ตลาดพลู ตลาดพลู Talat Phlu

Page 1

ตลาดพลู ตลาดพลู Talat Talat Phlu Phlu


INTRODUCTION บทนํ า

คูมือเลมนี้สามารถอธิบายชี้แจงเกี่ยวกับพื้นที่ยานตลาดพลู รวมไปถึงการ ออกแบบกราฟกเพือ่ สิง่ แวดลอม สําหรับการนําไปใชเปนเครือ่ งมือ อางอิง ประกอบการสรางงานละสวนประกอบของงานออกแบบอื่นที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดภาพลักษณอันเปนเอกลักษณของยานตลาดพลู ที่รวมอยูใน คูมือเลมนี้ หวังวาคูมือเลมนี้จะมีบทบาทในการสื่อสารใหเกิดความเขาใจ อันชัดเจนและถูกตอง เพื่อกอใหเกิดประโยชนดังกลาวสูงสุด


TALAT PHLU

ตลาดพลู เปนยานชุมชนริมนํา้ ทีม่ ชี อื่ เสียงโดงดังยานหนึง่ ของฝง ธนบุรมี าตัง้ แตอดีต สมัยกรุงธนบุรีแตเดิมเปนพื้นที่ของชาวจีนที่มาตั้งถิ่นฐาน ตอมาเมื่อยายราชธานีไป ยังฝงพระนคร ชาวจีนบางสวนที่ตลาดพลูจึงไดยายไปสําเพ็ง และมีชาวมุสลิมจาก ภาคใตยา ยเขามาแทนที่ ไดรเิ ริม่ การทําสวนพลูทนี่ ี่ ทัง้ ชาวมุสลิมและชาวจีนตางทํา สวนพลูจนเปนอาชีพทีแ่ พรหลาย เกิดเปนตลาดซือ้ ขายพลูทเี่ รียกวา "ตลาดพลู" จนถึง ปจจุบันกอนจะมีการยกเลิกการซื้อขายหมากพลูในสมัยจอมพลป.พิบูลสงคราม เนื่องจากการสัญจรทางถนนและแมนํ้าที่อยูติดริมคลองบางกอกใหญ ซึ่งแมนํ้า เจาพระยาในอดีต จึงทําใหตลาดพลูเปนศูนยกลางการคมนาคมทางนํ้าและทางบก ทัง้ ยังเปนเหมือนครัวหลักของฝงธนบุรี


สภาพแวดล้ อ ม The Envoroment


กลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์

Ethnic group

จี น มีปริมาณมากสุดในยานตลาดพลู คนจีนไดอพยพเขามาเปนระยะในสมัย รัตนโกสินทรจนถึงชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 สวนใหญเปนจีนแตจิ๋ว เมื่อ การอพยพเขามาใหม สวนใหญประกอบอาชีพใชแรงงาน รับจางทั่วไป เมือ่ สามารถสะสมทุนได จึงเริม่ ทํามาคาขาย ทําสวนพลู เปนเจาของกิจการ

ไทย คนไทยตัง้ ถิน่ ฐานในยานนีต้ ง้ั แตสมัยอยุธยา เนือ่ งจากเปนกลุม แรกทีเ่ ขามา ตั้งถิ่นฐานจึงสามารถจับจองพื้นที่ริมนํ้า และริมคลองเพื่อตั้งบานเรือน เพาะปลูก และคาขายไดมากกวาคนกลุม อืน่ คนไทยประกอบไปดวยชนชัน้ ขุนนางและราษฎรทัว่ ไปนอกจากการทําราชการ ยังทําสวน คาขาย การใหเชาทีด่ นิ

มุ ส ลิ ม สวนใหญเปนมุสลิมเชื้อสายมลายูจากปตตานี ในสมัยรัชกาลที่ 3 นับถือ นิกายสุหนี่ และมุสลิมเชือ้ สายปาทานอพยพจากปากีสถาน เปนกลุม ดัง้ เดิม เรี ย กตนเองว า “มุ ส ลิ ม บ า นสวน” ตั้ ง บ า นอยู  ร ายรอบมั ส ยิ ด สวนพลู ระหวางคลองบางไสไก


