การงานอาชีพและเทคโนโลยี5

Page 1

1

วิ สยั ทัศน์ หลักสูตรโรงเรียนสตรีสมุทรปราการ พุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ พัฒนาผูเ้ รียนทุกคน ซึง่ เป็ นกำาลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ท่ี มีความสมดุลทัง้ ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจติ สำานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ น พลโลก ยึดมันในการปกครองตามระบอบประชาธิ ่ ปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข มี ความรูแ้ ละทักษะพืน้ ฐาน รวมทัง้ เจตคติทจ่ี าำ เป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการ ศึกษาตลอดชีวติ โดยมุง่ เน้นผูเ้ รียนเป็ นสำาคัญบนพืน้ ฐานความเชือ่ ว่า ทุกคนสามารถเรียนรูแ้ ละ พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ตลอดจนมีความรัก ความภาคภูมใิ จในท้องถิน่ มีสว่ นร่วมใน การพัฒนา และนำาเสนอเรือ่ งราวของท้องถิน่ ซึง่ สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของโรงเรียนสตรี สมุทรปราการ ดังนี้ “คนดีแห่งสังคม ดำารงคุณธรรม เลิศล้าำ ปญั ญา รักษาความเป็ นไทย ทันสมัยในสากล”

หลักการและจุดมุ่งหมาย

หลักการ หลักสูตรโรงเรียนสตรีสมุทรปราการ พุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการทีส่ าำ คัญตามหลักสูตแกนกลางการศึกษาพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการทีส่ าำ คัญ ดังนี้ 1. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพือ่ ความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดมุง่ หมายและมาตรฐาน การเรียนรูเ้ ป็ นเป้าหมายสำาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพืน้ ฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล 2. เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพือ่ ปวงชน ทีป่ ระชาชนทุกคนมีโอกาสได้รบั การศึกษาอย่าง เสมอภาคและมีคณ ุ ภาพ 3. เป็ นหลักสูตรการศึกษาทีส่ นองการกระจายอำานาจ ให้สงั คมมีสว่ นร่วมในการจัดการ ศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิน่ 4. เป็ นหลักสูตรการศึกษาทีม่ โี ครงสร้างยืดหยุน่ ทัง้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการ จัดการเรียนรู้ 5. เป็ นหลักสูตรการศึกษาทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสำาคัญ 6. เป็ นหลักสูตรการศึกษาสำาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรูแ้ ละประสนการณ์


2

จุดมุ่งหมาย หลักสูตรโรงเรียนสตรีสมุทรปราการ พุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้เป็ นคนดี มีปญั ญา มีความสุข มีศกั ยภาพ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำาหนดเป็ นจุดมุง่ หมายเพื่อให้เกิดกับผูเ้ รียนเมือ่ จบการ ศึกษาตามหลักสูตร ดังนี้ 1. มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ติ น ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารในการสือ่ สาร การคิด การแก้ปญั ญา การใช้เทคโนโลยี และมี ทักษะชีวติ 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มีสุขนิสยั และรักการออกกำาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจติ สำานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิ ่ ถชี วี ติ และ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข 5. มีจติ สำานึกในการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย การอนุรกั ษ์และพัฒนาสิง่ แวดล้อม มีจติ สาธารณะทีม่ งุ่ ทำาประโยชน์และสร้างสิง่ ทีด่ งี ามในสังคม และอยูร่ ว่ มกันในสังคม อย่างมีความสุข 6. มีเจตคติทด่ี ี ภาคภูมใิ จในท้องถิน่ ของตนเอง มีสว่ นร่วมในการแก้ไขและพัฒนาท้องถิน่ ตลอดจนสามารถนำาเสนอข้อมูลเรือ่ งราวของท้องถิน่

สมรรถนะสำาคัญของผูเ้ รียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผูเ้ รียนตามหลักสูตรโรงเรียนสตรีสมุทรปราการ พุทธศักราช 2552 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ณ ุ ภาพตาม มาตรฐานทีก่ าำ หนด ซึง่ จะช่วยให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสำาคัญและคุณลักษณะอันถึงประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรียนสตรีสมุทรปราการ พุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ ให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสำาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒ ั นธรรมใน การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรูค้ วามเข้าใจ ความรูส้ กึ และทัศนะของตนเองเพือ่ แลก เปลีย่ นข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทัง้ การเจรจาต่อรองเพือ่ ขจัดและลดปญั หาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รบั ข้อมูลข่าวสาร ด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ กี ารสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำานึง ถึงผลกระทบทีม่ ตี ่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิ ด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพือ่ นำาไปสูก่ ารสร้าง องค์ความรูห้ รือสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม


3

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรค ต่างๆทีเ่ ผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ ความรูม้ าใช้ในการป้องกันและแก้ไขปญั หา และมีการตัดสินใจทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำานึงถึงผลก ระทบทีเ่ กิดขึน้ ต่อตนเอง สังคมและสิง่ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนำากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำาเนินชีวติ ประจำาวัน การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง การเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่อง การทำางาน และ การอยูร่ ่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและ ความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพ แวดล้อม และการรูจ้ กั หลีกเลีย่ งพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ทส่ี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ่นื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี ด้านต่างๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ เรียนรู้ การสือ่ สาร การทำางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณ ุ ธรรม

คุณลักษณะที่พึงประสงค์

หลักสูตรโรงเรียนสตรีสมุทรปราการ พุทธศักราช 2552 ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เพือ่ ให้ สามารถอยูร่ ่วมกับผูอ้ ่นื ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวนิ ยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 6. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 7. รักความเป็ นไทย 8. มีจติ สาธารณะ


4

ตารางวิ เคราะห์สาระมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วดั ชัน้ ปี

สาระที่ 2: การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1: เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิง่ ของเครือ่ งใช้หรือวิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม สิง่ แวดล้อม และมีสว่ นร่วมในการจัดการเทคโนโลยีทย่ี งยื ั่ น สาระที่ 3 : เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาตรฐาน ง3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสือ่ สาร การแก้ปญั หาการทำางานและอาชีพ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคณ ุ ธรรม สาระการเรียนรู้ ตัวชี้วดั ชัน้ ปี มาตรฐาน ง 2.1 1. อธิบายกระบวนการเทคโนโลยี 2. สร้างสิง่ ของเครือ่ งใช้หรือวิธกี ารเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย ออกแบบโดย ถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพือ่ นำาไปสูก่ ารสร้างต้นแบบ สิง่ ของเครือ่ งใช้หรือถ่ายทอดความคิดของวิธกี ารเป็ นแบบจำาลองความคิดและการ รายงานผลเพือ่ นำาเสนอวิธกี าร 3. มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปญั หาหรือสนองความต้องการในงานทีผ่ ลิตเอง 4. เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม สิง่ แวดล้อม และมีการจัดการ เทคโนโลยีดว้ ยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยีทไ่ี ม่มผี ลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม

หน่ วยการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4

สรุปผลการประเมิ น

ผ่าน

ไม่ผ่าน

 

 


5

ตารางวิ เคราะห์สาระมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั ชัน้ ปี (ต่อ) สาระการเรียนรู้ ตัวชี้วดั ชัน้ ปี มาตรฐาน ง 3.1 1. อธิบายหลักการเบือ้ งต้นของการสือ่ สารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. อธิบายหลักการและวิธกี ารแก้ปญั หาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ค้นหาข้อมูลและติดต่อสือ่ สารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างมีคณ ุ ธรรมและ จริยธรรม 4. ใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน

หน่ วยการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4

   

สรุปผลการประเมิ น

ผ่าน

ไม่ผ่าน

  

  


6

ง 22102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 รายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำานวน 1 หน่ วยกิต ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ศึกษา วิเคราะห์ขอ้ มูล สารสนเทศ การรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูลเพื่อ ให้ได้สารสนเทศที่นาำ มาใช้ในการตัดสิ นใจ และวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศหรื อ สนองความต้องการของมนุษย์ สามารถสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย ถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพร่ าง 3 มิติ หรื อภาพฉาย เพื่อจำาลองความคิดพร้อมนำาเสนอ มีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม หลักการเบื้องต้นของการสื่ อสารข้อมูลและเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ การเลือกใช้เครื่ องมือในการสื บค้นข้อมูลและเลือกใช้ซอฟต์แวร์ ในการทำางาน การคำานวณ การจัดเรี ยงข้อมูลได้ถูกต้องและประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจำาวันได้ เพื่อให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล สารสนเทศการ รวบรวมข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเป็ นสารสนเทศ รู ้จกั ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศเข้ามาช่วยในการ ตัดสิ นใจ สามารถเลือกเครื่ องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำางานได้เหมาะสม มีความคิดสร้างสรรค์ เกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้าใจระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ รวบรวม สื บค้นข้อมูลจากระบบเครื อข่ายและแหล่งข้อมูล ในท้องถิ่น ใช้ซอฟแวร์ ในการทำางาน การคำานวณ การจัด เรี ยงข้อมูล และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสะอาดในชีวิตประจำาวันอย่าง มีจิตสำานึก และความรับผิดชอบ รหัสตัวชี้วดั ง 2.1 ม 2/1 ง 3.1 ม 2/1

รวมทั้งหมด 8 ตัวชี้วดั

ง 2.1 ม 2/2 ง 3.1 ม 1/2

ง 2.1 ม 2/3 ง 3.1 ม 2/3

ง 2.1 ม 2/4 ง 3.1 ม 2/4


7

โครงสร้างรายวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี รหัสวิ ชา ง 22102 สำาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2

สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิง่ ของเครื่องใช้หรือวิธกี ารตาม กระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิง่ แวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการ เทคโนโลยีทย่ี งยื ั่ น สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจเห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลการเรียนรู้ ั การทำางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม การสือ่ สาร การแก้ปญหา ลำาดับ มาตรฐานการเรียนรู้/ เวลา น้ำ าหนัก ชื่อหน่ วยการเรียนรู้ สาระสำาคัญ ที่ ตัวชี้วดั (ชัวโมง) ่ คะแนน 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ง 3.1 ม 2/1 อธิบาย 6 20 1. หลักการเบื้องต้นของการสื่ อสาร หลักการเบือ้ งต้นของการ หลักการเบือ้ งต้นของ ข้อมูลเป็ นการทำางานร่ วมกันอย่างมี สือ่ สารข้อมูลและเครือ การสือ่ สารข้อมูลและ ประสิ ทธิภาพของผูส้ ่ งข้อมูลข่าวสาร ข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สื่ อกลาง หรื อช่องทางการสื่ อสาร และผูร้ ับเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ 2. เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื อ ข่ายมีลกั ษณะการทำางานแตกต่างกัน จึงควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ จำานวนคอมพิวเตอร์ ในองค์กร งบ ประมาณในองค์กรและความสะดวก ของผูใ้ ช้ เพื่อให้การทำางานมี ประสิ ทธิภาพ รวมหน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 กระบวนการเทคโนโลยี 6 20


8

ลำาดับ ชื่อหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 หลักการและวิธกี ารแก้ ั ปญหาด้ วยกระบวนการ ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ

มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วดั ง 2.1 ม 2/1 อธิบาย กระบวนการเทคโนโลยี

สาระสำาคัญ

1. กระบวนการเทคโนโลยี ั ประกอบด้วย กำาหนดปญหา รวบรวมข้อมูล เลือกวิธกี ารแก้ ปญั หา ออกแบบและปฏิบตั กิ าร ทดสอบ ปรับปรุง และประเมินผล ง 3.1 ม 2/2 1. กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศเป็ นกระบวนการในการ จัดการข้อมูล เพือ่ ให้ได้สารสนเทศ หรือความรูท้ ส่ี ามารถนำาไปใช้ในการ ตัดสินใจหรือเป็นประโยชน์ในการ ดำาเนินชีวติ ั 2. หลักการแก้ปญหาด้ วย กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องรูจ้ กั ปรับเปลีย่ นรูปแบบและวิธี การให้เหมาะสมกับแต่ละปญั หาจึง จะประสบความสำาเร็จ ั 3. วิธกี ารแก้ปญหาด้ วยกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ได้ผลลัพธ์ ทีด่ ี ต้องรูจ้ กั วิเคราะห์รายละเอียด ของปญั หา วางแผนในการแก้ปญั หา และถ่ายทอดความคิดอย่างมีขนั ้ ตอน ดำาเนินการแก้ปญั หาตรวจสอบ และปรับปรุง รวมหน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 เครือข่ายอิ นเทอร์เน็ตและการสื่อสาร 3 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 3 ง 3.1 ม 2/3 ค้นหา การใช้งานอินเทอร์เน็ตควรทำาตาม การค้นหาข้อมูลและการ ข้อมูลและติดต่อสือ่ สาร ขัน้ ตอนทีถ่ ูกต้องอย่างมีคุณธรรม ติดต่อสือ่ สารผ่านเครือ ผ่านเครือข่าย และจริยธรรม เพือ่ ให้ใช้งานได้อย่าง ข่ายคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ อย่างมี มีประสิทธิภาพ และสร้างความเป็น คุณธรรมและจริยธรรม ระเบียบเรียบร้อยในสังคม อินเทอร์เน็ต รวมหน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 การค้นหาข้อมูลและการติ ดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์

เวลา (ชัวโมง) ่ 6

น้ำ าหนัก คะแนน 30

6 6

30 10

6

10


9

ลำาดับ ชื่อหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 การใช้ซอฟต์แวร์ในการ ทำางาน

มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วดั ง 3.1 ม 2/4 ใช้ ซอฟต์แวร์ในการทำางาน

สาระสำาคัญ

1. ใช้ซอฟต์แวร์เป็นชุดคำาสังที ่ ส่ งให้ ั่ คอมพิวเตอร์ทาำ งานอย่างมี ประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ระบบและซอฟต์แวร์ ประยุกต์ 2. การใช้ซอฟต์แวร์ระบบและ ซอฟต์แวร์ประยุกต์อย่างถูกวิธมี ี ประสิทธิภาพได้ผลงานทีม่ คี ุณภาพ ง 2.1 ม 2/2 สร้างสิง่ ของ การสร้างชิน้ งานให้มคี ุณภาพควรนำา เครื่องใช้หรือวิธกี าร ความคิดสร้างสรรค์ ความรูเ้ กีย่ วกับ เทคโนโลยีอย่าง งานเขียนแบบ กลไกและการ ปลอดภัย ออกแบบโดย ควบคุมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์มา ถ่ายทอดความคิดเป็น ประยุกต์ใช้ร่วมกัน ภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพ ฉาย เพือ่ นำาไปสูก่ าร สร้างต้นแบบสิง่ ของ เครื่องใช้หรือถ่ายทอด ความคิดของวิธกี ารเป็น แบบจำาลองความคิดและ การรายงานผลเพื่อนำา เสนอวิธกี าร ง 2.1 ม 2/3 มีความคิด สร้างสรรค์ในการแก้ ั ปญหาหรื อสนองความ ต้องการในงานทีผ่ ลิตเอง ง 2.1 ม 2/4 เลือกใช้ 1. การเลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เทคโนโลยีอย่าง สร้างสรรค์ จะทำาให้มนุษย์มคี ุณภาพ สร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม ชีวติ ทีด่ ขี น้ึ และสิง่ แวดล้อมไม่ถูก สิง่ แวดล้อม และมีการ ทำาลาย จัดการเทคโนโลยีดว้ ย 2. การจัดการเทคโนโลยีเพือ่ ให้เกิด การลดการใช้ทรัพยากร ประโยชน์ต่อมนุษย์และไม่มโี ทษต่อ หรือเลือกใช้เทคโนโลยีท่ี สิง่ แวดล้อมทำาได้โดยอาศัยความรู้ ไม่มผี ลกระทบต่อสิง่ เรื่องพลังงานหมุนเวียนและ แวดล้อม เทคโนโลยีสะอาด รวมหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ซอฟต์แวร์ในการทำางาน

