บทที่ 8 การแปลความหมายภาพถ่ายทางอากาศ (Aerial Photo Interpretation)
1 http://www.lannacorner.net/lanna2011/article_h.php?page=13
จุดประสงค์ 1. เพื่อเข้าใจหลักการได้มาซึงภาพถ่ายทางอากาศ 2. สามารถแปลตีความหมายภาพถ่ายทางอากาศได้ 3. สามารถบอกหลักการและขัน้ ตอนการแปล ภาพถ่ายทางอากาศได้
http://natres.psu.ac.th/Department/EarthScience/remote1/chapter4.pdf
2
เนือ้ หา
1.ความสาคัญ 2.รายละเอียดของภาพถ่ายทางอากาศ 3.ฟิล์มที่ใช้ในการถ่ายรูปทางอากาศ 4. แผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม 5. งานของการแปลภาพแบ่งได้เป็น 4 อย่าง 6. หลักการมองภาพสามมิติ 7. หลักการจัดภาพ 8. หลักการแปลภาพถ่ายทางอากาศ 9. กลย ุทธ์ในการแปลภาพ (Interpretation strategies) 10. การเตรียมภาพและการด ูภาพรวม (Photo preparation and viewing)
สร ุป 3
U.S. Army, 1916 to 1918
http://www.asprs.org/a/publications/pers/2008journal/janu ary/2008_jan_77-93.pdf
4
การแปลภาพถ่ายทางอากาศเป็ นงานที่ละเอียด และส่วนใหญ่เป็ นการ แปลภาพด้วยสายตา การแปลภาพถ่ายเป็ นการตีความหมายจากภาพถ่าย ซึ่งเป็ นการ วิเคราะห์เชิงคุณภาพ ผูแ้ ปลต้องใช้ความชานาญและความสามารถ คือ ความชานาญในการปฏิบตั กิ าร ความสามารถในการวิเคราะห์ อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล อธิบาย และจาแนกรูปแบบต่างๆ ที่ซับซ้อนได้ การแปลภาพถ่ายอาจจะแปลจากภาพเดีย่ ว 2 มิติ แต่ความแม่นยาจะ น้อย ซึ่งการแปลภาพถ่ายแบบสามมิตโิ ดยใช้ภาพคูส่ ามมิติจะทาให้ การแปลภาพถูกต้องและแม่นยามากขึน้ 5
•หมายเลขม้วน •หมายเลขรูป •มาตราส่วน •วัน เดือน ปี ที่ทาการถ่ายรูป •ความสูงบิน •หมายเลขหรือชือ่ โครงการ •หน่วยที่ผลิต •รายละเอียดอื่นๆ ที่ตอ้ งการให้ทราบ •อื่น ๆ เช่น เวลาที่ทาการถ่ายภาพ ฟองระดับ ชนิดของเลนซ์ 6
•ฟิ ล์ม PANCHROMATIC หรือฟิ ล์มขาวดา •ฟิ ล์มสี •ฟิ ล์มอินฟราเรด •ฟิ ล์มพิสจู น์ทราบการซ่อนพราง เป็ นฟิ ล์มพิเศษที่ให้ขา่ วสาร เกีย่ วกับการซ่อนพลางโดยเฉพาะ ทัง้ นีเ้ พราะพืชพรรณตาม ธรรมชาติจะปรากฏเป็ น สีแดง ในขณะที่สิ่งที่มนุษย์สร้างขึน้ เป็ นสีฟ้า 7
แผนที่ มีการฉายแสงแบบ orthoprojection ภาพถ่ายทางอากาศมีการฉายแสง แบบ central projection
ภาพดาวเทียมมีการฉายแสงแบบ multi central projection
8
ชนิดของภาพถ่ายทางอากาศ ขึน้ อยู่กบั มุมกล้องที่ใช้ในการตรวจจับพื้นผิวโลก มี 2 ลักษณะคือ 1.การถ่ายภาพในแนวดิง่ Vertical Low oblique High oblique 2. การถ่ายภาพในแนวเฉียง Lens 2.1 เฉียงสูง 2.2 เฉียงตา่ Film plane
Horizon line
9 http://geog.hkbu.edu.hk/geog3610/Lect-04_files/frame.htm
การถ่ายภาพแนวเฉียง (Oblique Photography)
https://www.academia.edu/2549244/Archaeological_aerial_survey_oblique_photography_and_archaeological_mapping
10
https://www.academia.edu/2549244/Archaeological_aerial_survey_oblique_photography_and_archaeolo gical_mapping
11
ภาพถ่ายทางอากาศในแนวดิ่ง Vertical airphoto of Maipo wetland ofHong Kong and adjacent Shenzhen urban built-up area(1997)
http://geog.hkbu.edu.hk/geog3610/Lect-04_files/frame.htm
12
ภาพถ่ายทางอากาศแนวเฉียงต่า Low-oblique air photo (horizon not shown) of Aberdeen,Hong Kong(1999).
