1
ความก้าวหน้ าด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Advancement of Geographic Information Technology ) นุชจรี ท้ าวไทยชนะ Nucharee Taothaichana คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม Summary GIT (Geographic Information Technology) is a new term and not familiar to public as much as GIS (Geographic Information System) in previous years. The term “GIT” is used at first in 1980s and increased in 2000s after the World Trade Buildings were collaped on Sep 11, 2001 ; it was a turning point to use rapidly GIT application. The incident trended to GIT tool and LIDAR increasingly of which was becoming the potential tool for Decision Making Support System of the U.S government. However, the private sector accepted the advancing tool before governments by launching the comercial sattelites that are high apatial resolutions validly and consistently with development of the mainstream of Information Technology (IT) : computer hardwares , different softwares and IT infrastructures that are grown rapidly at that time. The social is gradually changed into new complex sociotechnology structure effected by IT mainstream wave with GIT application immediately. The GIT is brought into real- time processing and visualizing that are connected to global internet networks in which are the synthetic representations. It is said that it is going to shift to the Hypothetical Wave of the Post –Information Technological Revolution. This article aims to present Why it is GIT; Background of GIT advancement; Sample of GIT movement into Clound Computing; New various contents in GIT application; and Many view points of GIT concepts. Keywords: Geogpraphic Information System (GIS), Geographic Information Technology (GIT), Clound Computing, Mainstream of IT, The Hypothetical Wave, The Post –Information Technological Revolution.
2
สาระสังเขป เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรื อจีไอที (Geographic Information Technology) อาจจะ เป็ นคํ าใหม่ทียั งไม่เป็ นทีคุ ้ นเคยเท่ากับ จีไอเอส(Geographic Information System)นัก มีการใช้ ค ํ านี มา ในราวทศวรรษปี 1980s แล้วเริ มมีการใช้มากขึ นในราวทศวรรษ2000s จุดเปลียนทีสําคัญเริ มเมือเกิด การถล่มตึก เวิร์ลเทรดเซนเตอร์ เมือวั นที 11 กั นยายน 2001 มีการใช้เครืองมือ GIT และไลดาร์ (LIDAR)อย่างเข้มข้ น จนทําให้เกิดการสั นสะเทือนในวงการจีไอเอส มาสู่จีไอทีเพิ มขึ น โดยใช้เป็ น เครื องมือเพือการสนับสนุนการตั ดสิ นใจของภาครัฐบาลสหรัฐในครั งนั น แต่ในทางตรงข้ามภาคธุ รกิจ ได้มีการปรับตั วไปก่อนล่วงหน้าแล้ว ไม่ว่าจะเป็ นความก้ าวหน้าด้ านดาวเทียมเพือการพาณิชย์ซึ งมี ความละเอียดทางพื นทีสู ง และสอดคล้ องกับกระแสการพั ฒนาความก้ าวหน้าด้ านเทคโนโลยีไอที ได้แก่ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ทีหลากหลาย และสถาปัตยกรรมไอทีต่างๆ มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็ นกระแสหลั กไอทีซึ งทํ าให้เกิดการเปลียนแปลงโครงสร้างสังคมไปสู่ ความซับซ้อนของ สังคมเทคโนโลยี ส่ งผลกระทบต่อความต้ องการใช้ จีไอทีเพือนํามาเป็ นส่ วนหนึ งของการประมวลผล และแสดงผลได้ทันที มีการเชือมต่อระบบโครงข่ายโลกอินเตอร์เน็ต มีการนําเสนอแบบสังเคราะห์ (Synthetic Representation) เพิ มขึ นอาจกล่าวได้ ว่านี เป็ นจุดเปลียนผ่านทีนําไปสู่ ยุคหลังไอที ใน บทความนี จะนําเสนอในประเด็น ทํ าไมต้ องจีไอทีทีมาของความก้ าวหน้าด้ านจีไอที(GIT) ตั วอย่างการ ก้ าวกระโดดของจีไอทีสู่ คลาวด์คอมพิวติง(Cloud Computing) จีไอทีก ับเนื อหาทีหลากหลาย และ มุมมองจีไอทีในศาสตร์ทีเกียวข้ องต่างๆ คําสําคัญ : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (จีไอเอส) เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (จีไอที) คลาวด์ คอมพิวติง กระแสหลั กไอที ยุคคลืนสมมุติฐาน ยุคหลังปฏิว ั ติเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
บทนํา ความก้าวหน้าด้านจีไอเอส (GIS: Geographic Information System) หรื อระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ได้พ ั ฒนาและปรับเปลียนอยูต่ ลอดเวลา ประกอบกับทศวรรษทีผ่านมา ระบบจีไอเอสได้ มีการ ปรับเปลียนไปสู่ รูปแบบใหม่ มีความแตกต่างจากอดีตอย่างชัดเจน กล่าวคือได้มีการขั บเคลือนไปสู่ กระบวนการทางรู ปแบบ (Process models) มากขึ นโดยรวมเอา อัลกอริ ทึม และ การแก้ ปัญหาแบบไม่มี รู ปแบบตายตัว (Algorithms and Heuristics) เข้ามาเป็ นส่ วนหนึ งของระบบสนับสนุนการตั ดสิ นใจ อยู่ บนพื นฐานความต้ องการของผู ้ ใช้เป็ นสําคัญ และตอบสนองต่อการให้บริ การโดยการเชือมโยงเข้ ากับ เครื อข่ายดิจิตอลไปสู่ เนื อหาทีร้องขอและตรงตามต้ องการ นอกจากนี ยั งมีการเชือมโยงเข้ ากับฐานข้ อมูล และประมวลผลตามเป้ าหมายของผู้ ใช้อย่างแนบเนียนแบบไร้ร่องรอย ถือได้ ว่าเป็ นการนําเสนอ ทางเลือกและรู ปแบบการประมวลผลทีได้จากการแสดงผลแบบการนําเสนอรู ปแบบสังเคราะห์ใหม่ (Synthetic Representation) ทีนํามาเพียงบางส่ วนหรื อทั งหมดก็ได้ด้วยระบบประดิษฐ์หรือจํ าลองขึ นใน ซิลิโก ( Artificial phenomena “in silico”) ก็สามารถสร้างและนําสิ งต่างๆ (Subjects) เข้ าไปสู่การ ทดลองและยั งสามารถฉายภาพจําลองทีเป็ นไปไม่ได้จริ งบนพื นที เพือแสดงผลการสังเคราะห์ภาพ จําลองทีได้ นอกจากนีการประมวลผลทางพื นทีสามารถทํ าให้เห็นเป็ นรู ปร่างตามลั กษณะและมีความ หลากหลาย มีการขั บเคลือนเข้ าไปสู่การบูรณาการศาสตร์ตา่ งๆร่ วมกัน ซึ งอาจจะเรียกว่า จีไอเอสแอนด์ ที (GIS & T: Geographic Information System and Technology) หรื อระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และ เทคโนโลยี เพือสร้างระบบการวิเคราะห์ทางพื นที ( Spatial Analysis ) และการจั ดการข้ อมูล(Data Manipulation) อย่างผสมผสานและกลมกลืน ความก้าวหน้าเหล่านี ได้ท ํมา คี วามแตกต่างจากระบบจีไอ เอส (GIS : Geographi Information Systems) แบบเดิมทีเป็ นเพียงการจัดการรูปแบบข้ อมูล โดยใช้ โครงสร้างการคํ านวณข้อมูล(ราสเตอร์และเวคเตอร์ ) เป็ นหลัก ทีได้จากการเก็บรวบรวม การจัดการ และการแสดงผลลัพธ์ตามชนิดจุดประสงค์ทีแตกต่างกั นไป อันเป็ นลักษณะงานแบบพื นๆทั วไปซึ งต้ อง สัมพันธ์ก ับข้ อมูลแสดงคุณลักษณะทีเกียวข้ อง (Attributes data ) แล้วแสดงผลตามตารางเท่านั น จากประสบการณ์การเรี ยนรู ้ของคนในยุคปัจจุบันทีเข้ าไปเกียวข้องกับภูมิสารสนเทศหรื อจีไอ (GI: Geospatial Information) และเทคโนโลยี (Technology) มีจํานวนเพิ มสู งขึ นเรือยๆ ทํ าให้เกิดความรู ้ ใหม่ๆ จนได้ กลายเป็ นสิ งทีท้ าทายความอยากรู ้อยากเห็นของมนุษย์มากขึ นไปด้วย โดยเฉพาะด้านการ วิจัยและนัก วิจัยด้ าน จีไอไซน์(GI Science) และยีโอคอมพิวเทชั น(GeoComputaion : การคํ านวณทาง พื นที) ถือได้ว่าเป็ นสิ งท้ าทายของสังคมสมั ยใหม่ทีมีความจําเป็ นต่อการประยุกต์ใช้ด้วยวิธีการนี เพือ ช่วยแก้ปัญหาในประเด็นต่างๆ เพือการค้ นหาข้ อดีและประโยชน์อืนๆ รวมไปถึงเพือการจัดการด้าน สิ งแวดล้ อมและความยั งยืนของสังคม จึงทํ าให้ขอบเขตหรื อกรอบงานด้าน GIS ขยายออกไปสู่ แนวคิด