เวลา (ชัวโมง) ่ 24

น้ำ าหนัก คะแนน 40

22

40


10

ตารางแสดงช่วงเวลาวัดและประเมิ นผลการเรียน

ชื่อหน่ วย 1. หลักการเบือ้ งต้นของการสือ่ สารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ั 2. หลักการและวิธกี ารแก้ปญหาด้ วย กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. การค้นหาข้อมูลและติดต่อสือ่ สารผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 4. การใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน

รวม

มาตรฐาน / ตัวชี้วดั ง 3.1 ม 2/1 ง 3.1 ม 2/2 ง 2.1 ม 2/1 ง 3.1 ม 2/3 ง 3.1 ม 2/4 ง 2.1 ม 2/2 ง 2.1 ม 2/3 ง 2.1 ม 2/4

ช่วงเวลาวัดและประเมิ นผลการเรียน ก่อน กลาง ภาค

กลาง ภาค

หลังกลาง ภาค

ปลาย ภาค

รวม คะแนน

15

5

-

-

20

20

10

-

-

30

-

-

5

5

10

-

-

30

10

40

35

15

35

15

100


11

ก่อนสอบกลางภาค

โครงสร้างการวัดผลและประเมิ นผลการเรียน รายวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 รหัสวิ ชา ง 22102 ตัวชี้วดั หน่ วยที่ 1

หน่ วยที่ 2

ง 3.1 ม 2/1

ง 2.1 ม 2/1 ง 3.1 ม 2/2

15

20

คะแนน 35

สอบกลางภาค ตัวชี้วดั หน่ วยที่ 1

หน่ วยที่ 2

ง 3.1 ม 2/1

ง 2.1 ม 2/1 ง 3.1 ม 2/2

5

10

คะแนน 15

หลังสอบกลางภาค ตัวชี้วดั หน่ วยที่ 3

ง 3.1 ม 2/3 5

หน่ วยที่ 4

ง 3.1 ม 2/4 ง 2.1 ม 2/2 ง 2.1 ม 2/3 ง 2.1 ม 2/4 30

คะแนน 35

สอบปลายภาค ตัวชี้วดั หน่ วยที่ 3

ง 3.1 ม 2/3 5

หน่ วยที่ 4

ง 3.1 ม 2/4 ง 2.1 ม 2/2 ง 2.1 ม 2/3 ง 2.1 ม 2/4 10

คะแนน 15


12

รวมคะแนน 100 คะแนน

อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคกับปลายภาค = 70 : 30

หน่ วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ชื่อ หลักการเบือ้ งต้นของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิ วเตอร์

(นางนุชนาถ อินทรวิจติ ร) ผูอ้ อกแบบหน่ วยการเรียนรู้


13


14

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง หลักการเบือ้ งต้นของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 6 คาบ 20 คะแนน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้ วัด

ผู้เรียนรู้อะไร/ ผู้เรียนทำาอะไรได้

ง 3.1 ม 2/1 อธิบายหลัก 1. ผูเ้ รียนรู้อะไร การเบือ้ งต้นของการสือ่ สาร หลักการเบือ้ งต้นของการ ข้อมูลและเครือข่าย สือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ 2. ผูเ้ รียนทำาอะไรได้ อธิบายวิธกี ารแลกเปลีย่ น ข้อมูลข่าวสารจากผูส้ ง่ ผ่านสือ่ กลางไปยังผูร้ บั

สาระสำาคัญ/ ความคิ ดรวบยอด 1. หลักการเบือ้ งต้นของการ สือ่ สารข้อมูลเป็ นการทำางาน ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ของผูส้ ง่ ข้อมูลข่าวสาร สือ่ กลาง หรือช่องทางการ สือ่ สารและผูร้ บั เพือ่ ให้เกิด ความสมบูรณ์ 2. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แต่ละเครือข่ายมีลกั ษณะ การทำางานแตกต่างกัน จึง ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ จำานวนคอมพิวเตอร์ ใน องค์กร งบประมาณใน องค์กรและความสะดวกของ ผูใ้ ช้ เพือ่ ให้การทำางานมี ประสิทธิภาพ

สาระการเรียนรู้ 1. การสือ่ สาร ข้อมูล 2. เครือข่าย คอมพิวเตอร์ 3. ประโยชน์ของ เครือข่าย คอมพิวเตอร์

นำาไปสู่ สมรรถนะสำาคัญ

1. ความสามารถใน การสือ่ สาร 2. ความสามารถใน การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปญั หา 4.ความสามารถใน การใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะ อันพึงประสงค์

1.ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ


15

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องหลักการเบือ้ งต้นของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 6 คาบ 20 คะแนน วิ ธีการประเมิ น 1. การประเมินระหว่างจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 2. การประเมินเมือ่ สิน้ สุด กิจกรรมการเรียนรู้ 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ / คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. กระบวนการทำางาน การนำา เสนอ / อภิปราย 5. แบบทดสอบ

การวัดและประเมิ นผล เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรม การเรียน 2. แบบสังเกตการทำากิจกรรม 3. แบบประเมินชิน้ งาน 4. แบบประเมินการนำาเสนอ 5. แบบทดสอบ

เกณฑ์การประเมิ น ผลการประเมินอยูใ่ นระดับ ดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

ภาระชิ้ นงาน

กิ จกรรมการเรียนรู้

1. แผนภาพความคิด เรือ่ งหลักการเบือ้ งต้น ของการสือ่ สารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. แบบฝึกหัดเรือ่ ง พัฒนาการของการ สือ่ สารข้อมูล

กิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 1


16

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่ วยเรื่องหลักการเบือ้ งต้นของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รหัสวิ ชา ง 22102 ชื่อวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 1. สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสือ่ สาร การแก้ปญั หา การทำางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคณ ุ ธรรม ตัวชี้วดั ม 2/1 อธิบายหลักการเบือ้ งต้นของการสือ่ สารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. สาระสำาคัญ 1. หลักการเบือ้ งต้นของการสือ่ สารข้อมูลเป็ นการทำางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพของผูส้ ง่ ข้อมูลข่าวสาร สือ่ กลาง หรือช่องทางการสือ่ สารและผูร้ บั เพือ่ ให้เกิดความสมบูรณ์ 2. เครือข่ายคอมพิวเตอร์แต่ละเครือข่ายมีลกั ษณะการทำางานแตกต่างกัน จึงควรเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับจำานวนคอมพิวเตอร์ ในองค์กร งบประมาณในองค์กรและความสะดวกของผูใ้ ช้ เพือ่ ให้การ ทำางานมีประสิทธิภาพ 3. สาระการเรียนรู้ 1. การสื่อสารข้อมูล หมายถึงการรับส่ง การแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารระหว่างคอมพิวเตอร์ตงั ้ แต่ 2 เครือ่ ง หรือ 2 ระบบขึน้ ไป ประกอบด้วยส่วนสำาคัญ 4 ส่วน คือ ผูส้ ง่ ข้อมูลข่าวสาร สือ่ กลาง และผูร้ บั พัฒนาการของ การสือ่ สารข้อมูลตัง้ แต่อดีตจนถึงปจั จุบนั 2. เครือข่ายคอมพิ วเตอร์ หมายถึง กลุม่ คอมพิวเตอร์มากกว่า 2 เครือ่ ง หรือ 2 ระบบขึน้ ไป ทีม่ กี ารต่อเชือ่ มให้สามารถ สือ่ สารข้อมูลถึงกันได้ มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น ใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน ใช้เครือ่ งพิมพ์รว่ มกัน ชนิ ดของเครือข่ายจำาแนกตามขอบเขตการเชื่อมต่อ ระยะใกล้ หรือไกล ประกอบด้วย - เครือข่ายแลนหรือเครือข่ายท้องถิน่ (LAN : Local Area Network) - เครือข่ายแมนหรือเครือข่ายระดับเมือง (MAN : Metropolitan Area Network) - เครือข่ายแวนหรือเครือข่ายระดับประเทศ (WAN : Wide Area Network) - เครือข่ายไวร์เลสแลนหรือเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless LAN) - เครือข่ายอินเทอร์เน็ต องค์ประกอบในระบบเครือข่าย - คอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย ทำาหน้าทีใ่ ห้บริการทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ซอฟต์แวร์ ข้อมูล เว็บเมล เป็ นต้น - ช่องทางการสือ่ สาร เป็ นสือ่ กลางหรือเส้นทางทีใ่ ช้เป็ นทางผ่านในการรับ-ส่งข้อมูล ระหว่าง ผูร้ บั และผูส้ ง่ ข้อมูลซึง่ มีหลายประเภทเช่น เช่น สายโทรศัพท์แบบสายฃคูบ่ ดิ เกลียว ชนิดมีฉนวนหุม้ และไม่มฉี นวนหุม้ สายโคแอกเชียล เส้นใยแก้วนำาแสง คลืน่ ไมโครเวฟ ดาวเทียม เป็ นต้น


17

- สถานีงาน อุปกรณ์หรือเครือ่ งคอมพิวเตอร์ตงั ้ โต๊ะทีเ่ ชือ่ มต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาหน้าทีเ่ ป็ นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ทีไ่ ด้รบั บริการจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย หรือเรียกได้ ว่าเครือ่ งลูกข่าย - อุปกรณ์สอ่ื สารสำาหรับเชือ่ มโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์สาำ หรับเชือ่ มโยงเครือข่าย ชนิดเดียวกันและต่างชนิดเข้าด้วยกัน เพือ่ ทำาการรับส่งข้อมูลข่าวสาร เช่น การ์ดเชือ่ มต่อเครือข่าย โมเด็ม ฮับ บริดจ์ เราเตอร์ เกตเวย์ อุปกรณ์ไร้สายชนิดต่าง ๆ เทคโนโลยีการับ-ส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ 1. อีเทอร์เน็ต (ethernet) เป็ นเทคโนโลยีทเ่ี ชือ่ มคอมพิวเตอร์แต่ละตัวด้วยสายสัญญาณทีใ่ ช้ ร่วมกัน โดยในยุคแรกจะใช้สายโคแอ็กเชียลเป็ นสายสัญญาณ ต่อมาใช้ฮบั ร่วมกับสายคู่บดิ เกลียว ซึง่ สายสัญญาณนี้เป็ นเหมือนเส้นทางหรือถนนทีข่ อ้ มูลจะส่งผ่านไปมาระหว่างเครือ่ งคอมพิวเตอร์แต่ละ เครือ่ งได้ตลอดเวลา โดยไม่ตอ้ งผ่านไปทีศ่ นู ย์กลางก่อน เทคโนโลยีแบบนี้ม ีข้อดีคอื ใช้สายสัญญาณ น้อย และถ้ามีเครือ่ งคอมพิวเตอร์เสียก็ไม่มผี ลต่อระบบโดยรวม ส่วนข้อเสียคือ ตรวจหาจุดทีเ่ ป็ น ปญั หาได้ยาก D A

สายสัญญาณ

B

เทคโนโลยีอีเทอร์เน็ต

C

2. โทเค็นริ ง (tokenring) เป็ นเทคโนโลยีทเ่ี ชือ่ มคอมพิวเตอร์ทงั ้ หมด เข้าเป็ นวงแหวนมูลเป็ น ชุด ๆ จะถูกส่งต่อกันไปจนกว่าจะถึงเครือ่ งผูร้ บั ทีถ่ กู ต้อง ข้อดีคอื สายสัญญาณน้อย ข้อมูลไม่ชนกัน ข้อ เสีย คือหากมีเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทม่ี ปี ญั หาอยูใ่ นระบบจะทำาให้เครือข่ายไม่สามารถทำางานได้เลย และ การเชือ่ มต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสูเ่ ครือข่ายอีกครัง้ อาจต้องหยุดระบบทัง้ หมดลงก่อน

เทคโนโลยีโทเค็นริ ง


18

3. สวิ ตชิ ง (switching) เป็ นเทคโนโลยีทเ่ี ชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์แต่ละตัวเข้ากับคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลางในลักษณะรูปดาว ผ่านอุปกรณ์เช่น อินเทอร์เน็ตสวิตชิง เอทีเอ็มสวิตชิง โดยการรับส่งข้อมูล ทัง้ หมดจะต้องผ่านคอมพิวเตอร์ศนู ย์กลางเสมอ ข้อดีคอื รับส่งข้อมูลได้ดกี ว่าการใช้ฮบั ส่งข้อมูล ประเภทสือ่ ประสมได้ดที ส่ี ุดการเชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์เครือ่ งใหม่สามารถทำาได้งา่ ยและไม่กระทบ กระเทือนกับเครือ่ งอื่นในระบบ ข้อเสีย คือ มีคา่ ใช้จ่ายเกีย่ วกับสายสัญญาณสูงและหากมีคอมพิวเตอร์ ศูนย์กลางเสีย ระบบเครือข่ายจะหยุดชะงักทัง้ หมดทันที

4. ไฮบริ ด (hybrid) เป็ นเทคโนโลยีทร่ี วมเอาเทคโนโลยี อีเทอร์เน็ต โทเค็นริง และสวิตชิง เข้า ด้วยกัน มักพบเห็นในเครือข่ายระบบแมนและแวน ทีใ่ ช้เชือ่ มโยงองค์กรหรือสาขาต่าง ๆ ซึง่ มีการวาง รูปแบบเครือข่ายต่างกันหรือเหมือนกันเข้าด้วยกัน ข้อดี สามารถเชือ่ มต่อเข้าเครือข่ายได้จากระยะทาง ไกลๆ ข้อเสีย ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดตัง้ สูงกว่า รวมถึงต้องรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและ สำารองข้อมูลไว้มากกว่าเทคโนโลยีอ่นื ๆ 3. ประโยชน์ ของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทเ่ี ห็นชัดเจนทีส่ ุด คือ ทำาให้ผใู้ ช้คอมพิวเตอร์หลาย ๆ คน สามารถทำางานร่วมกันได้ - เครือ่ งอ่านรหัสแท่ง - เครือ่ งเบิกถอนเงินสดอัตโิ นมัติ 4. ทักษะการปฏิ บตั ิ และนำาความรู้ไปใช้ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการกลุม่ 5. สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา


19

4.ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ 7. ชิ้ นงาน / ภาระงาน (รวบยอด) 1. แผนภาพความคิดเรือ่ งหลักการเบือ้ งต้นของการสือ่ สารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. แบบฝึกหัดเรือ่ งพัฒนาการของการสือ่ สารข้อมูล 8. การวัดและประเมิ นผล 1. การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.1 การปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนทีถ่ กู วิธี 1.2 สังเกตพฤติกรรมการทำางาน 2. การประเมินเมือ่ สิน้ สุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 ส่งแผนภาพความคิดเรือ่ งหลักการเบือ้ งต้นของการสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และนักเรียนทำาแบบฝึกหัดเรือ่ งพัฒนาการของการสือ่ สารข้อมูล 2.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ซื่อสัตย์ สุจริต - มีวนิ ยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มุง่ มันในการทำ ่ างาน - มีจติ สาธารณะ 9. กิ จกรรมการเรียนรู้ ชัวโมงที ่ ่ 1-6 หลักการเบือ้ งต้นของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ กิ จกรรมนำาสู่การเรียน นักเรียนและครูรว่ มสนทนา เรือ่ งการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้งานด้านต่าง ๆ สุม่ นักเรียน 3-5 คน ให้ตอบคำาถามเกีย่ วกับการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้งานในชีวติ ประจำาวัน ครูตงั ้ คำาถามเกีย่ วกับ ลักษณะการใช้งานคอมพิวเตอร์ในองค์กร ร้านค้าต่าง ๆ ว่ามีการใช้อุปกรณ์ใดบ้าง เพือ่ การให้บริการที่ รวดเร็วและประหยัดทรัพยากรมากทีส่ ุด


