เอกสารประกอบการเรียน

Page 1

เอกสารประกอบการเรียน บทเรียนแบบสตรีมมิ่งมีเดียผาน เครือขายอินเทอรเน็ต HTTP://STREAM.AEROBESS.COM

Poobess Niratpai

PRASATBENGWITTAYASCHOOL | HTTP://WWW.PRASATBENGWITTAYASCHOOL.AC.TH


บทเรียนแบบสตรีมมิง่ มีเดียผานเครือขายอินเทอรเน็ต http://stream.aerobess.com โดยครูภเู บศ นิราศภัย

ใบความรูที่ 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 ขอมูลและระบบฐานขอมูล เรื่อง ขอมูลและระบบฐานขอมูล

วิชา ฐานขอมูลเบื้องตน ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 5

1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับระบบฐานขอมูล ปจจุบันระบบคอมพิวเตอรเปนสิง่ จําเปนและมีความสําคัญตอหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน จะเห็นไดจาก การประมวลผลขอมูล (Data Processing) แบบ Manual เชนการใชเครือ่ งคิดเลข การทํางานบนกระดาษ การทํางาน ดวย Worksheet ตลอดจนการเก็บเอกสารในรูปของกระดาษหรือแฟม และรวบรวมเก็บไวในตูห รือชั้น มีแนวโนม ลดลงอยางรวดเร็ว ทัง้ นีเ้ กิดจากหลายสาเหตุ ไดแก ปริมาณของขอมูลมีมากขึ้นในลักษณะทวีคณ ู (Exponential Growth) ราคาของเครื่องมือที่ใชในการประมวลผลซึง่ ก็คือระบบคอมพิวเตอรถูกลงมาก รวมถึงการแขงขันในเชิงของ เวลาและคุณภาพในการนําขอมูลที่ถูกประมวลผลแลวไปใชงานสูงขึ้น เปนตน เนื่องจากขอมูลเปนสวนที่สําคัญยิ่งของการประมวลผลเพราะถาปราศจากขอมูล การประมวลผลก็ไมอาจทํา ได ดังนั้นจะขอกลาวถึงอยางสั้นๆ ถึงความเปนมาของการจัดการขอมูลกอนที่จะมาเปนยุคของระบบฐานขอมูล เริ่มตนที่ระบบแฟมขอมูล (File Systems) ซึ่งแนวคิดนี้พฒ ั นามาจากลักษณะการเก็บขอมูลเอกสารจริงๆของ หนวยงาน นั่นคือแฟมเอกสารของงานหนึ่งก็คอื แฟมกระดาษที่มีการเจาะรูตรงกลาง เชนแฟมขอมูลลูกคา จะ ประกอบดวยเอกสารที่มีรายละเอียดของลูกคาทัง้ หมดของบริษัท ไดแก ชื่อ ที่อยู เบอรโทรศัพท ที่อยูที่สามารถติดตอ ได ฯลฯ และบริษทั หนึง่ ๆ อาจแฟมขอมูลอื่นๆไดอีก เชน แฟมขอมูลเรือ่ งสินคา แฟมขอมูลเรือ่ งการขาย แฟมขอมูล เรื่องเช็คธนาคาร เปนตน ซึง่ แตละแฟมขอมูลก็จะประกอบดวยขอมูลในเรือ่ งเดียวกัน เมือ่ นําแนวคิดดังกลาวมาใชใน ระบบคอมพิวเตอร ขอมูลทีใ่ ชในการประมวลผลดวยเครื่องคอมพิวเตอรจะเปนขอมูลที่จัดเก็บในรูปของแฟมขอมูลใน ลักษณะคลายๆกัน แตมีการเรียกหรือตัง้ ชื่อ (Terms) เฉพาะ เชน ในแฟมขอมูลลูกคา รายละเอียดของลูกคาแตละคน เรียกวา ระเบียนหรือเรคอรด (Records) แฟมขอมูลหนึ่งๆ จะประกอบดวยระเบียนหลายๆ ระเบียน (มีลูกคาหลาย คน) และในแตละระเบียนประกอบดวยหลายๆ ฟลด (Fields) ซึ่งก็คือรายละเอียดของลูกคานั่นเอง เราสามารถแสดง โครงสรางของแฟมขอมูลในลักษณะรูปภาพ ไดรปู ที่ 1

