ECO in hidden significant อีโคกับนัยยะที่ซ่อนอยู่

Page 1

1

”อีโค” กับนัยยะทีซ่ อนอยู่ (“Eco” in Hidden Significant ) นุชจรี ท้ าวไทยชนะ Nucharee Taothaichana คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม Summary Generally, the word “Eco” meaning of the Earth is used and built in new various meaning just like the environmentalism epoch possibly. The word “Eco” is applied in many situations in both of narrow and wide scopes that are concern to the environmental phenomena, restoration, conservation, and friendship of the Earth. Althought some is kind of sincerity or hidden meaning , the word “Eco” is starting to be good willing at least to make understanding to the new environmental dimensions. Many countries decide to use the word “Eco” to determine into the national developed plan along with the Eco – goals afterwards the world economic slowdown crisis in 2009. At least to stimulate both the consumers and the manufacturers, the national plan in many countries is turning to care the Earth ; moreover ,is to decrease the risk rate and speed rate from the environmental crisis to social under the new Eco concepts. All sectors of the world should be responsible to care the world together. Particularly, the business part should be lead and adapt to response to the “Eco” concept into consumers behaviors because the business unit which closely concerns and is influent to environment issue in daily . The mainstream of Eco under the business responsibility can change people behaviors to consume the “Eco” goods and services concepts for instance: Eco-Frugal, Eco-Status, Eco-Stories, Eco-Iconic, Eco-Intel, Eco-Mapmania, Econcierges, Eco-Tips, Eco-Matching, Eco-Naked, Eco-Sturdy, Eco-Feeders, Eco-Generosity, Eco-Boosters, EcoSuperior, Eco-Embedded, Eco-Edu, Eco-Transient, Eco-Vertising, Eco-Expectations , etc. Keywords: Eco, Eco-Frugal, Eco-Status, Eco-Stories, Eco-Iconic, Eco-Intel, Eco-Mapmania, Econcierges, Eco-Tips, Eco-Matching, Eco-Naked, Eco-Sturdy, Eco-Feeders, Eco-Generosity, EcoBoosters, Eco-Superior, Eco-Embedded, Eco-Edu, Eco-Transient, Eco-Vertising, Eco-Expectations


2

สาระสังเขป โดยทั วไปคํ าว่า อีโค (Eco) แปลว่า โลก ถูกนํามาใช้และถูกสร้างขึ นมาใหม่จนมีความหมายที หลากหลายออกไป ราวกับเป็ นมหากาพย์ของปรัชญาสิ งแวดล้ อมก็ได้คํ าว่า “อีโค” นั นได้ ถูกนํามาใช้ กับทุกสถานการณ์ ทั งการให้ความหมายในกรอบแคบๆไปจนถึงกว้ างไกล ซึ งนํามาใช้ในการสร้าง กระแสการตอบสนองกับสถานการณ์ทางสิ งแวดล้อม การฟื นฟู การดูแล การอนุ รักษ์ และความเป็ น มิตรต่อโลก ทีเกิดด้วยความจริ งใจหรื อมีนัยยะซ่อนเร้นอยูก่ ็ตาม อย่างน้อยทีสุ ดคํ านีก็เป็ นจุดเริ มต้นทีดี ต่อการทํ าความเข้ าใจมิตสิ​ิ งแวดล้ อมแนวใหม่ แล้วในหลายประเทศยังได้นําคํ านี ใช้ในเพือกํ าหนด เป้ าหมายการพั ฒนาประเทศโดยสอดคล้ องกับการรักษ์โลก (Eco-goals) มาตั งแต่ภายหลังเศรษฐกิจ ตกตํ าในปี 2009 อย่างน้อยทีสุ ดก็เป็ นการกระตุ ้ นผู้ บริ โภคและผู ้ ผลิตให้หันมาช่วยกั นรับผิดชอบต่อโลก ให้มากขึ นนั นเองอีกทั งยั งเป็ นการลดอั ตราเสียงทีโลกจะต้ องเผชิญกับวิกฤติทางสิ งแวดล้ อมทีรุนแรง ขึ นและมีอ ั ตราเร่ งเร็ วขึ นด้วยภายใต้ นิยามใหม่ของอีโค ทุกภาคส่ วนต้ องมีหน้าทีรับผิดชอบร่ วมกัน โดยเฉพาะภาคธุรกิจควรเป็ นผู ้ นําในการการปรับตั วเพือตอบรับกับแนวคิดอีโคนี ซึ งเป็ นหน่วยทีอยู่ ใกล้ชิดและมีอิทธิ พลต่อผูบริ ้ โภคต่อประเด็นสิ งแวดล้ อมในชีวิตประจํ าวั นอยู่แล้ว กระแสอีโคภายใต้ ความรับผิดชอบของภาคธุ รกิจนั นสามารถปรับเปลียนพฤติกรรมการบริโภคสิ นค้ าและบริ การในแนวอี โคได้เป็ นอย่างดี ได้แก่แนวคิดด้ านอีโคประหยั ด, สถานะอีโค, อีโคไอโคนิก, การบอกเล่าเรืองราวอีโค , อีโออินเทล, อีโคแม้ปมาเนีย, อีกงเซียจส์, อีโคทิปส์ , อีโคแมชชิง, อีโคแนค, ความแข็งแกร่งของอีโค, แนวอีโคฟี ดเดอร์, อีโคไม่เห็นแก่ต ัว, อีโคบูสเตอร์ส, อีโคซูเปอเรอร์, อีโคเอ็มเบดด์, การศึกษาแบบอีโค, อีโคทรานเซนท์, การโฆษณาแนวอีโค, ความคาดหวั งอีโค เป็ นต้ น คําสําคัญ: อีโค, อีโคประหยั ด, สถานะอีโค, อีโคไอโคนิก, การบอกเล่าเรื องราวอีโค, อีโออินเทล, อีโค แม้ปมาเนีย, อีกงเซียจส์, อีโคทิปส์ , อีโคแมชชิง, อีโคแนค, ความแข็งแกร่ งของอีโค, แนวอีโคฟี ดเดอร์, อีโคไม่เห็นแก่ต ัว, อีโคบูสเตอร์ส, อีโคซูเปอเรอร์, อีโคเอ็มเบดด์, การศึกษาแบบอีโค, อีโคทรานเซนท์, การโฆษณาแนวอีโค, ความคาดหวั งอีโค


3

บทนํา อย่างไม่ต้ องสงสัยเลยว่า พวกเรากํ าลังอยูท่​่ ามกลางกระแสวิกฤตสิ งแวดล้อมโลกด้วยกันทั งสิ น โดยเฉพาะด้ านการพั ฒนาเศรษฐกิจซึ งถือว่าเป็ นนโยบายหลักของการพั ฒนาประเทศทุกวั นนี ประเทศ ต่างๆ ได้เข้ าร่ วมเป็ นภาคีสิ งแวดล้อมโลกในหลายองค์กร และทุกระดับ ทั งนี ประเทศเหล่านี ได้ นําเอา กระแสสิ งแวดล้อมเข้ าไปเป็ นส่วนหนึ งของกระบวนการวางแผนพั ฒนาประเทศ และกระตุ ้นให้ทั ง ผู ้ ผลิตและนักการตลาดซึ งใกล้ชิดกับหน่วยผู ้ บริ โภคทีสุ ดต้ องปรับเปลียนกลยุทธใหม่ด้ านสิ นค้ าตั ว ผลิตภั ณฑ์และบริ การโดยเน้นเป้ าหมายไปทีความยั งยืนและความเป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้อม บางกิจการได้ มองไปถึงการวางแผนแนวอีโคระยะยาว ในขณะทีบางกิจการมีการวางแผนเพียงระยะสั นเพือกระตุ ้น ความตระหนักและปรับเปลียนพฤติก รรมของผู ้ บริ โภคเป็ นเรื องๆ ไป ทั งนีในทางธุรกิจสามารถจํ าแนก สิ นค้ าแนวอีโคทีอิงความเป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้อมได้หลายประเภทดังต่อไปนี 1. อีโคประหยัด (Eco-Frugal) สื บเนืองจากช่วงเศรษฐกิจตกตํ าปี 2009 ก่อนหน้านั นสินค้แา ละ ผลิตภั ณฑ์ต่างๆ ทีเคยใช้ค ํ าว่า อีโคซึ งเดิมเคยถือว่าเป็ นสินค้ าทีมีมูลค่าและราคาแพง แล้วได้เปลียนมา เป็ นสิ นค้ าทีเริ มมีราคาถูกลงทียั งคงคุณค่าอยู่ ด้วยเหตุผลประการหนึ งทีผู ้ บริ โภคมีเงินไม่พอทีจะจ่าย ให้ก ับสิ นค้ าประเภทนี แล้วยั งไม่ค่อยจะคํ านึงถึงสิ งแวดล้ อมเป็ นเบื องต้น อย่างไรก็ตามการใช้สินค้ าอี โคบางรายการก็มีผลกระทบต่อสิ งแวดล้ อมด้ วยแต่ก็เพียงน้อยนิดเท่านั นส่ วนผู้ บริ โภคอีกกลุ่มหนึ ง ยั งคงให้ความสนใจเรื องการบริโภคทียั งยืนแต่ก็ไม่ได้ต ั งใจพอทีจะจ่ายให้ก ับสิ นค้ าอีโคได้ทุกอย่าง ตัวอย่าง  ค่ายบีเอ็มดับเบิลยู (BMW) ได้นํารถยนต์ มินิ (The Mini)ราคาถูกและเป็ นมิตรต่อ สิ งแวดล้ อม เพือกระตุ ้นความสนใจของผู ้ ซื อภายใต้ ชือ นิว มินิ อี (new Mini E ซึ ง E คือ การใช้ ไฟฟ้ า) ออกสู่ ตลาด  กลุ่มรองเท้ าประหยั ด จ่ายน้อยคือเมือเดือนเมษายน 2009 ทีผ่านมาได้มีกระแสใหม่ ของรองเท้ าทีสามารถจ่ายได้ โดยใช้ค ํ าว่า อีโคไมนด์(Eco-Minded) จากร้านซูแอนด์แซค (Zoe&Zac) รองเท้ าโดยทั วไปราคาเฉลียคู่ละ 30 ยูเอสดีดอลล่าร์ (หรื อประมาณ 1,050 บาท) ส่ วนร้านซัมเมอร์ เรย์ น โอ๊คส์ (Summer Rayne Oakes) ซึ งเป็ นผู ้ เชียวชาญด้ านสิ นค้ าแฟชั นและความสวยงามสไตน์สีเขีย(เป็ วน มิตรต่อสิ งแวดล้ อม)อยู่แล้ว เขายั งเป็ นทีปรึ กษาด้านอีโค (Eco-Consultant) ให้ก ับสินค้ าทีเกียวข้ องกับ เท้ าทีเป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้ อมโดยใช้วัตถุดิบทียั งยืนและเป็ นมิตรต่อโลกเช่นใช้ฝ้ายอินทรี ย ์ และลินิน ปอธรรมชาติ การรี ไซเคิลรองเท้ าทีตกตลาดแล้ ว รวมถึงการบรรจุหีบห่อหรื อกล่องสิ นค้ าแบบอีโค (Eco-Smart Packaging) เป็ นต้ น (ดังรูปที 1)


4

รู ปที 1 แนวอีโคประหยัด

 บริ ษ ัทเวิร์ลพูล (Whirplool) ได้ออกผลิตภัณฑ์เกียวกับนํ าทีประหยัเงิดนได้ถึง 900 ยูเอ สดีดอลลาร์(ประมาณ 31,500 บาท) ตลอดช่วงอายุการใช้งาน ในขณะทีบริ ษ ัทจีอ(GE) ี ได้ออกมา กล่าวถึงระบบการทํ านํ าร้อนไฟฟ้ ไาฮบริ ด ซึ งประหยั ดเงินได้ประมาณ 250 ยูเอสดีดอลล่าร์ (ประมาณ 8,750 บาท) ต่อปี ส่ วนบริ ษ ัทคูห์เลอร์ (Kohler Co.) กล่าวว่ามีระบบหัวเปิ ด-ปิ ดแบบประหยั ดนํ าทีลํ า สมั ยทีสุ ด ทั งก๊อกนํ าฝักบั ว ห้องนํ า และก๊อกอืนๆ สามารถประหยั ค่าดใช้จ่ายต่อปี ได้ถึง 90-200 ยูเอส ดอลล่าร์ (ประมาณ 3,150 -7,000 บาท) 2. สถานะอีโค (Eco-Status) ทั วโลกกํ าลังตระหนักเกียวกั แบนวอีโคมากขึ น จนกลายมาเป็ นสัญลั กษณ์ ให้ก ับผู ้ บริ โภคโดยในบางส่ วนได้ใช้สัญลั กษณ์นี ไปเชือมโยงกับเรื องมลภาวะ ของเสีย และส่วนเกิน จนเกิดการพั ฒนาคํ าว่า สถานะอีโค(Eco-Status) ขึ น ซึ งมี 2 ลักษณะคือ แบบทีหนึ งมองเรื อง อีโค-ไอโค นิ ก (Eco-Iconic ) เป็ นผลิตภั ณฑ์ทีมีรูปตาสี เขียวติดอยู่กับสินค้ าต่างๆใช้ การโฆษณาให้เกิดความเข้ าใจ ในระดับมวลชนด้วย อีกทั งยั งทํ าให้ง่ายต่อผู ้ ขายให้หันมาให้ความสําคัญโดยไม่ เกิดความแปลกแยกด้วย และแบบทีสองมองเป็ นเรืองราวสถานะอีโค (Eco-Status-Stories ซึ งรวมทั งผู้ขายทไม่ ี เป็ นทีรู ้จักหรือ อาจจะเป็ นการผลิตสิ นค้ าเฉพาะกลุ่มเล็กๆ เท่านั นโดยเริ มต้นจากการใช้วิธกี ารบอกต่อ แบบปากต่อปาก อาศั ยการบอกเล่ารายละเอียดเพือทํ าแน่ ใจว่ารายละเอียดสินค้ าเหล่านี มีสถานะภาพคงทีและไม่มีการ เปลียนแปลงไปจากเดิม (รู ปที 2) 2.1 ลักษณะอีโค-ไอโคนิก (Eco-Iconic) สิ นค้ าและบริ การด้ านกีฬาทีเป็ นมิตรต่อโลก ผูผ้ ลิตและผูอ้ อกแบบไอโคนิก สามารถ ช่วยให้ผู ้ ประกอบการได้ตระหนักถึงการรักษ์โลก โดยการแสดงทีตั วสินค้าทีมีใบรับรองและประกัน คุณภาพทีไม่เปลียนแปลงไปจากเดิม หัวใจของอีโค-ไอโคนิ ก คือการขยั บสถานะไปอีกระดับหนึ ง ซึ งมี ผู ้ บริ โภคจํ านวนมากต้องการบริโภคสินค้ าประเภทนี เป็ นทุนเดิมอยู่แล้ว และพร้อมทีจะปรับปลี เ ยน