4
GIT (Geographic Information Technology) มากขึ น อย่างไรก็ตามโดยพื นฐานแล้วGIT ประกอบด้ วย งานทางด้าน จีไอ (GI: Geographic Information) ฮาร์ดแวร์จีไอ (GI hardware) และซอฟแวร์จีไอ (GI software) ซึ งเป็ นส่วนหนึ งของอุตสาหกรรมไอที (IT: Information Technology Industry) ทีเกิดจากการ ขั บเคลือนตามความต้ องการของสังคมป็ นหลัก ทําไมต้ องจีไอที (GIT) กว่าจะมาเป็ นคํ าว่า GIT มีพ ั ฒนาการอย่างค่อยเป็ นค่อยไปในหลายลักษณะดังนี เริ มจากคํ าว่า จีไอ (GI: Geographic Information)1 หรื อสารสนเทศภูมิศาสตร์ ซึ งว่าด้วย สารสนเทศทีบอกสถานทีต่างๆบนโลก ให้ความรู ้เกียวกับสิ งทีปรากฏอยู่ และให้ความรู ้เกียวกับ ความสัมพั นธ์ของทีตั งกับสิ งนั นว่าเป็ นอะไรถ้าหากต้ องการรายละเอียดมากไปอีก เช่น สารสนเทศ เกียวกับการบอกตํ าแหน่ งทีตั งของอาคารต่างๆในเมือง หรื อสารสนเทศเทศเกียวกับต้ นไม้ แต่ละต้นใน ป่ า เป็ นต้ น หรืออาจจะใช้เป็ นข้ อมูลอย่างหยาบได้ เช่น บอกสภาพภูมิอากาศสําหรับพื นทีกว้ างๆ บอก ความหนาแน่นของประชากรแต่ละจังหวัดของประเทศ เป็ นต้ น จากตั วอย่างดังกล่าวจะเห็นได้ว่า สารสนเทศภูมิศาสตร์ให้ความละเอียดของข้ อมูลและมีความหลากหลาย ส่ วนคุณลักษณะอืนๆ ของ สารสนเทศภูมิศาสตร์ได้ แก่ เพือบอกลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ ทีส่งผล กระทบต่อการเปลียนแปลงธรรมชาติอย่างรวดเร็ว สําหรับคุณลักษณะอืนๆ ของสารสนเทศภูมิศาสตร์ ยั งเกียวข้ องกับทางสถิติทีสามารถบอกค่าต่างๆลงบนแผนที อีกทั งยั เงข้ าไปเกียวข้ องกับจํ านวนตั วเลข มโหฬารเพือนํามาใช้ในสารสนเทศภูมิศาสตร์ ได้ จากข้ อมูลภาพดาวเทียมระดับ เตตระไบต์(10 12 bytes) หรื อ กิกะไบต์ (10 9 bytes) ของข้ อมูลทีจํ าเป็ นต่อการอธิบายสิ งต่างๆของผิวโลก ไปบนเครื อข่าย เน็ตเวิร์ค ตั วอย่างดังกล่าวมานีถือได้ว่าเป็ นจีไอ คํ าว่าสารสนเทศภูมิศาสตร์ดิจิตอล (Digital Geographic Information ) นั น เนืองจากปัจจุบ ันนี เป็ นโลกดิจิตอลไปหมดแล้ว ข้อมูลทุกอย่างได้ ถูกแปลงเข้ าสู่ รหัส 0,1 หรื อเรี ยกว่า บิต (bits) ไม่ว่าจะ เป็ นคํ า ตั วเลข แผนที รู ป เสี ยง แล้วส่ งผ่านทางเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตและเครื อข่ายอืนๆไปตามชนิด สารสนเทศนั นๆแล้วจั ดการให้อยูในระบบเดี ่ ยวกัน สําหรับการทํ างานของจีไอเอส ในความหมายเฉพาะยั งหมายรวมถึงระบบสารสนเทศ หรื อ IS (Information System) ทีนําไปใช้เพือการจัดการ การสรุ ป การค้ นหา การแก้ไข การแสดงผล โดยทั วไป แล้ว เป็ นการทํ างานทีสอดคล้ องกับการเก็บข้ อมูลสารสนเทศในฐานข้ อมูลคอมพิวเตอร์ และการ ประยุกต์ ใช้ เช่น นําไปใช้เพือการเดินทางการจองตั วเดินทางการสํารองห้องพั กบอกถึงจํานวน 1
Goodchild, Micheal F. (1997) Retrived from http://www.ncgia.ucsb.edu/giscc/units/u002.html
5
นักท่องเทียว เป็ นต้ น หรื อใช้เพือบอกตํ าแหน่ง สถานทีต่างๆ บนโลกโดยอยู่ในรู ปแบบของจํ านวน ตั วเลข( สามารถ บวก ลบ คูณ หาร อืนๆได้) ในรูปแบบข้ อความ (ส่ วนมากใช้ Word Processors ในการ สร้าง แก้ไข และส่งข้ อความ) ในรู ปแบบของรู ปภาพ (คอมพิวเตอร์สําหรับการประมวลผลภาพ) ใน รู ปแบบของรายการหรือ ตาราง (อยู่ในสเปรสชีต) ในรู ปแบบเสี ยง (การสังเคราะห์เสียง) และในรูปแบบ ของแผนทีและอิเมจ (ใช้ระบบจีไอเอส) ทั งหมดนี ต้ องพึ งพาคอมพิวเตอร์ซึ งมีศ ั กยภาพทีง่ายต่อการ จัดเก็บ เรี ยกค้ น สื บค้ น จัดการ ส่ ง รับ ทํ าซํ า และแสดงผล เป็ นต้ น เพราะถ้ าหากอยู่ในรูปของกระดาษ จะยากต่อการจั ดเก็บหรือแก้ ไข ระบบจีไอเอสจึงทํ าให้สารสนเทศต่างๆมีความสะดวกและง่ายขึ น นั นเอง คํ าว่า จีไอไซน์ (GI Science: Geographic Information Science) เป็ นคํ าทีเบื องหลังของคํ าว่า เทคโนโลยี โดยมากจะใช้อ ้างถึงระบบและเทคโนโลยี เป็ นประเด็นหลัก นอกจากนี ยั งมีวิธีการต่างๆ เข้ า มาเกียวข้ องกับจีไอไซน์ ได้ แก่ความรู้เรืองการทํ าแผนที (Cartography) ยีโอดีสซี (Geodesy) โฟโต แกรมมิตรี (Photogrametry) และในทุกวั นนี ยั งมีเนื อหาทีเกียวข้ องกับความรู ้เชิงจิตวิทยา สถิติทางพื นที ในกรอบของ ยีโอเมติกส์ (คํ าว่าGeometics ใช้มากในยุโรปและแคนาดา) และคํ าว่า ยีโออินฟอร์เมติกส์ (Geoinformatics) ก็มีความหมายใกล้เคียงกั นขึ นอยู่กับการนําคํ าเหล่านี ไปใช้ คํ าว่า สเปเทียล (Spatial) และ ยีโอกราฟิ ก (Geographic) ทั งสองคํ านี มีนัยยะทีแตกต่างกันตรงที ยีโอกราฟิ ก มักใช้ในความหมายเกียวกับโลก ลั กษณะพื นทีซึ งเป็ น2 มิติ และสําหรับ 3 มิตินั นมั กจะใช้ กับเรื องบรรยากาศ ทะเล พื นผิวย่อย ส่ วนคํ าว่า ยีโอสเปเทียล(Geospatial)มั กใช้ในกรอบทีมีหลายมิติ (Multi-dimensional frame) อันได้ แก่ หากใช้ในวงการแพทย์ม ั กจะใช้อิเมจแสดงอวั ยวะของร่ างกาย หาก ใช้ในงานดรอว์อิงทางวิศวกรรมก็จะวาดสิ งทีอ้ างอิงถึงกลไกต่างๆ หากใช้ในงานวาดทางสถาปัตยกรรม จะอ้ างอิงเป็ นตึกหรื ออาคาร เป็ นต้ น บางทีเราจะใช้ท ั งสองคํ านี สลับกันไปมา อย่างน้อยทีสุ ดแล้ว ความหมาย ยีโอกราฟิ กจะเป็ นส่ วนหนึ งของสเปเทียล คํ าว่าส่ วนเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือGIT เป็ นเทคโนโลยีทีใช้สําหรับเก็บรวบรวม ข้ อมูลด้ านสารสนเทศภูมิศาสตร์มีอยูด้่ วยกั น3 ประเภท ได้ แก่ จีพีเอส (GPS: Global Positioning System) เป็ นอุปกรณ์ใช้บอกพิก ัดละติจูด/ลองจิจูดทางภูมิศาสตร์จากดาวเทียมกํ าหนดพิก ัดทีโคจรรอบ โลก และรี โมทเซนซิง เป็ นข้ อมูลดาวเทียมหรือข้ อมูลระยะไกลในลักษณะอืนๆ ซึ งได้จากการตรวจจับ สารสนเทศบนพื นโลกและบรรยากาศ มีระดับรายละเอียดหลากหลายไปตามชนิดเซนเซอร์ และช่วง คลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าทีใช้เพือการตรวจวั ดค่า แล้วแปลงช่วงคลืนทีรับได้เก็บไว้ ในรู ปแบบของข้ อมูลภาพ ดิจิตอลหรือเรียกว่า ข้ อมูลอิเมจ(Imagery Data) และสุ ดท้ า ย คือ จีไอเอส (GIS: Geographic Information System) เป็ นระบบทีใช้เพือการนําเข้ า(Input) จัดเก็บ (Storage) จัดการ (Manipulate) และ
6
แสดงผล (Visualize) ของสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในหลายลักษณะโดยอาศัยซอฟแวร์เพือประมวลผล และศั กยภาพของฮาร์ดแวร์ เพือการแก้ปัญหา การตั ดสิ นใจ ให้ความช่วยเหลือ การวางแผน และการ ประยุกต์ ใช้ในด้านต่างๆ ตามจุดประสงค์นั นๆและยั งสัมพั นธ์ก ับการเปลียนแปลงทางด้ านไอที อาจกล่าวได้ ว่าโลกกําลังเปลียนผ่านเข้ าสู่ ยุคหลังไอทีตามแนวคิดซูเปอร์ว ั ฎจักร(Kondratieff Wave) มีด้วยกัน 3 ระยะ คือ ระยะการขยายตั ว การซบเซา และการตกตํ าการเปลียนแปลงระหว่างระยะ ที 1 และระยะที 2 จะนําไปสู่ ยุคแห่งการเปลียนผ่านอย่างมีนัยสําคั ญแม้ ว่าแนวคิดซู เปอร์ว ัฎจักรจะเป็ น แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ก็ตาม แต่สามารถนํามาใช้เพือการอธิ บายถึงการปรับตัวและการเปลียนแปลง ของระยะการเปลียนผ่านจาก GIS สู่ GIT ได้ทได้ ี รับผลกระทบจากการเปลียนแปลงของยุคไอทีของแต่ ละช่วง ซึ งในแต่ละช่วงการเปลียนแปลงย่อมมีผลต่อการปรับเปลียนเนื อหา วิธีการ และการบูรณาการ ศาสตร์ต่างๆ อย่างหลากหลายมากตามไปด้วย ลํ าพังศาสตร์เดียวนั นไม่สามารถให้ค ํ าตอบของเหตุการณ์ หรื อปัญหานั นได้อย่างสมบูรณ์ ยิ งถ้ าหากเป็ นผลกระทบวิกฤติหรือมีความรุ นแรงสู ง อย่างเช่น เหตุการณ์การถล่มตึกเวิรล์ เทรดเซนเตอร์ เมือ 11 กันยายน 2001 