Bookdegreeshows2015

Page 1



WWW.DEGREESHOWS.ORG


GROW YOUR SKILLS สองสามปีมานี้ เราได้เห็นนักออกแบบรุน่ ใหม่หลายคนทีผ่ า่ นเวที Degree Shows มาแล้ว เริ่มมีผลงานโดดเด่นปรากฏสู่สายตาสาธารณชนกันบ้างแล้ว ตามสายงานที่ พวกเขาเลือกที่จะประกอบอาชีพทางด้านนั้นๆ นับเป็นเรื่องน่ายินดีส�าหรับคณะผู้จัดงาน ยิง่ นัก จุดประสงค์ทจี่ ดั ให้มงี านประกวดผลงานศิลปนิพนธ์ของนิสติ นักศึกษา ทัง้ 7 สาขา ที่ปีนี้เป็นปีที่ 9 เข้าไปแล้วนั้น เรามีความตั้งใจที่จะเฟ้นหาผลงานที่มีความเป็นเลิศในแต่ละ สาขาเพือ่ ยกย่องเจ้าของผลงาน ตลอดจนสถาบันการศึกษาทีม่ สี ว่ นสร้างคนเก่งๆ เหล่านี้ ออกสูส่ งั คม ซึง่ หลายๆ คนได้พสิ จู น์ตวั เองอีกครัง้ ด้วยผลงานในระดับมืออาชีพทีน่ า่ ชืน่ ชม เอามากๆ มีคนบอกว่าคนรุน่ ใหม่มกั จะมองหาอะไรทีเ่ ป็นทางลัดไปสูค่ วามส�าเร็จ พวกเขารัก ความสบาย ชอบชีวติ สโลไลฟ์ หรืออะไรทีจ่ บั ต้องได้ เป็นสาระแก่นสารไม่ ได้ เรือ่ งนีน้ า่ จะ ไม่ใกล้กบั ความเป็นจริงนัก เพราะหากดูจากผลงานทีเ่ ข้ารอบสุดท้ายใน Degree Shows แต่ละปี จะเห็นถึงความยากล�าบากในการเก็บข้อมูล ความอุตสาหะในกระบวนการคิดและ ผลิตออกมาเป็นงานผลงานชิน้ สุดท้ายก่อนจะส�าเร็จการศึกษาออกไปสูโ่ ลกแห่งมืออาชีพ อย่างไรก็ตามโลกข้างนอกยิง่ ทวีความดุเดือดขึน้ ไปอีก ทุกๆ คนจะต้องลงแข่งขันในตลาด ทีอ่ ดุ มไปด้วยคนเก่งฉกาจและมีประสบการณ์มากกว่าเราอีกหลายเท่าตัว ในโลกแห่งความเป็นจริงจึงไม่มที างลัดใดๆ นอกเสียจากลงมือท�าพัฒนาตัวเองขึน้ ไป เรือ่ ยๆ ในโลกยุค Digital Age ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะในการน�าเสนอ ความฉลาดใน การเล่าเรือ่ ง รวมไปถึงการเลือกใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมจะเป็นปัจจัยส�าคัญทีจ่ ะช่วยการ ส่งผลงานดีๆ ของคุณไปให้ถงึ ฝัง่ ทีต่ งั้ เป้าเอาไว้ DEGREE SHOWS 2015

3


Over the past year, we realized that the number of young designers participating in the Degree Shows event and sharing their quality works with the public has continued to steadily increase, which is something that we truly appreciate and admire. This year being the 9th edition of Degree Shows, we continue to follow our prior objective of pursuing the best of works in 7 categories and celebrating the accomplishments of the selected winners while also giving regard to the institutes who play a huge role in the development of these practicing young designers. This year, like many others, welcomed many young designers who proved themselves adept at claiming their space within the market through their quality works. Generally speaking, it can be said that the new generation seems to always be searching for a shortcut to huge success; they love the comfortable life, the slow life, or even tend to obsess over something intangible. However, looking at a number of works in the final round of the Degree Shows, we think that this is not totally true. These works imply that they are the results of hard work, intensive research and laborious manufacturing. However, this does not imply that there is nothing further to be done, or that they are ready for the real market. These young designers will have to attend the real game, which is full of experienced competitors. There are no shortcuts in real life and the only way to climb to success is through your own will to practice and improve. In this Digital Age, imagination, artful presentation, sagacity of narrative and proper technology are all key factors that will further your work and allow for you to achieve your goals.

4

DEGREE SHOWS 2015


10

ARCHITECTURAL DESIGN

22 34

PRODUCT DESIGN

46

GRAPHIC DESIGN

INTERIOR DESIGN


58

ANIMATION AND MOTION GRAPHIC

70 82

FASHION DESIGN

JEWELRY DESIGN

98

DESIGN FOR HEALTH


DEGREE SHOWS 2015

7


8

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

9


10

DEGREE SHOWS 2015


ARCHITECTURAL DESIGN คณ ะกรรมการตัดสิน

บุญเลิศ เหมวิจิตรพันธ์

สถาปนิกผู้ก่อตั้งบริษัท บูรณ์ดีไซน

ณรงค์ โอถาวร

สถาปนิกผู้ก่อตั้งบริษัท โซ

สุรชัย เอกภพโยธิน

สถาปนิกผูก้ อ่ ตัง้ บริษัท ออฟฟศิ เอท ี JUDGES Boonlert Hemvijitraph an

Founder of Boon Desig n

Narong Othavorn

Founder of SO, archit ecture and urban matters

Surachai Akekapobyo tin

Founder of Office AT



BEST OFECTURAL ARCHIT DESIGN โครงสร้างผกผัน

ประภาศรี คุณะกฤดาธิการ

สาขาวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม (หลักสูตรนานาชาติ) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงสร้างหินโดยทั่วไปนั้นจะสามารถทรงตัวอยู่ได้อย่างมั่นคงก็ต่อเมื่อมีแรงโน้มถ่วง จากแนวคิดนี้ท�าให้เกิดการศึกษาและทดลองแรงภายนอกอื่น ที่มีคุณสมบัติที่จะท�าให้ โครงสร้างหินนั้นอยู่คงที่เฉกเช่นเดียวกับแรงโน้มถ่วง ซึ่งการทดลองนี้ได้ใช้แรงอัด ทีท่ า� แรงตัง้ ฉากกับแรงโน้มถ่วง นอกจากการศึกษาโครงสร้างหิน ยังได้ศกึ ษาโครงสร้าง เหล็กที่ได้นา� มาเป็นตัวคั่นหินแต่ละชิ้นออกจากกัน ซึ่งน�าแสงเข้ามาภายในตัวอาคาร ผลลัพธ์ของโครงสร้างผกผันของหิน ท�าให้เกิดโครงสร้างหินรูปแบบใหม่ทอี่ าศัยแรงบีบ จากภายนอกที่ท�าให้โครงสร้างนี้เสถียร

INVERSION

PRAPASRI KHUNAKRIDATIKARN

INTERNATIONAL PROGRAM IN DESIGN AND ARCHITECTURE FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY

Masonry constructions are not compromised, but rather stabilized by gravity. This project investigates structural principles through experimentation with the deviation of angles at 90 degrees, utilization of Stereotomic laws and the integration of steel separators to exaggerate breaks and introduce light between elements. The resulting inverted masonry structure allows for the rhythms, form and hierarchies of the original structure to be maintained within a structural inversion and fabrication that utilizes horizontal forces for stability. E. PRAPASRI.KHUNAKRIDATIKARN@CUINDA.COM T. 088 089 2029

DEGREE SHOWS 2015

12


13

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

14


สถาปัตยกรรม – ไทย – คลี่คลาย

ภูมิภัทร เมฆมัลลิกา

สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิทยานิพนธ์เรื่อง “สถาปัตยกรรม-ไทย-คลี่คลาย” เกิดจากการตั้งค�าถามเกี่ยวกับ พัฒนาการของสถาปัตยกรรมไทยประเพณี ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจ�าชาติว่าจะมี หนทางการคลี่คลายให้สามารถแสดงออกถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทยทั้งดั้งเดิม และร่วมสมัย ตอบสนองต่อบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตเพื่อตอบสนองมิติอื่นๆ ของสถาปัตยกรรมได้อย่างไร โดยทดลอง หาความเป็นไปได้ที่จะใช้รากฐานรูปแบบ ทางสถาปัตยกรรมดั้งเดิมเพื่อหาค�าตอบ TRANSFORMATION OF THAI ARCHITECTURE

BHUMIPAT MEKMULLIKA

PROGRAM IN ARCHITECTURE, FACULTY OF ARCHITECTURE SILPAKORN UNIVERSITY

‘Transformation of Thai Architecture’ has betided from a will to question the development of traditional Thai architecture, which is the national identity orientation, in terms of how to unfold the true identity of Thai architecture—both traditional and contemporary— in a manner capable of meeting the needs of the dynamically changing context while also fulfilling the dimensions of architecture. Through this experimentation, the project seeks opportunities to use the foundations of traditional architecture to answer the according questions. E. IHEARPAO@GMAIL.COM T. 085 900 7069

15

DEGREE SHOWS 2015


สถานี I ชุมชน I เลื่อนฤทธิ์

วิธินันท์ วัฒนศัพท์

สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

จากกรณีพิพาทย์ระหว่างชุมชนเลื่อนฤทธิ์ซึ่งเคยเป็นจุดที่จะมีการก่อสร้างรถไฟฟ้า กับองค์การรถไฟฟ้ามหาชนเป็นกรณีศึกษา แต่เนื่องด้วยข้อจ�ากัดต่างๆ สถานีดังกล่าวจึงถูกย้ายต�าแหน่งจากบริเวณชุมชนเลื่อนฤทธิ์ไปยังสถานีวังบูรพา ซึ่งน�าไป สู่หัวข้อวิทยานิพนธ์ที่น�าเสนอวิธีการหารูปแบบของสถาปัตยกรรมเชิงทดลอง ที่ ให้ความส�าคัญกับวิธีการออกแบบ และวิธีการผสานระบบการท�างาน 2 ระบบ คือ ระบบการอนุรักษ์กลุ่มอาคารเก่าของชุมชนเลื่อนฤทธิ์ และระบบการท�างานของ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ซึ่งทั้งสองระบบมีความแตกต่างกันทั้งในเรื่องของการใช้งาน เชิงพื้นที่ ความเป็นพื้นที่สาธารณะของสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ความเป็นส่วนตัวของ พื้นที่พักอาศัย และลักษณะโครงสร้างที่แตกต่างกัน จากข้อจ�ากัดของบริบทโดย รอบ ร่วมกับระบบทั้งสองในข้างต้น ส่งผลให้รูปแบบของสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่เกิด ขึ้นมีความเฉพาะเจาะจง ตอบสนองต่อการอนุรักษ์กลุ่มอาคารเก่าในพื้นที่ บริบท ของเมือง สภาพแวดล้อมโดยรอบ และให้ความส�าคัญกับประสบการณ์การเดินทาง ของผู้ที่เข้ามาใช้งานสถานี อีกทั้งผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน ยังสามารถมีคุณภาพชีวิต ที่ดีทั้งการค้าขาย การอยู่อาศัย และการคมนาคม THE DELICACY OF METHOD BETWEEN CONSERVATION PROCESSES AND ITS UNDERGROUND SUPER STRUCTURE; LUEAN RIT COMMUNITY

WITINAN WATANASAP

PROGRAM IN ARCHITECTURE, FACULTY OF ARCHITECTURE KASETSART UNIVERSITY

The contentions raised between the Lueanrit community, which was once the building site for the new metro station, and the Metropolitan Rapid Transit spurred the relocation of the station from the Lueanrit community to Wang Burapha station. This project aims to demonstrate the typology of the experimental architecture that gives priority to the design processes of both spaces to amalgamate work systems including the conservation process of the collective buildings in the Lueanrit community and the work system of the metro station. These two systems are different in terms of their spatial usage, structure and the publicity of the metro station in comparison to the privacy of the residences. The contextual constraints between the two according systems led to the occurred type of the metro station that specifically meets the conservation of the collective buildings on the site and in the urban context of the surrounding environment as well as places importance on the travel experiences of the station’s visitors. Besides, the locals could also improve their quality of life, from increased trade and dwelling opportunities to transportation options. E. W.WITINAN@GMAIL.COM T. 097 250 6781

DEGREE SHOWS 2015

16


17

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

18


พิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2

ปองพล ปวงนิยม

สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

สงครามโลกครั้งที่ 2 ส่งผลกระทบต่อประชาชนชาวไทย ทั้งความสูญเสียของชีวิต, ทรัพย์สิน และสภาพจิตใจ โดยเฉพาะเหตุการณ์การถูกโจมตีทางอากาศได้ก่อความ เสียหายต่อชุมชน เช่น ชุมชนบ้านบุ เขตบางกอกน้อย ซึ่งได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง จากเหตุการณ์นี้จึงเป็นที่มาของอนุสรณ์สถานที่บอกเล่าถึงผลกระทบที่ชาวไทยได้รับ จากสงคราม เช่น การละเมิดสิทธิมนุษยธรรม หรือผลกระทบอื่นๆ ที่ทา� ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมในช่วงเวลานั้น โดยใช้วิธีการบอกเล่า ผ่านการออกแบบที่ว่าง (Space) ทางและกิจกรรมเพื่อระลึกถึงผู้เสียชีวิตจากสงคราม โดยวิทยานิพนธ์ชิ้นนี้ จะศึกษาการออกแบบพิพธิ ภัณฑ์กงึ่ อนุสรณ์สถานทีม่ กี ารสร้างพืน้ ทีเ่ พือ่ รองรับกิจกรรม การบอกเล่าเรื่องราวสงครามโลกครั้งที่ 2 และศึกษาการบอกเล่าเรื่องราวผ่านที่ว่าง ทางสถาปัตยกรรมเพือ่ ถ่ายทอด ความทรงจ�าร่วมกัน (Collective memory) รวมถึง การออกแบบหอจดหมายเหตุ สงครามโลกครั้งที่ 2 (WWII Archive) WORLD WAR II MUSEUM

PONGPOL PUANGNIYOM

PROGRAM IN ARCHITECTURE, FACULTY OF ARCHITECTURE SILPAKORN UNIVERSITY

World War II greatly affected Thai people in terms of loss of life and property as well as the condition of the mind. The air attacks were especially damaging to the community such as the Baan Bu community in Bangkok Noi. The unfortunate occurrence has led to the establishment of a war memorial that tells the story of the ways in which Thai people suffered during and following the war, including violations of human rights and so that led to sweeping changes in the society at that time, through the use of story-telling via spaces, pathways and activities that intend to commemorate the war victims. This project studies the design of the memorial museum that hosts activity spaces telling the story of World War II and also studies ways to narrate the story through architectural space so as to deliver collective memory to the visitor. This project further includes a WWII Archive as part of the program as well. E. OHMPOPU@HOTMAIL.COM T. 087 674 2620

19

DEGREE SHOWS 2015


“ปอเนาะญาลันนันบารู” พื้นที่มุสลิมแห่งศานติ

ซัลมาน มูเก็ม

สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

ปัญหาในพืน้ ที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้เป็นปัญหาทีส่ า� คัญปัญหาหนึง่ ของประเทศ สาเหตุ หนึ่งของความไม่สงบในพื้นที่นั้นก็คือปัญหายาเสพติด เนื่องจากเยาวชนเหล่านั้นขาด แหล่งยึดเหนีย่ วจึงถูกชักจูงได้โดยง่าย และทางภาครัฐมิได้มสี ถานทีบ่ า� บัดผูต้ ดิ ยาเสพติด ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวมุสลิม ท�าให้เยาวชนมุสลิมที่มีความประสงค์จะเข้ารับ การบ�าบัดไม่กล้าทีจ่ ะเข้าร่วม ซึง่ เยาวชนมุสลิมจึงยังถูกใช้เป็นเครือ่ งมือในการก่อความ ไม่สงบต่อไป ดังนั้นผู้น�าศาสนา ผู้น�าชุมชน และหน่วยงานราชการ จึงได้ร่วมกันจัดตั้ง โครงการ “ปอเนาะญาลันนันบารู” ขึ้นเพื่อรองรองรับกิจกรรมด้านการบ�าบัดการติด ยาเสพติดส�าหรับกลุม่ เยาวชนมุสลิม ซึง่ ด�าเนินการโดยใช้รปู แบบวิถชี วี ติ หลักศรัทธา หลักปฏิบัติของศาสนาอิสลามเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหายาเสพติด โดยมีการ ออกแบบสถาปัตยกรรมที่แสดงออกถึง ความศรัทธา ความนอบน้อมถ่อมตน ความ สมถะและความศานติตามหลักปรัชญาแห่งอิสลาม โดยโครงการทั้งหมดเริ่มต้นด้วย การศึกษาวัสดุพนื้ ถิน่ เพือ่ น�ามาเป็นหลักในการออกแบบอาคารทีเ่ น้นประหยัดงบประมาณ และกลมกลืนกับสภาพแวดล้อม รวมถึงบริบทางสถาปัตยกรรม และการจัดระบบผัง ของพื้นที่ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ISLAM RELIGION TREATMENT SCHOOL

SUNMAN MUKAM

PROGRAM IN ARCHITECTURE, FACULTY OF ARCHITECTURE RANGSIT UNIVERSITY

The ongoing violence in Thailand’s three most southern border provinces is one of the most essential problems in the country at present. The primary cause of this insurgency in the area is due to drug abuse and addiction. Juveniles lack restraint which subsequently induces them to go astray and the government sector has no program in place for drug rehabilitation that accords with the Islamic way of life; all these cause the juveniles, who are willing to retreat, to fear taking part in such programs. Consequently, these juveniles become the tools of the insurgency. Therefore, the religious leaders, community leaders, and the government sector have collaboratively established ‘Pondok Yalannanbaru,’ or Islam Religion Treatment School, in order to host activities focused on drug rehabilitation for the Muslim youths under the Islamic way of life, doctrines and practices as tools to fight drugs. The architecture represents faith, respect, modesty, austerity and peace following the Islamic philosophy. The entire project begins with the study of local materials found in the site through a design process that focuses primarily on an economical budget, assimilation with the architectural context and achieving the most benefit from the organization of the planning system and the space within. E. SUN.ARCH1733@GMAIL.COM T. 098 072 3088

