1
ประวัตกิ ารทาแผนที่อาชญากรรม ประวัตกิ ารทาแผนที่อาชญกรรม พบครัง้ แรกในการเรี ยนการสอนวิชาอาชญวิทยาราวปี 1830 ซึ่งเขียน ขึ ้นโดยนักสังคมวิทยาและนักอาชญวิทยา เกี่ ยวข้ องกับ 3 ศาสตร์ ด้วยกัน ได้ แก่ ศาสตร์ การทาแผนที่และ ภูมิศาสตร์ ศาสตร์ ทางด้ านโทโพโลยี (ซึง่ เกิดขึ ้นในราวศตวรรษที่ 20 ที่เน้ นปั จจัยทางกายภาพและจิตใจของคน และการเกิดอาชญกรรม) และศาสตร์ ทางด้ านนิเวศวิทยาสังคม (เน้ นปั จจัยลักษณะทางภูมิศาสตร์ และเงื่อนไข ทางสังคมที่ส่งผลต่อรูปแบบการเกิดอาชญากรรม) ในสมัยนันมี ้ สถาบันการสอนทางด้ านแผนที่หรื อภูมิศาสตร์ เกิดขึ ้นในประเทศฝรั่งเศส ราวปี 1830-1880 และได้ รับความนิยมมาก่อนแล้ วจากนันจึ ้ งได้ ขยายไปสู่ประเทศ อังกฤษต่อไป ในครัง้ นันได้ ้ นาข้ อมูลมิติทางสังคมโดยรัฐเป็ นผู้เก็บรวบรวมไว้ มาประมวลผล ได้ แก่ ข้ อมูลด้ าน ความมัง่ คัง่ และความหนาแน่นประชากร ที่สง่ ผลต่อการเกิดอาชญากรรม ถือว่าเป็ นจุดเริ่ มต้ นของการทาแผนที่ อาชญกรรมก่อนที่จะนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรื อ GIS มาใช้ อย่างจริ งจังในปั จจุบนั มาถึงทุกวันนี ้ ในมิติ ของนักสังคมวิทยาจะเน้ นการมองปั ญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ ้นในเมืองเป็ นสาคัญโดยเฉพาะสถานที่สาคัญที่ เสี่ยงต่อการเกิดเหตุ รู ปแบบการทางานของคนเมือง เช่นงานของ ชอว์และแมกเคย์ (Shaw (1942)
อ้ างใน
Keith Harries ,1999: 4 )
and McKay
ได้ ศึกษาเรื่ องการก่อคดีอาญาของวัยรุ่ นในเมืองชิคาโก
สหรัฐอเมริกา ซึ่งงานวิจยั นี ้ได้ แสดงแผนที่จดุ เกิดเหตุที่วยั รุ่นได้ ก่อคดีอาญาเป็ นร้ อยๆ จุด กระจายไปทัว่ เมืองชิ คาโกแล้ วจากนันได้ ้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของจุดที่เป็ นคดีอาญาร่วมกับเงื่อนไขทางสังคมของอาชญากร โดย ใช้ แนวคิดด้ านผังเมือง (Urban model) ของเบอร์ เจส (Burgess,1925 อ้ างใน Keith Harries ,1999: 4 ) ที่ เน้ นกิจกรรมการใช้ ที่ดินของเมืองสัมพันธ์กบั การเกิดคดีอาญา ต่อจากนันในราวกลางปี ้
1960 ได้ มีการทาแผน
ที่อาชญากรรมในมิตติ า่ งๆหลากหลาย หลัง จากนัน้ ราวกลางปี
1960
ได้ มี การนาระบบ GIS มาใช้ อ ย่างจริ ง จัง ส าหรั บ การวิเคราะห์
ปรากฎการณ์อาชญกรรมทางพื ้นที่โดยนักภูมิศาสตร์ เป็ นผู้มีบทบาทสาคัญ ในการเป็ นสะพานเชื่อมโยงศาสตร์ ทางด้ านอาชญวิทยากับศาสตร์ ทางพื ้นที่เข้ าด้ วยกัน พอปลายปี 1980 เกิดมิติการนาระบบ GIS มาใช้ ทาแผนที่ มากเป็ นประวัติการณ์ โดยเฉพาะการทาแผนที่ อาชญกรรมตามเมื องต่างๆทั่วสหรัฐ อเมริ กา ที่ มาพร้ อมกับ ความก้ าวหน้ าทางด้ านคอมพิวเตอร์ ที่มีศกั ยภาพของหน่วยความจาสูงขึ ้น เครื่ องพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพดี ทาให้ การ ประมวลผลด้ วยระบบ GIS มีความสะดวกรวดเร็ วและสามารถพิมพ์แผนที่อาชญากรรมได้ หลากหลาย ทันต่อ
