รอยธรรม ...ไทอีสาน
พระธาตุพนม ปฐมบรมสารีริกธาตุเจดีย์ บนผืนแผ่นดินไทย
พระพุทธศาสนามาถึงผืนแผ่นดินอีสานอย่างไร ? หลักฐานไหน ? ถือเป็นหลักฐานการเข้ามาถึงของพระพุทธศาสนาในอีสาน ? พระธาตุพนม ปฐมบรมสารีรกิ ธาตุเจดียบ์ นผืนแผ่นดินไทย บุญปฏิบัติบูชาลาพรรษา ที่พระธาตุพนม พุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ ปัญญา – จารีต – ศีลธรรม : ข่วงผญา กับ ฮีต ๑๒ คอง ๑๔ อารยะประเพณีพระพุทธศาสนาแสนงามของคนอีสาน กับ ๕ ประเพณีบุญบูชาแนะนำ� แนะนำ� ๖ กลุ่มเส้น่ ทางเรียนรู้และบูชาพระพุทธศาสนาในภาคอีสาน
๑
มาถึ ง แผ่ น ดิ น อี ส านอย่ า งไร ? แผนที่ตั้งพระธาตุพนม และชุมชนโบราณ
ตามหลักฐานประวัติศาสตร์โบราณคดีและพงศาวดาร พระพุทธศาสนา เชื่อกันว่า พระพุ ท ธศาสนาน่ า จะมาถึง ผื น แผ่ น ดิ น ไทยโบราณใน คาบสมุทรเอเชียอาคเนย์ตง้ั แต่ สมัยพุทธกาล โดยมีหลักฐาน การเดิ น ทางติ ด ต่ อ ค้ า ขาย เผยแผ่และจาริกแสวงบุญของ ผู้คนที่เชื่อได้ว่ามีการนำ�ศาสนา ศรัทธา ความเชื่อเข้ามาด้วย แล้ว ด้วยบันทึกแรกสุดคือการ เข้ามายังสุวรรณภูมิของพระ โสณะและพระอุตตระ ในสมัย พระเจ้าอโศกมหาราชเมือ่ พุทธศตวรรษที่ ๓ ก่อนที่จ ะค่ อ ย ๆ ข ย า ย ตั ว ย ก ระดั บ จนแพร่ หลายถึ ง ขั้ น สถาปนามั่ น คง เมื่อประมาณพุ ท ธศตวรรษ ๒
ที่ ๙ – ๑๒ ในนามของ อารยธรรมทวารวดี ที่ แ พร่ หลายทั่ ว พื้ น ที่ ป ระเทศไทย ปั จ จุ บ ั น โดยเฉพาะในเขต ที่ราบลุ่มแม่น้ำ�เพชรบุรี แม่ กลอง ท่าจีน เจ้าพระยา ลพบุรี ป่าสัก และ บางปะกง โดยพบหลัก ฐานว่าพระพุทธศ า ส น า น่ า จ ะ แ ผ่ ผ่ า น ลุ่ ม น้ำ�ป่าสักจากเขตพื้นที่ลพบุรีเพชรบูรณ์ปัจจุบัน ข้ามเทือก เขาเพชรบู ร ณ์ แ ละป่ า ดงดิ บ ที่ ต่ อ เนื่ อ งจากดงพญาเย็ น ดงพญาไฟสู่ ที่ ร าบสู ง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือในพื้นที่ ๔ จังหวัดตะเข็บชายแดนภาค กลาง-เหนือ กับ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ คือ นครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น และ เลย
หลักฐานทางโบราณคดี สำ � คั ญ ของการเข้ า มาถึ ง แผ่ น ดินอีสานของพระพุทธศาสนา เมื่อสมัยทวารวดี มีกระจาย ทั่วทั้งภาคใน ๓ เขตลุ่มน้ำ� สำ�คัญ คือ ลุ่มแม่น้ำ�ชี ลุ่ม แม่น้ำ�มูล และ ลุ่มแม่น้ำ�โขง ประกอบด้วย ใบเสมาจารึก ธรรมจักร พระพุทธบาท และ พระพุ ท ธรู ป โดยเฉพาะพระ ไสยาสน์ ที่พบหนาแน่นมากที่ สุดในเขตลุ่มแม่นำ�้ ชีซึ่งมีต้นน้ำ� ต่ อ เนื่ อ งกั บ พื้ น ที่ ลุ่ ม นำ้� ป่ า สั ก ตั้ ง แต่ จั ง หวั ด นครราชสี ม า ชัยภูมิ ขอนแก่น กาฬสินธุ ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ลงมา บรรจบแม่ น้ำ � มู ล ซึ่ ง พบน้ อ ย ที่สุดที่อำ�เภอสูงเนิน ส่วนลุ่ม ชายฝั่งแม่น้ำ�โขงตอนเหนือพบ
หลั ก ฐานไหน ?
พระพิมพ์กรุพระธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
ถื อ เป็ น หลั ก ฐานการเข้ า มาของพระพุ ท ธศาสนาในอี ส าน ? ใบเสมา สลักภาพพุทธประวัติตอนเสด็จกรุงกบิลพัสดุ์ พบที่เมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธ์ุ
มากที ่ ไหล่ เขาภู พ าน จั ง หวัด อุดรธานี ในแอ่งสกลนคร และ นครพนม โดยเฉพาะที่ควรค่า แก่ ก ารเดิ น ทางไปนมั ส การ ศึ ก ษาเรี ย นรู้ ร อยศรั ท ธาพระ พุ ท ธศาสนาที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ใน ภาคอีสาน เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๐ – ๑๕ ประกอบ ด้วย พระพุทธรูปปางแสดง ธรรม ที่จังหวัดนครราชสีมา กลุ่ ม ธรรมจั ก รและ พระพุทธไสยาสน์ วัดธรรมจักร เสมาราม เมืองเสมา อำ�เภอ สูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ๒ จารึกคาถาเยธัมมา หั ว ใจพระพุ ท ธศาสนา พบที่ จังหวัดชัยภูมิ หรือ นครราชสีมา ดงเสมาและพระธาตุ
ยาคู ที่เมืองฟ้าแดดสงยาง วัด โพธิช์ ยั เสมาราม จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุม่ เสมาทวารวดีจาก ทัว่ ภาคอีสาน พระบรมสารีรกิ ธาตุและพระพิมพ์จากกรุพระ ธาตุนาดูน เมืองนครจำ�ปาศรี จังหวัดมหาสารคาม ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น กลุ่ ม เสมาพระพุ ท ธบาทบัวบานบนอุทยานประวัต-ิ ศาสตร์ภูพระบาท และ วัดโนน ศิลาอาสน์ จังหวัดอุดรธานี พระพุ ท ธไสยาสน์ ภู ปอ ภูค่าว จังหวัดกาฬสินธุ์ รอยพระพุทธบาทบัว บาน-บัวบก-หลังเต่า จังหวัด อุดรธานี และ พระธาตุเชิงชุม จังหวัดสกลนคร โดยอีกกระแสที่ขึ้นมา
พระพุทธไสยาสน์ ภูปอ จังหวัดกาฬสินธุ์
