รายงานผลการดำเนินงาน ปี 57

Page 1

รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 0

รายงาน ผลการดาเนินงาน ปี 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 1

สารบัญ สรุปสำหรับผู้บริหำร ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ประวัติสำขำวิชำ วิสัยทัศน์ ปรัชญำ ปณิธำน พันธกิจ แผนพัฒนำสำขำวิชำเทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์ 5 ปี พ.ศ. 2553-2557 โครงสร้ำงกำรบริหำรหลักสูตร อำจำรย์ประจำหลักสูตร อำจำรย์พิเศษ ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานปี 2557 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ สรุปผลกำรดำเนินงำนของสำขำวิชำในด้ำนต่ำงๆ ผลกำรดำเนินงำนตำมยุทธศำสตร์ที่ 1-5  ด้ำนกำรเรียนกำรสอน  ด้ำนกำรวิจัย  ด้ำนกำรบริกำรวิชำกำร  ด้ำนกำรทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม  ด้ำนกำรประกันคุณภำพของสำขำวิชำ สำรสนเทศของสำขำวิชำ  ด้ำนบุคลำกร  ด้ำนงบประมำณ  คู่มือและเล่มรำยงำนของสำขำ เครือข่ำยควำมร่วมมือ ควำมภำคภูมิใจของสำขำวิชำ  กำรทำผังเมืองอุดรธำนีเพื่อจัดทำผังเมืองและแผนที่ภำษีด้วยระบบสำรสนเทศ ภูมิศำสตร์

ภำคผนวก ผู้จัดทำ

หน้า 3 5 5 5 7 8 8 9 10 10 11 11 23 24 26 28 30 30 30 31 32 33 33

 โครงกำรจัดทำผังแม่บท (Master Plan) ของมหำวิทยำลัย โดยใช้ GIS 34  อำจำรย์ต่ำงประเทศมำเป็นอำจำรย์พิเศษจำนวน 3 คน 35  พันเอก ดร.สุรพงษ์ สุบงกฎ อดีตอำจำรย์จำกโรงเรียนแผนที ได้มำอบรมให้ควำมรู้ ด้ำนงำนรังวัดและกำรทำหมุดหลักฐำนแนวดิ่งจีพีเอส ภำยในมหำวิทยำลัย 36 37 36


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 2

สรุปสาหรับผู้บริหาร หลักสูตรเทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์ (วท.บ.)คณะเทคโนโลยีสำรสนเทศ โดยสภำวิชำกำรได้ อนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรนี้ในกำรประชุม ครั้งที่ 5/2552 ลงวันที่ 11 เดือน พฤศจิกำยน พ.ศ. 2552 และสภำ มหำวิทยำลัย อนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตรในกำรประชุม ครั้งที่ 12/2552 ลงวันที่ 17 เดือน ธันวำคม พ.ศ. 2552 และได้ผ่ำนกำรอนุมัติหลักสูตรจำกสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ลงวันที่ 7 กรกฎำคม พ.ศ. 2553 ได้เปิดสอนในภำคกำรศึกษำที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2553 เป็นต้นมำ วิสัยทัศน์ พัฒนำสู่องค์กรแห่งกำรเรียนรู้ มุ่งสู่กำรผลิตบัณฑิตที่มีควำมรู้คู่คุณธรรม เป็นผู้นำด้ำนบริกำรวิชำกำร สร้ำงงำนวิจัยอย่ำงมีคุณค่ำ พัฒนำชุมชนและท้องถิ่นด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์ ปรัชญำ เทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์เป็นฐำนในกำรสร้ำงสรรค์และรับใช้สังคม ปณิธำน มุ่งเน้นควำมเป็นเลิศด้ำนวิชำกำร กำรวิจัย และกำรผลิตบัณฑิตที่มีควำมรู้คู่คุณธรรม นำวิธีคิดอย่ำง วิทยำศำสตร์สู่สังคม มีลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคมไทยและสังคมโลก พันธกิจ 1. สร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค และควำมเท่ำเทียมทำงกำรศึกษำอย่ำงหลำยรูปแบบ เป็นกำรจัดกำรศึกษำเพื่อปวงชน มีเป้ำหมำยที่คนทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกชุมชน ท้องถิ่น และอำชีพ ให้ ได้รับกำรศึกษำและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่ำงทั่วถึง ด้วยวิธีกำรจัดกำรศึกษำหลำยรูปแบบ ทั้งรูปแบบภำคปกติ ภำคพิเศษ เพื่อให้ทุกคนได้รั บ กำรพัฒนำศักยภำพในกำรดำรงชีวิตและประกอบอำชีพเพื่อเสริมสร้ำ งกำร แข่งขันของประเทศและสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ 2. ยกระดับคุณภำพและมำตรฐำนทำงกำรศึกษำ กำรเรียน กำรวิจัย กำรบริกำรวิชำกำร และ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เป็นกำรบริหำรจัดกำรศึกษำเพื่อให้ผู้เรียนได้รับกำรศึกษำที่มีคุณภำพมำตรฐำน มีกำรเรียนรู้ทันต่อกำร เปลี่ยนแปลง มีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนสูง เร่งผลิตกำลังคนด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำขำวิชำที่ขำด แคลนและบุคลำกรด้ำนกำรวิจัยและพัฒนำ สำมำรถตอบสนองต่อควำมต้องกำรของภำคกำรผลิต ผู้ว่ำงงำน และนั กศึกษำจบใหม่ให้ ได้รั บ กำรฝึ กอบรมเสริมทักษะ สร้ำงศักยภำพและโอกำสให้ กลั บไปทำงำนที่ เ ป็ น ประโยชน์แก่ท้องถิ่น ประชำชนได้รับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และตระหนักถึงควำมสำคัญของศิลปวัฒนธรรม มี คุณธรรม จริยธรรม และค่ำนิยมที่ดีงำม


