Flash

Page 1

¡Òö‹ÒÂÀÒ¾´ŒÇÂä¿á¿Åªã¹áººµ‹Ò§æ ไฟแฟลชเปนอุปกรณใหแสงในขณะถายภาพ มีอุณหภูมิสีใกลเคียงกับแสง อาทิตยตอนกลางวัน ดังนั้นเราจึงสามารถถายภาพวัตถุที่เคลื่อนที่ดวยความเร็ว ไดชัดเจน ภายใตแสง จากไฟแฟลชไดเปนอยางดี แฟลชที่เราคุนเคยกันคือแฟลช ที่ติดมากับกลอง ซึ่งเปนแฟลช ที่มีขนาดเล็ก กำลังสองสวางนอยมากมักทำงานไดดี ในระยะไมเกิน 3 เมตร จึงเหมาะกับ การถายภาพระยะใกล แตถา ระยะหางเกิน 5 เมตร มักจะไดภาพที่มืดเกินไป ในกรณีนี้ เราจะใชแฟลชเสริม จะมีกำลังไฟมากนอยก็แลว แตรุนและไกดนัมเบอร ฉบับนี้มาเรียนรู ลักษณะของไฟแฟลช และเทคนิคการใชใน แบบตางๆกัน สำหรับผูใชกลอง SLR สวนใหญที่ใชแฟลชติดมากับตัวกลองสามารถลด แสงแฟลชดวย วิธีงายโดยใชกระดาษบางๆ หรือใชแผนเจลสีสวมกอน การวางแผน เจลบนแฟลชไมเพียงแต ชวยลดแสงของแฟลช แตอาจเพิม่ ความนุม ทีฉ่ าก การปรับแสง แฟลชกับการปรับการแสดง ผลของกลองจะเปนตัวกำหนดปริมาณแสงนำที่ฉาก. แฟลช จะไมไปเปลี่ยนการแสดงผลทั้งหมด จะมีก็เพียงแตเงาเพราะวาภาพมืดเกินไป. กลองบางรุนอาจปรับแกไขการแสดงผลของภาพ ถายดวยแสงแฟลช ซึ่งระบบจะมีโปร แกรมการทำอยางเปนธรรมชาติสิ่งที่จะตองทำหลังจากนี้ ก็คอื เทคนิคการถายภาพอืน่ ๆ การปรับแตงภาพ แตกต็ อ งใชเวลาและประสบการณ แตถาคุณตอง การเพิ่มประสิทธิผล ใหคุมคาแนนอนคุณตองใชความพยายามเรียนรู แลวคุณจะไดรับภาพที่มีแสงคุณภาพ สตูดิโอเหมือนที่คุณเห็นในนิตยสารเลย


