สรุป เตรียมฝึกปี 56 ส่งคณะ

Page 1

รายงานสรุป การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 300 ชั่วโมง ปี 3 รหัส 54 และเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 90 ชั่วโมง ปี 2 รหัส 55

สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

ประจาภาคเรียนที่ 3/2556

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 0


สรุปผลที่ได้รับจากการเตรียมฝึกประสบการณ์ 300 ชั่วโมง ในปี 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้ส่งนักศึกษาเข้ารับการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ 300 ชั่วโมง ทั้งภาครัฐและเอกชน จานวนทั้งสิ้น 22 คน ดังตารางด้านล่างนี้ ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5.

6. 7.

8. 9. 10. 11.

สถำนที่

สานักทรัพยากรน้าบาดาล เขต 4 (ขอนแก่น) อุทยานแห่งชาตินายูง-น้าโสม จ. อุดรธานี ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ สาขากมลาไสย โรงงานน้าตาลวังขนาย จังหวัดนครราชสีมา สานักงานการจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 7 ขอนแก่น สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สาขาบรบือ สานักงานเทศบาลเมืองมหาสารคาม สานักงานที่ดินจังหวัดขอนแก่น องค์การบริหารส่วนตาบลโนนสง่า อ.ปทุมรัตน์ จ. ร้อยเอ็ด สานักทรัพยากรน้าบาดาล เขต 10 (อุดรธานี) สานักงานที่ดินจังหวัดร้อยเอ็ด สาขาปทุมรัตต์ รวม

จำนวน นักศึกษำ ปี

1 3 2 4 1 3 2 1 1 1 3

สถำนภำพ 3

รัฐ รัฐ รัฐ เอกชน รัฐ รัฐ รัฐ รัฐ รัฐ รัฐ รัฐ

22

ภาพรวมผลคะแนนจากหน่ วยงานต่างๆ ค่อนข้างสู งอยู่ในระดับ 90-100 คะแนน แสดงให้ เห็ นว่า นักศึกษาที่เข้ารับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพมีความพร้อมในทักษะ 5 ด้านอันเป็นคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึง ประสงค์ ดังกราฟด้านล่าง แม้ว่าในสายตาอาจารย์นิเทศจะมีบางข้อที่คะแนนค่อนข้างต่าคือ ด้านการแสวงหา ความรู้ และด้านการสื่อสาร การใช้ภาษาก็ตาม นั่นคือสิ่งที่สะท้อนกลับมายังสาขาวิชาในการเตรียมพร้อมใน ด้านใดสาหรับนักศึกษารุ่นต่อไป ระยะเวลาการฝึก เริ่มตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2557 ถึง 23 พฤษภาคม 2557 รวมระยะเวลา 70 วัน เป็นจานวน 300 ชั่วโมง ข้อสังเกต 1. นักศึกษาส่วนใหญ่ได้ฝึกงานตรงตามหลักสูตรที่ผลิต โดยเฉพาะทักษะทางวิชาการ พบว่านักศึกษา ส่วนใหญ่ได้ไปพบเจอของจริงในสถานที่ฝึกงานนั้นๆ และได้นาความรู้ที่เรียนมาไปใช้ อีกทั้งยัง เรียนรู้กับสิ่งใหม่ที่ไม่เคยเรียนในห้อง ได้แก่ การใช้โปรแกรมเฉพาะของหน่วยงานนั้นๆ 2. นักศึกษามีความอดทน มุมานะ และมีมิตรภาพดี ซึ่งเป็นข้อดีของนักศึกษาราชภัฏ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 1