จากเขตเมืองพระนคร ศรียโสธร ปุระ หรือ กัมพูชา ในสมัยต่อ มาหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๕ แล้ว ปรากฏเป็นหลักฐานปราสาท หิ น จำ � นวนมากตามตะเข็ บ ชายแดนไทย-เขมรตั้ ง แ ต่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี มีที่ไกล เข้าไปถึงร้อยเอ็ด ชัยภูมิ จนถึง สกลนครก็มี โดยส่วนใหญ่เป็น พุทธศาสนามหายาน สำ�หรับพระธาตุพนม นัน้ มีต�ำ นานการก่อสร้างตัง้ แต่ พุทธศักราชที่ ๘ แต่หลักฐาน ทางโบราณคดี ก ลั บ พบมี อ ายุ เพียงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๔ เท่านั้น โดยเฉพาะภาพสลักอิฐ เรียงและแกะสลักแบบโบราณ ทัง้ ๔ ด้านของฐานองค์พระธาตุ ๓
บนผืนแผ่นดินไทย ภาพการบูรณะองค์พระธาตุพระพนมในสมัยแรกๆ
รูปแบบคล้ายศิลปะทวารวดี แบบฝีมือช่างพื้นเมืองที่บาง ฝ่ายเชื่อว่าอาจมีอิทธิพลจาก จาม ผ่านการบูรณปฏิสังขรณ์ หลายครั้ง โดยเฉพาะในสมัย ของพระเจ้าโพธิสารราชแห่ง อาณาจักรล้านช้าง ราว พ.ศ. ๒๐๗๒ – ๒๑๐๓ การบู ร ณะ ของท่ า นราชครู โ พนสะเม็ ก จากเมืองเวียงจันทน์ เมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๓ – ๒๒๓๕ ที่เชื่อว่านำ� รู ป แบบส่ ว นยอดมาจากพระ ธาตุ ห ลวงนครเวี ย งจั น ทน์ ม า บูรณะจนเป็นรูปแบบขององค์ พระธาตุพนมที่เป็นเอกลักษณ์ สื บ ทอดมาเป็ น แบบฉบั บ การ สร้ า งพระธาตุ ใ นเขตอี ส าน ตอนบน จนกระทัง่ มีการบูรณะ อีกครัง้ ในปีพ.ศ.๒๔๔๔ เมือ่ พระ ๔
อุปชั ฌาย์ทา พระอาจารย์เสาร์ และ พระอาจารย์มน่ั กับคณะ ได้ ธุ ด งค์ ม าถึ ง แล้ ว อาราธนา นิมนต์พระครูวิโรจน์รัตโนบล (พระครูดโี ลด) เจ้าคณะจังหวัด อุบลราชธานี ผูม้ คี วามรูท้ างการ ช่างมาซ่อมแซมก่อนที่รัฐบาล สมัยของจอมพล ป.พิบูลสงคราม จะบูรณะอีกครั้งในปี พ.ศ.๒๔๘๓ ด้วยการเทคอนกรีต เสริมเหล็กจากส่วนเหนือฐาน ถึงยอดพระธาตุแล้วต่อขึ้นไป อีก ๑๐ เมตร กับยังเพิ่มฉัตร ทองคำ�ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ จน องค์ พ ระธาตุ ล้ ม ลงเมื่ อ วั น ที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๘ ก่อน ที่ ก รมศิ ล ปากรจะบูรณะใหม่ ตามรูปแบบเดิม เสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๒๒
แ ต่ ใ น อุ รั ง ค นิ ท า น ตำ�นานพระธาตุพนมได้กล่าว ถึ ง พุ ท ธประวั ติ ว่ า เมื่ อ สมั ย ปัจฉิมโพธิกาล พระพุทธองค์ มีพระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะ ได้ เ สด็ จ มาทางทิ ศ ตะวั น ออก โดยทางอากาศมาลงทีด่ อนกอนเนา แล้วเสด็จไปหนองคันแท เสื้อน้ำ�(เวียงจันทน์) ทำ�นายว่า จะเกิดบ้านเมืองใหญ่ที่ตั้งพระ พุทธศาสนา แล้วล่องลงมาโดย ลำ�ดับ ประทานรอยพระบาทที่ โพนฉันโปรดสุขหัตถีนาค (พระ บาทโพนฉั น ตรงข้ า มอำ � เภอ โพนพิสัย จังหวัดหนองคาย) แล้วมาพระบาทเวินปลา (เหนือ เมืองนครพนม) ทำ�นายทีต่ ง้ั เมือง มรุ ก ขนครมาประทั บ แรมที่ ภูกำ�พร้า ๑ ราตรีรุ่งเช้าเสด็จ
รูปปั้นพระครูโพนสะเม็ก หรือ ยาคูขี้หอม แห่งลุ่มน้ำ�โขง
ข้ า มไปบิ ณ ฑบาตที่ เ มื อ งศรี โคตรบูร พักอยู่ร่มต้นรัง (พระ ธาตุอิงฮัง เมืองสะหวันนะเขต) แล้วกลับมาทำ�ภัตตกิจทีภ่ กู �ำ พร้า ทางอากาศ ทรงพยากรณ์ถึง ประเพณีของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์ทแ่ี ล้วในภัททกัปนี้ (กกุสนั โธ โกนาคมและกัสสปะ) ที่ นิ พ พานแล้ ว สาวกย่ อ มนำ� เอาพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ม า บรรจุไว้ ณ ภูกำ�พร้า เมื่อพระ องค์นพิ พานแล้ว กัสสปะผูเ้ ป็น สาวกจะนำ�เอาพระบรมสารีริกธาตุ ม าบรรจุ เช่ น เดี ย วกั น ตรั ส ปรารภเมื อ งศรี โ คตรบู ร และมรุ กขนคร แล้ ว เสด็ จ ไป หนองหานหลวงเทศนาโปรด พญาสุ ว รรณภิงคารและพระ นางเทวี ประทานรอยพระบาท
ไว้ ณ ที่น ั้น แล้ว กลับ สู่พระ เชตวัน ก่อนจะปรินิพพานที่ กุสินารานคร ครั้นมัลลกษัตริย์ ถวายพระเพลิงและพระมหา กัสสปะนำ�พระสงฆ์กระทำ�เวียน ประทักษิณแล้วอธิษฐานขอ พระธาตุ ไ ปประดิ ษ ฐานที่ ภู กำ�พร้า แล้วพระบรมอุรงั คธาตุ ก็เสด็จออกมาอยู่บนฝ่ามือขวา เป็นอัศจรรย์ หลังการถวายพระ เพลิงและแจกพระธาตุ เรี ย บ ร้อยแล้ว พระมหากัสสปะพร้อม ด้วยพระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ ก็ อ ั ญ เชิ ญ พระอุ ร ั ง คธาตุมา โดยทางอากาศ ลงทีด่ อยแท่น (ภูเพ็ก อำ�เภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร) ไปบิณฑบาต ที่ เ มื อ งหนองหานหลวงเพื่ อ บอกกล่ า วแก่ พ ญาสุ ว รรณ-
ภิงคาร ที่กำ�ลังให้ชายและหญิง แข่ ง กั น สร้ า งพระธาตุ ที่ ภู เ พ็ ก และในสวนอุ ท ยาน(นางเวง) เพื่ อ รอรั บ ส่ ว นแบ่ ง พระบรมสารีรกิ ธาตุ แต่พระมหากัสสปะ ว่ามิใช่ภกู �ำ พร้า ผิดพุทธประสงค์ จะไม่เป็นมงคล จึงมุง่ ไปภูก�ำ พร้า มี ท้ า วพญายกกำ � ลั ง โยธามา ร่วมสร้าง คือ พญานันทเสน เมืองศรีโคตรบูร(ลาว) มาปลูก สร้ า งพลั บพลาไว้ รั บกษั ตริ ย์ เมืองต่าง ๆ ตามริมโขง พญา จุลนีพรหมทัต(ตังเกี๋ย/เวียดนาม) และ พญาอินทปัตถนคร (เขมร/กัมพูชา) มาถึงพร้อมกัน ให้ไพร่พลสกัดมุกด์หินทราย ไว้คอยท่า พญาคำ�แดง เมือง หนองหานน้อย อนุชาพญา สุวรรณภิงคาร สมทบกับโยธา ๕
