๗ นิทานเกาในโลกใหม: วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม ชัยรัตน พลมุข
วันที่ 12 ธันวาคม 1942 เวลา 10 โมงเชา คณะกรรมการอักษรศาสตร ลาว ไดประชุมกันทีส่ าํ นักงานกองโฆษณาการ โดยทานหัวหนากองโฆษณาการ เปนประธาน เพือ่ ตัดสินการประกวดนิทานกอมลาว ซึง่ ไดประกาศในลาวใหญ เลขที่ 23 วันที่ 15 มกราคม 1942 นั้น ผูที่มาประชุมคือ พระยาคํามาว ทานงิน ทาวเพ็ง ทาวเกรื่อง คําสี หุมแพง มหาภูมี และมหาบุญเรือง นิทานกอมที่ไดสงมาประกวดนี้มี 45 เรื่อง สมาชิกคณะกรรมการ บางทานไดตรวจใหคะแนนไวกอนแลว คณะประชุมไดตรวจซํ้าอีกครั้งหนึ่ง การตัดสินไดกระทําอยางระมัดระวังใหเปนทีเ่ รียบรอยทีส่ ดุ นิทานกอม ที่ดีเดนกวาเรื่องอื่นนั้น สมาชิกไดผลัดเปลี่ยนกันอานใหคณะกรรมการฟง ผูประกวดไดดีตามลําดับมี 13 คน ดังมีรายนามตอไปนี้: ทองเพ็ชร, แสงแกว, ทาวหนูทัก, ค.ป. พันดานุวงส, ทาวหอม, ทาวเกน, ทาวอินตอง, ทาวอังริสุชัง, ทิดพุ, L.D.N.R., ทาวบุญมี, ทาววันทอง, ทาวสําฤทธิ์ ไดตกลงใหรางวัลที่หนึ่งเปนเงิน 25 กีบ แกทองเพ็ชร นักศึกษา แพทยศาสตรที่ไซงอน ใหรางวัลที่สองเปนเงิน 15 กีบ แกแสงแกว นักเรียน 209
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
โรงเรียนมัธยมปาวีที่เวียงจันทน และรางวัลที่สามจํานวนเงินคนละ 10 กีบ แกทา วหนูทกั พนักงานปาไมทพี่ นมเปญ (ประเทศเขมร) และ ค.ป. พันดานุวงส นักเรียนโรงเรียนมัธยมปาวีทเี่ วียงจันทน โดยเห็นวาผูป ระกวดทัง้ สองไดคะแนน เสมอกัน สวนผูประกวดอีกเกาคนที่มีรายนามอยูดานบนนี้จะไดรับบทละคร เรื่อง “บายศ” ซึ่งจะพิมพออกมาเร็วๆ นี้คนละเลม และจะไดรับจดหมายเหตุ ลาวใหญมีกําหนดหนึ่งป รางวัลพิเศษราคา 15 กีบจะมอบใหแกทาวเกสาที่อยูหลวงพระบาง ซึ่ ง ได แ ต ง นิ ท านก อ มโบราณลาวรวมเป น เล ม (ซึ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามกติ ก า การประกวดของเรา) แตเห็นวามีความอุตสาหพยายามจึงสมควรไดรับ บําเหน็จ นิทานกอมเรื่องที่ดีเดนนั้น จะไดนําลงตีพิมพในลาวใหญตอไป
ขอความขางตนปรากฏอยูในหนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 15 ธันวาคม 1942 แมเหตุการณดังกลาวนี้จะเปนเพียงสวนเสี้ยวหนึ่งของประวัติศาสตร ทีถ่ กู หลงลืมไปจากหนาประวัตวิ รรณกรรมลาวสมัยใหม แตกฉ็ ายใหเห็นบรรยากาศ ทางวรรณกรรมที่สัมพันธอยางแนบแนนกับความเคลื่อนไหวทางภูมิปญญาและ วัฒนธรรมในสมัยอาณานิคมฝรัง่ เศสและชวงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ภาพการประชุม เพือ่ ตัดสินรางวัลทางวรรณกรรมทีค่ กึ คักและเปนทางการนี้ แสดงใหเห็นจุดเริม่ ตน ของวรรณกรรมลาวสมัยใหม (ในที่นี้คือ “นิทานกอม” หรือเรื่องสั้น) ซึ่งเกิดขึ้น พรอมกับสถาบันทางการเมืองและวัฒนธรรมแบบสมัยใหมที่กอตั้งขึ้นในระบอบ อาณานิคม นักเขียนลาวที่สงผลงานเขาประกวดคือปญญาชนลาวรุนใหมที่ศึกษา เลาเรียนในสถาบันการศึกษาของฝรั่งเศส หรือทํางานใหแกหนวยงานของระบอบ อาณานิคมที่กระจายอยูทั่วศูนยกลางการปกครองของฝรั่งเศสในอินโดจีนคือ เวียงจันทน พนมเปญ และไซงอน หลักสูตรการศึกษาแบบตะวันตกนาจะมี สวนสําคัญที่ทําใหปญญาชนเหลานี้รูจักงานเขียนแบบสมัยใหมและสามารถ สรางงานเขียนของตนที่ตางไปจากขนบเดิมได ขณะเดียวกัน เทคโนโลยีการพิมพ 210
ชัยรัตน พลมุข
และสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ แ บบใหม คื อ หนั ง สื อ พิ ม พ ล าวใหญ (หรื อ ในข อ ความใช ว า “จดหมายเหตุลาวใหญ”) ซึ่งเปนหนังสือพิมพภาษาลาวฉบับแรก ก็เปนชองทาง ทีท่ าํ ใหเกิดการเผยแพรและการเสพวรรณกรรมสมัยใหมในวงกวาง จากการศึกษา ของแกรนท อีวานส (Grant Evans) ระบุวาหนังสือพิมพรายปกษฉบับนี้แจกจาย ไปทั่วประเทศนับพันฉบับระหวางป 1941 ถึง 1945 (Evans, 2002: 78-79) ทั้งนี้เปนที่นาสังเกตวา งานเขียนแบบสมัยใหมในยุคแรกเริ่มนี้ยังแสดงใหเห็น รอยตออันสําคัญของการเปลีย่ นผาน ดังเห็นไดจากการเรียกงานเขียนแบบเรือ่ งสัน้ ว า “นิ ท านก อ ม” ซึ่ ง หมายถึ ง นิ ท านขนาดสั้ น อั น เป น เรื่ อ งเล า ในวั ฒ นธรรม มุขปาฐะของลาวที่มีมากอน การผสมผสานและความคลุมเครือของประเภท วรรณกรรมนี้ยังเห็นไดจากการที่นักเขียนบางคนสงงานเขียนแบบ “นิทานกอม โบราณ” เขาประกวดดวย บทความนีม้ งุ อภิปรายกําเนิดวรรณกรรมลาวสมัยใหมซงึ่ เริม่ กอตัวขึน้ ในชวง ทศวรรษ 1940 และความสัมพันธระหวางวรรณกรรมกับขบวนการเคลื่อนไหว ทางภูมิปญญาในชวงเวลาดังกลาว หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ บทความนี้จะได อธิบายขยายความประเด็นสําคัญในขอความที่ยกมาในตอนตนของบทความนี้ ไดแก 1) ความเคลื่อนไหวทางภูมิปญญาและวัฒนธรรมสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับการสรางงานวรรณกรรม 2) กําเนิดเรื่องสั้นและนวนิยายกับรอยตอทาง ขนบวรรณกรรมลาว และ 3) เนื้อหาของวรรณกรรมสมัยใหมกับภาวะสมัยใหม ในประเทศลาวสมัยอาณานิคม การวิเคราะหตัวบทวรรณกรรมนี้ผูเขียนมุงแสดง ใหเห็นการปะทะสังสรรคระหวางภาวะสมัยใหมกับอารมณโหยหาอดีตที่ปรากฏ ในตัวบทอันสัมพันธกับความเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมในชวงเวลาดังกลาว
211
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
การเดินทางจาก “ห องเรียน” สู “ห องทํางาน” ของป ญญาชนลาวในระบอบอาณานิคม ในอัตชีวประวัตเิ รือ่ ง Souvenirs d’un ancien écolier de Paksé (ความ ทรงจําของศิษยเกาจากปากเซ) ของกระตาย โดนสะโสฤทธิ์ ผูเปนปญญาชนลาว คนสําคัญคนหนึ่ง ผูเขียนบรรยายถึงเหตุการณเมื่อครั้งเริ่มเขาศึกษาในโรงเรียน ฝรั่งเศสซึ่งตั้งขึ้นเปนครั้งแรกที่ปากเซเมื่อป 1909 ไวอยางมีชีวิตชีวา กระตาย เลาวาเขาเริ่มเขาเรียนเมื่ออายุเพียง 5 ขวบ เพราะครอบครัวตองการลดภาระ เลีย้ งดูในชวงเวลากลางวัน ชาวบานในละแวกเดียวกันก็สง ลูกไปโรงเรียนดวยเหตุผล ทํานองนี้ ทีโ่ รงเรียนมีครูชาวฝรัง่ เศสทีน่ อกจากจะสอนภาษาฝรัง่ เศสแลวยังปลูกฝง แนวคิดปรัชญาตะวันตกตางๆ ใหแกนกั เรียนชาวลาวดวย กระตายเลาวาตนไดเขียน เรียงความสําหรับสอบเลื่อนชั้นเกี่ยวกับความรักชาติ (patriotism) ซึ่งไดเรียนรู จากครูชาวฝรั่งเศสและทหารฝรั่งเศสในลาวที่อาสาออกรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 อยางหาวหาญ นอกจากนี้ยังกลาวถึงนักเขียนและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสอยาง วอลแตร (Voltaire) และบัวโล (Boileau) ซึง่ นาจะอยูใ นหลักสูตรการเรียนการสอน สมัยนั้นดวย กระตายกลาววาชวงเวลาในโรงเรียนที่ปากเซนี้เองเปนชวงเวลา แหงการเติบโตทางความคิดอันเปนรากฐานแหงชีวติ ของเขา (Don Sasorith, 1985: 39-40)1 เรื่องราวชีวิตของกระตายแสดงใหเห็นถึงการศึกษาทางโลก (secular education) แบบตะวันตกที่เริ่มเขามามีบทบาทในสังคมลาวในชวงอาณานิคม ฝรัง่ เศส กระตายเริม่ ตนการศึกษาแบบทางตะวันตกโดยไมผา นการเรียนทีว่ ดั แบบ ปญญาชนลาวรุน กอน ตัวอยางเชนเจาเพ็ชราชทีก่ ลาวไวในหนังสือแนวอัตชีวประวัติ ของพระองควาไดศึกษาภาษาบาลีกอนที่จะเริ่มเรียนในหลักสูตรแบบตะวันตก (3349 [นามแฝง] 1978) กรณีของกระตายจึงแสดงใหเห็นวาโรงเรียนแบบ 1
ผูเขียนไดศึกษาอัตชีวประวัติของกระตาย โดนสะโสฤทธิ์ สมจิน งิน และเจาเพ็ชราชในดานการ เสนอแนวคิดเกีย่ วกับระบอบอาณานิคมและชาตินยิ ม ดูเพิม่ เติมใน Chairat Polmuk (2014: 1-40). 212
ชัยรัตน พลมุข
