1
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
2
คุยกับบรรณาธิการ.. ในสมัยปัจจุบันประเทศไทยเกิด การพัฒนาขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด การ ศึกษาก็เป็นหนึ่งในนโยบายที่ก�ำลัง เร่ ง ผลั ก ดั น การศึ ก ษาไทยให้ เ ท่ า เทียมกับประเทศอื่น ในช่วงหลายๆ ปีที่ผ่านมานั้นเราจะเห็นได้ว่ามีการ พัฒนาระบบการศึกษามาโดยตลอด แต่ก็ไม่สามารถประสบความส�ำเร็จ ได้ ถ้ามองการศึกษาในประเทศไทย นั้นเราจะเห็นว่าชั่วโมงการเรียนของ เด็กไทยนั้นค่อนข้างเยอะมากถถ้า เทียบกับประเทศอื่นๆ ที่ระบบการ ศึกษาค่อนข้างดีแต่มีชั่วโมงเรียนที่ น้อย ท�ำให้เกิดนโยบายลดเวลาเรียน ขึ้นในประเทศไทย เพื่อให้เด็กนั้นได้ มีเวลาพักผ่อนจากการเรียนมากขึ้น และลดความเครียดของเด็ก ท�ำให้ นโยบายนี้เป็นที่น่าจับตามองอย่าง มาก ว่าจะสามารถช่วยให้การศึกษา ไทยเกิดการพัฒนาได้หรือไม่ การลดเวลาเรี ย นลงแล้ ว เพิ่ ม ชั่วโมงกิจกรรมขึ้นเพื่อให้เด็กได้เกิด
ความรู้แบบอื่นนอกเนื่องจากความรู้ ด้านวิชาการหรือถ้าเด็กมีธุระต้อง กลับบ้า นไปช่ วยงานในครอบครั ว เด็กก็สามารถกลับได้ ค่อนข้างเห็น ด้ ว ยกั บ นโยบายนี้ เพราะว่ า เด็ ก สามารถเรียนรู้อย่างอื่นมากขึ้นและ ผ่ อ นคลายจากความเครี ย ดใน วิ ช าการ แต่ ท างกลั บ กั น ถ้ า เด็ ก ที่ ขอกลับก่อน และไม่ได้กลับบ้านล่ะ เราจะเห็นอยู่บ่อยๆครั้งที่โรงเรียน เลิ ก จะมี เ ด็ ก บางกลุ ่ ม ที่ ยื น ที่ ท าง ออกโรงเรียนเสมือนตัวเองเป็นนักวิ่ง แข่งเพื่อวิ่งเข้าสู่เส้นชัยคือร้านเกม หรือเด็ก บางส่ ว นไปเดิ น ห้ า ง จะมี การแก้ไขปัญหานี้อย่างไรและถ้าไม่ สามารถแก้ได้นโยบายลดเวลาเรียน นี้ก็อาจไม่ส่งผลต่อการพัฒนาระบบ การศึกษาในประเทศไทยได้ นอกจากประเด็ น การลดเวลา เรียนนั้นก็ยังคงมีประเด็นอื่นที่เป็น ปัญหาต่อการศึกษาไทยอย่าง ระบบ โซตัส(SOTUS) หรื อ การรั บ น้ อ งที่
บรรณาธิการบริหาร
อาร์ตไดเรกเตอร์
บรรณาธิการบทความ
กองบรรณธิการ
อนุชา แซ่จัง
วัชรากร ถุงนอก
ขนิษฐา สุวรรณธรรมา ธนากร หอมเนตร
รุนแรงและไม่เหมาะสมในมหาวิทยาลัย มี นั ก ศึ ก ษาบางกลุ ่ ม ที่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ ระบบนี้เพราะว่าจะท�ำให้รุ่นน้องเกิด ความสามัคคี รู้จักกันเร็วขึ้น และมี ความเคารพต่อรุ่นพี่ และมีบางกลุ่ม ทีไ่ ม่เห็นด้วยกับระบบนีเ้ พราะรุนแรง เกินไป ในความเห็นส่วนตัวระบบนี้ เหมือนเป็นการกดขี่รุ่นน้องจนเกิน ไป การสั่งให้น้องท�ำโน้นท�ำนี้หรือ การลงโทษน้องที่เกินเหตุจะสามารถ ช่วยให้น้องเกิดความเคารพระหว่าง พีก่ บั น้องมันคงเป็นความคิดทีผ่ ดิ มากๆ ถ้าเราอยากให้น้องรักท�ำไมไม่ใช่วิธี พูดกับน้องดีๆ หรือจัดกิจกรรมสาน สัมพันธ์กับรุ่นน้องที่รุ่นพี่ไม่ใช่ความ รุนแรง มันน่าจะส่งผลดีตอ่ ตัวรุน่ น้อง และรุ่นพี่ให้เกิดความรักและสามัคคี มากกว่าที่จะไปพูดจารุนแรงกับน้อง
จรัตพร โมรา ดนุพล แสงชาติ เจษฏา ยอดสุรางค์ ปรมินทร์ อินตาพวง
อนุชา แซ่จัง บรรณธิการบริหาร สิรภพ จันทรสาขา สิริกานต์ เทพสอน ธนวัฒน์ ธนศรีวรางกูร จิรายุ แช่มพุดชา
1
สารบัญ 2
Green University
6 15 8 10 11 12 4 16 19 20 22 24
เกษตรกรดีเด่น สาขาการท�ำนา
นโยบาย “การลดเวลาเรียน” ต้องแก้ที่ต้นเหตุ
เด็กพิการกับโอกาสการท�ำงาน
ท�ำผิดใช่ไหม สั่งย้ายไปเลย
รีไทร์ ระบบใหม่..ไฉไลกว่าเดิม?
ทดสอบการศึกษา
Google Classroom ทางเลือกใหม่ที่ซ�้ำซาก
อย่ามองว่ารอยสักเป็นสิ่งไม่ดี
ระบบโซตัส
กยศ.ไทยไร้ทุน
รับจ้างท�ำวิทยานิพนธ์ อาชญากรรมการศึกษาไทย
มหาวิทยาลัยนอกระบบ
2
Green University เรื่อง : ดนุพล แสงชาติ
2
ในปัจจุบนั เราอยูบ่ นโลกทีม่ ที งั้ น�ำ้ ดินและแสงแดดเป็นทรัพยากรธรรมชาติ ที่มนุษย์น�ำทรัพยากรเหล่านี้มาใช้ท�ำ อุตสาหกรรมต่างๆจนท�ำให้มนุษย์ โลกอยู ่ ท ่ า มกลางสภาวะโลกร้ อ น เพราะน�ำมาใช้มากเกินไปและไม่ได้ สร้างทดแทนคืน แดดที่แผดเผาโลก จนนักวิชาการและนักวิทยาศาสตร์ คาดว่า โลกของเราเกิดสภาวะเรือน กระจก (Green House Effect) จึงท�ำให้โลกของเรามีอุณหภูมิที่สูง ขึ้ น ในทุ ก ๆ ปี เ หล่ า นั ก อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้อมจากหน่วยงานต่างๆ ต่าง มี น โยบายออกมาเพื่ อ จะผลั ก ดั น ตนเองให้ เ ป็ น ผู ้ ที่ ส ามารถแก้ ไ ข ปัญหาสภาวะโลกร้อนนี้ได้หนึ่งใน แคมเปญที่ โ ลกก� ำ ลั ง ผลั ก ดั น กั น เหลือเกินเมื่อที่ผ่านมานี้เป็นประเด็น ที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งมากในประเทศไทย ของเรา คือ “มหาวิทยาลัยสีเขียว”
มีรูป แบบการประเมิ น ด้ ว ยกั น 6 หัวข้อ โดยแต่ ล ะมหาวิ ย าลั ย ที่ มี ความสนใจเข้าร่วมจะมีคณะกรรมการ เข้าไปส�ำรวจและตรวจสอบจัดอันดับ ของคะแนนตามมาตรฐานดังนี้ 1. Setting And Infrastructure (ที่ตั้งและโครงสร้างพื้นฐาน) 15% 2. Energy and Climate Change (การจั ด การพลั ง งานและการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) 21% 3. Waste management (การจัดการของเสีย) 18% 4. Water usage (การจัดการน�ำ้ ) 10% 5. Transportation (การขนส่ง ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) 18% 6. Education (ความสามารถ ในการให้การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาที่ยั่งยืน) 18% มหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมขอยกตัว
ยกตั ว อย่ า งคื อ “มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม” ที่ผ่านการประเมินให้ เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย สี เขี ย วผ่ า นตาม หลักทัง้ หกประการจากการจัดอันดับ ของ (UI Green Metric World University Ranking) แต่อย่างไรก็ตาม ภาพที่มองเห็นคือมหาลัยได้ค�ำนึงถึง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมก็จริงโดยมีน โยบายที่ ดี แ ต่ ข าดการมองดู ส ภาพ ของความเป็นจริงจึงท�ำให้นิสิตหรือ บุคคลากรไม่ได้ให้ความร่วมมือเพราะ สภาพความเป็นจริงที่เห็นอย่างเช่น บริเวณรอบๆ มหาลัยก็ยังมีต้นไม้ไม่ มากหนักขาดความร่มรืน่ การจัดการ น�้ ำ ก็ ยั ง เห็ น ถึ ง ปั ญ หาในช่ ว งที่ ฝ น ตกหนักเกิดน�้ำท่วมขัง การจัดการ ด้านสภาพภูมิอากาศก็ยังมีฝุ่นค่อน ข้างเยอะ อย่างไรก็ตามมหาวิทยาลัยที่จะ ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว
3
ไม่ใช่ว่าจะต้องสนใจแต่จะผลักดัน นโยบายให้เป็นไปตามทีม่ หาวิทยาลัย นั้ น ต้ อ งการแต่ ค วรมองให้ เ ห็ น ถึ ง ส่วนร่วมด้วยว่าสภาพอากาศแต่ละ พื้ น ที่ เ อื้ อ อ� ำ นวยมากน้ อ ยแค่ ไ หน และในความเป็นจริงนั้นมีมากพอที่ จะพัฒนาให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว ได้อย่างชัดเจนหรือไม่ เพราะถ้าหาก ยังมีปัญหาของภาพรวมที่เห็นไม่ได้ ชัดถึงจะสามารถสามารถขับเคลื่อน นโยบายไปได้ แ ต่ ใ นความเป็นจริง ภาพที่นิสิตนักศึกษามองออกมามัน ยังไม่เป็น “Green University” ก็ แสดงว่ า นโยบายก็ ไ ม่ ไ ด้ เ กิ ด ผล ประโยชน์ต่อสภาพสิ่งแวดล้อมและ ต่อผูท้ อี่ าศัยอยูใ่ นรัว่ ของมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ดังนัน้ จึงอยากให้ทางมหาวิทยาลัย วางเป้ าหมายการด�ำเนินการของ มหาวิทยาลัยอย่างชัดเจน
4
ทางเลือกใหม่ที่ซ�้ำซาก เรื่อง : วัชรากร ถุงนอก
เครื่องมือสื่อช่วยสอนน้องใหม่ในสังกัด Google Apps for Education อย่า งเจ้า Google’s Class room ห้ อ งเรี ย นออนไลน์ รู ป แบบใหม่ ที่ ผ สมผสาน ระหว่าง งานเอกสาร,การรับส่งอีเมล์, และพื้นที่เก็บ ข้อมูลอยู่ในหนึ่งเดียว โดยเจ้าเครื่องมือน้องใหม่นี้ เป็น เครื่องมื อ ที่ ช่ ว ยในการศึกษา ครูสามารถสั่งงานและ ติดตามงานนักเรียนได้ตลอดเวลา สามารถสื่อสารกับ นักเรียนได้ง่ายและทั่วถึง แสดงความคิดเห็นต่องานของ ผู้เรียนได้ในขณะนั้น เป็นเครื่องมือที่ใช้งานง่าย สะดวก และประหยั ด เวลา สามารถท�ำการเรียนการสอนได้ เสมือนห้องเรียนจริงๆ มีทั้งการสั่งงาน ส่งงาน ท�ำแบบ ฝึ ก หั ด ในระบบออนไลน์ ไ ด้ เ ลย หรื อ จะสื่ อ สารแลก เปลี่ยนกับผู้สอนได้เลยทันที วิธีการนี้ถือว่าเป็นทางที่จะ ท�ำให้ผู้เรียนและผู้สอนมีความใกล้ชิดกันมากขึ้น และยัง สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ไม่จ�ำเป็นต้องไปตาม ห้องเรียน หรือห้องพักครู ก็สามารถเรียนรู้ได้
ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้อาจจะดูเข้าท่าเข้าทางเหมาะ ส�ำหรับในโลกปัจจุบันที่คนนิยมใช้สื่อโซเชี่ยวมากขึ้น ราวกับเป็นกิจวัตรประจ�ำวันไปแล้ว และสมาร์ทโฟน ถือเป็นสิ่งที่คนทั่วไปสามารถจับต้องได้เพราะราคาไม่สูง มากเหมือนเมื่อก่อน อย่างไรก็ตามเครื่องมือช่วยสอนนี้ ไม่ถอื ว่าเป็นสิง่ ทีใ่ หม่ตอ่ วงการโซเชีย่ ว เพราะสือ่ ออนไลน์ อืน่ ๆ ก็ ส ามารถสร้ า งกลุ ่ ม ฝากไฟล์ ง านได้ เ หมือนกัน โดยเฉพาะเฟซบุ๊ค เว็บไซต์ที่ผู้คนนิยมใช้กันมากเป็นอัน ดั บ ต้ น ๆ ของโลก ก็ มี เ ครื่ อ งมื อนี้ เ หมื อ นกั น ยิ่งท�ำให้ สะดวกและไม่ต้องล๊อกอินเข้าหลายเว็บไซต์ให้วุ่นวาย นิ สิ ต คณะวิ ท ยาการสารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม เป็นหนึ่งในกลุ่มที่เริ่มทดลองใช้ Google’s class room นี้เป็นเครื่องมือช่วยในการศึกษาเพียงแค่ ส่งงานและเช็คชื่อในชั้นเรียนเท่านั้น เพราะเป็นช่องทาง ที่สะดวกต่อการท�ำงาน แต่หากมองในมุมที่จะได้ใกล้ชิด กับอาจารย์มากขึ้นถือว่าช่วยได้ไม่มากนัก เพราะใช้ แค่
5
ส่งงานกับเช็คชื่อ นิสิตก็จะไม่มีโอกาสได้พูดคุยกับผู้สอน เลย หากเข้าไปส่งที่ห้องพักครูด้วยตัวเอง อาจจะได้พูด คุ ย และสามารถเรี ย นรู ้ ข ้ อ ผิ ด พลาดของงานได้ ทั น ที โดยที่ไม่ต้องเข้าระบบให้เสียเวลา Google’ class room ถือว่าเป็นเครื่องมือที่ ช่วยทุ่นแรงของผู้เรียนและผู้สอนให้มีความสะดวกใน การเรียนท�ำให้สร้างความแปลกใหม่ในการเรียนการ สอนก็จริง แต่มันก็ไม่ใช่ทางออกที่ดีที่จะให้ผู้เรียนนั้นได้ กล้าแสดงความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา ตัวต่อตัว วิธี สื่อสารการทางตัวหนังสืออาจใช้ไม่ได้ผลกับเยาวชนไทย เท่าไหร่นัก เพราะเด็กก็ยังไม่กล้าที่จะถามในสิ่งที่ตนไม่ เข้าใจหรือสนใจ เพราะนิสัยของคนไทยถูกหล่อหลอม มาในรูปแบบ ที่ไม่กล้ายกมือถาม เพราะอายที่จะเป็น ตัวประหลาด เป็นคนโง่อยู่แล้ว หากมีการพัฒนาเครื่อง มือที่สามารถช่วยให้การสื่อสารดีขึ้นก็ช่วยไม่ได้เหมือน เดิม เพราะเด็กติดนิสัยการกลัวที่จะถาม บางครั้งการ
เปิดให้มีการแสดงความคิดเห็นผ่านทางตัวหนังสืออาจ จะเป็ น โทษและภั ย ต่ อ สั ง คมได้ ยกตั ว อย่ า ง นั ก เลง คีย์บอร์ดที่คอยถากถางคนอื่นไปทั่วบนโลกออนไลน์ก็มี มากมายอยู่เหมือนกัน การเรี ย นการสอนในระบบออนไลน์ ถื อ ว่ า ไม่ เหมาะสมที่จะมาใช้ในห้องเรียนที่มีการเรียนการสอน จริงๆ เพราะ ห้องเรียนจริงมีครบทุกอย่างทั้งการสั่งงาน ตรวจงาน หรือแม้แต่กระทั่งเช็คชื่อเอง สามารถท�ำได้ใน ห้องเรียนเดี๋ยวนั้นเลย ระบบการสอนออนไลน์เหมาะ ส�ำหรับผู้ที่สนใจศึกษานอกห้องเรียน หรือผู้ที่ไม่มีเวลา เรียนเป็นปกติ กลุ่มคนเหล่านี้น่าจะใช้เครื่องมือนี้ได้ มีประสิทธิภาพมากกว่าผู้เรียนหรือผู้สอนในห้องเรียนที่ มีอยู่แล้ว เพราะสามารถเข้าเรียนตอนไหนก็ได้ ส่งงาน ตอนไหนก็ได้ เพราะถือว่าเป็นเครื่องมือที่สะดวกใช้งาน ตอนไหนก็สามารถท�ำได้
6
จากศูนย์สู่ความส�ำเร็จ “นาย สาขา ระบบการศึกษาของไทย ได้ ก� ำ หนดไว้ ใ นพระราชบั ญ ญั ติ ก าร ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่ม เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มีการจัด ระบบการศึกษาขัน้ ประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) ขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (3 ระดับชัน้ ) และการศึกษาตอน ปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือที่เรียก กันว่าระบบ 6-3-3 นอกจากนี้ระบบการศึกษาไทย ยังมีแนวทางใหม่ คือ สถานศึกษา นั้นสามารถจั ด ได้ 3 รูปแบบ โดย แบ่งเป็น 1.การศึกษาในระบบ เป็นการ ศึกษาที่ก�ำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการ ศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการ ศึกษา การวัดและการประเมินผล 2.การศึกษานอกระบบ เป็นการ ศึกษาทีม่ คี วามยืดหยุน่ ในการก�ำหนด จุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีจัดการศึกษา รวมไปถึงระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล 3.การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการ ศึ ก ษาที่ ใ ห้ ผู ้ เรี ย นรู ้ ไ ด้ เรี ย นรู ้ ด ้ ว ย ตนเองตามความสนใจ ศั ก ยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษา จากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพ แวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ
ฅนเริ่มเรื่อง
นายอรัญ ค�ำสิงห์ เกิดวันที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ.2505 อ�ำเภอ วานรนิวาส จังหวัด สกลนคร อายุ 52 ปี ประกอบอาชีพเกษตรกร มีพี่ น้องด้วยกันรวม 8 คน ส่วนใหญ่จะ มีอาชีพเป็นข้าราชการ โดยตนจบ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้ า นบึ ง “อุ ตสาหกรรมนุ เคราะห์” ชลบุรี และจบมัธยมศึกษา ตอนปลาย ศู น ย์ ก ารศึ ก ษานอก ระบบและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย เมือง จ.มหาสารคาม
ศูนย์การเรียนรู้เกษตร
ซึ่งแรกเริ่ ม ตนเพิ่ ง เข้ า มาอยู ่ ที่ ต�ำบลโคกก่อ จังหวัดมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ.2537 ในครั้งนั้นตนยัง ไม่ มี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ การท� ำ การ เกษตรแม้ แ ต่ น ้ อ ยเลย และในปี พ.ศ.2538 ได้แต่งงานและมีครอบครัว โดยภรรยามีอาชีพท�ำนาจึงได้อาศัย การเรี ย นรู ้ ขั้ น ตอนต่ า งๆพอเป็ น แนวทางในการท�ำ พอปี พ.ศ.2539 ตนได้รบั คัดเลือกให้เป็นผูน้ ำ� เกษตรกร โครงการพัฒนาชลประทาน (NEWMASIP) อ่างเก็บน�้ำห้วยคะคาง โดย การอบรมดังกล่าวจะเป็นการเรียนรู้ อบรมในภาคเกษตรกรต่างๆจากหลาก
หลากหลายหน่วยงาน และจากการ อบรมในครั้งนั้นจึงได้คิกปรับพื้นที่ นาทั้ง 15 ไร่ ของตนจากเดิมให้มา เป็นในรูปแบบ “ไร่นาผสมผสาน” โดยได้ รั บการสนั บ สนุ น ปัจจัยการ ผลิตต่างๆได้แก่ พันธุ์ไม้ เช่น มะม่วง มะพร้าว สัตว์เลีย้ ง เช่น ไก่ เป็ด สุกร และพันธุ์ปลาต่างๆจากกรมส่งเสริม การเกษตร และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ต่อมาได้ไปศึกษาดูงานโครงการ เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี จึงได้ปรับปรุงพืน้ ทีอ่ กี ครัง้ ตามรูปแบบ โดยแบ่งพื้นที่เป็นสัดส่วนคือ พื้นที่ ท�ำนา 10 ไร่ ทีส่ วน 2 ไร่ บ่อน�ำ้ 2 ไร่ และทีอ่ ยูอ่ าศัย 1ไร่ การท�ำนาก็พบปัญหาและอุปสรรค มากมายไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการใช้ ปุย๋ เคมีและสารเคมีตา่ งๆเพือ่ ต้องการ ที่ จ ะได้ ผ ลผลิ ต ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น และ ต้องการปราบศัตรูพืชด้วย แต่สิ่งที่ เป็นผลกระทบทีเ่ ห็นได้ชดั เจนอีกอย่าง หนึง่ คือ ร่างกายที่มีอาการแย่ลง ซึ่ง รายได้กต็ อ้ งน�ำไปใช้รกั ษาตนเองด้วย การใช้ชวี ติ ก็ดยู ากล�ำบากลงไป ดังนัน้ จึงคิดศึกษาหาความรู้วิธีการรูปแบบ ใหม่ทสี่ ามารถปรับเปลีย่ นการใช้วสั ดุ
7
ยอรัญ ค�ำสิงห์” เกษตรกรดีเด่น าการท�ำนา จังหวัดมหาสารคาม
เรื่อง : ปรมินทร์ อินตาพวง
ธรรมชาติอย่างอื่นทดแทนการใช้ปุ๋ย และสารเคมีที่มีราคาแพงซึ่งในบาง ครัง้ ก็ไม่มคี ณ ุ ภาพ จากการทีไ่ ด้ปรึกษา หารือกั นกั บ บุ ค คลในครอบครัวว่า ควรจะมีการเปลี่ยนแปลงจากการ ท�ำนาแบบเคมีให้มาเป็นแบบอินทรีย์ ชีวภาพแทน ต่อมาปี พ.ศ.2542 พี่สาวได้ เล่าให้ฟังว่า ทางโรงเรียนได้จัดส่งพี่ สาวและคณะครูอกี 2คน ให้ไปอบรม เรียนรู้และศึกษาดูงานเกี่ยวกับการ ท�ำเกษตรธรรมชาติแบบประยุกต์ ที่ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม คิวเซ ต�ำบลช�ำผักแพรว อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เมือ่ รับฟังแล้วจึงเชิง
ความสนใจที่จะศึกษาแนวทางใหม่ๆ จึงได้ชักชวนบุคคลในครอบครัวไป อบรมการท�ำเกษตรธรรมชาติหลักสูตร 3 วั น 2 คื น โดยได้ รั บ การเรี ย นรู ้ ถ่ายทอดและแลกเปลีย่ นประสบการณ์ จากวิทยากรและผู ้ เข้ า ร่ ว มรั บการ อบรมเพื่อเป็นแนวทางในการปรับ ให้เหมาะสมกับพืน้ ที่ และปีพ.ศ.2543 จึงได้ท�ำทุ ก กระบวนการตามที่ ไ ด้ อบรมเรีย นรู ้ ม าและผลปรากฏว่ า ผลผลิตที่ได้นั้นเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น และต้นทุนในการผลิตก็ลดลงไปมาก ด้วยเช่นกัน ข้าวที่ได้ก็มีคุณภาพที่ดี จึงตัดสินใจที่จะไม่ใช้สารเคมีต่างๆ ในพื้นที่ข องตนอี ก ต่ อไป และเปิ ด เป็นศูนย์การเรียนรู้เชิงเกษตรนับ
ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา “คนเราไม่แก่เกินเรียน” ค�ำๆ นี้ สามารถใช้ได้ไปตลอดเพราะ นายอรัญ ค�ำสิงห์ ก็ไม่ได้เรียนจบการศึกษาที่ สูงมากนัก แต่เพราะตนมีความตั้งใจ อยากที่จะน�ำปัญหาที่ตนเคยประสบ มาแก้ไข มาปรับปรุง โดยไปเรียนรู้ จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่ตนให้ความ สนใจ ขอเพียงแค่มีใจรักกับสิ่งๆ นั้น และท�ำมันอย่างเต็มความสามารถ ดังนั้นเราจะเห็นได้ว่าระบบการ ศึกษาของไทยเราก็มีความยืดหยุ่น อยู่มาก และในความยืดหยุ่นเหล่า นัน้ เองจะส่งผลท�ำให้นกั เรียน นักศึกษา รวมไปถึ ง กลุ ่ ม คนที่ ไ ม่ มี โ อกาสได้ เรียนแล้วก็ตามสามารถเข้ามาศึกษา จากบุคคลหรือศึกษาจากสภาพแวดล้อม ได้ ขอแค่ เ พี ย งเรามี ค วามตั้ ง ใจที่ อยากจะเรียนรูจ้ ริงๆ เพราะการเรียน รูจ้ ากการลงมือท�ำจริง การเจอกับ ปัญหาและอุปสรรคจริง สิ่งเหล่านี้ นั่นเองที่จะเป็นครูอาจารย์ชั้นเยี่ยม ที่คอยสั่งสอนให้เราเตรียมรับมือกับ สิ่ ง ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง คอยเป็ น ภู มิ คุ้ ม กั น โรคชั้ น เยี่ ย มหากเราเจอ ปัญหาเหล่านั้นอีกครั้งก็ตาม
8
วอนบริษัทเปิดโอกาสรับเด็ก พิการเข้าท�ำงานมากขึ้น
เรื่อง : อนุชา แซ่จัง
การงานที่มั่นคงอาจเป็นเป้าหมายหลักส�ำหรับเด็ก ทุก คนที่เกิดมา การทีจะมีความคิดวาดฝันว่าในอนาคต จะสามารถสร้างชีวิตตัวเองให้มั่นคงและมีความสุขนั้น เป็นเรื่องธรรมดามาก แต่กับบุคคลที่พิการตั้งแต่เกิดนั้น เราเคยคิดไม่ว่าพวกเขาจะใช้ชีวิตอย่างไร
บุคคลพิการนั้นแยกออกเป็น 9 ประเภทคือ
1.บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น 2.บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน 3.บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา 4.บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย การเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ 5.บุคคลที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ 6.บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูด และภาษา 7.บุคคลที่มีปัญหาทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ 8.บุคคลออทิสติก 9.บุคคลพิการซ้อน บุคคลเหล่านีน้ อกจากจะใช้ชวี ติ ออย่างล�ำบากแล้ว ยังไม่ สามารถการันตีอนาคตข้างหน้าว่าจะเป็นอย่างใด
ดวงตานั้นเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดในการด�ำรงชีวิตอยู่ เพราะ การที่เรานอนแล้วตื่นขึ้นมาในทุกๆเช้านั้น เราจะพบกับ เช้าวันใหม่ที่รออยู่ แต่กับเด็กพิการทางด้านสายตานั้น เขาใช้ชีวิตอยู่กับความมืดโดยไม่รู้เลยว่าวันนี้เช้าหรือยัง หรือขณะนี้เวลาเท่าไร การใช้ชีวิตก็ไม่สามารถเหมือน คนปกติที่อยากไปไหนหรืออยากท�ำอะไรก็สามารถท�ำ เองได้ แต่กับพวกเขาถ้าไม่มีใครค่อยช่วยเหลือ และเรื่อง ส�ำคัญที่สุดของพวกเขาคือหน้าที่การงานของพวกเขาจะ เป็นอย่างไร? เพราะในเมือ่ บริษทั งานทัว่ ไปต้องการพนักงาน ที่สามารถท�ำหน้าที่การงานให้บริษัทเกิดประโยชน์ที่สุด แต่ในเมื่อพวกเขานั้นมองไม่เห็นละ จะมีบริษัทไหนรับ พวกเขาเข้าท�ำงานบ้างด่านแรกที่พวกเขาเด็กพิการทาง ด้านสายตาต้องพิสจู น์คอื การเรียนแน่นอนว่า การใช้ชวี ติ กับความมืดมิด นั้นย่อมล�ำบากพอตัวอยู่แล้ว แต่กับ เรือ่ งการเรียนนัน้ แน่นอนอยูแ่ ล้วว่าเด็กพิการด้านสายตา จะไม่สามารถเรียนตามเด็กปกติได้ทัน เพราะพวกเขา ใช้เพียงแค่หูในการเรียนเท่านั้น เพราะยิ่งในปัจจุบันการ ศึกษาได้มีการจัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบสไลด์
9 จากการที่ได้สัมภาษณ์กับน้องหนิง นางสาวอนุธิดา จวงพลงาม นิสิตคณะมนุษย์ศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นเด็กพิการด้านสายตา พบว่า จากการที่เขาเลือกเรียนต่อในคณะหรือสาขานี้ เพราะสะดวกต่อการเรียนเพราะไม่ได้มีการทดลองหรือ การใช้สมรรถภาพทางด้านร่างการมากเกิดไป และดู เหมือนว่าการใช้ชีวิตของเขาดูเรียบง่ายเพราะว่าเขามี เพื่ อ นที่ ค ่ อ ย(Power Point) ที่ เ ด็ ก สามารถจดตาม อาจารย์ ป ระจ� ำ วิ ชาสอนได้ เผื่อไปทบทวนการเรี ย น อาจท�ำให้เป็นเรื่องยากต่อเด็กพิการทางด้านสายตามาก ขึ้น จึงท�ำให้มีการจัดศูนย์การเรียนรู้พิเศษขึ้นเผื่ออ�ำนวย ความสะดวกกับเด็กพิการทุกประเภท อย่างหน้าที่หลัก คือจะมีการอมรบการเรียนการสอนใช้ช่วงขั้นประถม ศึกษาถึงมัธยมศึกษา เพื่ออย่างน้อยเด็กพิการจะได้รับ การเรียนการสอนเหมือนอย่างเด็กปกติและสะดวกมาก ขึน้ แต่ในเมือ่ การงานนัน้ ต้องการเด็กทีเ่ รียนจบสูงๆ ท�ำให้ เด็กพิการเหล่านี้ต้องดิ้นรนเข้าเรียนต่อยังมหาวิทยาลัย ช่วยเหลือเขาในทุกๆเรื่องไม่ว่าจะเป็นการไปเรียน เพื่อน จะค่อยไปรับไปส่งอยู่ตลอด เพราะเพื่อนของเขานั้นไม่
ได้เรียนอยูค่ ณะเดียวกัน ส่วนในด้านการเรียนนัน้ ในขณะ ที่เขาเรียนจบ เขาจะขอไฟล์ข้อมูลการเรียนการสอนจาก อาจารย์เพือ่ ไปท�ำอักษรเบรลล์ เพือ่ ให้สะดวกต่อการอ่าน ทบทวนการเรียนมากขึ้น โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ เพราะ ทางมหาวิทยาลัยจะมีหน่วยงานบริการสนับสนุกนักศึกษา พิการเข้ามาช่วยเหลือด้านการศึกษาส�ำหรับเด็กพิการที่ ก�ำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยและยังมีส�ำนักงานคณะ กรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ค่อยช่วยเหลือในด้านการ ใช้จ่ายในด้านการศึกษาหรือค่าอุปกรณ์การเรียน ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ดี ที่มีหน่วยงานต่างๆเข้ามาเปิด โอกาสให้แก่เด็กพิการในการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย มากขึ้น แต่ถึงอย่างไรก็ตามในเรื่องการท�ำงานนั้นอยาก ให้บริษัทได้เล็งเห็นถึงความสามารถในตัวเด็กมากกว่าที่ จะตัดสินว่าเป็นเด็กพิการเลยไม่รบั เข้าท�ำงานยิง่ ด้วยศักยภาพ เด็กพิการในปัจจุบันที่มีการพัฒนาในด้านต่างๆมากขึ้น ไม่วา่ จะเป็นด้านการศึกษาหรือการใช้ชวี ติ ในสังคมร่วมกับ คนทั่วไปซึ่งถือว่าเท่าเทียมเลยก็ว่าได้ เพียงแค่อยาก ให้บริษัทนั้นรับพิจารณาหรือลองเรียกเข้ามาสัมภาษณ์ งานมากกว่าที่จะเห็นเป็นเด็กพิการก็ตัดสิทธิ์ทันที
10
ท�ำผิดใช่ไหม? สั่งย้ายไปเลย!
เรื่อง : จรัตพร โมรา
วิชาชีพ “ครู” ในสังคมทั่วโลก ถือเป็นวิชาชีพที่มีเกียรติและมีความ น่าเคารพนับถือ เพราะเป็นวิชาชีพ สร้างคน สร้างอนาคตของชาติ จึงมี ค�ำที่เรียกวิชาชีพครูว่าพ่อพิมพ์ของ ชาติ แม่พิมพ์ของชาติ หากมีครูที่ดี ลูกศิษย์ที่เป็นผลผลิตของครูก็จะดี ตามไปด้ ว ย แต่ ด ้ ว ยการประกอบ วิชาชีพนี้ต้องพบเจอกับเด็กๆ ที่มา จากร้ อ ยพ่ อ พั น แม่ ค รู จึ ง ต ้ อ ง มี ความอดทนพอสมควรที่ จ ะต้ อ ง พยายามขัดเกลาลูกศิษย์ให้ได้ดี และ หากอดทนหรือควบคุมอารมณ์ไม่ได้ ครูก็อาจจะกลายเป็นพ่อพิม พ์หรือ แม่พิม พ์ ที่ พิมพ์น�้ำหมึกไม่ติดและ น�ำมาใช้การไม่ได้อีกเลย บ่อยครัง้ ทีส่ งั คมไทยได้รบั รูข้ า่ วสาร ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างครู กับนักเรียน เรือ่ งเชิงชูส้ าวบ้าง เชิงท�ำร้าย ร่างกายบ้าง จนท�ำให้หลายคนหมด ศรัทธากับอาชีพครูไปแล้ว แต่ที่เป็น เรือ่ งราวร้อนระอุในโลกออนไลน์คงจะ หนีไม่พ้นคลิปวิดีโอที่รองผู้อ�ำนวย การโรงเรี ย นควบคุ ม อารมณ์ไม่อยู่ พลั้ ง มื อ ไปตบหั ว นั ก เรี ย นชายเข้ า เรื่ อ งราวเริ่ ม จากโรงเรี ย นเสิ ง สาง อ.เสิงสาง จ.นครราชสีมา มีการเรียก เก็บค่าส่ง SMS เพื่อต้องการติดต่อ สือ่ สารระหว่างโรงเรียนกับผูป้ กครอง
ได้งา่ ย กรณีเกิดปัญหากับนักเรียน เช่น เด็กไม่มาโรงเรียน เด็กไม่ยอม เข้าห้องเรียน ก็สามารถติดต่อบอกให้ผป้ ู กครองทราบ ได้ทนั ที ซึง่ มีการเก็บเงินค่า SMS ทุก ชั้นเรียน แต่ด้านนักเรียนในโรงเรียน ไม่เห็นด้วยเพราะคิดว่าเป็นการเสีย เงินให้โรงเรียนเปล่าๆ ในหนึ่งวันไม่รู้ จะมีนักเรียนหนีเรียนสักกี่คน จึงได้ รวมตัวกันประท้วงเพื่อขอตรวจสอบ นโยบายและการท�ำงานของคณะผู้ บริหารโรงเรียน จึงท�ำให้รองผูอ้ ำ� นวย การเข้ามาพูดคุยและโมโหจนไปตบ หั ว เด็ ก นั ก เรี ย นผู ้ น� ำ ประท้ ว งเข้ า ในเวลาต่อมาฝ่ายรองผู้อ�ำนวย การโรงเรียนได้ยอมขอโทษเด็ก และ รับโทษทางกฎหมายเพียงสถานเบา คือจ่ายค่าปรับ 500 บาทฐานท�ำร้าย ร่างกาย ขณะทีเ่ ด็กก็ได้ขอขมาคุณครู ยุตเิ รือ่ งลงด้วยดีทั้ง 2 ฝ่ายแล้ว หลัง จากเกิดเรื่องผู้อ�ำนวยการโรงเรียน ดังกล่าว ถูกสัง่ ย้ายให้ไปช่วยราชการ ส่วนรองผู้อ�ำนวยการที่ลงมือนั้น ถูก ย้ายไปโรงเรียนอืน่ เมือ่ วันที่ 2 กันยายน 2558 ทางคณะกรรมการสอบสวน วินัย ได้มีมติลงโทษทางวินัยกับรอง ผู้อ�ำนวยการดั ง กล่ า ว โดยตั ดเงิ น เดือน 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 1 เดือน มีผลทันทีในเดือนกันยายน ซึง่ เหตุผล ที่ลงโทษวินัยไม่ร้ายแรง เพราะรองผู้
