งานฝ่ายรายได้

Page 1

งานฝ่ายรายได้


คู่มือปฏิบัติงาน ของฝ่ายรายได้


คํานํา การบริหารการจัดเก็บรายได้เป็นกระบวนการสนับสนุนที่สํา คัญในการปฏิบัติงานตามภารกิจของ กรุงเทพมหานคร จึงได้พิจารณาปรับปรุงคู่มือการปฏิบัติงานมาตรฐาน กระบวนการบริหารการจัดเก็บรายได้ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามกระบวนการของกรุงเทพมหานคร ให้เกิดคุณค่าแก่ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้เสีย และประสิทธิภาพการทํางานของ กรุงเทพมหานคร คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการบริหารการจัดเก็บรายได้ มีสาระสําคัญของความเป็นมา และ ความสําคัญในการจัดทําคู่มือ วัตถุประสงค์ ขอบเขต กรอบแนวคิด ข้อกําหนดที่สําคัญของกระบวน การคํา จํากัดความ แสดงผังงาน (Flow Chart) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ และระบบติดตาม ประเมินผล มุ่งหวังให้เกิดมาตรฐานการปฏิบัติงานเป็นฐานในการพัฒนากระบวนการนี้ เพื่อสนับสนุน กระบวนการสร้างคุณค่าหลักของกรุงเทพมหานครให้ดียิ่งขึ้นต่อไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดเก็บรายได้ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วน ได้เสีย ให้สามารถเพิ่มความรู้ความเข้าใจ และเพิ่มประสิทธิภาพของงานได้เป็นอย่างดี

ฝ่ายรายได้ กันยายน 2555


สารบัญ เรื่อง

หน้า

ส่วนที่ 1 การบริหารการจัดเก็บรายได้ -ความเป็นมาและความสําคัญ -วัตถุประสงค์ -ขอบเขต -กรอบแนวคิด -ข้อกําหนดที่สําคัญ -คําจํากัดความ -คําอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้/คําอธิบายคําย่อ -หน้าที่ความรับผิดชอบ

๑ ๒ ๓ ๓ ๖ 11 13 14 14

ส่วนที่ 2 แผนผังของกระบวนการบริหารการจัดเก็บรายได้ ภารกิจหลัก: กระบวนการจัดเก็บภาษี -กระบวนการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน -กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบ -กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี -กระบวนการจัดเก็บภาษีบํารุงท้องที่ -กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบ -กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี -กระบวนการจัดเก็บภาษีป้าย -กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบ -กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี ภารกิจสนับสนุน: กระบวนการด้านธุรการ -กระบวนงานย่อยที่ 1: จัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บ -กระบวนงานย่อยที่ 2: กระบวนงานรับหนังสือ -กระบวนงานย่อยที่ 3: กระบวนงานส่งหนังสือ -กระบวนงานย่อยที่ 4: กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุ -กระบวนงานย่อยที่ 5: กระบวนงานควบคุมการเบิกน้ํามันเชื้อเพลิง

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38


ส่วนที่ 3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงานและการติดตามประเมินผล ภารกิจหลัก: กระบวนการจัดเก็บภาษี -ขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐานคุณภาพงานและการติดตามประเมินผล ของกระบวนการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน -กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบ -กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี -ขั้นตอนการปฏิบัติมาตรฐานคุณภาพงานและการติดตามประเมินผล ของกระบวนการจัดเก็บภาษีบํารุงท้องที่ -กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบ -กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี -ขั้นตอนการปฏิบัติมาตรฐานคุณภาพงานและการติดตามประเมินผล ของกระบวนการจัดเก็บภาษีป้าย -กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบ -กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี -กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี ภารกิจสนับสนุน: กระบวนการด้านธุรการ -กระบวนงานจัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บภาษี -กระบวนงานรับหนังสือ -กระบวนงานส่งหนังสือ -กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุ -กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง ภาคผนวก ก แบบฟอร์มต่างๆ ภาคผนวก ข ระเบียบ คําสั่ง ที่เกี่ยวข้อง

39 40 40 40 49 57 60 64 64 68 70 73 77 77 81 82 84 86 86 88 89 90 91


บทสรุปสําหรับผู้บริหาร การจัดทําคู่มือการปฏิบัติงานนั้นเกิดจากการบูรณาการและการเชื่อมโยงของเกณฑ์คุณภาพ การ บริหารจัดการการจัดเก็บรายได้ นํามาวิเคราะห์และกําหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการ สนั บ สนุ น แล้ ว จั ด ทํ า เป็ น คู่ มื อ ปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ตอบคํ า ถามประเด็ น การพิ จ ารณา การดํ า เนิ น งานใน กระบวนการจัดเก็บรายได้ กระบวนการจัดเก็บรายได้ มีหน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ ฝ่ายรายได้ ทุกสํานักงานเขต ได้ร่วมมือกัน จั ด ทํ า คู่ มื อ ปฏิ บั ติ งานขึ้ น เพื่ อแสดงขั้ น ตอน วิ ธี ก าร กรอบระยะเวลาและมาตรฐานคุ ณ ภาพงาน ของ กระบวนการตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการดําเนินงาน ประกอบด้วยกระบวนการ ดังต่อไปนี้ ภารกิจหลัก: กระบวนการจัดเก็บภาษี ซึ่งแบ่งออกเป็นการจัดเก็บภาษีทั้ง ๓ ประเภท ดังนี้ 1. กระบวนการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ๑.๑ กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ๑.๑.๑ กรณีรายเก่า ระยะเวลาดําเนินงาน ๔๕ วันทําการ ๑.๑.๒ กรณีรายใหม่ ระยะเวลาดําเนินงาน ๕๕ วันทําการ ๑.๒ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน ๑.๒.๑ กรณีรายเก่า ระยะเวลาดําเนินงาน ๒๔๐ วันทําการ ๑.๒.๒ กรณีรายใหม่ ระยะเวลาดําเนินงาน ติดตามอย่างสม่ําเสมอ ๑.๓ กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ระยะเวลาดําเนินงาน ๕๕ วันทําการ (นับระยะเวลาเฉพาะกระบวนงานของฝ่ายรายได้รับผิดชอบ) ๑.๔ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีโรงเรือนและที่ดิน ระยะเวลาดําเนินงาน ๑๐ ปี (จนกว่าจะขาดอายุความ) 2. กระบวนการจัดเก็บภาษีบํารุงท้องที่ ๒.๑ กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีบํารุงท้องที่ ระยะเวลาดําเนินงาน ๔๕ วันหรือ ภายในเดือนมีนาคมของปีแรกที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดิน ๒.๒ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีบํารุงท้องที่ ระยะเวลาดําเนินงาน ๑๕๐ วัน ๒.๓ กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีบํารุงท้องที่ ระยะเวลาดําเนินงาน ๕๕ วันทําการ (นับระยะเวลา เฉพาะกระบวนงานของฝ่ายรายได้รับผิดชอบ) ๒.๔ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีบํารุงท้องที่ ระยะเวลาดําเนินงาน ๑๐ ปี (จนกว่า จะขาดอายุความ) 3. กระบวนการจัดเก็บภาษีป้าย ๓.๑ กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีป้าย ระยะเวลาดําเนินงาน ๔๕ วันทําการ ๓.๒ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีป้าย ระยะเวลาดําเนินงาน ๑๕๐ วัน ๓.๓ กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีป้าย ระยะเวลาดําเนินงาน ๕๕ วันทําการ (นับระยะเวลาเฉพาะ กระบวนงานของฝ่ายรายได้รับผิดชอบ)


๓.๔ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีป้าย ระยะเวลาดําเนินงาน ๑๒๐ วัน ภารกิจสนับสนุน: กระบวนการด้านธุรการ - กระบวนงานจัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บ กระบวนการนี้จะแสดงขั้นตอนการจัดทํา รายงานและสถิติการจัดเก็บภาษี ระยะเวลาดําเนินงาน ภายในวันที่ ๗ ของทุกเดือน - กระบวนงานรับหนังสือ ระยะเวลาดําเนินงาน 1 วัน - กระบวนงานส่งหนังสือ ระยะเวลาดําเนินงาน 1 วัน - กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุ ระยะเวลาดําเนินงาน 1 วัน - กระบวนงานควบคุมการเบิกน้ํามันเชื้อเพลิง ระยะเวลาดําเนินงาน 1 วัน ในการบริหารการจัดเก็บรายได้ มีผลกระทบต่อการจัดหารายได้ของกรุงเทพมหานคร และ ประชาชนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ลดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ของผู้ปฏิบัติงานและสร้างความพึงพอใจต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ฝ่ายรายได้ จึงได้จัดทําคู่มือนี้ขึ้นเพื่อประโยชน์ ในการควบคุมมาตรฐานการปฏิบัติงานและเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการบริหารการจัดเก็บรายได้


ส่วนที่ ๑ บทนํา

ส่วนที่ ๑ บทนํา


๑. ความเป็นมาและความสําคัญในการจัดทําคู่มอื กรุงเทพมหานคร ได้กําหนดให้มีการจัดทําแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นกรอบ ชี้นํ าการบริห ารและให้ หน่ ว ยงานระดั บสํ านั กและสํ านั กงานเขตนํ าไปใช้ป ระกอบการจัด ทํา แผนปฏิ บั ติ ราชการประจําปีที่เชื่อมโยงกับแผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ ๑ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ มิติที่ ๒ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติที่ ๓ ด้านคุณภาพการปฏิบัติราชการ มิติที่ ๔ ด้านการพัฒนาองค์การ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ กรุงเทพมหานคร โดยสํานักงาน ก.ก. ได้ปรับปรุงตัวชี้วัดที่ ๒.๑ ในมิติที่ 2 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ โดยปรับปรุงจากตัวชี้วัดที่ ๒.๑: ร้อยละความสําเร็จ ในการลดรอบเวลาการปฏิบัติราชการ ปรับปรุงเป็นตัวชี้วัดที่ ๒.๑: ระดับความสําเร็จของการจัดทําคู่มือการ ปฏิบัติงานของหน่วยงาน โดยให้สํานักงานเขตทั้ง ๕๐ สํานักงานเขต ร่วมกันจัดทําคู่มือปฏิบัติงานของทุก ฝ่ายทั้งหมด ๑๐ ฝ่าย ซึ่งสํานักงาน ก.ก. เป็นผู้จําแนกให้จัดทําคู่มือปฏิบัติงานของ ๒ ฝ่ายต่อสํานักงานเขต โดยสํานักงานเขตที่รับผิดชอบในการจัดทําคู่มือปฏิบัติงานของฝ่ายรายได้ ตามคําสั่งกรุงเทพมหานครที่ ๓๓๔๘ / ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๔ เรื่อง แต่งตั้งคณะทํางานจัดทํา คู่มือการปฏิบัติ งานของ สํานักงานเขต มีดังนี้ ๑. สํานักงานเขตคลองเตย ๒. สํานักงานเขตคันนายาว ๓. สํานักงานเขตจตุจักร ๔. สํานักงานเขตจอมทอง ๕. สํานักงานเขตดอนเมือง ๖. สํานักงานเขตทวีวัฒนา ๗. สํานักงานเขตบางนา ๘. สํานักงานเขตยานนาวา ๙. สํานักงานเขตราชเทวี ๑๐. สํานักงานเขตหนองแขม ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนปฏิบัติราชการของกรุงเทพมหานคร คณะทํางาน จึงได้จัดทําคู่มือปฏิบัติงานของฝ่ายรายได้ขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ โดยนําคู่มือปฏิบัติงาน ไปเป็นเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรของฝ่ายรายได้ เพื่อใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษาหาความรู้ และแนวทางการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง สามารถลดการตอบคําถาม ลดเวลาการสอนงาน ลดเวลาการ ทํา งาน และลดข้ อผิด พลาดในการทดลองปฏิ บั ติงาน หรื อเป็น แหล่ งข้ อมู ลให้ บุ คคลภายนอก ได้ ทราบ กระบวนการปฏิบัติงาน ซึ่งคู่มือปฏิบัติงานของฝ่ายรายได้เดิม ได้จัดทํามาเป็นเวลานานแล้ว ปัจจุบันได้มีการ ๒


ปรับปรุงระเบียบ คําสั่ง หนังสือสั่งการและมีระบบสารสนเทศเข้ามาใช้ในกระบวนการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น จึง จําเป็นต้องจัดทําคู่มือปฏิบัติงานขึ้นใหม่ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

๒. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้มีคู่มือการปฏิบัติงาน ที่เป็นมาตรฐานมุ่งไปสู่การบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. เพื่อเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ด้วยตนเอง ให้ผู้ที่เข้ามาปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้โดยลด การตอบคําถาม ลดเวลาในการสอนงาน ลดข้อผิดพลาดหรือความขัดแย้งที่อาจจะเกิดในการทํางาน และ สามารถพัฒนาการทํางานให้เป็นมืออาชีพได้ ๓. เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลให้บุคคลภายนอก สามารถเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากกระบวนงาน ที่มีอยู่เพื่อขอรับบริการที่ตรงกับความต้องการได้

๓. ขอบเขต การจัดทําคู่มือปฏิบัติงานของฝ่ายรายได้ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานเฉพาะฝ่ายรายได้ สํานักงาน เขตต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งแบ่งกระบวนการปฏิบัติงานออกเป็น ๒ กระบวนการ ตามภารกิจของ ฝ่ายรายได้ สํานักงานเขต ได้แก่ ภารกิจหลัก คือ กระบวนการจัดเก็บภาษี และภารกิจสนับสนุน คือ กระบวนการด้านธุรการ ซึ่งในแต่ละกระบวนการดังกล่าวจะแสดงขั้นตอนการทํางานในรูปแบบ Flow Chart โดยแสดงรายละเอียดของงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ระบบติดตามและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม และเอกสารอ้างอิงของแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการดําเนินงาน ดังต่อไปนี้ ภารกิจหลัก: กระบวนการจัดเก็บภาษี ซึ่งแบ่งออกเป็นการจัดเก็บภาษีทั้ง ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. กระบวนการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน เริ่มตั้งแต่การประชาสัมพันธ์ให้เสียภาษี (อยู่ในความรับผิดชอบของกองประชาสัมพันธ์ ทางสํานักงานเขตมีหน้าที่เพียงแจกเอกสารประชาสัมพันธ์ เท่านั้น) เมื่อประชาชนได้รับทราบข้อมูลการประชาสัมพันธ์ภาษีและมายื่นแบบเสียภาษีภายในระยะเวลา ตามกฎหมายกําหนด จึงจะเริ่มเข้าสู่กระบวนงานที่ ๑.๑ : กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีโรงเรือน และที่ ดิ น แต่ ห ากประชาชนไม่ ม ายื่ น แบบเพื่ อ เสี ย ภาษี ภ ายในระยะเวลาที่ กํ า หนด เจ้ า หน้ า ที่ ก็จ ะเริ่ ม ดําเนินการตามกระบวนงานที่ ๑.๒ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน และ หากประชาชนได้รับใบแจ้งการประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน(ภ.ร.ด.๘) จากการดําเนินงานในกระบวนงาน ที่ ๑.๑ แล้ว แต่เห็นว่าการประเมินภาษีไม่เป็นธรรมสามารถอุทธรณ์ภาษีได้ภายในระยะเวลาที่กฎหมาย กําหนดจึงเข้าสู่กระบวนงานที่ ๑.๓ : กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และหากประชาชนได้รับ ใบแจ้งการประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน(ภ.ร.ด.๘) จากการดําเนินงานในกระบวนงานที่ ๑.๑ แล้ว ไม่ชําระ เงินภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด เจ้าหน้าที่จะเริ่มดําเนินการในกระบวนงานที่ ๑.๔ : กระบวนงาน เร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีโรงเรือนและที่ดิน ซึ่งในกระบวนงานต่าง ๆ ที่กล่าวมานั้น มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ กระบวนงานที่ ๑.๑ : กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน เริ่มตั้งแต่ การรับแบบพิมพ์(ภ.ร.ด.๒) ,ตรวจสอบและประเมินภาษี สิ้นสุดด้วยการแจ้งการประเมินภาษี (ภ.ร.ด.๘) ๓


กระบวนงานที่ ๑.๒ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน เริ่ม ตั้งแต่ การออกหนังสื อเตื อน สิ้ นสุ ด ที่การส่ งดํา เนิน คดี และการประเมิ น ภาษีต ามมาตรา ๒๔ ทวิ หรื อ กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษี แล้วแต่กรณี กระบวนงานที่ ๑.๓ : กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เริ่มตั้งแต่การรับคําร้อง ขออุทธรณ์ภาษี (ภ.ร.ด.๙) ,ทําคําชี้แจงการประเมิน สิ้นสุดด้วยการดําเนินการตามคําชี้ขาด กระบวนงานที่ ๑.๔ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีโรงเรือนและที่ดิน เริ่ม ตั้ งแต่ การออกหนั งสื อ เตื อน,ออกหนั งสื อเตื อน (ภ.กทม.๑),ออกหนั งสื อเตื อน (ภ.กทม.๒) ,สื บ สวนหา ทรั พ ย์ สิ น กรณี พ บทรั พ ย์ สิ น ของผู้ ค้ า งทํ า การรายงานการสื บ สวนหาทรั พ ย์ สิ น (ภ.กทม.๓) หรื อ กรณี ล้มละลายทําการขอเฉลี่ยหนี้ หรือกรณีไม่พบทรัพย์สินของผู้ค้างให้สิ้นสุดกระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้าง ๒. กระบวนการจัดเก็บภาษีบํารุงท้องที่ เริ่มตั้งแต่การประชาสัมพันธ์ให้เสียภาษี (อยู่ใน ความรับผิดชอบของกองประชาสัมพันธ์ ทางสํานักงานเขตมีหน้าที่เพียงแจกเอกสารประชาสัมพันธ์เท่านั้น) เมื่ อประชาชนได้รั บ ทราบข้ อมู ล การประชาสั มพั น ธ์ภ าษี และมายื่ น แบบเสี ย ภาษี ภ ายในระยะเวลาตาม กฎหมายกําหนด จึงจะเริ่มเข้าสู่กระบวนงานที่ ๒.๑ : กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีบํารุงท้องที่ แต่ หากประชาชนไม่ มายื่ นแบบเพื่อเสี ยภาษีภ ายในระยะเวลาที่กําหนด เจ้ าหน้ าที่ ก็จ ะเริ่ มดํ าเนินการตาม กระบวนงานที่ ๒.๒ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีบํารุงท้องที่ และหากประชาชนได้รับใบ แจ้งการประเมินภาษีบํารุงท้องที่(ภ.บ.ท.๙) จากการดําเนินงานในกระบวนงานที่ ๒.๑ แล้ว แต่เห็นว่าการ ประเมินภาษีไม่เป็นธรรมสามารถอุทธรณ์ภาษีได้ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดจึงเข้าสู่กระบวนงานที่ ๒.๓ : กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีบํารุงท้องที่ และหากประชาชนได้รับใบแจ้งการประเมินภาษีบํารุงท้องที่ (ภ.บ.ท.๙) จากการดําเนินงานในกระบวนงานที่ ๒.๑ แล้ว ไม่ชําระเงินภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด เจ้าหน้าที่จะเริ่มดําเนินการในกระบวนงานที่ ๒.๔ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีบํารุงท้องที่ ซึ่งในกระบวนงานต่าง ๆ ที่กล่าวมานั้น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ กระบวนงานที่ ๒.๑ : กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษีบํารุงท้องที่ เริ่มตั้งแต่การ รับแบบพิมพ์(ภ.บ.ท.๕) ,ตรวจสอบและประเมินภาษี สิ้นสุดด้วยการแจ้งการประเมินภาษี (ภ.บ.ท.๙) กระบวนงานที่ ๒.๒ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีบํารุงท้องที่ เริ่มตั้งแต่ การออกหนังสือเตือน สิ้นสุดที่การส่งดําเนินคดี และกระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีแล้วแต่กรณี กระบวนงานที่ ๒.๓ : กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีบํารุงท้องที่ เริ่มตั้งแต่การรับคําร้องขออุทธรณ์ ภาษี (ภ.บ.ท๑๒) ,ทําคําชี้แจงการประเมิน สิ้นสุดด้วยการดําเนินการตามคําชี้ขาด กระบวนงานที่ ๒.๔ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีบํารุงท้องที่ เริ่มตั้งแต่การ ออกหนังสือเตือน,ออกหนังสือเตือน (ภ.กทม.๑),ออกหนังสือเตือน (ภ.กทม.๒) ,สืบสวนหาทรัพย์สิน กรณี พบทรัพย์สินของผู้ค้างทําการรายงานการสืบสวนหาทรัพย์สิน (ภ.กทม.๓) หรือกรณีล้มละลายทําการขอ เฉลี่ยหนี้ หรือกรณีไม่พบทรัพย์สินของผู้ค้างให้สิ้นสุดกระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้าง ๔


๓. กระบวนการจัดเก็บภาษีป้าย เริ่มตั้งแต่การประชาสัมพันธ์ให้เสียภาษี (อยู่ในความ รับผิดชอบของกองประชาสัมพันธ์ ทางสํานักงานเขตมีหน้าที่เพียงแจกเอกสารประชาสัมพันธ์เท่านั้น) เมื่อ ประชาชนได้รับทราบข้อมูลการประชาสัมพันธ์ภาษีและมายื่นแบบเสียภาษีภายในระยะเวลาตามกฎหมาย กําหนด จึงจะเริ่มเข้าสู่กระบวนงานที่ ๓.๑ : กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีป้าย แต่หากประชาชน ไม่มายื่นแบบเพื่อเสียภาษีภายในระยะเวลาที่กําหนด เจ้าหน้าที่ก็จะเริ่มดําเนินการตามกระบวนงานที่ ๓.๒ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีป้าย และหากประชาชนได้รับใบแจ้งการประเมินภาษีป้าย (ภ.ป.๓) จากการดําเนินงานในกระบวนงานที่ ๓.๑ แล้ว แต่เห็นว่าการประเมินภาษีไม่เป็นธรรมสามารถ อุทธรณ์ภาษีได้ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดจึงเข้าสู่กระบวนงานที่ ๓.๓ : กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี บํ า รุ งท้ องที่ และหากประชาชนได้ รั บ ใบแจ้ ง การประเมิ น ภาษี ป้ า ย(ภ.ป.๓) จากการดํ า เนิ น งานใน กระบวนงานที่ ๓.๑ แล้ว ไม่ชําระเงินภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด เจ้าหน้าที่จะเริ่มดําเนินการใน กระบวนงานที่ ๓.๔ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีป้าย ซึ่งในกระบวนงานต่าง ๆ ที่กล่าวมานั้น มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ กระบวนงานที่ ๓.๑ : กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษีป้าย เริ่มตั้งแต่การรับแบบ พิมพ์ (ภ.ป.๑) ,ตรวจสอบและประเมินภาษี สิ้นสุดด้วยการแจ้งการประเมินภาษี (ภ.ป.๓) กระบวนงานที่ ๓.๒ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีป้าย เริ่มตั้งแต่การออก หนังสือเตือน สิ้นสุดที่การส่งดําเนินคดี และกระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีแล้วแต่กรณี กระบวนงานที่ ๓.๓ : กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีป้าย เริ่มตั้งแต่การรับคําร้องขออุทธรณ์ ภาษี (ภ.ป.๔) ,ทําคําชี้แจงการประเมิน สิ้นสุดด้วยการดําเนินการตามคําชี้ขาด กระบวนงานที่ ๓.๔ : กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีป้าย เริ่มตั้งแต่การออก หนังสือเตือน และสิ้นสุดด้วยการส่งดําเนินคดี ภารกิจสนับสนุน: กระบวนการด้านธุรการ ซึ่งแบ่งออกเป็นกระบวนงานย่อย ๔ กระบวนงานย่อย ดังนี้ กระบวนงานย่อยที่ ๑ : กระบวนงานจัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บ เพื่อให้การ จัดเก็บรายได้มีประสิทธิภาพ จึงต้องมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของฝ่ายรายได้ สํานักงานเขต ในรูปแบบรายงาน ได้แก่ การรายงานโดยเอกสาร และการรายงานข้อมูลแบบ Online Real Time ด้วยโปรแกรม MIS 2 ระบบงานรายได้ ซึ่งกระบวนการนี้จะแสดงขั้นตอนการจัดทํารายงานและสถิติ การจัดเก็บภาษี ตั้งแต่การรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลในระบบ MIS แล้วจัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บ ภาษีประจําเดือน เสนอเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้หรือนักวิชาการจัดเก็บรายได้ทําการตรวจสอบ และผ่าน การเห็นชอบจากหัวหน้าฝ่ายรายได้ เพื่อเสนอผู้อํานวยการเขตลงนาม และสิ้นสุดด้วยการส่งรายงานให้กอง รายได้ทราบเป็นประจําทุกสิ้นเดือน


กระบวนงานย่อยที่ ๒ : กระบวนงานรับหนังสือ เริ่มตั้งแต่ลงทะเบียนหนังสือรับ เสนอ หัวหน้าฝ่ายพิจารณาและสั่งการ แจ้งเจ้าหน้าที่ทราบและดําเนินการในส่งที่เกี่ยวข้อง สิ้นสุดที่การจัดเก็บ เอกสาร กระบวนงานย่อยที่ ๓ : กระบวนงานส่งหนังสือ เริ่มตั้งแต่เจ้าหน้าที่จัดเอกสารหรือรายงาน เสนอหัวหน้าฝ่ายพิจารณาอนุมัติ หรือกรณีที่เป็นหนังสือที่ต้องส่งภายนอกหน่วยงานก็เสนอผู้อํานวยการเขต พิจารณาอนุมัติ จากนั้นลงทะเบียนหนังสือส่ง และสิ้นสุดที่จัดส่งและเก็บสําเนาเอกสาร กระบวนงานย่อยที่ ๔ : กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุ เริ่มตั้งแต่จัดทําใบเบิกพัสดุ เสนอหัวหน้าฝ่ายพิจารณาอนุมัติ ส่งเอกสารให้ฝ่ายการคลัง เมื่อฝ่ายการคลังส่งพัสดุให้ตามต้องการแล้ว ฝ่ายการคลังจะทําใบส่งมอบพัสดุพร้อมพัสดุ จากนั้นทําเบียนคุมการเบิกจ่ายพัสดุ และสิ้นสุดที่การส่งพัสดุ ให้เจ้าหน้าที่ต้องการใช้พัสดุนั้น กระบวนงานย่อยที่ ๕ : กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง เริ่มตั้งแต่จัดทํา ใบเบิกน้ํามันเชื้อเพลิง เสนอหัวหน้าฝ่ายพิจารณาอนุมัติ ส่งเอกสารให้พนักงานขับรถเพื่อนําไปเติมน้ํามันที่ สถานีบริการน้ํามันที่กรุงเทพมหานครกําหนด ส่วนสําเนารวบรวมเพื่อจัดทํารายงานการเบิกจ่ายพัสดุส่งฝ่าย การคลัง

๔. กรอบแนวคิด ๔.๑. การวิเคราะห์ข้อมูลนําเข้าและผลผลิต (Input – Output Analysis) เป็นเครื่องมือสําคัญตัวแรกที่ช่วยในการทําให้เห็นทั้งภาพใหญ่และภาพย่อยของกระบวนการ ถือเป็นจุดเริ่มของการมองลําดับขั้นตอนต่าง ๆ ให้ออกมาเป็นภาพชัดเจน ปัจจัยนําเข้า (Input) -บุคลากร -งบประมาณ -ความคาดหวังของ ผู้รับบริการ -กฎหมาย -นโยบายของผู้บริหาร -สภาพเศรษฐกิจ -การเมือง

Processing -การจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน -การจัดเก็บภาษีบํารุงท้องที่ -การจัดเก็บภาษีป้าย

ผลผลิต (Output) -กรุงเทพมหานครมี รายได้เพิ่มขึ้น -การจัดเก็บรายได้มี ประสิทธิภาพ -ประชาชนผู้เสียภาษี ได้รับการบริการที่ สะดวก รวดเร็ว และ เป็นธรรม

บุคลากร หมายถึง ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ และลูกจ้างกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับ มอบหมายให้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บรายได้กรุงเทพมหานคร ๖


ผู้รับบริการ หมายถึง ประชาชนผู้มารับบริการด้านภาษี งบประมาณ หมายถึง แผนการดําเนินงานในการจัดหาเงินมาใช้ในการบริหารงานรายได้ ความคาดหวังของผู้รับบริการ หมายถึง การได้รับบริการจากเจ้าหน้าที่ที่มีมาตรฐานการ บริการเดียวกัน โดยมีการประเมินภาษีตามอัตราค่าเช่ามาตรฐานกลางที่กรุงเทพมหานครกําหนด ทําให้ จัดเก็บภาษีได้ถูกต้องตามที่ระเบียบกฎหมายได้กําหนดไว้ กฎหมาย หมายถึง พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๔ ,พระราชบัญญัติภาษีบํารุงท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ ,พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. ๒๕๑๐ และระเบียบ คําสั่งที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษี นโยบายของผู้บริหาร หมายถึง นโยบายการบริหารกรุงเทพมหานครของผู้ว่ากรุงเทพมหานคร คือ นโยบายด้านเศรษฐกิจ: เปลี่ยนกรุงเทพฯให้เป็นมหานครแห่งการค้า และการท่องเที่ยวของภูมิภาคอย่าง แท้จริง และยุทธศาสตร์ในการบริหารกรุงเทพมหานคร คือ ยุทธศาสตร์ที่ 5 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อเป็นต้นแบบด้านการบริหารมหานคร(Mastering Best Service and Mega-City Management) เศรษฐกิจ หมายถึง สภาพความเป็นอยู่ทางการค้าของผู้เสียภาษีภายในพื้นที่ มีผลต่อการยื่น เสียภาษีต่าง ๆ การเมือง หมายถึง สภาพปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองของประเทศ และนโยบายทางการ เมืองของรัฐบาล ที่มีผลต่อการจัดเก็บภาษี ๔.๒ ผังงาน(Flow Chart ) หลังจากที่ทราบ Input และ Output พร้อมกับกําหนดกระบวนการที่อยู่ในแต่ละลําดับ ขั้นได้แล้ว สามารถนํา Flow Chart เข้ามาช่วยอธิบายทิศทางการเดินของลําดับขั้น และการตัดสินใจได้ อย่างชัดเจน เปรียบเสมือนแผนที่บอกเส้นทางการทํางานที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด จากทฤษฎีดังกล่าวข้างต้น สามารถวิเคราะห์กรอบแนวคิดของกระบวนงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ ภารกิจหลัก: กระบวนการจัดเก็บภาษี ๑) กระบวนงานรับยื่นแบบและประเมินภาษีทั้ง ๓ ประเภท ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้เสียภาษี ได้รับการบริการที่สะดวก รวดเร็ว และชําระภาษี ในอัตราที่เป็นธรรม ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้เสียภาษีและกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีรายได้ ข้อกําหนดด้านกฎหมาย

ประสิทธิภาพของ ความคุ้มค่า กระบวนงาน -พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และแก้ไข จัดเก็บภาษีถูกต้อง เป็นประโยชน์แก่ เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ และเป็นธรรม กรุงเทพมหานคร ๗


-พ.ร.บ.ภาษีบํารุงท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔ ๒) กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีทั้ง ๓ ประเภท ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้เสียภาษี หลบเลี่ยงการเสียภาษี ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้เสียภาษีและกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีรายได้ ข้อกําหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของ ความคุ้มค่า กระบวนงาน -พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ จัดเก็บภาษีได้ครบถ้วน เป็นประโยชน์แก่ และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ กรุงเทพมหานคร -พ.ร.บ.ภาษีบํารุงท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔ ๓) กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีทั้ง ๓ ประเภท ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้เสียภาษี ได้รับความเป็นธรรมในการเสียภาษี ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้เสียภาษีและกรุงเทพมหานคร ทําความเข้าใจกับประชาชน ข้อกําหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของ ความคุ้มค่า กระบวนงาน -พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ จัดเก็บภาษีด้วยความ เป็นประโยชน์แก่ และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ เป็นธรรม กรุงเทพมหานคร -พ.ร.บ.ภาษีบํารุงท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔ ๔) กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีทั้ง ๓ ประเภท ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้เสียภาษี ผ่อนผันหรือหลบเลี่ยงการชําระภาษี ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้เสียภาษีและกรุงเทพมหานคร ประนีประนอมหนี้ ๘


ข้อกําหนดด้านกฎหมาย

ประสิทธิภาพของ กระบวนงาน -พ.ร.บ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และ จัดเก็บหนี้ค้างชําระได้ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ ครบถ้วน -พ.ร.บ.ภาษีบํารุงท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔

ความคุ้มค่า เป็นประโยชน์แก่ กรุงเทพมหานคร

ภารกิจสนับสนุน: กระบวนงานด้านธุรการ ๑) กระบวนงานจัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บ ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ฝ่ายรายได้ สํานักงานเขต จัดทํารายงานและรวบรวมข้อมูลสถิติการ จัดเก็บอย่างถูกต้อง ผู้มีส่วนได้เสีย หน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ ติดตามผลการดําเนินงาน ข้อกําหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของ ความคุ้มค่า กระบวนงาน -ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร ถูกต้อง และรายงานฯ เป็นประโยชน์แก่ บรรณ ๒๕๒๖ ตรงตามระยะเวลาที่ กรุงเทพมหานคร -ระเบียบสารบรรณ กทม. พ.ศ. ๒๕๔๖ และ กําหนด แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒) กระบวนงานรับหนังสือ ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ฝ่ายรายได้ สํานักงานเขต การรับหนังสือ ติดตาม ตรวจสอบ เป็นไปอย่างมีระบบและรวดเร็ว ผู้มีส่วนได้เสีย หน่วยงาน/ส่วนราชการต่างๆ สามารถติดตามหนังสือหรือประสานงานได้อย่างรวดเร็ว ข้อกําหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของ ความคุ้มค่า กระบวนงาน -ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงาน รวดเร็วและถูกต้อง เป็นประโยชน์แก่ สารบรรณ ๒๕๒๖ กรุงเทพมหานคร -ระเบียบสารบรรณ กทม. พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๘ ๙


๓) กระบวนงานส่งหนังสือ ผู้เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการ ฝ่ายรายได้ สํานักงานเขต ผู้มีส่วนได้เสีย หน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ ข้อกําหนดด้านกฎหมาย