อาณานิ ค มเริ่ ม เข า มาแทนที่ ก ารศึ ก ษาที่ วั ด และเริ่ ม เข า ถึ ง ชี วิ ต ของคนสามั ญ ในสมัยนั้นมากขึ้น อยางไรก็ตาม วิทยานิพนธของมารเจอรี เอ็มลิง (Marjorie Emling) เกี่ยวกับระบบการศึกษาลาวชวงอาณานิคมกลาววาการศึกษาแบบ ตะวั น ตกในลาวเป น ไปอย า งเชื่ อ งช า มาก โรงเรี ย นแบบตะวั น ตกมี น อ ยแห ง และบุคลากรไมเพียงพอ สถาบันการศึกษาขัน้ สูงคือระดับมัธยมเปนตนไปจนถึงขัน้ อุดมศึกษานั้นไมมีเลยจนกระทั่งป 1933 จึงมีการตั้งโรงเรียนมัธยมปาวี (Collège Pavie) ขึ้นที่เวียงจันทน ดวยเหตุนี้นักเรียนลาวที่ตองการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น จึงตองเดินทางไปศึกษาที่เวียดนาม ระหวางป 1921 จนถึงป 1944 มีนักเรียนลาว ประมาณ 3,000 คนที่เดินทางไปศึกษาวิชาแพทย สัตวแพทย กฎหมาย และ การเกษตรที่มหาวิทยาลัยฮานอย (Emling, 1969: 12) ทั้งนี้เนื่องจากเวียดนาม เปนศูนยกลางของอาณานิคมอินโดจีนของฝรั่งเศสและไดรับการพัฒนาทาง การศึกษารวมถึงดานอื่นๆ มากกวาลาวและกัมพูชา (Goscha, 2012) ปญญาชน ลาวเชน กระตายก็สําเร็จการศึกษาขั้นสูงจากฮานอยเชนกัน สําหรับนักเรียนลาว ที่ทางการเห็นวามีศักยภาพจะถูกสงไปเรียนที่ประเทศฝรั่งเศสรวมกับนักเรียน จากดินแดนใตอาณานิคมฝรั่งเศสอื่นๆ อยางเชนเจาเพ็ชราชและสมจิน งิน ที่เมื่อ สําเร็จการศึกษาจาก Lycée Chasseloup-Laubat ที่ไซงอนแลวก็เดินทาง ไปศึกษาที่ École Coloniale ณ กรุงปารีส จุดประสงคสําคัญของการสนับสนุน นักเรียนเหลานี้ก็เพื่อผลิตกําลังคนสําหรับกิจการของระบอบอาณานิคมฝรั่งเศส แมวาการศึกษาแบบตะวันตกในลาวจะดําเนินการไปอยางเชื่องชาและ ขาดการสนับสนุนอยางจริงจังจากฝรั่งเศสเมื่อเทียบกับกัมพูชาและเวียดนาม แตก็เปนปจจัยที่มีผลตอการกําเนิดวรรณกรรมลาวสมัยใหมที่คอยๆ กอตัวขึ้น ในชวงตนทศวรรษที่ 1940 การศึกษาทางโลกสรางปญญาชนกลุม ใหมอยางกระตาย เจาเพ็ชราช และสมจินที่คุนเคยกับปรัชญาความคิดและขนบการแตงวรรณกรรม สมัยใหมตามแบบตะวันตก และตอมาไดมีสวนสําคัญในขบวนการเคลื่อนไหว ทางวัฒนธรรมและวรรณกรรมของลาว ตัวอยางทีเ่ ห็นไดชดั คือสมจินซึง่ ไดกลาวไว ในอัตชีวประวัติเรื่อง อดีตานุสรณ วาตนเริ่มฝกแตงกวีนิพนธและตั้งใจที่จะเปน 213
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
นักเขียนขณะที่เรียนอยูที่ประเทศฝรั่งเศส (สมจิน งิน, 1971: 19) ตอมาภายหลัง สมจิ น ได เ ข า ร ว มขบวนการลาวใหญ โ ดยเป น กรรมการแผนกอั ก ษรศาสตร เปนบรรณาธิการหนังสือพิมพลาวใหญ รวมทั้งเขียนเรื่องสั้นและนวนิยายลาว ในยุคบุกเบิกนี้ดวย กลาวไดวาระบบโรงเรียนเปนกลไกผลิตชนชั้น “อานออก เขียนได” ที่สามารถสรางสรรคงานวรรณกรรมแบบสมัยใหม ดังจะเห็นไดจาก ประกาศผลการประกวดนิทานกอมในตอนนัน้ ทีร่ ะบุวา มีนกั เรียนจากโรงเรียนมัธยม ปาวีสงผลงานเขาประกวดดวย ทาวทองเพ็ชรผูไดรับรางวัลชนะเลิศการประกวด ดังกลาวก็เปนนักเรียนแพทยที่ไซงอน นอกจากนี้ยังมีทาวเกนซึ่งเปนครูอยูที่ เวียงจันทนชนะการประกวดแปลวรรณกรรมฝรั่งเศสเปนภาษาลาว โดยทาวเกน ไดแปลนวนิยายแนววิถีชนบท (rustic novel) เรื่อง La mare au diable (บึงปศาจ) ของจอรจ ซังด (George Sand) ซึ่งรื้อฟนขนบทองทุง (pastoral tradition) ที่ใหภาพอุดมคติของชนบทอันเรียบงายและเปยมดวยคุณธรรม (Godwin-Jones, 1995: 190) การแปลนวนิยายเรื่องดังกลาวแสดงใหเห็นวา ในโรงเรี ย นน า จะมี ก ารเรี ย นการสอนวรรณกรรมฝรั่ ง เศสที่ เ ป ด โอกาสให ค รู และนักเรียนไดรูจักงานเขียนที่แตกตางไปจากวรรณกรรมลาวในขนบเดิมแลว ทาวเกนนี้ตอมาจะมีบทบาทดานวรรณกรรมจนถึงชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยทํางานอยูในกองวรรณคดีของฝายรัฐบาลราชอาณาจักรลาว และสอนหนังสือ อยูท วี่ ทิ ยาลัยปาวีดว ย ทาวเกนเขียนตําราสําหรับใชในการเรียนการสอนทีว่ ทิ ยาลัย ปาวีและยังเปนผูรวบรวมรายชื่อตนฉบับตัวเขียนวรรณคดีลาวที่เก็บรักษาอยูใน หอสมุดแหงชาติลาวอีกดวย (Kene, 1958) การศึกษาในโรงเรียนแบบตะวันตกสรางกลุม ผูอ า นวรรณกรรมในวัฒนธรรม ลายลักษณทแี่ ตกตางกับการเสพวรรณกรรมในวัฒนธรรมมุขปาฐะ แมวา การศึกษา แวดวงนักอานในสมัยดังกลาวจะยังขาดหลักฐานที่แนชัด แตจํานวนผูที่เขาศึกษา ในโรงเรียนนาจะชวยบงชี้วามีผูที่สามารถอานงานวรรณกรรมแบบสมัยใหม ในชวงเวลานั้นไดพอสมควร การศึกษาของเอ็มลิงระบุวาในชวงทศวรรษที่ 1930 มีนักเรียนลาวประมาณ 49,800 คนที่เรียนอยูระดับประถมศึกษาในโรงเรียน 214
ชัยรัตน พลมุข
ฝรัง่ เศส ในป 1940, 1942, 1943 และ 1944 มีนกั เรียนระดับประถมศึกษาจํานวน 7,062, 7,901, 9,508 และ 11,401 คนตามลําดับ (Emling, 1969: 78) ในชวง เวลาเดียวกันนี้หนังสือพิมพลาวใหญ ไดเริ่มตีพิมพเผยแพรขาวสารทั้งในและ นอกประเทศ ขอเขียนทางวรรณกรรม ตลอดจนตีพิมพเรื่องสั้นและนวนิยาย ลงในหนังสือพิมพดวย เมื่อพิจารณาจากจํานวนประชากรที่อานออกเขียนได กับการแพรขยายของสื่อสิ่งพิมพในชวงเวลาดังกลาว ก็สามารถอนุมานไดวา ในชวงเวลาดังกลาวไดเกิดแวดวงการอาน (reading public) ขึ้นในสังคมลาว ซึ่งรองรับวรรณกรรมสมัยใหมที่กอตัวขึ้นในชวงเวลาเดียวกัน ปลายทางของการศึกษาในระบอบอาณานิคมก็คอื การเขาทํางานในหนวยงาน ราชการของฝรัง่ เศส ทัง้ เจาเพ็ชราช กระตาย และสมจินตางก็ปฏิบตั งิ านในหนวยงาน ราชการของฝรั่งเศสทั้งสิ้น กลาวไดวาปญญาชนลาวรุนบุกเบิกเหลานี้ไดทําหนาที่ เปนผูเชื่อมโยงโลกแบบตะวันตกกับสังคมทองถิ่นลาวเขาดวยกัน เนื่องจาก ปญญาชนเหลานีม้ คี วามรูท งั้ ภาษาลาวและภาษาฝรัง่ เศส อีกทัง้ ยังรูข นบธรรมเนียม ของสั ง คมทั้ ง สองแบบด ว ย ในช ว งทศวรรษที่ 1930 ป ญ ญาชนลาวเหล า นี้ ไดเขาไปมีบทบาทในขบวนการเคลือ่ นไหวทางวัฒนธรรมตามนโยบายของฝรัง่ เศส ขบวนการดังกลาวนี้ใชโวหารสําคัญคือการฟนฟูวัฒนธรรมลาวเพื่อสรางความ ชอบธรรมใหแกเจาอาณานิคม โดยมีวรรณกรรมเปนเครื่องมือสําคัญในการเชิดชู ความเปนลาว ชวงเวลาดังกลาวจึงเปนชวงที่วรรณกรรมลาวไดเขาไปอยูใน จุดศูนยกลางของนโยบายของอาณานิคมฝรั่งเศส และความเคลื่อนไหวทาง ภูมิปญญาของยุคสมัย
215
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
“อักษรศาสตร ลาว” ในขบวนการเคลื่อนไหว ทางวัฒนธรรมยุคอาณานิคม สํานักฝรั่งเศสแหงปลายบูรพทิศ (École française d’Extrême-Orient) ซึ่งกอตั้งขึ้นในป 1898 มีบทบาทสําคัญในการลงทุนทางวัฒนธรรมและสราง องคความรูเกี่ยวกับดินแดนตะวันออกใตการปกครองของฝรั่งเศส ในป 1910 หนวยงานดังกลาวไดรเิ ริม่ เก็บรวบรวมคัมภีรใ บลานลาวจากวัดตางๆ หลุยส ฟโนต (Louis Finot) ซึ่งดํารงตําแหนงผูอํานวยการคนแรกของสํานักฝรั่งเศสแหงปลาย บูรพทิศไดเรียบเรียงบทความชื่อ “Recherches sur la littérature laotienne” (การคนควาเรื่องวรรณคดีลาว) และตีพิมพลงในวารสารของสํานักงานในป 1917 โดยประมวลขอมูลมาจากโครงการรวบรวมคัมภีรใ บลานทีฟ่ โ นตเปนผูค วบคุมดูแล ในบทความขนาดยาวรอยกวาหนานี้ ฟโนตไดจัดแบงวรรณคดีลาวออกเปน ประเภทตางๆ ไดแก คัมภีรทางพุทธศาสนา เรื่องอิงพุทธศาสนา เชน ตํานาน พระธาตุและชาดก นิทานพื้นบาน ตํารากฎหมายและโหราศาสตร และงานเขียน ทางประวัตศิ าสตรเชน ตํานานพงศาวดาร สวนทายของบทความเปนรายชือ่ คัมภีร ใบลานลาวที่ฟโนตเก็บรวบรวมไว ผลงานของฟโนตชี้ใหเห็นวาวรรณกรรม เปนสวนสําคัญของการสรางองคความรูเกี่ยวกับลาว หรือกลาวไดวาการแสวงหา ความรูทางวรรณกรรมเปนวิธีการหนึ่งที่ฝรั่งเศสใชสรางความชอบธรรมในการ ปกครอง โดยอางวาฝรั่งเศสมีความรูความเขาใจวัฒนธรรมลาวเปนอยางดีและจะ ชวยฟนฟูมรดกทางวัฒนธรรมใหแกลาว (บัวไข เพ็งพระจันทร, 2551: 55-81)2 2
บัวไข เพ็งพระจันทร ไดเสนอในบทความวา การอางความชอบธรรมของฝรั่งเศสนี้ถูกทาทาย จากเรือ่ งเลาของลาวทีแ่ สดงใหเห็นความไมพอใจตอโครงการรวบรวมคัมภีรใ บลานลาว ตัวอยางเชน เรื่องเลาเกี่ยวกับสมเด็จลุน เจาอาวาสวัดคอน เมืองจําปาศักดิ์ที่ไมยินยอมใหฝรั่งเศสมาเก็บสวย คัมภีรใบลาน (กําหนดใหหมูบาน หรือวัดแตละแหงสงคัมภีรใบลานใหฝรั่งเศสอยางนอย 1 เรื่อง) โดยแสดงอิทธิปาฏิหาริยจนเปนที่กลาวขานมาถึงปจจุบัน 216
ชัยรัตน พลมุข