20

กิ จกรรมพัฒนา 1. ครูให้เวลานักเรียนศึกษาบทเรียนหน่ วยที่ 1 เรือ่ งหลักการเบือ้ งต้นของการสือ่ สาร ข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยตนเอง เวลา 20 นาที 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหัวข้อ การสือ่ สารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3. นักเรียนฝึกทำากิจกรรม 1 การตรวจสอบการเชือ่ มโยงในระบบเครือข่าย กิจกรรม 2 การแบ่งปนั เครือ่ งพิมพ์ กิ จกรรมรวบยอด นักเรียนสร้างแผนภาพความคิดเรือ่ งหลักการเบือ้ งต้นของการสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และทำาแบบฝึกหัดเรือ่ งพัฒนาการของการสือ่ สารข้อมูล ั แนวทางการแก้ไข) บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ (ผลทีไ่ ด้รบั ปญหา …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… …... 10. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 10.1 หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 10.2 เครือ่ งคอมพิวเตอร์ 10.3 อินเตอร์เน็ต


21

11. เกณฑ์การประเมิ น 1. ภาระงาน / แบบฝึ กหัด ประเด็นการ ประเมิ น 1 1. แผนภาพ ส่งแผนภาพความ ความคิดเรือ่ ง คิดไม่ทนั เวลา หลักการเบือ้ ง และไม่ถกู ต้อง ต้นของการ สือ่ สารข้อมูล และเครือข่าย คอมพิวเตอร์ 2. แบบฝึกหัด ส่งใบงานแบบ เรือ่ งพัฒนาการ ฝึกหัด ของการสือ่ สาร ไม่ทนั เวลา ข้อมูล และไม่ถกู ต้อง

คะแนนเต็ม ระดับคะแนน 2 3 ส่งแผนภาพความ ส่งแผนภาพ คิดทันเวลา ความคิดทันเวลา แต่ไม่ถกู ต้อง และถูกต้อง

ส่งแบบฝึกหัดทัน เวลา แต่ ไม่ถกู ต้อง

6

คะแนน คะแนน น้ำ าหนัก รวม

ส่งแบบฝึกหัด ทันเวลา และถูกต้อง

1

3

1

3

รวมคะแนน

6

เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 5 – 6 หมายถึง ดีมาก คะแนน 3 – 4 หมายถึง ดี คะแนน 1 – 2 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ 2. ชิ้ นงาน ประเด็นการ ประเมิ น 1 1. กิ จกรรม 1 ตรวจสอบการเชื่อม การตรวจสอบ โยงในระบบเครือ การเชือ่ มโยงใน ข่าย ไม่ได้ ระบบเครือข่าย 2. กิ จกรรม 2 การแบ่งปนั เครือ่ งพิมพ์

คะแนนเต็ม ระดับคะแนน 2 ตรวจสอบการ เชือ่ มโยงในระบบ เครือข่ายได้ แต่ไม่ถกู ต้อง

3 ตรวจสอบการ เชือ่ มโยงใน ระบบเครือข่าย ได้และทำาได้ถูก ขัน้ ตอน แบ่งปนั เครือ่ งพิมพ์ แบ่งปนั แบ่งปนั ไม่ได้ เครือ่ งพิมพ์ได้ แต่ เครือ่ งพิมพ์ได้ ไม่ทนั เวลา และทันเวลา รวมคะแนน

6

คะแนน คะแนน น้ำ าหนัก รวม

1

3

1

3 6


22

เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 7 – 9 หมายถึง ดีมาก คะแนน 4 – 6 หมายถึง ดี คะแนน 1 – 3 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ 3. ทดสอบปรนัย / อัตนัย คะแนนเต็ม 13 คะแนน - การทดสอบ โดยแบบทดสอบปรนัย 16 ข้อ 8 คะแนน (ก่อนกลางภาค) - การทดสอบ โดยแบบทดสอบปรนัย 10 ข้อ 5 คะแนน (กลางภาค)


23

เกณฑ์การประเมิ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคะแนน ประเด็นการ ประเมิ น 1 2 1. ซื่อสัตย์ ไม่นำาสิง่ ของและผล ไม่นำาสิง่ ของและผล สุจริต งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น ของตนเอง ของตนเอง ไม่หา ประโยชน์ในทางที่ ไม่ถกู ต้อง

2. มีวนิ ยั

3.ใฝเ่ รียนรู้

ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของโรงเรียน ตรงต่อเวลาและรับผิด ชอบในการทำางาน

ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของ โรงเรียนและสังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ อื่น ตรงต่อเวลาและ รับผิดชอบในการ ทำางาน

ศึกษาค้นคว้าความรู้ จากหนังสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียน เลือกใช้สอ่ื ได้อย่างเหมาะสม และมีการบันทึกความ รู้

ศึกษาค้นคว้าหาความ รูจากหนั ้ งสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียนและเลือก ใช้สอ่ื ได้อย่างเหมาะ สม มีการบันทึก ความรูว้ เิ คราะห์ ข้อมูล สรุปเป็ นองค์ ความรู้ แลกเปลีย่ น เรียนรูก้ บั ผูอ้ ่นื ได้ และนำาไปใช้ในชีวติ ประจำาวันได้

3 ไม่นำาสิง่ ของและผล งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น ของตนเอง ไม่หา ประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ ถูกต้อง และเป็ นแบบ อย่างทีด่ ดี า้ นความ ซื่อสัตย์ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของโรงเรียน และสังคมไม่ละเมิด สิทธิของผูอ้ ่นื ตรงต่อ เวลาและรับผิดชอบ ในการทำางาน ปฏิบตั ิ เป็ นปกติวสิ ยั และ เป็ นแบบอย่างทีด่ ี ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียน เลือกใช้สอ่ื ได้อย่าง เหมาะสม มีการ บันทึก ความรู้ วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุป เป็นองค์ความรู้ แลก เปลีย่ นเรียนรูด้ ว้ ยวิธี การทีห่ ลากหลายและ เผยแพร่แก่บุคคล

น้ำ า คะแนน หนัก รวม

1

3

1

3

1

3


24

ประเด็นการ ประเมิ น

1

ระดับคะแนน 2

3 ทัวไปนำ ่ าไปใช้ในชีวติ ประจำาวันได้ 4.มุง่ มันในการ ่ ทำางานด้วยความขยัน ทำางานด้วยความ ทำางานด้วยความขยัน ทำางาน เพือ่ ให้งานเสร็จตามที่ ขยัน และพยายาม อดทน และพยายาม ได้รบั มอบหมาย ให้งานสำาเร็จตาม ให้งานสำาเร็จตามเป้า เป้าหมาย หมายและชื่นชมผล งานด้วยความภาค ภูมใิ จ 5. มีจติ ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง ช่วยพ่อแม่ผปกครอง ู้ ช่วยพ่อแม่ ผูปกครอง ้ สาธารณะ และครูทาำ งาน และครูทาำ งาน และครูทาำ งาน อาสาทำางาน ช่วยคิด อาสาทำางาน ช่วยคิด อาสาทำางานช่วยคิด ั งของ ช่วยทำา และแบ่งปนั ช่วยทำา แบ่งปนั ช่วยทำา แบ่งปนสิ ่ สิงของให้ ่ ผอู้ น่ื ด้วย สิงของ ่ และช่วยแก้ ทรัพย์สนิ และอืน่ ๆ และ ั ั ความเต็มใจ ปญหาให้ ผอืู้ น่ ด้วย เต็มใจช่วยแก้ปญหา ความเต็มใจ หรือสร้างความสุขให้แก่ ผูอื้ น่ โดยไม่หวัง ผล ตอบแทนและ เป็น แบบอย่างทีด่ ี รวมคะแนน เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 11 – 15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 6 – 10 หมายถึง ดี คะแนน 1 – 5 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

น้ำ า คะแนน หนัก รวม

1

3

1

3

15


25

หน่ วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ชื่อหลักการและวิ ธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

(นายภูเบศ นิราศภัย) ผูอ้ อกแบบหน่ วยการเรียนรู้


26

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องหลักการและวิ ธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 6 คาบ 30 คะแนน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้ วัด ง 2.1 ม 2/1 อธิบาย กระบวนการเทคโนโลยี

ผู้เรียนรู้อะไร/ ผู้เรียนทำาอะไรได้

สาระสำาคัญ/ ความคิ ดรวบยอด

1. ผูเ้ รียนรู้อะไร กระบวนการเทคโนโลยี 2. ผูเ้ รียนทำาอะไรได้ อธิบายกระบวนการเทคโนโลยี

1. กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบด้วย กำาหนด ปญั หา รวบรวมข้อมูล เลือก วิธกี ารแก้ปญั หา ออกแบบ และปฏิบตั กิ าร ทดสอบ ปรับปรุง และประเมินผล

สาระการเรียนรู้ 1. กระบวนการ ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ 2. การแก้ปญั หา ด้วยกระบวนการ ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ

นำาไปสู่ สมรรถนะสำาคัญ

1. ความสามารถใน การสือ่ สาร 2. ความสามารถใน การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปญั หา 4.ความสามารถใน การใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะ อันพึงประสงค์

1.ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ


27

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั

ผูเ้ รียนรู้อะไร/ ผู้เรียนทำาอะไรได้

ง 3.1 ม 2/2 อธิบายหลัก 1. ผูเ้ รียนรู้อะไร การและวิธกี ารแก้ปญั หา หลักการและวิธกี ารแก้ปญั หา ด้วยกระบวนการเทคโนโลยี ด้วยกระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ สารสนเทศ 2. ผูเ้ รียนทำาอะไรได้ อธิบายทักษะกระบวนการวิธี การแก้ปญั หาตามลำาดับขัน้ ตอนที่ ถูกต้อง

สาระสำาคัญ/ ความคิ ดรวบยอด 1. กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศเป็ นกระบวนการใน การจัดการข้อมูล เพือ่ ให้ได้ สารสนเทศหรือความรูท้ ่ี สามารถนำาไปใช้ในการตัดสินใจ หรือเป็นประโยชน์ ั 2. หลักการแก้ปญหาด้ วย กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศต้องรูจ้ กั ปรับเปลีย่ น รูปแบบและวิธกี ารให้เหมาะสม กับแต่ละปญั หาจึงจะประสบ ความสำาเร็จ 3. วิธกี ารแก้ปญั หาด้วย กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศให้ได้ผลลัพธ์ทด่ี ี ต้องรูจ้ กั วิเคราะห์รายละเอียด ั วางแผนในการแก้ ของปญหา ปญั หาและถ่ายทอดความคิด อย่างมีขนั ้ ตอน ดำาเนินการแก้ ปญั หาตรวจสอบและปรับปรุง

นำาไปสู่ สาระการเรียนรู้

1. กระบวนการ ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ 2. การแก้ปญั หา ด้วยกระบวนการ ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ

สมรรถนะสำาคัญ

1. ความสามารถใน การสือ่ สาร 2. ความสามารถใน การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปญั หา 4.ความสามารถใน การใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะ อันพึงประสงค์

1.ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ


28

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องหลักการและวิ ธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 6 คาบ 30 คะแนน วิ ธีการประเมิ น 1. การประเมินระหว่างจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 2. การประเมินเมือ่ สิน้ สุด กิจกรรมการเรียนรู้ 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ / คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. กระบวนการทำางาน การนำา เสนอ / อภิปราย 5. แบบทดสอบ

การวัดและประเมิ นผล เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรม การเรียน 2. แบบสังเกตการทำากิจกรรม 3. แบบประเมินชิน้ งาน 4. แบบประเมินการนำาเสนอ 5. แบบทดสอบ

เกณฑ์การประเมิ น ผลการประเมินอยูใ่ นระดับ ดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

ภาระชิ้ นงาน

กิ จกรรมการเรียนรู้

1. กิจกรรมประจำาหน่วย

กิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 2

1 จำานวน 10 ข้อ 2. กิจกรรม 1 ฟงั ก์ชนั ของมุมทางตรีโกณมิตใิ น คอมพิวเตอร์ 3. กิจกรรม 2 การใช้ โปรแกรมประยุกต์ในการ แก้ปญั หา


29

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 ชื่อหน่ วยเรื่อง หลักการและวิ ธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รหัสวิ ชา ง 22102 ชื่อวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 1. สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยีออกแบบและสร้างสิง่ ของเครือ่ งใช้ หรือวิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม สิง่ แวดล้อม และมีสว่ นร่วมในการ จัดการเทคโนโลยีทย่ี งยื ั่ น ตัวชี้วดั ม 2/1 อธิบายกระบวนการเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสือ่ สาร การแก้ปญั หา การทำางานและอาชีพ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคณ ุ ธรรม ตัวชี้วดั ม 2/2 อธิบายหลักการและวิธกี ารแก้ปญั หาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. สาระสำาคัญ 1. กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบด้วย กำาหนดปญั หา รวบรวมข้อมูล เลือกวิธกี ารแก้ปญั หา ออกแบบและปฏิบตั กิ าร ทดสอบ ปรับปรุง และประเมินผล 2. กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นกระบวนการในการจัดการข้อมูล เพือ่ ให้ได้สารสนเทศ หรือความรูท้ ส่ี ามารถนำาไปใช้ในการตัดสินใจหรือเป็ นประโยชน์ในการดำาเนินชีวติ 3. หลักการแก้ปญั หาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศต้องรูจ้ กั ปรับเปลีย่ นรูปแบบและวิธี การให้เหมาะสมกับแต่ละปญั หาจึงจะประสบความสำาเร็จ 4. วิธกี ารแก้ปญั หาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศให้ได้ผลลัพธ์ทด่ี ี ต้องรูจ้ กั วิเคราะห์ รายละเอียดของปญั หา วางแผนในการแก้ปญั หาและถ่ายทอดความคิดอย่างมีขนั ้ ตอน ดำาเนินการแก้ ปญั หาตรวจสอบและปรับปรุง 3. สาระการเรียนรู้ 1. กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นกระบวนการทีเ่ กีย่ วข้องกับการรวบรวม การ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล การประมวลผล การจัดเก็บ การจัดการหรือการกระทำากับข้อมูล ข่าวสาร โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สาำ นักงานต่าง ๆ ในการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้ได้ สารสนเทศหรือความรูท้ น่ี ำามาใช้ในการตัดสินใจ ซึง่ เป็ นประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวติ และเผยแพร่แก่ผู้ อื่นให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจร่วมกัน 1.1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ ให้ได้มาซึง่ สารสนเทศทีด่ มี ขี นั ้ ตอนดังนี้


30

1.1.1 การรวบรวมข้อมูล 1.1.2 การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 1.1.3 การประมวลผลข้อมูล 1.1.4 การจัดเก็บ 1.1.5 การทำาสำาเนา 1.1.6 การเผยแพร่สารสนเทศ 1.2 ข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล เป็ นข้อเท็จจริงของเหตุการณ์หรือของสิง่ ทีน่ ่าสนใจ ข้อมูลจะนำาไปใช้ เป็ นประโยชน์ได้กต็ ่อเมือ่ ผ่านการประมวลผลให้เป็ นสารสนเทศก่อน ข้อมูลและสารสนเทศเป็ นสิง่ ทีม่ คี า่ ต้องเก็บรักษาไว้อย่างเป็ นระบบและต้องมีการปรับปรุงให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ - วิธกี ารหาข้อมูล - การนำาข้อมูลไปใช้งาน - การประมวลผลข้อมูล 1.3 สารสนเทศสามารถนำาไปใช้ในการตัดสินใจ ข้อมูล เมือ่ ผ่านการประมวลผลแล้ว จะกลายเป็ นสารสนเทศ จำาเป็ นต้องใช้ สารสนเทศเป็ นเครือ่ งมือช่วยในการตัดสินใจ ก่อนทีจ่ ะนำาสารสนเทศไปใช้ ต้องนำาสารสนเทศไปผ่าน กระบวนการกลันกรองที ่ เ่ รียกว่า การสังเคราะห์ เพือ่ ให้เป็ น ความรู้ เสียก่อน ความรูท้ ไ่ี ด้เป็ นสิง่ ทีจ่ ะ ช่วยในการตัดสินใจ ข้อมูล