ความต้องการ การส่งหนังสือเป็นไปอย่างมีระบบ และรวดเร็ว

สามารถติดตามหนังสือหรือประสานงานได้อย่างรวดเร็ว ประสิทธิภาพของ ความคุ้มค่า กระบวนงาน -ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร รวดเร็วและถูกต้อง เป็นประโยชน์แก่ บรรณ ๒๕๒๖ กรุงเทพมหานคร -ระเบียบสารบรรณ กทม. พ.ศ. ๒๕๔๖ และ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๘ ๔) กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุ ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ฝ่ายรายได้ สํานักงานเขต ได้พัสดุถูกต้อง รวดเร็ว และครบถ้วนตามที่ ต้องการ ผู้มีส่วนได้เสีย ฝ่ายการคลัง สํานักงานเขต ควบคุมการเบิกจ่ายได้อย่างเป็นระบบ ข้อกําหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนงาน ความคุ้มค่า ถูกต้องและเป็นไปตามระเบียบ รวดเร็วและถูกต้อง เป็นประโยชน์แก่ กรุงเทพมหานคร

๕) กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ฝ่ายรายได้ สํานักงานเขต เบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิงถูกต้อง รวดเร็ว ผู้มีส่วนได้เสีย ฝ่ายการคลัง สํานักงานเขต ควบคุมการเบิกจ่ายได้อย่างเป็นระบบ ข้อกําหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนงาน ความคุ้มค่า ๑๐


ถูกต้องและเป็นไปตามระเบียบ รวดเร็วและถูกต้อง

เป็นประโยชน์แก่ กรุงเทพมหานคร

๕. ข้อกําหนดที่สําคัญ กระบวนการ

ข้อกําหนดสําคัญ

ตัวชี้วัด

ภารกิจหลัก:กระบวนการจัดเก็บรายได้ ๑)กระบวนงานรับ กรุงเทพมหานครมี แบบและประเมิน รายได้ ภาษีทั้ง ๓ ประเภท ประชาชนได้รับการ ประเมินภาษีที่ ถูกต้อง และเป็น ธรรม

-สํานักงานเขตจัดเก็บภาษีได้ตามประมาณการที่ กรุงเทพมหานครกําหนดให้ - มีการจัดคิวลําดับผู้มาขอรับบริการก่อนหลัง - มีเกณฑ์อัตราค่าเช่ามาตรฐานกลางเป็นเกณฑ์การประเมิน ภาษีโรงเรือนและที่ดิน - มีเกณฑ์อัตรามาตรฐานกลางที่ดินเป็นเกณฑ์การประเมิน ภาษีบํารุงท้องที่

ประชาชนได้รับการ -ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการในเรื่อง บริการที่สะดวก ความสะดวก รวดเร็ว -ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการในเรื่อง ระยะเวลาในการให้บริการ -มีแผนผังขั้นตอนการให้บริการในการเสียภาษีแต่ละ ประเภท -มีช่องทางการชําระเงินค่าภาษีหลายช่องทาง เช่น ชําระ ภาษีผ่าน Internet, ผ่าน ATM หรือธนาคาร และชําระ ต่างสํานักงานเขต เป็นต้น ๒)กระบวนงาน จัดเก็บภาษี -ร้อยละของจํานวนผู้ยื่นภาษีทั้ง ๓ ประเภท เร่งรัดติดตามผู้ค้าง ครบถ้วน -ยอดจัดเก็บรายใหม่ของภาษีทั้ง ๓ ประเภท ยื่นแบบภาษีทั้ง ๓ ประเภท กระบวนการ

ข้อกําหนดสําคัญ

๓)กระบวนงาน จัดเก็บภาษีด้วยความ อุทธรณ์ภาษีทั้ง เป็นธรรม ๓ ประเภท

ตัวชี้วัด - จํานวนของเรื่องร้องเรียนและอุทธรณ์ภาษี - มีการประชาสัมพันธ์อัตราการเสียภาษีทั้ง ๓ ประเภท

๔)กระบวนงาน จัดเก็บหนี้ค้างครบถ้วน -ร้อยละของยอดจัดเก็บหนี้ค้างภาษี ๑๑


เร่งรัดติดตาม ผู้ค้างชําระภาษี ทั้ง ๓ ประเภท ภารกิจสนับสนุน:กระบวนการด้านธุรการ กระบวนงาน ย่อยที่ ๑ : กระบวนงาน จัดทํารายงาน และสถิติการ จัดเก็บ

การติดตามผลการ ดําเนินงานอย่างมี ระบบ

- มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการฐานข้อมูล - มีการรายงานผลการดําเนินงานจัดเก็บรายได้ทุกสิ้นเดือน

กระบวนงาน ย่อยที่ ๒ : กระบวนงานรับ หนังสือ

มีการรับหนังสืออย่าง เป็นระบบระเบียบ สามารถค้นหา โดยสะดวก

- มีระบบการรับหนังสือด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการ ฐานข้อมูล - มีการเก็บเอกสารอย่างเป็นระบบ

กระบวนงาน มีการส่งหนังสืออย่าง ย่อยที่ ๓ : เป็นระบบระเบียบ กระบวนงานส่ง หนังสือ

- มีระบบการรับหนังสือด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการ ฐานข้อมูล - มีการเก็บเอกสารสําเนาอย่างเป็นระบบ

กระบวนงาน ย่อยที่ ๔ : กระบวนงาน ควบคุมการ เบิกจ่ายพัสดุ

- มีระบบการเบิกจ่ายด้ว ยเทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการ ฐานข้อมูล -มีทะเบียนคุมการเบิกจ่ายพัสดุ

มีการเบิกจ่ายพัสดุ อย่างเป็นระบบ

กระบวนการ

ข้อกําหนดสําคัญ

กระบวนงานย่อยที่ ๕ : มีการเบิกจ่าย กระบวนงานควบคุมการ พัสดุอย่างเป็น เบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบ

ตัวชี้วัด - มีระบบการเบิกจ่ายด้ายเทคโนโลยีสารสนเทศมา จัดการฐานข้อมูล -มีการรายงานการเบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง

๑๒


๖. คําจํากัดความ ๖.๑ คู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) หมายถึง แผนที่บอกเส้นทางการทํางานที่มีจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุด มีคําอธิบายตามที่จําเป็น ๖.๒ ผังกระบวนการ หมายถึง Flow Chart แสดงขั้นตอนการทํางาน ๖.๓ มาตรฐานคุณภาพงาน หมายถึง ข้อตกลงที่จัดทําขึ้นเป็นเอกสารโดยการรวบรวมข้อมูล หรือข้อกําหนดทางเทคนิคเพื่อให้เกิดประสิทธิผลโดยรวมของกระบวนการดําเนินงานในการตอบสนองความ ต้องการของผู้รับบริการ ๖.๔ ปี หมายถึง ปีปฏิทิน ๖.๕ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ หมายถึง โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น รวมทั้ง ที่ดิน ที่ใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้าง นั้น ๆ อันต้องเสียภาษีตามความในภาค 1 แห่งพระราชบัญญัติ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 ๖.๖ ที่ดินซึ่งใช้ต่อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ หมายถึง ที่ดินซึ่งปลูกสร้าง โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ๆ และบริเวณต่อเนื่องกัน (สนาม สระน้ํา ที่ว่าง) ซึ่งปกติใช้ไปด้วยกันกับ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างนั้น ๆ ๖.๗ ค่ารายปี หมายถึง จํานวนเงินซึ่งทรัพย์สินนั้นสมควรให้เช่าได้ในปีหนึ่ง ๆ ๖.๘ ป้ า ย หมายถึ ง ป้ า ยแสดงชื่ อ ยี่ ห้ อ หรื อ เครื่ อ งหมายที่ ใช้ ในการประกอบการค้ า หรื อ ประกอบกิจการอื่น เพื่อหารายได้หรือโฆษณาร้านค้าหรือกิจการอื่น เพื่อหารายได้ ไม่ว่าจะได้แสดงหรือ โฆษณาไว้ที่วัตถุใด ๆ ด้วยอักษร ภาพ หรือ เครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึก หรือ ทําให้ปรากฏด้วยวิธีอื่น ๖.๙ ที่ดิน หมายถึง พื้นที่ดินและให้หมายความรวมถึงพื้นที่ที่เป็นภูเขาหรือที่มีน้ําด้วย ๖.๑๐ ผู้รับประเมิน หมายถึง ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ๖.๑๑ ผู้ค้างยื่นแบบ หมายถึง ผู้ที่ไม่ได้ยื่นแบบภายในกําหนดระยะเวลา ๖.๑๒ ผู้ค้างชําระ หมายถึง ผู้ที่ไม่ได้ชําระค่าภาษีภายในกําหนดระยะเวลา ๖.๑๓ รายเก่า หมายถึง โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน และป้าย ที่เคยมีการยื่นแบบเพื่อ เสียภาษี แล้วในปีประเมินปีก่อน ๖.๑๔ รายใหม่ หมายถึง โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน และป้าย ที่ยังไม่เคยยื่นแบบเพื่อ เสียภาษีมาก่อน

๗. คําอธิบายสัญลักษณ์ทใี่ ช้/คําอธิบายคําย่อ สัญลักษณ์

คําอธิบาย จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของกระบวนการ กระบวนการที่มีกิจกรรมย่อยอยู่ภายใน ๑๓


สัญลักษณ์

คําอธิบาย กิจกรรมหรือภารกิจ การตัดสินใจ (Decision) ฐานข้อมูล (Database) เอกสาร / รายงาน (Document) เอกสาร รายงานหลายแบบ/ประเภท (Multi Document) ทิศทาง/การเคลื่อนไหวของงาน ทิศทางการนําเข้า/ส่งออกของเอกสาร/รายงาน/ฐานข้อมูลที่ อาจจะเกิดขึ้น

A

จุดเชื่อมต่อระหว่างขั้นตอน

๘. หน้าที่ความรับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ

หน้าที่ความรับผิดชอบ

ผู้อํานวยการเขต กํากับดูแลการปฏิบัติงานของฝ่ายรายได้ ฝ่ายรายได้ 1. ดําเนินการจัดเก็บรายได้ของกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบํารุงท้องที่ และภาษีป้าย และรายได้อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 2. ดําเนินการสืบทรัพย์ของผู้ค้างชําระภาษีที่อยู่ในพื้นที่เขต 3. การดําเนินคดีแก่ผู้ค้างชําระภาษี 4. ดําเนินการติดตามเร่งรัดจัดเก็บภาษีกับผู้ค้างยื่นแบบภาษีและค้างชําระภาษี 5. รายงานการจัดเก็บภาษี 6. หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย หัวหน้าฝ่าย ๑. ปฏิบัติงานและกํากับ ดูแลความเรียบร้อยในการปฏิบัติงานจัดเก็บภาษีที่เป็น รายได้ รายได้ของกรุงเทพมหานครให้มีความถูกต้อง เป็นธรรม และเกิดความเสมอ ภาคเท่าเทียมกัน ๒. ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานด้านวิชาการจัดเก็บภาษีที่เป็นรายได้ของ กรุงเทพมหานครของผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อดูแลให้การปฏิบัติงานเป็นไปตาม แผนงานและนโยบายที่กําหนดไว้ ๑๔


ผู้รับผิดชอบ

หน้าที่ความรับผิดชอบ ๓. ฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรด้านการจัดเก็บภาษีที่เป็นรายได้ของ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีทักษะในการปฏิบัติงาน และมี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ๔. ให้คําปรึกษาแนะนําในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อช่วย ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ ให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานได้ลุล่วงเป็น ผลสัมฤทธิ์ ๕. ให้คําปรึกษาหรือควบคุมดูแลการปฏิบัติงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับภาษีที่เป็น รายได้ของกรุงเทพมหานครภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้การ ทํางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายตามที่ได้ตั้งไว้ ๖. ทําการประเมินผลการปฏิบัติงาน และรายงานปัญหาหรือข้อผิดพลาดพร้อม ทั้งแนวทางแก้ไขแก่กรุงเทพมหานคร เพื่อพิจารณาปรับปรุงและดําเนินการ ต่อไป

๑๕


ส่วนที่ ๒ แผนผังกระบวนการบริหารการจัดเก็บรายได้

16


ภารกิจหลัก: กระบวนการบริหารการจัดเก็บรายได้ การจัดเก็บรายได้

การจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน

การจัดเก็บภาษีบํารุงท้องที่

การจัดเก็บภาษีป้าย

กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษี

กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษี

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษี

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษี

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษี

กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี

กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี

กระบวนงานอุทธรณ์ภาษี

กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษี

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี

กระบวนการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน หน่วยงาน 17


ฝ่ายการคลัง

ฝ่ายรายได้

กองรายได้

เริ่ม ประชาสัมพันธ์ให้เสียภาษี ใช่ .

รับชําระเงินครบ

รับแบบและประเมินภาษี

เร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษี

ใช่

ไม่ใช่ ชําระภาษี

ใช่

๑.๒

รายใหม่

รายเก่า/รายใหม่

รายเก่า

รับอุทธรณ์

สิ้นสุด

ไม่ใช่ รับยื่นแบบ ภายในกําหนด

อนุมัติค่ารายปีภาษี โรงเรือนรายใหม่ เร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี

อุทธรณ์ภาษี

ไม่ใช่

๑.๔

.

กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน

พิจารณาอุทธรณ์ภาษี

๑.๑

หน่วยงาน ระยะเวลา

จํานวนคน ฝ่ายการคลัง

ฝ่ายรายได้

18

กองรายได้


ทันที

เริ่ม

-แบบ ภ.ร.ด.๒ -เอกสารประกอบข้อเท็จจริง

-รับแบบพิมพ์(ภ.ร.ด.๒) -ออกเลขรับ กรณีรายเก่า ภายใน ๔๕ วันทําการ กรณีรายใหม่ ภายใน ๕๕ วันทําการ

ระบบ MIS2

อนุมัติค่า รายปี

ตรวจและ ประเมินภาษี ก ก

ภายใน ๗ วันทําการ

รับชําระเงิน

-บันทึกการประเมินในระบบ MIS๒ -แจ้งการประเมินภาษี (ภ.ร.ด.๘)

แบบ ภ.ร.ด.๘

สิ้นสุด กระบวนงานเร่ งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีโรงเรือนและที่ดิน

ระยะเวลา

จํานวนคน

หน่วยงาน ฝ่ายรายได้

19

๑.๒


๑๒๐ วัน /ทุกเดือน (รายเก่า/รายใหม่)

๖๐ วัน

เริ่ม ๑

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

-บัญชีรายชือ่ ผู้ค้างยื่นแบบฯ (REP_REV_017) -แบบ ภ.ร.ด.๓

ออกหนังสือเตือน (ภ.ร.ด.๓) ไม่มา

ออกหมายเรียก(ภ.ร.ด.๖)

ส่งดําเนินคดี ๓๐ วัน

มา

ไม่มา

มา

๑.๑

มา

ออกหนังสือขอเข้าตรวจทรัพย์สิน(ภ.ร.ด.๗) ๓๐ วัน

ไม่มา

ประเมินภาษีตาม ม.๒๔ ทวิ

กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ระยะเวลา

จํานวนคน

หน่วยงาน ฝ่ายรายได้ 20

๑.๓ กองรายได้


เริ่ม ๑

ทันที

รับคําร้อง(ภ.ร.ด.๙) ๑

๒๕ วัน

ทําคําชี้แจงการประเมินภาษี

๓๐ วัน

ดําเนินการตามคําชี้ขาด สิ้นสุด

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีโรงเรือนและที่ดิน

๑.๔

หน่วยงาน ระยะเวลา จํานวน ฝ่ายการคลัง คน ๑๒๐ วัน

ฝ่ายรายได้

เริ่ม

21

ออกหนังสือเตือน ไม่มา

-บัญชีรายชือ่ ผู้ค้างชําระภาษี (REP_REV_018) -หนังสือเตือน

กองรายได้

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

ดําเนินการยึด อายัด และ


มา ๓๐ วัน

๓๐ วัน

จนขาดอายุ ความ(๑๐ปี)

มา มา

สิ้นสุด

กระบวนการจัดเก็บภาษีบํารุงท้องที่ ฝ่ายการคลัง

หน่วยงาน ฝ่ายรายได้

22

๒ กองรายได้


เริ่ม ประชาสัมพันธ์ให้เสียภาษี ใช่ .

รับชําระเงินครบ

รับแบบและประเมินภาษี

รับยื่นแบบ ภายในกําหนด

ไม่ใช่

ใช่

ชําระภาษี รับอุทธรณ์

สิ้นสุด

ไม่ใช่

ใช่

เร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษี

๒.๒

เร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี

อุทธรณ์ภาษี

ไม่ใช่

๒.๔

.

กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีบํารุงท้องที่ หน่วยงาน 23

พิจารณาอุทธรณ์ภาษี

๒.๑


ระยะเวลา

จํานวนคน

ทันที

ฝ่ายการคลัง

ฝ่ายรายได้ เริ่ม -แบบ ภ.บ.ท.๕ -เอกสารประกอบข้อเท็จจริง

๔๕ วัน หรือภายใน เดือนมีนาคมของปีแรก ที่มีการตีราคาปลานก ลางของที่ดิน ภายใน ๗ วันทําการ

-รับแบบพิมพ์(ภ.บ.ท.๕) -ออกเลขรับ ๑

ตรวจและ ประเมินภาษี

๑ รับชําระเงิน สิ้นสุด

-บันทึกการประเมินในระบบ MIS๒ -แจ้งการประเมินภาษี (ภ.บ.ท.๙)

แบบ ภ.บ.ท.๙

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีบํารุงท้องที่ ระยะเวลา

ระบบ MIS2

จํานวนคน

หน่วยงาน ฝ่ายรายได้ 24

๒.๒


๑๒๐ วัน

๓๐ วัน

เริ่ม ๑

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

-บัญชีรายชือ่ ผู้ค้างยื่นแบบฯ (REP_REV_026) -หนังสือเตือน

ออกหนังสือเตือน

มา

๒.๑

ไม่มา ส่งดําเนินคดี

สิ้นสุด

กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีบํารุงท้องที่ ระยะเวลา

จํานวนคน

หน่วยงาน ฝ่ายรายได้

25

๒.๓ กองรายได้


เริ่ม ๑

ทันที

รับคําร้อง(ภ.บ.ท.๑๒) ๑

๒๕ วัน

ทําคําชี้แจงการประเมินภาษี

๓๐ วัน

ดําเนินการตามคําชี้ขาด สิ้นสุด

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีบํารุงท้องที่

๒.๔

หน่วยงาน ระยะเวลา จํานวน ฝ่ายการคลัง คน ๑๒๐ วัน

ฝ่ายรายได้

เริ่ม 26 ออกหนังสือเตือน ไม่มา

กองรายได้

-บัญชีรายชือ่ ผู้ค้างชําระภาษี (REP_REV_018) -หนังสือเตือน

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

ดําเนินการยึด อายัด และ


๓๐ วัน

๓๐ วัน

จนขาดอายุ ความ(๑๐ปี)

สิ้นสุด

กระบวนการจัดเก็บภาษีป้าย หน่วยงาน ฝ่ายรายได้

ฝ่ายการคลัง

กองรายได้

เริ่ม ประชาสัมพันธ์ให้เสียภาษี ใช่

รับยื่นแบบ 27 ภายในกําหนด

ไม่ใช่

๓.๒


เร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษี .

รับแบบและประเมินภาษี ไม่ใช่

ใช่

รับชําระเงินครบ

เร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษี

ชําระภาษี รับอุทธรณ์

ใช่

อุทธรณ์ภาษี

ไม่ใช่

สิ้นสุด

๓.๔

.

กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีป้าย

๓.๑

หน่วยงาน ระยะเวลา

จํานวน คน

ทันที

ฝ่ายการคลัง

ฝ่ายรายได้ เริ่ม -รับแบบพิมพ์(ภ.ป.๑) -ออกเลขรับ 28 ตรวจและ

-แบบ ภ.ป.๑ -เอกสารประกอบข้อเท็จจริง

ระบบ MIS2


๔๕ วัน

ภายใน ๗ วันทําการ

กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบภาษีป้าย

๓.๒ ระยะเวลา ๑๒๐ วัน

๓๐ วัน

หน่วยงาน ฝ่ายรายได้

จํานวนคน

เริ่ม ๑

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

-บัญชีรายชือ่ ผู้ค้างยื่นแบบฯ (REP_REV_039) -หนังสือเตือน

ออกหนังสือเตือน ไม่มา ส่งดําเนินคดี

29

สิ้นสุด

มา

๓.๑


กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีป้าย ระยะเวลา

หน่วยงาน ฝ่ายรายได้

จํานวนคน

๓.๓ กองรายได้

เริ่ม ทันที

๑ รับคําร้อง(ภ.ป.๔)

๒๕ วัน

ทําคําชี้แจงการประเมินภาษี

๓๐ วัน

ดําเนินการตามคําชี้ขาด สิ้นสุด

30


กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีป้าย ระยะเวลา จํานวนคน ฝ่ายการคลัง ๑๒๐ วัน

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

๓.๔

หน่วยงาน ฝ่ายรายได้ -บัญชีรายชือ่ ผู้ค้างชําระภาษี (REP_REV_036) -หนังสือเตือน

กองรายได้ เริ่ม ออกหนังสือเตือน มา

รับชําระเงิน สิ้นสุด

31

ไม่มา

ส่ง ดําเนินคดี


ภารกิจสนับสนุน: กระบวนการด้านธุรการ กระบวนการด้านธุรการ กระบวนงานย่อยที่ ๑ :

กระบวนงานย่อยที่ ๒ :

กระบวนงานย่อยที่ ๓ :

กระบวนงานย่อยที่ ๔ :

กระบวนงานย่อยที่ ๕ :

กระบวนงานจัดทํารายงาน และสถิติการจัดเก็บ

กระบวนงานรับหนังสือ

กระบวนงานส่งหนังสือ

กระบวนงานควบคุม เบิกจ่ายพัสดุ

กระบวนงานควบคุมการ เบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง

32


กระบวนงานย่อยที่ ๑ : กระบวนงานจัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บ ระยะเวลา จํานวนคน

เจ้าพนักงานธุรการ

หน่วยงาน เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้/ หัวหน้าฝ่ายรายได้ ผู้อํานวยการเขต นักวิชาการจัดเก็บรายได้

กองรายได้

เริ่ม ทุกสิ้นเดือน

1 คน รวบรวมข้อมูลและ จัดทํารายงาน

ทุกสิ้นเดือน

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

-บัญชีรายชือ่ ผู้ค้างชําระภาษี (REP_REV_036) -หนังสือเตือน

รายงานสรุปการ จัดเก็บภาษี(สนค.๐๑) ถูกต้อง

1 คน:ขั้นตอน ไม่ถูกต้อง

ตรวจสอบ ความถูกต้อง

พิจารณา เห็นชอบ แก้ไข

33

เห็นชอบ

แก้ไข

ลงนาม พิจารณา ลงนาม

รับรายงาน สิ้นสุด


กระบวนงานย่อยที่ ๒ : กระบวนงานรับหนังสือ หน่วยงาน เจ้าพนักงานธุรการ

ระยะเวลา จํานวนคน

หัวหน้าฝ่ายรายได้

เริ่ม ๑ วัน

1 คน ลงทะเบียนหนังสือรับ

๑ วัน

1 คน

เสนอหนังสือเพื่อสั่งการ

๑ วัน

1 คน

เจ้าหน้าที่เวียนแจ้ง

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

พิจารณาสั่งการ

จัดเก็บเอกสาร ๑ วัน

1 คน

สิ้นสุด

กระบวนงานย่อยที่ ๓ : กระบวนงานส่งหนังสือ 34


หน่วยงาน ระยะเวลา จํานวนคน

เจ้าพนักงานธุรการ

หัวหน้าฝ่ายรายได้

ผู้อํานวยการเขต

เริ่ม ๑ วัน

แก้ไข

1 คน

แก้ไข

จัดทําเอกสาร ๑ วัน

ตรวจสอบ และลงนาม

1 คน ฐานข้อมูลระบบ MIS2

๑ วัน

1 คน

ลงนาม

ลงนาม

ลงทะเบียนหนังสือส่ง -ส่งเอกสาร -เก็บสําเนาเอกสาร สิ้นสุด

กระบวนงานย่อยที่ ๔ : กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุ 35

พิจารณา อนุมัติ


หน่วยงาน ระยะเวลา จํานวนคน

เจ้าพนักงานธุรการ

หัวหน้าฝ่ายรายได้

ฝ่ายการคลัง

พิจารณา อนุมัติ

ดําเนินการเบิกพัสดุ

เริ่ม ๑ วัน

1 คน

จัดทําใบเบิกพัสดุ ฐานข้อมูลระบบ MIS2

๑ วัน

1 คน

๑ วัน

1 คน

จัดทําทะเบียนคุมพัสดุ สิ้นสุด

กระบวนงานย่อยที่ ๕ : กระบวนงานควบคุมการเบิกน้ํามันเชื้อเพลิง ระยะเวลา จํานวนคน

เจ้าพนักงานธุรการ 36

หัวหน้าฝ่ายรายได้

พนักงานขับรถยนต์


เริ่ม ๑ วัน

1 คน จัดทําใบเบิกน้ํามันเชื้อเพลิง

๑ วัน

1 คน

๑ วัน

1 คน

ฐานข้อมูลระบบ MIS2

พิจารณา อนุมัติ

จัดทํารายงายการเบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง ก

๑ วัน

พิจาณาลงนาม

1 คน ส่งรายงายการเบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง

๑ วัน

1 คน สิ้นสุด

37

ดําเนินการเบิก น้ํามันเชื้อเพลิง


ส่วนที่ ๓ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล

ภารกิจหลัก:กระบวนการจัดเก็บภาษี ๑. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผลของกระบวนการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ๓๙


๑.๑ กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน ๑.๑.๑ กรณีรายเก่า ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๑

ทันที ( . . . )

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน ๑. ตรวจสอบความถูกต้องในการกรอกแบบแจ้ง รายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.๒) ดังนี้ ๑.๑. มีการลงลายมือชื่อของผู้รับประเมินในช่อง ผู้รับประเมินพร้อมลงวัน เดือน ปี หรือกรณีนิติบุคคล ให้ผู้มีอํานาจลงลายมือชื่อพร้อมประทับตรา ๑.๒. แสดงรายการไว้ชัดเจน ถูกต้อง ครบถ้วน และแสดงหลักฐานประกอบข้อเท็จจริงตามแบบแจ้งฯ ๒. แบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.๒) ที่ตรวจสอบถูกต้องแล้ว ให้ดําเนินการดังนี้ ๒.๑. ลงรับแบบในระบบ MIS๒ ทันที โดยระบุวัน เดือน ปีที่รับ แล้วให้ลงเลขรับไว้ในแบบ ภ.ร.ด.๒ พร้อมลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับแบบฯ

รายละเอียดงาน

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล -ตามพรบ.ภาษี รายงานการ โรงเรือนและที่ดิน รับแบบ พ.ศ. ๒๔๗๕ (รหัส แก้ไขเพิ่มเติม REP_REV_ (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. 010) ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ ข้อ ๒ -หลักฐานการยื่น แบบฯ ตาม ภาคผนวก มาตรฐาน คุณภาพงาน

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม เอกสารอ้างอิง

จพง.ธุรการ -ภ.ร.ด.๒ หรือจพง. จัดเก็บรายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับ มอบหมายตาม คําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม ประเมินผล

๔๐

-พรบ.ภาษี โรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ ข้อ ๒

เอกสารอ้างอิง


๔๕ วัน ตรวจสอบ และประเมิน

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

๒.๒. ออกใบรับแบบ ภ.ร.ด.๒ ให้แก่ผู้มา ยื่นแบบฯ ๓. แบบ ภ.ร.ด.๒ ที่ได้ลงรับแล้ว ส่งให้ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดําเนินการต่อไป ๑. ตรวจสอบ ๑.๑. ตรวจสอบความถูกต้องของ รายการในแบบ ภ.ร.ด. ๒ เปรียบเทียบกับ เอกสารหลักฐานและข้อเท็จจริง ๑.๒. ตรวจสภาพโรงเรือน ว่ามีการ เปลี่ยนแปลงขนาดหรือการใช้ประโยชน์จาก เดิมหรือไม่

รายละเอียดงาน

(เอกสารหมาย ๑)

เอกสาร -ตรวจ แบบ ภ.ร.ด.๒ เปรียบเทียบกับ เอกสารประกอบ -ตรวจสภาพโรงเรือน และการใช้ประโยชน์ เปรียบเทียบกับแบบ ภ.ร.ด.๒ ที่แจ้ง

มาตรฐานคุณภาพงาน

๔๑

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

จพง.จัดเก็บ -ภ.ร.ด.๒ รายได้ หรือ -เอกสาร นักวิชาการ ประกอบ จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๔๓

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

-พรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙

เอกสารอ้างอิง


๒. ประเมินภาษี เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบทําการประเมิน พร้อมบันทึกหลักเกณฑ์การประเมิน เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่เห็นชอบ

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

-ประเมินโดยเทียบเคียง กับโรงเรือนที่มีลักษณะ ขนาด พื้นที่ ทําเล ที่ตั้ง และบริการสาธารณะที่ คล้ายคลึงกัน เพื่อความ เป็นธรรม -พรบ.ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๘ และมาตรา ๒๓ -ประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรื่องกําหนดหลักเกณฑ์ การประเมินค่ารายปี ทรัพย์สิน พ.ศ. ๒๕๓๕

มาตรฐานคุณภาพงาน

๔๒

-พนักงาน เจ้าหน้าที่สุ่ม ตรวจ โรงเรือนไม่ น้อยกว่า เดือนละ ๑ ครั้ง -รายงานการ ประเมินภาษี (รหัส REP_REV_ 011)

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ ที่ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-ภ.ร.ด.๒ -เอกสาร ประกอบ

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

-ประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรื่องกําหนด หลักเกณฑ์การ ประเมินค่ารายปี ทรัพย์สิน พ.ศ. ๒๕๓๕

เอกสารอ้างอิง


๓ ก ( . . . )

๗ วัน ทําการ

-ตรวจความถูกต้องของ ใบแจ้งรายการประเมิน (ภ.ร.ด.๘)เปรียบเทียบ กับแบบ ภ.ร.ด.๒ ต้อง ถูกต้องตรงกัน ๒.ส่งใบแจ้งรายการประเมิน(ภ.ร.ด. ๘) -ส่ง ณ ภูมิลําเนาหรือ ให้ผู้รับประเมิน โดยตรงหรือทางไปรษณีย์ สถานประกอบการของ ลงทะเบียน ผู้รับประเมิน -ตามพรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๒๔ และคําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙ ข้อ ๒ ๑.ออกใบแจ้งรายการประเมิน (ภ.ร.ด.๘) ผ่านระบบ MIS๒ พร้อมใบแนบ ภ.ร.ด.๘ เพื่อแสดงหลักเกณฑ์และรายละเอียดการ ประเมินภาษี

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ ที่ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-ภ.ร.ด.๘ -บัญชีนําส่ง ภ.ร.ด.๒ และภ.ร.ด.๘ -ใบรับ ภ.ร.ด.๘ หรือใบตอบ รับของ ไปรษณีย์

-พรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙

๑.๑.๒ กรณีรายใหม่ ลําดับ ที่

ผังกระบวนการ

๑ ( . . . )

ระบบ ระยะเวลา รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม ประเมินผล ทันที ๑. ตรวจสอบความถูกต้องในการกรอกแบบ -ตรวจ แบบ ภ.ร.ด.๒ รายงานการ จพง.จัดเก็บ -ภ.ร.ด.๒ ๔๓

เอกสารอ้างอิง -พรบ.ภาษี


แจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน เปรียบเทียบกับ (ภ.ร.ด.๒) ดังนี้ เอกสารประกอบ ๑.๑. มีการลงลายมือชื่อของผู้รับ ข้อเท็จจริง ประเมินในช่องผู้รับประเมินพร้อมลงวัน เดือน ปี หรือกรณีนิติบุคคลให้ผู้มีอํานาจลง ลายมือชื่อพร้อมประทับตรา ๑.๒. แสดงรายการไว้ชัดเจน ถูกต้อง ครบถ้วน ดังนี้ -สําเนาโฉนดที่ดิน -สําเนาใบขออนุญาตก่อสร้างอาคาร หรือหนังสือสัญญาซื้อขายอาคาร หรือใบขอ เลขหมายประจําบ้าน ทะเบียนบ้านโรงเรือน ที่พิกัดภาษี

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

รับแบบ (รหัส REP_REV_ 010)

รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-เอกสาร/ หลักฐาน ประกอบ ข้อเท็จจริง

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม ประเมินผล

-สําเนาบัตรประชาชนและทะเบียนบ้าน เจ้าของกรรมสิทธิ์ -หนังสือรับรองบริษัท และสําเนาบัตร ประชาชนของกรรมการบริษัท (กรณีเป็นนิติ บุคคล) -เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ๔๔

โรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙

เอกสารอ้างอิง


๒. แบบ ภ.ร.ด.๒ ตรวจสอบถูกต้องแล้ว ให้ ดําเนินการดังนี้ ๒.๑. ลงรับแบบในระบบ MIS๒ ทันที โดย ระบุวัน เดือน ปีที่รับ แล้วให้ลงเลขรับไว้ใน แบบ ภ.ร.ด.๒ พร้อมลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับ แบบ ๒.๒. ออกใบรับแบบ ภ.ร.ด.๒ ให้แก่ผู้มายื่น ๓. แบบ ภ.ร.ด. ๒ ที่ได้ลงรับแล้ว ส่งให้จนท. ผู้รับผิดชอบดําเนินการต่อไป

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน ที่ ๒ ๕๕ ๑. ตรวจสอบ วันทําการ ๑.๑. ตรวจสอบความถูกต้องของ ตรวจสอบ รายการในแบบ ภ.ร.ด. ๒ เปรียบเทียบ และประเมิน กับเอกสารหลักฐานประกอบข้อเท็จจริง หากมีข้อสงสัยให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ออกหมายเรียกผู้รับประเมินเพื่อนํา เอกสารหลักฐานมาแสดงเพิ่มเติม ๑.๒. ตรวจสภาพโรงเรือน ได้แก่ ขนาด สภาพ ทําเล ที่ตั้ง และการใช้

มาตรฐานคุณภาพงาน -ตรวจแบบ ภ.ร.ด.๒ เปรียบเทียบกับเอกสาร ประกอบข้อเท็จจริง

-ตรวจสภาพโรงเรือน เปรียบเทียบกับแบบ ๔๕

ระบบติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม

รายงานประเมิน จพง.จัดเก็บ ภาษี (รหัส รายได้ หรือ REP_REV_011) นักวิชาการ จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง

-ภ.ร.ด.๒ -เอกสาร ประกอบ การประเมิน ภาษี

เอกสารอ้างอิง -พรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และแก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ -ประกาศ กระทรวงมหาดไทย


ลําดับที่

ผังกระบวนการ

ระยะเวลา

ประโยชน์

ภ.ร.ด.๒

๒. ประเมินภาษี เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบทํ า การประเมิ น พร้ อ มบั น ทึ ก หลั ก เกณฑ์ ก ารประเมิ น เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่เห็นชอบ

