issue 05
cover baccazine5 ������.indd 3
12/21/12 4:36 PM
baccazine says ศิ ล ปิ น ต่ า งชาติ ค นหนึ่ ง ซึ่ ง เดิ น ทางไกลมาจากอี ก ฝั่ ง
ทวีปพูดว่า “ผมรักดนตรี ไทย ...ผมแต่งเพลงไทยแล้วเอา
สำเนียงฝรั่งเป็นผักชีโรยหน้า” ขณะที่ศิลปินไทยคนหนึ่ง
เดิ น ทางไปต่ า งประเทศทั่ วโลก เพื่ อ ร่ า ยรำนาฏศิ ล ป์ ไ ทย
ร่วมสมัยให้เป็นที่รู้จัก ทั้งสองท่านไม่ได้ต่างกัน พวกเขาซาบซึ้งและยังคงรักษา
แก่ น ความเป็ น ไทย ที่ ห ล่ อ หลอมอยู่ ใ นการสร้ า งสรรค์
งานใหม่ๆ คนไทยไม่ เ คยก้ า วไม่ ทั น การเปลี่ ย นแปลงของโลก
เราเกาะติดกระแสวัฒนธรรมสากลนิยม เราติด 1 ใน 20
ประเทศที่ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต มากที่ สุ ด ในโลก ถึ ง กระนั้ น
ความเป็นไทยก็ ไม่ได้หายไปไหน เรามีอาหารไทย ผ้าไหม
ข้ า วหอมมะลิ มวยไทย ศาลาไทย เป็ น ที่ รู้ จั กในซี กโลก
ต่างๆ ศิ ล ปะของไทยได้ ข ยายพื้ น ที่ สู่ ส ากล ทั้ ง การสอด
ประสานความอ่ อ นช้ อ ยของลวดลายไทยเข้ า ไปในการ
สร้ า งสรรค์งานศิลปะสมัยใหม่ และการนำเสนอรู ป แบบ
ความคิดที่ท้าทายผ่านการสร้างงานศิลปะร่วมสมัยสู่สังคม การมีอยู่ การเปิดรับ และการเปลี่ยนแปลง เป็นพลวัต
ที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา นี่เองที่อาจทำให้เรารู้จัก ‘ความ
เป็ น ไทย’ ได้ ม ากขึ้ น ผ่ า นบริ บ ทของศิ ล ปะในความเป็ น
สากล
Once, a foriegn artist who came from another side
of the continent said “I love Thai music, I composed
Thai song and applied western tune merely as a
window dressing. Meanwhile, a Thai artist has been around the world
to present the contemporary Thai dacing art. Both of them, in a different ways, are appreciated
Thainess and recreate it in their own style of creation. We, Thais, have never lost our paces in the modern
world. We keep-up with the changes. We are one of
the top-20 countries that are heavy Internet user.
However, we have never neglect our Thainess, we still
treasure it and has made Thai food, Thai silk,
jasmine rice, Thai kick boxing, Thai pavilion well known
all over the world. Thai art has been revolted and expanded into
the international boundary. It has challenged the world
with its delicate beauty portrayed in many contemporary
Thai arts. To preserve, to adopt, and to innovate are the
dynamism behind the Thainess that allows it to endure
in our modern lifestyle and go beyond its boundary
towards the international context.
บรรณาธิการบริหาร
Editor-in-chief
baccazine โดย หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นิตยสารศิลปะเพื่อประชาชน, แจกฟรีรายสามเดือน ฉบับที่ 5 / 2555 หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร อยู่ ใ นความดู แ ลของ
มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ด้วยการจัดตั้ง
และสนับสนุนหลักจากกรุงเทพมหานคร by Bangkok Art and Culture Centre (bacc) Three-month magazine for people, free copy Issue 5 / 2012 Bangkok Art and Culture Centre (bacc) is under
the supervision of Bangkok Art and Culture Centre
Foundation, set up and tremendously supported by
Bangkok Metropolitan Administration
1_27 bacc5 .indd 1
บรรณาธิการอำนวยการ ลักขณา คุณาวิชยานนท์ บรรณาธิการบริหาร รัชนีภรณ์ เรืองดิษยรัตน์ กราฟิกดีไซน์ รัษฎากร ชัยเรืองรัชต์ กีรติ เงินมี ควบคุมการผลิต happening โทรศัพท์: 0 2664 6470 แยกสี / พิมพ์ บริษัท เอเซีย แปซิฟิค ออฟเซ็ท จำกัด โทรศัพท์: 0 2248 6888 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โทรศัพท์: 0 2214 6630-8 โทรสาร: 0 2214 6639 Website: www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage
Managing Editor Luckana Kunavichayanont Editor-in-chief Rachaneeporn Rueangditsayarat Graphic Design Ratsadakorn Chairuangrat Keerati Ngernmee Producer happening Tel.: 0 2664 6470 Separate Colour / Printing Asia Pacific Offset Co.,Ltd. Tel.: 0 2248 6888 Bangkok Art and Culture Centre Tel.: 0 2214 6630-8 Fax.: 0 2214 6639 Email: prbacc@hotmail.com
12/24/12 2:28:47 PM
hi-lights
baccazine
04 - 05
06 - 15
24 - 29
30 - 33
40 - 43
44 - 45
> flash lights
> world of art Art & Food
> bacc music Bruce Gaston’s music and saying
1_27 bacc5 .indd 2
> theme cover Thainess on the world stage
> art attack Tour of Investigation
> bacc review Thai Taxi Talismans : Dale Alan Konstanz
12/24/12 2:28:54 PM
contents
16 - 17
> Did you know?
> art talk Pichet Klunchun: Contemporary in Traditional Thai
34 - 35
36 - 39
> the sketch Li-Kay Playing in Good to Walk Exhibition Designer: Sarinya
Limthongtip
46
> art & about Artspace Which place can be called an “Artspace�?
1_27 bacc5 .indd 3
18 - 23
> art exhibition Thai Trends
from Localism to Internationalism
47
> art question?
12/24/12 2:29:06 PM
flash lights 1
3
5
6 4
5
2
1
4 กรกฎาคม 2555
นิทรรศการศิลปกรรมช้างเผือก ครั้งที่ 1 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงวาดภาพฝีพระหัตถ์ หลังทรงเปิดนิทรรศการ
3
ครัง้ ที่ 3 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี
พระวรราชาทินัดดามาตุ ทอดพระเนตรผลงาน
หลังทรงเปิดนิทรรศการ -
-th 4 July 2012
1
The White Elephant Art Award Art Exhibition Princess Maha Chakri Sirindhorn
performed drawing demonstration
in opening ceremony.
2
3
4
Comics, Manga & Co-The New German
Comic Culture Dr.Norbert Spitz, Institute Director of
Geothe Thailand and Carolyne Hoven,
one of the exhibitor.
5
6
H.R.H. Princess Soamsawali kindly open
and visited The 3rd Bangkok Triennale
International Print and Drawing Exhibition.
มิถุนายน 2555 28 เปิดนิทรรศการ Politics of ME
ศ.ดร.อภินันท์ โปษยานนท์ รองปลัดกระทรวง วัฒนธรรม และกรรมการมูลนิธิหอศิลป-
กรุงเทพฯ เป็นประธานในพิธีเปิดนิทรรศการ -
4
Dr.Apinan Polsayanont, Deputy
Permanent Secretary for Culture and
Board of bacc. opened the Politics of ME Art Exhibition.
• จุมพล อภิสขุ ศิลปินและกรรมการมูลนิธ ิ หอศิลปกรุงเทพฯ เป็นประธานเปิดนิทรรศการ ช่วงจิตรกรรมไทย-จิตรกรรมสากล
• สุทธิชัย วีรกุลสุนทร ประธานสภากรุงเทพ-
มหานคร เป็นประธานเปิดนิทรรศการช่วง
ประติมากรรม-ศิลปะจัดวาง -
25th May 2012 and 12th July 2012
5
6
28th June 2012
5th June 2012
2
พฤษภาคม และ 12 กรกฎาคม 2555 25 เทศกาลศิลปนิพนธ์ 2555
21st May 2012
5 มิถุนายน 2555
เปิดนิทรรศการศิลปะการ์ตนู คอมิกส์ มังงะ & โค
ดร.นอร์แบร์ท ชปิทส์
ผู้อำนวยการสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย
และ คาโรรีนเนอ โฮเฟ่น หนึง่ ในเจ้าของผลงาน
ในนิทรรศการ -
พฤษภาคม 2555 21 นิทรรศการแสดงภาพพิมพ์และวาดเส้นนานาชาติ
bacc Art Thesis Exhibition 2012 • Opening ceremony on First period
Thai-International Painting by Chumpon
Apisuk, artist and the board of bacc. • Opening ceremony on bacc Art Thesis
Exhibition 2012 Third period, Sculpture-
Installation by Mr.Suthichai Veerakulsultorn,
City Council President.
พฤษภาคม-9 มิถุนายน 2555 5 เวิรก์ ช็อปค่ายเขียนงานสร้างสรรค์กรุงเทพมหานคร
7 8
• วินทร์ เลียววาริณ นักเขียนสองรางวัลซีไรต์ • อุทิศ เหมะมูล เจ้าของรางวัลซีไรต์
0
1_27 bacc5 .indd 4
12/24/12 2:29:15 PM
7
9
8
9
จากนวนิยาย ลับแล-แก่งคอย • ซะการีย์ยา อมตยา กวีซีไรต์ เจ้าของผลงาน ไม่มีหญิงสาวในบทกวี -
10
11
5th May-9th June 2012
7
8
9
10
Bangkok Creative Writing Workshop • Win Lyovarin, a two-time winner of the
S.E.A. Write Award. • Uthis Haemamool, a winner of the 2009
S.E.A. Write Award from novel Lap LaeKaeng Khoi. • Zakariya Amataya, a winner of the 2010 S.E.A. Write Award from Mai Mee Yingsao Nai Bot Kawee.
29th April 2012 10
True Music Icon Jab The Richman Toy joined the concert.
11
13
31 พฤษภาคม 2555
เปิดนิทรรศการ Good to Walk : ดีที่เดิน
คุณไชยยง รัตนอังกูร
บรรณาธิการนิตยสาร Wallpaper*
เป็นประธานเปิดนิทรรศการ และรับมอบ
ของที่ระลึกจาก คุณลักขณา คุณาวิชยานนท์
ผู้อำนวยการหอศิลปกรุงเทพฯ -
13
31st May 2012
11
เมษายน 2555 29 True Music Icon
แจ๊ป The Richman Toy ร่วมแสดงดนตรีในงาน -
12
Opening Ceremony of Good to Walk Chaiyong Ratanaangkul, Editor in Chief
of Wallpaper* magazine received
a memento from Luckana Kunavichayanont,
Director of bacc.
24th June and 28th July 2012
12
มิถุนายน และ 28 กรกฎาคม 24 2555 12
เทศกาลภาพยนตร์คัดสรร Cinema Diverse • ผู้กำกับ Ketan Mehta (ซ้ายสุด)
และนักแสดงนำ Nandana Sen (ที่ 2 จากซ้าย)
จากภาพยนตร์เรื่อง Rang Rasiya (Colours of Passion) ประเทศอินเดีย เดินทางมาร่วมงาน
เปิดเทศกาลภาพยนตร์คัดสรร Cinema
Diverse โดยมี นนทรีย์ นิมิบุตร (กลาง)
ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดังของไทย และแขก
ผู้มีเกียรติหลายท่านมาร่วมงานด้วย • ผู้กำกับ Aruna Jayawardana
และนักแสดงสมทบหญิง Sulochana
Weerasinghe จากภาพยนตร์เรื่อง Nikini Vassa (August Drizzle) ประเทศศรีลังกา
เดินทางมาร่วมงานฉายภาพยนตร์และร่วม
สนทนาบนเวที -
13
Cinema Diverse • Ketan Mehta (Director) and Nandana
Sen (Actor) from Rang Rasiya (Colours of Passion) from India joined opening
ceremony of Cinema Diverse with
Nonzee Nimibutr and other honorary
guests. • Aruna Jayawardana (Director) and
Sulochana Weerasinghe (Supporting
Actress) from Nikini Vassa (August Drizzle)
from Sri Lanka joined the talk.
0
1_27 bacc5 .indd 5
12/24/12 2:29:24 PM
theme cover
1_27 bacc5 .indd 6
12/24/12 2:29:31 PM
เรื่อง: ศรีนิติ สุวรรณศักดิ์
นับเวลากว่า 7 ทศวรรษที่ศิลปะสมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในประเทศไทย ‘ความเป็นไทย’ ได้ขยายพื้นที่ไปสู่
สากลมากขึ้นเรื่อยๆ ชื่อของศิลปินไทยหลายคนกลายเป็นที่จดจำในระดับนานาชาติ ซึ่งหากมองกันอย่าง
ผิวเผิน คำพูดคุ้นหูอย่าง ‘ความเป็นไทย’ อาจชวนให้เราจินตนาการไปถึงภาพซ้ำๆ ภายใต้แนวคิดแบบ
ประเพณีนิยมหรือการโหยหาอดีตที่ถูกทำให้เชื่อว่าดีงามหรือ ‘ควรจะเป็น’ ไม่ว่าจะเป็นความอ่อนช้อยของ
ลวดลายไทย, ภาพสะท้อนแนวคิดทางพุทธศาสนา, ท้องไร่ท้องนา และวิถีชีวิตพื้นบ้าน แต่หากมองกัน
อย่างพินิจพิเคราะห์แล้ว ‘ความเป็นไทย’ มีลักษณะที่เป็นพลวัต ความเป็นไทยในศิลปะสมัยใหม่หรือร่วม
สมัยจึงเป็นกระบวนการที่ไม่เพียงแต่สะท้อนสภาพสังคมในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง แต่เป็นเหมือนบทสนทนา
ของศิลปินกับปรากฏการณ์ของสังคมในแต่ละช่วงเวลา ผลงานศิลปะไม่ได้ทำหน้าที่เพียงแค่เป็นบทบันทึก
เรื่องราวหรือจิตวิญญาณความเปลี่ยนแปลงของสังคม แต่เป็นการตอบโต้ ถอดรื้อ และตีความใหม่
ด้วยเหตุนี้ ‘ความเป็นไทย’ จึงเป็นสิ่งที่วิวัฒนาการไปไม่รู้จบ
1_27 bacc5 .indd 7
12/24/12 2:29:40 PM
อย่ า งไรก็ ดี เราไม่ อ าจปฏิ เ สธได้ เ ลยว่ า
‘ความเป็นอื่น’ ก็เป็นส่วนหนึ่งของ ‘ความเป็น
ไทย’ ในศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยของไทย
จนบางครัง้ อาจจะกล่าวได้วา่ ‘ความเป็นอืน่ ’ นีเ้ อง
ที่ขับให้ความเป็นไทยชัดเจนขึ้น เป็นเหมือนการ
ท้าทายที่นำไปสู่การก่อร่างของอัตลักษณ์ไทย
ในงานศิลปะ การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ.
2486 โดย อ.ศิลป์ พีระศรี นับเป็นจุดเริ่มต้น
ของศิลปะสมัยใหม่ในประเทศไทย ซึ่งแน่นอน
ว่ามันคือการหยิบยืมเทคนิคของศิลปะตะวันตก
มาผสมผสานกับความเป็นไทย อย่างงานของ
อ.เฟื้อ หริพิทักษ์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้บุกเบิกศิลปะ
สมั ย ใหม่ ข องไทย ผลงานจิ ต รกรรมแนว
รู ป ตอนอายุ 42 ก็ ไ ด้ จั ด แสดงในปารี ส ในปี
1955, งานภาพพิ ม พ์ ใ นยุ ค แรกของ อ.ชลู ด
นิ่มเสมอ ที่สะท้อนวิถีชีวิตชนบท ความเป็นอยู่
ที่เรียบง่ายและเอื้ออาทรของผู้คน แม้ในยุคแรก
งานของ อ.ชลูด จะใช้เทคนิคง่ายๆ บอกเล่า
เรื่ อ งราวอย่ า งเสมื อ นจริ ง แต่ ก็ มี ก ารพั ฒ นา
มาเรือ่ ยๆ ไปเป็นแนวแอ็บสแตรกต์ (Abstract),
แนวพุทธ, ประติมากรรมที่มีความสัมพันธ์กับ
อาคารสถานที่อย่าง โลกุตระ หน้าศูนย์ประชุม
แห่ ง ชาติ สิ ริ กิ ติ์ จนอาจกล่ า วได้ ว่ า งานของ
อ.ชลูด เป็นเสมือนรอยต่อระหว่างยุคเก่าและ
ยุคใหม่ของศิลปะสมัยใหม่ไทยที่สะท้อนความ
เป็นไทยแทบจะทุกมิติ อ.ประหยั ด พงษ์ ด ำ เป็ น ศิ ล ปิ น อี ก คนที่
นำเสนอภาพความเป็นไทยให้ทั่วโลกได้ประจักษ์
2
ที่ เ ริ่ ม ต้ น หลั ง จากเรี ย นจบศิ ล ปากรโดยการ
ขั บ รถสกู ต เตอร์ แ ลมเบรตต้ า จากกรุ ง เทพฯ
ไปถึ ง ยุ โ รป และได้ แ สดงผลงานภาพพิ ม พ์
ที่ เ ตรี ย มไปและที่ ส ร้ า งขึ้ น ใหม่ ร ะหว่ า งการ
เดินทางในหลายๆ ประเทศ งานของอินสนธิ ์ ถือได้ว่าเป็นผลผลิตของสภาพแวดล้อมอย่าง
ชั ด เจน ทั้ ง สั ง คมล้ า นนาและความเป็ น พุ ท ธ
ที่ปรากฏอยู่ในงานประติมากรรมของเขา อ.ศิ ล ป์ พี ร ะศรี เคยกล่ า วเอาไว้ ใ นปี
พ.ศ. 2506 ว่ า “บรรดาศิ ล ปิ น ทั้ ง หลายได้
พยายามสร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมาทั้งแนวความ
คิดและรูปแบบ แต่ยังคงอยู่ระหว่างการค้นหา
รู ป แบบที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง ได้ และเรายั ง เห็ น
รู ป รอยความเป็ น ไทยในงานของพวกเขา
หากศิลปินชาวตะวันตกสะท้อนตัวตนออกมา
3
1
4
1940 2483
1950 2493
1960 2503
- Impressionism
อิมเพรสชันนิสม์ของ อ.เฟื้อ ได้รับการชื่นชม
จากชาวต่างชาติไม่น้อย หรืองานประติมากรรม
ของ อ.เขียน ยิ้มศิริ ที่นำเส้นอ่อนช้อยของไทย
มาทำให้ร่วมสมัยมากขึ้น และแม้จะเป็นเพียง
ก้ า วแรกของศิ ล ปะสมั ย ใหม่ ไ ทย งานของ
อ.เขียน ก็สามารถคว้ารางวัลในระดับสากล
อย่ า งการประกวดผลงานประติมากรรมของ
Tate Gallery ลอนดอน ในปี พ.ศ. 2469 ศิลปะแนวอิมเพรสชันนิสม์ยังคงมีอิทธิพล
ต่อมาในยุคทศวรรษที่ 50 ดังที่เราจะเห็นได้
จากจิตรกรรมสีน้ำมันที่สะท้อนภาพวิถีชีวิตแบบ
ไทย ไม่ว่าจะเป็นวัดหรือวังในงานของ อ.สวัสดิ์
ตันติสุข ที่ได้รางวัลในยุโรปหลายรางวัลและยัง
ได้จัดแสดงในหลายประเทศ, ภาพวิวทิวทัศน์
ของศิลปินหญิง มีเซียม ยิบอินซอย ที่เริ่มเขียน
โดยงานยุ ค แรกของ อ.ประหยั ด เป็ น งาน
จิตรกรรมที่บอกเล่าเรื่องราวของโบราณสถาน
ที่เป็นเหมือนวัฒนธรรมที่สูญสลายไป ต่อมา
อ.ประหยั ด ได้ พั ฒ นาผลงานภาพพิ ม พ์ ท ี่ ส่วนใหญ่เป็นรูปสัตว์ในท้องถิ่นซึ่งสะท้อนความ
เชื่อของชาวชนบท อย่างแม่อุ้มลูกที่แสดงถึง
ความรักความเอื้ออาทร และภาพไก่หรือนกฮูก
ซึ่งเป็นภาพชินตาของวิถีธรรมชาติและชนบท ในขณะที่ ง านส่ ว นใหญ่ ใ นยุ ค นี้ มี ลั ก ษณะ
เป็ น ‘ผลงาน’ ที่ มี รู ป แบบอย่ า งตะวั น ตก
แต่เนือ้ หาเป็นไทย งานของ อ.อินสนธิ์ วงศ์สาม
กลั บ มี ลั ก ษณะเป็ น ‘กระบวนการ’ ที่ เ ป็ น
ปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งศิ ล ปิ น กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม
เป็นการโต้ตอบและถ่ายเทระหว่างความเป็น
ไทยและสากลตลอดการเดิน ทางของอินสนธิ์
ผ่ า นรู ป แบบตะวั น ตก เราคงมี ค ำถามว่ าใคร
เป็นผู้รับอิทธิพล ใครเป็นเจ้าของความคิดนั้น
ความจริ ง แท้ ป ระการหนึ่ ง ก็ คื อ ศิ ล ปะคื อ การ
แสดงออกทางปัญญาของพวกเขาในห้วงเวลา
ที่ เ ราเป็ น อยู่ นี้ เป็ น กระบวนการแลกเปลี่ ย น
ต่ า งตอบแทนทั้ ง ความคิ ด และรู ป แบบเพื่ อ ที ่ จะรั ก ษาและปรั บ ปรุ ง การสร้ า งงานศิ ล ปะใน
รูปแบบต่างๆ” ซึ่งในยุคนี้นี่เองที่ศิลปะสมัยใหม่
ของไทยเริ่ ม เข้ า สู่ ค วามเป็ น สากลมากยิ่ ง ขึ้ น
เมื่ อ มี ศิ ล ปิ น หลายคนได้ รั บ การศึ ก ษาจาก
ต่างประเทศ อิทธิพลจากต่างประเทศจึงหลอม
รวมเข้ากับตัวตนความเป็นไทย อาทิ งานของ
อ.อิ ท ธิ พ ล ตั้ ง โฉลก ที่ ไ ด้ ห ยิ บ ยื ม ลั ก ษณะ
บางอย่ า งของโบราณสถานและโบราณวั ต ถุ
ที่ เ สื่ อ มสลายไปตามกาลเวลามาใช้ ใ นงาน
0
1_27 bacc5 .indd 8
12/24/12 2:29:48 PM
นามธรรม, อ.อารี สุทธิพันธุ์ ที่ได้ชื่อว่าเป็น
จิตรกรสีน้ำอันดับต้นๆ ของประเทศ ที่ผลงาน
สะท้ อ นแง่ ง ามของวั ด และผู้ ห ญิ ง ในฐานะ
ตั ว แทนของความศรั ท ธา, ความเป็ น ชุ ม ชน,
ความเป็ น แม่ , ความอบอุ่ น และเอื้ อ อาทร,
งานประติ ม ากรรมของ อ.นนทิ ว รรธน์
จันทนะผะลิน ที่เริ่มต้นด้วยรูปร่างของผู้หญิง
ที่ถูกลดทอนลงให้เหลือเพียงรูปทรงที่เนื้อหา
ของงานในยุคแรกจะนำเสนออารมณ์และความ
ปรารถนา แต่ต่อมาได้พัฒนาเนื้อหาเชิงปรัชญา
พุทธ พร้ อ มๆ กั บ การก่ อ ตั้ ง ภาคศิ ล ปะไทย
ในคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ. 2519 (ค.ศ.