สารสนเทศ การประมวลผล

ความรู้ การวิเคราะห์

กระบวนการทางสารสนเทศเปลี่ยนข้อมูลเป็ นสารสนเทศและความรู้ 1.4 การเก็บรักษาข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศเป็ นสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์ นอกจากการเก็บรักษาไว้เพือ่ ใช้ในอนาคต แล้ว การเก็บข้อมูลเป็ นจำานวนมากๆ หากนำามารวบรวมและประมวลผลเป็ นสถิติ จะทำาให้เราสามารถ ทำานายเหตุการณ์ในอนาคตได้แม่นยำาขึน้ ดังนัน้ ข้อมูลและสารสนเทศจึงเป็ นสิง่ มีคา่ ควรมีการเก็บ รักษาไว้อย่างเป็ นระบบและให้ปลอดภัย แต่การมีขอ้ มูลมาก ๆ หากจัดเก็บไม่ดกี จ็ ะไม่สามารถค้นหามา ใช้ได้เมือ่ ถึงคราวต้องการ ดังนัน้ การจัดเก็บอย่างเป็ นระบบจึงเป็ นสิง่ ทีจ่ าำ เป็ นและต้องมีการวางแผน หรือกำาหนดวิธไี ว้ตงั ้ แต่ตน้ ข้อมูลทีม่ กี ารจัดเก็บอย่างเป็ นระบบแล้วเรียกว่า ฐานข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลให้ปลอดภัยมีหลักการสำาคัญ ต่อไปนี้ 1. มีการป้องกันมิให้เกิดการสูญหายหรือชำารุด เช่น ป้องกันแฟ้มข้อมูลมิให้ถกู ลบ หรือ ป้องกันการติดไวรัสคอมพิวเตอร์ 2. มีการสำารองข้อมูล เพือ่ บรรเทาความเสียหายในกรณีทเ่ี กิดการสูญหายหรือชำารุด


31

การเผยแพร่สารสนเทศ มีขอ้ ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ต้องกำาหนดวัตถุประสงค์ 2. ต้องคำานึงถึงกลุม่ เป้าหมาย 3. ต้องเลือกใช้สอ่ื และรูปแบบทีเ่ หมาะสม 4. ต้องคำานึงถึงประเด็นทางกฎหมายและความรับผิดชอบของผูเ้ ผยแพร่ขา่ วสาร 2. การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1 หลักการแก้ปญั หาอย่างเป็ นระบบ ปญั หา คือ คำาถามทีต่ อ้ งการคำาตอบ โดยต้องการนำาคำาตอบนัน้ ไปใช้เพือ่ ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่นในการทำางาน การป้องกันอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ การแก้ปญั หา คือ การหาคำาตอบทีต่ อ้ งการ ปกติมวี ธิ กี ารต่าง ๆ เช่น ถามผูร้ ู้ หรือผูม้ ปี ระสบการณ์ ลองผิดลองถูก แก้ปญั หาอย่างเป็ นระบบ การแก้ปญั หาอย่างเป็ นระบบ มีขนั ้ ตอนและวิธกี ารต่อไปนี้ 1. วิเคราะห์ปญั หาเพือ่ หาประเด็นสำาคัญของปญั หา 2. หาแนวทางการแก้ปญั หาสำาหรับแต่ละประเด็น และควรมีแนวทางหลาย แนวทางเพือ่ สำารองไว้ใช้กรณีทจ่ี าำ เป็ นต้องกลับมาพิจารณาใหม่ 3. กำาหนดรายละเอียดในการแก้ปญั หาตามแนวทางนัน้ 4. พิจารณาจากรายละเอียดว่าเหมาะสมหรือไม่ 5. พิจารณามาตรการแก้ปญั หาว่าเพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอให้กลับไปขัน้ ตอนที่ 1 แต่ถา้ เพียงพอ ให้รวบรวมมาตรการทีร่ บั ไว้ทงั ้ หมด แล้วจบการทำางาน สัญลักษณ์ที่ใช้ในกระบวนการแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ สัญลักษณ์ ความหมาย จุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุด กระบวนการหรือกิจกรรม ทางเลือก เส้นและหัวลูกศร


32

2.2 การแก้ปญั หาด้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ มีดงั นี้ 1. เก็บข้อมูลเบือ้ งต้น โดยการศึกษา สังเกตเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ ธรรมชาติ 2. ตัง้ สมมุตฐิ านเกีย่ วกับสาเหตุและทฤษฎีสาำ หรับอธิบายกระบวนการของการ เกิดปรากฏการณ์นนั ้ ๆ 3. พัฒนาวิธกี ารทีจ่ ะทดสอบสมมุตฐานและทฤษฎีตามข้อ 2 4. ทดลองเพือ่ พิสจู น์สมมุตฐิ านหรือทฤษฎี โดยตัง้ วัตถุประสงค์ให้ชดั เจน 5. วิเคราะห์หาคำาตอบว่า สมมุตฐิ านหรือทฤษฎีทต่ี งั ้ ไว้นนั ้ เป็ นจริงหรือไม่ 6. เขียนรายงานสรุปผลการทดลองทีไ่ ด้ 2.3 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการแก้ปญั หาอย่างเป็ นระบบ คือ การใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยในการแก้ปญั หา โดยทำาได้ 2 วิธี 1. ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เหมาะกับงานแก้ปญั หาทีม่ ขี นั ้ ตอนการประมวลผล ไม่สลับซับซ้อนมากนัก ปริมาณข้อมูลไม่มากเกินไป เช่น ประมวลผลคะแนนสอบของนักเรียนแต่ละวิชา 2. โดยการเขียนโปรแกรมเฉพาะกิจ เหมาะกับงานแก้ปญั หาทีม่ ขี นั ้ ตอน การประมวลสลับซับซ้อนมาก และมีปริมาณข้อมูลมาก เช่น การประมวลผลการสอบเข้ามหาวิทยาลัย การคำานวณผลงานเพือ่ จ่ายค่าตอบแทนแก่ผจู้ าำ หน่ ายของบริษทั ขายตรง 4. ทักษะการปฏิ บตั ิ และนำาความรู้ไปใช้ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการกลุม่ 5. สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4.ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ


33

7. ชิ้ นงาน / ภาระงาน (รวบยอด) 1. กิจกรรมประจำาหน่วย 1 จำานวน 10 ข้อ 2. กิจกรรม 1 ฟงั ก์ชนั ของมุมทางตรีโกณมิตใิ นคอมพิวเตอร์ 3. กิจกรรม 2 การใช้โปรแกรมประยุกต์ในการแก้ปญั หา 8. การวัดและประเมิ นผล 1. การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.1 การปฏิบตั กิ จิ กรรมทีไ่ ด้รบั มอบหมายได้ถูกต้อง ครบถ้วน 1.2 สังเกตพฤติกรรมการทำางาน 2. การประเมินเมือ่ สิน้ สุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 ส่งแบบฝึกหัดกิจกรรมประจำาหน่วย 2.2 ฝึกปฏิบตั กิ จิ กรรม 1 และ 2 2.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ซื่อสัตย์ สุจริต - มีวนิ ยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มุง่ มันในการทำ ่ างาน - มีจติ สาธารณะ 9. กิ จกรรมการเรียนรู้

ชัวโมงที ่ ่ 7-12 หลักการและวิ ธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ กิ จกรรมนำาสู่การเรียน นักเรียนและครูรว่ มสนทนา เกีย่ วกับปญั หาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจำาวันและ สอบถามถึงขัน้ ตอนในการแก้ปญั หาของนักเรียนแต่ละคน ว่ามีการวางแผนในการแก้ปญั หาอย่างไร ให้ นักเรียนร่วมกันตัง้ ปญั หา 1 เรือ่ ง แล้วร่วมกันวางแผนการแก้ปญั หา แล้ววิเคราะห์ถงึ กระบวนการในการ แก้ปญั หาว่าสามารถแก้ปญั หาได้หรือไม่ ครูแนะนำาถึงบทเรียนในหน่ วยที่ 2 ทีเ่ กีย่ วข้องกับการแก้ ปญั หาอย่างถูกขัน้ ตอน และมีการใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปญั หา กิ จกรรมพัฒนา 1. ครูให้เวลานักเรียนศึกษาบทเรียนหน่ วยที่ 2 เรือ่ งหลักการและวิธกี ารแก้ปญั หาด้วย กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยตนเอง เวลา 20 นาที 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหัวข้อ หลักการ วิธกี ารแก้ปญั หาต่าง ๆ ด้วย กระบวนการทางเทคโนโลยีและร่วมกันอภิปรายถึงข้อดี ข้อเสีย ข้อจำากัดของการแก้ปญั หาต่าง ๆ รวม ถึงการเสนอแนวทางในการแก้ปญั หา เพือ่ ให้ได้แนวทางทีด่ ที ส่ี ุด 3. ศึกษาเรือ่ งการจัดการสารสนเทศให้เป็ นข้อมูลตามทีต่ อ้ งการ รวมถึงขัน้ ตอนในการ ได้มาซึง่ สารสนเทศ การเก็บรักษา การเผยแพร่


34

4. ศึกษาเรือ่ งการนำาสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การเปลีย่ นข้อมูลสารสนเทศให้ สามารถใช้ประโยชน์ได้สงู สุด 5.ศึกษาเรือ่ งการแก้ปญั หาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการแก้ปญั หาอย่างเป็ นระบบ การแก้ปญั หาด้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ 6. แบบฝึกหัดประจำาหน่วย 2 จำานวน 10 ข้อ 7. ฝึกทำากิจกรรม 1 ฟงั ก์ชนั ของมุมทางตรีโกณมิตใิ นคอมพิวเตอร์ 8. ฝึกทำากิจกรรม 2 การใช้โปรแกรมประยุกต์ในการแก้ปญั หา กิ จกรรมรวบยอด นักเรียนทำาแบบฝึกหัดประจำาหน่ วยที่ 2 ฝึกทำากิจกรรม 1 ฟงั ก์ชนั ของมุมทางตรีโกณมิตใิ น คอมพิวเตอร์และฝึกทำากิจกรรม 2 การใช้โปรแกรมประยุกต์ในการแก้ปญั หา ั แนวทางการแก้ไข) บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ (ผลทีไ่ ด้รบั ปญหา …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… …... 10. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 10.1 หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 10.2 เครือ่ งคอมพิวเตอร์ 10.3 อินเตอร์เน็ต


35

11. เกณฑ์การประเมิ น 1. ภาระงาน / แบบฝึ กหัด ประเด็นการ ประเมิ น 1 1. แบบฝึกหัด ไม่สง่ แบบฝึกหัด ประจำาหน่วย 1 ไม่ทนั เวลา จำานวน 10 ข้อ และไม่ถกู ต้อง

คะแนนเต็ม ระดับคะแนน 2 ส่งแบบฝึกหัด ทันเวลา แต่ไม่ถกู ต้อง

3 ส่งแบบฝึกหัด ทันเวลา และถูกต้อง

ไม่ฝึกทำากิจกรรม ไม่ทนั เวลา และไม่ถกู ต้อง

ฝึกทำากิจกรรม ทันเวลา แต่ไม่ถกู ต้อง

ฝึกทำากิจกรรม ทันเวลา และถูกต้อง

3. กิจกรรม 2 ไม่ฝึกทำากิจกรรม การใช้โปรแกรม ไม่ทนั เวลา ประยุกต์ในการ และไม่ถกู ต้อง แก้ปญั หา

ฝึกทำากิจกรรม ทันเวลา แต่ไม่ถกู ต้อง

ฝึกทำากิจกรรม ทันเวลา และถูกต้อง

2. กิจกรรม 1 ฟงั ก์ชนั ของมุม ทางตรีโกณมิติ ในคอมพิวเตอร์

15

คะแนน คะแนน น้ำ าหนัก รวม

รวมคะแนน

1

3

2

6

2

6 15

เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 11 – 15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 6 – 10 หมายถึง ดี คะแนน 1 – 5 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ 2. ชิ้ นงาน ประเด็นการ ประเมิ น เกณฑ์การตัดสิน คะแนน – คะแนน – คะแนน –

คะแนนเต็ม 1 -

ระดับคะแนน 2 รวมคะแนน หมายถึง ดีมาก หมายถึง ดี หมายถึง ปรับปรุง

3 -

-

คะแนน คะแนน น้ำ าหนัก รวม -


36

เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ 3. ทดสอบปรนัย / อัตนัย คะแนนเต็ม 15 คะแนน - การทดสอบ โดยแบบทดสอบปรนัย 10 ข้อ 5 คะแนน (ก่อนกลางภาค) - การทดสอบ โดยแบบทดสอบปรนัย 20 ข้อ 10 คะแนน (กลางภาค) เกณฑ์การประเมิ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการ ประเมิ น 1. ซื่อสัตย์ สุจริต

2. มีวนิ ยั

3.ใฝเ่ รียนรู้

1 ไม่นำาสิง่ ของและผลงาน ของผูอ้ ่นื มาเป็นของ ตนเอง

ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของโรงเรียน ตรงต่อเวลาและรับผิด ชอบในการทำางาน

ศึกษาค้นคว้าความรูจาก ้ หนังสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายใน และภายนอกโรงเรียน เลือกใช้สอ่ื ได้อย่าง เหมาะสม และมีการ บันทึกความรู้

ระดับคะแนน 2 ไม่นำาสิง่ ของและผล งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น ของตนเอง ไม่หา ประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ ถูกต้อง

3 ไม่นำาสิง่ ของและผลงาน ของผูอ้ ่นื มาเป็นของ ตนเอง ไม่หาประโยชน์ ในทางทีไ่ ม่ถูกต้อง และ เป็นแบบอย่างทีด่ ดี า้ น ความซื่อสัตย์ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของโรงเรียน ข้อตกลงของโรงเรียน และสังคมไม่ละเมิด และสังคมไม่ละเมิดสิทธิ สิทธิของผูอ้ ่นื ตรงต่อ ของผูอ้ ่นื ตรงต่อเวลา เวลาและรับผิดชอบใน และรับผิดชอบในการ การทำางาน ทำางาน ปฏิบตั เิ ป็ นปกติ วิสยั และเป็นแบบอย่าง ทีด่ ี ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหาความรูจาก ้ จากหนังสือ เอกสาร สิง่ หนังสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี สือ่ เทคโนโลยีและ และสารสนเทศ สารสนเทศ แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายใน แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายใน และภายนอกโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน และเลือก ใช้สอ่ื ได้ เลือกใช้สอ่ื ได้อย่าง อย่างเหมาะสม มีการ เหมาะสม มีการบันทึก บันทึกความรูว้ เิ คราะห์ ความรู้ ข้อมูล สรุปเป็นองค์ วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุปเป็น ความรู้ แลกเปลีย่ น องค์ความรู้ แลกเปลีย่ น เรียนรูก้ บั ผูอ้ ่นื ได้และ เรียนรูด้ ว้ ยวิธกี ารทีห่ ลาก นำาไปใช้ในชีวติ ประจำา หลายและเผยแพร่แก่ วันได้ บุคคลทัวไปนำ ่ าไปใช้ใน ชีวติ ประจำาวันได้

น้ำ า คะแนน หนัก รวม

1

3

1

3

1

3


37

กณฑ์การประเมิ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการ ประเมิ น 4.มุง่ มันในการ ่ ทำางาน

5. มีจติ สาธารณะ

ระดับคะแนน 1 2 ทำางานด้วยความขยัน ทำางานด้วยความขยัน เพือ่ ให้งานเสร็จตามทีไ่ ด้ และพยายามให้งาน รับมอบหมาย สำาเร็จตามเป้าหมาย