-ประเมินโดยเทียบเคียง กับโรงเรือนที่มีลักษณะ ขนาด พื้นที่ ทําเล ที่ตั้ง และบริการสาธารณะที่ คล้ายคลึงกัน

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๓. รวบรวมเอกสารหลักฐาน -พรบ.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ทั้งหมดส่งกองรายได้ สํานัก พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา การคลัง ๘ และมาตรา ๒๓ -ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องกําหนดหลักเกณฑ์การ ประเมินค่ารายปีทรัพย์สิน พ.ศ. ๒๕๓๕

๔๖

กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

เรื่องกําหนด หลักเกณฑ์การ ประเมินค่ารายปี ทรัพย์สิน พ.ศ. ๒๕๓๕

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๗ วัน ทําการ ก ( . . . )

ลําดับที่

ผังกระบวนการ

ระยะเวลา

๑.ออกใบแจ้งรายการ ประเมิน (ภ.ร.ด.๘) ผ่าน ระบบ MIS๒ พร้อมใบแนบ ภ.ร.ด.๘ เพื่อแสดง หลักเกณฑ์และรายละเอียด การประเมินภาษี

-ตรวจความถูกต้องของใบแจ้ง รายการประเมิน (ภ.ร.ด.๘) เปรียบเทียบกับแบบ ภ.ร.ด.๒ -ตามพรบ.ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๒๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ ข้อ ๖

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๒.ส่งใบแจ้งรายการประเมิน (ภ.ร.ด. ๘) ให้ผู้รับประเมิน โดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการจัดเก็บ รายได้ที่ได้รับ มอบหมายตาม คําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

-ภ.ร.ด.๘ -บัญชี นําส่งภ.ร.ด.๘ และภ.ร.ด.๒

แบบฟอร์ม

-พรบ.ภาษี โรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔

เอกสารอ้างอิง

-ใบรับภ.ร.ด.๘ -คําสั่ง หรือใบตอบ กรุงเทพมหานครที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ รับทาง ไปรษณีย์

๔๗


๑.๒ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ๑.๒.๑ กรณีรายเก่า ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๑

ออกหนังสือ เตือน( . . . )

รายละเอียดงาน

๑๒๐ วัน ๑.พิมพ์บัญชีรายชื่อผู้ค้างยื่นแบบฯ ด้วยระบบ MIS ๒ ๒.พิมพ์หนังสือเตือนค้างยื่นแบบเพื่อ เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินด้วยระบบ MIS ๒ ให้ผู้เสียภาษีมายื่นแบบภายใน ๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือเตือน ๓.ส่งหนังสือเตือน ไปยังภูมิลําเนาหรือ สถานประกอบการของผู้รับประเมิน โดยตรงหรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน

มาตรฐาน คุณภาพงาน -ตรวจสอบหนังสือ เตือนเปรียบเทียบ กับบัญชีรายชื่อผู้ ค้างยื่นแบบฯ -ออกหนังสือเตือน อย่างน้อย ๓ ครั้ง

๔๘

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล -พจท.สุ่ม ตรวจจาก บัญชีผู้ค้าง ยื่นแบบฯ เป็นจํานวน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๓๐

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-หนังสือเตือนผู้ค้าง ยื่นแบบฯ (ภ.ร.ด.๓)

เอกสารอ้างอิง

-พรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไข -เอกสารการตอบรับ เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) -บัญชีรายชื่อผู้ค้างยื่น พ.ศ.๒๕๓๔ แบบฯ (รหัส -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ REP_REV_017)


ลําดับ ที่

ผัง กระบวนการ

ระยะเวลา

รายละเอียดงาน

๖๐ วัน

สืบหาหลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์โรงเรือนพิกัดภาษี แล้ว รวบรวมเอกสาร/หลักฐานการเร่งรัด ติดตามผู้เสียภาษีและเอกสารที่ เกี่ยวข้องเสนอผู้อํานวยการเขตให้ ความเห็นชอบดําเนินคดีตามกฎหมาย

ตามพรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และคําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ -หนังสือสั่งการที่ 7000/14

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

เมื่อออกหนังสือเตือนแล้วผู้รับประเมิน ยังไม่มายื่นแบบฯ ภายในกําหนด ให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ออกหมายเรียกตัว ผู้รับประเมิน (ภ.ร.ด. ๖) มาพบภายใน ๗ วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ

ตามพรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และ คําสั่งกรุงเทพมหานคร ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ หนังสือสั่งการที่ กท 7000/14

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

! " #

ก ก ( . . . )

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล

๖๐ วัน

๔๙

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง -พรบ.ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙ -หนังสือสั่งการที่ 7000/14

หมายเรียก ตัวผู้รับ ประเมิน (ภ.ร.ด. ๖)

-พรบ.ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙


ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๔

$ % & ' ( . . . ()

๓๐ วัน

ระบบ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ ประเมินผล -ตามพรบ.ภาษี เอกสาร จพง.จัดเก็บ หากผู้รับประเมินไม่มาพบตาม รายได้ หรือ หมายเรียกตัวผู้รับประเมิน(ภ.ร.ด.๖) โรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และคําสั่ง นักวิชาการ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกหนังสือ จัดเก็บรายได้ แจ้งความขอเข้าตรวจทรัพย์สินตาม กรุงเทพมหานครที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ ที่ได้รับ แบบ ภ.ร.ด. ๗ ไปยังผู้รับประเมิน มอบหมาย หรือผู้ครอบครอง ทราบล่วงหน้าไม่ -ตามคําสั่ง ตามคําสั่ง ต่ํากว่า ๔๘ ชั่วโมง แล้วเข้าทําการ กรุงเทพมหานครที่ กทม. ที่ ตรวจทรัพย์สินต่อหน้าผู้รับประเมิน ๒๑๓๒/๒๕๕๐ ๒๗๕๕/ ผู้ครอบครองหรือผู้แทน ระหว่าง หนังสือสั่งการที่ กท ๒๕๔๓ เวลาพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ 7000/14 ตก

๕๐

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

หนังสือแจ้ง ความขอเข้า ตรวจตรา ทรัพย์สินตาม แบบ ภ.ร.ด. ๗

-พรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙ -ตามคําสั่งกทม.ที่ ๒๑๓๒/๒๕๕๐


ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๕

๖๐ วัน ) % % * '&

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

กําหนดค่ารายปี – ค่าภาษี พร้อมให้บันทึกหลักเกณฑ์การ ประเมินเสนอพนักงาน เจ้าหน้าที่เห็นชอบ

-ประเมินโดยเทียบเคียงกับ โรงเรือนที่มีลักษณะ ขนาด พื้นที่ ทําเล ที่ตั้งและบริการ สาธารณะที่คล้ายคลึงกัน -ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๑๓๒/๒๕๕๐

๑.๒.๒ กรณีรายใหม่ ๕๑

ระบบ ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม ประเมินผล เอกสาร จพง.จัดเก็บ แบบ ภ.ร.ด. ๒ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ ที่ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

เอกสารอ้างอิง -พรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๑๓๒/๒๕๕๐


ลําดับ ที่

ผัง กระบวนการ

๑ ออกหนังสือ เตือน( . . . )

ระยะเวลา

รายละเอียดงาน

ทุกเดือน

๑.สืบหาโรงเรือนพิกัดภาษีได้หลายวิธี ดังนี้ -เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบออกสํารวจพื้นที่ ด้วยตัวเอง -สืบหาข้อมูลจากระบบแผนที่ภาษี(GIS) -สืบหาข้อมูลจากหน่วยงานภายใน หรือ แหล่งข้อมูลอื่น

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ ประเมินผล -ตรวจสอบข้อมูลที่ได้ เปรียบเทียบกับ ทะเบียนผู้รับประเมิน ภาษีโรงเรือนและที่ดิน

๒.พนักงานเจ้าหน้าที่ออกหนังสือเตือน รายใหม่ผ่านระบบ GIS ให้ผู้มีหน้าที่เสีย ภาษีมายื่นแบบภายใน ๗ วัน นับแต่วันที่ ได้รับหนังสือเตือน

พจท.สุ่ม สํารวจพื้นที่ อย่างน้อย เดือนละ ๑ ครั้ง

แบบฟอร์ม

จพง.จัดเก็บ -หนังสือเตือน รายได้ หรือ ผู้ค้างยื่นแบบฯ นักวิชาการ (ภ.ร.ด.๓) จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓ -เอกสารการ ตอบรับ

๓.ส่งหนังสือเตือนไปยังภูมิลําเนาของผู้รับ ประเมิน

๕๒

เอกสารอ้างอิง -พรบ.ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙


ลําดับ ที่

ผัง กระบวนการ

ระยะเวลา

รายละเอียดงาน

มาตรฐาน คุณภาพงาน

๖๐ วัน

สืบหาหลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์โรงเรือนพิกัดภาษี แล้ว รวบรวมเอกสาร/หลักฐานการเร่งรัด ติดตามผู้เสียภาษีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง เสนอผู้อํานวยการเขตให้ความเห็นชอบ ให้ดําเนินคดีตามกฎหมาย

-ตามพรบ.ภาษี โรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๔ -ตามคําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙

! " #

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล เอกสาร

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง -พรบ.ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่ง กทม. ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙

-จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓ -นิติกร -ผอ.เขต

ลําดั บที่

ผัง กระบวนการ

ระยะเวลา

รายละเอียดงาน

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล ๕๓

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


ก ก

๖๐ วัน

( . . . )

$ % & '

๓๐ วัน

( . . . ()

ลําดั บที่

ผัง กระบวนการ

ระยะเวลา ๖๐ วัน

) % % * '&

เมื่อออกหนังสือเตือนแล้วผู้รับประเมิน ยังไม่มายื่นแบบฯ ภายในกําหนด ให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ออกหมายเรียกตัว ผู้รับประเมิน(ภ.ร.ด. ๖) มาพบภายใน ๗ วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือ

ตามพรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และ คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙ หนังสือสั่งการที่ กท 7000/14

เอกสาร

หากผู้รับประเมินไม่มาพบตาม หมายเรียกตัวผู้รับประเมิน(ภ.ร.ด.๖) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกหนังสือแจ้ง ความขอเข้าตรวจทรัพย์สินตามแบบ ภ.ร.ด. ๗ ไปยังผู้รับประเมิน หรือผู้ ครอบครอง ทราบล่วงหน้าไม่ต่ํากว่า ๔๘ ชั่วโมง แล้วเข้าทําการตรวจ ทรัพย์สินต่อหน้าผู้รับประเมิน ผู้ ครอบครองหรือผู้แทน ระหว่างเวลา พระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก

-ตามพรบ.ภาษี โรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และคําสั่ง กรุงเทพมหานครที่ ๒๙๕/๒๕๓๙ -ตามคําสั่ง กรุงเทพมหานครที่ ๒๑๓๒/๒๕๕๐

เอกสาร

รายละเอียดงาน กําหนดค่ารายปี – ค่าภาษี พร้อมให้

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓

-พรบ.ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙ -หนังสือสั่งการที่ กท 7000/14 จพง.จัดเก็บ หนังสือแจ้ง -พรบ.ภาษีโรงเรือนและ รายได้ หรือ ความขอเข้า ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไข นักวิชาการ ตรวจตรา เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. จัดเก็บรายได้ที่ ทรัพย์สิน ๒๕๓๔ ได้รับมอบหมาย ตามแบบ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ตามคําสั่ง กทม. ภ.ร.ด. ๗ ๒๕๓๙ ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓ -ตามคําสั่งกทม.ที่ ๒๑๓๒/๒๕๕๐

ระบบ ผู้รับผิดชอบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล -ประเมินโดย เอกสาร จพง.จัดเก็บ ๕๔

หมายเรียก ตัวผู้รับ ประเมิน (ภ.ร.ด. ๖)

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

แบบ ภ.ร.ด. ๒ -พรบ.ภาษีโรงเรือนและ


บันทึกหลักเกณฑ์การประเมินเสนอ พนักงานเจ้าหน้าที่ให้ความเห็นชอบ

เทียบเคียงกับโรงเรือน ที่มีลักษณะ ขนาด พื้นที่ ทําเล ที่ตั้งและ บริการสาธารณะที่ คล้ายคลึงกัน -ตามคําสั่งกทม.ที่ ๑๓๒/๒๕๕๐

ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙ -ตามคําสัง่ กทม.ที่

รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

๒๑๓๒/๒๕๕๐

๑.๓. กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีโรงเรือนและทีด่ ิน ตามมาตรา ๒๕,๒๖ แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ เมื่อผู้รับประเมินไม่พอใจการประเมินภาษีของ พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้รับประเมินมีสิทธิอุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นคําร้องขอให้พิจารณาการประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.๙) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมินภาษี ลําดับที่

ผัง กระบวนการ

ระยะเวลา

รายละเอียดงาน

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ ประเมินผล ๕๕

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


ลําดับที่

รับคําร้อง (ภ.ร.ด.๙)

ผัง กระบวนการ

ทันที

ระยะเวลา

๑. ตรวจคําร้องขอให้พิจารณาการ ประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.๙) ว่ามีการกรอกข้อมูล ชัดเจน ครบถ้วน ๒. ลงเลขรับ และวัน เดือน ปี ที่ รับคําร้อง ภ.ร.ด.๙ พร้อมลง ลายมือชื่อผู้รับคําร้องในใบรับ ภ.ร.ด.๙ ส่งคืนให้ผู้ยื่นเก็บไว้เป็น หลักฐาน ส่วน ภ.ร.ด.๙ ส่งให้ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดําเนินการ

รายละเอียดงาน

มาตรฐาน คุณภาพงาน

-พรบ.ภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๒๕และ มาตรา ๒๖ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

๕๖

เอกสาร

ผู้รับผิดชอบ

-จนท.ธุรการ -แบบ ภ.ร.ด.๙ -จพง.จัดเก็บ -ทะเบียน รายได้ หรือ หนังสือรับ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ ที่ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

แบบฟอร์ม

-พรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ -คําสั่ง กทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙

เอกสารอ้างอิง


ชี้แจงเหตุผล การประเมิน

๒๕ วัน

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

ทําคําชี้แจงการ ประเมินโดย ละเอียด และ รวบรวมเอกสาร หลักฐานส่งกอง รายได้ สํานักการ คลัง

ชี้แจงเหตุผล การประเมิน ตาม ข้อเท็จจริง ประกอบ หลักฐานการ ประเมิน

รายละเอียดงาน

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

มาตรฐานคุณภาพงาน

๕๗

-คําชี้แจงเหตุผลการประเมินของพนักงาน เจ้าหน้าที่ ๑ ชุด -คําร้องขอให้พิจารณาการประเมินภาษี โรงเรือนและที่ดิน (ภ.ร.ด.๙) -ใบรับใบแจ้งการประเมิน(ภ.ร.ด.๘) -แบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน (ภ.ร.ด. ๒) ของโรงเรือนรายที่อุทธรณ์ -สําเนาแบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือน และที่ดิน (ภ.ร.ด. ๒) ของโรงเรือนนําเทียบ อย่างน้อย 2 ราย -แผนผังสังเขปแสดงที่ตั้งโรงเรือนรายที่ อุทธรณ์กับรายที่นําเทียบ -เอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ระบบ ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ ประเมินผล

แบบฟอร์ม

-พรบ.ภาษี โรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/๒๕๓๙

เอกสารอ้างอิง


๓๐ วัน ดําเนินการ ตามคําชี้ขาด

กรณีให้คืนเงิน ตามระเบียบ ให้เจ้าหน้าที่ดําเนินการตั้งฎีกาขอ กรุงเทพมหานครว่าด้วย คืนเงินค่าภาษีให้ผู้อุทธรณ์ การรับเงิน การเบิก จ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนําส่งเงิน และการ ตรวจเงิน ฯ

เอกสาร

-จพง.ธุรการ -ฏีกาเบิกจ่ายเงิน -ระเบียบ กรุงเทพมหานครว่า ด้วยการรับเงิน การ เบิกจ่ายเงิน การเก็บ รักษาเงิน การนําส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๓๐ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๔๑ วรรคสอง

๑.๔. กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีโรงเรือนและที่ดิน ตามมาตรา ๓๘,๔๓ แห่งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ เมื่อผู้รับประเมินได้รับใบแจ้งการประเมิน (ภ.ร.ด.๘) แล้วต้องชําระเงินภายใน ๓๐ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับใบแจ้ง หากพ้นกําหนดเวลาดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยมีขั้นตอนดังนี้

๕๘


ลําดับ ที่ ๑

ลําดับ ที่

ผัง ระยะเวลา รายละเอียดงาน กระบวนการ ๑๒๐ วัน ๑.พิมพ์บัญชีค้างชําระภาษี ออกหนังสือ ด้วยระบบ MIS ๒ ๒.พิมพ์หนังสือเตือนค้าง เตือน ชําระด้วยระบบ MIS ๒ ๓.ส่งหนังสือเตือน ไปยัง ภูมิลําเนาหรือสถาน ประกอบการของผู้รับ ประเมินโดยตรงหรือทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียน

ผังกระบวนการ

ระยะเวลา

มาตรฐานคุณภาพงาน -ตามคําสั่งกทม.ที่ ๓๖๔๘/๒๕๓๘ เรื่อง การเร่งรัดจัดเก็บภาษี ค้างชําระ -ออกหนังสือเตือน อย่างน้อย ๓ ครั้ง

รายละเอียดงาน

ระบบติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

พจท.สุ่ม ตรวจสอบจาก บัญชีลูกหนี้ค้าง ชําระที่จัดทําจาก ระบบ MIS๒ จํานวนไม่น้อย กว่าร้อยละ ๓๐

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการจัดเก็บ รายได้ที่ได้รับ มอบหมายตาม คําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓

-หนังสือเตือนค้าง ชําระ -บัญชีรายชื่อผู้ ค้างชําระ (รหัส REP_REV_018)

-พรบ.ภาษีโรงเรือน และที่ดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ ที่ ๔ ) พ.ศ.๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕/ ๒๕๓๙ -คําสั่งกทม. ที่ ๓๖๔๘/ ๒๕๓๘ เรื่อง การ เร่งรัดจัดเก็บภาษีค้าง ชําระ

มาตรฐานคุณภาพงาน

๕๙

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


ออกหนังสือ เตือน ภ.กทม.๑

ออกหนังสือ เตือน ภ.กทม.๒

๓๐ วัน

ออกหนังสือเตือนตาม แบบ ภ.กทม. ๑ ให้ผู้ค้างภาษีนําเงินมา ชําระภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ที่ได้รับ หนังสือ

-ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่า ด้วยการยึด อายัด และ ขายทอดตลาด ทรัพย์สินผู้ค้างภาษี ฯ

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ -ภ.กทม.๑ รายได้ หรือ นักวิชาการจัดเก็บ รายได้ที่ได้รับ มอบหมายตาม คําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓

๓๐ วัน

ออกหนังสือเตือนครั้งสุดท้าย ตามแบบ ภ.กทม.๒ ให้ผู้ค้างภาษีนําเงินมาชําระ ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันได้รบั หนังสือ

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่า ด้วยการยึด อายัด และ ขายทอดตลาด ทรัพย์สินผู้ค้างภาษี ฯ

เอกสาร

ผู้อํานวยการเขต

ภ.กทม.๒

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล ๖๐

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖ข้อ ๗ และ ข้อ ๘ -ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖ข้อ ๘

เอกสารอ้างอิง


สืบสวนหา ทรัพย์สิน

จนกว่าจะ พบหรือจน ครบอายุ ความ (๑๐ปี)

รายงานการ สืบสวนหา ทรัพย์สิน (ภ.กทม.๓)

ลําดับ ผังกระบวนการ ที่

๓๐ วัน

เมื่อครบกําหนดเวลา ๑๕ วัน ตาม หนังสือเตือนครั้งสุดท้าย (แบบ ภ.กทม.๒) หากผู้ค้างภาษีไม่นําเงินมาชําระตาม กําหนด ให้ผู้อํานวยการเขตกําหนด ผู้รับผิดชอบทําการสืบสวนหาทรัพย์สิน ของผู้ค้างภาษี

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่า ด้วยการยึด อายัด และ ขายทอดตลาด ทรัพย์สินผู้ค้างภาษีฯ

เอกสาร

-ผู้อํานวย การเขต -จพง.จัดเก็บ รายได้หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย

ในกรณีที่สืบพบทรัพย์สินแล้วให้ประมาณ ราคาทรัพย์สินนั้นพร้อมรวบรวมเอกสาร ทั้งหมดรายงานการสืบสวนหาทรัพย์สิน ของผู้ค้างภาษี ตามแบบ ภ.กทม. ๓ ส่ง กองรายได้ สํานักการคลัง

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่า ด้วยการยึด อายัด และ ขายทอดตลาด ทรัพย์สินผู้ค้างภาษีฯ

เอกสาร

-จพง.จัดเก็บ ภ.กทม.๓ รายได้หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย

ระยะเวลา

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๖๑

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด -คําสั่ง และขาย แต่งตั้ง ทอดตลาด ผู้รับผิดชอบ ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖ข้อ ๙ -ภ.กทม.๒

แบบฟอร์ ม

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖

เอกสารอ้างอิง


๖ ออกหนังสือ ขอเฉลี่ยหนี้

๒ เดือนนับแต่ กรณีที่สืบพบว่าผู้ค้างภาษีถูกฟ้อง วันที่ประกาศใน ล้มละลายและถูกยึดทรัพย์สิน ราชกิจจานุเบกษา ขายทอดตลาดแล้ว ให้ ผู้รับผิดชอบรวบรวมหลักฐาน ทั้งหมดส่งกองรายได้เพื่อ ดําเนินการขอเฉลี่ยหนี้

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาดทรัพย์สินผู้ ค้างภาษีฯ

เอกสาร

-จพง.จัดเก็บ รายได้หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖

๒. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผลของกระบวนการจัดเก็บภาษีบํารุงท้องที่ ๒.๑ กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีบาํ รุงท้องที่ ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล

๖๒

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


รับแบบพิมพ์ ภ.บ.ท.๕

ทันที

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

๑. ตรวจสอบความถูกต้องในการกรอก แบบแจ้ ง รายการเพื่ อ เสี ย ภาษี บํ า รุ ง ท้องที่ (ภ.บ.ท.๕) ดังนี้ ๑.๑. มีการลงลายมือชื่อของ เจ้าของที่ดินและผู้ชี้เขตพร้อมลงวัน เดือน ปี หรือกรณีนิติบุคคลให้ผู้มี อํานาจลงลายมือชื่อพร้อมประทับตรา ๑.๒. แสดงรายการไว้ชัดเจน ถูกต้อง ครบถ้วน และแสดงหลักฐาน ประกอบข้อเท็จจริงตามแบบแจ้งฯ ๒. แบบแสดงรายการที่ดิน(ภ.บ.ท.๕) ตรวจสอบถูกต้องแล้ว ให้ดําเนินการ ดังนี้

รายละเอียดงาน

-ตามพรบ.ภาษีบํารุง รายงานการ -จนท.ธุรการ -ภ.บ.ท.๕ ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ รับแบบ -จพง.จัดเก็บ มาตรา ๒๔ และมาตรา (รหัส รายได้ หรือ ๒๖ REP_REV_ นักวิชาการ -ตามคําสั่งกทม. ที่ 021) จัดเก็บรายได้ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙ ข้อ ๒ ได้รับมอบหมาย -หลักฐานการยื่นแบบฯ ตามคําสั่ง กทม. ตามภาคผนวก ที่ ๒๗๕๕/ (เอกสารหมาย ๑) ๒๕๔๓

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล

๖๓

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

-พรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙

เอกสารอ้างอิง


๒.๑. ลงรับแบบในระบบ MIS๒ ทันที โดยระบุวัน เดือน ปีที่รับ แล้วให้ ลงเลขรับไว้ในแบบ ภ.บ.ท.๕ ในช่อง หมายเลขทะเบียนรับยื่นพร้อมลงลายมือ ชื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับแบบ ๒.๒. ออกใบรับแบบ ภ.บ.ท.๕ ให้แก่ผู้มายื่น ๓. แบบ ภ.บ.ท.๕ ที่ได้ลงรับแล้ว ให้ส่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดําเนินการต่อไป ๒

๔๕ วัน ตรวจสอบ และประเมิน

ลําดับ ที่

ผังกระบวนการ

ระยะเวลา

๑. ตรวจสอบ ๑.๑.ตรวจสอบการเป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์ที่ดิน ๑.๒.ตรวจสอบที่ตั้งและการใช้ ประโยชน์

รายละเอียดงาน

-ตรวจแบบ ภ.บ.ท.๕ เปรียบเทียบกับ เอกสารประกอบ -ตรวจพื้นที่จริง เปรียบเทียบกับแบบ ภ.บ.ท.๕

รายงานการ ประเมินภาษี (รหัส REP_REV_ 060)

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล ๖๔

-จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-ภ.บ.ท.๕ -เอกสาร ประกอบการ ประเมินภาษี

-พรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๒. กรณีเจ้าของที่ดินมายื่นแบบแสดง รายการขอลดเนื้อที่ดิน (ภ.บ.ท.๘) หรือแบบแสดงรายการเปลี่ยนแปลง การใช้ที่ดิน (ภ.บ.ท.๘ ก) ให้ตรวจสอบ เอกสารประกอบข้อเท็จจริง

-ตรวจแบบ ภ.บ.ท.๕ เปรียบเทียบกับ เอกสารประกอบ ข้อเท็จจริง

๓. ประเมินภาษี -ประเมินภาษีตาม เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกําหนดหน่วย ประกาศราคาปาน ที่ดินและคํานวณค่าภาษี พร้อมบันทึก กลางของทีด่ ิน รายการเพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ให้ ความเห็นชอบ

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๖๕

-จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๓ แจ้งการ ประเมิน

๗ วัน ทําการ

๑.ออกหนังสือแจ้งการประเมิน -ตรวจความถูกต้องของหนังสือ (ภ.บ.ท.๙) ผ่านระบบ MIS ๒ แจ้งการประเมิน(ภ.บ.ท.๙) เปรียบเทียบกับแบบ ภ.บ.ท.๕ ๒. ส่งหนังสือแจ้งการประเมิน -ตามพรบ.ภาษีบํารุงท้องที่ พ.ศ. (ภ.บ.ท.๙) ให้ผู้เสียภาษีบํารุง ๒๕๐๘ และคําสั่งกทม. ที่ ๒๙๖/ ๒๕๓๙ ข้อ ๓ ท้องที่ โดยตรงหรือทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียน

๒.๒ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน

๖๖

เอกสาร

-จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-ภ.บ.ท.๕ -ภ.บ.ท.๙ -ภ.บ.ท.๙ -ใบรับ ภ.บ.ท.๙ -ใบตอบรับ ของ ไปรษณีย์

-พรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -คําสั่งกทม. ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙


ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๑

ออกหนังสือ เตือน# +,

รายละเอียดงาน

๑๒๐ วัน ๑.พิมพ์บัญชีรายชื่อผู้ค้างยื่น แบบฯ ด้วยระบบ MIS ๒ ๒.พิมพ์หนังสือเตือนค้างยื่น แบบแสดงรายการที่ดินด้วย ระบบ MIS ๒ ให้เจ้าของที่ดิน มายื่นแบบภายใน ๗ วัน นับแต่ วันที่ได้รับหนังสือเตือน ๓.ส่งหนังสือเตือน ไปยัง ภูมิลําเนาของเจ้าของที่ดินด้วย วิธีการส่งโดยตรงหรือทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียน

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน -ตรวจสอบหนังสือ เตือนเปรียบเทียบกับ บัญชีรายชื่อผู้ค้างยื่น แบบ ภ.บ.ท.๕ -ออกหนังสือเตือน อย่างน้อย ๓ ครั้ง

มาตรฐานคุณภาพงาน

๖๗

ระบบติดตาม/ ประเมินผล พจท.สุ่มตรวจสอบ จากบัญชีค้างยื่น แบบฯ เป็นจํานวน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๓๐

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-หนังสือเตือน ผู้ค้างยื่นแบบฯ (ภ.บ.ท.๑๔) -เอกสารการตอบ รับ -บัญชีรายชื่อผู้ ค้างยื่นแบบฯ (รหัส REP_REV_026)

-พรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

ผู้รับผิดชอบ


๖๐ วัน

! " #

สืบหาหลักฐานแสดงความเป็น เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน แล้ว รวบรวมเอกสาร/หลักฐานการ เร่งรัดติดตามผู้เสียภาษีและ เอกสารที่เกี่ยวข้องเสนอ ผู้อํานวยการเขตให้ความ เห็นชอบให้ดําเนินคดีตาม กฎหมาย

เป็นไปตามพรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๔ และคําสั่งกทม. ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙

เอกสาร

-จพง.จัดเก็บรายได้ หรือนักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓ -นิติกร -ผอ.เขต

-พรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -คําสั่ง กรุงเทพมหานคร ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙

๒.๓. กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีบํารุงท้องที่ ตามมาตรา ๔๙ แห่งพระราชบัญญัติภาษีบํารุงท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ เมื่อเจ้าของที่ดินเห็นว่าการประเมินภาษีไม่ถูกต้องมีสิทธิอุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดย ยื่นเรื่องขออุทธรณ์ขอให้พิจารณาการประเมินภาษีบํารุงท้องที่ (ภ.บ.ท.๑๒) ต่อเจ้าพนักงานประเมิน ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน ๖๘


ลําดับ ที่ ๑

ผัง ระยะเวลา กระบวนการ รับคําร้อง (ภ.บ.ท.๑๒)

ชี้แจงเหตุผล การประเมิน

ทันที

๒๕ วัน

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

ระบบ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ ประเมินผล ๑. ตรวจคําร้องขอให้พิจารณาการ ตามพรบ.ภาษีบํารุง เอกสาร จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ ประเมินภาษีบํารุงท้องที่ (ภ.บ.ท.๑๒) ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ นักวิชาการ ว่ามีการกรอกข้อมูลชัดเจน ครบถ้วน และคําสั่งกทม. ที่ จัดเก็บรายได้ที่ ๒. ลงเลขรับ และวัน เดือน ปี ที่รับ ๒๙๖/๒๕๓๙ เรื่องขออุทธรณ์( ภ.บ.ท.๑๒ )พร้อมลง ได้รับมอบหมาย ลายมือชื่อผู้รับเรื่องขออุทธรณ์ใบรับ ตามคําสั่ง กทม. ส่งคืนให้ผู้ยื่นเก็บไว้เป็นหลักฐาน ส่วน ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓ ภ.บ.ท.๑๒ ส่งให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ดําเนินการต่อไป ทําความเห็น และรวบรวมเอกสาร หลักฐานส่งกองรายได้ สํานักการคลัง

รายละเอียดงาน

ชี้แจงเหตุผลการ ประเมินตาม ข้อเท็จจริงประกอบ หลักฐานการประเมิน

มาตรฐาน คุณภาพงาน ๖๙

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย

ระบบ ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ ประเมินผล

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

-แบบ ภ.บ.ท. ๑๒ -ทะเบียน หนังสือรับ

-พรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙

-บันทึก ความเห็นของ เจ้าพนักงาน ประเมิน ๑ ชุด

-พรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๗๐

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

-คําร้องขอให้พิจารณาการ ประเมินภาษีบํารุงท้องที่ (ภ.บ.ท.๑๒) -ใบรับใบแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.๙) -แบบแจ้งรายการเพื่อเสีย ภาษีบํารุงท้องที่ (ภ.บ.ท. ๕) ของที่ดินรายที่อุทธรณ์ -แผนผังสังเขปแสดงที่ตั้ง ที่ดินรายที่อุทธรณ์ -เอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๓๐ วัน ดําเนินการ ตามคําชี้ขาด

กรณีให้คืนเงิน ตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่า ให้เจ้าหน้าที่ดําเนินการตั้งฏีกา ด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน ขอคืนเงินค่าภาษีให้ผู้อุทธรณ์ เก็บรักษาเงิน การนําส่งเงิน และ การตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๓๐ และ แก้ไขเพิ่มเติมฯ

เอกสาร

-จพง.ธุรการ

-ฏีกาเบิก จ่ายเงิน

-ระเบียบ กรุงเทพมหานครว่า ด้วย รับเงิน การเบิก จ่ายเงิน เก็บรักษา เงิน การนําส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๓๐ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๔๑ วรรคสอง

๒.๔. กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีบํารุงท้องที่ ตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติภาษีบํารุงท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ ให้ผู้เสียภาษีบํารุงท้องที่ชําระภาษีบํารุงท้องที่ภายในเดือนเมษายนของทุกปี ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสีย ภาษีบํารุงท้องที่ได้รับแจ้งการประเมิน(ภ.บ.ท.๙) ตามมาตรา ๓๕ หรือมาตรา ๓๑ หรือภายหลังเดือนมีนาคมตามมาตรา ๓๓ วรรคสาม ให้ชําระภาษีบํารุงท้องที่ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ ๗๑


ได้รับแจ้งการประเมิน หากพ้นกําหนดเวลาดังกล่าว ให้เจ้าพนักงานประเมินปฏิบัติตามระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยมีขั้นตอนดังนี้ ลําดับ ที่ ๑

ลําดับ ที่

ผัง ระยะเวลา รายละเอียดงาน กระบวนการ ๑๒๐ วัน ๑.พิมพ์บัญชีค้างชําระภาษีด้วย ระบบ MIS ๒ ออกหนังสือ ๒.พิมพ์หนังสือเตือนค้างชําระ เตือน ด้วยระบบ MIS ๒ ๓.ส่งหนังสือเตือน ไปยังภูมิลําเนา หรือสถานประกอบการของผู้รับ ประเมินโดยตรงหรือทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียน

ผังกระบวนการ

ระยะเวลา

รายละเอียดงาน

ระบบติดตาม/ มาตรฐาน ประเมินผล คุณภาพงาน -ตามคําสั่ง พจท.สุ่มตรวจจาก กรุงเทพมหานคร ที่ บัญชีลูกหนี้ค้าง ๓๖๔๘/๒๕๓๘ เรื่อง ชําระที่จัดทําจาก การเร่งรัดจัดเก็บภาษี ระบบ MIS๒ เป็น ค้างชําระ จํานวนไม่น้อยกว่า -ออกหนังสือเตือน อย่าง ร้อยละ ๓๐ น้อย ๓ ครั้ง

มาตรฐานคุณภาพงาน

๗๒

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

จพง.จัดเก็บรายได้ หรือนักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ได้รับ มอบหมายตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-หนังสือเตือนค้าง ชําระ -บัญชีค้างชําระ ภาษี (รหัส REP_REV_027)

--พรบ.ภาษีบํารุง ท้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๖/๒๕๓๙ -คําสั่งกทม.ที่ ๓๖๔๘/๒๕๓๘ เรื่อง การเร่งรัด จัดเก็บภาษีค้าง ชําระ

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


ออกหนังสือ เตือน ภ.กทม.๑

ออกหนังสือ เตือน ภ.กทม.๒

๓๐ วัน

ออกหนังสือเตือนตาม แบบ ภ.กทม. ๑ ให้ผู้ค้างภาษีนําเงิน มาชําระภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ ได้รับหนังสือ