5

พฤติกรรม แต่เนืองด้ วยอีโคไอ-โคนิกไม่ได้ทํ ากับสิ นค้ าทุกชนิ ดมีเพียงบางชนิดทีสามารถแยกออกเพือ บอกเล่าเรืองราวเท่าทีทํ าได้เท่านั น หรื ออย่างน้อยทีสุ ดก็เพือเป็ นการอ้ อนวอนให้ลูกค้ าได้เหลียวหันมา เห็นความสําคั ญของสิ นค้ าประเภทนี บ้ าง อีกทั งยั งเป็ นการช่วใยห้ผู ้ ประกอบการได้ใช้สินค้ านี เพือดึงดูด ความสนใจไปสู่ต ัวผลิตภัณฑ์ให้มีความเท่าเทียมกับสิ นค้ าตั วอืนๆ แล้วเป็ นวิธีการใหม่อย่างไร? เอาหละ ...เมือมองไปโดยรอบแล้ว สิ นค้ าและบริการสี เขียวเริ มมีจ ํ านวนมากขึ นอย่างน่าประหลาดใจ เมือเทียบ กับจินตนาการและการออกแบบทีผ่านมาในช่วงทีแนวคิดสี เขียวยั งเป็ นอะไรเบาบางอยู่ แล้วยั งคงซ่อน อยู่ในกรอบของความยั งยืนซึ งก็ย ั งถูกมองว่าเป็ นเรืองปกติธรรมดาอีกด้ วย คนทั วไปเข ้ าถึงยาก แต่ตอนนี ไม่ได้ยากแล้ว

รู ปที 2 สิ นค้ าแบบ อีโคไอโคนิก

ตัวอย่าง ถังขยะ บิกเบลลี (Bigbelly) เป็ นถังขยะพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ งบรรจุขยะได้ถึง 5 เท่าของถัง ขยะแบบปกติท ั วไปสามารถตั งไว้ ตามสะดวกตามทีต่างๆ เพือลดขยะและประหยั ดพลังงาน (รู ปที 3)

รู ปที 3 ถังขยะบิกเบลลี


6

ห้องปฏิบัติการนวั ตกรรมอีโควิกตอเรี ยน (Victorian Eco Innovation Lab) ตั งขึ นโดยรัฐบาล ออสเตรเลียน เมือปี 2006 มีประดิษฐกรรมระบบการเก็บกักพลังงานแสงอาทิตย์ ต ั ไงว้ตรงสนามหญ้ า หน้าโรงเรียน เรียกสิ งนีว่า ไวย์ ล โซลา เชดส์ (Veil Solar Shades) โดยผู ้ ใช้ สามารถสัมผั สหน้าจอได้ อีก ทั งยั งออกแบบเพือให้เด็กๆสามารถใช้จอพลังงานแสงอาทิตย์ แล้วกลับไปรีชาร์จพลังงานใหม่ซํ ไา ด้อีก (รู ปที 4)

รู ปที 4 ห้ องปฏิบัติการนวัตกรรมอีโควิกตอเรี ยน

เดอะ ดีซี ไฮบริ ด ทเวลเอ็ม ( The Dse Hybrid 12m ) เป็ นเรือยอร์ ชหรู หราทีมีความเร็วที 6 นอต ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็ นศูนย์ โดยใช้เทคโนโลยีผสมระหว่างพลังงานจากดีเซล แสงอาทิตย์ และไฟฟ้ า ภายในของแต่ละห้องมีความสะดวกสบายประกอบด้ วยมุมมอง270 องศา จอ เอชดีทีวี 26 นิ ว ระบบเสียงโบส (Bose home theater system) ทั งหมดใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และลม (รู ปที 5)

รู ปที 5 เดอะ ดีซี ไฮบริ ด ทเวลเอ็ม

เรื อพลังงานแสงอาทิตย์ ออสเตรเลียน(Australian Solar Sailor) ได้พ ั ฒนาระบบใบเรื อพลัง แสงอาทิตย์ติดตั งไปกับเรือยอร์ชและเรื อเฟอร์รี ใช้ทั งพลังงานแสงอาทิตย์ และลม สามารถปรับเปลียน ทิศทางแล้วพั บเก็บได้ มีความเร็วอยู่ท10-13 ี นอต ถือว่าเป็ นความเร็วสู งสุ ดเท่ากั บเรื อเฟอร์รี สําหรับ ช่วงทีมีเมฆก็สามารถเก็บพลังงานไว้ในแบตเตอร์รีสํารองได้ เรื อนี ให้บริการทีบริ เวณอ่าวซีดนีย ์


7

ในขณะทีทางทางอเมริกาเหนือมีการให้บริ การทีนิ วยอร์ก (เซอร์เคิล ไลน์, Circle Line) และซานฟราน ซิสโก (อั ลคาทรัซ , Alcatraz) บริ ษ ัทยั งประกาศทีจะขายเรือเฟอร์รี4 ลํ าให้ก ับฮ่องกง แล้วยั งส่ งเรื อที ออกแบบใหม่ไปออกแสดงในงานเวิด์ลเอ็กซ์โป 2010 ทีเชียงไฮ้ เพือสร้างกระแสเทคโนโลยีสะอาดและ ถกปัญหาร่ วมกับบริ ษ ัทคอสโค (COSCO) ซึ งเป็ นบริษ ัทเรื อในประเทศจีน อีกทั งยั งมีญีปุ ่ น อัมสเตอร์ดัม ลอนดอน สต๊อกโฮม ริ โอ และประเทศอืนๆ ให้ด ํ าเนินการตามได้ซึ งเป็ นเรื องทีต้ อง พิจารณาความเป็ นไปได้ต่อไป (รู ปที 6) นอกจากนี ยั งมีรถกอล์ฟทีใช้แผงโซลาติดตั งบนหลังคา เป็ นรถ ซันเรย์ ครุส คาร์ และคูโด ครุส คาร์ ซึ งมีความสะดวกสบายพอๆ กับรถกอล์ฟสําหรับสีทีนั ง(รู ปที 7-8)

รู ปที 7 รถกอล์ฟ Sunray Cruise Car

รู ปที 6 เรื อพลังงานแสงอาทิ ตย์ ออสเตรเลียน รู ปที 8 รถสี ทีนั ง Kudo Cruise Car

บริ ษ ัทรอนน์ มอเตอร์ ทีรัฐเท็กซัส (Ronn Motor Company, Texas ) ได้ออกแบบรถยนต์ทีเป็ น มิตรต่อโลกชือว่า สกอร์เปี ยนส์ (Scorpion) เป็ นรถไฮบริ ดใช้พลังงานไฮโดรเจน (ระบบเอชเอฟไอ, HFI-Hydrogen Fuel Injection) เผาพลาญพลังงานระหว่าง 20-40 % ต่อไมล์ ปลดปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เกือบเป็ นศูนย์ บริ ษ ัทได้ผลิตออกมาเพียง 200 คั นเท่านั น ตกราคาคั นละ 150,000 ยูเอสดีดอลล่าร์ (ประมาณ 5,250,000 บาท) เริ มจําหน่ายในช่วงไตรมาสที 2 ปี 2009 (รูปที 9)

รู ปที 9 รถยนต์ รุ่ นสกอร์ เปี ยนส์ (Scorpion)


8

ส่ วนค่ายโตโยต้ าได้ประกาศรายละเอียดรถยนต์รุ่นพรี อุส(Prius) ในงานโชว์รถยนต์ นานาชาติ อเมริ กาเหนือ (The North American International Auto Show) เมือเดือนมกราคม 2009 เมืองดีทรอยท์ เป็ นรุ่ นพรีอุส- 3 หลังคาพลังงานแสงอาทิตย์ใช้เก็บกั กพลังงานแล้วยั งระบายลมได้ด้วย ทํ าให้รักษา ความเย็นไว้ภายในรถ แม้ ในขณะทีจอดทิ งไว้กลางแดด สามารถช่วยลดการใช้ แอร์ในรถลง (รู ปที 10)

รู ปที 10 โตโยต้ า รุ่ นพรี อุส 3

2.2 บอกเล่าเรืองราวอีโค (Eco-Stories) บริ ษ ัทฟิ ลลิป สตาร์ค (Philippe Starck) ได้นําเสนอผลิตภั ณฑ์ไฟฟ้ าด้วยพลังงานลม การ ออกแบบผลิตภัณฑ์นีได้รับการขนานนามว่าเป็ นนิเวศวิทยาประชาธิปไตย (Democratic Ecololgy) ซึ ง บริ ษ ัทนีผลิตแผ่นพลาสติกโปร่ งใสและออกแบบผลิตภั ณฑ์ต่างๆ มากกว่าร้อยละ 80 เป็ น เครื องใช้ไฟฟ้ าภายในบ้ าน ในช่วงแรกบริ ษ ัทนีเน้นผลิตภั ณฑ์สิ งแวดล้ อมแนวใหม่ทีใช้ร่วมกับพลังงาน แสงอาทิตย์ ส่วนใหญ่เป็ นแผ่นฟิ ล์มบางๆ สามารถติดกับหน้าต่างได้เลย สนนราคาที 500-800 ยูโร (ประมาณ 30,000 – 50,000 บาท) เทคโนโลยีนี กํ าลังอยู่ในช่วงเริ มต้น นําร่องด้วยโทรศั พท์มือถือทีใช้พลังงานแสงอาทิตย์นําออก สู่ ตลาดมาตั งแต่เดือนมิถุนายน2009 ในรุ่นโครัล-200-โซลา (Coral-200-Solar) สามารถรี ชาร์จด้ วย พลังงานแสงอาทิตย์ อุปกรณ์นี ผลิตโดยบริ ษ ั ทดิจิเซล (Digicel) นําออกให้บริการแก่ลูกค้ าเป็ นเจ้าแรกที ตลาดแคริ บเบียน (Caribbean markets) ส่ วนค่ายซัมซุง (Samsung) ก็นําโทรศั พท์มือถือรุ่นสัมผั สหน้าจอ โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์รุ่นบลูเอิร์ท(Blue Earth) ในงานโมบาย เวิร์ล คองเกรส (Mobile World Congress) ทีเมืองบาเซโลนา ผู ้ ใช้ยั งสามารถประมวลผลการเก็บพลังงานไฟฟ้ าในเครืองโทรศั พท์ได้เอง เพือการตัดสิ นใจว่าควรกลับไปใช้เครืองระบบเดิมหรือไม่ และตั วเครื องก็ท ํ าจากการรี ไซเคิลจากขวดนํ า อีกด้วย รุ่ นบลูเอิร์ทนี มีส่วนในการกระตุ ้ นการปรับพฤติกรรมผู ้ ใช้ได้ และ มีจุดเสริ มความแข่งแกร่ งด้วย


9

หน้าจอประหยั ดพลังงานแบบอีโคโมด (Eco mode) ส่วนระบบการทํ างานนันผู ้ ใช้ก็เป็ นส่ วนหนึ งที สามารถลดการปล่อ ยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์โดยดูจากมาตรวัดการใช้ในแต่ละครั งได้ “แบรนด์สินค้าทุกวันนี มุ ่งไปสู ่ กลุ ่ มผู ้ใช้ เฉพาะและยังบอกเล่าเรื องราวซึ งไม่เป็ นทีรู ้ จักมาก่ อน ออกไปสู ่ สาธารณะ เพือสร้ างประสบการณ์ ใหม่ๆและไม่ได้ อิงการบริ โภคเพียงอย่างเดียว โดยมีความ เป็ นสถานะมากกว่าการเป็ นแค่สัญลักษณ์ ซึงเป็ นเพียงรูปลักษณ์ ภายนอกเท่านัน ผู ้ บริ โภคเองก็ยัง สามารถบอกเล่าเรื องราวแต่ละอย่างได้ ด้วยตนเองและเข้ าถึงสถานภาพของผลิตภัณฑ์นันๆ ซึ งแตกต่าง จากการเป็ นเพียงการแค่ ซือมา เป็ นทีคาดหวังว่าการขยับจากยีห้ อการบอกเล่าเรื องราวไปสู ่ ยีห้ อทีช่ วยให้ ผู ้บริ โภคสามารถบอกเล่ าสถานภาพไปสูง่ คุณภาพได้ด้วยตัวเอง” การเชือมโยงสินค้ าไปสู่อีโคเป็ นเรื องง่าย ส่ วนการดําเนินชีวิตแบบกรี น (Green Lifestyle) อัน เป็ นสถานภาพทางสัญลักษณ์สูงสุ ดของกระแสสิ งแวดล้ อมอาจกล่าวได้ ว่าเรื องราวของกรี นนั นได้ ปรากฏอยู่ในกระแสของทุกสิ งทุกอย่างทีมีความเกียวพั นกับ(ความเป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้ อม) สิ งทีเป็ น แหล่งผลิต ตั วผลิตภัณฑ์ ส่ วนประกอบ และการกระจายผลผลิต โดยต้ องแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ที สามารถกระตุ ้ นความฉลาดของผู ้ บริ โภคผ่านสถานภาพทีบอกเล่าเรืองราวอีโคได้ ทั งแนวคิดการ ให้บริ การทีดึงดูดเป็ นพิเศษ เพราะผู้ บริ โภคไม่ได้มองแค่รูปลักษณ์ภายนอกเท่านั นแต่กลับมองถึงความ เป็ นอีโคร่วมด้วย อย่างกรณีของครู สอนกีฬาคนหนึ งเป็ นชาวเยอรมั น เขาได้ขายถุงทีผลิตจากอุปกรณ์ กีฬาซึ งเลิกใช้แล้ว เขาทํ าด้วยมือล้วนๆ ทีเกิดจากหยาดเหงือแรงงานของตนเอง สนนราคาที 90-249 ยูโร (ประมาณ 5,400-15,000 บาท) ก็ย ั งขายได้  กาแฟ ครอพทูค ัพ (Crop to Cup) เป็ น ยีห้อกาแฟทีหักมุมออกไป เมือก่อนเป็ นการซื อกาแฟ โดยตรงจากเกษตรกรโดยวิธี การนําเสนอสู่ ตลาดและ รู ปแบบการลงทุนใหม่ทีนําเรืองความมีชีวิตชีวาเข้ ามา เกียวข้ อง กาแฟยีห้อ นี อนุญาตให้ผู ้ บริ โภคสามารถ สะกดรอยกาแฟย้ อนกลับไปถึงตัวเกษตรกรในฐานะ เป็ นผู ้ ผลิตตั งแต่เริ มแรก นีคือการให้ผู ้ บริ โภคได้เรี ยนรู ้ ถึงแหล่งกํ าเนิ ดของเมล็ดกาแฟและโน้มน้าวให้เกิดการ พูดคุยเกียวกับตัวผลิตภัณฑ์ได้ ตั งแต่หแล่งทีมาจนถึง การจิบกาแฟทีอยู่ในมือ (รู ปที 11) รู ปที 11 กาแฟ Crop to Cup