3 ทำางานด้วยความขยัน อดทน และพยายามให้ งานสำาเร็จตามเป้าหมาย และชืน่ ชมผลงานด้วย ความภาคภูมใิ จ ช่วยพ่อแม่ ผูปกครอง ้ และ ช่วยพ่อแม่ผปกครองและ ู้ ช่วยพ่อแม่ ผูปกครองและ ้ ครูทาำ งาน ครูทาำ งาน อาสา ครูทาำ งาน อาสา อาสาทำางาน ช่วยคิด ช่วย ทำางาน ช่วยคิด ช่วยทำา ทำางานช่วยคิด ช่วยทำา ั งของให้ ั งของ ั งของ ทำา และแบ่งปนสิ ่ ผู้ แบ่งปนสิ ่ และช่วย แบ่งปนสิ ่ ทรัพย์สนิ ั อืน่ ด้วยความเต็มใจ แก้ปญหาให้ผอืู้ น่ ด้วย และอืน่ ๆ และเต็มใจช่วย ั ความเต็มใจ แก้ปญหาหรื อสร้างความ สุขให้แก่ผอืู้ น่ โดยไม่หวัง ผลตอบแทนและ เป็น แบบอย่างทีดี่ รวมคะแนน

เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 11 – 15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 6 – 10 หมายถึง ดี คะแนน 1 – 5 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

น้ำ า คะแนน หนัก รวม

1

3

1

3

15


38

หน่ วยการเรียนรูท้ ี่ 3 ชื่อ การค้นหาข้อมูลและติ ดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์

(นางนุชนาถ อินทรวิจติ ร) ผูอ้ อกแบบหน่ วยการเรียนรู้


39

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องการค้นหาข้อมูลและติ ดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 6 คาบ 10 คะแนน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้ วัด

ผู้เรียนรู้อะไร/ ผู้เรียนทำาอะไรได้

สาระสำาคัญ/ ความคิ ดรวบยอด

ง 3.1 ม 2/3 ค้นหาข้อมูล และติดต่อสือ่ สารผ่านเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมี คุณธรรมและจริยธรรม

1. ผูเ้ รียนรู้อะไร วิธกี ารค้นหาข้อมูลและติดต่อ สือ่ สารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. ผูเ้ รียนทำาอะไรได้ สืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ได้ถกู ต้องตามลำาดับ ขัน้ ตอนและถูกต้องอย่างมี คุณธรรม จริยธรรม

การใช้งานอินเทอร์เน็ตควร ทำาตามขัน้ ตอนทีถ่ กู ต้อง อย่างมีคณ ุ ธรรมและ จริยธรรม เพือ่ ให้ใช้งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และ สร้างความเป็ นระเบียบ เรียบร้อยในสังคม อินเทอร์เน็ต

สาระการเรียนรู้ 1. ความหมาย พัฒนาการของ เครือข่าย คอมพิวเตอร์และ การเชือ่ มต่อ อินเทอร์เน็ต 2. การสืบค้นและ การใช้โปรแกรม ค้นหาข้อมูล 3. การสือ่ สาร ผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ 4. คุณธรรมและ จริยธรรมในการ ใช้อนิ เทอร์เน็ต

นำาไปสู่ สมรรถนะสำาคัญ

1. ความสามารถใน การสือ่ สาร 2. ความสามารถใน การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปญั หา 4.ความสามารถใน การใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะ อันพึงประสงค์

1.ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ


40

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องการค้นหาข้อมูลและติ ดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 6 คาบ 10 คะแนน วิ ธีการประเมิ น 1. การประเมินระหว่างจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 2. การประเมินเมือ่ สิน้ สุด กิจกรรมการเรียนรู้ 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ / คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. กระบวนการทำางาน การนำา เสนอ / อภิปราย 5. แบบทดสอบ

การวัดและประเมิ นผล เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรม การเรียน 2. แบบสังเกตการทำากิจกรรม 3. แบบประเมินชิน้ งาน 4. แบบประเมินการนำาเสนอ 5. แบบทดสอบ

เกณฑ์การประเมิ น ผลการประเมินอยูใ่ นระดับ ดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

ภาระชิ้ นงาน 1. แผนภาพพัฒนาการ อินเทอร์เน็ต 2. แบบฝึกหัดประจำา หน่วยการเรียนรู้

กิ จกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 3


41

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่ วยเรื่องการค้นหาข้อมูลและติ ดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รหัสวิ ชา ง 22102 ชื่อวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 1. สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสือ่ สาร การแก้ปญั หา การทำางานและอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคณ ุ ธรรม ตัวชี้วดั ม 2/3 ค้นหาข้อมูลและติดต่อสือ่ สารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคณ ุ ธรรมและ จริยธรรม 2. สาระสำาคัญ การใช้งานอินเทอร์เน็ตควรทำาตามขัน้ ตอนทีถ่ กู ต้องอย่างมีคณ ุ ธรรมและจริยธรรม เพือ่ ให้ใช้งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความเป็ นระเบียบเรียบร้อยในสังคมอินเทอร์เน็ต 3. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายพัฒนาการของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์และการเชื่อมต่ออิ นเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทเ่ี ชือ่ มโยงคอมพิวเตอร์ จำานวนมากทัวโลกเข้ ่ าด้วยกัน โดยอาศัยโครงสร้างของระบบสือ่ สารโทรคมนาคมเป็ นตัวกลางใน การแลกเปลีย่ นข้อมูลและใช้งานรูปแบบต่าง ๆ พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต มีการพัฒนามาจากเครือข่ายอาร์พาเน็ต (ARPAnet) เพือ่ ทำาการวิจยั ทางด้านทหารทีม่ ผี ลมาจากสงครามเย็น  พ.ศ.2512 , ค.ศ.1969 เครือข่ายอาร์พาเน็ตเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ถงึ กันเป็ น ครัง้ แรก  พ.ศ.2515 , ค.ศ.1972 ปรับปรุงเครือข่ายอาร์เพเน็ตให้ใช้งานได้จริงและเปลีย่ นชือ่ เป็ นดาร์พา (DARPA)  พ.ศ.2518 , ค.ศ.1975 โอนความรับผิดชอบให้กบั หน่วยการสือ่ สารของกองทัพ  พ.ศ.2526 , ค.ศ.1983 ขยายเครือข่ายและเปิ ดการเชือ่ มต่อกับเครือข่ายอื่นโดยใช้ เกณฑ์หรือวิธโี พรโทคอลชนิด TCP/IP  พ.ศ.2532 , ค.ศ.1989 ประเทศไทยเริม่ เชือ่ มต่อเข้าสูร่ ะบบอินเทอร์เน็ต โดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สง่ ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ไปยังประเทศออสเตรเลีย  พ.ศ.2546 , ค.ศ.2003 เครือ่ งคอมพิวเตอร์แม่ขายเพิม่ ขึน้ จากเดิมอย่างต่อเนื่อง  พ.ศ.2549 , ค.ศ.2006 เกิดระบบอินเทอร์เน็ตไร้สายในประเทศไทย ใช้สาำ หรับ คอมพิวเตอร์ตงั ้ โต๊ะและคอมพิวเตอร์สมุดพร  พ.ศ.2552 , ค.ศ.2009 เกิดระบบ 3G ในโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ซีง่ ใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ ในรูปแบบสือ่ ประสม


42

การเชื่อมต่ออิ นเทอร์เน็ต 1. Modem คืออุปกรณ์เชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตซึง่ มีสายสัญญาณนำาส่งข้อมูลได้ แต่ไม่ รวดเร็วเท่ากับเทคโนโลยีอ่นื ๆ 2. ADSL คือ เทคโนโลยีของโมเด็มซึง่ มีสายสัญญาณนำาส่งข้อมูลความเร็วสูงกว่าโมเด็ม ธรรมดา และสามารถพูดโทรศัพท์ขณะใช้อนิ เทอร์เน็ต 3. ISDN คือ บริการสือ่ สารโทรคมนาคมระบบดิจทิ ลั ทีส่ ามารถรับส่งข้อมูลทัง้ ในระบบ ภาพ เสียง และข้อมูลได้เร็วกว่าโมเด็มธรรมดา 4. Aircard คือ อุปกรณ์เชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตไร้สายเข้ากับคอมพิวเตอร์สมุดพกหรือโน๊ ตบุ๊ก และคอมพิวเตอร์ตงั ้ โต๊ะ 5. 3G คือ เทคโนโลยีการสือ่ สารทีผ่ สมผสานการนำาเสนอข้อมูล โทรศัพท์เคลือ่ นที่ วิทยุ เทป กล้องถ่ายรูป การบริการอินเทอร์เน็ตไร้สายสำาหรับคอมพิวเตอร์โน๊ ตบุ๊ก 2. การสืบค้นและการใช้โปรแกรมค้นหาข้อมูล เทคโนโลยีใหม่ทน่ี ำามาใช้ในระบบ WWW ประกอบด้วย - HTML - Web Server Software - Hyperlink - ภาพกราฟิก - ภาพเคลือ่ นไหว นวัตกรรมทางเทคโนโลยีดงั กล่าว ทำาให้เกิดแหล่งข้อมูลทีเ่ รียกว่า เว็บไซต์ (Website) เกิดขึน้ อย่างมากมายทัวโลกไร้ ่ พรมแดน เว็บไซต์แต่ละแห่งจะมีเอกสารทีเ่ รียกว่า webpage เป็ นจำานวนมาก เว็บไซต์แต่ละแห่งจะมีชอ่ื ทีอ่ ยู่ เรียกว่า URL 3. การสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ 1. ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ (e-mail) การขอ e-mail การสร้าง e-mail การกำาหนดรหัสผ่าน การกรอกข้อมูล ส่วนบุคคล เลือกคำาถามคำาตอบทีจ่ ะใช้ประโยชน์การเตือนความจำา การตรวจสอบการขอใช้ email การรับ-ส่ง การแนบไฟล์ 2. การโอนย้ายแฟ้มข้อมูล (Upload , Download , FTP) 3. การเผยแพร่สารสนเทศ บล็อกหรือเว็บบล็อก 4. ห้องสนทนา (chat room) 5. เครือข่ายสังคมหรือชุมชนเว็บ (social network of web community) ICQ Facebook Hi5 Twitter 4. คุณธรรมและจริ ยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต 1. ผลกระทบของการใช้อนิ เทอร์เน็ต 2. มารยาท ระเบียบและข้อบังคับในการใช้อนิ เทอร์เน็ต 3. ความรับผิดตามกฎหมายในการเผยแพร่สารสนเทศ


43

4. ทักษะการปฏิ บตั ิ และนำาความรู้ไปใช้ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการกลุม่ 5. สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4.ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ 7. ชิ้ นงาน / ภาระงาน (รวบยอด) 1. แผนภาพพัฒนาการอินเทอร์เน็ต 2. แบบฝึกหัดประจำาหน่วยการเรียนรู้ 8. การวัดและประเมิ นผล 1. การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.1 การปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนทีถ่ กู วิธี 1.2 สังเกตพฤติกรรมการทำางาน 2. การประเมินเมือ่ สิน้ สุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 ส่งแผนภาพความคิดเรือ่ งพัฒนาการอินเทอร์เน็ตและนักเรียนทำาแบบฝึกหัดเรือ่ ง ประจำาหน่วยการเรียนรู้ 2.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ซื่อสัตย์ สุจริต - มีวนิ ยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มุง่ มันในการทำ ่ างาน - มีจติ สาธารณะ


44

9. กิ จกรรมการเรียนรู้

ชัวโมงที ่ ่ 13-18 การค้นหาข้อมูลและติ ดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิ วเตอร์ กิ จกรรมนำาสู่การเรียน นักเรียนและครูรว่ มสนทนา เรือ่ งการค้นหาข้อมูลทีน่ กั เรียนต้องการทราบโดยสุม่ ให้ นักเรียน 3-5 คน ร่วมกันตอบและอภิปรายถึงแหล่งข้อมูลรวมถึงสาเหตุทเ่ี ลือกใช้แหล่งข้อมูลแต่ละแหล่ง แล้วแนะนำานักเรียนถึงเนื้อหาทีน่ กั เรียนจะเรียนในหน่วยการเรียนรูน้ ้ี ทีม่ เี นื้อหาเกีย่ วกับการใช้งาน อินเทอร์เน็ต กิ จกรรมพัฒนา 1. ครูให้เวลานักเรียนศึกษาบทเรียนหน่ วยที่ 3 เรือ่ งการค้นหาข้อมูลและติดต่อสือ่ สาร ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยตนเอง เวลา 20 นาที 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหัวข้อความหมายพัฒนาการของเครือข่าย คอมพิวเตอร์และการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต 3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหัวข้อการสืบค้นและการใช้โปรแกรมค้นหาข้อมูล 4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหัวข้อการสือ่ สารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายหัวข้อคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อนิ เทอร์เน็ต 6. นักเรียนสร้างแผนภาพพัฒนาการอินเทอร์เน็ตแลทำาแบบฝึ กหัดประจำาหน่ วยการ เรียนรู้ กิ จกรรมรวบยอด นักเรียนสร้างแผนภาพพัฒนาการอินเทอร์เน็ตแลทำาแบบฝึ กหัดประจำาหน่ วยการเรียนรู้ ั แนวทางการแก้ไข) บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ (ผลทีไ่ ด้รบั ปญหา …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… …... 10. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 10.1 หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 10.2 เครือ่ งคอมพิวเตอร์ 10.3 อินเตอร์เน็ต


45

11. เกณฑ์การประเมิ น 1. ภาระงาน / แบบฝึ กหัด ประเด็นการ ประเมิ น 1 1. แบบฝึกหัด ส่งใบงานแบบ ประจำาหน่วย ฝึกหัดไม่ทนั เวลา การเรียนรู้ และไม่ถกู ต้อง

คะแนนเต็ม ระดับคะแนน 2 3 ส่งแบบฝึกหัดทัน ส่งแบบฝึกหัด เวลา แต่ ทันเวลา ไม่ถกู ต้อง และถูกต้อง รวมคะแนน

2

คะแนน คะแนน น้ำ าหนัก รวม 0.6

2 2

เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 1.6 - 2 หมายถึง ดีมาก คะแนน 1.1 – 1.5 หมายถึง ดี คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ 2. ชิ้ นงาน ประเด็นการ ประเมิ น 1 1. แผนภาพ ส่งแผนภาพความ ความคิดเรือ่ ง คิดไม่ทนั เวลา พัฒนาการ และไม่ถกู ต้อง อินเทอร์เน็ต

คะแนนเต็ม ระดับคะแนน 2 3 ส่งแผนภาพความ ส่งแผนภาพ คิดทันเวลา ความคิดทันเวลา แต่ไม่ถกู ต้อง และถูกต้อง

3

คะแนน คะแนน น้ำ าหนัก รวม 1

รวมคะแนน เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 3 หมายถึง ดีมาก คะแนน 2 หมายถึง ดี คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ 3. ทดสอบปรนัย / อัตนัย คะแนนเต็ม 5 คะแนน - การทดสอบ โดยแบบทดสอบปรนัย 10 ข้อ 5 คะแนน (ปลายภาค)

3 3


46

เกณฑ์การประเมิ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคะแนน ประเด็นการ ประเมิ น 1 2 1. ซื่อสัตย์ ไม่นำาสิง่ ของและผล ไม่นำาสิง่ ของและผล สุจริต งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น ของตนเอง ของตนเอง ไม่หา ประโยชน์ในทางที่ ไม่ถกู ต้อง

2. มีวนิ ยั

3.ใฝเ่ รียนรู้

ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของโรงเรียน ตรงต่อเวลาและรับผิด ชอบในการทำางาน

ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของ โรงเรียนและสังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ อื่น ตรงต่อเวลาและ รับผิดชอบในการ ทำางาน

ศึกษาค้นคว้าความรู้ จากหนังสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียน เลือกใช้สอ่ื ได้อย่างเหมาะสม และมีการบันทึกความ รู้

ศึกษาค้นคว้าหาความ รูจากหนั ้ งสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียนและเลือก ใช้สอ่ื ได้อย่างเหมาะ สม มีการบันทึก ความรูว้ เิ คราะห์ ข้อมูล สรุปเป็ นองค์ ความรู้ แลกเปลีย่ น เรียนรูก้ บั ผูอ้ ่นื ได้ และนำาไปใช้ในชีวติ ประจำาวันได้