3. การไปฝึกงานครั้งนี้ บางหน่วยงานได้ให้เงินพิเศษ (3000-6000 บาท ) และจ่ายเบี้ยเลี้ยงเมื่อต้อง ออกสารวจภาคสนามวันละ 100 บาท 4. นักศึกษาบางกลุ่มยังรับงานมาทาต่อเนื่องซึ่งสามารถเสริมรายได้ในขณะที่ออกฝึกมาแล้ว สรุปภาพรวม 1. ได้นาความรู้ที่ศึกษาเล่าเรียนมาตามหลักสูตรไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง 2. ได้พัฒนาความรู้ความสามารถที่ตนเองมีอยู่ไปใช้ในการทางานได้ดียิ่งขึ้น 3. รู้ถึงข้อดี-ข้อเสีย ของตนเองในการทางาน 4. เรียนรู้การปรับตัวเองในการทางานร่วมกับผู้อื่นในสังคมการทางาน 5. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตัวเองมากขึ้น และฝึกความอดทนในการทางาน 6. ได้ความรู้ความชานาญในงานทางด้านคอมพิวเตอร์ งานด้านโปรแกรม GIS (Geographic Information System) เข้มข้นขึ้น 7. ทาให้ได้รู้จักกฎระเบียบการทางาน การบริหารเวลาในการทางาน การตรงต่อเวลาในการทางาน ซึ่ งเป็ น สิ่ งส าคั ญ ในการท างานร่ว มกั บ ผู้ อื่ น และเป็ น การสร้างโอกาสในการหางานที่ มี ค วาม ได้เปรียบกว่าผู้ที่ไม่ได้ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 8. ได้เรียนรู้การตรวจสอบระวางที่ที่ดิน การเทียบระวาง น.ส.๓ ก. กับระวางแผนที่ UTM ที่ต้อง สัมพันธ์กัน และการเก็บระวางที่ดิน และ ระวางน.ส.๓ก. รวมไปถึงวิธีการต่อเลขที่ดิน และหน้า สารวจ เพื่อที่จะได้ไม่ซ้ากับเลขเดิม 9. ได้รู้วิธีการหาแปลงที่ดินในระวางแผนที่ UTM และถ่ายระวางแผนที่ UTM 10. ได้รู้การค้นหาหน้าสารวจ การหาโฉนดที่ดิน ของแต่ละตาบล และแต่ละอาเภอ ซึ่งสานักงานที่ดิน จังหวัดมหาสารคาม สาขาบรบือ ได้รับผิดชอบ 2 อาเภอ คือ อาเภอบรบือ และอาเภอกุดรัง 11. ได้การออกภาคสนาม วัดพื้นที่กับนายช่างรังวัด 12. ลงโปรแกรม Arc 9.3 ทาการการดิจิไทช์แปลงเกษตรตามโฉนดที่ดิน 6 จังหวัด การสร้างชั้นข้อมูล จุดพิกัดบ่อน้าบาดาล 6 จังหวั ด การสร้างชั้นข้อมูลจุดพิกัดประปาโรงเรียน การสร้างฐานข้อมูล กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการน้าเกษตร การใช้อุปกรณ์ GPS ในการออกสารวจและจับพิกัด บ่อน้าบาดาลได้อย่างคล่องแคล่ว 13. การใช้ โปรแกรม AutoCad 14. ได้ทาโมเดลภูมิประเทศ 3 มิติ การสารวจป่าตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติโดยการจับพิกัด GPS ในแต่ละจุดที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและเก็บภาพในแต่ละจุด ติดตามเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาตินา ยูง-น้าโสมและพิธีกรในรายการ “ประเด็นเด็ด 7 สี” ทีข่ ึ้นไปถ่ายทาสารคดีการลักลอบตัดไม้ 15. ร่วมกันปลูกป่าในสถานที่ต่างๆ โดยออกเดินสายไปตามชุมชนที่มีพื้นทีป่ ่าเหลือน้อย

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 2


สรุปคะแนนเฉลี่ยรายข้อของการประเมินผลการฝึกปรระสบการณ์ 300 ชั่วโมง 12 คะแนน 10

10

10

10

9.6

8.3

8

6.6

10 9

10

10 9

8.3

9.3

10 10

10 10

9.6 10

ความ รับผิดชอ บ

การแต่ง กาย กริยา วาจา

มนุษย สัมพันธ์ ทัน เหตุการ ณ์

7.3

6 4 2 0 ความรู้

การ แสวงหา ความรู้

ทักษะ การ สื่อสาร

ทักษะ การใช้ เครื่องมื อด้าน GIS

ทางานมี ระบบ และ คุณภาพ

ทักษะ การ ปรับตัว

ความ กระตือรื อร้น ตรงเวลา ซื้อสัตย์

สถานที่ฝึกประสบการณ์

10

10

10

9.6

10

10

10

10

10

9.6

อาจารย์นิเทศ

8.3

6.6

7.3

9

8.3

9

9.3

10

10

10

ตารางสรุปคะแนนของหน่วยงานและอาจารย์นิเทศ พบว่า คะแนนจากสถานที่ฝึกงานค่อนข้างให้คะแนนสูง ระดับ 90-100 ซึ่งถือว่านักศึกษาส่วนใหญ่ทางานได้ อยู่ร่วมกับสังคมและปรับตัวได้ดีมาก ส่วนคะแนนที่ได้จากอาจารย์ พบว่า ยังต้องปรับปรุงในหลายรายการโดยเฉพาะการแสวงหาความรู้ และ การสื่อสาร การใช้ภาษา ต้อง มีการปรับปรุง สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 0


สรุปคุณสมบัติบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ 5 ด้าน

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 1.1 1.11

ทักษะที่ 1 ด้ านคุณธรรม จริยธรรม จัดการปั ญหาเป็ น

2

ภาวะผู ้นา

2 2

8 6

2

รักประชาธิปไตย ค่านิยมทีด ่ ี

1 1

รักองค์กร

8 7

มาก

2

7

ปานกลาง

3

ความประพฤติ

เคารพกฎ วินัย ตรงต่อเวลา

น ้อยทีส ่ ด ุ

6

1

9

1

9 3

่ สัตย์ ซือ 1

จรรยาบรรณ

น ้อย

7

2 2

เสียสละ

มากทีส ่ ด ุ

2

7 7

2

จำนวน (หน่วยงำน) 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

ร้ อยละ ด้ านคุณธรรม จริยธรรม มำกทีส ่ ด ุ 16%

ปำนกลำง 10%

มำก 74%

พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ มีทักษะด้านคุณธรรมจริยธรรมดีถึงร้อยละ 74 จาก โดยเฉพาะด้านวินัย และการตรงต่อเวลา ซึ่งสังเกตได้ว่าในขณะที่นักศึกษาเรียนในมหาวิทยาลัย กับการออกไปค้นพบด้วย ประสบการณ์ตรงนั้นทาให้นักศึกษารู้ตัวเองว่าควรจะทาตัวอย่างไร และควรมีระเบียบวินัยอย่างไร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 0


2.7

สามารถในการถ่ายทอดความรู ้ ความเป็ นวิชาชีพ

2.3

การวางแผน

2.2

ความรอบรู ้ ความรู ้ ความสามารถ

9

1 1

4

5 มากทีส ่ ด ุ

5 5 3 3

มาก

4

ปานกลาง

1

้ การประยุกต์ใชความรู ้

2.1

2.4

ใฝ่ หาความรู ้

2.6

คุณภาพของงาน

2.5

2.8

ทักษะที่ 2 ด้ านความรู้

9

1

4

น ้อย น ้อยทีส ่ ด ุ

5 5 5

1 0

6

3 2

4

6

8

10

จานวน (หน่วยงาน)

ร้ อยละ ด้ านความรู้ มำกทีส ่ ด ุ 9% ปำนกลำง 34%

มำก 57%

พบว่า มีทักษะด้านความรู้ ซึ่งมี 2 เรื่องที่หน่วยงานให้ความสาคัญมาก คือเรื่องคุณภาพงานและการ ประยุกต์ใช้ค วามรู้ทาให้ เห็ น ว่านั กศึกษาที่ส่ งไปปฏิบัติห น้าที่นั้นค่อนข้างตรงกับความต้องการของสถานที่ ฝึกงาน คือสามารถทางานได้อย่างมีคุณภาพและใช้ความรู้เป็น และเมือสังเกตในภาพรวมของการใช้ความรู้อยู่ ที่ร้อยละ 57 ซึ่งยังต้องปรับปรุงในด้านนี้สาหรับรุ่นต่อไป

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 1


3.5

การตัดสินใจ

3.3

การประยุกต์ในชีวต ิ ประจาวัน

3.4

ทักษะที่ 3 ด้ านปัญญา 2 1

การบูรณาการความรู ้

มากทีส ่ ด ุ

6

4

มาก

3

5

ปานกลาง 7

2

น ้อย

3.2

การวิเคราะห์ปัญหา

3.1

น ้อยทีส ่ ด ุ 5 5

การค ้นหาข ้อมูลทีถ ่ ก ู ต ้อง

5 5 0

1

2

3

4

5

6

7

จำนวน (หน่วยงำน)

ร้ อยละ ด้ านปัญญา มากทีส ่ ด ุ 6%

ปานกลาง 42%

มาก 52%

พบว่าทักษะด้านปัญหา อยู่ที่ร้อยละ 52 ซึ่งสถานที่ฝึกงานเห็นว่าทักษะทางปัญญาของนักศึกษาอยู่ใน ระดับกลางๆในทุกด้าน จาเป็นต้องพัฒนาสติปัญญาของนักศึกษาให้มากขึ้นกว่านี้ (เป็นเรื่องท้าทายของสาขา มาก)

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 2


4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 4.9 4.10

ด้ านที่ 4 ความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล 3

ยอมรับความแตกต่าง

7

2

เคารพสิทธิผู ้อืน ่ ดูแลสุขภาพ มีการเรียนรู ้และพัฒนาเพิม ่

8 3

7

3

7

1

มีภาวะผู ้นา

4

5

2

รับผิดชอบต่อสังคม บุคลิกภาพดี ความขยัน หมั่นเพียร อดทน

มากทีส ่ ด ุ มาก ปานกลาง น ้อย น ้อยทีส ่ ด ุ

8

1

9

1

9 4

การทางานเป็ นทีม

6 10

รับผิดชอบต่อหน ้าที่ 0

2

4

6

8

10 จานวน (หน่วยงาน)