ยิ งทํ าให้เกิดการเปลียนแปลงเนื อหา ของศาสตร์ทางพื นที ไปสูก่ ระแสการเปลียนแปลงและการเติบโตของ GIT อย่างรุ ดหน้าไปอย่างไม่เคย เป็ นมาก่อน ทั งนีสามารถจํ าแนกยุคการเปลียนผ่านต่างๆดังนี2 1. ยุคการปฎิว ัติการเกษตร-การเงิน เกิดขึ นในช่วงปี 1600-1780 2. ยุคการปฏิว ัติอุตสาหกรรม ช่วงปี 1780-1880 3. ยุคการปฏิว ัติเทคโนโลยี ช่วงปี 1880-1940 4. ยุคการปฏิว ัติวิทยาศาสตร์ ช่วงปี 1940-1985 5. ยุคการปฏิว ัติการสือสารและสารสนเทศ ช่วงปี 1985-2015 ซึ งเริ มถึงจุดอิ มตั วในปี 2010s 6. ยุคคลืนสมมุติฐานของยุคหลังการปฏิวั ติเทคโนโลยีสารสนเทศ(The Hypothetical Wave of the Post –Information Technological Revolution ) คาดว่าอยู่ช่วงปี 2015-2035? นักวิชาการด้ านไอทีและสาขาทีเกียวข้ องได้ กล่าวว่าเทคโนโลยีต่างๆส่งผลกระทบโดยตรงต่อ สังคมและทํ าให้เกิดการเปลียนแปลงโครงสร้างทางสังคม จากแต่เดิมสังคมเคยใช้เทคโนโลยีเป็ น ทางเลือกหนึ งเพือทํ าความเข้ าใจความสัมพั นธ์ระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบสังคมที เสือมถอย ลง มาบั ดนี เทคโนโลยีสารสนเทศกลับทํ าหน้าทีไม่ใช่แค่เพียงองค์ประกอบทางกายภาพ เพียงอย่างเดียว แต่กลับเป็ นเครื องมือสําคั ญในการสร้างความสัมพั นธ์ต่อกันภายในสังคมเดียวกัน และกลายเป็ น ประดิษฐกรรมของสังคมไปพร้อมกั นอย่างแยกไม่ออก หรื ออาจจะเรี ยกว่าเป็ นสังคมเทคโนโลยีทีมี 2
Retrived from http://en.wikipedia.org/wiki/Kondratiev_wave
7
ความซับซ้อนยิ งขึ น(Complex Sociotechnical Systems) ประกอบด้วยเนื อหาต่างๆ ได้ แก่ มติข ้ อตกลง และการยอมรับของหน่วยงานกับสังคม การฝึ กอบรมบนเครื องมือไอที และกํ าหนดนโยบายต่างๆ ส่ งผ่านเครือข่ายไอที ล้ วนมีอิทธิพลภายในสังคมผ่านทางเทคโนโลยีสมั ยใหม่ ซึ งสามารถนําเนื อหา ต่างๆมาจั ดการในบริ บททีแตกต่างออกไป กํ าหนดบทบาทต่างๆของคนในสังคม ผูม้ ีส่วนได้-เสี ยต่างๆ หน่วยงานวิจัยและพัฒนา ความร่ วมมือระหว่างกันหน่วยงานรัฐทุกภาคส่วน และกลุ่มผู ้ ใช้ทีกํ าลัแสดง ง บทบาทในสังคมไอทีมากขึ น ทั งหมดนีมีส่วนในการกําหนดทิศทางว่าเทคโนโลยีจะเข้ ามาเป็ นระบบที สัมพันธ์ก ับความซับซ้อนในบริ บทของสังคมและวั ฒนธรรมอย่างกลมกลืน นี คือการก้าวไปสู่ ยุคหลังไอ ที ส่ วนด้ านเทคโนโลยีก็ต ้ องเสริ มศั กยภาพทีจะสร้างโครงสร้างสังคมสมัยใหม่ขึ นมาด้วย โดยทีสังคม กํ าลังคิดกํ าลังออกแบบ และกําลังใช้เทคโนโลยีอย่างเข้ มข้ นในขณะนี ตั วอย่างหนึ งทีเห็นได้ชัดเจนคือ ภายหลังเหตุการณ์ 11 กันยายน 2001 ทํ าให้เกิดการรวมตั วของนักวิชาการ นักธุรกิจ หน่ วยงานภาครัฐ และประชาชาน เอ็นจีโอ และหลายภาคส่ วนได้เข้ ามาศึกษาเหตุการณ์ดังกล่าวได้มองภาพการ เปลียนแปลงทีจะเกิดขึ นในระยะสั นและระยะยาว เพือตอบสนองต่อนโยบาย การออกแบบองค์กร และ ระบบเทคนิ ค เป็ นการบูรณาการศาสตร์และผูร้ ู ้ในทุกภาคส่วนทํ างานร่วมกั นอย่างทีไม่เคยเห็นมาก่อน โดยใช้เครืองมือ GIT ประกอบกับข้อมูล LIDAR มาช่วยในการสนับสนุนการตั ดสิ นใจ จึงทํ าให้เกิดการ พั ฒนาในสาขาด้ านการสือสาร สารสนเทศศาสตร์ การจัดการสารสนเทศ กฎหมาย พฤติกรรมองค์กร การบริ หารและนโยบายสาธารณะ นโยบายและการตั ดสินใจ เป็ นต้นเครื องมือระบบ GIT ทีกลายเป็ น เครื องมือสําคัญใช้เป็ นระบบสนับสนุนการตั ดสิ นใจดังกล่าว อันได้ แก่ การนําแนวคิดGIT เพือกํ าหนด สร้างสิ งอํานวยความสะดวกต่างๆ การใช้เป็ นกรอบบรรทั ดฐานและการตีความสามารถฉายภาพหรื อ แสดงผลภาพประกอบพร้อมกับสามารถปรับปรุ งแก้ไข รวมไปถึงกระบวนการการทํ าความเข้ าใจ ร่ วมกั น ทํ าให้ GIT เป็ นเครืองมือทีมีประสิทธิภาพส่ งผ่านไปสู่ สาธารณะให้รับรู ้และสร้างความเข้าใจได้ ทั นท่วงที โดยเฉพาะในเหตุการณ์วิกฤติทีต้ องการระบบการสั งการ และการแจ้งหรื อประกาศ อย่าง รี บด่วนได้ท ั นทีต่อเหตุการณ์ ก็ยิ งทํ าให้ระบบ GIT มีความสําคัญ นอกจากนี แล้วGIT ยั งลงไปสู่ ระดับ ครัวเรือนทีสามารถประยุกต์ใช้ข ้ อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้จากทีบ้ านแล้วกลายเป็ นเครื องมือช่วยใน การตั ดสิ นใจทั นทีและตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉิ นได้ ( A real-time decision –making tool for emergency response) ทีมาของความก้ าวหน้ าด้ าน GIT โลกกํ าลังถูกยุบรวมให้เป็ นเรืองเดียวกั น เพือให้ง่าย สะดวก และรวดเร็วด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ และด้วยการเข้ าถึงสารสนเทศภูมิศาสตร์(Geographic Information) กับการใช้ประโยชน์
8
จําเป็ นต่อการใช้เพือบรรยายปรากฏการณ์ทงหมดทางพื ั นที การมีปฏิสัมพั นธ์ก ับสิ งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ถิ นทีอยู่อาศั ย ซึ งมีความแตกต่างจากข้ อมูลยีโอสเปเทียล(Geospatial Data) ทีค่อนข้ างระบุช ัดเจนกว่า ในความหมายทีว่า “ เป็ นสารสนเทศซึ งจํ าแนกคุณลั กษณะทางตําแหน่ งภูมิศาสตร์และคุณลักษณะของ ธรรมชาติหรื อลักษณะโครงสร้างและขอบเขตของโลก” ตั วอย่างสารสนเทศตํ าแหน่ งทีตั งบ้ าน รู ปแบบ ความหนาแน่นของประชากรในเมือง การกระจายพั นธุกรรมพืชและสัตว์ใกล้สูญพั นธุ์การแสดง สถานภาพทางการเงินตามพื นทีต่างๆ ในประเทศ แบบแผนสภาพภูมิอากาศ แผนทีภูเขานํ าแข็งบริ เวณ ขั วโลกเหนือแบบแผนการเคลือนตั วของลูกค้ ากับซูเปอร์มาร์เก็ตหรือร้านค้ าต่างๆ เป็ นต้ นจากตัวอย่าง นี เรี ยกว่า สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GI: Geographic Information) และมีอีกหลายคํ าทีสามารถทํ า ความเข้ าใจในความหมายเนื อหาทางภูมิศาสตร์ทั งทางตรงและอ้ อม ในขณะเดียวกันก็ใช้เพือการ วิเคราะห์พื นทีทีมีความหมายซับซ้อน ตั วอย่างเช่น เรื องเวลาทีใช้สําหรับการเดินทางนั นไม่จําเป็ น สําหรับการกํ าหนดเป็ นสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ แต่ถ ้ าหากต้ องใช้เวลาเพือการประยุกต์ ใช้ไปสู่ เครื อข่ายการคมนาคมแล้วต้ องถือว่าเป็ นสารสนเทศภูมิศาสตร์ท ั นที ซึ งสามารถช่วยในการหาเส้นทาง การเดินทางทีสั นทีสุ ดได้ นีคือทีมาของการนําข้ อมูลเหล่านี เข้ าไปสู่ระบบทีเรี ยกว่า จีไอเอส(GIS ) นั นเอง ดังทีมิสเตอร์แจ๊ค แดนเยอร์มอนด์ (Jack Dangermond) ผู ้ ก่อตั งบริษ ัท อีเอสอาร์ไอ(ESRI) ซึ ง เป็ นบริ ษ ัทขายระบบจีไอเอสทีใหญ่ทีสุ ดแห่ งหนึ ง ได้ กล่าวถึงการนําข้ อมูลต่างๆไปสู่ระบบจีไอเอส จน เกิดทํ าแผนทีทีหลากหลายและมีการใช้ข ้ อมูลอย่างแพร่ หลายมากขึ นนําไปสู่ การประยุกต์ใช้ในด้าน ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นการบั นทึกข้ อมูลทีดิน สิ งปลูกสร้างในเมือง และอืนๆ ได้หลากหลาย จนกลายเป็ น ส่ วนหนึ งของงานสํารวจทางเศรษฐกิจ-สังคม ทีเข้ าไปเกียวข้ องกับสังคมมนุษย์อย่างมากมาย เช่น การ ให้บริ การทางสังคมต่างๆ เครือข่ายการคมนาคม สถาบั นการเงิน ทรัพยากรธรรมชาติ เป็ นต้ น กว่า 4000 ปี มาแล้วทีเรารู ้จ ักการทํ าแผนทีจากนักเดินทางสมัยบาบิโลเนี ยนและอียิปต์ ซึ งเป็ น แผนทีรังวั ดทีดินผืนต่างๆ ถึงการทํ าแผนทีดินด้วยระบบสมั ยใหม่ด้วยเลเซอร์( The lastest laser-guided systems) โดยนักสํารวจยุคใหม่ นีคือการก้ าวกระโดดไปสู่ เทคโนโลยีจีไอ(GI Technology ) ทีกลายมา เป็ นส่ วนสําคัญต่อนวั ตกรรมของมนุษย์ (ดังรู ปที 1) คํ าว่า จีไอที (GIT:Geographic Information Technology) เริ มใช้มาราวทศวรรษปี 1980s3 และมี ความเข้ มข้ นมากขึ นในราวทศวรรษ2000s อันเนืองมาจากการเติบโตของการผลิตและขายซอฟแวร์ สําเร็ จรู ปอย่างมากมาย รวมไปถึงซอฟแวร์ด ้ านจีไอเอส(GIS) ทีถูกสร้างและนํามาใช้เป็ นงานพื นฐาน จากผู ้ คนมากมายด้วย จนทํ าให้เกิดการแพร่ กระจายไปสู่การตลาดจีไอเอส และตามมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั งนี ทํ าให้นักภูมิศาสตร์และนักสิ งแวดล้ อมได้สูญเสี ยความเป็ นผู ้ นําในด้านนีโดยปริ ไป ยาย อีกทั งต้ อง 3