2
เหตุการณ์และสามารถเปรี ยบเทียบกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นในอดีตได้ หรื อแม้ แต่ทกุ วันนี ้ก็สามารถนาระบบ GIS มาใช้ ในการติดตามเหตุการณ์อาชญากรรมได้ เป็ นรายชัว่ โมงต่อชัว่ โมงเลยทีเดียว1 (Keith Harries ,1999: 11) พัฒนาการแนวคิดการทาแผนที่อาชญากรรม ต้ นปี 1800s ใช้ ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ ได้ แก่ การกาหนดจุดลงบนแผนที่ ปี 1900s หน่วยงานตารวจเมืองนิวยอร์ คและเมืองอื่นๆ ใช้ จดุ เป็ นสัญลักษณ์ในการกาหนดตาแหน่ง อาชญากรรมทางพื ้นที่เรี ยกว่า point maps หรื อ pin maps ปี 1920s-30s นักสังคมวิทยาเมืองที่มหาวิทยาลัยชิคาโก ได้ แสดงพื ้นที่อาชญากรรมประเภทคดีอาญา บนแผนที่ ปี 1960s-70s ใช้ การบูรณาการแผนที่อาชญากรรมด้ วยคอมพิวเตอร์ ปี 1980s คอมพิวเตอร์ ตงโต๊ ั ้ ะได้ ถกู นามาใช้ ในการประมวลผลแต่มีข้อจากัดเรื่ องคุณภาพ กับทฤษฎี สภาพแวดล้ อมที่ก่อให้ เกิดอาชญากรรม ปี 1990s การนาระบบ GIS มาใช้ ในหน่วยงานบัง คับทางกฎหมาย โดยเป็ นเครื่ องมื อหนึ่ง ของ ระบบงานภาครัฐที่ต้องลงทุนสร้ างระบบข้ อมูลอาชญากรรมขึ ้นมา2 (Rachel Boba, 2001: 16 ) ปลายปี 1990s เริ่ มมีการบูรณาการระบบ GIS ร่ วมกับศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องต่างๆ โดยเฉพาะหน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้ องกับการบังคับคดี การสอบสวน การติดตามอาชญากรรมในรู ปแบบต่างๆ มากขึน้ และเป็ น ส่วนหนึ่งของนักอาชญวิทยาที่ต้องรู้ระบบ GIS หลังจากนันไม่ ้ นานนักได้ มีการตังหน่ ้ วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการ ทาแผนที่อาชญากรรม 2 แห่งในเวลาใกล้ เคียงกัน ได้ แก่ สถาบันวิจยั ทาแผนที่อาชญากรรมแห่งชาติขึ ้น หรื อ Crime Mapping Research Center อยู่ภายใต้ กระทรวงยุติธรรมของสหรัฐอเมริ กา และศูนย์แผนที่การ วิเคราะห์อาชญากรรม ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของสถาบันยุติธรรมแห่งชาติ และได้ จดั ทาระบบ Making Officer Redevelopment Effective (MORE) program โดยใช้ งบประมาณ 1000 ล้ านเหรี ยญสหรัฐในการทาระบบ ต่างๆ การวิเคระห์ พนื ้ ที่อาชญากรรม เทคนิคการวิเ คราะห์ อาชญกรรมมี ทัง้ แบบเชิ ง คุณภาพและปริ ม าณ ซึ่ง สามารถใช้ ไ ด้ ทัง้ สอบแบบ กล่าวคือ เทคนิคเชิงคุณภาพมักจะอ้ างถึงข้ อมูลไม่ ใช่ตวั เลข ได้ แก่ การสืบสวน การตรวจสอบ การสังเกต การ 1 2
Keith Harries. (1999). Mapping Crime Principle and Practice. Washington D.C, U.S. Department of Justice: USA. Rachel Boba. (2001). Introductory Guide to Crime Analysis and Mapping. U.S. Department of Justice: USA.