DEGREE SHOWS 2015

20


21

DEGREE SHOWS 2015



INTERIOR DESIGN คณะก รรมการตัดสิน

นิวัติ อ่านเปรื่อง

หุ้นส่วนผู้บริหาร บริษัท พีไอเอ อินทีเรีย

วิชชาธร ประเสริ

ฐสุข กรรมการผู้จัดการ สต อเรจ สตูดิโอ

วินัย ฉัยรักษ์พงศ

์ ผูก้ อ่ ตัง้ และผอู้ า� นวยการ บริษัท บี ยู จี สตดู โิ อ ฝ่ายออกแบบ JUDGES

Niwat Aunpruen g

Executive Partne r PIA Interior

Witchathorn Pr as

Managing Direct ertsuk or STORAGE Stud io

Winai Chairakp on

Founder and De g sign Director b u g studio


BEST OF INTERIO R

DESIGN

โครงการเสนอแนะออกแบบปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายใน โรงเรียนบ้านเด็กป่า

สุวิจักขณ์ อัศวสนศิริ

สาขาวิชาออกแบบภายใน ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

โครงการออกแบบปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนบ้านเด็กป่า เป็นโครงการ ทีอ่ อกแบบประปรับปรุงเพิม่ เติมรูปแบบการใช้งานภายในโครงการเดิม เพือ่ เสนอแนะ ปรับเปลีย่ นมาเป็นโครงการออกแบบปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนบ้านเด็กป่า โดยแต่ละส่วนจะมีการจัดแบ่งพืน้ ทีก่ ารออกแบบไว้อย่างเหมาะสม ภายใต้แนวความคิด ในการออกแบบคือ พื้นที่ตรงกลางระหว่างต้นไม้และฟังก์ชั่นการใช้งาน ซึ่งพื้นที่จะ เติบโตไปพร้อมกับการเจริญเติบโตของต้นไม้ โดยใช้หลักของเศรษฐกิจพอเพียงใน การจัดสรรพื้นที่ เพื่อการเรียนรู้ที่จะด�ารงชีวิตได้ด้วยการพึ่งพาตนเอง CHILDREN OF THE FOREST

SUVIJAK ASSAVASONSIRI

INTERIOR DESIGN DIVISION, DEPARTMENT OF ARCHITECTURE FACULTY OF ARCHITECTURE AND DESIGN KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK

Children of the Forest is a project that redesigns, adjusts and adds more function to the former program of the space in order to promote changes leading to environmental improvements. Each aspect of the project has been appropriately organized under the concept that the middle space between the trees and facilities grows together along with the trees’ growth. By drawing upon the philosophy of a self-sufficient economy to allocate the space, the project has led to increased learning in terms of how to support independent living. E. TOP_CLA@HOTMAIL.COM T. 083 272 5608

DEGREE SHOWS 2015

24


25

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

26


โครงการปรับปรุงหอฝิ่น อุทยานสามเหลี่ยมทองค�า

ธัชชนก พงศ์ประยูร

ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการพิพิธภัณฑ์ที่พบในปัจจุบันนั้น มักหลงใหลไปกับการน�าเสนอด้วยเทคโนโลยี เป็นส่วนใหญ่ ท�าให้แต่ละโครงการขาดเอกลักษณ์ ขาดกลิน่ อายทีแ่ ท้จริงของแต่ละเรือ่ งราว อีกทัง้ การพึง่ พาเทคโนโลยีนนั้ ท�าให้ตอ้ งเสียงบประมาณจ�านวณมากในการปรับปรุง เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โครงการปรับปรุง หอฝิ่น จึงเป็นกรณีศึกษา ที่น่าสนใจในการน�ามาท�าเป็นวิทยานิพนธ์ เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้น และน�าเสนอ แนวทางการเล่าเรือ่ งแบบใหม่ ให้เป็นพิพธิ ภัณฑ์ทมี่ เี อกลักษณ์ในตัวเอง แนวความคิด ในการออกแบบจึงต้องการเปิดอาคารออก เพื่อเชื่อมบริบท สถาปัตยกรรม และ สถาปัตยกรรมภายใน เข้าด้วยกัน เสมือนสถานทีท่ นี่ กั ท่องเทีย่ วจะมาเดินเล่นพักผ่อน และได้ความรู้ ไปในตัว โดยการเล่าเรื่องไปตามล�าดับเหตุการณ์ของพื้นที่ ขึ้นไปตาม คอนทัวร์ เนื่องจากเหตุการณ์ในพื้นที่สามเหลี่ยมทองค�านี้มีทั้งมุมที่ดีและไม่ดีปะปน กันไป การออกแบบจึงแยกเรื่องดีและไม่ดีด้วยแสงและความทึบโปร่ง เพื่อช่วยให้ ง่ายต่อการรับรู้ของคนทั่วไปว่าสว่างคือเรื่องดี มืดคือเรื่องไม่ดี HALL OF OPIUM GOLDEN TRIANGLE

THACHANOK PONGPRAYOON

DEPARTMENT OF INTERIOR ARCHITECTURE, FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY

Most museums nowadays seem to be infatuated with presentation technology. This has caused projects to lose their identity and true sense of the story. Besides, relying too much on technology can also require a large budget in terms of improvement, as one has to stay caught up with the trends that are changing all the time. The renovation project of the Hall of Opium has become an interesting case study for this thesis. In order to study the occurred problem and present the new way to approach story telling in the museum, the concept behind the design process encourages the closed building to be more open and bring in the atmosphere in order to help share the stories in a manner that is itself connected to the context, architecture and interior architecture; likewise, the design also creates a place where tourists can come to promenade and simultaneously learn something as well. The narration tells the story and occurrence in sequence along the contour of the site. Because the story behind the Golden Triangle is both positive and negative, the design tries to divide the good and the bad stories through the use of lighting and transparency so that visitors can easily understand that brighter lighting represents good and the darker illumination typifies the bad stories. E. P.THACHANOK@GMAIL.COM T. 086 363 1741

27

DEGREE SHOWS 2015


โครงการออกแบบภายในโรงแรมสยาม เรเนซองส์ ราชประสงค์ กรุงเทพมหานคร

ศศิพิมพ์ ชุติกานนท์

ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

เนื่องจากการวิเคราะห์บริบทของสถานที่ตั้งซึ่งอยู่ในจุดที่รุ่งเรื่องที่สุดของกรุงเทพมหานคร และการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายซึ่งส่วนมากเป็นนักท่องเที่ยวที่ต้องการ สัมผัสกับวัฒนธรรมไทย จึงก่อให้เกิดแนวความคิด Thai Renaissance คือการ ฟื้นฟูศิลปะในยุค Classic โดยเป็นการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมไทย และ วัฒนธรรมตะวันตกด้วยความงามของการตกแต่ง (Ornament) และองค์ประกอบ ของศิลปะ (Element) ซึ่งก่อให้เกิดเป็นงานออกแบบในรูปแบบใหม่ที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว เพื่อตอบสนองต่ออารมณ์และความรู้สึกของผู้ที่เข้ามาใช้บริการ โดย น�าเสนอผ่านวิธีการของช่างศิลป์ไทย INTERIOR DESIGN PROJECT FOR SIAM RENAISSANCE HOTEL RATCHAPRASONG BANGKOK

SASIPHIM CHUTIKANONT

DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN, FACULTY OF DECORATIVE ARTS SILPAKORN UNIVERSITY

According to the context analysis of the site that has turned out to be one of the most prosperous sites in Bangkok, and the target analysis in which most users are travelers who want to experience Thai culture; all these components have been incorporated into the concept behind ‘Thai Renaissance.’ The concept depicts the acculturation between Thai culture and Western culture through the use of ornaments, elements and the methods of Thai artisans that bring about a unique design capable of matching the user’s moods and feelings. E. SASIPHIM.CHU@GMAIL.COM T. 087 986 6066

DEGREE SHOWS 2015

28


29

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

30


พื้นที่ส่งต่อพื้นที่

ปัณญารัตน์ ชุณหณิชชูพงศ์

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

งานชิ้นนี้ได้ตั้งค�าถามเกี่ยวกับการรวมข้อจ�ากัดของการใช้พื้นที่กับเวลาของคนเมือง ให้ ได้ประโยชน์สูงสุดไว้ ได้อย่างไร ในเงื่อนไขที่ว่าพื้นที่การใช้งานนั้นสามารถมอบ ประสบการณ์การของ ‘Cinematic spatial’ ได้ กล่าวคือ สามารถพิสูจน์ ได้ว่า พื้นที่ ทีม่ จี า� กัด สามารถสร้างพืน้ ที่ได้อย่างไม่จา� กัด เหมือนอย่างทีพ ่ นื้ ทีใ่ นการชมภาพยนตร์ ไม่ได้เป็นเงื่อนไขในการส่งต่อพื้นที่จินตนาการที่ไม่มีที่สิ้นสุดได้ ROOM TO ROOMS

PANYARAT CHUNHANITCHOOPONG

PROGRAM IN INTERIOR ARCHITECTURE, SCHOOL OF ARCHITECTURE AND DESIGN KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI

This project questions how to acquire and maintain the most benefit from the collection of available usable space and time that the city people have by investigating if these pockets of useable space are capable of offering an experience of ‘Cinematic Spatial’ qualities. In other words, the project proves that limited areas can create unlimited space within—such as a movie screening space where no conditions are going to affect the infinite imaginary space contained within. E. PANYARAT.CC@GMAIL.COM T. 085 154 6691

31

DEGREE SHOWS 2015


โครงการออกแบบปรับปรุงศูนย์บริการและบ้านพักนักท่องเทีย่ ว อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมูเ่ กาะเสม็ด

สิริภัทร พนัสบดี

ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการศูนย์บริการและบ้านพักนักท่องเที่ยวแห่งนี้ เป็นโครงการของกรมอุทยานแห่งชาติฯ ที่จะท�าการก่อสร้างสถาปัตยกรรมเพื่อเพิ่มพื้นที่ในการท�ากิจกรรมเชิงอนุรักษ์และรองรับนัก ท่องเที่ยว ที่ตั้งของโครงการอยู่ที่อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่ได้รับความนิยมอย่างมาก การจะสร้างสมดุลในการ อยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจึงเป็นสิ่งที่ต้องค�านึงถึงเป็นหลักในการออกแบบเพื่อ ให้มนุษย์สามารถอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติได้อย่างพึง่ พาอาศัยกัน โดยไม่ทา� ลายทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์ภายในอุทยานฯ จากนิยามของค�าว่าอุทยานแห่งชาติตามพรบ. อุทยานแห่งชาติ ได้ให้ความส�าคัญกับการสงวนสภาพธรรมชาติเพื่อเห็นประโยชน์แก่การศึกษา และความรื่นรมย์ของประชาชน จึงน�าค�าว่า ‘อนุรักษ์’ มาเป็นหัวใจหลักในการออกแบบ ซึ่งการ อนุรักษ์สามารถตีความไปได้ในหลายรูปแบบเพื่อน�ามาใช้กับการออกแบบในแง่มุมต่างๆ การตีความการอนุรักษ์ ในแง่มุมต่างๆเพื่อน�ามาสู่การออกแบบ ประกอบไปด้วยการอนุรักษ์ บรรยากาศธรรมชาติทสี่ วยงามภายในอุทยานฯ โดยการใช้วสั ดุธรรมชาติทเี่ ป็นวัสดุทสี่ ามารถ ทดแทนได้ง่ายหรือเป็นวัสดุที่น�ากลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง และการอนุรักษ์พลังงานโดยการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ แดด-ลม ให้เข้ามามีส่วนร่วมกับสถาปัตยกรรม ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด และเป้าหมายสูงสุดของการอนุรักษ์คือการสร้างจิตส�านึกของผู้ใช้งาน โครงการ โดยให้ผู้ใช้งานได้ตระหนักถึงประโยชน์และข้อดีของการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและ การอนุรักษ์ ในแง่มุมต่างๆ INTERIOR ARCHITECTURAL RENOVATION DESIGN FOR THE VISITOR CENTER AND ACCOMMODATION KHAO LEAM YA – MU KOH SAMET NATIONAL PARK

SIRIPAT PANUSBORDEE DEPARTMENT OF INTERIOR ARCHITECTURE, FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY

This interior architectural renovation design for the visitor center and accommodation areas is a project conducted under the Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation. The design aims to construct an architecture aimed at creating more space for conservation activities and accommodation for tourists. Located in Khao Laem Ya National Park – Mu Koh Samet, Rayong, one of the country’s most famous natural attractions, this balances the union between human beings and nature dependently by not destroying the deserved conservation natural resources in the national park. Due to the definition of a national park in the National Park Act of Thailand, which gives precedence to nature conservation and also sees the advantages of educating and entertaining people, this project has chosen the word ‘conservation’ as its key idea for the concept. Conservation can be interpreted in many different ways, and the focuses that have been taken here include natural atmosphere conservation achieved through the use of natural and reusable materials, energy conservation achieved through the use of natural resources and the combination of sunlight and ventilation that are brought together within the architecture in order to achieve maximum benefit. The highest goal of conservation is to raise the users’ awareness by letting them realize the positive aspects of the coexistence between nature and conservation. E. SIRIPAT.PN@GMAIL.COM T. 089 799 2611

DEGREE SHOWS 2015

32


33

DEGREE SHOWS 2015



PROD DESIG UCT N คณะกร ร ม กา ศ ุภพ

รต

นักออกงศ์ สอนสังข ัดสิน แบ ์ ดร.ฐิติพ บผู้ก่อตั้งบริษัท ท าซาน่า ผู้อ�านว ร ฌานว ย ง ั ก ศ า ะ ร และบริห ด าร ้านนวัตก ชินภาน งานวิจัยบริษัทรพรมการออกแบบ ีคฌาน นกั ออก ุ อธิชาธน จา� กัด บดี แบบผกู้ อ่ ตงั้ บรษิ ทั โตรโหมด JUDG สตดู โิ อ ES S upp

Foun apong So der o f Taz nsang Thiti ana C p ompa Direc orn Cha ny t n o Desig r of Inn awangs o a n v , a a Ph tio nd Peak chan Manage n Resear D. ch m Com Shin pany ent, p Limit Foun anu Ath ed ic der o f Trim hathana bade ode S e tudio


BEST OF DESIGN PRODUCT โครงการออกแบบระบบผลิตภัณฑ์และการบริการ เพื่อเปลี่ยน ทัศนคติและพฤติกรรมการรับประทานอาหารของคนวัยทํางาน

โศภิษฐา ธัญประทีป

ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในปัจจุบันคนเมืองวัยท�างานมีชีวิตที่รีบเร่ง จ�าเป็นต้องพึ่งพาอาหารนอกบ้านที่มี คุณค่าทางโภชนาการต�่า รวมทั้งมีทัศนคติต่ออาหารเพื่อสุขภาพที่มีอยู่อย่างจ�ากัด ส่งผลให้เกิดโรคจากความไม่สมดุลทางสารอาหารและพลังงานอย่างต่อเนื่อง balunch ระบบที่ช่วยสร้างความตระหนักในสุขภาพและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การรับประทานอาหาร ด้วยบริการจัดส่งอาหารมื้อกลางวันที่คัดเลือกโดยโภชนากร จากร้านอาหารทีเ่ ราคุน้ เคย เพือ่ สร้างประสบการณ์เรียนรูโ้ ภชนาการขณะรับประทาน อาหาร (learning by eating) ผ่านฉลากอาหาร บรรจุภัณฑ์ และแผ่นรองจานที่ใช้ งานร่วมกัน รวมทั้งฝึกฝนและพัฒนาทักษะโดยมีแรงกระตุ้นจากกลุ่มเพื่อน (Peer Pressure) ผ่านการท�ากิจกรรมร่วมกัน เอือ้ ให้เกิดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมร่วมกัน อย่างค่อยเป็นค่อยไปจนเกิดความเคยชิน ท�าให้สามารถน�าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ เลือกรับประทานอาหารในบริบทอื่นในชีวิตประจ�าวันได้อย่างยั่งยืน BALUNCH: PRODUCT AND SERVICE SYSTEM FOR HEALTHY EATING HABITS

SOPISTHA THUNPRATEEP

DEPARTMENT OF INDUSTRIAL DESIGN, FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY

Working metropolitans seem nowadays to always be living in a rush and, most of the time, have to rely upon the low nutritional value of street foods for sustenance. With their attitude towards healthy foods being limited, this has caused people to get sick from the effects of nutritional imbalances. Balunch is a system that will help to promote the realization of health and facilitate a change in eating habits through the delivery of healthy lunch boxes in which the foods have been selected by nutritionists from familiar restaurants. Facilitating a learning experience known as ‘learning by eating,’ the use of labels, packaging and placemat work together to spread nutritional knowledge. Furthermore, users can also practice and develop their skills through the function of peer pressure by means of ‘missions’ that they play together in order to help change mutual habits gradually, all of which leads to the greater ability of users to adapt their eating habits to the daily context more sustainably. E. SOPISTHA.THUN@GMAIL.COM T. 086 392 2565

DEGREE SHOWS 2015

36


37

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

38


โครงการออกแบบสื่อการเรียนรู้เรื่องการร้อยดอกไม้ ไทย สําหรับเด็กอายุ 6-12 ปี เชิงประยุกต์

ณัฐชา มณีศุภเกตุ

ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม สาขาการออกแบบสนเทศสามมิติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

