รายงานผลการดำเนินงาน ปี 56

Page 1

รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

รายงาน ผลการดาเนินงาน ปี 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

0


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

สารบัญ หน้า สรุปสาหรับผู้บริหาร ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ประวัติสาขาวิชา วิสัยทัศน์ ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ แผนพัฒนาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 5 ปี พ.ศ. 2553-2557 โครงสร้างการบริหารหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารย์พิเศษ

3 5 5 5 7 8 8 9

ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ สรุปผลการดาเนินงานของสาขาวิชาในด้านต่างๆ ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 1-5  ด้านการเรียนการสอน  ด้านการวิจัย  ด้านการบริการวิชาการ  ด้านการทานุบารุงศิลปะวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม  ด้านการประกันคุณภาพของสาขาวิชา สารสนเทศของสาขาวิชา  ด้านบุคลากร  ด้านงบประมาณ  คู่มือและเล่มรายงานของสาขา เครือข่ายความร่วมมือ ความภาคภูมิใจของสาขาวิชา  โครงการวิจัยพัฒนาพื้นที่บ้านเหล่า บังเกิดผลเป็นรูปธรรม  นักศึกษา GIT ปี 2 รับงานสารวจเพื่อจัดทาแผนที่ภาษีที่ ต.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี และ ต.ศาลากลาง จ.นนทบุรีและได้รับค่าตอบแทนเดือนละ 16,000 บาท  อาจารย์ชาวต่างประเทศมาเป็นอาจารย์พิเศษจานวน 3 คน  พันเอก ดร.สุรพงษ์ สุบงกฎ อดีตอาจารย์จากโรงเรียนแผนที กรมแผนที่ทหาร กระทรวง กลาโหม วิทยากรผู้เชี่ยวชาญงานแผนที่และการสารวจ ภาคผนวก ผู้จัดทา

10 10 11 11 23 24 25 26 27 27 27 28 29 30 30 31 32 33 34 36

1


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

2


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

สรุปสาหรับผู้บริหาร หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (วท.บ.)คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสภาวิชาการได้ อนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรนี้ในการประชุม ครั้งที่ 5/2552 ลงวันที่ 11 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 และสภา มหาวิทยาลัย อนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 12/2552 ลงวันที่ 17 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 และได้ผ่านการอนุมัติหลักสูตรจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ลงวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ได้เปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นมา วิสัยทัศน์ พัฒ นาสู่ องค์กรแห่ งการเรี ย นรู้ มุ่ งสู่ การผลิ ตบั ณฑิตที่ มี ความรู้คู่คุณธรรม เป็นผู้ นาด้านบริการ วิชาการ สร้างงานวิจัยอย่างมีคุณค่า พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปรัชญา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นฐานในการสร้างสรรค์และรับใช้สังคม ปณิธาน มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านวิชาการ การวิจัย และการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม นาวิธีคิดอย่าง วิทยาศาสตร์สู่สังคม มีลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคมไทยและสังคมโลก พันธกิจ 1. สร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาอย่างหลายรูปแบบ เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน มีเปูาหมายที่คนทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกชุมชน ท้องถิ่น และอาชีพ ให้ ได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง ด้วยวิธีการจัดการศึกษาหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบภาคปกติ ภาคพิเศษ เพื่อให้ ทุกคนได้รั บการพัฒนาศักยภาพในการดารงชีวิตและประกอบอาชีพเพื่อเสริมสร้างการ แข่งขันของประเทศและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานทางการศึกษา การเรียน การวิจัย การบริการวิชาการ และ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เป็นการบริหารจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน มีการเรียนรู้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง เร่งผลิตกาลังคนด้ านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาที่ขาด แคลนและบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา สามารถตอบสนองต่อความต้องการของภาคการผลิต ผู้ว่างงาน และนั กศึกษาจบใหม่ให้ ได้รั บ การฝึ กอบรมเสริ มทักษะ สร้ างศักยภาพและโอกาสให้ กลั บไปท างานที่เป็ น ประโยชน์แก่ท้องถิ่น ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของศิลปวัฒนธรรม มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมภิบาล เป็นการนานโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นที่ยอมรับของผู้บริการมาใช้ในการบริหาร โดย การปรับปรุงคุณภาพในการให้บริการประชาชน โดยการส่งเสริมให้ภาครัฐ และเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา การศึกษา พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้ เก่ง ดี มีคุณธรรม มีคุณภาพและมีวิทยฐานะสูงขึ้น จัดให้ประชาชนมีโอกาสได้รับการศึกษาด้วยการลงทุนที่ต่าเพื่อให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรม เปิด

