CREATIVE STORIES Bangkok University and Our Outstanding Alumni

Page 1



CREATIVE STORIES Bangkok University and Our Outstanding Alumni


สารจากอธิการบดี

การสร้าง “คนไทย” ที่มีคุณภาพสามารถเป็นซีอีโอหรือผู้นำ�ระดับสูงสุดของบริษัทระดับชาติ คือความตั้งใจอันสำ�คัญที่ทำ�ให้ อาจารย์สุรัตน์ และอาจารย์ปองทิพย์ โอสถานุเคราะห์ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพขึ้นเมื่อ 50 ปีที่แล้ว เพื่อเปลี่ยนประเทศไทย ให้มีการพัฒนาอุดมศึกษาแบบใหม่โดยเอกชน เพื่อสร้างคนให้มาทำ�งานให้ธุรกิจภาคเอกชน เพื่อสร้างความแข็งแกร่งด้านเศรษฐกิจ ให้แก่ประเทศ เวลาผ่านไป 50 ปี ถึงวันนี้ราวกับอาจารย์สุรัตน์รู้ล่วงหน้าว่าประเทศไทยจะเป็นประเทศที่มีศักยภาพ เข้มแข็งและพัฒนาทาง ด้านเศรษฐกิจเช่นนี้ได้ก็ด้วยคุณภาพของภาคเอกชนที่มี “คน” คุณภาพนั่นเอง บัดนี้มหาวิทยาลัยกรุงเทพคือเพชรเม็ดงามในวงการอุดมศึกษาไทยที่ได้สร้างบัณฑิตมากกว่า หนึ่งแสนคน ล้วนประสบความสำ�เร็จ ในวงการต่างๆ และบางคนก็เป็นซีอีโอ เป็นผู้นำ� เป็นผู้บริหาร เป็นผู้สร้างธุรกิจ นับได้ว่าความตั้งใจของอาจารย์สุรัตน์ และอาจารย์ ปองทิพย์ โอสถานุเคราะห์ ได้บรรลุผลทุกประการ แม้โลกหมุนช้า แต่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยพลังความรู้ ความคิด และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี วิสัยทัศน์ของ มหาวิทยาลัยกรุงเทพจึงถูกปรับเปลี่ยนให้ก้าวล้ำ�เพื่อหาโจทย์ใหม่ที่เน้นความคิดสร้างสรรค์ เพื่อสร้างนวัตกรรมและต่อยอดไปยัง การสร้างธุรกิจเชือ่ มโยงสูอ่ ตุ สาหกรรมอันเป็นอนาคตของประเทศ ผลงานวิจยั และประสบการณ์ของผู้วจิ ยั ตลอดจนงานสร้างสรรค์ จะถูกนำ�กลับมาใช้ประกอบการเรียนการสอน ในรูปแบบที่ทันยุคสมัย เพื่อสร้างบัณฑิตใหม่ ๆ สำ�หรับอนาคตของประเทศไทยต่อไป ในโอกาสครบรอบ 50 ปี มหาวิทยาลัยกรุงเทพในปีนี้ มีศิษย์เก่าจำ�นวนหนึ่ง ซึ่งเป็นเสมือนผู้แทนของบัณฑิตจากมหาวิทยาลัย ที่สามารถยกย่องให้เป็นแบบอย่างได้ เพื่อเป็นกำ�ลังใจและเป็นแนวทางให้รุ่นน้องๆ หนังสือเล่มนี้จึงมีการรวบรวมข้อคิดด้านการ ทำ�งานกับความคิดสร้างสรรค์ และความสำ�เร็จในฐานะผู้สร้างและบริหารธุรกิจของศิษย์เก่าจากหลากหลายสาขาอาชีพปรากฏอยู่ ขอขอบคุณศิษย์เก่าทุกท่านที่ได้ให้เกียรติให้ความร่วมมือต่อการจัดทำ�หนังสือเล่มนี้อย่างกระตือรือร้น ความคิดที่ดีๆ ของผู้ที่ผ่าน ความสำ�เร็จมาแล้วเช่นนี้จะถูกจดจำ�และเป็นเสมือนสะพานเชื่อมโยงอดีตสู่อนาคต ซึ่งจะทำ�ให้ “มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัย สร้างสรรค์” ได้ทำ�หน้าที่ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาไทยที่มีคุณภาพ มีความเป็นผู้นำ�ตลอดไป ดร.มัทนา สานติวัตร อธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ


เรื่องราวของ ความสร้างสรรค์ที่ไม่เคยหยุดนิ่ง เพชร โอสถานุเคราะห์

“ถ้าจะเปรียบความคิดสร้างสรรค์กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในธรรมชาติ มันก็คงจะเป็นแสงที่เปล่งประกายออกมาจากวัตถุโปร่งใสอย่าง เพชร และสถาบันแห่งนี้ก็เปรียบเสมือนเพชรเม็ดงาม ที่ฉายแสงบรรเจิดมาตั้งแต่ต้น” 50 ปีที่แล้ว คุณพ่อและคุณแม่ของผม อาจารย์สุรัตน์ และอาจารย์ปองทิพย์ โอสถานุเคราะห์ ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพ อยากเห็นการศึกษารูปแบบใหม่ ที่แตกต่างไปจากรูปแบบเดิมๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทยในยุคนั้น


เรื่องราวของความสร้างสรรค์ของสถาบันแห่งนี้จึงได้เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ตอนนั้น... จากมุมมองของเด็กตัวเล็กๆ ที่ยืนชะเง้อสังเกตอย่างตื่นเต้น ผ่านหลังผูใ้ หญ่ในวันวางศิลาฤกษ์ของวิทยาลัยขนาดเล็กบนถนน พระรามสี่ ก้าวสู่ชุดนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผ่านสู่การ เป็นศิษย์เก่า กระทั่งก้าวขึ้นสู่บทบาทผู้บริหาร ผมมองเห็นการ เจริญเติบโตและการพัฒนา จนกระทั่งกลายเป็นมหาวิทยาลัย ชัน้ นำ�แห่งหนึง่ ของประเทศ และเห็นเรือ่ งราวแห่งความสร้างสรรค์ ที่ฉายแสงออกมาจากสถาบันแห่งนี้มากมาย

“ดีเอ็นเอของเรา... ก็คือความสร้างสรรค์”