ระบบของแฟลชที่เราสามารถถายภาพไดในทุกสถานที่และทุกขณะเวลามีอยูดวย กัน 3 ระบบ คือ 1. แฟลชระบบแมนนวล (Manual) 2. แฟลชระบบออโต (Auto) 3. แฟลชระบบ TTL ( Through the lens ) เริ่มแรกทำความเขาใจเรื่องคากำกับความแรงของตัวแฟลช โดยเรา เรียกวา ไกดนัมเบอร Guide number (GN.)โดยยึดคาไวที่ ISO 100/m (อานวา ISO 100 ตอเมตร) จะใชสูตรคำนวณระยะทางคูณกับรูรับแสง หากวัตถุที่เราจะถาย วางอยูในระยะ 3 เมตร สมมุติวาเราถายภาพโดย ใชแสงแฟลชไดภาพออกมา พอดี ที่คา F 11 เราก็เอามาคูณกันก็จะได คาไกดนัมเบอรแฟลชที่ 33 เรารูคา ไกดนัมเบอรแฟลชแลวเราก็สามารถ เอาไปคำนวณกลับได โดยการใชคาไกดนัม เบอรหารดวยรูรับแสง (GN / F-number) เราก็จะทราบระยะที่แฟลชจะไปถึงวัตถุ สำหรับทานที่ใช แฟลชรุนสูงๆ หรือของยี่หอกลองเอง หรือแฟลชที่มีระบบออโตซูม หัวแฟลชอัตโนมัตินั้น ตองทำการปรับแฟลชใหเปนระบบแมนนวลซูมกอน โดยตั้ง คาซูมหัวแฟลชไวที่ 35 mm. คา ISO กับความแรงแฟลช - คา ISO มีสวนชวยเพิ่มความแรงของ แฟลชได โดยการเพิ่ม ISO แตละครั้งกำลังของแฟลชก็จะเพิ่มทีละ 40% หรือใหใช 1.4 คูณเอาก็ได รูรับแสง - รูรับแสงนอกจากจะมีผลกับความชัดลึกของภาพแลว ยังมีผลกับ ความแรงของแฟลชดวย รูรับแสงยิ่งกวางแฟลชก็จะยิ่งไปไดไกลขึ้น รูรับแสงยิ่ง แคบกำลังของแฟลชก็จะยิ่งลดลง เพราะฉะนั้นเวลาถายดวยแฟลชบนตัวกลอง จึงไมควรใหแบบหรือวัตถุอยูไกลเกินไป ความไวชัตเตอร - ความไวชัตเตอรก็มีผลกับแฟลช เนื่องดวยการฉายแสง ของแฟลชนั้นมีความเร็วและสั้นมาก ๆ เราเรียกคานั้นวา Duration แฟลชบางรุน อาจมีชวงการฉายแสงที่ 1/20000s (วินาที) ซึ่งอาจสามารถ หยุดความเคลื่อนไหว ไดเกือบจะทุกชนิด แตเมื่อเราเอามาใชกับกลอง เราอาจจำเปนตองใชสปดชัตเตอร ไดตามแตกลองแตละตัวจะซิงคได โดยสวนใหญก็จะอยูที่ไมเกิน 1/250s - 1/125s หากวาเราจะใชรวมกับแฟลชรุนดีๆ ของยี่หอกลองที่รองรับระบบ ไฮสปดซิงค หรือ HSS ก็สามารถใชแฟลชไดทุกสปดชัตเตอรตองระวังอยูวาถาสปดชัตเตอรยิ่งสูง แฟลชก็ยิ่งมีกำลังที่นอยลง