นอกจากการฟนฟูใบลานในชวงทศวรรษที่ 1910 แลว อาณานิคมฝรั่งเศส ดูจะไมสนใจลงทุนลงแรงในดานการสงเสริมวัฒนธรรมลาวเมื่อเทียบกับกัมพูชา และเวียดนาม จนกระทั่งในชวงทศวรรษที่ 1930 จึงมีการริเริ่มโครงการที่สําคัญ พร อ มๆ กั บ การก อ ตั้ ง สถาบั น ทางวั ฒ นธรรมเพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบโครงการเหล า นี้ ในป 1931 มีการกอตั้งพุทธบัณฑิตสภา (Institut bouddhique) ขึ้นในลาว หลังจากที่มีการกอตั้งสถาบันดังกลาวในกัมพูชากอนหนาเพียงปเดียว เพนนี เอ็ดวารดส (Penny Edwards) เสนอวาการกอตั้งสถาบันดังกลาวแสดงใหเห็น ความพยายามของฝรั่งเศสที่จะปดกั้นอิทธิพลพุทธศาสนาจากสยามซึ่งขณะนั้น เปนศูนยกลางปริยัติศึกษาของภูมิภาคนี้ (Edwards, 2007: 203-208) การกอตั้ง พุทธบัณฑิตสภาในลาวเกิดขึน้ พรอมกับโครงการบูรณะวัดวาอาราม สํานักฝรัง่ เศส แหงปลายบูรพทิศไดสง เลออง ฟอมแบรโต (Léon Fombertaux) ซึง่ เคยรวมบูรณะ นครวัดในกัมพูชามาเปนหัวหนาโครงการปฏิสงั ขรณวดั ลาวโดยเริม่ จากพระธาตุหลวง เปนแหงแรก จากนั้นในป 1937 จึงเริ่มปฏิสังขรณวัดหอพระแกว เจาเพ็ชราช ซึ่ ง เป น ผู อํ า นวยการพุ ท ธบั ณ ฑิ ต สภาในขณะนั้ น มี บ ทบาทสํ า คั ญ อย า งมาก ในโครงการฟนฟูวัดวาอารามเหลานี้ รวมทั้งเจาสุวรรณภูมาพระอนุชาซึ่งสําเร็จ การศึกษาดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรมจากประเทศฝรั่งเศส ขณะเดียวกัน มหาสิลา วีระวงสก็มีบทบาทสําคัญในดานการฟนฟูคัมภีรใบลานและการศึกษา ปริยัติธรรมที่โรงเรียนบาลี (École de Pali) ซึ่งกอตั้งหลังพุทธบัณฑิตสภา ไมนานนัก ความสนใจดานวรรณคดีของมหาสิลา วีระวงส ทําใหเกิดการคนควา และเรียบเรียงตําราวรรณคดี โดยเฉพาะการแตงตําราฉันทลักษณซึ่งถือเปน ความพยายามที่จะจัดระบบระเบียบประพันธศาสตรลาวใหเปนแบบแผน หรือ กลาวไดวาเปนจุดเริ่มตนของ “วรรณคดีศึกษา” ตามความหมายแบบสมัยใหม กลาวคือ เปนการศึกษาเชิงวิชาการแทนที่การเรียนเพื่อแตงคําประพันธดังเชน ในสมัยกอน (Koret, 1999) ในชวงตนทศวรรษที่ 1940 นโยบายทางวัฒนธรรมของฝรั่งเศสในลาว ทวีความสําคัญยิ่งขึ้นเนื่องจากกรณีพิพาทระหวางไทยกับฝรั่งเศส อันเปนผล 217
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
ใหฝรั่งเศสตอง “คืน” ดินแดนบางสวนในกัมพูชาและลาวใหแกไทย ฝรั่งเศส ไดตั้งขบวนการลาวใหญขึ้นเพื่อรับมือกับขบวนชาตินิยมไทยที่ไมเพียงแตเนน การแผขยายอาณาเขต แตยงั เนนการขยายพรมแดนทางวัฒนธรรมดวย โดยเฉพาะ การเผยแพรแนวคิดเรือ่ งชาติพนั ธุใ นงานของหลวงวิจติ รวาทการทีม่ งุ จะหลอมรวม ชาติพันธุอื่นๆ เขากับชาติพันธุไทยผานวรรณกรรมและบทวิทยุ3 กระบอกเสียง ของขบวนการลาวใหญคือหนังสือพิมพลาวใหญ ซึ่งทําหนาที่กระตุนแนวคิด ชาตินยิ มลาว ในชวงเวลาดังกลาวนี้ การฟน ฟูวฒ ั นธรรมในทศวรรษกอนหนาไดถกู นํามาใชเปนเครื่องมือทางการเมืองผานการสรางเรื่องเลา (narrativization) ตามความหมายที่เฮเดน ไวท (Hayden White) นิยามไวคือการนําเหตุการณ ในอดี ต อั น สั บ สนอลหม า นมาเรี ย บเรี ย งให เ ชื่ อ มโยงกั น เพื่ อ สร า งความหมาย ใหแกเรื่องราวทางประวัติศาสตร (White, 1981: 793-798) กลาวไดวาบทความ ภาพลอ และวรรณกรรมที่ตีพิมพในหนังสือพิมพลาวใหญ ตั้งแตป 1941 จนถึง ป 1945 ทําหนาที่สรางเรื่องเลาอันประกอบไปดวยตัวละครสําคัญคือ ตัวละคร ผูรายคือไทยที่รุกรานทําลายอารยธรรมลาว ตัวละครลาวผูตกเปนเหยื่อ และ ตัวละครฝรั่งเศสผูชวยฟนฟูวัฒนธรรมลาว ดวยเหตุนี้ โวหารแหงการฟนฟู จึงเปนแนวทางที่ฝรั่งเศสใชเพื่อธํารงอํานาจของตนในลาวทามกลางความผันผวน ทางการเมืองชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งญี่ปุนไดเขามาแทรกแซงในดินแดน เอเชียตะวันออกเฉียงใตและทําใหชนพื้นเมืองเริ่มลุกขึ้นตอตานการปกครอง ของฝรั่งเศส ขณะเดียวกันโวหารดังกลาวก็มีบทบาทสําคัญตอพัฒนาการขั้นแรก ของแนวคิดชาตินิยมลาวและการสรางอัตลักษณความเปนลาว การฟนฟูวัฒนธรรมทางวรรณศิลปเปนสวนสําคัญของขบวนการลาวใหญ แผนกอักษรศาสตร (Comité littéraire) ตั้งขึ้นพรอมกับการกอตั้งขบวนการ ลาวใหญ คณะกรรมการแผนกอักษรศาสตรประกอบไปดวยชาวฝรั่งเศสและ ปญญาชนลาว เชน ชารลส โรเชต (Charles Rochet) และบล็องชารด เดอ ลา โบรส 3
ดูตัวอยางการวิเคราะหแนวคิดชาตินิยมในวรรณกรรมของหลวงวิจิตรวาทการไดใน Pisanu Sunthraraks (1986), Jiraporn Witayasakpan (1992) และนัทธนัย ประสานนาม (2555: 27-45). 218
ชัยรัตน พลมุข
(Blanchard de la Brosse) สมจิน งิน และหยุย อภัย หนาที่สําคัญของแผนก ดังกลาวคือการฟนฟูวรรณคดีลาว โดยการตีพิมพบทกวีโบราณและสมัยใหม ของลาว รวมทั้งการจัดประกวดวรรณกรรมดวย คอลัมน “อักษรศาสตร” ถือเปน งานเขียนหลักของหนังสือพิมพลาวใหญ
ภาพที่ 1 คอลัมน “อักษรศาสตร” ของหนังสือพิมพลาวใหญตีพิมพบทกวีโบราณ และสมัยใหมในภาพเปนบทตัดตอนจากวรรณคดีลาวเรื่อง “สินไชย” และบทกวีเรื่อง “ตะวันออก” ของนักเขียนลาวที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น คือ ทาวหนูทัก ที่มา : หนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 15 กรกฎาคม 1943 219
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
มีขอนาสังเกตวาแนวคิดเรื่อง “อักษรศาสตร” ในลาวเกิดขึ้นพรอมกับ ความเคลือ่ นไหวทางวรรณกรรมในกัมพูชาดวย คําวา “อักษรศาสตร” ในภาษาเขมร หมายถึงวรรณคดี จากการศึกษาของจอรจ ชิกาส (George Chigas) เรื่องกําเนิด สถาบันทางวรรณกรรมในกัมพูชา คําดังกลาวเพิ่งปรากฏใชในชวงปลายทศวรรษ ที่ 1930 โดยปรากฏครั้งแรกในวารสารกัมพูชาสุริยา ซึ่งตีพิมพโดยสถาบัน พุทธศาสนา นอกจากนี้ วารสารฉบับยังกลาวยังตีพิมพคอลัมนวรรณคดีโดยใช ชือ่ วา “แผนกอักษรศาสตร” ซึง่ เริม่ ขึน้ ในป 1943 ชิกาสเสนอวาขอเขียนทีต่ พี มิ พใน “แผนกอักษรศาสตร” มีบทบาทสําคัญในการสถาปนาวรรณคดีแบบฉบับ (literary canon)4 ของเขมร (Chigas, 2000: 135-146) ความเคลื่อนไหวทางวรรณกรรม ในลาวและกัมพูชาซึ่งผูกอยูกับสถาบันทางวัฒนธรรมที่กอตั้งโดยฝรั่งเศสนี้ แสดง ใหเห็นวาวรรณกรรมเปนเครื่องมือสําคัญของนโยบายอาณานิคมที่เนนการสราง เขตแดนทางวัฒนธรรมระหวางอินโดจีนฝรั่งเศสกับสยาม การจัดประกวดวรรณกรรมเปนกิจกรรมสําคัญอีกอยางหนึ่งที่ขบวนการ ลาวใหญจัดขึ้นเปนประจํา ระยะเวลาระหวางป 1941 ถึง 1945 มีการจัดประกวด ทั้งสิ้น 4 ครั้ง ครั้งแรกเปนการประกวดบทกวีในหัวขอ “ถิ่นฐานบานเกิดของ ชาติลาว” โดยมีผูสงเขาประกวดกวา 50 คน ผูชนะการประกวดคือทาวหนูทัก พนักงานปาไมลาวในพนมเปญ บทกวีดังกลาวไดรับการยกยองในฐานะผลงาน ของกวีรุนใหมที่ดําเนินรอยตามขนบวรรณคดีโบราณ อันถือเปนการ “ฟนฟู” วัฒนธรรมทางวรรณศิลปลาวที่เสื่อมถอยลงเนื่องจากกวีรุนใหมละเลยการศึกษา 4
วรรณคดีแบบฉบับ ในทีน่ หี้ มายถึง งานเขียนทีไ่ ดรบั การคัดเลือกและยกยองจากสถาบันทางวรรณกรรม ใหเปนตัวแทนของงานเขียนในชวงเวลาเดียวกัน ประเภทเดียวกัน หรือบริบทสังคมเดียวกัน เชน วรรณคดีประจําชาติ การสรางวรรณคดีแบบฉบับจึงแสดงใหเห็นความสัมพันธระหวางการเมือง กับสุนทรียศาสตรกลาวคือ ความงามและคุณคาของวรรณคดีขนึ้ อยูก บั สถาบันทีม่ อี าํ นาจและมติสทิ ธิ์ (authority) ในการกําหนดกฎเกณฑและมาตรฐานของวรรณคดี ในกรณีศกึ ษาของชิกาส การสถาปนา วรรณคดีแบบฉบับของเขมรแสดงใหเห็นปฏิสัมพันธระหวางสถาบันทางศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งกอตั้งโดยฝรั่งเศสกับปฏิกิริยาโตตอบของปญญาชนเขมร 220
ชัยรัตน พลมุข
การแตงวรรณกรรมตามแบบกวีโบราณ (ลาวใหญ 15 กรกฎาคม 1942) ขอวิพากษ ดังกลาวนี้สอดคลองกับงานเขียนเรื่อง กาพยกลอนลาว ของทาวหยุย อภัย ตีพิมพ ในป 1943 หลังจากทาวหยุยแสดงปาฐกถาเรื่องเดียวกันที่สโมสรลาวเวียงจันทน เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 1941 เนื้อหาของหนังสือกลาวถึงความวิตกกังวลตอ สภาพการณทางวรรณกรรมอันเกิดจากความละเลยของกวีรนุ ใหม ผูเ ขียนไดเรียบเรียง กฎเกณฑทางฉันทลักษณตางๆ เพื่อเปนแนวทางใหกวีรุนใหมแตงบทกวีตาม ขนบวรรณคดีโบราณ (หยุย อภัย, 1943) ความพยายามที่จะสรางมาตรฐาน ทางวรรณศิลปอันยึดโยงอยูกับขนบวรรณคดีโบราณนี้สอดคลองไปกับเนื้อหา ของบทกวีที่มุงแสดงความรุงเรืองของลาวในอดีต การประกวดวรรณกรรมครั้งที่ 2 จัดขึ้นในป 1942 เปนการประกวด “นิทานกอม” ดังไดกลาวไปแลวตอนตน ผูชนะการประกวดคือทาวทองเพ็ชร นักศึกษาแพทยในไซงอนจากผลงานเรื่อง “ยี่สิบปหลัง” ในปตอมา คณะลาวใหญ ไดตีพิมพเรื่องดังกลาวลงในหนังสือพิมพลาวใหญ การประกวดผลงานประเภท รอยแกวยังจัดขึ้นอีกในป 1944 ซึ่งเปนการประกวดแปลวรรณกรรมภาษาฝรั่งเศส เปนภาษาลาว ทาวเกนเปนผูช นะการประกวดจากการแปลนวนิยายของจอรจ ซังด เรื่อง La mare au diable โดยใชชื่อภาษาลาววา “หนองผีเผด” (หนองผีเปรต) และปรับเปลี่ยนฉากชนบทของฝรั่งเศสเปนฉากทองไรทองนาของลาว หลังจาก ผลงานแปลเรื่องดังกลาวไดรับรางวัลเพียงไมนาน ขบวนการลาวใหญไดเลิกลมไป จนกระทั่งในป 1971 ขณะที่ทาวเกนปฏิบัติราชการในฝายราชอาณาจักร ผลงาน เรื่องดังกลาวจึงไดรับการตีพิมพโดยกระทรวงศึกษาธิการในที่สุด ในป 1944 ยังมีการจัดประกวดวรรณกรรมรอยแกวอีกครัง้ หนึง่ คือการประกวด “เรือ่ งอานเลน” คณะกรรมการลาวใหญไดระบุจุดมุงหมายของการจัดประกวดวาเพื่อสนับสนุน วรรณกรรมลาวสมัยใหมที่สัมพันธกับสภาพสังคมสมัยนั้น การประกวดครั้ ง นี้ มีผสู ง ผลงานทัง้ สิน้ 54 เรือ่ ง จากประกาศในหนังสือพิมพลาวใหญ ในเดือนสิงหาคม (ลาวใหญ 15 สิงหาคม 1944) อยางไรก็ตาม ผลงานเหลานี้ไมไดรับการตีพิมพ 221