10

 เสื อผ้ าเครืองนุ่งห่มส่วนใหญ่ของไอซ์เบรกเกอร์ (Icebreaker) ได้กําหนดสัญลั กษณ์ ของยีห้อนีให้ผู ้ ซือสามารถตามร่ องรอยเสื อผ้ าไปถึงขนแกะทีนํามาทํ าเสื อผ้ าจากฟาร์มแกะ 1 ใน 120 ฟาร์มในเซาท์เทิร์น แอลป์ ประเทศนิวซีแลนด์ ( The Southern Allps of New Zealand) ลูกค้ าสามารถ เห็นการดํารงชีวิตของแกะทีนํามาผลิตเป็ นเสื อขนแกะได้ อีกทั งยั งมกี ารพบปะกับเกษตรกรทีทํ างานใน ฟาร์มและเห็นกระบวนการผลิตทั งหมด  วินด์อูนี (Windunie) เป็ นเจ้าของผลิตภัณฑ์ทใช้ ี ก ังหันลมดัช ผลิตไฟฟ้ าอย่างยังยืนสู่ สายไฟแล้ วทํ าการซื อขายสินค้ าผ่านออนไลน์ ลูกค้ าส่ วนใหญ่เป็ นกลุ่มเฉพาะซึ งต้ องการซือสิ นค้ าทีเห็น ทีมาของไฟฟ้ าทางเลือกใหม่ รวมทั งผู ้ ขายสิ นค้ าก็ได้เปิ ดเผยชือ วั นเดือนปี เกิด ทีตั ง งานอดิเรกด้ วย  บริ ษ ัท เวอร์จิน แอตแลนติก ได้รวมหุ ้น กับแอนตี อพาทตี (Anti-Apathy) เพือสร้างวอร์น อเกน (Warn Again) ถือว่าเป็ นแนวอีโค-แฟชั น เพือช่วยเหลือสายการบินส่ วนวอร์น อเกน นั นเป็ น กลุ่มธุรกิจครอบครัวทีแยกออกมาทํ างานเฉพาะกิจ ในคราวหนึ งได้จัดการประชุมเวทีเล็กๆขึ นที ประเทศโปรตุเกส ครั งนั นได้แจกกระเป๋ า 2,000 ใบ ทีทํ าจากกระดาษเก่า และอีกประมาณ 1,000 ใบ ผลิตจากเก้ าอี เก่าของเครื องบินของบริ ษ ัทเวอร์จิน ซึ งของเก่าเหล่านี มีทเก็ ี บไว้ ในโกดังใต้ ดินเมือง ลอนดอน นอกจากนีสิ นค้ าของวอร์น อเกน ยั งได้นํา า อีกด้วย รู ปที 12 เสื อทําจากบอลลูน เป็ นสิ นค้ าวอร์ น อเกน เก้ าอี เก่าของรถบั สมาทํ าเป็ นรองเท้ ขายได้ เป็ นต้น (รูปที 12) ของบริ ษัท เวอร์ จิน แอตแลนติ ก 3. อีโค-อินเทล (Eco-Intel) ข้ อมูลคืออํ านาจ อํ านาจหมายถึงเงินและอืนๆ กรุ ณาสอดส่ องสายตาออกไป ข้ างนอกจะเห็นการบริ การกรีนทีชาญฉลาดเพือช่วยเหลือผู ้ บริ โภคให้ติดตาม ทํ าความเข้ าใจ มีความ ลึกซึ ง และไม่เสแสร้งต่อแนวอีโคของบริ ษ ัทต่างๆ และส่ งเสริ มให้เกิดพฤติกรรมส่ วนบุคคลได้ด ังนี 3.1 มาตรวัดอีโค (Eco-Metering) มาตรวัดอีโค ซึ งอยูช่​่ องว่างระหว่างแนวอีโคประหยั ดกับ แนวสถานภาพอีโคมาพบกัน ความคาดหวั งการประหยั ดจะทํ าให้ผู ้ บริ โภคค้ นหาสถานะทีเชือมโยงไปสู่ การเติบโตของอุปกรณ์และการบริ การทีจะช่วยให้ผู ้ ซือได้ประหยั ดพลังงานทีสุดหรือถูกทีสุด (EcoCheap) นั นเอง แล้วต้ องแสดงให้เห็นถึงการสี เขียวประหยั ดด้วย(Green-saving) โดยระบุความเป็ น สถานะอีโค หรื ออย่างน้อยทีสุ ดก็ช่วยให้ผู ้ บริ โภคได้เห็นพ้ องอย่างสอดคล้องเพือตอบสนองกับข้ อมูลอี โค ส่วนใหญ่ในแนวนี เป็ นอุปกรณ์เครืองใช้ไฟฟ้ าแบบประหยั ดได้แก่


11

 เครื อง สมาร์ท มิเตอร์ ออนตาริโอ (Smart Meter Ontario) เป็ นแหล่งสารสนเทศภายใต้ การ ดูแลของรัฐออนตาริโอ ให้ข ้ อมูลมาตรวั ดทีเป็ นประโยชน์ด ังนี -คุณสามารถเข้ าไปจัดการบิลค่าไฟฟ้ าได้เอง ร่ วมกับการเลือกใช้ไฟฟ้ าอย่างไรและ เมือไร คุณสามารถรักษาสภาพหรือลดค่าใช้จ่ายด้วยตั วเอง -คุณจะได้รับรายงานการใช้ ไฟฟ้ ากลับมาตามความเป็ นจริ ง -บิลค่าไฟฟ้ าจะแสดงการใช้ไฟฟ้ าของคุณเป็ นเท่าไรและในอนาคต ก็ถูกทํ าเป็ นข้อมูล อาจจะเป็ นประโยชน์ต่อคุณผ่านทางอินเตอร์เน็ตหรื อโทรศั พท์แจ้งให้ทราบ -คุณจะได้รับบิลค่าไฟฟ้ าอย่างถูกต้ องโดยบิลทีคุณได้รับนีใช้เป็ นฐานสําหรับการอ่าน แบบรายชั วโมงทีเกิดขึ นจริงแล้วจะส่ งไปยั งเครื องอ่านอั จฉริ ยะ(Smart Meter) ตัวอย่าง ในเดือนกั นยายน 2008 ผู ้ ผลิตสมาร์ทมิเตอร์ บริ ษ ัทอีเชลัล (Echelon) (รู ปที 13)ได้ประกาศ ผลิตภั ณฑ์มาตรวั ดครบวงจรโดยเชือมต่อกั บระบบการให้บริ การไฟฟ้ า(Networked Energy Services (NES) System)ในประเทศเยอรมนีแก่ประชาชนชาวฮอสเฟิ ร์ท (Hassfurt) มากกว่า 10,000 รายที สามารถเข้ าถึงโครงข่ายข้ อมูลแบบก้ าวหน้าไปอีก 3 ปี ข ้ างหน้าจนกระทั งระบบนีได้รับรางวัล ความจริ ง แล้วเยอรมนีได้เสนอกฎระเบียบการใช้ไฟฟ้ ารู ปแบบใหม่สําหรับลูกค้ ารายใหม่และปรับเปลียนไปสู่ ระดับครัวเรือนให้ติดตั งอุปกรณ์มาตรวัดอั จฉริยะทั งหมดให้เสร็จสิ นในปี 2010 เพือการอนุรักษ์ พลังงานและประสิ ทธิภาพพลังงาน ทางบริ ษ ัทอีเชลัล เองยั งร่ วมทุนกับบริ ษัทในสวีเดน ชือ ฮาล์มสตัด อีเนอร์จี ออช ไมล์โจ เอบี (Halmstad Energi och Miljö AB) เพือให้บริการมาตรวั ดไฟฟ้ าแก่ลูกค้ า เพิ มขึ นอีกเป็ น 38,000 ราย และในเดือนพฤศจิกายน 2008 ระบบ NES นี ยั งได้ถูกเลือกจากกลุ่มผู ้ ให้บริ การไฟฟ้ าในประเทศฝรั งเศส (Group of Electricity Distributors ) เพือให้บริ การด้วยระบบมาตร วั ดอั จฉริ ยะนีจะทํ าให้มียอดการใช้เพิ มขึ นเป็ น90,000 ครัวเรื อนภายในปี 2013

รู ปที 13 มาตรวัดอีโค


12

 การคาดหวังแบบธรรมดาด้วยการใช้มาตรวั ดอีโคสําหรับครัวเรื อนจะทํ าให้กลายเป็ น กระแสได้ซึ งต้ องเชือมโยงถึงความปลอดภัยของบ้ านกับการติดตามการใช้ไฟฟ้ าในบ้ าน อย่างเช่น อุปกรณ์ อเลิร์ทมี (AlertMe)ใช้เชือมต่อกับระบบเซนเซอร์และสามารถเฝ้ าติดตามได้จากจอภาพนอก บ้ าน ทีสามารถแจ้งรายละเอียดต่างๆ ผ่านทางช่องทางติดต่อจากศูนย์เครื อข่ายการเชือมต่อการแจ้งเตือน ของอุปกรณ์ อเลิร์ทมี นอกจากนี ยั งให้บริการในทุกสถานการณ์ทีแสดงถึงความปลอดภัยสําหรับให้ผู ้ ใช้ได้ตดิ ตามและควบคุมการใช้งานแค่เพียงผ่านเครื องรับทางจอมอนิ เตอร์เท่านั นนอกจากนี จอภาพวัท สัน (Wattson) เป็ นจอทีใช้ไฟฟ้ าจากบ้ านเพือรับข้ อมูลจากอุปกรณ์รับ-ส่ งสัญญาณโดยการต่อเชือมกับ มาตรวัดและแสดงข้ อมูลเป็ นปัจจุบั น นอกจากนี ยั งมีปลั ก เดอะโฮมจูล(The ล์ Home Joule) ทีแสดงการ ใช้ไฟฟ้ าในระดับกว้ างจากมาตรวั ดไฟฟ้ าของผู ้ ใช้ทีเชือมต่อข้ อมูลจากบริ ษัทไฟฟ้ าซึ งแสดงผลค่าการ ใช้ไฟฟ้ า ณ เวลาปัจจุบ ั นทีเป็ นจริ ง ส่ วนมาตรวั ดนํ า อีโคชาวเออดรอฟ (Eco-Showerdrop) จากประเทศ อังกฤษได้นําเสนอมาตรวั ดปริ มาตรนํ าทีสามารถลดค่าใช้จ่ายตํ าทีสุ ดในโลกจากบริษ ัทมาตรวั ดนํ าทั วไป โดยแสดงดัชนีผลลัพธ์เป็ นดิจิตอลแอลอีดี (LED display) อย่างถูกต้ องว่าได้ใช้นํ าปริ มาตรเท่าไร เพือให้ ลูกค้ าสามารถติดตามการใช้นํ าทีบ้ านเป็ นการประหยั ดเงินและการใช้ไฟฟ้ าได้ สามารถสั งซื ออุปกรณ์ ผ่านทางผู ้ แทนค้ าส่ งได้เลยหรือเว็บไซต์ของบริษ ัท  มาตรวัดอัจฉริ ยะต้ องเป็ นการลดการใช้ไฟฟ้ าได้จริ งเช่น จีอีและกูเกิล (GE and Google) ได้ร่วมมือกั นพัฒนาสายส่งไฟฟ้ าอัจฉริ ยะซึ ไงด้จากไฟฟ้ าทีมีแหล่งจากการนําไฟฟ้ ากลับมาใช้ ใหม่ซํ าอีกและผู ้ ใช้สามารถติดตามการใช้ไฟฟ้ าด้ วยตนเองได้ อย่างเช่นการขายกระแสไฟฟ้ าทีได้จาก แบตเตอร์รีเก่ารถยนต์ และโปรแกรมการเปิ ดใช้ไฟฟ้ าในเวลาทีแตกต่างทีเป็ นราคาไฟฟ้ าถูกทีสุ ด เป็ น ต้ น กรณีนี กูเกิลได้ สร้าง เพาว์เวอร์มีเตอร์(PowerMeter) ใหม่โดยเน้นข้ อมูลการใช้ไฟฟ้ าทีสามารถ เข้ าถึงผู้ บริ โภคได้ เป้ าหมายเพือช่วยให้ผ◌ู ◌้ ใช้ สามารถตั ดสิ นใจใช้ไฟฟ้ าอย่างประหยั ดขึ น เทคโนโลยี นี เข้ าไปสู่งานสถาปัตยกรรมของกูเกิลและไอกูเกิล แกดเกท แพลทฟอร์ม(iGoogle gadget platform) เพือแสดงให้ผู ้ บริ โภคเห็นถึงการใช้พลังงานตามเวลาปัจจุบ ั นทั นที รวมทั วงิเคราะห์ให้ด ้วยว่ามีการใช้ พลังงานไฟฟ้ าทีแตกต่างจากอุปกรณ์ฟ้าในครัวเรือนและกิจกรรมอืนๆ เป็ นเท่าไหร่  จากกรอบของครัวเรือนออกมาข้ างนอกบ้างจะเห็นว่ามีมาตรวัดอัจฉริ ยะอีกตั วหนึ งคือ อีโค ไดร้ฟ (EcoDrive) เป็ นแบรนด์ ใหม่ทียั งไม่เป็ นทีรู ้จักของ รถยนต์ยีห้อเฟี ยต (A new Fiatbranded widget)มีเป้ าหมายอยู่ ทีการปรับปรุ งประสิทธิ ภาพ รู ปที 14 แผงหน้ ารถเฟี ยต รุ ่ นบลูแอนด์ มี(Fiat’s Blue&Me Technology)


