สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม

Page 1

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะ สาขาวิชา

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมและการวางแผน

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม ภาษาอังกฤษ : Master of Architecture Program in Architectural Technology 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย) : สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Master of Architecture (Architectural Technology) ชื่อย่อ (ไทย) : สถ.ม. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) ชื่อย่อ (อังกฤษ) : M.Arch. (Arch.Tech.) 3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร (ถ้ามี) หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม มุ่งเน้นผลิตบุคคลากรที่ มีความรู้ความชานาญโดยเฉพาะทางด้านเทคโนโลยี อาคาร อุปกรณ์และงานระบบประกอบอาคารและการ บ ารุ ง รั ก ษาอาคาร ทั้ ง ในช่ ว งการออกแบบ ช่ ว งการก่ อ สร้ า งและช่ ว งอายุ ก ารใช้ ง านของอาคารใ ห้ มี ประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนมุ่งเน้นให้บัณฑิตได้วิเคราะห์วิจัยทั้งในเชิงทฤษฎีในขั้นสูง และนาไปประยุกต์ใช้ ในวิชาชีพอย่างสมบูรณ์ 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ  หลักสูตรปริญญาโท 5.2 ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย สถ.ม. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


5.3 การรับเข้าศึกษา  รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น  เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ครั้งที่ ...10..../....2554..... เมื่อวันที่........25........... เดือน......ตุลาคม......... พ.ศ. ....2554.................. ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบัน ในการประชุมครั้งที่ .....11/....2554....... เมื่อวันที่.......30............ เดือน......พฤศจิกายน....... พ.ศ. ....2554.......... 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2556 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา (1) สถาปนิกที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีระดับต่าง ๆ (2) ที่ปรึกษาโครงการออกแบบสถาปัตยกรรม (3) ที่ปรึกษาโครงการก่อสร้างสถาปัตยกรรม (4) ผู้บริหารโครงการก่อสร้างสถาปัตยกรรม (5) ผู้รับงานก่อสร้างงานสถาปัตยกรรม (6) ผู้พัฒนาวัสดุก่อสร้าง (7) สถาปนิกชุมชนและการอนุรักษ์ (8) นักวิจัยด้านสถาปัตยกรรม (9) นักวิชาการด้านสถาปัตยกรรม

สถ.ม. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


9. ชื่อ เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-สกุล (ระบุตาแหน่งทางวิชาการ) 1. ผศ.ดร.ทรงเกียรติ เที้ยธิทรัพย์ 2. รศ.อนุสรณ์ จ๋วงพานิช 3. รศ.วัชรี วัชรสินธุ์ 4. รศ.สุพัฒน์ บุณยฤทธิกิจ

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา) ปีที่สาเร็จการศึกษา สถ.ด. (สถาปัตยกรรม), 2549 M.Arch., USA, 2524 ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม), 2537 สถ.ม. (สถาปัตยกรรมเขตร้อน), 2542

เลขประจาตัวบัตร ประชาชน x-xxxx-xxxxx-xx-x x-xxxx-xxxxx-xx-x x-xxxx-xxxxx-xx-x x-xxxx-xxxxx-xx-x

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยใน 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ ซึ่ง 1 ภาค การศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และภาคฤดูร้อน ให้กาหนดระยะเวลาโดยสัดส่วน เทียบเคียงได้กับภาคการศึกษาปกติ ข้อกาหนดต่าง ๆ ไปเป็นตามข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก.) 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน  ไม่มี 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค  ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน – เวลาในดาเนินการเรียนการสอน  วัน – เวลาราชการปกติ ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา  เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือกาลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษาสุดท้ายของ หลักสูตรระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ข้อกาหนดต่าง ๆ เป็นไปตามข้อบังคับของสถาบันว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก.)  มีคุณสมบัติเพิ่มเติม คือ ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ที่ ได้ผ่านการรับรองจากสภาสถาปนิก หรือผ่านการศึกษาวิชาด้านออกแบบสถาปัตยกรรมหลักไม่น้อยกว่า 62 หน่วย กิต โดยผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาหลักสูตรว่าให้เป็นนักศึกษาสามัญหรือนักศึกษาทดลองเรียน สถ.ม. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 36 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 36 ก. หมวดวิทยานิพนธ์ 12 ข. หมวดวิชาบังคับ 9 ค. หมวดวิชาเลือก 6 ง. หมวดวิชาเลือกเฉพาะ 9

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

3.1.3 รายวิชา หมวดวิชาบังคับ 9 หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 3 (3-0-6)

02357101 ระเบียบวิธีการวิจัย RESEARCH METHODOLOGY 02357102 อุปกรณ์ประกอบอาคารขัน้ สูง ADVANCE IN BUILDING EQUIPMENT 02357103 สัมมนาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม SEMINAR IN ARCHITECTURAL TECHNOLOGY 02357104 เทคโนโลยีสภาพแวดล้อมสาหรับอาคาร ENVIRONMENTAL TECHNOLOGY FOR BUILDING 02357105 การออกภาคสนาม 1 FIELD TRIP 1 02357106 การออกภาคสนาม 2 FIELD TRIP 2 02357107 การออกภาคสนาม 3 FIELD TRIP 3

