รายงานสรุป การเตรียมฝึกประสบการณ์ 90 ชั่วโมง
สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระหว่าง วันที่ 7 ตุลาคม – 25 ตุลาคม 2556
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
0
สรุปผลที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์ 90 ชั่วโมง ที่มา ในปี 2556 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ต้องเตรียมฝึกประสบการณ์ 90 ชั่วโมง ก่อนจะทาการฝึกประสบการณ์ จริงจานวน 300 ชั่วโมง ยังหน่วยงานต่างๆที่นักศึกษาได้เลือกเพื่อได้เรียนรู้ประสบการณ์การทางานจริงใน อนาคต ซึ่งในปี นี้ ทางสาขาวิช าได้ กาหนดให้ นักศึกษาออกฝึ กไปยังหน่ ว ยงานราชการที่มีการใช้เครื่องมื อ อุปกรณ์ หรือโปรแกรมทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือ GIS GIS, GPS, Remote Sensing เพื่อให้ นักศึกษาได้เรียนรู้ลักษณะการทางานของหน่วยงานนั้นอย่างแท้จริง มีดังนี้ สถานที่ สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติฯ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดมหาสารคาม. สานักงานประมงจังหวัดมหาสารคาม สานักงาน เกษตรจังหวัดมหาสารคาม เทศบาลเมืองมหาสารคาม โครงการ ค่าย GIS ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รวม
จานวน คน 3 2 3 2 3 3 3 3 22
ผลจากการออกเตรียมฝึกประสบการณ์ จาแนกได้ 3 ประเด็น คือ 1. ด้านกระบวนการเรียนรู้ และทักษะทางสังคมทั่วไป 2. ด้านความคิดเห็นของหน่วยงานควบคุมการฝึก 3. ด้านข้อเสนอแนะ ด้านกระบวนการเรียนรู้ และทักษะทางสังคม 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทางานของหน่วยงานที่ไปฝึก 2. ได้รู้ถึงการปรับเข้าหาผู้อื่น การมีน้าใจ การอ่อนน้อมถ่อมตน การมาสัมมาคารวะ 3. ได้รับรู้ถึงการรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตัวเอง การทางานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จและถูกต้อง 4. การเรียนรู้การทางานทุกด้าน รับเอกสาร ส่งเอกสาร รับโทรศัพท์ ต้อนรับแขกที่มาติดต่อ ราชการ 5. ได้รับความสนุกพร้อมกับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกพื้นที่ไป เช่นการไปปล่อยพันธุ์ ปลา การพบปะชาวบ้าน สร้างมิตรภาพที่ดี การเข้าเยี่ยมชมโรงงานน้าตาลมิตรผล 6. ได้รับรู้ถึงความอบอุ่น ความรัก ความเอาใจใส่ของพี่ๆที่สานักงานทุกคน 7. ได้เรียนรู้ในการเข้าสังคมมากขึ้น สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
1
8. ได้รู้จักผู้คนมากขึ้นและได้รู้ว่าไม่ควรมองโลกแต่เพียงมุมเดียว 9. ได้รู้จักเพื่อนต่างคณะที่มาฝึกงานด้วยกัน 10. ได้เรียนรู้สังคมใหม่ที่ไม่ใช่ในห้องเรียน หรือมหาวิทยาลัย ทาให้ต้องปรับตัวเข้ากับสังคมใหม่ ให้ได้โดยไม่ขับข้องใจ สิ่งที่นักศึกษาได้รับ 1. ได้เรียนรู้ด้านงานเอกสาร ถ่ายเอกสาร เดินเอกสารส่งหนังสือในช่วงอาทิตย์แรกๆแต่อีก2อาทิตย์ ได้ย้ายมาที่ฝ่ายรางวัด หัวหน้าได้สอนการลงโปรแกรม QGIS,ArcGIS 10.0 และได้ส่งงานชิ้นแรก เป็นการเปลี่ยนแปลงพื้นหลักฐานจาก WGIS1984 เป็น Indian1975 ชิ้นที่2 คือ นาข้อมูลที่ เปลี่ยนค่าพิกัดแล้วไปซ้อนทับใน Google Earth ชิ้นที่3 การนาข้อมูลใน Access มา Join ใน ArcGIS 10.0พร้อมทาสื่อการเรียนการสอน ขั้นตอนการทางานทุกชิ้นงาน 2. ได้ความรู้เกี่ยวกับด้านสานักงานประมง จังหวัดมหาสารคาม