จุ ด เด่ น ตลาดพลู Distinctive Point

1. ยานเกาแกที่มีประวัติศาสตรยาวนานตั้งแตสมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร 2. อาคารไมและตึกแถวเกาแก ที่ผสมผสานเกาและใหมอยางลงตัว 3. หลากหลายวัฒนธรรม เชื้อชาติ ทั้งจีน ไทย มุสลิม มอญ 4. มีรานอาหารอรอย ที่มีมาตั้งแตยุคเกาแก สืบทอดรุนสูรุน 5. รถสองแถวขนาดเล็ก ที่มีเฉพาะยาน


Mood and Tone


แผนที�

Talat Phlu Map

อาคารไมเกา ตึกแถวเกา 2 ชั้น ตึกแถวเกา 3 ชั้น ตึกแถวใหม / อาคารพาณิชย สถานที่ราชการ ศาสนสถาน ตรอกซอย ถนนหลัก


อาคารไมเกา ตึกแถวเกา 2 ชั้น ตึกแถวเกา 3 ชั้น ตึกแถวใหม / อาคารพาณิชย สถานที่ราชการ ศาสนสถาน ตรอกซอย ถนนหลัก


อาคารไมเกา ตึกแถวเกา 2 ชั้น ตึกแถวเกา 3 ชั้น ตึกแถวใหม / อาคารพาณิชย สถานที่ราชการ ศาสนสถาน ตรอกซอย ถนนหลัก


อาคารไมเกา ตึกแถวเกา 2 ชั้น ตึกแถวเกา 3 ชั้น ตึกแถวใหม / อาคารพาณิชย สถานที่ราชการ ศาสนสถาน ตรอกซอย ถนนหลัก


อาคารไมเกา ตึกแถวเกา 2 ชั้น ตึกแถวเกา 3 ชั้น ตึกแถวใหม / อาคารพาณิชย สถานที่ราชการ ศาสนสถาน ตรอกซอย ถนนหลัก


อาคารไมเกา ตึกแถวเกา 2 ชั้น ตึกแถวเกา 3 ชั้น ตึกแถวใหม / อาคารพาณิชย สถานที่ราชการ ศาสนสถาน ตรอกซอย ถนนหลัก


อาชีพคาขายที่พบมาก อาหาร (สด,ปรุงแตง) สมุนไพร , ยา ของชํา (สวนใหญเปนที่พักอาศัยและธุรกิจสวนตัว)


ป� ญ หา

Proublem

1. เอกลักษณของยานยังไมเปนที่จดจํา 2. ระบบปายนําทางไมชัดเจน ชํารุดเสียหายหลายจุด 3. ไมมีระบบปายใหขอมูลตามสถานที่เกาแกและสําคัญ 4. คอนขางแออัด พื้นที่จํากัด ไมเปนระเบียบ 5. อาคารเกาไมไดรับการดูแล ถูกปลอยทิ้งราง 6. ศาสนสถานสําคัญหลายแหงยังไมเปนที่รูจัก


แนวความคิ ด Concept

“ Charm of Oldness ” จากการสํารวจพื้นที่ทําใหพบวา ยานตลาดพลูมีเอกลักษณความเกาที่มีเสนห เปรียบเสมือนหองเกาที่มีคาแตยังไมมีการนําเอกลักษณมาทําใหเกิดจุดเดน การปรับใชในพื้นที่อยางเหมาะสม จึงเกิดแนวคิดเพื่อพัฒนาและดึงเสนห ความเกาของยานออกมา


Design

งานออกแบบ


ไทย

จี น

อิ ส ลาม

แตละศาสนามีความแตกตางกัน ในเรื่องความเชื่อ สัญลักษณ ลวดลาย สี แตจุดมุงหมายเดียวกันคือ ความสงบ ทําใหอยูรวมกันอยางมีความสุข