13

การขั บขีสู งถึง 15 % นั นหมายความว่ามีร่องรอยการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์เพียงน้อยนิด ณ เวลา นั นๆสามารถประหยั ดเชื อเพลิงได้ช่องอุปกรณ์ชนิดนี สามารถปรับไปเป็ นยูเอสบี (USB) และเป็ นปลั ก ทีเข้าสู่ เทคโนโลยีเฟี ยตบลูแอนด์มี (Fiat’s Blue&Me Technology) ได้ ซึ งพอร์ตยูเอสบีจะติดตั งอยูตรง ่ แผงหน้าปัดรถยนต์ ซอฟแวร์จะประเมินผลรู ปแบบการขั บขีและให้คะแนนเต็ม 100 แต้ม อีกทั งยั งเป็น การสอนและชั กชวนให้ผู ้ ข ั บรถได้ปรับปรุงวิธีการขับรถได้อีกด้วย คะแนนทีปรากฏและเป็ นประโยชน์ อย่างยิ งซึ งสัมพั นธ์ก ับการลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ซอฟแวร์นียั งทํ าให้ผู ้ ขบรถสามารถเข้ ั า สังคมออนไลน์ของกลุ่มผู ้ ใช้รถเฟี ยตด้วยกันเรี ยกว่า อีโควิล(Ecoville) (รู ปที 14 )  ไม่เพียงแค่ค่ายรถเฟี ยตเท่านั น ระบบผู ้ ช่วยขั บขีนิเวศของค่ายฮอนด้(Honda’s า Ecological Drive Assist System) หรื อ อีโคแอสซิส (Eco Assist) ได้สร้างโมเดลไฮบริ ดรู ปแบบใหม่ล่าสุ ดจาก ประเทศญีปุ ่ น และได้นําเสนอในงานอเมริก ัน อินไซต์ไฮบริ ด(American Insight Hybrid) ในช่วงฤดู ใบไม้ ผลิปี 2009 โดยการใช้ ระบบแสงทีช่วยการแสดงข้ อมูลสภาพแวดล้ อมรู ปแบบการขั บขีของผู ้ ข ั บ รุ่ นนั นมีอ ัตราเร่ งและหยุดลงอย่างค่อยเป็ นค่อยไป เป็ นรุ่นทีมีคุณค่าอยู่ในฐานะทีเป็ นมิตรต่อโลกอย่างดี เยียม แต่ย ั งอยู่ในช่วงการเริ มต้ นก้ าวกระโดดแล้ วก็สะดุดลงหลายครั งจนได้รับการตํ าหนิว่าเป็ นเพียง รุ่ นบลูไม่ใช่กรี น  มาตรวัดอีโคกํ าลังก้าวกระโดดจนทํ าให้เกิดเป็ นซอฟแวร์ใหม่ขึ น อย่างเช่นซอฟแวร์ ไอโฟน มิเตอร์ รี ด (MeterRead) ทีช่วยให้ผู ้ ใช้ประหยั ดได้ ถึง10-20 % ของบิลค่าไฟฟ้ าทั งหมดโดย ติดตามการใช้พลังงาน ซอฟแวร์นี ผลิตขึ นเพือรายงานและคาดการณ์การใช้ในอีก 30 วั น ส่วนอีโคริ โอ (Ecorio) เป็ นซอฟแวร์หุ่นยนต์เหมือนคนซึ งเก็บข้ อมูลการเดินทางผ่านจีพีเอสและช่วยเหลือด้านข้ อมูล เช่น โหมดการเดินทางหรือประเภทของรถ การคํ านวณปริ มาณคาร์บอนทีปลดปล่อยออกไปในแต่ละ ครั งการเดินทางผู ้ ใช้สามารถมองภาพการเดินทางทีผ่านมาและเข้ าถึงการบริ การการใช้รถร่ วมกันและ ยั งแนะนําการปรับเปลียนการขึ น-ลงจากสถานีรถสาธารณะได้ด้วย ซึ งดีพอๆกับการจ่ายค่าการปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ทีเกิดจากการท่องเทียว สุ ดท้ ายคือ คาร์บอน ไดเอียม(Carbon Diem) เป็ นชุด ซอฟแวร์ใหม่ทีกํ าหนดวางแผนออกสู่ ตลาดปลายปี 2009 นี มีระบบจีพีเอสทํ างานบนมือถือ เพือกํ าหนด ว่ามีสภาพแวดล้ อม ณ เวลานั นเป็ นอย่างไร ด้ วยการเดิน หรื อติดตั งไปกับรถ หรื อบนรถบั ส รถไฟ หรื อ เครื องบินได้ เป็ นโหมดเส้นทางคมนาคมทีใช้ และครอบคลุมระยะทางต่างๆ ซอฟแวร์นี ใช้เพือการบอก ข้ อมูลแล้วเก็บบั นทึกเป็ นนาที(up-to-the-minute-record) ของการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากผู ้ ข ั บ รถ แล้ วแสดงผลได้ท ั งรายวั นและรายสัปดาห์


14

3.2 อีโค-แม้ ปมาเนีย (Eco-Mapmania) ยุคนี เป็ นยุคทีสิ งต่างๆ ได้บรรจุเนื อหาทีมีความเป็ นจําเพาะชัดเจนยิ งขึ น ไม่ว่าจะเป็ น ซอฟแวร์ ความเป็ นท้ องถิ นความเป็ นเมือง ป้ ายประกาศ ไลด้ าร์ (Lidar) สมาร์ทโฟน (Smartphone) ความ สะดวกสบาย ไอดีเซล (Cell ID) สิ งแสดงลักษณะความเป็ นตั วของตัวเอง ข้ อมูลจํ าเพาะ และจีพีเอสเป็ น ต้ น ทีรวมทั งหมดเข้ าไปในอุปกรณ์เพียงอั นเดียว ภายใต้ การเดินทางด้วยแผนทีความสามารถในการ ค้ นหา การให้ความรู้ การนําสิ งเหล่านี มายุบรวมกันเป็ นหนึ งเดียวเกิดจากความหิวกระหายของ สาธารณชนผูใ้ ช้ทีได้แห่ก ันเข้ ามาใช้ก ันอย่างล้ นเหลือ นับตั งแต่เรืองการค้ นหาเพือนจนถึงการค้ นหา ปัมนํ ามั นทีราคาถูกทีสุดว่าตั งอยู่ทีไหน การช่วยเหลือโดยการให้บริ การ ทีตอบสนองได้ตรงความ ต้ องการรู ้ แล้วยั งบอกได้ว่าผู ้ ใช้กําลังเดินทางอยู่บนถนนอะไร การสั นสะเทือนจากการยกระดับของการใช้แม้ ปมาเนีย (MAPMANIA) ทํ าให้เราใกล้ชิดกัน ยิ งขึ น เช่นเดียวกับกูเกิล โนเกียร์ (ซึ งคาดการณ์ว่าครึงหนึ งของชุดมือถือนี สามารถเชือมต่อกับจีพีเอส ได้ภายในปี 2010-2012 ) ทั งแม้ ปแคว้ ทส์(MapQuests) นาฟเทคส์ (Navteqs) โอเพ่นสตรี ทแม้ ป (Openstreetmaps.orgs) แอปเปิ ลส์ และทอมทอมส์ (Apples and TomToms) เหล่านี กํ าลังสร้าง สถาปัตยกรรมทีจําเป็ น ทั งตั วอุปกรณ์ และซอฟแวร์ต่า งๆ อย่างต่อเนือง และแบรนด์ทีเน้นผู ้ ใช้ จํ าเพาะ ต้ องอาศั ยการร่ วมทุนหรื อทํ าการทดลองร่วมกันเพือให้บริ การบนแผนทีบนฐานข้ อมูลภูมิศาสตร์ที สัมพันธ์ก ับทุกสิ งทํ าให้มีความ ใกล้ชิดกับผู ้ ใช้มากยิ งขึ น และยั งมี ความเป็ นสากล ด้ วยวิธีการจัดการ การค้ นหา และการติดตามร่องรอย เกียวกับข้อมูลของวัตถุ เหตุการณ์ และคน แล้วทุกวั นนี สารสนเทศ ภูมิศาสตร์จึงเป็ นอะไรทีสุ ดยอดใน การเข้ าถึงแล้ วออกเดินทางไป พร้อมกันได้อกี ด้วย นับจากการ ติดตั งระบบนําทางในรถถึงไอโฟน รู ปที 15 อีโคแม้ ปมาเนีย เลยทีเดียว (รู ปที 15) อีโค-แองเกิลส์ (Eco-angles )ถึงแม้ ปมาเนีย เป็ นสิ งทีกํ าลังมาแรงเกิดขึ นทุกหนทุกแห่ง ดังเช่น  ระบบ เดอะกรีนแม้ ป (The Green Map System) ได้นําออกสู่ สาธารณะในรุ่ น โอเพ่น กรี น


15

แม้ ป (Open Green Map) ซึ งนําเสนอให้ผู ้ ใช้มีโอกาสในการเพิ มทําเลทีตั งสี เขียวและเห็นข้ อแนะนําจาก ทีอืนๆ ได้ การบอกตํ าแหน่งทีตั งนีจะทํ างานบนอุปกรณ์มือถือและให้ผู ้ ใช้ท ํ าการผนวกข้อมูลจาก ฟลิกค์ร โฟโต้ และวีดีโอยูทูบได้ (Flickr photos and YouTube videos)  เฟิ ร์สลุค (FirstLook) เป็ นบริ การให้การเข้ าถึงอย่างเสรี เพือดูค่าเฉลียความเร็ วลมทุกทีบน โลกด้วยแผนทีทีมีความละเอียด 5 เมตรเป็ นปัจจุบ ั น ผู ้ ใช้ จะต้ องจ่ายค่าทางเลือกใหม่ๆนี ซึ งผลิตโดย บริ ษ ัท ทรี ไทร์ (3TIER)  นอกจากนี ยั งมีระบบการตรวจสอบหลังคาพลังงานแสงอาทิตย์ (Roofray) ทีแคลิฟอร์เนีย โดยเน้นให้ข ้ อมูลแก่ผู ้ บริโภคตามความต้ องการทีจะติดตั งแผงหลังคาโซลา โดยธุรกิจนีจะเสนอรู ปแบบ โมเดลทีใช้ร่วมกับกูเกิลแม้ปส์ เพือกํ าหนดการวัดค่าการใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ในบ้ านว่าเป็ นเท่าไรและ แสดงค่าไฟฟ้ ารายเดือนทีอิงกับเงือนไขภูมิอากาศทีผ่านมาว่าเป็นเท่าไรด้วย เว็บไซต์นี จะเป็ นการ ให้บริ การระบบรู ฟเรย์ติงส์ (RoofRaytings system) จะช่วยให้ผู ้ ซือบ้ านได้พิจารณาถึงประสิ ทธิภาพการ ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ของบ้ านได้ 3.3 อีกงเซียจส์ (Econcierges) เป็ นธุรกิจบริ การให้ค ํ าปรึ กษาด้ านความรู ้สึกละเอียดอ่อนเพือ ช่วยให้คนทีอยู่ในบ้ านเข้ าถึงความเป็ นสี เขียว ให้ค ํ าแนะนําแก่ลูกค้ าด้านลดการใช้สิ งทีเป็ นอันตรายใน บ้ าน จริ งแล้ วในแต่ละข้ อเสนอแนะจะโน้มน้าวลูกค้ าให้เกิดความรู ้สึกถึงการสร้างความประหยั ดขึ นด้วย ซึ งมีความสอดคล้องกับกลุ่มผู ้ บริ โภคทีเน้นความประหยั ด หรืออีโคฟรู ก ัล(Eco-Frugal) อยู่แล้วเพือทํ า ให้เกิดความยั งยืน แต่ปัญหาอยู่ทีเหตุผลทางการเงินทีจะซื อบริ การนี แล้วปัญหาต่อไปทีเกียวกับการ ช่วยเหลือลูกค้ านั นสามารถทํ าเงินได้ จากการเป็ นสี เขียวอย่างไร นีเป็ นประเด็นทีจะต้ องทบทวนอีกครั ง อย่างไรก็ตามมีต ั วอย่างธุรกิจนี ที นิวยอร์ค เป็ นบริ ษ ัทกรี น ไอเรนน์ ( Green Irene) ได้เสนอการ ให้บริ การปรึ กษาทํ าบ้ านสี เขียว(Green Home Makeover Service) ในราคาเพียง 99 ดอลล่าร์ยูเอสดี (ประมาณ 3,400 บาท) พร้อมกับการให้ คํ าแนะนําด้านอีโค (Eco-consultant) ด้วย ซึ งสามารถประเมิน บ้ านและให้ค ํ าแนะนํา เป็ นรายบุคคลเพือ ประหยัดเงิน พลังงาน รู ปที 16 อีกงเซียจส์


