Chapter 1 GIT Introduction

Page 1

1

บทที 1 แนวคิดเกีย วกับศาสตร์ ทางพืน ที จุดประสงค์ 1. อธิ บายความแตกต่างของคําว่า ศาสตร์ ทางพืนที# และภูมิประเทศได้ 2. อธิ ยายแนวความคิดที#สาํ คัญเกี#ยวกับศาสตร์ ทางพืนที#ได้ เนือหา 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

บทนํา ศาสตร์ ทางพืนที# แนวความคิดเกี#ยวกับภูมิศาสตร์ มนุษย์ แนวความคิดภูมิศาสตร์ ภูมิภาค แนวความคิดภูมิศาสตร์ เชิงพฤติกรรม แนวความคิดภูมิศาสตร์ สมัยใหม่ แนวความคิดเกี#ยวกับภูมิศาสตร์ กายภาพ สรุ ป


2

1.บทนํา ความเข้าใจหรื อการรับรู ้ของคนทัว# ไปเกี#ยวกับพืนที# มีนิยามที#แตกต่างกันออกไปอันเนื# องมาจาก ความหลากหลายของถิ#นที#อยู่ ประสบการณ์ทางพืนที#ที#แตกต่างกัน ความคุน้ เคย และพฤติกรรมทางพืนที# เป็ นต้น อย่างไรก็ตามศาสตร์ ทางพืนที#มีมิติทงด้ ั านสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ในตัวของมันเอง สถาบัน บางแห่งกําหนดให้ภูมิศาสตร์ อยูใ่ นส่ วนของสังคมศาสตร์ แต่บางแห่งให้อยูท่ างด้านวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ ตามเมื#อภูมิศาสตร์ ถูกจัดวางกระจัดกระจายและเข้าไปผสมกลมกลืนกับวิชาการด้านอื#นๆ ไม่วา่ จะเป็ น วิทยาศาสตร์ กายภาพและชีวภาพ สิ# งแวดล้อม ท้องถิ#นศึกษา ประวัติศาสตร์ ประชากรศาสตร์ และการ บริ หารการเมืองการปกครอง เป็ นต้น แต่ศาสตร์ นีก็ยงั มีวิธีการบอกเล่าเรื# องราว และสร้างกรอบความรู ้ที#เป็ น ลักษณะจําเพาะ และเป็ นส่ วนหนึ#งของการทําความเข้าใจปรากฏการณ์บนพืนผิวโลกได้อย่างชัดเจน จนกระทัง# ได้นิยามศัพท์ที#ใหม่ ซึ# งเปลี#ยนจากภูมิศาสตร์ (geographical)เป็ นศาสตร์ ทางพืนที# (spatial) ซึ# ง ครอบคลุมความหมายที#กว้างออกไปเหนือกว่าคําว่า ภูมิศาสตร์ แบบเดิม โดยมีลกั ษณะเป็ นองค์รวม (a holistic approach to geographic thoughts) อย่างไรก็ตามสามารถจําแนกแนวความคิดทางภูมิศาสตร์ ออกเป็ น 2 ระบบกว้างๆ คือ ภูมิศาสตร์ กายภาพ และภูมิศาสตร์ มนุษย์ (รู ปที# 1)ส่ วนแนวคิดที#สาํ คัญๆ มีดงั นี

รู ปที# 1 การแตกสาขาของภูมิศาสตร์ กายภาพและภูมิศาสตร์ มนุษย์ ที#มา : http://www.uwsp.edu/geo/faculty/ritter/geog101/textbook/essentials/continuum_of_geography.html 2. ศาสตร์ ทางพืน ที (Spatial Science) ภูมิศาสตร์ ในฐานะที#เป็ นศาสตร์ ทางพืนที# เนื# องจากใช้ตอบคําถามของสิ# ง (Things) นันว่าอยูท่ ี#ไหน และทําไมจึงปรากฏอยูท่ ี#นน#ั โดยทังนีตังอยูบ่ นคําถาม 4 ประการด้วยกันที#สัมพันธ์กบั ตําแหน่งที#ตงั สถานที# รู ปแบบทางพืนที# และปฏิสัมพันธ์ทางพืนที# • บอกตําแหน่งที#ตงั (Location) ซึ# งกําหนดที#ตงจากการอ้ ั างอิงพิกดั ละติจูด และลองจิจูดของ สิ# งนัน เป็ นที#ตงสมบู ั รณ์


3

• บอกสถานที# (Place) ซึ# งอธิ บายว่าสถานที#นนประกอบด้ ั วยอะไร มีองค์ประกอบสําคัญ อะไรบ้าง • รู ปแบบทางพืนที# (Spatial Pattern) ซึ# งอธิ บายการจัดวางตัวทางพืนที#ของสิ# งต่างๆบนโลก ว่ามีการกระจายตัวอย่างไร อยูท่ ี#ใด • ปฏิสัมพันธ์ทางพืนที# (Spatial Interaction) ซึ# งมีองค์ประกอบต่างๆก่อให้เกิดระบบทาง พืนที#ซ# ึ งสิ# งหนึ#งมีปฏิสัมพันธ์กบั อีกสิ# งหนึ#งอย่างไร เพื#อสร้างรู ปแบบทางภูมิศาสตร์ ขึน ศาสตร์ ทางพืนที#หรื อ Spatial เป็ นคําที#สะท้อนภาพการทําความเข้าใจที#ซบั ซ้อนทางพืนที#มากกว่าคํา ว่าภูมิศาสตร์ หรื อ Geographic ถือเป็ นศาสตร์ หนึ#งที#ตอ้ งปรับตัวตลอดเวลาไปตามการเปลี#ยนแปลง กระบวนการวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ราว ค.ศ. 1950 เกิดการปฏิรูปทางภูมิศาสตร์ ขนานใหญ่ทงในด้ ั าน แนวความคิดและเนือหา ตลอดจนการเปลี#ยนแปลงไปสู่ แบบแผนใหม่อย่างที#ไม่เคยปรากฏมาก่อน กล่าวคือ เกิดการเปลี#ยนแปลงจากการใช้คาํ ว่า geographic ไปสู่ คาํ ว่า spatial หรื อ space โดยนําเอาวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ สถิติ การคํานวณ การทดสอบสมมุติฐาน มาสู่ วงการวิชาการมากขึนสอดคล้องกับ ช่วงการปฏิวตั ิเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Revolution) ในขณะนัน และจากอิทธิ พลของหนังสื อ ชื#อ The Structure of Scientific Revolution (1962) ของ Thomas S. Kuhn ได้เสนอแบบจําลองกระบวนทัศน์การ เปลี#ยนแปลงการเรี ยนรู ้ของมนุษย์ ซึ# งเป็ นหนังสื อที#มีอิทธิ พลต่อสาขาทางวิทยาศาสตร์ และศาสตร์ อื#นๆ ด้วย แม้วา่ จะมีวาทกรรมในระยะหลังตามมาอีกมากมายก็ตาม แต่โดยพืนฐานแล้วสามารถอธิ บายถึงการก้าว กระโดดไปสู่ การปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ สมัยใหม่ (รู ปที# 2) โดยเกิดจากภาวะวิกฤติของศาสตร์ ที#พร้อมจะเกิด การเปลี#ยนแปลงไปสู่ แนวคิดใหม่

รู ปที# 2 กระบวนทัศน์การเปลี#ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์ ที#มา : กุลยา วิวติ เสวี (2548): 46.