พระธาตุพนมองค์เดิม บูรณะ พ.ศ. ๒๒๓๖ - ๔๕ โดยพระครูโพนสะเม็ก พระธาตุพนมองค์เก่า บูรณะ พ.ศ. ๒๔๘๓ - ๘๔ โดยกรมศิลปากร
เมืองหนองหานหลวง อัญเชิญ พระอุรังคธาตุแห่ถึงภูกำ�พร้า แล้ ว ประชุ ม ปรึ ก ษาตกลงปั้ น ดิ น ดิ บ ขนาดกว้ า งยาวเท่ า ฝ่ามือ พระมหากัสสปะก่อขึ้น เป็นรูปเตา ๔ เหลี่ยม สูง ๑ วา กว้างด้านละ ๒ วา ท้าวพญาละ ด้าน พญาสุวรรณภิงคารขึ้น ก่ อ รวบยอดบนเป็ น ฝาปารมี สูงอีก ๑ วา รวมเป็น ๒ วา แล้ว ทำ�ประตูเผาสุมด้วยไฟทั้ง ๔ ด้าน ๓ วัน ๓ คืน จนสุกดีแล้ว บริ จ าคมหั ค ฆภั ณ ฑ์ บู ช าอั น มี ค่ า บรรจุ ภ ายในอุ โ มงค์ เ ป็ น พุทธบูชา อัญเชิญพระอุรงั คธาตุ เข้าบรรจุไว้ภายในที่อันสมควร แล้วให้ปิดประตูไว้ทั้ง ๔ ด้าน จากนั้นจึงให้ฝังเสาอินทขิล รูป อัศมุขี ม้าอาชาไนย และ ม้า ๖
พลาหกไว้เป็นปริศนา ซึ่ ง ก่ อ นองค์ พ ระธาตุ พนมล้ม เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ นัน้ ตำ�นานพระอุรงั คธาตุทก่ี ล่าว ถึ ง การประดิ ษ ฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้ในอุโมงค์ไม่ค่อย ได้ รั บ ความเชื่ อ ถื อ ว่ า จะเป็ น จริงและมีจริง จนกระทั่งวันที่ ๑๗ – ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ขณะทำ�การสำ�รวจ องค์ พ ระธาตุ ที่ ล้ ม แล้ ว นั้ น ได้ พ บ ผ อู บ สำ � ริ ด น้ำ � หนั ก ประมาณ ๑,๒๐๐ กิโลกรัม ที่ เ คยอยู่ ใ นองค์ พ ระธาตุ ที่ ระดับสูงจากพื้น ดินประมาณ ๑๔.๗๐ เมตร มีจารึกแผ่นทอง ระบุ “ศักราช ๖๐ ตัว (๒๒๔๑) เดือน ๓ ขึ้น ๒ ค่ำ� วันศุกร์ พ่อ พระออกขนานโคตรพร้อมทั้ง
มณฑปที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อยู่ภายในพระสถูปชั้นที่ ๔
ธรรมจักรประดับด้วยสิ่งของมีค่า อยู่ภายในพระสถูปชั้นที่ ๓
นานาพระพุทธรูปและสิ่งบูชา อยู่ภายในพระสถูปชั้นที่ ๒
จิตรกรรมฝาผนังอันวิจิตร ที่ชั้นในขององค์พระธาตุพนม
พระธาตุพนมองค์ใหม่ สร้างใหม่หลังจากที่ล้มในรูปทรงเหมือนเดิมเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๒ โดยกรมศิลปากร
พระอุรังคธาตุ ๘ องค์
ลำ�ดับชั้นของการบรรจุพระอุรังคธาตุ
ผอูบสำ�ริดที่บรรจุพระอุรังคธาตุ
องค์พระธาตุล้ม เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘
บุตรภริยามีศรัทธาปสาทะใน บวรพุทธศาสนายิ่ง จึงได้นำ�เอา อู บ พระชิ น ธาตุ เจ้ า ที่ จั น บุ ร ะ (เวียงจันทน์) มาสถาปนาไว้ที่ ธาตุ ป ะนมทานวิ เ ศษเป็ น เหตุ ให้เถิงสุข ๓ ประการ มีนิพพาน สุขเป็นที่แล้ว อย่าแคล้วอย่า คลา” ในผอูบ มีเจดีย์ศิลาสูง ๘๕ เซนติเมตร มีโพรงข้างใน ขนาด ๒๐ X ๒๐ เซนติเมตร มีแผ่นเงินแผ่นทองดวงจารึก และบุ ษ บกทองคำ � ในสมั ย เจ้ า ราชครู ห ลวงโพนสะเม็ ก ภายในมีตลับเงิน ๑ ชั ้น ผอบ ทองคำ� ๓ ชั้น และ ผอบแก้ ว อี ก ๑ ชั ้ น ซึ ่ ง มีพระบรมสารีริกธาตุ ๘ องค์ประดิษฐานไว้ กับน้ำ�มันจันทน์มีกลิ่นหอมเย็น
เมื่อพบ เชื่อว่าเป็นของเดิม ตั้ ง แต่ ส มั ย พระมหากั ส สปะ และท้าวพญาทั้ง ๕ เมื่อ พ.ศ. ๘ ซึ่งหากเป็นจริงตามตำ�นาน ก็น่าจะถือได้ว่าพระธาตุพนม เป็นปฐมบรมสารีริกธาตุเจดีย์ ไม่ เ พี ย งที่ ท างอี ส านเท่ า นั้ น แต่ของผืนแผ่นดิ น ไทย และ อาจในเอเซี ย อาคเนย์ ด้ ว ย ก็ได้
ภาพศรัทธาพุทธศาสนิกร่วมบูชาองค์พระธาตุ
๗
บุญปฏิบัติบูชาลาพรรษา ที่พระธาตุพนม ปีพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้
“เกิดมาหนึ่งชาติ ต้องได้กราบพระธาตุพนมให้ได้ถึง ๗ ครั้ง”
คือคติที่พี่น้องชาวอีสานบางกลุ่มตั้งไว้เป็นหลักใจ แล้วทำ�ไมปีพุทธชยันตี ที่กำ�ลังรำ�ลึกถึงการตรัสรู้ครบ ๒๖๐๐ ปีของพระพุทธองค์ จึงจะไม่คิดไปพระธาตุพนมกันสักครั้ง ? แม้ ป ระเพณี บุ ญ บู ช า พระธาตุ พ นมประจำ � ปี ที่ จั ด กันมาอย่างสืบเนื่องใน ๗ วัน ๗ คืน ช่วงเพ็ญเดือน ๓ มาฆบูชา ซึ่ ง มหาชนจากทั่ ว ทุ ก สารทิ ศ ต่ า งหลั่ ง ไหลเพื่ อ สั ก การบู ช า คลาคล่ำ�เป็นเรือนแสน แต่การ หมุนเวียนเข้ากระทำ�บุญบูชา สักการะก็มีอยู่อย่างต่อเนื่องไม่ ขาดสาย ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ เกิดการริเริม่ ประเพณีใหม่ ชือ่ ว่า “สืบฮอยตา วาฮอยปู่ ย่างนำ� ฮอยธรรม” เป็นการเดินธรรมยาตราจากจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ์ เพื่ อ นมั ส การพระธาตุ พ นม พร้อมการถือศีล ฟังธรรม และ จริงจังในการเจริญสติภาวนา ปฏิบัติธรรมบูชาต่อเนื่องทุกปี ๘