ไทย

Thai


Color

Primary

PANTONE CMYK RGB

295 c 100 : 84.2 : 36.15 : 38.82 0 : 40 : 86 #002856

PANTONE CMYK RGB

7563 c 14.6 : 41.47 : 100 : 0.52 217 : 154 : 41 #d99a29

PANTONE CMYK RGB

7483 c 83.69 : 38.38 : 88.41 : 33.99 36 : 93 : 56 #245d38

Secondary

PANTONE CMYK RGB

7421 c 31.82 : 95.25 : 93.64 : 43.78 114 : 27 : 24 #721b18


(กราฟกที่เลือกมาใชเปนของในพื้นที่ตลาดพลู เนื่องจากมีลวดลายที่คลายคลึงกันหลายสถานที่จํานวนมาก จึงเลือกลวดลายที่พบเจอไดนอยมากที่สุด)


Thai Graphic Element


จี น

Chinese


Color

Primary

PANTONE CMYK RGB

1815 c 29.86 : 91.39 : 97.77 : 34.23 131 : 40 : 28 #83281c

PANTONE CMYK RGB

7563 c 14.6 : 41.47 : 100 : 0.52 217 : 154 : 41 #d99a29

4975 c 47.71 : 73.47 : 83.72 : 68.14 66 : 33 : 11 #42210b

PANTONE CMYK RGB

Process Blue c 82.29 : 40.7 : 0 : 0 0 : 130 : 202 #0082ca

Secondary

PANTONE CMYK RGB


(กราฟกที่เลือกมาใชเปนของในพื้นที่ตลาดพลู เนื่องจากมีลวดลายที่คลายคลึงกันหลายสถานที่จํานวนมาก จึงเลือกลวดลายที่พบเจอไดนอยมากที่สุด)


Chinese Graphic Element


มุ ส ลิ ม

Chinese


Color

Primary

PANTONE CMYK RGB

350 c 79.43 : 43.21 : 83.58 : 42.22 43 : 81 : 52 #2b5134

PANTONE CMYK RGB

7563 c 14.6 : 41.47 : 100 : 0.52 217 : 154 : 41 #d99a29

7515 c 20.43 : 48.57 : 63.9 : 1.93 200 : 139 : 102 #c88b66

PANTONE CMYK RGB

7533 c 54.21 : 60 : 83.25 : 54.87 73 : 59 : 35 #493b23

Secondary

PANTONE CMYK RGB


(กราฟกที่เลือกมาใชเปนของในพื้นที่ตลาดพลู เนื่องจากมีลวดลายที่คลายคลึงกันหลายสถานที่จํานวนมาก จึงเลือกลวดลายที่พบเจอไดนอยมากที่สุด มุสลิมมีลวดลายนอย ไมไดรับอนุญาติเขาในพื้นที่)


Muslim Graphic Element




Color

Primary

PANTONE CMYK RGB

295 c 100 : 84.2 : 36.15 : 38.82 0 : 40 : 86 #002856

PANTONE CMYK RGB

7421 c 31.82 : 95.25 : 93.64 : 43.78 114 : 27 : 24 #721b18

PANTONE CMYK RGB

350 c 79.43 : 43.21 : 83.58 : 42.22 43 : 81 : 52 #2b5134


Color

Secondary

PANTONE CMYK RGB

7556 c 27.41 : 42.19 : 100 : 5 184 : 140 : 29 #b88c1d

PANTONE CMYK RGB

254 c 50.41 : 42 : 100 : 0 123 : 160 : 25 #a22c1b


Graphic Element


Typography Usage

รูปแบบตัวอักษรภาษาไทย หลัก

รูปแบบตัวอักษรภาษาไทย รอง

K2D ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ

SARABUN ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ


Typography Usage

รูปแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ หลัก

K2D

รูปแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ รอง

SARABUN

A B C D E F G H I J K L N O P Q R S T U V W X Y 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0

M Z

A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 2

1


ตํ า แหน่ ง ป� า ย Sign Location

ปายบอกทาง ปายชื่อสถานที่ ปายขอมูล 3wall painting

2

4

11

5

1. ปายชื่อตลาดพลู บริเวณแยกใตสะพาน 2. ปายขอมูลคลองบางกอกใหญ 3. ปายข อมูลตลาดพลู 15 4. ปายขอมูลศาลเจาพอพระเพลิง 5. ปายชื่อหองสมุดตลาดพลู 6. ปายขอมูลประวัติตลาดพลูโฮสเทล อดีตตึกปูนที่เกาที่สุด 7. ปายบอกทางศาลเจา และหองสมุดกอนทางแยกใตสะพาน 8. ปายบอกทางวัดบริเวณหัวมุมสี่แยก 9. ปายบอกทางแยกใตสะพาน ()จากทางบางยี่เรือ) 3 10. ปายบอกทางไปวุ ฒากาศ 11. ปายบอกทางทาเรือ