13
ภาพถ่ายทางอากาศแนวเฉียงสูง High-oblique airphoto (horizon included) of YuenLong and rural area of Hong Kong, by Lands Department of HKSAR (1999).
14
เลนส์กล้อง A classical Carl Zeiss camara lens with 180mm focal length, note marks of diaphragm and focus range.
Multispectral camera A nine-lens multispectral camera 15
Panchromatic aerial photograph A panchromatic aerial photograph of Tweed region, North NSW,Australia
16
Normal colour aerial photograph A high-resolution(20cm) normal colour aerial photograph of a residential area in Berlin. (Courtesy GeoContent GmbH: www.geocontent.de)
Colour infrared aerial photograph A high-resolution(20cm) colour infrared aerial photograph of a residential area in Berlin. (Courtesy GeoContent GmbH: www.geocontent.de) 17
Focal length of the camera lens
Clock to show time of the photogrape
Notch to find principle point
Name of the place of photograph , flight height, photo index, and procurer 18
ภาพ 3 มิติจากภาพถ่ายทางอากาศ 3-dimensional photograph that was produced from a photograph pair that is coloured as cyan for the left photo and red for the right photo. The 3-dimensional vision can be viewed using a coloured spectacles with cyan on the left and red on the right.
19
ทิศทางการบินถ่ายภาพ Aerial camera stations are spaced to provide for about a 60%forward overlap of aerial photographs along each flight line and a 20-30% sidelap for adjacent lines.
20
ปัจจัยในการพิจารณาการได้มาซึ่งภาพถ่ายทางอากาศ sidelap Tilt f FOV
Flight line
30%
Crab Overlap
H
21
การบินถ่ายภาพ
22
1. 2. 3. 4.
การจาแนก การจาระไน การวัด การกาหนดขอบเขต
23
5.1 การจาแนก (classification) หมายถึง การระบ ุชนิด ลักษณะต่างๆ ของวัตถ ุ หรือสภาพพื้นที่โดยขึน้ อยู่กบั ลักษณะที่ เห็นในภาพ การแยกแยะนีก้ ระทาใน 3 ระดับความเชือ่ มัน่ และ ความถูกต้อง คือระดับการตรวจจับได้ (detection) ว่ามี หรือไม่มีลกั ษณะที่ตอ้ งการจาแนกในภาพ การจดจาได้ (recognition) ต้องใช้ความรูใ้ นระดับสูงขึน้ ในการแยกวัตถุนนั้ ว่าอยู่ในประเภทใดโดยทัว่ ไป การกาหนด(identification) วัตถุชนิดต่างๆ ให้อยู่ในประเภทที่เฉพาะเจาะจงด้วยความเชื่อมัน่ พอสมควร 24