1976) ยุ ค ทศวรรษที่ 70 ถื อได้ ว่ า เป็ น ยุ ค ที ่
นอกจากนั้นยังมีภาพเหมือนตนเอง (Self-
Portrait) ของ จ่าง แซ่ตั้ง ซึ่งไม่ได้เป็นเพียง
ความเคลื่ อ นไหวทางศิ ล ปะ แต่ เ ป็ น ความ
เคลื่อนไหวทางการเมืองที่บอกกล่าวความเป็น
ไปของบ้ า นเมื อ งในขณะนั้ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจน
ภาพของตั ว ศิ ล ปิ น ที่ ต าบอดสะท้ อ นความ
ไร้ ป ากเสี ย ง ไร้ สิ ท ธิ ใ นการแสดงออกของ
ประชาชนและการรับรู้ที่ถูกจำกัด ต่อมาในยุคทศวรรษที่ 80 เมื่อการเมือง
เริ่ ม นิ่ ง งานศิ ล ปะเริ่ ม กลั บ ไปสู่ ง านเชิ ง พุ ท ธ
และการโหยหาอดีต เฉลิมชัย โฆสิตพิพัฒน์
และ ปั ญ ญา วิ จิ น ธนสาร เริ่ ม เป็ น ที่ รู้ จั ก
จากการวาดภาพจิ ต รกรรมฝาผนั งในอุ โ บสถ
วัดพุทธปทีป ที่กรุงลอนดอน ในขณะเดี ย วกั น นั้ น ศิ ล ปิ น ที่ อ าศั ย อยู่ ใ น
ก็มีความหมายตรงกัน (เมืองแห่งนางฟ้า และ
กรุงของเทพเจ้า) ผมจึงได้จัดนิทรรศการใหญ่
ฉลอง โดยได้รบั ความเห็นชอบจากเอกอัครราชทูต
ไทยที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. จัดนิทรรศการศิลปะ
ร่ ว มสมั ย ของประเทศไทยแสดงที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์
Pacific Asia Museum เมื อ ง Pasadena
และหอศิ ล ป์ ต่ า งๆ ของเมื อ งลอสแองเจลิ ส
ไปถึ ง มลรั ฐ เท็ ก ซั ส และกรุ ง วอชิ ง ตั น ดี . ซี .
โดยใช้งบประมาณส่วนตัว กับการสนับสนุน
ของนั ก สะสมศิ ล ปะในลอสแองเจลิ ส ให้ ยื ม
ผลงานศิ ล ปะของศิ ล ปิ น ไทย ทั้ ง จิ ต รกรรม
ประติมากรรม ภาพพิมพ์ รวมศิลปิน ที่แสดง
งาน 27 คนด้วยกัน” สมบู ร ณ์ หอมเที ย นทอง ก็ เ ป็ น ศิ ล ปิ น
อี ก คนในยุ ค นี้ ที่ ใ ช้ ชี วิ ต อยู่ในต่างแดนโดยเขา
7
8 5
1970 2513
6
1980 2523 - Abstract
ศิลปินไทยแนวพุทธเฟื่องฟู ผลงานของ ถวัลย์
ดั ช นี , อั ง คาร กั ล ยาณพงศ์ , พิ ชั ย นิ รั น ต์ ,
ประเทื อ ง เอมเจริ ญ ได้ รั บ การกล่ า วถึ ง
ทั้ งในประเทศและต่ า งประเทศ อย่ า งไรก็ ด ี ด้ ว ยสภาพการเมื อ งภายใต้ ร ะบอบเผด็ จ การ
ทหารในขณะนั้น งานศิลปะจึงทำหน้าที่วิพากษ์
รวมไปถึ ง สะท้ อ นความคั บ แค้ น ใจของผู้ ค น
ในสังคม แม้แต่งานของประเทือง เอมเจริญ
ที่เป็นงานเชิงพุทธยังวิพากษ์การเมืองด้วยภาพ
พระพุ ท ธเจ้ า ทรงบำเพ็ ญ ทุ ก รกิ ริ ย าและมี
รูกระสุนที่ไหล่ซ้าย โดยเขียนขึ้นหลัง 6 ต.ค.
2519 ซึง่ ประเทือง เอมเจริญ ได้ให้คำอธิบายว่า
“ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกใบนี้มีการทดลองและ
แลกเปลี่ยนเสมอ เช่นเดียวกับประชาธิป ไตย
และการบำเพ็ญทุกข์ของพระพุทธเจ้า”
ต่างประเทศอย่าง กมล ทัศนาญชลี ก็ได้สร้าง
มิ ติ ใ หม่ ข องความเป็ น ไทยและเปิ ด ที่ ท างให้
ศิ ล ปิ น ไทยได้ มี โ อกาสทำงานและแสดงงาน
ในต่ า งประเทศ ในงานนิ ท รรศการ ‘67 ปี
กมล ทัศนาญชลี ศิลปินสองซีกโลก’ ที่จัดขึ้น
เมื่อปีที่แล้ว กมลได้กล่าวถึงผลงานชุด ‘หนัง
ใหญ่’ ซึ่งเป็นงานสื่อผสมบนผ้าใบและกระดาษ
ที่สร้างขึ้นในปี 1982 ว่า “ในงานชุดนี้ ผมนำจิตวิญญาณความเป็น
ศิลปินไทยและมีประสบการณ์ทำงานยาวนาน
แต่อดีต ความเป็นตะวันออกมาใช้ในตะวันตก
ซึ่ ง เป็ น ชี วิ ต จริ ง ๆ ที่ อ าศั ย อยู่ กั บ เทคโนโลยี
สมั ย ใหม่ ใ นอเมริ ก าและในโอกาสกรุ ง เทพฯ
ฉลอง 200 ปี ก็ ต รงกั บ นครลอสแองเจลิ ส
ฉลอง 200 ปีเช่นกัน และชื่อเมืองของทั้งสอง
1
สวัสดิ์ ตันติสุข
2
เขียน ยิ้มศิริ
3
ชลูด นิ่มเสมอ
4
อิทธิพล ตั้งโฉลก
5
ประเทือง เอมเจริญ
6
จิตรกรรมฝาผนังที่วัดพุทธปทีป
7
กมล ทัศนาญชลี
8
สมบูรณ์ หอมเทียนทอง
อาศั ย อยู่ ใ นมิ ว นิ ก เยอรมนี มากว่ า 20 ปี
และมีผลงานแอ็บสแตรกต์ที่ได้รับการยอมรับ
ในระดับโลก ในขณะที่ ชวลิต เสริมปรุงสุข
ก็ ป ระสบความสำเร็ จ ในยุ โ รปจนได้ รั บ การ
ยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติของเนเธอร์แลนด์
0
1_27 bacc5 .indd 9
12/24/12 2:29:57 PM
ด้ ว ยสภาวะเศรษฐกิ จ การเมื อ งที่ นิ่ ง ,
ความพยายามพั ฒ นาประเทศไปสู่ ค วามเป็ น
ประเทศอุตสาหกรรม, อิทธิพลจากต่างชาติ,
และเสรี ภ าพในการแสดงออกในขณะนั้ น
ทำให้ ความเป็ น ไทยถูกตั้งคำถามและท้าทาย
โดยศิลปิน จากปรัชญาพุทธ ความเรียบง่าย
ของชีวิตชนบท เปลี่ยนไปสู่ประเด็นทางสังคม,
ปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า, ทารุณกรรมทางเพศ
และโรคเอดส์ งาน Environmental Art, Performance,
Installation, และวิดีโอเริ่มมีบทบาทสำคัญ
อย่างในงานของ อำมฤทธิ์ ชูสุวรรณ ที่มักจะใช้
สื่ อ ผสมนำเสนอปรั ช ญาพุ ท ธ หรื อ งานของ
อ.วิโชค มุกดามณี ที่ใช้สื่อผสมนำเสนอภาพวิถ ี ชีวิต, สิ่งแวดล้อม และความเชื่อในสังคมไทย
และสมุนไพร และแม้งานของมณเฑียร บุญมา
จะแฝงไว้ด้วยปรัชญาพุทธ แต่ก็ไม่ใช่ในรูปแบบ
ประเพณี นิ ย ม ทั้ ง ยั ง เต็ ม ไปด้ ว ยอารมณ์ ขั น
และสัมผัสทั้งกลิ่นและเสียง ศิ ล ปิ น ไทยคนสำคั ญ บนเวที โ ลกอย่ า ง
ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช ได้รับการยอมรับในฐานะ
หนึ่ ง ในแกนนำคนสำคั ญ ของศิ ล ปะแนวใหม่
ที่เรียกว่า Relational Art ซึ่งต่อเนื่องมาจาก
Conceptual Art โดยเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความ
สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งศิ ล ปะและคนที่ ม าดู ศิ ล ปะ
ในพื้นที่ของศิลปะที่ถูกกำหนดขึ้น ในปี 1989
เขาได้ปรุง ‘ผัดไทย’ ในแกลเลอรีที่นิวยอร์ก
ให้แก่ผทู้ ตี่ งั้ ใจมาชมงานศิลปะของเขา แต่ทงั้ งาน
ไม่ได้มีศิลปะวัตถุแม้สักชิ้น มีเพียงแต่การปรุง
ผั ด ไทยของศิ ล ปิ น และการพู ด คุ ย กั น ของผู้ ที่
ไม่น่าจะแสดงตัวแสดงฝีมือทำกับข้าวให้คนอื่น
ได้ ชิ ม รสชาติ แ บบไทยแท้ งานของฤกษ์ ฤ ทธิ์
จึงถูกจัดว่าเป็น ‘ศิลปะประเภทผัดไทย’ และนี่
ก็ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ ผั ดไทยของฤกษ์ฤทธิ์โกอินเตอร์
อย่างง่ายดาย ส่วน สุรสีห์ กุศลวงศ์ ก็ได้ทำให้พิพิธภัณฑ์
และแกลเลอรีชื่อดังหลายแห่งในโลกกลายเป็น
ตลาดสด แผงลอย ด้วยการนำข้าวของราคาถูก
จากตลาดแบบไทยๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น เครื่ อ งใช้
พลาสติกสีสนั สดใสอย่างตะกร้า ฝาชี หรือตุก๊ ตา
เป่าลม ที่ดูเป็นของไร้ค่า ไร้ประโยชน์ไปจัดวาง
และบางครั้ ง ก็ ข ายให้ แ ก่ ผู้ ช มในราคาถู ก ๆ
ซึ่งงานส่วนใหญ่ของสุรสีห์จะสะท้อนชีวิตสมัย
ใหม่และลัทธิบริโภคนิยมอย่างมีอารมณ์ขัน นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล เป็นศิลปินอีกคนหนึ่ง
10
11 9
- Environmental Art - Performance - Installation
หลั ง เหตุ ก ารณ์พฤษภาทมิฬในช่วงต้นยุค
ทศวรรษที่ 90 ศิลปะไทยก็ ได้รับความสนใจ
จากต่างชาติอย่างรวดเร็ว ภัณฑารักษ์ต่างชาติ
เริ่มให้ความสนใจกับศิลปินไทยมากขึ้น แม้ก่อน
หน้านี้ ศิลปินไทยจะได้แสดงงานในต่างประเทศ
และชนะการประกวดงานศิลปะต่างๆ แต่ในยุคนี้
ศิลปินไทยหลายคนไม่เพียงแต่มีโอกาสแสดง
งานในต่างประเทศ แต่ยังมีชื่อเสียงในระดับ
นานาชาติอีกด้วย มณเฑียร บุญมา น่าจะนับได้ว่าเป็นศิลปิน
ไทยคนแรกๆ ที่ ถื อ ว่ า ประสบความสำเร็ จใน
ระดับสากล มณเฑียรมักจะนำวัสดุในท้องถิ่น
มาสร้างเป็นงานต่างๆ เช่น การนำระฆังนับร้อย
ใบก่อเป็นกำแพงเสียง, สร้างบ้านจากลูกปัด
1990 2533
- Relational Art - Conceptual Art
มาชม ซึ่งฤกษ์ฤทธิ์เคยให้สัมภาษณ์เอาไว้ว่า
“ทีแรกผมเริ่มจากการทำกับข้าวแล้วปล่อยทิ้งไว้
กลิ่นและไอของอาหารฟุ้งไปทั่วห้อง ขณะที่ผู้ชม
ได้เพียงแต่ดูอยู่เฉยๆ ผมจึงตระหนักว่า ยังมี
ช่องว่างที่ขวางกั้นระหว่างงานศิลปะกับผู้ชมอยู่
ขั้นต่อไปผมจึงเริ่มทำกับข้าวและให้ผู้ชมทาน” ซึ่งนักวิจารณ์อย่าง ศ.ดร.เจตนา นาควัชระ
ได้อธิบาย ‘ผัดไทย’ ของฤกษ์ฤทธิ์ว่าเป็นเพียง
แค่การปรับวัฒนธรรมไทยให้เข้ากับกระแสคิด
ของโลกตะวั น ตกมากกว่ า จะเป็ น การแสดง
ศิลปะการทำอาหารไทยแบบดั้งเดิมให้ชาวโลก
ได้รู้ถึงความละเอียดอ่อนของวัฒนธรรมไทย
หากจะมองให้ ลึ ก ไปกว่ า นี้ ในบริ บ ทของ
วัฒนธรรมไทย คนที่ไม่มีฝีมือในการทำอาหาร
ที่ น ำเอาความ ‘เชย’ ของไทยไปใช้ได้อย่าง
สนุกสนาน จนมีคนบอกว่าเขาคือศิลปิน ที่นำ
ผ้าขาวม้าไปสู่สายตาชาวโลก งานของนาวิน
เป็น Conceptual Art ที่ผู้คนในชุมชนสามารถ
มีส่วนร่วม อย่างโปรเจกต์ ‘แท็กซี่’ ของเขา
ที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการนำเสนอไปตาม
พื้ น ที่ ที่ จั ด แสดง แต่ สิ่ ง ที่ เ ราจะเห็ น ในแทบ
ทุกงานของเขาก็คือหนังสือการ์ตูนในรูปแบบ
เดียวกับการ์ตูนเล่มละบาทสมัยก่อน วิดีโอที ่ หน้าตาคล้ายกับหนังขายยา โปสเตอร์แบบเดียว
กั บ โปสเตอร์ ห นั ง ที่ เ ขี ย นด้ วยมือ และเสื้ อผ้ า
ที่ทำมาจากผ้าขาวม้า เรายังมีงานอย่าง Pink Man ที่เป็นภาพ
ชายในชุดสูทสีชมพูกับรถเข็นในซูเปอร์มาร์เก็ต
1 0
1_27 bacc5 .indd 10
12/24/12 2:30:00 PM
ทำหน้ากระหยิม่ ยิม้ ย่อง ไม่รสู้ กึ รูส้ ากับสิง่ รอบข้าง
ที่ดูผิดที่ผิดทาง ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยว
หรือแม้แต่ฉากขาว-ดำของภาพเหตุการณ์ 16
ตุลา เป็นงาน Performance Art และซีรีส ์ ภาพถ่ายที่วิพากษ์สังคมทุนนิยมและบริโภคนิยม
รวมไปถึงการเมือง ที่เป็นเหมือนเครื่องหมาย
การค้าของ มานิต ศรีวานิชภูมิ ที่ไม่เพียงแต่
ทำให้ ผู้ ส นใจงานศิ ล ปะจำศิ ล ปิ น ได้ แต่ เ มื่ อ
พูดถึงศิลปะร่วมสมัยของไทย Pink Man มักจะ
เป็นงานอันดับต้นๆ ที่ผู้คนนึกถึง และในยุคนี้เองที่ศิลปินหญิงของไทยอย่าง
อ.อารยา ราษฎร์ จ ำเริ ญ สุ ข และ พิ น รี
สั ณ ฑ์ พิ ทั ก ษ์ ได้ รั บ การยอมรั บ จากต่ า งชาติ
โดยพินรีมักจะใช้เรือนร่างของผู้หญิง รูปทรง
ที่ดูคล้ายนมในงานส่วนใหญ่ของเธอ เพื่อนำ
งานใหญ่ อี ก งานหนึ่ ง สำหรั บ ศิ ล ปะร่ ว มสมั ย
โดยงานของ อ.สาคริน ทร์ เป็นการพยายาม
ทำนาขัน้ บันไดด้านหน้าประสาท Wilhelmshohe ในเยอรมนี ซึ่งงานนี้ของ อ.สาครินทร์ ไม่เพียง
เป็นการนำเสนอเทคนิคการเกษตรแบบดั้งเดิม
แต่ยังเป็นเหมือนความพยายามถมทับช่องว่าง
ระหว่างความเป็นไปได้และความเป็นไปไม่ได้
โดยความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจของชุ ม ชนซึ่ ง เป็ น
ลักษณะความเป็นตะวันออกในพื้นที่ตะวันตก ศิ ล ปิ น ได้ ข ยายขอบเขต ‘ความเป็ น ไทย’
ที่ต่างไปจากเดิม มีการผสมเข้ากับสื่ออื่นมาก
ยิง่ ขึน้ อย่างงานของ วิศทุ ธิ์ พรนิมติ ร และ SOI
Project ของ วิชญ์ พิมพ์กาญจนพงศ์ ที่ผสาน
งานศิลปะเข้ากับแอนิเมชันและดนตรี
9
อำมฤทธิ์ ชูสุวรรณ
10
ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช
11
นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล
12
มานิต ศรีวานิชภูมิ
13
อารยา ราษฎร์จำเริญสุข
14
อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
13 14
12
- Performance Art
เสนอประเด็ น เรื่ อ งเพศและความเป็ น หญิ ง
ในขณะที่ อ.อารยา มักจะใช้งานวิดีโอเพื่อตั้ง
คำถามเกี่ยวกับความตายและความปรารถนา
และงานของเธอมั ก จะมี ลั ก ษณะคล้ า ยบทกวี
หรือแม้กระทั่งใส่บทกวีเข้าไป การก่ อ ตั้ ง สำนักศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
ในปี พ.ศ. 2545 ได้ทำให้บรรยากาศของศิลปะ
ร่วมสมัยคึกคักขึ้น เครือข่ายทางศิลปะระหว่าง
ประเทศต่างๆ ทำให้ศิลปินไทยมีโอกาสเข้าร่วม
เทศกาลศิลปะสำคัญๆ ในหลายประเทศทั่วโลก
รวมทั้งเทศกาลเก่าแก่อย่าง Venice Biennale
ที่ ไ ทยได้ เ ข้ า ร่ ว มในปี 2546 และในปี 2550
อ.สาคริ น ทร์ เครื อ อ่ อ น ได้ เ ป็ น ศิ ล ปิ น ไทย
คนแรกที่เข้าร่วม documenta 12 ซึ่งถือเป็น
2000 2543
แต่หลังจากรัฐประหารเมื่อ 19 กันยายน
2549 เราก็ ได้เห็นผลงานของศิลปินที่วิพากษ์
สั ง คมการเมื อ งทั้ ง ในทางตรงและทางอ้ อ ม
อย่ า งในงาน Installation ชุ ด ‘ปลุ ก ผี ’
(Primitive) ของ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
ที่ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งราวของเวลาและสถานที่ ที่ ถู ก
ทำให้เลือนไปจากความทรงจำของคนท้องถิ่น
เนื่องจากความขัดแย้งทางอุดมการณ์การเมือง
ในช่ ว งสงครามเย็ น การสื บ ค้ น ถึ ง ความจริ ง
ที่ ห ล่ น หาย ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ถู ก บิ ด เบื อ น
โดยอำนาจรัฐและการโฆษณาชวนเชื่อ แม้จะดู
เหมือนว่า ‘ปลุกผี’ กำลังพูดถึงผีคอมมิวนิสต์
ในอดี ต แต่ ก็ มี นั ย ยะถึ ง ‘ผี ’ ที่ ม องไม่ เ ห็ น
ในสภาวะการเมืองปัจจุบันอย่างชัดเจน
อั ต ลั ก ษณ์ ข องศิ ล ปะร่ ว มสมั ยไทยจึ ง เป็ น
สิ่งที่สอดร้อยอยู่กับสภาพสังคมการเมืองอย่าง
ไม่ อ าจหลี ก เลี่ ย งได้ ทำให้ เ ราไม่ อ าจปฏิ เ สธ
ได้เลยว่า ‘ความเป็นไทย’ ไม่ได้หมายถึงเพียง
แค่ ภ าพความดี ง ามของอดี ต ที่ เ ราโหยหา
หากแต่เป็นการเผชิญหน้าต่อสู้กับสิ่งที่เป็นการ
ก่ อ ร่ า งและพั ฒ นาต่ อ เนื่ อ งนั บ จากอดี ต จน
ปัจจุบัน และเป็น พัฒนาการที่เราต้องจับตาดู
และย้ อ นกลั บ มาสำรวจสั ง คมของตั ว เองกั น
อย่างไม่หยุดยั้ง * ข้อมูลบางส่วนจาก rama9art.org
1 1
1_27 bacc5 .indd 11
12/24/12 2:30:04 PM
theme cover
Story: Sriniti Suwansak
Modern arts has been originated in Thailand over 70 years. ‘Thai sensation’ has been more and more expanded globally. Many Thai artists are impressed internationally. The word ‘Thai sensation’ might bring the cliché traditional or nostalgic concept of the goodness that we were taught to believe as ‘what-it-should-be’. You might think of the delicacy in Thai painting, religious arts, agricultural and local arts. But if you consider it deeply, ‘Thai sensation’ has a dynamic. Thai sensation in modern or contemporary arts isn’t just only a mirror to reflect a conditions at a time. It’s a conversation between the artists and the social phenomenas. Art isn’t a diary or a journal about the social or spiritual changes. There’re reaction, interpretation and reconstruction. Accordingly, ‘Thai sensation’ is endlessly evoluated. However, we can’t refuse that there’s ‘otherness’ in ‘Thai sensation’ in modern and contemporary arts. Sometimes, this ‘otherness’ drives the sensation, as a challenge to create Thai identity in arts to be more obvious.
Establishing Silpakorn University of
Silp Phirasri in 1943 is the beginning
of modern arts in Thailand. At first,
it’s the western technique-borrowing
mixed with Thai arts i.e. the works of
Fua Haripitak, the pioneer of Thai modern
art. His impressionism works have been
admired in many countries. As well as,
the sculptures of Khien Yimsiri, which
combined delicacy of Thai arts into
contemporary arts. That’s the first step of
modern Thai arts and his sculpture won
an international contest at Tate Gallery,
London in 1926. Impressionism had a great influence
in 50s. As we can see in Sawat Tantisuk’s
oil paintings of Thai living, temples and
palaces that had won many contests in
Europe and were exhibited in many
countries. In 1955, The landscape
painting of Misiem Yipintsoi, the female
artist who began painting when she was
42 years old, had been exhibited in Paris.
Chalood Nimsamer print arts reflected
kindness and simple life in rural with
simple techniques. Gradually, his works
developed from realistic to be the
abstracts and buddhism. At last, he made
the sculpture that related to the building
called ‘Lokutra’ located in front of Queen
Sirikit Convention Center. His arts
seemed to be the bridge connected
Thai ancient to modern Art that could
reflected Thai sensation in every
dimension. Prayad Pongdam is another Thai
artist, who created the world-classed Thai
sensation. At the beginning Prayad’s
paintings told the story of historic sites as
a symbol of dissolved cultures. Afterwards,
his work developed to printing arts of
local animal that reflected local believes;
i.e. the mother held her baby with love
2
1
1940 2483
- Impressionism
and care, chickens or owls that referred to
the rural and natural living. While, art works, in that period, were
presented Thai contents within western
form. Inson Wongsam’s works came out
in a form of ‘process’ of the reaction
between the artist and his surroundings.