นับจากจุดแรกเริ่ม ที่มีเป้าหมายที่จะสร้างหลักสูตรและผลิต บัณฑิตสำ�หรับภาคเอกชน ซึง่ แตกต่างอย่างชัดเจนจากสถาบัน ระดับอุดมศึกษาส่วนใหญ่ในยุคนัน้ ซึง่ มุง่ ป้อนบัณฑิตให้กบั ภาครัฐ เป็นหลัก มหาวิทยาลัยกรุงเทพเป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรก ในประเทศไทยที่เปิดสาขาวิชาบริหารธุรกิจ และสาขาวิชาการ โรงแรม เมื่อครึ่งศตวรรษก่อนหน้านี้! และได้มีศิษย์เก่ารุ่นแรกๆ ที่ออกไปสร้างชื่อเสียงในวงการมากมาย... นั่นคือจุดเริ่มต้นที่แท้จริงของจุดยืนในการเป็นมหาวิทยาลัย สร้างสรรค์แห่งแรกของประเทศไทย และจุดยืนนี้ ก็ได้มาจาก การย้อนไปมองดีเอ็นเอและตัวตนของเราทีเ่ ป็นมาอย่างต่อเนือ่ ง ตั้งแต่ต้นนั่นเอง ความสร้างสรรค์ในความหมายของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ หมายถึง ผมขอเล่าเกร็ดของ “เรื่องราวแห่งความสร้างสรรค์” เพียง ความคิดสร้างสรรค์ที่ตอบโจทย์ของโลก… รวมทั้งโลกธุรกิจ บางส่วนทีอ่ อกมาจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ โดยเน้นเฉพาะสิ่งที่ โลกแห่งบริการ... สื่อ... การออกแบบ... และเทคโนโลยี... ฯลฯ เกิดขึน้ ในช่วงประมาณสิบปีทผี่ า่ นมา จนถึงปัจจุบนั บางสิง่ บาง อย่างอาจจะเป็นเรื่องราวที่ท่านยังไม่เคยได้ยินมาก่อนก็ได้… และดีเอ็นเอของเรา ก็คือ ความสร้างสรรค์ (Creativity)! เริ่มที่ Technology Cluster… ผมแน่ใจว่าดีเอ็นเอนีม้ อี ยูใ่ นทุกสาขาวิชาและคณะของมหาวิทยาลัย บางท่านอาจจะไม่เคยรู้มาก่อนว่า มหาวิทยาลัยกรุงเทพมีคณะ ซึง่ ในปัจจุบนั นีม้ รี วม 11 คณะ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุม่ (Clusters) วิศวกรรมศาสตร์ และมีห้องปฏิบัติการหุ่นยนต์ (Robotics ได้แก่ Creative Media and Design, Creative Business Laboratory) ที่มีมาตรฐานสูง และทีมนักศึกษาจากคณะ and Management และ Creative Technology พร้อมทั้ง วิศวกรรมศาสตร์ เป็นทีมแรกจากประเทศไทยทีไ่ ด้รางวัลชนะเลิศ มีวิทยาลัยนานาชาติ (Bangkok University International ในการแข่งขันหุน่ ยนต์ระดับนานาชาติ Robocon ’99 ณ ประเทศ College) และบัณฑิตวิทยาลัย (Graduate School) ด้วย ญีป่ นุ่ ! แม้คณะวิศวกรรมศาสตร์ของเราจะไม่ใหญ่โต แต่กม็ คี วาม เข้มข้นและแตกต่างจากที่อื่น โดยมุ่งเน้นพัฒนานักศึกษาให้มี โดยมหาวิทยาลัยมีความแน่วแน่ในการสร้างหลักสูตรของแต่ละ ความ Creative และเป็น Innovator ในตัวตัวอย่างหนึ่งของ คณะ ให้เป็นหลักสูตรสร้างสรรค์ ที่ตรงกับเทรนด์และความ นวัตกรรม (Innovation) ของคณะคือ โครงการพัฒนาหุ่นยนต์ บริการ อันเป็นผลแห่งการเชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ ได้แก่ MK ต้องการของโลก ทั้งในปัจจุบันและอนาคตที่กำ�ลังจะมาถึง Restaurants ซึง่ มีศษิ ย์เก่าของมหาวิทยาลัยเป็นผูบ้ ริหาร ทำ�ให้ นอกจากนั้น การเรียนการสอนก็ยังเป็น Creative-based เกิดโครงการพัฒนาหุน่ ยนต์บริการต้นแบบทีส่ ามารถรับสัง่ อาหาร learning ทีเ่ ปิดโอกาสให้นกั ศึกษาในหลากหลายภาควิชาทำ�งาน ตัวแรกของประเทศไทยขึ้นมา! โดยรูปร่างหน้าตาของหุ่นยนต์ ร่วมกันเป็นทีมในรูปแบบโปรเจ็กต์ ซึง่ ใกล้เคียงกับบรรยากาศจริง นัน้ ออกแบบโดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ และจากปรากฏการณ์นี้ ในสาขาวิชาชีพต่างๆ โดยมีคณาจารย์ทมี่ คี วามรู้ และคณาจารย์ที่ ก็ทำ�ให้มีโครงการที่มหาวิทยาลัยจะร่วมทำ�กับ MK ต่อไป เป็นมืออาชีพเป็นผูค้ อยให้ค�ำ ปรึกษา ในบรรยากาศทีเ่ ปิดกว้าง… ในรูปแบบอื่นอีก คือร้านอาหารแห่งอนาคต ซึ่งออกแบบโดย ทีมงานจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ อันจะเป็น showcase ที่ แต่มีโจทย์และเป้าหมายชัดเจน… น่าจับตามองของผลงานต่างๆ จากรั้วมหาวิทยาลัยที่จะไหล ตามออกมาอีกหลายอย่างในอนาคตอันใกล้นี้…


ส่วนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก็ไม่เบา จากการที่เรา มีศูนย์บ่มเพาะนักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer Incubation Center) นักศึกษาของเราจึงสนุกสนานกับการได้ เรียนรูแ้ ละทดลอง มีการพัฒนาซอฟต์แวร์และออกแบบแอพพลิเคชัน จากความคิดสร้างสรรค์ของพวกเขาเอง ทำ�ให้เราได้เห็น ผลงานที่น่าสนใจหลายชิ้น เช่น ต้นแบบแอพพลิเคชันสำ�หรับ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำ�ท่วม นั่นหมายความว่า พวกเขาไม่ได้ เรียนรู้เพียงแต่เทคโนโลยีเท่านั้น แต่ยังรู้จักใช้เทคโนโลยีเป็น เครือ่ งมือในการสร้างสรรค์สงิ่ ทีเ่ ป็นประโยชน์ และช่วยแก้ปญ ั หา ที่เกิดขึ้นต่อมนุษย์ในสภาวะปัจจุบันอีกด้วย!