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาดทรัพย์สินผู้ค้าง ภาษีฯ

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ -ภ.กทม.๑ รายได้ หรือ นักวิชาการจัดเก็บ รายได้ที่ได้รับ มอบหมายตาม คําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖

๓๐ วัน

ออกหนังสือเตือนครั้งสุดท้าย ตาม แบบ ภ.กทม.๒ ให้ผู้ค้างภาษีนําเงิน มาชําระภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ ได้รับหนังสือ

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาดทรัพย์สินผู้ค้าง ภาษีฯ

เอกสาร

ผู้อํานวยการเขต

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน ๗๓

ระบบ ติดตาม/

ภ.กทม.๒

ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


ประเมินผล ๔

สืบสวนหา ทรัพย์สิน

จนกว่าจะ พบหรือจน ครบอายุ ความ (๑๐ปี)

รายงานการ สืบสวนหา ทรัพย์สิน (ภ.กทม.๓)

ลําดับ ผังกระบวนการ ที่

๓๐ วัน

เมื่อครบกําหนดเวลา ๑๕ วัน ตาม หนังสือเตือนครั้งสุดท้าย (แบบ ภ.กทม.๒) หากผู้ค้างภาษีไม่นําเงินมาชําระตาม กําหนด ให้ผู้อํานวยการเขตกําหนด ผู้รับผิดชอบทําการสืบสวนหาทรัพย์สิน ของผู้ค้างภาษี

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาดทรัพย์สินผู้ ค้างภาษีฯ

เอกสาร

ในกรณีที่สืบพบทรัพย์สินแล้วให้ประมาณ ราคาทรัพย์สินนั้นพร้อมรวบรวมเอกสาร ทั้งหมดรายงานการสืบสวนหาทรัพย์สิน ของผู้ค้างภาษี ตามแบบ ภ.กทม. ๓ ส่ง กองรายได้ สํานักการคลัง

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาดทรัพย์สินผู้ ค้างภาษีฯ

เอกสาร

ระยะเวลา

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน ๗๔

ระบบ ติดตาม/

-ผู้อํานวย การเขต -จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด -คําสั่ง และขาย แต่งตั้ง ทอดตลาด ผู้รับผิดชอบ ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖ -ภ.กทม.๒

ภ.กทม.๓

ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖

เอกสารอ้างอิง


ประเมินผล ๖ ออกหนังสือ ขอเฉลี่ยหนี้

๒ เดือนนับแต่วันที่ กรณีที่สืบพบว่าผู้ค้างภาษีถูกฟ้อง ประกาศใน ล้มละลายและถูกยึดทรัพย์สินขาย ราชกิจจานุเบกษา ทอดตลาดแล้ว ให้ผู้รับผิดชอบ รวบรวมหลักฐานทั้งหมดส่งกอง รายได้เพื่อดําเนินการขอเฉลี่ยหนี้

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานครว่า ด้วยการยึด อายัด และ ขายทอดตลาด ทรัพย์สินผู้ค้างภาษีฯ

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย

๓. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผลของกระบวนการจัดเก็บภาษีป้าย ๗๕

-ระเบียบว่าด้วย การยึด อายัด และขาย ทอดตลาด ทรัพย์สินของผู้ ค้างภาษี พ.ศ. ๒๕๔๖


๓.๑ กระบวนงานรับแบบและประเมินภาษีปา้ ย ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๑

รับแบบพิมพ์ ภ.ป.๑

ทันที

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

ระบบ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล ๑. ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งในการกรอก -ตามพรบ.ภาษีป้าย พ.ศ. รายงานการ แบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีป้าย (ภ.ป.๑) ๒๕๑๐ และแก้ไข รับแบบ ดังนี้ เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. (รหัส ๑.๑. มีการลงลายมือชื่อของเจ้าของ ๒๕๓๔ มาตรา ๑๒ REP_REV_ ป้ายในช่องเจ้าของป้ายพร้อมลงวัน เดือน -คําสั่งกรุงเทพมหานคร 035) ปี หรื อ กรณี นิ ติ บุ ค คลให้ ผู้ มี อํ า นาจลง ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙ ลายมือชื่อพร้อมประทับตรา -หลักฐานการยื่นแบบฯ ๑.๒. แสดงรายการ ประเภท ขนาด ตามภาคผนวก (เอกสาร เนื้อที่ จํานวน ข้อความหรือภาพหรือ หมาย ๑) เครื่องหมายที่ปรากฏในป้ายหรือรายการ อื่น ๆ ไว้ชัดเจน ครบถ้วน และแสดง หลักฐานประกอบข้อเท็จจริง ตามแบบ แจ้งรายการเพื่อเสียภาษีป้าย (ภ.ป.๑)

มาตรฐาน คุณภาพงาน

รายละเอียดงาน

๗๖

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-ภ.ป.๑ -บัญชีรับ แบบแจ้ง รายการเพื่อ เสียภาษีป้าย (ภ.ป.๑)

-พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๑.๓. กรณีรายใหม่ ให้เจ้าของป้ายรับรองวัน เดือน ปี ที่ติดตั้งป้ายไว้ในแบบ ภ.ป.๑ พร้อม เอกสารประกอบ เช่น ใบอนุญาตติดตั้งป้าย, ใบเสร็จรับเงินจากร้านทําป้าย หรือหลักฐานอื่น ใดอันแสดงว่าเป็นป้ายใหม่ ๒. แบบแสดงรายการภาษีป้าย(ภ.ป.๑) ตรวจสอบถูกต้อง ให้ดําเนินการดังนี้ ๒.๑. ลงรับแบบในสมุดรับแบบ ภ.ป.๑ และ ลงรับแบบในระบบ MIS๒ ทันที โดยระบุวัน เดือน ปีที่รับ แล้วให้ลงเลขรับไว้ในแบบ ภ.ป.๑ พร้อมลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับแบบ ๒.๒. ออกใบรับแบบ ภ.ป.๑ ให้แก่ผู้มายื่น

-สมุดรับ แบบ ภ.ป.๑

๓. แบบ ภ.ป.๑ที่ได้ลงรับแล้ว ให้ส่งเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบดําเนินการต่อไป

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๗๗

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๔๕ วัน ตรวจสอบ และประเมิน

ลําดับที่

ผัง กระบวนการ

๓ แจ้งการ ประเมิน

๑. ตรวจสอบ ๑.๑. ตรวจสอบความถูก ต้องของรายการในแบบ ภ.ป.๑ เปรียบเทียบกับเอกสาร หลักฐานและข้อเท็จจริง ๑.๒. ตรวจสภาพป้าย เช่น ประเภท ขนาด ข้อความหรือ ภาพที่ปรากฏในป้าย ๒. ประเมินภาษี เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบทํา การประเมินภาษีพร้อมบันทึก รายการเพื่อให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ให้ความเห็นชอบ

ระยะเวลา ๗ วัน ทําการ

-ตรวจ ภ.ป.๑ เปรียบเทียบกับเอกสาร ประกอบ

-พจท.สุ่ม ตรวจสอบ ป้ายในพื้นที่ อย่างน้อย เดือนละ ๑ ครั้ง -รายงาน ประเมินภาษี -เป็นไปตาม พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ. (รหัส ๒๕๑๐ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. REP_REV_ ๒๕๓๔ และคําสั่งกรุงเทพมหานคร ที่ 055) ๒๙๗/๒๕๓๙

รายละเอียดงาน ๑.ออกหนังสือแจ้งการประเมิน (ภ.ป.๓) ด้วยระบบ MIS ๒

มาตรฐานคุณภาพงาน -ตรวจความถูกต้องของ หนังสือแจ้งการประเมิน ๗๘

-จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ ที่ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-ภ.ป.๑ -เอกสาร ประกอบ

ระบบ ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม ประเมินผล เอกสาร -จพง.จัดเก็บ -ภ.ป.๑ รายได้ หรือ -ภ.ป.๓

-พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙

เอกสารอ้างอิง -พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และ


(ภ.ป.๓)เปรียบเทียบกับ แบบ ภ.ป.๑ -ตาม พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ. ๒.ส่งหนังสือแจ้งการประเมิน (ภ.ป.๓) ให้กับเจ้าของป้าย โดยตรง ๒๕๑๐ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. หรือไปรษณีย์ลงทะเบียน ๒๕๓๔ และคําสั่ง กรุงเทพมหานคร ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙

นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ -ใบรับ ภ.ป.๓ ที่ได้รับ -ใบตอบรับ มอบหมาย ทางไปรษณีย์ ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙

๓.๒ กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีป้าย ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

รายละเอียดงาน

ระบบ มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล

๗๙

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๑ ก + %+

๒ ! " #

๑๒๐ วัน ๑.พิมพ์บัญชีรายชื่อผู้ค้างยื่นแบบฯ ด้วย ระบบ MIS ๒ ๒.พิมพ์หนังสือเตือนค้างยื่นแบบเสียภาษี ป้ายด้วยระบบ MIS ๒ ให้ผู้เสียภาษีมายื่น แบบภายใน ๗ วัน นับแต่วันที่ได้รับ หนังสือเตือน ๓.ส่งหนังสือเตือน ไปยังภูมิลําเนาของ เจ้าของป้ายด้วยวิธีการส่งโดยตรงหรือทาง ไปรษณีย์ลงทะเบียน

-ตรวจสอบหนังสือ เตือนเปรียบเทียบกับ บัญชีรายชื่อผู้ค้างยื่น แบบ ภ.ป.๑ -ออกหนังสือเตือน อย่างน้อย ๓ ครั้ง

พจท.สุ่ม ตรวจจาก บัญชีผู้ค้าง ยืนแบบฯ เป็นจํานวน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๓๐

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการจัดเก็บ รายได้ที่ได้รับ มอบหมายตาม คําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/๒๕๔๓

๓๐ วัน

-ตามพรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๓๕ -ตามคําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕๔/๒๕๔๓

เอกสาร

-จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการจัดเก็บ รายได้ที่ได้รับ มอบหมายฯ -นิติกร -ผอ.เขต

เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบออกหนังสือเตือน ตามขั้นตอนแล้ว ผู้มีหน้าที่เสียภาษียัง ไม่ได้ยื่นแบบ ภ.ป.๑ ภายในกําหนด ให้ทํา หนังสือส่งฝ่ายเทศกิจ เพื่อดําเนินคดี

-หนังสือเตือน ผู้ค้างยื่นแบบ (ภ.ป.๓) -เอกสารการตอบ รับ -บัญชีรายชื่อผู้ ค้างยื่นแบบฯ (รหัส REP_REV_039)

-พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม. ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙ - คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๕๔/๒๕๔๓

๓.๓. กระบวนงานอุทธรณ์ภาษีป้าย ตามมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. ๒๕๑๐ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔ เจ้าของป้ายเห็นว่าการประเมินนั้นไม่ถูกต้องก็มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยยื่นแบบอุทธรณ์ภาษีป้าย (ภ.ป.๔) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมินภาษี ระบบ ลําดับ ผัง ระยะเวลา รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม เอกสารอ้างอิง ที่ กระบวนการ ประเมินผล ๘๐ ! " #


ทันที

๑. ตรวจคําร้องขอให้พิจารณาการ ประเมินภาษีป้าย (ภ.ป.๔) ว่ามีการ กรอกข้อมูลชัดเจน ครบถ้วน ๒. ลงเลขรับ และวัน เดือน ปี ที่ รับคําร้อง ภ.ป.๔ พร้อมลงลายมือ ชื่อผู้รับคําร้องในใบรับ ภ.ป.๔ ส่งคืน ให้ผู้ยื่นเก็บไว้เป็นหลักฐาน ส่วน ภ.ป.๔ ส่งให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ดําเนินการต่อไป

-ตามพรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๓๐ -ตามคําสั่งกทม.ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙

เอกสาร

-จนท.ธุรการ -แบบ ภ.ป.๔ -จพง.จัดเก็บ -ทะเบียน รายได้ หรือ หนังสือรับ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม. ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙

๒๕ วัน

ทําคําชี้แจงการประเมินโดยละเอียด ชี้แจงเหตุผลการ และรวบรวมเอกสารหลักฐานส่งกอง ประเมินตาม รายได้ สํานักการคลัง ข้อเท็จจริงประกอบ หลักฐานการประเมิน

เอกสาร

-จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย

-พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔

รับคําร้อง (ภ.ป.๔)

๒ - . %/01 ก

ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่

ชี้แจงเหตุผล การประเมิน

รายละเอียดงาน

มาตรฐาน คุณภาพงาน

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผ ล

๘๑

ผู้รับผิดชอบ

-คําชี้แจง เหตุผลการ ประเมินของ พนักงาน เจ้าหน้าที่

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


ตามคําสั่ง กทม. -คําร้องขอให้พิจารณาการประเมิน -คําสั่งกทม. ที่ ๒๙๗/ ที่ ๒๗๕๕/ ภาษีป้าย (ภ.ป.๔) ๒๕๓๙ ๒๕๔๓ -ใบรับใบแจ้งการประเมิน(ภ.ป.๓) -แบบแจ้งรายการเพื่อเสียภาษีป้าย (ภ.ป.๑) ของป้ายรายที่อุทธรณ์ -แผนผังสังเขปแสดงที่ตั้งป้าย -เอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

๓๐ วัน ดําเนินการ ตามคําชี้ขาด

กรณีให้คืนเงิน ให้เจ้าหน้าที่ ดําเนินการตั้งฎีกาขอ คืนเงินค่าภาษีให้ผู้ อุทธรณ์

ตามระเบียบ กรุงเทพมหานคร ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน เก็บรักษาเงิน การ นําส่งเงิน และ การตรวจเงินฯ

เอกสาร

-จนท.ธุรการ

-ฎีกาเบิกจ่ายเงิน

-ระเบียบ กรุงเทพมหานครว่าด้วย รับเงิน การเบิกจ่ายเงิน เก็บรักษาเงิน การนําส่ง เงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๓๐ และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๔๑ วรรค๒

๓.๔. กระบวนงานเร่งรัดติดตามผู้ค้างชําระภาษีป้าย ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. ๒๕๑๐ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๔ เมื่อเจ้าของป้ายได้รับใบแจ้งการประเมิน (ภ.ป.๓) แล้วต้องชําระ เงินภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ได้รับใบแจ้งการประเมิน(ภ.ป.๓) หากพ้นกําหนดเวลาดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ ๘๒


ลําดับ ที่ ๑

ลําดับ ที่

ระบบ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ประเมินผล ๑๒๐ วัน ๑.พิมพ์บัญชีค้างชําระภาษีด้วยระบบ -ตามพรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ พจท.สุ่ม MIS ๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) ตรวจจาก ๒.พิมพ์หนังสือเตือนค้างชําระด้ายระบบ พ.ศ.๒๕๓๔ บัญชีลูกหนี้ MIS ๒ -ตามคําสั่งกรุงเทพมหานคร ที่ ค้างชําระที่ ๓.ส่งหนังสือเตือน ไปยังภูมิลําเนาหรือ ๓๖๔๘/๒๕๓๘ เรื่อง การเร่งรัด จัดทําจาก สถานประกอบการของผู้รับประเมิน จัดเก็บภาษีค้างชําระ ระบบ MIS๒ โดยตรงหรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน -ตามคําสั่งกรุงเทพมหานคร ที่ เป็นจํานวน ๒๙๗/๒๕๓๙ ไม่น้อยกว่า -ออกหนังสือเตือน อย่างน้อย ๓ ร้อยละ ๓๐ ครั้ง

ผัง ระยะเวลา กระบวนการ ออกหนังสือ เตือน

ผัง ระยะเวลา กระบวนการ

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๘๓

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บ รายได้ที่ ได้รับ มอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓

-หนังสือ เตือนค้าง ชําระ -บัญชีผู้ค้าง ชําระภาษี (REP_REV_ 036)

-พรบ.ภาษีป้าย พ.ศ.๒๕๑๐ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ -คําสั่งกทม.ที่ ๓๖๔๘/๒๕๓๘ เรื่อง การเร่งรัด จัดเก็บภาษีค้าง ชําระ -คําสั่งกทม.ที่ ๒๙๗/๒๕๓๙

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๓๐ วัน ! " #

เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบออกหนังสือเตือน ตามขั้นตอนแล้ว ผู้มีหน้าที่เสียภาษียัง ไม่ได้ยื่นแบบ ภ.ป.๑ ภายในกําหนด ให้ ทําหนังสือส่งกองรายได้ สํานักการคลัง เพื่อดําเนินคดี

เป็นไปตามคําสั่ง กรุงเทพมหานคร ที่ ๓๖๔๘/ ๒๕๓๘ เรื่อง การเร่งรัด จัดเก็บภาษีค้างชําระ

เอกสาร

ภารกิจสนับสนุน: กระบวนการด้านธุรการ กระบวนงานย่อยที่ ๑ : กระบวนงานจัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บภาษี ๘๔

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย ตามคําสั่ง กทม. ที่ ๒๗๕๕/ ๒๕๔๓ -นิติกร -ผอ.เขต

- คําสั่งกทม.ที่ ๓๖๔๘/๒๕๓๘ เรื่อง การเร่งรัด จัดเก็บภาษีค้าง ชําระ


ลําดับ ที่

ผัง ระยะเวลา กระบวนการ

๗ วัน รวบรวมข้อมูล และจัดทํารายงาน

ลําดับ ที่

ผัง ระยะเวลา กระบวนการ

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๑. พิมพ์รายงานต่าง ๆ ผ่านระบบ MIS 2 ได้แก่ -รายงานการรับแบบแจ้งรายการ ประเมินภาษีโรงเรือนและที่ดิน (REP_REV_010) -รายงานการรับแบบรายการประเมิน ภาษีบํารุงท้องที่ (REP_REV_021) -รายงานการรับแบบประจําวัน(ภาษี ป้าย) (REP_REV_055) -รายงานผู้ค้างชําระภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน (REP_REV_018) -รายงานผู้ค้างชําระภาษีบํารุงท้องที่ (REP_REV_027) -ทะเบียนลูกหนี้(สมุดคุมภ.ป. ๓) (REP_REV_036) ๒. จัดทํารายงานและสถิติการจัดเก็บภาษี (สนค.๐๑)

ตรวจสอบความถูกต้อง ของรายงานต่าง ๆ ที่ได้ จากระบบ MIS 2 เปรียบเทียบกับ สนค.๐1 ของฝ่ายการคลัง

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน ๘๕

ระบบ ผู้รับผิดชอบ ติดตาม/ ประเมินผล เอกสาร เจ้าพนักงาน ธุรการ

ระบบ ติดตาม/ ประเมินผล

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง

แบบ สนค. ๐๑

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


๓ วัน

ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานและ เปรียบเทียบรายงานจาก สถิติการจัดเก็บภาษี(สนค.๐๑) ระบบMIS2 กับ รายงาน และสถิติการจัดเก็บภาษี (สนค.๐๑)

เอกสาร

จพง.จัดเก็บ รายได้ หรือ นักวิชาการ จัดเก็บรายได้ที่ ได้รับมอบหมาย

๓ วัน

ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานและ เปรียบเทียบรายงานจาก สถิติการจัดเก็บภาษี(สนค.๐๑) พร้อม ระบบMIS2 กับ รายงาน ลงนามเห็นชอบ และสถิติการจัดเก็บภาษี (สนค.๐๑)

เอกสาร

หัวหน้าฝ่าย รายได้

๓ วัน

ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานและ สถิติการจัดเก็บภาษี(สนค.๐๑) พร้อม ลงนาม เพื่อส่งรายงานให้กองรายได้ ต่อไป

เอกสาร

ผู้อํานวยการ เขต

ตรวจสอบ ความถูกต้อง ๓ พิจารณา เห็นชอบ ๔ พิจารณา ลงนาม

เปรียบเทียบรายงานจาก ระบบMIS2 กับ รายงาน และสถิติการจัดเก็บภาษี (สนค.๐๑)

กระบวนงานย่อยที่ ๒ : กระบวนงานรับหนังสือ ลําดับ ที่

ผัง ระยะเวลา กระบวนการ

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน ๘๖

ระบบ ติดตาม/

ผู้รับผิดชอบ

แบบฟอร์ม

เอกสารอ้างอิง


ประเมินผล ๑

ลงทะเบียน หนังสือรับ

เสนอหนังสือ เพื่อหัวหน้าสั่ง

๑ วัน

เมื่อรับหนังสือภายในหรือภายนอก หน่วยงาน ต้องลงทะเบียนหนังสือรับใน ระบบ MIS๒

ความสมบูรณ์ของหนังสือ เอกสารแนบครบถ้วน

๑ วัน

เสนอหนังสือให้หัวหน้าฝ่าย พิจารณาสั่ง การให้เจ้าหน้าที่ทราบหรือดําเนินการใน ส่วนที่เกี่ยวข้องภายในกําหนด

บันทึกตามแบบฟอร์ม ทะเบียนรับส่งหนังสือให้ ครบถ้วน

๑ วัน

เวียนหนังสือให้เจ้าหน้าที่ทราบหรือ เจ้าหน้าที่ลงชื่อรับทราบ ดําเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือ หรือรับเรื่องในทะเบียน ดําเนินการตามที่หัวหน้าฝ่ายสั่งการมาเป็น หนังสือรับไว้เป็นหลักฐาน กรณีไป

เจ้าพนักงาน ธุรการ

๑ วัน

จัดเก็บเอกสารเข้าแฟ้มเป็นหมวดหมู่ตาม ระเบียบงานสารบรรณ

เจ้าพนักงาน ธุรการ

เจ้าหน้าที่เวียน แจ้งผู้เกี่ยวข้อง ๔ จัดเก็บเอกสาร

จัดเก็บเอกสารเป็น หมวดหมู่

กระบวนงานย่อยที่ ๓ : กระบวนงานส่งหนังสือ ๘๗

เอกสาร

เจ้าพนักงาน ธุรการ

หัวหน้าฝ่าย

ทะเบียน หนังสือรับ

-ระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีว่า ด้วยงานสาร บรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ -ระเบียบสาร บรรณ กทม. พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๘


ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๑

จัดทํา เอกสาร

๑ วัน

๑ วัน พิจารณา ลงนาม

๑ วัน ลงทะเบียน หนังสือส่ง

๑ วัน ส่งและเก็บ เอกสาร

ระบบ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม ประเมินผล พิมพ์เอกสารหนังสือภายนอกหรือหนังสือภายใน -ความสมบูรณ์ของ เอกสาร เจ้าพนักงาน หนังสือ เอกสารแนบ แล้วแต่กรณี ธุรการ ครบถ้วน -รูปแบบเอกสารเป็นไป เสนอหนังสือให้หัวหน้าฝ่าย พิจารณาอนุมัติ -หัวหน้าฝ่าย ตามระเบียบงานสาร สําหรับหนังสือภายในหน่วยงาน แต่ในกรณี -ผู้ช่วยผอ.เขต บรรณ หนังสือที่ต้องส่งภายนอกหน่วยงานต้องทําการ -ผอ.เขต เสนอผู้ช่วยและผู้อํานวยการเขตพิจารณาอนุมัติ ตามขั้นตอน ทําการออกเลขหนังสือภายในหรือภายนอก เอกสาร เจ้าพนักงาน ทะเบียน หน่วยงาน โดยต้องลงทะเบียนหนังสือส่งในระบบ ธุรการ หนังสือส่ง MIS๒ จัดส่งเอกสารตัวจริงไปยังหน่วยงานผู้รับเรื่อง จัดเก็บเอกสารเป็น โดยให้มีลายชื่อผู้รับเอกสารไว้เป็นหลักฐาน ส่วน หมวดหมู่ สําเนาเอกสารนั้นให้เก็บเข้าแฟ้มตามประเภทให้ เป็นหมวดหมู่ตามระเบียบงานสารบรรณ

กระบวนงานย่อยที่ ๔ : กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายพัสดุ ๘๘

เจ้าพนักงาน ธุรการ

เอกสารอ้างอิง -ระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสาร บรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ -ระเบียบสาร บรรณ กทม. พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๘


ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๑

๑ วัน จัดทําใบเบิก พัสดุ

๑ วัน พิจารณา อนุมัติ

๑ วัน จัดทําทะเบียน คุมพัสดุ

ระบบ รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม ประเมินผล เมื่อตรวจสอบพัสดุในทะเบียนคุมพัสดุว่ามีพัสดุใด ตรวจสอบความถูกต้อง เอกสาร เจ้าพนักงาน ใบเบิกพัสดุ ใกล้จะหมดหรือจําเป็นต้องขอเบิกเพิ่มเติม ให้ ของจํานวนและ ธุรการ จัดทําใบเบิกพัสดุผ่านระบบ MIS๒ ประเภทพัสดุที่ขอเบิก ให้ตรงกับใบเบิกพัสดุ ในระบบ MIS๒ นําใบเบิกพัสดุที่พิมพ์ออกจากระบบ MIS๒ ตาม หัวหน้าฝ่าย ขั้นตอนที่ ๑ นั้น เสนอให้หัวหน้าฝ่าย พิจารณา อนุมัติ และส่งให้ฝ่ายการคลังดําเนินการเบิกจ่าย พัสดุ ๑.เมื่อส่งใบเบิกพัสดุให้ฝ่ายการคลังแล้ว ฝ่ายการ คลังจะดําเนินการออกใบส่งพัสดุพร้อมกับพัสดุ ให้เจ้าหน้าลงชื่อรับ และนํามาจัดทําทะเบียนคุม พัสดุตามจํานวนและประเภทพัสดุนั้น ๒. เมื่อเจ้าหน้าที่ในฝ่ายรายได้ต้องการเบิกพัสดุ ใด ให้ลงชื่อรับพัสดุนั้นในทะเบียนคุมพัสดุให้เป็น ปัจจุบัน

ตรวจสอบความถูกต้อง ของจํานวนและ ประเภทพัสดุว่าตรง ตามใบส่งพัสดุหรือไม่ พร้อมลงชื่อรับพัสดุนั้น

กระบวนงานย่อยที่ ๕ : กระบวนงานควบคุมการเบิกจ่ายน้ํามันเชื้อเพลิง ๘๙

เอกสาร

เจ้าพนักงาน ธุรการ

เอกสารอ้างอิง

-ระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสาร บรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ -ระเบียบสาร บรรณ กทม. พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. ทะเบียนคุม ๒๕๔๘ พัสดุ


ลําดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา ที่ ๑

จัดทําใบเบิก น้ํามันเชื้อเพลิง

รายละเอียดงาน

มาตรฐานคุณภาพงาน

๑ วัน

เมื่อพนักงานขับรถยนต์แจ้งความประสงค์การ เบิกน้ํามันเชื้อเพลิงต่อเจ้าพนักงานธุรการ ให้ จัดทําใบเบิกน้ํามันเชื้อเพลิงผ่านระบบ MIS๒

ตรวจสอบความถูกต้อง ของใบเบิกน้ํามัน เชื้อเพลิง

๑ วัน

นําใบเบิกน้ํามันเชื้อเพลิงที่พิมพ์ออกจากระบบ MIS๒ ตามขั้นตอนที่ ๑ นั้น เสนอให้หัวหน้า ฝ่าย พิจารณาอนุมัติ

พิจารณา อนุมัติ ๓

๑ วัน จัดทํารายงานการ เบิกน้ํามันเชื้อเพลิง

เปรียบเทียบอัตราการ เบิกน้ํามันเชื้อเพลิงว่า เพียงพอกับความ ต้องการเบิกหรือไม่หรือ เกินโควต้าที่กทม. กําหนดหรือไม่ ๑.ส่งเอกสารตัวจริงของใบเบิกน้ํามันเชื้อเพลิงที่ ตรวจสอบความถูกต้อง ได้รับการอนุมัติจากหัวหน้าฝ่ายให้พนักงานขับ ของเอกสาร รถยนต์ นําไปเติมในสถานีบริการน้ํามันที่ กรุงเทพมหานครกําหนด ๒. นําสําเนาเอกสารของใบเบิกน้ํามันเชื้อเพลิง เก็บรวบรวมเข้าแฟ้ม จนถึงสิ้นเดือน ให้นํา สําเนาเอกสารดังกล่าวมารวบรวมและจัดทํา รายงานการเบิกน้ํามันเชื้อเพลิงให้ฝ่ายคลัง รับทราบ ภายในวันที่ ๑๐ ของเดือนถัดไป

๙๐

ระบบ ติดตาม/ ผู้รับผิดชอบ แบบฟอร์ม เอกสารอ้างอิง ประเมินผล เอกสาร เจ้าพนักงาน ใบเบิกน้ํามัน -ระเบียบสํานัก ธุรการ เชื้อเพลิง นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสาร บรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ หัวหน้าฝ่าย -ระเบียบสาร บรรณ กทม. พ.ศ. ๒๕๔๖ และแก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. เอกสาร เจ้าพนักงาน รายงานการ ๒๕๔๘ ธุรการ เบิกน้ํามัน เชื้อเพลิง


ภาคผนวก ก แบบฟอรมตางๆ


ภาคผนวก ข ระเบียบ คําสั่ง ที่เกี่ยวของ




พระราชบัญญัติ ภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ เป*นป+ที่ ๒๐ ในรัชกาลป-จจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศว3า โดยที่ เ ป* น การสมควรแยกกฎหมายเกี่ ย วกั บ ภาษี บํ า รุ ง ทองที่ อ อกจากประมวล รัษฎากร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว โดยคําแนะนําและ ยินยอมของสภาร3างรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา ดังต3อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว3า “พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘” มาตรา ๒ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ ใ หใชบั ง คั บ ตั้ ง แต3 วั น ถั ด จากวั น ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป*นตนไป มาตรา ๓ ใหยกเลิกลักษณะ ๓ ภาษีบํารุงทองที่แห3งประมวลรัษฎากร บรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่น ในส3วนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแห3งพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ใหรั ฐมนตรี ว3าการกระทรวงมหาดไทยรั กษาการตามพระราชบัญญัติ นี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได มาตรา ๕ เมื่ อ ไดมี พระราชกฤษฎี ก าใหเทศบาลใดอยู3 ใ นความควบคุ ม ดู แ ลของ กระทรวงมหาดไทยตามกฎหมายว3าดวยเทศบาล บรรดาอํานาจหนาที่ของผูว3าราชการจังหวัดตาม พระราชบัญญัตินี้ ใหเป*นอํานาจหนาที่ของรัฐมนตรีหรือผูซึ่งรัฐมนตรีมอบหมาย


หมวด ๑ ขอความทั่วไป

มาตรา ๖ ในพระราชบัญญัตินี้ “ที่ดิน” หมายความว3า พื้นที่ดิน และใหหมายความรวมถึงพื้นที่ที่เป*นภูเขาหรือที่มี น้ําดวย “เจาของที่ดิน” หมายความว3า บุคคลหรือคณะบุคคลไม3ว3าจะเป*นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคล ซึ่งมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน หรือครอบครองอยู3ในที่ดินที่ไม3เป*นกรรมสิทธิ์ของเอกชน “ป+” หมายความว3า ป+ปฏิทิน “รัฐมนตรี” หมายความว3า รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๗ ใหผูซึ่งเป*นเจาของที่ดินในวันที่ ๑ มกราคม ของป+ใด มีหนาที่เสียภาษี บํ า รุ ง ทองที่ สํ า หรั บ ป+ นั้ น จากราคาปานกลางของที่ ดิ น ตามบั ญ ชี อั ต ราภาษี บํ า รุ ง ทองที่ ท าย พระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๘ เจาของที่ดินไม3ตองเสียภาษีบํารุงทองที่สําหรับที่ดิน ดังต3อไปนี้ (๑) ที่ดินที่เป*นที่ตั้งพระราชวังอันเป*นส3วนสาธารณสมบัติของแผ3นดิน (๒) ที่ดินที่เป*นสาธารณสมบัติของแผ3นดินหรือที่ดินของรัฐที่ใชในกิจการของรัฐหรือ สาธารณะ โดยมิไดหาผลประโยชนK (๓) ที่ ดิ นของราชการส3 ว นทองถิ่ น ที่ ใชในกิ จ การของราชการส3 ว นทองถิ่ น หรื อ สาธารณะ โดยมิไดหาผลประโยชนK (๔) ที่ดินที่ใชเฉพาะการพยาบาลสาธารณะ การศึกษา หรือการกุศลสาธารณะ (๕) ที่ดินที่ใชเฉพาะศาสนกิจศาสนาใดศาสนาหนึ่งที่ดินที่เป*นกรรมสิทธิ์ของวัดไม3ว3า จะใชประกอบศาสนกิจศาสนาใดศาสนาหนึ่งหรือไม3 หรือที่ศาลเจา โดยมิไดหาผลประโยชนK (๖) ที่ดินที่ใชเป*นสุสานและฌาปนสถานสาธารณะโดยมิไดรับประโยชนKตอบแทน (๗) ที่ดินที่ใชในการรถไฟ การประปา การไฟฟOาหรือการท3าเรือของรัฐหรือที่ใชเป*น สนามบินของรัฐ (๘) ที่ดินที่ใชต3อเนื่องกับโรงเรือนที่ตองเสียภาษีโรงเรือนและที่ดินอยู3แลว (๙) ที่ดินของเอกชนเฉพาะส3วนที่เจาของที่ดินยินยอมใหทางราชการจัดใชเพื่อ สาธารณประโยชนK โดยเจาของที่ดินมิไดใชหรือหาผลประโยชนKในที่ดินเฉพาะส3วนนั้น (๑๐) ที่ดินที่เป*นที่ตั้งที่ทําการขององคKการสหประชาชาติ ทบวงการชํานัญพิเศษของ สหประชาชาติ หรือองคK การระหว3 างประเทศอื่ น ในเมื่อประเทศไทยมี ขอผู กพั น ใหยกเวนตาม อนุสัญญาหรือความตกลง