4

3. แนวความคิดเกีย วกับภูมิศาสตร์ มนุษย์ (Human Geography) ภูมิศาสตร์ เป็ นศาสตร์ ที#เก่าแก่แต่ในขณะเดียวกันก็มีความทันสมัยและพร้อมที#จะปรับตัวและ เปลี#ยนแปลงไปตามสังคม ไม่วา่ จะเป็ นปรัชญา แนวคิด วิธีการค้นคว้าวิจยั และการนําความรู ้ไปใช้ โดย โครงสร้างของเนือหาแล้วจึงมีความยืดหยุน่ ผสมผสานกับศาสตร์ อื#นๆ สื บเนื#องจากรากฐานเดิมมาจากคําว่า ภูมิศาสตร์ โดยผูท้ ี#ให้ความหมายเป็ นนักคณิ ตศาสตร์ ชาวกรี ก ชื#อว่า อิราโทสธิ นีส (Eratosthenes) เกิดในปี 276 ก่อนคริ สตศักราช ที#เมืองไซเรน (Cyrene ในประเทศลิเบีย ปั จจุบนั ) เขาทํางานอยูใ่ นห้องสมุดเมืองอเล็กซานเดรี ย ซึ# งเป็ นเมืองศูนย์กลางของศาสตร์ การเรี ยนรู ้ทุกแขนง ของยุคโบราณ และเสี ยชีวติ ที#เมืองปโตเลมิค ประเทสอียปิ ต์ (Ptolemaic Egypt) อิราโทสธิ นีสได้นาํ คําสองคํา คือคําว่า geo หมายถึง โลก (the Earth) และคําว่า graphein หมายถึง เขียน (to write) อีกทังยังเป็ นผูค้ ิดค้น ระบบละติจูด และลองจิจูด นอกจากนีเขายังคํานวณระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ได้ อีกทังยังเป็ นผู ้ คิดค้นปฎิทินของโลกอย่างเป็ นระบบอีกด้วย จากรากศัพท์ทงสองคํ ั านี จึงทําให้เกิดงานเขียนทางภูมิศาสตร์ ขึนในยุคนัน สิ# งที#เขียนลงไปเป็ นเรื# องราวเกี#ยวกับโครงสร้างทางกายภาพของโลก ธรรมชาติและกิจกรรม ของมนุษย์ที#อาศัยตามส่ วนต่างๆ ของโลกนัน# เอง (กุลยา, 2548 หน้า 5) หากย้อนกลับไปในอดีตในศตวรรษที# 1 พบว่าได้มีการสํารวจโลกเกิดขึนแล้วเมื#อ เฮกคาเทอุส (Hecataeus) กับงานเขียนเกี#ยวกับ Ges Periodos ( Travels round the Earth or World Survey แปลว่า การเดินทางรอบโลก หรื อ การสํารวจโลก) มีอยูด่ ว้ ยกัน 2 เล่มซึ# งกล่าวถึงอาณาบริ เวณหรื อ a periplus (เป็ นการสํารวจชายฝั#ง) เล่มที#หนึ#งเกี#ยวกับอาณาเขตของ Europe รอบทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน อีกเล่มเกี#ยวกับเอเชียที#บอกอาณาเขตของทะเลอีริทราเรี ยน (Periplus of the Erythraean Sea) โดยที#เขาได้พรรณนาถึงการตังถิ#นฐานของผูค้ นในประเทศอียปิ ต์ดว้ ยแผนที# ที#มีภาษา สัญลักษณ์ปรากฏบนแผนที# อย่างไรก็ตามแนวคิดทางด้านภูมิศาสตร์ มนุษย์มีกรอบหลักอยู่ 2 ประการคือ กรอบการศึกษา เกี#ยวกับมนุษย์เพื#อทําความเข้าใจโลก และกระบวนการซึ# งมีอิทธิ พลต่อโลกโดยเชื#อมโยงทังสังคมศาสตร์ และมานุษยวิทยาเข้าด้วยกัน และกรอบการศึกษาที#เกี#ยวกับกิจกรรมของมนุษย์โดยใช้วธิ ี วจิ ยั เชิงพรรณนาที# เป็ นมุมองทางด้านมนุษยศาสตร์ การเมือง วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจ โดยไม่ได้เน้นการอธิ บายทาง ภูมิศาสตร์ กายภาพ ซึ# งเป็ นการยากที#จะไม่พดู ถึงเลย ดังนันจึงเกิดภูมิศาสตร์ ส#ิ งแวดล้อมขึน (environmental geography) โดยเชื#อมโยงทางด้านกิจรรมของมนุษย์กบั สิ# งแวดล้อมเข้าด้วยกัน ดังนันจึงทําให้ภูมิศาสตร์ มนุษย์แตกตัวออกไปโดยเป็ นทังวิธีการและทฤษฏี (methodologically and theoretically diverse) ซึ# ง ประกอบด้วยแนวคิดด้าน ลัทธิ สัตรี นิยม (Feminism) มาร์ คซี ส (Marxism) หลังโครงสร้างนิยม (Post-


5

structuralism) ออกไป อีกทังยังใช้วธิ ี การเชิงคุณภาพ (เช่น Ethnography1 และการสัมภาษณ์) และวิธีการเชิง ปริ มาณ (เช่น การวิจยั สํารวจ การวิเคราะห์สถิติ และการสร้างโมเดล) จวบจนกระทัง# ศตวรรษที# 18 -19 ภูมิศาสตร์ ก็มีแยกออกจากกันอย่างชัดเจน ในแวดวงการศึกษากล่าวคือในปี 1830 ได้มีการก่อตังสมาคม ภูมิศาสตร์ แห่งชาติขึนที#ประเทศอังกฤษ ภายใต้ผทู ้ ี#มีบทบาทสําคัญคือ ฮาล์ฟอร์ ด จอห์น แมคคินเดอร์ (Halford John Mackinder) แห่งมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ ด และในปี 1888 ได้ก่อตังสมาคมภูมิศาสตร์ ขึนที# สหรัฐอเมริ กาและมีวารสารของสมาคมเกิดขึนพร้อมกัน เพื#อใช้เป็ นเวทีการอภิปรายผลงานการวิจยั เกี#ยวกับ แผนที#และทฤษฎีทางภูมิศาสตร์ ต่างๆ จนทําให้ภูมิศาสตร์ แตกตัวออกเป็ นภูมิศาสตร์ กายภาพและภูมิศาสตร์ มนุษย์เกิดการเชื# อมโยงเข้าด้วยกันในภายหลัง การเชื#อมโยงของทังสองศาสตร์ นีทําให้เกิดแนวคิดทฤษฎี สิ# งแวดล้อมเป็ นตัวกําหนด (Environmental Determinisms) ขึน แนวความคิดสิ# งแวดล้อมเป็ นตัวกําหนด หรื อ Environmental Determinisms แนวความคิดนีเกิด ขึนมาตังแต่สมัยโบราณซึ# งสตราโบ (Strabo) นักภูมิศาสตร์ ชาวกรี กได้เขียนเรื# องเกี#ยวกับสภาพอากาศมี อิทธิ พลต่อองค์ประกอบของจิตใจไปตามเชือชาติ แล้วก็มีนกั ภูมิศาสตร์ ชาวจีนยุคโบราณราวศตวรรษที# 2 ได้ พบงานเขียนของ กวน สง (Works of Guan Zhong) ในบทที#ที#กล่าวถึงนําและโลก (Water and Earth) โดย ได้พบข้อความที#พดู ถึง “ Now the water of Qi is forceful, swift and twisting. Therefore its people are greedy, uncouth , and warlike, และ The water of Chu is gentle, yielding , and pure. Therefore its people are lighthearted, resolute, and sure of themselves” คําพูดนีแสดงให้เห็นว่าธรรมชาติเป็ นตัวกําหนด พฤติกรรมทางจิตใจของมนุษย์ นอกจากนีในยุคกลางยังพบผลงานของอัล-จาไฮซ์ (al-Jahiz, 781-869) ซึ# งได้ อธิ บายถึงสิ# งแวดล้อมกําหนดคุณลักษณะทางกายภาพของผูอ้ ยูอ่ าศัยในชุมชนหนึ#งๆ โดยเขาได้ใช้ทฤษฎี วิวฒั นาการ (the early theory of evolution) เพื#อแยกความแตกต่างของสี ผวิ มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิง# คนผิว ดํา ซึ# งเขาเชื#อว่าเป็ นผลมาจากสิ# งแวดล้อมเป็ นตัวกําหนดสี ผวิ โดยยังอ้างถึงภูมิภาคที#มีหินบะซอลต์สีดาํ ซึ#งอยู่ ทางตอนเหนื อของเมืองนาจ๊าด (Najd) นอกจากนียังมี อิบน์ คาลดุน (Ibn Khaldun, 1332-1436) จากผลงานที# ชื#อว่า Muqaddimah ในปี 1377 ได้อธิ บายถึงคนที#มีผวิ สี ดาํ เป็ นเพราะอากาศร้อนของทะเลทรายซาฮารา โดย ไม่ได้เกิดเนื# องจากเชื อสายแต่อย่างใด จากผลงานของเขาได้รับการแปลในช่วงยุคล่าอาณานิคมในช่วงปี 1841 ในเวลาต่อมา แล้วกลายเป็ นที#รู้จกั ในศตวรรษที# 19 โดย คาร์ ล ริ ทเทอร์ (Carl Ritter, 1779-1859) นัก ภูมิศาสตร์ ชาวเยอรมัน ซึ# งสอดคล้องกับแนวคิดวิวฒั นาการที#เกิดขึนในเวลาใกล้เคียงกัน กล่าวคือลักษณะ ทางกายภาพของคน พฤติกรรม จิตใจและคุณธรรม เป็ นผลโดยตรงจากอิทธิ พลของสิ# งแวดล้อมธรรมชาติ

1

Ethnography เป็ นสาขาหนึ งของสังคมวิทยา เกี ยวกับการเก็บข้ อมูลเชิงประจักษ์ ที ได้ จากสังคมวัฒนธรรม ด้ วยการสังเกต การ