16

และนํ า หากลูกค้ าเลือกทีจะเปลียนแปลงสิ งเหล่านี เขาก็สามารถจ่ายตามทีบริ ษ ัทแนะนํา บริษ ัทนี ยั ง เสนอสํานักงานสี เขียวและการจัดประชุมสัมมนาสี เขียวอีกด้วย อีกแห่งทีลอนดอน คือบริ ษ ัทกรี น โฮมส์ กงเซี ยจส (Green Homes Concierge) และทีซีดนีย ์ บริ ษ ัททูเด(Todae) เป็ นบริ การแบบเดียวกัน (รู ปที 16) 3.4 อีโค-ทิปส์ (Eco-Tips) เป็ นแหล่งทีให้เคล็ดลับและบริ การการดํ ารงชีวิตรู ปแบบสี เขียว ซึ ง ทุกวันนี มีมากมาย แหล่งเหล่านีเป็ นชุมชนออนไลน์ขนาดใหญ่หากคุณมีบริ การหรือผลิตภัณฑ์สีเขียวที พร้อมจะแนะนําก็สามารถทํ าได้อาจจะทํ ากิจกรรมร่วมกันได้เช่น  กรี น ติง( Green Thing) เป็ นชุมชนการให้บริการสาธารณะทีไม่หวั งกํ าไรเกิดจากแรง บั นดาลใจทีจะนําไปสู่ ชีวิตสี เขียว เป็ นชุมชนจากทั วมุมโลกกว่า196 ประเทศทีแบ่งปันวีดีโอและ เรื องราวแก่สมาชิกกันเอง มีการช่วยเหลือซึ งกั นและกัน กรีนติงนี เน้นไปทีแนวทางการปฏิบ ั ติตนให้เป็ น สี เขียว 7 ประการและช่วยสร้างความสนุกสนานแก่ก ันภายในสมาชิก  ประเทศอังกฤษ มีมูลนิธิออคแฟม (UK charity Oxfam) สรรหากลุ่มกรีน เกรนนีส์ (Green Grannies) เพือให้ค ํ าแนะนําต่อประชาชนในหัวข้ อต่างๆตั งแต่การรวมกลุ่มเย็บปักชุนถุงเท้ าไป จนถึงการทํ าอาหารก้นบาตรทีเหลือ มูลนิ ธินี ได้รณรงค์ การสร้างชีวิตใหม่ การให้บริ การไม่เพียงแค่การ ให้ความช่วยเหลือผู ้ บริโภคได้ประหยั ดเงินแล้วยั งชักชวนให้มีการรี ไซเคิลเพือช่วยลดภาวะโลกร้อนด้วย  กรี นกรู ฟ (Green Groove) เสนอให้แก้ปัญหาการใช้ ถุงพลาสติกไปสู่นิสัยสี เขียว มี ด้วยกั น3 ขั นตอนทีสามารถวางแผนได้ด้วยตนเอง ขั นแรกเป็ นการลดการสร้างหายนะต่อภาวะโลกร้อน หลังจากนั นเลือกชนิดขึ นอยู่ก ับการวางแผนถึงความยากง่ายทีเป็ นไปได้ โดยจะได้รับการเชื อเชิญให้ ไปสู่ เป้ าหมายจากรายการสิ งของทีกว้ างต่อไป และท้ ายทีสุ ดเป็ นเป้ าหมายทีอะไรควรมาก่อน-หลัง มี การวางแผนอย่างเป็ นขั นเป็ นตอนซึ งสามารถนําไปถึงร่องรอยของเป้ าหมายอีโคได้ในทีสุ ด  โลกเสมือนจริ งสําหรับเคล็ดลับสี เขียวนําเสนอทีนิ วยอร์กภายใต้ชุมชนภูมิอากาศ (New York –based Clmante Culture) ซึ งรวมเอาคํ าแนะนํา ชุมชน และเกม เพือช่วยให้ผู ้ บริ โภคลดการ บริ โภคพลังงานลง 3.5 อีโค-แมชชิง (Eco-Matching) หนึ งในหลายสิ งทีเกิดขึ นบนเครือข่ายคือการจับคู่ระหว่าง ซัพพลายกับดีมานด์ มีบริษ ัททีทํ าอีโคแมชชิง ดังนี  โลคั ล รี ยุส( Local Reuse) อย่างร้านไอจูนสโตร์ (iTunes Store) ทีเน้นการใช้ ซอฟแวร์ไอโฟนฟรี โดยขอรับและบริ จาคแล้วนํากับใช้ ใหม่แบบฟรีๆ จากลูกค้ า มีเป้ าหมายคือการ รักษาสิ งทีเป็ นประโยชน์ก่อนจะนําไปฝังกลบ  อีโคเลคท์ (Ecolect) เป็ นศูนย์ ห้องสมุดเพือวั สดุเพือการก่อสร้างทียั งยืนโดยอีโคเลคท์


17

สามารถแก้ปัญหาให้ก ับทางอุตสาหกรรมซึ งนักออกแบบสถาปัตยกรรมทั งภายในและภายนอก กํ าลัง ต้ องค้ นหาสิ งของและข้ อมูลทีอยูก่ ระจั ดกระจายตามทีต่างๆ ได้มาอยู่ในอีโคเลกท์ทีเดียว ส่วนใหญ่วั สดุ ในอีโคเลคท์ จะเกียวข้ องกับความยั งยืนและส่วนประกอบทีใช้ไม่เป็ นภัยต่อสิ งแวดล้ อม  เดอะแลนด์แชร์ แคมเปญ (The Landshare campaign) มีเป้ าหมายอยู่ทีนําเสนอ ทางเลือกให้ก ับสมาชิกในประเทศอังกฤษ ด้ วยการเสนอการจัดสรรทีดินและการเปลียนทีดินทีไม่ได้ ใช้ ประโยชน์กลับไปเป็ นการใช้ประโยชน์ได้ โดยทางเดอะแลนด์แชร์นี จะทํ าการจับคู่ชาวสวนทีเป็ นไปได้ กับเจ้าของทีดินทีตังใจจะจัดสรรทีดินบางส่ วน โดยลูกค้ าต้ องลงทะเบียนก่อนในฐานะทีเป็ น เกษตรกร (Grower) และเจ้ าของทีดิน (Landowner) แล้วนายหน้าทีรู ้ว่ามีทีดินทีไหนทียั งไม่ได้ใช้ประโยชน์ (Land-spotter) หรื ออาจจะเป็ นผู ้ อ ํ านวยความสะดวก(Facillitator) ทีพร้อมช่วยเหลือชาวสวนและคน อืนๆ ทีต้ องการความช่วยเหลือได้ ธุรกิจนี กําลังเติบโตไปได้ดี 3.6 อีโค-แนค (Eco-Naked) เป็ นโลกของความว่างเปล่า-เปลือยเปล่า ทีไม่มีอะไรซ่อน เร้น คาดว่าจํ านวนธุ รกิจนี มีซอฟแวร์ มากทีเดียว ตั งแต่สิ งทีละเอียดอ่อนไปจนถึงการทํ าลายล้ างกัน ภายใต้ การซ่อนตั วอยูในคํ ่ าว่า กรีน ทีเล็งไปทีประโยชน์ของผู ้ บริ โภคและเศรษฐกิจทีเกียวข้ องกับการ เติบโตของสี เขียวอย่างไม่จํากั ดอยูใ่ นขณะนี ตัวอย่างเช่น  เดอะกรี นวอชชิง อินเด็คซ์ (The Greenwashing Index) ได้นําเสนอข้ อมูลแก่ผู ้ บริโภค ถึงเรื องการกระตุ ้ นรู ปแบบสี เขียวซึ งผ่านทางธุรกิจโฆษณาทีเรี ยกตนเองว่า เป็ นสี เขียว แต่จะเป็ นจริ ง หรื อไม่นั น ทางGWI มีตัวชี วัดบอกได้ เพราะหลายบริ ษ ัทเหล่านีจํ าต้ องใช้เงินจํ านวนมากและต้ อง พยายามทํ าการตลาดมากกว่าการวั ดประสิ ทธิภาพตามดัชนีนี แล้วพยายามยกธุรกิจตนเองว่าเป็ นสี เขียว ส่ วนลูกค้ าเองก็ต ้ องพิจารณาด้วยว่าการโฆษณาและระดับความนิ ยมเป็ นส่วนหนึ งของการโหนกระแส หรื อไม่ ซึ งทางเดอะกรีนวอช อินเด็กคซ์ ได้ก ํ าหนดเกณฑ์ไว้แล้ว(GWI’s criteria) ทั งนี ภายใต้การ สนับสนุนจาก EviroMedia Social Marketing ของมหาวิทยาลัยโอเรกอน สาขาหนังสื อพิมพ์และการ โฆษณา มาช่วยในการให้ความรู ้แก่ผู ้ บริโภค 4. ความแข็งแกร่ งอีโค (Eco-Sturdy) การพั ฒนาอีกอย่างหนึ งทีสร้างความสวยงามแบบยั งยืนที หลากหลาย เน้นการประหยั ดในระยะยาว ได้แก่ ความตระหนักในอีโคกับการถดถอยทางเศรษฐกิจทีทํ า ให้ผู ้ บริ โภคระมั ดระวังมากขึ น ธุ รกิจดังกล่าวได้แก่  โฮวียส์ แฮนด์-มี-ดาวน์ (Howie’s Hand-Me-Down) ได้นําเสนอเสื อผ้ าทีเป็ นซูเปอร์ ทนทาน ไม่ว่าจะเป็ นเสื อแจ็กเก็ต กระเป๋ าสะพายหลัง และกระเป๋ าส่ งเอกสาร ทีออกแบบมาเป็ นพิเศษ อย่างน้อยทีสุ ดใช้ได้นานถึง10 ปี บริ ษ ัทนี ผลิตผลิตภัณฑ์ด้ วยความอุตสาหะพากเพียรและใช้ว ั ตถุดิบทีมี


18

คุณภาพสู งมาจากผ้ าธรรมชาติ เป็ นผ้ าฝ้ ายทออย่างแน่นหนาทนทานต่อการใช้งานและใช้เส้นใยทั วไป เพียงร้อยละ 30 เท่านั น 5. แนวอีโคฟี ดเดอร์ (Eco-Feeders) ธุรกิจประเภทนี ยั งมีนอ้ ย บางครั งก็มีขนาดเล็กและเน้นการบริ การ ลูกค้ าทีต้ องการแนวอีโคอยู่แล้ว เช่น  อู่ล ัสเซี ยส การาจ (Luscious Garage) เดิมเจ้ าของอู่เป็ นผู ้ หญิงเปิ ดดําเนินการแบบช่วย ตั วเอง ตั งอยู่ทีซานฟรานซิสโก เป็ นไฮบริ ดบริ การซึ งบางอย่างลูกค้ าสามารถจัดการดูแลด้วยตนเองและ บางอย่างร่วมกับเจ้ าของอู่เปิ ดดํ าเนินการมาตั งแต่ป2007 ี ดึงดูดลูกค้ าด้วยประสบการณ์การบริ การซ่อม รถด้ วยความเป็ นมิตร มีความสะดวกสบายด้วยการตกแต่งสถานทีด้วยต้ นไม้ และมีหนังสือให้อ่าน ในขณะทีชาร์จไฟ ยิ งไปกว่านั นลูกค้ าส่ วนใหญ่เป็ นเจ้ าของรถพรี อุส(Prius) อู่นียั งมีการวางแผนที หลากหลายมากกว่าการบริการรถไฮบริ ดเท่านั นแต่จะเพิ มฐานลูกค้ าให้มากขึ นการนําเสนอในธุรกิจอี โคฟี ดเดอร์ อย่างทีไม่เคยมีมาก่อน แน่ใจเลยว่าในอนาคตธุรกิจนีคงจะสนุกไปพร้อมกับการเติบโตของ การใช้ รถไฮบริ ดขึ นเรื อยๆ หากเราเองเป็ นผู ้ ประกอบการ ก็ต้องต่อสายป่ านไปให้ไกลๆ แล้ วเจาะตลาด ลูกค้ าเฉพาะในระยะยาว 6. อีโคทีไม่เห็นแก่ ตัว (Eco-Generosity) การจั บคู่ของแนวโน้มเจนเนอรัลจี (General G) กับสิ งทีเป็ นอี โคทั งหลายซึ งเป็ นคํ าถามง่ายๆ คํ าว่า เจนเนอรัลจี(ซึ ง G หมายถึง ความไม่เห็นแก่ตัว มีความเอื อเฟื อต่อ กัน) เน้นความสําคั ญของการเติบโตของความเอื อเฟื อเผือแผ่ในฐานะทีเป็ นธุ รกิจนําสังคมและอยู่ใน จิตใจของคนให้ได้ หากเป็ นผู ้ บริ โภคทีเป็ นทีรังเกียจ และมีจิตใจละโมบ จะส่ งผลอันเลวร้ายต่อธุรกิจนี จะไม่ได้รับการต้ อนรับอย่างแน่นอน เพราะธุ รกิจนี ต้ องการผู ้ ทีมีความเผือแผ่เอื อซึ งกันและกัน เพือ สร้างวั ฒนธรรมในการแบ่งปัน ให้ ชักชวน สร้างสรรค์ และร่ วมมือกัน การแบ่งปันกันและกันเป็ นสิ งทีดี ย่อมจะได้รับกลับคืนแทนทีการเอาฝ่ ายเดียว ในฐานะทีเป็ นสัญลักษณ์ของทางเลือกใหม่ ธุ รกิจนี จะ ยกระดับความสอดคล้องไปกับสังคมและพฤติกรรมยิ งขึ น ซึ งจะไม่ยอมรับการกระทํ าเพือตนเองหรือ ความเห็นแก่ต ั ว นีคือนวั ตกรรมใหม่จากยีห้อต่างๆทีสามารถจัดการให้เป็ นความงดงามทีไม่เห็นแก่ต ั ว ทั งลูกค้ าและสิ งแวดล้อมไปพร้อมกันดังธุรกิจต่อไปนี 6.1 อีโค-เพิร์คส์ (Eco-Perks) เป็ นอีโคให้ความสะดวกรวดเร็ว ซึ งเป็ นกระแสใหม่ทีเกิด ขึ นมาเมือตุลาคม 2008 ภายใต้ เพิร์อโคโนมิกส์ (Perkonomics) กล่าวคือ เพิร์อโคโนมิส์ เป็ นสิ ทธิพิเศษ ทีมีการนําเสนอไปพร้อมแบรนด์ปกติอืนๆ สามารถสร้างความพอใจให้ก ับลูกค้ าได้ มีการนําเสนอใน รู ปแบบใหม่และ/หรือเพิ มความสะดวกสบายเข้ าไป ข้ อดีของแบรนด์นี เป็ นการสร้างความเท่าเทียม