3 ไม่นำาสิง่ ของและผล งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น ของตนเอง ไม่หา ประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ ถูกต้อง และเป็ นแบบ อย่างทีด่ ดี า้ นความ ซื่อสัตย์ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของโรงเรียน และสังคมไม่ละเมิด สิทธิของผูอ้ ่นื ตรงต่อ เวลาและรับผิดชอบ ในการทำางาน ปฏิบตั ิ เป็ นปกติวสิ ยั และ เป็ นแบบอย่างทีด่ ี ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียน เลือกใช้สอ่ื ได้อย่าง เหมาะสม มีการ บันทึก ความรู้ วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุป เป็นองค์ความรู้ แลก เปลีย่ นเรียนรูด้ ว้ ยวิธี การทีห่ ลากหลายและ เผยแพร่แก่บุคคล

น้ำ า คะแนน หนัก รวม

1

3

1

3

1

3


47

ประเด็นการ ประเมิ น

1

ระดับคะแนน 2

3 ทัวไปนำ ่ าไปใช้ในชีวติ ประจำาวันได้ 4.มุง่ มันในการ ่ ทำางานด้วยความขยัน ทำางานด้วยความ ทำางานด้วยความขยัน ทำางาน เพือ่ ให้งานเสร็จตามที่ ขยัน และพยายาม อดทน และพยายาม ได้รบั มอบหมาย ให้งานสำาเร็จตาม ให้งานสำาเร็จตามเป้า เป้าหมาย หมายและชื่นชมผล งานด้วยความภาค ภูมใิ จ 5. มีจติ ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง ช่วยพ่อแม่ผปกครอง ู้ ช่วยพ่อแม่ ผูปกครอง ้ สาธารณะ และครูทาำ งาน และครูทาำ งาน และครูทาำ งาน อาสาทำางาน ช่วยคิด อาสาทำางาน ช่วยคิด อาสาทำางานช่วยคิด ั งของ ช่วยทำา และแบ่งปนั ช่วยทำา แบ่งปนั ช่วยทำา แบ่งปนสิ ่ สิงของให้ ่ ผอู้ น่ื ด้วย สิงของ ่ และช่วยแก้ ทรัพย์สนิ และอืน่ ๆ และ ั ั ความเต็มใจ ปญหาให้ ผอืู้ น่ ด้วย เต็มใจช่วยแก้ปญหา ความเต็มใจ หรือสร้างความสุขให้แก่ ผูอื้ น่ โดยไม่หวัง ผล ตอบแทนและ เป็น แบบอย่างทีด่ ี รวมคะแนน เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 11 – 15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 6 – 10 หมายถึง ดี คะแนน 1 – 5 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

น้ำ า คะแนน หนัก รวม

1

3

1

3

15


48

หน่ วยการเรียนรูท้ ี่ 4 ชื่อ การใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน

(นางนุชนาถ อินทรวิจติ ร) ผูอ้ อกแบบหน่ วยการเรียนรู้


49

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 22 คาบ 40 คะแนน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้ วัด

ผู้เรียนรู้อะไร/ ผู้เรียนทำาอะไรได้

สาระสำาคัญ/ ความคิ ดรวบยอด

ง 3.1 ม 2/4 ใช้ซอฟต์แวร์ ในการทำางาน

1. ผูเ้ รียนรู้อะไร ซอฟต์แวร์กบั การทำางานด้าน ต่าง ๆ 2. ผูเ้ รียนทำาอะไรได้ นำาซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้ในการ ทำางานได้ถกู ต้อง เลือกใช้ โปรแกรมทีเ่ หมาะสมกับงานทีท่ าำ

1. ใช้ซอฟต์แวร์เป็ นชุดคำา สังที ่ ส่ งให้ ั ่ คอมพิวเตอร์ ทำางานอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ ระบบและซอฟต์แวร์ ประยุกต์ 2. การใช้ซอฟต์แวร์ระบบ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ อย่างถูกวิธมี ปี ระสิทธิภาพ ได้ผลงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ

สาระการเรียนรู้ 1.ความหมาย และบทบาทของ ซอฟต์แวร์ 2. ประเภทของ ซอฟต์แวร์ 3. การใช้ ซอฟต์แวร์ระบบ ช่วยในการ ทำางาน 4. การใช้ ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ชว่ ยใน การทำางาน

นำาไปสู่ สมรรถนะสำาคัญ

1. ความสามารถใน การสือ่ สาร 2. ความสามารถใน การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปญั หา 4.ความสามารถใน การใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะ อันพึงประสงค์

1.ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ


50

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 22 คาบ 40 คะแนน นำาไปสู่ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้ ผู้เรียนรู้อะไร/ สาระสำาคัญ/ สาระการเรียนรู้ คุณลักษณะ สมรรถนะสำาคัญ วัด ผู้เรียนทำาอะไรได้ ความคิ ดรวบยอด

อันพึงประสงค์

ง 2.1 ม 2/2 สร้างสิง่ ของ เครือ่ งใช้หรือวิธกี าร เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย ออกแบบโดยถ่ายทอด ความคิดเป็ นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพือ่ นำาไปสู่ การสร้างต้นแบบสิง่ ของ เครือ่ งใช้หรือถ่ายทอดความ คิดของวิธกี ารเป็ นแบบ จำาลองความคิดและการ รายงานผลเพือ่ นำาเสนอวิธี การ ง 2.1 ม 2/3 มีความคิด สร้างสรรค์ในการแก้ปญั หา หรือสนองความต้องการใน งานทีผ่ ลิตเอง

1. ผูเ้ รียนรู้อะไร การสร้างสิง่ ของเครือ่ งใช้หรือวิธกี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่าง ปลอดภัยออกแบบโดยถ่ายทอดความคิด เป็นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพือ่ นำา ไปสูก่ ารสร้างต้นแบบของสิง่ ของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอดความคิดของวิธกี ารเป็น แบบจำาลองความคิดและรายงานผลเพื่อ นำาเสนอวิธกี าร โดยใช้ความคิด สร้างสรรค์ในการแก้ปญั หา 2. ผูเ้ รียนทำาอะไรได้ การสร้างสิง่ ของเครือ่ งใช้หรือวิธี การตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่าง ปลอดภัยออกแบบโดยถ่ายทอดความคิด เป็นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพือ่ นำา ไปสูก่ ารสร้างต้นแบบของสิง่ ของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอดความคิดของวิธกี ารเป็น แบบจำาลองความคิดและรายงานผลเพื่อ นำาเสนอวิธกี าร ออกแบบและสร้างงาน อย่างสร้างสรรค์

การสร้างชิน้ งานให้ม ี คุณภาพควรนำาความคิด สร้างสรรค์ ความรูเ้ กีย่ วกับ งานเขียนแบบ กลไกและ การควบคุมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ ใช้รว่ มกัน

1. ความรูท้ ใ่ี ช้ใน การสร้างชิน้ งาน 2. การสร้าง สิง่ ของเครือ่ งใช้ ตามกระบวนการ เทคโนโลยี

1. ความสามารถใน การสือ่ สาร 2. ความสามารถใน การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปญั หา 4.ความสามารถใน การใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี

1.ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ


51

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 22 คาบ 40 คะแนน นำาไปสู่ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้ ผู้เรียนรู้อะไร/ สาระสำาคัญ/ สาระการเรียนรู้ คุณลักษณะ สมรรถนะสำาคัญ วัด ผู้เรียนทำาอะไรได้ ความคิ ดรวบยอด

อันพึงประสงค์

ง 2.1 ม 2/4 เลือกใช้ เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ต่อชีวติ สังคม สิง่ แวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยี ด้วยการลดการใช้ทรัพยากร หรือเลือกใช้เทคโนโลยีท่ี ไม่มผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม

1. ผูเ้ รียนรู้อะไร วิธเี ลือกใช้เทคโนโลยีในชีวติ อย่างสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม และสิง่ แวดล้อมเทคโนโลยีสะอาด จากการจัดการเทคโนโลยีดว้ ย การลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือก ใช้เทคโนโลยีทไ่ี ม่มผี ลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม 2. ผูเ้ รียนทำาอะไรได้ เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง สร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคมและสิง่ แวดล้อมจัดการเทคโนโลยีดว้ ย การลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือก ใช้เทคโนโลยีทม่ี มี ผี ลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม

1. การเลือกใช้เทคโนโลยี อย่างสร้างสรรค์ จะทำาให้ มนุษย์มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ และสิง่ แวดล้อมไม่ถกู ทำาลาย 2. การจัดการเทคโนโลยี เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ต่อ มนุษย์และไม่มโี ทษต่อสิง่ แวดล้อมทำาได้โดยอาศัย ความรูเ้ รือ่ งพลังงาน หมุนเวียนและเทคโนโลยี สะอาด

1. กระบวนการ เทคโนโลยี 2. การประยุกต์ การออกแบบ เทคโนโลยีเพือ่ ชีวติ 3. การเลือกใช้ เทคโนโลยีอย่าง สร้างสรรค์ 4. การจัดการ เทคโนโลยี

1. ความสามารถใน การสือ่ สาร 2. ความสามารถใน การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปญั หา 4.ความสามารถใน การใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี

1.ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ


52

แบบวิ เคราะห์การจัดหน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน รหัสวิ ชา ง 22102 รายวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 เวลา 22 คาบ 40 คะแนน วิ ธีการประเมิ น 1. การประเมินระหว่างจัด กิจกรรมการเรียนรู้ 2. การประเมินเมือ่ สิน้ สุด กิจกรรมการเรียนรู้ 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ / คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4. กระบวนการทำางาน การนำา เสนอ / อภิปราย 5. แบบทดสอบ

การวัดและประเมิ นผล เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรม การเรียน 2. แบบสังเกตการทำากิจกรรม 3. แบบประเมินชิน้ งาน 4. แบบประเมินการนำาเสนอ 5. แบบทดสอบ

เกณฑ์การประเมิ น ผลการประเมินอยูใ่ นระดับ ดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

ภาระชิ้ นงาน

กิ จกรรมการเรียนรู้

1. การสร้างตารางสอน ของนักเรียน 2. แทรกแผนภูมเิ รือ่ ง ซอฟต์แวร์ 3. สร้างตารางคำานวณ และสร้างแผนภูมจิ าก MS.Excel 4. สร้างงานนำาเสนอจาก MS.PowerPoint 5. สร้างบัตรอวยพรหรือ แผ่นพับ จาก MS.Word 6. จดหมายเวียน (Mailing) 7. ออกแบบผลิตภัณฑ์ จากโปรแกรม Pro/DeskTop 1 ชิน้ งาน

กิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยที่ 4


53

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ชื่อหน่ วยเรื่องการใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี รหัสวิ ชา ง 22102 ชื่อวิ ชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี5 1. สาระ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยีออกแบบและสร้างสิง่ ของเครือ่ งใช้ หรือวิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม สิง่ แวดล้อม และมีสว่ นร่วมในการ จัดการเทคโนโลยีทย่ี งยื ั่ น ตัวชี้วดั ม 2/2 สร้างสิง่ ของเครือ่ งใช้หรือวิธกี ารเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย ออกแบบโดย ถ่ายทอดความคิดเป็ นภาพร่าง 3 มิติ หรือภาพฉาย เพือ่ นำาไปสูก่ ารสร้าง ต้นแบบสิง่ ของเครือ่ งใช้หรือถ่ายทอดความคิดของวิธกี ารเป็ นแบบจำาลองความ คิดและการรายงานผลเพื่อนำาเสนอวิธกี าร ตัวชี้วดั ม 2/3 มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปญั หาหรือสนองความต้องการในงานทีผ่ ลิตเอง ตัวชี้วดั ม 2/4 เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวติ สังคม สิง่ แวดล้อม และมีการจัดการ เทคโนโลยีดว้ ยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยีทไ่ี ม่มผี ลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อม สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสือ่ สาร การแก้ปญั หา การทำางานและอาชีพอย่างมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วดั ม 2/4

ประสิทธิผล และมีคณ ุ ธรรม ใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน

2. สาระสำาคัญ 1. ใช้ซอฟต์แวร์เป็ นชุดคำาสังที ่ ส่ งให้ ั ่ คอมพิวเตอร์ทาำ งานอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ระบบและซอฟต์แวร์ประยุกต์ 2. การใช้ซอฟต์แวร์ระบบและซอฟต์แวร์ประยุกต์อย่างถูกวิธมี ปี ระสิทธิภาพได้ผลงานทีม่ ี คุณภาพ 3. การสร้างชิน้ งานให้มคี ณ ุ ภาพควรนำาความคิดสร้างสรรค์ ความรูเ้ กีย่ วกับงานเขียนแบบ กลไกและการควบคุมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้รว่ มกัน 4. ใช้ซอฟต์แวร์เป็ นชุดคำาสังที ่ ส่ งให้ ั ่ คอมพิวเตอร์ทาำ งานอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ระบบและซอฟต์แวร์ประยุกต์


54

5. การใช้ซอฟต์แวร์ระบบและซอฟต์แวร์ประยุกต์อย่างถูกวิธมี ปี ระสิทธิภาพได้ผลงานทีม่ ี คุณภาพ 3. สาระการเรียนรู้ 1.ความหมายและบทบาทของซอฟต์แวร์ องค์ประกอบพืน้ ฐานของระบบคอมพิวเตอร์ทจ่ี ะทำาให้ระบบสามารทำางานได้ตามความ ต้องการนัน้ แบ่งได้ 2 ประเภท 1. ฮาร์ดแวร์ (Hareware) ประกอบด้วย หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำาหลัก หน่วยความจำารอง อุปกรณ์นำาเข้า และอุปกรณ์สง่ ออก ฮาร์แวร์เป็ นส่วนทีเ่ ป็ นรูปธรรมสามารถจับต้อง ได้และมองเห็นได้โดยตรง 2. ซอฟต์แวร์ (Software) เป็ นชุดคำาสังหรื ่ อโปรแกรมทีเ่ ขีย่ นขึน้ ด้วยภาษา คอมพิวเตอร์ ใช้สงให้ ั ่ คอมพิวเตอร์ทาำ งานอย่างเป็ นขัน้ ตอน มีลกั ษณะเป็ นนามธรรม ไม่สามารถจับต้อง หรือมองเห็นได้โดยตรง 2. ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็ นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์และโปรแกรม ประยุกต์ ใช้ในการควบคุมและดูแลการทำางานทัง้ หมดของระบบคอมพิวเตอร์ ในขณะทีม่ กี ารใช้ โปรแกรมประยุกต์อยู่ ซอฟต์แวร์ระบบจะควบคุมการทำางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทงั ้ หมดอย่างต่อ เนื่อง ซอฟต์แวร์ระบบทีส่ าำ คัญ ได้แก่ ระบบปฏิบตั กิ าร (Operating System) และโปรแกรม อรรถประโยชน์ (Utility Program) - ระบบปฏิบตั กิ าร (Operating System) DOS Windows MAC OS Linux Linux TLE - ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utility Program) เป็ นโปรแกรมประเภทหนึ่งทีท่ าำ งานบน ระบบปฏิบตั กิ าร ส่วนมากใช้เพือ่ บำารุงรักษาและเพิม่ ประสิทธิภาพการทำางานของคอมพิวเตอร์ คุณสมสมบัตกิ ารใช้งานนัน้ ค่อนข้างหลากหลาย แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ โปรแกรมอรรถประโยชน์ สำาหรับระบบปฏิบตั กิ ารและโปรแกรมอรรถประโยชน์อ่นื ๆ เช่น ประเภทการจัดการไฟล์ ประเภทการ ถอนโปรแกรม ประเภทสแกนดิสก์ ประเภทการจัดพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล ประเภทรักษาหน้าจอ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็ นโปรแกรมทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ให้เรา สามารถใช้ทาำ งานเฉพาะด้านตามทีต่ อ้ งการ เช่น โปรแกรมประมวลผลคำา สำาหรับพิมพ์จดหมาย รายงาน โปรแกรมตารางการคำานวณ สำาหรับทำาบัญชีอย่างง่าย โปรแกรมนำาเสนองาน สำาหรับจัดทำา สไลด์ประกอบการนำาเสนองาน โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล สำาหรับงานทีต่ อ้ งใช้ฐานข้อมูลขนาดไม่ใหญ่ นัก แต่เนื่องจากซอฟต์แวร์ดงั กล่าวเป็ นซอฟต์แวร์ทม่ี ลี ขิ สิทธิ ์ ราคาสูง จึงมีผพู้ ฒ ั นาซอฟต์แวร์ Open Source ทีส่ ามารถทำางานได้ดพี อ ๆ กัน ขึน้ มาใช้ เวอร์ชนั ทีส่ ามารถใช้งานได้คอื OpenOffice.org เป็ นชุดโปรแกรมสำานักงานทีม่ อบเสรีภาพแก่ทุกคน ด้วยความสามารถทีม่ ากมาย เทียบได้กบั ชุดโปรแกรมสำานักงานทีเ่ ป็ นทีน่ ิยม