They were the conversation between
Thai and foreign sensation along Inson’s
journey, which has been started since
he just graduated from Silpakorn
University and rode his Lambretta scooter
from Bangkok to Europe. In the
1 2
1_27 bacc5 .indd 12
12/24/12 2:30:08 PM
of Aree Suthipant, the famous watercolor
artist who presented the beauty of
temples and women as representatives
of faith, community, maternity, closeness
and care, Nontiwat Chantanapalin‘s
sculpture diminished woman form to
show the emotion and desire which was
the content in his earlier works before
he developed his interest in Buddhist
philosophy afterwards. Along with the establishing of the
department of Thai Art in the Faculty of
Painting, Sculpture and Graphic arts of
Silpakorn University in 1976, 70s was
the booming decade of Buddhism artist
as Thawan Duchanee, Angkarn
Kalayanapong, Pichai Nirand, Pratuang
meantime, he exhibited his prints,
the ones he prepared from Thailand
mixed with the new ones he had created
during the journey in many countries.
His works were born truly and obviously
from the influences of surroundings.
We could see the odor of Lanna and
Buddhism in his sculptures. This’s Silp Phirasi’s speech in 1963,
‘The artists have tried so hard to create
new concepts and forms, until now, we’re
still trying to discover accessible form.
We still see the Thai sensation in their
works. As western artists show their arts
in western style, the question is…who was
affected? Who was the owner of that
idea? It’s the fact that art is the
4
democracy and asceticism of Buddha.’,
he explained Furthermore, there’s self-portrait of
Chang Tang, which wasn’t only an art
movement but also a political movement
to reflect the current situation. The blind
artist in the painting referred to mute
and disability of people whose rights
were limited. Later, in 80s, when the politics
became more stable; the steam turned
to Buddhism and nostalgic arts again.
Chalermchai Kositpipat and Panya
Vijinthanasarn were noticeable from
5
6
3
1950 2493
expression of intelligence at a time.
It’s the process for sharing thoughts and
concepts to protect and develop art
creations in diverse forms.’ At that time,
Thai modern arts began to step up on the
global stage. According to the numbers
of international graduated artists,
unsurprisingly, their works would have
influences of the western form, mixed
with Thai sensation. For example, Ittipol
Tangchalork’s abstracts, inspried by the
forms of historic sites and antiques that
gradually degenerated. The realistic works
1960 2503
1970 2513
Emjaroen. Their works were well-known
both in national and in international
stage. In the period of military
dictatorship government in Thailand,
art was a channel to criticize politics and
society, as well as, reflect people’s rage.
Even in Pratuang Emjaroen’s, a Buddhism
artist, he criticized politics through
the painting of Buddha doing asceticism
with the bullet scar on his left shoulder.
This picture was painted after the 6th
October 1976. ‘Everything in the world
always be tested and changed, as well as,
1980 2523
1
Sawat Tantisuk
2
Khien Yimsiri
3
Prayad Pongdam
4
Ittipol Tangchalork
5
Chang Tang
6
Panya Vijinthanasarn
1 3
1_27 bacc5 .indd 13
12/24/12 2:30:19 PM
their wall painting in Buddhapadipa
Temple, London. Meanwhile, Kamol Tassananchalee,
an artist living abroad, had created a new
definition of Thai sensation and furnished
to other Thai artists to work and exhibit
abroad as well. In the exhibition ’67 years
Kamol Tassananchalee: The Artist of Two
Worlds’ last year, he talked about
‘Nung Yai, the mixed medias on canvas
and paper that he created in 1982; “I combined the spirit of Thai artist
with the long experiences from the past.
it’s a combination of east and west
inspired by my life, the life that has
lived with modern technologies in United
States. Moreover, this is the time
we celebrate 200 th anniversary of
Bangkok as well as Los Angeles’s.
Surprisingly, the names of these two cities
have the same meaning. (City of Angels,
masterpieces will be exhibited.” Somboon Hormtientong is another
living abroad artist. He has been in
Munich, Germany more than 20 years.
His abstract works made people all
around the world impressed, likewise,
the success of Chavalit Soemprungsuk
in Europe until he was honored to be
the national artist of Netherland. The stability of economic politics,
the attempt to make Thailand be another
industrial country, foreign influences
and the freedom of speech; Artists began
to question and challenge with Thai
sensation. Instead of Buddhism arts and
simple local life, they turned to focus
on sexual abuse, deforestation problem,
HiV and social issues. Environmental Art, Performance,
Installation and Video Art played a key
role. Amrit Chusuwan’s works presented
gained international success initially.
He always created works from local
materials i.e. the wall of sound created
from a hundred of bells, a house created
from beads and herbs. However, his works
didn’t present Buddhist philosophy
in traditional form. They’re full of humor
and senses of sound and smell. Another important Thai artist on the
world stage, Rirkrit Tiravanija, knowned
as the mainstay of the new kind of art
called ‘Relational Art’ which was capped
from Conceptual Art. Its concept focused
on the relation between the art piece and
the audieces in particular space. In 1989,
he cooked ‘Pad Thai’, in the gallery in
New York; for the audiences who came
to see his exhibition. Surprisingly, there’s
not even a piece of art, they saw only
an artist cooking ‘Pad Thai’ and talking
with the audiences. He had given an
12
7
11
10
1980 2523
- Environmental Art - Performance - Installation
8
Metropolis of Gods) So, I will participate
this celebration with a big exhibition,
agreed by Thai embassador in Washington
D.C. There’ll be Thai contemporary arts
exhibition at Pacific Asia Museum,
Pasadena and other several art galleries
around Los Angeles, Texas and
Washington D.C. The budget would be
on my own with the supports of the art
collectors in Los Angeles, who will lend
Thai paintings, sculptures and graphics
to this exhibition. 27 Thai artists’
9
1990 2533
Buddhist philosophy through mixed media
while Vichoke Mukdamanee presented
way of life, environmental issues
and believes in Thailand. After the Black May in the beginning
of 90s, Thai arts were received more
attention from foreigners. Foreign curators
paid attention to Thai arts better.
Thai artists have a chance to exhibit
their works, win competitions and gained
more reputations abroad. Montien Boonma is a Thai artist, who
- Relational Art - Conceptual Art
- Performance Art
interview to explain about that; ‘firstly,
I cook and leave it on the table.
The delicious smell spreaded all over
the gallery while the audiences just
watched there. And then, I realized
that there still has a wall between the
piece and the audiences. So, secondly,
I began to cook and let them eat. Prof. Dr.Jettana Nakwatchara, the art
critic, criticized that Rirkrit’s ‘Pad Thai’
seems to be a cutural adaptation than
traditional Thai cooking show that would
1 4
1_27 bacc5 .indd 14
12/24/12 2:30:29 PM
let the audiences appreciate in delicacy
of Thai culture. To analyse it deeper,
in Thai context, if you’re not good at
cooking, you shouldn’t offer to cook
traditional Thai food for the others.
So, Rirkrit’s exhibition was categorized
as ‘Pad Thai Art’, that’s the reason why
his art got attention easily. Meanwhile, Surasi Kusolwong changed
famous museums and galleries to be
flea markets, full of stalls selling cheap
goods as in Thailand i.e. colorful plastic
baskets, cowls and air dolsl. Some goods
seemed useless. He even sold some to
the audiences in a very cheap price.
Most of his works reflected modern life
and capitalism in a humorous form. Another artist who played with Thai’s
‘unfashionable’ is Navin Rawanchaikul.
They said he’s the one who made
2000 2543
13
foreigners know Thai loincloth.
His Conceptual Art persuaded people in
particular area to take participation in
his works. His ‘Taxi’ adjusted form and
the way to communication, depended on
particular space. But one thing that
we would see in every exhibition of his
were the 1-bath comic, the video of
old funny commercial, hand-painted
posters and clothes made of loincloth. There’s another interesting work
called ‘Pink Man’, the photo of an
ecstatic man in pink suit with
a supermarket cart, ignored the seem-
to-be misplaced background such as
the tourist attraction and the black and
white photos of the catastrophe on
16 th October. This Performance Arts
and photos criticized Capitalism
and Consumerism along with politics.
And all of these are the signature of
Manit Sriwanichpoom. The Pink Man
became outstanding Thai contemporary
art immediately. There’s other two remarkable female
artists, Araya Rasdjarmrearnsook and
Pinaree Sanpitak. Pinaree’s works always
played with woman body. The shape of
something looked like breasts presented
sexual issue and femininity. While Araya
created video arts with the question
about death and desire. The latter’s
works seemed like a poetry, sometimes,
she even put it in her work. Establishing Office of Contemporary
Art And Culture in 2002 lifted the
vivacious mood in contemporary
art cycle. International art network gave
Thai artists an opportunity to participate
in international art festivals in, including
a time-honored festival as Venice
Biennale in 2003 and 2007. Sakarin
Krue-on is the first Thai artist who had
a chance to participate in documenta 12,
which is one of the big contemporary art
festivals. At that time, he had tried to
grow rice terrace in front of the
Wilhelmshohe castle in Germany.
7
Kamol Tassananchalee
8
Somboon Hormtientong
9
Montien Boonma
10
Surasi Kusolwong
11
Manit Sriwanichpoom
12
Sakarin Krue-on
13
Apichatpong Weerasethakul
Other than presenting the traditional
agricultural technique, he tried to fill
the gap of possibility and impossibility
with cooperation of people in the
community. He showed eastern tradition
on the western geography. Thai artists have widened the limit of
traditional ‘Thai sensation’. There’re
more and more media combination as we
can see in Wisut Ponnimit’s work, as well
as, Wit Pimkanchanapong’s SOI Project,
he combined his work with animation
and music. After coup d’etat on 19th September
2006, we have seen the art pieces
that criticized politics both directly and
indirectly. Apichatpong Weerasethakul‘s
‘Primitive’ Installation told the story
about time and place that were removed
from the memories of local people
because of the political ideology conflicts
during the cold war. It seeked for
the truth, the history which was distorted
by the government and poppagandas.
You might think ‘Primitive’ tried to talk
about Communist in the past but,
actually, there’s a hint of the invisible
‘ghost’ that can be seen clearly in the
current political situation. Lastly, you may see that the identity
of Thai contemporary art is related to
society and politics unavoidably.
We can’t refuse that ‘Thai sensation’
doesn’t refer only to the good nostalgic
memories. We also have to face and fight
with the reality. The formation has been
developed continuously from the past
to the present. And this development
required us to watch over our society
over and over again. * some information taken from rama9art.org
1 5
1_27 bacc5 .indd 15
12/24/12 2:30:32 PM
Did you know? 1 ผู้ ก ำกั บ หนั ง ชาวไทยคนล่ า สุ ด ที่ ไ ป
สร้ า งชื่ อ ในต่ า งประเทศคื อ นวพล
ธำรงรัตนฤทธิ์ โดยภาพยนตร์เรื่อง 36 ของเขา
ไปคว้ า รางวั ล New Current Awards
จากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเ มืองปูซาน
ซึ่ ง เป็ น เทศกาลภาพยนตร์ ที่ ยิ่ งใหญ่ ที่ สุ ด ของ
เอเชีย ร่วมกับภาพยนตร์เรื่อง กายัน (Kayan)
จากเลบานอน เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคมที่ ผ่ า นมา
โดยก่อนหน้านั้นหนังเรื่อง 36 ที่เล่าเรื่องความ
สัมพันธ์ระหว่างคนสองคนและรูปแบบที่แตก-
ต่างกันของการบันทึกความทรงจำเรื่องนี้ก็เป็น
กระแสในแวดวงอินดีม้ าแล้ว นวพลนำ 36 ไปฉาย
ต่อเนือ่ งหลายๆ พืน้ ที่ ทัง้ โรงภาพยนตร์ House,
สมาคมฝรั่งเศส และห้องประชุมในหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เป็นต้น - This October, alongside with Kayan;
the movie from Lebanon, 36-the movie
by Nawapol Thamrongrattanarit; a Thai
movie director, has just won the New
Current Awards from The Busan
International Film Festival which is the
biggest film festival in Asia. Before this
achievement, 36 the movie that portrays
the view of two people’s relationship
from different perspectives has become
a phenomenon of Thai indie film industry
since Nawapol had presented his movie
Super Dunker
The Story Begins with…
in many places e.g. House RCA, Alliance
Francaise Bangkok, the French cultural
center, bacc, etc.
2 แวดวงการ์ตูนของไทยก็ไม่ใช่เล่น อย่าง
เวที ร างวั ล การ์ ตู น นานาชาติ ที่ จั ด ที่
ประเทศญี่ปุ่นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 ก็มีนักเขียน
การ์ตูนไทยไปคว้ารางวัลมาแล้วหลายคน ตั้งแต่
ต้น จักรพันธ์ (จักรพันธ์ ห้วยเพชร) เจ้าของ
ผลงานเรื่อง Super Dunker เคยได้รับรางวัล
ชนะเลิศในการประกวดปีที่ 3 และ วีระชัย ดวงพลา
คว้ารางวัลเหรียญเงินจากงานเรื่อง The story
begins with... ในการประกวดปีที่ 4 ส่วนครั้ง
ล่ า สุ ด ซึ่ ง เป็ น ครั้ ง ที่ 5 ธนิ ส ร์ วี ร ะศั ก ดิ์ ว งศ์
เจ้าของนามปากกา นายสะอาด ก็พาผลงาน
เรื่องแรกของเขา ชายผู้ออกเดินทางตามเสียง
ของตัวเอง ไปคว้ารางวัลเหรียญเงินมาได้เช่นกัน -
36 by Nawapol Thamrongrattanarit
Meanwhile, a number of Thai comic
authors had also won a number of awards
from International Manga Award that
had held since 2007. Jakapan Huaypetch
(Ton)-the author of Super Dunker won
the Gold Award from the 3rd International
Manga Award, Weerachai Duangpla-
the author of The Story Begins with…
won the Silver Award from the 4 th
International Manga Award, and Tanis
Werasakwong-the author of A Man
Who Chase After His Voice won the Silver
Award from the 5th International Manga
Award.
1 6
1_27 bacc5 .indd 16
12/24/12 2:30:35 PM
3 บางที วิ ธี ห นึ่ ง ที่ อ าจทำให้ ค นสนใจ
ของประเทศญี่ ปุ่ น และรางวั ล The Most
Promising Talent ที่ตกเป็นของผู้กำกับหนุ่ม
บรรจง ปิสัญธนะกูล - One of the way to promote ‘Thainess’
is to blend it with the other cultures
that are of the public‘s interest. Not only
Hello Stranger (Kuan Meun Ho) by
Banjong Pisanthanakul; the movie that
features the journey of 2 strangers in
Korea, had gained a tremendous success
and made a big revenue of 125 millions
Baht but it was also screened in Korea
and won The Most Entertaining Film and
The Most Promising Talent awards from
Osaka Asian Film Festival.
เราจะพบกั บ วงดนตรี กึ่ ง สมั ค รเล่ น ชาวญี่ ปุ่ น
วงหนึ่ ง ที่ ตั้ ง หน้ า ตั้ ง ตาคั ฟ เวอร์ เ พลงของ
บอดี้สแลมหลายๆ เพลง เป็นคลิปเล่นดนตรี
สดๆ ที่ยืนยันได้ว่าวงดนตรีบ้านเราก็สามารถ
เป็นไอดอลของชาวต่างชาติได้เหมือนกัน - In Asia, there is a new trend called
T-Pop which means the popularity of Thai
music, movie, and soap opera aboard.
There are a number of Thai bands that
have made their flames internationally
e.g. August that has made its name in
China from The Love of Siam (Rak hang
Siam) ‘s soundtracks. Bodyslam is also
quite popular in Japan. If you search for
the word ‘Hanuman Band’ from YouTube,
you will find a lot of amateur Japan
bands that cover Bodyslam’s songs. All
these are the evidences that our bands
are now well accepted internationally.
ความเป็ น ไทยก็ คื อ การเอาเรื่ อ งแบบ
ไทยๆ ไปผสมกั บ วั ฒ นธรรมแบบอื่ น ที่ ก ำลั ง
เป็นที่นิยมเพื่อทำให้คนซึ่งสนใจวัฒนธรรมนั้นๆ
อยู่หัน มาสนใจเราด้วย ภาพยนตร์เรื่อง กวน
มึน โฮ เมื่อ 2 ปีก่อนที่ว่าด้วยการเดินทางของ
คนแปลกหน้าชาวไทย 2 คนในประเทศเกาหลี
ก็ทำให้คนไทยไปดูหนังเรื่องนี้กันอย่างล้นหลาม
ทำรายได้ไปกว่า 125 ล้านบาท และยังได้ไป
ฉายที่ประเทศเกาหลีเป็นการ ‘เอาคืน’ กระแส
คลั่งเกาหลีที่ทำให้วัยรุ่นไทยเสียดุลไปไม่น้อย
แล้ว หนังเรื่องนี้สามารถไปไกลกว่าแค่ไทย-
เกาหลีด้วยการไปคว้ารางวัลใหญ่จากโอซากา
เอเชียนฟิล์ม เฟสติวัล ที่เมืองโอซากา ประเทศ
ญีป่ นุ่ อีกด้วย คือรางวัล The Most Entertaining
Film ที่ทำให้หนังเรื่องนี้ได้ไปฉายในโทรทัศน์
Kuan Meun Ho by Banjong Pisanthanakul
Hanuman Band (left) August (right)
4 ในประเทศแถบเอเชียมีคำคำหนึ่งที่เริ่ม
เป็ น กระแสมาพั ก ใหญ่ แ ล้ ว คื อ คำว่ า
T-Pop ที่ ห มายถึ ง กระแสเพลง หนัง และ
ละครไทยที่ไปสร้างชื่อในต่างประเทศ เรามีวง
ดนตรีวัยรุ่นที่ไปโด่งดังในต่างประเทศอยู่หลาย
วง อาทิ วง August ที่เกาะกระแสความดังจาก
ภาพยนตร์เรื่อง รักแห่งสยาม ที่ไปโด่งดังใน
เมืองจีนจนทำให้หนุ่มๆ วงนี้มีกลุ่มแฟนคลับ
ที่นั่นเป็นจำนวนมากถึงขนาดที่กลุ่มแฟนคลับ
ชาวจี น เคยรวมเงิ น กั น จั ด คอนเสิ ร์ ต วงออกั ส
ในบ้ า นเขามาแล้ ว หรื อ วงอย่ า ง Bodyslam
ก็เป็น ที่สนใจในประเทศญี่ปุ่นไม่น้อย ไม่เชื่อ
ลองค้นหาในยูทูบด้วยคำว่า ‘Hanuman Band’
1 7
1_27 bacc5 .indd 17
12/24/12 2:30:39 PM
art talk
1 8
1_27 bacc5 .indd 18
12/24/12 2:30:55 PM
เชษฐ์ กลั่นชื่น
ความร่วมสมัยกับไทยประเพณี เรื่อง: จรัลพร พึ่งโพธิ์ ภาพ: กัษมา เรืองงาม
ในตั ว ตนของศิ ล ปิ น นั ก ร่ า ยรำชาวไทยที่ โ ด่ ง ดั ง ไกล
ในต่างแดน พิเชษฐ์ กลั่นชื่น ผสาน 2 สิ่งที่ดูเหมือนจะเป็น
ขั้ ว ตรงข้ า มได้ อ ย่ า งกลมกลื น ระหว่ า งความร่ ว มสมั ย
และประเพณีไทยนิยม จากลูกชาวประมงที่เติบโตมากับธรรมชาติ ย้ายเข้า
มาอยู่ ใ นกรุ ง เทพฯ เพื่ อ เรี ย นต่ อ ก่ อ นที่ อี ก ไม่ น าน
จะหนี อ อกจากบ้ า นและกลายเป็ น เด็ ก เหลวไหล เกเร
ไร้จุดหมาย กระทั่งบังเอิญมาพบกับครูโขน และจากนั้น
การรำคื อ สิ่ ง ท้ า ทายเดี ย วที่ ป ระทั ง ให้ ชี วิ ต ของเขา
ไม่น่าเบื่อจนเกินไป
1 9
1_27 bacc5 .indd 19
12/24/12 2:31:10 PM
“16 ปีที่ผมเรียนกับครูในวิธีการแบบโบราณ คือไปฝากตัวเป็นลูกศิษย์
ไปอยู่ ใ นบ้ า นแล้ ว ทำตามครู ทุ ก อย่ า ง ทำทุ ก อย่ า งที่ทำได้ในบ้าน ซักผ้า
ย้ายบ้าน ช่วยพาคุณยายไปหาหมอ ตอนคุณยายเสีย ผมบวชให้ คือเหมือนเป็น
ลูกคนหนึง่ ในบ้าน นีค่ อื วิถที ผี่ มเรียนกับครูจนครูเสียชีวติ “ เขาพูดถึง ไชยยศ
คุ้มมณี ครูโขนที่เปิดเส้นทางนาฏศิลป์ให้กับเขา และเป็นผู้บ่มเพาะความ
อดทนในเส้นทางของศิลปิน “เรียนนาฏศิลป์แบบประเพณี 100% เลยครับ แล้วฝึกหนักมาก ผมอยูก่ บั
การเรียนประเภทที่ต้องรำท่าหนึ่งอยู่นานแสนนาน ทำท่าเดียวอยู่นานมาก
ครูไม่ยอมให้ผมทำอย่างอื่น สิ่งนี้จึงทำให้ผมเป็นคนที่มีระเบียบและเป็นคนที ่ ถ้าทำยังไม่ดีจะไม่ยอมเป็นอันขาด ต้องทำสิ่งนั้นซ้ำๆ จนกว่าจะพิจารณาสิง่ ที ่ ทำได้อย่างแตกฉาน ถึงจะไปสูอ่ กี สิง่ หนึง่ ได้” หากใครเคยรับชมการแสดงและการกำกับของพิเชษฐ์ อาทิ ชุดโขนขาวดำ
ฉุยฉาย หรือพระพิฆเณศร์เสียงา อาจจะเกิดคำถามหลายข้อต่อสิ่งที่ปรากฏ
อยู่เบื้องหน้า ทั้งลักษณะการแต่งกายที่บางการแสดงมีเพียงหัวโขนและ
กางเกงใน แทนทีจ่ ะมาพร้อมกับความอลังการของเครือ่ งแต่งกายแบบเต็มยศ
รวมไปถึงท่วงท่าการรำที่ไม่คุ้นตาตามขนบโขน “มันก็ยังเป็นแบบประเพณีนะครับ ผมแค่เปลี่ยนรูปทรงของมันใหม่
แต่เอาหัวใจของมันไว้เหมือนเดิม เริม่ จากตัง้ คำถามว่าอะไรเป็นสิง่ สำคัญทีส่ ดุ
และขาดไม่ได้ แล้วถ้าไม่มีท่ารำได้ไหม ก็ยังได้อยู่ แต่ต้องมีการเคลื่อนไหว
เพราะไอ้ตัวที่มันเคลื่อนนี่แหละคือตัวที่ทำให้มันมีชีวิต กระทั่งผมได้รับรู้ว่า