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 3

3. พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรศึกษำตำมหลักธรรมภิบำล เป็นกำรนำนโยบำยกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี เป็นที่ยอมรับของผู้บริกำรมำใช้ในกำรบริหำร โดย กำรปรับปรุงคุณภำพในกำรให้บริกำรประชำชน โดยกำรส่งเสริมให้ภำครัฐ และเอกชนมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำ กำรศึกษำ พัฒนำคณำจำรย์และบุคลำกรทำงกำรศึกษำให้ เก่ง ดี มีคุณธรรม มีคุณภำพและมีวิทยฐำนะสูงขึ้น จัดให้ประชำชนมีโอกำสได้รับกำรศึกษำด้วยกำรลงทุนที่ต่ำเพื่อให้เกิดควำมเสมอภำคและควำมเป็นธรรม เปิด ดำเนินกำรสอนในปี 2553 มีอำจำรย์ประจำหลักสูตร 2 คน และในปี 2554 มีอำจำรย์เพิ่มอีก 1 คน รวม 3 คน และในปี 2556 มีจำนวนนักศึกษำทั้งสิ้น 59 คน นอกจำกนี้ยังมีอำจำรย์พิเศษ ที่มำช่วยสอนในรำยวิชำเฉพำะ ให้กับสำขำในปี 2556 รวมทั้งสิ้น 6 คน ซึ่ง มีเพียง 2 คนที่ได้เป็นอำจำรย์พิเศษ (งบ. บกศ.) ส่วนอีก 4 คน มำ ช่วยสอนด้วยควำมสมัครใจ นอกจำกนี้ทำงสำขำวิชำได้ดำเนินกำรตำมยุทธศำสตร์ของมหำวิทยำลัยทั้ง 5 ด้ำน ได้แก่ กำรจัดกำร เรี ย นกำรสอน (เน้ น คุ ณ ลั ก ษณะของบั ณ ฑิ ต ที่ พึ ง ประสงค์ 5 ด้ ำ น คื อ กิ จ กรรมทำงวิ ช ำกำร กำรบ ำเพ็ ญ ประโยชน์และรักษำสิ่งแวดล้อม กำรส่งเสริมคุณธรรม/จริยธรรม กำรส่งเสริมสุขภำพและกีฬำ และกำรส่งเสริม ประชำธิปไตย ) ด้ำนกำรวิจัย ด้ำนกำรบริกำรวิชำกำร ด้ำนกำรทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม และ ด้ำนกำรประกันคุณภำพ ซึ่งในรอบปี 2556 ที่ผ่ำนมำทำงสำขำวิชำได้ดำเนินกำรครบทั้ง 5 ด้ำน อีกทั้งยังได้มี กำรสร้ ำ งเครื อ ข่ ำ ยควำมร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงำนภำยนอกอี ก 8 หน่ ว ยงำน ได้ แ ก่ ส ำนั ก งำนที่ ดิ น จั ง หวั ด มหำสำรคำม สำนักงำนทรัพยำกรธรรมชำติฯ จังหวัดมหำสำรคำม สำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดมหำสำรคำม สำนักงำนโยธำธิกำรและผังเมืองจังหวัดมหำสำรคำม สำนักงำนประมงจังหวัดมหำสำรคำม สำนักงำนเกษตร จังหวัดมหำสำรคำม เทศบำลเมืองมหำสำรคำม และโครงกำร ค่ำย GIS ร่วมกับมหำวิทยำลัยมหำสำรคำม ส่วนอีก 2 แห่งเป็นควำมร่วมมือกับอบต.เกำะพงัน จั งหวัดสุรำษฎร์ธำนี และเทศบำลตำบลศำลำกลำง จังหวัด นนทบุรี โดยนักศึกษำชั้นปีที่ 2 ได้ออกปฏิบัติกำรภำคสนำมกำรทำแผนที่ภำษีและได้รับค่ำตอบแทนเดือนละ 16,000 บำทเป็นเวลำ 3 เดือน จำกผลกำรประเมินผู้ใช้บัณฑิตอยู่ในระดับดีถึงดีมำก ตำรำงที่ 1 จำนวนอำจำรย์ประจำ คุณวุฒิ อำจำรย์พิเศษ และจำนวนนักศึกษำ ปี

2553 2554 2555 2556 รวม

จานวน อาจารย์ ประจา(คน) 2 1 3

คุณวุฒิ

โท โท โท โท

จานวน อาจารย์ พิเศษ 3 3

จานวน จานวน อาจารย์ นักศึกษา ต่างประเทศ (คน) 3 1 18 2 22 3 16 59

ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผู้ช่วย รอง ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ 2 1 3 -


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 4

ตำรำงที่ 2 งบประมำณ งบประมาณปี 2554 2555 2556 รวม

บกศ. 26,100 50,300 56,051

หน่วยงานภายใน 16,750 40,000 30,000

ภายนอก 510,000 200,000 500,000

รวม (บาท)

132,451

86,750

1,210,000

1,429,201

552,850 290,300 586,051

ตำรำงที่ 3 ผลกำรประเมินคุณภำพภำยใน งบประมาณปี 2553 2554 2555 2556

ผลการประเมินภายใน 3.56 4.09 4.39 3.63

ระดับ ดี ดี ดี ดี

สำเหตุที่คะแนนประเมินในปี 2556 ลดลง มำจำกสำเหตุดังต่อไปนี้ 1.สำขำวิชำฯรวบรวมและส่งเอกสำรต่ำงๆไม่ทันตำมกำหนด ประกอบกับในปี 2556 มีจำนวน นักศึกษำสะสมและต้องออกฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพและเตรียมฝึกประสบกำรณ์ฯ 90 ชั่วโมง ทำให้อำจำรย์ทุก คนมุ่งเน้นไปในเรื่องกำรดูแลนักศึกษำออกฝึกประสบกำรณ์เป็นสำคัญ ทั้งกำรเตรียมตัวฝึกทักษะด้ำนต่ำงๆก่อน ล่วงหน้ำ เช่น กำรสอนทำโปรแกรม GIS เพิ่มเติม กำรฝึกทักษะทำงภำษำ กำรปรับบุคลิกภำพ รวมไปถึงกำร วำงแผนนออกนิเทศ กำรติดต่อประสำนงำนต่ำงๆ กำรเรียนรู้กำรพิมพ์หนังงสือรำชกำร เป็นระยะๆอย่ำง ต่อเนื่อง เป็นต้น 2.จำนวนอำจำรย์ประจำมีเท่ำเดิมคือ 3 คน โดยไม่เคยได้รับกำรสนับสนุนอัตรำกำลังเพิ่ม แต่ภำระงำน เทียบเท่ำกับสำขำอื่นที่มีบุคลำกร 5 คน (เป็นอย่ำงน้อย) ทำให้ช่วยเหลือกันได้ 3. งำนวิจัยส่งไม่ทันตำมกำหนดเวลำ เนื่องจำกอำจำรย์ได้ทุ่มเทไปกับกำรเสริมทักษะควำมรู้ให้กับ นักศึกษำเพิ่มเติมก่อนไปฝึกประสบกำรณ์ดังกล่ำว เนื่องจำกแต่ละหน่วยงำนใช้โปรแกรมแตกต่ำงกัน 4. อำจำรย์ในสำขำมีภำระกิจหลักในกำรทำแผนที่แม่บท (Master Plan) ให้กับมหำวิทยำลัย ภำยใต้ โครงกำรมหำวิทยำลัยสีเขียว ซึ่งต้องใช้เวลำอุทิศตนทำงำนให้กับมหำวิทยำลัยโดยตรง โดยจะต้องจัดทำ ฐำนข้อมูลทำงด้ำนอำคำรสถำนที่ลงในโปรแกรมระบบ GIS ซึ่งเป็นภำระหน้ำที่สำคัญหนึ่งของมหำวิทยำลัย 5. อำจำรย์ในสำขำยังได้ถูกดึงเข้ำไปเป็นกรรมกำรร่วมกับหลักสูตรสังคมศึกษำ (ค.บ.) ของคณะครุ ศำสตร์ในเพื่อบูรณำกำรควำมรู้ร่วมกัน