55

3. การใช้ซอฟต์แวร์ระบบช่วยในการทำางาน การใช้ซอฟต์แวร์ระบบช่วยในการทำางาน ทำางานภายใต้ระบบปฏิบตั กิ าร Windows XP

All Programs

Accessories

Control Panel

โปรแกรมระบบ

Start

โปรแกรมภายใต้ Accessories 1. Appearance and Theme 2. Network and Internet Connections 3. Add or Remove Programs 4. Sound, Speech, and Audio Devices 5. Performance and Maintenance 6. Printers and other Hardware 7. User Accounts 8. Date, Time, Language and Regional Options 9. Accessibility Options 10. Security Center โปรแกรมภายใต้ Control Panel 1. Communications 2. Nirsoft 3. Calculator 4. Scanner & Camera Wizard 5. Windows Sidebar 6. Entertainment 7. System Tools 8. Paint 9. Windows Movies Maker 10. WordPad

โปรแกรม อรรถประโยชน์


56

4. การใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ช่วยในการทำางาน ลักษณะงาน จดหมาย หนังสือ ราชการ เอกสารทีม่ ี ข้อความเป็ นหลักแต่ อาจมีการแทรกภาพ แทรกตารางด้วย

Word หลัก

แผ่นปลิวโฆษณาเน้น หลัก การออกแบบ ด้วยรูป ร่าง สีสนั และแบบ อักษร เอกสารเกีย่ วกับข้อมูลตัวเลข หลักในส่วน เช่น แผนงานบัญชี ข้อความ

Excel ช่วยในส่วน ตารางและ กราฟ

-

PowerPoint -

หมายเหตุ ข้อมูลทีค่ ดั ลอก จาก Excel มาไว้ ใน Word หาก สร้างการเชือ่ มโยง ไว้ เมือ่ ปรับปรุง ข้อมูลใน Excel ข้อมูลใน Word จะ เปลีย่ นตามได้ ช่วยในส่วนของภาพ ตัดปะ (Clip Art)

หลักในส่วนตาราง หลักในส่วนการนำา การสร้างการเชื่อม และกราฟ เสนอ โยงจาก Excel ไป ยัง PowerPoint จะ เปลีย่ นตามได้

5. กระบวนการเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยีเป็ นขัน้ ตอนการแก้ปญั หาหรือสนองความต้องการของมนุษย์ ซึง่ มีอยูต่ ลอดเวลา ทัง้ ในอดีตจนถึงปจั จุบนั และเปลีย่ นไปตามยุคสมัย เพือ่ ให้ได้สงิ่ ของเครือ่ ง ใช้หรือวิธกี ารทีส่ ามารถแก้ปญั หาและสนองความต้องการนัน้ ขัน้ ตอนกระบวนการเทคโนโลยี 7 ขัน้ ตอน 1. การกำาหนดปญั หาหรือความต้องการ 2. การรวบรวมข้อมูล 3. การเลือกวิธกี าร 4. การออกแบบและปฏิบตั กิ าร 5. การทดสอบ 6. การปรับปรุงแก้ไข 7. การประเมินผล 6. การประยุกต์การออกแบบเทคโนโลยีเพื่อชีวิต การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพือ่ ชีวติ เป็ นแนวทางการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อ การดำาเนินชีวติ ของมนุษย์ ดังนัน้ สิง่ ของเครือ่ งใช้ต่าง ๆ จึงมีการออกแบบเพือ่ อำานวยความสะดวก รวดเร็ว ในการใช้ชวี ติ ประจำาวัน


57

1. การออกแบบเทคโนโลยีเพือ่ แก้ปญั หาความจำาเป็ นพืน้ ฐานของชีวติ มนุษย์ตอ้ งอาศัยปจั จัย 4 ในการดำารงชีวติ ได้แก่ อาหาร ทีอ่ าศัย เครือ่ งนุ่งห่ม และยารักษาโรค ดังนัน้ จึงมีการนำาเทคโนโลยีเข้ามาตอบสนองความจำาเป็ นพืน้ ฐาน ของชีวติ การสร้างเครือ่ งจักร เครือ่ งทอผ้า พัฒนารูปแบบยาสมุนไพร 2. การออกแบบเทคโนโลยีเพือ่ ความสะดวกสบาย เทคโนโลยีทาำ ให้ชวี ติ ของเราสะดวกสบายเพิม่ มากขึน้ เช่นการติดต่อสือ่ สาร การใช้คอมพิวเตอร์ เครือ่ งอำานวยความสะดวกในบ้าน ทีท่ าำ งาน 7. การเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เทคโนโลยีทเ่ี ป็ นสิง่ ของเครือ่ งใช้หรือวิธกี ารทีม่ นุษย์ได้สร้างและพัฒนาขึน้ มีทงั ้ เทคโนโลยีทม่ี ปี ระโยชน์และเทคโนโลยีทม่ี โี ทษต่อมนุษย์และสิง่ แวดล้อม ดังนัน้ จึงต้องรูจ้ กั เลือกใช้อย่าง สร้างสรรค์ - ความสำาคัญของการเลือกใช้เทคโนโลยี อย่างสร้างสรรค์ เป็ นการเลือกใช้ เทคโนโลยีทม่ี ปี ระโยชน์ต่อตนเองและผูอ้ ่นื มีความปลอดภัย เหมาะสมกับสภาพท้องถิน่ และไม่มผี ลก ระทบต่อสิง่ แวดล้อม เอือ้ ให้มนุษย์มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ - แนวทางการเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ การเลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง สร้างสรรค์ มีแนวทางดังนี้ 1. เลือกใช้เทคโนโลยีทส่ี นองต่อความต้องการได้ 2. เลือกใช้เทคโนโลยีทม่ี คี วามปลอดภัย 3. เลือกใช้เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับสภาพท้องถิน่ 4. เลือกใช้เทคโนโลยีทไ่ี ม่มผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม 8. การจัดการเทคโนโลยี การจัดการเทคโนโลยีเป็ นแนวทางการใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ไม่มโี ทษต่อมนุษย์ และสิง่ แวดล้อม ซึง่ มี 2 แนวทางทีน่ ่าสนใจ ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน และเทคโนโลยีสะอาด พลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) คือพลังงานทีไ่ ด้จากแหล่งพลังงานทีม่ อี ยู่ ในธรรมชาติ และสามารถผลิตทดแทนได้ไม่มวี นั หมด เช่น แสงอาทิตย์ น้ำา ลม ความร้อนใต้พภิ พ ชีวมวล เป็ นต้น เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology: CT) คือการปรับปรุง เปลีย่ นแปลงและ พัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้การใช้วตั ถุดบิ พลังงานและ ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยก่อให้เกิดผลเสียต่อมนุษย์และสิง่ แวดล้อมน้อย ทีส่ ุดหรือไม่มเี ลย รวมถึงช่วยลดค่าใช้จ่ายในการผลิตด้วยการใช้เครือ่ งมือทีเ่ รียกว่า 4R ได้แก่ Reuse Repair Reduce Recycle


58

9. ความรู้ที่ใช้ในการสร้างชิ้ นงาน การสร้างชิน้ งานของเล่น ของใช้ หรือของตกแต่งใดๆ ก็ตามต้องอาศัยความรูท้ ห่ี ลาก หลาย เช่นความคิดสร้างสรรค์ กลไกและการควบคุมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ ภาพฉาย มา ประยุกต์ใช้รว่ มกัน เพือ่ ให้เกิดเป็ นชิน้ งานทีม่ คี วามแปลกใหม่ สวยงาม และมีประโยชน์ใช้สอยตาม ต้องการ ความคิ ดสร้างสรรค์ เป็ นความสามารถทางสมองของมนุษย์ทค่ี ดิ ได้ กว้างไกลหลาย แง่มมุ หลายทิศทาง นำาไปสูก่ ารคิดประดิษฐ์สงิ่ ของ และแนวทางแก้ปญั หาใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ม ี 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. ความคิดริเริม่ 2. ความคล่องในการคิด 3. ความยืดหยุน่ ในการคิด 4. ความคิดละเอียดลออ กลไกและการควบคุมไฟฟ้ า-อิ เล็กทรอนิ กส์ เป็ นระบบทีท่ าำ ให้ชน้ิ งานทีส่ ร้างขึน้ สามารถเคลือ่ นไหวและควบคุมการทำางานได้ โดยต้องอาศัยอุปกรณ์ต่าง ๆ เป็ นตัวช่วย งานเขียนแบบ เป็ นงานถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ ด้วยการเขียนหรือวาดเส้น รูปภาพ สัญลักษณ์ และรายการประกอบแบบ ลงบนกระดาษหรือคอมพิวเตอร์ในลักษณะเหมือนจริง เพือ่ ใช้เป็ นแนวทางให้การสร้างหรือซ่อมแซมชิน้ งานต่าง ๆ เป็ นไปอย่างถูกต้อง โดยแบบจะแสดงราย ละเอียดหรือข้อกำาหนดของงานทีช่ ่างหรือผูป้ ฏิบตั งิ านต้องเข้าใจตรงกันกับผูอ้ อกแบบ สามารถอ่านแบบ ได้ถกู ต้องและปฏิบตั ติ ามรูปแบบรายการทีก่ าำ หนดไว้ได้ - ลักษณะของแบบ มี 3 ลักษณะ รูปแปลนและรูปด้าน รูปตัด และ รูปขยาย - เส้นทีใ่ ช้ในงานเขียนแบบ ชนิดของเส้น ความหนาของเส้น การใช้งาน - ตัวอักษะและตัวเลขทีใ่ ช้ในการงานเขียนแบบ - มาตราส่วน - วิธกี ารเขียนแบบ เขียนด้วยมือเปล่า เขียนด้วยเครือ่ งมือและอุปกรณ์ - เครือ่ งมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ - ภาพสามมิติ ภาพออบลิค (oblique) ภาพไอโซเมตริก (isometric) ภาพเพอร์สเปก ทีฟ (perspective) - ภาพฉาย เป็ นภาพลายเส้นทีบ่ อกขนาด สัดส่วนต่าง ๆ ของชิน้ งาน ซึง่ ส่วนใหญ่เขียน มาจากภาพของจริง โดยมองแต่ละด้านแล้วเขียนภาพ ออกมาตามทีม่ องเห็นในแต่ละด้านของชิน้ งาน ตามปกติจะมีทงั ้ หมด 6 ด้าน เหมือนลูกเต๋า แต่ภาพในการทำางานจริงจะใช้เพียง 3 ด้านเท่านัน้ ได้แก่ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบน ส่วนทีม่ องไม่เห็นจะเขียนแสดงด้วยเส้นประ หลักการเขียนภาพฉาย - ให้ภาพทีเ่ ห็นรายละเอียดของแบบทีช่ ดั เจนทีส่ ุด หรือด้านทีก่ าำ หนดให้เป็ นภาพด้าน หน้า


59

- ภาพด้านบนต้องอยูด่ า้ นล่างและแนวดิง่ เดียวกันกับภาพด้านหน้า - ภาพด้านข้างต้องอยูข่ วามือและแนวระดับเดียวกันกับภาพด้านหน้า - ภาพกว้างของภาพด้านบนต้องเท่ากับความกว้างส่วนนัน้ ของภาพด้านข้าง - ความยาวของภาพด้านบนต้องเท่ากับความยาวส่วนนัน้ ของภาพด้านหน้า - ความสูงของภาพด้านข้างต้องเท่ากับความสูงส่วนนัน้ ของภาพด้านหน้า - ผิวงานของงานส่วนทีข่ นานกับแนวระนาบของการฉายภาพ จะมีขนาดและรูปร่าง ทีแ่ ท้จริงของภาพทีฉ่ ายในระนาบนัน้ - เส้นของงานทีข่ นานกับแนวระนาบของการฉายภาพ จะเป็ นเส้นทีม่ คี วามยาวทีแ่ ท้ จริงของงานทีฉ่ ายไปบนภาพในระนาบนัน้ - เส้นของงานทีต่ งั ้ ฉากกับแนวระนาบของการฉายภาพ จะปรากฏเป็ นจุด เมือ่ ฉายไป บนภาพในแนวระนาบนัน้ - ผิวงาน (พืน้ ที่) ของภาพทีต่ งั ้ ฉากกับแนวระนาบของการฉายภาพจะเป็ นเส้นเมือ่ ฉาย ไปบนภาพในแนวระนาบนัน้ - การอ่านแบบ การอ่านแบบอย่างถูกต้องโดยอาศัยความรูเ้ รือ่ งเส้น สัญลักษณ์ ตัว อักษร และตัวเลข จะช่วยให้สามารถสร้างหรือซ่อมแซมชิน้ งานได้อย่างถูกต้องและมีคณ ุ ภาพ ภาพด้านบน หมายถึง ภาพทีส่ ายตามองเห็นจากทีส่ งู เหมือนกับนกบิน ภาพด้านหน้า หมายถึง ภาพทีส่ ายตามองเห็นรูปทรงของภาพทีด่ ตู ามรูปทรงจริงที่ สายตามองเห็น โดยผูม้ องต้องยืนด้านหน้าของสิง่ ของนัน้ ๆ แล้วสะท้อนรูปทรงลงในแผ่นกระดาษ ภาพด้านข้าง หมายถึง ภาพทีส่ ายตามองเห็นรูปทรงด้านข้างซ้าย หรือขวาของวัตถุ สิง่ ของนัน้ โดยผูม้ องจะเปลีย่ นทิศไปยืนอยูใ่ นตำาแหน่งตรงด้านข้าง แล้วมองไปข้างหน้าในระดับสายตา เห็นภาพอย่างไรก็เขียนลงในกระดาษตามทีเ่ ห็น 10. การสร้างสิ่ งของเครื่องใช้ตามกระบวนการเทคโนโลยี การสร้างสิง่ ของเครือ่ งใช้ตามกระบวนการเทคโนโลยีจะช่วยให้การทำางาน มีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลา ประหยัดแรงงาน ประหยัดค่าใช้จ่าย และได้ผลงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ 1. การกำาหนดปญั หาหรือความต้องการ 2. การรวบรวมข้อมูล 3. การเลือกวิธกี าร 4. การออกแบบและปฏิบตั กิ าร 5. การทดสอบ 6. การปรับปรุงแก้ไข 7. การประเมินผล 11. การใช้โปรแกรม Pro/DeskTop วิธกี ารเข้าใช้งานโปรแกรม การเปิ ดชิน้ งานใหม่ การออกแบบสีเ่ หลีย่ มทรงตัน การออกแบบทรงกระบอกกลวง ออกแบบผลิตภัณฑ์ตามกระบวนการเทคโนโลยีคนละ 1 ชิน้ งาน