อ�ำนวยการท�ำไปด้วยส�ำนึกความเป็น ครูและยอมรับผิดในทุกกรณี ส่วน นักเรียนคู่กรณีก็ไม่ได้ติดใจเอาผิดแต่ อย่างใด อย่างไรก็ตาม ทางด้านคณะกรรมการ คุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ ได้มี การเรียกหลักฐานผลการสอบสวน ความผิดเรื่องดังกล่าวไปพิจารณา บทลงโทษซ�้ ำ โดยเฉพาะในฐาน ความผิด 2 มาตรา คือ มาตรา 84 ไม่มีจรรยาบรรณความเป็นครู และ มาตรา 88 ประพฤติตนไม่สุภาพต่อ นักเรียน ที่สามารถผนวกรวมความ ผิดเข้ามาตรา 94 คือ ประพฤติชั่ว ซึง่ คุรสุ ภาสามารถพิจารณาบทลงโทษ ดาบสอง ตั้งแต่ว่ากล่าวตักเตือนไป จนถึ ง พั ก หรื อเพิ ก ถอนใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครู จากเรื่องราวที่กล่าวข้างต้นนั้น ท�ำให้สังคมวิพากษ์วิจารณ์ถึงการก ระท�ำที่ไม่เหมาะสมกับความเป็นครู ของรองผู้อ�ำนวยการคนนี้อย่างหนัก และมองว่าบทลงโทษของข้าราชการ ครูยังอยู่ในสถานเบาเกินไป หากมี ครูผู้อื่นกระท�ำผิดในกรณีนี้อีกความ ปลอดภัยของนักเรียนไทยจะมีมาก น้อยแค่ไหนถ้าครูกระท�ำการต่างๆ ตามอารมณ์ ม ากกว่ า การค�ำนึงถึง จรรยาบรรณ
11
ระบบใหม่ ไฉไลกว่าเดิม? เรื่อง : สิรภพ จันทรสาขา
การศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็นการ ศึกษาที่ต้องอาศัยความรู้ทักษะพื้น ฐานในการน�ำไปประกอบอาชีพ นิสติ ปัจจุบันบางกลุ่มเข้ามาเพื่อเรียนให้ ได้รับแค่ใบปริญญาแต่ยังมีนิสิตอีก หลายคนที่เข้ามาเพื่อศึกษาหาความ รูน้ ำ� ทักษะทีไ่ ด้ไปประกอบเป็นอาชีพ หลักให้มฐี านะทีด่ แี ละมัน่ คงในอนาคต นิสิตที่ใฝ่รู้ก็จะจบการศึกษาภายใน เวลาที่ก�ำหนดแต่นิสิตที่ไม่ใส่ใจก็จะ โดนรีไทร์หรือเรียนไปแล้วพ้นสภาพ การเป็นนิสิตไปอย่างไร้ค่า อีกหนึ่ง ระเบียบข้อบังคับที่มีความส�ำคัญ ซึ่ง สามารถส่ง ผลกระตอบโดยตรง ต่อ นิ สิ ต นั่ น คื อ การปรั บ เปลี่ ย นระบบ การพ้ นสภาพการเป็นนิสิต (กรณี เกรดเฉลี่ยสะสมไม่ถึงเกณฑ์) นี่คือ เกณฑ์ขอ้ บังคับการพ้นสภาพการเป็น นิสติ พ.ศ.2547 เมือ่ เรียนครบ 2 ภาค การศึกษามีค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสม ต�่ำกว่ า 1.60 และปัจจุบันได้ปรับ เปลี่ยนมาใช้ เ มื่ อ พ.ศ.2557 ระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ถึง 1.50 เมื่อมี หน่วยกิตสะสมตัง้ แต่ 30-59 หน่วยกิต ตามระดับคะแนนตัวอักษร หัวหน้ากลุม่ งานประมวลผล กอง ทะเบียนและประมวลผลมหาวิทยาลัย มหาสารคาม กล่าวถึงข้อบังคับการ พ้นสภาพการเป็นนิสิต (กรณีเกรด
เฉลี่ยสะสมไม่ถึงเกณฑ์) ว่า กว่าจะ เป็ น กฎระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ การพ้ น สภาพการเป็นนิสิต เป็นเรื่องที่ค่อน ข้ า งยากเหตุ ผ ลหลั ก ของการปรั บ เปลี่ยนระบบคือเพื่อเอื้อให้นิสิตได้ รับผลประโยชน์จากระบบมากที่สุด ซึ่ ง เรื่ อ งการสนั บ สนุ น เป็ น พั น ธกิ จ ของกองทะเบียนทีจ่ ะต้องคอยปฏิบตั ิ หน้าที่ในส่วนนี้อยู่แล้ว ไม่ว่าจะใช้ เกณฑ์ ไ หนทางกองทะเบี ย นและ ประมวลผลควรมี ก ระบวนการที่ ดี และครอบคลุมกว่านี้ ควรมีการถก เถียงปรึกษาหารือกันอย่างเปิดเผย ในเรื่องการพ้นสภาพการเป็นนิสิต เพื่อน�ำมาแก้ไขปัญหาตั้งแต่แรกซึ่ง ทางฝ่ายกองทะเบียนและประมวล ผลไม่ได้บอกถึงจุดประสงค์หลักใน การเปลี่ยนแปลงข้อบังคับและไม่ได้ ออกแบบส�ำรวจหรือแบบสอบถาม กับคณาจารย์หรือนิสิตแต่อย่างใดใน เรื่องนี้ การปรับเปลี่ยนข้อบังคับนี้มี ทัง้ ในแง่ดขี นึ้ และแย่ลง เปรียบเสมือน
ดาบสองคม ในเรื่องของแง่ดีคือการ ให้โอกาสแก่นิสิต ในแง่ร้ายคือการที่ นิสิตปล่อยละเลยไม่รับผิดชอบตัว เองส่งผลให้เรียนไม่จบและบางคน อาจไม่แจ้งรายละเอียดแก่ผู้ปกครอง ควรมีการแนะน�ำดูแลอย่างใกล้ชิด อีกส่วนหนึ่งคือผู้ปกครองต้องรับรู้ เรื่องนี้ว่า กฎระเบียบ ข้อบังคับใช้ หรื อ นโยบายทางมหาวิ ท ยาลั ย ประกาศออกมาเพื่ อ ให้ โ อกาสแก่ นิสิตอย่างไร อย่างไรก็ตามการแก้ปัญหาโดย การเปลี่ยนระบบการพ้นสภาพการ เป็นนิสิตแบบใหม่ เป็นระบบที่เอื้อ ให้นิสิตมากกว่าเป็นการแก้ปัญหา อาจเป็นการแก้ปัญหาทางอ้อมโดย การช่วยเหลือให้นิสิตมีโอกาสในการ ศึกษาต่อ เพื่อให้ตัวของนิสิตกลับมา อยูใ่ นเกณฑ์ปกติไม่ใช่เกณฑ์พน้ สภาพ ซึ่ ง ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว เรื่ อ งของการพ้ น สภาพการเป็ น นิ สิ ต ขึ้ น อยู่กับ การ กระท�ำของตัวนิสิตเอง
12
ทดสอบการศึกษ การปรับที่ไม การทดสอบวัดระดับความรู้ของการศึกษาไทยมัก ถูกน�ำมาประเมินคุณภาพนักเรียนในประเทศด้วยผล การสอบ ที่มีตัวแปรจากการพิจารณาคะแนนสอบแต่ละ วิชา เพื่อบอกถึงศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียนว่าได้ รับการเรียนที่ถูกต้อง มีเนื้อหาครบถ้วนของแต่ละชั้น การศึกษาหรือไม่ หากกล่าวถึงการสอบวัดระดับความรู้ นั้ น เป็ น กรณี ตั ว อย่ า งที่ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า ประเทศไทย สะท้อนคุณภาพการศึกษาโดยการสอบวัดความรู้เป็น หลัก จนกระทั่งท�ำให้ผู้ปกครองเกิดความเชื่อว่าเด็กต้อง เรียนพิเศษ เพื่อบุตรหลานจะเรียนเก่งและสามารถท�ำ ข้อสอบได้คะแนนดี ทั้งนี้ภาพรวมของผลสอบในแต่ละ ครั้งไม่ได้แค่เพียงสะท้อนตัวนักเรียนเท่านั้น แต่แสดงถึง คุณภาพการสอนของสถานศึกษาทั่วประเทศ โดยมีวิธี ประเมิ นคื อ จั ด อั นดับโรงเรียนจากผลการทดสอบวั ด ความรู้ในทุกๆปี ส�ำหรับการทดสอบวัดความรู้ของการศึกษาไทยจะ ถูกจัดขึ้ นโดยสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่ ง ชาติ
(องค์ ก ารมหาชน) ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ส ่ ว นหนึ่ ง ในการออก ข้ อ สอบเพื่อประเมินคุณภาพการศึกษาในประเทศไทย ดั ง นั้ น ผู ้ เขี ย นจึ ง ขอยกกรณี ก ารมี น โยบายเรื่ อ งการ ประเมินการศึกษาของสทศ.ที่มีการเผยแพร่ล่าสุดจาก เว็บไซต์มติชน : เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ที่สถาบันทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) นพ.ธีระเกียรติ เจริญ เศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เปิ ดเผยภายหลั ง เดิ น ทางตรวจเยี่ ย มและมอบ นโยบายเรื่องการประเมินการศึกษาของสทศ. โดยมีนาย สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อ�ำนวยการสทศ. ให้การต้อนรับ ว่า จากการหารือกับนายสัมพันธ์ ถึงเรื่องกาจัดสอบ ประเมินผลต่าง ๆ ของสทศ. ท�ำให้ทราบว่า ข้อสอบที่ ออกโดยสทศ. มีมาตรฐานพอสมควร แต่ขณะเดียวกันเด็กยังมีปัญหาอ่านไม่ออกเขียนไม่ ได้ คิดไม่เป็น จึงมีค�ำถามว่าจะท�ำอย่างไร ที่จะท�ำให้ ระบบการทดสอบเข้ามามีส่วนช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว ด้วย ดังนัน้ ตนจึงมีนโยบายให้สทศ.ปรับข้อสอบแบบทดสอบ
13
ษา ม่เปลี่ยน
เรื่อง : สิริกานต์ เทพสอน
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานหรือโอเน็ต โดยเพิ่ม ข้อสอบอัตนัยให้มากขึ้นเพราะข้อสอบอัตนัยจะท�ำให้ สามารถวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กได้ ซึ่งการปรับเปลี่ยนดังกล่าวจะน�ำมาใช้ในการสอบโอเน็ต ปีการศึกษา 2559 ทีจ่ ะจัดสอบในช่วงต้นปี 2560 โดยจะ น�ำร่องกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิชาภาษาไทย ในสัดส่วนไม่เกิน 20% ของคะแนนสอบทั้งหมด จากการมีนโยบายเรื่องการประเมินการศึกษาข้าง ต้นคือสทศ.ต้องการทีจ่ ะเพิม่ ข้อสอบประเภทอัตนัยให้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพราะเล็งเห็นถึงปัญหา สถานการณ์การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้จึงผลักดันให้เกิด นโยบายนีข้ นึ้ มา แต่เมือ่ มองในด้านการสอบวัดความรูใ้ น รายวิชาภาษาไทยรหัส 61 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ของใน5 ปีที่ผ่านมาจะพบว่าข้อสอบมีคะแนนเต็ม ที่ 100 คะแนน มีนักเรียนเข้าสอบตั้งแต่ปี พ.ศ.2554 – พ.ศ.2557 เฉลี่ยปีละ 7แสนกว่าคน ซึ่งผลคะแนนในวิชา ภาษาไทย 4 ปีที่มี คะแนนสูงสุดคือ 100