ได้เรียนรู้การขึ้นทะเบียนเกษตรกร และผู้ประกอบการณ์ด้านการประมง หรือ การเลี้ยงปลา ว่าต้องมีเนื้อที่เท่าไหร่ต่อหน่วย เลี้ยง และต่ อ หน่ อ ยตารางของการเลี้ ย งปลา ได้ รู้ จั ก การรบเอกสารและลงบั น ทึ ก และยั ง ได้ อ อก ภาคสนามก็คือ การออกพื้น ที่จริง เพื่อไปปล่ อยพันธ์ปลา ในโครงการบริห ารแหล่ งน้าให้เกิด ประโยชน์ 3. ได้ฝึกการแปลภาพถ่ายดาวเทียม ให้สามารถแปลพื้นที่แต่ละพื้นที่ ว่าพื้นที่ไหนเป็นแหล่งน้า ถนน อาคารบ้านเรือน เป็นต้น 4. ในการเตรียมฝึกงานครั้งนี้ก็ได้รับความรู้เกี่ยวกับงานต่างๆของสานักงานที่ดินจังหวัดคือ งานโฉนด ที่ดินทีแ่ ละงานรังวัด พร้อมกับได้ทาโปรแกรม Arc และ QGIS เกี่ยวกับข้อมูลพื้นที่ต่างๆและการ ทางานของช่วงรังวัดทายังไง 5. ได้ฝึกฝนการ Digitizing แผนที่ให้ดีขึ้น 6. ได้เรียนรู้การทางานเป็นทีม 7. ได้รับความรู้ในการใช้โปรแกรม AutoCad 8. ได้รับความรู้ในการทาหนังสือราชการ 9. ได้เรียนรู้ในการใช้เครื่องถ่ายเอกสาร เช่น การถ่ายเอกสารโฉนดที่ดิน ไม่สามารถย่อหรือขยายได้ ต้องถ่ายตามขนาดของกระดาษเท่านั้น 10. ได้รับประสบการณ์ในการอยู่ร่วมกับคนอื่นและการพบปะสังคมกับคนทั่วไป 11. ได้ฝึกการทางานในสานักงานที่มีแขกมาติดต่อราชการ 12. ได้มีความสามารถลงโปรแกรม ArcGIS 9.3 ได้ชานาญยิ่งขึ้น 13. ได้รับมอบหมายให้ไปทาการ ดิจิไทซ์ ตาบลหนองบอน อาเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม 14. ได้รู้จักปรับตัวเข้ากับผู้ใหญ่ ได้เรียนรู้ข้อมูลในการใช้โปรแกรม ArcGIS 9.3 มีการทางานเป็นกลุ่ม และส่วนรวมมากขึ้น 15. ได้ฝึกการแปลภาพถ่ายดาวเทียม ได้สามารถแปลพื้นที่แต่ละพื้นที่มีแหล่งน้า ถนน บ้าน อยู่ส่วน ไหน พิกัดเท่าไร และอยู่โซนไหนของประเทศไทย 16. ได้รับรู้ว่าการใช้ GPS มาใช้ในการจับพิกัดจุดบ่อปลาที่ชาวบ้านเลี้ยงแล้วนามาลงพิกัด 17. ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรม ArcGIS เพิ่มเติม และเรียนรู้การลงโปรแกรม ArcGIS
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
2
18. ได้เรียนรู้การลงโปรแกรมการ Digitizing อีกโปรแกรมหนึ่งคือ โปรแกรม QuantumGIS และ เรียนรู้การ Digitizing ด้วยโปรแกรม QuantumGIS 19. -ได้ฝึกการทา Power point ฝึกการพิมพ์งานและพิมพ์งานให้คล่องขึ้น 20. ได้เรียนรู้การเข้าสังคมและปฏิบัติงานร่วมกับบุคคลระดับต่างๆในหน่วยงาน 21. ได้ฝึกงานที่สานักงานประมง จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งหน่วยงานนี้ได้รับมอบหมายงานให้ รับผิดชอบ คือ คีย์ข้อมูลด้านการประมง แต่ไม่ค่อยชานาญในการจดจาสัก จึงทาให้เกิดความ ล่าช้า โดยภาพโดยความทาได้ ในบางวันได้รับมอบหมายให้ทาโปรแกรม EXCEL ก็สามารถทาได้ แต่ต้องใช้เวลาเพราะข้อมูลมีความซับซ้อน 22. ได้รู้เทคนิคในการถ่ายเอกสารอย่างง่าย 23. ได้รู้วิธีการลงโปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์ 24. ได้เห็นการทางานอย่างมีประสิทธิภาพและความสามัคคีกันของพี่ๆในหน่วยงาน 25. ได้เห็นความแตกต่างระหว่างคนสองประเภท คือ ขยัน และคนขี้เกียจ 26. ได้ประสบการณ์มากมายได้ทาให้รู้จักคิดก่อนทาได้มีความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น 27. ได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของหน่วยงาน 28. ได้คียข์ ้อมูล อาสาสมัครทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วยโปรแกรม Excel 29. ได้รู้รายรับรายจ่ายของสานักงาน ข้อความเห็นของผู้ควบคุมการฝึกประสบการณ์/หัวหน้าหน่วยงาน 1. ระยะเวลาการฝึกงานน้อย ทาให้การเรียนรู้งานของนักศึกษายังทาไม่ได้พอเพียงเนื่องจากเนื้อหา ของงานในสานักงานบางแห่ง เช่น สานักงานที่ดิน ฯจาต้องลงมือทาจริง ผ่านการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงจึงจะทาความเข้าใจในเนื้อหา กระบวนงานต่างๆได้อย่างเข้าใจขึ้น 2. นักศึกษาตั้งใจฝึกฝนปฏิบัติตนดี มารยาทดีมาก 3. นักศึกษาได้มีโอกาสออกภาคสนามร่วมกับพี่เลี้ยง 4. การฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาครั้งนี้ มีระยะเวลาค่อนข้างจากัด การเรียนรู้การปฏิบัติงาน รวมถึง การถ่ายทอดวิชา ความรู้ ความสามารถของผู้ควบคุมการฝึกงาน ไปยังนักศึกษา จึงเป็นไปอย่างจากัดเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม นักศึกษาก็สามารถนาความรู้ ความสามารถ จาการฝึกฝนครั้งนี้ไปประยุกต์ ใช้กับการเรียน การดารงตนและการทางานในอนาคตได้ในระดับหนึ่ง หากทางสถานศึกษาจะพิจารณาปรับขยายเวลาการ ฝึกงานให้มากกว่านี้สักหน่อยก็จะเกิดผลดีต่อนักศึกษาเป็นอย่างมาก ขอขอบคุณสถานศึกษาที่ได้ให้โอกาสที่ดี ในการฝึกประสบการณ์ของนักศึกษา ขอส่งเสริมและสนันสนุนกิจกรรมของสถานศึกษาด้วยความจริงใจ 5. การมาฝึกปฏิบัติงาน จาเป็นต้องศึกษาประวัติหน่วยงานให้เพิ่มขึ้น 6. การการปฏิบัติงานหากมีข้อสงสัยควรสอบถามหัดพูดคุยให้มากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องงานจะได้รู้มาก ขึ้นไปด้วย 7. สาหรับนักศึกษาที่ต้องเข้าไปฝึกยังหน่วยงานที่ใช้โปรแกรม GIS หรืออุปกรณ์ด้านการสารวจ จาเป็นต้องฝึกฝนให้เกิดทักษะให้มากขึ้นกว่านี้ 8. นักศึกษาตั้งใจฝึกฝนปฏิบัติตนดี มารยาทดีมาก 9. ต้องการนักสารวจพื้นที่และรับทาระบบ GIS ในหน่วยงาน
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
3
ตารางสรุปการประเมินผลผู้ใช้บัณฑิตสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (จากแบบสอบถาม 10 หน่วยงาน) จาแนกเป็น 6 กลุ่ม คือ 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านคุณลักษณะของบัณฑิตตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ภาพสะท้อนจากหน่วยงาน ด้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในภาพรวมด้านคุณธรรม จริยธรรมพบว่าอยู่ในเกณฑ์ มากร้อยละ 74 ถึงมากที่สุดร้อยละ 17 คือนักศึกษารู้จักจัดการปัญหา มีวินัย ตรงต่อเวลา แก้ปัญหาเป็น มี ความประพฤติเรียบร้อย เข้างานเช้าและเลิกงานตามเหตุปัจจัย อีกทั้งยังพบว่าหน่วยงานที่นักศึกษาเข้าฝึกงาน หากยังมีคนทางานอยู่แม้จะหมดเวลาราชการแล้ว นักศึกษาก็ยังต้องอยู่ช่วยงานแล้วจึงค่อยกลับพร้อมกัน
1.1 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 1.1 1
กลุ่มที่ 1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1
จัดการปัญหาเป็น ภาวะผู้นา รักประชาธิปไตย ค่านิยมที่ดี รักองค์กร ความประพฤติ เสียสละ เคารพกฎ วินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ จรรยาบรรณ
8
22 2 2
1 1
6
8
2
7 7 7
3
22
1 1
6
9 9
3 1 0
1
7 7
2 2
3
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
4
5
6
7
8
9
จานวน (หน่วยงาน)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
