แผนปฏิบัติราชการ git 54 แก้ไข

Page 1

~0~

สรุป แผน-ผลปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 และการประเมินความเสี่ยง สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~1~

คานา เนื่องจากแผนบริหารราชการประจาปี 2553-2556 ซึ่งเป็นแผนที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะแล้ว โดยกาหนดให้สาขาวิชาได้ จัดทาแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2553-2556 ให้สอดคล้องกับแผนบริหารราชการของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าว ที่กาหนดให้จัดทาแผนปฏิบัติ ราชการประจาปีแต่ละปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยระบุสาระสาคัญในด้านนโยบายการปฏิบัติราชการ เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงาน รวมทั้ง งบประมาณรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นๆที่ต้องใช้ ดังนั้นเพื่อให้แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2553-2556) ของคณะฯ จึงดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดย วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของสาขาวิชา ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน วิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของประเทศ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เป็นโอกาสและอุปสรรคต่อการดาเนินงาน ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อ ทบทวนพันธกิจและกาหนดเป็นวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ การพัฒนาที่มีความสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงที่ เกี่ยวข้องต่างๆ สาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการนี้ จะนาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปสู่ทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยมีจุดเน้นที่ การพัฒนาระบบการจัดการให้ทันสมัย พัฒนาการวิจัยและการผลิตบัณฑิตในทุกระดับให้มีคุณภาพและคุณธรรมเป็นที่ต้องการและเป็นที่พึ่งของสั งคมและ ประเทศชาติ ภายใต้ระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) ต่อไป

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ สิงหาคม

2555

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~2~

สารบัญ หน้า คานา ความเป็นมาของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ สรุปภาพรวมของการบริหารจัดการสาขา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ วิสัยทัศน์ ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ สรุปแผน-ผลงบประมาณตามยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด และค้าเป้าหมายของเป้าประสงค์ สรุปแผน-ผลการปฏิบัติงานตามพันธกิจ ประจาปีงบประมาณ 2555 สรุปผลการดาเนินการจากประกันคุณภาพตนเอง รอบปี 2554 (SAR) สรุปด้านการบริหารความเสี่ยง

3 3 4

6 11 15 19

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~3~

ความเป็นมาของสาชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (วท.บ.)คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสภาวิชาการได้อนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรนี้ในการประชุม ครั้งที่ 5/2552 ลงวัน ที่ 11 เดือ น พฤศจิ กายน พ.ศ. 2552 และสภามหาวิท ยาลัย อนุมัติ / เห็น ชอบหลัก สูตรในการประชุม ครั้งที่ 12/2552 ลงวัน ที่ 17 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 และได้ผ่านการอนุมัติหลักสูตรจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ลงวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ได้เปิดสอนใน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นมา เปิดดาเนินการสอนในปี 2553 นั้นมีอาจารย์ประจาหลักสูตร 2 คน มีจานวนนักศึกษา 1 หมู่จานวน 10 คน ต่อมาในปี 2554 ได้เพิ่มอาจารย์อีก 1 คน นักศึกษาจานวน 25 คน และปี 2555 มีนักศึกษา 20 คน รวม 55 คน และอาจารย์จานวน 3 คน สรุปภาพรวม การบริหารจัดการสาขาวิชา ปัจจุบันสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ได้เปิดสอนระดับ ปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต เป็นหลักสูตร 4 ปี ซึ่งเปิดสอนมาได้เป็นปีที่ 2 ณ ปัจจุบันมีอาจารย์ประจาสาขา 3 คน นักศึกษารวม 48 คน จาแนกเป็นชั้นปีที่ 3 จานวน 7 คน (ออกไปแต่งงาน 2 คนและติดทหารเรือ 1 คน) ชั้นปีที่ 2 จานวน 22 คน และชั้นปีที่ 1 จานวน 19 คนได้รับการจัดสรรงบประมาณ(บกศ.) ในปี 2554 จานวน 26,100 บาท และได้รับการจัดสรรจาก นอกคณะ คือคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะวิทยาการจัดการ จานวน 16,750 บาท รวมงบดาเนินการ 42,850 บาท และได้รับงบประมาณ การวิจัยจากสานักวิจัยจานวน 20,000 งานวิจัยภายนอกจานวน 430,000 บาท รวม 450,000 บาท รวมทั้งสิ้น 492,850 บาท จึงทาให้สาขาวิชาสามารถ บริหารจัดการตามพันธกิจต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ดังตารางข้างล่าง) และมีผลการประเมินคุณภาพปี 2554 ระดับสาชาได้ 4.09 ซึ่งอยู่ในระดับดี แหล่งงบประมาณ -งบประมาณที่ได้รับจัดสรรให้สาขาวิชา -งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรนอกคณะ

จานวน (บาท) 26,100 16,750

รวม

42,850

จานวนนักศึกษา (คน) ปี1 ปี 2 ปี 3 รวม 19

22

7

48

หมายเหตุ เฉลี่ยต่อหัว นักศึกษา= 892 บาท

จานวน อาจารย์ (คน) 3

แหล่ง จานวน (บาท) งบประมาณ ภายใน ภายนอก -สานักวิจัย -GISTDA -สสส. รวม

หมายเหตุ

20,000 เฉลี่ยต่อหัว= 230,000 150,000 200,000 บาท 450,000

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~4~

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

วิสัยทัศน์ พัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งสู่การผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม เป็นผู้นาด้านบริการวิชาการ สร้างงานวิจัยอย่างมีคุณค่า พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

ปรัชญา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นฐานในการสร้างสรรค์และรับใช้สังคม

ปณิธาน มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านวิชาการ การวิจัย และการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม นาวิธีคิดอย่างวิทยาศาสตร์สู่สังคม มีลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ของสังคมไทยและสังคมโลก

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~5~

พันธกิจ 1. สร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาอย่างหลายรูปแบบ เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน มีเป้าหมายที่คนทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกชุมชน ท้องถิ่น และอาชีพ ให้ได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่าง ทั่วถึง ด้วยวิธีการจัดการศึกษาหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบภาคปกติ ภาคพิเศษ เพื่อให้ทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพในการดารงชีวิตและ ประกอบอาชีพเพื่อเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานทางการศึกษา การเรียน การวิจัย การบริการวิชาการ และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เป็นการบริหารจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน มีการเรียนรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง เร่งผลิตกาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาที่ขาดแคลนและบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ของภาคการผลิต ผู้ว่างงานและนักศึกษาจบใหม่ให้ได้รับการฝึกอบรมเสริมทักษะ สร้างศักยภาพและโอกาสให้กลับไปทางานที่เป็นประโยชน์แก่ ท้องถิ่น ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของศิลปวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมภิบาล เป็นการนานโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นที่ยอมรับของผู้บริการมาใช้ในการบริหาร โดยการปรับปรุงคุณภาพในการให้บริการ ประชาชน โดยการส่งเสริมให้ภาครัฐ และเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้ เก่ง ดี มี คุณธรรม มีคุณภาพและมีวิทยฐานะสูงขึ้น จัดให้ประชาชนมีโอกาสได้รับการศึกษาด้วยการลงทุนที่ต่าเพื่อให้เกิดความเสมอภาคและความเป็น ธรรม

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~6~

สรุปแผน-ผลงบประมาณตามยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด และค้าเป้าหมายของเป้าประสงค์

1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดาเนินงาน 1.1 มีกระบวนการพัฒนาแผน -มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ -มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ -มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็น แผนปฏิบัติการ -มีตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ประจาปี และค่าเป้าหมายแต่ละตัวบ่งชี้ -มีการดาเนินการตามแผน ทั้ง 4 พันธกิจ -มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ และรายงานผล -มีการประเมินผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ -มีการนาผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะต่อคณะเพื่อปรับปรุงแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการประจาปี 1.2 ผลการบริหารสาขาให้เกิดอัตลักษณ์ -มีการกาหนดกลยุทธ์ ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ และแผนการปฏิบัติ ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของสถาบัน

เป้าหมาย

ตัวชี้วดั

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

พ.ย.54

ต.ค.54

ก.ย.54

ส.ค. 54

ก.ค.54

กิจกรรม

ผล

บรรลุ ไม่บรรลุ 

ผู้รับผิดชอบ

2554

ผลการดาเนินการ มิ.ย. 54

องค์ประกอบที่

โครงการ/กิจกรรม/ผลผลิต ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายผลผลิต ปีงบประมาณ พ.ศ.

งปม.

ประธาน ครั้ง/ปี 1 ตลอดปี ครั้ง/ปี 1

1 1

  

ครั้ง/ปี 1

1

ตลอดปี ครั้ง/ปี 1

1

 

ครั้ง/ปี 1 ครั้ง/ปี 1

1 1

 

ตลอดปี

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555

หมาย เหตุ


2

-มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและ บุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธ์ที่กาหนดไว้ อย่างครบถ้วน -มีการประเมินความเห็นของบุคลกรเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานของสถาบันที่สอดคล้องกับอัต ลักษณ์ -มีการดาเนินงานก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็น ประโยชน์และ/หรือสร้างคุณค่าต่อสังคม การผลิตบัณฑิต 2.1 มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหาร หลักสูตร 2.2 มีอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 2.3มีอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทาง วิชาการ 2.4 มีระบบการพัฒนาอาจารย์ 2.5 มีห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษาและ สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ 2.6 มีระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน 2.7 มีระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิ์ผล การเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 2.8 มีระดับความสาเร็จของการเสริมสร้าง คุณธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา 2.9 มีการสารวจบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทา หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

ผล

บรรลุ ไม่บรรลุ 

ผู้รับผิดชอบ

เป้าหมาย

ตัวชี้วดั

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

พ.ย.54

ต.ค.54

ก.ย.54

ส.ค. 54

กิจกรรม

ก.ค.54

ผลการดาเนินการ มิ.ย. 54

องค์ประกอบที่

~7~

งปม.