คะแนนและคะแนนต�่ำสุดคือ 0 คะแนน มีเพียงปี พ.ศ. 2557 ที่มีคะแนนสูงสุดคือ 94 คะแนนและคะแนนต�่ำสุด คือ 0 คะแนน (ข้อมูลค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน O-net ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 : เว็บไซต์ สทศ.) นอกจากการสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนประถม ศึกษาปีที่ 6 ในเวลาห้าปีทผี่ า่ นมาใช้ขอ้ สอบประเภทปรนัย ให้นักเรียนเลือกตอบเฉพาะข้อที่ถูกที่สุด จุดอ่อนของ ข้อสอบปรนัยคือสามารถคาดเดาและสุม่ ตอบได้หรือหาก ผ่านการอ่านเนื้อหาของบทเรียนก็สามารถท�ำข้อสอบได้ แต่หากตอบผิดก็จะส่งผลต่อคะแนนข้อนั้นเป็นศูนย์และ ข้อสอบปรนัยไม่สามารถเห็นถึงการล�ำดับความคิดและ การวิเคราะห์ค�ำตอบ หากต้องการน�ำนโยบายเรื่องการ ประเมินการศึกษาโดยการเพิ่มข้อสอบอัตนัยในรายวิชา นี้ ก็จะแสดงให้ถึงการทดสอบนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 อย่างแท้จริง แต่ก็ต้องค�ำนึงผลว่าหากนักเรียนท�ำ ข้อสอบประเภทอัตนัยไม่ได้ใน 20 % เพิ่มเข้ามาก็จะมี โอกาสที่คะแนนเป็นศูนย์จะส่งผลให้สถิติการท�ำข้อสอบ ไม่ได้เพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงข้อสอบ O-net ของชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 เป็นแบบแผนการพัฒนาระบบการศึกษา นักเรียน ทัง้ นีก้ ต็ อ้ งมองปัญหาขัน้ พืน้ ฐานของนักเรียนด้วย ว่ามีปัจจัยในการท�ำข้อสอบไม่ได้มาจากการไม่เข้าใจบท เรียน มีเนื้อหาที่ถูกปรับเปลี่ยนไปมา รวมถึงการสอนครู อาจารย์ยงั ดูแลนักเรียนไม่ทวั่ ถึง เช่น แบ่งแยกเด็กเก่งกับ เด็กเรียนไม่ได้ จึงเป็นปัจจัยท�ำให้มีเด็กอ่านไม่ออกเขียน ไม่ได้ สุดท้ายปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จะสะท้อนแนวทางแก้ไขถึง การจัดการทดสอบกี่ครั้งก็จะมีนักเรียนที่ท�ำข้อสอบได้ คะแนนเต็มและท�ำข้อสอบไม่ได้เลย ในปีการศึกษา พ.ศ. 2559 ที่จะมีการน�ำร่องเพิ่มข้อสอบอัตนัยในรายวิชา ภาษาไทย จึงมีความเป็นไปได้ว่าการปรับเปลี่ยนการ ทดสอบเพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาการอ่ า น การวิ เ คราะห์ ข อง นักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 นั้นมีแนวโน้มสูงที่จะไม่ประสบ ความส�ำเร็จ
14
นโยบาย “การล
15
ลดเวลาเรียน” ต้องแก้ที่ต้นเหตุ
เรื่อง : จิรายุ แช่มพุฒทรา
นโยบายการ “ลดเวลาเรียน” สาระส�ำคัญในการ ปฏิบัติตามนโยบาย คือ แต่เดิมเด็กนักเรียนจะต้องเลิก เรียนเวลา 16.00 น. ก็จะเปลี่ยนเป็นเลิกเรียนในชั้นเรียน เวลา 14.00 น. เพื่อน�ำเวลา 2 ชั่วโมงนั้นไปให้โรงเรียน จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ให้แก่เด็ก เพื่อให้เด็กมีความ สุขกับการเรียนรู้ ไม่เครียด และไม่มีการบ้านเพิ่ม เวลา เรียนที่ลดไปจะมีการจัดกิจกรรมเข้ามาทดแทนเช่น การ เรียนนอกห้องเรียนเพื่อให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับสังคม ภายนอก จากการเรียนรูโ้ ดยการสร้างกิจกรรมในรูป แบบ ต่างๆ และเป็นกิจกรรมทีเ่ ด็กให้ความสนใจ และอีกอย่าง ที่น่าสนใจคือ กิจกรรมสอนอาชีพ ซึ่งมีโรงเรียนในสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) กว่า หมื่นโรงเรียนมีความต้องการเรื่องดังกล่าว โดยโรงเรียน อาจชักชวนผู้ปกครอง หรือผู้มีความรู้ด้านภูมิปัญญาชาว บ้านเข้ามาร่วมให้ความรู้และสอนอาชีพแก่นักเรียน รวม ถึงกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะชีวิตด้วย พล.อ. ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ ย�้ำว่า นโยบายการลดเวลาเรียน ไม่ใช่พงึ่ จะมาด�ำเนินการ หรือมีการบังคับให้ลดเวลาเรียน แต่อย่างใด แต่ สพฐ.ได้ด�ำเนินการมาก่อนแล้ว โดยตั้ง คณะท�ำงานขึ้นมาพิจารณา มีการหารือเกี่ยวกับการลด วิชาเรียนทีจ่ ะไม่สง่ ผลกระทบต่อหลักสูตร ตลอดจนมีการ วางแนวทางการด�ำเนินงานไว้ เป็นระยะอย่างต่อเนือ่ งซึง่ ในขณะนี้ ดร. กมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ก�ำลังจัดท�ำแนวทางกิจกรรมเพือ่ ส่ง ไปยังโรงเรียนน�ำร่องจ�ำนวนประมาณ 3,500 โรงเรียน หรือคิดเป็นร้อยละ 10 ของจ�ำนวนโรงเรียนสังกัด สพฐ. ทั้งหมด เพื่อทดลองใช้เป็นแนวทางด�ำเนินการ ตั้งแต่ช่วง เปิดภาคเรียนที่ 2 เป็นต้นไป จาก นั้นจะมีระบบประเมิน ผล หากพบว่าส่วนใดยังบกพร่อง ก็จะแก้ไขปรับปรุงเสีย
ก่อนที่จะขยายผลต่อไป
โรงเรียนเป็นเหมือนบ้านหลังที่ 2
ในปัจจุบนั โรงเรียนเป็นบ้านเหมือนหลังทีส่ องของเด็ก เป็นบ่อเกิดของคุณงามความดี โดยเฉพาะการพัฒนา ศักยภาพ ความรู้ ความสามารถของเด็กและเยาวชนให้ ทรัพยากรมนุษย์ทมี่ คี ณ ุ ค่าของสังคม แต่โรงเรียนจ�ำนวน ไม่นอ้ ยยังขาดคุณภาพ ทีจ่ ะท�ำให้เด็กและเยาวชนเป็นคน ที่สมบรูณ์ตามความมุ่งหวังของสังคมและ โรงเรียนขาด การดูแล เอาใจใส่นักเรียนอย่างจริงจังขาดการจัดการที่ เหมาะสมต่อการ พิทักษ์ ปกป้อง คุ้มครอง และการดูแล ช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างเท่าทัน ทัว่ ถึง ถูกต้องและเป็น ธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยไม่ค�ำนึงถึงความแตก ต่างระหว่างบุคคล ให้ความส�ำคัญเรื่อง กฎระเบียบ มากกว่าชีวติ จิตใจของนักเรียน พัฒนาผูเ้ รียนโดยไม่คำ� นึง ถึงองค์รวมตลอดถึงการจัดการแก้ปญ ั หาของนักเรียน โดย ขาดการมีสว่ นร่วม และยังเลือกใช้ความรุนแรงในการแก้ ปัญหาพฤติกรรมนักเรียน ดังนั้นภาครัฐควรพัฒนาจาก สถานศึกษาให้มคี ณ ุ ภาพก่อน แล้วค่อยพัฒนาต่อไปยังตัว เด็กเพื่อให้เกิดความส�ำเร็จ
ครอบครับและวัฒนธรรมของไทย
แต่อย่างไรก็ตาม ครอบครัวก็ควรมีส่วนช่วยผลักดัน ตัวเด็กด้วย เพราะทุกสิง่ ต้องเริม่ จากครอบครับทีใ่ ห้ความ ส�ำคัญต่อลูกของตน ต้องไม่บังคับลูกจนเกินไป เนื่อง วัฒนธรรมของไทย ต้องก�ำกับดูแล เด็กต้องเชื่อฟังพ่อแม่ ดังนัน้ การปรับเปลีย่ นอะไรจึงต้องค่อยๆ ผ่อนคลาย ไม่ใช่ เข้มงวดอยูแ่ ล้วปล่อยอิสระทันที จะท�ำให้เด็กเสีย โดยเริม่ จากฉุดคิดก่อน ไม่ใช่สอนให้เด็กเรียนแบบไม่เครียด แต่ ควรสอนให้เด็กรูจ้ กั รับมือกับความเครียด และฝึกบริหาร ความคิดให้ได้ ไม่ใช่ท�ำเหมือนพ่อแม่สมัยนี้ ที่ปกป้องลูก จนเปราะบาง รับมือกับปัญหาต่างๆ ในอนาคตไม่ได้
16
อย่ามองว่าคนที่มีรอยสักคือคน ในสมัยปัจจุบันวัยรุ่นไทยได้มี ความนิยมในการสักลายและระเบิดหู มากขึ้ น บางคนท� ำ เอาเพราะความ สวยงามหรือบางคนอาจท�ำไปเพราะ ความเชื่อต่างๆ และดูเหมือนจะเป็น สิ่ ง ที่ ข าดไม่ ไ ด้ ข องวั ย รุ ่ น ไทยไปใน ที่สุด และดูเหมือนว่าจะเป็นสิ่งที่ผิด ต่ อ การเข้ า เรี ย นในสถานศึ ก ษา เนื่องจากสถานศึกษามีความเห็นต่อ เด็กที่มีรอยสักและระเบิดหูเป็นคนที่ ไม่ดีอาจก่อเรื่องทะเลาะวิวาทได้ ใน กระแสสั ง คมการศึ ก ษาที่ ผ ่ า นมา เราอาจจะคุ้นเคยกับข่าวที่ว่าสมาคม วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวะศึกษา แห่งประเทศไทยได้มีมติ ไม่รับเด็กที่ มีรอยสักหรือระเบิดหูเข้าศึกษาต่อใน สถานศึกษา เนือ่ งจากเด็กเหล่านีอ้ าจ มี นั ก ศึ ก ษาบางส่ ว นที่ แ อบแฝงมา ท�ำให้เป็นเรือ่ งทีห่ ลายคนก�ำลังจับตา มองเป็นอย่างมาก
ทัง้ ผูท้ เี่ ห็นด้วยและผูไ้ ม่เห็นด้วย หลัง จากมี ก ระแสนี้ ไ ม่ น านได้ รศ.นพ ก� ำ จร ตติ ย กวี ปลั ด กระทรวง ศึกษาธิการ(ศธ.) ได้เสนอความเห็น ในที่ ป ระชุ ม กั บ สมาคมวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี แ ละอาชี วะศึก ษาแห่ง ประเทศไทยว่า “การที่มีมติสั่งห้าม เด็กมีรอยสักหรือระเบิดหูเข้าเรียน ในสถานศึกษา เหมือนเป็นการเหมา รวมกับเด็กว่าเป็นคนไม่ดี การเจาะ หู ห รื อ การสั ก นั้ น เป็ น เหมื อ น พฤติกรรมของวัยรุ่น เราไม่สามารถ เปรียบเด็กที่มีพฤติกรรมดังกล่าวว่า เป็นคนไม่ดี แต่ถ้าทางสถานศึกษา กลั ว เด็ ก ที่ มี พ ฤติ ก รรมเหล่ า นี้ ทะเลาะวิวาทก็สามารถ จ�ำแนกเด็ก อ อ ก เ ป ็ น ก ลุ ่ ม ๆ เ พื่ อ จั บ ตา ดู พฤติกรรมของเด็ก ถ้าเด็กคนไหนมี ประสงค์จะทะเลาะวิวาทก็สามารถ พ้นสภาพนักศึกษาได้ทันที”
17
นไม่ดี
เรื่อง : อนุชา แซ่จัง
ในกรณี ดั ง กล่ า วในความเห็ น ส่วนตัวเห็นด้วยกับทั้งสองฝ่าย ยก ตัวอย่างถ้าเป็นสถานศึกษา ก็เกรง ว่าเด็กพวกนี้สักวันหนึ่งอาจก่อเหตุ ทะเลาะวิวาทและส่งผลเสียงต่อสถาน ศึกษาเอง ยิ่งด้วยในสังคมไทยสมัยนี้ ประชาชนชอบตั ด สินคนที่สถาบัน อาทิ คนนี้ แ ต่ งตั ว ไม่เรียบร้อยหรือ พูดจาไม่ดีอยู่สถานศึกษาไหนก็จะ เหมารวมว่าสถานศึกษาแห่งนั้นสอน เด็ ก ไม่ ดี ทั้ ง ที่ เ ด็ ก บางคนไม่ ไ ด้ เกี่ยวข้องก็โดนเหมารวมว่าเป็นคน ไม่ดีเ พราะเรี ย นอยู่ในสถานศึกษา เดียวกัน แต่กับเด็กที่มีรอยสักตาม ร่างกายแล้วเป็นเหมือนเครื่องการัน ตีอย่างดีว่าเจ้าตัวนั้นเป็นคนไม่ดี แต่ เรานั้นไม่สามารถว่าพวกเขาเหล่านี้ ว่ า เป็ น คนไม่ ดี บ างคนอาจสั ก เพื่ อ ความสวยงาม หรื อ บางคนอาจ เพราะสักตามความเชื่อส่วนตัว แต่ก็
ไม่ได้หมายความว่าพวกเขาจะเป็น คนไม่ดี ถ้าถามว่าคนที่มีรอยสักเป็น คนไม่ดีมีไ หม ตอบได้ เ ลยว่ า มี แต่ เป็นบางส่วนเท่านัน้ เราจะเห็นบ่อยๆ ว่าจะการก่อเหตุทะเลาะวิวาทแต่ละ ครั้ง จะมีเด็กที่มีพฤติกรรมสักลาย หรือเจาะหูท�ำให้สังคมไทยตัดสินใน เด็กเรานี้เป็นคนไม่ดีเป็นต้นเหตุให้ เกิดการทะเลาะวิวาท ทั้งๆทีเด็กบาง ส่วนที่สักลายหรือเจาะหูอีกส่วนหนึ่ง ที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องถูกเหมารวม ว่าเป็นคนไม่ดี ในความเห็นส่วนตัวการตัดสินใจ ไม่รับเด็กที่มีรอยสักและระเบิดหูเข้า ศึกษาต่ออาจไม่ใช่เรื่องที่ดีที่สุด มัน เป็นเหมือนการปิดกั้นเสรีภาพของ เด็ก เราเหมารวมไม่ได้ว่าเด็กทุกคน ที่สักหรือระเบิดหูเป็นคนไม่ดี แต่เรา สามารถให้โอกาสพวกเขาได้เข้ามา เรียนร่วมกับเพื่อนคนอื่น ถ้าเด็กคน