(๑๑) ที่ดินที่เป*นที่ตั้งที่ทําการของสถานทูต หรือสถานกงสุล ทั้งนี้ใหเป*นไปตามหลัก ถอยทีถอยปฏิบัติต3อกัน (๑๒) ที่ดินตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๘ ทวิ เพื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ใ นเขตกรุ ง เทพมหานครให รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวง ดังต3อไปนี้ (๑) กําหนดผูมีอํานาจแต3งตั้งเจาพนักงานประเมินและเจาพนักงานสํารวจ (๒) กําหนดหลักเกณฑKการแต3งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาการตีราคาปานกลาง ตามมาตรา ๑๔ (๓) กําหนดสถานที่เพื่อปฏิบัติการตามมาตรา ๑๘ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ และ มาตรา ๓๔ (๔) กําหนดเขตทองที่ตามมาตรา ๒๒ (๔) (๕) กําหนดวิธีการและสถานที่แจงการประเมินตามมาตรา ๓๓ (๖) กําหนดผูปฏิบัติหนาที่แทนนายอําเภอหรือนายกเทศมนตรี มาตรา ๘ ตรี ใหผู ว3 า ราชการกรุ ง เทพมหานครมี อํ า นาจหนาที่ เ ช3 น เดี ย วกั บ ผู ว3 า ราชการจังหวัดตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ทั่วเขตกรุงเทพมหานคร มาตรา ๙ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (๑) ในเขตเทศบาล ใหนายกเทศมนตรีมีอํานาจแต3งตั้งเจาพนักงานประเมินและเจา พนักงานสํารวจ (๒) นอกเขตเทศบาล ใหนายอําเภอทองที่มีอํานาจแต3งตั้งเจาพนักงานประเมินและ เจาพนักงานสํารวจ มาตรา ๑๐ ภาษีบํา รุงทองที่ที่เ ก็บจากที่ดินในเขตองคKกรปกครองส3 วนทองถิ่นใด นอกจากองคKการบริหารส3วนจังหวัด ใหเป*นรายไดขององคKกรปกครองส3วนทองถิ่นนั้น ภาษี บํา รุ งทองที่ ที่เ ก็ บ จากที่ ดิน ในเขตจั งหวั ดซึ่ งอยู3น อกเขตองคK กรปกครองส3 ว น ทองถิ่นตามวรรคหนึ่ง ใหเป*นรายไดขององคKการบริหารส3วนจังหวัดนั้น มาตรา ๑๐ ทวิ (ยกเลิก) มาตรา ๑๑ ส3วนลดและค3าใชจ3ายในการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ ใหเป*นไปตามที่ กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๒ การส3งคําสั่งเป*นหนังสือ หนังสือแจงการประเมิน หรือหนังสืออื่นใหแก3 บุคคลใด ใหปฏิบัติดังต3อไปนี้ (๑) ใหส3งในเวลากลางวันระหว3างพระอาทิตยKขึ้นถึงพระอาทิตยKตก หรือในเวลาทําการ


(๒) ใหส3ง ณ ภูมิลําเนาหรือสถานที่ทําการของผูรับ หรือใหส3งโดยทางไปรษณียK ลงทะเบียน ถาไม3พบผูรับ ณ ภูมิลําเนาหรือสถานที่ทําการของผูรับใหส3งแก3ผูซึ่งบรรลุนิติภาวะ แลวซึ่งอยู3 ณ ภูมิลําเนา หรืออยู3ในบานหรือสถานที่ทําการของผูนั้น ถาไม3สามารถจะส3งตามวิธีดังกล3าวได ใหปRดหนังสือนั้นไวในที่แลเห็นไดง3าย ณ ภูมิลําเนาหรือสถานที่ทําการของผูนั้น หรือลงประกาศแจงความในหนังสือพิมพKรายวันอย3างนอยสอง ฉบับ หรือโฆษณาดวยวิธีอื่น เมื่อไดปฏิบัติการตามวิธีดังกล3าว และเวลาไดล3วงพนไปไม3นอยกว3าเจ็ดวันนับแต3วันที่ ปฏิบัติการ ใหถือว3าบุคคลนั้นไดรับหนังสือนั้นแลว


หมวด ๒ การตีราคาปานกลางของที่ดิน

มาตรา ๑๓ การตีราคาปานกลางของที่ดินนั้น ใหนําเอาราคาที่ดินในหน3วยที่จะทํา การตีราคา ซึ่งซื้อขายกันโดยสุจริตครั้งสุดทายไม3นอยกว3าสามรายในระยะเวลาไม3เกินหนึ่งป+ก3อนวันตี ราคา มาคํานวณถัวเฉลี่ยเป*นราคาปานกลาง โดยมิใหคํานวณราคาโรงเรือนสิ่งปลูกสราง หรือสิ่ง เพาะปลูกเขาดวย ในกรณีที่ไม3มีการซื้อขายที่ดินตามวรรคหนึ่งในหน3วยใด ใหนําเอาราคาปานกลางที่ คํานวณตามวิธีการในวรรคหนึ่งของที่ดินในหน3วยใกลเคียงที่มีสภาพและทําเลที่ดินคลายคลึงกันมา เป*นราคาปานกลางของที่ดินในหน3วยนั้นได ถาไม3อาจตีราคาปานกลางตามสองวรรคก3อนได ใหกําหนดราคาปานกลางของที่ดิน โดยถือเกณฑKอย3างอื่นอันอาจแสดงราคาตลาดของที่ดินโดยเฉลี่ยได การตีราคาปานกลางของที่ดินใหตีราคาเป*นหน3วยตําบล แต3ถาราคาของที่ดินใน ตําบลใดแตกต3างกันมาก ใหพิจารณาตีราคาโดยกําหนดเขตในตําบลนั้นแยกออกเป*นหน3วยๆ เพื่อให การตีราคาปานกลางเป*นไปโดยเที่ยงธรรม มาตรา ๑๔ ใหผู ว3า ราชการจั งหวัด แต3 งตั้ งคณะกรรมการขึ้ น คณะหนึ่งใหมีห นาที่ พิจารณาการตีราคาปานกลางตามมาตรา ๑๓ คณะกรรมการนั้นใหประกอบดวยบุคคลในทองที่ ดังต3อไปนี้ (๑) ในเขตองคKการบริหารส3วนจังหวัด ประกอบดวย ปลัดจังหวัด เจาพนักงานที่ดิน จังหวัด นายอําเภอทองที่ ผูซึ่งนายกองคKการบริหารส3วนจังหวัดมอบหมายหนึ่งคน และผูทรงคุณวุฒิ สองคนซึ่งไดรับเลือกจากสภาองคKการบริหารส3วนจังหวัด (๒) ในเขตองคKกรปกครองส3วนทองถิ่นอื่น ประกอบดวย ปลัดจังหวัด เจาพนักงาน ที่ดินจังหวัด นายอําเภอทองที่ ผูซึ่งผูบริหารทองถิ่นหรือคณะผูบริหารทองถิ่นมอบหมายหนึ่งคน และ ผูทรงคุณวุฒิสองคนซึ่งไดรับเลือกจากสภาทองถิ่น มาตรา ๑๕ การประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไม3ต่ํากว3ากึ่งจํานวน ของกรรมการทั้งหมดจึงเป*นองคKประชุม และใหคณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งเป*นประธานที่ ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่ง ใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเท3ากัน ใหประธาน ที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป*นเสียงชี้ขาด มาตรา ๑๖ ใหคณะกรรมการพิจารณาตีราคาปานกลางของที่ดินทุกรอบระยะเวลาสี่ป+


มาตรา ๑๗ ภายหลังการตีราคาปานกลางของที่ดินตามมาตรา ๑๖ แลวถามีเหตุ แสดงว3าราคาที่ดินในหน3วยใดไดเปลี่ยนแปลงไปมาก และผูว3าราชการจังหวัดพิจารณาเห็นสมควร หรือเจาของที่ดินรองขอ ผูว3าราชการจังหวัดจะสั่งใหคณะกรรมการทําการพิจารณาตีราคาปานกลาง ของที่ดินในหน3วยนั้นเสียใหม3ก็ได มาตรา ๑๘ ภายในเดือนตุลาคมของป+ที่จะครบรอบระยะเวลาสี่ป+ ตามมาตรา ๑๖ ใหคณะกรรมการยื่นรายงานการตีราคาปานกลางของที่ดินต3อผูว3าราชการจังหวัดแสดงราคาปานกลาง ของที่ดินทุกๆ หน3วย และใหผูว3าราชการจังหวัดประกาศราคาปานกลางของที่ดินนั้นไว ณ ศาลากลาง จังหวัด ที่ว3าการอําเภอ สํานักงานเทศบาล สํานักงานสุขาภิบาล และที่ตําบลแห3งทองที่นั้น ภายใน สามสิบวันนับแต3วันที่ไดรับรายงานจากคณะกรรมการ มาตรา ๑๙ ถามีการตีราคาปานกลางของที่ดินใหม3ตามมาตรา ๑๗ ใหคณะกรรมการ ยื่นรายงานการตีราคาใหม3ต3อผูว3าราชการจังหวัด และใหผูว3าราชการจังหวัดประกาศราคาปานกลาง ของที่ดินใหม3 ภายในระยะเวลาและสถานที่ตามที่กําหนดไวในมาตรา ๑๘ มาตรา ๒๐ ถาเจาของที่ดินไม3เห็นพองดวยกับราคาปานกลางของที่ดินเจาของที่ดิน มีสิทธิอุทธรณKการตีราคาปานกลางของที่ดินต3อผูว3าราชการจังหวัดไดภายในสามสิบวันนับแต3วันที่ ประกาศราคาปานกลางที่ดิน และใหนําความในหมวด ๘ อันว3าดวยการอุทธรณKมาใชบังคับ.โดย อนุโลม มาตรา ๒๑ การตีราคาปานกลางของที่ดินทุกรอบระยะเวลาสี่ป+ตามมาตรา ๑๖ ให ใชเป*นราคาปานกลางไดทุกป+สําหรับรอบระยะเวลาสี่ป+นั้น ในกรณีที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดินใหม3ตามมาตรา ๑๗ ราคาปานกลางของ ที่ดินใหม3นั้น ใหใชไดสําหรับป+ที่ถัดจากป+ที่มีประกาศการตีราคาปานกลางของที่ดินใหม3 จนถึงป+ สุดทายของรอบระยะเวลาสี่ป+ตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่มีการอุทธรณKตามมาตรา ๒๐ ราคาปานกลางของที่ดินตามคําวินิจฉัย อุทธรณKใหใชสําหรับป+ที่เป*นประเด็นแห3งการอุทธรณKเป*นตนไป จนถึงป+สุดทายของรอบระยะเวลาสี่ป+ ตามวรรคหนึ่ง และใหผูว3าราชการจังหวัดประกาศราคาปานกลางของที่ดินใหม3 ภายในระยะเวลาและ สถานที่ตามที่กําหนดไวในมาตรา ๑๘


หมวด ๓ การลดหย3อนและการยกเวนหรือลดภาษีบํารุงทองที่ มาตรา ๒๒ บุคคลธรรมดาซึ่งเป*นเจาของที่ดินแปลงเดียวหรือหลายแปลงที่อยู3ใน จังหวัดเดียวกัน และใชที่ดินนั้นเป*นที่อยู3อาศัยของตน เป*นที่เลี้ยงสัตวKของตน หรือประกอบกสิกรรม ของตน ใหลดหย3อนไม3ตองเสียภาษีบํารุงทองที่ตามเกณฑKอย3างใดอย3างหนึ่ง ดังต3อไปนี้ (๑) ถาเป*นที่ดินนอกเขตเทศบาล ใหลดหย3อนไดไม3เกินหาไร3 แต3จะนอยกว3าสามไร3 ไม3ได ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในขอบัญญัติจังหวัด หรือขอบังคับตําบล แลวแต3กรณี (๒) ถาเป*นที่ดินในเขตเทศบาลตําบลหรือในเขตสุขาภิบาล ใหลดหย3อนไดไม3เกินหนึ่ง ไร3 แต3จะนอยกว3าสองรอยตารางวาไม3ได ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในเทศบัญญัติหรือขอบังคับ (๓) ถาเป*นที่ดินในเขตเมืองพัทยาและเขตเทศบาลอื่นนอกจากเขตเทศบาลตําบล ให ลดหย3อนไดไม3เกินหนึ่งรอยตารางวา แต3จะนอยกว3าหาสิบตารางวาไม3ได ทั้งนี้ ตามที่กําหนดใน ขอบัญญัติหรือเทศบัญญัติ (๔) ถาเป*นที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร ใหลดหย3อนได ดังต3อไปนี้ (ก) ในทองที่ที่มีชุมชนหนาแน3นมาก ใหลดหย3อนไดไม3เกินหนึ่งรอยตารางวา แต3 จะนอยกว3าหาสิบตารางวาไม3ได (ข) ในทองที่ที่มีชุมชนหนาแน3นปานกลาง ใหลดหย3อนไดไม3เกินหนึ่งไร3 แต3จะ นอยกว3าหนึ่งรอยตารางวาไม3ได (ค) ในทองที่ชนบท ใหลดหย3อนไดไม3เกินหาไร3 แต3จะนอยกว3าสามไร3ไม3ได ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ทองที่ใดจะเป*นทองที่ตาม (ก) (ข) หรือ (ค) ใหเป*นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ที่ดินที่มีสิ่งปลูกสรางและใชสิ่งปลูกสรางนั้นเป*นสถานการคาหรือใหเช3า ไม3ไดรับการ ลดหย3อนสําหรับส3วนของที่ดินที่มีสิ่งปลูกสรางที่ใชเป*นสถานการคาหรือใหเช3านั้น ในกรณีที่บุคคลธรรมดาหลายคนเป*นเจาของที่ดินร3วมกัน ใหไดรับการลดหย3อน รวมกันตามเกณฑKที่กําหนดไวในวรรคหนึ่ง การลดหย3อนตามเกณฑKในมาตรานี้ ใหไดรับการลดหย3อนสําหรับที่ดินที่อยู3ในจังหวัด ใดจังหวัดหนึ่งแต3จังหวัดเดียว มาตรา ๒๓ ที่ดินที่ใชในการเพาะปลูก ถาในป+ล3วงมาแลวการเพาะปลูกในบริเวณนั้น เสียหายมากผิดปกติ หรือทําการเพาะปลูกไม3ไดดวยเหตุอันพนวิสัยที่จะปOองกันไดโดยทั่วไป ใหผูว3า ราชการจั ง หวั ด มี อํ า นาจพิ จ ารณายกเวนหรื อ ลดภาษี บํ า รุ ง ทองที่ ใ หไดตามระเบี ย บที่ กระทรวงมหาดไทยกําหนด มาตรา ๒๓ ทวิ ที่ดินที่ใชเป*นสุสานและฌาปนสถานสาธารณะโดยรับประโยชนKตอบ แทน อาจไดรับยกเวนไม3ตองเสียภาษีบํารุงทองที่ไดเฉพาะที่กําหนดไวในกฎกระทรวง


หมวด ๔ การยื่นแบบแสดงรายการที่ดินและการสํารวจ

มาตรา ๒๔ ใหเจาของที่ดินซึ่งมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน เป*นรายแปลงตามแบบที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด ในกรณีที่ที่ดินอยู3นอกเขตเทศบาล เมื่อผูว3าราชการจังหวัดพิจารณาเห็นสมควรจะ กําหนดใหเจาพนักงานสํารวจทําการสํารวจแลวยื่นแบบแสดงรายการที่ดินแทนเจาของที่ดินเป*นราย แปลงที่ทําการสํารวจก็ได มาตรา ๒๕ ถาบุคคลธรรมดาซึ่งเป*นเจาของที่ดินตาย เป*นผูไม3อยู3ตามประมวล กฎหมายแพ3 ง และพาณิ ช ยK ว3 า ดวยเรื่ อ งสาบสู ญ หรื อ เป* น คนไรความสามารถ หรื อ เสมื อ นไร ความสามารถ ใหผูจัดการมรดกหรือทายาท ผูรับมอบอํานาจผูครอบครองทรัพยKสิน ผูอนุบาล ผู พิทักษK หรือผูจัดการทรัพยKสิน แลวแต3กรณี มีหนาที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๖ ถาเจาของที่ดินเป*นนิติบุคคล ใหผูจัดการหรือผูแทนอื่นของนิติบุคคลนั้น มีหนาที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๗ ถาบุคคลหลายคนเป*นเจาของที่ดินร3วมกัน ใหบุคคลเหล3านั้นมีหนาที่ รับผิดชอบร3วมกันในการปฏิบัติการตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๘ เพื่อประโยชนKในการสํารวจและยื่นแบบแสดงรายการที่ดินตามมาตรา ๒๔ วรรคสอง ใหเจาพนักงานสํารวจกําหนดวันเวลาที่จะทําการสํารวจและปRดประกาศไว ณ ที่ทําการ ผูใหญ3บานแห3งทองที่นั้น และใหเจาของที่ดินหรือผูแทนมีหนาที่ชี้เขตและแจงจํานวนเนื้อที่ดินตาม กําหนดวันเวลานั้น และใหความสะดวกแก3เจาพนักงานสํารวจเพื่อการนั้นตามสมควร ถาเจาของที่ดินหรือผูแทนไม3มาชี้เขตหรือไม3ยอมแจงจํานวนเนื้อที่ดิน หรือชี้เขตหรือ แจงจํานวนเนื้อที่ดินขาดจากจํานวนที่เป*นจริง หรือไม3ใหความสะดวกแก3เจาพนักงานสํารวจเจา พนักงานสํารวจมีอํานาจเขาไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวของในระหว3างพระอาทิตยKขึ้นถึงพระอาทิตยK ตกหรือในเวลาทําการ เพื่อทําการสํารวจตามที่เห็นว3าถูกตองได มาตรา ๒๙ แบบแสดงรายการที่ดินสําหรับที่ดินในเขตองคKกรปกครองส3วนทองถิ่นใด ใหยื่นต3อเจาพนักงานประเมิน ณ สํานักงานขององคKกรปกครองส3วนทองถิ่นที่ที่ดินของผูเสียภาษีบํารุง ทองที่ตั้งอยู3 หรือสถานที่อื่นที่ผูบริหารทองถิ่นกําหนดโดยประกาศล3วงหนาไว ณ สํานักงานขององคKกร ปกครองส3วนทองถิ่นนั้นไม3นอยกว3าสามสิบวัน


มาตรา ๓๐ แบบแสดงรายการที่ดินตามมาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๙ ใหยื่นภายใน เดือนมกราคมของป+แรกที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดินตามมาตรา ๑๖ แบบแสดงรายการที่ดินที่ยื่นตามวรรคหนึ่ง ใหใชไดทุกป+ในรอบระยะเวลาสี่ป+นั้น มาตรา ๓๑ บุคคลใดเป*นเจาของที่ดินขึ้นใหม3 หรือจํานวนเนื้อที่ดินเดิมของเจาของ ที่ดินผูใดไดเปลี่ยนแปลงไป ใหเจาของที่ดินนั้นยื่นแบบแสดงรายการที่ดินต3อเจาพนักงานประเมินตาม มาตรา ๒๙ ภายในสามสิบวันนับแต3วันที่เป*นเจาของที่ดินขึ้นใหม3 หรือนับแต3วันที่จํานวนเนื้อที่ดินไดมี การเปลี่ยนแปลง เวนแต3ในกรณีที่ผูว3าราชการจังหวัดกําหนดใหเจาพนักงานสํารวจทําการสํารวจตาม มาตรา ๒๔ วรรคสอง ก็ใหเจาของที่ดินแจงต3อเจาพนักงานสํารวจภายในกําหนดเวลาเช3นเดียวกัน และใหเจาพนักงานสํารวจยื่นแบบแสดงรายการที่ดินต3อเจาพนักงานประเมินตามมาตรา ๒๙ ภายใน สามสิบวันนับแต3วันที่ไดรับแจงจากเจาของที่ดิน มาตรา ๓๒ เจาของที่ดินผูใดไดเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินอันเป*นเหตุใหการลดหย3อน ตามมาตรา ๒๒ เปลี่ยนแปลงไป หรือมีเหตุ อย3างอื่นทําใหอัต ราภาษีบํารุ งทองที่สําหรับที่ดิ น เปลี่ยนแปลงไป ใหเจาของที่ดินผูนั้นแจงการเปลี่ยนแปลงต3อเจาพนักงานประเมินตามมาตรา ๒๙ ภายในสามสิบวันนับแต3วันที่มีการเปลี่ยนแปลง หรือนับแต3วันที่มีเหตุอย3างอื่นทําใหอัตราภาษีบํารุง ทองที่เปลี่ยนแปลง เวนแต3ในกรณีที่ผูว3าราชการจังหวัดกําหนดใหเจาพนักงานสํารวจทําการสํารวจ ตามมาตรา ๒๔ วรรคสอง ก็ใหเจาของที่ดินแจงต3อเจาพนักงานสํารวจภายในกําหนดเวลาเช3นเดียวกัน และใหเจาพนักงานสํ ารวจแจงการเปลี่ย นแปลงดั งกล3 า วต3 อเจาพนั กงานประเมิ น ตามมาตรา ๒๙ ภายในสามสิบวันนับแต3วันที่ไดรับแจงจากเจาของที่ดิน


หมวด ๕ การชําระภาษีบํารุงทองที่

มาตรา ๓๓ ในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป+แรกของการตีราคาปานกลาง ของที่ดินตามมาตรา ๑๖ หรือของป+ที่มีการตีราคาปานกลางของที่ดินใหม3ตามมาตรา ๑๗ ใหเจา พนักงานประเมินคํานวณภาษีบํารุงทองที่และแจงการประเมินภายในเดือนมีนาคมแรกหลังจากการตี ราคาปานกลางของที่ดินตามวิธีการดังต3อไปนี้ (๑) ในกรณีที่ที่ดินอยู3ในเขตเทศบาลหรือนอกเขตเทศบาลที่ไม3มีกํานัน ใหเจา พนักงานประเมินแจงการประเมินเป*นหนังสือไปยังผูซึ่งมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ (๒) ในกรณีที่ที่ดินอยู3นอกเขตเทศบาลที่มีกํานัน ใหเจาพนักงานประเมินปRดประกาศ แจงการประเมินไว ณ ที่ว3าการอําเภอ ที่ทําการกํานัน และที่ทําการผูใหญ3บาน การประเมินภาษีบํารุงทองที่ที่เจาพนักงานประเมินคํานวณไวตามวรรคหนึ่ง ใหใช เป*นการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับในป+ต3อไปจนครบรอบระยะเวลาสี่ป+ตามมาตรา ๒๑ ในกรณีที่เจาพนักงานประเมินไม3อาจคํานวณภาษีบํารุงทองที่และแจงการประเมิน ภายในเดือนมีนาคม ก็ใหแจงการประเมินภายหลังกําหนดเวลาดังกล3าวได มาตรา ๓๔ ใหผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่นําเงินไปชําระต3อพนักงานเจาหนาที่ ณ สํานักงานขององคKกรปกครองส3วนทองถิ่นที่ที่ดินของผูเสียภาษีบํารุงทองที่ตั้งอยู3 หรือสถานที่อื่นที่ ผูบริหารทองถิ่นกําหนดโดยประกาศล3วงหนาไว ณ สํานักงานขององคKกรปกครองส3วนทองถิ่นนั้นไม3 นอยกว3าสามสิบวัน มาตรา ๓๔ ทวิ การชําระภาษีบํารุงทองที่นั้น ใหถือว3าเป*นการสมบูรณKเมื่อไดรับ ใบเสร็จรับเงินที่พนักงานเจาหนาที่ผูมีหนาที่ในการนี้ไดลงลายมือชื่อรับเงินแลว เวนแต3การชําระภาษี ตามวรรคสอง การชําระภาษีบํารุงทองที่จะชําระโดยการส3งธนาณัติ ตั๋วแลกเงินของธนาคารหรือ เช็คที่ธนาคารรับรอง ทางไปรษณียKลงทะเบียนไปยังสถานที่ตามมาตรา ๓๔ ก็ได โดยสั่งจ3ายใหแก3 องคK ก รปกครองส3 ว นทองถิ่ น นั้ น ๆ หรื อ ชํ า ระโดยผ3 า นธนาคาร หรื อ โดยวิ ธี อื่ น ตามระเบี ย บที่ รัฐมนตรีว3าการกระทรวงมหาดไทยกําหนด และใหถือว3าวันส3งทางไปรษณียK วันชําระผ3านธนาคาร หรือวันชําระโดยวิธีอื่นตามที่กําหนด เป*นวันชําระภาษี มาตรา ๓๕ ใหผู มี ห นาที่ เ สี ย ภาษี บํ า รุ งทองที่ ชํ า ระภาษี บํ า รุ งทองที่ ภ ายในเดื อ น เมษายนของทุกป+


ในกรณีที่ผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ไดรับแจงการประเมินตามมาตรา ๓๑ หรือ มาตรา ๓๒ หรือภายหลังเดือนมีนาคมตามมาตรา ๓๓ วรรคสาม ใหชําระภาษีบํารุงทองที่ภายใน สามสิบวันนับแต3วันที่ไดรับแจงการประเมิน มาตรา ๓๖ ผูว3าราชการจังหวัดมีอํานาจประกาศขยายหรือเลื่อนกําหนดเวลาชําระ ภาษีบํารุงทองที่ตามมาตรา ๓๕ ออกไปอีกไดตามความจําเป*นแก3กรณี มาตรา ๓๖ ทวิ ถาเงินภาษีบํารุงทองที่ที่ตองชําระภายในกําหนดเวลา ตามมาตรา ๓๕ หรือมาตรา ๓๖ แลวแต3กรณี มีจํานวนตั้งแต3สามพันบาทขึ้นไป ผูมีหนาที่เสียภาษีจะขอผ3อนชําระ เป*นสามงวดๆ ละเท3าๆ กันก็ได โดยแจงเป*นหนังสือใหบุคคลตามมาตรา ๓๕ ทราบก3อนการชําระภาษี งวดที่หนึ่ง การผ3อนชําระภาษีตามวรรคหนึ่ง ตองชําระงวดที่หนึ่งตามกําหนดเวลาตามมาตรา ๓๕ หรือมาตรา ๓๖ แลวแต3กรณี งวดที่สองตองชําระภายในหนึ่งเดือนนับแต3วันสุดทายที่ตองชําระ งวดที่หนึ่ง และงวดที่สามตองชําระภายในหนึ่งเดือนนับแต3วันสุดทายที่ตองชําระงวดที่สอง ถาผู ขอผ3 อ นชํ า ระภาษี ผู ใดไม3 ชํ า ระภาษี บํ า รุ ง ทองที่ ง วดใดงวดหนึ่ ง ภายใน กําหนดเวลาตามวรรคสอง ใหเจาของที่ดินหมดสิทธิที่จะชําระภาษีเป*นงวดและใหนําความในมาตรา ๔๕ (๔) มาใชบังคับสําหรับงวดที่ยังไม3ชําระ มาตรา ๓๗ ถาภาษีบํารุงทองที่สําหรับที่ดินของเจาของเดียวกันในตําบลเดียวกันมี จํานวนไม3ถึงหนึ่งบาท เป*นอันไม3ตองเสียภาษีบํารุงทองที่สําหรับที่ดินแปลงนั้น มาตรา ๓๘ ภาษีบํารุงทองที่จํานวนใดที่เจาพนักงานประเมินไดแจงหรือประกาศการ ประเมินแลว ถามิไดชําระภายในเวลาที่กําหนด ใหถือเป*นภาษีบํารุงทองที่คางชําระ มาตรา ๓๙ เมื่อกรรมสิทธิ์หรือการครอบครองของเจาของที่ดินไดโอนตกไปยังบุคคล อื่น ใหผูรับโอนมีหนาที่ร3วมกับเจาของที่ดินเดิมเสียภาษีบํารุงทองที่คางชําระไม3เกินหาป+ รวมทั้งป+ สุดทายที่มีการเปลี่ยนแปลงเจาของที่ดินดวย ส3วนภาษีบํารุงทองที่คางชําระเกินหาป+คงอยู3ในความรับ ผิดของเจาของที่ดินเดิม ความในวรรคก3อนมิใหใชบังคับแก3ผูรับโอนซึ่งไดกรรมสิทธิ์มาในการขายทอดตลาด โดยคําสั่งศาลหรือคําสั่งของเจาพนักงานพิทักษKทรัพยKในคดีลมละลาย หรือคําสั่งขายทอดตลาดตาม พระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔๐ ในการปฏิ บั ติ ห นาที่ เ พื่ อ การเร3 ง รั ด ภาษี บํ า รุ ง ทองที่ ค างชํ า ระให นายอําเภอ หรือนายกเทศมนตรี มีอํานาจดังต3อไปนี้ (๑) มีหนังสือเรียกเจาของที่ดินหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของมาใหถอยคํา หรือส3งบัญชีหรือ เอกสารมาตรวจสอบ


(๒) สั่งใหเจาของที่ดินหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของ ปฏิบัติการเท3าที่จําเป*นเพื่อประโยชนK ในการเร3งรัดภาษีบํารุงทองที่คางชําระ ถาเจาของที่ดินหรือบุคคลที่เกี่ยวของไม3ยอมปฏิบัติการตาม (๑) หรือ (๒) ให นายอําเภอหรือนายกเทศมนตรีมีอํานาจเขาไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวของแก3การจัดเก็บภาษีบํารุง ทองที่คางชําระของผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ในระหว3างพระอาทิตยKขึ้นถึงพระอาทิตยKตกหรือใน เวลาทําการเพื่อสอบถามบุคคลใดๆ หรือตรวจสอบ ตรวจคนบัญชี หรือเอกสาร หรือยึดอายัดบัญชี หรือเอกสาร มาตรา ๔๑ ทรัพยKสินของผูตองรับผิดชําระภาษีบํารุงทองที่คางชําระ อาจถูกยึด อายั ด หรือขายทอดตลาดเพื่ อนํา เงิน มาชํ าระภาษี บํารุ งทองที่ คางชําระ โดยใหนายอํา เภอหรื อ นายกเทศมนตรีมีอํานาจออกคําสั่งเป*นหนังสือยึด อายัด หรือขายทอดตลาดได แต3คําสั่งเช3นว3านั้นจะ ออกไดก็แต3โดยไดรับอนุญาตเป*นหนังสือจากผูว3าราชการจังหวัด การขายทอดตลาดอสังหาริมทรัพยKจะกระทํามิไดในระหว3างระยะเวลาที่ใหอุทธรณK ไดตามมาตรา ๔๙ หรือมาตรา ๕๒ และตลอดเวลาที่ทําการพิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณKดังกล3าวยังไม3ถึงที่สุด คําสั่งยึดจะกระทําไดเมื่อไดส3งคําเตือนเป*นหนังสือใหเจาของที่ดินชําระภาษีบํารุง ทองที่คางชําระทราบล3วงหนาไม3นอยกว3าเจ็ดวันนับแต3วันที่รับหนังสือนั้นโดยวิธีการส3งหนังสือตาม มาตรา ๑๒ วิธีการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพยKสินเพื่อใหไดรับชําระภาษีบํารุงทองที่คาง ชําระนั้น ใหนําวิธีการในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ3งมาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๔๒ เงินที่ไดจากการขายทอดตลาดนั้น ใหหักไวเป*นค3าใชจ3ายในการยึดอายัด หรือขายทอดตลาด เหลือเท3าใดใหชําระเป*นค3าภาษีบํารุงทองที่ ถายังมีเงินเหลืออยู3อีกใหคืนแก3 เจาของที่ดิน มาตรา ๔๓ เมื่อไดมีการยึดหรืออายัดทรัพยKสินไวแลว ถาไดมีการชําระเงินค3าใชจ3าย ในการยึดหรืออายัด และค3าภาษีบํารุงทองที่คางชําระโดยครบถวนก3อนการขายทอดตลาด ก็ให นายอําเภอ หรือนายกเทศมนตรีสั่งถอนคําสั่งยึดหรืออายัดนั้น มาตรา ๔๔ ผูใดเสียภาษีบํารุงทองที่โดยไม3มีหนาที่ตองเสีย หรือเสียเกินกว3าที่ควร ตองเสีย ผูนั้นมีสิทธิไดรับเงินคืน การขอรั บ เงิ น คื น ใหยื่ น คํ า รองต3 อ นายอํ า เภอสํ า หรั บ นอกเขตเทศบาล หรื อ นายกเทศมนตรีสําหรับในเขตเทศบาลภายในหนึ่งป+นับแต3วันที่เสียภาษีบํารุงทองที่หรือนับแต3วันที่ ไดรับแจงคําวินิจฉัยอุทธรณK แลวแต3กรณี ในการนี้ใหผูยื่นคํารองส3งเอกสาร หลักฐาน หรือคําชี้แจงใดๆ ประกอบคํารองดวย การสั่งคืนภาษีบํารุงทองที่ใหเป*นอํานาจของนายอําเภอ หรือนายกเทศมนตรีแลวแต3กรณี


หมวด ๖ เงินเพิ่ม

มาตรา ๔๕ ใหเจาของที่ดินเสียเงินเพิ่มนอกจากเงินที่ตองเสียภาษีบํารุงทองที่ ใน กรณีและอัตราดังต3อไปนี้ (๑) ไม3ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินภายในเวลาที่กําหนด ใหเสียเงินเพิ่มรอยละสิบของ จํานวนเงินที่ตองเสียภาษีบํารุงทองที่ เวนแต3กรณีที่เจาของที่ดินไดยื่นแบบแสดงรายการที่ดินก3อนที่ เจาพนักงานประเมินจะไดแจงใหทราบถึงการละเวนนั้นใหเสียเงินเพิ่มรอยละหาของจํานวนเงินที่ตอง เสียภาษีบํารุงทองที่ (๒) ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินโดยไม3ถูกตองทําใหจํานวนเงินที่จะตองเสียภาษีบํารุง ทองที่ลดนอยลง ใหเสียเงินเพิ่มรอยละสิบของภาษีบํารุงทองที่ที่ประเมินเพิ่มเติม เวนแต3กรณีที่เจาของ ที่ดินไดมาขอแกไขแบบแสดงรายการที่ดินใหถูกตองก3อนที่เจาพนักงานประเมินแจงการประเมิน (๓) ชี้เขตแจงจํานวนเนื้อที่ดินไม3ถูกตองต3อเจาพนักงานสํารวจ โดยทําใหจํานวนเงิน ที่จะตองเสียภาษีบํารุงทองที่ลดนอยลง ใหเสียเงินเพิ่มอีกหนึ่งเท3าของภาษีบํารุงทองที่ที่ประเมิน เพิ่มเติม (๔) ไม3ชําระภาษีบํารุงทองที่ภายในเวลาที่กําหนด ใหเสียเงินเพิ่มรอยละยี่สิบสี่ต3อป+ ของจํานวนเงินที่ตองเสียภาษีบํารุงทองที่ เศษของเดือนใหนับเป*นหนึ่งเดือน ทั้งนี้ ไม3ใหนําเงินเพิ่มเติม ตาม (๑) (๒) หรือ (๓) มาคํานวณเพื่อเสียเงินเพิ่มตาม (๔) ดวย มาตรา ๔๖ เงินเพิ่มใหถือว3าเป*นภาษีบํารุงทองที่


หมวด ๗ เจาพนักงานประเมิน

มาตรา ๔๗ ในการปฏิบัติหนาที่ ใหเจาพนักงานประเมินมีอํานาจดังต3อไปนี้ (๑) เขาไปในที่ดินหรือสถานที่ที่เกี่ยวของแก3การจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ของผูมีหนาที่ เสียภาษีบํารุงทองที่ในระหว3างพระอาทิตยKขึ้นถึงพระอาทิตยKตก หรือในเวลาทําการ เพื่อสอบถาม บุคคลใดๆ หรือตรวจสอบ ตรวจคนบัญชีหรือเอกสารหรือยึด อายัดบัญชี หรือเอกสารเพื่อทราบว3าผูมี หนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ไดปฏิบัติการถูกตองตามพระราชบัญญัตินี้หรือไม3 (๒) มีหนังสือเรียกผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่หรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของมาใหถอยคํา หรือส3งบัญชีหรือเอกสารมาตรวจสอบ มาตรา ๔๘ เมื่อปรากฏว3าเจาของที่ดินซึ่งเป*นผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่มิไดยื่น แบบแสดงรายการที่ดินตามมาตรา ๒๔ ใหเจาพนักงานประเมินมีอํานาจแจงการประเมินยอนหลังได ไม3เกินสิบป+นับแต3วันที่เจาพนักงานประเมินไดทราบว3าเจาของที่ดินยังมิไดยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน


หมวด ๘ อุทธรณK

มาตรา ๔๙ เจาของที่ดินผูใดไดรับแจงการประเมินภาษีบํารุงทองที่แลวเห็นว3าการ ประเมินนั้นไม3ถูกตอง มีสิทธิอุทธรณKต3อผูว3าราชการจังหวัดได โดยยื่นอุทธรณKแก3เจาพนักงานประเมิน ตามแบบที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด ภายในสามสิบวันนับแต3วันที่ไดรับแจงการประเมิน เมื่อเจาพนักงานประเมินไดรับอุทธรณKแลว ใหเสนออุทธรณKนั้นตามลําดับจนถึงผูว3า ราชการจังหวัด การอุทธรณKไม3เป*นการทุเลาการเสียภาษีบํารุงทองที่ เวนแต3จะไดรับอนุมัติจากผูว3า ราชการจังหวัดใหรอคําวินิจฉัยอุทธรณK หรือคําพิพากษาของศาล มาตรา ๕๐ เพื่อการพิจารณาอุทธรณK ผูว3าราชการจังหวัดมีอํานาจมีหนังสือเรียกผู อุทธรณKหรือบุคคลใดๆ มาใหถอยคําหรือใหส3งเอกสารอันควรแก3เรื่องมาแสดง ผูอุทธรณKคนใดไม3ปฏิบัติตามหนังสือเรียกที่ออกตามมาตรานี้ หรือไม3ยอมใหถอยคํา โดยไม3มีเหตุผลอันสมควร ใหผูว3าราชการจังหวัดยกอุทธรณKนั้นเสีย มาตรา ๕๑ เมื่อผูว3าราชการจังหวัดไดพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณKเป*นประการใดแลว ใหแจงคําวินิจฉัยอุทธรณKเป*นหนังสือไปยังผูอุทธรณKและเจาพนักงานประเมิน มาตรา ๕๒ ผูอุทธรณKมีสิทธิอุทธรณKคําวินิจฉัยของผูว3าราชการจังหวัดต3อศาลภายใน สามสิบวันนับแต3วันไดรับแจงคําวินิจฉัยอุทธรณK เวนแต3ในกรณีที่ผูว3าราชการจังหวัดยกอุทธรณKตาม ความในมาตรา ๕๐ วรรคทาย


หมวด ๙ บทกําหนดโทษ

มาตรา ๕๓ ผูใดโดยรูอยู3แลวหรือโดยจงใจแจงขอความอันเป*นเท็จ ใหถอยคําเท็จ ตอบคําถามดวยถอยคําอันเป*นเท็จ หรือนําพยานหลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายาม หลีกเลี่ยงการเสียภาษีบํารุงทองที่ ตองระวางโทษจําคุกไม3เกินหกเดือน หรือปรับไม3เกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๕๔ ผูใดจงใจไม3มาหรือไม3ยอมชี้เขตหรือไม3ยอมแจงจํานวนเนื้อที่ดิน ตอง ระวางโทษจําคุกไม3เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม3เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๕๕ ผูใดขัดขวางเจาพนักงานซึ่งปฏิบัติการตามมาตรา ๒๘ มาตรา ๔๐ หรือ มาตรา ๔๗ ตองระวางโทษจําคุกไม3เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม3เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๕๖ ผูใดฝXาฝYนคําสั่งของเจาพนักงานซึ่งสั่งตามมาตรา ๔๐ มาตรา ๔๗ หรือ มาตรา ๕๐ ตองระวางโทษจําคุกไม3เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม3เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ความในวรรคก3อนมิใหใชบังคับแก3ผูอุทธรณKตามมาตรา ๕๐ มาตรา ๕๗ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถานายอําเภอหรือนายกเทศมนตรี แลวแต3กรณี เห็นว3าผูตองหาไม3ควรไดรับโทษถึงจําคุก ใหมีอํานาจเปรียบเทียบกําหนดค3าปรับไดเมื่อ ผูตองหาไดชําระเงินค3าปรับตามจํานวนที่นายอําเภอหรือนายกเทศมนตรีกําหนดภายในสามสิบวัน คดี นั้นเป*นอันเสร็จเด็ดขาด ถาผูตองหาไม3ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแลว ไม3ชําระเงินค3าปรับ ภายในกําหนดเวลาดังกล3าว ใหดําเนินคดีต3อไป มาตรา ๕๘ เงินค3าปรับตามพระราชบัญญัตินี้ใหตกเป*นรายไดขององคKกรปกครอง ส3วนทองถิ่นนั้นๆ แลวแต3ความผิดนั้นจะเกิดขึ้นในทองที่ใด


บทเฉพาะกาล

มาตรา ๕๙ บทบัญญัติแห3งประมวลรัษฎากรที่ยกเลิกตามมาตรา ๓ ใหคงใชบังคับได ในการเก็บภาษีบํารุงทองที่ จํานวนพุทธศักราชต3าง ๆ ก3อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี

บัญชีอัตราภาษีบํารุงทองที่ ตามมาตรา ๗ ชั้น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕

ราคาปานกลางของที่ดิน ไม3เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ เกินไร3ละ

๒๐๐ บาท ๒๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๕๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๖๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๘๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๑,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๑,๒๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๑,๔๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๑,๖๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๑,๘๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๒,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๒,๒๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๒,๔๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๒,๖๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๒,๘๐๐ บาท ถึงไร3ละ

๔๐๐ บาท ๖๐๐ บาท ๘๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท ๑,๒๐๐ บาท ๑,๔๐๐ บาท ๑,๖๐๐ บาท ๑,๘๐๐ บาท ๒,๐๐๐ บาท ๒,๒๐๐ บาท ๒,๔๐๐ บาท ๒,๖๐๐ บาท ๒,๘๐๐ บาท ๓,๐๐๐ บาท

ภาษีไร3ละ บาท สต. ๕๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕๐ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ -

หมายเหตุ (๑ ) ที่ ดิ น ที่ ใ ช ประกอบการกสิ กรรม เฉ พ า ะ ป ร ะ เ ภ ท ไมลมลุ ก ใหเสี ย กึ่ ง อัตรา แต3ถาเจาของ ที่ ดิ น ประกอบการ ก สิ ก ร ร ม ป ร ะ เ ภ ท ไ ม ล ม ลุ ก นั้ น ด ว ย ตนเอง ใหเสียอย3าง สูงไม3เกินไร3ละ ๕ บาท (๒) ที่ดินที่ทิ้งไวว3าง เปล3 า หรื อ ไม3 ไ ดทํ า ประโยชนKตามควรแก3 สภาพของที่ดินใหเสีย เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเท3า


ภาษีไร3ละ บาท สต. ๑๖ เกินไร3ละ ๓,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๓,๕๐๐ บาท ๑๗ ๕๐ ๑๗ เกินไร3ละ ๓,๕๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๔,๐๐๐ บาท ๒๐ ๑๘ เกินไร3ละ ๔,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๔,๕๐๐ บาท ๒๒ ๕๐ ๑๙ เกินไร3ละ ๔,๕๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๕,๐๐๐ บาท ๒๕ ๒๐ เกินไร3ละ ๕,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๕,๕๐๐ บาท ๒๗ ๕๐ ๒๑ เกินไร3ละ ๕,๕๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๖,๐๐๐ บาท ๓๐ ๒๒ เกินไร3ละ ๖,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๖,๕๐๐ บาท ๓๒ ๕๐ ๒๓ เกินไร3ละ ๖,๕๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๗,๐๐๐ บาท ๓๕ ๒๔ เกินไร3ละ ๗,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๗,๕๐๐ บาท ๓๗ ๕๐ ๒๕ เกินไร3ละ ๗,๕๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๘,๐๐๐ บาท ๔๐ ๒๖ เกินไร3ละ ๘,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๘,๕๐๐ บาท ๔๒ ๕๐ ๒๗ เกินไร3ละ ๘,๕๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๙,๐๐๐ บาท ๔๕ ๒๘ เกินไร3ละ ๙,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๙,๕๐๐ บาท ๔๗ ๕๐ ๒๙ เกินไร3ละ ๙,๕๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๑๐,๐๐๐ บาท ๕๐ ๓๐ เกินไร3ละ ๑๐,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๑๕,๐๐๐ บาท ๕๕ ๓๑ เกินไร3ละ ๑๕,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๒๐,๐๐๐ บาท ๖๐ ๓๒ เกินไร3ละ ๒๐,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๒๕,๐๐๐ บาท ๖๕ ๓๓ เกินไร3ละ ๒๐,๐๐๐ บาท ถึงไร3ละ ๒๕,๐๐๐ บาท ๗๐ ๓๔ เกินไร3ละ ๓๐,๐๐๐ บาท ใหเสียภาษีไร3ละ ดังต3อไปนี้ สําหรับราคาปานกลางของที่ดิน ๓๐,๐๐๐ บาทแรก ใหเสียภาษี ๗๐ บาท สําหรับราคาปานกลางของที่ดินส3วนที่เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท ใหเสียทุกๆ ๑๐,๐๐๐ บาท ต3อ ๒๕ บาท เศษ ของ ๑๐,๐๐๐ บาท ถาถึง ๕,๐๐๐ บาท ใหถือเป*น ๑๐,๐๐๐ บาท ถาไม3ถึง ๕,๐๐๐ บาท ใหป-ดทิ้ง

ชั้น

ราคาปานกลางของที่ดิน

หมายเหตุ (๑) ที่ดินที่ตองเสียภาษีบํารุงทองที่ (ก) เศษของไร3ใหคิดในอัตราลดลงตามส3วน (ข) เศษของหนึ่งตารางวา ใหป-ดทิ้ง (๒) เมื่อคํานวณภาษีแลว เศษของ ๑๐ สตางคK ใหป-ดทิ้ง

หมายเหตุ


หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากประมวลรัษฎากรไดบัญญัติ ใหกรมสรรพากรเป*นผูควบคุมจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ แต3ใหกันไวต3างหากเพื่อใชจ3ายในการบํารุง ทองที่ในเขตทองถิ่นนั้นๆ จึงสมควรมอบใหราชการส3วนทองถิ่นเป*นผูจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่เสียเอง ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๕๖ ลงวันที่ ๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๕ พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖ มาตรา ๖ รัฐมนตรีว3าการกระทรวงมหาดไทยมีอํานาจประกาศขยายกําหนดเวลา การยื่นรายงานการตีราคาปานกลางของที่ดิน ตามมาตรา ๑๘ แห3งพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ สําหรับการตีราคาปานกลางของที่ดินรอบระยะเวลาสี่ป+ ตั้งแต3 พ.ศ. ๒๕๑๗ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๐ ในเขตกรุงเทพมหานครออกไปอีกไดตามความจําเป*นแก3กรณี มาตรา ๗ ใหรัฐมนตรีว3าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๕ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ไดจัดตั้งกรุงเทพมหานครขึ้นโดยมีการบริหาร ราชการแตกต3างจากจังหวัดอื่นๆ ทําใหการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเก็บภาษีบํารุงทองที่ตามกฎหมาย ว3าดวยภาษีบํารุงทองที่มีขอขัดของ จึงจําเป*นตองแกไขเพิ่มเติมกฎหมายว3าดวยภาษีบํารุงทองที่ เกี่ยวกับการเก็บภาษีบํารุงทองที่ในเขตกรุงเทพมหานคร พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ พ.ศ. ๒๕๒๔ มาตรา ๒ พระราชกํ า หนดนี้ ใ หใชบั ง คั บ ตั้ ง แต3 วั น ถั ด จากวั น ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป*นตนไป เวนแต3บทบัญญัติมาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ แห3งพระราชกําหนดนี้ ใหใชบังคับสําหรับภาษีบํารุงทองที่ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ เป*น ตนไป มาตรา ๑๑ ใหบรรดากฎกระทรวงที่ใชบังคับอยู3ในวันที่พระราชกําหนดนี้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษายังคงใชบังคับไดต3อไปเท3าที่ไม3ขัดหรือแยงกับบทบัญญัติของพระราชบัญญัติภาษี บํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชกําหนดนี้ มาตรา ๑๒ บรรดาบทบัญญัติแห3งพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ ที่ ถูกยกเลิกหรือแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชกําหนดนี้ นอกจากมาตรา ๔๕ (๔) ใหคงใชบังคับไดในการ ปฏิบัติจัดเก็บภาษีที่คางอยู3หรือพึงชําระก3อนวันที่บทบัญญัติแห3งพระราชกําหนดนี้ใชบังคับ


มาตรา ๑ ๓ ใหรั ฐ มนตรี ว3 า การกระทรวงการคลั ง และรั ฐ มนตรี ว3 า การ กระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชกําหนดนี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกําหนดฉบับนี้ คือ โดยที่มีความจําเป*นตองปรับปรุง อัตราภาษีบํารุงทองที่ และหลักเกณฑKการลดหย3อนภาษีบํารุงทองที่ใหเหมาะสมกับสภาพการณK ป-จจุบัน และเนื่องจากเป*นกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเป*นรีบด3วนในอันที่จะรักษาความมั่นคงในทาง เศรษฐกิจของประเทศ จึงจําเป*นตองตราพระราชกําหนดนี้ พระราชกําหนดเปลี่ยนแปลงราคาปานกลางของที่ดินที่กําหนดไวสําหรับการประเมินภาษีบํารุงทองที่ ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๒๕ มาตรา ๓ ใหยกเลิกราคาปานกลางของที่ดินที่คณะกรรมการตีราคาปานกลางของ ที่ดินตามพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ ไดกําหนดไวสําหรับการประเมินภาษีบํารุง ทองที่ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ มาตรา ๔ ใหนํ า ราคาปานกลางของที่ ดิ นที่ ใชอยู3 ในการประเมิ น ภาษี บํ า รุ งทองที่ ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๔ มาใชในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ โดยใหถือราคาที่กําหนดตามมาตรานี้เป*นการตีราคาปานกลางของที่ดินตามมาตรา ๑๖ แห3งพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ มาตรา ๕ ใหขยายกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการที่ดินเพื่อชําระภาษีบํารุงทองที่ สําหรับป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ออกไปจนถึงวันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ มาตรา ๖ ในกรณีที่ปรากฏว3าผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ผูใดชําระภาษีบํารุงทองที่ สําหรับป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ไปแลวก3อนวันที่พระราชกําหนดนี้ใชบังคับ เกินจํานวนที่ตนตองเสีย ใหผูนั้น ยื่นหลักฐานการชําระภาษีดังกล3าวเพื่อขอรับภาษีส3วนที่เกินคืน ต3อเจาพนักงานประเมิน เมื่อหัวหนาเขต นายอําเภอ หรือนายกเทศมนตรี แลวแต3กรณีไดตรวจสอบหลักฐาน ว3าผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ชําระภาษีเกินจํานวนที่ตนตองเสียจริง ใหคืนภาษีส3วนที่เกินภายใน หนึ่งรอยยี่สิบวันนับแต3วันที่ผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ยื่นคําขอรับภาษีส3วนที่เกินตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๗ ใหรั ฐ มนตรี ว3 า การกระทรวงการคลั ง และรั ฐ มนตรี ว3 า การ กระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชกําหนดนี้


หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกําหนดฉบับนี้ คือ ตามที่ไดมีการกําหนดราคาปาน กลางของที่ดินขึ้นใหม3เพื่อประโยชนKในการประเมินภาษีบํารุงทองที่ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ นั้น ปรากฏว3าประชาชนจะตองเสียภาษีบํารุงทองที่เพิ่มขึ้นจากจํานวนที่เคยเสียเดิมมาก อัน เป*นผลจากวิธีการตีราคาปานกลางของที่ดินตามที่กฎหมายกําหนดไวยังไม3เหมาะสมและเป*นธรรม ตามสภาพและทําเลของที่ดินในแต3ละแห3ง เมื่อไดคํานึงถึงภาระภาษีที่ประชาชนจะตองไดรับเพิ่มขึ้น ประกอบกับภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศโดยทั่วไปในป-จจุบันยังไม3คลี่คลายจึงเห็นสมควรที่จะผ3อน คลายความเดือดรอนที่ประชาชนจะไดรับจากการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ในช3วงระยะเวลานี้เป*นการ ชั่วคราว โดยกําหนดใหใชราคาปานกลางของที่ดินตามที่คณะกรรมการตีราคาปานกลางของที่ดินได กําหนดไวสําหรับการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับภาษีป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ และในป+ต3อไป ทั้งนี้ จนกว3า จะมีการแกไขบทบัญญัติของกฎหมายว3าดวยภาษีบํารุงทองที่ที่เกี่ยวกับวิธีการตีราคาปานกลางของ ที่ดินใหม3ใหเหมาะสมและเป*นธรรม ซึ่งตองใชเวลาตระเตรียมการพอสมควร นอกจากนี้ โดยที่มีการ เปลี่ยนแปลงการคํานวณภาษีบํารุงทองที่ตามหลักเกณฑKดังกล3าว จึงจําเป*นตองขยายระยะเวลา สําหรับผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินตามมาตรา ๓๐ แห3งพระราชบัญญัติ ภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ สําหรับการเสียภาษีป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งไดผ3านพนไปแลวดวย และโดยที่ เป*นกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเป*นเร3งด3วนอันเกี่ยวกับความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ จึง จําเป*นตองตราพระราชกําหนดนี้ พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๙ มาตรา ๖ ใหยกเลิกราคาปานกลางของที่ดินที่คณะกรรมการตีราคาปานกลางของ ที่ดินตามพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ ไดกําหนดไวสําหรับการประเมินภาษีบํารุง ทองที่ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๙ ถึง พ.ศ. ๒๕๓๒ มาตรา ๗ ใหนํ า ราคาปานกลางของที่ ดิ นที่ ใชอยู3 ในการประเมิ น ภาษี บํ า รุ งทองที่ ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๔ ซึ่งใชในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ มาใชเป*นราคาปานกลางในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป+ พ.ศ. ๒๕๒๙ และให คณะกรรมการพิจารณาตีราคาปานกลางของที่ดินขึ้นใหม3สําหรับรอบระยะเวลาสี่ป+ต3อไป ตั้งแต3 พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๘ แบบแสดงรายการที่ดินที่ไดยื่นไวแลวและใชไดสําหรับการเสียภาษีบํารุง ทองที่ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ ใหถือว3าเป*นแบบแสดงรายการที่ดินที่ไดยื่นไวแลวและ ใชไดสําหรับการเสียภาษีบํารุงทองที่ประจําป+ พ.ศ. ๒๕๒๙ ดวย มาตรา ๙ ผูที่เสียภาษีบํารุงทองที่สําหรับป+ พ.ศ. ๒๕๒๙ ไปแลวก3อนวันที่พระราช กําหนดนี้ใชบังคับเกินจํานวนที่ตนตองเสีย ใหมีสิทธิไดรับเงินส3วนที่เกินคืน


การคืนเงินส3วนที่เกินใหเป*นไปตามมาตรา ๔๔ แห3งพระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ และใหคืนเงินดังกล3าวภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแต3วันที่ผูมีหนาที่เสียภาษีบํารุงทองที่ ยื่นคําขอรับเงินส3วนที่เกินคืน มาตรา ๑ ๐ ใหรั ฐ มนตรี ว3 า การกระทรวงการคลั ง และรั ฐ มนตรี ว3 า การ กระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชกําหนดนี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกําหนดฉบับนี้ คือ โดยที่สภาพการณKทางเศรษฐกิจและ สังคม ไม3เอื้ออํานวยที่จะใหมีการเปลี่ยนแปลงภาษีบํารุงทองที่ในลักษณะที่จะทําใหประชาชนผูมี หนาที่เสียภาษีตองรับภาระภาษีเพิ่มขึ้น จึงสมควรใหนําเอาราคาปานกลางของที่ดินที่ใชในการ ประเมินภาษีบํารุงทองที่ช3วงป+ พ.ศ. ๒๕๒๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ มาใชในการประเมินภาษีบํารุงทองที่ สําหรับป+ พ.ศ. ๒๕๒๙ ไปก3อน และใหผูที่ตองเสียภาษีบํารุงทองที่ที่ชําระภาษีดังกล3าวภายในเวลาที่ กําหนดสามารถขอผ3อนชําระเป*นงวดๆ ได เพื่อเป*นการบรรเทาความเดือดรอนของประชาชนในการ เสียภาษีบํารุงทองที่ ประกอบกับวิธีการชําระภาษีบํารุงทองที่ยังไม3สะดวกเท3าที่ควรและอัตราเงินเพิ่ม ภาษีบํารุงทองที่ยังไม3เหมาะสม สมควรปรับปรุงใหเหมาะสมยิ่งขึ้น และโดยที่เป*นกรณีฉุกเฉินที่มีความ จําเป*นเร3งด3วนในอันที่จะรักษาความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ จึงจําเป*นตองตราพระราช กําหนดนี้ พระราชบัญญัติภาษีบํารุงทองที่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติสภาตําบล และองคKการบริหารส3วนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ กําหนดใหมีองคKการบริหารส3วนตําบลและเป*นราชการ ส3 ว นทองถิ่ น เพิ่ มขึ้ น อี กประเภทหนึ่ ง สมควรแกไขเพิ่ มเติ มกฎหมายว3 า ดวยภาษี บํ า รุ งทองที่ ใ ห ครอบคลุมถึงการเก็บภาษีบํารุ งทองที่ในเขตองคKการบริหารส3วนตําบล นอกจากนี้โดยที่ถอยคํ า เกี่ยวกับราชการส3วนทองถิ่น ในกฎหมายว3าดวยภาษีบํารุงทองที่มีใชอยู3หลายคําตามรูปแบบของ ราชการส3วนทองถิ่นซึ่งมีอยู3หลากหลาย สมควรปรับปรุงถอยคําดังกล3าวเพื่อใหครอบคลุมถึงราชการ ส3วนทองถิ่นทุกประเภท จึงจําเป*นตองตราพระราชบัญญัตินี้


พระราชบัญญัติ ภาษีปาย พ.ศ. ๒๕๑๐

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให!ไว! ณ วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๐ เป+นป,ที่ ๒๒ ในรัชกาลป-จจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล!าฯ ให! ประกาศว3า โดยที่เป+นการสมควรแยกกฎหมายเกี่ยวกับภาษีปายออกจากประมวลรัษฎากร จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล!าฯ ให!ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว!โดยคําแนะนําและยินยอมของสภา ร3างรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา ดังต3อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว3า “พระราชบัญญัติภาษีปาย พ.ศ. ๒๕๑๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให!ใช!บังคับตั้งแต3วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๑ เป+นต!นไป มาตรา ๓ ให!ยกเลิกหมวด ๕ ภาษีปายในลักษณะ ๒ แห3งประมวลรัษฎากร บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข!อบังคับอื่นในส3วนที่มีบัญญัติไว!แล!วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่ง ขัดหรือแย!งกับบทแห3งพระราชบัญญัตินี้ ให!ใช!พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ เมื่ อ ได! มี พ ระราชกฤษฎี ก าให! เ ทศบาลใดอยู3 ใ นความควบคุ ม ดู แ ลของ กระทรวงมหาดไทยตามกฎหมายว3 า ด! ว ยเทศบาล บรรดาอํ า นาจหน! า ที่ ข องผู! ว3 า ราชการจั ง หวั ด ตาม พระราชบัญญัตินี้ ให!เป+นอํานาจหน!าที่ของรัฐมนตรีหรือผู!ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๕ ให!รัฐมนตรีว3าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ กับให!มี อํ า นาจออกกฎกระทรวงกํ า หนดอั ต ราภาษี ป ายไม3 เ กิ น อั ต ราที่ กํ า หนดไว! ใ นบั ญ ชี อั ต ราภาษี ป ายท! า ย พระราชบัญญัตินี้ และกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได!ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล!ว ให!ใช!บังคับได!


หมวด ๑ บททั่วไป

มาตรา ๖ ในพระราชบัญญัตินี้ “ปาย” หมายความว3า ปายแสดงชื่อ ยี่ห!อหรือเครื่องหมายที่ใช!ในการประกอบการค!าหรือ ประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได!หรือโฆษณาการค!าหรือกิจการอื่นเพื่อหารายได! ไม3ว3าจะได!แสดงหรือโฆษณาไว! ที่วัตถุใดๆ ด!วยอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึกหรือทําให!ปรากฏด!วยวิธีอื่น “ราชการส3วนท!องถิ่น” หมายความว3า เทศบาล สุขาภิบาล องคIการบริหารส3วนจังหวัด กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองคIการปกครองท!องถิ่นอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดให!เป+นราชการส3วน ท!องถิ่นตามพระราชบัญญัตินี้ “เขตราชการส3วนท!องถิ่น” หมายความว3า (๑) เขตเทศบาล (๒) เขตสุขาภิบาล (๓) เขตองคIการบริหารส3วนจังหวัด (๔) เขตกรุงเทพมหานคร (๕) เขตเมืองพัทยา (๖) เขตองคIการปกครองท!องถิ่นอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดให!เป+นราชการส3วนท!องถิ่น “ผู!บริหารท!องถิ่น" หมายความว3า (๑) นายกเทศมนตรี สําหรับในเขตเทศบาล (๒) ประธานกรรมการสุขาภิบาล สําหรับในเขตสุขาภิบาล (๓) ผู!ว3าราชการจังหวัด สําหรับในเขตองคIการบริหารส3วนจังหวัด (๔) ผู!ว3าราชการกรุงเทพมหานคร สําหรับในเขตกรุงเทพมหานคร (๕) ปลัดเมืองพัทยา สําหรับในเขตเมืองพัทยา (๖) หัวหน!าผู!บริหารท!องถิ่นขององคIการปกครองท!องถิ่นอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดให!เป+น ราชการส3วนท!องถิ่น สําหรับในเขตราชการส3วนท!องถิ่นนั้น “ป,” หมายความว3า ป,ปฏิทิน “รัฐมนตรี” หมายความว3า รัฐมนตรีผู!รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๗ ให!เจ!าของปายมีหน!าที่เสียภาษีปายโดยเสียเป+นรายป,ยกเว!นปายที่เริ่มติดตั้งหรือ แสดงในป,แรกให!เสียภาษีปายตั้งแต3วันเริ่มติดตั้งหรือแสดงจนถึงวันสิ้นป,และให!คิดภาษีปายเป+นรายงวด งวดละ สามเดือนของป, โดยเริ่มเสียภาษีปายตั้งแต3งวดที่ติดตั้งปายจนถึงงวดสุดท!ายของป, ทั้งนี้ ตามอัตราที่กําหนดใน กฎกระทรวงซึ่งต!องไม3เกินอัตราที่กําหนดในบัญชีอัตราภาษีปายท!ายพระราชบัญญัตินี้


การคํ า นวณพื้ น ที่ ภ าษี ป าย ให! คํ า นวณตามบั ญ ชี อั ต ราภาษี ป าย

(๖) และ (๗) ท! า ย

พระราชบัญญัตินี้ ปายที่ติดตั้งบนอสังหาริมทรัพยIของบุคคลอื่นและมีพื้นที่เกินสองตารางเมตรต!องมีชื่อและที่อยู3 ของเจ!าของปายเป+นตัวอักษรไทยที่ชัดเจนที่มุมขวาด!านล3างของปายและให!ข!อความดังกล3าวได!รับยกเว!นภาษี ปายตามหลักเกณฑIที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๘ เจ!าของปายไม3ต!องเสียภาษีปายสําหรับปายดังต3อไปนี้ (๑) ปายที่แสดงไว! ณ โรงมหรสพและบริเวณของโรงมหรสพนั้น เพื่อโฆษณามหรสพ (๒) ปายที่แสดงไว!ที่สินค!าหรือที่สิ่งห3อหุ!มหรือบรรจุสินค!า (๓) ปายที่แสดงไว!ในบริเวณงานที่จัดขึ้นเป+นครั้งคราว (๔) ปายที่แสดงไว!ที่คน หรือสัตวI (๕) ปายที่แสดงไว!ภายในอาคารที่ใช!ประกอบการค!าหรือประกอบกิจการอื่นหรือภายใน อาคารซึ่งเป+นที่รโหฐาน ทั้งนี้ เพื่อหารายได! และแต3ละปายมีพื้นที่ไม3เกินที่กําหนดในกฎกระทรวง แต3ไม3รวมถึง ปายตามกฎหมายว3าด!วยทะเบียนพาณิชยI (๖) ปายของราชการส3วนกลาง ราชการส3วนภูมิภาคหรือราชการส3วนท!องถิ่นตามกฎหมายว3า ด!วยระเบียบบริหารราชการแผ3นดิน (๗) ปายขององคIการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว3าด!วยการจัดตั้งองคIการของรัฐบาลหรือตาม กฎหมายว3าด!วยการนั้นๆ และหน3วยงานที่นํารายได!ส3งรัฐ (๘) ปายของธนาคารแห3งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะหI ธนาคาร เพื่อการสหกรณI และบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห3งประเทศไทย (๙) ปายของโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว3าด!วยโรงเรียนเอกชน หรือสถาบันอุดมศึกษา เอกชนตามกฎหมายว3าด!วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ที่แสดงไว! ณ อาคารหรือบริเวณของโรงเรียนเอกชนหรือ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนนั้น (๑๐) ปายของผู!ประกอบการเกษตรซึ่งค!าผลผลิตอันเกิดจากการเกษตรของตน (๑๑) ปายของวัด หรือผู!ดําเนินกิจการเพื่อประโยชนIแก3การศาสนาหรือการกุศลสาธารณะ โดยเฉพาะ (๑๒) ปายของสมาคมหรือมูลนิธิ (๑๓) ปายตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๙ ภาษีปายที่เก็บในเขตราชการส3วนท!องถิ่นใด ให!เป+นรายได!ของราชการส3วนท!องถิ่น นั้น มาตรา ๑๐ ให! ผู! บ ริ ห ารท! อ งถิ่ น มี อํ า นาจแต3 ง ตั้ ง พนั ก งานเจ! า หน! า ที่ เ พื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารตาม พระราชบัญญัตินี้


มาตรา ๑๑ การส3งคําสั่งเป+นหนังสือ หนังสือแจ!งการประเมิน หรือหนังสืออื่นให!แก3บุคคลใด ให!ปฏิบัติดังต3อไปนี้ (๑) ให!ส3งในเวลากลางวันระหว3างพระอาทิตยIขึ้นและพระอาทิตยIตก หรือในเวลาทําการของ ผู!รับ (๒) ให!ส3ง ณ สถานการค!า สถานประกอบกิจการหรือที่อยู3อาศัยของผู!รับ โดยจะส3งทาง ไปรษณียIลงทะเบียนก็ได! ถ!าไม3พบผู!รับ ณ สถานการค!า สถานประกอบกิจการ หรือที่อยู3อาศัยของผู!รับ ให!ส3งแก3ผู!บรรลุ นิติภาวะแล!ว ซึ่งอยู3หรือทํางาน ณ สถานการค!า สถานประกอบกิจการ หรือที่อยู3อาศัยของผู!นั้น ถ!าไม3สามารถจะส3งตามวิธีดังกล3าวได! ให!ปRดหนังสือนั้นไว!ในที่เห็นได!ง3าย ณ สถานการค!า สถานประกอบกิจการ หรือที่อยู3อาศัยของผู!นั้น หรือลงประกาศแจ!งความในหนังสือพิมพIรายวันอย3างน!อยสอง ฉบับ เมื่อได!ปฏิบัติตามวิธีนี้แล!ว และเวลาได!ล3วงพ!นไปไม3น!อยกว3าเจ็ดวันนับแต3วันที่ปฏิบัติการ ให!ถือว3าบุคคล นั้นได!รับหนังสือนั้นแล!ว


หมวด ๒ การยื่นแบบแสดงรายการภาษีปาย

มาตรา ๑๒ ให!เจ!าของปายซึ่งจะต!องเสียภาษีปาย ยื่นแบบแสดงรายการภาษีปายตามแบบ และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด ภายในเดือนมีนาคมของป, ในกรณีที่เจ!าของปายอยู3นอกประเทศไทย ให!ตัวแทนหรือผู!แทนในประเทศไทยมีหน!าที่ยื่น แบบแสดงรายการภาษีปายแทนเจ!าของปาย มาตรา ๑๓ ถ!าเจ!าของปายตาย เป+นผู!ไม3อยู3 เป+นคนสาบสูญ เป+นคนไร!ความสามารถหรือเป+น คนเสมือนไร!ความสามารถ ให!ผู!จัดการมรดก ผู!ครอบครองทรัพยIมรดกไม3ว3าจะเป+นทายาทหรือผู!อื่น ผู!จัดการ ทรัพยIสิน ผู!อนุบาลหรือผู!พิทักษI แล!วแต3กรณี มีหน!าที่ปฏิบัติการตามมาตรา ๑๒ แทนเจ!าของปาย มาตรา ๑๔ เจ!าของปายผู!ใด (๑) ติดตั้งหรือแสดงปายอันต!องเสียภาษีภายหลังเดือนมีนาคม (๒) ติดตั้งหรือแสดงปายใหม3แทนปายเดิมและมีพื้นที่ ข!อความ ภาพ และเครื่องหมายอย3าง เดียวกับปายเดิมที่ได!เสียภาษีปายแล!ว (๓) เปลี่ยนแปลงแก!ไขพื้นที่ปาย ข!อความ ภาพ หรือเครื่องหมายบางส3วนในปายที่ได!เสียภาษี ปายแล!ว อันเป+นเหตุให!ต!องเสียภาษีปายเพิ่มขึ้น ให!เจ!าของปาย ตาม (๑) (๒) หรือ (๓) ยื่นแบบแสดงรายการภาษีปายต3อพนักงานเจ!าหน!าที่ ภายในสิบ ห! า วั นนั บ แต3 วัน ที่ ติ ด ตั้งหรื อแสดงปาย หรื อนั บ แต3 วั น เปลี่ ย นแปลง แก!ไขข! อความ ภาพ หรื อ เครื่องหมายในปายเดิม แล!วแต3กรณี มาตรา ๑๔ ทวิ ปายตามมาตรา ๑๔ (๑) ให!เสียภาษีปายตามมาตรา ๗ ปายตามมาตรา ๑๔ (๒) ให!ได!รับยกเว!นภาษีเฉพาะป,ที่ติดตั้งหรือแสดงปาย ปายตามมาตรา ๑๔ (๓) ให!เสียภาษีตาม (๕) ของบัญชีอัตราภาษีปายท!ายพระราชบัญญัตินี้ ถ!าเป+นปายที่เปลี่ยนแปลงแก!ไขข!อความภาพ และเครื่องหมายทั้งหมดให!เสียภาษีปายตามมาตรา ๗ มาตรา ๑๕ ให!เจ!าของปายหรือผู!ซึ่งเจ!าของปายมอบหมายยื่นแบบแสดงรายการภาษีปายต3อ พนักงานเจ!าหน!าที่ ณ สถานที่ดังต3อไปนี้ (๑) สํานักงานหรือที่ว3าการของราชการส3วนท!องถิ่นที่ปายนั้นติดตั้งหรือแสดงอยู3ในเขตราชการ ส3วนท!องถิ่นนั้น (๒) สํานักงานหรือที่ว3าการของราชการส3วนท!องถิ่นซึ่งการจดทะเบียนยานพาหนะได!กระทําใน เขตราชการส3วนท!องถิ่นนั้น