8

3 1

7

9

10

3 6

2

1


ตํ า แหน่ ง ป� า ย Sign Location

3 1

2 3

ปายบอกทาง ปายชื่อสถานที่ ปายขอมูล wall painting

4 5

6

3

1. ปายบอกทาง (มาจากทางบางยี่เรือ) 2. ปายบอกทางวัด (มาจากทางใตสะพาน) 3. ปายบอกทางเขามัสยิด 4. ปายชื่อสถานีรถไฟตลาดพลู 5. ปายชื่อสถานีรถไฟตลาดพลู 6. ปายประวัติขอมูลสถานีรถไฟ


ตํ า แหน่ ง ป� า ย Sign Location

6 7

ปายบอกทาง ปายชื่อสถานที่ ปายขอมูล wall painting

5 3 1 2

4

1. ปายบอกทางวัดจันทาราม วัดราชคฤกห วัดอินทาราม 2. ปายทางเขามัสยิดสวนพลู (แยกรางรถไฟ) 3. ปายทางเขามัสยิดสวนพลู 4. ปายขอมูลประวัติมัสยิดสวนพลู 5. ปายขอมูลประวัติวัดราชคฤกห 6. ปายขอมูลประวัติวัดจันทาราม 7. ปายขอมูลประวัติวัดอินทาราม


วั ส ดุ

Material


Pictogram


Shape and Form

หนาตางโคโลเนียล

หลังคาอาคารไม , ปูน


ป� า ยชื� อ สถานที�

15 cm.

120 cm.

15 cm.

15 cm.

230 cm.

230 cm.

30 cm.

170 cm. 15 cm.

Scale : 1:25

30 cm.

ตลาดพลู Talat Phlu

15 cm.

85 cm.

85 cm.

15 cm.

15 cm.

85 cm.

85 cm.

15 cm.


ป� า ยชื� อ สถานที�

170 cm.

5 cm.

80 cm.

5 cm.

2 cm. 5 cm.

130 cm.

130 cm.

5 cm.

60 cm.

5 cm. พระวิหารหลังใหม่ สมัยรัชกาลที� 3

60 cm.

New temple, Rama 3

Scale : 1:25

10 cm.

10 cm.

50 cm.

50 cm.


ป� า ยชื� อ สถานที�

60 cm.

60 cm.

25 cm.

25 cm.

ตลาดพลู

25 cm. 10 cm.

260 cm.

170 cm.

Scale : 1:25

25 cm.

Talat Phlu

10 cm.

50 cm.

10 cm. 10 cm.

15 cm.


1

ป� า ยข้ อ มู ล

10 cm.

110 cm.

10 cm.

10 cm. 25 cm.

190 cm.

170 cm.

190 cm. 20 cm.

20 cm. Talat Phlu ตลาดพลู

1

3

2

8

9

4

5 7 6

110 cm.

Location

Traveling / การเดินทาง

/ สถานที�แนะนํา

1. Wat Rajkrueh

วัดราชคฤกห์ราชวรวิหาร

2. Wat Chantharam วัดจันทารามวรวิหาร

3. Wat Intharam

4. Suan Phlu Mosque

5. Ziang Keng Tua

6. Wat Pho Nimit

7. Wat Chantharam

8. Wat Chantharam

วัดอินทารามวรวิหาร โรงเจเซี�ยงเข่งตั�วะ

วัดจันทารามวรวิหาร

มัสยิดสวนพลู

วัดโพธิ�นิมิตรสถิตมหาสีมาราม

วัดจันทารามวรวิหาร

BTS Talat Phlu / Wongwain Yai

110 cm.