โครงการออกแบบสื่อการเรียนรู้เรื่องการร้อยดอกไม้ ไทยส�าหรับเด็กอายุ 6-12 ปี เชิงประยุกต์ มีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังและเป็นตัวกลางในการเผยแพร่ความรู้ รวมถึงกระตุ้นให้เกิดความน่าสนใจเกี่ยวกับศิลปะการร้อยดอกไม้ในรูปแบบใหม่ เพื่อเสริมสร้างความสนุกพร้อมทั้งสามารถเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม การร้อยดอกไม้ให้กับเด็กในช่วงอายุ 6-12 ปี โดยผู้ศึกษาได้มีการศึกษาและทดลอง เพื่อออกแบบวิธีการต่างๆ ที่จะสามารถช่วยให้การเรียนรู้เรื่องการร้อยดอกไม้ ไทย มีความง่ายและน่าสนใจมากยิง่ ขึน้ จึงได้มกี ารสรุปเนือ้ หาทีเ่ หมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย โดยแบ่งขั้นตอนการเรียนรู้เนื้อหาตามล�าดับความง่ายและยากตามความสามารถ ของเด็กในแต่ละช่วงวัย เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เนื้อหาที่เหมาะสมตามความสามารถของ แต่ละวัยและช่วยให้การเรียนรู้เนื้อหาเกี่ยวกับการร้อยดอกไม้ ไทยเป็นเรื่องที่มีความ น่าสนใจและสนุกเวลาเรียน นอกจากนี้ยังสามารถท�าความเข้าใจในเนื้อหาได้ง่าย ด้วยตนเองอีกด้วย LEARNING MEDIA FOR THREADING TRADITIONAL THAI FLORALS FOR CHILDREN AGED 6-12 YEAR OLD

NATCHA MANISUPHAKET

DEPARTMENT OF INDUSTRIAL DESIGN, PROGRAM IN 3D-BASED COMMUNICATION DESIGN, FACULTY OF ARCHITECTURE KING MONGKUT’S INSTITUTE OF TECHNOLOGY LADKRABANG

Learning media for threading traditional Thai florals for children aged 6-12 years old aims to function as a medium for distributing knowledge and provoking interest in new forms of the art of floral threading so that children aged 6-12 years old will be able to enjoy and learn the culture of traditional Thai floral threading techniques. The creator of this project has studied and experimented with the system in order to design the new means that can allow for learning about Thai flowers to become easier and more interesting. Therefore, an analysis and summary of the information has been organized in a format ranging from easy to hard in regards to the abilities of the children so that they can easily choose which areas of Thai traditional floral threading are best fitting to their skill level and age group. Children can enjoy this media for learning on their own and spend free time engaged in understanding the knowledge presented. E. IMSAIPARNN@GMAIL.COM T. 089 494 5998

39

DEGREE SHOWS 2015


โครงการออกแบบอุปกรณ์อํานวยความสะดวกในซูเปอร์เซ็นเตอร์ สําหรับคนพิการนั่งเก้าอี้ล้อเข็น (วีลแชร์)

ชนิสรา เหล่าแก้ว

ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ในสังคมปัจจุบนั แนวโน้มของจ�านวนประชากรคนพิการทางการเคลือ่ นไหวมีเพิม่ มากขึน้ จากข้อจ�ากัดทางร่างกายท�าให้คนพิการโดนกีดกันออกจากสิง่ อ�านวยความสะดวก ต่างๆ เพราะความไม่เอื้ออ�านวยต่อการใช้บริการ รัฐบาลจึงมีนโยบายที่ส่งเสริมให้ ทุกภาคส่วนมีการรณรงค์และสนับสนุนให้คนพิการออกมาท�ากิจกรรมต่างๆ ด้วย ตนเองมากขึ้น ห้างสรรพสินค้า หรือซูเปอร์เซ็นเตอร์มีนโยบายอ�านวยความสะดวก ให้คนพิการ เนือ่ งจากข้อจ�ากัดของร่างกายทีต่ อ้ งนัง่ เก้าอีล้ อ้ เข็น ท�าให้พฤติกรรมการ เลือกซือ้ สินค้าของคนพิการแตกต่างจากกลุม่ คนปกติทวั่ ไป การซือ้ สินค้าด้วยตัวคนเดียว จึงท�าได้ยากขึน้ วัตถุประสงค์ของการออกแบบอุปกรณ์อา� นวยความสะดวกในซูเปอร์เซ็นเตอร์สา� หรับคนพิการนั่งเก้าอี้ล้อเข็น (วีลแชร์) เพื่อตอบสนองต่อการใช้งานและ ความต้องการซื้อสินค้าประเภทต่างๆ และเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีแก่ซูเปอร์เซ็นเตอร์ที่ใช้เป็นกรณีศึกษา อุปกรณ์ประกอบไปด้วย อุปกรณ์บรรจุและเคลื่อนย้าย สินค้า (รถเข็นสินค้า) ทีว่ างถาดอาหาร (ส�าหรับใช้งานภายในศูนย์อาหาร) และอุปกรณ์ หยิบสินค้าจากทีส่ งู -ต�า่ (ส�าหรับใช้งานภายในส่วนของซูเปอร์มาร์เก็ต) อุปกรณ์อา� นวย ความสะดวกทีก่ ล่าวมาข้างต้น จะเป็นส่วนทีช่ ว่ ยให้คนพิการเข้าถึงการเลือกสินค้า หรือ ขอความช่วยเหลือจากพนักงานได้งา่ ย และรวดเร็วมากขึน้ ส่งเสริมให้คนพิการได้ออก มาใช้ชวี ติ ร่วมกับคนทัว่ ไป และเลือกซือ้ สินค้าได้ดว้ ยตัวเอง THE EQUIPMENT PROVIDED IN SUPERSTORES FOR THE CONVENIENCE OF DISABLED PEOPLE IN WHEELCHAIRS

CHANISARA LAOKAEW DEPARTMENT OF INDUSTRIAL DESIGN FACULTY OF ARCHITECTURE KING MONGKUT’S INSTITUTE OF TECHNOLOGY LADKRABANG

In present-day society, the needs of the disabled population are continuously increasing. With their physical challenges, the disabled have been deprived access to facilities due to their inconvenient usage. The government has stepped in to promote a policy that aims to encourage every department and institution to campaign for and support the disabled to do things on their own, which has in turn led to a facilitation policy emerging from many department and superstores worldwide. Due to the body’s limitations when using a wheelchair, shopping habits of the disabled are different from the norm. For the disabled, shopping alone can prove much more difficult and challenging. The goal of this project, to provide convenient equipment for the use of disabled persons in wheelchairs within superstores, aims to meet the users’ needs when buying grocery products as well as promote a good image for the chosen superstore. Equipment including shopping carts, food trays and pick-up sticks are all tools that can help the disabled to shop or request assistance from sales staff more quickly and easily while encouraging the disabled to come out, live with others and even shop by themselves. E. TARN_LAOKAEW@HOTMAIL.COM T. 083 171 8708 DEGREE SHOWS 2015

40


41

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

42


ออกแบบบรรจุภัณฑ์ของที่ระลึกสําหรับยาดม – ยาหม่อง สมุนไพร

ศศิภา สิขเรศ

ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ส�าหรับยาดมยาหม่องสมุนไพร เพื่อสามารถใช้เป็นของ ที่ระลึกได้ โดยมีแรงบันดาลใจมาจาก “โขน” เรื่องรามเกียรติ์ซึ่งเป็นวรรณคดีสา� คัญ เรื่องหนึ่งของไทย ด้วยการน�าเอาเอกลักษณ์ของตัวละครที่สา� คัญในเรื่องมาออกแบบ เป็นตัวบรรจุภัณฑ์เครื่องเคลือบดินเผาในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เกิดความสวยงามและ สะดวกในการใช้งาน โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ ให้ชาวไทยและชาวต่างชาติทชี่ นื่ ชอบในเรือ่ ง การแสดงโขน หรือศิลปะไทย และสนใจในสรรพคุณของยาดม ยาหม่องสมุนไพรไทยที่ มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ น�าไปใช้เป็นของที่ระลึก ของสะสม ของขวัญ ส�าหรับตนเองหรือผู้ที่ต้องการจะมอบให้ PACKAGE FOR INHALANTS AND HERB BALM; INSPIRED BY THE CHARACTERS OF KHON.

SASIPA SIKARESS

DEPARTMENT OF CERAMICS, FACULTY OF DECORATIVE ARTS SILPAKORN UNIVERSITY

This packaging design for inhalants and herb balm souvenirs was inspired by Khon ‘Ramakien,’ one of the most prominent Thai classical epics. Through the selection of specific attributes of famous characters within the story and the transformation of these attributes into various ceramic packages, the products are made to be more beautiful and their use more convenient. The project further aims to encourage Thais and foreigners alike to enjoy the Khon performance or Thai art while also encouraging their interest in the properties of the inhalants and herb balm. Furthermore, the package can later be kept as a souvenir, collectible item or gift for those who are interested. E. AOM.SASIPA@GMAIL.COM T. 083 005 5040

43

DEGREE SHOWS 2015


รีคราฟต์ รีครีเอชั่น

ณัฐกานต์ ตาปสนันทน์

ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ (หลักสูตรนานาชาติ) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานหัตกรรมพื้นบ้านนั้นเหินห่างจากวิถีชีวิตของผู้คนส่วนใหญ่ งานใบตอง หนึ่งใน งานหัตกรรมไทยอันมีเอกลักษณ์เองก็ ได้ถกู คนไทยมองข้ามและละเลยไปตามกาลเวลา ผลงาน Re-Craft Recreation จึงเกิดขึ้น เพื่อที่จะสร้างสรรค์งานหัตถกรรมนี้ขึ้นมา ในมุมมองใหม่ โดยน�าเสนอออกมาในรูปประติมากรรมแสง ทั้งนี้เป็นการดึงเอาความ สวยงาม การพับอันมีเอกลักษณ์เฉพาะขึ้นมาน�าเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ ให้ผู้ชม สามารถเข้าถึงงานหัตถกรรมนี้ได้ง่ายขึ้น โดยในตัวชิ้นงาน ได้มีการใช้แสงไฟช่วย เน้นย�้าโครงสร้างของชิ้นงาน และรูปลักษณ์ของการพับแต่ละส่วน เพื่อให้สามารถ สะท้อนเอกลักษณ์และความประณีตของงานหัตถกรรมออกมาให้ ได้มากที่สุด RE-CRAFT RECREATION

NATTAKARN TAPASANAN

PROGRAM IN COMMUNICATION DESIGN, DEPARTMENT OF INDUSTRIAL DESIGN FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY

With traditional craft practices becoming less involved in contemporary daily life, Ngan Baitong, or Thailand’s unique banana leaf folding technique, has unfortunately been overlooked by Thai people. Re-Craft Recreation, like the name describes, aims to recreate this exquisite craft in the form of a lighting sculpture in order to present the audience with a finer perspective and new means of looking at the traditional craft. Lighting is utilized to emphasize its strong structures and delicate details so as to reflect the identity and meticulousness of the craft itself. E. NATTAKARN.T54@GMAIL.COM T. 089 120 9686

DEGREE SHOWS 2015

44


45

DEGREE SHOWS 2015


C I H P A R G IการGตัดสNิน S DคณE ะกรรม

ิศวกุล กนกนุช ศั้งิลแลปะผว ู้อ�ำนวยกำรฝ่ำยออกแบบ ผู้ร่วมก่อต ทิเคิล ดีไซน์สตูดิโอ บริษัท แพรค วีร์ วีรพรำรฝ่ำยออกแบบ ผู้อ�ำนวยก ียส สตูดิโอ บริษัท คอนเช

์ เพียรพนบาเวช เอกลักษณ ำรฝำ่ ยออกแบ

ผอู้ ำ� นวยก งิ่ แมทเทอร์ บริษัท เคริ น์ นฝำ่ ยออกแบบตวั อกั ษร ผอู้ ำ� นวยกำร บริษัท ไทปเ์ ค JUDGES wakul

isa r h Sillapaw Kanoknucr and Design Directo

e Co-found design studio AL IC T C A R P orn io Wee Virap ctor, Conscious Stud e ir D n ig s e D ate eanpanaw ers Ekaluck Pector, Kerning Matt ir D n ig s De k ctor, Type Type Dire



BEST OF DESIGN GRAPHIC การออกแบบระบบป้ายสัญลักษณ์, แอพพลิเคชัน่ และอินฟอร์เมชัน่ โมชัน่ กราฟิก เพือ่ แสดงจุดจอดรถตูบ้ ริเวณอนุสาวรียช์ ยั สมรภูมิ

ภูมิ สุคนั ธพันธ์ / ธันยพัฒน์ อารมณ์ชนื่ / อภิรตั น์ ฤกษ์อภิเดชา / ชนทิพา มาลี / ณัฐนันท์ แย้มนุน่ / ธาดารัตน์ เฉวียงหงษ์ ภำควิชำมีเดียอำตส์ คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรมและเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี

“หำรถตู้ ฉับไว แม่นย�ำ สบำยใจ ไม่มีหลง” อนุสำวรีย์ชัยฯ เป็นจุดศูนย์กลำงของกำร เดินทำงและมีจดุ จอดรถตูม้ ำกมำย ท�ำให้ยำกและสับสนต่อกำรเดินหำ ป้ำยสัญลักษณ์ จะช่วยน�ำทำงให้ผู้ใช้บริกำรรถตูส้ ำมำรถหำจุดจอดรถตู้ได้อย่ำงรวดเร็วได้ดว้ ยตัวเอง นอกจำกนั้น Application เป็นส่วนเสริมที่สำมำรถท�ำให้ผู้ใช้ทรำบจุดจอดรถตู้ ได้ ทุกที่ไม่ว่ำคุณจะอยู่ที่ไหน และยังสำมำรถวำงแผนกำรเดินทำงได้ และวิดีโอ อินฟอร์เมชั่น โมชั่นกรำฟิกจะเป็นสื่อในกำรแนะน�ำวิธีกำรใช้งำน Application อย่ำงง่ำยดำย SIGNAGE DESIGN, APPLICATION DESIGN AND INFORMATION MOTION GRAPHIC FOR PRESENTING A PARKING POINT FOR PUBLIC VANS AT VICTORY MONUMENT AREA.

POOM SUKHANTAPHAN / THANYAPAT AROMCHUEN / APIRAT RUEAKAPIDECHA / CHONTIPA MALEE / NATTANAN YAMNUN / THADARAD CHAVEANGHONG MEDIA ARTS PROGRAM, FACULTY OF INDUSTRIAL EDUCATION AND TECHNOLOGY KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI

We all know that Victory Monument is a central area of transportation and one of the most dense and frequently used van parking areas in the city. We are also all too aware that the area is notorious for confusing passengers. The “Victory Monument Van Map” presents signage that will help passengers to find and utilize van parking more easily, through the use of a supplemental application for navigating the parking area. Moreover, this application will introduce instructions for how to utilize the “Victory Monument Van Map” to the user through instructions presented in easy to grasp videos and motion graphics. E. THAIVANS@OUTLOOK.COM T. 089 166 6770

DEGREE SHOWS 2015

48


49

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

50


การออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์สา� หรับโฮงเฮียนสืบสาน ภูมิปัญญาล้านนา

น�้าใส ศุภวงศ์

ภำควิชำออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร

โฮงเฮียนสืบสำนภูมิปัญญำล้ำนนำก่อตั้งขึ้นเพื่อรักษำควำมอยู่รอดของภูมิปัญญำ ล้ำนนำในยุคปัจจุบันที่เต็มไปด้วยอิทธิพลจำกวัฒนธรรมภำยนอก Recycle Lanna คือโครงกำรที่จะช่วยโฮงเฮียนส่งออกองค์ควำมรู้ต่ำงๆ ไปสู่คนรุ่นใหม่ใน เมืองซึ่งห่ำงไกลควำมเจริญด้ำนภูมิปัญญำให้ทั่วถึง ภำยใต้แนวคิด ‘บ่หลง ของเก่ำ บ่เมำของใหม่’ โดยประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ เว็บไซต์ และสิ่งพิมพ์ประชำสัมพันธ์ เว็บไซต์

‘RECYCLE LANNA’ / MEDIA ADVERTISING FOR LANNA WISDOM SCHOOL ‘RECYCLE LANNA’

NAMSAI SUPAVONG

DEPARTMENT OF VISUAL COMMUNICATION DESIGN, FACULTY OF DECORATIVE ARTS SILPAKORN UNIVERSITY

The Lanna Wisdom School was developed in order to conserve local Lanna knowledge and resist the extraneous sources of culture that seem to be gaining more and more influence within the area. Therefore, ‘Recycle Lanna’ is a project with the objective of publishing and sharing prior sources of traditional knowledge with the new generation of citizens living in the city where these types of information are seemingly slipping away. Presented under the concept, ‘Don’t forget the prior, Don’t obsess over the later.’ Recyle Lanna is divided into two parts, a website and a publication promoting the website. E. MAILOFJUG@YAHOO.COM T. 084 022 1020

51

DEGREE SHOWS 2015


การออกแบบข้อมูล “ความสัมพันธ์ของสีและเสียง”

สุกฤตา จิรากรไกรแสง

ภำควิชำออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร

Musics move us เสียงเพลงท�ำให้เรำเคลื่อนไหวทั้งร่ำงกำยและควำมรู้สึกพริ้วไหว ตอนฟัง ballads หรือวิ่งอย่ำงเกรี้ยวกรำดตอนฟัง rock ‘n’ roll แต่นอกจำกกำร เคลื่อนไหวทั้งสองแล้ว จินตนำกำรของเรำกลับเคลื่อนไหวไปพร้อมกับกำรฟังเพลง ด้วย สีสันมำกมำยผุดขึ้นในหัว อำจจะเป็นสีม่วง ตอนฟังเพลง classic หรือ สีเหลือง ตอนฟังเพลง pop เรำได้เชื่อมโยงกำรเคลื่อนไหวทั้งหมดเข้ำด้วยกัน แต่จินตนำกำร กลับเป็นเรื่องส่วนบุคคล เรำอำจจะเห็นสีคล้ำยๆ กัน จนไปถึงเห็นแตกต่ำงกันอย่ำง ชัดเจน ทัง้ หมดนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ประสบกำรณ์ของแต่ละคน แต่หำกสีและเสียงมีกำรก�ำหนด บรรทัดฐำนที่แสดงควำมเชื่อมโยงของกันและกัน ผลลัพธ์ที่ได้อำจแสดงควำม สอดคล้องหรือขัดแย้งต่อจินตนำกำรและควำมรู้สึกเดิมๆ หรืออำจจะน�ำไปสู่กำร เริ่มต้นจินตนำกำรใหม่ๆ แทน INFOGRAPHIC DESIGN “RELATIONSHIP OF COLOUR AND SOUND”