ไหนมีพฤติกรรมไม่ดีทางการศึกษาก็ สามารถลงโทษเด็ ก คนนั้ นตามกฎ ของสถานศึ ก ษาได้ ทัน ที มัน น่าจะ เป็ น เรื่ อ งที่ ส มเหตุ ส มผลมากกว่ า การที่มองเขาแต่ภายนอก และอีก อย่างในปัจจุบันสถานศึกษาแต่ละที่ จะมีการท�ำประวัตขิ องนักเรียนแต่ละ คนว่ามีพฤติกรรมเป็นอย่างไร เรา สามารถรู้เรื่องราวที่ผ่านมาของเด็ก ได้ ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ดีและนั่นอาจ เป็นทางออกที่ดีที่สุดมากกว่าที่จะไม่ รับเด็กที่มีรอยสักหรือระเบิดหูเข้า เรียน
หากพูดถึงการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย หลาย คนคงนึกถึงกิจกรรมรับน้อง ซึ่งกิจกรรมรับน้องถือว่ามี ความส�ำคัญในด้านสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพี่ และน้อง รวมถึงการละลายพฤติกรรมของเด็กในมหาวิทยาลัย เพือ่ ให้เด็กในคณะ หรือสาขานัน้ ได้ทำ� ความเข้าใจท�ำความ รู้จักและปรับตัวเพื่อเข้ากับผู้อื่นได้ง่ายขึ้น เมื่อพูดถึงกิจกรรมรับน้องเชื่อว่าใครหลายคนต้อง คุน้ หูกบั ระบบ “โซตัส” (SOTUS) ระบบโซตัสในมหาวิทยาลัย ไทยมีต ้ นก� ำ เนิ ด ที่ ม หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู ้ ที่ น� ำ ระบบโซตัสเข้ามาคืออาจารย์ที่จบจากมหาวิทยาลัยบอส บานยอสในฟิลิปปินส์ มหาวิทยาลัยคอร์แนล และมหา วิทยาลัยโอเรกอนในสหรัฐอเมริกา ระบบโซตัสที่มักจะ พบเห็นได้บ่อยสุดคือการว๊าก หรือการลงโทษทางด้าน ร่างกายซึ่งอาจกระทบถึงทางด้านจิตใจด้วย SOTUS นั้นย่อมาจาก S = Seniority หรือ อาวุโส หมายถึง ความเกรงใจเคารพในสิทธิซึ่งกันและกัน O = Order หรือระเบียบวินัย สิ่งนี้จ�ำเป็นมากใน ชีวิตที่ต้องอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มในสังคม T = Tradition หรือประเพณี เป็นสิ่งที่เห็นว่าดี ถูก ต้องและประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา U = Unity หรือความสามัคคี คือความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน S = Spirit หรือน�้ำใจ หมายถึง การมีน�้ำใจ เอื้อเฟื้อ เกื้อกูล ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จะเห็นได้ว่าแก่นแท้ของระบบโซตัสเป็นระบบที่ ค่อนข้างจะดี ในด้านท�ำให้มีความสามัคคี มีระเบียบ วินัย มีน�้ำใจแก่กัน เฉกเช่นกรณี ดร.ลลิตา หาญวงศ์ อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชา ประวัตศิ าสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ออกมาโพสข้อความถึงการ รับน้องของวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยใช้ทัศนะคติส่วนตัวแสดงความคิดเห็นต่อนิสิตชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นางสาว เอ นามสมมติ นิสิตวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เล่าถึงการรับน้องว่า การรับ น้องของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ เป็นการอยู่ร่วมกันแบบ
การรับน้องอยู่ท น้องของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ เป็นการอยู่ร่วมกันแบบ พี่น้อง ครอบครัว เพราะในวิทลัยดุริยางคศิลป์มีนิสิตไม่ มากท�ำให้ทุกคนแทบจะรู้จักกันทั้งหมด การรับน้องจึง มีความเป็นครอบครัว ดูสนุก แต่ก็มีเครียดบ้างในบาง เหตุการณ์ แต่ในท้ายที่สุดแล้วก็จะจบลงด้วยรอยยิ้ม และเสียงหัวเราะ และความอบอุ่นแบบครอบครัวเสมอ เช่น กิจกรรมก่อนจะบายศรีรับขวัญให้น้องปี 1 พี่ปี 4 จะเข้าไปคุยกับน้อง อาจจะถามหรือท�ำความรู้จักกับรุ่น น้อง อาจจะเป็นการฟังเพลงรุ่นหรือเพลงของวิทยาลัย จากน้องๆ เพื่ออยากทราบถึงความตั้งใจที่เข้ามาศึกษาที่ วิทยาลัยแห่งนี้ และความสามัคคีของน้องๆ ว่ามีความ พร้อมมากเพียงใด อาจจะมีบ้างที่บางคนอาจจะเหนื่อย ล้าและเครียดที่โดนกดดันแล้วถึงกับร้องไห้ แต่ในท้าย ที่สุดแล้วพี่ๆ จะบอกกับน้องว่า “ทุกๆคนคือน้องของ
ที่คน หรือระบบโซตัส เรื่อง : ธนากร หอมเนตร
เราแล้ว” และ สุดท้ายเราก็จะบายศรีสู่ขวัญให้ แล้ว ร้องเพลงของวิทยาลัยเพื่อเป็นการยืนยันว่า เราทุกคน คือนิสิตของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์แล้ว เราทุกคนคือพี่ น้องคือครอบครัวเดียวกัน บรรยากาศนั้นอบอุ่นมาก นางสาว เอ กล่าว นางสาว เอ กล่าวต่อว่า เพราะว่า ทุกรุ่นต้องมีธงรุ่น มีเสื้อช๊อป มีเพลงรุ่น มีคอนเสิร์ตรุ่น ในฐานะของรุ่นพี่ ต้องคอยบอกเพื่อให้น้องได้ร่วมมือกันท�ำสิ่งต่างๆ เพื่อ อยากให้ทุกคนได้ฝึกการท�ำงานเป็นทีม มีความสามัคคี เข้าใจงาน เข้าใจการแบ่งหน้าทีใ่ นการท�ำงาน ถ้าไม่คอย บอกคอยช่วยน้อง น้องจะไม่รู้งานรู้การท�ำงาน การเข้า พูดคุยกับน้องในบางครั้งที่หลายๆคนหรือหากบุคคล ภายนอกไม่รู้ อาจจะมองว่าเป็นการดุด่าที่รุนแรง แต่ นั่นคงจะไม่เสมอไปเพราะในทุกๆครั้งที่รุ่นพี่เข้าพูดคุยก็
อาจจะมีบ้างที่ดุน้อง แต่ด้วยเหตุและผลต่างก็เพื่อให้ น้องได้หาวิธีที่จะร่วมมือกันและท�ำทุกอย่างให้ส�ำเร็จไป ได้ด้วยดี และหลังจากการเข้าคุยกับน้องๆ หลังจาก การประชุม พี่ๆก็พร้อมจะให้ก�ำลังใจและให้ค�ำปรึกษา เสมอ หากพูดถึงการรับน้องของวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ จะ เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือการให้นิสิตชั้นปีที่ 1 นั้นตัดทรง ผมสกินเฮด ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของนิสิตชั้นปีที่ 1 ของ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ นางสาว เอ เล่ า ว่ า การให้ รุ ่ น น้ อ งตั ด สกิ น เฮด เพราะดูเรียบร้อยและนิสิตที่เข้าใหม่จะมีการครอบครู เพราะปี1 จะมีเรียนเพลงดนตรีไทย มีความเชื่อว่า การ จะเล่นเพลงเหล่านั้นได้ ต้องผ่านการครอบครู เพื่อขอ อนุญาตครูก่อน เป็นความเชื่อของครูดนตรีไทยที่มีมา นาน จะมีการเจิมที่หน้าผาก เพื่อง่ายต่อการเจิมแล้ว การตัดผมยังแสดงถึงความเรียบร้อยสะอาดตาอีกด้วย แต่กระนั้นระบบโซตัสยังสะท้อนให้เห็นถึงระบบ อ�ำนาจนิยม ซึ่งผู้น้อยต้องเคารพผู้อาวุโส หากรุ่นพี่สั่ง อะไร รุ่นน้องก็ต้องท�ำ ท�ำให้เด็กโดนริดรอนสิทธิ ซึ่งขัด ต่ อระบอบประชาธิ ป ไตยในสั ง คมไทยเป็ น อย่างมาก โดยระบบโซตัสนั้นจริงๆแล้วใช้กับการฝึกทหาร เป็นรูป แบบการควบคุมก�ำลังพล ระบบโซตัสนั้นมีผลดีเมื่อคนที่ใช้น�ำมาให้อย่างถูกวิธี และระบบโซตัสนั้นจะส่งผลเสียเมื่อผู้ใช้เอามาส่งเสริม ท� ำ ให้ ตั ว เองดู น ่ า เกรงขาม เพื่ อ ข่ ม รุ ่ น น้ อ งให้ อ ยู ่ ใ น อ�ำนาจ หากถู ก น� ำ มาใช้ ใ นทางที่ ผิ ด อยู ่ แ บบนี้ระบบ โซตัสก็จะค่อยๆรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ และถูกส่งต่อเป็นรุ่น โดยไม่สิ้นสุด จนในที่สุดมหาวิทยาลัยอาจเป็นแหล่งบ่ม เพาะความรุนแรง แม้จะมีกฏหมายการรับน้องออกมา แต่ก็ยังไม่เห็น ผลอย่างชัดเจน มหาวิทยาลัยควรจะมีการจัดการระบบ คัดสรร ผู้ที่จะมาเป็นผู้น�ำในกิจกรรม ออกเป็นกฏของ มหาวิทยาลัยควบคู่กับกฏหมายไปด้วย เพื่อระบบที่ดี และเป็นการบ่มเพาะ นิสิตนักศึกษา ก่อนออกไปสู่โลก ภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นนิสิตนักศึกษาที่มี คุณภาพในการท�ำงาน
20
กยศ.ไทยไร้ทุน
เรื่อง : ธนวัฒน์ ธนศรีวรางกูร
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) คือกองทุนกู้ยืมที่ช่วยเหลือ และสนับสนุนเรื่องการศึกษาแก่ผู้ที่ ขาดแคลนทุ นทรั พย์เพื่อการศึกษา เล่าเรียนและต้องช�ำระหนี้คืนให้รัฐ หลังจากสิ้ นสุ ด การศึกษา ปัจ จุบัน เงินทุนงบประมาณปี พ.ศ. 25588 ของกยศ. มีนอ้ ยกว่าทุกปีทำ� ให้สามารถ อนุมตั ปิ ล่อยกูไ้ ด้เพียงบางส่วนเท่านัน้ เหตุผู้กู้ยืมรายเก่าที่สิ้นสุดการรับเงิน ทุนไม่น�ำเงินมาช�ำระหนี้กยศ. ล่าสุด ทางกยศ. ออกมาประกาศมาตรการ ยึดทรัพย์ผู้ค้างช�ำระกว่า 800 ราย และเตรี ย มหามาตรการใหม่ ๆ ใน การติดตามผู้ค้างช�ำระหนี้ให้มาช�ำระ เงินเพื่อที่กยศ. จะได้มีเงินทุนส�ำหรับ นักเรียนนักศึกษารุ่นต่อๆไป การเข้าเรียนในระดับมหาวิทยาลัย ผู ้ ป กครองต้ อ งแบกรั บ ภาระค่ า ใช้ จ่ายมากกว่าระดับมัธยมหลายเท่า การเลื อ กใช้ บุ ต รหลานกู้ยืม เงินทุน กยศ. จึงเป็นทางเลือกที่ดีในการแบ่ง เบาภาระค่าใช้จ่ายและสามารถผ่อน จ่ายในระยะยาว และคิดดอกเบี้ยต�่ำ ผู้กู้ยืมยั งได้ เ งิ นรายเดือนไว้ใช้จ ่า ย กยศ. จึงเป็นตัวเลือกที่ดีในการแบ่ง เบาภาระทางการเงิ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ใน ระดับมหาวิ ท ยาลั ย และเป็นค่า ใช้ จ่ายส่วนตัวของบุตรหลาน จากการประชุมคณะอนุกรรมการ