ภาพที่ 1 โครงสรางของแฟมขอมูล เนื่องจากการประมวลผลกับแฟมขอมูล (File Processing) เปนเรือ่ งที่คอนขางยุงยากและเกิดความซ้ําซอนของ ขอมูลระหวางแฟมขอมูลไดงาย เพราะบริษัทหนึ่งๆ มักมีแฟมขอมูลมากกวาหนึ่งแฟมและรายละเอียดขอมูลบางแฟม อาจซ้ํากัน ทําใหเกิดแนวคิดในการพัฒนาระบบฐานขอมูลขึ้นเพื่อลดปญหาดังกลาว 1|Page


บทเรียนแบบสตรีมมิง่ มีเดียผานเครือขายอินเทอรเน็ต http://stream.aerobess.com โดยครูภเู บศ นิราศภัย ระบบฐานขอมูล (Database Systems) หมายถึง กลุมของขอมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว โดยมีความสัมพันธซึ่งกันและ กัน โดยไมไดบังคับวาขอมูลทัง้ หมดนี้จะตองเก็บไวในแฟมขอมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟมขอมูล นั่นก็คอื การ เก็บขอมูลในฐานขอมูลนั้นเราอาจจะเก็บทัง้ ฐานขอมูล โดยใชแฟมขอมูลเพียงแฟมขอมูลเดียวกันได หรือจะเก็บไวใน หลาย ๆ แฟมขอมูล ที่สําคัญคือจะตองสรางความสัมพันธระหวางระเบียนและเรียกใชความสัมพันธนั้นได มีการกําจัด ความซ้ําซอนของขอมูลออกและเก็บแฟมขอมูลเหลานี้ไวทศี่ ูนยกลาง เพื่อทีจ่ ะนําขอมูลเหลานี้มาใชรว มกัน ควบคุมดูแล รักษาเมื่อผูต องการใชงานและผูมีสิทธิ์จะใชขอ มูลนั้นสามารถดึงขอมูลทีต่ องการออกไปใชได ขอมูลบางสวนอาจใช รวมกับผูอื่นได แตบางสวนผูมีสิทธิเ์ ทานั้นจึงจะสามารถใชได โดยทั่วไปองคกรตาง ๆ จะสรางฐานขอมูลไว เพือ่ เก็บ ขอมูลตาง ๆ ขององคกร โดยเฉพาะอยางยิง่ ขอมูลในเชิงธุรกิจ เชน ขอมูลของลูกคา ขอมูลของสินคา ขอมูลของลูกจาง และการจางงาน เปนตน ระบบฐานขอมูลที่สมบูรณจะตองประกอบดวยองคประกอบ 4 องคประกอบหลัก ดังตอไปนี้ 1. ฮารดแวร (Hardware) 2. ซอฟตแวร (Software) 3. ขอมูล (Data) 4. บุคลากร (People) • องคประกอบทางดานฮารดแวร ไดแก อุปกรณ ตาง ๆ ทางคอมพิวเตอร ซึ่งเป นองคประกอบที่สําคัญ องคประกอบหนึ่งในระบบฐานขอมู ล เนื่องจากฐานขอมูลจะตองใชอุปกรณทางคอมพิวเตอรเพื่อเก็บขอมูลและการประมวลผลขอมูล อุปกรณทางคอมพิวเตอรอาจประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอรตั้งแตหนึ่งตัวขึ้นไป หนวยเก็บขอมูลสํารองเชน จานแมเหล็กหรือดิสก เทปแมเหล็ก อุปกรณขับดิสก อุปกรณขับเทปแมเหล็ก หนวยนําขอมูลเขา เชน เทอรมินัลซึ่ง ประกอบดวยแปนพิมพหรือจอภาพ หนวยนําขอมูลออกเชนเครื่องพิมพ นอกจากนี้ยังตองมีอุปกรณการสื่อสารเพื่อ เชื่อมโยงอุปกรณทางคอมพิวเตอรหลาย ๆ เครื่องใหสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลกันได เปนตน • องคประกอบทางซอฟตแวร นอกจากองคประกอบทางดานฮารดแวรแลว องคประกอบถัดไปของระบบฐานขอมูลไดแก องคประกอบ ทางดานซอฟตแวร ซึ่งจะแบงซอฟตแวรที่ใชในระบบฐานขอมูล ไดเปน 2 แบบ 1. ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) 1.1 จะสามารถใชคําสัง่ ที่มอี ยูใ น DBMS ในการดึงขอมูลหรือจัดการขอมูลภายในฐานขอมูลเพื่อ 1.2 ประมวลผลหรือนําขอมูลมาออกรายงานตามความตองการได 2. ระบบจัดการฐานขอมูล (Database Management หรือ DMBS) สามารถเรียกไดอีกอยางหนึง่ วา DBMS เปนซอฟตแวรระบบชนิดหนึ่งที่คลายกับซอฟตแวร ระบบปฏิบตั ิการทัว่ ไป มีหนาทีใ่ หบริการแกผูใชงานฐานขอมูล และผูเขียนโปรแกรม (Programmer) ในการจัดการกับ ขอมูลใด ๆ ภายในฐานขอมูล • องคประกอบทางดานขอมูล เปนองคประกอบที่สําคัญอีกองคประกอบหนึ่งที่จําเปนตองมีในระบบฐานขอมูล ตัวอยางของขอมูล เชน ระเบียนของนักเรียนแตละคนที่เก็บอยูในตารางนักเรียน ซึ่งประกอบดวย เขตขอมูลรหัสประจําตัวนักเรียน ชื่อ ชั้น ที่ อยู เปนตน ขอมูลที่เก็บอยูในฐานขอมูลควรมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1. มีความถูกตอง ทันสมัย สมเหตุสมผล 2. มีความซ้ําซอนของขอมูลนอยที่สุด 3. มีการแบงกันใชงานขอมูล • องคประกอบทางดานบุคลากร บุคลากรที่เกี่ยวของกับฐานขอมูล จะสามารถจําแนกออกไดเปน 3 ประเภทใหญ ดังนี้ 2|Page


