที่ไรเตอร หลายคนหรื อ หลายกลุ ม นั ด กั น สร า ง ผลงานรวมกัน โดยมีธีมไปในทิศทาง เดียวกันหรือสอดคลองกัน เชน นัดกัน พ น คาแร็ ก เตอร ป ระจํ า ตั ว ของแต ล ะ คนหรือพนชื่อกลุม

หรือ Wickedstyle เปนสไตลที่ ซับซอนขึ้น มีการเกาะเกี่ยวกันของ ตั ว ห นั ง สื อ แ ล ะ มี ทิ ศ ท า ง ที่ ไ ม สามารถกําหนดได ลักษณะการเขียน ประเภทนี้ จึ ง อ า นค อ นข า งยาก เพื่อแสดงใหเห็นถึงความเหนือชั้น ของการดีไซน

BANGKOK,CITY OF ART


48

Art Question

Q

COLUMNIST : BACCAZINE TEAM

ศิลปะบนกําแพงหรือบนผนังห้องน้ํา ที่มี ลักษณะก้ํากึ่งว่าจะเป็นศิลปะหรือความสกปรก อย่างนี้ถือว่าเป็น “อาร์ต” หรือเปล่า? Are paintings on walls or restroom walls considered as “arts”?

A

การขีดเขียนบนกําแพงถือว่าเป็นอาร์ตหรือศิลปะถ้าหากอยู่ ในทีเ่ หมาะและควร หากบริเวณนัน ้ เป็นกําแพงบ้านเรือนคน วัด หรือโบราณสถาน รวมถึงผนังห้องน้าํ และเป็นการขีด เขียนถ้อยคําทีห ่ ยาบคาย เหล่านีถ ้ อื ว่า ไม่ใช่ “อาร์ต” แน่นอน ตอบโดย P7, street artist Drawings on walls are considered as arts only if they are made at appropriate places. Sketching and writing bad words on people’s houses, temples, schools or restrooms are clearly rude and not art. Answer by P7, street artist

A

ศิลปะบนกําแพง ถ้ามีธม ี และความสวยงามอยูด ่ ว้ ย ก็สามารถ มองเป็นศิลปะได้ แต่จะเป็นศิลปะทีด ่ ค ี อื อย่าไปทําบนพืน ้ ทีค ่ นอืน ่ มันอาจทําให้เจ้าของเดือดร้อน ส่วนในห้องน้าํ คือความสกปรก ไม่ชอบเลย เพราะในห้องน้าํ มีแต่คาํ สารภาพรักและขายของ รวมถึงคํากลอนทีไ่ ว้ดา่ คนอืน ่ มันไม่มห ี รอกทีจ่ ะมาเนรมิตเป็น ศิลปะ ดังนัน ้ มันคือความสกปรก และทําให้คนอืน ่ เดือดร้อน ตอบโดย พิมพ์พร พฤกษถานนท์ ธุรกิจส่วนตัว Good arts don’t intrude other people’s private spaces. Graffiti is art if it is created with a theme and possesses aesthetic elements. Answer by Pimporn Phruksathanon, business owner

Q

กราฟฟิตี้ (Graffiti) กับ สตรีทอาร์ต (Street Art) แตกต่างกันอย่างไร?

A

กราฟฟิตี้ คือ การพ่นชื่อ หรือ Tag (ลายเซ็น) ตัวเอง เป็นทรงตัว หนังสือหลายสไตล์ ส่วนสตรีทอาร์ต คือ การพ่น เพ้นท์ หรือใช้ เทคนิคอื่นๆ สร้างเป็นรูปทรงคน สัตว์ หรือสิ่งของ ตอบโดย P7, street artist

How is graffiti different from street art?

Graffiti is spraying or tagging yourself in various alphabet styles. Street art is painting or spraying to create shapes of human, animals or objects.