Roche,
Stéphane. (1983). Retrived from
http://cybergeo.revues.org/index1983.html
9
ปรับตั วเองเข้ าไปสู่สาขาใหม่ด้าน จีไอที กันอย่าเงข้ มข้ นอีกด้วยทํ าให้เกิดมีผู้ ใช้หน้าใหม่ๆ เข้ ามาสู่ วงการนี อย่างต่อเนืองหลากหลายสาขาอาชีพ โดยทีไม่จําเป็ นต้ องผ่านการฝึ กฝนการใช้งานGIT หรื อ วิชาทีใกล้เคียงมาก่อนแต่อย่างใด อย่างวิชาสํารวจ การทํ าแผนที ภูมิศาสตร์และการวางแผน เป็ นต้ น คน เหล่านี ก็ย ั งสามารถใช้งานGIT ได้โดยง่าย4
สั งคม
อุตสาหกรรมไอที จีไอ
ฮาร์ ดแวร์ จีไอ
ซอฟแวร์ จีไอ
รูปที 1 ปัจจัยภายนอกส่ งผลกระทบต่อองค์ประกอบภายใน ได้ แก่ สารสนเทศภูมิศาสตร์ ฮาร์ ดแวร์ จีไอ และ ซอฟแวร์ จีไอ คลืนการพั ฒนาเทคโนโลยีกว่า 30 ปี ทีผ่านมา ท่ามกลางการเครื องมือทีมีความหลากหลายและ นํามาใช้เพือวิเคราะห์พื นทีมีเป็ นจํ านวนมาก ข้ อมูล/สารสนเทศทีบอกระบบอ้างอิงทางพืนทีโลกเพียง อย่างเดียวนั นไม่เพียงพอต่อการประยุกต์ ใช้ในรู ปแบบเดิมๆ อีกต่อไป ไม่เหมือนกับโลกอินเตอร์เน็ต จดหมายอิเลกทรอนิ กส์ ระบบสนับสนุนกลุ่ม และเทคโนโลยีทีสัมพั นธ์อืนๆ ซึ งส่ งผลกระทบทางตรง ต่อผู ้ ใช้ ได้ กลายมาเป็ นองค์ประกอบหนึ งของวิธีการสื อสาร เทคโนโลยียีโอสเปเทียล (Geospatial Technology) อันเป็ นเครืองมือทีมีความจํ าเพาะเพือการวิเคราะห์และใช้เพือการตั ดสินใจในยุคนี ดังนั น 4
Sanjay Rana, Jayant Sharma. (2006). Retrived from http://www.springerlink.com/content/ h14267v806t51576/ fulltext.pdf
10
คํ าว่า GIS ค่อยๆ กลายเป็ นประวั ติศาสตร์ทีใช้อุปกรณ์ต ั งแต่ เข็มทิศ ไปจนถึงฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ ข้ อมูล ทางภูมิศาสตร์ คน แล้วนํามาจัดหมวดหมู่ต่างๆ นํามาบูรณาการทํ างานร่วมกั นเพือวิเคราะห์สิ งต่างๆ ซึ ง มีผลต่อการตั ดสินใจ หากจะมองให้ช ั ดขึ นนั นคือการผนวกเอาGIS , GPS ,ภาพถ่ายทางอากาศ เทคนิค รี โมทเซนซิ ง และข้ อมูลสเปเทียลทีสัมพั นธ์ก ับข้ อมูลเพืใอช้สําหรับการตั ดสิ นใจรวมเข้ าด้ วยกันมีการ จัดเรี ยงเครืองมือเหล่านี เข้ าด้วยกัน ภายใต้ การทํ าความเข้ าบนหลั ใจ กการ รู บริ กจีไอที (Rubric of GIT) นักวิชาการทางด้ านสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้นําแนวคิดGIT ทีครอบคลุมเรืองยุทธวิธีความสามารถใน การตั ดสิ นใจเชิงพื นทีเพือการจั ดการองค์กรภาครัฐไม่ว่าจะเป็ น การวางแผนพั ฒนาทางเศรษฐกิจ, ทรัพยากรนํ า การเกษตร พลังงาน วั ฒนธรรม ทีดิน และแร่ ธาตุ, การจัดการสิ งแวดล้อม การจัดการป่ า ไม้ ธรณีวิทยา สาธารณสุข การวางแผนการใช้ทีดิน ความปลอดภัยของสังคม การบริ การสังคม การ ขนส่ ง การจัดการของเสี ย สาธารณูปโภค การจัดการและอนุรักษ์สัตว์ป่า เป็ นต้ น ส่วนทางด้ านธุ รกิจ และองค์ กรทีไม่แสวงหาผลกําได้ โดยเฉพาะอย่างยิ งองค์ กรของรัฐในระดับต่างๆ ต้ องเข้ ามาเกียวข้ อง กับ GIT เพือเข้ าสูก่ ระบวนการปรับปรุ งองค์กร อย่างไรก็ตามในช่วงหลายปี ทีผ่านมา ความสามารถของ เครื องมือสําหรับงาน GIT เป็ นเรื องยากทีจะเข้ าถึงข้ อมูลทางพืนทีได้ เนืองจากมีราคาสู ง และอีกประการ หนึ งคือด้วยคุณลักษณะของเครืองมือ GIT ทีมีความหลากหลายและแตกต่างไปจากเทคโนโลยีอืนๆ และจํ าเป็ นต้ องอาศั ยความชํ านาญหรื อการจัดการแบบเฉพาะจึงทํ าให้ข ้ อมูลยีโอสเปเทียลมี ลักษณะเฉพาะตามไปด้วย พร้อมกับมีล ักษณะการความสัมพันธ์เป็ นพหุการใช้และพหุความสัมพันธ์ (Multiple uses and Multiple relationship) ร่ วมกับข้ อมูลและเทคโนโลยีทีต้ องอาศั ยจากหน่วยงานอืนๆ เข้ ามาทํ างานประมวลผลร่ วมกันด้วยอุปสรรคและเหตุผลดังกล่าวนีได้กลายเป็ นสิ งท้ าทายทีจะต้ องทํ า ให้บรรลุผลและประยุกต์ใช้ให้ได้ อย่างไรก็ตามสิ งเป็ นความท้ าทายเกียวกับการใช้ ข ้ อมูลยีโอสเปเทียล นั นก็คือ ขอบเขตของข้ อมูลทางภูมิศาสตร์ อาจจะมีความเหมาะสมต่อการบริ หารจั ดการจากองค์ กร ต่างๆ โดยการซ้อนทั บข้อมูลภูมิศาสตร์ก ับข้ อมูลทางสังคมอืนๆ แต่อุปสรรคอยู่ตรงทีการจัดการซึ งทาง องค์ กรเหล่านั นต้ อเงป็ นระบบทีมีความสามารถในการแบ่งปันข้ อมูลซึ งกันและกันได้บนมาตรฐาน ข้ อมูลแบบเดียวกัน บางหน่วยงานนั นอาจจะไม่มีข ้ อมูลทีดีพอทีจะหาเป็ นเจ้ าของได้เอง หรือข้ อมูล อาจจะมีราคาสู งเกินไป ประกอบกับมีข ้อจํากั ดของระบบปฏิบ ั ติงาน ขาดเครื องมือ ขาดการแนะนํา และ อืนๆ เป็ นต้ น อาจจะกล่าวได้ว่าการเติบโตของ GIT อย่างเป็ นรู ปเป็ นร่ างมาตั งแต่ภายหลังการถล่มตึกเวิลด์ เทรดเซนเตอร์ เมือ 11 กั นยายน 2001 เป็ นต้ นมา ทีทํ าให้การวิเคราะห์ข ้อมูลทางพื นทีแบบเดิมไม่ สามารถช่วยในการสนับสนุนการตั ดสินใจให้แก่ภาครัฐได้ อย่างเพียงพอ ความจริ งก็คือบทบาทของ สารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือจีไอ (GI: Geographic Information) และการผนวกการทํ างานร่ วมกับ
11
เทคโนโลยีต่างๆ เพือตอบสนองแบบทั นท่วงทีต ้ องทํ าความเข้ าใจได้อย่างรวดเร็วซึมีงความเหนื อกว่า การผลิตแผนทีแบบเดิมไปจนถึงการใช้เข็มทิศแบบเดิมๆ ก็ไม่เพียงพออีกต่อไป จําเป็ นต้องมีการ ปรับเปลียนไปสู่ เทคโนโลยีใหม่ๆดังกล่าวอย่างสอดคล้องและให้การประมวลผลทั นทีท ันใด สามารถ บอกสถานการณ์ฉุกเฉินได้ และภายหลังจากเหตุการณ์ 11 กันยายน 2001 ทางหน่วยงานภาครัฐได้ออก กฎหมายมารองรับระบบ GIT ในการเข้ าถึงข้ อมูล การนํามาใช้ และกฎหมายหรือระเบียบทีเกียวข้ อง อืนๆ แล้วทํ าให้เกิดชุมชน GIS ได้ตอบรับอย่างทั นที แล้วมีการปรับตั วอย่างรวดเร็ว ทั งในหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน จึงทํ าให้มีการแลกเปลียนความรูต้ ่อกัน มีการใช้ระบบและเทคโนโลยีร่วมกันอย่างที ไม่เคยมีมาก่อน มีแลกเปลียนเรี ยนรู ้ซึ งกันและกันก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานทาง GIT อย่างทะลั ก ทลาย ซึ งอาจเรี ยกว่าเป็ นยุคเบ่งบานทางนวั ตกรรมเทคโนโลยีGIT ก็ว่าได้ เพราะ GIT สามารถปรับให้ สอดคล้ องกับนวั ตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆในฐานะทีใช้ความก้าวหน้าเทคโนโลยีนีเป็ นส่วนหนึ งใน ชีวิตประจําวันไปแล้ว ท้ ายทีสุ ดGIT ได้ก ้ าวออกจากเส้นทางของการให้บริการความเป็ นเครืองมือทีให้ความสัมพั นธ์ ของจุดอ้ างอิงทางพื นที ไปสู่ เครืองมือเพือการตั ดสินใจในสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ยิ งไปกว่านั นผู ้ นํา ของหน่วยงานของรัฐได้เห็นความสําคั ญของGIT จึงกํ าหนดให้เป็ นศูนย์กลางความสําคัญเพือการ จัดการภัยธรรมชาติและความมั นคงแห่งชาติ จากเหตุการณ์เหล่านี ได้ท ําให้เกิดเป็ นจุดเปลียนสําคั ญต่อ งาน GIT อย่างเป็ นรู ปเป็ นร่างขึ นมาโดยนําเอาเครื องมือ GIT เข้ ามาเป็ นส่ วนหนึ งของระบบปฏิบัติงาน ในชีวิตประจําวัน แล้วยั งไปกระตุ ้ นให้เกิดความต้ องการจ้างงานในสาขาGIT ของภาคเอกชน สถาบั นการศึกษา สถาบันการวิจ ัยมากตามอีกมากมาย5 ในสหรัฐอเมริกานั น การใช้เครืองมือGIT (Geographic Information Technology) เป็ น เทคโนโลยีทีกํ าลังพัฒนาไปอย่างรวดเร็ ว อ้ างจากเว็บทีให้บริ การคํ าปรึ กษา ของกระทรวงแรงงาน ประเทศสหรัฐอเมริ กา พบว่า เทคโนโลยีด้าน จีไอทีไบโอเทคโนโลยี และนาโนเทคโนโลยี ทั ง3 สาขา นี กําลังเติบโตขึ นอย่างรวดเร็ ว ส่ วนGIT ซึ งมาจากฐานวิชาแผนทีและการสํารวจ ได้ถูกนํามารวมเข้ ากับ เทคโนโลยีใหม่ อย่า ง GIS รี โมทเซนซิ ง และ จีพีเอส (GPS) สาขาเทคโนโลยี จีไอที ทํ าให้มีขอบเขตการ ประยุกต์ ใช้อย่างกว้ างขวางแตกต่างจากอดีตซึ งมีเพียงหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา และเอกชน เพียงน้อยนิดเท่านั นทีเป็ นผู ้ ใช้หลัก อย่างไรก็ตามเมือพิจารณาถึงสารสนเทศ(Information) ทีมีมากมาย ทะลักทลายในทุกวั นนี รู ปแบบความก้ าวหน้าของเทคโนโลยีจีไอทีจึงต้องทํ าให้มีความจําเป็ น เหมาะสมสอดคล้องต่อการประยุกต์ ใช้กับทุกสาขาอาชีพ ให้เหมือนกับเป็ นส่ วนหนึ งในชีวิตประจํ าวั น 5