2 (1-2-3) 2 (1-2-3) 2 (2-0-4) -

สถ.ม. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


หมวดวิชาเลือก 6 หน่วยกิต หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 3 (2-2-5)

02357201 ประสิทธิภาพในการออกแบบสถาปัตยกรรม EFFICIENCY IN ARCHITECTURAL DESIGN 02357202 มิติทางโครงสร้างของที่วา่ งในสถาปัตยกรรม 3 (2-2-5) STRUCTURAL DIMENSION IN ARCHITECTURAL SPACE 02357203 รูปทรงสัณฐานของสถาปัตยกรรมอันเกิดจากโครงสร้าง 3 (2-2-5) GEOMETRY: THE APPROACH OF STRUCTURAL FORM IN ARCHITECTURE 02357204 การออกแบบโครงสร้างขั้นปฐมภูมิ 3 (2-2-5) PRELIMINARY DESIGN OF BUILDING STRUCTURES 02357205 วัสดุก่อสร้างและการบารุงรักษา 3 (2-2-5) BUILDING MATERIALS AND MAINTENANCE 02357206 ความวิบัติทางโครงสร้างจากน้าหนักและอุบัติภัย 3 (2-2-5) STRUCTURAL FAILURE DUE TO LOADS AND DISASTERS 02357207 เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับอาคาร 3 (3-0-6) APPROPRIATE TECHNOLOGY FOR BUILDING 02357208 กฎหมายอาคารและสภาพแวดล้อม 3 (3-0-6) BUILDING AND ENVIRONMENT LAWS AND REGULATIONS 02357209 คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบขั้นสูง 3 (1-4-4) ADVANCED COMPUTER AIDED DESIGN หมวดวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต 02357401 เตรียมวิทยานิพนธ์ THESIS PREPARATION 02357402 วิทยานิพนธ์ THESIS หมวดวิชาเลือกเฉพาะ 9 หน่วยกิต แขนงวิชาเทคโนโลยีการออกแบบและวิเคราะห์สถาปัตยกรรม DESIGN AND ANALYTICAL TECHNOLOGY IN ARCHITECTURE 02357301 ทฤษฎีที่ว่างทางสถาปัตยกรรม THEORY OF SPACE IN ARCHITECTURE 02357302 การออกแบบและวิเคราะห์ที่ว่างในอาคาร DESIGN AND ANALYSIS OF BUILDING SPACE

3 (0-6-0) 9 (0-18-0)

3 (3-0-6) 3 (1-4-4)

สถ.ม. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


02357303 การวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพของอาคารที่มีความซับซ้อน 3 (2-2-5) COMPARATIVE ANALYSIS OF COMPLEX BUILDINGS แขนงวิชาเทคโนโลยีทางโครงสร้างและวัสดุก่อสร้าง TECHNOLOGY OF BUILDING STRUCTURES AND MATERIALS 02357304 โครงสร้างชั้นสูงและยุทธวิธีในการก่อสร้าง 3 (2-2-5) ADVANCED STRUCTURES AND CONSTRUCTION METHODS 02357305 แนวคิดทางโครงสร้างสถาปัตยกรรม 3 (2-2-5) STRUCTURAL CONCEPTS IN ARCHITECTURE 02357306 การก่อสร้างในระบบอุตสาหกรรม 3 (2-2-5) INDUSTRIALIZED BUILDING CONSTRUCTION แขนงวิชาฟื้นฟูสถาปัตยกรรม TECHNOLOGY OF BUILDING REHABILITATION AND RE-USE 02357307 ทฤษฎีการฟื้นฟูสถาปัตยกรรม 3 (2-2-5) THEORY OF ACHITECTURAL RENOVATION AND REHABILITATION 02357308 ความคงทนถาวรของโครงสร้างและการตรวจสอบ 3 (2-2-5) DURABILITY OF BUILDING STRUCTURE AND THE INSPECTION METHODS 02357309 การฟื้นฟูอาคารเพื่อนากลับมาใช้ 3 (2-2-5) BUILDING RENOVATION FOR RE-USE แขนงวิชาเทคโนโลยีการบริหารจัดการอาคาร BUILDING MANAGEMENT TECHNOLOGY 02357310 การตรวจสอบการบริหารการใช้พลังงานและประเมินสภาพแวดล้อมอาคาร 3 (3-0-6) AUDITS, MANAGEMENT OF ENERGY UTILIZATIONAND EVALUATION OF BUILDING ENVIRONMENT 02357311 การวางแผนออกแบบและการบารุงรักษาระบบอาคาร 3 (3-0-6) PLANNING DESIGN AND MAINTENANCE OF BUILDING SERVICE SYSTEMS 02357312 เศรษฐศาสตร์เพื่อการบริหารจัดการอาคาร 3 (3-0-6) ECONOMICS FOR BUILDING MANAGEMENT

สถ.ม. (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.