นาฏศิลป์ไทยมันเคลื่อนเหมือนลายไทย เคลื่อนเหมือนตัวกนกที่เป็นเส้นโค้ง
นี่ต่างหากที่เป็นหัวใจของมัน” เขาคลายข้อสงสัยพลางทำท่าทางประกอบ ด้วยวิธีคิดดังกล่าวจึงทำให้เขาไม่ยึดรูปแบบของเครื่องแต่งกาย ดนตรี
หรือกระทั่งท่ารำ แต่การนำเสนอสิ่งที่เป็นแก่นสำคัญ กลับทำให้ศิลปินหนุม่
ถูกคนร่วมชาติตเิ ตียนในข้อหาตัวทำลายศิลปวัฒนธรรม ทำให้โขนทีเ่ ป็นศิลปะ
ล้ำค่าของชาติเสื่อมเสีย ผิดสูตรประเพณีดั้งเดิม “ช่วยบอกผมหน่อยว่าปัจจุบันนี้มีใครทำโขนตามขนบบ้าง ไม่มีแล้ว สมัย
โบราณมีแสงเลเซอร์เหรอ มีเล่นโขนแบบ 15 นาทีเหรอ นีม่ นั ไม่ใช่ประเพณีแล้ว
ทีส่ ำคัญคุณกำลังฆ่าจินตนาการ กำลังทำลายศิลปะอย่างรุนแรง ในขณะทีค่ รู
เขาสร้างท่าเหาะที่ปล่อยให้คนได้จินตนาการ ให้เวลากับเพลงนี้ยาวนิดหนึ่ง
เพื่อให้คนดูวิเคราะห์ว่าทำอะไรอยู่ อ๋อ...มันเหาะ อ๋อ...ท่าเหาะเป็นแบบนีน้ ะ
คนดูได้เห็น ได้ความรูก้ ลับบ้าน แต่วันนี้คุณจับขึ้นสลิงปุ๊บ เหาะๆ แล้วอย่างนี้
ศิลปะจะเติบโตไปได้อย่างไร” เขาวิพากษ์กลับบ้าง และขยายกว้างไปถึง
ศิลปะการแสดงของไทยในรูปแบบอืน่ ๆ ว่ากำลังหลงทางและห่างไกลกับคำว่า
‘ศิลปะ’ ขึ้นทุกที “งานชาวบ้านที่เขาเล่นกันอยู่ ไม่ว่าจะเป็น ผีตาโขน หมอลำ ลิเก อะไร
ก็แล้วแต่ มันเป็นงานศิลปะหมด แต่วันนี้มันถูกบิดเบือนให้เป็นความบันเทิง
ไปแทน คือมันมีความบันเทิงอยู่ในนั้นนะ แต่ว่าเราละทิ้งกุศโลบายทีด่ งั้ เดิม
เขาซ่อนอยูไ่ ปเสียหมด แล้วไปเอาเปลือกมาห่อหุม้ แทน เช่น ผีตาโขน ทีท่ ำอยู ่ เพราะมันเป็นงานบุญ แต่เดี๋ยวนี้กลายเป็นว่าต้องจัดระบบระเบียบขบวน
ต้องปรับท่าเต้นให้มันเป็นท่าเต้นแบบนี้ๆ ต้องมีสลิง ต้องมีสโมก สิ่งเหล่านี ้ คือตัวทำลายจิตวิญญาณของศิลปะทั้งหมด” ในสายตาของคนไทย พิเชษฐ์ได้รับตำแหน่ง ‘นักทำลาย’ ควบคู่กับการ
ได้รับรางวัลศิลปาธร ด้านศิลปะการแสดงประจำปี 2549 และรางวัลเชิดชู
เกียรติ 26 สุดยอดคนกล้าของไทย จากสถาบันสัญญา ธรรมศักดิ์ ในปี 2552
เรียกว่ามีทั้งคนชื่นชมและยังไม่เข้าใจในสิ่งที่เขาทำ ส่วนในมุมมองของชาว
ต่างชาติกลับยอมรับศิลปินนักรำชาวไทยคนนี้ ขนาดที่ทำให้เขาได้เข้าร่วม
2 0
1_27 bacc5 .indd 20
12/24/12 2:31:24 PM
แสดงงานในเทศกาลศิลปะการแสดงนานาชาติจากทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง
ถือว่าเป็นมุมมองทีต่ า่ งจากสายตาคนไทยกลุม่ หนึง่ ซึง่ มองพิเชษฐ์ดว้ ยมุมมอง
ที่ก้ำกึ่งมาตลอด “ต่างชาติเขามองผมเป็นคนอนุรกั ษ์ครับ เป็นคนทีท่ ำให้โขนหรือนาฏศิลป์
ไทยเดินทางต่อไปได้ในอนาคตข้างหน้า พวกเขาไม่ค่อยรู้เรื่องโขนเท่าไหร่
มารู้ ต อนที่ ผ มเริ่ ม อธิ บ ายโดยที่ ใ ห้ อ งค์ ค วามรู้ เ ยอะมาก แล้ ว พยายาม
ซึมเข้าไปให้เขาทีละนิดๆ ฝรั่งเขาเชื่อว่า วัฒนธรรมจะงอกงามได้ มันต้อง
เดินทางควบคู่ไปกับสังคม แล้วมันต้องใช้ได้จริง ถ้าเมื่อไหร่ที่วัฒนธรรม
แตะต้องไม่ได้ วิพากษ์วิจารณ์ไม่ได้ มันตายแน่นอน” จากนิยามความหมายของ ‘ศิลปะ’ ในมุมมองนักรำร่วมสมัยดูเหมือนว่า
ศิลปินจะให้ความสำคัญกับอิสระทางความคิดของผู้เสพงานเป็นหลัก “ศิลปะของผมคือการสร้างเรื่องราวลงไปบนพื้นที่ว่าง เหมือนแผ่นฟิลม์
ซื้อมามันก็ไม่มีอะไรอยู่ในนั้น เฟรมซื้อมาก็เป็นแผ่นขาว โล่งๆ โรงละคร
เข้าไปมันก็เป็นพืน้ ทีว่ า่ งๆ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ คือการสร้างเรือ่ งราวหรือจินตนาการ
บนพื้นที่ว่างในสมองของคนดู เมื่อไหร่ที่คุณตัดสิ่งเหล่านี้ออกไป มันก็ไม่ใช่
ศิลปะ มันคือโชว์ โชว์ไม่ได้ให้อะไรในพื้นที่ว่าง” เขาเผยทรรศนะที่มีต่อ
ศิลปะอย่างหนักแน่น ก่อนที่จะแสดงความคิดเห็นอย่างคล่องแคล่วเช่นกัน
ถึงความสำคัญของศิลปะต่อมนุษย์ “มนุษย์มสี งิ่ ทีพ่ เิ ศษมากอย่างหนึง่ คือ จินตนาการ เป็นสัตว์ทมี่ พี ฒ ั นาการ
ในการเชื่อมต่อหรือสานต่อกระบวนการรับรู้ผ่านสมองไปสู่สิ่งที่ไ ม่เคยรู้
มาก่ อ นได้ แล้ ว สิ่ ง เหล่ า นี้ ถู ก สอนได้ จ ากศิ ล ปะ งานศิ ล ปะมั น ให้ สิ่ ง นี ้ ให้จนิ ตนาการ ให้ชอ่ งว่างสำหรับมนุษย์ได้เติมเต็ม ได้เรียนรู้ ได้เป็นอิสระ
ในกระบวนการความคิดของตัวเอง ถ้าเมื่อไหร่งานศิลปะมันเปิดเผยทั้งหมด
ไม่ปล่อยให้คนมีจินตนาการความคิดใดๆ ทั้งสิ้น อย่างที่ผมบอก ผมเรียก
มันว่าโชว์” การสร้างบางสิ่งให้เกิดขึ้นในสมอง ในจินตนาการของผู้เสพงานนี้เอง
ที่ เ ป็ น คอนเซปต์ ก ารทำงานของเขา โดยอยู่ในพื้นฐานของการสะท้ อ น
หรือบอกเล่าเรื่องราวของสังคมปัจจุบัน อันนำมาซึ่งสกุล ‘ร่วมสมัย’ หรือ
‘Contemporary’ ของศิลปินพ่วงท้าย
Ganesh
2
1_27 bacc5 .indd 21
Black and White
“การสร้างงานศิลปะร่วมสมัยเพือ่ พาสังคมไปข้างหน้า มันจะมีผลกระทบ
กับสังคมปัจจุบันอยู่แล้ว เพราะมันกำลังบอกบางสิ่งที่คุณไม่รู้และไม่เข้าใจ
แล้วคนทำงานร่วมสมัยมักจะกลัวสิ่งเหล่านี้ คนพวกนี้มันจะระแวดระวัง
ซึ่งมันมีประโยชน์มากนะ เพราะสิ่งที่คนพวกนี้ระวังกัน มันจะเริ่มเกิดขึ้น
ในสังคมและจะกระจายตัวอย่างรวดเร็ว” ถึงแม้ว่าศิลปะการแสดงของพิเชษฐ์จะสรรค์สร้างขึ้นเพื่อรับใช้สังคม
แต่ดูเหมือนว่า 18 ปีให้หลังจากระยะเวลา 26 ปีที่เขาอยู่กับนาฏศิลป์ไทย
ศิลปะของเขาก็ได้ทำหน้าที่ดูแลตัวเขาเองเช่นกัน “ผมรู้สึกว่าในขณะที่เคลื่อนไหวอยู่ มันมีบางอย่างที่มาสัมผัสกันแล้ว
มันนิ่ง พูดไม่ถูกเหมือนกันว่าคืออะไร พอมันนิ่ง มันทำให้เวลาที่เดินอยู ่ ปัจจุบันสั้นลง ผมสามารถทำงาน 2-3 ชั่วโมงโดยที่ผมไม่รู้ว่ามันผ่านไปแล้ว
2-3 ชัว่ โมง แล้วเมือ่ ไหร่ทผี่ มเศร้า ผมโกรธ ผมท้อแท้ ผมหมดหวัง พอผมรำ
ทุกอย่างมันจบ และผมเจอความสุข” น้ำเสียงอ่อนโยนออกมาจากปากของ
ศิลปินคนเดียวกับที่เคยฝากเสียงดุดันไว้ในคำถามลำดับต้นๆ ท้ายที่สุดคงต้องเพิ่มเติมความหมายของศิลปะสำหรับชายผู้นี้ นอกจาก
เขาจะรำเพื่อสร้างเรื่องราวลงไปในช่องว่าง เปิดพื้นที่ให้คนได้จินตนาการ
ถ่ายทอดเรือ่ งราวความเป็นไปของสังคมแล้ว การรำ การเคลือ่ นไหวร่างกาย
ยังเป็น พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ในการบำเพ็ญเพียร เพื่อให้เกิดสมาธิที่นำไปสู่
ภาวะพ้นทุกข์ในแบบฉบับเฉพาะตัวของ พิเชษฐ์ กลั่นชื่น อีกด้วย 1
12/24/12 2:31:41 PM
art talk
ichet Klunchun: Contemporary in Traditional Thai
Text: Jarunporn Phuengpo Photo: Kasama Rueng-ngam I can see the melodiously combination of
contemporary and traditional Thai sensibility
within the internationally famous Thai classical
dancer’s existence, Pichet Klunchun. From a fisherman’s son, growing up among
nature, he moved to study in Bangkok before
came to be a badly-behaved runaway child.
He got no aim in his life until he accidentally
met a Khon master. After that, dancing became
the only weariless challenging that feed and
clothes him.
“I had studied in an old-fashioned way for 16 years. I begged
to be his student, to live in his house and follow everything he do.
In return, I did everything I can: doing laundry, moving things,
bringing grandma to see the doctor. When grandma died, I was
ordained for her as her grandson would do. That was the way
my teacher taught me until he died” Pichet mentioned Chaiyot
Khummanee, the Khon master who opened the world of Thai
classical dance and taught him to be a patient artist. “At that time, I had been taught 100% Thai traditional dancing;
the practice was absolutely tough. I had to dance in the same
pattern repeatedly, had to stayed in the same pose quite long.
He wouldn’t let me get distracted with any other things. That’s
the way I was disciplined, accordingly, I wouldn’t accept any
inadequate quality. I would do it over and over, sharpened myself
until I could do it fluently then; I can move to another step. If you have seen Pichet’s performance and directing i.e.
‘Black and White’ Khon, ‘Chui Chai’ or ‘Ganesh’; you might have
wondered about what you saw on stage. Other than untraditional
dancing, some performers wore only Khon head and underwear
instead of spectacular splendid costumes. “It’s still traditional. I just changed the form but its core
would be the same. It’s questioning about what is necessary and
important the most. We could do it without dancing, not without
moving because moving is living. I found that Thai dancing moved
like painting, curved like a golden line in Thai painting. That’s
the essential substance.” He answered while showing us the pose. That’s the reason why he doesn’t stick to the form of costume,
music or even gesture. However, his performance became
the accusation his own compatriot accused him of destroying
valuable national art and culture. “There’s no genuine traditional Khon these days as well as
there’s no laser technology in the past. There has never been
15-min Khon. This isn’t about tradition, it’s about imagination
that is destroyed. Art is being killed. When the masters showed
the flying pose, they let the audiences imagine it. The music would
be prolonged to let the audiences consider it until they understand
what’s the performer doing and how do they feel about it. That way,
the audiences would get something back. Contrarily, at the
present, they just use special slings in a flying scene. How can art
progress this way?” Pichet criticized that Thai arts, in every form,
are more and more misguided from ‘Art’ these days. “Local performances such as Phi Ta Khon (a masked procession
for celebration), Mor-lam (northeasterned-style singing) or Li-Ke
(Thai traditional dramatic performance), all of them are arts.
While they are amusing, there were some hidden stratagems
as well. But now, they present only entertainments as we stick to
2 2
1_27 bacc5 .indd 22
12/24/12 2:32:03 PM
the appearance than the substance of it. Phi Ta Khon has been
a religious ceremony. Why we have to organize the procession?
Why we have to choreograph the dance? Why we have to use
the special slings or the dry ice smoke? Those are destroying
the art spirits.” For many Thai people, Pichet is ‘a destroyer’; meanwhile,
he received Silpathorn Awards in Performing Art in 2006, and
‘26 Thai citizen heroes awards’ from Sanya Dharmasakti institute
in 2009. Therefore, we could see that while his works being
questioning, he got some admirers as well. Contrarily to evenly
matched feedback from Thai audiences, Pichet got great
acceptances from foreign audiences as he has continuously
participated in many international art and performance festivals
around the world. “Foreign audiences think of me as a preservationist who
preserves Khon and Thai classical dance for future. They didn’t
know anything much about Khon. I have tried to share
the knowledge, to impress them bit by bit. Foreigners believe
that the culture have to grow together with the society. It should be
touchable. If culture became untouchable or uncriticizable,
it would be dead.” His ‘art’ definition seems to give priority to the freedom of
thought. “My art is to create a story on the empty space. There’s
nothing on the new roll of film, on the white canvas, on the stage
in the theatre. So, how can we fill a story and an imagination
into the space in the audience’s head. If you cut the creative
imagination out, it wouldn’t be art anymore, it would be just a show
that didn’t take any action on those spaces.” He spoke seriously
before giving his opinions how art affected our life. “Imagine makes human special. That’s how human develop
what they acknowledge further, which could be taught by art.
Art created an imagination, leave the blank for us to fill, to learn,
to have a freedom of thought. If it revealed everything with
no space for any imagination, that would be only a show, not art.” His concept is ‘to create something in your head’, to let
the audiences imagine with the realistic contexts and situations.
That’s why he was called ‘contemporary’ artist. “Contemporary Art can move society forward. It affects
current society because it tells the story that you didn’t know
and didn’t understand. Contemporary artists are always aware of
things. They watch over everything and what they have watched
over will happen and broaden soon. Even his art created to serve society, 18 years of being an
artist and 26 years he dedicated to Thai classical dancing;
His art seems to served himself as well.
Chui Chai
“I can feel the quietude within the movement. I can’t really
explain what is it but this quietude makes the time go faster.
I can work for a couple hours unawarely. My sadness, angriness,
tiredness, disappointment will be gone when I dance. Every
feeling stopped and then I found happiness again.” The previously
aggressive artist answered this question with gentle voice. Lastly, we might fill some definitions to his art. Other than
dancing to fill spaces, to create the imagination and tell the
realistic story; his dance seems to be the worship in a holy
ceremony, a meditation to end the suffering in Pichet Klunchun’s
style.
2 3
1_27 bacc5 .indd 23
12/24/12 2:32:07 PM
[ world of art ]
Summer Giuseppe Arcimboldo (Italy)
อาหารกับงานศิลป์ เรื่อง: @vappee
ศิลปะกับอาหาร-หลายคนอาจคิดว่าเป็นเรื่อง
ที่ไม่เกี่ยวกันเท่าไหร่ แต่ที่จริงทั้งสองสิ่งก็อยู่คู่กัน
มาตั้งแต่สังคมมนุษย์เริ่มก่อร่างสร้างตัว
ภาพชามที่เต็มไปด้วยผลไม้นานาชนิดเป็นเรื่องที่พบเห็น
ได้ตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาที่การทดลอง
ด้านวิทยาศาสตร์เฟื่องฟูคู่ขนานไปกับความเจริญทางศาสนา
ภาพอาหารต่างๆ ก็ยังปรากฏอยู่ในงานศิลป์สะท้อนให้เห็นความ
หรูหราบนโต๊ะอาหาร ถึงยุคจริตนิยม (Mannerism) งานมนุษย์
ผักผลไม้ของ จูเซปเป อาร์ชิมโบลโด (Giuseppe Arcimboldo)
ก็ เ ป็ น การแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความเชื่ อ มโยงระหว่ า งคนและ
ธรรมชาติ ทั้งการวาดดอกไม้ ต้นไม้ หรือส่วนอื่นๆ ของพืช
เป็นรูปคนเพื่อเป็นตัวแทนของฤดูกาลต่างๆ 2 4
1_27 bacc5 .indd 24
12/24/12 2:32:13 PM
Still Life with Quinces and Lemons Vincent Van Gogh (Netherland)
Small Torn Campbell’s Soup Can (Pepper Pot) Andy Warhol (USA)
Deep Fried Gadgets งานศิ ล ป์ ใ นอิ ม เพรสชั น นิ ส ม์ ยุ ค หลั ง
ของศิ ล ปิ น ชาวฝรั่ งเศสอย่าง พอล เซซานน์
(Paul Cezanne) เช่ น งาน Still Life
With Drapery, Pitcher and Fruit Bowl
และ Still Life with Fruit Basket หรื อ
วินเซนต์ แวน โก๊ะ (Vincent Van Gogh)
เช่นงาน Still Life with Quinces and Lemons
และ Still Life with Carafe and Lemons
ก็ ส ะท้ อ นภาพความผู ก พั น ระหว่ า งมนุ ษ ย์
กับอาหารได้เป็นอย่างดี
มาถึ ง ยุ ค ที่ ก ระแสป๊ อ ปอาร์ ต เฟื่ อ งฟู
งานซุปกระป๋องแคมป์เบลของ แอนดี วอร์ฮอล
ภาพซอสปรุงรสเอ-วัน ของ Ralph Goings,
งานภาพถ่ายเศษอาหารของ Laura Letinsky
ไปจนถึ ง งานของศิ ล ปิ น ช่ า งภาพอย่ า ง เฮนรี
ฮากรีฟส์ ที่ถ่ายภาพไอแพดและไอโฟนชุบแป้ง
ทอดเพื่อสื่อว่าบางทีเทคโนโลยีก็ ให้ความรู้สึก
‘แดกด่วน’ ไม่แพ้อาหาร ทัง้ หมดนีก้ เ็ ป็นหลักฐาน
สำคัญจากโลกศิลปะทีแ่ สดงให้เห็นมุมมองต่างๆ
Henry Hargreaves (USA)
2 5
1_27 bacc5 .indd 25
12/24/12 2:32:22 PM
ทีค่ นในยุคสมัยใหม่มตี อ่ อาหารการกินรอบๆ ตัว ขยับมาทางฝั่งเอเชีย ใช่ว่าจะไม่มีใครสนใจ
เรื่องอาหารในงานศิลปะ ศิลปินจีน Song Dong
ก็สร้างโมเดลปราสาทจีนขึ้นจากขนมปังกรอบ
กว่าเจ็ดหมื่นชิ้น เขายังทำงานร่วมกับภรรยา
Yin Xiuzhen ภายใต้คอนเซปต์ ‘ตะเกียบ’
(Chopsticks) สร้างงานรูปร่างเป็นทรงตะเกียบ
ซึ่ ง เป็ น อุ ป กรณ์ ท านอาหารคู่ มื อ ของชาวจี น
แถมยังสะท้อนถึงวิธีการทำงานที่แบ่งงานคนละ
ส่วนแล้วนำมารวมกันในภายหลังเพื่อแสดงถึง
การทำงานของตะเกียบที่ไม่สามารถใช้งานได้
หากมีเพียงข้างเดียว สรุปได้ว่า ตั้งแต่การเอาภาพอาหารมาเป็น
ส่วนหนึ่งของงานศิลปะ ไปจนถึงการเอาอาหาร
มาทำเป็นงานศิลปะ จึงเป็นเรื่องที่เราสามารถ
พบเห็นได้อยู่เรื่อยมาในโลกศิลปะ ในงานเสวนาฝรั่งมองไทย (Fanrang Gaze
Thai Trends) ซึ่งเป็นงานประกอบ นิทรรศการ
‘ไทยเท่ จากท้องถิ่นสู่อินเตอร์’ เมื่อกลางเดือน
กั น ยายนที่ ผ่ า นมาที่ bacc มี ป ระเด็ น หนึ่ ง ที ่ ผู้ร่วมเสวนาเห็น พ้องต้องกันก็คือ หากจะเอา
‘ความเป็ น ไทย’ ไปแนะนำสู่ ต่ า งประเทศ
เรือ่ งไทยๆ เรือ่ งหนึง่ ทีช่ าวโลกรูจ้ กั เราเป็นอย่างดี
อยู่แล้วก็คือเรื่องอาหารไทย Rolf Von Bueren ผู้บริหารแบรนด์ฝีมือ
ช่างไทย Lotus Atrs de Vivre ฟันธงว่าอาหาร
ไทยไม่ใช่แค่ดีที่สุดในเอเชียเท่านั้น แต่จะกล่าว
Kanok Chawalitpong with his reward in IKA Culinary Olympic 2012 (Thailand)
Biscuit City
Song Dong (China)
Cook Book
Rirkrit Tiravanija (Thailand)
Chopsticks
Song Dong and Yin Xiuzhen (China)
ว่าอาหารไทยนั้นดีที่สุดในโลกก็สามารถกล่าว
ได้ อ ย่ า งเต็ ม ปาก ทั้ ง ยั ง แนะว่ า ถ้ า เราหาทาง
ผสมผสานอาหารไทยเข้ากับศิลปะก็น่าจะได้
งานที่เป็นแนวทางที่น่าสนใจไม่น้อย หากมองในมุมของสื่อแล้ว ผลการสำรวจ
จาก CNNGo เว็บไซต์การท่องเที่ยวในเครือ
CNN ในปีที่ผ่านมา ก็บอกว่าแกงมัสมั่นของเรา
ขึ้นไปรั้งอันดับหนึ่งของอาหารอร่อยนานาชาติ
แถมส้มตำ น้ำตกหมู และต้มยำกุ้ง ก็ยังติด
อยู่ใน 50 อันดับด้วย ในขณะที่เชฟไทยก็เพิ่ง
ไปประกาศศักดามาบนเวทีโลก เพราะทีมเชฟ
อาชี พ และเยาวชนไทยเพิ่ ง คว้ า เหรี ย ญทอง
และเหรียญเงินด้วยเมนูส้มตำ ปลาหิมะราด
ซอสต้ ม ยำ งานน้ ำ ตาลประดิ ษ ฐ์ ในการ
ประกวด IKA Culinary Olympic 2012
ที่เยอรมนีเช่นกัน ในมุ ม ของงานศิ ล ปะ เราเคยมี ศิ ล ปิ น
สั ญ ชาติ ไ ทยที่ โ ดดเด่ น ในเวที ร ะดั บ สากล
และสร้ า งชื่ อ ด้ ว ยการผสมผสานอาหารไทย
เข้าไปในงานศิลปะอย่าง ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช
ในช่ ว งทศวรรษสุ ด ท้ า ยของสหั ส วรรษที่ แ ล้ ว
เมื่อเขานำเสนองานอย่าง Pad Thai (1990)
และ Untitled (Free/Still) (1992/1995/
2007/2011) ด้วยการผสมผสานอาหารเอเชีย
เข้ า กั บ งานศิ ล ปะ ผู้ เ ข้ า ชมทานข้ า วแกงไป
ขณะชมงาน และถู ก เชื้ อ เชิ ญ ให้ ก ลายเป็ น
ส่วนหนึ่งของงานศิลป์ไปโดยไม่รู้ตัว และล่าสุด
Untitled (Free) ถูกสร้างขึ้นอีกครั้งในงาน
Contemporary Galleries: 1980-Now
ที่ MoMA ในช่ ว งเที่ ย งถึ ง บ่ า ยสามโมง
เรียกความสนใจและสร้างความทรงจำแบบใหม่
ในการชมนิ ท รรศการศิ ล ปะได้ เ ช่ น เคย
ด้ ว ยแนวทางงานสุ น ทรี ย ศาสตร์ เ กี่ ย วเนื่ อ ง
(Relational Aesthetics) ที่ลบเส้นแบ่งระหว่าง
งานศิลปะกับผู้ชมด้วยเทคนิคต่างๆ เพื่อให้เกิด
กิจกรรมในกลุ่มคนดูแทนที่จะเป็นการชมงาน
ศิลป์เฉยๆ พูดอีกอย่างคือศิลปะไม่ใช่ศูนย์กลาง
ของความสนใจ ความคิดของศิลปินต่างหาก
2 6
1_27 bacc5 .indd 26
12/24/12 2:32:24 PM
ที่เป็นตัวผลักดันให้เกิดปรากฏการณ์ ฤกษ์ฤทธิ์ยังแน่วแน่ในการเล่นกับ ‘อาหาร’
ในสื่ อ อื่ น ๆ อย่ า งหนั ง สื อ อี ก ด้ ว ย หนั ง สื อ ชื่ อ
Cook Book ของเขายากจะบอกว่าเป็นหนังสือ
ภาพศิลปะหรือเป็น หนังสือตำราอาหารกันแน่
เขาจัดทำหนังสือเล่มนี้ขึ้นเพื่อเป็นแคตตาล็อก
ของงานแสดงที่เยอรมันชื่อ Just Smile and
Don’t Talk โดยเนื้อหาในเล่มนอกจากจะมีเมนู
อาหาร 23 เมนูของเขาที่เคยนำไปจัดแสดงเป็น
งานศิลปะแล้วยังเต็มไปด้วยภาพที่แสดงถึงการ
ทำอาหารในแบบของเขา ซึ่งล้วนเป็นภาพที่ทั้ง
ให้อารมณ์สมจริง ไม่เสแสร้งจัดแต่งให้สวยงาม
แต่อย่างใด จะบอกว่าเป็นการนำเสนอวิถีชีวิต
ในครัวแบบชาวบ้านๆ ไทยๆ ของเขาก็ว่าได้ อี ก ตั ว อย่ า งหนึ่ ง ของการเอาความโด่ ง ดั ง
ของอาหารไทยไปขายในต่างประเทศอย่างซื่อๆ
ก็ คื อ ภาพยนตร์ แ อ็ ก ชั่ น บู๊ ส นั่ น ของ จา พนม
ทีเ่ อาเมนูยอดฮิตของไทยไปตัง้ เป็นชือ่ ภาพยนตร์
ว่า ต้มยำกุ้ง (2005) โดยเนื้อหาในเรื่องนั้น
ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรกับอาหารเมนูนี้สักเท่าไหร่
เพี ย งแต่ เ มื่ อ ขายคู่ กั บ มวยไทยที่ เ ป็ น สิ น ค้ า
ส่ ง ออกทางวั ฒ นธรรมซึ่ ง มี จา พนม เป็ น
พรีเซนเตอร์แล้ว ก็ดูเป็นการรวมภาพ ‘ความ
เป็นไทย’ ในแบบที่ชาวต่างชาติคุ้นเคยมาอยู่
ด้วยกัน และก็ทำรายได้ในตลาดภาพยนตร์โลก
ไปไม่น้อย โดยได้ไปฉายหลายประเทศทั่วโลก
รวมทั้งอเมริกาและอังกฤษด้วย เมื่ อ ย้ อ นกลั บ เข้ าไปดู ใ นครั วไทยกั น อี ก ที
งานศิลป์แบบบ้านๆ ประเภทหนึง่ ทีเ่ ราคงคุน้ เคย
กันอยู่บ้างก็คือการแกะสลักผักผลไม้ ซึ่งถือเป็น
ศาสตร์ ที่ ก ารทำอาหารตำรั บ ชาววั งให้ ค วาม
สำคั ญ อย่ า งยิ่ ง และอย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด แตงกวา
ในจานอาหารตามสัง่ ง่ายๆ ของชาวบ้านบางร้าน
ก็ยงั ผ่านการแกะสลักบ้างนิดๆ หน่อยๆ การแกะ
สลักผักผลไม้ที่เราคุ้นเคยนั้นยังเป็นงานสร้าง
ชื่อให้กับพ่อครัวหัวศิลปินชาวต่างประเทศอย่าง
James Parker และ Ray Duey ซึ่งเป็นช่าง
แกะสลั ก คู่ ป รั บ ที่ มี ทั ก ษะในการแกะสลั ก ผั ก
และผลไม้ เ ป็ น ลวดลายต่ า งๆ และโด่ ง ดั ง
จากการผลัดกันได้แชมป์ในการแข่งขันแกะสลัก
ในรายการ Food Network มาแล้ว เห็นอย่างนี ้ แล้ ว ก็ รู้ สึ ก ว่ า ช่ า งแกะสลั ก อาหารชาวไทย
ก็น่าจะมีแนวโน้มที่ทำได้ดี ไม่แพ้กัน หากได้จับ
ทางไปในเวที โ ลกได้ ถู ก ต้ อ งและได้ รั บ การ
Art & Food -
Art and Food-May sound
like they are not related,
but they has actually always
been together since the
beginning of human history.