SUKRITA JIRAKORNKRAISANG

DEPARTMENT OF VISUAL COMMUNICATION DESIGN, FACULTY OF DECORATIVE ARTS SILPAKORN UNIVERSITY

“Music moves us” in the way that it motivates one both externally and mentally, as we become obsessed with ballads and feel energized by rock ‘n’ roll. Furthermore, in addition to ourmovements, our imagination seems to somehow be moving along with the physical qualities that music inspires in us as well. There are so many colors that occur in our imaginations. Perhaps we think of purple when we listen to classical music or yellow with pop. We often share some sense of connection and similarities with others but music inspires diversity and is a private preference as well. There is the possibility to feel the same, or different colors depending on an individual’s personal experience. However, if we were to define a standard, what would happen next? Could such action lead to some sort of harmonies, paradoxical even, or perhaps the generation of new things? E. SUKRITAAA@GMAIL.COM T. 086 405 2882

DEGREE SHOWS 2015

52


53

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

54


การออกแบบลายสักให้เคลื่อนไหวสอดคล้องกับผิวหนัง

แทนไท ชีวโศภิษฐ

สำขำวิชำกำรออกแบบนิเทศศิลป์ หลักสูตรนำนำชำติ ภำควิชำกำรออกแบบอุตสำหกรรม คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

ช่ำงสักส่วนมำกในปัจจุบันมักใช้ภำพเป็นองค์ประกอบหลักในกำรสัก พวกเขำเพียง แค่สักภำพลงบนผิวหนังในบริเวณที่ต้องกำรและท�ำให้ภำพโดดเด่นขึ้นมำจำกผิวกำย อย่ำงไรก็ตำม ผิวหนังของเรำที่เป็นพื้นผิวของลำยสักก็เป็นสิ่งที่ส�ำคัญไม่แพ้กัน ลำยสักจ�ำเป็นต้องสอดคล้องกันกับพื้นที่ผิวหนังส่วนนั้น มันต้องมำจำกร่ำงกำย และกำรท�ำงำนที่เจำะจงไปทีละจุดๆ มำกกว่ำที่จะมองมันว่ำเป็นเพียงภำพที่ประทับ ลงไปบนร่ำงเหมือนสติ๊กเกอร์อย่ำงหนึ่ง ผมมองว่ำผิวหนังเป็นพื้นที่สี่มิติที่มีประเด็น น่ำสนใจ เพรำะมันมีอ�ำนำจในกำรปรับเปลี่ยน ลดทอน บดบังลำยสักเมื่อกล้ำมเนื้อ ส่วนนั้นขยับเคลื่อน ดังนั้นแล้ว กำรดีไซน์จึงต้องสอดคล้องกับผิวหนัง ‘ภำพ’ และ ‘พื้นภำพ’ เป็นสิ่งที่ส�ำคัญพอๆ กันส�ำหรับกำรผสมผสำนกันของหมึกและสเปซ เพื่อที่จะบำลำนซ์ positive space และ negative space WALTZ OF HALLUCINATION

TANTAI CHEEWASOPIT

PROGRAM IN COMMUNICATION DESIGN, DEPARTMENT OF INDUSTRIAL DESIGN FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY

Most of tattooers nowadays use images as main element for tattooing. They just put an image on specific place, so images play too much role on our skin. But I would rather say, tattoo is an art on body so our space on skin is as well important. Tattoo needs to be harmony with specific body part and space. It would come from the body and works with that part rather than looking like something stuck on the skin like a sticker. I see skin as 4D space and that is an interesting point because design can distort and change when skin move. Designs need to be harmony with skin. So figure and ground is as well important for combining ink and space on skin to create balance positive and negative space. E. CHEEWASOPITTANTAI@GMAIL.COM T. 081 771 3945

55

DEGREE SHOWS 2015


โครงการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์เพื่อชะลออาการ โรคสมองเสื่อม

ณัฐชรี สงวนราชทรัพย์

สำขำวิชำออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและกำรออกแบบ มหำวิทยำลัยรังสิต

โรคสมองเสื่อมเป็นโรคที่ดูใกล้ตัวเรำ และในปัจจุบันมีจ�ำนวนผู้ป่วยเพิ่มมำกขึ้น กำร บ�ำบัดรักษำเบื้องต้นสำมำรถท�ำได้โดยเริ่มจำกคนในครอบครัว จึงได้คิดสื่อที่ช่วย ชะลออำกำรโดยกำรสร้ำงปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่ำงผู้ดูแลและผู้ป่วยเพื่อชะลออำกำร สมองเสื่อมให้ผู้ป่วยสำมำรถใช้ชีวิตประจ�ำวันได้ปกติมำกที่สุด ในกล่องบ�ำบัดจะ ประกอบด้วยหนังสือ 2 เล่ม เล่มที่ 1 ส�ำหรับผู้ดูแลผู้ป่วย เป็นค�ำอธิบำยเกี่ยวกับ โรคสมองเสื่อมและวิธีดูแลผู้ป่วยจนถึงวิธีดูแลตัวผู้ดูแลผู้ป่วยเองด้วย เล่มที่ 2 เป็น กิจกรรมและเกมส์ส�ำหรับผู้ป่วยที่ใช้บ�ำบัดร่วมกัน แผ่นพลำสติกใช้ท�ำกิจกรรม แผ่น sticker 2 ชุด wristband ติดตัวผู้ป่วยส�ำหรับใส่ชื่อไว้ติดต่อตอนที่ผู้ป่วยหลงหำย ไป น�ำ้ หอมบ�ำบัดและสมุดฉีกเตือนควำมจ�ำ กล่องนีม้ รี ะยะเวลำกำรใช้ 3 เดือน บำงส่วน สำมำรถน�ำกลับมำใช้ ได้อีก PARTICIPATORY BOOK PROJECT TO HELP REDUCE THE RISK OF DEVELOPING DEMENTIA DISEASE

NATCHAREE SANGUANRACHASUB

DEPARTMENT OF VISUAL COMMUNICATION DESIGN, FACULTY OF ART AND DESIGN RANGSIT UNIVERSITY

This project aims to inspire interaction between patients and caretakers and allows for those suffering from dementia to interact with everyday life more naturally through the use of a participatory book. The text contains two smaller books inside, the first of which is created for the caretaker and features basic information related to the dementia disease, caretaking instructions as well as advice for the caretaker. The second book provides the patient and caretaker with games and activities that contain two sets of stickers, a name tag wristband, therapy perfume and a reminder notebook. The book presents three months worth of instruction but some elements can be used again and again, providing a valuable source of information that can be referenced as needed. E. MILD27024@HOTMAIL.COM T. 094 241 9125

DEGREE SHOWS 2015

56


57

DEGREE SHOWS 2015


ANIMATION AND MOTION GRAPHIC คณะกรรมการตัด ส

ปวิชชา อารยะพงษ

บริษัท มูนเฮาส์ สต

ูดิโอ

ิน

เอกชัย เกียรติเฉล

อาจารย์ประจ�า สาข ิมพร คณะดิจิทัลอาร์ต ม าวิชาวิชวลเอฟเฟค หาวิท มนต์ วัฒนศิริโรจ ยาลัยรังสิต ครีเอทฟ ี ไดเรค็ เตอร์ แลนะผ์ กู้ อ่ ตงั้ SWERB.TV ครีเอทีฟ ไดเร็คเตอ ร์ แล ะผ ร ้ ู ่วมก่อตั้ง ZIEGHT Project

JUDGES

Pavidcha A ra

MOONHOU yaphong SE STUDIO

Aekachai K ie

Visual Effec tchalermporn ts Rangsit Univ Department ersity

Mont Watan a

Creative Dir siriroch ector and F ounder of SWERB.TV Creative Dir ector and Co-founder of ZIEGHT P roject



BEST OF N AND ANIMATIO RAPHIC MOTION G ชิฟต์

วราลี ตะวันธรงค์

สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

การกดดันพยายามท�างานหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากเกินไปจนเกิดความเครียดนั้นอาจ ท�าให้เราลืมตัวตนและสิ่งดีๆ ในชีวิตไป กลับกลายเป็นคนที่เราเคยไม่อยากเป็น เป็น งานแอนิเมชั่นสต็อปโมชั่น โดยใช้กระดาษ เรื่องราวของผู้ชายวัยท�างาน ที่เคร่งเครียด กับงานมากจนท�าให้เขากลายเป็นสิ่งที่ตนเองเกลียดโดยไม่รู้ตัว SHIFT

WARALEE TAWANDHARONG

DEPARTMENT OF VISUAL COMMUNICATION DESIGN, FACULTY OF DECORATIVE ARTS SILPAKORN UNIVERSITY

Pressure, overexertion in the attempt to accomplish something or stress can transform us into someone we don’t want to be. This stop-motion animation uses cut paper characters to tell the story of a salary man whose obsession with his work transforms him into something he can’t even imagine. E. AFTNIGHT@GMAIL.COM T. 085 555 4187

DEGREE SHOWS 2015

60


61

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

62


โครงงานออกแบบกราฟิกเคลื่อนไหววรรณคดี ไทย รามเกียรติ์ ตอนก�าเนิดทศกัณฑ์

ภัทรานันท์ เย็นอ่อน

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เนื่องจากผู้ศึกษาต้องการน�าเสนองานกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic) ใน รูปแบบที่แปลกใหม่ โดยการน�าเสนอวรรณคดีไทยเรื่อง ‘รามเกียรติ์’ ในรูปแบบทีเซอร์ (Teaser) บอกเล่าสงครามผ่านคาแรคเตอร์ทที่ กุ คนคุน้ หน้ากันดี ซึง่ จะเป็นการดัดแปลง จากของดั้งเดิมให้ดูเข้าใจง่าย และมีความร่วมสมัยมากขึ้น โดยการผสมเทคนิคของ การออกแบบ Flat Design ตัดทอนรูปทรงและยังคงความเป็นคาแรกเตอร์นนั้ ๆ เพือ่ ให้ ผู้รับชมคุ้นเคยในระดับหนึ่ง และได้สัมผัสกับการน�าเสนอการเล่าเรื่องที่แปลกตา แตกต่างออกไปจากเดิม นอกจากนั้นยังเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมของไทย เพราะ ปัจจุบนั วรรณคดีตา่ งๆ เริม่ ถูกลืมเลือนหายไปจากความทรงจ�าของผูค้ นในยุดปัจจุบนั จึงต้องการน�ามาปรับปรุง และน�าเสนอในรูปแบบใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใครท�ามาก่อน MOTION GRAPHIC DESIGN PROJECT, RAMAYANA

PATTARANUN YENON

COMPUTER ANIMATION DEPARTMENT, SCHOOL OF DIGITAL MEDIA SRIPATUM UNIVERSITY

This project presents an alternative version of Ramayana, a work of traditional Thai literature, in the form of a teaser with a contemporary style, telling the story through many recognizable characters who, while simplified into flat design, still contain the ability to represent their prior identities. Moreover, this work preserves an element of Thai culture that seems to often be overwhelmed by western culture and influence. E. TALOCK-TOKTAX@HOTMAIL.COM T. 096 041 5446 / 089 111 0000

63

DEGREE SHOWS 2015


ผาโลหิตพิชิตยอดยุทธจักร

ภิชญุฒม์ ฌานภัทรวรวงศ์

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ในปัจจุบันการไม่ซื่อสัตย์หรือการโกงนั้นเป็นสิ่งที่ท�าง่ายและทุกคนก็มองว่าเป็นเรื่อง ปกติ โครงงานออกแบบภาพยนตร์แอนิเมชั่นขนาดสั้น 3 มิติ เรื่อง เย่อเหอเทียนฟง จึงได้นา� เรื่องของการไม่ซื่อสัตย์มาถ่ายทอดเป็นเรื่องราวในโครงงานนี้ เพื่อให้เห็นว่า การไม่ซื่อสัตย์นั้นเป็นสิ่งที่ไม่ดี ถึงแม้ว่าจะไม่มีใครเห็นก็ตาม นอกจากนี้ยังเป็นการ ตอกย�้าให้ผู้ชมมองเห็นถึงความส�าคัญของการไม่โกหกหรือการไม่ท�าตามกติกา MOUNTAIN AND SKY

PITCHAYUT CHANNAPATWORAWONG

COMPUTER ANIMATION DEPARTMENT, SCHOOL OF DIGITAL MEDIA SRIPATUM UNIVERSITY

Nowadays, corruption seems to be accepted as an ordinary thing or something that no longer frightens us as it had once in the past. This project highlights this seemingly commonplace situation in a short 3D animation asking viewers to pause and reflect upon the existence and effects of this bad behavior. E. PITCHAYUT.CHA@OUTLOOK.COM T. 085 261 5552

DEGREE SHOWS 2015

64


65

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

66


โครงงานศึกษาองค์ประกอบด้านสัญลักษณ์ของงานวัดไทย เพื่อน�ามาใช้ใน แอนิเมชั่น 2 มิติ เรื่อง ‘FESTIVAL RUSH’

ชวนัฏ รัตนปราการ / พีรพัชร เลขะกุล / จตุพล อรุณสวัสดิ์

สาขาวิชามีเดียอาตส์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

โครงงานศึกษาในครัง้ นีเ้ ป็นการศึกษาองค์ประกอบทางด้านสัญลักษณ์ของงานวัดไทย ซึ่งประกอบไปด้วย แสงสี สิ่งประกอบฉาก และผู้คน เพื่อใช้ในการออกแบบภาพยนตร์ แอนิเมชั่น 2 มิติ เรื่อง Festival Rush โดยเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเด็กชายผู้ต้องการ ที่จะน�าตุ๊กตาไปให้เด็กสาวที่ตนเองหลงรัก แต่เขากลับต้องพบอุปสรรคที่ ไม่คาดฝัน เมื่อตุ๊กตาโดนชายสวมหน้ากากขโมยไป เขาจึงต้องตามเอามันกลับมาให้ ได้ STUDY IN SYMBOLIC ELEMENTS OF THAI TEMPLE FAIR TO APPLY FOR 2D TRADITIONAL ANIMATION ‘FESTIVAL RUSH’

CHAWANAT RATTANAPRAKARN / PIRAPHAT LAEKHAKULA / JATUPHOL AROONSAWASD

MEDIA ARTS PROGRAM, FACULTY OF INDUSTRIAL EDUCATION AND TECHNOLOGY KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI

This project researches the symbolic elements of Thai temple fair including light, color and people through the creation of a 2D Animation, ‘Festival Rush’ and a story where a little boy wishes to give a doll to a girl, however, the doll is unfortunately taken by a man in a mask and the boy posed with the challenge of bringing it back by himself. E. KABUTO.MASTER321@GMAIL.COM T. 083 908 7272

67

DEGREE SHOWS 2015


ป่ากระดาษ

สิปปภาส ครองรักษา

สาขาวิชาวิชวลเอฟเฟค คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต

หลังจากพื้นที่ธรรมชาติได้ถูกคุกคามโดยมนุษย์และความเจริญท�าให้เกิดการโคจร มาพบกันระหว่างนกที่ต้องการน�าเส้นฟางไปสร้างรังกับมนุษย์กระดาษที่สนใจแต่ เพียงการท�างาน การพบกันนี้แสดงให้เห็นถึงผลกระทบจากการตัดไม้ท�าลายป่า และรุกล�้าพื้นที่ธรรมชาติที่รุนแรงและน่ากลัว THE PAPER FOREST

SIPPARPAD KRONGRAKSA

DEPARTMENT OF VISUAL EFFECTS, FACULTY OF DIGITAL ART RANGSIT UNIVERSITY

This story highlights the effects of deforestation and forest encroachment in present times What will happen when the bird who carried the straw to build their nest and the paper man who concentrates on his own work come face to face with one another? E. YEESIPP@GMAIL.COM T. 081 447 3109

DEGREE SHOWS 2015

68


69

DEGREE SHOWS 2015



N O I H S FA N G I S E D ะกรรมการตัดสิน คณ

ลาฎิ พลัฏฐไอ์ พเอ แลบอราโทรี เอ็ม เอ ์ สมบุญ จิตต์ส้าิงทหีมออกแบบ าวด์ หัวหน าวด์ บาย เกรฮ เพลย์ฮ รณนิธิกุล ลอเสท็ ิศริวรรณทิ สธ์ แฮพเพน่ ทู บี อะ ค งั้ อ ผกู้ อ่ ต

JUDG

ES

ladhi Platt PLaboratorie M AIA oon Somb r g n i s t Ji esigne

d D yhoun Head und by Gre l o ithiku Playh ranan ened to be a h T n p Siriwaer of it’s hap d n u Fo et a clos


BEST OF DESIGN FASHION I TRY VERY HARD

อดิเรก ค�าน้อย

สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

จากแนวคิดที่ได้มาจากการสังเกตเห็นการแต่งตัวเพือ่ อ�าพรางรูปร่างของคนอ้วน หรือ คนที่มีรูปร่างไม่สมส่วน เช่น การเลือกใช้เสื้อผ้าสีด�า หรือเสื้อผ้าลวดลายกราฟิก แต่ หากสังเกตดูดีๆ เราจะพบว่าภายใต้ชุดสีด�านั้นจะมีอุปกรณ์บางอย่างรัดตรึงอยู่ ภายในร่างกาย แต่ก็ยังมีบางส่วนของร่างกายที่ไม่สามารถปกปิดได้อยู่ดี จึงเกิดเป็น ข้อสงสัยว่าคนเหล่านัน้ มีวธิ กี ารอย่างไรในการจัดการกับรูปร่างหรือไขมันทีโ่ ผล่ออกมา นอกจากการรัดร่างกาย ใส่เสื้อผ้าสีด�า หรือเสื้อผ้าลายกราฟิกแล้ว ผมยังศึกษาพบ การน�าเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ อาทิ The body composition dexa scan ซึง่ เป็น เทคโนโลยีทางเลือกหนึ่งของคนอ้วน โดยการน�าร่างกายของตัวเองเข้าไปสแกนเพื่อ วัดดูปริมาณชั้นไขมันส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาให้ตรง จุด แต่สงิ่ ทีผ่ นสนใจในตัวนวัตกรรมใหม่นคี้ อื dexa scan หรือผลสแกนทีจ่ ะแสดงออกมา ในกระบวนการสุดท้าย สีของผลสแกนที่เกิดจากรูปร่างของคนอ้วน และเส้นกราฟิก ของผลสแกนบนรูปร่างคนอ้วน จึงได้กลายเป็นจุดเริม่ ต้นของการท�าโครงชุด (pattern) ของคอลเล็คชัน่ นี้ I TRY VERY HARD