Harrison, Teresa M. and others. (2007) Retrived from https://asis.org/awards/Geographic_Inforamation _Technologies.pdf
12
เช่น เมือเกิดการแพร่ ระบาดโรคซาร์ (SARS epidemic ) ทีไต้ หวั นเมือปี 2003 ทางกระทรวงศึกษาธิการ ไต้หวั นได้ ใช้ GIT ในการแจ้งเตือนภัยฉุกเฉินได้ ท ั นท่วงที เป็ นต้ น6 การใช้งาน GIT อย่างเข้มข้ นที ไต้หวั นได้ กลายมาเป็ นส่ วนหนึ งในชีวิตประจําวั นเช่นกําหนดให้มีการเรี ยนการสอนในโรงเรียนระดับ มั ธยมปลาย และอาชีวศึกษาแล้ วมีเนื อหาทีสัมพั นธ์ก ับการทําแผนทีและสารสนเทศ บนคอมพิวเตอร์ได้ นอกจากนี ทางกระทรวงศึกษาไต้ หวั น ยั งกํ าหนดให้โรงเรี ยนเปิ ดสอนสาขานี เป็ นนฐานของครู พื และ ต้ องได้รับการฝึ กอบรมในสาขานี เพือสร้า งประสบการณ์ใหม่สําหรับใช้ ในการเรี ยนการสอน เป็ นต้ น7 วิว ัฒนาการการประมวลผลข้ อมูลของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และไอทีในทุกวั นนี ทํ าให้เกิด การสร้างสรรค์ของงานปัญญาประดิษฐ์ขึ นจากปฏิบัติการเปิ ดตัวของ จีไอเอส ไปสูโลกกว้ ่ างมากขึ นมี ความเป็ นพลวั ตร การคํ า นวณผลในทั นทีบนเว็บ(Semantic Web) ทีต่อเชือมข้ อมูลและซอฟแวร์ระหว่าง กัน ลองคิดดูเล่นๆ ว่า การออกแบบชั น(Layer) ข้ อมูลของสภาพอากาศโลกในจีไอเอส แล้วยั งสามารถ ออกแบบสภาพภูมิอากาศ พายุ และเฮอร์ริเคน บนชั นข้ อมูลภาพอากาศโลกได้ ทีเชือมต่อเข้ ากับ ศูนย์กลางซู เปอร์คอมพิวติงจากทีต่างๆ ได้ท ั นที ซึ งในยุคที จีไอเอส กํ าลังปรับตั วข้ าไปสู Semantic ่ Web, Virtual Worlds , Computer gaming, Computational social science , Business Intelligence, Cyberplaces , The Emerging Internet of Things และ Newly Discovered Nanospaces หรื อเรี ยกว่า ยุค GIT ก็ได้ โดยสิ งต่างๆ สามารถสร้างและแสดงผลการทดลองหรือฉายภาพให้เห็นได้เสมือนจริ ง ซึ ง อาจจะไม่สามารถเกิดบนพื นทีจริ ง หรือเรี ยกว่าการนําเสนอรู ปแบบสังเคราะห์ (ดังรูปที 3)
รู ปที 2 การนําเสนอข้ อมูล แบบ Synthetic Representation ทีมา : http://www.esri.com/news/arcnews/summer09articles/summer09gifs/p3p1-lg.jpg 6 7
http://english.moe.gov.tw/ct.asp?ctNode=514&mp=2&xItem=7188 http://www.gisedu.geog.ntu.edu.tw
13
ตัวอย่าง การก้าวกระโดดของจีไอที สู ่ คลาวด์คอมพิวติง8 คลาวด์คอมพิวติง (Cloud Computing) เป็ นการปฏิว ั ติวงการไอทีในยุคทีได้ส่งผลกระทบต่อ วงการธุรกิจ และสถาปัตยกรรมไอทีจะต้ องมีการจัดการและปรับตั วอย่างไรนับจากนี ต่อไป และคงหนี ไม่พ ้ นทีคลาวด์คอมพิวติงก็ย่อมส่ งผลกระทบต่อวงการจีไอเอส และผู ้ ใช้งานจีไอเอส อย่างหลีกเลียง ไม่ได้ ทางบริษ ัท อีเอสอาร์ไอ (ESRI) ถือว่าเป็ นธุ รกิจแรกๆ และครองตลาดต่อวงการจีไอเอสมานาน ก็ ยั งต้ องปรับตั วไปสู่ การใช้ คลาวด์คอมพิวติง เป้ าหมายอยู่ทีจํานวนลูกค้ าทีเพิ มขึ นในการเลือกใช้ องค์ประกอบในจีไอเอส ให้เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด ได้ราคาทีเทียงธรรม มีความปลอดภัยต่อการใช้ และตรงตามความต้องการของลูกค้ า การปรับตั วของโปรแกรม ArcGIS จํ าเป็นต้ องนําออกสู่ ตลาดในรู ปแบบคลาวด์คอมพิวติงด้วย รวมทั งการพั ฒนาWeb 2.0 ทีมีความยืดหยุ่นต่อการใช้งานได้ดี ส่ วน ArcGIS Sever และ ArcGIS Online ซึ งเป็ นการให้บริ การแบบเวอร์ช ั นใหม่ๆ ราคาไม่แพงมีความยืดหยุ่นต่อการใช้ สําหรับองค์กร และผู ้ ใช้ ด้วยบริ การคลาวด์อันเป็ นไปตามเงือนไขสัญญากับค่ายอเมซอน (Amazon) ส่ วนทิศทางการ ดําเนินการของ ESRI ต่อไปจะเป็ นการนําเสนอการเข้ าถึงความสามารถเต็มของGIS ใน Cloud Environment ซึ งประกอบด้วย ผู ้ ใช้ทีได้รับอนุญาต(Authoring) การวิเคราะห์ (Analysis) การจัดการ ข้ อมูลพื นที(Geodata Management) การบริ การบนเว็บ (Hosting Web Services) และการประยุกต์ใช้ (Applications) ดังนั นCloud-based GIS จะกลายเป็ นกุญแจสําคั ญทีนําไปสู่การขั บเคลือนระบบงานGIS ในอนาคต ซึ งทาง ESRI จะค่อยๆปล่อยศั กยภาพและความสามารถของระบบบูรณาการนี ออกในปี หน้า (ปี 2011) อย่างต่อเนือง ทั งนี ผู ้ ใช้ArcGIS จะได้บูรณาการความต้ องการลงสูระบบการให้ ่ บริ การแบบคลาวด์ (Cloud Sevices) และเป็ นส่วนหนึ งของการให้บริ การแบบปกติ แต่ผู ้ ใช้จะสามารถสร้างงานจีไอเอส โดยอาศั ย ข้ อมูลภาพรีโมทเซนซิงทีมีรายละเอียดสู งพร้อมใช้ได้ท ั นทีและมีแผนทีทีฐานได้ แก่ แผนทีภูมิประเทศ และถนนให้เลย เช่นเดียวกับการให้บริการทั งเร้าเตอร์ และยีโอโค้ ด(Routing and Geocoding Services) เหมือนทีอเมริกาเหนือและยุโรป นอกจากนี ยั งอนุญาตให้ผู ้ ใช้เข้ าถึงและประยุกต์ใช้แผนทีและบริ การ ข้ อมูลทีทันสมั ยเป็ นปัจจุบั น พร้อมฟังก์ชั นต่างๆ(Functions) โดยไม่ต ้ องเสี ยค่าใช้จ่ายและแรงงานใน การพั ฒนาและรักษาสารสนเทศ แล้วยั งสามารถจัดการทุกอย่างได้จากทีบ้ านนอกจากนี ArcGIS Online ยั งให้ผู ้ ใช้ได้แบ่งปันแผนทีและข้ อมูล และผู ้ ทีอยู่ในสายงานเดียวกัได้นท ํ างานร่ วมกับผู ้ ใช้รายอืนๆซึ ง ผู ้ ใช้สามารถสร้างงานและรวมกลุ่มกันเอง แล้วยั งอัพโหลดรายการต่างๆ เพือแบ่งปันสารสนเทศและ ข้ อมูลซึ งกั นและกัน สิ งนีสามารถสร้างระบบการทํ างานกั นสําหรับโครงการใหญ่ๆได้ ไม่ใช่เพียงแค่ 8
http://www.esri.com/news/arcnews/spring10articles/arcgis-in-the-cloud.html
14
ภายในกลุ่มเท่านั นแต่จะนําออกสู่สาธารณะ ทั งนี ทางESRI จะใช้เป็ นช่องทางให้กับลูกค้ าและผู ้ ขาย ข้ อมูลเชิงธุรกิจ รวมถึงไปถึงการประยุกต์ใช้ แผนทีบนเว็บ ในการให้บริ การแบบวิชวลและสร้างส่ วน เพิมเติม (Visualizing shared services and creating mashups ) มาเรื อยๆ โดยไม่ต ้ องเป็ นโปรแกรมมิงเลย นักพัฒนาสามารถเข้ าถึงArcGIS Web Mapping API ผ่านทาง ArcGIS Online ได้ท ั นที ในช่วงนี ทาง ESRI ได้สร้างเซอฟเวอร์ บน Amazon Machine Images ให้สําหรับ ArcGIS Server โดยใช้ Amazon Cloud Infrastructure การปฏิ บ ั ติการ ArcGIS Sever บน Amazon ซึ งได้รับการ อนุญาตให้องค์ กรต่างๆได้รับประโยชน์จากการให้บริ การ Cloud Service and Features จึงทํ าให้ ความสามารถของ ArcGIS Server ข้ ามศูนย์ กลางการส่ งข้ อมูลออกไปและย ั งสามารถข้ ามไปยั ง สถาปัตยกรรมของอเมซอนทีมีความยืดหยุ่นสู ง (Amazon’s elastic computing infrastructure) จึงทํ าให้ ผู ้ ใช้สามารถเข้ าถึงการให้บริ การArcGIS Server และสามารถใช้งานได้ ตรงตามความต้ องการทั นทีและ รวดเร็ว (ดังรู ปที 4)
