1
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIT) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อ.นุชจรี ท้าวไทยชนะ 089-2765440 อ.ชนะชัย อวนวัง 083-3561220 อ.อานาจ แสงกุดเลาะ 085-7782080 ติดต่อ: http://www.itrmu.net/git/ เฟสบุ๊ค: สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ Geographic Information System (GIS) คือ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นการประยุกต์ใช้ ข้อมูลเชิงพื้นที่ในรูปแบบแผนที่บนระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 3 เทคโนโลยี (3 G)
1G= ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ด้านการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การวางแผนผังเมือง
การจาลองพื้นที่น้าท่วมด้วยโมเดล 3 มิติ
ลุ่มนำ้ ชี
แผนที่การวางแผนจัดการพื้นที่ลุ่มน้า
การวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งภาคอีสาน
2
การวิเคราะห์ศูนย์กลางบริการ
การจัดทาและการวิเคราะห์แผนที่โครงข่าย Network Analysis
2G= ด้านระบบกาหนดพิกัดบนพื้นผิวโลกด้วยดาวเทียม (GPS)
ดาวเทียมจีพีเอส 24 ดวง 6 วงโคจร
การรับสัญญาณดาวเทียมจีพีเอส
เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส
เทคโนโลยีการสารวจรังวัดที่ดินด้วยจีพีเอส (GPS)
3
3G= กูเกิลเอิร์ท (Google Earth) การสารวจระยะไกล หรือ รีโมทเซนซิง
THAICHOTE ดาวเทียมสารวจทรัพยากรฯ ดวงแรกของประเทศไทย
การใช้ข้อมูลดาวเทียมตรวจสอบพื้นที่ปา่
การใช้ข้อมูลดาวเทียมพยากรณ์สภาพอากาศ
ด้านการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
กิจกรรมเด่นของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ การสร้างโมเดล 3 มิติ บนโปรแกรม Google Earth อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
แกนโลกเอียง 23 ½ องศา
4
การฝึกทักษะของนักศึกษาในการนาเสนอผลงาน
นักศึกษาสร้างโมเดล 3 มิติจาลองภูมิประเทศ เพื่อศึกษาพื้นที่น้าท่วม และการบุกรุกทาลายป่า
การสร้างภาพคู่ซ้อน 3 มิตดิ ้วยกล้อง สเตอริโอสโคป (Stereoscope)
การสร้างแผนทีพ่ ร้อมพิมพ์ภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูงระดับหลังคาเรือน
5
การออกสารวจรังวัดด้วยกล้องสารวจและเครื่องจีพีเอสในภาคสนาม
GPS
การใช้ กล้ องสารวจ
นักศึกษาสาธิตการใช้เครื่องจีพีเอสให้กับชุมชน
การสร้างภาพ 3D พาโนรามา 360 องศา ออนไลน์บนโปรแกรมแผนที่ Google Map
คณะวิทยาการจัดการ ม.ราชภัฏมหาสารคาม
สนามกีฬา ม.ราชภัฏมหาสารคาม
การประกอบอาชีพ งานด้านการจัดทาแผนที่ การวิเคราะห์ข้อมูลแผนที่และการนาข้อมูล แผนที่ไปประยุกต์ใช้ในการ จัดการทรัพยากร หรือ ด้านอื่นๆ ปัจจุบัน ทั้งภาครัฐและเอกชน ทุกสาขาวิชา สามารถนาระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ไปประยุกต์ใช้กับสายงานนั้นได้เป็นอย่างดี เนื่องจากข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิ มีความสามารถใน เชิงวิเคราะห์พื้นที่ร่วมกับข้อมูลบรรยาย ทาให้เกิดประสิทธิภาพในด้านการสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับการ วางแผนและกาหนดนโยบาย เมื่อนักศึกษาสาเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายทั้งในภาครัฐ และเอกชน ได้แก่ ตาแหน่งนักวิชาการภูมิสารสนเทศ ผู้บริหารภูมิสารสนเทศระดับต้น นักวิชาการระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์และรีโมทเซนซิ ง นักวิจัย/ผู้ช่วยนักวิจัย เจ้าหน้าที่แผนที่ภาพถ่าย เจ้าหน้าที่สารวจ นักวิเคราะห์/พัฒนาระบบฐานข้อมูล นักวิเคราะห์นโยบายและแผน เป็นต้น