5.2 การจาระไน (enumeration) หมายถึง การนับรายการ ต่างๆ ที่เห็นในภาพ เช่น การจาแนกบ้านเป็ นแบบบ้านเดีย่ ว หรือ บ้านรวมหลายครัวเรือน หรือที่อยู่อาศัยหลายชัน้ หลังจากนัน้ ก็ รายงานว่าลักษณะบ้านแต่ละแบบมีจานวนเท่าใด หรือมีความ หนาแน่นเท่าไร ซึ่งความสามารถนีข้ นึ้ อยู่กบั ว่า เราสามารถแยกแยะ สิ่งต่างๆ เหล่านีช้ ดั เจนเพียงไร 5.3 การวัด (measuration) การวัดมักจะเป็ นปั ญหาของการ แปลภาพ การวัดมี 2 อย่าง คือ การวัดระยะทาง ความสูง ตลอดจนพื้นที่และปริมาตร ซึ่งมักเป็ นงานทางด้านการวัดจาก ภาพถ่าย อีกรูปแบบหนึง่ ของการวัด คือ การประเมินปริมาณความ ส่องสว่างของภาพ (photometry) 25
5.4 การกาหนดขอบเขต (delineation) ผูแ้ ปลจะต้อง กาหนดขอบเขตลักษณะที่แปลลงบนภาพ โดยใช้ความแตกต่าง ขององค์ประกอบต่างๆ ของภาพเป็ นตัวกาหนด ปั ญหามักจะ เกิดขึน้ ตรงที่ การกาหนดระดับที่รวมหลายๆ วัตถุให้อยู่ในประเภท เดียวกัน (generalization) เช่น ในบางครัง้ พื้นที่หนึง่ มีแปลง เล็กๆ จานวนมากที่เห็นได้ชดั อยู่กระจัดกระจายรวมกับพื้นที่อย่าง อื่น จะรวมพื้นที่เหล่านัน้ ให้เป็ นเรื่องเดียวกับพื้นที่ใหญ่ หรือจะ แยกกัน บางครัง้ การตัดสินใจที่จะวาดขอบเขตพื้นที่ที่มีขอบเขต ซับซ้อนหรือ ขอบเขตของพื้นที่ไม่ชดั เจนออกให้แน่นอนจะทาได้ยาก 26
-ทิศทางบิน -ฐานกล้องเท่ากับระยะทาง ระหว่างสถานี ถ่าย -ภาพถ่ายคู่สามมิติ
การใช้ภาพถ่ายทางอากาศในท ุก งาน จะเกี่ยวข้องกับการมอง ภาพเป็นสามมิติ การที่เรา สามารถมองเห็นภาพเป็นสาม มิติ เกิดจากการที่เรามองวัตถ ุ เดียวกัน จากตาทัง้ สองข้าง คนละตาแหน่งพร้อมๆ กัน ความแตกต่างของตาแหน่ง ของตาทัง้ เราจะได้ภาพ 2 ภาพ ที่อยูเ่ รียงกัน เรียกว่า ภายถ่าย คส่ ู ามมิติ (stereopairs) รูปที่ 2 กลไกในการมองภาพสามมิตจิ ากภาพถ่ายทางอากาศ ที่มา : Paine, 1981
-มองภาพถ่ายคู่สามมิติผ่านทาง กล้องมองภาพภาพถ่ายคู่สาม มิติ -ภาพถ่ายคู่สามมิติทีววางราบ
-ตารวมจุดภาพทีวเหมือนกัน โดยเห็นฐานของวัตถุอยู่ทวี B และยอดของวัตถุทีว T
27
รูปทีว 3 ภาพคู่สามมิติของพื้นทีวตะกอนใบพัดในเขต Death Valley แคลิฟอร์เนี ย (ภาพ USGS) ทีวมา : Lilles and and Kiefer, 1994 28
•
รูปที่ 4 การวางภาพถ่ายคู่สามมิติเพื่อให้มองเห็นเป็นโมเดลภาพสามมิติ โดยให้จดุ หลัก, Pi และจุดหลักค่,ู Pi′ อยูห่ ่างกันเท่ากับระยะฐานตา หรือ ระยะฐานกล้อง (รูปที่ 2) ดัดแปลงจาก Zuidam, 1986
29
กล้อง Stereoscopes
Pocket stereoscope
Desktop and pocket (left)stereo scopes for stereo view of aerial photographs.