มี ผู้ เข้ า ร่ ว มเริ่ ม จากเรื อ นร้ อ ย เป็นเรือนพัน แล้วขยายใหญ่ เป็ น เกื อ บแสนคนในปี พุ ท ธชยันตี ๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๑๓ - ๑๔ สิงหาคมที่ผ่านมา การ จาริกมาของพุทธศาสนิกชน ทุกเพศวัยจากทั่วทั้งประเทศ ร่วม ๗ หมื่นคนผ่านการบอก ต่ อ ผ่ า นเครื อ ข่ า ยงานธรรม ที่ มุ่ ง หมายมาสั ก การบู ช า ถือศีล ฟังธรรม และ เจริญสติ ภาวนาข้ามคืน ณ ลานองค์ พระธาตุพนม จึงเป็นปรากฏการณ์ปฏิบัติบูชาที่ยิ่งใหญ่ที่ ยื น ยั น ถึ ง ความแม่ น มั่ น ของ ผู้คน ในคำ�สอนของพระพุทธองค์ที่ทรงย้ำ�เสมอว่าไม่มีบุญ บูชาใดยิ่งกว่าการปฏิบัติบูชา ด้วยศีล สมาธิ และ ภาวนา
คณะศรัทธาธรรมนำ�โดยเครือข่ายปฏิบตั ธิ รรมชาวกาฬสินธุ์ นัดปฏิบตั บิ ชู าถวายองค์พระธาตุพนมในวาระพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี ตรัสรูธ้ รรม และรำ�ลึกวันองค์พระธาตุลม้ ในวันที่ ๑๓ - ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ มีผเู้ ข้าร่วมกว่า ๗๐,๐๐๐ คน
หาได้มีการมหรสพรื่นเริงหรือ ออกร้านงานเทศกาลแต่อย่าง ใด ในโอกาสก่ อ นออก พรรษา ๑๐ วัน ในคืนวันที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ วัดพระ ธาตุพนมวรมหาวิหาร ร่วมกับ คณะสงฆ์ ตลอดจนชาวจังหวัด นครพนม การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย (ททท.) และ หอ จดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ จึงถือเป็นพรรษาแห่งปี พุทธชยันตี ที่พระธรรมคำ�สอน ของพระองค์ได้รับการสืบสาน มาครบ ๒๖๐๐ ปี ควรที่จะ ได้ร่วมกันชุมนุมใหญ่ ปฎิบัติ บูชา ที่พระธาตุพนม ก่อนออก พรรษา สักครัง้ โดยได้อาราธนา นิ ม นต์ พ่ อ แม่ ค รู บ าอาจารย์
รูปสำ�คัญมาแสดงธรรมและ นำ�ภาวนา ท่ามกลางหมู่พุทธศ า ส นิ ก ช น นั บ พั น พ ร้ อ ม เครื่องบูชานานาจากทั่วภาค อีสานและข่วงผญาตลอดคืน จนรุ่งเช้าวันอาทิตย์ที่ ๒๑ หลัง สวดมนต์ทำ�วัตร ตักบาตรถวาย ภัตตาหารแล้ว จะมีพธิ บี ญ ุ บูชา ประทักษิณรอบองค์พระธาตุ ครั้งสำ�คัญ ด้วยขบวนเครื่อง สักการบูชาต่าง ๆ อย่างงดงาม เพื่อสืบสานสร้างสรรค์เป็นงาน ประเพณีการปฏิบัติบูชา ลา พรรษา ที่พระธาตุพนมสืบไป
๙
กำ�หนดการงาน บุญปฏิบัติบูชาลาพรรษา ที่พระธาตุพนม ปีพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ วันเสาร์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๕
คณะสงฆ์ และ พุทธศาสนิกชนเดินทางถึงวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร เตรียมเครื่องสักการบูชา แล้ว เข้าร่วมเตรียมและจัดการสถานที่ตามที่ตกลงและกำ�หนดไว้ ๑๒.๐๐ น. ชุมนุมผู้สาธิตเตรียมความพร้อม... ประกอบด้วย • มาลัยข้าวตอกจากบ้านฟ้าหยาด อำ�เภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร • ต้นดอกไม้วัดศรีโพธิ์ชัย ตำ�บลแสงภา อำ�เภอนาแห้ว จังหวัดเลย • มาลัยไม้ไผ่ ตำ�บลกุดหว้า อำ�เภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ • ต้นกระธูป ตำ�บลหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ • ปราสาทผึ้งโบราณ จังหวัดสกลนคร ๑๖.๐๐ น. จัดวางเครื่องบูชาสักการะพระธาตุพนมและข่วงผญา ณ ลานพระธาตุชั้นนอก ๑๗.๐๐ น. ข่วงผญาบูชาพระอุรังคธาตุ ณ พระธาตุพนม ร่วมกับหนังสือ “ทางอีศาน” ถวายเครื่องสักการบูชาชุดน้อยทั้ง ๕ ๑๘.๐๐ น. ร่วมทำ�วัตรเย็นแล้วเจริญสติสมาธิภาวนา ณ ลานองค์พระธาตุพนม ๑๐
๑๙.๐๐ น. ขบวนถวายเครื่องสักการบูชายามค่ำ� ๑. ต้นดอกไม้ วัดศรีโพธิ์ชัย อ.นาแห้ว จ.เลย ๒. ปราสาทผึ้งโบราณ จ.สกลนคร ๑๙.๓๐ น. ธรรมกถาเปิดงานปฏิบัติบูชาลาพรรษา ณ พระธาตุพนม โดยพระพรหมสิทธิ เจ้าคณะภาค ๑๐ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร ๒๐.๐๐ น. ธรรมกถาและนำ�ภาวนา โดย พระราชภาวนาวิกรม ๒๑.๐๐ น. ธรรมกถาและนำ�ภาวนา โดย พระอาจารย์อินทร์ถวาย สนฺตุสฺสโก ๒๒.๐๐ น. ธรรมกถาและนำ�ภาวนา โดย พระอาจารย์สาลี กนฺตสีโล (สปป.ลาว) ๒๓.๐๐ น. ธรรมกถาและนำ�ภาวนา โดย พระอาจารย์สุธรรม สุธมฺโม ๒๔.๐๐ น. พัก วันอาทิตย์ที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ๐๑.๐๐ น. ธรรมกถาและนำ�ภาวนา โดย พระอาจารย์เฮ็นนิ่ง เกวลี ๐๒.๐๐ น. ธรรมกถาและนำ�ภาวนา โดย พระอาจารย์จรัญ อนงฺคโณ ๐๓.๐๐ น. ธรรมกถาและนำ�ภาวนา โดย พระอาจารย์ราวี จารุธมฺโม ๐๔.๓๐ น. ร่วมทำ�วัตรเช้าแล้วเจริญสติสมาธิภาวนา ณ ลานองค์พระธาตุพนม ๐๖.๐๐ น. ทำ�บุญตักบาตรพระภิกษุสามเณร ๕๐๐ รูป ณ ประตูโขงหน้าวัด ๐๘.๐๐ น. พระภิกษุฉันภัตตาหาร ๐๙.๐๐ น. ขบวนแห่เครื่องบูชาสักการะ ประทักษิณรอบองค์พระธาตุพนม ๑. มาลัยข้าวตอก บ้านฟ้าหยาด จ.ยโสธร ๒. มาลัยไม้ไผ่ งานข้าวประดับดิน อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ๓. ต้นกระธูป อ.หนองบัวแดง จ.ชัยภูมิ และแห่ผ้าห่มองค์พระธาตุ ๐๙.๓๐ น. ธรรมกถาลาพรรษาพุทธชยันตี ที่พระธาตุพนม โดยพระเทพวรมุนี เจ้าอาวาสวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร และ เจ้าคณะจังหวัดนครพนม ถวายผ้าป่าบำ�รุงพระธาตุแล้วกราบลาองค์พระธาตุ