19

รู ปที 17 อีโคทีไม่ เห็นแก่ตัว

ให้ก ับสิ นค้ าทีผิดปกติอาจจะเล็ดรอดไปในช่วงโกลาหลได้ อาจกล่าวได้ ว่าธุรกิจนี กําลังดํ าเนิ นไปอย่าง ค่อยเป็ นค่อยไป เช่น การให้บริ การสําหรับรถไฮบริ ด ของสายการบินนานาชาติ ซีแอทเทิล โตโคมา (Seattle-Tacoma International Airport ) ซึ งไม่ใช่การให้ทีจอดรถฟรี แต่ให้ความสะดวกรวดเร็วในการ จอดรถ โดยจะมีแถบเส้นสี เขียวแสดงการใช้พลังงานสะอาดนําทางไปทีอู่ชั น5 (รู ปที 17 )และเป็ น ประโยชน์สําหรับลูกค้ าประเภทนีจะได้รับบริ การก่อน มาตรฐานของอู่นี อยู่ในระดับทีใช้ได้ แต่ต ้ องเป็ น รถยนต์ทีใช้ไฟฟ้ าเท่านั น 6.2 อีโค-ฟรี (Eco-Free) แนวทางของอีโอฟรี ในยุคนี ถึงจุดอิ มตั วของผู ้ บริ โภคแล้ว เนื องจากการเติบโตของโลกออนไลน์ท ํ าให้ธุรกิจการลงทุนถูกลงหรื อเข้ าใกล้ศูนย์ เลยทีเดียวแล้วทํ าให้ เกิดรู ปแบบธุรกิจและบริ การรู ปแบบใหม่ โทรทัศน์จะกลายเป็ นตํ านาน แล้ วมีรูปแบบการติดต่อสื อสาร รู ปแบบใหม่เข้ ามาแทนทีอย่างไอโฟน หรือแม้ แต่การใช้รูปแบบการโฆษณาแบบซีทูซ(C2C) ี ทีทํ าให้ ผู ้ บริ โภคเข้ าถึงตรงตั วทีสุ ด หากมีการสร้างสังคมแห่ งการรี ไซเคิลก็เป็ นเรื องไม่ไกลเกินฝันแต่ถ ้ าหาก เกิดรู ปแบบการนําเสนอทีผิดเพี ยนไป ก็ส่งผลในภาพรวมด้ วยเช่นกัน  ฟรี กรี น (Freegreen) เป็ นเว็บไซต์ทีเสนอแบบแปลนบ้ านสี เขียวฟรี ท ั งรูปแบบ บ้ านโบราณและบ้ านสมัยใหม่แต่การให้บริการขึ นอยู่บนค่าใช้จ่ายทีผูป้ ระกอบการกํ าหนดในแบบ แปลน ซึ งอาจจะสร้างความลํ าบากใจแก่ลูกค้ าเกียวกับตั วผลิตภั ณฑ์ทีนําเสนอได้ โดยได้รับแม้ ว่าระดับ การประกันคุณภาพสี เขียวจาก 3 ภาคส่วน คือ LEED และ NAHB และข้ อมูลการวิจ ั ยจากนั นก็จะ ส่ งผ่านไปยั งการรายงานรู ปแบบการใช้พลังงานเพือให้พิจารณา แต่ลูกค้ าก็ต ้ องตามตรวจสอบ รายละเอียดด้วยตนเองด้วย 6.3 อีโค-รีวาร์ ดส์ (Eco-Rewards) การให้รางวั ลเป็ นสิ งทีชืนชอบทั งผู ้ ผลิตและลูกค้ า อยู่แล้ ว ตัวอย่าง  ธนาคารรี ไซเคิล (RecycleBank) ทีรัฐฟิ ลาเดลเฟี ย สามารถทํ าให้ครัวเรื อนได้เงินคืน จากธนาคารรี ไซเคิล โดยรับมาเป็ นคูปองเพือไปแลกซื อของทีร้านโฮลฟู ๊ ด(Whole Foods) ร้านไร้ทเอด (RiteAid) ร้านสตาร์บั คส์ (Starbucks) และร้านค้ าในท้ องถิ นทีเข้ าร่ วมโครงการถังขยะธนาคารรี ไซเคิล


20

โดยแต่ละถังจะติดบาร์โค้ ดประจําถังเอาไว้ เพือให้รถขนส่งได้สแกนรหัสว่าแต่ละบ้ านมีการรี ไซเคิล มากน้อยเท่าไร ยิ งลูกค้ ารี ไซเคิลมาก ยิ งได้รับเงินมากด้ วย ประมาณว่าจะได้เงินถึ35 ง ยูเอสดีต่อเดือน (ประมาณ 1,200 บาท)  นูไรด์ (NuRide) เป็ นธุรกิจร่ วมกัน 8 รัฐในสหรัฐอเมริ กา มีลูกค้ าประมาณ 40,000 ราย ทีต้องจ่ายถึงปี ละ 350 ดอลล่าร์ยูเอสดี (ประมาณ 12,250 บาท) เป็ นโครงการแลกเปลียนเป็ นรางวั ล สมนาคุณลดราคาจากร้านค้ าทีเข้ าร่วมโครงการ ไม่ว่าจะเป็ นการให้บ ั ตรของขวัญ และตั วต่างๆสําหรับ ผู ้ ทีใช้จักรยานในการเดินทางเพือสร้า งแรงดึงดูดใจ ไม่เช่นนันก็ต้องจํากั ดการใช้รถยนต์ลงโดย ผู ้ เข้ าร่วมโครงการต้ องมีการลงทะเบียนการใช้รถ ตั งแต่ต้ นทางถึงปลายทาง และหากมีการเดินทางทีไป ทางเดียวกั นยิ งดี ข้ อมูลเหล่านี จะบั นทึกเอาไว้เพือแสดงสถานะของการใช้รทีถจําเป็ นและชนิ ดรถยนต์ที ใช้ แล้วนําไปเสนอให้ก ับผู ้ ให้การสนับสนุน จําพวกร้านต่างๆ ทีเข้ าร่วมโครงการ ทํ าให้เป้รู้ าหมายของ ลูกค้ าของตนได้ยอย่างชัดเจน นําไปสู่ โครงการแลกเปลียนเป็ นบั ตรสมนาคุณต่างๆ ทั งนี สามารถ ดําเนินการได้ท ั งในระดับชาติและท้องถิ น 6.4 อีโค-บูสเตอร์ ส (Eco-Boosters) โดยทั วไปบริ ษ ัทและลูกค้ าก็ไม่ได้ คิดแตกต่างกันนัก จากเรืองทีต้ องคํ านึงถึงการชดเชยอันเนื องจากสิ งทีส่ งผลกระทบทางลบต่อสิ งแวดล้อมให้น้อยทีสุด ผู ้ ที ก้ าวกระโดดออกมายืนหยั ดโดยให้ความเคารพต่อสิ งแวดล้อมนั นแล้วทํ าให้เกิดการแสดงความมีนํ าใจที แผ่กระจายออกไปด้วย เช่น แทนทีจะเป็ นการปลูกต้นไม้เพิ มขึ นหรือการทํ าความสะอาดเพียงคนเดียว นั นไม่เพียงพอ จํ าเป็ นต้ องสร้างความวุ่นวายให้เกิดขึ นกับตัวเอง แล้วต้ องทํ าให้คนอืนๆ ดูวุ่นไปด้วยถือ ว่าเป็ นผู ้ จุดประกายการสร้างพฤติกรรมทางบวกต่อสิ งแวดล้อม การไว้ วางใจเรื องความยั งยืนหรื อการลดคาร์บอนไดออกไซด์ลงกลายเป็ นจุดเปลียนสําคัญที ไม่ใช่เป็ นจุดจบ หากคิดไปไกลอีกหน่อยว่าแบรนด์ต่างๆ ทีเราใช้กันอยู่นั นเป็ นการจุดประกายทาง สิ งแวดล้ อมเพือลดการทํ าลายโลกลงไปแล้วหรื อยั ง อาจเรียกว่าเป็ นการประชาสัมพั นธ์หรือแสดงความ รับผิดชอบหรือเป็ นทั งสองก็ได้ตราบเท่ากับทีเราได้ออกไปจากแนวทางของเราออกไปสู่ ความเอื อเฟื อ ซึ งกั นและกันแล้วทุกคนก็จะได้รับประโยชน์ร่ วมกัน อันเเป็ นส่ วนหนึ งของอีโคไอโคนิค (Eco-Iconic) 7. อีโค-ซู เปอเรอร์ (Eco-Superior) การตืนตั วทางด้านนวัตกรรมสี เขียวเป็ นสิ งทียิ งใหญ่จริงๆ ไม่เพียง แค่กระแสความเป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้ อมเท่านั นแต่ต้ องมองออกไปถึงหน้าทีหรือเป็ นภารกิจทีต้ องทํ า ด้วย เช่น  บริ ษ ัท ลูนาโร้ด (Luna Road) ได้ผลิตและติดตั งไฟถนนแบบLED แทนทีหลอดไฟตา


21

แมว หลอดไฟของลูนาโร้ดไม่ได้อิงกับไฟรถยนต์เพือทํ าหน้าทีสะท้ อนแสงสว่างเท่านั น แต่หมายความ ว่าหลอดไฟนี ทํ าให้ผู ้ ข ับมีวิสัยทั ศน์ไกลออกไปอีก หลอดไฟพลังงานแสงอาทิตย์ นี อยู่ไ12ด้ ชั วโมงใช้ กับไฟถนน แล้วชาร์ตไฟในตอนกลางวั น8 ชั วโมง  บริ ษ ัท ฟิ ลิปส์ (Philips) ผู ้ นําด้ านผลิตภัณฑ์สีเขียวทีบอกว่าสามารถลดค่าไฟได้20 % ได้เสนอหลอดไฟนิเวศด้วยแนวคิด ไลท์บลอสซัม (Light Blossom) หลอดไฟรุ่นนี ได้เก็บพลังงานและมี โหมดติดตามการปล่อยแสงสว่างทีแตกต่างกันในช่วงกลางวันและกลางคืน ในตอนกลางคืนหลอด แอลอีดีจะเปล่งแสงตามความต้ องการว่าเมือไร ทีไหนผ่านเทคโนโลยีระบบเซนเซอร์ และในช่วง กลางคืนหลอดไฟนี จะเลียนแบบเหมือนการบานของดอกไม้แต่ละกลีบสอดคล้องกับปริ มาตร แสงอาทิตย์ทีได้รับตั งแต่หัวคํ าจนดึก แล้ยวั งสามารถเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ไว้ อีกทั งย ั งสามารถสร้าง พลังงานจากแรงลมได้ ด้วย 8. อีโค-เอ็มเบดด์ (Eco-Embedded) ถือว่าเป็ นจุดเน้นสําคั ญทีได้รับการขนานนามว่า อีโค-พิช-ออฟไมด์ (Eco-Peace-Of-Mind) ได้กล่าวว่า ขณะทีกระแสความตั งใจทีดีในความร่ วมมือกับลูกค้ ามีความเป็ นไปได้มาก ความกั งวลใจทีเกิด จากผลิตภั ณฑ์อีโคนั นขึ นอยู่กับการทํ าการตลาดสิ นค้ าและกระบวนการเน้นยํ าถึงความยั งยืนมากขึ น หากผู ้ บริ โภคไม่ท ันสังเกตก็ได้รับข้ อมูลไม่ครบถ้วน หากพร้อมทีจะให้ข ้ อแนะนําแก่ผู ้ ผลิตเพือทั ง ผู ้ บริ โภคและบริษ ัทได้ช่วยกันหาทางเลือกทีเป็ นหนทางยั งยืนนั นก็คือการช่วยกันค้ นหาวิธีการที เข้ มแข็งไม่ใช่สร้างความเจ็บปวดให้แ ก่ก ัน รวมไปถึงการแทรกแซงของภาครัฐซึ งต้ องอาศัยความกล้ า หาญในความร่วมมือกั นกับหน่วยงานอืนๆ รวมไปถึงการออกแบบและแสดงความคิดเห็นให้แจ่มจรัส ออกมา หรื อไม่ก็ผนวกรวมกันทั งหมดไปทุกภาคส่ วนเลย เพือร่ วมกันหาแนวทางทียั งยืน อย่างเช่น อาคารก่อสร้างแบบสี เขียวหรือการร่ วมกันต่อต้ านการใช้ ถุงพลาสติกหรือลดการใช้รถยนต์ ข นาดใหญ่ที กินนํ ามั นมากเกินไป เป็ นต้ น สิ งเหล่านีเป็ นสิ งทีอยู่ในชีวิตประจําวั นอยู่แล้ว เพียงแค่จะต้ องเลือกว่า ควรจะทํ าอะไรก่อน-หลังเท่านั นเอง ความจริ งกฎเกณฑ์ท ั งหลายนีเป็ นส่ วนหนึ งของแนวอีโค-เอ็มเบดด์ อยู่แล้ ว ได้รับการขนานามว่าเป็ น ฟอร์ท อาร์ (Fourth R=Regulation) โดยใช้หลั กการ 3 ประการเดิม คือ การลด (Reduce) การใช้ ซํ า(Reuse) การนํากลับมาใช้ ใหม่(Reclycle) ทีใช้ในชีวิตประจําวันอยู่แล้ว เพิ มแค่ R=Regulation ตั วหลังเพิ มเข้ าไปเท่านั นเอง 9. การศึกษาแบบอีโค (Eco-Edu) มีโรงเรี ยนมากมายทีเน้นเป้ าหมายไปทีสี เขียว อย่างโรงเรี ยนทีตั งใหม่ ในบาหลีนั นทีเป็ นแนวสี เขียวจากบนลงล่าง


22

 โรงเรี ยนสี เขียว (The Green School) ทีบาหลี จัดว่าเป็ นโรงเรี ยนมีการจัดการเป็ นระบบ แบบออแกนนิก กล่าวคือ มีการปลูกพืชนํ า สวนผั กออแกนนิ กมีไร่ข ้ าวโพดและสวนเกษตรทียั งยืนอยู่ ในสถานศึกษา มีผลกระทบต่อสิ งแวดล้ อมน้อยและใช้วัสดุทีสอดคล้ องกับสิ งแวดล้อม โรงเรี ยนสี เขียว นี เปิ ดตั งแต่ระดับประถมศึกษาถึงเกรดแปด รับเด็กๆ จากทั วทุกมุมโลก ค่าเล่าเรียนอยู่ประมาณ4,000 9,000 ดอลล่าร์สหรัฐ (ประมาณ 140,000-315,000 บาท) ต่อปี (รูปที 18)