รางวัล Popular Vote ในเทศกาลภาพยนตร์สนั้ ครัง้ ที่ 12 จัดโดย มูลนิธิหนังไทย ในเวลาต่อมาค่าย GTH ได้นำ�บทภาพยนตร์นี้ ไปพัฒนาจนกลายเป็นภาพยนตร์เรือ่ ง “ความจำ�สัน้ แต่รกั ฉันยาว” นั่นเอง!

“ในฐานะมนุษย์พันธุ์ Creator ซึ่งเป็นอาชีพใหม่ที่เกิดขึ้นเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลก พวกเขาจะกลายเป็นนักคิด อยากเล่าถึงเรือ่ งราวสร้างสรรค์จากกลุม่ คณะ Creative Media ผู้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ในยุคที่โลก หมุนด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์!” and Design บ้าง หากคุณเคยชมละครเวทีของคณะนิเทศศาสตร์ ที่ Black Box Theatre ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ซึ่งเป็นโรงละครที่พิเศษสุด สำ�หรับการเรียนการสอนและสร้างสรรค์ละครแบบทดลอง (experimental theatre) คุณจะรู้สึกถึงพลังและความเป็น มืออาชีพของอาจารย์และนักศึกษาของที่นี่ จึงไม่น่าแปลกใจที่ BU Theatre Company ของภาควิชาศิลปะการแสดงได้รับ คัดเลือกจาก Apostrof เทศกาลละครระดับโลก ณ กรุงปราก สาธารณรัฐเช็คถึงสองครัง้ ได้แก่ นาฏกรรมร่วมสมัยเรือ่ ง “ระบำ� นิพพาน” (Dancing to Nirvana) ในปี 2550 ซึ่งมีเนื้อหา ลึกซึง้ ในเชิงจิตวิญญาณของพุทธศาสนา โดยเป็นคณะเดียวจาก เอเชียที่ได้รับคัดเลือกไปแสดง และในปี 2554 ก็ได้รับคัดเลือก จากเทศกาลดังกล่าว ให้เป็น 1 ใน 9 คณะละครจากทัว่ ทุกประเทศ และเพียงทีมเดียวจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเรื่อง “Kafka and I (and the Agony of Being in the Seemingly Democratic Country Where the Society Is Doomed to Collapse)” ซึ่งมีเนื้อหาเสียดสีแวดวงการเมืองและการศึกษา ของไทยได้อย่างเผ็ดร้อน ทั้งสองเรื่องที่กล่าวมาเป็นฝีมือการ เขียนบทและกำ�กับการแสดงชั้นเลิศของ ผศ.พรรณศักดิ์ สุขี