30 http://www.fao.org/DOCREP/003/T0390E/T0390E08.htm
กล้อง Stereoscopes ชนิดต่างๆ
Pocket Stereoscope
Mirror Stereoscope
Scanning Stereoscope‘
Interpreterscope’(Carl Zeiss)
http://www.cdioinstitute.org/papers/Day1/AERIAL%20PHOTOGRAPHY_Abraham_Thomas.pdf
31
Computing heights using object displacement
Wan Chai urban area of HongKong. The Building marked A shows great displacement because it is far away from the nadir
32
Computing heights using stereoscopic parallax Stereo photo pair of WanChai urban area of HongKong. Note that the photo pair must be correctly aligned for stereo view before computing heights using parallax
33
Summer (leaf on) and winter (leaf off) air photos for the same ground area in western Pennsylvania
การพิจารณาช่วงฤด ูกาล 34
Effects of 8 different illumination angles
35
หลักการจัดภาพที่สาคัญ คือ การจัดให้แนว กล้องขนานกับฐานภาพถ่าย และ ระยะห่างระหว่างจุดหลักและจุดหลักค่ ู เดียวกันบนภาพทัง้ สอง มีระยะใกล้ เคียงกับฐานเครื่องมือ บางคนใช้เวลาใน การจัดภาพเพียงไม่กี่นาที แต่บางคนอาจใช้ เวลานานมาก ขึน้ อยูก่ บั ประสบการณ์และ สายตาของแต่ละคนบางคนที่มตี าสองข้าง ที่ทางานไม่เท่ากัน อาจทาไม่เห็นภาพสาม มิตใิ นตอนแรก แต่เมือ่ ปรับตาไปนานๆตา สองข้างจะทางานเท่ากันจึงมองเห็นภาพ สามมิตไิ ด้ http://www.english-heritage.org.uk/professional/research/landscapes-and-areas/aerial-survey/archaeology/
36
การแปลภาพถ่ายทางอากาศ หมายถึง การสกัดเอาสารสนเทศด้าน ค ุณภาพ (qualitative information) ของธรรมชาติ การกาเนิด บทบาท หรือสิ่งที่แสดงออกของวัตถุตา่ งๆ ที่เห็นจากภาพถ่ายสารสนเทศ ด้านคุณภาพนี้ เป็ นการปฏิบตั ทิ ี่นอกเหนือจากการคาดคะเนสารสนเทศ ทางด้านปริมาณ ที่เราสามารถหาได้งา่ ยๆ จากภาพถ่าย เช่น ขนาด ตาแหน่ง จานวน หรือการกระจายของวัตถุตา่ งๆ ซึ่งต้องใช้เป็ นข้อมูลเบื้องต้นในการ แปลภาพอีกที ต้องใช้ความรูใ้ นวิชาการต่างๆ จากหลายสาขามาประย ุกต์ ต้องสามารถแยกเฉพาะสิ่งที่เราต้องการจะศึกษาออกจากสิ่งอื่นๆ ซึ่งมี อยูม่ ากมายหลายอย่างปะปนกันอยูบ่ นภาพถ่าย ยกตัวอย่าง เช่น การ แปลภาพถ่ายทางอากาศเพื่อการสารวจดิน ก็ตอ้ งเลือกลักษณะต่างๆ ที่ ปรากฏอยูบ่ นภาพถ่ายที่มคี วามสัมพันธ์กบั ดินต้องมีความชานาญของผูแ้ ปล 37 ภาพถ่าย
มี 3 ระดับใหญ่ๆ 1. การอ่านภาพ (image reading) หาการกระจายและความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะหลักเหล่านัน้ 2. การวิเคราะห์ภาพ (image analysis) การวิเคราะห์ภาพเป็ นการอ่านภาพที่ เน้นรายละเอียด เพื่อให้เข้าใจลักษณะต่างๆ ที่เห็นในภาพได้มากขึน้ 3. การแปลภาพ (image interpretation) เป็ นการวิเคราะห์แบบตัง้ เหตุผล หรือตัง้ สมมุตฐิ าน (inductive) และสืบสาวเหตุผลเฉพาะเรื่อง (deductive) เช่น ในกรณีที่ตอ้ งการหาแนวเส้นที่มกี ารฝังท่อส่งนา้ มัน ซึ่งเรามองไม่เห็น ท่อในภาพถ่าย แต่เราสามารถสืบได้จากเหตุผลที่ว่า บริเวณที่ฝังท่อจะมีพืช พรรณต่างจากบริเวณข้างเคียงและดินต้องมีการระบายนา้ ดี เพราะกลบ ด้วยทรายและหิน สีของดินก็จะจางมากกว่าดินข้างเคียง และแนวฝังท่อควร จะเป็ นเส้นตรง 38