ความสัมพันธระหวางมานชัตเตอรกับไฟแฟลช กลองถายภาพ D-SLR ที่เราใชกันสวนใหญ จะวางมาน ชัตเตอรไวดานหนาของ CCD หรือ CMOS ก็แลวแต สวนใหญจะวางมานชัตเตอรไวเพื่อกันแสงไมใหผาน เขาไปในยามที่ เราถอดเปลี่ยนเลนส โดยวางไวสองชุด ซึ่งอาจจะเรียกวาชุด 1 และชุดที่ 2 เราสามารถตั้งคา ใหกลองสั่งงานใหแฟลชทำงาน โดยสัมพันธกับ การทำงานของมานชัตเตอรชุดที่ 1 หรือชุดที่ 2 ก็ได เนื่องจากมานชัตเตอรจะมี 2 ชุด ปกติแลวมานชัตเตอร ชุดที่ 1 จะปดอยูตลอดเวลา และชุดที่ 2 จะซอนอยู เมื่อเรากดปุมปลอยชัตเตอร มานชัตเตอรชุดที่ 1 จะ เคลื่อนที่ในลักษณะเปดให แสงผานเขามากระทบ CCD และมานชัตเตอรชุดที่ 2 จะเคลื่อนตัวตามชุดที1่ โดย ปลอยใหมีชองวางจะแคบ หรือกวางขึ้นอยูกับความเร็วชัตเตอร เพื่อใหเขาใจงาย จะสมมุติวาเราถายภาพ รถยนตเปดไฟหนากำลังวิ่งตอนกลางคืน (เราไมตองสน ใจทิศทางการวิ่งของรถยนต)โดยใชความเร็วชัตเตอร 1/8 วินาที และใชแฟลชดวย หากเราเลือกใหแฟลชทำงาน สัมพันธกับมานชัตเตอรชุดที่ 1 เราจะไดภาพรถยนต ชัดเจนโดยทีม่ แี สงไฟหนารถยาวไปขางหนารถ หากเรา เลือกใหแฟลชทำงานสัมพันธ กับมานชัตเตอรชุดที่ 2 เราจะไดภาพรถยนตชัดเจน โดยที่มีแสงไฟหนารถยาว ไปขางหลัง (ทับตัวรถ) การที่เราเลือก ใหแฟลชสัมพันธกับมานชุดที่ 1 หมายถึง เมื่อกลองเริ่มทำงานจะเริ่มมีการเคลือ่ นทีข่ องมานชัตเตอรชดุ ที่ 1 จนเปดกวางสุดกลอง จะสั่งใหแฟลชฉายแสงวูบหนึ่งแลวกลอง จะรอจนครบ เวลาชัตเตอร 1/8 วินาที ก็จะเลื่อนชัตเตอรชุดที่ 2 มาปดไมใหแสงเขา หากเรานึกภาพวารถวิง่ มาถึงเสา ไฟฟาตนที่ 1 แลวเรากดปุมชัตเตอร แฟลชติดทันที ตัวรถ จะชัดตรงเสาตนที่ 1 แลวรถวิ่งไปถึงเสาตนที่ 3 ชัตเตอรจึงจะปด ซึ่งกลองจะบันทึกภาพระหวางรถ เคลื่อน ที่จากเสา 1 ถึง 3 โดยใชแสงจากไฟหนาของรถ โดยไมมีแฟลชชวย เพราะไฟแฟลชทำงานเพียง 1/10000 วินาที รถจึงชัดอยูที่เสาตนที่ 1 เมื่อได ภาพออกมาจึง เห็นวา รถชัดอยูที่เสาตนที่ 1 และมีแสงไฟหนารถยาว ตอมา จนถึงเสาตนที่ 3 หากเปนการ ตัง้ ใหแฟลชสัมพันธกับมานชุดที่ 2 กลอง จะเริ่ม บันทึกแสงไฟหนารถไดตั้ง แตเสาตนที่ 1 ยาวจนถึงเสาตนที่ 3 กอนที่มานชัตเตอร จะปดลงไฟแฟลชจะติด เราจึง เห็นภาพแสงไฟตั้งแตเสา 1 ถึงเสา 3 และมีภาพรถ ชัดนิ่งอยูที่เสา 3 เราจึงสามารถ ใชหลักการอันนี้นำไปสรางสรรคภาพไดมากมาย เชน การถายกระทงลอยน้ำ จะมีแสงเทียนเปนทาง เปนตน