Text: @vappee
After All
Laura Letinsky (Canada)
1_27 bacc5 .indd 27
Dishes full of various fruits are what
we have always seen since Greek and
Roman era. In the Renaissance, while the
advancement in science and religion had
flourished side by side, paintings of food
are the art pieces that reflect the luxury
on the dinning table. During the
Mannerism, the imaginative human
portrait of Giuseppe Arcimboldo has
Jack-o-Lantern Ray Duey (USA)
ส่งเสริมกันสักหน่อย และนี่เป็นเพียงส่วนหนึ่ง
ของความเป็นศิลปะที่เราพบในครัวไทยเท่านั้น เห็นอย่างนี้แล้ว เรามาลองตั้งใจพาอาหาร
ไทยไปสู่แวดวงศิลปะของโลกกันสักตั้งดีไหม?
shown us the relation of human and
nature. The work of post-impressionist
painter; such as ‘Still Life With Drapery’,
‘Pitcher and Fruit Bowl’, and ‘Still Life
with Fruit Basket by Paul Cezanne’
and ‘Still Life with Quinces’ and ‘Lemons
and Still Life with Carafe and Lemons’
by Vincent Van Gogh, also well reflect
the relationship of human and food. During the time of Pop Art, the
Campbell’s Soup Cans by Andy Warhol,
the A-1 Sauce by Ralph Goings,
the Leftover Food Bits by Laura Letinsky,
and Deepfried iPad and iPhone by Henry
12/24/12 2:32:28 PM
Still Life, Drapery, Pitcher and Fruit Bowl
Small Torn Campbell’s Soup Can (Pepper Pot)
Cezanne (France)
Hargreaves have made us feel
that technologies and fast-food are
nonetheless the same. All these are
evidences from the art world that portray
our generation’s perspective towards
food. In Asia, not that there are not food
in art. Song Dong; the Chinese artist,
had made a model of Chinese castle
from over 70,000 pieces of crackers.
He and his wife had also made ‘the Way
of Chopsticks’; the work that models
the traditional Chinese eating utensil.
Each of them separately work on each
side of chopsticks to reflect the merit of
the chopsticks that can not be function
Andy Warhol (USA)
without one another. In brief, food has long been in art as
we have always seen in the world of art. In the seminar; Fahrang Gaze Thai
Trends, which is part of the Thai Trends
exhibition that was held in the mid
September, all the attendances agreed
that Thai Food is well-known inter-
nationally and it is the ‘Thainess’
that we should present to the world. Rolf Von Bueren; the management
of Lotus Atrs de Vivre affirmed that
Thai food is not only the best in Asia
but it is the best in the World. Therefore,
it would be very interesting to merge
Thai food with art.
In the aspect of mass media,
according to the survey of CNNGo;
the tourism website from CNN Group,
it is found that our Massaman is the
international most delicious food,
while Somtam, Namtok Moo, and
Tomyam Koong, are also in top-50 list.
Along with this, Thai chefs has recently
won the Gold and Silver medals
from Somtam, Marinated Tomyam fish,
and sugar craft from IKA Culinary Olympic
2012 in Germany. In the term of Art, there are a number
of Thai artist that have shined
internationally such as Reukrit
Teerawanich whose his works are the
2 8
1_27 bacc5 .indd 28
12/24/12 2:32:34 PM
blended of Asian food and art e.g.
Pad Thai (1990) and Untitled (Free/Still)
(1992/1995/2007/2011). Lately the
Untitled (Free) has presented again
in Contemporary Galleries: 1980-Now
at MoMA and it has recalled numerous
attention as the relational aesthetics
from his work has destroyed the
boundaries between the viewers and
the art piece. The piece is no longer
the center of attention, while the idea
that the artist would like to present
has become the phenomenon. Reukrit is so determine in presenting
‘Food’ in various media; his Cook Book
is hardly to be determine as the art book
or the cook book. He made this book as
a catalogue for ‘Just Smile and Don’t
Talk’; which is his art exhibition in
Germany. The book features 23 menus
from his art exhibitions and is full of
his way of cooking that is so straight
forward and unpretentious.
Another example of Thai Food fame is
the action movie Tomyam Koong (2005)
that gained international success. Though
the story is not about Thai food but
its mixture of Thainess e.g. Thai Boxing
and Ja Phanom that foreigners are
so familiar with had made it easy to gain
the international attention. When look back into Thai kitchen,
the royal fruit and vegetable carving are
the art in the kitchen that has long been
in our tradition. In the international level;
there are James Parker and Ray Duey
who have always be the champions of
Food Network program, but from what
I see it is not so ambitious for our Thai
master carvers would to share the
international fame. And, this is just
a part of art that we have found in
Thai kitchen. So, why don’t we seriously try bringing
our Thai food to the international art
world?
Cook Book
Rirkrit Tiravanija (Thailand)
Deep Fried Gadgets Henry Hargreaves (USA)
2 9
1_27 bacc5 .indd 29
12/24/12 2:32:35 PM
art attack เรื่อง: นายอั้น (คอลัมนิสต์อิสระ)
ดูงานต่างประเทศ -
ผมประมาทการไป ‘ดู ง านต่ า งประเทศ’
มากเกินไป ตอนแรกที่ผมรู้ว่าจะได้ไปดูงาน ‘World
Expo’ ที่สเปน ผมมัวแต่ดี ใจที่จะได้ไปเที่ยว
เมื อ งนอกฟรี โดยหารู้ ไ ม่ ว่ า การไปดู ง าน
เมื อ งนอกนั้ น มั น มี ภั ย ซ่ อ นเร้ น หลายอย่ า ง
หากเราไม่ระมัดระวัง ซึ่งมันไม่ใช่เรื่องที่ใคร
ก็ตามจะสามารถประมาทมันได้เลย โดยเฉพาะ
คนทีไ่ ม่เคยมีประสบการณ์การดูงานต่างประเทศ
เลยแม้แต่ครั้งเดียวอย่างผม ความจริ ง ผมควรจะเริ่ ม เอะใจอะไรบ้ า ง
ตั้ ง แต่ ก่ อ นขึ้ น เครื่ องบิน ตั้งแต่ผมเริ่มรู้ตัวว่า
กระเป๋ า เดิ น ทางของผมนั้ น ใบเล็ ก กว่ า คนอื่ น
แต่นอกจากผมจะไม่เอะใจแล้ว ความหยิ่งผยอง
ของผมยังทำให้ผมหลงตัวเองคิดไปเองว่าผมนั้น
จัดกระเป๋าเก่ง สามารถจัดเตรียมของได้อย่าง
เหมาะสมจนไม่ตอ้ งแบกกระเป๋าใบใหญ่ๆ ให้หนัก
แบบพวกพีๆ่ ผูบ้ ริหารทีผ่ มไปด้วย โดยหารูไ้ ม่วา่
แท้จริงแล้วกระเป๋าใบใหญ่ๆ ของพี่ๆ เหล่านั้น
ไม่ได้หนักเลยแม้แต่น้อย เพราะในนั้นมีเพียง
กระเป๋ าใบเล็ ก ๆ ใบเดี ย วอยู่ ข้ า งใน ซึ่ ง เป็ น
กระเป๋าที่ใส่ของที่แท้จริง ใบใหญ่ที่เห็น นั้น
เตรียมไว้ใส่ของที่จะช้อปปิ้งในเวลาที่ว่างจาก
การดูงานต่างหาก…นี่เองคือความแตกต่างของ
วิสัยทัศน์ผู้บริหารระดับสูงกับพนักงานชั้นผู้น้อย
อย่างผม ผมลืมคิดไปด้วยซ้ำว่าพวกเขาเหล่านั้น
คือผู้ที่มีประสบการณ์ไปดูงานเมืองนอกอย่าง
โชกโชน ซึง่ ผมควรจะคอยสังเกตและทำทุกอย่าง
ตามๆ เขาไป จะได้ไม่ต้องทำอะไรผิดพลาดอีก แล้ ว ผมก็ ยิ่ งได้ เ ห็ น วิ สั ย ทั ศ น์ อั น กว้ า งไกล
อย่ า งชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น ตั้ ง แต่ วั น แรกที่ ไ ปถึ ง สเปน
สถานที่ที่เราไปกันที่แรกก็คือสนามสู้วัวกระทิง
สนามที่ ‘มาธาดอร์ ’ ใช้ เ ป็ น สถานที่ ต่ อ สู้ กั บ
วัวกระทิงอย่างองอาจสมชาติชายชาตรีดังเช่น
ที่เราเคยเห็นกันในโทรทัศน์ตั้งแต่ยังเด็ก ซึ่งที่นี่
จะมีการต่อสูว้ วั กระทิงให้ดกู นั จริงๆ สดๆ ไม่ผา่ น
จอโทรทัศน์ โดยจะเปิดให้ชมกันทุกวันอาทิตย์
แต่เนื่องจากวันที่เราไปถึงกันนั้นไม่ใช่วันอาทิตย์
เขาจึงไม่เปิดให้เราดู หลายท่านอาจสงสัยเหมือนผมในเวลานั้น
ว่าในเมือ่ มันไม่เปิดแล้วจะไปทำไม แต่ผมเชือ่ ว่า
ผู้ใดที่มีประสบการณ์ในการดูงานต่างประเทศ
อย่ า งโชกโชนเที ย บเท่ า เหล่ า ผู้ บ ริ ห ารที่ ผ ม
ไปด้ ว ย ย่ อ มต้ อ งเข้ า ใจเหตุ ผ ลเป็ น อย่ า งดี
เหมื อ นกั บ ที่ ผ มเข้ าใจในช่ ว งไม่ กี่ อึ ดใจต่ อ มา
หลังจากที่ได้เห็นเหล่าผู้บริหารถ่ายรูปกันอย่าง
สนุ ก สนาน จนผมต้ อ งขอเข้ า ไปร่ ว มวงด้ ว ย
พวกเรายืนถ่ายรูปกับป้ายสนาม นั่งถ่ายรูปกับ
ประติมากรรมด้านหน้าสนาม และนอนถ่ายรูป
กับพื้นสนามโดยไม่มี ใครมารบกวน นี่แหละคือ
เหตุผลทีท่ ำไมเราต้องมาในวันทีเ่ ขาปิด ไม่มีใคร
มายืนบังทัศนียภาพให้เราต้องคอยยกกล้องหลบ
ไม่ต้องเบียดเสียดใคร ภาพที่เราถ่ายกันออกมา
หลากหลายมุ ม สวยงาม อวดใครต่ อใครได้
อย่ า งภาคภู มิ ใ จ เหตุ ผ ลนี้ น่ า จะเป็ น เหตุ ผ ล
เดี ย วกั น กั บ รั ฐ บาลในประเทศหนึ่ง ที่ไปดูงาน
ที่ รั ฐ สภาอี ก ประเทศหนึ่ ง ในวั น ที่ ปิ ด ทำการ
ซึ่ ง ต้ อ งเป็ น ผู้ ที่ ป ระสบความสำเร็ จ ในชี วิ ต
อย่างสูงแล้วเท่านั้นจึงจะคิดได้เช่นนี้ ผมเริ่ ม ศรั ท ธาเหล่ า พี่ ๆ ผู้ บ ริ ห ารเหล่ า นี้
มากขึ้น และเริ่มที่จะสังเกตพฤติกรรมของพี่ๆ
เหล่านี้ เพื่ อ จะได้ เ รี ย นรู้ อ ะไรต่ อ มิ อ ะไรจาก
พวกเขาต่อไป ผมสังเกตพฤติกรรมของพวกพี่ๆ และคอย
ปฏิบัติตามไปเรื่อยๆ จนมาถึงพิพิธภัณฑ์ศิลปะ
แห่งหนึ่ง เมื่อมาถึงที่นี่ เหล่าผู้บริหารทั้งหลาย
ก็แยกย้ายกันเดินชมงานศิลปะคนละมุม พี่ๆ
ทุกคนดูซาบซึ้งกับงานศิลปะในพิพิธภัณฑ์นั้น
เป็นอย่างมาก จนผมซึ่งไม่รู้จักงานศิลปะใดๆ
ในนั้ น เลย ทั้ ง ที่ แ ต่ ล ะงานในนั้ น จะเป็ น งาน
ที่มีชื่อเสียงระดับโลกทั้งนั้น เริ่มรู้สึกผิดที่ไม่ได้
รู้สึกซาบซึ้งไปกับเขาด้วย แต่จะทำตามอย่างพี่ๆ
เขาก็ ไม่ได้เพราะไม่รู้เรื่อง ได้แต่คอยเดินตาม
ฟังไกด์บรรยายไปเรื่อยๆ ถ้าผมเตรียมตัวศึกษา
งานศิลปะทั้งหลายก่อนจะมา ผมคงสามารถ
แยกย้ายไปเสพงานศิลปะเหล่านี้อย่างอิ่มเอม
เหมือนเช่นพี่ๆ ผู้บริหารทั้งหลาย ไม่ต้องมาเดิน
ตามฟังไกด์ต้อยๆ แบบนี้ หลังจากดูงานศิลปะเสร็จ เราก็เดินออกมา
จากพิพิธภัณฑ์ จู่ๆ พี่ผู้บริหารสูงสุดก็เอ่ยออก
มาว่า “เฮ้ย พีล่ มื ของไว้ขา้ งในว่ะ เดินกลับเข้าไป
3 0
28_50 edit bacc5.indd 30
12/24/12 3:04:19 PM
กั น ไหม จะได้ ดู ง านศิ ล ปะกั น อี ก รอบ” พี่ ๆ
ผู้ บ ริ ห ารที่ เ หลื อ รี บ โบกไม้ โ บกมื อ ส่ า ยหั ว
แทบไม่ทัน “ไม่เอาแล้วพี่ พอแล้วๆ รูปไรก็ไม่รู้
ไม่รู้จักซักรูป เบื่อ” พูดจบทุกคนก็หัวเราะเฮฮา
ชอบใจกัน… อ้าว!? เฮ้ย! นี่พี่ๆ เขาก็ ไม่รู้จัก
เหมือนเราเหรอเนี่ย แล้วท่าทางการเสพศิลปะ
อย่างรื่นรมย์ที่เราเห็นล่ะ แล้วถ้าพี่เขาไม่รู้จัก
แล้ ว ทำไมไม่ เ ดิ น ตามไกด์ไปฟังเหมือนผมล่ะ
นี่ผมทำอะไรผิดพลาดไปอีกแล้วใช่ไหม! ป่านนี้
คนอื่ น ๆ คงพากั น หั ว เราะเยาะในความโง่
ไร้รสนิยมทางศิลปะลับหลังผมกันใหญ่แล้วสินะ
เป็นเพราะผมไม่รจู้ กั เก็บอาการแบบพีๆ่ เขาแท้ๆ! บทเรี ย นนี้ ท ำให้ ผ มเจ็ บ ใจและพยายาม
หาโอกาสแก้ตัว และแล้วโอกาสก็มาถึงผม เรามาถึ ง งาน World Expo กั น ในตอน
บ่ายๆ ของอีกวัน หลังจากเดินกันได้ไ ม่นาน
เหล่าพี่ๆ ผู้บริหารก็รู้สึกหิว และตกลงกันว่า
จะไปกิ น ข้ า วเย็ น กั น ก่ อ นแล้ ว จึ ง กลั บ มาดู ต่ อ
ในตอนกลางคืนอีกครั้ง เพราะงานเปิดถึงตีสี่ แต่แล้วหลังจากกินมือ้ เย็นกันเสร็จ ก็เป็นไป
ตามคาด ทุ ก คนอิ่ ม และเริ่ ม อยากพั ก ผ่ อ น
จึงแยกย้ายกันไปพัก ผมจึงถือโอกาสนั้นแยกไป
งาน World Expo นี้ต่อโดยบอกกับพี่ๆ เหล่านั้น
ว่าผมยังไม่เหนือ่ ยและไม่มอี ะไรทำ แต่ความจริง
ก็คอื ผมตัง้ ใจจะไปสำรวจทุกอย่างก่อน เพือ่ พรุง่ นี ้ ผมจะได้เป็นคนเดียวในคณะดูงานที่รู้เรื่องใน
งาน World Expo นี้เป็นอย่างดี และโอกาสนี้
แหละที่ผมจะได้ล้างอายจากครั้งที่แล้ว วั น ต่ อ มา คณะดู ง านของเรามาถึ ง งาน
World Expo นี้ตอนเย็นๆ เกือบค่ำ แม้ว่าจะซื้อ
บัตรเต็มวันไปแล้ว เหตุผลก็คอื งานนีม้ กี ารแสดง
นิทรรศการจากหลายๆ ประเทศ และหากเรา
จะเข้ า ไปดู ทุ ก ประเทศ เราคงต้ อ งใช้ เ วลา
มากมายหลายวัน ดังนั้นการมาถึงงานในตอน
เย็นๆ ค่ำๆ นี้จะทำให้นิทรรศการหลายประเทศ
ปิดแล้ว ซึ่งนิทรรศการที่ปิดเร็ว หมายความว่า
คนคุ ม นิ ท รรศการขี้ เ กี ย จ คนขี้ เ กี ย จย่ อ มไม่
เจริ ญ เมื่ อไม่ เ จริ ญ แล้ ว จะจั ด นิ ท รรศการดี
ได้ อ ย่ า งไร และในเมื่ อ นิ ท รรศการมั น ไม่ ดี
แล้วเราจะเสียเวลาดูไปทำไม การที่เรามาถึง
ที่นี่ ใ นตอนเย็ น นั้ น ทำให้ เ ราสามารถคั ด กรอง
นิทรรศการที่ไม่น่าสนใจออกได้เป็นจำนวนมาก
ซึ่ ง แน่ น อนว่ า มั น คื อ สิ่ ง ที่ เ หล่ า พี่ ๆ ผู้ บ ริ ห าร
ได้คำนวณเอาไว้แล้วเป็นอย่างดี และแล้ ว เราก็ ม าถึ ง การแสดงสำคั ญ ของ
งาน ซึ่งผมได้ชมก่อนทุกๆ คนไปแล้วเมื่อวาน
ผมเล่ า ให้ ทุ ก คนฟั ง อย่ า งภาคภู มิ ใ จว่ า มั น คื อ
อะไรและยิ่งใหญ่ขนาดไหนก่อนที่ทุกคนจะได้ดู
ทุ ก คนดู ตื่ น เต้ น ที่ จ ะได้ ช มการแสดงนั้ น
ผมสามารถกู้ ห น้ า ของผมกลั บ มาได้ แ ล้ วโดย
สมบูรณ์ แต่แล้วเมื่อการแสดงเริ่มไปได้เพียงไม่ถึง
ห้านาที เหล่าพี่ๆ ผู้บริหารก็เริ่มออกอาการเบื่อ
เริ่มมีการพูดคุยกันเอง กระสับกระส่ายอยากให้
มันจบเสียทีจะได้ไปทำอย่างอื่น ผมตกใจมาก
นี่มันเกิดอะไรขึ้น มองไปรอบตัวก็ยังเห็นฝรั่ง
ทุกคนนั่งนิ่งตั้งใจดูการแสดงสุดอลังการนี้อย่าง
อิม่ เอม และแล้วในทีส่ ดุ เหล่าพีๆ่ ผูบ้ ริหารเหล่านี้
ก็ ไ ม่ทนดูจนจบ ทุกคนเดินออกมาและบ่นว่า
น่าเบื่อ ความอ่ อ นต่ อ โลกของผมทำให้ ผ มโดน
บรรยากาศรอบตัวหลอกอีกครั้ง เห็นฝรั่งนั่ง
นิ่งๆ ตั้งใจเสพศิลปะ ผมก็หลงเชื่อไปเสียแล้ว
ว่าการแสดงมันดี ทั้งที่พี่ๆ เขาดูแล้วรู้สึกว่ามัน
ยืดยาวและน่าเบื่อ แทนที่จะได้ล้างอาย กลับกลายเป็นตอกย้ำ
ความอ่อนต่อโลกของผมเข้าไปอีก ผมนั่งนับวัน
ที่จะได้กลับเมืองไทยไปพร้อมๆ กับพยายาม
ยัดของที่ช้อปปิ้งมาใส่กระเป๋าใบจิ๋วของตนอย่าง
แสนยากลำบาก การดู ง านต่ า งประเทศช่ า ง
โหดร้ายจริงๆ หากไม่มเี หล่าพีๆ่ ผูบ้ ริหารเหล่านี้
ให้ ผ มคอยเดิ น ตาม ผมคงไม่ รู้ จ ะเอาตั ว รอด
ในวั น ที่ เ หลื อได้ อ ย่ า งไร ขอบคุ ณ พี่ ๆ ที่ ม าก
ประสบการณ์ ขอบคุ ณ ที่ พ าผมมาดู ง านต่ า ง
ประเทศด้ ว ยในครั้ ง นี้ มั น ทำให้ ผ มได้ เ รี ย นรู้
อะไรหลายๆ อย่างเลยทีเดียว ขอบคุณจริงๆ ครับ และจะขอขอบคุณพี่ๆ
มากกว่านี้อีกมาก ถ้าพี่ไม่พาผมมากับพี่!