สัมภาษณ์ ออกแบบสอบถาม และอื นๆ มีเป้าหมายเพื อบรรยายธรรมชาติของสิ งที ศกึ ษา บางครัง. เรียกว่า การเก็บข้ อมูลภาคสนาม ทางสังคมศาสตร์ เช่น สถานที อยู่อาศัย วัสดุสิ งก่อสร้ างที อยู่ อาหาร โรงเรื อน พลังงานและนํ .า สถานภาพการสมรส ภาษา เป็ นต้ น


6

โดยมีงานเขียนซึ# งเป็ นที#รู้จกั คือ The Science of the Earth in Relation to Nature and the History of Mankind ในปี 1817-1859 มีอยู่ 19 เล่มด้วยกันแต่ก็ยงั ไม่สมบูรณ์เพราะ ริ ทเทอร์ ได้เสี ยชีวติ ไปก่อน ราวช่วงกลาง ศตวรรษที# 19 แนวความคิดสิ# งแวดล้อมเป็ นตัวกําหนดก็ได้ถูกโจมตีอย่างหนักเกี#ยวกับวิธีวจิ ยั เพื#อเข้าสู่ ศาสตร์ สมัยใหม่ ในเวลาใกล้เคียงกันทังมุมมองทางด้านภูมิศาสตร์ มนุษย์และกายภาพที#เป็ นอยูใ่ นขณะนัน สอดรับกับการเกิดแนวคิดด้านภูมิศาสตร์ ภูมิภาค (Regional Geography) ขึนในช่วงปลายศตวรรษที# 19 และ ต้นศตวรรษที# 20 ในเวลาต่อมา สาขาที#แยกย่อยออกจากภูมิศาสตร์ มนุษย์ได้แก่ • ภูมิศาสตร์ วฒั นธรรม (Cultural Geography) มีแนวคิดทางด้านผลผลิตและปทัสฐานทาง วัฒนธรรม และการก้าวข้ามความหลากหลายทางวัฒนธรรม รวมไปถึงความสัมพันธ์กบั พืนที#และสถานที# โดยเน้นการบรรยายและวิเคราะห์เกี#ยวกับ ภาษา ศาสนา เศรษฐศาสตร์ การปกครอง และปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรมอื#นๆ ที#มีอยูใ่ นสถานที#หนึ#งๆและส่ งผลต่อ อีกแห่งหนึ#งด้วยการอธิ บายถึงหน้าที#ของมนุษย์กบั พืนที#วา่ เป็ นอย่างไร ซึ# งยังมีสาขาย่อย แตกออกไปอีก ได้แก่ ภูมิศาสตร์ เกี#ยวกับเด็ก (Children's geographies) ภูมิศาสตร์ สัตว์ ( Animal geographies) ภูมิศาสตร์ ภาษา ( Language geography) ภูมิศาสตร์ เพศและพืนที# (Sexuality and Space ) และภูมิศาสตร์ ศาสนา(Religion geography ) • ภูมิศาสตร์ พฒั นาการ (Development Geography) เป็ นการศึกษาเกี#ยวกับโลกศาสตร์ ที# อ้างอิงถึงมาตรฐานการดํารงชีวติ และคุณภาพชีวติ ในฐานะที#เป็ นแหล่งที#อยูอ่ าศัยของมนุษย์ ศึกษาถึงตําแหน่งที#ตงั การกระจายตัวทางพืนที#และการจัดระเบียบของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจตามส่ วนต่างๆ ของโลก ซึ# งต้องใช้แนวคิดวิธีการการตรวจสอบอย่างเข้มข้น • ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ (Economic Geography) เป็ นการตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่าง ระบบเศรษฐกิจของมนุษย์ เศรษฐกิจของรัฐ และอื#นๆ และสภาพแวดล้อมทางชีวะกายภาพ สาขาย่อยได้แก่ ภูมิศาสตร์ การตลาด (Marketing Geography) • ภูมิศาสตร์ สุขภาพ (Health Geography) เป็ นการประยุกต์สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มุมมอง และวิธีการเพื#อศึกษาเกี#ยวกับสุ ขภาพ โรค และการอนามัย • ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ (Historical Geography) เป็ นการศึกษาเกี#ยวกับมนุษย์ กายภาพ หน้าที# ทฤษฏีและภูมิศาสตร์ อดีต ซึ# งค่อนข้างมีประวัติความเป็ นมาในบริ บทที#กว้างและ หลายหัวเรื# อง โดยทัว# ไปจะศึกษาประวัติความเป็ นมาในอดีตว่าสถานที#ต่างๆ หรื อภูมิภาค ต่างๆมีการเปลี#ยนแปลงอย่างไรในช่วงเวลาที#ผา่ นมา นักภูมิศาสตร์ เชิงประวัติศาสตร์ จะ สนใจรู ปแบบ (patterns) ที#เกิดขึนของช่วงเวลาที#ผา่ นไป รวมไปถึงมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กบั


7

สภาพแวดล้อมที#ผา่ นมาอย่างไร รวมไปถึงการสร้างสรรค์ทางพืนที#ภูมิทศั น์ทางวัฒนธรรม นันได้อย่างไร ภูมิศาสตร์ การเมือง (Political Geography) เกี#ยวข้องกับการศึกษาความไม่สมดุลทางพืนที# ของกระบวนการทางการเมืองและการเมืองสร้างโครงสร่ างความไม่สมํ#าเสมอทางพืนที# อย่างไร สาขาย่อยได้แก่ ภูมิศาสตร์ การเลือกตัง (Electoral geography) ภูมิการเมือง ( Geopolitics) ภูมิศาสตร์ ยทุ ธวิธี ( Strategic geography) และภูมิศาสตร์ การทหาร( Military geography) ภูมิศาสตร์ ประชากร (Population Geography) ศึกษาเกี#ยวกับความหลากหลายทางพืนที#ใน เรื# องการกระจาย (distribution) องค์ประกอบ (composition) การอพยพ (migration)และการ เติบโตของประชากร(growth of populations)ซึ# งสัมพันธ์กบั สถานที#นนๆ ั ภูมิศาสตร์ การท่องเที#ยว (Tourism Geography) ศึกษาเกี#ยวกับการเดินทางและการท่องเที#ยว เชิงอุตสาหกรรม หรื อเป็ นกิจกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะเกี#ยวกับสถานที#ซ# ึ งเป็ นพืนฐาน ของประสบการณ์ สาขาย่อยได้แก่ ภูมิศาสตร์ การขนส่ ง (Transportation Geography) ภูมิศาสตร์ เมือง (Urban Geography) ศึกษาเกี#ยวกับพืนที#เมือง โดยเฉพาะอย่างยิง# มุมมอง ความสัมพันธ์เชิงพืนที#กบั ทฤษฏี เช่นศูนย์กลางของสิ# งก่อสร้าง และสาธารณูปการ ศูนย์กลางกิจกรรมทางเศรษฐกิจของเมือง เมืองอันดับ และบางทียงั เกี#ยวข้องกับความ หนาแน่นของประชากรเมืองด้วย

4. แนวคิดภูมิศาสตร์ ภูมิภาค (Regional Geography) ศึกษาเกี#ยวกับการกลายเป็ นภูมิภาค (Regionalization) ซึ# งพรรณนาเกี#ยวกับพืนที# (space)ในภูมิภาค และทําความเข้าใจและอธิ บายคุณลักษณะเด่นของแต่ละภูมิภาคทังมุมมองทางด้านภูมิศาสตร์ มนุษย์และ กายภาพเข้าด้วยกัน โดยเชื#อมโยงกับแนวคิดความเป็ นไปได้ (Possibilism) กับนิเวศวิทยาวัฒนธรรม ซึ# ง บางส่ วนที#อยูใ่ นประเทศเดียวกันโดยมีอิทธิ พลของสิ# งแวดล้อมนันย่อมมีต่อสังคมและวัฒนธรรม คล้ายกับ แนวคิดสิ# งแวดล้อมกําหนด แต่ไม่ใช่เกิดจากธรรมชาติเป็ นตัวกําหนดทังหมดเพราะยังมีบางส่ วนที#มีความ เป็ นอยูจ่ ริ งในพืนที#นนเองด้ ั วย มีบางอย่างเท่านันที#มีความเป็ นไปได้ อาจกล่าวได้วา่ แนวความคิดภูมิศาสตร์ ภูมิภาคมีความเด่นชัดในครึ# งหลังของศตวรรษที# 19 และต้น ศตวรรษที# 20 นีเอง ในช่วงปี 1950s เป็ นช่วงที#ทฤษฏีทางภูมิศาสตร์ ภูมิภาคได้รับการวิพากษ์วจิ ารณ์อย่าง หนัก (ซึ# งอยูใ่ นช่วงปฏิวตั ิเชิงปริ มาณ) จาก จี.เอช.ที. คิมเบิล (G.H.T Kimble) และ เฟรด เค. เชเฟอร์ (Fred K. Schaefer) เป็ นการศึกษาในหลายระดับตังแต่ขนาดเล็กไปจนถึงบริ เวณที#กว้างใหญ่ ผูน้ าํ ในด้านภูมิศาสตร์ ภูมิภาคได้แก่ อัลเฟรด เฮตต์เนอร์ (Alfred Hettner, 1859-1941) ชาวเยอรมันเป็ นลูกศิษย์ของ รัทเซล