1. รูปร่าง (shape) หมายถึง รูปร่างที่เห็นเป็น 2 มิติในแนวดิ่ง 2. ขนาด (size) ขนาดของวัตถ ุในภาพถ่ายทางอากาศจะแปรเปลี่ยนไป ตามมาตราส่วนของภาพถ่าย และมีสว่ นสัมพันธ์กบั ขนาดของสิ่ง ต่างๆ โดยรอบ 3. เงา (shadow) รูปร่างหรือโครงร่างของเงาของวัตถ ุ ช่วยให้ผแ้ ู ปล ภาพทราบลักษณะรูปหน้าตัดของวัตถุ โดยเฉพาะวัตถุขนาดเล็ก ที่มสี ีหรือ ความเข้มไม่เด่นชัด เมือ่ เทียบกับสภาพแวดล้อม 4. สี หรือ โทนสี (color or tone) หมายถึง สีหรือระดับความเข้มของ สีเทาของจุดภาพ ซึ่งมีตงั้ แต่ระดับของสีเทาจากจางสุดไปถึงเข้มสุด (shade of grey) ระดับของโทนสี จะสัมพันธ์กบ ั ปริมาณของแสงที่สะท้อน จากวัตถุ โทนสีของภาพ มีสว่ นช่วยในการแปลภาพถ่ายได้มาก โทนสีแตกต่าง กัน อาจจะหมายถึงลักษณะของดิน หรือพืชพรรณที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจเป็ น39 ผลของสภาพทางธรณีที่ตา่ งกัน
5. เนื้อภาพ (texture) คือ ความถี่ของการเปลี่ยนโทนสีของจุดภาพซึ่ง เกิดจากการรวมหน่วย เล็กๆ ที่ไม่สามารถมองเห็นแยกออกเป็ นแต่ละ หน่วย ความหยาบละเอียดของภาพถ่ายมักจะบรรยาย ลักษณะเป็ นลักษณะ เรียบ ละเอียด ขรุขระ หยาบ และอื่นๆความแตกต่างของความหยาบละเอียด ของภาพถ่าย มักจะใช้บอกถึงชนิดของพืช 6. รูปแบบ (pattern) เกี่ยวข้องกับลักษณะการเรียงตัวของวัตถ ุต่างๆ ที่มีตามธรรมชาติ และที่ มน ุษย์สร้างขึ้น
40
http://www.sonoma.edu/users/f/freidel/techniques/exer/rem_s ens/RemSen_b.html
41
1. ที่ตงั้ และความสัมพันธ์กบั รายละเอียดข้างเคียง (location and relation to associated features)
2. การเปลี่ยนแปลงตามเวลา (temporal change) การ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางธรรมชาติที่เกิดในแต่ละช่วงเวลาที่เปลี่ยนแปลง มีความสาคัญต่อการแปลภาพถ่ายเพราะว่าปั จจัยต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงจะมี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ 3. การรวบรวมหลักฐานต่างๆ (convergence of evident) ใน การแปลภาพ ผูแ้ ปลจะรวบรวมหลักฐานรอบด้านที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรา สนใจจากภาพถ่าย
“การออกภาคสนามจะดีที่ส ุด” 42