1.แฟลชระบบแมนนวล Manual แฟลชในระบบแมนนวล (Manual) เปนแฟลชในระบบเดิม ตอมาไดถูกพัฒนา และมีผลตอการพัฒนากลองในระบบ TTL มากกวาที่ตองคอยพัฒนาแฟลชรุนใหม ถาคำนวณระยะทางไดพอดีก็ไมตองกังวลเรื่องชดเชยแสงแฟลช แฟลชระบบแมนนวล เปนการปลอยแสงแฟลชตามระยะทางมันจึงประหยัดแบตเตอรี่กวาและชารจประจุ ไฟไดเร็วมาก สวนการใชถาเปนแฟลชรุนธรรมดาๆ ที่ราคาไมสูงนักจะถูกกำหนดการ กระจายแสงแฟลชไวที่ 35 มม. เพราะฉะนั้นทานที่ใชเลนสมุมกวางกวานี้ควรระมัดระวัง เรื่องแสงที่ขอบภาพดวย ถานำไปใชในการเบานซแฟลช (bounce) เพดานหรือใชรวม กับอุปกรณเสริม บางประเภทที่มีการเสียแสง เชน ทิวป (tube) หรือ เทเลคอนเวอเตอร (teleconverter) ก็ตอง มาคอยคำนวณชองรับแสง ใหมอยูเสมอ หากจะถายวัตถุหรือแบบในระยะใดก็ ตาม เราก็พยายามปรับชองรับแสงใหอยูในระดับกลางๆ เชน F8 ถาอยูที่ระยะ 5 เมตร แบบเคลื่อนที่ใกลเขามาเราก็ปรับ F-Stop ใหแคบขึ้นไปอีกเพื่อลดกำลัง ไฟแฟลช ถาแบบถอยออกไปไกลเรา ก็ปรับ F-Stop ใหกวางขึ้นเพื่อให แฟลชมีกำลังไปถึงโดยที่เรา ไมตองมาคอยเดินตาม 2.แฟลชระบบออโต เปนแฟลชรุนที่มีการพัฒนาตอจากแฟลชของระบบแมนนวล โดยแฟลชระบบออโต ไวแสงหรือเซ็นเซอรตดิ ไวเพือ่ อานคาแสงทีส่ ะทอน กลับมาจากวัตถุที่แสงแฟลชไดไปกระ ทบถูก และเซ็นเซอรก็จะทำการตัดแสงแฟลชใหเราโดยอัตโนมัติ ทำใหนักถายภาพใช แฟลชไดสะดวก ขึ้น แตก็ยังตองคอยระวังในเรื่อง ของอุปกรณเสริมที่มีการเสียแสงคลาย แฟลชในระบบแมนนวล แตสมัยนี้หาแฟลชระบบออโตไมคอยมีแลว 3.แฟลชระบบ TTL ( Through the lens ) แฟลชระบบ TTL เปนแฟลชตนแบบของแฟลชในยุคดิจิตอลเกือบทุกตัวเพียงแตจะใส ระบบที่เพิ่มมากขึ้นเชนการคำนวณตาม ระยะทางจาก ขอมูลของเลนส หรือตามจุดโฟกัส การนำเซ็นเซอรมา วางไวที่ตัวกลอง แทนที่จะวางไวในตัวแฟลชเหมือนระบบออโต ขอดีก็คือเราสามารถจะใชแฟลชไดทุกชองรับแสงโดยมีขอแมวากำลัง ไฟของ แฟลชตองฉายไปถึง ไมตองคอยมานั่งคำนวณจะใชอุปกรณเสริมอะไรก็ไมตองคอยชดเชย ชองรับแสงให ขอเสียก็คือตองคอยคำนวณคาสะทอนของสีบางประเภทใหกับกลองดวย เชนสีขาวและสีดำ การใชพลังงานที่คอนขางเยอะเพราะ เปนการยิงแฟลชไปกลับทำให บางครั้งตองคอยเวลาในการปะจุไฟที่คอนขางนานถาวัตถุที่จะถายอยูในระยะไกล


เราสามารถใชทุกโหมด A S P M หรือโปรแกรมสำเร็จรูปถายภาพกับแฟลชไดทุกโหมด แตในระบบออโตผูผลิตมักจะตั้งความไวชัต เตอรมาในคากลางๆ เชนส1/60s - 1/90s - และ 1/200s มีเพียง Canon ที่เวลาใชโหมด AV แลวกลองจะทำการใชระบบสโลวซิงคแฟลชใหอตั โนมัติ ซึ่งจะทำการใชระบบแฟลชสัมพันธกับแสงธรรมชาติ ถาในหอง ไมสวางสปดอาจจะต่ำ ทำใหภาพเบลอได ถาสปดต่ำเราสามารถเพิ่มคา ISO ได