๑๑
ปัญญา – จารีต – ศีลธรรม
ข่วงผญา กับ ฮีต ๑๒ คอง ๑๔ อารยะประเพณีพระพุทธศาสนา แสนงามของคนอีสาน กับ ๕ ประเพณีบุญบูชาแนะนำ� ศีลกับธรรมพาเฮาดีได้
รัตนะพะไตรหน่วยแก้ว ไผบ่ถือศีลธรรมพะพุทธเจ้า ไผบ่เชื่อธรรมพะพุทธเจ้า
นีค้ อื หนึง่ ใน “คำ�ผญา” ทีป่ ระมวลปวงปัญญาญาณอัน ปราดเปรื่องของบรรพชนคน อีสาน ที่สืบมาเป็นฮีต-จารีต ประเพณี ๑๒ เดือนอันหลาก หลายงดงาม และสานเป็นศีล เป็ น ครรลองคลองธรรมทั้ ง ๑๔ ของผู้คนทั่วทุกหัวระแหง แห่งภาคอีสานทีเ่ ชิญชวนสัมผัส เรียนรู้ ดื่มด่ำ� แล้วน้อมนำ�มา เป็ น หลั ก คิ ด และแนวปฏิ บั ติ ของชีวิต ชุมชน ท้องถิ่นเพื่อ ความมั่นยืนสืบไป
๑๒
ควรตัดสินใจน้อมเข้าเพิ่ง แนวพายั้งอยู่จั่งเย็น เป็นคนเสียชาติเปล่า ตายทิ่มค่าอยู่ไส
ฮีต ๑๒ - ประเพณี ๑๒ เดือนของคนอีสาน ประกอบด้วย
เดือนอ้าย งานบุญเข้ากรรม บุญเก็บเกี่ยวข้าวและผลผลิต นวดข้าว ทำ�ปลาแดกสะสม เสบียง แล้วทำ�บุญเลี้ยงผีแถน อุทิศแด่บรรพบุรุษ นิมนต์พระเข้า ปริวาสกรรม เดือนยี่ งานบุญคูนลาน บุญปลงข้าวในลอม ฟาดข้าวในลานแล้วขนขึ้นยุ้ง นิมนต์ พระเทศน์ธรรมเรื่องแม่โพสพบำ�รุงขวัญข้าวทั้งที่วัดและลานนวด เดือนสาม บุญข้าวจี่ บุญเซ่นสรวงพระภูมิเจ้าที่นา “ตาแฮก” เอิ้น-กู่ขวัญข้าว แผ่ส่วนกุศลให้ผีปู่ย่าตายายหลังขนข้าวขึ้นยุ้ง ทำ�ข้าวจี่ถวายพระ แล้วทำ�มาฆบูชา เข็นฝ้ายหาหลัวฟืน เดือนสี่ บุญพระเวส (อ่านออกเสียงพะ-เหวด) แห่พระอุปคุต ตั้งศาลเพียงตาแจกข้าวอุทิศเป็นเปตพลี ขอให้ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล แล้วเข้าวัดทำ�บุญพระเวสสันดร ฟังเทศน์มหาชาติ เดือนห้า บุญสรงน้ำ� หรือเทศกาลสงกรานต์ – สังขานต์ ของชาวอีสาน ทำ�ต่อเนื่อง ๓ วัน ๗ วัน ถวายภัตตาหารพระด้วยจังหัน
คาวหวานตลอดเทศกาล แล้วสรงน้ำ�พระ รดน้ำ�ขอพรผู้อาวุโสแล้ว ร่วมก่อเจดีย์ทรายใส่วัด เดือนหก บุญบั้งไฟ-ขอฝน บางแห่งเรียก บุญวิสาขบูชา บุ ญ บู ช าแถนขอฝนตกต้ อ งตามฤดู ก าลมี ค วามอุ ด ม สมบูรณ์ของข้าวปลาอาหารในวันที่กำ�หนด ครั้นวันเพ็ญเดือน ๖ เข้าวัดทำ�บุญ ฟังเทศน์และเวียนเทียน เดือนเจ็ด บุญชำ�ฮะ พิธีเลี้ยงตาแฮก เซ่นสรวงเจ้าที่นาหลังหว่านข้าวกล้าดำ�นา บุญเบิกบ้านเบิกเมือง เลี้ยงปู่ตาหลักเมือง และเข้านาคของผู้จะ บวชเรียนเข้าพรรษา เดือนแปด บุญเข้าพรรษา หล่อเทียนพรรษา ตกแต่งแห่แหนถวายวัดเป็นพุทธบูชา พร้อมเลี้ยงพระ ถวายเครื่องไทยทาน ผ้าอาบน้ำ�ฝนพระภิกษุสงฆ์ ใช้ในกาลพรรษา เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน บุญอุทิศส่วนกุศลเป็นเปตพลีแก่ผู้ตกทุกข์ไร้ญาติในวัน แรม ๑๔ ค่ำ� เดือน ๙ ตั้งแต่เช้ามืด ด้วยการจัดอาหารคาวหวาน หมากพลูบุหรี่ใส่กระทงเล็ก วางตามลานบ้าน วัด ข้างพระอุโบสถ และ โคนไม้ ตกสายเข้าวัดทำ�บุญฟังเทศน์ เดือนสิบ บุญข้าวสาก กวนกระยาสารทแล้วจัดสำ�รับคาวหวานและกระยาสารท เข้าวัดทำ�บุญ ติดสลากแล้วถวายเครื่องไทยทานเพื่อพระภิกษุสงฆ์ ทำ�สลากภัต ตกบ่ายฟังธรรม เดือนสิบเอ็ด บุญออกพรรษา พิธีกวนข้าวทิพย์ ตักบาตรเทโว ไหลเรือไฟ แห่ปราสาทผึ้ง ถวายผ้าห่ม ตั้งข่วงแข่งเรือ พร้อมงานบุญกุศลอื่นๆ อย่าง สนุกสนานรื่นเริง เดือนสิบสอง บุญกฐิน ทำ�ข้าวเม่าถวายพระพร้อมสำ�รับคาวหวานแล้วฟังเทศน์ ก่อนยกกองกฐินถวายวัดตามที่จองไว้ ๑๓
คอง ๑๔ หลั ก การ ครองตน ครองบ ้ า น ครองเรื อ น ให้ อ ยู ่ ใ น ครรลอง คลองธรรม ๑๔ ประการ
๑. หูเมือง เป็นผูพ้ ดู จาความจริง ไพเราะ อ่อนหวาน ๒. ตาเมือง เป็นผู้มีความรอบรู้ ในวิชาการบ้านเมือง รูห้ ลักธรรม ๓. แก่นเมืองเป็นผูท้ รงคุณธรรม ยุติธรรม ๔. ประตูเมือง เป็นผู้มีความ สามารถในการใช้ ศั ส ตราวุ ธ ยุทโธปกรณ์ ๕. รากเมือง เป็นผู้รอบรู้ในด้าน โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ ๖. เหง้าเมือง เป็นผู้มีความซื่อ สัตย์ ปฏิบตั งิ านด้วยความซือ่ สัตย์ ๗. ขางเมือง เป็นผู้ชำ�นาญใน การออกแบบ ชำ�นาญในการศึก ๘. ขื ่ อ เมื อ ง เป็ น ผู ้ ม ี ต ระกู ล เป็นนักปราชญ์ผู้กล้าหาญ
๙. แปเมือง เป็นผู้มีศีลธรรม อันดี ตัดสินคดีความเที่ยงธรรม ๑๐. เขตเมือง เป็นผู้ทำ�หน้าที่ พิทักษ์เขตเมือง รักษาเขตแดน บ้านเมือง ๑๑. ใจเมื อง เป็ น ผู ้ ท ำ � หน้ า ที ่ ปกครองบ้านเมืองที่ดี ๑๒. ค่ า เมื อ ง เป็ น ผู ้ พ ิ ท ั ก ษ์ รักษาให้เมืองมีค่า มีเงินทอง ติดต่อค้าขาย ๑๓. สติ เ มื อง เป็ น ผู ้ ร ู ้ จ ั ก การ รักษาพยาบาล หมอยา ๑๔. เมฆหมอกเมือง เป็นผู้ที่ ทำ � หน้ า ที่ ป ระดุ จ เทพอารั ก ษ์ พิทักษ์เมืองเป็นหลักเมือง
๕ เครื่องบูชาสาธิตแนะนำ� ในงานปฏิบัติบูชา ลาพรรษาที่พระธาตุพนม ๑) มาลัยข้าวตอก ของชาว