บทเรียนแบบสตรีมมิง่ มีเดียผานเครือขายอินเทอรเน็ต http://stream.aerobess.com โดยครูภเู บศ นิราศภัย 1. ผูใชงาน (Users) เป น บุ ค คลที่ นํ าสารสนเทศ (Information) ที่ ได จากระบบฐานข อ มู ล ไปใช เพื่ อ การวางแผน หรื อ การตัดสินใจในธุรกิจขององคกร หรือเพื่อการทํางานอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งผูใชงานนี้อาจเปนผูที่ไมมีความรูเกี่ยวกับ ระบบคอมพิวเตอรมากนักก็ได แตสามารถทราบขั้นตอนการคนหาขอมูลจากฐานขอมูลและการใชงานโปรแกรม ประยุกต ที่นักเขียนโปรแกรมเขียนขึ้น เพื่อดูขอมูลหรือแกไขขอมูลในบางสวนได 2. ผูพัฒนาฐานขอมูล (Developer) เปนผูที่มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการออกแบ และเขียนโปรแกรมจัดการฐานขอมูล รวมไปถึงการ บํารุงรักษาระบบฐานขอมูลใหสามารถใชงานไดอยางราบรื่น ไมมีปญหา 3. ผูปฏิบัติการ (Operator) • เปาหมายสําคัญของระบบฐานขอมูลคือ 1. พยายามจัดระบบของขอมูลใหเปนหมวดหมู และเรียกคนงาย ดวยการจัดเรียงขอมูล เชน การเรียกแฟม ลูกคาตามชื่อ หรือดวยการสรางแฟมดัชนีที่มีการจัดเรียงขอมูล แฟมดัชนีจะเชื่อมโยงกับแฟมขอมูลทําใหเสมือนมี การจัดเรียงขอมูลดวย 2. ลดความซ้ําซอนของขอมูลดวยการเก็บขอมูลมารวมไวเป นสวนกลางแลวเชื่อมโยงใหแผนกตางๆ ใชได พรอมกัน 3. มีการปองกันขอมูลไมใหผูไมเกี่ยวของมาแอบใช 2. ลักษณะของขอมูลที่ดี ขอมูลทีด่ ีควรเปนขอมูลที่มีคณ ุ ลักษณะดังตอไปนี้ 2.1 ขอมูลที่มีความถูกตองและเชื่อถือได (accuracy) ขอมูลจะมีความถูกตองและเชื่อถือไดมากนอยเพียงใด นั้น ขึ้นกับวิธีการที่ใชในการควบคุมขอมูลนําเขา และการควบคุมการประมวลผลการควบคุมขอมูลนําเขาเปนการ กระทําเพื่อใหเกิดความมั่นใจวาขอมูลนําเขามีความถูกตองเชื่อถือได เพราะถาขอมูลนําเขาไมมีความถูกตองแลวถึงแม จะใชวิธีการวิเคราะหและประมวลผลขอมูลที่ดีเพียงใด ผลลัพธที่ไดก็จะไมมีความถูกตอง หรือนําไปใชไมได ขอมูล นําเขาจะตองเปนขอมูลที่ผานการตรวจสอบวาถูกตองแลว ขอมูลบางอยางอาจตองแปลงใหอยูในรูปแบบที่เครื่อง คอมพิวเตอรสามารถเขาใจไดอยางถูกตอง ซึ่งอาจตองพิมพขอมูลมาตรวจเช็คดวยมือกอน การประมวลผลถึงแมวา จะมีการตรวจสอบขอมูลนําเขาแลวก็ตาม ก็อาจทําใหไดขอมูลที่ผิดพลาดได เชน เกิดจากการเขียนโปรแกรมหรือใช สูตรคํานวณผิดพลาดได ดังนั้นจึงควรกําหนดวิธีการควบคุมการประมวลผลซึ่งไดแก การตรวจเช็คยอดรวมที่ไดจาก การประมวลผลแตละครั้ง หรือการตรวจสอบผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลดวยเครื่องคอมพิวเตอรกับขอมูลสมมติ ที่มีการคํานวณดวยวามีความถูกตองตรงกันหรือไม 2.2 ขอมูลตรงตามความตองการของผูใช (relevancy) ไดแก การเก็บเฉพาะขอมูลที่ผูใชตองการเท านั้ น ไมควรเก็บขอมูลอื่ น ๆ ที่ไมจําเป นหรือไมเกี่ยวขอ งกับ การใชงาน เพราะจะทํ าใหเสียเวลาและเสียเนื้อที่ในหน วย เก็บขอมูล แตทั้งนี้ขอมูลที่เก็บจะตองมีความครบถวนสมบูรณดวย 2.3 ขอมูลมีความทันสมัย (timeliness) ขอมูลที่ดีนั้นนอกจากจะเปนขอมูลที่มีความถูกตองเชื่อถือไดแลว จะตองเปนขอมูลที่ทันสมัย ทั้งนี้เพื่อใหผูใชสามารถนําเอาผลลัพธที่ไดไปใชไดทันเวลา นั่นคือจะตองเก็บขอมูลได รวดเร็วเพื่อทันความตองการของผูใช 3. ความบูรณภาพของขอมูล 3.1 ปญหาที่มักเกิดขึ้นกับผูใชขอมูลอยูเ สมอคือ การที่แฟมขอมูลไมมีความบูรณภาพของขอมูล (data integrity) กลาวคือ ขาดความครบถวนหรือขาดความพอดี สาเหตุอาจเกิดจากการที่แตละหนวยงานมีการออกแบบและสราง แฟมขอมูลของตนเองขึ้นเอง ซึ่งอาจกอใหเกิดปญหาตาง ๆ มากมาย ปญหาของขอมูลที่ไมมีความบูรณภาพ ไดแก 3|Page