หมาย เหตุ

ตลอดปี ครั้ง/ปี

1

ร้อยละ

50

 100

วิจัย ทุกคน

ตลอดปี คน คน

1 1

คน

3 ตลอดปี

 

   

3

8,000

 

ตลอดปี ตลอดปี ระดับ

3

3

ครั้ง/ปี

1

-

-

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555

ไม่มี


3

4

5

2.10 มีคุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี ตาม TQF:HEd 2.11 ร้อยละของผลงานผู้สาเร็จระดับปริญญา โทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 3.1มีระบบกลไกและการให้คาปรึกษาและ บริการด้านข้อมูลข่าวสาร 3.2 ระบบกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา การวิจัย 4.1 มีระบบกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ 4.2 มีระบบกลไกการจัดการความรู้จาก งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 4.3 มีเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ต่ออาจารย์ประจา 4.4 ร้อยละของานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ 4.5 ร้อยละของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ นาไปใช้ประโยชน์ต่อจานวนอาจารย์ประจา 4.5 ร้อยละผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ การบริการทางวิชาการ 5.1 มีระบบกลไกการบริการวิชาการแก่สังคม 5.2 มีกระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคม

ผล

ตลอดปี ร้อยละ 0.05

บรรลุ ไม่บรรลุ

ผู้รับผิดชอบ

เป้าหมาย

ตัวชี้วดั

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

พ.ย.54

ต.ค.54

ก.ย.54

ส.ค. 54

กิจกรรม

ก.ค.54

ผลการดาเนินการ มิ.ย. 54

องค์ประกอบที่

~8~

-

งปม.

หมาย เหตุ

10,000

ทุกคน

ตลอดปี

ตลอดปี

 ทุกคน

ตลอดปี

ตลอดปี

บาท/ 60,0 คน 00 ร้อยละ 20

156,6 666 3 ชิ้น

ร้อยละ 5

3 ชิ้น

ร้อยละ 5

3 ชิ้น

450,000

ภาย นอก

20,000

ภาย ใน

ทุกคน ตลอดปี ตลอดปี

 

10,000

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


6

7

8 9

ผล

ร้อยละ

80

80

บรรลุ ไม่บรรลุ 

ตลอดปี

ผู้รับผิดชอบ

เป้าหมาย

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

พ.ย.54

ต.ค.54

ก.ย.54

ตัวชี้วดั

5.3 มีการนาความรู้และประสบการณ์จากการ ให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอนและการวิจยั 5.4 มีผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความ เข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก 5.5 ผลการชี้นาป้องกันหรือแก้ปัญหาของ สังคมด้านยาเสพติด 5.6 ผลชี้นาป้องกันหรือแก้ปญ ั หาของสังคม ด้านสุขภาพ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 6.1 มีการส่งเสริมและสนับสนุนกลไกบารุง ศิลปวัฒนธรรม 6.2 มีการพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะ และวัฒนธรรม การบริหารและการจัดการ 7.1 มีภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหาร ทุกระดับ 7.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่สถาบันการเรียนรู้ 7.3 มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการ ตัดสินใจ 7.4 มีระบบบริหารความเสี่ยง การเงินและงบประมาณ 8.1 มีระบบกลไกการเงินและงบประมาณ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

ส.ค. 54

กิจกรรม

ก.ค.54

ผลการดาเนินการ มิ.ย. 54

องค์ประกอบที่

~9~

งปม.

วิจัย

วิจัย

ร้อยละ 80

80

ร้อยละ 80

-

-

ไม่มี ทุกคน

ตลอดปี

ตลอดปี

7,300

ประธาน ตลอดปี

ตลอดปี ตลอดปี

 

ตลอดปี

 ประธาน

ตลอดปี

หมาย เหตุ

 ทุกคน

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน 10 นโยบายสถานศึกษา 3 ดี (3D) 10.1 มีการบริหารจัดการสถานศึกษา 3 ดี (3D) ให้เกิดผลกับผู้เรียน 10.2 มีผลที่ผลกับผู้เรียนตามนโยบาย 3 ดี (3D) มีความรู้ เจตคดิที่ดี ตลอดจนเกิด พฤติกรรม

ผล

บรรลุ ไม่บรรลุ 

ผู้รับผิดชอบ

เป้าหมาย

ตัวชี้วดั

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

พ.ย.54

ต.ค.54

ก.ย.54

ส.ค. 54

กิจกรรม

ก.ค.54

ผลการดาเนินการ มิ.ย. 54

องค์ประกอบที่

~ 10 ~

งปม.