8

(Friedrich Ratzel, 1844-1904) และริ ทโทเฟน (Ferdinand von Richthofen, 1833-1905) ซึ# งเฮตต์เนอร์ ได้ พิมพ์ผลงานที#ชื#อว่า “Europe” ในปี 1907 ด้วยแนวความคิด Chorology (เป็ นการศึกษาถึงสาเหตุ ความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์ ซ# ึ งปรากฏในภูมิภาคเฉพาะ และเป็ นการศึกษาถึงการ กระจายทางพืนที#ของสิ# งมีชีวิตต่างๆ) ซึ# งมีเป้ าหมายอยูท่ ี#คุณลักษณะของภูมิภาคต่างๆ และสถานที#ต่างๆ ตลอดจนการทําความเข้าใจของสิ# งที#มีอยูร่ ่ วมกันว่ามีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในองค์รวมที#เป็ นเครื# องบ่งชี สําคัญนันอย่างไร อีกทังยังเป็ นการทําความเข้าใจพืนผิวโลกในฐานะที#เป็ นการจัดระเบียบของทวีปต่างๆ ตังแต่ภูมิภาคเล็กไปจนถึงภูมิภาคใหญ่ และสถานที#ต่างๆได้ และเฮตต์เนอร์ ยงั ได้ปฏิเสธแนวคิดที#วา่ ภูมิศาสตร์ ก็เหมือนกับศาสตร์ อื#นๆที#เกี#ยวข้องทังสิ# งที#เป็ นเรื# องเฉพาะกับสิ# งที#เป็ นสากล ดังนันการศึกษาเชิง ภูมิภาคควรเป็ นสาขาหลักทางภูมิศาสตร์ นอกจากนียังมี พอล วิดลั เดอ ลา บลองซ์ ( Paul Vidal de la Blanche, 1845-1918) นักภูมิศาสตร์ ชาวฝรั#งเศส เป็ นผูน้ าํ แนวคิดภูมิศาสตร์ สมัยใหม่ของประเทศฝรั#งเศส และก่อตังสํานักคิดทางด้าน Geopolitics เป็ นผูเ้ สนอแนวคิดเกี#ยวกับ genre de vie โดยเชื#อว่าวิถีชีวิตของคนที#อยูใ่ นภูมิภาคจําเพาะมีผลต่อ ความเป็ นอัตลักษณ์ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม แนวคิดและจิตวิทยา ต่อภูมิทศั น์นนๆ ั ทังนีเขาได้รับอิทธิ พลจากรัท เซล ซึ# งเคยพบกันที#ประเทศเยอรมนีมาแล้ว วิดลั ยังเชื#อมโยงแนวคิดความเป็ นไปได้ (Possibilism) ซึ# งตรงกัน ข้ามกับแนวความคิดเชิงกําหนดนิยม (Determinism) โดยที#วดิ ลั ได้ใช้แนวคิดทังกายภาพและมนุษย์ ประกอบด้วยการอธิ บายภูมิทศั น์ต่างๆ (Paysages) การมีอยู่ (Milieux) ภูมิภาค (Regionale) วิถีชีวติ (Genres de vie) และความหนาแน่น (Density) ซึ# งอยูใ่ นภูมิภาคหนึ# งๆ โดยทําให้อยูใ่ นรู ปแบบโครงสร้าง แต่ในทาง กลับกันทําให้ภูมิศาสตร์ ของประเทศฝรั#งเศสมีความอ่อนแอลงด้วยเช่นกัน ภายหลังที# วิดลั เสี ยชีวติ แนวคิดนี ก็ไม่ได้เปลี#ยนแปลงไป จวบจนกระทัง# เกิดการปฏิวตั ิเชิงปริ มาณขึนในปี 1960s และ 1970s จึงได้เกิด การศึกษาทางด้านภูมิศาสตร์ เมืองและภูมิศาสตร์ อุตสาหกรรมขึนในประเทศฝรั#งเศส ส่ วนในประเทศสหรัฐอเมริ กานําโดย ริ ชาร์ ด ฮาร์ ทชอร์ น (Richard Hartshorne, 1899-1992) เป็ นนัก ภูมิศาสตร์ ที#โดดเด่นในสหรัฐอเมริ กา เขาได้ตอบโต้แนวความคิดของ เซเฟอร์ (Fred K. Schaefer) ในการ ยอมรับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษากฏทางพืนที# ผลงานที#มีอิทธิ พลต่อนักภูมิศาสตร์ สมัยใหม่ คือ The Nature of Geography: A Critical Survey of Current Thought in the Light of the Past ในปี 1939 ซึ# ง เกี#ยวกับแนวความคิดด้านความแตกต่างทางพืนที# (areal differentiation) แม้วา่ ในทุกวันนีจะได้มีความ พยายามให้นิยามของคําว่า ภูมิภาค ว่าควรจะเป็ นขนาดไหน หน่วยที#เล็กที#สุดควรจะเป็ นเช่นไร หรื อคําว่า ภูมิภาคที#กาํ หนดโดยคุณลักษณะทางกายภาพจําเพาะบางอย่าง คุณลักษณะของมนุษย์ และคุณลักษณะทาง หน้าที# จึงทําให้เกิดการแตกสาขาออกไปมากมายเพื#อที#จะอธิ บายกรอบแนวคิดทางภูมิภาค เช่น คําว่า ecoregion ก็อยูใ่ นภูมิศาสตร์ ส#ิ งแวดล้อม cultural region ก็อยูใ่ นภูมิศาสตร์ วฒั นธรรม bioregion ก็อยูใ่ นชีวะ


9

ภูมิศาสตร์ เป็ นต้น หากเป็ นการศึกษาเชิงภูมิภาคก็เรี ยกว่าเป็ นภูมิศาสตร์ ภูมิภาค ซึ# งมีการแตกสาขาออกไป อย่างหลากหลายได้แก่ • ภูมิภาคภูมิกายภาพ (Physiographic Regions) เป็ นการศึกษาคุณลักษณะการวางตัวของ พืนผิว (landform) บางทีเรี ยกว่าภูมิภาคสัณฐาน (geomorphic regions) โดยทังนีเกี#ยวข้อง กับการวางตัวและอธิ บายภูมิภาคด้วยแนวคิดทางสัณฐานวิทยา (geomorphology) ซึ# งนัก ธรณี วทิ ยาชาวอเมริ กนั เนวิน เฟนนีแมน (Nevin Fenneman) ได้จดั ระบบการจําแนกไว้ 3 ระดับ คือ division , provinces , and sections ของธรณี วทิ ยาในสหรัฐอเมริ กา เช่น แผ่น The Appalachian Highlands division จะประกอบด้วยแผ่น Valley and Ridge province ซึ# ง มี 3 sections ได้แก่ Tennessee section , the Middle section , and Hudson section เป็ นต้น • ภูมิภาคด้านบรรพชีวินภูมิศาสตร์ (Palaeogeographic Regions) เป็ นการศึกษาธรณี วทิ ยายุค เก่า เนื#องจากโครงสร้างทางธรณี บนพืนผิวโลกมีการเปลี#ยนแปลงไปตามโครงสร้างอายุ ของหิ น นักบรรพชีวนิ จําเป็ นต้องรู ้แผ่นทวีปขนาดใหญ่อย่างเช่น แผ่นเปลือกโลกยุคต่างๆ การก่อตัวของแผ่นเปลือกโลก ซึ# งมีความสัมพันธ์กบั ภูมิภาคต่างๆ • ภูมิภาคประวัติศาสตร์ (Historical Regions) เป็ นการศึกษาเกี#ยวกับภูมิศาสตร์ เชิง ประวัติศาสตร์ ของมนุษย์ที#สัมพันธ์กบั สถานที#และภูมิภาคต่างๆ หรื อเป็ นการศึกษาถึงการ เปลี#ยนแปลงของสถานที#และภูมิภาคมีเป็ นอย่างไรเมื#อเวลาผ่านไป • ภูมิภาคการท่องเที#ยว (Tourism region) เป็ นการศึกษาที#ถูกวางระบบจากการบริ หารของ ภาครัฐหรื อหน่วยงานการท่องเที#ยว ซึ# งเกี#ยวข้องกับคุณลักษณะทางสิ# งแวดล้อมและ วัฒนธรรมเพื#อการท่องเที#ยว เพื#อทําให้เกิดประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจัดการท่องเที#ยว ทัง แหล่งท่องเที#ยวและนักท่องเที#ยว • ภูมิภาคแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource Regions) เป็ นการศึกษาเกี#ยวกับแหล่ง ทรัพยากรที#สัมพันธ์กบั ภูมิศาสตร์ มนุษย์และภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ เช่นแหล่งถ่านหิ น อาจจะ อยูใ่ นภูมิศาสตร์ กายภาพ หรื อภูมิภาคสัณฐานวิทยาก็ได้ แต่ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อาจอยูใ่ นภูมิภาคเศรษฐกิจและภูมิภาควัฒนธรรม ก็ได้ • ภูมิภาคศาสนา (Religious Regions) เป็ นการศึกษาศาสนา ซึ# งมีหลายนิกายปรากฏอยูต่ าม ภูมิภาคต่างๆ • ภูมิภาคการเมือง (Political Regions) เป็ นสาขาหนึ#งของภูมิศาสตร์ การเมือง ซึ# ง ประกอบด้วยภูมิภาคในระดับต่างๆ ตังแต่จงั หวัด ประเทศ ชุมชนเล็กๆ อาณาจักร เป็ นต้น อันประกอบด้วยกลุ่มคนที#หลากหลาย รวมไปถึงสหภาพ การรวมกลุ่มทางภูมิภาค องค์กร ระดับโลกต่างๆ