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 5

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ประวัติสาขาวิชา หลั กสู ตรเทคโนโลยี ส ำรสนเทศภูมิศำสตร์ คณะเทคโนโลยีส ำรสนเทศ โดยสภำวิช ำกำร อนุมัติ/ เห็ น ชอบหลั กสู ตรนี้ ในกำรประชุ ม ครั้ งที่ 5/2552 ลงวันที่ 11 เดือน พฤศจิกำยน พ.ศ. 2552 และสภำ มหำวิทยำลัย อนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตรในกำรประชุม ครั้งที่ 12/2552 ลงวันที่ 12 เดือน ธันวำคม พ.ศ. 2552 และได้ผ่ำนกำรอนุมัติหลักสูตรจำกสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ ลงวันที่ 7 กรกฎำคม พ.ศ. 2553 และได้เปิดสอนในภำคกำรศึกษำที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2553 เป็นต้นมำ วิสัยทัศน์ พัฒนำสู่องค์กรแห่งกำรเรียนรู้ มุ่งสู่กำรผลิตบัณฑิตที่มีควำมรู้คู่คุณธรรม เป็นผู้นำด้ำนบริกำรวิชำกำร สร้ำงงำนวิจัยอย่ำงมีคุณค่ำ พัฒนำชุมชนและท้องถิ่นด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์ ปรัชญา เทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์เป็นฐำนในกำรสร้ำงสรรค์และรับใช้สังคม ปณิธาน มุ่งเน้นควำมเป็นเลิศด้ำนวิชำกำร กำรวิจัย และกำรผลิตบัณฑิตที่มีควำมรู้คู่คุณธรรม นำวิธีคิดอย่ำงวิทยำศำสตร์สู่สังคม มีลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคมไทยและสังคมโลก พันธกิจ 1) สร้ำงโอกำส ควำมเสมอภำค และควำมเท่ำเทียมทำงกำรศึกษำอย่ำงหลำยรูปแบบ 2) เป็นกำรจัดกำรศึกษำเพื่อปวงชน มีเป้ำหมำยที่คนทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกชุมชน ท้องถิ่น และอำชีพ ให้

ได้รับกำรศึกษำและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่ำงทั่วถึง ด้วยวิธีกำรจัดกำรศึกษำหลำยรูปแบบ ทั้งรูปแบบ ภำคปกติ ภำคพิเศษ เพื่อให้ทุกคนได้รับกำรพัฒนำศักยภำพในกำรดำรงชีวิตและประกอบอำชี พเพื่อ เสริมสร้ำงกำรแข่งขันของประเทศและสร้ำงสังคมแห่งกำรเรียนรู้ 3) ยกระดับคุณภำพและมำตรฐำนทำงกำรศึกษำ กำรเรียน กำรวิจัย กำรบริกำรวิชำกำร และทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมเป็นกำรบริหำรจัดกำรศึกษำเพื่อให้ผู้เรียนได้รับกำรศึกษำที่มีคุณภำพมำตรฐำน มีกำร เรียนรู้ทันต่อกำรเปลี่ ยนแปลง มีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนสูง เร่งผลิตกำลังคนด้ำนวิทยำศำสตร์และ


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 6

เทคโนโลยี สำขำวิชำที่ขำดแคลนและบุคลำกรด้ำนกำรวิจัยและพัฒนำ สำมำรถตอบสนองต่อควำม ต้องกำรของภำคกำรผลิต ผู้ว่ำงงำนและนักศึกษำจบใหม่ให้ได้รับกำรฝึ กอบรมเสริมทักษะ สร้ ำง ศักยภำพและโอกำสให้กลับไปทำงำนที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่น ประชำชนได้รับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และตระหนักถึงควำมสำคัญของศิลปวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม และค่ำนิยมที่ดีงำม 4) พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรศึกษำตำมหลักธรรมภิบำลเป็นกำรนำนโยบำยกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมือง ที่ดี เป็นที่ยอมรับของผู้บริกำรมำใช้ในกำรบริหำร โดยกำรปรับปรุงคุณภำพในกำรให้บริกำรประชำชน โดยกำรส่ งเสริ ม ให้ ภ ำครั ฐ และเอกชนมีส่ ว นร่ว มในกำรพั ฒ นำกำรศึ ก ษำ พัฒ นำคณำจำรย์ แ ละ บุคลำกรทำงกำรศึกษำให้ เก่ง ดี มีคุณธรรม มีคุณภำพและมีวิทยฐำนะสูงขึ้น จัดให้ประชำชนมีโอกำส ได้รับกำรศึกษำด้วยกำรลงทุนที่ต่ำเพื่อให้เกิดควำมเสมอภำคและควำมเป็นธรรม


=>กลยุทธ์ ตามมาตรฐานของ สกอ., สมศ. และ มรม.

องค์ กรแห่ งการเรี ยนรู้

บริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล

1. พัฒนามาตรฐานตามองค์ ประกอบ และตัวชีวัด ที่สอดคล้ อง กับมาตรฐานของ สกอ. , สมศ, และ มรม.

6. จัดหารายได้ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของคณะฯ

3. ส่ งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันในองค์ กรให้ มีคุณภาพ 4. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพอย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง 5. ประสานความร่ วมมือกับหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ ในและต่ าง

ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม

1. พัฒนาระบบบริ หารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลให้ มี ภาพ ประสิ ดการทรั พยากรให้ มีคุณภาพ 2. พัฒทธินาระบบการจั

ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนและ ท้ องถิ่น

1. ส่ งเสริม การเผยแพร่ การทานุบารุงและเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ด้ วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. ส่ งเสริมการวิจัยและพัฒนาท้ องถิ่นด้ วยเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์

เป็ นศูนย์ กลางการวิจัย ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

เป็ นศูนย์ กลางการบริการ วิชาการด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศภูมศิ าสตร์

พัฒนาระบบการบริการวิชาการบนพืน้ ฐาน ความต้ องการของชุมชนและท้ องถิ่น

1. พัฒนาระบบการบริหารจัดการงานวิจัยให้ มีประสิทธิภาพ 2. เสริมสร้ างศักยภาพของบุคลากรเพื่องานวิจัยอย่ างต่ อเนื่อง

การศึกษาและพัฒนา ชนบทฯ ด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิ สารสนเทศ

3. จัดกิจกรรมบริการวิชาการบนพืน้ ฐานความต้ องการของ ท้4.องถิ ส่ ง่ นเสริ มและสนับสนุนโครงการศูนย์ ทางไกลเพื่อพัฒนา

1. พัฒนาระบบการบริ หารจัดการงานบริการวิชาการให้ มี ประสิ 2. เสริทธิมภสร้าพางศักยภาพของบุคลากรเพื่องานบริการวิชาการ อย่ างต่ อเนื่อง

2. พัฒนาเครื อข่ ายบุคลากรทางการศึกษาด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์

เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา นักวิทยาศาสตร์ ด้านภูมิ สารสนเทศ ครูและบุคลากร ด้านอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง

พัฒนาระบบการจัดการศึกษา เพือ่ ผลิตบัณฑิตที่พงึ ประสงค์

1. ส่ งเสริมการผลิตและพัฒนานักวิทยาศาสตร์ ด้านภูมิ สารสนเทศ ครู รวมทัง้ บุคลากรทางการศึกษา และบุคคลอื่นที่ เกี่ยวข้ องให้ มีมาตรฐานวิชาชีพและวิทยฐานะสูงขึน้

6. ส่ งเสริ มงานพัฒนานักศึกษาให้ มีประสิทธิภาพ

3. ส่ งเสริ มการพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็ น สาคัญ 4. พัฒนาแหล่ งเรี ยนรู้ และสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา 5. ปรั บปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้ ได้ มาตรฐานและตรงความ ต้ องการของสังคม

บัณฑิตมีความรู้ค่ คู ณ ุ ธรรม มีมาตรฐานทางวิชาการ และ วิชาชีพ สอดคล้องกับความ ต้ องการของสังคม

=>เป้าประสงค์

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ค่ คู ุณธรรม มีคุณภาพมาตรฐานทาง วิชาการ 2. แสวงหานักเรียน นักศึกษา มาเรียนในคณะ เพิ่มมากขึน้

=>วิสัยทัศน์

แผนพัฒนาการศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 5 ปี (พ.ศ.รายงานผลการด 2553-2557) าเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 7

พัฒนาสู่องค์ กรแห่ งการเรียนรู้ มุ่งสู่การผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ค่ ูคุณธรรม เป็ นผู้นาด้ านบริการวิชาการ สร้ างงานวิจัยอย่ างมีคุณค่ า พัฒนาชุมชนและท้ องถิ่นด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

=>พันธกิจ จัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานวิชาชีพ วิจัยและบริการวิชาการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพือ่ ส่ งเสริ มความเข้ มแข็งของสั งคมและชุ มชนอย่ างต่ อเนื่อง และยัง่ ยืน

=>ประเด็นยุทธศาสตร์

ด้ านประกันคุณภาพ


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 8

โครงสร้างการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการประจาหลักสูตร 5 คน รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

ประธานสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ อาจารย์ประจาหลักสูตร

อาจารย์ประจาหลักสูตร

อ. กนกลดา ท้าวไทยชนะ ประธานสาขาวิชา

อ.ชนะชัย อวนวัง

อ. อานาจ แสงกุดเลาะ


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 9

อาจารย์พิเศษ

อาจารย์ วิชาญ พันธุ์ดี เชี่ยวชำญด้ำน GIS and Remote Sensing

อาจารย์ อมรรัตน์ สอนสา เชี่ยวชำญด้ำน Web Based GIS

อาจารย์อรอุษา ชาญศึก เชี่ยวชำญด้ำน GIS and Remote Sensing

อาจารย์ มัลคัล์ม

อาจารย์เบรนด้า (Brenda Morizaki)

อาจารย์เคทลิน (Katelyne Stuckey)

(Malcolm McDowall) ผู้เชี่ยวชำญด้ำน ธรณีวิทยำ จำกออสเตรเลีย


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 10

ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานปี 2556 สรุปผลการดาเนินงานของสาขาวิชาในด้านต่างๆ หลักสูตรเทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์ได้เปิดดำเนินกำรสอนมำตั้งแต่ปี 2553 เป็นหลักสูตรใหม่ที่ ใช้กรอบมำตรฐำน TQF:HEd ซึ่งเป็นหลักสูตรแรกของมหำวิทยำลัย ในปี 2533 มีอำจำรย์ประจำหลักสูตร 2 คน คือ อำจำรย์นุชจรี ท้ำวไทยชนะ และอำจำรย์ชนะชัย อวนวัง ได้ย้ำยมำจำกภำควิชำภูมิศำสตร์ คณะ มนุษยศำสตรและสังคมศำสตร์ ในปี 2553 เพื่อมำพัฒนำหลักสูตรวิทยำศำสตรบัณฑิต (วท.บ.) สำขำเทคโนโลยี สำรสนเทศภูมิศำสตร์ที่คณะเทคโนโลยีสำรสนเทศภำยหลังจำกที่คณะเทคโนโลยีสำรสนเทศ ได้รับกำรจัดตั้ง ขึ้นโดยสภำมหำวิทยำลัยรำชภัฏมหำสำรคำม เมื่อวันที่ 23 ธันวำคม 2551 ด้วยเหตุผลและควำมจำเป็นใน ภำรกิจของมหำวิทยำลัย ในด้ำนเป็นหน่วยงำนผลิตบัณฑิตด้ำนคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสำรสนเทศ กำร บริ กำรวิช ำกำร กำรวิจั ย พัฒ นำศักยภำพของชุมชนในท้องถิ่นในด้ำนเทคโนโลยีส ำรสนเทศ ซึ่งหลั กสู ตร เทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์ได้บรรจุอยู่ในแผนพัฒนำกำรศึกษำของคณะเทคโนโลยีแล้ว แต่ยังขำดบุคลำกร ในกำรพัฒนำหลักสูตรอย่ำงเป็นรูปธรรม ด้วยเหตุผลควำมจำเป็นที่ต้องพัฒนำหลักสูตรนี้ขึ้นก็เพื่อตอบสนองต่อนโยบำยกำรพัฒนำประเทศตำม แผนต่ำงๆดังนี้ 1. แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 10 และ ฉบับที่ 11 ด้ำนยุทธศำสตร์กำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมอย่ำงยั่งยืน ในข้อที่ 5.1.2 พัฒนำ ระบบฐำนข้อมูล ระบบสำรสนเทศภูมิศำสตร์และกำรจัดองค์ควำมรู้เ พื่อใช้เป็นเครื่องมือในกำรวำงแผนและ พัฒนำประสิทธิภำพกำรบริห ำรจั ดกำร โดยสนับสนุนให้มีกำรจัดทำแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ และกำรใช้ ประโยชน์ในเขตพื้นที่อนุรักษ์ให้เกิดควำมชัดเจน เพื่อให้ทรำบถึงข้อเท็จจริงและสำมำรถวำงระบบกำรจัดกำร แก้ไขปัญหำให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ปัจจุบัน 2. แผนแม่บทเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2556) โดยคณะรัฐมนตรีให้ ควำมเห็นชอบเมื่อวันที่ 5 สิงหำคม 2552 ด้ำนสถำนภำพกำรพัฒนำเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรของประเทศไทย ในข้อ 3.6 ว่ำด้วย เรื่องสถำนภำพกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อ สำรในภำครัฐ ในด้ำนข้อมูลและบริกำรอิเล็กทรอนิกส์ พบว่ำกำรเชื่อมโยงข้อมูลระหว่ำงกรมยังมีไม่มำกนัก กำรพัฒนำฐำนข้อมูล และมำตรฐำนกำรแลกเปลี่ยนข้อมูล อยู่ในระยะเริ่มต้น ภำยใต้โครงกำรพัฒนำระบบสนับสนุนกำรแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่ำงระบบสำรบรรณอิเลก ทรอนิ กส์ ของหน่ ว ยงำนภำครั ฐ กำรจั ดทำระบบข้อมูล ภูมิส ำรสนเทศ (GIS) และกำรพัฒ นำโครงสร้ำงพื้น ฐำนข้อมูลภูมิสำรสนเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI)