รถไฟฟ�า BTS สถานีตลาดพลู Train Station Talat Phlu

สถานีรถไฟตลาดพลู

Bus no.4 / no. 9 / no. 43 / no. 111 / no. 175 รถเมย์ สาย 4 , 9 , 43 , 111 , 175 Talat Phlu Pier ท่าเรือตลาดพลู

9. Wat Chantharam วัดจันทารามวรวิหาร

Scale : 1:25

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

30 cm.

30 cm.


2

ป� า ยข้ อ มู ล

10 cm.

110 cm.

10 cm.

10 cm. 25 cm.

190 cm.

170 cm.

190 cm. 20 cm.

20 cm. วัดจันทาราม

Wat Chantharam Worawihan

วัดจันทารามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร เป็นวัดโบราณสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ “วัดบางยีเ่ รือกลาง” ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๓ พระยาสุรเสนา (ขุนเณร) ได้บรู ณะขึน ั พระราชทาน ้ ใหม่ และได้รบ นามว่า “วัดจันทาราม” ต่อมาภายหลังได้ยกขึ้นเป็นพระอารามหลวง ชนิดวรวิหาร พระอุโบสถ เดิมเป็นโครงสร้างด้วยการก่ออิฐถือปูน ต่อมาทรุ ดโทรมมาก พระวิสุทธิวราภรณ์ เจ้าอาวาสได้เริ่ม สร้างบูรณะในปีพ.ศ. ๒๕๑๗ โดยเปลี่ยนเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นลายศิลปกรรมแบบจีน ภายในเป็นที่ประดิษฐาน พระวิหาร ลักษณะศิลปะแบบจีน ไม่มีชอ ่ ฟ้า ใบระกา โครงสร้างเดิมก่ออิฐถือปูนเช่นเดียวกับพระอุโบสถ ได้รับ

110 cm.

การบูรณะใหม่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กในคราวเดียวกัน

Wat Chantharam worawihan is a third-level royal temple of the worawihan type. It was built in the Ayutthaya period. Original, It was named Wat Bang yi-ruea klang or Wat Klang. In the third region of the Rattanakosin period, It was renovated by Phraya Surasena (Khun New) and it new name was given by the king and it was eleveted to the s’ of a royal temple of the worawihan type

110 cm.

The ordinational hall was intially made of brick and motar. In it dirapidated state, Phra Wisutthiwaraporn, The abbot, Had it renoveted in 1974 and the renovation was completed 1977. It structure was changed to reinfored concrete and made in the chineses architectural style . In side house the principle brass buddha in the attitude of sudduing mara. The inside wall also features a high-relief crowned buddha image as national heritage.

Scale : 1:25

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

30 cm.

30 cm.


ป� า ยข้ อ มู ล

10 cm.

110 cm.

10 cm.

10 cm. 25 cm.

190 cm.

170 cm.

190 cm. 20 cm.

20 cm. ศาลเจ้าพ่อพระเพลิง Chao Por Pra Pleng

ศาลเทพเจ้าไฟ ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในชุมชนชาวจีนแทบทุกพื้นที่ปัจจุบันที่หลงเหลืออยูน ่ ้ันมีหลายแห่งที่มีช่ อ ื เสียง เช่น ศาลเทพเจ้าไฟทีส ่ ร้างขึน ่ ครปักกิง่ ตัง้ แต่รูปเคารพแกะสลักจากไม้ขนาดใหญ่เป็นรูปเทพเจ้า ้ แต่ สมัยราชวงศ์ถงั ทีน ชายมีหนวดเครา แต่งชุดอย่างขุนนางมือซ้ายถือน�าเต้าไฟหรือไต้หวันกรุงไทเป ก็มศ ี าลเทพเจ้าไฟเช่นกัน โดยรูปเคารพ แกะสลักไม้เป็นเทพเจ้าชายมีหนวดเคราะสีแดงแต่งชุดจักรพรรดิ สําหรับเทพเจ้าไฟ หรือเจ้าพ่อพระเพลิง คนเรียกกันทั่วไปด้วยสําเนียงแต้จ๋ิวว่า ฮวย-สิ่ง-เอี่ย-กง เป็นประธาน ในศาลแกะสลักจากไม้เป็นลักษณะเทพเจ้ากายสีเขียวหนวดเคราผมสีแดง มีตาทีส ่ ามกลางหน้าผาก ใส่ชด ุ เกาะนักรบ มืขวาถือกระบองสีทอง มือซ้ายประกบนิ้วสัญลักษณ์มุทรายื่นขวางกลางอก

110 cm.