ร้ อยละ ความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล ปานกลาง 7%

มากทีส ่ ด ุ 17%

มาก 76%

พบว่าทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลนั้น อยู่ที่ร้อยละ 76 สังเกตได้ว่านักศึกษาในภาพรวมมี ความรับผิดชอบต่อหน่าที่ ขยัน อดทน มีบุคลิกภาพทีด่ ี ซึ่งเป็นคุณลักษณะโดยรวมของนักศึกษาราชภัฏทั่วไป

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 3


5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8

ด้ านที่ 5 ทักษะด้ านตัวเลข การสื่ อสาร และเทคโนโลยี 1

ใช ้เทคโนโลยีอย่างมีคณ ุ ธรรม

9

มีทก ั ษะทางภาษาต่างประเทศได ้

8

2 1 1 1

ใช ้ภาษาไทยได ้ดี ใช ้เทคโนโลยีทท ี่ น ั สมัย ใช ้คอมพิวเตอร์เก็บ รวบรวม นาเสนอได ้

8

9

1 1 1 1 1 1

่ สารข ้อมูลได ้ รวบรวมข ้อมูล สือ สรุปประเด็นได ้ ทัง้ การพูด- เขียน เทคนิคทางสถิต ิ คณิตศาสตร์ 0

1

มากทีส ่ ด ุ

7

2

ปานกลาง

8

น ้อย

8

3

น ้อยทีส ่ ด ุ

6

3 2

มาก

4

5

6

7

8

9

จำนวน (หน่วยงำน)

ร้ อยละ ทักษะด้ านตัวเลข การสื่ อสาร และ เทคโนโลยี มากทีส ่ ด ุ 7%

ปานกลาง 14%

มาก 79%

พบว่าทักษะด้านการใช้ตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยี อยู่ที่ร้อยละ 79 ซึง่ สะท้อนภาพรวมถึง คุณลักษณะนักศึกษาว่าเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีได้ค่อยดี เรียนรู้การใช้เครื่องมือใหม่ๆในหน่วยงานได้ และใช้ เทคโนโลยีอย่างรู้เท่าทัน

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 4


6.3.3

บริหารงานด ้าน GIS ได ้

6.3.2

่ สารข ้อมูลทาง GIS ได ้ สือ

6.3.1

ประยุกต์ใช ้ซอฟแวร์ GIS ได ้

6.3

มีความเป็ นวิชาชีพ

6.2

มีจริยธรรมคอมพิวเตอร์

6.1

ด้ านที่ 6 อัตลักษณ์ ของ GIT

ความรู ้ทางด ้านเทคโนโลยี

10 1

มากทีส ่ ด ุ

7

2

มาก

น ้อย น ้อยทีส ่ ด ุ

7

1 2

8

1

0

ปานกลาง

8

2

9

2

4

6

8

10 จานวน (หน่วยงาน)

ร้ อยละ อัตลักษณะของ GIT มากทีส ่ ด ุ 7%

ปานกลาง 9%

มาก 84%

พบว่าความเป็นอัตลักษณะของสาขาวิชา ค่อนข้างโดดเด่น ถึงร้อยละ 84 เนื่องจากลักษณะวิชาชีพมี ความเฉพาะตัว ไม่ซ้อนทับหลักสูตรอื่นๆ เมื่อไปฝึกงาน จึงสามารถแสดงอัตลักษณ์ของสาขาวิชาได้อย่างโดด เด่นโดยเฉพาะด้านการบริหารจัดการงานทางด้าน GIS นักศึกษามองภาพงานและตลาดแรงงานในอนาคตได้

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 5


ประมวลภาพการฝึกประสบการณ์ 300 ชั่วโมง นักศึกษาปี 3 (รหัส 54)

อุทยานแห่งชาตินายูง น ้าโสม จ. อุดรธานี

สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สาขาบรบือ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 6