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 11

3. แผนแม่บทเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรของกองบัญชำกำรกองทัพไทย พ.ศ. 2553-2556 กองทัพไทย กระทรวงกลำโหม ด้ำนกำรพัฒนำระบบภูมิสำรสนเทศและกำรสำรวจระยะไกล ให้สำมำรถใช้ในกำรบริหำรงำน กำร วำงแผน และกำรตกลงใจได้อย่ำงรวดเร็ว ถูกต้อง และมีประสิทธิภำพ 4. แผนพัฒนำกำรศึกษำระดับอุดมศึกษำ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551-2555) 5. แผนยุทธศำสตร์มหำวิทยำลัยรำชภัฏมหำสำรคำม ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2551-2555 ในปี 2553 นั้นสำขำเทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์ มีจำนวนนักศึกษำ 1 หมู่ คงเหลือจำนวน 3 คน ต่อมำในปี 2554 ได้รับอำจำรย์อีก 1 คน คือ อำจำรย์อำนำจ แสงกุดเลำะ และนักศึกษำชั้นปีที่ 3 จำนวน 22 คน ในปี 2555 มีนักศึกษำปี 2 จำนวน 18 คน และในปี 2556 มีอำจำรย์พิเศษ 3 คน จำนวนนักศึกษำชั้นปี 1 จำนวน 16 คน รวมทั้งสิ้นเป็น 59 คน แต่ยังคงมีอำจำรย์ประจำหลักสูตรเพียง 3 คนจนถึงปัจจุบัน

ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 1-5 1.

ด้านการเรียนการสอน

ด้านการจัดการการเรียนการสอน 1. จัดทำแผนกำรสอนแต่ละรำยวิชำ 2. จัดทำบทเรียน e-learning 3. จัดทำเอกสำรกำรสอนด้วยระบบดิจิทัล e-Textbook online 4. กำรประเมินประสิทธิภำพกำรเรียนกำรสอน 5. สำรวจควำมต้องกำรจำเป็นของผู้ใช้บัณฑิตสำขำ GIT 6. กำรประเมินกำรสอน 7. กำกับดูแลกำรปฏิบัติตำมจรรยำบรรณวิชำชีพของอำจำรย์ 8. ประเมินจรรยำบรรณวิชำชีพ โครงการ/กิจกรรมพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน กิจกรรมทำงวิชำกำร 1. ร่วมงำนประชุมวิชำกำร NCSSS 2014 2. อบรมควำมรู้ด้ำนสุขอนำมัย “รักนีค้ ุมได้” 3. อบรมโปรแกรม QGIS ให้กับนักศึกษำ 4. อบรมกำรใช้ภำษำอังกฤษด้ำน GIT โดย อ. เบรนด้ำ และ อ. เคทลิน จำก USA 5. ทัศนศึกษำที่อุทยำนแห่งชำติน้ำหนำวและภูหินร่องกล้ำ จ.เพชรบูรณ์ 6. อบรมกำรใช้เครื่องมือจีพีเอส

ปี 2556 2556 2555-2557 2554-2557 2556 2553-2557


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 12

7. อบรมควำมรู้ทำงด้ำนธรณีวิทยำ โดยอำจำรย์มัลคัล์ม จำกประเทศออสเตรเลีย 8. อบรมโปรแกรม Prizi สำหรับกำรนำเสนอ 9. อบรมกำรทำแผนที่ชุมชนให้กับนักศึกษำ GIT 10. อบรมควำมรู้งำนรังวัดและปักหมุดหลักฐำนจีพีเอส โดย พันเอก ดร.สุรพงษ์ สุบงกฎ 11. อบรมกำรสำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำแผนที่ภำษีด้วย GIS ที่จังหวัดอุดรธำนี 12. อบรมกำรสำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำแผนที่ภำษีด้วย GIS สำหรับ อบต. จังหวัด

มหำสำรคำม 13. เตรียมฝึกประสบกำรณ์ 90 ชั่วโมงภำยในจังหวัดและสรุปผลกำรเตรียมฝึกฯ นศ.ปี 2 14. ปฐมนิเทศและปัจฉิมกำรฝึกประสบกำรณ์ 300 ชั่วโมง ของนักศึกษำชั้นปี 3 กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม 1. กิจกรรมทำบุญเข้ำพรรษำ 2. กิจกรรม Big Cleaning Day ลอกผักตบชวำลำห้วยคะคำง 3. กิจกรรมลอยกระทง 4. ทัศนศึกษำที่อุทยำนแห่งชำติเขำค้อ จ. เพชรบูรณ์ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม/จริยธรรม 1. กิจกรรมอบรมคุณธรรม/จริยธรรมเปิดเทอม-ปิดเทอม 2. กิจกรรมไหว้ครู 3. กิจกรรมอัญเชิญพระรำชลัญจกร 4. อบรมบุคลิกภำพและจริยธรรมให้กับนักศึกษำปี 3 ก่อนออกเตรียมฝึกประสบกำรณ์ 5. ปฐมนิเทศนักศึกษำใหม่ร่วมกับมหำวิทยำลัย 6. ปฐมนิเทศนักศึกษำใหม่ร่วมกับคณะ 7. ปฐมนิเทศนักศึกษำใหม่ของสำขำวิชำ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและกีฬา 1. กิจกรรมกีฬำสีสัมพันธ์ 2. กิจกรรมรำตรีไอที กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย 1.กิจกรรมเลือกตั้งนำยกสโมสร 2.กิจกรรมกำรเลือกตัวแทนชั้นปี

2556-2557 2556-2557 2554-2557 2557 2557 2557 2556-2557 2556-2557 2554-2557 2553-2557 2553-2557 2557 2554-2557 2553-2556 2553-2556 2556-2557 2553-2556 2553-2556 2555-2556 2553-2556 2553-2556 2553-2557 2553-2557


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 13

การใช้สอื่ สังคมออนไลน์เฟสบุค เพื่อการเรียนการสอนและการสื่อสาร

ชื่อเพจเฟสบุค : สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ที่มำ : https://www.facebook.com/rmu.git

อ. กนกลดา ใช้ชื่อว่า Nuchy Jai Dee

อ. ชนะชัย ใช้ชื่อว่า ชนะชัย อวนวัง

อ. อานาจ ใช้ชื่อว่า Lek Gis


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 14

ประมวลภาพกิจกรรมรอบปี 2556

ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ปี 2557

สำรวจภำคสนำมที่อุทยำนแห่งชำติน้ำหนำว- จ. เพชรบูรณ์ ระหว่ำงวันที่ 15-16 พฤศจิกำยน 2556