ADIREG COMENOI

DEPARTMENT OF VISUAL DESIGN-FASHION DESIGN, FACULTY OF FINE ARTS SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY

This collection was inspired by the final result of a body composition DEXA scan, a technology utilized by overweight people that produces and displays a scanned image. From these results, I TRY VERY HARD draws upon some elements related and specific to clothing for overweight people, such as the color black and graphic patterns, and combines them with the scanned image in order to create the resulting clothing pattern. E. ADIREGCOMENOI@HOTMAIL.CO.TH T. 086 307 3418

DEGREE SHOWS 2015

72


73

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

74


โครงการพัฒนาผ้าขาวม้า สู่เครื่องแต่งกายแฟชั่นร่วมสมัย

มายา ว่องวุฒิญาณ

สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ชื่อคอลเล็คชัน่ 1224 จากแนวคิดที่ได้มาจากภาพยนตร์เรื่อง In the mood for love และ 2046 โดยผูก้ า� กับชาวฮ่องกง Wong Kar-wai ถูกตีความเป็นเรือ่ งราวใหม่ โดยหยิบ เอาองค์ประกอบหลายๆ ส่วนของภาพยนตร์มาใช้ในงานออกแบบ เช่น อิทธิพลเรื่อง การแต่งกายแบบตะวันตกในฮ่องกงยุค 60s ชุดกีเ่ พ้าคอตัง้ ลวดลายทันสมัย เทรนช์โค้ท วันคริสต์มาส อดีต และการจินตนาการถึงโลกอนาคตของตัวละคร สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ได้กลายมาเป็นจุดเริ่มต้นของคอลเล็คชัน่ 1224 เสื้อผ้าในคอลเล็คชัน่ ได้มีการหยิบ ชุดคลุมมังกรซึง่ เป็นต้นแบบของชุดกีเ่ พ้ามาประยุกต์เข้ากับรูปแบบเสือ้ ผ้าในยุคปัจจุบนั โดยน�ารูปแบบของแขนเสื้อจีนโบราณ การผ่าข้างแบบกี่เพ้า และวิธีการสวมใส่มาใช้ ในการออกแบบ สีทใี่ ช้ได้แก่สแี ดง ขาว ด�า และฟ้าอ่อน ซึง่ มาจากอารมณ์ภาพยนตร์ของ Wong Kar-wai วัสดุหลักของคอลเล็คชัน่ เป็นผ้าฝ้ายทอมือโดยมีการน�าภูมิปัญญา ผ้าขาวม้าของภาคอีสานมาพัฒนาโดยใช้เส้นฝ้ายที่มีขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อเปลี่ยนเนื้อผ้า ให้มีความหนาเพิ่มขึ้น และผิวสัมผัสที่ต่างจากเดิม ท�าลายความจ�าเจของลายตาราง ให้มีจังหวะที่เปลี่ยนไปทั้งขนาดของเส้นสายและการวางลายผ้าให้สอดคล้องกับงาน ออกแบบ น�าสายรุ้งพลาสติกทอแทรกเข้าไปในผืนผ้าซึ่งเป็นตัวแทนของขนสัตว์ตาม แนวคิดความล�า้ อนาคต รวมถึงผสมผสานวัสดุที่หลากหลาย อาทิ ผ้าวูล ผ้าฝ้าย เนื้อบาง สู่ผลงานในคอลเล็คชัน่ นี้ PHA-KHAO-MA DEVELOPMENT PROJECT TO MODERN CLOTHING

MAYA WONGWUTIYAN

DEPARTMENT OF VISUAL DESIGN-FASHION DESIGN, FACULTY OF FINE ARTS SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY

This 1224 collection is inspired by ‘In the Mood of Love’ and ‘2046,’ two movies by Wong Kar-wai, and draws many elements in its design from the influence of western clothing within Hong Kong in the 60s that is portrayed within the films. The collection transforms these elements into works of contemporary clothing by transforming the Chinese traditional sleeve pattern, slit technique of the Chinese dress and patterns of red, white, black and clear blue seen in the movies into their design. The handmade cotton, use of the loincloth pattern and tinsel add a textural element that makes this collection to be unique and outstanding when compared to the current contemporary clothing scene. E. MAYAWONGWUTIYAN@GMAIL.COM T. 087 459 9877

75

DEGREE SHOWS 2015


การออกแบบเครื่องแต่งกายโดยได้รับแรงบันดาลใจจาก บ่วงเชือกแห่งมิติลี้ลับ

ทศพล เกิดแก้ว

สาขาวิชาศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานศิลปนิพนธ์เรื่องบ่วงเชือกแห่งมิติลี้ลับเป็นผลงานการออกแบบเครื่องแต่งกาย ที่ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากป่าอาโอกิงาฮาระ ประเทศญี่ปุ่น ป่าแห่งนี้ขึ้นชื่อว่าเป็น สถานที่ลึกลับที่มีคนเข้าไปฆ่าตัวตายด้วยการแขวนคอมากที่สุดแห่งหนึ่ง จากปริศนา ความลึกลับแรงอาถรรพ์ของป่าอาโอกิงาฮาระ ที่ชักชวนให้ผู้คนเข้าไปแขวนคอตาย ได้ถกู ตีความแรงปริศนาผ่านมิตติ า่ งมิตทิ ที่ บั ซ้อนโดยใช้หลักทฤษฎีโลกคูข่ นาน ผสานกับ บ่วงเชือกทีเ่ ป็นตัวการของการตายในป่าแห่งนี้ ถูกถ่ายทอดผ่านการน�าผ้าไทย จับพลีท เดรปเพื่อสร้างเลเยอร์และมิติใหม่ที่ทับซ้อน ผสมผสานกับการใช้เทคนิคการถักสาน บ่วงเชือกและหนัง THE ROPE OF THE MYSTICAL DIMENSIONS

THOSSAPOL KERDKAEW

PROGRAM IN TEXTILE, COSTUME, GARMENT AND FASHION DESIGN FACULTY OF FINE AND APPLIED ARTS THAMMASAT UNIVERSITY

This collection is inspired by the Aokigahara forest in Japan, a place home to the greatest number of suicides by hanging in the world. With this story and the combination of the parallel theory and hanging equipment, the collection represents an abstract concept through a pleating technique that generates layers and complex dimensions combined with a knit & loop method crafted in rope and leather. E. KERDKAEW_OFFICIAL@HOTMAIL.COM T. 085 000 0665

DEGREE SHOWS 2015

76


77

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

78


การป้องกันตัวของกระบองเพชร

สีรงุ้ ดอนอินทร์ทรัพย์

สาขาวิชาแฟชั่นดี ไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

กระบองเพชร (cactus) เป็นพืชที่มีการปรับสภาพเพื่อการอยู่รอดในสภาพแวดล้อม ที่แห้งแล้งโดยการลดรูปแบบของใบเป็นหนาม เพื่อลดการคายน�า้ ทั้งยังปกป้องตัวมัน เองจากสัตว์ที่จะมากินน�้าภายในล�าต้น โดยที่ภายในล�าต้นมีลักษณะอ่อนนุ่มคล้าย ฟองน�้าที่เก็บน�้าไว้ข้างใน ได้หยิบเอาแนวคิดเรื่องพื้นผิวที่แตกต่างกันของภายนอก ที่แข็งและภายในที่อ่อนนุ่มและลักษณะของหนามมาใช้ในการออกแบบ โดยสร้างเสื้อ ภายนอกทีม่ ลี กั ษณะแข็ง และภายในใช้วสั ดุทอี่ อ่ นบาง คล้ายกระบองเพชร มีการสร้าง เทคนิคผ้าบนเสื้อตัวนอกโดยใช้ลักษณะเด่นต่างๆ ของรูปแบบหนามของกระบองเพชร PROTECTION OF CACTUS

SEERUNG DONINSUB

DEPARTMENT OF FASHION DESIGN, FACULTY OF ART AND DESIGN RANGSIT UNIVERSITY

As the name suggests, this project draws inspiration from Cactus, which have a hard exterior shell that contrasts with their inside form. The design simulates the hard and prickly pattern of the cactus through the texture of the clothing. Likewise, the inside features a soft, smooth material. E. RAINBIW_KLA@HOTMAIL.COM T. 082 393 7375

79

DEGREE SHOWS 2015


การขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ

ภานุพงษ์ เวชชัชศาสตร์

สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

“ถึงท่านประธานาธิบดี ต้องรอนานแค่ไหนที่ผู้หญิงจะได้มาซึ่งเสรีภาพ?” หนึ่งในค�า พูดของผู้หญิงในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่างปี 1920 ที่สะท้อนให้เห็นถึง ทัศนคติของผู้หญิงที่เปลี่ยนไป ผู้หญิงออกมาเรียกร้องสิทธิและแสดงจุดยืนที่ไม่ เป็นรองผู้ชาย ช่วงระยะเวลาเดียวกันการสวมใส่เสื้อผ้าผู้ชายค่อนข้างเป็นที่นิยม ซึ่งผู้หญิงหันมาใส่เสื้อผ้าผู้ชายตามกระแสแฟชั่นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ จึง ได้น�าเส้นสายจากโครงสร้างเสื้อผ้าผู้ชายในยุค 1920 มาผ่านกระบวนการแก้ ไข โครงสร้างเพือ่ ให้ได้รปู แบบเสือ้ ผ้าจากยุค 1920 ทีด่ สู ดใหม่และแปลกตาด้วยการผสมผสานกับแนวเสื้อผ้าสตรีท เล่าผ่านเรื่องราวการเรียกร้องสิทธิเพื่อสตรีให้ออกมา มีกลิ่นอายความสนุกในแบบสาวแฟลปเปอร์ที่มีความโตขึ้นและทะมัดทะแมงแบบ ผู้ชายในแบบของผู้หญิงเอง WOMENBORNWOMYN

PANUPONG WESCHATSART

DEPARTMENT OF FASHION DESIGN, FACULTY OF ART AND DESIGN RANGSIT UNIVERSITY

“Mr. President, how long must women wait for liberty?” said the women (Post-world war I, 1920). Risen up the question about women’s rights and shown how their attitude have changed. Women stood up to the point where they weren’t subordinated. Since 1860, almost 60 years of struggling for women’s rights came up with a slogan said “Voting is a right, not a privilege”, consequently gave them their rights. During the same period—menswear became more involved in fashion for the first time in history. However, I prefer to call it “herstory”. Hence, I experiment on body lines of 1920s menswear, deconstructing and reconstructing them to create a newly formed 1920s cloth with sophisticated street style influenced by The 1920’s New Look “Fresh And Young” like the flapper girls, yet in more grown-up version. E. PWESCHATSART@GMAIL.COM T. 085 073 3853

DEGREE SHOWS 2015

80


81

DEGREE SHOWS 2015


JEWELRY DESIGรตNัดสิน คณะกรรมกา

ทิ อตนิ ชุ ตนั ตวิ แก เลอรี่

ผู้ก่อตั้ง อัตตา คีโอชโชลีน่า เจ้าของแบรนด์ ลา

ฤดี ตันเจริญลเยฤดี ผู้ก่อตั้ง แอท’เท วินิจ กุศลมโนมัย

รือ่ งประดับ ผูก้ อ่ ตัง้ สตดู โิ อสอนท�าเค โลหะมีคา่ สตดู โิ อ JUDGES

Atinuj Tantivit Gallery and TA Founder of AT Chiocciolina Founder of La roen Rudee Tancha ierrudee el At Founder of anomai Vinit Koosolm meka Studio ha Founder of Lo



BEST OF J E W E L RY D

ESIGN

โครงการออกแบบเครื่องประดับร่วมสมัยเพื่อร่วมรณรงค์ การอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์พื้นบ้านโดยศูนย์เมล็ดพันธุ์พันพรรณ

พิทยจิต จิยางกูร

ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

เครือ่ งประดับบรรจุเมล็ดพันธุพ ์ ร้อมปลูกภายใต้โครงการรณรงค์ “เมล็ดพันธุต์ นื่ รู้” โดยการสร้างเครื่องประดับให้เป็นเสมือนสื่อเคลื่อนที่ของโครงการ ในแนวคิดการ ออกแบบ 5 STEP ปลูก เพื่อ เปลี่ยน จากสิ่งเล็กๆ สู่การเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ ที่จะ สร้างการตื่นตัวให้คนไทยหันมาสนใจการอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์พื้นบ้าน และการใช้ชีวิต ในวิถีการพึ่งตนเองแบบดั้งเดิมจากการเริ่มต้นปลูกพืชผักทานเองจากเมล็ดพันธุ์ ที่บรรจุอยู่ในเครื่องประดับ ซึ่งมีการคิดค้นวัสดุใหม่ในการบรรจุเมล็ดพันธุ์ร่วมกับ เครื่องประดับคือ ‘ดินปลูก’ เป็นส่วนผสมระหว่าง ดินเยื่อกระดาษ (Paper clay) กับ กากกาแฟ ที่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อโดนน�้าหรือความชื้นพอ ประมาณ อีกทั้งธาตุอาหารไนโตรเจนที่ได้รับจากกากกาแฟยังเป็นส่วนให้แร่ธาตุแก่ การเจริญเติบโตของพืชอีกด้วย CONTEMPORARY JEWELRY DESIGNING PROJECT AS A COOPERATIVE CAMPAIGN FOR CONSERVING LOCAL SEEDS WITH PUNPUN CENTER

PITTAYAJIT CHIYANGKUL

DEPARTMENT OF INDUSTRIAL DESIGN, FACULTY OF ARCHITECTURE KING MONGKUT’S INSTITUTE OF TECHNOLOGY LADKRABANG

This collection under its slogan of ‘5 steps’ is not simply an ordinary decoration. Inside each product’s package one will find a collection of seeds that the user can plant and grow by themselves following instruction in the provided mobile application. By merging the packaging paper with coffee grounds, a unique clay is generated that contains enough nutrients for the plants to grow and will later degrade on its own after use. In addition to functioning as a seed container for the ‘Waking Seed’ project, the concept also promotes awareness of sustainability as well. E. J.THINKER@HOTMAIL.COM T. 086 271 7770

DEGREE SHOWS 2015

84


85

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

86


เครื่องประดับที่ ได้รับแรงบันดาลใจจากความบกพร่องของ ระบบคอมพิวเตอร์

เบญจวรรณ งามจิระดาวงศ์

ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

จากความสนใจของข้าพเจ้าในความสวยงามทีเ่ กิดขึน้ ขณะพบความบกพร่องของ ระบบคอมพิวเตอร์สู่แรงบันดาลใจ สีสันของความบกพร่องที่เกิดในระบบสร้าง ความแตกต่างให้เกิดเป็นจุดเด่น จากความปกติสู่ความผิดปกติด้วยภาพบิดเบือน ไม่สมบูรณ์แบบ กลายเป็นจุดเริ่มต้นในมุมมองสิ่งที่สร้าง ความงามจากความ บกพร่อง สู่การสร้างปรากฏการณ์การมองเครื่องประดับในลักษณะใหม่ เปลี่ยน มุมมองของโลกดิจิตอลอันไร้ซึ่งชีวิตชีวาผ่านการสวมใส่เครื่องประดับ JEWELRY INSPIRED BY GLITCH, SYSTEM ERROR

BENCHAWAN NGAMJIRADAWONG

DEPARTMENT OF JEWELRY DESIGN, FACULTY OF DECORATIVE ARTS SILPAKORN UNIVERSITY

According to the designer’s self fascination with the beauty of the computer error screen, this project draws upon the colorful patterns that occur on error screens and adapts them to fit within the jewelry design. In another sense, this adaptation can be looked at as an exploration of beauty that is held inside the making of mistakes, creating a new sense of jewelry. E. P_CENA_B@HOTMAIL.COM T. 081 259 2186

87

DEGREE SHOWS 2015


ปักด้ายสายสัมพันธ์: เครื่องประดับกับการมีส่วนร่วมในคุณค่า ของสัมพันธภาพครอบครัว

ไอริณ หริรักษ์เสาวณีย์

ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

โครงการศิลปนิพนธ์นี้ ให้ความส�าคัญต่อสัมพันธภาพครอบครัวไทย ที่แต่เดิมอาศัย อยูร่ ว่ มกันเป็นครอบครัวใหญ่ หากแต่การเปลีย่ นแปลงทัง้ สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ ในปัจจุบันส่งผลให้การด�าเนินชีวิตของครอบครัวไทยเปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยว สมาชิกแต่ละคนจึงไม่มีความใกล้ชิดกันเหมือนแต่ก่อน ส่งผลให้สายสัมพันธ์ระหว่าง สมาชิกครอบครัวลดน้อยลง สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันพื้นฐานแรกที่สา� คัญยิ่ง ต่อการพัฒนาและอยู่ร่วมกันของสังคมมนุษย์ โครงการศิลปนิพนธ์นี้จึงยกกรณี ศึกษาจากครอบครัวข้าพเจ้า โดยการน�ากิจกรรมประจ�าครอบครัวคือ งานปัก ครอสติช มาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับ โครงการ ออกแบบนี้ให้ความส�าคัญต่อกิจกรรมการประกอบสร้างเครื่องประดับทั้งทางด้าน ความทรงจ�า จินตนาการและกระบวนการสร้างชิ้นงานเครื่องประดับระหว่างสมาชิก ในครอบครัว เพือ่ สือ่ สารให้สมาชิกในครอบครัวได้ระลึกถึงความทรงจ�าครัง้ ทีอ่ ยูร่ ว่ มกัน เครื่องประดับในโครงการนี้ท�าหน้าที่ไม่ใช่เพียงสวมใส่เพื่อความสวยงามเท่านั้น แต่ยังสามารถเป็นส่วนส�าคัญในการสร้างปฏิสัมพันธ์หรือการส่งมอบความรู้สึกที่ดี ต่อกันในครอบครัวได้อีกด้วย นอกจากนี้แล้วเครื่องประดับนี้ยังเป็นเครื่องเตือนใจให้ ระลึกถึงความทรงจ�าครั้งที่เคยอยู่ร่วมกัน และส่งต่อความทรงจ�าเหล่านั้นสู่สมาชิก รุ่นต่อไป อีกทั้งเพื่อกระตุ้นเตือนให้สมาชิกในครอบครัวได้กลับมามีปฏิสัมพันธ์ร่วม กันอีกในอนาคต STITCHING FAMILY RELATIONSHIP: PARTICIPATORY JEWELRY AS A REMINDER OF FAMILY VALUE