60

4. ทักษะการปฏิ บตั ิ และนำาความรู้ไปใช้ กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการกลุม่ 5. สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4.ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซื่อสัตย์ สุจริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้ 4. มุง่ มันในการทำ ่ างาน 5. มีจติ สาธารณะ 7. ชิ้ นงาน / ภาระงาน (รวบยอด) 1. การสร้างตารางสอนของนักเรียน 2. แทรกแผนภูมเิ รือ่ งซอฟต์แวร์ 3. สร้างตารางคำานวณ และสร้างแผนภูมจิ าก MS.Excel 4. สร้างงานนำาเสนอจาก MS.PowerPoint 5. สร้างบัตรอวยพรหรือแผ่นพับ จาก MS.Word 6. จดหมายเวียน (Mailing) 7. ออกแบบผลิตภัณฑ์จากโปรแกรม Pro/DeskTop 1 ชิน้ งาน 8. การวัดและประเมิ นผล 1. การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.1 การปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนทีถ่ กู วิธี 1.2 สังเกตพฤติกรรมการทำางาน 2. การประเมินเมือ่ สิน้ สุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 ฝึกปฏิบตั กิ ารใช้งานโปรแกรมต่าง ๆ ได้ถกู ต้อง ครบถ้วน 2.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ซื่อสัตย์ สุจริต - มีวนิ ยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มุง่ มันในการทำ ่ างาน - มีจติ สาธารณะ


61

9. กิ จกรรมการเรียนรู้

ชัวโมงที ่ ่ 19-26 ความหมายและบทบาทของซอฟต์แวร์ , ประเภทของซอฟต์แวร์ , การใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการทำางาน ,การเลือกใช้ซอฟต์แวร์

กิ จกรรมนำาสู่การเรียน นักเรียนและครูร่วมสนทนา เรือ่ งการใช้โปรแกรมต่างๆ โดยสุม่ ให้นกั เรียน 3-5 คน ร่วม กันตอบและอภิปรายถึงโปรแกรมทีน่ กั เรียนใช้ว่าแต่ละโปรแกรมมีประโยชน์ หรือความสามารถด้านใด แล้วถ้านักเรียนต้องการใช้โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง นักเรียนสามารถเลือกใช้งานได้เหมาะสมกับ โปรแกรมหรือไม่ แล้วแนะนำานักเรียนถึงเนื้อหาทีน่ กั เรียนจะเรียนในหน่วยการเรียนรูน้ ้ี ทีม่ เี นื้อหาเกีย่ ว กับซอฟต์แวร์ต่าง ๆ กิ จกรรมพัฒนา 1. ครูอธิบายถึงความหมายและบทบาทของซอฟต์แวร์ ประเภทของซอฟต์แวร์ การใช้ ซอฟต์แวร์ชว่ ยในการทำางาน การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ 2. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 1 เรือ่ งการใช้ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ทาำ ความ สะอาดดิสก์ 3. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 2 การจัดกลุม่ แฟ้มทีก่ ระจัดกระจาย 4. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 3 การใช้ซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัส 5. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 4 การบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดหี รือดีวดี ี 6. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 5 การศึกษาระบบเมนูคาำ สัง่ 7. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 6 การทำางานกับข้อความ 8. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 7 การแทรกตาราง 9. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 8 การแทรกแผนภูม ิ 10. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 9 การแทรกภาพ 11. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 10 การใช้โปรแกรม Excel ในการทำาตาราง คำานวณ 12. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 11 การสร้างแผนภูมจิ ากตาราง Excel 13. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 12 การแทรกตารางและแผนภูมจิ าก Excel ลงใน เอกสาร Word 14. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 13 การใช้โปรแกรม PowerPoint สร้างสไลด์นำา เสนองาน 15. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 14 การทำาบัตรอวยพรหรือแผ่นพับ 16. นักเรียนฝึกทำากิจกรรมที่ 15 จดหมายเวียน กิ จกรรมรวบยอด นักเรียนฝึกปฏิบตั กิ จิ กรรม 1-15 ครบทุกกิจกรรม


62

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ (ผลทีไ่ ด้รบั ปญั หา แนวทางการแก้ไข) …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… …... ชัวโมงที ่ ่ 27-30 กระบวนการเทคโนโลยี , การประยุกต์การออกแบบเทคโนโลยีเพื่อชีวิต , การเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ , การจัดการเทคโนโลยี กิ จกรรมนำาสู่การเรียน นักเรียนและครูร่วมสนทนา การใช้เทคโนโลยีในชีวติ ประจำาวัน ร่วมกันอภิปรายถึงข้อดี ข้อเสียของเทคโนโลยีต่าง ๆ จำาลองเหตุการณ์ให้นกั เรียนออกแบบเทคโนโลยี 1 ชนิด ด้วยตนเอง เพือ่ ตอบสนองความต้องการของนักเรียน แล้วนำานักเรียนเข้าสูบ่ ทเรียน กิ จกรรมพัฒนา 1. ครูอธิบายถึงขัน้ ตอนการออกแบบสิง่ ของด้วยขัน้ ตอนของกระบวนการทาง เทคโนโลยี 7 ขัน้ ตอน โดยวิเคราะห์ทลี ะขัน้ ตอน 2. นักเรียนตอบคำาถามได้ว่าผลิตภัณฑ์ทน่ี กั เรียนออกแบบนัน้ มีการประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจำาวันได้อย่างไร 3. นักเรียนมีวธิ กี ารเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ดว้ ยวิธใี ด 4. นักเรียนมีการเลือกใช้พลังงานหมุนเวียน เทคโนโลยีสะอาด หรือไม่ ครูและ นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความหมายของพลังงานหมุนเวียน เทคโนโลยีสะอาด 4R หรือไม่ กิ จกรรมรวบยอด นักเรียนออกแบบผลิตภัณฑ์ตามกระบวนการเทคโนโลยีทค่ี าำ นึงถึงข้อดี ข้อเสีย และสามารถ ตอบสนองความต้องการของนักเรียนได้ บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ (ผลทีไ่ ด้รบั ปญั หา แนวทางการแก้ไข) …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… …...


63

ชัวโมงที ่ ่ 31-40 ความรู้ที่ใช้ในการสร้างชิ้ นงาน , การสร้างสิ่ งของเครื่องใช้ตามกระบวนการเทคโนโลยี, การใช้โปรแกรม Pro/DeskTop กิ จกรรมนำาสู่การเรียน ครูทบทวนถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ทน่ี กั เรียนได้ออกแบบไว้ และอธิบายว่านักเรียน ต้องสร้างชิน้ งาน 1 ชิน้ งาน โดยมีการใช้โปรแกรม Pro/DeskTop ในการออกแบบ กิ จกรรมพัฒนา 1. ครูยกนำากระดาษ 1 แผ่น ให้นกั เรียนช่วยกันตอบว่า สามารถสร้างชิน้ งานอะไรได้ บ้าง 2. นักเรียนศึกษาเรือ่ งความรูท้ ใ่ี ช้ในการสร้างชิน้ งาน ซึง่ ประกอบด้วยความคิด สร้างสรรค์ 4 แบบ กลไกและการควบคุมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ 3. นักเรียนสร้างงานเขียนแบบ เพือ่ ถ่ายทอดความคิดโดยการเขียน วาดเส้น โดยให้ออกแบบในโปรแกรม Pro/DeskTop ตามลักษณะของแบบ 3 ลักษณะให้ชดั เจน ครูอธิบาย ถึงการใช้เส้นทีใ่ ช้ในงานเขียนแบบ 4. ครูอธิบายถึงมาตราส่วนในงานเขียนแบบเป็ นสัดส่วนของแบบกับชิน้ งานจริง มี 3 ลักษณะ คือ มาตราส่วนเท่าของจริง มาตราส่วนย่อ มาตราส่วนขยาย 5. วิธกี ารเขียนแบบ 2 วิธี การเขียนแบบด้วยมือเปล่า การเขียนแบบด้วยเครื่องมือและ อุปกรณ์ 6. ภาพสามมิติ เป็ นภาพทีป่ ระกอบด้วยแกนของภาพ 3 แกน ได้แก่ ความกว้าง ความ ยาวและความสูง ทำามุมซึง่ กันและกันให้เห็นในลักษณะคล้ายรูปทรงชิน้ งานจริง โดยผูอ้ ่านแบบจะมอง เห็นภาพได้ชดั เจนและเข้าใจง่าย ภาพสามมิตทิ น่ี ิยมใช้ในการเขียนแบบชิน้ งานต่าง ๆ คือ ภาพ ออกลิค ภาพไอโซเมตริก ภาพเพอร์สเปกทีฟ 7. ภาพฉาย เป็ นภายลายเส้นทีบ่ อกขนาดสัดส่วนต่าง ๆ ของชิน้ งาน ซึง่ ส่วนใหญ่ เขียนมาจากภาพของจริง โดยมองแต่ละด้านแล้วเขียนภาพออกมาตามทีม่ องเห็นในแต่ละด้านของชิน้ งาน ตามปกติจะมี 6 ด้าน เหมือนลูกเต๋า แต่ภาพในการทำางานจริงจะใช้เพียง 3 ด้าน เท่านัน้ ได้แก่ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบน ส่วนทีม่ องไม่เห็นจะเขียนแสดงด้วยเส้นประ 8. หลักการเขียนภาพฉาย 9. การอ่านแบบ 10. การใช้โปรแกรม Pro/DeskTop กิ จกรรมรวบยอด นักเรียนศึกษาเรือ่ งการออกแบบตามกระบวนการเทคโนโลยี การเขียนแบบ แล้วทำาการ ออกแบบโดยใช้ซอฟต์แวร์ชว่ ยในการสร้างสรรค์ชน้ิ งาน


64

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ (ผลทีไ่ ด้รบั ปญั หา แนวทางการแก้ไข) …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………… …... 10. สื่อ / แหล่งเรียนรู้ 10.1 หนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 2 10.2 เครือ่ งคอมพิวเตอร์ 10.3 อินเตอร์เน็ต 11. เกณฑ์การประเมิ น 1. ภาระงาน / แบบฝึ กหัด ระดับคะแนน ประเด็นการ ประเมิ น 1 2 1. ฝึกปฏิบตั ิ ทำากิจกรรมได้ 1-3 ทำากิจกรรมได้ กิจกรรม 15 กิจกรรม ได้ถกู ต้อง 1-10 กิจกรรม ได้ กิจกรรม ถูกต้อง มีความคิด สร้างสรรค์ รวมคะแนน เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 13 - 18 หมายถึง ดีมาก คะแนน 7 -12 หมายถึง ดี คะแนน 1 - 6 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

คะแนนเต็ม 3 ทำากิจกรรมได้ 1-15 กิจกรรม ได้ถกู ต้อง มี ความคิด สร้างสรรค์

18

คะแนน คะแนน น้ำ าหนัก รวม

6

18

18


65

2. ชิ้ นงาน ประเด็นการ ประเมิ น 1 1. ผลิตภัณฑ์ ส่งชิน้ งานไม่ทนั ทีอ่ อกแบบจาก เวลา ไม่ถกู ต้อง โปรแกรม และไม่มคี วามคิด Pro/DeskTop สร้างสรรค์ 1 ชิน้ งาน

คะแนนเต็ม ระดับคะแนน 2 ส่งชิน้ งานทันเวลา ไม่ถกู ต้องและไม่ม ี ความคิด สร้างสรรค์ รวมคะแนน

3 ส่งชิน้ งานทัน เวลา ถูกต้อง มี ความคิด สร้างสรรค์

12

คะแนน คะแนน น้ำ าหนัก รวม

4

12

12

เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 9 – 12 หมายถึง ดีมาก คะแนน 5 – 8 หมายถึง ดี คะแนน 1 – 4 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ 3. ทดสอบปรนัย / อัตนัย คะแนนเต็ม 10 คะแนน - การทดสอบ โดยแบบทดสอบปรนัย 20 ข้อ 10 คะแนน (ปลายภาค)


66

เกณฑ์การประเมิ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคะแนน ประเด็นการ ประเมิ น 1 2 1. ซื่อสัตย์ ไม่นำาสิง่ ของและผล ไม่นำาสิง่ ของและผล สุจริต งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น ของตนเอง ของตนเอง ไม่หา ประโยชน์ในทางที่ ไม่ถกู ต้อง

2. มีวนิ ยั

3.ใฝเ่ รียนรู้

ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของโรงเรียน ตรงต่อเวลาและรับผิด ชอบในการทำางาน

ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของ โรงเรียนและสังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ อื่น ตรงต่อเวลาและ รับผิดชอบในการ ทำางาน

ศึกษาค้นคว้าความรู้ จากหนังสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียน เลือกใช้สอ่ื ได้อย่างเหมาะสม และมีการบันทึกความ รู้

ศึกษาค้นคว้าหาความ รูจากหนั ้ งสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียนและเลือก ใช้สอ่ื ได้อย่างเหมาะ สม มีการบันทึก ความรูว้ เิ คราะห์ ข้อมูล สรุปเป็ นองค์ ความรู้ แลกเปลีย่ น

3 ไม่นำาสิง่ ของและผล งานของผูอ้ ่นื มาเป็ น ของตนเอง ไม่หา ประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ ถูกต้อง และเป็ นแบบ อย่างทีด่ ดี า้ นความ ซื่อสัตย์ ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงของโรงเรียน และสังคมไม่ละเมิด สิทธิของผูอ้ ่นื ตรงต่อ เวลาและรับผิดชอบ ในการทำางาน ปฏิบตั ิ เป็ นปกติวสิ ยั และ เป็ นแบบอย่างทีด่ ี ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ จากหนังสือ เอกสาร สิง่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่งเรียนรูท้ งั ้ ภายในและภายนอก โรงเรียน เลือกใช้สอ่ื ได้อย่าง เหมาะสม มีการ บันทึก ความรู้ วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุป เป็นองค์ความรู้ แลก

น้ำ า คะแนน หนัก รวม

1

3

1

3

1

3


67

เรียนรูก้ บั ผูอ้ ่นื ได้ เปลีย่ นเรียนรูด้ ว้ ยวิธี และนำาไปใช้ในชีวติ การทีห่ ลากหลายและ ประจำาวันได้ เผยแพร่แก่บุคคล


68

ประเด็นการ ประเมิ น

1

ระดับคะแนน 2

3 ทัวไปนำ ่ าไปใช้ในชีวติ ประจำาวันได้ 4.มุง่ มันในการ ่ ทำางานด้วยความขยัน ทำางานด้วยความ ทำางานด้วยความขยัน ทำางาน เพือ่ ให้งานเสร็จตามที่ ขยัน และพยายาม อดทน และพยายาม ได้รบั มอบหมาย ให้งานสำาเร็จตาม ให้งานสำาเร็จตามเป้า เป้าหมาย หมายและชืน่ ชมผล งานด้วยความภาค ภูมใิ จ 5. มีจติ ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง ช่วยพ่อแม่ผปกครอง ู้ ช่วยพ่อแม่ ผูปกครอง ้ สาธารณะ และครูทาำ งาน และครูทาำ งาน และครูทาำ งาน อาสาทำางาน ช่วยคิด อาสาทำางาน ช่วยคิด อาสาทำางานช่วยคิด ั งของ ช่วยทำา และแบ่งปนั ช่วยทำา แบ่งปนั ช่วยทำา แบ่งปนสิ ่ สิงของให้ ่ ผอู้ น่ื ด้วย สิงของ ่ และช่วยแก้ ทรัพย์สนิ และอืน่ ๆ และ ั ั ความเต็มใจ ปญหาให้ ผอืู้ น่ ด้วย เต็มใจช่วยแก้ปญหา ความเต็มใจ หรือสร้างความสุขให้แก่ ผูอื้ น่ โดยไม่หวัง ผล ตอบแทนและ เป็น แบบอย่างทีด่ ี รวมคะแนน เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 11 – 15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 6 – 10 หมายถึง ดี คะแนน 1 – 5 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ระดับดี ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

น้ำ า คะแนน หนัก รวม

1

3

1

3

15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.