3


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ดาเนินการสอนในปี 2553 มีอาจารย์ประจาหลักสูตร 2 คน และในปี 2554 มีอาจารย์เพิ่มอีก 1 คน รวม 3 คน และในปี 2556 มีจานวนนักศึกษาทั้งสิ้น 59 คน นอกจากนี้ยังมีอาจารย์พิเศษ ที่มาช่วยสอนในรายวิชาเฉพาะ ให้กับสาขาในปี 2556 รวมทั้งสิ้น 6 คน ซึ่ง มีเพียง 2 คนที่ได้เป็นอาจารย์พิเศษ (งบ. บกศ.) ส่วนอีก 4 คน มา ช่วยสอนด้วยความสมัครใจ นอกจากนี้ทางสาขาวิชาได้ดาเนินการตามยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การจัดการ เรีย นการสอน (เน้ นคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5 ด้าน คือ กิจกรรมทางวิชาการ การบาเพ็ญ ประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมคุณธรรม/จริยธรรม การส่งเสริมสุขภาพและกีฬา และการส่งเสริม ประชาธิปไตย ) ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการ ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม และ ด้านการประกันคุณภาพ ซึ่งในรอบปี 2556 ที่ผ่านมาทางสาขาวิชาได้ดาเนินการครบทั้ง 5 ด้าน อีกทั้งยังได้มี การสร้ างเครื อข่ายความร่ ว มมือกับ หน่ ว ยงานภายนอกอี ก 8 หน่ว ยงาน ได้แก่ ส านักงานที่ดินจังหวั ด มหาสารคาม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติฯ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดมหาสารคาม สานักงานประมงจังหวัดมหาสารคาม สานักงานเกษตร จังหวัดมหาสารคาม เทศบาลเมืองมหาสารคาม และโครงการ ค่าย GIS ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ส่วนอีก 2 แห่งเป็นความร่วมมือกับอบต.เกาะพงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเทศบาลตาบลศาลากลาง จังหวัด นนทบุรี โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ได้ออกปฏิบัติการภาคสนามการทาแผนที่ภาษีและได้รับค่าตอบแทนเดือนละ 16,000 บาทเป็นเวลา 3 เดือน จากผลการประเมินผู้ใช้บัณฑิตอยู่ในระดับดีถึงดีมาก ตารางที่ 1 จานวนอาจารย์ประจา คุณวุฒิ อาจารย์พิเศษ และจานวนนักศึกษา ปี 2553 2554 2555 2556 รวม

จานวน อาจารย์ ประจา(คน) 2 1 3

คุณวุฒิ โท โท โท โท

จานวน อาจารย์ พิเศษ 6 6

จานวน นักศึกษา (คน) 3 18 22 16 59

อาจารย์ 2 1 3

ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วย รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ -

ตารางที่ 2 งบประมาณ งบประมาณปี 2554 2555 2556 รวม

ภายใน 26,100 50,300 56.051 76,456

ภายนอก 16,750 20,000 515,000 551,750

อื่นๆ 510,000 510,000

รวม (บาท) 552,850 70,300 571,051 1,194,201

ตารางที่ 3 ผลการประเมินคุณภาพภายใน งบประมาณปี 2553 2554 2555

ผลการประเมินภายใน 3.56 4.09 4.39

ระดับ ดี ดี ดี

4


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประวัติสาขาวิชา หลั กสู ตรเทคโนโลยี ส ารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีส ารสนเทศ โดยสภาวิช าการ อนุมัติ / เห็ น ชอบหลั ก สู ตรนี้ ใ นการประชุม ครั้ ง ที่ 5/2552 ลงวั นที่ 11 เดื อน พฤศจิ กายน พ.ศ. 2552 และสภา มหาวิทยาลัย อนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 12/2552 ลงวันที่ 12 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 และได้ผ่านการอนุมัติหลักสูตรจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ลงวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 และได้เปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นมา วิสัยทัศน์ พัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งสู่การผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม เป็นผู้นาด้านบริการวิชาการ สร้างงานวิจัยอย่างมีคุณค่า พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปรัชญา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นฐานในการสร้างสรรค์และรับใช้สังคม ปณิธาน มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านวิชาการ การวิจัย และการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรม นาวิธีคิดอย่างวิทยาศาสตร์สู่สังคม มีลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคมไทยและสังคมโลก

5


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

พันธกิจ 1) สร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาอย่างหลายรูปแบบ 2) เป็นการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน มีเปูาหมายที่คนทุกกลุ่ม ทุกวัย ทุกชุมชน ท้องถิ่น และอาชีพ ให้

ได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง ด้วยวิธีการจัดการศึกษาหลายรูปแบบ ทั้งรูปแบบ ภาคปกติ ภาคพิเศษ เพื่อให้ทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพในการดารงชีวิตและประกอบอาชีพเพื่อ เสริมสร้างการแข่งขันของประเทศและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 3) ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานทางการศึกษา การเรียน การวิจัย การบริการวิชาการ และทานุบารุง

ศิลปวัฒนธรรมเป็นการบริหารจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน มีการ เรียนรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง เร่งผลิตกาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สาขาวิชาที่ขาดแคลนและบุ คลากรด้านการวิจัยและพัฒนา สามารถตอบสนองต่อความ ต้องการของภาคการผลิ ต ผู้ว่างงานและนักศึกษาจบใหม่ให้ได้รับการฝึ กอบรมเสริมทักษะ สร้าง ศักยภาพและโอกาสให้กลับไปทางานที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่น ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของศิลปวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม 4) พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมภิบาลเป็นการนานโยบายการบริหารกิจการบ้านเมือง

ที่ดี เป็นที่ยอมรับของผู้บริการมาใช้ในการบริหาร โดยการปรับปรุงคุณภาพในการให้บริการประชาชน โดยการส่ ง เสริ ม ให้ ภ าครั ฐ และเอกชนมีส่ ว นร่ว มในการพั ฒ นาการศึ กษา พัฒ นาคณาจารย์แ ละ บุคลากรทางการศึกษาให้ เก่ง ดี มีคุณธรรม มีคุณภาพและมีวิทยฐานะสูงขึ้น จัดให้ประชาชนมีโอกาส ได้รับการศึกษาด้วยการลงทุนที่ต่าเพื่อให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรม

6


=>กลยุทธ์ ตามมาตรฐานของ สกอ., สมศ. และ มรม.