สานักงานทรัพยากรน ้าบาดาล เขต 4 ขอนแก่น

สานักงานที่ดินจังหวัดร้ อยเอ็ด สาขาปทุมรัตน์

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 7


โรงน ้าตาล วังขนาย จ.นครราชสีมา

สานักงานที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ สาขากมลาไสย

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 8


รายงานผลการเตรียมฝึกประสบการณ์ 90 ชั่วโมง ที่มา ในปี 2556 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ต้องเตรียมฝึกประสบการณ์ 90 ชั่วโมง ก่อนจะทาการฝึกประสบการณ์ จริงจานวน 300 ชั่วโมงยังหน่ วยงานต่างๆที่นักศึกษาได้เลื อกเพื่อได้เรียนรู้ประสบการณ์ การทางานจริงใน อนาคตด้วนตนเอง ในปี 2556 นี้ทางสาขาวิชาได้กาหนดให้นักศึกษาออกเตรียมฝึกไปยังหน่วยงานราชการที่มี การใช้ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ หรื อ โปรแกรมทางด้ านระบบสารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ ห รื อ GIS, GPS, Remote Sensing เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ลักษณะการทางานของหน่วยงานนั้นอย่างแท้จริง ลาดับ 1. 2. 3. 4. 5.

6. 7.

8. 9. 10.

สถานที่

จานวนนักศึกษา ปี 2

สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดมหาสารคาม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม สานักงานเทศบาลเมืองมหาสารคาม สานักงานโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม สานักงานประมง จังหวัดมหาสารคาม สานักงานที่ดินจังหวัดมหาสารคาม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดมหาสารคาม สานักคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

2 2 2 3 2 2 4 2 2 1

รวม

18

ผลจากการออกเตรียมฝึกประสบการณ์ จาแนกได้ 3 ประเด็น คือ 1. ด้านกระบวนการเรียนรู้ และทักษะทางสังคมทั่วไป 2. ด้านข้อคิดเห็นของหน่วยงานควบคุมการฝึก 3. ด้านข้อเสนอแนะ

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 0


ด้านกระบวนการเรียนรู้ และทักษะทางสังคม ในภาพรวมนักศึกษาได้เรียนรู้งานทางสานักงาน ได้แก่ เอกสารราชการต่างๆ การถ่ายเอกสาร การ เดินเอกสาร การส่งหนังสือราชการ เป็นต้น ซึ่งในช่วงสัปดาห์แรก และใน 2 สัปดาห์หลังได้ย้ายมาปฏิบัติงานที่ ฝ่ายรางวัด หัวหน้าหน่วยงานได้สอนการลงโปรแกรม Quantum GIS, ArcGIS 10.0 และได้ส่งงานชิ้นแรกเป็น การแปลงพื้นหลักฐานจาก WGIS1984 เป็น Indian1975 ชิ้นที่2 คือ นาข้อมูลที่เปลี่ยนค่าพิกัดแล้วไปซ้อนทับ ใน Google Earth ชิ้น ที่3 การนาข้อมูล ใน Access มา Join ใน ArcGIS 10.0 พร้อมทาจัดสื่ อการเรียนการ สอน และขั้นตอนการทางานทุกชิ้น

ข้อคิดเห็นจากหน่วยงาน  ระยะเวลาการฝึกงานน้อย ทาให้การเรียนรู้งานของนักศึกษายังทาไม่ได้พอเพียงเนื่องจาก เนื้อหาของงานในสานักต้องลงมือทาจริง เรียนรู้จากประสบการณ์จริงจึงจะทาความเข้าใจใน เนื้อหา กระบวนงานต่างๆได้อย่างเข้าใจขึ้น  นักศึกษาตั้งใจฝึกฝนปฏิบัติตนดี มารยาทดีมาก  การเรียนรู้การปฏิบัติงาน รวมถึงการถ่ายทอดวิชา ความรู้ ความสามารถของผู้ควบคุมการ ฝึกงานไปยังนักศึกษา จึงเป็นไปอย่างจากัดเช่นแล้วกัน แต่อย่างไรก้อดี นักศึกษาก็สามารถนา ความรู้ ความสามารถ จาการฝึกฝานครั้งนี้ไปประยุกต์ ใช้กับการเรียน การดารงตนและการ ทางานในอนาตค ได้ในระดับหนึ่ง หากทางสถานศึกษาจะพิจารณาปรับขยายเวลาการฝึกงาน ให้มากกว่านี้สักหน่อยก็จะเกิดผลดีต่อนักศึกษาเป็นอย่างมาก ขอขอบคุณสถานศึกษาที่ได้ให้ โอกาสที่ดีในการฝึกประสบการณ์ของนักศึกษา ขอส่งเสริมและสนันสนุนกิจกรรมของ สถานศึกษาด้วยความจริงใจ  การมาฝึกปฏิบัติงาน ควรศึกษาหน่วยงานให้ดี  การการปฏิบัติงานหากมีข้อสงสัยควรสอบถามหัดพูดคุยให้มากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องงานจะได้รู้ มากขึ้น  นักศึกษามีความตั้งใจ ปฏิบัติงานดีมากมารยาทเรียบร้อยดี  เนื่องจากระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์มีเวลาน้อยเพียง 3 สัปดาห์ ประกอบกับช่วง ระยะเวลาสิ้นปีงบประมาณ อาจจะทาให้นักศึกษาไม่สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 1