บ้านหยาดฟ้า อำ�เภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สำ�หรับแห่พุทธบูชาในงานบุญมาฆบูชา (เดือน ๓) ด้วยหมายเป็นมาลัยดอก มณฑารพแห่ ง สรวงสวรรค์ ที่ บานสะพรั่งในวันมงคล
๑๔
๒) ต้นดอกไม้ ของชาวนาแห้วจังหวัดเลย
จากนานาดอกไม้ ส ดจั ด เข้ า ช่ อ และพานพุ่ ม บายศรีเล็กใหญ่ขึ้นโครงไม้ไผ่บูชาพระรัตนตรัย ในวันตรุษสงกรานต์ (เดือน ๕)
๓) มาลัยไม้ไผ่ ของชาวกุฉินารายณ์
จังหวัดกาฬสินธุ์ พร้อมเครื่องห้อยแขวนถวาย พระภิกษุสงฆ์วันขึ้น ๑๕ ค่ำ� (เดือน ๙ หรือ ๑๐)
๔) ต้นกระธูป ของชาวหนองบัวแดง
จังหวัดชัยภูมิ ที่นำ�ธูปมาพันกระดาษสีเป็น ลวดลายแล้วประกอบเป็นต้นสูงเสมือนต้นหว้า ประจำ�ชมพูทวีปที่ยังความร่มเย็นแก่ ส รรพสัตว์ ถวายสักการะและเฉลิมฉลองการเสด็จ ลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์หลังโปรดพุทธมารดา ขององค์ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ในวั น ออก พรรษา (เดือน ๑๑)
๕) ปราสาทผึ้งโบราณ ของชาวจังหวัด
สกลนคร ถวายพุทธบูชาเนื่องในโอกาสออก พรรษา (เดือน ๑๑)
๑๕
กลุ่มปฐมบท พระพุทธศาสนา ในอีสาน ที่ เสมา นาดูน ฟ้าแดดสงยาง ภูปอ ภูค่าว ภูพระบาท ขอนแก่น
• นมัสการพระพุทธไสยาสน์ ที่สวยที่สุดจากพระธาตุนาดูน หิ น องค์ ใ หญ่ แ ละพระธรรม- แล้ ว ตื่ น ตากั บ นานาใบเสมา จั ก รที่ วั ด ธรรมจั ก รเสมาราม จากทั่ ว ทั้ ง ภาคอี ส านที่ นำ � มา อำ � เภอสู ง เนิ น นครราชสี ม า รวบรวมรักษาไว้ และแวะชม ๒ จารึกคาถาหัวใจ พระพุทธศาสนา “เยธัมมาฯ” ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติมหาวีรวงศ์ และ พิมาย นครราชสีมา • นมัสการพระธาตุนาดูน นครจำ�ปาศรี ที่อำ�เภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม พุทธมณฑล แห่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระธรรมจักร วัดธรรมจักรเสมาราม จังหวัดนครราชสีมา • นมัสการพระธาตุยาคู และ หมู่เสมาโบราณเมืองฟ้าแดด สงยาง ในพิพิธภัณฑ์วัดโพธิ์ชัย เสมาราม อำ � เภอกมลาไสย กาฬสินธุ์ • นมัสการพระพุทธไสยาสน์ แกะสลั ก หิ น ในเพิ ง ผาถ้ำ � ภูปอ – ภูค่าว อำ�เภอเมืองและ สหัสขันธ์ กาฬสินธุ์ • ขึ้นอุทยานประวัติศาสตร์ ภูพระบาท นมัสการพระบาท พระพุทธบาท ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี บัวบกและบัวบาน พร้อมหมู่ เสมา ๒๔ องค์ ท่ามกลางหอ นางอุษาและนานาถ้ำ�โบราณ ที่อำ�เภอบ้านผือ อุดรธานี • เข้าพิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาติขอนแก่น นมัสการพระ บรมสารีริกธาตุและพระพิมพ์
แนะนำ� ๖ กล เรียนรู้และบูชาพ ในภาค
พระธาตุยาคู จังหวัดกาฬสินธุ์
เสมาโบราณในเมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์
๑๖
พระธาตุนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
กลุ่มศรีโคตรบูร สองฝั่งโขง ธาตุพนม เชิงชุม และ ฝั่งลาว
ลุ่มเส้น่ ทาง พระพุทธศาสนา คอีสาน พระธาตุเชิงชุม จังหวัดสกลนคร
• นมัสการพระอุรังคธาตุใน พระธาตุพนม ปฐมธาตุเจดีย์ ของประชาคมลุ่มแม่น้ำ�โขง ที่ อำ�เภอธาตุพนม นครพนม • นมัสการพระธาตุเชิง ชุม ภูเพ็ก และ นารายณ์เจงเวง ๓ พระธาตุ บ ริ เ วณหนองหาน สกลนคร ที่ผูก พัน ในตำ�นาน อุรังคธาตุเมื่อแรกเริ่มสร้าง • เลี ย บเลาะฝั ่ ง โขง เวี ย น นมัสการนานาพระธาตุประจำ� วันเกิดที่เพิ่งสร้างสรรค์ใหม่ ใน จังหวัดนครพนม (วันอาทิตย์ – พระธาตุพนม อ.ธาตุพนม, วัน จัน ทร์ – พระธาตุเรณู อ.เรณูนคร, วันอังคาร – พระ ธาตุศรีคุณ อ.นาแก, วันพุธ – พระธาตุมหาชัย อ.ปลาปาก, วันพฤหัสบดี – พระธาตุ ประสิทธิ์ อ.นาหว้า, วันศุกร์ – พระธาตุท่าอุเทน อ.ท่าอุเทน และ วันเสาร์ – พระธาตุนคร อ.เมือง) • ข้ามโขงไปนมัสการพระธาตุ ศรีโคตรบองเมืองท่าแขก และ พระธาตุอิงฮัง สะหวันนะเขต ที่ฝั่งลาว
กลุ่มพุทธมหายาน เมื่อสมัยชัยวรมัน ที่พิมาย นครราชสีมา • หนึ่งเดียวและสุดยอดมหา ปราสาทหินในนิกายมหายาน ลั ท ธิ ตั น ตระแห่ ง เมื อ งพิ ม าย สมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๕ – ๑๖ ก่อนการสร้างอภิมหาปราสาท นครวัดแห่งศาสนาฮินดูอันยิ่ง ใหญ่ ใ นพุ ท ธศตวรรษที ่ ๑๗ ก่อนพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ผู้ นับถื อพุทธศาสนามหายานผู้ สร้างสรรค์มหาปราสาทบายน ทรงทำ � นุ บำ � รุ ง พร้ อ มกั บ การ สร้ า งนานาอโรคยศาลาและ
พระธาตุเรณู จังหวัดนครพนม อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย จังหวัดนครราชสีมา
๑๗
ปราสาทอีกหลายองค์ในภาค อีสานและภาคกลาง จุดสำ�คัญ อยู่ที่ทับหลังของวิมานด้านใน องค์ปราสาทหินพิมายซึ่งเต็ม ไปด้วยภาพพระวัชรสัตว์แ ละ พระอมิตายุส ตลอดจนนานา เทพทั ้ ง หลาย เฉพาะอย่างยิ่ง ทับหลังประตูมณฑปหน้าพระ วิ ม านด้ า นใต้ แกะสลั ก เป็น ภาพมารวิ ชั ย ที่ ถื อ ว่ า เก่ า แก่ ที่สุดในประเทศไทย • หากมีเวลาควรแวะพิพิธภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พิ ม าย และ มหาวีรวงศ์ ซึ่งรวบรวม น า น า ห ลั ก ฐ า น รู ป เ ค า ร พ มากมาย รวมทั้งพระวัชรสัตว์ พุทธะมีนาคปรกงดงามยิ่ง