องค์ กรแห่ งการเรี ยนรู้

บริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล

1. พัฒนามาตรฐานตามองค์ ประกอบ และตัวชีวัด ที่สอดคล้ อง กับมาตรฐานของ สกอ. , สมศ, และ มรม.

6. จัดหารายได้ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของคณะฯ

3. ส่ งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันในองค์ กรให้ มีคุณภาพ 4. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพอย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง 5. ประสานความร่ วมมือกับหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน ทัง้ ในและต่ าง

ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม

1. พัฒนาระบบบริ หารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลให้ มี ภาพ ประสิ ดการทรั พยากรให้ มีคุณภาพ 2. พัฒทธินาระบบการจั

ทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

วิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนและ ท้ องถิ่น

1. ส่ งเสริม การเผยแพร่ การทานุบารุงและเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ด้ วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

เป็ นศูนย์ กลางการวิจัย ด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์

พัฒนาระบบการบริการวิชาการบนพืน้ ฐาน ความต้ องการของชุมชนและท้ องถิ่น

1. พัฒนาระบบการบริหารจัดการงานวิจัยให้ มีประสิทธิภาพ 2. เสริมสร้ างศักยภาพของบุคลากรเพื่องานวิจัยอย่ างต่ อเนื่อง 3. ส่ งเสริมการวิจัยและพัฒนาท้ องถิ่นด้ วยเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์

การศึกษาและพัฒนา ชนบทฯ ด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิ สารสนเทศ

3. จัดกิจกรรมบริการวิชาการบนพืน้ ฐานความต้ องการของ ท้4.องถิ ส่ ง่ นเสริ มและสนับสนุนโครงการศูนย์ ทางไกลเพื่อพัฒนา

เป็ นศูนย์ กลางการบริการ วิชาการด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศภูมศิ าสตร์

=>วิสัยทัศน์

1. พัฒนาระบบการบริ หารจัดการงานบริการวิชาการให้ มี ประสิ 2. เสริทธิมภสร้าพางศักยภาพของบุคลากรเพื่องานบริการวิชาการ อย่ างต่ อเนื่อง

2. พัฒนาเครื อข่ ายบุคลากรทางการศึกษาด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์

เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา นักวิทยาศาสตร์ ด้านภูมิ สารสนเทศ ครูและบุคลากร ด้านอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง

พัฒนาระบบการจัดการศึกษา เพือ่ ผลิตบัณฑิตที่พงึ ประสงค์

1. ส่ งเสริมการผลิตและพัฒนานักวิทยาศาสตร์ ด้านภูมิ สารสนเทศ ครู รวมทัง้ บุคลากรทางการศึกษา และบุคคลอื่นที่ เกี่ยวข้ องให้ มีมาตรฐานวิชาชีพและวิทยฐานะสูงขึน้

6. ส่ งเสริ มงานพัฒนานักศึกษาให้ มีประสิทธิภาพ

3. ส่ งเสริ มการพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็ น สาคัญ 4. พัฒนาแหล่ งเรี ยนรู้ และสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา 5. ปรั บปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้ ได้ มาตรฐานและตรงความ ต้ องการของสังคม

บัณฑิตมีความรู้ ค่ คู ณ ุ ธรรม มีมาตรฐานทางวิชาการ และ วิชาชีพ สอดคล้องกับความ ต้ องการของสังคม

=>เป้าประสงค์

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ค่ คู ุณธรรม มีคุณภาพมาตรฐานทาง วิชาการ 2. แสวงหานักเรียน นักศึกษา มาเรียนในคณะ เพิ่มมากขึน้

าเนินงาน ม ปี 2556 แผนพัฒนาการศึกษา สาขาเทคโนโลยีรายงานผลการด สารสนเทศภู ศิ าสตร์ 7 5 ปี (พ.ศ. 2553-2557) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

พัฒนาสู่องค์ กรแห่ งการเรียนรู้ มุ่งสู่การผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ค่ ูคุณธรรม เป็ นผู้นาด้ านบริการวิชาการ สร้ างงานวิจัยอย่ างมีคุณค่ า พัฒนาชุมชนและท้ องถิ่นด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

=>พันธกิจ จัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานวิชาชีพ วิจัยและบริการวิชาการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพือ่ ส่ งเสริ มความเข้ มแข็งของสั งคมและชุ มชนอย่ างต่ อเนื่อง และยัง่ ยืน

=>ประเด็นยุทธศาสตร์

ด้ านประกันคุณภาพ


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสร้างการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการประจาหลักสูตร 5 คน รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

ประธานสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ อาจารย์ประจาหลักสูตร

อาจารย์ประจาหลักสูตร

อ. กนกลดา ท้าวไทยชนะ ประธานสาขาวิชา

อ.ชนะชัย อวนวัง

อ. อานาจ แสงกุดเลาะ

8


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาจารย์พิเศษ

อาจารย์ วิชาญ พันธุ์ดี เชี่ยวชาญด้าน GIS and Remote Sensing

อาจารย์ อมรรัตน์ สอนสา เชี่ยวชาญด้าน Web Based GIS

อาจารย์อรอุษา ชาญศึก เชี่ยวชาญด้าน GIS and Remote Sensing

อาจารย์ มัลคัล์ม (Malcolm) ผู้เชี่ยวชาญด้าน ธรณีวิทยา จากออสเตรเลีย

อาจารย์ ลูก้า (Luca) ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษ จากเยอรมนี

อาจารย์ น้าฝน (Liu Yue Lu) ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาจีนและ ภาษาอังกฤษ