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
เนื่องจากญี่ปุนเขายึดครองลาว ทําใหขบวนการลาวใหญตองลมเลิกไปพรอมกับ การเสื่อมอํานาจของฝรั่งเศสในอินโดจีน จากการศึ ก ษาความเคลื่ อ นไหวของวรรณกรรมลาวในช ว งขบวนการ ลาวใหญ จะเห็นวาความเคลื่อนไหวดังกลาวแบงไดเปน 2 กระแสคือ การฟนฟู วรรณคดีโบราณกับการสรางวรรณกรรมแบบสมัยใหม ในดานกวีนพิ นธทงั้ สองสวน สัมพันธกันอยางแนบแนน กลาวคือ การสรางงานใหมจําเปนตองอิงอยูกับ ขนบวรรณคดีโบราณ โดยเฉพาะดานรูปแบบฉันทลักษณและลีลาการประพันธ ขณะที่งานเขียนประเภทรอยแกวไดรับอิทธิพลจากวรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น และนวนิยายแบบตะวันตก อยางไรก็ตาม การรับอิทธิพลตะวันตกนี้แสดงใหเห็น รอยตอทางวรรณกรรมและการปะทะสังสรรคระหวางรูปแบบวรรณกรรมตะวันตก กับวรรณกรรมลาวดังจะไดกลาวตอไป
“นิทานก อม” กับ “เรื่องอ านเล น” ในรอยต อของวรรณศิลป ลาว ในบทความนี้ ผูเ ขียนเสนอวา “นิทานกอม” และ “เรือ่ งอานเลน” ทีใ่ ชเรียก วรรณกรรมรอยแกวแนวใหมของลาวยุคแรกเริ่มนั้นคืองานเขียนประเภทเรื่องสั้น และนวนิยายแบบตะวันตก การใชคําวานิทานกอมและเรื่องอานเลนแสดงใหเห็น กระบวนการรับอิทธิพลวรรณกรรมตะวันตกที่มีลักษณะผสมผสานกับรูปแบบ งานเขียนที่มีอยูเดิมของลาว รวมทั้งสะทอนทัศนะตอวรรณกรรมแบบใหมนี้ดวย โดยเฉพาะการเนนมิติดานความสําเริงอารมณของวรรณกรรมกลุมดังกลาว มีขอสังเกตที่สําคัญวา การใชคําวา “นิทาน” และ “เรื่องอานเลน” นี้แสดงถึง อิทธิพลของวรรณกรรมไทยตอวรรณกรรมลาวดวย เนื่องจากคําดังกลาวนี้ปรากฏ ใชสําหรับเรียกเรื่องสั้นและนวนิยายยุคแรกเริ่มของไทยที่เริ่มกอตัวขึ้นตั้งแต 222
ชัยรัตน พลมุข
ทศวรรษที่ 1870 ดวย5 ตางกันเฉพาะวรรณกรรมประเภทเรือ่ งสัน้ ของลาวจะเรียก อยางเจาะจงวา “นิทานกอม” หมายถึงนิทานขนาดสั้น ซึ่งเปนคําเรียกนิทาน พื้นบานลาวซึ่งนิยมเลากันในวัฒนธรรมมุขปาฐะ สวนคําวา “เรื่องอานเลน” ที่ใชเรียกวรรณกรรมประเภทนวนิยายของลาวกับไทยนั้นตางกันเฉพาะรูปเขียน เทานั้น ลักษณะรวมดังกลาวบงชี้วาแมขบวนการลาวใหญจะพยายามตัดสาย สัมพันธทางวัฒนธรรมระหวางลาวกับไทย แตในทางปฏิบัติแลว การแลกเปลี่ยน ทางวัฒนธรรมยังคงดําเนินอยูดังปรากฏในหลักฐานทางวรรณกรรม เนื่องจากนิทานกอมและเรื่องอานเลนมีชวงชีวิตอยูในระยะเวลาสั้นๆ คือระหวางป 1941-1945 และมีจํานวนเรื่องไมมากนัก ผูเขียนจะไดกลาวถึง ลักษณะสําคัญของรอยแกวแนวใหมนี้โดยอาศัยหลักฐานที่ปรากฏในหนังสือพิมพ ลาวใหญและในตัวบทวรรณกรรมที่ตีพิมพชวงเวลาดังกลาว เพื่อแสดงใหเห็นวา “นิทาน” แบบสมัยใหมนมี้ ลี กั ษณะตางจากนิทานสมัยเกาอยางไรบาง ประกาศเรือ่ ง “เส็ง (ประกวด) นิทานกอม” ซึ่งจัดในป 1942 ระบุลักษณะของเรื่องที่จะสง เขาประกวดไววา “จะเปนเรือ่ งตลก เรือ่ งจับใจ เรือ่ งทุกขโศกเวทนา หรือเรือ่ งอัศจรรย อยางไรก็ได ยาวไมเกิน 6 หนากระดาษสมุดนักเรียน ตองเปนเรื่องแตงขึ้นใหมๆ 5
จากการศึกษาของสุมาลี วีระวงศ พบวางานเขียนประเภทบันเทิงคดีรอ ยแกวขนาดสัน้ ปรากฏครัง้ แรก ในหนังสือพิมพดรุโณวาท ซึ่งตีพิมพใน พ.ศ.2417 งานเขียนเหลานี้ระบุวาเปนนิทานสอนคติธรรม (fable) แบบตะวันตก เมือ่ พิจารณาเนือ้ หาพบวาไดรบั อิทธิพลจากนิทานพืน้ บานและนิทานชาดกดวย เชนเรือ่ ง “คนหาปลาทัง้ สี”่ และ “นิทานโบราณ” นอกจากนีย้ งั มีนทิ านทีม่ เี นือ้ เรือ่ งเกีย่ วกับเหตุการณ ในสมัยนัน้ เชนเรือ่ ง “นิทานปตยุบนั ” การใชคาํ วานิทานยังปรากฏในวชิรญาณวิเสศ (ตอมาเปลีย่ นเปน วชิรญาณวิเศษ) ซึง่ เริม่ พิมพใน พ.ศ.2428 (สุมาลี วีระวงศ, 2547: 6-14) งานเขียนเหลานีถ้ อื รอยแกว แนวใหมยุคบุกเบิกอันเปนตนเคาของรูปแบบงานเขียนประเภทเรื่องสั้นและนวนิยายของไทย สวนคําวา “เรือ่ งอานเลน” ก็ใชเรียกงานเขียนประเภทบันเทิงคดีรอ ยแกวยุคแรกเริม่ ของไทยเชนกัน จากการศึกษาของธนาพล ลิม่ อภิชาต พบวาหนังสือพิมพลกั วิทยา ซึง่ กอตัง้ โดยกลุม “นักเรียนนอก” ใน พ.ศ.2443 นัน้ ใชคาํ วา “เรือ่ งอานเลน” เพือ่ สือ่ ถึงงานเขียนรูปแบบใหมแบบตะวันตกและความกาวหนา ทางวรรณกรรมของไทย ตอมาเมือ่ ตลาดวรรณกรรม (literary market) ขยายวงกวางขึน้ เรือ่ งอานเลน ก็ไมไดจํากัดอยูเฉพาะในกลุมเจาขุนมูลนาย หากแตกลายเปนรูปแบบความบันเทิงอยางใหมสําหรับ สามัญชนดวย (Limapichart, 2008: 100-115). 223
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
หามไมใหนําประเด็นมาจากแหลงใดแหลงหนึ่ง ใหใชภาษาลาวโดยตลอด การจะ ยืมภาษาตางชาติมาใชนั้นใหมีนอยที่สุด” (ลาวใหญ 15 มกราคม 1942) ทั้งนี้ หลังจากมีนักเขียนสงผลงานเขาประกวด คณะกรรมการลาวใหญไดออกประกาศ อีกฉบับหนึ่งเพื่อชี้แจงเกณฑการประกวดเพิ่มเติมความวา “นิทานกอมที่เรา ประสงคอยากใหทานสงเขามาประกวดนั้นคือนิทานกอม ‘รอยแกว’ กลาวคือ แตงเปนคําพูดธรรมดา ไมใชแตงเปนกลอนดังทีบ่ างคนไดสง ไปใหลาวใหญแลวนัน้ ฉะนั้น เราขอเชิญผูแขงขันทานใดที่สงนิทานกอมเปนกลอนมานั้น จงเปลี่ยน นิทานกอมของตนใหเปนหนังสือ ‘รอยแกว’ เสียในกําหนดใหมนี้” (ลาวใหญ 15 พฤษภาคม 1942) รูปแบบการเขียนแบบรอยแกว การใชภาษาธรรมดาสามัญ และเนื้อหา ที่สรางสรรคขึ้นใหมโดยไมลอกเลียนของเดิมเปนลักษณะสําคัญของนิทานกอม ยุคใหมทแี่ ตกตางจากนิทานยุคกอน ลักษณะเหลานีท้ าํ ใหนทิ านกอมมีความสมจริง ที่ใกลเคียงกับสภาพสังคมขณะนั้นมากกวานิทานโบราณที่มักเนนเรื่องราวในอดีต อันไกลโพน หรือเรื่องราวของราชสํานัก นอกจากนี้ การรณรงคใหใชภาษาลาว โดยไมมภี าษาตางชาติ ยังอาจตีความไดเปน 2 นัยคือ การไมใชภาษาบาลีสนั สกฤต เพื่อสรางความวิจิตรทางภาษาตามขนบวรรณคดีโบราณ หรืออาจเกี่ยวของกับ ขบวนการชาตินิยมลาวในชวงเวลาดังกลาวดวย เนื่องจากการพยายามสราง มาตรฐานภาษาลาว โดยเฉพาะการลดอิทธิพลของภาษาไทยทั้งในระบบการเขียน และการใชคําศัพทไดเริ่มตนขึ้นในชวงเวลาเดียวกันนี้ ตัวอยางเชน ในป 1943 กระตาย โดนสะโสฤทธิ์ ซึ่งเปนหนึ่งในคณะกรรมการลาวใหญไดตีพิมพหนังสือ Alphabet et écriture lao (อักษรและอักขรวิธีลาว) ซึ่งกลาววาภาษาไทย มีจุดกําเนิดมาจากภาษาลาว นอกจากนี้ ขนบของวรรณกรรมไทยทั้งที่เปนงาน มุ ข ปาฐะ งานเขี ย นทางโลกย และวรรณคดี โ บราณล ว นได รั บ อิ ท ธิ พ ลจาก ขนบวรรณคดีลาวอันเกาแกทั้งสิ้น (Don Sasorith, 1943: 8-10) ดวยเหตุนี้ อาจกลาวไดวา กําเนิดของรอยแกวแนวใหมของลาวแสดงใหเห็นทัง้ สุนทรียะแบบใหม 224
ชัยรัตน พลมุข
ที่ อิ ง อยู กั บ สภาพสั ง คมสมั ย ใหม แ ละแนวคิ ด ชาติ นิ ย มที่ แ สดงออกผ า นภาษา และวรรณศิลปที่ยืนยันอัตลักษณความเปนลาว ความพยายามทีจ่ ะสรางวรรณกรรมแบบใหมเพือ่ สนองตอบความเปลีย่ นแปลง ของสังคมยังปรากฏในการจัดประกวดเรือ่ งอานเลนในป 1944 ซึง่ ระบุจดุ ประสงค ของการประกวดไววา คณะกรรมการอักษรศาสตรลาวที่เวียงจันทนไดสังเกตเห็นวาวรรณคดีลาว ของเราขาดไรที่สุด นอกจากหนังสือผูกเกาแกเปนกาพยกลอนดังเชนหนังสือ สินไช อิเหนา กาละเกด ฯลฯ หนังสือสวนนีก้ เ็ ปนหนังสือทีค่ นลาวเราทัง้ หลาย ยังสมัครใจอานอยูโ ดยไดประโยชนทกุ ๆ อยาง ฉะนัน้ ในเร็วๆ นี้ คณะกรรมการ อักษรศาสตรจึงจะไดพิมพหนังสือสินไชออกมา ถึงอยางนั้นก็ดี เรายังคิดวา ถ า อยากให ช าวลาวมี ค วามคิ ด ความรู และความฉลาดเฉลี ย วทั น สมั ย เราตองมีหนังสืออาน เปนเรื่องเกี่ยวเนื่องกับปจจุบันสมัยและแตงดวยคําพูด สามัญธรรมดา ฉะนั้น คณะกรรมการจึงไดตกลงประกาศใหบรรดาทาน ผูเ ปนนักประพันธและมีสติปญ ญาทราบวาไดจดั ประกวดในเรือ่ งซึง่ จะแตงออก โดยความสามัญธรรมดานี้ [....] เราขอเชิญพวกทานหมูก องพีน่ อ งเราทัง้ หลาย จงพยายามคิดคนเรื่องใดที่จะสนุกใหพี่นองบานเมืองเราอานนี้ จัดฝาก มาใหเราตามนี้เถิด เรื่องนี้จะเปนเรื่องโศก เรื่องชูสาว เรื่องโจรขโมย ฯลฯ ก็ตามแตใจ (roman sentimental, roman d’aventures, roman policier etc....) อันนี้จะเปนประโยชนใหแกผูแตงเอง และใหแกบานเมือง ของเรา (ลาวใหญ 15 กุมภาพันธ 1944)