4
ภาพรวม ร้อยละด้านคุณธรรม จริยธรรม 9%
17%
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
74%
ด้านความรู้ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีระดับความรู้อยู่ในเกณฑ์ปานกลางร้อยละ 33 ถึง มากร้อยละ 58 เนื่องจากในบางหน่วยงานมีการใช้โปรแกรมทางGIS ที่หลากหลายระบบ ทาให้นักศึกษาต้อง เรียนรู้ใหม่ แต่นักศึกษาส่วนใหญ่สามารถประยุกต์ความรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานนั้นๆ ได้ ส่วนความสามารถในการสื่อสารและถ่ายทอดความรู้อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง เพราะบางครั้งการทาความเข้าใจใน งานทางด้าน GIS ซึ่งเป็นงานบนระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การคิดเชื่อมโยงถึงความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล อื่นๆ อาจจะเป็นข้อจากัดของนักศึกษา ส่วนคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมายอยู่ในเกณฑ์ดี
2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8
กลุ่มที่ 2 ด้านความรู้ 9
คุณภาพของงาน 1
ใฝ่หาความรู้
4
5 55
สามารถในการถ่ายทอดความรู้ 3 3
ความเป็นวิชาชีพ
4
1
การประยุกต์ใช้ความรู้
9
1
การวางแผน
4
5 55
ความรอบรู้ 1
ความรู้ ความสามารถ 0
1
6
3 2
3
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
4
5
6
7
8
9 จำนวน (หน่วยงำน)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
5
ภาพรวม ร้อยละด้านความรู้ 9%
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
33%
58%
ทักษะด้านปัญญา นักศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์มากร้อยละ 52 ถึงปานกลางร้อยละ 42 นักศึกษามีความสามารถในการบูรณาการความรู้เข้าสู่ชีวิตประจาวันได้ ส่วนการวิเคราะห์ปัญหา รวมไปถึง การตัดสินใจอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 42 ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าทางสาขาวิชาต้องฝึกฝนเรื่องการวิเคราะห์ และการคิดเชิงระบบ รวมไปถึงความสามารถตัดสินใจบนข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อสร้างคุณลักษณะทีดีของนักศึกษา ให้ตรงตามเป้าหมายของการผลิตบัณฑิต
ด้านที่ 3 ทักษะด้านปัญญา 6
3.5 3.4
การตัดสินใจ
3.3
การบูรณาการความรู้
3.2
การวิเคราะห์ปัญหา
55
3.1
4
การประยุกต์ในชีวิตประจาวัน
การค้นหาข้อมูลที่ถูกต้อง
55
2 1
0
1
3
5 7
2
2
3
4
5
6
7
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
จานวน (หน่วยงาน)
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
6
ภาพรวม ร้อยละด้านทักษะทางปัญญา 6% น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
42% 52%
ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในภาพรวมของทักษะในด้านนี้อยู่ในเกณฑ์มากร้อยละ 76 ถึงมากที่สุดร้อยละ 17 ดังจะเห็นได้จากเมื่อนักศึกษาได้ทดลองออกฝึกประสบการณ์ยังแหล่งฝึกงานจริง ทา ให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ขยัน อดทน มีบุคลิกภาพที่ดี เคารพสิทธิของผู้อื่น ยอมรับความคิดที่ หลากหลาย เปิดโลกทัศน์การมองโลกออกไปให้กว้างขึ้น รวมไปถึงความสามารถในการเรียนรู้เพิ่มเติมจากสิ่งที่ ไม่เคยเรียนหรือพบมาก่อนได้เป็นอย่างดี
4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9 4.10