9


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

สรุปผลการดาเนินงานของสาขาวิชาในด้านต่างๆ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้เปิดดาเนินการสอนมาตั้งแต่ปี 2553 เป็นหลักสูตรใหม่ที่ ใช้กรอบมาตรฐาน TQF:HEd ซึ่งเป็นหลักสูตรแรกของมหาวิทยาลัย ในปี 2533 มีอาจารย์ประจาหลักสูตร 2 คน คือ อาจารย์นุ ชจรี ท้าวไทยชนะ และอาจารย์ชนะชัย อวนวัง ได้ย้ายมาจากภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะ มนุ ษยศาสตรและสั งคมศาสตร์ ในปี 2553 เพื่อมาพัฒนาหลั กสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่คณะเทคโนโลยีสารสนเทศภายหลังจากที่คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้รับ การจัดตั้งขึ้นโดยสภามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2551 ด้วยเหตุผลและความ จาเป็นในภารกิจของมหาวิทยาลัยในด้านเป็นหน่วยงานผลิตบัณฑิตด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริการวิชาการ การวิจัย พัฒนาศักยภาพของชุมชนในท้องถิ่นในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้บรรจุอยู่ในแผนพัฒนาการศึกษาของคณะเทคโนโลยีแล้ว แต่ยังขาดบุคลากร ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยเหตุผลความจาเป็นที่ต้องพัฒนาหลักสูตรนี้ขึ้นก็เพื่อตอบสนองต่อนโยบายการพัฒนาประเทศตาม แผนต่างๆดังนี้ 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 และ ฉบับที่ 11 ด้านยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ในข้อที่ 5.1.2 พัฒนา ระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการจัดองค์ความรู้เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนและ พัฒนาประสิทธิภาพการบริ หารจัดการ โดยสนับสนุนให้มีการจัดทาแผนที่แนวเขตที่ดินของรั ฐและการใช้ ประโยชน์ในเขตพื้นที่อนุรักษ์ให้เกิดความชัดเจน เพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริงและสามารถวางระบบการจัดการ แก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน 2. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2556) โดยคณะรัฐมนตรีให้ ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2552 ด้านสถานภาพการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ในข้อ 3.6 ว่าด้วย เรื่องสถานภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภาครัฐ ในด้านข้อมูลและบริการอิเล็กทรอนิกส์ พบว่าการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกรมยังมีไม่มากนัก การพัฒนาฐานข้อมูล และมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูล อยู่ในระยะเริ่มต้น ภายใต้โครงการพัฒนาระบบสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบสารบรรณอิเลก ทรอนิกส์ของหน่วยงานภาครัฐ การจัดทาระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ (GIS) และการพัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) 3. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกองบัญชาการกองทัพไทย พ.ศ. 2553-2556 กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ด้านการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศและการสารวจระยะไกล ให้สามารถใช้ในการบริหารงาน การ วางแผน และการตกลงใจได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ 4. แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551-2555) 5. แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2551-2555

10


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ในปี 2553 นั้นสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีจานวนนักศึกษา 1 หมู่ คงเหลือจานวน 3 คน ต่อมาในปี 2554 ได้รับอาจารย์อีก 1 คน คือ อาจารย์อานาจ แสงกุดเลาะ และนักศึกษาชั้นปีที่ 3 จานวน 22 คน ในปี 2555 มีนักศึกษาปี 2 จานวน 18 คน และในปี 2556 มีอาจารย์พิเศษ 6 คน จานวนนักศึกษาชั้นปี 1 จานวน 16 คน รวมทั้งสิ้นเป็น 59 คน แต่ยังคงมีอาจารย์ประจาหลักสูตร 3 คนจนถึงปัจจุบัน

ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 1-5 1.

ด้านการเรียนการสอน

ด้านการจัดการการเรียนการสอน 1. จัดทาแผนการสอนแต่ละรายวิชา 2. จัดทาบทเรียน e-learning 3. จัดทาเอกสารการสอนด้วยระบบดิจิทัล e-Textbook online 4. การประเมินประสิทธิภาพการเรียนการสอน 5. สารวจความต้องการจาเป็นของผู้ใช้บัณฑิตสาขา GIT 6. การประเมินการสอน 7. กากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของอาจารย์ 8. ประเมินจรรยาบรรณวิชาชีพ โครงการ/กิจกรรมพัฒนานักศึกษา 5 ด้าน กิจกรรมทางวิชาการ 1. ร่วมงานประชุมวิชาการ NCSSS 2013 2. อบรมการทาสร้างโมเดลเชิงพื้นที่ภูกระดึง 3. อบรมโปรแกรม QGIS ให้กับนักศึกษา 4. อบรมการใช้ภาษาอังกฤษด้าน GIT โดย อ.ลูก้า (อาสาสมัครจากประเทศเยอรมนี) 5. อบรมภาษาจีนเบื้องต้น โดยอาจารย์ น้าฝน จากประเทศจีน 6. ทัศนศึกษาที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ 7. อบรมการใช้เครื่องมือจีพีเอส 8. อบรมความรู้ทางด้านธรณีวิทยา โดยอาจารย์มัลคัล์ม จากประเทศออสเตรเลีย 9. อบรมโปรแกรม Prizi สาหรับการนาเสนอ 10. อบรมการทาแผนที่ชุมชนให้กับนักศึกษา GIT 11. ทัศนศึกษาที่ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เวียดนาม และ สิงคโปร์ 12. อบรมความรู้เรื่องแผนที่และงานสารวจ โดย พันเอก ดร.สุรพงษ์ สุบงกฎ 13. อบรมการสารวจข้อมูลเพื่อจัดทาแผนที่ภาษีด้วย GIS ที่ อบต. เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ ธานี และ เทศบาลตาบลศาลากลาง จ.นนทบุรี 14. เตรียมฝึกประสบการณ์ 90 ชั่วโมงภายในจังหวัดและสรุปผลการเตรียมฝึกฯ 15. ปฐมนิเทศและปัจฉิมการฝึกประสบการณ์ 300 ชั่วโมง ของนักศึกษาชั้นปี 4