ความทันสมัยเปนแนวคิดสําคัญของการสงเสริมวรรณกรรมรอยแกว ที่มีรูปแบบและเนื้อหาสอดคลองกับยุคสมัย จากประกาศดังกลาวจะเห็นไดวา คณะกรรมการอักษรศาสตรเล็งเห็นคุณคาที่แตกตางกันของวรรณคดีโบราณ กับวรรณกรรมรวมสมัยกลาวคือ วรรณกรรมรวมสมัยจะชวยใหผูอานรูเทาทัน 225
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
ความเปนไปของสังคมขณะนั้นและสามารถทาบเทียบเรื่องราวในชีวิตของตน เขากับเนื้อหาของบทประพันธได เพราะเปนเรื่องที่ใกลเคียงกับชีวิตประจําวัน ทัง้ ในดานเนือ้ หาและภาษาทีเ่ นนความธรรมดาสามัญ อยางไรก็ตาม ความทันสมัย ในที่นี้ไมไดหมายถึงความรูเทานั้น หากแตยังเปนการสรางรสนิยมจากการเสพ ความบันเทิงจากวรรณกรรมรูปแบบใหม ดังจะเห็นไดจากการอางอิงนวนิยาย (roman) ประเภทตางๆ ในภาษาฝรั่งเศสที่เนนความสําเริงอารมณ เชนเรื่อง แนวสะเทือนอารมณ แนวผจญภัย และแนวสืบสวนสอบสวน การอางอิงดังกลาวนี้ ยังแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวาอิทธิพลวรรณกรรมตะวันตกมีสวนในการกอรูป วรรณศิลปแบบใหมในลาว แมในทางปฏิบัติการรับอิทธิพลดังกลาวจะไมใชการ ลอกเลียนแบบอยางตรงไปตรงมา ในป 1944 นี้ คณะกรรมการลาวใหญไดตีพิมพเรื่อง พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ของสมจิ น งิ น ซึ่ ง ถื อ เป น นวนิ ย ายยุ ค แรกเริ่ ม ของลาว หน า ปกของหนั ง สื อ มีคาํ บรรยายวา “หนังสืออานเลน แตงเปนภาษาลาวทีเ่ ขาใจงาย” ซึง่ เนนยํา้ เรือ่ งภาษา และเนื้อหาของวรรณกรรมสมัยใหมที่ใกลเคียงกับชีวิตประจําวัน ในคํานําของ หนังสือดังกลาวซึง่ เขียนเปนภาษาฝรัง่ เศสไดบรรยายวานวนิยายเรือ่ งนีเ้ ปนสวนผสม ระหวางนวนิยายผจญภัยสมัยใหม (un modern roman d’aventures) กับ ขนบตํานานอันเกาแกของลาว (la bonne tradition de vieilles légendes lao) ซึ่งแสดงใหเห็นวาแมจะพยายามสรางวรรณกรรมสมัยใหมแบบตะวันตก แตก็ยัง ปรากฏลักษณะของเรื่องเลาทองถิ่นที่สืบทอดมาในวัฒนธรรมมุขปาฐะของลาว ลักษณะผสมผสานทั้งในดานรูปแบบและเนื้อหาของวรรณกรรมรอยแกว ยุคแรกเริ่มของลาวนี้ นอกจากจะแสดงใหการตอรองกับอิทธิพลวรรณกรรม ตะวันตกแลว ยังสัมพันธกบั บริบททางสังคมวัฒนธรรมในชวงเวลานัน้ ดวย กลาวคือ โวหารเรือ่ งการฟน ฟูวฒ ั นธรรมของขบวนการลาวใหญทาํ ใหเกิดกระแสโหยหาอดีต ซึ่งผูกโยงกับความรูสึกชาตินิยม ขณะเดียวกันการเชิดชูอดีตก็ทําใหเกิดกระแส วิ พ ากษ วิ จ ารณ ค วามเป น สมั ย ใหม บ างประการที่ ขั ด กั บ ภาพอดี ต ในอุ ด มคติ 226
ชัยรัตน พลมุข
ของลาว ความวิตกกังวลทางศีลธรรมอันเกิดจากการปะทะระหวางการโหยหาอดีต กับภาวะทันสมัยปรากฏใน “นิทาน” สมัยใหมของลาวที่จะไดวิเคราะหตอไปนี้
“ยี่สิบป หลัง”: ทางสองแพร งระหว างกฎหมายกับจริยธรรม ความยุติธรรมเปนประเด็นสําคัญที่ปรากฏในเรื่องสั้นและนวนิยายลาว ยุคแรกเริ่ม การนําเสนอประเด็นดังกลาวในวรรณกรรมเผยใหเห็นความขัดแยง ระหวางสถาบันทางกฎหมายที่ไมสามารถใหความเปนธรรมแกตัวละครไดกับ หลักศีลธรรมทางศาสนาที่ทําใหสังคมหวนคืนสูระบบระเบียบทางจริยธรรมได ผูเขียนเสนอวาความขัดแยงดังกลาวสะทอนใหเห็นวิวาทะระหวางภาวะสมัยใหม กับอารมณโหยหาอดีตซึ่งกําลังดําเนินอยูในสังคมลาวขณะนั้น ตัวบทที่จะได วิเคราะหในที่นี้คือเรื่อง “ยี่สิบปหลัง” ของทาวทองเพ็ชร ซึ่งไดรับรางวัลชนะเลิศ การประกวดนิทานกอมของลาวใหญในป 1942 และตีพิมพในหนังสือพิมพ ลาวใหญ ฉบับวันที่ 1 มกราคม 1943 ในฐานะนิทานกอมที่ชนะการประกวด เรื่อง “ยี่สิบปหลัง” นาจะเปนตัวอยางอันดีของเรื่องสั้นลาวสมัยใหม โดยเฉพาะ การสรางสรรคเรื่องขึ้นใหมที่อิงอยูกับสภาพความเปนจริงของชีวิตและสังคม ในยุคสมัยนั้น แกนเรื่อง “ยี่สิบปหลัง” คือความพลิกผันของโชคชะตาที่มีจุดศูนยกลาง ของเรื่องอยูที่พอลูกที่พลัดพรากจากกัน เรื่องเริ่มตนเมื่อเสมียนชื่อสันติยายจาก บานเกิดไปประจําการทีเ่ ชียงขวางและไดพบรักกับนางกองแกวชาวเมืองเชียงขวาง นางกองแกวเปนลูกกําพราพอแตมีฐานะดีพอสมควร ความพลิกผันของโชคชะตา เกิดขึน้ เมือ่ สันติตอ งยายไปรับราชการทีเ่ วียงจันทนโดยไมลว งรูว า นางกองแกวกําลัง ตั้งครรภพอดี ยี่สิบปผานไป สันติไดเปนหัวหนาศาลที่เวียงจันทนและไมเคย กลับไปเชียงขวางอีกเลย กองแกวคลอดลูกชายชื่อสีมงคลและเลี้ยงดูโดยลําพัง 227
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
ตลอดมา ฐานะของกองแกวตกตํา่ ลงหลังจากสูญเสียมารดาไป ทําใหมคี วามเปนอยู ที่ยากลําบากจนกระทั่งเมื่อลูกชายอายุยางสิบแปดปก็เสียชีวิต มรดกชิ้นเดียว ที่กองแกวทิ้งไวใหสีมงคลคือแหวนซึ่งเปนเครื่องเตือนสติลูกชายใหตั้งมั่นอยู ในคุณธรรม พรอมทัง้ คําสัง่ เสียวา “เจาเปนลูกไมมพี อ เจาตองพึง่ ตนเอง อยาลืมวา บุญก็มาจากการกระทําของตัวเอง บาปก็มาจากการกระทําของตัวเอง” เมือ่ สิน้ แมไป สีมงคลก็มชี วี ติ ทีย่ ากลําบากจนตองตัดสินใจขายบานและเดินทางออกจากเชียงขวาง เมื่อไมสามารถทนตอความแรนแคนไดอีกตอไป สีมงคลตองขายแหวนที่กองแกว มอบไวและเรรอนขอทานอยางไรจุดหมาย ทายที่สุดไดไปเขารวมกับกลุมโจร และกลายเปนโจรเที่ยวปลนสะดมชาวบาน คืนหนึ่งกลุมโจรไดปลนฆาเศรษฐี และถูกจับกุมตัวไปที่ศาลเวียงจันทน ดวยมือของโชคชะตา ผูพิพากษาคดีดังกลาว ก็คือสันติพอของสีมงคลที่พลัดพรากกันตั้งแตสีมงคลยังอยูในครรภนั่นเอง หลังจากที่ไดฟงประวัติของสีมงคลทั้งสถานที่เกิดและชื่อของมารดาแลว สันติเกิดความแคลงใจและนึกยอนกลับไปถึงเรื่องราวในอดีต คืนนั้นกองแกว ปรากฏตัวขึน้ ในฝนและกลาวโทษสันติวา เปนผูม ใี จโหดราย ปริศนาเรือ่ งกําเนิดของ สันติกระจางในวันพิจารณาคดีเมื่อสันติไดซักถามรายละเอียดตางๆ จนแนใจ ศาลไดตัดสินใหจําคุกสีมงคลหาป อยางไรก็ตาม เนื่องจากสีมงคลสารภาพผิด และไมเคยกอคดีมากอน ศาลจึงปลอยตัวสีมงคลเปนอิสระ หนึ่งเดือนหลังจาก การตัดสิน ศาลเวียงจันทนไดรับจดหมายจากสันติซึ่งไดลาพักราชการชั่วคราว สันติไดสารภาพในจดหมายวาตนเปนบิดาของสีมงคลจึงไดตดั สินใหสมี งคลพนจาก ความผิดและปลอยตัวไป ทั้งยังเชื่อวาสีมงคลเปนคนดีที่ถูกกลุมโจรลอลวง สันติ ขอลาออกจากราชการเพือ่ ไปเริม่ ตนชีวติ ใหมกบั ครอบครัว โดยตัง้ ใจวาจะไปทํานา ทําไรในชนบทอันสุขสงบ ปมปญหาทางจริยธรรมอันเกิดจากความขัดแยงระหวางความสัมพันธ ทางสายเลือดกับหนาทีก่ ารงานในฐานะผูผ ดุงความยุตธิ รรมเปนหัวใจหลักของเรือ่ ง “ยี่สิบปหลัง” ทางเลือกของสันติไมเพียงแตอิงกับสายสัมพันธทางครอบครัว หากแตยงั เกิดจากความรูส กึ สํานึกผิดทีท่ อดทิง้ ลูกดวย ดังตอนทีร่ วู า สันติรวู า สีมงคล 228
ชัยรัตน พลมุข
เปนลูกชายของตนไดราํ พึงวา “โถ สีมงคลลูกพอ ลูกฆาคนตายก็เพราะความโหดราย ของพอเอง” การกลาวโทษตนเองเชนนี้ยังปรากฏในจดหมายสารภาพผิดดวย ดังเนื้อความที่วา “ขาพเจารูวาสีมงคลไดฆาคนจริง แตฆาโดยไมรูเดียงสา ดวยวา หัวหนาโจรเปนคนแนะนําและชักจูง ขาพเจาไมอาจจะตัดสินลงโทษลูกชาย ขาพเจาได เพราะความผิดอันนี้เกิดจากความโหดรายและปาเถื่อนของผูเปนพอ คือขาพเจาเองทีไ่ ดปลอยลูกไวตามบุญตามกรรม” ความสํานึกผิดและความรับผิดชอบ ทางศีลธรรมนี้ เปนคําแกตางที่ตัวบทสรางขึ้นเพื่อตอบโตมุมมองทางกฎหมาย ที่อาจตัดสินวาการกระทําของสันติในเรื่องนี้ไมเปนธรรม กฎระเบียบอันเครงครัด ของสถาบันทางกฎหมายไมสามารถใหทางออกทีน่ า พอใจแกโชคชะตาอันแปรปรวน ของมนุษยดังที่สันติและสีมงคลเผชิญอยูได ในตอนทายของจดหมาย สันติไดแสดงความมุงหมายวาจะลาออกจาก การเปนหัวหนาศาล โดยอธิบายเหตุผลวา “การหากินทางนี้ [....] เปนการหากิน อยูขอบปากหมอนรก และอาจตกลงหมอไดวันใดวันหนึ่งโดยความพลาดพลั้ง ในทางธรรม สูไปทําไรทํานา เลี้ยงปูเลี้ยงปลาและเปดไกกินตามบานตามเมือง จะมีความสุขกายสบายใจดีกวาหมกตัวอยูในหองทํางานดั่งที่ไดเปนมาแลว” (ลาวใหญ 1 มกราคม 1943) การเปรียบศาลกับขอบกระทะทองแดงในนรก (“ขอบปากหมอนรก”) แสดงความตางระหวางความเปราะบางของระบบยุตธิ รรม ในทางโลกกับหลักทางศาสนาอันเปนอุดมคติ การเนนหลักธรรมทางพุทธศาสนา ปรากฏตั้งแตตนเรื่องดังที่นางกองแกวไดสั่งสอนใหสีมงคลเรื่องกรรมอันเปน ตัวกําหนดทัง้ บุญและบาป แหวนทีน่ างกองแกวใหไวแกสมี งคลจึงเปนทัง้ สัญลักษณ ของสายสัมพันธทางครอบครัวและคําสอนทางพุทธศาสนาทีม่ บี ทบาทเชิงจริยธรรม ดวยกันทั้งคู ทายที่สุด การหลีกหนีจากระบบยุติธรรมสมัยใหมอันเครงครัดไปสู วิถีชนบทดูจะเปนทางออกสําหรับปมปญหาทางจริยธรรมของเรื่องนี้ โดยนัยนี้ ตัวบทเรื่อง “ยี่สิบปหลัง” ไดจัดวางความสัมพันธทางครอบครัว วิถีชนบท และ พุทธศาสนาไวฟากหนึ่ง และสถาบันทางกฎหมายแบบสมัยใหมไวอีกฝงหนึ่ง ในขณะที่อยางแรกเปนหนทางไปสูความเปนธรรมและคําตอบทางจริยธรรม 229