3
ตีความ เพื่อจุดประสงค์ในการค้ นหาความหมายหรื อรูปแบบความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ตา่ งๆ ส่วนเทคนิกเชิง ปริ ม าณจะเกี่ ยวข้ องกับข้ อมูล ตัวเลขหรื อการจัดจ าแนก จัดกลุ่ม เพื่ อจุดประสงค์การอธิ บายหรื อบรรยาย ปรากฎการณ์ย้อนกลับจากสิ่งที่สงั เกตได้ ส่วนใหญ่จะใช้ สถิติเบื ้องต้ นเพื่อการยืนยันข้ อมูล ตัวอย่างเทคนิคการ วิเคราะห์พื ้นที่อาชญากรรมทังสองเทคนิ ้ ค ข้ อมูลที่รวบรวมได้ คือ วันเดือนปี เวลา สถานที่ ตาแหน่ง ประเภท อาชญากรรมทังจ ้ านวนและลักษณะ เนื่องจากปั ญหาอาชญากรรมเกิดขึ ้นได้ ในทุกๆกรณีทงเวลาและสถานที ั้ ่ ( Time and Space) ซึ่งบางที เป็ นเรื่ องยากที่จะกาหนดนิยามของคาว่า พื ้นที่และตาแหน่ง (Space และ Location) ได้ อย่างชัดเจน เพราะ สถานที่จะเกี่ยวข้ องกับมาตรการวัดที่ใช้ ระบบการอ้ างอิงพิกดั x,y ที่ต้องมีความถูกต้ องแม่นยา หากสถานที่ไม่ ชัดเจนแล้ วการกาหนดเวลา (Time) ไม่สมั พันธ์กนั ดังนันเรื ้ ่ องเวลาจึงค่อนข้ างกาหนดได้ ชดั และมีความแม่นยา มากกว่าเมื่อรู้ ตาแหน่งแล้ วก็สามารถกาหนดจุดเกิดเหตุลงไปบนแผนที่ ดังนันเรื ้ ่ องของการกาหนดเชิงเวลาที่ เกี่ยวข้ องกับมิตกิ ารเกิดอาชญากรรม จาแนกได้ ดงั นี ้
ขณะเวลา (Moments) หมายถึงการอ้ างถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นบนพื ้นที่ทางภูมิศาสตร์ เช่น อาชญากรรมเกิดขึ ้นเมื่อไร ที่ไหน เป็ นต้ น
ช่วงเวลา (Duration) หมายถึง ระยะเวลาของเหตุก ารณ์ หรื อ กระบวนการต่อเนื่ องของ เหตุการณ์ในสถานที่หนึ่งๆ ยาวนานแค่ไหน เช่น อัตราการเกิดอาชญากรรมยังคงเพิ่ม ขึ ้นหรื อ น้ อ ยลงเมื่ อ เที ยบกับ เหตุก ารณ์ ป กติของพื น้ ที่ ห นึ่ง ๆ หรื อ จุด เกิ ดเหตุหรื อจุดอันตรายเหตุ อาชญากรรมสูงยังคงมีอยูใ่ นช่วงระยะนานแค่ไหน
โครงสร้ างทางเวลา ( Structured
time)
หมายถึง สถานที่ที่กาหนดเป็ นเวลา เช่น พืน้ ที่
ลาดตระเวน (ช่วงเวลาใด เมื่อไร บ่อยแค่ไหน) เขตกากับดูแลหรื อเขตควบคุม
ระยะทางที่สมั พันธ์กบั เวลา (Distance as time) หมายถึงระยะทางที่เร็ วที่สดุ ที่สามารถบอก ความสัมพันธ์ กับเวลาได้ เช่น เมื่อเกิดเหตุถามว่า “ไกลแค่ไหน” “ประมาณ 20 นาที ” ซึ่ง สามารถกาหนดจุดที่สัมพันธ์ กับระยะทางที่ไกลที่สุด เพื่อวิเคราะห์เขตควบคุมและรัศมีการ จับกุมสาหรับการสอบสวน
4
ประเภทของการวิเคราะห์ อาชญากรรม ประเภทวิธีการวิเคราะห์อาชญากรรมเป็ นไปตามคุณลักษณะเฉพาะไปถึงคุณลักษณทัว่ ไป ซึ่ง ในแต่ละวิธีจะมีการเก็บข้ อมูลเฉพาะและใช้ วิธีการวิเคราะห์เฉพาะนันๆไปเป็ ้ นไปตามจุดประสงค์ ได้ แก่ 1.