ปี 2556 2556 2555-2556 2554-2556 2556 2556 2553-2556 2556 2556 2554-2556 2556 2556 2556 2556 2556

11


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม 1. กิจกรรมทาบุญเข้าพรรษา 2. กิจกรรม Big Cleaning Day ลอกผักตบชวาลาห้วยคะคาง 3. กิจกรรมลอยกระทง 4. อาสาสมัครในกิจกรรมกีฬาเยาวชนแห่งชาติ (มหาสารคามเกมส์) 5. ทัศนศึกษาที่ปราสาทหินพิมาย จ.นครราชสีมา กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม/จริยธรรม 1. กิจกรรมอบรมคุณธรรม/จริยธรรมเปิดเทอม-ปิดเทอม 2. กิจกรรมไหว้ครู 3. กิจกรรมอัญเชิญพระราชลัญจกร 4. อบรมบุคลิกภาพและจริยธรรมให้กับนักศึกษาปี 3 ก่อนออกเตรียมฝึกประสบการณ์ 5. ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ร่วมกับมหาวิทยาลัย 6. ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ร่วมกับคณะ 7. ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ของสาขาวิชา กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและกีฬา 1. กิจกรรมไอทีสัมพันธ์ 2. กิจกรรมรับน้องใหม่คณะ 3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะวิ่ง 5 กิโลเมตร นส. สุกัญญา ไชยสิทธิสร้อย นศ.ชั้นปีที่ 1 ได้ที่ 1 รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย 1.กิจกรรมเลือกตั้งนายกสโมสร 2.กิจกรรมการเลือกตัวแทนชั้นปี

ปี 2554-2556 2553-2556 2553-2556 2556 2556 2554-2556 2553-2556 2553-2556 2556 2553-2556 2553-2556 2555-2556 2553-2556 2553-2556 2556 2553-2556 2553-2556

12


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

การใช้สื่อสังคมออนไลน์เฟสบุค เพื่อการเรียนการสอนและการสื่อสาร

ที่มา : https://www.facebook.com/rmu.git เฟสบุ๊ค: สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ชื่อเพจเฟสบุค : สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

อ. กนกลดา ใช้ชื่อว่า Nuchy Link Si Link

อ. ชนะชัย ใช้ชื่อว่า ชนะชัย อวนวัง

อ. อานาจ ใช้ชื่อว่า Lek Gis

13


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประมวลภาพกิจกรรมนักศึกษา

พิธีไหว้ครูร่วมกับมหาวิทยาลัยปี 2556 นายมงคล ภูวิเลิศ นายกสโมสรคณะไอที นักศึกษา GIT ปี 3 เข้ารับเข็มกลัดน้องใหม่กับอธิการบดีสมชาย วงศ์เกษม

สักการะท้าวกวด ที่ ต.หนองข่า

งานกีฬามหาวิทยาลัย

กีฬาไอทีสัมพันธ์ วันที่ 18 มกราคม 2556

งานราตรีไอทีสัมพันธ์ 18 มกราคม 2556

14


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

กิจกรรมน้องพีส่ ัมพันธ์ GIT ทุกชั้นปี

ทัศนศึกษาทางประวัติศาสตร์ ที่ อ.พิมาย

เรียนรู้การจาแนกหินและแร่ ร่วมกับ อ. มัลคัล์ม

นักศึกษา GIT เข้าอบรมคุณธรรมจริยธรรม

อ. มัลคัล์ม ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยา มอบชนิดแร่ต่างๆ จานวน 4 กล่อง พร้อมอุปกรณ์ ตรวจสอบแร่

15


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

นาเสนอผลการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ 90 ชั่วโมง (ฝึกภายในจังหวัด)

ทัศนศึกษาที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่

ทาบุญเข้าพรรษา 25 กรกฎาคม 2556

อบรมการใช้กล้องสารวจให้นักศึกษาปี 2

16

เข้าร่วมโครงการการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ ณ ม. กวางบินห์ นายพิพัฒน์ บุตตะสุรีย์ นักศึกษา GIT ปี 3 เข้าร่วม โครงการการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ที่ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

เดิน-วิ่งเฉลิมพระเกียรติ 5 กิโลเมตร

17

นส. สุกัญญา ไชยสิทธิสร้อย นักศึกษา GIT ได้ที่ 1 เดิน-วิ่งเฉลิมพระเกียรติ ประเภทอายุ ไม่เกิน 20 ปี

นายอาทิตย์ นะรา และนางสาววิชุดา คาปูอง ชั้นปี 3 ฝึกประสบการณ์ 300 ชั่วโมงที่ สนง. สปก. นครราชสีมา ผลการประเมินอยู่ในระดับ A (ร้อยละ 98)


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

18

เข้าร่วมโครงการการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ณ ม. วิงห์ พันโท ดร.สุรพงษ์ สุบงกฏ อดีตอาจารย์จาก รร. แผนที่ วันที่ 4-7กุมภาพันธ์ 2556 มาบรรยายพิเศษให้นักศึกษา GIT วันที่ 15 มีค. 2556