การปรับลักษณะของแสงแฟลชแบบ Switching illumination Pattern มี ร ู ป แบบของแสงแฟลชที่ผูใชสามารถเลือกได ว า จะให แ ฟลช ทำงานในรูปแบบใดของ 3 แบบนี้คือ 1.ปกติ(Standard) 2.เฉลี่ยหนักกลาง(Center Weighted) 3.เกลี่ยแสง ใหทั่วทั้งเฟรม(EVEN) 1.การใชแสงแฟลชแบบปกติ จะมีลักษณะการใชดังนี้ ระบบนี้จะถูกตั้งมาจาก โรงงานเพื่อใชงานถายภาพทั่วไป จะใชในกรณีที่กลองดิจิตอลที่มีพื้นที่มุมภาพไมกวางนัก หรือมีบริเวณ เงามืดที่ขอบภาพที่ไมมากนักเนื่องจากมุมรับ ภาพของกลอง ดิจิตอลที่มีพื้นที่เฟรมภาพที่เล็กกวา 2. การใชแสงแฟลชแบบเฉลี่ยหนักกลาง แสงแฟลชแบบนี้ทำใหสามารถ เพิ่มระยะถายภาพดวยการ ใชไกดนัมเบอรที่สูงขึ้นหรือจะใชเลนสที่มีทางยาวโฟกัสที่มาก ขึ้นไดอีกดวย เหมาะสำหรับการใชถายภาพบุคคลที่ตองการ เนนที่ตัวนางแบบโดยตรงจะเนนตรงกลางภาพและเงามืดบริ เวณขอบภาพทีไ่ มสำคัญนัก หรือตองการเนนฉากหลังใหสะทอน แสงมากกวาปกติ หรือเพื่อใหฉากหลังสวางมากๆ 3. การใชแสงแฟลชแบบเกลี่ยแสงทั้งเฟรมภาพ(Even) แสงแฟลชจะ กระจายแสงคลุมทั่วทั้งเฟรมภาพ จะใชถาย ภาพหมูในสถานที่ ที่ไมตองการใหเกิดเงามืดบริเวณขอบภาพ


การใชแสงแฟลชแบบสะทอน (Bounce flash Operation) = จะใชก็ตอเมื่อตัวแบบยืนอยูดานหนากำแพง และที่ไม ตองการใหเกิดเงามืด ที่ฉาก หลังโดยการหันยกหัวแฟลชใหเงยขึ้น เพื่อยิงแสงแฟลชสะทอนเพดานลงมา ทำให แสงแฟลชนุมนวลและ ลบเงาไมใหเกิดเงาตกที่ฉากดานหลังของตัวแบบ =หากตองการใหไดผลดีควรยกหัวแฟลชขึ้นประมาณ 90 ํ ยิงแฟลช สะทอนเพดานลงมาเพื่อลบเงาดานหลัง =หากตองใชกลองโดมกระจายแสงแฟลช แสงแฟลชจะกระ จายแสงคลุมทั่วทั้งเฟรมภาพไดดีขึ้น แสงแฟลชที่ยิงสะทอนจะ กระจายลงมาทำ ใหสีผิวและใบหนาดูเปนธรรมชาติมากขึ้นดวย แตถาใชแฟลชยิงตรงใบหนาจะทำ ใหหนาแลดูมัน และเกิดเงา ดำที่ฉากหลัง

การปรับมุมเงยและเลือกพื้นที่แบบสะทอนแสงแฟลช

=การปรับแฟลชใหอยูในมุมที่เงยมากขึ้นจะชวยใหแสง

กระจายไดมาก และไดแสง ที่นุมนวลมากขึ้น ถาถือกลอง ในแนวตั้งใหปรับหัวแฟลชใหหันซาย-ขวา เพื่อใหแสงแฟลช สะทอนขึน้ เพดาน และเพดานทีใ่ ชเพือ่ ใหแฟลชเกิดการสะทอน ควรเปน สีขาวและอยูสูง1-2 เมตรหากเพดาลทีใชเปนสีอื่น แสงที่สะทอนอาจจะเปนสีอื่นตาม เพดานที่ใชจะทำใหสีใน ภาพเปลี่ยนจากความเปนจริง


วิธีชดเชยแสงและปรับสีของแสงแฟลชแบบสะทอน

=ทดสอบถายภาพดวยการยกหัวแฟลชใหเงยขึ้น 75 ํ , 90 ํ ,

105 ํ มุมที่เงยมากขึ้นจะชวยใหแสงกระจายไดมากขึ้นและแสงนุมนวล มากขึ้น แตกำลังแสงแฟลชจะลดลงไปดวย ใหเพิ่มมุมเงยที่หัวแฟลช เมื่อใชเลนสมุมกวาง และ ลดมุมเงย เมื่อใชเลนสมุมแคบ