การวิเคราะห์แบบชาญฉลาด ( Intelligence
Analysis)
มีจุดประสงค์เพื่อการจาแนก
บุคลิ กภาพของอาชญากรในเครื อข่ายเฉพาะที่ก่อเหตุอาชญากรรม ค่อนข้ างเป็ นเรื่ อง ระดับตัวอาชญากรที่มีรูปแบบดาเนินกิจกรรมในการก่อเหตุอย่างไร ส่วนใหญ่สมั พันธ์กับ ข้ อมูลเชิงพื ้นที่เฉพาะที่มกั จะเข้ าไปทากิจกรรมเป็ นประจา ข้ อมูลเหล่านี ้จะเป็ นประโยชน์ ต่อแผนกสืบสวนที่ง่ายต่อการเข้ าใจพฤติการณ์ทางพื ้นที่ ข้ อมูลที่รวบรวมได้ ส่วนใหญ่มกั มาจากการสัง เกต การสนทนา บุคคลที่ เป็ นสายให้ ตารวจ การสัง เกตเดินทาง ข้ อมูล การเงิน ความสัมพันธ์ทางครอบครัวและธุรกิจ เป็ นต้ น วิธีการวิเคราะห์นี ้เป็ นแบบดังเดิ ้ มที่ เคยปฏิบตั ิกันมาแล้ วว่าจะเน้ นการรวบรวมข้ อมูลแบบเข้ มข้ นของรวมกลุ่มอาชญากรรม รวมไปถึงการค้ ายาเสพติดและการค้ าโสเภณี เป็ นต้ น ซึ่งส่วนมากจะเป็ นการรวบรวม ข้ อมูลเชิงคุณภาพ และวิธีการนี ้เหมาะกับพื ้นที่ระดับเล็ก สามารถวิเคราะห์ได้ ผลดี 2.
การวิเคราะห์แบบสืบสวนอาชญากรรม (Criminal
Investigative Analysis)
การ
วิเ คราะห์ ป ระเภทนี บ้ างที เ รี ยกว่า การรวบรวมข้ อ มูลเฉพาะ หรื อ Profiling ที่ เ ป็ น กระบวนการสร้ างการจาลองแบบหรื อโปรไฟล์จากสิ่งที่ไม่ร้ ูเป็ นพื ้นฐานไม่ว่าจะเป็ นเหยื่อ หรื ออาชญากร เพื่อการโยงไปหาอาชญากรรม เช่นการค้ นหาบุคลิกหรื อลักษณะจาเพาะ ของเหยื่อที่จะตกเป็ นเหยื่อการถูกฆาตกรรมหรื อข่มขืน เป็ นต้ น การรวบรวมข้ อมูล จะอยู่ ในระดับบุคคลหรื อขอบเขตที่บุคคลนัน้ ไปมีปฏิสัมพันธ์ ด้วยจนเกิดเหตุการณ์ นัน้ ๆ ขึน้ สถานที่และเหตุการณ์จะสัมพันธ์กับตาแหน่ง เช่น การพบจุดทิ ้งศพหรื อฝั ง ซึ่งต้ องนามา พิจารณาร่วมด้ วย จุดประสงค์ของวิธีการนี ้เพื่อพัฒนารูปแบบการเกิดฆาตรกรรมต่อเนื่อง ที่อยูต่ ามเมือง รัฐ หรื อ ประเทศก็ได้ โดยการเชื่อมโยงพฤติกรรมและคดีร่วมกับเหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้ องอื่นๆ เพื่อจับกุมและหาทางป้องกัน หรื อไขคดีให้ กระจ่าง เป็ นต้ น ซึ่งเป็ นการ
5
วิเคราะห์เ ฉพาะกรณี และมักอยู่ภ ายใต้ การควบคุมหรื อสั่งการจากภาครัฐโดยตรงเช่น หน่วยสืบสวนคดีพิเศษ เป็ นต้ น 3.