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาจารย์ ลูก้า สอนวิชาภาษาอังกฤษ

อบรมการทาโมเดลภูกระดึง จ. เลย

19

นักศึกษา GIT ปี 1 เรียนภาษาอังกฤษจากเจ้าของภาษา

อบรมการทาโปรเจคชั่นแบบต่างๆ ในงาน RMU Open House


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ไหว้ครูคณะไอที

ร่วมกันทาพานน้องปี 1 GIT

รับน้องปี 1 คณะไอที

ซุ้มรับร้อง GIT

วง GIT Band โดยนักศึกษาชั้นปีที่ 3 แสดงสดวันที่ 18 มกราคม 2556 http://www.youtube.com/watch?v=vo_wKdOi8uc

ศึกษาดูงานที่ สิงคโปร์ วันที่ 24-27 กุมภาพันธ์ 2556

20


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ส่งเสริมสุขภาวะบุคลากรที่เกาะล้าน จ. ชลบุรี

21

ศึกษาดูงานที่ สปป.ลาว

ปัจฉิมการฝึกประสบการณ์ 300 ชั่วโมงของนศ. GIT ปี 4 เจ้ าหน้ าที่สานักงานประมง จ. กาฬสินธุ์ขอคาแนะนา การใช้ โปรแกรม GIS

ประชุมประจาเดือนของสาขา GIT ร่วมงานวันที่ 5 ธันวาคม 2556

กิจกรรมงานลอยกระทง


แผนพัฒนากิจกรรมนักศึกสาขาวิ ษา ชาเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ ฉบับที22่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗) สารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556

=>ปรัชญา พัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตที่ดขี องคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ ได้ เปรียบเชิงการเปรียบเทียบ และมีทกั ษะความสามารถในการกับสังคมที่มกี ารเปลี่ ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาได้ =>วิสัยทัศน์

1.เป็ นคณะที่สนับสนุนและส่ งเสริมนักศึกษาให้ มีศกั ยภาพ ในสาขาให้ มีความเชี่ยวชาญเป็ นเลิศ 2.สร้ างสรรค์ และพัฒนาคุณธรรม วัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเพื่อการเรียนรู้อย่ างต่ อเนื่องในรูปแบบทักษะชีวติ และทักษะทางสังคมอย่ างสอดคล้ อง

=>พันธกิจ

=>เป้าประสงค์

=>กลยุทธ์

=>ตัวบ่ งชี ้

ส่ งเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้ วนและสอดคล้ องกับคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

นักศึกษามีโอกาสเข้ าร่วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ เกิดทักษะการเรียนรู้ในระดับประเทศ และระดับสากล

พัฒนานักศึกษาให้ มีความรู้ ทักษะการให้ บริ การ มีคณ ุ ธรรม จริ ยธรรม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ

ส่งเสริ ม สนับสนุน การจัดกิจกรรมนักศึกษาทีด่ ารง เอกลักษณ์ความเป็ นไทยให้ มงุ่ สูค่ วามเป็ นสากล

ส่งเสริ ม สนับสนุนและพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถของ บุคลากรในการให้ คาแนะนาการบริ การแก่นกั ศึกษา

สนับสนุนวิชาการที่ ส่งเสริ มคุณลักษณะ บัณฑิตที่พงึ ประสงค์

สร้ างเครื อข่ายนักศึกษา ทังภายในและภายนอก ้

ส่งเสริ มประชาธิปไตย

ส่งเสริ มศิลปะและ

วัฒนธรรม โครงการ/กิจกรรม

บาเพ็ญประโยชน์หรื อ เสริ มสร้ างคุณธรรม กีฬาหรื อการส่งเสริ ม และจริ ยธรรม รักษาสิง่ แวดล้ อม สุขภาพ


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ด้านการวิจัย

2.

1. 2.

3. 4. 5.

ด้านการวิจัย ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการศึกษาพื้นที่ บริการการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม การแก้ปัญหาความเข้าใจในการเรียนรู้ รายวิชา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไทย โดยใช้วิธีคิดอย่างเป็นระบบ โครงการสารวจข้อมูลเพื่อจัดทาแผนที่ภาษีด้วย GIS การตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัย การนางานวิจัยไปใช้ประโยชน์ รวม

จานวน (บาท) 15,000

แหล่งทุน สานักวิจัย

ปี 2556

(25,000)

สานักวิจัย

(ค้างส่ง)

500,000

บริษัท

2556

515,000

23


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.

1. 2. 3. 4.

ด้านการบริการวิชาการ เรื่อง วิทยากรอบรมการทาแผนที่การใช้ที่ดนิ วิทยากรอบรมโครงการสารวจข้อมูลเพื่อจัดทาแผนที่ภาษีด้วย GIS จานวน 2 รุ่น วิทยากรด้านประกันคุณภาพภายในศูนย์วิทยาศาสตร์ วิทยากรด้านประกันคุณภาพภายในคณะมนุษยศาสตร์ฯ และคณะ เทคโนโลยีการเกษตร

หน่วยงาน สนง.ประมง จ. กาฬสินธ์ เทศบาลเกาะพงัน และ ต.ศากลาง จ.นนทบุรี ศูนย์วิทย์ฯ คณะมนุษย์และคณะ เทคโนโลยีการเกษตร

24


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

4.

ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

เรื่อง 1. โครงการสารวจข้อมูลภาคสนามด้านทรัพยากรธรรมชาติแหล่งท่องเที่ยว 2. 3. 4. 5. 6. 7.