ทางด้านคณะศิลปกรรมศาสตร์ ซึง่ มีมอื อาชีพระดับแนวหน้าจาก วงการออกแบบสาขาต่างๆ มากมายมาร่วมสอน และอาจารย์ ประจำ�ของคณะเองก็มีความสามารถและผลงานสร้างสรรค์ใน ระดับแนวหน้า เช่น อาจารย์อรภาวดี เสรีวิวัฒนา ซึ่งเคยสร้าง ผลงาน Origami (ศิลปะการพับกระดาษ) ได้อย่างงดงามและ โดดเด่น จนได้รับเชิญจาก Louis Vuitton ในปี 2551 ให้ไป ซึ่งหากคุณได้ชมทั้งสองเรื่องแล้ว ก็แทบจะไม่เชื่อว่า นี่คือละคร สาธิตพร้อมจัดแสดงผลงาน ณ Louis Vuitton Store ในหลาย เวทีที่นักศึกษาเป็นผู้แสดง... ประเทศ อาจารย์คุณภาพเหล่านี้ทำ�หน้าที่เป็นทั้งต้นแบบและ แรงบันดาลใจให้นกั ศึกษา ของเรากระหายทีจ่ ะสร้างสรรค์ผลงาน ส่วนสาขาวิชาภาพยนตร์ ของคณะนิเทศศาสตร์ ปีนี้เราได้เปิด ที่เกิดจากความคิดของพวกเขาเอง Center for Cinematic and Digital Arts ศูนย์ผลิตภาพยนตร์ และผลงานดิจิตอลครบวงจร ซึ่งเป็นศูนย์รวมการเรียนรู้และ ในฐานะมนุษย์พันธุ์ Creator ซึ่งเป็นอาชีพใหม่ที่เกิดขึ้นเพื่อ สร้างสรรค์ภาพยนตร์ที่ทันสมัยเทียบเท่าระดับอาชีพ เรียกได้ว่า รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลก พวกเขาจะกลายเป็นนักคิด ดีที่สุดแห่งหนึ่งในแวดวงมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชีย สำ�หรับ ผูส้ ร้างปรากฏการณ์ใหม่ในยุคทีโ่ ลกหมุนด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์! นักศึกษาได้ใช้ฝึกจริงทำ�จริง โดยมีอาจารย์หลายท่านซึ่งเป็นผู้ กำ�กับมืออาชีพมาเป็นโค้ชให้ หนึง่ ในเรือ่ งราวแห่งความสร้างสรรค์ ทางด้าน Business and Management Cluster ก็มีทีม อันเป็นผลงานของนักศึกษาสาขาวิชาภาพยนตร์ ได้แก่ ภาพยนตร์ นักศึกษาหลายทีมที่กวาดรางวัลจากเวทีต่างๆ มามากมาย เรือ่ ง “Love You If Me Dare” ผลงานโดย ยศกร สงวนทรัพยากร ตัวอย่างหนึ่งที่น่ากล่าวถึงคือ ทีมนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ (เขียนบท) และ พิชญะ ไชยดี (กำ�กับ) ซึง่ ได้รบั รางวัลสุพรรณหงส์ ทีมใหญ่ ที่ชนะเลิศ รางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 ครัง้ ที่ 16 (ปี 2550) ประเภทภาพยนตร์สนั้ ดีเด่น และอีกเรือ่ งหนึง่ สาขาการเขียนแผนธุรกิจ ซึง่ เป็นการทำ�งานร่วมกันกับนักศึกษา คือ ภาพยนตร์เรื่อง “เวลา...รัก” โดย ขนิษญา ขวัญอยู่ ซึ่งได้รับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ด้วยการนำ�เสนอแผนธุรกิจสำ�หรับเครือ่ ง ให้อาหารสัตว์เลี้ยงโดยใช้มือถือสั่งงาน


“ความคิดสร้างสรรค์ดีๆ ที่สามารถตอบโจทย์ของโลก… ต่อยอดไปเป็นนวัตกรรมแล้วต่อท่อ ไปสู่โลกธุรกิจนั้น… อาจจะเกิดได้ยาก… หากเราขาดสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ (Creative Environment)” นอกจากนี้ ยังมีเรือ่ งราวทีเ่ ป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรสร้างสรรค์ ที่ริเริ่มโดยภาควิชาการตลาด คือ Creative Entrepreneurial Marketing Project (CEMP) ทีจ่ ดั ให้นกั ศึกษาแต่ละทีมช่วยกัน คิดคอนเซ็ฟต์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ควบคู่ไปกับการสร้างแผนธุรกิจ และการตลาดที่สามารถต่อยอดไปเป็นธุรกิจจริงได้ภายในระยะ เวลาสัน้ โดยมีการทำ�งานร่วมกับนักศึกษาคณะอืน่ เช่น นักศึกษา ศิลปกรรมศาสตร์ ที่ช่วยออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะนิเทศศาสตร์ ที่ช่วยคิดคอนเซ็ฟต์โฆษณา นักศึกษาคณะบัญชี ในการทำ�บัญชี ให้กับโปรเจ็กต์ ไปจนถึงนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ ในการช่วยหา ทางคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ฯลฯ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของ นักศึกษาโครงการ CEMP มีวางจำ�หน่ายจริงในท้องตลาด และ บางแบรนด์ประสบความสำ�เร็จถึงขัน้ ส่งออกต่างประเทศ อย่างเช่น ทุเรียนทอดหลากรสยีห่ อ้ คริสปีดู ทีข่ ายดิบขายดีอยูใ่ นประเทศจีน เป็นต้น อีกเรื่องราวแห่งความสร้างสรรค์ที่ผมจะเล่า...มาจาก วิทยาลัย นานาชาติ (Bangkok University International College -BUIC) ซึง่ มีนกั ศึกษาจากทัว่ โลกกว่า 50 ประเทศ... หนึง่ ในนัน้ คือ พีรกานต์ ศานติวรพงษ์ นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ และมัลติมีเดีย ผู้ชนะเลิศการประกวด “สิ่งมีชีวิต” (Spore Creature Creator) ระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค ในปี 2551! ทีน่ า่ สนใจก็คอื เขาไม่ได้เป็น “เด็กเรียน” มาตัง้ แต่ตน้ แต่เป็นเด็กที่ มีความคิดสร้างสรรค์! เราเลยได้มอบ “ทุน BU Creative” ซึง่ มีไว้เพือ่ นักศึกษาที่มีความคิดสร้างสรรค์โดดเด่นให้แก่เขา ตัวอย่างนี้ ชี้ให้เราเห็นว่าเมื่อนักศึกษาได้จับในสิ่งที่เขารักและสนใจ เขาก็ ย่อมที่จะทำ�มันได้อย่างยอดเยี่ยม แม้ว่าเขาจะไม่ได้เป็นเด็กที่เก่ง ในการเรียนก็ตาม!