I-RIN HARIRAKSAOWANI

DEPARTMENT OF JEWELRY DESIGN, FACULTY OF DECORATIVE ARTS SILPAKORN UNIVERSITY

The changing of the family form is an issue that interests this designer and specifically how, nowadays, we no longer live in large family units as we once did before. In accordance with this issue, the ‘Stitching Family Relationships’ project creates a new capacity within jewelry through the use of the designer’s family as a case study, drawing upon details such as her own family photos and cross-stitch works within the design in order to demonstrate that jewelry is not only a form of decoration but also something that can store family memories. E. IRINMAE@GMAIL.COM T. 082 212 2293

DEGREE SHOWS 2015

88


89

DEGREE SHOWS 2015


DEGREE SHOWS 2015

90


โครงการออกแบบสินค้าที่ระลึกส�าหรับพิพิธภัณฑ์ อาร์ท อิน พาราไดซ์ กรุงเทพฯ เพื่อสร้างความสนุกสนาน ความคิด สร้างสรรค์ และจินตนาการ

ชวัชร์พล พรกรพาณิชย์

ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

โครงการออกแบบสินค้าของที่ระลึกส�าหรับพิพิธภัณฑ์ อาร์ท อิน พาราไดซ์ กรุงเทพฯ เพือ่ สร้างความสนุกสนาน ความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ เป็น โครงการทีน่ า� แนวความคิดหลักในการออกแบบพิพธิ ภัณฑ์ มาสร้างสรรค์เป็นผลงาน สินค้าทีร่ ะลึกเพือ่ จ�าหน่ายแก่ผเู้ ข้าชม โดยดึงเอาประเด็นส�าคัญของพิพธิ ภัณฑ์ ด้วย การน�าเสนองานในรูปแบบ Interactive Art มาแสดงผ่านผลงานเครือ่ งประดับเพือ่ สร้างปฏิสมั พันธ์ให้กบั ผูพ ้ บเห็น ก่อให้เกิดความประทับใจ รวมถึงเป็นการส่งเสริมการ ประชาสัมพันธ์ให้แก่พพ ิ ธิ ภัณฑ์ อาร์ท อิน พาราไดรซ์ กรุงเทพฯ ในอนาคต JEWELRY DESIGN FOR ART IN PARADISE BANGKOK AS A SOUVENIR TO CREATE FUN , CREATIVITY AND IMAGINATION

CHAWATPON PONDKORNPANIT

DEPARTMENT OF INDUSTRIAL DESIGN, FACULTY OF ARCHITECTURE KING MONGKUT’S INSTITUTE OF TECHNOLOGY LADKRABANG

This collection references the six zones of the Art in Paradise, Bangkok space within its design and features a pulsing LED that, integrated directly into the jewelry body, makes the collection to be more attractive and better equipped to promote and bring the Art in Paradise, Bangkok 3D Art Museum to public attention. E. A-LITTLE-BILL@HOTMAIL.COM T. 085 969 9145 91

DEGREE SHOWS 2015


โครงการเสนอแนะออกแบบเครื่องประดับเพื่อเป็นสื่อรณรงค์ การจัดการปัญหาขยะอิเล็กทรอนิคส์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

กัญญาวีร์ วิศวะวาทิน

ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิคส์เป็นผลงานที่เติบโตมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี จากสิ่งประดิษฐ์ที่ทันสมัย ถูกผลิตขึ้นให้อยู่ภายใต้กลไกการตลาดของผู้ผลิต และ จ�าหน่ายผ่านสังคมการบริโภคนิยม ใช้เวลาเพียงไม่นาน แต่ละผลิตภัณฑ์ก็ถูกแทนที่ ด้วยผลิตภัณฑ์ชิ้นใหม่ที่ทันสมัยกว่าเดิม ผลลัพธ์ที่เหลือไว้ กลับกลายเป็นเพียง ขยะอิเล็กทรอนิคส์ ปริมาณมากถูกทิ้งอย่างไร้ค่า และถูกจัดการส่งต่อไปทิ้งไว้ยัง สถานที่ต่างๆ ที่ล้วนแล้วแต่ไม่ได้เป็นผู้ก่อปัญหา แต่สิ่งที่ถูกทิ้งอย่างไร้ค่า ถูกมอง เป็นเพียงเศษซากของเทคโนโลยีล้าหลัง....แท้จริงยังหลงเหลือคุณค่าภายในที่ไม่ อาจมองข้ามไปได้ WASTE IS A NEW LEGACY “เครื่องประดับมรดกตกทอด จากรุ่นสู่รุ่น” ชุดเครื่องประดับที่ใช้โลหะเงินจากการสกัดแผงวงจรอิเล็กทรอนิคส์ เมื่อขยะกลับกลายเป็นโลหะเงินที่น�ามาใช้ถูกแทนสิ่งที่เป็นขยะถูกแปลงค่าเป็นโลหะ เงินที่ใช้ในชิ้นงาน เทียบเคียงคุณค่าเป็นดั่ง กองมรดก ที่จะถูกตกทอดจากรุ่นหนึ่ง ไปยังอีกรุ่นหนึ่ง สืบทอดเรื่องราวจากขยะอิเล็กทรอนิคส์ที่คนรุ่นก่อนได้ก่อร่าง สะสม เผชิญ และความเป็นไปได้ในอนาคต ผ่านวัสดุต้นตอที่เป็นสื่อกลาง น�าพา ตกทอดต่อไปอย่างเห็นความส�าคัญ และด�ารงไว้ซึ่งคุณค่าที่แท้จริงภายในชิ้นงาน JEWELRY DESIGN PROJECT FOR REDUCE ELECTRONIC WASTE PROBLEM BY NATIONAL METAL AND MATERIALS TECHNOLOGY CENTER (COLLECTION OF “WASTE IS A NEW LEGACY”)

KANYAWEE WITSAWAWATIN

DEPARTMENT OF INDUSTRIAL DESIGN, FACULTY OF ARCHITECTURE KING MONGKUT’S INSTITUTE OF TECHNOLOGY LADKRABANG

‘Waste is a New Legacy’ was created from the metal waste of integrated circuits that have, once again, been reused and transformed into valuable objects such as jewelry. The collection’s concept is based on the electronic waste problems that are becoming increasingly commonplace nowadays. E. WEE_WIT7@OUTLOOK.COM T. 084 515 1941

DEGREE SHOWS 2015

92


93

DEGREE SHOWS 2015


Vespa คือ iconic design สัญชาติอิตาลีที่ทั่วโลกต่างยอมรับและเป็นที่รู้จักนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1946 หรือเมื่อ 69 ปีที่แล้ว เมื่อสองพี่น้องจากตระกูลคหบดีในอิตาลีอย่าง ‘เอนริโก้’ และ ‘อาร์มานโด พิอาจิโอ’ ได้สานต่อความสำาเร็จจากบิดา ‘รินัลโด้ พิอาจิโอ’ ด้วยการ ขยายกิจการจากอู่ต่อเรือสำาราญ โรงงานผลิตรถยนต์ และโรงงานผลิตเครื่องบิน สู่การ สร้างสรรค์รถสกู๊ตเตอร์เวสป้าที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นที่สุดแห่งรถสกู๊ตเตอร์อันดับหนึ่ง ของโลกด้วยยอดขายกว่า 1,000,000 คันในปี ค.ศ. 1956


VESPA PRIMAVERA สกูต๊ เตอร์รนุ่ ยอดนิยมทีโ่ ลกหลงใหลในดีไซน์ท่ีได้รบั แรงบันดาลใจมาจากยุค 60 ตอนปลาย พร้อมผสาน เส้นสายทีท่ นั สมัยและทรวดทรงคอดเพรยวของ Vespa 946 สุดยอดนวัตกรรมการออกแบบแห่งยุคนี้ อีกทัง้ ยัง คงไว้ดว้ ยสมรรถนะทีแ่ ข็งแรงทนทานด้วยโครงสร้างเหล็กทัง้ คัน ตามแบบฉบับรถสกูต๊ เตอร์เวสป้า ประกอบกับ ฟังก์ชน่ั ระบบการสัง่ การบนแฮนด์จบั ช่องเก็บของดีไซน์ใหม่ทม่ี พ ี น้ื ทีใ่ ช้สอยเยอะข้น และชุดไฟส่องสว่าง LED บน แผงหน้าปัด LCD (หน้าจอ LCD ทีแ่ สดงภาพกราฟิกความละเอียดสูง) พร้อมหน้าปัดดีไซน์ใหม่ผสานความทันสมัยกับความคลาสสิคของยุค 60 ได้อย่างลงตัว นับว่า Vespa Primavera จะกลับมาครองใจให้คนหลงใหล ทีส่ ดุ แห่งดีไซน์ในหน้าประวัตศิ าสตร์อกี ครัง้ Vespa Primavera มาพร้อมเคร่องยนต์ 2 ขนาด ได้แก่ 125 ซีซี และ 150 ซีซี เป็นเคร่องยนต์กระบอกสูบ เดีย่ วแบบ 4 จังหวะ 3 วาล์ว โดยผ่านการปรับปรุงและเพิม่ ประสิทธิภาพสมรรถนะของเคร่องยนต์ใหม่ระบบ 3 วาว์ล (3V) ตามมาตรฐานยุโรป ทีล่ ดการสัน่ สะเทือนของตัวรถให้มคี วามมัน่ คง และนิม่ นวลยิง่ ข้นขณะขับข่ เพิม่ อัตราของเคร่องยนต์ให้มคี วามแรงยิง่ ข้น พร้อมช่วยในเร่องการประหยัดน้าำ มันทีด่ กี ว่า (55 กิโลเมตร / ลิตร) พร้อมลดระดับมลพิษทีผ่ า่ นมาตรฐานยูโร 3


VESPA SPRINT สกู๊ตเตอร์ ในตำานานยุค 60 สำาหรับสปอร์ตแมนที่กลับมาพร้อมรูปโฉมและสมรรถนะใหม่ล่าสุด แต่ยังคงไว้ ซึง่ เสน่ห์ และเอกลักษณ์เฉพาะตัว ตอบโจทย์คนเมืองทีช่ อบรถเวสป้าแนวสปอร์ต คลาสสิค คล่องแคล่ว และปราดเปรยว ขับข่สนุก โดยรุ่นใหม่นี้กลับมาพร้อมรูปโฉมใหม่ เพิ่มความโดดเด่น พร้อมขอเกี่ยวกระเป๋าแบบพับเก็บ ช่วยเพิ่ม พื้นที่เก็บสัมภาระ เพิ่มแฮนด์จับทรงเหลี่ยมที่ด้านหลังสำาหรับผู้โดยสาร แผงอุปกรณ์ ล้อมกรอบด้วยสปอยเลอร์ โดยใช้พื้นมารตวัดความเร็วสีดำา ส่วนหน้าจอแสดงผลดิจิตอลมัลติฟังก์ชั่นมีไฟส่องพื้นหลังสีแดงรับกับดีไซน์ทรง ‘เนคไท’ บนแผงบังแตรด้านหน้า คุณสมบัติเชิงกลไกที่โดดเด่นอีกประการ คือล้ออะลูมิเนียมอัลลอยดีไซน์ ใหม่ ขนาด 12 นิ้ว ถือเป็นครั้งแรกที่มีการใช้ยางและขอบล้อเส้นผ่าศูนย์กลางขนาดใหญ่กับรถเวสป้า “บอดี้เฟรมขนาดย่อม” ทั้งล้อหน้าและหลัง พร้อมเพิ่มความโดดเด่นด้วยโช้คสีแดง อีกทั้งยังวางระบบแท่นเคร่องยนต์แบบใหม่ เคร่องยนต์ จะถูกยึดเข้ากับแผงตัวถังรถด้วยระบบแขนรองรับ 2 จุด ซ้อนด้วยยางกันกระแทกถึงสองชั้นที่ช่วยลดการสั่นสะเทือน ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ยัง เพิ่มความสะดวกสบายและพื้นที่ในการใช้สอย เช่น การออกแบบที่พักเท้าใหม่ที่มีขนาดกว้างข้น เพื่อให้สะดวกต่อการวางเท้า และประสิทธิภาพในการทรงตัวดีข้น รวมถึงการลดความสูงของเบาะนั่ง โดยสูงจาก พืน้ เพียง 790 มม. กับเบาะนัง่ รูปทรงใหม่ทป่ี าดรับกับสรระเพิม่ ความสะดวกสบายให้กบั ผูข้ บั ข่ ใช้หนังสไตล์อติ าเลียน แท้ลงตะเข็บสองชั้น เบาะหลังล้อมกรอบด้วยบาร์ท้ายทรงเหลี่ยมสำาหรับผู้โดยสารซึ่งทำาจากท่อเหล็กชุบโครเมียม แข็งแรงทนทาน ออกแบบให้รับกับโครงสร้างสปอร์ตของตัวรถ เพิ่มความล้ำาสมัยด้วยแผงหน้าปัดเรอนไมล์ที่มา พร้อมเทคโนโลยีขั้นสูง แต่ยังคงรูปทรงสี่เหลี่ยมคางหมูเช่นเดียวกับกรอบไฟหน้าชุบโครเมียม ส่วนไฟเบรคท้ายใช้ เป็นหลอด LED ยิ่งกว่านั้นเคร่องยนต์ 3V ยังมีข้อได้เปรยบเหนือ 2V ในแง่ของอัตราความสิ้นเปลืองน้าำ มันเชื้อเพลิง ต่ำากว่า และสามารถประหยัดน้ำามันได้ถึง 64 กิโลเมตร/ลิตร ที่ความเร็วเฉลี่ย 50 กิโลเมตร/ชม. Vespa Sprint มาพร้อมกับเคร่องยนต์ 2 ขนาด ได้แก่ 125 ซีซี และ150 ซีซี เช่นเดียวกัน


VESPA LXV สกู๊ตเตอร์พรีเมี่ยมที่น่าจับตามองที่สุดอีกคันบนท้องถนนด้วยรูปลักษณ์สไตล์วินเทจยุคปี 1960 โดยมีตะแกรง บรรทุกสัมภาระส่วนท้ายทำาจากโลหะชุบโครเมี่ยมและเบาะหนัง แบบ 2 ที่นั่ง Vespa LXV มาพร้อมกับเครื่องยนต์ 2 ขนาด ได้แก่ 125 ซีซี และ150 ซีซี เครือ่ งยนต์แบบ 3 วาล์ว พร้อมกล่องควบคุม อี.ซี.ยู. เจเนอเรชัน่ ใหม่ลา่ สุด และระบบน้าำ มันเชือ้ เพลิง แบบหัวฉีดอิเล็กทรอนิคส์ รวมไปถึงระบบรองรับน้ำาหนักด้านหน้าแบบสวิงอาร์มเดี่ยว พร้อมโช้คอัพไฮดรอลิกทำางาน 2 ทิศทาง และระบบรองรับน้าำ หนักด้านหลังแบบโช้คอัพเดี่ยวที่สามารถปรับการรองรับน้ำาหนักได้ 4 ระดับ Vespa LXV บ่งบอกไลฟ์สไตล์ของผูข้ บั ขีบ่ นท้องถนน การออกแบบเน้นให้ความสำาคัญในทุกรายละเอียด ไม่วา่ จะเป็น การเลือกใช้วัสดุคุณภาพสูง รูปทรงโค้งเว้าของตัวรถถูกออกแบบมาอย่างดี และสมบูรณ์แบบ แผงควบคุมไฟหน้าปัดรถ กับตะแกรงชุบโครเมียมสำาหรับวางของด้านหลังที่รับกับกระจกบังลมด้านหน้า ทั้งการเลือกใช้โคมไฟส่องสว่างด้านหน้า ตัวรถ การแยกเบาะหน้า – หลัง สองที่นั่งออกจากกัน ตัวเบาะบุด้วยหนังสวยสง่า นั่งสบายทั้งผู้ขับขี่และผู้ซ้อน แม้กระทั่ง แฮนด์บังคับเลี้ยว และท่อเหล็กธรรมดาที่เหมือนรถ Vespa ในยุคก่อนๆ ถือได้ว่าเป็นการนำาผลงานด้านดีไซน์ของ Vespa ยุคดั้งเดิม มาผสมผสานลงบนตัวเครื่องยนต์ระบบหัวฉีดเชื้อเพลิงรุ่นใหม่ ทำาให้ Vespa LXV คือรถที่โดดเด่นที่สุดบนท้อง ถนน บ่งบอกไลฟ์สไตล์ผู้ขับขี่ เป็นรถที่ตอบโจทย์ผู้หลงใหลในวินเทจ และต้องการความแตกต่างอย่างมีสไตล์อย่างแท้จริง



โครงการเสนอแนะศูนย์การเรียนรูเ้ รือ่ งธรรมชาติ ส�าหรับเด็ก

น�า้ ปาย งามแสงรัตน์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

โครงการเสนอแนะศูนย์การเรียนรู้เรื่องธรรมชาติสา� หรับเด็ก เยาวชน และครอบครัว เพื่อเป็นพื้นที่ในการช่วยสร้างจิตส�านึกต่อสิ่งแวดล้อม และเป็นพื้นที่ในการส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์ภายในครอบครัว โดยกลุม่ เป้าหมายหลักคือเยาวชนในเมืองหลวง ทีอ่ ยูห่ า่ งไกลธรรมชาติ


โครงการออกแบบหนังสือทีค่ นตาดีใช้รว่ มกับ คนตาบอดโดยใช้แนวความคิด UNILIVERSAL DESIGN