(๓) สถานที่อื่นที่ผู!บริหารท!องถิ่นกําหนด โดยประกาศหรือโฆษณาให!ทราบเป+นเวลาไม3น!อย กว3าสามสิบวันนับแต3วันประกาศหรือโฆษณา มาตรา ๑๖ ในกรณีที่มีการโอนปาย ให!ผู!รับโอนแจ!งการรับโอนเป+นหนังสือต3อพนักงาน เจ!าหน!าที่ ภายในสามสิบวันนับแต3วันรับโอน


หมวด ๓ การประเมินภาษีปายและการชําระภาษีปาย

มาตรา ๑๗ ให!พนักงานเจ!าหน!าที่ประเมินภาษีปายตามหลักเกณฑIการคํานวณภาษีปายที่ กําหนดไว!ในบัญชีอัตราภาษีปาย (๖) และ (๗) ท!ายพระราชบัญญัตินี้และตามอัตราภาษีปายที่กําหนดใน กฎกระทรวง แล!วแจ!งการประเมินเป+นหนังสือไปยังเจ!าของปาย มาตรา ๑๘ ในกรณีที่ปรากฏแก3พนักงานเจ!าหน!าที่ว3าไม3มีผู!ยื่นแบบแสดงรายการสําหรับภาษี ปายใด เมื่อพนักงานเจ!าหน!าที่ไม3อาจหาตัวเจ!าของปายนั้นได! ให!ถือว3าผู!ครอบครองปายนั้นเป+นผู!มีหน!าที่เสีย ภาษีปายถ!าไม3อาจหาตัวผู!ครองครองปายนั้นได! ให!ถือว3าเจ!าของหรือผู!ครอบครองอาคารหรือที่ดินที่ปายนั้น ติดตั้งหรือแสดงอยู3 เป+นผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายตามลําดับ และให!พนักงานเจ!าหน!าที่แจ!งการประเมินภาษีปาย เป+นหนังสือไปยังบุคคลดังกล3าว มาตรา ๑๙ ให!ผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายชําระภาษีปายต3อพนักงานเจ!าหน!าที่ ณ สถานที่ที่ได!ยื่น แบบแสดงรายการภาษีปายไว! หรือ ณ สถานที่อื่นใดที่พนักงานเจ!าหน!าที่กําหนด ทั้งนี้ ภายในสิบห!าวันนับแต3 วันที่ได!รับแจ!งการประเมิน และให!ถือว3าวันที่ชําระภาษีต3อพนักงานเจ!าหน!าที่เป+นวันชําระภาษีปาย การชําระภาษีปายจะกระทําโดยวิธีการส3งธนาณัติหรือตั๋วเงินแลกเงินของธนาคารที่สั่งจ3ายเงิน ให!แก3ราชการส3วนท!องถิ่นที่เกี่ยวข!อง ไปยังสถานที่ตามวรรคหนึ่ง โดยส3งทางไปรษณียIลงทะเบียนหรือส3งโดยวิธี อื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดแทนการชําระต3อพนักงานเจ!าหน!าที่ก็ได! และให!ถือว3าวันที่ได!ทําการส3ง ดังกล3าวเป+นวันชําระภาษีปาย มาตรา ๑๙ ทวิ ถ!าภาษีปายที่ต!องชําระมีจํานวนตั้งแต3สามพันบาทขึ้นไปผู!มีหน!าที่เสียภาษี ปายจะขอผ3อนชําระเป+นสามงวด งวดละเท3าๆ กันก็ได! โดยแจ!งความจํานงเป+นหนังสือให!พนักงานเจ!าหน!าที่ ทราบก3อนครบกําหนดเวลาชําระภาษีตามมาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง การผ3อนชําระภาษีตามวรรคหนึ่ง ให!ชําระงวดที่หนึ่งก3อนครบกําหนดเวลาชําระภาษีตาม มาตรา ๑๙ วรรคหนึ่ง งวดที่สองภายในหนึ่งเดือนนับแต3วันสุดท!ายที่ต!องชําระงวดที่หนึ่ง และงวดที่สามภายใน หนึ่งเดือนนับแต3วันสุดท!ายที่ต!องชําระงวดที่สอง ถ!าผู!ขอผ3อนชําระภาษีไม3ชําระภาษีปายงวดหนึ่งงวดใดภายในกําหนดเวลาตามวรรคสอง ให! หมดสิทธิที่จะขอผ3อนชําระภาษี และให!นํามาตรา ๒๕ (๓) มาใช!บังคับสําหรับงวดที่ยังมิได!ชําระ มาตรา ๑๙ ตรี ให!ผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายแสดงหลักฐานการเสียภาษีปายไว! ณ ที่เปRดเผยใน สถานที่ประกอบการค!าหรือประกอบกิจการ มาตรา ๒๐ ภาษี ป ายจํ า นวนใดที่ พนั กงานเจ! า หน! า ที่ ได! แจ! ง การประเมิ น แล! ว ถ! า มิ ได! ชํ า ระ ภายในเวลาที่กําหนด ให!ถือเป+นภาษีปายค!างชําระ


มาตรา ๒๑ ให! ผู! บ ริ ห ารท! อ งถิ่ น มี อํ า นาจออกคํ า สั่ ง เป+ น หนั ง สื อ ให! ยึ ด หรื ออายั ด และขาย ทอดตลาดทรัพยIสินของผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายที่ค!างชําระ เพื่อนําเงินมาชําระค3าภาษีปายค3าธรรมเนียมและ ค3าใช!จ3ายโดยมิต!องขอให!ศาลสั่งหรือออกหมายยึด ทั้งนี้ ตามระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด การยึดทรัพยIสินจะกระทําได!ต3อเมื่อได!ส3งคําเตือนเป+นหนังสือให!ผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายชําระ ปายที่ค!างชําระภายในกําหนดไม3น!อยกว3าเจ็ดวันนับแต3วันที่รับหนังสือนั้น การขายทอดตลาดทรัพยIสินจะกระทํามิได!ในระหว3างระยะเวลาอุทธรณIตามมาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๓ เว!นแต3ทรัพยIสินนั้นจะเป+นของเสียง3าย วิธีการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพยIสิน เพื่อให!ได!รับภาษีปายที่ค!างชําระ ให!นําวิธีการ ในการประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ3งมาใช!บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๒๒ เงินที่ได!จากการขายทอดตลาดทรัพยIสิน ให!หักไว!เป+นค3าใช!จ3ายในการยึด อายัด หรือขายทอดตลาด เหลือเท3าใดให!ชําระเป+นค3าภาษีปาย ถ!ายังมีเงินเหลืออยู3อีกให!คืนแก3เจ!าของทรัพยIสินนั้น มาตรา ๒๓ เมื่อได!มีการยึดหรืออายัดทรัพยIสินไว!ตามมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่งแล!ว ถ!าได!มีการ ชําระภาษีปายที่ค!างชําระ ค3าธรรมเนียมและค3าใช!จ3ายในการยึดหรืออายัดทรัพยIสินโดยครบถ!วนก3อนการขาย ทอดตลาด ให!ผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายสั่งถอนการยึดหรืออายัดนั้น มาตรา ๒๔ ผู!ใดเสียภาษีปายโดยไม3มีหน!าที่ต!องเสียหรือเสียเกินกว3าที่ควรต!องเสีย ผู!นั้นมีสิทธิ ได!รับเงินคืน การขอรับเงินคืน ให!ยื่นคําร!องต3อผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายภายใน หนึ่งป,นับแต3วันที่เสียภาษีปาย ในการนี้ให!ผู!ยื่นคําร!องส3งเอกสาร หลักฐานหรือคําชี้แจงใดๆ ประกอบคําร!องด!วย เมื่อผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายเห็นว3าผู!ยื่นคําร!องมีสิทธิได!รับเงินคืน ให!สั่งคืนเงินให!โดยเร็ว และแจ!งให!ผู!ยื่นคําร!องทราบเพื่อมาขอรับเงินคืนภายในหนึ่งป,นับแต3วันที่ได!รับแจ!ง การกระทําใดๆ เพื่อให!เสียภาษีปายน!อยลงกว3าที่ได!เสียไปแล!ว ให!มีผลเมื่อเริ่มต!นป,ภาษีปาย


หมวด ๔ เงินเพิ่ม

มาตรา ๒๕ ให!ผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายเสียเงินเพิ่มนอกจากเงินที่ต!องเสียภาษีปายในกรณีและ อัตรา ดังต3อไปนี้ (๑) ไม3ยื่นแบบแสดงรายการภาษีปายภายในเวลาที่กําหนด ให!เสียเงินเพิ่มร!อยละสิบของ จํานวนเงินที่ต!องเสียภาษีปาย เว!นแต3กรณีที่เจ!าของปายได!ยื่นแบบแสดงรายการภาษีปายก3อนที่พนักงาน เจ!าหน!าที่จะได!แจ!งให!ทราบถึงการละเว!นนั้นให!เสียเงินเพิ่มร!อยละห!าของจํานวนเงินที่ต!องเสียภาษีปาย (๒) ยื่นแบบแสดงรายการภาษีปายโดยไม3ถูกต!อง ทําให!จํานวนเงินที่จะต!องเสียภาษีปายลด น!อยลง ให!เสียเงินเพิ่มร!อยละสิบของภาษีปายที่ประเมินเพิ่มเติม เว!นแต3กรณีที่เจ!าของปายได!มาขอแก!ไขแบบ แสดงรายการภาษีปายให!ถูกต!องก3อนที่พนักงานเจ!าหน!าที่แจ!งการประเมิน (๓) ไม3ชําระภาษีปายภายในเวลาที่กําหนด ให!เสียเงินเพิ่มร!อยละสองต3อเดือนของจํานวนเงิน ที่ต!องเสียภาษีปาย เศษของเดือนให!นับเป+นหนึ่งเดือน ทั้งนี้ ไม3ให!นําเงินเพิ่มตาม (๑) และ (๒) มาคํานวณเป+น เงินเพิ่มตามอนุมาตรานี้ด!วย มาตรา ๒๖ เงินเพิ่มตามมาตรา ๒๕ ให!ถือว3าเป+นภาษีปาย


หมวด ๕ พนักงานเจ!าหน!าที่

มาตรา ๒๗ ในการปฏิบัติหน!าที่ ให!พนักงานเจ!าหน!าที่มีอํานาจดังต3อไปนี้ (๑) เข!าไปในสถานที่ประกอบการค!าหรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได!ของผู!มีหน!าที่เสีย ภาษีปาย หรือบริเวณที่ต3อเนื่องกับสถานที่ดังกล3าว หรือสถานที่ที่เกี่ยวข!องกับการจัดเก็บภาษีปายในระหว3าง พระอาทิตยIขึ้นและพระอาทิตยIตก หรือในเวลาทําการ เพื่อตรวจสอบว3าผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายได!ปฏิบัติการ ถูกต!องตามพระราชบัญญัตินี้หรือไม3 (๒) ออกคําสั่งเป+นหนังสือเรียกผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายมาให!ถ!อยคําหรือให!ส3งบัญชีหรือเอกสาร เกี่ยวกับภาษีปายมาตรวจสอบภายในกําหนดเวลาอันสมควร มาตรา ๒๘ ในการปฏิบัติการตามหน!าที่ ให!พนักงานเจ!าหน!าที่แสดงบัตรประจําตัวเมื่อบุคคล ซึ่งเกี่ยวข!องร!องขอ บัตรประจําตัวพนักงานเจ!าหน!าที่ ให!เป+นไปตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๙ เมื่อปรากฏว3าเจ!าของปายมิได!ยื่นแบบแสดงรายการภาษีปายหรือยื่นแบบแสดง รายการภาษีปายโดยไม3ถูกต!อง ให!พนักงานเจ!าหน!าที่มีอํานาจแจ!งการประเมินย!อนหลังได!ไม3เกินห!าป,นับแต3 วันที่พนักงานเจ!าหน!าที่แจ!งการประเมิน


หมวด ๖ การอุทธรณI

มาตรา ๓๐ ผู!มีหน!าที่เสียภาษีปายที่ได!รับแจ!งการประเมินภาษีปายแล!วเห็นว3าการประเมินนั้น ไม3ถูกต!อง มีสิทธิอุทธรณIการประเมินต3อผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายได!ภายในสามสิบ วันนับแต3วันที่ได!รับแจ!งการประเมิน การอุทธรณIตามวรรคหนึ่งให!ยื่นต3อพนักงานเจ!าหน!าที่ตามแบบที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด การอุทธรณIไม3เป+นเหตุให!ทุเลาการชําระภาษีปาย เว!นแต3จะได!รับอนุมัติจากผู!บริหารท!องถิ่น มาตรา ๓๑ เพื่อประโยชนIในการพิจารณาอุทธรณI ผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่น มอบหมายอาจมีหนังสือเรียกผู!อุทธรณIมาให!ถ!อยคําเพิ่มเติมหรือให!ส3งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข!องมาเพื่อ ประกอบการพิจารณาได! ถ!าผู!อุทธรณIไม3ยืนอุทธรณIภายในสามสิบวันตามมาตรา ๓๐ วรรคหนึ่ง ไม3ปฏิบัติตามหนังสือ เรียก ไม3ยอมให!ถ!อยคํา หรือไม3ยอมส3งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข!องโดยไม3มีเหตุอันสมควร ให!ผู!บริหาร ท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายมีอํานาจยกอุทธรณIนั้นเสียได! มาตรา ๓๒ ให!ผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายวินิจฉัยอุทธรณIให!เสร็จ ภายในหกสิบวันนับแต3วันที่ได!รับอุทธรณI และแจ!งคําวินิจฉัยพร!อมด!วยเหตุผลเป+นหนังสือไปยังผู!อุทธรณIและ พนักงานเจ!าหน!าที่ซึ่งได!ทําการประเมินโดยเร็ว มาตรา ๓๓ ผู!อุทธรณIมีสิทธิอุทธรณIคําวินิจฉัยของผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่น มอบหมายโดยฟองเป+นคดีต3อศาลภายในสามสิบวันนับแต3วันที่ได!รับแจ!งคําวินิจฉัยอุทธรณIเว!นแต3ในกรณีที่เป+น การยกอุทธรณIตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง การฟองคดีตามวรรคหนึ่งจะกระทําได!ต3อเมื่อได!ปฏิบัติตามขั้นตอนดังที่บัญญัติไว!ในมาตรา ๓๐ แล!ว มาตรา ๓๓ ทวิ ในกรณีที่มีคําวินิจฉัยอุทธรณIถึงที่สุดให!คืนเงินค3าภาษีปายให!แก3ผู!อุทธรณI ให! ผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่งผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายแจ!งให!ผู!อุทธรณIทราบโดยเร็วเพื่อมาขอรับเงินคืนภายใน หนึ่งป,นับแต3วันที่ได!รับแจ!ง


หมวด ๗ บทกําหนดโทษ

มาตรา ๓๔ ผู!ใดโดยรู!อยู3แล!วหรือโดยจงใจแจ!งข!อความอันเป+นเท็จ ให!ถ!อยคําเท็จ ตอบคําถาม ด!วยถ!อยคําอันเป+นเท็จ หรือนําพยานหลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษี ปาย ต!องระวางโทษจําคุกไม3เกินหนึ่งป, หรือปรับตั้งแต3ห!าพันบาทถึงห!าหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๓๕ ผู!ใดจงใจไม3ยื่นแบบแสดงรายการภาษีปาย ต!องระวางโทษปรับตั้งแต3ห!าพันบาท ถึงห!าหมื่นบาท มาตรา ๓๕ ทวิ ผู!ใดไม3ปฏิบัติตามมาตรา ๗ วรรคสาม ต!องระวางโทษปรับวันละหนึ่งร!อยบาท เรียงรายวันตลอดระยะเวลาที่กระทําความผิด มาตรา ๓๖ ผู!ใดไม3แจ!งการรับโอนปายตามมาตรา ๑๖ หรือไม3แสดงการเสียภาษีปายตาม มาตรา ๑๙ ตรี ต!องระวางโทษปรับตั้งแต3หนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท มาตรา ๓๗ ผู!ใดขัดขวางการปฏิบัติการของพนักงานเจ!าหน!าที่ตามมาตรา ๒๗ (๑) หรือไม3 ปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานเจ!าหน!าที่ซึ่งสั่งตามมาตรา ๒๗ (๒) ต!องระวางโทษจําคุกไม3เกินหกเดือน หรือ ปรับตั้งแต3หนึ่งพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๓๘ ในกรณีมีผู!กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ถ!าผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่ง ผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายเห็นว3าเป+นความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียวหรือมีโทษจําคุกหรือปรับและโทษจําคุก ไม3เกินหกเดือน ให!ผู!บริหารท!องถิ่นมีอํานาจเปรียบเทียบสถานเดียวได!ในกรณีดังต3อไปนี้ (๑) ในเขตกรุ ง เทพมหานคร ให! ผู! ว3 า ราชการกรุ ง เทพมหานครหรื อ ผู! ซึ่ ง ผู! ว3 า ราชการ กรุงเทพมหานครมอบหมาย เป+นผู!มีอํานาจเปรียบเทียบ (๒) ในเขตราชการส3วนท!องถิ่นอื่นยกเว!นเขตกรุงเทพมหานคร ให!ผู!บริหารท!องถิ่นหรือผู!ซึ่ง ผู!บริหารท!องถิ่นมอบหมายของแต3ละเขต เป+นผู!มีอํานาจเปรียบเทียบ เมื่ อ ผู! ต! อ งหาได! ชํ า ระเงิ น ค3 า ปรั บ ตามที่ เ ปรี ย บเที ย บภายในสามสิ บ วั น นั บ แต3 วั น ที่ มี ก าร เปรียบเทียบ ให!ถือว3าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ถ!าผู!ต!องหาไม3ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล!วไม3ชําระเงินค3าปรับภายใน กําหนดเวลาดังกล3าว ให!ดําเนินคดีต3อไป มาตรา ๓๙ เงินค3าปรับตามพระราชบัญญัตินี้ให!เป+นรายได!ของราชการส3วนท!องถิ่นนั้น มาตรา ๓๙ ทวิ ในกรณีที่ผู!กระทําความผิดซึ่งต!องรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้เป+นนิติบุคคล กรรมการผู!จัดการ ผู!จัดการ หรือผู!แทนของนิติบุคคลนั้นต!องรับโทษตามที่บัญญัติไว!สําหรับความผิดนั้นๆ ด!วย เว!นแต3จะพิสูจนIได!ว3าตนมิได!รู!เห็นหรือยินยอมในการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้น


บทเฉพาะกาล

มาตรา ๔๐ บทบัญญัติแห3งประมวลรัษฎากรที่ยกเลิกตามมาตรา ๓ ให!คงใช!บังคับได!ในการ เก็บภาษีปายจํานวนป,ต3างๆ ก3อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช!บังคับ

ผู!รับสนองพระบรมราชโองการ จอมพล ถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี

บัญชีอัตราภาษีปาย

(๑) ปายที่มีอักษรไทยล!วน (๒) ปายที่มีอักษรไทยปนกับอักษร ต3างประเทศและหรือปนกับภาพ และหรือเครื่องหมายอื่น (๓) ปายดังต3อไปนี้

ให!คิดอัตรา ๑๐ บาท ต3อห!าร!อย ตารางเซนติเมตร

ให!คิดอัตรา ๑๐๐ บาท ต3อห!าร!อย ตารางเซนติเมตร ให!คิดอัตรา ๒๐๐ บาท ต3อห!าร!อย ตารางเซนติเมตร

(ก) ปายที่ไม3มีอักษรไทย ไม3ว3าจะมีภาพหรือ เครื่องหมายใดๆ หรือไม3 (ข) ปายที่มีอักษรไทยบางส3วน หรือทั้งหมดอยู3ใต!หรือ ต่ํากว3าอักษรต3างประเทศ (๔) ปายตาม (๑) (๒) หรือ (๓) ซึ่งมีข!อความ เครื่องหมาย หรือภาพที่เคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนเป+นข!อความ เครื่องหมาย หรือภาพอื่ นได! โดยเครื่องจักรกลหรือโดยวิธีใดๆ ให!คิดอัตราภาษีตามจํานวนข!อความ เครื่องหมาย หรือภาพ หรือตามระยะเวลาที่ข!อความเครื่องหมาย หรือภาพปรากฏอยู3ในปาย ทั้งนี้ ตาม


หลักเกณฑI และวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง ถ!ายังไม3ได!ออกกฎกระทรวงให!คิดอัตราภาษีตามบัญชี อัตราภาษีปายนี้ (๕) ปายที่เปลี่ยนแปลงแก!ไขตามมาตรา ๑๔ (๓) ให!คิดอัตราตาม (๑) (๒) หรือ (๓) แล!วแต3กรณี และให!เสีย เฉพาะจํานวนเงินภาษีที่เพิ่มขึ้น (๖) พื้นที่ของปายไม3ว3าจะมีรูปร3างหรือลักษณะอย3างไร ให!คํานวณดังนี้ (ก) ถ!าเป+นปายที่มีขอบเขตกําหนดได!ให!เอาส3วนกว!างที่สุดคูณด!วยส3วนยาวที่สุดของขอบเขตปายเป+น ตารางเซนติเมตร (ข) ถ!าเป+นปายที่ไม3มีขอบเขตกําหนดได! ให!ถือว3าตัวอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่อยู3ริมสุดเป+น ขอบเขตสําหรับกําหนดส3วนกว!างที่สุดและยาวที่สุด แล!วคํานวณตาม (ก) (๗) ปายตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) เมื่อคํานวณพื้นที่ของปายแล!ว (ก) ถ!ามีเศษเกินกึ่งหนึ่งของห!าร!อยตารางเซนติเมตร ให!นับเป+นห!าร!อยตารางเซนติเมตร ถ!าไม3เกินกึ่ง หนึ่ง ให!ป-ดทิ้ง (ข) ถ!ามีอัตราที่ต!องเสียภาษีต่ํากว3าปายละ ๒๐๐ บาท ให!เสียภาษีปายละ ๒๐๐ บาท หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช!พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากภาษีปายเป+นภาษีของราชการบริหาร ส3วนท!องถิ่น ควรแยกออกจากประมวลรัษฎากร และมอบให!ราชการบริหารส3วนท!องถิ่น โดยกําหนดให!องคIการ บริหารส3วนจังหวัด เทศบาลและสุขาภิบาล เป+นผู!จัดเก็บ จึงตรากฎหมายว3าด!วยภาษีปายขึ้นโดยเฉพาะ พระราชบัญญัติภาษีปาย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๒๐ บทบัญญัติแห3งพระราชบัญญัติภาษีปาย พ.ศ. ๒๕๑๐ ที่ถูกยกเลิกหรือแก!ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให!ยังคงใช!บังคับต3อไปเฉพาะในการปฏิบัติจัดเก็บภาษีที่ค!างอยู3หรือที่พึงชําระ ก3อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช!บังคับ มาตรา ๒๑ ความในมาตรา ๗ วรรคสาม ซึ่งแก!ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให!ใช!บังคับ เมื่อพ!นหนึ่งร!อยแปดสิบวันนับแต3วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๒๒ ให!รัฐมนตรีว3าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช!พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติภาษีปาย พ.ศ. ๒๕๑๐ ได!ใช!บังคับมาเป+นเวลานานแล!ว สมควรปรับปรุงบทบัญญัติว3าด!วยการยกเว!นภาษี การกําหนดอัตราภาษี การ ยื่นแบบแสดงรายการภาษี การประเมินภาษี การชําระภาษี การบังคับชําระภาษีค!าง การคืนเงินค3าภาษีอัตรา เงินเพิ่ม และการอุทธรณI ตลอดจนปรับปรุงบทกําหนดโทษให!สอดคล!องกับสภาพการณIและสภาวะเศรษฐกิจ ป-จจุบันหรือให!เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจําเป+นต!องตราพระราชบัญญัตินี้


พระราชบัญญัติ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๕

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล(าเจ(าอยู+หัวมีพระบรมราช โองการดํารัสเหนือเกล(าฯ ให(ประกาศจงทราบทั่วกันว+า โดยที่ทรงพระราชดําริเห็นสมควรแก(ไขเพิ่มเติมภาษีโรงเรือนและขยายออกไปถึง ที่ดินด(วย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล(าฯ ให(ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว(โดยบทมาตราต+อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ให(เรียกว+า “พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๕” มาตรา ๒ ให(ใช(พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต+วันที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๕ มาตรา ๓ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ ให( ใช( เ ฉพาะแต+ ในท( องที่ ซึ่งได( ร ะบุ ไ ว( ในบั ญ ชี ต+ อท( า ย พระราชบัญญัตินี้ ต+อไปเมื่อทรงพระราชดําริเห็นสมควรจะใช(พระราชบัญญัตินี้ขยายออกไปในท(องที่ใด จะได(มีประกาศพระบรมราชโองการให(ขยายออกไปเป=นคราวๆ มาตรา ๔ นับตั้งแต+วันที่ใช(พระราชบัญญัตินี้เป=นต(นไป และภายในท(องที่ซึ่งได(ระบุไว( ตามมาตราก+อน ให(ยกเลิกกฎหมายดังต+อไปนี้ ๑. ประกาศภาษีเรือโรงร(านตึกแพ ปAมะเมียโทศก จุลศักราช ๑๒๓๒ ๒. ประกาศแก(ข(อความในประกาศเก็บภาษีเรือโรงร(านตึกแพ ปAมะเมียโทศก จุล ศักราช ๑๒๓๒ ๓. ประกาศแก(ไขเพิ่มเติมภาษีเรือโรงร(าน พุทธศักราช ๒๔๗๔ ๔. ประกาศว+าด(วยการใช(ประกาศแก(ไขเพิ่มเติมภาษีเรือโรงร(าน พุทธศักราช ๒๔๗๔ มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตินี้ ถ(าข(อความมิได(แสดงให(เห็นเป=นอย+างอื่น “ที่ดิน” ให(กินความถึง ทางน้ํา บ+อน้ํา สระน้ํา ฯลฯ “โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ” ให(กินความถึงแพด(วย “ราคาตลาด” หมายความว+า จํานวนเงินซึ่งทรัพยBสินพร(อมทั้งสิ่งที่ทําเพิ่มเติมให(ดี ขึ้นทั้งสิ้น (ถ(ามี) ซึ่งจะจําหน+ายได(ในขณะเวลาที่กําหนดราคาตามพระราชบัญญัตินี้ “ผู(รับประเมิน” หมายความว+า บุคคลผู(พึงชําระค+าภาษี


“ปA” หมายความว+า ปAตามปฏิทินหลวง “พนักงานเจ(าหน(าที่” หมายความว+า ผู(ซึ่งได(รับการแต+งตั้งให(มีหน(าที่รับแบบแสดง รายการทรัพยBสิน ประเมินภาษี และปฏิบัติหน(าที่อื่นตามที่กฎหมายกําหนด “พนักงานเก็บภาษี" หมายความว+า ผู(ซึ่งได(รับการแต+งตั้งให(มีหน(าที่จัดเก็บ รับชําระ รวมทั้งเร+งรัดให(ชําระภาษี และปฏิบัติหน(าที่อื่นตามที่กฎหมายกําหนด “รัฐมนตรี” หมายความว+า รัฐมนตรีผู(รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ “กําหนด” (ยกเลิก) “รัฐวิสาหกิจ” หมายความว+า รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว+าด(วยวิธีการงบประมาณ มาตรา ๖ เพื่อประโยชนBแห+งพระราชบัญญัตินี้ ท+านให(แบ+งทรัพยBสินออกเป=น ๒ ประเภท คือ (๑) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ กับที่ดินซึ่งใช(ต+อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่ง ปลูกสร(างนั้นๆ (๒) ที่ดินซึ่งมิได(ใช(ต+อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ “ที่ดินซึ่งใช(ต+อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ” ตามความหมายแห+ง มาตรานี้ หมายความว+า ที่ดินซึ่งปลูกโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ และบริเวณต+อเนื่องกันซึ่ง ตามปกติใช(ไปด(วยกันกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างนั้นๆ มาตรา ๖ ทวิ ให(รัฐมนตรีมีอํานาจยกเว(นภาษีโรงเรือนและที่ดินให(แก+รัฐวิสาหกิจ สําหรับพื้นที่ที่เป=นบริเวณต+อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นที่ใช(ประโยชนBโดยตรงของ รัฐวิสาหกิจนั้นตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดได( มาตรา ๗ ให( รั ฐ มนตรี ว+ า การกระทรวงการคลั ง และรั ฐ มนตรี ว+ า การ กระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให(มีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดอัตรา ค+ า ธรรมเนี ย มและกํ า หนดกิ จ การอื่ น รวมทั้ ง ออกระเบี ย บและประกาศเพื่ อ ปฏิ บั ติ ก ารตาม พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในส+วนที่เกี่ยวกับอํานาจหน(าที่ของแต+ละกระทรวง กฎกระทรวงนั้น เมื่อได(ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล(วให(ใช(บังคับได( มาตรา ๗ ทวิ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให(ผู(บริหารท(องถิ่นมีอํานาจ แต+งตั้งพนักงานเจ(าหน(าที่และพนักงานเก็บภาษี


ภาค ๑ ภาษีโรงเรือน และสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ กับที่ดินซึ่งใช( ต+อเนื่องกับโรงเรือนและสิ่งปลูกสร(างนั้นๆ

มาตรา ๘ ให(ผู(รับประเมินชําระภาษีปAละครั้งตามค+ารายปAของทรัพยBสิน คือ โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นกับที่ดินซึ่งใช(ต+อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่น นั้น ในอัตราร(อย ละสิบสองครึ่งของค+ารายปA เพื่อประโยชนBแห+งมาตรานี้ “ค+ารายปA” หมายความว+า จํานวนเงินซึ่งทรัพยBสินนั้น สมควรให(เช+าได(ในปAหนึ่งๆ ในกรณีที่ทรัพยBสินนั้นให(เช+า ให(ถือว+าค+าเช+านั้นคือค+ารายปA แต+ถ(าเป=นกรณีที่มีเหตุอัน สมควรที่ทําให(พนักงานเจ(าหน(าที่เห็นว+าค+าเช+านั้นมิใช+จํานวนเงินอันสมควรที่จะให(เช+าได(หรือเป=นกรณี ที่หาค+าเช+าไม+ได(เ นื่องจากเจ( าของทรัพยBสิน ดํา เนิน กิจ การเองหรื อด( วยเหตุ ประการอื่น ให( พนักงาน เจ(าหน(าที่มีอํานาจประเมินค+ารายปAได( โดยคํานึงถึงลักษณะของทรัพยBสิน ขนาด พื้นที่ ทําเลที่ตั้ง และ บริ ก ารสาธารณะที่ ท รั พ ยB สิ น นั้ น ได( รั บ ประโยชนB ทั้ ง นี้ ตามหลั ก เกณฑB ที่ รั ฐ มนตรี ว+ า การ กระทรวงมหาดไทยกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๙ ทรัพยBสินดังต+อไปนี้ ท+านให(ยกเว(นจากบทบัญญัติแห+งภาคนี้ (๑) พระราชวังอันเป=นส+วนของแผ+นดิน (๒) ทรัพยBสินของรัฐบาลที่ใช(ในกิจการของรัฐบาลหรือสาธารณะและทรัพยBสินของ การรถไฟแห+งประเทศไทยที่ใช(ในกิจการการรถไฟโดยตรง (๓) ทรัพยBสินของโรงพยาบาลสาธารณะและโรงเรือนสาธารณะ ซึ่งกระทํากิจการอัน มิใช+เพื่อเป=นผลกําไรส+วนบุคคล และใช(เฉพาะในการรักษาพยาบาลและในการศึกษา (๔) ทรัพยBสินซึ่งเป=นศาสนสมบัติอันใช(เฉพาะในศาสนกิจอย+างเดียว หรือเป=นที่อยู+ ของสงฆB (๕) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ซึ่งปOดไว(ตลอดปAและเจ(าของมิได(อยู+เองหรือ ให(ผู(อื่นอยู+นอกจากคนเฝQา ในโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ หรือในที่ดินซึ่งใช(ต+อเนื่องกัน (๖) โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างของการเคหะแห+งชาติที่ผู(เช+าซื้ออาศัยอยู+เองโดยมิได(ใช( เป=นที่เก็บสินค(าหรือประกอบการอุตสาหกรรมหรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได( มาตรา ๑๐ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ซึ่งเจ(าของอยู+เองหรือให(ผู(แทนอยู+ เฝQารักษา และซึ่งมิได(ใช(เป=นที่ไว(สินค(าหรือประกอบการอุตสาหกรรม ท+านให(งดเว(นจากบทบัญญัติ แห+งภาคนี้ตั้งแต+ พ.ศ. ๒๔๗๕ เป=นต(นไป