3 1
28_50 edit bacc5.indd 31
12/24/12 3:04:37 PM
art attack
Tour of Investigation -
Text: Nai-Aun (Columnist)
I had underestimated ‘going abroad
on a tour of investigation’. When I knew that I would have a
chance to go to ‘World Expo’ in Spain,
I was lost in gladness, dreaming of a free
trip. I was reckless and had no suspect
that there would be any hidden harms
behind this trip. No one should
underestimate it, especially me, the one
who has never going abroad on a tour
of investigation before. Actually, I should had been suspicious
before getting on the plane, since my
baggage was obvious smaller than the
other’s. Instead of that, I was arrogant
that I could arrange my baggage better
and did everything reasonably, so I didn’t
have to carry heavy luggage as the
executives I was accompanied. I didn’t
know that there’s nothing inside those
huge luggage except a small bag for
packing necessary things. They brought
the luggage to load what they would buy
when they have free time during this trip.
This is the demarcation between top
executives and inferiors, as me. I forgot
that those top executives would have
much more experiences and get used to
this kind of trip than me. I should observe
and follow them to prevent any
embarrassments that I might do. I had seen many of their wide visions
clearly since the first day we arrived
Spain. Bullfighting ring was the first place
we visited. The place that ‘Matador’
fought fearlessly with the bull as we have
seen on the television since we were
young. Here, we can see the live
fighting with no screen every Sunday.
Unfortunately, the day we got there
wasn’t Sunday, so the ring was closed. You may wonder, since the ring was
closed, then; why we went there.
However, I believe that anyone who had
been as experienced in observation as my
executives would has known the answer
well, as I would understand in a couple
minutes later. They enjoyed taking photos
until I couldn’t restraint myself and had to
participate this activity. We stood to take
photos of the ring’s sign, and then, we did
the same as we sat in front of the
sculptures outside of the ring, and laid
down to take photos on the ground
without any disturbing. That’s the reason
why we came here on the day off.
Because there’s no one cover our view,
there’s no crowd and we could take
many beautiful photos, which we would
be proudly presented afterwards, as many
as we were pleased. This might be the
same reason that the cabinet of a country
went to observe the parliament of
another’s, while it was closed. You must
be the highly top-level to understand
something like this. I began to respect my companions
until I decided to observe their behaviors
for educating myself. I observed and followed them until
we arrived at an art museum. When we
reached there, the executives had
separated to appreciate art pieces.
They seems to be really appreciated
the pieces in that museum until I,
who didn’t know a single name of any
world-classed works, felt a bit guilty.
I couldn’t follow them because of
my ignorance, so I could just listen to
narration from a guide. If I had prepared
myself and studied the profile of the
pieces, I would have been appreciated
as well as the others. I wouldn’t have to
follow the guide as a dog trots like this.
3 2
28_50 edit bacc5.indd 32
12/24/12 3:04:56 PM
After finished seeing the art pieces,
as we’re exiting the museum, a top
executive suddenly exclaimed ‘Oh I
forgot something inside! Should we go
back? So, we can walk around and see
those pieces again.’ The others shook
their heads immediately, ‘No, thanks.
For god sake, I don’t know any of them,
I don’t understand them at all.’ And then,
everyone laughed out loud…So, I wasn’t
the only one who didn’t know any of the
pieces inside. But why the other acted
like they’re so appreciated them? Why
they didn’t listen to the narration as I did.
Did I make another mistake! Now,
everyone would be laughing at the
stupidity and tasteless of mine. These all
because I couldn’t pretend as well as
they did. This lesson was painful. I have to try
again. And finally, I got a chance. We reached the World Expo in the
afternoon of the following day. After
sightseeing for a while, the executives
famished. They decided to go have dinner
and continue the sightseeing later as
the expo opens until 4 a.m. Expectedly, after having dinner,
everyone were full and wanted to take
a rest, so they agreed to took a break for
that day. I decided to go back to the
expo. I told them that I wasn’t tired and
had nothing better to do but in fact,
I wanted to get this chance to be the first
one who had surveyed everything in the
World Expo. Then, I would understand
this expo very well. I wouldn’t do the
same mistake again. Next day, our group reached the
World Expo at dusk, even we’d bought
one-day ticket. A lot of exhibitions were
showed in this expo. It would take
so many days to see them all. But since
we arrived there at dusk, many
exhibitions were closed and the ones
that were closed showed the laziness
of the exhibitors. Laziness isn’t good,
accordingly; their exhibitions didn’t seems
to be good enough to see. Then, why we
should waste our time with them?
We arrived at dusk, so we could cut
plenty of banal exhibitions out. Of course,
my accompanied executives had been
planned these so well. Finally, there’s the time for the most
magnificent show in this expo, which I
had seen since the previous day, I proudly
told everyone about it before the show
began. Everyone got excited to see it.
Seems I could completely retrieve the
situation this time. But my group got bored after the
show had just begun for less than
5 minutes. They started to chitchat and
get frustrated. I was shocked. What
happened!? I looked around, other
foreigners fully appreciative paid
attention to the spectacular show. At last,
my group couldn’t stand until the end,
they exited before the show ends. The surrounding again innocently
deceived me. Just seeing foreigners
paying attention appreciatively on the
show, and I believed that it was great.
Meanwhile, it was too long and too
boring for my companions. Instead of saving my face, this
incident reinforced my stupidity.
I counted down to the day I would
go back home while trying to stuff what
I bought into my tiny baggage. This trip
was so cruel. If I didn’t have my
respectful companions, I couldn’t survive
for the rest of the trip. Thank you my
experienced companions. Thank you for
let me be a part of this trip. I had learned
so many things from this observation. I’m very grateful. But it would be
better if I didn’t come with you!
3 3
28_50 edit bacc5.indd 33
12/24/12 3:05:17 PM
the sketch
Li-Kay Playing นิทรรศการ Good to Walk: ดีที่เดิน ดีไซเนอร์: ศริญญา ลิมป์ทองทิพย์ - เช็กสเปียร์เคยกล่าวไว้ว่าชีวิตเหมือนละคร
และโรงละครก็ เ ปรียบเหมือนกับโลกใบนี้ที่มี
ผู้คนมากมายเป็นตัวละคร สร้างสีสันและเดิน
เรือ่ งราวไปพร้อมๆ กัน แต่ถา้ จะพูดถึงโรงละคร
ที่เชื่อมโยงหรือใกล้ชิดกับวิถีชีวิตคนไทยแล้ว
โรงลิเกน่าจะเป็นตัวเลือกแรกที่คนไทยนึกถึง
เพราะเป็นความบันเทิงแบบง่ายๆ ที่ใครก็เสพ
และสนุกไปด้วยได้ อีกทั้งมีมาช้านานหลายยุค
สมัยจนกระทั่งปัจจุบัน โคมไฟขนาดยั ก ษ์ สี สั น สดใสภายในงาน
นิทรรศการ Good to Walk: ดีที่เดิน จัดแสดง
ที่ ห อศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร
ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม ถึง 12 สิงหาคม
2555 เป็นอีกหนึ่งผลงานที่สะดุดตาใครต่อใคร
ที่ได้เข้าชมนิทรรศการ ด้วยรูปทรงและแสงเงา
จะแวววาวแปลกตา บ่งบอกถึงแรงบันดาลใจ
ที่ได้รับมาจากลิเก ผลงานการสร้างสรรค์ของ
เอิน้ -ศริญญา ลิมป์ทองทิพย์ ดีไซเนอร์สาวรุน่ ใหม่
เจ้ า ของแบรนด์ สิ น ค้ า ตกแต่ ง บ้ า น SRINLIM
ผูม้ เี อกลักษณ์ในงานผ้าและงานปักทีใ่ ช้ลวดลาย
กราฟิกฉูดฉาด ขณะที่คนไทยส่วนใหญ่รู้สึกว่าลิเกเป็นเพียง
การแสดงตามต่างจังหวัดหรือสัญลักษณ์ของ
ความล้าสมัย แต่ศริญญากลับมองเห็นคุณค่า
และความสนุ ก ของศิ ล ปะการแสดงชนิ ด นี้
โดยนำแนวความคิดมาสะท้อนลงไปในผลงาน
ออกแบบเชิงวัตถุ Li-Kay Playing เพื่อปรับ
ทั ศ นคติ แ ละจิ ต สำนึ กให้ ค นไทยได้ รั บ รู้ ค ำว่ า
‘ลิเก’ ในอีกแง่มุมหนึ่งที่เป็นไปในความหมาย
เชิงบวกมากขึน้ เพราะแม้ความโดดเด่นของลิเก
จะอยู่ที่เครื่องแต่งกายสีสันฉูดฉาด รูปทรงของ
เพชรซีก รวมไปถึงการร้อยเรียงเครื่องประดับ
บนร่ า งกายและศี ร ษะที่ ห รู ห ราแบบเว่ อ ร์ ๆ
แต่ ก ารนำเสนอกลั บ เป็ น รู ป แบบที่ เ รี ย บง่ า ย
Installation of Li-Key Playing
แสดงถึ ง ความน่ า รั ก ซื่ อ และความจริ ง ใจ
ทีซ่ อ่ นอยู่ ให้ความบันเทิงกับผูค้ นในยามพักผ่อน
โดยไม่ต้องมีพิธีรีตอง ใครจะมายืนดู นั่งเก้าอี้
หรื อ นั่ ง พื้ น ดู ลิ เ กก็ พ ร้ อ มที่ จ ะต้ อ นรั บ ทุ ก คน
บ่งบอกถึงความเป็นคนง่ายๆ และสนุกสนาน
ของคนไทยได้ชัดเจน นอกจากนี้ Li-Kay Playing ยังเพิ่มความ
สนุ กได้ ม ากกว่ า นั้ น ด้ ว ยการใช้แสงเงาเข้ามา
สร้ า งปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู้ ช มกั บ ชิ้ น งาน
โดยดี ไซเนอร์สาวออกแบบให้แสงเงาสะท้อน
ความแวววาวของเครื่ อ งประดั บ และชุ ด ลิ เ ก
ลงมาตกกระทบเป็นลวดลายบนร่างกายของผูช้ ม
เสมือนว่าแต่ละคนได้สวมชุดลิเกเข้าร่วมแสดง
ในโรงละครขนาดย่อมของตนเอง ก่อเกิดเป็น
ผลลัพธ์ที่สมบูรณ์
หมายเหตุ นิทรรศการ Good to Walk: ดีที่เดิน ดำเนินงานโดย ฝ่ายนิทรรศการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
Sketch of Li-Key Playing
3 4
28_50 edit bacc5.indd 34
12/24/12 3:05:42 PM
Li-Kay Playing in Good to Walk Exhibition Designer: Sarinya Limthongtip - Life is like a play. As Shakespeare
wrote that “All the world is a stage and
all the men and women merely players”.
But if we would like to say about a kind of
play which is related to Thai life,
Likay might be the first one we think of
because it is Thai traditional dramatic art
with long history. A colorful giant lamp, a distinctive
object in Good to Walk exhibition that
was held at Bangkok Art and Culture
Centre from 31 May to 12 August 2012,
is inspired from Likay with its color and
shimmer. It was created by Sarinya
Limthongtip, young designer who is the
owner of SRINLIM, a brand of home decor
item with unique embroidery patterns. To date, while Thai people mostly
recognize Likay as an out-of-date folk
performance in countryside, Sarinya sees
its aesthetic value and passes it through
her object design ‘Li-Kay Playing’.
She aims that Thai people’s attitude
towards Likay could be more positive as
they join this exhibition. Although Likay’s
costume, cut diamond shape and jewelry
on the body and head of player are
colorful and super luxury, its presentation
is very simple and sincere to welcome
everyone to enjoy in casual way.
It obviously presents easy-going
personality of Thai people. In addition, young designer adds
more fun to her Li-Kay Playing with
light and shadow design to create
interaction between the work and
the viewers. All these sparkling costumes
and jewelry reflect their shadow to draw
Likay’s pattern on the viewers’ bodies
as if they are wearing Likay’s costumes
and participating in a small theatre.
That makes complete result of the work.
3 5
28_50 edit bacc5.indd 35
12/24/12 3:06:01 PM
art exhibition
เรื่อง: อัญวรรณ ทองบุญรอด 1
ไทยเท่ จากท้องถิ่นสู่อินเตอร์ ในยุคแห่งการสื่อสารไร้พรมแดนและการ
ก้ า วข้ า มทางวั ฒ นธรรม แม้ จ ะมี ศิ ล ปะของ
หลากหลายชนชาติทั่วโลกให้เลือกเสพ แต่ราก
เหง้ า ของศิ ล ปะไทยก็ ยั ง คงยื น หยั ด อยู่ ด้ ว ย
คุณค่าในตัวเองจนเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง
ในระดับโลก ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขัน บนเวที
นานาชาติ หรือศิลปินไทยหลายคนที่ไปสร้างชื่อ
สร้างผลงานในต่างประเทศอยู่บ่อยครั้ง กรุ ง เทพมหานคร โดยสำนั ก วั ฒ นธรรม
กีฬา และการท่องเที่ยว จึงร่วมกับหอศิลป-
วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร จัดนิทรรศการ
‘ไทยเท่ จากท้องถิ่นสู่อินเตอร์’ เพื่อนำเสนอ
ศิ ล ปกรรมไทยอั น น่ า หวงแหนเหล่ า นั้ น ให้ ค น
ไทยได้เห็นถึงความสวยงามของศิลปวัฒนธรรม
ในชนชาติของตนเองตั้งแต่ดั้งเดิมสู่ความร่วม
สมัย และเกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
ด้วยการรวบรวมผลงานศิลปะไทยกว่า 300 ชิ้น
ทั้ ง จิ ต รกรรม ประติ ม ากรรม ภาพพิ ม พ์
ภาพถ่ า ย วิ ดี โ อ งานจั ด วาง และศิ ล ปะแนว
ทดลอง ของศิ ล ปิ น ที่ อ ยู่ ใ นช่ ว งรั ช สมั ย ของ
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 9
เกือบ 300 ท่าน ตั้งแต่บรมจารย์อาวุโสจนถึง
รุ่นปัจจุบัน อาทิ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี,
เฟื้อ หริพิทักษ์, อังคาร กัลยาณพงศ์, เหม
เวชกร, ประเทือง เอมเจริญ, ถวัลย์ ดัชนี,
เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์, ถาวร โตอุดมวิทย์,
ประที ป คชบั ว , อารยา ราษฎร์ จ ำเริ ญ สุ ข ,
ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล
นอกจากนี้ ยังมีศิลปินต่างชาติร่วมแสดง เช่น
Niro Yogota, Theo Meier, Raden Basuki,
Elizabeth Romhild และ Varsha Nair โดยชิ้น
งานต่างๆ ที่มาจัดแสดงได้รับการคัดสรรโดย
ศ.ดร.อภินัน ท์ โปษยานนท์ กรรมการมูลนิธิ
หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร
และภั ณ ฑารั ก ษ์ ผู้ มี ชื่ อ เสี ย งในระดั บ สากล
ร่ ว มด้ ว ยที ม ภั ณ ฑารั ก ษ์ ชั้ น แนวหน้ า คื อ
คุ ณ ลั ก ขณา คุ ณาวิ ช ยานนท์ , คุ ณ เสริ ม คุ ณ
คุณาวงศ์, คุณกฤติยา กาวีวงศ์, คุณ ปกรณ์
กล่อมเกลี้ยง และ คุณนิกันต์ วะสีนนท์ จะเรี ย กว่ า นี่ เ ป็ น นิ ท รรศการศิ ล ปะครั้ ง
สำคัญที่สุดในรอบทศวรรษแห่งประวัติศาสตร์
ศิ ล ปะไทยเลยก็ ว่ า ได้ เพราะมี จ ำนวนและ
ประเภทชิ้ น งานมากที่ สุ ด จำนวนศิ ล ปิ น มาก
ที่ สุ ด และใช้ พื้ น ที่ จั ด แสดงผลงานมากที่ สุ ด
อี ก ทั้ ง งานบางชิ้ น ก็ ยั ง เป็ น งานเก่ า หายาก
หรื อ เป็ น ของสะสมส่ ว นบุ ค คลที่ ไ ม่ ค่ อ ยนำ
ออกมาจัดแสดงให้สาธารณชนได้ชม ทั้งหมด
แบ่ ง ตามแนวเรื่ อ ง 9 กลุ่ ม เริ่ ม ด้ ว ย ‘การ
แสวงหาความเป็ น ไทย’ นำเสนอมุ ม มอง
ของศิลปิน ที่มีความคิดเกี่ยวกับความเป็นไทย
ต่ อ ด้ ว ย ‘แรงบั น ดาลใจจากพุ ท ธศาสนา’
เชื่ อ มโยงศิ ล ปิ น กั บ พุ ท ธศาสนา โดยเฉพาะ
งานจิ ต รกรรมฝาผนั ง สำคั ญ ในสถานที่ ต่ า งๆ
จาก 4 สกุลช่าง และ ‘พื้นที่ทางสังคมและการ
อุ ป ถั ม ภ์ ศิ ล ปะ’ แสดงพั ฒ นาการของวงการ
ศิลปะเมืองไทย รวมไปถึงผู้มีบทบาทสำคัญจาก
ภาคส่วนต่างๆ ในการสนับสนุนศิลปะให้มีพื้นที่
3 6
28_50 edit bacc5.indd 36
12/24/12 3:06:07 PM
ทางสังคมมากขึ้นด้วยรูปแบบและวิธีการต่างๆ จากนั้นเข้าสู่ ‘จินตนาการกับความเหนือ
จริง’ ด้วยผลงานซึง่ มีทมี่ าจากความลีล้ บั มายาคติ
กับความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่กว้าง
ไกลไร้ ข อบเขตของศิ ล ปิ น ‘นามธรรมและ
ปั จ เจกชน’ จั ด แสดงผลงานแนวนามธรรม
ของศิลปินซึ่งมีแนวคิดและความตั้งใจที่ชัดเจน
ในการสื่อถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยรูปแบบ สีสัน
ลายเส้น ตลอดจนการใช้วัสดุที่สะท้อนความ
เป็นตัวตนหรือเอกลักษณ์ของศิลปิน โดยผู้ชม
สามารถตี ค วามได้ อ ย่ า งอิ ส ระตามทรรศนะ
ที่แตกต่าง ในขณะที่ประเภทผลงานซึ่งดูเหมือน
จะดุเดือดทางความคิดที่สุดนั้นน่าจะเป็น ‘การ
ต่อสู้ทางการเมืองและสังคม’ โดยแสดงออก
ถึงความรู้สึกนึกคิดต่อสังคมการเมืองของไทย
จากมุ ม มองของศิ ล ปิ น ที่ เ ริ่ ม มี ค วามชั ด เจน
มากขึ้นตั้งแต่ช่วงปี 2516-2519 ยุคที่คนตุลา
ยังคงจำได้ดีไม่รู้ลืม ‘เพศสภาพและความเป็ น ชายขอบ’ คื อ
อี ก กลุ่ ม งานสร้ า งสรรค์ ที่ ส ะท้ อ นสั ง คมใน
ปัจจุบันได้ดีเช่นกัน แต่มักไม่ค่อยมีผู้กล่าวถึง
เพราะนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับเพศ โดยเฉพาะ
เพศที่ 3 ซึ่งจัดเป็นกลุ่มคนที่ไม่ค่อยได้รับความ
สนใจ เรี ย กได้ ว่ า คนชายขอบ โดยเมื่ อ ดู ใ น
มุ ม มองของศิ ล ปิ น แล้ ว จะเห็ น ได้ ว่ า ถ่ า ยทอด
ความคิดที่มีต่อเรื่องเหล่านี้ได้อย่างน่าดูมากๆ
ผ่ า น ก า รใ ช้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ที่ สื่ อ ถึ ง เ พ ศ เ พื่ อ
สร้ า งสรรค์ ง านศิ ล ปะอย่ า งมี เ อกลั ก ษณ์
เฉพาะตัว ขณะที่ ‘จากท้องถิน่ สูอ่ นิ เตอร์’ เน้นไป
ที่ผลงานศิลปินไทยที่ไปสร้างชื่อเสียงในระดับ
โลก ไม่ว่าจะเป็นผลงานเข้าร่วมประกวดหรือที่
ได้รับรางวัลต่างๆ รวมไปถึงผลงานที่ได้รับเชิญ
ให้ไปจัดแสดงยังต่างประเทศ ผู้เข้าชมงานจะได้
เห็ น พั ฒ นาการทางศิ ล ปะของไทยที่ แ ม้ จ ะใช้
แนวคิดหรือวัสดุแบบพื้นบ้าน แต่เทคนิคการนำ
เสนอนั้นร่วมสมัยเป็นแบบสากล ไม่แพ้ผลงาน
ประเภทสุดท้ายที่ชื่อว่า ‘ศิลปะทดลองและสื่อ
ทางวัฒนธรรม’ ซึ่งใช้สื่อหลากหลายประเภท
มานำเสนอให้ เ รารู้ สึ ก น่ า ทึ่ ง ได้ เ ช่ น เดี ย วกั น
ทั้ ง ความท้ า ทาย ความคิ ด ริ เ ริ่ ม และความ
สร้างสรรค์เชิงทดลอง ทว่าองค์ประกอบของ
ชิ้นงานกลับสร้างความแปลกใหม่ได้เป็นอย่างดี
ให้ ผู้ เ ข้ า ชมงานไม่ เ พี ย งได้ เ ห็ น ถึ ง ความเป็ น
ไปได้ที่ไม่มีขีดจำกัดของงานศิลปะ แต่ยังจุดไฟ
แห่งความคิดสร้างสรรค์ในตัวของแต่ละบุคคล
2
ก่อเกิดเป็นแรงบันดาลใจและคุณค่าต่อไปอีก
ไม่รู้จบ เหล่านี้เป็นเพียงตัวอย่างของความเป็นไทย
ที่ถ่ายทอดในมุมมองและความรู้สึกนึกคิดของ
ศิลปิน ซึ่งสำหรับผู้ชมแล้ว อาจมีการตีความ
ที่ แ ตกต่ า งไปตามมุ ม มองและประสบการณ์
แต่ก็ถือเป็นโอกาสที่ดีที่จะได้เรียนรู้ถึงมิติทาง
ความคิดทั้งเชิงกว้างและลึกผ่านงานศิลปกรรม
เพราะการนั่งท่องจำเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
เพียงอย่างเดียวอาจไม่ช่วยให้เราซึมซับความ
เป็นไทยได้มากเท่าที่ควรจะเป็น การหันมาใส่ใจ
ภูมิใจ และช่วยกันสืบสานสมบัติทางวัฒนธรรม
ของชาติต่างหากที่สะท้อนว่าเรามีความเป็นไทย
ในตัวมากเพียงใด
1 2
อารยา ราษฎร์จำเริญสุข ประสงค์ ลือเมือง
ไทยเท่ จากท้องถิ่นสู่อินเตอร์ นิทรรศการไทยเท่ จากท้องถิ่นสู่อินเตอร์ จัดแสดงที่ชั้น 3, 4, 5, 7, 8 และ 9 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม–4 พฤศจิกายน 2555 ร่วมด้วย การจั ด เสวนาพู ด คุ ย กั บ นั ก วิ ช าการและศิ ล ปิ น ที ่ ม ี ช ื ่ อ เสี ย ง เพื ่ อ เรี ย นรู ้ แ นวโน้ ม ต่ า งๆ ของศิ ล ปะไทยในจุ ด เปลี ่ ย นของ ช่วงเวลาสำคัญต่างๆ
3 7
28_50 edit bacc5.indd 37
12/24/12 3:06:10 PM
art exhibition
Thai Trends from Localism to Internationalism -
Story: Aunyawan Thongboonrod
In the age of boundless communi-
cations and intercultural growth
nowadays, Thai art still stand on its own
value among a variety of art and culture
of many countries. With strong origin,
Thai art has been globally accepted
as we often see Thai artists in many international competitions and exhibitions. Bangkok Metropolitan Administration
(BMA) by the Culture, Sports, and Tourism
Department announces ‘Thai Trends from
Localism to Internationalism’ to promote
Thai art from traditional forms to
contemporary innovation so that Thai
people will have more pride in their own
identities. The exhibition displays more
than 300 artworks of various fields
including painting, sculpture, print,
photograph, video art, installation and
experimental art created by over 300
renowned senior and emerging artists in
the reign of His Majesty King Bhumibol
Adulyadej such as Professor Silpa Bhirasri -the father of modern art in Thailand
and the founder of Silpakorn University,
Fua Haribhitak, Anghan Kalayanapongs,
Hem Vejakorn, Pratuang Emjaroen,
Thawan Dachanee, Chalermchai
Kositpipat, Thavorn Ko-Udomvit, Prateep
Kochabua, Araya Rasdjarmrearnsook,
Rirkrit Tiravanija, Apichatpong
Weerasethakul, as well as expatriate
artists such as Niro Yogota, Theo Meier,
Raden Basuki, Elizabeth Romhild and
Varsha Nair. All of artistic creations on
display during the exhibition have been
meticulously selected by Professor
Dr. Apinan Poshyananda, Committee of
Bangkok Art and Culture Centre
Foundation, and an internationally
renowned academic and curator,
together with a team of highly-
regarded curators comprising Luckana
Kunavichayanont, Sermkhun Kunawong,
Gridthiya Gaweewong, Pakorn Klomkliang
and Nikan Wasinondh. This can be called the ‘ultimate’
art exhibition in the country with
the largest number and types of art works,
the largest number of artists and also
the largest exhibition area. In addition,
some art works belong to private collectors
so they are not often seen in the public.