การวิเคราะห์แบบแทคทิค ( Tactical
Crime Analysis)
วิธีการนี ้ใช้ การวิเคราะห์เชิง
ปริ ม าณ การรวบรวมข้ อ มู ล เป็ น เดื อ น ไตรภาค หรื อ ปี ของอาชญากรรมและไม่ ใ ช่ อาชญากรรม เช่น การเกิดเหตุอาชญากรรม การโทรเข้ าศูนย์แจ้ งความ เป็ นต้ น ซึ่งเทคนิค นี ้เป็ นการรวบรวมข้ อมูลที่ต้องใช้ ร่วมกับแบบฟอร์ ม จากนันน ้ ามาจาแนกวันเดือนปี เวลา สถานที่ ประเภทของคดี โดยมีตวั แปรที่เกี่ยวข้ อง ได้ แก่ เชื ้อชาติ กลุ่ม เพศ รายได้ ที่อยู่ ลักษณะที่อยู่ เป็ นต้ น ที่ต้องได้ รับการตรวจสอบและบันทึกอย่างเป็ นระบบ จุดประสงค์ ของวิธีการวิเคราะห์นี ้ คือ เพื่อช่วยในด้ านการระบุจาแนกและวิเคราะห์ปัญหาในระยะยาว ได้ เช่น กิจกรรมการเสพสารเสพติด หรื อ ขโมย และเพื่อการสืบสวนหรื อประเมินความ เกี่ ยวข้ องและวิธีการที่ ตอบสนองของคดีได้ จุดประสงค์ดังกล่าวมักใช้ ในกระบวนการ แก้ ปัญ หา การป้องกันเหตุ การเจาะลึกถึงปั ญหาอาชญากรรมจ าเพาะ รวมไปถึงการ ตรวจสอบการรับรู้ของประชาชนและตารวจที่เกี่ยวกับอาชญากรรมนัน้ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ การ วัดการรับรู้ก่อน-หลัง เพื่อประเมินวิธีการด้ วยสถิตแิ ละใช้ การวิจยั ระยะยาว 4.