การใชแสงแฟลชแบบสะทอนTaking Portraits using Catch Light สำหรับการใชแบบยิงสะทอน ผูใชสามารถใชแผนการด ชวยสะทอนแสงแฟลช ที่อยูบนหัวแฟลชเปนการเพิ่มความสวาง ใหใบหนาตัวแบบและชวยเพิ่มประกายแสงในดวงตาดวย ประกาย แฟลชทำใหดวงตาดูมีประกายสดใส อีกทั้งยังชวยเพิ่มแสงบน ใบหนา ชวยลบเงาใตตา โหนกแกม และจมูก เราควรใชแผนชวย สะทอนแสงแฟลชเมื่อปรับตั้งหัวแฟลชที่ตำแหนงเงยขึ้น 90 ํ การใชกลองโดมกระจายแสง เมือ่ ตองใชกลองโดมกระจายแสง ครอบที่หัวแฟลช จะชวยใหแฟลชกระจายแสงไดดีขึ้นและยังเพิ่ม ความนุมนวลของแสงมากขึ้นในการยิงแฟลชสะทอน ลดการเกิดเงา แฟลชไดมากขึ้น ทั้งยังชวยเพิ่มแสงดานหนา ลบเงาบริเวณใตคาง, โหนกแกมและคอเสื้อ


การใชแผนเจลสีกรองแสงแฟลช ฟลเตอรที่ใชสำหรับ

ยอมสีของ แสงแฟลชควรจะเขากับสภาพแสงธรรมชาติที่ใชถายภาพ หากถาย ภาพในหองที่เปดใชแสงสวางจากหลอดไฟทังสเตนควรใชแผ นฟลเตอร สีที่เหมาะกับหลอดไฟทังสเตน เพื่อใหแสงแฟลชกลมกลืนกั บสีฉาก ดานหลังเปนการปรับแตงสีของตัวแบบใหเขากับสภาพแวดลอ มขณะ นั้นและควรใชคาWB ที่ Incandescent

แฟลชสัมพันธความเร็วชัตเตอรสูงแบบอัตโนมัติ

ใชสำหรับถายภาพที่ตองการใหภาพดูเปนธรรมชาติเพื่อเกิดความ สมดุลระหวางแสงแฟลชทีต่ วั แบบ และแสงฉากหลังทีม่ ใี นขณะนัน้ เชน การถายภาพกลางวันที่ตองลบเงาบนใบหนา หรือยอนแสง ที่ตองการ ใหแสงที่ตัวแบบสมดุลกับแสงธรรมชาติของฉากหลัง ทั้งยังใชคารูรับ แสงทีก่ วางขึน้ ในการทำใหฉากหลังเบลอ และเนนความคมชัดทีต่ วั แบบ แฟลชสัมพันธความเร็วชัตเตอรต่ำ ใชในการถายภาพเวลาเย็น หรือภาพวิวในเวลากลางคืน ที่ตองการใชความเร็วชัตเตอรต่ำกวาปกติ ทำใหเห็นรายละเอียดของฉากหลังขณะนั้น อีกทั้งยังสามารถใชใชคา รูรับแสงที่แคบขึ้นเพื่อใหฉากหลังคมชัด หากคารูรับแสงที่กวางขึ้นทำ ใหฉากหลังเบลอและเนนความคมชัด ที่ตัวแบบ * หากใชความเร็ว ชัตเตอรต่ำในสภาพแสงนอย โดยไมใชแฟลชชวย ฉากหลัง จะดูมืดไมนาสนใจ -ความเร็วชัตเตอรต่ำทำใหไดภาพที่ฉากหลังสวางและมีสีสัน -ความเร็วชัตเตอรสูง ทำใหไดสีของตัวแบบดูไมสดใสและ ฉากหลังที่มืดไมมีรายละเอียด -หากเปดคารูรับแสงที่กวางทำใหไดภาพฉากหลังที่สวางและ เบลอหลังที่สวยงาม -หากเปดคารูรับแสงทีแ ่ คบ จะทำใหไดภาพที่ฉากหลัง มืดและดูไมกลมกลืนกับแบบ