10

• ภูมิภาคการบริ หาร (Administrative Regions) เป็ นการศึกษาขอบเขตการปกครองของ ประเทศต่างๆ หรื ออาจจะมีเขตการปกครองพิเศษที#อยูใ่ นประเทศนันๆ ด้วยก็ได้ • ภูมิภาคเชิงหน้าที# (Functional Regions) เป็ นการศึกษาแกนหลักที#มีคุณลักษณะจําเพาะ อย่างน้อยที#สุดต้องมีปฏิสัมพันธ์กนั ทางพืนที#ระหว่างศูนย์กลางและส่ วนอื#นๆ โดย กําหนดให้เป็ นจุด (node or focal point) ซึ# งมีพืนที#รอบนอกเชื#อมโยงกับจุดด้วยระบบการ คมนาคม ระบบการสื# อสาร หรื อการเชื# อมโยงทางเศรษฐกิจอื#นๆ ได้แก่ กิจกรรมทาง เศรษฐกิจ โรงงานอุตสาหกรรม และการค้าปลีก เป็ นต้น เช่น เมืองนิวยอร์ ก ถือว่าเป็ นเมือง หลัก มีการเชื#อมโยงไปยังภูมิภาคต่างๆหลายรัฐ ด้วยรู ปแบบการสื# อสาร การไหลของสิ นค้า การสื# อสารวิทยุและโทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ การเดินทางเพื#อความบันเทิงใจ เป็ นต้น ส่ วน ภูมิภาคหน้าที#อื#นๆ ถูกกําหนดให้เป็ นศูนย์กลางที#ตงของการชอปปิ ั งในห้างสรรพสิ นค้า ซูเปอร์ มาเกต และธนาคารสาขาต่างๆ ท่าเรื อและเขตที#อยูห่ ่ างไกลความเจริ ญ เป็ นต้น ดังจะเห็นได้วา่ การวิเคราะห์พืนที#ในเชิงภูมิภาคนันเป็ นแนวความคิดที#อยูใ่ นช่วงปี 1930-1960 ได้ เกิดมีคาํ จํากัดความมากมายตามจุดประสงค์ที#ตอ้ งการศึกษานับตังแต่ความเกี#ยวข้องทางด้านกายภาพ วัฒนธรรม และยึดเอาประเทศและทวีปไปเลยก็มี แต่ภายหลังปี 1950 ไปแล้ว คําจํากัดความของภูมิภาคก็ เปลี#ยนไปเป็ นการวิเคราะห์หรื อการจัดการพืนที# แม้กระนันก็ตามก็ทาํ ให้ภูมิศาสตร์ ภูมิภาคก็ยงั มีความ คลุมเครื ออยู่ 5. ภูมิศาสตร์ เชิ งพฤติกรรม (Behavioral Geography) ศึกษาเกี#ยวกับการตรวจสอบพฤติกรรมมนุษย์ที#แยกย่อยออกไป โดยให้ความสําคัญของ กระบวนการรับรู ้ (Cognitive processes) ภายใต้เหตุผลทางพืนที# การตัดสิ นใจ และพฤติกรรม ที#เกิดจากการ กําหนดจากพฤติกรรมของการรับรู ้ในแต่ละคนซึ# งตอบสนองและแสดงต่อสภาพแวดล้อมที#แตกต่างกัน ภูมิศาสตร์ พฤติกรรมเป็ นสาขาหนึ#งของภูมิศาสตร์ มนุษย์ที#เกี#ยวข้องกับกระบวนการรับรู ้และการตอบสนอง ต่อสภาพแวดล้อม โดยมีแนวคิดสัมพันธ์กบั การรับรู ้ทางสิ# งแวดล้อม วิธีการค้นหา การสร้างแผนที#รับรู ้ การ ติดต่อเชื# อมโยงทางสถานที# การพัฒนาทัศนคติเกี#ยวกับพืนที#และสถานที# การตัดสิ นใจและพฤติกรรมที#ตงอยู ั ่ บนฐานความรู ้ที#ไม่สมบูรณ์ของคนๆ หนึ#ง เป็ นต้น ภูมิศาสตร์ เชิงพฤติกรรมนีใกล้ชิดกับสาขาด้านจิตวิทยา ที# ค้นหาวิธีการหลากหลายเกี#ยวกับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา การวางแผนการ ขนส่ ง และสาขาอื#นๆ เป็ นต้น ผูน้ าํ ความคิดในด้านนีได้แก่ คาร์ ล ริ ทเทอร์ (Carl Ritter , 1977-1859)และ ฮุมโบล์ท ( Alexander von Humboldt, 1769-1859) นักภูมิศาสตร์ ชาวเยอรมัน สําหรับริ ทเทอร์ นนได้ ั ให้แนวคิดด้านภูมิศาสตร์