อ. มัลคัล์ม บรรยายในวิชากธรณีระหว่าง ออกภาคสนามที่ จ. เพชรบูรณ์ สักการะท้าวกวด ที่ ต.หนองข่า


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 15

กิจกรรม รณรงค์ต่อต้ำนยำเสพติด

เป็นผู้จัดกิจกรรม “รักนี้ คุมได้” เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2557 เป็นกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางเพศของนักศึกษา โดยได้รับการสนับสนุนจาก กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต บ.ไบเออร์ แห่งประเทศไทย ได้จัดรถโมบายและทีมงานครบครัน


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 16

กิจกรรม กีฬำไอทีสัมพันธ์ วันที่ 24 ธันวำคม 2556

กีฬานักศึกษา

อบรมโปรแกรม QGIS สำหรับนักศึกษำปี 3

อบรมการใช้ กล้ องระดับ


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 17

อบรมประกันคุณภาพ ที่เขื่อนอุบลรัตน์ จ. อุบลราชธานี วันที่ 23-25 พฤษภาคม 2557

ศึกษำดูงำนวิชำกำรทำงด้ำนคณิตศำสตร์และคอมพิวเตอร์ ที่ ม. เซินเจิ้น ประเทศจีน วันที่ 15-18 พฤษภำคม 2557


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 18

ไอทีรำตรีไนท์ วันที่ 24 ธันวำคม 2556

นิเทศนักศึกษำชั้นปีที่ 3 สำขำเทคโนโลยีสำรสนเทศภูมิศำสตร์ ระหว่ำงวันที่ 6-8 พฤษภำคม 2557


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 19

ศึกษำดูงานด้ านวิทยาศาสตร์ ที่ ม. จาปาสัก วันที่ 26 พฤษภาคม 2557

กำรนำเสนอและปัจฉิมนิเทศงำนฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพ ปี 3 วันที่ 9 มิถุนำยน 2557


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 20

อบรมภาคสนามด้ านงานรังวัดและปั กหมุดแนวดิ่ง (Bench Mark) จานวน 10 หมุดรอบมหาวิทยาลัย

พิธีอัญเชิญตรำพระรำชลัญจกรวันที่ 15 มิถุนำยน 2556


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 21

กิจกรรมงานวันลอยกระทง

อบรมกำรทำโมเดลภูมิประเทศ 3 มิติ สำหรับนักศึกษำปี 1


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT >>> 22

อบรมประกันคุณภาพระดับคณะ ที่จงั หวัดอุบลราชธานี วันที่ 23 เมษายน 2557


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 23

3.

ด้านการวิจัย

เรื่อง 1. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการศึกษาพื้นที่บริการการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2. การปักหมุดหลักฐานจีพีเอสแนวดิ่งภายในมหาวิทยาลัย 3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการบริการแผนที่อาคารออนไลน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

สถานะ กาลังดาเนินการ กาลังดาเนินการ กาลังดาเนินการ


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 24

4.

ด้านการบริการวิชาการ

1. 2. 3. 4.

เรื่อง วิทยากรอบรมการทาแผนที่ภาษีสาหรับอบต.มหาสารคาม 2 รุ่น ส่งนักศึกษาให้บริการความรู้ด้าน GIS สาหรับการวางผังเมือง อุดรธานีร่วมกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม. ขอนแก่น วิทยากรด้านประกันคุณภาพภายในศูนย์วิทยาศาสตร์ วิทยากรด้านประกันคุณภาพภายในคณะมนุษยศาสตร์ฯ และ คณะเทคโนโลยีการเกษตร

หน่วยงาน อบต. มหาสารคาม ม. ชอนแก่น ศูนย์วิทย์ฯ คณะมนุษยฯและคณะ เทคโนโลยีการเกษตร


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 25


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 26 4.

ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

เรื่อง 1. โครงการสารวจข้อมูลภาคสนามด้านทรัพยากรธรรมชาติแหล่ง ท่องเที่ยว 2. โครงการสารวจพื้นที่เพื่อจัดทาแผนที่ธรณี 3. โครงการทัศนศึกษาจังหวัดสุโขทัย 4. กิจกรรมทอดผ้าป่า ทึ่ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 5. ราตรีไอที 6. บวงสรวงท้าวกวด (ท้าวเจริญราชเดช) 7. วันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม

สถานที่ อท. เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ อท. น้าหนาว จ.เพชรบูรณ์ จ.สุโขทัย สปป.ลาว มหาสารคาม “ “


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 27


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 28 5.

ด้านการประกันคุณภาพของสาขาวิชา ผลการประเมินคุณภาพระดับสาขา ปี 2553

5.

องค์ประกอบ

จานวนตัวบ่งชี้ คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ยที่ได้ ระดับการประเมิน

องค์ประกอบที่ 2 ผลิตการสอน องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย

7.00 2.00

23 9

3.29 4.5

ระดับพอใช้ ระดับดีมาก

9.00 32 คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 2 องค์ประกอบ จานวน 9 ตัวบ่งชี้

3.56

ระดับดี

รวมตัวบ่งชี้ทุกองค์ประกอบ

หมายเหตุ คะแนนตามเกณฑ์ สกอ. จานวน11 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.6, 2.7, 2.8, 4.1 , และ 4.3

การประเมินคุณภาพระดับสาขา ปี 2554 องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 2 ผลิตการสอน องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการ

จานวนตัว คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ยที่ได้ ระดับการประเมิน บ่งชี้ 7.00 25 3.57 ระดับดี 2.00 10 5 ระดับดีมาก 2.00 10 5 ระดับดีมาก

รวมตัวบ่งชี้ทุกองค์ประกอบ

11.00 45 คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 3 องค์ประกอบ จานวน 11 ตัวบ่งชี้

4.09

ระดับดี

การประเมินคุณภาพระดับสาขา ปี 2555 องค์ประกอบ

จานวนตัวบ่งชี้ คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ยที่ได้ ระดับการประเมิน

องค์ประกอบที่ 2 ผลิตการสอน 7.00 23 องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย 2.00 9 องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการ 2.00 10 รวมตัวบ่งชี้ทุกองค์ประกอบ 11.00 42 คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 2 องค์ประกอบ จานวน 9 ตัวบ่งชี้

4.05 5 5

ระดับดี ระดับดีมาก ระดับดีมาก

4.39

ระดับดี


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 29

การประเมินคุณภาพระดับสาขา ปี 2556 องค์ประกอบ

จานวนตัวบ่งชี้ คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ยที่ได้ ระดับการประเมิน

องค์ประกอบที่ 2 ผลิตการสอน 7.00 23 องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย 2.00 9 องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการ 2.00 10 รวมตัวบ่งชี้ทุกองค์ประกอบ 11.00 42 คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 2 องค์ประกอบ จานวน 9 ตัวบ่งชี้