บั ญ ชี จ ่ า ยที่ 1 กองทุ น เงิ น ให้ กู ้ ยื ม เพื่อการศึกษา (กยศ.) ที่ประชุมได้ รายงานผลการจ่ า ยเงิ น กยศ. ประจ�ำปีการศึกษา 2557 มีจ�ำนวน ผู ้ กู ้ ยื ม ทั้ ง รายเก่ า และรายใหม่ ทั้งหมด 154,630 คน จ� ำ นวนเงิ น ทั้งหมด 972,094,401 บาท แบ่ ง เป็นผู้กู้ในความรับผิดชอบของคณะ อนุกรรมการบัญชีจ่ายที่ 1 จ�ำนวน 114,738 คน เป็นเงินกูย้ มื 712,035,581 บาท นอกจากนี้ ยังได้หารือถึงแนวทาง แก้ปัญหาผู้ค้างช�ำระเงินกู้ กยศ. ซึ่ง ปัจจุบันมีมากถึง 50% ของจ�ำนวนผู้ ครบก�ำหนดช�ำระหนี้ทั้งหมด ดังนั้น ที่ประชุมเห็ น ว่ า ต้ อ งมี ก ารก� ำ หนด มาตรการติดตามหนี้สินให้เข้มข้นขึ้น โดยเบื้องต้นคณะอนุกรรมการบัญชี จ่ายที่ 1 ขอให้บริษัทจ�ำกัดมหาชน (บมจ.) ธนาคารกรุงไทย จัดท�ำข้อมูล ผู้กู้ทั้งหมดที่ มี อยู ่ ใ นระบบทั้ ง หมด โดยขอให้ ร ายงานทุ ก ไตรมาสและ แยกเป็นรายสถานศึกษา ข้อมูลจาก ( https://www.thairath.co.th/ content/444923) ปัจจุบันกยศ. มีมาตรการอย่าง จริ ง ในการเดิ น หน้ า ทวงหนี้ ผู ้ ค ้ า ง ช�ำระเงิน โดยด�ำเนินการทวงหนี้ไป แล้วกว่า 786 ราย รวมเป็นเงิน 22 ล้านและยังคงเดินหน้าทวงหนีผ้ คู้ า้ ง ช�ำระเพิ่มกว่า 4,175 รายและหาก
ยังไม่รีบจ่ายก็จะไม่มีการไกล่เกลี่ย อีกทั้งยังมีโครงการรณรงค์ช�ำระหนี้ พร้อมทั้งหามาตรการใหม่ๆมาจูงใจ ผู้ค้างช�ำระให้มาช�ำระหนี้ กยศ. ได้ด�ำเนินการมาตรการที่ จริ ง จั ง เป็ น ตั วอย่ า งแก่ ผู ้ ค ้างช�ำระ รายอื่นๆ เพื่อกระตุ้นให้ผู้ค้างช�ำระ อี ก หลายรายที่ ยั ง คงนิ่ ง เฉยและไม่ ด�ำเนินการติดต่อใดๆรีบด�ำเนินการ ติ ดต่ อ ใช้ ห นี้ ก ยศ. เพื่ อ ที่ จะไม่โ ดน มาตรการยึดทรัพย์และได้ช่วยผู้ที่ยัง คงรอเงินจากการช�ำระหนีไ้ ด้มโี อกาส ทางการศึกษามากขึ้น มหาวิทยาลัยควรเป็นส่วนร่วม ในการติดตามประสานงานการทวง หนี้ในครั้งนี้ เนื่องจากมีข้อมูลและ ความใกล้ชิดกับนิสิตมากที่สุดเพื่อ ให้การด�ำเนินการติดตามเป็นไปด้วย ความรวดเร็วยิ่งขึ้น จากปัญหาการค้างช�ำระเงินกยศ. ปั จ จั ย การค้ า งช� ำ ระหนี้ เกิ ด จาก ความหละหลวมของมาตรการการ ติ ดตามทวงหนี้ ข องกยศ. ซึ่งผู้ค ้าง ช� ำ ระเห็ น ว่ า มี ผู ้ กู ้ ยื ม บางรายไม่ได้ ช� ำ ระหนี้ แ ต่ ไ ม่ มี ก ารติ ด ตามจาก กยศ. ตนจึงไม่ช�ำระหนี้เช่นกัน และ มีหลายรายที่คิดในลักษณะนี้และยึด คติ “ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย” ท�ำให้เกิด ปัญหางบประมาณในปีปัจจุบันสวน ทางกับจ�ำนวนความต้องการของผูก้ ยู้ มื
21
หนี กยศ. ไม่จ่าย = ท�ำลายอนาคตผู้อื่น
ผู้ค้างช�ำระเงินควรจะน�ำเงินกู้ยืมไป ช�ำระเงินคืนให้กับ กยศ. หากเพียง เปลี่ยนความคิด ปรับทัศนคติ นึกถึง คนที่อยู่ข้างหลังที่ยังรอคอยเงินจาก การช� ำ ระหนี้ ข องเราเพื่ อ ให้ ไ ด้ มี โอกาสทางการศึกษามากขึ้นต้นเหตุ ของปัญหาคือความเห็นแก่ตัวของ คน แค่ เ พี ย งมองย้ อ นกลับไปดูผล กระทบของปัญหาที่เกิดขึ้นจากตัวเร และใตร่ ต รองให้ ดี ก่อนจะท�ำอะไร ปัญหาเหล่านี้ก็จะไม่เกิดขึ้นในสังคม ไทย
เกลียดการโกง เป็นชีวิตจิตใจ “แต่ไม่จ่ายหนี กยศ.”
รับจ้างท�ำวิทยานิพนธ์ อาชญากรรมการศึกษาไทย
เรื่อง : ขนิษฐา สุวรรณธรรมา
“บริการ รับท�ำวิจยั ป.โท ราคาถูก รับท�ำวิทยานิพนธ์ แบบผู้ช่วยวิจัย รับท�ำเฉพาะบางบทหรือทั้งเล่ม รับท�ำ สารนนิพนธ์ รับแปลผลวิเคราะห์ สรุปเนื้อหางานวิจัย รั บ ท� ำ thesis uk หรื อ dissertation uk ส� ำ หรั บ นักเรียนต่างประเทศ หรือท�ำ academic writing ทุก ประเภท รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือปริญญานิพนธ์ ภาษาอังกฤษ รับปรึกษางานวิจัย ทุกสาขาปรึกษากับ เราได้ บริการ 24 ชั่วโมง ให้บริการกับมืออาชีพเท่านั้น ช่วงนี้ลดราคาส�ำหรับใครที่ต้องการให้วิเคราะห์หรือดูแล ใน 3 บทแรก ลด 20 % ทุกสาขา” นี่คือข้อความโฆษณาที่เราสามารถพนเห็นได้ตาม เว็บไซต์ต่างๆ ซึ่งแต่ละเว็บไซต์จะมีการดึงดูดผู้ว่าจ้าง แตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นการเสนอราคาที่ถูก การการันตีประสบการณ์การท�ำงานอย่างมืออาชีพช่วย ให้ค�ำปรึกษา สามารถท�ำให้งานออกมาส�ำเร็จได้เร็วตาม ก�ำหนด และมีการลดราคาหากให้ดูแลตามบทที่ก�ำหนด สิง่ เหล่านีส้ ะท้อนให้เราเห็นว่า “การรับจ้างท�ำวิทยานิพนธ์” เป็นตัวบ่งชี้ให้เห็นถึงความอ่อนแอของการศึกษาไทย เพราะปัญหาการรับจ้างท�ำวิทยานิพนธ์ เป็นปัญหาด้าน การศึกษาอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ถือเป็นการก่อ อาชญากรรมด้านการศึกษาทีฝักรากลึกมายาวนาน เป็น ปัญหาเรื้อรังรอหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาแก้ไขอย่าง เอาจริงเอาจังมายาวนานแล้วเช่นกัน
วิทยานิพนธ์เกิดขึน้ อย่างไม่เกรงกลัวกฎหมาย เราสามารถ ค้นหาแต่ละสถาบันได้ง่ายๆ เพียงกรอกข้อมูลที่เกี่ยวกับ การรับจ้างท�ำวิทยานิพนธ์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเราก็ จะเห็ น โฆษณาหรื อ ข้ อ ความตามโซเชี ย ลมี เ ดี ย ต่ า งๆ ปรากฏสถาบันการรับจ้างท�ำวิทยานิพนธ์ ไม่ว่าจะเป็น วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตี โท และเอก ทั้งของภาครัฐ และเอกชน สิ่งเหล่านี้จึงกลายเป็น “ธุรกิจการศึกษา” เพราะมีความเชื่อที่สั่งสมมานานว่าการศึกษาคือธุรกิจ ดีๆ นี่เอง การรับจ้างท�ำวิทยานิพนธ์เพื่อจบการศึกษาในแต่ละ มหาวิทยาลัยจึงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป สมัยก่อนนั้นผู้ว่า จ้างจะให้คนสนิทหรือคนที่ตนเองรู้จักเท่านั้นท�ำให้ หรือ ไม่ก็ตามหาประกาศตามบอร์ดของมหาลัย ปัจจุบันเป็น ยุคเทคโนโลยีอย่างเต็มตัวแล้วงง่ายต่อการเข้าถึงและมี ความสะดวกต่อการจ้างงานแค่มีเพียงคอมพิวเตอร์หรือ สมาร์ ท โฟน และอิ น เทอร์ เ น็ ต ก็ เ พี ย งพอแล้ ว งานที่ ว่ายากก็กลายเป็นง่ายในพริบตาเดียว ยิ่งมีการการันตี ด้านการเก็บรักษาข้อมูลของผู้ว่าจ้างว่าจะไม่มีการเปิด เผยข้อมูลใดๆ ของผู้ว่าจ้าง และยังการันตรีผลงานได้ จากยอดไลท์เพจที่มีจ�ำนวนกว่า 10,000 ไลท์ ยิ่งง่ายต่อ การตัดสินใจว่าจ้าง
มาตรการการรับมือกับอาชญากรรมการศึกษา
หลังประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แห็ น ถึ ง ปั ญ หาการจ้ า งท� ำ สารนิ พ นธ์ และ การศึกษาคือเป็นธุรกิจง่ายๆ แค่คลิกเดียว ปัจจุบันเราจะเห็นว่าไม่ว่าจะหันไปทางไหนเราก็จะ วิทยานิพนธ์ของนิสิต นักศึกษา ซึ่งเป็นปัญหารุนแรง เจอสถาบันติวเตอร์ตา่ งๆ รวมถึงมีการเปิดสถาบันรับจ้าง และส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาไทย โดยมีราคาว่าจ้างที่ ท�ำธุรกิจด้านการศึกษาเต็มไปหมดทั้งโรงเรียนกวดวิชา ราคาประมาณ 20,000-500,000 บาท ขึ้นอยู่กับความ
23 ยากง่ายของแต่ละสาขาวิชา หากปล่อยไว้คุณภาพการ ศึ ก ษาไทย โดยเฉพาะระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจะตกต�่ ำ ไป มากกว่านี้ จึงมีมติว่า ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 เป็นต้น ไป หากพบนิสิต นักศึกษาในสถาบันที่เป็นสมาชิก ทปอ. ทั้ง 27 แห่ง มีการจ้างท�ำ หรือคัดลอกวิทยานิพนธ์ และ สารนิพนธ์ จะถูกให้พ้นสภาพการเป็นนิสิต นักศึกษา ทั น ที ทั้ ง จะส่ ง รายชื่ อ ให้ ม หาวิ ท ยาลั ย ที่ เ ป็ น สมาชิ ก ทปอ.ทุกแห่ง ไม่ให้รับเข้าศึกษาต่อ และได้มอบให้นิติกร ทปอ.ไปศึกษาข้อกฎหมายว่าจะเอาผิดผู้ที่รับจ้างท�ำ อย่ า งไรได้ บ ้ า ง ทั้ ง นี้ ห ากพบผู ้ รั บ จ้ า งเป็ น อาจารย์ มหาวิทยาลัยจะถูกพิจารณาโทษทางวินัย ส่วนโทษขึ้น อยู่กับการพิจารณาของมหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง (ไทยรัฐ ออนไลน์) นอกเหนือจากมาหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. ล่ะกันใครที่จะเป็นคนตรวจสอบ มหาวิทยาลัยรัฐบาลใน เครือราชภัฏกว่า 40 แห่งและมหาวิทยาลัยเอกชนกว่า 40 แห่งที่ผลิตบุคลากรด้านต่างออกมาสู่สังคม มีหน่วย งานใดที่สามารถตรวจสอบข้อมูลและก�ำกับดูแลได้บ้าง ผูบ้ ริหารและนักการเมือง ถือเป็นกลุม่ ทีจ่ า้ งท�ำวิทยานิพนธ์ มากที่สุด การศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และปริญญา เอกเป็นการยกระดับฐานะได้ดีที่สุด จึงไม่แปลกที่มีนัก ธุรกิจ นักการเมือง ข้าราชการ เข้าไปศึกษาต่อในระดับ ที่สูงขึ้นปัญหาเหล่านี้น�ำไปสู่การทุจริตในหน้าที่การงาน ทุจริตต่อสังคมไทย ปัญหาในการว่าจ้างท�ำวิทยานิพนธ์ เพื่อให้จบการ ศึกษาตามหลั ก สู ต รทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก ไม่ใช่เรื่องใหม่เพราะแต่ละสถาบันการศึกษาต่างรับรู้ รับ ทราบเป็นอย่างดี จะเห็นได้ว่ามีมาตรการรับมือปัญหา ในระดับหนึ่ง ส่วนใหญ่มีจะจัดการที่ผู้ว่าจ้างเพราะถือ เป็นผู้ ที่ คิ ด ท� ำ การทุจริต แต่ถึงอย่า งนั้นปัญหานี้ ห าก แก้ไขตรงจุ ด จะไม่ เกิดสถาบันรับจ้า งท�ำวิทยานิ พ นธ์ เพราะหากแต่ ล ะสถาบั น เอาจริ ง เอาจั ง กั บ เรื่ อ งนี้ ตั ว อาจารย์ผู้สอนเคร่งครัด จะไม่เกิดส�ำนวนที่ว่า “ปากว่า ตาขยิบ” เพื่อช่วยให้ผู้ที่ขึ้นชื่อว่า “ลูกศิษย์” ได้จบการ ศึกษาและคนใหม่ๆ เหมือนกันเข้ามาอยูเ่ รือ่ ยๆ จนกลาย เป็นความตกต�่ำของการศึกษาไปแล้ว