ปรินดา ศักดานรเศรษฐ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการออกแบบหนังสือที่คนตาดีใช้ร่วมกับคนตาบอดโดยใช้แนวความคิด UNILIVERSAL DESIGN เป็นโครงการที่เกิดจากโครงการ UNILIVERSAL DESIGN ทีก่ า� ลังตืน่ ตัวและผลักดันให้เกิดขึน้ ในสังคมไทย มากขึน้ เช่น การท�าทางลาดขึน้ ส�าหรับผูพ ้ กิ าร สีแ่ ยกทางม้าลายใจดี ปุม่ ลิฟต์ทมี่ อี กั ษรเบรลล์ระบุกา� กับให้ผพ ู้ กิ ารทางสายตา เป็นต้น แต่ทงั้ หมด นั้นมุ่งเน้นไปในเชิงสถาปัตยกรรมสิ่งก่อสร้างมากกว่า สิ่งของที่ใช้ใน ชีวติ ประจ�าวันจริงๆ เช่น หนังสือ บรรจุภณ ั ฑ์ หรือสือ่ สิง่ พิมพ์ตา่ งๆ นัน้ ยังไม่ได้รับความสนใจเท่าที่ควร ผู้จัดท�าจึงมีความสนใจออกแบบสื่อ สิง่ พิมพ์ทใี่ ช้แนวคิด UNIVERSAL DESIGN ทีผ่ อู้ า่ นทุกประเภทสามารถ ใช้งานได้ ทั้งผู้ที่มีสายตาปกติ พิการทางสายตา เด็ก ผู้ใหญ่ คนแก่ เป็นต้น

DEGREE SHOWS 2015

100


โครงการออกแบบระบบผลิตภัณฑ์และการบริการ เพือ่ เปลีย่ นทัศนคติและพฤติกรรมการรับประทาน อาหารของคนวัยท�างาน

โศภิษฐา ธัญประทีป คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิถีชีวิตชาวเมืองที่เร่งรีบ และทัศนคติ ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ท�าให้ คนวัยท�างานรุ่นใหม่บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมตามหลักโภชนาการ และความเคลื่อนไหวร่างกายน้อย ส่งผลให้เสี่ยงต่อโรคจากความอ้วน สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โครงการออกแบบระบบผลิตภัณฑ์และการบริการ (Product-service-system) เพื่อเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมการ รับประทานอาหารของคนวัยท�างานนีม้ เี ป้าหมายเพือ่ น�าหลักโภชนาการ ทีถ่ กู ต้องมาให้กลุม่ เป้าหมายทดลอง ฝึกฝน และสัมผัสผ่านประสบการณ์ การเรียนรูจ้ ากการรับประทานอาหารร่วมกันในทีท่ า� งาน (เช่น ออกแบบ ชุดภาชนะใส่อาหารเพื่อฝึกกะปริมาณ Kcal และเปรียบเทียบอาหารที่ ปรุงด้วยวิธีต่างกัน) ระบบนี้เอื้อให้ผู้ใช้ตั้งเป้าหมายและวัดผลจากการ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมประจ�าวัน (เช่น การงดดืม่ น�า้ อัดลม) แทนการวัดผล สุดท้ายที่รอบเอวและน�า้ หนักซึ่งอาจไม่ยั่งยืน 101

DEGREE SHOWS 2015


สวนหลังเมือง Backyard studio

ธีรพล วรเกรียงไกร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

UNILI คอมมูนติ ี้ เพือ่ การใช้พนื้ ทีท่ ถี่ กู ทิง้ ร้างและเข้าถึงได้มากให้กลับมา มีความส�าคัญให้ตอบสนองต่อความต้องการของคนเมืองและชุมชน โดยใช้รูปแบบธุรกิจที่มั่นคง เช่น ความมั่นคงทางอาหาร การท�าเกษตร อินทรีย์ ห้องสมุดชุมชน Co-working space

DEGREE SHOWS 2015

102


โครงการออกแบบปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายใน โรงเรียนบ้านเด็กป่า

สุวจิ กั ขณ์ อัศวสนศิริ

สาขาวิชาออกแบบภายใน ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

จากปัญหาในวัยเด็กทัง้ สิน้ การไม่ได้รบั การศึกษาตามวัย และการไม่ได้ รับความรัก ความอบอุน่ ในวัยเด็กทัง้ หลายเหล่านีท้ เี่ ป็นสาเหตุทที่ า� ให้ เกิดปัญหาตามมาในภายหลัง ดังนัน้ มูลนิธจิ งึ ได้จดั ตัง้ ศูนย์ทางเลือก การเรียนรูส้ กู่ ารพัฒนาชีวติ เด็ก บ้านเด็กป่า เพือ่ เป็นสถานทีพ ่ กั ฟืน้ ฟู ให้กบั เด็กในโครงการและเปิดโอกาสให้เด็กกลุม่ เป้าหมายได้มโี อกาสเข้า รับการศึกษาในระบบอย่างเท่าเทียม ทัง้ การศึกษาตามอัธยาศัย และการฝึกทักษะวิชาชีพ 103

DEGREE SHOWS 2015


กลั่น ‘คลอง’ เมืองใหม่ / City Can(al) Cured

ชัชวาล สุวรรณสวัสดิ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

เมือ่ อุตสาหกรรมรถยนต์เข้ามาในประเทศไทย กรุงเทพมหานคร จึงถูก พัฒนาโดยให้ความส�าคัญถนนเป็นหลัก จากที่เคยเป็น “เวนิสแห่ง ตะวันออก” สายน�้า สายคลอง เป็นวิถีชีวิตริมน�้า “กลับกลายเป็น วิถีชิวิตริมถนน” ความสกปรก ความแออัด กลิ่นเน่าเสีย จากแม่น�้า ล�าคลอง ท�าให้สุขภาวะชาวเมืองแย่ลงทุกวัน จะเป็นไปได้ ไหมที่เรา สามารถสร้างสถาปัตยกรรมที่บ�าบัดน�้าเสีย และบ�าบัดสุขภาวะกาย สุขภาวะใจ คนเมือง และแก้ปัญหาเมืองให้กลับมายั่งยืนอีกครั้ง

DEGREE SHOWS 2015

104


ODD (s) FOR ALL : แทรก/เสริม/ประสบการณ์/ความสุข

บุณณดา ยงวานิชากร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปกร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมือง ‘เฉพาะ’ มีความพิเศษและความหลากหลาย ของการท�ากิจกรรมที่ผสมผสานอยู่รวมกันในทุกพื้นที่ โครงการนี้ เป็นโครงการเชิงทดลองที่เน้นถึงการ จัดประเภทของพื้นที่ ‘พิเศษ’ คือ Odd Space หรือคือพืน้ ทีท่ มี่ คี วามเฉพาะในด้านต่างๆ เช่น สัดส่วน หรือ รูปทรง ซึ่งจะท�าให้ยากต่อการน�ามาใช้ประโยชน์ โดยจะปรับปรุง/มอง หาความเป็นไปได้ให้กับพื้นที่เหล่านี้ที่แทรกตัวในชุมชนให้เกิดประโยชน์ และความสุข 105

DEGREE SHOWS 2015


โครงการออกแบบเครือ่ งประดับร่วมสมัยเพือ่ ร่วมรณรงค์การอนุรกั ษ์เมล็ดพันธุพ ์ นื้ บ้านโดย ศูนย์เมล็ดพันธุพ ์ นั พรรณ

พิทยจิต จิยางกูร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ทางผู้ศึกษาต้องการที่จะจัดโครงการรณรงค์ “เมล็ดพันธุ์ตื่นรู้” เพื่อ สร้างความตระหนักรู้ถึงวิกฤติเมล็ดพันธุ์พืชพื้นบ้านให้เป็นที่ประจักษ์ ต่อประชาชนคนไทย ซึ่งก�าลังเป็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความส�าคัญเป็น อย่างมาก เพราะปัจจุบันพืชพื้นบ้านได้ลดปริมาณหายไปจนน่าใจหาย เมล็ดพันธุ์ถูกบริษัทยักษ์ใหญ่ยึดครอง ด้วยเมล็ดพันธุ์พืช GMOs ซึ่ง อนาคตจะส่งผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพและความมั่นคงทาง ด้านอาหาร ทางผู้ศึกษามีความประสงค์จะออกแบบเครื่องประดับ ให้ เป็นเสมือนสือ่ เคลือ่ นทีใ่ นการรณรงค์ให้กบั โครงการ และเป็นการส่งเสริม ให้คนไทยหันมาสนใจทีจ่ ะปลูกพืชพืน้ บ้านไว้รบั ประทานเอง เปรียบเสมือน การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ไว้ในชีวติ เพือ่ ความยัง่ ยืนในการพึง่ ตนเองและ เพื่อความมั่นคงทางอาหารสืบต่อไป

DEGREE SHOWS 2015

106


โครงการศึกษาเพือ่ ท�าให้เกิดการบริโภคทีด่ ตี อ่ สุขภาพส�าหรับนักศึกษา และวัยท�างานตอนต้น

พิชญ์สนิ ี เจริญศรี

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เนือ่ งจากในปัจจุบนั สาเหตุการเสียชีวติ ส่วนใหญ่มาจากกลุม่ โรค NCDs ซึ่งเป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากสะสมพอกพูนพฤติกรรมการใช้ชีวิตต่างๆ ที่ ไม่ดีตั้งแต่วัยหนุ่มสาวโดยเฉพาะพฤติกรรมการบริโภคอาหารซึ่งกลุ่ม นักศึกษา และวัยทางานตอนต้นกลุม่ หนึง่ พยายามปรับพฤติกรรมการ บริโภคของตนในมื้อหลักๆ แต่การบริโภคระหว่างมื้ออาหารได้แก่พวก น�้าหวาน, ขนมหวาน, ขนมกรุบกรอบ ฯลฯ ขณะท�างาน, เรียน ยังเป็น ปัญหาสาคัญที่ถูกลืม เนื่องจากความเคยชิน และไม่ได้ถูกตระหนักคิด เพื่อยับยั้งชั่งใจจนเกินความพอดี จึงเห็นว่าหลักการบริโภคอย่างมีสติ นัน้ จะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาในจุดนี้ได้ และเกิดการประเมินตนเอง เพือ่ การบริโภค และการตระหนักรูน้ ยั ยะเชิงโภชนาการให้เกิดคุณค่าจากการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 107

DEGREE SHOWS 2015


DEFINE THE DIFFERENCE

25 YEARS OF UNIQUE PERSPECTIVES APPLIED TO LIMITED EDITION ITEMS BY NOBLE


ในวาระครบรอบ 25 ปี Noble Development

เปิดตัว TVC Corporate ที่เป็นภาพยนตร์โฆษณาชุด “Believe in Your Soul” ซึ่งเป็น เรื่องของเด็กชายคนหนึ่งที่เกิดมาพร้อมกับตัวตนที่แตกต่าง เขาค้นพบว่าเขาสามารถสร้าง ผลงานศิลปะที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์ ทว่าผลงานเขาไม่มีใครยอมรับ รวมทั้งตัวตนของเขาที่ ไม่มีใครอยากเข้าใกล้ ความกดดันทำาให้เขาอยากกลายเป็นคนธรรมดา แต่เขากลับพบว่า ชีวิตธรรมดามันช่างธรรมดาเกินไป มันน่าเบื่อไม่มีใครสนใจ ชีวิตดูไร้ความหมาย ในที่สุดเขา ตัดสินใจที่จะไม่เปลี่ยนแปลงตัวเองให้เหมือนใคร เลือกที่จะยืนหยัดในตัวตน ด้วยพรสวรรค์ ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด และแน่นอนด้วยความพยายาม ในที่สุดผลงานภาพวาดสไตล์ของเขา ก็เป็นที่ยอมรับ ถูกแสดงที่งาน “Exhibition ระดับโลก” ยืนยันรูปธรรมความสำาเร็จที่เขา เดินมาถูกทางแล้ว หลังจากที่เผยแพร่ทางทีวีและออนไลน์ หนังเรื่องนี้ได้รับกระแสตอบรับ อย่างสูงจากผู้ชมทั้งความแปลกใหม่ในการนำาเสนอ ตลอดจนความคิดและสื่อสารบทบาท ของแบรนด์ในแนว “Be Different” ซึ่งเป็น DNA ของโนเบิลก็ว่าได้ !




“BE DIFFERENT” ตลอด 25 ปี กล้าที่จะแตกต่าง

โนเบิล เชือ่ ในความแตกต่าง และมีมมุ มองในการออกแบบทีอ่ ยูอ่ าศัยและการใช้ชวี ติ ทุกๆ วันที่ ไม่เหมือนใคร “Be Different” ที่อยู่ในดีเอ็นเอของเรา เราใส่ความเชื่อนี้ลงไปในทุกขั้นตอน ตั้งแต่คิด และในทุกสิ่งที่ทำา เพื่อออกแบบการใช้ชีวิตที่ก้าวข้ามความธรรมดา และเหนือความ คาดหมายของผู้อยู่อาศัย เพื่อฉลองครบ 25 ปี โนเบิลจึงออกแบบงานดีไซน์ไอเดียแปลก เป็น Limited Edition สำาหรับการเฉลิมฉลองการครบรอบ โดย ITEMS ทั้ง 8 ชิ้นที่ว่านี้ ได้รับแรงบันดาลใจจากจุดเด่นของโครงการคอนโดโนเบิลในแต่ละตึก ที่ดึงความโดดเด่นที่ เป็นเอกลักษณ์ของงานออกแบบสถาปัตยกรรมโครงสร้างทั้งอาคารภายในและภายนอก แพทเทิร์นต่างๆ รูปทรงเลขาคณิต เส้นสาย หรือแม้แต่แสงเงาในโครงการ มาออกแบบให้ เป็นของขวัญครบรอบ 25 ปี Noble กลายเป็น Chocolate Bar, Cracker, Pasta, Sugar Cube, Candy, Cereal Bar และ Cookies น่ารักๆ ที่ผสมดีไซน์ของความเป็น Noble เพื่อให้ Limited Edition Items เหล่านี้เปี่ยมไปด้วยแนวคิด “Be Different”



CONTOURED COOKIES

CANDY CUPOLA

SUGAR CUBIST

TRIAGONAL PASTA


TRIPLE-DECKER

CHOCOLATE FILAMENTS

MODULAR GRANOLA

CHOCOLATE HIGH-RISE




BRONZE LION FROM CANNES LIONS 2015 ‘DEFINE THE DIFFERENCE’

โนเบิล รับรางวัล Bronze Lion จากเวที Cannes Lions 2015

เร็วๆ นี้ บริษทั โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จำากัด (มหาชน) และโอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ (ประเทศไทย) ได้รับรางวัล Bronze Lion สาขาดีไซน์จากเวที Cannes Lion 2015 ภายใต้แคมเปญ ‘Define the Difference’ โดยผลงานทั้ง 8 ดีไซน์ได้รับแรงบันดาลใจจากจุดเด่นของคอนโด มิเนียมโนเบิลแต่ละตึก ผ่านเอกลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมและโครงสร้างอาคารทั้งภายใน ภายนอก แพทเทิร์น รูปทรงเรขาคณิต เส้นสาย และแสงเงา รายละเอียดต่างๆ ถูกถ่ายทอด ออกมาเพื่อสะท้อนปรัชญาและความเชื่อในความแตกต่างที่อยู่ในดีเอ็นเอของโนเบิลมา ตลอด 25 ปี



FINALISTS ARCHITECTURAL DESIGN กนกวรรณ จันกนก สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Kanokwan Chankanok Department of Architecture, Faculty of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok | จิตติมน มันทรานนท์ ภาควิชาสถาปัตยกรรมหลัก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ Jittimon Muntranon Department of Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University | ประภาศรี คุณะกฤดาธิการ สาขาวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์หลักสูตรนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Prapasri Khunakridatikarn International Program in Design and Architecture, Chulalongkorn University | พนินทร โชคประเสริฐถาวร ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Panintorn Chokprasertthaworn Architecture Program Faculty of Architecture, Silpakorn University | ภัทรพร เสนาธรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Phattharaporn Senatham Faculty of Architecture, Chiang Mai University | อรภิชา ลีฬหาวงศ์ สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Onpicha Leelahawongse Architecture Program, School of Architecture and Design, Walailak University | ซัลมาน มูเก็ม สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต Sunman Mukam Department of Architecture, Faculty of Architecture, Rangsit University | ฐากูร ลีลาวาปะ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Thakool Leelawapa Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Techno-logy Ladkrabang | ปวริสร์ เสถียรสถิตกุล สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ Pawarit Sathiansathidkul Department of Architecture, Faculty of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok | ปองพล ปวงนิยม ภาควิชาสถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Pongpol Puangniyom Thai Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University | ภูมิภัทร เมฆมัลลิกา ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Bhumipat Mekmullika Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University | วสวัตติ์ รุจริ ะภูมิ ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Wasawat Rujirapoom Architecture Program, Faculty of Architecture Silpakorn University | วิธนิ นั ท์ วัฒนศัพท์ ภาควิชาสถาปัตยกรรมหลัก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Witinan Watanasap Department of Architecture, Faculty of Architecture, Kasetsart University | วิสทุ ธิ์ นุชนาบี ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Wisut Nuchnabe Department of Architecture, Faculty of Architecture, Rajamangala University of Technology Thanyaburi | สิรณัฐ พุทธิพพ ิ ฒ ั น์ขจร ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Siranat Puttipipatkhachorn Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University | บุณณดา ยงวานิชากร ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Bunnada Yongvanichakorn Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University | พิมพ์นารา ธัญญธาดา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Pimnara Thunyathada Faculty of Architecture and design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | ภาคิน วิษณวาภิคุปต์ ไทวคุณิกกุล ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Bhagin Vishnavabhigupta Daivagunikakula Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University | ศิวะพงศ์ ไกรศรพรสรร ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Siwapong Kraisornpornsan Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University | อาทิตย์ มากชม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Artit Markshom Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang DEGREE SHOWS 2015