มาตรา ๑๑ ถ(าโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ถูกรื้อถอนหรือทําลายโดย ประการอื่น ท+านให(ลดยอดค+ารายปAของทรัพยBสินนั้นตามส+วนที่ถูกทําลายตลอดเวลาที่ยังไม+ได(ทําขึ้น แต+ในเวลานั้นโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ นั้นต(องเป=นที่ซึ่งยังใช(ไม+ได( ในกรณีนี้ถ(าไม+มีโรงเรือนอื่นหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ในที่ดินนั้นท+านให(กําหนดค+า ภาษีในเวลาที่กล+าวข(างบนตามบทบัญญัติในภาค ๒ แห+งพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๒ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ซึ่งทําขึ้นในระหว+างปAนั้น ท+านว+าให( เอาเวลาซึ่งโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ นั้นได(มีขึ้นและสําเร็จจนควรเข(าอยู+ได(แล(วเท+านั้นมา เป=นเกณฑBคํานวณค+ารายปA ถ(าในระหว+างปAไม+มีโรงเรือนอื่นหรือสิ่งปลู กสร(างอย+างอื่น ๆ ในที่ดินนั้ นท+านให( กําหนดค+าภาษีเฉพาะเวลานั้นตามบทบัญญัติในภาค ๒ แห+งพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๓ ถ(าเจ(าของโรงเรือนใดติดตั้งส+วนควบที่สําคัญมีลักษณะเป=นเครื่องจักร กลไก เครื่องกระทําหรือเครื่องกําเนิดสินค(าเพื่อใช(ดําเนินการอุตสาหกรรมบางอย+าง เช+น โรงสี โรงเลื่อย ฯลฯ ขึ้นในโรงเรือนนั้นๆ ในการประเมิน ท+านให(ลดค+ารายปAลงเหลือหนึ่งในสามของค+ารายปA ของทรัพยBสินนั้นรวมทั้งส+วนควบดังกล+าวแล(วด(วย มาตรา ๑๔ เวลาซึ่งลดค+ารายปAตามภาคนี้ ท+านให(คํานวณแต+เดือนเต็ม มาตรา ๑๕ ในท( องที่ซึ่งได(จั ด ตั้ งสุขาภิ บาลแล( ว หรือจะตั้งขึ้ น ก็ ดี ท+ า นให( แบ+ ง ผลประโยชนBจากภาษีนั้น ระหว+างสุขาภิบาล (สองส+วนในสาม) กับรัฐบาล (หนึ่งส+วนในสาม) ค+าใช(จ+ายในการเก็บภาษีทุกอย+าง ท+านให(รัฐบาลเป=นผู(เสีย


ภาค ๒ ภาษีที่ดินซึ่งมิได(ใช(ต+อเนื่องกับโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ

มาตรา ๑๖ ค+าภาษีในภาค ๒ นี้ ให(ผู(รับประเมินชําระปAละครั้งตามค+ารายปAของ ทรัพยBสิน คือ ที่ดิน ซึ่งมิได(ใช(ต+อเนื่องกับโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ โดยอัตราร(อยละเจ็ดแห+ง ค+ารายปAนั้นๆ “ค+ารายปA” ตามภาค ๒ นี้ ท+านกําหนดว+าหนึ่งในยี่สิบแห+งราคาตลาดของทรัพยBสิน มาตรา ๑๗ ที่ดินดังต+อไปนี้ ท+านให(ยกเว(นจากบทบัญญัติแห+งภาคนี้ (๑) ที่ดินของรัฐบาลซึ่งใช(ในกิจการของรัฐบาลหรือสาธารณะ (๒) ที่ดินของโรงพยาบาลสาธารณะและโรงเรียนสาธารณะซึ่งกระทํากิจการอันมิใช+ เพื่อเป=นผลกําไรส+วนบุคคล และใช(เฉพาะในการรักษาพยาบาลและในการศึกษา (๓) ที่ดินซึ่งเป=นศาสนสมบัติอันใช(เฉพาะในศาสนกิจอย+างเดียว (๔) สุสานสาธารณะ


ภาค ๓ วิธีดําเนินการประเมินและจัดเก็บภาษี ซึ่งกล+าวในภาค ๑ และภาค ๒

หมวด ๑ การประเมิน

มาตรา ๑๘ ค+ารายปAของปAที่ล+วงแล(วนั้น ท+านให(เป=นหลักสําหรับการคํานวณค+าภาษี ซึ่งจะต(องเสียในปAต+อมา มาตรา ๑๙ ให(ผู(รับประเมินยื่นแบบพิมพBเพื่อแจ(งรายการทรัพยBสินต+อพนักงาน เจ(าหน(าที่ในท(องที่ซึ่งทรัพยBสินนั้นตั้งอยู+ภายในเดือนกุมภาพันธBของทุกปAแต+ถ(าในปAที่ล+วงมาแล(วมีเหตุ จําเป=นอันเกิดจากสาธารณภัยหรือเหตุพ(นวิสัยที่จะปQองกันได(โดยทั่วไป ให(ผู(ว+าราชการจังหวัดมีอํานาจ เลื่อนกําหนดเวลาดังกล+าวออกไปได(ตามที่เห็นสมควร ในกรณีที่พนักงานเจ(าหน(าที่ไม+ได(รับแบบพิมพBตามวรรคหนึ่งหรือในกรณีจําเป=นเพื่อ ประโยชนBในการจัดเก็บภาษี พนักงานเจ(าหน(าที่มีอํานาจมีหนังสือสอบถามผู(เช+าหรือผู(ครองทรัพยBสิน เพื่อให(ตอบข(อความตามแบบพิมพBเช+นเดียวกันได(และผู(เช+าหรือผู(ครองทรัพยBสินต(องตอบข(อสอบถาม ในแบบพิมพBดังกล+าว แล(วส+งคืนให(พนักงานเจ(าหน(าที่ภายในสามสิบวันนับแต+วันที่ได(รับหนังสือ สอบถาม ในกรณีเช+นนี้ผู(เช+าหรือผู(ครองทรัพยBสินต(องอยู+ในบทบังคับและมีความรับผิดเช+นเดียวกับ ผู(รับประเมินเพียงเท+าที่เกี่ยวกับการสอบถามข(อความ มาตรา ๒๐ ให(ผู(รับประเมิน ผู(เช+า หรือผู(ครองทรัพยBสินกรอกรายการในแบบพิมพB ตามความเป=นจริงตามความรู(เห็นของตนให(ครบถ(วน และรับรองความถูกต(องของข(อความดังกล+าว พร(อมทั้งลงวันที่ เดือน ปA และลายมือชื่อของตนกํากับไว( แล(วส+งคืนไปยังพนักงานเจ(าหน(าที่แห+งท(องที่ ที่ทรัพยBสินนั้นตั้งอยู+ การส+งแบบพิมพBตามวรรคหนึ่ง จะนําไปส+งด(วยตนเอง มอบหมายให(ผู(อื่นไปส+งแทน หรือส+งทางไปรษณียBลงทะเบียนถึงพนักงานเจ(าหน(าที่ก็ได( ในกรณีที่ส+งทางไปรษณียBลงทะเบียน ให(ถือว+าวันที่ส+งทางไปรษณียBเป=นวันยื่นแบบ พิมพB


มาตรา ๒๑ ท+านให(พนักงานเจ(าหน(าที่ตรวจพิจารณาแบบใบแจ(งรายการนี้และถ(า เห็นจําเป=นก็ให(มีอํานาจสั่งให(ผู(รับประเมินแสดงรายการเพิ่มเติมละเอียดยิ่งขึ้น และถ(าจะเรียกให(นํา พยานหลักฐานมาสนับสนุนข(อความในรายการนั้นก็เรียกได( มาตรา ๒๒ ถ(าพนักงานเจ(าหน(าที่มิได(รับคําตอบจากผู(รับประเมินภายในสิบวันหรือ ได(รั บคํ าตอบอัน ไม+ เพี ยงพอไซร( ท+า นให(มีอํานาจออกหมายเรีย กผู( รับประเมิ นมา ณ สถานที่ซึ่ง เห็นสมควร และให(นําพยานหลักฐานในเรื่องอสังหาริมทรัพยBนั้นๆ มาแสดงตามซึ่งเห็นจําเป=น กับให(มี อํานาจซักถามผู(รับประเมินในเรื่องใบแจ(งรายการนั้น มาตรา ๒๓ เพื่อประโยชนBในการประเมิน ให(พนักงานเจ(าหน(าที่มีอํานาจที่จะเข(าไป ตรวจตราทรัพยBสินได(ด(วยตนเองต+อหน(าผู(รับประเมิน ผู(เช+าหรือผู(ครอง หรือผู(แทน ระหว+างเวลาพระ อาทิตยBขึ้นและพระอาทิตยBตก และเมื่อผู(รับประเมิน ผู(เช+า หรือผู(ครอง ได(รับคําขอร(องแล(วก็จะต(องให( ความสะดวกตามสมควรแก+พนักงานเจ(าหน(าที่ในการตรวจตรานั้น ในการนี้ผู(รับประเมินผู(เช+า หรือผู( ครอง จะต(องได(รับแจ(งความเป=นลายลักษณBอักษรให(ทราบไม+ต่ํากว+าสี่สิบแปดชั่วโมงก+อนตรวจ มาตรา ๒๔ เมื่อได(ไต+สวนตรวจตราแล(ว ให(เป=นหน(าที่ของพนักงานเจ(าหน(าที่ที่จะ กําหนด (ก) ประเภทแห+งทรัพยBสินตามมาตรา ๖ (ข) ค+ารายปAแห+งทรัพยBสิน (ค) ค+าภาษีที่จะต(องเสีย ให(พนักงานเจ(าหน(าที่แจ(งรายการตามที่ได(กําหนดไว(นั้นไปยังพนักงานเก็บภาษีให( พนักงานเก็บภาษีแจ(งรายการประเมินไปให(ผู(รับประเมินทรัพยBสินในท(องที่ของตนทราบโดยมิชักช(า มาตรา ๒๔ ทวิ ผู(รับประเมินผู(ใดไม+ยื่นแบบพิมพBแสดงรายการเพื่อเสียภาษีโรงเรือน และที่ดินตามมาตรา ๑๙ หรือยื่นแบบพิมพBไม+ถูกต(องตามความจริงหรือไม+บริบูรณB ให(พนักงาน เจ( า หน( า ที่ มีอํา นาจประเมิ น และให( มีการแจ( งการประเมิ น ย( อนหลั งให( ผู( รับ ประเมิ น เสี ย ภาษี ต ามที่ พนักงานเจ(าหน(าที่ประเมินได( การประเมินตามวรรคหนึ่งให(กระทําได(ภายในกําหนดเวลา ดังต+อไปนี้ (๑) ในกรณีไม+ยื่นแบบพิมพB ให(พนักงานเจ(าหน(าที่มีอํานาจดําเนินการตามมาตรา ๒๔ ย(อนหลังได(ไม+เกินสิบปAนับแต+วันสุดท(ายแห+งระยะเวลาที่กําหนดให(ยื่นแบบพิมพBตามมาตรา ๑๙ (๒) ในกรณียื่นแบบพิมพBไม+ถูกต(องตามความจริงหรือไม+บริบูรณB ให(พนักงาน เจ(าหน(าที่มีอํานาจดําเนินการตามมาตรา ๒๔ ย(อนหลังได(ไม+เกินห(าปAนับแต+วันสุดท(ายแห+งระยะเวลาที่ กําหนดให(ยื่นแบบพิมพBตามมาตรา ๑๙


มาตรา ๒๕ ผู(รับประเมินผู(ใดไม+พอใจในการประเมินไซร( ท+านว+าอาจยื่นคําร(องต+อ อธิบดีกรมสรรพกรหรือสมุหเทศาภิบาล ตามแต+จะได(กําหนดไว( เพื่อขอให(พิจารณาการประเมินนั้น ใหม+ โดยวิธีการดังจะได(กล+าวต+อไป มาตรา ๒๖ คําร(องทุกๆ ฉบับ ให(เขียนในแบบพิมพBซึ่งกรมการอําเภอจ+าย เมื่อผู(รับ ประเมิ น ลงนามแล( ว ให( ส+ ง ต+ อ กรมการอํ า เภอในท( อ งที่ ซึ่ งทรั พยB สิ น นั้ น ตั้ งอยู+ ภ ายในเวลาสิ บ ห( า วั น นับ ตั้ งแต+ วัน ที่ ได( รั บแจ( งความตามมาตรา ๒๔ นั้ นเพื่ อให( ส+งต+ อไปยังอธิ บ ดี กรมสรรพากร หรื อ สมุหเทศาภิบาล แล(วแต+กรณี มาตรา ๒๗ ถ(าคําร(องยื่นภายหลังเวลาซึ่งกําหนดไว(ในมาตราก+อน ท+านให(อธิบดี กรมสรรพากรหรื อ สมุ ห เทศาภิ บ าลมี ห นั ง สื อ แจ( งความให( ผู( รั บ ประเมิ น ทราบว+ า หมดสิ ทธิ ที่จ ะให( พิจารณาการประเมินใหม+ และจํานวนเงินซึ่งประเมินไว(นั้นเป=นจํานวนเด็ดขาด เมื่อเป=นดังนี้ ห(ามไม+ให( นําคดีขึ้นสู+ศาล เว(นแต+ในปSญหาข(อกฎหมายซึ่งอ(างว+าเป=นเหตุหมดสิทธินั้น มาตรา ๒๘ เมื่ออธิบดีกรมสรรพากรหรือผู(แทน หรือสมุหเทศาภิบาลแล(วแต+กรณี ได( รับคําร(องแล(ว มีอํานาจออกหมายเรียกผู(ร(องมาซักถาม แต+ต(องให(ทราบล+วงหน(าไม+น(อยกว+าสิบวัน มาตรา ๒๙ ผู(ร(องผู(ใดไม+ปฏิบัติตามหมายเรียกของอธิบดีกรมสรรพากรหรือผู(แทน หรือสมุหเทศาภิบาล หรือไม+ยอมให(ซักถาม หรือไม+ตอบคําถาม หรือไม+นําพยานหลักฐานมาสนับสนุน คําร(องของตนเมื่อเรียกให(นํามา ท+านว+าผู(นั้นหมดสิทธิที่จะขอให(พิจารณาการประเมินใหม+และจํานวน เงินซึ่งประเมินไว(นั้นเป=นจํานวนเด็ดขาด แต+ทั้งนี้ไม+ให(เป=นการปลดเปลื้องผู(ร(องให(พ(นจากความรับผิด ในการแจ(งความเท็จโดยเจตนาหรือโดยที่รู(อยู+แล(วว+าเป=นเท็จ มาตรา ๓๐ คําชี้ขาดของอธิบดีกรมสรรพากร หรือสมุหเทศาภิบาลนั้นให(แจ(งไปยังผู( ร(องเป=นลายลักษณBอักษร ถ(ามีการลดจํานวนเงินที่ประเมินไว(เป=นจํานวนเท+าใด ก็ให(แจ(งไปยังพนักงาน เจ(าหน(าที่เพื่อจะได(แก(ไขบัญชีการประเมินตามคําชี้ขาดนั้น มาตรา ๓๑ ผู( รั บ ประเมิ น ผู( ใ ดไม+ พ อใจในคํ า ชี้ ข าดของอธิ บ ดี ก รมสรรพากรหรื อ สมุหเทศาภิบาล จะนําคดีไปสู+ศาลเพื่อแสดงให(ศาลเห็นว+าการประเมินนั้นไม+ถูกก็ได( แต+ต(องทําภายใน สามสิบวันนับแต+วันรับแจ(งความให(ทราบคําชี้ขาด


ถ(าอธิบดีกรมสรรพากร หรือสมุหเทศาภิบาลชี้ขาดว+าผู(รับประเมินหมดสิทธิที่จะให( การประเมินของตนได(รับพิจารณาใหม+ตามมาตรา ๒๙ ห(ามไม+ให(นําคดีขึ้นสู+ศาล เว(นแต+ในปSญหาข(อ กฎหมายซึ่งอ(างว+าเป=นเหตุหมดสิทธินั้น ในกรณีที่ผู(รับประเมินซึ่งเป=นรัฐวิสาหกิจไม+พอใจในคําชี้ขาดตามวรรคหนึ่งเนื่องจาก เห็ น ว+ า จํ า นวนเงิ น ซึ่ ง ประเมิ น ไว( นั้ น มี จํ า นวนที่ สู งเกิ น สมควรให( รั ฐ วิ ส าหกิ จ นั้ น นํ า เรื่ องเสนอ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาภายในสามสิบวันนับแต+วันที่ได(รับแจ(งคําชี้ขาดตามมาตรา ๓๐ ในการนี้ คณะรั ฐ มนตรี มีอํา นาจให( ล ดหย+ อนค+ า รายปA ให( แ ก+ รั ฐ วิ ส าหกิ จ นั้ น ได( ต ามที่ เ ห็ น สมควร มติ ของ คณะรัฐมนตรีให(เป=นที่สุด มาตรา ๓๒ เมื่อคําพิ พากษาที่สุดของศาลซึ่งแก(คําชี้ขาดของอธิบดีกรมสรรพากร หรือสมุหเทศาภิบาลนั้นได(ส+งไปให(พนักงานเจ(าหน(าที่ทราบแล(ว ให(พนักงานเจ(าหน(าที่แก(บัญชีการ ประเมินให(ถูกต(องโดยเร็ว มาตรา ๓๓ การขอยกเว(น ขอให(ปลดภาษี หรือขอลดค+าภาษีตามความในภาค ๑ และภาค ๒ นั้น ผู(รับประเมินต(องเขียนลงในแบบพิมพBที่ยื่นต+อกรมการอําเภอทุกๆ ปA พร(อมด(วย พยานหลักฐานที่จะสนับสนุน เพื่อว+าพนักงานเจ(าหน(าที่จะได(สามารถสอบสวนให(แน+นอนโดยการไต+ สวน หรือวิธีอื่นว+าคําร(องขอนั้นมีมูลดีและควรจะให(ยกเว(นหรือปลดหรือลดภาษีเพียงใดหรือไม+ มาตรา ๓๔ ถ(าพนักงานเจ(าหน(าที่สั่งยกคําขอยกเว(นหรือคําขอให(ปลดภาษีหรือลดค+า ภาษี ก็ให(แจ(งคําชี้ขาดไปยังผู(รับประเมิน และผู(รับประเมินมีสิทธิเช+นเดียวกับในเรื่องที่ได(บ+งไว(ใน หมวดนี้ที่ว+าด(วยการประเมิน มาตรา ๓๕ ในการกําหนดค+าภาษีนั้น เศษที่ต่ํากว+าครึ่งสตางคBให(ปSดทิ้งถ(าครึ่งสตางคB ขึ้นไป ให(นับเป=นหนึ่งสตางคB มาตรา ๓๖ หนังสือแจ(งความและหมายเรียกตามพระราชบัญญัตินี้ จะให(คนนําไปส+ง หรือจะส+งโดยทางจดหมายไปรษณียBลงทะเบียนก็ได( ถ(าให(คนนําไปส+ง เมื่อผู(ส+งไม+พบผู(รับไซร( จะส+ง ให(แก+บุคคลใด ซึ่งมีอายุเกินยี่สิบปAที่อยู+ในบ(านเรือนหรือสํานักการค(าของผู(รับก็ได( และการส+งเช+นนี้ให( ถือว+าเป=นการพอเพียงตามกฎหมาย ถ(าหาตัวผู(รับมิได(และไม+มีบุคคลที่จะรับดังกล+าวข(างบนไซร( ท+านว+าอาจส+งโดยวิธีปOด หนังสือแจ(งความหรือหมายนั้นในที่ที่เห็นได(ถนัดที่ประตูบ(านผู(รับหรือโฆษณาในหนังสือพิมพBท(องที่ก็ ได(


มาตรา ๓๗ ถ(าผู(รับประเมินจะต(องลงนามในแบบพิมพBใดตามพระราชบัญญัตินี้ ท+าน ว+าจะมอบฉันทะเป=นลายลักษณBอักษรให(ตัวแทนลงนามก็ได( ถ(าผู(รับประเมินได(รับหมายเรียกตัวตาม พระราชบัญญัตินี้ นอกจากที่กล+าวในหมายเรียกว+าต(องไปเอง ท+านว+าจะมอบฉันทะเป=นลายลักษณB อักษรให(ตัวแทนไปแทนตัวก็ได( แต+พนักงานเจ(าหน(าที่ต(องพอใจว+าผู(แทนนั้นได(รับมอบอํานาจโดยชอบตามประมวล กฎหมายแพ+งและพาณิชยB หมวด ๒ การเก็บภาษี

มาตรา ๓๘ ให( ผู( มีห น( า ที่เ สี ย ภาษี นํา ค+ า ภาษี ไปชํ า ระต+ อพนั กงานเก็ บภาษี ภ ายใน สามสิบวันนับแต+วันถัดจากวันที่ได(รับแจ(งการประเมิน ณ สํานักงานขององคBกรปกครองส+วนท(องถิ่นที่ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นตั้งอยู+ หรือสถานที่อื่นที่ผู(บริหารท(องถิ่นกําหนดโดยประกาศ ล+วงหน(าไว( ณ สํานักงานขององคBกรปกครองส+วนท(องถิ่นนั้นไม+น(อยกว+าสามสิบวัน การชําระภาษีจะชําระโดยการส+งธนาณัติ ตั๋วแลกเงินของธนาคารหรือเช็คที่ธนาคาร รับรอง ทางไปรษณียBลงทะเบียนไปยังสถานที่ตามวรรคหนึ่งก็ได( โดยสั่งจ+ายให(แก+องคBกรปกครองส+วน ท( อ งถิ่ น นั้ น ๆ หรื อ โดยการชํ า ระผ+ า นธนาคาร หรื อ โดยวิ ธี อื่ น ตามระเบี ย บที่ รั ฐ มนตรี ว+ า การ กระทรวงมหาดไทยกําหนด การชําระภาษีให(ถือว+าได(มีการชําระแล(วในวันที่พนักงานเก็บภาษีได(ลงลายมือชื่อใน ใบเสร็จรับเงิน เว(นแต+การชําระภาษีตามวรรคสอง ให(ถือว+าวันส+งทางไปรษณียB วันชําระผ+านธนาคาร หรือวันชําระโดยวิธีอื่นตามที่กําหนด แล(วแต+กรณี เป=นวันชําระภาษี มาตรา ๓๘ ทวิ การชํ า ระค+ า ภาษี ต ามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ รั ฐ มนตรี ว+ า การ กระทรวงมหาดไทยจะกําหนดให(มีการผ+อนชําระก็ได( วงเงินค+าภาษีที่จะมีสิทธิผ+อนชําระ รวมทั้งหลักเกณฑBและวิธีการในการผ+อนชําระ ให( เป=นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๙ ถ(ามีผู(ยื่นฟQองต+อศาลตามความในมาตรา ๓๑ ท+านห(ามมิให(ศาลประทับ เป=นฟQองตามกฎหมาย เว(นแต+จะเป=นที่พอใจศาลว+าผู(รับประเมินได(ชําระค+าภาษีทั้งสิ้นซึ่งถึงกําหนด ต(องชําระ เพราะเวลาซึ่งท+านให(ไว(ตามมาตรา ๓๘ นั้นได(สิ้นไปแล(ว หรือจะถึงกําหนดชําระระหว+างที่ คดียังอยู+ในศาล


ถ(าศาลตัดสินให(ลดค+าภาษี ท+านให(คืนเงินส+วนที่ลดนั้นภายในสามเดือนโดยไม+คิดค+า อย+างใด มาตรา ๔๐ ค+าภาษีนั้น ท+านให(เจ(าของทรัพยBสินเป=นผู(เสีย แต+ถ(าที่ดินและโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ เป=นของคนละเจ(าของ เจ(าของ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ต(องเสียค+าภาษีทั้งสิ้นในกรณีเช+นนั้นถ(าเจ(าของโรงเรือนหรือสิ่ง ปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ไม+เสียภาษีท+านว+าการขายทรัพยBสินทอดตลาดของผู(นั้นตามมาตรา ๔๔ ให(รวม ขายสิทธิใดๆ ในที่ดินอันเจ(าของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ยังคงมีอยู+นั้นด(วย มาตรา ๔๑ ถ(าผู(รับประเมินยื่นคําร(องและปรากฏว+าผู(รับประเมินได(เสียหายเพราะ ทรัพยBสินว+างลงหรือทรัพยBสินชํารุดถึงจําเป=นต(องซ+อมแซมในส+วนสําคัญ ท+านว+าพนักงานเจ(าหน(าที่จะ ลดค+าภาษีลงตามส+วนที่เสียหาย หรือปลดค+าภาษีทั้งหมดก็ได( ถ(าผู(ร(องไม+พอใจ ท+านว+าจะร(องขอให(อธิบดีกรมสรรพากรหรือสมุหเทศาภิบาล พิจารณาอีกชั้นหนึ่งก็ได( คําตัดสินของอธิบดีกรมสรรพากรหรือสมุหเทศาภิบาลนั้นท+านว+าเป=นคํา ตัดสินเด็ดขาด หมวด ๓ ค+าภาษีค(าง

มาตรา ๔๒ ถ(าค+าภาษีมิได(ชําระภายในเวลาที่ได(กําหนดในหมวด ๒ ไซร(ท+านว+าเงิน ค+าภาษีนั้นค(างชําระ มาตรา ๔๓ ถ(าเงินค+าภาษีค(างชําระ ท+านให(เพิ่มจํานวนขึ้นดังอัตราต+อไปนี้ (๑) ถ(าชําระไม+เกินหนึ่งเดือนนับแต+วันพ(นกําหนดเวลาที่บัญญัติไว(ในมาตรา ๓๘ ให( เพิ่มร(อยละสองครึ่งแห+งค+าภาษีที่ค(าง (๒) ถ(าเกินหนึ่งเดือนแต+ไม+เกินสองเดือน ให(เพิ่มร(อยละห(าแห+งค+าภาษีที่ค(าง (๓) ถ(าเกินสองเดือนแต+ไม+เกินสามเดือน ให(เพิ่มร(อยละเจ็ดครึ่งแห+งค+าภาษีที่ค(าง (๔) ถ(าเกินสามเดือนแต+ไม+เกินสี่เดือน ให(เพิ่มร(อยละสิบแห+งค+าภาษีที่ค(าง มาตรา ๔๔ ถ(ามิได(มีการชําระค+าภาษีและเงินเพิ่มภายในสี่เดือนตามมาตรา ๔๓ ให( ผู(บริหารท(องถิ่นมีอํานาจออกคําสั่งเป=นหนังสือให(ยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพยBสินของผู(ซึ่งค(าง


ชําระค+าภาษีเพื่อนําเงินมาชําระเป=นค+าภาษี เงินเพิ่ม ค+าธรรมเนียม และค+าใช(จ+ายโดยมิต(องขอให(ศาล สั่งหรือออกหมายยึด การยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพยBสินตามวรรคหนึ่ง ให(ปฏิบัติตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ+งโดยอนุโลม มาตรา ๔๕ ถ(าค+าภาษีค(างอยู+และยังมิได(ชําระขณะเมื่อทรัพยBสินได(โอนกรรมสิทธิ์ไป เป=นของเจ(าของใหม+โดยเหตุใดๆ ก็ตาม ท+านว+าเจ(าของคนเก+าและคนใหม+เป=นลูกหนี้ค+าภาษีนั้นร+วมกัน ภาค ๔ บทกําหนดโทษ

มาตรา ๔๖ ผู(ใดละเลยไม+แสดงข(อความตามที่กล+าวไว(ในมาตรา ๒๐ เว(นแต+จะเป=น ด(วยเหตุสุดวิสัย ท+านว+าผู(นั้นมีความผิดต(องระหว+างโทษปรับไม+เกินสองร(อยบาท มาตรา ๔๗ ผู(ใดโดยรู(อยู+แล(วหรือจงใจละเลยไม+ปฏิบัติตามหมายเรียกของพนักงาน เจ(าหน(าที่ไม+แจ(งรายการเพิ่มเติมละเอียดยิ่งขึ้นเมื่อเรียกร(องไม+นําพยานหลักฐานมาแสดง หรือไม+ตอบ คําถามเมื่อพนักงานเจ(าหน(าที่ซักถามตามความในมาตรา ๒๑ และ ๒๒ ท+านว+าผู(นั้นมีความผิดต(อง ระหว+างโทษปรับไม+เกินห(าร(อยบาท มาตรา ๔๘ ผู(ใด (ก) โดยรู(อยู+แล(วหรือจงใจยื่นข(อความเท็จ หรือให(ถ(อยคําเท็จ หรือตอบคําถามด(วย คําอันเป=นเท็จ หรือนําพยานหลักฐานเท็จมาแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงหรือจัดหาทางให(ผู(อื่นหลีกเลี่ยงการ คํานวณค+ารายปAแห+งทรัพยBสินตามที่ควรก็ดี (ข) โดยความเท็จ โดยเจตนาละเลย โดยฉ(อโกง โดยอุบาย หรือโดยวิธีการอย+างหนึ่ง อย+างใดทั้งสิ้นที่จะหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการคํานวณค+ารายปAแห+งทรัพยBสินของตนตามที่ ควรก็ดี ท+านว+าผู(นั้นมีความผิดต(องระหว+างโทษจําคุกไม+เกินหกเดือน หรือปรับไม+เกินห(าร(อย บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ประกาศมา ณ วันที่ ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๗๕ เป=นปAที่ ๘ ในรัชกาลปSจจุบัน


บัญชีแสดงท(องที่ใช(พระราชบัญญัติภาษี โรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๕

พระราชบัญญัตินี้ให(ใช(ในจังหวัดพระนคร ภายในเขตจัดการสุขาภิบาลดังได(ประกาศ เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๖๖ คือ ตามแนวฝSVงตะวัน ออกแม+น้ํ าเจ(า พระยา ตั้งแต+ ปากคลองสามเสนลงไปถึ งถนน สาทรฝSVงใต( เลียบไปตามถนนสาทร ถนนวิทยุ ตัดเส(นตรงไปคลองสามเสนเลียบไปตามคลองสามเสน ฝSVงใต( จนออกปากคลองบรรจบแนวฝSVงแม+น้ําเจ(าพระยาโดยรอบ กับให(มีอาณาเขตห+างจากถนนสาทรฝSVงใต( ถนนวิทยุ และเส(นตรงไปคลองสามเสน ออกไปทางทิศตะวันออกไปทางทิศใต(อีก ๑๕ เส(น พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดินแก(ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๕ มาตรา ๔ ตั้งแต+ พ.ศ. ๒๔๗๕ เป=นต(นไปให(ยกเลิกภาษีที่ดินซึ่งมิได(ใช(ต+อเนื่องกับ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร(างอย+างอื่นๆ ตามภาค ๒ มาตรา ๑๖,๑๗ แห+งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือน และที่ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๕ มาตรา ๕ ตั้ ง แต+ พ.ศ. ๒๔๗๕ เป= น ต( น ไปให( ล ดค+ า ภาษี ต ามมาตรา ๘ แห+ ง พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งกําหนดเก็บโดยอัตราร(อยละสิบห(าแห+ง ค+ารายปAลงเป=นเก็บโดยอัตราร(อยละสิบสองกึ่งแห+งค+ารายปA พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ ๓) พุทธศักราช ๒๔๘๕ มาตรา ๔ ให(รัฐมนตรีว+าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๙ บรรดาค+าภาษีโรงเรือนและที่ดินที่รัฐวิสาหกิจใดยังมิได(ดําเนินการชําระ หรือค(างชําระอยู+ก+อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช(บังคับ ให(รัฐวิสาหกิจนั้นชําระให(เสร็จสิ้นภายในหนึ่งปA นับแต+วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช(บังคับ แต+ในกรณีที่รัฐวิสาหกิจใดที่ค(างชําระค+าภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป=นรัฐวิสาหกิจที่ประกอบกิจการสาธารณูปโภค หรือสาธารณูปการตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด ก็ให( ค+าภาษีที่ค(างชําระนั้นเป=นอันพับไป


บทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ไม+ก+อให(เกิดสิทธิเรียกคืนค+าภาษีหากได(มีการชําระไปแล(ว ก+อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช(บังคับ มาตรา ๒๐ ผู( ใดมี ห น( า ที่เ สี ย ภาษี ให( แก+กรุ งเทพมหานคร เทศบาลเมื องพั ทยา สุขาภิบ าล หรื อองคBการบริห ารส+ วนจังหวัด แล( วแต+กรณี แต+ ยังมิ ได( ยื่นแบบพิมพB แสดงรายการ ทรัพยBสินเพื่อเสียภาษี หรือยังมิได(ชําระภาษี หรือชําระภาษียังไม+ครบถ(วน หากผู(นั้นได(ติดต+อขอชําระ ภาษีตามมาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ แห+งพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๕ และได(นําเงินค+าภาษีไปชําระต+อพนักงานเก็บภาษีภายในกําหนดหนึ่งปAนับแต+วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช( บังคับให(ผู(นั้นได(รับยกเว(นโทษทางอาญาและไม+ต(องเสียค+าปรับหรือเงินเพิ่มสําหรับเงินค+าภาษีในส+วนที่ มีอยู+ก+อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช(บังคับ มาตรา ๒ ๑ ให( รั ฐ มนตรี ว+ า การกระทรวงการคลั ง และรั ฐ มนตรี ว+ า การ กระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช(พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยเหตุที่การจัดเก็บภาษีในปSจจุบัน มีขั้นตอนมาก และยังมีวิธีการที่จํากัด อีกทั้งการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินจากรัฐวิสาหกิจยังไม+มี บทบัญญัติที่ชัดเจนและเป=นธรรมพอ ดังนั้น เพื่ออํานวยความสะดวกในการชําระภาษีและเพื่อให(การ คิดคํานวณภาษีเกิดความเป=นธรรมยิ่งขึ้น สมควรปรับปรุงวิธีการในการจัดเก็บและการชําระภาษีทั้ง ของรัฐวิสาหกิจและของประชาชนเสียใหม+ให(เหมาะสมยิ่งขึ้น นอกจากนั้น เพื่อเร+งรัดให(มีการชําระ ภาษีที่ค(างชําระเพื่อนําไปใช(ประโยชนBในการพัฒนาท(องถิ่นต+อไป สมควรกําหนดเวลาให(มีการนําภาษี ที่ค(างมาชําระภายในกําหนด โดยยกเว(นโทษทางอาญา รวมทั้งเงินเพิ่มและค+าปรับต+างๆ ให( จึง จําเป=นต(องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๓ มาตรา ๖ ในกรณี ที่ มี กฎหมายบั ญ ญั ติ ใ ห( ผู( รั บ ประเมิ น ยื่ น คํ า ร( อ งขอให( พิ จ ารณา ประเมินใหม+ได(ให(ผู(บริหารท(องถิ่นเป=นผู(ชี้ขาด เว(นแต+จะมีกฎหมายบัญญัติไว(เป=นอย+างอื่น ทั้งนี้ ผู(บริหารท(องถิ่นอาจมอบอํานาจและหน(าที่ดังกล+าวให(หน+วยงานอื่นของรัฐดําเนินการแทนก็ได( มาตรา ๗ ให(รัฐมนตรีว+าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช(พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติสภาตําบล และองคBการบริหารส+วนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ กําหนดให(มีองคBการบริหารส+วนตําบลและเป=นราชการ


ส+วนท(องถิ่นเพิ่มขึ้นอีกประเภทหนึ่ง สมควรแก(ไขเพิ่มเติมกฎหมายว+าด(วยภาษีโรงเรือนและที่ดิน เพื่อให(ครอบคลุมถึงการเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินในเขตองคBการบริหารส+วนตําบลนอกจากนี้โดยที่ ถ(อยคําเกี่ยวกับราชการส+วนท(องถิ่นในกฎหมายว+าด(วยภาษีโรงเรือนและที่ดินมีใช(อยู+หลายคําตาม รูปแบบของราชการส+วนท(องถิ่นซึ่งมีอยู+หลากหลาย สมควรปรับปรุงถ(อยคําดังกล+าวเพื่อให(ครอบคลุม ถึงราชการส+วนท(องถิ่นทุกประเภท จึงจําเป=นต(องตราพระราชบัญญัตินี้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.