The Fire God Shrine was founded in almost every Chinese community. There are now many famous places. Such as the fire god shrine built but Tang Dynasty in Beijing since the idol is carved from large wooden statues of god. Bearded Man Dressed like a nobleman, holding a calabash or Taiwanese Taipei Also had a shrine of fire gods by idols Carved wood as a deity, male with red beard, dressed in emperor dress.

110 cm.

For the fire god Or the fire godfather People call it the Chaozhou dialect. Hui-Thing-Aie-Kong is the chairman. In the shrine, carved from wood, it resembles a god of green body, beard, red hair. With the third eye in the middle of the forehead Wearing a warrior island. Right hand holding a golden club The left hand is pressed against the fingers, symbol of the moon, extending across the middle of the chest.

Scale : 1:25

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

30 cm.

30 cm.


ป� า ยข้ อ มู ล

10 cm.

110 cm.

10 cm.

10 cm. 25 cm.

190 cm.

170 cm.

190 cm. 20 cm.

20 cm. มัสยิดสวนพลู

Suan Phlu Mosque

มุสลิมในบริเวณมัสยิดสวนพลู ประกอบด้วยมุสลิมเชื้อชาติไทยแต่ด่ังเดิม และเชื้อสายมลายูจากอยุธยา ซึ่งคง อพยพมาตั้งแต่สมัยกรุงแตก เชื้อสายมลายูท่ีถูกกวาดต้อนมาจากอาณาจักรปัตตานี และมุสลิมจากอินเดียเข้ามาตั้ง ถิ่นฐานในชุมชนนี้ด้วยเช่นกัน ในปัจจุบันและเป็นที่ต้ังของมัสยิดสวนพลูในขณะนี้ "มัสยิดสวนพลู" แต่เดิมเป็นอาคารไม้ช้ันเดียว เวลาที่ปลูก สร้างไม่แน่ชัด มีลักษณะเป็นรูปทรงแบบทรงแบบเรือนไทย (ปั้ นหยา) มีโดมเสาปัง (หอกลอง) เป็นไม้เช่นกัน จนถึง ปี พ.ศ.2379 นายฮัจยีโต๊ะชางอ (ชาย) ซึ่งเป็นอิหม่ามอันดับแรกและเป็นผู้ริเริ่มก่อสร้างตัวอาคารแบบไทย (กะฎี) ก่ออิฐถือปูน ซึ่งชาวบ้าน (สัปบุรุษ) ในสมัยนั้นเรียกว่า สุเหร่า หรือ กุฏี

110 cm.

Muslims in Suan Plu Mosque area Consisting of original Thai ethnicity and lineageMalay from Ayutthaya Which probably had migrated since the city Forced MalayFrom the kingdom of Pattani And Muslims from India also settled in this community. Currently and is the location of the Suanplu Mosque at this time. "Suan Phlu Mosque" was originally a one-story wooden building when

110 cm.

planted. Unclear Looks like a Thai-style house (hip) with a domed pole (Drum Tower) as well as wood. 1836 B.E., Haj Yee Tochang (Chai), the first imam and the creator of the Thai-style building (Kadi) Masonry, which the villagers (weekends) in those days called the mosque or kuti.

Scale : 1:25

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

10 cm.

30 cm.

30 cm.


ป� า ยข้ อ มู ล

10 cm.

130 cm.

190 cm.

190 cm. 170 cm.

20 cm.

20 cm. สถานี ร ถไฟตลาดพลู

Talat Phlu Train Station

สถานีรถไฟตลาดพลู” ก็ยังถือว่าเป็นสถานีรถไฟที่ยังคงมีความสําคัญ เพราะเป็น หนึ่งในสถานีรถไฟสายแม่กลองที่ต้ังอยูห ่ า่ งจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ท่ีเป็นต้นทางไม่ มากนัก ในอดีตเคยเป็นเส้นทางหลักรองจากท่าเรือที่ใช้ในการขนส่งสินค้าเกษตรและ อาหารแห้ง โดยเฉพาะปลาทู ทุกวันนี้ยังมีขบวนรถไฟที่ขนส่งทั้งคนและสิ่งของผ่านเข้า ออกอยูท ่ ุกวัน ตัวสถานีจึงยังพอมองเห็นความคึกคักอยูเ่ สมอ

150 cm.