120


INTERIOR DESIGN กุลนิษฐ์ รัตนานนท์ ภาควิชาสถาปัตยภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Kullanit Rattananon Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | จิตรทิพย์ เดือนอรุณส่อง ภาควิชาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Jitthip Dueanarunsong Department of Interior Design, Faculty of Art and Design, Rangsit University | ดลธิดา โฆษกิจจาเลิศ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Dolthida Khosakitchalert Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | ธัชชนก พงศ์ประยูร ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thachanok Pongprayoon Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture Chulalongkorn University | ธัญวรัตน์ ถ้วนถี่ ภาควิชาการออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัย รังสิต Thunwarat Thuanthee Department of Interior Design, Faculty of Arts and Design, Rangsit University | นภัสสร มงคลสุนทรโชติ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี Napatsorn Mongkolsuntonchot Interior Architecture Program, School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | น�า้ ปาย งามแสงรัตน์ ภาควิชาสถาปัตยภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Nampaai Ngamsangrat Department of Interior Architecture Program, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | ปัณญารัตน์ ชุณหณิชชูพงศ์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Panyarat Chunhanitchoopong Interior Architecture Program, School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | ลลิตา โชคดีภษู ติ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Lalita Chockdeepusit Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | ศศิพมิ พ์ ชุตกิ านนท์ ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Sasiphim Chutikanont Department of Interior Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | สิรภิ ทั ร พนัสบดี ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Siripat Panusbordee Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | อภิษฎา สวัสดิสรรพ์ ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Abhisada Sawaddisan Department of Interior Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | จีราวุฒิ กิจส�าเร็จ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Jeerawut Kitsamret Department of Interior Architecture Program, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | ณัช เนียรมงคล ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Nuch Nianmongkol Department of Interior Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | พิจิตร วุฒิจ�านงค์ ภาควิชาสถาปัตยภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Pijit Wuttijumnong Department of Interior Architecture Program, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | เรืองรุชติ วงศ์พพ ิ ฒ ั น์เจริญ ภาควิชาออกแบบตกแต่งภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Rueangrut Wongpipatcharoen Department of Interior Design, Faculty of Architecture, Bangkok University | สิรชิ ยั คล้ายสวน สาขา วิชาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Sirichai Kraisuan Department of Interior Design, Faculty of Art and Design, Rangsit University | สุปรีดิ์ เปียถนอม ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Supree Peathanom Department of Interior Architecture Program, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | สุวจิ กั ขณ์ อัศวสนศิริ ภาควิชาออกแบบภายใน คณะ สถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวัทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Suvijak Assavasonsiri Division of Interior Design, Faculty of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok PRODUCT DESIGN กุลวดี พฤกษานานนท์ ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Kulwadee Pruksananonda Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | ชนิสรา เหล่าแก้ว ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Chanisara Laokaew Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | ณัชชา สกุลกิม ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Nutcha Sakulkim Department of Product Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ณัฐกานต์ ตาปสนันทน์ ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Nattakarn Tapasanan Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | ณัฐชา มณีศุภเกตุ ภาควิชาการออกแบบสนเทศสามมิติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Natcha Manisuphaket Department of 3D-Based Communication Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | ดลพร อยูส่ ขุ ภาควิชาออกแบบ ผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Dollaporn Yoosook Department of Product Design, Faculty of Decorative 121

DEGREE SHOWS 2015


Arts, Silpakorn University | ดวงหทัย มูลวงศ์ษา ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Dounghathai Moonwongsa Department of Product Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ปภาวี ศักดานรเศรษฐ์ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ (หลักสูตรนานาชาติ) ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย Paphavee Sakdanaraseth Program in Communication Design, Department of Industrial Design, Faculty of Architecture Chulalongkorn University | พุธดิ า เศตะพราหมณ์ ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Puthida Setabrahmana Program in Industrial Design (International Program), School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | ภารฎา ศรีภนิ นั ท์ ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Parada Sripinun Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | ศศิภา สิขเรศ ภาควิชาเครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Sasipa Sikaress Department of Ceramics, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ศุภรัตน์ น�า้ โมง สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Suparat Nammong Program in Industrial Design, Faculty of Architecture, Khon Kaen University | โศภิษฐา ธัญประทีป ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Sopistha Thunprateep Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | ชัยณรงค์ นิยะสม, พีรดนย์ ไกรกิจราษฎร สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Chainarong Niyasom, Peeradon Kraikichrach Department of Product Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | ทัศสิยะ ปัดน้อย สาขาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Thatsiya Patnoi Program in Industrial Design, Faculty of Architecture, Khon Kaen University | ธีรพล โอเจริญ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Teerapol O-charoen Department of Product Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | นคร ณ นคร ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Nagara Na Nagara Program in Industrial Design (International Program), School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | พิชชากร มีเดช ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Pichakorn Meedech Department of Product Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | พีระพงษ์ แสวงศรี, ยศพงศ์ สุขทัง้ วงษ์ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Peerapong Sawangsri, Yossapong Suktungwong Department of Product Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | ศุภฤกษ์ ม่วงทับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Supharoek Muangtab Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University GRAPHIC DESIGN กาญจนา อรชุนวงศ์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี Karnchana Ornchunnawong Program in Visual Communication Design, Faculty of Humanitie and Social Sciences, Dhonburi Rajabhat University | โกศัย ศรีภักดี สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Kosai Sripakdee Department of Visual Communication Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | ขวัญประภา อุนารัตน์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Kwanprapa Unarat Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | จินต์จฑุ า ประเสริฐสฤษดิ์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Jinjuta Prasertsarit Department of Communication Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | ชุติชนก นาคลดา ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Chutichanok Naklada Department of Communication Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | ทศพล สมสอาด ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Tossapol Somsa-ard Department of Communication Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | แทนไท ชีวโศภิษฐ สาขาวิชาการออกแบบ นิเทศศิลป์ (หลักสูตรนานาชาติ) ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Tantai Cheewasopit Program in Communication Design Department of Industrial Design Faculty of Architecture Chulalongkorn University | ธัชพรรณ จีนเวชศาสตร์, ปพิชญา รอดแผ้วพาล, วรรณวดี เหลืองสุทธิพนั ธ์ ภาควิชามีเดียอาตส์ โครงการร่วมบริหาร หลักสูตรมีเดียอาตส์และเทคโนโลยีมีเดีย คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Tatchapun Jeenvejchasart, Papitchaya Rodpaewpan, Wannawadee Leangsuttiphun Program in Media Arts, Faculty of Industrial Education and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | สุกฤตา จิรากรไกรแสง ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Sukrita Jirakornkraisang Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ณัฐชรี สงวนราชทรัพย์ สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Nutcharee Sanguanrachasup Department of Visual Communication Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | อัสมาภรณ์ ตาลกิจกุล ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Asamaporn Tarnkijkul Department of Communication Design, School of Fine and Applied DEGREE SHOWS 2015

122


Arts, Bangkok University | ขจรยศ แย้มประดิษฐ์ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ (หลักสูตรนานาชาติ) ภาควิชาการออกแบบ อุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Khachonyot Yaempradit Program in Communication Design, Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | อิทธิพล ผลส่ง ภาควิชา ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Ittiphol Pholsong Department of Communication Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | ขจรยศ ชัยสุรจินดา สาขาการออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบสือ่ สาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Kajornyos Chaisurajinda Program in Communication Design, Faculty of Fine Art, Srinakharinwirot University | ภูมิ สุตนั ธพันธ์ ภาควิชามีเดียอาตส์ โครงการร่วมบริหารหลักสูตรมีเดียอาตส์ และเทคโนโลยีมเี ดีย คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Poom Sukhantaphan Program in Media Arts, Faculty of Industrial Education and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | น�า้ ใส ศุภวงศ์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Namsai Supavong Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ราชัน ลาภพานิช สาขาการออกแบบทัศน ศิลป์-การออกแบบสือ่ สาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Rachan Lappanich Program in Communication Design, Faculty of Fine Art, Srinakharinwirot University | วิภาวี มีชนะ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Wipawee Meechana Department of Communication Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | อวัสดา บุญมีเกิด ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Awassada Boonmeekeard Department of Communication Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | อังศุญาณ์ กุญแจทอง ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Angsuyarn Kunjaethong Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University ANIMATION AND MOTION GRAPHIC ฉัตรธิดา อัจจิมากุล สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การออกแบบ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มหาวิทยาลัยศิลปากร Chattida Ajjimakul Program in Information Technology for Design, Faculty of Information and Communication Technology, Silpakorn University | ชนิกานต์ อภิสิทธิ์สมัย สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร Chanikarn Apisitsamai Program in Information Technology for Design, Faculty of Information and Communication Technology, Silpakorn University | ธนิดา วีนะกุล ภาควิชาดิจิตอลอาร์ต คณะดิจิตอล มีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม Tanida Weenakul School of Digital Media, Sripatum University | พรวจนะ ทิมกาญจนะ สาขา คอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจทิ ลั อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต Pornwachana Timkarnchana Program in Computer Art, Faculty of Digital Art, Rangsit University | ภาวินี ลีลาประชากุล สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ หลักสูตรนานาชาติ ภาควิชาการออกแบบ อุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Pavinee Leelaprachakul Program in Communication Design, Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | วราลี ตะวีนธรงค์ ภาควิชา ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Waralee Tawandharong Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | คธาวุฒิ พลเดช ภาควิชาดิจิตอลอาร์ต คณะดิจิตอลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม Kathawut Poldet School of Digital Media, Sripatum University | ชวนัฏ รัตนปราการ, พีรพัชร เลขะกุล, จตุพล อรุณสวัสดิ์ ภาควิชามีเดียอาตส์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Chawanat Rattanaprakarn, Piraphat Laekhakula, Jatuphol Aroonsawasd Program in Media Arts, Faculty of Industrial Education and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi | ชัยวัฒน์ ฉัตรเกษมวงษ์ ภาควิชาศิลปะ และการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร Chaiwat Chartkasemwong Fine and Applied Arts Program, Faculty of Architecture, Naresuan University | ฐิติพันธ์ ลีประพันธ์กุล สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ (หลักสูตรนานาชาติ) ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Dhitiphan Leepraphantkul Program in Communication Design, Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University | ไตรรงค์ ไตรรัตนกุล สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม Trairong Trairattanakul Fine and Applied Arts Division, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University | ธนาคาร สุขารมย์ สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Tanakarn Sukharom Department of Communication Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | ธเรศวร์ ดีคะสัมพันธ์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจทิ ลั อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต Tarade deekasumpun Department of Computer Art, Faculty of Digital Art, Rangsit University | ธีรภัทร์ ผาลีเสม สาขาวิชาวิชวลเอฟเฟค คณะดิจทิ ลั อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต Teeraphat Phaleesem Department of Visual Effects, Faculty of Digital Art, Rangsit University | ธีระยุทธ์ แซ่แต้ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน่ คณะดิจทิ ลั มีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม Theerayuth Saetae Computer Animation, School of Digital Media, Sripatum University | ปริวัฒน์ กาสีวงศ์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร Prariwat Kaseewong Program in Information Technology for Design Faculty of Information and Communication Technology, Silpakorn University | ภัทรานันท์ เย็นอ่อน สาขาวิชาวิชวลเอฟเฟกต์ คณะดิจทิ ลั มีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม Pattaranun Yenon 123

DEGREE SHOWS 2015


Visual Effects School of Digital Media, Sripatum University | วรสุเมศร์ โชติเมธาวิชญ์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การ ออกแบบ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มหาวิทยาลัยศิลปากร Worrasumet Chortmedhawich Program in Information Technology for Design, Faculty of Information and Communication Technology, Silpakorn University | สิปปภาส ครองรักษา คณะดิจทิ ลั อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต Sipparpad Krongraksa Faculty of Digital Art, Rangsit University | ภิชญุฒม์ ฌานภัทรวรวงศ์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน คณะดิจทิ ลั มีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม Pitchayut Channapatworawong Computer Animation, School of Digital Media, Sripatum University FASHION DESIGN จูเลีย เปอิโรเน สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชัน่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Giulia Peyrone Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University | ชลากร อุน่ ศรี สาขาวิชา ออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชัน่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Chalakorn ounsree Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University | ทัศนีย์ เอียดแก้ว ภาควิชาออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Tassanee Iadkaew Programme in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | ธนวรรณ สังขกนิษฐ สาขาแฟชัน่ ดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัย รังสิต Tanawan Sungkanit Department of Fashion Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | นิรมล โลมาแจ่ม สาขาแฟชัน่ ดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Niramon Lomajam Department of Fashion Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | ประภากร สอนสมบูรณ์ สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชั่น คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ Prapakorn Sornsomboon Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University | รัชกร รักษาธรรม ภาควิชาออกแบบเครือ่ งแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Rachakorn Raksatham Department of Fashion Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | สีรงุ้ ดอนอินทร์ ทรัพย์ สาขาแฟชัน่ ดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Seerung Doninsub Department of Fashion Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | จิรวัฒน์ ธ�ารงกิตติกลุ สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชัน่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ Jirawat Thumrongkittikul Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University | อนวัช นาวาเศรษฐถาวร สาขาแฟชั่นดี ไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Anawat nawarsettawon Department of Fashion Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | ณัฐพล อุศภุ รัตน์ สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชัน่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Nuttapol Usubharatana Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University | ณัฐพล อูปแก้ว สาขาแฟชัน่ ดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Nuttapol Oupkaew Department of Fashion Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | ทศพล เกิดแก้ว สาขาวิชาศิลปะการออกแบบพัสตราภรณ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thossapol Kerdkaew Program in Textile, Costume, Garment and Fashion Design, Faculty of Fine and Applied Arts, Thammasat University | ธฤติ ตระกูลวรานนท์ สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Trittit Tarkulwaranont Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University | พงศกร แก่นจันทร์ สาขาออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Pongsakorn Kaenchan Department of Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University | พสธร เกียรติชวนชัย สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชัน่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ Pasathorn Kietshunchai Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University | ภานุพงษ์ เวชชัชศาสตร์ สาขาแฟชัน่ ดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Panupong Weschatsart Department of Fashion Design, Faculty of Art & Design, Rangsit University | ภูบดินทร์ สุวรรณทวีกลุ ภาค วิชาออกแบบเครือ่ งแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Bhubadin Suwantaveekul Department of Fashion Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | มายา ว่องวุฒิญาณ สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Maya Wongwutiyan Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University | อดิเรก ค�าน้อย สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์-การออกแบบแฟชัน่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Adireg Comenoi Department of Visual Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University

DEGREE SHOWS 2015

124


JEWELRY DESIGN กัญญาวีร์ วิศวะวาทิน ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Kanyawee Witsawawatin Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | ปิยนุช แซ่ชนั้ สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา Piyanuch Saechan Department of Craft Product Design, Faculty of Fine and Applied Arts, Suan Sunandha Rajabhat University | กษมา เอือ้ ชีวกุล ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวัทยาลัยศิลปากร Kazama Ua-cheewakul Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ฉวีวงศ์ จัง่ ธนาวรกุล ภาควิชาออกแบบ เครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Chaweewong Jangthanavorakul Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ฑิตฐิตา อมรปฏิเวธ ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Tittita Amonpativet Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ณัฐชยา เหล็กอิม่ ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวัทยาลัยศิลปากร Natchaya Lekim Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ปภาพินท์ พัฒน์ศรีอโนทัย ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวัทยาลัยศิลปากร Papapin Patsrianotai Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | พณิตนันท์ วิบลู ย์ศรัณย์ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Panitnun Wiboonsaran Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | เพชรลดา แจ่มพุดทรา ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Petchlada Jampudtha Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | มณธิดา คุปต์ธนาภรณ์ ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Montida Khupthanaporn Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | วริศรา เมตตคุณมัย ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Warissara Mattakhunnamai Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | ศรัตน์ เสริมประภาศิลป์ ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Sarat Sermpraphasilp Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | พิทยจิต จิยางกูร ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Pittayajit Chiyangkul Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | กษิดเิ์ ดช เพชรพิมพ์พนั ธุ์ ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Kasidej Pechpimpun Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ชวัชร์พล พรกรพาณิชย์ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Chawatpon Pondkornpanit Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | พันธวัช ทองรอด ภาควิชา ศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Pantawat Tongrod Department of Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang | เบญจวรรณ งามจิระดาวงศ์ ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Benchawan Ngamjiradawong Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ปภาดา เรืองรุง่ ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาศิลปากร Prapada Ruengrung Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | พชร บุตตะโยธี ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Pachara Buttayotee Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | พรรษมน อัตถโกศล ภาควิชาออกแบบ เครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Passamon Uttagosol Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | อิทธิกร วงศ์ศรีศุภกุล ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Itthikorn Wongsrisupakul Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University | ไอริณ หริรกั ษ์เสาวณีย์ ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร I-rin Hariraksaowani Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

125

DEGREE SHOWS 2015




COMMITTEE

BOOK EDITORS

MONGKON PONGANUTREE

KAMOLTHIP KIMAREE

PRATARN TEERATADA

PAPHOP KERDSUP

มงคล พงศ์อนุตรี

ประธาน ธีระธาดา

กมลทิพย์ กิมอารีย์ ปภพ เกิดทรัพย์

CHAMATORN ROBINSON

NAPAT CHARITBUTRA

KAMOLTHIP KIMAREE

PROJECT DESIGNERS

PROJECT CO-ORDINATORS

วสวัตติ์ เดชาภิรมย์

ชมธร โรบินสัน

กมลทิพย์ กิมอารีย์

NATHAKAN PLOYSRI

ณฐกันต์ พลอยศรี

POORINUN PEERASUNUN

ภูรินันท์ พีรสุนันท์

นภัทร จาริตรบุตร

WASAWAT DECHAPIROM VANICHA SRATHONGOIL

วณิชชา สระทองออย

PHOTOGRAPHERS KETSIREE WONGWAN

เกตน์สิรี วงศ์วาร

WORARAT PATUMNAKUL

วรรัตน์ ปทุมนากุล DEGREE SHOWS 2015

PUBLISHED / EDITED & PRODUCED BY ART4D / CORPORATION 4D PRINTED BY SUPERPIXEL FURTHER DETAILS ARE AVAILABLE ON WWW.DEGREESHOWS.ORG © Copyright 2O15 all rights reserved. No part of this publication may be reproduced or transmitted in any form or by any means, electronic, photocopying, recording, or otherwise, without the prior written permission of the copyright holder. While the publisher has made every effort to publish full and correct credits for each piece included in this volume, error of omission or commission sometimes occur. For this, the publisher is most regretful, but hereby disclaim any liability. Since this book is printed in four-color process, some of the images reproduced in it may appear slightly different from their original reproduction.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.