1. ประเด็นที่แรก คือ ต้องกาหนดระบบการจาแนก (classification system) และบรรทัดฐาน (criteria) ที่ใช้ในการแบ่งประเภท (categories) ของสิ่งที่ปรากฏบนภาพถ่ายถ้ามีผท ้ ู างานร่วมกัน หลายคนจะต้องมีการตกลงกันในรายละเอียดให้แน่นอน หลังจากนัน้ ก็ให้กาหนดสัญลักษณ์กบั สิ่งที่แยกไว้ 2. ประเด็นที่ 2 ที่ตอ้ งรูใ้ นการลากขอบเขตหน่วยพื้นที่ในภาพถ่าย คือ การเลือกหน่วยแผนที่ที่เล็กที่สดุ (minimum mapping unit, MMU) ที่จะใช้ในกระบวนการแปล MMU หมายถึง ขนาดพื้นที่ บน ภาพที่เล็กที่ส ุด ที่สามารถวาดขอบเขตเพื่อการทาแผนที่หนึ่งๆ MMU จะเป็นตัวกาหนดรายละเอียดของการแปล (ดังแสดงในรูป) จะ เห็นว่า แผนที่ที่ใช้ MMU ขนาดเล็ก จะแสดงรายละเอียดได้มากกว่า แผนที่ที่ใช้ MMU ขนาดใหญ่ 43
รูปที่ 6 อิทธิพลของขนาดของหน่วยแผนที่ที่เล็กที่สดุ a) ขนาดพื้นที่เล็ก b) ขนาดพื้นที่ใหญ่ ที่มา : Campbell, 1987
44
หลังจากกาหนดระบบการจาแนก และ MMU แล้ว ผูแ้ ปลก็จะได้ประเภท ของสิ่งที่สนใจ ผูแ้ ปลก็เริ่มลากขอบเขต เพื่อแยกประเภทสิ่งต่างๆ ให้ เริม ่ จากสิ่งที่มีลกั ษณะที่แตกต่างกันมากที่ส ุดก่อน หรือเริม ่ ทางานจาก ลักษณะทัว่ ไป (general) ไปสูเ่ ฉพาะเรือ่ งที่เฉพาะเจาะจง (specific)
ตารางที่ 1 ขนาดพื้นที่ภ ูมิประเทศที่เล็กที่ส ุด ที่สามารถกาหนดลงบนแผนที่ที่ระดับการ จาแนกต่างๆกัน โดยมี MMU เท่ากับ 2.5 มม. x 2.5 มม. 45
ขัน้ ตอนต่อไปหลังการแปลภาพ คือ การออกไปตรวจสอบสภาพความเป็น จริงในภาคสนาม ว่าขอบเขตของทรัพยากรที่ได้จาการแปลนัน้ ถูกต้องตามความเป็นจริงในภาคสนามหรือไม่ ลักษณะและ รายละเอียดเป็นอย่างไร ตรงตามที่คาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่ถกู ต้องก็ ต้องแก้ไขให้ถกู ต้อง และรายงานผลที่ถกู ต้อง
46
1. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่างๆ เช่น แผนที่ รายงานใน ภาคสนาม หรือภาพอื่นๆรวมถึงเครือ่ งมือที่ใช้ในการด ูภาพ 2. เรียงภาพถ่ายอย่างเป็นระบบตามดัชนีภาพ และสอดคล้องกับแผนที่ ถ้าบริเวณใดที่มีเมฆปกคล ุม อาจจะต้องวางแผนหาวิธีการอื่นมา ทดแทนที่ว่างนี้ 3. ทาบกระดาษไขหรือแผ่นใสลงเป็นภาพถ่าย ทาเครือ่ งหมายจุดต่างๆ ลงไปก่อนเพื่อการต่อภาพ เช่น ทิศเหนือ จุดดัชนี หมายเลขรูปถ่าย จุด หลัก และ จุดควบค ุมบนพื้นดิน ถนน หรือแม่น้า ลาคลอง เป็นต้น 47
4. เริ่มต้นผูแ้ ปลต้องจากัดขอบเขตพื้นที่ประสิทธิภาพ (effective area) บนภาพที่จะแปล พื้นที่ประสิทธิภาพ เป็นพื้นที่ระหว่างเส้นตัง้ ฉากของจุดกึ่งกลางของเส้น ที่ต่อระหว่างจุดหลักและจุดหลักคข่ ู อง ภาพข้างเคียง (match line ในรูป 7) เพราะบริเวณนี้อยูใ่ กล้จดุ หลัก จะช่วยลดปัญหาความคลาดเคลื่อนเนื่องจากความสูงได้ หลังจากนัน้ ให้กาหนดจุดบน match lineประมาณ 3 - 4 จุด ซึ่งจะใช้เป็นจุดปีก (wing points) หลังจากนัน ้ ย้ายจุดปีกนี้ไปยังภาพด้านข้างซึ่งจะ กลายเป็นจุดปีกย้าย (wing transferred points) การย้ายจุดปีก ต้องกาหนดใต้กล้องมองภาพสามมิติ การเลือกจุดปีกให้เลือกจุดทัง้ บนที่ราบและที่สงู 48
จุดปีกที่ยา้ ยนี้เมื่อลากต่อกันจะเป็นเส้นตรง แต่ถา้ เป็นบริเวณที่ มีพ้ ืนที่สงู ต่า อาจจะไม่เป็ นเส้นตรงเนื่องจากมีความคลาดเคลื่อนเนื่องจากความสูงของพื้นที่ จุดปีกนี้ จะเป็ นประโยชน์เมื่อเราเอาแผ่นร่างที่แปลแล้วมาต่อกันตรงจุดปีก จะทาให้ภาพไม่เลื่อน