ด้านที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 3
ยอมรับความแตกต่าง
7
2
เคารพสิทธิผู้อื่น ดูแลสุขภาพ มีการเรียนรู้และพัฒนาเพิ่ม
1
มีภาวะผู้นา
8 3
7
3
7 4
2
รับผิดชอบต่อสังคม บุคลิกภาพดี ความขยัน หมั่นเพียร อดทน
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
5 8
1
9
1
9 4
การทางานเป็นทีม
6 10
รับผิดชอบต่อหน้าที่ 0
2
4
6
8
จำนวน (หน่วยงำน)
10
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
7
ภาพรวม ร้อยละด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 7%
17%
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
76%
ทักษะด้านตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในภาพรวมของทักษะด้านนี้พบว่า อยู่ในเกณฑ์มาก ร้อยละ 79 ถึงปานกลางร้อยละ 14 ดังจะเห็นได้จากความสามารถในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บ รวบรวม และนาเสนอข้อมูลทั้งในรูปแบบกราฟ ด้วยโปรแกรม Excel และ Power Point นอกจากนี้ยัง สามารถใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ทันสมัยอื่นๆเป็น และมีความรับผิดชอบต่อข้อมูลที่ได้รับและต่อสังคม แต่ พบว่าทักษะด้านการสื่อสาร โดยเฉพาะการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งต้องได้รับ การฝึกฝนให้มากกว่านี้
5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8
ด้านที่ 5 ทักษะด้านตัวเลข การสื่อสาร เทคโนโลยี 1
ใช้เทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรม มีทักษะทางภาษาต่างประเทศได้ ใช้ภาษาไทยได้ดี ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้คอมพิวเตอร์เก็บ รวบรวม นาเสนอได้ รวบรวมข้อมูล สื่อสารข้อมูลได้ สรุปประเด็นได้ ทั้งการพูด- เขียน เทคนิคทางสถิติ คณิตศาสตร์
9 8 8
2
11 1
1
มาก
7
2
ปานกลาง 9
1 11 11 1 0
มากที่สุด
8 8
3
น้อยที่สุด
6
3 2
น้อย
4
5
6
7
8
จำนวน (หน่วยงำน)
9
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
8
ภาพรวม ร้อยละทักษะด้านตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี 7%
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
14%
79%
ทักษะด้านความเป็นอัตลักษณ์ของบัณฑิต GIT นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในภาพรวมของทักษะด้านนี้พบว่าอยู่ในเกณฑ์มาก ที่สุดร้อยละ 84 พบว่านอกจากมีความรู้ทางด้านเทคโนโลยี การใช้โปรแกรม GIS การสื่อสารข้อมูลทาง GIS ได้ แล้วยังรวมไปถึงการบริหารงานทางด้าน GIS เป็น สิ่งเหล่านี้ได้สะท้อนภาพการผลิตบัณฑิตให้ตรงกับความ ต้องการของหน่วยงานและยังเป็นที่ต้องการบุคลากรในสายงานนี้อยู่มาก
10
บริหารงานด้าน GIS ได้ 1
สื่อสารข้อมูลทาง GIS ได้
6.2
ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี
7
1 2
8
1 0
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
8
2
มีความเป็นวิชาชีพ มีจริยธรรมคอมพิวเตอร์
7
2
ประยุกต์ใช้ซอฟแวร์ GIS ได้
6.1
6.3 6.3.1 6.3.2 6.3.3
ด้านที่ 6 อัตลักษณ์ของ GIT
9 2
4
6
8
จำนวน (หน่วยงำน)
10
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
9
ภาพรวม ร้อยละอัตลักษณ์ของสาขา GIT 7% 9%
น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก มากที่สุด
84%
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มรม. 2556
10