กลุ่มรอยพุทธ ลาวล้านช้าง นานาธาตุเจดีย์ ทรงระฆังเหลี่ยม และ พระพุทธรูป ศิลปะล้านช้าง
พระธาตุทรงระฆังเหลีย่ ม วัดโพนชัย จังหวัดเลย
• ธาตุเจดีย์ทรงระฆังเหลี่ยม ที่วัดโพนชัย อำ�เภอด่านซ้าย จังหวัดเลย และวัดสาวสุวรรณ ทีเ่ วียงคุก อำ�เภอเมือง หนองคาย ถือเป็นรูปแบบเอกลักษณ์หนึ่ง ของลาวล้านช้างที่แพร่หลาย ทั่วไปโดยเฉพาะในหลวงพระ บาง ในขณะที่นานาธาตุเจดีย์ อย่างองค์พระธาตุพนมในเขต นครพนมและอื่น ๆ นั้น ถือ เป็ น อี ก แบบเอกลั ก ษณ์ ข อง พระธาตุพนมที่ผสมผสานด้วย นำ�องค์ระฆังเหลี่ยมอย่างล้าน ช้ า งมาเสริ ม เติ ม ต่ อ บนฐาน ปราสาทสี่เหลี่ยม ถือเป็นอีก รอยการประสมประสานงาน พระพุทธศาสนาสำ�คัญ • พระปฏิมาล้านช้างองค์ สำ � คั ญ ในจั ง หวั ด หนองคาย นอกจากหลวงพ่ อ พระใส ที ่ วัดโพธิ์ชัย อำ�เภอเมืองแล้ว ที่ งดงามและศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เ ป็ น ที่
หลวงพ่อพระใส วัดโพธิช์ ยั จังหวัดหนองคาย
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย
๑๘
สักการบูชายังมี พระเจ้าองค์ตอ้ื วัดศรีชมพูองค์ตอื้ อำ�เภอท่าบ่อ หลวงพ่ อ สุ ก วั ด ศรี ค ุ ณ เมื อง อำ�เภอเมือง และ หลวงพ่อวัด ศรีเมือง ส่วนทีเ่ มืองนครพนมนัน้ หลวงพ่อพระอินทร์แปลง ในวัด อิ น ทร์ แ ปลงที่ มี แ ต่ ส่ ว นพระ เศียรเท่านั้นที่หล่อด้วยสำ�ริด • พระบางและพระแก้ว ๒ พระปฏิมาสำ�คัญยิง่ ของแผ่นดิน มีองค์จำ�ลองสำ�คัญ คือพระบาง เมืองทรายขาว วัดศรีสุทธาวาส อำ�เภอเมืองเลย, พระบาง วัด ไตรภูมิ อำ�เภอท่าอุเทน นครพนม โดยที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ยังมีทั้งพระบาง และ พระแก้วมรกตจำ�ลองงด งามมีอายุหลายร้อยปีอีกด้วย
พระบาง วัดไตรภูมิ จังหวัดนครพนม
ฮูบแต้มสิม วัดโพธาราม จังหวัดมหาสารคาม
กลุ่มฮูบแต้มสิม อีสาน : ยอดแห่ง จิตรกรรมชาวบ้าน แห่งแผ่นดินอีสานที่ มีเอกลักษณ์เฉพาะ คือนิยมวาดภายนอก อุโบสถมหาอุตม์ ขนาดเล็ก ด้วยภาพพุทธประวัติ ชาดก นรกสวรรค์ นิทานพื้นบ้าน แทรกเรื่องราว ประเพณีวิถีชีวิตที่ มีคุณค่าน่าชมยิ่ง
• มหาสารคาม สิมวัดป่า เรไร บ้านหนองพอก ต.ดงบัง อ.นาดูน, วัดโพธาราม บ้านดงบัง อ.นาดูน และวัดยางทวงวราราม (วัดบ้านยาง) อ.บรบือ มีเพิ่ม ภาพพระมาลัย สินไซ นางอรพิมพ์-ท้าวปาจิตต์ และ พระลัก พระราม ด้วย • ร้อยเอ็ด สิมวัดกลางมิ่ง เมือง และ วัดบ้านขอนแก่นเหนือ อ.เมื อ ง, วั ด จั ก รวาลภู มิ พ ิ น ิ จ บ้านหนองหมื่นถ่าน อ.อาจสามารถซึ่งมีภาพชุดสินไซเช่น กัน • กาฬสิ น ธุ ์ สิ มวั ด อุ ด ม ประชาราษฎร์ ร ั ง สรรค์ บ้ า น นาจารย์ อ.เมือง ที่แทรกภาพ แสดงวิถีชีวิตในภาพเรื่องพระ เวสสันดรอย่างน่าติดตามและ สนุกสนานมาก รวมถึงสิมวัดใต้ โพธิ์ค้ำ� อ.เมือง
• ขอนแก่น สิมวัดไชยศรี บ้าน สาวะถี อ.เมือง และ วัดสนวนวารีพฒ ั นาราม อ.บ้านไผ่ ทีม่ เี พิม่ ภาพชุดสินไซ กับ นานานรกภูมิ ให้ได้เตือนตน ขณะที่ภาพเรื่อง พระเวสสั น ดรนอกสิ ม วั ด มั ช ฌิมวิทยารามบ้านลาน อ.บ้านไผ่ ก็เต็มไปด้วยสีสันอย่างยิ่ง • นครราชสีมา สิมวัดศรีสุภณ บ้านทองหลางน้อย อ.บัวใหญ่ และ วัดหน้าพระธาตุ บ้านตะคุ อ.ปักธงชัย ทีม่ ฮี บู แต้มทัง้ ในและ นอก พร้อมภาพชุดพระมาลัย นรกภูมิ และ พระพุทธบาทด้วย • บุรีรัมย์ ฮูบแต้มที่วัดท่าเรียบ บ้านหนองหว้า อ.นาโพธิ์ ที่มี ภาพครบครันหลากหลายเรื่อง รวมทั้งสินไซยอดนิยมของคน อีสาน • อุ บ ลราชธานี สิ ม วั ด ทุ่ง ศรีเมือง อ.เมือง ที่มีหอไตร กลางน้ำ�ที่งดงามที่สุดหลังหนึ่ง และ รู ป เหมื อนของพระครู ดี โ ลดผู้ นำ � บู ร ณะองค์ พ ระ ธาตุ พ นมตามที่ พ ระอาจารย์ เสาร์ แ ละพระอาจารย์ มั่ น อาราธนานิมนต์ มีทั้งฮูปสินไซ และ นางอรพิมพ์-ท้าวปาจิตต์ เช่นกัน
๒๐
กลุ่มพ่อแม่ครูบา อาจารย์ในถิ่นอีสาน แดนบูรพาจารย์ นานาสุปฏิปันโน ร่วมสมัย ปัจจุบัน ตั้งแต่ พระอาจารย์เสาร์ พระอาจารย์มั่น พระอาจารย์ชา ทั่วทั้งแดนอีสาน
รูปปั้นพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต วัดป่าสุธาวาส จังหวัดสกลนคร