สรุปผลที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์ 1. ฝึกการแปลภาพถ่ายดาวเทียม ให้สามารถแปลพื้นที่แต่ละพื้นที่ ว่าพื้นที่ไหนเป็นแหล่งน้า ถนน อาคารบ้านเรือนเป็นต้น 2. เนื่องด้วยทางสานักงานมอบหมายให้ดิจิไทซ์ แผนที่และแปลงนา ของตาบลหนองบอนและ ต่อไปคือตาบลเขวาไร่ อาเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งอาศัยความรู้ความสามารถที่ เราได้เรียนมาที่พี่ให้งานมาเป็นแผนที่ ออร์โธ มาตรส่วน 1:4000 และโปรแกรมArcGISและ ความสามารถในการจัดเตรียมความพร้อมในการดิจิไทซ์และโปรแกรม Quantum GIS เนื่องจากกระผมมีความรู้ความชานาญในการใช้โปรแกรมยังไม่เก่ง ที่ผมได้ดิจิไทซ์แผนที่ออร์ โธและมีความถนันในด้านโปรแกรมArcGIS และรู้จักวิธีการนาเข้าข้อมูลทางด้านArcGIS ถ้า ใช้โปรแกรมไปนานๆก็จะมีความถนันในด้านโปรแกรมที่ใช้และมีกระบวนการที่ซบซ้อนมาก ในเครื่องมือ ArcGIS 3. ได้เรียนรู้เพิ่งเติมเกี่ยวกับการลงโปรแกรม ArcGis และโปรแกรม Quantum ซึ่งเป็น โปรแกรมที่ใช้เกี่ยวกับงานแผนที่ 4. ได้เรียนรู้การเข้าสังคมและปฏิบัติงานร่วมกับบุคคลระดับต่างๆในหน่วยงาน 5. ได้รู้จักผู้คนมากขึ้นและได้รู้ว่าไม่ควรมองโลกแต่เพียงมุมเดียว 6. ได้รู้จักเพื่อนต่างคณะที่มาฝึกงานด้วยกัน 7. ได้เทคนิคในการถ่ายเอกสารอย่างง่าย 8. ได้รู้วิธีการลงโปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์ 9. ได้เห็นถึงการทางานอย่างมีประสิทธิภาพและความสามัคคีกันของพี่ๆในหน่วยงาน 10. ได้เห็นความแตกต่างระหว่างคนสองประเภท คือ ขยัน และขี้เกียจฃ 11. ได้ทราบเทคนิคการดิจิไทซ์ หรือ คัดลอกแผนที่ลงไปในคอมพิวเตอร์และยังได้เห็นพื้นที่ในมุม กว้างของแต่ละตาบลในจังหวัด มหาสารคาม 12. ได้ประสบการณ์มากมายได้ทาให้รู้จักคิดก่อนทาได้มีความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น 13. ได้ความรู้เกี่ยวกับด้านสานักงานประมง จังหวัดมหาสารคาม ได้เรียนรู้การขึ้นทะเบียน เกษตกรและผู้ประกอบการณ์ด้านการประมง หรือ การเลี้ยงปลา ว่าเราต้องมีเนื้อที่เท่าไร/ หน่วย เลี้ยงและต่อหน่อวยตารางของการเลี้ยงปลา ได้รู้จักการรบเอกสารและลงบันทึกและ ยังได้ออกภาคสนามก็คือ การออกพื้นที่จริง เพื่อไปปล่อยพันธ์ปลา ในโครงการบริหารแหล่ง น้าให้เกิดประโยชน์ 14. ได้ออกภาคสนาม 15. -ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทางานของสานักงานประมง 16. -ได้รู้ถึงการปรับเข้าหาผู้อื่น การมีน้าใจ การอ่อนน้อมถ่อมตน การมาสัมมาคารวะ 17. -ได้รับรู้ถึงการรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตัวเอง การทางานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จและ ถูกต้อง สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 2