There are 9 different themes. Let’s start
with the first theme, ‘Search of Thai
Identities’ which portrays the artists’
perspectives of Thainess through different
forms of presentation in terms of contents
and techniques. Then, the second theme
‘Inspiration from Buddhism’ presents
the bond and connectedness between
artists and Buddhism, especially unique
characteristics of each of four sets of
prominent mural paintings. And, the third
theme ‘Social Space and Patronage’
documents the development of the
artistic circle in Thailand, with prominent
figures from different sectors who provide
various types of support that yield more
space in society for arts and artists. Further, ‘Fantasy and ‘Sur’ reality’
guides us to see art works inspired by
local myths, folk tales and artists’
imagination that know no boundaries
while the theme ‘Abstraction and
Individualism’ boasts abstract works
through which each of the artists have
clearly intended to convey certain issues.
The artists used the patterns, colors,
drawings, and materials to reflect their
identity and uniqueness, resulting in
abstract works that await viewers’ liberal
interpretations. For the theme ‘Socio
Political Struggle’, it is considered as the
most aggressive one because it expresses
artists’ perspectives of the Thai social and
political arena, which have become more
3 8
28_50 edit bacc5.indd 38
12/24/12 3:06:12 PM
These are just some samples of
artworks in the exhibition which show
Thai identities through the artists’
perspectives. Not necessary to be the
same as our interpretation, this exhibition
is the best opportunity for us to learn
about whole dimensions of ideas through
the art. Also, learning Thai history by
reading and memorizing only cannot help
us to understand the whole concept of
Thai identities but it is actually the pride
and inheritance which reflects that
clearly.
1 2
ชาติชาย ปุยเปีย สุเชาว์ ศิษย์คเณศ
2
1
vivid during 1973-1976 and until now. ‘Gender and Marginality’ is another
creative theme that reflects society today
with the stories of the gender or a group
of individuals who do not usually receive
attention from others like those with
homosexuality. With the artists’
conclusion that they are on the edge of
society, the artworks are presented with
symbolism of sexuality. The theme
‘Locality and International Limelight’
exhibits creations of the Thai artists who
have gained recognition on an
international level, with awards from an
overseas events or an invitation to have
an exhibition abroad to guarantee
their fame. The viewers will see the
development of Thai artworks that are
created with the local concept or
materials, but with an international
modern technique or presentation.
Finally, the theme ‘Experimental Art
and Media Culture’ is focused on a new
media and concept which involve
experimenting with different forms
and techniques of presentation, and use
of various media as components of art
process and production.
ไทยเท่ จากท้องถิ่นสู่อินเตอร์ Thai Trends from Localism to Internationalism exhibition is organized on the 3rd, 4th, 5th, 7th, 8th and 9th Floors of Bangkok Art and Culture Centre (bacc) from August 30 to November 4, 2012. There were talk forums with renowned academics and artists every Saturday from September 8 onwards for the audience to learn about various trends of the Thai arts at different major turning points. Free Admission!
3 9
28_50 edit bacc5.indd 39
12/24/12 3:06:16 PM
bacc music
บทเพลงและคำพูด ของ บรูซ แกสตัน เรื่อง: สายสุดา ประเสริฐ
Bruce Gaston
บ่ายวันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม 2555 ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 ของหอศิลป-
วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ดูแน่นถนัดตาไปด้วยคนรักดนตรีที่มาที่นี่เพื่อฟัง
ถ้ อ ยคำและมาชมการแสดงของครู ด นตรี แ ละศิ ล ปิ น ที่ ชื่ อ บรู ซ แกสตั น ในงาน
‘เคาะกะโหลก โขกกะลา ประสา Bruce Gaston’ ซึ่งเป็นการเสวนาดนตรีครั้งแรก
ของโครงการ Bangkok Music Forum ของหอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง
กรุ ง เทพมหานคร จั ด ขึ้ น เพื่ อ รณรงค์ ใ ห้ ชุ ม ชนรู้ รั ก ศิ ล ปะ และเกิ ด การสนทนา
แลกเปลี่ยนระหว่างศิลปินกับประชาชน โดยในแต่ละครั้งที่จัดขึ้นจะมีการนำเสนอ
ศิ ล ปิ น ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ แ ตกต่ า งกั น ทั้ ง ในเรื่ อ งของแนวความคิ ด หรื อ แม้ ก ระทั่ ง
รู ป แบบของการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานของตั ว ศิ ล ปิ น เป็ น การเปิ ด ประสบการณ์
และถ่ายทอดความรู้ แนวคิด มุมมองด้านดนตรีแก่ผู้ร่วมรับฟัง
บ่ายวันนั้น หลังจากการแสดงดนตรีเปิดเวทีจากเหล่าลูกศิษ ย์ ในช่วงแรกของงาน อาจารย์บรูซ
แกสตัน นักดนตรีชาวอเมริกันที่ได้มาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานานหลายสิบปี ได้เล่าถึง
เรื่องราวชีวิต ประสบการณ์ และที่มาที่ไปของการเริ่มสนใจในดนตรีไทยด้วยความเป็นกันเอง โดยมี
สื่อมวลชนมืออาชีพอย่าง อนันต์ ลือประดิษฐ์ เป็นผู้ดำเนินรายการ “ผมมาประเทศไทย แล้วก็ประทับใจดนตรีไทย แต่ว่ามี 2 อย่างที่เป็นความท้าทายในจิตใจของผม
หนึ่ง ผมอยากจะรู้ถึงเพลงโบราณที่กำลังจะสูญหายไป ผมโชคดีได้เจอครูบุญยงค์ เกตุคง และครูบา
อาจารย์อีกหลายท่านที่ยังมีวิชาดนตรีไทยที่กำลังสูญหายไป โดยเฉพาะเพลงยาวๆ ที่สูญหายไปจาก
ระบบใหม่ ทั้งวิทยุก็ดี โทรทัศน์ก็ดี ยูทูบก็ดี แต่เพลงของไทยโบราณเป็นเรื่องที่มีค่ามาก แล้วก็เป็นการ
แสดงถึงความคิดที่ลึกซึ้ง และละเอียดอ่อน” อ.บรูซเล่าถึงที่มาที่ไปของการเริ่มต้นสนใจในดนตรีไทย
เขาเป็ น หนึ่ ง ในผู้ ก่ อ ตั้ ง วงดนตรี ที่ ชื่ อ ว่ า
‘ฟองน้ ำ ’ ร่ ว มกั บ ครู บุ ญยงค์ เกตุคง ตั้งแต่
พ.ศ. 2522 โดยนำเสนอดนตรีไทยเดิมมาผสม
ผสานกับดนตรีแบบตะวันตก ยึดเอาแก่นความคิด
ดนตรีของทั้งสองฟากมาผสมผสานด้วยกลวิธี
ต่างๆ “ตอนนั้นการเอามรดกของไทยมาทำเป็น
ศิลปะจริงจัง หรือที่เราเรียกว่างานร่วมสมัย
ก็หายากเหมือนกัน ส่วนใหญ่การสร้างเพลง
ขึ้ น มาจะอยู่ ภ ายใต้ แ นวคิ ดโบราณของครู บ า
อาจารย์ ยังไม่มีสิ่งใหม่ที่ครูไม่ได้คิด แล้วโลกนี้
ยังไม่เคยได้ยินมาก่อน แต่เป็นสิ่งที่เรารู้ว่าเป็น
ของไทยแท้ ไม่ใช่ว่าเล่นเครื่องดนตรี ไทยนิดๆ
หน่อยๆ เอาเพลงทำนองแล้วก็มาเรียบเรียงเป็น
สไตล์ฝรั่ง แต่ว่าเป็นการใช้รายละเอียดของวิชา
ที่จะสร้างอะไรใหม่ขึ้นมาให้ร่วมสมัย วงฟองน้ำ
ก็เลยเป็นสิ่งที่ผมเลือกทำ ทำไปทำมากลายเป็น
ว่าผมเป็นนักแต่งเพลงไทย แต่งเพลงฝรัง่ ไม่เป็น
เสียแล้ว” ครูบรูซกล่าวถึงการสร้างสรรค์งาน
ดนตรีไทยในยุคสมัยที่ผ่านมา อีกช่วงหนึ่งที่น่าสนใจมากๆ คือช่วงที่มีการ
พูดคุยถึงเรื่องการศึกษา อ.บรูซในฐานะที่เป็น
ครู ไ ด้ แ สดงความเห็ น ถึ ง แวดวงการศึ ก ษาไว้
อย่ า งตรงไปตรงมาจนเรี ย กเสี ย งฮื อ ฮาจาก
คนฟังได้ “อย่าว่าแต่ดนตรีไทย ดนตรีสากลก็ดี หรือ
สาขาอื่นๆ เรากำลังตกอยู่ในระบบที่กระดาษ
มั น สำคั ญ กว่ า ความสามารถ โรงเรียนก็ขาย
ปริญญา นักเรียนก็ซื้อปริญญา ทั้งโรงเรียน
ทั้งนักเรียนไม่รู้เรื่องอะไรเลย แต่ฉันมีกระดาษ
พิสูจน์ว่าฉันมีวุฒิ อันนี้ระบาดในประเทศไทย
ทุ ก ขั้ น ตอน ตั้ ง แต่ โ รงเรี ย นเล็ ก ๆ จนถึ ง
มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง นี่ เ ป็ น เรื่ อ งที่ เ รา
จะต้องระวัง แก้ไข มันเป็นระบบทุนนิยมที่ใช้
แลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ เงิน ทอง มากกว่า
ทีจ่ ะแลกเปลีย่ นจิตใจ หรือประสบการณ์ความรู้
จากผู้ที่เคยผ่านมาแล้วมีความรู้ให้” เมือ่ จบช่วงการพูดคุยแล้ว ก็ถงึ คิวการแสดง
ชุด อานาปานสติ ซึ่งเป็นการแสดงที่ อ.บรูซ
ประพันธ์ขนึ้ จากสิง่ ทีเ่ รียนรูม้ าจากท่านพุทธทาส-
ภิ ก ขุ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งลมหายใจ เป็ น การแสดง
ที่ถ่ายทอดแนวคิดด้านพุทธศาสนาผ่านศิลปะ
การเคลื่อนไหวร่างกายจากนักแสดง 2 ท่าน
ผสานกับเทคนิคการเล่นเงาประกอบการแสดง
4 0
28_50 edit bacc5.indd 40
12/24/12 3:06:20 PM
เปี ยโนโดยครู บ รู ซ และนั ก เป่ า ฟลุ ต ซึ่ ง สร้ า ง
ความประทับใจให้กับผู้ชมและแสดงถึงความ
สนใจในเรื่องปรัชญาและศิลปะอันหลากหลาย
ของครูดนตรีท่านนี้ได้เป็นอย่างดี จากนั้นเป็นการพูดคุยกับลูกศิษ ย์ อ.บรูซ
ซึ่งประกอบไปด้วย อ.อานันท์ นาคคง (คณะ
ดุรยิ างคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร), อ.ไกวัล
กุลวัฒโนทัย (นักประพันธ์ดนตรี ผู้ควบคุมวง
คณะนั ก ร้ อ งประสานเสี ย งสวนพลู ค อรั ส ),
รศ.จารุณี หงส์จารุ (ภาควิชาศิลปะการละคร
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
และ อ.บุญรัตน์ ศิริรัตนพันธ (วิทยาลัยดนตรี
มหาวิทยาลัยรังสิต) ทั้งหมดมาร่วมแลกเปลี่ยน
มุมมองและเล่าเรื่องราวความประทับใจที่ตน
มีต่ออาจารย์ท่านนี้ บรรยากาศดำเนินไปด้วย
ความเป็นกันเอง ช่วงหนึง่ อ.อานันท์ยงั กล่าวถึง
ความเป็นครูของ อ.บรูซเปรียบเทียบกับหลายๆ
มิติ และหลายๆ ถ้อยคำ โดยยกให้ท่านเป็นทั้ง
ฤๅษี, วิทยาธร, มุนี, ดาบส และ อุปัชฌาย์ “ความหมายในทางบาลี อุปัชฌาย คือการ
สอนอาชีพ ไม่ได้สอนไปทำมาหากินอย่างเดียว
แต่ ว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ เ ป็ น อาชี พ แล้ ว มั น เป็ น ความ
เจริญของชีวิตด้วย คือเราเลือกที่จะเดิน ทาง
บนเส้นทางดนตรี ก็มีท่านเป็น อาจารย์ หรือ
คำว่า อาจาริยะ คือสอนในสิ่งที่มันเป็นจริยะ
สิ่ ง ที่ เ ป็ น คุ ณ งามความดี ไม่ ใ ช่ ส อนศี ล ธรรม
แบบที่ท่านจะมาพูดในเรื่องของศีลธรรมจรรยา
แต่ ว่ า เป็ น การสอนคุ ณ งามความดี ที่ ถ่ า ยทอด
ด้ ว ยงานศิ ล ปะของท่ า น” อ.อานั น ท์ ก ล่ า วถึ ง
ความเป็นครูของ อ.บรูซ ด้วยน้ำเสียงชื่นชม จนเวลาล่วงเลยมาถึงช่วงสุดท้ายของงาน
เป็นช่วงที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่เข้าร่วมฟังการเสวนา
ครั้งนี้ได้ซักถามข้อสงสัย ซึ่งนับว่าสร้างสีสัน
ให้ ง านนี้ ม ากที เ ดี ย ว มี ค ำถามที่ น่ า สนใจจาก
ผู้ชมในงาน โดยถามว่า “ศิลปะที่เราว่าเป็น
ความมืด ตรงนีเ้ ราจะทำให้มนั สว่างในสังคมไทย
ได้อย่างไร?” “อย่างที่ผมคิดเสมอ ถ้าเกิดเราคิดว่าจำเป็น
ต้องมีความสว่าง เราก็จะไม่คน้ ต่อไป” อ.บุญรัตน์
เอ่ยตอบ “ถ้าเรารูส้ กึ ว่ามันยังมืดอยูแ่ ปลว่าโอเค
เราเจอจุดหนึง่ ทีม่ นั สว่าง แต่ความมืดมันยังมีอยู่
เวลาเราดู ห นั ง การ์ ตู น ญี่ ปุ่ น ‘สู้ ต่ อไปทาเคชิ ’
คล้ายๆ อารมณ์นนั้ มันยังมีอะไรให้ทำอยู่ มันไม่มี
ทางสว่างหรอก” “อยากให้มองว่า เวลาเราสร้างงานศิลปะนี่
นักสร้างศิลปะเป็น นักแสวงหา เปรียบเทียบ
Overture from Bruce’s students
เหมือนกับความมืด แต่เมือ่ คุณสร้างอะไรออกมา
แล้วเห็นแสงสว่างของสิ่งนั้น ทีละนิดๆ สมมติ
คุ ณ แต่ ง เพลงเพลงหนึ่ ง จากอากาศ คุ ณ ไม่ รู้
หรอกว่าคุณจะแต่งอะไร ตัง้ แต่คณ ุ เริม่ ได้ไอเดีย
จนกระทั่งเพลงนั้นเป็นรูปเป็นร่าง มันเป็นความ
สว่ า งของคุ ณ ตรงจุ ด นั้ น ” อ.ไกวั ล ช่ ว ยเสริ ม
บรรยากาศเป็ น ไปอย่ า งสนุ ก สนานในการ
แลกเปลี่ยนความเห็น จน อ.บรูซ ก็อดไม่ได้
ต้ อ งขอร่ ว มตอบอี ก คน “ถ้ า จะมี ชี วิ ต มั น ต้ อ ง
หายใจเข้าหายใจออก ต้องมีสว่างแล้วก็มีมืด
แล้ ว เราอยู่ ต รงกลาง แล้ ว เราต้ อ งอยู่ ไ ด้ ” ปรมาจารย์ด้านดนตรีตอบปิดท้ายคำถามนี้ หลั ง จากการพู ด คุ ย ในงานเสร็ จ สิ้ น ลง
เชื่ อ ว่ า ความเป็ น ศิ ล ปิ น และความเป็ น ครู ใ น
หลายๆ มิ ติ ข อง อ.บรู ซ และครู อ าจารย์
อี ก หลายคนบนเวที วั น นั้ น น่ า จะจุ ด ประกาย
เป็ น แรงบั น ดาลใจให้ กั บ ผู้ ช มที่ ม าร่ ว มงาน
และจะถูกส่งต่อๆ ไปยังคนที่รักดนตรี รักศิลปะ
และรักในการศึกษาต่อไปอย่างแน่นอน
Ana Panasati
4 1
28_50 edit bacc5.indd 41
12/24/12 3:06:24 PM
bacc music Bruce Gaston and Anan Luepradit
Bruce Gaston’s music and saying -
Story: Saisuda Prasert
In the afternoon of 21st July 2012, bacc’s auditorium on the
5th floor was crowded around by music lovers, gathering here
to listen and see the performance of the music master and
artist, Bruce Gaston. ‘Knock the head, hit the shell conducted
by Bruce Gaston’ is the first talk in Bangkok Music Forum
Project at bacc, created to open sharing space between artists
and people and encourage art awareness in community. Each
occasion, there would be variety of remarkable ideas and forms
of art from several characteristic artists. This project is a space
for the audiences to widen their experiences and recognize
knowledge, concepts and perspectives from the artist.