11

สมัยใหม่ซ# ึ งค่อยๆ ก่อตัวขึนซึ# งเน้นเรื# ององค์ประกอบทางธรรมชาติกบั กิจกรรมของมนุ ษย์ ในหนังสื อที#เขา เขียนขึนชื#อว่า The Science of the Earth in Relation to Nature and the History of Mankind ในปี 1817-1859 ของภูมิภาคเชียและอัฟริ กา ริ ทเทอร์ เป็ นผูม้ ีบทบาทสําคัญต่อภูมิศาสตร์ กายภาพและการเคราะห์พนผิ ื วโลก เหมือนอวัยวะในร่ างกายมนุ ษย์ไม่วา่ จะเป็ นอธิ บายคุณลักษณะของ แม่นาํ ภูเขา ภูเขานําแข็ง ราวกับเป็ น อวัยวะของโลกที#มีหน้าที#และลักษณะกายภาพที#แตกต่างกัน ก่อให้เกิดการมีชีวติ อยู่ ส่ วนฮุมโบลท์ เป็ นนัก ธรรมชาติวทิ ยาชาวเยอมัน เขาได้ออกเดินทางไปยังลาตินอเมริ กา และที#ต่างๆ ได้เขียนผลงานการเดินทาง และได้รับการตีพิมพ์มากว่า 21 ปี ความรู ้ที#ได้จากเดินทางและเก็บเกี#ยวประสบการณ์ได้แก่ ความก้าวหน้า ทางด้านวิทยาศาสตร์ การค้นพบความหลากหลายทางธรรมชาติของโลก ภูมิศาสตร์ กายภาพ ชีววิทยา อุตุนิยมวิทยา และธรณี วทิ ยา ที#กาํ หนดการเจริ ญเติบโตของพืชพันธุ์แตกต่างกันออกไป ฮุมโบล์ทได้เก็บ รวบรวมข้อมูลอย่างเป็ นระบบ และมีโอกาสกลับไปตรวจสอบซําอีก ด้วยเครื# องมือทางวิทยาศาสตร์ ที#มีใน ขณะนัน จึงทําให้เกิดความจําเป็ นในการนําเทคนิควิธีการทางวิทยาศาสตร์ เข้ามาใช้ในงานภูมิศาสตร์ รวมไป ถึงวิธีการรวบข้อมูลอันเป็ นพืนฐานสําคัญในการทําความเข้าใจ ภายหลังจากนันได้เกิดแนวคิดวิธีการเชิง วิทยาศาสตร์ ซึ# งเป็ นที#รู้จกั ในนาม Humboldtian science ขึนนัน# เอง ต่อมาในปลายศตวรรษมีนกั ภูมิศาสตร์ ชาวเยอรมันอีกท่านหนึ#งชื#อ เฟรดริ ท รัทเซล (Friedrich Ratzel, 1844-1904) เป็ นผูท้ ี#ใช้คาํ “Living space” รัทเซลสนใจในเรื# องสัตววิทยาในช่วงแรก ก่อนที#จะผัน ตัวเองมาเป็ นนักภูมิศาสตร์ ในภายหลัง โดยเขาเริ# มทํางานภาคสนามบริ เวณทะเลเมดิเตอร์ เรเนียนก่อนที#จะ ออกเดินทางไปยังอเมริ กาเหนือและประเทศเม็กซิ โก ทังนีรัทเซลศึกษาอิทธิ พลของคนเยอรมันใน สหรัฐอเมริ กา โดยเฉพาะอย่างยิง# ที#อยูใ่ นแคว้นมิดเวสต์ (Midwest) เช่นเดียวกับกลุ่มชาติพนั ธุ์อื#นๆของ อเมริ กาเหนื อ ผลงานของรัทเซลเป็ นที#รู้จกั ในด้านภูมิศาสตร์ วฒั นธรรม ผลงานของรัทเซลที#สร้างชื#อเสี ยงใน ด้านภูมิศาสตร์ มนุษย์ มี 2 ฉบับคือ Anthropogeographie ในปี 1882 และปี 1891 ซึ# งทําให้เกิดกระแส สิ# งแวดล้อมกําหนด(Environmental determinism) ขึนจากนันเขาได้พิมพ์ผลงานด้านภูมิศาสตร์ การเมือง (Politische Geography)ขึนในปี 1987 โดยได้รับอิทธิ พลจาก ลัทธิ ดาร์ วนิ และตีพิมพ์ผลงาน The History of Mankind มี 3 ฉบับพิมพ์เป็ นภาษาอังกฤษในปี 1896 จากผลงานของรัทเซลได้นาํ เอาแนวคิดมนุษย์เข้ามาผูก ติดกับภูมิศาสตร์ ดว้ ยหลักการศึกษามนุษย์กบั สิ# งแวดล้อม และนักภูมิศาสตร์ ได้ตกอยูภ่ ายใต้วทิ ยาศาสตร์ กายภาพที#เจริ ญมาก่อน การอธิ บายความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติในลักษณะนีได้ดาํ เนินเรื# อยมา จนเข้าศตวรรษที# 20 ความคิดนีจึงค่อยๆ เปลี#ยนไปเป็ นแนวความคิดว่า มนุษย์มีวฒั นธรรม มีความเจริ ญ ต่างๆ ด้านวิทยาการและมนุษย์สามารถเอาชนะธรรมชาติได้ โดยปรับปรุ งพืนที#ให้เหมาะสมต่อการดํารงชีวติ และได้เปลี#ยนแปลงวิธีการอธิ บายไปเป็ นพืนที#เล็กๆ อย่างละเอียด จนนําไปสู่ แนวคิดการกระจายทางพืนที# (Spatial Distribution) นอกจากนันยังเข้าไปเกี#ยวข้องกับแนวคิดความสัมพันธ์เชิงพืนที# (Spatial Relationship)


12

แนวคิดเชิงพฤติกรรมเริ# มจากสิ# งที#มองเห็นเป็ นรู ปธรรม เช่น ทําเลที#ตงั การวางแผนการใช้ที#ดิน การ ปรับปรุ งดัดแปลงพืนที# ค่อยๆเปลี#ยนมาเป็ นรู ปแบบที#เป็ นนามธรรมยิง# ขึน กล่าวคือเริ# มใช้แนวคิดเชิง พฤติกรรมเข้ามาอธิ บายว่ามนุษย์ใช้พืนที#ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพมากที#สุดได้อย่างไร หากได้รู้ถึงกระบวนการ รับรู ้ (Cognitive processes) ของมนุษย์ก็จะเข้าใจความสัมพันธ์มนุษย์กบั สิ# งแวดล้อมได้ เพราะว่ามนุษย์มี ความรู ้สึกต่อสภาพแวดล้อมแตกต่างกันไปตามเวลาและสถานที# ดังนันการตัดสิ นใจและการแสดง พฤติกรรมทางพืนที#ต่อสิ# งที#รับรู ้ (Perception) ก็จะเกิดขึนได้ทนั ที โดยเฉพาะอย่างยิง# หากเกิดจากสิ# งเร้าทาง สิ# งแวดล้อมร่ วมด้วย แต่เนื# องด้วยมนุษย์มีวฒั นธรรมเป็ นของตนเอง และมีวทิ ยาการของสังคมที#แตกต่างกัน ไปตามยุคสมัย ที#อยูน่ อกเหนื อจากพฤติกรรมส่ วนบุคคล ก็เป็ นเรื# องที#จะต้องทําความเข้าใจพฤติกรรมทาง พืนที#ในบริ บทที#หลากหลาย เพราะการแสดงพฤติกรรมทางพืนที#เกี#ยวข้องกับโครงสร้างทางสภาพแวดล้อม กายภาพและสังคมอยูต่ ลอดเวลา รวมไปถึงการปรับพฤติกรรม และการเลือกสรรพืนที#ก็แตกต่างกัน สามารถ ที#จะอธิ บายการจัดรู ปแบบของปรากฏการณ์ทางพืนที#ในสภาพแวดล้อมดังกล่าวได้ การพัฒนาแนวคิดนี เริ# มต้นจากการกําหนดโครงสร้างทางพืนที#และสภาพแวดล้อม เป็ นผลอันเกิดจากการกระทําและการ ตัดสิ นใจอย่างใดอย่างหนึ#ง ซึ# งเป็ นแรงผลักดันให้เกิดรู ปแบบทางพืนที#ได้ โดยมีหลักการอยูท่ ี# มีสาเหตุ วัตถุประสงค์ สิ# งเร้า การแสดงออก และขีดจํากัด ส่ วนการวิเคราะห์เชิงพฤติกรรมก็ตอ้ งพยายามอธิ บาย องค์ประกอบทางกายภาพว่ามีอะไรบ้าง ในกระบวนการซึ# งมีส#ิ งเร้าอยู่ พฤติกรรมที#แสดงออกมีทงที ั #มองเห็น ได้ชดั และวัดได้ แต่บางอย่างไม่สามารถวัดได้ก็ตอ้ งอาศัยเครื# องมือพิเศษช่วยในการตรวจสอบซึ# งเป็ นการ แสดงออกภายใน อย่างไรก็ตามแนวคิดเชิงพฤติกรรมได้นาํ วิธีการทางสถิติ ตลอดจนการสร้างแบบจําลองเพื#ออธิ บาย พฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ เช่น ทางด้านการย้ายถิ#น การใช้นาการเกษตร ํ การแพร่ กระจายเทคโนโลยี การ เลือกแหล่งรับบริ การต่างๆ เป็ นต้นล้วนเกี#ยวข้องกับต่อทัศนคติ และพฤติกรรมของมนุษย์ที#มีต่อบริ เวณที#อยู่ อาศัยทังทางด้านกายภาพและสังคม 6. แนวความคิดภูมิศาสตร์ สมัยใหม่ (Modern Geography) ในช่วงทศวรรษ 1950s การปฏิวตั ิเชิงปริ มาณ (Quantitative Revolution) นําไปสู่ ขอ้ โต้แย้งที#รุนแรง เกี#ยวกับภูมิศาสตร์ ภูมิภาค เพราะการรับรู ้ที#ปราศจากข้อเท็จจริ งทางวิทยาศาสตร์ และการอธิ บายธรรมชาติ มากเกินความจําเป็ น และแยกความต่อเนื#องของภูมิศาสตร์ จากธรณี วทิ ยาและภูมิศาสตร์ มนุษย์และกายภาพ ทําให้นกั ภูมิศาสตร์ ในช่วงกลางศตวรรษที# 19 เริ# มนําวิธีการทางสถิติประยุกต์และโมเดลคณิ ตศาสตร์ เพื#อ แก้ปัญหาทางพืนที# ถือได้วา่ เป็ นยุคการปฏิวตั ิเชิงปริ มาณ จนกระทัง# ปรากฏการใช้ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ขึน (Geographic Information Systems) และใช้แนวคิดทางสถิติศาสตร์ โมเดลทางพืนที# และปฏิ ฐานนิยม (Positivism เป็ นการใช้วธิ ี การทางด้านวิทยาศาสตร์ แก้ปัญหาปรากฏการณ์ทางกายภาพและมนุษย์)