ทางด้านนี้ สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) และ สาขาวิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ (Fashion and Textile Design) คณะศิลปกรรมศาสตร์ และ สาขาวิชาธุรกิจ การบิน (Airline Business Management) คณะมนุษยศาสตร์ และสาขาวิชาภาพยนตร์ ซึ่งได้กล่าวถึงในตอนต้นไปแล้ว นอกจากนีย้ งั จะมีคณะน้องใหม่ทนี่ า่ จับตามอง เพราะตรงกับจุดยืน ของมหาวิทยาลัยเป็นอย่างมาก ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ซึง่ มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะผลิตสถาปนิกและนักออกแบบสูเ่ วทีนานาชาติ และสุดท้าย… คณะการสร้างเจ้าของธุรกิจและการบริหารกิจการ (BUSEM) ซึ่งเป็นเสาหลักอีกอันหนึ่งที่จะมาเสริมภาพรวมของ มหาวิทยาลัย กล่าวได้ว่าเป็นการปักธงตามความตั้งใจเดิมของ ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งมีเป้าหมายที่จะสร้างบุคลากรให้แก่ ภาคธุรกิจ โดยมหาวิทยาลัยได้สร้างหลักสูตรร่วมกับ Babson College สหรัฐอเมริกา สถาบันอันดับหนึ่งของโลกมาตลอด 19 ปี ในสาขาเจ้าของกิจการ (Entrepreneurship) เจ้าของ ธุรกิจระดับโลกหลายท่านเป็นศิษย์เก่าจากที่นั่น รวมทั้งผู้ก่อตั้ง มหาวิทยาลัย คือคุณพ่อของผมเอง ซึ่งเคยเป็นนักศึกษาไทย คนแรกทีไ่ ปเรียนที่ Babson ทำ�ให้เรามัน่ ใจได้วา่ หลักสูตรของเรา จะเป็นหลักสูตรการเป็นเจ้าของกิจการที่ดีที่สุดในประเทศไทย และในอาเซียนอย่างแน่นอน! การเป็นผู้ประกอบการ ไม่ได้หมายความว่านักศึกษาทุกคนจะ ต้องก้าวไปเป็นเจ้าของกิจการเสมอไป แต่ต้องมีความรู้สึกและ หัวใจแบบเจ้าของ หรือเรียกว่า “จิตวิญญาณของผูป้ ระกอบการ” (Entrepreneurial Spirit) ซึง่ เราอยากทีจ่ ะบ่มเพาะให้เบ่งบาน และเป็นอีกด้านหนึ่งของอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และของ นักศึกษาทุกคนในอนาคตอันใกล้ด้วย

แต่ความคิดสร้างสรรค์ดๆี ทีส่ ามารถตอบโจทย์ของโลก… ต่อยอด ไปเป็นนวัตกรรม แล้วต่อท่อไปสูโ่ ลกธุรกิจนัน้ …อาจจะเกิดได้ยาก… หากเราขาด สิง่ แวดล้อมสร้างสรรค์ (Creative Environment) ในมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์แห่งนี้ เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์ ทันสมัย (Facilities) และสิง่ แวดล้อมต่างๆ ทีม่ เี พือ่ เอือ้ อำ�นวยให้ ความคิดสร้างสรรค์ของทุกคนในรัว้ มหาวิทยาลัยพุง่ กระฉูด! อาทิ มหาวิทยาลัยสร้างสรรค์แห่งนี้มีหลักสูตรและภาควิชาใหม่ๆ ที่ หอสมุดสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ ซึ่งเป็นศูนย์รวมแห่งองค์ความรู้ น่าสนใจ ซึง่ ได้เกิดขึน้ ภายใน 10 ปีทผี่ า่ นมา อาทิ Multimedia and ทีท่ นั สมัยขนาดใหญ่ ทัง้ ในรูปแบบข้อมูลทีเ่ ป็นหนังสือตำ�รา และ Internet คณะวิศวกรรมศาสตร์ ซึง่ เป็นหลักสูตรแรกในประเทศ ฐานข้อมูลออนไลน์จากทัว่ ทุกมุมโลก สำ�หรับใช้ในการค้นคว้าวิจยั