ตลอดปี

ทุกคน 

ตลอดปี ด้าน/ 3 ปี

รวม

3

492,850

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555

หมาย เหตุ


~ 11 ~

สรุปแผน-ผลการปฏิบัติราชการตามพันธกิจ ประจาปีงบประมาณ

2555

พันธกิจที่ 1 ด้านการจัดการศึกษา 1.1 จัดทาแผนสอน 1.2 จัดทาบทเรียน e-learning 1.3 จัดทา e-testing 1.4 การประเมินประสิทธิภาพการเรียนการ สอน 1.5 สารวจความต้องการจาเป็นของนักศึกษา ปี 1 1.6 กากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพของอาจารย์ 1.7 ประเมินจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.8 สารวจการได้งานทาและรายได้ของ บัณฑิตป.ตรี 1.9 สารวจความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการและผู้ใช้บัณฑิต โครงการ/กิจกรรมพัฒนานักศึกษา กิจกรรมวิชาการ 1. อบรมความรู้การทาโมเดลภูมปิ ระเทศ 2. อบรมการทาสร้างโมเดล 3D ด้วย

เป้าหมาย

ตัวชี้วดั

ก.ย. 55

ส.ค. 55

ก.ค. 55

มิ.ย. 55

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

พ.ย.54

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ต.ค.54

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ผลการดาเนินการ งปม.

หมายเหตุ

ผล

บรรลุ ไม่บรรลุ

ครั้ง/ปี 2 ครั้ง/ปี 5

2 10

 

วิชา/ปี ครั้ง/ปี 2

2

สน.วิชาการ

ครั้ง/ปี 1

1

สน.วิชาการ

มหา วิทยาลัย

ตลอดปี ครั้ง/ปี 1 ครั้ง/ปี 1

1 -

 -

ครั้ง/ปี 1

-

-

ครั้ง/ปี 1 ครั้ง/ปี 1

1 1

 

1,750

คณะวจ.

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


เป้าหมาย

ก.ย. 55

ส.ค. 55

ก.ค. 55

มิ.ย. 55

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

ผลการดาเนินการ

ตัวชี้วดั

โปรแกรม SketchUP 3. อบรมการใช้ภาษาอังกฤษด้าน GIT 4. ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ร่วมกับ มหาวิทยาลัย 5. ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ร่วมกับคณะ 6. จัดนักศึกษาทัศนศึกษา /ดูงาน /ฝึก ภาคสนาม 7. อบรมการใช้เครื่องมือสารวจด้วยกล้อง total station กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์และรักษา สิ่งแวดล้อม 1. กิจกรรมรับน้องและบาเพ็ญประโยชน์ที่วัด ศรีสวัสดิ์ 2 กิจกรรมไหว้ครู 3 กิจกรรมอัญเชิญพระราชลัญจกร กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม/จริยธรรม 1.กิจกรรมอบรมคุณธรรม/จริยธรรมเปิด เทอม/สิ้นเทอม 2.กิจกรรมจิตอาสา พัฒนาความสะอาด กิจกรรมประชาธิปไตย 1.กิจกรรมเลือกตั้งนายกสโมสร พันธกิจที่ 2 ด้านการวิจัย 2.1 เสนองานวิจัยต่อ GISTDA และอนุมัติ 2.2 เสนองานวิจัยต่อ สสส. และอนุมัติ 2.3 การตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัย

พ.ย.54

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ต.ค.54

~ 12 ~

ผล

ครั้ง/ปี ครั้ง/ปี

1 1

1 1

 

ครั้ง/ปี ครั้ง/ปี

1 1

1 1

 

ครั้ง/ปี

1

1

ครั้ง/ปี

1

1

ครั้ง/ปี ครั้ง/ปี

1 1

1 1

 

ครั้ง/ปี 1

2

ครั้ง/ปี 1

1

ครั้ง/ปี

1

1

ครั้ง/ปี ครั้ง/ปี ครั้ง/ปี

1 1 1

1 1 3

  

บรรลุ ไม่บรรลุ

งปม.

15,000

หมายเหตุ

คณะวิทย์ คณะวิทย์

230,000 200,000

ภายนอก ภายนอก Peer Review

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


ผล

ครั้ง/ปี 1 เรื่อง/ปี 1

3 3

ครั้ง/ปี

1

2

ครั้ง/ปี

1

1

ครั้ง/ปี

1

1

ครั้ง/ปี

1

1

10,000

บกศ.

ครั้ง/ปี

1

1

7,300

บกศ.

ครั้ง/ปี

1

1

(3,000)

บริจาค

ครั้ง/ปี 1 ครั้ง/ปี 1 ครั้ง/ปี 1

2 1 1

  

8,000

บกศ.