ท�ำไมถึงมีผู้ว่าจ้างเพิ่มขึ้นมากทุกปี
เหตุผลของผู้ว่าจ้างท�ำวิทยานิพนธ์นั้นมีมากมายนับ ไม่ถ้วน ไม่ว่าจะเป็นข้ออ้างว่าไม่มีเวลา เนื่องจากต้อง ท�ำงานประจ�ำ เนื้อหาหรือโจทย์น�ำวิจัยยากเกินความ สามารถ ติดต่ออาจารย์ที่ปรึกษาล�ำบาก และที่ส�ำคัญ ที่สุดคือ “ความขี้เกียจ” ซึ่งเป็นความขี้เกียจของผู้ว่า จ้างเองจึงปล่อยให้เวลาผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ พอ คิดจะลงมือท�ำจึงไม่รู้จะเริ่มที่ไหน ไม่ยอมศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง จากการสอบถามกับผู้ที่เคยจ้างท�ำวิทยานิพนธ์นั้น ได้ ข ้ อ มู ล มาว่ า “เหตุ ผ ลที่ จ ้ า งท� ำ คื อ มี ค วามขี้ เ กี ย จ ค้นคว้าและคิดอยากจะท�ำแต่ตัวโปรเจ็คอย่างเดียว ไม่มี เวลาจัดล�ำดับ สรุปความ จัดหน้า เลยจ้างวิทยานิพนธ์ โดยได้รับค�ำแนะน�ำจ้างเพื่อน ก็เลยลองหาข้อมูลการรับ ท�ำวิทยานิพนธ์จากทางFacebook ตามเพจต่างๆ และ ได้ติดต่อกับทางร้าน ซึ่งหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่ส่งไปทาง ร้านเป็นสายวิศวะกรรม ราคาอยู่ที่ 35,000-50,000 บาท ใช้เวลาในการท�ำประมาณ 2-3 เดือน ต้องใช้เวลา หน่อยเพราะต้องท�ำการทดลองด้วย ในเรื่องคุณภาพคิด ว่ า ราคาค่ อ นข้ า งสู ง แต่ ก็ เ หมาะสมกั บ ผลงานที่ได้มา เพราะเนื้อหามีความละเอียด ถูกต้องครบถ้วน” อย่างไรก็ตามเมื่อเราอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามี บทบาทในชีวิตประจ�ำวันมาขึ้น ก็ส่งผลให้วงการธุรกิจ ออนไลน์เติบโตไปด้วย เช่นเดียวกับธุรกิจการศึกษาที่ แพร่ขยายสู่วงกว้างและยิ่งได้รับความสนใจจากกลุ่ม นักศึกษามากขึ้นเรื่อยๆ มาตรการของมหาวิทยาลัยเอง ก็ไม่ได้รับมือและแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุอย่างตรงจุด ผลที่ ได้คือการตรวจสอบไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าที่ควร บท ลงโทษส� ำ หรั บ ผู ้ ก ระท� ำ ความผิ ด เพื่ อ ให้ เ กรงกลั ว ต่ อ กฎหมายนั้นเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเพียงอย่าง เดียว ดังนั้นสิ่งที่เราสามารถท�ำร่วมกันช่วยแก้ไขได้คือ การ “สร้างจิตส�ำนึก” ให้เกิดแก่นิสิตนักศึกษาทุกคน เพื่อให้ตระหนักถึงคุณค่าของการศึกษาและการเรียนรู้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลผลิ ต ของการท� ำ งานด้ ว ยความรู ้ ค วาม สามารถของตนเอง
24
มหาวิทยาลัยนอกระบบดีหรือไม่ มหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐหรือมหาวิทยาลัยนอก ระบบ ตามความหมายกล่าวคือ มหาวิทยาลัยในก�ำกับ ของรัฐ จะมี อิ สระ และความคล่องตัวในการบริ ห าร จัดการทั้งเรื่องการจัดการทางการเงิน การงบประมาณ และการบริหารงานบุคคล มีกฎระเบียบที่ก�ำหนดโดย สถาบัน เพื่อใช้บริหารจัดการภายใน ในขณะที่ มหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐ ยังมีสภาพ เป็นส่วนราชการ บริหารจัดการสถาบันโดยอ้างอิงกฎ ระเบียบของทางราชการ นอกจากนี้ความเหมือนและ ความต่างของสถาบันอุดมศึกษาในก�ำกับและในสังกัด ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ซึ่ ง มี สถานภาพเป็นนิติบุคคลเหมือนกัน (ขอขอบคุณข้อมูล จาก http://www.mua.go.th/pr_web/mua.html) การเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ (ออกนอกระบบ) ประโยชน์ของมันคือ เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการ ท�ำงาน ไม่ต้องผ่านขั้นตอนที่เกี่ยวกับที่รัฐในบางกรณี เพราะระบบราชการนั้นท�ำให้เกิดขั้นตอนที่ม ากมาย หลายประการและยุ่งยากจึงท�ำการด�ำเนินการนั้นล่าช้า ตั ว อย่ า งของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ อ อกนอกระบบเพื่ อ เป็นการพัฒนาให้มหาวิทยาลัยมีความก้าวหน้า ผู้ท่ีจะ เข้ามาสอนนั้นเป็นเรื่องที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง และถ้าหาก มหาวิทยาลัยยังดูแลกันในรูปแบบเดิมที่ยังไม่ออกนอก ระบบ การจะจ้างผู้สอนที่มีความสามารถเฉพาะทาง หรือชาวต่ างชาติ จะมีข้อจ�ำกัดจากงบประมาณเพื่ อ จัดหา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นหนึง่ ในมหาวิทยาลัย ที่เป็นมหาวิทยาลัยนอกระบบมีแนวคิดในการพัฒนาคน พัฒนาการศึกษา จึงเป็นที่มาของการขอออกนอกระบบ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “เมื่อออกนอกระบบแล้ว จะท�ำให้การบริหาร จัดการของมหาวิทยาลัยคล่องตัวมากขึ้น โดย มธ. ยังคง ยืนหยัดที่จะเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อประชาชน แต่จะเพิ่ม ขีดความสามารถในการนั้นเป็นการแก้ปัญหาระบบการ
ศึกษาเพื่อการพัฒนาแข่งขันทางวิชาการมากขึ้น เพื่อให้ มธ. ก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก ซึ่งขณะนี้ มธ. ได้ให้ความส�ำคัญกับการคัดเลือกอาจารย์ผู้สอนเป็น อย่างมาก โดยคุณสมบัติของผู้สมัครเป็นอาจารย์ มธ. นั้น นอกจากต้องจบการศึกษาระดับปริญญาโท และ เอก มีผลการเรียนในระดับเกียรตินิยมแล้ว ต้องดูคุณ สมบั ติอื่น ๆ ประกอบด้ วย โดยเฉพาะคุ ณ ธรรม และ จริ ย ธรรม เพราะผู ้ ที่ จ ะเป็ น ครู อ าจารย์ ต ้ อ งมี ค วาม ประพฤติที่เหมาะสม เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกศิษย์ ทั้ ง นี้ ใ นการคั ด เลื อ กอาจารย์ ผู ้ ส อน เมื่ อ สอบผ่ า นข้ อ เขี ย นของคณะแล้ ว ต้ อ งผ่ า นการพิ จ ารณาจากคณะ กรรมการกลั่นกรองของสภา มธ. ด้วย หากมีเรื่องร้อง เรียนถึงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมก็ต้องได้รับการตรวจ สอบ และหากเป็นจริงตามที่ถูกร้องเรียนก็คงไม่ผ่านการ พิจารณา” อธิการบดี มธ. กล่าว (ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://www.dailynews.co.th/education/321244) ณ ปั จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศมี บ างส่ ว นที่ เริ่ ม ทยอยออกมาเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� ำ กั บ ของรั ฐ หรื อ ที่เรียกกันติดปากว่า “มหาวิทยาลัยนอกระบบ” และมี อีก 4 มหาวิทยาลัยที่พึ่งผ่านการอนุมัติในช่วงที่ผ่านมา คือ 1.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3.มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น 4.มหาวิ ท ยาลั ย สวนดุ สิ ต (มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต) ออกนอกระบบเป็น มหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ และยังมีหลายมหาวิทยาลัย ที่ต่อคิวขอออกนอกระบบตามมหาวิทยาลัยที่กล่าวมา ข้างต้น ถึงอย่างไรก็ตามการเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของ รัฐ (ออกนอกระบบ) นั้น นอกเหนือจากจะมีข้อดีที่ได้ กล่าวไปแล้ว เช่น มีความสะดวกรวดเร็วไม่ต้องผ่าน ระบบของราชการเพราะระบบราชการนั้ น จะท� ำ ให้ ล่าช้า เป็นต้น ยังมีข้อเสียที่ควรน�ำกลับไปคิดให้ดีเสีย ก่อนว่ามหาวิทยาลัยนั้นควรเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับ
ถูกใจใครบ้าง?
25
เรื่อง : เจษฎา ยอดสุรางค์
ของรัฐหรือไม่ เช่น เมื่อมหาวิทยาลัยออกนอกระบบ แล้ว จะขาดรายได้จากส่วนที่เคยได้จ ากทางภาครั ฐ ท�ำให้มหาวิทยาลัยจ�ำเป็นต้องขึ้นค่าใช้จ่ายในการลง ทะเบียนเรียนของนิสิต/นักศึกษา ซึ่งส่งผลกระทบต่อตัว นิสิต/นักศึกษาโดยตรง เป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายที่ มากขึ้น เป็นต้น หากจะกล่าวว่าการออกนอกระบบของมหาวิทยาลัย นั้นเป็นการแก้ปัญหาระบบการศึกษาเพื่อการพัฒนา
ของมหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ แต่ทุกการเปลี่ยนแปลง มักมีผลกระทบที่จะตามมาเสมอหากไม่มีการศึกษาหรือ การถามความคิดเห็นของส่วนรวม การเปลี่ยนแปลงที่มี ผลกระทบมากกว่าผลดีมันจะกลายเป็นการผลักภาระ ให้กับผู้ที่ไม่รู้และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องให้ได้รับชะตากรรม ที่ตนไม่ได้ท�ำ ในทุกการเปลี่ยนแปลงเราควรศึกษามันให้ ดีเสียก่อน จะมีประโยชน์หากการเปลี่ยนแปลงนั้นได้รับ ผลเสียมากกว่าผลดี
QA แบบประเมิน