13

โดยมีนกั ภูมิศาสตร์ ซ# ึ งเป็ นที#รู้จกั ได้แก่ เฟรด เค. เชฟเฟอร์ (Fred K. Schaefer), เวลโด ทอบเลอร์ (Weldo Tobler), วิลเลียม การ์ ริสัน (William Garrison) , ปี เตอร์ แฮกเกตต์ (Peter Haggett), ริ ชาร์ ด เจ. ชอร์ เลย์ (Richard J. Chorley) , วิลเลียม บันจ์ (William Bunge) และ ทอร์ สเตน แฮกเกอร์ แสตนด์ (Torsten Hägerstrand ) เป็ นต้น จากช่วงปี 1970s แนวคิดปฏิฐานนิยม (Positivism) ถือว่าเป็ นแนวคิดวิธีการโดดเด่นทางภูมิศาสตร์ และเป็ นจุดเปลี#ยนสําคัญของศาสตร์ นี ซึ# งมีแนวความคิดต่างๆ แตกย่อยจากยุคนีมากมาย ได้แก่ แนวความคิดภูมิศาสตร์ เชิงพฤติกรรม (Behavior Geography) ขึนเพื#อค้นหาวิธีการทําความเข้าใจว่ามนุษย์ รับรู ้พืนที# (space) และสถานที# (places) จนทําให้เกิดการตัดสิ นใจในแหล่งที#ตงั (location) นันได้อย่างไร ยิง# ไปกว่านันอิทธิ พลของแนวคิดภูมิศาสตร์ แบบสุ ดโต่ง (Radical Geography)ได้เกิดขึนพร้อมกันในช่วงปี 1970s และ 1980s เนื# องด้วยแนวคิดภูมิศาสตร์ เชิงพฤติกรรมไม่สามารถตอบปั ญหาได้อย่างเพียงพอและยัง ไม่ชดั เจนพอ จึงต้องค้นหาวิธีการอธิ บายเชิงปริ มาณใหม่ดว้ ยเทคนิคกฎเกณฑ์ที#มี (Normative techniques ) ตามแนวคิดทฤษฏีมาร์ กซิ ส (Marxist theory) ก็ได้ถูกนํามาใช้เข้ากับงานทางภูมิศาสตร์ อย่างหลากหลาย ไม่ ว่าจะเป็ น เดวิด ฮาร์ เวย์ (David Harvey, 1935-ปั จจุบนั ) และริ ชาร์ ด พีท (Richard Peet) ซึ# งเป็ นผูม้ ีบทบาท สําคัญต่อการนําเทคนิคเชิงปริ มาณมาใช้ในการอธิ บายปรากฏการณ์ต่างๆทางสังคม มากกว่าการใช้วธิ ี การ พรรณนาเชิงคุณภาพเพียงอย่างเดียว จึงทําให้เกิดทางเลือกใหม่ในการค้นหาวิธีการแก้ปัญหาเรื# องต่างๆ ถือได้ ว่าแนวความคิดนีเป็ นส่ วนหนึ#งของภูมิศาสตร์ มนุษย์ร่วมสมัย ซึ# งมีผลงานมากมายที#ได้รับการแปลเป็ นภาษา ต่างๆ สอดคล้องกับผลงานของ ยี ฟู ตวน (Yi –Fu Tuan) เป็ นนักภูมิศาสตร์ จีน-อเมริ กนั ซึ# งมีผลงานทางด้าน ภูมิศาสตร์ เชิงพฤติกรรมที#โดดเด่นที#ใช้แนวคิดและเทคนิคเชิงคุณภาพมากมาย ท้ายที#สุดภูมิศาสตร์ มนุษย์ก็ ถูกกําหนดให้เป็ นส่ วนหนึ#งของภูมิศาสตร์ เชิงพฤติกรรมแต่โดยพืนฐานแล้วจึงไม่สอดคล้องกับวิธีการเชิง ปริ มาณวิเคราะห์ที#จะนําเข้าไปศึกษาพฤติกรรมแนวคิดที#เหมาะสมกว่าควรจะเป็ นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ยิง# ไปกว่านันภูมิศาสตร์ มนุษย์ยงั ใช้เทคนิควิธีการมากมายเช่น การวิเคราะห์แหล่งที#มา และการใช้เนือหาใน วรรณกรรมเพื#อเข้าถึงภายในจิตใจของสิ# งนันๆ นอกจากนี ยังเข้าไปเกี#ยวข้องกับภูมิศาสตร์ วฒั นธรรม (Cultural Geography) อีกด้วย จนทําให้เกิดการแตกตัวของแนวคิดเชิงมนุษย์ออกไป เช่น ภูมิศาสตร์ อิสตรี (Feminist Geography) ภูมิศาสตร์ หลังยุคใหม่ (Postmodernism) ภูมิศาสตร์ หลังโครงสร้างนิยม (Poststructuralism) เป็ นต้น จนทุกวันนีได้มีความพยายามให้ความหมายของภูมิศาสตร์ ที#หลากหลาย เพื#ออธิ บายพืนผิวโลกใน ฐานะที#เป็ นที#อยูอ่ าศัยของมนุ ษย์ หรื ออธิ บายโลกในฐานะที#เป็ นที#อยูอ่ าศัยของมนุษย์โลก จนทําให้เกิดนัก ภูมิศาสตร์ ที#พยายามอธิ บายสิ# งต่างๆบนโลกในแง่มุมต่างๆ มากขึน ยกตัวอย่าง ริ ชาร์ ด ฮาร์ ทชอร์ น (Richard Hartshorne, 1899-1922) เป็ นนักภูมิศาสตร์ ชาวอเมริ กนั ที#มีบทบาทสําคัญต่อแนวคิดทางภูมิศาสตร์ ผลงานที# มีอิทธิ พลมาก คือ The Nature of Geography: A Critical Survey of Current Thought in the Light of the Past


14

ในปี 1939 เน้นเรื# องการพรรณนาและการตีความคุณลักษณะที#แปรผันหลากหลายของพืนผิวโลก อย่างเป็ น ระเบียบ และมีเหตุผล ซึ# งเป็ นกุญแจสําคัญต่อการศึกษาภูมิศาสตร์ กายภาพ เพื#อศึกษาพืนผิวโลก (earth surface) นอกจากนียังมี ปี เตอร์ แฮกเกตต์ (Peter Haggett) เกิดปี 1993 เป็ นนักภูมิศาสตร์ ชาวอังกฤษ ซึ# งมี ผลงานเกี#ยวกับภูมิศาสตร์ มนุ ษย์ทงแนวคิ ั ด ทฤษฎี การวิจยั และการสอน นอกจากนียังสนใจในเรื# องเกี#ยวกับ การระบาดวิทยาซึ# งเกี#ยวข้องกับความสัมพันธ์ทางพืนที#และโรคติดเชือต่างๆ ผลงานที#โดดเด่น ได้แก่ Locational analysis in human geography ในปี 1965 , Geography : a modern synthesis ปี 1972 , Network analysis in geography ในปี 1969 เป็ นต้น 7. ภูมิศาสตร์ กายภาพ (Physical Geography ) ภูมิศาสตร์ กายภาพเป็ นสาขาหนึ#งของศาสตร์ ธรรมชาติ ซึ# งเกี#ยวข้องกับกระบวนการและการศึกษา รู ปแบบของสิ# งแวดล้อมธรรมชาติ ซึ# งประกอบด้วย เขตบรรยากาศ (atmosphere) ชีวมณทล (biosphere) เขต ความเย็น(cryosphere) เขตพืนผิวโลก (geosphere) เขตอุทกวิทยา(hydrosphere) ชันของแข็ง (lithosphere)และชันดิน (pedosphere) โดยมีการศึกษาอย่างเป็ นระบบ ตรงข้ามกับสิ# งแวดล้อมที#มนุษย์สร้าง ขึน สาขาที#แยกย่อยออกจากภูมิศาสตร์ กายภาพ ได้แก่ • ธรณี สัณฐานวิทยา (Geomorphology) เป็ นการศึกษาเกี#ยวกับการทําความเข้าใจพืนผิวของ โลกและกระบวนการที#ทาํ ให้เกิดรู ปร่ างต่างๆ ทังในปั จจุบนั และจากอดีต ซึ# งเป็ นสาขาหนึ#ง ที#เกี#ยวข้องกับการจัดรู ปแบบของพืนผิวโลก (the specific landforms) ทางสิ# งแวดล้อม เช่น ธรณี สัณฐานของทะเลทราย และธรณี สัณฐานการไหลของนํา อย่างไรก็ตามสาขาย่อยของ ธรณี สัณฐานยังเกี#ยวข้องกับกระบวนการโครงสร้างของแผ่นเปลือกโลก และกระบวนการ ทางสภาพอากาศ เพื#อทําความเข้าใจสภาพพืนผิวทังที#ผา่ นมาและเป็ นพลวัตรรวมไปถึงการ คาดการณ์ถึงการเปลี#ยนแปลงในอนาคต ตลอดจนการสังเกต การทดลอง และการสร้าง โมเดล เดิมการศึกษาธรณี สัณฐานเป็ นส่ วนหนึ#งของสาขาทางด้านดิน (Soil Science) • อุทกวิทยา (Hydrology) เป็ นการศึกษาเกี#ยวกับปริ มาตรและคุณภาพของนํา การเคลื#อนตัว และการสะสมนําในดินในหิ นรวมไปถึงวัฏจักรอุทกวิทยา • ธรณี วทิ ยาแผ่นนําแข็งและธารนําแข็ง (Glaciology) เป็ นการศึกษาเกี#ยวกับแผ่นนําแข็ง ธาร นําแข็ง บริ เวณธารนําแข็งอัลไพน์ที#ขวโลก ั รวมไปถึงอุทกวิทยาของหิ มะและธรณี วทิ ยา ของธารนําแข็ง