• ต้นเค้าครูบาวิปัสสนาจารย์ ภาคอีสานที่พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล ที่วัดเลียบ อ.เมือง วัด ดอนธาตุ อ.พิบูลมังสาหาร และ วัดบูรพา อ.เมือง อุบลราชธานี • สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต พระอาจารย์ใหญ่สาย วิ ปั ส ส น า กั ม มั ฏ ฐ า น แ ล ะ ศิ ษ ย์ ตั้ ง แต่ บ้ า นเกิ ด ที่ คำ � บง อ.โขงเจียม อุบลราชธานี และ สองที ่บรรพชา-อุปสมบท วัด ศรีบุญเรือง อ.โขงเจียม และ วัดศรีอุบล อ.เมือง ก่อนฝากตัว เป็ น ศิ ษ ย์ พ ระอาจารย์ เ สาร์ ที่ วั ด เลี ย บ ธุ ด งค์ ท ี ่ ธ าตุ พ นม ปฏิ ญ ญาชี วิ ต พรหมจรรย์ ที่ ภูหล่น อ.ศรีเมืองใหม่ อุบลฯ ก่ อ นที่ จ ะผ่ า นอี ก หลายป่ า วั ด และจั ง หวั ด เกื อ บทั่ ว ทั้ ง ภาคอีสาน ก่อนจะกลับมาจำ� พรรษาที่ วั ด ป่ า นาคนิ มิ ต ต์ อ.โคกศรีสุพรรณ สกลนคร แล้ว จำ�พรรษา ๕ ปีสุดท้ายที่วัดป่า บ้านหนองผือ (วัดป่าภูริทัตตถิราวาท) แล้วมรณภาพที่วัด ป่าสุทธาวาส อ.เมือง สกลนคร บรรจุพระธาตุที่ธรรมเจดีย์ วัด โพธิสมภรณ์ อ.เมือง อุดรธานี • คณะศิษย์พระอาจารย์มั่น ภู ร ิ ท ั ตโต ในแดนอี ส านเป็ น
จำ�นวนมาก ทั้งวัดและป่าถ้ำ� สถานปฏิบ ั ต ิ ธ รรม ตลอดจน เจดียสถานต่าง ๆ เช่น หลวง ปูเ่ ทสก์ เทสรั ง สี วั ด หิ น หมาก เป้ ง อ.ศรีเชียงใหม่ หนองคาย, หลวงปูข่ าว อนาลโย วัดถ�ำ้ กลอง เพล อ.เมือง หนองบัวลำ�ภู, วัด ถ้ำ�ขาม สถานปฏิบัติธรรมของ หลวงปูเ่ ทสก์ และ พระอาจารย์ ฝั้น รวมทั้งเป็นที่ละสังขารของ หลวงปูเ่ ทสก์ และ วัดป่าอุดม สมพร อ.พรรณานิคม เจดียสถาน บรรจุอฐั ธิ าตุอฐั บริขาร ของพระ อาจารย์ฝน้ั อาจาโร, หลวงปูด่ ลู ย์ อตุ โ ล วั ด บู ร พาราม อ.เมื อ ง สุรนิ ทร์, พระอาจารย์แบน ธนากโร วัดดอยธรรมเจดีย์ อ.เมือง สกลนคร, พลวงพ่อพุธ ฐานิโย วัดป่าสาลวัน อ.เมือง นครราชสีมา, หลวงปู่จูม พันธุโล และ หลวงปู่จันทร์ศรี จันททีโป วัด โพธิสมภรณ์ อ. เมือง อุดรธานี, พระอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง อุดรธานี, หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ วัดอรัญบรรพต อ.ศรีเชียง ใหม่ หนองคาย, พิพิธภัณฑ์พระ อาจารย์วัน อุตตโม วัดถ้ำ�อภัย ดำ�รง อ.ส่องดาว สกลนคร, • สายพระอาจารย์ชา สุภัทโท
และนานาสาขาวัดหนองป่าพง ที่ ข ยายเป็ น คณะใหญ่ ทั้ ง ใน และต่างประเทศถึง ๓๐๐ สาขา จากบ้านก่อ และ วัดหนอง ป่าพง อ.วารินชำ�ราบ อุบลราชธานี สูท่ ว่ั ทัง้ โลกผ่านวัดป่านานา ชาติที่บ้านบุ่งหวาย อ.วารินชำ�ราบโดยมี วั ด หรื อ สำ � นั ก สาขา แนะนำ � การเดิ น ทางเรี ย นรู้ และปฏิ บั ติ ธ รรมหลายแห่ ง เช่น พระอาจารย์เลี่ยม ฐิตธัมโม วัดหนองป่าพง จังหวัด อุบลราชธานี พระอาจารย์แสวง จัน ทสโร วัด คำ�มะฮี ยโสธร พระอาจารย์เรืองฤทธิ์ จันทสโร วัดป่าพรหมประทาน ร้อยเอ็ด พระอาจารย์เอนก ยสทิน โน วัดป่าไทรงาม อุบลราชธานี พระอาจารย์ ด ำ � รง สุ จ ิ ต โต วัดปลื้มพัฒนา บุรีรัมย์ พระ อาจารย์ไพฑูรย์ ขันติโก วัด ป่าสุภัททมงคล อุบลราชธานี พระอาจารย์เฮ็นนิ่ง เกวลี วัด ป่านานาชาติ อุบลราชธานี สำ � นั ก ส่ ง เสริ ม ภาวนาและ ปฏิบตั ธิ รรมอืน่ ๆ เช่น เครือข่าย สายหลวงพ่อเทียน จิตตสุโภ กับหลวงพ่อคำ�เขียน สุวัณโณ วัดป่าสุคะโต อ.แก้งคร้อ ชัยภูมิ
เจดีย์พระอาจารย์ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี
พระอาจารย์สุริยา มหาปัญโญ วัดป่าโสมพนัส อ.พรรณานิคม สกลนคร พระอาจารย์ ค ำ � ไม ฐิตสีโล วัดทับมิ่งขวัญ อ.เมือง เลย เครือข่ายสายพระอาจารย์ สมภพ โชติปัญโญ วัดไตรสิกขา ทลามลตาราม อำ�เภอคำ�ตากล้า จังหวัดสกลนคร พระปลัดเดชา อาสโภ เจ้าอาวาสวัดสวนป่า ดอนย่านาง จังหวัดกาฬสินธุ์ พระอาจารย์ราวี จารุธัมโม วัด ป่าโนนกุดหล่ม จังหวัดศรีสะเกษ บัญชา พงษ์พานิช เพลินสถาน สวนสร้างสรรค์ นาคร – บวรรัตน์ นครศรีธรรมราช และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ กรุงเทพมหานคร ตุลาคม ๒๕๕๕
๒๑
สอบถามขอมูลการทองเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กองตลาดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Email : nemdiv@tat.or.th Website : www.เที่ยวอีสาน.com ททท. สำนักงานนครราชสีมา (นครราชสีมา,ชัยภูมิ ) โทรศัพท์. ๐ ๔๔๒๑ ๓๐๓๐, ๐ ๔๔๒๑ ๓๖๖๖ โทรสาร. ๐ ๔๔๒๑ ๓๖๖๗, ๐ ๔๔๓๕ ๑๗๒๑ Email: tatsima@tat.or.th ททท. สำนักงานอุบลราชธานี (อุบลราชธานี,อำนาจเจริญ,ยโสธร) โทรศัพท์. ๐ ๔๕๒๔ ๓๗๗๐ , ๐ ๔๕๒๕ ๐๗๑๔ โทรสาร. ๐ ๔๕๒๔ ๓๗๗๑ Email: tatubon@tat.or.th ททท. สำนักงานขอนแก่น (ขอนแก่น,มหาสารคาม,ร้อยเอ็ด,กาฬสินธุ์) โทรศัพท์. ๐ ๔๓๒๒ ๗๗๑๔-๗ โทรสาร. ๐ ๔๓๒๒ ๗๗๑๙ Email: tatkhkn@tat.or.th ททท. สำนักงานนครพนม (นครพนม,มุกดาหาร,สกลนคร) โทรศัพท์. ๐ ๔๒๕๑ ๓๔๙๐-๑ โทรสาร. ๐ ๔๒๕๑ ๓๔๙๒ Email: tatphnom@tat.or.th ททท. สำนักงานอุดรธานี (อุดรธานี,หนองคาย,บึงกาฬ) โทรศัพท์. ๐ ๔๒๓๒ ๕๔๐๖-๗ โทรสาร. ๐ ๔๒๓๒ ๔๕๐๘ Email: tatudon@tat.or.th ททท. สำนักงานเลย (เลย,หนองบัวลำภู) โทรศัพท์. ๐ ๔๒๘๑ ๒๘๑๒ โทรสาร. ๐ ๔๒๘๑ ๑๔๘๐ Email: tatloei@tat.or.th ททท. สำนักงานสุรินทร์ (สุรินทร์,บุรีรัมย์,ศรีสะเกษ) โทรศัพท์. ๐ ๔๔๕๑ ๔๔๔๗-๘ โทรสาร. ๐ ๔๔๕๑ ๘๕๒๙ Email: tatsurin@tat.or.th Dhammaintrend C35 M100 Y90 K30