การวิเคราะห์แบบบริ หาร ( Administrative
Crime Analysis)
วิธีการนี ้มีความแตกต่าง
จากวิธีการที่กล่าวมา เพราะวิธีการนี ้จะเหมาะสมกับผู้บริหารระดับสูงที่จะได้ รับข้ อมูลเพื่อ การตัดสินใจซึ่งข้ อมูลมักจะเป็ นชันข้ ้ อมูลลับหรื อมีความเชื่อมัน่ สูงนัน่ เอง ต่างจากข้ อมูล เพื่อแจ้ งให้ ประชาชนทราบ และต้ องปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ การให้ ข้อมูลเชิงสถิติ มักจะเหมาะสมกว่านั่นเองและสื่ อไปยัง ผู้รับข้ อมูลในหลายๆ ช่องทาง ที่ ง่ าย ชัดเจน ถูกต้ อง และต้ องไม่สะเทือนใจเกินไป ไม่ทาให้ เกิดความตระหนก
6
รูปที่1 โมเดลการวิเคราะห์อาชญากรรม ที่มา: Rachel Boba. (2001): 15. วิธีการวิเคราะห์ดงั กล่าวล้ วนมีความเหมาะสมไปตามจุดประสงค์ที่ต้องการวิเคราะห์ ซึ่งวิธีการเชิงเทคนิก กล ยุทธ์ และการบริ หาร นันนั ้ กวิเคราะห์เชิงอาชญวิทยามักจะใช้ มากและอยู่ภายใต้ กฎหมายที่กาหนดการเก็บ รวบรวมข้ อมูลให้ ครอบคลุม ส่วนระดับล่างสุดมักเป็ นการรวบรวมข้ อมูลจากฝ่ ายสืบสวนมากกว่า และเป็ น ข้ อมูลระดับล่าง ดังรูปที่ 1 แนวคิดการใช้ GIS ร่ วมกับการทาแผนที่อาชญากรรม การวัดเป็ นพื ้นฐานด้ านการวิเคราะห์เชิงวิทยาศาสตร์ ทาให้ เกิดความเชื่อมั่นและถูกต้ องมากกว่าใช้ การบรรยาย เช่น ต้ องการทราบอัตราการเกิดอาชญากรรม คาตอบที่ต้องการคือต้ องรู้ จักคาว่าอัตรา ( rate) เสียก่อนว่าต่อจานวนประชากรกี่คน ต่อพื ้นที่กี่ตารางกิโลเมตร หรื อต่อพื ้นที่ดแู ล เป็ นต้ น แผนที่อาชญากรรม ด้ วย GIS ได้ ถกู นามาใช้ โดยการบังคับใช้ เป็ นกฎหมายในสหรัฐอเมริ กาแล้ ว เพื่อแสดงผลทางพื ้นที่ได้ ซึ่งระบบ GIS
สามารถแสดงผลข้ อมูลใน 4 ลักษณะคือ ประเภทจุด เส้ น พื ้นที่รูปปิ ด และภาพถ่ายจากดาวเทียม
ดังต่อไปนี ้ 1.
การแสดงเป็ นจุด (Point Feature) เป็ นการแสดงผลข้ อมูลโดยใช้ การกาหนดจุดหรื อ Pin places
บนแผนที่ โดยใช้ สญ ั ลักษณ์ที่แตกต่างของการเกิดอาชญากรรม เช่น แสดงพื ้นที่
7
จุดอุบตั ิเหตุรถชนกัน สัญลักษณ์ไฟสี่แยก ตึก ตาแหน่งมือถือ เสาส่งสัญญาณ เป็ นต้ นซึ่ง จะทาให้ เห็นจุดการขโมยได้ ดังรูปที่ 2
2.
รูปที่ 2 แสดงข้ อมูลจุดของสัญลักษณ์ตา่ งๆที่สมั พันธ์บนแผนที่ ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 20 การแสดงเป็ นเส้ น (Line Feature) เป็ นการแสดงผลข้ อมูลที่เป็ นเส้ น ได้ แก่ เส้ นทาง ถนน ทางรถไฟ แม่น ้า การวางท่อน ้าทิ ้ง เส้ นทางรถประจาทาง ถนนโรงเรี ยน และเส้ นทางใน ลักษณะต่างๆ เป็ นต้ น ที่สามารถคาดการณ์ ระยะทางจากจุดการเกิดคดีลักขโมยด้ วย ยานพาหนะอะไรใช้ เส้ นทางลักษณะใด ด้ วยระบบ GIS ดังรูปที่ 3
รูปที่ 3 การแสดงข้ อมูลเป็ นเส้ น ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 21.
8
3.
การแสดงเป็ นพื ้นที่รูปปิ ด (Polygon Feature) เป็ นการแสดงผลข้ อมูลขอบเขตเมือง โซน ช่วงตึก ย่านคนผิวสี เป็ นต้ น นอกจากนี ้การกาหนดพื ้นที่รูปปิ ดยังเกี่ยวข้ องกับขอบเขตการ ควบคุมดูแลหรื อเขตสอบสวนทางกฎหมายอีกด้ วย ขนาดของขอบเขตมีตงแต่ ั ้ ขนาดเล็กไป จนถึงระดับทวีป ดังรูปที่ 4
4.