โครงการทัศนศึกษาที่ อ.พิมาย จ.นครราชสีมา กิจกรรมทอดกฐิน วัดปุาสันติธรรม ลูกทุ่งราชภัฏ บวงสรวงท้าวกวด (ท้าวเจริญราชเดช) ทาบุญเข้าพรรษาที่วัดศรีสวัสดิ์ วันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม

สถานที่ เขาใหญ่ นครราชสีมา นครราชสีมา ยโสธร มหาสารคาม “ “ “

25


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.

ด้านการประกันคุณภาพของสาขาวิชา

ผลการประเมินคุณภาพระดับสาขา ปี 2553 องค์ประกอบ

จานวนตัวบ่งชี้ คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ยที่ได้ ระดับการประเมิน

องค์ประกอบที่ 2 ผลิตการสอน องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย รวมตัวบ่งชี้ทุกองค์ประกอบ คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 2 องค์ประกอบ

7.00 23 2.00 9 9.00 32 จานวน 9 ตัวบ่งชี้

3.29 4.5

ระดับพอใช้ ระดับดีมาก

3.56

ระดับดี

หมายเหตุ คะแนนตามเกณฑ์ สกอ. จานวน11 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.6, 2.7, 2.8, 4.1 , และ 4.3

การประเมินคุณภาพระดับสาขา ปี 2554 จานวนตัว คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ยที่ได้ ระดับการประเมิน บ่งชี้ องค์ประกอบที่ 2 ผลิตการสอน 7.00 25 3.57 ระดับดี องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย 2.00 10 5 ระดับดีมาก องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการ 2.00 10 5 ระดับดีมาก รวมตัวบ่งชี้ทุกองค์ประกอบ 11.00 45 คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 3 องค์ประกอบ จานวน 11 ตัวบ่งชี้ ระดับดี 4.09 องค์ประกอบ

หมายเหตุ คะแนนตามเกณฑ์ สกอ. จานวน 11 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ที่ 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.6, 2.7, 2.8, 4.1 , 4.3, 5.1 และ 5.2

ผลการประเมินคุณภาพระดับสาขา ปี 2555 จานวนตัว คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ยที่ได้ ระดับการประเมิน บ่งชี้ องค์ประกอบที่ 2 ผลิตการสอน 7.00 23 4.05 ระดับดี องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย 2.00 9 5 ระดับดีมาก องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการ 2.00 10 5 ระดับดีมาก รวมตัวบ่งชี้ทุกองค์ประกอบ 11.00 42 คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 3 องค์ประกอบ จานวน 11 ตัวบ่งชี้ ระดับดี 4.39 องค์ประกอบ

26


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

สารสนเทศของสาขา ด้านบุคลากร ปี 2553 2554 2555 2556 รวม

จานวน บุคลากร (คน) 2 1 3

คุณวุฒิ โท โท โท โท

จานวน นักศึกษา (คน) 3 18 22 16 59

อาจารย์ 2 1 3

ตาแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วย รอง ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ -

จานวนอาจารย์ (พิเศษ) นักศึกษา ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 รวม

ชั้นปีที่ 1 1 1

ชั้นปีที่ 2 2 2

ชั้นปีที่ 3 2 2

ชั้นปีที่ 4 1 1

รวม 6 6

ด้านงบประมาณ งบประมาณปี 2554 2555 2556 รวม

ภายใน 26,100 50,300 56.051 76,456

ภายนอก 16,750 20,000 515,000 551,750

อื่นๆ 510,000 510,000

รวม (บาท) 552,850 70,300 571,051 1,194,201

ผลการประเมินคุณภาพภายใน งบประมาณปี 2553 2554 2555

ผลการประเมินภายใน 3.56 4.09 4.39

ระดับ ดี ดี ดี

27


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

คู่มือและเล่มรายงานของสาขา

28


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

เครือข่ายความร่วมมือ ในปี 2556 ที่ผ่ า นมา ทางสาขาวิช าได้ส ร้างเครื อข่า ยความร่ว มมือ กับหน่ว ยงานภายนอก 10 หน่วยงานโดยส่งนักศึกษาชั้นปีที่ 3 เข้าโครงการเตรียมความพร้อม 90 ชั่วโมงก่อนออกฝึกประสบการณ์ในช่วง ปิดเทอมภาคฤดูร้อน (ดังตารางด้านล่าง) ส่วนการออกค่ายร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เป็นการ สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการร่วมกันระหว่าง คณะแพทยศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะสัตว แพทยศาสตร์ และคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่วนอีก 2 หน่วยงาน คือ อบต.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี และ เทศบาลตาบลศาลากลาง จ.นนทบุรี ได้ส่งนักศึกษาชั้นปีที่ 2 จานวน 12 คน ได้ออกภาคสนามทาแผนที่ภาษี ซึ่งได้รับความยอมรับและยินดีรับนักศึกษาออกฝึกภาคสนามเช่นนี้ที่ จ.พิจิตร และ จ.ภูเก็ตในปี 2557 ต่อไป รายชื่อหน่วยงานในเครือข่ายความร่วมมือเข้ารับการเตรียมฝึกฯ 90 ชั่วโมง สถานที่ สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติฯ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดมหาสารคาม. สานักงานประมงจังหวัดมหาสารคาม สานักงาน เกษตรจังหวัดมหาสารคาม เทศบาลเมืองมหาสารคาม โครงการ ค่าย GIS ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รวม

โครงการค่าย GIS ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ระหว่างวันที่ 9-20 ตุลาคม 2556