บทเรียนแบบสตรีมมิง่ มีเดียผานเครือขายอินเทอรเน็ต http://stream.aerobess.com โดยครูภเู บศ นิราศภัย 3.1.1 เกิดความซ้ําซอนของขอมูล กรณีที่มีแฟมขอมูลหลายแฟม และแตละแฟมมีเขตขอมูลซ้ํากัน จะเห็น ไดวาแฟมรายได และแฟมบุคคลมีเขตขอมูลซ้ํากัน เชน ชื่อ ที่อยู รหัสไปรษณีย เลขหมายโทรศัพท ซึ่งทําใหเสียเวลา เสียคาใชจายและเนื้อที่ที่ใชเก็บขอมูลเพิ่มอีกจํานวนมาก 3.1.2 ทําใหขอมูลเกิดความขัดแยงกัน จากการที่มีขอมูลระเบียนเดียวกันอยูหลายแฟม และถาการแกไข ขอมูลชื่อกระทําไมครบถวนทุกแฟม เชน แกไขที่อยูในแฟมรายได แตลืมแกไขที่อยูในแฟมบุคลากร อาจทําใหขอมูล เกิดความขัดแยงกัน (data inconsistency) 3.1.3 ในกรณีที่ขอมูลเสียหายหรือถูกทําลาย ผูใชโปรแกรมแตละแฟมจะทําการแกไขหรือทําใหขอมูลกลับ สูส ภาพปกติกันเอง ซึ่งอาจกอใหเกิดความผิดพลาด หรือทําใหขอมูลเสียหายได 3.2 วิธีการแกปญหาของขอมูลที่ไมมีความบูรณภาพ คือ จะตองพัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูลใหม ใหเปนระบบ ฐานขอมูลเพื่อแกไขจุดออนของการจัดเก็บขอมูล ซึ่งมีวิธีการแบบใหม สามารถขจัดปญหาตาง ๆ ไดดังนี้ 3.2.1 ความซ้ําซอนของขอมูล ความสามารถควบคุมความซ้ําซอนขอมูลโดยการจัดใหแฟมขอมูลตางๆ อยูในรูปของระบบฐานขอมูล และขจัดเขตขอมูลที่มีความซ้ําซอนกันออกไปเปนแฟมเพื่อใหสามารถใชขอมูลรวมกันได 3.2.2 ความขัดแยงกันของขอมูล เนื่องจากขอมูลในแตละเขตขอมูลจะปรากฏเพียงแหงเดียวในฐานขอมูล ยกเวนรหัสของขอมูลจะตองมีทุกแฟมเชื่อมโยงความสัมพันธของแตละแฟมเขาดวยกันได ดังนั้นถามีการแกไขขอมูล จะทําการแกไขเพียงครั้งเดียว และเพียงครั้งเดียว ขอมูลก็จะตองตรงกัน ไมเกิดการขัดแยงกัน 3.2.3 การกูขอมูล เมื่อขอมูลไดรับความเสียหาย หรือถูกทําลาย การกูขอมูล (data recovery) กลับคืน สูสภาพเดิม สามารถทํา ไดงาย ทั้งนี้ เนื่อ งจากแฟ ม ขอ มูลทั้ งหมดจัด อยู ในรูป ของฐานข อมู ลที่ มีโปรแกรมควบคุ ม การแกไขขอมูลใหสูสภาพเดิมได จึงเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและมีมาตรฐานยิ่งขึ้น 4. ความปลอดภัยของขอมูล ขอมูลที่ดีเปนขอมูลที่มีคามีราคา สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนอยางมากตอกิจการขององคกร และในมุม กลั บ กั น อาจก อ ให เกิ ด โทษต อ องค กรหรื อ บุ ค คลผู ให ข อ มู ล ถ า ข อ มู ล ตกลงไปอยู ใ นมื อ ผู ไม ป ระสงค ดี ดั ง นั้ น ความปลอดภัยของขอมูล จึงเปนเรื่องสําคัญที่จะตองตระหนัก ความปลอดภัยของขอมูล (data security) เปนเรื่องที่ เกี่ยวของกับการปองกันไมใหขอมูลถูกทําลาย การรักษาความลับของขอมูล และการปองกันไมใหขอมูลถูกทําลาย การรักษาความลับของขอมูล และการปองกันการกระทําการทุจริตตอขอมูล ความไมปลอดภัยของขอมูลมักมีสาเหตุ ดังนี้ 4.1 ความผิดพลาดของระบบ ซึ่งอาจมี สาเหตุจากตัวเครื่องคอมพิวเตอร ไดแก เครื่องคอมพิ วเตอรเกิ ด ขัดของในระหวางการประมวลผลขอมูล ซึ่งอาจทําใหขอมูลเกิดสูญเสียได นอกจากนี้อาจมีสาเหตุจากโปรแกรมที่ใชใน การประมวลผลยังมีขอผิดพลาดบางจุดซึ่งอาจทําใหขอมูลมีความผิดพลาดหรือสูญเสียไดเชนกัน 4.2 อุบัติเหตุ เชน ไฟไหม น้ําทวม ทําใหขอมูลที่เก็บอยูสูญเสียได 4.3 บุคคลอาจทําใหขอมูลสูญเสีย เชน มีการสั่งลบขอมูล หรือบันทึกขอมูลทับของเดิม หรือบุคคลอาจมี เจตนารายตองการทําใหขอมูลสูญเสีย เนื่องจากความโกรธแคนจงใจทําลายขอมูล 4.4 การขโมยขอมูลซึ่งเปนความลับเพื่อนําไปขายหรือใหคูแขง ซึ่งสามารถทําไดงาย โดยแอบสําเนาลงบน แผนบันทึก 4.5 การกระทําทุจริตตอขอมูล เชน มีการแกไขขอมูลที่เกี่ยวของกับจํานวนเงิน เพื่อประโยชนของตัวเองหรือ มีผูรับจางใหกระทําการทุจริต 4.6 สาเหตุอื่น ๆ เชน ความรอนชื่น ฝุน ละออง และสนามแมเหล็ก การรักษาความปลอดภัยของขอมูลทีอ่ าจถูกทําลาย หรือเสียหายดวยสาเหตุตาง ๆ ดังกลาวนั้นอาจทําไดดงั นี้ 1) การรักษาความปลอดภัยของอุปกรณระบบคอมพิวเตอร