3.25 3.13 5

ระดับพอใช้ ระดับพอใช้ ระดับดีมาก

3.63

ระดับดี

สาเหตุที่คะแนนประเมินในปี 2556 ลดลง มาจากสาเหตุดังต่อไปนี้ 1.สาขาวิ ช าฯรวบรวมและส่ ง เอกสารต่ า งๆไม่ ทั น ตามก าหนด ประกอบกั บ ในปี 2556 มี จ านวน นักศึกษาสะสมและต้องออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพและเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ 90 ชั่วโมง ทาให้อาจารย์ทุก คนมุ่งเน้นไปในเรื่องการดูแลนักศึกษาออกฝึกประสบการณ์เป็นสาคัญ ทั้งการเตรียมตัวฝึกทักษะด้านต่างๆก่อน ล่วงหน้า เช่น การสอนทาโปรแกรม GIS เพิ่มเติม การฝึกทักษะทางภาษา การปรับบุคลิกภาพ รวมไปถึงการ วางแผนนออกนิ เทศ การติดต่อประสานงานต่างๆ การเรียนรู้การพิมพ์ห นัง สือราชการ เป็นระยะๆอย่าง ต่อเนื่อง เป็นต้น 2.จานวนอาจารย์ประจามีเท่าเดิมคือ 3 คน โดยไม่เคยได้รับการสนับสนุนอัตรากาลังเพิ่ม แต่ภาระงาน เทียบเท่ากับสาขาอื่นที่มีบุคลากร 5 คน (เป็นอย่างน้อย) ทาให้ช่วยเหลือกันได้ 3. งานวิจัยส่งไม่ทันตามกาหนดเวลา เนื่องจากอาจารย์ได้ทุ่มเทไปกับการเสริมทักษะความรู้ให้กับ นักศึกษาเพิ่มเติมก่อนไปฝึกประสบการณ์ดังกล่าว เนื่องจากแต่ละหน่วยงานใช้โปรแกรมแตกต่างกัน 4. อาจารย์ในสาขามีภาระกิจหลักในการทาแผนที่แม่บท (Master Plan) ให้กับมหาวิทยาลัย ภายใต้ โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว ซึ่งต้องใช้เวลาอุทิศตนทางานให้กับมหาวิทยาลัยโดยตรง โดยจะต้องจัดทา ฐานข้อมูลทางด้านอาคารสถานที่ลงในโปรแกรมระบบ GIS ซึ่งเป็นภาระหน้าที่สาคัญหนึ่งของมหาวิทยาลัย 5. อาจารย์ในสาขายังได้ถูกดึงเข้าไปเป็นกรรมการร่วมกับหลักสูตรสังคมศึกษา (ค.บ.) ของคณะครุ ศาสตร์ในเพื่อบูรณาการความรู้ร่วมกัน


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 30

สารสนเทศของสาขา จานวนอาจารย์ ประจา อาจารย์พิเศษ คุณวุฒิ และนักศึกษา ปี

2553 2554 2555 2556 รวม

จานวน อาจารย์ ประจา(คน) 2 1 3

คุณวุฒิ

โท โท โท โท

จานวน อาจารย์ พิเศษ 3 3

จานวน จานวน อาจารย์ นักศึกษา ต่างประเทศ (คน) 3 1 18 2 22 3 16 59

ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผู้ช่วย รอง ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ 2 1 3 -

ด้านงบประมาณ งบประมาณปี 2554 2555 2556 รวม

บกศ. 26,100 50,300 56,051

หน่วยงานภายใน 16,750 40,000 30,000

ภายนอก 510,000 200,000 500,000

รวม (บาท)

132,451

86,750

1,210,000

1,429,201

ผลการประเมินคุณภาพภายใน งบประมาณปี 2553 2554 2555 2556

ผลการประเมินภายใน 3.56 4.09 4.39 3.63

ระดับ ดี ดี ดี ดี

552,850 290,300 586,051


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 31

คู่มือและเล่มรายงานของสาขา


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 32

เครือข่ายความร่วมมือ ในปี 2556 ที่ผ่านมา ทางสาขาวิชาได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก 11 หน่วยงาน โดยส่งนักศึกษาชั้นปีที่ 3 เข้าฝึกประสบการณ์ 300 ชั่วโมงก่อนออกในเทอม 3/ 2556 (ดังตารางด้านล่าง) รายชื่อหน่วยงานในเครือข่ายความร่วมมือเข้ารับการฝึกประสบการณ์ 300 ชั่วโมง ของนักศึกษาปี 3 ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5.

6. 7.

8. 9. 10. 11.

สถำนที่

จำนวนนักศึกษำ ปี

สานักทรัพยากรน้าบาดาล เขต 4 (ขอนแก่น) อุทยานแห่งชาตินายูง-น้าโสม ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ สาขากมลาไสย โรงงานน้าตาลวังขนาย จังหวัดนครราชสีมา สานักงานการจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 ขอนแก่น สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สาขาบรบือ สานักงานเทศบาลเมืองมหาสารคาม สานักงานที่ดินจังหวัดขอนแก่น องค์การบริหารส่วนตาบลโนนสง่า สานักทรัพยากรน้าบาดาล เขต 10 (อุดรธานี) สานักงานที่ดินจังหวัดร้อยเอ็ด สาขาปทุมรัตต์ รวม

3

1 3 2 4 1 3 2 1 1 1 3 22

นอกจากนี้ยังได้ส่งนักศึกษาชั้นปีที่ 2 จานวน 18 คน เข้ารับการเตรียมฝึกประสบการณ์ 90 ชั่วโมงที่ หน่วยงานราชการภายในจังหวัดมหาสารคาม ดังตารางด้านล่างนี้ ลาดับ 1. 2. 3. 4. 5.

6. 7.

8. 9. 10.

สถานที่

จานวนนักศึกษา ปี 2

สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดมหาสารคาม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม สานักงานเทศบาลเมืองมหาสารคาม สานักงานโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม สานักงานประมง จังหวัดมหาสารคาม สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดมหาสารคาม สานักคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