18. -การเรียนรู้การทางานทุกด้าน รับเอกสาร ส่งเอกสาร รับโทรศัพท์ ต้อนรับแขกที่มาติดต่อ ราชการ 19. -ได้รับความสนุก ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกพื้นที่ไปปล่อยปลา พบปะชาวบ้าน สร้างมิตรภาพที่ดี 20. -ได้รับรู้ถึงความอบอุ่น ความรัก ความเอาใจใส่ของพี่ๆที่สางานทุกคน 21. -ได้รับรู้ว่าการใช้ GPS มาใช้ในการจับพิกัดจุดบ่อปลาที่ชาวบ้านเลี้ยงแล้วนามาลงพิกัด 22. -ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรม Arc Gis เพิ่มเติม และเรียนรู้การลงโปรแกรม Arc Gis 23. -ได้เรียนรู้การลงโปรแกรมการ Digitizing อีกโปรแกรมหนึ่งคือ โปรแกรม Quantum Gis และเรียนรู้การ Digitizing ด้วยโปรแกรม Quantum Gis 24. -ได้ฝึกการทา Power point ฝึกการพิมพ์งานและปริ้นงานให้คล่องขึ้น 25. -ได้เรียนรู้ในการเข้าสังคมมากขึ้น 26. -ได้รู้ถึงการทางานเป็นทีม 27. ได้ความรู้ในการอยู่ร่วมกันในหน่วยงาน 28. ได้พูดคุยกับผู้คนมากมายในการออกพื้นที่ 29. ได้ความรัก ความอบอุ่นจากหัวหน้าและรุ่นพี่ในหน่วยงาน 30. ได้เรียนรู้ในสิ่งที่ไม่รู้เคยเห็น 31. ได้เรียนรู้การลงข้อมูลทะเบียนฟาร์ม 32. ได้เรียนรู้การคัดกรองข้อมูลทะเบียนฟาร์ม

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 3


สรุปภาพรวมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5 ประการดังนี้ ด้ านที่ 1 คุณธรรม จริยธรรม

หน่วยงาน 9 7

7

7

6 3

1 1

จัดการปั ญหาเป็ น

2 2

ภาวะผู ้นา

2

รักประชาธิปไตย

2

่ ี ค่านิยมทีด

1

รักองค์กร

1

ความประพฤติ

2

6

เสียสละ

1

8

เคารพกฎ

1

3

2 2

8

7

วินัย ตรงต่อเวลา

1

7

่ สัตย์ ซือ

2

9

จรรยาบรรณ

10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0

1.1

1.2

1.3

1.4

1.5

1.6

1.7

1.8

1.9

1.1

1.11

น ้อยทีส ่ ด ุ

น ้อย

ปานกลาง

มาก

มากทีส ่ ด ุ

ร้ อยละด้ านคุณธรรม จริยธรรม

17%

9% ปานกลาง มาก

74%

มากทีส ่ ด ุ

พบว่า นักศึกษาค่อนข้างมีคุณธรรมจริยธรรม ถึงร้อยละ 74 โดยเฉพาะเรื่องการตรงต่อเวลาและการ เครารพกฎระเบียบของหน่วยงาน นักศึกษาทาได้ดี

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 4


ด้านที่ 2 ความรู ้

หน่วยงาน

9

9

6 55

5

55 4

3

3

สามารถในการถ่ายทอด ความรู ้

ใฝ่ หาความรู ้

คุณภาพของงาน

1

ความเป็ นวิชาชีพ

1

การประยุกต์ใช ้ความรู ้

1

การวางแผน

1

4 3

ความรอบรู ้

1

5

4

ความรู ้ ความสามารถ

10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0

2.1

2.2

2.3

2.4

2.5

2.6

2.7

2.8

น ้อยทีส ่ ด ุ

น ้อย

ปานกลาง

มาก

มากทีส ่ ด ุ

ร้ อยละด้ านความรู้

10% 32%

ปานกลาง มาก

58%

มากทีส ่ ด ุ

พบว่าทักษะด้านความรู้อยู่ที่ร้อยละ 58 โดยเฉพาะเรื่องการประยุกต์ความรู้และคุณภาพของงานที่ ได้รับมอบหมายอยู่ในเกณฑ์ดีมาก แต่ในภาพรวมทุกองค์ประกอบในด้านนี้อยู่ในระดับปานกลาง

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 5


ด ้านที่ 3 ทักษะทางปั ญญา

หน่วยงาน

7 6 5 5

5 5

5 4 3 2

2

การวิเคราะห์ปัญหา

การบูรณาการความรู ้

การตัดสินใจ

การประยุกต์ใน ิ ประจาวัน ชีวต

1

ู ต ้อง ่ ก การค ้นหาข ้อมูลทีถ

8 7 6 5 4 3 2 1 0

3.1

3.2

3.3

3.4

3.5

น ้อยทีส ่ ด ุ

น ้อย

ปานกลาง

มาก

มากทีส ่ ด ุ

ร้ อยละทักษะด้ านปัญญา

6% 42% 52%

ปานกลาง มาก มากทีส ่ ด ุ

พบว่าทักษะด้านปัญญาอยู่ที่ร้อยละ 52 ทีใ่ ห้ความสาคัญในเรื่องการบูรณาการความรู้ และนักศึกษาก็ สามารถทาได้ และภาพรวมทุกองค์ประกอบอยู่ในระดับกลาง