4|Page


บทเรียนแบบสตรีมมิง่ มีเดียผานเครือขายอินเทอรเน็ต http://stream.aerobess.com โดยครูภเู บศ นิราศภัย 2) การทําสําเนาขอมูล ในกรณีที่ขอมูลอยูในแผนบันทึกอาจทําสําเนา ขอมูลทั้งแผนโดยใชคําสั่ง copy แต ถาขอมูลอยูในจานแมเหล็กชนิดแข็งหรือกรณีที่มีขอมูลเปนจํานวนมากจะทําสําเนาโดยการใชคําสั่ง backup ลงบน แผนบันทึกหรือในเทปแมเหล็ก 3) การรักษาความลับของขอมูล มาตรการแรกในการปองกันคือ การควบคุมการเขาไปใชเครื่องคอมพิวเตอร โดยกําหนดวาใครบางที่สามารถเขาไปใชเครื่องคอมพิวเตอรได มาตรการตอมาคือ การกําหนดรหัสผาน (password) เพื่อผานเขาไปใชโปรแกรมหรือการเขาถึงขอมูล นอกจากนี้อาจจะมีการกําหนดขอบเขตเฉพาะแฟมขอมูลเฉพาะแฟม บุคคลเฉพาะบุคคล ไมมีสิทธิไปใชหรือเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูลของแฟมรายได เปนตน 5. การบริหารงานฐานขอมูล งานฐานขอมูลของบริษัทและหนวยงานตาง ๆ อาจมีขนาดใหญหรือเล็กก็ตามขนาดของกิจการ ถาเปนบริษัท ใหญ ๆ เชน ธนาคาร หรือกระทรวงศึกษาธิการ งานฐานขอมูลก็อาจมีขนาดใหญมาก มีรายการขอมูลตาง ๆ ที่ตอง เก็บ รวบรวมมากมาย และมีจํานวนขอ มูลมหาศาลที เดี ยว ยกตัวอยางเช น ธนาคารบางแหงอาจตองเก็บ ชื่อและ รายละเอียดลูกคาไว ในฐานขอมูลหลายแสนรายการ หรือถาเปนธนาคารออมสิน จํานวนลูกคามากขึ้นไปเปนหลายสิบ ลานรายการ เปนตน การบริหารงานฐานขอมูล (database administration) เปนเรื่องสําคัญมาก ปจจุบันนี้หนวยงานและบริษัทที่มี ขอมูลมาก ๆ จึงมักกําหนดใหเจาหนาที่คอมพิวเตอรคนหนึ่งรับผิดชอบดูแลฐานขอมูลทั้งหมดของบริษัท เรียกวา ผูบริหารฐานขอมูล (database administration) 6. หนาที่ของผูบ ริหารฐานขอมูลมีดังตอไปนี้ 6.1 ศึ กษาทํ า ความเข า ใจระบบข อ มู ล ทั้ งหมดของหน ว ยงาน วั ต ถุป ระสงคห นึ่ ง ของการใช ฐ านข อมู ล ก็ คื อ การรวบรวมข อ มู ล ไวเป น แหล งกลางให ผู เกี่ย วข องทั้ งหลายใชง านได ส ะดวก เช น ในห องสมุด มี ตู บั ต รรายการ ซึ่งเปรียบเสมือนเปนฐานขอมูลของหองสมุด ทุกคนที่ตองการคนหาวาหองสมุดมีหนังสือที่ตนตองการหรือไม ก็อาจ มาค นดูบัตรรายการไดทันที