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
แกชะตากรรมอันผันผวนของมนุษย อยางหลังกลับเปนอุปสรรคแกการสรางความ ยุติธรรม ประเด็นเกีย่ วกับความยุตธิ รรมยังปรากฏในเรือ่ งสัน้ และนวนิยายลาวทีแ่ ตง ในสมัยเดียวกันคือเรื่อง “เสือยุติธรรม” (1941) กับ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ (1944) ของ สมจิน งิน วรรณกรรมทั้งสองเรื่องตางกลาวถึงการละเมิดกฎหมายและ ศีลธรรม กลาวคือเรื่องแรกกลาวถึงพอที่ลวงลูกชายของตนไปฆาในปาแตมีเสือ มาชวยชีวติ ไว สวนเรือ่ งทีส่ องกลาวถึงการขโมยพระพุทธรูปทีค่ ลีค่ ลายเพราะความ ชวยเหลือจากอํานาจศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธรูป เรื่องสั้นและนวนิยายดังกลาวนี้ นําเสนอวาสถาบันทางกฎหมายไมสามารถแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ แตตองอาศัยสิ่งศักดิ์สิทธิ์คือ “เสือ” และ “พระพุทธรูป” อันเปนสัญลักษณ ของความเชือ่ ทางพุทธศาสนาและสังคมลาวแบบจารีต6 ดวยเหตุนจี้ งึ อาจกลาวไดวา ประเด็นดังกลาวเปนลักษณะรวมของวรรณกรรมรอยแกวยุคแรกเริ่มที่สัมพันธ กับความเคลื่อนไหวทางสังคมวัฒนธรรมยุคดังกลาวอยางแนบแนน
“ศัตรู” กับ “ชายกําพร า”: ความรักในโลกสมัยใหม กับกรอบทางศีลธรรม ความรั ก เป น ประเด็ น สํ า คั ญ อี ก ประเด็ น หนึ่ ง ของวรรณกรรมสมั ย ใหม ของลาวยุคแรกเริ่ม การนําเสนอประเด็นเกี่ยวกับความรักในวรรณกรรมเหลานี้ ใหภาพของสังคมลาวสมัยใหมที่เต็มไปดวยแรงปรารถนาของหนุมสาวอันนําไปสู ความระทมทุกข ในแงนี้ นิทานสมัยใหมเหลานี้ยังคงทําหนาที่สั่งสอนเชนเดียวกับ นิทานในขนบเดิม นอกจากนี้ แนวคิดทางพุทธศาสนายังคงปรากฏในฐานะทางออก ของปญหาทางจริยธรรมอันเกิดจากความรักและความปรารถนา ตัวบทที่จะ 6
ดูการวิเคราะหเรื่อง “เสือยุติธรรม” และพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ในบทความของผูเขียนไดใน ชัยรัตน พลมุข (2557: 47-76). 230
ชัยรัตน พลมุข
วิเคราะหในที่นี้คือเรื่อง “ศัตรู” ของทาวหนูทัก ตีพิมพในหนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 15 กุมภาพันธ 1943 และเรื่อง “ชายกําพรา” ของนักเขียนคนเดียวกัน และเป น เรื่ อ งที่ ไ ด รั บ รางวั ล จากการประกวดนิ ท านก อ มด ว ย เรื่ อ งนี้ ตี พิ ม พ ในหนังสือพิมพลาวใหญฉบับวันที่ 15 กันยายน 1943 และวันที่ 15 พฤศจิกายน ปเดียวกัน เรื่อง “ศัตรู” ใหภาพอันมีสีสันของเวียงจันทนที่ขับเนนความปรารถนา ของหนุมสาวอยางเดนชัด ฉากของเรื่องนี้เริ่มตนที่โรงภาพยนตร หรือที่ในเรื่อง ใชทับศัพทภาษาฝรั่งเศสวา “ซีเนมา” (cinéma) ซึ่งเปนสถานที่ที่ตัวละครเอก ของเรือ่ งคือ นิวงกับทองสีมาพบกัน การแตงกายของตัวละครในเรือ่ งนีแ้ สดงใหเห็น การรับอิทธิพลฝรั่งเศส ดังในคําบรรยายตัวละครนิวงและทองสีตอนเปดเรื่อง ความวา “เวลานั้นมีชายหนุมคนหนึ่งเดินมาจากทางวัด รูปรางสดสวย มีหนาตา สดใสและยิ้มแยม นุงเครื่องฝรั่ง ‘กลาวัด’ [cravate หรือเนคไทในภาษาฝรั่งเศส] ผูกคอเสือ้ ชัน้ ในอยางสะอาดตา กางเกงและเสือ้ ของเขาก็รดี ละเอียดดี [....] หญิงสาว คนนี้แตงกายสะอาดตาเชนกัน เสื้อสมสมัยเอวกิ่วอกพอง ซิ่นจก รองเทา ‘ซังดาล’ [sandale หรือรองเทาสนสูงในภาษาฝรั่งเศส] สนสูงพอปานกลาง รูปรางก็ได แบบดี เนื้อกายนุมนวล หนาตาคมคาย สดชื่น ปากแดง แกมสีกุหลาบ เกลาผม” บทบรรยายการแตงกายแบบสมัยใหมตามอยางฝรั่งเศสนี้ขับเนนความปรารถนา ทางกายของตัวละคร ลักษณะเชนนี้ยังปรากฏในบทบรรยายโรงภาพยนตรซึ่งเปน สถานที่แหงการเสพความบันเทิงที่กระตุนเราอารมณปรารถนาของตัวละคร เรือ่ ง “ซีเนมา” วันนัน้ ก็สนุกเต็มที มีพระเอกและนางเอกงดงามและเลนอยาง หัวใจจะเตนออกจากหนาอก มีบทรักถึงขั้นกอดจูบ มีรองรําทําเพลงและ ฟอนรําอยางสนุกใจ เชนนีจ้ ะไมพาใหหนุม สาวกําเริบใจไปในทางรักทางสวรรค ไดอยางไร! เปนโอกาสเปดเผยเหลือเกิน หนุมสาวทั้งสองที่นั่งเคียงกันอยูนั้น ก็หันหัวเขาหากันอยางไมรูตัว หากเปนเชนสีผึ้ง สองคน สองใจ สองขวัญนี้ ก็คงเชื่อมเขาเปนหนึ่งเดียวกันเปนแน! นิวงกระซิบขางหูหญิงสาววา “ทองสี พี่รักนองดังเชนนี้แหละ” “นองก็เชนกัน” เขาตอบเบาๆ [....] เมื่อซีเนมาเลิก 231
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
ก็มืดคํ่ามากแลว แตยังมองเห็นทางอยู หนุมสาวสองคนก็หลบหลีกจากเพื่อน ไปทางริมแมนํ้าโขง เขาเดินเคียงกันไปพรอมทั้งพูดคุยกันเรื่อง “ซีเนมา” ที่ดูกันมาวันนี้ (ลาวใหญ 15 กุมภาพันธ 1943)
ในที่นี้โรงภาพยนตรไมใชเพียงสถานที่พลอดรักของหนุมสาวในสังคม สมัยใหม หากแตภาพยนตรเองยังเปนสือ่ กลางของอารมณปรารถนาทีเ่ กิดจากการ นําตนเองไปทาบเทียบกับเรื่องราวในหนัง ความลนเกินของอารมณปรารถนานี้ ทําใหตัวละครในเรื่องขาดความระมัดระวัง จนกระทั่งทั้งคูถูกลอบทํารายโดย ชายชื่อคํามีซึ่งหมายปองทองสีอยูกอนหนานี้แลว พื้นที่เริงรมยในสังคมสมัยใหม จึงเปนทัง้ พืน้ ทีแ่ หงความปรารถนาและพืน้ ทีแ่ หงภยันตรายทีม่ าพรอมกัน ในตอนทาย ของเรื่อง ผูเขียนไดจบดวยแนวคิดเรื่องการใหอภัย กลาวคือ นิวงไดไปพบกับคํามี ซึ่งทํารายตนและพยายามขืนใจทองสีเพื่อแกแคน แตสุดทายไดปลอยคํามีไป โดยใหเหตุผลวาไมอยากกอบาปกรรมตอกันอีกตอไป เรื่องสั้นที่เริ่มตนดวยเรื่อง แนวประโลมโลกนี้จึงแสดงใหภัยของความปรารถนาอันลนเกินที่ถูกกระตุนเรา ดวยความบันเทิงสมัยใหม และจบลงดวยการสัง่ สอนศีลธรรมตามหลักพุทธศาสนา
ภาพที่ 2-3 การตูนที่วาดขึ้นในชวงตนทศวรรษที่ 1940 แสดงภาพโรงภาพยนตรอันเปนแหลงบันเทิงแบบสมัยใหม ที่มา: หนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 1 กันยายน 1942 และ 15 กุมภาพันธ 1944 232
ชัยรัตน พลมุข
การเสนอเรือ่ งรักทีจ่ บลงดวยการสละทางโลกปรากฏในเรือ่ งสัน้ อีกเรือ่ งหนึง่ ของทาวหนูทกั คือเรือ่ ง “ชายกําพรา” ในเรือ่ งนีต้ วั ละครเอกคือ สุลนิ เปนลูกกําพรา ทีบ่ วชเรียนเปนสามเณรตัง้ แตอายุยงั นอยจนมีความรูใ นทางปริยตั ธิ รรมเปนอยางดี ถึงขนาดวา “หากเขาบวชไปจนแกภายหลังคงไดเปนนักปราชญคนหนึ่งเปนแน” อยางไรก็ตาม สุลินตัดสินใจลาบวชออกมาทําไรทํานาเพื่อเลี้ยงดูมารดา ปหนึ่ง เกิดภัยแลงทําใหสุลินตองออกจากบานไปทํางานที่ไรกาแฟของเศรษฐีผูหนึ่ง สุลินตกหลุมรักลูกสาวของเศรษฐี แตดวยฐานะทางสังคมที่แตกตางกันทําใหทั้งคู ไมสามารถเผยความเสนหาตอกันและกันได ตอมามารดาของสุลินลมปวย เขาจึง เดินทางกลับบาน กอนที่จะสิ้นลมหายใจนางไดฝากฝงใหสุลินแตงงานกับลูกพี่ ลูกนองชื่อจันทา สุลินรับปากเนื่องจากเห็นวาเปนคําสั่งเสียของมารดา จากนั้น ก็กลับไปทํางานทีไ่ รกาแฟโดยสัญญากับลุงวาจะกลับมาจัดการเรือ่ งงานแตงในฤดูฝน เมื่อกลับมาถึงไรกาแฟ สุลินไดรูวาลูกสาวเศรษฐีลมปวยตั้งแตเขากลับบาน สุลิน ชวยดูแลพยาบาลจนกระทัง่ หายดี เศรษฐีเมือ่ รูว า ลูกสาวของตนรักอยูก บั สุลนิ ก็ยนิ ดี จะจัดงานแตงใหทั้งคู แตแลววันหนึ่งสุลินก็หายตัวไป เหลือไวเพียงจดหมาย ที่บอกวาตนเองจะออกบวชตลอดชีวิต สุลินไดสงจดหมายพรอมแหวนไปใหจันทา เพื่อเปนเครื่องหมายของการขออภัยที่ตนไมสามารถแตงงานกับจันทาไดเชนกัน ในตอนตน ดูเหมือนวาเรือ่ ง “ชายกําพรา” จะดําเนินตามขนบของนิยายรัก ทั่วไปคือ มีปมขัดแยงที่เปนอุปสรรคของความรักแตสุดทายแลวนําไปสูความสุข สมหวังที่ตอกยํ้าแนวคิดเรื่องพลังของความรัก ปมขัดแยงในเรื่องนี้ยังเปนปม ที่คอนขางดาษดื่นนั่นคือความแตกตางของสถานะทางสังคมระหวางชายหนุม ยากจนจากชนบทกั บ หญิ ง สาวผู มั่ ง คั่ ง ความขั ด แย ง อี ก ประการหนึ่ ง คื อ การ คลุมถุงชนกับความรักที่เปนอิสระจากกรอบของสังคม จากเนื้อเรื่องในตอนแรก ดูเหมือนวาความรักระหวางสุลินกับลูกสาวเศรษฐีจะนําไปสูการสลายเสนแบง ทางชนชั้นและการเอาชนะกรอบของสังคม แตในตอนทายกลับจบดวยการ สละทางโลกไปสูรมเงาศาสนาของตัวละครเอก การตัดสินใจเชนนี้ดูเหมือน จะเปนทางออกเดียวของความทุกขอนั เกิดจากความรักและพันธะหนาทีท่ างสังคม 233