รูปที่ 4 การแสดงข้ อมูลเป็ นพื ้นที่รูปปิ ด 2 สี ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 21. ภาพถ่ายจากดาวเทียม ( Image Feature) ได้ แก่ ภาพที่ได้ จากดาวเทียม และภาพถ่าย ทางอากาศ ที่ ให้ รายละเอียดเชิง พืน้ ที่และสภาพแวดล้ อมที่ม องเห็นภูมิทัศน์ กว้ างๆได้ อย่างไรก็ตามการนาภาพเหล่านี ้มาใช้ ต้องปรับแก้ ความถูกต้ องเชิงพื ้นที่ให้ เสร็ จเรี ยบร้ อย ก่อนหรื อเรี ยกว่าภาพออร์ โธโฟโต ( Orthophotograph) เพราะเมื่อนามาใช้ ร่วมในระบบ GIS ต้ องปรับตาแหน่งให้ ถก ู ต้ องตามพิกดั จึงจะสามารถวิเคราะห์พื ้นที่ได้
ดังรูปที่ 5
9
รูปที่ 5 แสดงการนาภาพถ่ายทางอากาศหรื อภาพถ่ายดาวเทียมมาซ้ อนทับกับข้ อมูลเส้ นถนน ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 21. เทคนิคการทา Graduated Mapping สาหรับการวิเคราะห์ พืน้ ที่อาชญากรรม การทา Graduated
mapping
เป็ นการบูรณาการข้ อมูลโดยการจัดกลุ่มและแสดงผลข้ อมูล
บนแผนที่ ซึง่ สามารถทาได้ โดยกาหนดด้ วยขนาดหรื อสีที่จาแนกได้ ดงั นี ้ 1.
เทคนิคการกาหนดตามขนาด (Graduation by Size) เหมาะสาหรับข้ อมูลที่เป็ นจุดและ เส้ น โดยใช้ สญ ั ลักษณ์ความหนาของเส้ นหรื อขนาดของจุด มีข้อจากัดคือ อาจจะให้ ข้อมูล ที่ไม่ค่อยชัดเจนนัก เพราะบางทีอาจจะมีการซ้ อนทับจุดจนไม่สามารถนับได้ ดังนันการ ้ เลือกใช้ มาตรส่วนแผนที่กบั คดีที่เกิดขึ ้นจึงต้ องนามาพิจารณาให้ เหมาะสมกับการนาเสนอ ข้ อมูลตามประเภทนี ้ ดังรูปที่ 6
10
รูปที่ 6 แสดงจานวนจุดความเข้ มข้ นของคดีลกั ทรัพย์และความชุกชุมบนถนนสายต่าง ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 56. 2.
เทคนิคการกาหนดด้ วยสี (Graduation by Color) เหมาะสาหรับข้ อมูลที่เป็ น จุด เส้ น พื ้นที่รูปปิ ด ในด้ านการนาไปใช้ มกั เป็ นการให้ โทนสี (กลางวัน-กลางคืน หรื อช่วงเวลาเกิด เหตุ) การให้ ลาดับว่าอะไรเกิดก่อน-หลัง ชนิดของอาชญากรรม จานวนของอาชญากรรม ณ จุดที่เกิดเหตุหรื อพื ้นที่นนๆ ั ้ หรื อ อัตราการเกิดคดีตอ่ พื ้นที่ เป็ นต้ น ซึง่ ในแผนที่จะให้ จานวนจุดเป็ นโทนสีตามวันที่เกิดคดี และแสดงถึงคดีที่เกิดก่อน-หลังได้ อย่างไรก็ตามใน แต่ละพื ้นที่อาจจะแสดงคดีเดียวแต่เกิดหลายครัง้ บนพื ้นที่นนั ้ ตามช่วงเวลาหนึง่ ๆ ก็ได้ ซึง่ จะช่วยให้ ทาความเข้ าใจถึงรูปแบบอาชญากรรมบนพื ้นที่นนๆ ั ้ ดังรูปที่ 7 และรูปที่ 8
11
แสดงพื ้นที่สวนสาธารณะเป็ นสีเขียว และห้ องน ้าสาธารณะเป็ นสีแดง เพื่อที่จะศึกษา กิจกรรมการเกิดเหตุอาชญากรรมบริเวณสวนสาธารณะได้
รูปที่ 7 แสดงการกระจายของคดีความรุนแรงจากคูส่ มรส ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 58.