6
หน่วยงานที่ได้นาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ GIS ไปใช้ ได้แก่ - สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ใช้ใน การจัดทาแผนที่ติดตามสถานการณ์สิ่งแวดล้อม การแพร่กระจายสารมลพิษสิ่งแวดล้อม การกระจายมลพิษใน อากาศ มลพิษทางน้า เป็นต้น - กรมโรงงานอุตสาหกรรม ใช้ในการวางแผนผังเขตอุตสาหกรรม - สานักงานชลประทาน ใช้วางแผนระบบชลประทาน แนวส่งน้า และการผันน้าในพื้นที่เกษตร - สานักงานป่าไม้เขต และสานักงานป่าไม้จังหวัด ใช้ติดตามพื้นที่ป่า แนวเขตป่า จาแนกประเภทพืช พรรณ ติดตามสถานการณ์ไฟป่า - สานักงานโยธาธิการและผังเมือง ใช้ในการวางแผนผังเมืองรวม การวางแผนระบบสาธารณูปการ - กรมทางหลวง สานักงานทางหลวงชนบท ใช้สร้างฐานข้อมูลแผนที่ถนน และวางแผนการสร้างถนน - กรมทรัพยากรธรณี ใช้การศึกษาโครงสร้างทางธรณี แหล่งแร่ แหล่งซากดึกดาบรรพ์ และการ สารวจปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ - หน่วยงานที่ดูแลอุทยานแห่งชาติ เขตอนุรักษ์ ต่างๆ ใช้ในการดูแลเฝ้าระวังและสารวจพื้นที่ - การไฟฟ้า การประปา การโทรศัพท์ ใช้ในการจัดทาฐานข้อมูลแผนที่ การวางแผนขยาย ซ่อมแซม และออกแบบ แผนที่สาธารณูปโภค - โรงงานน้าตาล ใช้ในการวางแผนแปลงที่ดินที่ปลูกอ้อยของเกษตรกร วิเคราะห์ตาแหน่งศูนย์กลาง การรับซื้ออ้อยและการขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ - องค์การบริหารส่วนตาบล เทศบาล ใช้ที่ในการจัดทาแผนที่ภาษี และแผนที่เพื่อการวางแผนด้าน สาธารณูปโภค เช่น ระบบประปา ระบบการจัดเก็บขยะ ระบบไฟส่องสว่าง เส้นทางคมนาคม แหล่งน้า - กรมที่ดิน ศูนย์ข้อมูลแผนที่และรูปแปลงที่ดินแห่งชาติ ใช้ GIS ในการเริ่มจัดทาข้อมูลแปลงที่ดิน จากระวางกระดาษทั้งประเทศให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอล มีแนวโน้มที่สานักงานที่ดินอาเภอทั่วประเทศในอนาคต จะต้องจัดทารูปแปลงที่ดินให้อยู่ในรูปแบบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ - สานักงานพัฒนาที่ดินจังหวัด ใช้แผนที่ศึกษาความเหมาะสมของดินในการปลูกพืช คุณสมบัติชุดดิน พื้นที่ดินเค็ม การวางแผนด้านเกษตรอินทรีย์
มีหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนที่รองรับงานด้าน GIS เป็นจานวนมาก และสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์มีความพร้อมที่จะเปิดตัวเข้าสู่ประชาคม AEC ในปี 2558 นี้ โดยสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภู มิ ศ าสตร์ ม.ราชภั ฏ มหาสารคาม มี เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการทั้งใน และต่างประเทศ คือ ประเทศเวียดนาม และประเทศจี น ด้ า นการอบรมและ แลกเปลี่ยนบุคลากรด้าน GIS -ก า ร ท า MOU ร่ ว ม กั บ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศ หรือ GISTDA -การท างานวิ จั ย และอบรม ให้กับองค์ การบริหารส่ว นตาบล จังหวั ด มหาสารคาม และพื้นที่อาเภอโกสุมพิสัย เป็นต้น