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 6


หน่วยงาน 10

9

9

8

7

6 4

4 2

3

3

3

2

บุคลิกภาพดี

รับผิดชอบต่อสังคม

มีภาวะผู ้นา

มีการเรียนรู ้และพัฒนา ่ เพิม

ดูแลสุขภาพ

่ เคารพสิทธิผู ้อืน

ยอมรับความแตกต่าง

1

ความขยัน หมั่นเพียร อดทน

1

7

5

การทางานเป็ นทีม

1

8

7

รับผิดชอบต่อหน ้าที่

12 10 8 6 4 2 0

ด้านที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

4.1

4.2

4.3

4.4

4.5

4.6

4.7

4.8

4.9

4.10

น ้อยทีส ่ ด ุ

น ้อย

ปานกลาง

มาก

มากทีส ่ ด ุ

ร้ อยละ ความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล

17%

7% ปานกลาง มาก

76%

มากทีส ่ ด ุ

พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ร้อยละ 76 ที่หมายรวมไปถึงด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ความ ขยัน อดทน และการมีบุคลิกภาพดีนักศึกษาทาได้ดีในด้านนี้

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 7


หน่วยงาน

8

9

8

7

6 3

2

1

1

2

1

ใช ้เทคโนโลยีอย่างมี คุณธรรม

1

มีทักษะทาง ภาษาต่างประเทศได ้

1

ใช ้ภาษาไทยได ้ดี

1

ี่ ันสมัย ใช ้เทคโนโลยีทท

1

ใช ้คอมพิวเตอร์เก็บ รวบรวม นาเสนอได ้

1

่ สารข ้อมูล รวบรวมข ้อมูล สือ ได ้

1

9

8

สรุปประเด็นได ้ ทัง้ การพูดเขียน

1

8

เทคนิคทางสถิต ิ คณิตศาสตร์

10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0

ด้านที่ 5 ทักษะทางตัวเลข การสื่ อสาร และการใช้เทคโนโลยี

5.1

5.2

5.3

5.4

5.5

5.6

5.7

5.8

น ้อยทีส ่ ด ุ

น ้อย

ปานกลาง

มาก

มากทีส ่ ด ุ

ร้ อยละ ทักษะทางตัวเลข การสื่ อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี 7% 14% ปานกลาง มาก

79%

มากทีส ่ ด ุ

พบว่า ทักษะด้านตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี ร้อยละ 79 ซึง่ นักศึกษามีความรู้ทางด้าน เทคโนโลยี การสื่อสาร และการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ รวมถึงการรู้เท่าทันสื่อต่างๆ อยู่ในระดับค่อนข้างดี

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 8


ด้านที่ 6 อัตลักษณ์ของสาขา GIT

หน่วยงาน 12

10

9

10

8

8

7

8

7

6 4 1

2

3

2

ความรู ้ทางด ้านเทคโนโลยี

มีจริยธรรมคอมพิวเตอร์

มีความเป็ นวิชาชีพ

ประยุกต์ใช ้ซอฟแวร์ GIS ได ้

่ สารข ้อมูลทาง GIS ได ้ สือ

บริหารงานด ้าน GIS ได ้

0

3

2

6.1

6.2

6.3

6.3.1

6.3.2

6.3.3

น ้อยทีส ่ ด ุ

น ้อย

ปานกลาง

มาก

มากทีส ่ ด ุ

ร้ อยละ อัตลักษณ์ ของสาขา GIT

18% ปานกลาง มาก

82%

มากทีส ่ ด ุ

พบว่า อัตลักษณ์ของสาชา GIT ค่อนข้างโดดเด่นอยู่ที่ร้อยละ 82 มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งหน่วยงาน ต่างๆ สามารถบ่งบอกถึงคุณลักษณะของนักศึกษาที่เรียนสาขานี้ได้และแยกแยะออกจากสาขาอื่นได้เด่นชัด ที่ ชัดเจนที่สุดคือความสามารถในการบริหารจัดการด้วย GIS ทาให้นักศึกษาเห็นภาพของสาขาชัดเจนขึ้นและ ตลาดแรงงานในอนาคตได้

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2556 หน้ า 9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.