รูปที่ 8 แสดงการซ้ อนทับข้ อมูลเส้ นกับพื ้นที่รูปปิ ด ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 59.
12
วิธีการจาแนก สถิตทิ ี่ใช้ ในการจาแนกข้ อมูลที่ได้ จากทังเทคนิ ้ คการกาหนดตามขนาด (Graduation by Size) และ เทคนิคการกาหนดด้ วยสี (Graduation by Color) ในระบบ GIS ดังนี ้ 1.
แบบ Natural Breaks เป็ นการกาหนดค่าคงที่เพื่อการจาแนก ส่วนใหญ่ใช้ กบั ข้ อมูลอิสระที่ สามารถกาหนดช่วงที่แตกต่างกันได้
2.
แบบควอไทล์ Quantile เป็ นวิธีการกาหนดค่าหากมี 100 คดี ระบบ GIS สามารถจาแนกได้ 5 กลุม่ ตามการกาหนดพิสยั อย่างละ 20 คดี ซึง่ คล้ ายกับแบบ Natural Breaks ซึง่ สามารถบอก ความชุกชุมของคดีที่เกิดขึ ้นบนพื ้นที่นนได้ ั ้ ซึง่ สามารถแสดงข้ อมูลเป็ นโทนสีได้ ดังรูป ที่ 9
รูปที่ 9 แสดงการจาแนกแบบ Quantile ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 61. 3.
แบบ Equal Area หรื อการให้ ความสมดุลทางพื ้นที่มกั ใช้ กบั ข้ อมูลพื ้นที่รูปปิ ดหรื อโพลีกอน เป็ น การกาหนดกลุม่ ให้ กบั พื ้นที่ทงหมดด้ ั้ วยโพลีกอน วิธีการนี ้คล้ ายแบบ Quantile classification ที่ สัมพันธ์กบั จานวนจุด ดังนันในแต่ ้ ละประเภทของการจาแนกจะเพิ่มน ้าหนักให้ ร้อยละ 20 ทุกโพลี กอนทังแผนที ้ ่ โทนสีที่ได้ จงึ มีความชัดเจนขึ ้นนัน่ เอง ดังรูปที่ 10
13
รูปที่ 10 การให้ คา่ น ้าหนักของทุกโพลีกอนที่ร้อยละ 20 ที่มา: Rachel Boba. (2001) : 61. 4.
แบบ Equal Interval สามารถจาแนกพิสยั เป็ นช่วงได้ และจัดเป็ นกลุม่ เช่น จานวนคดีมี 200 คดี สามารถจาแนกเป็ นช่วงได้ 1-20, 21-40, 41-60 และต่อๆไป
5.
แบบ Standard Deviation การเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที่ได้ จากการคานวณไม่ใช่คา่ จริง แต่เป็ น ค่าที่บอกว่าอยูบ่ นหรื อล่างของค่าเฉลี่ย ดังนันค่ ้ าที่ได้ จากการจาแนกจึงต้ องไปดูที่ตารางอธิ บาย ทางสถิตซิ งึ่ ในระบบ GIS จะมีฟังก์ชนั แตกต่างกันออกไป ซึง่ การจาแนกสามารถระบุประเภทตาม กรอบการศึกษารวมไปถึงการกระจายและการเปรี ยบเทียบข้ อมูลได้ (แสดงด้ วยแผนที่ความ แตกต่างตามระยะเวลา) เหมาะสาหรับข้ อมูลที่เป็ นจุด และเส้ น
6.
แบบ Custom โดยผู้ใช้ กาหนดพิสยั เอง ซึง่ เป็ นไปตามจุดประสงค์ในงานวิจยั นันๆ ้