2 2 2 3 2 2 4 2 2 1

รวม

18


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 33

ความภาคภู ิใจของสาขา ควำมภำคภูมิใมจของสำขำวิ ชำ 1. การทาผังเมืองอุดรธานีเพื่อจัดทาผังเมืองและแผนที่ภาษีด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทางสาขาวิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ ไ ด้ รั บ การติ ด ต่ อ จาก คณะสถาปั ต ยกรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ ม.วิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งต้องการนักศึกษาเข้าร่วมทางานสารวจพื้นที่เมือง อุดรธานี และทางอาจารย์ ได้คัดเลือกนั กศึกษาที่เคยมีประสบการณ์ทางานที่เทศบาลเมืองนนทบุรี และ เทศบาลเกาะพงัน จ.สุ ร าษฎรธานี มาแล้ ว และส่ งตัว เข้าไปทางานร่ว มกับทาง ม. ขอนแก่น ให้ ทาหน้าที่ ปฏิบัติการดิจิไทซ์ (digitize) และกรอกข้อมูลเพื่อนาเข้าระบบฐานข้อมูลของจังหวัดอุดรธานี ทางสาขาได้สอน ในรายวิชาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 มาแล้ว และค่อนข้างมีทักษะด้านนี้พอสมควร ดังนั้นทางสาขาวิชาจึงได้ส่งตัวนักศึกษาจานวน 5 คน เพื่อเข้าทางาน และหาประสบการณ์จ ากการปฏิบัติงานจริ ง เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2557 เนื่องจาก นักศึกษาต้องกับมาฝึกประสบการณ์ 90 ชั่วโมง ตามที่ทางสาขากาหนด โดยทางมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เสนอ ค่าจ้างให้กับนักศึกษาคนล่ะ 8,000 บาท ต่อเดือน เพื่อไม่ให้ขาดช่วงจึงได้ส่งตัวนักศึกษาชั้นปีที่ 5 จานวน 2 คนเข้าไปแทนนักศึกษาปี 2


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 34

2. โครงการจัดทาผังแม่บท (Master Plan) ของมหาวิทยาลัย โดยใช้ GIS 3. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้เสนอโครงการจัดทาผังแม่บท (Master Plan) ของ มหาวิทยาลัย และได้รับการสนับสนุนให้ดาเนินการภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียว ซึ่งเป็นโครงการที่ จาเป็นต้องพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอาคารสถานที่ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักของมหาวิทยาลั ยให้ถูกต้อง เสียก่อน ที่ผ่านมาคือทางมหาวิทยาลัยยังไม่มีการทาระบบการจัดทาฐานข้อมูลอาคารสถานที่ในรูปแบบ ดิจิทัลเลย จึงยากต่อการบริหารจัดการ และไม่สามารถนาไปสู่การตัดสินใจเชิงนโยบายบนฐานวิชาการได้ ทั้งนี้ทางสาขาวิชาจึงได้รับมอบหมายให้ทาโครงการนี้ โดยเริ่มจากการกาหนดตาแหน่งอ้างอิงด้วยพิกัดซี่ง จากหมุดหลักฐาน (Bench Mark) จานวน 10 หมุด เพื่อกาหนดขอบเขตของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสาร คามได้อย่างชัดเจนร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมในการวิเคราะห์พื้นที่ ได้แก่ 1. นาเข้าข้อมูลค่าพิกัดหมุดแนว เขตมหาวิทยาลัยจากการรังวัด และดิจิไตซ์จัด ทาแผนที่แนวเขตในรูปแบบดิจิตอล เวคเตอร์ ที่สามารถ คานวณเนื้อที่และปรับแก้ได้ในภายหลัง 2. จัดทาแผนที่อาคารสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ในมหาวิทยาลัย 3. ดิจิ ไตซ์จัดทาแผนที่รูปร่างอาคารทั้งหมดในมหาวิทยาลัยและเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลรายละเอียดอาคาร 4. ดิจิ ไตซ์จัดทาแผนที่ถนนและเส้นทางคมนาคม 5. ดิจิไตซ์จัดทาแผนผังอาคาร ผังชั้นและผังห้อง ให้อยู่ใน รูปแบบเวคเตอร์ ออกแบบจัดทาผังอาคาร ผังชั้น ผังห้องจัดเก็บในระบบฐานข้อมูล 6. ออกแบบพั ฒ นา โปรแกรมระบบแผนที่แม่บทและแผนที่ระบบโครงสร้างพื้นฐานออนไลน์ 7. จัดทาแผนที่แสดงการใช้ ประโยชน์พื้นทีใ่ นมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 35

4. อาจารย์ต่างประเทศมาเป็นอาจารย์พิเศษจานวน 3 คน ทางสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ได้กาหนดกลยุทธ์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมาตั้งแต่ การเปิ ด หลั ก สู ต รในปี 2554 โดยให้ นั ก ศึ ก ษาทุ ก ชั้ น ปี ไ ด้ มี โ อกาสเรี ย นภาษาต่ า งประเทศกั บ อาจารย์ ต่างประเทศโดยตรง เพื่อกระตุ้นความกล้าในการพูดและการแสดงออกอย่างมั่นใจกับคนต่างชาติ และสร้าง บรรยากาศความคุ้นเคยกับ คนต่างชาติให้ เป็นเรื่องปกติในชีวิตประจาวัน ซึ่งทุกปีการศึกษาจะกาหนดให้ นักศึกษาลงเรียนทุกภาคการศึกษาโดยจะจัดเป็นคอสพิเศษ 36 ชั่วโมงที่นอกเหนือจากการเรียนในหลักสูตร ใน ปี 2556 มีอาจารย์มาช่วยสอน 3 ท่าน คือ 1.อ. มัลคัล์ม (Malcolm McDowall) ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยา และสอนนักศึกษา GIT ปี 3 และยัง มาช่วยภาษาอังกฤษให้กับนักศึกษา GIT ปี 2 ด้วย 2. อ. เบรนด้า (Brenda Morizaki) ช่วยสอนภาษาอังฤษสาหรับนักศึกษา GIT ปี 1 3. อ. เคทลิน (Katelyne Stuckey) ช่วยสอนภาษาอังฤษสาหรับนักศึกษา GIT ปี 3

อาจารย์เบรนด้า (Brenda Morizaki)

อ. มัลคัล์ม (Malcolm McDowall)

อาจารย์เคทลิน (Katelyne Stuckey)


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 36

4. พันเอก ดร.สุรพงษ์ สุบงกฎ อดีตอาจารย์จากโรงเรียนแผนที ได้มาอบรมให้ความรู้ด้านงานรังวัด และการทาหมุดหลักฐานแนวดิ่งจีพีเอส ภายในมหาวิทยาลัย โครงการอบรมการทารังวัดและการทาหมุดหลักฐานซึ่งได้รับความกรุณาจาก พันเอก ดร.สุ รพงษ์ สุบงกฎ อดีตอาจารย์จากโรงเรียนแผนที ได้ลงมาอบรมให้ความรู้แก่นักศึกษาและอาจารย์ได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ร่วมกับ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร คณะเทคโนการเกษตร ทาให้เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างคณะอย่างเป็นรูปธรรม


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 37

ภาคผนวก


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 38

หนังสือแจ้ง การอนุมัติหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ จาก สกอ.


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 39

หน้าอนุมัติหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2553 เป็นหลักสูตรแรกของมหาวิทยาลัยภายใต้ กรอบมาตรฐาน TQF:HEd


รายงานผลการดาเนินงานปี 2556 สาขา GIT <<< 40

ผู้จัดทา

นางสาวกนกลดา นายชนะชัย นายอานาจ

ท้าวไทยชนะ อวนวัง แสงกุดเลาะ

ประธานสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ อาจารย์ประจาสาขาวิชา อาจารย์ประจาสาขาวิชา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.