โครงการประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง ประจาปี 2555 Urban and Regional Planning Academic Symposium 2012 URPAS 2012: เมืองสุขภาวะ (Healthy City) หลักการและเหตุผล องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้คาจากัดความของสุขภาวะ หรือ Health ไว้ว่า ไม่ได้หมายถึงการ ไม่มีโรคเพียงอย่างเดียวแต่ครอบคลุมถึงสภาวะของการเป็นอยู่ที่ดี (wellbeing) ทั้งทางกาย ทางจิตใจและทาง สังคมอย่างสมบูรณ์ ทั้งนี้ความสุขจากการมีมาตรฐานทางสุขภาพที่สามารถมีได้สูงสุด เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของ มนุษย์ทุกคน โดยไม่ถูกจากัดหรือแบ่งแยกด้วยเชื้อชาติ ศาสนา ความเชื่อทางการเมือง สถานะทางเศรษฐกิจ และสังคม อย่างไรก็ตามการพัฒนาและแสวงหาการเติบโตทางเศรษฐกิจได้นามาซึ่งปัญหาของเมืองในประเด็น ต่างๆมากมาย เช่น ความยากจน การว่างงาน การเข้าไม่ถึงแหล่งงานและการบริการ การขาดแคลนที่อยู่อาศัย หรือแม้แต่การแบ่งแยกทางสังคมของชุมชน ในขณะที่บทบาทของนักผังเมืองมีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมทาง สังคม กายภาพและเศรษฐกิจ และต่อการขับเคลื่อนให้เมืองทาหน้าที่ต่อไปได้ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของนักผัง เมืองและผู้ที่เกี่ยวข้องในการยกประเด็นปัญหาเหล่านี้ให้สังคมส่วนรวมตระหนักเห็นความสาคัญ และสร้าง ความมั่นคงด้านสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนในเมือง เนื่องจากการกาหนดนโยบายและการดาเนินการการพัฒนาในทุกระดับย่อมเกี่ยวข้อง ส่งผลกระทบทั้ง ทางบวกและลบต่อสุขภาวะ และความเป็นอยู่ของประชาชน ดังนั้น เรื่องความเป็นอยู่ที่ดี ทั้งทางกาย จิตใจ และทางสังคม จึงมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวางแผนภาคและเมือง นักผังเมือง ผู้กาหนดนโยบายและผู้ วางแผนพัฒนาในระดับต่างๆ มีบทบาทสาคัญต่อการสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดสภาพแวดล้อมที่มีสุขภาวะ (Healthy Environment) ในอดีตที่ผ่านมาการวางแผนพัฒนาเมืองของประเทศไทย ไม่ได้ครอบคลุมประเด็น เรื่องของสุขภาวะ สุขภาพของประชาชน คุณภาพของสิ่งแวดล้อม และธรรมชาติของการพัฒนา เป็น ตัวกาหนดที่สาคัญของสุขภาวะของเมือง และในขณะเดียวกัน สุขภาวะเป็นปัจจัยสาคัญของความอุดม สมบูรณ์ทางเศรษฐกิจ สุขภาวะเป็นเรื่องของคุณภาพชีวิตซึ่งประชาชนประสบได้ ณ ปัจจุบัน แต่การวางแผน เมืองเพื่อสุขภาวะ (Healthy Urban Planning) เป็นการคานึงถึงคนในอนาคต การตัดสินใจและเลือก เกี่ยวกับวิถีการดาเนินชีวิต และที่อยู่อาศัย เป็นตัวกาหนดสุขภาวะของอนาคต แต่การตัดสินใจนี้ถูกจากัดด้วย โอกาสทางเศรษฐกิจและสังคม รายได้ การศึกษา คุณภาพของสิ่งแวดล้อม ที่บุคคลนั้นๆและครอบครัวประสบ อยู่ ด้วยเหตุนี้การวางแผนภาคและเมืองเพื่อสุขภาวะจึงมีบทบาทสาคัญต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน อย่าง มีนัยสาคัญ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาการวางแผนและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาวิชา การผังเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สมาคมนักผังเมืองไทย และ โครงการพัฒนากลไกลสนับสนุนทางวิชาการเพื่อนาไปสู่กระบวนการสร้างพื้นที่สุขภาวะและสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพที่มีความยั่งยืนในบริบทเมือง ได้ตระหนักเห็นความสาคัญในการบูรณาการองค์ความรู้ และ ประสบการณ์ระหว่าง คณาจารย์ นักศึกษา นักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ทั้งสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและ เอกชน รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจในเรื่องของการวางแผนพัฒนาภาคและเมืองในทุกระดับ บทความวิชาการที่นาเสนอจะครอบคลุมประเด็นทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับเมืองสุขภาวะ ทั้งทางด้าน กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เช่น
Resilient Cities / Resilient Communities การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) การวางแผนการคมนาคมขนส่ง (Transportation Planning) คุณภาพชีวิต (Quality of life) การวางแผน และการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Planning and Management) สภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Global Warming and Climate Change) การพัฒนาที่อยู่อาศัย (Housing Development) การแก้ปัญหาความยากจน (Poverty Reduction) การออกแบบชุมชนเมืองและภูมิทัศน์เมือง (Urban Design and Urban Landscape) การพัฒนาฟื้นฟูเมือง ( Urban Renewal) สาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