15

• ชีวะภูมิศาสตร์ (Biogeography) เป็ นการศึกษาเกี#ยวกับสิ# งมีชีวติ ที#ปรากฏทางพืนที# มีดว้ ยกัน 5 สาขา ได้แก่ สิ# งมีชีวติ บนเกาะ ( Island biogeography) ภูมิศาสตร์ บรรพชีวนิ (Paleobiogeography) ภูมิศาสตร์ เกี#ยวกับวิวฒั นาการสิ# งมีชีวติ (Phylogeography)ภูมิศาสตร์ สัตววิทยา (Zoogeography) และภูมิศาสตร์ พืชขนาดเล็ก (Phytogeography) • สภาพอากาศวิทยา (Climatology) ซึ# งแตกต่างจากอุตุนิยมวิทยา กล่าวคือเป็ นการศึกษาใน เงื#อนไขภูมิอากาศในช่วงเวลาหนึ#ง การตรวจสอบสภาพอากาศทังในระดับท้องถิ#นและโลก • การศึกษาเกี#ยวกับพัฒนาการของดิน (Pedology) เป็ นการศึกษาดิน การจําแนกดิน สัณฐาน ของดิน ที#มีผลต่อภูมิทศั น์ • ภูมิศาสตร์ บรรพชีวิน (Palaeogeography) เป็ นการศึกษาการกระจายตัวของแผ่นทวีปตาม หลักฐานทางธรณี ตลอดจนการตรวจสอบทางธรณี วทิ ยาอันเป็ นหลักฐานสําคัญที#นาํ ไปสู่ การค้นพบซากฟอสซิ ลหรื อธรณี ฟิสิ กส์เพื#อใช้เป็ นข้อมูลของการเกิดปรากฏการณ์ของแผ่น ทวีป • ภูมิศาสตร์ ชายฝั#ง (Oceanography) เป็ นสาขาหนึ#งของภูมิศาสตร์ กายภาพที#ศึกษาเกี#ยวกับ มหาสมุทรและทะเล รวมไปถึงสิ# งมีชีวติ ในทะเลและพลวัตรทางนิ เวศวิทยา การไหลของ กระแสนําทะเล คลื#น และพลวัตรการไหลของนําเชิงฟิ สิ กส์ การเคลื#อนตัวของเปลือกโลก ธรณี วทิ ยาพืนทะเล และองค์ประกอบทางเคมีในทะเล เป็ นต้น • ภูมิศาสตร์ ยคุ หิ นใหม่ (Quaternary Science) เป็ นศาสตร์ ที#ศึกษายุคหิ นใหม่เมื#อ 2.6 ล้านปี นับตังแต่การสิ นสุ ดของยุคนําแข็งและการเปลี#ยนแปลงสภาพแวดล้อมที#รุนแรงในอดีตจน ทําให้เกิดการเปลี#ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ# งแวดล้อมในปั จจุบนั • นิเวศวิทยาภูมิทศั น์ (Landscape Ecology) เป็ นสาขาหนึ#งของนิเวศวิทยาที#ศึกษาเกี#ยวกับ ความหลากหลายทางพืนที#ในภูมิทศั น์ต่างๆ ที#ได้รับอิทธิ พลจากกระบวนการทาง นิเวศวิทยา ได้แก่การกระจายและการไหลของพลังงาน วัตถุ และองค์ประกอบใน สิ# งแวดล้อมต่างๆ • ยีโอเมติกส์ (Geometics) เป็ นศาสตร์ เกี#ยวกับการรวบรวม การเก็บ การวิเคราะห์เชิงเลข การ เรี ยกค้นด้านสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ หรื อการอ้างอิงทางพืนที# และยังเกี#ยวข้องกับระบบ สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และรี โมทเซนซิ ง • ภูมิศาสตร์ ส#ิ งแวดล้อม (Environmental Geography) เป็ นศาสตร์ ที#เกี#ยวข้องระหว่างมนุ ษย์ กับโลกธรรมชาติเพื#อการทําความเข้าใจพลวัตรทางธรณี วิทยา อุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา ชีวะภูมิศาสตร์ และธรณี สัณฐานวิทยา


16

8. สรุ ป แนวความคิดทางภูมิศาสตร์ ในฐานะที#เป็ นศาสตร์ ทางพืนที# (spatial) นอกจากมีการปรับตัวในการ ให้ความหมายกว้างขึนแล้ว ยังทําให้ศาสตร์ ทางพืนที#ตอ้ งก้าวทันการเปลี#ยนแปลงของสังคมและสอดคล้อง กับการบริ บทของสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่ งผลให้เกิดการ เปลี#ยนแปลงของแนวความคิด ทฤษฎี และวิธีการทางพืนที# มีการปรับตัวให้ทนั กับการเปลี#ยนแปลงดังกล่าว เพื#อทําความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สิ# งแวดล้อม และเพื#อเข้าใจปรากฏการณ์ทางพืนที#บนโลก ดังนันนักภูมิศาสตร์ ในอนาคตจึงต้องเผชิ ญกับความท้าทายทังในแง่ทฤษฎีและการนําไปใช้อย่างหลีกเลี#ยง ไม่ได้ ลักษณะจําเพาะของศาสตร์ ทางพืนที# ภูมิศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ ที#ศึกษาเกี#ยวกับพืนที# ซึ# งประกอบด้วย • พืนที# (Space) หมายถึง พืนโลกซึ# งมีมิติที#เกี#ยวข้องสัมพันธ์กนั 3 มิติคือ ความกว้าง ความ ยาว และความสู งหรื อความลึก • ที#ตงั (Location) หมายถึง ตําแหน่ง (Position) บนพืนโลกแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท 1) ที#ตงสมบู ั รณ์ (Absolute Location) คือ ตําแหน่งบนพืนโลกที#บอกโดยใช้ละติจูด (Latitude) และลองจิจูด (Longitude) 2) ที#ตงสั ั มพันธ์ (Relative Location) คือ ตําแหน่งบนพืนโลกซึ# งบอกโดยใช้ความสัมพันธ์ กับบริ เวณข้างเคียง ความหมาย • ภูมิศาสตร์ หมายถึง การศึกษาที#ตงั และการจัดระเบียบของปรากฏการณ์ต่างๆ บนพืนโลก และกระบวนการต่างๆ ที#ก่อให้เกิดการกระจายของสิ# งเหล่านัน • ภูมิศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ ที#เกี#ยวข้องกับการพัฒนาหลักการและเหตุผล และการทดสอบ ทฤษฎีต่างๆ ที#พยายามอธิ บายและพยากรณ์การกระจายทางพืนที#และที#ตงของลั ั กษณะ ต่างๆที#แตกต่างกันบนพืนโลก ----------------------------


17

เอกสารอ้ างอิง กุลยา วิวติ เสวี. (2548). วิวฒ ั นาการแนวคิดทางภูมิศาสตร์ : Evolution of Geographic Thoughts. กรุ งเทพ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ฉัตรชัย พงศ์ประยูร. (2532). ศาสตร์ ทางพืน ที บทอ่ านทางภูมิศาสตร์ . กรุ งเทพฯ: ศูนย์หนังสื อจุฬาลงกรณ์. สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(องค์การมหาชน), (2552). ตําราเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศศาสตร์ (Space Technology and Geo-Informatics). กรุ งเทพฯ: อัมริ นทร์ พริ น ติงแอนด์พบั ลิชชิ#ง จํากัด (องค์การมหาชน). Kennedy, Christina and Christopher Lukinbeal (1997). “Towards a Holistic Approach to Geographic Research on Film.” Progress in Human Geography ( 21,1) : 33-50. Retrieved on July 18, 2010 from http://www.coss.fsu.edu/geography/stallins/geog/Readings/filmkennedy.pdf ข้อมูลจากเว็บไซต์ http://www.csiss.org/classics/content/15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.