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
แนวคิดเรื่องการสอนคติธรรมในเรื่องสั้นเรื่องนี้ไดรับการตอกยํ้าในหมายเหตุ ทายเรื่องของบรรณาธิการหนังสือพิมพลาวใหญ ที่กลาววา “นิทานชายกําพรานี้ เปนเรื่องที่ยืดยาวเกินไปสักหนอยสําหรับหนากระดาษ “ลาวใหญ” แตเราไดพิมพ จนจบเรื่อง เพราะเห็นวาเปนเรื่องที่มีคําสอนสําหรับคนทั่วไป มนุษยเราถึงจะ ยากจนเพียงใดก็ดี เมื่อมีคุณความดีและตั้งใจตอการงานอยางจริงจังแลว ก็จะ สามารถฟนฟูชื่อเสียงขึ้นเปนผูดี มียศศักดิ์ไดเสมอดั่งสุลินในเรื่องชายกําพรา นีแ้ ลว” (ลาวใหญ 15 พฤศจิกายน 1943) คําอธิบายนี้แสดงใหเห็นความพยายาม ของลาวใหญท่ีจะกําหนดกรอบการตีความเรื่องสั้นใหเปนเรื่องสอนคติธรรม โดยตั ด ประเด็ น เรื่ อ งความรั ก ไปอย า งสิ้ น เชิ ง อย า งไรก็ ต าม การให นํ้ า หนั ก กับแนวคิดทางศีลธรรมนีไ้ มควรละเลยประเด็นเกีย่ วกับความรักทีช่ ว ยสรางอารมณ สะเทือนใจและปมขัดแยงของเรือ่ ง อาจกลาวไดวา การผสมผสานระหวางเรือ่ งราว ความรักในสังคมสมัยใหมกับคําสอนทางพุทธศาสนาสะทอนใหเห็นการปะทะ สังสรรคระหวางขนบจารีตกับความทันสมัยที่ปรากฏรวมกันในนิทานสมัยใหม เรื่องนี้
คําสอนกับสีสมุท: การเดินทางแสวงหารากเหง า การนํ า เสนอแนวคิ ด และจิ น ตกรรมซึ่ ง ผู ก โยงกั บ สั ง คมลาวแบบจารี ต ไมเพียงแตมุงกระตุนเราอารมณโหยหาอดีตเทานั้น หากแตยังสัมพันธกับการ สรางชาติดว ย เบเนดิกท แอนเดอรสนั (Benedict Anderson) เรียกชาติตามแนวคิด แบบสมัยใหมวา “ชุมชนจินตกรรม” (imagined communities) เพื่ออธิบาย ความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีการพิมพ วรรณกรรม และหนังสือพิมพกับการ กอตัวของแนวคิดเรื่องชาติในฐานะพื้นที่ทางสังคมที่สมาชิกแตละคนรูสึกสํานึกวา ตนเองอยูรวมกับสมาชิกคนอื่นแมวาจะไมเคยรูจักกันเลย (Anderson, 2006: 22-31; Culler, 1999: 20-39) ในความเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมของขบวนการ 234
ชัยรัตน พลมุข
ลาวใหญ นี้ ชุ ม ชนจิ น ตกรรมที่ ป ญ ญาชนลาวและฝรั่ ง เศสพยายามสร า งขึ้ น ผานวรรณกรรมก็คือสังคมลาวแบบจารีต วรรณกรรมที่ปรากฏแนวคิดเรื่องชุมชน อุดมคติอยางชัดเจนก็คือนวนิยายเรื่อง คําสอนกับสีสมุท แตงเปนภาษาลาว โดยนักเขียนชาวฝรัง่ เศสชือ่ บล็องชารด เดอ ลา โบรส (Blanchard de la Brosse) ตีพิมพเปนตอนๆ ในหนังสือพิมพลาวใหญระหวางป 1941-1942 คณะกรรมการ ลาวใหญไดประชุมกันเพื่อพิจารณาตีพิมพนวนิยายเรื่องนี้ออกเปนเลมในป 1944 ซึ่งเปนปเดียวกับที่ตีพิมพนวนิยายเรื่อง พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ของสมจิน งิน อยางไรก็ตาม ผูเขียนบทความนี้ยังไมพบนวนิยายเรื่องดังกลาวฉบับพิมพใหม จึงจะไดวิเคราะหตัวบทที่ตีพิมพเปนตอนในหนังสือพิมพลาวใหญ นวนิยายเรื่อง คําสอนกับสีสมุท เปนเรื่องแนวเดินทางผจญภัยของเด็กชาย ชือ่ คําสอน ซึง่ อาศัยอยูก บั พอและแมเลีย้ งใจรายในหมูบ า นเล็กๆ ในแขวงจําปาศักดิ์ ที่ “เปนหมูบ า นเกาแกหมูบ า นหนึง่ ทีถ่ อื ฮีตคอง [จารีตประเพณี] เกาแกอยางมัน่ คง ศาสนารุงเรืองดี วัดวาสะอาด [....] เปนหมูบานเล็กๆ ที่ประกอบดวยความอยูเย็น เปนสุขและชื่นบานดั่งบานเมืองของเราแตเกากอน” วันหนึ่งระหวางที่คําสอน ติดตามพอไปคาขายทางทะเลไดเกิดพายุซึ่งทําใหเรือแตกและพอของคําสอน สูญหายไปในทะเล คําสอนไดพบเพือ่ นชือ่ สีสมุท ซึง่ เปนชายกําพราเชนเดียวกับตน เด็กหนุมทั้งสองจึงเดินทางไปยังเมืองตางๆ ในลาวและบางสวนในไทยเพื่อเรียนรู เรื่องภูมิประเทศ ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมลาว ลักษณะเชนนี้ทําใหนวนิยาย เรื่องนี้สามารถสรางจินตกรรมของชุมชนที่เรียกวาชาติไดเปนอยางดี การนําเสนอประเด็นเรื่องพรมแดนของชาติในเรื่อง คําสอนกับสีสมุท สัมพันธกับกรณีพิพาทเรื่องเขตแดนระหวางไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศสในชวงตน ทศวรรษที่ 1940 ดวย โดยนวนิยายเรื่องนี้ไดนําเสนอใหเห็นความใกลชิดทาง ชาติพันธุและวัฒนธรรมของชุมชนแถบลุมแมนํ้าโขง ดังตอนที่คําสอนและสีสมุท กําลังเดินทางขามแมนํ้าโขงมายังนครพนม สีสมุทเห็นวาบานเมืองทั้งสองฝง คลายคลึงกันมากจึงเอยปากถามคําสอน ทาวคําสําซึง่ อยูใ นเรือดวยกันไดตอบขึน้ วา “แตปางกอนทัง้ สองฝง แมนาํ้ โขงเปนเมืองลาวของเราอันเดียวกัน และอยูใ ตอาํ นาจ 235
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
พระเจาลานชางรมขาวที่ตั้งพระราชวังอยูเวียงจันทน เดี๋ยวนี้พี่นองเราฝงนั้นไมได อยูใตรมธงลานชางดั่งเกาแลว แตไมนานพวกนองก็จะมีโอกาสไปเที่ยวชมฝงขวา นองจะไดเห็นวาผูค นตามหมูบ า นเหลานัน้ ถือฮีตคองธรรมเนียมอยางเดียวกันกับเรา” เมื่อคําสอนและสีสมุทเดินทางไปถึงนครพนม คําสอนจึงไดเห็นวาสภาพบานเมือง และการแตงกายของผูคนมีลักษณะคลายคลึงกับที่หมูบานของตนที่จําปาศักดิ์ คําสอนยังไดสังเกตเห็นนักเรียนกลุมหนึ่งกําลังพูดคุยกันดวยภาษาลาว แตในมือ ของพวกเขากลับถือหนังสือเรียนภาษาไทย สีสมุทไดกลาวแกคําสอนวา “นองเอย เจาจะเขาใจขึ้นกวานี้เมื่อเจาโตขึ้น วาทําไมคนชาติเดียวกัน จึงไดแตกภาคจากกัน เปนสองจําพวก สําหรับเวลานี้ใหนองรักเด็กเหลานี้เหมือนดั่งเพื่อนฝูงของนอง ทีบ่ า นทาแร ใหนอ งรักประชาชนทีอ่ ยูฝ ง โขงนี้ เหมือนดัง่ แมปา นาสาว และลุงตาเรา เพราะพวกเขาก็มเี ลือดเดียวกันกับเราและมีกาํ เนิดมาจากกกเหงา [ตนเคา] เดียวกัน กับพวกเรา” (ลาวใหญ 30 กันยายน 1941) คํากลาวตอนนี้อนุมานไดวาเปนการ วิพากษวิจารณฝายไทยที่ทําใหลาวตองแตกแยกกันแมวาจะมีรากเหงามาจาก วัฒนธรรมเดียวกัน และตอกยํ้าแนวคิดชาตินิยมลาวผานมุมมองและจินตนาการ ของเด็กที่กาวขามพรมแดนทางกายภาพดวยความรูสึกผูกพันแบบเครือญาติ การใชตัวละครเด็กเพื่อนําเสนอแนวคิดชาตินิยมทางวัฒนธรรมยังเห็น ไดจากการทีผ่ เู ขียนนวนิยายกําหนดใหคาํ สอนและสีสมุทเดินทางไปกับคณะละคร ระหวางการเดินทางคําสอนไดฝกรําจนเกิดความรูสึกหลงใหลในนาฏศิลปลาว คําสอนไดรับการคัดเลือกใหแสดงละครที่นํามาจากเรื่องสินไชซึ่งในชวงเวลา ที่แตงนวนิยายเรื่องนี้ วรรณคดีเรื่องดังกลาวไดรับการสถาปนาเปนวรรณคดี ประจําชาติลาว ดวยเหตุนี้ ความหลงใหลในศิลปะของตัวละครจึงผูกโยงกับแนวคิด ชาตินิยมดวย ดังที่หัวหนาคณะละครไดอธิบายประโยชนของดนตรีใหคําสอน และสีสมุทฟงวา “ดนตรีเปนความชืน่ บาน มีประโยชนทาํ ใหจติ ใจของเราออนหวาน และพาใหเรามีความระลึกถึงความรักครอบครัว ความรักชาติบา นเมือง รูจ กั คาของ ความชืน่ บานหรือความโศกเศราของเราดวย ฉะนัน้ ควรใหมกี ารเลนดนตรีแผขยาย ไปในประเทศลาวของเรา” (ลาวใหญ 31 ตุลาคม 1941) โดยนัยนี้ คุณคาทาง 236
ชัยรัตน พลมุข
สุ น ทรี ย ะของดนตรี ที่ ช ว ยกล อ มเกลาจิ ต ใจและจิ น ตนาการจึ ง รวมไปถึ ง การ สรางอารมณความรูสึกชาตินิยมอยางแยกไมออก
ภาพที่ 4 นวนิยายเรื่อง คําสอนกับสีสมุทกลาวถึงการแสดงนาฏศิลปลาว ที่สัมพันธกับแนวคิดชาตินิยม ที่มา: หนังสือพิมพลาวใหญ ฉบับวันที่ 15 ตุลาคม 1941
ความสรุป งานเขียนบันเทิงคดีรอยแกวยุคแรกเริ่มของลาวสัมพันธอยางแนบแนน กับความเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมในยุคอาณานิคม ความเคลื่อนไหวดังกลาว เกิดขึ้นในบริบททางการเมืองชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งสั่นคลอนอํานาจของ ฝรั่งเศสในอินโดจีนอยางที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน การกอตั้งขบวนการลาวใหญ เปนการแสวงหาพื้นที่เพื่อธํารงอํานาจของฝรั่งเศสผานการโวหารเรื่องการฟนฟู วัฒนธรรมอันนําไปสูก ารระดมปญญาชนลาวเพือ่ สรางอัตลักษณทางวัฒนธรรมลาว 237
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