ทางมหาวิทยาลัยคาดหวังว่าสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ต่างๆ นี้ จะช่วยเป็นแรงบันดาลใจให้นักศึกษา และช่วยกระตุ้นให้สมอง ของพวกเขาตื่นตัว พร้อมที่จะเกิดความคิดสร้างสรรค์กันวันละ หลายความคิด! นอกจากนัน้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ยังมี Center of Excellence หลายแห่ง ทีเ่ ป็นเสมือนหน่วยคอมแมนโดสร้างสรรค์พเิ ศษ ทีจ่ ะ ช่วยผลักดันให้ผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษาและอาจารย์ตอ่ ยอด ได้อย่างเป็นรูปธรรม ตลอดจนเชือ่ มโยงกับวงการต่างๆ ภายนอก และช่วยขับเคลื่อนให้เราเดินก้าวต่อไปในฐานะมหาวิทยาลัย สร้างสรรค์ อาทิ Institute for Creative Economy (ICE), Creative Entrepreneurship Development Institute (CEDI), และ International Institute for Asia-Pacific Studies (INSAPS) เป็นต้น ภายในอาคารหอสมุดยังมี โรงภาพยนตร์ และในอนาคตอันใกล้ ก็ยังจะมี International Center ซึ่งจะเป็นศูนย์กลางของการ เรียนรูด้ า้ นวัฒนธรรมนานาชาติและภาษา อยูภ่ ายในอาคารหอสมุด นีด้ ว้ ย… หอศิลป์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (Bangkok University Gallery) ซึง่ มีหน้าทีจ่ ดั นิทรรศการทัง้ ด้านศิลปะ การออกแบบต่างๆ… พิพธิ ภัณฑสถานเครือ่ งถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEACM) ซึ่งมีคอลเล็กชั่นเครื่องถ้วยสุโขทัยที่นับได้ว่ายอดเยี่ยมที่สุด ในโลก… ไปจนถึง Imagine Lounge (สถานทีซ่ งึ่ ผมนัง่ อยูใ่ นภาพ) ซึง่ เป็นพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์แนวใหม่สำ�หรับนักศึกษาไว้นงั่ ทำ�งานและ พักผ่อนในยามว่าง ที่อาจเรียกได้ว่าเป็น Student Lounge ที่ ครีเอทีฟและแหวกแนวที่สุดแห่งหนึ่งในโลก!... Tourism Tower อาคารที่มีความสูงที่สุดในวิทยาเขตรังสิต เป็นสุดยอดอาคารปฏิบัติการ และศูนย์รวมความรู้ด้านธุรกิจ ท่องเที่ยวและบริการที่ล้ำ�สมัยและครบวงจร เพื่อสนับสนุนให้ นักศึกษาของเราได้ฝึกทำ�งานจริง ในแล็ปปฏิบัติการด้านการ โรงแรม การท่องเที่ยว MICE การบริหารจัดการภัตตาคาร การ จัดการธุรกิจสายการบิน และภาษา เพือ่ เตรียมความพร้อมให้กบั นักศึกษาในการก้าวสู่การเป็นแถวหน้าในแวดวง Service Business ในอาคาร Tourism Tower จะมีทั้งโรงแรม สปา บริษัททัวร์ ห้องเรียนภัตตาคารที่ทันสมัย พร้อมด้วยอุปกรณ์ที่ ส่งเสริมการเรียนรู้ แม้กระทัง่ เครือ่ งบิน Boeing 787 Dreamliner เครื่องบินแห่งอนาคต...ก็ยังถูกจำ�ลองอยู่บนชั้นสูงสุดของตึก! …และทีเ่ ป็นทีน่ า่ ตืน่ ตาตืน่ ใจของผูค้ นทัง้ ในแคมปัส และคนทีน่ งั่ รถ ผ่านด้านหน้ามหาวิทยาลัยก็คอื กลุม่ อาคาร BU Diamond หรือ ทีเ่ รียกกันจนติดปากว่า “ตึกเพชร” ออกแบบโดย Architects 49 ซึ่งมีลักษณะคล้ายเพชรสองสามก้อนขนาดมหึมาจับกลุ่มกันอยู่ เป็นหนึ่งในอาคารหลายแห่งของมหาวิทยาลัยที่ได้รับรางวัล สถาปัตยกรรมดีเด่น โดย “ตึกเพชร” นี้ได้รับรางวัลเหรียญทอง ระดับนานาชาติ The Arcasia Awards 2011 และอาจถือได้ว่า เป็น creative icon ด้านสถาปัตยกรรมทั้งของประเทศไทย และในระดับนานาชาติเลยทีเดียว!