การใชแฟลชพวงแบบไรสาย การใชแฟลชตัวเดียว

จากกลองจะทำ ใหเกิดเงาดำแข็งดานหลัง และภาพดูแบนไมมีมิติ กลองและแฟลชในระบบ CLS จะชวยสนับสนุนโหมดแฟลชพวงไร สาย โดยผูใ ชสามารถแบงแฟลชพวงไดเปนกลุม โดยแตละกลุม สามารถ ใชโหมดแฟลชตางกัน และใชคาชดเชยแสงตางกันไดอยางอิสระได หลายตัว รวมทั้งแฟลชหลักก็สามารถใชโหมดแฟลชและคาชดเชย แสงแฟลชตามตองการ เทคนิคการใชแฟลชเพื่อใหไดแสงที่นุมนวล ไฟแฟลชบางรุนจะสามารถเงยหัวแฟลชได ทำใหเราสามารถลด ความแข็งกระดางของการใชแฟลชติดหัวกลองได เพราะไฟที่สอง กระทบเพดานจะสะทอนแสงลงมาอยางนิ่มนวล และไมเกิดเงา ดำที่กำแพงดานหลังนางแบบ สำหรับแฟลชที่ไมสามารถเงยได อาจใชกระดาษไข หรือถุงพลาสติกขุนกั้นไวที่หนาแฟลชเพื่อกรอง ใหแสงแฟลชนุมลงก็ไดผลดีพอสมควร แตก็ยังเปนแสงตรง ทำให หนานางแบบจะดูแบนกวาการสะทอนเพดาน สิ่งที่ตองระวังสำ หรับการสะทอนเพดานคือเรื่องสีของเพดานที่สะทอนแสงแฟลช ดวยคือ เพดานควรจะเปนสีขาว เพื่อปองกันแสงสะทอนออกมา เปนสีตามสีเพดาน และเพดานที่ใชวิธีนี้ได ควรเปนเพดานเรียบ จะดีที่สุด เพราะ สะทอนแสงไดดีที่สุด สวนเพดานแบบหลังคาจั่ว จะสะทอนแสงลงมาไดนอยกวา เราอาจมีการประยุกตโดยเลนสี สรรคตางๆไดดวยการใชกระดาษแกวสีที่ตองการหุมไวหนาแฟลช เพื่อใหไดสีแบบแปลกๆก็ได


การจัดแสงแฟลชแบบใชแฟลชพวงไรสาย

=ใชกับโหมดแฟลชแบบวัดแสงแฟลชผานเลนส i-TTLได

=ใชแฟลชที่อยูในตัวกลองเปนแสงหลักและใชแฟลชพวงวาง

ขางซาย ขวาและหลังเพื่อชวยกระจายแสงลบเงาดำที่เกิดจากแสง หลัก =แฟลชพวงตัวดานหลังขวา ใสกลองโดมชวยกระจายแสงแฟลช ทำใหแสงนุมนวล ฉากดานหลังดูกลมกลืน = แฟลชพวงตัวดานหนาซาย ถูกวางใหสูงขึ้นมาในระดับกลอง และยิง สะทอนผนังดานซายมือทำใหแสงแฟลชกระจายทำใหแบบ โดดเดนขึ้น ลอยจากฉากหลัง


การจัดแสงแฟลชแบบใชแฟลชหลายตัว

= ตรวจดูวาตัวเซ็นเซอรจับแสงแฟลชพวงทุกๆตัวหันตรงไปทางดานที่

แฟลชสั่งงานตั้งอยู และควรจัดวางแฟลชในกรุปเดียวกัน ใหอยูใกลกัน ดวย =ระยะหางดานหนาระหวางแฟลชหลัก และแฟลชพวงตองไมเกิน 10 เมตรและดานขางตองไมเกิน 7 เมตร =จัดวางตำแหนงแฟลชพวงที่อยูในกลุมเดียวกันและใกลๆกัน เชนในภาพกลุม ใหแสงดานซาย, กลุม B เปนแสงริมไลทดานหลังและ กลุม C ใหแสงดานขวาโดยแฟลชหลักที่กลองใหแสงดานหนาเปนตัว แฟลชสั่งงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.