Answer by P7, street artist BACCAZINE | ISSUE 06

A

สําหรับเรามันแล้วแต่กรณี อย่างเช่น ถ้าพ่นๆ เขียนๆ แค่ ชือ่ สถาบันนัน ้ ไม่นบ ั ว่าเป็นงานศิลปะ แต่ถา้ หมายถึงงานบน ถนน บนกําแพง พืน ้ ทีท ่ ไ่ี ด้รบ ั การอนุญาต อันนีถ ้ อื ว่าเป็น อาร์ตนะ เพราะช่วยเปลีย ่ นทัศนียภาพของทีร่ กร้างให้ดขี น ้ึ และทําด้วยความตัง้ ใจ มีแรงบันดาลใจ เช่น งานทีก ่ าํ แพง หอศิลป์ ทีก ่ าํ แพงบ้านตรงราชเทวี หรือทีส่ กายวอล์ค ระหว่างชิดลม สยาม เซ็นทรัลเวิลด์ รวมถึงการโฆษณา สินค้าก็นาํ มาใช้เป็นคอมเมอร์เชียลอาร์ตด้วย แต่สาํ หรับ งานบนผนังห้องน้าํ ทีเ่ ป็นพวกขีดเขียนคําด่า หรือ วาดเขียนแบบเลอะๆ คิดว่าไม่อาร์ต เพราะไม่กอ่ ให้เกิด ความงามทางอารมณ์ และไม่ทาํ ให้ใจสดชืน ่ เบิกบาน ตอบโดย Miney, style advisor In my opinion, it depends. Spraying your institute’s names on public walls is not an art, but doing it in authorized areas is. It gives you inspiration and can become commercial arts, too. I think writing curses on restroom walls is not an art because it does not create any constructivism. Answer by Miney, style advisor


49

bacc map

ทีต ่ ง้ั และการเดินทาง

How to go to bacc

WHERE TO FIND baccazine

bacc ตั้งอยู่หัวมุมสี่แยกปทุมวัน ตรงข้าม ห้างมาบุญครอง และสยามดิสคัฟเวอรี่ ชั้น 3 ของหอศิลปกรุงเทพฯ มีทางเดินเชื่อมต่อ กับทางยกระดับรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีสนาม กีฬาแห่งชาติ และมีบริการที่จอดรถบริเวณ ชั้นใต้ดินของอาคาร รถประจําทางสาย : สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73, 73 ก, 79, 93, 141, 159, 204, ปอ. 508 และ ปอ. 529 เรือโดยสาร : เรือสายคลองแสนแสบ เส้นทาง สะพานผ่านฟ้า - ประตูน้ํา ขึ้นที่ท่าเรือสะพาน หัวช้าง เดิน 300 เมตร ถึงหอศิลปกรุงเทพฯ สี่แยกปทุมวัน เวลาเปิดบริการ : วังอังคาร - วันอาทิตย์ เวลา 10.00-21.00 น. (หยุดวันจันทร์) ค่าเข้าชม : ไม่เสียค่าเข้าชม ยกเว้นการจัด กิจกรรมและการแสดงที่เป็นกรณีพิเศษ

bacc is located at the Pathumwan Itersection, facing the MBK and Siam Discovery Center. The 3rd floor entrance is connected to the BTS, the National Stadium Station. Limited parking is available at level B1 and B2. Buses : 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40, 47, 50, 54, 73, 73 ก, 79, 93, 141, 159, 204, air-con 508 และ air-con 529 Boats : Saen-saeb canel route (Panfa Bridge-Pratunam), use the Sapan Hua-Chang landing, 300 m. to the Art Centre Opening hours : 10 a.m. - 9 p.m. (closed Monday) Addmission : Free entry to exhibitions, except for special events. Charges to concerts and play will vary

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

BANGKOK,CITY OF ART

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ หอศิลป์จามจุรีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย TK park อุทยานการเรียนรู้ ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสยามสแควร์ 8. Coffee & Bakery อาทิ ทรูคอฟฟี่ สตาร์บัคส์ ไอเบอร์รี่ โฮมเมด โอ บอง แปง ขนม แฟชั่น เบเกอรี่ ฯลฯ 1. 2. 3. 4. 5.

Rattanakosin Exhibition Hall Museum Siam: Discovery Museum National Museum Bangkok The Queen’s Gallery Jamjuree Art Gallery of Chulalongkorn University 6. Thailand Knowledge Park: TK park 7. Chulalongkorn University Book Center (Siam Square branch) 8. Coffee & Bakery TrueCoffee Starbucks Iberry homemade Au Bon Pain Kanom Fasion Bakery Other


50

¹éÓáË‹§ªÕÇÔμ

m m vô s¨ ¢ mp ±s ° ª ¬ ¨ ¨ ¨ t tµ m v

£ s p v ± } © ósm £s¨ p

Water of Life

7KH nd :KLWH (OHSKDQW $UW $ZDUG ([KLELWLRQ %\ 7KDL %HYHUDJH 3XEOLF &RPSDQ\ /LPLWHG -XQH $XJXVW WK )ORRU %DQJNRN $UW DQG &XOWXUH &HQWUH 7HO

BACCAZINE | ISSUE 06


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.