ซึ่งเปนเรื่องที่สะดวกมาก หากเที ยบกับการไม มีตูบัตรรายการเลย เวลาเราจะคนหา หนังสอแตละครั้ง ตองถามบรรณารักษคนโนน คนนี้ หลายหน แลวก็อาจจะไมไดคําตอบที่ตองการ การที่จะทํา ฐานขอมูลใหเปนกลาง สําหรับเก็บขอมูลของหนวยงานได เราจะตองทราบวาหนวยงานนั้นมีขอมูลอะไรบาง ขอมูล ตาง ๆ สัมพันธกันอยางไร ใครเปนผูสรางขอมูล ใครเปนผูปรับปรุงขอมูลใหถุกตอง และใครเปนผูใชขอมูล ขอมูลแตละ รายการมีความสําคัญที่จะตองรักษาความมั่นคง ปลอดภัยมากขนาดไหน เปนตน 6.2 ออกแบบฐานขอมูล เมื่อทราบระบบขอมูล โดยเฉพาะความสัมพันธระหวางขอมูลตาง ๆ แลว ผูบริหาร ฐานขอมูลก็จะออกแบบฐานขอมูลใหสอดคลองกับเปาหมายของการใชงานฐานขอมูลทั้งหนวยงาน การออกแบบนี้ ไมจําเปนตองทําทีเดียวทั้งหนวยงาน เพราะจะสิ้นเปลืองเวลามากแตจะทําเฉพาะทางดานที่ตองการใชงานตามลําดับ ความสําคัญ อยางไรก็ตาม การออกแบบแตละครั้งจะยึดถือโครงสรางรวมของทั้งหนวยงานเปนหลัก 6.3 การกําหนดโครงสรางแฟมขอมูล เมื่อไดออกแบบเคาโครงของฐานขอมูลในงานที่ตอ งการแลว ตอไปผูบริหาร ฐานขอมู ลก็จะตองกําหนดโครงสรางของแฟ มขอ มูลแต ละแฟ มวา ขอมู ลแตล ะรายการมี ชื่ออะไร หมายถึงอะไร มีลักษณะขอมูลประเภทใด นอกจากนี้จะตองกําหนดฟอรมพิเศษเพื่อเอาไวอางอิง เอกสารเชนนี้เรียกวา พจนานุกรม ขอมูล 6.4 สรางและกําหนดลักษณะฐานขอมูลบนจานบันทึก หนาที่อีกอยางหนึ่งของผูบริหารฐานขอมูล คือการสราง และกําหนดลักษณะฐานขอมูลบนจานบันทึกใหสอดคลองกับโปรแกรมและระบบที่ใชงาน งานสวนนี้จะยากถาเปน ฐานขอมูลขนาดใหญและใชเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ 6.5 เปลี่ยนแปลงลักษณะฐานขอมูล ผูบริหารฐานขอมูลตองรับผิดชอบดูแลการเปลี่ยนแปลงบอยนัก เพราะจะ เกิดความสับสน แตบางครั้งก็จําเปนตองแกไขฐานขอมูล เชนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกฏระเบียบขอบังคับของกฏหมาย หรือมีการโยกยายเปลี่ยนแปลงงานตาง ๆ ในหนวยงาน ก็จําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงฐานขอมูลตามไปดวย ในกรณี เชนนี้ผูบริหารฐานขอมูลตองดูแลจัดการใหเรียบรอย 5|Page