ครั้ง/ปี 1

1

ครั้ง/ปี 2 ครั้ง/ปี 2

2 2

 

ตัวชี้วดั

ก.ย. 55

ส.ค. 55

ก.ค. 55

มิ.ย. 55

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

ผลการดาเนินการ

เป้าหมาย

2.4 การนางานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 2.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ด้วย การสร้างโมเดลภูมิประเทศ พันธกิจที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคม 3.1.วิทยากรอบรมเรื่องการฟื้นฟูชุมชนหลังน้า ท่วม บ้านเหล่า อ. โกสุมพิสัย 3.1 วิทยากรอบรมการใช้โปรแกรม ArcView สาหรับอบต.ระดับจังหวัด 3.2 วิทยากรอบรมการทาแผนที่โรงเรียน ให้กับเทศบาล 3.3 วิทยากรอบรมการทาแผนที่ด้วยระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ พันธกิจที่ 4 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 4.1 โครงการสารวจข้อมูลภาคสนามด้าน ศิลปวัฒนธรรมและชุมชนเมือง 4.2 โครงการรับน้องปี 1 สานสัมพันธ์พี่-น้อง พันธกิจ 5 ด้านการบริหารจัดการ 5.1 ประชุมคณะกรรมการ 5.2 พัฒนาบุคลากรสาขาวิชา GIT 5.3 การพัฒนาบุคลากรประชุมร่วมกับ วทน. ที่โรงแรมตักสิลา 5.4 ผลการชี้นาป้องกันหรือแก้ปัญหาของ สังคมด้านยาเสพติด 5.5 จัดทารายงานประเมินตนเอง 5.6 รับการตรวจประเมินภายใน

พ.ย.54

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ต.ค.54

~ 13 ~

งปม. บรรลุ ไม่บรรลุ  10,000  10,000

หมายเหตุ สน.วิจัย สน.วิจัย ภายนอก

(200,000) จังหวัด มค. ภายนอก

กองพัฒนาฯ

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


5.7 จัดทาเอกสารองค์ประกอบที่ 1-12 5.8 ปรับปรุงการดาเนินการประกันคุณภาพ การศึกษา

เป้าหมาย

ตัวชี้วดั

ก.ย. 55

ส.ค. 55

ก.ค. 55

มิ.ย. 55

พ.ค. 55

เม.ย. 55

มี.ค.55

ก.พ.55

ม.ค.55

ธ.ค.54

พ.ย.54

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ต.ค.54

~ 14 ~

ตลอดปี ตลอดปี รวม

ผลการดาเนินการ ผล

บรรลุ ไม่บรรลุ  

งปม.

หมายเหตุ

492,850

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~ 15 ~

สรุป ผลการดาเนินการจากประกันคุณภาพตนเอง (SAR) จากผลการประเมินคุณภาพตนเอง (SAR) ทั้งในระดับสาขาและระดับคณะ (สมศ.)ในปี 2554 ได้ 4.09 อยู่ในระดับดี ซึ่งประกอบด้วยตัวบ่งชี้ที่ 2 ด้านการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ที่ 4 ด้านการวิจัย และตัวบ่งชี้ที่ 5 ด้านการบริการวิชาการสู่ชุมชน ดังนี้ ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน คะแนนการ ประเมิน ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (ตามเกณฑ์ (%หรือสัดส่วน) ตัวหาร สกอ.) ตัวบ่งชี้ 2.1 5 ข้อ 5 5 ตัวบ่งชี้ 2.2 ร้อยละ 24 0 0% 0 5 ตัวบ่งชี้ 2.3 ร้อยละ 48 0 0% 0 5 ตัวบ่งชี้ 2.4 7 ข้อ 7 5 ตัวบ่งชี้ 2.6 7 ข้อ 7 5 ตัวบ่งชี้ 2.7 5 ข้อ 5 5 ตัวบ่งชี้ 2.8 5 ข้อ 5 5 รวมตัวบ่งชี้ที่ 2 (เฉลี่ย) 25/7=3.57 ตัวบ่งชี้ 4.1 7 ข้อ 8 5 ตัวบ่งชี้ 4.3 60,000 บาท/คน 61,100 5 รวมตัวบ่งชี้ที่ 4 (เฉลี่ย) 10/2=5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 4 ข้อ 5 5 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 4 ข้อ 5 5 รวมตัวบ่งชี้ที่ 5 (เฉลี่ย) 10/2=5.00 เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ของทุกองค์ประกอบ 45 4.09 สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~ 16 ~

สรุปคะแนนรายองค์ประกอบ (ตามเกณฑ์ สกอ.) สาชาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ องค์ประกอบ

จานวนตัวบ่งชี้

คะแนนรวม

องค์ประกอบที่ 2 ผลิตบัณฑิต 7.00 25 องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย 2.00 10 องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการ 2.00 10 รวมตัวบ่งชี้ทุกองค์ประกอบ 11.00 45 คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 3 องค์ประกอบ จานวน 11 ตัวบ่งชี้

คะแนนเฉลี่ยที่ได้

ระดับการประเมิน

3.57 5 5

ระดับดี ระดับดีมาก ระดับดีมาก

4.09

ระดับดี

หมายเหตุ คะแนนตามเกณฑ์ สกอ. จานวน 11 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.6, 2.7, 2.8, 4.1, 4.3, 5.1 และ 5.2 ผลการประเมินตามช่วงคะแนน ช่วงคะแนน 0.00 - 1.50 1.51 - 2.50 2.51 - 3.50 3.51 - 4.50 4.51 - 5.00