After the overture from his students, Ajarn Bruce Gaston, an American musician
who has been in Thailand for decades, had cordially shared his stories and experiences,
including how he got interested in Thai music. At the meantime, Mr. Anan Leupradit
served professionally as a moderator. “I came to Thailand and deeply impressed by Thai music. There were 2 challenges
within my heart. Firstly, I wanted to get to know rare old-fashioned songs. Luckily, I had
met Ajarn Boonyong Kethkong and many other masters. All of them are the experts of
Thai music, especially Thai octameter poem, which were rarely to be heard as we couldn’t
find them on the radio, television or even in Youtube. Those are valuable traditional
music, resounding deeply and touchy thinking.
He’s one of the founder of ‘Fong-
Naam’ band, together with Ajarn
Boonyong Kethkong, in 1979. They
combined traditional Thai songs with
western music, mixed different concepts
in several ways. “It’s hard to find contemporary art
works, adapted from traditional Thai art
at that time. Mostly, our songs came from
the traditional concepts of respectful
masters. There’s nothing new, nothing
different from what we had heard, but
it’s genuine. We didn’t try adding just
a few sounds of Thai music instruments
or rearranging them into western style.
We did it seriously, we gathered every
details to create contemporary style.
That’s the reason I decided to do ‘Fong-
Namm’ band. And unexpectedly, now,
I can only compose Thai music, I can’t do
that with western music anymore.”
He talked about creating Thai music in
that period. Another interesting session is when he
talked about educational issue. This
speech became a focus as Bruce showed
his opinions openly as a teacher. “We’re in the system that a piece of
paper becomes more important than
skills, not only in the field of Thai music.
Even in western or any other fields,
academic institutes are selling the
diploma to their students. Those students
got diplomas but have no knowledge or
any skill at all. This is the disease infecting
in every step of academic system in
Thailand, from small schools to famous
universities. We have to be aware and
fix it quickly. This is a result of capitalism.
It became money and economic sharing,
instead of mind or knowledge or
experience sharing as it should be.”
4 2
28_50 edit bacc5.indd 42
12/24/12 3:06:26 PM
After the talk session had been
finished, it’s the time for the performance
called ‘Ana Panasati’. Ajarn Bruce
composed this piece inspired by what
he had learnt about breathing from
Buddhadasa Bhikkhu. This performance
showed the Buddhist concepts through
the body movements of a pair of
performers, combined with light and
shadow technique and the music played
by Ajarn Bruce on piano and a flutist.
It’s very impressive. It proved how deep
this music master interested in art and
philosophy. Next is the talk session with Ajarn
Bruce’s students, Ajarn Anan Nakkhong
(Faculty of Music, Silpakorn University),
Ajarn Kaiwan Kulavadhanothai (The
composer and conductor of Suanplu
Chorus), Assoc. Prof.Jarunee Hongjaru
(Dramatic Arts department, faculty of
Arts, Chulalongkorn University) and Ajarn
Boonrut Sirirattanapan (Conservatory of
Music, Rangsit University). All of them
came to share their stories and
impressions of their teacher in cozy
atmosphere. For example, Ajarn Anan
compared his teacher in different aspects.
He compared Ajarn Bruce as a hermit,
an angel musician, a priest, an ascetic
and a preceptor. “The preceptor in Pali means the one
who taught livelihood, not just how to
live, but how to grow, to flourish in life.
As I chose to be a musician, Ajarn Bruce,
as a teacher, taught me to be good, to be
a better man. Not in a moral or ethical
way, it’s the goodness that he taught
Ana Panasati
me by his art.” Ajarn Anan talked about
his teacher gratefully. Time flew by to the final session.
The amusing session opened for any
questions from the audiences. There’s
an interesting question: ‘If art is still
in the dark, how could we do to enlighten
it in Thailand?’. “I always think that if we need it to
be in the light, we won’t try to find it
anymore.” Ajarn Boonrut answered,
“I think it’s good to let it stay in the dark.
We see the light while the darkness
be there. It’s like when we heard
the quote ‘keep going Takeshi!’ in a
Japanese animation. That means there’s
something we can do. There’s no
enlightened way.” “to create an art work, the artist has
to be a seeker. In the beginning, it’s like
we are in the darkness but when you
finished a piece, it will shine a light bit by
bit. As well as when you’re writing a song,
at first, you didn’t know how is it going to
be but since you got the idea until it was
finished, it was your light at the time.”
Ajarn Kaiwan added. Everyone seems to
enjoy the Q&A session; even Ajarn Bruce
wants to take a part in this sharing as
well. “To be alive, we have to breathe in
and breathe out. To have a light, there
has to be darkness. We’re in the middle of
everything and we have to live with it.”
The master concluded. After the sharing ended, I believe that
what Ajarn Bruce, including the other
lecturers, had taught and shared that day
would become a great inspiration for
the participated audiences. And it would
certainly be passed along to other music,
art and academic lovers as well.
4 3
28_50 edit bacc5.indd 43
12/24/12 3:06:29 PM
bacc review
ท่ามกลางเสียงอึกทึกของเมืองใหญ่ ที่คลาคล่ำไปด้วยรถหลายหลากชนิด
ปฏิเสธไม่ได้ว่าแท็กซี่ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของยนตรกรรมบนท้องถนนที่เพิ่ม
จำนวนขึ้นทุกวันอย่างน่าใจหาย …แต่จะมีใครล่วงรู้หรือไม่ว่า รถแท็กซี่มิได้เป็น
เพี ย งยานพาหนะอย่ า งหนึ่ ง เท่ า นั้ น เพราะสำหรั บ ผู้ ขั บ แท็ ก ซี่ มั น คื อ บ้ า น
ที่สะท้อนตัวตนของพวกเขาออกมาอย่างหมดเปลือก
เราอาจสามารถเรียก เดล อลัน คอนสแตนซ์
(Dale Alan Konstanz) ที่ขณะนี้เป็นอาจารย์
ประจำมหาวิทยาลัยมหิดลได้ว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญ
เรื่องโลกส่วนตัวของคนขับแท็กซี่อย่างแท้จริง
เมื่อเขาใช้วิธีเดินทางด้วยรถแท็กซี่ในกรุงเทพฯ
เป็นระยะเวลานานกว่า 4 ปีเป็นประจำ (ตั้งแต่
ประกอบอาชีพเป็นอาจารย์ในปี 2008) เพื่อเก็บ
ข้อมูล ‘การตกแต่งภายใน’ ของผู้ขับแต่ละคน
และค้นหาความหมายถึงสิ่งที่พวกเขาพยายาม
จะสื่อสารผ่านการตกแต่งเหล่านั้น แล้วรวบรวม
มาเป็ น หนั ง สื อ ชื่ อ Thai Taxi Talismans
หนั ง สื อ เล่ ม นี้ จึ ง มิ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งหนั ง สื อ รวม
ภาพถ่ายอย่างไร้เดียงสา หากแต่เป็นเรื่องราว
ของเจ้ า ของบ้ า น 4 ล้ อ ที่ ถู ก บอกเล่ า ผ่ า น
ทรรศนะของนักเขียนคนหนึ่ง และมีภาพถ่าย
ที่สะท้อนวัฒนธรรมบางอย่างของคนขับแท็กซี่
ส่ ว นใหญ่ ใ นเมื อ งไทย ซึ่ ง อาจซึ ม ลึ ก สู่ หั ว ใจ
ของผู้อ่านที่ช่างสังเกตได้ไม่ยากเย็น
จากการค้นคว้าข้อมูลผ่านการรุกล้ำเข้าสู่
พื้น ที่ส่วนตัวของโชเฟอร์แต่ละคน เราจะเห็น
ได้ว่าสิ่งที่ปรากฏผ่านเลนส์ของเดลมีทั้งส่วนที่
เกี่ ย วข้ อ งกั บ ความเป็ น ไทยและศาสนาพุ ท ธ
ในมิติต่างๆ หากแต่สิ่งที่พวกเขาใช้ตกแต่งนั้น
บางอย่ า งกลั บ ตั ด ขาดจากโลกแห่ ง ความจริ ง
และ ‘ไร้กรอบ’ โดยสิ้นเชิง เช่น ธนบัตรที่พับ
เป็นรูปปลาตะเพียน ตัวการ์ตูนหลากชาติที่ยืน
อยู่หน้าคอนโซล ผสมปนเปไปกับตัวแทนความ
เชื่ อ ที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากประเทศอิ น เดี ย เช่ น
พราหมณ์-ฮินดู ตลอดจนศาสนาของเพื่อนบ้าน
อย่าง พุทธศาสนานิกายมหายานจากประเทศ
จีน ไปจนถึงลัทธิเต๋า และเซน ด้ ว ยความหนาพอประมาณ (160 หน้ า
240x220 มม.) แต่อัดแน่นด้วยข้อมูลการเก็บ
4 4
28_50 edit bacc5.indd 44
12/24/12 3:06:32 PM
เรื่อง: พุทธิพงศ์ อึงคนึงเวช Text: Puttipong Oungkanungveth
Some photos from Thai Taxi Talismans
รายละเอี ย ดอย่ า งจริ ง จั ง ของผู้ เ ขี ย นทำให้
หนั ง สื อ เล่ ม นี้ อ าจเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของหลั ก ฐาน
ทางวัฒนธรรมที่สำคัญชิ้น หนึ่งของสังคมไทย
และเป็ น มากกว่ า การนั่ ง มองสิ่ ง แปลกปลอม
อยู่ เ บื้ อ งหลั ง เบาะคนขั บ ที่ เ รามั ก จะกระทำ
จนกลายเป็นปกติวิสัย Amidst the brattle of metropolitant
filled with all kind of transportation,
we can’t deny that taxi has become part
of the increasingly number of vehicles
that astonishes us. We may, as well, call Dale Alan
Konstanz; a lecturer from Mahidol
University, a taxi’s expert as he has spent
4 over years travelling by taxi (since he
started working as a university lecturer in
2008). For 4 over years, he has collected
all the information of each taxi ‘interior
decoration’ to unveil the meaning behind
it. He then launched a book named Thai
Taxi Talismans, which is not solely a na ve
taxi photo book but it is also a book of
4-wheel homeowners through his eyes
reflecting the culture of Thai taxi that
could easily be imprinted in our hearts. Through his discovery that he has
trespassed into each driver’s personal
space, we will see that they are related
to the Thainess and Buddhism in various
dimensions though they are so much
out of reality and unbounded e.g.
the fishshaped ornaments made of Thai
banknote, the colorful stickers of cartoon
characters from many countries on the
console that is the mixtures of believes,
from Brahma-Hindu, Mahayana Buddhism
in China, Tao to Zen. With its size of 160 pages (240x220
mm.) that is fulled of details and author’s
devotion, this book is undeniably an
evidence of Thai culture that is more than
a vision behind the driver as we usually do. www.riverbooksbk.com/book/thai-taxi-talismans
4 5
28_50 edit bacc5.indd 45
12/24/12 3:06:35 PM
art & about พื้นที่แสดงงานศิลปะ ต้องแบบไหนถึงเรียกว่า ‘ พ ื ้ น ท ี ่ แ ส ด ง ง า น ศ ิ ล ป ะ ’
( a r t
เมื่อศิลปินสร้างงานศิลปะ ท้ายที่สุดแล้ว
เพื่ อ ให้ ผ ลงานนั้ น สมบู ร ณ์ ก็ ต้ อ งมี ผู้ ช มหรื อ
ผู้เสพงาน พื้นที่แสดงงานศิลปะจึงจำเป็นในแง่
ของสถานที่ เ พื่ อ ให้ ผ ลงานศิ ล ปะนั้ น ตั้ ง อยู่
และแสดงความหมายของมันในช่วงเวลาหนึ่ง
หากเอ่ ย ถึ ง แกลเลอรี ห รื อ หอศิ ล ป์ ใ นขนบ
หลายคนจะนึกถึงกล่องสีขาวทรงคุณค่า ตั้งอยู่
อย่ า งมั่ น คง และมี แ สงไฟส่ อ งชิ้ น งานให้ เ กิ ด
ความโดดเด่น ซึง่ ต้องยอมรับว่าในหลายประเทศ
ที่ ก ำลั ง พั ฒ นา รั ฐ บาลไม่ ไ ด้ ส นั บ สนุ น ศิ ล ป-
วัฒนธรรมอย่างเป็นระบบ ก็อาจไม่มีหอศิลป์
ที่เป็นมาตรฐานสากลให้ประชาชนทั่วไปเข้าถึง
ได้ง่ายนัก การเสพงานศิลปะจึงเป็นเรื่องไกลตัว
สูงส่ง หรือเป็นเรื่องของคนเฉพาะกลุ่มเท่านั้น
แต่ปัจจุบันกระแสความคิดของศิลปะร่วมสมัย
ซึ่ ง กระตุ้ น ให้ เ กิ ด ความเป็ น ไปได้ มี ค วามแพร่
หลายมากขึ้น ทำให้ในยุคนี้ไม่เพียงแต่รูปแบบ
?
-
เนื้อหา และวิธีการสร้างสรรค์ศิลปะจะแปลก
ใหม่และฉีกขนบ ยังรวมไปถึงพื้น ที่แสดงงาน
ศิลปะซึ่งไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในแกลเลอรีอีกต่อไป
โดยก้าวออกมาใช้พื้น ที่สาธารณะซึ่งเชื่อมโยง
กับสังคมและชีวิตมนุษ ย์มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น
ที่อยู่อาศัย ร้านอาหาร โรงแรม โรงเรียน วัด
ห้างสรรพสินค้า เรือ สถานีรถไฟฟ้า หรือแม้แต่
ข้างถนน หากมีงานศิลปะจัดแสดงหรือตั้งอยู่
บนความหมายคอนเซปต์ ข องมั น ก็ เ รี ย ก
art space ได้เหมือนกัน อาทิ นิทรรศการ
A l’Epreuve du Monde ที่นำเสนอภาพถ่าย
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเรียงรายกันอยู่บนกำแพง
หน้าสมาคมฝรั่งเศส ถนนสาทร เมื่อปี 2552
หรือ งานหอศิลป์จิตรกรรม ณ วินมอเตอร์ไซค์
หน้าหอศิลปกรุงเทพฯ เมื่อปี 2553 ที่นำเสนอ
งานศิลปะจากศิลปิน 9 คน ด้านหลังเสื้อวิน
มอเตอร์ไซค์รับจ้าง เป็นต้น
Art space Which place can be called an “
a
r
t
s
p
a
c
After completing artwork, most artists would like to exhibit it to the audience in some place. Art space is accordingly essential as a place to locate and display artwork with its meaning in a period. When we say about traditional art space, many people always think of firmly established art galleries in white box form with properly lighting. It is up to standard but quite rare especially in developing countries which their government does not give importance to the art so it is not easily accessible for general public. However, with the contemporary train of thought that believes in everything’s possiblity, the rule of form, content and
e
”
?
the way to create art has been broken. Also for the art space, it is now wide-open by stepping out to society and human’s life. Everywhere can be called an art
space if it displays artworks with their idea, e.g. house, restaurant, hotel, school, temple, shopping mall, boat, skytrain station or even on street. For example,
A l’Epreuve du Monde, a photo exhibition about human rights on the wall of Alliance Fran aise, Sathorn Road in 2009, and The Fine Art Museum at Motorcycle Station at bacc in 2010 which presented works of 9 artists behind jackets of motorcyclists, etc.
Museum at Motorcycle Station
4 6
28_50 edit bacc5.indd 46
12/24/12 3:06:39 PM
art question?
Santiphap Inkong-ngam’s work in Art on Farm: a diary from the Isan plateau
ปั จ จุ บั น มี นิ ท รรศการศิ ล ปะร่ ว มสมั ย
ที่ฉีกกฎโลกศิลปะสากลและวิถีปฏิบัติ
ในพื้ น ที่ ข องพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ละหอศิ ล ป์ ม ากมาย
อาทิ นิทรรศการผัดไทย ของ ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช
ที่ ไ ม่ มี ศิ ล ปวั ต ถุ ใ ดๆ นอกจากการลงมื อ ปรุ ง
ผัดไทยโชว์เอกลักษณ์ความเป็นไทยในแกลเลอรี
ที่นิวยอร์ก, โครงการนาข้าวขั้นบันไดแห่งเมือง
คาสเซิล ของ สาครินทร์ เครืออ่อน หน้าปราสาท
Wilhelmshohe เมืองคาสเซิล ประเทศเยอรมนี
ส่วนหนึ่งของงานใหญ่แห่งวงการศิลปะร่วมสมัย
Documenta XII และนิทรรศการ ‘อาร์ต ออน
ฟาร์ม บัน ทึกจากที่ราบสูง’ (Art on Farm:
a diary from the Isan plateau) ที่ให้โอกาส
ศิ ล ปิ น มาทำงานคาบเกี่ ย วระหว่ า งศิ ล ปะ
สภาพแวดล้ อ ม การเลี้ ย งไหม เกษตรกรรม
วัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม ภายในบริบท
ของภาคอีสาน เหล่านี้เหตุใดจึงจัดว่าเป็นการ
แสดงงานศิลปะ “งานศิลปะแนวนี้พยายามจะขยับขยาย
ขอบเขตความหมายของศิ ล ปะให้ ก ว้ า งขวาง
มากขึ้น ด้วยการหากลวิธีใหม่ๆ ในการนำเสนอ
ความคิดเพื่อเชื่อมโยงศิลปะให้เข้าใกล้กับชีวิต
มนุ ษ ย์ แ ละธรรมชาติ ม ากกว่ าในอดี ต ที่ ศิ ล ปะ
มั ก จะอยู่ แ ต่ ใ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ห รื อ หอศิ ล ป์ เ ท่ า นั้ น
แต่การที่งานชิ้นหนึ่งจะกลายเป็นศิลปะที่ได้รับ
การยอมรั บ นั้ น มี ห ลายปั จ จั ย อย่ า งแรกคื อ
ต้องสร้างโดยศิลปิน มีแนวคิดคอนเซปต์ และ
ศิลปินก็ตั้งใจเจตนาให้มันเป็นศิลปะ อย่างที่สอง
คือบริบท สภาพแวดล้อม สถานการณ์ต่างๆ
Sitthikorn Khawsa-ad’s work in Art on Farm: a diary from the Isan plateau
ก็เป็นตัวกำหนดด้วย เพราะงานเหล่านี้ทำขึ้นมา
ในบริ บ ทของงานศิ ล ปะทั้ ง สิ้ น คื อ ทำใน
นิทรรศการศิลปะ หรืออยู่ในมหกรรมศิลปะ
อีกปัจจัยหนึ่งคือขึ้นอยู่กับการยอมรับด้วย คนดู
นักวิจารณ์ หรือนักวิชาการ หรือนักประวัติ-
ศาสตร์ ศิ ล ป์ ซึ่ ง ก็ มี เ ยอะเหมื อ นกั น ที่ ศิ ล ปิ น
ทำออกมาแล้วไม่ได้รับการยอมรับ ณ เวลา
ขณะนั้ น แต่ พ อเวลาผ่ า นไปกลั บ ได้ รั บ การ
ยอมรับภายหลัง ฉะนั้นยังไงก็ตาม หากมีอย่าง
น้อ ยสั ก 2 ปั จ จั ย ในที่ ว่ า มานี้ ก็ ถื อ ว่ า เป็ น งาน
ศิลปะแล้วครับ” ตอบโดย ผศ. สุธี คุณาวิชยานนท์ อาจารย์คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Nowadays, there are many
contemporary art exhibitions which break
the rule and reject the custom of art
galleries or museum’s spaces. For
example, Pad Thai by Rirkrit Tiravanija
with no any art object besides cooking
Pad Thai as a meal to present Thai
identity at the gallery in New York,
Terraced Rice Field Art Project by Sakarin
Krue-on in front of Schloss Wilhelmshohe
in Kassel, Germany for the exhibition
Documenta XII, one of the major events
on the international contemporary art
calendar, and Art on Farm: a diary from
the Isan plateau which encouraged the
artists to interrelate between art and the
environment, including the raising of
silk worms, agriculture, culture and
architecture within the context of the
North-East of Thailand, etc. Why all these
works were considered as art exhibitions “While art exhibition had been
always in art museums or galleries in the
past, the contemporary style of art
exhibitions has been trying to expand
the scope of definition of art with new
strategies to relate art to human’s life
and nature. There are many factors that
allow a work to be accepted as an art
exhibition. First, it is intentionally created
by the artist with strong concept. Second,
it should be created in the context of art
such as art project or exhibition. Also, it
depends on the acceptance of the
audience, critics, scholars or art
historians. However, many artworks
might not be accepted as an artwork in
its time but it was accepted later. Thus,
if a work includes at least two mentioned
factors, it is considered as an art
exhibition.“
Answer by Asst. Prof. Sutee Kunavichayanont Assistant Professor at the Faculty of Painting,
Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University.
4 7
28_50 edit bacc5.indd 47
12/24/12 3:06:41 PM
ที่ตั้งและการเดินทาง -
How to go to bacc -
bacc ตั้ ง อยู่ หั ว มุ ม สี่ แ ยกปทุ ม วั น ตรงข้ า ม
ห้างมาบุญครอง และสยามดิสคัฟเวอรี่ ชั้น 3
ของหอศิลปกรุงเทพฯ มีทางเดินเชื่อมต่อกับ
ทางยกระดับรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีสนามกีฬา-
แห่งชาติ และมีบริการที่จอดรถบริเวณชั้นใต้ดิน
ของอาคาร รถประจำทาง: สาย 15, 16, 21, 25, 29, 34,
36, 40, 47, 50, 54, 73, 73ก, 79, 93, 141,
159, 204, ปอ.508 และ ปอ.529 เรือโดยสาร: เรือสายคลองแสนแสบ เส้นทาง
สะพานผ่านฟ้า-ประตูน้ำ ขึ้น ที่ท่าเรือสะพาน
หัวช้าง เดิน 300 เมตร ถึงหอศิลปกรุงเทพฯ
สี่แยกปทุมวัน เวลาเปิดบริการ: วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 10.00-21.00 น. (หยุดวันจันทร์) ค่าเข้าชม: ไม่เสียค่าเข้าชม ยกเว้นการจัดกิจกรรม
และการแสดงที่เป็นกรณีพิเศษ
bacc is located at the Pathumwan
Intersection, facing the MBK and
Siam Discovery Center. The 3rd floor
entrance is connected to the BTS,
the National Stadium Station. Limited
parking is available at level B1 and B2. Buses: 15, 16, 21, 25, 29, 34, 36, 40,
47, 48, 50, 54, 73, 79, 93, 141, 159,
204, air-con 508, air-con 529 Boats: Saen-saeb canal route
(Panfa Bridge-Pratunam), use the
Sapan Hua-Chang landing, 300 m.
to the Art Centre. Opening hours: 10 a.m.-9 p.m.
(closed Monday) Admission: Free entry to exhibitions,
except for special events. Charges to
concerts and plays will vary.
4 8
28_50 edit bacc5.indd 48
12/24/12 3:06:42 PM
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เลขที่ 939 ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0 2214 6630-8 โทรสาร 0 2214 6639 Bangkok Art and Culture Centre 939 Rama 1 Road, Wangmai, Pathumwan, Bangkok 10330 Tel. 0 2214 6630-8 Fax. 0 2214 6639 www.bacc.or.th www.facebook.com/baccpage www.twitter.com/baccnews
cover baccazine5 ������.indd 2
12/21/12 4:36 PM