รู ปที 4 การทํางาน Cloud Computing ของ ERSI บนโครงสร้ างเซอร์ ฟเวอร์ Amazon ทีมา : http://www.esri.com/news/arcnews/spring10articles/arcgis-in-the-cloud.html การเปลียนแปลงเข้าไปสู ่ เนือหาทีหลากหลาย นักภูมิศาสตร์รวมไปถึงองค์ กรด้ านภูมิศาสตร์ต่างๆ มีภาระทีต้ องอธิบายความสัมพั นธ์ระหว่าง มนุษย์ ก ับโลกเสียใหม่ซึ งเป็ นผลมาจากโครงสร้างทางพื นทีของสังคม (Spatial Structure of Society ) เปลียนไปแล้ว การนําไปสู่ มุมมองใหม่ก ับสิ งทีเกียวข้ องทีมีความหลากหลายมากขึ นทํ าให้เกิดภูมิศาสตร์ สมัยใหม่ (Modern Science of Geography) ขึ น ซึ งประกอบด้วยเนื อหาและความซับซ้อนของโลกทีเรา
15
อาศั ยอยูมากขึ ่ นจึงทํ าให้ยากต่อการอธิ บายความสัมพั นธ์ดังกล่าวมากขึ นไปด้วย ประกอบกับปริ มาณ ข้ อมูลทะลักทะลายอันเป็ นผลจากการค้ นคว้ าตรวจสอบ สิ งใหม่ต่างๆ เป็ นไปด้วยความรวดเร็วและน่า วิตกต่อการทํ าความเข้ าใจความสัมพั นธ์ระหว่างมนุษย์ก ับโลก กว่า50 ปี ทีผ่านมา เป็ นไปไม่ได้เลยทีเรา จะสามารถจั ดการกับข้อมูลในรู ปของแผนทีแต่ละฉบั บทีบรรจุข ้ อมูลเข้ าไปให้มากพอในเวลาอันรวดเร็ว อีกทั งยั งเป็ นการวิเคราะห์พื นทีได้ น้อยอีกด้วยผลทีได้กค็ ือแผนทีดังกล่าวไม่ค่อยมีศ ั กยภาพพอ ผนวก กับมีความผิดพลาดด้ วย จึงนําไปสูค่ ํ าถามทีต้ องการแก้ปัญหาดังกล่าว ซึ งนักภูมิศาสตร์ไม่สามารถทีจะ จัดการได้เพียงลําพั งกับข้ อมูลทีมีทั งความลึกและกว้ าง แล้ วมีปฏิสัมพันธ์ก ั นทางพืนทีก่อให้เกิดรู ปร่ าง ต่างๆ รวมทั งปัจจัยทางสังคม จนไปถึงพฤติกรรมของคนก็มีผลต่อการเปลียนแปลงทางพื นทีทั งนั น จากความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์ในฐานะทีเป็ นเครืองมือด้ านการประมวลผลสารสนเทศและ การพั ฒนางานด้านจีไอเอสได้กลายเป็ นเครืองมือสําคัญต่อนักภูมิศาสตร์ในการทํ างานแผนทีมาเป็ น ส่ วนหนึ งของหลั กการทางภูมิศาสตร์ นับตั งแต่การคิดค้ นกล้ องดูดาวของกาลิเลโอ ทํ าให้เกิดการค้ นพบ ความรู ้ของสวรรค์ แล้วนําไปสู่แนวคิดเรื องการค้ นพบทางอวกาศ จนมาถึงยุคการปฏิวัติกล้องระดับไม โครสโคป (Microscope) ทีใช้ทางด้ านชีววิทยา มีความสามารถและมีรายละเอียดสู งสามารถมองเห็นสิ ง ต่างๆ ในระดับไมครอน จากความก้ าวหน้าของอุปกรณ์ด ังกล่าวจึงนําไปสู่การประดิษฐ์อุปกรณ์สําหรับ ใช้งานทางทางภูมิศาสตร์ด ้วย โดยเฉพาะการนําไปใช้สําหรับการวิเคราะห์ทางพื นทีทีกลายเป็ นสิ ง สําคั ญมากยิ งขึ น เหมือนกับเราได้ขุดหลุมลึกเข้ าไปในเนื อหาความหลากหลายทางพื นที(Spatial Variables) เพือพิจารณาปัจจัยทีส่ งผลต่อการค้นพบสิ งใหม่ๆ ซึ งต้องมีข ้ อแลกเปลียน(Trade-off) ระหว่างความพยายามกั บการค้นหา(Effort and Inquiry) ทีกํ าลังกระโจนไปสู่สิ งทีต้ องการค้นหา ผู ้ ทํ างานด้านนี สามารถทีจะแลกเปลียนแบบแผนการตั ดสิ นใจซึ งกันและกั นได้ดโ ยง่าย ทั งนี ต้ องตระหนัก ว่าข้ อมูลภูมิศาสตร์และจํ านวนผู ้ ใช้ได้เข้ ามาเกียวข้ องหลากหลายแล้ วได้เข้ ามาสู่สาขาภูมิศาสตร์มากขึ น ตามไปด้วย การก้ าวข้ ามของศาสตร์ต่างๆนี ได้นําไปสู่แลกเปลียนความคิดและวิธีการต่างๆ เป็ นไป อย่างรวดเร็ วและกว้ างขวาง เป็ นผลให้สาขาวิชาภูมิศาสตร์ต ้องมีการเปลียนแปลงไปอย่างมีนัยสําคั ญ โดยเฉพาะอย่างยิ งการขยายตัวออกไปสู่การศึกษาภายนอกมากขึ น หมายความว่าสามารถใช้ระบบการ เรี ยนแบบออนไลน์ การวิเคราะห์ข ้ อมูลบนเว็บ เป็ นต้ น วิชาภูมิศาสตร์จึงไม่สามารถทีจะยืนหยั ดเพียง แค่อยู่ในสถาบั นการศึกษาเท่านั นและไม่สามารถตั งอยู่บนหลักการอย่างง่ายๆ แต่ต ้ องสร้างเป้ าหมาย และผลิตกฎเกณฑ์ต่างๆ ทีเกียวข้ องกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ให้มากขึ นเพือนํามาวิเคราะห์พื นทีได้เป็ น อย่างดีด้วย สิ งทีกล่าวมานี นําไปสู่ ความต้ องการอย่างรี บด่วนในการใช้ศาสตร์ทางพืนที (Geographic Science) ของภาครัฐ สังคม และไปจนถึงประเด็นสําคั ญระดับโลกได้ นักภูมิศาสตร์ในยุคต่อนี ไปจึต้ง อง เป็ นผู ้ ทีมีส่ วนเกียวข้ องหลักทีจะทํ าหน้าทีตรงนี ให้เกิดคุณค่าทีสุดตัวอย่างเรื องปรากฏการณ์โลกร้อน ที
16
สาเหตุหนึ งมาจากมนุษย์ ซึ งเรามีความรู ้ทีจะอธิบายน้อยมากว่ามีสาเหตุอะไรทีเกิดจากมนุษย์ จริ งๆ จากนั นจึงนําไปสู่ ค ํ าถามทางภูมิศาสตร์ว่าจะให้ตอบคํ าถามนี ได้อย่างไรโดยนําเรืองวั ฏจักรชีวเคมี ระบบนิเวศ ทรัพยากรนํ า และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ มลภาวะทางบรรยากาศ และ สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เข้ ามาผนวกกันแล้ ว นักภูมิศาสตร์สามารถจะบอกถึงภาวะโลกร้อน โดยการสังเคราะห์ วิเคราะห์ และสร้างแบบจําลองผลกระทบเหล่านี แล้ วนําเสนอแสดงผลให้เห็นได้ เป็ นต้ น เช่นเดียวกับเรืองสวั สดิภาพและความเป็ นอยู่ของมนุ ษย์เช่นการทํ าความเข้ าใจเรื องสุ ขอนามัย ของคน การแพร่ กระจายโรคต่างๆ และ สิ งแวดล้ อมทีส่ งผลต่อสุ ขภาพและการแพร่ ระบาดของโรค ต่างๆ สามารถสร้างวิธีการแก้ปัญหาด้ วยวิธีการทางภูมิศาสตร์ได้ นอกจากนี ในประเด็นทีมีนัยยะสําคั ญ เกียวกับการเข้ าถึงแหล่งบริการสุ ขภาพและการกระจายแหล่งพยาบาลทางพื นทีก็สามารถนําเสนอให้ เห็นได้ เป็ นต้ น โลกาภิว ั ตน์จงึ เรืองปฏิสัมพั นธ์ และบูรณาการท่ามกลางประชาชน เอกชน และรัฐ ของชาติ ต่างๆ ก่อให้เกิดกระบวนการขับเคลือนทางการค้ า การลงทุน และความช่วยเหลือในรู ปแบบต่างๆ ระหว่างกัน โดยใช้ สารสนเทศ กระบวนการโลกาภิว ั ตน์นี ยั งส่งผลกระทบต่อสิ งแวดล้ อม วั ฒนธรรม ระบบการเมือง การพั ฒนาเศรษฐกิจและทรัพย์ สิน รวมไปถึงความการสร้างสิ งอํานวยความสะดวกและ ความเป็ นอยู่ของสังคมทั วโลก ยิ งไปกว่านั น การวิเคราะห์ภายใต้เงือนไขการเปลียนแปลงจากโลกาภิ วั ตน์มีผลกระทบโดยตรงต่อองค์ประกอบทางพื นทีอย่างหลีกเลียงไม่ได้ ส่ วนความปลอดภัยและสวั สดิภาพทางสังคมเป็ นเป้ าหมายหลักของรัฐบาลเป็ นสิ งทีหลีกเลียง ไมได้และเป็ นสิ งสําคั ญทีจีไอทีเข้ าไปเกียวกับกิจการภาครัฐมากขึ น ได้ แการหาความเหมาะสมต่ ก่ อการ สร้างสิ งสวัสดิการต่างๆ ทีเกียวข้ องกับข้ อมูลทางสังคมการเมืองซึ งมีความซับซ้อนมาก และส่ งผล กระทบภายในต่อชุมชนต่างๆไม่เหมือนกัน กลุ่มเศรษฐกิจสังคมทีแตกต่างกัน ก็ต ้ องมีแนวทางการ บริ หารจัดการทีแตกต่างกั นออกไป ด้วย นอกจากนั นเรืองความยั งยืน ถือว่าเป็ นประเด็นสําคั ญในยุคนี ที ยั งคงเป็ นปัญหาทีต้ องหาคํ าตอบอยู่ โดยเฉพาะเข้ าไปเกียวข้ องกับการเปลียนแปลงสภาพแวดล้อมด้วย อัตราเร่งและนําไปสู่ วิกฤติอาหารในทีสุด นักภูมิศาสตร์ได้เข้าไปเกียวข้ องเพือสร้างความเข้ าใจและ แก้ไขปัญหาทีซับซ้อนนี ในหลายมิติโดยใช้การวิเคราะห์ทางพื นทีเป็ นสําคัญ อีกเรื องหนึ งทีสําคั ญทีไม่น้อยไปกว่ากันคือความหลากหลายของกลุ่มทางสังคม ทีมีรูปแบบ ปรากฏบนพื นที การทํ าความเข้ าใจกระบวนการทางสังคมผ่านทางพื นที จะทํ าให้เห็นความหลากหลาย ทางสังคม ความแตกต่างและความไม่เทียมกั น อั นเป็ นกุญแจสําคั ญของรัฐบาลทีจะนําระบบจีไอทีไปใช้ ในการบริหารจัดการของรัฐ อย่างหลีกเลียงไมได้
17