มหาวิทยาลัยสร้างสรรค์ อย่างมหาวิทยาลัยกรุงเทพ มีหน้าที่ เพียงบ่มเพาะ สนับสนุน และผลักดัน นักศึกษาบางคน อาจไม่ได้ เบ่งบาน โดดเด่นตั้งแต่ในรั้วมหาวิทยาลัย แต่พวกเขาจะมีสิ่งที่ ติดตัวไป นั่นคือวิธีคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยอาศัย หลักการคิด องค์ความรู้ และประสบการณ์ทไี่ ด้รบั จากการเรียน รู้และปฏิบัติจริง

“นักศึกษาบางคน อาจไม่ได้เบ่งบาน โดดเด่นตั้งแต่ในรั้วมหาวิทยาลัย แต่พวกเขาจะมีสิ่งที่ติดตัวไป นั่นคือวิธีคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์”

ผมเชื่อว่าภายในตัวของนักศึกษาแทบทุกคนและทุกรุ่นของ มหาวิทยาลัยกรุงเทพนั้น มีเพชรซ่อนอยู่ ขึ้นอยู่ว่าเพชรเม็ดนั้น จะฉายแสงเมื่อใดและบรรเจิดแค่ไหน! มาอ่านคำ�บอกเล่า... “เรือ่ งราวแห่งความสร้างสรรค์” ของเพชร ที่ฉายแสงโดดเด่น นั่นคือ ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่ได้ สร้างชื่อเสียง และมีบทบาทสำ�คัญในการขับเคลื่อนทุกวงการ ทั้งวงการธุรกิจ วงการสื่อสารมวลชน แวดวงโฆษณา วงการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แวดวงกฎหมาย แวดวงวิศวกรรม และแวดวงบันเทิง ฯลฯ


ผมภูมิใจที่จะกล่าวว่า.. “ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นดังเพชรที่ได้รับการเจียระไน ทั้งในรั้วมหาวิทยาลัย และในอาชีพการงาน พร้อมด้วยความอุตสาหะและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง จนเปล่งประกายฉายแสงบรรเจิด และเป็นแรงขับเคลือ่ นให้โลกหมุนไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยัง้ ! เฉกเช่นที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ดำ�เนินมาเป็นเวลา 50 ปี และจะมุ่งมั่นต่อไปในอนาคต เราจะร่วมมือร่วมใจกันสร้าง เรื่องราวแห่งความสร้างสรรค์ที่ไม่เคยหยุดนิ่ง! ....”


MOST DISTINGUISHED ALUMNUS

DIAMOND HALL OF FAME



ดร.ธนู กุลชล Dr. Thanu Kulachol อธิการบดีกิตติคุณมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประธานกรรมการ บริษัท ไทยโพลีคอนส์ จำ�กัด (มหาชน) (อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี พ.ศ. 2531-พ.ศ. 2550) President Emeritus, Bangkok University Chairman, Thai Polycons Public Co., Ltd. รุ่น 5 / ปีที่สำ�เร็จการศึกษา 2514 คณะบริหารธุรกิจ

“ความคิดในการเปิดวิทยาเขตที่รังสิต เป็นหนึ่งในความคิดสร้างสรรค์ และความสำ�เร็จที่ภาคภูมิใจ” การศึกษานั้น...เป็นวิถีทางที่ทำ�ให้คนได้ก้าวไปในอาชีพและการมีพื้นฐานชีวิตที่ดี โดยลำ�พัง...การศึกษาไม่ใช่หนทางเดียวที่จะทำ�ให้คนประสบความสำ�เร็จ เแต่อย่างไรก็ตาม...การศึกษาถือเป็นสิ่งสำ�คัญ

Most Distinguished Alumnus Diamond Hall of Fame


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.