รูปที่ 7 พื้นที่ประสิทธิภาพ จุดปีก (x) ของภาพค่สู ามมิติ และการย้ายจุดปีกไปยังภาพ ข้างเคียง (x′) ดัดแปลงจาก Zuidam, 1986 49
รูปที่ 8 ภาพคูส่ ามมิติ 3 ภาพที่ประกอบด้วยจุดควบคุมภาคสนาม และจุด ควบคุมบนภาพถ่าย ที่มา : Paine, 1981
50
รูปที่ 9 โครงข่ายสามเหลี่ยมของภาพที่ควบคุมจุดจากรูปที่ 8 แนวการบิน จะต้องเป็ นแนวตรงอย่างสมบูรณ์ที่มา : Paine, 1981 51
5. ลากขอบเขตบนแผ่นใสหรือกระดาษไขที่ทาบลงบนภาพ แล้วเขียน สัญลักษณ์ หรือตัวเลขแทนสัญลักษณ์ลงในขอบเขตที่วาดท ุกครัง้ ขอบเขตที่ลากจะต้องให้มีจดุ เริ่มและจุดจบเป็นจุดเดียวกัน (polygon) สัญลักษณ์ดงั กล่าวได้มาจากการกาหนดแบบแผนการจาแนก และ MMUในตอนเริม ่ กระบวนการแปลภาพ 6. เมื่อได้แผนที่ที่แปลแล้ว นาแผนที่มาต่อกันตามจุดปีกย้าย หรือจุด ควบค ุมบนพื้นดิน และถ้าภาพถ่ายมีขนาดเท่ากับแผนที่ให้ทาบ เปรียบเทียบกับแผนที่อีกทีหนึ่ง ในกรณีที่มีคนทางานหลายคนใน โครงการเดียวกัน แต่ละคนจะต้องคานึงถึงข้อตกลงในการแปลภาพ อย่างเคร่งครัดไม่ว่าจะเป็นระบบการจาแนก และ MMU และเมื่อเอา ภาพที่แปลมาต่อกัน ผูแ้ ปลแต่ละคนจะต้องรับผิดชอบร่วมกันในการ ปรับขอบเขตของพื้นที่ ที่เป็นรอยต่อให้เข้ากันได้ 52
A : ความผิดพลาดด้านขอบเขต B : ความผิดพลาดด้านสัญลักษณ์ 53
ระดับการแปล
54
สรุป ภาพถ่ายทางอากาศเป็นภาพถ่ายที่ได้จากอากาศยานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น การติดตัง้ กล้องถ่ายรูปไปพร้อมกับบอลล ูน เครือ่ งบิน เฮลิคอปเตอร์ เป็นต้น ภาพที่ได้มานัน้ ถือว่ามีประโยชน์ มีความทันสมัย และเก็บ บันทึกเรือ่ งราวต่างๆเพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามภาพถ่ายทางอากาศไม่ถือว่าเป็น แผนที ต้องใช้รว่ มกับแผนที่และเครือ่ งมืออื่นๆ จึงจะเกิดประสิทธิภาพ สูงส ุด ส่วนค ุณสมบัติของผูแ้ ปลภาพถ่ายทางอากาศต้องมีประสบการณ์ ความ ชานาญ และความคน้ ุ เคยของพื้นที่และลักษณะจาเพาะของการได้มา ซึ่งภาพถ่ายทางอากาศ รวมทัง้ เรื่องขนาด รูปร่าง เงา ความเข้มของ สี สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง ล้วนเป็นปัจจัยสาคัญต่อการแปลตีความ ข้อมูลจากภาพถ่ายทางอากาศทัง้ สิ้น 55
http://www.nrem.iastate.edu/class/assets/nrem345/Week6_ALL.pdf
แบบฝึ กหัดการแปลภาพถ่ายทางอากาศ
56
ที่มา http://geog.hkbu.edu.hk/geog3610/Lect-04_files/frame.htm http://natres.psu.ac.th/Department/EarthScience/remote1/chapter4.pdf http://www.fao.org/DOCREP/003/T0390E/T0390E00.htm#toc
http://kmcenter.rid.go.th/kmc14/gis_km14/gis_km14(33).pdf http://www.cdioinstitute.org/papers/Day1/AERIAL%20PHOTOGRAPHY_ Abraham_Thomas.pdf http://www.nrem.iastate.edu/class/assets/nrem345/Week6_ALL.pdf
57