ผลการประเมิน การดาเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน การดาเนินงานต้องปรับปรุง การดาเนินงานระดับพอใช้ การดาเนินงานระดับดี การดาเนินงานระดับดีมาก

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~ 17 ~

แต่ก็ได้พบจุดอ่อนที่ควรปรับปรุงเพื่อการประเมินในปี 2555 มีจานวน 3 ตัวชี้วัด ดังนี้ จุดอ่อนที่พบมีจานวน 3 ตัวบ่งชี้ ของปี 2554 ดังนี้ 2.4 จานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจา

ผลประเมิน (สมศ.) คะแนนเต็ม ได้ ร้อยละ 80 1

2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจา (ตรี-โท-เอก) 2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์

18:72:12 72:26:3:0

ตัวบ่งชี้ที่

1 1

หมายเหตุ -ด้านการปฏิบัติงาน (อ้าง สมศ., สกอ. ปี 2554) “ “

จากจุดอ่อนตามตัวชี้วัดดังกล่าวได้นามาสู่กระบวนการวางแผนบริหารความเสี่ยงซึ่งทางสมศ.ได้กาหนดความเสี่ยง 6 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานที่) ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ของคณะ ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ความเสี่ยงด้านปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาลโดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารย์และบุคลากรระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก

หลักเกณฑ์สาหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยงทั่วไป 1.ปัจจัยเสี่ยงภายนอก คือ ความเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมการเกิดได้โดยองค์กรเอง เช่น 1. เศรษฐกิจ / สังคม / การเมือง / กฎหมาย 2. คู่แข่ง สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~ 18 ~

3. เทคโนโลยี 4. ภัยธรรมชาติ 5. สิ่งแวดล้อม 6. พฤติกรรมความเชื่อมั่นในภาพลักษณ์องค์กร 2.ปัจจัยเสี่ยงภายใน คือ ความเสี่ยงที่สามารถควบคุมการเกิดได้โดยองค์กรเอง เช่น 1. วัฒนธรรมองค์กร 2. นโยบายการบริหารและการจัดการ 3. ความรู้ / ความสามารถทักษะของบุคลากร 4. กระบวนการทางาน 5. ข้อมูล / ระบบสารสนเทศ 6. เครื่องมืออุปกรณ์ ในระดับสาขาวิชาจัดความเสี่ยงอยู่ในด้านการปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ซึ่งเป็นหน้าที่ และบทบาทหลักของการผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~ 19 ~

สรุป ด้านการจัดการความเสี่ยง ด้านปฏิบัติงาน : การบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตรได้แก่ o ด้านการสอน (อาจารย์) o ด้านการคัดเลือกนักศึกษา o ด้านการเรียนการสอน ด้านการสอน (อาจารย์)

1.ขาดแคลน อาจารย์ ประจาสาขา

- มาตรการในการรับ และพัฒนาอาจารย์ใหม่ ไม่เป็นไปตามความ จาเป็น - อาจารย์ในระดับ ปริญญาเอกไม่มาสมัคร เข้าทางาน -ขาดแคลนอาจารย์ที่มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะใน สาขานี้

- รับสมัครอาจารย์ใหม่ ทดแทนอาจารย์ แต่ไม่มี มาสมัคร -ใช้วิธีการสอนร่วมและ เชิญเป็นอาจารย์พิเศษกับ ทางสาขาวิชาวิศวกรรม

-

ไม่ เสี่ยง

โอกาสที่ความเสี่ยง อาจเกิดขึ้น

ปาน กลาง ต่า

ปัจจัยเสี่ยง/สาเหตุความ การดาเนินการในปัจจุบัน เสี่ยง

สูง

ปัจจัยเสี่ยง

สูงที่สดุ

ระดับความรุนแรง มาตรการ

ผู้รับผิดชอบ

1. -สาขาวิชาได้จัดการเรียนการสอน

สาขาวิชา เพื่อให้อาจารย์ได้ทาผลงานวิชาการ ร่วมกับ ฝ่ายวิชาการ ควบคู่ไปกับการเวลาเตรียมการ เรียนการสอนในเนื้อหาที่ก้าวหน้า และทันต่อเหตุการณ์ -ในกรณีไม่สามารถพัฒนาอาจารย์ รุ่นใหม่ให้ทันกับช่วงเวลาการย้าย คณะของอาจารย์จะใช้วิธีแต่งตั้ง อาจารย์พิเศษภายนอกเพื่อให้ทา หน้าที่จัดการเรียนการสอนในกลุ่ม วิชานั้นๆระยะหนึ่งและให้ทาหน้าที่ พัฒนาขีดความสามารถของ อาจารย์รุ่นใหม่ไปพร้อมๆ กัน

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~ 20 ~

2.ด้านการ พัฒนาทักษะ อาจารย์

-เพราะสาขาในด้านนี้ ต้องได้รับอบรมพัฒนา ทักษะให้ทันกับ ความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง

-เข้ารับการอบรมทางสาย วิชาชีพ

-

ไม่ เสี่ยง

ปาน กลาง ต่า

สูง

ปัจจัยเสี่ยง

โอกาสที่ความเสี่ยง อาจเกิดขึ้น

สูงที่สดุ

ระดับความรุนแรง ปัจจัยเสี่ยง/สาเหตุความ การดาเนินการในปัจจุบัน เสี่ยง

มาตรการ

ผู้รับผิดชอบ

-ประสานความร่วมมือและสร้าง เครือข่ายทางวิชาการร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ GISTDA ในด้านการวิจัย การ บริการวิชาการ และการเรียนการ สอนระดับปริญญาตรี 2. –สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ หน่วยงานภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ตัวชี้วัดความสาเร็จ ตัวที่ 1 2

ชื่อตัวชี้วดั พัฒนาทักษะหรืออบรมในสาขาวิชาชีพ ปีละ 2 ครั้ง จัดหาอาจารย์ประจาหลักสูตรเพิ่มเติมจานวน 3 คน

เป้าหมาย 2 ครั้ง 3 คน

ผลการดาเนินงาน -อาจารย์เข้ารับการอบรมทักษะทางวิชาชีพ 3 คน -จ้างกรรมการประจาหลักสูตร 3 คนเพื่อทดแทนกรรมการ ชุดเดิมที่ไม่สามารถปฏิบัตหิ น้าที่ได้

หมายเหตุ

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~ 21 ~

ด้านการคัดเลือกนักศึกษา

1.จานวน นักศึกษาที่ สมัครเรียนยัง มีจานวนน้อย อยู่

-เพราะมีการเปิด หลักสูตรคล้ายกัน จากสถาบันใกล้เคียง ทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน จึงดึงดูด นักศึกษาเข้าไปเรียน มากกว่า

-สารวจความต้อง การในตลาดแรงงาน และความต้องการ ของสาขานี้ใน หน่วยงานรัฐและ เอกชน

-

ไม่เสี่ยง

โอกาสที่ความเสี่ยง อาจเกิดขึ้น

ต่า

การดาเนินการใน ปัจจุบัน

ปานกลาง

ปัจจัยเสี่ยง/สาเหตุ ความเสี่ยง

สูง

ปัจจัยเสี่ยง

สูงที่สดุ

ระดับความรุนแรง มาตรการ

ผู้รับผิดชอบ

สาขาวิชา ภาพรวมของคณะให้ครอบคลุมหลักสูตร ร่วมกับ ฝ่ายวิชาการ ทั้งในระดับปริญญาตรีโดยการออก Road Show 2. -เพิ่มการรับนักศึกษาปริญญาตรีและ บัณฑิต ศึกษาโดยการจัดโครงการความ ร่วมมือกับโรงเรียนของภาครัฐและ เอกชนเพื่อแนะแนวนักเรียนเข้ามาสมัคร เรียนในหลักสูตรนี้ ภายใต้โครงการ ประชาสัมพันธ์ของคณะฯ และการเพิ่ม รอบโค้วตา (พิเศษ) 3. -จัดหาทุนการศึกษา (ทุนกยศ. ทุน มหาวิทยาลัย สาหรับนักศึกษาปริญญา ตรี) ทุนวิจัย) ให้มากขึ้น

1. - เพิ่มการประชาสัมพันธ์เชิงรุกใน

ตัวชี้วัดความสาเร็จ ตัวที่ ชื่อตัวชี้วดั 1 มีการประชาสัมพันธ์ไปยังสถานศึกษาเป้าหมายในเขต มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์

เป้าหมาย โรงเรียนมัธยม

ผลการดาเนินงาน -จัดแนะแนวไปตามโรงเรียนมัธยมเป้าหมาย ควรไดเกรดเฉลี่ยสะสมไม่ น้อยกว่า 2.70

หมายเหตุ

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


~ 22 ~

ด้านการจัดการเรียนการสอน

1. โปรแกรม ปฎิบัติการและ อุปกรณ์การ เรียนมีราคา แพง

-เพราะเป็นหลักสูตรที่ มีต้นทุนการผลิตสูง มากเนื่องจากอุปกรณ์ และวัสดุการเรียนมี ราคาแพง

-ใช้วิธีการใช้ ทรัพยากรร่วมกัน ระหว่างสาขาที่มี รายวิชาใกล้เคียงกัน -อาจารย์และ นักศึกษาร่วมกันทา วิจัย -ใช้วิธีการสอนแบบ project based on study and research

-

มาตรการ

ไม่เสี่ยง

โอกาสที่ความเสี่ยง อาจเกิดขึ้น

ต่า

การดาเนินการใน ปัจจุบัน

ปานกลาง

ปัจจัยเสี่ยง/สาเหตุ ความเสี่ยง

สูง

ปัจจัยเสี่ยง

สูงที่สดุ

ระดับความรุนแรง

- สนับสนุนให้อาจารย์ในสาขาและ นักศึกษาทาวิจัยเพิ่มขึ้น

4.

ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชา ร่วมกับ ฝ่ายวิชาการ

ตัวชี้วัดความสาเร็จ ตัวที่ ชื่อตัวชี้วดั 1 มีจานวนงานวิจัยของอาจารย์และ/หรือนักศึกษาอย่าง น้อยเทอมละ 3 เรือ่ ง

เป้าหมาย สาขา GIT

ผลการดาเนินงาน

หมายเหตุ

- มีงานวิจัยเพิ่มขึ้น

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


3. ส่ งเสริมการวิจัยและพัฒนาท้ องถิ่นด้ วยเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์

1. พัฒนาระบบการบริหารจัดการงานวิจัยให้ มีประสิทธิภาพ 2. เสริมสร้ างศักยภาพของบุคลากรเพื่องานวิจัยอย่ างต่ อเนื่อง

การศึกษาและพัฒนา ชนบทฯ ด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิ สารสนเทศ

3. จัดกิจกรรมบริการวิชาการบนพืน้ ฐานความต้ องการของ ท้ องถิ 4. ส่ ง่ นเสริ มและสนับสนุนโครงการศูนย์ ทางไกลเพื่อพัฒนา

1. พัฒนาระบบการบริ หารจัดการงานบริการวิชาการให้ มี ประสิ 2. เสริทธิมภสร้าพางศักยภาพของบุคลากรเพื่องานบริการวิชาการ อย่ างต่ อเนื่อง

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555

ตำมมำตรฐำนของ สกอ., สมศ. และ มรม.

องค์กรแห่งกำรเรียนรู้

บริหารจัดการตามหลัก

1. พัฒนามาตรฐานตามองค์ ประกอบ และตัวชีวัด ที่สอดคล้ อง กับมาตรฐานของ สกอ. , สมศ, และ มรม.

6. จัดหารายได้ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของคณะฯ

3. ส่ งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันในองค์ กรให้ มีคุณภาพ 4. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพอย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง 5. ประสานความร่ วมมือกับหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ ในและต่ าง

ท้องถิ่น

ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม

1. พัฒนาระบบบริ หารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลให้ มี ภาพ ประสิ ดการทรั พยากรให้ มีคุณภาพ 2. พัฒทธินาระบบการจั

ความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น

โดยใช้ เทคโนโลยีสำรสนเทศ

วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนและ

ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

พัฒนาระบบการบริการวิชาการบนพื้นฐาน

1. ส่ งเสริม การเผยแพร่ การทานุบารุงและเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ด้ วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภูมิศำสตร์

ด้ ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ

เป็ นศูนย์กลำงกำรวิจยั

ภูมิศำสตร์

ด้ ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ

เป็ นศูนย์กลำงกำรบริกำรวิชำกำร

เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา นักวิทยาศาสตร์ดา้ นภูมิ สารสนเทศ ครู และบุคลากร ด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง

พัฒนาระบบการจัดการศึกษา เพือ่ ผลิตบัณฑิตที่พงึ ประสงค์

1. ส่ งเสริมการผลิตและพัฒนานักวิทยาศาสตร์ ด้านภูมิ สารสนเทศ ครู รวมทัง้ บุคลากรทางการศึกษา และบุคคลอื่นที่ เกี่ยวข้ องให้ มีมาตรฐานวิชาชีพและวิทยฐานะสูงขึน้ 2. พัฒนาเครื อข่ ายบุคลากรทางการศึกษาด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์

6. ส่ งเสริ มงานพัฒนานักศึกษาให้ มีประสิทธิภาพ

=>เป้าประสงค์

3. ส่ งเสริ มการพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็ น สาคัญ 4. พัฒนาแหล่ งเรี ยนรู้ และสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา 5. ปรั บปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้ ได้ มาตรฐานและตรงความ ต้ องการของสังคม

บัณฑิตมีความรู้คคู่ ุณธรรม มีมาตรฐานทางวิชาการ และ วิชาชี พ สอดคล้องกับความ ต้องการของสังคม

=>กลยุทธ์

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ค่ คู ุณธรรม มีคุณภาพมาตรฐานทาง วิชาการ 2. แสวงหานักเรียน นักศึกษา มาเรียนในคณะ เพิ่มมากขึน้

~ 23 ~

แผนพัฒนาการศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗)

=>วิสัยทัศน์

พัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งสู่การผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม เป็นผู้นาด้านบริการวิชาการ สร้างงานวิจัยอย่างมีคุณค่า พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

=>พันธกิจ

จัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานวิชาชีพ วิจัยและบริการวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของสังคมและชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

=>ประเด็นยุทธศาสตร์

ด้านประกันคุณภาพ

ธรรมาภิบาล


~ 24 ~

จัดทาโดย

นางสาวนุชจรี

ท้าวไทยชนะ

ประธานสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

นายชนะชัย

อวนวัง

อาจารย์ประจาสาขา

นายอานาจ

แสงกุดเลาะ

อาจารย์ประจาสาขา

สาขาวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ.....2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.