บทเรียนแบบสตรีมมิง่ มีเดียผานเครือขายอินเทอรเน็ต http://stream.aerobess.com โดยครูภเู บศ นิราศภัย 6.6 อนุมัติใหใชฐานขอมูล ผูบริหารฐานขอมูลนั้น นอกจากความรูลักษณะของขอมูลทั้งหนวยงานแลว ควรเขาใจ ภารกิจและงานของแผนกตาง ๆ ดวย ถาหากฐานขอมูลกอน ผูบริหารฐานขอมูลจะพิจารณาดวยความรอบคอบวา สมควรใหใชหรือไม ถาใหใชไดก็จะกําหนดวิธีท่ีผูใชจะใชฐานขอมูล ตามที่ตองการได การที่ตองการควบคุมเชนนี้ ก็เพื่อใหแนใจวาผูใชจําเปนตองนําขอมูลไปใชงานจริง ๆ ไมใชตองการคนขอมูลเพื่อความสนุก หรือตองการแอบรู ความลับที่อยูในฐานขอมูล 6.7 ควบคุมดูแลความถูกตองของฐานขอมูล นั่นก็คือตรวจดูวาขอมูลตาง ๆ ในฐานขอมูลไมขัดแยงกัน ขอมูล ที่เพิ่มเติมไมขัดแยงกัน ขอมูลที่เพิ่มเติมไดถูกบันทึกเรียบรอย ขอมูลที่ถูกลบทิ้งก็ถูกนําออกจากจานบันทึกเรียบรอย 6.8 ควบคุมความปลอดภัยของขอมูล นั่นก็คือตรวจดูวาเจาหนาที่คอมพิวเตอรไดดําเนินการบันทึกขอมูลจาก จานบันทึกมาจัดทําสําเนาเอาไวถูกตอง และนําไปเก็บในที่ปลอดภัยอยางสม่ําเสมอ ทั้งนี้เพื่อที่ถาหากเกิดอุบัติเหตุขึ้น จะได นํา ขอ มูล สํารองกลับ มาใชได นอกจากตรวจสอบแล วยัง ตอ งจัด ใหมี การทบทวนซักซอ มการกู ระบบขอ มู ล เปนประจําดวย ประเภทของฐานขอมูลโดยทั่วไปที่รูจักกันในปจจุบันมี 4 แบบ คือ ฐานขอมูลแบบเครือขาย (Network Data Model) ฐานขอมูลแบบลําดับชั้น (Hierarchical Data Model) ฐานขอมูลแบบสัมพันธ (Relational Data Model) และฐานขอมูลแบบจําลองเชิงวัตถุ (Object Oriented Data Model) ฐานขอมูลที่นิยมใชกันแพรหลายมากที่สุดใน ปจจุบัน คือ ฐานขอมูลแบบสัมพันธ ฐานขอมูลแบบลําดับชั้น เปนฐานขอมูลแรกที่นาํ มาใชในวงการธุรกิจ ถัดมาคือ ฐานขอมูลแบบเครือขาย และปจจุบันนี้มีฐานขอมูลสมัยใหมเกิดขึ้นคือฐานขอมูลแบบจําลองเชิงวัตถุ นั่นคือฐานขอมูล นั้นมีการนําเสนอขอมูลและความสัมพันธระหวางขอมูลทีแ่ ตกตางกันไป ในบทเรียนนี้จะใชฐานขอมูลแบบสัมพันธหรือ รูปแบบตารางเปนตัวอยางประกอบการอธิบายการใช SQL ฐานขอมูลแบบสัมพันธจะนําเสนอขอมูลและความสัมพันธระหวางขอมูลในรูป รีเลชัน (Relation) หรือเรียกอีก อยางหนึ่งวาตาราง (Table) ตัวอยางของ Relation แสดงในตารางที่ 1 LastName FirstName Address ชิโนดม เสรี 745 สามมุขธานี เมือง เอี่ยมไพโรจน ธวัชชัย 134 ลงหาดบางแสน เมือง เดนวัฒนา นวลศรี 339 พหลโยธิน 1 ตารางที่ 1: Persons