รู ปที 18 การศึ กษาแบบอีโค

 ของเล่นเพือการศึกษาสี เขียว เช่นบริ ษ ัท เดอะพาวเวอร์ เฮาส์ บาย เทมส์แอนด์ คอสโมส์ (The Power House by Thames & Kosmos) เสนอบ้ านสี เขียวขนาดเล็กโดยใช้แผงโซลาเซล มี กังหันลมปันไฟเพือใช้แยกนํ อา อกจากเกลือ สนนราคาที 149.95 ดอลล่าร์ยูเอสดี (ประมาณ 5,200 บาท) ชุดอุปกรณ์ขนาดเล็กนี ใช้สําหรับสอนนักเรี ยนบนแนวคิดสี เขียว แล้วยั งสามารถนําไปสอนผู ้ ปกครอง ได้อีกด้วย เพือให้พิจารณาถึงชีวิตทีไม่ต ้ องใช้เชื อเพลิงจากการสร้างประสบการณ์ทีเป็ นจริ ง ทํ าให้เกิด ความร่ วมมือของกลุ่มผู ้ ใช้ในทิศทางเดียวกัน การใช้เทคโนโลยีขึ นสู งทีไม่ได้สอดคล้องกับชีวิตบนเกาะ เล็กๆนี จะอยูไ่ ม่ได้ จํ าเป็ นต้ องจํากั ดการใช้ทรัพยากรลงเพือความอยู่รอดของทุกคนบนเกาะ โครงการนี จึงได้รับการตอบรับจากชุมชนกว่า 20 หลังคาเรื อน และยั งมีลูกค้ าอีก 70 รายทีกําลังอยู่ในระหว่างการ ทดลองใช้อุปกรณ์นี เพือให้เป็ นส่ วนหนึ งของการทํ าต่อๆกันจนเพือเป็ นโครงการนําร่ อง คาดว่าจะมี ของเล่นใหม่ๆทีเป็ นสี เขียวอาจจะบิดเบี ยวไปบ้ าง ไม่เพียงแต่ว ั สดุทีใช้(หรื อจะเป็ นพลังงานแสงอาทิตย์ ก็ตาม) แต่ก็ย ั งคงช่วยเป็ นจุดประสงค์สีเขียวได้ไม่มากก็น้อย 10 . อีโค-ทรานเซนท์ (Eco-Transient) แนวอีโคแบบชั วคราว ในฐานะทีผู ้ บริ โภคเป็ นแนวอีโคแบบชั ว ครั งชั วคราวการหลีกเลียงสิ งต่างๆทีส่ งผลกระทบต่อสิ งแวดล้ อมค่อนข้ างจะปฏิบ ั ติได้ยากและตึงเครี ยด เกินไป แล้ วเมือเจอกับสิ งของเหล่านี ก็พบว่ามีราคาแพงสุ ดๆไปด้วยแล้ ว ก็จะยิ งทํ าให้เป็ นสิ งทีน่าเบือ ดู


23

มีความยุ่งยาก แล้ วก็มโี อกาสล่าสมัยเร็วเหมือนกับสิ งของอืนๆได้เหมือนกั น แล้วยั งต้ อรงักษาสภาพ รวมถึงเงินทีจ่ายสู งเกินไปด้วยหากมั นจึงไม่ใช่เพือการอยู่รอดจริงจึงยากทีจะปฏิบ ั ติ ดังนั นแนวอีโคแบบ แบบชั วคราวอาจจะเป็ นทางเลือกหนึ งทีส่ งผลต่อสิ งแวดล้ อมทางบวก โดยคิดถึงเรืองการให้บริการและ ใช้สินค้ าให้น้อยลง ตามความจํ าเป็ นเพือความอยู่รอดเท่านั นก็พอ เช่น  ทรานซู เมอร์ (Transumers) เป็ นลูกค้ าทีได้รับการกระตุ ้ น จากประสบการณ์แทนการ บั งคั บตนเองให้เข้มงวดเกินไป มีท ั งจากการสร้างความบันเทิงใจ จากการค้ นพบ จากการสู ้ก ับความเบือ หน่าย เป็ นต้ น กลุ่มนี จะมีวิถีชีวิตทีเป็ นความต้องการแบบชั วครั งชั วคราว มีอิสระจากความยุ่งยากของ การเป็ นเจ้ าเข้ าเจ้ าของลดภาวะความเข้ มงวดลงแล้วแทนทีด้วยขอบเขตความพึงพอใจเพียงระยะสั นๆมี ความปรารถนาเท่าทีพึงปฏิบัติต่อสิ งแวดล้อมได้ดังนั นความเคยชินต่างๆทีเป็ นอยู่ในปัจจุบ ั นทีส่ งผล กระทบต่อสิ งแวดล้ อมก็ย ั งมีอยู่ บางทียากทีจะปรับตัวหากความต้ องการทีเกิดอย่างชั วครั งชั วคราวแต่มี ลักษณะพฤติกรรมของการใช้ แล้วทิ ง ภาพสิ งแวดล้อมทีวางไว้ก็ไม่ได้ช่วยอะไรได้เลย สําหรับความเป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้อมโดยอาศั ยคํ าว่าทรานซูเมอร์ ก็ไม่ได้ไกลเกินจากการ ดําเนินชีวิตประจําวั น อย่างเช่นการแบ่งปันรถยนต์กันใช้ โดยเฉพาะอย่างยิ งการตั งชมรมเพือช่วยเหลือ ซึ งกั นและกันการนั งรถยนต์ไปบนเส้นทางเดียวกันกันหลายๆคนหรื อคาร์พูลนั นเองจากผลการวิจัย แสดงให้เห็นว่าการแบ่งปันการใช้รถ-ใช้ถนนร่ วมกันจะทํ าให้ลดความเป็ นเจ้ าของรถลงถึง7-8 คัน ทีเดียว เพราะการขายรถกับการตัดสิ นใจไม่ซือรถนั นจะเกิดขึ นถึง 2-3 คั นทีเดียว (รายงานจาก: ซีดนี ย ์ มอร์นิง เฮอร์รัลด์ ) อย่างในเดือนมีนาคม 2009 มีองค์ กรการแบ่งปันการใช้รถเกิดขึ นกว่า1,000 เมืองทั ว โลกทํ าให้ยอดขายรถลดลงอย่างเห็นได้ชัด  ในช่วงการจัดงานประชุมรถยนต์สเี ขียวใหม่ (the first Automotive News Green Car Conference in Detroit) วั นที 13 พฤศจิกายน 2008 ทีเมืองดีทรอยท์ นาย คาร์ลอส ทาวาเรส (Carlos Tavares) รองประธานค่ายนิสสัน ได้ประกาศแผนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้ า (Electric car battery leasing options) เพือการพั ฒนาทียั งยืนสําหรับโลกอนาคตในรุ่ นนิสสัน อีวี (Nissan’s EV) แล้วยั งมีแผนการ ส่ งออกจําหน่ายพร้อมกับแบตเตอร์รีนวั ตกรรมใหม่และวิธีการรี ไซเคิลเพือให้ต ัวแทนจํ าหน่ายได้บริการ แบตเตอร์รีสําหรับรถรุ่นนี แก่ลูกค้ า  คอนเน็กบายเฮิร์ต (Connect by Hertz) ได้เสนอการใช้รถร่ วมกันหรือคาร์พูล ในเมือง ลอนดอน แพรีส นิวยอร์ค และอีกหลายๆเมืองทีร่ วมโครงการ โดยการบริ การนี ได้เสนอให้ 180 ไมล์ แรกให้นํ ามั นฟรีต่อวั น และยั งลดราคาส่วนต่างที 8.50-10 ดอลล่าร์ยูเอสดีต่อชั วโมง (ประมาณ 290-350 บาท) ให้อีก รวมทั งมีใบประกันการช่วยเหลือระหว่างทาง การบํ ารุ งรักษาและการทํ าความสะอาด


24

ทั งหลาย ทั งนี สมาชิกสามารถสมั ครจองบริ การนี ได้จากออนไลน์หรือโทรศัพท์ และจะมีป้ายสมาทชิป คอนเน็กคาร์ (Connect Car) ติดไว้ ทีรถ  พอพูดถึงจั กรยาน ก็จะมี ไบซิ (Bixi) ซึ งเป็ นระบบบริการจักรยานสาธารณะของเมือง มอนทรีอ ัล (Montreal) ส่ วนทีแพรี ส เรี ยกว่าบริ การเวลิบ (Velib) เริ มให้บริ การในช่วงฤดูใบไม้ ผลิ การ ใช้อุปกรณ์จั กรยานจะมีป้ายนําทางอาร์เอฟไอดี(RFID tags) เพือให้ผู ้ ใช้ได้ ข ้ อมูลเส้นทางออนไลน์แบบ เรี ยลไทม์ด้ วยระบบโซล่าเซลล์ โดยผู ้ ใช้สามารถจ่ายเป็ นค่าธรรมเนี ยมสมาชิกสําหรับหนึ งปีสนนราคาที 78 เหรี ยญแคนาดา สําหรับหนึ งเดือนราคาที 24 เหรี ยญแคนาดา และวันละ 5 เหรี ยญแคนาดา บริการฟรี ในครึ งชั วโมงแรกของการเดินทาง  ทั งจักรยานและรถยนต์ ไปสู่ การใช้โทรศั พท์บ ้ าง(สําหรับทรานซุเมอร์แล้วโทรศัพท์ จะเป็ นเรื องทีปรับตั วใหม่) ต่อจากนี ไปค่ายโนเกียร์จะปรับยุทธศาสตร์ใหม่ โดยออกโทรศัพท์รุ่น เอ็น 79 แฮนด์เซต (N79 handset) สู่ ตลาดเป็ นรุ่ นทีไม่ต ้ องมีตั วชาร์ตไฟ แนวความคิดนี สําหรับผู ้ บริ โภคที ต้ องการรี ยูส(Reuse) เครื องชาร์ตไฟอันเก่า เพือเป็ นการประหยั ดพลังงานและการลดของเสี ย นีคือสิ งที ทางกลุ่มอียูได้ มองไปทีการบังคั บให้บริษัทโทรศั พท์มือถือใช้มาตรฐานตั วแปลงไฟเพือลดของเสี ยลง 11. การโฆษณาแนวอีโค (Eco-Vertising) ลืมการโฆษณาแบบเก่าไปเลย แล้วเปลียนเป็ นการโฆษณา สิ นค้ าและการบริ การสี เขียวแทน จะทํ าให้การโฆษณาดูไม่เป็ นพิษเป็ นภั ยต่อสิ งแวดล้อมดังนี  สื อบริ ษ ัทเคิร์บ (Curb) ของอังกฤษ ได้เสนอการโฆษณาทีส่ งผลกระทบต่อสิ งแวดล้อม น้อย ด้วยการนําเสนอวั สดุธรรมชาติและความปลอดภัยต่อสิ งแวดล้ อม เช่นบริษ ัทอดิดาสและโฟล์กสวา เกน (Adidas and Volkswagen)ได้ใช้การรณรงค์ ด้วยภาพลั กษณ์เช่นนี ทางเคิร์บเองได้ทํ ารู ปแบบการ โฆษณาด้วยการสร้างสถาปัตยกรรมบนทรายทุกขนาด การสร้างภาพในโครงการต่างๆผ่านบนนํ าตก หรื อไม่ก็ผ่านไปบนรู ปแบบการไหม้ การใช้ โลโก้บนไม้และบนแก้ว รวมทั งการนําเสนอการบริการล๊ อกโกรว์ (Logrow) การตั ดโลโก้ทีมีขนาดกว้ างกว่า 30 เมตรบนสนามหญ้ าแทนการโฆษณาทีใช้ว ั สดุ สิ นเปลือง  เมลลิง เวิร์ท (Mailling Vert) ภายใต้ต ั วแทนของแพรีส ทีบีดับบลิวเอ\เอ็กเซล (TBWA\Excel) เพือบริ การส่ งจดหมายทีก้ าวข้ ามไปสู่ การรี ไซเคิลกระดาษ ผู ้ ร่วมมือในเมลลิง เวิร์ท มี หลักสําคั ญ4 ประการคือ การปกป้ องสิ งแวดล้อมจากการทํ านํ าเสี ยให้บริ สุทธิ และใช้นํ าหมึสารละลาย ก และสารทํ าความสะอาดจากธรรมชาติ , รักษาวัตถุดิบและปกป้ องทรัพยากรธรรมชาติตลอดการใช้ กระดาษซึ งง่ายต่อการรี ไซเคิลหรื อได้มาจากการจัดการป่ าอย่างยั งยืน, การติดตามของเสี ยและใช้