จานวนนักศึกษา ปี 3 2 3 2 3 3 3 3 22

3

29


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความภาคภูมิใจของสาขาวิชา 1. โครงการวิจัยพัฒนาพืน ้ ที่บ้านเหล่า บังเกิดผลเป็นรูปธรรม

ผลจากการทาโครงการฟื้นฟูสุขภาวะชุมชนตาบลเหล่า อ.โกสุมพิสัย เมือปี 2555 .ทาให้เกิดผลต่อการ พัฒนาพื้นที่บึงกุย โดยการจัดการพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวโดยมีตาแหน่งพิกัดทางภูมิศาสตร์ที่ถูกต้อง

30


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. นักศึกษา GIT ปี 2 รับงานสารวจเพื่อจัดทาแผนที่ภาษี ที่ เทศบาลเกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี และ เทศบาลตาบลศาลากลาง จ. นนทบุรี

นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จานวน 12 คน สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ สามารถรับงานในช่วง ระหว่างเรียน โดยทางบริษัทนีโอคอมพิวเตอร์ แอนเน็ตเวิร์ค และสานักงานที่ดิน ได้ว่าจ้างให้ทาการสารวจ พื้นที่เพื่อเข้าระบบโปรแกรมแผนที่การจัดเก็บภาษีที่ตาบลเกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี และ เทศบาลตาบลศาลา กลาง จ.นนทบุรี ผลจาการปฏิบัติงานตามวิชาชีพ เป็นภาพสะท้อนกลับมายังสาขาว่านักศึกษามีทักษะทาง วิชาชีพ และสามารถทางานได้ดี โดยได้ค่าตอบแทนเดือนละ 16,000 บาท ซึ่งเจ้าหน้าที่เทศบาลแจ้งกลับมาว่า "นั กศึ กษาที่ ออกส ารวจมีค วามตั้ งใจและอดทนสู ง มากอย่ างที่ ไ ม่เ คยเห็ นมาก่ อนและทึ่ งกั บนั กศึ กษาจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ในโอกาสหน้า ทางบริษัทยินดีรับเข้าทางานและฝึกงาน และยินดีรับเข้า ทางานเมือจบ" ทางสาขาวิชาฯ ขอขอบคุณนักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้กับสาขามีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ นักศึกษาได้เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับรุ่นน้องและนักศึกษาคนอื่นๆ ต่อไป

31


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

32

3. สาขาวิชามีอาจารย์ชาวต่างประเทศมาเป็นอาจารย์พิเศษจานวน 3 คน

อ. มัลคัล์ม (Mr. McDowall Malcolm Charles ) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านธรณีวิทยาจากออสเตรเลีย ได้มาเป็น อาจารย์พิเศษในรายวิชาธรณีวิทยา และสอนภาษาอังกฤษให้นักศึกษา GIT ซึ่งอาจารย์มีประสบการณ์ทางด้านนี้ โดยตรงและทางานเกี่ ย วกับ การส ารวจแร่ และปิ โ ตรเลี ย มที่ ป ระเทศออสเตรเลี ย ทางสาขาวิ ช ามี ค วาม ภาคภูมิใจที่สามารถเชิญอาจารย์ต่างประเทศมาสอนให้ความรู้แก่นักศึกษาได้โดยตรง

อาจารย์ ลูก้า (Mr. Luca) นักศึกษาทุนแลกเปลี่ยนจาก ประเทศเยอรมนี ทางสาขาวิ ช าฯได้ มี โ อกาสเชิ ญ มาช่ ว ยสอน ภาษาอังกฤษ เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสสัมผัสกับเจ้าของภาษา และทาให้มีความกล้าที่จะสื่อสารและเรียนรู้เป็นภาษอังกฤษได้

อาจารย์น้าฝน จากประเทศจีน ได้มาช่วยสอนภาษาจีนเบื้องต้นให้กับ นักศึกษา GIT


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

4. พันเอก ดร. สุรพงษ์ สุบงกฎ อดีตอาจารย์จากโรงเรียนแผนที กรมแผนที่ ทหาร กระทรวงกลาโหม วิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง ความก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยีการทาแผนที่สมัยใหม่ในศตวรรษที่ 21

การร

ในปี 2556 ที่ผ่านมา ทางสาขาวิชา ได้เรียนเชิญวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญทางด้านแผนที่และงานสารวจ มา บรรยายพิเศษให้กับนักศึกษา GIT ทุกชั้นปีในหัวข้อ ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีการทาแผนที่สมัยใหม่ใน ศตวรรษที่ 21 ซึ่งอดีตท่านเคยเป็นอาจารย์โรงเรียนแผนที่ กรมแผนที่ทหาร กระทรวงกลาโหม ปัจจุบันเป็น อาจารย์พิเศษ ที่ ม.วิทยาลัยเกษมบัณฑิต

33


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาคผนวก

หนังสือแจ้ง การอนุมัติหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ จาก สกอ.

34


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

หน้าอนุมัติหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลงวันที่ 7 กรกฎาคม 2553 เป็นหลักสูตรแรกของมหาวิทยาลัยภายใต้ กรอบมาตรฐาน TQF:HEd

35


รายงานผลการดาเนินงาน ปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้จัดทา

นางสาวกนกลดา

ท้าวไทยชนะ

ประธานสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

นายชนะชัย

อวนวัง

อาจารย์ประจาสาขาวิชา

นายอานาจ

แสงกุดเลาะ

อาจารย์ประจาสาขาวิชา

36


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.