City ชลบุรี ชลบุรี กทม.

โครงสรางของ Relation ประกอบดวย (1) แถว (Row) ของขอมูล โดยที่ ขอมูล 1 แถว หมายถึงขอมูล 1 รายการ ซึง่ แตละแถวของ Relation เรียกวา “Tuple” โดยแตละแถวของขอมูลจะประกอบไปดวยหลาย Attributes หรือคอลัมนของขอมูล (2) แตละคอลัมน (Column) ของ Relation ไดแกคณ ุ ลักษณะของขอมูลในแตละแถวซึ่งเราเรียกวา “Attribute” เชน ตาราง Persons ในตารางที่ 1 มี 5 tuples แตละ tuple ประกอบดวย 4 attributes คือ นามสกุล (LastName) ชื่อ (Name) ที่อยู (Address) และเมือง (City) คียหลัก (Primary key) เปน attribute หรือกลุมของ attributes ที่บง บอกวาขอมูลจะตองไมซ้ํากันในแตละ แถวขอมูลของตาราง ดังนั้นคาของคียห ลักจะตองไมซ้ํากันในแตละ tuple เชนจาก ตาราง Persons สามารถใช LastName เปนคียหลัก สิ่งที่ผูเรียนควรทราบเกี่ยวกับขอมูลในตาราง ของฐานขอมูลแบบสัมพันธ

6|Page


บทเรียนแบบสตรีมมิง่ มีเดียผานเครือขายอินเทอรเน็ต http://stream.aerobess.com โดยครูภเู บศ นิราศภัย (1) ทุกตารางตองมีคยี หลัก (2) Tuple หรือขอมูลในแตละแถวของตาราง มีขอมูลไมซ้ํากัน เชนเราคงไมเก็บขอมูลลูกคาคนเดียวกันใน 2 tuples (3) Tupleไมมีลําดับจากบนลงลาง (4) Attribute ไมมีลําดับจากซายไปขวา (5) ทุก attributes ในแตละตําแหนงของ tuple ในตาราง จะมีคาเพียงคาเดียว จะไมมีรายการของขอมูล (เรียกวา repeating group หรือ list of value) ในตาราง relation

บรรณานุกรม 1. C. J. Date, An Introduction to Database Systems, Addison-Wesley Publishing Company, Inc., Vol. 1, 1990. 2. J.D. Ullman, A First Course in Database Systems, Prentice-Hall International, Inc., 1997. 3. R. Elmasri & S. B. Navathe, Fundamentals of Database Systems, The Benjamin/Commings Publishing Company, Inc., second edition, 1994. 4. http://www.uni.net.th 5. http://www.อาวพราวรีสอรท.com/

7|Page


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.