โดยบทความจะได้รับการพิจารณาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และจะได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ทาง Proceeding ของที่ประชุมวิชาการ (เอกสาร และ DVD Format) วัตถุประสงค์ 1) เป็นเวทีนาเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างนักวิชาการและนักปฏิบัติจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน คณาจารย์ นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เพื่อบูรณาการความรู้ด้านการวางแผนภาคและ เมือง การพัฒนาเมือง การวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม และสาขาที่เกี่ยวข้อง 2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ และแนวทางการปฏิบัติ อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ 3) ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนและงานวิจัย ด้านการวางแผนภาคและเมือง รวมถึงการออกแบบชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม วิธีการดาเนินการ 1) จัดประชุมสัมมนา 1 วัน โดยมีองค์ปาฐก หรือวิทยากรรับเชิญอภิปรายนาในหัวข้อเมืองสุขภาวะ 2) การนาเสนอผลงานทางวิชาการของอาจารย์ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา นักวิชาการที่เกี่ยวข้อง และ บุคคลทั่วไป ในห้องประชุมย่อย 2-3 ห้อง วันเวลาและสถานที่ กาหนดการรับบทความ ประกาศรับบทคัดย่อได้ตั้งแต่เดือนธันวาคมเป็นนต้นไป ประชาสัมพันธ์ ตั้งแต่ 29 พฤศจิกายน 2554 รับบทคัดย่อ ธันวาคม 2554 – 30 มกราคม 2555 บทคัดย่อ เนื้อความ Cordia New ขนาด 14 ตัวปกติ ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 พร้อมคาสาคัญ 4-5 คา ระบุชื่อผู้เขียน ตาแหน่ง และสังกัดหน่วยงาน ส่งทาง e-mail ที่ urpas2012@gmail.com
ตอบรับบทคัดย่อ รับบทความ
ภายใน 2 กุมภาพันธ์ 2555 ภายใน 24 กุมภาพันธ์ 2555 บทความ เนื้อความ Cordia New ขนาด 14 ตัวปกติ ไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ A4 พร้อมแนบใบสมัครเข้าร่วมนาเสนอบทความ ส่งตรวจบทความ 27 กุมภาพันธ์ – 12 มีนาคม 2555 แจ้งข้อแก้ไขปรับปรุงบทความ ภายในวันที่ 14 มีนาคม 2555 กาหนดส่งบทความที่ปรับปรุงแล้ว ภายในวันที่ 30 มีนาคม 2555 (บทความที่ได้รับการปรับปรุงแล้วจะจัดทา เป็นเอกสาร Proceeding ภายหลังการประชุมวิชาการ) ท่านผู้ใดสนใจสามารถศึกษารายละเอียดการเข้าร่วมประชุม และการส่งบทความวิชาการ พร้อมทั้ง Download ใบแจ้งความประสงค์เข้าร่วมประชุมวิชาการ และใบสมัครเข้าร่วมนาเสนอบทความได้ที่ www.arch.kmitl.ac.th กาหนดการจัดสัมมนา วันศุกร์ที่ 23 มีนาคม 2555 ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง (สาหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วมฟังการประชุมวิชาการ กรุณา Download ใบแจ้งความประสงค์เข้า ร่วมประชุมวิชาการ กรอกรายละเอียดและส่งทางงานบัณฑิตศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทางโทรสาร หมายเลข 0 2329 8365 หรือส่งทาง e-mail มาที่ urpas2012@gmail.com ภายในวันที่ 15 มีนาคม 2555) กลุ่มเป้าหมาย นักวิชาการและนักปฏิบัติจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน คณาจารย์ นักศึกษา และประชาชนทั่วไป รวม ทั้งสิ้นประมาณ 150 คน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1) การบูรณาการองค์ความรู้ ประสบการณ์ ในการวางแผนภาคและเมือง รวมถึงการออกแบบชุมชน เมือง และสาขาอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อสุขภาวะทางกาย จิตใจ และสังคมที่สมบูรณ์ของประชาชน 2) การสร้างความตระหนักด้านสุขภาวะแก่ผู้เกี่ยวข้องด้านการกาหนดนโยบายและการวางแผนพัฒนา โครงการต่างๆในทุกระดับ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1) สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2) ภาควิชาการวางแผนและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3) สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4) สาขาวิชาการผังเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5) สมาคมนักผังเมืองไทย 6) โครงการพัฒนากลไกลสนับสนุนทางวิชาการเพื่อนาไปสู่กระบวนการสร้างพื้นที่สุขภาวะและ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มีความยั่งยืนในบริบทเมือง
กาหนดการประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง ประจาปี 2555 Urban and Regional Planning Academic Symposium 2012 23 มีนาคม 2555 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 8:00-8:45
ลงทะเบียน
8:45-9:00
คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมและกล่าวเปิดการประชุม
9:00-10:15
ศ.นพ.ประเวศ วะสี เป็นผู้ทรงคุณวุฒิอภิปรายนาในหัวข้อเรื่อง “นโยบายการพัฒนา และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเป็นเมืองสุขภาวะ”
10:15-10:30
พักรับประทานอาหารว่าง
10:30-12:00
นาเสนอผลงานทางวิชาการภาคเช้าโดยคณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
12:00-13:00
พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:00-15:00
นาเสนอผลงานทางวิชาการภาคบ่ายโดยคณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
15:00-15:15
พักรับประทานอาหารว่าง
15:15-16:45
นาเสนอผลงานทางวิชาการภาคบ่ายโดยคณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
16:45-17:00
คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง กล่าวขอบคุณผู้เข้าร่วมประชุมและกล่าวปิดการประชุม ________________________________