ดังจะเห็นได้ ว่าเนื อหาทางด้ านภูมิศาสตร์มีการปรับตัวไปสู่ ความสัมพันธ์ก ั บศาสตร์ต่างๆ มาก ขึ น อันเป็ นผลมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทีมีการสื อสารถึงกันอย่างรวดเร็ว โครงสร้างเนื อหา และความซับซ้อนของปัญหาทางพื นทีจึงต้ องเปลียนไปด้วยความจําเป็ นในการใช้ระบบเพือช่วยเหลือ ในด้ านการวิเคราะห์พืนทีก็ต ้องนํามาใช้มากขึ น เพือตอบสนองต่อการทํ าความเข้ าใจความซับซ้อนเชิง พี นที จีไอที กับมุมมองของศาสตร์ ทีเกียวข้ องต่ างๆ ดังได้กล่าวมาแล้ วว่า จีไอที(GIT: Geographic Information Technologies) ในสังคมทุกวั นนี เป็ นเพียงส่ วนหนึ งของไอที อาจจะกล่าวได้ ว่ายุคนี เป็ นยุคไอทีทีมีอิทธิพลต่อสังคมในทุกด้าน ได้แก่ การใช้ไอทีในกระบวนการสือสาร กระบวนการเรี ยนการสอน กระบวนการทางธุรกิจ เป็ นต้น ส่ วนใน เนื อหาทีรวมเอาเรื องการออกแบบเข้ าไปเป็ นองค์ประกอบหนึ งของงานไอทีเรื องหนึ งคือ ด้านการบูรณา การทางภูมิศาสตร์และโปรเจคการเชือมโยงไปสู่ มุมมองของสาขาวิชาต่างๆ ได้ แก่ ทางด้านวิศวกรรม ด้านเทคโนโลยี ด้านการคํ านวณ ด้านสารสนเทศ และด้ านการธุรกิจ เป็ นต้ น มุมมองสาขาเหล่านี ได้ ใช้ งานภูมิศาสตร์เข้ าไปทํ างานร่ วมกันมากขึ น การประยุกต์ใช้ จีพีเอส/จีไอเอส/ รี โมทเซนซิ ง ระบบการจั ดการฐานข้อมูล ระบบปฏิบ ั ติการ ฮาร์ดแวร์/เครื อข่าย
รูปที 5 มุมมองด้านไอที และจีไอทีเป็ นส่ วนหนึงของงานไอที ทีมา : http://ncgia.ucsb.edu/education/curricula/giscc/units/u135/figures/figure1.gif มุมมองด้านไอที ได้มองเนื อหาทางเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรื อ จีไอที ประกอบด้วย เทคโนโลยี 3 ชนิดคือ จีพีเอส ( GPS: Global Positioning Systems) , อาร์เอส (RS:Remote Sensing) และ จีไอเอส (GIS: Geographic Information Systems) เครื องมือทั ง3 ชนิดนี มีความจํ าเป็ นต่อการการ กํ าหนดเนื อหาและสามารถจัดการในการบูรณาการกระบวนการทํ างานร่ วมกัน แบบ โอดีพ(ODP: ี
18
Open Distributed Processing) ไม่ว่าจะเป็ นมุมมองด้านเทคโนโลยี การจัดการสารสนเทศ และการ จัดการเชิงธุ รกิจ หากจะมองในมุมในโลกไอทีจะสามารถจัดระดับงานของจีไอที เป็ นส่ วนหนึ งของ ระบบงานไอที (ดังรู ปที 5) เพราะแนวโน้มจีไอที จะมีความสัมพันธ์ก ับอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ และมี ผลต่อโครงสร้างสถาปัตยกรรมเซิร์ฟเวอร์ของผู ้ ใช้, เว็บเทคโนโลยี, โมเดลสิ งต่างๆ, องค์ประกอบของ ซอฟแวร์จีไอเอสและมาตรฐานอุตสาหกรรมเอพีไอ, การเติบโตการใช้ระบบปฏิบัติการ32 บิตใน วินโดว์ และเอ็นที เป็ นต้น การจัดการสารสนเทศสิ งแวดล้อม ข้ อมูล
สารสนเทศ การจัดระบบข้ อมูล การเผยแพร่ ประเด็น /การตัดสิ นใจ การรวบรวมข้อมูล การนําเสนอ / การวิเคราะห์
ระบบการ จั ดการ ฐานข้อมูล
แนวคิด
การประยุกต์ ใช้
การแปลงไปสู่
-จีพีเอส -แผนที ก้ าวหน้า -ผู ้ รวบรวม ข้ อมูล
ฐานข้ อมูล
การแปลงไปสู่
เครื องมือ
-จีไอเอส -การ ประมวล ผลตั วเลข
การแปลงไปสู่
สิ งแวดล้ อมภายนอก
-อินเตอร์ เน็ต -การทํางาน บนจีไอเอส -ระบบ เชี ยวชาญ
ออกแบบ พั ฒนา ตั ดสิ นใจ
คุณภาพของข้ อมูล มาตรฐานข้ อมูล การเข้ าถึงข้ อมูล ความเป็ นเจ้ าของ ความปลอดภัย การใช้ ทรั พยากร: ป่ าไม้ การอนุรักษ์ :
ประมง การใช้ทีดิน
เกียวกั บพื นดิ น
เกียวกั บทะเล
เทคโนโลยี
การคมนาคมขนส่ ง นํ าจืด
รู ปที 6 มุมมองการจัดการสารสนเทศ ด้ านสิงแวดล้อม ทีมา: http://ncgia.ucsb.edu/education/curricula/giscc/units//u135/figures/figure2.gif
ประเด็น
การ ประยุกต์ใช้
19
มุมมองในด้ านการจัดการสารสนเทศ ได้มองงานจีไอทีเป็ นเครื องมือในการช่วยตอบคํ าถาม หรื อช่วยในการตั ดสินใจ ดังรู ปที5 แสดงถึงสารสนเทศเพือการจัดการสิ งแวดล้อม โดยใช้ระบบ จีไอที (ได้แก่ จีพีเอส รี โมทเซนซิง และจีไอเอส) ในเนื อหาทีสัมพันธ์ก ับแนวคิด เทคโนโลยี ประเด็น และ การประยุกต์ ใช้ มุมมองด้านองค์กร ทุกวันนี ปัญหาการจั ดการสารสนเทศถูกวางกรอบจากภูมิศาสตร์บนพื นที อย่างเช่นการกํ าหนดเขตแผนทีจัดการพื นทีป่ าไม้ เพียงอย่างเดียวนั นไม่เพียงพอ จํ าต้ องปรับเปลียนไปสู่ การพั ฒนาและการใช้แบบก้ าวหน้า ด้วยระบบสนับสนุนการตั ดสินใจเพือการจัดการป่ าไม้ แบบยั งยืน ต่อไป และต้ องทํ างานร่วมกั นระหว่างรัฐ อุตสาหกรรมป่ าไม้ กลุ่มผู ้ ใช้ข ้ อมูลนี ภายใต้ การกํ าหนดปัญหา ร่ วมกั น แสดงจุดประสงค์ในการใช้เครื องมือไม่ว่าจะเป็ น จีไอที หรือ ไอที ก็ตาม ต้ องนํามาใช้เพือ จุดประสงค์การจั ดการร่ วมกัน ตั วอย่างดังรู ปที6 เนืองจากสังคมมีความซับซ้อนยิ งขึ น ระบบงานจีไอทีต ้ องใช้ในการขับเคลือนสังคมไปสู่ การ จัดการในองค์ประกอบต่างๆทุกส่วน ดังนี 1. สําหรับภาคสาธารณะ ผลกระทบต่อเทคโนโลยีจีไอที ได้ แก่ในด้ าน การเปลียนแปลงในการ สํารวจ (เป็ นระบบข้อมูลดิจิตอล) จีไอทีบนเว็บ ระบบนําร่ องทีติดไปกับรถยนต์เป็ นต้น 2. สําหรับองค์กรไม่แสวงผลกํ าไรทีใช้ระบบจีไอที ในด้านต่างๆ ได้แก่ กลุ่มสังคมกับคุณค่าและ ผลประโยชน์เพือความเป็ นอยู่ทีดี การค้ นหาการใช้เทคโนโลยีเช่นเดียวกับหน่ วยงานภาครัฐ ความ ต้ องการเข้ าถึงแหล่งข้ อมูลดิจิตอลและมาตรฐานแบบแผนวิธีศึกษา 3. องค์ กรของรัฐ ทีใช้ระบบงานจีไอที ได้ แก่ ส่วนทีเป็ นภาครัฐ จังหวัด เทศบาล ตํ าบลส่ วนที เป็ นแต่ละหน่วยงานต้องมีการจั ดการสารสนเทศ แต่ละหน่วยงานต้ องใช้มาตรฐานเดียวกัน ในเรื อง คุณภาพ การเข้ าถึง ความเป็ นเจ้ าของและความปลอดภัย สุดท้ ายเป็ นภาคเอกชนและเอ็นจีโอ ต้ องค้ นหา ข้ อมูลดิจิตอลของรัฐทีมีราคาสมเหตุสมผล 4. สถาบั นการศึกษา ส่ วนใหญ่แล้ วสถาบั นการศึกษาเป็ นองค์กรสาธารณะอยู่แล้ว ได้ แก่ โรงเรี ยน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย และสถาบั นการศึกษาได้เปลียนโครงสร้างและกระบวนการเพือตอบสนอง ต่อสังคมหรือไม่ การปรับตัวในการเรี ยนรู ้ และชนิดของทรัพยากรทีมีคุณค่าทีจะขับเคลือนสังคมไปสู่ ตลาดการศึกษาเป็ นไปเช่นนี หรือยั ง(หมายถึงการใช้เทคโนโลยีการศึกษา) 5. ภาคเอกชน ซึ งมี 2 องค์ประกอบสําคัญคือ อุตสาหกรรม จีไอที ได้แก่ ผู ้ ขายฮาร์ดแวร์ – ซอฟแวร์ นักพั ฒนาการประยุกต์ใช้ และทีปรึกษา ส่วนอุตสาหกรรมทีเกียวข้ อง ได้ แก่แหล่ง อุตสาหกรรมทรัพยากรตามชนิดนั นๆ อุตสาหกรรมบริการ(ค้ าปลีก ศูนย์ สุขภาพ การท่องเทียว การ ขนส่ ง การบริ การการศึกษาและสังคม) การกระจายตั วของอุตสาหกรรมเหล่านี เป็ นอย่างไร
20
ในทุกภาคส่วนดังกล่าวได้มีการประยุกต์ใช้ จีไอทีในหลายลักษณะซึ งสอดคล้ องและสัมพั นธ์ กับความก้ าวหน้ากระแสหลักไอทีเป็ นสิ งสําคัญจึงทํ าให้การประยุกต์ใช้ จีไอที ได้แผ่ขยายออกไปใน หลายวงการ สรุ ป การขั บเคลือนจากระบบ GIS เข้ าไปสู่ ความเป็ น GIT เริ มมีความบทบาทต่อสังคมมากขึ น ความ ซับซ้อนของสังคมยุคทีอาจจะเรี ยกว่า ระบบสังคมเทคโนโลยี ( Sociotechnical Systems) ทีเป็ นอยูใ่ น ปัจจุบ ั นนี ถือว่าเป็ นปลายยุคไอทีแล้ ว อ้างจากแนวคิด Kondratieff Wave สามารถนํามาอธิ บาย ปรากฏการณ์ข ั บเคลือนจาก GIS เข้ าสู่ ยุคคลืนแห่งการสังเคราะห์ของยุคการปฏิวัติหลังไอที (The Hypothetical Wave of the Post –Information Technological Revolution) เนืองจากสิ งหรื อปรากฏการณ์ ต่างๆสามารถจําลองและสังเคราะห์ให้เห็นได้จริ งสําหรับบางสิ งทีไม่อาจเกิดขึ นได้บนพื นทีจริ ง ด้วย การสร้างแบบจําลองสังเคราะห์ หรื อทีเรี ยกว่า Synthetic Representation ทั งนีต้ องเกียวโยงสัมพั นธ์ก ับ ความก้าวหน้าทางฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ และไอที ทีมีศ ั กยภาพสู งขึ น ประกอบกับความต้ องการของสังคม จึงทํ าให้เกิดประดิษฐกรรมของสังคมทีสร้างขึ นใหม่ด้วยตนเอง จากการนําเสนอรู ปแบบสังเคราะห์ ดังกล่าว โดยผู ้ ใช้ สามารถจั ดการสารสนเทศภูมิศาสตร์เหล่านี ได้จากทีบ้ านส่ งผ่าน เชือมโยงกับ ฐานข้ อ มูลพื นทีได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว แล้วทํ าให้ภาครัฐ ธุรกิจ นักลงทุน นักวิจั ย สถาบั นการศึกษา ต้ องมีการปรับตั วอย่างขนานใหญ่ เพือตอบสนองต่อการเปลียนผ่านไปสู่ ปลายยุคไอที ไม่ว่าจะต้ องเตรี ยมการด้านมาตรฐานข้ อมูล สถาปัตยกรรมข้ อมูล เซอร์ฟเวอร์ต่างๆ ความมั นคงและ ความปลอดภัยต่างๆ กฎหมาย ส่ วนเนื อหาทีเปลียนแปลงจาก GIS ไปสู่ GIT นั นจะมีรูปแบบบูรณาการ หลายศาสตร์ร่วมกันอย่างทีไม่เคยเห็นมาก่อนซึ งใช้ท ั งอัลกอรึ ทึมและวิธีการแก้ปัญหาแบบไม่ตายตั ว (Algorithms and Heuristics) เพือแก้ปัญหาประเด็นต่างๆ ในทีนี คํ าว่าGIS +T (Geographic Information System + Technology) หรื อ GI+T (Geographic Information+Technology ) หรื อ GI S&T (Geographic Information Science & Technology ) จะเป็ นคํ าใดก็ตาม แต่กเ็ ป็ นไปได้ว่าเนื อหาต่างๆ กํ าลังมุ่งหน้าไป ในทิศทางเดียวกัน เพราะปัจจุบ ั นนีเรากําลังก้ าวพ้ นยุคไอทีไปสูยุ่ คหลังไอทีก ั นแล้ ว...คุณพร้อมจะก้ าว ไปข้ างหน้าด้ วยกั นหรื อยั ง.... ...............................