ใกล้ๆ กับตัวสถานีรถไฟ ทั้งบริเวณริมทางรถไฟ และริมถนน ก็ยังเป็นที่ต้ังของร้าน อาหารอร่ อ ยๆ อี ก หลายร้ า น ไม่ ว่ า จะเป็ น ร้ า นก๋ ว ยเตี๋ ย ว ข้ า วหมู แ ดง อาหารตามสั่ ง ร้านขนมหวาน เป็นต้น และยังมีสภาพบ้านเรือนเก่าๆ และวิถีชีวิตชุมชนในอดีตที่ทํา ให้เรายังสัมผัสได้อยู่ Talat Phlu Railway Station "is still considered a train station that is still important because it is

150 cm.

One of the Mae Klong Railway Station, which is located away from the Wongwien Yai Railway Station that is not the originIn the past, it used to be the main route after the port used to transport agricultural products and dry food, especially mackerel Today there are still trains that transport both people and goods. Out every day The station therefore still sees the bustle always.

20 cm.

70 cm.

Scale : 1:25

20 cm.


ป� า ยบอกทาง

90 cm.

25 cm.

290 cm.

290 cm. 35 cm.

35 cm.

170 cm.

Scale : 1:25

35 cm.

สถานี ตํารวจตลาดพลู

35 cm.

35 cm.

ศาลเจ้าพ่อพระเพลิง Chao Por Pra Pleng

35 cm.

35 cm.

ศูนย์อาหารตลาดพลู

35 cm.

Talat Phlu Police station

Talat Phlu Food Center

20 cm.

20 cm.

150 cm.

150 cm.


วัดจันทาราม Wat Chantharam


สถานี ร ถไฟตลาดพลู

Talat Phlu Train Station

สถานีรถไฟตลาดพลู” ก็ยังถือว่าเป็นสถานีรถไฟที่ยังคงมีความสําคัญ เพราะเป็น หนึ่งในสถานีรถไฟสายแม่กลองที่ต้ังอยูห ่ า่ งจากสถานีรถไฟวงเวียนใหญ่ท่ีเป็นต้นทางไม่ มากนัก ในอดีตเคยเป็นเส้นทางหลักรองจากท่าเรือที่ใช้ในการขนส่งสินค้าเกษตรและ อาหารแห้ง โดยเฉพาะปลาทู ทุกวันนี้ยังมีขบวนรถไฟที่ขนส่งทั้งคนและสิ่งของผ่านเข้า ออกอยูท ่ ุกวัน ตัวสถานีจึงยังพอมองเห็นความคึกคักอยูเ่ สมอ ใกล้ๆ กับตัวสถานีรถไฟ ทั้งบริเวณริมทางรถไฟ และริมถนน ก็ยังเป็นที่ต้ังของร้าน อาหารอร่ อ ยๆ อี ก หลายร้ า น ไม่ ว่ า จะเป็ น ร้ า นก๋ ว ยเตี๋ ย ว ข้ า วหมู แ ดง อาหารตามสั่ ง ร้านขนมหวาน เป็นต้น และยังมีสภาพบ้านเรือนเก่าๆ และวิถีชีวิตชุมชนในอดีตที่ทํา ให้เรายังสัมผัสได้อยู่ Talat Phlu Railway Station "is still considered a train station that is still important because it is One of the Mae Klong Railway Station, which is located away from the Wongwien Yai Railway Station that is not the originIn the past, it used to be the main route after the port used to transport agricultural products and dry food, especially mackerel Today there are still trains that transport both people and goods. Out every day The station therefore still sees the bustle always.


ตลาดพลู Talat Phlu


พระวิหารหลังใหม่ สมัยรัชกาลที� 3

New temple, Rama 3





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.