ผานภาษา วรรณกรรม และศิลปะแขนงตางๆ ปญญาชนลาว เชน สมจิน งิน ทาวหนูทัก และทาวทองเพ็ชร สวนใหญเติบโตขึ้นในสมัยอาณานิคมและไดรับ การศึกษาแบบสมัยใหม ทําใหสามารถทําหนาที่เปนสื่อกลางทางความคิดและ การแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรมทีก่ าํ ลังดําเนินอยูใ นขณะนัน้ ได รวมทัง้ เปนผูม บี ทบาท สําคัญในการสรางผลงานทางสุนทรียะที่นําเสนออัตลักษณความเปนลาวตาม อุดมการณชาตินิยมของขบวนการลาวใหญดวย วรรณกรรมรอยแกวแบบสมัยใหมของลาวเกิดขึ้นในชวงเวลาเดียวกันนี้ เปนตัวอยางที่ดีของการแสวงหารูปแบบทางสุนทรียะแบบใหมเพื่อตอบสนอง ความเปลีย่ นแปลงทางสังคมและความเคลือ่ นไหวทางวัฒนธรรมในยุคนัน้ ลักษณะ ผสมผสานทัง้ ทางรูปแบบ ภาษา และเนือ้ หาของ “นิทานกอม” และ “เรือ่ งอานเลน” ทีไ่ ดรบั อิทธิพลทัง้ จากวรรณกรรมตะวันตกและวรรณกรรมลาวแสดงใหเห็นรอยตอ ทางวรรณศิลปที่สัมพันธกับบริบทสังคมที่วิวาทะเรื่อง “โบราณ” และ “ทันสมัย” กําลังเปนประเด็นทีถ่ กเถียงกันอยูใ นขณะนัน้ บทวิเคราะหวรรณกรรมลาวทัง้ 4 เรือ่ ง ที่กลาวมาขางตนนี้แสดงใหเห็นการปะทะสังสรรคกันของอารมณโหยหาอดีต กับภาวะสมัยใหม โดยใหความสําคัญแกจนิ ตกรรมเกีย่ วกับอดีตและสังคมแบบจารีต ในอุดมคติมากกวาแบบสมัยใหมโดยนัยนี้ วรรณกรรมสมัยใหมเหลานี้จึงยังคง ความเปน “นิทาน” ในโลกสมัยใหมทที่ าํ หนาทีใ่ หความบันเทิงและถายทอดแนวคิด ทางศีลธรรมไปพรอมกัน อยางไรก็ตาม ในบริบทใหมนี้ นิทานยังมีบทบาทหนาที่ ในการบอกเลาเรื่องราวการแสวงหาอัตลักษณของชาติดวย บทความนีเ้ ปนความพยายามของผูเ ขียนทีจ่ ะเรียบเรียงประวัตวิ รรณกรรม ลาวสมัยใหมโดยอาศัยขอมูลจากเอกสารตนฉบับที่ยังไมไดรับการตีพิมพเผยแพร ในวงกวาง โดยเชื่อวางานเขียนเหลานี้มีความสําคัญในฐานะหมุดหมายของ ภาวะสมัยใหมทางวรรณกรรมของลาวที่เกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธระหวางระบอบ อาณานิคมกับกลุมชนชั้นปญญาชนลาว การศึกษาวิเคราะหงานเขียนเหลานี้ จึงนาจะชวยเปดมุมมองสําหรับการศึกษาเปรียบเทียบภาวะสมัยใหมทางวรรณกรรม ระหวางประเทศตางๆ ในอินโดจีนฝรั่งเศสและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดังที่ 238
ชัยรัตน พลมุข
ผูเขียนไดกลาวถึงบางประเด็นเกี่ยวกับสายสัมพันธระหวางวรรณกรรมลาว ไทย และกัมพูชา เปนตน นอกจากนี้ ผูเ ขียนยังพยายามนําเสนอแงมมุ ทีแ่ ตกตางไปจาก ประวัติวรรณกรรมลาวที่ใหความสําคัญตอวรรณคดีสัจทัศนสังคมนิยม (socialist realism) อันถือเปนวรรณกรรมกระแสหลักของลาว เนือ่ งจากประวัตวิ รรณกรรมลาว เหลานี้มักเสนอเฉพาะภาพดานลบของวรรณกรรมที่เขียนขึ้นในสมัยอาณานิคม ในฐานะวรรณคดีเพลินจิต หรือวรรณคดีประโลมโลกที่ขาดสาระทางสังคมและ การเมือง การศึกษาครัง้ นีไ้ ดชใี้ หเห็นวา แม “นิทาน” ในโลกสมัยใหมเหลานีจ้ ะเปน งานเขียนแบบ “เพลินจิต” แตกแ็ สดงใหเห็นมิติ ทิ างสังคม วัฒนธรรม และการเมือง ที่ซับซอน
บรรณานุกรม เอกสารตนฉบับภาษาลาว
“การประกวดเรื่องหนังสืออานเลน” ลาวใหญ 15 สิงหาคม 1944. “คําสอนกับสีสมุท” ลาวใหญ 30 กันยายน 1941. “คําสอนกับสีสมุท” ลาวใหญ 31 ตุลาคม 1941. “ชายกําพรา” ลาวใหญ 15 กันยายน-15 พฤศจิกายน 1943. “ถิ่นฐานบานเกิดของชาติลาว” ลาวใหญ 15 กรกฎาคม 1942. “ประกาศสําคัญ” ลาวใหญ 15 กุมภาพันธ 1944. “ยี่สิบปหลัง” ลาวใหญ 1 มกราคม 1943. “เส็งนิทานกอมและรูปตลก” ลาวใหญ 15 มกราคม 1942. “เส็งนิทานกอมและรูปตลก” ลาวใหญ 15 พฤษภาคม 1942. “ศัตรู” ลาวใหญ 15 กุมภาพันธ 1943.
239
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
เอกสารภาษาลาว
สมจิน งิน. 1971. อดีตานุสรณ. เวียงจันทน: มูลนิธิสมจิน งิน. หยุย อภัย. 1943. กาพยกลอนลาว. เวียงจันทน: สํานักพิมพลาวใหญ.
เอกสารภาษาไทย
ชัยรัตน พลมุข. 2557. “เนื้อก็ไมใช ปลาก็ไมเชิง: สมจิน งิน วรรณกรรมลาวสมัยใหม กับความทันสมัยที่เปนปญหา.” เอเชียปริทัศน 35(1): 47-76. นัทธนัย ประสานนาม. 2555. “นํ้าโขง ดงดิบ หญิงราย และชายชาตรี: เจาแมจามรี ในฐานะนวนิยายโรมานซแนวจักรวรรดินิยม.” วารสารสังคมลุมนํ้าโขง 8(2): 27-45. บัวไข เพ็งพระจันทร. 2551. “การฟนฟูคัมภีรใบลานลาวในยุคอาณานิคมฝรั่งเศส.” วารสารสังคมลุมนํ้าโขง 4(3): 55-81. สุมาลี วีระวงศ. 2547. รอยแกวแนวใหมของไทย พ.ศ.2417-2453. กรุงเทพฯ: ศยาม.
เอกสารภาษาตะวันตก
3349. 1978. Iron Man of Laos, Prince Phetsarath Ratanavongsa. Translated by John Murdorch. New York: Southeast Asia Program, Cornell University. Anderson, Benedict. 2006. Imagined Communities: Reflections on the Origin and Spread of Nationalism. London: Verso. Chigas, George. 2000. “The Emergence of Twentieth Century Cambodian Literary Institutions: The Case of Kambujasuriya.” The Canon in Southeast Asian Literatures: Literatures of Burma, Cambodia, Indonesia, Laos, Malaysia, the Philippines, Thailand and Vietnam. Ed. David Smyth. Richmond: Curzon Press. Culler, Jonathan. 1999. “Anderson and the Novel.” Diacritics 29(4): 20-39. Don Sasorith, Katay. 1943. Alphabet et écriture lao. Vientiane: Éditions du Pathet Lao. 240
ชัยรัตน พลมุข
Don Sasorith, Katay. 1958. Souvenirs d’un ancien écolier de Paksé. Saigon: Éditions Lao Sédone. Edwards Penny. 2007. Cambodge: The Cultivation of a Nation, 1860-1945. Honolulu: University of Hawai’i Press. Emling, Marjorie. 1969. “The Education System in Laos During the French Protectorate, 1893 to 1945.” MA thesis, Cornell University. Evans, Grant. 2002. A Short History of Laos: The Land in Between. New South Wales: Allen & Unwin. Finot, Louis. 1917. “Recherches sur la littérature laotienne.” Bulletin de l’École française d’Extrême-Orient 17(5): 1-218. Godwin-Jones, Robert. 1995. Romantic Vision: The Novels of George Sand. Birmingham: Summa Publications. Goscha, Christopher. 2012. Going Indochinese: Contesting Concepts of Space and Place in French Indochina. Copenhagen: NIAS Press. Ivarsson, Søren. 2008. Creating Laos: The Making of a Lao Space between Indochina and Siam, 1860-1945. Copenhagen: NIAS Press. Jennings, Eric. 2001. Vichy in the Tropics: Pétain’s National Revolution in Madagascar, Guadeloupe and Indochina, 1940-1944. Stanford: Stanford University Press. Kene, Thao. 1958. Catalogue des manuscrits de la littérature du Laos. Vientiane: The Literary Committee, Ministry of Education. Koret, Peter. 1999. “Books of Search: The Invention of Traditional Lao Literature as a Subject of Study.” Laos: Culture and Society. Ed. Grant Evans. Chiang Mai: Silkworm Books. Limapichart, Thanapol. 2008. “The Prescription of Good Books: The Formation of the Discourse and Cultural Authority of Literature in Modern Thailand (1860s-1950s).” Ph.D. diss, University of WisconsinMadison. 241
นิทานเก าในโลกใหม : วรรณกรรมลาวสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส กับขบวนการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม
Polmuk, Chairat. 2014. “Life in a Time of Turmoil: Rereading Colonialism and Nationalism in Autobiographies of Postwar Lao Intellectuals.” Journal of Thai Language and Literature 32(2): 1-40. Sunthraraks, Pisanu. 1986. “Luang Wichit Watakan: Hegemony and Literature.” Ph.D. diss, University of Wisconsin-Madison. White, Hayden. 1981. “The Narrativization of Real Events.” Critical Inquiry 7(4): 793-798. Witayasakpan, Jiraporn. 1992. “Nationalism and the Transformation of Aesthetic Concepts: Theatre in Thailand during the Phibun Period.” Ph.D. diss, Cornell University.
242