21
เอกสารอ้ างอิง Craigie , Dirk. (2008). “Information Integration: a GIS perspective”. Ecological Circuits. (Issue 1): 15-19. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.eepublishers.co.za/view.php?sid=15047) Daniel Howard, AICP. (1998). Geographic Information Technologies and Community Planning: Spatial Empowerment and Public Participation. In the Project Varenius Specialist Meeting on Empowerment, Marginalization, and Public Participation GIS October 1998. State University of New York at Buffalo. USA. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.ncgia.ucsb.edu/varenius/ppgis/papers/howard.html) Davis, Stuar. (2004). State Model for Coordination of Geographic Information Technology. National States Geographic Information Council. USA: National States Geographic Information Council, Ohio. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.nsgic.org/states/statemodel_git.pdf) de Savigny, Don and Wijeyaratne, Pandu. (1995). GIS for Health and the Environment: Proceedings of an International Workshop held in Colombo, Sri Lanka, 5–10 September 1994. The International Development Research Centre: Ottawa, Canada, 1995. 184 p. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.idrc.ca/openebooks/285-6/) Folger, Peter. (2009). Geospatial Information and Geographic Information Systems (GIS): Current Issues and Future Challenges. (n.p.):Congressional Research Service. (Retrived on May 22, 2010 from http://fas.org/sgp/crs/misc/R40625.pdf) Foote, Kenneth E. and Lynch, Margaret . (1995). Geographic Information Systems as an Integrating Technology: Context, Concepts, and Definitions. Department of Geography, University of Texas at Austin. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.colorado.edu/geography/gcraft/notes/intro/intro.html) Goodchild, Micheal F. (1997). “Unit 002 - What is Geographic Information Science?” in NCGIA Core Curriculum in Geographic Information Science. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.ncgia.ucsb.edu/giscc/units/u002/u002.html) Hall, Peter and Preston, Paschal. (1988). The Carrier Wave: New Information Technology and the Geography of Innovation 1846-2003. UK: Unwin Hyman Ltd.
22
Harrison, Teresa M. and others. (2007). “Geographic Information Technologies, Structuration Theory, and the World Trade Center Crisis”. Journal of the American Society for Information Science and Technology. 58(14):2240–2254. (Retrived on May 22, 2010 from https://asis.org/awards/Geographic_Inforamation_Technologies.pdf) Hugo, Wim and MBV Equsys. (2009). “Beyond Spatial Data Infrastructure: Knowledge and Process Extensions”. Ecological Circuits (Issue 2) : 21-26. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.eepublishers.co.za/images/upload/beyond%20spatial.pdf) Lanclos, Ryan.(n.d.). Business case for State Geographic Information Officer (GIO). USA : Missouri GIS Advisory Committee (MGISAC). (Retrived on May 22, 2010 from http://www.gis.mo.gov/pdf/gio_bcase.pdf) Maher, Robert. (1998). Geographic Information Technologies in Society. NCGIA Core Curriculum GIScience. (February). (Retrived on May 22, 2010 from http://www.ncgia.ucsb.edu/giscc/units/u135/u135_f.html Mark, David M. (n.d) . “Chapter 1: Geographic Information Science: Defining the Field.” in Foundations of Geographic Information Science. New York, USA: Department of Geography, University of Buffalo. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.cfc.umt.edu/giscertificate/Documents/Mark.pdf) Ota, Morishige. (2009). A Proposal of BoK and Experimental Lectures for Geographic Information Technology. Japan: Kokusai Kogyo Co. , Univ. of Tokyo. (Retrived on May 22, 2010 from http://plone.itc.nl/agile_old/Conference/2009hannover/WS2/Ws2_Agile09_presentations/Ota_Presentation.pdf) Peng, Zhong-Ren and Zhang, Chuanrong. (2004). “The Roles of Geography Markup Language (GML), Scalable Vector Graphics (SVG), and Web Feature Service (WFS) Specifications in the Development of Internet Geographic Information Systems (GIS).” Journal of Geographical Systems. (6):95–116. (Retrived on May 22, 2010 from http://www.springerlink.com/content/5pjl0dgc45plhhhg/fulltext.pdf) Sanjay Rana, Jayant Sharma. (2006). Frontiers of Geographic Information Technology. Netherlands: Springer.
23
Roche, Stéphane. (1983). “The Interests at Stake in the Socila Appropriation of Geographical Information Technologies for Regional Planning: Case Studies from France and Quebec”. Cybergeo : European Journal of Geography. (in english), Aménagement, Urbanisme, document 62. (Retrived on May 22, 2010 from http://cybergeo.revues.org/index1983.html) Tomlinson, Roger F. (2009). “Changing the Face of Geography: GIS and the IGU” . ArcNews Online. (Spring). (Retrived on May 22, 2010 from http://www.esri.com/news/arcnews/spring09articles/changing-the-face.html) Torrens, Paul M. (2009). “Process Models and Next-Generation Geographic Information Technology.” ArcNews Online. (Summer). (Retrived on May 22, 2010 from http://www.esri.com/news/arcnews/summer09articles/process-models.html) ----------(2006). Enterprise Geographic Information Technology (GIT) Web Portal. Washington State: Information service. (Retrived on May 22, 2010 from http://wagic.wa.gov/GITEA/RFI_GIT%20JH062606.pdf) ข้อมูลอินเตอร์ เน็ต http://www.mnplan.state.mn.us/pdf/2001/GISprofile2001.pdf http://www.cisc.gmu.edu/publication/papers/2005/ngis.pdf http://oa.mo.gov/itsd/cio/architecture/domains/information/GITDisciplineApproved.pdf http://www.cfc.umt.edu/giscertificate/Documents/Mark.pdf