25

พลังงานให้น้อยทีสุดโดยมีเครื อข่ายการขนส่ งทีเหมาะสม,และการตรวจสอบและชดเชยผลกระทบทาง นิเวศในแต่ละขั นของกระบวนการส่ งจดหมายโดยตรง  การพั ฒนาทียั งยืนมั ลติมีเดียของปูเบโก(Multimedia’s Pubeco) ได้แนะนําให้ ผู ้ บริ โภคชาวฝรั งเศสได้ลดผลกระทบต่อสิ งแวดล้ อมจากแผ่นพิมพ์โฆษณาโดยการชักชวน ให้ผบู ้ ริ โภค แค่อ่านโฆษณาจากออนไลน์ก็พอ หรื อรู ปแบบทีลูกค้ าสามารถนําสติ กเกอร์ฟรี ไปติดบนตู ้ รับจดหมายที อ่านว่า”ไม่ต ้ องการแผ่นพั บโฆษณา ขอบคุณ-ฉันกําลังอ่านจากอินเตอร์เน็ตอยู”่ เมือลูกค้ าอ่านโฆษณา จากออนไลน์นี แล้ว ก็ให้ใช้รหัสการส่ งเพือสร้างช่องทางส่ วนบุคคลจากหน้าเว็บทีแสดงการโฆษณานี ได้เลย ผู ้ ขายโฆษณาจะหาจุดกําไรในแต่ละครั งทีเข้ าชมในเว็บไซต์ นั นๆเอง แล้วนําไปสู่ การแปลงเป็ น เงินทีได้จากเจ้ าของสิ นค้ าทีร่ วมหุ ้นโฆษณาต่อไป  สปรังค์ (Spranq) เป็ นบริ ษ ัทสัญชาติดัช ได้พ ั ฒนาอักษรขึ นใหม่เรี ยกว่า อีโค ฟ้ อนท์ (Ecofont) โดยมีการออกแบบเฉพาะเพือขยายแนวทางการใช้ นํ าหมึกและโทนเนอร์ทีประหยั ด หมึกพิมพ์ได้ ถึงร้อยละ20 ของตลับหมึกแบบเดิม สามารถดาวน์โหลดตั วอั กษรได้ฟรี ใช้ได้ท ั งวินโดว์ , แมค โอเอสเอ็ก และลีนุกส์ และงานอืนๆทีขนาดตั วอั กษรระดับ9-10 12. ความคาดหวัง- อีโค(Eco-Expectations) ขอบเขตของผู ้ บริ โภคในแนวนี มีแนวโน้มใหญ่โตขึ นเป็ น ทีเรี ยบร้อยแล้ว และในไม่ช้ าก็จะขั บเคลือนไปสู่ อีโค-อารี นา ด้วย ความคาดหวั งทีกํ าลังทะยานสู งขึ นใน ไม่ช้านี อาจกล่าวได้ว่า ความคาดหวั งทางเศรษฐกิจได้ถูกนํามาเชือมต่อเข้ ากับประสบการณ์ทีผู ้ บริ โภคได้รับข่าวสารที ดีและเป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้อม อย่างเช่นข่าวทีเกิดในประเทศแคนาดาได้ถูกส่ งไปถึงชาวเกาหลีใต้ ทํ าให้ ผู ้ บริ โภคทั งหลายต่า งมีความคาดหวั งในระยะยาวว่าพวกเขาจะสามารถใช้ สินค้ า บริ การ และ ประสบการณ์ทีเกิดสิ งนั นๆทํ าให้เกิดความคาดหวังพร้อมก็จะดํ าเนินอย่างต่อเนืองในระยะยาวด้วย หาก ผ่านการฝึ กตนเองให้เป็ นผู ้ บริ โภคขั นสุ ดยอดทีคํ านึงถึงสิ งแวดล้อม และยึดมั นต่อความเชือในคั มภีร์ไบ เบิล อย่างความเชือเรืองนํ าท่วมโลกเพือนํามาเตือนสติในการดําเนินชีวิต อีกทั งมีแหล่งข้ อมูลทีมี ประโยชน์ ตั วผู ้ บริโภคเองเป็ นได้ท ั งผู ้ ดูแลและเป็ นตัวกรองไปในตั ว โดยจะช่วยให้พวกเขาค้ นพบและ คาดหวังไม่เพียงแค่มาตรฐานคุณภาพเบื องต้ นเท่านั น แต่ต ้ องเป็ นทีสุ ดของทีสุ ดด้วย อีโคทีเกียวกับสิ งของดังกล่าวเมือไม่นานมานี ได้มีการออกแบบทีไม่ใช่เป็ นซูเปอร์เวอร์ชันสี เขียวของทุกสิ งทุกอย่างแต่ผู ้ บริ โภครู ้ได้เองว่าจะค้ นหาสิ งเหล่านี ได้จากทีใด ไม่ว่าจะอยูใ่ นประเทศเดน มาร์คหรื อจีนก็ตาม แบรนด์สินค้ าทีไม่ได้เสนอเวอร์ชันอีโคกํ าลังแพร่กระจายออกไปอย่างกว้ างขวาง


26

หากแต่จะมีรายการสิ งของทีแสดงถึงความคาดหวังแนวอีโคต่างหาก ทีทํ าให้ผู ้ บริ โภคได้พบเห็นทั วไป นับตั งแต่สินค้ เาล็กๆไปจนถึงของเล่นผู ้ ใหญ่ ดังนี  บริ ษ ัทเฉียนเฌ่น (Shenzhen) เป็ นบริ ษ ัทในเครือรถยนต์บีวายดี ได้ประกาศแผนในการ เป็ นผู ้ นําการผลิตรถยนต์ไฟฟ้ าในประเทศจีน ภายในสิ นปี2009 หรื อต้ นปี 2010 นี โดยมีแผนการทีจะ นํารถรุ่ นนี ออกสู่ ตลาดยุโรปและอเมริกาเหนือภายในปี 2011 รถยนต์รุ่นบีวายดี อี6 วิ งทีความเร็ว 300 กิโลเมตรเมือชาร์ตไฟเต็มที สนนราคาที 200,000 หยวน (ประมาณ 29,000 ดอลล่าร์ยูเอสดี หรือ ประมาณ 1,015,000 บาท) ส่ วนรถไฮบริ ด รุ่ น เอฟ 6 ดีเอ็ม ขั บเคลือนด้วยนํ ามั นและไฟฟ้ า สามารถใช้ ไฟบ้ านชาร์จได้ เมือชาร์จไฟเต็มทีจะมีสมรรถนะการเดินทางได้ 100 กิโลเมตร สนนราคาที 150,000 หยวน (ประมาณ 22,000 ดอลล่าร์ยูเอสดี หรือประมาณ 770,000 บาท) บีวายดีท ั งสองรุ่ นมีความ ปลอดภัยมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้ าอืนๆ เพราะใช้เทคโนโลยีแบตเตอร์รีลิเทียมไออน ซึ งรุ่ นบีวายดีได้พ ั ฒนา มาโดยตลอดโดยใช้ไอออนฟอสเฟตเป็ นส่วนหนึ งของอิเลกโทรดเพือเก็บรักษาแบตเตอร์รีป้ องกันการ ระเบิดเนืองจากความร้อนสู งเกินพิก ัดได้  ส่ วนของเล่นผู ้ ใหญ่นั นก็เป็ นสี เขียวด้ วยเช่น เอิร์ทอีโรติกส์(Earth Erotics) ได้ติดป้ าย เน้น “ทํ าจากวั สดุธรรมชาติ” ทีไม่เป็ นพิษเป็ นภัย แต่เป็ นมิตรกับสิ งแวดล้อมบนเตียงนอน ในขณะทีโค โค เดอร์ แมร์ (Coco de Mer) ได้เสนอทางเลือกสําหรับของเล่นผู ้ ใหญ่อย่างยั งยืน รวมถึงไม้ พายทีทํ า ด้วยไม้ งานฝี มือโดยโครงการการค้ าทีเป็ นธรรมในประเทศอินเดีย ในขณะเดียวกันอินเฮอร์ทบู (InHerTube) ได้เสนอบั งเหี ยนม้ าทํ าจากยางรี ไซเคิล100 เปอร์เซ็นต์ เป็ นต้ น  ร้านขายเครื องอุปกรณ์สํานักงาน กรี นดีโปท์ (Green Depot) ได้เปิ ดให้บริ การ ที เมืองแมนฮัทตั นโดยกําหนดวั สดุอุปกรณ์สินค้าการก่อสร้างแบบอีโคทีมีคุณภาพสู ง อย่างเช่นแผงหลอด ไฟฟ้ าก็ทํ าด้วยวั สดุรีไซเคิลจากเรซิ นช่วยให้เจ้ าของร้านได้เปรี ยบเทียบหลอดไฟและสี หลอดไฟเพือวาง แผงควบคุม ในขณะทีซีโร-วีโอซี (Zero-VOC) ทีทาไปบนแผงไฟนั นเป็ นสี เคมีออแกนนิ ก  อินไซเดอร์ ลอนดอน (Insider London) ได้นําเสนอการท่องเทียวแบบกรี น โดยเน้น แนวคิดทีตืนเต้ นกั บการจับจ่ายใช้สอยจากร้านทีเป็ นนวั ตกรรมทียั งยืน ตั วอาคารและรู ปแบบต่างๆใน ลอนดอน ใช้วิธีการเดินและใช้รถสาธารณะเท่านั น  หนันยาง การแว่น (Nanyang Optical) ทีสิ งคโปร์ ได้เริ มต้ นการปรับเปลียนไปสู่แนว อีโค เป็ นแบรนด์ทางสายตา เช่น แว่นลินค์สกิน ( LinkSkin glasses) ทีผลิตจากวั สดุรีไซเคิลไม่มีสาร ตะกั ว เมอร์คิวรี แคดเมียม หรือการเชือมอืนๆอย่างรุ่ น อาร์โอเอชเอส (Ro-HS-complaint) เป็ นต้ น


27

โอกาสของอีโค ทั งผู ้ บริ โภค รัฐ และบริ ษ ัทต่างๆ ได้เริ มตอบรับและเชือมโยงสิ นค้ าและบริ การไปสูค่ วามยั งยืน เพิ มขึ นในฐานะทีเป็ นสิ งท้ าทายสําคัญของโลกปัจจุบ ั น โอกาสต่างๆ กํ าลังขั บเคลือนไปสู่แนวโน้มของ แนวอีโคย่อยๆ ทีค่อยๆปรากฏเด่นชัดขึ น และแนวอีโคใหม่ๆ บางอย่างก็ก ํ าลังเกิดขึ นตามมาเรือยๆ คํ าถามต่อไปนี จะนําทางไปสู่การสร้างโอกาสในแนวทางอีโค  นํากระแสหรื อตั วอย่างจากทีกล่าวมาข้ างต้นใช้เวลาระดมสมอง จากนั นทํ าให้เป็ น ผลิตภั ณฑ์ บริ การ และสร้างประสบการณ์ใหม่ขึ นมา ตามความต้องการและแนวโน้มของลูกค้ า จากนัน ก็สร้างและประดิษฐ์ขึ น  คิดหาแบรนด์ทีนอกเหนือจากทีกล่าวไปแล้ว หรื ออาจจะต้ องเป็ นผู ้ ร่วมหุ้นได้  สนุกกับการคิด ด้วยการวางแผนในการเป็ นเจ้ าของแบรนด์อีโคของตนเอง ให้มีความ สอดคล้ องกับนวั ตกรรมทีว่าด้วยการแลกเปลียนสิ นค้ า-อีโค , อีโค-เซ็ก, อีโค-เศษผ้ า, ของเล่น-อีโค, อี โค-แปลกๆ , อีโค-ทั นสมั ย หรืออืนๆก็ได้ และถ้ าหากว่ามีโอกาสอยู่ในแวดวงโฆษณา ก็ให้เริ มการ โฆษณาทีเน้นแนวการรณรงค์แนวอีโค (รวมทั ง ช่องทางการกระจายแนวคิดสี เขียว และมีการบ่ง ชี ให้เห็นภาพทีชัดเจน) แล้วโอกาสเหล่านี ก็จะอยู่ในมือคุณ สรุ ป แนวความคิดอีโค หรือความเป็ นมิตรต่อสิ งแวดล้ อม ไม่ว่าจะเป็ นสินค้ าและบริการ มี แนวโน้มการเติบโตขึ นเรือยๆ เป็ นผลสื บเนืองจากวิกฤติสิ งแวดล้อมการร่อยหรอและการเสื อมโทรม ของสิ งแวดล้ อม ทํ าให้ภาคธุ รกิจต้ องปรับกลยุทธทางการตลาดเพือให้สินค้ าและบริ การมีความ สอดคล้ องกับวิกฤติดังกล่าวเพือความอยู่รอด นับตั งแต่สินค้าทีจับต้องได้หรือมองเห็นได้ไปจนถึงสิคน้ า ทีเป็ นเรื องของความพออกพอใจหรือเป็ นสิ นค้ าการขายความรู ้สึกทีดีต่อสิ งแวดล้ อมและต่อสังคม เป็ น ต้ น แล้วก็สามารถทํ าตลาดได้ อย่างน่าอัศจรรย์ใจ ทั งนี การตลาดสิ นค้ าทีใช้ ค ํ าว่า อีโไม่ ค ว่าด้วยมุมมอง ใดๆ ก็ตามโดยความหมายของตั วมันเองแล้ว เป็ นเรืองของการรักษ์โลก แต่เมือนําคํ า อีโค มาใช้ ในเชิง ธุรกิจกันจนเกร่ อ ทํ าให้เกิดความหมายใหม่อย่างหลายหลายและผิดเพี ยนไปจากเดิม ซึ งอาจจะเกิดขึ น จากความจริ งใจหรือมีอะไรซ่อนเร้นอยูก่ ็ตาม ก็เป็ นเรืองทีผูบ้ ริ โภคหรือลูกค้ าต้ องหาคํ าตอบถึงทีมาที ไปด้วยตนเอง ก่อนทีจะหลงประเด็นไปบริ โภคสิ นค้ าหรื อบริ การดังกล่าวตามความนิยม โดยไม่รู้เท่าทั น การตลาดในยุคอีโคนี ก็เป็ นเรืองทีน่าเสี ยดายว่าตั วเราเองนั นช่วยกั นรักษ์โลกจริ งดังตั วสินค้ าหรือบริ การ หรื อไม่...คํ าตอบอยู่ทีตัวคุณเอง... .....................................


28

--------. --------. --------. --------. --------. --------. --------.

เอกสารอ้ างอิง (2009). “Eco-Bounty from eco-frugal to eco-metering, future profits will be green” Retrived May 30, 2010, from http://trendwatching.com/trends/ecobounty/ (2008). “ Eco-Iconic”. Retrived May 30, 2010, from http://trendwatching.com/trends/ecoiconic.htm (n.d.). ”Status Stories”. Retrived May 30, 2010, from http://trendwatching.com/trends/statusstories.htm (n.d.). “ VEIL solar shade” Retrived May 30, 2010, from http://ecoinnovationlab.com/ppw/52-veil-solar-shade (n.d.). “Welcome to the Crop To Cup Coffee Corner.” Retrived May 30, 2010, from http://www.croptocup.com/ (n.d.). “Icebreaker”. Retrived May 30, 2010, from http://www.icebreaker.com/site/performance/index.html (n.d.). “Greendepot: environmental living and building “ . Retrived May 30, 2010, from http://www.greendepot.com/greendepot/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.